The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เอกสารประกอบการสอน_161429 เล่มที่ 2

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Narin Nonthamand, 2021-05-04 13:58:10

เอกสารประกอบการสอน_161429 เล่มที่ 2

เอกสารประกอบการสอน_161429 เล่มที่ 2

270

ในการออกแบบ จะใช้พ้นื ผิวเพื่อสิ่งต่างๆ ดังนี้
- กระตุนอารมณและความรสู ึก
- สรางความแตกตางเพือ่ ดึงดูดความสนใจ
- ทําใหงานมเี อกลักษณ
- ลวงสายตาดวยลวดลายและแสงเงาของพ้ืนผวิ

4. บริเวณว่าง (Space)

ภาพที่ 9.17 บริเวณว่าง
ภาพจาก : https://www.infographicdesignteam.com/
บริเวณวาง (Space) หมายถึง พื้นที่วางที่อยูระหวางหรือโดยรอบวัตถุหรือตัวอักษร
บริเวณวางทําให สิ่งที่นํามาใสไวบนหนาแยกออกจากกัน หรือดูเปนอันหนึ่งอันเดียวกัน ทําให
เกิดการเนน และเปนจุดพักสายตา ที่วางในงานออกแบบเปนที่วางที่กําหนดขึ้นไวแลวตามตอง
การของนักออกแบบ บางทีก็เรียกวา “ชองไฟ” ชองไฟไมจําเปนตองเทากัน อาจมีระยะใกล
ไกลแตกตางกันไป ท้ังน้ตี องไมปลอยใหวางมากหรือรกรงุ รังเกินไป

ในการออกแบบ จะใช้บรเิ วณวา่ งเพือ่ สิ่งต่างๆ ดงั นี้
- ชวยใหเรื่องราวในเลยเอาทงายตอการตดิตาม
- ชวยใหแตละองคประกอบของงานดูเสมอกนั
- เปนจุดพักสายตา
- ชวยเนนสวนประกอบที่สําคญั

271

5. ขนาดและสดั สว่ น (Size & Proportion)

ขนาด (Size) คือ ลักษณะของรูปทรงที่
กําหนดความใหญ เลก็ กวาง ยาว สูง และตาํ่ ท่ีเรารบั รู
ดวย สายตา สิง่ ของขนาดเดียวกันถาวางอยูในตําแหน
งทีต่ างกนั ยอมมองเห็นเปน
ขนาดแตกตางกัน ดงั นั้นจงึ ทาํ ให เราสามารถประมาณ
หรอื วัดใหเปนหนวยระยะทางได

ภาพที่ 9.18 ขนาดและสัดสว่ น สัดสวน (Proportion) คอื ความพอเหมาะ
ของสิ่งของ 2 ส่ิง ซ่ึงมคี วามสัมพนั ธกนั ในการออกแบบ
ทว่ั ไป

ในการจัดองคประกอบของชิ้นงาน ขนาดและสัดสวนเปนสิ่งสําคัญที่ทําใหภาพดูน

าสนใจ ขนาดของ ภาพตองเหมาะสมกับหนากระดาษ ไมใหญหรอื เล็กมากจนเกินไป วิธีการนํา

หลกั การของขนาดและสัดสวนมา ใชในงานมีดังนี้ ขนาดที่ใกลเคียงกันใหความรสู ึกกลมกลืนกัน

(Harmony) ขนาดตางกันใหความรูสึกขัดแยง (Contrast) และขนาดที่ตางกันจัดวางตอเนื่องกัน

ทําใหเกิดความเคลื่อนไหว (Dynamic)

ในการออกแบบ จะใช้ขนาดและสัดส่วนเพื่อสิง่ ต่างๆ ดงั นี้
- เปนสวนประกอบทําให้เลยเอาทมีรูปแบบขึน้ มา
- ทาํ ใหเลยเอาทนาสนใจและดูเปนระเบียบยิง่ ข้นึ
- ขนาดจะทาํ ใหเห็นความสาํ คัญของสิง่ ที่ตอ้ งการเนน
- ชวยดึงดดู ความสนใจ เชน ใช้ขนาดที่ตางกันเพือ่ ใหเ้ กิดการตัดกนั เปนตน
- ทําใหมองเหน็ องคประกอบไดงายและชัดเจนขึน้

272

6. สี (Color)

ภาพที่ 9.19 สี
ภาพจาก : https://phiraya.com/blog/wedding-color-inspiration-by-davids-

bridal/#:~:text=ref%20:%20David%E2%80%99s%20Bridal
สี (Color) คือ ทศั นธาตอุ ยางหนึ่งที่เปนองคประกอบสําคญั ของงานศลิ ปะ และใชในการ
สรางงาน ศิลปะ โดยจะทําใหผลงานมีความสวยงาม ชวยสรางบรรยากาศ มีความสมจริงเด
นชัด และนาสนใจมากยิ่งขึ้น สีเปนองคประกอบที่สําคัญอยางหนึ่งของงานศิลปะ มีอิทธิพลต
อความรสู ึก อารมณ และจติ ใจไดมากกวา องคประกอบอืน่ ๆ
6.1 การใชสีในเชิงสัญลกั ษณ์
สีแดง แสดงถึง ความอบอุนและรอนแรง เปรียบดังดวงอาทิตย แสดงถึงความมี
ชีวิตชีวา ความรัก และความปรารถนา ดั่งดอกกุหลาบแดงในวันวาเลนไทน แสดงถึงความม่ัง
คั่ง อุดมสมบูรณ และ อํานาจ อาจเปนเครื่องหมายแสดงการหามถึงสิ่งอันตราย เปนสีที่ตอง
ระวัง เปนสีของเลือด

273

สแี ดง

- มาจากดวงอาทิตย์ ไฟ

- ใหค้ วามสว่าง ความรอ้ น

- พลังงาน ความแรง

- ความเชื่อชาวจนี สีแดงเป็นสมี งคล ภาพที่ 9.20 ไฟ

ภาพจาก : https://www.wsls.com/news/local/2020/01/22/two-fires-keep-martinsville-

firefighters-busy-tuesday-night/

สีเขียว แสดงถึง ธรรมชาติ ความสดชื่นรมเย็น สีเขียวมักใชสื่อความหมายเกี่ยวกับ

การอนุรักษ ธรรมชาติ สิ่งแวดลอม การเกษตร การเพาะปลูก การเกิดใหม ฤดูใบไมผลิ การ

งอกงาม และ ใชเปนเครือ่ งหมายแสดงถึงความปลอดภัยไดอีกดวย

สเี ขียว
- ธรรมชาติ
- ความเยน็ สบาย
- ความชุม่ ชนื้
- ความสบายตา

ภาพที่ 9.21 ต้นไม้

ภาพจาก : https://www.sierraclub.org/sierra/nature-rx-outdoors-can-be-antidote-quarantine-anxiety

สีเหลือง แสดงถึง ความสดใส ความเบิกบาน ความรุงเรือง ความมั่งคั่ง และฐานันดร
ศกั ดิ์ ในทางตะวันออกเปนสีของกษัตรยิ เปนสีของพทุ ธศาสนา

สเี หลือง
- ความสดใส ปลอดโปร่ง
- ดึงดูดสายตาไดด้ ีและ
มองเห็นไดแ้ ต่ไกล

ภาพที่ 9.22 ต้นไม้
ภาพจาก : https://wallhere.com/th/wallpaper/99632

274

ดงั นนั้ เราจะเปน็ ได้ว่าป้ายร้านอาหาร จงึ มกั มีสเี หลอื งไม่วา่ จะเปน็ ตัวหนงั สือหรอื แผ่น
พืน้ เพือ่ ดงึ ดูดสายตาลกู ค้าทีเ่ ดินผา่ นไปผ่านมา

สีน้ำเงิน แสดงถึง ความสุขุม ความหนักแนน ความสูงศักดิ์ในธงชาติไทย สีน้ำเงิน
หมายถึง พระมหากษัตริย โดยทั่วไปสีน้ำเงิน หมายถึง โลก เนื่องจากเปนดาวเคราะหที่
มองเหน็ จากอวกาศโดยเห็นเปนสีนำ้ เงินสดใสเน่อื งจากมีพืน้ น้ำทีก่ วางใหญ

สนี ำ้ เงิน
- ความสงบเงียบ ความสุขุม
- ความมีราคา หรหู รา มีระดับ
- ความสุภาพ
- ความหนักแน่น ผชู้ าย

ภาพที่ 9.23 ทะเล
ภาพจาก : https://www.mnhyachts.com/charter/fishingboat/blue-sea-sky-clouds1/

สีมวง เปนสีที่มีพลังแอบแฝงอยู และเปนสีแหงความผูกพัน อาจหมายถึง ความเศร้า
ความผิดหวงั จากความรกั

สมี ว่ ง
- ให้อารมณห์ นักแนน่
- มีเสนห่ ์
-ความลบั
- ส่งิ ที่ปกปิด

ภาพที่ 9.24 ดอกกุหลาบ
ภาพจาก : https://www.pinterest.com/pin/433190057880610841/

275

สีฟา แสดงถึง ความสวาง ความปลอดโปรง เปรียบเสมือนทองฟา เปนสีของความ
สะอาด ความปลอดภยั แสดงถึงอิสรภาพที่สามารถโบยบิน เปนสีแหงความคิดสรางสรรคและ
จนิ ตนาการ ที่ไมมีขอบเขต

สฟี า้
- โปร่งโลง่ สบายตา
- ความนุ่มนวล
- ความสขุ สบาย

ภาพที่ 9.25 ทะเล
ภาพจาก : https://wallpaperaccess.com/beach-sky
สีทอง แสดงถึง ความมีคุณคา ราคา สิ่งของหายาก ความสําคัญ ความสูงศักดิ์ ความ
ศรัทธาสูงสุด ในงานจิตรกรรมเปนสีผิวกายของพระพุทธเจา พระมหากษัตริยและเจดียตาง ๆ
มักเปนสีทอง

สีทอง
- มาจากแร่ทองคา
- แทนของ ความมีคณุ ค่า
- ความหรหู รา ราคาแพง

ภาพที่ 9.26 ทองแท่ง
ภาพจาก : https://kemptonexpress.co.za/73837/suspected-illicit-gold-syndicate-

duo-nabbed-at-estate/

276

สีขาว แสดงถึง ความสะอาด ความบริสุทธิ์ ความวางเปลา ความเชื่อถือ ความดีงาม
ความศรัทธา การเกิด ความรัก ความหวัง ความหวงใย ความเสียสละ ความออนโยน และ
ความจริงใจ

สขี าว
- บริสุทธิ์ ความสะอาด
- ความเรียบง่าย
- ความโล่ง ความไมม่ ี

ภาพที่ 9.27 ต้นไมท้ ี่มหี ิมะ
ภาพจาก : https://eskipaper.com/winter-snow-wallpaper.html
สีดํา แสดงถึง ความมืด ความลึกลับ ความสิ้นหวัง ความตาย ความชั่วราย อาถรรพ
เวทมนตร ไสยศาสตร ความชิงชัง ความโหดราย การทําลายลาง ความลุมหลงเมามัว
นอกจากนยี้ งั หมายถึง ความอดทน กลาหาญ เขมแข็ง และเสียสละไดอีกดวย

สดี ำ
- มาจากความมืด
- ความไมเ่ หน็ ความไมร่ ู้
- ความน่ากลวั เอาไว้

ภาพที่ 9.28 เสือดำ
ภาพจาก : http://www.fansshare.com/gallery/photos/16295706/cool-hd-black-

panther-wallpaper-cool/?displaying

277

สีชมพู แสดงถึง ความอบอุน ความออนโยน ความออนหวาน ความนุมนวล ความน
ารกั แสดงถึง ความรกั ของมนษุ ยโดยเฉพาะรุนหนุมสาว เปนสีของความเอื้ออาทร การปลอบ
ประโลม การดูแลเอาใจใส ความปรารถนาดี และความเปนมติ ร

สชี มพู
- ความออ่ นหวาน
- นุ่มนวล
- ความรกั
- วัยรนุ่ ผู้หญิง

ภาพที่ 9.29 ต้นไม้ดอกสีชมพู
ภาพจาก : https://apkpure.com/sakura
wallpaper/com.awesomewallpaper.sakura151020#:~:text=
The%20description%20of%20Sakura%20Wallpaper
สีน้ำตาล แสดงถึง ความเป็นผู้ใหญ่ ความเก่าแก่ ความโบราณ และไม้ เป็นสีของ
แผ่นดิน สีน้ำตาลให้ความรู้สึกมั่นคง ลดความรู้สึกที่ไม่ปลอดภัยอย่างไรก็ตามสีน้ำตาลมัก
เกีย่ วข้องกบั การเติมเตม็ ของความรสู้ ึก

สนี ำ้ ตาล
- ความสงบ ความเรียบ
- ความเปน็ ผใู้ หญ่
- ความเก่าแก่ โบราณ
- สอ่ื ถงึ ไม้ แผน่ ไม้

ภาพที่ 9.30 ใบไม้
ภาพจาก : https://unsplash.com/collections/1352157/forest-wallpaper

278

สีเงิน แสดงถึงความ เป็นสัญลักษณ์ของความสูงส่ง หรูหรา เป็นเลิศการเฉลิมฉลอง
และยังหมายถึงการให้ชีวิตใหม่ ให้พลังใหม่ สีทองที่วาวแววจะทรงพลังอย่างยิ่ง ในการดึงให้
หลุดพ้นจากความรู้สึกที่ตกต่ำของจิตใจ เป็นกลางๆ ที่ให้อารมณ์สุขุม เรียบร้อย และอารมณ์
เศร้า หม่นหมอง ไร้ชีวติ ชีวา เปน็ สีทนั สมยั ล้ำสมัย ดูไฮเทค สิ่งใหม่ๆ

สเี งิน
- วสั ดปุ ระเภทมันวาว เช่น อะลมู ิเนียม
- เป็นวัสดใุ หม่ท่นี ิยม มีราคาแพง
- แทนความรูส้ กึ ทนั สมัย และมคี ณุ ค่า

ภาพที่ 9.31 เงินแท่ง
ภาพจาก : https://www.fxstreet.com/
สีเทา แสดงถึงความ เป็นกลางๆ ที่ให้อารมณ์สุขุม เรียบร้อย และอารมณ์เศร้า
หมน่ หมอง ไร้ชีวติ ชีวา เป็นสญั ลกั ษณ์แห่งความเฉลียวฉลาดทรงภมู ิปญั ญา ลึกลบั มีพลังดึงดูด
สูง เป็นสีที่มีความหมายทั้งในแง่ของความสะดวกสบาย การปกป้อง แต่ในบางกรณีหมายถึง
พลงั ชวี ิตที่ถดถอยหรืออ่อนล้า หมดพลัง ซอ่ นเร้นจากโลกภายนอก

สเี ทา
- อารมณเ์ ศร้า หมน่ หมอง
- ไรช้ ีวติ ชีวา
- สอ่ื ถงึ คามเป็นกลาง

ภาพที่ 9.32 ก้อนเมฆ
ภาพจาก : https://www.relxpro.com/smoke

279

กลมุ่ สีทีใ่ ห้ความรสู้ ึกตา่ งกนั
ตื่นเต้นเรา้ ใจ (excitement color) แดง ดำ เหลือง แสด
ความเปน็ ผหู้ ญิง (feminine color) ชมพู ฟ้า เหลืองออ่ น เขียวออ่ น
ความเปน็ ผู้ชาย (masculine color) ดำ น้ำเงิน เทา แดง
ความสด (fresh color) เหลือง เขียว น้ำเงิน
สขุ ภาพ (healthy color) เหลือง น้ำตาล เขียว
ความสัน่ สะเทอื น (vibrant color) น้ำเงิน แดง เหลอื ง เขียว
ความน่าเชือ่ ถอื (sophisticated color) ดำ เหลือง น้ำตาล ทอง

สีท่สี ือ่ ถงึ ฤดกู าล/เทศกาล
ฤดใู บไม้ผลิ - เขียวใส
ฤดรู ้อน - เหลืองสด
ฤดใู บไม้ร่วง - ส้ม/น้ำตาล
ฤดหู นาว - ขาว/น้ำเงิน
คริสตม์ าส - แดง และ เขียว
อีสเตอร์ - ม่วงลาเวนเดอร์ (lavender)

6.2 หลักการใชสี
การใชสีโทนรอนและสีโทนเย็นในการออกแบบใด ๆ ก็ตาม หากใชสีในกลุมสีโทนรอน
หรือกลุมสีโทนเย็นเพียงกลุมเดียวจะทําใหงานเกิดความนาเบื่อ ผูออกแบบควรใชสีทั้งสองกลุ
มนี้โดย ใชจังหวะของสีที่เหมาะสม ไมควรใชสีตรงขามในอัตราสวนที่เทากัน ซึ่งจะทําใหเกิด
การตัดกันรุนแรง กลาวคือ เมื่อตองการใชสีโทนเย็นเปนสีหลักในงานก็ควรมีสีโทนรอนเปนสี
รองดวย

