The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เอกสารประกอบการสอน_161429 เล่มที่ 2

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Narin Nonthamand, 2021-05-04 13:58:10

เอกสารประกอบการสอน_161429 เล่มที่ 2

เอกสารประกอบการสอน_161429 เล่มที่ 2

เอก สารประก อบก ารสอน

ปฏบิตัิก ารใชเครอื่งมอืเทคโนโลยกีารศกึษา

Educational Technology Equipment Operation

รหสัวชิา161429 3(1-4-4) บทที่7-12

ดร.นรนิธนนนทมาลย

สาขาเทคโนโลยทีางก ารศกึษาวิทยาลยัก ารศกึษามหาวิทยาลยัพะเยา

เอกสารประกอบการสอน

161429 ปฏิบัติการใชเ้ คร่อื งมือเทคโนโลยกี ารศึกษา 3(1-4-4)
Educational Technology Equipment Operation
บทที่ 7-12

ดร.นรนิ ธน์ นนทมาลย์

กศ.บ. (เทคโนโลยีทางการศึกษา) เกียรตนิ ิยมอนั ดบั 2
ค.ม. (เทคโนโลยีและสอ่ื สารการศกึ ษา)
ค.ด. (เทคโนโลยีและสอ่ื สารการศกึ ษา)

สาขาเทคโนโลยีทางการศกึ ษา
วิทยาลัยการศกึ ษา มหาวิทยาลัยพะเยา

2564



คำนำ

เอกสารประกอบการสอน รายวิชา ปฏิบัติการใช้เครื่องมือเทคโนโลยีการศึกษา
(Educational Technology Equipment Operation) รหัสวิชา 161429 เรียบเรียงขึ้นโดยมี
วัตถุประสงค์หลักเพื่อใช้เป็นสื่อการสอนประกอบการจัดการเรียนการสอนในหลักสูตร
ปริญญาตรี มหาวทิ ยาลยั พะเยา

เอกสารประกอบการสอนได้รวบรวมเนื้อหาที่เกี่ยวข้องกับ เครื่องมือเทคโนโลยี
การศึกษา เครื่องเสียง เครื่องฉาย การพิมพ์ และ ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ การผลิตวิดีโอ
การสอนร การออกแบบการสอน เพื่อประยุกต์ใช้ในจัดการเรียนการสอน โดยมีรายละเอียดทั้ง
ส่วนทีเ่ ปน็ ทฤษฎีและขนั้ ตอนในการปฏิบตั ิ เหมาะสำหรบั ที่ผู้ประกอบวิชาชีพครู ผสู้ อน อาจารย์
หรือบุคลากรทางการศึกษา หรือผู้ที่สนใจ เพื่อเป็นประโยชน์ในงานของตนเอง ภายในเล่มแบ่ง
เนื้อหาในการเรียนการสอน 12 บท แบ่งออกเป็น 2 เล่ม หวังเป็นอย่างยิ่งว่าเอกสาร
ประกอบการสอนเล่มนี้ คงอำนวยความสะดวกต่อการเรียนการสอนตามสมควร และมี
ประโยชน์แก่นิสติ และผทู้ ีส่ นใจ

ขอกราบขอบพระคุณบิดา มารดา ครู อาจารย์ทุกท่าน ที่ได้ประสิทธิ์ประสาทวิชา
ความรู้ และเจ้าของผลงานทุกเรื่องที่ได้นำมาอ้างอิง ทำให้เอกสารประกอบการสอนเล่มนี้
สำเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดี และขอบคุณกำลังใจจากครอบครัวอันที่เป็นที่รัก หากมีข้อผิดพลาด
ประการใด ผรู้ วบรวมยินดีรับฟังข้อเสนอแนะเพือ่ นำไปปรบั ปรุงในโอกาสตอ่ ไป

นรนิ ธน์ นนทมาลย์
สาขาวิชาเทคโนโลยีทางการศกึ ษา
วิทยาลยั การศกึ ษา มหาวิทยาลัยพะเยา

เมษายน 2564

สารบญั ค

คำนำ หน้า
สารบัญ ก
สารบญั รูปภาพ ค
แผนการสอนประจำบทท่ี 7 ช
บทท่ี 7 เครือ่ งภาคส่งสัญญาณออก 1
5
ความหมายของลำโพง 5
หลักการทำงานของลำโพง 7
ตู้ลำโพง 17
คณุ สมบัติของลำโพง 24
ประเภทของลำโพง 33
สายลำโพง 90
ลกั ษณะของลำโพงทีด่ ี 92
การใชง้ านลำโพง 93
วิธีในการต่อลำโพง โดยใช้แอมปร์ ่วมกนั 94
การเลือกซือ้ ลำโพง และการเลือกลำโพงเพื่อการใช้งาน 97
สรปุ ท้ายบท 100
คำถามท้ายบท 100
เอกสารอ้างอิง 101
แผนการสอนประจำบทท่ี 8 107
บทท่ี 8 การใชง้ านเคร่อื งฉาย เครือ่ งเสียง และการถา่ ยทอดสด 109
การใชง้ านเครือ่ งฉาย 109
สายสัญญาณภาพ 110
สายแปลงสัญญาณภาพ 137
วิชวลไลเซอร์ เคร่อื งฉายภาพ 3 มิติ (visualizer) 149
อุปกรณ์เชื่อมตอ่ ภาพไร้สาย 161
การใชง้ านเครือ่ งเสียง 173
มิกเซอร์คอนโซล 175

ง หน้า
189
อปุ กรณร์ ับส่งสญั ญาณเสียงแบบไร้สาย 197
รูปแบบการถา่ ยทอดสด 224
สรปุ ท้ายบท 225
คำถามท้ายบท 226
บรรณานุกรม 231
แผนการสอนประจำบทท่ี 9 235
บทท่ี 9 ระบบการพิมพ์
ประวตั ิความเป็นมาของการพิมพ์ 235
ความหมายการพิมพ์ 241
ความหมายสื่อสิง่ พิมพ์ 243
ประเภทของสือ่ สิ่งพิมพ์ 244
ความสำคญั ของสอ่ื สิ่งพิมพ์ 253
ขั้นตอนการผลติ สื่อสิง่ พิมพ์ 254
หลักการออกแบบสิง่ พิมพ์ 257
ขั้นตอนของการออกแบบสื่อสิ่งพิมพ์ 259
องค์ประกอบในการออกแบบ 260
กระบวนการผลิตสือ่ ส่งิ พิมพ์ 288
ประเภทของการพิมพ์ 291
การกำหนดระบบการพิมพ์ และการเลือกกระดาษพิมพ์ 317
ประเมินส่อื สิ่งพิมพ์ 322
สรปุ ท้ายบท 323
คำถามท้ายบท 323
บรรณานุกรม 325
แผนการสอนประจำบทท่ี 10 237
บทท่ี 10 ระบบเครอื ขา่ ยคอมพิวเตอร์ 241
ความหมายของคอมพิวเตอร์ 241
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ 243
วิวฒั นาการของคอมพิวเตอร์ 260
ชนิดของคอมพิวเตอร์ 274

องคป์ ระกอบของระบบการสื่อสารข้อมูล จ
ความหมายของอินเทอร์เน็ต
ข้อดขี องอนิ เทอร์เน็ต หน้า
ข้อจำกัดของอนิ เทอรเ์ น็ต 282
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 290
อุปกรณ์เชือ่ มตอ่ เครือขา่ ยคอมพิวเตอร์ 292
สรปุ ท้ายบท 293
คำถามท้ายบท 296
บรรณานุกรม 316
แผนการสอนประจำบทท่ี 11 326
บทท่ี 11 การผลิตวิดีโอการสอน 326
ประวตั ิความเปน็ มาของวิดโี อ 327
ความหมายของวิดีโอ 333
ความหมายของวิดีโอการสอน 335
ความสำคญั ของวิดโี อการสอน 335
ภาพรวมของการผลิตวิดโี อการสอน 337
ไฟลภ์ าพหรอื กราฟิกที่ใชใ้ นงานวิดีโอ 339
รูปแบบไฟล์เสียง 341
รปู แบบไฟลว์ ิดีโอ 347
ข้ันตอนการผลติ วิดีโอ 353
ข้ันกอ่ นการผลติ วิดีโอ 354
ข้ันการผลิตวิดีโอ 356
ขั้นหลังการผลิตวิดีโอ 358
Green Screen 359
เทคนิคการตดั ต่อวิดโี อ 383
วิธีการประเมนิ วิดีโอการสอน 520
สรปุ ท้ายบท 545
คำถามท้ายบท 555
บรรณานุกรม 560
563
563
565



แผนการสอนประจำบทท่ี 12 หน้า
571
บทท่ี 12 การออกแบบการเรียนการสอนโดยประยุกต์ใชเ้ คร่อื งมือเทคโนโลยี 575
ทางการศึกษา
575
ความเปน็ มาของการออกแบบการเรียนสอน 579
ความหมายของระบบการเรียนการสอน 583
ความหมายของการออกแบบการสอน 586
รูปแบบการออกแบบการสอน 600
การหาค่าประสิทธิภาพ 601
ความหมายของเกณฑ์ประสิทธิภาพ 602
ขอบข่ายของการทดสอบประสิทธิภาพ 607
การตงั้ เกณฑ์ของการทดสอบประสิทธิภาพ 609
การคำนวณหาประสิทธิภาพตามสูตรทีก่ ำหนด 611
การหาค่าความสอดคล้อง 615
การจัดการเรียนการสอน 617
การประเมนิ ผลการจัดการเรียนการสอน 620
กรอบแนวคิดทีแพค (TPACK) 622
องคป์ ระกอบของกรอบแนวคิดทีแพค 626
สรปุ ท้ายบท 626
คำถามท้ายบท 627
บรรณานุกรม

สารบญั รูปภาพ ช

ภาพที่ หน้า
7.1 ลำโพง
7.2 ส่วนประกอบ และ โครงสร้างของดอกลำโพง 1
7.3 บาสเคท็ เฟรม เซสซี ของลำโพง 8
7.4 เฟรม หรอื บาเก็ตของลำโพง 8
7.5 สไปเดอร์ลำโพง 8
7.6 สไปเดอร์ลำโพง 9
7.7 โคน (Cone) ไดอะแฟรม (Diaphragm) หรอื กรวยลำโพง 9
7.8 โคน (Cone) ไดอะแฟรม (Diaphragm) หรอื กรวยลำโพง 10
7.9 ดสั แค็ป (Dust Cap) หรอื โดม (Dome) 10
7.10 ดัสแคป็ (Dust Cap) โดม (Dome) 11
7.11 เซอร์ราวด์ (Surround) 11
7.12 เซอรร์ าวด์ (Surround) 12
7.13 วอยซค์ อยล์ (Voice Coil) หรอื ขดลวด 13
7.14 วอยซ์คอยล์ (Voice Coil) หรอื ขดลวด 13
7.15 แม็คเนท (Magnet) หรอื แมเ่ หล็ก 13
7.16 แมค็ เนท (Magnet) หรอื แมเ่ หลก็ 14
7.17 ฟอรเ์ มอร์ (Former) 14
7.18 เวนท์ (Vent) 15
7.19 สกรีน (Screen) 15
7.20 เทอมินอลส์ (Terminals) หรอื ขวั้ ตอ่ 16
7.21 ตู้ลำโพง 16
7.22 ตลู้ ำโพงแบบฟูลเรนจ์ (Full - Range Cabinet) 17
7.23 ตลู้ ำโพงแบบฟูลเรนจ์ (Full - Range Cabinet) 18
7.24 ตลู้ ำโพงแบบ 2 ทาง (Two - Way Cabinet) 18
7.25 ตลู้ ำโพงแบบ 2 ทาง (Two - Way Cabinet) 19
7.26 ตู้ลำโพงแบบ 3 ทาง (Three - Way Cabinet) 19
7.27 ตู้ลำโพงแบบ 3 ทาง (Three - Way Cabinet) 20
20

