The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือการดำเนินงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน พ.ศ.2560 โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมอันเนื่องมาจากพระราชดำริฯ หน้า 1-492

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by kookkig.work42, 2021-10-14 02:37:54

คู่มือการดำเนินงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน1

คู่มือการดำเนินงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน พ.ศ.2560 โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมอันเนื่องมาจากพระราชดำริฯ หน้า 1-492

Keywords: พฤษศาสตร์

37
เป้าหมาย
เพื่อให้บรรลวุ ิสยั ทัศน์ดงั กล่าว จึงได้กาหนดเปูาหมายและกรอบแนวทางการดาเนนิ งาน อพ.สธ.
ในระยะ 5 ปที หี่ ก (1 ตุลาคม พ.ศ. 2559 – 30 กนั ยายน พ.ศ. 2564) โดยยึดพระราชดาริและแนวทางที่สมเดจ็
พระเทพรตั นร์ าชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี พระราชทานไว้เปน็ หลกั โดนดาเนนิ งานตอ่ เนอื่ งจากระยะทผี่ า่ นมา
ดังนี้

1. เน้นและให้ความสาคัญกับการดาเนินงานวิชาการในทุกด้านเป็นหลัก โดยเฉพาะการดาเนินงานศึกษา
ทดลองวิจัยเพ่ืออนุรักษ์และใช้ประโยชน์พันธุกรรมพืช และทรัพยากรต่าง ๆ ท่ีส่งผลและเกิดประโยชน์แก่
มหาชนชาวไทย
2. ให้ความสาคัญกับการพัฒนารวบรวมข้อมูลสารสนเทศในการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชให้เป็นมาตรฐานสากล
และเกิดประโยชนส์ งู สดุ
3. เพ่มิ ประสิทธภิ าพการดาเนินงานด้านการเรียนรู้ทรัพยากรและสร้างจิจสานึกในการอนุรักษ์ทรัพยากรทั้ง 3
ฐาน ควบคู่ไปกับการปรับปรุงและเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการในด้านกระบวนการวางแผน ประสาน
ดาเนินงาน การจัดสรรทรัพยากร โดยเฉพาะการยืนยันเพื่อรับการสนับสนุนประมาณดาเนินงานจากสานัก
งบประมาณและแหลง่ ทุนต่างๆ และการตดิ ตามผลการดาเนินงาน
4. ใหก้ ารดาเนินงานตามแผนแม่บท อพ.สธ. สอดคล้องกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12
(พ.ศ. 2560–พ.ศ. 2564) สอดคล้องกับยุทธศาสตร์การวิจัยท้ัง 5 ยุทธศาสตร์ฯ ของสานักงานคณะกรรมการ
วิจัยแห่งชาติ (วช.)
5. กรอบการดาเนินงานตามแผนแม่บท 3 กรอบ 8 กิจกรรม คือ กรอบการเรียนรู้ทรัพยากร กรอบการใช้
ประโยชน์ และกรอบการสร้างจิตสานึก

นโยบาย ระยะ 5 ปที ่ีหก (2559-2564)
ใหโ้ รงเรยี น สถาบนั การศกึ ษา ไดม้ ีสวนพฤกษศาสตร์โรงเรยี น เปน็ ฐานการเรียนรู้ เพ่ือเขา้ ถึงวทิ ยาการ

ปญั ญา และภูมิปัญญาแห่งตน ปฏิบัติตนเป็นผู้อนุรักษ์ พัฒนา สรรพชีวิต สรรพสิ่ง ด้วยคุณธรรม มาตรฐาน
และการรักษามาตรฐาน

ผู้บรหิ าร ครู อาจารย์ เข้าถงึ สวนพฤกษศาสตร์โรงเรยี น (ปรชั ญา บรรยากาศ) ปฏิบตั ิงานเป็นหน่ึง

เปา้ หมาย ระยะ 5 ปีที่หก (2559 -2564)

การดาเนนิ งาน มงุ่ ส่ปู ระโยชน์แทแ้ กม่ หาชน มุ่งส่สู ถานอบรมส่งั สอนเบด็ เสร็จ บนฐาน
งานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรยี น

38

ทิศทาง ระยะ 5 ปที ีห่ ก (2559-2564)
นกั เรียน นกั ศกึ ษา

* อนุบาล ประถมศึกษา เล่น รู้ ธรรมชาติแห่งชวี ิต สรรพสิ่งล้วนพันเก่ียว

* มธั ยมศึกษา เรยี นรู้โดยตน มีวิทยาการของตน โดยธรรมชาติแห่งชวี ติ สรรพสิ่งลว้ นพนั เกี่ยว
ประโยชนแ์ ท้แก่มหาชน

* อุดมศกึ ษา เรยี นรู้โดยตน ในปจั จยั เหตุ และส่งผลแปรเปล่ียน ธรรมชาตแิ หง่ ชีวติ สรรพสิ่งล้วนพัน
เก่ียว ประโยชน์แท้แก่มหาชน

ใหม้ โี รงเรียน สถาบนั การศึกษา เป็นแบบอย่างของ การมี การใช้ ศักยภาพสวนพฤกษศาสตร์โรงเรยี น
อยา่ งเหมาะสม

ให้นักเรยี น นักศกึ ษา ได้เรียนรู้ ทุกสาขาวิชา ในลกั ษณะบรู ณาการวิทยาการและบรูณาการชวี ติ จาก
ปจั จัยศักยภาพสวนพฤกษศาสตร์โรงเรยี น

39

ทิศทาง เปา้ หมาย ระยะ 5 ปที ่ีหก (2559-2564) พืชศกึ ษา 3 สาระการเรยี นรู้

ทศิ ทาง

ช่วงช้นั การศึกษา เนือ้ หาการเรยี นรู้ อธิบาย

อนุบาล  เลน่ รู้ ธรรมชาติแหง่ ชวี ิต สรรพส่งิ นกั เรียนเล็ก ๆ ให้มกี ารเล่นแบบ
ประถมศึกษา ล้วนพนั เกี่ยว สนุกสนานสมวัยไปพร้อมกับการ
เรียนรู้พืชศึกษา ในสาระธรรมชาตแิ ห่ง

ชวี ิต สรรพส่งิ ลว้ นพันเกย่ี ว (ใช้วิธกี าร

ที่เหมาะกับวัย เกดิ จนิ ตนาการเน้นการ

สัมผัสส่งิ รอบตวั )

มัธยมศกึ ษา  เรยี นรู้โดยตน มวี ทิ ยาการของตน นักเรยี นโต ใหม้ กี ารเรียนร้ทู ีใ่ ช้ภมู ิ
โดยธรรมชาตแิ ห่งชีวิต สรรพสงิ่ ล้วน ปญั ญา วิทยาการของตนเองในการ
พันเกีย่ ว ประโยชนแ์ ท้แกม่ หาชน เรยี นรู้พืชศึกษา ในสาระธรรมชาติแห่ง
ชวี ติ สรรพส่งิ ลว้ นพนั เกีย่ ว ประโยชน์

แท้แกม่ หาชน (ใช้วธิ กี ารท่ีเหมาะกบั วัย

สรา้ งองคค์ วามรู้ พึ่งตนเองในการ

ปรับตวั กบั สงิ่ รอบตวั )

อาชวี ศึกษา  เรยี นรูโ้ ดยตน ในปจั จยั เหตุ และ นกั ศึกษา ให้มีการเรยี นรทู้ ใ่ี ช้สงิ่
ส่งผลแปรเปล่ียน ธรรมชาติแห่งชวี ิต วธิ ีการ และผลท่ีเกิด ด้วยตนเอง ใน
สรรพสงิ่ ลว้ นพนั เกีย่ ว ประโยชน์แท้ การเรียนรูพ้ ืชศึกษา ในสาระธรรมชาติ
แกม่ หาชน แห่งชวี ิต สรรพสิง่ ล้วนพันเกี่ยว
ประโยชนแ์ ท้แก่มหาชน (ใชว้ ธิ ีการท่ี

เหมาะกบั วัย เกดิ การคดิ วิเคราะห์ คิด

สรา้ งสรรค์)

อุดมศกึ ษา  เรียนรูโ้ ดยตน ในปัจจยั เหตุ และ นักศกึ ษา ให้มกี ารเรียนรู้ทีใ่ ช้ส่ิง
สง่ ผลแปรเปลีย่ น ธรรมชาติแหง่ ชวี ิต วธิ ีการ ของตนเอง ทสี่ ง่ ผลตอ่ พชื ศึกษา
สรรพสง่ิ ล้วนพนั เกี่ยว ประโยชนแ์ ท้ ในสาระธรรมชาติแห่งชวี ิต สรรพส่งิ
แก่มหาชน ล้วนพนั เกยี่ ว ประโยชนแ์ ทแ้ ก่มหาชน
(ใช้วธิ ีการท่ีเหมาะกับวัย เกดิ การวิจัย

และพัฒนาใช้ประโยชนแ์ ก่มหาชน)

เป้าหมาย 40 อธิบาย
สถานศึกษาสมาชกิ ฯ 1. ให้สถานศกึ ษาสมาชกิ
 อนุบาล เปา้ หมาย
 ประถมศึกษา 1. ใหม้ ีโรงเรยี น สถาบนั การศึกษา เปน็ สวนพฤกษศาสตร์
 มธั ยมศกึ ษา โรงเรียนเป็น
 อาชีวศกึ ษา แบบอย่างของ การมี การใช้ ศักยภาพ หน่วยงานที่มกี าร
 อุดมศกึ ษา สวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนอย่าง เรยี นรปู้ ัจจยั ศกึ ษา
เหมาะสม คน้ พบศกั ยภาพและ
ใชศ้ กั ยภาพท่ีมีอยา่ ง
2. ใหน้ ักเรียน นักศึกษา ไดเ้ รียนรู้ ทุก ประหยดั สุด ได้
สาขาวชิ า ในลักษณะบูรณาการ ประโยชนส์ งู
วทิ ยาการและบูรณาการชวี ติ จาก 2. ใหเ้ ดก็ และเยาวชนใน
ปจั จัยศกั ยภาพสวนพฤกษศาสตร์ สถานศึกษาสมาชิก
โรงเรียน สวนพฤกษศาสตร์
โรงเรยี น ไดเ้ รียนรู้
ศักยภาพท่ไี ดจ้ ากสวน
พฤกษศาสตร์โรงเรียน
โดยบรู ณาการ
วิชาการและบรู ณา
การชวี ิตไปพรอ้ ม ๆ
กนั

บทท่ี 2
แนวทางการดาเนนิ งานสวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรยี น

2.1 ความหมายของงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน
สวนพฤกษศาสตร์ (Botanic Garden) คือ แหล่งที่รวบรวมพันธุ์พืชชนิดต่าง ๆ ท่ีมีชีวิต จัดปลูกตาม

