The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เอกสารประกอบการสอน_161429 เล่มที่ 2

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Narin Nonthamand, 2021-05-04 13:58:10

เอกสารประกอบการสอน_161429 เล่มที่ 2

เอกสารประกอบการสอน_161429 เล่มที่ 2

320

จะ เลือกใช้กระดาษ จะต้องทราบว่า จะใช้กระดาษพิมพ์สื่อสิ่งพิมพ์ประเภทใด คุณสมบัติที่
สำคัญของ กระดาษที่ควรทราบมีดงั น้ี

- น้ำหนักของกระดาษ
- ชนิดของกระดาษ มีหลายชนดิ เชน่
- กระดาษพิมพ์เนือ้ ในหนงั สอื พิมพ์
- กระดาษการ์ด
- กระดาษลวดลายพิเศษ
สีของกระดาษ สีของกระดาษมีความสำคัญต่องานพิมพม์ าก ภารพิมพ์ภาพสี่สี
กระดาษ จะต้องมคี วามขาวมากที่สุดจงึ จะให้ภาพทีเ่ หมือนจริงมากที่สุด การใช้กระดาษสีพิมพ์
ด้วยหมึกสี ภาพที่ออกมาจะสีผิดไปจากสีหมึกเดิม เพราะเกิดการผสมกันขึ้นระหว่างแสงที่
สะท้อนออกมาจากกระดาษและจากหมึก ถ้าเป็นงานพิมพ์สี่สี หรือภาพขาว-ดำ ที่ต้องการ
คมชัดมาก ๆ ควรเลือกพิมพ์ บนกระดาษอาร์ต การวางแผนเพื่อการผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ที่ดี จะให้
ผลดีคือ สามารถผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ได้ ตามความต้องการใช้งาน สามารถควบคุมต้นการผลิตให้
อย่ใู นงบประมาณได้ (สุรสิทธิ์ วิยารัฐ, 2541)
15. กระบวนการจดั พมิ พ์
การเรียงพิมพ์ หมายถึง การนำตัวพิมพ์มาจัดเรียงต่อกันเป็นคำ วลี ประโยค โดยมี
วรรคตอน ซึง่ จะทำไปตาม (Lay out) ที่ วางไว้ซึ่งการเรียงพิมพม์ ดี ้วยกัน 2 ระบบ คือ
1. การเรยี งพิมพด์ ้วยมือ
1.1 ตรวจดขู ยายหนา้ พิมพ์ รูปแบบการจัดหน้ารวมและตกแต่ง
1.2 ต้ังระยะบรรทดั ในสติ๊กหรอื รางจัดตวั พิมพ์ ให้ยาวเทา่ ต้นฉบบั
1.3 เรยี งตวั พิมพ์จากขวาไปซ้าย
1.4 เมอ่ื เรียงเสรจ็ เอาเลตยาวเท่าบรรทดั ตวั พิมพค์ ่นั เพือ่ ถา่ งระยะห่างบรรทดั
1.5 เรียงเสรจ็ พิมพ์เพือ่ พิสจู น์อกั ษร
2. การเรียงพิมพด์ ้วยเครือ่ งจกั ร
2.1 การเรียงแบบลุดโลว์ (Ludlow Typograph) ใช้แม่แบบหล่อตัวพิมพ์จาก
ทองแดงเรียงด้วยมือ เมื่อเรียงครองกน็ ำเข้าเครื่องหลอ่ ออกเป็นบรรทัด ตัวทองแดงจะแจกคืน
เพื่อ ใชเ้ รียงต่อใช้เฉพาะหวั เรื่อง
2.2 การเรียงแบบโมโนไทป์ (Monotype) ประกอบด้วยเครื่องเรียง (Keyboard)
เป็นแป้นอักษรใช้ นิ้วกดเหมือนเครื่องพิมพ์ดีดอีกเครื่อง คือ เครื่องหล่อโดยเอาม้วนกระดาษ
จากเครือ่ งเรียงมาหลอ่

321

2.3 การเรียงแบบไลโนไทป์ (Linotype) เป็นเครื่องจักรเสียงและหล่อตัวพิมพ์
ออกทีละบรรทัดเป็น แท่งเดียว โดยผสมการเรียงแบบลุตโลว์และแบบโมโนไทป์ด้วยกนั เรียงได้
4,000-10,000 เอ็ม ทำให้ไมเ่ ปลืองเวลา

2.4 การเรียงพิมพ์ด้วยแสง (Photographic typesetting photo composition)
เรียงด้วยการ ถ่ายภาพตัวพิมพ์ทีละตัวให้แสงผ่านลงบนฟิลม์หรือแผ่นกระดาษอัดรูปเรียกว่า
กระดาษโบรไมต์ทีละตวัแล้วผสมเป็นคำ เหมาะสำหรับทำแม่พิมพ์แบบออฟเซตและแบบกรา
ววั ธ์

2.5 การเรียงดว้ ยสมองกล (Computer) เป็นการสรา้ งตัวอักษรจากเคร่ืองพิมพ์
ตวั อกั ษร (Printer) ซึง่ มีลกั ษณะเปน็ จดุ เรียงต่อกัน การเรียงพิมพต์ วั อกั ษรด้วยวิธีการนี้สามารถ
เก็บต้นฉบับไว้ในแผ่นบันทึกความจำคอมพิวเตอร์ ทำให้สะดวกต่อการแก้ไขต้นฉบับและการ
นำมาสง่ั ใหม่ ทำให้สามารถใช้พิสูจน์อักษรไปในตัวด้วย

การทำรูปเล่มสือ่ สิ่งพิมพ์
1. ตัดเวียนใหไ้ ด้ขนาด
2. อาบพลาสตกิ โดยเฉพาะปกเพือ่ ให้สวยงาม มกั อาบด้วยน้ำมันวานิช
3. ปั้มทอง เช่น ตรา ตวั หนังสือเพื่อใหด้ เู ด่น
4. ปั้มนูน เชน่ หัวจดหมายเพื่อให้ดูสวยงาม
5. ปั้มขาดหรอื เจาะช่องหน้าตา่ ง ๆ เช่น ซองจดหมายหรือสตก๊ิ เกอร์
6. การหกั สัน โดยเฉพาะสิ่งพิมพห์ นา ๆ
7. การพบั เพื่อให้เปน็ รปู แบบและขนาดตามทีก่ ำหนด
8. การเก็บเล่มและเขา้ เลม่ แบง่ เปน็
- แบบมุงหลังคาหรือแบบเย็บอก คือ นำแต่ละยกมาซ้อนกันแล้วเย็บ

ตรงกลางสันกอ่ นพับ หนา ไม่เกิน 100 หนา้
- แบบใสสันทากาวหรือการเย็บสัน คือ เย็บแบบให้แต่ละยกซ้อนทับ

กนั ไปเรือ่ ง ๆ แล้วนำไป เข้าปกให้แข็งแรง
- แบบเย็บกี่ นำกระดาษที่พับเป็นยกแล้วเย็บรวมกัน 2-3 ยกด้วย

เชอื กเป็นชุดแล้วเข้าเลม่ อีกครั้ง
- การเข้าเล่มแบบอื่น ๆ เช่น การร้อยด้วยลวดเกลียวหรือพลาสติก

การเยบ็ ด้วยด้ายและการร้อย ด้วยห่วง

322

การพิสูจนอ์ ักษร
1. เพื่อทำให้เกิดความถกู ต้องตรงกับต้นฉบบั
2. เพือ่ ดูการสะกดการันต์
3. เพือ่ ดูตัวอกั ษร แบบและขนาดถกู ต้อง
4. เพื่อเชค็ ขนาดคอลมั น์และระยะบรรทัด

ข้อผิดพลาดทเ่ี กิดจากการพมิ พ์
- ผเู้ รียงอักษรอาจเรียงผิดพลาด
- ความผิดพลาดจากต้นฉบบั
- ใช้แบบอกั ษรผิด
- ตัวสะกดหรอื ตัวการันต์ผิด
- ตรวจความเรียบร้อยข้ันสดุ ท้าย
- ใช้ขนาดคอลมั น์ผดิ หรอื ระยะบรรทดั ไมเ่ หมาะสม

13. ประเมินสื่อสิง่ พิมพ์
ในการเตรียมต้นฉบับของสื่อสิ่งพิมพ์ไม่ว่าองค์กรจะเลือกการพิมพ์ด้วยระบบใดก็ตาม

สิ่งที่สำคัญต้องเตรียมเนื้อหาให้สอดคล้องกับ วัตถุประสงค์ ดูความถูกต้องของเนื้อหา จำนวน
เนื้อหาพอเหมาะกับขนาดของ สิ่งพิมพ์นั้นหรือไม่ นอกจากนั้นต้องดูในส่วนของภาพที่จะนำมา
ใส่ไว้ในสิ่งพิมพ์ว่า มีความเหมาะสม กับเนื้อหาเพียงใด ควรเลือกภาพลักษณะไหน เพื่อให้
สิ่งพิมพอ์ อกมามคี ณุ ภาพสมบูรณ์ที่สุด

การบรรณาธิการ (Editing) คือ การเตรียมการตรวจแก้ต้นฉบับ การเลือกเฟ้น เรื่อง
การเลือกตัวอักษร การพาดหัวและเขียนชื่อเรื่อง การใช้ภาพ การวางรูปแบบ ฯลฯ เพื่อนำมา
ลงพิมพ์ในสิง่ พมิ พ์ (ชวรตั น์ เชดิ ชัย, 2519) การตรวจแก้ไขต้นฉบับสือ่ ส่ิงพิมพ์นั้นเป็นหน้าที่ของ
บรรณาธิการที่ต้องตรวจสอบแก้ไขก่อนที่จะส่งไปเรียงพิมพ์ ทั้งนี้เพราะต้นฉบับที่ได้มานั้น
อาจจะยัง มีข้อผิดพลาดในเรื่องต่างๆ ที่ผู้เขียนละเลย หลงลืม หรือรู้เท่าไม่ถึงการณ์ เช่น
ข้อเท็จจริงทีเ่ สนอมา อาจผิลพลาด เนือ้ หาบางตอนอาจมีข้อความที่ละเมิดลิขสิทธิ์ผู้อื่นอันอาจ
เป็นเหตุให้มีการฟ้องร้องกัน ได้ หรือเนื้อหาถูกต้องแต่ใช้ภาษาไม่เหมาะสม เช่น ให้ภาษาปาก
ภาษาสแลง ซึ่งไม่เหมาะสมกับ รูปแบบของส่อื และกล่มุ ผอู้ ่าน การใชค้ ำทีม่ คี วามหมายเดียวกัน
ต่างๆ กัน จนทำให้ผู้อ่านเกิดความ สับสน หรือมิฉะนั้นอาจจะเขียนในรูปแบบที่ผิดจากรปู แบบ
สากลทวั่ ไป หรอื ผดิ จากรูปแบบของ สำนักพิมพห์ รอื ผผู้ ลติ สื่อสง่ิ พิมพน์ ้ันๆ

ดังนั้น การตรวจแก้ไขต้นฉบับที่สมบูรณ์ก็คือการทำหน้าที่ในการดูแลความถูกต้อง
เรียบร้อยทั้งมวล ตลอดจนการตระหนกถึงกฎหมายจรรยาบรรณ และหน้าที่ความรับผิดชอบ

323

ต่อ สังคม ผู้ตรวจแก้ไขต้นฉบับ (Rewriter) หรือบรรณาธิการจึงจำเป็นต้องตรวจแก้ไขในส่วน
ของเนื้อหา สาระ สำนวนภาษา และรูปแบบของสื่อสิ่งพิมพ์แต่ละประเภท ไม่ว่าจะเป็น
หนังสือพิมพ์ นิตยสาร วารสาร รวมทั้งสิ่งพิมพ์เฉพาะกิจด้วย ซึ่งแต่ละประเภทมีรายละเอียด
แตกต่างกนั ไปตามลักษณะของ สิง่ พิมพ์น้ันๆ

การตรวจแก้ไขต้นฉบับแตกต่างจากการพิสจู นอ์ ักษร (proof reading) เพราะการ ตรวจ
แก้ไขต้นฉบับจะครอบคลมุ ถึงความสมบูรณ์ ความถูกต้องของข้อเท็จจริงในเนื้อหาของต้นฉบับ
และการเรียบเรียงต้นฉบบั ให้เปน็ ลำดบั ต่อเนื่อง สามารถสือ่ ความหมายได้ดี ตลอดจนตรวจแก้
การใช้ ภาษาทีถ่ ูกต้อง สว่ นการพิสูจน์อักษรจะมีวัตถุประสงคเ์ พื่อการตรวจแก้ไขการเขียน เช่น
ตวั สะกด การันต์ให้ถกู ต้องตามหลักภาษาเป็นหลักสำคัญ
บททา้ ยบท

สื่อสิ่งพิมพ์ยังเป็นสื่อที่มีเอกลักษณ์ และจุดเด่นที่สื่อประเภทอื่น ๆ ไม่สามารถมา
ทดแทนได้ เช่น เป็นสื่อที่มีความน่าเชื่อถือเป็นลายลักษณ์อักษร มีความคงทนถาวร
ราคาประหยัด สะดวกสบายในการใช้งาน สามารถออกเเบบสื่อสิ่งพิมพ์ได้อย่างเต็มที่ เพราะ
ไม่มีข้อจำกัดเรือ่ งขนาดและเนื้อที่ และยังเข้าถึงกลุ่มเป้าหมายได้อย่างกว้างขวางและสามารถ
เลือกกล่มุ เป้าหมายได้ รวมไปถึงการให้ความรู้สึกในการมองเห็น การสัมผสั การพิมพ์ในแต่ละ
ประเภท การได้รับกลิน่ จากวัสดุสิ่งพิมพ์ และคณุ คา่ ทางจิตใจ รวมไปถึงเปน็ สื่อที่สามารถใช้ได้
ทุกทีท่ กุ เวลาตามความต้องการ สามารถใช้ได้ทกุ เพศทุกวยั และยังมีความปลอดภยั ซึง่ ปจั จุบัน
สื่อสิ่งพิมพ์อาจได้รับความนิยมน้อยลง และเปลี่ยนรปู แบบเป็นดิจิทัลมากขึ้น แต่คุณค่าของส่ือ
สิ่งพิมพ์ยังอาจจะหาสื่อประเภทอื่นมาทดแทนได้ยาก รวมถึงขั้นตอนการผลิต หลักการ
ออกแบบ องค์ประกอบในการออกแบบ รวมไปถึงการประเมินสื่อสิ่งพิมพ์ สามารถนำไป
ประยุกตใ์ ช้กบั สือ่ สง่ิ พิมพท์ ี่จากเลม่ สิง่ พิมพ์ หรอื สือ่ ส่งิ พิมพป์ ระเภทอื่นๆ เป็นในลกั ษณะของสื่อ
ดิจทิ ัล หรอื สือ่ ออนไลน์
คำถามทา้ ยบท

1. จงอธิบายประวตั ิความเปน็ มาของการพิมพ์
2. จงอธิบายความหมายการพิมพ์ และสื่อสง่ิ พิมพ์
3. จงบอกความแตกต่างของสื่อสิง่ พิมพ์ในแตล่ ะประเภท
4. จงบอกความสำคญั ของสื่อสิง่ พิมพ์ที่ใชใ้ นการศกึ ษา
5. จงอธิบายขั้นตอนการผลติ สื่อสิ่งพิมพ์
6. จงบอกหลกั การออกแบบสิง่ พิมพ์อย่างน้อย 3 หลักการ
7. จงอธิบายขั้นตอนของการออกแบบสื่อสิง่ พิมพ์

324

8. จงอธิบายองค์ประกอบในการออกแบบสือ่ สง่ิ พิมพ์อยา่ งนอ้ ย 3 องคป์ ระกอบ
9. จงอธิบายกระบวนการผลิตสื่อสิง่ พิมพ์
10. จงบอกความแตกต่างของการพิมพ์แต่ละประเภท
11. จงบอกความแตกตา่ งของระบบการพิมพ์
12. จงบอกวิธีการประเมินสื่อส่ิงพิมพ์

325

เอกสารอา้ งอิง

กนกวรรณ ชลภูมิ. (2558). ระบบการพิมพซ์ ิลสกรีน. [ออนไลน์]. แหลง่ ทีม่ า:
http://kanokwanchonlapoom.blogspot.com/2017/01/blog-post_26.html

กรมชลประทาน. (2561). การผลติ เอกสารสิง่ พิมพ์. คู่มอื การปฏบิ ัตงิ าน. พิมพ์ครั้งที่ 1 กรุงเทพฯ:
ฝา่ ยเผยแพรส่ ว่ นประชาสัมพันธ์และเผยแพร่

กำธร สถริ กุล. (2515). หนงั สอื และการพิมพ์. กรงุ เทพฯ : สมาคมผู้จดั พิมพ์ระหวา่ งประเทศ,
2515

กำธร สถริ กุล. (2528). ประวตั หิ นังสือและการพิมพ์.(พิมพค์ ร้ังที่ 6). กรงุ เทพฯ : รงุ่ ศิลป์การพิมพ.์
กำธร สถริ กลุ . (2539). ประวตั กิ ารพิมพใ์ นประเทศไทย ในอนุสรณง์ านแสดงการพิมพ์แหง่

ประเทศไทย คร้ังที่ 5. กรงุ เทพฯ : อมรินทร์การพิมพ์
ขจร สขุ พานิช. (2515). ประวัติเครือ่ งพิมพ์และตัวพิมพภ์ าษาไทย งานอนุสรณ์งานแสดงการพิมพ์

แหง่ ประเทศไทย คร้ังที่ 3. นครหลวงกรุงเทพธนบุรี : โรงพิมพค์ ุรสุ ภาลาดพร้าว
จินตนา ถ้ำแก้ว. (2555). การออกแบบส่อื สิ่งพิมพเ์ พื่อการศกึ ษา. กรงุ เทพฯ: สกายบุ๊ค
ชวรตั น์ เชิดชยั . (2519). การบรรณาธกิ รณ์หนงั สอื พมิ พ์และนิตยสาร. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลยั

ธรรศาสตร์
ทองเตมิ เสมรสุต (2517) อา้ งถึงใน สรนันท์ คราพันธ์. (2556). แทน่ พมิ พ์ Gutenberg. [ออนไลน]์ .

