The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือการดำเนินงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน พ.ศ.2560 โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมอันเนื่องมาจากพระราชดำริฯ หน้า 1-492

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by kookkig.work42, 2021-10-14 02:37:54

คู่มือการดำเนินงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน1

คู่มือการดำเนินงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน พ.ศ.2560 โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมอันเนื่องมาจากพระราชดำริฯ หน้า 1-492

Keywords: พฤษศาสตร์

236

ตัวช้วี ดั สาระงาน
องค์ประกอบท่ี 3 การศึกษาข้อมลู ดา้ นต่าง ๆ (คน สรรพสง่ิ สถานท)ี่
2. สุนทรียภาพของพรรณไม้
3.1 ศกึ ษาพรรณไมใ้ นสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน ….2.1 ศึกษาและบนั ทกึ ความงามของพรรณไม้
(ก. 7-003) ครบตามทะเบียนพรรณไม้ ….2.2 สรปุ ข้อมลู สุนทรียภาพของพรรณไม้แต่ละชนิด

1) ระบุและอธบิ ายการมีส่วนรว่ มของผู้ศึกษา 1. เรยี นรแู้ ละศกึ ษาพรรณไมใ้ นสวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรียน และ
พชื ศกึ ษา
2) ระบุและอภปิ รายขอ้ มูลพืน้ บ้าน
2. จดั ทาแบบศกึ ษาพรรณไม้ในสวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรยี นตาม
3) ระบุขอ้ มูลพรรณไม้ แบบ อพ.สธ.
2.1 ชื่อพรรณไม้
2.2 รหสั พรรณไม้
2.3 วาดภาพทางพฤกษศาสาตร์ท้ังตน้ พร้อมระบมุ าตรสว่ น
2.4 แสดงขอ้ มูลบรเิ วณณท่ีสารวจ
2.5 แสดงรายช่ือและลาดับผู้สารวจทงั้ หมด

1. ช่อื พ้นื เมอื ง (ชื่อในท้องถิ่นท่ีเก็บตัวอย่างพันธไ์ุ ม้)
2. การใช้ประโยชน์ในทอ้ งถ่ิน (ระบุส่วนทใ่ี ชแ้ ละวิธกี ารใช้)

2.1 อาหาร
2.2 ยารักษาโรค
2.3 กอ่ สรา้ ง ครัวเรือน เครอ่ื งใช้
2.4 ยาฆา่ แมลง ยาปราบศัตรพู ชื
2.5 ความเกย่ี วขอ้ งกบั ประเพณี วฒั นธรรม หรอื ความเช่ือทาง

ศาสนา
2.6 อื่นๆ (เช่น การเป็นพิษ อนั ตราย)
3. ที่มาของข้อมูล โดยการสอบถามจากผรู้ ู้ เท่านัน้
3.1 ผใู้ ห้ข้อมูล
3.2 อายุ
3.3 ทอ่ี ยู่
4. วันทบี่ ันทึกขอ้ มูล
5. สถานที่บนั ทึก
1. ลกั ษณะวสิ ยั
2. ชนดิ ของลาต้น
3. ชนดิ ของใบ
4. ชนดิ ของดอก
5. ชนิดของผล
6. ชนดิ ของเมล็ด

237

ตัวช้วี ดั สาระงาน
4) อภิปรายสรปุ ลักษณะและข้อมลู พรรณไม้ 7. วาดภาพ หรือตัดภาพส่วนต่างๆ ของพชื พรอ้ มระบุ
5) ระบุข้อมูลพฤกษศาสตร์
มาตราส่วน
6) อธบิ ายและบันทกึ ข้อมูลเพม่ิ เตมิ 1. สรปุ ลกั ษณะและขอ้ มลู พรรณไม้ ตัง้ แต่หนา้ ที่ 2-7
7) ประเมินผลงานเปน็ ระยะ
8) ประเมิน ความเป็นระเบยี บ ความต้ังใจ และขอ้ มูลพ้นื บ้านหนา้ ท่ี 1 โดยเขียนเป็นเรียงความบรรยาย
ระบชุ ือ่ พรรณไมแ้ ละรหสั พรรณไม้
3.2 การศกึ ษาพรรณไมท้ สี่ นใจ (พชื ศกึ ษา) 1. ชื่อวทิ ยาศาสตร์
1) ระบุการศกึ ษาลกั ษณะภายนอก ภายในของพชื 2. ชอ่ื วงศ์
3. ชือ่ สามัญ
แต่ละสว่ นโดยละเอียด 4. ช่ือพน้ื เมอื งอ่ืนๆ
2) อภิปรายการกาหนดเรือ่ งท่จี ะเรยี นรใู้ นแตล่ ะสว่ น 5. ถิ่นกาเนิด
6. การกระจายพันธุ์ ในประเทศไทย หรอื ในประเทศอ่ืนๆ
7. นิเวศวทิ ยา
8. เวลาออกดอก
9. เวลาตดิ ผล
10. การขยายพันธ์ุ
11. การใชป้ ระโยชน์
12. ประวัติพันธุไ์ ม้ (การนาเข้ามาปลูกในประเทศไทย)
13. เอกสารอ้างองิ
1. ประวัติพันธไุ์ ม้ (ประวตั ิการนาเข้ามาปลูก)
2. เวลาการออกดอก หรอื ตดิ ผลนอกฤดกู าล หรอื อ่นื ๆ
3. บนั ทึกข้อมูลที่ได้จากการเรยี นรนู้ อกเหนือจากหนา้ ปก
- หนา้ ที่ 9 ท่ีเกดิ ขน้ึ ระหว่างศกึ ษา และกาลงั ศึกษาพนั ธ์ไุ ม้
1. ตรวจสอบผลงานของนักเรียนทุกหน้าและทุกครัง้ ท่ี
นักเรียนศกึ ษา พร้อมระบวุ ันและเวลาที่ศกึ ษา
2. มีการสง่ ตรวจ หรือแกไ้ ขใหถ้ กู ต้องตามหลักพฤกษศาสตร์
ทุกครัง้ เปน็ ระยะๆ โดยลงชื่อผู้ตรวจ วันที่ตรวจทกุ ครง้ั
1. ความสมบรู ณ์ของผลงาน ก.7 - 003 ความถกู ต้อง
และความเป็นระเบียบ ทุกหน้า
2. ข้อมูลท้งั หมดเป็นความจริง
3. ทกุ ภาพวาดมสี ว่ นประกอบตามต้องการครบ และ
มมี าตรส่วนกากับ

1. ศึกษาโครงสร้างภายนอกของพชื ทง้ั ต้น
2. ศึกษาลักษณะภายนอก (ประถมศกึ ษา) และภายใน

(มธั ยมศึกษา) ของพืชทกุ ส่วนประกอบ ราก ลาต้น ใบ ดอก
ผล และเมลด็
3. การศกึ ษาไม่กาหนดจานวนซา้ ของตัวอยา่ ง
1. วเิ คราะห์ส่วนประกอบยอ่ ยของพชื ทุกส่วนประกอบ

238

ตวั ชว้ี ดั สาระงาน
ของพืช 2. กาหนดหวั ขอ้ เร่อื งท่ีจะเรยี นรใู้ ห้ครบทกุ ส่วนประกอบ และ

3) อภปิ รายการเรยี นร้แู ต่ละเร่ือง แต่ละสว่ นของ ทุกเร่ือง (รูปร่าง รูปทรง สี ผิว ขนาด)
องคป์ ระกอบยอ่ ย 3. จัดทารายละเอยี ดแผนการทดลอง โดยเลอื กเร่ืองทีส่ นใจมา

4) นาข้อมูลมาเปรียบเทียบความต่างในแต่ละเรื่อง ใน วางแผนและเรยี นรู้ ครบทกุ ส่วนประกอบ
ชนิดเดยี วกัน 1. เรยี นรู้และบนั ทกึ ผลการเรียนรู้
2. สรุป เรยี บเรยี งและวิเคราะห์ผลการเรยี นรู้
องค์ประกอบที่ 4 การรายงานผลการเรยี นรู้ 1. นาผลการเรียนรูท้ ่ไี ดจ้ ากการเรยี นรใู้ นแตล่ ะเรอ่ื งแต่ละ
4.1 อธิบาย รวบรวมผลการเรียนรู้ คัดแยกสาระสาคญั
สว่ นประกอบยอ่ ยมาเปรียบเทียบ และสรปุ ผลการเรยี นรู้
และจดั เปน็ หมวดหมู่
1. รวบรวมผลการเรียนรู้
4.2 การเขียนรายงานแบบวชิ าการ แบบบรู ณาการ 1.1 มีแหล่งเรียนรตู้ ่างๆ เชน่ พ้นื ทีศ่ กึ ษา ห้องสวน
1) อธบิ าย จาแนกและสรปุ ผลการเรียนรู้ พฤกษศาสตร์โรงเรยี น ห้องสมุด เวบไซตท์ ี่รวบรวมผล

2) การเรยี บเรยี งสาระเป็นภาษาท่สี ือ่ กระชับ การเรยี นรู้จากงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน
ไดใ้ จความ 1.2 จัดทาการรวบรวมผลการเรียนร้จู ากองค์ประกอบท่ี 1,

3) รูปแบบและความเรียบรอ้ ยของรายงาน 2, 3 สามสาระการเรยี นรู้ และการสารวจและจดั ทา
ฐานทรพั ยากรทอ้ งถิน่

2. คดั แยกสาระสาคัญ
2.1 จัดทาการคดั แยกสาระสาคญั จากการรวบรวมผลการ
เรียนรู้

3. จัดเปน็ หมวดหมู่
3.1 จัดระเบยี บ เรยี บเรียงข้อมลู ทีไ่ ดค้ ัดแยกสาระสาคัญให้
เป็นหมวดหมู่

1. รวบรวมผลการเรียนรู้จากองค์ประกอบท่ี 1 - 5 พชื ศึกษา
และ 3 สาระจากแหลง่ เรียนรู้สวนพฤกษศาสตร์ต่างๆ ใน
สถานศกึ ษา เชน่ หอ้ งสมดุ ห้องสวนพฤกษศาสตร์โรงเรยี น
จาก ใบงาน ชิ้นงาน เปน็ ตน้

2. นาข้อมูลที่ได้จากผลการเรยี นรูม้ าคดั แยก สาระ แลว้ จัดให้
เป็นหมวดหมู่

1. นาขอ้ มูลที่สรุปมาเรยี บเรียง โดยให้สอื่ ได้กระชับและได้
ใจความ จากข้อมูลทคี่ ัดแยกให้เป็นหมวดหมู่มาแลว้ เช่น
บทคดั ย่อ เปน็ ตน้

1. นาข้อมูลท่เี รียบเรยี งแล้วมาจากรายงานแบบวชิ าการ
1.1 ส่วนประกอบตอนต้น ประกอบด้วย หน้าปก (ปกนอก)
หนา้ ชื่อเรือ่ ง (ปกใน) คานา (กิตตกิ รรมประกาศ)
สารบญั สารบญั ตาราง สารบัญภาพประกอบ

239

ตวั ชว้ี ดั สาระงาน
1.2 สว่ นประกอบตอนกลาง ประกอบดว้ ย 5 บท คอื
4.3 วธิ กี ารรายงานผลในรปู แบบตา่ ง ๆ
1) สร้างวธิ กี ารรายงานผล แบบเอกสาร เช่น หนงั สอื บทที่ 1 บทนา บทท่ี 2 เอกสารและรายงานการศึกษาที่
แผน่ พบั ซีดี เก่ยี วขอ้ ง บทท่ี 3 วิธดี าเนินการศึกษา บทท่ี 4 ผล
2) สรา้ งวธิ กี ารรายงานผล แบบบรรยาย เชน่ การเลา่ การศึกษา บทที่ 5 สรุป อภปิ รายผล และข้อเสนอแนะ
นิทาน อภิปราย สัมมนา 1.3 ส่วนประกอบทา้ ย ประกอบด้วย บรรณานกุ รม
3) สร้างวธิ กี ารรายงานผล แบบศิลปะ เชน่ การแสดง ภาคผนวก อภิธานศพั ท์ และรายละเอยี ดเพิม่ เติมจาก
ศิลปะพื้นบ้าน ละครร้องเพลง การวาดภาพทาง เนื้อเร่ือง
พฤกษศาสตร์ การถ่ายภาพทางพฤกษศาสตร์ 2. นาขอ้ มลู ทเี่ รียบเรยี งแลว้ มาจากรายงานแบบบูรณาการ
4) สร้างวิธีการรายงานผล แบบนิทรรศการ 1.1 แบบบรู ณาการกลุ่มสาระ เช่น เพลง นทิ าน กลอน การ
แสดง เป็นตน้
องค์ประกอบท่ี 5 การนาไปใชป้ ระโยชนท์ างการศึกษา 1.2 แบบบูรณาการแห่งชีวิต เช่น แรงบันดาลใจ จนิ ตนาการ
5.1 การนาสวนพฤษศาสตร์โรงเรียน บรู ณาการส่กู ารเรยี น ปจั จยั และเป้าหมายการเรยี นรู้ วิธกี ารทใ่ี ช้ในการเรยี นรู้
การสอน จติ อารมณ์ และพฤตกิ รรมของตน ผลการเรยี นร็และงาน
ทีเ่ น่อื งต่อ
1) ระบุและอธบิ ายแผนการสอนในกลุ่มสาระการเรียนรู้
หรอื ระหว่างกล่มุ สาระการเรยี นรู้ 1. แสดงวิธกี าร ขน้ั ตอน การรายงานแบบเอกสาร

2) ระบแุ ละจาแนก ผลงาน จานวนชนิ้ งานของนกั เรยี น 1. แสดงวิธกี าร ขนั้ ตอน การรายงานแบบบรรยาย

1. แสดงวิธีการ ขั้นตอน การรายงานแบบศลิ ปะ

1. แสดงวิธกี าร ขน้ั ตอน การรายงานแบบนิทรรศการ

1. จัดทาแผนแบบบูรณาการ งานสวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรยี น
ประกอบด้วย 5 องคป์ ระกอบ 3 สาระ และพชื ศึกษา กบั
หลกั สตู รแกนกลางทกุ กลุม่ สาระในแตล่ ะระดบั ช้ัน

2. ระบุจานวนแผนการสอนแต่ละกลุ่มสาระ แตล่ ะระดับช้นั ให้
ชัดเจน

3. เน้ือหารายละเอยี ดในแผนการสอน บง่ ช้ีถึงการบรู ณาการ
และวธิ กี ารงานสวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรียน ลงในกจิ กรรมการ
สอนอย่างถกู ต้องและชดั เจน

1. ระบจุ านวนผลงาน ช้นิ งาน ของนักเรยี นตามแผนการสอน
แบบบูรณาการ งานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรยี น ของกลุ่ม

240

ตวั ชวี้ ดั สาระงาน
ตามแบบการสอนในกลุ่มสาระการเรยี นรู้ หรือ สาระแต่ละระดับชนั้ ทเ่ี กยี่ วข้องกับ 5 องคป์ ระกอบ 3 สาระ
ระหว่างกล่มุ สาระการเรียนรู้ และพชื ศึกษา
2. จดั ทาใบงานท่ีสอดคล้องกับแผนการสอนในแต่ละกลุ่มสาระ
5.2 การเผยแพร่องคค์ วามรู้ และเหมาะกับแตล่ ะระดับชนั้ ทเ่ี ก่ียวข้องกับ 5 องค์ประกอบ
1) อธิบาย การบรรยาย เชน่ การสนทนา เสวนา บรรยาย 3 สาระ และพืชศกึ ษา
สัมมนา อภิปราย 3. แสดงผลงาน ช้ินงาน ของนกั เรยี นทส่ี อดคล้องกับแผนการ
สอนแบบบรู ณาการ งานสวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรยี น
2) อธบิ ายและออกแบบ การจัดแสดง เช่น นิทรรศการ
นิทรรศการประกอบการ บรรยายสรุป นทิ รรศการ 1. มกี ารเผยแพร่องค์ความรูท้ ไี่ ดจ้ ากการเรียนรู้ งานสวน
เฉพาะเรอื่ ง เฉพาะประเภทและเวบ็ ไซต์ พฤกษศาสตร์โรงเรียน ในทกุ องคค์ วามรู้ รปู แบบบรรยาย
เช่น เสวนา สมั มนา อภปิ ราย ได้เพือ่ เผยแพร่ความรู้ท่ไี ดจ้ าก
5.3 การใช้สวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรียนเป็นแหล่งเรยี นรู้ การเรียนรู้ ตอ่ บุคคลทวั่ ไป โดยมหี ลักการ / รวบรวม /
1) อธบิ าย ประยุกตแ์ ละบันทึกข้อมลู ในการใชพ้ ื้นทสี่ วน คดั เลอื ก / วธิ กี ารเผยแพร่ / กาหนดการ การเผยแพรอ่ งค์
พฤกษศาสตร์โรงเรียน ความร้ใู ห้เหมาะสมกบั รปู แบบการเผยแพร่

2) อธิบาย ประยุกต์และบันทกึ ข้อมลู การใช้หอ้ งสวน 2. จดั ทาสรปุ และแบบบนั ทกึ การเผยแพร่องค์ความรงู้ านสวน
พฤกษศาสตรโ์ รงเรยี น พพิ ธิ ภณั ฑ์เฉพาะเร่อื งพพิ ธิ ภณั ฑ์ พฤกษศาสตร์โรงเรยี น ในรูปแบบการบรรยายโดยแสดง
ธรรมชาตวิ ิทยา จานวนครั้ง จานวนผูร้ ับชม /ผไู้ ด้รับความรู้ ทุกครงั้ พร้อม
ระบุปัญหา อุปสรรค และหาแนวทางปรับปรงุ แก้ไขในคร้ัง
ต่อไป

1. นักเรียนมีการเผยแพร่องคค์ วามรู้ ทไ่ี ดจ้ ากการเรียนรู้
งานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน นามาแสดงในรูปแบบ
นิทรรศการและสอ่ื อเิ ล็กทรอนกิ ส์ ให้กับบคุ คลทัว่ ไปได้ โดยมี
หลักการ รวบรวม คดั เลือก วิธกี ารเผยแพร่ กาหนดการ
การเผยแพร่องค์ความรู้ให้เหมาะสมกับรปู แบบการเผยแพร่

2. จัดทาสรปุ และแบบบนั ทกึ การเผยแพร่องคค์ วามรงู้ านสวน
พฤกษศาสตร์โรงเรยี น ในรูปแบบนิทรรศการโดยแสดง
จานวนครงั้ จานวนผู้รับชม ผ้ไู ดร้ บั ความรู้ ทุกครง้ั พรอ้ มระบุ
ปัญหา อุปสรรค และหาแนวทางปรบั ปรุงแก้ไขในคร้งั ตอ่ ไป

1. จัดทาแบบบันทึกข้อมูลการใชพ้ ื้นท่ี สวนพฤกษศาสตร์
โรงเรียน โดยแสดงรายละเอียด วนั ท่ี เวลา ครงั้ ที่
รายละเอียดการใช้พ้นื ท่ี ทาอะไร อย่างไร บุคคลทใ่ี ชพ้ ืน้ ท่ี
และผ้บู นั ทึก พรอ้ มบันทกึ ภาพการใชส้ วนพฤกษศาสตร์
โรงเรียนเปน็ แหล่งเรยี นร้ทู ุกครงั้

1. จัดทาแบบบันทึกขอ้ มลู การใช้ห้องสวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรียน
พิพิธภณั ฑเ์ ฉพาะเรื่อง พพิ ธิ ภณั ฑ์ธรรมชาตวิ ทิ ยา โดยแสดง
รายละเอียด วันท่ี เวลา ครง้ั ที่ รายละเอียดการใช้พ้ืนที่