ความเหมาะสมกับสภาพถิ่นอาศัยเดิม มีห้องสมุด สถานท่ีเก็บรวบรวมตัวอย่างพรรณไม้รักษาสภาพ อาจเป็น
ตวั อย่างแหง้ ตวั อยา่ งดอง หรือเก็บรักษาโดยวิธีอ่ืน ๆ พันธ์ุพืชที่ทาการเก็บรวบรวมไว้นั้น จะเป็นแหล่งข้อมูล
และเผยแพรค่ วามรู้ นอกจากนสี้ ามารถใช้เปน็ แหลง่ พักผอ่ นหยอ่ นใจ

สวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน (School Botanical Garden) คือ ทุกสิ่งทุกอย่างที่มีอยู่ในโรงเรียนท่ีใช้
เพ่อื การเรียนรู้โดยมี พืชเป็นปัจจัยหลัก ชีวภาพอื่นเป็นปัจจัยรอง กายภาพเป็นปัจจัยเสริม และวัสดุ อุปกรณ์
เป็นปัจจยั ประกอบ

งานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน คือ งานสร้างจิตสานึกในการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชทรัพยากรชีวภาพ
และกายภาพ โดยมกี ารสัมผัส การเรียนรู้ การสรา้ งและปลูกฝังคณุ ธรรม การเสรมิ สร้างปัญญาและภูมิปัญญา

ภาพท่ี 2.1 แผนภาพสรุปกระบวนการเรียนรู้ งานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน

42
2.2 วตั ถปุ ระสงค์ของการดาเนนิ งานสวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรียน

เพ่อื สร้างจติ สานึกในการอนรุ กั ษ์พนั ธกุ รรมพชื และทรัพยากร

2.3 ปรชั ญาการสรา้ งนักอนุรักษ์

ให้
การสัมผสั ในส่ิงทีไ่ มเ่ คยไดส้ ัมผสั
การรจู้ รงิ ในส่ิงทีไ่ ม่เคยไดร้ จู้ ริง

เป็น
ปัจจยั สู่ จินตนาการ

เป็น
เหตแุ ห่งความอาทร การุณย์

สรรพชีวติ สรรพส่ิง
ดร.พศิ ิษฐ์ วรอุไร

2.4 บรรยากาศของงานสวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรยี น

บนความเบกิ บาน บนความหลายหลาก
สรรพสิ่ง สรรพการกระทา ลว้ นสมดุล

พืชพรรณ สรรพสตั ว์ สรรพส่งิ
ไดร้ บั ความ การุณย์
บนฐานของสรรพชีวติ

นกั วทิ ยาศาสตร์ นักประดษิ ฐ์ ศิลปกร กวี
นักตรรกศาสตร์ ปราชญน์ อ้ ย
ปรากฏท่ัว
ดร.พศิ ิษฐ์ วรอุไร

บทที่ 3
วธิ กี ารดาเนินงานและการบริหารจดั การเรยี นรงู้ านสวนพฤกษศาสตร์โรงเรยี น

3.1 ด้านการบริหารและการจดั การงานสวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรยี น
3.1.1 ฝา่ ยบคุ ลากร
3.1.1.1 การมสี ่วนรว่ มในงานสวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรียน
1) การมีส่วนรว่ มภายในโรงเรยี น
1.1) จัดให้มีการประชุมเกี่ยวกับงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนและงานสารวจและ

จดั ทาฐานทรัพยากรท้องถนิ่ เช่น
1.1.1) ประชุมคณะกรรมการสถานศึกษา
1.1.2) ประชุมคณะผปู้ กครอง
1.1.3) ประชุมคณะผู้บริหาร หวั หน้าฝา่ ย และหัวหนา้ กลมุ่ สาระการ
เรยี นรู้
1.1.4) ประชมุ คณะกรรมการดาเนนิ งานสวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรียน
1.1.5) ประชมุ คณะกรรมการดาเนินงานสารวจและจัดทาฐาน
ทรัพยากรท้องถ่นิ

1.2) ให้กาหนดวาระการประชุม / เรื่อง ทเี่ ก่ียวกับงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนและ
งานสารวจและจดั ทาฐานทรพั ยากรท้องถิน่

1.2.1) การแต่งตัง้ คณะกรรมการดาเนนิ งาน
1.2.2) การวางแผนการดาเนนิ งาน
1.2.3) ติดตามการดาเนินงาน
1.2.4) การสรปุ และประเมนิ ผลการดาเนินงาน วัดผลและประเมนิ ผล
1.2.5) วิเคราะหแ์ ละปรับปรุงพัฒนางาน
2) การมีส่วนรว่ มภายนอกโรงเรยี น
2.1) การประชมุ เกี่ยวกับงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนและงานสารวจและจัดทาฐาน
ทรัพยากรท้องถ่นิ เชน่
2.1.1) การตดิ ตามประสานงาน ได้แก่ การประชุมกลุ่ม การเยี่ยมกลุ่ม การเย่ียม
เป้าหมาย
2.1.2) การฝึกอบรมปฏบิ ตั ิการงานสวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรียน และงาน
ฐานทรัพยากรทอ้ งถ่นิ

44

2.2) ใหก้ าหนดวาระการประชุม / เร่ือง ที่เก่ียวกับงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนและ
งานสารวจและจัดทาฐานทรพั ยากรท้องถ่ิน

2.2.1) การสนบั สนนุ ในเร่อื งของการดาเนนิ งาน งานสวนพฤกษศาสตร์
โรงเรียนและงานสารวจและจัดทาฐานทรพั ยากรทอ้ งถ่นิ

2.2.2) การประสานงานกับผู้รู้ / ปราชญ์ชาวบ้าน
2.2.3) การแลกเปลี่ยนความรู้ในงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนและงานสารวจ
และจดั ทาฐานทรพั ยากรท้องถ่ิน
3.1.1.2 คณะทางานการดาเนนิ งานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน
แต่งต้ังคณะกรรมการดาเนินงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน ให้สอดคล้อง เหมาะสม ตามหน้าที่ความ
รบั ผดิ ชอบ ของบุคลากรทางการศกึ ษา โดยมีคณะทางาน 5 คณะ ดังน้ี
1) ให้แต่งตั้งคณะกรรมการดาเนินงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน 4 ด้าน โดยพิจารณา
ตามความเหมาะสมตามบรบิ ทของสถานศึกษา โดยระบุหน้าท่คี วามรบั ผดิ ชอบให้ชดั เจน
1.1) คณะกรรมการด้านท่ี 1 การบริหารและการจัดการ ประกอบด้วยผู้อานวยการ
รองผอู้ านวยการ หวั หน้าฝ่ายทกุ ฝา่ ย และ หัวหนา้ กลุ่มสาระการเรียนรู้
1.2) คณะกรรมการด้านท่ี 2 การดาเนินงาน ประกอบด้วยรองผู้อานวยการฝ่าย
วิชาการ หัวหน้าฝ่าย หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้
1.3) คณะกรรมการด้านท่ี 3 ผลการดาเนินงาน ประกอบด้วยรองผู้อานวยการฝ่าย
วชิ าการ หัวหนา้ ฝ่าย หัวหนา้ กล่มุ สาระการเรยี นรู้ หัวหน้าฝา่ ยวดั ผลประเมินผล และให้สถานศึกษาดาเนินการ
แตง่ ตั้งคณะกรรมการประเมินงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน
1.4) คณะกรรมการดา้ นท่ี 4 ความถกู ตอ้ งทางวิชาการ ประกอบด้วยหัวหน้ากลุ่มสาระ
การเรยี นรู้ ทุกกลมุ่ สาระ
2) ใหแ้ ต่งตง้ั คณะกรรมการ 5 องคป์ ระกอบงานสวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรียน ครบตามลาดับ
การเรยี นรู้ในคูม่ ือการดาเนินงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน
3) ใหแ้ ตง่ ตั้งคณะกรรมการพืชศกึ ษาครบ 4 หวั ขอ้
3.1) ลกั ษณะทางพฤกษศาสตร์ ราก ลาต้น ใบ ดอก ผล และเมล็ด
3.2) ลกั ษณะทางนิเวศวิทยา
3.3) การขยายพนั ธ์ุ การปลกู การดแู ลรกั ษา การเจริญเตบิ โต
3.4) การนาไปใช้ประโยชน์
4) ใหแ้ ตง่ ต้ังคณะกรรมการ ในสาระธรรมชาติแห่งชีวิต สาระสรรพส่ิงล้วนพันเกี่ยว และ
สาระประโยชนแ์ ทแ้ ก่มหาชน ครบตามลาดับการเรียนรู้ในค่มู ือการดาเนนิ งานสวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรยี น
5) ใหแ้ ต่งตง้ั คณะกรรมการ สารวจและจดั ทาฐานทรพั ยากรทอ้ งถ่ิน (10 คณะ)

45

3.1.2 ฝ่ายระบบ
3.1.2.1 การจัดทาแผนงานดา้ นการบรหิ าร

นโยบาย วิสยั ทศั น์
1) กาหนดนโยบาย วสิ ยั ทศั น์ของสถานศกึ ษาใหส้ อดคลอ้ งกับเป้าหมาย วัตถปุ ระสงค์ของ อพ.สธ.
แผนดา้ นการบรหิ าร
2) ผงั โครงสร้างการบริหารแสดงงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรยี นทฝี่ ่ายวิชาการ
3) จดั ใหม้ แี ผนงานสวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรียน ในแผนงานประจาปีของโรงเรยี น
4) จดั ทาแผนงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรยี น โดยแสดงรายละเอียด ประกอบด้วย

ส่วนที่ 1 ชื่อแผนงาน (แผนงาน/โครงการ) ผูร้ บั ผิดชอบ หลกั การและเหตุผลวตั ถุประสงค์ เป้าหมาย
พื้นท่ีดาเนินการ

สว่ นที่ 2 แผนการดาเนินงานด้านบริหาร แสดงรายละเอียดงาน ปริมาณงาน ผู้รับผิดชอบ
งบประมาณ และระยะเวลา

- ด้านท่ี 1 การบรหิ ารและการจัดการ
- ด้านท่ี 2 การดาเนนิ งาน
- ด้านท่ี 3 ผลการดาเนนิ งาน แผนงานด้านการตดิ ตามประเมนิ ผล
- ดา้ นที่ 4 ความถูกตอ้ งทางวชิ าการ
- 3 สาระการเรียนรู้
- การสารวจและจดั ทาฐานทรพั ยากรทอ้ งถน่ิ

46

แผนการดาเนินงานงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน ปกี ารศึกษา…………….……..…

โรงเรียน…..................................…………….… อาเภอ………………….…….. จงั หวดั ……………………………………

งานท่ีต้อง รายละเอยี ด(งานย่อย) ปริมาณงาน ผู้รับผดิ ชอบ งบประมาณ ระยะเวลา
ดาเนนิ การ