แหลง่ ที่มา: http://bingo-nmc.blogspot.com/2013/07/?view=sidebar
ธเนศ หาญใจ. (2557). เทคโนโลยที างการพิมพ์. [ออนไลน]์ . แหลง่ ที่มา :

http://kanlayanee.ac.th/wbiprinting/
นนั ทา วิทวุฒิศักด.ิ (2542). หนังสือและการพิมพ์.กรงุ เทพฯ: สถาบนั ราชภฏั บา้ นสมเด็จเจ้าพระยา.
นลินี เสาวภาคย.์ (2542).การเขียนเพือ่ การประชาสัมพันธ์. กรงุ เทพฯ: สถาบันราชภัฏบา้ นสมเด็จ

เจ้าพระยา.
ปราโมทย์ แสงพลสิทธิ์. (2540). การออกแบบนเิ ทศศิลป์ 1. กรงุ เทพฯ: ศูนยเ์ อกสารตำราสำนกั

กิจการพิเศษ สถาบนั ราชภัฏสวนดุสติ
ราชบณั ฑิตยสถาน. (2546). พจนานุกรมฉบบั ราชบณั ฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 . กรงุ เทพฯ: นานมี

บ๊คุ ส.์
วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงราย. (2562). ความรู้เบื้องตน้ เกีย่ วกบั การผลิตส่ือสิง่ พิมพ์ด้วย

คอมพิวเตอร์. วิชาการผลติ สื่อสิ่งพิมพ์ รหัสวิชา 2204-2104. [ออนไลน์]. แหล่งทีม่ า:
http://www.cvc.ac.th/cvc2011/files/20100001_17050221210715.pdf
วันชยั ศริ ิชนะ. (2542). กระบวนการผลติ สิง่ พิมพ.์ นนทบรุ ี: มหาวิทยาลยั สโุ ขทัยธรรมธิราช

326

วิรณุ ตง้ั เจริญ. (2523). บทความศิลปะเชิงวชิ าการ. กรุงเทพฯ : ภาควิชาศิลปะและวัฒนธรรม
มหาวิทยาลยั ศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมติ ร, 2523

วัลลภ สวัสดิวัลลภ. (2527). คมู่ ืองานเทคนิคและการฝึกงานห้องสมดุ . ลพบรุ ี : ภาควิชา
บรรณารักษศาสตร์ วิทยาลัยครเู ทพสตรี, 2527.

วลั ลภ สวสั ดิวัลลภ. (2535). หนงั สอื และการพิมพ์. กรุงเทพฯ : โรงพิมพก์ ารศาสนา
ศิริพงษ์ พยอมแยม้ . (2530). การพิมพ์เบื้องต้น. กรงุ เทพฯ: โอเดียนสโตร์
ศิริพงษ์ พยอมแยม้ . (2537). เทคนคิ งานกราฟิก. กรงุ เทพฯ: โอเดียนสโตร์
สำนักงานเขตพื้นทก่ี ารศึกษาประถมศึกษา. (2555). คู่มอื KM หนังสือชุดองค์ความรู้. ด้านบรรจุ

ภัณฑ์ เรื่อง ความรู้พ้นื ฐานในการทำบรรจภุ ณั ฑก์ ลอ่ งกระดาษ เลม่ ที่ 3 ระบบการพิมพ์
บรรจุภัณฑ.์ [ออนไลน์].
แหลง่ ทีม่ า : http://library.dip.go.th
สมาคมผู้จดั พิมพแ์ ละผู้จำหน่ายหนงั สือแหง่ ประเทศไทย (PUBAT). (2558), คณะเศรษฐศาสตร์
จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย และ ศูนยว์ ิจัยเพื่อการพัฒนาสังคมและธุรกิจ (SAB).
(กมุ ภาพนั ธ์ 2558). การศึกษาพฤตกิ รรมการอ่านและซื้อหนังสอื ของคนไทย.
สมาคมผู้จัดพิมพ์และผู้จำหน่ายหนงั สือแหง่ ประเทศไทย . (มถิ นุ ายน 2555). PUBAT News .
สุรสิทธ์ิ วิทยารัฐ. (2549). การผลติ สือ่ ส่งิ พิมพ์ = Printed media. กรงุ เทพฯ: ศูนย์หนังสอื สวนสุนนั
ทา
สุรสิทธ์ิ วิทยารัฐ. (2541). การผลิตสอ่ื สิง่ พิมพ์ (พิมพ์ครั้งที่ 5). กรุงเทพฯ: ศูนยห์ นังสือสวนสนุ ัน
ทา.
อรวรรณ ส่งศรี. (2558). การผลติ สื่อสง่ิ พิมพ์. [ออนไลน]์ . แหล่งที่มา:
https://sites.google.com/a/doiluangrat.ac.th/kru_orawan/home
Adam, M.J. & Faux, D.D. (1988). Printing technology. (3 rd ed.) New York : Delmar.
Intelligent Packaging System. (2017). ระบบการพิมพ์. [ออนไลน]์ . แหล่งที่มา:
https://www.ipaksolution.com/packaging/center/3
The Editors of Encyclopaedia Britannica. (2013). Offset printing printing technique. [ออนไลน์].
แหล่งทีม่ า: https://www.britannica.com/technology/printing-press
UX Themes. (2019). การพิมพเ์ ลตเตอร์เพรส. [ออนไลน์]. แหล่งทีม่ า:
https://papermore.co/2019/04/25/letterpress-printing

แผนการสอนประจำบทท่ี 10

ระบบเครือขา่ ยคอมพิวเตอร์

หัวข้อเนื้อหา
1. ความหมายของคอมพิวเตอร์
2. ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
3. วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์
4. ชนิดของคอมพิวเตอร์
5. องค์ประกอบของระบบการสื่อสารข้อมูล
6. ความหมายของอินเทอร์เน็ต
7. ข้อดขี องอนิ เทอร์เน็ต
8. ข้อจำกัดของอนิ เทอรเ์ นต็
9. ระบบเครือขา่ ยคอมพิวเตอร์
10. อปุ กรณเ์ ชื่อมต่อเครือข่ายคอมพิวเตอร์

วตั ถุประสงคเ์ ชิงพฤติกรรม
หลังจากจบการเรียนการสอนบทนแี้ ล้ว นิสติ มีความสามารถดงั นี้
1. นิสติ สามารถอธิบายความหมายของคอมพิวเตอร์ได้ถกู ต้อง
2. นิสติ สามารถอธิบายสว่ นประกอบของคอมพิวเตอร์ได้ถกู ต้อง
3. นิสติ สามารถอธิบายวิวฒั นาการของคอมพิวเตอร์ได้ถูกต้อง
4. นิสติ สามารถจำแนกชนิดของคอมพิวเตอร์ได้ถกู ต้อง
5. นิสติ สามารถอธิบายจำแนกองคป์ ระกอบของระบบการสื่อสารข้อมูลได้ถกู ต้อง
6. นิสติ สามารถอธิบายความหมายของอินเทอร์เนต็ ได้ถกู ต้อง
7. นิสติ สามารถอธิบายข้อดขี องอนิ เทอรเ์ นต็ ได้ถกู ต้อง
8. นิสติ สามารถอธิบายข้อจำกัดของอนิ เทอร์เน็ตได้ถูกต้อง
9. นิสติ สามารถจำแนกระบบเครือขา่ ยคอมพิวเตอร์ได้ถูกต้อง
10. นิสติ สามารถอธิบายอปุ กรณ์เชอ่ื มต่อเครือข่ายคอมพิวเตอร์ได้ถูกต้อง

238

กิจกรรมการเรยี นการสอน
ก่อนเขา้ ช้ันเรยี น
1. ให้ผู้เรยี นศึกษาวิดีโอการสอน เรอ่ื ง ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
2. ให้ผู้เรยี นทำแบบฝกึ หดั หลังจากดวู ิดีโอการสอน เรอ่ื ง ระบบเครือขา่ ย
คอมพิวเตอร์
ในช้ันเรยี น
3. ผู้สอนบรรยายสรุปแบบมีปฏิสัมพันธ์ โดยระหว่างบรรยายใช้คำถาม
ระหว่างการบรรยายดงั น้ี
- คอมพิวเตอร์ คืออะไร
- อินเทอร์เนต็ คืออะไร
- ข้อดขี องการใช้อนิ เทอร์เนต็ คืออะไร
- ข้อเสียของการใช้อนิ เทอร์เน็ต คืออะไร
- ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ คืออะไร
- ประเภทของเครอื ขา่ ย มีอะไรบ้าง
4. ผู้สอนพูดคยุ เกีย่ วกับ (1) คอมพิวเตอร์ อุปกรณ์ที่ใช้งาน การใช้อินเทอร์เนต็

ในปจั จบุ นั (2) ข้อแตกตา่ งของระบบ LAN, MAN, WAN, PAN, CAN, SAN, WLAN (3) การใชง้ าน
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์การเชื่อมต่อต่าง ๆ (4) ยกตัวอย่างการทำผิด พรบ
คอมพิวเตอร์

5. ผสู้ อนใหผ้ เู้ รียนแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกบั การเรียนในเนื้อหา
6. ผู้สอนให้ผเู้ รียนเล่นเกมส์เกี่ยวกบั การสะกดคำ โดยใหผ้ เู้ รียนเลือกว่าคำไหน
สะกดกกู คำไหนสะกดผดิ โดยมีคำดังน้ี

1. คำไหนเขียน Internet ได้ถกู ต้อง
2. คำไหนเขียน Facebook ได้ถกู ต้อง
3. คำไหนเขียน Like ได้ถกู ต้อง
4. คำไหนเขียน Comment ได้ถกู ต้อง
5. คำไหนเขียน Digital ได้ถกู ต้อง
6. คำไหนเขียน Graphic ได้ถูกต้อง
7. คำไหนเขียน Application ได้ถกู ต้อง
8. จากภาพเปน็ ระบบประเภทของเครือข่ายใด
9. จากภาพเป็นระบบประเภทของเครอื ข่ายใด

239

10. จากภาพเปน็ ระบบประเภทของเครือข่ายใด
6. มอบหมายงานให้ผู้เรียน คือ ให้ผู้เรียนเลือกตัวอย่างสถานการณ์หรือ
เหตุการณ์ อาจจะเป็นวิดีโอ หรือ บทความ ในการกระทำความผิด พรบ คอมพิวเตอร์ พร้อม
ทั้งให้ผู้เรียนอธิบายว่าสถานการณ์หรือเหตุการณ์ ที่ผู้เรียนยกตัวอย่างมานั้นผิดพรบ
คอมพิวเตอร์ อยา่ งไร
7. นัดหมายวนั และเวลาส่งงานกบั ผเู้ รียน
หลงั จากชั้นเรยี น
8. มอบหมายใหผ้ เู้ รียนศกึ ษาวิดีโอการสอน เรอ่ื ง การผลิตวิดโี อการสอน

สือ่ การเรียนการสอน
1. เอกสารประกอบการสอนบทที่ 10 เรือ่ ง ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
2. วิดีโอการสอน เร่อื ง ระบบเครือขา่ ยคอมพิวเตอร์
3. แบบฝกึ หดั หลังจากดูวิดีโอการสอน เรอ่ื ง ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
4. PowerPoint เรือ่ ง ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
5. ระบบการจัดการเรียนการสอน (https://lms.up.ac.th)
6. วิดีโอการสอน เรื่อง การผลิตวิดโี อการสอน

การวัดและประเมินผล
1. การทำแบบฝกึ หัดหลงั จากดวู ิดีโอการสอน เรือ่ ง ระบบเครือขา่ ยคอมพิวเตอร์
2. การร่วมอภิปรายและตอบคำถามในชนั้ เรียน
3. การสังเกตจากการแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับคำถามระหว่างการบรรยายสรุป

แบบมีปฏิสัมพันธ์ ในข้อคำถามดังนี้ (1) คอมพิวเตอร์ คืออะไร (2) อินเทอร์เน็ต คืออะไร (3)
ข้อดีของการใช้อินเทอร์เน็ต คืออะไร (4) ข้อเสียของการใช้อินเทอร์เน็ต คืออะไร (5) ระบบ
เครือขา่ ยคอมพิวเตอร์ คืออะไร (6) ประเภทของเครอื ข่าย มีอะไรบ้าง

4. งานของผเู้ รียน คือ ให้ผู้เรยี นเลือกตวั อย่างสถานการณ์หรือเหตุการณ์ อาจจะเป็น
วิดีโอ หรือ บทความ ในการกระทำความผิด พรบ คอมพิวเตอร์ พร้อมทั้งให้ผู้เรียนอธิบายว่า
สถานการณ์หรือเหตกุ ารณ์ ทีผ่ ู้เรยี นยกตวั อย่างมานั้นผิดพรบ คอมพิวเตอร์ อย่างไร

5. ความสนใจและความรบั ผดิ ชอบในการเรียน

240

ระบบเครือขา่ ยคอมพวิ เตอร์และอินเทอรเ์ นต็
มคี วามสำคัญในการจดั การเรยี นการสอนในยคุ ดิจิทลั

241

บทท่ี 10

ระบบเครือขา่ ยคอมพิวเตอร์

ปัจจุบันระบบเครือข่ายเทคโนโลยีสารสนเทศมีประโยชน์เป็นอย่างยิ่งในด้านการศึกษา
ทั้งนำมาใช้เป็นช่องทางในการติดต่อบริหารจัดการงานด้านการศึกษาของผู้บริหารหรือ
บุคลากรสนับสนุน การนำมาใช้เตรียมงานสอนของครูผู้สอน และนำมาใช้เป็นสื่อการสอนของ
ครูผู้สอนกับนักเรียน เนื่องจากระบบเครือข่ายเทคโนโลยีสารสนเทศในปัจจุบันมีศักยภาพใน
การจัดการเรียนการสอนตอบสนองทกุ ทฤษฎีการเรียนรู้ เช่น การใช้วิธีการนำเสนอข้อมูลผ่าน
ทางเว็บไซต์ต่างๆ เพื่อให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ การใช้วิธีการให้ผู้เรียนศึกษาจากวิดีโอออนไลน์และ
ฝึกปฏิบัติตาม และที่สำคัญที่สุดและใช้งานมากที่สุดในปัจจุบัน เช่น การใช้สื่อสังคมออนไลน์
มาร่วมจัดการเรียนการสอน ในบทเรียนนี้จะกล่าวถึง ความหมายของคอมพิวเตอร์
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์ ชนิดของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบการสื่อสารข้อมูล ความหมายของอินเทอร์เน็ต ข้อดีของอินเทอร์เน็ต
ข้อจำกัดของอนิ เทอร์เนต็ ระบบเครือขา่ ยคอมพิวเตอร์ อปุ กรณ์เชื่อมตอ่ เครือข่ายคอมพิวเตอร์
1. ความหมายของคอมพิวเตอร์
ความหมายของคอมพิวเตอร์มผี ใู้ ห้ความหมายไว้หลายทา่ นดงั น้ี

วิโรจน์ ทวีปวรเดช (2555) ได้ให้ความหมายไว้วา่ ความหมายของคอมพิวเตอร์ ถ้าเรา
แปล ตามคำภาษาอังกฤษ คอมพิวเตอร์ จะหมายถึง เครื่องคำนวณ ซึ่งอาจเป็นเครือ่ งคำนวณ
ที่มี ส่วนประกอบเป็นเครื่องกลไกหรือเครือ่ งไฟฟ้า เช่น เครื่องคิดเลข หรือแม้แต่ลูกคิดที่ใช้กนั
ในร้านค้า ล้วนจัดเป็นคอมพิวเตอร์ได้ทั้งสิ้น ในปัจจุบันความหมายของคอมพิวเตอร์จะระบุ
เฉพาะเจาะจงขึน้ เชน่ เครือ่ งคอมพวิ เตอร์ หมายถึง อปุ กรณ์อิเลก็ ทรอนิกส์ ทีใ่ ชใ้ นการประมวล
ข้อมูล ตามโปรแกรม หรอื ชดุ คำสั่งที่กำหนด แล้วได้สารสนเทศทีเ่ ปน็ ประโยชน์ตอ่ ผใู้ ช้งาน หรือ
หมายถึง เครื่องคำนวณ อิเล็กทรอนิกส์ที่สามารถทำงานคำนวณผลและเปรียบเทียบค่าตาม
ชุดคำสั่งด้วยความเร็วสูงอย่าง ต่อเนื่องและอัตโนมัติ หรือ หมายถึง เครื่องอิเล็กทรอนิกส์แบบ
อัตโนมัติ ทำหน้าที่เหมือนสมองกล ใช้ สำหรับแก้ปัญหาที่ง่ายและซับซ้อนโดยวิธีทาง
คณิตศาสตร์ โดยในพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525 ได้ให้คำจำกัดความของ
คอมพิวเตอรไ์ ว้ว่า คอมพิวเตอร์ หมายถึง เครือ่ งอเิ ลก็ ทรอนิกส์ แบบอตั โนมัติ ทำหน้าที่เสมือน
สมองกล ใช้สำหรบั แก้ปัญหาต่างๆ ท้ังที่งา่ ยและซับซ้อนโดยวิธีทาง คณิตศาสตร์

242

คอมพิวเตอร์ หมายถึง เครื่องคำนวณอิเล็กทรอนิคส์ที่มีการทำงานแบบอัตโนมัติ ทำ
หน้าที่ เหมือนสมองกล สามารถแก้ปัญหาต่าง ๆ ทั้งที่ง่ายและซบั ซ้อนตามคำสั่งของโปรแกรม
ขั้นตอนการ ทำงานจะประกอบด้วย การรับโปรแกรมและข้อมูลในรูปแบบที่เครื่องสามารถรับ
ได้ แล้วทำการคำนวณ เคลื่อนย้ายข้อมูลเปรียบเทียบจนกระทั่งได้ผลลัพธ์ที่ต้องการ มีผู้ให้คำ
นิยามหรอื ความหมาย ของคำว่าคา่ นิยมไว้ตา่ ง ๆ กนั (วิกิพีเดีย, 2558)

สมเกียรติ เกรียงไกร (2548) ได้กล่าวว่าคอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ใน
การบันทึกข้อมูล ประมวลผล และแสดงผลลัพธ์ การจัดเก็บข้อมูลที่บันทึกผ่านทางแป้นพิมพ์
หรือ อุปกรณ์อื่น ๆ ข้อมูลเหล่านี้จะถูกแปลงให้เป็นสัญญาณไฟฟ้าเพื่อให้คอมพิวเตอร์เข้าใจ
และสามารถ ประมวลผลได้

ศรพี รรณ วงพิทักษ์ (2552) ได้กลา่ วว่าคอมพิวเตอร์เปน็ อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ อย่าง
หนึ่ง แต่อุปกรณ์ชนิดนี้สร้างขึ้นมาเพื่อเอาไว้ใช้สำหรับแก้ไขปัญหาในการท างานต่าง ๆ ของ
มนษุ ย์ ซึง่ สามารถที่จะนำไปประยุกตใ์ ช้กบั ปญั หาเล็ก ๆ จนถึงระดับใหญไ่ ด้

