The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หลักสูตรสถานศึกษา 2564

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by bumbimva.2015, 2022-07-10 00:05:10

หลักสูตรสถานศึกษา 2564

หลักสูตรสถานศึกษา 2564

หลกั สูตรกลุ่มสาระการเรยี นรภู้ าษาไทย อิสลามวทิ ยาลยั แห่งประเทศไทย - 51 -

ตวั ชว้ี ดั อ่านออกเสียงบทรอ้ ยแก้ว และบทร้อยกรองได้ถูกต้อง
ท 1.1 ม.2/1 จบั ใจความสาคัญ สรปุ ความ และอธบิ ายรายละเอียดจากเร่ืองที่อา่ น
ท 1.1 ม.2/2 เขียนผงั ความคิดเพ่ือแสดงความเขา้ ใจในบทเรียนตา่ งๆ ท่อี ่าน
ท 1.1 ม.2/3 อภปิ รายแสดงความคดิ เหน็ และขอ้ โตแ้ ย้งเก่ียวกับเร่ืองที่อ่าน
ท 1.1 ม.2/4 มมี ารยาทในการอ่าน
ท 1.1 ม.2/8 คัดลายมอื ตัวบรรจงคร่ึงบรรทัด
ท 2.1 ม.2/1 เขยี นบรรยายและพรรณนา
ท 2.1 ม.2/2 เขยี นเรยี งความ
ท 2.1 ม.2/3 เขยี นย่อความ
ท 2.1 ม.2/4 เขียนรายงานการศึกษาคน้ คว้า
ท 2.1 ม.2/5 เขยี นจดหมายกิจธรุ ะ
ท 2.1 ม.2/6 เขยี นวิเคราะห์ วจิ ารณ์ และแสดงความรู้ ความคิดเห็น หรอื โต้แย้งในเร่ืองท่ีอา่ นอย่างมี
ท 2.1 ม.2/8 เหตุผล
พดู สรปุ ใจความสาคัญของเรื่องท่ีฟงั และดู
ท 3.1 ม.2/1 วิเคราะห์ข้อเทจ็ จรงิ ข้อคิดเห็น และความนา่ เชื่อถือของขา่ วสารจากสื่อตา่ งๆ
ท 3.1 ม.2/2 วิเคราะหแ์ ละวิจารณเ์ รื่องท่ฟี ังและดูอยา่ งมเี หตุผล เพ่ือนาข้อคิดมาประยกุ ต์ใช้ในการดาเนิน
ท 3.1 ม.2/3 ชวี ิต
มมี ารยาทในการฟัง การดู และการพดู
ท 3.1 ม.2/6 สร้างคาในภาษาไทย
ท 4.1 ม.2/1 วเิ คราะห์โครงสรา้ งประโยคสามัญ ประโยครวม และประโยคซ้อน
ท 4.1 ม.2/2 สรุปเนื้อหาวรรณคดแี ละวรรณกรรมท่ีอา่ นในระดบั ทย่ี ากข้ึน
ท 5.1 ม.2/1 วเิ คราะห์และวจิ ารณว์ รรณคดีวรรณกรรม และวรรณกรรมท้องถน่ิ ท่ีอ่าน พร้อมยกเหตุผล
ท 5.1 ม.2/2 ประกอบ
อธบิ ายคุณคา่ ของวรรณคดีและวรรณกรรมทีอ่ ่าน
ท 5.1 ม.2/3 ทอ่ งจาบทอาขยานตามท่กี าหนดและบทร้อยกรองที่มคี ุณค่าตามความสนใจ
ท 5.1 ม.2/5

งานหลกั สตู รสถานศึกษา กลุ่มบริหารวิชาการ อสิ ลามวิทยาลยั แห่งประเทศไทย

SUBMITTED BY PATTHARAPONG THONGNAIKAEW

หลกั สูตรกลุ่มสาระการเรียนรูภ้ าษาไทย อิสลามวิทยาลยั แห่งประเทศไทย - 52 -

รายวิชาภาษาไทย 4 คาอธิบายรายวชิ า เวลา 60 ช่วั โมง
ช้นั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 2 1.5 หน่วยกิต
รหัสวิชา ท22102
ภาคเรยี นที่ 2