ดา้ นที่ 1 1. โรงเรยี น และชุมชนมีสว่ นร่วม
การบริหาร ในงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน
และการจัดการ
2. แตง่ ตง้ั คณะกรรมการ
ดาเนนิ งานงาน

สวนพฤกษศาสตร์โรงเรยี น

3. วางแผนการบรหิ ารและ
แผนการจดั การเรยี นรู้

4. ดาเนินงานตามแผน

5. สรปุ และประเมินผลการ
ดาเนนิ งาน

6. วเิ คราะห์ผลและปรบั ปรงุ
พฒั นางาน

7. รายงานผลการดาเนินงานให้
อพ.สธ. ทราบ อย่างนอ้ ยปี
การศกึ ษาละ 1 คร้งั

งบประมาณรวม

ภาพที่ 3.1 ตารางแผนการดาเนินงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน

47

ส่วนท่ี 3 ผลท่คี าดว่าจะไดร้ บั
- จัดทาการตรวจสอบเพื่อเสนอ และอนุมัติแผนงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน โดยผ่าน

ผู้บังคับบญั ชา
3.1.2.2 การจัดการเรียนรู้
1) การวิเคราะห์ความสอดคล้องงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนกับหลักสูตรแกนกลาง

การศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ครบทุกลาดับการเรียนรู้ของ 5 องค์ประกอบ พืชศึกษา 3 สาระการเรียนรู้ การสารวจ
และจัดทาฐานทรพั ยากรท้องถิ่น

2) นาผลการวิเคราะห์ความสอดคลอ้ งมาจัดทาผังมโนทัศน์รวม

องค์ประกอบของแผนงาน / โครงการ การจัดการเรียนรู้ 3 สาระการเรยี นรู้
สาระการเรียนรู้ธรรมชาติแหง่ ชีวิต สาระการเรยี นรู้สรรพสิ่งล้วนพันเก่ยี ว และสาระการเรยี นรู้ประโยชน์แท้
แก่มหาชน
ประกอบด้วย

1. ชอ่ื เรื่อง
2. หลักการและเหตุผล
3. เปา้ หมาย
4. วัตถุประสงค์
5. ขอบเขตการศกึ ษา
6. วิธีการดาเนนิ งาน

6.1 ข้ันเตรียมการ (การวางแผนการทดลอง)
6.2 ข้นั ดาเนินงาน (การเก็บข้อมูล)
6.3 ขนั้ สรุป (การประมวลผลและวิเคราะหข์ ้อมูล)
7. ระยะเวลาดาเนนิ งาน
8. งบประมาณ
9. ผรู้ บั ผดิ ชอบ
10. ตวั ช้ีวดั ความสาเรจ็
11. การติดตามและประเมิน
12. ผลที่คาดว่าจะไดร้ ับ
3.1.2.3 ปฏทิ ินการจัดการเรยี นรู้
การจัดทาปฏิทินให้สอดคล้องกับแผนการดาเนินงานด้านบริหาร การดาเนินงาน 5 องค์ประกอบ
พืชศกึ ษา 3 สาระการเรียนรู้ การสารวจและจัดทาฐานทรพั ยากรท้องถ่ิน ด้านการติดตามประเมินผล และด้าน
ความถูกตอ้ งทางวิชาการ โดยกาหนดระยะเวลาเริ่มต้นและสิน้ สดุ ในแตล่ ะปีการศกึ ษา

48

ภาพท่ี 3.2 ตารางปฏทิ ินการปฏิบัติงาน งานสวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรยี น
3.1.2.4 แผนการจดั การเรยี นรู้
จัดทาแผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน 5 องค์ประกอบ พืชศึกษา 3 สาระ
การเรียนรู้ การสารวจและจัดทาฐานทรัพยากรท้องถิ่น ในทุกระดับชั้นและทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้
ให้สอดคล้องกบั หลักสตู รของแต่ละสถานศกึ ษา แล้วจัดทาผังมโนทัศน์ หรือจัดทาแผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการ
ในกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ชุมนุมสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน จัดทาระบบตรวจสอบ เสนอขออนุมัติ โดยผ่าน
ผู้บังคบั บัญชา
รูปแบบการจดั ทาผงั มโนทศั น์ ดงั นี้
1) ระดบั ปา้ ยฯ จดั ทาผงั มโนทศั นแ์ สดง 5 องคป์ ระกอบ พืชศกึ ษา การสารวจและจัดทา
ฐานทรัพยากรท้องถ่นิ
2) ระดบั เกียรติบตั รฯ ขนั้ ท่ี 1, 2 และ 3 จัดทาผงั มโนทศั น์ 5 องค์ประกอบ พืชศกึ ษา 3 สาระการเรียนรู้
และการสารวจและจัดทาฐานทรพั ยากรท้องถ่นิ
3.1.2.5 การดาเนนิ งาน
ในแตล่ ะปีใหด้ าเนินงานตามแผนงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน ได้แก่ ด้านการบริหาร และการจัดการ
การดาเนินงาน 5 องคป์ ระกอบ พืชศึกษา 3 สาระการเรียนรู้ และงานสารวจและจัดทาฐานทรัพยากรท้องถ่ิน
โดยดาเนินงานให้สอดคล้องกับปริมาณงานและงบประมาณท่ีต้ังไว้ จัดทาตารางสรุปการใช้งบประมาณ
แสดงหลักฐานการเบิกจ่ายวัสดุ อุปกรณ์ และค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน มีการ
ประสานงานทงั้ ภายในและภายนอกสถานศึกษา แสดงจานวนหนังสอื เชิญและหนงั สอื ขอบคุณ

49

3.1.2.6 สรปุ และประเมนิ ผล
1) สรปุ ผลการดาเนนิ งานสวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรยี น
1.1) สรปุ ผลตามแผนการดาเนินงานซงึ่ ประกอบดว้ ย
1.1.1) การดาเนนิ งานดา้ นการบรหิ าร
1.1.2) การดาเนินงาน 5 องค์ประกอบ พืชศึกษา 3 สาระการเรียนรู้ การสารวจ

และจดั ทาฐานทรพั ยากรทอ้ งถนิ่
1.1.3) การดาเนินงานด้านการตดิ ตามประเมนิ ผล
1.1.4) การดาเนินงานด้านความถูกต้องทางวิชาการ

2) ประเมินผลการดาเนินงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน
2.1) เชิงปริมาณ คิดเปน็ เปอร์เซน็ ต์ (ร้อยละ)
2.1.1) ประเมินจากปริมาณงานตามแผนงานท่ีต้ังไว้ กับปริมาณท่ีดาเนินงานได้

จรงิ
2.2) เชิงคุณภาพ คิดเปน็ เปอร์เซ็นต์ (ร้อยละ)
2.2.1) ประเมินตามเกณฑ์ โดยอิงมาตรฐานความสมบูรณ์ ของงานสวน

พฤกษศาสตร์โรงเรียน

50

งานท่ตี อ้ ง รายละเอียด(งานย่อย) ปรมิ าณงาน ผูร้ บั ผดิ ชอบ งบประมาณ ระยะเวลา
ดาเนินการ

ดา้ นที่ 2 1. กาหนดพนื้ ทศี่ กึ ษา
การดาเนินงาน 2. สารวจพรรณไมใ้ นพ้นื ทีศ่ ึกษา
องคป์ ระกอบท่ี 1 3. ทาและตดิ ป้ายปา้ ยรหัสประจาตน้
การจัดทาปา้ ยช่ือ 4. ตงั้ ชอื่ และสอบถามช่อื และศกึ ษาขอ้ มูล
พรรณไม้ พ้นื บ้าน (ก.7-003 หนา้ 1)
5 ทาผังแสดงตาแหนง่ พรรณไม้
6. ศึกษาและบันทกึ ลกั ษณะทางพฤกษศาสตร์
(ก.7-003 หนา้ 2-7)
7. บนั ทึกภาพหรือวาดภาพทางพฤกษศาสตร์
8. ทาตัวอยา่ งพรรณไม้
(แหง้ /ดอง/เฉพาะส่วน)
9. เปรียบเทียบข้อมูลทส่ี รปุ (ก.7-003 หนา้ 8)
กับข้อมูลที่สืบค้นจากเอกสารแลว้ บันทึกใน
(ก.7-003 หน้า 9-10)
10. จัดระบบข้อมลู ทะเบียนพรรณไม้ (ก.7-
005)

11. ทาร่างปา้ ยชอื่ พรรณไม้สมบูรณ์
12. ตรวจสอบความถูกต้องทางวชิ าการด้าน
พฤกษศาสตร์
13. ทาปา้ ยชือ่ พรรณไมส้ มบรู ณ์

งบประมาณรวม

ภาพที่ 3.3 ตารางการดาเนนิ งานด้านท่ี 2 สาระการเรียนรู้องคป์ ระกอบท่ี 1

3.1.2.7 วเิ คราะห์ผลการดาเนินงาน
ให้จัดทาการวิเคราะห์ผลการดาเนินงานในรูปตาราง สรุปปัญหาและอุปสรรค จากการดาเนินงานที่ไม่
เปน็ ไปตามแผนงานทีต่ ัง้ ไว้

3.1.2.8 ปรับปรุงพฒั นางาน
ปัญหาและอุปสรรคจากการดาเนินงานที่ไม่เป็นไปตามแผนงานท่ีต้ังไว้ให้นามาวางแผน และปรับปรุง
พัฒนาในปกี ารศึกษาถดั ไป โดยจัดทาตารางแผนงานและปรับปรุงพัฒนางาน

3.1.2.9 รายงานผลการดาเนนิ งาน
นาผลการดาเนินงาน ตงั้ แต่การมีส่วนร่วมในงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน แต่งต้ังคณะกรรมการ แผน
ด้านการบรหิ าร ปฏิทนิ แผนการจดั การเรียนรู้ การดาเนินงานตามแผน สรุปและประเมินผล วิเคราะห์ผลการ
ดาเนนิ งานและปรบั ปรงุ พฒั นางาน จดั ทาและส่งรายงานผลการดาเนินงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนประจาปี
การศกึ ษา

51
3.2 ด้านการจดั การเรียนรู้ งานสวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรียน

3.2.1 องค์ประกอบท่ี 1 การจัดทาป้ายช่อื พรรณไม้

หลักการ รูช้ ือ่ รลู้ กั ษณ์ รู้จัก
สาระสาคญั

การจดั ทาปา้ ยชื่อพรรณไมโ๎ ดยการเรยี นรู๎การกาหนดพนื้ ที่ศกึ ษา สารวจและจัดทาผังพรรณไม๎ แล๎วศึกษา
พรรณไม๎ ทาตัวอยํางพรรณไม๎ นาข๎อมูลมาทาทะเบียนพรรณไม๎ ทาและติดแสดงป้ายช่ือพรรณไม๎สมบูรณ์
นาไปสํกู ารร๎ชู ่ือ รูล๎ กั ษณะตําง ๆ รวมถึงรจู๎ ักการใช๎ประโยชนข์ องพืช
ลาดบั การเรยี นรู้