ซ หน้า

ภาพที่ 21
7.28 ตลู้ ำโพงแบบ 4 ทาง (Four - Way Speaker Cabinet) 21
7.29 ตู้ลำโพงแบบ 4 ทาง (Four - Way Speaker Cabinet) 22
7.30 ตู้ลำโพงประเภท Active 23
7.31 ตู้ลำโพงประเภท Passive 23
7.32 ตลู้ ำโพงประเภท Passive 26
7.33 การตอ่ ลำโพงแบบอนุกรม 26
7.34 การต่อลำโพงแบบขนาน 27
7.35 การต่อลำโพงแบบผสม 28
7.36 การวัดเซนซิตวิต้ีของลำโพง 29
7.37 พาสซีพครอสโอเวอรเ์ นต็ เวิร์ค 30
7.38 แอ็คทีฟครอสโอเวอร์เน็ตเวิร์ค (Active Crossover Network) 31
7.39 คา่ ความดังเสียง 33
7.40 ลำโพงไดนามิค 35
7.41 ลำโพงอเิลก็ โตรสแตติก 35
7.42 แผนผังแสดงโครงสร้างของลำโพงอิเลก็ โตรสแตติก 38
7.43 ลำโพงรบิ บอน 40
7.44 ลำโพงรบิ บอน 41
7.45 ลำโพงรบิ บอน 41
7.46 ลำโพงรบิ บอน 41
7.47 ลำโพงเสียงทุ้ม หรอื ทีเ่ รียกวา่ วฟู เฟอร์ 45
7.48 เปเปอรโ์ คน 46
7.49 อะลูมิเนยี มอัลลอยโคน 46
7.50 แมก็ นีเซียมโคน 47
7.51 เคฟลาร์โคน 47
7.52 โพลีโพรไพลีนโคน 48
7.53 คอมโพไซต์โคน 48
7.54 ลำโพงเสียงทุ้มต่ำ 53
7.55 ซิงเกิลวอยซ์คอยล์

ภาพที่ ฌ
7.56 ดูอัลวอยซค์ อยล์
7.57 ลำโพงเสียงกลาง หน้า
7.58
7.59 ลำโพงเสียงกลาง 54
7.60 โคนมิดเรนจ์ 54
7.61 เฟสปลั๊กมิดเรนจ์ 56
7.62 ดัสแคปมิดเรนจ์ 56
7.63 โดมมดเิ รนจ์ 58
7.64 ลำโพงเสียงทุ้มกลาง 59
7.65 ลำโพงเสียงแหลม 59
7.66 Cone tweeter 60
7.67 Dome tweeter 60
7.68 Piezo tweeter 62
7.69 Ribbon tweeter 65
7.70 Planar-magnetic tweeter 66
7.71 Electrostatic tweeter 67
7.72 7 AMT tweeter 68
7.73 Horn tweeter 69
7.74 Plasma or ion tweeter 69
7.75 ลำโพงฟลู เรนจ์ 70
7.76 ลำโพงฟูลเรนจ์ 71
7.77 ลำโพงกรวยผสม 72
7.78 ลำโพงไฮไฟ 74
7.79 ลำโพงตู้ 76
7.80 ลำโพงตู้ทรงสงู หรอซื าวดค์ อลมั ป์ 77
7.81 ลำโพงแบบส่งทอดการสัน่ สะเทือนสู่อากาศโดยตรง 78
7.82 ลำโพงฮอร์น 78
7.83 ลำโพงฮอร์นแบบใช้งานพีเอจะมีปากฮอร์นทีม่ ้วน 79
80
80
83



ภาพที่ หน้า
7.84 ลำโพงไลนอ์ าร์เรย์
7.85 ระยะการจัดวางตำแหนง่ ลำโพง 84
7.85 ลำโพงไลนอ์ าร์เรย์ 85
7.86 ลำโพง Point Source 86
7.87 ลำโพง Line Source 87
7.88 ลำโพงโคแอก๊ เชยี ล 88
7.89 หัวแบบ Speakon 89
7.90 หวั แบบ Speakon 90
7.91 หัวแบบ BANANA PLUG 90
7.92 หวั แบบ BANANA PLUG 91
7.93 หัวแบบเปลือย (Bare-Wire) 91
7.94 หวั แบบ PHONE 6.3 MM. TS 91
7.95 การต่อลำโพงแบบขนาน 92
7.96 การตอ่ ลำโพงแบบอนุกรม 95
7.97 การต่อลำโพงแบบผสม 96
7.98 ค่าความต้านทานสำหรบั การเชอ่ื มต่อลำโพงแตล่ ะแบบ 96
8.1 ตอ่ สญั ญาณภาพจากคอมพิวเตอร์ไปยังโปรเจคเตอร์ 97
8.2 การต่อสัญญาณภาพจาก คอมพิวเตอร์ และ สมาร์ทโฟน ไปยงั โปรเจคเตอร์ 109
8.3 สาย RGB หรอื VGA 110
8.4 สาย HDMI 111
8.5 พินของหัว HDMI 111
8.6 HDMI Standard Mini Micro 112
8.7 HDMI Type A 113
8.8 HDMI Type B 114
8.9 HDMI Type C 114
8.10 HDMI Type D 115
8.11 HDMI Type E 115
8.12 สาย Mini HDMI 116
116

ภาพที่ ฎ
8.13 HDMI Port
8.14 สาย Micro HDMI หน้า
8.15 Micro USB
8.16 micro type ตา่ ง ๆ 117
8.17 สาย RCA 117
8.18 Video Component ตัวผู้ กบั ตวั เมีย 118
8.19 Video Component ตวั ผู้ กบั ตัวเมีย 119
8.20 สาย component 119
8.21 component output 120
8.22 สาย DVI 120
8.23 DVI รูปแบบตา่ ง ๆ 121
8.24 DVI ตัวเมีย 122
8.25 S-Video 123
8.26 S-Video 124
8.27 ขว้ั ต่อตวั เมีย 124
8.28 S-video/composite adapter 125
8.29 Atari 800 connectors 125
8.30 Commodore 64 connectors 126
8.31 4-pin mini-DIN 127
8.32 7-pin mini-DIN 127
8.33 8-pin mini-DIN 127
8.34 9-pin Video In / Video Out 128
8.35 9-pin Video In / Video Out 128
8.36 9-pin Video In / Video Out 129
8.37 9-pin Video In / Video Out 129
8.38 SDI 129
8.39 ภาพ ข้ัวตอ่ ล็อค BNC ชว่ ยใหส้ ายเคเบิลอย่ใู นตำแหนง่ 129
8.40 ตารางเปรียบเทียบ SDI 129
130
131
132

ฏ หน้า

ภาพที่ 133
8.41 SDI connection and Max cable lenght 133
8.42 BNC 135
8.43 BNC 136
8.44 สายโคแอ็กซ์แบบบาง (Thin Coaxial Cable) 136
8.45 สายโคแอก็ ซ์แบบหนา (Thick Coaxial Cable) 137
8.46 Lighting to HDMI Adapter 138
8.47 Lighting to VGA Adapter 138
8.48 Type C to VGA Adapter 139
8.49 Type C to HDMI Cable 139
8.50 Type C to HDMI Cable 140
11.51 USB Type-C to HDMI Cable 140
8.52 Micro usb to HDMI ตัวเมีย 141
8.53 Micro usb to HDMI 142
8.54 Micro usb to HDMI ตัวผู้ 142
8.55 สายแยกสัญญาณ VGA/ RGB เข้า 1 ออก 2 143
8.56 VGA splitter 143
8.57 VGA splitter 144
8.58 กลอ่ งแปลง SDI to HDMI 144
8.59 กลอ่ งแปลง SDI to AV 145
8.60 HDMI splitter 146
8.61 HDMI Switcher 147
8.62 147
8.63 SDI Switcher 147
8.64 SDI Switcher 149
8.65 วิชวลไลเซอร์ (Visualizer) 149
8.66 การตอ่ วิชวลไลเซอร์ 150
8.67 การตอ่ วิชวลไลเซอร์เข้ากบั เครื่องคอมพวิ เตอร์ 150
8.68 การต่อวิชวลไลเซอรก์ ับอุปกรณ์วิดีโอด้วยสาย S-Video



ภาพที่ หน้า
8.69 การต่อวิชวลไลเซอรก์ ับอปุ กรณว์ ิดีโอเขากบั ช่องต่อสญั ญาณวิดีโอ
8.70 สว่ นประกอบเครือ่ ง Visualizer 151
8.71 การเช่อื มต่อ Visualizer 151
8.72 การเชื่อมต่อ Visualizer 152
8.73 การใชง้ าน Visualizer 152
8.74 แผงควบคุมการทำงานบนตัวเครื่อง และรโี มท 153
8.75 การเกบ็ Visualizer 153
8.76 port Visualizer 154
8.77 Composite Video 154
8.78 S-Video 155
8.79 VGA 155
8.80 VGA out 155
8.81 Component video 155
8.82 HDMI 155
8.83 DVI 156
8.84 DisplayPort 156
8.85 USB-C 156
8.86 RS-232 157
8.87 USB-B 157
8.88 LAN 157
8.89 3,5 mm jack IN 157
8.90 3,5 mm jack OUT 158
8.91 Composite audio 158
8.92 USB-A 158
8.93 WLAN 158
8.94 การตอ่ สัญญาณภาพจาก คอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอรพ์ กพา smartphone 159
ผา่ นวิชวลไลเซอร์ไปยงั Projector 160
8.95 อุปกรณเ์ ชือ่ มต่อภาพไร้สาย
161

ฑ หน้า

ภาพที่ 161
8.96 อุปกรณ์เชื่อมตอ่ ภาพไร้สาย 161
8.97 อปุ กรณ์เชือ่ มต่อภาพไร้สาย 161
8.98 อุปกรณ์เชือ่ มต่อภาพไร้สาย 161
8.99 อุปกรณ์เชือ่ มต่อภาพไร้สาย 161
8.100 อปุ กรณ์เชื่อมตอ่ ภาพไร้สาย 161
8.101 USB wifi dongle 162
8.102 HDMI Wifi dongle 163
8.103 NFC kit (VGA) 163
8.104 NFC kit (USB) 164
8.105 wireless adapter 165
8.106 Chromecast 165
8.107 Android Screen Mirroring 166
8.108 Samsung Galaxy Smart View 166
8.109 Apple Screen Mirroring 167
8.110 Stream ด้วย DLNA App 167
8.111 APPLE TV 169
8.112 ภาพ ดา้ นหลังแอปเปิลทีวีรุ่นที่ 1 170
8.113 ภาพ ด้านหลังแอปเปิลทีวีรุ่นที่ 2 และ 3 171
8.114 กลอ่ ง Android 172
8.115 จอ Monitor แบบพกพา 172
8.116 จอ Monitor แบบพกพา 172
8.117 จอ Monitor แบบพกพา 172
8.118 จอ Monitor แบบพกพา 173
8.119 จอ Monitor แบบพกพา 173
8.120 การใช้งานเครือ่ งเสียง 174
8.121 การใชง้ านเครื่องเสียง 175
8.122 มิกเซอรค์ อนโซล 176
8.123 อะนาลอ็ กมิกเซอร์ (Analog Mixer)



