The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หลักสูตรสถานศึกษา 2564

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by bumbimva.2015, 2022-07-10 00:05:10

หลักสูตรสถานศึกษา 2564

หลักสูตรสถานศึกษา 2564

หลกั สตู รอสิ ลามวทิ ยาลยั แห่งประเทศไทย ปีการศกึ ษา 2564 - 1 -

หลกั สตู รสถานศึกษา
อิสลามวทิ ยาลยั แห่งประเทศไทย

ปีการศกึ ษา 2564
ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน
พุทธศักราช 2551 (ฉบบั ปรบั ปรงุ พทุ ธศกั ราช 2560)

งานหลกั สูตรสถานศึกษาและโรงเรยี นมาตรฐานสากล
กลุ่มบริหารวิชาการ อิสลามวทิ ยาลัยแห่งประเทศไทย

สานกั งานเขตพื้นทกี่ ารศกึ ษามัธยมศกึ ษากรงุ เทพมหานคร เขต 1

สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน
กระทรวงศึกษาธกิ าร

งานหลักสูตรสถานศึกษา กลุ่มบริหารวิชาการ อสิ ลามวิทยาลัยแห่งประเทศไทย

SUBMITTED BY PATTHARAPON THONGNAIKAEW

หลักสตู รอิสลามวิทยาลยั แหง่ ประเทศไทย ปกี ารศึกษา 2564 - 2 -

คานา

อิสลามวิทยาลัยแห่งประเทศไทยเป็นสถานศึกษาของรัฐบาล สังกัดสานักงานเขตพ้ืนที่
การศึกษามัธยมศึกษาเขต 1 สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ
เป็นโรงเรียนที่จัดการศึกษาตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับ
ปรับปรุง พุทธศักราช 2560) เพ่ือตอบสนองความต้องการของชุมชนและนโยบายของ
กระทรวงศกึ ษาธกิ าร โดยส่งเสริมให้ผู้เรียนซึง่ เป็นเยาวชนมุสลิมจากท่ัวประเทศและเยาวชนทุกศาสนาใน
พ้นื ท่ีเขตทุ่งครแุ ละทั่วประเทศเข้ามาศกึ ษา มงุ่ ปลูกฝงั และพฒั นาเยาวชนให้เป็นผู้มีความรู้ ความสามารถ
และมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามมาตรฐานการศึกษา เป็นผู้มีทักษะในการทางาน โดยสามารถใช้
เทคโนโลยีสมัยใหม่มาพัฒนาให้ผู้เรียนมีทักษะด้านการคิดวิเคราะห์ พร้อมทักษะทางภาษา ผู้เรียนได้
เรียนตามศักยภาพมีโอกาสฝึกฝน สามารถประกอบอาชีพในอนาคตเพื่อเสริมคุณค่าคุณภาพชีวิตให้มาก
ข้ึน ฝึกให้มีคุณธรรม รักความเป็นไทย มีทักษะการคิดวิเคราะห์ คิดสร้างสรรค์ มีทักษะด้านเทคโนโลยี
สามารถทางานร่วมกบั ผอู้ ื่นและอยรู่ ่วมกันในสังคมได้อย่างสนั ติสุข

อนึ่ง การรับเยาวชนท่ีมีความต่างกันทั้งด้านศาสนา ภาษา ความเป็นอยู่และวัฒนธรรม
ทว่ั ประเทศ อิสลามวิทยาลัยแหง่ ประเทศไทยไม่ถือว่าเป็นความแตกต่าง แตอ่ ิสลามวิทยาลัยแหง่ ประเทศ
ไทยถือว่าเป็นภาระหน้าท่ีสาคัญในการหลอมรวมและทาความต่างให้เป็นความสันติสุข หลักสูตร
สถานศึกษาอิสลามวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช
2551 (ฉบับปรับปรงุ พุทธศกั ราช 2560) มีการจดั การศึกษารวมท้ังกิจกรรมการเรยี นการสอน ให้ผู้เรียน
สามารถอยู่รว่ มกนั ไดอ้ ย่างสันติสุข มีความสมานฉันท์ รักกันเหมือนพ่ีน้อง เรียนรู้เขา้ ใจศาสนาซึง่ กันและ
กัน ก่อนทีจ่ ะจบการศึกษาและกลบั สูภ่ มู ิลาเนาเดิมของตนเอง

หลักสูตรสถานศึกษาอิสลามวิทยาลัยแห่งประเทศไทย มีโครงสร้างเวลาเรียน โครงสร้าง
รายวิชา เป็นหลักสูตรต่อเนื่อง 3 ปี ของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 1 และ 4 ของปีน้ัน ๆ มีการวัดและ
ประเมินผลเพื่อตัดสินผลการเรียนรู้ของนักเรียนทุกระดับ มีการวางแผนอย่างเป็นระบบ สามารถ
ตรวจสอบได้และเกิดประโยชนส์ งู สุด

อิสลามวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ขอขอบคุณทุกท่านที่ร่วมกันจัดทา ปรับปรุงและพัฒนา
หลักสูตรสถานศึกษาเล่มน้ีได้สาเร็จครบถ้วนเรียบร้อย สามารถนาไปใช้เพื่อให้เกิดประโยชน์และ
ประสทิ ธผิ ลทุกประการ พฒั นาผเู้ รยี น สถานศึกษา สงั คมและประเทศชาตสิ บื ไป

(นายสมบรู ณ์ สาลพี ันธ)์
ผอู้ านวยการอสิ ลามวิทยาลยั แหง่ ประเทศไทย

งานหลักสูตรสถานศึกษา กลุ่มบริหารวิชาการ อสิ ลามวทิ ยาลยั แหง่ ประเทศไทย

SUBMITTED BY PATTHARAPON THONGNAIKAEW

หลักสตู รอสิ ลามวทิ ยาลยั แหง่ ประเทศไทย ปีการศึกษา 2564 - 3 -

สารบญั หน้า
2
เรอ่ื ง 3
คานา 4
สารบญั 6
ประกาศให้ใชห้ ลกั สูตรสถานศึกษา อิสลามวทิ ยาลยั แห่งประเทศไทย 12
คาสั่งแต่งตง้ั คณะกรรมการยกร่างหลกั สตู รสถานศึกษา 12
วสิ ยั ทัศน์อสิ ลามวิทยาลัยแห่งประเทศไทย 12
วสิ ยั ทัศน์ของหลักสตู รอิสลามวิทยาลยั แหง่ ประเทศไทย 13
สมรรถนะสาคัญของผู้เรยี น 13
คุณลักษณะอันพึงประสงคข์ องผูเ้ รยี น 14
คา่ นิยมหลกั ของคนไทย 12 ประการ 16
โครงสร้างเวลาเรยี นระดบั ช้นั มธั ยมศกึ ษา 17
หลกั สตู รอสิ ลามวิทยาลยั แห่งประเทศไทย 19
เกณฑ์การจบการศึกษา 24
โครงสรา้ งหลกั สูตรสถานศึกษา 79
หลกั สูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย 140
หลกั สตู รกลมุ่ สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ 271
หลกั สตู รกลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี 334
กลุม่ สาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม 365
หลกั สตู รกลมุ่ สาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา 429
หลกั สูตรกลุ่มสาระการเรยี นรู้ศิลปะ 459
หลกั สตู รกล่มุ สาระการเรยี นรู้การงานอาชพี 521
หลักสูตรกลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาตา่ งประเทศ 599
หลกั สตู รกลมุ่ สาระอสิ ลามศึกษาและภาษาอาหรบั 606
หลกั สตู รโรงเรียนมาตรฐานสากล 612
กจิ กรรมพัฒนาผูเ้ รียน
การประเมนิ ผลการเรยี น

งานหลกั สตู รสถานศกึ ษา กลุ่มบรหิ ารวชิ าการ อสิ ลามวิทยาลัยแห่งประเทศไทย

SUBMITTED BY PATTHARAPON THONGNAIKAEW

หลักสตู รอิสลามวทิ ยาลยั แห่งประเทศไทย ปกี ารศกึ ษา 2564 - 4 -

ประกาศ อิสลามวิทยาลยั แห่งประเทศไทย

เรอ่ื ง ให้ใช้หลกั สูตรสถานศึกษา อสิ ลามวทิ ยาลยั แห่งประเทศไทย
ปกี ารศึกษา 2564

ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพ้นื ฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรบั ปรุง พุทธศกั ราช 2560)
......................................................................................................................................
อิสลามวิทยาลัยแห่งประเทศไทยได้จัดทาหลักสูตรสถานศึกษา อิสลามวิทยาลัย

แห่งประเทศไทย ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง
พุทธศักราช 2560) ท่ีมุ่งเน้นการเสริมสร้างความรู้ ความสามารถและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของ
ผู้เรียนในศตวรรษท่ี 21 ซง่ึ สอดคล้องกับหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขัน้ พืน้ ฐานพุทธศกั ราช 2551 (ฉบับ
ปรับปรุง พุทธศักราช 2560) ให้เป็นผู้มีคุณภาพท้ังในฐานะพลเมืองไทยและพลเมืองโลก และสอดคล้อง
กับหลักสูตรโรงเรียนมาตรฐานสากล (Worldclass Standard School) เป็นสถานศึกษาท่ีมีคุณภาพ
เทียบเคยี งได้กบั นานาอารยประเทศ

อิสลามวิทยาลัยแห่งประเทศไทย เป็นสถาบันที่มุ่งม่ันพัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้คู่คุณธรรม
นากีฬา ล้าหน้าเทคโนโลยี ยึดถือวิถีความพอเพียง และอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข พัฒนาผู้เรียนให้มีความ
สมดลุ ทางร่างกาย ความรู้ มีคุณธรรม ทักษะพ้ืนฐาน พรอ้ มสาหรบั การศึกษาตอ่ หรอื การประกอบอาชีพ
และสามารถดาเนินชีวิตอย่างมีจิตสานึกในความเป็นพลเมืองไทยท่ีดี เป็นพลโลกท่ีมีคุณภาพ ยึดมั่นใน
การปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข จัดหลักสูตรสถานศึกษาโดย
มุ่งเน้นสมรรถนะสาคัญของผู้เรียน อันได้แก่ ความสามารถในการส่ือสาร ความสามารถในการคิด
ความสามารถในการแกป้ ญั หา ความสามารถในการใชท้ ักษะชีวติ และความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

อิสลามวิทยาลัยแห่งประเทศไทย จัดการเรียนการสอนและประเมินผลผู้เรียนให้
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ เป็นผู้มีความรักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ มีความรับผิดชอบ และปฎิบัติตนตาม
หลักธรรมเบ้ืองต้นของศาสนาที่ตนนับถือ มีความซ่ือสัตย์สุจริต มีวินัย ม่ันคงในระเบียบของสังคมท่ี
ตนเองอยู่ร่วม ใฝ่เรียนรู้ อยอู่ ย่างพอเพียง ประหยัดรู้จักใช้ทรัพย์ ส่ิงของสว่ นตนและส่วนรวมอย่างคุ้มค่า
ม่งุ ม่ันในการทางาน รักความเป็นไทย ภูมิใจในความเปน็ ไทย เหน็ คณุ ค่าภูมปิ ัญญาไทยนยิ มไทยและดารง
ไว้ซึ่งความเป็นไทย มีจิตสาธารณะเอื้อเฟ้ือเผื่อแผ่และเสียสละเพื่อส่วนรวม รวมถึงค่านิยมหลักของคน
ไทย 12 ประการตามนโยบายของคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ทาให้ผู้เรียนสามารถอยู่ร่วมกันในสังคม
ได้อย่างสนั ตสิ ุข

งานหลักสตู รสถานศกึ ษา กลุ่มบรหิ ารวชิ าการ อสิ ลามวิทยาลัยแห่งประเทศไทย

SUBMITTED BY PATTHARAPON THONGNAIKAEW

หลกั สูตรอิสลามวิทยาลัยแหง่ ประเทศไทย ปีการศกึ ษา 2564 - 5 -

ทั้งน้ี หลักสูตรสถานศึกษา อิสลามวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ปีการศึกษา 2564 ตาม
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2560) ได้รับ
ความเห็นชอบจากคณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพื้นฐาน เมื่อวันท่ี 10 เดือนมีนาคม พุทธศักราช 2564
จึงประกาศใหใ้ ช้หลักสูตรสถานศึกษาอสิ ลามวิทยาลัยแหง่ ประเทศไทย ตงั้ แต่บดั นีเ้ ปน็ ต้นไป

ประกาศ ณ วนั ที่ 10 เดอื นมีนาคม พุทธศกั ราช 2564

(นายสนั่น ชนันทวารี) (นายสมบรู ณ์ สาลีพนั ธ)์
ประธานกรรมการสถานศึกษาขัน้ พื้นฐาน ผ้อู านวยการอิสลามวิทยาลยั แห่งประเทศไทย

อิสลามวิทยาลัยแหง่ ประเทศไทย

งานหลกั สูตรสถานศกึ ษา กลุ่มบริหารวชิ าการ อสิ ลามวทิ ยาลัยแหง่ ประเทศไทย

SUBMITTED BY PATTHARAPON THONGNAIKAEW

หลกั สูตรอิสลามวิทยาลัยแหง่ ประเทศไทย ปกี ารศึกษา 2564 - 6 -

คำสง่ั อิสลำมวิทยำลยั แห่งประเทศไทย

ที่ ๖๕ /256๔

เรอ่ื ง แต่งต้ังคณะกรรมกำรยกร่ำงหลกั สูตรสถำนศกึ ษำ ปีกำรศกึ ษำ 256๔

_________________________________________________________________________________________________________

เพ่ือให้การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิสลามวิทยาลัยแห่งประเทศไทย เป็นไปอย่างมี

ประสิทธิภาพ สอดคล้องกับพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 หมวด 4 มาตรา 27 ท่ี

กาหนดให้สถานศึกษาขั้นพื้นฐานมีหน้าที่ยกร่างหลักสูตรสถานศึกษา จัดทาสาระของหลักสูตรเพื่อความ

เป็นไทย ความเป็นพลเมืองท่ีดีของชาติ การดารงชวี ิตและการประกอบอาชีพ ตลอดจนเพอื่ การศกึ ษาต่อ

ในส่วนที่เก่ียวกับสภาพปัญหาของชุมชนและสังคม ภูมิปัญญาท้องถ่ิน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ เพื่อ

เปน็ สมาชกิ ท่ีดีของครอบครัว ชุมชน สังคมและประเทศชาติ

ฉะน้ัน อาศัยอานาจตามความในมาตรา 27 และมาตรา 86 แห่งพระราชบัญญัติระเบียบ

ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ.2547 แกไ้ ขเพม่ิ เติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2551 และ(ฉบับท่ี 3)

พ.ศ.2553 และระเบียบกระทรวงศึกษาธิการ ว่าด้วยคณะกรรมการบริหารหลักสูตรและงานวิชาการ

สถานศึกษาพ้ืนฐาน พ.ศ. 2544 จึงแตง่ ต้ังข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาในสถานศึกษาปฏิบัติ

หน้าท่ีราชการ ดังต่อไปนี้

1. คณะกรรมกำรอำนวยกำร

๑.๑ นายสมบูรณ์ สาลีพนั ธ์ ประธานกรรมการ

1.๒ นายวนิ ัย สขุ ชุม รองประธานกรรมการ

๑.๓ นางสาววรพรรณ กอจริ ัฐติ ิกาล รองประธานกรรมการ

๑.๔ นางสาวกัญญาณฐั ธงศรี รองประธานกรรมการ

1.๕ นายอนันต์ สุขสาลี รองประธานกรรมการ

1.๖ นางชลลดา ซวั วงษ์ กรรมการ

1.๗ นางสาวรัฎเกลา้ ชาตะวราหะ กรรมการ

1.๘ นางสาวศริ นิ ัย ซาชา กรรมการ

๑.๙ นางบุญญิสา ป้อมขุมพรม กรรมการ

๑.๑๐ ว่าทร่ี ้อยตรี นนั ทวุฒิ พุ่มอา่ กรรมการ

๑.๑๑ นายยูโสบ นงุ่ อาหลี กรรมการ

1.๑๒ นางสาวชญานศิ วร์ นามไพรจริ ะโชติ กรรมการ

๑.๑๓ นายมิตร ดาราฉาย กรรมการ

๑.๑๔ นายรอฟกี ี การีมี กรรมการ

๑.๑๕ นางนสิ ากร อับดุลเลาะห์ กรรมการ

1.๑6 นายนิพนธ์ กระมล กรรมการ

1.๑7 นางซลั บยี ะห์ สาโรวาท กรรมการและเลขานุการ

หนำ้ ท่ี 1) ใหก้ ารสนบั สนุน กากบั ดูแล ให้คาปรกึ ษา แก่คณะกรรมการดาเนินการ

2) อานวยการ เพื่อให้การดาเนินการจัดทาหลกั สูตรสถานศึกษาเปน็ ไปดว้ ยความเรยี บร้อย

งานหลักสูตรสถานศกึ ษา กลุ่มบรหิ ารวิชาการ อสิ ลามวิทยาลัยแหง่ ประเทศไทย

SUBMITTED BY PATTHARAPON THONGNAIKAEW

หลกั สตู รอสิ ลามวทิ ยาลยั แห่งประเทศไทย ปกี ารศึกษา 2564 - 7 -

2. คณะกรรมกำรดำเนนิ กำรจัดทำหลักสูตรสถำนศึกษำ

2.1 นายวนิ ยั สขุ ชมุ ประธานกรรมการ
รองประธานกรรมการ
2.๒ นางชลลดา ซวั วงษ์ รองประธานกรรมการ
รองประธานกรรมการ
2.๓ นางคนงึ นจิ กลน่ิ เมอื ง กรรมการ
กรรมการ
2.๔ นางซัลบยี ะห์ สาโรวาท กรรมการ
กรรมการ
2.๕ นางพลอยไพลิน วริ ิยะเอกกลู กรรมการ
กรรมการ
2.๖ นางสาวศิรินันท์ จนั ใด กรรมการ
กรรมการ
2.๗ นางสาวสดุ ารตั น์ สาราญ กรรมการ
กรรมการ
2.๘ นายมาโนช วงษว์ ิจารณ์
กรรมการ
2.๙ นายทวีศกั ดิ์ เดชบารุง กรรมการ
กรรมการ
2.๑๐ นางสาวณฐั ชุตา ชตานนท์
กรรมการและเลขานุการ
2.1๑ นายนภัสรพี มาลาเวช กรรมการและผู้ช่วยเลขานกุ าร

