The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือการดำเนินงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน พ.ศ.2560 โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมอันเนื่องมาจากพระราชดำริฯ หน้า 1-492

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by kookkig.work42, 2021-10-14 02:37:54

คู่มือการดำเนินงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน1

คู่มือการดำเนินงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน พ.ศ.2560 โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมอันเนื่องมาจากพระราชดำริฯ หน้า 1-492

Keywords: พฤษศาสตร์

185
ตารางท่ี 3.4 ตารางแสดงผลการเรียนรู้การเปล่ียนแปลงการได้กลน่ิ ของผลหม่อนในแตล่ ะช่วงอายุ

ระยะ/วัน การเปล่ยี นแปลงดา้ นคุณสมบัติ

ระยะออ่ น (5 วัน)

ระยะกลาง (10 วนั )

ระยะโต (20 วนั )

ระยะโตเตม็ ท่ี (25วัน)

ระยะแก่ (30 วัน)

ระยะแกเ่ ต็มที่ (35 วัน)

186
1.3) เรยี นรูว้ งจรชวี ิตดา้ นพฤตกิ รรม

1.3.1) เรยี นรู้ด้านพฤติกรรม
เปน็ การเรียนรูป้ ัจจัยชวี ภาพ (พืช) ในช่วงที่มีการเจริญเติบโตเต็มที่ทุกส่วนประกอบของพืช ราก ลาต้น
ใบ ดอก ผล เมล็ด โดยมีการเรียนรู้พฤติกรรมท่ีมีการตอบสนองต่อปัจจัยภายใน และภายนอก ท่ีมีผลต่อการ
เจรญิ เติบโตของพชื การตอบสนองต่อปัจจัยภายนอก เช่น การหุบ การบาน การคายน้า การร่วง การโน้มเข้า
หาแสง การลลู่ ม การเปล่ียนสี การตอบสนองตอ่ ปัจจัยภายใน เช่น ฮอรโ์ มน
1. การกาหนดปัจจยั ในการเรยี นรู้

1.1 เลือกพชื ศึกษาในระยะที่มกี ารเจรญิ เตบิ โตเตม็ ท่ี ครบทกุ สว่ นประกอบ
1.2 กาหนดจานวนของพืชศึกษาใหเ้ พียงพอกับจานวนผู้เรียน โดยพิจารณาจากการจัดกลุ่มและการ
วางแผนการทดลอง ซึ่งรวมถึงการเก็บข้อมูลซ้าเพื่อให้ได้ข้อมูลที่มีความแม่นยาและน่าเชื่อถือ เช่น ระดับ
ประถมศึกษา อยา่ งน้อยจานวน 5 ซ้า ระดบั มธั ยมศกึ ษา อยา่ งน้อยจานวน 10 ซา้
2. การกาหนดเรื่องท่ีจะเรียนรู้
2.1 เรื่องที่จะเรียนรู้ เช่น การหุบ การบาน การคายน้า การร่วง การโน้มเข้าหาแสง การลู่ลม
การเปล่ียนสี ฯลฯ
2.2 ส่วนประกอบของพืช เชน่ ราก ลาตน้ ใบ ดอก ผล เมลด็
2.3 นาส่วนประกอบของพืชมากาหนดเรอ่ื งทจี่ ะเรยี นรู้

วธิ ีการศึกษา ตัวแปรท่ศี กึ ษา ขอบเขตการศกึ ษา

ตวั อยา่ งเร่อื งทจ่ี ะเรยี นรู้การตอบสนองต่อปัจจัยภายใน :
การเรียนรู้การคายน้าของใบหม่อนในระยะที่มกี ารเจรญิ เติบโตเต็มที่ (ระบุช่วงอายุ)
วิธกี ารศกึ ษา : การเรียนรู้
ตัวแปรท่ศี กึ ษา : การคายน้าของใบหมอ่ น
ขอบเขตของการศกึ ษา : ในระยะทมี่ กี ารเจรญิ เตบิ โตเต็มที่ (ระบชุ ่วงอาย)ุ และสถานท่ี
3. เรยี นร้ดู ้านพฤตกิ รรม
เปน็ การเรียนรเู้ ร่ืองทไ่ี ดก้ าหนด โดยแสดงวัสดุ อปุ กรณ์ วธิ กี ารเรียนรู้ ผลการเรียนรู้ (ออกแบบตาราง

บนั ทึก) และสรุปผลการเรียนรู้
1.3.2) เรยี นรู้การเปล่ียนแปลงดา้ นพฤติกรรม

เป็นการเรียนรู้ปัจจัยชีวภาพ (พืช) ในแต่ละช่วงอายุ อย่างน้อย 4 ช่วงอายุ ทุกส่วนประกอบของพืช
ราก ลาต้น ใบ ดอก ผล เมลด็ โดยมีการเรียนรู้พฤติกรรมท่ีมีการตอบสนองต่อปัจจัยภายใน และภายนอก ที่มี
ผลต่อการเจริญเติบโตของพืช การตอบสนองต่อปัจจัยภายนอก เช่น การหุบ การบาน การคายน้า การร่วง
การโน้มเขา้ หาแสง การลลู่ ม การเปล่ยี นสี การตอบสนองต่อปัจจัยภายใน เช่น ฮอรโ์ มน

1. การกาหนดปจั จัยในการเรยี นรู้
1.1 เลอื กพืชศกึ ษาในระยะท่มี กี ารเจรญิ เติบโตเต็มที่ ครบทุกส่วนประกอบ

187
1.2 ระบุอายุของพชื อยา่ งน้อย 4 ชว่ งอายุ
1.3 กาหนดจานวนของพชื ศึกษาให้เพียงพอกบั จานวนผเู้ รยี น โดยพิจารณาจากการจัดกลุ่มและการ
วางแผนการทดลอง ซ่ึงรวมถึงการเก็บข้อมูลซ้าเพื่อให้ได้ข้อมูลท่ีมีความแม่นยาและน่าเช่ือถือ เช่น ระดับ
ประถมศกึ ษา อยา่ งนอ้ ยจานวน 5 ซ้า ระดบั มัธยมศกึ ษา อยา่ งนอ้ ยจานวน 10 ซ้า
2. การกาหนดเร่ืองทจ่ี ะเรียนรู้
2.1 เร่ืองที่จะเรียนรู้ เช่น การหุบ การบาน การคายน้า การร่วง การโน้มเข้าหาแสง การลู่ลม
การเปล่ยี นสี ฯลฯ
2.2 สว่ นประกอบของพชื เช่น ราก ลาตน้ ใบ ดอก ผล เมล็ด
2.3 นาส่วนประกอบของพืชมากาหนดเร่อื งท่ีจะเรียนรู้

วธิ กี ารศึกษา ตัวแปรทศ่ี กึ ษา ขอบเขตการศึกษา

ตวั อยา่ งเรื่องที่จะเรยี นรู้ :
การเรยี นรู้การคายนา้ ของใบหมอ่ นในแต่ละชว่ งอายุ (ระบุช่วงอายุ)
วธิ กี ารศกึ ษา : การเรยี นรู้
ตวั แปรที่ศกึ ษา : การตอบสนองตอ่ ฮอรโ์ มนของรากพริกข้หี นู
ขอบเขตของการศึกษา : ในแตล่ ะช่วงอายุ (ระบุช่วงอาย)ุ และสถานที่
3. เรยี นรู้การเปล่ยี นแปลงด้านพฤติกรรม
เป็นการเรยี นร้เู รอ่ื งทไี่ ด้กาหนด โดยแสดงวัสดุ อปุ กรณ์ วธิ ีการเรยี นรู้ ผลการเรียนรู้ (ออกแบบตาราง

บนั ทึก) และสรปุ ผลการเรยี นรู้

ลาดบั การเรยี นรู้ที่ 2 เปรยี บเทียบการเปลีย่ นแปลงและความแตกตา่ ง
วตั ถปุ ระสงค์

1) เพอื่ รู้การเปรียบเทียบการเปล่ยี นแปลงและความแตกตา่ งระหว่างพืชกับตน / คน
กระบวนการเรียนรู้

1) เรยี นรู้วิธีการเปรียบเทยี บการเปลี่ยนแปลงและความแตกต่างระหว่างพชื กับตน / คน
1.1) วิธีการสรุปผลการเรียนรู้การเปลี่ยนแปลงของพืช โดยนาผลการเรียนรู้การเปลี่ยนแปลง

(รปู ลกั ษณ์ คุณสมบัติ พฤติกรรม) มาสรุปผลในแตล่ ะระยะการเจริญเติบโต

188

ตารางท่ี 3.5 ตารางแสดงการเปลยี่ นแปลงและความแตกตา่ งระหวา่ งพืชกบั ตน / คน

ระระการการเจรญิ สรุปผลการเรยี นรู้

(วัน) รายละเอยี ด วาดภาพ

1

2

3

4

1.2) วิธีการเรียนรู้การเปล่ียนแปลงของคนในเร่ืองของรูปกายตน / คน สมรรถภาพจิต อารมณ์
พฤติกรรม ของตน / คน

1.2.1) รปู กายตน / คน เป็นการเรียนรู้รูปกาย เช่น รูปร่าง รูปทรง สี ผิว ขนาด ลักษณะ เป็น
ต้น ของผู้เรียน (ตน) 1 ระยะ และผู้อื่น (คน) ในระยะต่าง ๆ บันทึกผลเพื่อนาข้อมูลท่ีได้มาเปรียบเทียบกับ
รูปลักษณ์ของพืช

ตารางท่ี 3.6 ตารางแสดงการเปลยี่ นแปลงและความแตกต่างของรูปกายตน / คน

ระดับชว่ งวยั สรปุ ผลการเรียนรู้ รปู กายตน / คน

วยั .......... อายุ......ปี

วยั .......... อายุ......ปี

วัย .......... อาย.ุ .....ปี

วัย .......... อายุ......ปี

รปู คอื น. สง่ิ ท่ีรับร้ไู ดด้ ้วยตา (พจนานกุ รม ฉบับราชบณั ฑติ ยสถาน 2542 หนา้ 964)
กาย คอื น. ตัว (พจนานกุ รม ฉบบั ราชบณั ฑิตยสถาน 2542 หน้า 114)
ตน คือ น. ตวั (ตวั คน) (พจนานุกรม ฉบับราชบณั ฑติ ยสถาน 2542 หน้า 422)
คน คือ น. มนษุ ย์ (พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑติ ยสถาน 2542 หน้า 216)

1.2.2) สมรรถภาพ เป็นการเรียนรู้สมรรถภาพ เช่น ความสามารถในการเดิน ความสามารถใน
การว่ิง ความสามารถทางความคิด ความจา เป็นต้น ของผู้เรียน (ตน) 1 ระยะ และผู้อื่น (คน) ในระยะต่าง ๆ
บันทกึ ผลเพอ่ื นาข้อมูลทไ่ี ดม้ าเปรียบเทยี บกับคณุ สมบัติของพชื

สมรรถภาพ คือ น. ความสามารถ (พจนานกุ รม ฉบับราชบณั ฑิตยสถาน 2542 หน้า 1128)

189

ตารางท่ี 3.7 ตารางแสดงการเปล่ียนแปลงและความแตกต่างของสมรรถภาพ

ระดบั ชว่ งวยั สรปุ ผลการเรยี นรู้ สมรรถภาพ

วยั .......... อาย.ุ .....ปี

วยั .......... อาย.ุ .....ปี

วยั .......... อายุ......ปี

วัย .......... อายุ......ปี

1.2.3) จิต อารมณ์ และพฤติกรรม เป็นการเรียนรู้ จิต อารมณ์และพฤติกรรมของตน เช่น
การดีใจ การเสียใจ การไม่สบายใจ การหงุดหงิด เป็นต้น ของผู้เรียน (ตน) และผู้อื่น (คน) ในช่วงเวลาหน่ึง
บันทึกผลเพอื่ นาขอ้ มลู ที่ไดม้ าเปรียบเทยี บกับพฤติกรรมของพชื

จิต คอื น. ใจ สง่ิ ทีม่ หี นา้ ท่รี ู้ คิดและนกึ ถึง (พจนานกุ รม ฉบับราชบัณฑติ ยสถาน 2542 หนา้ 312)
อารมณ์ คือ น. สิ่งท่ียึดหน่วงจิตโดยผ่านทางสายตา หู จมูก ลิ้น กายและใจ (พจนานุกรม ฉบับ
ราชบณั ฑิตยสถาน 2542 หนา้ 1367)
พฤตกิ รรม คือ น. เหตุการณ์ทีเ่ ป็นมาหรอื ท่ีจะเป็นไป ความเปน็ ไปในเวลากระทาการ (พจนานุกรม ฉบับ
ราชบณั ฑติ ยสถาน 2542 หน้า 768)

ตารางที่ 3.8 ตารางแสดงการเปลย่ี นแปลงและความแตกต่างของจิต อารมณ์ และพฤตกิ รรม

ระดับชว่ งวัย สรุปผลการเรียนรู้ จิต อารมณ์ และพฤติกรรม

วัย .......... อายุ......ปี

วยั .......... อาย.ุ .....ปี

วัย .......... อายุ......ปี

วัย .......... อายุ......ปี

2) เรยี นรู้การเปรยี บเทยี บการเปลี่ยนแปลงและความแตกต่างระหวา่ งพืชกับตน / คน
2.1) เรียนรูก้ ารเปรียบเทียบข้อมูลด้านการเปลี่ยนแปลงด้านรูปลักษณ์กับรูปกายตน / คน เป็นการ

นาผลการเรียนรู้การเปล่ียนแปลงด้านรูปลักษณ์ของพืชในส่วนประกอบต่างๆ นามาพิจารณาเปรียบเทียบกับ
ส่วนตา่ ง ๆ ของรูปกายตน / คน

2.2) เรยี นรกู้ ารเปรียบเทยี บขอ้ มูลด้านการเปล่ียนแปลงคุณสมบัติกับสมรรถภาพของตน / คน เป็น
การนาผลการเรียนรกู้ ารเปลย่ี นแปลงดา้ นคุณสมบัติของพืชในส่วนประกอบต่าง ๆ นามาพิจารณาเปรียบเทียบ
กบั สมรรถภาพของตน / คน

2.3) เรียนรกู้ ารเปรยี บเทยี บข้อมลู ด้านการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมกับจิตอารมณ์และพฤติกรรมของ
ตน / คน เป็นการนาผลการเรียนรู้การเปล่ียนแปลงด้านพฤติกรรมของพืชในส่วนประกอบต่าง ๆ นามา
พิจารณาเปรียบเทียบกับจิต อารมณ์ พฤตกิ รรมของตน / คน

190
ลาดบั การเรยี นรู้ที่ 3 สรุปองคค์ วามรู้ที่ได้จากการศึกษาธรรมชาตแิ ห่งชีวติ
วัตถปุ ระสงค์

1) เพ่ือร้วู ิธีการสรุปองคค์ วามรจู้ ากการศึกษาธรรมชาติแห่งชีวิต
กระบวนการเรยี นรู้

1) เรยี นรู้วธิ กี ารสรุปองคค์ วามรูก้ ารศกึ ษาดา้ นรปู ลกั ษณ์
1.1) สรุปความรู้ ด้านรปู ลักษณ์ของพืชศกึ ษา
นาความรู้ทัง้ หมดทีไ่ ด้จากผลการศึกษาดา้ นรูปลักษณ์ของพืชมาสรุปและบันทกึ ผล
1.2) สรปุ ความรู้ ด้านรปู กายของตน / คน
นาความรู้ท้งั หมดทไ่ี ดจ้ ากผลการศกึ ษาด้านรปู กายของตน / คน มาสรุปและบนั ทกึ ผล
1.3) สรปุ องค์ความรู้ด้านรปู ลกั ษณ์
นาความรู้ท้งั หมด ด้านรูปลักษณ์ของพืชศึกษา และความรู้ด้านรูปกายของตน / คน มาสรุป