อ่านบทร้อยแก้วที่เป็นบทบรรยายและบทพรรณนา วิเคราะห์และจาแนกข้อเท็จจริงข้อมูล
สนับสนุน และข้อคิดเห็นจากบทความท่ีอ่าน ระบุข้อสังเกต การชวนเชื่อ การโน้มน้าวใจ หรือความ
สมเหตุสมผลของงานเขียน แสวงหาความรู้และประยุกต์ความรู้มาใช้ ในการป้องกันและแก้ปัญหา อา่ นหนังสือ
บทความ หรือคาประพันธ์และประเมินคุณค่าหรือแนวคิดท่ีได้จากการอ่านเพื่อนาไปแก้ปัญหาในชีวิต มี
มารยาทในการอ่านมุ่งมั่นในการทางาน ใฝ่รู้ใฝ่เรียน ใช้ทกั ษะกระบวนการทางเทคโนโลยีเพือ่ พฒั นาตนเองและ
สงั คม

โดยใช้กระบวนการเขียน เขียนจดหมายกิจธุระ จดหมายเชิญวิทยากร จดหมายขอความ
อนุเคราะห์ เขียนวิเคราะห์วิจารณ์ และแสดงความรู้และความคิดเป็นหรือโต้แย้งในเรื่องท่ีอ่านอย่างมีเหตุผล
จากส่ือตา่ งๆ ใช้กระบวนการคิด ตดั สนิ ใจอย่างมปี ระสทิ ธิภาพ โดยคานึงถงึ ผลกระทบท่ีเกดิ ขึ้นต่อตนเอง สงั คม
และสิ่งแวดล้อม มีมารยาทในการเขียนใฝ่เรียนรู้และรักความเป็นไทย มีจิตสาธารณะสามารถเลือกฟังและดู
อย่างมีวิจารณญาณ พูดในโอกาสต่างๆ พูดอวยพร พูดโน้มน้าว พูดโฆษณา พูดรายงานการศึกษาค้นคว้าจาก
แหล่งเรียนรู้ต่างๆ มีความสามารถในการรับและส่งสาร รวมท้ังเจรจาต่อรองเพื่อขจัดและลดปัญหาความ
ขัดแย้ง มีมารยาทในการฟัง ดูและการพูดหลักการใช้ภาษา เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลักของภาษาไทย
แต่งคาประพันธ์ กลอนสุภาพ และเลือกใช้คาราชาศัพท์ได้เหมาะสมกับระดับของภาษา รวบรวมและอภิปราย
ความหมายของภาษาต่างประเทศในภาษาไทยรักความเป็นไทย

อธิบายคุณค่าของวรรณคดี และวรรณกรรมที่อ่าน สรุปความรู้ และข้อคิดจากการอ่านไป
ประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง คิดวิเคราะห์ คิดสังเคราะห์ อย่างสร้างสรรค์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ เพื่อนาไปสู่การ
สร้างองค์ความรู้ ท่องจาบทอาขยานและบทร้อยกรองทีม่ ีคุณค่าตามความสนใจรักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ซอ่ื สัตย์
สุจริต มีจิตสาธารณะและรักความเปน็ ไทย

ตวั ช้วี ัด (รวม 17 ตัวชี้วัด)