241

ตวั ชี้วดั สาระงาน
ทาอะไร อยา่ งไร บุคคลทใี่ ชพ้ นื้ ที่ และผ้บู นั ทึก พร้อม
3) อธบิ าย ประยุกต์และบนั ทกึ ข้อมูลการพัฒนา แหลง่ บันทกึ ภาพการใชส้ วนพฤกษศาสตร์โรงเรยี นเปน็ แหลง่ เรยี นรู้
เรียนรอู้ ยา่ งต่อเนื่อง ทกุ ครั้ง
1. จัดทาแบบบันทึกข้อมลู การพัฒนาแหลง่ เรียนรู้ ที่เกดิ จาก
การดาเนินงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน เช่น พื้นทีส่ วน
พฤกษศาสตร์โรงเรียน ห้องสวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรียน
พพิ ิธภัณฑ์เฉพาะเร่ือง พพิ ิธภัณฑ์ธรรมชาติวิทยา ในแตล่ ะแหล่ง
โดยระบุ วนั ที่ เวลา และรายละเอียด สภาพเดิมของแต่ละ
แหลง่ กอ่ นการพัฒนา พรอ้ มผู้บันทกึ เมอ่ื มีการพฒั นาทุก
คร้งั ใหร้ ะบุ หลักการ วันที่ เวลา รายละเอยี ดวธิ ีการพัฒนา
เชน่ ข้ันตอน หลกั การ วธิ กี าร อปุ กรณ์ การพฒั นาที่สื่อให้
เหน็ ถงึ การเปลีย่ นแปลงอย่างตอ่ เน่อื ง พรอ้ มบันทึกภาพ

242

สาระการเรยี นรู้ : ธรรมชาตแิ ห่งชีวิต

ตัวชีว้ ดั สาระงาน

1. ระบุ อธบิ าย การศกึ ษาดา้ นรปู ลักษณ์ (ชีววทิ ยา) 1. การเตรยี มการ : นาผลการเรียนรจู้ ากพชื ศกึ ษา

ของชวี ภาพ องคป์ ระกอบที่ 2 และองคป์ ระกอบที่ 3 (ข้อ 3.2) มาวางแผน

การศกึ ษา การทดลอง

2. วางแผนการศึกษา การทดลอง การเรียนรดู้ ้านรูปลักษณ์ของ

พืชศึกษา ในระยะเจรญิ เตบิ โตเตม็ ท่ี ทุกส่วนประกอบ และ

ทกุ เรือ่ ง (รปู ร่าง รูป ทรง สี ผิว ขนาด) โดยมจี านวนพืชศกึ ษา

ทเ่ี หมาะสมกับกลุม่ ผเู้ รยี น

3. มกี ารตรวจเอกสารเบอื้ งต้น

2. ระบุ อธิบาย และวเิ คราะห์ ขอ้ มูลการ 1. แผนการจดั การเรยี นรู้ ใบงานการเรียนรู้ การเปล่ียนแปลง

เปลย่ี นแปลงด้านรปู ลกั ษณ์ของชีวภาพ ด้านรูปลกั ษณ์ พชื ศกึ ษา 1 ชนดิ ทกุ สว่ นประกอบของพืช

(ราก ลาต้น ใบ ดอก ผล เมลด็ ) อย่างน้อย 4 ระยะ

การเจรญิ เตบิ โต

2. ผลการเรียนรู้ การเปล่ียนแปลงดา้ นรูปลกั ษณ์ (รูปร่าง รูปทรง

สี ผวิ เน้ือ ขนาด)

3. ระบุ อธบิ าย และวิเคราะห์ การศกึ ษาดา้ นคุณสมบัติ ระดบั ประถมศกึ ษา แสดงผลการเรยี นรู้การเปล่ียนแปลง
โครงสรา้ งภายนอก
ระดบั มัธยมศกึ ษา แสดงผลการเรียนรู้การเปล่ียนแปลง
โครงสรา้ งภายนอกและภายใน
1. การเตรียมการ : ใหน้ าพืชศึกษา ท่ีปลูกในองคป์ ระกอบท่ี 2

ของชีวภาพ และนาผลการเรียนร้จู ากพรรณไมท้ ่สี นใจ ในองค์ประกอบท่ี 3

(ข้อ 3.2) มาวางแผนการศกึ ษา

2. วางแผนการเรียนรู้พชื ศึกษา ให้มีการเรียนรดู้ า้ นคณุ สมบตั ิ

ในระยะเจรญิ เติบโตเตม็ ทใี่ นสภาพธรรมชาติ ทกุ ส่วนประกอบ

(ราก ลาตน้ ใบ ดอก ผล เมลด็ ) และทกุ เร่ือง (รส กลิน่ เสยี ง

ความเหนยี ว ความแข็ง ความยืดหยุ่น ฯลฯ) โดยมจี านวนพชื

ศกึ ษาทเ่ี หมาะสมกบั กลุ่มผเู้ รยี น

3. มีการตรวจเอกสารเบ้ืองต้น

4 .ระบุ อธบิ าย และวเิ คราะห์ ขอ้ มูลการเปลี่ยนแปลงดา้ น 1. แสดงแผนการจดั การเรียนรู้ ใบงานการเรยี นรู้ การเปล่ียน

คณุ สมบัติ ของชวี ภาพ แปลงดา้ นคุณสมบตั ิ พืชศกึ ษา ทุกส่วนประกอบของพชื
(ราก ลาตน้ ใบ ดอก ผล เมล็ด) อย่างน้อย 4 ระยะการ

เจรญิ เตบิ โต

-แสดงผลการเรยี นรู้ การเปลย่ี นแปลงด้านคุณสมบตั ิ (รส กล่นิ

243

เสียง ความเหนียว ความแข็ง ความยืดหยุ่น ฯลฯ)

5. ระบแุ ละอธิบาย การศึกษาด้านพฤตกิ รรม ระดบั ประถมศึกษา แสดงผลการเรยี นรกู้ ารเปลย่ี นแปลง
การตอบสนองตอ่ ปัจจัยภายนอก ภายในท่มี ตี อ่ การ โครงสรา้ งภายนอก
เจริญเติบโตและการพฒั นา (สรีรวทิ ยา) ของชีวภาพ ระดบั มัธยมศึกษา แสดงผลการเรียนรู้การเปลีย่ นแปลงโครง
สร้างภายนอกและภายใน
1. การเตรียมการ : ใหน้ าพชื ศกึ ษาทป่ี ลูกในองค์ประกอบที่ 2

และนาผลการเรยี นร้จู ากพรรณไม้ที่สนใจ (พืชศกึ ษา)

ในองคป์ ระกอบท่ี 3 (ข้อ 3.2) มาวางแผนการศกึ ษา

2. วางแผนการเรียนรู้ ใหม้ กี ารเรียนรู้ดา้ นพฤติกรรมของพืชศึกษา

ระยะเจรญิ เติบโตเตม็ ท่ใี นสภาพธรรมชาติ ทกุ ส่วนประกอบ

(ราก ลาตน้ ใบ ดอก ผล เมล็ด) และทุกเรือ่ ง (การบาน

การหุบ การเห่ียว การร่วง การแผ่กระจาย การเอน ฯลฯ)

โดยมจี านวนพืชศกึ ษาทีเ่ หมาะสมกับกลุ่มผเู้ รยี น

3. มีการตรวจเอกสารเบ้ืองต้น

6. ระบุ อธบิ าย และวเิ คราะห์ ขอ้ มูลการเปล่ยี นแปลงดา้ น 1. แสดงแผนการจดั การเรยี นรู้ ใบงานการเรยี นรู้ การเปล่ียน

พฤติกรรม การตอบสนองตอ่ ปจั จัยภายนอก ภายในที่ แปลงดา้ นพฤติกรรม พืชศึกษา ทุกส่วนประกอบของพืช
มตี อ่ การเจริญเติบโตและการพฒั นา (สรีรวทิ ยา) (ราก ลาตน้ ใบ ดอก ผล เมลด็ ) อยา่ งน้อย 4 ระยะ
ของชีวภาพ -แสดงผลการเรยี นรู้ การเปลย่ี นแปลงดา้ นพฤตกิ รรม (รส กล่นิ

เสยี ง ความเหนียว ความแข็ง ความยืดหยุ่น ฯลฯ)

ระดับประถมศกึ ษา แสดงผลการเรียนรู้การเปลีย่ นแปลง

โครงสร้างภายนอก

ระดบั มัธยมศึกษา แสดงผลการเรียนรกู้ ารเปลยี่ นแปลง

โครงสรา้ งภายนอกและภายใน

7. เปรียบเทยี บขอ้ มูลการเปลยี่ นแปลงของชีวภาพ กบั 1. เปรียบเทยี บข้อมูลการเปลยี่ นแปลงด้านรปู ลกั ษณก์ บั รปู กาย

ชีวิตตน คนอน่ื และรปู กายตนเอง พร้อมท้ังแสดงท่มี าขอ้ มูล

2. เปรยี บเทียบข้อมูลการเปลย่ี นแปลงดา้ นคณุ สมบตั ิกับ

สมรรถภาพคนอนื่ และตนเอง พร้อมทั้งแสดงท่มี าขอ้ มูล

3. เปรยี บเทยี บข้อมูลการเปลยี่ นแปลงด้านพฤตกิ รรมกบั จิต

อารมณ์ หรอื พฤติกรรมคนอนื่ และตนเอง พรอ้ มทง้ั แสดงทม่ี า

ขอ้ มูล

8. สรุปองคค์ วามร้เู พอื่ นามาประยกุ ต์ใชใ้ นการดาเนนิ ชวี ติ 1. สรปุ องคค์ วามรทู้ ่ีไดจ้ ากการเรียนรู้ดา้ นรปู ลกั ษณ์ ด้าน

คุณสมบัติ ด้านพฤติกรรม

2. นาองค์ความรู้ดา้ นรปู ลกั ษณ์ ดา้ นคุณสมบตั ิ ด้านพฤติกรรมมา

ประยุกตใ์ ชใ้ นการดาเนินชีวติ

244

สาระการเรียนรู้ : สรรพส่ิงลว้ นพันเกีย่ ว

ตวั ชว้ี ดั สาระงาน
1. เรยี นรธู้ รรมชาติของทรัพยากรชีวภาพอ่ืนทเ่ี ข้ามา 1. มผี ลการศกึ ษาด้านรปู ลกั ษณ์ (รปู รา่ ง รูปทรง สี ผวิ เนื้อ

เก่ียวขอ้ ง ขนาด) ชีวภาพทเี่ ข้ามาเก่ียวข้องกับพชื ศึกษาครบทุกสว่ น (เชน่
1.1 ระบแุ ละอธิบาย การศึกษาดา้ นรปู ลกั ษณ์ แมลง ศึกษาสว่ นหัว ส่วนอก สว่ นท้อง)
2. มผี ลการศกึ ษาดา้ นคุณสมบัติ (ทางกายภาพ ทางเคมี) ชีวภาพท่ี
(ชวี วทิ ยา) ของชีวภาพ เขา้ มาเกยี่ วข้องกับพืชศึกษาครบทุกสว่ น (เช่น แมลง ศกึ ษา
1.2 ระบุและอธิบาย การศึกษาด้านคณุ สมบตั ิ ของ สว่ นหัว ส่วนอก สว่ นท้อง)
3. มผี ลการศกึ ษาดา้ นพฤตกิ รรมชีวภาพที่เข้ามาเก่ียวขอ้ งกบั พชื
ชวี ภาพ ศึกษาครบทกุ สว่ น (เชน่ แมลง ศึกษาสว่ นหัว ส่วนอก สว่ น
1.3 ระบแุ ละอธิบาย การศกึ ษาดา้ นพฤติกรรม ทอ้ ง)
1. มผี ลการศกึ ษาดา้ นรูปลกั ษณ์ (รปู รา่ ง รปู ทรง สี ผวิ เนื้อ
2. เรียนร้ธู รรมชาติของทรัพยากรกายภาพทเ่ี ขา้ มา ขนาด) กายภาพ (ดนิ น้า อากาศ แสง)
เก่ียวขอ้ ง (ดิน นา้ อากาศ แสง ) 2. มีผลการศกึ ษาดา้ นคุณสมบัติ (ทางกายภาพ ทางเคม)ี กายภาพ
2.1 ระบแุ ละอธิบาย การศึกษาด้านรปู ลกั ษณ์ (ดิน น้า อากาศ แสง)
2.2 ระบุและอธบิ าย การศกึ ษาด้านคณุ สมบตั ิ
(ทางกายภาพ ทางเคม)ี 1. มผี ลการวิเคราะหค์ วามสัมพันธ์การตอบสนองต่อกัน ระหว่าง
ปจั จยั ในสภาวะต่างๆ (มแี สง/ไม่มีแสง, มีน้า/ไม่มีน้า)
3. เรยี นรธู้ รรมชาตขิ องความพนั เก่ียวระหว่างปัจจยั
3.1 ระบุ อธบิ ายและวเิ คราะหค์ วามสมั พันธ์การ 2. มีผลการวเิ คราะหค์ วามผกู พนั การตอบสนองตอ่ กนั ระหว่าง
ตอบสนองต่อกันระหวา่ งปัจจัยในสภาวะตา่ งๆ ปัจจยั ในสภาวะต่างๆ (มแี สง/ไมม่ แี สง, มนี า้ /ไมม่ นี ้า)
3.2 ระบุ อธิบายและวิเคราะหค์ วามผูกพนั การ
ตอบสนองตอ่ กนั ระหว่างปจั จยั ในสภาวะตา่ งๆ 3. มีผลการวิเคราะหด์ ุลยภาพ ความสมดุลทเี่ กิดขนึ้ ระหวา่ งปัจจยั
ศกึ ษา (พืชศกึ ษา ชวี ภาพ/กายภาพ ที่เข้ามาเกยี่ วขอ้ ง)
3.3 ระบุ อธบิ ายและวเิ คราะหด์ ลุ ยภาพ ความสมดุลที่
เกิดข้ึนระหวา่ งปจั จัยศึกษา 1. มีสรุปผลการเรียนรคู้ วามเกย่ี วพัน ความสมั พนั ธ์ ความผกู พนั
ความสมดุล และความพันเก่ียวระหวา่ งปจั จัยเปน็ ความเรียง
4. สรุปใหเ้ หน็ ความสมั พนั ธ์ ความผกู พนั และความสมดุล และแผนภาพแสดงแผนการจดั การเรยี นร้ใู บงานการเรยี นรู้

245

สาระการเรียนรู้ : ประโยชน์แทแ้ ก่มหาชน ตัวชว้ี ัด
มาตรฐาน 1. ระบุศักยภาพทไ่ี ด้จากการเรียนร้ดู า้ นรูปลกั ษณค์ รบทกุ ปจั จยั

1. วิเคราะห์ศกั ยภาพของปัจจัยศกึ ษา การเรียนรู้ คือ ปัจจัยหลัก (พืชศึกษา) ปัจจัยชวี ภาพ ปัจจัย
1.1 พิจารณาศักยภาพของรปู ลักษณ์ กายภาพ ทเี่ ขา้ มาเก่ียวข้อง
1.2 วิเคราะห์ศักยภาพของคุณสมบัติ 2. ระบุศักยภาพที่ได้จากการเรยี นรดู้ ้านคุณสมบตั คิ รบทุกปัจจยั
1.3 จนิ ตนาการศกั ยภาพของพฤติกรรม การเรยี นรู้ คือ ปัจจยั หลกั (พชื ศกึ ษา) ปจั จัยชีวภาพ ปจั จยั
กายภาพ ทีเ่ ขา้ มาเก่ียวข้อง
2. จนิ ตนาการเหน็ คณุ ของศักยภาพ ของปจั จยั ศกึ ษา 3. ระบุศักยภาพท่ไี ด้จากการเรียนรดู้ ้านพฤตกิ รรมครบทกุ ปัจจยั
2.1 จนิ ตนาการจากการวเิ คราะหศ์ ักยภาพ การเรียนรู้ คือ ปจั จัยหลกั (พืชศึกษา) ปัจจัยชีวภาพทเี่ ขา้ มา
2.2 สรปุ คุณของศกั ยภาพ ที่ไดจ้ ากจนิ ตนาการ เกย่ี วข้องแสดงแผนการจดั การเรียนรู้ ใบงานการเรยี นรู้
1. ระบคุ ุณทไ่ี ด้จากการจติ นาการศักยภาพครบทุกดา้ น คอื ดา้ น
3. สรรค์สรา้ งวิธกี าร รปู ลักษณ์ ด้านคณุ สมบตั ิ ด้านพฤติกรรม
3.1 พิจารณาคณุ ทเี่ กิดจากจนิ ตนาการ 2. สรุปคุณทไี่ ด้ครบทุกด้าน
3.2 สรา้ งแนวคิด แนวทาง วธิ กี าร แสดงแผนการจัดการเรียนรู้ ใบงานการเรียนรู้
1. แสดงวิธกี าร เหตผุ ลทเ่ี ลือกคุณจากการจิตนาการ
4. สรุปผลการเรียนรู้ ประโยชนแ์ ท้แก่มหาชน 2. แสดงแนวคิด แนวทาง วธิ กี าร เป็นประโยชน์แท้แก่มหาชน
แสดงแผนการจดั การเรยี นรู้ ใบงานการเรยี นรู้
1. แสดงผลิตภัณฑ์ หรือ ส่ิงประดิษฐ์ หรือ นวัตกรรม หรอื โครง
ร่างทีจ่ ะนาไปส่ปู ระโยชน์แท้
2. แสดงหลักการ เหตผุ ล ประโยชน์แท้ที่ได้สอดคลอ้ งกบั
2.1 ประโยชนแ์ ทน้ ้นั ขจัดความขาดแคลนทางกาย
2.2 ประโยชนแ์ ทน้ นั้ บารงุ จติ ให้เบกิ บาน
2.3 ประโยชน์แท้นนั้ สืบเนอื่ งยาวนานไมร่ จู้ บ
2.4 ประโยชนแ์ ทน้ น้ั ตกกับมหาชนคนส่วนใหญ่

246

สาระการเรียนรู้ : การสารวจและจัดทาฐานทรัพยากรทอ้ งถ่ิน

ตวั ช้วี ัด สาระงาน
1.ระบุและอธบิ ายการเก็บขอ้ มูลพ้ืนฐานในทอ้ งถิ่น
1. สารวจ เกบ็ ข้อมลู และบันทกึ ข้อมูล ชอ่ื หมูบ่ า้ น ที่ตงั้ ขอ้ มูล
2.ระบแุ ละอธิบายการเก็บข้อมูลการประกอบอาชีพใน ศาสนา จานวนประชากร ข้อมลู สถานศึกษา ข้อมูลการบรหิ าร
ทอ้ งถน่ิ องค์กรปกครองส่วนทอ้ งถ่นิ ศนู ย์สขุ ภาพชมุ ชน โรงพยาบาล
สถานีตารวจ โดยแยกแตล่ ะหมูบ่ า้ น ชมุ ชน แขวง
3.ระบแุ ละอธิบายการเก็บขอ้ มลู ด้านกายภาพในทอ้ งถ่นิ
2. บันทึกภาพการสารวจ เกบ็ ข้อมลู พืน้ ฐานในทอ้ งถน่ิ และ
4.ระบุและอธิบายการเกบ็ ขอ้ มูลประวัตหิ มู่บ้าน ชุมชน จัดเก็บอย่างเป็นระบบ สามารถสืบค้นได้
วถิ ชี มุ ชน
3. บนั ทกึ ลงในฐานข้อมลู
5.ระบแุ ละอธิบายการเกบ็ ขอ้ มูลการใช้ประโยชนข์ องพชื 1. สารวจ เก็บข้อมลู และบนั ทึกขอ้ มลู การประกอบอาชพี ดา้ น
ในท้องถิ่น
เกษตรกรรม ดา้ นอตุ สาหกรรม การพาณชิ ย์ และสถานบริการ
โดยแยกแตล่ ะหมบู่ ้าน ชุมชน แขวง
2. บนั ทึกภาพการสารวจ เก็บข้อมูลการประกอบอาชพี ใน
ทอ้ งถนิ่ และจัดเก็บอย่างเป็นระบบ สามารถสืบค้นได้
3. บันทกึ ลงในฐานขอ้ มลู

