หลักสูตรโรงเรียนหอวัง
พุทธศักราช 2561
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พุทธศักราช 2551 และมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัดฯ
(ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2560)
สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา กรุงเทพมหานคร เขต 2
สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
หลักสูตรโรงเรียนหอวัง
พุทธศักราช 2561
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
และมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดฯ
(ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2560)
สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา กรุงเทพมหานคร เขต 2
สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ค าน า
โรงเรียนหอวัง ส ำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำมัธยมศึกษำ เขต 2 ได้ด ำเนินกำรจัดท ำหลักสูตรสถำนศึกษำ
โดยใช้หลักสูตรแกนกลำงกำรศึกษำขั้นพื้นฐำน พุทธศักรำช 2551 เป็นแกนหลักเพื่อก ำหนดกำรจัดท ำโครงสร้ำง
และสำระหลักสูตรสถำนศึกษำและหลักสูตรท้องถิ่นให้สอดคล้องกับบริบทของสถำนศึกษำ ทั้งนี้เพื่อให้สำมำรถ
ขับเคลื่อนไปสู่กำรจัดกำรเรียนรู้ที่ส่งผลให้ผู้เรียนมีคุณภำพด้ำนควำมรู้และทักษะที่จ ำเป็นในกำรด ำรงชีวิตในสังคม
ที่มีกำรเปลี่ยนแปลงและแสวงหำควำมรู้เพื่อพัฒนำตนเองอย่ำงต่อเนื่องตลอดชีวิต ตำมค ำสั่งส ำนักงำน
คณะกรรมกำรกำรศึกษำขั้นพื้นฐำน ที่ 1239/2560 เรื่องให้ใช้มำตรฐำนกำรเรียนรู้และตัวชี้วัด กลุ่มสำระกำรเรียนรู้
ิ
คณิตศำสตร์ วทยำศำสตร์ และสำระภูมิศำสตร์ ในกลุ่มสำระกำรเรียนรู้สังคมศึกษำ ศำสนำ และวัฒนธรรม (ฉบับ
ปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตำมหลักสูตรแกนกลำงกำรศึกษำขั้นพื้นฐำน พุทธศักรำช 2551 และพัฒนำหลักสูตรสถำนศึกษำ
เพื่อให้สอดคล้องกับสภำพควำมเป็นอยู่ของสังคมที่เปลี่ยนแปลงไป และมีควำมทันสมัย มุ่งผลประโยชน์ต่อผู้เรียนเป็น
ส ำคัญ และเพื่อให้เป็นไปตำมเจตนำรมณ์ในกำรจัดกำรศึกษำตำมมำตรฐำนกำรศึกษำที่ก ำหนดในหลักสูตร
แกนกลำงกำรศึกษำขั้นพื้นฐำน พุทธศักรำช 2551
หลักสูตรโรงเรียนหอวัง พุทธศักรำช 2561 ตำมหลักสูตรแกนกลำงกำรศึกษำ พุทธศักรำช 2551 และ
มำตรฐำนกำรเรียนรู้และตัวชี้วัด กลุ่มสำระกำรเรียนรู้คณิตศำสตร์ วิทยำศำสตร์ และสำระภูมิศำสตร์
ในกลุ่มสำระกำรเรียนรู้สังคมศึกษำ ศำสนำ และวัฒนธรรม (ฉบับปรับปรุง พุทธศักรำช 2560) เพื่อเป็นกรอบทิศทำง
ในกำรน ำหลักสูตรไปใช้อย่ำงมีประสิทธิภำพและเพื่อให้เกิดกำรพัฒนำคุณภำพผู้เรียนให้เป็นคนดี มีปัญญำ มี
คุณภำพชีวิตที่ดีและมีศักยภำพควำมสำมำรถในกำรปรับตัวให้อยู่ในสังคมได้อย่ำงมีควำมสุขทั้งในสังคมไทยและ
สังคมโลกต่อไป
ขอขอบคุณผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทุกภำคส่วนที่ให้ควำมร่วมมือและมีส่วนร่วมในกำรพัฒนำหลักสูตรฉบับนี้ให้มี
ควำมสมบูรณ์และเหมำะสมตำมบริบทต่อกำรจัดกำรศึกษำในโรงเรียนหอวัง ตั้งแต่ปีกำรศึกษำ 2561
เป็นต้นไป
ลงชื่อ .....................................................................
นำยเลิศศิลป์ รัตนมุกสิก
ผู้อ ำนวยกำรโรงเรียนหอวัง
สารบัญ
เรื่อง หน้า
ควำมน ำ 1
วิสัยทัศน์ หลักกำร จุดหมำย 5
สมรรถนะส ำคัญของผู้เรียน และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ 6
มำตรฐำนกำรเรียนรู้ 7
ั
ตัวชี้วด 8
สำระกำรเรียนรู้ 9
สำระและมำตรฐำนกำรเรียนรู้ 11
กิจกรรมพัฒนำผู้เรียน 19
ระดับกำรศึกษำ 20
กำรจัดเวลำเรียน 21
โครงสร้ำงเวลำเรียน 22
กำรจัดกำรศึกษำส ำหรับกลุ่มเป้ำหมำยเฉพำะ 23
สื่อกำรเรียนรู้ 25
กำรวัดและประเมินผลกำรเรียนรู้ 26
ั
เกณฑ์กำรวดและประเมินผลกำรเรียน 28
เอกสำรหลักฐำนกำรศึกษำ 30
กำรเทียบโอนผลกำรเรียน 31
กำรบริหำรจัดกำรหลักสูตร 32
โครงสร้ำงหลักสูตรโรงเรียนหอวัง ระดับชั้นมัธยมศึกษำตอนต้น 33
โครงสร้ำงหลักสูตรโรงเรียนหอวัง ระดับชั้นมัธยมศึกษำตอนปลำย 49
โครงสร้ำงหลักสูตรกลุ่มสำระกำรเรียนรู้ภำษำไทย 84
โครงสร้ำงหลักสูตรกลุ่มสำระกำรเรียนรู้คณิตศำสตร์ 105
โครงสร้ำงหลักสูตรกลุ่มสำระกำรเรียนรู้วิทยำศำสตร์และเทคโนโลยี 151
โครงสร้ำงหลักสูตรกลุ่มสำระกำรเรียนรู้สังคมศึกษำ ศำสนำ และวัฒนธรรม 268
โครงสร้ำงหลักสูตรกลุ่มสำระกำรเรียนรู้สุขศึกษำและพลศึกษำ 294
โครงสร้ำงหลักสูตรกลุ่มสำระกำรเรียนรู้ศิลปะ 334
ี
โครงสร้ำงหลักสูตรกลุ่มสำระกำรเรียนรู้กำรงำนอำชพ 451
โครงสร้ำงหลักสูตรกลุ่มสำระกำรเรียนรู้ภำษำต่ำงประเทศ 477
โครงสร้ำงหลักสูตรงำนแนะแนว 678
โครงสร้ำงหลักสูตรกิจกรรมพัฒนำผู้เรียน: กิจกรรมลูกเสือ-กิจกรรมเนตรนำรี 692
1
ความน า
กระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศใช้หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 ให้เป็น
หลักสูตรแกนกลางของประเทศ โดยก าหนดจุดหมาย และมาตรฐานการเรียนรู้เป็นเป้าหมายและกรอบ
ทิศทางในการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนให้เป็นคนดี มีปัญญา มีคุณภาพชีวิตที่ดีและมีขีดความสามารถ
ในการแข่งขันในเวทีระดับโลก (กระทรวงศึกษาธิการ, 2544) พร้อมกนนี้ได้ปรับกระบวนการพัฒนาหลักสูตร
ั
ให้มีความสอดคล้องกับเจตนารมณ์แห่งพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม
(ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 ที่มุ่งเน้นการกระจายอ านาจทางการศึกษาให้ท้องถิ่นและสถานศึกษาได้มีบทบาท
และมีส่วนร่วมในการพัฒนาหลักสูตร เพื่อให้สอดคล้องกับสภาพ และ ความต้องการของท้องถิ่น (ส านัก
นายกรัฐมนตรี, 2542)
จากการวิจัย และติดตามประเมินผลการใช้หลักสูตรในช่วงระยะ 6 ปีที่ผ่านมา (ส านักวิชาการและ
มาตรฐานการศึกษา, 2546 ก., 2546 ข., 2548 ก., 2548 ข.; ส านักงานเลขาธิการสภาการศึกษา, 2547;
ส านักผู้ตรวจราชการและติดตามประเมินผล, 2548; สุวิมล ว่องวาณิช และ นงลักษณ์ วิรัชชัย, 2547;
Nutravong, 2002; Kittisunthorn, 2003) พบว่า หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 มีจุด
ดีหลายประการ เช่น ช่วยส่งเสริมการกระจายอ านาจทางการศึกษาท าให้ท้องถิ่นและสถานศึกษามีส่วนร่วม
และมีบทบาทส าคัญในการพัฒนาหลักสูตรให้สอดคล้องกับความต้องการของท้องถิ่น และมีแนวคิดและ
หลักการในการส่งเสริมการพัฒนาผู้เรียนแบบองค์รวมอย่างชัดเจน อย่างไรก็ตามผลการศึกษาดังกล่าวยังได้
สะท้อนให้เห็นถึงประเด็นที่เป็นปัญหาและความไม่ชัดเจนของหลักสูตรหลายประการทั้งในส่วนของเอกสาร
หลักสูตร กระบวนการน าหลักสูตรสู่การปฏิบัติ และผลผลิตที่เกิดจากการใช้หลักสูตร ได้แก่ ปัญหาความ
สับสนของผู้ปฏิบัติในระดับสถานศึกษาในการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา สถานศึกษาส่วนใหญ่ก าหนด
สาระและผลการเรียนรู้ที่คาดหวังไว้มาก ท าให้เกิดปัญหาหลักสูตรแน่น การวัดและประเมินผลไม่สะท้อน
มาตรฐาน ส่งผลต่อปัญหาการจัดท าเอกสารหลักฐานทางการศึกษาและการเทียบโอนผลการเรียน รวมทั้ง
ปัญหาคุณภาพของผู้เรียนในด้านความรู้ ทักษะ ความสามารถและคุณลักษณะที่พึงประสงค์อันยังไม่เป็นที่
น่าพอใจ
นอกจากนั้นแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 10 ( พ.ศ. 2550 – 2554)
ได้ชี้ให้เห็นถึงความจ าเป็นในการปรับเปลี่ยนจุดเน้นในการพัฒนาคุณภาพคนในสังคมไทยให้ มีคุณธรรม
และมีความรอบรู้อย่างเท่าทัน ให้มีความพร้อมทั้งด้านร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ และศีลธรรม สามารถ
ก้าวทันการเปลี่ยนแปลงเพื่อน าไปสู่สังคมฐานความรู้ได้อย่างมั่นคง แนวการพัฒนาคนดังกล่าวมุ่งเตรียม
เด็กและเยาวชนให้มีพื้นฐานจิตใจที่ดีงาม มีจิตสาธารณะ พร้อมทั้งมีสมรรถนะ ทักษะและความรู้พื้นฐานที่
จ าเป็นในการด ารงชีวิต อันจะส่งผลต่อการพัฒนาประเทศแบบยั่งยืน (สภาพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม
แห่งชาติ, 2549) ซึ่งแนวทางดังกล่าวสอดคล้องกับนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการในการพัฒนาเยาวชน
ของชาติเข้าสู่โลกยุคศตวรรษที่ 21 โดยมุ่งส่งเสริมผู้เรียนมีคุณธรรม รักความเป็นไทย ให้มีทักษะการคิด
2
วิเคราะห์ สร้างสรรค์ มีทักษะด้านเทคโนโลยี สามารถท างานร่วมกับผู้อื่น และสามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นใน
สังคมโลกได้อย่างสันติ (กระทรวงศึกษาธิการ, 2551)
จากข้อค้นพบในการศึกษาวิจัยและติดตามผลการใช้หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช
2544 ที่ ผ่าน ม าป ระกอบ กับ ข้อ มู ล จากแผ น พั ฒ น าเศรษ ฐกิจแ ละสังค ม แ ห่ งชาติ
ฉบับที่ 10 เกี่ยวกับแนวทางการพัฒนาคนในสังคมไทย และจุดเน้นของกระทรวงศึกษาธิการใน
การพัฒนาเยาวชนสู่ศตวรรษที่ 21 จึงเกิดการทบทวนหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544
เพื่อน าไปสู่การพัฒนาหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ที่มีความเหมาะสม
ชัดเจน ทั้งเป้าหมายของหลักสูตรในการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน และกระบวนการน าหลักสูตรไปสู่การปฏิบัติ
ในระดับเขตพื้นที่การศึกษาและสถานศึกษา โดยได้มีการก าหนดวิสัยทัศน์ จุดหมาย สมรรถนะส าคัญของ
ผู้เรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดที่ชัดเจน เพื่อใช้เป็นทิศทางใน
การจัดท าหลักสูตร การเรียนการสอนในแต่ละระดับ นอกจากนั้นได้ก าหนดโครงสร้างเวลาเรียนขั้นต่ าของ
แต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ในแต่ละชั้นปีไว้ในหลักสูตรแกนกลาง และเปิดโอกาสให้สถานศึกษาเพิ่มเติมเวลา
เรียนได้ตามความพร้อมและจุดเน้น อีกทั้งได้ปรับกระบวนการวัดและประเมินผลผู้เรียน เกณฑ์การจบ
การศึกษาแต่ละระดับ และเอกสารแสดงหลักฐานทางการศึกษาให้มีความสอดคล้องกับมาตรฐาน
การเรียนรู้ และมีความชัดเจนต่อการน าไปปฏิบัติ
กระทรวงศึกษาธิการได้จัดท าเอกสารหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ขึ้น
ส าหรับท้องถิ่นและสถานศึกษาได้น าไปใช้เป็นกรอบและทิศทางในการจัดท าหลักสูตรสถานศึกษาและ
จัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาเด็กและเยาวชนไทยทุกคนในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานให้มีคุณภาพด้าน
ความรู้ และทักษะที่จ าเป็นส าหรับการด ารงชีวิตในสังคมที่มีการเปลี่ยนแปลง และแสวงหาความรู้เพื่อ
ิ
พัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่องตลอดชีวต ซึ่งใช้มาเป็นเวลา 8 ปีแล้ว ส าหรับส านักงานคณะกรรมการการศึกษา
ขั้นพื้นฐาน โดยส านักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา ได้ด าเนินการติดตามผลการน าหลักสูตรไปสู่การ
ปฏิบัติอย่างต่อเนื่องในหลายรูปแบบ ทั้งการประชุมรับฟังความ คิดเห็น การนิเทศติดตามผลการใช้
หลักสูตรของโรงเรียน การรับฟังความคิดเห็นผ่านเว็บไซต์ของส านักวิชาการ และมาตรฐานการศึกษา
รายงานผลการวิจัยของหน่วยงานและองค์กรที่เกี่ยวข้องกับหลักสูตรและการใช้ หลักสูตรแกนกลาง
การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ผลจากการศึกษา พบว่า หลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน
พุทธศักราช 2551 มีข้อดีในหลายประการ เช่น ก าหนดเป้าหมายการพัฒนาไว้ชัดเจน มีความ ยืดหยุ่น
เพียงพอให้สถานศึกษาบริหารจัดการหลักสูตรสถานศึกษาได้ ส าหรับปัญหาที่พบส่วนใหญ่เกิดจากการน า
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 สู่การปฏิบัติในสถานศึกษาและในห้องเรียน
นอกจากนี้ การศึกษาข้อมูลทิศทางและกรอบยุทธศาสตร์ของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม
แห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560 - 2564) ซึ่งเกิดขึ้นในช่วงเวลาของการปฏิรูปประเทศและสถานการณ์โลก
ที่เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วและเชื่อมโยงใกล้ชิดกันมากขึ้น โดยจัดท าบนพื้นฐานของกรอบยุทธศาสตร์ชาติ
20 ปี (พ.ศ. 2560 - 2579) ซึ่งเป็นแผนหลักของการพัฒนาประเทศ และเป้าหมายของการพัฒนาที่ยั่งยืน
(Sustainable Development Goals: SDGs) แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560 – 2579 รวมทั้งการ
ปรับ โครงสร้างประเทศไปสู่ประเทศไทย 4.0 เพื่อมุ่งสู่ วิสัยทัศน์และทิศทางการพัฒนาประเทศ “ความ
มั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน” เป็นประเทศพัฒนาแล้วด้วยการพัฒนาตาม หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
3
ประเด็นที่ส าคัญเพื่อแปลงแผนไปสู่การปฏิบัติให้เกิดผลสัมฤทธิ์ได้อย่างแท้จริงตามยุทธศาสตร์
การ พัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพคน คือ การเตรียมพร้อมด้านก าลังคนและการเสริมสร้างศักยภาพของ
ประชากร ในทุกช่วงวัย มุ่งเน้นการยกระดับคุณภาพทุนมนุษย์ของประเทศ โดยพัฒนาคนให้เหมาะสมตาม
ช่วงวัย เพื่อให้ เติบโตอย่างมีคุณภาพ การพัฒนาทักษะที่สอดคล้องกับความต้องการในตลาดแรงงานและ
ทักษะที่จ าเป็นต่อการ ด ารงชีวิตในศตวรรษที่ 21 ของคนในแต่ละช่วงวัยตามความเหมาะสม การเตรียม
ความพร้อมของก าลังคนด้าน วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่จะเปลี่ยนแปลงในอนาคต ตลอดจนการ
ยกระดับคุณภาพการศึกษาสู่ความเป็นเลิศ
ดังนั้น เพื่อให้การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติ เพื่อเตรียมความพร้อมคนให้สามารถปรับตัวรองรับ
ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงได้อย่างเหมาะสม กระทรวงศึกษาธิการจึงก าหนดเป็นนโยบายส าคัญและ
เร่งด่วน ให้มีการปรับปรุงหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ในกลุ่มสาระการ
เรียนรู้ คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และสาระภูมิศาสตร์ ในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และ
วัฒนธรรม รวมทั้งเทคโนโลยี ในกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี โดยมอบหมายให้
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) ด าเนินการปรับปรุง กลุ่มสาระการเรียนรู้
คณิตศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ และสาระเกี่ยวกับเทคโนโลยีในกลุ่มสาระการเรียนรู้
การงานอาชีพและเทคโนโลยี และมอบหมาย ให้ส านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานด าเนิน
การปรับปรุงสาระภูมิศาสตร์ ในกลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ทั้งนี้
การด าเนินงานประกาศใช้หลักสูตรยังคงอยู่ในความรับผิดชอบของ ส านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้น
พื้นฐาน
การปรับปรุงหลักสูตรครั้งนี้ ยังคงหลักการและโครงสร้างเดิมของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้น
พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 คือ ประกอบด้วย 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ได้แก่ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม สุขศึกษาและพลศึกษา ศิลปะ การงาน
อาชีพและ เทคโนโลยี และภาษาต่างประเทศ แต่มุ่งเน้นการปรับปรุงเนื้อหาให้มีความทันสมัย
ทันต่อการเปลี่ยนแปลงและ ความเจริญก้าวหน้าทางวิทยาการต่าง ๆ ค านึงถึงการส่งเสริมให้ผู้เรียน
มีทักษะที่จ าเป็นส าหรับการเรียนรู้ใน ศตวรรษที่ 21 เป็นส าคัญ เตรียมผู้เรียนให้มีความพร้อมที่จะเรียนรู้สิ่ง
ต่าง ๆ พร้อมที่จะประกอบอาชีพ เมื่อจบ การศึกษา หรือสามารถศึกษาต่อในระดับที่สูงขึ้น สามารถ
แข่งขันและอยู่ร่วมกับประชาคมโลกได้
กรอบในการปรับปรุง คือ ให้มีองค์ความรู้ที่เป็นสากลเทียบเท่านานาชาติ ปรับมาตรฐานการเรียนรู้
และตัวชี้วัดให้มีความชัดเจน ลดความซ้ าซ้อน สอดคล้องและเชื่อมโยงกันภายในกลุ่มสาระการเรียนรู้ และ
ระหว่างกลุ่มสาระการเรียนรู้ ตลอดจนเชื่อมโยงองค์ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และเทคโนโลยี
เข้า ด้วยกัน จัดเรียงล าดับความยากง่ายของเนื้อหาในแต่ละระดับชั้นตามพัฒนาการแต่ละช่วงวัย ให้มี