งานหลักสตู รสถานศึกษา กลุ่มบริหารวิชาการ อสิ ลามวิทยาลัยแห่งประเทศไทย

SUBMITTED BY PATTHARAPONG THONGNAIKAEW

หลักสูตรกลุ่มสาระการเรยี นรภู้ าษาไทย อสิ ลามวิทยาลยั แหง่ ประเทศไทย - 53 -

ตัวชี้วดั วเิ คราะห์และจาแนกข้อเทจ็ จริง ข้อมูลสนับสนุน และขอ้ คิดเหน็ จากบทความท่อี า่ น
ท 1.1 ม.2/5 ระบขุ ้อสังเกต การชวนเช่อื การโน้มน้าว หรือความสมเหตุสมผลของงานเขยี น
ท 1.1 ม.2/6 อา่ นหนงั สอื บทความ หรอื คาประพนั ธอ์ ย่างหลากหลาย และประเมินคณุ คา่ หรอื แนวคดิ ท่ีได้
ท 1.1 ม.2/7 จากการอ่าน เพื่อนาไปใชแ้ กป้ ัญหาในชีวิต
มมี ารยาทในการอา่ น
ท 1.1 ม.2/8 เขียนจดหมายกจิ ธุระ
ท 2.1 ม.2/6 เขยี นวเิ คราะห์ วิจารณ์ และแสดงความรู้ ความคิดเหน็ หรอื โตแ้ ยง้ ในเร่ืองท่ีอ่าน
ท 2.1 ม.2/7 อย่างมเี หตผุ ล
เขียนวเิ คราะห์ วจิ ารณ์ และแสดงความรู้ ความคิดเห็น หรอื โต้แย้งในเรื่องท่ีอ่านอยา่ งมี
ท 2.1 ม.2/8 เหตุผล
พดู สรปุ ใจความสาคญั ของเร่ืองทฟี่ ังและดู
ท 3.1 ม.2/1 วเิ คราะห์ข้อเทจ็ จรงิ ข้อคิดเห็น และความนา่ เช่ือถือของข่าวสารจากสื่อต่างๆ
ท 3.1 ม.2/2 วเิ คราะหแ์ ละวจิ ารณ์เรอ่ื งที่ฟังและดูอยา่ งมีเหตผุ ล เพือ่ นาขอ้ คิดมาประยุกต์ใชใ้ นการดาเนิน
ท 3.1 ม.2/3 ชวี ติ
มีมารยาทในการฟงั การดู และการพูด
ท 3.1 ม.2/6 แตง่ บทร้อยกรอง
ท 4.1 ม.2/3 ใชค้ าราชาศพั ท์
ท 4.1 ม.2/4 รวบรวมและอธิบายความหมายของคาภาษาต่างประเทศ
ท 4.1 ม.2/5 อธิบายคุณค่าของวรรณคดี และวรรณกรรมท่ีอา่ น
ท 5.1ม.2/3 สรปุ ความรู้และข้อคิดจากการอา่ น ไปประยุกต์ใชใ้ นชวี ติ จรงิ
ท 5.1 ม.2/4 ท่องจาบทอาขยานตามท่กี าหนดและบทร้อยกรองที่มคี ณุ ค่าตามความสนใจ
ท 5.1 ม.2/5

งานหลักสูตรสถานศึกษา กลุ่มบรหิ ารวิชาการ อสิ ลามวิทยาลัยแห่งประเทศไทย

SUBMITTED BY PATTHARAPONG THONGNAIKAEW

หลักสูตรกลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาไทย อสิ ลามวทิ ยาลยั แห่งประเทศไทย - 54 -

รายวิชา ภาษาไทย 5 คาอธิบายรายวชิ า เวลา 60 ชั่วโมง
ชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ 3 1.5 หน่วยกติ
รหสั วิชา ท23101

ภาคเรียนท่ี 1

อา่ นออกเสยี งบทร้อยแก้วและบทร้อยกรองเปน็ ทานองเสนาะได้ถกู ต้อง เข้าใจความหมายโดยตรงและ
ความหมายโดยนัย จับใจความสาคัญและรายละเอียดเนื้อเร่ืองที่อ่านและเขียนแสดงความคิดเห็น วิเคราะห์
วิจารณ์ และโต้แย้งเก่ียวกับเรื่องที่อ่านอย่างมีเหตุผลด้วยลายมือที่อ่านง่าย ชัดเจนใช้ถ้อยคาถูกต้องเหมาะสม
ตามระดับภาษา เขียนข้อความตามสถานการณ์ที่กาหนด เขียนย่อความ จดหมายกิจธุระ เขียนเรียงความ
ชีวประวัติ เขียนอธิบายและเขียนรายงานจากการศึกษาค้นคว้า พูดแสดงความคิดเห็น วิเคราะห์ วิจารณ์
ประเมินส่ิงที่ได้จากการฟงั และดูนาจ้อคิดไปประยุกต์ใช้ในชีวติ ประจาวัน พูดรายงานเร่ืองหรอื ประเด็นที่ได้จาก
การศึกษาค้นควา้ อย่างเปน็ ระบบมศี ิลปะในการพูด พูดในโอกาสต่างๆ ไดต้ รงตามวตั ถุประสงค์มีมารยาทในการ
ฟัง ดู และการพดู ศึกษาเข้าใจและใชค้ าราชาศัพท์ คาบาลี สันสกฤต คาภาษาถิ่น คาภาษาต่างประเทศ คาทับ
ศพั ท์ และศัพท์บัญญัติในภาษาไทย วเิ คราะห์ความแตกต่างในภาษาพดู ภาษาเขยี น แต่งและท่องบทร้อยกรอง
ประเภทกลอนสภุ าพและกาพย์ สรปุ เน้อื หาวรรณคดีและวรรณกรรมท่อี ่าน วเิ คราะห์ตัวละคร วิถีชวี ิตไทยและ
คุณค่าที่ได้จากวรรณคดี วรรณกรรมและบทอาขยาน พร้อมท้ังสรุปความรู้ ข้อคิด เพื่อนาไปประยุกต์ใช้ในชีวิต
จริง

