รายงานการวจิ ยั
เรือ่ ง
การพัฒนาจิตสำนึกความเปน็ พลเมอื งของนกั เรียนในจังหวดั ขอนแก่น
ตามหลักพุทธธรรม
Development Of Civic Mindedness for Stunents in
Khon kaen Accorning to Buddha Dhamma
โดย
ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์อนสุ รณ์ นางทะราช
มหาวทิ ยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลัย วทิ ยาเขตขอนแกน่
พ.ศ. ๒๕๖๐
ได้รบั ทุนอุดหนนุ การวจิ ัย จากมหาวทิ ยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย
MCU RS 610760082
รายงานการวจิ ยั
เรือ่ ง
การพฒั นาจิตสำนกึ ความเปน็ พลเมืองของนักเรียนในจังหวัดขอนแก่น
ตามหลกั พุทธธรรม
Development Of Civic Mindedness for Stunents in
Khon kaen Accorning to Buddha Dhamma
โดย
ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์อนุสรณ์ นางทะราช
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลัย วทิ ยาเขตขอนแก่น
พ.ศ. ๒๕๖๐
ได้รบั ทนุ อุดหนนุ การวจิ ัย จากมหาวทิ ยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
MCU RS 610760082
(ลขิ สทิ ธเิ์ ป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลยั )
Research Report
Development Of Civic Mindedness for Stunents in
Khon kaen Accorning to Buddha Dhamma
By
Assistant Professor Anusorn Nangtharat
Mahachulalongkornrajavidyalaya University Khon Kaen Campus
B.E. 2560
Research Project Funded by Mahachuhalongkornrajavidyalaya University
MCU RS 610760082
(Copyright Mahachuhalongkornrajavidyalaya University)
รายงานการวจิ ยั
เรือ่ ง
การพัฒนาจิตสำนึกความเปน็ พลเมอื งของนกั เรียนในจังหวดั ขอนแก่น
ตามหลักพุทธธรรม
Development Of Civic Mindedness for Stunents in
Khon kaen Accorning to Buddha Dhamma
โดย
ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์อนสุ รณ์ นางทะราช
มหาวทิ ยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลัย วทิ ยาเขตขอนแกน่
พ.ศ. ๒๕๖๐
ได้รบั ทุนอุดหนนุ การวจิ ัย จากมหาวทิ ยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย
MCU RS 610760082
รายงานการวจิ ยั
เรือ่ ง
การพฒั นาจิตสำนกึ ความเปน็ พลเมืองของนักเรียนในจังหวัดขอนแก่น
ตามหลกั พุทธธรรม
Development Of Civic Mindedness for Stunents in
Khon kaen Accorning to Buddha Dhamma
โดย
ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์อนุสรณ์ นางทะราช
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลัย วทิ ยาเขตขอนแก่น
พ.ศ. ๒๕๖๐
ได้รบั ทนุ อุดหนนุ การวจิ ัย จากมหาวทิ ยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
MCU RS 610760082
(ลขิ สทิ ธเิ์ ป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลยั )
Research Report
Development Of Civic Mindedness for Stunents in
Khon kaen Accorning to Buddha Dhamma
By
Assistant Professor Anusorn Nangtharat
Mahachulalongkornrajavidyalaya University Khon Kaen Campus
B.E. 2560
Research Project Funded by Mahachuhalongkornrajavidyalaya University
MCU RS 610760082
(Copyright Mahachuhalongkornrajavidyalaya University)
ก
ชื่อรายงานการวิจัย: การพฒั นาจติ สำนึกความเป็นพลเมอื งของนักเรียนในจงั หวัดขอนแก่น
ตามหลักพุทธธรรม
ผ้วู ิจัย: ผูช้ ่วยศาสตราจารย์อนุสรณ์ นางทะราช
สว่ นงาน: มหาวิทยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วทิ ยาเขตขอนแก่น
ปีงบประมาณ: ๒๕๖๐
ทุนอดุ หนุนการวิจัย: มหาวทิ ยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย
บทคัดยอ่
การศึกษาในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (๑) เพื่อสร้างและหาประสิทธิภาพแผนการจัดการ
เรียนรู้ โดยใชก้ ระบวนการแบบอริยสจั ๔ เร่อื งจิตสำนกึ สาธารณะ ความเปน็ พลเมอื งตามหลกั พุทธธรรม
ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ โรงเรียนซำสูงพิทยาคม ที่มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ ๘๐/๘๐
(๒) เพื่อพัฒนาจิตสำนึกสาธารณะตามหลักพุทธธรรม โดยใช้กระบวนการแบบอริยสัจ ๔ ของนักเรียน
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ โรงเรียนซำสูงพิทยาคม สังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัด จังหวัดขอนแก่น
(๓) เพื่อศึกษาความเป็นพลเมืองตามหลักพุทธธรรมของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ โรงเรียนซำสูง
พิทยาคม และ (๔) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ โรงเรียนซำสูงพิทยาคม
ที่มีต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ โดยใช้กระบวนการแบบอริยสัจ ๔ เรื่องจิตสำนึกสาธารณะ ความเป็น
พลเมอื งตามหลักพุทธธรรม กลุม่ เปา้ หมาย เป็นนกั เรยี นช้นั มัธยมศกึ ษาปีที่ ๓/๒ โรงเรียนซำสูงพิทยาคม
สงั กัดองคก์ ารบริหารสว่ นจังหวัด จงั หวดั ขอนแกน่ ภาคเรียนท่ี ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๐ จำนวน ๓๒ คน โดย
การสุ่มแบบเป็นกลุ่ม (Cluster Random Sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ (๑) แผนการ
จัดการเรียนรู้ โดยใช้กระบวนการแบบอริยสัจ ๔ เรือ่ งจิตสำนึกสาธารณะ ความเปน็ พลเมือง ตามหลักพุทธ
ธรรม จำนวน ๕ แผน (๒) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน จำนวน ๕๐ ข้อ (๓) แบบ สอบถาม
จิตสำนึกสาธารณะ จำนวน ๔๐ ข้อ มีค่าความเชื่อมั่น เท่ากับ ๐.๙๓ (๔) แบบสอบถามความเป็น
พลเมืองดีตามหลกั พุทธธรรม จำนวน ๔๐ ข้อ มีค่าความเชื่อมั่น เท่ากับ ๐.๙๓ (๕) แบบประเมินความ
พงึ พอใจ จำนวน ๓๐ ข้อ มีค่าความเช่อื มน่ั เท่ากบั ๐.๙๑ สถิตทิ ใ่ี ชใ้ นการวเิ คราะหข์ ้อมูล ได้แก่ ค่าร้อย
ละ ค่าเฉล่ยี ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน และทดสอบค่าที (t-test)
ผลการวิจัย พบว่า
๑) ประสิทธิภาพแผนการจัดการเรียนรู้ โดยใช้กระบวนการแบบอริยสัจ ๔ เรื่องจิตสำนึก
สาธารณะ ความเป็นพลเมืองตามหลักพุทธธรรมของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ โรงเรียน
ซำสูงพิทยาคม ระหว่างเรียนทั้งหมด (E๑) และประสิทธิภาพของผลลัพธ์ (E๒) จากแบบทดสอบระหว่าง
เรียนทั้งหมดและหลังเรียน จะมีค่า E๑/ E๒ ที่ระดับ ๘๒.๘๑/๙๕.๕๖ ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ ๘๐/๘๐ ที่ตั้งไว้
ข
๒) ดัชนีประสิทธิผลแผนการจัดการเรียนรู้จิตสำนึกสาธารณะความเป็นพลเมืองตามหลัก
พุทธธรรม โดยใช้กระบวนการแบบอริยสัจ ๔ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ ๓ โรงเรียนซำสูงพิทยา
คม มคี ่าดัชนปี ระสิทธิผลในการเรยี นรู้ (E.I.) โดยรวม เท่ากับ ๐.๗๔๑๘ แสดงวา่ นักเรยี นชนั้ มัธยมศกึ ษา
ปที ี่ ๓ มีความรู้เพ่ิมข้นึ เท่ากับ ๐.๗๔๑๘ หรือคิดเป็นรอ้ ยละ ๗๔.๑๘
๓) จิตสำนึกสาธารณะตามหลักพุทธธรรม โดยใช้กระบวนการแบบอริยสัจ ๔ ของนักเรียน
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ โรงเรียนซำสูงพิทยาคม โดยรวม ค่าเฉลี่ย อยู่ในระดับมากที่สุด
(X =๔.๕๒)
๔) ความเป็นพลเมืองตามหลักพุทธธรรมของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓
โรงเรียนซำสงู พิทยาคม โดยรวม คา่ เฉล่ยี อยู่ในระดับมากท่สี ุด (X =๔.๖๐)
๕) ความพงึ พอใจของนักเรยี นชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีที่ ๓ โรงเรยี นซำสงู พิทยาคม ท่ีมีต่อจิตสำนึก
สาธารณะ ความเป็นพลเมืองตามหลักพุทธธรรม โดยใช้กระบวนการแบบอริยสัจ ๔ โดยรวม ค่าเฉล่ีย
อยู่ในระดบั มากทีส่ ุด (X =๔.๕๗)
คำสำคญั : แผนการจัดการเรยี นรู้, กระบวนการแบบอริยสัจ ๔, จิตสำนกึ สาธารณะ, ความเป็นพลเมือง
หลกั พุทธธรรม
ค
Research Title: Development of Civic Mindedness for Students in
KhonKaen According to Buddha Dhamma
Researcher: Assistant Professor Anusorn Nangtharat
Department: Mahachulalongkornrajavidyala University,
Khon kaen Campus
Fiscal Year: 2560 / 2017
Research Scholarship Sponsor: Mahachulalongkornrajavidyala University
ABSTRACT
The purpose of the study were: (1) to create and find effective learning
management plans by used the Four Noble Truths processes citizenship according to
the Buddhist doctrine of Mathayomsuksa 3 students at SamSung Pittayakhom School
which was efficient according to the criteria 80/80, (2) to develop public awareness in
accordance with the Buddhist principles by used the Four Noble Truths method of
Mathayomsuksa 3 students at SamSung Pittayakhom School under the Local
Administrative Organization. Khon Kaen Province, (3) to study citizenship in accordance
with the Dhamma principles of Mathayom suksa students 3 Sam Sung Pittayakhom
School and (4) to study the satisfaction of Mathayomsuksa 3 students at SamSung
Pittayakhom School towards the learning activities by used the Four Noble Truths
processes citizenship according to Buddhist principles. The target group were Mattayom
3/2 students at SamSung Pittayakhom School Under the Khon Kaen Provincial
Administrative Organization, the 2nd semester of the 2017 academic year, consisting of
32 students by Cluster Random Sampling. The research instruments were (1) learning
management plan by used the Four Noble Truths processes of public consciousness,
citizenship according to the 5 principles of Buddhism Dharma (2) 50 achievement test,
Public Consciousness questionnaire 40 items. The reliability of the questionnaire was
0.93 (4), the 40 questionnaire on citizenship according to the doctrine of Buddhism has
a confidence score of 0.93 (5), the 30 satisfaction assessment form has the reliability of
0.91 statistics used in data analysis such as percentage, average, standard deviation and
test the value (t-test)
ง
The Results of the study were as follows:
1) Efficiency of the learning management plan by used the Four Noble Truth
process 4 Public awareness Citizenship according to the Buddhist doctrine of
Mattayomsuksa 3 students at Sam Sung Phitayakhom School during the whole course
(E1) and the effectiveness of the results (E2) from the tests during the whole course and
after the class, the E1/E2 level of 82.81 /95.56 is higher than the 80/80 criteria set.
2) The effectiveness index of management plans to raise public awareness of
citizenship according to Buddhist principles by used the Four Noble Truths of
Mathayomsuksa 3 students at SamSung Phitayakhom School with the overall efficiency
of the Learning Index (E.I.) equal to 0.7417, it means that Mathayomsuksa 3 students
have increased their knowledge to accounting for ๐ . 7417 percent or equal to 74.17
percent.
3) Public awareness in accordance with Buddhist principles by used the Four
Noble Truths processes of Mathayomsuksa 3 students of Samsung Phitthayakhom
School, the overall average was at the highest level (X= 4.52)
4) Citizenship according to the Buddhist doctrine of Mathayomsuksa 3 students
at SamSung Pittayakom School, the overall average was at the highest level
(X= 4.60).
5) Satisfaction of Mathayomsuksa 3 students at SamSung Phitayakhom School
Towards the public consciousness of citizenship according to the Dharma by used the
Four Noble Truths processes with the highest mean (X = 4.57).
Keywords: Learning management Plan the Four Noble Truth Processes Public
Consciousness Being a Buddhist principle
จ
กติ ติกรรมประกาศ
รายงานการวจิ ยั เร่ืองการพฒั นาจติ สำนึกความเป็นพลเมืองของนักเรียนในจังหวัดขอนแก่น
ตามหลกั พทุ ธธรรม ฉบบั น้ี เปน็ ผลสำเร็จของมหาวิทยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลยั วทิ ยาเขตขอนแก่น
ผู้วิจัย ขอขอบพระคุณ รองศาสตราจารย์อุดม บัวศรี พระมหาดาวสยาม วชิรปญโฺ ญ, ผู้ช่วย
ศาสตราจารย์, ดร. พระครูภาวณาโพธิคุณ,ผู้ช่วยศาสตราจารย์,ดร. (สมชาย กนตฺสีโล) รองศาสตราจารย์,
ดร. โสวิทย์ บำรุงภักด์ิ และพระมหามิตร ฐิตปญฺโญ, รองศาสตราจารย์, ดร. มหาวิทยาลัยมหาจุฬา
ลงกรณราชวิทยาลัย วทิ ยาเขตขอนแก่น ในฐานะผทู้ รงคุณวฒุ แิ ละผเู้ ชยี่ วชาญตรวจสอบเครื่องมือ ช่วยให้
คำแนะนำ เสนอแนะ และเปน็ ผ้เู ชย่ี วชาญด้านวชิ าการ ให้คำปรกึ ษาในการปรับปรุงแก้ไข เคร่ืองมือที่ใช้
ในการศึกษา ฉบบั น้ี จนงานวิจัยมีความสมบรู ณ์ตามระเบียบวิธีการวิจัยมากยงิ่ ขนึ้
ขอขอบคุณต่อคุณูปการของทุกท่านทุกฝ่าย ดว้ ยความเคารพอย่างสูงยิ่ง ผู้วิจยั ขอขอบพระคุณ
นายอำนาจ โพธิ์ศรี ผู้อำนวยการโรงเรียนซำสูงพิทยาคม รองผู้อำนวยการ คณะครู และบุคลากรทางการ
ศกึ ษา โรงเรยี นซำสงู พิทยาคม ทกุ ทา่ น โดยเฉพาะนกั เรียนชั้นมัธยมศกึ ษาปที ่ี ๓/๒ โรงเรยี นซำสูงพิทยา
คม ซึ่งเป็นกลุ่มตัวอย่าง มีส่วนช่วยเหลือเกื้อกูลต่อการศึกษาวิจัยในครั้งนี้ ขอให้เจริญยิ่งด้วยลาภยศ
สรรเสริญ เจริญรุ่งเรือง มีสุขพลานามัยที่สมบูรณ์ สามารถต่อสู้กับอุปสรรคข้อขัดข้องทั้งหลายทั้งปวง
และขอจงประสบผลสำเร็จในสงิ่ ท่มี ุ่งหวงั ทกุ ประการ ดว้ ยเทอญ...
คุณประโยชน์ใด ๆ ที่อาจเกิดขึ้นจากงานวิจัยนี้ ผู้วิจัย ขออุทิศเพื่อบูชาคุณแด่บิดามารดา
ผู้มีพระคุณสูงสุด ครูอาจารย์ผู้ให้ปัญญา มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตขอนแก่น
ผู้ให้ความเจริญงอกงาม และหากมีข้อผิดพลาดใด ๆ ที่ปรากฏอยู่ในงานวิจัยฉบับนี้ ผู้วิจัย ขอรับไว้
แต่เพยี งผเู้ ดยี ว.
ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์อนสุ รณ์ นางทะราช
๒๘ กุมภาพนั ธ์ ๒๕๖๓
ฉ
สารบญั
บทคดั ยอ่ ภาษาไทย……………………………………………………………………..……………………………….……..…ก
บทคดั ย่อภาษาอังกฤษ........................................................................................................................ค
กติ ติกรรมประกาศ…………………………………………………………………………………………………………………จ
สารบัญ……………………………………………………………………………….………………………..……………...…… ฉ
สารบญั ตาราง…………………………………………………………………….………………………………………………. ฌ
สารบญั ภาพ………………………………………………………………….………………………………….………………….ฎ
คำอธบิ ายอกั ษรยอ่ คมั ภีร.์ ...................................................................................................................ฏ
บทที่ ๑ บทนำ……………………………………………………………………..…………………..…………………….. ๑
๑.๑ ความเปน็ มาและความสำคญั ของปญั หา………………………….…………………………………๑
๑.๒ วตั ถุประสงค์การวิจยั ……………………………..……………………………………………………… ๑๐
๑.๓ ปัญหาการวิจยั ………………………………………………………………………..……………………. ๑๐
๑.๔ ขอบเขตการวิจยั ……………………………………………………..……………………………………. ๑๐
๑.๕ นยิ ามศัพท์เฉพาะ………………………………………………….………………………………………. ๑๒
๑.๖ สมมตฐิ านการวิจัย………………………………………..…..………………………………………….. ๑๕
๑.๗ กรอบแนวคดิ การวิจยั …………….…………………………..…………………………………………. ๑๖
๑.๘ ประโยชนท์ ่ีคาดว่าจะได้รบั …………………………………..………………………………………… ๑๗
บทที่ ๒ แนวคิด ทฤษฎีและงานวิจยั ทเี่ กี่ยวขอ้ ง………………………………..………………………………… ๑๘
๒.๑ การพฒั นาจิตสำนกึ ความเป็นพลเมือง……………………………………………………………… ๑๘
๒.๒ จิตสำนกึ สาธารณะ………………………………………………………………………………………… ๒๑
๒.๓ แนวคิดเกยี่ วกับความเป็นพลเมอื งดีทางพระพทุ ธศาสนา……………………………………. ๔๘
๒.๔ แผนการจัดการเรยี นรู้……………………………………………………………………………………. ๘๘
๒.๕ วิธีสอนแบบอริยสจั ๔……………………………………………………………………………………. ๙๙
๒.๖ การวจิ ยั เชิงทดลอง (Experimental Research ……….……………………………………… ๑๐๗
๒.๗ การทดสอบประสิทธภิ าพ……………………………………………………………………..……….. ๑๒๔
๒.๘ ดชั นปี ระสทิ ธิผล (Effectiveness Index: E.I.)………………………………………..………. ๑๓๒
๒.๙ แบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี น……………………………………………..……………. ๑๓๕
๒.๑๐ ทฤษฎคี วามพึงพอใจ……………………………………………………………………………………… ๑๔๕
๒.๑๑ บริบทของโรงเรียนซำสงู พิทยาคม…………………………………………………………..………. ๑๕๑
ช
บทที่ ๓ ๒.๑๒ งานวิจัยทเี่ ก่ียวข้อง…………………………………..…………………………………………………… ๑๕๗
ระเบียบวิธวี จิ ยั ……………………………………………………....…….……………………………………. ๑๖๔
บทท่ี ๔ ๓.๑ รปู แบบการวจิ ัยวิจัย……………………………..……………………………………………………….. ๑๖๔
บทท่ี ๕ ๓.๒ กลมุ่ เปา้ หมาย…………………………………………..………………………………………………….. ๑๖๕
๓.๓ เคร่ืองมือท่ีใช้ในการวจิ ยั …………………………………………..……………………………………. ๑๖๖
๓.๔ การสรา้ งและหาคุณภาพเครอ่ื งมือ……………..…………………………………………………… ๑๖๗
๓.๕ การเกบ็ รวบรวมข้อมูล…………………………………..………………………………………………. ๑๗๔
๓.๖ การวเิ คราะหข์ ้อมูล…………………………………………..…………………………………………… ๑๗๕
๓.๗ สถติ ทิ ่ีใช้ในการวิเคราะหข์ ้อมลู ………………………………..……………………………………… ๑๗๖
๓.๘ สรปุ กระบวนการวจิ ยั …………………………………………………………………………………….. ๑๘๑
ผลการศึกษาวจิ ยั ………………………………………..……………….……………………………………… ๑๘๕
๔.๑ สัญลกั ษณท์ ่ีใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล……………………………………………………………….. ๑๘๕
๔.๒ ลำดบั การนำเสนอผลการวเิ คราะหข์ ้อมูล…………………………..…………………………….. ๑๘๕
๔.๓ ผลการวเิ คราะห์ขอ้ มูล…………………………………………………..………………………………. ๑๘๖
๔.๔ องคค์ วามรู้จากการวจิ ยั ……………………………………………………………….…………………..๒๐๙
สรปุ อภิปรายผล และขอ้ เสนอแนะ.................………………….………………….……………………๒๑๑
๕.๑ สรปุ ผลการวิจยั …………………………………………………………………………………………….. ๒๑๑
๕.๒ อภิปรายผลการวิจยั ………………………………………………………………………………………. ๒๑๒
๕.๓ ข้อเสนอแนะ………………………………………………………………………………………………… ๒๒๒
บรรณานกุ รม..........…………………………………………………………………..……………………………….……..… ๒๒๕
ภาคผนวก........................................................................................................................... ............... ๒๔๙
ภาคผนวก ก เครื่องมือท่ีใชใ้ นการวิจยั ………………..…………………………………………………….. ๒๔๙
ก - ๑ แผนการจดั การเรียนรู้…………………….……………………………………………………. ๒๔๙
ก - ๒ แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิท์ างการเรยี น…………………………….…………………… ๒๖๔
ก - ๓ แบบประเมินความพึงพอใจของนักเรียน…………………………..……………………. ๒๗๘
ภาคผนวก ข รายช่อื ผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบคุณภาพเครอื่ งมือวจิ ัย…………………..…………….. ๓๓๖
ข - ๑ รายช่อื ผู้เชีย่ วชาญตรวจสอบคณุ ภาพเครื่องมือ…………………………..…………… ๓๓๖
ภาคผนวก ค การหาคุณภาพเคร่อื งมือท่ใี ช้ในการวจิ ัย…………………………………………………. ๓๓๗
ค - ๑ คา่ IOC ของแบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนฯ ๕๐ ข้อ………………….. ๓๓๗
ค - ๒ คา่ IOC ของแบบประเมินจิตสำนกึ สาธารณะตามหลกั พุทธธรรม………………….. ๓๔๐
ค - ๓ ค่า IOC ของแบบประเมนิ ความเป็นพลเมอื งตามหลักพทุ ธธรรม……………….. ๓๔๓
ค - ๔ ค่า IOC ของแบบประเมนิ ความพึงพอใจของนักเรยี น………………………..…….. ๓๔๖
ซ
ค - ๕ ค่าความเชือ่ มั่น (Reliability) ของจิตสำนึกสาธารณะตามหลัก
พุทธธรรม…………………………………………………………………………………………… ๓๔๘
ค - ๖ ค่าความเชอ่ื มน่ั (Reliability) ของความเป็นพลเมืองตามหลัก
พุทธธรรม…………………………………………………………………………………………… ๓๕๓
ค - ๗ ค่าความเชื่อมน่ั (Reliability) ของแบบประเมินความพึงพอใจ
ของนักเรียน……………………………………………………………………………..………… ๓๕๘
ค - ๘ ผลการวเิ คราะห์จิตสำนกึ สาธารณะตามหลักพุทธธรรม……………………..…….. ๓๖๒
ค - ๙ ผลการวิเคราะห์ความเป็นพลเมืองตามหลกั พทุ ธธรรม…………………………..… ๓๖๗
ค - ๑๐ ผลการวิเคราะห์ความพึงพอใจของนกั เรียน…………………..……………………….. ๓๗๒
ภาคผนวก ง ตารางเปรียบเทียบวัตถปุ ระสงค์ กจิ กรรมทีว่ างแผนไว้
และกจิ กรรมทีไ่ ดด้ ำเนนิ การมาและผลท่ไี ด้รับของโครงการ.............................๓๗๖
ภาคผนวก จ กจิ กรรมที่เกี่ยวข้องการนำผลจากโครงการวิจัยไปใช้ประโยชน์........................๓๗๙
ภาคผนวก ฉ ผลผลติ ผลลพั ธ์ และผลกระทบจากงานวิจยั ....................................................๓๘๒
ประวตั ผิ ู้วจิ ัย….……………………………………………………………………………………………………..……………. ๓๘๖
ฌ
สารบญั ตาราง
ตารางท่ี หน้า
๒.๑ การเปรียบเทียบลักษณะของการวิจัยเชิงทดลองกบั การวจิ ัยท่ีไมท่ ดลอง
(การวจิ ยั เชงิ บรรยาย)………………………………….………………………………………………………….……… ๑๑๖
๒.๒ จำนวนนักเรยี นในระบบโรงเรยี นซำสงู วิทยาคม จำแนกตามระดบั ช้นั ชั้นปี และเพศ……..……… ๑๕๗
๔.๑ ผลการวิเคราะห์ประสิทธภิ าพแผนการจดั การเรยี นรู้ โดยใช้กระบวนการแบบอรยิ สัจ ๔
เร่ืองจิตสำนึกสาธารณะ ความเป็นพลเมืองตามหลักพทุ ธธรรมของนักเรยี นชน้ั มัธยมศึกษา
ปที ่ี ๓ โรงเรียนซำสงู พิทยาคม ทม่ี ปี ระสิทธิภาพตามเกณฑ์ ๘๐/๘๐……………………………………...๑๘๖
๔.๒ ผลการวิเคราะห์ประสิทธภิ าพแผนการจดั การเรียนรู้ โดยใช้กระบวนการแบบอรยิ สัจ ๔
เรือ่ งจิตสำนกึ สาธารณะ ความเป็นพลเมอื งตามหลักพุทธธรรมของนกั เรยี นชนั้ มัธยมศกึ ษา
ปีที่ ๓ โรงเรยี นซำสงู พิทยาคม…………………………………………………………………………………..……. ๑๘๙
๔.๓ ค่าเฉลย่ี และสว่ นเบยี่ งเบนมาตรฐานจติ สำนึกสาธารณะตามหลกั พทุ ธธรรม โดยใช้
กระบวนการแบบอริยสัจ ๔ ของนกั เรียนช้ันมัธยมศกึ ษาปที ่ี ๓ โรงเรียนซำสูงพิทยาคม
สังกดั องค์การบริหารสว่ นจงั หวัด จงั หวดั ขอนแกน่ โดยรวม……………..……………….……………….. ๑๙๐
๔.๔ คา่ เฉลี่ย และส่วนเบย่ี งเบนมาตรฐานจติ สำนึกสาธารณะตามหลกั พทุ ธธรรม โดยใช้
กระบวนการแบบอริยสจั ๔ ของนกั เรยี นชน้ั มธั ยมศึกษาปีท่ี ๓ โรงเรยี นซำสูงพิทยาคม
สงั กดั องค์การบริหารสว่ นจงั หวดั จังหวดั ขอนแกน่ ด้านความรับผิดชอบ………………..………….… ๑๙๑
๔.๕ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานจิตสำนกึ สาธารณะตามหลักพุทธธรรม โดยใช้
กระบวนการแบบอรยิ สัจ ๔ ของนักเรียนชนั้ มธั ยมศึกษาปีที่ ๓ โรงเรียนซำสูงพิทยาคม
สงั กดั องค์การบริหารส่วนจงั หวด จังหวัดขอนแกน่ ด้านความเสียสละ………………..………….……. ๑๙๒
๔.๖ คา่ เฉล่ยี และส่วนเบ่ยี งเบนมาตรฐานจิตสำนกึ สาธารณะตามหลักพุทธธรรม โดยใช้
กระบวนการแบบอริยสัจ ๔ ของนกั เรยี นช้นั มัธยมศึกษาปที ี่ ๓ โรงเรียนซำสงู พทิ ยาคม
สังกดั องค์การบริหารส่วนจงั หวดั จังหวัดขอนแกน่ ด้านความสามคั คี.............................…………..๑๙๔
๔.๗ ค่าเฉลี่ย และสว่ นเบย่ี งเบนมาตรฐานจติ สำนึกสาธารณะตามหลักพุทธธรรม โดยใช้
กระบวนการแบบอรยิ สจั ๔ ของนักเรียนช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๓ โรงเรยี นซำสงู พิทยาคม
สังกัดองค์การบรหิ ารสว่ นจงั หวดั จงั หวดั ขอนแก่น ด้านการอนรุ กั ษ์สงิ่ แวดล้อม……………………. ๑๙๕
๔.๘ ค่าเฉลีย่ และสว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐานความเป็นพลเมอื งตามหลกั พทุ ธธรรมของนักเรียน
ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๓ โรงเรียนซำสูงพทิ ยาคม โดยรวม……………………………………..………………….๑๙๗
ญ
๔.๙ ค่าเฉลีย่ และส่วนเบยี่ งเบนมาตรฐานความเปน็ พลเมอื งตามหลกั พุทธธรรมของนกั เรยี น
ชนั้ มัธยมศึกษาปีที่ ๓ โรงเรียนซำสูงพทิ ยาคม ด้านกาย (civic Physical)………...………………….. ๑๙๗
๔.๑๐ คา่ เฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานความเปน็ พลเมืองตามหลักพุทธธรรมของนกั เรยี น
ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๓ โรงเรยี นซำสงู พิทยาคม ดา้ นทกั ษะทางสงั คม (civic social
skills)…………………………………………………………………………………………………………………………… ๑๙๙
๔.๑๑ คา่ เฉล่ีย และสว่ นเบีย่ งเบนมาตรฐานความเป็นพลเมอื งตามหลกั พุทธธรรมของนักเรียนชั้น
มัธยมศกึ ษาปีที่ ๓ โรงเรยี นซำสงู พทิ ยาคม ดา้ นคุณธรรม (civic virtue)………..………..…………… ๒๐๐
๔.๑๒ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานความเป็นพลเมืองตามหลักพุทธธรรมของนักเรยี นชน้ั
มัธยมศกึ ษาปที ่ี ๓ โรงเรยี นซำสงู พทิ ยาคม ดา้ นปัญญา (civic knowledge)…………….…………… ๒๐๒
๔.๑๓ คา่ เฉลีย่ และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานความพงึ พอใจของนกั เรียนชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ี่ ๓
โรงเรียนซำสูงพิทยาคม ทีม่ ตี อ่ การจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ โดยใช้กระบวนการแบบอริยสัจ ๔
เร่ืองจิตสำนึกสาธารณะ ความเปน็ พลเมืองตามหลักพุทธธรรม โดยรวม……………………..……….. ๒๐๓
๔.๑๔ ค่าเฉลย่ี และสว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐานความพึงพอใจของนักเรียนชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ่ี ๓
โรงเรยี นซำสงู พทิ ยาคม ทม่ี ตี อ่ การจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ โดยใชก้ ระบวนการแบบอริยสจั ๔
เรื่องจติ สำนกึ สาธารณะ ความเปน็ พลเมืองตามหลักพทุ ธธรรม ดา้ นสาระการเรียนรู้…………...… ๒๐๔
๔.๑๕ คา่ เฉล่ีย และส่วนเบยี่ งเบนมาตรฐานความพึงพอใจของนกั เรียนช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๓
โรงเรียนซำสูงพทิ ยาคม ทีม่ ตี อ่ การจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ โดยใชก้ ระบวนการแบบอรยิ สัจ ๔
เรือ่ งจิตสำนึกสาธารณะ ความเป็นพลเมอื งตามหลักพทุ ธธรรม ดา้ นคณุ ลักษณะครูผู้สอน……..….๒๐๕
๔.๑๖ ค่าเฉลย่ี และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานความพึงพอใจของนักเรียนชนั้ มธั ยมศึกษาปีท่ี ๓
โรงเรยี นซำสูงพิทยาคม ทม่ี ีตอ่ การจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ โดยใชก้ ระบวนการแบบอรยิ สัจ ๔
เร่อื งจติ สำนึกสาธารณะ ความเปน็ พลเมืองตามหลักพุทธธรรม ด้านการจดั กจิ กรรม
การเรียนรู้……………………………………………………………………………………………………………..…….. ๒๐๖
๔.๑๗ คา่ เฉลย่ี และสว่ นเบยี่ งเบนมาตรฐานความพึงพอใจของนักเรยี นชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี ๓
โรงเรยี นซำสงู พิทยาคม ทีม่ ตี ่อการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ โดยใช้กระบวนการแบบอรยิ สัจ ๔
เรือ่ งจติ สำนกึ สาธารณะ ความเปน็ พลเมอื งตามหลักพทุ ธธรรม ด้านสอื่ การเรยี นรู้
/แหลง่ การเรียนรู้…………………………………………………………………………………...…………………….. ๒๐๗
๔.๑๘ คา่ เฉล่ยี และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานความพึงพอใจของนกั เรยี นชนั้ มัธยมศกึ ษาปีที่ ๓
โรงเรียนซำสงู พิทยาคม ทีม่ ตี ่อการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ โดยใชก้ ระบวนการแบบอริยสัจ ๔
เรอื่ งจิตสำนึกสาธารณะ ความเปน็ พลเมืองตามหลักพุทธธรรม ดา้ นการวัดและ
ประเมนิ ผล…………………………………………………………………………..…………..………………………….. ๒๐๘
ฎ
สารบญั ภาพ
..
ภาพท่ี หนา้
๑.๑ กรอบแนวความคิดในการวจิ ยั ……………………………………………………………………………………….… ๑๖
๒.๑ แสดงความสัมพันธใ์ นลกั ษณะทิศ ๖……………………………………………………………………….………… ๒๘
๒.๒ แสดงดา้ นการใช้สิ่งของส่วนรวม…………………………………………………………………………………..……๒๘
๒.๓ แสดงดา้ นกิจกรรมสว่ นรวม…………………………………………………………………………………………….. ๒๙
๒.๔ แสดงดา้ นการตอบแทนเชงิ คุณค่า………………………………………………………………………………….… ๒๙
๒.๕ ประเภทของการวจิ ยั เชิงทดลอง…………………………………………………………………………………….… ๑๑๓
๒.๖ ขั้นตอนการสมุ่ ตวั อย่างของการวิจยั เชิงทดลอง…………………………………………………..……………… ๑๑๔
๒.๗ ตราสัญลักษณ์ของโรงเรยี นซำสงู พทิ ยาคม………………………………………………….……………………….๑๕๓
๓.๑ แผนการทดลองตามแบบแผนการวจิ ยั เปน็ การวิจัยเชงิ ทดลองเบ้อื งตน้
(Pre-Experimental Design)………………………………………………………………….……………………… ๑๖๕
ฏ
อักษรยอ่ ช่อื คมั ภีร์
๑. อักษรยอ่ ชื่อคัมภีรพ์ ระไตรปิฎก
งานวิจัยที่เป็นองค์ความรู้ทางพระพุทธศาสนา ซึ่งใช้ข้อมูลจากคัมภีร์พระพุทธศาสนา
คือ พระไตรปิฎก – อรรถกถา – ฎีกา – ปกรณวิเสส ผู้วิจัยใช้พระไตรปิฎก – อรรถกถา – ฎีกา
ภาษาบาลีและพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย การอา้ งอิงไดร้ ะบุ เลม่ /
ข้อ/หน้า หลังอักษรย่อชื่อคัมภีร์ ดังตัวอย่าง เช่น ที.สี. (บาลี) ๙/๒๗๖/๙๗, ที.สี. (ไทย) ๙/
๒๗๖/๙๘. หมายถงึ ทีฆนกิ าย สีลกฺขนฺธวคฺคปาลิ ภาษาบาลี เล่ม ๙ ข้อ ๒๗๖ หน้า ๙๗ ฉบับมหา
จฬุ าเตปิฏกํ ๒๕๐๐ และทฆี นิกาย สีลักขันธวรรค ภาษาไทย เลม่ ๙ ข้อ ๒๗๖ หน้า ๙๘ ฉบับมหาจุฬา
ลงกรณราชวิทยาลัย ๒๕๓๙
วิ.มหา. (ไทย) พระวนิ ยั ปิฎก
วิ.จ.ู (ไทย) = วินัยปิฎก มหาวภิ งั ค์ (ภาษาไทย)
= วนิ ัยปฎิ ก จฬู วรรค (ภาษาไทย)
ที.สี. (ไทย) พระสตุ ตนั ตปฎิ ก
ท.ี ม. (บาล)ี = สุตตันตปฎิ ก ทีฆนกิ าย สลี ขนั ธวรรค (ภาษาไทย)
ที.ม. (ไทย) = สตุ ตฺ นฺตปฏิ ก ทีฆนกิ าย มหาวคฺคปาลิ (ภาษาบาล)ี
ที.ปา. (ไทย) = สุตตันตปฎิ ก ทฆี นกิ าย มหาวรรค (ภาษาไทย)
ม.อุ. (ไทย) = สตุ ตันตปฎิ ก ทฆี นกิ าย ปาฏิกวรรค (ภาษาไทย)
สํ.ม. (ไทย) = สุตตันตปิฎก มัชฌิมนกิ าย อปุ รปิ ัณณาสก์ (ภาษาไทย)
อง.ฺ ทกุ . (ไทย) = สุตตนั ตปฎิ ก สังยุตตนิกาย มหาวารวรรค (ภาษาไทย)
อง.ฺ ติก. (ไทย) = สุตตนั ตปฎิ ก อังคุตตรนิกาย ทกุ นบิ าต (ภาษาไทย)
อง.ฺ ฉกกฺ . (ไทย) = สุตตนั ตปฎิ ก อังคุตตรนกิ าย ติกนิบาต (ภาษาไทย)
องฺ.สตตฺ ก. (ไทย) = สตุ ตนั ตปิฎก อังคตุ ตรนกิ าย ฉักกนบิ าต (ภาษาไทย)
องฺ.อฏฺ ก. (ไทย) = สตุ ตันตปิฎก องั คุตตรนิกาย สตั ตกนบิ าต (ภาษาไทย)
ข.ุ ธ. (ไทย) = สุตตันตปฎิ ก องั คุตตรนกิ าย อัฏฐกนบิ าต (ภาษาไทย)
ข.ุ ส.ุ (ไทย) = สุตตนั ตปิฎก ขทุ ทกนิกาย ธรรมบท (ภาษาไทย)
ขุ.ชา. (ไทย) = สุตตนั ตปฎิ ก ขทุ ทกนกิ าย สตุ ตนบิ าต (ภาษาไทย)
= สุตตนั ตปิฎก ขทุ ทกนิกาย ชาดก (ภาษาไทย)
ฐ
ขุ.ม. (ไทย) = สตุ ตันตปฎิ ก ขุททกนกิ าย มหานทิ เทส (ภาษาไทย)
๒. คำยอ่ เกีย่ วกบั คัมภีรอ์ รรถกถา
ผู้วิจัยใช้คัมภีร์อรรถกถาฉบับมหาจุฬาฯ โดยมีรายละเอียดไว้ในคำช้ีแจงการใช้อักษรย่อ ช่ือ
คัมภีร์ ลำดับเล่ม (ถ้ามี) / หนา้ เช่น ที.สี.อ. (บาลี) ๑/๒๗๖/๒๔๐. หมายถึง ทฆี นิกาย สมุ งคฺ ลวลิ าสินี
สลี กขฺ นฺธวคคฺ อฏฺ กถา ภาษาบาลี เลม่ ๑ ข้อ ๒๗๖ หนา้ ๒๔๐ ฉบับมหาจุฬาอฏฺ กถา
อรรถกถาพระสตุ ตนั ตปิฎก
องฺ.ทกุ . อ. (ไทย) = อังคุตตรนิกาย มโนรถปูรณี ทุกกนิบาตอรรถกถา (ภาษาไทย)
บทท่ี ๑
บทนำ
๑.๑ ความเป็นมาและความสำคญั ของปญั หา
การพัฒนาการศึกษา เพื่อสร้างความเป็นพลเมืองของประเทศไทย เริ่มจากการพัฒนา
กฎหมาย นโยบาย แผนการศึกษา และหลักสูตร มีจุดมงุ่ หมายให้เด็กและเยาวชนเตบิ โตข้ึนเป็นพลเมือง
ที่ดีในครอบครัว ชมุ ชน สงั คม ประเทศชาติ และเป็นพลโลกทดี่ ี ทงั้ น้ี ขนึ้ อยกู่ บั สถานการณข์ องบา้ นเมือง
ในแต่ละยุคสมัย โดยเฉพาะการดำรงตนเป็นพลเมืองที่ดีในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์
เป็นประมุข โดยในปี พ.ศ. ๒๔๗๕ มีการนิยามคำว่า “พลเมือง” ไว้ในแผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.
๒๔๗๕ ว่า พลเมืองแห่งสยามคือ พลเมืองผู้สามารถประกอบอาชีพได้ เป็นผู้ที่รู้จักสิทธิและหน้าที่แห่ง
พลเมือง และแผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๒๐ ซึ่งกำหนดขึ้นภายหลังเหตุการณ์ทางการเมืองที่
สำคัญ (๑๔ ตุลาคม ๒๕๑๖) ได้กำหนดจุดมุ่งหมายเกี่ยวกับพลเมือง ไว้โดยสรุปมุ่งให้
ผู้เรียนหรือพลเมืองได้รับความรู้ ทักษะและเจตคติที่ดีในการเป็นพลเมืองในระบอบประชาธิปไตย
รู้สิทธิหน้าที่ เคารพสิทธิและหน้าที่ของตัวเองและผู้อื่น มีความรับผิดชอบ ทั้งต่อตนเอง ครอบครัว
ชุมชน สังคมและประเทศชาติ ยดึ ม่นั และดำรงตน ในสงั คมประชาธิปไตยด้วยความเสมอภาค สจุ ริตและ
ยุตธิ รรมเปน็ สำคญั ๑
เมื่อมีการปฏิรูปการศึกษาโดยพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ และที่แก้ไข
เพิ่มเติม (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๕ และ (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๕๓ และหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้น
พื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ที่กำหนดให้การจัดการศึกษาต้องเป็นไปเพื่อพัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษย์ท่ี
สมบูรณ์ทั้งร่างกาย จิตใจ สติปัญญา ความรู้และคุณธรรม มีจริยธรรมและวัฒนธรรมในการดำรงชีวิต
สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุขที่มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้เป็นคนดี มีปัญญา
มีความสุข๒ และได้บัญญัติจุดมุง่ หมายและหลักการในการจัดการศึกษาท่ีสะท้อนถึงเป้าหมายของความ
เป็นพลเมือง ไว้ในมาตรา ๖ ความว่า “การจัดการศึกษาต้องเป็นไปเพื่อพัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษย์ที่
๑ พิณสุดา สิริธรังศรี. การพัฒนาการศึกษาเพื่อสร้างความเป็นพลเมือง. วิทยาลัยครุศาสตร์ มหาวิทยาลยั
ธรุ กิจบัณฑติ ย์. สทุ ธปิ ริทศั น,์ ปที ี่ ๓๑ ฉบับที่ ๑๐๐ (ตุลาคม-ธนั วาคม ๒๕๖๐), หนา้ ๑๐๐- ๑๑๓.
๒ กระทรวงศึกษาธิการ, พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ (๒๕๔๖, ๒๕๕๑; ราชกิจจา
นเุ บกษา. ๒๕๕๓).