1) กาหนดพ้นื ที่ศึกษา
2) สารวจพรรณไมใ๎ นพื้นทศ่ี ึกษา
3) ทาและตดิ ป้ายรหัสประจาต๎น
4) ต้งั ชื่อหรอื สอบถามชอื่ และศกึ ษาข๎อมลู พ้ืนบา๎ น (ก.7-003 หน๎า ปก - 1)
5) ทาผังแสดงตาแหนํงพรรณไม๎
6) ศกึ ษาและบันทกึ ลกั ษณะทางพฤกษศาสตร์ (ก.7-003 หนา๎ 2-7)
7) บนั ทกึ ภาพหรือวาดภาพทางพฤกษศาสตร์
8) ทาตวั อยาํ งพรรณไม๎ (ตวั อยาํ งพรรณไมแ๎ ห๎ง ตัวอยํางพรรณไม๎ดอง ตัวอยาํ งพรรณไม๎

เฉพาะสํวน)
9) เปรียบเทยี บข๎อมลู ท่สี รปุ (ก.7-003 หน๎า 8) กบั ขอ๎ มลู ทสี่ ืบคน๎ จากเอกสาร แล๎วบันทึก

ใน ก.7-003 หนา๎ 9 - 10
10) จัดระบบขอ๎ มูลทะเบียนพรรณไม๎ (ก.7-005)
11) ทาราํ งป้ายชื่อพรรณไม๎สมบรู ณ์
12) ตรวจสอบความถูกตอ๎ งทางวิชาการดา๎ นพฤกษศาสตร์
13) ทาป้ายช่ือพรรณไมส๎ มบูรณ์

อธบิ ายลาดบั การเรยี นรู้
ลาดับการเรียนรทู้ ี่ 1 กาหนดพ้ืนท่ศี กึ ษา
วตั ถุประสงค์

1) เพ่ือรข๎ู อบเขต ขนาดพ้ืนท่ที ้งั หมดของโรงเรยี น
2) เพอื่ รล๎ู ักษณะทางกายภาพในโรงเรยี น
3) เพื่อรูก๎ ารแบํงพ้ืนท่เี ป็นสํวนยอํ ยและการจดั การพื้นทีศ่ กึ ษาในการเข๎าไปเรยี นรูท๎ เ่ี หมาะสม

52
กระบวนการเรียนรู้

1) เรียนร๎ูพ้นื ท่ที ง้ั หมดของโรงเรียนตามกรรมสทิ ธ์ิ และบริเวณรอบ ๆ โรงเรียนอยํูใกล๎กับสถานท่ีตําง ๆ
และต้งั อยใูํ นทิศทางใดของโรงเรียน โดยระบุขนาดพื้นที่ท้ังหมดของโรงเรียนได๎ และจัดทาเป็นผังพื้นที่ทั้งหมด
ของโรงเรยี น

ภาพที่ 3.4 ตัวอยาํ งผังพ้ืนท่ที ้ังหมดของโรงเรียน
2) เรียนร๎ูถึงขอบเขตบริเวณของโรงเรียนและเรียนร๎ูลักษณะทางกายภาพองค์ประกอบตําง ๆ เชํน
ตาแหนํงอาคาร สง่ิ ปลูกสร๎าง บรเิ วณพ้ืนทีส่ ภาพแวดล๎อมตําง ๆ ภายในโรงเรียน และจดั ทาผังบรเิ วณ

ภาพท่ี 3.5 ตัวอยาํ งผังบรเิ วณภายในโรงเรยี น

53
3) เรยี นรูถ๎ งึ การกาหนดและแบํงขอบเขตพ้ืนท่ีภายในโรงเรียนเป็นพ้ืนท่ียํอย ๆ ตามข๎อพิจารณาในการ
แบงํ พนื้ ที่ศึกษา จดั ทาผงั กาหนดขอบเขตพน้ื ที่ โดยพจิ ารณาดงั น้ี

3.1) แบงํ ตามลกั ษณะทางภมู ิศาสตร์
3.2) แบํงตามการใชป๎ ระโยชนข์ องพนื้ ที่
3.3) แบํงตามขนาดของพนื้ ทีใ่ หเ๎ หมาะสมกับการเรยี นร๎ู
โดยระบุขนาดพ้ืนท่ีศึกษายํอยในแตํละพื้นที่ได๎ และขนาดพื้นท่ีเมื่อรวมกันแล๎วเทํากับพ้ืนที่ทั้งหมด
ของโรงเรยี น

ภาพที่ 3.6 ตัวอยํางผงั กาหนดขอบเขตพนื้ ท่ีศึกษาภายในโรงเรียน

54
ลาดับการเรยี นรู้ท่ี 2 สารวจพรรณไม้ในพืน้ ท่ศี ึกษา
วตั ถุประสงค์

1) เพอ่ื รู๎ชนิด จานวนต๎นในแตลํ ะชนิด และจาแนกลกั ษณะวสิ ัย ทส่ี ารวจในพ้ืนท่ีศึกษา
กระบวนการเรยี นรู้

1) การสารวจพรรณไม๎
1.1) เลือกพ้ืนท่ีศึกษาในการสารวจพรรณไม๎
1.2) เรียนร๎ูรูปแบบการสารวจ (ควรเลอื กพืชท่ีมสี วํ นประกอบครบสมบรู ณ์มากทส่ี ดุ )
1.3) สารวจพรรณไม๎ในพืน้ ท่ศี กึ ษา
1.4) สรปุ จานวนชนดิ และจานวนตน๎ ทพี่ บ

2) การจาแนกชนดิ ตามลกั ษณะวสิ ัย
2.1) เรียนรล๎ู กั ษณะวสิ ัยพชื
2.2) จาแนกลักษณะวิสัยพชื ท่สี ารวจ
2.3) สรุปจานวนลกั ษณะวสิ ัยท่ีพบ

ภาพที่ 3.7 การสารวจพรรณไมใ๎ นพน้ื ทศี่ ึกษา โดยมคี รู บุคลากรในสถานศึกษาหรือผู๎รู๎ในท๎องถิ่น ใหค๎ วามร๎ู
เก่ียวกบั พรรณไม๎

55

ภาพท่ี 3.8 ตวั อยาํ งตารางการสารวจพรรณไม๎ในพื้นทศ่ี ึกษาในโรงเรียน
ลาดับการเรยี นรู้ท่ี 3 ทาและตดิ ปา้ ยรหัสประจาต้น
วัตถุประสงค์

1) เพ่ือรรู๎ ปู แบบปา้ ยรหสั ประจาต๎นตามแบบ อพ.สธ.
2) เลอื กวสั ดุทาป้ายรหสั ประจาต๎นทเ่ี หมาะสม
3) ตดิ ปา้ ยรหสั ประจาตน๎ ให๎ถกู ต๎อง
กระบวนการเรยี นรู้
1) รูปแบบปา้ ยรหัสประจาต๎น

1.1) เรียนรู๎รปู แบบรหสั ประจาต๎น ประกอบไปดว๎ ยตัวเลข 2 ชดุ
ชดุ ที่ 1 เปน็ รหสั ลาดับชนิดพรรณไม๎ ประกอบไปด๎วยตัวเลข 3 หลัก เชํน 001 คือ รหัสลาดับชนิดพรรณ
ไมช๎ นดิ ท่ี 1
ชดุ ที่ 2 เป็นรหัสลาดับต๎น ประกอบไปด๎วย ตวั เลข 1 หลักเป็นตน๎ ไป เชํน /2
ระหว่างชุดท่ี 1 และ ชุดท่ี 2 ใหค๎ ัน่ ด๎วยเครื่องหมาย /

ยกตัวอยาํ งเชํน 001/2 คอื รหสั ลาดับชนิดพรรณไม๎ชนิดที่ 1 / รหสั ลาดับต๎น ต๎นที่ 2
หมายเหตุ - ในกรณีทชี่ นิดน้ันมตี น๎ เดยี ว ไมํต๎องใสเํ ครอื่ งหมาย /

- ในกรณีทต่ี น๎ ไมป๎ ลกู เป็นแปลงหรือกอ ให๎รหัสลาดบั ประจาต๎นนบั เป็นแปลงหรือกอ

56

ภาพท่ี 3.9 รปู แบบป้ายรหัสประจาต๎น

2) วัสดุทาป้ายรหัสประจาต๎น
2.1) วัสดุท่ี มีความคงทนและหาได๎งํายตามท๎องถิ่น เชํน ป้ายฯ พลาสติก กระป๋องอะลูมิเนียม

แผนํ โลหะ ฯลฯ

พลาสติก โลหะ

ภาพที่ 3.10 ตวั อยาํ งวสั ดุท่นี ามาทาป้ายรหัสประจาตน๎

สายรัดแบบสายโทรศัพท์ สายรัดแบบขดลวด
ภาพที่ 3.11 ตวั อยํางวัสดุท่นี ามาทาสายรัดป้ายรหัสประจาต๎น

57
2.2) ตัวเลขในป้ายรหัสประจาต๎น ใช๎การตอกรหัส หรือเขียนด๎วยสีที่มีความคงทน เพ่ือป้องกันการ
หลุดลอกของตวั เลข

ป้ายฯโลหะ ป้ายฯแผ่นพลาสติก

ป้ายฯพลาสติก
ภาพที่ 3.12 ตวั อยํางปา้ ยรหัสประจาตน๎ แบบตาํ ง ๆ

3) เรยี นรู๎วธิ กี ารตดิ ป้ายรหสั ประจาตน๎
3.1) วิธีที่ 1 แบบผูก เชํน คล๎องหรือแขวน กับกิ่งหรือลาต๎น ของต๎นไม๎ในตาแหนํงที่เหมาะสมและ
มองเหน็ ได๎อยํางชัดเจน ซงึ่ วิธนี ้ีเหมาะสาหรับไมต๎ ๎น ไมพ๎ ํุม ฯลฯ

ภาพท่ี 3.13 ตัวอยาํ งการติดปา้ ยรหัสประจาต๎นแบบผกู

58
3.2) วิธที ี่ 2 แบบปกั ให๎ปักตรงบรเิ วณโคนต๎น ของต๎นไม๎ในตาแหนงํ ทเี่ หมาะสมและมองเห็นได๎อยําง
ชดั เจน ซง่ึ วิธีนี้เหมาะสาหรบั ไม๎ลม๎ ลกุ และไม๎ตน๎ ขนาดใหญํ ที่ไมสํ ามารถทาการผกู ปา้ ยรหัสประจาต๎นได๎
หมายเหตุ - ไมํควรติดรัดจนแนํนเกินไป ควรแขวน หรือใช๎วัสดุอปุ กรณท์ ี่มคี วามยดื หยนํุ ในการตดิ แบบงาํ ย ๆ