2.1๒ วา่ ที่ร้อยตรีอารี การีมี

2.1๓ นายสุนทร แสงมาน

2.1๔ นางสาวรชั ดา ทพิ ย์ธารา

2.1๕ นางสกุณา ตนั ตินีรนาท

2.1๖ นางสาววิไลพร บริสทุ ธิ์

2.1๗ นางสาวรัฎเกลา้ ชาตะวราหะ

2.1๘ นายภทั รพล ทองในแกว้

2.1๙ นางสาวดวงกมล อชั ฌาพงศ์

หน้ำท่ี 1) วางแผนการดาเนินการปรบั ปรุงและพฒั นาหลักสูตร
2) ศึกษา วิเคราะห์ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พ.ศ.2551
(ฉบับปรับปรุง 2560) โครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษาอิสลามวิทยาลัยแห่งประเทศ
ไทย ปีการศึกษา 256๓ ข้อมูลพื้นฐาน บริบทของโรงเรียน ชุมชน ผู้ปกครองและ
ผู้เรียน สังคม กฎหมาย แนวโน้มการจัดการศึกษาและนโยบายของรัฐบาล เพื่อนามา
จัดทาเปน็ หลักสตู รกลมุ่ สาระฯ และหลกั สูตรสถานศึกษาปีการศึกษา 256๔ ตอ่ ไป
3) กาหนดและจดั ทาโครงสรา้ งหลักสตู รสถานศกึ ษา
4) ดาเนนิ การจัดทาและยกรา่ งหลักสูตรสถานศึกษา ปีการศึกษา 256๔
5) นาหลักสูตรสถานศึกษา ปีการศึกษา 256๔ เสนอขอความเห็นชอบจาก
คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพ้นื ฐานอิสลามวิทยาลัยแห่งประเทศไทย เพ่ือประกาศใช้
หลกั สตู รในการจัดการเรยี นการสอนในปกี ารศึกษา 256๔
6) ประกาศใช้หลักสูตรฯ และประชาสัมพันธ์ให้ผู้ที่เกี่ยวข้องทุกฝ่ายทราบใน
รายละเอยี ดตา่ ง ๆ ของหลกั สตู รสถานศึกษา
7) จัดทาเล่มหลักสูตรสถานศึกษาให้กับฝ่ายบริหารทุกกลุ่มบริหาร กลุ่มสาระการ
เรียนรู้และฝา่ ยงานทเ่ี ก่ียวขอ้ ง
8) งานอื่น ๆ ตามที่ไดร้ บั มอบหมาย

งานหลักสตู รสถานศกึ ษา กลุ่มบรหิ ารวิชาการ อสิ ลามวิทยาลัยแหง่ ประเทศไทย

SUBMITTED BY PATTHARAPON THONGNAIKAEW

หลกั สูตรอสิ ลามวทิ ยาลยั แห่งประเทศไทย ปีการศึกษา 2564 - 8 -

3. คณะกรรมกำรดำเนนิ กำรจัดทำหลักสตู รกลมุ่ สำระกำรเรยี นรู้

3.1 กล่มุ สำระกำรเรยี นรภู้ ำษำไทย

3.1.1 นางพลอยไพลนิ วริ ิยะเอกกูล ประธาน
กรรมการ
3.1.2 นางสาวนฤทัย ฉายวิเชียร กรรมการ
กรรมการ
3.1.3 นางสาวสิตาภา เพชรนที กรรมการ
กรรมการ
3.1.4 นางสาวจริยา สวสั ด์พิ รอ้ ม กรรมการ
กรรมการ
3.1.5 นางสาวเปมกิ า อธิบาย กรรมการ
กรรมการ
3.1.6 นายภทั รพล ทองในแก้ว กรรมการและเลขานุการ

3.1.7 นางสาวขวัญณภทั ร์สร พรพรหมยงสุข ประธาน
กรรมการ
3.1.8 วา่ ทีร่ อ้ ยโทเอกชยั เชยี งคา กรรมการ
กรรมการ
3.1.9 นางสาวลกั ขณา ตระกูลชยั ศรี กรรมการ
กรรมการ
3.1.10 นางสาวเนตรอปั สร ศกั ดก์ิ าพย์ กรรมการ
กรรมการ
3.1.11 นางสาวจรรยา โพธกิ ุดไสย กรรมการ
กรรมการ
3.2 กลมุ่ สำระกำรเรยี นรคู้ ณติ ศำสตร์ กรรมการ
กรรมการและเลขานุการ
3.2.1 นางซลั บยี ะห์ สาโรวาท
ประธาน
3.2.2 นางนิสากร อับดลุ เลาะห์ กรรมการ
กรรมการ
3.2.๓ ว่าท่รี ้อยตรีนนั ทวฒุ ิ พุ่มอา่ กรรมการ
กรรมการ
3.2.๔ นางสาวดวงกมล อชั ฌาพงศ์ กรรมการ
กรรมการ
3.2.๕ นางสาวสร้อยเพชร กามนต์ กรรมการ
กรรมการ
3.2.๖ นางสาวลลติ า กลา้ เกดิ กรรมการ

3.2.๗ นายเทพฤทธ์ิ สุภโอภาส

3.2.๘ นางสาววไิ ลพร บริสทุ ธ์ิ

3.2.๙ นางสาวศุภักษร ดาราแวว๋

3.2.๑๐ นายธนวันต์ พลยมมา

3.2.๑๑ นางสาวพลอยไพลนิ มหาอดุ มพร

3.2.1๒ นางสาวรัฎเกล้า ชาตะวราหะ

3.3 กลมุ่ สำระกำรเรียนรู้วิทยำศำสตร์และเทคโนโลยี

3.3.1 นางสาวศริ นิ นั ท์ จันใด

3.3.๒ นางบญุ ญิสา ปอ้ มขุนพรม

3.๓.๓ นายอนันต์ สุขสาลี

3.๓.๔ นางสาวชญานิศวร์ นามไพรจริ ะโชติ

3.๓.๕ นางธิดารัตน์ เดชพละ

3.๓.๖ นางฐฏิ ภิ รณ์ สุคติศิรอิ ุดม

3.๓.๗ นางสาวมันทนา อทุ ธารมั ย์

3.๓.๘ นางพุทธธิดา สวุ รรณะโสภณ

3.๓.๙ นางสาวอรนภา เกลาฉดี

3.๓.๑๐ นางสาวพทั ธธรี า เมอื งแพน

งานหลักสตู รสถานศึกษา กลุ่มบริหารวชิ าการ อิสลามวิทยาลัยแหง่ ประเทศไทย

SUBMITTED BY PATTHARAPON THONGNAIKAEW

หลักสตู รอสิ ลามวทิ ยาลัยแหง่ ประเทศไทย ปีการศึกษา 2564 - 9 -

3.๓.๑๑ นางสาวนูรมา วนั หวัง กรรมการ
กรรมการ
3.๓.๑๒ นายประสิทธิ์ ยิง่ สม กรรมการ
กรรมการ
3.๓.๑๓ นายนรินทร์ แดงมนิ กรรมการและเลขานุการ

3.๓.๑๔ นางสาวสมใจ ดวงมูล ประธาน
กรรมการ
3.๓.๑๕ นายชาญณรงค์ สขุ ชา กรรมการ
กรรมการ
3.4 กลุ่มสำระกำรเรียนรู้สังคมศึกษำ ศำสนำและวฒั นธรรม กรรมการ
กรรมการ
3.4.1 นางสาวสดุ ารัตน์ สาราญ กรรมการ
กรรมการ
3.4.2 นายชยั วุฒิ ซวั วงษ์ กรรมการและเลขานุการ

3.4.๓ นายวชิ านุ สุทธิโพธ์ิ ประธาน
กรรมการ
3.4.๔ นางสาวประวีณา สทุ ธโิ พธ์ิ กรรมการ
กรรมการ
3.4.๕ นายรชตพชรญ์ ทุมพร กรรมการและเลขานุการ

3.4.๖ นายพงษพ์ ฒั น์ กา้ นจันทร์ ประธาน
กรรมการ
3.4.๗ นางสาวอมาวสี วิริยะนเุ คราะห์ กรรมการ
กรรมการ
3.4.๘ นางสาวนฐั กานต์ อบุ ลแยม้ กรรมการและเลขานุการ

3.4.๙ นางสาวศริ ินัย ซาชา ประธาน
กรรมการ
3.5 กลมุ่ สำระกำรเรยี นรู้สุขศกึ ษำและพลศึกษำ กรรมการ
กรรมการ
3.5.1 นายมาโนช วงษว์ ิจารณ์ กรรมการและเลขานุการ

3.5.๒ นายยูโสบ น่งุ อาหลี ประธาน
กรรมการ
3.5.๓ นายนิพนธ์ กระมล กรรมการ

3.5.๔ นางสาวจติ รลดา สีขาม

3.5.๕ นางสาวนนั ทนา ต้ังดารงมงคล

3.6 กลมุ่ สำระกำรเรียนรศู้ ิลปะ

3.6.1 นายทวีศักด์ิ เดชบารุง

3.6.๒ นายสรุ พงษ์ ทพิ ยป์ ระไพ

3.6.๓ นายวศิ วะ ประสานวงศ์

3.6.๔ นายรณชยั ขยนั คดิ

3.6.๕ นายจมุ พล เสนยี ์วงศ์ ณ อยธุ ยา

3.7 กลุ่มสำระกำรเรียนรู้การงานอาชีพ

3.7.1 นางสาวณัฐชุตา ชตานนท์

3.7.2 นายสามารถ ชศู กั ด์ิ

3.7.๓ นางสาวดาราณี เรืองพานิช

3.7.๔ นางสาวชลธิชา มาตย์ภธู ร

3.7.๕ นางสาวโสภติ า ทองจารสั

3.8 กลุ่มสำระกำรเรียนรภู้ าษาตา่ งประเทศ

3.8.1 นายนภัสรพี มาลาเวช

3.8.2 นางชลลดา ซวั วงษ์

3.8.๓ นางสกณุ า ตันตินรี นาท

งานหลกั สูตรสถานศึกษา กลุ่มบริหารวิชาการ อิสลามวิทยาลัยแหง่ ประเทศไทย

SUBMITTED BY PATTHARAPON THONGNAIKAEW

หลักสูตรอิสลามวทิ ยาลยั แหง่ ประเทศไทย ปีการศกึ ษา 2564 - 10 -

3.8.๔ นางสาวจินตนา บูรณวิชิต กรรมการ
กรรมการ
3.8.๕ นางสาววารุณี หวงั ประเสรฐิ กรรมการ
กรรมการ
3.8.๖ นางวันทนีย์ ยะลาไสย์ กรรมการ
กรรมการและเลขานุการ
3.8.๗ นางชนุนาถ รัศมี
ประธาน
3.8.๘ นางสาวกนกนุช กญั ญาพชั ร กรรมการ
กรรมการ
3.8.๙ นายศิรสนิ ฟ้งุ สกลุ กรรมการ
กรรมการ
3.9 กลุ่มสำระกำรเรยี นรู้อสิ ลามศึกษาและภาษาอาหรบั กรรมการ
กรรมการ
3.9.1 ว่าทีร่ อ้ ยตรีอารี การมี ี กรรมการ
กรรมการ
3.9.2 นายมิตร ดาราฉาย กรรมการ
กรรมการ
3.9.๓ นายสวสั ดิ์ จิตรหลงั กรรมการและเลขานุการ

3.9.๔ นางสาวสกุลตา ซาฟีอี ประธาน
กรรมการ
3.9.๕ นายสุนทร แสงมาน กรรมการ
กรรมการ
3.9.๖ นายมานะ ดาราฉาย กรรมการและเลขานุการ

3.9.๗ นายราชนั ทองแกว้ ประธาน
กรรมการ
3.9.๘ นายศัลยพงศ์ วงศ์บุญเกดิ กรรมการ
กรรมการ
3.9.๙ นายอานุภาพ ปานา กรรมการและเลขานุการ

3.9.๑๐ นายอภิวฒั น์ ระดง่ิ หิน

3.9.๑๑ นายธรรมศกั ด์ิ หมดั หวัง

3.9.๑๒ นายรอฟกี ี การีมี

3.10 กิจกรรมพัฒนำผู้เรียน

3.10.1 นายสนุ ทร แสงมาน

3.10.2 วา่ ที่ร้อยตรีนันทวุฒิ พมุ่ อา่

3.10.๓ นางสาวนฤทยั ฉายวิเชยี ร

3.10.๔ นางสาวรชั ดา ทพิ ยธ์ ารา

3.10.๕ นางสาวจติ รลดา สขี าม

3.11 หลกั สตู รโรงเรียนมำตรฐำนสำกล

3.11.1 นายภัทรพงศ์ ทองในแก้ว

3.11.๒ นางสาวจรรยา โพธิกดุ ไสย

3.11.๓ นางสาวสติ าภา เพชรนที

3.11.๔ นางสาววไิ ลพร บรสิ ุทธ์ิ

3.11.๕ นางสาวดวงกมล อชั ฌาพงศ์

หนำ้ ท่ี 1) วางแผนการดาเนนิ การปรบั ปรุงและพัฒนาหลกั สูตรกลมุ่ สาระฯ
2) ศึกษา วิเคราะห์ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พ.ศ.2551

(ฉบับปรับปรุง 2560) โครงสร้างหลักสูตรกลุ่มสาระฯ อิสลามวิทยาลัยแห่งประเทศ
ไทย ปีการศึกษา 256๓ ข้อมูลพ้ืนฐาน บริบทของโรงเรียน ชุมชน ผู้ปกครองและ
ผู้เรียน สังคม กฎหมาย แนวโน้มการจัดการศึกษาและนโยบายของรัฐบาล เพ่ือนามา
จัดทาเปน็ หลักสูตรกลุ่มสาระฯ และหลักสูตรสถานศึกษา ปกี ารศกึ ษา 256๔ ต่อไป

งานหลกั สตู รสถานศกึ ษา กลุ่มบริหารวชิ าการ อสิ ลามวิทยาลัยแห่งประเทศไทย

SUBMITTED BY PATTHARAPON THONGNAIKAEW

หลกั สตู รอิสลามวทิ ยาลัยแหง่ ประเทศไทย ปีการศึกษา 2564 - 11 -
3) กาหนดและจัดทาโครงสรา้ งหลกั สูตรกลุม่ สาระการเรียนรู้
4) ดาเนนิ การจดั ทาและยกรา่ งหลกั สูตรกลมุ่ สาระฯ ปกี ารศกึ ษา 256๔
5) นาหลักสูตรกลุ่มสาระฯ ปีการศึกษา 256๔ เสนอขอความเห็นชอบ
ปรับปรุงแก้ไข เพ่ิมเติมเปล่ียนแปลงและลงมติจากคณะครูในกลุ่มสาระฯ เพื่อ
ประกาศใชห้ ลกั สูตรในการจัดการเรยี นการสอนในปีการศึกษา 256๔
6) ประกาศใช้หลักสูตรฯ และประชาสัมพันธ์ให้ผู้ที่เก่ียวข้องทุกฝ่ายทราบใน
รายละเอยี ดต่าง ๆ ของหลกั สูตรกลุ่มสาระฯ ปกี ารศกึ ษา 256๔
7) จัดทาเล่มหลักสูตรกลุ่มสาระฯ ให้กับฝ่ายจัดทาหลักสูตรสถานศึกษาและ
ฝ่ายงานทีเ่ ก่ยี วขอ้ ง
8) งานอน่ื ๆ ตามทีไ่ ด้รับมอบหมาย
ทั้งนี้ ตงั้ แต่บัดนเี้ ปน็ ตน้ ไป

สงั่ ณ วันที่ ๓๐ เดือน มนี าคม พ.ศ. 256๔

(นายสมบูรณ์ สาลพี ันธ์)
ผอู้ านวยการอสิ ลามวิทยาลัยแหง่ ประเทศไทย

งานหลกั สตู รสถานศึกษา กลุ่มบรหิ ารวชิ าการ อิสลามวิทยาลยั แห่งประเทศไทย

SUBMITTED BY PATTHARAPON THONGNAIKAEW

หลักสูตรอสิ ลามวทิ ยาลัยแห่งประเทศไทย ปกี ารศึกษา 2564 - 12 -

วิสยั ทศั น์อิสลามวทิ ยาลัยแหง่ ประเทศไทย
(Islamic College of Thailand’s Vision)

“เปน็ สถาบันที่ม่งุ มั่นพฒั นาผ้เู รยี นใหม้ ีความรู้ คคู่ ุณธรรม นากฬี า ลา้ หน้าเทคโนโลยี ยึดถือวิถี
ความพอเพยี งและอยรู่ ่วมกนั อย่างสนั ตสิ ขุ ”

วิสยั ทศั น์ของหลักสตู รอิสลามวทิ ยาลยั แหง่ ประเทศไทย

พัฒนาผู้เรียนให้มีความสมดุลทางร่างกาย ความรู้ มีคุณธรรม ทักษะพ้ืนฐาน พร้อมสาหรับ
การศึกษาต่อ หรือการประกอบอาชีพ สามารถดาเนินชีวิตอย่างมีจิตสานึกในความเป็นพลเมืองไทยท่ีดี
เป็นพลโลกทม่ี คี ณุ ภาพ ยดึ ม่นั ในการปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอนั มพี ระมหากษัตริย์เป็นประมขุ

สมรรถนะสาคญั ของผู้เรียน

1. ความสามารถในการส่ือสาร เป็นความสามารถในการรับและสง่ สาร ที่ใช้ถ่ายทอด
ความคิดความรู้ ความเข้าใจ ความรู้สึก และทัศนะของตนเองเพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารแล ะ
ประสบการณ์อันจะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาตนเองและสังคมรวมทั้งการเจรจาต่อรอง เพ่ือขจัดและ
ลดปัญหา ความขัดแย้งต่าง ๆ การเลือกรับหรือไม่รับข้อมูลข่าวสารด้วยหลักเหตุผลและความถูกต้อง
ตลอดจนการเลอื กใช้วิธีการสื่อสารทม่ี ปี ระสทิ ธิภาพ โดยคานึงถงึ ผลกระทบท่ีมีต่อตนเองและสังคม