๒
สมบูรณ์ทั้งร่างกาย จิตใจ สติปัญญา ความรู้และคุณธรรม มีจริยธรรมและวัฒนธรรมในการดำรงชีวิต
สามารถอยรู่ ่วมกับผูอ้ ืน่ ไดอ้ ย่างมีความสุข”และบัญญัติการเรยี นรู้เก่ียวกบั สำนึกของความเป็นพลเมืองไว้
ใน มาตรา ๗ ความว่า “ในกระบวนการเรียนรู้ต้องมุ่งปลูกฝังจิตสำนึกที่ถูกต้องเกี่ยวกับการเมืองการ
ปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข รู้จักรักษาและส่งเสริมสิทธิ
หน้าที่เสรีภาพ ความเคารพกฎหมาย ความเสมอภาค และศักดิ์ศรคี วามเปน็ มนุษย์ มีความภาคภูมิใจใน
ความเป็นไทยรู้จักรักษาผลประโยชน์ส่วนรวมและของประเทศชาติ” และมีการนำไปสู่การปฏิบัติโดย
หลกั สตู รและการจดั การศึกษาระดับการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน อดุ มศึกษาและที่เกยี่ วขอ้ งมาโดยลำดับ๓,๔
จากสภาพการจัดการศึกษาที่ผ่านมาพบว่าการศึกษาความเป็นพลเมืองของไทยกำหนดข้ึน
ภายใต้สถานการณ์ทางเศรษฐกิจ สงั คมและการเมืองเปน็ สำคัญ และพบปญั หาการจัดการเรยี นรู้และผล
ท่เี กดิ กับผ้เู รยี นคือ แมว้ า่ จะมกี ารกำหนดหลักสูตรชดั เจนในแตล่ ะระดบั การศกึ ษา แต่กย็ ังไม่สามารถทำ
ให้ผู้เรียนประยุกต์ใช้ในชีวิตจริงเท่าที่ควร โดยเฉพาะความตระหนักในหน้าที่ความรับผิดชอบ ความมี
ระเบียบวินัยการเคารพสิทธิและหน้าที่ของผู้อื่น และการมีส่วนร่วมในกระบวนการทางการเมือง
และสงั คม๕
พลเมือง หมายถึง ผู้ที่มีความรูม้ ีขอ้ มูลข่าวสารและมีความคิดเห็นทีจ่ ะแสดงออก และมีส่วน
ร่วมในประชาธิปไตย ความเป็นพลเมืองสะท้อนได้จากการเคารพสิทธิและหน้าที่ของตัวเองและผู้อื่น
ความมีระเบียบวินัย ความรับผิดชอบ ความเสมอภาคและเท่าเทียม การดำรงตนตามกฎเกณฑ์และ
ระบอบการปกครองที่ตนดำรงอยู่ การเรียนรู้ที่จะอยู่ร่วมกันอยา่ งสันตสิ ุข เป็นต้น การจะทำให้พลเมือง
ตระหนักรู้ในสทิ ธิและหน้าทีจ่ ำเป็นต้องให้การศึกษาที่มคี ุณภาพกับพลเมืองเพื่อสร้างความเป็นพลเมือง
และพลโลกที่ดี โดยเฉพาะในสังคมระบอบประชาธิปไตยที่ประเทศต่างๆยึดเป็นแนวทางปกครอง
ประเทศโดยประชาชนต้องมีความรู้ ทักษะและข้อมูล ความรู้และทักษะเป็นผลมาจากการศึกษาเพื่อ
ความเป็นพลเมือง (Civic Education) ในสังคมประชาธิปไตย๖ นอกจากการจัดการศึกษาแล้ว การหล่อ
หลอมทางสังคม (Socialization) เพื่อให้ทั้งระบบการศึกษาและระบบสังคมที่แวดล้อมอยู่ ทำหน้าท่ี
๓ ราชกิจจานเุ บกษา. พระราชบัญญตั ิการศกึ ษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ และท่ีแกไ้ ขเพิ่มเติม (ฉบับท่ี ๒) พ.ศ.
๒๕๔๕. (เล่ม ๑๑๙ ตอนท่ี ๑๒๓ก หนา้ ๑๖,๑๙ ธนั วาคม ๒๕๔๕).
๔ เรื่องเดียวกัน (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๕๓. (เล่ม ๑๒๗ ตอนที่ ๔๕ก ๒๒ กรกฎาคม ๒๕๕๓), สืบค้นเม่ือ
วันที่ ๔ มกราคม ๒๕๖๐. จากhttp://www. talingchanwittayanusorn.com/files school/๖๔๑๐๐๒๗๓/ data/
๖๔๑๐๐๒๗๓๑๒๐๑๒๐๑๑๙-๒๑๐๖๑๘.pdf.
๕ พิณสุดา สิริธรังศรี. รายงานการวิจัยเรื่อง ภาพอนาคตการศึกษาไทย ๑๐-๒๐ ปี. (กรุงเทพฯ:
สำนักงานเลขาธิการสภาการศกึ ษา, ๒๕๕๓).
๖ ชัยอนันต์ สมุทวณิช. ประชารัฐกับการเปลี่ยนแปลง. (กรุงเทพฯ: สถาบันนโยบายศึกษา, ๒๕๔๗),
หน้า ๓.
๓
พัฒนาพลเมืองให้เป็นไปในทิศทางเดียวกันภายใต้เป้าหมายและอุดมการณ์ของรัฐ การจัดการศึกษา
ให้กับพลเมืองจึงมีความแตกต่างกันไปในแต่ละประเทศซึ่งมีประวัติศาสตร์ ความเป็นมาและบริบทท่ี
แตกต่างกัน๗ แต่มีจุดร่วมของการให้ความรู้ ทักษะ เจตคติและค่านิยม และการมีพฤติกรรมที่พึง
ประสงค์ในสังคมประชาธิปไตยในทศิ ทางเดียวกัน
จิตสำนึกสาธารณะ (Public Consciousness) หมายถึง การเห็นแก่ประโยชน์ส่วนรวม
ความสำนึกทางสังคม จิตสำนึกต่อส่วนรวม หรือจิตสำนึกต่อสาธารณสมบัติ นอกจากนี้๘ ได้ให้
ความหมายเพิ่มเติมว่า การรู้จักเอาใจใส่เป็นธุระและเข้าร่วมในเรื่องของส่วนรวมที่เป็นประโยชน์ต่อ
ประเทศชาติ มีความสำนึกและยึดม่ันในระบบคุณธรรมและจริยธรรมท่ีดีงาม ละอายตอ่ สิ่งผิด เนน้ ความ
เรียบร้อย ประหยัดและมีความสมดุลระหว่างมนุษย์กับธรรมชาติ สำหับ กนิษฐา นิทัศน์พัฒนา
และคณะ๙ ได้ให้ความหมายของจิตสำนึกสาธารณะว่า เป็นคำเดียวกับคำว่า จิตสำนึกทางสังคม
หมายถึง การตระหนักรู้และคำนึงถึงส่วนรวมร่วมกัน ซึ่งสอดคล้องกับ ศักดิ์ชัย นิรัญทวี๑๐ ที่กล่าวว่า
การมีจิตสำนกึ สาธารณะ คือการมีจิตใจท่ีคำนึงถึงประโยชน์ของสว่ นรวม คำนงึ ถงึ ความสำคัญของสิ่งอัน
เปน็ ของทต่ี ้องใช้หรือมผี ลกระทบรว่ มกนั ในชุมชน เชน่ ปา่ ไมส้ วนสาธารณะ ความสงบสขุ ของชุมชนและ
สาธารณะสมบัตติ า่ ง ๆ เป็นต้น ส่วน เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์๑๑ ได้ให้ความหมายของจิตสาธารณะว่า
หมายถึง ความคิดที่ไม่เห็นแก่ตัวมีความปรารถนาที่จะช่วยเหลือผู้อื่นหรือสังคมโดยไม่หวงั ผลตอบแทน
พยายามที่จะชว่ ยเหลืออยา่ งจรงิ จังและมองโลกในแง่ดบี นพน้ื ฐานของความเปน็ จรงิ
พระพุทธศาสนา เป็นศาสนาที่มีอิทธิพลต่อวิถีชีวิตของชาวตะวันออก เป็นศาสนาที่มีความ
แตกต่างจากศาสนาอื่น ๆ ที่มีขันติธรรม และเชื่อในเหตุผลตามหลักวิทยาศาสตร์ มองโลกแบบผู้รัก
สันติภาพ จงึ อยูร่ ว่ มกบั ศาสนาอ่นื ๆ ไดโ้ ดยไม่มคี วามขดั แยง้ เพราะพระพุทธศาสนาไม่ไดเ้ น้นการเปล่ียน
ศาสนาของผู้อื่น การสอนพระพุทธศาสนามีแต่บวกกับบวกในสังคม และความสุขของสังคมไทยนั้น มี
รากฐานมาจากคำสอนของพุทธศาสนา สอดคล้องกับพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒
มาตรา ๖ ที่มุ่งเน้นพัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ทั้งร่างกาย จิตใจ สติปัญญา ความรู้ และ
๗ ทิพย์พาพร ตันติสุนทร. พลเมือง สิทธิมนุษยชน และประชาธิปไตย. (กรุงเทพฯ: สถาบันนโยบาย
การศกึ ษา ภายใตม้ ูลนิธิส่งเสริมนโยบายการศึกษา, ๒๕๕๗), หน้า ๑๗.
๘ สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาต.ิ วาระการวิจัยแห่งชาติในภาวะวิกฤตเพื่อฟื้นฟูชาติ. (กรุงเทพฯ:
สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแหง่ ชาติ กระทรวงวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและส่งิ แวดล้อม, ๒๕๔๒), หนา้ ๑๔.
๙ กนิษฐา นิทัศน์พัฒนาและคณะ. จิตสำนึกทางสังคมของนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัย
มหดิ ล. (กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยมหิดล, ๒๕๔๑), หน้า ๘.
๑๐ ศักดช์ิ ยั นริ ัญทวี. บทบาทของมหาวทิ ยาลยั กับการศึกษาเพอ่ื ความเปน็ ประชาสังคม. (วารสาร สออ.ย
ประเทศไท/ Asaihl-Thailand Journal. ๑(๑): ๕๗. (พฤศจิกายน), ๒๕๔๑), หน้า ๕๗.
๑๑ เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์. จอมปราชญ์นกั การศกึ ษา. (กรุงเทพฯ: ซัคเซสมเี ดีย, ๒๕๔๓), หนา้ ๑๗.
๔
คณุ ธรรม มีจรยิ ธรรมและวฒั นธรรมในการดำรงชีวิต สามารถอยรู่ ว่ มกบั ผู้อืน่ ได้อย่างมีความสุข โดยเป็น
การสนับสนุนให้นำหลักธรรมของศาสนามาใช้เพื่อเสริมสร้างคุณธรรมและพัฒนาคุณภาพชีวิ ตอัน
หมายถงึ คุณภาพของ “ความเป็นพลเมืองดี” ของคนไทยดว้ ย ดังนนั้ หากพลเมืองเหินห่างจากคุณธรรม
ทางศาสนา ก็ยิ่งจะทำให้การประพฤติปฏิบัติขาดหลักธรรมดำเนินชีวิต ขาดหิริโอตตัปปะ ขาดความ
เสียสละเพื่อส่วนรวม คุณธรรมทางพระพุทธศาสนาจึงจะช่วยสร้างความเป็นพลเมืองในระบอบ
ประชาธิปไตยให้ดำรงอยู่ในทางสายกลาง และในขอบเขตของวัฒนธรรมความเป็นพลเมืองที่รู้จักแพ้
รูจ้ ักชนะไมย่ ดึ ติดได้และวถิ ีทางของพทุ ธธรรมก็เข้ากันได้เป็นอย่างดกี ับการสรา้ งความเปน็ พลเมอื งใหม่
ดังนนั้ จากสภาพปัญหาของสังคมไทยปัจจบุ ันทีเ่ ตม็ ไปด้วยความขัดแยง้ เกดิ ความแปลกแยก
และความรุนแรงทางการเมือง ประชาชนขาดจิตสำนึกในความเป็นพลเมืองที่ดี ผู้วิจัยมีความเห็นว่า
หลักธรรมในพระพุทธศาสนา มีสาระอันเป็นประโยชน์ยิ่งต่อการนำมาประยุกต์ใช้เพื่อพัฒนาความเป็น
พลเมืองดีของคนในสังคมไทย การนำเอาคุณค่าทางพระพุทธศาสนา ซึ่งเป็นสาระสำคัญของวัฒนธรรม
ไทยมาปลกู ฝังแกป่ ัจเจกบุคคลและกลมุ่ บุคคลในสังคม จะก่อใหเ้ กิดประโยชน์ย่ิง เพราะเปน็ การนำส่ิงดีที่
มีอยู่มาใชอ้ ย่างเปน็ รูปธรรม กอ่ ใหเ้ กดิ ทฤษฎีใหม่ ซงึ่ เป็นหวั ใจของวัฒนธรรมไทยและความเป็นพลเมือง
ดีที่สังคมไทยมุ่งหวัง ทั้งยังสอดรับกับวิถีประชาธิปไตยแบบไทย ๆ อีกด้วย ฉะนั้น ด้วยเหตุผลที่พุทธ
ธรรม อันเป็นสารตั ถะคำสอนของพระสัมมาสมั พุทธเจ้า ซงึ่ มคี ุณค่าย่งิ ต่อการเก้ือกูลมนุษยชาติ ผู้วิจัยจึง
มีความประสงค์ที่จะศึกษาวิจัยเรื่อง “การพัฒนาจิตสำนึกความเป็นพลเมืองของนักเรียนในจังหวัด
ขอนแก่น ตามหลักพุทธธรรม” โดยตระหนกั วา่ ถ้าสถาบนั ทางการเมืองท้ังภาครัฐและภาคประชาสังคม
ได้นำเอาแนวทางพุทธธรรม มาใช้ให้เป็นประโยชน์ในการพัฒนาคุณธรรมของพลเมืองก็จะทำให้
“ความเป็นพลเมือง” ของคนไทยเป็นไปในแนวทางที่สร้างสรรค์เป็นพลเมืองที่มีคุณภาพ และพร้อม
ท่จี ะพัฒนาสู่ “ความเปน็ พลเมืองโลก” ได้อย่างมปี ระสิทธภิ าพ
ในการศึกษาองค์ประกอบของคุณลักษณะของนักเรียน มีนักวิจัยส่วนหนึ่ง๑๒,๑๓ ใช้คะแนน
เฉลี่ยระดับชาติในด้านการอ่าน ด้านคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ ส่วนอาลิก มีเอลคาเรค
๑๒ Ehrenberg, R. G., Brewer, D. J., Gamoran, A. & Willms, D. Class size and student
achievement. Psychological Science in the Public Interest, 2(1), 2001.
๑๓ Ballou, D., Goldring, E., & Liu, K. Magnet schools and student achievement. New York:
National Center for the Study of Privatization in Education, 2006.
๕
(Alig-Mielcarek)๑๔ ได้เพิ่มการเป็นพลเมืองที่ดี และทักษะด้านการเขียน และ มานะ สินธุวงษานนท์๑๕
ถือว่า องค์ประกอบของคุณภาพนักเรียน คือ ด้านความสุข ด้านความดี และด้านความเก่งตามลำดับ
นอกนัน้ ยงั มีนักการศึกษา๑๖ เหน็ วา่ องค์ประกอบของคุณภาพนักเรยี น คือ การมคี วามสขุ
สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (๒๕๕๐) เชื่อว่า๑๗ คุณภาพของ
การศึกษาคือ คณุ ภาพของผเู้ รียนท่มี สี มรรถนะ มคี ุณภาพดี เปน็ คนดี และมีความสุขสนุกกับการเรียนรู้
ตลอดชีวิต ซึ่งนโยบายการจัดการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ ในการพัฒนาเยาวชนของชาติสู่โลก
ยุคศตวรรษที่ ๒๑ ได้มุ่งส่งเสริมผู้เรียนให้เป็นคนดี คนเก่ง และคนมีความสุข ซึ่งแนวทางดังกล่าว
สอดคล้องกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ ๑๐ (พ.ศ. ๒๕๕๐-๒๕๕๔)
ทเ่ี น้นความจำเป็นในการพฒั นาคุณภาพคนในสงั คมไทยให้มคี ุณธรรมและมีความรอบรอู้ ย่างเท่าทนั ให้มี
ความพร้อมทั้งด้านร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ และศีลธรรม สามารถก้าวทันการเปลี่ยนแปลงเพ่ือ
นำไปสู่สังคมฐานความรูไ้ ด้อยา่ งมนั่ คง
การที่ผู้เรียนจะสำเร็จในการเรียนมากน้อยเพียงใดขึ้นอยู่กับประสิทธิภาพการสอนของครูด้วย
เนื่องจากครู เป็นผู้ที่มีบทบาทสำคัญในการจัดระบบการเรียนการสอน ครูที่มีคุณภาพในการสอนจะทำ
ให้นักเรียน เกิดการเรียนรู้ได้ดี๑๘ ดังนั้น พฤติกรรมการสอนของครู จึงเป็นตัวกำหนดผลสมั ฤทธิ์ทางการ
เรียนได้เป็นอย่างดี ดังที่ (Rockoff)๑๙ ได้เสนอข้อคิดว่า พฤติกรรมการสอนในหอ้ งเรียนเป็นสิ่งสำคัญย่ิง
ถา้ ครูเอาใจใส่และคอยควบคุมพฤติกรรมการสอน ของตนให้เปน็ ไปในทิศทางทีก่ ำหนดไวแ้ ล้ว ย่อมจะทำ
ใหก้ ารเรียนการสอนบรรลเุ ป้าหมายการศกึ ษาทก่ี ำหนดไว้ การสอน เปน็ กระบวนการชักนำให้ผเู้ รียนเกิด
๑๔ Alig-Mielcarek, J.M. A model of school success : Instructional leadership, academic
press, and student achievement. Dissertation for the degree of doctor of philosophy in graduate school
of the Ohio State University, 2003.
๑๕ มานะ สินธุวงษานนท์. ปัจจัยส่งเสริมการจัดการศึกษาที่ส่งผลต่อคุณภาพนักเรียนในภาค
ตะวนั ออกเฉยี งเหนือ, วารสารศกึ ษาศาสตร์.๒๕๕๐.๑๘(๒), ๑๑๕-๑๒๗. (พฤศจกิ ายน ๒๕๔๙-มนี าคม ๒๕๕๐).
๑๖ Fraillon, ๒ ๐ ๐ ๔ ; Clement, N. Student wellbeing at school : The actualization of values in
education, International. Research Handbook on Values Education and Student Wellbeing, 2010.
Part 1, p.37-62.
๑๗ สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา. มาตรฐานการศึกษาตัวบ่งชี้และเกณฑ์
การพิจารณาเพื่อการประเมินคุณภาพภายนอก ระดับการศึกษาขึ้นพื้นฐาน (พ.ศ. ๒๕๔๙-๒๕๕๓), (กรุงเทพฯ:
สมศ. (องคก์ ารมหาชน), ๒๕๕๐).
๑๘ Rivkin, S.G., Hanushek, E.A., & Kain, J.F. Teachers, schools, and academic achievement.
Econometrical, 2005. 73(2), p.417-458.
๑๙ Rockoff, Jonah, E. "The Impact of Individual Teachers on Student Achievement: Evidence
from Panel Data." American Economic Review, 94 (2): 247-252., 2004).
๖
คุณลักษณะต่าง ๆ ตามที่หลักสูตรกำหนดไว้ การที่จะบรรลุตามความต้องการของหลักสูตรได้มากน้อย
เพียงใด ขึ้นอยู่กับคุณภาพการสอนของครู ซึ่งการที่ครูจะสามารถจัดการเรียนการสอนให้บรรลุตาม
เป้าหมายไดน้ ั้นจำเปน็ อย่างย่ิงท่จี ะต้องพจิ ารณาประสทิ ธิภาพการสอนของครูด้วย
บรรยากาศของสถานศึกษาที่เอื้อต่อการเรียนการสอนมีความสัมพันธ์กับคุณลักษณะที่พึง
ประสงค์ของนักเรียน (Cohen)๒๐ นน้ั คือ บรรยากาศของโรงเรียนส่งเสริมความสามารถของนักเรียน ใน
การเรยี นรู้ทำใหผ้ ้เู รยี นรูส้ กึ ปลอดภัยมบี รรยากาศท่ีเอ้ือต่อการเรยี นรู้ ซ่งึ สอดคลอ้ งกับข้อคน้ พบของ ฟิน
แนน สเนพพิน และแอนเดอร์สัน (Finnan, Schnepel, & Anderson)๒๑ ได้เสนอผลการวิจัย พบว่า
ความสัมพนั ธเ์ ชงิ บวกของบรรยากาศในสถานศึกษาส่งผลต่อการเรยี นรู้ และสมรรถนะของนักเรยี น
การพัฒนาจิตสำนึกความเป็นพลเมือง หรือคุณลักษณะที่พงึ ประสงคข์ องนกั เรียน ขึ้นอยู่กบั
ปัจจัยหลายประการ ครอบครัวในฐานะผู้ใกล้ชิดกับนักเรียนมากที่สุดมีส่วนสำคัญด้วย ดังนั้น
สถานศึกษาควรประสานความร่วมมือกับผปู้ กครองเพื่อบ่มเพาะนักเรียน ใหเ้ ป็นผู้มีสติปญั ญามีคุณธรรม
จริยธรรม และอยู่ร่วมกับผู้อื่นอย่างมีความสุข ผู้ปกครองมีส่วนสำคัญต่อการส่งเสริมการเรียนรู้ของ
นักเรียน ผลการเรียนของนักเรียน จะมีคุณภาพอยู่ในระดับใด ขึ้นกับความร่วมมือของผู้ปกครอง
(Desforges & Abouchaar)๒๒ ผู้ปกครอง จงึ เป็นผทู้ ี่มบี ทบาทสำคญั ยง่ิ ตอ่ ผเู้ รยี น บทบาทของผูป้ กครอง
ท่ีมีต่อผู้เรยี นไม่ได้จำกดั เฉพาะการเล้ยี งดูอบรมนสิ ัยเท่านั้น แต่รวมถึงให้การสนบั สนุนด้านการศึกษาแก่
บุตรหลานของตนที่บ้านและการเข้าไปมีส่วนร่วมในการพัฒนาการศึกษากับสถานศึกษา เพื่อร่วมกัน
พัฒนาผู้เรียนให้เป็นคนดี คนเก่ง และคนมีความสุข ดังนั้นบทบาทของพ่อแม่ ผู้ปกครองในการจัด
การศกึ ษาจึงมีส่วนสำคญั มาก๒๓
กระบวนการจัดการศึกษาต้องสง่ เสริมให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาตามธรรมชาติ และเต็มตาม
ศักยภาพโดยมุ่งหวังที่จะได้เห็นผู้เรียนที่พึงประสงค์เป็นทั้ง “คนดี คนเก่ง และคนมีความสุข” เกี่ยวกับ
๒๐ Cohen, JSocial, emotional, ethical and academic education: Creating a climate for learning,
participation in democracy and well-being. Harvard Educational Review, 76, 2006, p.201–237.