ความเชื่อมโยง ความรู้และกระบวนการเรียนรู้ โดยให้เรียนรู้ผ่านการปฏิบัติที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนพัฒนา
ความคิด
สาระส าคัญของการปรับปรุงหลักสูตร มีดังนี้
1. กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์
1.1 จัดกลุ่มความรู้ใหม่และน าทักษะกระบวนการไปบูรณาการกับตัวชี้วัด
เน้นให้ผู้เรียนเกิดการ คิดวิเคราะห์ คิดแก้ปัญหา และมีทักษะในศตวรรษที่ 21
4
1.2 ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ถึงมัธยมศึกษาปีที่ 3 ก าหนดมาตรฐานการ
เรียนรู้และตัวชี้วัด ส าหรับผู้เรียนทุกคน ที่เป็นพื้นฐานที่เกี่ยวข้องกับชีวิตประจ าวัน และเป็นพื้นฐานส าคัญ
ในการศึกษาต่อระดับที่ สูงขึ้น
1.3 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 – 6 ก าหนดมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
เฉพาะเจาะจง แยกส่วนระหว่างผู้เรียนที่เลือกเรียนในแผนการเรียนที่ไม่เน้นวิทยาศาสตร์ และแผนการ
เรียนที่เน้นวิทยาศาสตร์ มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดในส่วนของแผนการเรียนที่ไม่เน้นวิทยาศาสตร์
เป็นพื้นฐานที่เกี่ยวข้องกับ ชีวิตประจ าวัน และการศึกษาต่อระดับที่สูงขึ้น ส่วนมาตรฐานการเรียนรู้และ
ตัวชี้วัดของแผนการเรียนที่เน้น วิทยาศาสตร์ ผู้เรียนจะได้รับการพัฒนาส่งเสริมให้มีความรู้ ทักษะ และ
ประสบการณ์ ด้านคณิตศาสตร์และ วิทยาศาสตร์ที่ถูกต้องลึกซึ้ง และกว้างขวางตามศักยภาพของตนเองให้
มากที่สุด อันจะเป็นพื้นฐานสู่ความเป็นเลิศ ทางด้านวิทยาศาสตร์ ศึกษาต่อในวิชาชีพที่ต้องใช้วิทยาศาสตร์
ได้
1.4 ปรับจากตัวชี้วัดช่วงชั้นในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 – 6 เป็นตัวชี้วัดชั้นปี
2. กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ได้เพิ่มสาระเทคโนโลยี ซึ่งประกอบด้วย
การออกแบบและเทคโนโลยี และวิทยาการค านวณ ทั้งนี้เพื่อเอื้อต่อการจัดการเรียนรู้บูรณาการสาระ
ทางคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี กับกระบวนการเชิงวิศวกรรม ตามแนวคิดสะเต็มศึกษา
3. สาระภูมิศาสตร์ ซึ่งเป็นสาระหนึ่งในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และ
วัฒนธรรม ยังคงมาตรฐานการเรียนรู้เดิม แต่ปรับมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดให้มีความชัดเจน
สอดคล้องกับพัฒนาการ ตามช่วงวัย มีองค์ความรู้ที่เป็นสากล เพิ่มความสามารถ ทักษะ และกระบวนการ
ทางภูมิศาสตร์ ที่ชัดเจนขึ้น
ส าหรับทางโรงเรียนหอวัง ได้จัดท าหลักสูตรที่สอดคล้องกับเจตนารมณ์ของหลักสูตรแกนกลาง
การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ในด้านหลักการของหลักสูตรแกนกลางฯ สมรรถนะส าคัญของ
ผู้เรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดที่ก าหนด การจัดการเรียนรู้ การวัดและ
ประเมินผลการเรียนรู้ การเทียบโอนผลการเรียน และได้ปรับปรุงมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดในสาระ
การเรียนรู้คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สาระภูมิศาสตร์ ในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และ
วัฒนธรรม ตามการปรับปรุงมาตรฐานการเรียนรู้ และตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
วิทยาศาสตร์ และสาระภูมิศาสตร์ในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม (ฉบับ
ปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551 ที่
กระทรวงศึกษาธิการได้ก าหนด มุ่งพัฒนาผู้เรียนส าหรับยุคศตวรรษที่ 21 ให้มีศักยภาพที่ส าคัญ คือ มี
ความรู้พื้นฐานในยุคดิจิตอล มีความสามารถคิดประดิษฐ์อย่างสร้างสรรค์ มีทักษะการสื่อสารอย่างมี
ประสิทธิผล มีความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต และ มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยี รวมทั้งได้จัดการ
เรียนการสอนตามแนวโรงเรียนมาตรฐานสากล ( World-Class standard school) โดยมุ่งพัฒนาผู้เรียน
ให้มีคุณภาพ มีความรู้ ความสามารถและคุณลักษณะ (Learner Profile) เทียบเคียงมาตรฐานสากล มี
ศักยภาพทั้งในฐานะพลเมืองไทยและเป็นพลโลก (World citizen)
นอกจากนี้ ยังเป็นหลักสูตรที่มุ่งส่งเสริมผู้เรียน ให้มีคุณธรรม รักความเป็นไทย มีทักษะการคิด
วิเคราะห์ สร้างสรรค์ มีทักษะด้านเทคโนโลยี สามารถท างานร่วมกับผู้อื่น และอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมโลก
ได้อย่างสันติ
5
วิสัยทัศน์
มุ่งพัฒนาผู้เรียนทุกคน ซึ่งเป็นก าลังของชาติให้เป็นมนุษย์ที่มีความสมดุลทั้งด้านร่างกาย ความรู้
คุณธรรม มีจิตส านึกในความเป็นพลเมืองไทยและเป็นพลโลก ยึดมั่นในการปกครองตามระบอบประชาธิปไตย
อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข มีความรู้และทักษะพื้นฐาน รวมทั้ง เจตคติ ที่จ าเป็นต่อการศึกษาต่อ
การประกอบอาชีพและการศึกษาตลอดชีวิต โดยมุ่งเน้นผู้เรียนเป็นส าคัญบนพื้นฐานความเชื่อว่า ทุกคน
สามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้เต็มตามศักยภาพ
หลักการ
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มีหลักการที่ส าคัญ ดังนี้
1. เป็นหลักสูตรการศึกษาเพื่อความเป็นเอกภาพของชาติ มีจุดหมายและมาตรฐานการเรียนรู้
เป็นเป้าหมายส าหรับพัฒนาเด็กและเยาวชนให้มีความรู้ ทักษะ เจตคติ และคุณธรรมบนพื้นฐาน ของความ
เป็นไทยควบคู่กับความเป็นสากล
2. เป็นหลักสูตรการศึกษาเพื่อปวงชน ที่ประชาชนทุกคนมีโอกาสได้รับการศึกษาอย่างเสมอภาค และ
มีคุณภาพ
3. เป็นหลักสูตรการศึกษาที่สนองการกระจายอ านาจ ให้สังคมมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาให้
สอดคล้องกับสภาพและความต้องการของท้องถิ่น
4. เป็นหลักสูตรการศึกษาที่มีโครงสร้างยืดหยุ่นทั้งด้านสาระการเรียนรู้ เวลาและการจัดการเรียนรู้
5. เป็นหลักสูตรการศึกษาที่เน้นผู้เรียนเป็นส าคัญ
6. เป็นหลักสูตรการศึกษาส าหรับการศึกษาในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศัย ครอบคลุมทุก
กลุ่มเป้าหมาย สามารถเทียบโอนผลการเรียนรู้ และประสบการณ์
จุดหมาย
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้เป็นคนดี มีปัญญา มีความสุข
มีศักยภาพในการศึกษาต่อ และประกอบอาชีพ จึงก าหนดเป็นจุดหมายเพื่อให้เกิดกับผู้เรียน เมื่อจบ
การศึกษาขั้นพื้นฐาน ดังนี้
1. มีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์ เห็นคุณค่าของตนเอง มีวินัยและ
ปฏิบัติตนตามหลักธรรมของพระพุทธศาสนา หรือศาสนาที่ตนนับถือ ยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียง
2. มีความรู้ ความสามารถในการสื่อสาร การคิด การแก้ปัญหา การใช้เทคโนโลยี และมี
ทักษะชีวิต
3. มีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี มีสุขนิสัย และรักการออกก าลังกาย
6
4. มีความรักชาติ มีจิตส านึกในความเป็นพลเมืองไทยและพลโลก ยึดมั่นในวิถีชีวิตและ
การปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
5. มีจิตส านึกในการอนุรักษ์วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย การอนุรักษ์และพัฒนา
สิ่งแวดล้อม มีจิตสาธารณะที่มุ่งท าประโยชน์และสร้างสิ่งที่ดีงามในสังคม และอยู่ร่วมกันในสังคมอย่างมี
ความสุข
สมรรถนะส าคัญของผู้เรียน และคุณลักษณะอันพึงประสงค์
ในการพัฒนาผู้เรียนตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มุ่งเน้นพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพ
ตามมาตรฐานที่ก าหนด ซึ่งจะช่วยให้ผู้เรียนเกิดสมรรถนะส าคัญและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ดังนี้
สมรรถนะส าคัญของผู้เรียน
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มุ่งให้ผู้เรียนเกิดสมรรถนะส าคัญ 5 ประการ ดังนี้
1. ความสามารถในการสื่อสาร เป็นความสามารถในการรับและส่งสาร มีวัฒนธรรมในการใช้
ภาษาถ่ายทอดความคิด ความรู้ความเข้าใจ ความรู้สึก และทัศนะของตนเองเพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร
และประสบการณ์อันจะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาตนเองและสังคม รวมทั้งการเจรจาต่อรองเพื่อขจัดและ
ลดปัญหาความขัดแย้งต่างๆ การเลือกรับหรือไม่รับข้อมูลข่าวสารด้วยหลักเหตุผลและความถูกต้อง
ตลอดจนการเลือกใช้วิธีการสื่อสาร ที่มีประสิทธิภาพโดยค านึงถึงผลกระทบที่มีต่อตนเองและสังคม
2. ความสามารถในการคิด เป็นความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์ การคิด
อย่างสร้างสรรค์ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ และการคิดเป็นระบบ เพื่อน าไปสู่การสร้างองค์ความรู้หรือ
สารสนเทศเพื่อการตัดสินใจเกี่ยวกับตนเองและสังคมได้อย่างเหมาะสม
3. ความสามารถในการแก้ปัญหา เป็นความสามารถในการแก้ปัญหาและอุปสรรคต่าง ๆ
ที่เผชิญได้อย่างถูกต้องเหมาะสมบนพื้นฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและข้อมูลสารสนเทศ เข้าใจ
ความสัมพันธ์และการเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์ต่าง ๆ ในสังคม แสวงหาความรู้ ประยุกต์ความรู้มาใช้ใน
การป้องกันและแก้ไขปัญหา และมีการตัดสินใจที่มีประสิทธิภาพโดยค านึงถึงผลกระทบที่เกิดขึ้น
ต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต เป็นความสามารถในการน ากระบวนการต่าง ๆ ไปใช้ใน
การด าเนินชีวิตประจ าวัน การเรียนรู้ด้วยตนเอง การเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง การท างาน และการอยู่ร่วมกัน
ในสังคมด้วยการสร้างเสริมความสัมพันธ์อันดีระหว่างบุคคล การจัดการปัญหาและความขัดแย้งต่าง ๆ อย่าง
เหมาะสม การปรับตัวให้ทันกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมและสภาพแวดล้อม และการรู้จักหลีกเลี่ยง
พฤติกรรมไม่พึงประสงค์ที่ส่งผลกระทบต่อตนเองและผู้อื่น
ี
5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี เป็นความสามารถในการเลือก และใช้ เทคโนโลยด้านต่าง ๆ
และมีทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพื่อการพัฒนาตนเองและสังคม ในด้านการเรียนรู้ การสื่อสาร
การท างาน การแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ ถูกต้อง เหมาะสม และมีคุณธรรม
7
คุณลักษณะอันพึงประสงค์
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ เพื่อให้
สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมได้อย่างมีความสุข ในฐานะเป็นพลเมืองไทยและพลโลก ดังนี้
1. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์
2. ซื่อสัตย์สุจริต
3. มีวินัย
4. ใฝ่เรียนรู้
5. อยู่อย่างพอเพียง
6. มุ่งมั่นในการท างาน
7. รักความเป็นไทย
8. มีจิตสาธารณะ
นอกจากนี้ สถานศึกษาสามารถก าหนดคุณลักษณะอันพึงประสงค์เพิ่มเติมให้สอดคล้องตามบริบท
และจุดเน้นของตนเอง
มาตรฐานการเรียนรู้
การพัฒนาผู้เรียนให้เกิดความสมดุล ต้องค านึงถึงหลักพัฒนาการทางสมองและพหุปัญญา
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน จึงก าหนดให้ผู้เรียนเรียนรู้ 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ดังนี้
1. ภาษาไทย
2. คณิตศาสตร์
3. วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
4. สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
5. สุขศึกษาและพลศึกษา
6. ศิลปะ
ี
7. การงานอาชพ
8. ภาษาต่างประเทศ
ในแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ได้ก าหนดมาตรฐานการเรียนรู้เป็นเป้าหมายส าคัญของการพัฒนา
คุณภาพผู้เรียน มาตรฐานการเรียนรู้ระบุสิ่งที่ผู้เรียนพึงรู้ ปฏิบัติได้ มีคุณธรรมจริยธรรม และค่านิยม
ที่พึงประสงค์เมื่อจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน นอกจากนั้นมาตรฐานการเรียนรู้ยังเป็นกลไกส าคัญ
ในการขับเคลื่อนพัฒนาการศึกษาทั้งระบบ เพราะมาตรฐานการเรียนรู้จะสะท้อนให้ทราบว่าต้องการอะไร
จะสอนอย่างไร และประเมินอย่างไร รวมทั้งเป็นเครื่องมือในการตรวจสอบเพื่อการประกันคุณภาพ
การศึกษาโดยใช้ระบบการประเมินคุณภาพภายในและการประเมินคุณภาพภายนอก ซึ่งรวมถึง
การทดสอบระดับเขตพื้นที่การศึกษา และการทดสอบระดับชาติ ระบบการตรวจสอบเพื่อประกันคุณภาพ
ดังกล่าวเป็นสิ่งส าคัญที่ช่วยสะท้อนภาพการจัดการศึกษาว่าสามารถพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพตามที่
มาตรฐานการเรียนรู้ก าหนดเพียงใด
8
ตัวชี้วัด
ตัวชี้วัดระบุสิ่งที่นักเร ียนพึงรู้และปฏิบัติได้ รวมทั้งคุณลักษณะของผู้เรียนในแต่ละระดับชั้น
ซึ่งสะท้อนถึงมาตรฐานการเรียนรู้ มีความเฉพาะเจาะจงและมีความเป็นรูปธรรม น าไปใช้
ในการก าหนดเนื้อหา จัดท าหน่วยการเรียนรู้ จัดการเรียนการสอน และเป็นเกณฑ์ส าคัญส าหรับการวัด
ประเมินผลเพื่อตรวจสอบคุณภาพผู้เรียน
1. ตัวชี้วัดชั้นปี เป็นเป้าหมายในการพัฒนาผู้เรียนแต่ละชั้นปีในระดับการศึกษาภาคบังคับ
(ประถมศึกษาปีที่ 1 – มัธยมศึกษาปีที่ 3)
2. ตัวชี้วัดช่วงชั้น เป็นเป้าหมายในการพัฒนาผู้เรียนในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย(มัธยมศึกษาปี
ที่ 4- 6)
หลักสูตรได้มีการก าหนดรหัสก ากับมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด เพื่อความเข้าใจและให้สื่อสาร
ตรงกัน ดังน ี้
ท 1.1 ป. 1/2
ป.1/2 ตัวชี้วัดชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ข้อที่ 2
1.1 สาระที่ 1 มาตรฐานข้อที่ 1
ท กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
ต 2.2 ม.4-6/ 3
ม.4-6/3 ตัวชี้วัดชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ข้อที่ 3
2.3 สาระที่ 2 มาตรฐานข้อที่ 2
ต กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
9
สาระการเรียนรู้
สาระการเรียนรู้ ประกอบด้วย องค์ความรู้ ทักษะหรือกระบวนการเรียนรู้ และคุณลักษณะ
อันพึงประสงค์ ซึ่งก าหนดให้ผู้เรียนทุกคนในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานจ าเป็นต้องเรียนรู้ โดยแบ่งเป็น 8
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ดังนี้
คณิตศาสตร์ : การน าความรู้ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี : การน า
ทักษะและกระบวนการทาง
ความรู้ และกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
ภาษาไทย : ความรู้ ทักษะ ค ณิ ต ศ า ส ต ร์ ไ ป ใ ช้ ใ น
และวัฒนธรรมการใช้ภาษา การแก้ปัญหา การด าเนินชีวิต ไปใช้ในการศึกษา ค้นคว้าหาความรู้ และ
แก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ การคิดอย่างเป็นเหตุ
เพื่อ การสื่อสาร ความชื่นชม และศึกษาต่อ การมีเหตุมีผล
การเห็นคุณค่าภูมิปัญญา ไทย มีเจตคติที่ดีต่อคณิ ตศาสตร์ เป็ น ผล คิ ด วิเค ราะห์ คิ ด สร้างสรรค์
จิตวิทยาศาสตร์ และการใช้เทคโนโลยี
และภูมิใจในภาษาประจ าชาติ พัฒนาการคิดอย่างเป็นระบบและ
สร้างสรรค์
ภาษาต่างประเทศ : ความรู้ องค์ความรู้ ทักษะส าคัญ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม :
ทักษะ เจตคติ และวัฒนธรรม การอยู่ร่วมกันในสังคมไทยและสังคมโลก
การใช้ภาษาต่างประเทศในการ และคุณลักษณะ อย่างสันติสุข การเป็นพลเมืองดี
สื่อสาร การแสวงหาความรู้ ในหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ศรัทธาในหลักธรรมของศาสนา การ
และการประกอบอาชีพ ขั้นพื้นฐาน เห็นคุณ ค่าของทรัพยากรและ
สิ่งแวดล้อม ความรักชาติ และภูมิใจ
ในความเป็นไทย
สุขศึกษาและพลศึกษา :
การงานอาชีพ : ความรู้ ทักษะ ความรู้ ทักษะและเจตคติในการ
และเจตคติใน การท างาน สร้างเสริมสุขภาพพลานามัยของ
ศิลปะ : ความรู้และทักษะ
การจัดการ การด ารงชีวิต ตนเองและผู้อื่น การป้องกันและ
ในการคิดริเริ่มจินตนาการ
การประกอบอาชีพ สร้างสรรค์งานศิลปะ ปฏิบัติต่อสิ่งต่าง ๆ ที่มีผลต่อ
สุนทรียภาพและการเห็น สุขภาพอย่างถูกวิธีและทักษะใน
คุณค่าทางศิลปะ การด าเนินชีวต
ิ
10
ความสัมพันธ์ของการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