➢ สีโทนรอ้ น ให้ความรู้สกึ ตื่นตา มีพลัง อบอ่นุ สนุกสนาน ดึงดูดความสนใจ
➢ สีโทนเยน็ ให้ความรู้สกึ สุภาพ สงบ ลึกลบั เยือกเยน็ หดหู่ เศร้า

280

ภาพที่ 9.33 วงลอ้ สี และโทนสี
ภาพจาก : https://lh6.googleusercontent.com/-
PcC34t8D_mM/UbFiS_Qt1pI/AAAAAAAAAX8/EZZR-hlVNrw/s374-no/hot%252Bcool.png
ลักษณะการจบั คสู่ ี (Color scheme)
ควรมหี ลักการในการออกแบบโดยเฉพาะเร่อื งของการจบั คสู่ ี

ภาพที่ 9.34 การจับคู่สี
ภาพจาก : https://colorsupplyyy.com

281

สตี รงกนั ขา้ ม สที อ่ี ยู่ตาแหนง่ ท่ตี รงข้ามกันในวงจรสีและมีความเด่นทเ่ี กอื บเทา่
เทียมกนั มีทงั้ หมด 6 คสู่ ี

สีเดิมของพืน้ หลังแต่ลดปรมิ าณความเขม้ ของสี

ภาพที่ 9.35 สีตรงกนั ข้าม
ภาพจาก : https://www.pinterest.cl/pin/365636063492199292/

282

ทฤษฎีสี - ชดุ สี (colour scheme)

สเี อกรงค์ สตี รงข้าม แม่สี

สใี กลเ้ คยี ง สคี ูต่ รงขา้ ม สแี บบส่เี หลย่ี ม

ภาพที่ 9.36 ชุดสี
ภาพจาก : https://mymodernmet.com/color-mixing-chart/
ในการออกแบบ จะใช้สีเพือ่ สิง่ ต่างๆ ดงั นี้
- ดึงดูดสายตาใหผ้ ลงานเกดิความนาสนใจ
- ชวยสรางอารมณและความรูสึกแกผลงาน
- ชวยดึงดดู สายตาผู้ดูวาจุดใดเปนจดแุ รกทีต่ อ้ งการใหมอง
- สามารถจัดองคประกอบของงานรวมกลุ่มกันหรือจะแยกออกจากกันดวยสี
ทีแ่ ตกตางกนั ไป
- ชวยผสมผสานใหภ้ าพรวมมีความสมดุล
- ใชเนนขอความสําคญั หรือหัวเรือ่ ง

283

7. ตวั อักษร (Typography)
ตัวอักษร (Typography) เปนองคประกอบที่แตกต างไปจากองค ประกอบอื่น ๆ

ตัวอักษรสามารถ เรียงรอยบอกเลาเรื่องราวใหผูอานไดโดยตรง ในขณะเดียวกันก็สามารถ
ตกแตงตัวอักษรโดยใชรูปแบบ ขนาด และสีสันมาจัดวางเปนรูปแบบตาง ๆ เปนการสรางแรง
ดึงดูดใหนาสนใจและนาติดตาม หรือตัวอักษรมีความสำคัญอันดับต้น ๆ เพราะตัวอักษร
ประกอบไปด้วยชนดิ ขนาด ลักษณะการใชง้ านของตัวอกั ษร ซึ่งควรมีหลกั การในการออก
แบบให้ตรงกับวตั ถุประสงค์

ภาพที่ 9.37 ตวั อกั ษร
7.1 รูปแบบตัวอักษร (Typeface/Font) ในการเลือกตัวอักษรที่เหมาะสมจะชวยให
งานออกแบบกรฟิก สื่อความหมายไดอยางเต็มที่ ซึ่งปจจุบันมีรูปแบบอักษรมากมาย อาจแบ
งไดดงั น้ี
- ตัวอักษรแบบมีเชิง (Serif) เปนตัวอักษรที่มีเสนยื่นของฐานและปลายตัวอักษร
ในทางราบ จะมีเสนอักษรเปนแบบหนาบางไมเทากัน เหมาะจะใชเปนรายละเอียดเน้ือหา

284

ภาพที่ 9.38 แบบตัวอักษร
ภาพจาก : https://newenglandrepro.com/
- ตัวอกั ษรแบบไมมีเชิง (Sans Serif) เปนตวั อักษรทีไ่ มมีเสนยืน่ ออกมาจากฐานและ
ปลายตวัอกัษร ในทางราบ เปนรูปแบบที่เรียบงายและเปนทางการ เหมาะจะใชกับหัวขอหรือ
ตัวอกั ษรขนาดใหญ แตไมเหมาะกบั ลักษณะเอียง

ภาพที่ 9.39 แบบตัวอกั ษร
ภาพจาก : https://newenglandrepro.com/
- ตัวอักษรแบบตัวเขียน (Script) เปนตัวอักษรที่มีลักษณะคลายการเขียนดวย
ลายมือ ซึ่งมีหางโยง ตอเนื่องระหวางตัวอักษร มีเสนอักษรที่หนาบางแตกตางกัน นิยมทําให
เอียงเล็กนอย

285

ภาพที่ 9.40 แบบตวั อกั ษร
ภาพจาก : http://www.identifont.com/
- ตัวอักษรแบบตัวอาลักษณ (Text Letter) เปนตัวอักษรแบบโรมันหรือตัวเขียน มี
ลกั ษณะแบบ ประดิษฐ มีเสนต้ังดาํ ภายในตัวอักษร มีเสนหนาบางคลายการเขียนดวยพูกันหรือ
ปากกาปลายตัด

ภาพที่ 9.41 แบบตวั อักษร
ภาพจาก :

https://www.pinterest.com/pin/368098969517521814/#:~:text=Saved%20from%20google.hn

286
- ตัวอักษรแบบประดิษฐ (Display Type) เปนตัวอักษรที่มีการออกแบบตกแตงตัว

อักษรใหสวยงามเพือ่ ดึงดดู สายตา มีขนาดของเสนอักษรที่หนากวาแบบอื่น ๆ จึงนิยมใชเปนหัว
เรือ่ ง

ภาพที่ 9.42 แบบตวั อกั ษร
ภาพจาก : https://www.fonts.com/content/learning/fontology/level-2/making-type-

choices/selecting-display-type-factors-to-consider
- ตัวอักษรแบบสมัยใหม (Modern Type) เปนตัวอักษรที่ประดิษฐขึ้น มีลักษณะ
เรียบงาย

ภาพที่ 9.43 แบบตัวอักษร

ภาพจาก : https://www.pinterest.com/pin/102175485271329725/#:~:text=Saved%20from%20behance.net

287

Font Type

ชนิดของตัวอกั ษร หรือเรียกสั้นว่า Font ตวั หนงั สือทีน่ ำมาใช้ในการนำเสนอมีทั้งภาษาไทย
และภาษาอังกฤษในลกั ษณะของตัวภาษาองั กฤษจะมีอย่ดู ้วยกัน 2 ลกั ษณะ ได้แก่ตัวอกั ษรที่มีหางยื่น
ออกมาบริเวณฐานที่มีคำเติมหลังชือ่ ตัวอักษรวา่ serif ตัวอักษรที่ไมม่ หี างยื่นออกมาบริเวณฐานที่มี
คำเติมหลังชื่อตัวอักษรว่า Sans serif

ภาพที่ 9.44 แบบตัวอกั ษร
7.2 ลักษณะของตัวอักษร (Type Character) จากรูปแบบตัวอักษรที่หลากหลาย
การสรางแบบอักษร ก็ยังมีความแตกตางหลายรูปแบบ ทําใหมีลักษณะเฉพาะของตัวอักษร
เปลี่ยนแปลงไป เชน

- ประเภทตัวธรรมดา (Normal/Regular)
- ประเภทตวั หนา (Bold)
- ประเภทตวั เอน (Italic)
- ประเภทตวั หนาพิเศษ (Extra Bold)
- ประเภทตวั บางพิเศษ (Light)
- ประเภทตวั กวางพิเศษ (Extended)
- ประเภทตวั แคบพิเศษ (Narrow)
- ประเภทตัวอกั ษรแบบมีขอบ (Outline)
- ประเภทตวั อกั ษรแบบตัวใหญทั้งหมด (All Caps)
7.3 ขนาดของตัวอักษร (Size Type) เปนการกําหนดขนาดที่เปนสัดสวนความกวาง
สงู และรูปรางของ ตัวอักษร โดยเอาความสูงเปนหลักในการจดั ขนาด เรียกวา “พอยต” (Point)
ขนาดตัวอักษรหัวเรื่อง มักใชขนาดตั้งแต 18 พอยต ขึ้นไป สวนขนาดของเนื้อหาจะใชขนาด

288

ประมาณ 14-16 พอยต ตามแต ลักษณะของงาน ผูออกแบบจะตองคํานึงถึงการใชขนาด
ตัวอักษรใหเหมาะสมกบั กลุมเปาหมาย

7.4 ระยะชองไฟและการจัดวางระยะชองไฟของตัวอักษร (Spacing) การจัด
ระยะชองไฟตัวอักษรมคี วามสําคญั มาก เนื่องจากถามีการออกแบบที่เหมาะสมและสวยงามแล
วจะทําใหอานงาย สบายตา ชวนอ่าน การจดั ชองไฟมีหลกั การดังน้ี

- ระยะชองไฟระหวางอักษร (Letter Spacing) จะตองมีระยะหางกันพองามไมติด
หรอื หางกัน จนเกินไป เราควรจัดชองไฟโดยคาํ นงึ ถึงปริมาตรความสมดลุ ทางสายตา

- ระยะชองไฟระหวางคํา (Word Spacing) จะเวนระยะระหวางคําประมาณ 1
ตัวอักษรปกติ ถา
หางเกินไปจะทาํ ใหอานยาก และชิดไปจะทําใหขาดความงาม

- ระยะชองไฟระหวางบรรทัด (Line Spacing) ปกติจะใชระยะหาง 0-3 พอยต
หลักสาํคัญในการ กําหนดระยะระหวางบรรทัดใหวัดสวนสูงและสวนต่ำสุดของตัวอักษร เมื่อ
จัดวางบนบรรทัดแลว ตองไมซอนทบั กนั

ในการออกแบบจะใช้ตวั อกั ษรเพื่อสิง่ ต่างๆ ดังนี้
- ใชบอกกลาวขอความทีอ่ งคป์ ระกอบอืน่ ไมส่ ามารถสื่อออกมาได
- ดึงดูดใหเกิดความสนใจดวยขนาด สีสัน และขอความทีเ่ ราใจ
- จดั ลําดับความสาํ คญั และบอกเลารายละเอียด โดยจดทั าํ เปนหวั ขอหลักหัวข

อรอง และเนือ้ หา
- สามารถจัดเรียงตัวอักษรประกอบเปนภาพ หรือรูปทรงตาง ๆ โดยใชแบบ

อักษร ขนาด และสีสนั
- สามารถจดั เปนกลมุ่ จัดวางและใชชองไฟ สีสัน ตลอดจนองคประกอบอื่นใน

การแบง่ แยกใหเปนระเบียบ งายต่อการสอื่ สาร และดสู วยงาม
- ใชอธิบายภาพประกอบตาง ๆ

10. กระบวนการผลิตสื่อสิ่งพิมพ
จินตนา ถ้ำแกว (2555) ไดนิยามกระบวนการผลิตสื่อสิ่งพิมพวาเปนกระบวนการพิมพ

สื่อสิ่งพิมพตาง ๆ เชน แผนพับ หนังสือ นิตยสาร เปนตน ในการออกแบบสิ่งพิมพ ผูออกแบบ
จําเปนจะตองมี ความรูในขั้นตอนการพิมพ เพื่อการวางแผนในการกําหนดลักษณะงานใหเป
นไปตามวัตถปุ ระสงคทีต่ องการ และได
แบงกระบวนการผลิตสอ่ื สิ่งพิมพออกเปน 4 ข้ันตอนหลัก ไดแก

289

1. งานกอนกระบวนการพิมพ (Pre-Prepress Process)
งานกอนกระบวนการพิมพ (Pre-Prepress Process) เปนขั้นตอนการรวบรวมขอมูล
รายละเอียดของ งาน กําหนดแนวคิดและลักษณะของงานพิมพ การออกแบบและกําหนด
รูปแบบสิ่งพิมพ โดยทําการวิเคราะห และวางแผนงานในกระบวนการผลิตและออกแบบสิ่ง
พิมพ เริม่ ตงั้ แตการออกแบบตองมีความสวยงาม นาสนใจ เปนไปตามวัตถุประสงคการใชงาน
การออกแบบมีเหตุผลในรายละเอียด การกาํ หนดลักษณะของ สิง่ พิมพมีความเหมาะสม ใชงาน
ไดจริง ราคาประหยัด ตนฉบับมีความสมบูรณทั้งขอความ รูปภาพ นําเสนอ ตัวอยางงานได
วัสดุในการพิมพตรงตามขอกําหนด หาไดงายและเหมาะสมกับการผลิต ทําการประเมินราคา
ชิน้ งาน และกาํ หนดเวลาในการทาํ งาน
1.1 การตดิ ตอโรงพิมพ เจาของงานจะตองศกึ ษาขอมูลโรงพิมพกอนวา มีศักยภาพที่จะ
ผลติ งานพิมพ ไดตามตองการหรอื ไม
1.2 การระบุลักษณะงาน ในการติดต องาน เจาของงานจะตองระบุลักษณะของ
งานพิมพที่ตองการพิมพ ไดแก ประเภทสิ่งพิมพ ลักษณะรูปแบบ ขนาดสิ่งพิมพ จํานวนเนื้อหา
และภาพประกอบ ระบบการ พิมพทีใ่ ช จํานวนสีที่พิมพ ลักษณะกระดาษทีต่ องการ และการทํา
เลมสิง่ พิมพสําเร็จ
1.3 การประมาณราคา เมื่อโรงพิมพ ทราบรายละเอียดของงานแลว จะสามารถ
ประมาณราคาในการ จดั พิมพ รวมท้ังกําหนดเวลางานเสรจ็ ได
1.4 การทําขอตกลง เมื่อเจาของงานพอใจในคาใชจายที่โรงพิมพไดประมาณราคาและ
กําหนดเวลาเสร็จ ของงานไว ก็จะตกลงวาจางโรงพิมพนั้นผลิตสิ่งพิมพให ซึ่งนําไปสูกระบวน
การพิมพตอไป โดยเจาของ งานจะตองจัดสงตนฉบับ (Artwork) เขาสูกระบวนการผลิตของ
โรงพิมพ
2. งานก่อนการพิมพ (Prepress Process)
งานกอนการพิมพจะเริ่มภายหลังจากการทีเ่ จาของงานทําขอตกลงรวมกนั กับโรงพิมพ
ที่จะจดั พิมพ สิง่ พิมพตามรายละเอียดทีก่ าํ หนด โดยเริ่มตนการเตรียมตนฉบบั ทีเ่ ปนท้ังขอความ
และภาพ การออกแบบ สิ่งพิมพ การเรียงพิมพ การจัดทําตนฉบับ เพื่อจะนําไปถายภาพ
งานพิมพ ประกอบฟลม จดั วางรูปแบบฟลม และทําแมพิมพตอไป ในการออกแบบสิ่งพิมพที่ดี
จะไมทําใหเกิดปญหาในขั้นตอนการทําแมพิมพ ซึ่งผอู อกแบบควรคํานึงถึงสิ่งตาง ๆ ตอไปนี้
2.1 กระบวนการกอนการพิมพ ปจจุบนั นิยมสงตนฉบบั (Artwork) เปนรูปแบบไฟล .pdf
เพื่อความ สะดวก แกไขปญหาการตกหลนของขอมูล และเพื่อความสมบูรณของตนฉบับ การ
ออกแบบหนา จะใชซอฟตแวรจดั หนา เชน Adobe InDesign, Adobe Illustrator เปนตน

290

2.2 การตรวจสอบไฟลขอมูล เพื่อปองกันความผิดพลาดที่อาจเกิดขึ้นในงานพิมพ อัน
จะกอใหเกิดความ เสียหายและสิน้ เปลืองคาใชจาย จาํ เปนตองมกี ารตรวจสอบรายละเอียดตาง
ๆ ของไฟลงาน เชน ไฟลตนฉบับมีไฟลภาพครบหรือไม แบบอักษรถูกตองหรือไม ขนาดหนา
ถกู ตองหรอื ไม มีการเผอ่ื ตดั ตกเพียงพอหรอื ไม การกาํ หนดสีถูกตองหรอื ไม เปนตน