ภาพท่ี 3.14 ตวั อยํางการตดิ ป้ายรหสั ประจาต๎นแบบปกั

ลาดับการเรียนรู้ท่ี 4 ตัง้ ช่อื หรอื สอบถามชื่อ และศกึ ษาข้อมูลพน้ื บา้ น (ก.7-003 หน้า ปก - 1)
วตั ถปุ ระสงค์
1) เพือ่ ร๎ชู ่อื พ้นื เมอื งของพรรณไม๎
2) เพอ่ื ร๎ูข๎อมูลพ้ืนบ๎านของพรรณไม๎
กระบวนการเรียนรู้

1) เรยี นรูก๎ ารตั้งช่อื และสอบถามช่ือของพรรณไม๎
1.1) เรียนร๎กู ารตงั้ ชอ่ื พน้ื เมอื ง กรณที ีไ่ มํทราบชอื่ พรรณไม๎ อาจตงั้ ชอื่ ตามรูปลักษณ์

คณุ สมบัติ พฤตกิ รรม หรอื ถนิ่ อาศยั ของพืชนั้นๆ ได๎แกํ
- สี เชํน แคแสด
- รปู รําง เชํน พลบั พลึงตีนเป็ด
- รูปทรง เชนํ ไผนํ า้ เต๎า
- ผิว เชนํ ส๎มเกลย้ี ง
- กล่นิ เชนํ เครอื ตดหมตู ดหมา (พงั โหม)
- รส เชํน ไผํจืด
- พฤติกรรม เชนํ บานเช๎า

1.2) เรยี นรกู๎ ารสอบถามชอื่ พื้นเมือง กรณที ่ไี มํทราบชอื่ พรรณไม๎ อาจสอบถามชอ่ื จากผรู๎ ๎ู
เชนํ ครู บคุ ลากรในสถานศึกษา ผ๎ูเชย่ี วชาญ ปราชญ์ชาวบา๎ น ดงั น้ี

59
1.2.1) เชญิ ผร๎ู ูใ๎ นทอ๎ งถ่ิน มารํวมสารวจพรรณไมใ๎ นสถานศึกษา
1.2.2) นาข๎อมูลไปสอบถามผร๎ู ๎ใู นท๎องถ่ิน เชํน ถํายภาพพรรณไม๎ ช้ินตัวอยาํ งพรรณไม๎
พร๎อมคาอธบิ ายลักษณะทางพฤกษศาสตร์
2) เรียนร๎ูแบบศกึ ษาพรรณไม๎ในสวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรยี น (ก.7-003 หนา๎ ปก)
2.1) เรยี นร๎ูชื่อพนั ธุไ์ ม๎ และรหัสพรรณไม๎
- ชือ่ พันธ์ุไม๎เขียนช่อื ท๎องถนิ่ หรอื ชือ่ พน้ื บา๎ น ของแตํละภูมิภาค
- รหสั พรรณไม๎ประกอบดว๎ ย ตวั เลข 5 ชดุ เชํน 7-10150-009-001/2
2.2) เรยี นรู๎การวาดภาพทางพฤกษศาสตร์ (ลักษณะวสิ ัย)
1. วัดความสงู และความกว๎างทรงพุํม ตามลักษณะวิสยั ของพรรณไมน๎ ัน้ เชนํ
ไม๎ต๎น
วดั ความสูงจากโคนต๎นจนถึงปลายยอด สวํ นความกว๎างทรงพุมํ ให๎วัดสวํ นทกี่ ว๎างท่ีสดุ ของทรงพํมุ

ภาพที่ 3.15 แสดงการวดั ความสูงและความกว๎างทรงพมุํ ของลักษณะวสิ ัย ไมต๎ ๎น เชนํ มะขาม
ไม๎พํุม

วัดความสูงจากโคนต๎นจนถึงปลายยอด สํวนความกว๎างทรงพุํม ให๎วัดสํวนที่กว๎างที่สุดของทรงพุํม
ในกรณไี ม๎พุํมท่ีปลกู เป็นแปลง เชํน เข็มแดง ชาฮกเกยี้ น ฯลฯ ให๎เลือกต๎นท่ีเห็นความกว๎างของทรงพุํมท่ีชัดเจน
ที่สดุ แลว๎ วดั ขนาดความกว๎างและความสูงของต๎นนน้ั

60

ภาพที่ 3.16 แสดงการวัดความสงู และความกวา๎ งทรงพํมุ ของลกั ษณะวิสยั ไมพ๎ ุํม เชํน เขม็ แดง
ไมเ๎ ล้อื ย
- กรณีท่ี 1 ไม๎เล้ือย เล้ือยไปตามสิ่งปลูกสร๎าง เชํน เสา รั้ว ฯลฯ ให๎วัดความสูงจากโคนต๎นจนถึงปลาย
ยอด สํวนความกว๎าง ให๎วดั สํวนทกี่ วา๎ งทส่ี ุดของทรงพํุม

ภาพที่ 3.17 ลักษณะวิสยั ไมเ๎ ล้อื ย เลื้อยไปตามเสา เชํน ชมนาด
- กรณที ี่ 2 ไม๎เล้อื ย เลื้อยไปตามพ้นื ดิน เชนํ ผักบุ๎งทะเล มนั แกว ฯลฯ
วัดความสูงจากโคนต๎นจนถึงปลายยอด สวํ นความกว๎างทรงพํมุ ให๎วัดสวํ นทีก่ วา๎ งทีส่ ดุ ของทรงพมํุ

61

ภาพท่ี 3.18 ลักษณะวิสัยไมเ๎ ลอื้ ย เลื้อยไปตามพ้ืนดิน เชํน ผกั บุง๎ ทะเล
2. นาความสูงและความกว๎างทรงพํุมท่ีวัดได๎ของลักษณะวิสัยนั้นๆ มาเทียบกับสัดสํวนของ
กรอบภาพวาดทางพฤกษศาสตร์ ในหน๎าปก โดยมีมาตราสํวนกากับ (เทําจริง ยํอ ขยาย) เชํน มาตราสํวน
1 : 10 หมายถงึ มาตราสวํ นยอํ ของภาพวาดทม่ี ขี นาด 1 สวํ น เทยี บกับขนาดจริง 10 สํวน
3. วาดภาพความสูงของลาตน๎ กงิ่ ก๎าน และความกวา๎ งทรงพํมุ พรอ๎ มระบายสี

ภาพที่ 3.19 ใบงานและผลงาน เอกสาร ก.7-003 หนา๎ ปก

62
3) เรยี นรู๎ข๎อมูลพนื้ บ๎าน (ก.7-003 หนา๎ 1)

3.1) เรียนร๎ูวิธีการสอบถามข๎อมูลพรรณไม๎ โดยเรียนร๎ูวิธีการ การแนะนาตัวการสัมภาษณ์
การกลําวขอบคุณ

3.2) สอบถามชื่อพื้นเมืองและบันทึกข๎อมูลการใช๎ประโยชน์จากสํวนตําง ๆ ของพรรณไม๎ ด๎าน
อาหาร ยารักษาโรค กํอสร๎างเคร่ืองเรือน เคร่ืองใช๎ ยาฆําแมลง ยาปราบศัตรูพืช ความเก่ียวข๎องกับประเพณี
วัฒนธรรม หรือความเช่ือทางศาสนา อื่น ๆ (เชํน การเป็นพิษ อันตราย) การบันทึกชื่อ อายุ ท่ีอยํูผู๎ให๎ข๎อมูล
วนั ที่ สถานทบี่ นั ทึก

3.3) สรุปข๎อมูลพรรณไมท๎ ่ีไดจ๎ ากการสอบถาม หากผูร๎ ู๎ไมทํ ราบขอ๎ มลู ใหท๎ าเครอ่ื งหมาย
ยตั ภิ ังค์ “ - ”

ภาพที่ 3.20 ใบงานและผลงาน เอกสาร ก.7-003 หนา๎ ที่ 1 ในการศกึ ษาขอ๎ มลู พนื้ บา๎ นของพรรณไมใ๎ นโรงเรียน
ลาดบั การเรียนรู้ท่ี 5 ทาผังแสดงตาแหน่งพรรณไม้
วัตถุประสงค์

1) เพอ่ื รว๎ู ิธีการหาและบันทึกตาแหนํงพิกัดพรรณไม๎
2) เพอื่ รู๎ความกว๎างของทรงพมํุ และจดั ทาผังพรรณไม๎
กระบวนการเรยี นรู้
1) เรียนรว๎ู ิธีการหาและบนั ทกึ ตาแหนํงพกิ ดั พรรณไม๎

1.1) เรยี นรกู๎ ารกาหนดจดุ อ๎างองิ ในพืน้ ท่ีศกึ ษา หลกั การเลือกจุดอา๎ งอิง ในหนง่ึ พืน้ ที่ศึกษาควรมีหน่ึง
จดุ อ๎างองิ และเป็นจดุ อ๎างอิงท่เี คล่อื นยา๎ ยไดย๎ าก เชนํ เสาธง เสาไฟ ฯลฯ (ไมํควรเลือกต๎นไม๎เปน็ จดุ อา๎ งองิ )

63
1.2) เรียนร๎กู ารกาหนดเสน๎ อา๎ งองิ (Base line) ใหเ๎ ป็นไปตามทิศ เหนอื ใต๎ ตะวันออก ตะวันตก
1.3) เรียนรกู๎ ารกาหนดขอบเขตพืน้ ทศี่ กึ ษา
1.4) เรยี นรู๎วธิ กี ารหาตาแหนํงพรรณไม๎ ให๎เหมาะสมในแตํละระดับช้นั ของผเ๎ู รยี น

1.4.1) ระดบั ปฐมวยั เชํน วิธกี ารนบั กา๎ วใหร๎ ู๎จกั ทิศทางของตาแหนงํ พรรณไม๎
1.4.2) ระดับประถมศึกษา เชํน วิธีการใช๎เข็มทิศหาตาแหนํงพรรณไม๎ โดยการวัดระยะ มุม
องศา
1.4.3) ระดับมธั ยมศกึ ษา เชนํ วธิ ีการหาคูํอันดับ
1.4.4) ระดบั อาชีวศึกษา อดุ มศกึ ษา เชํน ระบบ GPS
1.5) การบันทึกข๎อมูลตาแหนํงพรรณไม๎ในรูปแบบตาราง และผังแสดงตาแหนํงพิกัดพรรณไม๎