๒๑ Finnan, C., Schnepel, K., & Anderson, L. Powerful learning environments: The critical link
between school and classroom cultures. Journal of Education forStudents Placed at Risk, 8, 391–
418. doi:10.1207/S15327671ESPR0804_2, 2003.
๒๒ Desforges, C., & Abouchaar, A. The Impact of Parental Involvement, Parental Support
and Family Education on Pupil Achievement and Adjustment: A Literature Review. London:
Department of Education and Skills, 2003.
๒๓ Fan, X. & Chen, M. Parental Involvement and Students’ Academic Achievement: A Meta-
Analysis. Educational Psychology Review, 2001.13(1), p.1-22.
๗
เรื่องนี้ได้มีผู้ที่เกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษา๒๔ ได้ให้ความคิดเห็นเกี่ยวกับลักษณะที่พึงประสงค์ของ
ผเู้ รียนไว้ ดังนี้
๑. คนดี หมายถึง นักเรียน ที่ดำเนินชีวิตอย่างมีคุณภาพ มีจิตใจที่ดีงาม มีคุณธรรม
จริยธรรม มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ทั้งด้านจิตใจ และพฤติกรรมที่แสดงออก ซึ่งเรียกว่า คุณธรรม
จรยิ ธรรมของนกั เรยี น
๒. คนเก่ง หมายถึง นักเรียน ที่มีคุณลักษณะเชิงพฤติกรรมที่เป็นผลมาจากความรู้ ทักษะ/
ความสามารถ และคณุ ลกั ษณะอ่ืน ๆ
๓. คนมคี วามสขุ หมายถึง นกั เรยี น ทมี่ ีสุขภาพดีท้งั กายและจิตใจ เปน็ คนรา่ เริงแจม่ ใส รา่ งกาย
แข็งแรง มมี นษุ ยสมั พันธท์ ดี่ ี
ในประเทศที่มีการปกครองระบอบประชาธิปไตย มีเป้าหมายสำคัญประการหนึ่งคือ การมี
ระบอบการปกครองที่มีความเข้มแข็งและมีความมั่นคง ปัจจัยสำคัญที่จะทำให้ประสบความสำเร็จได้
คือ การสร้างความเป็นพลเมืองดีให้เกิดขึ้นกับประชาชนทุกคนในประเทศ๒๕ เพราะเมื่อประชาชนมีความ
เป็นพลเมืองดีก็จะมีความเป็นอิสระทางความคิดและการแสดงออกทางการเมืองจะไม่ถูกชี้นำหรือ
ครอบงำโดยนักการเมอื งหรอื พรรคการเมืองใด ๆ ถงึ แมว้ า่ จะเปน็ การปกครองระบอบประชาธิปไตยแบบ
ผู้แทน (Representative Democracy) ก็ตาม๒๖ เพราะผู้เป็นพลเมืองดีจะมีความสนใจ มีความ
กระตือรือร้น และมีความตระหนักว่าทุกคนมีสิทธิเสรีภาพอย่างเท่าเทียมกันที่จะเข้าไปมีส่วนร่วมใน
กิจกรรมทางการเมืองของประเทศ ซึ่งสามารถแสดงออกในรูปแบบต่างๆ ต่อผู้มีอำนาจในการบริหาร
ประเทศ เช่น การแสดงความคิดเห็น การวิพากษ์วิจารณ์ การสนับสนุน การต่อต้าน การคัดค้าน การ
ประท้วงรัฐบาลหรอื ผู้มีอำนาจในการบริหารประเทศ๒๗
ทั้งนี้ ความเป็นพลเมืองดีตามระบอบประชาธิปไตยนั้น ได้มีนักวิชาการให้ความหมายไว้ท้ัง
การใหค้ วามหมายในระดับสากล และการใหค้ วามหมายของนกั วิชาการในประเทศไทย ในระดบั สากลนนั้
๒๔ สุวัฒน์ วิวัฒนานนท์, ๒๕๔๘; สุวิมล ว่องวาณิช, ๒๕๕๑. ปัจจัยเชิงพหุระดับที่ส่งผลต่อประสิทธิผลของ
โรงเรียนมธั ยมศกึ ษาของรัฐในกรงุ เทพมหานคร. วารสารศกึ ษาศาสตร์, ๒๕๔๘. ๑๗(๒), หนา้ ๔๗-๖๒.
๒๕ สถาบันพระปกเกล้า. การประชุมวิชาการสถาบันพระปกเกล้าครั้งท่ี ๑๓ ประจำปี ๒๕๕๔ ความเป็น
พลเมืองกับอนาคตประชาธปิ ไตยไทย เลม่ ๑. กรุงเทพมหานคร: สถาบันพระปกเกลา้ , ๒๕๕๕.
๒๖ ปริญญา เทวานฤมิตรกุล. การศึกษาเพื่อสร้างพลเมือง (Civic Education). กรุงเทพมหานคร: อักษร
สัมพนั ธ์, ๒๕๕๕.
๒๗ เพียงกมล มานะรัตน์ และปิยะมาศ ทัพมงคล. บทสำรวจความเป็นพลเมืองและยุทธศาสตร์การ
สร้างความเป็นพลเมืองในสังคมไทย: การมีส่วนร่วมทางการเมืองในฐานะพลเมืองของประชาชนในระบอบ
ประชาธิปไตยจากประสบการณ์จากงานวิจัย. เอกสารประกอการประชุมวิชาการสถาบันพระปกเกล้า ครั้งท่ี ๑๓
ประจำปี ๒๕๕๔ ความเปน็ พลเมืองกบั อนาคตประชาธปิ ไตยไทย. (กรงุ เทพฯ: สถาบนั พระปกเกลา้ , ๒๕๕๕).
๘
จากผลการศึกษาวิจัยของนักวิชาการทุกทวีปมารวมตัวกัน เพื่อเตรียมตัวเข้าสู่ศตวรรษท่ี ๒๑ และได้มี
การพิมพ์เผยแพร่ไปทั่วโลกได้สรุปไว้ว่า ความเป็นพลเมืองดีที่สามารถเป็นได้ทั้งพลเมืองดีของประเทศ
และพลเมืองดีของโลกนั้นต้องประกอบด้วย คุณลักษณะสำคัญ คือ (๑) เป็นผู้มีความรู้ มีการศึกษามี
ความสามารถที่จะมองเห็นและเข้าใจในสังคมของตนและสังคมโลก (๒) เป็นผู้ที่สามารถทำงานร่วมกับ
ผู้อื่นได้ และมีความรับผิดชอบต่อตนเองและผู้อื่น (๓) เป็นผู้ที่มีความสามารถที่จะเข้าใจ ยอมรับและ
อดทนต่อความแตกตา่ งทางวฒั นธรรม (๔) เปน็ ผูท้ มี่ ีความสามารถในการคิดวิเคราะห์อย่างมีเหตุผลและ
เป็นระบบ (๕) เป็นผู้ที่มีความเต็มใจที่จะแก้ปัญหาความขดั แย้งดว้ ยท่าทีสันติโดยไม่ใช้ความรุนแรง (๖)
เป็นผู้ที่เต็มใจที่จะเปลี่ยนการใช้ชีวิตและอุปนิสัยการบริโภคเพื่อรักษาสิ่งแวดล้อม (๗) เป็นผู้ที่มี
ความสามารถในการเข้าใจและปกป้องสิทธิมนุษยชน และ (๘) เป็นผูท้ ม่ี ีความเตม็ ใจและมีความสามารถ
ทจี่ ะเขา้ ไปมีส่วนรว่ มทางการเมอื ง ท้งั ในระดับทอ้ งถิน่ ระดับชาติ และระดับนานาชาติ๒๘
จุดมุ่งหมายประการสำคัญของการศึกษา ไม่ว่าจะเป็นการศึกษาของประเทศใดก็ตามก็คือ
การสร้างความเป็นพลเมอื งดใี ห้กบั เยาวชนของชาติในอันท่ีจะดำรงชีวิตอย่างมปี ระสิทธิภาพ ทั้งต่อส่วน
ตนและส่วนรวม แนวคิดเกี่ยวกับการพัฒนาความเป็นพลเมืองดีนี้ จะปรากฏชัดเจนอยู่ในสาระของ
หลักสูตรทุกระดับชั้น แนวการพัฒนาเยาวชนให้เป็นพลเมืองดีจากอดีตที่ผ่านมานั้น โรงเรียนส่วนใหญ่
มักเน้นการพัฒนาความเป็นพลเมืองดีให้เหมาะสมกับสภาพของประเทศที่ตนอาศัยอยู่เป็น ประการ
สำคัญ๒๙
การเป็นพลเมืองดี มิใช่เพียงแต่มีความรู้ ความเข้าใจในระบอบการเมืองการปกครองท่ี
ประเทศตนอยู่เท่านั้น แต่ต้องอาศัยการมีความรู้ความเข้าใจในสาระวิชาต่างๆ มีเจตคติ ค่านิยม
จริยธรรมที่พึงประสงค์ และมีส่วนร่วมในกิจกรรมต่าง ๆ ของสังคมอย่างมีความรับผิดชอบ สังคมที่
กล่าวถึงนี้ มีขอบเขตครอบคลุมทั้งสังคมระดับท้องถิ่น ระดับประเทศและระดับโลก การพัฒนาความ
เปน็ พลเมืองดีจงึ ขยายขอบเขตกวา้ งไกล โดยเนน้ ความเป็นพลเมืองโลกหรอื พลโลก
การจัดการเรียนรู้แบบอริยสจั ๔ เป็นกระบวนการแสวงหาความรู้โดยผู้เรียนพยายามคิดคน้
วิธีการแก้ปัญหาต่างๆ โดยใช้ลำดับขั้นตอน ของอริยสัจ ๔ เป็นแนวทางการแก้ปัญหาด้วยตนเอง ซ่ึง
ประกอบไปด้วย (๑) ทุกข์ (การกำหนดปญั หา) (๒) สมทุ ยั (การต้ังสมมตฐิ าน) (๓) นิโรธ (การทดลองเก็บ
ข้อมูล) (๔) มรรค (การวิเคราะห์ข้อมูลและอุปสรรค) ส่วนขั้นตอนของอริยสัจ ๔ ได้แก่ (๑) ทุกข์ ชีวิตนี้
เปน็ ความทกุ ข์อย่างย่ิง (ดังนั้น ปญั ญาของเราก็คือ ทำอยา่ งไรจะได้พน้ ทุกข์) (๒) สมทุ ยั สาเหตุใหญ่ที่ทำ
ให้เกิดทกุ ข์ ได้แก่ ตณั หา (ดังนั้น เพ่อื หาทางกำจัดตณั หาเสียได้ ทุกข์กค็ งจะหมดไป วธิ กี ารที่อาจทดลอง
๒๘ ทิพย์พาพร ตันติสุนทร, ๒๕๕๔ อ้างใน Cogan, ๑๙๙๗. การศึกษาเพื่อสร้างพลเมือง. (กรุงเทพฯ:
สถาบนั นโยบายศกึ ษา, ๒๕๕๔).
๒๙ สิริวรรณ ศรีพหล. การพัฒนาจิตสำนึกความเปน็ พลโลกสำหรับเยาวชนตามแนวพุทธธรรม. (กรุงเทพฯ.
สถาบนั วจิ ยั และพฒั นา มหาวทิ ยาลัยสุโขทัยธรรมาธริ าช, ๒๕๔๘).
๙
เพื่อกำจัดตัณหาอาจมีดังนี้การอดอาหารการนั่งสมาธกิ ารเข้าใจสิ่งท่ีถูกต้อง) (๓) นิโรธ การดับทุกข์ (ใน
การให้ได้มาซึ่งสภาวะน้ีจำต้องดำเนินการต่าง ๆ เพื่อให้ทุกข์ดับไป หรือเพื่อจะได้พ้นทุกข์ จึงทำการอด
อาหาร เพื่อให้เห็นว่า การทำทุกรกิริยาไม่อาจพ้นทุกข์ได้ก็ลองทำอย่างอื่นออกไปอีก และ (๔) มรรค
จากการปฏิบัติต่าง ๆ ดว้ ยตนเองแล้ว ตกลงสรุปผลได้วา่ วิธีการท่จี ะพ้นทุกข์ไดน้ ้ันมีทางเดียว คือทางที่
เรียกว่า “มรรค ๘” นนั่ เอง
ขั้นตอนการจัดการเรียนรู้แบบอริยสัจ ๔ ประกอบด้วย (๑) กำหนดปัญหา (ขั้นทุกข์) คือ
(๑.๑) ผู้สอนกำหนดและนำเสนอปัญหาอย่างละเอียดพยายามให้ผู้เรียนทำความเข้าใจต่อปัญหานั้น
ตรงกนั และพยายามเร้าความร้สู ึกใหผ้ ู้เรยี นเกิดความตระหนักว่า สง่ิ ทีผ่ ูส้ อนนำเสนอนั้นเป็นปัญหาของ
ทุกคน (๑.๒) ผ้สู อนช่วยผ้เู รียนใหไ้ ดศ้ ึกษาพิจารณาดูปญั หาที่เกิดข้ึนด้วยตนเอง ดว้ ยความรอบคอบและ
พยายามกำหนดขอบเขตของปัญหาซึ่งผ้เู รยี นจะต้องคิดแก้ไขให้ได้ (๒) การต้ังสมมตฐิ าน (ขน้ั สมทุ ัย) คือ
(๒.๑) ผสู้ อนช่วยใหผ้ ู้เรยี นให้ได้พจิ ารณาด้วยตัวเองวา่ สาเหตุของปัญหาท่ยี กขึ้นมากล่าวในข้ันที่ ๑ นั้นมี
อะไรบ้าง (๒.๒) ผู้สอนช่วยผเู้ รยี นให้ได้เกิดความเข้าใจและตระหนักวา่ ในการแก้ปัญหาใด ๆ น้นั จะต้อง
กำจัดหรือดับ (๒.๓) ผู้สอนช่วยผู้เรียนให้คิดว่าในการแก้ที่สาเหตุนั้นอาจจะกระทำอะไรได้บ้าง คือให้
กำหนดสิ่งที่จะกระทำนี้เป็นข้อ ๆ ไป (๓) ทดลองและเก็บข้อมูล (ขั้นนิโรธ) คือ ใช้เทคนิคการแบ่งงาน
และการทำงานเป็นกลุ่มและเสนอแนะวิธีการจดบันทึกข้อมูลผู้สอน อาจให้ผู้เรียนช่วยกันเสนอว่าจะ
บันทึกข้อมูลอย่างไร หรือช่วยกันออกแบบตารางบันทึกข้อมูล (๔) วิเคราะห์ข้อมูลและสรุปผล (ขั้น
มรรค) คือ (๔.๑) ช่วยให้ผู้เรียนเกิดความเข้าใจและสรุปได้ว่า ในบรรดาการทดลองหรือการกระทำด้วย
ตวั เองหลาย ๆ อยา่ งน้นั บางอยา่ งกแ็ กป้ ัญหาไม่ได้บางอย่างก็แกป้ ัญหาไดช้ ัดเจนบางอยา่ งก็แกป้ ัญหาได้
ไมช่ ดั เจน การแก้ปญั หาให้สำเร็จจะตอ้ งทำอยา่ งไรแน่ (๔.๒) เมื่อลงข้อสรปุ วิธีแก้ปัญหาได้แล้ว ใหผ้ ้เู รียน
ช่วยกันกำหนดแนวทางในการปฏิบัติและลงมือปฏิบัติตามแนวทางนั้นโดยทั่วกัน รวมทั้งให้ผู้เรียน
ชว่ ยกนั คิดวิธกี ารควบคมุ และติดตามของการปฏบิ ัติเมื่อแก้ไขปัญหานั้น ๆ ดว้ ย๓๐
ผู้วิจัย จึงมีความสนใจทีจ่ ะนำแนวคิดและแนวปฏิบัตทิ างพระพุทธศาสนามาพัฒนานักเรียน
ให้มีจิตสำนึกความเป็นพลเมือง โดยศึกษาว่า มีหลักธรรมหรือพุทธธรรมข้อใดบ้าง ที่สามารถนำมา
พัฒนานักเรยี นให้มีจิตสำนึกในความเป็นพลเมืองได้ และจะนำวธิ สี อนตามหลักพุทธธรรมมาประยุกต์ใช้
เพื่อพัฒนาจิตสำนึกความเป็นพลเมืองให้แก่นักเรียน โดยจะมุ่งสร้างรูปแบบการพัฒนาจิตสำนึกความ
เปน็ พลเมอื งของนักเรยี นในจังหวัดขอนแก่น ตามหลักพุทธธรรม อยา่ งเป็นระบบ ตอ่ ไป
๓๐ พระธรรมปิฎก.(ป.อ.ปยุตฺโต). พุทธธรรมฉบับปรับปรุงและขยายความ. พิมพ์ครั้งที่ ๖. (กรุงเทพมหานคร:
โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์ราชวทิ ยาลยั , ๒๕๔๔).
๑๐
๑.๒ วัตถปุ ระสงคก์ ารวจิ ยั
๑.๒.๑ เพอ่ื สร้างและหาประสิทธภิ าพแผนการจัดการเรียนรู้ โดยใชก้ ระบวนการแบบอริยสัจ
๔ เรื่องจิตสำนึกสาธารณะ ความเป็นพลเมืองตามหลักพุทธธรรมของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา
ปีที่ ๓ โรงเรยี นซำสงู พทิ ยาคม ทีม่ ปี ระสิทธิภาพตามเกณฑ์ ๘๐/๘๐
๑.๒.๒ เพอ่ื พฒั นาจิตสำนึกสาธารณะตามหลักพทุ ธธรรม โดยใช้กระบวนการแบบอริยสัจ ๔
ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ โรงเรียนซำสูงพิทยาคม สังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัด จังหวัด
ขอนแก่น
๑.๒.๓ เพื่อศึกษาความเป็นพลเมืองตามหลักพุทธธรรมของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓
โรงเรยี นซำสงู พิทยาคม
๑.๒.๔ เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ โรงเรียนซำสูงพิทยาคม
ที่มีต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ โดยใช้กระบวนการแบบอริยสัจ ๔ เรื่องจิตสำนึกสาธารณะ
ความเปน็ พลเมืองตามหลักพุทธธรรม
๑.๓ ปญั หาการวิจยั
๑.๓.๑ ประสิทธิภาพแผนการจัดการเรียนรู้ โดยใช้กระบวนการแบบอริยสัจ ๔ เรื่องจิตสำนึก
สาธารณะ ความเป็นพลเมืองตามหลักพุทธธรรมของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ โรงเรียนซำสูง
พิทยาคม มปี ระสทิ ธภิ าพตามเกณฑ์ หรอื ไม่
๑.๓.๒ จิตสำนึกสาธารณะตามหลักพุทธธรรม โดยใช้กระบวนการแบบอริยสัจ ๔
ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ โรงเรียนซำสูงพิทยาคม สังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัด จังหวัด
ขอนแกน่ มคี ุณภาพอยใู่ นระดับใด
๑.๓.๓ ความเป็นพลเมืองตามหลักพุทธธรรมของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ โรงเรียน
ซำสูงพิทยาคม มีคณุ ภาพอย่ใู นระดบั ใด
๑.๒.๔ ความพึงพอใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี ๓ โรงเรียนซำสูงพิทยาคม ที่มีต่อการ
จัดกิจกรรมการเรียนรู้ โดยใช้กระบวนการแบบอริยสัจ ๔ เรื่องจิตสำนึกสาธารณะ ความเป็นพลเมือง
ตามหลกั พุทธธรรม อยใู่ นระดบั ใด
๑.๔ ขอบเขตการวจิ ยั
๑.๕.๑ ขอบเขตเน้ือหา ทีใ่ ช้ในการศกึ ษา ครั้งนี้ ได้แก่
๑.๕.๓.๑ แผนการจัดการเรียนรู้ โดยใช้กระบวนการแบบอริยสัจ ๔ จำนวน ๕ แผน
ได้แก่
๑๑
แผนการจัดการเรยี นรทู้ ี่ ๑ เรือ่ ง มรรค ๘
แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี ๒ เรอ่ื งพรหมวหิ าร ๔
แผนการจดั การเรียนรทู้ ่ี ๓ เรอ่ื งอิทธิบาท ๔
แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ ๔ เรื่องสงั คหวัตถุ ๔
แผนการจัดการเรยี นรทู้ ี่ ๕ เรอ่ื งฆราวาสธรรม ๔
๑.๕.๓.๒ จิตสำนึกสาธารณะ ได้แก่ (๑) ด้านความรับผิดชอบ (๒) ด้านความเสียสละ (๓)
ด้านความสามัคคี และ (๔) ด้านการอนุรักษ์ส่ิงแวดล้อม
๑.๕.๓.๓ ความเป็นพลเมืองตามหลักพุทธธรรม ได้แก่ (๑) ด้านกาย (๒) ด้านทักษะทาง
สงั คม (๓) ด้านคณุ ธรรม และ (๔) ด้านปัญญา
๑.๕.๒ ขอบเขตพ้นื ท่ี/องค์กร
โรงเรยี นซำสูงพิทยาคม สงั กดั องคก์ ารบริหารส่วนจังหวัด จงั หวดั ขอนแก่น ตัง้ อยู่ท่ี ๓๓๓
หม่ทู ่ี ๑ ถนนกระนวน-ซำสงู ตำบลกระนวน อำเภอซำสงู จงั หวัดขอนแกน่ รหสั ไปรษณีย์ ๔๐๑๗๐
๑.๕.๓ ขอบเขตประชากร/กลมุ่ เปา้ หมาย
กลมุ่ เป้าหมาย ที่ใช้ในการศกึ ษา คร้ังน้ี ไดแ้ ก่ นักเรียนชน้ั มัธยมศึกษาปที ่ี ๓/๒ โรงเรียนซำ
สูงพิทยาคม สังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัด จังหวัดขอนแก่น ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๐
จำนวน ๓๒ คน โดยการสุ่มแบบเป็นกลุ่ม (Cluster Random Sampling) (บุญชม ศรีสะอาด, ๒๕๕๖:
๔๙)๓๑ โดยใช้หอ้ งเรยี นเปน็ หนว่ ยในการเลือก
๑.๕.๔ ขอบเขต ตวั แปร ท่ใี ช้ในการศกึ ษา
๑.๕.๒.๑ ตัวแปรอิสระ ได้แก่ แผนการจัดการเรียนรู้ โดยใช้กระบวนการแบบอริยสจั ๔
๑.๕.๒.๒ ตัวแปรตาม ได้แก่ (๑) ประสิทธิภาพแผนการจัดการเรียนรู้ โดยใช้กระบวนการ
แบบอริยสัจ ๔ เรื่องจิตสำนึกสาธารณะ ความเป็นพลเมืองตามหลักพุทธธรรม (๒) จิตสำนึกสาธารณะ
ของนักเรียนชั้นมธั ยมศึกษาปที ่ี ๓ (๓) ความเปน็ พลเมืองตามหลักพุทธธรรมของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษา
ปที ี่ ๓ (๔) ความพงึ พอใจของนกั เรียนชัน้ มัธยมศึกษาปที ี่ ๓
๑.๕.๕ ขอบเขตระยะเวลา ในการศึกษา
ระยะเวลาในการดำเนินการวิจัยด้วยการทดลอง ภาคเรียนที่ ๒ ของปีการศึกษา ๒๕๖๐
(พฤศจิกายน ๒๕๖๐– มนี าคม ๒๕๖๑)
๓๑ บุญชม ศรีสะอาด. การวิจยั เบ้ืองต้น. พมิ พค์ รั้งที่ ๗. (กรุงเทพมหานคร: สุวรี ิยาสาส์น, ๒๕๕๖), หน้า ๔๙.