ภาพที่ หน้า
8.124 ดิจทิ ลั มิกเซอร์ (Digital Mixer)
8.125 ภาคอินพุท Mic / Line 176
8.126 Phantom +48V 178
8.127 Gain 178
8.128 Pad 179
8.129 Low Pass–Filter 179
8.130 high pass-filter 180
8.131 high pass-filter 180
8.132 high pass-filter 181
8.133 + high pass-filter 181
8.134 insert 181
8.135 Equalizer 182
8.136 EQ Bypass 182
8.137 auxiliary send masters 183
8.138 Pre Post 183
8.139 Pan 184
8.140 Stereo Master Fader 184
8.141 Group or Buss Output Faders 186
8.142 VCA , DCA 186
8.143 การต่อสญั ญาณเสียงจากคอมพิวเตอร์ smartphone ไมโครโฟน รว่ มกบั 187
Mixer ไปยัง power amp แล้วสง่ สัญญาณไปยงั ลำโพง 188
8.144 Ugreen Bluetooth 5.0 Receiver
8.145 TP-LINK-ตวั รบั สญั ญาณ-BLUETOOTH MUSIC-RECEIVER-HA100 189
8.146 เครือ่ งรบั สง่ สญั ญาณเสียงกีตา้ ร์ไฟฟ้าไร้สาย 190
8.147 ลำโพงบลทู ูธพกพา 191
8.148 JBL BLUETOOTH SPEAKER FLIP 5 RED 192
8.149 Marshall Stockwell II Bluetooth Speaker 192
8.150 Live Streaming ด้วยสมารท์ โฟน 194
199

ณ หน้า

ภาพที่ 203
8.151 Facebook Live 204
8.152 Instagram Live 205
8.153 Youtube Live 205
8.154 Vimeo Livestream 206
8.155 Livestorm 207
8.156 StreamYard 207
8.157 GotoWebinar 208
8.158 WebinarJam 209
8.159 YouNow 209
8.160 Broadcast me 210
8.161 IBM cloud Video 211
8.162 VOOV 211
8.163 VOOV 213
8.164 OBS Studio 214
8.165 Streamlabs OBS. 214
8.166 XSplit 215
8.167 Wirecast 216
8.168 vMix 216
8.169 windows media encoder 217
8.170 Switcher 218
8.171 Mixer 218
8.172 RTMP SERVER 219
8.173 ตวั อย่างผังการต่ออุปกรณใ์ นการถา่ ยทอดสด 220
8.174 ตวั อย่างผงั การตอ่ อุปกรณ์ในการถา่ ยทอดสด 220
8.175 ตัวอย่างผงั การต่ออุปกรณ์ในการถ่ายทอดสด 220
8.176 ตวั อย่างผังการต่ออุปกรณ์ในการถา่ ยทอดสด 221
8.177 ตวั อย่างผังการต่ออุปกรณใ์ นการถา่ ยทอดสด 221
8.178 ตวั อย่างผังการตอ่ อุปกรณ์ในการถ่ายทอดสด

ภาพที่ ด
8.179 ตวั อย่างผังการต่ออุปกรณ์ในการถ่ายทอดสด
8.180 Mevo หน้า
8.181 Mevo
8.182 หนา้ จอ Mevo 221
8.183 GoPro 222
8.184 GoPro 222
9.1 เส้นตรง 223
9.2 เส้นนอน/เส้นราบ 224
9.3 เส้นทแยง/เส้นเฉียง 224
9.4 เส้นโค้ง 261
9.5 เส้นฟันปลา 261
9.6 เส้นแสดงทิศทาง 261
9.7 เส้นแสดงขอบเขต 262
9.8 เส้นแสดงนำ้ หนกั 262
9.9 เส้นแสดงพ้ืนผิว 263
9.10 รูปร่างและรปู ทรง 263
9.11 รูปทรงเรขาคณิต 264
9.12 รปู ทรงอสิ ระ 264
9.13 รปู ทรงธรรมชาติ 265
9.14 พ้ืนผิว 266
9.15 พืน้ ผิวทีส่ ัมผัสได้ดว้ ยมือ 266
9.16 พืน้ ผิวทีส่ มั ผสั ได้ดว้ ยสายตา 267
9.17 บริเวณวา่ ง 268
9.18 ขนาดและสัดสว่ น 269
9.19 สี 269
9.20 ไฟ 270
9.21 ต้นไม้ 271
9.22 ต้นไม้ 272
273
273
273

ต หน้า

ภาพที่ 274
9.23 ทะเล 274
9.24 ดอกกหุ ลาบ 275
9.25 ทะเล 275
9.26 ทองแทง่ 276
9.27 ต้นไมท้ ี่มหี ิมะ 276
9.28 เสือดำ 277
9.29 ต้นไมด้ อกสีชมพู 277
9.30 ใบไม้ 278
9.31 เงินแทง่ 278
9.32 ก้อนเมฆ 280
9.33 วงลอ้ สี และโทนสี 280
9.34 การจบั คสู่ ี 281
9.35 สีตรงกนั ข้าม 282
9.36 ชุดสี 283
9.37 ตวั อกั ษร 284
9.38 ตวั อักษรแบบมีเชิง 284
9.39 ตัวอักษรแบบไม่มีเชิง 285
9.40 ตัวอักษรแบบตัวเขียน 285
9.41 ตัวอกั ษรแบบตวั อาลกั ษณ์ 286
9.42 ตัวอกั ษรแบบประดิษฐ์ 286
9.43 ตวั อกั ษรแบบสมัยใหม่ 287
9.44 ชนิดของตวั อักษร 295
9.45 ระบบการพิมพ์แบบ 4 สี 297
9.46 การพิมพอ์ อฟเซ็ต 298
9.47 การพิมพ์เลตเตอรเ์ พรส 299
9.48 การพิมพ์เลตเตอร์เพรส 299
9.49 การพิมพ์เลตเตอร์เพรส 300
9.50 การพิมพ์เลตเตอรเ์ พรส

ภาพที่ ถ
9.51 การพิมพ์ซิลคส์ กรีน
9.52 วัสดอุ ุปกรณใ์ ช้ทำแม่พิมพซ์ ิลคส์ กรีน หน้า
9.53 กรอบสกรีน
9.54 ขั้นตอนการสกรีน 301
9.55 อุปกรณใ์ นการพิมพซ์ ิลค์สกรีน 302
9.56 ขั้นตอนพิมพซ์ ิลคส์ กรีน 302
9.57 สีในการพิมพซ์ ิลคส์ กรีน 303
9.58 หมกึ ยูวี 305
9.59 ยางปาดหมกึ 306
9.60 ระบบการพิมพ์ดจิ ทิ ัล 306
9.61 ระบบการพิมพด์ ิจทิ ลั 307
9.62 การพิมพเ์ ฟลก็ โซกราฟี 308
9.63 การพิมพเ์ ฟล็กโซกราฟี 309
9.64 การพิมพเ์ ฟล็กโซกราฟี 310
9.65 การพิมพก์ ราววั ร์ 312
9.66 การพิมพก์ ราววั ร์ 312
9.67 การพิมพก์ ราวัวร์ 313
10.1 แป้นพิมพ์ (Keyboard) 314
10.2 เมาส์ (Mouse) 315
10.3 จอยสติก (Joystick) 316
10.4 จอภาพระบบไวตอ่ การสัมผัส 244
10.5 ระบบปากกา 244
10.6 เครื่องอ่านรหัสบารโ์ คด 245
10.7 สแกนเนอร์ (Scanner) 245
10.7 กล้องถา่ ยภาพดิจทิ ลั 246
10.8 กล้องถ่ายทอดวิดีโอดิจทิ ลั 246
10.9 ซีพียู 247
10.10 รอม 247
248
248
250

ท หน้า

ภาพที่ 250
10.11 แรม 251
10.12 ฮาร์ดดิสก์ 251
10.13 ฟลอปปีดสิ ก์ 252
10.14 ฟลอปปีดสิ ก์ 252
10.15 หน่วยความจำแบบเฟลช 253
10.16 จอภาพ (Monitor) 254
10.17 จอซีอาร์ที (Cathode Ray Tube) 254
10.18 จอแอลซีดี 255
10.19 จอแอลอีดี 256
10.20 อปุ กรณฉ์ ายภาพ (Projector) 256
10.21 อุปกรณ์เสียง (Audio Output) 257
10.22 หน่วยแสดงผลถาวร (Hard Copy) 258
10.23 เครื่องพิมพช์ นิดตอก (Impact printer) 258
10.24 เครื่องพิมพเ์ ลเซอร์ (Laser Printer) 259
10.25 เครื่องพิมพฉ์ ีดหมึก (Inkjet Printer) 259
10.26 เครือ่ งพิมพ์เทอรม์ อล 260
10.26 เครือ่ งพลอตเตอร์ (Plotter) 261
10.27 ลูกคิด 261
10.28 เครือ่ งคดิ เลขของปาสกาล 262
10.29 Difference Engine และ Analytical Engine 263
10.30 Analytical Engine 263
10.31 Enigma และ Lorenz SZ40 264
10.32 Bombe และ Colossus Computer 264
10.33 Z1 computer 265
10.34 ENIAC และ UNIVAC 266
10.35 Atanasoff-Berry Computer (ABC) 268
10.36 ไมโครโพรเซสเซอร์ 269
10.37 ชารล์ แบบเบจ

ภาพที่ ธ
10.38 ซูเปอร์คอมพิวเตอร์
10.39 เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ หน้า
10.40 เมนเฟรมคอมพิวเตอร์
10.41 ไมโครคอมพิวเตอร์ (Microcomputer) หรอื พีซี (Personal Computer) 276
10.42 โนต๊ บคุ๊ 277
10.43 เน็ตบุค๊ 277
10.44 อลั ตร้าบุ๊ค 278
10.45 แทบ็ เล็ต คอมพิวเตอร์ 279
10.46 คอมพิวเตอร์ฝา่ มือ 280
10.47 คอมพิวเตอรแ์ บบฝัง 280
10.48 สายคู่บิดเกลียว 281
10.49 สายค่บู ิดเกลียวชนดิ หมุ้ ฉนวน 281
10.50 สายคูบ่ ิดเกลียวชนดิ ไม่หุ้มฉนวน 282
10.51 สายค่บู ิดเกลียวชนดิ ไม่หมุ้ ฉนวน 284
10.52 ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 285
10.53 ระบบ LAN 285
10.54 ระบบ MAN 286
10.55 ระบบ WAN 296
10.56 ระบบ CAN 297
10.57 ระบบ SAN 298
10.58 ระบบ WLAN 299
10.59 Extranet 300
10.60 Intranet 301
10.61 Address 303
10.62 Wifi 303
10.63 Bluetooth 305
10.64 Wireless 306
10.65 Usb 307
308
309
309

น หน้า

ภาพที่ 310
10.66 wifi direct 312
10.67 พัฒนาการ 1G 2G 3G 4G 5G 316
10.68 สายแลน 317
10.69 สายแบบมีฉนวนหมุ้ 317
10.70 สายค่บู ิดเกลียวแบบไมม่ ีฉนวนหุ้ม 318
10.71 สายคบู่ ิดเกลียวแบบไมม่ ีฉนวนหุ้ม 319
10.72 Switch 320
10.73 HUB 322
10.74 Router 323
10.75 LAN card 325
10.76 Repeaters 348
11.1 ความละเอียดของวิดีโอ 348
11.2 ความละเอียดของวิดีโอ 349
11.3 เปรียบเทียบระบบ NTSC PAL SECAM กับ Frame Rate 350
11.4 ความแตกต่างของ ระบบ NTSC PAL SECAM 350
11.5 ความแตกต่างของ ระบบ NTSC PAL SECAM 351
11.6 เปรียบเทียบการสแกนภาพแบบ Interlaced และ Progressive 351
11.7 เปรียบเทียบการสแกนภาพแบบ Interlaced และ Progressive 352
11.8 เปรียบเทียบการสแกนภาพแบบ Interlaced และ Progressive 352
11.9 เปรียบเทียบการสแกนภาพแบบ Interlaced และ Progressive 352
11.10 เปรียบเทียบการสแกนภาพแบบ Interlaced และ Progressive 353
11.11 เปรียบเทียบภาพ Vector กบั Bitmap 354
11.12 เปรียบเทียบภาพ Vector กับ Bitmap 354
11.13 เปรียบเทียบภาพ Vector กบั Bitmap 363
11.14 ประเภทไฟในสตดู ิโอ 364
11.15 ซอฟท์บอ๊ กซ์ (Softbox) และ รม่ ทะลุ 365
11.16 รูปแบบการจัดแสงเข้าข้างหลงั 367
11.17 ขาต้ังกล้องวิดีโอ