2. ความสามารถในการคิด เป็นความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์
การคดิ อย่างสร้างสรรค์ การคิดอย่างมวี ิจารณญานและการคิดเป็นระบบ เพ่อื นาไปสู่การสร้างองค์ความรู้
หรือสารสนเทศเพอื่ การตัดสนิ ใจเก่ียวกับตนเองและสังคมไดอ้ ย่างเหมาะสม

3. ความสามารถในการแก้ปัญหา เป็นความสามารถในการแก้ปัญหาและอุปสรรคที่
เผชิญได้อย่างถูกต้องเหมาะสมบนพ้ืนฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและข้อมูลสารสนเทศ เข้าใจ
ความสัมพันธ์และการเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์ต่าง ๆ ในสังคม แสวงหาความรู้ ประยุกต์ความรู้มาใช้
ในการป้องกันและแก้ไขปัญหา มีการตัดสินใจท่ีมปี ระสิทธิภาพโดยคานึงถึงผลกระทบท่ีเกิดขึ้นต่อตนเอง
สังคมและส่ิงแวดลอ้ ม

4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต เป็นความสามารถในการนากระบวนการต่าง ๆ
ไปใช้ในการดาเนินชีวิตประจาวัน การเรียนรู้อย่างต่อเน่ือง การทางานและการอยู่ร่วมกันในสังคมด้วย
การสร้างเสริมความสมั พันธ์อันดรี ะหวา่ งบคุ คล การจดั การปญั หาและความขัดแย้งต่าง ๆ อย่างเหมาะสม
การปรับตัวให้ทันกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมและสภาพแวดล้อม และการรู้จักหลีกเล่ียงพฤติกรรมไม่
พงึ ประสงคท์ ่ีส่งผลกระทบต่อตนเองและผูอ้ ่นื

5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี เปน็ ความสามารถในการเลือกและใช้ เทคโนโลยี
ด้านต่าง ๆ และมีทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพ่ือการพัฒนาตนเองและสังคมในด้านการเรียนรู้
การส่ือสาร การทางาน การแก้ปญั หาอย่างสร้างสรรค์ ถูกตอ้ งเหมาะสมและมีคณุ ธรรม

งานหลักสูตรสถานศกึ ษา กลุ่มบริหารวิชาการ อิสลามวิทยาลัยแหง่ ประเทศไทย

SUBMITTED BY PATTHARAPON THONGNAIKAEW

หลักสตู รอิสลามวิทยาลยั แห่งประเทศไทย ปีการศึกษา 2564 - 13 -

คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ของผู้เรียน

อิสลามวิทยาลยั แหง่ ประเทศไทย คาดหวงั ท่ีจะให้นกั เรยี นเป็นคนดี คนเก่ง และอยู่ในสงั คมอย่าง
มีความสุข จึงมุ่งพัฒนาด้านคุณธรรม จริยธรรม ความรู้ ความสามารถ ทักษะวิชาชีพตามธรรมชาติและ
ศักยภาพแหง่ บคุ คล เพือ่ ให้ถึงพรอ้ มซง่ึ คุณลักษณะอนั พึงประสงค์ดังน้ี

1. มีความรกั ชาติ ศาสน์ กษตั ริย์ มคี วามรับผิดชอบ และปฎบิ ัตติ นตามหลักธรรมเบ้อื งตน้ ของ
ศาสนาท่ีตนนบั ถอื

2. มีความซ่อื สตั ย์สจุ ริต
3. มีวินยั มน่ั คงในระเบยี บของสังคมทีต่ นเองอยู่รว่ ม
4. ใฝเ่ รยี นรู้
5. อยูอ่ ยา่ งพอเพยี ง ประหยดั รจู้ กั ใช้ทรัพย์ สิง่ ของส่วนตนและส่วนรวมอย่างคุ้มค่า
6. มุ่งมัน่ ในการทางาน
7. รักความเป็นไทยภูมิใจในความเป็นไทยเห็นคุณค่าภูมิปัญญาไทยนิยมไทยและดารงไว้ซึ่ง

ความเปน็ ไทย
8. มีจติ สาธารณะเอื้อเฟ้ือเผือ่ แผ่และเสยี สละเพ่อื ส่วนรวม

ค่านิยมหลักของคนไทย 12 ประการ ตามนโยบายของ คสช. ประกอบดว้ ย

1. มีความรักชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ มีความรับผิดชอบ และปฏิบัติตนตามหลักธรรม
เบื้องตน้ ของศาสนาทีต่ นนับถือ

2. ซอื่ สัตย์ เสยี สละ อดทน มอี ดุ มการณ์ในสิง่ ท่ดี ีงามเพื่อส่วนรวม
3. กตัญญูต่อพอ่ แม่ ผู้ปกครอง ครูบาอาจารย์
4. ใฝห่ าความรู้ หมั่นศึกษาเลา่ เรยี นทั้งทางตรงและทางอ้อม
5. รกั ษาวฒั นธรรมประเพณไี ทยอนั งดงาม
6. มศี ีลธรรม รักษาความสตั ย์ หวังดตี ่อผอู้ ่ืน เผ่ือแผแ่ ละแบง่ ปนั
7. เขา้ ใจเรียนรู้การเป็นประชาธปิ ไตย อันมีพระมหากษตั ริย์ทรงเปน็ ประมขุ ทถ่ี กู ต้อง
8. มีระเบยี บวินยั เคารพกฎหมาย ผ้นู อ้ ยรู้จักการเคารพผูใ้ หญ่
9. มสี ตริ ูต้ วั รู้คิด รู้ทา รู้ปฏิบตั ิตามพระราชดารัสของพระบาทสมเด็จพระเจา้ อยู่หัว
10. รู้จักดารงตนอยู่ในหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ตามพระราชดารัสของพระบาทสมเด็จ

พระเจ้าอยู่หัวรู้จักอดออมไว้ใช้เมื่อยามจาเป็น มีไว้พอกินพอใช้ถ้าเหลือก็แจกจ่ายจาหน่าย
และพรอ้ มท่ีจะขยายกจิ การเม่ือมคี วามพร้อม เมอ่ื มีภูมคิ ้มุ กันท่ีดี
11. มคี วามเขม้ แขง็ ท้ังร่างกาย และจิตใจ ไมย่ อมแพ้ตอ่ อานาจฝา่ ยตา่ หรือกิเลส มีความละอาย
เกรงกลวั ตอ่ บาปตามหลกั ของศาสนา
12. คานงึ ถงึ ผลประโยชน์ของสว่ นรวม และของชาตมิ ากกว่าประโยชน์ของตนเอง

งานหลกั สูตรสถานศกึ ษา กลุ่มบรหิ ารวชิ าการ อิสลามวทิ ยาลัยแห่งประเทศไทย

SUBMITTED BY PATTHARAPON THONGNAIKAEW

หลักสตู รอิสลามวิทยาลยั แห่งประเทศไทย ปกี ารศกึ ษา 2564 - 14 -

โครงสรา้ งเวลาเรยี นระดบั ช้นั มธั ยมศึกษา

กล่มุ สาระการเรยี นรู้/กิจกรรม เวลาเรยี น (ชั่วโมง)

ภาษาไทย ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนตน้ ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย

คณติ ศาสตร์ ม.1 ม.2 ม.3 ม.4 – ม.6

วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 120 120 120 240
สงั คมศึกษา ศาสนาและ
วัฒนธรรม (3 นก.) (3 นก.) (3 นก.) (6 นก.)

- ประวัติศาสตร์ 120 120 120 240
- ศาสนา ศลี ธรรมและ (3 นก.) (3 นก.) (3 นก.) (6 นก.)
จริยธรรม
- หนา้ ที่พลเมือง 120 120 120 240
- เศรษฐศาสตร์ (3 นก.) (3 นก.) (3 นก.) (6 นก.)
- ภูมศิ าสตร์
160 160 160 320
สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา
(4 นก.) (4 นก.) (4 นก.) (8 นก.)
ศิลปะ
40 40 40 80
การงานอาชพี (1 นก.) (1 นก.) (1 นก.) (2 นก.)

ภาษาตา่ งประเทศ 120 120 120 240
(3 นก.) (3 นก.) (3 นก.) (6 นก.)
รวมเวลาเรยี นพน้ื ฐาน
รายวิชาเพ่มิ เติม 80 80 80 120 (3 นก.)
(2 นก.) (2 นก.) (2 นก.)
- อิสลามศึกษาและภาษาอาหรับ 120 (3 นก.)
- รายวิชาทส่ี ถานศกึ ษาจัดเพ่มิ เตมิ 80 80 80
ตามความพร้อมและจุดเน้น (2 นก.) (2 นก.) (2 นก.) 120 (3 นก.)

- การศกึ ษาค้นคว้าด้วยตนเอง 80 80 80 240 (6 นก.)
กิจกรรมพฒั นาผู้เรียน (2 นก.) (2 นก.) (2 นก.) 1,640
(41 นก.)
รวมเวลาเรียนท้ังหมด 120 120 120
(3 นก.) (3 นก.) (3 นก.)

880 880 880
(22 นก.) (22 นก.) (22 นก.)

ปลี ะไมน่ ้อยกวา่ 200 ช่วั โมง ไมน่ อ้ ยกวา่
1,600 ช่วั โมง

120 120 120 360
ไมน่ อ้ ยกว่า 1,200 ชั่วโมง/ปี
รวม 3 ปี
ไม่น้อยกว่า 3,600 ชัว่ โมง

งานหลกั สตู รสถานศกึ ษา กลุ่มบริหารวิชาการ อสิ ลามวิทยาลยั แหง่ ประเทศไทย

SUBMITTED BY PATTHARAPON THONGNAIKAEW

หลกั สตู รอสิ ลามวทิ ยาลยั แหง่ ประเทศไทย ปีการศกึ ษา 2564 - 15 -

เวลาเรียน

ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนต้น (ม.1 - ม.3)
มีเวลาเรียนเฉล่ียปลี ะไม่น้อยกวา่ 1,200 ชว่ั โมง โดยจดั เวลาเรียนเป็นรายภาค

ภาคเรยี นละ 20 สปั ดาห์ เฉลี่ยจดั เวลาเรยี น 7 ชั่วโมง : วนั , 35 ช่ัวโมง : สปั ดาห์
ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย (ม.4 - ม.6)

มเี วลาเรยี นเฉลย่ี รวม 3 ปี ไม่น้อยกวา่ 3,600 ชวั่ โมง โดยจดั เวลาเรียนเปน็ รายภาค
ภาคเรยี นละ 20 สปั ดาห์ เฉลี่ยจัดเวลาเรยี น 8 ชั่วโมง : วัน, 36 ชัว่ โมง : สัปดาห์

งานหลักสตู รสถานศึกษา กลุ่มบริหารวิชาการ อสิ ลามวิทยาลัยแหง่ ประเทศไทย

SUBMITTED BY PATTHARAPON THONGNAIKAEW

หลกั สตู รอสิ ลามวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ปกี ารศกึ ษา 2564 - 16 -

หลกั สูตรอสิ ลามวทิ ยาลัยแห่งประเทศไทย

ระดับมธั ยมศึกษาตอนตน้
ชอ่ื หลักสตู ร หอ้ งเรียนคุณภาพ แผนการเรียน วทิ ยาศาสตร์-คณติ ศาสตร์-ภาษาองั กฤษ
ชอื่ หลักสตู ร หอ้ งเรียนปกติ แผนการเรยี น วิทยาศาสตร์-คณิตศาสตร์
ชอ่ื หลักสูตร ห้องเรยี นปกติ แผนการเรียน ศลิ ป์ทั่วไป
ช่อื หลักสูตร ห้องเรยี นศาสนา แผนการเรียน ออิ ดาดยี ์
ชอื่ หลักสูตร ห้องเรยี นพเิ ศษ แผนการเรียน Gifted STEM
ชอ่ื หลักสตู ร ห้องเรียนปกติ แผนการเรียน คณติ ศิลป์

ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย
ชอ่ื หลักสูตร ห้องเรยี นคุณภาพ แผนการเรียน วิทยาศาสตร์-คณิตศาสตร์
ชอ่ื หลักสูตร หอ้ งเรยี นปกติ แผนการเรยี น คณติ ศาสตร์-ภาษาอังกฤษ
ชื่อหลักสูตร ห้องเรียนปกติ แผนการเรยี น ธรุ กิจ
ชือ่ หลักสตู ร ห้องเรยี นปกติ แผนการเรียน ศลิ ป์ทั่วไป
ชอ่ื หลักสูตร หอ้ งเรียนปกติ แผนการเรียน ศลิ ป์ท่วั ไป (ศิลปะ ภาษาไทย สงั คมฯ)
ชื่อหลักสูตร ห้องเรยี นศาสนา แผนการเรียน ซานาวีย์
ชอ่ื หลักสูตร ห้องเรียนปกติ แผนการเรียน วิทยาศาสตร์-คณิตศาสตร์-ภาษาอาหรบั
ชอ่ื หลักสูตร ห้องเรยี นพิเศษ แผนการเรยี น Gifted SME
ชอ่ื หลักสตู ร หอ้ งเรยี นปกติ แผนการเรยี น คอมพิวเตอร์-ธุรกจิ

งานหลักสูตรสถานศกึ ษา กลุ่มบริหารวชิ าการ อิสลามวิทยาลยั แหง่ ประเทศไทย

SUBMITTED BY PATTHARAPON THONGNAIKAEW

หลกั สูตรอสิ ลามวทิ ยาลยั แหง่ ประเทศไทย ปีการศกึ ษา 2564 - 17 -

เกณฑก์ ำรจบกำรศึกษำ

ระดบั มัธยมศึกษำตอนต้น
ระดับมธั ยมศึกษำตอนปลำย
อสิ ลำมวิทยำลัยแห่งประเทศไทย

งานหลกั สูตรสถานศกึ ษา กลุ่มบริหารวชิ าการ อสิ ลามวทิ ยาลัยแหง่ ประเทศไทย

SUBMITTED BY PATTHARAPON THONGNAIKAEW

หลกั สูตรอสิ ลามวิทยาลัยแหง่ ประเทศไทย ปกี ารศกึ ษา 2564 - 18 -

เกณฑก์ ารจบหลกั สตู ร

เกณฑ์การจบระดับมัธยมศกึ ษาตอนต้น
(1) ผู้เรียนเรียนรายวิชาพื้นฐานและเพิ่มเติมโดยเป็นวิชาพื้นฐาน 66 หน่วยกิตและรายวิชา

เพ่มิ เตมิ ตามท่ีสถานศกึ ษากาหนด
(2) ผู้เรียนต้องได้หน่วยกิตตลอดหลักสูตรไม่น้อยกว่า 77 หนว่ ยกิต โดยเป็นรายวิชาพ้นื ฐาน 66

หน่วยกติ และรายวชิ าเพ่ิมเตมิ ไมน่ อ้ ยกวา่ 11 หน่วยกิต
(3) ผู้เรียนมีผลการประเมิน การอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน ในระดับผ่านเกณฑ์การประเมิน

ตามที่สถานศกึ ษากาหนด
(4) ผู้เรียนมีผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ในระดับผ่านเกณฑ์การประเมิน ตามท่ี

สถานศึกษากาหนด
(5) ผู้เรียนเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนและมีผลการประเมินผ่านเกณฑ์การประเมิน ตามท่ี

สถานศกึ ษากาหนด

เกณฑก์ ารจบระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
(1) ผู้เรียนเรยี นรายวิชาพื้นฐานและเพ่ิมเติม โดยเป็นรายวิชาพืน้ ฐาน 41 หนว่ ยกติ และรายวิชา

เพิ่มเตมิ ตามทีส่ ถานศกึ ษากาหนด
(2) ผู้เรียนต้องได้หน่วยกิตตลอดหลักสูตรไม่น้อยกว่า 77 หน่วยกติ โดยเป็นรายวิชาพนื้ ฐาน 41

หนว่ ยกิต และรายวชิ าเพิม่ เตมิ ไม่น้อยว่า 36 หนว่ ยกติ
(3) ผู้เรียนมีผลการประเมิน การอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน ในระดับผ่านเกณฑ์การประเมิน

ตามทส่ี ถานศึกษากาหนด
(4) ผู้เรียนมีผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ในระดับผ่านเกณฑ์การประเมิน ตามท่ี

สถานศึกษากาหนด
(5) ผู้เรียนเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนและมีผลการประเมินผ่านเกณฑ์การประเมิน ตามท่ี

สถานศกึ ษากาหนด

งานหลกั สูตรสถานศกึ ษา กลุ่มบรหิ ารวชิ าการ อิสลามวิทยาลยั แหง่ ประเทศไทย

SUBMITTED BY PATTHARAPON THONGNAIKAEW

หลกั สตู รอิสลามวทิ ยาลัยแห่งประเทศไทย ปีการศึกษา 2564 - 19 -

โครงสร้ำงหลักสูตรสถำนศกึ ษำ
ระดับมธั ยมศึกษำตอนต้น
(กำรศกึ ษำภำคบังคับ)
ช้นั มัธยมศึกษาปีท่ี 1 – 3

งานหลักสตู รสถานศึกษา กลุ่มบรหิ ารวิชาการ อสิ ลามวทิ ยาลยั แหง่ ประเทศไทย

SUBMITTED BY PATTHARAPON THONGNAIKAEW

หลกั สตู รอสิ ลามวทิ ยาลัยแห่งประเทศไทย ปีการศกึ ษา 2564 - 20 -

งานหลกั สตู รสถานศกึ ษา กลุ่มบรหิ ารวิชาการ อิสลามวทิ ยาลัยแหง่ ประเทศไทย

SUBMITTED BY PATTHARAPON THONGNAIKAEW

หลกั สตู รอสิ ลามวทิ ยาลัยแห่งประเทศไทย ปีการศกึ ษา 2564 - 21 -

งานหลกั สตู รสถานศกึ ษา กลุ่มบรหิ ารวิชาการ อิสลามวทิ ยาลัยแหง่ ประเทศไทย

SUBMITTED BY PATTHARAPON THONGNAIKAEW

หลกั สตู รอสิ ลามวทิ ยาลัยแห่งประเทศไทย ปีการศกึ ษา 2564 - 22 -

งานหลกั สตู รสถานศกึ ษา กลุ่มบรหิ ารวิชาการ อิสลามวทิ ยาลัยแหง่ ประเทศไทย

SUBMITTED BY PATTHARAPON THONGNAIKAEW

หลักสตู รอสิ ลามวทิ ยาลัยแหง่ ประเทศไทย ปกี ารศึกษา 2564 - 23 -

โครงสรำ้ งหลกั สูตรสถำนศกึ ษำ
ระดับมธั ยมศึกษำตอนปลำย

(กำรศกึ ษำขนั้ พน้ื ฐำน)
ชั้นมัธยมศกึ ษำปที ่ี 4 – 6

งานหลักสตู รสถานศึกษา กลุ่มบริหารวชิ าการ อสิ ลามวทิ ยาลยั แห่งประเทศไทย

SUBMITTED BY PATTHARAPON THONGNAIKAEW

หลักสตู รกลุ่มสาระการเรยี นรภู้ าษาไทย อิสลามวทิ ยาลยั แหง่ ประเทศไทย - 24 -

โครงสรา้ งหลกั สตู รสถานศกึ ษา

ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พื้นฐาน
พทุ ธศักราช 2551 (ฉบับปรบั ปรงุ 2560)