โดยใช้ทักษะกระบวนการฝึกปฏิบัติ ทักษะกระบวนการคิดวิเคราะห์ เพ่ือมุ่งม่ันแสวงหาความรูอ้ ย่างมี
คณุ ธรรมและคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์มีเจตคติทด่ี ีและภาคภมู ิใจในภาษาไทยและความเปน็ ไทย

ตัวชี้วัด
ท1.1 ม.3/1, 3/2, 3/3, 3/4 ,3/5, 3/6, 3/7, 3/8, 3/9, 3/10
ท2.1 ม.3/1, 3/2, 3/3, 3/4, 3/5, 3/6, 3/7, 3/8, 3/9, 3/10
ท3.1 ม.3/1, 3/2, 3/3, 3/4, 3/5, 3/6
ท4.1 ม.3/1, 3/2, 3/3, 3/4, 3/5, 3/6
ท5.1 ม.3/1, 3/2, 3/3, 3/4

รวม 36 ตวั ชีว้ ัด

งานหลกั สตู รสถานศึกษา กลุ่มบรหิ ารวิชาการ อสิ ลามวทิ ยาลยั แห่งประเทศไทย

SUBMITTED BY PATTHARAPONG THONGNAIKAEW

หลักสตู รกลุ่มสาระการเรียนรูภ้ าษาไทย อสิ ลามวิทยาลัยแหง่ ประเทศไทย - 55 -

ตวั ช้วี ดั
การอ่าน
มาตรฐาน ท 1.1
1. อา่ นออกเสียงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรองไดถ้ ูกต้องเหมาะสมกับเรอ่ื งที่อ่าน
2. ระบคุ วามแตกต่างของคาท่มี ีความหมายโดยตรงและความหมายโดยนัย
3. ระบใุ จความสาคัญและรายละเอียดของขอ้ มลู ทส่ี นบั สนุนจากเรือ่ งทอี่ ่าน
4. อา่ นเร่ืองตา่ ง ๆ แลว้ เขียนกรอบแนวคิด ผงั ความคดิ บันทกึ ยอ่ ความ และรายงาน
5. วเิ คราะห์ วจิ ารณ์ และประเมินเร่ืองท่ีอา่ น โดยใชก้ ลวิธีการเปรยี บเทียบ เพ่ือใหผ้ ู้อ่านเข้าใจไดด้ ขี ึ้น
6. ประเมนิ ความถูกต้องของข้อมลู ท่ีใช้สนบั สนนุ ในเรื่องที่อ่าน
7. วิจารณค์ วามสมเหตุสมผล การลาดับความ และความเปน็ ไปได้ของเรื่อง
8. วเิ คราะห์เพอื่ แสดงความคิดเหน็ โตแ้ ย้งเก่ยี วกับเร่ืองท่ีอา่ น
9. ตคี วามและประเมนิ คุณค่าแนวคิดทไ่ี ดจ้ ากงานเขียนอย่างหลากหลาย เพอ่ื นาไปใชแ้ กป้ ญั หาในชีวติ
10. มมี ารยาทในการอ่าน

การเขียน
มาตรฐาน ท 2.1
1. คัดลายมือตวั บรรจงครึ่งบรรทดั
2. เขยี นข้อความโดยใช้ถอ้ ยคาได้ถูกต้องตามระดบั ภาษา
3. เขียนชวี ประวัติหรอื อัตชีวประวัติโดยเล่าเหตุการณ์ ข้อคิดเห็น และทัศนคติในเรื่องต่าง ๆ
4. เขียนย่อความ
5. เขยี นจดหมายกจิ ธุระ
6. เขียนอธิบาย ชแ้ี จง แสดงความคดิ เห็น และโตแ้ ย้งอย่างมีเหตผุ ล
7. เขยี นวเิ คราะห์ วิจารณ์ และแสดงความรู้ ความคิดเห็น หรือโตแ้ ยง้ ในเรื่องต่าง ๆ
8. กรอกแบบสมัครงานพรอ้ มเขียนบรรยายเกย่ี วกับความรแู้ ละทกั ษะของตนเองที่เหมาะสมกบั งาน
9. เขยี นรายงานการศึกษาค้นควา้ และโครงงาน
10. มมี ารยาทในการเขยี น