๑๒
๑.๕ นยิ ามศัพท์เฉพาะ
๑.๕.๑ การพัฒนา หมายถึง การทำให้เจริญก้าวหน้า ทำสิ่งต่าง ๆ ให้ดีขึ้น เจริญขึ้น เช่น
การพัฒนาคนท้ังในดา้ นรา่ งกาย จติ ใจ และปญั ญา ใหค้ นรู้จกั คิด พิจารณาไตรต่ รอง แกไ้ ขปัญหาให้ดำรง
ชีวิตอย่างมีความสุข มีความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ต่อเพื่อนมนุษย์ โดยเน้นในด้านคุณภาพชีวิตและหลักของ
ความถกู ตอ้ งพอดี ซง่ึ ใหผ้ ลประโยชนส์ ูงสุด เพือ่ ความเก้อื กลู แก่ตนเองและผอู้ ื่น
๑.๕.๒ จิตสำนึกสาธารณะ หมายถึง พฤติกรรมที่แสดงให้เห็นถึงการรู้จักเอาใจใส่เป็นธุระ
และ เข้าร่วมในเรื่องของส่วนรวมที่เป็นประโยชน์ต่อประเทศชาติมีความสำนึกและยึดมั่นในระบบ
คณุ ธรรม และจรยิ ธรรมทีด่ ีงาม ละอายตอ่ สง่ิ ผิด เน้นความเรยี บร้อย ประหยดั และมคี วามสมดุลระหว่าง
มนษุ ย์ กับส่ิงแวดลอ้ มแบ่งออกเป็น ๔ ดา้ น ได้แก่
๑) ด้านความรับผิดชอบ หมายถึง ความรับผิดชอบอันเกิดจากจติ สำ นึกทางด้านศีลธรรม
จรยิ ธรรม ยอมรบั ผลการกระทำในการปฏบิ ตั ิหน้าที่ เพอ่ื ให้บรรลผุ ลสำเร็จ ความมงุ่ หมาย พยายามที่จะ
ปรับปรุงการปฏบิ ัตหิ น้าทีใ่ หด้ ยี งิ่ ข้นึ มคี วามสำนึกและการปฏิบตั ิ ไดร้ บั มอบหมาย และภารกิจทางสังคม
โดยจะต้องกระทำจนบรรลผุ ลสำเร็จ ไมห่ ลีกเลยี่ งภาระดังกล่าว และยอมรบั ผลในการกระทำของตน
๒) ดา้ นความเสียสละ หมายถึง การรู้จกั ควบคมุ อารมณ์ของตนเอง ความมจี ติ ใจกว้างขวาง
ช่วยเหลือเก้อื กลู ผู้อ่ืน การสละความสุขสบายหรือผลประโยชน์ของตนเอง แกบ่ ุคคลอื่นโดยท่ีตนเองมิได้
หวังผลตอบแทน บำเพญ็ ประโยชน์ต่อส่วนรวม ไมเ่ หน็ แกป่ ระโยชน์สว่ นตน ชว่ ยแสดงความคิดเห็นอย่าง
ตรงไปตรงมา เพื่อเพมิ่ พูนความร้ใู หมแ่ ก่ผู้อ่ืนตามกำลังสติปญั ญา
๓) ด้านความสามัคคี หมายถงึ ความพรอ้ มเพรียงเป็นน้ำหน่ึงใจเดียวกนั การร่วมมือกันทำ
กิจการให้สำเร็จลุล่วงด้วยดี ไม่เอาเปรียบผู้ที่ด้อยกว่าตน แบ่งออกเป็น ๒ ประการ คือ ความเป็น
เอกภาพทางกาย ได้แก่ การร่วมแรงร่วมใจกันในการทำงาน และความเป็นเอกภาพทางใจ ได้แก่ การ
รว่ มประชมุ ปรึกษาหารือกันในเมื่อเกิดปญั หาขึ้น เพอื่ หาทางแก้ไขปัญหาร่วมกนั
๔) ด้านการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม หมายถึง การมีจิตสำนึกที่ดีในการบริหารจัดการ
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างมปี ระสทิ ธิภาพ ไม่ใช้เกินความจำเปน็ ใช้ให้ เกิดประโยชน์แก่
ทุกฝ่ายให้มากที่สุด ปราศจากการสร้างปัญหาต่อผู้อื่นทั้งในด้านการจัดหา การซ่อมแซม การใช้อย่าง
ประหยัด การสงวนรักษา และการไม่เอาเปรียบต่อสงั คมส่วนรวม
๑.๕.๓ ความเป็นพลเมือง หมายถงึ คณุ ลกั ษณะของบคุ คลทเี่ ปน็ สมาชกิ ของสังคมหรือรัฐที่มี
ความรู้ความสามารถ อาทิ รู้จักสิทธิเสรีภาพและหน้าที่ของตนในฐานะพลเมือง เคารพความเสมอ
ภาคและคุณค่าศักดิ์ศรีของมนุษย์ มีความซื่อสัตย์ เคารพกฎหมาย มีความรับผิดชอบ แก้ปัญหาแบบ
สันตวิ ิธี กระตอื รอื รน้ ในการมีสว่ นร่วมสร้างสรรค์ทำกิจกรรมตา่ ง ๆ ท่ีมปี ระโยชน์ต่อสว่ นรวม ตลอดจนมี
ความพร้อมทจี่ ะปฏบิ ัติตนเป็นพลเมอื งทด่ี ีของสงั คมและประเทศชาติ
๑๓
๑.๕.๔ ความเป็นพลเมืองดีตามหลักพุทธธรรม หมายถึง การทำให้บุคคลมีคุณลักษณะของ
ความเป็นพลเมืองดีตามหลักพระพุทธศาสนา ทั้งการปฏิบัติและแสดงออก โดยมุ่งผลเพื่อก่อให้เกิด
พฤติกรรมที่เหมาะสมในระดับโลกิยะที่เกี่ยวกับทางโลกหรือเรื่องของชาวโลกเท่านั้น คือให้มีการ
เปลยี่ นแปลงทดี่ ขี ้ึนในดา้ นต่าง ๆ ทงั้ ตอ่ ตนเอง ผู้อน่ื และสังคม ๔ ด้าน ไดแ้ ก่
๑.๕.๔.๑ ด้านกาย หมายถึง กระบวนการสร้างความเจริญงอกงามทางร่างกาย การ
ฝกึ อบรมรา่ งกายใหร้ จู้ กั ติดต่อกบั สิ่งภายนอกด้วยดแี ละปฏบิ ตั ิตอ่ สิ่งภายนอกเหล่าน้นั ในทางท่ีเป็นคุณมิ
ให้เกิดโทษ ให้กุศลธรรมเจริญงอกงามและจัดให้อยุติธรรมเสื่อมสูญไป สิ่งภายนอกที่มีบทบาทต่อชีวิต
มนุษย์ก็คืออารมณ์ภายนอกทั้ง ๕ ได้แก่ รูป เสียง กลิ่น รส สัมผัส จุดมุ่งหมายของการพัฒนาใน ข้อนี้ก็
คือ การทำให้บุคคลรู้จักวิธีการเกี่ยวข้องกับอารมณ์ภายนอกทั้ง ๕ อย่างนี้อย่างถูกต้องเหมาะสม และ
เป็นคุณประโยชน์ตอ่ การพฒั นาชวี ิตให้เจรญิ ก้าวหน้าสงู ขน้ึ
๑.๕.๔.๒ ด้านทักษะทางสังคม หมายถึง กระบวนการฝึกอบรมบุคคลให้มีศีล ให้ตั้งอยู่ใน
ระเบยี บวนิ ยั ไมเ่ บยี ดเบยี น หรือก่อความเดือดร้อนเสยี หายแก่บุคคลขน้ึ สามารถอยรู่ ว่ มกบั บุคคลขน้ึ ได้
เปน็ อยา่ งดี มคี วามเอื้อเฟอื้ เก้ือกูลต่อบุคคลอื่น
๑.๕.๔.๓ ด้านคุณธรรม หมายถึง การพัฒนาทางด้านจิตใจ หรือทางด้านอารมณ์เป็น
ความพยายามที่จะฝึกอบรมจิตใจให้เข้มแข็งให้มีความมั่นคง และมีความเจริญงอกงามด้วยคุณธรรม
ทั้งหลาย เช่น มีเมตตากรุณา มีความขยันหมั่นเพียร มีความอดทน มีสมาธิ มีความสดชื่นเบิกบาน
มคี วามสงบสุข แจม่ ใส เป็นตน้ การพัฒนาทางด้านจติ ใจทบี่ างทีเ่ รียกว่า การพัฒนาอารมณ์
๑.๕.๔.๔ ด้านปัญญา หมายถึง การพัฒนาทางด้านสติปัญญา เป็นกระบวนการในการ
ฝึกอบรม ให้รู้และเข้าใจสิ่งทั้งหลายตามความเป็นจริง ผู้ที่มีความรู้เท่าทันเห็นแจ้งโลกและชีวิตตาม
สภาพของมนั สามารถทำจิตใจใหเ้ ปน็ อสิ ระ และบรสิ ุทธิห์ ลุดพ้นจากกเิ ลสเศร้าหมองและทำตนให้ปลอด
พ้นจากความทุกข์ ทำตนให้มีความสุข สามารถแก้ปญั หาตา่ ง ๆ ไดอ้ ย่างมีประสิทธภิ าพ รวมทั้งสามารถ
ทำตนใหอ้ ยู่เหนือปัญหา เหนอื ความขัดแยง้ และพัฒนาส่วนรวมให้มีความสงบ มีความเสมอภาค และมี
ความเป็นประชาธปิ ไตยอยา่ งมคี ณุ ภาพ
๑.๕.๔ พระพุทธศาสนา หมายถึง พุทธธรรมคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้าที่สำคัญใน
พระไตรปิฎก และอรรถกถาฎีกาเถรวาท ที่เป็นข้อประพฤติปฏบิ ตั ิหรอื หลักคำสอนอันเป็นแนวทางท่จี ะ
ทำให้มนุษย์มีความประพฤติดีปฏิบัติชอบต่อกันเพื่อให้สามารถอยู่ร่วมกันในสังคมได้อย่างปกติสุขหรือ
แกว้ อนั ประเสรฐิ ๓ ดวง ได้แก่ พระพุทธ พระธรรม และพระสงฆ์ ดงั น้ี
๑.๕.๔.๑ พระพุทธ หมายถึง องค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ผู้ซึ่งทรงเป็นศาสดาของ
ศาสนา คือเปน็ ผทู้ รงคน้ พบสจั ธรรมโดยการตรัสรเู้ อง และสอนให้ผู้อ่นื รูต้ าม
๑.๕.๔.๒ พระธรรม หมายถึง คำสั่งสอนของพระพุทธเจ้าซึ่งเป็นคำอธิบายเกี่ยวกับความ
เป็นจรงิ ของชีวติ มนษุ ย์ และเป็นคำส่ังสอนให้มนุษย์ปฏบิ ัติได้อยา่ งถกู ตอ้ ง
๑๔
๑.๕.๔.๓ พระสงฆ์ หมายถึง หมู่สาวกท่ศี ึกษาและปฏบิ ัตติ ามคำสอนของพระพุทธเจ้าและ
เผยแผค่ ำสอนให้แกค่ นทว่ั ไป
๑.๕.๕ แผนการจัดการเรียนรู้ หมายถึง แนวการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ โดยใช้กระบวนการ
แบบอรยิ สัจ ๔ รปู แบบการเรียนการสอน ส่ิงทต่ี ้องการใหผ้ ู้สอนวางแผนการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ ด้วย
การปลกู ฝังจิตสำนึกและเสริมสรา้ งความเป็นพลเมืองไทย ไวล้ ว่ งหนา้ อยา่ งละเอยี ด วชิ าพระพทุ ธศาสนา
กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ โรงเรียนซำ
สูงพิทยาคม สังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัด จังหวัดขอนแก่น จำนวน ๕ แผน ที่ต้องการให้ผู้สอน
จัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ เพื่อสร้างศักยภาพสูงสุดให้แก่ผู้เรียนให้เกิดความคิดสร้างสรรค์
และพัฒนาความเชื่อมั่นในตนเอง ซึ่งมีเนื้อหา กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อการสอน และวิธีวัด
ประเมินผลที่ชัดเจน สอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัดที่กำหนดไว้ในหลักสูตรแกนกลาง
การศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑
๑.๕.๖ หลักพุทธธรรม หมายถึง คำสอนของพระพุทธเจ้า บ้างหัวข้อที่พระองค์ใช้สั่งสอน
เหล่าสาวกและผู้ที่เสื่อมใสศรัทธาให้ได้ปฏิบัติตาม ซึ่งหลักธรรมนำมาในการพัฒนานักเรียนนั้นได้เลือก
มาที่สำคัญมดี งั ตอ่ ไปนี้
๑.๕.๖.๑ มรรค ๘ คือ ๑) สัมมาทิฏฐิ ความเห็นชอบ ๒) สัมมาสังกัปปะ ความดำริ
ชอบ๓) สัมมากัมมันตะ การทำงานชอบ ๔) สัมมาวาจา การเจรจาชอบ ๕) สัมมาอาชีวะ เลี้ยงชีพชอบ
๖) สัมมาวายามะ เพยี รพยายามชอบ ๗) สัมมาสติ ความระลกึ ชอบ ๘) สัมมาสมาธิ ความต้งั ใจม่ันชอบ
๑.๕.๖.๒ พรหมวิหาร ๔ คือ ๑) เมตตา ความปรารถนาให้ผู้อื่นได้รับสุข ๒) กรุณา
ความปรารถนาให้ผู้อ่ืนพ้นทุกข์ ๓) มทุ ิตาความยินดีเมอ่ื ผอู้ ่นื ไดด้ ี ๔) อเุ บกขาการรู้จกั วางเฉย
๑.๕.๖.๓ อิทธิบาท ๔ คือ ๑) ฉันทะ ความพอใจรักใคร่ในสิ่งนั้น ๒) วิริยะ ความ
พากเพียรในสิ่งนั้น ๓) จิตตะ ความเอาใจใส่ฝกั ใฝ่ในสิ่งนั้น ๔) วิมังสา ความหมั่นสอดส่องในเหตุผลของ
สิ่งนั้น
๑.๕.๖.๔ สังคหวัตถุ ๔ คือ ธรรมเครื่องยึดเหนี่ยวใจบุคคล และประสานหมู่ชนไว้ใน
สามัคคี, หลักการสงเคราะห์ ๑) ทาน คือการให้ เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ เสียสละ แบ่งปัน ช่วยเหลือกันด้วย
สิ่งของตลอดถึงให้ความรู้และแนะนำสั่งสอน ๒) ปิยวาจา หรือ เปยยวัชชะ วาจาเป็นที่รัก วาจาดูดด่ืม
นำ้ ใจ หรือวาจาซาบซึ้งใจ ๓) อัตถจรยิ า การประพฤตปิ ระโยชน์ คอื ขวนขวายช่วยเหลือกจิ การ บำเพญ็
สาธารณประโยชน์ ๔) สมานัตตตา ความมีตนเสมอ คือ ทำตนเสมอด้วยปลาย ปฏิบัติสม่ำเสมอกัน
ในชนทั้งหลาย๓๒
๓๒ ที.ปา.(ไทย) ๑๑/๑๔๐/๑๖๗; ๒๖๗/๒๔๔.
๑๕
๑.๕.๖.๕ ฆราวาสธรรม ๔ แปลว่า คุณสมบัติของผู้ประสบความสำเร็จในการดำเนิน
ชีวิตทางโลก ประกอบด้วยธรรมะ ๔ ประการ คือ ๑) สัจจะ แปลว่า จริง ตรง แท้ มีความซื่อสัตย์เป็น
พื้นฐาน เปน็ คนจรงิ ต่อความเปน็ มนุษย์ของตน ๒) ทมะ แปลว่า ฝึกตน ขม่ จิต และรักษาใจ บงั คบั ตัวเอง
เพื่อลดและละกิเลส และรักษาสัจจะ ๓) ขันติ แปลว่า อดทน ไม่ใช่เพียงแต่อดทนกับคำพูดหรือ
การกระทำของผู้อื่นที่เราไม่พอใจ แต่หมายถึงการอดทนอดกลั้นต่อการบีบบังคับของกิเสส
๔) จาคะ แปลวา่ เสียสละ บรจิ าคสงิ่ ที่ไมค่ วรมอี ยู่ในตน โดยเฉพาะกเิ ลสเพราะนั้นคือส่ิงท่ีไม่ควรมีอยู่กับ
ตน ละนิสัยไมด่ ตี า่ งๆ
๑.๕.๗ วิธีการสอนแบบอริยสัจ ๔ หมายถึง วิธีการสอนที่พระพุทธองค์ที่ทรงนำเอา
หลกั ธรรมมา ประยกุ ตใ์ นการสอนพุทธบริษัท สำหรับความหมายของอรยิ สจั นั้น อรยิ ะ หมายถงึ บุคคล
ผู้ บรรลุธรรมวิเศษ ส่วนคำว่า สัจจะ หมายถึง ความรู้เรื่องแห่งความจริง ดังนั้น อริยสัจ จึงหมายถึง
ความจริงของพระอริยะ หรือความจริงอันประเสริฐ เป็นชื่อธรรมสำคัญมาก พระพุทธศาสนา
๔ ประการ อนั ไดแ้ ก่ ทุกข์ สมทุ ยั นโิ รธ และมรรค๓๓
๑.๕.๘ นกั เรียน หมายถึง ผู้ท่กี ำลังศึกษาอยู่ในชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี ๓ โรงเรยี นซำสูงพิทยาคม
สงั กดั องคก์ ารบริหารส่วนจังหวัด จังหวัดขอนแก่น ภาคเรยี นที่ ๒ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๐ จำนวน ๓๒ คน
๑.๕.๙ โรงเรียน หมายถงึ โรงเรยี นซำสงู พทิ ยาคม สังกดั องคก์ ารบริหารส่วนจงั หวัด จังหวัด
ขอนแก่น ตั้งอยู่ที่ ๓๓๓ หมู่ที่ ๑ ถนนกระนวน-ซำสูง ตำบลกระนวน อำเภอซำสูง จังหวัดขอนแก่น
รหสั ไปรษณีย์ ๔๐๑๗๐
๑.๖ สมมตฐิ านการวจิ ยั
๑.๔.๑ ประสิทธิภาพแผนการจัดการเรียนรู้ โดยใช้กระบวนการแบบอริยสัจ ๔ เรื่อง
จิตสำนึกสาธารณะ ความเปน็ พลเมืองตามหลักพุทธธรรมของนักเรียนชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี ๓ โรงเรียนซำ
สงู พิทยาคม ทีม่ ีประสิทธภิ าพตามเกณฑ์ ๘๐/๘๐
๑.๔.๒ จิตสำนึกสาธารณะตามหลักพุทธธรรม โดยใช้กระบวนการแบบอริยสัจ ๔ ของ
นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ โรงเรียนซำสูงพิทยาคม สังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัด จังหวัด
ขอนแก่น อยใู่ นระดับมาก
๑.๔.๓ ความเปน็ พลเมอื ง ตามหลกั พุทธธรรม ของนกั เรยี นชน้ั มธั ยมศึกษาปที ่ี ๓ โรงเรยี น
ซำสูงพทิ ยาคม อยู่ในระดบั มาก
๓๓ ราชบัณฑติ ยสถาน. พจนานุกรมฉบับราชบณั ฑติ ยสถาน พ.ศ.๒๕๕๔ เฉลมิ พระเกียรติ พระบาท สมเดจ็
พระเจ้าอยู่หัวเนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๗ รอบ ๕ ธันวาคม ๒๕๕๔. (กรุงเทพฯ:
ราชบัณฑติ ยสถาน, (๒๕๕๖).