วิสัยทัศน์
หลักสูตรโรงเรียนหอวัง พุทธศักราช 2561 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา พุทธศักราช 2551 และมาตรฐาน
การเรียนรู้และตัวชี้วัดฯ (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2560) มุ่งพัฒนาผู้เรียนทุกคน ซึ่งเป็นก าลังของชาติให้เป็นมนุษย์ที่มี
ความสมดุลทั้งด้านร่างกาย ความรู้ คุณธรรม มีจิตส านึกในความเป็นพลเมืองไทยและเป็นพลโลก ยึดมั่นในการปกครองตาม
ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข มีความรู้และทักษะพื้นฐาน รวมทั้ง เจตคติ ที่จ าเป็นต่อการศึกษา
ต่อการประกอบอาชีพและการศึกษาตลอดชีวิต โดยมุ่งเน้นผู้เรียนเป็นส าคัญบนพื้นฐานความเชื่อว่า ทุกคนสามารถ
เรียนรู้และพัฒนาตนเองได้เต็มตามศักยภาพ
จุดหมาย
1. มีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์ เห็นคุณค่าของตนเอง มีวินัยและปฏิบัติตนตาม
หลักธรรมของพระพุทธศาสนา หรือศาสนาที่ตนนับถือ ยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
2. มีความรู้อันเป็นสากลและมีความสามารถในการสื่อสาร การคิด การแก้ปัญหา การใช้เทคโนโลยีและมีทักษะ
ชีวิต
3. มีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี มีสุขนิสัย และรักการออกก าลังกาย
4. มีความรักชาติ มีจิตส านึกในความเป็นพลเมืองไทยและพลโลก ยึดมั่นในวิถีชีวิตและการปกครองในระบอบ
ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
5. มีจิตส านึกในการอนุรักษ์วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย การอนุรักษ์และพัฒนาสิ่งแวดล้อม มีจิตสาธารณะที่
มุ่งท าประโยชน์และสร้างสิ่งที่ดีงามในสังคม และอยู่ร่วมกันในสังคมอย่างมีความสุข
สมรรถนะส าคัญของผู้เรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์
1. ความสามารถในการสื่อสาร 1. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์
2. ความสามารถในการคิด 2. ซื่อสัตย์สุจริต
3. ความสามารถในการแก้ปัญหา 3. มีวินัย
4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต 4. ใฝ่เรียนรู้
5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 5. อยู่อย่างพอเพียง
6. มุ่งมั่นในการท างาน
7. รักความเป็นไทย
8. มีจิตสาธารณะ
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
1. ภาษาไทย 2. คณิตศาสตร์ 3. วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
1.กิจกรรมแนะแนว
4. สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม 5. สุขศึกษาและพลศึกษา 2.กิจกรรมนักเรียน
6. ศิลปะ 7. การงานอาชีพ 8. ภาษาต่างประเทศ 3. กิจกรรมเพื่อสังคมและ
สาธารณประโยชน์
คุณภาพของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
11
สาระและมาตรฐานการเรียนรู้
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานก าหนดมาตรฐานการเรียนรู้ใน 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้
จ านวน 73 มาตรฐาน ดังนี้
ภาษาไทย
สาระที่ 1 การอ่าน
มาตรฐาน ท 1.1 ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิดเพื่อน าไปใช้ตัดสินใจ แก้ปัญหา
ในการด าเนินชีวิตและมีนิสัยรักการอ่าน
สาระที่ 2 การเขียน
มาตรฐาน ท 2.1 ใช้กระบวนการเขียน เขียนสื่อสาร เขียนเรียงความ ย่อความ และเขียนเรื่องราว
ในรูปแบบต่างๆ เขียนรายงานข้อมูลสารสนเทศและรายงานการศึกษาค้นคว้า
อย่างมีประสิทธิภาพ
สาระที่ 3 การฟัง การดู และการพูด
มาตรฐาน ท 3.1 สามารถเลือกฟังและดูอย่างมีวิจารณญาณ และพูดแสดงความรู้ ความคิด
ความรู้สึกในโอกาสต่างๆ อย่างมีวิจารณญาณ และสร้างสรรค์
สาระที่ 4 หลักการใช้ภาษาไทย
มาตรฐาน ท 4.1 เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษาและพลัง
ของภาษา ภูมิปัญญาทางภาษา และรักษา ภาษาไทยไว้เป็นสมบัติของชาติ
สาระที่ 5 วรรณคดีและวรรณกรรม
มาตรฐาน ท 5.1 เข้าใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณ์วรรณคดี และวรรณกรรมไทยอย่าง
เห็นคุณค่าและน ามาประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง
คณิตศาสตร์
สาระที่ 1 จ านวนและพีชคณิต
มาตรฐาน ค 1.1 เข้าใจความหลากหลายของการแสดงจ านวน ระบบจ านวน การด าเนินการของ
จ านวน ผลที่เกิดขึ้นจากการด าเนินการ สมบัติของการด าเนินการ และน าไปใช้
มาตรฐาน ค 1.2 เข้าใจและวิเคราะห์แบบรูป ความสัมพันธ์ ฟังก์ชัน ล าดับและอนุกรม และ
น าไปใช้
มาตรฐาน ค 1.3 ใช้นิพจน์ สมการ อสมการ และเมทริกซ์ อธิบายความสัมพันธ์หรือช่วยแก้ปัญหา
ที่ก าหนดให้
หมายเหตุ: มาตรฐาน ค 1.3 ส าหรับผู้เรียนในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 – 6
สาระที่ 2 การวัดและเรขาคณิต
ั
มาตรฐาน ค 2.1 เข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับการวัด วัดและคาดคะเนขนาดของสิ่งที่ต้องการวด
และน าไปใช้
12
มาตรฐาน ค 2.2 เข้าใจและวิเคราะห์รูปเรขาคณิต สมบัติของรูปเรขาคณิต ความสัมพันธ์ระหว่าง
รูปเรขาคณิตและทฤษฎีบททางเรขาคณิต และน าไปใช้
มาตรฐาน ค 2.3 เข้าใจเรขาคณิตวิเคราะห์ และน าไปใช้
มาตรฐาน ค 2.4 เข้าใจเวกเตอร์ การด าเนินการของเวกเตอร์ และน าไปใช้
หมายเหตุ: 1. มาตรฐาน ค 2.1 และ ค 2.2 ส าหรับผู้เรียนในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ถึงระดับชั้น
มัธยมศึกษาปีที่ 3
2. มาตรฐาน ค 2.3 และ ค 2.4 ส าหรับผู้เรียนในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 – 6 ที่เน้น
วิทยาศาสตร์
สาระที่ 3 สถิติและความน่าจะเป็น
มาตรฐาน ค 3.1 เข้าใจกระบวนการทางสถิติ และใช้ความรู้ทางสถิติในการแก้ปัญหา
มาตรฐาน ค 3.2 เข้าใจหลักการนับเบื้องต้น ความน่าจะเป็น และน าไปใช ้
หมายเหตุ: มาตรฐาน ค 3.2 ส าหรับผู้เรียนในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 - 6
สาระที่ 4 แคลคูลัส
มาตรฐาน ค 4.1 เข้าใจลิมิตและความต่อเนื่องของฟังก์ชัน อนุพันธ์ของฟังก์ชัน และปริพันธ์ของ
ฟังก์ชัน และน าไปใช้
หมายเหตุ: มาตรฐาน ค. 4.1 ส าหรับผู้เรียนในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 – 6 ที่เน้นวิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
สาระที่ 1 วิทยาศาสตร์ชีวภาพ
มาตรฐาน ว 1.1 เข้าใจความหลากหลายของระบบนิเวศ ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งไม่มีชีวิตกับ
สิ่งมีชีวิต และความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตต่างๆ ในระบบนิเวศ
การถ่ายทอด พลังงาน การเปลี่ยนแปลงแทนที่ในระบบนิเวศ ความหมายของ
ประชากร ปัญหาและ ผลกระทบที่มีต่อทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
แนวทางในการอนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติและการแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อม
รวมทั้งน าความรู้ไปใช้ประโยชน์
มาตรฐาน ว 1.2 เข้าใจสมบัติของสิ่งมีชีวิต หน่วยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต การล าเลียงสารเข้าและ
ออกจาก เซลล์ ความสัมพันธ์ของโครงสร้าง และหน้าที่ของระบบต่างๆ ของสัตว์
และมนุษย์ที่ ท างานสัมพันธ์กัน ความสัมพันธ์ของโครงสร้าง และหน้าที่ของ
่
อวัยวะตางๆ ของพืชที่ ท างานสัมพันธ์กัน รวมทั้งน าความรู้ไปใช้ประโยชน์
มาตรฐาน ว 1.3 เข้าใจกระบวนการและความส าคัญของการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม สาร
พันธุกรรม การเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรมที่มีผลต่อสิ่งมีชีวิต ความหลากหลาย
ทางชีวภาพและวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต รวมทั้งน าความรู้ไปใช้ประโยชน์
13
หมายเหตุ: มาตรฐาน ว 1.1 - ว 1.3 ส าหรับผู้เรียนในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ถึงระดับ
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 และผู้เรียนในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 – 6 ที่ไม่เน้นวิทยาศาสตร์
สาระที่ 2 วิทยาศาสตร์กายภาพ
มาตรฐาน ว 2.1 เข้าใจสมบัติของสสาร องค์ประกอบของสสาร ความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติของ
กับโครงสร้างและแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค หลักและธรรมชาติของการ
เปลี่ยนแปลงสถานะของสสาร การเกิดสารละลาย และการเกิดปฏิกิริยาเคมี
มาตรฐาน ว 2.2 เข้าใจธรรมชาติของแรงในชีวิตประจ าวัน ผลของแรงที่กระท าต่อวัตถุ
ลักษณะการ เคลื่อนที่แบบต่างๆ ของวัตถุ รวมทั้งน าความรู้ไปใช้ประโยชน์
มาตรฐาน ว 2.3 เข้าใจความหมายของพลังงาน การเปลี่ยนแปลงและการถ่ายโอนพลังงาน
ปฏิสัมพันธ์ ระหว่างสสารและพลังงาน พลังงานในชีวิตประจ าวัน ธรรมชาติของ
คลื่น ปรากฏการณ์ ที่เกี่ยวข้องกับเสียง แสง และคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า รวมทั้งน า
ความรู้ไปใช้ประโยชน์
หมายเหตุ: มาตรฐาน ว 2.1 - ว 2.3 ส าหรับผู้เรียนในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ถึงระดับ
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 และผู้เรียนในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 – 6 ที่ไม่เน้นวิทยาศาสตร์
สาระที่ 3 วิทยาศาสตร์โลกและอวกาศ
มาตรฐาน ว 3.1 เข้าใจองค์ประกอบ ลักษณะ กระบวนการเกิด และวิวัฒนาการของเอกภพ
กาแล็กซี ดาวฤกษ์ และระบบสุริยะ รวมทั้งปฏิสัมพันธ์ภายในระบบสุริยะที่ส่งผล
ต่อสิ่งมีชีวิตและ การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีอวกาศ
มาตรฐาน ว 3.2 เข้าใจองค์ประกอบและความสัมพันธ์ของระบบโลก กระบวนการเปลี่ยนแปลง
ภายใน โลก และบนผิวโลก ธรณีพิบัติภัย กระบวนการเปลี่ยนแปลงลม ฟ้า
อากาศ และ ภูมิอากาศโลก รวมทั้งผลต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
หมายเหตุ: มาตรฐาน ว 3.1 และ ว 3.2 ส าหรับผู้เรียนทุกคนในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ถึงระดับชั้น
มัธยมศึกษาปีที่ 3 และผู้เรียนในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 – 6 ที่ไม่เน้นวิทยาศาสตร์
สาระที่ 4 ชีววิทยา
มาตรฐาน ว 4.1 เข้าใจธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต การศึกษาชีววิทยาและวิธีการทางวิทยาศาสตร์
สารที่เป็นองค์ประกอบของสิ่งมีชีวิต ปฏิกิริยาเคมีในเซลล์ของสิ่งมีชีวิต
กล้องจุลทรรศน์ โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์ การล าเลียงสารเข้าและออกจาก
การแบ่งเซลล์ และการหายใจระดับเซลล์
มาตรฐาน ว 4.2 เข้าใจการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม การถ่ายทอดยีนบนโครโมโซม สมบัติ
และ หน้าที่ของสารพันธุกรรม การเกิดมิวเทชัน เทคโนโลยีทางดีเอ็นเอ หลักฐาน
ข้อมูลและ แนวคิดเกี่ยวกับวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต ภาวะสมดุลของ
ี
ฮาร์ด-ไวน์เบิร์ก การเกิดสปีชีส์ใหม่ ความหลากหลายทางชีวภาพ ก าเนิดของ
สิ่งมีชีวิต ความหลากหลายของ สิ่งมีชีวิต และอนุกรมวิธาน รวมทั้งน าความรู้ไป
14
ใช้ประโยชน์
มาตรฐาน ว 4.3 เข้าใจส่วนประกอบของพืช การแลกเปลี่ยนแก๊สและคายน้ าของพืช การล าเลียง
ของพืช การสังเคราะห์ด้วยแสง การสืบพันธุ์ของพืชดอกและการเจริญเติบโต
และการ ตอบสนองของพืช รวมทั้งน าความรู้ไปใช้ประโยชน์
มาตรฐาน ว 4.4 เข้าใจการย่อยอาหารของสัตว์และมนุษย์ รวมทั้งการหายใจและการแลกเปลี่ยน
แก๊ส การล าเลียงสารและการหมุนเวียนเลือด ภูมิคุ้มกันของร่างกาย การขับถ่าย
การรับรู้ และการตอบสนอง การเคลื่อนที่ การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต
ฮอร์โมนกับการ รักษาดุลยภาพ และพฤติกรรมของสัตว์ รวมทั้งน าความรู้ไปใช้
ประโยชน์
มาตรฐาน ว 4.5 เข้าใจแนวคิดเกี่ยวกับระบบนิเวศ กระบวนการถ่ายทอดพลังงานและ
การหมุนเวียนสารในระบบนิเวศ ความหลากหลายของไบโอม การเปลี่ยนแปลง
แทนที่ของสิ่งมีชีวิตใน ระบบนิเวศ ประชากรและรูปแบบการเพิ่มของประชากร
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ปัญหา และผลกระทบที่เกิดจากการใช้
ประโยชน์ และแนวทางการแก้ไขปัญหา
หมายเหตุ: มาตรฐาน ว 4.1 – ว 4.5 ส าหรับผู้เรียนในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 – 6 ที่เน้นวิทยาศาสตร์
สาระที่ 5 เคมี
มาตรฐาน ว 5.1 เข้าใจโครงสร้างอะตอม การจัดเรียงธาตุในตารางธาตุ สมบัติของธาตุ พันธะเคมี
และ สมบัติของสาร แก๊สและสมบัติของแก๊ส ประเภทและสมบัติของ
สารประกอบอินทรีย์ และพอลิเมอร์ รวมทั้งการน าความรู้ไปใช้ประโยชน์
มาตรฐาน ว 5.2 เข้าใจการเขียนและการดุลสมการเคมี ปริมาณสัมพันธ์ในปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี สมดุลในปฏิกิริยาเคมี สมบัติและปฏิกิริยาของ
กรด– เบส ปฏิกิริยา รีดอกซ์และเซลล์เคมีไฟฟ้า รวมทั้งการน าความรู้ไปใช้
ประโยชน์
มาตรฐาน ว 5.3 เข้าใจหลักการท าปฏิบัติการเคมี การวัดปริมาณสาร หน่วยวัดและการเปลี่ยน
หน่วย การค านวณปริมาณของสาร ความเข้มข้นของสารละลาย รวมทั้ง
การบูรณาการความรู้ และทักษะในการอธิบายปรากฏการณ์ในชีวิตประจ าวัน
และการแก้ปัญหาทางเคมี
หมายเหตุ: มาตรฐาน ว 5.1 – ว 5.3 ส าหรับผู้เรียนในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 – 6 ที่เน้นวิทยาศาสตร์
สาระที่ 6 ฟิสิกส์
มาตรฐาน ว 6.1 เข้าใจธรรมชาติทางฟิสิกส์ ปริมาณและกระบวนการวัด การเคลื่อนที่แนวตรง
แรงและกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน กฎความโน้มถ่วงสากล แรงเสียดทาน สมดุล
กลของวัตถุ งาน และกฎการอนุรักษ์พลังงานกล โมเมนตัมและกฎการอนุรักษ์
โมเมนตัม การเคลื่อนที่แนวโค้ง รวมทั้งน าความรู้ไปใช้ประโยชน์
15
่
มาตรฐาน ว 6.2 เข้าใจการเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกส์อย่างงาย ธรรมชาติของคลื่น เสียงและ
การได้ยิน ปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับเสียง แสงและการเห็น ปรากฏการณ์ที่
เกี่ยวข้องกับแสง รวมทั้งน าความรู้ไปใช้ประโยชน์
มาตรฐาน ว 6.3 เข้าใจแรงไฟฟ้าและกฎของคูลอมบ์ สนามไฟฟ้า ศักย์ไฟฟ้า ความจุไฟฟ้า
กระแสไฟฟ้า และกฎของโอห์ม วงจรไฟฟ้ากระแสตรง พลังงานไฟฟ้าและ
้
ก าลังไฟฟ้า การเปลี่ยนพลังงานทดแทนเป็นพลังงานไฟฟา สนามแม่เหล็ก แรง
แม่เหล็กที่กระท ากับประจุไฟฟ้า และกระแสไฟฟ้า การเหนี่ยวน าแม่เหล็กไฟฟ้า
และกฎของฟาราเดย์ ไฟฟ้ากระแสสลับ คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าและการสื่อสาร
รวมทั้งน าความรู้ไปใช้ประโยชน์
มาตรฐาน ว 6.4 เข้าใจความสัมพันธ์ของความร้อนกับการเปลี่ยนอุณหภูมิและสถานะของสสาร
สภาพ ยืดหยุ่นของวัสดุ และมอดุลัสของยัง ความดันในของไหล แรงพยุง และ
หลักของอาร์คิ มีดีส ความตึงผิวและแรงหนืดของของเหลว ของไหลอุดมคติ และ
สมการแบร์นูลลี กฎ ของแก๊ส ทฤษฎีจลน์ของแก๊สอุดมคติและพลังงานในระบบ
ทฤษฎีอะตอมของโบร์ ปรากฏการณ์โฟโตอิเล็กทริก ทวิภาวะของคลื่นและ
อนุภาค กัมมันตภาพรังสี แรง นิวเคลียร์ ปฏิกิริยานิวเคลียร์ พลังงานนิวเคลียร์
ฟิสิกส์อนุภาค รวมทั้งน าความรู้ไปใช้ ประโยชน์
หมายเหตุ: มาตรฐาน ว 6.1 – ว 6.4 ส าหรับผู้เรียนในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 – 6 ที่เน้นวิทยาศาสตร์
สาระที่ 7 โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ
ี
มาตรฐาน ว 7.1 เข้าใจกระบวนการเปลี่ยนแปลงภายในโลก ธรณีพิบัติภัยและผลต่อสิ่งมีชวิตและ
สิ่งแวดล้อม การศึกษาล าดับชั้นหิน ทรัพยากรธรณี แผนที่ และการน าไปใช้
ประโยชน์
มาตรฐาน ว 7.2 เข้าใจสมดุลพลังงานของโลก การหมุนเวียนของอากาศบนโลก การหมุนเวียน
ของน้ าในมหาสมุทร การเกิดเมฆ การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศโลกและผลต่อ
สิ่งมีชีวิตและ สิ่งแวดล้อม รวมทั้งการพยากรณ์อากาศ
มาตรฐาน ว 7.3 เข้าใจองค์ประกอบ ลักษณะ กระบวนการเกิด และวิวัฒนาการของเอกภพ
กาแล็กซี ดาวฤกษ์ และระบบสุริยะ ความสัมพันธ์ของดาราศาสตร์กับมนุษย์จาก
การศึกษา ต าแหน่งดาวบนทรงกลมฟ้าและปฏิสัมพันธ์ภายในระบบสุริยะ