กุลยา นิ่มสกุล (2534) ได้ให้ความหมายไว้ว่า คอมพิวเตอร์ (Computer) เป็นสิ่งผลิตที่
สำคัญที่สุดที่ประดิษฐ์ขึ้น ในปัจจุบันได้ทราบกัน แล้วว่าเครื่องคอมพิวเตอร์เข้ามามีบทบาทใน
ชีวิตประจำวัน ซึ่งเป็นอุปกรณ์ที่ช่วยแบ่งเบาภาระงาน ของมนุษย์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
สามารถ คำนวณงานสลับซับซ้อน แก้ไขปัญหาทางวิทยาศาสตร์ งานด้านธุรกิจ ซึ่งใช้กันอยา่ ง
แพร่หลาย เพราะว่า เครื่องคอมพิวเตอร์ทำงานได้ถูกต้อง แม่นยำรวดเร็วและสามารถเก็บ
ข้อมูลได้จำนวน มาก รวมทั้งจะทำการประมวลผลตามชุดคำสั่งโดยอัตโนมัติ คำ ว่า
“computer” มาจากภาษาลาติน วา่ “computare” ซึ่งหมายถึงการนับหรือการคำนวณ

วราภรณ์ รัชตะวรรณ (2541) ได้ให้ความหมายไว้ว่า คอมพิวเตอร์ เป็นเครื่องจักร
อิเล็กทรอนิกส์เอนกประสงค์ที่ใช้งานในการประมวลผลข้อมูล โดยมีความสามารถในการรับ
ข้อมูล ทำการประมวลผลหรอื ทำงานตามชดุ คำสัง่ โดยการคำนวณ เคลือ่ นย้ายข้อมูล ท าการ
เปรียบเทียบ และ แสดงผลลัพธ์ ได้โดยอัตโนมัติ

พิษณุ ปุระศิริ (2553) กล่าวว่า คอมพิวเตอร์ คือ อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ชนิดหนึ่งที่
มนุษย์ สร้างข้ึนมาเพื่อใช้สำหรบั คำนวณหรือประมวลผลข้อมลู ต่าง ๆ จากการป้อนข้อมูลลงไป
ผา่ น ทาง แป้นพิมพ์ เพือ่ ให้แสดงผลลพั ธ์ ออกมาในรูปแบบต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นข้อความ ตัวเลข
ภาพ เสียง และ อื่น ๆ โดยแสดงผลออกมาทางจอภาพ หรอื ทางเครือ่ งพิมพเ์ ปน็ ต้น

บุญสืบ โพธิ์ศรี และ คณะ (2554) คอมพิวเตอร์ คือ เครื่องอิเล็กทรอนิกส์ที่สามารถ
จัดการ กับสัญลักษณ์ต่าง ๆ ด้วยความเร็ว สูงโดยปฏิบัติตามขั้นตอนของโปรแกรม สามารถ
ประมวลผลเป็น ตัวเลข ตัวอักษร และภาพต่าง ๆ ได้อย่างรวดเร็วตามลักษณะโปรแกรมที่ใช้

243

สามารถเก็บบันทึก สารสนเทศได้เป็นจำนวนมาก สามารถแสดงผลลัพธ์ออกทางจอภาพ
เครือ่ งพมิ พ์ และอื่น ๆ ได้หลาย ลกั ษณะ

สิทธิชัย ประสานวงศ์ (2526) คำว่า คอมพิวเตอร์ ในปัจจุบันนี้มักจะหมายถึง
Electronic Computer อันได้แก่ เครือ่ งคำนวณพิเศษเฉพาะ ดังต่อไปนี้

1. สามารถทำการรบั ข้อมลู คำนวณ เปรียบเทียบ และใหผ้ ลลัพธไ์ ด้อยา่ งรวดเรว็
2. มีหน่วยความจำภายในเครื่อง (Internal Memory) สามารถรับข้อมูล (Data) และ
คำสั่ง ตา่ ง ๆ (Instruction) เก็บไว้ใน Memory ได้จึงสามารถเขียนชุดคำส่ัง (List of Instruction) ที่
เรียง ข้ันตอนการทำงานตามลำดบั กอ่ นหลังบนั ทึกไว้ในหนว่ ยความจำพร้อมกบั ข้อมูล เครือ่ งจะ
สามารถ ประมวลผลตามชุดคำสงั่ น้ันโดยอตั โนมตั ิ ชดุ คำสง่ั น้ีเรยี กวา่ โปรแกรม (Program)
พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 ได้บัญญัติศัพท์ คอมพิวเตอร์ ว่า
คณิตกรณ์ และได้ให้ความหมายของคอมพิวเตอร์ ดังนี้ เครื่องอิเล็กทรอนิกส์แบบอัตโนมัติทำ
หนา้ ที่เสมอื น สมองกล ใช้สำหรับแก้ปญั หาที่ง่ายและซับซ้อนโดยวิธีทางคณติ ศาสตร์
กลา่ วโดยสรุป คอมพิวเตอร์ หมายถึง อุปกรณอ์ ิเล็กทรอนิกส์ชนิดหนึง่ ที่มนุษย์สร้างขึ้น
เพือ่ ใช้ในการคำนวณหรือประมวลผล มีความสามารถในการรับข้อมูล แล้วทำการประมวลผล
ตามชุดคำสั่ง ที่กำหนด และสามารถแสดงผลออกทางหน้าจอ หรือ เครื่องพิมพ์ได้ ทำหน้าที่
เหมือนสมองกลสำหรับ แก้ไขปัญหาทั้งง่ายและซับซ้อน เป็นอุปกรณ์ที่ช่วยแบ่งเบาภาระงาน
ของมนษุ ย์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
2. ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์ประกอบด้วยอุปกรณ์ต่าง ๆ โดยจำแนกตามหน้าที่ของฮาร์ดแวร์ต่างๆ
สามารถแบ่งเป็นสว่ นสำคัญ 4 ประเภท คือ (หลักสูตรโรงเรียนศรีประจันต์ “เมธีประมุข” กลุ่ม
สาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี ช่วงชันที หลักสูตร 2544 ฉบับปรบั ปรุง : 235-250)
1. อุปกรณน์ ำข้อมลู เข้า (Input Device)
2. อุปกรณ์ประมวลผล (Processing Device)
3. หน่วยเก็บข้อมลู สำรอง (Secondary Storage Device)
4. อปุ กรณแ์ สดงผล (Output Device)
โดยมีรายละเอียดตา่ งๆ ดงั น้ี
1. อปุ กรณ์นำขอ้ มลู เข้า (Input Device)
เป็นอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องกับการนำเข้าข้อมูลหรือชุดคำสั่งเข้ามายังระบบเพื่อให้
คอมพิวเตอรป์ ระมวลผลตอ่ ไปได้ ซึง่ อาจจะเป็น ตวั เลข ตัวอกั ษร ภาพนิ่ง ภาพเคลือ่ นไหว เสียง
แบง่ เปน็ ประเภทต่างๆ ได้ดงั น้ี

244

1.1 แป้นพิมพ์ (Keyboard)

ภาพที่ 10.1 แป้นพิมพ์ (Keyboard)
ภาพจาก : https://freepik.com/
แป้นพิมพ์ (Keyboard) เป็นหน่วยรับข้อมูลที่นิยมใช้กันมากทีสุด เพราะ เป็นอุปกรณ์
มาตรฐานในการป้อนข้อมูลสําหรับเทอร์มินอล และไมโครคอมพิวเตอร์ โดยท่ัวไปจะมี ลักษณะ
คล้ายกบั แป้นพิมพ์ดีด แต่มจี าํ นวนแป้นมากกวา่
1.2 เมาส์ (Mouse)

ภาพที่ 10.2 เมาส์ (Mouse)
ภาพจาก : https://freepik.com/
เมาส์ (Mouse) มีหลายขนาดและมีรปู ร่างแตกต่างกันไป ทีนยิ มใช้มีขนาด เท่ากับฝ่ามือ
มีลูกกลมกลิ้งอยู่ด้านลา่ ง สว่ นด้านบนจะมีปมุ่ ให้กดจาํ นวนสอง สาม หรอื สี่ป่มุ แตท่ ี นิยมใช้กัน
มากคือสองปมุ่ ใช้สง่ ข้อมูลเข้าสหู่ น่วยความจําหลักโดยการเลือนเมาสใ์ หล้ ูกกลม ด้านล่างหมุน
เพื่อเป็นการเลือน ตัวชีตําแหน่ง (cursor) บนจอภาพไปยังตําแหน่งที่ต้องการบน จอภาพ ทําให้
การโต้ตอบระหว่างผใู้ ช้กับเคร่ืองคอมพิวเตอร์ทําให้รวดเร็วกว่าแป้นพิมพ์ ผใู้ ช้อาจใช้ เมาส์วาด
รูป เลือกทางเลือกจากเมนู และเปลี่ยนแปลงหรือย้ายข้อความ เมาส์ยังไม่สามารถใช้ในการ
ป้อนตัวอักษรได้ จึงยังคงต้องใช้คู่กับแป้นพิมพ์ในกรณีทีมีการพิมพ์ตัวอักษร แต่สําหรับผู้ที่

245

เริ่มต้น ใช้คอมพิวเตอร์ การใช้เมาส์เพียงอย่างเดียวจะทําให้เกิดความผิดพลาดน้อยกว่าการใช้
แป้นพิมพ์

1.3 จอยสติก (Joystick)

ภาพที่ 10.3 จอยสติก (Joystick)
ภาพจาก : https://freepik.com/
จอยสติกจะเป็นก้านสําหรับใช้โยกขึนลง / ซ้ายขวา เพื่อย้ายตําแหน่งของตัวชี้ตําแหน่ง
บนจอภาพ มีหลักการทํางานเช่นเดียวกับเมาส์ แต่จะมีแป้นกด เพิ่มเติมมาจํานวนหนึ่งสําหรับ
สง่ั งานพิเศษ นิยมใชก้ ับการเลน่ เกมสค์ อมพิวเตอร์หรอื ควบคุม ห่นุ ยนต์
1.4 จอภาพระบบไวต่อการสัมผสั (Touch-Sensitive Screen)

ภาพที่ 10.4 จอภาพระบบไวตอ่ การสมั ผัส
ภาพจาก : https://netcomputadores.com.br/
จอภาพระบบ สัมผัส (Touch Screen) เป็นจอภาพแบบพิเศษซึ่งผู้ใช้เพียงแตะปลายนิ้ว
ลงบนจอภาพในตําแหน่ง ที่กําหนดไว้ เพื่อเลือกการทํางานที่ต้องการ ซอฟต์แวร์ทีใช้จะเป็นตวั
ค้นหาว่าผู้ใช้เลือกทางเลือกทาง ใด และทํางานให้ตามนั้น หลักการนี้นิยมใช้กับเครื่อง
ไมโครคอมพิวเตอร์ เพื่อช่วยให้ผู้ที่ใช้เครื่อง คอมพิวเตอร์ไม่คล่องนักสามารถเลือกข้อมูลที่
ต้องการได้อย่างสะดวกรวดเร็ว จะพบการใช้งานมาก ในร้านอาหารแบบเร่งด่วน หรือใช้แสดง
ข้อมลู การท่องเทียว เปน็ ต้น

246

1.5 ระบบปากกา (Pen-Based System)

ภาพที่ 10.5 ระบบปากกา
ภาพจาก : https://www.pickpik.com/tablet-stylus-pencil-pen-electronic-touch-114853

ปากกาแสง (Light pen) ใช้เซลล์แบบ ซึงมีความไวต่อแสงเป็นตัวกําหนดตําแหน่งบน
จอภาพ รวมทั้งสามารถใช้วาดลักษณะหรอื รปู แบบ ของขอ้ มลู ให้ปรากฏบนจอภาพ การใช้งาน
ทําได้โดยการแตะปากกาแสงไปบนจอภาพตามตําแหนง่ ทีตอ้ งการ นิยมใชก้ ับงานคอมพิวเตอร์
ช่วยการออกแบบ (CAD หรอื Computer Aided Design ) รวมทั้งนยิ มให้เป็นอุปกรณ์ป้อนข้อมูล
โดยการเขียนด้วยมือในคอมพิวเตอรข์ นาดเล็ก เช่น PDA เป็นต้น

1.6 เครื่องอ่านรหสั บารโ์ คด (Bar Code Reader)

ภาพที่ 10.6 เครื่องอ่านรหสั บาร์โคด
ภาพจาก : https://www.publicdomainpictures.net/en/view-

image.php?image=73861&picture=barcode-reader
เริ่มใช้ในปีค.ศ. 1970 โดย การพิมพ์รหัสสินค้าน้ัน ๆ ออกมาในรูปแถบสีดําและขาวต่อ
เนืองกันไป เรียกว่า รหัสบาร์โคด จากนั้นจะสามารถใช้เครื่องอ่านรหัสบาร์โคดอ่านข้อมูลบน
แถบบาร์โคด เพื่อเรียกข้อมูลของ รายการสินค้านั้น เช่น ราคาสินค้า จํานวนที่เหลืออยู่ใน

247

คลังสินค้า เป็นต้น ออกมาจากฐานข้อมูล แล้วจึงทําการประมวลผลข้อมูลรายการนั้นและ
ทํางานตอ่ ไป

1.7 สแกนเนอร์ (Scanner)

ภาพที่ 10.7 สแกนเนอร์ (Scanner)
ภาพจาก : https://in.pinterest.com/pin/377598749977433131/
สแกนเนอร์ (Scanner) เป็นอุปกรณ์ที่ใช้อ่านหรือสแกน (scan) ข้อมูลบน เอกสารเข้าสู่
เครื่องคอมพิวเตอร์ โดยใช้วิธีส่องแสงไปยังวัตถุที่ต้องการสแกน แสงที่ส่องไปยังวัตถุ แล้ว
สะท้อนกลับมาจะถูกส่งผ่านไปที่ เซลล์ไวแสง (Charge-Coupled Device หรือ CCD) ซึ่งจะทำ
การตรวจจับความเข้มของแสงที่สะท้อนออกมาจากวัตถุและแปลงให้อยู่ในรูปของข้อมูลทาง
ดิจติ อล เอกสารทีอา่ นอาจจะประกอบด้วยข้อความหรอื รปู ภาพกราฟิกกไ็ ด้
1.8 กล้องถ่ายภาพดิจิทลั (Digital Camera)

ภาพที่ 10.7 กล้องถ่ายภาพดิจิทัล
ภาพจาก : https://pxhere.com/th/photo/1509755
เป็นอุปกรณ์ที่ใช้สําหรับ ถ่ายภาพแบบไม่ต้องใช้ฟิล์ม โดยเก็บภาพทีถ่ายไว้ในลักษณะ
ดิจติ อลด้วยอปุ กรณ์ (CCD Charge Couples Device) ภาพที่ได้จะประกอบด้วยจดุ เล็กๆ จํานวน
มาก และสามารถนําเข้าเครื่อง คอมพิวเตอร์เพื่อใช้งานได้โดยไม่ต้องใช้อุปกรณ์สแกนเนอร์อีก

248

เป็นอุปกรณ์ที่เริ่มได้รับความนิยม เพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ เนืองจากไม่ต้องใช้ฟิล์มในการถ่ายภาพและ
สามารถดผู ลลพั ธ์ได้จากจอที่ตดิ อยกู่ บั กล้องได้ในทันที

1.9 กล้องถา่ ยทอดวิดีโอดิจทิ ลั (Digital Video)

ภาพที่ 10.8 กล้องถา่ ยทอดวิดีโอดิจทิ ลั
ภาพจาก : https://th.aliexpress.com/item/4000547751478.html
กล้องถ่ายทอดวิดีโอดิจิตทัล (Digital Video)เป็นอุปกรณ์ที่ใช้สําหรับ บันทึกภาพ
เคลื่อนไหวและเก็บเป็นข้อมูลแบบดิจิตอล นิยมใช้ในการทำการประชุมทางไกลผ่าน วิดีโอ
(Video Teleconference) ซึ่งเป็นการประชุมแบบกลุ่มผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์ เช่น ผ่าน
อินเตอร์เน็ต เป็นต้น อย่างไรก็ดี กล้องถ่ายวิดีโอแบบดิจิตอลยังอยู่ในช่วงเริ่มต้น โดยสามารถ
เกบ็ ภาพเคลือ่ นไหวได้ประมาณ 10-15 เฟรมตอ่ วินาทีเท่านั้น
2. อปุ กรณ์ประมวลผล (Processing Device)
2.1 ซีพียู (CPU-Central Processing Unit)

ภาพที่ 10.9 ซีพียู
ภาพจาก : http://www.rdsingh.in/2017/06/the-central-processing-unit-cpu-working.html

249

ซีพียู (CPU-Central Processing Unit) หรอื หนว่ ยประมวลผลกลางหรอื ซีพียู เรียกอีกชื่อ
หนึ่งว่าโปรเซสเซอร์ (Processor) หรือ ชิป (Chip) นับเป็นอุปกรณ์ที่มีความสำคัญมากที่สุดของ
ฮารด์ แวร์ เพราะมีหน้าที่ในการประมวลผลขอ้ มลู ที่ผใู้ ช้ป้อนเข้ามาทางอปุ กรณ์นำเข้าข้อมูลตาม
ชุดคำสั่งหรือโปรแกรมที่ผู้ใช้ต้องการใช้งาน หน่วยประมวลผลกลาง วงจรในหน่วยประมวลผล
กลางเรียกว่า ไมโครโปรเซสเซอร์ (Microprocessor) ซึ่ง เป็นชิปที่ทําจากซิลิกอน ประกอบด้วย
ส่วนสาํ คัญ หนว่ ยคือ

2.1.1 หน่วยควบคุม (Control Unit) ทําหน้าที่ควบคุมการทํางานของ
เครื่อง คอมพิวเตอร์ทังระบบ เช่น ควบคุมการทํางานของความจําหลักหน่วยรับข้อมูล หน่วย
คํานวณและ ตรรกะ หน่วยแสดงผล และที่เก็บข้อมูลต่าง ๆ ดังนั้นการทํางานของหน่วยนี้จึง
เปรียบเสมือนเป็น ศูนย์กลางระบบประสาท ที่ทําหน้าที่ควบคุมการทํางานของส่วนประกอบ
ต่าง ๆ ของเครื่อง คอมพิวเตอร์ โดยทีหน่วยควบคุมและซีพียูจะรับรู้คําสั่งต่าง ๆ ในรูปของ
คําสั่งภาษาเครื่องเท่านั้น ถ้า ผู้ใช้เขียนโปรแกรมโดยใช้ภาษาระดับสูง (High Level Language)
ก่อนที่จะสั่งให้คอมพิวเตอร์ ทํางานจะต้องมีการแปลงเป็นภาษาระดับต่ำ ( Low Level
Language) กอ่ น

2.1.2 หน่วยคํานวณและตรรกะ (Arithmetic and Logic Unit) หรือที่
เรียกส้ัน ๆ วา่ เอแอลยู (ALU) ทําหนา้ ที่ประมวลผลการคํานวณทางคณิตศาสตร์ ตลอดจนการ
เปรียบเทียบทาง ตรรกะท้ังหมด

การทํางานในซีพียูมี รีจิสเตอร์ (Register) คอยทําหน้าที่เก็บและถ่ายทอดข้อมูล หรือ
คําสั่งที่ถูกนําเข้ามาปฏิบัติการภายในซีพียู รวมทั้งมี บัส (Bus) เป็นเส้นทางในการส่งผ่าน
สัญญาณไฟฟ้าของหน่วยต่าง ๆ ภายในระบบ โดยคอมพิวเตอร์ทีต่างระบบกันมีการออกแบบ
บัส ตา่ งกนั