๑๖
๑.๔.๔ ความพึงพอใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ โรงเรียนซำสูงพิทยาคม ที่มีต่อ
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ โดยใช้กระบวนการแบบอริยสัจ ๔ เรื่องจิตสำนึกสาธารณะ ความเป็น
พลเมืองตามหลักพทุ ธธรรม อยใู่ นระดบั มาก
๑.๗ กรอบแนวคดิ การวจิ ัย
จากการทบทวนวรรณกรรม ทำให้ผู้วิจัยสามารถสร้างกรอบแนวคิดในการวิจัยให้มีความ
เหมาะสมและสอดคล้องกับบริบทในการศึกษาวิจัยได้มากยิ่งขึ้น โดยการศึกษาวิจัย ครั้งนี้
มรี ายละเอียด ดงั ภาพท่ี ๑.๑
ตวั แปรอิสระ ตัวแปรตาม
การพฒั นาจติ สำนกึ ความเป็นพลเมอื ง ๑. จติ สำนกึ สาธารณะของนักเรยี น
ของนกั เรยี นในจังหวดั ขอนแก่น ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ ๓
ตามหลกั พุทธธรรม ประกอบดว้ ย
๑. แผนการจดั การเรียนรู้ ได้แก่ ๒. ความเปน็ พลเมืองดขี องนักเรยี น
ชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี ๓
๑.๑ มรรค ๘
๑.๒ พรหมวหิ าร ๔ ๓. ผลสัมฤทธทิ์ างการเรียนของ
๑.๓ อิทธิบาท ๔ นกั เรียนช้นั มัธยมศกึ ษาปที ี่ ๓
๑.๔ สังคหวตั ถุ ๔
๑.๕ ฆราวาสธรรม ๔ ๔. ความพงึ พอใจของนักเรียนช้นั
๒. วธิ ีสอนแบบอรยิ สัจ ๔ มัธยมศกึ ษาปีท่ี ๓
๒.๑ ขั้นกำหนดปัญหา (ขน้ั ทุกข)์
๒.๒ ขั้นตงั้ สมมตฐิ าน (ขั้นสมุทยั ) ภาพท่ี ๑.๑ กรอบแนวความคิดในการวจิ ัย
๒.๓ ขั้นการทดลองและเก็บข้อมูล (ช้ันนโิ รธ)
๒.๔ ขน้ั วิเคราะหข์ อ้ มลู และสรปุ ผล (ข้ันมรรค)
๓. จิตสำนกึ สาธารณะ ไดแ้ ก่
๓.๑ ด้านความรบั ผิดชอบ
๓.๒ ด้านความเสยี สละ
๓.๓ ด้านความสามัคคี
๓.๔ ด้านการอนรุ กั ษ์ส่ิงแวดลอ้ ม
๔. ความเป็นพลเมืองดี ตามหลกั พทุ ธธรรม
ไดแ้ ก่
๔.๑ ดา้ นกาย
๔.๒ ด้านทกั ษะทางสงั คม
๑๗
๑.๘ ประโยชนท์ ่คี าดวา่ จะไดร้ บั
๑.๗.๑ ได้รูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในการสร้างจิตสำนึกความเป็นพลเมืองของ
นกั เรยี น ดว้ ยการพัฒนาจิตสำนึกความเปน็ พลเมืองไทย ตามหลักพทุ ธธรรมทมี่ ีประสทิ ธิภาพ
๑.๗.๒ นักเรียน ได้รับการปลูกฝังจิตสำนึกและเสริมสร้างความเป็นพลเมือง พึงประพฤติ
ปฏิบัติตามหลักพุทธธรรม เพื่อการเป็นพลเมืองที่ดีมีคุณภาพ ทำตนเป็นประโยชน์ทั้งต่อตนเอง ต่อผู้อ่ืน
และตอ่ สังคม
๑.๗.๓ นักเรียน มีจิตสำนึกด้านความเป็นประชาธิปไตย การเรียนรู้ ความรับผิดชอบต่อ
สังคม และปฏบิ ตั ติ นตามแบบหลกั พทุ ธธรรม
๑.๗.๔ ครูผู้สอน สามารถนำผลการวิจัยไปใช้เป็นแนวทางการพัฒนาจิตสำนึกความเป็น
พลเมือง สำหรับนักเรยี น นักศึกษา และเยาวชนในสถานศึกษา
๑.๗.๕ ครูผู้สอน สามารถนำข้อมูลสารสนเทศที่ได้จากการวิจัยไปประยุกต์ใช้ เป็นแนวทาง
ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้และพัฒนาผู้เรียน ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ สามารถนำผลการวิจัยไปสู่
การพัฒนารูปแบบการเสรมิ สร้างจติ สำนึกความเปน็ พลเมอื งประชาธิปไตยในการจัดการเรียนการสอนใน
สถาบันการศกึ ษา
๑.๗.๖ ผู้บริหาร สามารถนำข้อมูลที่ได้จากการวิจัยไปประยุกต์ใช้ในการบริหารจัดการด้าน
วิชาการ ด้วยกระบวนการวิจัยในชั้นเรียน โดยใช้แผนการจัดการเรียนรู้แบบอริยสัจ ๔ เพื่อเป็นแนวทาง
ในการพัฒนาครู พัฒนากระบวนการเรียนรู้ และพัฒนาผู้เรียน ในรายวิชาอื่น ๆ และสาขาวิชาอื่น ๆ
ต่อไป
บทที่ ๒
แนวคดิ ทฤษฎแี ละงานวิจยั ท่เี กย่ี วข้อง
การศึกษาวจิ ัยเรื่อง การพัฒนาจิตสำนึกความเป็นพลเมืองของนกั เรียนในจังหวัดขอนแก่น
ตามหลักพุทธธรรม ผ้วู ิจยั ได้ศึกษาค้นควา้ จากเอกสารและงานวิจัยทีเ่ กี่ยวขอ้ ง ดงั นี้
๒.๑ การพัฒนาจติ สำนกึ ความเป็นพลเมอื ง
๒.๒ จิตสำนกึ สาธารณะ
๒.๓ แนวคดิ เกี่ยวกบั ความเปน็ พลเมอื งดีทางพระพุทธศาสนา
๒.๔ แผนการจัดการเรียนรู้
๒.๕ วธิ สี อนแบบอริยสัจ ๔
๒.๖ การวิจยั เชิงทดลอง (Experimental Research): การวจิ ยั เชงิ ทดลองเบ้ืองต้น
(Pre-Experimental Design)
๒.๗ การทดสอบประสิทธภิ าพ
๒.๘ ดชั นีประสิทธผิ ล (Effectiveness Index: E.I.)
๒.๙ แบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี น
๒.๑๐ ทฤษฎีความพงึ พอใจ
๒.๑๑ บรบิ ทของโรงเรยี นซำสงู พิทยาคม
๒.๑๒ งานวจิ ยั ท่เี ก่ยี วขอ้ ง
๒.๑ การพฒั นาจิตสำนกึ ความเป็นพลเมอื ง
ในประเทศไทย พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.๒๕๔๒ ได้ให้ความหมายของคำว่า
“พลเมือง” ไว้ว่า “ประชาชน ราษฎร ชาวประเทศ”๑ และมีนักวิชาการได้ให้ความหมายของพลเมืองดี
ไว้ในหลากหลายมุมมองด้วยกัน ดังเช่น ปริญญา เทวานฤมิตกุล๒ ได้ให้ความหมายของความเป็น
พลเมืองดีไวว้ ่า ตอ้ งมีคุณลักษณะสำคัญ ๓ ประการ คือ (๑) เป็นผทู้ ่ีเคารพผู้อื่น เคารพสิทธิผู้อ่นื เคารพ
๑ ราชบัณฑิตยสถาน. พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒. (กรุงเทพมหานคร: นานมีบุ๊คส์
พบั ลิเคชัน่ , ๒๕๔๖).
๒ ปริญญา เทวานฤมิตกุล. การศึกษาเพื่อสร้างพลเมือง (Civic Education). (กรุงเทพมหานคร: อักษร
สัมพันธ์, ๒๕๕๕), หนา้ ๓๐.
๑๙
ความแตกต่าง เคารพหลักความเสมอภาค (๒) เคารพกติกา (๓) มีส่วนร่วมรับผิดชอบสังคมและ
พงึ่ ตนเอง ส่วนวชิ ยั ตันศิริ๓ ได้กล่าวไวว้ ่า ความเปน็ พลเมอื งดใี นความหมายเก่า คือการเป็นผูร้ ับทค่ี อยรับ
ทั้งผลบวกและผลลบจากนโนบายของรัฐบาล แต่ในความหมายใหม่พลเมืองดี หมายถึง การมีส่วนเป็น
ผู้กระทำท่ีมีแนวคิดกว้างไกลและมีจิตวิญญาณสาธารณะ สำหรับ ดุจเดือน พันธุมนาวิน๔ ได้กล่าวถึง
พฤติกรรมพลเมืองดีไว้ว่า เป็นการกระทำที่ไม่เบียดเบียนตนเอง ไม่เบียดเบียนผู้อ่ืน ซึ่งผลของการ
กระทำน้ันเกดิ ประโยชน์ตอ่ ส่วนรวม
จากความหมายของความเป็นพลเมืองดีที่กล่าวมาขา้ งต้น แสดงให้เหน็ ว่า ความเป็นพลเมืองดี
ของประเทศมีความหมายที่มขี อบเขตกว้างขวางมากโดยมุง่ เน้นไปท่ีการเป็นสมาชิกทีด่ ีของสังคม มีเจต
คตแิ ละพฤติกรรมท่ีก่อใหเ้ กดิ ผลดตี ่อสังคม ไม่เบยี ดเบียนและไมท่ ำให้ผู้อืน่ หรือสังคมไดร้ ับผลกระทบในทาง
ลบ “ความเป็นพลเมืองดีตามระบอบประชาธิปไตย” ซึ่งหมายถึงบุคคลผู้ที่มีคุณลักษณะสำคัญคือ (๑) เป็น
ผู้ท่ีมีความรู้ ความเข้าใจในการปกครองระบอบประชาธิปไตย (๒) เป็นผู้ที่สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้
ทำงานรว่ มกับผู้อื่นได้ มีความเคารพผู้อื่น เคารพสิทธิผูอ้ ื่น เคารพหลักความเสมอภาค และเคารพความ
แตกต่างทางความคิดและวัฒนธรรม (๓) เป็นผทู้ ่ีพ่ึงตนเองได้ โดยไมต่ ้องพ่ึงพาหรอื เบียดเบียนผู้อื่น (๔)
เป็นผทู้ ่ีมีจติ สำนึกสาธารณะ มุ่งที่จะทำประโยชนเ์ พ่ือสว่ นรวมและธำรงรักษาสาธารณะสมบตั ิ (๕) เปน็ ผู้
ท่ีเคารพกฎกติกาของสังคม และเคารพกฎหมาย (๖) เป็นผู้ทม่ี คี วามเตม็ ใจทจี่ ะแกป้ ัญหาความขดั แยง้ ใน
ทุกกรณีด้วยท่าทีสันติโดยไม่ใช้ความรุนแรง (๗) เป็นผู้ท่ีมีความตระหนักและมีความกระตือรือร้นท่ีจะ
เข้าไปมีส่วนร่วมทางการเมืองท้ังระดับขาติและระดับทอ้ งถิ่นด้วยความสมัครใจ “ความเปน็ พลเมืองดี”
ถือวา่ เป็นความจำเป็นเร่งด่วนที่สถาบนั ทางสังคมทุกภาคส่วนควรร่วมมอื กันพัฒนาความเป็นพลเมืองดี
ให้กบั เด็กและเยาวชน ซ่งึ จากการประมวลแนวคดิ ทฤษฎีและงานวิจัยทเี่ ก่ียวข้อง พบว่า ครอบครัวเป็น
สถาบันทางสังคมที่มีบทบาทสำคัญในการทำหน้าที่อบรมบ่มนิสัย ปลูกฝังความเช่ือ เจตคติ ค่านิยม
คุณธรรม จริยธรรม และศีลธรรมอันดีงามให้กับเด็ก และเยาวชน รวมไปถึงเจตคติและพฤติกรรม
ประชาธปิ ไตยด้วย๕
ผลการสำรวจของสถาบันพระปกเกล้าและมหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิต เร่ืองความเข้าใจต่อ
ความเป็นพลเมอื งในมหาวทิ ยาลยั ๔ แหง่ อนั ได้แก่ มหาวิทยาลยั ธุรกิจบณั ฑติ มหาวิทยาลัยรามคำแหง
มหาวิทยาลยั ราชภัฏสวนดุสติ และมหาวิทยาลัย ศรีปทมุ เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๕๔ ท่ีผ่านมา พบว่า นักศึกษา
คณาจารย์ พนักงาน และผู้ประกอบการ ร้านค้าในมหาวิทยาลัย มีการรับรู้และเข้าใจคำวา่ “พลเมือง”
๓ วชิ ยั ตันศริ ิ. วฒั นธรรม. (กรุงเทพฯ, สถาบนั นโยบายศึกษา, ๒๕๕๑).
๔ ดุจเดือน พันธุมนาวิน. ซิมโปเซียมงานวิจัยพฤติกรรมศาสตร์ด้านระบบพฤติกรรมไทย. สำนัก
คณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ ๒๐-๒๑ สิงหาคม ๒๕๔๖ ณ โรงแรมมิราเคิลแกรนด์ คอนเวนช่ันกรุงเทพมหานคร.
(กรุงเทพมหานคร: การวจิ ัย และการพัฒนาระบบพฤติกรรมไทย สำนักงานคณะกรรมการวจิ ัยแหง่ ชาติ, ๒๕๕๑).
๕ เร่ืองเดยี วกัน.
๒๐
ไมแ่ ตกตา่ งจากคำวา่ “ประชาชน” โดยเม่อื พดู ถงึ พลเมอื ง คำตอบสว่ นใหญ่มุง่ ไปทเี่ รือ่ งของสถานภาพว่า
เป็นประชาชน พลเมือง หรือคนทั่วไป มากกวา่ มอง พลเมือง ในเร่ืองสทิ ธิหน้าท่คี วามรับผิดชอบ อันเล็ง
ใหเ้ ห็นถงึ การขาดความร้คู วามเข้าใจในมติ ิเชงิ ของการเป็นพลเมอื งนน่ั เอง๖
การที่คนในสังคมมีความคลุมเครือในตำแหน่งแห่งท่ีของตนในฐานะ “คนในรัฐ”ส่งผลให้ขาด
“สำนึกของความเป็นพลเมือง” ขาดความตระหนักว่า ตนเองเป็นกำลังสำคัญในการมีส่วนร่วมพัฒนา
ประเทศชาติ ตัวชี้วัดง่าย ๆ ที่เห็นชัดเจนคือ คนส่วนใหญ่ไม่สนใจส่ิงท่ีเป็นของสาธารณะเท่ากับของ
ส่วนตัว ผู้ประกอบการทำบัญชีสองบัญชีเพราะไม่ต้องการเสียภาษีเต็มจำนวน แม้รู้ว่าเงินภาษีน้ันจะ
นำไปพัฒนาประเทศ ประชาชนเรียกร้องสิทธิของตนอย่างกระตือรอื ร้น อยากไดร้ ับสวัสดิการจากรัฐทุก
ๆ เรื่อง แต่หลีกเล่ียงหน้าที่ ความรับผิดชอบ และเพิกเฉยต่อการเขาไปมีส่วนร่วมจัดการเรอื่ งท่ีจะเกิด
ประโยชน์ต่อภาพรวม เปน็ ตน้
Hett ๗ ได้ให้ความหมายของจิตสำนึกความเป็นพลโลกไว้ว่า เป็นทรรศนะเกี่ยวกับโลก ซ่ึง
บุคคลแต่ละคนสามารถที่จะคิดและเข้าใจตนเองได้ว่า ตนมีฐานะเป็นสมาชิกของครอบครัวมนุษย์
เดียวกันมากกว่าการเป็นสมาชิกของชาติใดชาติหนึ่งเพียงลำพัง ที่ต้องมีการคิดถึงสัมพันธ์กับชุมชนโลก
และมีความรับผิดชอบในฐานะสมาชิกของชมุ ชนโลกด้วย
Glick ๘ ให้ความหมายของจิตสำนกึ ความเป็นพลโลกว่า เปน็ ระดบั นามธรรมในระดับสงู ท่ีใช้
ในความหมายที่หมายถึง พ้ืนความรู้แบบท่ีเกี่ยวพันกันเป็นพลวัตของบุคคลแต่ละคน โครงสร้างของ
คา่ นิยมและบุคลิกภาพซึ่งเปน็ ปัจจัยในการสร้างลักษณะการตดิ ต่อสัมพนั ธ์ ต้ังแต่ในระดับเฉพาะรวมถึง
ระดับท่ีซับซ้อนข้ึน อันก่อให้เกิดผลต่อการใช้ชีวิต การมีทัศนคติ ความรู้สึก และแรงจูงใจในลักษณะ
ของผลสะท้อนของทรรศนะความจงรักภักดีการปฏิสัมพันธ์ในระดับท้องถ่ิน ระดับภูมิภาค และระดับ
นานาชาติอย่างกว้างขวางในฐานะมนุษยชาติเดียวกัน เพ่ือจะแสวงหาความมั่นคง ความเป็นสมาชิก
และความรูส้ กึ ถงึ ตนเองในฐานะความสัมพันธร์ ะดับโลก
จิตสำนึกความเป็นพลโลก จึงหมายถึง สภาวะท่ีบุคคลมีความรู้ความเข้าใจอย่างถูกต้อง
เก่ียวกับความเป็นพลโลก มีความคิดในทางบวกต่อความเป็นพลโลกและปฏิบัติตนอย่างสอดคล้องกับ
๖ ณัฏฐพัชร์ ทัศนรุ่งเรือง, เปิดผลสำรวจคนไทยแยกไม่ออก ระหว่างคำว่า “ประชาชน-พลเมือง,
[ออนไลน์]. แหล่งท่ีมา http://www.thaireform.in.th/news-highlight/ item/๕๖๖๔-๒๐๑๑-๐๔-๑๒-๐๘-๓๓-
๕๖.html?pop=๑&tmpl=component&print=๑.
๗ Hett, E.Jane. The Development of an Instrument of Measure GlobalMindedness. UPI
Dissertation. University of San Diego, 1991.
๘ Glick, ๑๙๗๕ อา้ งใน นิภา สุขพิทักษ์. จิตสำนึกความเป็นพลโลกของครูกลุ่มสร้างเสริมประสบการณชีวิต
ชั้นประถมศึกษาปีท่ี ๖ ในโรงเรียนประถมศึกษาสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการประถมศึกษา แห่งชาติ เขต
การศึกษา ๙ ตามการรบั รู้ของตนเอง. ภาควชิ าประถมศกึ ษาบณั ฑิต วิทยาลยั จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ๒๕๓๖.
๒๑
หลักการและลักษณะของความเป็นพลโลก ซึ่งความเป็นพลโลกนั้นหมายถึง การเป็นพลเมืองดีของ
สงั คมโลก นอกเหนือจากการเปน็ พลเมอื งดีของประเทศท่ีตนอาศยั อยู่
สำหรับความสำคัญของจิตสำนึกความเป็นพลโลกนั้น เฮทท์๙ ไดก้ ลา่ วว่าความหวังท่ียง่ิ ใหญ่
ที่สุดสำหรับโลกในปัจจุบันก็คือ ความสามารถท่ีจะให้การศึกษาเรื่องจิตสำนึกความเป็นพลโลกให้แก่
พลเมือง ให้เขามีทรรศนะวา่ ตนเป็นส่วนหน่ึงของระบบโลกที่กวา้ งใหญ่มีอิสระจากข้อผูกมัดของความ
รักชาติอย่างผิด ๆ สามารถประสานสัมพันธ์และแก้ปัญหาท่ีเกิดแก่โลกได้ เพราะโลกเจริญมาถึงยุค
ข้อมูลขา่ วสารซึง่ มบี ทบาทตอ่ ชีวิตของมนุษย์
การศึกษาจะช่วยให้ผู้เรียนรู้จักการมองโลกและมีทักษะในการแก้ไขปัญหาท่ีเกิดขึ้นและที่
สำคัญคือมีสำนึกว่าตนเป็นส่วนหนึ่งของสังคมโลกที่จะช่วยเปล่ียนแปลงให้โลกมีพัฒนาการท่ีดีขึ้น
ดังนั้นภาวะของนักการศึกษาก็คือการเตรียมนักเรียนสำหรับโลกในศตวรรษท่ี ๒๑ ให้มีจิตสำนึกของ
ความเป็นพลโลก และวิธีการปลูกฝังจิตสำนึกความเป็นพลโลกนั้นทำได้หลายวิธี การจัดการศึกษา
สกลทรรศน์ (Global Education) ก็เป็นแนวทางหนึ่งโดยการสอดแทรกมโนมติและหลักการทาง
สกลทรรศน์ศึกษาไว้ในหลกั สตู ร
๒.๒ จติ สำนกึ สาธารณะ
๒.๒.๑ ความหมายของจิตสำนกึ สาธารณะ
มีนักการศึกษาได้ให้ความหมายของจิตสำนึกสาธารณะ (Public Consciousness) ไว้
หลากหลายทั้งแตกต่างกัน และใกล้เคียงกันการเห็นแก่ประโยชน์ส่วนรวม เช่น ความสำนึกทางสังคม
จิตสำนึกตอ่ ส่วนรวมหรอื จิตสำนึกต่อสาธารณสมบัติ นอกจากนี้๑๐ ไดใ้ หค้ วามหมายเพิม่ เตมิ ว่า การรูจ้ ัก
เอาใจใส่เปน็ ธุระและเข้าร่วมในเรื่องของสว่ นรวมท่ีเป็นประโยชน์ต่อประเทศชาติ มีความสำนกึ และยึด
ม่ันในระบบคุณธรรมและจริยธรรมที่ดีงาม ละอายต่อส่ิงผิด เน้นความเรียบร้อย ประหยัดและมีความ
สมดุลระหว่างมนุษยก์ ับธรรมชาติ ซ่ึง กนิษฐา นทิ ัศน์พัฒนาและคณะ๑๑ ได้ใหค้ วามหมายของจิตสำนึก
สาธารณะว่า เป็นคำเดียวกับคำว่า จิตสำนึกทางสังคม หมายถึง การตระหนักรู้และคำนึงถึงส่วนรวม
๙ Hett, E.Jane. The Development of an Instrument of Measure Global Mindedness.UPI
Dissertation. University of San Diego, 1991.