ภาพที่ 3.21 ตวั อยาํ งตารางตาแหนงํ พิกัดพรรณไม๎

ภาพที่ 3.22 ตัวอยาํ งผงั พิกัด ตาแหนํงพรรณไม๎ โดยวธิ ีคอูํ ันดับ

64
2) เรยี นรกู๎ ารจดั ทาผงั พรรณไม๎

2.1) เรยี นร๎ูการจดั ทาผงั พรรณไมเ๎ ฉพาะพน้ื ที่
ผังพรรณไม๎เฉพาะพื้นที่ คือ ผังพรรณไม๎ยํอยของแตํละพื้นท่ีศึกษา ซึ่งระบุตาแหนํงพรรณไม๎แตํละต๎น
โดยมีทศิ เหนอื และมาตราสวํ นกากบั มีวิธกี าร ดงั นี้

2.1.1) นาตาแหนํงของพรรณไม๎ที่อยูํในพื้นท่ีศึกษา มาวัดขนาดความกว๎างของทรงพุํม วัดจาก
จุดกึ่งกลางจนถงึ ปลายสดุ ทรงพมํุ ท่ียื่นออกไปของตน๎ ไม๎ บันทกึ ลงในตารางการวัดความกว๎างทรงพํมุ พรรณไม๎

2.1.2) นาข๎อมูลจากตารางบันทึกท่ไี ดม๎ าเขียนเปน็ ผังพรรณไม๎เฉพาะพ้ืนที่ โดยแสดงมาตราสํวน
เดียวกนั กับผังแสดงตาแหนงํ พกิ ดั พรรณไม๎

ภาพที่ 3.23 ตวั อยาํ งการวัดความกว๎างทรงพมุํ มุมมองดา๎ นบน ทัง้ 4 ทิศ คือ ทิศเหนอื ทิศใต๎ทศิ ตะวนั ออก
และทิศตะวนั ตก

65
ภาพที่ 3.24 แสดงตัวอยํางการบนั ทึก ตารางแสดงคาํ ความกว๎างทรงพํมุ พรรณไม๎

ภาพท่ี 3.25 ตวั อยํางผงั พรรณไม๎

66
2.2) เรียนร๎ูการจดั ทาผังพรรณไมร๎ วม

เปน็ การนาผงั พรรณไม๎ยํอยแตํละเขตพื้นทีศ่ กึ ษาทุกพนื้ ท่ีที่มีมาตราสวํ นเทํากัน มาตํอรวมกนั

ภาพท่ี 3.26 ตัวอยาํ ง ผงั พรรณไม๎เฉพาะพ้ืนทศี่ กึ ษา

ภาพท่ี 3.27 ตวั อยาํ งผงั พรรณไม๎รวม

67
ลาดบั การเรียนรทู้ ่ี 6 ศกึ ษาและบันทึกลักษณะทางพฤกษศาสตร์ (ก.7-003 หน้า 2-7)
วตั ถปุ ระสงค์

1) เพอ่ื ใหร๎ ู๎โครงสร๎างและลกั ษณะทางพฤกษศาสตร์
2) เพ่ือใหร๎ ู๎การวัด
3) เพอ่ื ให๎รก๎ู ารวาดภาพทางพฤกษศาสตร์
กระบวนการเรียนรู้
1) เรียนรูโ๎ ครงสร๎างและลักษณะทางพฤกษศาสตร์ (เอกสาร ก.7-003 หน๎าที่ 2-7)

1.1) ศกึ ษาลักษณะวิสัย และบันทึกลงในแบบศกึ ษาพรรณไม๎
1.2) ศกึ ษาสภาพแวดลอ๎ มและถ่ินอาศยั ของพรรณไม๎
1.3) ศึกษาลักษณะภายนอกของลาต๎น ใบ ดอก ผล และเมล็ด แล๎วบันทกึ ลงในแบบศึกษาพรรณไม๎
1.4) เรียนรู๎ลกั ษณะของลาตน๎ ได๎แกํ ชนดิ ของลาตน๎ เปลือกลาต๎น สี ลักษณะ การมียาง
1.5) เรียนร๎ูลกั ษณะของใบ ได๎แกํ ชนิดของใบ สี ขนาด ลักษณะพิเศษของใบ การเรียงตัวของใบบน
กงิ่ รูปราํ งแผนํ ใบ ปลายใบ โคนใบ ขอบใบ
1.6) เรียนร๎ูลักษณะของดอก ได๎แกํ ชนิดของชํอดอก ตาแหนํงที่ออกดอก กลีบเลี้ยง
(แยกออกจากกัน/เชื่อมติดกัน) จานวน สี กลีบดอก (แยกออกจากกัน/เช่ือมติดกัน) จานวน สี
เกสรเพศผู๎ (จานวน สี ลักษณะ) เกสรเพศเมีย (จานวน สี ลักษณะ) ตาแหนํงของรังไขํ กล่ินของ
กลีบดอก
1.7) เรียนรู๎ลักษณะของผล ได๎แกํ ชนิดของผล (ผลเด่ียว ผลกลํุม ผลรวม) สี รูปรําง ลักษณะพิเศษ
ของผล
1.8) เรียนร๎ลู ักษณะของเมลด็ ไดแ๎ กํ จานวนเมล็ด สี รูปรําง

68
ภาพท่ี 3.28 ใบงานและผลงาน การศึกษาข๎อมลู พรรณไม๎ เอกสาร ก.7-003 หน๎าที่ 2
ภาพท่ี 3.29 ใบงานและผลงาน การศึกษาขอ๎ มลู พรรณไม๎ เอกสาร ก.7-003 หนา๎ ที่ 3

69
ภาพที่ 3.30 ใบงานและผลงาน การศึกษาขอ๎ มูลพรรณไม๎ เอกสาร ก.7-003 หนา๎ ที่ 4
ภาพที่ 3.31 ใบงานและผลงาน การศึกษาขอ๎ มูลพรรณไม๎ เอกสาร ก.7-003 หนา๎ ที่ 5

70
ภาพท่ี 3.32 ใบงานและผลงาน การศึกษาข๎อมลู พรรณไม๎ เอกสาร ก.7-003 หน๎าที่ 6
ภาพท่ี 3.33 ใบงานและผลงาน การศึกษาขอ๎ มลู พรรณไม๎ เอกสาร ก.7-003 หนา๎ ที่ 7

71
2) เรียนรู๎การวดั
เรียนรูว๎ ธิ กี ารวัดความสูง และความกวา๎ งทรงพุํม

2.1) การเรยี นรูก๎ ารวัดความสูง เชนํ สามเหล่ยี มคลา๎ ย ตรีโกณมิติ ไคลโนมเิ ตอร์

ภาพท่ี 3.34 ตัวอยาํ ง การหาความสูงแบบสามเหลย่ี มคล๎าย
2.2) เรยี นรว๎ู ธิ ีการหาความกวา๎ งทรงพุํม
วดั ขนาดความกว๎างของทรงพุมํ ตามแนวทิศ เหนือ-ใต๎ ตะวนั ออก-ตะวนั ตก

ภาพท่ี 3.35 การวัดความกว๎างของทรงพมํุ ตามแนวทิศ เหนอื -ใต๎ หรอื ตะวันออก-ตะวนั ตก

72
3) เรยี นรู๎การวาดภาพทางพฤกษศาสตร์

3.1) เรียนรู๎หลักการวาดภาพทางพฤกษศาสตร์ โดยให๎มีรูปแบบมาตราสํวนกากับเชํนเดียวกันกับ
ภาพวาดลกั ษณะวสิ ัยในหน๎าปก (ขนาดเทําจรงิ ยํอ ขยาย)

3.2) เรียนรู๎ลาดบั การวาดภาพทางพฤกษศาสตร์ ในเอกสาร ก.7-003 หนา๎ ที่ 7
1. ภาพลาต๎น ตาแหนงํ กรอบสีเ่ หลยี่ มดา๎ นบนซา๎ ย แสดงผวิ ของลาต๎น
2. ภาพใบ ตาแหนํงกรอบส่ีเหลี่ยมด๎านบนขวา แสดงชนดิ ของใบ
3. ภาพดอก ตาแหนํงกรอบส่ีเหล่ยี มดา๎ นลํางซ๎าย แสดงชนดิ ของดอก
4. ภาพผล ตาแหนํงกรอบสเี่ หลยี่ มดา๎ นกลางขวา แสดงชนดิ ของผล
5. ภาพเมล็ด ตาแหนํงกรอบสเ่ี หลี่ยมด๎านลํางขวา แสดงลักษณะของเมล็ด

1. ลาตน้ 2. ใบ

4. ผล
3. ดอก

5. เมล็ด

ภาพที่ 3.36 ลาดับการวาดภาพทางพฤกษศาสตร์สํวนตาํ งๆของพรรณไม๎ในใบงานเอกสาร ก.7-003 หนา๎ ท่ี 7

73

ภาพท่ี 3.37 ภาพตวั อยาํ ง ลาดับการวาดภาพทางพฤกษศาสตร์แตํละสวํ นประกอบของพรรณไม๎ โดยมีมาตรา
สวํ นกากับ ในเอกสาร ก.7-003 หน๎าที่ 7

ลาดับการเรียนร้ทู ่ี 7 บนั ทึกภาพหรอื วาดภาพทางพฤกษศาสตร์
วตั ถุประสงค์

1) เพ่ือรู๎การบันทึกภาพทางพฤกษศาสตร์
2) เพือ่ รู๎การวาดภาพทางพฤกษศาสตร์
กระบวนการเรียนรู้
1) เรยี นร๎ูการบันทึกภาพทางพฤกษศาสตร์ ของพรรณไมท๎ ี่ไดท๎ าการสารวจและศกึ ษาพรรณไม๎ตาม

เอกสาร ก.7-003 มาแลว๎
1.1) เรยี นร๎ูการใชก๎ ลอ๎ งถาํ ยภาพ (ดรู ายละเอียดเพิม่ เติมในภาคผนวก)
1.2) เรยี นร๎ูหลกั การถํายภาพพรรณไม๎

1.2.1) ภาพถํายครบสํวน ลกั ษณะวสิ ยั โดยถาํ ยต้งั แตโํ คนตน๎ ถึงปลายยอดของพรรณไม๎

74

ภาพท่ี 3.38 ตัวอยาํ งภาพถาํ ยพรรณไม๎ครบทุกสํวน ลักษณะวสิ ยั ไม๎ตน๎
1.2.2) ภาพถาํ ยเฉพาะสํวนในแตํละสวํ นของตน๎ เดยี วกัน ประกอบดว๎ ย
- ราก (บางชนิด) ถํายใหเ๎ หน็ ชนิดของราก และรปู ลักษณะของราก
- ลาต๎น ถาํ ยใหเห็นผิวเปลือก หรือเนื้อไม หรือ น้ายาง
- ใบ ถํายใหเห็นชนิดของใบ (ใบเดี่ยว/ใบประกอบ) การเรียงตัวของใบบนกง่ิ และรปู ราํ งของใบ
- ดอก ถาํ ยให๎เห็นชนิดของดอก (ดอกเด่ียว/ดอกชอํ ) ดานหนาและดานขางของดอกตูมและดอกบาน
- ผล ถํายให๎เห็นชนิดของผล (ผลสด/ผลแหง๎ – ผลเด่ียว/ผลกลมุ /ผลรวม) รูปรางและผิวผล
- เมลด็ ถาํ ยให๎เหน็ รูปราง ผิว และการตดิ ของเมล็ด