ในระบบคอมพิวเตอร์รุ่นใหม่ เช่น เครื่องระดับเวิร์คสเตชัน ( Workstation) หรือ
เซิรฟ์ เวอร์ของระบบเครอื ขา่ ย (Network Server) มักจะมีซีพียมู ากกว่าหนึ่งหน่วย ซึงการมีซีพียู
จํานวนมาก ๆ ทําให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทํางานได้มากกว่าหนึ่งคําสั่งพร้อมกัน หรือทํางานกับ
โปรแกรมได้มากกว่าหนึ่งโปรแกรมพร้อมกัน คุณสมบัติเช่นนี้เรียกว่ามัลติโปรเซสซิง
(Multiprocesstig) นอกจากนี้ยังสามารถเพิ่มประสิทธิภาพของเครื่องคอมพิวเตอร์ได้โดยการใช้
โค โปรเซสเซอร์ (coprocessor) ซึงเป็นซีพียูอีกตัวทีท่ ําหน้าที่เฉพาะด้าน เชน่ ชว่ ยคาํ นวณตัวเลข
หรอื ภาพกราฟฟิก

250

3. หนว่ ยเกบ็ ขอ้ มลู สำรอง (Secondary Storage Device)
หน่วยความจำ (Memory Unit) เป็นทีเกบ็ โปรแกรมขอ้ มลู และผลลัพธ์ไว้ใน
คอมพิวเตอร์ รวมถึงส่อื ข้อมลู ทีชว่ ยใน การจดจำ เช่น แผน่ บันทึกข้อมูล หน่วยความจาํ แบ่ง
ออกเปน็ 2 ประเภท คือ

3.1 หน่วยความจําหลักจะอยู่ภายในตัวเครือง แบง่ ออกเปน็
3.1.1 รอม (ROM : Read Only memory)

ภาพที่ 10.10 รอม

ภาพจาก : https://sites.google.com/site/rocky210195/xngkh-prakxb-khxng-kheruxng-
khxmphiwtexr/hnwy-khwam-cahlak-main-memory-unit/2-rxm-rom-read-only-memory

หมายถึงหนว่ ยความจําทีจ่ ะถูกอา่ น ได้อยา่ งเดียวเทา่ นั้น โดยจะเกบ็ คําส่งั หรอื
โปรแกรมไว้อยา่ งถาวร แม้ปิดเครอ่ื งกจ็ ะไม่ถกู ลบ

3.1.2 แรม (RAM : Random access memory)

ภาพที่ 10.11 แรม

ภาพจาก : http://newbibang.blogspot.com/2016/04/definition-and-function-computer-ram.html

หมายถึงหน่วยความจําที่ใช้ ในการจดจําข้อมูลหรือคําสั่งขณะทีเครื่องทํางาน
ซึ่งสามารถเปลี่ยนแปลงข้อมูลหรือคําสั่งได้ ตลอดเวลาที่ยังเปิดเครื่อง แต่เมื่อปิดเครื่องข้อมูล
และโปรแกรมจะถกู ลบหายไป

3.2 หน่วยความจําสํารอง (Secondary Storage) เปรียบเสมือนสมุดบันทึก
สําหรบั เก็บโปรแกรมและข้อมลู ไว้ใชใ้ น โอกาสตอ่ ไป

251

3.2.1 ฮาร์ดดสิ ก์ (Harddisk)

ภาพที่ 10.12 ฮารด์ ดิสก์
ภาพจาก : https://melodyite.blogspot.com/2017/06/harddisk.html
ฮาร์ดดิสก์ หรือ จานบันทึกแบบแข็ง (hard disk) คืออุปกรณ์บรรจุข้อมูลแบบไม่ลบ
เลือน มีลักษณะเป็นจานโลหะที่เคลือบด้วยสาร แม่เหล็กซึงหมุนอย่างรวดเร็วเมื่อทํางาน การ
ติดตง้ั เขา้ กับตัวคอมพิวเตอร์สามารถทาํ ได้ผ่านการต่อ เข้ากบั มาเธอร์บอร์ด (motherboard) ทีมี
อินเตอร์เฟซแบบขนาน (PATA) , แบบอนุกรม (SATA) และแบบเล็ก (SCSI) ทังยังสามารถต่อ
เข้าเครื่องจากภายนอก ได้ผ่านทางสายยูเอสบี, รวมไปถึง อินเตอร์เฟซอนุกรม แบบต่อนอก
(eSATA) ซึงทําให้การใช้ฮาร์ดดิสก์ทําได้สะดวกยิ่งขึ้น ประกอบ ไปด้วยจานบันทึก หลายอัน
ด้วยกัน, หัวอ่านและบันทึกข้อมูล, วงจรอิเล็กทรอนิกส์ของไดรฟว์ และ ตัวมอเตอร์ ในขณะที
ฮารด์ ดสิ ก์ นันเปน็ แคต่ วั เกบ็ ข้อมลู เท่านั้น

3.2.2 แผ่นดิสก์แบบออ่ น หรอื ฟลอปปีดสิ ก์ (floppy disk)

ภาพที่ 10.13 ฟลอปปีดสิ ก์

ภาพจาก : https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%9F%E0%B8%A5%E0%B8%AD%E0%B8%
9B%E0%B8%9B%E0%B8%B5%E0%B8%94%E0%B8%B4%E0%B8%AA%E0%B8%81%E0%B9%8C#/media/%E0%B9

%84%E0%B8%9F%E0%B8%A5%E0%B9%8C:Floppy_disk_2009_G1.jpg

แผน่ ดิสก์ แบบอ่อน หรอื ฟลอปปีดสิ ก์ (floppy disk) หรอื ทีน่ ยิ มเรียกวา่ แผ่นดิสก์ หรือ
ดิสเกตต์ (diskette) เป็นอุปกรณ์เก็บข้อมูล ทีอาศัยหลักการเหนี่ยวนําของสนามแม่เหล็ก

252

โดยทั่วไปมีลักษณะบางกลมและบรรจุอยู่ในแผ่นพลาสติกสี่เหลียม คอมพิวเตอร์สามารถอ่าน
และเขียนข้อมูลลงบนฟลอปปีดสิ ก์ ผา่ นทางฟลอปปีดสิ กไ์ ดร์ฟ (floppy disk drive)

3.2.3 แผ่นซีดี (Compact Disk : CD )

ภาพที่ 10.14 ฟลอปปีดสิ ก์

ภาพจาก : https://orangecityiowa.com/

วิวัฒนาการของการใช้ หน่วยความจํารองได้ก้าวหน้าขึ้นเป็นลําดับปัจจุบันได้มีการ
ประดิษฐ์แผน่ ซีดี ใช้ในการเก็บข้อมลู จาํ นวนมาก การเกบ็ ข้อมลู บนแผน่ ซีดีใช้หลักการทางแสง
แผน่ ซีดที ีอา่ นได้อย่างเดียว เรียกกันวา่ ซีดรี อม (CD- ROM) ข้อมลู ทีบันทึกจะถูกบันทึกมาจาก
โรงงานผู้ผลิตเหมือนการบันทึกเพลงหรือ ภาพยนตร์ ข้อเด่นของแผ่นซีดีคือ ราคาถูก จุข้อมูล
ได้มาก สามารถเก็บข้อมูลหรือโปรแกรมได้ มากกว่า 750 เมกะไบต์ต่อแผ่น แผ่นซีดีมีเส้นผ่าน
ศูนย์กลางประมาณ 5 นิ้ว ในปัจจุบันเทคโนโลยี การผลิตแผ่นซีดีได้ก้าวหน้าขึ้น จนสามารถ
เขียนข้อมูลบนแผ่นซีดไี ด้เหมอื นฮาร์ดดสิ ก์ เรียกวา่ ออปติคัลดิสก(์ optical disk)

3.2.4 หนว่ ยความจาํ แบบเฟลช (Flash memory)

ภาพที่ 10.15 หน่วยความจาํ แบบเฟลช
ภาพจาก : http://www.nayoknoy.com/bottee1-2-4.html

253

หนว่ ยความจําแบบ เฟลช (Flash memory) เป็นหน่วยความจําประเภทรอมทีเ่ รียกว่า อี
อีพร็อม (Electrically Erasable Programnable Read Only Memory :EEPROM) ซึงเป็นเทคโนโลยี
ที่นําข้อดขี องรอม และแรม มารวมกัน ทาํ ให้หน่วยความจําชนิดนี้สามารถเก็บข้อมูล ได้เหมือน
ฮารด์ ดสิ ก์ คือ สามารถเขียนและ ลบข้อมูลได้ตามต้องการและเก็บข้อมูลได้ แม้ไม่ได้ต่อเข้ากับ
เครื่องคอมพิวเตอร์ หน่วยความจำชนิดนี้มีขนาดเล็ก น้ำหนักเบา พกพาได้สะดวก มักใช้เป็น
อุปกรณ์เกบ็ ข้อมลู ในอปุ กรณน์ าํ เข้า ข้อมูล เชน่ กล้องดิจติ อล กล้องวีดิทัศน์ ที่เก็บข้อมูล แบบ
ดิจติ อล

4. อุปกรณ์แสดงผล (Output Device)
หน่วยแสดงผล (Output Unit) หน่วยแสดงผลคืออุปกรณ์ที่ทําหน้าที่แสดงผล

ลพั ธ์จาก คอมพิวเตอร์ แบ่งออกได้เป็นสองประเภท คือ
4.1 หน่วยแสดงผลชั่วคราว (Soft Copy) หมายถึงการแสดงผลออกมาให้ผู้ใช้

ได้รับทราบในขณะน้ัน แตเ่ ม่อื เลิกการทํางานหรือเลิกใช้แล้วผลนั้นก็หายไป ไม่เหลือเป็นวัตถุให้
เก็บได้ แต่ถ้าต้องการเกบ็ ผลลพั ธ์น้ันก็สามารถสง่ ถ่ายไปเก็บในรูปของข้อมูลในหน่วยเก็บข้อมูล
สํารอง เพือ่ ให้สามารถนํามาใช้งานในภายหลัง หน่วยแสดงผลทีจ่ ดั อยู่ในกลุ่มนี้ คือ

4.1.1 จอภาพ (Monitor)

ภาพที่ 10.16 จอภาพ (Monitor)
ภาพจาก : https://www.freepik.com/
ใช้แสดงข้อมูลหรือผลลัพธ์ให้ผู้ใช้เห็นได้ ทันที มีรูปร่างคล้ายจอภาพของโทรทัศน์ บน
จอภาพประกอบด้วยจุดจาํ นวนมาก เรียกจดุ เหล่าน้ันวา่ พิกเซล (Pixel) ถ้ามีพิกเซลจาํ นวนมาก
ก็จะทาํ ให้ผู้ใช้มองเห็นภาพบนจอได้ชัดเจนมากขึ้น จอภาพทีใชใ้ นปัจจบุ ันแบ่งได้เป็น 3 ประเภท
คือ

254

4.1.1.1 จอซีอาร์ที (Cathode Ray Tube)

10.17 จอซีอารท์ ี (Cathode Ray Tube)
ภาพจาก : https://www.mindphp.com/
เป็นจอแสดงผลแบบอนาล็อกโดยมีการพัตนามาจากโทรทัศน์ในสมัยนั้น ผู้ที่คิดค้น
พัฒนาขึ้นมาคือ บริษัทไอบีเอ็ม หลักการทำงานของ CRT (ซีอาที) คือจะอาศัยหลอดภาพที่
นำมาสร้างภาพเหมือนกับโทรทศั น์โดยจะยิงลำแสงอิเลก็ ตรอนไปยังผิวของหน้าจอภาพโดยจะ
มีสารประกอบของฟอสฟอรัสฉาบอยู่ที่ผิวเมื่อมีการยิงลำแสงอิเล็กตรอนมากระทบก็จะทำให้
สารเหล่านั้นเรื่องแสงขึ้นมาจนทำให้เกิดเป็นภาพแสดงขึ้นมาที่จอภาพ นิยมใช้กับเครื่อง
ไมโครคอมพิวเตอร์ส่วนมากในปัจจุบัน ใช้หลักการยิงแสงผ่านหลอดภาพคล้ายกับเครื่องรับ
โทรทัศน์

4.1.1.2 จอแอลซีดี (Liquid Crystal Display)

ภาพที่ 10.18 จอแอลซีดี
ภาพจาก : https://www.flexenable.com/blog/how-lcds-work/
เป็นจอแสดงผลที่ต่อมาจากรุ่นแรก โดยสมัยแรกๆที่ใช้จอ LCD (แอลซีดี) ก็คือนาฬิกา
และเครื่องคิดเลขที่นำมาใช้เป็นจอแสดงผลที่มีขนาดเล็ก หลกั การทำงานของจอภาพแบบ LCD

255

(แอลซีดี) มีการใช้วัสดุประเภทผลึกแบบเหลวเพื่อใช้ในการปิดกั้นแสงเมื่อมีสนามไฟฟ้ามีการ
เหนี่ยวนำจึงทำให้เกิดสีขึ้น โดยข้อดีของจอภาพแบบ LCD (แอลซีดี) ประหยัดพลังงานกว่า
จอภาพแบบ CRT (ซีอาที) ขอ้ เสียงของจอภาพแบบ LCD (แอลซีดี) กค็ ือมีมุมมองการเห็นภาพที่
ค่อนข้างแคบไป นิยมใช้เป็น จอภาพของเครื่องคอมพิวเตอร์แบบพกพา เป็นจอภาพที่ใช้
หลักการเรืองแสงเมื่อผ่านกระแสไฟฟ้า เข้าไปในผลึกเหลว ทําให้จอภาพมีความหนาไม่มาก
น้ำหนกั เบาและกินไฟน้อยกวา่ จอภาพซีอารท์ ี แต่มรี าคาสงู กว่า เทคโนโลยีจอแอลซีดีในปจั จุบัน
จะมีสองแบบคือ Passive Matrix ซึงมีราคาต่ำแต่ จะขาดความคมชัดและอาจมองไม่เห็นภาพ
เมือผู้ใชม้ องจากบางมุม และActive Matrix หรอื บางครงั้ อาจเรียกวา่ Thin File Transistor (TFT)
จะให้ภาพทีคมชัดกว่าแต่จะมีราคาสูงกว่า ในปัจจุบันจอภาพแบบ TFT เริมนิยมนํามาใช้แทน
จอภาพ CRT มากขึ้นเรื่อย ๆ เนื่องจากราคาเริมต่ำลง ในขณะทีมีข้อดีคือใช้เนื้อที่ในการวาง
น้อย นำ้ หนกั เบา กินไฟตำ่ และมีการแผร่ ังสแี มเ่ หล็กไฟฟ้า ออกมานอ้ ยมาก

4.1.1.3 จอแอลอีดี (Light Emitting Diode)

ภาพที่ 10.19 จอแอลอีดี
ภาพจาก : https://www.indiamart.com/proddetail/led-monitor-13267148291.html

เป็นจอภาพทีม่ หี ลักการทำงานไม่ซบั ซ้อนแค่นำตวั หลอด LED (เเอลอีด)ี มาเรียงกันเป็น
แถวๆโดยภาพที่ปรากฏนั้นเกิดจากการเปิดปิดของหลอด LED (แอลอีดี) โดยการทำงานแบบนี้
จะมาทดแทนและปิดจุดที่บกพร่องของจอภาพแบบ LED (เเอลอีดี) โดยจอภาพแบบ LED (เเอล
อีดี) จะประหยัดไฟฟ้าได้ดีกว่าจอภาพแบบ LCD (แอลซีดี) การใช้งานคอมพิวเตอร์หากกรณีที่
ไม่มีการใช้งานหรือมีการมอนิเตอร์ไว้นานๆโดยไม่มีการใช้งานใดๆ ก็ควรที่จะใช้ตัว screen
saver (สกรีนเซฟเวอร์) เพื่อใช้ในการรักษาหน้าจอเพราะในการแสดงภาพเดิมๆตัวลำแสง
อิเล็กตรอนจะยิงออกมาเพื่อแสดงภาพเดิม ๆ ซ้ำจงึ อาจจะทำใหต้ วั สารเรอื งแสงที่มีการเคลือบ
อยู่ทีผ่ ิวจองจอภาพเสือ่ มได้

256

4.1.2 อปุ กรณ์ฉายภาพ (Projector)

ภาพที่ 10.20 อปุ กรณ์ฉายภาพ (Projector)

ภาพจาก : https://www.425degree.com/apeman-lc350-projector.html

เป็นอุปกรณ์ที่นิยมใช้ในการเรียน การสอนหรือการประชุม เนื่องจากสามารถนําเสนอ
ข้อมูลให้แก่ผู้ชมจํานวนมากเห็นพร้อม ๆ กัน อุปกรณ์ฉายภาพในปัจจุบันจะมีอยู่หลายแบบ
ทังทีสามารถตอ่ สัญญาณจากคอมพิวเตอรโ์ ดยตรงหรอื ใช้อปุ กรณ์พิเศษในการวางลงบนเคร่ือง
ฉายภาพข้ามศีรษะ (OverHead Projector) ธรรมดา เหมือนกับอุปกรณ์นั้นเป็นแผ่นใส อุปกรณ์
ฉายภาพจะมีข้อแตกต่างกันมากในเรืองของกําลังแสง สว่าง เนื่องจากยิงมีกําลังส่องสว่างสูง
ภาพที่ได้ก็จะชัดเจนมากขึ้น กําลังส่องสว่างมีหน่วยวัดค่าอยู่ 3 แบบ คือ LUX, LUMEN และ
ANSI LUMEN โดยการวัดแบบ LUX จะวัดค่าความสว่างที่จุด กึ่งกลางของภาพ จึงได้ค่าความ
สว่างสูงที่สุดเมื่อเทียบกบั อีก 2 แบบ การวัดแบบ LUMEN จะแบง่ ภาพออกเป็น 3 ส่วน คือ บน
กลางและล่าง และแต่ละส่วนจะถูกแบ่งออกเป็น 3 จุด คือ ริมซ้าย กลาง และริมขวา รวม
จุดภาพทั้งหมด 9 จุด แล้วจึงใช้ค่าเฉลี่ยของความสว่างทัง 9 จุด คิดออกมาเป็น ค่า LUMEN
ส่วนการวัดแบบ ANSI LUMEN จะมีมาตรฐานสูงสุด โดยใช้วิธีเดียวกับ LUMEN แต่ จะกําหนด
ขนาดจอภาพไว้คงที่คือ 40 นิ้ว (หากไม่กําหนดการวัดค่าความสว่างจะสูงขึ้นเมื่อจอภาพมี
ขนาดเล็กลง)

4.1.3 อุปกรณเ์ สียง (Audio Output)

ภาพที่ 10.21 อปุ กรณเ์ สียง (Audio Output)

ภาพจาก : https://www.mercular.com/audioengine-a5-wireless-speaker
https://www.amazon.com/