กลุ่มสาระการเรียนรภู้ าษาไทย

งานหลกั สูตรสถานศึกษา กลุ่มบริหารวิชาการ อสิ ลามวิทยาลยั แห่งประเทศไทย

SUBMITTED BY PATTHARAPONG THONGNAIKAEW

หลักสตู รกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย อิสลามวทิ ยาลัยแหง่ ประเทศไทย - 25 -

บทนา
ความสาคัญ

ภาษาไทยเป็นเอกลักษณ์ของชาติ เป็นสมบัติทางวัฒนธรรมอันก่อให้เกิดความเป็นเอกภาพและ
เสริมสร้างบุคลิกภาพของคนในชาติให้มีความเป็นไทย เป็นเคร่ืองมือในการติดต่อส่ือสารเพ่ือสร้างความเข้าใจ
และความสัมพันธ์ท่ีดีต่อกัน ทาให้สามารถประกอบกิจธุระ การงาน และดารงชีวิตร่วมกันในสังคม
ประชาธิปไตยได้อย่างสันติสุข รวมทั้งเป็นเคร่ืองมือในการแสวงหาความรู้ ประสบการณ์จากแหล่งข้อมูล
สารสนเทศต่าง ๆ เพื่อพัฒนาความรู้ พัฒนากระบวนการคิดวิเคราะห์ วิจารณ์ และสร้างสรรค์ให้ทันต่อการ
เปลี่ยนแปลงทางสังคม ความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ตลอดจนนาไปใช้ในการพัฒนาอาชีพ
ให้มีความม่ันคงทางเศรษฐกิจ นอกจากนี้ยังเป็นส่ือแสดงภูมิปัญญาของบรรพบุรุษด้านวัฒนธรรม ประเพณี
และสนุ ทรียภาพ เป็นสมบัติลา้ ค่าควรแก่การเรยี นรู้ อนุรักษ์และสืบสานให้คงอย่คู ู่ชาตไิ ทยตลอดไป

----------------------------------------------------------------------------

วิสยั ทัศน์กลมุ่ สาระการเรยี นร้ภู าษาไทย

มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มีความเป็นเลิศด้านภาษาไทยทั้งทักษะการอ่านการเขียนการฟัง การดู การพูด
หลักการใช้ภาษาไทย วรรณคดีและวรรณกรรม โดยบูรณาการการเรียนรู้กับภูมิปัญญาท้องถิ่น วัฒนธรรม
ประเพณีและแหล่งเรียนรู้ในท้องถ่ิน สามารถนาเทคโนโลยีส่ือสารสารสนเทศท่ีทันสมัย มาประยุกต์ใช้ในการ
เรียนการสอนและในชีวิตประจาวัน รวมทั้งเป็นผู้มีมารยาทในการใช้ภาษาไทยได้อย่างถูกต้อง ภูมิใจในความ
เป็นไทย เป็นคนดีคนเกง่ และสามารถดารงชวี ิตในสงั คมได้อยา่ งมคี วามสขุ

----------------------------------------------------------------------------

พันธกิจกลุ่มสาระการเรียนรภู้ าษาไทย

1 . มงุ่ พฒั นาให้นักเรียนมคี วามเปน็ เลศิ ในดา้ นทักษะภาษาไทยโดยใช้วิธีการสอน สอ่ื และแหล่ง
การเรียนรทู้ ห่ี ลากหลาย

2 . ส่งเสรมิ ใหผ้ ้เู รียนมีจิตสานึกรกั ษบ์ ้านเกิดโดยบรู ณาการ การเรียนภาษาไทยกบั วัฒนธรรม
ประเพณีและภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถิ่น

3 . สง่ เสรมิ ใหผ้ ูเ้ รยี นนาเทคโนโลยีมาใช้ในการเรยี นวิชาภาษาไทย
4 . ปลูกฝงั ให้ผู้เรียนใฝ่เรียนใฝร่ ูแ้ ละมีมารยาทในการใช้ภาษาไทย

----------------------------------------------------------------------------

งานหลักสตู รสถานศึกษา กลุ่มบริหารวิชาการ อสิ ลามวิทยาลยั แห่งประเทศไทย

SUBMITTED BY PATTHARAPONG THONGNAIKAEW

หลกั สตู รกลุ่มสาระการเรียนรูภ้ าษาไทย อสิ ลามวทิ ยาลัยแห่งประเทศไทย - 26 -

เปา้ ประสงค์กลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย

1 . ผู้เรียนมีความเปน็ เลิศในการใชท้ กั ษะภาษาไทยทัง้ ด้านการอา่ นการเขียน การฟงั การดู การพูด
หลักการใช้ภาษาไทย วรรณคดแี ละวรรณกรรม

2 . ผู้เรียนมคี วามรู้ดา้ นภาษาไทยโดยการบูรณาการกบั วัฒนธรรม ประเพณี และภมู ิปัญญาท้องถน่ิ
ส่งผลใหม้ ีจิตสานึกรกั ษ์บ้านเกดิ

3 . ผ้เู รียนมคี วามรู้และทกั ษะในการใช้เทคโนโลยีกับการเรียนวชิ าภาษาไทย
4 . ผูเ้ รยี นเป็นบุคคลแห่งการเรยี นรู้และมีมารยาทในการใช้ภาษาไทย

สมรรถนะสาคญั ของผ้เู รยี น

----------------------------------------------------------------------------

1. ความสามารถในการสอ่ื สาร
เป็นความสามารถในการรับและส่งสาร ที่ใช้ถ่ายทอด ความคิด ความรู้ ความเข้าใจ ความรู้สึกและ

ทัศนะของตนเองเพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร และประสบการณ์ อันจะเป็นประโยชน์ ต่อการพัฒนาตนเอง
และสังคม รวมท้ังการเจรจาต่อรองเพ่ือขจัดและลดปัญหา ความขัดแย้งต่าง ๆ การเลือกรับหรือไม่รับข้อมูล
ข่าวสารด้วยหลักเหตุผล และความถูกต้อง ตลอดจนการเลือกใช้วิธีการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ โดยคานึงถึง
ผลกระทบทมี่ ตี ่อตนเองและสังคม

2. ความสามารถในการคดิ
เป็นความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์การคิดอย่างสร้างสรรค์ การคิดอย่างมี

วิจารณญาณและการคิดเป็นระบบ เพื่อนาไปสู่การสร้างองค์ความรู้หรือสารสนเทศเพื่อการตัดสินใจเก่ียวกับ
ตนเองและสงั คมได้อย่างเหมาะสม

3. ความสามารถในการแก้ปญั หา
เป็นความสามารถในการแกป้ ัญหา และอุปสรรคท่ีเผชญิ ได้อยา่ งถูกตอ้ ง เหมาะสมบนพื้นฐานของหลัก

เหตผุ ล คุณธรรมและข้อมูล สารสนเทศ เข้าใจความสมั พันธ์และการเปลี่ยนแปลงของเหตุการณต์ า่ ง ๆ ใน
สังคม แสวงหาความรู้ ประยกุ ตค์ วามรมู้ าใช้ในการป้องกนั และแกไ้ ขปญั หาและมีการตัดสนิ ใจท่ีมีประสิทธิภาพ
โดยคานึงถงึ ผลกระทบทเ่ี กดิ ข้นึ ตนเอง สงั คมและส่งิ แวดลอ้ ม

4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวติ
เป็นความสามารถในการนากระบวนการต่าง ๆ ไปใช้ในการดาเนินชีวิตประจาวัน การเรียนรู้อย่าง

ต่อเนื่อง การทางานและการอยู่ร่วมกันในสังคมด้วย การสร้างเสริมความสัมพันธ์อันดีระหว่างบุคคล
การจัดการปัญหาและความขัดแย้งต่าง ๆ อย่างเหมาะสม การปรับตัวให้ทนั กบั การเปล่ียนแปลงของสังคมและ
สภาพแวดล้อม และการรู้จักหลกี เลี่ยงพฤติกรรมไม่พึงประสงคท์ ่สี ง่ ผลกระทบต่อตนเองและผูอ้ ่นื

5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
เป็นความสามารถในการเลือกและใช้เทคโนโลยีด้านต่าง ๆ และมีทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี

เพ่ือการพัฒนาตนเองและสังคมในด้านการเรียนรู้ การส่ือสาร การทางาน การแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์
ถูกต้องเหมาะสม และมีคณุ ธรรม

งานหลกั สตู รสถานศึกษา กลุ่มบรหิ ารวิชาการ อสิ ลามวทิ ยาลยั แห่งประเทศไทย

SUBMITTED BY PATTHARAPONG THONGNAIKAEW

หลกั สตู รกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย อิสลามวิทยาลยั แหง่ ประเทศไทย - 27 -

คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ของผเู้ รยี น

อิสลามวิทยาลัยแหง่ ประเทศไทย คาดหวังท่จี ะใหน้ ักเรยี นเป็นคนดี คนเกง่ และอยใู่ นสงั คมอยา่ งมี
ความสุข จึงมุ่งพัฒนาดา้ นคุณธรรม จริยธรรม ความรู้ ความสามารถ ทักษะวิชาชีพตามธรรมชาตแิ ละศักยภาพ
แหง่ บุคคล เพ่อื ให้ถึงพรอ้ มซงึ่ คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ดังนี้

1. มีความรักชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์ มีความรบั ผดิ ชอบ และปฏบิ ัติตนตามหลักธรรมเบ้ืองตน้
ของศาสนาทต่ี นนับถอื

2. มคี วามซ่ือสัตยส์ ุจรติ
3. มีวนิ ยั ม่ันคงในระเบยี บของสังคมที่ตนเองอยู่ร่วม
4. ใฝเ่ รยี นรู้
5. อยูอ่ ยา่ งพอเพยี ง ประหยัด รู้จกั ใช้ทรพั ย์สง่ิ ของสว่ นตนและสว่ นรวมอย่างคุ้มค่า
6. มุ่งมัน่ ในการทางาน
7. รกั ความเปน็ ไทยภูมิใจในความเปน็ ไทย เหน็ คุณค่าภูมิปัญญาไทย นิยมไทย และดารงไว้

ซึ่งความเปน็ ไทย
8. มจี ติ สาธารณะเอ้ือเฟ้ือเผื่อแผ่และเสียสละเพื่อส่วนรวม

----------------------------------------------------------------------------

งานหลักสูตรสถานศึกษา กลุ่มบรหิ ารวิชาการ อสิ ลามวทิ ยาลัยแห่งประเทศไทย

SUBMITTED BY PATTHARAPONG THONGNAIKAEW

หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนร้ภู าษาไทย อิสลามวทิ ยาลัยแหง่ ประเทศไทย - 28 -

ตัวชีว้ ัดและสาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง

กลุ่มสาระการเรยี นรภู้ าษาไทย

ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551

----------------------------------------------------------------------------

ทาไมต้องเรียนภาษาไทย

ภาษาไทยเป็นเอกลักษณ์ของชาติเป็นสมบัติทางวัฒนธรรมอันก่อให้เกิดความเป็นเอกภาพและ
เสริมสร้างบุคลิกภาพของคนในชาติให้มีความเป็นไทย เป็นเครื่องมือในการติดต่อสื่อสารเพื่อสร้างความเข้าใจ
และความสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน ทาให้สามารถประกอบกิจธุระ การงาน และดารงชีวิตร่วมกันในสังคม
ประชาธิปไตยได้อย่างสันตสิ ุข และเปน็ เคร่ืองมือในการแสวงหาความรู้ ประสบการณจ์ ากแหล่งข้อมูลสารสนเทศ
ต่างๆ เพ่อื พัฒนาความรู้ พัฒนากระบวนการคดิ วิเคราะห์ วิจารณ์ และสร้างสรรค์ให้ทันต่อการเปล่ียนแปลงทาง
สงั คม และความก้าวหน้าทางวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี ตลอดจนนาไปใช้ในการพัฒนาอาชพี ให้มีความมั่นคงทาง
เศรษฐกิจ นอกจากน้ยี ังเป็นส่อื แสดงภูมิปัญญาของบรรพบุรุษดา้ นวัฒนธรรม ประเพณี และสนุ ทรียภาพ เป็น
สมบตั ิล้าค่าควรแก่การเรียนรู้ อนุรกั ษ์ และสบื สานใหค้ งอยคู่ ชู่ าตไิ ทยตลอดไป

เรียนรู้อะไรในภาษาไทย

ภาษาไทยเป็นทักษะท่ีต้องฝึกฝนจนเกิดความชานาญในการใช้ภาษาเพื่อการสื่อสาร การเรียนรู้อย่าง
มปี ระสิทธภิ าพ และเพอ่ื นาไปใช้ในชวี ิตจริง

 การอ่าน การอา่ นออกเสียงคา ประโยค การอ่านบทร้อยแก้ว คาประพันธ์ชนดิ ต่าง ๆ การอา่ นใน
ใจเพื่อสรา้ งความเข้าใจ และการคิดวเิ คราะห์ สังเคราะหค์ วามรจู้ ากสงิ่ ที่อ่าน เพ่อื นาไปปรับใช้ในชวี ติ ประจาวัน

 การเขียน การเขียนสะกดตามอักขรวิธี การเขียนส่ือสาร โดยใช้ถ้อยคาและรูปแบบต่าง ๆ ของการ
เขียน ซึ่งรวมถึงการเขียนเรียงความ ย่อความ รายงานชนิดต่าง ๆ การเขียนตามจินตนาการ วิเคราะห์วิจารณ์
และเขียนเชงิ สรา้ งสรรค์

 การฟัง การดู และการพูด การฟังและดูอย่างมีวิจารณญาณ การพูดแสดงความคิดเห็น
ความรู้สึก พูดลาดับเรื่องราวต่าง ๆ อย่างเป็นเหตุเป็นผล การพูดในโอกาสต่าง ๆ ท้ังเป็นทางการและไม่เป็น
ทางการและการพดู เพอ่ื โนม้ นา้ วใจ

 หลักการใชภ้ าษาไทย ธรรมชาติและกฎเกณฑข์ องภาษาไทย การใชภ้ าษาใหถ้ ูกต้องเหมาะสมกับ
โอกาสและบุคคล การแตง่ บทประพันธ์ประเภทต่าง ๆ และอทิ ธิพลของภาษาตา่ งประเทศในภาษาไทย

 วรรณคดีและวรรณกรรม วิเคราะห์วรรณคดีและวรรณกรรมเพอ่ื ศกึ ษาข้อมลู แนวความคิด คุณค่า
ของงานประพันธ์ และความเพลดิ เพลนิ การเรียนรู้และทาความเข้าใจบทเห่ บทรอ้ งเล่นของเด็ก เพลงพื้นบ้านที่
เป็นภูมิปัญญาท่ีมีคุณค่าของไทย ซึ่งได้ถ่ายทอดความรู้สึกนึกคิด ค่านิยม ขนบธรรมเนียมประเพณี เร่ืองราวของ
สังคมในอดีต และความงดงามของภาษา เพื่อให้เกิดความซาบซึ้งและภูมิใจ ในบรรพบุรุษที่ได้สั่งสมสืบทอดมา
จนถงึ ปจั จบุ นั

งานหลักสูตรสถานศึกษา กลุ่มบริหารวิชาการ อสิ ลามวิทยาลัยแห่งประเทศไทย

SUBMITTED BY PATTHARAPONG THONGNAIKAEW

หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรภู้ าษาไทย อิสลามวิทยาลัยแห่งประเทศไทย - 29 -

สาระและมาตรฐานการเรียนรู้

สาระท่ี 1 การอา่ น
มาตรฐาน ท 1.1 ใชก้ ระบวนการอา่ นสร้างความร้แู ละความคดิ เพ่ือนาไปใช้ตัดสนิ ใจ แกป้ ญั หาในการ

ดาเนนิ ชีวติ และมีนิสัยรักการอ่าน

สาระท่ี 2 การเขียน
มาตรฐาน ท 2.1 ใชก้ ระบวนการเขียนเขียนส่ือสาร เขยี นเรยี งความ ยอ่ ความ และเขียนเรอ่ื งราวในรูปแบบตา่ งๆ

เขียนรายงานข้อมูลสารสนเทศและรายงานการศกึ ษาคน้ ควา้ อยา่ งมีประสิทธิภาพ

สาระที่ 3 การฟงั การดู และการพูด
มาตรฐาน ท 3.1 สามารถเลือกฟังและดูอย่างมีวิจารณญาณ และพูดแสดงความรู้ ความคิด และ

ความรสู้ กึ ในโอกาสตา่ งๆ อย่างมวี จิ ารณญาณและสรา้ งสรรค์

สาระที่ 4 หลกั การใชภ้ าษาไทย
มาตรฐาน ท 4.1 เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปล่ียนแปลงของภาษาและพลังของภาษา

ภูมิปัญญาทางภาษา และรกั ษาภาษาไทยไวเ้ ปน็ สมบัตขิ องชาติ

สาระท่ี 5 วรรณคดแี ละวรรณกรรม
มาตรฐาน ท 5.1 เข้าใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมไทยอย่างเห็นคุณค่าและ