ภาพที่ บ
11.18 รม่ สะท้อนแสง
11.19 กลอ่ งแสงนมุ่ (soft box) หน้า
11.20 เครือ่ งวดั แสงแฟลช
11.21 ไฟทงั สเตน 368
11.22 ไฟอิเลก็ ทรอนิกสแ์ ฟลช 369
11.23 ตวั อยา่ ง Story Board 370
11.24 ตัวอย่างการเขียนสคริปตแ์ บบสมบูรณ์ 370
11.25 ตวั อยา่ งการเขียนสคริปตแ์ บบกึ่งสมบรู ณ์ 371
11.26 ตัวอย่างการเขียนสคริปตแ์ บบกำหนดการแสดงและชว่ งเวลา 377
11.27 ตวั อยา่ งการเขยี นสคริปต์แบบเรียงลำดบั เรือ่ งทีเ่ สนอ 377
11.28 บทแบบเปิด 378
11.29 Camcorder 379
11.30 กล้องถ่ายวิดีโอแบบอนาล็อก 379
11.31 กล้องถา่ ยวิดีโอระบบ VHS 380
11.32 วิดีโอเทป VHS 384
11.33 กล้องถ่ายวืดีโอระบบ 8 mm 386
11.34 ม้วนวดิ ีโอ 8mm 387
11.35 กล้องวิดีโอ Video8 ระดับมอื สมัครเลน่ ต้ังแต่ต้นปี 1990 388
11.36 ม้วนวดิ ีโอ Hi8 389
11.37 ม้วนวดิ ีโอ 8mm 390
11.38 กล้องถา่ ยวิดีโอแบบดิจทิ ัล 391
11.39 Camcorder 393
11.40 handycam 394
11.41 กล้อง DSLR 395
11.42 สว่ นประกอบด้านหน้าของกล้อง DSLR 396
11.43 สว่ นประกอบด้านหลังกล้อง DSLR 397
11.44 ส่วนประกอบด้านบนของกล้อง DSLR 398
11.45 ส่วนประกอบด้านข้างของกล้อง DSLR 399
401
404
406

ป หน้า

ภาพที่ 406
11.46 ส่วนประกอบด้านข้างของกล้อง DSLR 407
11.47 ส่วนประกอบด้านล่างของกล้อง DSLR 407
11.48 หลักการทำงานของกล้อง DSLR 408
11.49 หลักการทำงานของกล้อง DSLR 409
11.50 กล้อง Mirrorless 412
11.51 การทำงานของกล้อง Mirrorless 413
11.52 ขนาดเซนเซอร์ four thirds กบั micro four thirds 415
11.53 กล้อง Micro 4/3 416
11.54 ขนาดเซนเซอร์และอัตราสว่ นภาพ 419
11.55 กล้อง Compact 420
11.56 Standard Compacts 420
11.57 Zoom Compacts 421
11.58 Advance Compacts 422
11.59 สว่ นประกอบของกล้อง compact 424
11.60 Smartphone 429
11.61 webcam 430
11.62 กล้อง webcam แบ่งตามรูปทรงของกล้อง 431
11.63 กล้อง webcam แบ่งตามประเภทของขากล้อง 431
11.64 กล้อง webcam แบ่งตามชนิดของเซ็นเซอร์ 432
11.65 กล้อง webcam แบ่งตามรูปแบบการเชือ่ ต่อ 432
11.66 Action cam 433
11.67 Camera 360 434
11.68 Drones Camera 435
11.69 ระบบการถ่ายภาพของ Drone 436
11.70 ระบบการถ่ายทอดสด 436
11.71 กล้อง Time Lapse 437
11.72 ภาพถ่าย Time Lapse 438
11.73 การทำงานของ Time Lapse

ภาพที่ ผ
11.74 ขาตั้งกล้อง
11.75 Monopod หน้า
11.76 ขาตั้งกล้อง
11.77 สว่ นประกอบของขาตั้งกล้อง 439
11.78 หวั ของขาตั้งกล้อง 441
11.79 หวั ของขาต้ังกล้อง 441
11.80 ฐาน (MOUNTING PLATE) 442
11.81 แกนยึดขา (LEG ANGLE LOCK) 443
11.82 แกนยึดขา (LEG ANGLE LOCK) 443
11.83 แกนยึดขา (LEG ANGLE LOCK) 443
11.84 ตะขอถ่วงน้ำหนกั (WEIGHT BALANCE HOOK) 444
11.85 ทอ่ นขา (LEG SECTION) 444
11.86 ขาต้ังกล้องภาพนิ่ง 445
11.87 ขาต้ังกล้องวิดโี อหวั บอล 445
11.88 Selfie Stick 446
11.89 รีโมทคอนโทรลถ่ายภาพ 446
11.90 ขาหนบี โทรศัพท์ 448
11.91 Steadicam 449
11.92 Gimbal 450
452
11.93 Wearable 452
11.94 Handheld 454
11.95 Handheld Gimbal แบบ 2 แกน และ แบบ 3 แกน
455
11.96 Handheld Gimbal แบบ 2 แกน และ แบบ 3 แกน 455
11.97 Handheld Gimbal แบบ 2 แกน และ แบบ 3 แกน 456
11.98 Handheld Gimbal แบบ 2 แกน และ แบบ 3 แกน 456
11.99 Dolly Slide 456
11.100 mini jib / crane 456
11.101 shot gun 456
457
459

ฝ หน้า

ภาพที่ 460
11.102 ไมโครโฟนหนบี ปกเสือ้ 460
11.103 ไมโครโฟนไร้สาย 461
11.104 ไมโครโฟน usb 462
11.105 ไมโครโฟนแบบบมู 462
11.106 เครือ่ งบนั ทึกเสียง 462
11.107 เครื่องบนั ทึกเสียง 463
11.108 หูฟัง 464
11.109 หูฟัง Earbud 465
11.110 หฟู ัง In-ear 466
11.111 หูฟัง Hybrid 467
11.112 การทำงานของหูฟัง Hybrid 468
11.113 หฟู ัง Street Style 469
11.114 หฟู งั Ear Clip 470
11.115 หูฟังแบบเปิด 470
11.116 หฟู งั แบบปิด 471
11.117 หฟู ังแบบกึง่ เปิดกึ่งปิด 472
11.118 DYNAMIC 473
11.119 ส่วนประกอบของหูฟัง 473
11.120 ส่วนประกอบของหูฟงั 474
11.121 Balanced Armature 474
11.122 Plana Magnatic 475
11.123 การทำงานของหูฟงั 475
11.124 Electrostatic 476
11.125 intercom 478
11.126 intercom 479
11.127 ซอฟตบ์ อ็ กซ์ 480
11.128 ซอฟต์บอ็ กซ์ 481
11.129 ซอฟตบ์ อ็ กซ์ และขาตั้ง

ภาพที่ พ
11.130 การจดั แสงโดยใช้ซอฟต์บ็อกซ์
11.131 Softbox หน้า
11.132 Softbox
11.133 หลอดแอลอีดี 482
11.134 หลักการทำงานของหลอด LED 483
11.135 LED แบบ Lamp Type 484
11.136 LED แบบ Surface Mount Type (SMD) 484
11.137 LED แบบ Surface Mount Type (SMD) 485
11.138 LED แบบด้ังเดิม 486
11.139 LED ขนาดเลก็ มาก 486
11.140 LED กำลงั สูง 486
11.141 การต่ออนกุ รมวงจรด้วย R 487
11.142 Heat sink แบบตา่ งๆ 487
11.143 LED On-Camera Lights 488
11.144 LED On-Camera Lights 489
11.145 ring light 489
11.146 อณุ หภูมขิ องแสง 490
11.147 อณุ หภูมิแสง 490
11.148 อณุ หภูมิแสง 491
11.149 อณุ หภมู แิ สงเดย์ไลท์ 493
11.150 อณุ หภูมิแสงคลู ไวท์ 494
11.151 อุณหภมู ิแสงวอรม์ ไวท์ 495
11.152 ค่า k ของแสง 495
11.153 ภาพระยะไกลมาก หรอื ระยะไกลสดุ (Extreme Long shot) 496
11.154 ภาพระยะไกล (Long shot) 497
11.155 ภาพระยะไกลปานกลาง (Medium Long shot) 498
11.156 ภาพระยะปานกลาง (Medium shot) 499
11.157 ภาพระยะใกล้ปานกลาง (Medium Close Up shot) 500
501
501
502

ฟ หน้า

ภาพที่ 502
11.158 ภาพระยะใกล้ (Close Up) 503
11.159 ภาพระยะใกล้มาก (Extreme Close Up) 503
11.160 Choker 504
11.161 มุมสายตานก (Bird’s-eye view) 504
11.162 มมุ สูง (High-angle shot) 505
11.163 มมุ ระดับสายตา (Eye-level shot) 505
11.164 มมุ ต่ำ (Low-angle shot) 506
11.165 มมุ สายตาหนอน (Worm’s-eye view) 506
11.166 มมุ เอียง (Oblique angle shot) 507
11.167 ภาพข้ามไหล่ (Over-the-Shoulder Shot) 508
11.167 ความเรียบง่าย (Simplicity) 509
11.168 กฎ 3 สว่ น (The Rule of Thirds) 509
11.169 กฎ 3 ส่วน (The Rule of Thirds) 510
11.170 เส้นนำสายตา (Lines) 511
11.171 ความสมดุล (Balance) 511
11.173 ความสมดลุ (Balance) 512
11.174 สมดลุ แบบสมมาตร 513
11.175 สมดุลแบบอสมมาตร 513
11.176 กรอบภาพ 514
11.177 สิ่งทีค่ วรหลีกเลีย่ ง 515
11.177 ชอ่ งเหนือศรษี ะ 515
11.178 ช่องเหนือศรีษะ 515
11.179 ฉากหลัง Background 516
11.180 ฉากหนา้ 517
11.181 การกวาดภาพทางซ้าย – ขวา 517
11.182 การเงยขึ้น – การก้มลง 518
11.183 การซมู เข้า – การซมู ออก 519
11.184 การดอลลี่

ภาพที่ ภ
11.185 การดอลลี่
11.186 Truck right – left หน้า
11.187 Computer PC
11.188 MAC 519
11.189 Smartphone 520
11.190 Ipad 521
11.191 imovie 521
11.192 imovie 522
11.193 window movie maker 523
11.194 window movie maker 524
11.195 Youtube 525
11.196 Adobe Premiere 526
11.197 Final cut Pro 526
11.198 Final cut Pro 526
11.199 sony vegas 527
11.200 Sony Vegas 528
11.201 edius 528
11.202 edius 529
11.203 โปรแกรมทีใ่ ช้รว่ มในการตดั ต่อวิดโี อ 530
11.204 Adobe Premiere Rush CC 2019 iPhone 530
11.205 GoPro integrates Quik video editing tools into its main mobile app 531
11.206 Lumafusion 532
11.207 KineMaster 533
11.208 iMovie (Apple devices) 534
11.209 FilmoraGo (Android) 534
11.210 Apple Clips (iOS) 535
11.211 Filmmaker Pro (iOS) 536
11.212 Power Director (cross platform) 536
537
538
538