257

หน่วยแสดงเสียง ซึงประกอบขึ้น จากลำโพง (Speaker) และการ์ดเสียง (Sound card)
เพื่อให้ผู้ใช้สามารถฟังเพลงในขณะทํางาน หรือ ให้เครื่องคอมพิวเตอร์รายงานเป็นเสียงให้
ทราบเมื่อเกิดปัญหาต่าง ๆ เช่น ไม่มีกระดาษใน เครื่องพิมพ์ เป็นต้น รวมท้ังสามารถเล่นเกมส์ที่
มีเสียงประกอบได้อย่างสนุกสนาน โดยลําโพงจะมี หน้าที่ในการแปลงสัญญาณจาก
คอมพิวเตอร์ให้เป็นเสียงเช่นเดียวกับลําโพงวิทยุ ส่วนการ์ดเสียงจะ เป็นแผงวงจรเพิ่มเติมที
นํามาเสียบกับช่องเสียบขยายในเมนบอร์ด เพื่อช่วยให้คอมพิวเตอร์สามารถ ส่งสัญญาณเสียง
ผ่านลําโพง รวมทังสามารถต่อไมโครโฟนเข้ามาที่การ์ดเพื่อบันทึกเสียงเก็บไว้ด้วย เทคโนโลยี
ด้านเสียงสามารถแบ่งได้เป็น 2 ประเภท คือ Waveform audio หรือเรียกว่า Digital audio และ
MIDI (Musical Instrument Digital Interface)

4.2 หน่วยแสดงผลถาวร (Hard Copy)

ภาพที่ 10.22 หนว่ ยแสดงผลถาวร (Hard Copy)
ภาพจาก : https://blog.atlanticinkjet.com/

หมายถึงการแสดงผลที่สามารถจับต้อง และเคลื่อนย้ายได้ตามต้องการ มักจะออกมา
ในรูปของกระดาษ ซึ่งผใู้ ช้สามารถนําไปใช้ในทีต่ ่าง ๆ หรอื ให้ผู้ร่วมงานดใู นที่ใด ๆ ก็ได้ อุปกรณ์
ที่ใช้เช่น เครื่องพิมพ์ (Printer) เป็นอุปกรณ์ทีนิยมใช้กัน มาก และมีให้เลือกหลากหลายชนิด
ขึ้นกับคุณภาพและความละเอียดของการพิมพ์ ความเร็วในการ พิมพ์ ขนาดกระดาษสูงสุดที่
สามารถพิมพ์ได้ และเทคโนโลยีทีใช้ในการพิมพ์ เครื่องพิมพ์สามารถ แบ่งตามวิธิีการพิมพ์ได้
เปน็ 2 ชนิด คือ

4.2.1 เครื่องพมิ พ์ชนิดตอก (Impact printer)

258

ภาพที่ 10.23 เครื่องพิมพช์ นิดตอก (Impact printer)

ภาพจาก : https://blog.atlanticinkjet.com
https://sites.google.com/site/kheruxngphimphhmaythung/kheruxngphimph-baeng-xxk-pen-4-prapheth

ใช้การตอกใหค้ ารบ์ อน บนผ้าหมกึ ติดบนกระดาษตามรปู แบบทีต้องการ สามารถพิมพ์
สำเนา (Copy) ครั้งละหลายชุดโดย ใช้กระดาษคาร์บอนวางระหว่างกระดาษแต่ละแผ่น
ความเร็วในการพิมพ์ของเครื่องพิมพ์ประเภทนี้ จะมีหน่วยเป็นบรรทัดต่อวินาที (lpm-line per
minute) ข้อเสียของเครือ่ งพิมพช์ นดิ นีก้ ค็ ือ มีเสียงดัง และคุณภาพงานพิมพ์ทีไ่ ด้จะไมด่ ีนัก

4.2.2 เครือ่ งพมิ พช์ นิดไมต่ อก (Non impact printer)
ใช้เทคนิคการ พิมพ์จากวิธีการทางเคมี ซึ่งทําให้พิมพ์ได้เร็วและคมชดั

กว่าชนิดตอก พิมพไ์ ด้ทงั ตัวอกั ษรและ กราฟฟิก รวมทังไม่มเี สียงขณะพมิ พ์ แต่มขี ้อจํากัดคือไม่
สามารถพิมพ์กระดาษสําเนา (Copy) ได้ ความเร็วในการพิมพ์ของเครื่องพิมพ์ประเภทนี้จะมี
หนว่ ยเป็นหนา้ ต่อนาที (PPM-page per minute) และสามารถแบ่งออกเปน็ ประเภทตา่ ง ๆ คือ

4.2.2.1 เครื่องพมิ พเ์ ลเซอร์ (Laser Printer)

ภาพที่ 10.24 เครือ่ งพิมพเ์ ลเซอร์ (Laser Printer)
ภาพจาก : http://www.scts.co.th/

ทํางานคล้ายเครื่องถ่ายเอกสาร คือใช้แสงเลเซอร์สร้างประจุไฟฟ้า ซึงจะมีผลให้โทน
เนอร์ (Toner) สร้างภาพที ต้องการและพิมพ์ภาพนันลงบนกระดาษ เครื่องพิมพ์เลเซอร์แต่ละ
รุ่นจะแตกต่างกันในด้านความเร็ว และความละเอียดของงานพิมพ์ โดยปัจจุบันสามารถพิมพ์
ละเอียดสูงสดุ ถึง 1200 จดุ ต่อนิว้ (dot per inch หรอื dpi)

259

4.2.2.2 เครือ่ งพมิ พ์ฉีดหมึก (Inkjet Printer)

ภาพที่ 10.25 เครื่องพิมพ์ฉีดหมึก (Inkjet Printer)
ภาพจาก : https://www.officemate.co.th/

ได้รับความนิยม อย่างมากในปัจจุบัน โดยเฉพาะอย่างยิงการใช้กับเครื่อง
ไมโครคอมพิวเตอร์ เนื่องจากสามารถพิมพ์ สีได้ ถึงแม้จะไม่คมชัดเท่าเครื่องพิมพ์ชนิดเลเซอร์
แต่ก็คมชัดกวา่ เครื่องพิมพ์ตอก สามารถพิมพ์รูป ได้คุณภาพใกล้เคียงกับภาพถา่ ย และมีราคา
ถูกกว่าเครื่องพิมพ์ชนิดเลเซอร์ เครื่องพิมพ์แบบฉีดหมึก ในปัจจุบันจะมีคุณภาพ ในการพิมพ์
ต่างกันไปตามเทคโนโลยีการฉีดหมึกและจํานวนสีทีใช้ โดยรุ่น ทีมีราคาต่ำมักใช้หมึกพิมพ์สาม
สี คือ น้ำเงิน (cyan) , มว่ งแดง (magenta) และเหลือง (yellow) ซึง สามารถผสมสีออกมาเป็นสี
ต่าง ๆ ได้ แต่จะให้คุณภาพของสีดําที่ไม่ดีนัก จึงมีเครื่องพิมพ์ที่ให้ คุณภาพสูงกว่าที่เพิ่มสีที 4
เข้าไปคือ สีดำ (black) เครื่องพิมพ์ฉีดหมึกในปัจจุบันโดย มากจะใช้สีนี้ เป็นหลัก แต่จะมี
เครื่องพิมพ์อีกระดับทีเรียกว่าเครื่องพิมพ์สำหรับภาพถ่าย (Photo printer) ที่จะเพิ่ม สีน้ำเงิน
อ่อน (light cyan) และม่วงแดงอ่อน (light magenta) เป็น 6 สีเพื่อเพิ่มความละเอียดในการ ไล่
เฉดสีภาพถ่ายให้เหมือนจริงยิ่งขึ้น และบางรุ่นก็จะมีการเพิ่มสีที 7 คือสีดําจางเพื่อช่วยในการ
พิมพ์เฉดสีเทาเข้าไปอีก

4.2.2.3 เครื่องพิมพ์เทอร์มอล (Thermal printer) เป็นเครื่องพิมพ์ที่ให้
คุณภาพในการพิมพ์สงู สดุ จะมี 2 ประเภท คือ

ภาพที่ 10.26 เครือ่ งพิมพเ์ ทอร์มอล
ภาพจาก : https://www.officemate.co.th/

260

4.2.2.3.1 Thermal wax transfer ให้คุณภาพและ ราคาทีต่ำกว่า
ทํางานโดยการกลิ้งริบบอนทีเคลือบแวกซ์ไปบนกระดาษ แล้ว เพิ่มความร้อนให้กับ ริบบอน
จนแวกซน์ ั้นละลายและเกาะติดอยู่บนกระดาษ

4.2.2.3.2 Thermal dye transfer ใช้หลักการ เดียวกับ thermal wax
แต่ใช้สีย้อมแทน wax จะเป็นเครื่องพิมพ์ที่ให้คุณภาพสูงสุด โดยสามารถ พิมพ์ภาพสีได้ใกล้
เคียงกบั ภาพถา่ ย แตร่ าคาเครื่องและคา่ ใช้จา่ ยในการพิมพ์จะสูงมาก

4.2.2.4 เครื่องพลอตเตอร์ (Plotter)

ภาพที่ 10.26 เครื่องพลอตเตอร์ (Plotter)
ภาพจาก : https://www.indiamart.com/
ใช้วาดหรอื เขียนภาพ สาํ หรบั งานทีต่ อ้ งการความละเอียดสูง ๆ เนื่องจากพลอตเตอร์จะ
ใช้ปากกาในการวาดเส้นสายต่าง ๆ ทําให้ได้เส้นทีต่อเนื่องกันตลอด ในขณะที่เครือ่ งพิมพท์ ัว่ ไป
จะใช้วิธิีพิมพ์จุดเล็ก ๆ ประกอบขึ้นเปน็ เส้น ทําให้ได้เส้นทีไม่ต่อเนื่องกันสนิท พลอตเตอร์นิยม
ใช้กับงานออกแบบทางสถาปัตยกรรมและ วิศวกรรม ที่ต้องการความสวยงามและความ
ละเอียดสูง มีให้เลือกหลากหลายชนิดโดยจะแตกต่าง กันในด้านความเร็ว ขนาดกระดาษ และ
จํานวนปากกาทีใ่ ชเ้ ขียน ในแตล่ ะครงั้ มีราคาแพงกวา่ เครือ่ งพมิ พธ์ รรมดามาก
3. วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์
พจนานุกรมของ Cambridge ให้นิยามของคอมพิวเตอร์ (computer) ว่าหมายถีง
เครื่องจักรแบบอิเล็กทรอนิกส์ซึ่ง ใช้เก็บจัดการ และค้นหาค่าตัวเลข และรูปภาพ เพื่อทำการ
คำนวณและควบคุมเครื่องจักรอื่นๆ (an electronic machine which is used for storing,
organizing and finding words, numbers and pictures, for doing calculations and for controlling
other machines) แต่กว่าจะมาเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์อย่างที่เรารู้จักกันใน ปัจจุบันนั้น
คอมพิวเตอร์มีวิวัฒนาการมาอย่างยาวนาน แต่ในที่นี้จะขอกล่าวถึงเฉพาะเหตุการณ์ที่สำคัญ
จากอดีต จนถึงปัจจบุ ันตามลำดบั ดงั นี้

261

ลกู คดิ (abacus)
มนุษย์มีความพยายามที่จะสร้างเครื่องจักรเพื่อช่วยทำการคำนวณมานานแล้ว
ตัวอย่างหนึ่งคือลูกคิด มีหลักฐานว่า มีการใช้ลูกคิดเป็นครั้งแรกตั้งแต่สมัยซูเมเรียน
(Sumerian, 2700 – 2300 BC) ลูกคิดในประเทศไทยส่วนใหญ่ จะเป็นของจีน ลูกคิดเป็นของ
จำเป็นสำหรบั การค้าขาย เช่น เอาไว้คิดเงิน ทอนเงิน ทำ บญั ชี เป็นต้น ในปจั จุบันคงจะไม่มีใคร
ใช้ลูกคิดแล้ว เพราะใช้งานยาก ต้องเรียนวิธีใช้และฝึกให้ชำนาญ สำนวนทีว่ า่ “ดดี ลกู คิด ในราง
แก้ว” คงจะคอ่ ยๆ หายไปพร้อมกบั การเข้ามาแทนที่ของเครื่องคดิ เลขแบบอิเล็กทรอนิกส์

ภาพที่ 10.27 ลูกคิด
ภาพจาก : https://shopee.co.th/
เครือ่ งคิดเลขของปาสกาล (Pascal's calculator)
ในปี ค.ศ. 1642 Blaise Pascal ได้ประดิษฐ์เครื่องคิดเลขเชิงกล (mechanical calculator)
เพื่อช่วยในการจัดเก็บภาษีในฝรั่งเศส เครื่องคิดเลขนี้สามารถทำการบวกลบได้ตรงๆ และทำ
การคูณหารโดยวิธีการทำ (บวกลบ) ซ้ำหลายๆ คร้ัง เครื่องคดิ เลขของปาสกาลเป็นเคร่ืองคิด
เลขเชิงกลเพียงแบบเดียวที่ทำงานได้ใน ศตวรรษที่ 17 และเปน็ ต้นแบบของการพัฒนาเคร่ืองคิด
เลขเชิงกลอืน่ ๆ หลงั จากนี้ไปอีกเกือบสามร้อยปีถึงจะมี เครื่องคดิ เลขแบบอิเลก็ ทรอนิกส์

ภาพที่ 10.28 เครื่องคดิ เลขของปาสกาล

ภาพจาก : https://www.pinterest.com/pin/491525746804435380/

262

Difference Engine และ Analytical Engine
ในปี ค.ศ. 1822 Charles Babbage เสนอแนวคิดในการใช้เคร่อื งจกั รเพื่อคำนวณตาราง
เช่น ตารางของโพลีโน เมียลฟังก์ชัน เพื่อใช้ในการประมาณค่าลอการิทึมหรือตรีโกณมิติ
ซึ่งจำเป็นสำหรับการนำทางและงานทางวิทยาศาสตร์ โดยตั้งชื่อเครื่องจักรของเขาว่า
Difference Engine โดยได้รับทุนสนับสนุนจากรัฐบาล อังกฤษ อย่างไรก็ตามการสร้าง
เครื่องจักรที่มีความแม่นยำสูงในยุคนั้นเป็นไปด้วยความยากลำบากและมีค่าใช้จ่ายมาก ทำให้
รัฐบาลอังกฤษยกเลิกการพฒั นา Difference Engine ในปี 1842

ภาพที่ 10.29 Difference Engine และ Analytical Engine

ภาพจาก : https://en.wikipedia.org/wiki/File:Babbage_Difference_Engine.jpg
http://131.251.168.21/WongJC/Charles%20Babbage%20Coursework/The%20Engines.html

ในปี ค.ศ. 1837 Charles Babbage ได้นำเสนอ Analytical Engine คอมพิวเตอร์เชิงกล
สำหรับทำงานทั่ว ๆ ไปด้วย กล่าวคือมีหน่วยคำนวณและตรรกะ (arithmetic logic unit), การ
ไหล (flow) ของ คำสั่งเช่น if-else หรือ loop, หน่วยความจำ (memory) ซึ่งเป็นพื้นฐานของ
คอมพิวเตอร์ในปัจจุบัน ในรูปทาง ขวามือคือบัตรเจาะรู (punch card) สำหรับใช้ทำโปรแกรม
แต่สุดท้ายโครงการพัฒนา Analytical Engine ก็ถูก ยกเลิกไปพร้อมกับ Difference Engine ด้วย
ปัญหาทางการเงินตามที่กล่าวไว้ข้างต้น ภายหลัง London Science Museum ได้พัฒนา
Difference Engine ต่อจนเสร็จสมบูรณ์ เนื่องในโอกาสครบรอบวันเกิด 200 ปีของ Charles
Babbage ในปี ค.ศ. 1991

263

ภาพที่ 10.30 Analytical Engine

ภาพจาก
https://en.wikipedia.org/wiki/Analytical_Engine#/media/File:AnalyticalMachine_Babbage_London.jpg

Enigma และ Lorenz SZ40

ภาพที่ 10.31 Enigma และ Lorenz SZ40
Enigma machine (ซ้าย) และ Lorenz SZ40 machine (ขวา)

ภาพจาก : https://board.postjung.com/851355
https://en.wikipedia.org/wiki/Lorenz_cipher#/media/File:Lorenz-SZ42-2.jpg

Enigma และ Lorenz SZ40 เป็นชื่อของอุปกรณ์ที่ใช้การเข้ารหัสและถอดรหัสของนาซี
เยอรมันในช่วงสงครามโลกคร้ังที่สอง แน่นอนว่ามีความพยายามของฝ่ายสมั พนั ธมิตร (อังกฤษ)
ในการที่จะถอดรหัสที่รับส่งผ่าน เครื่องพวกนี้ และนำไปสู่การพัฒนาเครื่องคอมพิวเตอร์แบบ
อิเลก็ ทรอนิกส์ที่มปี ระสิทธิภาพสงู

Bombe และ Colossus Computer
ในปี ค.ศ. 1939 Alan Turing นักคณิตศาสตร์ชาวอังกฤษและผู้วางรากฐานของ
วิทยาการคอมพิวเตอร์ ได้ ออกแบบเครื่องคำนวณแบบแมเ่ หล็กไฟฟ้า (electromechanical) ที่มี
ชื่อว่า Bombe เพื่อใช้ถอดรหัสที่ รับส่งระหว่างเครื่อง Enigma อย่างไรก็ตาม Bombe ใช้ได้
เฉพาะกบั การเข้ารหัสของ Enigma นั้น ไม่สามารถ นำไปใช้กับการคำนวณทั่วๆ ไปได้ ในปี ค.ศ.