1. สารวจ เก็บขอ้ มลู และบันทกึ ขอ้ มูลสภาพภูมปิ ระเทศ
ลกั ษณะดิน แหล่งน้า อุณหภูมิ ปรมิ าณแสง และพิกัดทาง
ภมู ศิ าสตร์ โดยแยกแตล่ ะหมู่บ้าน ชุมชน แขวง

2. บนั ทึกภาพการสารวจ เก็บข้อมูลด้านกายภาพในท้องถน่ิ
และจัดเกบ็ อยา่ งเป็นระบบ สามารถสบื คน้ ได้

3. บันทกึ ลงในฐานขอ้ มลู

1. สารวจ เก็บขอ้ มูล ประวัติหมู่บา้ น ชมุ ชน แขวง วิถีหมู่บ้าน
ชุมชน แขวง โดยแยกแตล่ ะหมบู่ า้ น ชุมชน แขวง

2. บนั ทึกภาพการสารวจ เกบ็ ข้อมลู ประวตั หิ มบู่ ้าน ชมุ ชน วิถี
ชมุ ชนและจดั เกบ็ อย่างเปน็ ระบบ สามารถสืบคน้ ได้

3. บนั ทกึ ลงในฐานขอ้ มลู

1. สารวจ เกบ็ ขอ้ มูลพชื การใช้ประโยชนใ์ นท้องถ่นิ ระบุผงั
แสดงตาแหนง่ พรรณไม้ และทีม่ าของข้อมูล วาดภาพประกอบ
โดยแยกแต่ละหมู่บา้ น ชุมชน แขวง

2. บันทึกภาพการสารวจ เกบ็ ข้อมูลการใช้ประโยชนข์ องพชื ใน
ท้องถนิ่ และจดั เก็บอยา่ งเปน็ ระบบ สามารถสืบค้นได้

3. บนั ทกึ ลงในฐานขอ้ มลู

247

ตัวชวี้ ดั สาระงาน
6.ระบุและอธิบายการเกบ็ ข้อมลู การใช้ประโยชนข์ อง
สตั ว์ในท้องถิ่น 1. สารวจ เกบ็ ข้อมลู พนั ธ์สุ ตั ว์ และวาดภาพประกอบ โดยแยก
แต่ละหมู่บ้าน ชมุ ชน แขวง
7.ระบุและอธบิ ายการเกบ็ ขอ้ มูลการใชป้ ระโยชน์ของ
ชีวภาพอื่นๆ ในทอ้ งถิ่น 2. บันทกึ ภาพการสารวจ เก็บขอ้ มลู การใช้ประโยชน์ของสตั วใ์ น
ทอ้ งถิ่น และจัดเกบ็ อย่างเป็นระบบ สามารถสืบคน้ ได้
8.ระบุ อธิบาย และจาแนกการเกบ็ ขอ้ มูลภูมิปญั ญาใน
ท้องถิน่ 3. บนั ทึกลงในฐานข้อมูล

9.ระบุ อธบิ าย และจาแนกการเกบ็ ข้อมูลทรัพยากรและ 1. สารวจ เกบ็ ข้อมลู และบันทกึ ขอ้ มลู ชีวภาพอน่ื ๆ ในทอ้ งถิ่น
โบราณคดใี นทอ้ งถ่นิ โดยการบนั ทึกชอื่ เรียกในท้องถ่ิน ประเภท การใช้ประโยชน์
การกระจายพนั ธุ์ ลกั ษณะเดน่ และบรเิ วณท่ีพบ พร้อมทั้งวาด
10.อธิบายและจัดทารายงานผลการสารวจและจัดทา ภาพประกอบ โดยแยกแต่ละหมู่บา้ น ชมุ ชน แขวง
ฐานทรัพยากรทอ้ งถ่นิ
2. บันทึกภาพการสารวจ เก็บขอ้ มูลการใชป้ ระโยชน์ของชวี ภาพ
อน่ื ๆ ในทอ้ งถ่ิน และจัดเกบ็ อยา่ งเป็นระบบ สามารถสบื คน้ ได้

3. บันทกึ ลงในฐานข้อมูล
1. สารวจ เก็บข้อมลู และบันทึกขอ้ มลู ภมู ปิ ญั ญาในทอ้ งถ่ิน

โดยการบนั ทกึ สาขาของภมู ิปญั ญา ชอื่ ภูมปิ ญั ญา เจา้ ของภมู ิ
ปัญญา ประเภทของภูมิปญั ญา จดุ เด่นของภูมปิ ัญญา
รายละเอียดของภมู ปิ ัญญา การประชาสมั พันธแ์ ละเผยแพร่ภูมิ
ปญั ญาทอ้ งถิ่น ลักษณะของภมู ิปญั ญาท้องถื่น วตั ถดุ บิ ทีใ่ ช้
ประโยชน์ในผลิตภัณฑ์ที่เกิดจากภมู ิปญั ญา ซง่ึ มีในพืน้ ที่และ
พน้ื ท่ีอื่นไม่มี รวมท้งั วาดภาพภมู ปิ ญั ญาโดยแยกแต่ละหมบู่ า้ น
ชมุ ชน แขวง
2. บันทกึ ภาพการสารวจ เก็บข้อมูลการภูมปิ ญั ญาท้องถน่ิ
และจดั เก็บอยา่ งเปน็ ระบบ สามารถสืบค้นได้
3. บนั ทึกลงในฐานขอ้ มลู
1. สารวจ เกบ็ ข้อมลู และบันทกึ ข้อมูลแหล่งทรัพยากรธรรมชาติ
ในทอ้ งถน่ิ และขอ้ มลู แหลง่ โบราณคดี พร้อมท้ังวาดประกอบ
โดยแยกแตล่ ะหมู่บา้ น ชุมชน แขวง
2. บันทึกภาพการสารวจ เก็บขอ้ มูลแหล่งทรัพยากรธรรมชาติ
และโบราณคดี และจัดเกบ็ อยา่ งเป็นระบบ สามารถสืบค้นได้
3. บนั ทกึ ลงในฐานขอ้ มลู
1. ตรวจสอบ และรวบรวมขอ้ มลู การสารวจและจดั ทาฐาน
ทรัพยากรทอ้ งถิน่ ใบงานท่ี 1 – 9 โดยแยกแตล่ ะหมูบ่ ้าน
ชมุ ชน แขวง
2. จดั ทารายงานผลการสารวจและจัดทาฐานทรพั ยากรทอ้ งถ่นิ
ประกอบด้วย
สว่ นที่ 1 ส่วนประกอบตอนต้นประกอบด้วย หน้าปก

(ปกนอก) หน้าชอ่ื เรื่อง(ปกใน) คานา (กิตตกิ รรมประกาศ)
สารบญั สารบญั ตาราง สารบัญภาพประกอบ

248

ส่วนที่ 2 ส่วนประกอบตอนกลาง ประกอบดว้ ย
บทท่ี 1 บทนา
บทที่ 2 เอกสารและรายงานการศึกษาทเ่ี ก่ียวขอ้ ง
บทท่ี 3 วิธีดาเนนิ การศกึ ษา
บทที่ 4 ผลการศึกษา
บทท่ี 5 สรปุ ผล อภปิ รายผล และขอ้ เสนอแนะ

ส่วนท่ี 3 ส่วนประกอบตอนทา้ ย ประกอบด้วย บรรณานกุ รม
ภาคผนวก และอภิธานศัพท์
3. ส่งรายงานผลการสารวจและจดั ทาฐานทรพั ยากรท้องถิน่ ให้
อพ.สธ.ทราบ ปีการศึกษาละ 1 ครง้ั

249
4.3 มาตรฐานการฝกึ อบรม งานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรยี น

ตวั ชีว้ ดั สาระงาน
วนั ท่ี 1
1. ระบุและอธิบายการฝกึ อบรมปฏบิ ตั ิการงานสวน 1. พิธเี ปิด
พฤกษศาสตรโ์ รงเรียน (5 องคป์ ระกอบงานสวน 2. บรรยาย แนวทางการดาเนินวานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน
พฤกษศาสตรโ์ รงเรียน)
ตามแนวทางของโครงการอนุรกั ษ์พนั ธกุ รรมพืช อนั เน่ือง
มาจากพระราชดาริฯ (อพ.สธ.)
3. บรรยาย : องคป์ ระกอบที่ 1 การจดทาปา้ ยชอื่ พรรณไม้
3.1 การกาหนดพื้นท่ีศกึ ษา
3.2 การสารวจพรรณไมใ้ นพื้นที่
3.3 การทาและตดิ ป้ายรหสั ประจาตน้
3.4 การตั้งชอื่ หรือ สอบถามช่อื และศึกษาข้อมูลพน้ื บ้าน
3.5 การทาผังและแสดงตาแหน่งพรรณไม้
4. ฝกึ ปฏิบตั กิ าร : การทาผังและแสดงตาแหนง่ พรรณไม้
5. บรรยาย : องคป์ ระกอบท่ี 1 การจดั ทาปา้ ยชอ่ื พรรณไม้
5.1 การบันทึกภาพหรือวาดภาพทางพฤกษศาสตร์
5.2 การทาตัวอยา่ งพรรณไม้แห้ง
6. ฝกึ ปฏิบตั กิ าร : การทาตัวอย่างพรรณไมแ้ หง้
7. นาเสนองาน
วันท่ี 2
1. บรรยาย : องคป์ ระกอบที่ 1 การจัดทาป้ายช่อื พรรณไม้
1.1 เปรียบเทียบขอ้ มลู ท่ีสรุป (ก.7-003 หน้า 8) กับข้อมลู ท่ี

สืบคน้ จากเอกสาร แล้วบันทึกใน ก.7-003 หนา้ 9 - 10
1.2 การจดั ระบบขอ้ มลู ทะเบียนพรรณไม้ (ก.7-005)
1.3 การทาร่างปา้ ยชอ่ื พรรณไม้
2. ฝกึ ปฏบิ ัติการ : สรุป ก.7-003 หน้า 8 หนา้ ที่ 10 และทารา่ ง
ป้ายชอ่ื พรรณไม้
3. บรรยาย : องคป์ ระกอบที่ 1 การจดั ทาปา้ ยชือ่ พรรณไม้
3.1 ในงานที่ 1.12 ตรวจสอบความถูกตอ้ งทางวิชาการด้าน

พฤกษศาสตร์
4. บรรยาย : องค์ประกอบท่ี 2 การรวบรวมพรรณไมเ้ ขา้ ปลูกใน

โรงเรยี น
4.1 ศกึ ษาขอ้ มูลจากผงั พรรณไมเ้ ดมิ และศึกษาธรรมชาตขิ อง

พรรณไม้
4.2 สารวจ ศกึ ษา วเิ คราะหส์ ภาพพ้ืนท่ี
4.3 พจิ ารณาคณุ และสุนทรยี ภาพของพรรณไม้
4.4 กาหนดการใชป้ ระโยชน์ในพน้ื ที่
4.5 กาหนดชนิดพรรณไมท้ ี่จะปลกู

ตวั ช้ีวดั 250

สาระงาน
4.6 ทาผงั ภมู ิทัศน์
5. ฝกึ ปฏิบัตกิ าร : สารวจ ศึกษา วเิ คราะหส์ ภาพพ้ืนที่ กาหนด
การใชป้ ระโยชนใ์ นพ้นื ที่ ทาผงั ภูมทิ ศั น์
6. บรรยาย : องค์ประกอบท่ี 2 การรวบรวมพรรณไม้เข้าปลูกใน
โรงเรยี น
6.1 จัดหาพรรณไม้ วัสดุปลกู
6.2 การปลูก และดแู ลรกั ษา
6.3 ศกึ ษาคุณของพืชพรรณทปี่ ลูก ออกแบบบันทกึ การ

เปลีย่ นแปลง
7. ฝกึ ปฏบิ ตกิ าร : ออกแบบบนั ทึกพรรณไม้หลังการปลกู
8. นาเสนอผลงาน
วันที่ 3
1. บรรยาย : องค์ประกอบท่ี 3 การศึกษาข้อมลู ต่างๆ

1.1 การศกึ ษาพรรณไมท้ ่สี นใจ
2. ฝึกปฏิบตั ิการ : ศึกษาพรรณไม้ทีส่ นใจ

3. นาเสนอผลงาน
4. บรรยาย : องคป์ ระกอบที่ ๔ การรายงานผลการเรยี นรู้

4.1 รวบรวมผลการเรียนรู้
4.2 คดั แยกสาระสาคญั และจัดใหเ้ ป็นหมวดหมู่
4.3 สรุปและเรยี บเรียง
5. ฝกึ ปฏิบตั กิ าร : รวบรวมผลการเรยี นรู้ คดั แยกสาระสาคญั
และจดั ใหเ้ ป็นหมวดหมู่ สรปุ และเรียบเรยี ง
6. บรรยาย : องค์ประกอบที่ ๔ การรายงานผลการเรยี นรู้
7. เรียนร้รู ูปแบบการเขยี นรายงาน
7.1 แบบวชิ าการ
7.2 แบบบรู ณาการ
8. ฝึกปฏิบัตกิ าร : เขียนรายงาน
แบบเอกสาร เช่น หนงั สอื แผน่ พบั
แบบบรรยาย เช่น การเลา่ นทิ าน อภปิ ราย สมั มนา
แบบศลิ ปะ เช่น การแสดงศลิ ปะพน้ื บ้าน ละคร รอ้ งเพลง
ภาพวาดทางพฤกษศาสตร์
แบบนิทรรศการ
วันที่ 4
1. นาเสนอ : ผลงาน องค์ประกอบที่ ๔ การรายงานผลการ
เรียนรู้
แบบเอกสาร เช่น หนังสอื แผ่นพบั
แบบบรรยาย เช่น การเล่านิทาน อภิปราย สมั มนา
แบบศิลปะ เช่น การแสดงศิลปะพ้ืนบ้าน ละคร รอ้ งเพลง

251

ตวั ชี้วดั สาระงาน
ภาพวาดทางพฤกษศาสตร์
2. ระบุและอธิบายสาระการเรยี นรู้ (ธรรมชาติแหง่ ชวี ิต แบบนทิ รรศการ
สรรพสิง่ ล้วนพนั เก่ยี ว ประโยชนแ์ ทแ้ ก่มหาชน 2. บรรยาย : องคป์ ระกอบที่ ๕ การนาไปใชป้ ระโยชน์ทาง
การศกึ ษา
2.1 การนาสวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรยี นบรู ณาการสกู่ ารเรยี น

การสอน
3. ฝกึ ปฏบิ ตั กิ าร : เขียนแผนการจัดการเรยี นรูบ้ รู ณาการสวน

พฤกษศาสตร์โรงเรยี น
4. นาคณะผู้เข้าร่วมฝกึ อบรมฯ ศกึ ษาดงู าน (เฉพาะ

ศูนย์ฝกึ อบรม อพ.สธ. ลาตะคอง)
5. พิธปี ดิ และมอบเกยี รตบิ ัตร โดย ผู้อานวยการฝกึ อบรมฯ
วนั ที่ 1
1. พธิ เี ปดิ
2. บรรยาย : แนวทางการดาเนินงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน

ตามแนวทางของโครงการอนรุ กั ษ์พันธุกรรมพืชอนั เนอื่ ง
มาจากพระราชดาริฯ (อพ.สธ.)
3. บรรยาย : การเรยี นรู้ธรรมชาติแหง่ ชีวิต เร่ือง การศกึ ษาดา้ น
รปู ลักษณ์
4. ฝกึ ปฏิบตั ิการ : ศกึ ษาดา้ นรปู ลกั ษณ์
5. นาเสนอ : ผลงานการเรียน ศึกษาด้านรปู ลักษณ์
6. บรรยาย : การเรยี นรธู้ รรมชาตแิ ห่งชวี ติ เรือ่ ง การศึกษาการ
เปลยี่ นแปลงด้านรปู ลกั ษณ์
7. ฝึกปฏิบตั ิการ : ศกึ ษาการเปลย่ี นแปลงด้านรูปลักษณ์
8. นาเสนอ : ผลงานการเรยี น ศกึ ษาการเปลย่ี นแปลงดา้ น
รปู ลักษณ์
9. บรรยาย : การเรยี นรู้ธรรมชาตแิ ห่งชีวติ เรื่อง เปรียบเทยี บ
ขอ้ มลู การเปลีย่ นแปลงของชีวภาพ กับ ชีวติ ตน สรปุ องค์
ความรู้เพ่ือนามาประยุกตใ์ ช้ในการดาเนนิ ชวี ิต

10 ฝกึ ปฏิบตั กิ าร : เปรียบเทยี บขอ้ มูลการเปล่ียนแปลงของ
ชวี ภาพ กบั ชีวติ ตน สรุปองค์ความรเู้ พือ่ นา่ มาประยุกต์ใชใ้ น
การดาเนินชีวิต

11. นาเสนอ : เปรียบเทยี บข้อมลู การเปล่ียนแปลงของชีวภาพ
กับ ชีวิตตน สรุปองคค์ วามรู้ เพ่ือนามาประยุกต์ใชใ้ นการ
ดาเนนิ ชวี ิต

วันที่ 2
1. บรรยาย : การเรยี นรธู้ รรมชาติแห่งชีวิต เรอ่ื ง การศึกษาดา้ น

คณุ สมบตั ิ และพฤตกิ รรม

ตวั ช้ีวดั 252

สาระงาน
2. ฝกึ ปฏิบัตกิ าร : ศกึ ษาดา้ นคุณสมบตั ิ และพฤติกรรม
3. ศกึ ษาด้านคุณสมบัติ และพฤตกิ รรม (ตอ่ )
4. นาเสนอ : ผลงานการเรยี น ศึกษาดา้ นคุณสมบัติ และ

พฤติกรรม
5. บรรยาย : การเรยี นรู้ธรรมชาตแิ ห่งชวี ติ เร่ือง การศึกษาการ

เปล่ียนแปลงด้านคุณสมบัติและพฤตกิ รรม
6. ฝกึ ปฏบิ ัตกิ าร : ศึกษาการเปล่ียนแปลงดา้ นดา้ นคุณสมบัติ

และพฤตกิ รรม
7. นาเสนอ : ผลงานการเรียน ศกึ ษาการเปลย่ี นแปลงด้านดา้ น

คณุ สมบัติ และพฤติกรรม
8. บรรยาย : การเรยี นร้ธู รรมชาตแิ หง่ ชีวิต เร่ืองเปรียบเทยี บ

ข้อมูลการเปลีย่ นแปลงของชวี ภาพกบั ชวี ิตตน สรุปองคค์ วามรู้
เพอื่ นามาประยกุ ต์ใชใ้ นการดาเนินชวี ิต
9. ฝกึ ปฏบิ ตั ิการ : เปรยี บเทียบขอ้ มูลการเปลย่ี นแปลงของ
ชีวภาพกับชีวติ ตน สรุปองค์ความรเู้ พอื่ นามาประยุกต์ใช้ใน
การดาเนินชีวติ
10. บรรยาย : การเรียนรู้สรรพสง่ิ ลว้ นพันเกีย่ ว เรื่อง เรยี นรู้
ธรรมชาติของทรัพยากร ชีวภาพอ่ืนท่เี ขา้ มาเกยี่ วข้อง
11. ฝึกปฏบิ ัตกิ าร : เรยี นรู้ธรรมชาตขิ องทรพั ยากร ชีวภาพอ่นื ที่
เข้ามาเก่ียวข้อง
วนั ที่ 3
1. บรรยาย : สรรพสง่ิ ลว้ นพันเกย่ี ว เรื่อง การศึกษาด้าน

รปู ลักษณ์ การศกึ ษาดา้ นคณุ สมบตั ิ และด้านพฤติกรรม
ของชวี ภาพ

2. ฝกึ ปฏบิ ตั ิการ : การศึกษาดา้ นรปู ลักษณ์ การศกึ ษาด้าน
คุณสมบัติ และด้านพฤตกิ รรมของชวี ภาพ

3. ศึกษาด้านคณุ สมบตั ิ และพฤตกิ รรม (ตอ่ )
4. นาเสนอ : ผลงานการเรียน การศกึ ษาดา้ นคณุ สมบัติ และ

ด้านพฤติกรรม ของชีวภาพ
5. บรรยาย : สรรพสง่ิ ลว้ นพนั เกยี่ ว เรอื่ ง การศึกษาดา้ น

รปู ลกั ษณ์ การศกึ ษาดา้ นคุณสมบตั ิของกายภาพ (ดิน นา้
อากาศ แสง )
6. ฝกึ ปฏิบัตกิ าร : ศึกษาดา้ นรูปลักษณ์ การศึกษาดา้ นคณุ สมบัติ
ของกายภาพ
7. บรรยาย : สรรพสง่ิ ล้วนพันเกีย่ ว เร่อื ง สรุปให้เหน็
ความสมั พันธ์ ความผกู พันและความสมดลุ
8. ฝกึ ปฏบิ ตั ิการ : สรปุ ใหเ้ ห็นความสมั พนั ธ์ ความผกู พันและ
ความสมดุล

253

ตัวชี้วดั สาระงาน

9. นาเสนอ : สรปุ ให้เหน็ ความสมั พันธ์ ความผูกพนั และความ

สมดุล

วันที่ 4

1. บรรยาย : ประโยชน์แทแ้ ก่มหาชน เร่อื ง วเิ คราะห์ศักยภาพ

ดา้ นรปู ลกั ษณ์ ด้านคณุ สมบัติ และดา้ นพฤตกิ รรม

2. ฝกึ ปฏิบัติการ : วิเคราะห์ศักยภาพ

3. นาเสนอ : การวิเคราะหศ์ กั ยภาพ

4. บรรยาย : ประโยชนแ์ ท้แก่มหาชน เร่อื ง จนิ ตนาการเห็นคุณ

สรา้ งแนวคดิ แนวทางวิธกี าร

5. ฝกึ ปฏิบตั ิการ : จินตนาการเหน็ คณุ สร้างแนวคดิ แนวทาง

วิธกี าร (ต่อ)

6. นาเสนอ : ผลงานการ จินตนาการเห็นคุณ สรา้ งแนวคิด

แนวทาง วิธีการ

7. พิธีปิด และมอบเกียรตบิ ตั ร โดย ผู้อานวยการฝกึ อบรมฯ

3. ระบุและอธบิ ายการฝึกอบรมปฏบิ ตั ิการ การบรหิ าร วันที่ 1

และการจัดการ 1. พิธเี ปดิ
2. บรรยาย : แนวทางการดาเนินงานสวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรยี น

ตามแนวทางของ โครงการอนุรกั ษพ์ ันธุกรรมพชื อัน

เน่ืองมาจากพระราชดาริฯ (อพ.สธ.)