2.3 การจดั วางหนาสําหรบั ทาํ แมพิมพ แมพิมพ 1 ชุดสามารถวางชนิ้ งานไดหลายช้ิน เช
น วางหนา้ หนงั สือได 8 หนาหรอื 16 หนา โดยตองจดั วางหนาใหถกู ตอง เมื่อนําไปพบั แลวจะได
เรียงหนาไดอยางถูกตอง

2.4 การทาํ ปรูฟดิจติ อล เปนการทําตัวอยางงานพิมพขนึ้ กอนจะทําเปนแมพิมพจริงเพื่อ
ตรวจสอบ รายละเอียดตาง ๆ ตลอดจนสีวาถูกตองหรอื ไม เปนการพิมพจากเครื่องพิมพระบบ
Inkjet ขนาดใหญ และพิมพตัวอยางงานไดขนาดกับการจดั วางหนาเหมือนบนแมพิมพจริง

2.5 การทําฟลมแยกสี เปนการทําฟลมแยกเปนสี ๆ สําหรับทําแมพิมพชุดหนึ่ง ๆ
หลักการ คือ การแยก ภาพในไฟลงานออกเปนภาพสีโดด ๆ โดยมาตรฐานจะไดภาพแมสี 4
ภาพ ซึ่งเปนภาพสีของ CMYK (Cyan Magenta Yellow Black) ตอมามีการแปลงไฟลแลวส
งไปพิมพทีเ่ ครือ่ งพิมพฟลม Imagesetter ไดฟลมที่มีภาพขาวดําตามภาพของสีแตละสีที่แยกไว
เรียกฟลมชดุ นีว้ า “ฟลมแยกสี”

2.6 การทําแมพิมพ นําฟลมแยกสีแตละสีมาทาบกับแมพิมพที่เคลือบดวยสารไวแสง
แลวทําการฉายแสง เมื่อนําไปลางนาํ้ ยาก็จะเกิดเปนภาพบนแมพิมพสําหรับใชในการพิมพตอไป
ปจจุบันมีการสรางเครื่อง ทําแมพิมพโดยตรงจากคอมพิวเตอรโดยไมตองทําฟลมแยกสีกอน
เรียกวา เครื่องพิมพ Platesetter ซึ่งชวยลดขั้นตอนและคาใชจาย ตลอดจนไดแมพิมพที่มี
คุณภาพ คมชัด และแมนยําข้ึนอกี ดวย

2.7 การทําปรูฟแมพิมพ กรณีที่ตองการตัวอยางงานพิมพที่มีรายละเอียดและสีสันที่
ถกู ตองยิง่ ขึน้ ไวใช เปรียบเทียบกับงานในกระบวนการพิมพ จําเปนตองทําตวั อยางหรอื ปรูฟจาก
แมพิมพจรงิ มกั ใชทํากบั งานพิมพที่ตองการคณุ ภาพสูง

3. กระบวนการพมิ พ (Press/Printing Process)
เมื่อไดแมพิมพที่สมบูรณ ตอมาจะเริม่ เขาสูกระบวนการพิมพ ผลงานทีอ่ อกมาจะดีหรือ
ไมขึ้นอยูกับ การพิมพเปนหลักใหญ และจะพบวาปญหาสวนใหญที่เกิดขึ้นระหวางลูกคากับ
โรงพิมพมักมาจากการพิมพ เชน สีไมเหมือน พิมพเหลื่อม ขอความไมชัด เปนตน ดังนั้นการ
ควบคมุ การพิมพจงึ เปนเรือ่ งสาํ คญั
3.1 การเตรียมพิมพ ไดแก การเตรียมวัสดุใชพิมพ เตรียมชนิดของวัสดุใหถูกตอง
คํานวณจํานวนหนาที่ ตองการพิมพ ทําการเจียนขนาดวัสดุใชพิมพสําหรับเขาเครื่องพิมพให

291

ถูกตอง เตรียมหมึกที่ใชพิมพ ในขณะเดียวกันก็ตองตรวจแมพิมพวาสมบูรณหรือไม ศึกษาปรู
ฟเพื่อปองกนั ปญหาทีอ่ าจเกิดขึน้

3.2 การพิมพ มีระบบปอนวัสดุที่ใชพิมพเขาไปในเครื่องพิมพผานการพิมพทีละสี โดย
การโอนรับภาพหมกึ จากแมพิมพ ซึ่งรบั หมึกจากระบบจายหมกึ เมือ่ พมิ พเสรจ็ ก็สงวัสดุไปเก็บ
พักไว สําหรับการพิมพ ระบบดิจิตอลจะไมมีการทําฟลมแยกสีหรือแมพิมพ สั่งงานจาก
คอมพิวเตอรไดเลย ชวยประหยัดเวลา และคาใชจาย แตคาพิมพตอแผนมีราคาสูง หากพิมพ
จาํ นวนมากจะทาํ ใหตนทุนสงู กวาแบบปกติ

4. กระบวนการหลังการพมิ พ (After Press Process)
งานพิมพที่พิมพเสร็จสิ้นแลว โดยทั่วไปยังไมสมบูรณเปนชิ้นงานตามที่ตองการ
จึงตองผานกระบวนการบางอยางเสียกอน
4.1 การตกแตงผิวชิน้ งาน งานพิมพบางงานตองการเคลือบผวิ เพื่อจดุ ประสงคตาง ๆ เช
น เพื่อปองกนัรอย ขีดขวนหรือความชื้น เพื่อความสวยงามเปนตน การตกแตงผิวมีหลาย
อยาง เชน การเคลือบผิว (Coating) การปมนูน/ป มลึก (Embossing/Debossing) การขึ้นรูป
(Forming) เปนตน
4.2 การทํารูปเลม เปนกระบวนการทํางานประเภทสมุด หนังสือ ปฏิทิน เปนตน
ข้ันตอน คือ การตดั แบง เพื่องานพิมพที่ซ้ำกนั ในแผนเดียวกัน การพับแผนพิมพเปนหนายก
4.3 การเก็บเลมการเขาเลมเพื่อใหหนังสือยึดติดกันเปนเลมมีวิธีตาง ๆ ไดแก การเย็บ
ลวด เย็บมุงหลังคา การไสสันทากาว การเย็บกี่ทากาว การเย็บกี่หุมปกแข็ง และการเจาะรูร
อยหวง เมือ่ ผานการยึดเลม ติดกนั กน็ ําชิน้ งานมาตัดเจยี นขอบ 3 ดานใหเรียบเสมอกันและได
ขนาดที่ตองการ
4.4 การบรรจุหีบหอ เมื่อไดชิ้นงานที่เสร็จตามตองการ ทําการตรวจสอบชิ้นงาน แล
วบรรจุหีบหอเพือ่ ความสะดวกและปองกันรักษาความสะอาดใหสิ่งพิมพในการขนสง
11. ประเภทของการพมิ พ์
การพิมพ์เป็นกิจกรรมที่มีทั้งประโยชน์ใช้สอยและความงามควบคู่กันไป สิ่งพิมพ์ มี
ความสำคัญตอ่ มนุษย์ และเป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรมทีเ่ ป็นรูปธรรม นบั แต่อดีตจนถึงปัจจุบัน
ผลงานอันเนื่องมาจากการพิมพ์มีทั้งงานที่เป็นวิจิตรศิลป์และประยุกต์ศิลป์ ในส่วนของวิจิตร
ศิลป์ จะเน้นความงามจากรูปร่างหรือรูปทรง เทคนิคและวิธีการต่าง ๆ ส่วนผลงานทาง
ประยุกต์ศิลป์ จะช่วยให้งานทางสื่อสารมวลชนงานโฆษณาประชาสัมพันธ์ มีเสน่ห์สวยงาม
และดึงดูดความสนใจ จากการพิมพ์จำนวนน้อยใช้อยู่ในวงจำกัด วิธีการพิมพ์แบบง่าย ๆ ไม่
ซับซ้อน มาสู่การพิมพ์จำนวน มาก แพร่ขยายไปท่ัวภมู ิภาคของโลก ด้วยเทคโนโลยีการพมิ พ์ที่

292

ทันสมัย ทำให้มีระบบหรือวิธีการพิมพ์ หลายแบบ ดังที่จะจำแนกตามลักษณะแม่พิมพ์ (วันชัย
ศริ ิชนะ, 2542) ดังนี้

1. ระบบพิมพ์โดยใช้แม่พิมพ์พื้นนูน (Raised Surface Painting System) การพิมพ์
ลักษณะนีเ้ รียกอีกอย่างหน่ึงว่า เลตเตอรเ์ พรส เป็นระบบพิมพท์ ี่เก่าแก่ ทีส่ ดุ คิดค้นโดย โจฮัน กู
เต็นเบิร์ก ชาวเยอรมันนี ซึง่ ใช้แม่พิมพท์ ีต่ ้องการจะพิมพ์นูนสูงกว่าพื้น และ เป็นภาพกลับ ซ้าย
เป็นขวา ขวาเป็นซ้าย เมื่อนำตัวเรียงมาเข้าหน้าตามดัมมี (Dummy) อัดกรอบ ให้แน่นนำเข้าสู่
แท่นพิมพ์ เมื่อคลึงหมึกลงไปจะติดเฉพาะส่วนทีน่ ูนขึ้นมา เมื่อใช้โมกดกระดาษ จะได้ ภาพและ
ตัวอักษรตามต้องการ ระบบนี้ตัวพิมพ์จะเป็นตัวเรียงที่หล่อด้วยโลหะ ตะกั่ว แมกนีเซียม
ปัจจุบันใช้โพลีเมอร์ชนิดแข็ง ส่วนที่เป็นภาพ ใช้ระบบบล็อก (Block) ซึ่งค้นคิดโดยกิลลอท
(Gillot) ชาว ฝรั่งเศส ระบบพิมพ์ผิวนูนเหมาะกับการพิมพ์ตัวหนังสือ และภาพลายเส้นมากกวา่
การพิมพ์สกรีนหรือ การพิมพ์เพื่อให้ได้น้ำหนักอ่อน-แก่ ตามธรรมชาติ (การพิมพ์สอดสี) การ
พิมพร์ ะบบนมี้ ี 2 ชนิด คือ

1.1 เลตเตอร์เพรส (Letter Press) หรือระบบตัวเรียง ทำด้วยโลหะหรือ โลหะ
ผสม(Alloy) ในส่วนที่เป็นภาพจะทำเป็นบล็อก เครื่องพิมพ์ระบบนี้มี 3 ชนิด คือ เครื่องพิมพ์
พลาเทน เรียกกันว่า เครื่องตีธง (Platen Press) เครื่องพิมพ์แท่นนอน (Flat Bed Cylinder) และ
เครือ่ งพมิ พช์ นิดโรตารี่ เรียกกนั วา่ เครือ่ งเวบ็ (Web-Fed Rotary Letterpress)

1.2 เฟรกโซกราฟี่ (Flexography) คล้ายระบบตรายาง มีแม่พิมพ์เป็นแผ่น ยาง
ม้วนติดโดยรอบกับโมแม่พิมพ์ สามารถพิมพ์บนวัสดุได้เกือบทุกชนิด การพิมพ์แบบนี้ไม่นิยม
การ พิมพ์สอดสีเพราะคณุ ภาพสู้ระบบออฟเซทไม่ได้

2. ระบบการพิมพ์โดยใช้แม่พิมพ์รอ่ งลึก (Lower Surface Printing System) แม่พิมพ์พื้น
ลึกหรือร่องลึก มีลักษณะตรงกันข้ามกับแม่พิมพ์พื้นนูน โดยมีส่วน ที่ต้องการจะพิมพ์เป็นร่อง
หรือเป็นบ่อที่มีขังอยูน่ ้อย เวลาพิมพ์ต้องใช้นำหนักกดให้กระดาษไปติดหมึก ระบบนี้คิดค้นโดย
คาร์ล เคลียทซ์ (Kant Kretzes) ชาวออสเตรเลีย เป็นระบบพิมพ์ที่มีประสิทธิภาพ สูง สามารถ
พิมพ์ได้ทั้งลายเส้น สกรีน และภาพสอดสีตามธรรมชาติ และสามารถที่จะพิมพ์บนวัสดุ อื่น ๆ
ได้ ค.ศ. 1495 อัลเบิร์ด ดูเลอร์ (Albrecht Duler) ได้ทำแม่พิมพ์ขึ้น โดยใช้เครื่องมือแหลมคม
พิมพ์โดยใช้น้ำกรดกัดแผ่นเหล็กเป็นร่อง ต่อมาในปี ค.ศ. 1513 อู กราฟ พิมพ์ผลงานออกมา
สวยงาม และเปน็ แบบแหง่ การพิมพ์ธนบตั รในเวลาตอ่ มา การพิมพ์พ้ืนลกึ นี้มอี ยู่ 2 วธิ ี คือ

2.1 อนิ ทากรีโอ (Intaglio Printing) แมพ่ มิ พ์จะทำด้วยทองแดงหรือแผ่น โลหะ ที่
สามารถนำมาแกะสลักได้ โดยแกะเป็นรูปรอยที่ต้องการพิมพ์ ซึ่งมักจะเป็นลายเส้น เมื่อผ่าน
หมึกเข้ามาต้องเช็ดบริเวณผิวหน้าให้สะอาดเรียบร้อยกอ่ นนำกระดาษมาพิมพ์ การพิมพ์แบบนี้

293

จะได้งาน พิมพ์ที่คมชัดมากจึงเหมาะสำหรบั งานพิมพ์ทีม่ ีคา่ เช่น การพิมพ์ ธนบัตร โฉนดที่ดิน
แสตมป์ เปน็ ต้น

2.2 โรโตกราวัวร์ (Gravure) เป็นการพิมพ์ร่องลึกอีกแบบหนึ่ง มีแม่พิมพ์เป็น
โลหะ ทรงกระบอก ทำแม่พิมพ์โดยภาพถ่ายกัดกรดให้เป็นหลุมเล็ก ๆ มีขนาดหรือความตื้นลึก
แตกต่างกัน ซึ่งมีผลให้งานพิมพ์มีความเข้มของสีแตกต่างกัน วิธีนี้สามารถพิมพ์บนวัสดุได้
หลายชนดิ เช่น การพิมพก์ ระดาษปิดฝาผนัง แสตมป์ และบรรจภุ ณั ฑ์ เปน็ ต้น

3. ระบบพิมพ์โดยแม่พิมพ์พื้นราบ (Flat Surface Printing System) แม่พิมพ์พื้นราบเป็น
แผน่ โลหะ (อลมู ิเนยี ม) แบน เรียบมีสว่ นทีต่ อ้ งการพิมพ์ และส่วนพื้นอยู่บนระนาบเดียวกัน เม่ือ
ผ่านหมึกส่วนที่ต้องการพิมพ์จะรับหมึก ส่วนที่เป็นพื้นหล่อด้วย น้ำ เวลาพิมพ์แม่พิมพ์มิได้
สัมผสั กับกระดาษโดยตรง แต่แมพ่ ิมพจ์ ะกดลงบนโมยาง (ได้ภาพกลับซ้าย เป็นขวา) ต่อจากน้ัน
โมยางจะพิมพ์ลงบนกระดาษอีกครั้งหนึ่ง การพิมพ์ระบบนี้เรียกว่าการพิมพ์ระบบ ออฟเซท
(Offset) ซึ่งคิดค้นโดยไอรา วอชิงตัน รูเบล (Ira Washington Rubel) ซึ่งเป็นระบบ ที่นิยมกัน ใน
ปัจจุบันทั้งนี้เพราะเป็นระบบทีม่ ีประสิทธิภาพดี และการทำแม่พิมพ์ไม่ยุ่งยากมากนักเนื่องจาก
สามารถพิมพ์ได้ครั้งละจำนวนมาก จึงสามารถใช้กระดาษได้ 2 แบบ คือ แบบป้อนม้วน
(Webfed Offset Press) ซึ่งมีความเร็วในการทำงานมาก สามารถพิมพ์ได้ชั่วโมงละ 20,000-
30,000 แผน่ และแบบป้อน แผ่น (Sheetfed Offset Press) ปจั จบุ นั มเี ครื่องพิมพ์ออฟเซทขนาด
เลก็ แมพ่ มิ พท์ ำด้วยกระดาษโดย ขนาดของกระดาษที่ใช้พิมพ์ไม่เกิน 14X20 นิ้ว นิยมใช้พิมพ์ใน
สำนกั งาน เชน่ เครือ่ งก็อปปี้ ปริน้ หรอื เครื่องโรเนียวออฟเซท