264

1939 คอมพิวเตอร์ชื่อ Colossus ซึ่งถูกออกแบบโดย วิศวกร Tommy Flowers และนัก
คณิตศาสตร์ชาวอังกฤษ Max Newman เพื่อถอดรหัส Lorenz cipher เป็น คอมพิวเตอร์แบบ
อิเล็กทรอนิกส์เครื่องแรกที่โปรแกรมได้ แม้ว่าจะโปรแกรมได้ค่อนข้างจำกัดเมื่อเทียบกับ
คอมพิวเตอร์ในปจั จบุ ัน Bombe ใช้อุปกรณ์สวิตชท์ ี่เรียกว่ารีเลย์ (relay) หลายๆ ตัวมาประกอบ
กันเป็นวงจรเพื่อประมวลผลทางตรรกะ รีเลย์เป็นสวิตช์ที่ควบคุมการปิดเปิดด้วยไฟฟ้า คือถ้า
ให้กระแสหรอื แรงดนั ไฟฟ้าจะ เหนีย่ วนำใหเ้ กิดสนามแมเ่ หล็กดันใหส้ วิตชป์ ิดหรอื เปิดได้ Bombe
จงึ เป็นคอมพิวเตอร์แบบแมเ่ หลก็ ไฟฟ้าเพราะ ควบคุมด้วยไฟฟ้าแต่ยังมีสวิตช์ที่เคลื่อนที่ได้จาก
การเหนี่ยวนำแม่เหล็ก ต่างจาก Colossus ที่ใช้หลอดสุญญากาศ (vacuum tube) แทนรีเลย์
หลอดสุญญากาศทำหน้าที่เป็นสวิตชเ์ หมอื นรีเลย์ แต่ไมม่ ชี นิ้ ส่วนภายในหลอดที่ เคลื่อนไหวเลย
จงึ ทำให้ Colossus เป็นคอมพิวเตอรแ์ บบอิเล็กทรอนิกสเ์ ครือ่ งแรก

ภาพที่ 10.32 Bombe และ Colossus Computer
Bombe (ซ้าย) และ Colossus Computer (ขวา)

ภาพจาก : https://en.wikipedia.org/wiki/Bombe
https://www.itgsnews.com/celebrating-colossus-codebreaking/

Z1 computer

ภาพที่ 10.33 Z1 computer

ภาพจาก : http://101dpi.blogspot.com/2017/07/z1-computer-zuse-computer.html

265

Z1 เป็นคอมพิวเตอร์เชิงกลที่ออกแบบโดย Konrad Zuse ระหว่างปี ค.ศ. 1935 – 1936
ใน เยอรมัน ก่อนที่สงครามโลกครั้งที่สองจะเริ่มขึ้นในปี ค.ศ. 1939 Z1 ประกอบด้วยชิ้นส่วนที่
เป็นโลหะบางๆ ขับเคลื่อนด้วยมอเตอร์ไฟฟ้า (1 Hz, หมุน 1 รอบต่อวินาที) และไม่มี
ส่วนประกอบที่เป็นรีเลย์เลย ที่น่าทึ่งคือ Z1 สามารถโปรแกรมได้ และมีมอดูลต่างๆ เหมือน
คอมพิวเตอร์ในปัจจุบัน เช่น หน่วยควบคุม หน่วยความจา หน่วย ประมวลผลและตรรกะ
หน่วยรับส่งข้อมูล ฯลฯ Z1 เป็นโครงการส่วนตัวของ Konrad Zuse ไม่ได้เป็นโครงการที่ ได้รับ
การสนับสนุนด้านการเงินจากรัฐบาลเหมือนคอมพิวเตอร์ต้นแบบอื่นๆ Zuse ใช้อุปกรณ์ต่างๆ
เท่าที่พอหาได้ และพัฒนา Z1 ขึ้นในห้องชุดของเขาในกรุงเบอรล์ ิน Z1 ทา งานได้ไม่ค่อยเสถียร
มากนักเนื่องจากต้องการการ ประสานเวลา (synchronization) ที่แม่นยำมาก Z1 ถูกทา ลาย
เสียหายโดยการท่ังระเบิดของฝา่ ยสมั พันธมิตร Zuse สร้าง Z1 ขึน้ ใหมแ่ ละเสร็จในปี ค.ศ. 1989

ENIAC และ UNIVAC

ภาพที่ 10.34 ENIAC และ UNIVAC

ENIAC (ซา้ ย) และ UNIVAC (ขวา) ภาพจาก :
https://fliesfly55.wordpress.com/2018/12/07/%E0%B9%80%E0%B8%84%E0%B8%A3%E

0%B8%B7%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%87-eniac/
http://www.thaigoodview.com/

ENIAC เปิดตัวครั้งแรกในปี ค.ศ. 1946 เป็นคอมพิวเตอร์แบบอิเล็กทรอนิกส์เครื่องแรก
สำหรับใช้ งานท่ัวไป (general purpose) หรือมีคุณสมบัติที่เรียกว่า Turing complete หรือ
computationally universal, ENIAC ถูกออกแบบมาสำหรับการคำนวณตารางการยิงปืนใหญ่
ของกองทัพสหรัฐ แต่ ENIAC ก็มีความยืดหยุ่น ในการโปรแกรมสูง สามารถโปรแกรมให้
แก้ปญั หาทางการคำนวณใดใดก็ได้ทำใหเ้ กิดความตืน่ ตัวทีจ่ ะใช้ คอมพิวเตอร์เพือ่ ช่วยงานต่างๆ
ในอตุ สาหกรรมและวทิ ยาศาสตร์ ผอู้ อกแบบ ENIAC คือ John Mauchly และ J. Presper Eckert,
University of Pennsylvania ได้แยกตัวออกไปตั้งบริษัทใหม่ เนื่องจากมีปัญหาด้านสิทธิบัตรกับ
มหาวิทยาลัย และพฒั นาคอมพวิ เตอร์ทีม่ ชี ือ่ ว่า UNIVAC ให้กับ Bureau of the Census, USA

266

Atanasoff-Berry Computer (ABC)

ภาพที่ 10.35 Atanasoff-Berry Computer (ABC)

ภาพจาก : https://www.computerhistory.org/revolution/birth-of-the-computer/4/99

เครื่องคอมพิวเตอร์อิเล็กทรอนิกส์ที่ถูกกสร้างขึ้นโดย John Vincent Atanasoff และ
Clifford E. Berry ในปี 1942 ที่มหาวิทยาลัยไอโอวา สหรัฐอเมริกา เครื่องคอมพิวเตอร์นี้ถูก
สร้างขึ้นก่อน ENIAC แต่ไม่เป็นที่รู้จัก แพร่หลายมากนัก แต่มีความสำคัญมากในการต่อสู้เพื่อ
ป้องกันการจดสิทธิบัตรคอมพิวเตอร์อิเล็กทรอนิกส์ของ ผู้ผลิต ENIAC (เบื้องหลังคือบริษัท
IBM) ซึ่งจะนำไปสู่การผูกขาดการผลิตและจำหน่ายคอมพิวเตอร์ อิเล็กทรอนิกส์ บริษัท
Honeywell ได้เคยฟ้องร้องต่อศาลให้ยกเลิกสิทธิบัตรนี้แต่ไม่เป็นผลสำเร็จ ต่อมาได้มีการ
ฟ้องร้องใหม่อีกครั้ง โดยอ้างถึงหลักฐานที่เกี่ยวข้องกับ ABC ในปี ค.ศ. 1973 ศาลตัดสินว่า
สิทธิบัตรของ ENIAC เป็นโมฆะ และชี้ว่าผู้ออกแบบ ENIAC ได้นำแนวคิดหลายอย่างในการ
ออกแบบ ABC มาใช้ เมื่อปราศจากผู้ครอบครองสิทธิบัตรทา ให้ทุกคนสามารถออกแบบ
พัฒนา และผลิตคอมพิวเตอร์อิเล็กทรอนิกส์ได้ และนำไปสู่การใช้งานคอมพิวเตอร์
อิเลก็ ทรอนิกส์อยา่ งแพรห่ ลาย

คอมพิวเตอรเ์คร่อื งแรกที่ใ่ชท้ รานซิสเตอร์
ถึงแม้ว่าหลอดสุญญากาศจะทำงานแบบอิเล็กทรอนิกส์แต่ก็มีข้อเสียคือ มีขนาดใหญ่
และมีอายุการใช้งานสั้น ทรานซิสเตอร์ (transistor) เป็นอุปกรณ์ที่เข้ามาแทนที่หลอด
สุญญากาศ มีหลักการทำงานเหมือนกันคือ เป็นสวิตช์ ปิดเปิดที่ควมคุมด้วยไฟฟ้า และไม่มี
ชิ้นส่วนที่เคลื่อนไหว แต่ทรานซิสเตอร์มีขนาดเล็กและใช้งานได้ทนทานกว่า มาก ที่ University
of Manchester ได้มีการทดลองใช้คอมพิวเตอร์แบบทรานซิสเตอร์เป็นครั้งแรกในปี ค.ศ. 1953
หลังจากนั้นคอมพิวเตอร์ก็เริ่มแพร่เข้าไปในบริษัทเอกชนและหน่วยงานต่างๆ แต่ยังไม่มี
อตุ สาหกรรมการ ผลติ คอมพิวเตอรเ์ พื่อจำหน่ายใหก้ บั บคุ คลทว่ั ไป

267

IBM และ Fortran
บริษัท IBM กอ่ ตั้งในปี ค.ศ. 1911 โดยรวมบริษัทของ Herman Hollerith และ Thomas J.
Watson เข้าด้วยกัน แล้วเปลี่ยนชื่อบริษัทเป็น IBM ในปี ค.ศ. 1924 IBM เป็นผู้เล่นหลักใน
อุตสาหกรรมการผลิตคอมพิวเตอร์มา ตั้งแต่แรก โดยผลิตเครื่องคำนวณตาราง (tabulating
equipment) ที่มีชื่อว่า Hollerith machine ให้กับรัฐบาล สหรัฐอเมริกาเพื่อทำข้อมูลสำมะโน
ประชากรในปี 1890 การย้ายถิ่นฐานของประชากรเข้าไปใน สหรัฐอเมริกาทำให้จำนวนประชา
การเพิ่มข้ึนอยา่ งรวดเรว็ อตั ราการเพิ่มข้ึนของประชากรคิดเป็นค่าเฉลี่ย 32% ต่อปี (ค.ศ. 1800
- 1890) ในปี ค.ศ. 1890 สหรัฐอเมริกาก็มีประชากรถึง 62 ล้านคนแล้ว Hollerith machine
ใช้บัตรเจาะรูในการเก็บข้อมูล เช่น บัตรเจาะรู 1 ใบเก็บข้อมูลประชากร 1 คน เมื่อต้องการ
ประมวลผลก็โหลด บัตรท้ังหมดใสล่ งไปในเครื่อง ในยคุ แรกถึงแมว้ ่าจะเริ่มมีคอมพิวเตอร์ใช้กัน
บ้างแล้วในหนว่ ยงานของรฐั บาลและ ภาคธรุ กิจ การโปรแกรมให้คอมพิวเตอร์ทา งานได้ยังเป็น
เรื่องยากมาก เช่น ต้องโปรแกรมด้วยภาษาเครื่อง (machine language) ที่เป็นรหัสตัวเลขบน
บัตรเจาะรู เป็นต้น นวัตกรรมที่สำคัญของ IBM ที่ช่วยขยายตลาดงาน ด้านซอฟต์แวรค์ ือภาษา
FORTRAN ทีพ่ ัฒนาขึ้นในปี ค.ศ. 1957 ทำให้สัดส่วนคา่ ใช้จ่ายในการพัฒนาระบบ คอมพิวเตอร์
เริม่ จะเปน็ ซอฟตแ์ วรม์ ากกว่าฮารด์ แวร์ IBM ได้พฒั นาคอมพิวเตอรอ์ อกมาหลายรนุ่
รุ่นที่เป็นที่นิยมคือ คอมพิวเตอร์เมนเฟรม (mainframe) ในสกุล IBM System/360
(1964), IBM System/370 (1970), IBM System/390 (1990) อย่างไรก็ตามคอมพิวเตอร์พวกนี้
มีราคาแพงเกินกว่าที่คน ธรรมดาจะซื้อมาใช้เป็นของส่วนตัว ในปี ค.ศ. 1981 IBM ได้เริ่ม
จำหน่ายคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล (personal computer, PC) ที่เรียกว่า IBM PC และกลายเป็น
มาตรฐานของอตุ สาหกรรมคอมพิวเตอร์ในเวลาต่อมา
ไมโครโพรเซสเซอร์และดีแรมตัวแรก
ในยุคแรกๆ จะเห็นว่าแผงวงจรของหน่วยประมวลผล (ไม่นับส่วนที่เป็นหน่วยความจำ
อปุ กรณ์อินพตุ เอาต์พุต และส่วนอืน่ ๆ) มีขนาดใหญ่มาก เพราะประกอบด้วยหลอดสุญญากาศ
หรือทรานซิสเตอร์จำนวนหลายร้อยหลาย พันชิ้น แต่เทคโนโลยีในการผลิตวงจรรวม
(integrated circuit: IC) ทำให้สามารถปลกู ทรานซิสเตอรจ์ ำนวนมาก ลงบนแผ่นซิลกิ อน (silicon)
บางๆ ที่เรียกว่าแว่นผลึก (wafer) ได้ หน่วยประมวลผลที่ผลิตด้วยเทคโนโลยีวงจร รวมนี้
เรียกว่า ไมโครโพรเซสเซอร์ (microprocessor) ไมโครโพรเซสเตอร์ตัวแรกผลิตโดย Intel วาง
จำหน่ายในปี ค.ศ. 1971 มีโค้ดเนมวา่ Intel 4004

268

ภาพที่ 10.36 ไมโครโพรเซสเซอร์

ภาพจาก :

https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%84%E0%B8%A1%E0%B9%82%E0%B8%84%E0%B8%A3%E0%B9%82%E0%B8%9E%E0
%B8%A3%E0%B9%80%E0%B8%8B%E0%B8%AA%E0%B9%80%E0%B8%8B%E0%B8%AD%E0%B8%A3%E0%B9%8C

ประกอบด้วยทรานซิสเตอร์ประมาณ 2,300 ตัว เทคโนโลยี วงจรรวมนี้สามารถนำไป
ผลิตหน่วยความจำที่เรียกว่า Dynamic Random Access Memory (DRAM) ได้ด้วย ดี แรมตัว
แรกทีใ่ ชง้ านได้จรงิ และวางขายในท้องตลาดคือ Intel 1103 (1024 ชอ่ ง x 1 บิต) ค.ศ. 1970 กอ่ น
หน้า นั้นบริษัท Honeywell ได้ขอให้ Intel ผลิตดีแรมโดยใช้ทรานซิสเตอร์ที่ออกแบบโดย
Honeywell แต่ผลที่ได้คือ Intel 1102 มีปัญหามาก Intel จึงเริ่มออกแบบเองและระวังไม่ให้
ขัดแย้งกับ Honeywell ไมโครโพรเซสเตอร์ใน ปัจจุบัน เช่น Intel 10-Core Xeon Westmere-EX
มีทรานซิสเตอร์มากถึง 2.6 พันล้านตัว บนดาย (die) ขนาด เพียง 512 mm2 เท่านั้น
คอมพิวเตอรส์ ว่ นบคุ คลและอินเทอร์เน็ต

เทคโนโลยีวงจรรวมทำให้การผลิตไมโครโพรเซสเซอร์และหน่วยความจา ซึ่งเป็น
อุปกรณ์หลักของคอมพิวเตอร์ทำได้ง่ายและมีราคาถูกลง ทำให้เกิดการใช้คอมพิวเตอร์ส่วน
บุคคลแพร่หลายมากขึ้นและเมื่อ IBM PC กลายเป็น มาตรฐานอุตสาหกรรม ทำให้ IBM ไม่ได้
เป็นผู้ผลิตแต่เพียงรายเดียวอีกต่อไป บริษัทอื่นๆ สามารถผลิต คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลหรือ
บางชิน้ ส่วนที่มคี ณุ สมบัติตามมาตรฐานทีก่ ำหนด และชนิ้ สว่ นเหล่าน้ีสามารถทา งาน รว่ มกนั ได้
แม้ว่าจะผลิตมาจากคนละบริษัท อุตสาหกรรมคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลทำให้เกิดบริษัทใหม่ๆ
ขึ้น มากมาย บริษัทเหล่านี้ผลิตทั้งฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์เพื่อป้อนตลาดคอมพิวเตอร์ส่วน
บุคคลที่มีผู้ใช้งานเพิ่มขึ้น อย่างรวดเร็ว บริษัทฮาร์ดแวร์ เช่น Intel, AMD, Kingston, Seagate,
Western Digital บริษัทซอฟต์แวร์ เช่น Microsoft, Apple, Adobe เป็นต้น ปัจจัยสำคัญที่ทำให้
จำนวนคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลทั่วโลกเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว คือ การแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร
บนอินเทอร์เน็ต เชน่ เวบ็ ไซต์ อีเมล์ และเครือข่ายสงั คมออนไลน์ การเพิม่ ข้ึน ของจำนวนผู้ใช้งา
นอนิเทอร์เนต็

แอนะล็อก (analog) vs. ดิจิทลั (digital)
กระแสหลักของคอมพิวเตอร์ในปัจจุบันก็ยังคงเป็นแบบอิเล็กทรอนิกส์ คือใช้
ทรานซิสเตอร์เป็นหลัก กินพลังงาน ไฟฟ้า และไม่มีชิ้นส่วนที่เคลื่อนไหว นอกจากนี้ยังเปน็ แบบ
ดิจิทัล (digital) ด้วย ซึ่งมีลักษณะการทำงานที่ตรงข้าม กับแบบแอนะล็อก (analog) การ

269

ประมวลผลแบบแอนะล็อกจะใช้แรงดันไฟฟ้าแทนค่าของตัวแปร ในขณะที่แบบ ดิจิทัลจะใช้
ระบบเลขฐานสองคอื ให้ค่าแรงดันที่น้อยกว่า 2.5 โวลต์ แทนค่า 0 และค่าแรงดนั ทีม่ ากกว่า 2.5
โวลต์ แทนค่า 1 ดังนั้นอาจจะใช้ค่าแรงดัน 0 โวลต์ (low) แทนค่า 0 และใช้ค่าแรงดัน 5 โวลต์
(high) แทนค่า 1 จะใช้ ค่าแรงดันอื่นๆ นอกเหนือจากนี้ก็ได้ แต่พยายามให้อยู่ห่างๆ เส้นแบ่ง
ระหว่าง 0 กับ 1 เพื่อลดความผิดพลาดที่ อาจจะเกิดข้ึน
4. ยุคของคอมพิวเตอร์

ภาพที่ 10.37 ชารล์ แบบเบจ

ภาพจาก :
https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%8A%E0%B8%B2%E0%B8%A5%E0%B8%AA%E0%B9%8C_%E

0%B9%81%E0%B8%9A%E0%B8%9A%E0%B8%9A%E0%B8%B4%E0%B8%88

นักคณิตศาสตร์ชาวอังกฤษชื่อชาร์ลแบบเบจ (Charles Babbage) ได้ประดิษฐ์เครื่อง
วิเคราะห์ (Analytical Engine) มีความสามารถในการคำนวณค่าต่างๆทางคณิตศาสตร์การ
ทำงานของเคร่อื งนีแ้ บง่ เปน็ 3 สว่ นคือสว่ นเกบ็ ข้อมลู ส่วนคำนวณและสว่ นควบคุมใช้ระบบพลัง
เครื่องยนต์ไอน้ำหมุนฟันเฟืองมีข้อมูลอยู่ในบัตรเจาะรูคำนวณได้โดยอัตโนมัติและเก็บข้อมูลใน
หน่วยความจำก่อนจะพิมพ์ออกมาทางกระดาษหลักการของแบบเบจนี้เองที่ได้นำมาพัฒนา
สร้างเครื่องคอมพิวเตอร์สมัยใหม่เราจึงยกย่องให้ชาร์ลแบบเบจ เป็นบิดาแห่งคอมพิวเตอร์
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง สามารถแบ่งออกได้โดยแบ่งส่วนประกอบ
ของฮารด์ แวร์ (Hardward ) เป็น 5 ยคุ ดงั นี้
ยุคที่ 1 ยุคหลอดสญุ ญากาศ (The First Generation) ปี ค.ศ.1951-1958