3. บรรยาย : สรา้ งความตระหนักในงานสวนพฤกษศาสตร์

โรงเรยี น

4. บรรยาย : 1. โรงเรยี น และชมุ ชนมสี ว่ นรว่ ม ในงานสวน

พฤกษศาสตรโ์ รงเรียน

2. แต่งตัง้ คณะกรรมการดาเนินงาน งานสวนพฤกษศาสตร์

โรงเรยี น

3. วางแผนการบรหิ ารและแผนการจดั การเรยี นรู้

5. ฝกึ ปฏบิ ตั ิการ : เขียนแผนการดาเนินงานดา้ นการบริหาร

โดยเขียนแผนงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนรวมกบั แผนงาน

ประจาปีของโรงเรยี น แสดงรายละเอยี ดงาน ระยะเวลา

งบประมาณ ผู้รบั ผิดชอบ

6. นาเสนอ : เขยี นแผนการดาเนินงานด้านการบรหิ าร

วนั ที่ 2

1. บรรยาย : สรปุ ๕ องค์ประกอบ

2. ฝกึ ปฏบิ ัตกิ าร : ออกแบบ วิธกี ารจดั การเรยี นรูอ้ ย่างชดั เจนใน

ทกุ ระดับชั้นและทกุ กลุม่ สาระการเรยี นรู้

3. นาเสนอ : วิธีการจดั การเรยี นรอู้ ยา่ งชดั เจนในทุกระดับชัน้

และทกุ กลุม่ สาระการเรยี นรู้

4. บรรยาย : การดาเนินงานตามแผน สรปุ และประเมินผลการ

254

ตัวชว้ี ดั สาระงาน
ดาเนินงาน วิเคราะหผ์ ล และปรับปรุงพฒั นางาน การทา
4. ระบแุ ละอธบิ ายการฝกึ อบรมปฏบิ ัติการ การบูรณา รายงานการดาเนินงานสวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรียน
การ 5. พิธปี ิด และมอบเกยี รติบตั ร โดย ผู้อานวยการฝกึ อบรมฯ

1. พิธีเปิด
2. บรรยาย : แนวทางการดาเนินงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน

ตามแนวทางของโครงการอนรุ กั ษพ์ นั ธุกรรมพชื อันเน่ือง
มาจากพระราชดารฯิ (อพ.สธ.)
3. บรรยาย : การดาเนินงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน 5
องค์ประกอบ
4. ฝกึ ปฏิบตั กิ าร : วเิ คราะห์หลกั สตู รแกนกลางกบั งานสวน
พฤกษศาสตรโ์ รงเรยี น
5. นาเสนอ : การวเิ คราะหห์ ลกั สูตรแกนกลางกับงานสวน
พฤกษศาสตรโ์ รงเรียน
6. สรุปการวิเคราะห์หลักสูตรแกนกลางกบั งานสวน
พฤกษศาสตรโ์ รงเรยี น เปน็ มโนทัศน์ mind mapping
วนั ท่ี 2
1. บรรยาย : การเรยี นรู้พชื ศกึ ษา
2. ฝกึ ปฏิบตั ิการ : วเิ คราะหห์ ลกั สตู รแกนกลางกบั พืชศกึ ษา
และ สรุปการวิเคราะห์ หลักสูตรแกนกลางกับ พืชศกึ ษา เปน็
มโนทัศน์ mind mapping
3. นาเสนอ : การวิเคราะห์หลกั สตู รแกนกลางกบั พืชศึกษา และ
สรุปการวเิ คราะห์หลกั สูตร แกนกลางกบั พชื ศึกษา
เป็นมโน ทศั น์ mind mapping
4. ฝกึ ปฏบิ ัติการ : เขียนแผน การจดั การเรยี นรู้ บูรณาการสวน
พฤกษศาสตร์โรงเรยี น
5. นาเสนอ : เขยี นแผน การจดั การเรยี นรู้ บรู ณาการสวน
พฤกษศาสตรโ์ รงเรยี น
6. พิธีปิด และมอบเกียรติบัตร โดย ผอู้ านวยการฝึกอบรมฯ

บทที่ 5
การวัดผลและการประเมนิ ผล

5.1 เกณฑก์ ารประเมินสถานศกึ ษา
ลาดบั ของ “บัตร” การรบั รอง และคณุ ธรรม แบ่งไดเ้ ป็น 4 ระดับ ดังนี้

1) ระดบั ป้ายสนองพระราชดารใิ นงานสวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรยี น

2) ระดับเกยี รตบิ ตั รงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรยี น ขน้ั ที่ 1
เกยี รติบัตรแห่งความม่งุ ม่ัน อนรุ ักษ์ สรรพส่ิง สรรพชีวิต ดว้ ยจิตสานกึ ของครแู ละเยาวชน

3) ระดับเกยี รตบิ ตั รงานสวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรียน ขั้นที่ 2
เกียรตบิ ัตรแหง่ การเข้าสู่สถานภาพ สถานอบรมส่ังสอนเบ็ดเสรจ็ บนฐานงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน

4) ระดบั เกยี รติบตั รงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรยี น ขัน้ ท่ี 3
เกยี รติบัตรแหง่ การเปน็ สถานอบรมสัง่ สอนเบด็ เสร็จ บนฐานงานสวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรยี น

5.1.1 ระดบั ป้ายสนองพระราชดาริในงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรยี น

1.เกณฑก์ ารประเมนิ แบ่งเป็น 4 ด้าน

(ด้านท่ี 1 - 3 คะแนน 1,000 คะแนน ด้านที่ 4 คะแนน 100 คะแนน)

ด้านท่ี 1 การบริหารและการจดั การ คะแนน 250 คะแนน ต้องไดไ้ มต่ ่ากว่า 150 คะแนน

ด้านที่ 2 การดาเนนิ งาน คะแนน 500 คะแนน ตอ้ งได้ไมต่ า่ กว่า 350 คะแนน

ด้านท่ี 3 ผลการดาเนนิ งาน คะแนน 250 คะแนน ต้องได้ไม่ต่ากว่า 150 คะแนน

รวมคะแนนเฉล่ยี ไมต่ า่ กวา่ 650 คะแนน
ดา้ นที่ 4 ความถูกต้องทางวิชาการ คะแนนเต็ม 100 คะแนน ต้องได้ไม่ต่ากว่า 80 คะแนน

เกณฑ์การประเมินดา้ นท่ี 4 ความถูกตอ้ งทางวชิ าการ แบง่ เปน็ 3 หวั ขอ้ คอื

1) ตัวอยา่ งพรรณไมแ้ ห้งและการศึกษาพรรณไม้ (20 คะแนน)

2) ทะเบยี นพรรณไม้และภาพถ่ายพรรณไม้ (50 คะแนน)

3) ปา้ ยช่อื พรรณไมส้ มบูรณ์ (30 คะแนน)

(การประเมินในด้านท่ี 4 นี้ จะไม่นาคะแนนไปเฉล่ียกับอีก 3 ด้าน แต่จะพิจารณาเป็น

เอกเทศ กล่าวคือ จะต้องผ่านการประเมินในด้านที่ 4 ก่อน ถึงจะทาการประเมินด้านการบริหารและการ

จดั การ ด้านการดาเนนิ งาน ด้านผลการดาเนินงาน)

2. ผรู้ ่วมปฏิบัติ สถานศึกษาต้องมีผู้เรียนร่วมปฏิบัติการเรียนรู้ 5 องค์ประกอบของงานสวนพฤกษศาสตร์

โรงเรยี นและพชื ศึกษาไม่ต่ากวา่ 80 เปอรเ์ ซ็นต์ ของนกั เรียนทั้งหมด

256

3. การปฏบิ ตั ิของบคุ ลากรในสถานศึกษา

1) องค์ประกอบของงานสวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรยี นครบ เหน็ ไดช้ ดั เจน .

2) ผบู้ ริหาร

- รู้เป้าหมาย “จิตสานึก” แล้วทา

- รู้หน้าท่ี “สนับสนุนครผู ้ปู ฏบิ ตั ิ” แลว้ ทา

3) ครูผู้ปฏบิ ัติ

-ใชร้ ปู ธรรมเป็นสือ่ นานามธรรม ไปสู่นามธรรมในเดก็

4) เดก็

- “คลุกคลี” กับพืชพรรณจนเกิดความรู้เบ้ืองต้น นาผลท่ีได้แสดง พร้อมท้ังวิธีการอันเป็น

ท่มี าแห่งผลน้ัน

4. วธิ กี ารประเมิน

1) พิจารณาหลักฐานเอกสารที่ปรากฏยอ้ นหลัง 2 ปี

2) สอบถามบุคลากรในสถานศกึ ษา

5.1.2 ระดับเกียรติบตั รงานสวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรียน ขน้ั ที่ 1

เกยี รติบตั รแหง่ ความมุ่งมั่น อนรุ ักษ์ สรรพสิง่ สรรพชวี ิต ด้วยจิตสานึกของครูและเยาวชน

1. เกณฑก์ ารประเมนิ แบง่ เปน็ 4 ด้าน

(ดา้ นที่ 1 - 3 คะแนน 1,000 คะแนน ด้านท่ี 4 คะแนน 100 คะแนน)

ด้านท่ี 1 การบริหารและการจดั การ คะแนน 250 คะแนน ตอ้ งไดไ้ มต่ า่ กว่า 200 คะแนน

ดา้ นที่ 2 การดาเนนิ งาน คะแนน 500 คะแนน ตอ้ งไดไ้ ม่ตา่ กว่า 400 คะแนน

ดา้ นท่ี 3 ผลการดาเนินงาน คะแนน 250 คะแนน ต้องไดไ้ มต่ ่ากวา่ 200 คะแนน

รวมคะแนนเฉลย่ี ไมต่ า่ กว่า 800 คะแนน

ดา้ นที่ 4 ความถูกตอ้ งทางวิชาการ คะแนนเตม็ 100 คะแนน ตอ้ งได้ไมต่ ่ากวา่ 80 คะแนน

เกณฑก์ ารประเมนิ ด้านท่ี 4 ความถูกต้องทางวิชาการ แบง่ เปน็ 3 หัวขอ้ คอื

1) ตัวอย่างพรรณไม้แหง้ และการศกึ ษาพรรณไม้ (20 คะแนน)

2) ทะเบยี นพรรณไมแ้ ละภาพถ่ายพรรณไม้ (50 คะแนน)

3) ปา้ ยช่ือพรรณไมส้ มบรู ณ์ (30 คะแนน)

(การประเมินในด้านที่ 4 น้ี จะไม่นาคะแนนไปเฉล่ียกับอีก 3 ด้าน แต่จะพิจารณาเป็น

เอกเทศ กล่าวคือ จะต้องผา่ นการประเมนิ ในด้านท่ี 4 กอ่ น ถงึ จะทาการประเมินท้ัง 3 ด้าน)

257
2. เกณฑก์ ารประเมินสาระ การเรยี นรูท้ ้ัง 3 สาระ คะแนนเต็ม 1000 คะแนน
สาระที่ 1 ธรรมชาติแหง่ ชวี ติ คะแนน 400 คะแนน ต้องไดไ้ ม่ต่ากวา่ 250 คะแนน
สาระที่ 2 สรรพส่ิงลว้ นพนั เก่ียว คะแนน 300 คะแนน ต้องไดไ้ ม่ตา่ กว่า 180 คะแนน
สาระที่ 3 ประโยชนแ์ ทแ้ กม่ หาชน คะแนน 300 คะแนน ตอ้ งไดไ้ ม่ต่ากวา่ 180 คะแนน

รวมคะแนนเฉลยี่ ไม่ตา่ กวา่ 600 คะแนน
3. ผ้รู ่วมปฏิบตั ิ

- สถานศึกษาต้องมีผู้เรียนร่วมปฏิบัติการเรียนรู้ 5 องค์ประกอบของงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน
และพชื ศึกษาไมต่ ่ากว่า 80 เปอรเ์ ซน็ ต์ ของนักเรยี นทัง้ หมด

- สถานศึกษาต้องมีผู้เรียนร่วมงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนสาระ ธรรมชาติแห่งชีวิต สรรพสิ่งล้วน
พันเก่ียว และประโยชนแ์ ท้แกม่ หาชน ไมต่ า่ กวา่ 80 เปอรเ์ ซน็ ต์ ของนกั เรียนท้ังหมด
4. การปฏิบตั ขิ องบุคลากรในสถานศึกษา

1. งานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน
- ปรมิ าณครู เด็ก มีสว่ นร่วมในงาน เพม่ิ ขน้ึ
- ความหลากหลายของงาน เพมิ่ ขึ้น

2. ผบู้ รหิ าร สนบั สนุน ดวู ่าจรงิ ใจ จริงจงั
3. ครูผูป้ ฏิบตั ิ ไม่เครียด เพยี รหม่ันหาวิธีการใหม่ๆ
4. เด็ก - เกดิ มี “กรุณาจิต” ต่อสรรพชวี ติ สรรพสงิ่ ไมค่ กุ คาม ไม่ทารา้ ย – ทาลาย

- เกิดมี “กรณุ าจิต” ต่อสรรพชวี ิต สรรพส่งิ ช่วยเหลอื เกื้อหนนุ เห็น ทั้งโรงเรียน
สะอาด เปน็ ระเบียบ ทกุ สรรพสง่ิ สมบูรณต์ ามธรรมชาติ

5. วิธีการประเมนิ
1) พจิ ารณาหลกั ฐานเอกสารที่ปรากฏยอ้ นหลงั 2 ปี
2) สอบถามบคุ ลากรในสถานศกึ ษา

5.1.3 ระดบั เกยี รติบตั รงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรยี น ขน้ั ที่ 2

เกียรตบิ ัตรแหง่ การเข้าสสู่ ถานภาพ สถานอบรมส่งั สอนเบ็ดเสรจ็ บนฐานงานสวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรียน

1.เกณฑก์ ารประเมนิ แบง่ เป็น 4 ด้าน

(ด้านที่ 1 - 3 คะแนน 1,000 คะแนน ดา้ นท่ี 4 คะแนน 100 คะแนน)

ด้านท่ี 1 การบรหิ ารและการจดั การ คะแนน 250 คะแนน ตอ้ งได้ไมต่ ่ากวา่ 220 คะแนน

ดา้ นท่ี 2 การดาเนนิ งาน คะแนน 500 คะแนน ตอ้ งได้ไมต่ า่ กวา่ 460 คะแนน

ดา้ นท่ี 3 ผลการดาเนนิ งาน คะแนน 250 คะแนน ตอ้ งได้ไมต่ ่ากว่า 220 คะแนน

รวมคะแนนเฉล่ียไมต่ ่ากวา่ 900 คะแนน

ด้านที่ 4 ความถูกตอ้ งทางวชิ าการ คะแนนเตม็ 100 คะแนน ต้องไดไ้ มต่ ่ากว่า 80 คะแนน

258
เกณฑก์ ารประเมินด้านที่ 4 ความถูกตอ้ งทางวชิ าการแบง่ เปน็ 3 หวั ขอ้ คอื

1) ตัวอยา่ งพรรณไม้แห้งและการศกึ ษาพรรณไม้ (20 คะแนน)
2) ทะเบียนพรรณไมแ้ ละภาพถ่ายพรรณไม้ (50 คะแนน)
3) ปา้ ยชือ่ พรรณไมส้ มบูรณ์ (30 คะแนน)
(การประเมินในด้านท่ี 4 นี้ จะไม่นาคะแนนไปเฉล่ียกับอีก 3 ด้าน แต่จะพิจารณาเป็น
เอกเทศ กลา่ วคือ จะต้องผา่ นการประเมนิ ในดา้ นที่ 4 ก่อน ถึงจะทาการประเมินทง้ั 3 ดา้ น)
2. เกณฑก์ ารประเมินสาระ การเรียนรู้ทง้ั 3 สาระ คะแนนเต็ม 1000 คะแนน
สาระที่ 1 ธรรมชาติแหง่ ชวี ติ คะแนน 400 คะแนน ต้องไดไ้ ม่ตา่ กว่า 320 คะแนน
สาระที่ 2 สรรพสงิ่ ลว้ นพนั เกี่ยว คะแนน 300 คะแนน ตอ้ งไดไ้ ม่ตา่ กวา่ 250 คะแนน
สาระท่ี 3 ประโยชนแ์ ท้แกม่ หาชน คะแนน 300 คะแนน ต้องไดไ้ มต่ ่ากวา่ 240 คะแนน

รวมคะแนนเฉลยี่ ไมต่ า่ กวา่ 800 คะแนน
3. ผู้ร่วมปฏิบตั ิ

- สถานศึกษาต้องมีผู้เรียนร่วมปฏิบัติการเรียนรู้ 5 องค์ประกอบของงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน
และพชื ศกึ ษา
ไมต่ ่ากวา่ 90 เปอร์เซน็ ต์ ของนกั เรียนทงั้ หมด

- สถานศึกษาต้องมีผู้เรียนร่วมงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนสาระ ธรรมชาติแห่งชีวิต สรรพส่ิงล้วน
พนั เกย่ี ว และประโยชนแ์ ทแ้ กม่ หาชน ไม่ต่ากว่า 90 เปอรเ์ ซ็นต์ ของนกั เรยี นท้ังหมด
4. การปฏบิ ตั ขิ องบุคลากรในสถานศกึ ษา
1. ผ้บู ริหาร ปกครองโดยธรรม
2. ครูผูป้ ฏบิ ตั ิ ปฏิบตั ิงานดว้ ยความผาสุข กลมเกลยี ว ประหยดั สุด ประโยชนส์ งู
3. เดก็ มธี รรม มีปญั ญา จัดระเบยี บของงาน จนเปน็ ระเบยี บของใจ