4. ระบบพิมพ์โดยแม่พิมพ์ลายฉลุ (Silk Screen System) เป็นการพิมพ์โดยใช้แม่พิมพ์
จากการเจาะ จงึ เรียกวา่ แม่พิมพฉ์ ลุ มีววิ ฒั นาการ มาแตอ่ ดตี เช่น อารยธรรมจีน อียิปต์ ญี่ปุ่น
ปัจจุบันได้มีการพัฒนาโดยการเปลี่ยนจากผ้าไหมหรือเส้น ลวด เป็นผ้าใยเคมีพวกโพลีเมอร์
ไนลอน และโพลีเอสเตอร์ พื้นแผ่นสกรีนจะถูกฉาบไว้ด้วยสารไวแสง เมื่ออกแบบต้นฉบับ
เรียบร้อยแล้ว นำไปถ่ายฟิล์ม และอัดลงบนแผ่นสกรีน โดยฉายแสง อัลตร้าไวโอเลต ส่วนที่ไม่
ต้องการพิมพ์จะถูกอุดด้วยสารไวแสง ส่วนที่ต้องการพิมพ์จะโปร่ง เวลาพิมพ์ต้องเทสีลงใน
กรอบ ไม้ ให้ใกล้กับลายฉลุ ใช้แท่งยางปาด 1 ครั้ง ทำมุมประมาณ 60 องศา จะได้ภาพ ที่
คมชัด สวยงาม แต่ถ้าปาดกลับไปกลับมาจะทำให้ภาพซ้อนไม่สวยงามเท่าที่ควร การพิมพ์
ระบบนี้สามารถที่พิมพ์ลงบนวัสดุต่าง ๆ ได้หลายประเภท เช่น กระดาษหนา ๆ พลาสติก ไม้
และแผน่ โลหะเป็นต้น ระบบนี้ แซมมวล ไซมอล (Samuel Simon) ได้จดลิขสิทธิ์ เป็นคนแรก

การพิมพ์ระบบนี้ แม่พิมพ์จะเป็นฟิล์ม อัดลงบนเฟรมผ้าไนลอนขึงตึง ใช้แสงใน ส่วน ที่
ต้องการพิมพ์ให้ทะลุ เวลาพิมพ์ใช้ยางปาดสีลงตามช่องลาย การพิมพ์ด้วยแม่พิมพ์ลายฉลุนี้

294

สามารถพิมพ์ได้หลายสี (แม่พิมพ์ละ 1 สี) แต่ต้องตั้งแม่พิมพ์ให้ตรงกัน เครื่องพิมพ์ระบบออฟ
เซท สามารถแบง่ ประเภทตามขนาดของแท่นพิมพ์ได้ (วันชัย ศริ ิชนะ, 2542) ดงั นี้

1. แท่นออฟเซทขนาดเลก็ เปน็ แทน่ พิมพท์ ีพ่ ิมพ์ด้วยกระดาษขนาดไม่เกิน 13 X
17 นิ้ว มีอุปกรณ์น้อยไม่ซบั ซ้อน เหมาะกับงานพิมพ์ขนาดเลก็ เช่น การพิมพ์หัวจดหมาย ซอง
แผน่ ปลิว หนังสอื และโปสเตอรข์ นาดเล็ก

2. แท่นออฟเซทขนาดตัด 4 เป็นแทน่ พิมพข์ นาดกลาง พิมพ์ด้วยกระดาษไมเ่ กิน
18 X 25 น้วิ มีอุปกรณ์มากขึน้ สามารถพิมพไ์ ด้หลายสี เหมาะกบั งานพิมพท์ ัว่ ไป

3. แท่นออฟเซทขนาดตัดสอง เป็นแท่นพิมพ์ขนาดใหญ่ พิมพ์ด้วยกระดาษ ไม่
เกิน 28 X 40 นิ้ว (ใหญ่กว่าแท่นตัดสี่เกือบเท่าตัว) มีอุปกรณ์ช่วยพิมพ์ต่าง ๆ มากมาย ทำให้
พิมพ์ ได้เที่ยงตรง แมน่ ยำ และมีความเรว็ ในการพิมพส์ ูง

4. แท่นออฟเซทขนาดตัดหนึ่ง เป็นแท่นพิมพ์ขนาดใหญ่ พิมพ์ด้วยกระดาษที่มี
ขนาดใหญ่กว่า 30 X 40 นิ้ว มีอุปกรณ์ช่วยพิมพ์มาก นอกจากจะพิมพ์สิ่งพิมพ์ทั่วไปที่ต้องการ
ปริมาณ มาก ๆ เช่น หนังสือพิมพ์แล้ว ยังสามารถพิมพ์บรรจุภัณฑ์ได้ด้วย ใช้ได้ทั้งแบบป้อน
กระดาษม้วนหรือ แผ่น ซึ่งขึ้นกับจำนวนพิมพ์เป็นสำคัญ สังคมปัจจุบันมีการเปลี่ยนแปลงและ
ขยายวงกว้างมากขึ้น ความตอ้ ง การงานพิมพท์ ้ังสีเดียวและพิมพ์สอดสีมีมากขึ้นเป็นเงาตามตัว
จงึ ทำให้มกี ารปรบั ปรุง พัฒนาสรา้ งแท่นพิมพ์ทีส่ ามารถพิมพ์ได้คร้ังละ 2-4 สี หรือมากกว่านั้น
ซึง่ ปจั จบุ นั ทำได้สำเร็จและมี ประสิทธิภาพดี การพิมพ์ระบบนีเ้ ป็นที่นิยมกันมากในเมืองไทย ซึ่ง
แต่ละแบบแต่ละรุ่นจะมี ส่วนประกอบแตกต่างกันเล็กน้อย ค่าใช้จ่ายในการพิมพ์ขึ้นอยู่กับ
จำนวนสีที่พิมพ์ ถ้าต้องการพิมพ์สี เดียวไม่ว่าจะเป็นสีใดก็ตาม กระดาษจะพิมพ์ผ่านเพลท
แมพ่ มิ พเ์ พียงครงั้ เดียว ถ้าตอ้ งการพมิ พ์ มากกว่าหนึ่งสี กระดาษกจ็ ะผ่านแม่พิมพ์ตามจำนวนสี
ซึ่งทำให้ค่าใช้จ่ายเพิม่ มากขึ้นไปด้วย ลกั ษณะ ของสิ่งพิมพ์ที่ควรพิมพ์ด้วยระบบออฟเซท

4.1 ควรมีจำนวนพิมพ์ตั้งแต่ 3,000 เล่มขึ้นไป จำนวนน้อยกว่านี้ ราคา
ตอ่ หน่วยจะสูง

4.2 งานพิมพท์ ีม่ ีภาพประกอบมาก โดยเฉพาะภาพสอดสี จะได้งานที่มี
คุณภาพเหมือนต้นฉบับมาก

4.3 เปน็ งานพิมพ์ที่ต้องการความเร็ว
4.4 การออกแบบและจัดทำต้นฉบับได้อย่างอิสระ มีเทคนิคการพิมพ์
มากทำให้นกั ออกแบบ แสดงฝีมอื ได้อยา่ งเตม็ ที่
จากอดีตจนถึงปัจจุบัน มนุษย์ได้ค้นคิดระบบและวิธีการพิมพ์ขึ้นมากมาย สามารถ
จดั เปน็ กลุ่มตามลกั ษณะแมพ่ ิมพไ์ ด้ดังนีค้ ือ การพิมพ์ระบบเลตเตอรเ์ พลท โดยใช้แม่พิมพ์ผิวนูน

295

โดยการหล่อด้วยโลหะ การพิมพร์ อ่ งลึก ใช้แมพ่ ิมพ์เปน็ ร่องหรือเป็นบอ่ เวลาพิมพ์ต้องใช้แรงกด
มาก กระดาษหนาพอสมควร การพิมพร์ ะบบออฟเซท ใช้แม่พิมพ์พื้นราบ ส่วนที่เป็นพืน้ แม่พิมพ์
กับ ส่วนที่ ต้องการพิมพ์อยู่บนระนาบเดียวกัน ระบบนี้มีแท่นพิมพ์หลายขนาด พิมพ์สอดสี
สวยงาม เปน็ ระบบที่ นิยมใชก้ นั อยใู่ นประเทศไทย ระบบซิลค์สกรีนนี้ แมพ่ ิมพ์เปน็ ตระแกรงไหม
ใช้ยางปาดเวลาพิมพ์

ระบบการพมิ พ์
ระบบการพิมพแ์ บบ 4 สี (CMYK) เปน็ ระบบสีที่ใช้กับเคร่อื งพิมพ์ ซึ่ง CMYK น้ัน ได้แก่สี
ตา่ งๆ ดังน้ี

ภาพที่ 9.45 ระบบการพิมพ์แบบ 4 สี
ภาพจาก : http://www.meedesign.com/cmyk.html
- Cyan ฟ้าอมเขียว
- Magenta แดงอมม่วง
- Yellow เหลือง
- Key สีดำ (สีดำ ไม่ใช้ B แทน Black เพราะจะสบั สนกบั Blue)
ระบบสี CMYK จะถูกนำมาใช้ในการพิมพ์สื่อสิ่งพิมพ์ต่างๆ เช่น พิมพ์กล่อง พิมพ์สมุด
พิมพ์หนังสือ พิมพ์การ์ด พิมพ์ปฏิทิน พิมพ์ถุงกระดาษ เป็นต้น อาจจะพิมพ์ 1 2 3 4 สีก็ได้
ขึ้นอยู่กับการออกแบบงาน และความเหมาะสม ซึ่งปกติการเลือกใช้สีนั้น จะมีด้วยกันอยู่ 2
แบบ คือ CMYK และ RGB สามารถแบง่ แยกประเภทการใช้งานได้ง่ายๆ นั่นก็คือ ถ้าเป็นสีที่ต้อง
พิมพ์ออกมา ไม่ว่าจะพิมพ์ในรูปแบบใดก็ตาม จะต้องใช้ค่าสีของ CMYK แต่ถ้าต้องการสีที่
แสดงผลออกทางหน้าจอ เชน่ Banner โฆษณาบนเว็บไซต์ หรอื บนสื่อ Social Media ต่างๆ ก็จะ
เลือกใช้ RGB เท่าน้ัน

296

ในปจั จุบนั นเี้ ทคโนโลยีการพิมพต์ า่ งๆ ได้มกี ารพฒั นาไปอยา่ งรวดเรว็ ซึง่ เทคโนโลยีการ
พิมพ์ในรูปแบบต่างๆ ส่วนใหญ่นั้นจะต้องดูด้วยว่าชิ้นงานที่ได้ทำการออกแบบมานั้นมีความ
เหมาะสมกับเทคโนโลยีการพิมพ์ในรูปแบบไหน ซึ่งถ้าอยากได้คุณภาพงานพิมพ์ที่ออกมามี
คุณภาพสูงสุด ก็ต้องเลือกประเภทการพิมพ์ให้เหมาะกับงานด้วย ซึ่งสามารถแบ่งระบบการ
พิมพต์ ามลกั ษณะของการพมิ พส์ ามารถจัดได้เป็นดงั น้ี

1. การพิมพอ์ อฟเซต็ (OFFSET PRINTING)
การพิมพ์ออฟเซต หรือการพิมพ์ลูกกลิ้งคู่ เป็นเทคนิคการพิมพ์ชนิดหนึ่งซึ่งใช้ลูกกลิ้ง
(นิยมเรียกวา่ โม) เกลีย้ งทำดว้ ยยาง ถ่ายทอดหมกึ จากลูกกลงิ้ แม่แบบ ก่อนจะถา่ ยทอดหมึกลง
สู่กระดาษ ซึ่งต่างจากการพิมพ์ลูกกลิ้งเดี่ยว (rotary press printing) หรือการพิมพ์แบบประทับ
อักษร (letterpress printing) ที่ใชแ้ ม่แบบกดลงบนกระดาษโดยตรง การพิมพล์ กู กลิ้งคู่พัฒนาขึ้น
ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2418 เพื่อใช้พิมพ์บนผิวดีบุกและต่อมาได้พัฒนาเป็นการพิมพ์บนกระดาษ การ
พิมพ์ลูกกลิง้ คูม่ ลี ักษณะคล้ายกับการพิมพ์ด้วยหนิ ซึง่ เป็นการเขียนแผ่นหนิ เรียบด้วยไข บริเวณ
ที่เหลือจะถูกทาด้วยกรดให้หินพรุนและซับน้ำ เมื่อช่างพิมพ์ทาหมึกแล้ว หมึกจะติดบริเวณไข
สว่ นบริเวณที่ไม่มไี ขหมกึ จะถูกชะออกได้ง่าย เมือ่ ชะหมกึ แล้วจงึ พิมพ์เช่นเดียวกับการพิมพ์แบบ
ประทับอักษร พื้นผิวของแม่พิมพ์ที่ใช้ในการพิมพ์นี้ทุกๆ บริเวณมีความราบเรียบเท่ากันทั่วทั้ง
แผ่น จึงเรียกว่า การพิมพ์พื้นราบ (Planographic Printing) มีการแยกส่วนบริเวณที่เป็นภาพกับ
บริเวณที่ไร้ภาพ แม่พิมพ์ออฟเซตส่วนใหญ่ทำจากอะลูมิเนียมแผ่นที่เคลือบด้วยสารไวแสง(
เพือ่ สร้างภาพลงบนแม่พมิ พ์ ส่วนที่โดนแสงมันจะรวมตัวกนั เปน็ ส่วนทีแ่ ข็ง ทำให้ไม่ละลายเม่ือมี
การ สร้างภาพขึ้น )
หลกั การ ใช้นำ้ มนั ไมร่ วมตัวกบั น้ำหรือรวมตวั กนั น้อยมาก(น้ำกับหมึก) ออฟเซตจึงเป็น
ระบบการพิมพ์ประเภทเดียวที่ต้องใช้น้ำในการพิมพ์เพื่อให้น้ำเกาะบริเวณไร้ภาพและให้หมึก
เกาะบริเวณภาพ ออฟเซ็ตเป็นระบบพิมพ์ที่เป็นการพิมพ์ทางอ้อม (indirect printing) คือ
แม่พิมพ์อะลูมิเนียมจะไม่ถ่ายทอดภาพลงบนวัสดุที่ใช้พิมพ์โดยตรง ลักษณะการทำงานจะเริ่ม
จากลูกกลิง้ ที่เป็นอะลมู ิเนยี มจะผ่านลูกกลิ้งทีเ่ ป็นผ้าทีค่ อยดูดซบั น้ำเพือ่ ทำความสะอาดลูกกลิ้ง
ในครั้งแรกและทำให้ส่วนที่มีขั้วบนแม่พิมพ์ติดกับส่วนที่มีขั้วของน้ำจากนั้นลูกกลิ้งจ ะหมุนผ่าน
ส่วนที่เป็นลกู กลิง้ หมึกเพือ่ ให้เกิดการตดิ สีเฉพาะสว่ นการผา่ นลูกกลงิ้ หมึกสีน้ีจะผ่านได้คร้ังละสี
ไม่สามารถผ่านหลายๆสีพร้อมกันได้ จากนั้นลูกกลิ้งอะลูมิเนียมที่ติดสีแล้วจะถ่ายโอนน้ำหมึก
และน้ำไปบนลูกกลิ้งทีถ่ ูกหุ้มด้วยผ้ายางที่เป็นสื่อกลางระหว่างแม่พิมพ์กับวัสดุที่ใช้พิมพ์ โมยาง
(แบบแขง็ )จะรับภาพจากแม่พิมพ์และมาถ่ายทอดลงบนวัสดทุ ี่ใช้พิมพ์อีกทีจะมีลูกกลิ้งยาง(แบบ

297

นิม่ )อีกหนง่ึ ลกู คอย กดให้ภาพที่ถกู ถ่ายมาบนวสั ดุทีใ่ ชพ้ ิมพท์ ำให้มกี ารพิมพท์ ี่เรียบเนียนและติด
สีได้แนน่ ทำใหไ้ ด้ภาพตามทีต่ อ้ งการ