รวมทั้งการประยุกต์ใช้ เทคโนโลยีอวกาศ
หมายเหตุ: มาตรฐาน ว 7.1 – ว 7.3 ส าหรับผู้เรียนในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 – 6 ที่เน้นวิทยาศาสตร์
สาระที่ 8 เทคโนโลยี
มาตรฐาน ว 8.1 เข้าใจแนวคิดหลักของเทคโนโลยีเพื่อการด ารงชีวตในสังคมที่มีการเปลี่ยนแปลง
ิ
อย่างรวดเร็ว ใช้ความรู้และทักษะทางด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และศาสตร์
16
อื่นๆ เพื่อ แก้ปัญหาหรือพัฒนางานอย่างมีความคิดสร้างสรรค์ด้วยกระบวนการ
ออกแบบเชิง วิศวกรรม เลือกใช้เทคโนโลยีอย่างเหมาะสมโดยค านึงถึง
ผลกระทบต่อชีวิต สังคม และ สิ่งแวดล้อม
มาตรฐาน ว 8.2 เข้าใจและใช้แนวคิดเชิงค านวณในการแก้ปัญหาที่พบในชีวิตจริงอย่างเป็น
ขั้นตอนและ เป็นระบบ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการเรียนรู้
การท างาน และการ แก้ปัญหาได้อย่างมีประสิทธิภาพ รู้เท่าทัน และมีจริยธรรม
หมายเหตุ: มาตรฐาน ว 8.1 ส าหรับผู้เรียนในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 –6
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
สาระที่ 1 ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม
มาตรฐาน ส 1.1 รู้ และเข้าใจประวัติ ความส าคัญ ศาสดา หลักธรรมของพระพุทธศาสนาหรือ
ศาสนาที่ตนนับถือและศาสนาอื่น มีศรัทธาที่ถูกต้อง ยึดมั่น และปฏิบัติตาม
หลักธรรม เพื่ออยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข
มาตรฐาน ส 1.2 เข้าใจ ตระหนักและปฏิบัติตนเป็นศาสนิกชนที่ดี และธ ารงรักษา
พระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ตนนับถือ
สาระที่ 2 หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการด าเนินชีวิตในสังคม
มาตรฐาน ส 2.1 เข้าใจและปฏิบัติตนตามหน้าที่ของการเป็นพลเมืองดี มีค่านิยมที่ดีงาม และ
ธ ารงรักษาประเพณีและวัฒนธรรมไทย ด ารงชีวิตอยู่ร่วมกันในสังคมไทย และ
สังคมโลกอย่างสันติสุข
มาตรฐาน ส 2.2 เข้าใจระบบการเมืองการปกครองในสังคมปัจจุบัน ยึดมั่น ศรัทธา และธ ารง
รักษาไว้ซึ่งการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็น
ประมุข
สาระที่ 3 เศรษฐศาสตร์
มาตรฐาน ส 3.1 เข้าใจและสามารถบริหารจัดการทรัพยากรในการผลิตและการบริโภค การใช้
ทรัพยากรที่มีอยู่จ ากัดได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า รวมทั้งเข้าใจหลักการ
ของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อการด ารงชีวิตอย่างมีดุลยภาพ
มาตรฐาน ส 3.2 เข้าใจระบบ และสถาบันทางเศรษฐกิจต่าง ๆ ความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจ และ
ความจ าเป็นของการร่วมมือกันทางเศรษฐกิจในสังคมโลก
สาระที่ 4 ประวัติศาสตร์
มาตรฐาน ส 4.1 เข้าใจความหมาย ความส าคัญของเวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ สามารถใช้
วิธีการทางประวัติศาสตร์มาวิเคราะห์เหตุการณ์ต่างๆ อย่างเป็นระบบ
17
มาตรฐาน ส 4.2 เข้าใจพัฒนาการของมนุษยชาติจากอดีตจนถึงปัจจุบัน ในด้านความสัมพันธ์และ
การเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์อย่างต่อเนื่อง ตระหนักถึงความส าคัญและสามารถ
วิเคราะห์ผลกระทบที่เกิดขึ้น
มาตรฐาน ส 4.3 เข้าใจความเป็นมาของชาติไทย วัฒนธรรม ภูมิปัญญาไทย มีความรัก
ความภูมิใจและธ ารงความเป็นไทย
สาระที่ 5 ภูมิศาสตร์
มาตรฐาน ส 5.1 เข้าใจลักษณะทางกายภาพของโลกและความสัมพันธ์ของสรรพสิ่งซึ่งมีผลต่อกัน
ใช้แผนที่และเครื่องมือทางภมิศาสตร์ในการค้นหา วิเคราะห์ และสรุปข้อมูล ตาม
ู
กระบวนการทางภูมิศาสตร์ ตลอดจนใช้ภูมิสารสนเทศอย่างมีประสิทธิภาพ
มาตรฐาน ส 5.2 เข้าใจปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสิ่งแวดล้อมทางกายภาพที่ก่อให้เกิด
การสร้างสรรค์ วิถีการด าเนินชีวิต มีจิตส านึกและมีส่วนร่วมในการจัดการ
ทรัพยากร และสิ่งแวดล้อมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
สุขศึกษาและพลศึกษา
สาระที่ 1 การเจริญเติบโตและพัฒนาการของมนุษย์
มาตรฐาน พ 1.1 เข้าใจธรรมชาติของการเจริญเติบโตและพัฒนาการของมนุษย์
สาระที่ 2 ชีวิตและครอบครัว
มาตรฐาน พ 2.1 เข้าใจและเห็นคุณค่าตนเอง ครอบครัว เพศศึกษา และมีทักษะในการด าเนินชีวิต
สาระที่ 3 การเคลื่อนไหว การออกก าลังกาย การเล่นเกม กีฬาไทย และกีฬาสากล
มาตรฐาน พ 3.1 เข้าใจ มีทักษะในการเคลื่อนไหว กิจกรรมทางกาย การเล่นเกม และกีฬา
มาตรฐาน พ 3.2 รักการออกก าลังกาย การเล่นเกม และการเล่นกีฬา ปฏิบัติเป็นประจ าอย่าง
สม่ าเสมอ มีวินัย เคารพสิทธิ กฎ กติกา มีน้ าใจนักกีฬา มีจิตวิญญาณใน
การแข่งขัน และชื่นชมในสุนทรียภาพของการกีฬา
สาระที่ 4 การสร้างเสริมสุขภาพ สมรรถภาพและการป้องกันโรค
มาตรฐาน พ 4.1 เห็นคุณค่าและมีทักษะในการสร้างเสริมสุขภาพ การด ารงสุขภาพ การป้องกัน
โรคและการสร้างเสริมสมรรถภาพเพื่อสุขภาพ
สาระที่ 5 ความปลอดภัยในชีวิต
มาตรฐาน พ 5.1 ป้องกันและหลีกเลี่ยงปัจจัยเสี่ยง พฤติกรรมเสี่ยงต่อสุขภาพ อุบัติเหตุ
การใช้ยาสารเสพติด และความรุนแรง
18
ศิลปะ
สาระที่ 1 ทัศนศิลป์
มาตรฐาน ศ 1.1 สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ตามจินตนาการ และความคิดสร้างสรรค์ วิเคราะห์
วิพากษ์ วิจารณ์คุณค่างานทัศนศิลป์ ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดต่องานศิลปะ
อย่างอิสระ ชื่นชม และประยุกต์ใช้ในชีวิตประจ าวัน
มาตรฐาน ศ 1.2 เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างทัศนศิลป์ ประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรม เห็นคุณค่า
งานทัศนศิลป์ที่เป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญาไทยและ
สากล
สาระที่ 2 ดนตรี
มาตรฐาน ศ 2.1 เข้าใจและแสดงออกทางดนตรีอย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ์คุณค่าดนตรี
ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดต่อดนตรีอย่างอิสระ ชื่นชม และประยุกต์
ใช้ในชีวิตประจ าวัน
มาตรฐาน ศ 2.2 เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างดนตรี ประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรม เห็นคุณค่าของดนตรีที่
เป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญาไทยและสากล
สาระที่ 3 นาฏศิลป์
มาตรฐาน ศ 3.1 เข้าใจ และแสดงออกทางนาฏศิลป์อย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์ วิจารณ์
คุณค่านาฏศิลป์ ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดอย่างอิสระ ชื่นชม และประยุกต์ใช้
ในชีวิตประจ าวัน
ิ
มาตรฐาน ศ 3.2 เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างนาฏศิลป์ ประวัตศาสตร์และวัฒนธรรม เห็นคุณค่า ของ
นาฏศิลป์ที่เป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญาไทยและสากล
การงานอาชีพ
สาระที่ 1 การด ารงชีวิตและครอบครัว
มาตรฐาน ง 1.1 เข้าใจการท างาน มีความคิดสร้างสรรค์ มีทักษะกระบวนการท างาน ทักษะ
การจัดการ ทักษะกระบวนการแก้ปัญหา ทักษะการท างานร่วมกัน และทักษะ
การแสวงหาความรู้ มีคุณธรรม และลักษณะนิสัยในการท างาน มีจิตส านึก
ในการใช้พลังงาน ทรัพยากร และสิ่งแวดล้อม เพื่อการด ารงชีวิตและครอบครัว
สาระที่ 2 การอาชีพ (สาระที่ 4 ตามหลักสูตรฯ พ.ศ.2551)
มาตรฐาน ง 4.1 เข้าใจ มีทักษะที่จ าเป็น มีประสบการณ์ เห็นแนวทางในงานอาชีพ
ใช้เทคโนโลยีเพื่อพัฒนาอาชีพ มีคุณธรรม และมีเจตคติที่ดีต่ออาชีพ
19
ภาษาต่างประเทศ
สาระที่ 1 ภาษาเพื่อการสื่อสาร
มาตรฐาน ต 1.1 เข้าใจและตีความเรื่องที่ฟังและอ่านจากสื่อประเภทต่างๆ และแสดงความคิดเห็น
อย่างมีเหตุผล
มาตรฐาน ต 1.2 มีทักษะการสื่อสารทางภาษาในการแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร แสดงความรู้สึก
และความคิดเห็นอย่างมีประสิทธิภาพ
มาตรฐาน ต 1.3 น าเสนอข้อมูลข่าวสาร ความคิดรวบยอด และความคิดเห็นในเรื่องต่างๆ
โดยการพูดและการเขียน
สาระที่ 2 ภาษาและวัฒนธรรม
มาตรฐาน ต 2.1 เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างภาษากับวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา และน าไปใช้ได้
อย่างเหมาะสมกับกาลเทศะ
มาตรฐาน ต 2.2 เข้าใจความเหมือนและความแตกต่างระหว่างภาษาและวัฒนธรรมของเจ้าของ
ภาษากับภาษาและวัฒนธรรมไทย และน ามาใช้อย่างถูกต้องและเหมาะสม
สาระที่ 3 ภาษากับความสัมพันธ์กับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น
มาตรฐาน ต 3.1 ใช้ภาษาต่างประเทศในการเชื่อมโยงความรู้กับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น และเป็น
พื้นฐานในการพัฒนา แสวงหาความรู้ และเปิดโลกทัศน์ของตน
สาระที่ 4 ภาษากับความสัมพันธ์กับชุมชนและโลก
มาตรฐาน ต 4.1 ใช้ภาษาต่างประเทศในสถานการณ์ต่างๆ ทั้งในสถานศึกษา ชุมชน และสังคม
มาตรฐาน ต 4.2 ใช้ภาษาต่างประเทศเป็นเครื่องมือพื้นฐานในการศึกษาต่อ การประกอบอาชีพ
และการแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับสังคมโลก
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน มุ่งให้ผู้เรียนได้พัฒนาตนเองตามศักยภาพ พัฒนาอย่างรอบด้านเพื่อความ
เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ ทั้งร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ และสังคม เสริมสร้างให้เป็นผู้มีศีลธรรม จริยธรรม มี
ระเบียบวินัย ปลูกฝังและสร้างจิตส านึกของการท าประโยชน์เพื่อสังคม สามารถจัดการตนเองได้ และอยู่
ร่วมกับผู้อื่นอย่างมีความสุข
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน แบ่งเป็น 3 ลักษณะ ดังนี้
1. กิจกรรมแนะแนว
เป็นกิจกรรมที่ส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียนให้รู้จักตนเอง รู้รักษ์สิ่งแวดล้อม สามารถคิดตัดสินใจ
คิดแก้ปัญหา ก าหนดเปาหมาย วางแผนชีวิตทั้งด้านการเรียน และอาชีพ สามารถปรับตนได้อย่างเหมาะสม
้
นอกจากนี้ยังช่วยให้ครูรู้จักและเข้าใจผู้เรียน ทั้งยังเป็นกิจกรรมที่ช่วยเหลือและให้ค าปรึกษาแก่ผู้ปกครอง
ในการมีส่วนร่วมพัฒนาผู้เรียน
20
2. กิจกรรมนักเรียน
เป็นกิจกรรมที่มุ่งพัฒนาความมีระเบียบวินัย ความเป็นผู้น าผู้ตามที่ดี ความรับผิดชอบ
การท างานร่วมกัน การรู้จักแก้ปัญหา การตัดสินใจที่เหมาะสม ความมีเหตุผล การช่วยเหลือแบ่งปันกัน
เอื้ออาทร และสมานฉันท์ โดยจัดให้สอดคล้องกับความสามารถ ความถนัด และความสนใจของผู้เรียน ให้
ได้ปฏิบัติด้วยตนเองในทุกขั้นตอน ได้แก่ การศึกษาวิเคราะห์วางแผน ปฏิบัติตามแผน ประเมินและปรับปรุง
การท างาน เน้นการท างานร่วมกันเป็นกลุ่ม ตามความเหมาะสมและสอดคล้องกับวุฒิภาวะของผู้เรียน
บริบทของสถานศึกษาและท้องถิ่น กิจกรรมนักเรียนประกอบด้วย
2.1 กิจกรรมลูกเสือ เนตรนารี ยุวกาชาด ผู้บ าเพ็ญประโยชน์ และนักศึกษาวิชาทหาร
2.2 กิจกรรมชุมนุม ชมรม
3. กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์
เป็นกิจกรรมที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนบ าเพ็ญตนให้เป็นประโยชน์ต่อสังคม ชุมชน และท้องถิ่นตาม
ความสนใจในลักษณะอาสาสมัคร เพื่อแสดงถึงความรับผิดชอบ ความดีงาม ความเสียสละต่อสังคม มีจิต
สาธารณะ เช่น กิจกรรมอาสาพัฒนาต่าง ๆ กิจกรรมสร้างสรรค์สังคม
ระดับการศึกษา
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน จัดระดับการศึกษาเป็น 3 ระดับ ดังนี้
1. ระดับประถมศึกษา (ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 – 6) การศึกษาระดับนี้เป็นช่วงแรกของการศึกษา
ภาคบังคับ มุ่งเน้นทักษะพื้นฐานด้านการอ่าน การเขียน การคิดค านวณ ทักษะการคิดพื้นฐาน
การติดต่อสื่อสาร กระบวนการเรียนรู้ทางสังคม และพื้นฐานความเป็นมนุษย์ การพัฒนาคุณภาพชีวิตอย่าง
สมบูรณ์และสมดุลทั้งในด้านร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ สังคม และวัฒนธรรม โดยเน้น
จัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ
2. ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น (ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 – 3) เป็นช่วงสุดท้ายของการศึกษาภาคบังคับ
มุ่งเน้นให้ผู้เรียนไดส ารวจความถนัดและความสนใจของตนเอง ส่งเสริมการพัฒนาบุคลิกภาพส่วนตน มีทักษะ
้
ในการคิดวิจารณญาณ คิดสร้างสรรค์ และคิดแก้ปัญหา มีทักษะในการด าเนินชีวิต มีทักษะการใช้
้
เทคโนโลยีเพื่อเป็นเครื่องมือในการเรียนรู้ มีความรับผิดชอบต่อสังคม มีความสมดุลทั้งดานความรู้ ความคิด
ความดีงาม และมีความภูมิใจในความเป็นไทย ตลอดจนใช้เป็นพื้นฐานในการประกอบอาชีพหรือการศึกษา
ต่อ
3. ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 – 6) การศึกษาระดับนี้เน้นการเพิ่มพูน
ความรู้และทักษะเฉพาะด้าน สนองตอบความสามารถ ความถนัด และความสนใจของผู้เรียนแต่ละคนทั้งด้าน
วิชาการและวิชาชีพ มีทักษะในการใช้วิทยาการและเทคโนโลยี ทักษะกระบวนการคิดขั้นสูง สามารถน า
ี
้
ความรู้ไปประยุกต์ใชให้เกิดประโยชน์ในการศึกษาต่อและการประกอบอาชพ มุ่งพัฒนาตนและประเทศตาม
บทบาทของตน สามารถเป็นผู้น า และผู้ให้บริการชุมชนในด้านต่าง ๆ
21
การจัดเวลาเรียน
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ได้ก าหนดกรอบโครงสร้างเวลาเรียนขั้นต่ าส าหรับกลุ่มสาระ
การเรียนรู้ 8 กลุ่ม และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ซึ่งสถานศึกษาสามารถเพิ่มเติมได้ตามความพร้อมและจุดเน้น
โดยสามารถปรับให้เหมาะสมตามบริบทของสถานศึกษาและสภาพของผู้เรียน ดังนี้
1. ระดับชั้นประถมศึกษา (ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 – 6) ให้จัดเวลาเรียนเป็นรายปี โดยมีเวลาเรียน
วันละ ไม่เกิน 5 ชั่วโมง
2. ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น (ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 – 3) ให้จัดเวลาเรียนเป็นรายภาค มีเวลาเรียน
วันละไม่เกิน 6 ชั่วโมง คิดน้ าหนักของรายวิชาที่เรียนเป็นหน่วยกิต ใช้เกณฑ์ 40 ชั่วโมงต่อภาคเรียน
มีค่าน้ าหนักวิชา เท่ากับ 1 หน่วยกิต (นก.)
3. ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 - 6) ให้จัดเวลาเรียนเป็นรายภาค มีเวลา
เรียน วันละไม่น้อยกว่า 6 ชั่วโมง คิดน้ าหนักของรายวิชาที่เรียนเป็นหน่วยกิต ใช้เกณฑ์ 40 ชั่วโมง
ต่อภาคเรียน มีค่าน้ าหนักวิชา เท่ากับ 1 หน่วยกิต (นก.)
22
โครงสร้างเวลาเรียน
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ก าหนดกรอบโครงสร้างเวลาเรียน ดังนี้
เวลาเรียน
กลุ่มสาระการเรียนรู้/ ระดับประถมศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ระดับมัธยมศึกษา
กิจกรรม ตอนปลาย
ป. 1 ป. 2 ป. 3 ป. 4 ป. 5 ป. 6 ม. 1 ม. 2 ม. 3 ม. 4 – 6
กลุ่มสาระการเรียนรู้
ภาษาไทย 200 200 200 160 160 160 120 120 120 240
(3 นก.) (3 นก.) (3 นก.) (6 นก.)
คณิตศาสตร์ 200 200 200 160 160 160 120 120 120 240
(3 นก.) (3 นก.) (3 นก.) (6 นก.)
วิทยาศาสตร์และ 80 80 80 80 80 80 120 120 120 240
เทคโนโลยี (3 นก.) (3 นก.) (3 นก.) (6 นก.)
สังคมศึกษา ศาสนา 120 120 120 120 120 120 160 160 160 320
และวัฒนธรรม (4 นก.) (4 นก.) (4 นก.) (8 นก.)
- ประวัติศาสตร์ 40 40 40 40 40 40 40 40 40 80
- ศาสนา ศีลธรรม (1 นก.) (1 นก.) (1 นก.) (2 นก.)
จริยธรรม
- หน้าที่พลเมือง 80 80 80 80 80 80 120 120 120 240
วัฒนธรรม และการด าเนิน (3 นก.) (3 นก.) (3 นก.) (6 นก.)
ชีวิตในสังคม
- เศรษฐศาสตร์
- ภูมิศาสตร ์
สุขศึกษาและพลศึกษา 80 80 80 80 80 80 80 80 80 120
(2นก.) (2 นก.) (2 นก.) (3นก.)
120
80
80
80
ศิลปะ 80 80 80 80 80 80 (2นก.) (2 นก.) (2 นก.) (3 นก.)
การงานอาชีพ 40 40 40 80 80 80 80 80 80 120
(2นก.) (2 นก.) (2 นก.) (3 นก.)
240
120
120
120
ภาษาต่างประเทศ 40 40 40 80 80 80 (3 นก.) (3 นก.) (3 นก.) (6 นก.)
รวมเวลาเรียน (พื้นฐาน) 880 880 880 1,640
840 840 840 840 840 840
(22 นก.) (22 นก.) (22 นก.) (41 นก.)