ความก้าวรา้ ว ไมม่ ใี นหมู่เด็ก ชม เย่ียม สะอาด เปน็ ระเบยี บทุกหนแหง่
5. วธิ ีการประเมิน

1) พจิ ารณาหลกั ฐานเอกสารทป่ี รากฏย้อนหลัง 2 ปี
2) สอบถามบคุ ลากรในสถานศึกษา

5.1.4 เกยี รติบัตรงานสวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรียน ขน้ั ท่ี 3

เกียรตบิ ัตรแห่งการเปน็ สถานอบรมส่ังสอนเบ็ดเสร็จ บนฐานงานสวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรียน

1.เกณฑ์การประเมิน แบง่ เป็น 4 ดา้ น

(ดา้ นที่ 1 - 3 คะแนน 1,000 คะแนน ด้านท่ี 4 คะแนน 100 คะแนน)

ด้านท่ี 1 การบรหิ ารและการจัดการ คะแนน 250 คะแนน ต้องได้ 250 คะแนน

ดา้ นที่ 2 การดาเนนิ งาน คะแนน 500 คะแนน ต้องได้ 500 คะแนน

259

ดา้ นที่ 3 ผลการดาเนินงาน คะแนน 250 คะแนน ตอ้ งได้ 250 คะแนน

รวมคะแนนเฉลย่ี 950 - 1000 คะแนน

(คะแนน 900 - 950 คะแนน(คิดเปน็ 95 เปอรเ์ ซน็ ต์) พิจารณารบั ประกาศฯ)

ด้านที่ 4 ความถกู ต้องทางวชิ าการ คะแนนเตม็ 100 คะแนน ต้องไดไ้ มต่ า่ กว่า 80 คะแนน

เกณฑ์การประเมนิ ด้านท่ี 4 ความถูกตอ้ งทางวชิ าการแบ่ง เปน็ 3 หัวขอ้ คอื

1) ตวั อย่างพรรณไมแ้ ห้งและการศกึ ษาพรรณไม้ (20 คะแนน)

2) ทะเบียนพรรณไม้และภาพถา่ ยพรรณไม้ (50 คะแนน)

3) ปา้ ยช่อื พรรณไม้สมบูรณ์ (30 คะแนน)

(การประเมินในด้านที่ 4 นี้ จะไม่นาคะแนนไปเฉลี่ยกับอีก 3 ด้าน แต่จะพิจารณาเป็น

เอกเทศ กลา่ วคอื จะตอ้ งผ่านการประเมินในดา้ นที่ 4 ก่อน ถงึ จะทาการประเมนิ ท้งั 3 ดา้ น)

2. เกณฑ์การประเมินสาระการเรียนรู้ทง้ั 3 สาระ คะแนนเต็ม 1000 คะแนน

สาระที่ 1 ธรรมชาติแห่งชีวิต คะแนน 400 คะแนน ตอ้ งได้ 400 คะแนน

สาระท่ี 2 สรรพสิ่งล้วนพันเกย่ี ว คะแนน 300 คะแนน ตอ้ งได้ 300 คะแนน

สาระที่ 3 ประโยชนแ์ ท้แก่มหาชน คะแนน 300 คะแนน ต้องได้ 300 คะแนน

รวมคะแนนเฉลีย่ 950 - 1000 คะแนน

(คะแนน 900 - 950 คะแนน(คิดเป็น 95 เปอร์เซ็นต์) พิจารณารบั ประกาศฯ)

3. ผู้รว่ มปฏบิ ัติ

- สถานศึกษาต้องมีผู้เรียนร่วมปฏิบัติการเรียนรู้ 5 องค์ประกอบของงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน

และพชื ศกึ ษา

คดิ เป็น 100 เปอรเ์ ซน็ ต์ ของนักเรยี นทัง้ หมด

- สถานศึกษาต้องมีผู้เรียนร่วมงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนสาระ ธรรมชาติแห่งชีวิต สรรพส่ิงล้วน

พันเกี่ยว และประโยชน์แทแ้ ก่มหาชน คดิ เป็น 100 เปอรเ์ ซน็ ต์ ของนักเรียนทง้ั หมด

4. การปฏบิ ัติของบุคลากรในสถานศกึ ษา

1. ทุกสรรพสิ่ง ล้วนเป็นปัจจัยแห่งความสว่าง คือ ปัญญา ช้ีนา สนทนา รูปธรรมท่ีปรากฎ

เชอื่ มโยงสูช่ ีวิตแหง่ ตนและสังคม

2. ผูบ้ รหิ าร ครู กลมกลืนในงาน บนฐานของจติ ท่มี คี วามเห็นชอบ

3. เด็ก เกอื้ กูลซงึ่ กนั และกัน โรงเรยี น ปราศจากความหวิ ปราศจากอบาย ปราศจากความคบั แค้น

5. วิธีการประเมนิ

1) พจิ ารณาหลักฐานเอกสารท่ีปรากฏย้อนหลัง 2 ปี

2) สอบถามบุคลากรในสถานศกึ ษา

บรรณานกุ รม

โครงการอนุรักษพ์ ันธกุ รรมพชื อันเนื่องมาจากพระราชดาริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี.
2543. สวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน. โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเน่ืองมาจากพระราชดาริ
สมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี. กรุงเทพฯ.

โครงการอนรุ กั ษ์พันธุกรรมพชื อันเนื่องมาจากพระราชดาริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี.
2551. แนวทางดาเนินงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอัน
เนือ่ งมาจากพระราชดาริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี. กรงุ เทพฯ.

โครงการอนุรกั ษพ์ นั ธุกรรมพชื อนั เน่ืองมาจากพระราชดาริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี.
2559. แผนแม่บท โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดาริ สมเด็จพระเทพ
รตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี. กรุงเทพฯ.

ภาคผนวก

(1) ขน้ั ตอนการสมคั รสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน
(2) แบบศกึ ษาพรรณไมใ้ นสวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรยี น (ก.7-003)
(3) ทะเบียนพรรณไม้ (ก.7-005)
(4) คมู่ อื การทาทะเบยี นพรรณไม้
(5) ทะเบยี นทรัพยากรในชมุ ชน

(5.1) ทะเบียนพรรณไม้ในชมุ ชน
(5.2) ทะเบียนพนั ธใุ์ นชุมชน
(5.3) ทะเบียนชวี ภาพอ่ืนๆในชมุ ชน
(5.4) ทะเบยี นภมู ิปญั ญาในชุมชน
(5.5) ทะเบียนทรัพยากรในชุมชน
(5.6) ทะเบยี นโบราณคดีในชุมชน
(6) ตัวอยา่ งใบงาน – ใบความรู้
(6.1) ดา้ นท่ี 1 การบรหิ ารและการจดั การ
(6.2) องคป์ ระกอบท่ี 1 การจดั ทาปา้ ยชื่อพรรณไม้
(6.3) องค์ประกอบท่ี 2 การรวบรวมพรรณไม้เข้าปลูกในโรงเรียน
(6.4) องค์ประกอบที่ 3 การศึกษาข้อมลู ด้านตา่ งๆ
(6.5) องคป์ ระกอบท่ี 4 การรายงานผลการเรยี นรู้
(6.6) องค์ประกอบที่ 5 การนาไปใชป้ ระโยชนท์ างการศึกษา
(6.7) สาระการเรียนรู้ : ธรรมชาติแห่งชวี ิต
(6.8) สาระการเรียนรู้ : สรรพสง่ิ ล้วนพันเกี่ยว
(6.9) สาระการเรียนรู้ : ประโยชน์แท้แก่มหาชน
(6.10) ใบงานและใบความรู้ การสารวจและจัดทาฐานทรัพยากรทอ้ งถ่นิ (9 ใบงาน)
(7) คมู่ อื การประเมนิ ความถูกต้องทางวชิ าการ
(8) แบบประเมนิ สถานศึกษา (ก.7-009)
(8.1) ระดับปา้ ยสนองพระราชดาริงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน
(8.2) เกยี รตบิ ตั รงานสวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรยี น ขัน้ ที่ 1

เกยี รติบตั รแหง่ ความมงุ่ มน่ั อนุรกั ษ์ สรรพสงิ่ สรรพชีวิต ด้วยจติ สานกึ ของครแู ละเยาวชน
(8.3) เกียรติบัตรงานสวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรียน ข้ันท่ี 2

เกียรติบัตรแห่งการเขา้ สู่สถานภาพ สถานศึกษาอบรมสัง่ สอนเบ็ดเสร็จ บนฐานงานสวน
พฤกษศาสตรโ์ รงเรียน
(8.4) เกียรติบตั รงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน ขน้ั ท่ี 3
เกียรตบิ ัตรแห่งการเปน็ สถานอบรมสัง่ สอนเบด็ เสร็จ บนฐานงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรยี น

(9) คู่มือการพิจารณาให้คะแนนสถานศึกษา (ก.7-008)
(10) แนวทางการจัดทารายงาน

(10.1) รายงานผลการดาเนินงานสวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรียน
(10.2) รายงานผลการศกึ ษา พชื ศึกษา
(10.3) รายงานผลการศกึ ษา ธรรมชาตแิ ห่งชวี ิต
(10.4) รายงานผลการศกึ ษา สรรพสง่ิ ลว้ นพันเกย่ี ว
(10.5) รายงานผลการศกึ ษา ประโยชนแ์ ทแ้ ก่มหาชน
(10.6) รายงานผลการสารวจและจัดทาฐานทรัพยากรทอ้ งถ่ิน
(11) คาอธิบายศัพท์

โครงการอนุรกั ษ์พันธุกรรมพืชอนั เน่อื งมาจากพระราชดาริ
สมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี (อพ.สธ.)

คู่มอื การดาเนินงานสวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรียน พทุ ธศักราช 2560
ภาคผนวก

28 กรกฎาคม 2560

ภาคผนวก

ภาคผนวก

(1) ข้นั ตอนการสมัครสวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรยี น
(2) แบบศึกษาพรรณไม้ในสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน (ก.7-003)
(3) ทะเบยี นพรรณไม้ (ก.7-005)
(4) คูม่ ือการทาทะเบยี นพรรณไม้
(5) ทะเบียนทรัพยากรในชมุ ชน

(5.1) ทะเบยี นพรรณไมใ้ นชุมชน
(5.2) ทะเบยี นพันธุ์สัตว์ในชมุ ชน
(5.3) ทะเบียนชวี ภาพอน่ื ๆในชุมชน
(5.4) ทะเบยี นภูมปิ ัญญาในชมุ ชน
(5.5) ทะเบยี นทรพั ยากรในชมุ ชน
(5.6) ทะเบยี นโบราณคดใี นชุมชน
(6) ตวั อยา่ งใบงาน – ใบความรู้
(6.1) ด้านท่ี 1 การบริหารและการจดั การ
(6.2) องค์ประกอบที่ 1 การจดั ทาปา้ ยชอื่ พรรณไม้
(6.3) องคป์ ระกอบที่ 2 การรวบรวมพรรณไมเ้ ข้าปลูกในโรงเรยี น
(6.4) องคป์ ระกอบท่ี 3 การศึกษาขอ้ มลู ด้านต่างๆ
(6.5) องค์ประกอบที่ 4 การรายงานผลการเรียนรู้
(6.6) องค์ประกอบที่ 5 การนาไปใชป้ ระโยชนท์ างการศกึ ษา
(6.7) สาระการเรียนรู้ : ธรรมชาติแหง่ ชวี ิต
(6.8) สาระการเรยี นรู้ : สรรพสงิ่ ล้วนพันเก่ยี ว
(6.9) สาระการเรียนรู้ : ประโยชนแ์ ทแ้ กม่ หาชน
(6.10) ใบงานและใบความรู้ การสารวจและจัดทาฐานทรพั ยากรท้องถ่ิน (9 ใบงาน)
(7) ค่มู อื การประเมินความถกู ตอ้ งทางวิชาการ
(8) แบบประเมินสถานศกึ ษา (ก.7-009)
(8.1) ระดับปา้ ยสนองพระราชดารงิ านสวนพฤกษศาสตร์โรงเรยี น
(8.2) เกยี รติบัตรงานสวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรยี น ขนั้ ท่ี 1

เกียรติบัตรแห่งความมุง่ มน่ั อนรุ ักษ์ สรรพส่งิ สรรพชวี ติ ดว้ ยจติ สานกึ ของครแู ละเยาวชน
(8.3) เกยี รติบัตรงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน ข้นั ที่ 2

เกียรติบัตรแห่งการเข้าส่สู ถานภาพ สถานศึกษาอบรมสงั่ สอนเบด็ เสรจ็ บนฐานงานสวน
พฤกษศาสตรโ์ รงเรียน
(8.4) เกยี รตบิ ัตรงานสวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรียน ขัน้ ที่ 3
เกยี รตบิ ตั รแห่งการเปน็ สถานอบรมสงั่ สอนเบ็ดเสร็จ บนฐานงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรยี น
(9) คูม่ ือการพิจารณาใหค้ ะแนนสถานศกึ ษา (ก.7-008)
(10) แนวทางการจัดทารายงาน
(10.1) รายงานผลการดาเนินงานสวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรยี น
(10.2) รายงานผลการศกึ ษา พชื ศกึ ษา
(10.3) รายงานผลการศกึ ษา ธรรมชาตแิ หง่ ชวี ิต
(10.4) รายงานผลการศกึ ษา สรรพส่ิงล้วนพันเกยี่ ว
(10.5) รายงานผลการศกึ ษา ประโยชนแ์ ท้แกม่ หาชน
(10.6) รายงานผลการสารวจและจดั ทาฐานทรพั ยากรทอ้ งถ่ิน
(11) คาอธบิ ายศพั ท์
(12) ทาเนียบผ้บู ริหาร

โครงการอนรุ กั ษพ์ นั ธุกรรมพืชอนั เน่อื งมาจากพระราชดาริ
สมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี (อพ.สธ.)

ใบสมคั รสมาชกิ “สวนพฤกษศาสตร์โรงเรยี น”

ขนั้ ตอนการสมัครสมาชิก

1. จดั ประชุมผู้ท่ีเกยี่ วขอ้ งกับสถานศกึ ษา
1.1กำหนดระเบยี บวำระกำรประชมุ เร่ือง การสมัครสมาชกิ สวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรยี น
1.2 รำยงำนกำรประชุม
1.2.1 ผูเ้ ขำ้ ร่วมกำรประชุม ดังนี้
- คณะกรรมกำรสถำนศกึ ษำ ผู้บรหิ ำรสถำนศกึ ษำ คณะครูทั้งหมดในสถำนศึกษำ
1.2.2 บันทึกกำรประชุม
1.2.3 มติท่ีประชมุ เห็นชอบและพร้อมดำเนินกำรกำรสมัครสมำชกิ สวนพฤกษศำสตรโ์ รงเรียน (เหน็ ชอบเปน็
เอกฉนั ท์)
1.2.4 หลกั ฐำนรำยชื่อ ลำยมอื ชอื่ ผู้เข้ำร่วมกำรประชมุ และลงนำมรบั รองสำเนำถูกต้อง

2. จัดเอกสารประกอบการสมคั ร
เอกสำรหมำยเลข 1 หนงั สอื รำชกำรขอสมัครเปน็ สมำชกิ “สวนพฤกษศำสตร์โรงเรียน”
เอกสำรหมำยเลข 2 แบบสอบถำมข้อมลู สถำนศึกษำ เพอ่ื ประเมนิ ควำมพร้อมของสถำนศกึ ษำที่จะร่วมสนอง
พระรำชดำริ
เอกสำรหมำยเลข 3 บันทึกข้อมูลกำรสำรวจพรรณไม้เบื้องต้นในสถำนศึกษำ
เอกสำรหมำยเลข 4 แผนท่ปี ระกอบกำรเดินทำง
เอกสำรหมำยเลข 5 สำเนำเอกสำรกรรมสทิ ธ์ใิ นกำรถือครองที่ดนิ หรอื หนงั สืออนุญำตใหใ้ ช้ทดี่ ินตงั้ สถำนศึกษำ
เอกสำรหมำยเลข 6 รำยงำนกำรประชมุ ของสถำนศกึ ษำ

3. จัดส่งใบสมัครสมาชิก “สวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรียน” ทางไปรษณีย์ หรอื โดยตรง
จา่ หน้าซองเอกสาร
ถงึ รองผ้อู ำนวยกำรโครงกำรอนรุ ักษพ์ ันธุกรรมพืชอันเน่ืองมำจำกพระรำชดำริฯ
ที่อยู่ โครงกำรอนุรักษ์พันธกุ รรมพืชอันเนื่องมำจำกพระรำชดำริฯ พระรำชวงั ดุสติ สวนจิตรลดำ เขตดสุ ติ
กรงุ เทพมหำนคร 10303
โทรศัพท์ 0-2280-8710, 0-2281-7999, 0-2281-8422 ตอ่ 2219, 2220-22
มือถือ 081-6277601, 081-9078050
โทรสาร 0-2281-7999 ตอ่ 2221
Website http://www.rspg.or.th E-mail : [email protected], [email protected]
ตดิ ตามเพือ่ ตรวจสอบสถานะการสมคั รสมาชิก ไดท้ ี่
Website http://www.rspg.or.th/botanical_school/index.html

1. จดั ประชมุ ผู้ท่เี ก่ียวขอ้ งกบั สถานศึกษา

1.1 กาหนดระเบียบวาระการประชุม เรื่อง การสมัครสมาชิกสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน
สถำนศึกษำ กำหนดวำระกำรประชุม และเชิญประชุมผู้ที่เกี่ยวข้องกับสถำนศึกษำ เพ่ือรับทรำบและพิจำรณำ

เรื่อง กำรสมัครสมำชกิ สวนพฤกษศำสตร์โรงเรยี น โดยประธำนในท่ีประชุมนำเสนอ เพ่ือรบั ทรำบและพิจำรณำ ตำม
ตัวอยำ่ งวำระกำรประชุม

(ตวั อยา่ ง) วาระการประชุม

ระเบียบวำระที่ 1 : ประธำนแจ้งเพอื่ ทรำบ
1.1 ทม่ี ำและควำมสำคัญในกำรสนองพระรำชดำริฯ
1.2 พระรำชดำริฯ บำงประกำร
1.3 สรุปแนวทำงกำรดำเนินงำนสวนพฤกษศำสตร์โรงเรียน

ระเบยี บวำระที่ 2 : เรอ่ื งเพื่อพิจำรณำ
2.1 ข้นั ตอนกำรสมคั รเปน็ สมำชกิ
2.2 กำรจัดเอกสำรประกอบกำรสมัคร
2.3 มตทิ ี่ประชุม (เหน็ ชอบ/พร้อมดำเนนิ กำร)

ระเบยี บวำระท่ี 3 : เร่ืองอ่นื ๆ

1.2 รายงานการประชมุ
สถำนศกึ ษำ แสดงองคป์ ระกอบของรำยงำนกำรประชุม ดังน้ี
1.2.1 ผ้เู ข้ำร่วมกำรประชุม
- คณะกรรมกำรสถำนศกึ ษำ ผูบ้ รหิ ำรสถำนศกึ ษำ คณะครูทัง้ หมดในสถำนศึกษำ และบุคคล
ท่เี กยี่ วข้องกับสถำนศกึ ษำ
1.2.2 บันทึกกำรประชุม
1.2.3 มตทิ ี่ประชุม เหน็ ชอบและพร้อมดำเนินกำรกำรสมคั รสมำชกิ สวนพฤกษศำสตร์โรงเรยี น (เหน็ ชอบ
เปน็ เอกฉันท)์
1.2.4 หลักฐำนรำยช่ือ ลำยมอื ช่อื ผู้เข้ำรว่ มกำรประชุม และลงนำมรับรองสำเนำถูกต้อง

ตัวอยา่ ง รายงานการประชุมสถานศึกษา

รายงานการประชุม.........................................
คร้งั ที่....................................