ภาพที่ หน้า
11.213 Inshot (cross-platform)
11.214 Green Screen 539
11.215 หลกั การทำงานของการเจาะคา่ สใี นฉาก 545
11.216 การเจาะค่าสีในฉากหลงั 546
11.217 การเจาะค่าสีวตั ถเุ พื่อแทนที่การจำลองฉาก 547
11.218 การเจาะค่าสีในส่วนอื่นใดของรา่ งกายมนุษยโ์ ดยใช้วิธิีการพนั 548
12.1 แสดงลักษณะจำเพาะของระบบยอ่ ย 548
12.2 แสดงลักษณะการปฏิสมั พนั ธ์ระหว่างระบบกบั สิง่ แวดล้อม 580
12.3 แสดงการรกั ษาสภาพตนเองของระบบ 581
12.4 แสดงการปรบั และแก้ไขตวั เองของระบบ 582
12.5 รูปแบบการออกแบบการสอนของดคิ และคาร์เรย์ 583
12.6 รปู แบบการออกแบบการสอนของเกอรล์ าชและอีลาย 587
12.7 รปู แบบการออกแบบการสอนของเคมพ์ มอรสิ นั และรอส 589
12.8 ADDIE ในปจั จุบัน (Gustafson และ Branch, 2002) 591
12.9 รูปแบบทีใ่ ชก้ ับการเรียนการสอนในช้ันเรยี น (Classroom-Oriented Model) 593
12.10 . รปู แบบที่ใชก้ ับการออกแบบและผลิตสือ่ หรือผลิตภัณฑ์การเรียนรู้ 596
12.11 รูปแบบทีใ่ ชส้ ำหรับการออกแบบระบบการเรียนการสอนในภาพรวม 597
12.12 ตัวอยา่ งแผนภาพแสดงความสัมพันธ์ซึ่งเป็น “แผนผังแบบจำลอง” 598
12.13 สมการการทดสอบความก้าวหน้าทางการเรยี นของผู้เรยี น 599
12.14 การประเมินผลการเรียนรู้ (assessment of learning) 602
12.15 การประเมินเพื่อการเรียนรู้ (assessment for Learning) 618
12.16 การประเมินในฐานะกลไกลการเรียนรู้ (assessment as learning) 618
12.17 ปิรามิตของแนวคิดการประเมิน 619
12.18 กรอบแนวคิด TPACK 620
621

แผนการสอนประจำบทท่ี 7

เครื่องภาคส่งสญั ญาณออก

หวั ขอ้ เนื้อหา
1. ความหมายของลำโพง
2. หลักการทำงานของลำโพง
3. ตู้ลำโพง
4. คุณสมบตั ิของลำโพง
5. ประเภทของลำโพง
6. สายลำโพง
7. ลักษณะของลำโพงทีด่ ี
8. การใชง้ านลำโพง
9. วิธีในการต่อลำโพง โดยใช้แอมป์ร่วมกนั
10. การเลือกซอื้ ลำโพง และการเลือกลำโพงเพือ่ การใช้งาน

วัตถปุ ระสงคเ์ ชิงพฤติกรรม
หลังจากจบการเรียนการสอนบทนแี้ ล้ว นิสติ มคี วามสามารถดังนี้

1. นสิ ิตสามารถบอกความหมายของลำโพงได้
2. นิสติ สามารถบอกหลักการทำงานของลำโพง
3. นิสติ สามารถบอกความแตกต่างของตู้ลำโพงแต่ละประเภทได้
4. นิสติ สามารถบอกคุณสมบัติของลำโพงที่ดไี ด้
5. นิสติ สามารถจำแนกประเภทของลำโพงได้
6. นิสติ สามารถเลือกใช้สายลำโพงได้อยา่ งถกู ต้อง
7. นิสติ สามารถบอกลักษณะของลำโพงที่ดี
8. นิสติ สามารถบอกวิธีการใช้งานลำโพงได้อยา่ งถกู ต้อง
9. นิสติ สามารถบอกวิธีการตอ่ ลำโพงโดยใช้แอมปร์ ว่ มกันได้อย่างถูกต้อง
10. นิสติ สามารถเลือกลำโพงเพื่อการใชง้ านได้อย่างเหมาะสม

2

กิจกรรมการเรยี นการสอน
กอ่ นเข้าช้ันเรยี น
1. ให้ผู้เรยี นศึกษาวิดีโอการสอน เร่อื ง เครื่องเสียง ตอนที่ 4
2. ให้ผู้เรยี นทำแบบฝกึ หัดหลังจากดวู ิดีโอการสอน เรอ่ื ง เครื่องเสียง ตอนที่4
ในชั้นเรยี น
3. ผู้สอนบรรยายสรุปแบบมีปฏิสัมพันธ์ โดยระหว่างบรรยายใช้คำถาม
ระหวา่ งการบรรยายดงั น้ี
- ลำโพง คอื อะไร
- ลำโพงทำหน้าที่อะไร
- ลำโพง มีกี่ประเภท อะไรบ้าง
- ลำโพงใช้สายอะไรในการต่อ
- วิธีการตอ่ ลำโพงมีวธิ ีใดบ้าง
- การเลือกลำโพงเพื่อการใชง้ านมีอะไรบ้าง
4. ผู้สอนพูดคุยเกี่ยวกับ (1) ความแตกต่างของ ลำโพงแต่ละประเภท และ

ยกตัวอย่างสถานการณ์ให้ผู้เรียนเลือกว่าจากสถานการณ์ผู้เรียนจะเลือกใช้ลำโพงประเภทใด
เพราะเหตุใดการใช้งาน (2) การใช้งานลำโพง สายที่ใช้ต่อลำโพง วิธีการต่อลำโพง และเกิด
เสียงหอนหรือเสียงหวีด

5. ผู้สอนใหผ้ เู้ รียนแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการเรียนในเนื้อหา
6. มอบหมายงานให้ผู้เรียน คือ (1) ให้ผู้เรียนเลือกลำโพงจากสถานการณ์ที่
ผสู้ อนได้กำหนด เช่น การเลือกใช้ลำโพงในหอ้ งเรียน ใช้ลำโพงกลางแจ้ง หรอื ใช้ในการฟังเพลง
พร้อมกับให้ผู้เรียนบอกเหตุผลว่าทำไมถึงเลือกลำโพงประเภทนั้น (2) ให้ผู้เรียนบอกวิธีการใช้
งานและรกั ษาไมโครโฟน อย่างน้อยคนละ 3 วิธีการ
7. นัดหมายวันและเวลาสง่ งานกบั ผเู้ รียน
หลงั จากช้ันเรยี น
8. มอบหมายให้ผู้เรียนศึกษาวิดีโอการสอน เรื่อง (1) การใช้งานเครื่องฉาย
เครื่องเสียง และการถ่ายทอดสด (2) การใช้งานโสตทัศนูปกรณ์ ตอนที่ 1 (2) การใช้งาน
โสตทัศนูปกรณ์ ตอนที่ 2
9. มอบหมายให้ผู้เรียนศึกษาเพิ่มเติมในวิดีโอ เรื่อง ประเภทของลำโพง
บรรยายโดย อาจารย์วิวัฒนชัย สขุ ทัพภ์ คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นวิดีโอที่
ผลิตขึ้นเพื่อใช้ในวิทยานิพนธ์ เรื่อง ผลของการแทรกเทคนิคการตั้งคำถาม 5W1H ในวิดีโอ

3

บรรยายออนดีมานด์บนเว็บ 2.0 ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความสามารถในการ
แก้ปญั หาของนสิ ิตปริญญาตรี
สื่อการเรียนการสอน

1. เอกสารประกอบการสอนบทที่ 7 เรือ่ ง ภาคส่งสัญญาณออก
2. วิดีโอการสอน เรอ่ื ง เครื่องเสียง ตอนที่ 4
3. แบบฝกึ หดั หลงั จากดวู ิดีโอการสอน เร่อื ง เครื่องเสียง ตอนที่ 4
4. PowerPoint เรือ่ ง เครือ่ งเสียง ตอนที่ 4
5. ระบบการจดั การเรียนการสอน (https://lms.up.ac.th)
6. วิดีโอ เรื่อง ประเภทของลำโพง บรรยายโดย อาจารย์วิวัฒนชัย สุขทัพภ์
คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นวิดีโอที่ผลิตขึ้นเพื่อใช้ในวิทยานิพนธ์ เรื่อง ผล
ของการแทรกเทคนิคการตั้งคำถาม 5W1H ในวิดีโอบรรยายออนดีมานด์บนเว็บ 2.0 ที่มีต่อ
ผลสัมฤทธิท์ างการเรียนและความสามารถในการแก้ปัญหาของนิสติ ปริญญาตรี
7. วิดีโอการสอนเรื่อง (1) การใช้งานเครื่องฉาย เครื่องเสียง และการถ่ายทอดสด
(2) การใช้งานโสตทัศนูปกรณ์ ตอนที่ 1 (2) การใช้งานโสตทัศนปู กรณ์ ตอนที่ 2
การวัดและประเมินผล
1. การทำแบบฝกึ หดั หลงั จากดูวิดีโอการสอน เรื่อง เครือ่ งเสียง ตอนที่ 4
2. การร่วมอภิปรายและตอบคำถามในชนั้ เรียน
3. การสังเกตจากการแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับคำถามระหว่างการบรรยายสรุป
แบบมีปฏิสัมพันธ์ ในข้อคำถามดังนี้ (1) ลำโพง คืออะไร (2) ลำโพงทำหน้าที่อะไร (3) ลำโพง
มีกี่ประเภท อะไรบ้าง (4) ลำโพงใช้สายอะไรในการต่อ (5) วิธีการต่อลำโพงมีวิธีใดบ้าง
(6) การเลือกลำโพงเพือ่ การใชง้ านมอี ะไรบ้าง
4. งานของผเู้ รียนทีไ่ ด้ตอบคำถาม (1) ให้ผู้เรยี นเลือกลำโพงจากสถานการณ์ที่ผู้สอน
ได้กำหนด เชน่ การเลือกใช้ลำโพงในห้องเรียน ใช้ลำโพงกลางแจง้ หรอื ใช้ในการฟังเพลงพร้อม
กับให้ผู้เรยี นบอกเหตผุ ลวา่ ทำไมถึงเลือกลำโพงประเภทนั้น (2) ให้ผู้เรยี นบอกวิธีการใช้งานและ
รักษาไมโครโฟน อย่างน้อยคนละ 3 วิธีการ
5. ความสนใจและความรับผดิ ชอบในการเรียน

4

ภาคขยายสญั ญาณออก เปน็ ภาคทีแ่ ปลงสัญญาณไฟฟ้า
ความถี่เสีย่ ง เปน็ เสี่ยงออกมาผา่ นลำโพงประเภทตา่ ง ๆ