นามาประยุกตใ์ ชใ้ นชีวติ จรงิ

คุณภาพผู้เรยี น

จบชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี 3
 อา่ นออกเสยี งบทร้อยแก้วและบทร้อยกรองเป็นทานองเสนาะไดถ้ กู ต้อง เขา้ ใจความหมายโดยตรง
และความหมายโดยนัย จับใจความสาคัญและรายละเอียดของส่ิงท่ีอ่าน แสดงความคิดเห็นและข้อโต้แย้ง
เก่ียวกับเร่ืองที่อ่าน และเขียนกรอบแนวคิด ผังความคิด ย่อความ เขียนรายงานจาก ส่ิงที่อ่านได้ วิเคราะห์
วิจารณ์อย่างมีเหตุผล ลาดับความอย่างมีข้ันตอนและความเป็นไปได้ของเรื่องท่ีอ่าน รวมทั้งประเมินความ
ถูกตอ้ งของขอ้ มูลทใ่ี ชส้ นับสนุนจากเรอื่ งท่ีอา่ น
 เขียนส่ือสารด้วยลายมือท่ีอ่านง่ายชัดเจน ใช้ถ้อยคาได้ถูกต้องเหมาะสมตามระดับภาษาเขียนคา
ขวัญ คาคม คาอวยพรในโอกาสตา่ ง ๆ โฆษณา คติพจน์ สนุ ทรพจน์ ชวี ประวัติ อัตชีวประวัตแิ ละประสบการณ์
ตา่ งๆ เขียนย่อความ จดหมายกิจธุระ แบบกรอกสมัครงาน เขียนวิเคราะห์ วิจารณ์ และแสดงความรู้ความคิด
หรือโตแ้ ย้งอยา่ งมเี หตผุ ล ตลอดจนเขยี นรายงานการศึกษาคน้ ควา้ และเขียนโครงงาน
 พดู แสดงความคิดเห็น วิเคราะห์ วิจารณ์ ประเมนิ ส่งิ ที่ได้จากการฟังและดู นาข้อคิดไปประยุกต์ใช้
ในชีวิตประจาวัน พูดรายงานเรื่องหรือประเด็นท่ีได้จากการศึกษาค้นคว้าอย่างเป็นระบบ มีศิลปะในการพูด
พูดในโอกาสต่าง ๆ ได้ตรงตามวัตถุประสงค์ และพูดโน้มน้าวอย่างมีเหตุผลน่าเชื่อถือ รวมท้ังมีมารยาทในการฟัง
ดูและพดู

งานหลกั สตู รสถานศึกษา กลุ่มบรหิ ารวิชาการ อสิ ลามวิทยาลยั แห่งประเทศไทย

SUBMITTED BY PATTHARAPONG THONGNAIKAEW

หลกั สูตรกลุ่มสาระการเรยี นรภู้ าษาไทย อสิ ลามวทิ ยาลัยแห่งประเทศไทย - 30 -

 เข้าใจและใช้คาราชาศัพท์ คาบาลีสันสกฤต คาภาษาต่างประเทศอื่น ๆ คาทับศัพท์และศัพท์
บญั ญัติในภาษาไทย วิเคราะห์ความแตกต่างในภาษาพูด ภาษาเขยี น โครงสร้างของประโยครวม ประโยคซ้อน
ลักษณะภาษาท่ีเป็นทางการ ก่ึงทางการและไม่เป็นทางการ และแต่งบทร้อยกรองประเภทกลอนสุภาพ กาพย์และ
โคลงสส่ี ุภาพ

 สรุปเน้ือหาวรรณคดีและวรรณกรรมท่ีอ่าน วิเคราะห์ตัวละครสาคัญnวิถีชีวิตไทย และคุณค่าที่
ไดร้ ับจากวรรณคดีวรรณกรรมและบทอาขยาน พรอ้ มทง้ั สรปุ ความร้ขู อ้ คิดเพื่อนาไปประยุกต์ใช้ในชีวติ จริง

จบชน้ั มธั ยมศึกษาปีที่ 6

 อ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรองเป็นทานองเสนาะได้ถูกต้องและเข้าใจ ตีความ แปล
ความ และขยายความเร่ืองที่อ่านได้ วิเคราะห์วิจารณ์เรื่องท่ีอ่าน แสดงความคิดเห็นโต้แย้งและเสนอความคิด
ใหม่จากการอ่านอย่างมีเหตุผล คาดคะเนเหตุการณ์จากเร่ืองท่ีอ่าน เขียนกรอบแนวคิด ผังความคิด บันทึก
ยอ่ ความ และเขียนรายงานจากสิ่งที่อา่ น สังเคราะห์ ประเมินค่า และนาความรู้ความคิดจากการอ่านมาพัฒนา
ตน พัฒนาการเรียน และพัฒนาความร้ทู างอาชีพ และนาความรคู้ วามคิดไปประยุกต์ใช้แก้ปัญหาในการดาเนิน
ชีวิต มีมารยาทและมนี สิ ัยรักการอ่าน

 เขียนส่ือสารในรูปแบบต่าง ๆ โดยใช้ภาษาได้ถูกต้องตรงตามวัตถุประสงค์ ย่อความจากสื่อท่ีมี
รูปแบบและเน้ือหาท่ีหลากหลาย เรียงความแสดงแนวคิดเชิงสร้างสรรค์โดยใช้โวหารต่าง ๆ เขียนบันทึก
รายงานการศึกษาค้นคว้าตามหลักการเขียนทางวิชาการ ใช้ข้อมูลสารสนเทศในการอ้างอิง ผลิตผลงานของ
ตนเองในรูปแบบต่าง ๆ ท้ังสารคดแี ละบันเทิงคดี รวมทง้ั ประเมินงานเขียนของผู้อื่นและนามาพัฒนางานเขียน
ของตนเอง

 ตัง้ คาถามและแสดงความคิดเหน็ เกย่ี วกบั เรอ่ื งท่ีฟงั และดู มีวิจารณญาณในการเลอื กเร่ืองท่ฟี งั และ
ดู วิเคราะห์วัตถุประสงค์ แนวคิด การใช้ภาษา ความน่าเช่ือถือของเร่ืองที่ฟังและดู ประเมินส่ิงท่ีฟังและดูแล้ว
นาไปประยุกต์ใช้ในการดาเนินชีวิต มีทักษะการพูดในโอกาสต่างๆ ทั้งที่เป็นทางการและไม่เป็นทางการโดยใช้
ภาษาที่ถูกต้อง พูดแสดงทรรศนะ โต้แย้ง โน้มน้าว และเสนอแนวคิดใหม่อย่างมีเหตุผล รวมท้ังมีมารยาทใน
การฟัง ดู และพูด

 เข้าใจธรรมชาติของภาษา อิทธิพลของภาษา และลักษณะของภาษาไทย ใช้คาและกลุ่มคาสร้าง
ประโยคได้ตรงตามวัตถุประสงค์ แต่งคาประพันธ์ประเภท กาพย์ โคลง ร่ายและฉันท์ ใช้ภาษาได้เหมาะสมกับ
กาลเทศะและใช้คาราชาศัพท์และคาสุภาพได้อย่างถูกต้อง วิเคราะห์หลักการ สร้างคาในภาษาไทย อิทธิพล
ของภาษาต่างประเทศในภาษาไทยและภาษาถิ่น วิเคราะห์และประเมินการใช้ภาษาจากสื่อส่ิงพิมพ์และสื่อ
อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์

 วิเคราะห์วิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมตามหลักการวิจารณ์วรรณคดีเบ้ืองต้น รู้และเข้าใจ
ลักษณะเด่นของวรรณคดี ภูมิปัญญาทางภาษาและวรรณกรรมพื้นบ้าน เชื่อมโยงกับการเรียนรู้ทาง
ประวัติศาสตร์และวิถีไทย ประเมินคุณค่าด้านวรรณศิลป์ และนาข้อคิดจากวรรณคดีและวรรณกรรมไป
ประยกุ ตใ์ ชใ้ นชีวิตจรงิ

งานหลักสูตรสถานศึกษา กลุ่มบริหารวิชาการ อสิ ลามวทิ ยาลยั แห่งประเทศไทย

SUBMITTED BY PATTHARAPONG THONGNAIKAEW

หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนร้ภู าษาไทย อสิ ลามวทิ ยาลยั แหง่ ประเทศไทย - 31 -

ตัวชี้วดั และสาระการเรยี นรแู้ กนกลาง

สาระที่ 1 การอา่ น

มาตรฐาน ท 1.1 ใชก้ ระบวนการอา่ นสรา้ งความรู้และความคิดเพ่อื นาไปใช้ตัดสนิ ใจ แก้ปญั หาในการดาเนิน
ชวี ิต และมีนสิ ัยรกั การอ่าน

ชั้น ตัวชว้ี ดั สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง

ม.1 1. อ่านออกเสยี งบทร้อยแก้ว และ  การอา่ นออกเสยี ง ประกอบดว้ ย
บทรอ้ ยกรองได้ถกู ต้องเหมาะสมกบั - บทร้อยแก้วที่เปน็ บทบรรยาย

เร่อื งทีอ่ ่าน - บทร้อยกรอง เช่น กลอนสุภาพ กลอนสกั วา

กาพยย์ านี 11 กาพย์ฉบัง 16 กาพย์สรุ างคนางค์ 28

และโคลงส่สี ุภาพ

2. จบั ใจความสาคัญจากเรื่องท่อี ่าน  การอา่ นจับใจความจากสือ่ ตา่ งๆ เชน่

3. ระบุเหตแุ ละผล และข้อเท็จจริงกับ - เร่ืองเลา่ จากประสบการณ์

ขอ้ คิดเหน็ จากเร่ืองท่ีอา่ น - เรือ่ งสั้น

4. ระบแุ ละอธิบายคาเปรียบเทยี บ และ - บทสนทนา

คาท่มี ีหลายความหมายในบรบิ ทต่างๆ - นิทานชาดก

จากการอ่าน - วรรณคดีในบทเรียน

5. ตีความคายากในเอกสารวชิ าการ โดย - งานเขียนเชงิ สรา้ งสรรค์

พิจารณาจากบริบท - บทความ

6. ระบุข้อสงั เกตและความสมเหตุสมผล - สารคดี
ของงานเขียนประเภทชกั จงู - บันเทงิ คดี
โนม้ นา้ วใจ - เอกสารทางวชิ าการทม่ี คี า ประโยค และ

ข้อความท่ตี ้องใช้บริบทชว่ ยพจิ ารณา

ความหมาย

- งานเขียนประเภทชักจงู โน้มนา้ วใจเชงิ

สรา้ งสรรค์

7. ปฏิบัตติ ามคมู่ ือแนะนาวธิ ีการใช้งาน  การอ่านและปฏบิ ัติตามเอกสารคู่มือ
ของเครื่องมือหรือเคร่ืองใชใ้ นระดบั ท่ี

ยากขน้ึ

8. วเิ คราะห์คณุ คา่ ทไ่ี ดร้ ับจากการอ่าน  การอ่านหนงั สือตามความสนใจ เช่น

งานเขียนอยา่ งหลากหลายเพื่อ - หนังสอื ท่ีนกั เรยี นสนใจและเหมาะสมกับวยั

นาไปใช้แก้ปัญหาในชีวติ - หนังสอื อา่ นทีค่ รแู ละนักเรียนกาหนดร่วมกัน

9. มมี ารยาทในการอ่าน  มารยาทในการอา่ น

ม.2 1. อา่ นออกเสยี งบทรอ้ ยแก้ว และ  การอ่านออกเสียง ประกอบดว้ ย

บทร้อยกรองได้ถกู ต้อง - บทรอ้ ยแก้วที่เป็นบทบรรยายและบทพรรณนา

- บทรอ้ ยกรอง เช่น กลอนบทละคร กลอน

นิทาน กลอนเพลงยาว และกาพยห์ อ่ โคลง

งานหลักสตู รสถานศึกษา กลุ่มบริหารวิชาการ อสิ ลามวิทยาลัยแห่งประเทศไทย

SUBMITTED BY PATTHARAPONG THONGNAIKAEW

หลกั สูตรกลุ่มสาระการเรียนรภู้ าษาไทย อสิ ลามวิทยาลัยแห่งประเทศไทย - 32 -

ชัน้ ตัวชวี้ ัด สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง

2. จับใจความสาคญั สรปุ ความ และ  การอ่านจับใจความจากสื่อตา่ งๆ เชน่

อธิบายรายละเอียดจากเรอื่ งท่อี ่าน - วรรณคดีในบทเรียน

3. เขยี นผังความคิดเพ่ือแสดงความเขา้ ใจใน - บทความ

บทเรียนต่างๆ ทอ่ี า่ น - บันทกึ เหตกุ ารณ์

4. อภิปรายแสดงความคดิ เหน็ และข้อ - บทสนทนา

โตแ้ ย้งเกยี่ วกับเรอ่ื งที่อ่าน - บทโฆษณา

5. วิเคราะห์และจาแนกขอ้ เทจ็ จรงิ ข้อมลู - งานเขียนประเภทโนม้ นา้ วใจ

สนับสนนุ และข้อคิดเห็นจากบทความ - งานเขียนหรือบทความแสดงขอ้ เทจ็ จรงิ

ท่ีอา่ น - เร่ืองราวจากบทเรียนในกล่มุ สาระการเรยี นรู้

6. ระบขุ อ้ สงั เกตการชวนเชอ่ื การโนม้ ภาษาไทย และกลุ่มสาระการเรยี นรู้อน่ื

นา้ ว หรือความสมเหตุสมผลของงาน

เขยี น

7. อ่านหนังสอื บทความ หรอื คาประพนั ธ์  การอา่ นตามความสนใจ เชน่

อย่างหลากหลาย และประเมนิ คุณค่า - หนงั สืออ่านนอกเวลา

หรอื แนวคดิ ที่ไดจ้ ากการอา่ น เพ่อื - หนงั สอื ทนี่ ักเรียนสนใจและเหมาะสมกบั วัย

นาไปใชแ้ กป้ ญั หาในชีวติ - หนงั สอื อา่ นทค่ี รแู ละนกั เรยี นกาหนดรว่ มกัน

8 .มมี ารยาทในการอ่าน  มารยาทในการอ่าน

ม.3 1. อา่ นออกเสยี งบทร้อยแกว้ และบทร้อย  การอา่ นออกเสียง ประกอบดว้ ย

กรองไดถ้ ูกต้องและเหมาะสมกับเรอื่ ง - บทรอ้ ยแก้วที่เปน็ บทความทั่วไปและบทความ

ทีอ่ า่ น ปกณิ กะ

- บทร้อยกรอง เชน่ กลอนบทละคร กลอน

เสภา กาพยย์ านี 11 กาพย์ฉบงั 16 และโคลงสี่

สุภาพ

2. ระบคุ วามแตกตา่ งของคาที่มี  การอ่านจบั ใจความจากสื่อตา่ งๆ เช่น

ความหมายโดยตรงและความหมาย - วรรณคดีในบทเรยี น

โดยนยั - ข่าวและเหตกุ ารณส์ าคัญ

3. ระบใุ จความสาคัญและรายละเอยี ด - บทความ

ของข้อมลู ท่ีสนบั สนุนจากเรือ่ งที่อา่ น - บันเทงิ คดี

4. อา่ นเร่อื งต่างๆ แลว้ เขยี นกรอบแนวคิด - สารคดี

ผงั ความคิด บนั ทึก ยอ่ ความและ - สารคดีเชงิ ประวัติ

รายงาน - ตานาน

5. วิเคราะห์ วจิ ารณ์ และประเมินเรอื่ ง - งานเขยี นเชงิ สรา้ งสรรค์

ทอ่ี า่ นโดยใชก้ ลวธิ ีการเปรยี บเทียบ - เรอื่ งราวจากบทเรียนในกลุ่มสาระการเรียนรู้

เพ่ือใหผ้ ้อู า่ นเขา้ ใจไดด้ ีขึ้น ภาษาไทย และกลุม่ สาระการเรียนรอู้ น่ื

งานหลกั สตู รสถานศึกษา กลุ่มบรหิ ารวิชาการ อสิ ลามวทิ ยาลัยแห่งประเทศไทย

SUBMITTED BY PATTHARAPONG THONGNAIKAEW

หลกั สูตรกลุ่มสาระการเรียนรภู้ าษาไทย อิสลามวิทยาลัยแหง่ ประเทศไทย - 33 -

ชนั้ ตวั ชว้ี ดั สาระการเรียนร้แู กนกลาง
ม.4-ม.6 6. ประเมนิ ความถูกต้องของขอ้ มลู
 การอา่ นตามความสนใจ เช่น
ทใ่ี ชส้ นบั สนุนในเรอื่ งทีอ่ ่าน - หนังสืออา่ นนอกเวลา
7. วจิ ารณ์ความสมเหตสุ มผล การลาดบั - หนังสืออ่านตามความสนใจและตามวัยของ
นักเรยี น
ความ และความเป็นไปได้ของเรอ่ื ง - หนังสืออา่ นที่ครแู ละนกั เรียนร่วมกนั กาหนด
8. วิเคราะห์เพอื่ แสดงความคิดเห็นโตแ้ ยง้
 มารยาทในการอา่ น
เก่ยี วกบั เรอื่ งทีอ่ ่าน  การอ่านออกเสียง ประกอบด้วย
9. ตีความและประเมนิ คุณคา่ และแนวคดิ
- บทรอ้ ยแกว้ ประเภทต่าง ๆ เชน่ บทความ
ท่ีได้จากงานเขยี นอย่างหลากหลาย นวนิยาย และความเรียง
เพ่อื นาไปใชแ้ กป้ ญั หาในชวี ติ
- บทร้อยกรอง เช่น โคลง ฉนั ท์ กาพย์ กลอน
10. มมี ารยาทในการอ่าน รา่ ยและลลิ ติ
1. อ่านออกเสียงบทรอ้ ยแกว้ และบทรอ้ ย
 การอา่ นจบั ใจความจากสื่อตา่ งๆ เชน่
กรองได้อย่างถูกต้อง ไพเราะ และ - ขา่ วสารจากส่ือสง่ิ พิมพ์ สอ่ื อิเล็กทรอนกิ ส์และ
เหมาะสมกับเรอ่ื งท่ีอ่าน แหล่งเรยี นร้ตู า่ ง ๆ ในชุมชน
- บทความ
2. ตีความ แปลความ และขยายความ - นทิ าน
เรื่องท่ีอ่าน - เรอ่ื งส้นั
- นวนยิ าย
3. วิเคราะหแ์ ละวิจารณ์เร่ืองที่อา่ น - วรรณกรรมพนื้ บ้าน
ในทุกๆ ด้านอยา่ งมเี หตผุ ล - วรรณคดใี นบทเรียน
- บทโฆษณา
4. คาดคะเนเหตกุ ารณ์จากเรอ่ื งทอ่ี ่าน - สารคดี
และประเมนิ คา่ เพื่อนาความรู้ - บนั เทงิ คดี
ความคดิ ไปใชต้ ัดสนิ ใจแก้ปัญหาใน - ปาฐกถา
การดาเนินชีวติ - พระบรมราโชวาท
- เทศนา
5. วิเคราะห์ วจิ ารณ์ แสดงความคิดเห็น - คาบรรยาย
โต้แย้งกบั เรอื่ งที่อ่าน และเสนอ - คาสอน
ความคดิ ใหม่อย่างมเี หตุผล - บทรอ้ ยกรองร่วมสมยั
- บทเพลง
6. ตอบคาถามจากการอ่านประเภท
ต่างๆ ภายในเวลาทก่ี าหนด