เป็นองค์ความรู้ด้านรูปลักษณ์ เพ่ือให้เห็นการเปลี่ยนแปลง มีความแตกต่างสามารถนาไปสรุปให้เกิดเป็นองค์
ความรแู้ ละส่ิงทผ่ี ู้เรยี นคน้ พบนาไปส่คู วามเขา้ ใจในชีวติ

2) เรยี นรวู้ ิธีการสรุปองคค์ วามรู้การศกึ ษาดา้ นคุณสมบตั ิ
2.1) สรปุ ความรู้ ด้านรู้คุณสมบัตขิ องพืชศึกษา
นาความรู้ท้ังหมดที่ไดจ้ ากผลการศกึ ษาด้านคุณสมบตั ิของพืชมาสรุปและบันทึกผล
2.2) สรุปความรู้ ด้านสมรรถภาพของตน/คน
นาความรูท้ ้งั หมดทไี่ ดจ้ ากผลการศึกษาดา้ นสมรรถภาพของตน/คน มาสรุปและบนั ทกึ ผล
2.3) สรุปองค์ความร้ดู า้ นคณุ สมบัติ
นาความรู้ท้ังหมด ดา้ นคุณสมบัตขิ องพืชศกึ ษา และความรู้ด้านสมรรถภาพของตน/คน มาสรุป

เป็นองค์ความรู้ด้านคุณสมบัติ เพ่ือให้เห็นการเปลี่ยนแปลง มีความแตกต่างสามารถนาไปสรุปให้เกิดเป็นองค์
ความรูแ้ ละสิง่ ทผี่ ้เู รียนค้นพบนาไปสคู่ วามเขา้ ใจในชวี ติ

3) เรียนรู้วธิ ีการสรุปองค์ความร้กู ารศกึ ษาดา้ นพฤติกรรม
3.1) สรปุ องค์ความรู้ ดา้ นพฤตกิ รรมของพชื ศกึ ษา
นาความรทู้ ั้งหมดที่ได้จากผลการศึกษาด้านพฤติกรรมของพชื มาสรปุ และบันทึกผล
3.2) สรุปองคค์ วามรู้ ด้านจติ อารมณ์ และพฤตกิ รรมของตน/คน
นาความร้ทู ัง้ หมดทไ่ี ด้จากผลการศึกษาดา้ นจิต อารมณ์ และพฤติกรรมของตน/คน มาสรุปและ

บนั ทึกผล
3.3) สรปุ องคค์ วามรดู้ ้านพฤตกิ รรม
นาความรทู้ ั้งหมด ด้านพฤติกรรมของพืชศกึ ษา และความรู้ด้านจิต อารมณ์ และพฤติกรรมของ

ตน/คน มาสรปุ เปน็ องคค์ วามรู้ดา้ นพฤติกรรม เพื่อให้เห็นการเปลี่ยนแปลง มีความแตกต่างสามารถนาไปสรุป
ให้เกดิ เปน็ องค์ความรูแ้ ละสงิ่ ทีผ่ ูเ้ รยี นคน้ พบนาไปสู่ความเขา้ ใจในชวี ติ

191
ลาดับการเรยี นรทู้ ี่ 4 สรปุ แนวทางเพือ่ นาไปสู่การประยกุ ตใ์ ช้ในการดาเนินชวี ติ
วัตถุประสงค์

1) เพอ่ื รวู้ ธิ กี ารนาองคค์ วามรไู้ ปประยุกตใ์ ชใ้ นการดาเนินชวี ิต
กระบวนการเรียนรู้

1) เรยี นรู้วธิ ีการนาองคค์ วามรูด้ า้ นรปู ลักษณไ์ ปประยกุ ต์ใชใ้ นการดาเนินชวี ติ
นาองคค์ วามรูแ้ ละสงิ่ ทผี่ ู้เรยี นคน้ พบด้านรปู ลักษณ์ไปกาหนดเป็นแนวคิด แนวทาง ให้สามารถดาเนิน

ชีวติ อย่างเข้าใจ เข้าใจธรรมชาตริ อบตน รูแ้ ละเข้าใจคนรอบข้าง เพ่อื นร่วมงาน มีความเข้าใจตน ดารงตนอย่าง
มคี วามสุข

2) เรียนรวู้ ธิ ีการนาองคค์ วามรู้ด้านคณุ สมบตั ไิ ปประยกุ ตใ์ ชใ้ นการดาเนนิ ชีวิต
นาองค์ความรู้และสิ่งท่ีผู้เรียนค้นพบด้านคุณสมบัติไปกาหนดเป็นแนวคิด แนวทาง ให้สามารถดาเนิน
ชีวติ อยา่ งเข้าใจ เขา้ ใจธรรมชาตริ อบตน รู้และเข้าใจคนรอบข้าง เพื่อนร่วมงาน มีความเข้าใจตน ดารงตนอย่าง
มีความสขุ
3) เรียนรวู้ ิธกี ารนาองค์ความรู้ดา้ นพฤตกิ รรมไปประยุกต์ใชใ้ นการดาเนินชีวิต
นาองค์ความรู้และส่ิงท่ีผู้เรียนค้นพบด้านพฤติกรรมไปกาหนดเป็นแนวคิด แนวทาง ให้สามารถดาเนิน
ชีวติ อย่างเข้าใจ เขา้ ใจธรรมชาติรอบตน รู้และเข้าใจคนรอบขา้ ง เพือ่ นรว่ มงาน มีความเข้าใจตน ดารงตนอย่าง
มีความสุข

192
ผลทค่ี าดว่าจะได้รบั

ดา้ นวิชาการ
1) พฤกษศาสตร์ เช่น ช่ือวทิ ยาศาสตร์ ชอื่ วงศ์ ข้อมูลลกั ษณะพรรณไม้
2) ชีววทิ ยา เช่น วงจรชวี ิต
3) นเิ วศวทิ ยา เชน่ ข้อมูลถ่นิ อาศยั ดิน นา้ ลม แสงแดด ความสมั พนั ธ์ระหวา่ งปัจจยั
4) สรีรวิทยา เชน่ การเปลยี่ นแปลงรปู ลักษณ์ การเจรญิ เตบิ โต การคายนา้ การสังเคราะห์
ดว้ ยแสง
5) เกษตร เช่น การปลูก การดแู ลรักษา
6) วิทยาศาสตร์ เชน่ การสังเกต การบันทกึ การเปรยี บเทยี บ
7) ภาษา เช่น การเขยี นบรรยาย
8) สังคม เชน่ พฤตกิ รรมการตอบสนองและแสดงออก
9) ศิลปะ เชน่ การวาดภาพ การถ่ายภาพ

ด้านภูมิปญั ญา
1) การสร้างองคค์ วามรู้ข้ึนใหม่
2) การจดั การชวี ติ เข้าใจชีวิต

คณุ ธรรมและจริยธรรม
1) ความรับผดิ ชอบงานที่ไดร้ ับมอบหมาย
2) ความซอื่ ตรง ในการศึกษาและรายงานผลท่ีถกู ต้องเป็นจรงิ
3) ความมรี ะเบียบความรอบคอบ ละเอยี ด ถีถ่ ว้ น ในการปฏิบตั งิ าน
4) ความอดทนต่อสภาพแวดล้อมในการปฏิบตั ิงาน เช่น อดทนต่อความรอ้ นของแสงแดด

193
3.2.7 สาระการเรียนรู้ สรรพสิ่งล้วนพนั เกยี่ ว

หลักการ รสู้ มั พนั ธ์ รผู้ กู พัน รู้ดลุ ยภาพ
สาระการเรยี นรู้

การวิเคราะห์องค์ความรู้ธรรมชาติของปัจจัยหลัก การเรียนรู้ธรรมชาติของปัจจัยที่เข้ามาเก่ียวข้อง
การเรยี นรูธ้ รรมชาติของความพันเกี่ยวระหว่างปัจจัย การวิเคราะห์สัมพันธภาพระหว่างปัจจัย เพ่ือเข้าใจดุลย
ภาพและความพนั เกยี่ วของสรรพสงิ่
ลาดับการเรยี นรู้

1) รวบรวมองคค์ วามรู้ที่ได้จากการเรียนรู้ธรรมชาตแิ ห่งชวี ติ
2) เรียนร้ธู รรมชาติของปจั จัยชีวภาพอืน่ ที่เข้ามาเก่ยี วขอ้ งกบั ปจั จัยหลัก

2.1) เรยี นรดู้ า้ นรูปลกั ษณ์ คุณสมบัติ พฤตกิ รรม
2.2) สรุปผลการเรยี นรู้
3) เรียนรู้ธรรมชาตขิ องปจั จัยกายภาพ (ดนิ น้า แสง อากาศ)
3.1) เรียนรูด้ า้ นรูปลกั ษณ์ คุณสมบัติ
3.2) สรุปผลการเรียนรู้
4) เรียนรูธ้ รรมชาติของปจั จัยอนื่ ๆ (ปัจจัยประกอบ เชน่ วัสดอุ ุปกรณ์ อาคารสถานท)่ี
5) เรยี นรธู้ รรมชาติของความพนั เกยี่ วระหวา่ งปจั จยั
5.1) เรยี นรู้ วิเคราะหใ์ ห้เหน็ ความสัมพันธแ์ ละสัมพันธภาพ
5.2) เรยี นรู้ วิเคราะหใ์ ห้เหน็ ความผกู พัน
6) สรุปผลการเรยี นรู้ ดุลยภาพของความพนั เกีย่ ว

อธบิ ายลาดบั การเรียนรู้
ลาดบั การเรยี นรู้ท่ี 1 รวบรวมองค์ความรูท้ ี่ได้จากการเรยี นรู้ธรรมชาติแห่งชวี ิต
วัตถปุ ระสงค์

1) เพ่ือรอู้ งค์ความรูธ้ รรมชาตแิ ห่งชวี ิตของพชื ศกึ ษา
กระบวนการเรียนรู้

1) เรยี นรู้การรวบรวมองค์ความร้ดู ้านรปู ลักษณข์ องพชื
น้าความร้แู ละองคค์ วามรจู้ ากการศกึ ษาในแตล่ ะเรื่องมาสรปุ เป็นองค์ความรดู้ า้ นรปู ลกั ษณ์ของพืช

2) เรยี นรู้การรวบรวมองคค์ วามรูด้ ้านคุณสมบัติของพชื
น้าความรูแ้ ละองค์ความรู้จากการศกึ ษาในแต่ละเรือ่ งมาสรปุ เปน็ องคค์ วามรูด้ ้านคณุ สมบัตขิ องพชื

3) เรยี นรกู้ ารรวบรวมองค์ความร้ดู า้ นพฤตกิ รรมของพชื
น้าความร้แู ละองคค์ วามร้จู ากการศกึ ษาในแตล่ ะเร่อื งมาสรุปเปน็ องคค์ วามรดู้ า้ นพฤตกิ รรมของพืช

194
ลาดบั การเรยี นรทู้ ่ี 2 เรียนรู้ธรรมชาติของปัจจัยชวี ภาพอนื่ ๆ ทเี่ ข้ามาเกย่ี วข้องกบั ปจั จยั หลกั
วตั ถปุ ระสงค์

1) เพ่อื รธู้ รรมชาตขิ องปัจจัยชวี ภาพอน่ื ท่เี ข้ามาเก่ยี วขอ้ งกบั ปัจจัยหลัก

ภาพท่ี 3.142 ธรรมชาตขิ องปจั จยั ชวี ภาพอ่นื ๆ ทเี่ ข้ามาเก่ียวข้องกับปจั จัยหลกั

ภาพท่ี 3.143 การแบ่งบริเวณการศกึ ษาธรรมชาติของปจั จยั ชวี ภาพอื่นท่เี ข้ามาเกย่ี วขอ้ งกบั ปัจจยั หลกั

195
กระบวนการเรียนรู้

1) เรยี นรูด้ า้ นรปู ลกั ษณ์ คณุ สมบตั ิ และพฤติกรรม
1.1) เรยี นร้ดู า้ นรูปลกั ษณ์

เป็นการเรียนรู้ด้านรูปลักษณ์ภายนอก และภายใน ของปัจจัยชีวภาพอ่ืน ๆ ทุกอวัยวะของชีวภาพ
เชน่ รูปร่าง รูปทรง สี ผวิ เนอ้ื ขนาด จา้ นวน ฯลฯ

1.1.1) การกา้ หนดปัจจยั ในการเรียนรู้
1.1.2) เลอื กชีวภาพอ่นื ๆ ทุกอวยั วะของชีวภาพ
1.1.3) กา้ หนดจ้านวนของชวี ภาพอนื่ ๆ
1.1.4) การก้าหนดเรือ่ งทจี่ ะเรยี นรู้

1. เรอ่ื งทจ่ี ะเรยี นรู้ เช่น รูปร่าง รูปทรง สี ผิว เน้อื ขนาดจา้ นวน ฯลฯ
2. อวัยวะของชีวภาพอ่ืน ๆ เชน่ หัว อก ทอ้ ง ฯลฯ
3. น้าอวัยวะของชีวภาพอ่นื ๆ มากา้ หนดเร่ืองที่จะเรยี นรู้

วิธกี ารศกึ ษา ตวั แปรทศ่ี กึ ษา ขอบเขตการศึกษา

ตวั อย่างเร่ืองท่ีจะเรียนรู้ :
การเรียนรกู้ ารเรยี นร้รู ูปรา่ งของหวั มดดา ในระยะทมี่ ีการเจรญิ เตบิ โตเต็มวยั (ระบอุ าย)ุ
วธิ กี ารศึกษา : การเรียนรู้
ตวั แปรที่ศกึ ษา : รปู รา่ งของหวั มดดา
ขอบเขตของการศกึ ษา : ในระยะทีม่ กี ารเจริญเติบโตเต็มท่ี (ระบุอายุ) และสถานที่
1.1.5) เรยี นรู้ดา้ นรปู ลกั ษณ์

เปน็ การเรยี นรเู้ ร่ืองที่ได้ก้าหนด โดยแสดงวัสดุ อปุ กรณ์ วิธกี ารเรียนรู้ ผลการเรียนรู้ (ออกแบบตาราง
บันทึก) และสรุปผลการเรยี นรู้

196

ภาพท่ี 3.144 การแบง่ สว่ นอวัยวะของชีวภาพอนื่

1.2) เรียนรู้ดา้ นคุณสมบัติ
เป็นการเรียนรู้ด้านคุณสมบัติภายนอก และภายใน ของปัจจัยชีวภาพอื่น ๆ มีการเรียนรู้เร่ืองด้านเคมี
เชน่ รสชาติ กลิน่ การติดสี สารตา่ ง ๆ ด้านฟิสิกส์ เชน่ ความแข็ง ความเหนียว การลอยนา้ การยืดหยุ่น ฯลฯ

1.2.1) การกา้ หนดปัจจัยในการเรียนรู้
1. เลอื กชวี ภาพอ่ืน ๆ ทุกอวยั วะของชีวภาพ
2. กา้ หนดจา้ นวนของชีวภาพอน่ื ๆ

1.2.2) การกา้ หนดเรอ่ื งทีจ่ ะเรยี นรู้
1. เร่อื งท่ีจะเรยี นรู้ เช่น ดา้ นเคมี เช่น รสชาติ กล่ิน การติดสีสาร ต่าง ๆ ด้านฟิสิกส์ เช่น

ความแขง็ ความเหนยี ว การลอยนา้ การยืดหยุ่น ฯลฯ
2. อวัยวะของชีวภาพอื่น ๆ เชน่ หัว อก ท้อง ฯลฯ
3. น้าอวัยวะของชวี ภาพอืน่ ๆ มาก้าหนดเรื่องทจ่ี ะเรยี นรู้