ใหผ้ ู้เรยี นได้ยินอย่างทัว่ ถึง

5

บทท่ี 7

ภาคสง่ สัญญาณออก

ภาคสัญญาณออก (Output Signal) เป็นภาคที่ทำหน้าที่รับสญั ญาณไฟฟ้าความถี่เสียง
ที่ได้รับการขยายจากภาคขยายสัญญาณ (Amplifier) นำมาเปลี่ยนเป็นคลื่นเสียง และทำหน้าที่
รับสัญญาณไฟฟ้าความถี่เสียงที่ได้รับการขยายแล้วจากภาคขยายสัญญาณเปลี่ยนเป็นคลื่น
เสียงธรรมชาติ โดยมีคุณลักษณะเหมือนต้นกำเนิดเสียงทุกประการ อุปกรณ์ในภาคสัญญาณ
ออก ได้แก่ ลำโพง โดยลำโพงมีการแบ่งประเภทได้หลายลักษณะ เช่น การแบ่งตามลักษณะ
การแบง่ ตามโครงสร้างภายในของลำโพง การแบ่งตามลักษณะ การตอบสนองความถี่ของคลื่น
เสียง การแบ่งตามลักษณะการใช้งาน ซึ่งลำโพง เป็นอุปกรณ์ไฟฟ้าเชิงกลอย่างหนึ่ง ทำหน้าที่
แปลงสัญญาณไฟฟ้าให้เป็นเสียงโดยอาศัยกำลังขยายจากเครื่องขยายเสียงตามความสามารถ
ที่ตวั ลำโพงแตล่ ะดอกสามารถขับได้สูงสุด ซึ่งวัดค่าเปน็ กำลงั วตั ต์ ที่ ความตา้ นทานของขดลวด
ในดอกลำโพง

ลำโพง (Loudspeaker)

ภาพที่ 7.1 ลำโพง
ภาพจาก : https://www.munkonggadget.com/ContentHome/content_1236.html
ลำโพง (Loudspeaker) เป็นอุปกรณ์ไฟฟ้าเชิงกล ทำหน้าที่แปลงสัญญาณไฟฟ้าให้เป็น
เสียง เกิดในยุคเดียวกับโทรศัพท์และวิทยุ ซึ่งต้องอาศัยลำโพงเป็นตัวขยายเสียง ลำโพงเป็น
เครื่องแปลงความถี่หรอื สัญญาณให้ออกมาเป็นเสียง มักจะเรยี กรวมกันท้ังดอกลำโพง หรือตัว
ขับ (driver) และลำโพงทั้งตู้ (speaker system) ซึ่งประกอบด้วยลำโพงและวงจรอิเล็กทรอนิกส์

6

สำหรับแบ่งย่านความถี่ ระบบลำโพงส่วนใหญ่บรรจุตัวลำโพงมากกว่าหนึ่งดอก โดยเฉพาะ
อย่างยิ่งสำหรับ ระดับแรงอัดเสียง sound pressure level ที่มากขึ้น หรือการให้ความถูกต้อง
สูงสุด maximum accuracy ลำโพงมีขนาดตั้งแต่เล็กเท่าปลายนิ้ว จนถึงใหญ่ขนาด
เส้นผ่าศูนย์กลางนับสิบนิ้ว โดยมีโครงสร้างที่แตกต่างกัน เช่น (1) ดอกลำโพงที่เรียกว่า ซับวูฟ
เฟอร์ subwoofers ใช้กับย่านความถี่ต่ำ (2) ลำโพงมิดเรนจ์ mid-range speakers ใช้กับย่าน
ความถี่กลาง (3) ลำโพงทวีตเตอร์ tweeters ใช้กับย่านความถี่สูง และบางทีอาจเสริมด้วย
ซูเปอร์ทวีตเตอร์ supertweeters เพื่อประสิทธิภาพสูงสุดในการขับเสียงความถี่ที่คนได้ยิน โย
ฮานน์ ฟิลลิป ไรส์ ชาวเยอรมนั เป็นผู้ติดตงั้ ลำโพงไฟฟ้าในโทรศพั ท์ทีป่ ระ ดิษฐข์ ึน้ ในปี ค.ศ.1861
ช่วยทำให้โทนเสียงชัดขึ้นหลังจากนั้นไม่นาน อเล็กซานเดอร์ เกรแฮม เบลล์ ชาวสกอต ยื่นจด
สิทธิบัตรลำโพงไฟฟ้าเครื่องแรกของตนเองที่เป็นส่วนหนึ่งของโทรศัพท์เช่นกันในปี 1876 และ
ในปี 1877 แอนส์ ซีเมนส์ เจ้าของกิจการไฟฟ้าชื่อดังชาวเยอรมนั ปรบั ปรุงพฒั นาลำโพงให้ดีขึ้น
ต่อด้วย นิโกลา เทสลา ชาวอเมริกัน ที่ทำอุปกรณ์ลำโพงคล้ายๆ กันนี้ออกมา แต่ไม่ได้จด
สิทธิบัตร

ช่วงเวลาน้ี โทมสั เอดิสัน นกั ประดิษฐช์ ือ่ ดังของโลกชาวอเมริกนั จดสิทธิบตั รในอังกฤษ
เป็นเจ้าของระบบใช้อากาศอัดกลไกในเครื่องขยายเสียง แต่เน้นไปทำแตรโลหะพ่วงติดกับเข็ม
อ่านแผ่นเสียง ต่อมาโฮราซ ชอร์ต จึงจดสิทธิบัตรลำโพงที่ใช้การอัดอากาศแล้วขายลิขสิทธิ์
ให้กับชาร์ลส์ พาร์สัน ชาวไอริช-อังกฤษ ซึ่งจดสิทธิบัตรอื่น ๆ อีกหลายอย่างก่อนปี 1910
จากนั้นมีบริษัทต่างๆ ผลิตเครื่องบันทึกเสียงที่ใช้ลำโพงอัดอากาศ แต่ลำโพงช่วงนี้ให้เสียง
คณุ ภาพต่ำและเล่นระดับเสียงตำ่ ไมไ่ ด้ (Dotlife, 2019)

ลำโพง (Loudspeaker) เป็นอุปกรณ์ส่งสัญญาณออก ทำหน้าที่เปลี่ยนสัญญาณไฟฟ้า
ความถี่เสียงทีข่ ยายแล้วให้เป็นคลื่นเสียงธรรมชาติ ลำโพงเป็นอุปกรณป์ ระเภททรานสดิวเซอร์
(transducer) อย่างหนึ่งเช่นเดียวกับไมโครโฟน แต่ทำงานหรือทำหน้าที่ตรงกันข้าม โดยเปลี่ยน
พลังงานไฟฟ้าความถี่เสียงเป็นพลังงานเสียง คำว่า ลำโพงขับเสียง loudspeaker อาจหมายถึง
ตัวการแปรพลัง transducer เพียงอย่างเดียว ดอกลำโพง (drivers) หรือหมายถึงระบบลำโพงที่
สมบูรณ์อันประกอบด้วยตู้ใส่ enclosure ที่อาจใส่ได้ดอกเดียว หรือหลายดอก
เพื่อความเหมาะสมในการผลิตซ้ำ reproduce ความถี่ที่กว้างครอบคลุมย่านการฟัง
ระบบลำโพงส่วนใหญ่จึงบรรจุตัวลำโพงมากกว่าหนึ่งดอก โดยเฉพาะอย่างยิ่งสำหรับ ระดับ
แรงอัดเสียง sound pressure level ที่มากขึ้น หรือ การให้ความถูกต้องสูงสุด maximum
accuracy ลำโพงแต่ละดอก จะใช้ขับเสียงหรือผลิตความถี่ที่ต่างกัน ดอกลำโพงที่ถูกเรียกว่า
ซับวูฟเฟอร์ subwoofers ใช้กับย่านความถี่ต่ำมาก ๆ วูฟเฟอร์ woofers ใช้กับย่านความถี่ต่ำ

7

ลำโพงมิดเรนจ์ mid-range speakers ใช้กับย่านความถี่กลาง ทวีตเตอร์ tweeters ใช้กับย่าน
ความถี่สูง และบางทีอาจเสริมด้วย ซปุ เปอร์ทวีตเตอร์ supertweeters เพือ่ ประสิทธิภาพสูงสุด
ในการขับเสียงความถี่ที่คนสามารถได้ยิน audible frequencies การเรียกระบบลำโพงที่ใช้ดอก
ต่างกันจึงแตกต่างตามการใช้งาน ในระบบสองทาง two-way systems จะไม่มีดอกเสียงกลาง
mid-range ดังนั้น หน้าที่ในการขับย่านความถี่กลาง จึงตกไปอยู่กับ ดอกเสียงต่ำ woofer และ
ดอกเสียงสูง tweeter เครื่องเสียงบ้าน Home stereos มกั ใช้การเรียกดอกขับความถี่สูงว่า ทวีต
เตอร์ tweeter ในขณะที่ระบบเสียงมืออาชีพเรียกพวกมนั ว่า เอชเอฟ HF หรอื ไฮส์ highs

เมื่อมีการใช้ลำโพงหลายดอกในระบบ จึงต้องมี "เน็ทเวิร์คกรอง filter network" ที่ถูก
เรียกว่า crossover , เพือ่ ใช้แบ่งแยกสญั ญาณที่เข้ามา เปน็ ยา่ นความถี่ต่างๆ และ เดินสัญญาณ
ที่แบง่ ไปยังดอกลำโพงที่เหมาะสมการเรียกว่าเป็นลำโพงกีท่ างน้ันนบั ตามการแบ่งความถี่ว่ามีกี่
ย่านนน่ั เองไมใ่ ช่นบั ตามจำนวนดอก เพราะอาจใชล้ ำโพงมากกวา่ หน่ึงดอกในการขับยา่ นความถี่
เดียวก็ได้ โดยการกำเนิดเสียงจากคลื่นไฟฟ้า ด้วยตัวการแปรพลัง transducer ที่เปลี่ยน
สัญญาณไฟฟ้าให้เป็นเสียง ลำโพงเคลื่อนไหวเพื่อทำให้เกิดการสั่นสะเทือนจากการผันแปร
ของสญั ญาณไฟฟ้า และกำเนิดคลืน่ เสียงที่แพรผ่ ่านไปยังตวั กลางเช่นอากาศ หรอื น้ำ หลังจาก
นั้นจะเกิดผลการได้ยิน Acoustics ตามพืน้ ที่ในการฟัง listening space (Audiocity2u, 2016)
หลักการทำงานของลำโพง

เมื่อมีการป้อนสัญญาณไฟฟ้าให้กับขดลวดเสียงของลำโพงหรือมีการนำลำโพงไปต่อ
กับ เครื่องขยายสัญญาณเสียงจะมีสัญญาณเสียงออกมาที่ลำโพงหลักการ คือ เมื่อมี
สัญญาณไฟฟ้าป้อนเข้ามาจะเกิดเส้นแรงแม่เหล็กเกิดขึ้นโดยรอบอำนาจ ของเส้นแรงแม่เหล็ก
จะดูดและผลักกับเส้นของแม่เหล็กถาวรตามสัญญาณไฟฟ้าที่ได้จากความถี่เสียง ซึ่งมีความถี่
เสียงตั้งแต่ 10 Hz - 20 KHz ที่มีการเปลี่ยนแปลงเฟสตลอดเวลาทำให้กรวยกระดาษที่ยึดติด
กับขดลวดเสียงเกิดการเคลื่อนทีด่ ูด และผลักอากาศ จึงเกิดเป็นคลื่นเสียงขึ้น ส่วนสำคัญที่สุด
ของเครื่องเลน่ เหลา่ นีก้ ็คือลำโพง โดยหน้าที่สำคญั สดุ ของลำโพงคือ เปลีย่ นสญั ญาณทางไฟฟ้า
ทีไ่ ด้มาจากเครือ่ งขยายเป็นสัญญาณเสียง ลำโพงทีด่ ีจะต้องสร้างเสียงให้เหมอื นกับต้นฉบับเดิม
มากทีส่ ุด โดยมีการผิดเพี้ยนน้อยที่สุด เสียงเป็นคลื่นตามยาว เสียงแหลมและทุ้มขึ้นกับความถี่
ส่วนเสียงดงั หรอื ค่อยขึน้ อยู่กบั ขนาดแอมพลิจดู ของคลื่นนั้น (Wikipedia, 2563)