คอมพิวเตอร์ยุคนี้ใช้หลอดสุญญากาศ (vacuum tube) ซึ่งเป็นอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์
ขนาดเท่าหลอดไฟฟ้าตามบ้านเป็นองค์ประกอบหลักของวงจรไฟฟ้า และใช้บัตรเจาะรูในการ
เก็บข้อมูลและคำสั่งที่ให้คอมพิวเตอร์ทำงาน และใช้ดรัมแม่เหล็ก (magnetic drum) เป็น

270

หนว่ ยความจำหลัก ในระยะแรกจุดประสงค์ของการสร้างเครื่องคอมพิวเตอรใ์ นยุคนี้เพื่อช่วยใน
งานวิจัยด้านวิทยาศาสตร์ และเครื่องคอมพิวเตอร์ที่เป็นอิเล็กทรอนิกส์เครื่องแรกมีชื่อว่า อินิ
แอค (ENIAC) ต่อมาในปี 2491 ได้มีการพัฒนาเครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องแรกที่สามารถใช้งาน
ทางธรุ กิจ ชือ่ วา่ ยูนิแวค (UNIVAC) ท้ังนีเ้ พือ่ ใช้ช่วยในการสำรวจสำมะโนประชากร

ปัญหาของคอมพิวเตอร์ที่ใช้หลอดสุญญากาศ นอกจากขนาดและน้ำหนักที่มากแล้ว
ยังมีปัญหาเรื่องความร้อน เนื่องจากหลอดดังกล่าวต้องใช้พลังงานสูงทำให้เกิดความร้อนจาก
การใชง้ านสูง และไส้หลอดขาดงา่ ย ทำให้มกี ารพฒั นาอปุ กรณ์อื่นข้ึนใชง้ านแทน

ลักษณะของเคร่อื ง : คอมพิวเตอร์มีขนาดใหญ่ ใชไ้ ฟฟ้าแรงสูง
อปุ กรณ์ : ใช้หลอดไฟสูญญากาศและวงจรไฟฟ้า
หน่วยวดั ความเรว็ : วัดเป็นวินาที ( Second)
ตัวอยา่ งภาษาคอมพิวเตอร์ : ภาษาเครือ่ ง (Machine Language)
ตัวอยา่ งเคร่อื งคอมพิวเตอร์ : Univac I, IBM 650, IBM 700, IBM 704, IBM 705,
IBM 709 และ MARK I
ยุคที่ 2 ยุคทรานซิสเตอร์ (The Second Generation) ปี ค.ศ.1959-1964
ค.ศ. 1959 ทรานซิสเตอร์ และส่วนประกอบอื่น ๆ เช่น Solid state, semiconductor
วงจรทรานซิสเตอร์ มีขนาดเล็กลง ความรอ้ นลดลง ราคาถกู ลง และต้องการพลังงานน้อยกว่า
การใช้หลอดสุญญากาศ คอมพิวเตอร์ในยุคที่สอง จึงมีขนาดเล็กลง แต่ความเร็วสูงขึ้น และ
น่าเชื่อถือมากกว่าคอมพิวเตอร์ในยุคที่ 1คอมพิวเตอร์ในยุคนี้ใช้ วงแหวนแม่เหล็ก (Magnetic
cores) เป็นหน่วยความจำ สื่อบันทึกข้อมูลหลักในยุคนี้ใช้จานแม่เหล็ก (magnetic disk packs)
หน่วยความจำสำรองอื่น ๆ ยังคงเป็น เทปแม่เหล็ก และบัตรเจาะรู ในยุคนี้ มีการพัฒนา
ภาษาระดับต่ำ(low-level language) หรือภาษาอิงเครื่อง เป็นภาษารหัส ที่ง่ายต่อการเขียน
มากกว่าภาษาเครื่อง เชน่ ภาษาแอสเซมบลี (assembly) โดยมีโปรแกรมแปลภาษาคือ แอสเซม
เบลอร์ (assembler) ทำหนา้ ที่แปลใหเ้ ป็นภาษาเครือ่ ง
ลักษณะของเครอ่ื ง : มีขนาดเล็ก มคี วามรอ้ นน้อย และราคาถกู
อุปกรณ์ : ใช้ทรานซิสเตอร์(Transistor) แทนหลอดไฟสุญญากาศ
หน่วยวดั ความเรว็ : วดั เป็นมลิ ลิวินาที ( Millisecond)
ตัวอย่างภาษาคอมพิวเตอร์ : ภาษาแอสแซมบลี (Assembly) , ภาษาฟอร์แทรน
(FORTRAN)
ตวั อย่างเครอ่ื งคอมพิวเตอร์ : IBM 1620, IBM 1401, CDC 6600, NCR 315 , Honey
Well

271

ยคุ ที่ 3 ยคุ วงจรรวม (The Third Generation) ปี ค.ศ.1965-1970
ค.ศ. 1964 IBM system/360 คือจุดเริ่มต้นของยุคที่ 3 วงจรไอซี (IC: integrated

circuits) เป็นวงจรอิเล็กทรอนิกส์ที่นำมาใช้แทนวงจรทรานซิสเตอร์ ลักษณะของ IC เป็นแผ่น
ซิลิกอนขนาดเล็กหรือเรียกว่า ชิป (chip) เป็นวงจรไมโครอิเล็กทรอนิกส์ มีขนาดเล็กกว่า
น่าเช่อื ถือมากกวา่ ความเร็วสงู ข้ึน และ ขนาดของคอมพิวเตอรเ์ ล็กลง เริม่ ใชว้ ิธีการแบบ Time-
sharing และการส่ือสารข้อมูล ความสามารถในการประมวลผลหลาย ๆ โปรแกรมพร้อม ๆ กัน
เรียกว่า multi-programming ระบบปฏิบัติการ (Operating system) ถูกพัฒนาขึ้นเพื่อควบคุม
การประมวลผลคอมพิวเตอร์ ภาษาระดับสูงสำหรับเขียนโปรแกรม เช่น FORTRAN, COBOL
เป็นต้น โปรแกรมสำเร็จรูปแพร่หลายมากขึ้น เครื่องขนาด มินิคอมพิวเตอร์เครื่องแรก คือ
PDP-8 ของ the Digital Equipment Corporation ในปี ค.ศ. 1969

ลักษณะของเคร่อื ง : มีขนาดเลก็ ลงกวา่ เดิม มคี วามเร็วเพิม่ ข้นึ และใช้ความรอ้ นน้อย
อปุ กรณ์ : ใช้วงจรแบบไอซี (IC) ซึ่งเปน็ วงจรอิเลก็ ทรอนิกส์ทีถ่ กู บรรจุลงในแผ่น
ซิลกิ อน ( Silicon) ที่เรยี กว่า Chip
หน่วยวดั ความเร็ว : วัดเป็นไมโครวินาที ( Microsecond)
ตวั อยา่ งภาษาคอมพิวเตอร์ : COBOL , PL/1 , RPG , BASIC
ตวั อยา่ งเคร่อื งคอมพิวเตอร์ : IBM 360 , CDC 3300 , UNIVAC 9400 BURROUGH
7500 , PDP1
ยุคที่ 4 ยุคของแผงวงจรรวมขนาดใหญ่ (The fourth Generation) ปี ค.ศ. 1972-1984
ในยุคนี้ได้มีการพัฒนาเอาวงจรรวมหลาย ๆ วงจรมารวมเป็นวงจรขนาดใหญ่ เรียกว่า
LSI (Large Scale Integrated) ลงในชปิ แต่ละอนั บริษทั อินเทล (Intel) ได้สรา้ งไมโครโปรเซสเซอร์
(Microprocessor) ซึ่งเป็นชิป 1 อัน ที่ประกอบด้วยวงจรทั้งหมดที่ต้องใช้ในการประมวลผล
โปรแกรม ไมโครโปรเซสเซอร์ชิปที่ใช้ในเครื่องพีซี (PC : Personal Computer) มีขนาดกระทัดรัด
ประกอบด้วยส่วนประกอบของซีพียู (CPU) 2 ส่วน คือ หน่วยควบคุม (Control Unit) และหน่วย
คำนวณและตรรกะ (Arithmetic/Logic Unit)
ปัจจุบันได้มีการสร้างวงจรอิเล็กทรอนิกส์หลายหมื่นวงจรรวมอยู่ในชิปเดียว เป็นวงจร
LSI (Large Scale Integrated) และ VLSI (Very Large Scale Integrated) ในยุคนี้ได้มีการสร้าง
เครื่องคอมพิวเตอร์ทั้งขนาดเล็ก ขนาดกลาง และขนาดใหญ่ ได้แก่ ไมโครคอมพิวเตอร์
มินิคอมพิวเตอร์ เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ และซุปเปอร์คอมพิวเตอร์ โดยเฉพาะเครื่อง
ไมโครคอมพิวเตอร์ ได้รับความนิยมมากเพราะมีขนาดเล็ก กระทัดรัดและราคาถูก แต่มี
ประสิทธิภาพเพิม่ ข้นึ ทำงานเร็วขึ้น ความเรว็ ในการทำงานเป็น 1/109 วินาที (นาโนเซคคน่ั ) และ

272

1/1012 วินาที (พิโคเซคค่ัน) นอกจากนี้ วงจร LSI ยังได้ถูกนำไปใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ขนาด
ใหญ่เป็นการลดค่าใช้จ่ายพร้อมกับเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงาน เนื่องจากการเพิ่มความจุ
ของหน่วยบันทึกข้อมูลสำรองนี่เอง ซอฟต์แวร์ชนิดใหม่ได้พัฒนาขึ้น เพื่อให้สามารถเก็บรวม
รวบและบันทึกแก้ไขข้อมลู จำนวณมหาศาลที่ถูกจัดเก็บไว้ นั่นคือ ซอฟร์แวร์ ฐานข้อมูล (Data
base) นอกจากนี้ ยงั มีการถือกำเนิดขึ้นของเคร่ืองคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลในปี 1975 คือเคร่ือง
Altair ซึ่งใช้ชิฟ intel 8080 และถัดจากนั้นก็เป็นยุคของเครื่อง และ ตามลำดับ ในส่วนของ
ซอฟตแ์ วรก์ ็ได้มกี ารพฒั นาใหเ้ ป็นมิตรกับผใู้ ช้ มีขนาดใหญ่และซบั ซ้อนมากขึน้ เรื่อย ๆ รวมทั้งมี
การนำเทคนิคต่าง ๆ เช่น OOP (Object-Oriented Programming) และ Visual Programming มา
เปน็ เครื่องมอื ช่วยในการพัฒนา

การพัฒนาที่สำคัญอื่นๆในยุคที่ 4 คือการพัฒนาเครื่อข่ายคอมพิวเตอร์ความเร็วสูง
ทำให้คอมพิวเตอร์สามารถเชื่อมโยงและแลกเปลี่ยนกันได้ โดยการใช้งานภายในองค์กรนั้น
ระบบเครือ่ ขา่ ยท้องถิ่น (Local Araa Networks) ซึง่ นิยมเรียกว่า แลน (LANs) จะมีบทบาทในการ
เช่อื งโยงเครื่องนบั ร้อยเข้าด้วยกันในพื้นที่ห่างไกลกันนัก สว่ นระบบเครือ่ งขา่ ยระยะไกล ( Wide
Area Networks ) หรือ แวน (WANs) จะทำหน้าที่เชื่อมโยงเครื่องคอมพิวเตอร์ที่อยู่ห่างไกลคน
ละซีกโลกเข้าด้วยกัน

ลกั ษณะของเคร่อื ง : คอมพิวเตอร์มีขนาดเล็กหรอื เรียกว่าไมโครคอมพิวเตอร์ ทำงาน
เรว็ ไม่ร้อน และมีประสิทธิภาพสงู

อปุ กรณ์ : ใช้ระบบ LSI ( Large Scale Integrated ) ซึ่งเปน็ วงจรทีป่ ระกอบด้วย
ทรานซิสเตอร์หลายพันตัวและตอ่ มา ได้รบั การพัฒนาปรับปรงุ เปน็ VLSI ซึ่งกค็ ือ
Microprocessor หรอื CPU

หนว่ ยวัดความเรว็ : วดั เปน็ นาโนวินาที ( Nanosecond) และพิโควินาที (Picosecond)
ตัวอย่างภาษาคอมพิวเตอร์ : ภาษาปาสคาล (PASCAL) , ภาษาซี (C)
ตวั อยา่ งเครอ่ื งคอมพิวเตอร์ : IBM 370
ยคุ ที่ 5 ยุคเครอื ข่าย (The Fifth Generation) ตัง้ แต่ปี ค.ศ. 1980 ขึ้นไป
ในยุคที่ 4 และยุคที่ 5 ก็จัดเป็นยุคของคอมพิวเตอร์ในปัจจุบัน แต่ในยุคที่ 5 นี้มีการใช้
คอมพิวเตอร์เพื่อช่วยการจัดการ และนำมาใช้สนับสนุนการตัดสินใจของผู้บริหารจึงเกิดสาขา
MIS (Management Information System) ขนึ้
ในปี ค.ศ. 1980 ญี่ปุ่นได้พยายามที่จะสร้างเครื่องคอมพิวเตอร์ให้สามารถคิดและ
ตัดสินใจได้เอง โดยสร้างเครื่องคอมพิวเตอร์ให้มี “สติปัญญา” เพื่อใช้ในการตัดสินใจแทน
มนุษย์จึงเกิดสาขาใหม่ขึ้นเรียกว่า สาขาปัญญาประดิษฐ์ (AI : Artficial Intelligence) สาขา

273

ปัญญาประดิษฐ์เป็นสาขาที่เน้นถึงความพยายามในการนำเอากระบวนการท างความคิดของ
มนุษย์มาใช้ในการแก้ปัญหาด้วยระบบคอมพิวเตอร์ นอกจากนี้ มีการตื่นตัวในการจัดเก็บ
ข้อมลู เปน็ ระบบฐานข้อมลู (Database) การนำคอมพิวเตอร์มาใช้กบั งานด้านกราฟิก และมีการ
พฒั นาซอฟต์แวร์ (Software) เพือ่ ใช้กบั งานเฉพาะอย่าง เช่น งานการเงนิ งานงบประมาณ งาน
บัญชี งานสต๊อกสินค้า เป็นต้น

เมื่อไมโครคอมพิวเตอร์มีขีดความสามารถสูงขึ้น ทำงานได้เร็ว การแสดงผล การ
จัดการขอ้ มลู สามารถประมวลได้คร้ังละมาก ๆ จงึ ทำให้คอมพิวเตอร์สามารถทำงานหลายงาน
พร้อมกัน(Multitasking) ขณะเดียวกันก็มีการเชื่อมโยงเครือข่ายคอมพิวเตอร์ในองค์การโดยใช้
เครือข่ายท้องถิ่นทีเ่ รียกวา่ LAN : Local Area Network เมื่อเชื่อมหลาย ๆ กลุ่มขององค์การเข้า
ด้วยกันจะเกิดเป็นเครือข่ายคอมพิวเตอร์ขององค์การ เรียกว่า อินทราเน็ต และหากนำ
เครือข่ายขององค์การเชื่อมต่อเข้าสู่เครือข่ายสากลที่ต่อเชื่อมกันทั่วโลก เรียกว่า อินเตอร์เน็ต
(Internet)

คอมพิวเตอรใ์ นยคุ ปจั จบุ ันจงึ เป็นคอมพิวเตอร์ที่เชือ่ มต่อกัน ทำงานร่วมกัน ส่งเอกสาร
ข้อความระหว่างกัน สามารถประมวลผลรปู ภาพ เสียง และวีดีทัศน์ ไมโครคอมพิวเตอร์ในยุคนี้
จงึ ทำงานกบั สื่อหลายชนดิ ทีเ่ รยี กวา่ สือ่ ประสม (Multimedia)

ลกั ษณะของเคร่อื ง : คอมพิวเตอร์ขนาดเล็ก ทำงานเร็วและมี ประสิทธิภาพสูง
วัสดุทใ่ี ชส้ ร้าง : ใช้วงจรรวมขนาดใหญ่มาก (VLSI-Very Large Scale Integrated
Circuit) และ มีหน่วยความจำหลักและ หนว่ ยความจำรองทีม่ ขี นาดใหญ่
ความเร็วในการทำงาน : picoseconds หรอื หนึง่ ในล้านล้านของวินาที
สือ่ ข้อมลู : เทปแมเ่ หล็กและ จานแมเ่ หล็ก เป็นสว่ นใหญ่
ภาษาคอมพิวเตอรท์ ใ่ี ช้ : ภาษาเชิงวัตถุ(Object-Oriented) เชน่ C++, Java, Visual

programming
ตวั อย่างเคร่อื ง : PC desktop และ notebook ในปจั จบุ ัน
ยคุ ที่ 6 (Sixth Generation) ปี ค.ศ. 1990- ปจั จุบัน
ที่ผ่านมาทั้ง 5 ยุค พัฒนาการของคอมพิวเตอร์จะเป็นไปในทางการปรับปรุงการผลิต
และการ เสริมสร้างความสามารถทางด้านการคำนวณของคอมพิวเตอร์เป็นส่วนใหญ่ ซึ่งเป็น
การจำกัด ความสามารถทางด้านการป้อนข้อมูล ในปัจจุบัน ความต้องการทางด้านการป้อน
ข้อมูลอย่างอิสระ โดยใช้เสียงและภาพ ซึ่งถือเป็นการป้อนข้อมูลโดยธรรมชาตินั้นสูงขึ้นเรื่อยๆ
ความต้องการคอมพิวเตอร์รุ่นใหม่ที่ไม่เป็นเพียงแต่เครื่องคำนวณ จึงสูงขึ้นเรื่อย ๆ โดยเฉพาะ

274

อย่างยิ่งความต้องการประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์ในการแก้ปัญหาสังคม เศรษฐกิจ อุตสาหกรรม
เทคโนโลยี การตดิ ต่อระหวา่ งประเทศและอื่น ๆ ในช่วงทศวรรษปี 1990 เช่น