75

ภาพท่ี 3.39 ตัวอยาํ งภาพถาํ ยพรรณไม๎แตลํ ะสวํ นประกอบ ลาต๎น ใบ ดอก ผล และเมลด็
1.3) หลักการจดั เกบ็ และสืบคน๎ ภาพถํายพรรณไม๎

1.3.1) แบบเอกสาร
1.3.2) แบบคอมพิวเตอร์
1. จดั เกบ็ ภาพแตํละชนิดโฟลเดอร์ ประกอบด๎วย ภาพลักษณะวิสยั ราก (บางชนิด) ลาต๎น ใบ ดอก ผล
และเมล็ด โดย ตง้ั ช่ือข้ึนตน๎ ด๎วยรหสั ประจาต๎นและตามด๎วยชือ่ พ้ืนเมือง เชํน 001-มะขาม

76

ภาพที่ 3.40 วธิ ีการจดั เกบ็ ภาพถํายพรรณไม๎ลงในโฟลเดอร์
2. การถํายภาพให๎บันทึกเป็นไฟล์นามสกุล .jpg , .JPEG ท่ีขนาด 640 x 480 พิกเซล หรือ 1,280 x
960 พกิ เซล เปน็ วธิ ีการท่ีเหมาะสมและสะดวกตํอการสืบค๎น ตัวอยํางเชํน การเก็บไว๎ในลักษณะไฟล์สืบค๎นใน
ระบบคอมพิวเตอร์

ภาพท่ี 3.41 วิธีการจัดเก็บและสืบคน๎ ขอ๎ มลู ภาพถํายดว๎ ยระบบคอมพวิ เตอร์

77
2) เรยี นรู๎การวาดภาพทางพฤกษศาสตร์

2.1) หลักการวาดภาพพรรณไม๎ วาดภาพทางพฤกษศาสตร์ คือ งานศิลปะที่มีการจาเพาะลงไป
เฉพาะพืช โดยนาศาสตรส์ าขาดา๎ นวทิ ยาศาสตร์และศิลปะศาสตร์มารวมกนั เรียกวาํ วทิ ย์สานศิลป์

สัดสวํ น ถูกตอ๎ งตามหลกั วทิ ยาศาสตร์
สังเกต สงั เกตรายละเอยี ดอยํางถถ่ี ๎วน และแมนํ ยา
สวยงาม ผลงานสวยงามอยํางมคี ุณคาํ ทางศลิ ปะ
2.2) เรยี นร๎ูรปู แบบการกาหนด สดั สวํ น เทาํ จรงิ ยํอ ขยาย
1. แบบมาตราสวํ น เชนํ 1 : 1
2. แบบกาลังขยาย/ยอํ เชนํ x 3
3. แบบเสน๎ ขดี ระยะ เชํน 1 เซนตเิ มตร
2.3) เรียนรู๎เร่ืองทฤษฎีทางศิลปะ องค์ประกอบศิลป์ เส๎น รูปรําง ผิวสัมผัส การกลมกลืน
(harmony) ทฤษฎีสี แสง – เงา
2.3.1) “ทฤษฏีศิลปะ” หมายถึง ศาสตร์ท่ีวําด๎วยความรู๎สึกอันมีความงามเป็นพื้นฐาน การ
แสดงออกอนั ไมํมีจานวนเป็นเขตสุด นับตั้งแตํส่ิงที่งํายที่สุด เชํน ถ๎วยแก๎ว เป็นต๎น ไปจนถึงสิ่งท่ียากท่ีสุด เชํน
ภาพเขยี น ดนตรี วรรณคดี เป็นต๎น
2.3.2) “องค์ประกอบศิลป์” หมายถึงการนาส่ิงตําง ๆ มาบูรณาการเข๎าด๎วยกัน ตามสัดสํวน
ตรงตามคณุ สมบัติของส่ิงนนั้ ๆ เพอื่ ให๎เกดิ ผลงานท่มี คี วามเหมาะสม
สวํ นประกอบขององคป์ ระกอบศลิ ป์
1. จุด คือสํวนประกอบที่เล็กท่ีสุด เริ่มต๎นไปสํูสํวนอ่ืน ๆ เชํน การนาจุดมาเรียงตํอกันตามตาแหนํงที่
เหมาะสม และซา้ ๆ กนั จะทาใหส๎ ามารถมองเห็นเปน็ เสน๎ รูปรําง รปู ทรง ลกั ษณะผิว เปน็ ตน๎
2. เสน๎ คอื จุดท่ีเรยี งตํอกันในทางยาว หรือเกิดจากการลากเส๎นไปยังทิศทางตําง ๆ มีหลายลักษณะเชํน
ต้งั นอน เฉียง โค๎ง ฯลฯ
3. รปู รําง คือพื้นที่ทล่ี อ๎ มรอบด๎วยเสน๎ ท่ีแสดงความกว๎าง และความยาว รูปรํางจึงมีสองมิติ
4. รูปทรง คือภาพท่ีตํอเน่ืองจากรูปรําง โดยมีความหนาหรือความลึก ทาให๎ภาพที่เห็นมีความชัดเจน
และสมบรู ณ์ รูปทรงจงึ มีสามมติ ิ
5. แสงเงา คือองคป์ ระกอบของศิลปท์ อี่ ยํูรวมกัน แสง เมื่อสอํ งกระทบ กบั วัตถุ จะทาใหเ๎ กิดเงา แสงและ
เงา เปน็ ตวั กาหนดระดบั ของคําน้าหนัก ความเข๎มของเงาจะข้ึนอยํูกับความเข๎มของแสง ในที่แสงมีความสวําง
มาก เงาจะเข๎มขึ้นและในทม่ี คี วามสวํางของแสงนอ๎ ย เงาจะไมชํ ดั เจน ในท่ี ๆ แสงสวาํ งจะไมํมีเงา และเงาจะอยูํ
ในทิศทางท่ีตรงข๎ามกบั แสงเสมอ
6. สี คือลักษณะของแสงท่ีปรากฏแกํสายตาเห็นเป็นสี ในทางวิทยาศาสตร์ให๎คาจากัดความของสีวํา
เป็นคลื่นแสงหรือความเข๎มของแสงที่สายตามามารถมองเห็น ในทางศิลปะ สี คือ ทัศนะธาตุอยํางหน่ึงท่ีเป็น
องค์ประกอบสาคัญของงานศิลปะ และใช๎ในการสร๎างงานศิลปะโดยจะทาให๎ผลงานมีความสวยงามชํวยสร๎าง
บรรยากาศ มีความสมจริง เดํนชัดและนําสนใจมากขึ้น สีเป็นองค์ประกอบที่มีอิทธิพลตํอความร๎ูสึก อารมณ์
และจติ ใจ ไดม๎ ากกวําองคป์ ระกอบอื่น ๆ

78
7. พื้นผิว คือ สํวนท่ีเป็นพื้นผิวของวัตถุท่ีมีลักษณะตํางกัน เชํน เรียบ ขรุขระ หยาบ มัน นุํม ฯลฯ ซ่ึง
สามารถมองเหน็ และสมั ผัสได๎ การนาพื้นผิวมาใช๎ในงานศิลปะ จะชํวยให๎เกิดความเดํนในสํวนที่สาคัญ และทา
ใหเ๎ กดิ ความงามสมบรู ณ์

2.4) เรียนรูป๎ ระเภทการวาดภาพทางพฤกษศาสตร์ เชนํ วาดแบบลายเส๎น วาดแบบลงสี หรือ ภาพวาด
ระบายสี ต๎องระบมุ าตราสํวน กาลงั ขยาย หรือ เส๎นขีดระยะ (Scale) กากับอยํใู นภาพวาดนน้ั ๆ

2.5) เรียนร๎ขู ัน้ ตอนการวาดภาพ
เรียนรถ๎ู ึงลกั ษณะเดํนๆ ของพืชในแตํละกลํุม รวมถึงลักษณะท่ีสาคัญทางพฤกษศาสตร์ตําง ๆ เชํน ราก
ลาต๎น เปลอื ก ชนิดของใบ ใบประดบั ดอก ชอํ ดอก ผล ชํอผล ตลอดจนเมล็ด เพื่อเลือกเทคนิคที่จะใช๎วาดภาพ
ใหเ๎ หมาะสม ตามหลกั วิทยาศาสตร์ซ่งึ มีรายละเอียดและขนั้ ตอนโดยสังเขป คอื
1. เตรียมการวาดภาพลายเส๎นขาวดา หรือภาพสีข้ึนอยํูกับวัตถุประสงค์ของการนาไปใช๎ รวมถึงการ
กาหนดขนาดภาพ พรอ๎ มมาตราสํวนที่จะใชใ๎ หถ๎ ูกต๎อง พรรณไมท๎ ่ีวาดอาจเปน็ ตวั อยาํ งพรรณไม๎อัดแห๎ง ตัวอยําง
สด หรอื ภาพถาํ ยสี
2. ศึกษาข๎อมูลตัวอยํางพรรณไม๎ เพ่ือแสดงรายละเอียดสํวนสาคัญของพรรณไม๎ได๎ครบถ๎วน พร๎อมช่ือ
พฤกษศาสตรท์ ถ่ี ูกต๎อง
3. รํางภาพในมาตราสํวนที่ถูกต๎อง ด๎วยการวัดขนาด แล๎ววางตาแหนํงของภาพท้ังภาพหลักและภาพ
ยอํ ยประกอบหรอื สวํ นขยาย (ถา๎ มี) ตามวสิ ัยของพรรณไม๎ในธรรมชาติ
4. เพิม่ เตมิ รายละเอยี ดลกั ษณะพรรณไม๎ สี และแสงเงา
5. ตรวจสอบความถูกต๎องของภาพวาดขนั้ สดุ ทา๎ ย วันทว่ี าดเสรจ็ สมบูรณ์ และลายมอื ชอ่ื ของผ๎ูวาด

79 2 22
ขนั้ ตอนการวาดภาพทางพฤกษศาสตร์
/
1 11
4

34

5

ภาพที่ 3.42 ขัน้ ตอนการวาดภาพทางพฤกษศาสตร์

80

ภาพที่ 3.43 การวาดภาพทางพฤกษศาสตร์ สํวนประกอบตาํ ง ๆ ของพรรณไม๎โดยการกาหนดสดั สํวน
ในรปู แบบมาตราสํวน