ภาพที่ 9.46 การพิมพ์ออฟเซต็
ภาพจาก : https://www.ipaksolution.com/packaging/center/3
เครื่องพมิ พอ์ อฟเซตแบง่ ออกเป็น 2 ประเภทใหญ่ คือ
1. ประเภทที่หนึ่ง คือ แบบหน่วยพิมพ์ สามโม (three-cylinder unit) ส่วนใหญ่ใช้ใน
เครื่องพมิ พ์ป้อนแผน่ หรอื เครื่องพมิ พ์อัดสำเนาหรอื ออฟเซตเล็ก
2. ประเภทที่สอง คือ แบบโมยางสัมผัสโมยางหรือโมยางชิดกัน(blanket to blanket) ใช้
โมยางสองลูกสัมผัสกันโดยไม่มีโมกดพิมพ์ ใช้กบั งานพิมพ์บนสิง่ พิมพ์ที่ต้องทำการพิมพ์ท้ังสอง
ด้าน (perfecting) ในการป้อนกระดาษเพียงครั้งเดียว
ข้อดขี องการพมิ พด์ ้วยระบบออฟเซต มีดังนี้
1. พิมพส์ ีพ้ืนทึบบริเวณภาพที่กว้างใหญไ่ ด้สีทีเ่ รียบ เมือ่ เปรียบเทียบกบั ระบบอืน่ ๆ
2. ใช้เวลานอ้ ยในงานเตรียมพิมพ์สำหรบั ผทู้ ีม่ คี วามชำนาญในการควบคมุ เครื่อง
3. การเก็บและจัดหาพืน้ ทีเ่ กบ็ แม่พมิ พ์คอ่ นข้างเปน็ ไปได้งา่ ยเพราะเปน็ แผน่ แบนราบ
4. ความนุ่มของผ้ายางทำใหส้ ามารถพิมพ์บนวสั ดุสิง่ พิมพ์ทีม่ ีพ้ืนผวิ หยาบได้
5. จดุ บริการผลิตสิ่งพิมพม์ แี พรห่ ลายจึงหาแหล่งผลติ งานได้ไมย่ าก
6. เปน็ งานพิมพ์ที่มีความละเอียดสูงมาก หากมีการควบคมุ คณุ ภาพที่ดี จะได้งานพิมพ์
ที่เหมอื นจรงิ มาก
ข้อเสียขอการพิมพ์ดว้ ยระบบออฟเซต มีดงั นี้
1. การควบคุมกาผลิตมีความยุ่งยากซับซ้อนระหว่างน้ากับหมึกบนแม่พิมพ์ต้องใช้
ความรทู้ กั ษะ

298

2. การสูญเสียของกระดาษสูญเสียมากกว่าการพิมพ์ในระบบอื่นๆ เนื่องจากปัญหาหา
ปรับสมดุลการป้อนหมกึ และนำ้

3. การควบคุมอุณหภมู ิห้องพิมพ์ต้องมีความระมดั ระวังสูง เพราะระบบพิมพ์นี่มีน้ำเป็น
สว่ นประกอบ จะทำให้ความชืน้ สมั พัทธ์ในหอ้ งสูงมีผลทำให้กระดาษ ยืดหดตัวได้สงู

2. การพมิ พเ์ ลตเตอรเ์ พรส (LETTERPRESS PRINTING)

ภาพที่ 9.47 การพิมพ์เลตเตอรเ์ พรส
ภาพจาก : https://www.caspaper.com/
การพิมพ์เลตเตอร์เพรส เป็นวิธีพิมพ์ระบบเก่าแก่ คิดค้นโดย โยฮานน์ กูเตนเบิร์ก
(Johann Gutenberg) เมื่อราว 500 ปีก่อน ซึ่งเป็นระบบการพิมพ์ที่ใช้แม่พิมพ์โลหะ ที่เรียกว่า
“ตัวตะกั่ว” โดยทำแม่พิมพ์จากโลหะ เป็นตัวอักษรแล้วนำมาเรียงเป็นคำ ประโยค ทำให้
สามารถถอดนำมาใช้ซ้ำได้ ซึ่งวิธีนี้ทำให้สามารถสร้างแม่พิมพ์ได้อย่างรวดเร็ว แทนการ
แกะสลักแม่พิมพ์จากไม้ และการพิมพ์ด้วยวิธีนี้ก็ทำให้ การพิมพ์เข้าสู่ยุครุ่งเรือง สามารถทำ
หนังสือได้จำนวนมากได้อย่างรวดเร็ว ทำให้ความรู้ต่างๆสามารถส่งต่อไปได้ดีขึ้น ในประเทศ
ไทยการพิมพ์ชนิดนี้ก็เป็นที่นิยมและใช้การอย่างแพร่หลาย โดยผู้ที่นำการพิมพ์วิธีนี้เข้ามาคือ
หมอบรัดเลย์ ในสมัยรัชกาลที่ 3 จากนั้นเป็นต้นมา การพิมพ์ของไทยก็พัฒนาเรื่อยมา เกิดโรง
พิมพข์ นึ้ มามากมาย เกิดอาชีพช่างพิมพ์และช่างเรียงพิมพ์ คือ ผทู้ ี่มหี น้าที่เรียงตัวตะกั่ว ให้เป็น
คำประโยคเป็นหน้า ๆ ซึ่งต้องใช้ผู้ที่สามารถอ่านหนังสือตัวกลับได้รวดเร็ว และถูกต้อง โดยใน

299

สมัยกึ่งพุทธกาล ปี 2500 สมัยนั้นโรงพิมพ์ที่มีชื่อสร้างหลายโรง อยู่ที่เยาวราช เช่น โรงพิมพ์บุ้
นเม้ง และงานสว่ นใหญ่ก็ใช้วธิ ีพิมพ์ด้วย ตวั ตะกว่ั จากฝีมือช่างเรียงพมิ พ์

ภาพที่ 9.48 การพิมพ์เลตเตอรเ์ พรส
ภาพจาก : https://papermore.co/2019/04/25/letterpress-printing-การพิมพ์เลตเตอรเ์ พร/

ตามลักษณะการพิมพ์แบบเลตเตอร์เพรส ใช้แม่พิมพ์ทำจากโลหะกัดผิวจนเป็น
ตัวอักษร แต่ละตัวเรียงกัน เพื่อรับหมึกแล้วกดทับลงบนกระดาษ ลักษณะเด่นที่เป็น
เอกลกั ษณ์เมือ่ พมิ พ์แบบเลตเตอร์เพรสคือ ในงานพิมพ์จะมี ผวิ ไมเ่ รียบเปน็ ลักษณะเฉพาะ หมึก
จะหนาตามบริเวณขอบ และด้วยการพิมพ์ที่มีแรงกด ทำให้ได้ผิวต่างระดับ เหมือนการปั๊มจม
เป็นเอกลกั ษณข์ องเลตเตอร์เพรส

ปัจจุบันมีระบบพิมพ์ที่ทันสมัยมากมาย ทำให้เลตเตอร์เพรสมีบทบาทสำคัญน้อยลง
เนื่องจากการทำแม่พิมพ์ลำบากและใช้เวลานานในการเรียงตัวอักษรให้เป็นคำ แต่ภาพที่ได้นั้น
กลบั ดแู ปลกตา คงความคลาสสิค มีความเหล่ือมของหมึกให้เห็น อันเปน็ เอกลกั ษณ์ะและสเน่ห์
เฉพาะตัวของการพิมพ์ระบบนี้ ทำให้ระบบเลตเตอร์เพรสได้กลับมา ในรูปแบบการพิมพ์ที่ใช้
ความปราณีต มีความคราฟ และทำมือ เป็นความไม่สมบูรณ์ที่น่าหลงใหล เลตเตอร์เพรสจึง
เหมาะกับงานที่เน้นความเป็นศิลปะ อาจใช้ทำนามบัตร หรือการ์ดแต่งงานที่ต้องการความ
พิเศษ และรูปแบบ ทีก่ ารพิมพ์สมยั ใหม่ใหไ้ ม่ได้ ช่วยสร้างภาพจำให้กบั ชนิ้ งาน

ภาพที่ 9.49 การพิมพ์เลตเตอรเ์ พรส
ภาพจาก : https://papermore.co/2019/04/25/letterpress-printing-การพิมพเ์ ลตเตอรเ์ พร/

300

ภาพที่ 9.50 การพิมพเ์ ลตเตอรเ์ พรส
ภาพจาก : https://designshack.net/articles/inspiration/getting-started-with-letterpress-

printing/
ลกั ษณะเดน่ ของการพมิ พร์ ะบบเลตเตอรเ์ พรสคือ
1. สามารถใช้เครื่องพิมพ์ทำหน้าที่หักสัน ปรุ ปั๊มนูน ปั๊มทองได้ ซึ่งเครื่องพิมพ์
ระบบอืน่ ทำไม่ได้
2. ในการพิมพ์พื้นทึบ (Solid) หรือที่เรียกว่า "พื้นตาย" กล่าวคือ สิ่งพิมพ์ที่มีสี
เรียบ เมื่อพิมพ์ด้วยระบบเลตเตอร์เพรส บนกระดาษไม่เคลือบผิว มักแสดงให้เห็นงานพิมพ์ที่
พิมพ์ไม่ทั่ว (Non-Buttoming) อยู่เสมอ เนื่องจาก หมึกพิมพ์ไม่ สามารถ ลงไปสัมผัสได้สุดรอย
ขรขุ ระ
3. หมึกจะหนาตามบริเวณริมขอบตัวอักษร และเม็ดกรีนทั้งมักจะมีรอยแตก
จากตัวอกั ษรหรอื เมด็ สกรีน เนื่องจากระบบการพิมพพ์ ้ืนนูน จากพืน้ เมือ่ มา กระทบกับกระดาษ
และ จะพบมากในจะทำให้เกิดการอัดรีดหมึก (Ink-Squeeze) ไปตามขอบภาพกระดาษ ที่
เคลือบผวิ มัน
4. จะมีรอยนูนที่ด้านหลังของกระดาษงานพิมพ์ เนื่องจากแรงกดของแม่พิมพ์
นนู ตอ่ กระดาษ
สิ่งพิมพ์ทเ่ี หมาะสมกบั การพมิ พ์ระบบเลตเตอร์เพรสส์

1. มีจำนวนพิมพ์ไมเ่ กิน 2,000-3,000 ชดุ
2. ไมต่ ้องการคณุ ภาพสงู มาก
3. มีภาพประกอบน้อย
4. ไมค่ วรเป็นงานพิมพ์หลายสี
5. ต้องมีเวลาทำงานพิมพ์นานพอสมควร
6. มีงบประมาณในการพิมพจ์ ำกดั

301

3. การพิมพซ์ ลิ คส์ กรนี (SILKSCREEN PRINTING)

ภาพที่ 9.51 การพิมพ์ซิลคส์ กรีน
ภาพมาจาก : https://makezine.com/
ระบบพิมพ์สกรีน เป็นระบบการพิมพ์ที่ใช้หลักการปาดสีหรือหมึกพิมพ์ผ่านผ้าสกรีน
หรือแผ่นโลหะตาข่ายโดยปิดและเปิดบริเวณรูสกรีนเพื่อให้สีผ่านได้หรือไม่ผ่านให้ได้ลายภาพ
ตามความต้องการ
ประเภทของเครอ่ื งพิมพซ์ ิลสกรีน
1. เครื่องพิมพ์แบบแฟลท (flat-bed screen printing) มีทั้งเป็นระบบพิมพ์ด้วยมือและ
พิมพอ์ ตั โนมัติ
1.1 เครือ่ งพมิ พ์แบบแฟลทแบบพิมพ์ด้วยมือ (Manual flat-bed screen printing)
ใช้กับงานผลิตจำนวนน้อย มักใช้เป็นเครื่องมอื ในการทดสอบพิมพ์ ทดสอบหมกึ ทดสอบสี ฯลฯ
1.2 เครื่องพิมพ์แบบแฟลทแบบอุตสาหกรรม (Industrial flat-bed screen
printing) เป็นเครื่องพิมพ์อัตโนมัติมีทั้งแบบเป็นสายพานลำเลียงที่เหมาะกับการพิมพ์พิมพ์งาน
เป็นมว้ นและแบบพิมพง์ านเป็นชิน้
2. เคร่อื งพิมพโ์ รตารี (rotary screen printing) พบมากในอุตสาหกรรมพิมพผ์ ้า

302

วัสดอุ ุปกรณ์ใช้ทำแมพ่ ิมพ์

ภาพที่ 9.52 วัสดุอปุ กรณ์ใช้ทำแม่พมิ พ์ซิลค์สกรีน
ภาพจาก : https://www.pinterest.co.kr/pin/480618591458399732/
1. กรอบสกรีน ถ้าเป็นกรอบอลูมิเนียม น้ำหนักเบา ง่ายต่อการใช้งาน ไม่ขึ้น
สนิมเหมือนกรอบเหล็กและไม่โกงโค้งงอเหมอื นกรอบไม้ แต่ ราคาแพง ไม่ทนกรด ด่าง

ภาพที่ 9.53 กรอบสกรีน
ภาพจาก : https://www.standardscreen.com/
https://screenprintworld.co.uk/product/high-tension-screen-newman-roller-frame/
2. ผ้าสกรีน ที่นิยมใช้ในปัจจุบันคือ ผ้าไนล่อน และผ้าพอลิเอสเตอร์ สำหรับ
การพิมพ์ด้วยหมึก ยูวี ควรใช้ผ้าประเภท พอลิเอสเตอร์ เพราะสามารถปรับรีจิสเตอร์
(Register) ได้ง่าย และมีสภาพการตึงตัว ทำให้สามารถพิมพ์ได้ตั้งแต่เริ่มพิมพ์จนกระทั่งเสร็จ

303

งานโดยไม่มีปัญหาการพิมพ์เหลื่อม (Misregister) เกิดข้ึน ในขณะทีผ่ า้ ไนล่อนมักจะมีการยึดหด
ตัวสูงเมื่อมีการเปลี่ยนความชื่นหรือฝนตกโดยเฉพาะอย่างยิ่งห้องพิมพ์ ที่ไม่ได้อยู่ในห้องปรับ
อากาศและไม่สามารถรกั ษาความชืน้ ใหค้ งที่เปน็ ต้น

ภาพที่ 9.54 ข้ันตอนการสกรีน
ภาพจาก : https://4.bp.blogspot.com/
การทำแมพ่ ิมพห์ รอื บลอ็ กสกรีน
1. การขึงผ้า จำเป็นที่จะต้องทราบว่าผ้านั้นจะขยายตัวได้มากที่สุดเท่าไร
เพื่อให้สามารถขึงผ้าให้มีความตึงสูงสุดโดยผ้าสกรีนไม่ขาด จะทำให้ได้งานคุณภาพสูง การขึง
ด้วยอปุ กรณ์ซึ่งใช้หลกั การขึงด้วยระบบแมคานิค และระบบลม มีขอ้ ดี สามารถปรับความตึงได้
ตามต้องการและสามารถขึงกรอบสกรีนขนาดกว้างๆ ได้ ทุกครั้งที่ขึงผ้าเสร็จแล้ว จะต้อง
ตรวจสอบความตึงของบล็อกสกรีนที่ได้ด้วยอุปกรณ์ที่เรียกว่า Tension meter มีหน่วยเป็น นิว
ตนั /ซม.
2. การยึดติดกาวอัดบนผ้าสกรีน ผ้าสกรีนที่ดีจะต้องสามารถยึดติด (bonding)
กาวอัดหรือสารเคลือบไวแสงได้ดี ขึ้นอยู่กับปัจจัย 2 ประการ คือ การฉายแสง (exposure)
กบั การปรบั ผวิ ผา้ (pretreatment) ก่อนเคลือบกาวอดั
3. ขั้นตอนการปรับผิวผ้าสกรีน ประกอบด้วยการขัดผิวผ้าสกรีนให้หยาบ
(roughening) เพิ่มพื้นที่ผิวสำหรับผ้าสกรีนที่เริ่มใช้งานครั้งแรก แล้วตามด้วยการทำความ
สะอาดล้างไขมันออก พบว่าในปัจจบุ นั สำหรบั โรงพมิ พ์ที่ตอ้ งผลิตกรอบสกรีนจำนวนมาก ๆ ใน
แต่ละวัน มักจะใช้ผ้าสกรีนรุ่นใหม่ที่ได้ถูกพัฒนาขึ้น ซึ่งไม่จำเปน็ ต้องให้ผู้ใช้ทำการปรับผิวก่อน
อีกต่อไป เพราะได้ถูกทำมาก่อนแล้วที่โรงงานผู้ผลิต ข้อดขี องการปรับผวิ นอกจากจะทำให้กาว
อัดยึดติดกับบล็อกได้ดีแล้ว ยังช่วยยืดอายุของบล็อกในระหว่างพิมพ์งานด้วย เนื่องจากต้อง

304

สัมผัสกับหมึกพิมพ์และวัสดุพิมพ์ตลอดเวลา ได้มีการทดสอบจากผู้ใช้ผ้าสกรีนรุ่นใหม่ที่มีการ
ปรับผิวมาก่อนแล้ว พบว่าผ้าสกรีนประเภทนี้จะสามารถเพิ่มความคงทนของบล็อกสกรีนได้
นานถึง 2-3 เทา่ ของผ้าสกรีนปกติที่ไม่ได้ปรับผิวหน้าเลย