วนั ที่.............................เดือน.............................. พ.ศ............................
ณ.................................................................

ผู้มำประชุม
1. ชื่อ-สกลุ ...............................................................................ตำแหน่ง..................................................................
2. ชอื่ -สกลุ ...............................................................................ตำแหน่ง..................................................................
3. ชอื่ -สกลุ ...............................................................................ตำแหนง่ ..................................................................
ผไู้ มม่ ำประชมุ (ถ้ำมี)
1. ชอ่ื -สกลุ ...............................................................................ตำแหน่ง..................................................................
2. ช่อื -สกลุ ...............................................................................ตำแหน่ง..................................................................
3. ชอ่ื -สกุล...............................................................................ตำแหน่ง..................................................................
ผเู้ ขำ้ ร่วมประชมุ (ถ้ำมี)
1. ชอ่ื -สกุล...............................................................................ตำแหนง่ ..................................................................
2. ชื่อ-สกลุ ...............................................................................ตำแหน่ง..................................................................
3. ช่อื -สกุล...............................................................................ตำแหนง่ ..................................................................

เร่มิ ประชุมเวลำ........................น.

ระเบียบวาระที่ 1 : ประธานแจ้งเพื่อทราบ

1.1 ท่ีมาและความสาคัญในการเขา้ ร่วมสนองพระราชดาริ
โครงกำรอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเน่ืองมำจำกพระรำชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนรำชสุดำฯ สยำมบรมรำชกุมำรี
(อพ.สธ.) เป็นโครงกำรท่ีสมเด็จพระเทพรัตนรำชสุดำฯ สยำมบรมรำชกุมำรี ทรงสืบสำนพระรำชปณิธำนในกำรอนุรั กษ์
ทรัพยำกรของพระบำทสมเด็จพระปรมินทรมหำภูมิพลอดุลยเดช ซึ่งทรงมีสำยพระเนตรยำวไกล โดยที่พระบำทสมเด็จ
พระปรมนิ ทรมหำภมู พิ ลอดลุ ยเดช ทรงให้ควำมสำคัญและเห็นควำมสำคญั ของกำรอนุรักษ์พันธุกรรมพืช ตัวอย่ำงท่ีเห็นได้
ชัดดังในปี พ.ศ. 2503 ทรงอนุรักษ์ต้นยำงนำ ในปี พ.ศ.2504 ทรงให้นำพรรณไม้จำกภูมิภำคต่ำง ๆ มำปลูกไว้ในสวน
จิตรลดำ เพื่อเป็นแหล่งศึกษำ และทรงมีโครงกำรพระรำชดำริที่เก่ียวกับกำรอนุรักษ์พัฒนำทรัพยำกร พัฒนำแหล่งน้ำ
กำรอนุรักษ์และพัฒนำดิน อนรุ กั ษ์ทรพั ยำกรปำ่ ไม้ เป็นกำรอนุรักษ์และพัฒนำทรัพยำกรธรรมชำติ ต่อมำในปี พ.ศ. 2535
สมเด็จพระเทพรัตนรำชสดุ ำฯ สยำมบรมรำชกุมำรี ไดท้ รงสบื ทอดพระรำชปณิธำนต่อโดยมีพระรำชดำริกับ นำยแก้วขวัญ
วัชโรทัย เลขำธิกำรพระรำชวัง ให้ดำเนินกำรอนุรักษ์พืชพรรณของประเทศโดยพระรำชทำนให้โครงกำรส่วนพระองค์ฯ
สวนจิตรลดำ ฝ่ำยวิชำกำร เป็นผู้ดำเนินกำรจัดตั้งธนำคำรพืชพรรณขึ้น ในปี พ.ศ. 2536-2549 โดยรับทุนสนับสนุนจำก
สำนกั งำนคณะกรรมกำรพิเศษเพ่ือประสำนงำนโครงกำรอันเน่ืองมำจำกพระรำชดำริ (กปร.) และเป็นหน่วยงำนข้ึนตรงกับ
เลขำธิกำรพระรำชวัง ต้ังแต่ปี พ.ศ. 2539 และต่อมำในปีงบประมำณ พ.ศ. 2550 สำนักพระรำชวังดำเนินกำรจัดสรร

งบประมำณให้ และให้ อพ.สธ. ดำเนินกำรแยกสว่ นอย่ำงชดั เจนจำกโครงกำรสว่ นพระองค์ฯ สวนจิตรลดำ กำรดำเนินงำน
อพ.สธ. ดำเนินงำนโดยอยู่ภำยใต้แผนแม่บทซ่ึงเป็นระยะ ๆ ละ ห้ำปี ต้ังแต่ปี พ.ศ. 2535 เป็นต้นมำ และในแผนแม่บท
ระยะ 5 ปีท่ีหกนี้ มีแนวทำงดำเนินกำรที่สอดคล้องและสนับสนุนแผนพัฒนำเศรษฐกิจและสังคมแห่งชำติ ฉบับที่ 12
(ปีงบประมำณ พ.ศ. 2560 - 2564) ซ่ึงมีกรอบแนวคิดและหลักกำรในกำรวำงแผนที่สำคัญได้แก่ (1) กำรน้อมนำและ
ประยุกตใ์ ช้หลกั ปรชั ญำของเศรษฐกิจพอเพียง (2) คนเป็นศูนย์กลำงของกำรพัฒนำอย่ำงมีส่วนร่วม (3) กำรสนับสนุนและ
สง่ เสรมิ แนวคิดกำรปฏิรูปประเทศ และ (4) กำรพัฒนำสู่ควำมมั่นคง ม่ังค่ัง ยั่งยืน เพื่อให้สังคมอยู่ร่วมกันอย่ำงมีควำมสุข
ซง่ึ กรอบแนวควำมคิดท้ังสน่ี ้ันลว้ นแต่ตอ้ งดำเนนิ กำรภำยใตก้ ำรดูแลรกั ษำทรัพยำกรและกำรนำมำใช้ประโยชน์อย่ำงยั่งยืน
ยงิ่ ไปกว่ำนน้ั อพ.สธ. ยังมีกิจกรรมตำมกรอบแผนแม่บท อพ.สธ. ท่ีสอดคล้องกับแผนกำรขับเคลื่อนและปฏิรูประบบวิจัย
แบบบรู ณำกำรของประเทศและกรอบยุทธศำสตรก์ ำรวจิ ยั แหง่ ชำติ 20 ปีท้ัง 7 ยุทธศำสตร์ ได้แก่ (1) ด้ำนควำมม่ันคง (2)
ด้ำนกำรเกษตร (3) ด้ำนอุตสำหกรรม (4) ด้ำนสังคม (5) ด้ำนกำรแพทย์และสำธำรณสุข (6) ด้ำนพลังงำน (7) ด้ำน
ทรัพยำกรธรรมชำติและสิ่งแวดล้อม เพื่อให้ส่งผลประโยชน์ต่อประเทศชำติและประชำชนให้มำกท่ีสุด เพ่ือกำรบริหำร
จัดกำรควำมรู้ผลงำนวิจัย นวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ ทรัพยำกร และภูมิปัญญำของประเทศ สู่กำรใช้ประโยชน์เชิงพำณิชย์
และสำธำรณะ ดว้ ยยทุ ธวิธที เี่ หมำะสมที่เขำ้ ถึงประชำชนและประชำสงั คมอย่ำงแพร่หลำย

แผนแม่บท อพ.สธ. ระยะ 5 ปีท่ีหก (ตุลำคม พ.ศ. 2559-กันยำยน พ.ศ. 2564) เป็นแผนแม่บทที่จัดทำข้ึน เพื่อใช้
เปน็ กรอบในกำรดำเนินงำนตำมแนวทำงพระรำชดำรสิ มเดจ็ พระเทพรตั นรำชสดุ ำฯ สยำมบรมรำชกมุ ำรี โดยมีหน่วยงำนท่ี
ร่วมสนองพระรำชดำรเิ ขำ้ มำมสี ่วนร่วมวำงแผนงำน ทง้ั ในสว่ นกลำงและส่วนภมู ภิ ำคทว่ั ประเทศไทย ทั้งภำครัฐและเอกชน
ใหม้ ีแนวทำงดำเนนิ งำนต่อเน่อื งตำมกรอบแผนแมบ่ ท โดยเนน้ กำรทำงำนเขำ้ ไปสรำ้ งจติ สำนึกในกำรรักษำทรัพยำกรต้ังแต่
ในสถำนศึกษำดำเนินงำนในระดับท้องถิ่นในกำรทำฐำนข้อมูลทรัพยำกรท้องถ่ินซ่ึงประกอบด้วย 3 ฐำนทรัพยำกรได้แก่
ทรัพยากรชีวภาพ ทรัพยากรกายภาพ และทรัพยากรวัฒนธรรมและภูมิปัญญา จำกฐำนข้อมูลดังกล่ำวจะนำไปสู่กำร
อนรุ กั ษแ์ ละใชป้ ระโยชน์อย่ำงยั่งยืน บนพืน้ ฐำนของกำรมีจิตสำนึกในกำรอนรุ ักษ์ทรัพยำกรทมี่ ีอยใู่ นประเทศไทยต่อไป

สถานการณ์ด้านทรัพยากรของประเทศไทย
ในปัจจุบันทั่วโลกที่เห็นตระหนักถึงภัยธรรมชำติที่มีมำกขึ้น เนื่องจำกข่ำวสำรท่ีสำมำรถสื่อสำรได้อย่ำงฉับไว
สำมำรถให้ควำมกระจ่ำงและเหตุกำรณ์ท่ีเกิดขึ้นอย่ำงรวดเร็ว ประเทศไทยมีแผนกำรป้องกันและบรรเทำสำธำรณภัย
แห่งชำติ พ.ศ. 2553-2557 ต้งั แต่วันที่ 17 พฤศจิกำยน พ.ศ.2552 ซึ่งแผนดังกล่ำวได้ใช้เป็นกรอบแนวทำงกำรดำเนินงำน
เก่ียวกับกำรจัดกำรภัยพิบัติของประเทศ แต่ถึงแม้ประเทศไทยมีแผนฯ ดังกล่ำว แต่น่ันเป็นกำรแก้ปัญหำเฉพำะหน้ำต่อ
ภัยธรรมชำติทเ่ี กิดขึน้ ส่ิงทค่ี วรตระหนกั มำกทีส่ ดุ คอื สำเหตขุ องกำรเกิดส่ิงเหล่ำนั้น อันได้แก่กำรดูแลทรัพยำกรธรรมชำติท่ี
กำลังถูกคุกคำมในหลำยๆ ลักษณะ โดยเฉพำะอย่ำงย่ิงประชำคมโลกควรตระหนักและเห็นควำมสำคัญ ในเร่ืองคุ้มครอง
และใช้ประโยชน์จำกทรัพยำกร และควำมหลำกหลำยทำงชีวภำพอย่ำงมีประสิทธิภำพและย่ังยืน ตระหนักถึงควำม
สมบูรณ์ทำงด้ำนทรัพยำกรธรรมชำติในพ้ืนที่ต่ำง ๆ ตลอดจนรับทรำบปัญหำและระดับควำมรุนแรงท่ีเกิดข้ึนจำกกำรที่
ทรัพยำกรต่ำงๆ กำลังจะสูญส้ินไป ซ่ึงจะนำไปสู่กำรจัดกำร กำรอนุรักษ์ทรัพยำกรธรรมชำติและกำรใช้ประโยชน์อย่ำง
ยัง่ ยืน

ข้อมูลของกรมป่ำไม้ และกรมอุทยำนแห่งชำติสัตว์ป่ำและพันธ์ุพืช พบว่ำพื้นท่ีป่ำไม้ลดลงอย่ำงต่อเนื่อง
อย่ำงรวดเร็ว ส่งผลทำให้พรรณพืชหลำกหลำยชนิดที่ยังไม่ได้ศึกษำและบำงชนิดท่ียังไม่สำรวจพบสูญพันธ์ุไป จำกสิ่ง
เหล่ำน้ีไม่ได้เพียงแต่ทรัพยำกรชีวภำพที่ประกอบด้วยสัตว์ พืช และจุลินทรีย์จะโดนทำลำย แต่ทรัพยำกรกำยภำพ และ
ทรัพยำกรวฒั นธรรมและภมู ิปัญญำที่เกี่ยวขอ้ งกจ็ ะสญู หำยไปดว้ ย

ปี พ.ศ. 2553 จำกรำยงำนสถำนกำรณ์คุณภำพส่ิงแวดล้อม พ.ศ. 2553 ซ่ึงรวบรวมข้อมูลจำกหน่วยงำน
รำชกำรทเ่ี ก่ยี วขอ้ งนบั แตเ่ ร่ิมปงี บประมำณ 2553 โดยคณะกรรมกำรสิ่งแวดลอ้ มแหง่ ชำติที่ต้องจัดทำรำยงำนเพื่อเสนอต่อ
คณะรฐั มนตรี และหนว่ ยงำนทีเ่ ก่ยี วข้องเพื่อนำไปปฏิบัติให้สอดคล้องกับสถำนกำรณ์นั้นพบว่ำในส่วนของทรัพยำกรป่ำไม้
ซ่ึงจดั ให้เป็นส่ิงแวดล้อมบนบกน้ัน มีพ้ืนท่ีป่ำทั้งหมด 107,615,181 ไร่ หรือคิดเป็น 33.56% ของพื้นที่ประเทศ และเป็น
พื้นท่ีป่ำอนุรักษ์ 64,826,658 ไร่ หรือคิดเป็น 20.22% ของพื้นที่ประเทศ และพบว่ำยังคงถูกบุกรุก ลักลอบตัดไม้ และ
ถูกทำลำยโดยไฟป่ำอย่ำงต่อเน่ืองทุกปี ในขณะท่ีกระทรวงทรัพยำกรธรรมชำติและสิ่งแวดล้อมมีแผนเพิ่มพ้ืนที่ป่ำของ
ประเทศไทยเป็น 40% ของพื้นที่ทั้งหมด ต้ังแต่ปี พ.ศ. 2554–2563 หรือในอีก 9 ปี โดยแบ่งออกเป็นพื้นที่อนุรักษ์ 25%
ท้งั กำรขนึ้ ทะเบียนเป็นมรดกของชำติ อุทยำนแห่งชำติฯ หรือพื้นที่ป่ำสงวน เป็นต้น ส่วนอีก 15% จะผลักดันให้เป็นพ้ืนที่
ป่ำเศรษฐกิจต่อไป โดยมีหลักกำรลดกำรคุกคำมกำรสูญเสียควำมหลำกหลำยทำงชีวภำพ ปลูกป่ำเพื่อฟ้ืนฟูสภำพป่ำท่ี
เสือ่ มโทรม ตลอดจนทำให้ควำมหลำกหลำยทำงชีวภำพเกิดมูลค่ำเพิ่ม โดยเฉพำะพืชสมุนไพรที่มีอย่ำงหลำกหลำยมำทำ
วิจยั และนำไปใชไ้ ด้จริงในระบบสำธำรณสุขและผลักดันสมุนไพร และตำรับยำแผนไทยหรือยำสมุนไพรเข้ำสู่บัญชียำหลัก
แห่งชำติ โดยกระทรวงสำธำรณสุขมำกกว่ำ 70 รำยกำรซึ่งในจำนวนยำเหล่ำนั้นจำเป็นต้องใช้สมุนไพรท่ีเป็นพืชวัตถุ
มำกกว่ำ 200 ชนิด ผนวกกับธำตุวัตถุ สัตว์วัตถุและภูมิปัญญำในด้ำนกำรแพทย์แผนไทย ในกำรผลิตยำแผนไทยให้มี
คุณภำพและเป็นท่ียอมรับในกำรใช้ในโรงพยำบำลทั่วไปในประเทศและต่ำงประเทศ ส่ิงเหล่ำน้ีจะเกิดขึ้นต่อเม่ือเรำยังมี
ทรัพยำกรน้ันๆ อยู่ ไม่ว่ำจะเป็นทรัพยำกรกำยภำพ ชีวภำพ และภูมิปัญญำในกำรใช้ทรัพยำกรน้ันๆ นั่นคือต้องทำให้เกิด
กำรสื่อสำร กำรศึกษำเร่ืองกำรอนุรักษ์ นำไปสู่ควำมมีจิตสำนึกต่อกำรอนุรักษ์ทรัพยำกรที่ทุกคนเกิดควำมตระหนักและ
หวงแหนทรัพยำกรทีม่ ีอยู่

ในเร่ืองของทรัพยำกรทำงทะเล ประเทศไทยมียุทธศำสตร์ควำมมั่นคงแห่งชำติทำงทะเล (พ.ศ.2555 – 2559)
ได้กำหนดให้มีควำมสอดคล้องกับควำมต้องกำรของชำติในกำรแสวงประโยชน์จำกทะเลในห้วงเวลำดังกล่ำว และมุ่งเน้น
กำรสรำ้ งเสถียรภำพ ควำมปลอดภยั เสรีภำพ และสภำวะแวดล้อมที่เอ้ือต่อกำรดำเนินกิจกรรมทำงทะเลของทุกภำคส่วน
อยำ่ งย่ังยนื จงึ ไดด้ ำเนินกำรจัดตั้งคณะกรรมกำรนโยบำยผลประโยชน์แห่งชำติทำงทะเล เพื่อผลักดันให้เกิดกฎหมำยเพื่อ
รักษำผลประโยชน์แห่งชำติทำงทะเลโดยมีหน่วยงำนที่เกี่ยวข้องซึ่งล้วนเป็นหน่วยงำนท่ีร่วมสนองพระรำชดำริ อพ.สธ.
เป็นส่วนใหญ่เช่น กองทัพเรือ กรมทรัพยำกรทำงทะเลและชำยฝ่ัง กรมประมง กรมป่ำไม้ กรมอุทยำนฯ และอีกหลำย
หน่วยงำน ซึ่งตระหนักในปัญหำต่ำง ๆ ท่ีเกี่ยวข้องกับกำรดูแลรักษำทรัพยำกรและนำไปสู่กำรใช้ประโยชน์ เช่น ปัญหำ
กำรทำลำยส่ิงแวดล้อมโดยมนุษย์ ปัญหำอุตสำหกรรมท่ีเก่ียวข้องกับทำงทะเล ปัญหำทรัพยำกรและกำรทำประมง กำร
บรหิ ำรและกำรจดั กำรผลประโยชน์แห่งชำติทำงทะเล กำรแย่งชิงทรัพยำกรในทะเลระหว่ำงกลุ่มผลประโยชน์ภำยในชำติ
และระหว่ำงประเทศ รวมท้ังปัญหำอ่ืน ๆ ที่จะนำไปสู่กำรทำลำยทรัพยำกรทำงทะเลที่เป็นแหล่งรวมทรัพยำกรกำยภำพ
ทรพั ยำกรชีวภำพ รวมถงึ ทรพั ยำกรวัฒนธรรมและภมู ิปัญญำของประเทศไทย และเกีย่ วพันกบั ประเทศเพอื่ นบำ้ นอีกดว้ ย

จำกคำส่ังคณะหัวหน้ำคณะรักษำควำมสงบแห่งชำติ ท่ี 62/2559 มีผลบังคับใช้ต้ังแต่วันที่ 6 ตุลำคม 2559
เรือ่ ง “กำรปฏริ ูประบบวจิ ัยและนวัตกรรมของประเทศ” โดยกำหนดให้มีสภำนโยบำยวิจัยและนวัตกรรมแห่งชำติ เพ่ือทำ
หน้ำท่ีในกำรกำหนดทิศทำงนโยบำย ยุทธศำสตร์ รวมท้ังปรับปรุงระบบวิจัยและนวัตกรรมของประเทศ ตลอดจนกำกับ
และติดตำมกำรบริหำรจัดกำร กำรจัดสรรงบประมำณ และประเมินผลกำรดำเนินกำร ให้เป็นไปอย่ำงเหมำะสมและมี
เอกภำพ อันเป็นประโยชน์ต่อกำรแก้ไขปัญหำกำรวิจัยของประเทศ และปฏิรูปกำรบริหำรรำชกำร และกำหนดกรอบ
ยุทธศำสตร์กำรวิจัยแห่งชำติ 20 ปี ไดแ้ ก่ ทงั้ 7 ยทุ ธศำสตร์ ได้แก่ ควำมมั่นคง กำรเกษตร อตุ สำหกรรม สังคม กำรแพทย์
และสำธำรณสุข พลังงำน ทรัพยำกรธรรมชำติและสิ่งแวดล้อม ซึ่งเป็นนโยบำยและกำหนดยุทธศำสตร์ ที่ต้องใช้ทุนทำง
ทรัพยำกรเปน็ พน้ื ฐำนท้ังสนิ้