การฟัง ดู พูด
มาตรฐาน ท 3.1
1แสดงความคดิ เหน็ และประเมินเรื่องจากการฟังและการดู.
2. วิเคราะหแ์ ละวจิ ารณเ์ รื่องท่ฟี งั และดู เพอื่ นาข้อคิดมาประยกุ ต์ใช้ในการดาเนนิ ชีวิต
3. พูดรายงานเร่อื งหรือประเด็นทศ่ี ึกษาคน้ ควา้ จากการฟงั การดู และการสนทนา
4. พูดในโอกาสตา่ ง ๆ ไดต้ รงตามวตั ถปุ ระสงค์
5. พดู โนม้ น้าวโดยนาเสนอหลกั ฐานตามลาดบั เน้ือหาอยา่ งมีเหตุผลและนา่ เชื่อถือ
6. มีมารยาทในการฟงั การดู และการพูด

งานหลกั สตู รสถานศึกษา กลุ่มบรหิ ารวิชาการ อสิ ลามวิทยาลัยแห่งประเทศไทย

SUBMITTED BY PATTHARAPONG THONGNAIKAEW

หลักสตู รกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย อสิ ลามวิทยาลยั แห่งประเทศไทย - 56 -

หลกั การใชภ้ าษาไทย
มาตรฐาน ท 4.1
1. จาแนกและใช้คาภาษาต่างประเทศทใี่ ชใ้ นภาษาไทย
2. วิเคราะห์โครงสรา้ งประโยคซับซ้อน
3. วิเคราะหร์ ะดบั ภาษา
4. ใช้คาทบั ศพั ท์และศพั ท์บัญญัติ
5. อธบิ ายความหมายคาศพั ทท์ างวิชาการและวิชาชพี
6. แต่งบทร้อยกรอง

วรรณคดีและวรรณกรรม
มาตรฐาน ท 5.1
1. สรุปเน้อื หาวรรณคดี วรรณกรรม และวรรณกรรมท้องถิ่นทอ่ี า่ นในระดับทย่ี ากย่ิงขน้ึ
2. วิเคราะหว์ ถิ ีไทยและคุณค่าจากวรรณคดีและวรรณกรรมทอ่ี ่าน
3. สรุปความรู้และข้อคดิ จากการอา่ น เพื่อนาไปประยุกตใ์ ช้ในชวี ติ จริง
5. ท่องจาและบอกคณุ คา่ บทอาขยานตามที่กาหนด และบทร้อยกรองท่ีมีคุณค่าตาม
ความสนใจ และนาไปใช้อ้างอิง

งานหลกั สตู รสถานศึกษา กลุ่มบริหารวิชาการ อสิ ลามวทิ ยาลยั แห่งประเทศไทย

SUBMITTED BY PATTHARAPONG THONGNAIKAEW

หลกั สตู รกลุ่มสาระการเรียนรูภ้ าษาไทย อสิ ลามวทิ ยาลัยแห่งประเทศไทย - 57 -

รายวิชา ภาษาไทย 6 คาอธิบายรายวิชา เวลา 60 ช่วั โมง
ช้ันมัธยมศกึ ษาปีท่ี 3 1.5 หน่วยกิต
รหัสวิชา ท23102
ภาคเรียนท่ี 2