การเคลือบกาวอดั บล็อกบนผ้าสกรนี ปัจจุบันการทำบล็อกสกรีนมี 3 ระบบ คอื
1. ระบบทางอ้อม ใช้หลักการง่ายๆ คือ นำฟิล์มไวแสงสำเร็จรูปที่ผสมสาร

เจลาตินมาปะติดบนบล็อกสกรีนเท่านั้น ก็พร้อมที่จะนำไปฉายแสงได้ทันที มีการใช้มากว่า 50
ปี และยังคงใช้กนั อย่ทู ุกวนั นใี้ นบางอุตสาหกรรม ฟิล์มประเภทนี้สามารถใหภ้ าพบนบลอ็ กสกรีน
ที่มีคุณภาพสูง ผิวบาง ใช้กับงานพิมพ์จำนวนไม่มากนัก ไม่เหมาะสมกับหมึกที่มีส่วนผสมของ
สารละสายรนุ แรง ไมท่ นน้ำ ควรใช้ผ้าสกรีนที่มเี บอรล์ ะเอียด ต้องใช้สารเคมีเฉพาะพร้อมกับน้ำ
ร้อนในขั้นตอนการลา้ ง และไมท่ นตอ่ สารละลายทำความสะอาดบนเครือ่ งพิมพ์

2. ระบบใช้ฟิล์มแคปิลารี เป็นฟิล์มไวแสงสำเร็จรูปเช่นกัน แต่สารอิมัลชั่นเป็น
พอลิเมอร์ เริ่มใช้งานมาตั้งแต่ต้นปี พ.ศ. 2523 ผู้ใช้ส่วนใหญ่เปลี่ยนจากทางอ้อม มาใช้ฟิล์ม
ประเภทนี้ เพราะทนต่อน้ำและตัวทำพละลายได้ดี ทั้งยังมีความหนาแตกต่างกันด้วย แล้วแต่
ความตอ้ งการชองผู้ใชแ้ ละประเภทของงานพิมพ์

3. ระบบทางตรง วิธีนเี้ ปน็ การเคลือบกาวอดั ไวแสงโดยตรงบนผ้าสกรีนซึ่งได้มี
การพฒั นาให้มคี ณุ ภาพใกล้เคียงกับฟิลม์ มีอยู่ 3 แบบ ดงั นี้

3.1 ส า ร ป ร ะ เ ภ ท ไ ด อ ะ โ ช ( Daiazo sensitized emulsion) ไ ด ้ แ ก่
สารประกอบไดอะโซผสมกับพอลิไวนิลแอลกอฮอล์ (PVOH) ซึ่งจะทนต่อตัวทำละลายได้ดี
นอกจากนี้ยังประกอบด้วยพอลิเมอร์ไวนิลอะซิเดท (PVAC) เป็นสารช่วยเพิ่มส่วนเนื้อ (solid
content) ของกาวอดั ทำให้การยึดเกาะระหวา่ งเส้นใยของผา้ สกรีน และความทนทานของบล็อก
สกรีน

3.2 สารประเภทไดอะโซโฟ โต้พอลิเมอร์ (Diazophotopolymer
emulsion) สารนี้อาจเรียกอีกชื่อว่า dual cure emulsion ประกอบด้วยพอลิเมอร์ไวแสงกับสาร
กระตนุ้ ให้เกิดปฏิกิริยา พอลิเมอร์ไรเซช่นั (photoinitiator) เปน็ องคป์ ระกอบสำคัญ แต่อย่างไรก็
ตามยังตอ้ งเติมสารไดอะโซ ผสมไปด้วย เพื่อให้ปฏิกิริยาเกิดได้เร็วและสมบรู ณย์ ิง่ ขึน้

3.3 สารประเภทโฟโต้พอลิเมอร์ (photopolymer emulsions) มีสมบัติ
แตกต่างจากสาร 2 ประเภทแรก ตรงที่กาวอัดประเภทนี้จะไว ต่อแสงอยู่แล้ว โดยไม่ต้องใส่
ตวั เรง่ ปฏิกิริยาจะใช้เวลาฉายแสงน้อยมากจึงเหมาะสมกับงานประเภทที่ต้องการบล็อกที่มีการ
เคลือบหนาๆ เช่นงานพิมพผ์ ้า พืน้ กระเบือ้ ง กาวอดั ประเภทนี้จะมีราคาแพง

305

การควบคมุ ขัน้ ตอนงานพิมพ์ซลิ ค์สกรีน
เริ่มด้วยขั้นตอนงานเตรียมพิมพ์ (made ready) ขอแนะนำให้ใช้อุปกรณ์และเครื่องวัด
ต่างๆ เข้ามาช่วยจะดีกว่าที่จะใช้ประสบการณ์หรือความสามรถเฉพาะตัวของบุคคลใดบุคคล
หนึ่ง อุปกรณ์เหล่านี้จะช่วยทำให้ผลงานที่ออกมามีคุณภาพที่สม่ำเสมอและแน่นอน และ
สามารถกำหนดเป็นคา่ มาตรฐานใช้อา้ งองิ หรอื หาสาเหตุของปญั หาได้ง่ายขึ้น

ภาพที่ 9.55 อุปกรณ์ในการพิมพ์ซิลค์สกรีน
ภาพจาก : https://www.sanook.com/home/9845/
1. อุปกรณท์ ่ใี ช้

1.1 เครื่องมือวัดความตึงของผ้าสกรีน (Tension meter) จะใช้ใน
ระหว่างทำการขงึ ผา้ เพื่อควบคุมให้ผา้ มีความตึงตามความตอ้ งการและสมำ่ เสมอ นอกจากนี้ยัง
ใช้วัดประสิทธิภาพของเครื่องขึงผา้ ด้วย ตลอดจนกรอบสกรีนระหว่างการใช้งานว่ายังมีความตึง
อยู่ในเกณฑห์ รือไม่

1.2 เครื่องวัดความชื้นบนผิวกาวอัด (Surface moisture meter) ใช้
กรอบสกรีนที่ทำการเคลือบกาวอัดแล้ว ว่าแห้งดีหรือยังก่อนที่จะนำไปฉายแสง ถ้ากาวอัดยัง
แหง้ ตวั ไม่ดีพอจะมีผลต่อความไวแสง การยึดเกาะของกาวและความคมชัดของภาพ

1.3 เครือ่ งวดั ความเรียบของกาว (Surface roughness meter) บ่อยครั้ง
ที่พบว่าบล็อกสกรีนมีความเรียบดี โดยดูผ่านกล้องขยาย แต่คุณภาพสิ่งพิมพ์กลับดูไม่ดี ทั้งนี้
เนื่องจากผิวของตัวกาวเองไม่เรียบพอที่จะสามารถเก็บรายละเอียดของภาพได้ดี เพราะมี
องคป์ ระกอบที่เป็นเน้ือกาว (Solid content) น้อยหรอื เคลือบบางเกินไป ดังนน้ั เคร่ืองนี้จะช่วยวัด
ความเรียบเพื่อกำหนดเป็นมาตรฐานได้ ถ้าตัวเลขมากหมายความว่า ผิวของกาวอัดขรุขระ (ไม่
เรียบ)

306

1.4 เครือ่ งวดั ความหนา (Thickness gauge meter)
1.5 เครื่องวัดความเข้มรังสียูวี (Radio-meter) เครื่องนี้มีความจำเป็น
ในการตรวจสอบ หรอื วดั ความเข้มของรงั สียูวี และยงั ชว่ ยการตัดสินใจในการกำหนดระยะห่าง
ระหว่างหลอดกำเนิดรังสยี วู ี กับกรอบสกรีน วา่ ควรเป็นเท่าใดเพื่อให้ความเข้มขน้ ของ
รงั สยี ูวี ณ บริเวณกึ่งกลางและขอบบล็อกสกรีนเท่ากัน
2. ข้นั ตอนพิมพ์

ภาพที่ 9.56 ขั้นตอนพิมพ์ซิลคส์ กรีน
ภาพจาก : https://www.sifubeg.com/apa-beza-sublimation--heat-press--

dan-silk-screen-t-shirt-printing
2.1 ลำดับสีในการพิมพ์สามารถเปลี่ยนแปลงได้ตามลักษณะของ
ต้นฉบับ โดยปกติจะพิมพ์สีที่มีพื้นที่ในการพิมพ์มากที่สุดเป็นสีแรก และสีที่มีพื้นที่ใน
การพิมพน์ อ้ ยสดุ เป็นสีสุดท้าย

ภาพที่ 9.57 สีในการพิมพซ์ ิลคส์ กรีน
ภาพจาก : https://www.amusesilkscreen.com

307

2.2 การพิมพ์ด้วยหมึกยูวี จะต้องควบคุมการใช้หมึกพิมพ์ให้น้อยทีส่ ุด
เทา่ ทีจ่ ะทำได้ และสามารถเติมเจลใส (Transparent Base) เพื่อลดความเข้มของสีหมึกพิมพไ์ ด้

ภาพที่ 9.58 หมึกยูวี
ภาพจาก : https://thai.alibaba.com/
2.3 เทคนิคการพิมพ์ซึ่งถือว่ามีความสำคัญไม่น้อย และควรกำหนด
เปน็ มาตรฐาน ได้แก่
- ยางปาดควรทำมมุ 75 องศา กบั ผา้ สกรีน
- ยางปาดควรมคี วามแข็งอย่างน้อยสุด 75 องศาซอร์ (shore A)
- ไมค่ วรตง้ั แรงกดทีย่ างปาดหนกั เกินไป
- ยางปาดหมึกควรมีขนาดยาวกว่าขอบของภาพพิมพ์ข้างละ
ประมาณ 3 ซม.
- การพิมพ์หมึกยูวีควรใช้เบอร์ผ้าละเอียด ตัวอย่างเช่น 150.34
PW. ความตงึ 20-22 /cm (เวลาขึงผา้ = 25N/cm) เพือ่ ให้ได้ภาพทีด่ ที ี่สดุ
- ที่บล็อกสกรีนควรมีกาวอัดหนา 5-7 ไมครอน และค่าความ
เรียบน้อยกว่า 10 ไมครอน
- แหล่งกำเนิดแสงที่ใช้ฉายแสงแม่พิมพ์ ควรเป็นหลอดไฟประเภท
เมทัล เฮไลด์ ทีม่ ีกำลัง 2-5 kw
- อายกุ ารใชง้ านของหลอดยูวีปกติ 1,000 ชม. เมื่อใชค้ รบ 1,000
ชม. แล้วควรเปลี่ยนหลอดไฟใหม่ทันที

308

3. รูปร่างและการใชง้ านของยางปาดหมึก (squeegee)

ภาพที่ 9.59 ยางปาดหมกึ
ภาพจาก : https://www.skscreenprintingsupplies.com

https://endwellplus.com/
3.1 ยางปาดหมึกมี 2 ชนิด คือชนิดแข็งสำหรับใช้กับงานที่ต้องการ
ความทนทาน และในงานพิมพ์ที่ละเอียด ชนิดนิ่ม เหมาะสำหรับใช้พิมพ์บนวัสดุไม่เรียบ และ
ช่วยใหห้ มกึ ไหลออกจากช่องเปิดดีข้นึ
3.2 รูปร่างยางปาดหมึกได้มีการออกแบบให้เลือกหลายลักษณะ
เพือ่ ให้เหมาะกับงานแต่ละประเภทดังน้ี
- ทรงส่เี หลี่ยม พิมพ์บนพืน้ วสั ดผุ วิ เรียบ และให้หมึกพิมพ์ลงนอ้ ย
- ทรงส่เี หลี่ยมมมุ มน พิมพ์บนวัสดผุ วิ เรียบ และให้หมึกมากขึ้น
- ทรงเฉียงข้างเดียว พิมพ์บนวัสดุทีผ่ ิวหนา้ แขง็ เชน่ กระจก
- ทรงเฉียง 2 ข้าง หรอื รูปตัววีพิมพบ์ นวสั ดุผวิ ไม่เรียบเชน่ ทรงกลม
- ทรงรูปตวั ยู ใชง้ านที่ต้องการใหห้ มกึ ถา่ ยโอนลงมากๆ เช่น พิมพ์ผ้า
- ทรงเฉียง 2 ข้าง ปลายมน พิมพบ์ นเซรามิค และบนผ้าที่ตอ้ งการลง
หมกึ มากเปน็ พิเศษ
- ทรงขา้ วหลามตัด พิมพบ์ นภาชนะบรรจุภณั ฑ์
ข้อได้เปรียบของงานพิมพ์ซิลสกรีน
1. ให้สีสดใสมนั วาวสร้างช้ันหมึกพิมพไ์ ด้หนาทำให้สีพิมพ์คงทน ไม่หลดุ ลอก
ง่าย

309

2. รองรับวัสดุได้หลายประเภทซึ่งสามารถดัดแปลงรูปแบบแม่พิมพ์ให้พิมพ์บน
วัสดุพิมพ์ได้ทุกชนิดโดยเลือกหมึกพิมพ์ให้เหมาะกบั วัสดุพิมพ์ เชน่ แก้ว ไม้ กระดาษ

3. ใช้งานในสิ่งพิมพ์หลายประเภท เช่น เสื้อผ้า สิ่งทอ แผงวงจรอิเล็คทรอนิกส์
ขวดแก้ว พลาสตกิ บตั ร นามบตั ร การ์ดอวยพร งานโปรสเตอรข์ นาดใหญ่ งานศลิ ปะ ฯลฯ

4. คุณภาพงานพิมพต์ อ่ ชิน้ ค่อนข้างสมำ่ เสมอ ซึง่ เหมาะกบั งาน ฉลาก
5 เทคโนโลยีเปลี่ยนแปลงช้ามีจัดว่าเป็นสิ่งพิมพ์ที่มีวงจรชีวิตยาวดีต่อการ
ลงทนุ
6. เป็นระบบพิมพ์เป็นที่นิยมและใช้ในวงกว้างทำให้มีวัสดุอุปกรณ์จำหน่าย
มากมายหาซือ้ ได้งา่ ย
ข้อเสียเปรียบของงานพิมพ์ซิลสกรีน
1. ไม่เหมาะกับงานสอดสี งานไล่โทน งานที่มีรายละเอียดซับซ้อน เหมาะ
สำหรบั งานรูปแบบกราฟิคทีใ่ ช้สพี ิเศษ
2. ความเรว็ ในการพิมพย์ ังสรู้ ะบบพิมพ์อืน่ ๆ เช่น ออฟเซต กราววั ไม่ได้
3. ไม่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม แม้ว่าจะมีการสร้างหมึกพิมพ์ที่เป็นมิตรกับ
สิง่ แวดล้อม แตก่ ย็ ังเป็นความจริงที่การพิมพ์ซิลสกรีนจะทำให้น้ำเสียมาก น้ำที่จะใช้ในการผสม
หมกึ และทำความสะอาดแมพ่ ิมพ์
4. ระบบการพมิ พ์ดิจิทัล (Digital Printing)

ภาพที่ 9.60 ระบบการพิมพ์ดิจทิ ัล
ภาพจาก : https://miwservices.com/digital-printing

310

คือ เทคโนโลยีการพิมพ์ระบบดิจิตอล เป็นวิวัฒนาการการพิมพ์ยุคใหม่ เพราะอาศัย
เทคนิคการพิมพ์ที่ไม่จำเป็นต้องใช้แม่พิมพ์อีกต่อไป ปัจจุบันเครื่องพิมพ์ระบบดิจิตอลกำลัง
ได้รับความนิยมอย่างแพร่หลายกับวัสดุสิ่งพิมพ์ กระดาษ ตัวอย่างของเครื่องพิมพ์ระบบ
ดิจิตอล ได้แก่ พรินเตอร์ Ink jet และพรินเตอร์เลเซอร์ เป็นต้น การนำเครื่องพิมพแ์ บบดิจิตอล
มาใช้ในการพิมพ์สิ่งทอนั้นยังคงมีข้อ จำกัดอยู่มาก และต้องมีการลง ทุนการวิจัย และพัฒนา
ด้านนี้อีกมาก ในปัจจุบันข้อจำกัดของการพิมพ์ระบบดิจิตอลคือ ความเร็วที่ยังสู้การพิมพ์ด้วย
เครื่องพิมพ์สกรีนทรงกระบอกไม่ได้ แต่มีข้อได้เปรียบถ้าหากนำมาใช้ในการพิมพ์ปรู๊ฟสี ซึ่งทำ
ให้ลดต้นทุนการผลิตลงได้มากและช่วยทำให้ประหยัดเวลา เพราะไม่มีความจำเป็นต้องเตรียม
แม่พิมพ์ แต่ข้อจำกัดอันสำคัญคือความเร็วในการพิมพ์ที่ค่อนข้างช้าโดยเฉลี่ย 2 ตร.ม./นาที
ในขณะที่อัตราเร็วของการพิมพ์ด้วยเครื่องพิมพ์สกรีนทรง กระบอกเฉลี่ยอยู่ที่ 39 ตร.ม./นาที
ทำให้การเจริญเติบโตของตลาดเครื่องพิมพ์ดิจิตอลสำหรับการพิมพ์สิ่ง ทอมีอัตราการเจริญ
เติบโตที่ค่อนข้างต่ำ ส่วนใหญ่จะเป็นตลาดสำหรับการพิมพ์ปรู๊ฟ พิมพ์ภาพ ศิลปะบนเสื้อผ้า
และการพิมพ์ที่ มีจำนวนออเดอรต์ ำ่ และตอ้ งการความรวดเรว็ ในการส่งมอบ