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน 120 120 120 120 120 120 120 120 120 360
รายวิชา / กิจกรรมที่ ไม่น้อยกว่า 1,600
สถานศึกษาจัดเพิ่มเติม ปีละไม่น้อยกว่า 40 ชั่วโมง ปีละไม่น้อยกว่า 200 ชั่วโมง ชั่วโมง
ตามความพร้อมและจุดเน้น
รวม 3 ปี
รวมเวลาเรียนทั้งหมด ไม่น้อยกว่า 1,000 ชั่วโมง/ปี ไม่น้อยกว่า 1,200 ชั่วโมง/ปี ไม่น้อยกว่า
3,600 ชั่วโมง
23
การก าหนดโครงสร้างเวลาเรียนพื้นฐาน และเพิ่มเติม สถานศึกษาสามารถด าเนินการ ดังนี้
ระดับประถมศึกษา สามารถปรับเวลาเรียนพื้นฐานของแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ ได้ตามความ
เหมาะสม ทั้งนี้ ต้องมีเวลาเรียนรวมตามที่ก าหนดไว้ในโครงสร้างเวลาเรียนพื้นฐาน และผู้เรียนต้องมี
คุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดที่ก าหนด
ระดับมัธยมศึกษา ต้องจัดโครงสร้างเวลาเรียนพื้นฐานให้เป็นไปตามที่ก าหนดและสอดคล้องกับ
เกณฑ์การจบหลักสูตร
ส าหรับเวลาเรียนเพิ่มเติม ทั้งในระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษา ให้จัดเป็นรายวิชาเพิ่มเติม
หรือกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน โดยพจารณาให้สอดคล้องกับความพร้อม จุดเน้นของสถานศึกษาและเกณฑ์การ
ิ
จบหลักสูตร เฉพาะระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-3 สถานศึกษาอาจจัดให้เป็นเวลาส าหรับสาระ
การเรียนรู้พื้นฐานในกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยและกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนที่ก าหนดไว้ในชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ถึงชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีละ 120
ชั่วโมง และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4-6 จ านวน 360 ชั่วโมงนั้น เป็นเวลาส าหรับปฏิบัติกิจกรรมแนะแนว
กิจกรรมนักเรียน และกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ ในส่วนกิจกรรมเพื่อสังคมและ
สาธารณประโยชน์ให้สถานศึกษาจัดสรรเวลาให้ผู้เรียนได้ปฏิบัติกิจกรรม ดังนี้
ระดับประถมศึกษา (ป.1-6) รวม 6 ปี จ านวน 60 ชั่วโมง
ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น (ม.1-3) รวม 3 ปี จ านวน 45 ชั่วโมง
ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.4-6) รวม 3 ปี จ านวน 60 ชั่วโมง
การจัดการศึกษาส าหรับกลุ่มเป้าหมายเฉพาะ
การจัดการศึกษาบางประเภทส าหรับกลุ่มเป้าหมายเฉพาะ เช่น การศึกษาเฉพาะทาง การศึกษา
ส าหรับผู้มีความสามารถพิเศษ การศึกษาทางเลือก การศึกษาส าหรับผู้ด้อยโอกาส การศึกษาตามอัธยาศัย
สามารถน าหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานไปปรับใช้ได้ตามความเหมาะสม กับสภาพและบริบท
ของแต่ละกลุ่มเป้าหมาย โดยให้มีคุณภาพตามมาตรฐานที่ก าหนด ทั้งนี้ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์และวิธีการ
ที่กระทรวงศึกษาธิการก าหนด
การจัดการเรียนรู้
การจัดการเรียนรู้เป็นกระบวนการส าคัญในการน าหลักสูตรสู่การปฏิบัติ หลักสูตรแกนกลาง
การศึกษาขั้นพื้นฐาน เป็นหลักสูตรที่มีมาตรฐานการเรียนรู้ สมรรถนะส าคัญและคุณลักษณะอันพึง
ประสงค์ของผู้เรียน เป็นเป้าหมายส าหรับพัฒนาเด็กและเยาวชน
ในการพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณสมบัติตามเป้าหมายหลักสูตร ผู้สอนพยายามคัดสรร
กระบวนการเรียนรู้ จัดการเรียนรู้โดยช่วยให้ผู้เรียนเรียนรู้ผ่านสาระที่ก าหนดไว้ในหลักสูตร 8 กลุ่มสาระ
การเรียนรู้ รวมทั้งปลูกฝังเสริมสร้างคุณลักษณะอันพึงประสงค์ พัฒนาทักษะต่างๆ อันเป็นสมรรถนะ
ส าคัญให้ผู้เรียนบรรลุตามเป้าหมาย
24
1. หลักการจัดการเรียนรู้
การจัดการเรียนรู้เพื่อให้ผู้เรียนมีความรูู้ความสามารถตามมาตรฐานการเรียนรูู้
สมรรถนะส าคัญูและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามที่ก าหนดไว้ในหลักสูตรแกนกลางการศึกษา
ขั้นพื้นฐาน โดยยึดหลักว่า ผู้เรียนมีความส าคัญที่สุด เชื่อว่าทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเอง
ได้ ยึดประโยชน์ที่เกิดกับผู้เรียน กระบวนการจัดการเรียนรู้ต้องส่งเสริมให้ผู้เรียน สามารถพัฒนาตาม
ธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ ค านึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคลและพัฒนาการทางสมอง
เน้นให้ความส าคัญทั้งความรู้ และคุณธรรม
2. กระบวนการเรียนรู้
การจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นส าคัญ ผู้เรียนจะต้องอาศัยกระบวนการเรียนรู้ที่
หลากหลาย เป็นเครื่องมือที่จะน าพาตนเองไปสู่เป้าหมายของหลักสูตร กระบวนการเรียนรู้ที่จ าเป็น
ส าหรับผู้เรียน อาทิ กระบวนการเรียนรู้แบบบูรณาการ กระบวนการสร้างความรู้ กระบวนการคิด
กระบวนการทางสังคม กระบวนการเผชิญสถานการณ์และแก้ปัญหา กระบวนการเรียนรู้
จากประสบการณ์จริง กระบวนการปฏิบัติ ลงมือท าจริง กระบวนการจัดการ กระบวนการวิจัย
กระบวนการเรียนรู้การเรียนรู้ของตนเอง กระบวนการพัฒนาลักษณะนิสัย
กระบวนการเหล่านี้เป็นแนวทางในการจัดการเรียนรู้ที่ผู้เรียนควรได้รับการฝึกฝน พัฒนา
เพราะจะสามารถช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้ดี บรรลุเป้าหมายของหลักสูตร ดังนั้น ผู้สอน
จึงจ าเป็นต้องศึกษาท าความเข้าใจในกระบวนการเรียนรู้ต่าง ๆ เพื่อให้สามารถเลือกใช้ในการจัด
กระบวนการเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
3. การออกแบบการจัดการเรียนรู้
ผู้สอนต้องศึกษาหลักสูตรสถานศึกษาให้เข้าใจถึงมาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัด สมรรถนะ
ส าคัญของผู้เรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และสาระการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับผู้เรียน แล้วจึงพิจารณา
ออกแบบการจัดการเรียนรู้โดยเลือกใช้วิธีสอนและเทคนิคการสอน สื่อ/แหล่งเรียนรู้ การวัดและ
ประเมินผล เพื่อให้ผู้เรียนได้พัฒนาเต็มตามศักยภาพและบรรลุตามเป้าหมายที่ก าหนด
4. บทบาทของผู้สอนและผู้เรียน
การจัดการเรียนรู้เพื่อให้ผู้เรียนมีคุณภาพตามเป้าหมายของหลักสูตร ทั้งผู้สอนและผู้เรียน
ควรมีบทบาท ดังนี้
4.1 บทบาทของผู้สอน
1) ศึกษาวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล แล้วน าข้อมูลมาใช้ในการวางแผน
การจัดการเรียนรู้ ที่ท้าทายความสามารถของผู้เรียน
2) ก าหนดเป้าหมายที่ต้องการให้เกิดขึ้นกับผู้เรียน ด้านความรู้และทักษะ
กระบวนการ ที่เป็นความคิดรวบยอด หลักการ และความสัมพันธ์ รวมทั้งคุณลักษณะอันพึงประสงค์
3) ออกแบบการเรียนรู้และจัดการเรียนรู้ที่ตอบสนองความแตกต่างระหว่างบุคคล
และพัฒนาการทางสมอง เพื่อน าผู้เรียนไปสู่เป้าหมาย
25
4) จัดบรรยากาศที่เอื้อต่อการเรียนรู้ และดูแลช่วยเหลือผู้เรียนให้เกิดการเรียนรู้
ู
5) จัดเตรียมและเลือกใช้สื่อให้เหมาะสมกับกิจกรรม น าภมิปัญญาท้องถิ่น
เทคโนโลยีที่เหมาะสมมาประยุกต์ใช้ในการจัดการเรียนการสอน
6) ประเมินความก้าวหน้าของผู้เรียนด้วยวิธีการที่หลากหลาย เหมาะสมกับ
ธรรมชาติของวิชาและระดับพัฒนาการของผู้เรียน
7) วิเคราะห์ผลการประเมินมาใช้ในการซ่อมเสริมและพัฒนาผู้เรียน รวมทั้ง
ปรับปรุงการจัดการเรียนการสอนของตนเอง
4.2 บทบาทของผู้เรียน
1) ก าหนดเป้าหมาย วางแผนูและรับผิดชอบการเรียนรู้ของตนเอง
2) เสาะแสวงหาความรู้ เข้าถึงแหล่งการเรียนรู้ วิเคราะห์ สังเคราะห์ข้อความรู้
ตั้งค าถาม คิดหาค าตอบหรือหาแนวทางแก้ปัญหาด้วยวิธีการต่าง ๆ
3) ลงมือปฏิบัติจริง สรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้ด้วยตนเอง และน าความรู้ไปประยุกต์ใช้
ในสถานการณ์ต่าง ๆ
4) มีปฏิสัมพันธ์ ท างาน ท ากิจกรรมร่วมกับกลุ่มและครู
5) ประเมินและพัฒนากระบวนการเรียนรู้ของตนเองอย่างต่อเนื่อง
สื่อการเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้เป็นเครื่องมือส่งเสริมสนับสนุนการจัดการกระบวนการเรียนรู้ ให้ผู้เรียนเข้าถึง
ความรู้ ทักษะกระบวนการ และคุณลักษณะตามมาตรฐานของหลักสูตรได้อย่างมีประสิทธิภาพ
สื่อการเรียนรู้มีหลากหลายประเภท ทั้งสื่อธรรมชาติ สื่อสิ่งพิมพ์ สื่อเทคโนโลยี และเครือข่าย
การเรียนรู้ต่างๆ ที่มีในท้องถิ่น การเลือกใช้สื่อควรเลือกให้มีความเหมาะสมกับระดับพัฒนาการ และลีลา
การเรียนรู้ที่หลากหลายของผู้เรียน
การจัดหาสื่อการเรียนรู้ ผู้เรียนและผู้สอนสามารถจัดท าและพัฒนาขึ้นเอง หรือปรับปรุงเลือกใช้
อย่างมีคุณภาพจากสื่อต่างๆ ที่มีอยู่รอบตัวเพื่อน ามาใช้ประกอบในการจัดการเรียนรู้ที่สามารถส่งเสริมและ
สื่อสารให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ โดยสถานศึกษาควรจัดให้มีอย่างพอเพียง เพื่อพัฒนาให้ผู้เรียน
เกิดการเรียนรู้อย่างแท้จริง สถานศึกษา เขตพื้นที่การศึกษา หน่วยงานที่เกี่ยวข้องและผู้มีหน้าที่จัด
การศึกษาขั้นพื้นฐาน ควรด าเนินการดังนี้
1. จัดให้มีแหล่งการเรียนรู้ ศูนย์สื่อการเรียนรู้ ระบบสารสนเทศการเรียนรู้ และ
เครือข่ายการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพทั้งในสถานศึกษาและในชุมชน เพื่อการศึกษาค้นคว้าและการ
แลกเปลี่ยนประสบการณ์การเรียนรู้ ระหว่างสถานศึกษา ท้องถิ่น ชุมชน สังคมโลก
2. จัดท าและจัดหาสื่อการเรียนรู้ส าหรับการศึกษาค้นคว้าของผู้เรียนเสริมความรู้ให้
ผู้สอนรวมทั้งจัดหาสิ่งที่มีอยู่ในท้องถิ่นมาประยุกต์ใช้เป็นสื่อการเรียนรู้
26
3. เลือกและใช้สื่อการเรียนรู้ที่มีคุณภาพ มีความเหมาะสม มีความหลากหลาย
สอดคล้องกับวิธีการเรียนรู้ ธรรมชาติของสาระการเรียนรู้ และความแตกต่างระหว่างบุคคลของผู้เรียน
4. ประเมินคุณภาพของสื่อการเรียนรู้ที่เลือกใช้อย่างเป็นระบบ
5. ศึกษาค้นคว้า วิจัย เพื่อพัฒนาสื่อการเรียนรู้ให้สอดคล้องกับกระบวนการเรียนรู้ของ
ผู้เรียน
6. จัดให้มีการก ากับ ติดตาม ประเมินคุณภาพและประสิทธิภาพเกี่ยวกับสื่อและ
การใช้สื่อการเรียนรู้เป็นระยะๆ และสม่ าเสมอ
ในการจัดท า การเลือกใช้ และการประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้ที่ใช้ในสถานศึกษา
ควรค านึงถึงหลักการส าคัญของสื่อการเรียนรู้ เช่น ความสอดคล้องกับหลักสูตร วัตถุประสงค์การเรียนรู้
การออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ การจัดประสบการณ์ให้ผู้เรียน เนื้อหามีความถูกต้องและทันสมัย
ไม่กระทบความมั่นคงของชาติ ไม่ขัดต่อศีลธรรม มีการใช้ภาษาที่ถูกต้อง รูปแบบการน าเสนอที่เข้าใจง่าย
และน่าสนใจ
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียนต้องอยู่บนหลักการพื้นฐานสองประการคือ
การประเมินเพื่อพัฒนาผู้เรียนและเพื่อตัดสินผลการเรียน ในการพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้ของผู้เรียน
ให้ประสบผลส าเร็จนั้น ผู้เรียนจะต้องได้รับการพัฒนาและประเมินตามตัวชี้วัดเพื่อให้บรรลุตามมาตรฐาน
การเรียนรู้ สะท้อนสมรรถนะส าคัญ และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียนซึ่งเป็นเป้าหมายหลักในการ
วัดและประเมินผลการเรียนรู้ในทุกระดับไม่ว่าจะเป็นระดับชั้นเรียน ระดับสถานศึกษา ระดับเขตพื้นที่
การศึกษา และระดับชาติ การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ เป็นกระบวนการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนโดยใช้
ผลการประเมินเป็นข้อมูลและสารสนเทศที่แสดงพัฒนาการ ความก้าวหน้า และความส าเร็จทางการเรียน
ของผู้เรียน ตลอดจนข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อการส่งเสริมให้ผู้เรียนเกิดการพัฒนาและเรียนรู้อย่างเต็มตาม
ศักยภาพ
การวัดและประเมินผลการเรียนรูู้แบ่งออกเป็นู4ูระดับูได้แกู่ระดับชั้นเรียนูระดับสถานศึกษาู
ระดับเขตพื้นที่การศึกษาูและระดับชาติ มีรายละเอียดูดังนี้
1. การประเมินระดับชั้นเรียน เป็นการวัดและประเมินผลที่อยู่ในกระบวนการจัดการเรียนรู้
ผู้สอนด าเนินการเป็นปกติและสม่ าเสมอ ในการจัดการเรียนการสอน ใช้เทคนิคการประเมินอย่าง
หลากหลาย เช่น การซักถาม การสังเกต การตรวจการบ้าน การประเมินโครงงาน การประเมินชิ้นงาน/
ภาระงาน แฟ้มสะสมงาน การใช้แบบทดสอบ ฯลฯ โดยผู้สอนเป็นผู้ประเมินเองหรือเปิดโอกาส
ให้ผู้เรียนประเมินตนเอง เพื่อนประเมินเพื่อน ผู้ปกครองร่วมประเมิน ในกรณีที่ไม่ผ่านตัวชี้วัดให้มีการสอน
ซ่อมเสริม
การประเมินระดับชั้นเรียนเป็นการตรวจสอบว่า ผู้เรียนมีพัฒนาการความก้าวหน้าใน
การเรียนรู้ อันเป็นผลมาจากการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนหรือไม่ และมากน้อยเพียงใด มีสิ่งที่จะต้อง
27
ได้รับการพัฒนาปรับปรุงและส่งเสริมในด้านใด นอกจากนี้ยังเป็นข้อมูลให้ผู้สอนใช้ปรับปรุง
การเรียนการสอนของตนด้วย ทั้งนี้โดยสอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
2. การประเมินระดับสถานศึกษา เป็นการประเมินที่สถานศึกษาด าเนินการเพื่อตัดสินผล
การเรียนของผู้เรียนเป็นรายปี/รายภาค ผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน คุณลักษณะ
อันพึงประสงค์ และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน นอกจากนี้เพื่อให้ได้ข้อมูลเกี่ยวกับการจัดการศึกษา
ของสถานศึกษา ว่าส่งผลต่อการเรียนรู้ของผู้เรียนตามเป้าหมายหรือไม่ ผู้เรียนมีจุดพัฒนาในด้านใด
รวมทั้งสามารถน าผลการเรียนของผู้เรียนในสถานศึกษาเปรียบเทียบกับเกณฑ์ระดับชาติ ผลการประเมิน
ระดับสถานศึกษาจะเป็นข้อมูลและสารสนเทศเพื่อการปรับปรุงนโยบาย หลักสูตร โครงการ หรือวิธีการ
จัดการเรียนการสอน ตลอดจนเพื่อการจัดท าแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา
ตามแนวทางการประกันคุณภาพการศึกษาและการรายงานผลการจัดการศึกษาต่อคณะกรรมการ
สถานศึกษา ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษา ส านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ผู้ปกครองและ
ชุมชน
3. การประเมินระดับเขตพื้นที่การศึกษา เป็นการประเมินคุณภาพผู้เรียนในระดับเขตพื้นที่
การศึกษาตามมาตรฐานการเรียนรู้ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานใน
การพัฒนาคุณภาพการศึกษาของเขตพื้นที่การศึกษา ตามภาระความรับผิดชอบ สามารถด าเนินการโดย
ประเมินคุณภาพผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียนด้วยข้อสอบมาตรฐานที่จัดท าและด าเนินการโดยเขตพื้นที่การศึกษา
หรือด้วยความร่วมมือกับหน่วยงานต้นสังกัด ในการด าเนินการจัดสอบ นอกจากนี้ยังได้จากการตรวจสอบ
ทบทวนข้อมูลจากการประเมินระดับสถานศึกษาในเขตพื้นที่การศึกษา
4. การประเมินระดับชาติ เป็นการประเมินคุณภาพผู้เรียนในระดับชาติตามมาตรฐาน
การเรียนรู้ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน สถานศึกษาต้องจัดให้ผู้เรียนทุกคนที่เรียน
ในชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 เข้า
รับการประเมิน ผลจากการประเมินใช้เป็นข้อมูลในการเทียบเคียงคุณภาพการศึกษาในระดับต่าง ๆ เพื่อ
น าไปใช้ในการวางแผนยกระดับคุณภาพการจัดการศึกษา ตลอดจนเป็นข้อมูลสนับสนุน การตัดสินใจใน
ระดับนโยบายของประเทศ