๑๐ สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ. วาระการวิจัยแห่งชาติในภาวะวิกฤตเพื่อฟื้นฟูชาติ.
(กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ กระทรวงวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและ ส่ิงแวดล้อม,๒๕๔๒),
หน้า ๑๔.
๑๑ กนษิ ฐา นทิ ัศนพ์ ัฒนาและคณะ. จิตสำนึกทางสงั คมของนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษามหาวิทยาลยั มหดิ ล
(กรุงเทพฯ: มหาวทิ ยาลยั มหิดล, ๒๕๔๑), หน้า ๘.
๒๒
ร่วมกัน ซงึ่ สอดคล้องกับ ศักดช์ิ ัย นริ ญั ทวีทีก่ ล่าววา่ ๑๒ การมจี ติ สำนึกสาธารณะ คือการมจี ิตใจท่ีคำนงึ ถึง
ประโยชน์ของสว่ นรวม คำนึงถงึ ความสำคัญของส่ิงอันเปน็ ของทีต่ ้องใช้หรอื มผี ลกระทบร่วมกนั ในชมุ ชน
เช่น ป่าไม้สวนสาธารณะ ความสงบสุขของชุมชนและสาธารณะสมบัติต่าง ๆ เป็นต้น ส่วน เกรียงศักดิ์
เจริญวงศ์ศักด์ิ๑๓ ได้ให้ความหมายของจิตสาธารณะว่า หมายถึง ความคิดที่ไม่เห็นแก่ตัวมีความ
ปรารถนาที่จะชว่ ยเหลือผู้อื่นหรอื สังคมโดยไม่หวังผลตอบแทน พยายามทจี่ ะช่วยเหลืออย่างจริงจังและ
มองโลกในแง่ดีบนพ้ืนฐานของความเป็นจริงในขณะที่ สพุ จน์ ทรายแกว้ ใช้คำวา่ ๑๔ จติ สำนึกตอ่ ส่วนรวม
หมายความว่า คุณลกั ษณะทางจิตใจของบคุ คลที่ให้ความสำคญั ต่อปฏิสัมพนั ธท์ างสงั คมและสว่ นรวม ซ่ึง
แสดงออกมาจากความคิด การสนทนาหรือการกระทำ ดังที่ บญุ สม หรรษาศริ พิ จน์ ใช้คำว่า๑๕ จติ สำนึก
ที่ดีในสังคม โดยการปฏิบัติตนให้มีจิตสำนึกท่ีดีต่อสังคมและชุมชนของตน เช่น การมีส่วนร่วมใน
กิจกรรมชุมชน การช่วยดูแลชุมชน การให้ความร่วมมือท้ังกำลังกายและกำลังทรัพย์ เพื่อรักษาความ
สามคั คแี ละให้ความเป็นมิตรและมนี ้ำใจตอ่ กัน และลัดดาวัลย์ เกษมเนตร และคณะ๑๖ ได้ให้ความหมาย
ของจติ สาธารณะไว้ว่า หมายถึง การรูจ้ ักเอาใจใส่เปน็ ธรุ ะและเข้าร่วมในเรอื่ งของส่วนรวมที่ใชป้ ระโยชน์
ร่วมกันของกลุ่ม โดยพิจารณาจากความรู้ความเข้าใจหรือพฤติกรรมท่ีแสดงออก ดังท่ี พระไพศาล วิสาโล
ได้ใช้คำว่า๑๗ จิตอาสา โดยได้ให้นิยามไว้ว่า จิตท่ีพร้อมจะสละเวลา แรงกาย และสติปัญญา เพื่อ
สาธารณะประโยชน์ เป็นจิตท่ีพร้อมจะช่วยเหลือผู้ที่มีปัญหาหรือมีความทุกข์เกิดข้ึน และเป็นจิตท่ีมี
ความสุขเมือ่ ได้ทำความดี
สรุปได้ว่า จิตสำนึกสาธารณะ คือ จิตสำนึกท่ียึดม่ันในคุณธรรมจริยธรรมอันดี แสดงออก
ทางพฤติกรรมในเร่ืองส่วนรวม ต่อทุกสิ่งรอบตัว ไม่ว่าจะเป็นคน สัตว์ วัตถุ ธรรมชาติ เพ่ือการอยู่ร่วมกัน
อย่างสันติสุข ปราศจากการเอารดั เอาเปรยี บ เหน็ แกป่ ระโยชน์สว่ นรวมมากกว่าประโยชน์สว่ นตน
๑๒ ศกั ด์ชิ ัย นิรัญทว.ี บทบาทของมหาวิทยาลัยกับการศกึ ษาเพอื่ ความเปน็ ประชาสังคม. (วารสาร สออ.ย
ประเทศไท/ Asaihl-Thailand Journal. ๑(๑): ๕๗. (พฤศจกิ ายน), ๒๕๔๑), หนา้ ๕๗.
๑๓ เกรียงศักดิ์ เจรญิ วงศศ์ กั ด์ิ (จอมปราชญน์ ักการศกึ ษา. กรงุ เทพฯ: ซคั เซสมเี ดยี , ๒๕๔๓), หนา้ ๑๗.
๑๔ สุพจน์ ทรายแก้ว จิตสำนึกสาธารณะ การก่อรูปและกระบวนการเสรมิ สร้าง. วารสารเพชรบุรีวทิ ยาลง
กรณ,์ ๔(๑): ๔๖-๕๕, (๒๕๔๖), หนา้ ๔๙.
๑๕ บุญสม หรรษาศิริพจน์จิตสำนึก การสร้างจิตสำนึก. วารสารวิชาการสภาอาจารย์.๔(๑): ๗๑-๗๓.
(มกราคม ๒๕๔๒), หน้า ๗๑-๗๓.
๑๖ ลัดดาวัลย์ เกษมเนตร และคณะ รูปแบบการพัฒนานักเรียนระดับประถมศึกษาให้มีจิตสาธารณะ:
การศึกษาระยะยาว. ในเอกสารประกอบการประชุมวิชาการเน่ือง ในวันสถาปนา สถาบันวิจัยพฤติกรรมศาสตร์
ครบรอบ ๔๙ ปี. หนา้ ๑-๓. (กรุงเทพฯ: มหาวทิ ยาลัยศรีนครนิ ทรวิโรฒ, ๒๕๔๗). หน้า ๒-๓.
๑๗ พระไพศาล วิสาโล. เมื่อดอกไม้บานสะพรั่งทั้งแผ่นดิน. (กรุงเทพฯ: สำนักกองทุนสนับสนุนการ
สร้างเสริมสุขภาพ. เครอื ขา่ ยพทุ ธิกา, ๒๕๔๘), หน้า ๒๔.
๒๓
๒.๒.๒ ความสำคญั ของการมจี ิตสำนกึ สาธารณะ
จิตสำนึกสาธารณะ เป็นความรบั ผดิ ชอบที่เกิดข้นึ จากภายในจติ ใจ ดังนัน้ จติ สำนกึ ในความ
รบั ผดิ ชอบต่อตนเอง จงึ เป็นพ้ืนฐานของความรับผิดชอบต่อสงั คม เป็นสิ่งหนง่ึ ท่ีมคี วามสำคญั ในการปลูก
จิตสำนึก ให้คนรู้จักเสียสละ ร่วมแรงร่วมใจ มีความร่วมมือในการทำประโยชน์เพ่ือส่วนรวม ช่วยลด
ปัญหาท่ีเกิดข้ึนในสังคม ช่วยกันพัฒนาคุณภาพชีวิตเพื่อเป็นหลักการในการดำเนินชีวิตช่วยแก้ปัญหา
และสร้างสรรค์ให้เกิดประโยชน์สุขแก่สังคม ดังท่ี ไพบูลย์ วัฒนศิริธรรม และสังคม สัญจร๑๘ ได้ให้
ความสำคัญของการมีจิตสำนึกสาธารณะไวว้ ่า การที่คนมาอยูร่ วมกันเป็นสังคมย่อมต้องมีความสัมพันธ์
ในรูปแบบการพึ่งพากันและมีบทบาทหน้าท่ีแตกต่างกันไป ถ้าคนในสังคมขาดจิตสำนึกสาธารณะจะมี
ผลกระทบต่อบคุ คล ครอบครวั องคก์ รชุมชนระดบั ประเทศและระดบั โลก ดงั น้ี
๑. ผลกระทบตอ่ บุคคล ใหเ้ กิดปญั หา คือ
๑.๑ สรา้ งความเดือดร้อนให้กับตนเอง
๑.๒ สร้างความเดือดรอ้ นใหก้ ับคนอ่นื
๒. ผลกระทบระดบั ครอบครวั ทำใหเ้ กิดปัญหา คือ
๒.๑ ความสามัคคีในครอบครวั ลดนอ้ ยลง
๒.๒ การแกง่ แยง่ ทะเลาะเบาะแวง้ ภายในครอบครวั
๓. ผลกระทบระดับองค์กร ทำใหเ้ กดิ ปัญหา คือ
๓.๑ การแบง่ พรรคแบง่ พวกภายในองค์กร
๓.๒ ความเหน็ แกต่ วั แก่งแย่งชิงดชี ิงเด่น
๓.๓ การเบียดเบียนสมบตั ขิ ององคก์ รเป็นสมบตั ิส่วนตน
๓.๔ องคก์ รไม่ก้าวหนา้ ประสิทธิภาพและคณุ ภาพของงานลดลง
๔. ผลกระทบในระดบั ชุมชน ทำใหเ้ กดิ ปญั หา คือ
๔.๑ ชุมชนอ่อนแอขาดการพัฒนาเพราะต่างคนต่างอยู่ สภาพชุมชนมีสภาพเช่นไรก็
ยงั คงเปน็ เชน่ น้ัน ไมเ่ กิดการพัฒนาและยง่ิ นานไปก็มแี ตเ่ ส่ือมทรดุ ลง
๔.๒ อาชญากรรมในชมุ ชนอย่ใู นระดบั สูง
๔.๓ ขาดศูนย์รวมจติ ใจ ขาดผู้นำทนี่ ำไปส่กู ารแก้ปัญหา เพราะคนในชมุ ชนมองปญั หา
ของตัวเองเป็นเร่อื งใหญ่ ขาดคนอาสานำพาการพฒั นา เพราะกลวั เสยี ทรัพย์ กลัวเสียเวลาหรือกลวั เป็น
ท่คี รหาจากบุคคลอื่น
๑๘ ไพบลู ย์ วัฒนศิริธรรม และสังคม สญั จร. สำนึกไทยที่พึงปรารถนา.(กรุงเทพฯ: เดือนตลุ , ๒๕๔๓), หน้า
๒๒-๒๙.
๒๔
๕. ผลกระทบในระดับชาติถา้ บุคคลในชาตขิ าดจิตสาธารณะจะทำให้เกดิ
๕.๑ วกิ ฤตการณภ์ ายในประเทศบ่อยครั้งและแกป้ ญั หาไมไ่ ด้เกดิ การเบียดเบียนทำลาย
ทรพั ยากรและสมบตั ิทเี่ ป็นของส่วนรวม
๕.๒ ประเทศชาติอยู่ในสภาพล้าหลัง เน่ืองจากขาดพลังของคนในสังคมเมื่อผู้นำ
ประเทศ นำมาตรการใดออกมาใชก้ ็จะไมไ่ ด้ผล เพราะไมไ่ ดร้ ับความรว่ มมือจากประชาชน
๕.๓ เกิดการแบ่งพรรคแบง่ พวก เกิดการแก่งแย่งแขง่ ขันเห็นแก่ประโยชน์กลุ่มของตน
และ พวกพ้องเกดิ การทุจรติ คอรัปช่นั
๖. ผลกระทบในระดับโลก ถ้าบุคคลขาดจิตสาธารณะจะทำให้เกิดการเอารัดเอาเปรียบ
ระหวา่ งประเทศ ทำให้เกิดปญั หาในระดบั ตา่ ง ๆ ดังนี้
๖.๑ เกิดการสะสมอาวุธกันระหว่างประเทศเพราะขาดความไว้วางใจซ่ึงกันและกัน
กลัว ประเทศอื่นจะโจมตจี ึงต้องมีอาวธุ ที่มีอานุภาพในการทำลายสงู ไว้ในครอบครอง เพ่ือข่มขูป่ ระเทศ
อ่ืนและเม่ือมีปัญหาเกิดข้ึน ก็มักมีแนวโน้มในการใช้ความรุนแรงของแสนยานุภาพทางการสงคราม
ตดั สนิ ปัญหา
๖.๒ เกิดการกล่ันแกล้งแก่งแย่งหรือครอบงำทางการค้าระหว่างประเทศ พยายามทุก
วิถีทาง เพื่อให้เกิดการได้เปรียบทางการค้า ทำให้ประเทศด้อยกว่าขาดโอกาสในการพัฒนาประเทศ
ของตน
๖.๓ เกดิ การรังเกยี จเหยียดหยามคนตา่ งเช้ือชาติ ต่างเผ่าพันธ์หุ รอื ต่างท้องถิ่น มองชน
ชาติอนื่ เผา่ พันธ์ุอ่ืนว่า มคี วามเจริญหรือมีศักด์ิศรดี อ้ ยกว่าเช้ือชาตแิ ละเผา่ พันธขุ์ องตนเอง ดถู ูกหรือเป็น
ปฏิปักษต์ ่อชาติอน่ื
ดังท่ี วราพร ศรีสุพรรณ ได้กล่าวถึง๑๙ ความสำคัญของจิตสำนึกต่อทรัพยากร ธรรมชาติและ
ส่ิงแวดล้อมไว้ว่า มนุษย์ทุกคนเป็นผู้ใช้ทรัพยากรร่วมกัน เป็นเจ้าของร่วมกัน จะต้องมองเห็นสิทธิของ
ผูอ้ ่ืนท่ีจะเกดิ มาในยคุ สมัยต่อไป ที่จะดำรงชีวติ อยโู่ ดยพงึ่ พาทรพั ยากรท่ีมีในวันนี้ ทางสิ่งแวดล้อมยังต้อง
ประกอบด้วย ระบบการคิดหรือค่านิยมที่จะสร้างความเป็นธรรมในการจัดสรรทรัพยากร ด้วยระบบ
คณุ คา่ ทางสงั คมและคุณคา่ ของการดำรงชีวติ อยู่ ซึ่งระบบน้เี รยี กว่า คุณธรรมทางสิง่ แวดล้อม การสรา้ ง
จติ สำนึกดังกล่าว จะต้องอาศัยการศึกษาเป็นสำคัญท่ีจะสร้างทัศนะความคิด ค่านิยมท่ีจะทำให้มนุษย์
แสดงถึงความรับผิดชอบต่อธรรมชาติ เพ่ือใหบ้ ุคคลเขา้ ใจธรรมชาติ เข้าใจ ขีดจำกดั ในการดำรงอยู่ของ
มนุษย์ ขยายฐานประสบการณ์ทางสังคมให้แกเ่ ยาวชน และเปิดโอกาสให้เกิดการคิดเพ่ือแสวงหาคุณค่า
ของชีวติ เพือ่ ให้เยาวชนเกิดวฒุ ภิ าวะในตน เขา้ ใจสงั คมและเพ่อื นมนุษยพ์ ัฒนาระบบการคดิ ทม่ี คี ุณธรรม
ในตนเองเพื่อเขาจะได้เป็นบุคคลที่มีจิตสำนึกอย่างเต็มเปี่ยมท่ีร่วมในการแก้ปัญหาต่อไป ซ่ึงสอดคล้อง
๑๙ วราพร ศรีสุพรรณ. หลักการและขอ้ เสนอในการจัดการส่ิงแวดล้อมศึกษา สาระความรู้และกลวิธี เพ่ือ
ส่งเสริมการอนุรักษ์. (กรงุ เทพฯ: มหาวทิ ยาลยั มหดิ ล, ๒๕๓๖), หน้า ๗๓-๗๔.
๒๕
กบั ๒๐ สำนักนโยบายและยทุ ธศาสตร์กระทรวงวัฒนธรรม เพ่ือเป็นการขับเคล่ือนให้เกิดการเปลยี่ นแปลง
ทางสังคมในระดับโครงสร้างได้มีการใช้แผนพัฒนาของชาติ รวมทั้งกฎหมายต่าง ๆ ผลักดันให้เกิดการ
เปลี่ยนแปลง หากพิจารณาแผนพัฒนาเศรษฐกิจและ สังคมแห่งชาติ ฉบับท่ี ๑๐ พบว่า มุ่งพัฒนาสู่
สงั คมอยู่เย็นเปน็ สุขร่วมกนั โดยเน้นให้คนไทยมีคุณธรรม นำความรอบรู้ รเู้ ท่าทนั โลก ครอบครวั อบอุ่น
ชุมชนเข้มแข็ง สังคมสันติสุขเศรษฐกิจมีคุณภาพเสถียรภาพ และเป็นธรรม ส่ิงแวดล้อมมีคุณภาพและ
ทรัพยากรธรรมชาติท่ียงั่ อยู่ภายใต้ระบบบริหารจัดการของประเทศที่มีธรรมาภิบาล ดำรงไว้ซ่ึงระบอบ
ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขและอยู่ในประชาคมโลกได้อย่างมีศักดิ์ศรี โดย
แนวทางในการดำเนนิ การอย่ภู ายใตแ้ นวปฏิบัติของ“ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง”
นอกจากน้ี ศูนยแ์ นะแนวการศึกษาและอาชีพ๒๑ ไดศ้ ึกษาเก่ยี วกับการปลกู ฝังให้ เยาวชนทำ
ตนให้เป็นประโยชน์เพื่อสังคมจากบุคคลในอาชีพต่าง ๆ ได้ให้ความหมายของการทำ ประโยชน์เพื่อ
สังคมไว้ สอดคล้องกับจิตสาธารณะว่า คือการทำส่ิงท่ีดีงามจนเป็นนิสัย เพื่อความสุขความสงบของ
ตนเองและสังคมส่วนรวม ตลอดจนการกระทำ เพ่ือปอ้ งกันปัญหาหรอื การสร้างสรรค์เพื่อประโยชน์ของ
สงั คมจะต้องประกอบดว้ ยคุณลกั ษณะ ๗ ดา้ น ได้แก่
๑. มีความรับผิดชอบ หมายถึง การเอาใจใส่ปฏิบัติภารกิจตามบทบาทหน้าท่ีและตามท่ี
ได้รับมอบหมาย ท้ังของตนเองและของกลุ่มให้สำเร็จลุล่วงอย่างได้ผลดี รวมท้ังยอมรับผลของ
การกระทำน้นั
๒. มีวินัย หมายถึง การปฏิบัติตามกฎระเบียบหรือบรรทัดฐานของสังคม ทั้งนี้ เพื่อการอยู่
รว่ มกนั อย่างสงบหรือเพือ่ ความสำเร็จของการปฏิบัตภิ ารกิจ
๓. รักษาสุขภาพอนามัย หมายถึง การกระทำท่ีทำให้ตนเองและผู้อ่ืนมีร่างกายและจิตใจ
แขง็ แรงปราศจากโรคภยั
๔. เคารพสิทธิของผู้อ่ืน หมายถึง ไม่ก้าวก่ายในเร่ืองส่วนตัวของผู้อ่ืน ไม่ทำให้ผู้อื่นสูญเสีย
ประโยชนอ์ นั พงึ มพี ึงได้ ไม่เบียดเบียนใหผ้ ู้อืน่ ได้รบั ความเดอื ดร้อนทางด้านร่างกายและจิตใจ
๕. มีน้ำใจช่วยเหลอื เกื้อกลู หมายถึง การช่วยกระทำสิง่ ใด ๆ เท่าท่ตี นเองสามารถทำได้ดว้ ย
ความเต็มใจโดยไมต่ อ้ งรอใหผ้ ู้อน่ื ขอรอ้ ง
๖. มีความสามัคคีรว่ มมือ หมายถึง การร่วมมือด้วยความเต็มใจเพ่ือความพร้อมเพรยี งและ
ประสานสมั พันธ์กันในการทำกิจกรรมทีด่ งี ามของหมคู่ ณะ
๗. รักษาผลประโยชน์ของส่วนรวม หมายถึง การกระทำหรือพฤติกรรมท่ีแสดงออกถึงการ
ทำนุบำรุงรกั ษาทรัพยากรธรรมชาติ สาธารณะสมบัติและปกป้องผลประโยชน์ของส่วนรวม จะเห็นได้ว่า
๒๐ สำนกั นโยบายและยุทธศาสตร์กระทรวงวฒั นธรรม (กรงุ เทพ: กระทรวงวมั นธรรม, ๒๕๕๒), หน้า ๑๑๓.
๒๑ ศูนย์แนะแนวการศึกษาและอาชีพ. เคร่ืองมือแนะแนวพัฒนาบุคลิกภาพชุดทำประโยชน์เพื่อ
สงั คม. (กรุงเทพฯ: กระทรวงศกึ ษาธิการ, ๒๕๓๙), หน้า ๑-๒.