วธิ ีการศึกษา ตัวแปรที่ศกึ ษา ขอบเขตการศึกษา

ตัวอย่างเรอื่ งท่จี ะเรียนรู้ :
การเรยี นรกู้ ารเรียนรู้กล่ินของมดดาในระยะทมี่ ีการเจริญเติบโตเตม็ วัย (ระบุอายุ)
วธิ กี ารศกึ ษา : การเรียนรู้
ตัวแปรท่ศี ึกษา : กล่นิ ของมดดา
ขอบเขตของการศกึ ษา : ในระยะท่ีมกี ารเจรญิ เติบโตเตม็ ท่ี (ระบุอายุ) และสถานที่

197
1.2.3) เรยี นรู้ดา้ นคณุ สมบตั ิ

เป็นการเรียนรู้เรื่องท่ีได้ก้าหนด โดยแสดงวัสดุ อุปกรณ์ วิธีการเรียนรู้ ผลการเรียนรู้
(ออกแบบตารางบนั ทึก) และสรุปผลการเรยี นรู้

1.3) เรียนรู้ดา้ นพฤตกิ รรม
เป็นการเรียนรู้ด้านพฤติกรรมของปัจจัยชีวภาพอ่ืน ๆ เช่น การเดิน การกิน การต่อสู้ การขับถ่าย
การขยบั การขยับหนวด การบนิ การกระโดด การพักผ่อน ฯลฯ

1.3.1) การก้าหนดปัจจัยในการเรียนรู้
1. เลือกชีวภาพอืน่ ๆ ทุกอวัยวะของชวี ภาพ
2. ก้าหนดจา้ นวนของชีวภาพอนื่ ๆ

1.3.2) การกา้ หนดเรื่องทีจ่ ะเรยี นรู้
1. เรอ่ื งทีจ่ ะเรียนรู้ เช่น การเดิน การกิน การต่อสู้ การขับถ่าย การขยับ การขยับหนวด

การบิน การกระโดด การพักผ่อน ฯลฯ
2. อวัยวะของชีวภาพอืน่ ๆ เช่น หัว อก ท้อง ฯลฯ
3. น้าอวยั วะของชวี ภาพอืน่ ๆ มากา้ หนดเร่อื งทจ่ี ะเรียนรู้

วิธกี ารศกึ ษา ตวั แปรท่ีศึกษา ขอบเขตการศึกษา

ตัวอย่างเรือ่ งท่จี ะเรยี นรู้ :
การเรียนรู้การเรยี นรูก้ ารเดินของมดดาในระยะที่มกี ารเจรญิ เตบิ โตเต็มวัย (ระบอุ าย)ุ
วธิ กี ารศึกษา : การเรียนรู้
ตัวแปรท่ศี ึกษา : การเดินของมดดา
ขอบเขตของการศึกษา : ในระยะที่มกี ารเจริญเติบโตเต็มท่ี (ระบุอายุ) และสถานที่

ภาพท่ี 3.145 การเดนิ ของมดดา้ บนตน้ หมอ่ น

198
1.3.3 เรยี นรูด้ า้ นด้านพฤติกรรม
เป็นการเรียนรู้เร่ืองท่ีได้ก้าหนด โดยแสดงวัสดุ อุปกรณ์ วิธีการเรียนรู้ ผลการเรียนรู้ (ออกแบบตาราง
บันทึก) และสรปุ ผลการเรียนรู้
2. สรุปผลการเรียนรู้ ดา้ นรูปลักษณ์ คณุ สมบัติ และพฤตกิ รรม เปน็ การน้าผลการเรียนรดู้ ้านรูปลักษณ์
คุณสมบัติ และพฤติกรรม ของชีวภาพอื่น ๆ มาสรปุ ผลการเรียนรู้

ลาดบั การเรียนรู้ท่ี 3เรยี นรู้ธรรมชาติของปัจจัยกายภาพ (ดิน นา้ แสง อากาศ)
วตั ถปุ ระสงค์

1) เพอื่ รธู้ รรมชาติของปจั จัยกายภาพที่เข้ามาเกี่ยวขอ้ งกับปจั จยั หลัก

ภาพท่ี 3.146 ปจั จัยกายภาพ (แสง) ทเ่ี ขา้ มาเกี่ยวข้องกับปจั จัยหลกั

กระบวนการเรียนรู้
1) เรยี นร้ดู า้ นรูปลกั ษณ์ และคณุ สมบตั ิ
1.1) เรยี นรู้ด้านรูปลักษณ์
เป็นการเรียนรู้ด้านรูปลกั ษณ์ ของกายภาพ เช่น รปู ร่าง รูปทรง สี ผวิ เน้อื ขนาด จ้านวน ฯลฯ
1.1.1) การก้าหนดปัจจัยในการเรียนรู้
1.1.2) เลือกกายภาพอื่น
1.1.3) กา้ หนดจ้านวนของภายภาพอ่นื
1.1.4) การกา้ หนดเรอ่ื งทจ่ี ะเรียนรู้
1. เรือ่ งท่จี ะเรยี นรู้ เชน่ รปู ร่าง รูปทรง สี ผิว เนื้อ ขนาด จา้ นวน ฯลฯ
2. องคป์ ระกอบของกายภาพ เช่น โครงสร้าง อนภุ าค สี ฯลฯ
3. นา้ องคป์ ระกอบของกายภาพ มาก้าหนดเรอ่ื งท่ีจะเรียนรู้

วธิ ีการศกึ ษา 199 ขอบเขตการศึกษา
ตวั แปรท่ศี ึกษา

ตัวอย่างเร่อื งที่จะเรียนรู้ :
การเรยี นรสู้ ขี องดนิ ในบรเิ วณท่พี บพชื ศกึ ษา
วิธกี ารศึกษา : การเรียนรู้
ตัวแปรท่ศี ึกษา : สีของดนิ
ขอบเขตของการศึกษา : ในบริเวณทพ่ี บพืชศึกษา และสถานที่

ภาพที่ 3.147 ปจั จยั กายภาพ (ดนิ ) ที่เข้ามาเกี่ยวขอ้ งกบั ปัจจัยหลัก

1.2) เรียนร้ดู ้านคณุ สมบตั ิ
เปน็ การเรยี นรดู้ ้านคณุ สมบตั ิ ของกายภาพ (ดนิ นา้ แสง อากาศ) มกี ารเรยี นรู้เร่ืองด้านเคมี เช่น รสชาติ
กลิ่น การตดิ สี ด้านฟสิ กิ ส์ เช่น ความแข็ง ความเหนยี ว การลอยนา้ การอ้มุ น้าของดนิ ฯลฯ

1.2.1) การก้าหนดปัจจัยในการเรียนรู้
1. เลือกปัจจยั กายภาพ (ดิน น้า แสง อากาศ)
2. กา้ หนดจ้านวนของกายภาพ (ดิน นา้ แสง อากาศ)

1.2.2) การกา้ หนดเรื่องทจี่ ะเรยี นรู้
1. เรื่องท่จี ะเรยี นรู้ เช่น ดา้ นเคมี เชน่ รสชาติ กลนิ่ ความเป็นกรด-ด่าง ฯลฯ ด้านฟิสิกส์

เชน่ ความแข็ง ความเหนยี ว ความหนาแนน่ ฯลฯ

200
2. องคป์ ระกอบของกายภาพ (ดนิ น้า แสง อากาศ)
3. กา้ หนดเรื่องท่จี ะเรยี นรู้

วธิ กี ารศกึ ษา ตัวแปรท่ศี ึกษา ขอบเขตการศึกษา

ตัวอย่างเรื่องทจ่ี ะเรยี นรู้ :
การเรียนรู้กลิน่ ของดินของดินในบรเิ วณท่พี บพชื ศึกษา
วธิ ีการศึกษา : การเรียนรู้
ตัวแปรท่ศี กึ ษา : กลิ่นของดิน
ขอบเขตของการศึกษา : ในบริเวณท่พี บพชื ศกึ ษา และสถานที่
2) สรปุ ผลการเรยี นรู้ ด้านรปู ลกั ษณ์ และคณุ สมบตั ิ
เป็นการน้าผลการเรียนรู้ด้านรูปลักษณ์ และคุณสมบัติ ของกายภาพ (ดิน น้า แสง อากาศ) มาสรุปผล

การเรียนรู้

ลาดบั การเรียนร้ทู ี่ 4 เรยี นรธู้ รรมชาตขิ องปัจจยั อืน่ ๆ (ปัจจยั ประกอบ เชน่ วัสดอุ ุปกรณ์ อาคารสถานท)่ี
วตั ถปุ ระสงค์

1) เพอ่ื รู้สว่ นประกอบปจั จัยอ่ืน ๆ
2) เพื่อรู้วธิ กี ารใชป้ จั จัยอื่น ๆ
กระบวนการเรยี นรู้
1) เรียนรู้การวเิ คราะห์ส่วนประกอบของปจั จัยอ่ืน ๆ

1.1) ส้ารวจ ศึกษา ส่วนประกอบ ของปัจจัยอ่ืน ๆ ท่ีเข้ามาเก่ียวข้องกับปัจจัยหลัก (ปัจจัยอื่นๆคือ
คือ สิ่งท่ีมาสนับสนนุ การเรยี นรูพ้ ืช สัตว์ กายภาพ)

1.2) วเิ คราะห์ จา้ แนก สว่ นประกอบของปจั จัยอน่ื ๆ
2) เรยี นรวู้ ิธกี ารใชข้ องปัจจัยอืน่ ๆ

2.1) เรียนรดู้ า้ นรปู ลักษณ์
เป็นการเรยี นรู้ดา้ นรูปลกั ษณ์ ของปจั จยั อ่ืนๆ เชน่ รูปรา่ ง รปู ทรง สี ผิว เนือ้ ขนาด จ้านวน ฯ

2.1.1) การก้าหนดปจั จยั อนื่ ๆในการเรยี นรู้
1. เลอื กปจั จยั อน่ื ๆ
2. กา้ หนดจ้านวนปจั จยั อื่น ๆ

2.1.2) การกา้ หนดเรื่องทจี่ ะเรยี นรู้
1. เรือ่ งทีจ่ ะเรียนรู้ เช่น รูปรา่ ง รปู ทรง สี ผิว เน้อื ขนาด จา้ นวน ฯลฯ
2. องค์ประกอบของปัจจัยอน่ื ๆ เช่น โครงสร้าง อนุภาค สี ฯลฯ
3. น้าองค์ประกอบของปจั จัยอน่ื ๆ มาก้าหนดเรื่องที่จะเรียนรู้

วธิ กี ารศึกษา 201 ขอบเขตการศกึ ษา
ตวั แปรที่ศึกษา

ตวั อยา่ งเร่อื งทจี่ ะเรยี นรู้ :
การเรยี นรู้สีของผนังคอนกรตี ในบรเิ วณท่พี บพชื ศึกษา
วิธกี ารศกึ ษา : การเรียนรู้
ตวั แปรทศ่ี กึ ษา : สีของผนงั คอนกรีต
ขอบเขตของการศกึ ษา : ในบรเิ วณทพี่ บพชื ศึกษา และสถานท่ี
2.2) เรยี นรู้ดา้ นคุณสมบตั ิ
เป็นการเรียนรู้ด้านคุณสมบัติ ของปัจจัยอ่ืน ๆ มีการเรียนรู้เร่ืองด้านเคมี เช่น รสชาติ กลิ่น การติดสี

ด้านฟิสกิ ส์ เชน่ ความแข็ง ความเหนยี ว การลอยน้า การอมุ้ น้าของดนิ ฯลฯ
2.2.1) การก้าหนดปัจจยั ในการเรียนรู้
1. เลือกของปจั จยั อ่ืน ๆ
2. กา้ หนดจา้ นวนปจั จัยอ่ืน ๆ
2.2.2) การก้าหนดเรอื่ งที่จะเรียนรู้
1. เรอื่ งทีจ่ ะเรยี นรู้ เช่น ดา้ นเคมี เชน่ รสชาติ กลิ่น ความเป็นกรด-ด่าง ฯลฯ ด้านฟิสิกส์

เชน่ ความแขง็ ความเหนยี ว ความหนาแนน่ ฯลฯ
2. องคป์ ระกอบของปัจจัยอื่นๆ มากา้ หนดเรอื่ งทีจ่ ะเรยี นรู้

วิธกี ารศึกษา ตัวแปรทีศ่ กึ ษา ขอบเขตการศึกษา

ตัวอย่างเร่อื งท่จี ะเรยี นรู้ :
การเรยี นรูก้ ล่นิ ของผนงั คอนกรีตในบรเิ วณที่พบพืชศกึ ษา
วธิ กี ารศึกษา : การเรยี นรู้
ตัวแปรที่ศึกษา : กลนิ่ ของผนงั คอนกรีต
ขอบเขตของการศกึ ษา : ในบริเวณท่ีพบพืชศกึ ษา และสถานที่

ลาดับการเรียนรูท้ ่ี 5 เรยี นรธู้ รรมชาติของความพันเกีย่ วระหวา่ งปจั จัย
วตั ถปุ ระสงค์

1) เพอื่ รคู้ วามพันเกยี่ วระหว่างปัจจยั
กระบวนการเรยี นรู้

1) เรียนรู้ความสมั พันธ์
ให้เรียนรู้เร่ืองความสัมพันธ์ พฤติกรรม การตอบสนองต่อกัน ระหว่างปัจจัยในสภาวะต่าง ๆ เช่น

การศกึ ษาความผูกพันของหมอ่ นกับมดดา้ ในสภาวะทมี่ ีแสงและไม่มแี สง เปน็ ตน้

202
1.1) การก้าหนดเร่อื งทีจ่ ะเรียนรู้

1. ปจั จัยหลัก (พืชศกึ ษา)
2. ปัจจยั กายภาพและปัจจยั อ่ืนๆ

วธิ ีการศกึ ษา ตัวแปรทศ่ี กึ ษา ขอบเขตการศึกษา

ตวั อย่างเรอ่ื งทีจ่ ะเรียนรู้ :
การศึกษาความสมั พันธ์หมอ่ นกบั มดดาในสภาวะทม่ี ีแสงและไมม่ แี สง
วธิ กี ารศึกษา : การเรยี นรู้
ตัวแปรที่ศึกษา : ความสมั พันธ์หม่อนกบั มดดา
ขอบเขตของการศกึ ษา : ในสภาวะทม่ี ีแสงและไม่มแี สง

ภาพท่ี 3.148 ความสัมพันธ์ระหวา่ งหมอ่ นกับชวี ภาพอนื่ ภาวะเป็นกลางไมม่ ีฝา่ ยใดได้หรอื เสยี ประโยชน์

203

ภาพท่ี 3.149 ความสมั พันธร์ ะหวา่ งหมอ่ นกบั ชวี ภาพอน่ื แบบภาวะที่ไดป้ ระโยชน์ร่วมกัน เรียนรู้ความผูกพัน

ให้เรียนรู้เร่ืองความผูกพันพฤติกรรม การตอบสนองต่อกัน ระหว่างปัจจัยในสภาวะต่าง ๆ เช่น
การศกึ ษาความผกู พนั ของหมอ่ นกบั มดด้าในสภาวะทมี่ ีแสงและไมม่ แี สง เปน็ ต้น

2.1) การกา้ หนดเร่ืองที่จะเรยี นรู้
1. ปจั จัยหลกั (พืชศกึ ษา)
2. ปัจจัยกายภาพและปัจจัยอ่ืนๆ

วิธกี ารศึกษา ตัวแปรท่ีศึกษา ขอบเขตการศกึ ษา

ตัวอยา่ งเรื่องที่จะเรยี นรู้ :
การศึกษาความผกู พันหมอ่ นกบั มดดาในสภาวะท่ีมแี สงและไม่มีแสง
วธิ ีการศึกษา : การเรียนรู้
ตัวแปรทศี่ ึกษา : ความผกู พนั หมอ่ นกบั มดดา
ขอบเขตของการศกึ ษา : ในสภาวะท่มี แี สงและไมม่ ีแสง
3) เรยี นรดู้ ุลยภาพ ความสมดุล
ให้เรียนรู้ดุลยภาพ ความสมดุล ที่เกิดขึ้นระหว่างปัจจัยศึกษา เช่น การศึกษาดุลยภาพ ความสมดุล