ภาพที่ 3.44 การวาดภาพทางพฤกษศาสตร์ สวํ นประกอบตาํ ง ๆ ของพรรณไม๎โดยการกาหนดสดั สํวน
ในรปู แบบเส๎นขีดระยะ

81
3) หลกั การจดั เกบ็ และสืบคน๎ ภาพวาดทางพฤกษศาสตร์

3.1) แบบเอกสาร โดยการนาภาพวาดทางพฤกษศาสตรม์ าเกบ็ เป็นแฟม้ เอกสาร
3.2) แบบคอมพิวเตอร์ โดยจัดเก็บภาพวาดแตํละชนิดในโฟลเดอร์ ต้ังช่ือโฟลเดอร์ข้ึนต๎นด๎วย
รหสั ประจาต๎นและตามดว๎ ยชอื่ พืน้ เมือง

ภาพที่ 3.45 การจัดเกบ็ ภาพวาดทางพฤกษศาสตร์ในรปู แบบภาพถํายในระบบคอมพวิ เตอร์
ลาดบั การเรยี นร้ทู ่ี 8 ทาตวั อยา่ งพรรณไม้ (แหง้ ดอง และเฉพาะสว่ น)
วัตถุประสงค์

1) เพื่อร๎กู ารทาตัวอยํางพรรณไมแ๎ ห๎ง
2) เพอื่ รกู๎ ารทาตัวอยํางพรรณไม๎ดอง
3) เพ่อื รู๎การทาตัวอยาํ งพรรณไมเ๎ ฉพาะสํวน
กระบวนการเรยี นรู้
1) เรยี นร๎กู ารทาตัวอยาํ งพรรณไม๎แหง๎

1.1) เรยี นร๎หู ลกั การทาตัวอยํางพรรณไมแ๎ ห๎ง
1.1.1) สามารถทาไดท๎ กุ สวํ นของพืช เชํน ราก ลาตน๎ ใบ ดอก และผล
1.1.2) ตวั อยาํ งมคี วามสมบูรณ์ เลือกเก็บต๎นหรือกิ่งที่มีลักษณะปกติ ไมํเห่ียว แมลงกัด ไฟไหม๎

หรอื เปน็ โรค (ขน้ึ อยํูกบั ระยะเวลาการตดิ ผลและดอกของพืชแตลํ ะชนิด)
1.1.3) ทาตัวอยาํ งซา้ ที่เหมอื นกัน คอื ตัวอยาํ งสาหรบั พชื แตลํ ะชนดิ จะตอ๎ งมีต้งั แตํ 2 ชน้ิ ขน้ึ ไป

1.2) เรยี นร๎ูวสั ดอุ ุปกรณใ์ นการทาตวั อยาํ งพรรณไม๎แห๎ง
1.2.1) ช้นิ ตัวอยาํ ง ยาวประมาณ 30 เซนตเิ มตร ประกอบไปดว๎ ย ก่ิง ใบดอก หรือกงิ่ ใบ ผล

82
1.2.2) แผงอัดพันธ์ุไม๎ กว๎าง 30 เซนติเมตร ยาว 45 เซนติเมตร มีลักษณะเป็นตาราง
ส่ีเหลยี่ มผนื ผ๎า 2 แผงประกบกนั
1.2.3) เชือกไส๎ตะเกียงแบบแบนสาหรับผูกแผงอัดพันธ์ุไม๎ กว๎าง 2.5 เซนติเมตร ยาว 150
เซนตเิ มตร จานวน 2 เสน๎ ตํอแผง
1.2.4) กระดาษลกู ฟกู (หรอื เทยี บเทํา) กวา๎ ง 30 เซนติเมตร ยาว 45 เซนติเมตร
1.2.5) กระดาษหนงั สือพมิ พ์ กว๎าง 30 เซนติเมตร ยาว 45 เซนตเิ มตร
1.2.6) ปา้ ยแสดงขอ๎ มูลพรรณไม๎ กว๎าง 10 เซนติเมตร ยาว 15 เซนตเิ มตร
1.2.7) ป้ายข๎อมลู (tag) สาหรับผูกพันธไุ์ ม๎ กว๎าง 3 เซนตเิ มตร ยาว 5 เซนติเมตร ปลายข๎างหนึ่ง
เจาะรูสาหรับร๎อยด๎าย (ด๎ายยาว 20 เซนติเมตร ทาเป็น 2 ทบ)
1.2.8) เข็มเบอร์ 8 และด๎าย
1.2.9) กระดาษสีขาว 300 แกรมสาหรับเยบ็ ตัวอยํางพรรณไมแ๎ หง๎ กว๎าง 30 เซนตเิ มตร ยาว 42
เซนตเิ มตร
1.2.10 ปกตัวอยํางพรรณไม๎แห๎ง ใช๎กระดาษสีขาว 300 แกรม พับครึ่งให๎ได๎ขนาดกว๎าง 35
เซนตเิ มตร ยาว 45 เซนติเมตร

ช้นิ ตัวอย่างพันธไ์ุ ม้

ภาพที่ 3.46 การเตรยี มวัสดุและอปุ กรณ์การทาตัวอยํางพรรณไม๎แห๎ง

83
1.3) เรียนร๎ขู นั้ ตอนการทาตัวอยาํ งพรรณไม๎แหง๎

1.3.1) คดั เลือกสํวนของพืชในการทาตัวอยํางพรรณไม๎แห๎ง ประกอบด๎วย กิ่ง ใบ ดอก หรือก่ิง
ใบ ผล ตัดช้ินตัวอยาํ งพันธไ์ุ มย๎ าว 30 เซนตเิ มตร โดยพนั ธไุ์ ม๎หนึ่งชนดิ ให๎เก็บอยํางน๎อย 2 ตวั อยาํ ง

1.3.2) ผูกปา้ ยข๎อมูลท่ชี นิ้ ตวั อยาํ งพนั ธ์ุไม๎ในตาแหนงํ กงิ่ ทแี่ ข็งแรงท่สี ดุ เพื่อป้องกันการสญู หาย

ภาพที่ 3.47 ขั้นตอนการทาตวั อยาํ งพรรณไม๎แหง๎

84
1.3.3) เตรียมอปุ กรณ์สาหรับอัดพรรณไม๎โดยวางแผงอัดพันธุ์ไม๎ 1 แผง กระดาษลกู ฟกู 1 แผนํ
และกระดาษหนงั สอื พิมพ์ 1 คูํ ตามลาดบั

ภาพท่ี 3.48 การตากหรอื อบตัวอยาํ งพรรณไม๎แหง๎
1.3.4) จัดชิ้นตัวอยํางพันธุ์ไม๎บนกระดาษหนังสือพิมพ์ให๎เห็นลักษณะของหน๎าใบ หลังใบ ดอก
และผลชัดเจน แล๎วจึงปิดด๎วยกระดาษหนังสือพิมพ์ กระดาษลูกฟูก 1 แผํน และแผงอัดพันธุ์ไม๎ 1 แผง
ตามลาดับ แล๎วจึงผูกเชือกรัดแผงอัดพันธุ์ไม๎ให๎แนํน (แผงอัดพันธุ์ไม๎ 1 แผง สามารถอัดพรรณไม๎ได๎ 1 – 10
ตวั อยําง ขึ้นอยูํกบั ขนาดและชนิดของพรรณไม๎)
1.3.5) อบตวั อยาํ งพรรณไม๎ การอบพรรณไม๎หรอื ตากตัวอยํางพรรณไมส๎ ามารถตากไว๎ในบริเวณ
พื้นที่ที่มีแสงแดดสํองถึง หากในฤดูฝนหรอื ฤดหู นาวสามารถใชว๎ ิธีการอบไว๎ในตูอ๎ บพรรณไม๎ได๎
1.3.6) เย็บตัวอยํางพรรณไม๎แห๎ง นาตัวช้ินตัวอยํางพันธ์ุไม๎ที่แห๎งสนิท วางบนกระดาษสาหรับ
เยบ็ ตวั อยาํ งพรรณไม๎แหง๎ เยบ็ ยดึ ด๎วยเขม็ และด๎ายบริเวณกิ่ง และเส๎นกลางใบให๎ช้ินตัวอยํางพันธุ์ไม๎ติดแนํนกับ
กระดาษ โดยเวน๎ ระยะแตํละปมประมาณ 1 นวิ้ หรอื ตามความเหมาะสมโดยไมมํ ีการตดั ดา๎ ยระหวาํ งการเยบ็
1.3.7) ตดิ ปา้ ยแสดงขอ๎ มลู พรรณไม๎ ตรงมุมลํางด๎านซ๎ายของตัวอยํางพรรณไม๎แห๎งที่ทาการเย็บ
เสร็จแลว๎ โดยทากาวเพยี ง 1 เซนติเมตรทางดา๎ นซ๎าย เพื่อให๎สามารถเปดิ ปิดปา้ ยรายละเอยี ดขอ๎ มลู พรรณไม๎ได๎

ภาพที่ 3.49 อปุ กรณ์สาหรับใช๎ในการเย็บตัวอยาํ งพรรณไมแ๎ หง๎

85

ตัวอยา่ งที่ ด้านหลัง ตวั อย่างท่ี
1 2

ภาพท่ี 3.50 วธิ ีการเย็บตวั อยาํ งพรรณไมด๎ ๎านหนา๎ และดา๎ นหลงั ทม่ี กี ารมดั ปมทกุ ครั้ง เมื่อเย็บในจดุ ถัดไปเพอ่ื
ความแขง็ แรงของการยดึ ติดกบั กระดาษ และติดป้ายขอ๎ มลู พรรณไม๎ด๎านมุมซ๎ายด๎านลาํ ง
ของกระดาษ

86
1.3.5) เรยี นรรู๎ ะบบการจดั เกบ็ และสบื คน๎ เชํน แฟ้มทะเบียนตัวอยําง ชน้ิ ตวั อยาํ ง วางบนชั้นวาง
หรอื ต๎ู

ภาพที่ 3.51 ตวั อยาํ งระบบการจัดเกบ็ ตัวอยํางพรรณไม๎แห๎ง
2) ศกึ ษาการทาตวั อยาํ งพรรณไม๎ดอง

2.1) เรยี นรห๎ู ลกั การทาตวั อยํางพรรณไม๎ดอง
เก็บได๎ทกุ สํวนเชํน สวํ นดอกและผลของพชื ทต่ี อ๎ งการเกบ็ รกั ษาเป็นพเิ ศษ หรอื ขนาดใหญํ และมีลักษณะ
อวบน้าหรอื ฉ่าน้า เชํน ผลมะมํวง ผลมะยม ผลมะปริง ผลมะปราง ดอกขิง ดอกขํา เป็นต๎น

ภาพท่ี 3.52 พรรณไมช๎ นดิ ตาํ ง ๆ สาหรบั ทาตัวอยํางพรรณไม๎ดอง


Click to View FlipBook Version