7. อา่ นเรื่องต่างๆ แล้วเขยี นกรอบ
แนวคิดผังความคิด บนั ทกึ ยอ่ ความ
และรายงาน

8. สงั เคราะหค์ วามรูจ้ ากการอา่ น
สอื่ สง่ิ พิมพ์ สอ่ื อิเล็กทรอนิกส์และ
แหลง่ เรยี นรตู้ ่างๆ มาพฒั นาตน

งานหลักสตู รสถานศึกษา กลุ่มบรหิ ารวิชาการ อสิ ลามวทิ ยาลัยแห่งประเทศไทย

SUBMITTED BY PATTHARAPONG THONGNAIKAEW

หลักสตู รกลุ่มสาระการเรยี นร้ภู าษาไทย อิสลามวิทยาลัยแห่งประเทศไทย - 34 -

ชนั้ ตวั ชี้วัด สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง

พัฒนาการเรยี น และพฒั นาความรู้ - บทอาเศยี รวาท

ทางอาชพี - คาขวัญ

9. มีมารยาทในการอ่าน  มารยาทในการอ่าน

สาระที่ 2 การเขียน

มาตรฐาน ท 2.1 ใช้กระบวนการเขียนเขียนสื่อสาร เขียนเรียงความ ย่อความ และเขียนเรื่องราวในรูปแบบ
ตา่ งๆ เขยี นรายงานข้อมูลสารสนเทศและรายงานการศกึ ษาค้นคว้าอยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ

ช้ัน ตวั ช้วี ัด สาระการเรยี นรู้แกนกลาง
ม.1 1. คัดลายมือตวั บรรจงคร่งึ บรรทดั
 การคดั ลายมอื ตัวบรรจงคร่ึงบรรทัดตามรปู แบบ
การเขยี นตวั อักษรไทย

2. เขยี นสอ่ื สารโดยใช้ถอ้ ยคาถกู ต้อง  การเขยี นสอ่ื สาร เชน่

ชดั เจน เหมาะสม และสละสลวย - การเขยี นแนะนาตนเอง

- การเขียนแนะนาสถานท่สี าคญั ๆ

- การเขียนบนส่ืออิเลก็ ทรอนิกส์

3. เขียนบรรยายประสบการณโ์ ดยระบุ  การบรรยายประสบการณ์

สาระสาคัญและรายละเอยี ดสนบั สนนุ

4. เขยี นเรยี งความ  การเขยี นเรียงความเชิงพรรณนา

5. เขียนย่อความจากเรื่องทอี่ า่ น  การเขียนยอ่ ความจากสือ่ ต่างๆ เชน่ เรอื่ งสนั้

คาสอน โอวาท คาปราศรัย สนุ ทรพจน์

รายงาน ระเบยี บ คาส่งั บทสนทนาเรอ่ื งเล่า

ประสบการณ์

6. เขียนแสดงความคิดเหน็ เก่ยี วกบั สาระ  การเขียนแสดงความคิดเห็นเก่ยี วกับสาระจากส่ือ

จากสือ่ ท่ีไดร้ บั ต่างๆ เชน่

-บทความ

- หนังสอื อ่านนอกเวลา

- ขา่ วและเหตกุ ารณ์ประจาวนั

- เหตกุ ารณ์สาคัญต่างๆ

7. เขียนจดหมายสว่ นตัวและจดหมาย  การเขียนจดหมายส่วนตัว

กจิ ธรุ ะ - จดหมายขอความชว่ ยเหลือ

- จดหมายแนะนา

 การเขียนจดหมายกจิ ธรุ ะ

- จดหมายสอบถามข้อมลู

งานหลกั สตู รสถานศึกษา กลุ่มบริหารวิชาการ อสิ ลามวทิ ยาลัยแห่งประเทศไทย

SUBMITTED BY PATTHARAPONG THONGNAIKAEW

หลักสูตรกลุ่มสาระการเรยี นรภู้ าษาไทย อิสลามวทิ ยาลยั แห่งประเทศไทย - 35 -

ช้ัน ตัวชวี้ ดั สาระการเรยี นร้แู กนกลาง

8. เขียนรายงานการศกึ ษาคน้ คว้าและ  การเขยี นรายงาน ได้แก่

โครงงาน - การเขยี นรายงานจากการศึกษาค้นคว้า

- การเขยี นรายงานโครงงาน

9. มมี ารยาทในการเขยี น  มารยาทในการเขยี น
ม.2 1. คัดลายมอื ตัวบรรจงคร่งึ บรรทดั
 การคัดลายมอื ตวั บรรจงคร่ึงบรรทดั ตามรปู แบบ
2. เขียนบรรยายและพรรณนา การเขยี น ตัวอกั ษรไทย
3. เขียนเรียงความ
4. เขยี นยอ่ ความ  การเขียนบรรยายและพรรณนา

 การเขยี นเรียงความเก่ียวกบั ประสบการณ์

 การเขียนยอ่ ความจากส่อื ต่างๆ เชน่ นิทาน
คาสอน บทความทางวชิ าการ บนั ทึกเหตุการณ์
เรือ่ งราวในบทเรียนในกลุ่มสาระการเรียนรูอ้ น่ื
นทิ านชาดก

5. เขียนรายงานการศกึ ษาคน้ ควา้  การเขียนรายงาน

- การเขียนรายงานจากการศึกษาคน้ คว้า

- การเขียนรายงานโครงงาน

6. เขียนจดหมายกจิ ธรุ ะ  การเขียนจดหมายกจิ ธุระ

- จดหมายเชิญวิทยากร

- จดหมายขอความอนุเคราะห์

7. เขยี นวเิ คราะห์ วิจารณ์ และแสดง  การเขียนวเิ คราะห์ วิจารณ์ และแสดงความรู้

ความรู้ ความคดิ เห็น หรือโตแ้ ย้ง ความคดิ เหน็ หรอื โต้แย้งจากสือ่ ต่างๆ เชน่

ในเร่อื งท่ีอ่านอย่างมเี หตผุ ล - บทความ

- บทเพลง

- หนงั สืออา่ นนอกเวลา

- สารคดี

- บนั เทิงคดี

8. มีมารยาทในการเขียน  มารยาทในการเขยี น
ม.3 1. คดั ลายมือตวั บรรจงครง่ึ บรรทัด  การคัดลายมอื ตัวบรรจงคร่ึงบรรทัดตามรูปแบบ

การเขยี นตัวอกั ษรไทย

2. เขยี นข้อความโดยใช้ถ้อยคาไดถ้ กู ต้อง  การเขียนข้อความตามสถานการณ์และโอกาส

ตามระดบั ภาษา ตา่ งๆ เชน่

งานหลักสตู รสถานศึกษา กลุ่มบริหารวิชาการ อสิ ลามวิทยาลัยแห่งประเทศไทย

SUBMITTED BY PATTHARAPONG THONGNAIKAEW

หลักสูตรกลุ่มสาระการเรยี นรูภ้ าษาไทย อิสลามวทิ ยาลัยแห่งประเทศไทย - 36 -

ช้นั ตวั ชว้ี ดั สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง
ม.4-ม.6 - คาอวยพรในโอกาสตา่ งๆ
3. เขยี นชีวประวตั ิหรืออัตชวี ประวตั ิโดย - คาขวญั
เล่าเหตุการณ์ ขอ้ คิดเหน็ และทัศนคติ - คาคม
ในเรือ่ งต่างๆ - โฆษณา
- คตพิ จน์
4. เขยี นย่อความ - สนุ ทรพจน์
 การเขียนอตั ชวี ประวตั หิ รือชวี ประวตั ิ
5. เขยี นจดหมายกจิ ธุระ
 การเขยี นยอ่ ความจากสอ่ื ต่างๆ เช่น นทิ าน
6. เขยี นอธบิ าย ชีแ้ จง แสดงความคดิ เหน็ ประวัติ ตานาน สารคดที างวิชาการ พระราชดารัส
และโตแ้ ยง้ อยา่ งมเี หตผุ ล พระบรมราโชวาท จดหมายราชการ

7. เขยี นวิเคราะห์ วจิ ารณ์ และแสดง  การเขียนจดหมายกจิ ธุระ
ความรู้ ความคดิ เหน็ หรือโต้แย้ง - จดหมายเชิญวิทยากร
ในเรือ่ งต่างๆ - จดหมายขอความอนเุ คราะห์
- จดหมายแสดงความขอบคณุ
8. กรอกแบบสมัครงานพรอ้ มเขียน
บรรยายเกี่ยวกบั ความรู้และทกั ษะ  การเขียนอธบิ าย ช้แี จง แสดงความคิดเหน็ และ
ของตนเองท่เี หมาะสมกับงาน โต้แยง้ ในเรอ่ื งต่างๆ

9. เขียนรายงานการศึกษาคน้ คว้า และ  การเขียนวเิ คราะห์ วจิ ารณ์ และแสดงความรู้
โครงงาน ความคดิ เหน็ หรือโตแ้ ยง้ จากสือ่ ต่างๆ เชน่
- บทโฆษณา
10. มมี ารยาทในการเขยี น - บทความทางวชิ าการ
1. เขียนส่ือสารในรปู แบบตา่ งๆ ได้ตรง
ตามวตั ถปุ ระสงค์ โดยใชภ้ าษาเรียบเรยี ง  การกรอกแบบสมัครงาน
ถกู ตอ้ ง มขี ้อมลู และสาระสาคญั
ชดั เจน  การเขียนรายงาน ไดแ้ ก่
- การเขยี นรายงานจากการศกึ ษาค้นควา้
- การเขยี นรายงานโครงงาน

 มารยาทในการเขียน
 การเขียนสอ่ื สารในรูปแบบตา่ งๆ เช่น
- อธิบาย
- บรรยาย
- พรรณนา
- แสดงทรรศนะ

งานหลกั สูตรสถานศึกษา กลุ่มบริหารวิชาการ อสิ ลามวทิ ยาลัยแห่งประเทศไทย

SUBMITTED BY PATTHARAPONG THONGNAIKAEW

หลกั สตู รกลุ่มสาระการเรียนรูภ้ าษาไทย อสิ ลามวิทยาลัยแห่งประเทศไทย - 37 -

ช้นั ตัวชวี้ ัด สาระการเรยี นรู้แกนกลาง

- โต้แย้ง

- โน้มนา้ ว

- เชิญชวน

- ประกาศ

- จดหมายกิจธรุ ะ

- โครงการและรายงานการดาเนินโครงการ

- รายงานการประชุม

- การกรอกแบบรายการต่างๆ

2. เขียนเรยี งความ  การเขยี นเรยี งความ

3. เขยี นยอ่ ความจากส่ือทม่ี ีรปู แบบ และ  การเขยี นยอ่ ความจากสอื่ ตา่ งๆ เช่น
เนือ้ หาหลากหลาย - กวีนิพนธ์ และวรรณคดี
- เรือ่ งส้นั สารคดี นวนยิ าย บทความทาง

วชิ าการ และวรรณกรรมพ้ืนบา้ น

4. ผลิตงานเขยี นของตนเองในรปู แบบ  การเขียนในรปู แบบตา่ งๆ เชน่
ต่างๆ - สารคดี
- บันเทิงคดี

5. ประเมนิ งานเขียนของผอู้ น่ื แลว้ นามา  การประเมนิ คณุ ค่างานเขียนในดา้ นตา่ งๆ เช่น

พัฒนางานเขยี นของตนเอง - แนวคดิ ของผู้เขียน

- การใชถ้ ้อยคา
- การเรยี บเรยี ง
- สานวนโวหาร
- กลวธิ ใี นการเขียน

6. เขยี นรายงานการศกึ ษาคน้ คว้า  การเขยี นรายงานเชงิ วิชาการ
เรือ่ งที่สนใจตามหลักการเขยี นเชงิ  การเขียนอ้างอิงขอ้ มูลสารสนเทศ
วชิ าการและใช้ข้อมูลสารสนเทศ
อา้ งอิงอย่างถูกตอ้ ง

7. บันทกึ การศึกษาคน้ ควา้ เพ่ือนาไป  การเขยี นบันทกึ ความรูจ้ ากแหล่งเรยี นรูท้ ่ี
พฒั นาตนเองอย่างสมา่ เสมอ หลากหลาย

8. มีมารยาทในการเขียน  มารยาทในการเขยี น

งานหลักสตู รสถานศึกษา กลุ่มบรหิ ารวิชาการ อสิ ลามวทิ ยาลัยแห่งประเทศไทย

SUBMITTED BY PATTHARAPONG THONGNAIKAEW

หลักสูตรกลุ่มสาระการเรยี นรภู้ าษาไทย อิสลามวิทยาลัยแห่งประเทศไทย - 38 -

สาระท่ี 3 การฟงั การดู และการพูด

มาตรฐาน ท 3.1 สามารถเลอื กฟังและดอู ยา่ งมีวิจารณญาณ และพดู แสดงความรู้ ความคิด และความรูส้ กึ ใน
โอกาสต่างๆ อย่างมวี จิ ารณญาณและสรา้ งสรรค์

ชั้น ตัวชีว้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง

ม.1 1. พูดสรปุ ใจความสาคญั ของเร่อื งท่ีฟัง  การพูดสรุปความ พูดแสดงความรู้ ความคดิ

และดู อย่างสร้างสรรค์จากเรอ่ื งทฟี่ งั และดู

2. เล่าเรือ่ งยอ่ จากเรอ่ื งท่ฟี งั และดู  การพดู ประเมนิ ความนา่ เชอ่ื ถือของส่ือท่ีมี

3. พดู แสดงความคิดเห็นอยา่ งสร้างสรรค์ เนื้อหาโนม้ นา้ ว

เกี่ยวกบั เรื่องที่ฟงั และดู

4. ประเมนิ ความนา่ เช่อื ถือของสอื่

ทีม่ เี น้อื หาโนม้ นา้ วใจ

5. พูดรายงานเรื่องหรอื ประเดน็ ทศ่ี กึ ษา  การพดู รายงานการศกึ ษาคน้ คว้าจากแหล่งเรยี นรู้

คน้ คว้าจากการฟงั การดู และการ ตา่ งๆ ในชุมชน และทอ้ งถิ่นของตน

สนทนา

6. มีมารยาทในการฟัง การดู และการพดู  มารยาทในการฟงั การดู และการพูด

ม.2 1. พูดสรุปใจความสาคญั ของเรอื่ งท่ฟี ัง  การพูดสรปุ ความจากเร่อื งทฟ่ี ังและดู

และดู

2. วเิ คราะหข์ อ้ เท็จจริง ข้อคิดเห็น และ  การพูดวิเคราะหแ์ ละวจิ ารณจ์ ากเรื่องที่ฟังและดู

ความนา่ เชอ่ื ถอื ของข่าวสารจากส่อื

ตา่ งๆ

3. วเิ คราะหแ์ ละวิจารณ์เรอื่ งท่ฟี งั และดู

อย่างมเี หตุผลเพอื่ นาขอ้ คิดมา

ประยุกต์ใช้ในการดาเนนิ ชีวติ

4. พดู ในโอกาสตา่ งๆ ได้ตรงตาม  การพดู ในโอกาสต่างๆ เชน่

วตั ถปุ ระสงค์ - การพดู อวยพร

- การพูดโนม้ น้าว

- การพูดโฆษณา

5. พูดรายงานเรือ่ งหรือประเด็นที่ศึกษา  การพดู รายงานการศึกษาคน้ ควา้ จากแหล่งเรยี นรู้

ค้นควา้ ต่างๆ

6. มมี ารยาทในการฟัง การดู และการพดู  มารยาทในการฟัง การดู และการพูด

ม.3 1. แสดงความคิดเหน็ และประเมนิ เรื่อง  การพูดแสดงความคิดเหน็ และประเมินเร่อื งจาก

จากการฟังและการดู การฟังและการดู

2. วเิ คราะห์และวิจารณเ์ รือ่ งที่ฟังและดู  การพดู วิเคราะหว์ ิจารณ์จากเร่ืองทฟ่ี งั และดู

เพอ่ื นาข้อคิดมาประยกุ ตใ์ ช้ในการ

ดาเนนิ ชวี ิต

งานหลกั สูตรสถานศึกษา กลุ่มบรหิ ารวิชาการ อสิ ลามวทิ ยาลัยแห่งประเทศไทย

SUBMITTED BY PATTHARAPONG THONGNAIKAEW

หลักสตู รกลุ่มสาระการเรียนรภู้ าษาไทย อิสลามวิทยาลยั แหง่ ประเทศไทย - 39 -

ช้ัน ตวั ช้ีวัด สาระการเรยี นรู้แกนกลาง
ม.4-ม.6 3. พดู รายงานเร่ืองหรือประเดน็ ทศี่ ึกษา  การพูดรายงานการศกึ ษาค้นควา้ เกยี่ วกบั

คน้ ควา้ จากการฟัง การดู และการ ภมู ิปญั ญาท้องถ่นิ
สนทนา
4. พูดในโอกาสต่างๆ ได้ตรงตาม  การพูดในโอกาสต่างๆ เชน่
วัตถุประสงค์ - การพูดโตว้ าที
- การอภิปราย
5. พูดโน้มนา้ วโดยนาเสนอหลักฐาน - การพูดยอวาที
ตามลาดับเนอื้ หาอย่างมเี หตุผลและ
นา่ เช่ือถอื  การพดู โน้มนา้ ว

6. มีมารยาทในการฟงั การดู และการพดู  มารยาทในการฟัง การดู และการพดู
1. สรปุ แนวคิด และแสดงความคิดเหน็  การพดู สรุปแนวคดิ และการแสดงความคดิ เห็น