1. การพัฒนาด้านการผลติ ของอุตสาหกรรม การตลาด ธรุ กิจ
2. การพฒั นาทางด้านการติดตอ่ สื่อสารระหว่างประเทศ
3. การชว่ ยเหลอื ทางดา้ นการประหยัดพลงั งาน
4 การแก้ไขปัญหาของสังคม การศกึ ษา การแพทย์
ความสามารถทีค่ อมพิวเตอร์ยคุ ที่ 6 ควรจะมี อาจแบ่งได้ดงั น้ี
1. การพัฒนาปัญญาให้คอมพิวเตอร์ เพื่อที่จะสามารถนำไปใช้เป็นผู้ช่วยของมนุษย์ได้
สำหรับการพัฒนาด้านปัญญาของคอมพิวเตอร์หรือที่เรียกว่า AI (artificial intelligence) อาจ
กล่าวได้ว่าเป็นการพัฒนาด้านการป้อนข้อมูลด้วยเสียงและภาพ ความสามารถในการโต้ตอบ
ด้วยภาษาพูด ความสามารถในการเกบ็ ข้อมูลในด้านความรู้และการนำความรู้ไปใช้ การค้นหา
ความรจู้ ากข้อมลู มหาศาส และอื่น ๆ
2. การลดความยากลำบากในการผลิตซอฟต์แวร์ เปน็ การพฒั นาทางด้านการเขียน
โปรแกรม พัฒนา ภาษาของโปรแกรมให้ง่ายขึ้น วิธีการติดต่อกบั ผใู้ ช้ และอื่น ๆ
5. ชนิดของคอมพิวเตอร์
เครื่องคอมพิวเตอรม์ หี ลายประเภท ซึ่งแต่ละประเภทมีวิธีการใช้ ระบบการทํางาน และ
การอํานวยความสะดวกแตกต่างกันออกไป แต่สิ่งที่เหมือนกัน คือ ความสามารถในการ คิด
คํานวณ ประเภทของคอมพิวเตอร์แบ่งได้หลายประเภทตามหลักการแบ่งต่าง ๆ แต่แบ่งตาม
ขนาดของเครือ่ งแล้ว สามารถแบ่งออกได้ดังน้ี
การแบง่ ประเภทของคอมพิวเตอรน์ ้ัน สามารถจำแนกออกได้เปน็ 3 กล่มุ หลัก ดังนี้

5.1. ประเภทของคอมพิวเตอร์ตามหลักการประมวลผล
5.2. ประเภทของคอมพิวเตอร์ตามวัตถุประสงค์ของการใชง้ าน
5.3. ประเภทของคอมพิวเตอร์ตามความสามารถของระบบ
5.1. ประเภทของคอมพิวเตอรต์ ามหลกั การประมวลผล
สามารถจำแนกประเภทได้ 3 ประเภทดังน้ี

5.1.1 คอมพิวเตอร์แบบแอนะล็อก (Analog Computer)
เครื่องมือประมวลผลข้อมูลที่อาศัยหลักการวัด (Measuring Principle)
ทำงานโดยใช้ข้อมูลที่มีการเปลี่ยนแปลงแบบต่อเนื่อง (Continuous Data) แสดงออกมาใน
ลักษณะสัญญาณที่เรียกว่า Analog Signal เครื่องคอมพิวเตอรป์ ระเภทนี้มักแสดงผลด้วยสเกล

275

หน้าปัทม์ และเข็มชี้ เช่น การวัดค่าความยาว โดยเปรียบเทียบกับสเกลบนไม้บรรทดั การวัดค่า
ความรอ้ นจากการขยายตัวของปรอท เปรียบเทียบกบั สเกลข้างหลอดแก้ว

นอกจาก นี้ยังมีตัวอย่างของ Analog Computer ที่ใช้การประมวลผล
แบบเป็นขั้นตอน เช่น เครื่องวัดปริมาณการใช้น้ำด้วยมาตรวัดน้ำ ที่เปลี่ยนการไหลของน้ำให้
เป็นตัวเลขแสดงปริมาณ อุปกรณ์วัดความเร็วของรถยนต์ในลักษณะเข็มชี้ หรือเครื่องตรวจ
คลื่นสมองที่แสดงผลเป็นรูปกราฟ เป็นต้น

5.1.2 คอมพิวเตอร์แบบดิจทิ ัล (Digital Computer)
คือคอมพิวเตอร์ที่ใช้ในการทำงานทั่วๆ ไปนั่นเอง เป็นเครื่องมือ
ประมวลผลข้อมูลที่อาศัยหลักการนับทำงานกับข้อมูลที่มีลักษณะ การเปลี่ยนแปลงแบบไม่
ต่อเนื่อง (Discrete Data) ในลักษณะของสัญญาณไฟฟ้า หรือ Digital Signal อาศัยการนับ
สัญญาณข้อมูลที่เป็นจังหวะด้วยตัวนับ (Counter) ภายใต้ระบบฐานเวลามาตรฐาน ทำให้
ผลลัพธ์เป็นที่น่าเชื่อถือ ทั้งสามารถนับข้อมูลให้ค่าความละเอียดสูง เช่นแสดงผลลัพธ์เป็น
ทศนิยมได้หลายตำแหน่ง เป็นต้น เนื่องจาก Digital Computer ต้องอาศัยข้อมูลที่เป็น
สัญญาณไฟฟ้า (มนุษย์สัมผัสไม่ได้) ทำให้ไม่สามารถรับข้อมูลจากแหล่งข้อมูลต้นทางได้
โดยตรง จึงจำเป็นต้องเปลี่ยนข้อมูลต้นทางที่รับเข้า (Analog Signal) เป็นสัญญาณไฟฟ้า
(Digital Signal) เสียก่อน เมื่อประมวลผลเรียบร้อยแล้วจึงเปลี่ยนสัญญาณไฟฟ้ากลับไปเป็น
Analog Signal เพื่อสื่อความหมายกับมนษุ ยต์ อ่ ไป
โดยสว่ นประกอบสำคญั ที่เรียกวา่ ตัวเปลี่ยนสญั ญาณข้อมูล (Converter) คอยทำ
หนา้ ทีใ่ นการเปลี่ยนรูปแบบของสญั ญาณข้อมลู ระหว่าง Digital Signal กบั Analog Signal
5.1.3 คอมพิวเตอรแ์ บบลูกผสม (Hybrid Computer)
เครื่องประมวลผลข้อมูลที่อาศัยเทคนิคการทำงานแบบผสมผสาน
ระหว่าง Analog Computer และ Digital Computer โดยทั่วไปมักใช้ในงานเฉพาะกิจ โดย
เฉพาะงานด้านวิทยาศาสตร์ เช่น เครื่องคอมพิวเตอร์ในยานอวกาศ ที่ใช้ Analog Computer
ควบคุมการหมุนของตัวยาน และใช้ Digital Computer ในการคำนวณระยะทาง เป็นต้น การ
ทำงานแบบผสมผสาน ของคอมพิวเตอร์ชนิดนี้ ยังคงจำเป็นต้องอาศัยตัวเปลี่ยนสัญญาณ
(Converter) เช่นเดิม
5.2. ประเภทของคอมพิวเตอรต์ ามวตั ถุประสงค์ของการใช้งาน
สามารถจำแนกประเภทได้ 2 ประเภทดังน้ี
5.2.1 เครื่องคอมพิวเตอร์เพื่องานเฉพาะกิจ ( Special Purpose
Computer) เครื่องประมวลผลข้อมูลที่ถูกออกแบบตัวเครื่องและโปรแกรมควบคุม ให้ทำงาน

276

อย่างใดอย่างหนึ่งเป็นการเฉพาะ (Inflexible) โดยทั่วไปมักใช้ในงานควบคุม หรืองาน
อุตสาหกรรมที่เน้นการประมวลผลแบบรวดเร็ว เช่นเครื่องคอมพิวเตอร์ควบคุมสัญญาณไฟ
จราจร คอมพิวเตอรค์ วบคมุ ลิฟท์ หรอื คอมพิวเตอร์ควบคมุ ระบบอัตโนมัติในรถยนต์ เปน็ ต้น

5.2.2 เครื่องคอมพวิ เตอร์เพื่องานอเนกประสงค์ (General Purpose
Computer) เครื่องประมวลผลขอ้ มลู ทีม่ ีความยืดหยนุ่ ในการทำงาน (Flexible) โดยได้รบั การ
ออกแบบให้สามารถประยกุ ต์ใช้ในงานประเภทต่างๆ ได้โดยสะดวก โดยระบบจะทำงานตาม
คำส่ังในโปรแกรมที่เขียนขึ้นมา และเม่อื ผใู้ ช้ต้องการให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทำงานอะไร ก็
เพียงแตอ่ อกคำสั่งเรียกโปรแกรมที่เหมาะสมเข้ามาใช้งาน โดยเราสามารถเกบ็ โปรแกรมไว้
หลายโปรแกรมในเคร่อื งเดียวกนั ได้ เช่น ในขณะหน่ึงเราอาจใชเ้ ครื่องนใี้ นงานประมวลผล
เกีย่ วกับระบบบัญชี และในขณะหน่ึงกส็ ามารถใช้ในการออกเช็คเงินเดือนได้ เป็นต้น

5.3. ประเภทของคอมพิวเตอรต์ ามความสามารถของระบบ
จำแนกออกได้เปน็ 4 ชนิด โดยพิจารณาจาก ความสามารถในการเก็บข้อมูล

และ ความเร็วในการประมวลผล เป็นหลกั ดังน้ี
5.3.1 ซเู ปอร์คอมพิวเตอร์ (Super Computer)

ภาพที่ 10.38 ซูเปอรค์ อมพิวเตอร์

ภาพจาก : https://pumpaka5357.files.wordpress.com/2015/01/image-supercomputer.jpg

ซูเปอร์คอมพิวเตอร์ ถือได้ว่าเป็นคอมพิวเตอร์ที่มีความเร็วมาก และมีประสิทธิภาพ
สูงสุดเมื่อเปรียบเทียบกับคอมพิวเตอร์ชนิดอื่นๆ เครื่องซูเปอร์คอมพิวเตอร์มีราคาแพงมาก
มีขนาด ใหญ่ สามารถคำนวณทางคณิตศาสตร์ได้หลายแสนล้านครั้งต่อวินาที และได้รับการ
ออกแบบ เพื่อให้ใชแ้ ก้ปัญหาขนาดใหญ่มากทางวิทยาศาสตร์และทางวิศวกรรมศาสตร์ได้อย่าง
รวดเร็ว เช่น การพยากรณ์อากาศล่วงหน้าเป็นเวลาหลายวัน การศึกษาผลกระทบของมลพิษ
กับสภาวะแวดล้อม ซึ่งหากใช้คอมพิวเตอร์ชนิดอื่นๆ แก้ไขปัญหาประเภทนี้ อาจจะต้องใช้เวลา
ในการคำนวณหลายปี กว่าจะเสร็จสิ้น ในขณะที่ซูเปอร์คอมพิวเตอร์สามารถแก้ไขปัญหาได้

277

ภายในเวลาไม่กี่ชั่วโมงเท่านั้น เนื่องจากการแก้ปญั หาใหญๆ่ จะต้องใช้หน่วยความจำสูง ดังนั้น
ซูเปอร์คอมพิวเตอร์จึงมี หน่วยความจำที่ใหญ่มาก ซูเปอร์คอมพิวเตอร์มีหลายประเภท ตั้งแต่
รุ่นที่มีหน่วยประมวลผล (Processing Unit) 1 หน่วย จนถึงรุ่นที่มีหน่วยประมวลผลหลายหมื่น
หนว่ ยซึ่งสามารถทำงานหลาย อย่างได้พร้อม ๆ กัน

5.3.2 เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ (Mainframe Computer)

ภาพที่ 10.39 เมนเฟรมคอมพิวเตอร์

ภาพจาก : https://sites.google.com/site/thekhnoloyilaeakhxmphiwtexr032/

เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ มีสมรรถภาพที่ต่ำกว่าซูเปอร์คอมพิวเตอร์มาก แต่ยังมี
ความเร็วสูง และมีประสิทธิภาพสูงกว่ามินิคอมพิวเตอร์หรือไมโครคอมพิวเตอร์
เมนเฟรมคอมพิวเตอร์สามารถให้บริการผู้ใช้จำนวนหลายร้อยคนพร้อมๆ กัน ฉะนั้น จึง
สามารถใช้ โปรแกรมจำนวนนับร้อยแบบในเวลาเดียวกันได้ โดยเฉพาะถ้าต่อเครื่องเข้า
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ผใู้ ช้สามารถใช้ได้จากท่ัวโลก ปจั จุบัน องค์กรใหญ่ๆ เชน่ ธนาคาร จะใช้
คอมพิวเตอร์ประเภทนี้ใน การทำบัญชีลูกค้า หรือการให้บริการจากเครื่องฝากและถอนเงิน
แบบอัตโนมัต (Automatic Teller Machine) เนื่องจากเครื่องเมนเฟรมคอมพิวเตอร์ได้ถูกใช้งาน
มากในการบริการผู้ใชพ้ ร้อม ๆ กนั เมนเฟรมคอมพิวเตอร์จงึ ตอ้ งมหี น่วยความจำที่ใหญ่มาก

5.3.3 มินิคอมพิวเตอร์ (Minicomputer)

ภาพที่ 10.40 เมนเฟรมคอมพิวเตอร์

ภาพจาก : https://sites.google.com/site/khumxwu/khxmphiwtexr-laea-xupkrn-thorkhmnakhm/chnid-khxng-khxmphiwtexr

278

มินิคอมพิวเตอร์ คอื เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ขนาดเล็กๆ ซึ่งสามารถบริการผู้ใช้งานได้
หลายคนพร้อมๆ กัน แตจ่ ะไมม่ ีสมรรถภาพเพียงพอทีจ่ ะบริการผใู้ ช้ในจำนวนทีเ่ ทียบเท่า
เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ได้จึงทำให้มนิ ิคอมพิวเตอร์เหมาะสำหรบั องค์กรขนาดกลาง หรอื สำหรับ
แผนกหนึ่งหรอื สาขาหน่ึงขององค์กรขนาดใหญเ่ ท่าน้ัน

5.4.4 ไมโครคอมพิวเตอร์ (Microcomputer) หรอื พีซี (Personal
Computer)

ภาพที่ 10.41 ไมโครคอมพิวเตอร์ (Microcomputer) หรอื พีซี (Personal Computer)

ภาพจาก : https://sites.google.com/site/khumxwu/khxmphiwtexr-laea-xupkrn-thorkhmnakhm/chnid-
khxng-khxmphiwtexr

ไมโครคอมพิวเตอร์ คือ คอมพิวเตอร์ขนาดเล็กแบบขนาดตั้งโต๊ะ (Desktop Computer)
หรือขนาดเล็กกว่านั้น เช่น ขนาดสมุดบันทึก (Notebook Computer) และขนาดฝ่ามือ (Palmtop
Computer) ไมโครคอมพิวเตอร์ได้เริม่ มีข้นึ ในปีพ.ศ. 2518 ถึงแม้ว่าในระยะหลัง เครือ่ ง ชนิดนี้จะ
มีประสิทธิภาพที่สงู แตเ่ นอ่ื งจากมีราคาไม่แพงและมีขนาดกระทัดรัด ไมโครคอมพิวเตอร์ จึงยัง
เหมาะสำหรับใช้ส่วนตัว ไมโครคอมพิวเตอร์ได้ถูกออกแบบสำหรับใช้ที่บ้าน โรงเรียน และ
สำนักงานสำหรับที่บ้าน เราสามารถใช้ไมโครคอมพิวเตอร์ในการท างบประมาณรายรับ
รายจ่ายของ ครอบครัวช่วยทำการบ้านของลูกๆ การค้นคว้าข้อมูลและข่าวสาร การสื่อสาร
แบบอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Mail หรือ E - mail) หรือโทรศัพท์ทางอินเทอร์เน็ต (Internet
Phone) ในการติดต่อทั้งใน และนอกประเทศ หรือแม้กระทั่งทางบันเทิง เช่น การเล่นเกมบน
เครือ่ งไมโครคอมพิวเตอร์ สำหรบั ทีโ่ รงเรียน เราสามารถใช้ไมโครคอมพิวเตอรใ์ นการช่วยสอน
นักเรียนในการค้นคว้าข้อมูลจากทัว่ โลกสำหรับทีส่ ำนักงาน เราสามารถใช้ไมโครคอมพิวเตอร์
ในการช่วยพิมพ์จดหมายและข้อมูลอื่นๆ เก็บและค้นข้อมูล วิเคราะห์และทำนายยอดซื้อขาย
ล่วงหนา้

เครือ่ งไมโครคอมพิวเตอร์ จำแนกออกได้เป็น 2 ประเภทใหญ่ๆ คอื
5.4.4.1 คอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะ (Desktop Computer) การแบ่งประเภทของ

คอมพิวเตอรต์ ั้งโตะ๊ ยังจำแนกได้ ดั้งนี้

279

5.4.4.1.1 All-in Computer เป็นคอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะที่รวม
จอภาพและหน่วยประมวลผลอยู่ในอปุ กรณ์เดียวกนั

5.4.4.1.2 Workstation เป็นคอมพิวเตอรต์ ้ังโต๊ะทีม่ ี
ความสามารถและราคาสงู กว่าคอมพิวเตอรต์ ้ังโต๊ะท้ัวไปออกแบบมาเพือ่ ใช้งานด้านการ
คำนวณและกราฟิก ผู้ใชส้ ว่ นใหญ่จะเปน็ สถาปนิก วิศวกร และนักออกแบบภาพกราฟิก

5.4.4.1.3 Stand-alone Computer หรือคอมพิวเตอร์ระบบ
เดียว เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ทีส่ ามารถทำงานที่เรียกว่า IPOS cycle โดยที่ไม่ได้เชื่อมต่อระบบ
เครือขา่ ยคอมพิวเตอร์ แตใ่ นปจั จุบันคอมพิวเตอรป์ ระเภทนีม้ ีความสามารถในการเชื่อมต่อข่าย
ได้

5.4.4.1.4 Server Computer เป็นคอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะที่มี
ความสามารถเช่นเดียวกันหรือใกล้เคียงกับคอมพิวเตอร์เซิร์ฟเวอร์ (เครื่องคอมพิวเตอร์ที่ทำ
หนา้ ที่ให้บริการต่าง ๆ เชน่ ข้อมลู โปรแกรมจัดสรรงานพิมพ์ เปน็ ต้น)

5.4.4.2 แบบเคลื่อนย้ายได้ (Portable Computer) สามารถพกพาติดตัว อาศัย
พลังงานไฟฟ้าแบตเตอรี่จากภายนอก ส่วนใหญ่มักเรียกตามลักษณะของการใช้งานว่า Laptop
Computer หรอื Notebook Computer โดยมีตวั อย่างดงั ต่อไปนี้

5.4.4.2.1 โน๊ตบุ๊ค (Notebook Or Laptop)

ภาพที่ 10.42 โนต๊ บุ๊ค
ภาพจาก : https://notebookspec.com/
เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีขนาดเล็กกว่าเครื่องพีซีแบบตั้งโต๊ะน้ำหนักเบา จึงสามารถ
นำติดตวั ไปยังสถานทีต่ ่างๆ ได้ เครือ่ งโน้ตบุค๊ มีสมรรถนะในการทำงานเทียบเท่าเคร่ืองพีซีแบบ
ตั้งโต๊ะ และมีแผงแป้นพิมพ์และจอภาพติดกับตัวเครื่องรวมทั้งมีแบตเตอรี่ภายในเครื่อง จึง


Click to View FlipBook Version