8
ส่วนประกอบ และ โครงสร้างของดอกลำโพง

ภาพที่ 7.2 สว่ นประกอบ และ โครงร้างของดอกลำโพง
ภาพจาก : https://www.dotlife.store/blog/sonos-wireless-hifi-part1/
ลำโพง (Speaker) ที่ใชก้ นั ทว่ั ไปมี โครงร่าง และการทำงานดังต่อไปนี้ (พันธ์ศักดิ์ พุฒิ
มานิตพงศ์, 2548 ; CHATCHAI R., 2019)

1. บาสเคท็ เฟรม เซสซี (Basket Frame Chassis)

ภาพที่ 7.3 บาสเคท็ เฟรม เซสซี ของลำโพง
ภาพจาก : https://www.sounddd.shop/parts-of-speaker/

ภาพที่ 7.4 เฟรม หรือ บาเก็ตของลำโพง
ภาพจาก : https://www.sounddd.shop/parts-of-speaker/

9

เฟรม หรือบางที่เรียกว่าบาสเก็ต (Basket) ทำหน้าที่เป็นโครงสร้างหลักของลำโพง
ทำจากโลหะเพื่อให้สามารถรับแรงกระแทกจากลำโพงได้ ซึ่งนิยมทำมาจากวัสดุต่างๆเช่น
เหล็กกล้า อลูมิเนียม และพลาสติก โดยมีความแข็งแรง เพื่อให้ส่วนประกอบของลำโพงอยู่ใน
ต่ำแหน่งที่บาลานซ์เหมาะสม ไม่ผิดเพี้ยนเมื่อเวลาที่มีการขยับหรือทำงานของดอกลำโพง
นอกจากนีย้ งั มีสว่ นชว่ ยลดอุณหภูมิทีเ่ กิดข้ึนภายใน Voice Coil

2. สไปเดอร์ (Spider)

ภาพที่ 7.5 – 7.6 สไปเดอร์ลำโพง

ภาพจาก : https://www.oasismusicline.com/product/2043/%E0%B8%AA%E0%B9%84%E0%B8%9B%
E0%B9%80%E0%B8%94%E0%B8%AD%E0%B8%A3%E0%B9%8C%E0%B8%A5%E0%B8%B3%E0%B9%82%E0%B

8%9E%E0%B8%87-spider-6-5-167mm-%E0%B8%82%E0%B8%AD%E0%B8%9A%E0%B8%AA%
E0%B8%B9%E0%B8%87

https://www.sounddd.shop/parts-of-speaker/

สไปเดอร์ลำโพง มีลักษณะเป็นแผ่นวงกลมเหมือนแหวน สไปเดอร์จะยึดคอย์ เสียงให้
อยู่ในตำแหน่งนึ่งเดิมและทำหน้าที่เหมือนกับสปริงโดยจะสะเทือน เมื่อมีสัญญาณไฟฟ้าเข้ามา
เป็นส่วนประกอบของดอกลำโพงที่มีความยืดหยุ่น ลักษณะเหมือนลูกฟูก ทำหน้าที่รองรับการ
เคลื่อนที่ของวอยท์คอยล์ (Voice Coil) ให้อยู่ในตำแหน่งที่สมดุลบาลานซ์เมื่อเวลาที่มีสัญญาณ
ป้อนเข้ามาในดอกลำโพง เซอร์ราวด์ และ สไปเดอร์ มีความสำคัญมากในช่วงย่านเสียงที่มี
ความถี่ต่ำ ซึ่งสไปเดอร์เป็นตัวกำหนดขอบเขตการเคลื่อนที่ของ โคนและวอยซคอยล์
ว่าสามารถเคลือ่ นทีไ่ ด้มากน้อยแคไ่ หน ดงั นน้ั จงึ สง่ ผลกระทบตอ่ เสียงทีเ่ กิดขึน้ มา

10

3. โคน (Cone) ไดอะแฟรม (Diaphragm) หรอื กรวยลำโพง

ภาพที่ 7.7 โคน (Cone) ไดอะแฟรม (Diaphragm) หรอื กรวยลำโพง
ภาพจาก : https://www.sounddd.shop/parts-of-speaker/

ภาพที่ 7.8 โคน (Cone) ไดอะแฟรม (Diaphragm) หรอื กรวยลำโพง
ภาพจาก : https://www.indiamart.com/proddetail/speaker-diaphragm-15505090091.html

โคน (Cone) ไดอะแฟรม (Diaphragm) หรอื กรวยลำโพง ทำด้วยกระดาษแข็งหรือแผ่น
พลาสติก หรือจะทำด้วยแผ่นโลหะบาง ๆ เมื่อเกิดการเหนี่ยวนำแผ่นกรวย หรือไดอะแฟรมจะ
สั่นทำให้เกิดเสียง เป็นส่วนประกอบโ ครงสร้างของลำโพงที่มีการเคลื่อนท ี่
คล้าย ๆ ลูกสูบเมื่อมีสญั ญาณเข้ามา การเคลื่อนที่น้ันจะทำให้อากาศรอบ ๆ Cone มีการบีบอัด
และเกิดข้ึนมาเปน็ เสียง

11

4. ดสั แคป็ (Dust Cap) หรอื โดม (Dome)

ภาพที่ 7.9 ดัสแคป็ (Dust Cap) หรอื โดม (Dome)
ภาพจาก : https://www.sounddd.shop/parts-of-speaker/

ภาพ 7.10 ดัสแค็ป (Dust Cap) โดม (Dome)

ภาพจาก : https://www.simplyspeakers.com/speaker-dust-cap-jbl-black-paper-dc-6.5p.html

ดัสแค็ป (Dust Cap) โดม (Dome) เป็นส่วนประกอบที่มีหน้าที่หลักในการป้องกันสิ่ง
สกปรก เศษต่าง ๆ ไม่ให้เข้าไปสู่ Voice Coil ซึ่งถ้าหากไม่มีโดมหรือดัสแค็ปนี้ ฝุ่นก็จะสามารถ
เข้าไปจับที่วอยท์คอยล์ได้ ซึ่งจะส่งผลกระทบต่อความเพี้ยนของเสียงที่จะเกิดขึ้นได้ นอกจากนี้
ยังทำหน้าที่รักษารูปทรงของ Cone เวลาที่ป้อนสัญญาณความถี่เสียงต่ำ เพราะว่าช่วงย่าน
ความถี่เสียงต่ำจะมีการสั่นและเคลื่อนที่ของ Cone ที่เยอะกว่าช่วงความถี่เสียงสูง
รวมไปถึงสามารถลดความร้อนที่เกิดขึน้ ใน Voice Coil โดยใหอ้ ากาศไหลผา่ นเข้าไป

12

5. เซอร์ราวด์ (Surround)

ภาพที่ 7.11 เซอร์ราวด์ (Surround)
ภาพจาก : https://www.sounddd.shop/parts-of-speaker/

ภาพที่ 7.12 เซอร์ราวด์ (Surround)

ภาพจาก : https://en.audiofanzine.com/speaker-driver/editorial/articles/of-suspensions-and-magnets.html

เซอร์ราวด์ (Surround) เป็นขอบของไดอะแฟรม มีความยืดหยุ่น ติดอยู่กับเฟรม
สามารถเคลื่อนที่ขึ้นและลงได้ในระดับหนึ่งทำหน้าที่ยึดประคองให้ไดอะแฟรมเคลื่อนที่อย่าง
สม่ำเสมอไม่บิดเบี้ยว เป็นส่วนประกอบของลำโพงที่ทำมาจากวัสดุที่มีความยืดหยุ่น ไม่ว่าจะ
เป็น ยาง พลาสติก หรือผ้า วัสดุที่แตกต่างกันจะมีผลต่อเสียงที่แตกต่างกันออกไปด้วยเช่นกัน
โดย เซอร์ราวด์ Surround จะทำการยึดเกาะระหว่าง Cone และ Basket โดย Surround จะทำ
หน้าที่บ่งบอกขอบเขตการเคลื่อนที่ของ Cone ว่าสามารถขยับได้มากน้อยเพียงใด ทำให้ Cone
เคลื่อนที่อยู่ในตำแหน่งที่บาลานซ์และสมดุลไม่หลุดออกไปจากลำโพงตามความแรงของ
สัญญาณทีป่ ้อนเข้ามา

13

6. วอยซค์ อยล์ (Voice Coil) หรอื ขดลวด

ภาพที่ 7.13 วอยซ์คอยล์ (Voice Coil) หรือ ขดลวด
ภาพจาก : https://www.sounddd.shop/parts-of-speaker/

ภาพที่ 7.14 วอยซ์คอยล์ (Voice Coil) หรือ ขดลวด
ภาพจาก : http://www.soundclinic65.com/know_how.html
วอยซ์คอยล์ (Voice Coil) หรอื ขดลวด หรอื คอยส์ เคลือ่ นทีท่ ำหน้าที่เป็นแม่เหล็กไฟฟ้า
เพื่อดูดหรือผลักกบั แม่เหล็กถาวร ตามความแรงของกระแสไฟฟ้าจากเครื่องขยาย โดยขดลวด
ซึ่งปกติทำจากทองแดงและอลูมิเนียมพันรอบ Former ปลายของ Voice Coil จะติดอยกู่ ับ Cone
โดยกระแสจะไหลผ่านเข้ามาทาง Voice Coil และเกิดการสร้างสนามแม่เหล็กขึ้นมา โดย
สนามแม่เหล็กที่ถูกสร้างขึ้นมานี้จะไปตัดกับสนามแม่เหล็กถาวรที่ถูกสร้างโดยแม่เหล็กทำให้
เกิดการขยบั ของ Cone ขึน้ ลง กลายเป็นเสียงทีด่ งั ออกมา นอกจากนี้ Voice Coil ของลำโพงยัง

14

สามารถแบ่งออกเป็นซิงเกิ้ลวอยซ์คอยล์ (Single Voice Coil) แบบเดี่ยว และ ดูอัลวอยซ์คอยล์
(Dual Voice Coil) แบบคู่ สามารถเลือกใช้ได้ตามความเหมาะสม ขดลวดกำเนิดเสียงจะลอยอยู่
ภายในช่องแก็ปแม่เหล็กนี้ ซึ่งมันจะรับพลังงานไฟฟ้าจากเครื่องขยายที่ป้อนเข้าไปจะทำให้มัน
เกิดอำนาจแม่เหล็กไฟฟ้าขึ้นโดยกลับขั้วไปมาตามสัญญาณทางไฟฟ้าที่ป้อนเข้ามา เพราะ
สัญญาณเอ้าพุทจากเครื่องขยายนั้นเป็นสัญญาณไฟสลับ ทำให้เกิดการดูดหรือผลักกันกับ
แม่เหลก็ ถาวรทีก่ ้นลำโพง เป็นการเปลีย่ นพลงั งานไฟฟ้าเปน็ พลงั งานกล ส่งแรงการสั่นสะเทือน
นี้ผ่านไปยังกรวย (Cone) ที่เชื่อมติดกับตัววอยซ์คอยล์อยู่ให้สั่นตามไปด้วย โดยมีสไปเดอร์
(Spider) และขอบ (Surround) เป็นตัวคอยยึดให้ทั้งชุดที่ขยับเข้าออกนี้ได้ศูนย์กลางอยู่
ตลอดเวลา เพือ่ ผลกั อากาศให้เปน็ คลื่นวิ่งมาเข้าหูของเราใหไ้ ด้ยินเปน็ เสียงต่าง ๆ น่นั เอง วอยซ์
คอยล์นี้ก็มีหลายแบบ คือ แบบ 2 ชั้น 4 ชั้น แบบเปลือกกระดาษ ไฟเบอร์ ไมก้า หรือแบบ
เปลือกโลหะ แบบที่เปน็ 4 ชั้นและมีเปลือกเป็นโลหะก็จะมีวัตต์สูงกว่า มีความทนทานมากกวา่
แบบอื่น เพราะเมือ่ วอยซค์ อยลท์ ำงานไปน้ันมนั จะมีความรอ้ นเกิดข้ึน ถ้าใชว้ อยซ์ 4 ชั้นลวดจะมี
ขนาดใหญ่กว่ากระแสผ่านได้มากกว่า และมีเปลือกโลหะที่ช่วยระบายความร้อนออกจาก
ขดลวดได้ก็จะได้วอยซ์คอยลท์ ี่มคี วามทนทานมากขึ้นอกี มาก