จากเรอื่ งที่ฟังและดู จากเรอื่ งทฟ่ี ังและดู
2. วิเคราะห์ แนวคิด การใชภ้ าษา และ  การวเิ คราะห์แนวคิด การใช้ภาษา และความ

ความนา่ เชื่อถอื จากเรื่องท่ฟี ังและดู น่าเชอ่ื ถือจากเร่ืองที่ฟงั และดู
อย่างมเี หตุผล  การเลือกเร่ืองท่ีฟงั และดอู ย่างมวี จิ ารณญาณ
3. ประเมนิ เรอ่ื งท่ีฟังและดู แล้วกาหนด  การประเมินเรือ่ งท่ฟี ังและดูเพอ่ื กาหนดแนวทาง
แนวทางนาไปประยกุ ต์ใช้ในการ
ดาเนินชวี ติ นาไปประยุกต์ใช้
4. มวี จิ ารณญาณในการเลือกเร่อื งทฟ่ี ัง
และดู  การพดู ในโอกาสต่างๆ เชน่
5 .พดู ในโอกาสตา่ งๆ พูดแสดงทรรศนะ - การพูดต่อทป่ี ระชุมชน
โต้แย้ง โน้มน้าวใจ และเสนอแนวคิดใหม่ - การพูดอภิปราย
ด้วยภาษาถูกตอ้ งเหมาะสม - การพูดแสดงทรรศนะ
- การพูดโน้มน้าวใจ
6. มมี ารยาทในการฟัง การดู และการพูด
 มารยาทในการฟัง การดู และการพูด

งานหลกั สูตรสถานศึกษา กลุ่มบริหารวิชาการ อสิ ลามวทิ ยาลยั แห่งประเทศไทย

SUBMITTED BY PATTHARAPONG THONGNAIKAEW

หลกั สูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย อสิ ลามวทิ ยาลัยแหง่ ประเทศไทย - 40 -

สาระที่ 4 หลักการใชภ้ าษาไทย

มาตรฐาน ท 4.1 เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลกั ภาษาไทย การเปล่ียนแปลงของภาษาและพลังของภาษา
ภมู ปิ ญั ญาทางภาษา และรกั ษาภาษาไทยไวเ้ ป็นสมบตั ขิ องชาติ

ช้ัน ตวั ชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง

ม.1 1 .อธบิ ายลกั ษณะของเสยี งในภาษาไทย  เสียงในภาษาไทย

2. สร้างคาในภาษาไทย  การสรา้ งคา
- คาประสม คาซ้า คาซ้อน
3. วิเคราะหช์ นดิ และหนา้ ทข่ี องคาใน - คาพ้อง
ประโยค
 ชนิดและหนา้ ทขี่ องคา
4. วเิ คราะหค์ วามแตกต่างของภาษาพูด
และภาษาเขียน  ภาษาพดู
 ภาษาเขียน

ม.2 5 .แตง่ บทร้อยกรอง  กาพย์ยานี 11
ม.3 6. จาแนกและใช้สานวนที่เปน็ คาพังเพย  สานวนทีเ่ ปน็ คาพงั เพยและสภุ าษิต
ม.4-ม.6
และสภุ าษติ  การสร้างคาสมาส
1. สรา้ งคาในภาษาไทย  ลักษณะของประโยคในภาษาไทย
2. วเิ คราะห์โครงสรา้ งประโยคสามญั - ประโยคสามญั
ประโยครวม และประโยคซอ้ น - ประโยครวม
- ประโยคซอ้ น
3. แต่งบทร้อยกรอง  กลอนสุภาพ
4. ใชค้ าราชาศัพท์  คาราชาศัพท์
5 .รวบรวมและอธิบายความหมายของคา  คาทีม่ าจากภาษาตา่ งประเทศ

ภาษาต่างประเทศท่ใี ช้ในภาษาไทย  คาท่ีมาจากภาษาตา่ งประเทศ
1. จาแนกและใช้คาภาษาตา่ งประเทศที่
ใช้ในภาษาไทย  ประโยคซับซ้อน
2. วเิ คราะห์โครงสร้างประโยคซบั ซ้อน  ระดบั ภาษา
3. วเิ คราะหร์ ะดบั ภาษา  คาทบั ศพั ท์
4. ใช้คาทับศัพท์และศัพท์บัญญตั ิ  คาศพั ทบ์ ญั ญัติ
 คาศพั ทท์ างวชิ าการและวชิ าชพี
5. อธิบายความหมายคาศัพท์ทาง
วชิ าการและวชิ าชีพ  โคลงสส่ี ภุ าพ
6. แตง่ บทร้อยกรอง  ธรรมชาตขิ องภาษา
1. อธิบายธรรมชาตขิ องภาษา พลังของ  พลังของภาษา
ภาษา และลกั ษณะของภาษา  ลกั ษณะของภาษา

- เสยี งในภาษา

งานหลกั สตู รสถานศึกษา กลุ่มบริหารวิชาการ อสิ ลามวทิ ยาลัยแห่งประเทศไทย

SUBMITTED BY PATTHARAPONG THONGNAIKAEW

หลกั สูตรกลุ่มสาระการเรยี นร้ภู าษาไทย อิสลามวิทยาลยั แหง่ ประเทศไทย - 41 -

ช้ัน ตัวช้วี ดั สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง

- สว่ นประกอบของภาษา

- องค์ประกอบของพยางค์และคา

2 .ใชค้ าและกลุม่ คาสร้างประโยคตรงตาม  การใช้คาและกลุ่มคาสรา้ งประโยค

วตั ถปุ ระสงค์ - คาและสานวน

- การรอ้ ยเรียงประโยค

- การเพิ่มคา

- การใชค้ า

- การเขียนสะกดคา

3. ใช้ภาษาเหมาะสมแกโ่ อกาส  ระดับของภาษา

กาลเทศะ และบุคคล รวมทงั้ คาราชา  คาราชาศัพท์

ศพั ท์อยา่ งเหมาะสม

4. แต่งบทร้อยกรอง  กาพย์ โคลง รา่ ย และฉนั ท์

5 .วิเคราะห์อทิ ธพิ ลของภาษาตา่ งประเทศ  อทิ ธิพลของภาษาตา่ งประเทศและภาษาถ่ิน

และภาษาถน่ิ

6. อธิบายและวิเคราะห์หลกั การสร้างคาใน  หลักการสรา้ งคาในภาษาไทย

ภาษาไทย

7 .วเิ คราะห์และประเมินการใชภ้ าษาจาก  การประเมินการใช้ภาษาจากสอ่ื สิง่ พิมพแ์ ละ สอ่ื

สื่อส่งิ พมิ พ์และสื่ออิเลก็ ทรอนกิ ส์ อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์

สาระที่ 5 วรรณคดแี ละวรรณกรรม

มาตรฐาน ท 5.1 เขา้ ใจและแสดงความคิดเหน็ วิจารณ์วรรณคดแี ละวรรณกรรมไทยอย่างเห็นคุณคา่ และ
นามาประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง

ช้นั ตวั ชว้ี ัด สาระการเรยี นรู้แกนกลาง

ม.1 1. สรุปเนื้อหาวรรณคดีและวรรณกรรมที่  วรรณคดีและวรรณกรรมเก่ียวกบั

อ่าน -ศาสนา

- ประเพณี

- พธิ กี รรม

- สุภาษิตคาสอน

- เหตกุ ารณ์ประวตั ศิ าสตร์

- บนั เทงิ คดี

- บนั ทกึ การเดินทาง

- วรรณกรรมท้องถนิ่

2. วิเคราะห์วรรณคดแี ละวรรณกรรมที่  การวิเคราะหค์ ุณค่าและขอ้ คิดจากวรรณคดแี ละ

อ่านพรอ้ มยกเหตผุ ลประกอบ วรรณกรรม

งานหลกั สูตรสถานศึกษา กลุ่มบริหารวิชาการ อสิ ลามวทิ ยาลยั แห่งประเทศไทย

SUBMITTED BY PATTHARAPONG THONGNAIKAEW

หลกั สตู รกลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาไทย อสิ ลามวิทยาลัยแห่งประเทศไทย - 42 -

ชั้น ตัวช้ีวดั สาระการเรียนรู้แกนกลาง

3. อธิบายคณุ คา่ ของวรรณคดีและ

วรรณกรรมทอ่ี า่ น

4. สรปุ ความรแู้ ละขอ้ คิดจากการอา่ นเพอื่

ประยกุ ตใ์ ชใ้ นชีวิตจรงิ

5. ทอ่ งจาบทอาขยานตามทีก่ าหนดและ  บทอาขยานและบทรอ้ ยกรองท่มี ีคุณคา่

บทร้อยกรองท่ีมคี ณุ คา่ ตามความสนใจ - บทอาขยานตามท่กี าหนด

- บทรอ้ ยกรองตามความสนใจ

ม.2 1. สรุปเนอื้ หาวรรณคดีและวรรณกรรมที่  วรรณคดีและวรรณกรรมเก่ียวกบั

อา่ นในระดบั ทีย่ ากขึ้น - ศาสนา

- ประเพณี

- พิธีกรรม

- สภุ าษติ คาสอน

- เหตกุ ารณ์ประวัตศิ าสตร์

- บนั เทงิ คดี

- บนั ทึกการเดนิ ทาง

2. วเิ คราะห์และวิจารณว์ รรณคดี  การวิเคราะห์คณุ ค่าและข้อคิดจากวรรณคดี

วรรณกรรม และวรรณกรรมทอ้ งถ่นิ ที่ วรรณกรรม และวรรณกรรมท้องถ่ิน

อ่าน พรอ้ มยกเหตผุ ลประกอบ

3. อธบิ ายคณุ คา่ ของวรรณคดีและ

วรรณกรรมท่ีอ่าน

4. สรุปความรู้และขอ้ คดิ จากการอ่าน ไป

ประยกุ ตใ์ ชใ้ นชีวิตจริง

5. ท่องจาบทอาขยานตามทีก่ าหนดและ  บทอาขยานและบทร้อยกรองที่มคี ุณค่า

บทรอ้ ยกรองทมี่ ีคณุ คา่ ตามความสนใจ - บทอาขยานตามท่กี าหนด

- บทรอ้ ยกรองตามความสนใจ

ม.3 1. สรุปเนื้อหาวรรณคดี วรรณกรรมและ  วรรณคดี วรรณกรรม และวรรณกรรมทอ้ งถ่ิน

วรรณกรรมท้องถนิ่ ในระดบั ทย่ี ากยิ่งข้นึ เก่ยี วกับ

- ศาสนา

- ประเพณี

- พธิ ีกรรม

- สภุ าษติ คาสอน

- เหตุการณใ์ นประวตั ิศาสตร์

- บันเทิงคดี

งานหลักสตู รสถานศึกษา กลุ่มบรหิ ารวิชาการ อสิ ลามวทิ ยาลัยแห่งประเทศไทย

SUBMITTED BY PATTHARAPONG THONGNAIKAEW

หลกั สูตรกลุ่มสาระการเรียนรภู้ าษาไทย อิสลามวิทยาลัยแห่งประเทศไทย - 43 -

ชั้น ตวั ช้วี ัด สาระการเรียนรแู้ กนกลาง
ม.4-ม.6 2. วเิ คราะหว์ ถิ ีไทยและคุณคา่ จาก  การวิเคราะห์วถิ ไี ทย และคุณคา่ จากวรรณคดี

วรรณคดีและวรรณกรรมทีอ่ ่าน และวรรณกรรม
3. สรปุ ความร้แู ละข้อคิดจากการอา่ น
 บทอาขยานและบทรอ้ ยกรองทม่ี คี ุณคา่
เพ่อื นาไปประยกุ ตใ์ ช้ในชีวิตจรงิ -บทอาขยานตามท่กี าหนด
4. ทอ่ งจาและบอกคณุ ค่าบทอาขยาน - บทรอ้ ยกรองตามความสนใจ

ตามท่กี าหนด และบทรอ้ ยกรองทม่ี ี  หลกั การวเิ คราะห์และวจิ ารณว์ รรณคดีและ
คุณค่าตามความสนใจและนาไปใช้ วรรณกรรมเบื้องตน้
อา้ งองิ - จดุ ม่งุ หมายการแตง่ วรรณคดแี ละวรรณกรรม
1. วเิ คราะหแ์ ละวิจารณ์วรรณคดแี ละ - การพิจารณารปู แบบของวรรณคดแี ละ
วรรณกรรมตามหลกั การวิจารณ์ วรรณกรรม
เบือ้ งต้น - การพจิ ารณาเน้ือหาและกลวิธีในวรรณคดแี ละ
วรรณกรรม
2. วเิ คราะห์ลกั ษณะเด่นของวรรณคดี - การวิเคราะห์และการวจิ ารณ์วรรณคดแี ละ
เชื่อมโยงกบั การเรียนรทู้ างประวตั ศิ าสตร์ วรรณกรรม
และวถิ ีชวี ิตของสังคมในอดตี
 การวเิ คราะห์ลักษณะเดน่ ของวรรณคดีและ
วรรณกรรมเกี่ยวกบั เหตุการณป์ ระวตั ิศาสตร์
และวิถชี วี ติ ของสงั คมในอดีต

3. วเิ คราะห์และประเมนิ คุณค่าดา้ น  การวเิ คราะห์และประเมินคณุ คา่ วรรณคดแี ละ
วรรณศิลปข์ องวรรณคดีและ วรรณกรรม
วรรณกรรมในฐานะที่เปน็ มรดกทาง - ด้านวรรณศลิ ป์
วัฒนธรรมของชาติ - ด้านสงั คมและวฒั นธรรม

4. สงั เคราะหข์ อ้ คิดจากวรรณคดีและ  การสงั เคราะหว์ รรณคดีและวรรณกรรม
วรรณกรรมเพ่ือนาไปประยุกต์ใช้ใน
ชวี ิตจรงิ  วรรณกรรมพ้นื บา้ นท่แี สดงถงึ
- ภาษากบั วฒั นธรรม
5. รวบรวมวรรณกรรมพ้ืนบา้ นและ -ภาษาถิน่
อธิบายภมู ปิ ัญญาทางภาษา
 บทอาขยานและบทร้อยกรองทม่ี คี ุณค่า
6. ท่องจาและบอกคณุ คา่ บทอาขยาน - บทอาขยานตามทกี่ าหนด
ตามท่ีกาหนดและบทรอ้ ยกรองท่ีมี - บทร้อยกรองตามความสนใจ
คณุ ค่าตามความสนใจและนาไปใช้
อา้ งองิ

งานหลักสตู รสถานศึกษา กลุ่มบรหิ ารวิชาการ อสิ ลามวิทยาลยั แห่งประเทศไทย

SUBMITTED BY PATTHARAPONG THONGNAIKAEW

หลักสตู รกลุ่มสาระการเรียนรภู้ าษาไทย อสิ ลามวทิ ยาลยั แห่งประเทศไทย - 44 -

โครงสรา้ งหลักสตู รแกนกลาง
การศึกษาขัน้ พื้นฐาน พทุ ธศักราช 2551

คาอธิบายรายวชิ า
กลุ่มสาระการเรียนรภู้ าษาไทย

งานหลกั สูตรสถานศึกษา กลุ่มบรหิ ารวิชาการ อสิ ลามวทิ ยาลยั แห่งประเทศไทย

SUBMITTED BY PATTHARAPONG THONGNAIKAEW

หลักสตู รกลุ่มสาระการเรียนร้ภู าษาไทย อิสลามวิทยาลัยแห่งประเทศไทย - 45 -

โครงสร้างหลกั สตู รวชิ าภาษาไทย
หลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศกั ราช 2551

ระดบั ชน้ั ภาคเรียนที่ 1 ภาคเรียนที่ 2
รายวิชา รายวิชา
นก./ชม. นก./ชม.
1.5 / 60
ม.1 พ้นื ฐาน พื้นฐาน 1 / 40
ท 21101 ภาษาไทย 1 1.5 / 60 ท 21102 ภาษาไทย 2 1.5 / 60
เพ่ิมเติม 1 / 40
ท 21201 อ่าน – เขยี น 1 เพิ่มเติม 1.5 / 60
1 / 40 ท 21202 อ่าน – เขียน 2 1 / 40
ม.2 พื้นฐาน 1 / 40
ท 22101 ภาษาไทย 3 พื้นฐาน
เพิ่มเติม 1.5 / 60 ท 22102 ภาษาไทย 4 1 / 40
ท 22201 หลักภาษา 1
เพมิ่ เติม 1 / 40
ม.3 พนื้ ฐาน 1 / 40 ท 22202 หลกั ภาษา 2
ท 23101 ภาษาไทย 5
เพ่มิ เตมิ พนื้ ฐาน
ท 23201 ทักษะการคิดวิเคราะห์ 1 1.5 / 60 ท 23102 ภาษาไทย 6

ม.4 พื้นฐาน เพม่ิ เติม
ท 31101 ภาษาไทย 1 1 / 40 ท 23202 ทักษะการคิดวเิ คราะห์ 2

พื้นฐาน
1 / 40 ท 31102 ภาษาไทย 2

ม.5 พน้ื ฐาน พนื้ ฐาน
ท 32101 ภาษาไทย 3 1 / 40 ท 32102 ภาษาไทย 4

ม.6 พ้ืนฐาน พ้ืนฐาน
ท 33101 ภาษาไทย 5 1 / 40 ท 33102 ภาษาไทย 6

งานหลกั สูตรสถานศึกษา กลุ่มบริหารวิชาการ อสิ ลามวิทยาลัยแห่งประเทศไทย

SUBMITTED BY PATTHARAPONG THONGNAIKAEW

หลักสูตรกลุ่มสาระการเรยี นรูภ้ าษาไทย อิสลามวิทยาลัยแหง่ ประเทศไทย - 46 -

รายวิชาพนื้ ฐาน

รายวิชาภาษาไทย 1 คาอธิบายรายวิชา เวลา 60 ช่ัวโมง
ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ่ี 1 1.5 หน่วยกิต
รหัสวชิ า ท 21101
ภาคเรยี นท่ี 1