ของหมอ่ นกบั มดดา้ ในสภาวะท่ีมีแสงและไม่มแี สง เปน็ ต้น
2.1) การก้าหนดเรือ่ งทีจ่ ะเรียนรู้
1. ปจั จัยหลัก (พชื ศกึ ษา)
2. ปจั จยั กายภาพและปจั จยั อื่น ๆ

วิธกี ารศกึ ษา 204 ขอบเขตการศกึ ษา
ตัวแปรที่ศึกษา

ตัวอย่างเร่ืองทีจ่ ะเรยี นรู้ :
การศกึ ษาดุลยภาพ ความสมดุลหม่อนกับมดดาในสภาวะทม่ี แี สงและไม่มีแสง
วธิ กี ารศกึ ษา : การเรยี นรู้
ตัวแปรทศ่ี ึกษา : ดลุ ยภาพ ความสมดลุ หมอ่ นกับมดดา
ขอบเขตของการศึกษา : ในสภาวะทมี่ ีแสงและไมม่ แี สง

ลาดบั การเรียนรู้ที่ 6 สรุปผลการเรียนรู้ ดุลยภาพของความพันเกยี่ ว
วัตถุประสงค์

1) เพ่ือรคู้ วามสมดุลของความพนั เกีย่ ว
กระบวนการเรียนรู้

1) เรียนรู้การสรปุ ผลความสัมพันธ์ ความผูกพัน ดุลยภาพ ความสมดุล ระหวา่ งปัจจยั ศกึ ษา
2) เรียนรู้การสรุปผลดุลยภาพในรูปแบบต่าง ๆ เช่น การท้าแอนิเมช่ัน แผนภาพ อินโฟกราฟฟิก
ภาพวาด แผนภมู ิ วฏั จกั ร ฯลฯ

205
ผลที่คาดวา่ จะได้รับ
ด้านวชิ าการ
1) พฤกษศาสตร์ เช่น รูปลกั ษณ์ของพืช ชื่อวทิ ยาศาสตร์ การจ้าแนกชนิด
2) สัตวศาสตร์ เชน่ รูปลักษณ์ คุณสมบตั ิ และพฤติกรรมของสตั ว์ ชือ่ วิทยาศาสตร์

การจา้ แนกชนิด
3) จุลชีววิทยา เชน่ ส่งิ มีชวี ิตขนาดเลก็ แบคทีเรีย เช้อื รา
4) ชีววิทยา เช่น วงจรชวี ติ การเจรญิ เตบิ โต
5) ปฐพีวทิ ยา เชน่ รูปลักษณ์ และคณุ สมบตั ขิ องดนิ
6) สังคมศาสตร์ เชน่ ความสมั พันธ์ ความผกู พัน การอยรู่ ่วมกัน การพึ่งพาอาศัยกนั
7) กีฎวิทยา เชน่ แมลงต่าง ๆ
8) นิเวศวิทยา เช่น ห่วงโซอ่ าหาร ความสัมพนั ธร์ ะหว่างปัจจัย

ด้านภมู ิปัญญา
1) การจัดการธรรมชาตใิ ห้สมดลุ
2) การจดั การชีวติ เขา้ ใจชวี ติ และอยู่กบั ธรรมชาติไดอ้ ย่างเหมาะสม

คณุ ธรรมและจรยิ ธรรม
1) มีความเมตตา กรณุ า ไมท่ า้ รา้ ยท้าลาย
2) ความรับผดิ ชอบในการปฏิบตั ิงานทไ่ี ด้รับมอบหมาย
3) ความซ่อื ตรง ในการศกึ ษาและรายงานผลทถ่ี ูกต้องเปน็ จรงิ
4) ความมรี ะเบียบความรอบคอบ ละเอยี ดถถ่ี ้วน
5) ความอดทนตอ่ สภาพแวดลอ้ มในการปฏบิ ตั งิ าน เชน่ อดทนตอ่ ความรอ้ นของแสงแดด
6) ความเพยี รในการปฏิบัตงิ าน
7) มีความเออื้ อาทร เกือ้ หนุน

207
3.2.8 สาระการเรยี นร้ปู ระโยชน์แทแ้ ก่มหาชน
หลกั การ รูศ้ ักยภาพ รูจ้ นิ ตนาการ รูป้ ระโยชน์
สาระการเรยี นรู้
การวิเคราะห์ศักยภาพของปจั จยั ศกึ ษา จนิ ตนาการเห็นคุณ สรรสร้างวธิ กี าร เพ่ือประโยชนแ์ ทแ้ กม่ หาชน
ลาดบั การเรยี นรู้
1) เรียนรู้การวิเคราะหศ์ กั ยภาพของปัจจัยศึกษา
1.1) พิจารณาศกั ยภาพด้านรูปลกั ษณ์
1.2) วิเคราะห์ศักยภาพดา้ นคุณสมบตั ิ
1.3) จินตนาการศักยภาพดา้ นพฤติกรรม
2) เรยี นรู้ จนิ ตนาการเห็นคณุ ของศักยภาพ ของปัจจยั ศกึ ษา
2.1) จินตนาการจากการวเิ คราะห์ศักยภาพ
2.2) เรียนรูส้ รปุ คณุ ของศกั ยภาพ ทไี่ ดจ้ ากจินตนาการ
3) สรรสร้างวธิ กี าร
3.1) พจิ ารณาคุณทเี่ กิดจากจินตนาการ
3.2) สรา้ งแนวคิด แนวทาง วิธกี าร
4) สรปุ ผลการเรียนรู้ ประโยชนแ์ ท้แกม่ หาชน

ภาพท่ี 3.150 ลาดบั ขั้นตอนการสรรสร้างวิธีการ

208
อธบิ ายลาดบั การเรียนรู้
ลาดบั การเรยี นร้ทู ี่ 1 เรยี นรู้การวิเคราะห์ศกั ยภาพของปจั จยั ศึกษา
วัตถปุ ระสงค์

1) เพ่ือรกู้ ารวิเคราะหศ์ ักยภาพ
กระบวนการเรียนรู้

1) เรยี นรศู้ ักยภาพ
ศกั ยภาพ คอื ภาวะแฝง อานาจหรือคณุ สมบตั ทิ ม่ี แี ฝงอยใู่ นสิ่งต่าง ๆ อาจทาให้พฒั นาหรือให้ปรากฎเป็น
สงิ่ ท่ปี ระจักษไ์ ด้

1.1) เรียนร้กู ารวเิ คราะห์ด้านรปู ลักษณ์
1.1.1) พิจารณารปู ลักษณ์พืชศกึ ษา ชีวภาพ และกายภาพ
1.1.2) สรปุ ศกั ยภาพของรูปลักษณ์

1.2) เรียนรูก้ ารวิเคราะห์ด้านคุณสมบัติ
1.2.1) จินตนาการคุณสมบัตพิ ชื ศกึ ษา ชวี ภาพ และกายภาพ
1.2.2) สรุปศักยภาพของคณุ สมบตั ิ

1.3) เรียนรูก้ ารวิเคราะห์ด้านพฤติกรรม
1.3.1) วเิ คราะห์พฤตกิ รรมพืชศกึ ษา และชีวภาพ
1.3.2) สรปุ ศกั ยภาพของพฤติกรรม

ลาดบั การเรยี นรทู้ ่ี 2 เรยี นรู้ จินตนาการเห็นคณุ ของศักยภาพ ของปจั จัยศกึ ษา
วตั ถุประสงค์

1) เพอื่ รกู้ ารจินตนาการเห็นคุณของศักยภาพ

209

ภาพท่ี 3.151 ลาดับขั้นตอนการเกิดจนิ ตนาการ
กระบวนการเรียนรู้

1) เรยี นรูก้ ารจนิ ตนาการ
จนิ ตนาการ คือ การสร้างภาพขึน้ ในจิตใจ
2) เรียนรู้การจินตนาการเห็นคณุ จากการวเิ คราะหศ์ ักยภาพด้านรูปลกั ษณ์

2.1) จนิ ตนาการเหน็ คณุ ดา้ นรูปลักษณพ์ ชื ศกึ ษา ชวี ภาพ และกายภาพ
2.2) สรปุ คุณของศกั ยภาพทไี่ ดจ้ ากการจินตนาการด้านรูปลกั ษณ์
3) เรยี นรูก้ ารจนิ ตนาการเหน็ คณุ ดา้ นคณุ สมบตั ิ
3.1) จนิ ตนาการเหน็ คุณด้านคุณสมบตั ิพชื ศึกษา ชวี ภาพ และกายภาพ
3.2) สรปุ คณุ ของศกั ยภาพท่ไี ดจ้ ากการจินตนาการด้านคุณสมบัติ
4) เรียนร้กู ารจินตนาการเห็นคณุ ด้านพฤติกรรม
4.1) จินตนาการเห็นคุณด้านพฤติกรรมพืชศกึ ษา และชวี ภาพ
4.2) สรปุ คุณของศักยภาพท่ีได้จากการจินตนาการด้านพฤติกรรม

210
ลาดับการเรยี นรู้ท่ี 3 สรรคส์ ร้างวธิ กี าร
วัตถปุ ระสงค์

1) เพ่อื รู้การพจิ ารณาคณุ
2) เพื่อรู้วิธกี ารสร้างแนวคดิ แนวทาง วธิ ีการ
กระบวนการเรยี นรู้
1) พจิ ารณาคุณที่เกิดจากจนิ ตนาการ
2) สร้างแนวคิด แนวทาง วิธีการ

2.1) แนวคดิ คอื ความคิดทมี่ แี นวทางปฏิบัติ
2.2) แนวทาง คอื ทางปฏบิ ัตทิ ีว่ างไว้เปน็ แนว
2.3) วธิ ีการ คือ วธิ ีปฏบิ ตั ิตามหลักการ เป็นขั้นตอนอยา่ งมรี ะบบ

ลาดับการเรยี นรู้ที่ 4 สรุปผลการเรียนรู้ ประโยชนแ์ ท้แก่มหาชน
วัตถปุ ระสงค์

1) เพอ่ื ใหส้ ามารถสรปุ ผลการเรียนรู้ ประโยชนแ์ ท้แกม่ หาชนได้
กระบวนการเรยี นรู้

1) เรยี นรู้ประโยชนแ์ กม่ หาชน
1.1) ประโยชน์
ประโยชน์ คอื ส่ิงที่มผี ลใชไ้ ด้ดีสมกบั ท่คี ดิ มงุ่ หมายไว้
1.2) ประโยชนแ์ ท้
ประโยชนแ์ ท้ คือ สงิ่ ทม่ี ผี ลใช้ได้ดีสมกบั ทคี่ ิดมุ่งหมายไว้
1.3) ประโยชน์แก่มหาชน
ประโยชนแ์ กม่ หาชน คอื ผลประโยชน์นั้นเม่ือเกิดขึ้นแล้ว บารุงจิตให้เบิกบาน ขจัดความขาด

แคลนทางกาย สืบเน่อื งยาวนานไม่รู้จบ ตกอยู่กับมหาชนคนส่วนใหญ่ และ
2) นาผลงานจากการเรยี นรู้ มาสรุปประโยชน์แก่มหาชน

211

3.10 การสารวจและจัดทาฐานทรัพยากรทอ้ งถ่ิน

หลกั การ รูท้ รพั ยากร เหน็ ความหลาย รู้ระบบฐาน
สาระสาคัญ

การสารวจและจัดทาฐานทรัพยากรท้องถิ่น เป็นการเกบ็ รวบรวมขอ้ มูลทางดา้ นกายภาพ ชีวภาพ
รวมท้งั วัฒนธรรมและภูมปิ ญั ญา ของแตล่ ะท้องถิน่ ต้ังแต่อดีตถงึ ปจั จุบนั วิเคราะหจ์ ัดทาเปน็ ระบบฐานข้อมูล
ลาดับการดาเนนิ งาน

1. เก็บข้อมูลพ้นื ฐานในทอ้ งถิน่
2. เกบ็ ข้อมูลการประกอบอาชีพในท้องถ่นิ
3. เก็บข้อมูลกายภาพในทอ้ งถนิ่
4. เกบ็ ขอ้ มลู ประวตั ิหม่บู ้าน ชมุ ชน วิถีชมุ ชนในท้องถ่นิ
5. เก็บข้อมูลการใชป้ ระโยชนจ์ ากพืชในท้องถ่ิน
6. เก็บขอ้ มูลการใช้ประโยชน์จากสัตว์ในท้องถิน่
7. เกบ็ ข้อมลู การใช้ประโยชน์จากชวี ภาพอ่นื ๆ ในทอ้ งถิ่น
8. เก็บขอ้ มลู ภมู ิปญั ญาในท้องถ่นิ
9. เก็บข้อมลู แหลง่ ทรัพยากรและโบราณคดีในทอ้ งถ่ิน
10. จัดทาฐานข้อมูลทรพั ยากรในทอ้ งถิน่
แนวทางการเรียนรู้
ลาดบั การเรียนรู้ท่ี 1 เก็บขอ้ มลู พน้ื ฐานในทอ้ งถิ่น
วัตถปุ ระสงค์

1. เพอ่ื ใหท้ ราบขอ้ มูลพืน้ ฐานในท้องถิน่ ของตน
2. เพอ่ื ใหเ้ ห็นศักยภาพของทอ้ งถิ่น
3. เพื่อใหเ้ กดิ ทักษะในการสอบถาม รวบรวมขอ้ มูลและเปน็ ส่วนหนงึ่ ของชุมชน
กระบวนการเรยี นรู้
1. โรงเรียนประสานงานและดาเนนิ งานรว่ มกับองค์กรปกครองสว่ นท้องถิ่น
2. การสารวจเก็บรวบรวมขอ้ มูลพื้นฐานในท้องถิ่น ในแต่ละพืน้ ที่ (ชุมชน หมบู่ ้าน แขวง)
3. สารวจแหล่งขอ้ มลู กาหนดประเดน็ คาถามก่อนสอบถามขอ้ มลู
4. สอบถามข้อมูลจากท่ีทาการผู้ใหญ่ ที่ทาการกานัน องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินสานักงาน

เกษตรอาเภอ สานักงานปศุสตั วอ์ าเภอ สานกั งานเขต
5. บันทึกข้อมูล โดยการกาหนดให้ใช้ใบงานท่ี 1 การเก็บข้อมูลพ้ืนฐานในท้องถ่ิน (ดูใน

ภาคผนวก)

212
การเรยี นรู้
เป็นการเก็บรวบรวมข้อมูลพื้นฐานของหมู่บ้าน ชุมชน เพื่อให้ทราบข้อมูลทางด้านศาสนา ประชากร
สถานศึกษา และการบริหารขององคก์ รปกครองสว่ นท้องถิ่น ซง่ึ ประกอบด้วยข้อมูล ดงั ต่อไปน้ี
1. ช่ือหมูบ่ า้ น ชุมชน (ท่ีเปน็ ทางการ และชือ่ ที่ชาวบ้านเรยี ก)
2. ท่ีตง้ั ของหมูบ่ ้าน
3. ขอ้ มลู ทางศาสนา
4. จานวนประชากร
5. ข้อมูลสถานศึกษาท่เี ปดิ ใหบ้ รกิ าร
6. ข้อมูลการบริหารขององคก์ รปกครองส่วนท้องถ่นิ
7. ศนู ย์สขุ ภาพชุมชน / โรงพยาบาล
8. สถานตี ารวจ

ภาพที่ 3.152 ภาพกจิ กรรมการสารวจการดาเนินงานสารวจเก็บรวบรวมทรพั ยากรทอ้ งถ่ิน

213

ตารางที่ 3.9 ตัวอยา่ งตารางสรปุ การสารวจ

ลาดับการเรยี นรู้ท่ี 2 เกบ็ ข้อมลู การประกอบอาชีพในทอ้ งถิน่

วตั ถปุ ระสงค์
1. เพอื่ ให้ทราบการประกอบอาชีพของบุคคลในทอ้ งถิน่
2. เพ่อื ใหท้ ราบศกั ยภาพทางเศรษฐกจิ ของทอ้ งถิน่