๒๖
ในองค์กรระดับประเทศน้ัน ให้ความสำคัญต่อการปลูกฝังให้เยาวชนมีคุณลักษณะที่ทำตนให้เป็น
ประโยชน์ เพื่อสังคมเพราะการพัฒนาคุณภาพของบุคคลเป็นสิ่งท่ีจำเป็นอย่างยิ่งต่อการพัฒนา
ประเทศชาติ
สรุปได้ว่า จิตสำนึกสาธารณะนั้น เป็นสิ่งที่สำคัญมากในการอยู่ร่วมกันในสังคม เมื่อคน มี
จิตสำนึกสาธารณะที่ดี ย่อมจะทำให้อยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข แต่เมื่อขาดจิตสำนึกสาธารณะ เห็นแก่
ประโยชน์ส่วนตนมากว่าประโยชน์ส่วนรวม ย่อมก่อให้เกิดปัญหาต่าง ๆ ท้ังปัญหาส่วนตัว ปัญหาแก่
สงั คมสว่ นรวม ธรรมชาตสิ ่ิงแวดล้อม
๒.๒.๓ รูปแบบของจติ สำนึกสาธารณะ
สมพงษ์ สิงหะพล๒๒ ได้กลา่ วถึงจติ สำนึกว่ามอี ยู่ ๓ ด้านหลกั ๆ คือ
๑. จิตสำนึกเกยี่ วกบั ตนเอง (Self Consciousness) เป็นจิตสำนึกของการพัฒนาตนเองให้
สามารถอย่รู ่วมกบั คนในสงั คม เช่น ความขยัน ความรับผดิ ชอบ ความอดทนอดกลั้น เปน็ ตน้
๒. จิตสำนึกเกี่ยวกับผู้อ่ืน (Others Oriented Consciousness) เป็นจิตสำนึกของความ
สมั พันธ์ระหว่างบุคคลในกลมุ่ ชนหรือสังคม เช่น ความเห็นอกเหน็ ใจ ความเอ้อื เฟ้ือเผื่อแผ่ ความสามัคคี
เปน็ ตน้
๓. จติ สำนึกเกี่ยวกบั สังคมหรอื จิตสำนกึ สาธารณะ (Social or Public Consciousness)
เปน็ จิตสำนกึ ท่ีตระหนกั ถึงความสำคญั ในการอย่รู ่วมกัน คำนึงถงึ ผู้อื่นท่ีรว่ มความสัมพันธ์ เชน่ จิตสำนึก
ดา้ นเศรษฐกิจ จติ สำนึกดา้ นการเมือง จติ สำนกึ ด้านส่ิงแวดล้อม จิตสำนกึ ดา้ นสุขภาพ เปน็ ต้น
ชาย โพธิสิตา และคณะ (๒๕๔๓: ๓๙)๒๓ ได้ทำการศึกษาจติ สำนึกของคนไทยต่อสาธารณะ
สมบัติ กรณีศึกษากรงุ เทพมหานคร พบว่า จติ สำนึกต่อสาธารณะสมบตั หิ รอื จิตสาธารณะ แบง่ ไดเ้ ป็น ๒
ระดบั คือ
ระดับท่ี ๑ เป็นจิตสำนึกแบบที่บุคคลไม่ต้องทำอะไรมาก เพียงแต่ไม่ก่อให้เกิดความ
เสยี หายหรอื ไม่ทำลายสาธารณะสมบัติ ซึ่งเป็นการแสดงวา่ บุคคลมีความเข้าใจว่าควรหรือไม่ควรปฏิบัติ
อย่างไรต่อสาธารณะสมบัติ
ระดับท่ี ๒ เป็นระดบั ท่ีบุคคลแสดงออกว่า มีความรับผดิ ชอบท่ีดีต่อสาธารณะสมบัติ ไม่ว่า
จะได้ใชป้ ระโยชน์หรอื ไมไ่ ดใ้ ช้ เชน่ การมสี ว่ นรว่ มในการบำรุงรักษาสาธารณสมบตั ทิ ี่ชำรุดเสียหาย
๒๒ สมพงษ์ สิงหะพล. ต้องสอนให้เกิดจิตสำนึกใหม่. สีมาจารย์, ๑๓ (๒๗): ๑๕-๑๖. (มิถุนายน-ตุลาคม),
๒๕๔๒), หน้า ๑๕-๑๖.
๒๓ ช า ย โ พ ธิ สิ ต า แ ล ะ ค ณ ะ . ก า ร ศึ ก ษ า จิ ต ส ำ นึ ก ข อ งค น ไท ย ต่ อ ส า ธ า ร ณ ะ ส ม บั ติ :
กรณีศึกษากรุงเทพมหานคร. รายงานการวิจัย, (นครปฐม: สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล,
๒๕๔๓), หน้า ๓๙.
๒๗
หฤทัย อาจปรุ๒๔ ได้ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล ภาวะผู้นำ รูปแบบ
การดำเนินชีวิตและความสามารถในการเรียนรู้ด้วยตนเองกับการมีจิตสำนึกสาธารณะ ของนักศึกษา
พยาบาล เขตกรุงเทพมหานคร พบว่า นักศึกษาพยาบาลมีจิตสำนึกสาธารณะ คิดเป็น ๗๖.๙๐%
เม่ือพิจารณาปัจจัยส่วนบุคคล ภาวะผู้นำ รูปแบบการดำเนินชีวิตและความสามารถในการเรียนด้วย
ตนเอง พบว่า มีความสัมพันธ์ทางบวกกับการมีจิตสำนึกสาธารณะ ส่วนนักศึกษาพยาบาลท่ีมีรูปแบบ
การดำเนินชีวิตแบบเกบ็ ตวั มคี วามสมั พันธ์ทางลบกบั การมีจิตสำนึกสาธารณะอยา่ งมีนัย สำคัญทางสถิติ
ท่รี ะดบั .๐๕
กิตติพงษ์ แดงเสริมสิริ๒๕ ได้ศึกษาจิตสำนึกสาธารณะและตัวแบบสร้างจิตสำนึกสาธารณะ
ระดับเยาวชนในสถาบันอุดมศึกษา พบว่า จิตสำนึกสาธารณะเป็นส่ิงจำเป็นอย่าง ยิ่งยวด ในการหล่อ
หลอมแนวคิด โดยเฉพาะอย่างยิ่งเยาวชนในระดับอุดมศึกษาท่ีจะไปแสดงปรากฏการณ์ต่าง ๆ และส่ง
ต่อวัฒนธรรมไปยังสังคมในรุ่นถัดไป จึงได้จัดท ำรูปแบบจิตสำนึกสาธารณะ ตัวแบบ ทิศ ๖
เชิงเปรยี บเทยี บ
ในแนวคิดทางพระพุทธศาสนา ได้ระบุตัวแบบความสัมพันธ์ในลักษณะทิศ ๖ ไว้อย่าง
น่าสนใจ ดังภาพที่ ๒.๑
๒๔ หฤทัย อาจปรุ. ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล ภาวะผู้นำ รูปแบบการดำเนินชีวิตและ
ความสามารถในการเรยี นรดู้ ้วยตนเองกับการมีจิตสำนึกสาธารณะของนักศึกษาพยาบาล เขตกรุงเทพมหานคร.
(กรุงเทพฯ: บัณฑติ วทิ ยาลัย จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลยั , ๒๕๔๔), หนา้ ๑๐๓-๑๐๔.
๒๕ กิตติพงษ์ แดงเสริมสิริ. จิตสำนึกสาธารณะและตัวแบบสร้างจิตสำนึกสาธารณะระดับเยาวชน
ในสถาบันอุดมศกึ ษา. FEU ACADEMIC REVIE. ๒ (๒): ๒๗-๓๒, ๒๕๕๑, (ธันวาคม- ๒๕๕๒, พฤษภาคม). (๒๕๕๒),
หนา้ ๒๗-๒๙.
๒๘
ทศิ บน สมณะ
ทิศซา้ ย เพ่อื น ทิศหลงั ภรรยา-สามี
เรา
ทิศหนา้ พอ่ แม่ ทิศขวา ครู-อาจารย์
ทศิ หลัง ลกู น้อง
ภาพท่ี ๒.๑ แสดงความสมั พันธ์ในลกั ษณะทศิ ๖
ที่มา: กิตติพงษ์ แดงเสริมสิริ. จิตสำนึกสาธารณะและตัวแบบสร้างจิตสำนึกสาธารณะระดับเยาวชนใน
สถาบันอดุ มศกึ ษา.
ในการสร้างจิตสำนึกสาธารณะก็เช่นกัน สามารถนำตัวแบบทิศ ๖ มาเปรียบเทียบเชิง
ประยุกต์เพื่อแสดงบทบาท หน้าท่ีท่ีจะสะท้อนความรู้สึกเชิงคุณค่าต่อการปฏิบัติตนในประเภทต่าง ๆ
ของจติ สำนกึ สาธารณะได้ ดงั แสดงใน ภาพที่ ๒.๑-๒.๔ ดังน้ี
การใช้ของเต็มมูลค่า
การใชข้ องร่วมกับ เรา การดแู ล รกั ษา
ผอู้ นื่ จัดเก็บ
รสู้ กึ ขอบคุณผ้ทู ี่ การใชข้ อง
จดั สรรของใหเ้ ราใช้ รว่ มกับผมู้ ีอาวุโส
การนึกถึงผู้ใช้
สง่ิ ของตอ่ จากเรา
ภาพที่ ๒.๒ แสดงด้านการใช้สิ่งของสว่ นรวม
ทม่ี า: กิตติพงษ์ แดงเสริมสริ ิ. จิตสำนึกสาธารณะและตัวแบบสรา้ งจิตสำนึกสาธารณะ ระดับเยาวชนใน
สถาบนั อดุ มศึกษา
๒๙
การมองภาพรวม
การลงมอื ลงแรง เรา การสบื ตอ่ วัฒนธรรม
ร่วมกนั ใหง้ านสำเร็จ เออื้ เฟื้อ
การชว่ ยเหลอื
การร้สู ึกขอบคณุ สงเคราะหผ์ ดู้ ้อยกวา่ การเติบโตทางความคิด
โอกาสตา่ ง ๆ ที่ จากงานท่สี ่วนรวมหรือ
สังคมให้ จากผมู้ ีความรู้
ภาพท่ี ๒.๓ แสดงด้านกิจกรรมส่วนรวม
ทม่ี า: กิตติพงษ์ แดงเสรมิ สิริ. จติ สำนึกสาธารณะและตัวแบบสร้างจิตสำนึกสาธารณะ ระดับเยาวชนใน
สถาบนั อุดมศึกษา
การจัดทำเครือข่าย การเขา้ ใจชวี ติ และมอง การสรา้ ง
อาสา โลกแง่คณุ ค่า แนวความคดิ การ
ทำงานเชิงสังคมใน
เรา ระดบั เยาวชน
การเป็นธรุ ะตอบ การสงเคราะห์ การแลกเปลี่ยนถอด
แทนช่วยเหลอื ผมู้ ี ผ้ดู ้อยโอกาสกวา่ บทเรยี น เครอื ขา่ ย
คุณค่าเชงิ สังคม
จิตอาสา
ภาพท่ี ๒.๔ แสดงด้านการตอบแทนเชิงคุณค่า
ท่มี า: กิตตพิ งษ์ แดงเสรมิ สิริ. จิตสำนึกสาธารณะและตัวแบบสร้างจิตสำนึกสาธารณะ ระดบั เยาวชนใน
สถาบนั อุดมศึกษา.
๓๐
สรุปไดว้ ่า จติ สำนกึ สาธารณะ เร่ิมตน้ จากตนเองพัฒนาไปสูค่ วามสมั พันธก์ บั ผอู้ ่นื และ
พัฒนาต่อไปสู่องค์กรหรอื สงั คมกลมุ่ ใหญ่ มกี ารรูจ้ ักหนา้ ท่ีของตนเองและการเคารพหน้าท่ีของผอู้ ่ืนเป็น
สำคัญ ไมค่ ดิ ทำลาย คอยดแู ลเอาใจใส่ของสาธารณะเหมือนเปน็ สมบัติของตน
๒.๒.๔ คุณลักษณะทวั่ ไปของบุคคลทีม่ ีจิตสำนกึ สาธารณะ
เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักด์ิ๒๖ ได้กล่าวถึงมิติด้านจติ ใจ ๓ ด้าน ไว้ในภาพและ คุณลักษณะ
ของคนไทยทพี่ งึ ประสงค์ ดงั น้ี
๑. เป็นผู้รู้จักและเข้าใจตนเองเป็นอย่างดี เป็นผู้รู้จักอารมณ์ของตนเอง สามารถรับรู้ถึง
ความรู้สึกที่เกิดข้ึนในแต่ละขณะเวลาว่า ตนเองร้สู ึกอย่างไร และสามารถรับรู้ความรู้สึกต่าง ๆ ของตนที่
เปลยี่ นแปลงไปในแตล่ ะช่วงเวลาได้ดี รวมทงั้ สามารถจดั การกับสภาวะอารมณ์ต่าง ๆ ไดอ้ ย่างเหมาะสม
๒. เป็นผู้รู้จกั และเข้าใจความรู้สกึ ของผอู้ ่ืนไดเ้ ป็นอย่างดี ผู้ที่รู้จกั และเข้าใจตนเองได้ดีย่อมมี
แนวโน้มท่ีจะเข้าใจผู้อื่นได้ดีเช่นกัน ความสามารถในการตระหนักรู้ถึงความรู้สึกของผู้อ่ืนได้ดี มีความ
รูส้ ึกเห็นอกเหน็ ใจผู้อน่ื มากยง่ิ ข้ึน สามารถปรับอารมณ์ของตนเองใหส้ อดคลอ้ งกบั สถานการณ์และความ
ตอ้ งการของบุคคลต่าง ๆ เป็นการสร้างสัมพันธภาพทด่ี ี สรา้ งความร่วมมือ สร้างพลังร่วมกันเพ่ือบรรลุ
เปา้ หมาย ตลอดจนสามารถบรหิ ารความขดั แยง้ ต่าง ๆ ทีเ่ กดิ ขน้ึ ให้สามารถยตุ ลิ งไดด้ ว้ ยดี
๓. เป็นผู้ท่ีรู้จักและเข้าใจสถานการณ์ สภาพแวดล้อมภายนอกต่าง ๆ ได้เป็นอย่างดี ผู้ท่ีรู้
และเข้าใจตนเองและผู้อ่ืนได้ดี จะสามารถปรับตัวตอบสนองต่อสภาพแวดล้อมที่เปล่ียนแปลงไปได้
สามารถที่จะเผชิญและควบคุมสถานการณ์ต่าง ๆ ท่ีเกิดขึ้นได้เป็นอย่างดี ไม่เป็นผู้ที่มีอารมณ์แปรปรวน
ตามสถานการณ์ ไม่เกดิ ความขัดขอ้ งใจในภาวะทเ่ี ปลยี่ นแปลง
ยทุ ธนา วรุณปิติกุล๒๗ กลา่ วถึงบคุ คลที่มจี ติ สำนึกสาธารณะวา่ ตอ้ งมี คณุ ลกั ษณะ ดังน้ี
๑. การทุ่มเทและอุทิศตนมีความรับผิดชอบต่อสังคม บุคคลไม่เพียงแต่ปฏิบัติตามสิทธิ
เทา่ นนั้ แตต่ ้องปฏบิ ัตเิ พ่อื ชว่ ยเหลือใหบ้ รกิ ารแก่บคุ คลอื่นเพอ่ื พัฒนาสังคมดว้ ย
๒. เคารพความแตกต่างระหว่างบคุ คลผูม้ ีจิตสำนกึ สาธารณะต้องเป็นพลเมอื งในฐานะท่ีเป็น
เอกลักษณ์ทางการเมืองสมัยใหม่ มีความอดทนตระหนักว่า การมีส่วนร่วมไม่ทำให้ได้อย่างท่ีต้องการ
เสมอไป ตอ้ งเคารพและยอมรบั ความแตกต่างที่หลากหลาย และหาวิธอี ยู่รว่ มกับความขัดแย้ง โดยการ
แสวงหาทางออกรว่ มกัน เพือ่ ให้เกิดการยอมรับจากทกุ ฝ่าย
๓. คำนึงถึงผลประโยชน์ส่วนรวมคนในสังคม ต้องคำนึงถึงการเมืองในฐานะกิจการเพื่อ
สว่ นรวม และเพอ่ื คุณธรรมมากขึน้
๒๖ เกรียงศกั ดิ์ เจริญวงศศ์ ักด์ิ. จอมปราชญน์ ักการศึกษา. (กรงุ เทพฯ: ซคั เซสมีเดยี , ๒๕๔๖), หนา้ ๕๗-๖๑.
๒๗ ยุทธนา วรุณปิติกุล. สำนึกพลเมือง: ความเรียงว่าด้วยประชาชนบนเส้นทางประชาคม. (กรุงเทพฯ:
มูลนิธกิ ารเรียนรแู้ ละพฒั นาประชาคม, ๒๕๔๒), หนา้ ๑๘๑-๑๘๓.
๓๑
๔. การลงมือกระทำ การวิพากษ์วิจารณ์ปัญหาท่ีเกิดขึ้นเพียงอย่างเดียว ไม่สามารถทำให้
สถานการณด์ ีขึ้น ตอ้ งลงมือทำโดยเริ่มจากครอบครัว ในการวางพื้นฐานให้การอบรมด้านจรยิ ธรรมของ
พลเมือง สถาบนั การศึกษา สรา้ งค่านยิ มทเ่ี หมาะสม เครือข่ายสงั คมท่เี กิดข้ึนระหว่างเพ่ือนบ้านท่ีทำงาน
เช่ือมโยงบุคคลท่ีสนใจเรื่องของตนเข้าเป็นกลุ่มท่ีใส่ใจผู้อ่ืน รวมทั้งสถาบันที่มีอิทธิพลสูงต่อสังคมคือ
สถาบันศาสนาและสื่อมวลชน นับว่า มบี ทบาทสำคญั ในการร่วมสร้างให้สงั คมเขม้ แข็ง
ณฐวฒั น์ ลอ่ งทอง๒๘ ได้กำหนดลกั ษณะของจติ สำนกึ สาธารณะไว้ ดังนี้
๑. P Useful BLIC เป็นประโยชน์ต่อผู้อ่ืน ต่อสาธารณะสังคมไม่น่ิงดูดาย อะไรที่เป็น
ประโยชนต์ อ่ สาธารณะ แม้เพียงเล็กน้อยกจ็ ะทำ
๒. P Unselfish BLIC ไม่เห็นแก่ตัว (เห็นแก่ส่วนรวม) ไม่มีผลประโยชน์ทับซ้อน ไม่คอรัปช่ัน
ไมเ่ อาเปรียบผู้อืน่ และไมใ่ หผ้ ูอ้ นื่ เอาเปรยี บเชน่ กนั และเคารพสทิ ธิเสรภี าพผอู้ ่นื
๓. P Understand BLIC เข้าใจผอู้ นื่ ไมท่ บั ถมผ้อู ื่น ไมซ่ ้ำเตมิ ผู้อื่น
๔. P U Broad Mind LIC มีจิตท่ีกว้างขวาง เปิดกว้าง ไม่คับแคบ รับฟังความคิดเห็นของ
ผ้อู ่นื รบั ฟังข้อมลู ขา่ วสารใหม่ ๆ ทแ่ี ตกต่างจากคนท่ีเคยรู้เคยมีมา และแสวงหาความรู้ใหม่อยู่เสมอ
๕. P U Be proactive LIC คาดการณ์ปัญหาท่ีอาจจะเกิดขึ้น และหาทางป้องกันปัญหา
เหล่าน้ัน ไมใ่ ห้เกดิ ข้นึ หรือลดความรุนแรงของปญั หานน้ั ๆ
ธรรมนันทิกา แจ้งสว่าง (๒๕๔๗: ๑๒-๑๓)๒๙ ได้ศึกษาผลของการใช้โปรแกรมพัฒนาจิต
สาธารณะ ด้วยบทบาทสมมุติกับตัวแบบของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี ๓ พบว่า คุณลักษณะของ
บุคคลทมี่ ี จิตสำนกึ สาธารณะนนั้ มีลักษณะ ดังนี้
๑. การหลีกเลี่ยงการใช้หรือการกระทำท่ีจะทำให้เกิดความชำรุดเสียต่อของส่วนรวมท่ีใช้
ประโยชนร์ ว่ มกนั ของกลุม่ วัดจาก
๑.๑ การดแู ลรกั ษา ได้แก่ การใช้ของสว่ นรวมแล้วเกบ็ เขา้ ที่
๑.๒ ลักษณะการใช้ ได้แก่ การใช้อย่างประหยัด การใช้อย่างทะนุถนอม และการใช้
อย่างรู้คุณคา่
๒. การถอื เป็นหน้าท่ีที่จะมีส่วนรว่ มในการดูแลรักษาของส่วนรวมในวิสัยท่ตี นสามารถทำได้
วัดได้จาก
๒.๑ การทำตามหนา้ ท่ที ไี่ ดร้ ับมอบหมาย
๒.๒ การรบั อาสาที่จะทำบางสิง่ บางอยา่ งเพอ่ื สว่ นรวม
๒๘ ณฐวัฒน์ ล่องทอง จิตสาธารณะ รายวิชาทักษะชีวิต ๐๐๑๑๗๓. (เอกสารประกอบคำสอน). สืบคน้ เม่ือ
๓๐ มกราคม ๒๕๕๓, จาก kmc.pkn๒.go.th/research/๑๒๗๖๖๑๙๒๘๗_PM ๒๐๑๐.ppt, ๒๕๕๓. (ออนไลน)์ .
๒๙ ธรรมนันทกิ า แจ้งสว่าง. ผลของการใชโ้ ปรแกรมพัฒนาจิตสาธารณะด้วยบทบาทสมมติกับตัวแบบของ
นกั เรยี นช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี ๓. (กรงุ เทพฯ: บณั ฑิตวิทยาลยั มหาวิทลัยศรีนครินทรวโิ รฒ, ๒๕๔๗), หนา้ ๑๒-๑๓.