อพ.สธ. จึงติดตำมและประสำนงำนในมิติกำรดูแลรักษำทรัพยำกรของประเทศ ในแง่ของกำรสร้ำงควำม
ตระหนักนำไปสู่กำรสร้ำงจิตสำนึกในกำรรักษำทรัพยำกรของประเทศที่นำไปสู่ควำมมั่นคง ม่ังคั่ง และยั่งยืน ท่ีตั้งอยู่บน
พื้นฐำนของทรัพยำกรของประเทศที่มีอยู่ ณ ตอนน้ี ช่วยกันอนุรักษ์รักษำ ฟ้ืนฟู พัฒนำ และนำไปสู่กำรใช้ประโยชน์
อย่ำงยง่ั ยืนใหก้ บั ประเทศไทย ซ่งึ ตรงกับเปำ้ หมำยและวัตถุประสงค์ของ อพ.สธ. และภำยใต้กำรน้อมนำ พระรำชกระแส
“กำรรักทรพั ยำกร คอื กำรรักชำติ รักแผน่ ดิน” มำสู่กำรปฏบิ ตั โิ ดยแท้จรงิ

1.2 พระราชดารบิ างประการ
“วันท่ี 8 กุมภำพันธ์ พ.ศ. 2536 ณ อำคำรท่ีประทับในสำนักงำนชลประทำน เขต 1 ถนนทุ่งโฮเตล จังหวัด
เชียงใหม่ กำรสอนและอบรมให้เด็กมีจิตสำนึกในกำรอนุรักษ์พืชพรรณนั้นควร ใช้วิธีกำรปลูกฝังให้เด็กเห็นควำมงดงำม
ควำมน่ำสนใจ และเกิดควำมปิติท่ีจะทำกำรศึกษำและอนุรักษ์พืชพรรณต่อไป กำรใช้วิธีกำรสอนกำรอบรมที่ให้เกิด
ควำมรู้สึกกลัวว่ำ หำกไม่อนุรักษ์แล้วจะเกิดผลเสีย เกิดอันตรำยแก่ตนเอง จะทำให้เด็กเกิดควำมเครียด ซึ่งจะเป็นผลเสีย
แกป่ ระเทศในระยะยำว”

“วันที่ 29 กรกฎำคม 2540 ณ อำคำรชัยพัฒนำ สวนจิตรลดำ ทรงให้หำวิธีกำรท่ีจะทำให้เด็กสนใจพืชพรรณ
ต่ำงๆ เกิดควำมสงสัย ต้ังคำถำมตนเองเกี่ยวกับพืชพรรณที่ตนสนใจ จะนำไปสู่กำรศึกษำทดลองค้นคว้ำวิจัยอย่ำงง่ำยๆ
สำหรับโรงเรียนท่ีไม่มีห้องปฏิบัติกำรวิทยำศำสตร์ท่ีดีนัก หำกอำจำรย์โรงเรียนต่ำงๆทำได้ดังน้ี ก็จะช่วยให้เด็กเป็นคน
ฉลำด”

“วันท่ี 14 สงิ หำคม 2540 ณ ศำลำดสุ ิดำลยั สวนจติ รลดำ กำรรักในทรัพยำกร คือกำรรักชำติรักแผ่นดิน รักสิ่ง
ท่ีเป็นสมบัติของตัวเรำ กำรท่ีจะให้เขำรักประเทศชำติหรือรักษำสมบัติของเขำนั้น ทำได้โดยก่อให้เกิดควำมรักควำม
เขำ้ ใจ ถำ้ ใครไม่ร้จู กั กนั เรำก็ไม่มีควำมสัมพนั ธ์ ไม่มคี วำมผูกพนั ตอ่ กัน แตว่ ่ำถ้ำใหร้ ู้จักส่งิ นัน้ ว่ำคืออะไรหรือว่ำทำงำน ก็จะ
รู้สกึ ชื่นชม และรักหวงแหนสง่ิ นน้ั วำ่ เป็นของตน และจะทำให้เกดิ ประโยชน์ได้ ”

“เคยแนะนำโรงเรียนต่ำงๆ นอกจำกพืชพรรณแล้วส่ิงที่มีในธรรมชำติ ส่ิงท่ีหำได้ง่ำย อำจเป็นอุปกรณ์สอนได้
หลำยอย่ำง แม้แตว่ ิชำศลิ ปะก็ให้มำวำดรูปต้นไม้ ก็ไม่ต้องหำของอ่ืนมำเป็นแบบหรือเร่ืองภำษำไทย กำรเรียงควำม ก็อำจ
ทำให้เรือ่ งของกำรเขยี นรำยงำน ทำให้หัดเขียนหนงั สอื หรืออำจแต่งคำประพันธ์ ในเรื่องพชื เหล่ำนี้ เป็นตัวอย่ำงงำนศึกษำ
งำนวทิ ยำศำสตร์ และวชิ ำอ่ืนๆ ดังท่ีได้กล่ำวมำ นอกจำกน้นั ในวชิ ำพฤกษศำสตร์โดยเฉพำะ ซึ่งอำจช่วยได้ ในท่ีนี้ยังไม่เคย
กล่ำว คือเร่ืองวิชำกำรท้องถ่ิน ซึ่งก็เป็นนโยบำยของกระทรวงศึกษำธิกำร กำรอนุรักษ์ทรัพยำกร ไม่ใช่เฉพำะให้นักเรียน
ปลกู ปำ่ หรือใหอ้ นรุ ักษด์ นิ ปลกู หญ้ำแฝกอย่ำงเดียว ก็พยำยำมจะให้ออกไปดูข้ำงๆ โรงเรียน ว่ำท่ีน่ันมีอะไรอยู่ และต้นไม้
ช่อื อะไร เป็นอะไร”

“ ทรงพระรำชทำนพระรำชวินิจฉัย เม่ือวันที่ 25 มีนำคม 2548 ได้ไปกับ สมศ. มำ เห็นว่ำโรงเรียนยังสัมพันธ์กับ
ชุมชนน้อย ทำอย่ำงไร ให้ชุมชนมำให้โรงเรียน โดยเฉพำะนักเรียน ช่วยในกำรอนุรักษ์พันธุกรรมพืชและให้มีกำรทำ
DNA Fingerprint ในโรงเรียน ”

1.3 แนวทางการดาเนนิ งานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน
- เป้ำหมำย
เพ่อื พัฒนำบุคลำกร
อนุรกั ษ์และพฒั นำทรพั ยำกรพันธุกรรมพชื และทรัพยำกร
ใหเ้ กดิ ประโยชนถ์ ึงมหำชนชำวไทย

- วัตถุประสงค์
- เข้ำใจและเหน็ ควำมสำคัญของพันธกุ รรมพชื และทรัพยำกร
- ให้ร่วมคดิ ร่วมปฏบิ ัติ จนเกดิ ประโยชนถ์ งึ มหำชนชำวไทย
- ใหม้ รี ะบบขอ้ มลู พันธุกรรมพชื และทรัพยำกร ส่ือถึงกนั ไดท้ ว่ั ประเทศ

- แผนแมบ่ ทของ อพ.สธ. ดำเนนิ งำนใน 3 ฐำนทรพั ยำกร ไดแ้ ก่
1. ทรัพยำกรภำยภำพ
2. ทรัพยำกรชวี ภำพ
3. ทรพั ยำกรวฒั นธรรมและภูมปิ ญั ญำ

- กรอบกำรดำเนินงำน 3 กรอบ กิจกรรมสนบั สนนุ กำรดำเนินงำน 8 กจิ กรรม
1. กรอบกำรเรียนรทู้ รัพยำกร ประกอบด้วย
กิจกรรมท่ี 1 กิจกรรมปกปกั ทรพั ยำกร
กจิ กรรมที่ 2 กจิ กรรมสำรวจเก็บรวบรวมทรพั ยำกร
กิจกรรมที่ 3 กิจกรรมปลูกรักษำทรัพยำกร
2. กรอบกำรใช้ประโยชน์ ประกอบด้วย
กจิ กรรมที่ 4 กจิ กรรมอนรุ กั ษ์และใชป้ ระโยชนท์ รัพยำกร
กจิ กรรมท่ี 5 กจิ กรรมศูนย์ขอ้ มูลทรพั ยำกร
กิจกรรมที่ 6 กิจกรรมวำงแผนพฒั นำทรพั ยำกร
3. กรอบกำรสรำ้ งจติ สำนึก ประกอบด้วย
กิจกรรมที่ 7 กิจกรรมสร้ำงจิตสำนึกในกำรอนรุ ักษ์ทรพั ยำกร
กิจกรรมที่ 8 กจิ กรรมพิเศษสนับสนุนกำรอนรุ กั ษท์ รัพยำกร

- วิถี อพ.สธ.
ซอื่ ตรง มงุ่ ม่นั พฒั นำ สำมคั คี มคี ุณธรรม

- ซ่ือตรง : ต่อตนเอง หนำ้ ท่ีรับผิดชอบ อำชีพ องค์กร ผู้บังคับบัญชำ ผู้ใต้บังคับบัญชำ
เพ่อื นร่วมงำน

- ม่งุ มน่ั : มศี รัทธำ มจี ติ ปณธิ ำนมงุ่ มัน่ ที่จะปฏบิ ัตงิ ำนใหส้ ำเรจ็ เพือ่ ผลประโยชน์แท้
- พัฒนำ : วิทยำกำร ปญั ญำ พัฒนำคุณภำพงำน พัฒนำคุณภำพชีวิต พัฒนำตนเองให้
พร้อมกับหน้ำท่ีควำมรับผิดชอบและกำรได้รับมอบหมำย เรียนรู้ ศึกษำ ค้นคว้ำ รู้จริง รู้ทำ รู้จำ พัฒนำด้วยควำมยั่งยืน
พัฒนำสุขภำพกำย ให้สุขภำพแขง็ แรง พัฒนำสขุ ภำพจิต ให้เขม็ แขง็ พอเพียง
- สำมัคคี : รว่ มมือ ร่วมใจ ร่วมคิด ร่วมปฎิบัติ มีควำมพร้อมเพรียงเป็นหนึ่ง (one for
all all for one) one=พระบำทสมเดจ็ พระเจ้ำอยหู่ วั one=อพ.สธ.
- มีคุณธรรม : ควำมรับผิดชอบ ซื่อตรง ซื่อสัตย์ อดทน อดกล้ัน สำมัคคี เอ้ือเฟ้ือ เผ่ือ
แผ่ เมตตำ กรณุ ำ มุทิตำ รกั ษำศีล ซื่อตรงแรกเหมือนเป็นคุณธรรมที่เสมือนเป็นหัวเรือ คุณธรรมหลังเป็นเหมือนหำงเสือ
ทคี่ อยกำกบั โดยเฉพำะอย่ำงยิ่ง เร่ืองควำมรับผิดชอบ ตำมแนวทำงกำรพัฒนำทรัพยำกรมนุษย์ตำมแนวพระรำชดำริ ของ
พระบำทสมเดจ็ พระเจำ้ อยู่หัว รชั กำลท่ี 9 ในหัวขอ้ ในหลวงกบั ควำมรับผดิ ชอบ หมำยถึงกำรรู้หน้ำท่ี มีวินัย ตรงต่อเวลำ
ควำมเป็นเลิศ ควำมกล้ำหำญ ควำมซ่ือตรง ถ้ำมีควำมรับผิดชอบแล้วงำนย่อมสำเร็จตำมที่ได้รับมอบหมำย จำกนั้น
คุณธรรมอื่นๆ จะตำมมำ ท้ำยสุดกำรรักษำศีล ผู้นับถือตำมศำสนำใด ก็รักษำปฏิบัติตำมหลักศรัทธำ รักษำข้อปฏิบัติแต่
ละศำสนำทตี่ นเองนบั ถือ สำนักงำนหรอื องค์กรนน้ั ๆ ก็จะประสบแตค่ วำมสุข ควำมสงบ และควำมเจริญกำ้ วหน้ำ

- การดาเนนิ งานสวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรียน
งำนสวนพฤกษศำสตร์โรงเรียน อยู่ในกรอบกำรดำเนินงำนที่ 3 กรอบกำรสร้ำงจิตสำนึก กิจกรรมที่ 7
กิจกรรมสร้ำงจิตสำนึกในกำรอนุรักษ์ทรัพยำกร คือ งำนสร้ำงจิตสำนึกในกำรอนุรักษ์ทรัพยำกร ทรัพยำกรชีวภำพ และ
กำยภำพ โดยมกี ำรสัมผสั กำรเรียนรู้ กำรสรำ้ งและกำรปลกู ฝังคุณธรรม กำรสร้ำงเสรมิ คุณธรรม ปัญญำ และภูมปิ ญั ญำ

แผนภำพสรุปกระบวนกำรเรียนรู้ งำนสวนพฤกษศำสตโ์ รงเรียน

กำรดำเนินงำนสวนพฤกษศำสตรโ์ รงเรียน ประกอบดว้ ย 3 ด้ำน ดงั นี้
ด้านที่ 1 การบริหารและการจดั การ
โรงเรียน และชุมชนมีส่วนร่วมในงำนสวนพฤกษศำสตร์โรงเรียน แต่งต้ังคณะกรรมกำรดำเนินงำนสวน

พฤกษศำสตร์โรงเรียน วำงแผนกำรบริหำรและแผนกำรจัดกำรเรียนรู้ กำรดำเนินงำนตำมแผน สรุปและประเมินผลกำร
ดำเนินงำน วิเครำะห์ผลและปรับปรุงพัฒนำงำน รำยงำนผลกำรดำเนินงำนให้ อพ.สธ. ทรำบอย่ำงน้อยปี กำรศึกษำละ
1 คร้งั

ด้านที่ 2 การดาเนินงาน
องค์ประกอบท่ี 1 กำรจดั ทำปำ้ ยช่อื พรรณไม้
1.1 กำรกำหนดพืน้ ท่ี และกำรสำรวจพรรณไม้
1.2 กำรทำผังพรรณไม้
1.3 กำรศึกษำพรรณไมใ้ นโรงเรียน
1.4 กำรทำตวั อยำ่ งพรรณไมแ้ หง้ ดอง เฉพำะส่วน
1.5 กำรทำทะเบียนพรรณไม้
1.6 กำรทำป้ำยช่อื พรรณไมส้ มบูรณ์

องคป์ ระกอบที่ 2 กำรรวบรวมพรรณไมเ้ ข้ำปลกู ในโรงเรียน
2.1 กำรสำรวจสภำพภูมศิ ำสตรแ์ ละกำรศกึ ษำธรรมชำติ
2.2 กำหนดชนิดพรรณไม้ทจี่ ะปลกู และกำหนดกำรใช้ประโยชน์
2.3 กำรทำผังภูมทิ ศั น์
2.4 กำรจัดหำพรรณไม้ และกำรปลกู พรรณไม้
2.5 กำรศึกษำพรรณไมห้ ลังกำรปลกู

องคป์ ระกอบท่ี 3 กำรศกึ ษำขอ้ มลู ดำ้ นต่ำง ๆ
3.1 กำรศกึ ษำพรรณไม้ในสวนพฤกษศำสตร์โรงเรียน (ก.๗-๐๐๓) ครบตำม
ทะเบยี นพรรณไม้
3.2 กำรศกึ ษำพรรณไม้ทีส่ นใจ (พืชศึกษำ)

องคป์ ระกอบที่ 4 กำรรำยงำนผลกำรเรียนรู้
4.1 รวบรวมผลกำรเรียนรู้ คดั แยกสำระสำคญั และจดั เปน็ หมวดหมู่
4.2 กำรเขียนรำยงำนแบบวิชำกำร แบบบูรณำกำร
4.3 วิธีกำรรำยงำนผลในรูปแบบตำ่ งๆ

องค์ประกอบท่ี 5 กำรนำไปใช้ประโยชน์ทำงกำรศึกษำ
5.1 กำรนำสวนพฤกษศำสตรโ์ รงเรยี นบรู ณำกำรสูก่ ำรเรยี นกำรสอน
5.2 กำรเผยแพร่องค์ควำมรู้
5.3 กำรใช้สวนพฤกษศำสตร์โรงเรยี นเปน็ แหล่งเรียนรู้

ดา้ นที่ 3 ผลการดาเนินงาน
3.1 สภำพแวดล้อมทว่ั ไปของโรงเรียน มคี วำมสะอำด เป็นระเบียบ รม่ รน่ื นำ่ อยู่
3.2 โรงเรยี นมีบรรยำกำศของงำนสวนพฤกษศำสตรโ์ รงเรียน
3.3 บคุ ลำกร และผู้เรียนมคี ณุ ธรรม จริยธรรม
3.4 ผลกำรดำเนนิ งำนของโรงเรยี น บคุ ลำกร และผู้เรยี น ดเี ปน็ ท่ยี อมรับ

ระดบั การประเมนิ งานสวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรียน
1. ป้ำยสนองพระรำชดำริในงำนสวนพฤกษศำสตร์โรงเรียน
2. เกียรติบัตรงำนสวนพฤกษศำสตร์โรงเรียน ขั้นท่ี 1 : เกียรติบัตรแห่งควำมมุ่งมั่น อนุรักษ์ สรรพส่ิง สรรพชีวิต
ด้วยจติ สำนกึ ของครแู ละเยำวชน
3. เกียรติบัตรงำนสวนพฤกษศำสตร์โรงเรียน ขั้นที่ 2 : เกียรติบัตรแห่งกำรเข้ำสู่สถำนภำพ สถำนอบรมส่ังสอน
เบด็ เสรจ็ บนฐำนงำนสวนพฤกษศำสตรโ์ รงเรียน
4. เกยี รตบิ ตั รงำนสวนพฤกษศำสตรโ์ รงเรยี น ข้ันที่ 3 : เกียรติบัตรแห่งกำรเป็นสถำนอบรมสั่งสอนเบ็ดเสร็จ บน
ฐำนงำนสวนพฤกษศำสตร์โรงเรยี น

ระเบยี บวาระท่ี 2 : เรื่องเพ่ือพิจารณา
2.1 ข้ันตอนการสมคั รเป็นสมาชิก
2.1.1 จดั ประชุมผู้ทีเ่ กีย่ วข้องกบั สถำนศึกษำ จำนวน............คร้งั จำนวน ...... คณะ (สถำนศึกษำได้มี

กำรประชมุ หำรือ เพื่อพิจำรณำในกำรเข้ำรว่ มสมัครสมำชิกสวนพฤกษศำสตร์โรงเรยี นของคณะผู้บริหำรและผู้ที่เก่ียวข้อง

กบั สถำนศึกษำ จำนวนคร้ัง จำนวนคณะ)

2.1.2 จัดเอกสำรประกอบกำรสมคั รสมำชิก ตรวจสอบควำมเรยี บรอ้ ย สมบรู ณ์ ในกำรจัดเตรยี ม
เอกสำรประกอบกำรสมัครสมำชิก

เอกสำร 1 หนังสอื รำชกำรขอสมคั รเป็นสมำชิก “สวนพฤกษศำสตร์โรงเรยี น”
เอกสำร 2 แบบสอบถำมข้อมลู สถำนศกึ ษำเพอ่ื ประเมินควำมพร้อมของสถำนศกึ ษำที่จะร่วมสนอง

พระรำชดำริ
เอกสำร 3 บนั ทึกข้อมลู กำรสำรวจพรรณไม้เบ้ืองตน้ ในสถำนศกึ ษำ
เอกสำร 4 แผนทปี่ ระกอบกำรเดินทำง
เอกสำร 5 สำเนำเอกสำรกรรมสทิ ธิ์ในกำรถอื ครองท่ีดิน หรอื หนงั สอื อนุญำตใหใ้ ชท้ ดี่ นิ ตงั้

สถำนศึกษำ
เอกสำร 6 รำยงำนกำรประชมุ ของสถำนศกึ ษำ
2.1.3 มติท่ีประชุม (เห็นชอบ/พร้อมดำเนนิ กำร)

- ผเู้ ข้ำร่วมประชมุ ทกุ คน ในแตล่ ะคณะ รบั ทรำบและพิจำรณำกระบวนกำรดำเนนิ งำนสวน
พฤกษศำสตร์โรงเรยี น

- ประธำนในทป่ี ระชมุ สอบถำมผูเ้ ขำ้ ประชมุ เหน็ ชอบ สถำนศึกษำในกำรเข้ำร่วมสมคั รเป็น
สมำชกิ สวนพฤกษศำสตร์โรงเรยี น และสรุปจำนวนผ้ลู งมติ จำนวน...........เสียง (มตทิ ปี่ ระชมุ เปน็ เอกฉันท์)

ไดแ้ จง้ กำรสมัครเข้ำร่วมเป็นสมำชกิ “สวนพฤกษศำสตร์โรงเรียน” ให้ท่ปี ระชุมไดท้ รำบกนั ท่วั ทุกทำ่ น มมี ตดิ ังน้ี

1. ( ) เห็นชอบ ( ) ไมเ่ หน็ ชอบ

2. ( ) พร้อม ( ) ยังไม่พร้อม

2.1 ( ) ผูบ้ ริหำรพร้อมที่จะสนบั สนุนกำรดำเนนิ งำนสวนพฤกษศำสตรโ์ รงเรียน

2.2 ( ) ผูบ้ รหิ ำรพรอ้ มทจี่ ะประสำนกับชมุ ชนเพ่ือสนับสนุนกำรดำเนินงำนสวนพฤกษศำสตรโ์ รงเรียน

2.3 ( ) ผบู้ ริหำรพร้อมทจ่ี ะเข้ำประชมุ ในโอกำสตำ่ งๆ ในงำนสวนพฤกษศำสตร์โรงเรียน

(ตวั อยา่ ง) แบบบันทึกรายชื่อ ลายมือชอื่ ผู้เข้าร่วมการประชุม

ท่ี ช่ือ-นามสกลุ ตาแหน่ง ลายมือช่ือ

ระเบยี บวาระที่ 3 : เร่ืองอน่ื ๆ
............................................................................................................................................................. .......................
........................................................................................................... .........................................................................
............................................................................................................................. .......................................................
.............................................................................................................................. ......................................................