อ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรองเป็นทานองเสนาะได้ถกู ต้อง เขา้ ใจความหมายโดยตรงและ
ความหมายโดยนัย จับใจความสาคัญและรายละเอียดเนื้อเรื่องท่ีอ่านและเขียนแสดงความคิดเห็น อย่าง
สร้างสรรค์ อ่านท่องจาบทอาขยานวรรณคดี วรรณกรรมได้ถูกต้องเกิดความซาบซ้ึงและภูมิใจความเป็นไทย
สามารถตีความ วิเคราะห์ วิจารณ์ ประเมนิ ค่า โดยใช้ข้อมูลท่สี มเหตุสมผลและกลวิธกี ารเปรยี บเทยี บเพอ่ื แสดง
ความคิดเห็น โต้แย้งเร่ืองที่อ่านและฟังอย่างมีมารยาทสามารถนาแนวคิดที่ได้จากการอ่านและฟังไปใช้
แก้ปัญหาในชีวิต และสามารถเขียนข้อความตามสถานการณ์ท่ีกาหนดให้ เขียนอัตชีวประวัติ ย่อบทความ
เขียนจดหมายเชิญวิทยากร จดหมายขอความอนุเคราะห์ จดหมายแสดงความขอบคุณ กรอกแบบสมัครงาน
เขียนรายงาน เขียนโครงงาน ด้วยลายมือที่อ่านง่าย พูดในโอกาสต่างๆ ได้ตรงตามวัตถุประสงค์ พูดรายงาน
การศึกษาค้นควา้ เพื่อให้มีทักษะการพูดการเขียนแสดงความรสู้ ึกนึกคิด โตแ้ ย้ง โน้มน้าว และวิเคราะห์ วจิ ารณ์
ประเมินค่าได้อย่างถูกต้องเหมาะสมและมีมารยาทในการพูดและการเขียน เข้าใจความรู้หลักภาษาไทยเรื่อง
การจาแนกและใช้ภาษาต่างประเทศตามความหมายทางวิชาการอย่างถูกต้องเหมาะสม และสามารถแต่งบท
ร้อยกรองประเภทโคลงสีส่ ภุ าพไดอ้ ยา่ งถูกต้อง

โดยใช้ทักษะกระบวนการฝึกปฏิบัติ ทกั ษะกระบวนการคิดวิเคราะห์ เพ่ือมุ่งมั่นแสวงหาความรอู้ ย่างมี
คณุ ธรรมและคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์มีเจตคติที่ดแี ละภาคภมู ิใจในภาษาไทยและความเป็นไทย

ตวั ชว้ี ดั
ท1.1 ม.3/1, 3/2, 3/3, 3/4 ,3/5, 3/6, 3/7, 3/8, 3/9, 3/10
ท2.1 ม.3/1, 3/2, 3/3, 3/4, 3/5, 3/6, 3/7, 3/8, 3/9, 3/10
ท3.1 ม.3/1, 3/2, 3/3, 3/4, 3/5, 3/6
ท4.1 ม.3/1, 3/2, 3/3, 3/4, 3/5, 3/6
ท5.1 ม.3/1, 3/2, 3/3, 3/4

รวม 36 ตวั ช้ีวดั

งานหลกั สูตรสถานศึกษา กลุ่มบรหิ ารวิชาการ อสิ ลามวทิ ยาลยั แห่งประเทศไทย

SUBMITTED BY PATTHARAPONG THONGNAIKAEW

หลกั สตู รกลุ่มสาระการเรียนรูภ้ าษาไทย อสิ ลามวิทยาลยั แหง่ ประเทศไทย - 58 -

ตัวชีว้ ัด
การอ่าน
มาตรฐาน ท 1.1
1. อ่านออกเสียงบทร้อยแกว้ และบทร้อยกรองไดถ้ ูกตอ้ งเหมาะสมกบั เรอื่ งท่ีอ่าน
2. ระบุความแตกตา่ งของคาท่มี ีความหมายโดยตรงและความหมายโดยนัย
3. ระบใุ จความสาคัญและรายละเอียดของขอ้ มลู ทส่ี นับสนุนจากเรื่องท่อี ่าน
4. อ่านเร่ืองตา่ ง ๆ แลว้ เขยี นกรอบแนวคิด ผงั ความคดิ บันทึก ย่อความ และรายงาน
5. วเิ คราะห์ วจิ ารณ์ และประเมินเรื่องที่อ่าน โดยใชก้ ลวธิ กี ารเปรยี บเทยี บ เพ่ือใหผ้ ู้อ่านเข้าใจไดด้ ขี ึ้น
6. ประเมนิ ความถูกต้องของขอ้ มูลที่ใชส้ นับสนุนในเร่ืองท่ีอ่าน
7. วจิ ารณ์ความสมเหตสุ มผล การลาดบั ความ และความเปน็ ไปได้ของเรอื่ ง
8. วิเคราะห์เพอ่ื แสดงความคิดเหน็ โต้แย้งเก่ยี วกับเร่ืองที่อา่ น
9. ตคี วามและประเมินคุณค่าแนวคดิ ท่ีไดจ้ ากงานเขยี นอย่างหลากหลาย เพอื่ นาไปใชแ้ กป้ ญั หาในชีวติ
10. มมี ารยาทในการอ่าน