กระบวนการเรียนรู้
1. สารวจแหล่งขอ้ มูล กาหนดประเดน็ คาถามกอ่ นสอบถามข้อมลู
2. สอบถามขอ้ มูลจากที่ทาการผ้ใู หญท่ ่ีทาการกานัน องคก์ ารบริหารสว่ นทอ้ งถ่นิ
สานกั งานเกษตรอาเภอ สานักงานปศสุ ตั วอ์ าเภอ สานกั งานเขต
3. บันทกึ ขอ้ มูล โดยการกาหนดให้ใชใ้ บงานท่ี 2 การเกบ็ ข้อมูลการประกอบอาชพี ในท้องถ่ิน
(ดใู นภาคผนวก)

ข้อมูลเบื้องตน้ ในการเรียนรู้
เปน็ การเกบ็ รวบรวมจดั ทาฐานขอ้ มูลการประกอบอาชีพในท้องถ่ินเพ่ือทราบข้อมูลการประกอบอาชีพ

ปัญหาและแนวทางการแก้ปัญหากาหนดแนวทางการอนรุ กั ษ์และพัฒนาในดา้ นการประกอบอาชพี ในท้องถิน่
1) ดา้ นเกษตรกรรมทานา ทาสวนทาไร่ ด้านปศสุ ัตว์ ประมงอื่น ๆ
2) ด้านอตุ สาหกรรมโรงงานอตุ สาหกรรมขนาดเล็ก กลาง ใหญ่
3) ด้านการพาณิชยธ์ นาคารสถานบี รกิ ารนา้ มันบรษิ ทั ศูนยก์ ารคา้ ห้างสรรพสินคา้ ห้างหนุ้ สว่ น
จากัด ตลาดสด ร้านค้าตา่ ง ๆ โรงฆา่ สัตว์
4) สถานบริการโรงแรม รา้ นอาหาร โรงภาพยนตร์ สถานขี นสง่ อืน่ ๆ

214
การสารวจการประกอบอาชีพดา้ นเกษตรกรรม

ภาพท่ี 3.153 การถอนกล้าต้นขา้ ว (ภาพด้านซ้าย) และการปลูกยางพารา (ภาพดา้ นขวา)
การสารวจการประกอบอาชพี ด้านปศสุ ตั ว์

ภาพท่ี 3.154 การเลย้ี งหมู (ภาพดา้ นซ้าย) และการเลยี้ งไกไ่ ขใ่ นสภาพโรงเรอื น (ภาพดา้ นขวา)
การสารวจการประกอบอาชีพด้านอุตสาหกรรม

ภาพท่ี 3.155 การตัดหินทราย (อตุ สาหกรรมครวั เรอื น)

215
การสารวจการประกอบอาชพี ดา้ นการพาณิชยส์ ถานบรกิ าร

ภาพท่ี 3.156 การสารวจรา้ นขายของชา (ภาพดา้ นซา้ ย) และสถานบรกิ ารดา้ นรสี อร์ต (ภาพด้านขวา)
ตารางที่ 3.10 ตัวอย่างตารางสรุปขอ้ มูลการประกอบอาชพี ในทอ้ งถ่ิน

ลาดับการเรยี นรู้ท่ี 3 เกบ็ ขอ้ มูลกายภาพในทอ้ งถนิ่
วัตถปุ ระสงค์
1. เพ่ือให้ทราบสภาพภูมิศาสตรใ์ นท้องถิน่
2. เพอ่ื ให้ทราบศักยภาพของทรัพยากรกายภาพในท้องถนิ่
3. เพอ่ื ใหเ้ กดิ การมีส่วนร่วมในอนุรกั ษ์ทรัพยากรในท้องถ่ิน
กระบวนการเรียนรู้
1. สารวจแหลง่ ขอ้ มูล กาหนดประเดน็ คาถามกอ่ นสอบถามข้อมลู
2. สอบถามข้อมูลจากทีท่ าการผ้ใู หญท่ ่ีทาการกานัน องคก์ ารบรหิ ารสว่ นท้องถนิ่ สานกั งาน
เกษตรอาเภอ สานกั งานเขต
3. บนั ทึกขอ้ มลู โดยการกาหนดให้ใชใ้ บงานที่ 3 การเก็บขอ้ มูลกายภาพในทอ้ งถิ่น
(ดูในภาคผนวก)

216
ข้อมลู เบ้ืองต้นในการเรียนรู้

เปน็ การเกบ็ รวบรวมขอ้ มูลทางดา้ นสภาพภมู ปิ ระเทศ ลกั ษณะดิน แหล่งนา้ อุณหภูมิ ปริมาณแสง
ตาแหนง่ ทางภูมิศาสตรข์ องทรัพยากรกายภาพในท้องถิ่น

1)สภาพภูมปิ ระเทศ เชน่ เป็นทีร่ าบ ลุม่ ลาดเอียง ภเู ขา ป่าพรุ ป่าชายหาด ปา่ ชายเลน
2)ลกั ษณะดิน ชดุ ดิน
3)แหลง่ น้า แหล่งน้าธรรมชาติแหล่งน้าชลประทานฝายชะลอความชุ่มช้ืน
4) อุณหภูมิ
5)ปรมิ าณแสง
6)พกิ ัดทางภูมศิ าสตร์

ภาพท่ี 3.157 สภาพภมู ิศาสตร์

ภาพท่ี 3.158 แหล่งน้าธรรมชาติ

217
ลาดับการเรยี นรู้ท่ี 4 การเก็บขอ้ มลู ประวตั ิหม่บู า้ น ชุมชน วถิ ีชุมชนในทอ้ งถิน่

วัตถปุ ระสงค์
1. เพ่อื ใหท้ ราบประวัติความเปน็ มาของทอ้ งถน่ิ
2. เพอ่ื ให้ทราบศกั ยภาพของทอ้ งถิ่น
3. เพ่ือให้เกดิ ความภาคภมู ใิ จในทอ้ งถิน่

กระบวนการเรยี นรู้
1) วถิ ีชีวิต แสดงให้เห็นวถิ ีการดารงชวี ติ ของคนในทอ้ งถ่ิน รอบวันรอบสัปดาห์รอบเดือนรอบปี
2) สารวจแหลง่ ข้อมูล กาหนดประเดน็ คาถามกอ่ นสอบถามขอ้ มูล
3) สอบถามข้อมูลจากทท่ี าการผู้ใหญท่ ่ีทาการกานนั องค์การบรหิ ารสว่ นท้องถ่นิ
4) บนั ทึกขอ้ มูล โดยการกาหนดให้ใช้ใบงานท่ี 4การเก็บข้อมลู ประวตั หิ มู่บ้าน ชุมชน วิถชี ุมชนใน
ทอ้ งถิ่น (ดูในภาคผนวก)

ข้อมลู เบ้ืองตน้ ในการเรยี นรู้
การเก็บขอ้ มูลประวตั หิ มบู่ า้ น เป็นการเกบ็ ข้อมลู ประวตั หิ มู่บ้าน เปน็ การเก็บข้อมูลท่มี าการตง้ั ถิ่นฐาน

ตง้ั แตอ่ ดตี ถึงปจั จุบนั
1. ประวตั ิหมู่บ้าน เชน่ ช่อื หมบู่ ้าน กลุ่มคนแรกท่เี ข้ามาในหมบู่ ้าน
2. วถิ ีชวี ิต เชน่ การประกอบอาชพี การประกอบอาหาร
3. ประเพณี วัฒนธรรม

ภาพท่ี 3.159 การแสดงราตงชาตพิ ันธก์ุ ระเหรี่ยง

ภาพที่ 3.160 การเก็บข้อมูลประวัติหมูบ่ ้าน

218
ลาดับการเรียนรู้ท่ี 5 การเกบ็ ขอ้ มูลการใชป้ ระโยชน์ของพชื ในทอ้ งถนิ่

วัตถุประสงค์
1. เพื่อให้ทราบข้อมูลการใช้ประโยชนข์ องพืชในทอ้ งถิ่น
2. เพื่อใหท้ ราบศกั ยภาพของพืชในทอ้ งถน่ิ
3. เพื่อใหต้ ระหนัก เห็นคณุ รูค้ ่า ของพืชในท้องถนิ่
กระบวนการดาเนินงาน
1) สารวจแหล่งขอ้ มูล กาหนดประเดน็ คาถามกอ่ นสอบถามขอ้ มูล
2) สอบถามขอ้ มลู จากที่ทาการผู้ใหญ่ทีท่ าการกานัน องค์การบริหารสว่ นท้องถิ่น
3) บันทึกขอ้ มูล โดยการกาหนดให้ใช้ใบงานท่ี 5 การใช้ประโยชนจ์ ากพชื ในทอ้ งถ่ิน

(ดูในภาคผนวก)
ข้อมลู เบ้ืองตน้ ในการเรียนรู้

การเกบ็ ขอ้ มลู พชื ที่มีความสาคัญ และมลี ักษณะพิเศษ สามารถนามาใช้ประโยชนใ์ นด้านตา่ ง ๆ
1. ข้อมูลพืช เช่น พชื ไมผ้ ล ผกั พน้ื เมอื ง พชื สมนุ ไพร พชื ที่ใช้เนื้อไม้ พืชเศรษฐกจิ
2. ลกั ษณะวิสัย เชน่ ไม้ตน้ ไม้พุ่ม ไม้เลือ้ ย ไม้รอเลื้อย
3. ลักษณะเด่นของพืช คือ สมบัติเฉพาะตัวพชื ท่ีปรากฏใหเ้ หน็ ในสภาพธรรมชาติ
4. สถานภาพของพชื เช่น พืชท่พี บทัว่ ไปพชื หายากพืชท่ใี กลส้ ูญพนั ธ์ุ
5. การใชป้ ระโยชน์จากพืชในทอ้ งถนิ่ เชน่ อาหาร ยารกั ษาโรค

ภาพท่ี 3.161 การนาหญ้าคามาทาเป็นวัสดุ

ภาพท่ี 3.162 การนาพืชมาทาเปน็ ยาสมุนไพรรักษาโรค

219
ลาดบั การเรยี นรู้ท่ี 6 เก็บขอ้ มูลการใชป้ ระโยชน์ของสตั ว์ในท้องถิน่

วตั ถุประสงค์
1. เพื่อให้ทราบขอ้ มูลของสตั ว์ในท้องถ่นิ
2. เพื่อใหท้ ราบศักยภาพของสตั วใ์ นทอ้ งถ่ิน
3. เพื่อให้ตระหนัก เหน็ คุณ รู้ค่า ของสัตว์ในทอ้ งถิ่น
กระบวนการเรียนรู้
1. สารวจแหล่งข้อมูล กาหนดประเดน็ คาถามกอ่ นสอบถามขอ้ มลู
2. สอบถามขอ้ มลู จากที่ทาการผใู้ หญ่ท่ที าการกานัน องค์ปกครองสว่ นท้องถิน่ บันทกึ ข้อมูล โดยการ
กาหนดให้ใชใ้ บงานท่ี 5การเกบ็ ข้อมูลการใชป้ ระโยชน์ของสตั วใ์ นท้องถนิ่ (ดใู นภาคผนวก)

ขอ้ มลู เบอ้ื งต้นในการเรยี นรู้
การเกบ็ ข้อมลู สตั ว์ ที่มีความสาคญั และมีลักษณะพิเศษ สามารถนาข้อมูลไปพฒั นาและใช้ประโยชน์ใน

ดา้ นตา่ งๆ
1. ชนดิ ของพันธุ์สตั ว์ เชน่ สัตวน์ ้า สัตว์เลี้ยงลกู ด้วยน้านม สตั ว์เลอ้ื ยคลาน สัตว์สะเทนิ นา้
สะเทนิ บก และสัตว์ปีก
2. ข้อมูลการใช้ประโยชนข์ องสัตว์ในท้องถ่ิน เช่น เพ่ือประกอบอาชีพ เพ่ือความสวยงาม
เพื่อเป็นพ่อพันธ์แุ มพ่ นั ธุ์ และเพ่อื ประกอบอาหาร

ลาดบั การเรยี นรู้ท่ี 7 เก็บขอ้ มูลการใชป้ ระโยชน์ของชีวภาพอนื่ ๆ ในท้องถิ่น
วัตถปุ ระสงค์
1. เพอ่ื ให้ทราบข้อมูลของชวี ภาพอ่นื ๆ ในทอ้ งถน่ิ
2. เพือ่ ใหท้ ราบศกั ยภาพของชีวภาพอืน่ ๆ ในท้องถน่ิ
3. เพื่อใหต้ ระหนัก เห็นคุณ รูค้ ่า ของชีวภาพอืน่ ๆ ในทอ้ งถนิ่
กระบวนการเรียนรู้
1) สารวจแหล่งขอ้ มูล กาหนดประเดน็ คาถามกอ่ นสอบถามขอ้ มลู
2) สอบถามข้อมูลจากท่ีทาการผูใ้ หญ่ทท่ี าการกานัน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น บันทึกขอ้ มลู โดย

การกาหนดให้ใช้ ใบงานที่ 7 การเกบ็ ขอ้ มลู การใช้ประโยชนจ์ ากชีวภาพอื่น ๆ ในทอ้ งถิน่ (ดูในภาคผนวก)
ข้อมูลเบอื้ งต้นในการเรยี นรู้

การเกบ็ ข้อมลู การใช้ประโยชน์ ชนิด และการกระจายพันธขุ์ องสงิ่ มชี ีวติ อ่ืน ๆ นอกจากพชื และสัตว์
เช่น เหด็ รา สาหรา่ ยไลเคนฯลฯในทอ้ งถน่ิ

1. ชอ่ื เรียกในทอ้ งถิ่น
2. ข้อมูลชวี ภาพอื่น ๆ เช่น เห็ด รา สาหรา่ ย และไลเคน
3. การใชป้ ระโยชนข์ องชีวภาพอื่น ๆ เชน่ อาหาร ยารักษาโรค ปลูกเพ่ือสรา้ งอาชพี
4. การกระจายพนั ธุ์
5. ลักษณะเด่น

220

ภาพท่ี 3.163 การใช้ประโยชน์ของเห็ดปะการังสีชมพู

ภาพท่ี 3.164 การใช้ประโยชน์ของไลเคน Everniastrum
ลาดับการเรยี นรู้ท่ี 8 เก็บข้อมูลภมู ิปัญญาในทอ้ งถิ่น

วัตถุประสงค์
1. เพอ่ื ใหท้ ราบขอ้ มูลภูมปิ ัญญาทอ้ งถนิ่
2. เพื่อให้ทราบศกั ยภาพของภูมปิ ัญญาท้องถิ่น
3. เพือ่ ให้ตระหนักถึงการสืบสาน ภูมปิ ัญญาทอ้ งถ่ิน
กระบวนการเรยี นรู้
1) สารวจแหลง่ ข้อมลู กาหนดประเด็นคาถามก่อนสอบถามข้อมลู
2) สัมภาษณ์หรอื สอบถามข้อมูลจากบคุ คล เช่น ผู้อาวโุ ส ผรู้ ใู้ นทอ้ งถน่ิ
3) โดยการกาหนดใหใ้ ช้ ใบงานที่ 8 การเกบ็ ข้อมลู ภมู ิปัญญาในทอ้ งถ่ิน(ดใู นภาคผนวก)
ข้อมูลเบ้อื งตน้ ในการเรยี นรู้
เป็นการเก็บข้อมูลภูมิปัญญาท้องถิ่นสาขาต่างๆ เช่น สาขาเกษตรกรรม สาขาอุตสาหกรรมและ
หัตถกรรม สาขาการแพทย์แผนไทย สาขาการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม สาขากองทุนและ
ธุรกจิ ชุมชน สาขาสวสั ดกิ าร สาขาศิลปกรรม สาขาการจดั การองค์กร สาขาภาษาและวรรณกรรม สาขาศาสนา
และประเพณี