ภาพที่ 9.61 ระบบการพิมพ์ดิจทิ ลั
ภาพจาก : http://www.srinakornkarnpim.co.th/
การพิมพ์ที่ใช้เครื่องพิมพ์ต่อพ่วงกับคอมพิวเตอร์ โดยรับข้อมูลภาพจากคอมพิวเตอร์
มาพิมพ์ เครื่องปรินเตอรท์ ี่อย่ขู องคนทั่วไป กเ็ ปน็ การพิมพด์ ิจติ อล แต่ยังไม่สามารถสนองความ
ต้องได้ครบถ้วน ทั้งด้านปริมาณ ,คุณภาพ ,เวลาทีใช้ในการพิมพ์ เช่น การทำโปสเตอร์ขนาด
A3 ประมาณ 100 แผน่ เครื่องปรินท์ตามบ้าน สามารถปรินท์ได้ แต่ คุณภาพ เวลา ที่ได้อาจทำ
ให้เจ้าของปรินท์เตอร์เกิดความรู้สึกไม่คุ้มค้า กับเวลาทีเสีย และได้มาซึ่งคุณภาพที่ไม่สามารถ

311

ตอบสนองการใช้งานได้ จึงเกิดเครื่องปรินท์ ที่มาตอบโจทย์ความต้องการในลักษณะนี้ คือ
เครื่อง Digital Press ที่ให้คุณภาพงานพิมพ์รายละเอียดใกล้เคียงกับระบบ offset มากจนแทบ
แยกไม่ออก และยังทำความเร็วได้ทันความต้องการ รวมถึงสามารถพิมพ์ได้หลากหลายวัสดุ
เช่น กระดาษปอนด์,กระดาษอาร์ตมัน, กระดาษมีลวดลาย, กระดาษหนาไม่เกิน 300 แกรม,
สติกเกอร์ pvc ขนุ่ -ใส, แผน่ ใส, สติก๊ เกอรว์ อยยเ์ ปลือกไข่, ฉลากสินคา้ , โฮโลแกรม ฯลฯ

ข้อดขี อง ระบบการพิมพ์ดิจติ อล (Digital Printing)
1. ประหยัดเวลาในการทำงาน ความสะดวกรวดเร็ว ลดขั้นตอนการทำฟิล์ม

และแมพ่ มิ พ์ หากงานทีต่ อ้ งการนั้นเรง่ ดว่ นก็เลือก แนะนำพิมพร์ ะบบดิจติ อล
2. แก้ไขงานได้ง่าย ในกรณีที่ต้องการแก้ไขเนื้อหาข้อมูล ก็แค่ส่งไฟล์ใหม่มา

แทนไฟล์เดิม ข้อมูลก็จะเปน็ ข้อมลู ใหม่ แก้ไขได้ทันที
3. ใช้งบประมาณน้อยกว่า (ในกรณีที่พิมพ์จำนวนน้อย) เพราะไม่ต้องทำเพลท

พิมพ์ ซึง่ ราคาโดยรวมเวลาจดั พิมพจ์ ะถูกกวา่
4. ประหยัดทรัพยากร เหมาะกับงานพิมพ์จำนวนน้อย ลดของเสียใน

กระบวนการผลิต เวลา,กระดาษ,หมึก,แรงงาน
5. มาตรฐานงานพิมพ์ มีระบบการควบคุมคุณภาพงานพิมพ์เท่ากันในทุกๆ

หน้า เนื่องจากไม่ต้องควบคุมหมึกและน้ำ เช่นการ พิมพ์ออฟเซ็ท (Offset Printing) ที่ต้องใช้ผู้
ควบคุมที่มคี วามชำนาญเปน็ พิเศษ

6. ผลิตตามจำนวนทีต่ ้องการ เหมาะสำหรับงานพิมพน์ ้อยกว่า 3000 ชุด หาก
ต้องการ 100 เล่ม ก็พิมพ์แค่ 100 เลม่ ไมต่ ้องพมิ พม์ ากกว่าจำนวนที่ต้องการ มีความยืดหยุ่นใน
การทำงาน

ข้อจำกัดของ ระบบการพิมพด์ จิ ติ อล (Digital Printing)
1. พิมพข์ นาดใหญส่ ดุ ได้ 480x310 มม.
2. กระดาษรองรับได้ 60-360 แกรม
3. เหมาะกับการพิมพ์งานจำนวนไม่เกิน 300-500 ชุด (ถ้าเกินกว่านี้พิมพ์

ระบบออฟเซท็ จะคุ้มคา่ กว่า)
4. มีปัญหาเร่อื งการพมิ พส์ ีพืน้ ตายที่จางจัดๆ หรอื เข้มจดั ๆ เหล่านี้จึงเป็นข้อพึง

หลีกเลี่ยงในการพิมพร์ ะบบดิจติ อล

312

5. การพิมพ์เฟลก็ โซกราฟี (FLEXOGRAPHY)

ภาพที่ 9.62 การพิมพ์เฟล็กโซกราฟี
ภาพจาก : http://www.d-conceit.com/printing-processes
คือการพิมพ์แมพ่ ิมพพ์ ื้นนูนประเภทหน่ึง มีหลักการเดียวกับการพิมพ์เลตเตอร์เพรสคือ
บริเวณภาพของแม่พิมพ์มีระดับนูนสูงกว่าบริเวณที่ไม่มีภาพ ระบบพิมพ์ เฟล็กโซกราฟี
(FLEXOGRAPHY) หรือที่เราเรียกกันสั้นๆ ว่า เฟล็กโซ (Flexo) นั่นเอง ระบบพิมพ์นี้ได้ถูกพัฒนา
มาอย่างต่อเนื่อง ทั้งในเรื่องของการผลิตบล็อคพิมพ์ และการพัฒนาเครื่องพิมพ์ อุตสาหกรรม
ทีใ่ ชร้ ะบบ เฟล็กโซกราฟี พิมพก์ ลุม่ หลกั ๆ ได้แก่ กลมุ่ กล่องกระดาษลูกฟูก กระสอบชนิดต่าง ๆ
แผ่นฟิล์ม ถุงหรือวัสดุอ่อนบางชนิดอื่น ๆ อีกมากมาย ในปัจจุบันระบบ เฟล็กโซกราฟี ถูก
พัฒนาอยา่ งมาก เพือ่ ให้ได้ภาพพิมพท์ ีส่ วยงาม ทั้งในด้านเคร่อื งพิมพ์ เฟลก็ โซกราฟี ที่สามารถ
พิมพ์ได้หลายสีมากขึ้น แม่พิมพ์เฟล็กโซกราฟี ที่เก็บรายละเอียดของเม็ดสกรีนได้มากขึ้น หมึก
พิมพ์ซึ่งถูกพฒั นาเทคโนโลยีจากผู้ผลิตอย่างต่อเนื่อง ทำให้ภาพพิมพ์ของระบบ เฟล็กโซกราฟี
ในปจั จุบนั มีความสวยงามตา่ งจากในอดีตมาก

ภาพที่ 9.63 การพิมพ์เฟลก็ โซกราฟี
ภาพจาก : http://www.quinl.com/

313

หลักการพิมพ์ระบบเฟล็กโซกราฟี นั้น แม่พิมพ์ทำด้วยยางบริเวณที่เกิดภาพจะนนู การ
ทำแมพ่ มิ พ์จะต้องทำแม่พิมพ์บนสังกะสีก่อนแล้วจึงเอา bakelite ไปทาบนแผ่นสังกะสี ทีก่ ัดกรด
เป็นแม่พิมพ์เมื่อถ่ายแบบมาแล้วนำแผ่นยางไปอัดบน bakelite จึงจะได้ แม่พิมพ์ยางออกมา
แม่พิมพ์ยาง ที่ได้เรียกว่า polymer plate ซึ่งเป็นยางสังเคราะห์ มีความเหมาะสมในการใช้งาน
เพราะทนทานรับหมึกได้ดี หมึกที่ใช้เป็นหมึกเหลว อาจเป็นหมึกพิมพ์ระบบน้ำหรือตัวทำ
ละลายก็ได้ มักแห้งตัวโดยการระเหย ต้องการแรงพิมพ์ต่ำเนื่องจากใช้แม่พิมพ์นุ่มและหมึก
พิมพ์เหลว

ระบบการพิมพ์จะมีลูกกลิง้ ยางจุ่มอยู่ในอ่างหมึก ทำให้ลูกกลิง้ ถกู เคลือบด้วยหมึกแบบ
บางๆลูกกลิ้งจะพาหมึกมาติดที่ลูกกลิ้งเหล็ก (anilox roller ลักษณะเป็น ลูกกลิ้งกราเวียร์แต่มี
สกีน (หลุมหมึก) ร้อยเปอร์เซนต์) ลูกกลิ้งเหล็กนี้จะถ่ายถอดหมึกไปให้ลูกกลิ้งที่มีแม่พิมพ์ยาง
หุ้มอีกลูกหนึ่ง ซึ่งลูกกลิ้งนี้จะเป็นลูกกลิ้งที่มีลกั ษณะนูนบริเวณที่รับภาพ จากนั้นแม่พิมพ์ยาง
จะถ่ายทอดหมึกลงบนผิว ของวัตถุ โดยมีลูกกลิ้งเหล็กอีกอันติดอยู่เป็นลูกกลิ้งกด คอยกดให้
หมกึ ซึมไปที่ผิวของวสั ดอุ ยา่ งทว่ั ถึง ภาพพิมพท์ ี่ได้มคี วามคมชดั น้อย

ภาพที่ 9.64 การพิมพ์เฟลก็ โซกราฟี
ภาพจาก : https://www.ipaksolution.com/packaging/center/3
การควบคุมคุณภาพการพิมพ์เฟล็กโซกราฟี มักควบคุมที่ปัญหาการพิมพ์เหลื่อม
ปัญหาการพิมพ์เหลื่อมในการพิมพ์เฟล็กโซกราฟีเกิดจากการยืดตัวของแม่พิมพ์หรือวัสดุที่ใช้
พิมพ์ ซึ่งต้องชดเชยการยืดตัวในขั้นตอนการทำอาร์ตเวิร์ก การปรับแก้ไขการยืดตัวเนื่องจาก
แม่พิมพ์และวัสดุใช้พิมพ์ต้องใช้เวลามาก ถ้าใช้วัสดุใช้พิมพ์ต่างชนิดจะต้องควบคุมการพิมพ์
เหลื่อมในลักษณะต่างกัน เพราะวัสดุใช้พิมพ์ที่ต่างกันจะมีการยืดตัวต่างกัน จึงต้องศึกษา
ลักษณะการยืดหดตัวของวัสดุใช้พิมพ์ประเภทต่างๆ เพื่อชดเชยในขั้นตอนการทำอาร์ตเวิร์ก
บรรจุภณั ฑท์ ี่ทำด้วยระบบเฟล็กโซก็ได้แก่กลอ่ งกระดาษลูกฟกู ถงุ กระดาษ ถุงปูนซีเมนต์ ถุงใส่
ปุ๋ย ถงุ พลาสตกิ ใหญ่ๆ กล่องนม UHT เปน็ ต้น

314

ข้อดขี องการพมิ พ์ด้วยระบบเฟลก็ โซกราฟี ดังน้ี คือ
1. แมพ่ มิ พม์ ีราคาถูกเมือ่ เทียบกับการพิมพ์ในระบบอื่นๆ
2. ผลติ สิ่งพิมพบ์ นวสั ดสุ ิง่ พิมพ์ได้หลากหลายประภท
3. การเตรียมพรอ้ มพิมพ์ทำได้ง่ายและเสียค่าใชจ้ ่ายน้อย
4. พิมพภ์ าพที่มลี วดลายตอ่ เนือ่ ง เชน่ กระดาษห่อของขวญั
5. หมึกพิมพ์เป็นแบบชนิดเหลว แห้งเร็ว สามารถตรวจสอบคุณภาพได้ทันที
ภายหลงั การพิมพ์
6. การกระจายของหมึกพิมพ์บนวัสดุพิมพ์ได้ดีมาก เนื่องจากหมึกมีลักษณะ
เหลวและแม่พิมพย์ ืดหยนุ่ ตวั
7. การเก็บรักษาแมพ่ มิ พ์มีวธิ ีและข้ันตอนการเก็บได้ง่าย

ข้อเสียของการพมิ พ์ด้วยระบบเฟล็กโซกราฟี มีดงั นี้ คือ
1. เกิดการยืดตัวของแม่พิมพ์และวัสดุที่ใช้พิมพ์ ต้องมีการชดเชยการยืดตัวใน
ข้ันตอนในการทำอาร์ตเวิรค์
2. การปรบั แก้ไขการยืดตัวของแม่พิมพท์ ำได้ยากและใช้เวลามาก
3. การควบคุมค่อนข้างเป็นไปยากมากซึ่งมีความแตกต่างของวัสดุแต่ละ
ประเภททีน่ ำมาใช้เป็นวัสดพุ ิมพ์
4.ภาพที่เกิดบนวสั ดทุ ีใ่ ชพ้ ิมพจ์ ะมีความชัดเจนที่นอ้ ยกว่าการพิมพร์ ะบบอืน่ ๆ

6. การพิมพก์ ราววั ร์ (GRAVURE)

ภาพที่ 9.65 การพิมพ์กราวัวร์
ภาพจาก : https://rainbowtradingth.com/

315

การพิมพ์กราวัวร์ หรือ โรโตกราววัวร์ ( Rotogravure) หรือ โฟโตกราวัวร์
(Photogravure) มีพัฒนาการมาจากการพิมพ์อินทาลโย คำว่า "Roto" มีความหมายว่า"
หมุนรอบ" หมายถึง โครงสร้างของแม่พิมพ์ที่เป็นโลหะรูปทรงกระบอกหมุนรอบขณะทำการ
พิมพ์ สว่ นคำว่า "Photo" มีความหมายถึงการนำเอาเทคนิคการถา่ ยภาพมาใช้ในกระบวนการทำ
แมพ่ มิ พ์

เป็นกรรมวิธีการพิมพ์แบบแม่พิมพ์ร่องลึก intaglio ซึ่งส่วนที่เป็นภาพ หรือลายเส้นที่
พิมพ์ จะถูกกัดเจาะ เป็นหลุมเล็กๆจำนวนนับล้านหลุมเรียกว่า เซลล์ ซึ่งเป็นส่วนที่เก็บหมึก
สำหรับที่จะพิมพ์ลงบนวัสดุต่างๆ ส่วนบริเวณที่ไม่ใช่ภาพ จะเป็นผิวเรียบ หลุมหมึกแต่ละหลุม
แยกออกจากกันโดยผนัง ที่เรียกว่า cell wall หรือ land หลุมเล็กๆนี้จะเก็บหมึกไว้ในปริมาณที่
ไม่เท่ากันแล้วแต่ขนาดของหลุมปริมาณหมึก ถ้าหลุมลึกหรือกว้างมากก็จะทำให้สีเข้มมากกว่า
หลุมที่มีหมึกน้อย ทำให้สามารถพิมพ์ภาพที่มีโทนต่อเนื่องได้ หมึกพิมพ์ระบบนี้จะมีทั้งระบบ
โซลเว้นท์เบส (Solvent base) โดยทีห่ มึกพิมพจ์ ะมีความหนดื ต่ำ และแหง้ ตัวด้วยวิธีการระเหย