ข้อมูลการประเมินในระดับต่าง ๆ ข้างต้น เป็นประโยชน์ต่อสถานศึกษาในการตรวจสอบทบทวน
พัฒนาคุณภาพผู้เรียน ถือเป็นภาระความรับผิดชอบของสถานศึกษาที่จะต้องจัดระบบดูแลช่วยเหลือ
ปรับปรุงแก้ไข ส่งเสริมสนับสนุนเพื่อให้ผู้เรียนได้พัฒนาเต็มตามศักยภาพบนพื้นฐานความแตกต่างระหว่าง
บุคคลที่จ าแนกตามสภาพปัญหาและความต้องการ ได้แก่ กลุ่มผู้เรียนทั่วไป กลุ่มผู้เรียนที่มีความสามารถ
พิเศษ กลุ่มผู้เรียนที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่ า กลุ่มผู้เรียนที่มีปัญหาด้านวินัยและพฤติกรรม กลุ่ม
ผู้เรียนที่ปฏิเสธโรงเรียน กลุ่มผู้เรียนที่มีปัญหาทางเศรษฐกิจและสังคม กลุ่มพิการทางร่างกายและ
สติปัญญา เป็นต้น ข้อมูลจากการประเมินจึงเป็นหัวใจของสถานศึกษาในการด าเนินการช่วยเหลือผู้เรียนได้
ทันท่วงที ปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้รับการพัฒนาและประสบความส าเร็จในการเรียน
28
สถานศึกษาในฐานะผู้รับผิดชอบจัดการศึกษา จะต้องจัดท าระเบียบว่าด้วยการวัดและประเมินผล
การเรียนของสถานศึกษาให้สอดคล้องและเป็นไปตามหลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติที่เป็นข้อก าหนดของ
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อให้บุคลากรที่เกี่ยวข้องทุกฝ่ายถือปฏิบัติร่วมกัน
เกณฑ์การวัดและประเมินผลการเรียน
1. การตัดสิน การให้ระดับและการรายงานผลการเรียน
1.1 การตัดสินผลการเรียน
ในการตัดสินผลการเรียนของกลุ่มสาระการเรียนรู้ การอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน
็
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนนั้น ผู้สอนต้องค านึงถึงการพัฒนาผู้เรียนแต่ละคนเปน
หลัก และต้องเก็บข้อมูลของผู้เรียนทุกด้านอย่างสม่ าเสมอและต่อเนื่องในแต่ละภาคเรียน รวมทั้งสอนซ่อม
เสริมผู้เรียนให้พัฒนาจนเต็มตามศักยภาพ โดยส าหรับโรงเรียนหอวัง ได้จัดการศึกษาระดับมัธยมศึกษาจึง
จะขอกล่าวเพียงเกณฑ์การวัดและประเมินผลการเรียนเพียงระดับชั้นมัธยมศึกษาเท่านั้น
ระดับมัธยมศึกษา
(1) ตัดสินผลการเรียนเป็นรายวิชา ผู้เรียนต้องมีเวลาเรียนตลอดภาคเรียนไม่น้อย
กว่าร้อยละ 80 ของเวลาเรียนทั้งหมดในรายวิชานั้น ๆ
(2) ผู้เรียนต้องได้รับการประเมินทุกตัวชี้วัด และผ่านตามเกณฑ์ที่สถานศึกษา
ก าหนด
(3) ผู้เรียนต้องได้รับการตัดสินผลการเรียนทุกรายวิชา
(4) ผู้เรียนต้องได้รับการประเมิน และมีผลการประเมินผ่านตามเกณฑ์ที่
สถานศึกษาก าหนด ในการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และกิจกรรมพัฒนา
ผู้เรียน
การพิจารณาเลื่อนชั้นระดับมัธยมศึกษา ถ้าผู้เรียนมีข้อบกพร่องเพียงเล็กน้อย และ
สถานศึกษาพิจารณาเห็นว่าสามารถพัฒนาและสอนซ่อมเสริมได้ ให้อยู่ในดุลพินิจของสถานศึกษาที่จะผ่อน
ผันให้เลื่อนชั้นได้ แต่หากผู้เรียนไม่ผ่านรายวิชาจ านวนมาก และมีแนวโน้มว่าจะเป็นปัญหาต่อการเรียนใน
ระดับชั้นที่สูงขึ้น สถานศึกษาอาจตั้งคณะกรรมการพิจารณาให้เรียนซ้ าชั้นได้ ทั้งนี้ให้ค านึงถึงวุฒิภาวะและ
ความรู้ความสามารถของผู้เรียนเป็นส าคัญ
1.2 การให้ระดับผลการเรียน
ระดับมัธยมศึกษา ในการตัดสินเพื่อให้ระดับผลการเรียนรายวิชา ให้ใช้ตัวเลขแสดง
ระดับผลการเรียนเป็น 8 ระดับ
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน และคุณลักษณะอันพึงประสงค์นั้น ให้ระดับผล
การประเมินเป็น ดีเยี่ยม ดี และผ่าน
29
การประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน จะต้องพิจารณาทั้งเวลาการเข้าร่วมกิจกรรม การปฏิบัติ
กิจกรรมและผลงานของผู้เรียน ตามเกณฑ์ที่สถานศึกษาก าหนด และให้ผลการเข้าร่วมกิจกรรมเป็นผ่าน
และไม่ผ่าน
1.3 การรายงานผลการเรียน
การรายงานผลการเรียนเป็นการสื่อสารให้ผู้ปกครองและผู้เรียนทราบความก้าวหน้า
ในการเรียนรู้ของผู้เรียน ซึ่งสถานศึกษาต้องสรุปผลการประเมินและจัดท าเอกสารรายงานให้ผู้ปกครอง
ทราบเปนระยะ ๆ หรืออย่างน้อยภาคเรียนละ 1 ครั้ง
็
การรายงานผลการเรียนสามารถรายงานเป็นระดับคุณภาพการปฏิบัติของผู้เรียนที่สะท้อน
มาตรฐานการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้
2. เกณฑ์การจบการศึกษา
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ก าหนดเกณฑ์กลางส าหรับการจบการศึกษาเป็น 3ระดับ
คือ ระดับประถมศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น และระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ส าหรับโรงเรียนหอวัง
จัดการศึกษาระดับมัธยมศึกษา จึงจะขอกล่าวเพียงระดับชั้นมัธยมศึกษาเท่านั้น
2.1 เกณฑ์การจบระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
(1) ผู้เรียนเรียนรายวิชาพื้นฐานและเพิ่มเติม โดยเป็นรายวิชาพื้นฐาน 66 หน่วยกิต และ
รายวิชาเพิ่มเติมตามที่สถานศึกษาก าหนด
(2) ผู้เรียนต้องได้หน่วยกิตตลอดหลักสูตรไม่น้อยกว่า 77 หน่วยกิต โดยเป็นรายวิชา
พื้นฐาน 66 หน่วยกิต และรายวิชาเพิ่มเติมไม่น้อยกว่า 11 หน่วยกิต
(3) ผู้เรียนมีผลการประเมิน การอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน ในระดับผ่าน เกณฑ์
การประเมินตามที่สถานศึกษาก าหนด
(4) ผู้เรียนมีผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ในระดับผ่านเกณฑ์การประเมิน
ตามที่สถานศึกษาก าหนด
(5) ผู้เรียนเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนและมีผลการประเมินผ่านเกณฑ์การประเมินตามที่
สถานศึกษาก าหนด
2.2 เกณฑ์การจบระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
(1) ผู้เรียนเรียนรายวิชาพื้นฐานและเพิ่มเติม โดยเป็นรายวิชาพื้นฐาน 41 หน่วยกิต และ
รายวิชาเพิ่มเติมตามที่สถานศึกษาก าหนด
(2) ผู้เรียนต้องได้หน่วยกิตตลอดหลักสูตรไม่น้อยกว่า 77 หน่วยกิต โดยเป็นรายวิชา
พื้นฐาน 41 หน่วยกิต และรายวิชาเพิ่มเติมไม่น้อยว่า 36 หน่วยกิต
์
(3) ผู้เรียนมีผลการประเมิน การอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน ในระดับผ่านเกณฑ
การประเมินตามที่สถานศึกษาก าหนด
30
(4) ผู้เรียนมีผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ในระดับผ่านเกณฑ์การประเมิน
ตามที่สถานศึกษาก าหนด
(5) ผู้เรียนเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนและมีผลการประเมินผ่านเกณฑ์การประเมิน
ตามที่สถานศึกษาก าหนด
ส าหรับการจบการศึกษาส าหรับกลุ่มเป้าหมายเฉพาะ เช่น การศึกษาเฉพาะทาง การศึกษาส าหรับ
ผู้มีความสามารถพิเศษ การศึกษาทางเลือก การศึกษาส าหรับผู้ด้อยโอกาส การศึกษาตามอัธยาศัย
ให้คณะกรรมการของสถานศึกษา เขตพื้นที่การศึกษา และผู้ที่เกี่ยวข้อง ด าเนินการวัดและประเมินผล
การเรียนรู้ตามหลักเกณฑ์ในแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ของหลักสูตรแกนกลาง
การศึกษาขั้นพื้นฐานส าหรับกลุ่มเป้าหมายเฉพาะ
เอกสารหลักฐานการศึกษา
เอกสารหลักฐานการศึกษา เป็นเอกสารส าคัญที่บันทึกผลการเรียน ข้อมูลและสารสนเทศ
ที่เกี่ยวข้องกับพัฒนาการของผู้เรียนในด้านต่าง ๆ แบ่งออกเป็น 2 ประเภท ดังนี้
1. เอกสารหลักฐานการศึกษาที่กระทรวงศึกษาธิการก าหนด
1.1 ระเบียนแสดงผลการเรียน เป็นเอกสารแสดงผลการเรียนและรับรองผลการเรียนของ
ผู้เรียนตามรายวิชา ผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน ผลการประเมินคุณลักษณะอันพึง
ประสงค์ของสถานศึกษา และผลการประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน สถานศึกษาจะต้องบันทึกข้อมูลและ
ออกเอกสารนี้ให้ผู้เรียนเป็นรายบุคคล เมื่อผู้เรียนจบการศึกษาระดับประถมศึกษา (ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6)
จบการศึกษาภาคบังคับ(ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3) จบการศึกษาขั้นพื้นฐาน(ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6) หรือเมื่อ
ลาออกจากสถานศึกษาในทุกกรณี
1.2 ประกาศนียบัตร เป็นเอกสารแสดงวุฒิการศึกษาเพื่อรับรองศักดิ์และสิทธิ์ของผู้จบ
การศึกษา ที่สถานศึกษาให้ไว้แก่ผู้จบการศึกษาภาคบังคับ และผู้จบการศึกษาขั้นพื้นฐานตามหลักสูตร
แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
1.3 แบบรายงานผู้ส าเร็จการศึกษา เป็นเอกสารอนุมัติการจบหลักสูตรโดยบันทึกรายชื่อ
และข้อมูลของผู้จบการศึกษาระดับประถมศึกษา (ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6) ผู้จบการศึกษาภาคบังคับ
(ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3) และผู้จบการศึกษาขั้นพื้นฐาน (ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6)
2. เอกสารหลักฐานการศึกษาที่สถานศึกษาก าหนด
เป็นเอกสารที่สถานศึกษาจัดท าขึ้นเพื่อบันทึกพัฒนาการ ผลการเรียนรู้ และข้อมูลส าคัญ
เกี่ยวกับผู้เรียน เช่น แบบรายงานประจ าตัวนักเรียน แบบบันทึกผลการเรียนประจ ารายวิชา ระเบียน
สะสม ใบรับรองผลการเรียน และ เอกสารอื่น ๆ ตามวัตถุประสงค์ของการน าเอกสารไปใช้
31
การเทียบโอนผลการเรียน
สถานศึกษาสามารถเทียบโอนผลการเรียนของผู้เรียนในกรณีต่างๆได้แก่ การย้ายสถานศึกษา การ
เปลี่ยนรูปแบบการศึกษา การย้ายหลักสูตร การออกกลางคันและขอกลับเข้ารับการศึกษาต่อ การศึกษา
จากต่างประเทศและขอเข้าศึกษาต่อในประเทศ นอกจากนี้ ยังสามารถเทียบโอนความรู้ ทักษะ
ประสบการณ์จากแหล่งการเรียนรู้อื่นๆ เช่น สถานประกอบการ สถาบันศาสนา สถาบันการฝึกอบรมอาชีพ
การจัดการศึกษาโดยครอบครัว
การเทียบโอนผลการเรียนควรด าเนินการในช่วงก่อนเปิดภาคเรียนแรก หรือต้นภาคเรียนแรก
ที่สถานศึกษารับผู้ขอเทียบโอนเป็นผู้เรียน ทั้งนี้ ผู้เรียนที่ได้รับการเทียบโอนผลการเรียนต้องศึกษาต่อเนื่อง
ในสถานศึกษาที่รับเทียบโอนอย่างน้อย 1 ภาคเรียน โดยสถานศึกษาที่รับผู้เรียนจากการเทียบโอนควร
ก าหนดรายวิชา/จ านวนหน่วยกิตที่จะรับเทียบโอนตามความเหมาะสม
การพิจารณาการเทียบโอน สามารถด าเนินการได้ ดังนี้
1. พิจารณาจากหลักฐานการศึกษา และเอกสารอื่น ๆ ที่ให้ข้อมูลแสดงความรู้ ความสามารถของ
ผู้เรียน
2. พิจารณาจากความรู้ ความสามารถของผู้เรียนโดยการทดสอบด้วยวิธีการต่าง ๆ ทั้ง
ภาคความรู้และภาคปฏิบัติ
3. พิจารณาจากความสามารถและการปฏิบัติในสภาพจริง
การเทียบโอนผลการเรียนให้เป็นไปตาม ประกาศ หรือ แนวปฏิบัติ ของกระทรวงศึกษาธิการ
การบริหารจัดการหลักสูตร
ในระบบการศึกษาที่มีการกระจายอ านาจให้ท้องถิ่นและสถานศึกษามีบทบาทในการพัฒนา
หลักสูตรนั้น หน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้องในแต่ละระดับ ตั้งแต่ระดับชาติ ระดับท้องถิ่น จนถึงระดับ
สถานศึกษา มีบทบาทหน้าที่ และความรับผิดชอบในการพัฒนา สนับสนุน ส่งเสริม การใช้และพัฒนา
หลักสูตรให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อให้การด าเนินการจัดท าหลักสูตรสถานศึกษาและ
การจัดการเรียนการสอนของสถานศึกษามีประสิทธิภาพสูงสุด อันจะส่งผลให้การพัฒนาคุณภาพผู้เรียน
บรรลุตามมาตรฐานการเรียนรู้ที่ก าหนดไว้ในระดับชาติ
ระดับท้องถิ่น ได้แก่ ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษา หน่วยงานต้นสังกัดอื่น ๆ เป็นหน่วยงานที่มี
บทบาทในการขับเคลื่อนคุณภาพการจัดการศึกษา เป็นตัวกลางที่จะเชอมโยงหลักสูตรแกนกลางการศึกษา
ื่
ขั้นพื้นฐานที่ก าหนดในระดับชาติให้สอดคล้องกับสภาพและความต้องการของท้องถิ่น เพื่อน าไปสู่การจัดท า
หลักสูตรของสถานศึกษา ส่งเสริมการใช้และพัฒนาหลักสูตรในระดับสถานศึกษา ให้ประสบความส าเร็จ
โดยมีภารกิจส าคัญ คือ ก าหนดเป้าหมายและจุดเน้นการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนในระดับท้องถิ่นโดย
พิจารณาให้สอดคล้องกับสิ่งที่เป็นความต้องการในระดับชาติ พัฒนาสาระการเรียนรู้ท้องถิ่น ประเมิน
คุณภาพการศึกษาในระดับท้องถิ่น รวมทั้งเพิ่มพูนคุณภาพการใช้หลักสูตรด้วยการวิจัยและพัฒนา
32
การพัฒนาบุคลากร สนับสนุน ส่งเสริม ติดตามผล ประเมินผล วิเคราะห์ และรายงานผลคุณภาพของ
ผู้เรียน
สถานศึกษามีหน้าที่ส าคัญในการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา การวางแผนและด าเนินการใช้
หลักสูตร การเพิ่มพูนคุณภาพการใช้หลักสูตรด้วยการวิจัยและพัฒนา การปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตร
จัดท าระเบียบการวัดและประเมินผล ในการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาต้องพิจารณาให้สอดคล้อง
กับหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน และรายละเอียดที่เขตพื้นที่การศึกษา หรือหน่วยงาน
ั
ต้นสังกดอื่นๆ ในระดับท้องถิ่นได้จัดท าเพิ่มเติม รวมทั้ง สถานศึกษาสามารถเพิ่มเติมในส่วนที่เกี่ยวกับสภาพ
ปัญหาในชุมชนและสังคม ภูมิปัญญาท้องถิ่น และความต้องการของผู้เรียน โดยทุกภาคส่วนเข้ามามีส่วน
ร่วมในการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา
33
โครงสร้างหลักสูตรโรงเรียนหอวัง
ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น
34
โครงสร้างหลักสูตรโรงเรียนหอวัง
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 (1-9)
ห้องเรียนปกติ
ภาคเรียนที่ 1 ภาคเรียนที่ 2
รหัสวิชา รายวิชา เวลา หน่วยกิต รหัสวิชา รายวิชา เวลา หน่วยกิต
รายวิชาพื้นฐาน 22 11.0 รายวิชาพื้นฐาน 22 11.0
ท21101 ภาษาไทย 3 1.5 ท21102 ภาษาไทย 3 1.5
ค21103 คณิตศาสตร์ 1 3 1.5 ค21104 คณิตศาสตร์ 2 3 1.5
ว21103 วิทยาศาสตร์ 1 3 1.5 ว21104 วิทยาศาสตร์ 2 3 1.5
ส21101 สังคมศึกษา 3 1.5 ว21105 วิทยาการค านวณและการออกแบบเทคโนโลยี 1 2 1.0
ส21102 ประวัติศาสตร์ 1 0.5 ส21103 สังคมศึกษา 3 1.5
พ21106 สุขศึกษา 1 0.5 ส21104 ประวัติศาสตร์ 1 0.5
พ21107 พลศึกษา 1 0.5 พ21108 สุขศึกษา 1 0.5
ศ21101 ศิลปะ 2 1.0 พ21109 พลศึกษา 1 0.5
ง21103 การงาน 1 2 1.0 ศ21102 ศิลปะ 2 1.0
อ21101 ภาษาอังกฤษ 3 1.5 อ21102 ภาษาอังกฤษ 3 1.5
รายวิชาเพิ่มเติม 7 3.5 รายวิชาเพิ่มเติม 7 3.5
ค21205 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 1 1 0.5 ค21207 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 2 1 0.5
ว21202 คอมพิวเตอร์เพื่อการออกแบบ 1 2 1.0 ว21207 วิทยาศาสตร์เพิ่มเติม 1 2 1.0
พ21201 พลศึกษา 1 0.5 พ21202 พลศึกษา 1 0.5
อ21211 ภาษาอังกฤษการอ่าน 1 1 0.5 อ21212 ภาษาอังกฤษการอ่าน 2 1 0.5
จ21201 ภาษาจีนในชีวิตประจ าวัน 2 1.0 จ21202 ภาษาจีนในชีวิตประจ าวัน 2 1.0
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน 4 - กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน 4 -
S กิจกรรมแนะแนว 1 - S กิจกรรมแนะแนว 1 -
S กิจกรรมนักเรียน S กิจกรรมนักเรียน
ลูกเสือ/เนตรนารี 1 - ลูกเสือ/เนตรนารี 1 -
ชมรม/ชุมนุม 1 - ชมรม/ชุมนุม 1 -
คนดีศรีหอวัง 1 - คนดีศรีหอวัง 1 -
S กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ - - S กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ - -
กิจกรรมเสริมหลักสูตร 2 - กิจกรรมเสริมหลักสูตร 2 -
English Conversation 2 - English Conversation 2 -
กิจกรรมสาระท้องถิ่นหอวังของเรา (บูรณาการ) - -
รวมเวลาเรียนทั้งสิ้น 35 14.5 รวมเวลาเรียนทั้งสิ้น 35 14.5