221
1. ประเภทของภูมิปัญญาท้องถ่นิ เชน่ ดา้ นพชื ดา้ นผลิตภัณฑ์และการแปรรูป ด้านสตั ว์ ด้านเคร่ืองมอื
เคร่ืองใชท้ างการเกษตร ดา้ นประมง เปน็ ตน้
2. จดุ เดน่ ของภมู ิปัญญาท้องถิน่
3. รายละเอยี ดของภมู ิปัญญาทอ้ งถน่ิ

ภาพท่ี 3.165 เก็บขอ้ มลู ประเพณีและวัฒนธรรมการแสดงราตงชาติพันธก์ุ ระเหรย่ี ง

ภาพที่ 3.166 เก็บขอ้ มูลภมู ปิ ัญญาท้องถน่ิ การทอผ้าดว้ ยก่กี ระตุก
ลาดับการเรียนรู้ท่ี 9 เก็บขอ้ มูลแหลง่ ทรพั ยากรและโบราณคดใี นทอ้ งถิ่น

วัตถปุ ระสงค์
1. เพอื่ ให้ทราบขอ้ มูลแหล่งทรัพยากรและโบราณคดีในท้องถ่ิน
2. เพื่อให้ทราบศักยภาพของแหล่งทรพั ยากรและโบราณคดีในท้องถน่ิ
3. เพอื่ ให้ตระหนักและอนุรักษ์ แหล่งทรัพยากรและโบราณคดีในทอ้ งถิ่น
กระบวนการเรียนรู้
1) สารวจแหล่งข้อมูล กาหนดประเด็นคาถามก่อนสอบถามขอ้ มลู
2) สมั ภาษณห์ รอื สอบถามขอ้ มลู จากบุคคล เชน่ ผ้อู าวโุ ส ผรู้ ู้ในทอ้ งถน่ิ
3) โดยการกาหนดให้ใช้ ใบงานที่ 9 การเก็บข้อมูลแหล่งทรัพยากรและโบราณคดีในท้องถิ่น

(ดใู นภาคผนวก)

222
ขอ้ มลู เบื้องตน้ ในการเรียนรู้

เป็นการเกบ็ ข้อมูลแหลง่ ทรพั ยากรทเี่ กิดขนึ้ ตามธรรมชาตแิ ละมนุษย์สรา้ งขึ้น เชน่ อทุ ยานฯ น้าตก สวน
เฉลิมพระเกยี รติ สวนพฤกษศาสตร์ สวนปา่ โบราณวัตถุ โบราณสถาน ฯลฯ

1. ประวตั ขิ องแหล่งทรพั ยากร
2. ความสาคัญแหล่งทรัพยากร
3. อายุแหลง่ ทรัพยากร
4. การใชป้ ระโยชน์
5. การซอ่ มแซมปรับปรุง

ภาพท่ี 3.167 เก็บข้อมูลแหล่งทรพั ยากรโบราณสถาน

ลาดบั การเรียนรู้ท่ี 10 จดั ทาฐานข้อมลู ทรพั ยากรในท้องถน่ิ
วตั ถปุ ระสงค์
1. เพอ่ื รวบรวมและตรวจสอบความสมบรู ณ์ ถกู ตอ้ งของข้อมูลจากผลการเรยี นรู้
2. เพ่ือบนั ทกึ ขอ้ มูลในระบบฐานขอ้ มูล
3. เพ่ือจัดทารายงานผลการสารวจและจดั ทางานฐานทรพั ยากรทอ้ งถิ่น
กระบวนการเรียนรู้

1. รวบรวมและตรวจสอบความสมบรู ณ์ ถกู ตอ้ งของข้อมูลจากผลการเรียนรู้ 9 ใบงาน
2. บันทึกขอ้ มลู ในระบบฐานข้อมูล

2.1 ระบบฐานข้อมูลรปู แบบทะเบยี นใบงานท่ี 5 6 7 8 และ 9
2.2 ระบบฐานข้อมูลรูปแบบโปรแกรม หรือไฟล์ข้อมูลใบงานที่ 1 - 9
3. จัดทารายงานผลการสารวจและจัดทาฐาทรพั ยากรท้องถ่นิ

บทท่ี 4
มาตรฐานการดาเนนิ งานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน

มาตราฐานการดาเนินงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน เป็นข้อกาหนดเก่ียวกับคุณลักษณะคุณภาพ และ
มาตรฐานที่ต้องการให้เกิดขึ้นในการดาเนินงานของสมาชิกสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน เพ่ือใช้เป็นหลักในการ
เทียบเคยี ง สาหรบั สนบั สนนุ ส่งเสรมิ กากบั ดูแล การตรวจสอบ การประเมิน และการประกันคุณภาพ ของงาน
สวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรยี น

สาระที่ 1 การบริหารและการจัดการ
มาตรฐานท่ี 1.1 บคุ ลากร

เข้าใจการบริหารและการจัดการบุคลากรของสถานศึกษา การมีส่วนร่วมในการคิดและปฏิบัติ
การแต่งตั้งคณะทางานในงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน ปฏิบัติตามหลักการอนุรักษ์และพัฒนา บนฐาน
ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

มาตรฐานที่ 1.2 ระบบ
เข้าใจการบริหาร และการจัดการที่เป็นระบบ การกาหนดนโยบาย วิสัยทัศน์ การจัดทาแผนงานด้าน
บริหาร การจัดทาปฏทิ นิ งาน การจัดทาแผนการจัดการเรียนรู้ การดาเนินงาน สรุปและ ประเมินผล วิเคราะห์
ผลการดาเนินงาน การปรับปรุงและพัฒนางาน และการายงานผลการดาเนินงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน
เพื่อการบริหารและการจดั การ อย่างมีดลุ ยภาพเหน็ ความสาคญั ของประโยชน์แท้แก่มหาชน นาไปส่กู ารอนุรักษ์
และพัฒนาอย่างยงั่ ยนื

สาระที่ 2 การจดั การเรียนรู้
มาตรฐานที่ 2.1 วชิ าการ

รู้และเขา้ ใจ วธิ กี ารจดั การเรียนรู้ บรู ณาการวทิ ยาการและบรู ณาการชีวิต สอื่ ประกอบการเรียนรู้ ผลการ
เรยี นรู้ โดยมสี วนพฤกษศาสตรโ์ รงเรียนเป็นฐานการเรยี นรู้ เพอ่ื เข้าถึงวิทยาการ ปญั ญา และภูมิปญั ญาแห่งตน

มาตรฐานที่ 2.2 แหล่งเรียนรู้
รู้และเข้าใจ แหลง่ เรียนรู้ภายในและภายนอกสถานศกึ ษา ปัจจัยของสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน เพื่อเป็น
แบบอยา่ งการมี การใช้ศกั ยภาพสวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรียนอย่างเหมาะสม

224

มาตรฐานการดาเนินงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน (School Botanical Garden Work Standard)
มาตรฐานงานสวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรียน (SBG Standard)

คณะทางาน เนื้อหาสาระ
- 5 องคป์ ระกอบ
- พชื ศึกษา
- 3 สาระการเรยี นรู้
- การสารวจและจดั ทาฐาน
ทรพั ยากรทอ้ งถิน่

ผลการเรยี นรู้

ภาพท่ี 4.1 แผนภาพมาตรฐานการดาเนนิ การสวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรยี น

225

4.1 มาตรฐานการบริหารและการจัดการ

ตวั ช้วี ดั สาระงาน

1. บุคลากร 1. จัดประชมุ ภายในสถานศกึ ษา ไม่นอ้ ยกว่า 5 คณะ ดังน้ี

1.1 อธบิ ายการมสี ่วนรว่ มในงานสวนพฤกษศาสตร์ 1.1 คณะกรรมการสถานศึกษา

โรงเรียน 1.2 คณะผู้ปกครอง

1.3 คณะผบู้ รหิ าร หัวหนา้ ฝ่าย และหวั หน้ากลมุ่ สาระการเรยี นรู้

1.4 คณะกรรมการดาเนินงานสวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรยี น

1.5 คณะกรรมการดาเนนิ งานสารวจและจดั ทาฐานทรพ้ั ยากรท้องถ่ิน

2. การเข้ารว่ มกิจกรรมกบั หน่วยงานภายนอกสถานศึกษา (อพ.สธ./ ร.ร./ อปท.)

2.1 การประชมุ กลุ่ม/ เยี่ยมกล่มุ

2.2 การฝกึ อบรมปฏิบตั กิ ารงานสวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรียน

2.3 การฝกึ อบรมปฏบิ ตั ิการสารวจและจัดทาฐานทรัพยากรทอ้ งถิ่น

1.2 ระบแุ ละอธบิ ายการแตง่ ต้งั คณะทางาน 1. แต่งตง้ั คณะกรรมการดาเนินงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน ครบทงั้ 4 ด้าน โดย

ในงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน พจิ ารณาตามความเหมาะสมตามบริบทของสถานศกึ ษา โดยระบหุ นา้ ทคี่ วาม

รับผดิ ชอบใหช้ ัดเจน

1.1 คณะกรรมการดา้ นท่ี 1 การบริหารและการจดั การ ประกอบดว้ ย

ผู้อานวยการ รองผู้อานวยการ หัวหนา้ ฝา่ ยทกุ ฝา่ ย และ หวั หน้ากลุม่ สาระ

การเรียนรู้

1.2 คณะกรรมการดา้ นที่ 2 การดาเนินงาน ประกอบด้วยรองผู้อานวยการฝ่าย

วชิ าการ หวั หน้าฝ่าย หัวหน้ากลุม่ สาระการเรียนรู้

1.3 คณะกรรมการด้านที่ 3 ผลการดาเนินงานประกอบดว้ ยรองผูอ้ านวยการฝา่ ย

วิชาการ หัวหนา้ ฝา่ ย หัวหน้ากลมุ่ สาระการเรยี นรู้ หวั หน้าฝา่ ยวัดผล และให้

สถานศึกษาดาเนินการแตง่ ต้ังคณะกรรมการประเมินงานสวนพฤกษศาสตร์

โรงเรียน

1.4 คณะกรรมการดา้ นท่ี 4 ความถูกต้องทางวิชาการ ประกอบด้วย

หวั หน้ากลมุ่ สาระการเรียนรู้ ทกุ กลุ่ม

2. แตง่ ต้ังคณะกรรมการ 5 องค์ประกอบงานสวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรยี น ครบ

ตามลาดบั การเรยี นรู้

3. แตง่ ต้ังคณะกรรมการพชื ศึกษาครบ 4 หวั ข้อ

3.1 คาสง่ั แต่งตงั้ คณะกรรมการโครงสร้างแตล่ ะส่วนของพืช

(ราก ลาต้น ใบ ดอก ผล และเมล็ด)

3.2 คาส่ังแตง่ ตั้งคณะกรรมการเรยี นร้นู ิเวศวทิ ยา

3.3 คาสั่งแต่งตง้ั คณะกรรมการเรียนรู้การขยายพันธุ์ การปลูก การดูแลรักษา

และการเจริญเติบโต

3.4 คาสงั่ แต่งตั้งคณะกรรมการเรียนรกู้ ารนาไปใชป้ ระโยชน์

4.แต่งต้ังคณะกรรมการ 3 สาระการเรียนรู้ ครบตามลาดับการเรยี นรู้

(ธรรมชาติแห่งชวี ิต สรรพสิ่งล้วนพนั เกยี่ ว และประโยชน์แท้แกม่ หาชน)

226

ตัวช้ีวัด สาระงาน
2. ระบบ 5.แต่งตั้งคณะกรรมการ สารวจและจัดทาฐานทรัพยากรทอ้ งถ่นิ
2.1 ระบุนโยบาย วิสยั ทัศน์ 1. กาหนดนโยบาย วสิ ัยทศั น์ ของสถานศกึ ษาให้สอดคลอ้ งกับเปา้ หมาย
2.2 ระบุ อธบิ ายและวางแผนงานดา้ นการบริหาร วัตถปุ ระสงค์ อพ.สธ.
1. จัดทาผงั โครงสร้างการบรหิ ารของสถานศึกษา โดยจดั งานสวนพฤกษศาสตร์
2.3 ระบแุ ละอธิบายการจัดทาปฏิทิน
โรงเรียน อย่ใู นฝ่ายวิชาการ
2.4 ระบุ อธิบายและวางแผนการจดั การเรยี นรู้ 2. นางานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน จัดไวใ้ นแผนงานประจาปขี องสถานศกึ ษา
3. จัดทาการวิเคราะหค์ วามสอดคลอ้ งงานสวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรยี น กบั หลักสูตร

แกนกลาง การศึกษาขัน้ พืน้ ฐานของโรงเรียนใหค้ รบทกุ ลาดบั การเรยี นรู้ของ
5 องค์ประกอบ พืชศึกษา 3 สาระการเรยี นรู้ และการสารวจและจัดทาฐาน
ทรพั ยากรทอ้ งถนิ่
4. นาผลการวเิ คราะห์ความสอดคลอ้ งมาจดั ทาผังมโนทัศน์รวม (Mind mapping)
5. จดั ทาแผนงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรยี น แสดงรายละเอยี ดงาน งบประมาณ
และระยะเวลา
ส่วนที่ 1 ช่ือแผนงาน (แผนงาน /โครงการ ) ผรู้ ับผดิ ชอบ หลักการและเหตผุ ล

วัตถุประสงค์ เป้าหมาย พื้นท่ีดาเนินการ
ส่วนท่ี 2 แผนการดาเนินงานด้านบริหาร แสดงรายละเอยี ดงาน ปริมาณงาน

ผ้รู ับผิดชอบ งบประมาณ และระยะเวลา
- ด้านท่ี 1 การบรหิ ารและการจดั การ
- ดา้ นที่ 2 การดาเนินงาน
- ดา้ นที่ 3 ผลการดาเนินงาน แผนงานด้านการติดตาม ประเมินผล
- ดา้ นที่ 4 ความถกู ต้องทางวิชาการ

- พืชศึกษา
- 3 สาระการเรียนรู้
- การสารวจและจดั ทาฐานทรพั ยากรท้องถิ่น
ส่วนที่ 3 ผลทค่ี าดว่าจะได้รบั
6. จัดทาระบบ เสนอ ตรวจสอบ และอนมุ ัติแผนการบรหิ ารและการจดั การแผนงาน
สวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน โดยผ่านกระบวนการสายบงั คบั บัญชา
1. จดั ทาปฏิทนิ ใหส้ อดคลอ้ งกับแผนการดาเนินงาน โดยกาหนดระยะเวลาเรม่ิ ต้น
และสิ้นสดุ ในแตล่ ะปี
- ด้านที่ 1 การบรหิ ารและการจัดการ
- ดา้ นที่ 2 การดาเนินงาน
- ดา้ นท่ี 3 ผลการดาเนินงาน แผนงานด้านการตดิ ตามประเมินผล
- ด้านท่ี 4 ความถูกตอ้ งทางวิชาการ
- พชื ศึกษา
- 3 สาระการเรียนรู้
- การสารวจและจดั ทาฐานทรัพยากรท้องถนิ่
1. จัดทาแผนบูรณาการงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรยี น ทุกระดบั ชั้นและทกุ กลุ่ม

ตวั ชี้วัด 227

2.5 อธบิ าย และนาแผนงานสู่การดาเนินงาน สาระงาน
2.6 ระบุ อธบิ าย สรุปและประเมนิ ผล สาระการเรียนรู้ใหส้ อดคล้องกับหลกั สตู รของแตล่ ะสถานศกึ ษา และจดั ทา
2.7 วิเคราะห์และสรุปผลการดาเนินงาน
2.8 อภิปรายและปรับปรุงพฒั นางาน ผังมโนทศั น์ (Mind mapping)

2. จัดทาแผนการจดั การเรยี นรู้แบบกจิ กรรมพัฒนาผเู้ รียน เชน่ ชมุ นมุ สวนพฤกษศาสตร์