ข้ันตอนการทำงานของแม่พิมพ์กราเวียร์

ภาพที่ 9.66 การพิมพก์ ราวัวร์
ภาพจาก : https://www.ipaksolution.com/packaging/center/3
หลักการพิมพ์กราเวียร์ แม่พิมพ์ที่ถูกกัดเจาะจนเป็นภาพแล้ว จะหมุนอยู่ในอ่างหมึก
เหลว เหมือนกับการพิมพ์ แบบเฟลกโซ หมึกจะเกาะอยู่ในร่องหมึกที่กัดไว้ และจะมีมีดปาด
หมกึ ( doctor blade ) เปน็ เหล็กสปริง ยาว ๆ กดแนบ สนิทอยกู่ ับผวิ ของแมพ่ ิมพ์ทำหน้าที่ปาด
หมึกออกจากผิว หมึกก็จะติดอยู่กับเฉพาะในบ่อหมึกทั่วนั้น เมื่อผ่านวัสดุแผ่นเรียบเข้าไปจะมี
ลูกกลิ้งเหล็กทำหน้าที่กด ( Impression ) วัสดุติดกับแม่พิมพ์ หมึกเหลวเมื่อรับแรงอัดก็จะ
ถ่ายทอดหมกึ ( Transfer ) จากแมพ่ ิมพ์ ลงบนผวิ ของวตั ถเุ ป็นลายเส้น ทางกราฟฟิก ออกมา

316

ภาพที่ 9.67 การพิมพ์กราวัวร์
ภาพจาก : https://skplas1995.com/service/gravure/
https://sites.google.com/site/phawini622557/kar-phimph-baeb-gravure
แม่พมิ พ์กราววั ร์ นีท้ ำมาจากเหล็กรปู ทรงกระบอก ซึง่ มีผิวชบุ ด้วยทองแดงลักษณะเป็น
หลุมหมึกเล็กๆ ก็จะถูกกัดลงในชั้นของทองแดงนี้ หรือแม่พิมพ์อาจนำมาเป็นแผ่น แล้วนำมา
หมุ้ รอบลกู กลิง้ เหลก็ อีกชั้นหนึ่งก็ได้ การพิมพ์ระบบกราวัวร์ เป็นระบบการพิมพ์ที่สามารถผลิต
ภาพลายเส้น (line work ) และภาพฮาล์ฟโทน (half tone) ได้อย่างมีคุณภาพและรวดเร็ว อีกทั้ง
ยังพิมพ์บนผิววัตถุต่างๆได้อีกหลายไประเภท โดยเฉพาะอย่างยิ่ง บรรจุภัณฑ์ ที่ทำจากวัสดุ
จำพวกพลาสติกและอะลูมิเนียมฟอยล์เช่นกัน เหมาะกับงานพิมพ์จำนวนมาก เพราะแม่พิมพ์มี
ราคาแพงและทนทาน ระบบการพิมพ์ในระบบนี้จึงเป็นที่นิยมใช้ ในด้านบรรจุภัณฑ์เป็นจำนวน
มากซึ่งคุณภาพการพิมพ์ก็ทัดเทียมกับระบบการพิมพ์แบบออฟเซต บรรจุภัณฑ์ ที่ใช้การพิมพ์
ระบบกราววั ร์ นี้ ได้แก่
- กล่องกระดาษพับ ห่อของที่ยืดหยุ่นได้ (polyethylene, polypropylene, cellophane
,nylon, polyester, vinyl, foil, ect.) กระดาษห่อของขวัญ กระดาษห่อของ ฉลาก ตรา ทั้งแผ่น
และม้วน ประเภทสิง่ พิมพ์พิเศษอืน่ ๆ
- สิง่ พิมพพ์ ิเศษ ก้นกรองบุหร่ี กระป๋องโลหะ เปน็ ต้น
ข้อดขี องการพิมพ์กรากราวัวร์ มีดงั นี้
1. ให้ภาพทีม่ คี ณุ ภาพดีแมจ้ ะเป็นวสั ดคุ ณุ ภาพต่ำ
2.ให้ความเร็วสงู ในการพิมพ์ แมพ่ มิ พม์ ีอายุการใชง้ านยาวนาน
3. ให้คณุ ภาพสีทีม่ ีนำ้ หนกั ต่อเนือ่ ง บนวสั ดุที่มคี ณุ สมบัติคอ่ นขา้ งต่ำ
ข้อเสียของการพมิ พ์ด้วยระบบกราวัวร์ มีดังนี้
1. การทำแม่พิมพม์ คี วามซับซ้อนมากกว่าในระบบการพิมพอ์ ่นื ๆ

317

2. โมแมพ่ ิมพ์มนี ้ำหนกั มากและทำให้ส้ินเปลืองเน้ือทีใ่ นการจดั เกบ็
3. คา่ ใชจ้ า่ ยคอ่ นข้างสูงในการจักทำงานพิมพแ์ ต่ละคร้ัง
4. ตัวทำละลายของหมกึ พิมพ์มคี วามไวไฟสูงต้องใช้อย่างระมดั ระวงั
12. การกำหนดระบบการพมิ พ์ และการเลือกกระดาษพิมพ์
ในการวางแผนเกี่ยวกับกระบวนการผลิต มีกิจกรรมที่จะต้องพิจารณาดังนี้ คือ
การกำหนด คุณลักษณะของสื่อสิ่งพิมพ์ การกำหนดระบบการพิมพ์ และการเลือก
กระดาษพิมพ์
1. การกำหนดคุณลักษณะของสื่อสิง่ พิมพใ์ นการวางแผนเพือ่ การผลิตสื่อสิง่ พิมพ์ ด้าน
กระบวนการการผลิตนั้น มีการกำหนดคุณลักษณะของสื่อสิ่งพิมพ์มีสิ่งที่ต้องพิจารณา เช่น
ขาด และรูปร่างของสิ่งพิมพ์ ชนิดของวัสดุที่ใช้ จำนวนสีที่ต้องการพิมพ์ การตกแต่งหลังพิมพ์
เปน็ ต้น
2. การกำหนดระบบการพิมพ์ การกำหนดระบบการพิมพ์เป็นสิ่งจำเป็นเพราะจะ
สามารถสร้างคุณภาพที่ต้องการใหค้ ุ้มค่ากบั ราคาการผลิตได้ ระบบการพิมพเ์ ป็นองค์ประกอบ
ที่จะ ผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ให้มีคุณภาพหรือเหมาะสมกับประเภทของงาน ราคราจะแตกต่างกัน
ออกไปตาม ระบบการพิมพ์
3. การวางแผนเลือกกระดาษพิมพ์ กระดาษเป็นวัสดพุ ื้นฐานทีส่ ำคัญทีส่ ดุ ในการ พิมพ์
คณุ ภาพของกระดาษมีผลกระทบต่อระบบการพิมพ์ ดังนน้ั ในการวางแผนการผลติ สือ่ สิ่งพิมพ์
จำเปน็ ต้องมีความเข้าใจเกี่ยวกับการเลือกใช้กระดาษด้วย ในความเป็นจริง ประเภทและชื่อของ
กระดาษพิมพ์มีมามายหลายชนิด กระดาษบาง ประเภทตั้งชื่อเรียกตามกระบวนการผลิต เช่น
กระดาษไร้กรด กระดาษอัลคาไลน์ บางประเภทตั้ง ชื่อตามเยื่อที่ใช้การผลิตกระดาษ เช่น
กระดาษเยื่อปลอดไม้ (wood free paper) กระดาษเยื่อผ้า (rag paper) ชื่อของกระดาษเหล่านี้
มักจะมาจากประเทศในแถบยุโรปและอเมริกา นอกจากนั้น สำนักงานมารตราฐาน
อุตสาหกรรม (สมอ.) ของไทยได้กำหนดมาตรฐานของ กระดาษหลายชนดิ ด้วยกัน เช่นกระดาษ
หนังสือพมิ พ์ กระดาษพิมพ์ และกระดาษเขียน
4. การจำแนกประเภทกระดาษ
- กระดาษไม่เคลือบผิว กระดาษชนิดนี้ประเทศไทยนิยมเรียกว่า “กระดาษ
ปอนด”์ ทำจากเยื่อฟางข้าว ชานอ้อย และไม้ไผ่ เป็นวัสดุหลัก มีลักษณะที่เด่นชัด ครือ ผิวหน้า
ยังคงได้รับอิทธิพลของเยื่อ (fiber) และองค์ประกอบอื่น ๆ ที่ผสมผสานกันเป็นแผนกระดาษ
เช่น สารเพิ่มน้ำหนัก (Filler) หรือสารกันซึม เป็นต้น คุณภาพของกระดาษขึ้นอยู่กับคุณสมบัติ

318

ของ เยื่อ และองค์ประกอบอื่นที่ใช้ รวมทั้งวิธีการรีดผิว (calendaring) และขัดผิว
(supercalendering)

- กระดาษออฟเซตท์ทริดจ์ (offset cartridge paper) กระดาษประเภทนี้ขาว
สวา่ ง เหนียวทนทานต่อการใช้ เยื่อทีใ่ ชผ้ ลติ เปน็ เยื่อปลอดไม้ มีผิวกระดาษมีการเคลือบสารกัน
ซึม

- กระดาษเอ็มเอฟ (MF) หรือแมชีนฟินิช (machine finished) มีลักษะกึ่ง เรียบ
(semi-smooth) ความเรียบจะมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับขั้นตอนการรีดผิว ตัวแปรที่สำคัญ คือ
แรง กด กบั ความรอ้ น กระดาษชนิดน้ีทำจากเยือ่ ชนิดใดกไ็ ด้

- กระดาษเอม็ จี โปสเตอร์ (MG Poster) หรอื (machine glazed) เป้นกระดาษที่
มีความเรียบด้านหน่งึ และอีกด้านหน่งึ หยาบอยา่ งเห็นได้ชดั

- กระดาษหนังสือพิมพ์ (newsprint) เป็นกระดาษที่รู้จักกันทั่ว ๆ ไป เรียก
อีกชื่อว่า “กระดาษบรู๊ฟ” เป็นกระดาษพิมพ์คุณภาพต่ำ มีราคาถูก เนื้อของกระดาสีไม่ขาว
เหมือน กระดาษปอนด์ เพราะส่วนใหญ่ทำจากเยื่อไม้บดกระดาษหนังสือพิมพ์มีน้ำหนัก
มาตรฐาน 45-55 กรัมต่อตารางเมตร ผิวกระดาษเรียบ มีความมันวาว 15% กระดาษ
หนังสือพิมพ์จะไม่มีสารกันซึม ผสมอยู่ เพราะฉะนั้นหมึกพิมพ์ ที่ใช้จึงต้องมีคุณสมบัติพิเศษ
คือแหง้ ดว้ ยตวั การซึมผา่ น จงึ ไม่ เหมาะที่จะใช้พมิ พ์งานสอดสี

- กระดาษเอ็ม พี (mechanical printing) เป้นกระดาษหนังสือพิมพ์ ประเภท
หนง่ึ มคี ณุ ภาพดีกวา่ แบบแรก สว่ นผสมของเยือ่ ไมบ้ ดน้อยกว่า และมีการฟอกด้วยสารเคมี เพื่อ
เพิม่ ความขาวอีกด้วย

- กระดาษไร้กรด (acid-free paper) เนื้อกระดาษเป็นเยื่อเคมีล้วน และไม่ มี
สภาพความเปน็ กรดอย่เู ลย มีสขี าวเกบ็ ไว้ได้นานโดยไม่มีการเปลีย่ นสี มีความเหนยี วดี

- กระดาษพิมพ์ไบเบิล (bible printing paper ) เป้นกระดาษพิมพ์ชนิด พิเศษ
บาง มีน้ำหนักมาตรฐานอยู่ระหว่าง 26-35 กรัมต่อตารางเมตร เหมาะสำหรับพิมพ์หนังสือ
หลายร้อยหน้าที่มีเนื้อความมาก ต้องการให้มีน้ำหนักน้อย มีความหกนาไม่มาก เช่นหนังสือ
พระ คัมภรี ์ พจนากรม เปน็ ต้น โดยปกติผวิ กระดาษจะมีสคี รีมมากกว่าสขี าว อาจรจู้ กั ในชื่อของ
“กระดาษอินเดีย”

- กระดาษถ่ายเอกสาร กระดาษประเภทนี้ต้องได้รับการควบคุมเป็นพิเศษ ใน
ระหวา่ งการผลิต กระดาษต้องมีความทนทานตอ่ ความร้อยของเครื่องถา่ ยเอกสาร

319

- กระดาษการ์ด เป็นกระดาษที่มีความแข็งกว่ากระดาษทั่ว ๆ ไป จะมี ความ
หนาตั้งแต่ 100 กรัมต่อตารางเมตรขึ้นไป มีผิวเนื้อละเอียดเรียบเหมาะสำหรับงานที่ต้องการ
ความแข็งแรง และทนทานกว่า กระดาษธรรมดา

- กระดาษเคลือบผิว (coated paper) คือ กระดาษที่มีชั้นสารเคลือบผิว ปก
คลมุ อยูบ่ นสว่ นผวิ เยือ่ ของหน้ากระดาษ โดยมีจดุ ประสงคเ์ พือ่ ที่จะปรบั ปรงุ คณุ สมบตั ิบางอย่าง
ของ ผิวกระดาษนั้นให้มีสภาพเหมาะสมกับการพิมพ์ การเคลือบผิวได้นั้น ต้องมีสารเคลือบผิว
อย่างน้อย 3.7 กรัมต่อตารางเมตรต่อ 1 หน้ากระดาษ แต่ถ้าปริมาณน้อยกว่านี้กระดาษนั้นจะ
ถูกจัดให้เป็น ประเภทกระดาษเคลือบสสารกันซึม หรือกระดาษเคลือบน้ำหนักเบาสำหรับการ
เคลือบผิวให้เรียบ หรือขัดให้มันนั้น อาจเคลือบหรือจัดด้านเดียวก็ได้แล้วแต่ความต้องการของ
ผใู้ ช้ปกติจะขดั ผิว 2 ด้าน ซึ่งโดยทัว่ ไปเรียกว่ากระดาษอาร์ต กระดาษเคลือบผิวที่ไม่ขัดมัน ถ้า
เป็นประเภทอาร์ตเรียกว่า “อาร์ตด้าน” ถ้าขัดให้มันเรียกว่า “อาร์ตมัน” ซึ่งจำให้ผิวมีความ
เรียบสามารถรับหมกึ ได้ดีทำใหก้ ารพิมพ์มคี วามคมชดั

- กระดาษแขง็ เป็นกระดาษทีม่ นี ้ำหนกั มาตรฐานตั้งแต่ 220 กรัมตอ่ ตารางเม
ตราขึ้นไป ยกเว้นกระดาษบางชนิดที่มีน้ำหนักมาตรฐานน้อยกว่านี้ แต่ยังคงเรียกว่ากระดาษ
แข็ง เพราะกระดาษน้ันนำไปใช้เปน็ ปกหน้า หรอื ปกหลงั ของสมุดหรือหนังสอื บางเล่ม

- กระดาษชนิดพิเศษ ได้แก่ กระดาษกาว กระดาษทำมอื และกระดาษ เหนียว
มาตรฐานของกระดาษที่ใชใ้ นไทย

มาตรฐานของกระดาษที่ใช้ในไทย หมายถึง ข้อกำหนดเกี่ยวกับขนาด ความหนา และ
น้ำหนักของกระดาษ เป็นต้น ซึ่งมีอยู่ 2-3 ระบบที่ใช้กันอยู่ในปัจจุบันนี้ ได้แก้ ระบบมาตรฐาน
องั กฤษ

ระบบมาตรฐานองค์การมาตรฐานสากล และระบบอิมพีเรียลแบบเก่า หรือระบบ
อเมริกัน ซึ่งในประเทศไทยนิยมใช้ระบบมาตรฐานอิมพีเรียลแบบเก่า ความจำเป็นที่จะต้องมี
การติดต่องาน กับต่างประเทศ และไทยก็เป็นประเทศสมาชิก ISO จึงควรทา ความเข้าใจทุก
ระบบ ระบบมาตรฐานขององค์การมาตรฐานสากล และระบบมาตรฐานอังกฤษมีหน่วยวดี
น้ำหนักกระดาษคิดเป็น “กรัมต่อตารางเมตร” บางครั้งช้ำจ่า “น้ำหนักพื้นฐาน” มีหน่วยวัด
ความหนา ของกระดาษเป็น “ไมโครเมตร” ในประเทศและสหรัฐอเมริกานิยมบอกความหนา
ของกระดาษเป็น พอยท์ขนาดกระดาษรามระบบมาตรฐาน ISO จำแนกออกเป็นชุด ๆ ตาม
ลกั ษณะกระดาษที่ใชง้ าน

5. การเลือกและการใช้กระดาษ วัสดุการพิมพ์ที่สำคัญคือ กระดาษ ซึ่งเป็นตัวแปร ที่
สำคญั ทีท่ ำให้ราคาค่าพิมพเ์ ปลีย่ นแปลง กระดาษมีหลายประเภท หลายคุณภาพ ดังนน้ั หากเรา


Click to View FlipBook Version