เลกิ ประชมุ เวลำ..................น.

( ลำยมือชือ่ )
(...............................................)

(ผจู้ ดรำยงำนกำรประชุม)

( ลำยมอื ชือ่ )
(..............................................)

(ผ้ตู รวจรำยงำนกำรประชมุ )

2. จดั เอกสารประกอบการสมัคร เอกสารหมายเลข 1

1. หนังสือราชการขอสมัครเปน็ สมาชกิ “สวนพฤกษศาสตร์โรงเรยี น”

ตัวอย่าง

ท.่ี ............................ ..............................................................
วนั ท่.ี ......................................................

เรอื่ ง ขอสมัครเป็นสมำชกิ “สวนพฤกษศำสตรโ์ รงเรียน”
เรยี น รองผอู้ ำนวยกำรโครงกำรอนุรักษพ์ นั ธุกรรมพชื อันเนื่องมำจำกพระรำชดำรฯิ

สง่ิ ท่สี ่งมำดว้ ย ๑. แบบสอบถำมข้อมูลสถำนศึกษำเพื่อประเมินควำมพร้อมของสถำนศึกษำทีจ่ ะรว่ มสนองพระรำชดำริ
๒. บนั ทึกข้อมลู กำรสำรวจพรรณไม้เบ้ืองตน้ ในสถำนศึกษำ
๓. แผนทป่ี ระกอบกำรเดนิ ทำง
๔. สำเนำเอกสำรกรรมสทิ ธ์ใิ นกำรถือครองทด่ี ิน หรือหนังสืออนญุ ำตให้ใชท้ ่ดี นิ ตงั้ สถำนศึกษำ
๕. รำยงำนกำรประชุมของสถำนศกึ ษำ

ตำมที่โครงกำรอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมำจำกพระรำชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนรำชสุดำฯ สยำมบรมรำช
กุมำรี ได้ดำเนินกิจกรรมต่ำง ๆ ของโครงกำรฯ ในกิจกรรมปกปักทรัพยำกร สำรวจเก็บรวบรวมทรัพยำกร ปลูกรักษำ
ทรัพยำกร อนุรักษ์และใช้ประโยชน์ทรัพยำกร ศูนย์ข้อมูลทรัพยำกร วำงแผนพัฒนำทรัพยำกร สร้ำงจิตสำนึกในกำร
อนุรักษ์ทรัพยำกร และกิจกรรมพิเศษสนับสนุนกำรอนุรักษ์ทรัพยำกร โดยท่ีกิจกรรมสร้ำงจิตสำนึกในกำรอนุรักษ์
ทรัพยำกร มงี ำนสวนพฤกษศำสตร์โรงเรียน ซงึ่ สอดคลอ้ งกบั งำนทป่ี ฏิบตั ิโดยตรงในกำรให้ควำมรู้ กำรศึกษำ และสำมำรถ
นำไปใช้เป็นส่ือกำรเรียนกำรสอน ดังน้ันจำกกำรประชุมครู-อำจำรย์ของสถำนศึกษำ จึงได้ลงมติเห็นชอบและพร้อมที่จะ
ดำเนนิ งำนสวนพฤกษศำสตร์โรงเรียน

จงึ เรียนมำเพื่อขอสมัครเป็นสมำชกิ สวนพฤกษศำสตรโ์ รงเรียน และดำเนนิ กำรต่อไปดว้ ย
ขอแสดงควำมนับถือ

(อธิกำรบดี/ผ้อู ำนวยกำร/อำจำรยใ์ หญ่/ครูใหญ่)

เอกสารหมายเลข 2
2. แบบสอบถามขอ้ มลู สถานศึกษาเพ่อื ประเมนิ ความพร้อมของสถานศึกษาท่จี ะร่วมสนองพระราชดาริ

กจิ กรรมสรา้ งจิตสานกึ ในการอนุรักษ์ทรพั ยากร “งานสวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรียน”
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

1.ข้อมูลสถานศึกษา
ชื่อสถำนศึกษำ …………..……………………………………………สังกดั …………………………..........................................................
ทอี่ ยู่ ...............……………………………………………………………………………………………….......................................................
โทรศัพท์………………………………………………………………………………………………………........................................................
โทรสำร……………………………………………………………………………………………………………………………………………..…………..
Website ของสถำนศกึ ษำ…………………………………………………………………………………………………………………......………..
E-mail address…………………………………………………………………………………………..........................................................
ท่ตี งั้ ทำงหลวงหมำยเลข…..…..…อย่ชู ่วงระหว่ำง………….………….ถงึ ….……………หลักกิโลเมตรที่...……............................

2.ขอ้ มลู ทางภมู ศิ าสตร์

ขนำดพนื้ ทีข่ องสถำนศกึ ษำโดยประมำณ(ไร่/งำน/ ตำรำงวำ)……………………………….จำนวนอำคำรเรียน………………………

สภำพทำงภูมิศำสตร์ (ลักษณะพื้นที่ ดิน แหล่งน้ำ อ่นื ๆ)………………………………...……………………………………………………..

สภำพแวดล้อมทำงธรรมชำติ………………………………………………………………………………..…………………………………………….

จำนวนพชื พรรณไมข้ นำดใหญ่ท่ีมีอยเู่ ดิม (โดยประมำณ)………………………………………………………………..………………………

3.ข้อมูลบุคลากร

ชือ่ อธิกำรบดี/ผูอ้ ำนวยกำร/อำจำรยใ์ หญ่/ครูใหญ…่ …………………………………………………………………………………………….

จำนวน คร-ู อำจำรย์ ….…………………………………… จำนวนเจ้ำหน้ำท่ี……………………………………………………………………..

จำนวน นกั เรียน/นกั ศึกษำ…………………………..…………………………………………………………………………………………………..

จำนวน ชั้นเรียน 1. ระดับอนุบำลศึกษำ…………………….. หอ้ ง จำนวนนกั เรียน……………………………………..คน

2. ระดับประถมศกึ ษำ…………………….. หอ้ ง จำนวนนักเรยี น……………………………………..คน

3. ระดับมธั ยมศกึ ษำ……………….…..….. ห้อง จำนวนนักเรยี น……………………………………..คน

4. ระดับอำชวี ศึกษำ.…………...………….. ห้อง จำนวนนักศึกษำ……………………………………..คน

5. ระดับอุดมศึกษำ…………...…………….. หอ้ ง จำนวนนักศกึ ษำ……………………………………..คน

จำนวนสำขำวชิ ำ / หมวดวชิ ำ…………………ประกอบดว้ ย………………………………………………….............................................

รำยช่อื ครู – อำจำรย์ผู้ที่ไดร้ บั มอบหมำยใหป้ ระสำนงำน ชือ่ - สกุล……………..…………..……….............................................

ตำแหนง่ ……………………….เบอรโ์ ทรศพั ท์.............................................. E-mail address………………………………………………

4.ขอ้ มูลคอมพิวเตอร์

มีคอมพิวเตอร์ ( ) มี จำนวน ............................. เครือ่ ง ( ) ไมม่ ี

มี Internet ใช้หรอื ไม่ ( ) มี จำนวน ............................. เครื่อง ( ) ไมม่ ี

ควำมสะดวกในกำรใช้ Internet ( ) สะดวก ( ) ไมส่ ะดวก ( ) อื่นๆ.............................

ระบบท่ีใช้ ( ) สำยโทรศพั ท์ ( ) Leased Line ( ) จำนดำวเทยี ม

ควำมเรว็ ในกำรดำวนโ์ หลดข้อมูล (ชำ้ /เร็ว) ระบคุ วำมเร็ว เชน่ 2.5 Mb 11 Mb……. ( ) ธรรมดำ ( ) Hi-speed

เอกสารหมายเลข 3

3. บันทึกขอ้ มูลการสารวจพรรณไม้เบ้อื งตน้ ในสถานศึกษา

วัน / เดือน / ปี ที่ดำเนินกำรสำรวจพรรณไม้…………………………………………………………………………………………………………
ช่อื สถำนศกึ ษำ……………………………………………………………………..สงั กดั …………………………………………………………………….
ทอ่ี ยู่………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
ช่อื ครู - อำจำรย์ผปู้ ระสำนงำนกำรสำรวจบันทกึ ชอื่ - สกลุ …………………………...........................................................……...
ตำแหนง่ ………………………………....................................................................................................................……………………
ได้ส่งรำยชื่อพรรณไมท้ ่ีไดส้ ำรวจเบอ้ื งตน้ ในสถำนศกึ ษำ ดังน้ี

ลาดับ ชอื่ ท้องถิ่น ลักษณะวิสัย ประโยชน์พ้นื บา้ น

1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20

หมายเหตุ 1. ถ้ำยงั ไมท่ รำบช่อื ให้สำรวจและบันทึกลักษณะเด่น เชน่ สดี อก กำรมีหนำม มียำง หรอื มีกำร
ใช้ประโยชนล์ งในแบบสำรวจมำดว้ ย

2. ถำ้ ทรำบประโยชนใ์ ห้ใสม่ ำดว้ ย ถ้ำยงั ไม่ทรำบให้วำ่ งไว้

ตัวอย่าง : แบบบนั ทกึ ข้อมูลการสารวจพรรณไม้เบ้ืองต้นในสถานศึกษา

วนั / เดือน / ปี ทีด่ ำเนินกำรสำรวจพรรณไม้ ……………………………………………………………………………………………………….
ชื่อสถำนศึกษำ……………………………………………………………………….สังกดั …………………………………………………………………….
ทอ่ี ยู่……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ชือ่ อำจำรยผ์ ู้ประสำนงำนกำรสำรวจบันทกึ ชื่อ……………………………....……ตำแหนง่ ……………………………………………………
ไดส้ ง่ รำยชื่อพรรณไมท้ ่ีไดส้ ำรวจเบื้องต้นในสถำนศกึ ษำ ดังน้ี

ลาดับ ช่อื ท้องถิน่ ลักษณะวิสัย ประโยชนพ์ น้ื บา้ น
1 มะเฟือง ไม้ต้น
2 ตะแบก ไม้ต้น รับประทำนผล สมุนไพร
3 มะพรำ้ ว ปำลม์ ไม้ประดับ เคร่อื งเรอื น
รับประทำนผล ก้ำนใบใชท้ ำไม้
4 ตำล ปำล์ม กวำด
รับประทำนผล ใชเ้ นือ้ ไม้ทำ
5 กวำวเครอื ไม้เลื้อย เฟอร์นเิ จอร์ เคร่ืองเรอื น
6 ไผ่นำ้ เตำ้ ไผ่ สมนุ ไพร
7 บัวหลวง ไมล้ ้มลุก ไมป้ ระดบั
8 ชำยผ้ำสีดำ เฟิร์น สมนุ ไพร
9 กลว้ ยไม้ดิน กลว้ ยไม้ ไมป้ ระดบั
10 กก - -
11 (ยงั ไม่ทรำบชื่อ) ไม้ล้มลุก เครื่องจักสำน
12 (ยังไม่ทรำบช่อื ) ไมต้ น้ สมนุ ไพร
หมอพน้ื บำ้ น ใบแห้งต้มทำยำแก้ไข้

หมายเหตุ 1. ถ้ำยังไม่ทรำบชื่อ ให้ทำกำรสำรวจและบันทกึ บอกลักษณะเดน่ เช่น สีดอก กำรมีหนำม มียำง หรอื มกี ำร
ใชป้ ระโยชนล์ งในแบบสำรวจมำดว้ ย

2. ถำ้ ทรำบประโยชน์ให้ใสม่ ำดว้ ย ถำ้ ยงั ไม่ทรำบให้วำ่ งไว้

เอกสารหมายเลข 4

4.แผนท่ีประกอบการเดินทาง

(จัดทำแผนทีป่ ระกอบกำรเดินทำง จำกตวั อำเภอไปยงั สถำนศึกษำ โดยระบรุ ะยะทำง และจดุ สังเกตทชี่ ดั เจน
ประกอบกำรเดนิ ทำง )

เอกสารหมายเลข 5

5. สาเนาเอกสารกรรมสทิ ธิ์ในการถอื ครองทด่ี นิ หรือหนงั สืออนุญาตใหใ้ ช้ท่ดี ินตัง้ สถานศึกษา

(เอกสำรที่ระบุว่ำสถำนศกึ ษำตัง้ อยู่ ท่ดี นิ ประเภทไหน เช่น ทร่ี ำชพสั ดุ ทด่ี นิ บริจำค ทดี่ ินของวดั ทีด่ นิ
สำธำรณประโยชน์)

1. สถำนศึกษำถือเอกสำรกรรมสทิ ธทิ์ ีด่ นิ
1.1 ใหส้ ำเนำเอกสำรกรรมสทิ ธ์ิทด่ี ินและลงนำมรับรองสำเนำถกู ต้อง โดยผบู้ รหิ ำรสถำนศึกษำ จำนวน 1 ชดุ

2. สถำนศกึ ษำไม่ไดถ้ ือเอกสำรกรรมสิทธ์ิที่ดิน เชน่ ท่ีดินของวดั ทีด่ นิ สำธำรณะประโยชน์ เปน็ ต้น
2.1 ใหผ้ ู้บริหำรสถำนศึกษำ ทำหนังสอื ถงึ เจำ้ ของกรรมสิทธ์ิทีด่ ิน ขออนุญำตใช้ประโยชน์ทีด่ นิ เพ่ือกำรศึกษำ
2.2 เจ้ำของกรรมสทิ ธิ์ทดี่ ิน มีหนังสือถงึ สถำนศึกษำ อนุญำตให้ใช้ทดี่ ินเพื่อประโยชน์ทำงกำรศกึ ษำ
2.3 สถำนศกึ ษำสำเนำหนังสืออนุญำตให้ใช้ท่ีดนิ เพื่อประโยชนท์ ำงกำรศึกษำ และลงนำมรบั รองสำเนำถกู ต้อง

โดยผ้บู รหิ ำรสถำนศึกษำ จำนวน 1 ชุด

เอกสารหมายเลข 6

6. รายงานการประชุมของสถานศกึ ษา ประกอบด้วย

1. วำระกำรประชุม
2. บันทึกรำยงำนกำรประชมุ และมติท่ีประชุม (เห็นชอบและพร้อมดำเนนิ กำร) ลงนำมรบั รองสำเนำถูกตอ้ ง

โดยผู้บรหิ ำรสถำนศึกษำ
3. หลกั ฐำนรำยชื่อ ลำยมือช่อื ผู้เข้ำร่วมกำรประชุม

3. จดั ส่งเอกสารประกอบการสมัคร

1. ยน่ื ใบสมัครสมำชิก “สวนพฤกษศำสตรโ์ รงเรียน” ทำงไปรษณีย์ หรือโดยตรง
ถงึ รองผู้อำนวยกำรโครงกำรอนรุ ักษ์พนั ธุกรรมพชื อนั เนอื่ งมำจำกพระรำชดำริฯ
ทอ่ี ยู่ โครงกำรอนรุ ักษ์พนั ธกุ รรมพืชอนั เน่อื งมำจำกพระรำชดำริฯ พระรำชวังดุสติ สวนจติ รลดำ เขตดุสิต
กรุงเทพมหำนคร 10303
โทรศัพท์ 0-2280-8710, 0-2281-7999, 0-2281-8422 ตอ่ 2219, 2220-22
มอื ถือ 081-6277601, 081-9078050
โทรสาร 0-2281-7999 ต่อ 2221
Website http://www.rspg.or.th E-mail : [email protected],[email protected]

ตดิ ตามเพอ่ื ตรวจสอบสถานะการสมคั รสมาชิก ไดท้ ี่
Website http://www.rspg.or.th/botanical_school/index.htm

2. โครงกำรอนรุ ักษ์พันธุกรรมพชื อนั เน่ืองมำจำกพระรำชดำริฯ (อพ.สธ.) ตรวจสอบเอกสำรประกอบกำรสมัคร
สมำชิก
2.1 เอกสำรครบ/สมบรู ณ์
- อพ.สธ. ประสำนผปู้ ระสำนงำนของสถำนศึกษำ เพอ่ื ยืนยนั กำรสมคั รสมำชิก และดำเนนิ กำรส่ง
หนงั สือตอบรับกำรตอบรบั เป็นสมำชิก พร้อมแจง้ ลำดับสมำชกิ ของสถำนศึกษำ
2.2 เอกสำรไมค่ รบ/ไมส่ มบูรณ์
- อพ.สธ. ประสำนผปู้ ระสำนงำนของสถำนศึกษำ จดั สง่ เอกสำรเพิม่ เตมิ ภำยใน 30 วนั หลังจำกท่ี
ได้รับกำรประสำนงำน และแจง้ สถำนะกำรสมัครสมำชิก ท่ี Website
http://www.rspg.or.th/botanical_school/index.htm
- กรณี ไม่ไดร้ ับกำรประสำนงำนและส่งเอกสำรเพิ่มเตมิ จำกสถำนศกึ ษำ ภำยใน 30 วนั
สถำนศึกษำต้องดำเนินกำรจดั สง่ เอกสำรใหม่ เพือ่ ใหก้ ำรสมคั รสมำชกิ ถูกต้อง และสมบูรณ์






Click to View FlipBook Version