โรงเรียน เป็นตน้ และจัดทาผงั มโนทศั น์

3. จดั ทาระบบ เสนอ ตรวจสอบ และอนุมตั แิ ผนการจดั การเรียนรู้ โดยผ่านกระบวนการ

สายบังคบั บัญชา

หมายเหตุ รูปแบบการจดั ทาผังมโนทศั น์ ดังน้ี

1. ระดับป้ายฯ จดั ทาผงั มโนทศั น์แสดง 5 องค์ประกอบ พชื ศึกษา และการ

สารวจและจดั ทาฐานทรัพยากรทอ้ งถน่ิ

2. ระดบั เกยี รตบิ ัตรฯ ข้นั ท่ี 1 2 3 จดั ทาผงั มโนทศั น์ 5 องคป์ ระกอบ พืชศกึ ษา

3 สาระการเรยี นร้แู ละการสารวจและจดั ทาฐานทรพั ยากรท้องถ่ิน

1. การใช้งบประมาณ
1.1 จัดทาตารางสรปุ การใชง้ บประมาณตามแผนการดาเนนิ งานและหลกั ฐาน
การเบิกจา่ ยวัสดุ อปุ กรณ์ และค่าใชจ้ า่ ยเกี่ยวกับงานสวนพฤกษศาสตร์
โรงเรยี น

2. การประสานงานทง้ั ภายในและภายนอกหน่วยงาน
1.2 จัดทาตารางสรปุ จานวนหนงั สือเชญิ และหนังสอื ขอบคณุ ในแต่ละปี

1. จดั ทาสรุปและประเมินผลการดาเนนิ งานเชงิ ปริมาณและคุณภาพ
- ดา้ นที่ 1 การบริหารและการจัดการ
- ดา้ นท่ี 2 การดาเนินงาน
- ด้านที่ 3 ผลการดาเนินงาน แผนงานดา้ นการตดิ ตามประเมนิ ผล
- ด้านที่ 4 ความถูกต้องทางวชิ าการ
- พชื ศกึ ษา
- 3 สาระการเรียนรู้
- การสารวจและจัดทาฐานทรัพยากรทอ้ งถ่ิน

1. จัดทาตารางวเิ คราะห์ผลการดาเนินงาน สรปุ ปัญหาและอปุ สรรคการดาเนนิ งาน
- ดา้ นท่ี 1 การบริหารและการจัดการ
- ด้านที่ 2 การดาเนนิ งาน
- ด้านท่ี 3 ผลการดาเนินงาน แผนงานด้านการตดิ ตามประเมนิ ผล
- ด้านที่ 4 ความถกู ตอ้ งทางวชิ าการ
- พชื ศกึ ษา
- 3 สาระการเรยี นรู้
- การสารวจและจัดทาฐานทรัพยากรท้องถ่นิ

1. จัดทาแนวทางการปรับปรงุ พัฒนางาน
- ดา้ นท่ี 1 การบริหารและการจดั การ

ตัวชีว้ ัด 228
2.9 นาเสนอและรายงานผลการดาเนินงาน
สาระงาน
- ดา้ นที่ 2 การดาเนนิ งาน
- ดา้ นท่ี 3 ผลการดาเนินงาน แผนงานด้านการติดตามประเมินผล
- ด้านที่ 4 ความถูกตอ้ งทางวิชาการ
- พชื ศกึ ษา
- 3 สาระการเรยี นรู้
- การสารวจและจดั ทาฐานทรัพยากรทอ้ งถ่นิ
1. จดั ทาและส่งรายงานผลการดาเนนิ งานสวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรียน ประจาปี

4.2 มาตรฐานการจดั การเรยี นรู้ 229

ตัวชีว้ ัด สาระงาน
1. วชิ าการ
1. จดั ทาวธิ ีการจดั การเรยี นรู้ โดยมี แผนการเรียนรู้ ใบงาน ใบ
1.1 ระบแุ ละอธิบายวธิ ีการจัดการเรียนรู้ ความรู้ บนั ทกึ หลังการสอนของครู และผู้เรียน

1.2 จาแนกส่ือประกอบการเรยี นรู้ 2. การจัดกลุ่มผเู้ รียน บูรณาการงานสวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรียน
2.1 จัดกลุ่มผู้เรยี นแบบคละระดบั ชนั้
1.3 อภปิ รายผลการเรียนรู้ 2.2 จัดกลมุ่ ผ้เู รยี นแบบระดับช้นั เดยี วกนั
2. แหล่งเรยี นรู้
3. วธิ กี ารจดั การเรียนรู้งานสวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรียน ประกอบ
2.1 ภายใน ไปดว้ ยการเรียนรู้ ภูมปิ ญั ญา และคณุ ธรรม จริยธรรม
2.2 ภายนอก
1. มีส่อื ประกอบการเรยี นรู้ โดยมี
ปัจจยั หลัก : พชื
ปัจจยั รอง : ชวี ภาพอืน่ ๆ ทน่ี อกเหนือจากพืช
ปจั จยั เสรมิ : กายภาพ
ปัจจยั ประกอบ : วัสดุ อุปกรณ์ อาคาร สถานที่

1. มีการวดั ผลดา้ นวทิ ยาการต่างๆ ทกั ษะการเรยี นรู้
2. มีการวดั ผลดา้ นภมู ปิ ัญญา การจดั การ การเรยี นรู้
3. มกี ารวัดผลดา้ นคณุ ธรรม จรยิ ธรรม

1. มีแหลง่ เรียนรคู้ รอบคลมุ พน้ื ที่ทัง้ หมดของโรงเรียน
1. มีแหล่งเรียนรอู้ นื่ นอกพืน้ ทโ่ี รงเรียน เช่น หมูบ่ า้ น ชมุ ชน

แขวง

230

มาตรฐาน 5 องค์ประกอบ

ตัวชวี้ ดั สาระงาน
1. องค์ประกอบที่ 1 การจัดทาป้ายชอ่ื พรรณไม้
1. มีการเรยี นรู้ขนาดพนื้ ท่ที งั้ หมดของโรงเรียนและบรเิ วณ
1.1 กาหนดพื้นที่ และการสารวจพรรณไม้ โดยรอบโรงเรียน
1) ระบุและอธิบายการกาหนดขอบเขตพื้นที่ศกึ ษา
2. มีเรียนรูล้ กั ษณะทางกายภาพภายในโรงเรียน
2) ระบแุ ละอธบิ ายการสารวจพรรณไม้ 3. มกี ารเรยี นร้กู ารแบง่ ขอบเขตพน้ื ท่ศี ึกษา ขนาดพื้นที่ศึกษา

3) อธบิ ายการจาแนกชนิดพชื ทเี่ หมาะสมต่อหนง่ึ พนื้ ที่ ใชม้ าตราส่วน 1 : 100 ไมเ่ กนิ
4) ระบแุ ละอธิบายการตดิ ปา้ ยรหสั ประจาต้น 1:300
1. จานวนพรรณไมท้ ีส่ ารวจตอ้ งเท่ากับจานวนกลุม่ ของผ้เู รยี น
1.2 การทาผังพรรณไม้ ในแตล่ ะปี
1) ระบุและอธบิ ายวธิ กี ารหาตาแหน่งพรรณไม้ 1.1 จดั กล่มุ ผเู้ รยี นแบบคละระดบั ช้นั
2) อภปิ รายการจดั ทาผังแสดงตาแหนง่ พรรณไม้ 1.2 จัดกลุ่มผูเ้ รยี นแบบระดบั ชั้นเดยี วกัน
2. การสารวจพรรณไม้ ในแตล่ ะปี
เฉพาะพ้ืนที่ การจดั ทาผงั พรรณไม้รวมทง้ั โรงเรยี น 2.1 สารวจพรรณไมไ้ มซ่ ้าชนดิ (ชนดิ ใหม)่
2.2 สารวจพรรณไม้ซ้าชนดิ เดิม (ตน้ เดิม, ตน้ ใหม)่
3. การสารวจพรรณไม้ ในแตล่ ะปี ให้พิจารณาเลือกลกั ษณะวิสัย
ตา่ ง ๆ และระยะการเจริญเตบิ โตเตม็ ท่ี (และ/หรอื ระยะ
ออกดอก)
1. จานวนพรรณไม้ท่ีจาแนกชนิดพืชตอ้ งเทา่ กับจานวนพรรณไม้
ท่สี ารวจ ในแต่ละปี
1. จานวนปา้ ยรหสั ประจาตน้ เทา่ กบั จานวนต้นของพรรณไม้
ท่ีสารวจ ในแตล่ ะปี
2. ปา้ ยรหสั ประจาตน้ ให้ระบุ รหัสชนิดพรรณไมแ้ ละรหสั ประจา
ตน้ เท่านนั้ ขนาดปา้ ยรหสั ประจาต้นให้พจิ ารณาตามความ
เหมาะสมของชนิดพืช
3. การตดิ ป้ายรหสั ประจาตน้ ตดิ ในระดบั หรอื ตาแหน่งที่
มองเหน็ ได้ชดั เจน
-การตดิ ป้ายรหสั ประจาต้นใหต้ ดิ 1 ปา้ ยตอ่ 1 ต้นเทา่ น้ัน

1. ระบุจดุ อ้างอิง ทุกพน้ื ทศี่ ึกษา ลกั ษณะของจุดอ้างองิ
เคลอ่ื นย้ายได้ยาก

2. จานวนพรรณไม้ในการหาตาแหน่งของพรรณไม้ ตอ้ งเทา่ กับ
พรรณไมท้ ส่ี ารวจ

1. จัดทาผงั แสดงตาแหน่งพรรณไมเ้ ฉพาะพื้นท่ี ในพื้นทีศ่ กึ ษา
ท่ีมกี ารสารวจพรรณไมใ้ นแตล่ ะปี

2. จดั ทาผงั พรรณไมร้ วมท้งั โรงเรียน

231

ตวั ชว้ี ัด สาระงาน
2.1 ผงั พรรณไมร้ วมในแต่ละปี
1.3 ศกึ ษาพรรณไมใ้ นโรงเรยี น 2.1 ผังพรรณไมร้ วมท้งั หมด
1) ระบแุ ละอภิปรายการศกึ ษาพรรณไม้ในสวน 3. ส่วนประกอบของผัง 3 สว่ นคือ
-ส่วนท่ี 1 ผงั แสดงขอบเขตพื้นท่ี ส่วนประกอบต่าง ๆ ในพนื้ ท่ี
พฤกษศาสตรโ์ รงเรียน (ก.7-003) ครบทกุ ชนดิ ในทะเบยี น ศึกษาน้ัน ๆ และรหัสชนดิ พรรณไม้
พรรณไม้ -สว่ นที่ 2 สญั ลักษณ์ แสดงรหัสชนดิ พรรณไม้ กับชื่อพนื้ เมือง
-ส่วนท่ี 3 รายละเอยี ด แสดงชอื่ ผงั มาตราสว่ น ทศิ เหนือ
2) สารวจและอภิปรายการถ่ายภาพพรรณไม้และ (ปลายลกู ศรชี้ขึ้นทางดา้ นบนของกระดาษ) ผูจ้ ัดทา
การวาดภาพทางพฤกษศาสตร์ วันเดือนปี)

1.4 การทาตัวอยา่ งพรรณไม้แหง้ ดอง เฉพาะสว่ น 1. การศึกษาพรรณไม้ในสวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรียน(ก.7-003) มี
1) ระบุ จาแนก และอธิบายการจัดทาตัวอย่าง จานวนเลม่ เทา่ กับจานวนการสารวจพรรณไม้และจานวน
กลุ่มผ้เู รียนในแต่ละปี
พรรณไม้ครบทุกชนดิ ในทะเบยี นพรรณไม้
2. ภาพวาด หนา้ ปกและหน้าที่ 7 ให้ใชส้ ดั ส่วนรปู แบบ
เดียวกัน (มาตราส่วน, กาลังขยาย/ย่อ, เส้นขดี ระยะ)

3. การใช้สัญลกั ษณ์ (เคร่ืองหมาย) การบันทึกข้อมูลใหใ้ ชใ้ น
รปู แบบเดียวกันทงั้ เล่ม

1. ถา่ ยภาพพรรณไม้ครบทกุ ชนิดที่สารวจพรรณไม้ ในแต่ละปี
1.1 ให้ถา่ ยภาพทง้ั ต้น ถ่ายลกั ษณะวสิ ัย ให้เหน็ ตั้งแตโ่ คนตน้
จนถึงปลายยอด
1.2 ให้ถ่ายภาพเฉพาะสว่ น เรยี นร้แู ละถ่ายภาพส่วนประกอบ
ของพืช ราก (บางชนดิ ) ลาตน้ ใบ ดอก ผล และเมลด็

โดยสามารถถา่ ยภาพไดห้ ลายภาพในแต่ละสว่ นของพชื
2. วาดภาพทางพฤกษศาสตร์ ครบทุกชนิดทส่ี ารวจพรรณไม้

ในแตล่ ะปี ใหม้ ีส่วนประกอบของภาพวาดคอื ชอ่ื พรรณไม้
ชื่อผู้วาดภาพ วันเดือนปี รหสั พรรณไม้ และมมี าตราสว่ น
กากับทุกภาพ

1. จดั เกบ็ ตัวอยา่ งพรรณไม้ ประกอบการสารวจและศึกษา
พรรณไม้ ครบทุกชนิดในทะเบียนพรรณไม้
1.1 ตวั อย่างพรรณไมแ้ หง้
-ตัวอยา่ งพรรณไม้แหง้ พืชหน่งึ ชนิดใหเ้ กบ็ ตวั อยา่ งพรรณ
ไมอ้ ยา่ งน้อย 2 ตวั อย่าง (Duplicate) ใหม้ ีช้นิ สารองโดย
เกบ็ จากต้นเดียวกัน
-ช้ินตวั อยา่ ง หนง่ึ ช้นิ ตัวอย่างขนาดยาวประมาณ 30
เซนติเมตร ประกอบไปดว้ ย กงิ่ ใบ ดอก หรอื กิ่ง ใบ ผล
-แผงอัดพันธุ์ไม้ ขนาดกวา้ ง 30 เซนติเมตร ยาว 45
เซนติเมตร มลี ักษณะเปน็ ตารางส่เี หลย่ี มผืนผ้า 2 อัน