ฝกึ อ่านออกเสยี งร้อยแกว้ และรอ้ ยกรองได้ถูกตอ้ งเหมาะสมกับเรือ่ งทีอ่ ่านเป็นการอา่ นให้ผอู้ นื่ ฟังได้ใช้
กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความสามารถในการการอ่านได้อย่างหลากหลายเพ่ือเป็นพ้ืนฐานในการ
พัฒนาด้านการอ่านและการเขียน รู้จักแบ่งประโยคของขอ้ ความ อ่านตีความ แปลความ ขยายความ จากเร่ือง
ที่อ่าน จับใจความสาคัญจากสื่อต่าง ๆ งานเขียนเชิงสร้างสรรค์ และวรรณคดี วรรณกรรมต่าง ๆ หรือบท
ประพันธห์ ลายชนดิ และมีมารยาทในการอา่ น

ฝกึ เขียน คัดลายมือตวั บรรจงเตม็ บรรทดั ครึง่ บรรทดั ตามรูปแบบของอักษรไทย ใช้กระบวนการเขยี น
สื่อสาร เขียนแนะนาตนเอง บรรยายความประสบการณ์ต่าง ๆ เขียนย่อความ เขียนจดหมายประเภทส่วนตัว
จดหมายกจิ ธรุ ะ เขียนรายงานจากการศึกษาคน้ คว้าและโครงงาน และมมี ารยาทในการเขียน

พูดสรปุ ความแสดงความรู้ ความคดิ อย่างสร้างสรรค์จากเรื่องหรือสารท่ไี ด้รับประเมินค่าอย่างมีเหตผุ ล
รายงานการศกึ ษาจากแหลง่ การเรียนรู้ต่าง ๆ ในท้องถ่ินของตน และมีมารยาทในการพูด การฟัง และการดู

อธิบายลักษณะของเสียงในภาษาไทย การสร้างคาในภาษาไทย การใช้ภาษาพูด ภาษาเขียนในการ
ส่ือสาร การแต่งคาประพันธ์ประเภทกลอนสภุ าพ

อา่ นบทกวีนพิ นธ์ วรรณคดี และวรรณกรรมประเภทกลอนสภุ าพ กาพย์ยานี 11 กาพยฉ์ บัง 16 กาพย์
สุรางคนางค์ 28 และวรรณกรรมต่าง ๆ ประเภทบันเทิงคดี วรรณกรรมท้องถ่ิน บันทึกต่าง ๆ วิเคราะห์คุณค่า
และขอ้ คดิ จากวรรณคดแี ละวรรณกรรม ท่องจาบทร้อยกรองทมี่ คี ณุ ค่าตามความสนใจ

ตวั ชี้วัด
ท1.1 ม.1/1,2,3,5,8
ท2.1 ม.1/1,3,5,7,8
ท3.1 ม.1/1,2,3,6
ท4.1 ม.1/1,2,4,5
ท5.1 ม.1/1,2,3,4,5

รวม 23 ตัวชีว้ ัด

งานหลักสูตรสถานศึกษา กลุ่มบรหิ ารวิชาการ อสิ ลามวทิ ยาลัยแห่งประเทศไทย

SUBMITTED BY PATTHARAPONG THONGNAIKAEW

หลกั สูตรกลุ่มสาระการเรียนรภู้ าษาไทย อิสลามวทิ ยาลยั แห่งประเทศไทย - 47 -

ตวั ช้วี ัด
ท1.1 ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิด เพ่ือนาไปใช้ตัดสินใจ แก้ปัญหาในการดาเนินชีวิต
และมีนสิ ยั รกั การอ่าน
ม.1/1 อา่ นออกเสียงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรองไดถ้ ูกตอ้ งเหมาะสมกบั เรอ่ื งท่ีอา่ น
ม.1/2 จับใจความสาคัญจากเร่อื งท่ีอ่าน
ม.1/3 ระบุเหตแุ ละผล แลtข้อเท็จจรงิ กับข้อคิดเหน็ จากเร่ืองที่อ่าน
ม.1/5 ตีความคายากในเอกสารวิชาการ โดยพิจารณาจากบรบิ ท
ม.1/8 วิเคราะหค์ ุณค่าทไ่ี ด้รบั จากการอ่านงานเขียนอยา่ งหลากหลาย เพือ่ นาไปใช้แกป้ ญั หาในชวี ิต

ท2.1 ใช้กระบวนการเขียนเขียนสื่อสาร เขียนเรียงความ ย่อความ และเขียนเร่ืองราวในรูปแบบต่างๆ
เขยี น รายงานขอ้ มลู สารสนเทศและรายงานการศึกษาคน้ ควา้ อย่างมีประสทิ ธิภาพ
ม.1/1 คดั ลายมือตวั บรรจงคร่ึงบรรทดั
ม.1/3 เขยี นบรรยายประสบการณ์โดยระบสุ าระสาคัญ และรายละเอียดสนบั สนุน
ม.1/5 เขยี นย่อความจากเร่ืองทีอ่ า่ น
ม.1/7 เขียนจดหมายส่วนตัวและจดหมายกจิ ธรุ ะ
ม.1/8 เขยี นรายงานการศึกษาคน้ คว้า และโครงงาน

ท3.1 สามารถเลอื กฟงั และดูอยา่ งมีวจิ ารณญาณ และพูดแสดงความรู้ ความคดิ และความร้สู ึกในโอกาสตา่ งๆ
อย่างมวี จิ ารณญาณและสรา้ งสรรค์
ม.1/1 พดู สรุปใจความสาคัญของเรื่องที่ฟงั และดู
ม.1/2 เล่าเรือ่ งย่อจากเร่ืองที่ฟงั และดู
ม.1/3พดู แสดงความคิดเห็นอยา่ งสรา้ งสรรค์เกี่ยวกบั เรื่องท่ีฟังและดู
ม.1/6มมี ารยาทในการฟัง การดู และการพดู

ท4.1 เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปล่ียนแปลงของภาษาและพลังของภาษา ภูมิปัญญา
ทางภาษา และรักษาภาษาไทยไว้เป็นสมบตั ิของชาติ
ม.1/1 อธบิ ายลกั ษณะของเสียงในภาษาไทย
ม.1/2 สร้างคาในภาษาไทย
ม.1/4 วเิ คราะหค์ วามแตกตา่ งของภาษาพดู และภาษาเขยี น
ม.1/5 แต่งบทร้อยกรอง

ท5.1 เขา้ ใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณว์ รรณคดีและวรรณกรรมไทยอย่างเห็นคณุ คา่ และนามาประยกุ ตใ์ ช้ใน
ชีวิตจริง
ม.1/1 สรุปเน้อื หาวรรณคดีและวรรณกรรมท่ีอา่ น
ม.1/2 วเิ คราะห์วรรณคดีและวรรณกรรมท่ีอ่านพร้อมยกเหตุผลประกอบ
ม.1/3 อธบิ ายคุณค่าของวรรณคดแี ละวรรณกรรมทอี่ า่ น
ม.1/4 สรุปความรูแ้ ละข้อคิดจากการอา่ น เพ่ือประยุกตใ์ ช้ในชวี ติ จรงิ
ม.1/5 ท่องจาบทอาขยานตามทก่ี าหนด และบทร้อยกรองท่ีมคี ุณค่าตามความสนใจ

งานหลักสตู รสถานศึกษา กลุ่มบรหิ ารวิชาการ อสิ ลามวิทยาลัยแห่งประเทศไทย

SUBMITTED BY PATTHARAPONG THONGNAIKAEW

หลกั สตู รกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย อิสลามวิทยาลยั แหง่ ประเทศไทย - 48 -

รายวชิ าภาษาไทย 2 คาอธิบายรายวชิ า เวลา 60 ชวั่ โมง
ชน้ั มัธยมศึกษาปที ่ี 1 1.5 หนว่ ยกิต
รหสั วิชา ท 21102
ภาคเรียนที่ 2

ฝึกอ่านออกเสียงร้อยแก้ว และบทร้อยกรองได้ถูกต้องเหมาะสมกับเร่ืองท่ีอ่านเป็นการอ่านให้ผู้อ่ืนฟัง
ได้ใช้กระบวนการอ่านสรา้ งความรู้และความสามารถในการการอา่ นได้อย่างหลากหลายเพอื่ เป็นพ้นื ฐานในการ
พัฒนาด้านการอ่านและการเขียนประเภทชักจูง โน้มน้าวใจเชิงสร้างสรรค์ จากงานเขียนวรรณคดี และ
วรรณกรรมต่าง ๆ หรือบทประพนั ธ์หลายชนดิ และมมี ารยาทในการอา่ น

ฝกึ เขียน คัดลายมือตวั บรรจงเตม็ บรรทดั ครึง่ บรรทดั ตามรูปแบบของอักษรไทย ใช้กระบวนการเขยี น
สื่อสาร เขยี นย่อความ เขียนแสดงความคิดเห็นเกยี่ วกบั สาระจากส่อื ที่ไดร้ บั และมมี ารยาทในการเขยี น

พูดสรุปความแสดงความรู้ ความคิดอย่างสร้างสรรค์จากเร่ืองหรือสารท่ีได้รับ ประเมนิ ค่าความน่าเช่ือ
ของสอื่ ท่ีมเี น้ือหาโน้มน้าวใจ พูดรายงานเร่อื งประเด็นที่ศึกษาค้นคว้าจากการฟัง การดู และการสนทนา และมี
มารยาทในการพูด การฟงั และการดู

อธิบายชนิดและหน้าท่ีของคา การแต่งคาประพันธ์ประเภทกาพย์ยานี 11 การใช้สานวนสุภาษิต คา
พังเพย อ่านบทกกวีนิพนธ์ วรรณคดี และวรรณกรรมประเภทกาพย์ยานี 11 โคลงส่ีสุภาพ และวรรณกรรม
ประเภทต่าง ๆ ประเภทบันเทิงคดี วรรณกรรมท้องถิ่น บันทึกต่าง ๆ วิเคราะห์คุณค่าและข้อคิดจากวรรณคดี
และวรรณกรรม

ตัวชว้ี ดั
ท1.1 ม.1/1,2,4,6,8,9
ท2.1 ม.1/2,4,6,9
ท3.1 ม.1/4,5,6
ท4.1 ม.1/4
ท5.1 ม.1/1,2,3,4

รวม 18 ตวั ช้ีวดั

งานหลกั สตู รสถานศึกษา กลุ่มบริหารวิชาการ อสิ ลามวทิ ยาลยั แห่งประเทศไทย

SUBMITTED BY PATTHARAPONG THONGNAIKAEW

หลกั สูตรกลุ่มสาระการเรยี นรูภ้ าษาไทย อิสลามวทิ ยาลัยแห่งประเทศไทย - 49 -

ตวั ช้ีวดั
ท1.1 ใช้กระบวนการอา่ นสร้างความรูแ้ ละความคดิ เพื่อนาไปใชต้ ดั สนิ ใจ แก้ปัญหาในการดาเนินชีวติ
และมีนิสยั รกั การอ่าน
ม.1/1 อา่ นออกเสยี งบทร้อยแกว้ และบทร้อยกรองไดถ้ ูกตอ้ งเหมาะสม กับเรื่องที่อา่ น
ม.1/2 จับใจความสาคัญจากเรือ่ งที่อ่าน
ม.1/4 ระบุ และอธบิ ายคาเปรียบเทียบ และคาที่มีหลายความหมายในบริบทตา่ งๆ จากการอา่ น
ม.1/6 ระบุข้อสงั เกตและความสมเหตุสมผลของงานเขยี นประเภทชักจงู โน้มนา้ วใจ
ม.1/8 วเิ คราะห์คณุ ค่าทไ่ี ด้รับจากการอ่านงานเขียนอย่างหลากหลาย เพ่ือนาไปใช้แก้ปัญหาในชวี ิต
ม.1/9 มมี ารยาทในการอ่าน

ท2.1 ใช้กระบวนการเขียนเขียนส่ือสาร เขียนเรียงความ ย่อความ และเขียนเรื่องราวในรูปแบบต่างๆ
เขยี นรายงานขอ้ มูลสารสนเทศและรายงานการศึกษาค้นควา้ อยา่ งมีประสิทธภิ าพ

ม.1/2 เขยี นสอ่ื สารโดยใชถ้ ้อยคาถูกตอ้ ง ชดั เจนเหมาะสม และสละสลวย
ม.1/4 เขยี นเรียงความ

ม.1/6 เขียนแสดงความคิดเห็นเก่ยี วกับสาระจากสื่อทไี่ ด้รบั
ม.1/9 มีมารยาทในการเขยี น

ท3.1 สามารถเลือกฟังและดอู ย่างมีวิจารณญาณ และพดู แสดงความรู้ ความคดิ และความร้สู ึกในโอกาสตา่ งๆ
อยา่ งมวี จิ ารณญาณและสร้างสรรค์
ม.1/4 ประเมนิ ความน่าเชอ่ื ถือของสอ่ื ทีม่ ีเนื้อหาโนม้ น้าวใจ
ม.1/5 พดู รายงานเรื่องหรือประเดน็ ทีศ่ ึกษาคน้ ควา้ จากการฟัง การดู และการสนทนา
ม.1/6 มมี ารยาทในการฟัง การดู และการพดู

ท4.1 เขา้ ใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปล่ยี นแปลงของภาษาและพลังของภาษา ภมู ิปัญญา
ทางภาษา และรกั ษาภาษาไทยไวเ้ ป็นสมบัติของชาติ
ม.1/4 วเิ คราะหค์ วามแตกตา่ งของภาษาพูดและภาษาเขยี น

ท5.1 เขา้ ใจและแสดงความคดิ เหน็ วจิ ารณ์วรรณคดแี ละวรรณกรรมไทยอย่างเห็นคุณคา่ และนามาประยกุ ตใ์ ช้ใน
ชวี ติ จรงิ
ม.1/1 สรปุ เนื้อหาวรรณคดีและวรรณกรรมที่อา่ น
ม.1/2 วเิ คราะหว์ รรณคดีและวรรณกรรมท่ีอา่ นพร้อมยกเหตุผลประกอบ
ม.1/3 อธิบายคุณคา่ ของวรรณคดแี ละวรรณกรรมท่อี า่ น
ม.1/4 สรุปความรู้และข้อคิดจากการอา่ น เพ่ือประยกุ ตใ์ ช้ในชีวติ จริง

งานหลกั สูตรสถานศึกษา กลุ่มบริหารวิชาการ อสิ ลามวทิ ยาลัยแห่งประเทศไทย

SUBMITTED BY PATTHARAPONG THONGNAIKAEW

หลกั สตู รกลุ่มสาระการเรียนรภู้ าษาไทย อสิ ลามวิทยาลัยแห่งประเทศไทย - 50 -

รายวิชาภาษาไทย 3 คาอธบิ ายรายวชิ า เวลา 60 ช่ัวโมง
ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ี่ 2 1.5 หน่วยกิต
รหัสวชิ า ท 22101
ภาคเรียนที่ 1

อา่ นบทรอ้ ยแก้วทเี่ ป็นบทบรรยายและบทพรรณนา อา่ นคาประพนั ธ์ชนดิ ตา่ งๆ กลอนบทละคร
กลอนนิทาน กาพย์ห่อโคลง อ่านในใจเพื่อสร้างความเข้าใจ จับใจความสาคัญ และคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์
ความรู้ท่ไี ด้จากการอ่าน ใช้แผนผังความคิด เพือ่ แสดงความเข้าใจในบทเรยี นต่างๆ อภปิ รายแสดงความคิดเห็น
เกี่ยวกับเร่ืองท่อี ่าน มีมารยาทในการอา่ นมุ่งมั่นในการทางาน ใฝ่รู้ใฝ่เรียน ใช้ทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี
เพือ่ พัฒนาตนเองและสงั คม

โดยใชก้ ระบวนการเขยี น เขียนส่อื สารรปู แบบต่างๆ การคัดลายมือตัวบรรจงตามรปู แบบการ
เขยี นอักษรไทย มีความสามารถในการรับและส่งสาร มีวัฒนธรรมในการใช้ภาษา ถ่ายทอดความคิด การเขยี น
เรยี งความเกีย่ วกับประสบการณ์ ยอ่ ความจากส่ือตา่ งๆ เขา้ ใจความสมั พนั ธแ์ ละการเปล่ยี นแปลงของเหตุการณ์
ต่างๆ ในสังคม เขียนรายงานจากการศึกษาค้นคว้า และสามารถนากระบวนการต่างๆ ไปใช้ในการดาเนิน
ชวี ิตประจาวนั มีมารยาทในการเขยี น มีวนิ ัย ใฝ่เรียนรู้ มุ่งมน่ั ในการทางานและรักความเป็นไทย การฟัง การดู
และการพูด สามารถเลือกฟังและดูอย่างมีวิจารณญาณ และพูดแสดงความรู้ ความคิดและความรู้สึกในโอกาส
ตา่ งๆ อย่างมีวิจารณญาณ และสร้างสรรค์ การจับใจความและพูดแสดงความคดิ เห็นพดู เกี่ยวกับความรู้สึกจาก
เรื่องที่ฟังและดู การพูดสรุปความจากเรื่องท่ีฟังและดู การพูดวิเคราะห์และวิจารณ์จากเร่ืองที่ฟังและดู มี
ความสามารถในการรับและส่งสาร รวมทั้งเจรจาต่อรองเพื่อขจัดและลดปัญหาความขัดแย้ง มีมารยาทในการ
ฟงั ดูและการพูดหลักการใช้ภาษา เข้าใจธรรมชาตขิ องภาษาและหลักของภาษาไทย การสร้างคาไทยวิเคราะห์
โครงสร้างประโยคสามญั ประโยครวม ประโยคซอ้ น

วรรณคดีและวรรณกรรม เข้าใจและแสดงความคิดเห็น จากวรรณคดีหรือวรรณกรรมที่อ่าน
วเิ คราะห์วจิ ารณว์ รรณคดี วรรณกรรม และวรรณกรรมท้องถิ่นคิดวิเคราะห์ คิดสงั เคราะห์ อยา่ งสร้างสรรค์ คิด
อย่างมีวิจารณญาณ เพื่อนาไปสู่การสร้างองค์ความรู้รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ซื่อสัตย์สุจริต มีจิตสาธารณะและ
รักความเป็นไทย

ตวั ชว้ี ดั (รวม 22 ตัวชี้วัด)

งานหลักสตู รสถานศึกษา กลุ่มบรหิ ารวิชาการ อสิ ลามวิทยาลัยแห่งประเทศไทย

SUBMITTED BY PATTHARAPONG THONGNAIKAEW


Click to View FlipBook Version