การเขียน
มาตรฐาน ท 2.1
1. คดั ลายมือตัวบรรจงคร่ึงบรรทัด
2. เขียนข้อความโดยใชถ้ ้อยคาได้ถกู ต้องตามระดบั ภาษา
3. เขยี นชีวประวัติหรอื อัตชวี ประวตั โิ ดยเล่าเหตุการณ์ ข้อคิดเหน็ และทัศนคติในเร่ืองต่าง ๆ
4. เขยี นย่อความ
5. เขียนจดหมายกจิ ธุระ
6. เขียนอธิบาย ชแี้ จง แสดงความคดิ เหน็ และโต้แย้งอย่างมเี หตผุ ล
7. เขียนวเิ คราะห์ วิจารณ์ และแสดงความรู้ ความคดิ เห็น หรอื โต้แยง้ ในเร่ืองตา่ ง ๆ
8. กรอกแบบสมัครงานพร้อมเขียนบรรยายเก่ียวกับความรู้และทักษะของตนเองที่เหมาะสมกบั งาน
9. เขยี นรายงานการศึกษาค้นคว้าและโครงงาน
10. มีมารยาทในการเขียน

การฟงั ดู พดู
มาตรฐาน ท 3.1
1. แสดงความคิดเห็นและประเมนิ เรื่องจากการฟงั และการดู
2. วเิ คราะหแ์ ละวิจารณเ์ รื่องทฟ่ี งั และดู เพอ่ื นาข้อคิดมาประยุกตใ์ ชใ้ นการดาเนนิ ชวี ิต
3. พดู รายงานเร่ืองหรือประเด็นทีศ่ กึ ษาคน้ ควา้ จากการฟัง การดู และการสนทนา
4. พดู ในโอกาสตา่ ง ๆ ได้ตรงตามวัตถุประสงค์
5. พดู โน้มนา้ วโดยนาเสนอหลกั ฐานตามลาดับเนื้อหาอย่างมีเหตุผลและนา่ เช่ือถอื
6. มีมารยาทในการฟัง การดู และการพูด

งานหลักสูตรสถานศึกษา กลุ่มบรหิ ารวิชาการ อสิ ลามวิทยาลัยแห่งประเทศไทย

SUBMITTED BY PATTHARAPONG THONGNAIKAEW

หลักสตู รกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย อสิ ลามวิทยาลยั แห่งประเทศไทย - 59 -

หลกั การใชภ้ าษาไทย
มาตรฐาน ท 4.1
1. จาแนกและใช้คาภาษาต่างประเทศทใี่ ชใ้ นภาษาไทย
2. วิเคราะห์โครงสรา้ งประโยคซับซ้อน
3. วิเคราะหร์ ะดบั ภาษา
4. ใช้คาทบั ศพั ท์และศพั ท์บัญญัติ
5. อธบิ ายความหมายคาศพั ทท์ างวิชาการและวิชาชีพ
6. แต่งบทร้อยกรอง

วรรณคดีและวรรณกรรม
มาตรฐาน ท 5.1
1. สรุปเน้อื หาวรรณคดี วรรณกรรม และวรรณกรรมท้องถิ่นทอ่ี า่ นในระดับทย่ี ากย่ิงขน้ึ
2. วิเคราะหว์ ถิ ีไทยและคุณค่าจากวรรณคดีและวรรณกรรมทอ่ี ่าน
3. สรุปความรู้และข้อคดิ จากการอา่ น เพื่อนาไปประยุกตใ์ ช้ในชวี ติ จริง
5. ท่องจาและบอกคณุ คา่ บทอาขยานตามที่กาหนด และบทร้อยกรองท่ีมีคุณค่าตาม
ความสนใจ และนาไปใช้อ้างอิง

งานหลกั สตู รสถานศึกษา กลุ่มบริหารวิชาการ อสิ ลามวทิ ยาลยั แห่งประเทศไทย

SUBMITTED BY PATTHARAPONG THONGNAIKAEW

หลักสตู รกลุ่มสาระการเรยี นรภู้ าษาไทย อสิ ลามวิทยาลยั แห่งประเทศไทย - 60 -

รายวชิ าภาษาไทย 1 คาอธิบายรายวชิ า เวลา 40 ช่ัวโมง
ชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ 4 1 หน่วยกติ
รหสั วิชา ท31101
ภาคเรยี นที่ 1