7. แม็คเนท (Magnet) หรอื แม่เหลก็

ภาพที่ 7.15 – 7.16 แม็คเนท (Magnet) หรอื แม่เหลก็
ภาพจาก : http://www.flatdesignpro.com/forum.php?mod=viewthread&tid=1678

https://www.sounddd.shop/parts-of-speaker/
แม็คเนท (Magnet) หรอื แม่เหล็ก คือแม็กเนทหรือแม่เหล็กของดอกลำโพง ซึ่ง
เป็นแม่เหล็กถาวรที่มีการสร้างสนามแม่เหล็กไฟฟ้าตัดกับสนามแม่เหล็กที่เกิดจาก Voice Coil
ซึ่งการตัดกันทำให้เกิดการขยับของ Cone ขึ้น ลง ลำโพงส่วนใหญ่แม่เหล็กจะมีรูปร่างเป็นวง
แหวนทำมาจากเซรามิก ระบายแรงดันที่เกิดการบีบอัดทีถ่ ูกสร้างขึ้นมาจาก Cone และป้องกนั
Voice Coil ไม่ใหม้ ีอณุ หภูมสิ ูง ป้องกันสิ่งสกปรกทีจ่ ะเข้าไปยงั Vent

15

8. ฟอรเ์ มอร์ (Former)

ภาพที่ 7.17 ฟอร์เมอร์ (Former)
ภาพจาก : https://www.sounddd.shop/parts-of-speaker/
ฟอร์เมอร์ (Former) ทำหน้าที่ซึ่งจะเป็นส่วนของโครงสร้างของลำโพง มีรูป
ทรงกระบอก ทำจากวัสดุตา่ ง ๆ โดยจะมี Voice Coil พันอยู่รอบๆ ของมันอีกทีหนึง่
9. เวนท์ (Vent)

ภาพที่ 7.18 เวนท์ (Vent)
ภาพจาก : https://www.sounddd.shop/parts-of-speaker/
เวนท์ (Vent) ทำหนา้ ที่ระบายแรงดนั ที่เกิดการบีบอดั ที่ถูกสร้างข้ึนมาจาก Cone
และป้องกัน Voice Coil ไม่ใหม้ ีอุณหภมู สิ งู

16
10. สกรีน (Screen)

อีกทีหนึง่ ภาพที่ 7.19 สกรีน (Screen)
ภาพจาก : https://www.sounddd.shop/parts-of-speaker/
สกรีน (Screen) มีหน้าที่ ป้องกันสิ่งสกปรกหรือเศษต่างๆที่จะเข้าไปยัง Vent

11. เทอมินอลส์ (Terminals) หรอื ขั้วต่อ

ภาพ 7.20 เทอมินอลส์ (Terminals) หรอื ขั้วตอ่
ภาพจาก : https://www.sounddd.shop/parts-of-speaker/
เทอมินอลส์ (Terminals) หรือ ขั้วต่อ มีหน้าที่เป็นขั้วต่อของลำโพง ซึ่งมีหน้าที่
รับสัญญาณไฟฟ้าเพื่อให้ผ่านเข้าสู่ Voice Coil โดยปกติจะมีขั้วบวกและขั้วลบ โดยจะมี
สัญลักษณ์บอกข้ัวอยา่ งชัดเจน หรอื บางรุน่ บางยี่ห้ออาจมกี ารแต้มสีเพื่อบ่งบอกข้ัวบวกลบด้วย
กรณีที่เป็น Dual Voice Coil จะมีขว้ั ต่อลำโพงถึง 2 จดุ

17

ตู้ลำโพง

ภาพที่ 7.21 ตู้ลำโพง
ภาพจาก : https://www.sounddd.shop/parts-of-speaker/
ตู้ลำโพง (Cabinet) เป็นอุปกรณ์ที่มีส่วนสำคัญที่จะทำให้คุณภาพเสียงดีหรือไม่ดี ให้
ความชัดเจนของสัญญาณมากน้อยเพียงใด มีเสียงก้องหรือเสียงสะท้อนเกิดขึ้น หรือไม่
ตลอดจนทำหนา้ ที่กำหนดทิศทางควบคุมบริเวณทีเ่ สียงจะเดินทางไป มีความหนักแนน่ ของเสียง
หรือความคมชัดเพียงใด ล้วนแล้วเกิดจากตู้ลำโพงทั้งสิ้นดังนั้นการออกแบบ การเลือกใช้วัสดุ
และขนาดของตลู้ ำโพงด้วย แล้วแต่มผี ลต่อคุณลกั ษณะและคณุ ภาพของเสียงท้ังส้ิน
ขนาดของตู้ลำโพงจะต้องจัดให้มีขนาดที่เหมาะสมกับลำโพงแต่ละชนิด และจะต้องจัด
วาง ตำแหน่งเสียงทุ้ม เสียงกลางและเสียงแหลม ในตำแหน่งเสียงที่คุณภาพเสียงดีที่สุด
นอกจากนั้นวัสดุที่บุภายในลำโพงก็มีส่วนสำคัญในการเพิ่มความหนักแน่นของเสียง และลด
เสียงสะท้อนลงอีกด้วย (Gibson, 2011)
บทบาทหลักของตู้ลำโพง คือการป้องกนั ไม่ให้คลืน่ เสียงเฟสลบจากด้านหลงั ของลำโพง
รวมกับคลื่นเสียงเฟสบวกที่ด้านหน้าของลำโพง ผลที่ตามมาคือรูปแบบการยกเลิกและการ
รบกวนทำให้ประสิทธิภาพ และเสียงของลำโพงลดลง ขายึดทีเ่ หมาะสำหรบั ลำโพงคือแผ่นแบน
(แผ่นกั้น) ที่มีขนาดไม่สิ้นสุดโดยมีช่องว่างด้านหลังไม่สิ้นสุด ดังนั้นคลื่นเสียงด้านหลังจึงไม่
สามารถยกเลิกคลื่นเสียงด้านหน้าได้ เนื่องจากปัญหาการขาดแคลนบอร์ดขนาดไม่สิ้นสุดตู้
(เปลือกหุ้ม) จึงต้องใช้เทคนิคอื่น ๆ เพื่อเพิ่มเอาต์พุตลำโพงที่เหมาะสมให้มากที่สุด นี้เรียกว่า
การโหลดในการวางลำโพงไว้ในกล่องปิดผนึกขนาดใหญ่ซึ่งส่วนใหญ่เต็มไปด้วยโฟม หรือแผ่น
ใยนั้นมักเรียกกันว่าแผ่นกั้นไม่มีที่สิ้นสุดเนื่องจากใกล้เคียงกับที่ยึดในอุดมคติ ต่อจากนี้เป็น
กล่องปิดผนึกขนาดเล็กหรือกล่องกันสะเทือนแบบอะคูสติก ด้วยลำโพงที่ถูกต้องสิ่งนี้จะ
ปรับปรุงประสิทธิภาพและการตอบสนองความถีข่ องลำโพง ตู้ประเภทอืน่ ๆ พยายามปรับปรงุ

18

การตอบสนองความถี่ต่ำหรือประสิทธิภาพโดยรวมของลำโพงโดยใช้พอร์ตรีเฟล็กซ์สายส่ง
(วัสดุหรือโครงสร้างที่สร้างเส้นทางจากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่งเพื่อควบคุมการส่งคลื่นอะคูสติก)
และ แตร (Sweetwater, 2004) เรามารถจำแนกประเภทของตู้ลำโพงออกได้ตามลักษณะการ
แยกสญั ญาณได้ดงั น้ี

1. ตู้ลำโพงแบบฟูลเรนจ์ (Full - Range Cabinet)

ภาพที่ 7.22 – 7.23 ตู้ลำโพงแบบฟลู เรนจ์ (Full - Range Cabinet)

ภาพจาก : https://commonsenseaudio.com/customerspeakers.html
https://www.diy-audio-guide.com/speakers.html

ตู้ลำโพงแบบฟูลเรนจ์ (Full - Range Cabinet) เป็นตู้ลำโพงที่ออกแบบให้สามารถ
ตอบสนองความถี่ได้ตั้งแต่ 20 - 20,000 Hz ภายในตู้เดียวโดยอาจจะประกอบด้วยลำโพง
เสียงทุ้ม ลำโพงเสียงกลาง และลำโพงเสียงแหลม โดยมีการเช่อื มต่อสัญญาณจาก
ช่องสญั ญาณเดียว โดยปกติจะมีวงจรครอสโอเวอรเ์ น็ตเวิรค์ เปน็ ตัวแยกความถี่ให้กับลำโพง
ตา่ ง ๆ ภายในตู้ลำโพง ตู้ลำโพงแบบนีเ้ หมาะสำหรับงานประชาสัมพันธง์ านดนตรีเลก็ ๆ ที่ไม่
ต้องการรายละเอียดหรอื ความดังมาก ๆเนื่องจากขนาดของตลู้ ำโพง ขนาดของลำโพง และ
กำลงั ของลำโพง มักไม่นยิ มนำขนาดใหญ่ ๆ หรอื ที่กำลังมาก ๆ มาติดต้ังในตู้ลำโพงแบบนี้ แต่
เหมาะกบั งานทีต่ ้องการความสะดวด ความคลอ่ งตัว ติดต้ังและจัดเก็บงา่ ยมากกว่า

19

2. ตู้ลำโพงแบบ 2 ทาง (Two - Way Cabinet)

ภาพที่ 7.24 ตู้ลำโพงแบบ 2 ทาง (Two - Way Cabinet)
ภาพจาก : https://celestion.com/blog/build-this-15-two-way-pa-cabinet-design/

ภาพที่ 7.25 ตู้ลำโพงแบบ 2 ทาง (Two - Way Cabinet)
จาก : https://www.diy-audio-guide.com/speakers.html
ตู้ลำโพงแบบ 2 ทางนี้จะมีคุณลักษณะพิเศษคือในหนึ่งตู้จะมีลำโพง 2 ชุด ชุดหนึ่งจะ
เป็นลำโพงที่มีคณุ มับติในการตอบนอง ความถีใ่ นย่านความถี่เสียงกลางแหลมจนถึงเสียงแหลม
และอีกชุดหนึ่งจะตอบนองความถี่ในย่านเสียง ทุ้มจนถึงเสียงกลางแหลม การใช้งานจะต้องมี
อุปกรณ์ในการจัดแยกความถี่เสียงส่งให้เพาเวอร์แอมปลิไฟเออร์สองชุดขับสัญญาณแยกจาก
กัน ตู้ลำโพงแบบนี้เหมาะกับห้องบันทึกเสียงเพราสามารถ ควบคุมความดังย่านเสียงได้อิสระ
และยังเปน็ แนวคิดในเบือ้ งตน้ ของการจดั ระบบเสียงแบบ 2 ทาง


Click to View FlipBook Version