รวมทั้งหมด 29.0 หน่วยกิต
หมายเหตุ: ง 21103 การงาน 1 ห้อง 1-8 เรียนภาคเรียนที่ 1 ห้อง 9-15 เรียนภาคเรียนที่ 2
ว 21105 วิทยาการค านวณและการออกแบบเทคโนโลยี 1 ห้อง 9-15 เรียนภาคเรียนที่ 1 ห้อง 1-8 เรียนภาคเรียนที่ 2
ว 21202 คอมพิวเตอร์เพื่อการออกแบบ 1 ห้อง 1-5 เรียนภาคเรียนที่ 1 ห้อง 6-9 เรียนภาคเรียนที่ 2
35
โครงสร้างหลักสูตรโรงเรียนหอวัง
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 (ห้อง 10)
ห้องเรียนพิเศษดนตรี (ดนตรีสากล)
ภาคเรียนที่ 1 ภาคเรียนที่ 2
รหัสวิชา รายวิชา เวลา หน่วยกิต รหัสวิชา รายวิชา เวลา หน่วยกิต
รายวิชาพื้นฐาน 22 11.0 รายวิชาพื้นฐาน 22 11.0
ท21101 ภาษาไทย 3 1.5 ท21102 ภาษาไทย 3 1.5
ค21103 คณิตศาสตร์ 1 3 1.5 ค21104 คณิตศาสตร์ 2 3 1.5
ว21103 วิทยาศาสตร์ 1 3 1.5 ว21104 วิทยาศาสตร์ 2 3 1.5
ว21105 วิทยาการค านวณและการออกแบบเทคโนโลยี 1 2 1.0 ส21103 สังคมศึกษา 3 1.5
ส21101 สังคมศึกษา 3 1.5 ส21104 ประวัติศาสตร์ 1 0.5
ส21102 ประวัติศาสตร์ 1 0.5 พ21108 สุขศึกษา 1 0.5
พ21106 สุขศึกษา 1 0.5 พ21109 พลศึกษา 1 0.5
พ21107 พลศึกษา 1 0.5 ศ21102 ศิลปะ 2 1.0
ศ21101 ศิลปะ 2 1.0 ง21103 การงาน 1 2 1.0
อ21101 ภาษาอังกฤษ 3 1.5 อ21102 ภาษาอังกฤษ 3 1.5
รายวิชาเพิ่มเติม 13 6.5 รายวิชาเพิ่มเติม 11 5.5
ค21205 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 1 1 0.5 ค21207 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 2 1 0.5
ว21202 คอมพิวเตอร์เพื่อการออกแบบ 1 2 1.0 พ21202 พลศึกษา 1 0.5
พ21201 พลศึกษา 1 0.5 ศ21214 พื้นฐานดนตรีสากล 2 2 1.0
ศ21209 พื้นฐานดนตรีสากล 1 2 1.0 ศ21215 รวมวงดนตรีสากล 2 2 1.0
ศ21210 รวมวงดนตรีสากล 1 2 1.0 ศ21216 ปฏิบัติดนตรีสากล 2 2 1.0
ศ21211 ปฏิบัติดนตรีสากล 1 2 1.0 ศ21212 ขับร้องประสานเสียงขั้นน า 2 0.5
ศ21213 คีย์บอร์ด 2 1.0 อ21212 ภาษาอังกฤษการอ่าน 2 1 0.5
อ21211 ภาษาอังกฤษการอ่าน 1 1 0.5
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน 4 - กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน 4 -
S กิจกรรมแนะแนว 1 - S กิจกรรมแนะแนว 1 -
S กิจกรรมนักเรียน S กิจกรรมนักเรียน
ลูกเสือ/เนตรนารี 1 - ลูกเสือ/เนตรนารี 1 -
ชมรม/ชุมนุม 1 - ชมรม/ชุมนุม 1 -
คนดีศรีหอวัง 1 - คนดีศรีหอวัง 1 -
S กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ - - S กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ - -
กิจกรรมเสริมหลักสูตร 2 - กิจกรรมเสริมหลักสูตร 2 -
English Conversation 2 - English Conversation 2 -
กิจกรรมสาระท้องถิ่นหอวังของเรา (บูรณาการ) - -
รวมเวลาเรียนทั้งสิ้น 41 17.5 รวมเวลาเรียนทั้งสิ้น 39 16.5
รวมทั้งหมด 34.0 หน่วยกิต
หมายเหตุ: ง 21103 การงาน 1 ห้อง 1-8 เรียนภาคเรียนที่ 1 ห้อง 9-15 เรียนภาคเรียนที่ 2
ว 21105 วิทยาการค านวณและการออกแบบเทคโนโลยี 1 ห้อง 9-15 เรียนภาคเรียนที่ 1 ห้อง 1-8 เรียนภาคเรียนที่ 2
ว 21202 คอมพิวเตอร์เพื่อการออกแบบ 1 ห้อง 1-5 เรียนภาคเรียนที่ 1 ห้อง 6-9 เรียนภาคเรียนที่ 2
36
โครงสร้างหลักสูตรโรงเรียนหอวัง
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 (ห้อง 10)
ห้องเรียนพิเศษ (ดนตรีไทย)
ภาคเรียนที่ 1 ภาคเรียนที่ 2
รหัสวิชา รายวิชา เวลา หน่วยกิต รหัสวิชา รายวิชา เวลา หน่วยกิต
รายวิชาพื้นฐาน 22 11.0 รายวิชาพื้นฐาน 22 11.0
ท21101 ภาษาไทย 3 1.5 ท21102 ภาษาไทย 3 1.5
ค21103 คณิตศาสตร์ 1 3 1.5 ค21104 คณิตศาสตร์ 2 3 1.5
ว21103 วิทยาศาสตร์ 1 3 1.5 ว21104 วิทยาศาสตร์ 2 3 1.5
ว21105 วิทยาการค านวณและการออกแบบเทคโนโลยี 1 2 1.0 ส21103 สังคมศึกษา 3 1.5
ส21101 สังคมศึกษา 3 1.5 ส21104 ประวัติศาสตร์ 1 0.5
ส21102 ประวัติศาสตร์ 1 0.5 พ21108 สุขศึกษา 1 0.5
พ21106 สุขศึกษา 1 0.5 พ21109 พลศึกษา 1 0.5
พ21107 พลศึกษา 1 0.5 ศ21102 ศิลปะ 2 1.0
ศ21101 ศิลปะ 2 1.0 ง21103 การงาน 1 2 1.0
อ21101 ภาษาอังกฤษ 3 1.5 อ21102 ภาษาอังกฤษ 3 1.5
รายวิชาเพิ่มเติม 13 6.5 รายวิชาเพิ่มเติม 11 5.5
ค21205 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 1 1 0.5 ค21207 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 2 1 0.5
ว21202 คอมพิวเตอร์เพื่อการออกแบบ 1 2 1.0 พ21202 พลศึกษา 1 0.5
พ21201 พลศึกษา 1 0.5 ศ21206 พื้นฐานดนตรีไทย 2 2 1.0
ศ21203 พื้นฐานดนตรีไทย 1 2 1.0 ศ21207 รวมวงดนตรีไทย 2 2 1.0
ศ21204 รวมวงดนตรีไทย 1 2 1.0 ศ21208 ปฏิบัติดนตรีไทย 2 2 1.0
ศ21205 ปฏิบัติดนตรีไทย 1 2 1.0 ศ21212 ขับร้องประสานเสียงขั้นน า 2 1.0
ศ21213 คีย์บอร์ด 2 1.0 อ21212 ภาษาอังกฤษการอ่าน 2 1 0.5
อ21211 ภาษาอังกฤษการอ่าน 1 1 0.5
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน 4 - กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน 4 -
S กิจกรรมแนะแนว 1 - S กิจกรรมแนะแนว 1 -
S กิจกรรมนักเรียน S กิจกรรมนักเรียน
ลูกเสือ/เนตรนารี 1 - ลูกเสือ/เนตรนารี 1 -
ชมรม/ชุมนุม 1 - ชมรม/ชุมนุม 1 -
คนดีศรีหอวัง 1 - คนดีศรีหอวัง 1 -
S กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ - - S กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ - -
กิจกรรมเสริมหลักสูตร 2 - กิจกรรมเสริมหลักสูตร 2 -
English Conversation 2 - English Conversation 2 -
กิจกรรมสาระท้องถิ่นหอวังของเรา (บูรณาการ) - -
รวมเวลาเรียนทั้งสิ้น 41 17.5 รวมเวลาเรียนทั้งสิ้น 39 16.5
รวมทั้งหมด 34.0 หน่วยกิต
หมายเหตุ: ง21103 การงาน 1 ห้อง 1-8 เรียนภาคเรียนที่ 1 ห้อง 9-15 เรียนภาคเรียนที่ 2
ว21105 วิทยาการค านวณและการออกแบบเทคโนโลยี 1 ห้อง 9-15 เรียนภาคเรียนที่ 1 ห้อง 1-8 เรียนภาคเรียนที่ 2
ว21202 คอมพิวเตอร์เพื่อการออกแบบ 1 ห้อง 1-5 เรียนภาคเรียนที่ 1 ห้อง 6-9 เรียนภาคเรียนที่ 2
37
โครงสร้างหลักสูตรโรงเรียนหอวัง
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 (ห้อง 11-13)
ห้องเรียนภาษาอังกฤษแบบเข้ม (Intensive)
ภาคเรียนที่ 1 ภาคเรียนที่ 2
รหัสวิชา รายวิชา เวลา หน่วยกิต รหัสวิชา รายวิชา เวลา หน่วยกิต
รายวิชาพื้นฐาน 22 11.0 รายวิชาพื้นฐาน 22 11.0
ท21101 ภาษาไทย 3 1.5 ท21102 ภาษาไทย 3 1.5
ค21103 คณิตศาสตร์ 1 3 1.5 ค21104 คณิตศาสตร์ 2 3 1.5
ว21103 วิทยาศาสตร์ 1 3 1.5 ว21104 วิทยาศาสตร์ 2 3 1.5
ว21105 วิทยาการค านวณและการออกแบบเทคโนโลยี 1 2 1.0 ส21103 สังคมศึกษา 3 1.5
ส21101 สังคมศึกษา 3 1.5 ส21104 ประวัติศาสตร์ 1 0.5
ส21102 ประวัติศาสตร์ 1 0.5 พ21108 สุขศึกษา 1 0.5
พ21106 สุขศึกษา 1 0.5 พ21109 พลศึกษา 1 0.5
พ21107 พลศึกษา 1 0.5 ศ21102 ศิลปะ 2 1.0
ศ21101 ศิลปะ 2 1.0 ง21103 การงาน 1 2 1.0
อ21103 ภาษาอังกฤษเข้ม 3 1.5 อ21104 ภาษาอังกฤษเข้ม 3 1.5
รายวิชาเพิ่มเติม 9 4.5 รายวิชาเพิ่มเติม 9 4.5
ค21205 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 1 1 0.5 ค21207 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 2 1 0.5
ว21203 คอมพิวเตอร์และการออกแบบเทคโนโลยี 1 2 1.0 ว21207 วิทยาศาสตร์เพิ่มเติม 1 2 1.0
พ21201 พลศึกษา 1 0.5 พ21202 พลศึกษา 1 0.5
อ21202 ภาษาอังกฤษในชีวิตประจ าวัน 3 1.5 อ21204 ภาษาอังกฤษในชีวิตประจ าวัน 3 1.5
จ21201 ภาษาจีนในชีวิตประจ าวัน 2 1.0 จ21202 ภาษาจีนในชีวิตประจ าวัน 2 1.0
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน 4 - กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน 4 -
S กิจกรรมแนะแนว 1 - S กิจกรรมแนะแนว 1 -
S กิจกรรมนักเรียน S กิจกรรมนักเรียน
ลูกเสือ/เนตรนารี 1 - ลูกเสือ/เนตรนารี 1 -
ชมรม/ชุมนุม 1 - ชมรม/ชุมนุม 1 -
คนดีศรีหอวัง 1 - คนดีศรีหอวัง 1 -
S กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ - - S กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ - -
กิจกรรมเสริมหลักสูตร 2 - กิจกรรมเสริมหลักสูตร 2 -
English Conversation 2 - English Conversation 2 -
กิจกรรมสาระท้องถิ่นหอวังของเรา (บูรณาการ) - -
รวมเวลาเรียนทั้งสิ้น 37 15.5 รวมเวลาเรียนทั้งสิ้น 37 15.5
รวมทั้งหมด 31.0 หน่วยกิต
หมายเหตุ: ง21103 การงาน 1 ห้อง 1-8 เรียนภาคเรียนที่ 1 ห้อง 9-15 เรียนภาคเรียนที่ 2
ว21105 วิทยาการค านวณและการออกแบบเทคโนโลยี 1 ห้อง 9-15 เรียนภาคเรียนที่ 1 ห้อง 1-8 เรียนภาคเรียนที่ 2
38
โครงสร้างหลักสูตรโรงเรียนหอวัง
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 (ห้อง 14-15)
ห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยี (Gifted)
ภาคเรียนที่ 1 ภาคเรียนที่ 2
รหัสวิชา รายวิชา เวลา หน่วยกิต รหัสวิชา รายวิชา เวลา หน่วยกิต
รายวิชาพื้นฐาน 22 11.0 รายวิชาพื้นฐาน 22 11.0
ท21101 ภาษาไทย 3 1.5 ท21102 ภาษาไทย 3 1.5
ค21103 คณิตศาสตร์ 1 3 1.5 ค21104 คณิตศาสตร์ 2 3 1.5
ว21103 วิทยาศาสตร์ 1 3 1.5 ว21104 วิทยาศาสตร์ 2 3 1.5
ว21205 วิทยาการค านวณและการออกแบบเทคโนโลยี 1 2 1.0 ส21103 สังคมศึกษา 3 1.5
ส21101 สังคมศึกษา 3 1.5 ส21104 ประวัติศาสตร์ 1 0.5
ส21102 ประวัติศาสตร์ 1 0.5 พ21108 สุขศึกษา 1 0.5
พ21106 สุขศึกษา 1 0.5 พ21109 พลศึกษา 1 0.5
พ21107 พลศึกษา 1 0.5 ศ21102 ศิลปะ 2 1.0
ศ21101 ศิลปะ 2 1.0 ง21103 การงาน 1 2 1.0
อ21101 ภาษาอังกฤษ 3 1.5 อ21102 ภาษาอังกฤษ 3 1.5
รายวิชาเพิ่มเติม 9 4.5 รายวิชาเพิ่มเติม 9 4.5
ค21206 คณิตศาสตร์เข้ม 1 3 1.5 ค21208 คณิตศาสตร์เข้ม 2 3 1.5
ว21203 คอมพิวเตอร์และการออกแบบเทคโนโลยี 1 2 1.0 ว21204 คอมพิวเตอร์แอนิเมชั่น 2 1.0
ว21205 วิทยาศาสตร์เข้ม 1 2 1.0 ว21206 วิทยาศาสตร์เข้ม 2 2 1.0
อ21209 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารขั้นต้น 2 1.0 อ21210 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารขั้นต้น 2 1.0
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน 4 - กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน 4 -
S กิจกรรมแนะแนว 1 - S กิจกรรมแนะแนว 1 -
S กิจกรรมนักเรียน S กิจกรรมนักเรียน
ลูกเสือ/เนตรนารี 1 - ลูกเสือ/เนตรนารี 1 -
ชมรม/ชุมนุม 1 - ชมรม/ชุมนุม 1 -
คนดีศรีหอวัง 1 - คนดีศรีหอวัง 1 -
S กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ - - S กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ - -
กิจกรรมเสริมหลักสูตร 2 - กิจกรรมเสริมหลักสูตร 2 -
English Conversation 2 - English Conversation 2 -
กิจกรรมสาระท้องถิ่นหอวังของเรา (จัดนอกเวลา) - -
รวมเวลาเรียนทั้งสิ้น 37 15.5 รวมเวลาเรียนทั้งสิ้น 37 15.5
รวมทั้งหมด 31.0 หน่วยกิต
หมายเหตุ: ง21103 การงาน 1 ห้อง 1-8 เรียนภาคเรียนที่ 1 ห้อง 9-15 เรียนภาคเรียนที่ 2
ว21105 วิทยาการค านวณและการออกแบบเทคโนโลยี 1 ห้อง 9-15 เรียนภาคเรียนที่ 1 ห้อง 1-8 เรียนภาคเรียนที่ 2
39
โครงสร้างหลักสูตรโรงเรียนหอวัง
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 (1-9)
ห้องเรียนปกติ
ภาคเรียนที่ 1 ภาคเรียนที่ 2
รหัสวิชา รายวิชา เวลา หน่วยกิต รหัสวิชา รายวิชา เวลา หน่วยกิต
รายวิชาพื้นฐาน 22 11.0 รายวิชาพื้นฐาน 22 11.0
ท22101 ภาษาไทย 3 1.5 ท22102 ภาษาไทย 3 1.5
ค22103 คณิตศาสตร์ 3 3 1.5 ค22104 คณิตศาสตร์ 4 3 1.5
ว22103 วิทยาศาสตร์ 3 3 1.5 ว22104 วิทยาศาสตร์ 4 3 1.5
ว22105 วิทยาการค านวณและการออกแบบเทคโนโลยี 2 2 1.0 ส22103 สังคมศึกษา 3 1.5
ส22101 สังคมศึกษา 3 1.5 ส22104 ประวัติศาสตร์ 1 0.5
ส22102 ประวัติศาสตร์ 1 0.5 พ22105 สุขศึกษา 1 0.5
พ22103 สุขศึกษา 1 0.5 พ22106 พลศึกษา 1 0.5
พ22104 พลศึกษา 1 0.5 ศ22102 ศิลปะ 2 1.0
ศ22101 ศิลปะ 2 1.0 ง22104 การงาน 2 2 1.0
อ22101 ภาษาอังกฤษ 3 1.5 อ22102 ภาษาอังกฤษ 3 1.5
รายวิชาเพิ่มเติม 11 5.5 รายวิชาเพิ่มเติม 9 4.5
ค22205 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 3 1 0.5 ค22207 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 4 1 0.5
ว22201 คอมพิวเตอร์เพื่อการออกแบบ 2 1.0 ว22209 วิทยาศาสตร์เพิ่มเติม 3 2 1.0
2
ว22206 วิทยาศาสตร์เพิ่มเติม 2 2 1.0 พ22202 พลศึกษา 1 0.5
พ22201 พลศึกษา 1 0.5 อ22212 การเขียนภาษาอังกฤษ 2 1 0.5
อ22211 การเขียนภาษาอังกฤษ 1 1 0.5 จ22202 ภาษาจีนในชีวิตประจ าวัน 2 1.0
จ22201 ภาษาจีนในชีวิตประจ าวัน 2 1.0 I20202 Is2 การสื่อสารและการน าเสนอ 2 1.0
I20201 Is1 การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความร ู้ 2 1.0
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน 4 - กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน 4 -
S กิจกรรมแนะแนว 1 - S กิจกรรมแนะแนว 1 -
S กิจกรรมนักเรียน S กิจกรรมนักเรียน
ลูกเสือ/เนตรนารี 1 - ลูกเสือ/เนตรนารี 1 -
ชมรม/ชุมนุม 1 - ชมรม/ชุมนุม 1 -
คนดีศรีหอวัง 1 - คนดีศรีหอวัง 1 -
0S กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ - - S กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ - -
กิจกรรมเสริมหลักสูตร 2 - กิจกรรมเสริมหลักสูตร 2 -
English Conversation 2 - English Conversation 2 -
รวมเวลาเรียนทั้งสิ้น 39 16.5 รวมเวลาเรียนทั้งสิ้น 37 15.5
รวมทั้งหมด 32.0 หน่วยกิต
หมายเหตุ: ง 22104 การงาน 2 ห้อง 1-8 เรียนภาคเรียนที่ 1 ห้อง 9-15 เรียนภาคเรียนที่ 2
ว 22105 วิทยาการค านวณและการออกแบบเทคโนโลยี 2 ห้อง 1-5 เรียนภาคเรียนที่ 1 ห้อง 6-9 เรียนภาคเรียนที่ 2
ว 22201 คอมพิวเตอร์เพื่อการออกแบบ 2 ห้อง 1-8 เรียนภาคเรียนที่ 1 ห้อง 9-15 เรียนภาคเรียนที่ 2
40
โครงสร้างหลักสูตรโรงเรียนหอวัง
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 (ห้อง 10)
ห้องเรียนพิเศษดนตรี (ดนตรีสากล)
ภาคเรียนที่ 1 ภาคเรียนที่ 2
รหัส
รหัสวิชา รายวิชา เวลา หน่วยกิต รายวิชา เวลา หน่วยกิต
วิชา
รายวิชาพื้นฐาน 22 11.0 รายวิชาพื้นฐาน 22 11.0
ท22101 ภาษาไทย 3 1.5 ท22102 ภาษาไทย 3 1.5
ค22103 คณิตศาสตร์ 3 3 1.5 ค22104 คณิตศาสตร์ 4 3 1.5
ว22101 วิทยาศาสตร์ 3 3 1.5 ว22102 วิทยาศาสตร์ 4 3 1.5
ว22105 วิทยาการค านวณและการออกแบบเทคโนโลยี 2 2 1.0 ส22103 สังคมศึกษา 3 1.5
ส22101 สังคมศึกษา 3 1.5 ส22104 ประวัติศาสตร์ 1 0.5
ส22102 ประวัติศาสตร์ 1 0.5 พ22105 สุขศึกษา 1 0.5
พ22103 สุขศึกษา 1 0.5 พ22106 พลศึกษา 1 0.5
พ22104 พลศึกษา 1 0.5 ศ22102 ศิลปะ 2 1.0
ศ22101 ศิลปะ 2 1.0 ง22104 การงาน 2 2 1.0
อ22101 ภาษาอังกฤษ 3 1.5 อ22102 ภาษาอังกฤษ 3 1.5
รายวิชาเพิ่มเติม 13 6.5 รายวิชาเพิ่มเติม 15 7.5
ค22205 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 3 1 0.5 ค22207 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 4 1 0.5
พ22201 พลศึกษา 1 0.5 ว22201 คอมพิวเตอร์เพื่อการออกแบบ 2 2 1.0
ศ22209 พื้นฐานดนตรีสากล 3 2 1.0 พ22202 พลศึกษา 1 0.5