ตวั ช้ีวดั 232

สาระงาน
ประกบกัน
-เชอื กสาหรับผกู แผง ขนาด กว้าง 2.5 เซนติเมตร ยาว
150 เซนติเมตร จานวน 2 เส้นตอ่ แผง เชอื กแบนไส้
ตะเกียง
-กระดาษลูกฟกู (หรอื กระดาษทม่ี ีคุณสมบตั ใิ กลเ้ คยี ง)
ขนาดกว้าง 30
เซนติเมตร ยาว 45 เซนติเมตร
-กระดาษหนงั สอื พมิ พ์ (หรอื เทียบเท่า) ขนาดกวา้ ง 30
เซนตเิ มตร ยาว 45 เซนตเิ มตร
-กระดาษตดิ กบั ช้ินตัวอยา่ ง ขนาดกว้าง 30 เซนติเมตร
ยาว 42 เซนติเมตร กระดาษสีขาว 300 แกรม
-ปา้ ยรายละเอียดขอ้ มูลพรรณไม้ ขนาดกว้าง 10
เซนตเิ มตร ยาว 15 เซนติเมตร ทาวกาวข้างหลังรมิ ดา้ น
กว้าง 1 เซนตเิ มตร ติดมมุ ซา้ ยดา้ นลา่ ง
-ปา้ ยกระดาษสาหรับผกู พันธไ์ุ ม้ ขนาดกว้าง 3 เซนตเิ มตร
ยาว 5 เซนตเิ มตร ปลายข้างหน่ึงเจาะรรู อ้ ยด้ายทาเป็น
2 ทบ ยาว ประมาณ 10 เซนตเิ มตร
-ปก หนง่ึ ชนิดใช้กระดาษสขี าว 300 แกรม ขนาดกวา้ ง 30
เซนติเมตร ยาว 45 เซนติเมตร (หน้าปก ให้ใชส้ ญั ลกั ษณ์
ของโรงเรยี น ชอ่ื งานสวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรยี น สนอง
พระราชดาริ โดยโรงเรียน)
1.2 ตัวอยา่ งพรรณไม้ดอง
-ตัวอย่างพรรณไม้ดอง ให้แสดงสว่ นต่างๆครบ เช่นกรณี
ดองผล ต้องให้เหน็ ชนิ้ ตัวอยา่ งภายในขวดท้ังผล ผา่ ผล
ตามแนวตง้ั และผ่าผลตามแนวนอน และจดั ให้อยู่ในด้าน
เดยี วกันของขวด
-ขวดแก้วสญุ ญากาศ (vacuum bottle)
-ตวั อย่างพรรณไมด้ องจะต้องดองดว้ ย เอทานอล
(เอทิลแอลกอฮอล)์ ความเขม้ ข้น 70 %
-ปา้ ยรายละเอียดขอ้ มูลพรรณไม้ ขนาดกว้าง 10
เซนติเมตร ยาว 15 เซนตเิ มตร (ตวั อย่างปรับขนาดได้
ตามภาชนะ) ตดิ ด้านข้างขวดแก้วสญุ ญากาศ ด้านตรง
ข้ามกับการจัดแสดงชิน้ ตัวอย่าง
1.3 ตวั อยา่ งพรรณไม้เฉพาะสว่ น
-ตัวอยา่ งพรรณไม้เฉพาะส่วน บางชนิดกใ็ สใ่ นภาชนะ แต่
ถา้ มีขนาดใหญม่ ากไม่ต้องใส่ภาชนะ
-ปา้ ยรายละเอียดขอ้ มูลพรรณไม้ ขนาดกวา้ ง 10
เซนตเิ มตร ยาว 15 เซนติเมตร (ตวั อย่าง.ปรบั ขนาดได้

233

ตัวชว้ี ดั สาระงาน
2) ระบุ จาแนก และอธิบายการถา่ ยภาพพรรณไม้ ตามภาชนะ)
แห้ง ดอง เฉพาะส่วน 1.การถ่ายภาพพรรณไมแ้ หง้
1.1 ตวั อย่างพรรณไม้แห้ง แตล่ ะตัวอย่างถา่ ยภาพใหเ้ ห็น
3) จาแนก และอธิบายระบบการจดั เก็บ และ ตัวอย่างทัง้ ชนิ้ ชัดเจน และเหน็ ป้ายข้อมูลทีต่ ิดอย่มู ุมซ้าย
สบื ค้นได้ วธิ ีการจัดเกบ็ เอกสาร ลา่ งของชิ้นตวั อยา่ งชดั เจน
1.2 ถ่ายรูปตัวอย่างแต่ละชนิดต้องแสดงใหเ้ ห็นภาพตัวอยา่ งท่ี
เป็นช้นิ สารอง (duplicate) (แมจ้ ะเป็นตัวอย่างทีท่ าซา้
ของต้นไม้ชนิดเดียวกัน)
1.3 จดั ภาพตัวอยา่ งพรรณไมแ้ หง้ ชน้ิ สารอง duplicate ของ
แตล่ ะชนิดใหอ้ ยใู่ นโฟลเดอร์เดียวกัน ตง้ั ช่ือโฟลเดอรโ์ ดย
ใชช้ อื่ รหัสพรรณไม้ (เฉพาะเลขชุดสดุ ท้ายของรหัสพรรณ
ไม้ 3 หลัก) และตามด้วยช่อื พ้ืนเมือง
2.การถา่ ยภาพพรรณไม้ดอง
2.1 ตวั อยา่ งพรรณไมด้ อง ให้ถา่ ยภาพในแตล่ ะตวั อยา่ ง 1 ขวด
ดงั น้ี
1) ถ่ายภาพให้เห็นช้ินตัวอยา่ งชัดเจน ทั้งชิ้น ช้นิ ตัวอย่างตดั
ตามยาว และช้ินตวั อย่างตดั ตามขวาง
2) ถา่ ยภาพให้เห็นปา้ ยข้อมูลทต่ี ดิ อยดู่ า้ นขา้ วขวดของชิ้น
ตวั อย่าง
2.2 จดั ภาพตัวอยา่ งพรรณไม้ดอง แต่ละชนิดใหอ้ ยใู่ นโฟลเดอร์
เดียวกัน ตัง้ ชื่อโฟลเดอรโ์ ดยใช้ชือ่ รหัสพรรณไม้
(เฉพาะเลขชุดสุดทา้ ยของรหัสพรรณไม้ 3 หลัก) และ
ตามดว้ ยช่อื พื้นเมือง
3.การถา่ ยภาพพรรณไม้เฉพาะสว่ น
3.1 ตวั อยา่ งพรรณไมเ้ ฉพาะ ใหถ้ า่ ยภาพในแต่ละตวั อย่าง ดังนี้
1) ถ่ายภาพใหเ้ ห็นชน้ิ ตัวอย่างชัดเจน ท้ังชนิ้ หรอื เฉพาะ
สว่ น
2) ถา่ ยภาพให้เห็นปา้ ยข้อมูลที่ตดิ อยู่กับช้ินตัวอยา่ ง
3.2 จัดภาพตัวอย่างพรรณไม้เฉพาะส่วน แต่ละชนดิ ให้อยใู่ น
โฟลเดอร์เดยี วกนั ตัง้ ชื่อโฟลเดอรโ์ ดยใชช้ ่ือรหสั พรรณไม้
(เฉพาะเลขชดุ สุดทา้ ยของรหัสพรรณไม้ 3 หลัก) และตาม
ด้วยชอื่ พืน้ เมือง
4. ภาพถ่ายพรรณไมแ้ ห้ง ดอง เฉพาะส่วน
4.1 ชนิด .jpg
4.2 ขนาด 640x480 พกิ เซล หรอื 1,280x960 พิกเซล

1. จดั ระบบการจดั เก็บและสบื ค้นไดข้ องตัวอย่างพรรณไม้
โดยแยกเป็น 3 ส่วน ตัวอย่างแห้ง ดอง เฉพาะสว่ น และแต่
ละส่วนใหจ้ ดั เรียงตามรหสั พรรณไม้

ตัวช้วี ัด 234
1.5 ทาทะเบยี นพรรณไม้ (ก.7-005)
สาระงาน
1) เปรียบเทียบและอธิบายการทาทะเบยี น
พรรณไม้ ตามแบบ อพ.สธ. 1. จดั ทาทะเบียนพรรณไม้ ตามแบบ อพ.สธ. แยกเล่มในแต่
ละปี และจานวนชนิดและต้น ต้องตรงกับการสารวจพรรณ
ไมใ้ นแต่ละปี

2. จดั ทาทะเบยี นพรรณไม้ ตามแบบ อพ.สธ. ประกอบด้วย
ปก และตารางรายละเอยี ด รหสั พรรณไม้ ช่อื พรรณไม้ ช่ือ
วทิ ยาศาสตร์ ช่อื วงศ์ ลกั ษณะวสิ ัย ลักษณะเด่น บรเิ วณที่
พบ

2) จาแนกระบบการจัดเก็บและสบื ค้นได้ 1. จัดระบบการจัดเก็บและสบื ค้นได้ของทะเบียนพรรณไม้
(เอกสาร และคอมพิวเตอร)์ โดยจดั แยกในแตล่ ะปี
1.1 เอกสาร ให้จัดเข้าแฟ้ม
1.6 ทาป้ายชอ่ื พรรณไม้สมบูรณ์ 1.2 คอมพวิ เตอร์ ใหจ้ ัดเก็บในโปรแกรม Microsoft excel
1) ระบแุ ละอธบิ ายการร่างปา้ ยชอื่ พรรณไม้
1. จานวนป้ายร่างชอ่ื พรรณไมส้ มบูรณ์ ทุกชนดิ ต้องตรงกนั กบั
สมบรู ณ์ จานวนตน้ ของทะเบียนพรรณไมใ้ นแต่ละปี

2) ระบแุ ละอธิบายการทาปา้ ยชอ่ื พรรณไม้ 2. สว่ นประกอบของการร่างป้ายช่อื พรรณไม้สมบรู ณ์
สมบรู ณ์ ประกอบด้วย รหัสพรรณไม้ ช่อื พื้นเมอื ง ช่ือวิทยาศาสตร์
ชอ่ื วงศ์ ชื่อสามัญ และประโยชน์
3) ระบุและอภิปรายการติดแสดงป้ายชื่อพรรณ
ไม้สมบรู ณ์ 1. จานวนปา้ ยชอ่ื พรรณไม้สมบูรณ์ทุกชนิดต้องตรงกบั จานวน
ป้ายรา่ งช่อื พรรณไม้สมบรู ณ์
2. องค์ประกอบที่ 2 การรวบรวมพรรณไม้เข้าปลกู ใน
โรงเรยี น 2. ปา้ ยช่อื พรรณไม้สมบูรณ์ ตอ้ งผ่านการตรวจความถูกตอ้ งทาง
2.1 การสารวจสภาพภมู ิศาสตร์และการศกึ ษา วชิ าการด้านพฤกษศาสตร์ กบั นักพฤกษศาสตร์ อพ.สธ.
ธรรมชาติ
1) วเิ คราะห์และรายงานสภาพภูมศิ าสตรข์ องพ้ืนทีต่ าม 1. จานวนปา้ ยชอ่ื พรรณไม้สมบูรณ์ ทกุ ปา้ ยและทุกชนดิ ต้อง
ตรงกนั กบั จานวนป้ายรหัสประจาต้น ที่ไดม้ ีการสารวจและ
ผงั พรรณไม้ ขึ้นทะเบยี นพรรณไม้ในแตล่ ะปี

2) อภิปรายและรายงานการศกึ ษาพรรณไม้ทจี่ ะ 2. การตดิ แสดงป้ายชอ่ื พรรณไม้สมบูรณ์ ตอ้ งติดใหเ้ ห็นชัดเจน
เหมาะสม กับลกั ษณะวสิ ยั ของชนดิ พรรณไม้น้นั ๆ

1. จดั ทาการวิเคราะห์สภาพภมู ิศาสตร์ทกุ พื้นทศ่ี ึกษาภายใน
โรงเรยี น

1.1 สภาพภูมิประเทศ (ความสงู -ตา่ ของพื้นที่ ดิน)
1.2 สภาพภูมิอากาศ (น้า แสง อากาศ)
1.3 มุมมองของพ้นื ทศ่ี ึกษา
1. จดั ทารายงานการศกึ ษาธรรมชาติของพืชศกึ ษาและพรรณไม้

235

ตัวชี้วัด สาระงาน
นามาปลกู ทอ่ี ยู่ในสภาพธรรมชาติ ทอี่ ยใู่ นโรงเรยี นหรอื นอกโรงเรียน
2. ให้พิจารณาคณุ และสุนทรยี ภาพพรรณไมท้ ี่จะนาเข้ามาปลูก
2.2 กาหนดชนิดพรรณไมท้ ีจ่ ะปลกู และกาหนดการ
ใช้ประโยชน์ 1. กาหนดการใชป้ ระโยชน์ในพ้ืนทศ่ี ึกษาทุกพ้นื ท่ีศึกษาในแต่ละ
ปี ให้ระบุสัดสว่ นการใชป้ ระโยชน์ในพื้นทตี่ ามจินตนาการ
1) ระบุและอธิบายการใช้ประโยชน์ในพนื้ ที่
1. พรรณไม้ทกี่ าหนดชนิดตอ้ งเปน็ พรรณไม้ท่ไี ด้ทาการศึกษา
2) ระบแุ ละอธบิ ายชนดิ พรรณไมท้ ี่จะปลกู วัสดุปลกู ตามธรรมชาติ

2.3 ระบแุ ละอธิบายการทาผังภมู ิทศั น์ 1. จัดทาผงั ภูมิทัศน์ท่ีสอดคล้องกับผงั การใชป้ ระโยชนใ์ นพืน้ ที่
โดยกาหนดชนิดพรรณไมท้ จี่ ะปลกู
2.4 จดั หาพรรณไม้ และการปลกู พรรณไม้
1) จาแนกการสนับสนุน (หน่วยงานต่างๆ ชุมชน 2. แสดงรายละเอยี ดการปลูก ระยะปลกู ชนดิ จานวน
ผู้ปกครอง) (ต้นเก่าและต้นใหม)่
2) อธบิ ายการขยายพันธ์ุ การตอน การเพาะเมลด็
การปักชา การตดิ ตา ฯลฯ 1. ขอรับการสนับสนนุ พรรณไมจ้ ากผู้ปกครอง ชมุ ชน
3) ระบุและอธิบายการปลกู พรรณไม้เพิ่มเติม หนว่ ยงานต่างๆ ตามชนิดของพรรณไมท้ ี่ระบุในผงั ภูมทิ ศั น์

2.5 การศึกษาพรรณไม้หลงั การปลกู 1. บอกวิธีการขยายพันธ์พุ รรณไม้ท่เี หมาะสม ตามผังภูมทิ ัศน์
1) อภิปรายการบนั ทกึ การดูแลรกั ษา (การให้นา้ 2. บนั ทกึ จานวนชนิด จานวนต้น ท่ีขยายพันธไุ์ ด้
การใหป้ ๋ยุ การตัดแต่ง การพรวนดิน) 1. ปลกู พรรณไมท้ ีจ่ ัดหามาตามตาแหน่งท่แี สดงในผังภมู ิทศั น์
2) อภปิ รายการบันทึกการเปลีย่ นแปลง 2. บอกข้ันตอนการเตรียมการปลูกพรรณไมท้ จ่ี ดั หามา

3) เปรยี บเทียบและอภปิ รายการบนั ทกึ ความสัมพันธ์ 1. ดูแลรกั ษาพรรณไม้ท่ปี ลูกเป็นระยะๆ และบนั ทกึ การดูแล
ระหว่างปัจจยั รักษา เช่น วันที่ กลมุ่ ที่ ชือ่ ต้นไม้ เป็นตน้

4) เปรยี บเทยี บและอภปิ รายการศกึ ษาคณุ และ 1. ติดตามการเปลยี่ นแปลง การเจรญิ เตบิ โต ของ ลาตน้ ใบ
สนุ ทรียภาพพรรณไมท้ ปี่ ลูก คณุ ท่ีเกดิ แก่สรรพสตั ว์ คณุ ที่ ดอก ผล และเมลด็ ในแต่ละสว่ น ของพรรณไมท้ ่ปี ลูกตามผงั
เกิดแกค่ น คุณที่เกิดแกส่ ถานศึกษา ภูมทิ ัศน์ โดยบันทึกการเปลีย่ นแปลงในแตล่ ะระยะ เชน่
จานวน ขนาด เป็นต้น

1. ศึกษาปจั จัยท่ีเขา้ มาเก่ียวข้องกบั พรรณไมท้ ป่ี ลูก
ประกอบไปด้วย
1.1 ปัจจัยหลกั คอื พืช
1.2 ปัจจยั รอง คอื ชวี ภาพอ่ืน
1.3 ปัจจยั เสรมิ คอื กายภาพ
1.4 ปัจจัยประกอบ คือ อาคาร สถานท่ี วัสดุ

2. บันทึกความสมั พันธ์และออกแบบบันทกึ การศึกษา
เปลี่ยนแปลง การดแู ล เป็นตน้

1. ศกึ ษาคณุ ประโยชนข์ องพชื พรรณที่ปลูก โดยนาข้อมูลจาก
บันทึกการดแู ลรักษา บันทกึ การเปลี่ยนแปลง และบันทกึ
ความสัมพนั ธ์ระหว่างปัจจยั มาสรปุ คณุ ของพรรณไมท้ ป่ี ลูก


Click to View FlipBook Version