ศ22210 รวมวงดนตรีสากล 3 2 1.0 ศ22214 พื้นฐานดนตรีสากล 4 2 1.0
ศ22211 ปฏิบัติดนตรีสากล 3 2 1.0 ศ22215 รวมวงดนตรีสากล 4 2 1.0
ศ22212 ขับร้องประสานเสียง 1 1 0.5 ศ22216 ปฏิบัติดนตรีสากล 4 2 1.0
ศ22213 โสตทักษะ 1 1 0.5 ศ22217 ขับร้องประสานเสียง 2 1 0.5
อ22211 การเขียนภาษาอังกฤษ 1 1 0.5 ศ22218 โสตทักษะ 2 1 0.5
I20201 IS1 การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความร ู้ 2 1.0 อ22212 การเขียนภาษาอังกฤษ 2 1 0.5
I20202 IS2 การสื่อสารและการน าเสนอ 2 1.0
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน 4 - กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน 4 -
S กิจกรรมแนะแนว 1 - S กิจกรรมแนะแนว 1 -
S กิจกรรมนักเรียน S กิจกรรมนักเรียน
ลูกเสือ/เนตรนารี 1 - ลูกเสือ/เนตรนารี 1 -
ชมรม/ชุมนุม 1 - ชมรม/ชุมนุม 1 -
คนดีศรีหอวัง 1 - คนดีศรีหอวัง 1 -
S กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ - - S กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ - -
กิจกรรมเสริมหลักสูตร 2 - กิจกรรมเสริมหลักสูตร 2 -
English Conversation 2 - English Conversation 2 -
รวมเวลาเรียนทั้งสิ้น 41 17.5 รวมเวลาเรียนทั้งสิ้น 43 18.5
รวมทั้งหมด 36.0 หน่วยกิต
หมายเหตุ: ง22104 การงาน 2 ห้อง 1-8 เรียนภาคเรียนที่ 1 ห้อง 9-15 เรียนภาคเรียนที่ 2
ว22105 วิทยาการค านวณและการออกแบบเทคโนโลยี 2 ห้อง 9-15 เรียนภาคเรียนที่ 1 ห้อง 1-8 เรียนภาคเรียนที่ 2
ว22201 คอมพิวเตอร์เพื่อการออกแบบ 2 ห้อง 1-8 เรียนภาคเรียนที่ 1 ห้อง 9-10 เรียนภาคเรียนที่ 2
41
โครงสร้างหลักสูตรโรงเรียนหอวัง
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 (ห้อง 10)
ห้องเรียนพิเศษดนตรี (ดนตรีไทย)
ภาคเรียนที่ 1 ภาคเรียนที่ 2
รหัสวิชา รายวิชา เวลา หน่วยกิต รหัสวิชา รายวิชา เวลา หน่วยกิต
รายวิชาพื้นฐาน 22 11.0 รายวิชาพื้นฐาน 22 11.0
ท22101 ภาษาไทย 3 1.5 ท22102 ภาษาไทย 3 1.5
ค22103 คณิตศาสตร์ 3 3 1.5 ค22104 คณิตศาสตร์ 4 3 1.5
ว22103 วิทยาศาสตร์ 3 3 1.5 ว22104 วิทยาศาสตร์ 4 3 1.5
ว22105 วิทยาการค านวณและการออกแบบเทคโนโลยี 2 2 1.0 ส22103 สังคมศึกษา 3 1.5
ส22101 สังคมศึกษา 3 1.5 ส22104 ประวัติศาสตร์ 1 0.5
ส22102 ประวัติศาสตร์ 1 0.5 พ22105 สุขศึกษา 1 0.5
พ22103 สุขศึกษา 1 0.5 พ22106 พลศึกษา 1 0.5
พ22104 พลศึกษา 1 0.5 ศ22102 ศิลปะ 2 1.0
ศ22101 ศิลปะ 2 1.0 ง22104 การงาน 2 2 1.0
อ22101 ภาษาอังกฤษ 3 1.5 อ22102 ภาษาอังกฤษ 3 1.5
รายวิชาเพิ่มเติม 13 6.5 รายวิชาเพิ่มเติม 15 7.5
ค22205 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 3 1 0.5 ค22207 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 4 1 0.5
พ22201 พลศึกษา 1 0.5 ว22201 คอมพิวเตอร์เพื่อการออกแบบ 2 2 1.0
ศ22203 พื้นฐานดนตรีไทย 3 2 1.0 พ22202 พลศึกษา 1 0.5
ศ22204 รวมวงดนตรีไทย 3 2 1.0 ศ22206 พื้นฐานดนตรีไทย 4 2 1.0
ศ22205 ปฏิบัติดนตรีไทย 3 4 2.0 ศ22207 รวมวงดนตรีไทย 4 2 1.0
อ22211 การเขียนภาษาอังกฤษ 1 1 0.5 ศ22208 ปฏิบัติดนตรีไทย 4 4 2.0
I20201 IS1 การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความร ู้ 2 1.0 อ22212 การเขียนภาษาอังกฤษ 2 1 0.5
I20202 IS2 การสื่อสารและการน าเสนอ 2 1.0
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน 4 - กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน 4 -
S กิจกรรมแนะแนว 1 - S กิจกรรมแนะแนว 1 -
S กิจกรรมนักเรียน S กิจกรรมนักเรียน
ลูกเสือ/เนตรนารี 1 - ลูกเสือ/เนตรนารี 1 -
ชมรม/ชุมนุม 1 - ชมรม/ชุมนุม 1 -
คนดีศรีหอวัง 1 - คนดีศรีหอวัง 1 -
S กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ - - S กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ - -
กิจกรรมเสริมหลักสูตร 2 - กิจกรรมเสริมหลักสูตร 2 -
English Conversation 2 - English Conversation 2 -
รวมเวลาเรียนทั้งสิ้น 41 17.5 รวมเวลาเรียนทั้งสิ้น 43 18.5
รวมทั้งหมด 36.0 หน่วยกิต
หมายเหตุ: ง22104 การงาน 2 ห้อง 1-8 เรียนภาคเรียนที่ 1 ห้อง 9-15 เรียนภาคเรียนที่ 2
ว22105 วิทยาการค านวณและการออกแบบเทคโนโลยี 2 ห้อง 9-15 เรียนภาคเรียนที่ 1 ห้อง 1-8 เรียนภาคเรียนที่ 2
ว22201 คอมพิวเตอร์เพื่อการออกแบบ 2 ห้อง 1-8 เรียนภาคเรียนที่ 1 ห้อง 9-10 เรียนภาคเรียนที่ 2
42
โครงสร้างหลักสูตรโรงเรียนหอวัง
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 (ห้อง 11-13)
ห้องเรียนภาษาอังกฤษแบบเข้ม
ภาคเรียนที่ 1 ภาคเรียนที่ 2
รหัสวิชา รายวิชา เวลา หน่วยกิต รหัสวิชา รายวิชา เวลา หน่วยกิต
รายวิชาพื้นฐาน 22 11.0 รายวิชาพื้นฐาน 22 11.0
ท22101 ภาษาไทย 3 1.5 ท22102 ภาษาไทย 3 1.5
ค22103 คณิตศาสตร์ 3 3 1.5 ค22104 คณิตศาสตร์ 4 3 1.5
ว22103 วิทยาศาสตร์ 3 3 1.5 ว22104 วิทยาศาสตร์ 4 3 1.5
ว22105 วิทยาการค านวณและการออกแบบเทคโนโลยี 2 2 1.0 ส22103 สังคมศึกษา 3 1.5
ส22101 สังคมศึกษา 3 1.5 ส22104 ประวัติศาสตร์ 1 0.5
ส22102 ประวัติศาสตร์ 1 0.5 พ22105 สุขศึกษา 1 0.5
พ22103 สุขศึกษา 1 0.5 พ22106 พลศึกษา 1 0.5
พ22104 พลศึกษา 1 0.5 ศ22102 ศิลปะ 2 1.0
ศ22101 ศิลปะ 2 1.0 ง22104 การงาน 2 2 1.0
อ22103 ภาษาอังกฤษเข้ม 3 1.5 อ22104 ภาษาอังกฤษเข้ม 3 1.5
รายวิชาเพิ่มเติม 11 5.5 รายวิชาเพิ่มเติม 13 6.5
ค22205 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 3 1 0.5 ค22207 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 4 1 0.5
ว22206 วิทยาศาสตร์เพิ่มเติม 2 2 1.0 ว22202 คอมพิวเตอร์และการออกแบบเทคโนโลยี 2 2 1.0
พ22201 พลศึกษา 1 0.5 ว22209 วิทยาศาสตร์เพิ่มเติม 3 2 1.0
อ22202 การเขียนภาษาอังกฤษขั้นพื้นฐาน 3 1.5 พ22202 พลศึกษา 1 0.5
จ22201 ภาษาจีนในชีวิตประจ าวัน 2 1.0 อ22204 การเขียนภาษาอังกฤษขั้นพื้นฐาน 3 1.5
I20201 IS1 การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความร ู้ 2 1.0 จ22202 ภาษาจีนในชีวิตประจ าวัน 2 1.0
I20202 IS2 การสื่อสารและการน าเสนอ 2 1.0
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน 4 - กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน 4 -
S กิจกรรมแนะแนว 1 - S กิจกรรมแนะแนว 1 -
S กิจกรรมนักเรียน S กิจกรรมนักเรียน
ลูกเสือ/เนตรนารี 1 - ลูกเสือ/เนตรนารี 1 -
ชมรม/ชุมนุม 1 - ชมรม/ชุมนุม 1 -
คนดีศรีหอวัง 1 - คนดีศรีหอวัง 1 -
S กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ - - S กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ - -
กิจกรรมเสริมหลักสูตร 2 - กิจกรรมเสริมหลักสูตร 2 -
English Conversation 2 - English Conversation 2 -
รวมเวลาเรียนทั้งสิ้น 39 16.5 รวมเวลาเรียนทั้งสิ้น 41 17.5
รวมทั้งหมด 34.0 หน่วยกิต
หมายเหตุ: ง22104 การงาน 2 ห้อง 1-8 เรียนภาคเรียนที่ 1 ห้อง 9-15 เรียนภาคเรียนที่ 2
ว22105 วิทยาการค านวณ 2 ห้อง 9-15 เรียนภาคเรียนที่ 1 ห้อง 1-8 เรียนภาคเรียนที่ 2
43
โครงสร้างหลักสูตรโรงเรียนหอวัง
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 (ห้อง 14-15)
ห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยี (Gifted)
ภาคเรียนที่ 1 ภาคเรียนที่ 2
รหัสวิชา รายวิชา เวลา หน่วยกิต รหัสวิชา รายวิชา เวลา หน่วยกิต
รายวิชาพื้นฐาน 22 11.0 รายวิชาพื้นฐาน 22 11.0
ท22101 ภาษาไทย 3 1.5 ท22102 ภาษาไทย 3 1.5
ค22103 คณิตศาสตร์ 3 3 1.5 ค22104 คณิตศาสตร์ 4 3 1.5
ว22103 วิทยาศาสตร์ 3 3 1.5 ว22104 วิทยาศาสตร์ 4 3 1.5
ว22105 วิทยาการค านวณและการออกแบบเทคโนโลยี 2 2 1.0 ส22103 สังคมศึกษา 3 1.5
ส22101 สังคมศึกษา 3 1.5 ส22104 ประวัติศาสตร์ 1 0.5
ส22102 ประวัติศาสตร์ 1 0.5 พ22105 สุขศึกษา 1 0.5
พ22103 สุขศึกษา 1 0.5 พ22106 พลศึกษา 1 0.5
พ22104 พลศึกษา 1 0.5 ศ22102 ศิลปะ 2 1.0
ศ22101 ศิลปะ 2 1.0 ง22104 การงาน 2 2 1.0
อ22101 ภาษาอังกฤษ 3 1.5 อ22102 ภาษาอังกฤษ 3 1.5
รายวิชาเพิ่มเติม 13 6.5 รายวิชาเพิ่มเติม 13 6.5
ค22206 คณิตศาสตร์เข้ม 3 3 1.5 ค22208 คณิตศาสตร์เข้ม 4 3 1.5
ว22202 คอมพิวเตอร์และการออกแบบเทคโนโลยี 2 2 1.0 ว22203 คอมพิวเตอร์กราฟิก 2 1.0
ว20226 วิทยาศาสตร์เข้ม 3 2 1.0 ว20228 วิทยาศาสตร์เข้ม 5 2 1.0
ว20227 วิทยาศาสตร์เข้ม 4 2 1.0 ว20229 วิทยาศาสตร์เข้ม 6 2 1.0
อ22209 การเขียนภาษาอังกฤษขั้นต้น 2 1.0 อ22210 การเขียนภาษาอังกฤษขั้นต้น 2 1.0
I20201 IS1 การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความร ู้ 2 1.0 I20202 IS2 การสื่อสารและการน าเสนอ 2 1.0
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน 4 - กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน 4 -
S กิจกรรมแนะแนว 1 - S กิจกรรมแนะแนว 1 -
S กิจกรรมนักเรียน S กิจกรรมนักเรียน
ลูกเสือ/เนตรนารี 1 - ลูกเสือ/เนตรนารี 1 -
ชมรม/ชุมนุม 1 - ชมรม/ชุมนุม 1 -
คนดีศรีหอวัง 1 - คนดีศรีหอวัง 1 -
S กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ - - S กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ - -
กิจกรรมเสริมหลักสูตร 2 - กิจกรรมเสริมหลักสูตร 2 -
English Conversation 2 - English Conversation 2 -
รวมเวลาเรียนทั้งสิ้น 41 17.5 รวมเวลาเรียนทั้งสิ้น 41 17.5
รวมทั้งหมด 35.0 หน่วยกิต
หมายเหตุ: ง22104 การงาน 2 ห้อง 1-8 เรียนภาคเรียนที่ 1 ห้อง 9-15 เรียนภาคเรียนที่ 2
ว22105 วิทยาการค านวณและการออกแบบเทคโนโลยี 2 ห้อง 9-15 เรียนภาคเรียนที่ 1 ห้อง 1-8 เรียนภาคเรียนที่ 2
44
โครงสร้างหลักสูตรโรงเรียนหอวัง
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 (1-9)
ห้องเรียนทั่วไป
ภาคเรียนที่ 1 ภาคเรียนที่ 2
รหัสวิชา รายวิชา เวลา หน่วยกิต รหัสวิชา รายวิชา เวลา หน่วยกิต
รายวิชาพื้นฐาน 22 11.0 รายวิชาพื้นฐาน 22 11.0
ท23101 ภาษาไทย 3 1.5 ท23102 ภาษาไทย 3 1.5
ค23103 คณิตศาสตร์ 5 3 1.5 ค23104 คณิตศาสตร์ 6 3 1.5
ว23103 วิทยาศาสตร์ 5 3 1.5 ว23104 วิทยาศาสตร์ 6 3 1.5
ส23101 สังคมศึกษา 3 1.5 ว23105 วิทยาการค านวณและการออกแบบเทคโนโลยี 3 2 1.0
ส23102 ประวัติศาสตร์ 1 0.5 ส23103 สังคมศึกษา 3 1.5
พ23103 สุขศึกษา 1 0.5 ส23104 ประวัติศาสตร์ 1 0.5
พ23104 พลศึกษา 1 0.5 พ23105 สุขศึกษา 1 0.5
ศ23101 ศิลปะ 2 1.0 พ23106 พลศึกษา 1 0.5
ง23103 การงาน 3 2 1.0 ศ23102 ศิลปะ 2 1.0
อ23101 ภาษาอังกฤษ 3 1.5 อ23102 ภาษาอังกฤษ 3 1.5
รายวิชาเพิ่มเติม 9 4.5 รายวิชาเพิ่มเติม 7 3.5
ค23207 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 5 1 0.5 ค23209 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 6 1 0.5
ว23206 วิทยาศาสตร์เพิ่มเติม 4 2 1.0 ว23209 วิทยาศาสตร์เพิ่มเติม 5 2 1.0
ว23201 คอมพิวเตอร์เพื่อการออกแบบ 3 2 1.0 พ23202 พลศึกษา 1 0.5
พ23201 พลศึกษา 1 0.5 อ23212 ภาษาอังกฤษอ่าน เขียนขั้นพื้นฐาน 2 - 1 0.5
อ23211 ภาษาอังกฤษอ่าน-เขียนขั้นพื้นฐาน 1 1 0.5 จ23202 ภาษาจีนในชีวิตประจ าวัน 2 1.0
จ23201 ภาษาจีนในชีวิตประจ าวัน 2 1.0
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน 4 - กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน 4 -
S กิจกรรมแนะแนว 1 - S กิจกรรมแนะแนว 1 -
S กิจกรรมนักเรียน S กิจกรรมนักเรียน
ลูกเสือ/เนตรนารี 1 - ลูกเสือ/เนตรนารี 1 -
ชมรม/ชุมนุม 1 - ชมรม/ชุมนุม 1 -
คนดีศรีหอวัง 1 - คนดีศรีหอวัง 1 -
S กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ - - S กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ - -
กิจกรรมเสริมหลักสูตร 2 - กิจกรรมเสริมหลักสูตร 2 -
English Conversation 2 - English Conversation 2 -
รวมเวลาเรียนทั้งสิ้น 37 15.5 รวมเวลาเรียนทั้งสิ้น 35 14.5
รวมทั้งหมด 30.0 หน่วยกิต
้
หมายเหตุ: ง23103 การงาน 3 ห้อง 1-8 เรียนภาคเรียนที่ 1 หอง 9-15 เรียนภาคเรียนที่ 2
้
ว23105 วิทยาการค านวณและการออกแบบเทคโนโลยี 3 ห้อง 9-15 เรียนภาคเรียนที่ 1 หอง 1-8 เรียนภาคเรียนที่ 2
ว23201 คอมพิวเตอร์เพื่อการออกแบบ 3 ห้อง 1-8 เรียนภาคเรียนที่ 1 ห้อง 9 เรียนภาคเรียนที่ 2
45
โครงสร้างหลักสูตรโรงเรียนหอวัง
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 (ห้อง 10)
ห้องเรียนพิเศษดนตรี (ดนตรีสากล)
ภาคเรียนที่ 1 ภาคเรียนที่ 2
รหัสวิชา รายวิชา เวลา หน่วยกิต รหัสวิชา รายวิชา เวลา หน่วยกิต
รายวิชาพื้นฐาน 22 11.0 รายวิชาพื้นฐาน 22 11.0
ท23101 ภาษาไทย 3 1.5 ท23102 ภาษาไทย 3 1.5
ค23103 คณิตศาสตร์ 5 3 1.5 ค23104 คณิตศาสตร์ 6 3 1.5
ว23101 วิทยาศาสตร์ 5 3 1.5 ว23102 วิทยาศาสตร์ 6 3 1.5
ว23105 วิทยาการค านวณและการออกแบบเทคโนโลยี 3 2 1.0 ส23103 สังคมศึกษา 3 1.5
ส23101 สังคมศึกษา 3 1.5 ส23104 ประวัติศาสตร์ 1 0.5
ส23102 ประวัติศาสตร์ 1 0.5 พ23105 สุขศึกษา 1 0.5
พ23103 สุขศึกษา 1 0.5 พ23106 พลศึกษา 1 0.5
พ23104 พลศึกษา 1 0.5 ศ23102 ศิลปะ 2 1.0
ศ23101 ศิลปะ 2 1.0 อ23102 ภาษาอังกฤษ 3 1.5
อ23101 ภาษาอังกฤษ 3 1.5 ง23103 การงาน 3 2 1.0
รายวิชาเพิ่มเติม 11 5.5 รายวิชาเพิ่มเติม 13 6.5
ค23206 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 5 1 0.5 ค23209 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 6 1 0.5
อ23211 ภาษาอังกฤษอ่าน-เขียนขั้นพื้นฐาน 1 1 อ23211 ว23201 คอมพิวเตอร์เพื่อการออกแบบ 3 2 1.0
พ23201 พลศึกษา 1 0.5 พ23202 พลศึกษา 1 0.5
ศ23207 พื้นฐานดนตรีสากล 5 2 1.0 ศ23211 พื้นฐานดนตรีสากล 6 2 1.0
ศ23208 รวมวงดนตรีสากล 5 2 1.0 ศ23212 รวมวงดนตรีสากล 6 2 1.0
ศ23209 ปฏิบัติดนตรีสากล 5 2 1.0 ศ23213 ปฏิบัติดนตรีสากล 6 2 1.0
ศ23210 Band and Orchestra 1 2 1.0 ศ23214 Band and Orchestra 2 2 1.0
อ23212 ภาษาอังกฤษอ่าน เขียนขั้นพื้นฐาน 2 - 1 0.5
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน 4 - กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน 4 -
S กิจกรรมแนะแนว 1 - S กิจกรรมแนะแนว 1 -
S กิจกรรมนักเรียน S กิจกรรมนักเรียน
ลูกเสือ/เนตรนารี 1 - ลูกเสือ/เนตรนารี 1 -
ชมรม/ชุมนุม 1 - ชมรม/ชุมนุม 1 -
คนดีศรีหอวัง 1 - คนดีศรีหอวัง 1 -
S กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ - - S กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ - -
กิจกรรมเสริมหลักสูตร 2 - กิจกรรมเสริมหลักสูตร 2 -
English Conversation 2 - English Conversation 2 -
รวมเวลาเรียนทั้งสิ้น 39 16.5 รวมเวลาเรียนทั้งสิ้น 41 17.5
รวมทั้งหมด 34.0 หน่วยกิต
หมายเหตุ: ง23103 การงาน 3 ห้อง 1-8 เรียนภาคเรียนที่ 1 ห้อง 9-15 เรียนภาคเรียนที่ 2
้
ว23105 วิทยาการค านวณและการออกแบบเทคโนโลยี 3 ห้อง 9-15 เรียนภาคเรียนที่ 1 หอง 1-8 เรียนภาคเรียนที่ 2
ว23201 คอมพิวเตอร์เพื่อการออกแบบ 3 ห้อง 1-8 เรียนภาคเรียนที่ 1 ห้อง 9 เรียนภาคเรียนที่ 2