อ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรองเป็นทานองเสนาะได้ถูกต้อง เข้าใจ ตีความ แปลความ
และขยายความเรื่องท่ีอ่านได้ วิเคราะห์วิจารณ์เรื่องท่ีอ่าน คาดคะเนเหตุการณ์จากเร่ืองท่ีอ่าน เขียนกรอบ
แนวคิด บันทึก ย่อความและเขียนรายงานจากสิ่งที่อ่าน สังเคราะห์ ประเมินค่า และนาความรู้ ความคิดจาก
การอ่านมาพัฒนาตน เพิ่มเติมความรู้ทางอาชีพ หน้าท่ีด้วยการพูด วิพากย์ วิจารณ์ ฟัง จดบันทึก และนา
ความรู้ ความคิดท่ไี ดป้ ระยกุ ต์ใชแ้ กป้ ัญหาในชีวิตประจาวัน มีมารยาทรักและเหน็ คุณค่าของการอ่าน

เขียนสื่อสารในรูปแบบต่างๆ โดยใช้ภาษาไทยเลขไทยได้อย่างถูกต้องตรงตามวัตถุประสงค์ เขียนย่อ
ความจากส่ือท่ีมีรูปแบบและเนื้อหาที่หลากหลาย เขียนเรียงความแต่งคาประพันธ์ประเภทกาพย์ เพ่ือแสดง
แนวคิดท่ีสร้างสรรค์ โดยใช้คา สานวน โวหารได้อย่างเหมาะสม เขียนรายงาน บันทึก การศึกษาค้นคว้าตาม
หลักทางการเขียนเชิงวิชาการ ใช้ข้อมูลสารสนเทศในการอ้างอิง ผลิตผลงานเขียนของตนเองในรูปแบบต่างๆ
ท้ังสารคดีและบันเทิงคดี รวมท้ังประเมินงานเขียนของผู้อ่ืน เพ่ือนามาพัฒนางานเขียนของตนเองได้อย่าง
เหมาะสม

ตั้งคาถาม พูดแสดงความคิดเห็นเก่ียวกับเร่ืองท่ีฟัง ดูและอ่าน มีวิจารณญาณในการเลือกเร่ืองท่ีฟัง ดู
อ่าน โดยวิเคราะห์ วัตถุประสงค์ แนวคิด การใช้ภาษา ความน่าเช่ือถือหรือประเมิน เรื่องน้ันๆ แล้วนาไป
ประยุกต์ใช้ในการดาเนินชีวิต มีทักษะในการพูดในโอกาสต่างๆ ท้ังท่ีเป็นทางการและไม่เป็นทางการ โดยใช้
ภาษาเหมาะสมตรงตามหวั ข้อ รวมท้งั มมี ารยาทในการฟัง ดู พูด

วเิ คราะหเ์ สียงในภาษาไทยใช้ภาษาไทยในการเขียนสะกดอ่านคาไดถ้ ูกต้องเหมาะสมอีกท้ังสังเกตและ
ประเมนิ การใชค้ า ภาษาจากส่อื ส่ิงพิมพ์และส่อื อิเลก็ ทรอนิกสใ์ นชีวติ ประจาวนั ได้

วเิ คราะห์วิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมตามหลักการวิจารณ์วรรณคดีเบื้องต้น รู้และเข้าใจลักษณะ
เด่นของวรรณคดี ภูมิปัญญาทางภาษาของวรรณกรรมพื้นบ้านท่ีเช่ือมโยงการเรียนรู้กับเหตุการณ์ทาง
ประวัติศาสตร์และวิถชี ีวิตสงั คมไทย ประเมนิ คณุ คา่ วรรณกรรม วรรณคดีด้านวรรณศิลป์ สงั คมและวัฒนธรรม
และนาความรู้ ความคิด ขอ้ คดิ ท่ไี ดไ้ ปประยกุ ตใ์ ช้ในชีวติ จรงิ

ตวั ชว้ี ัด
ท 1.1 ม.4-6/1/2/3
ท 2.1 ม.4-6/1/2/3/8
ท 3.1 ม.4-6/1/3/5/6

ท 4.1 ม.4-6/1/2/6/7
ท 5.1 ม.4-6/1/6

รวม 17 ตัวช้วี ัด

งานหลักสตู รสถานศึกษา กลุ่มบรหิ ารวิชาการ อสิ ลามวทิ ยาลยั แห่งประเทศไทย

SUBMITTED BY PATTHARAPONG THONGNAIKAEW

หลกั สูตรกลุ่มสาระการเรียนรูภ้ าษาไทย อิสลามวทิ ยาลัยแห่งประเทศไทย - 61 -

ตัวชวี้ ดั

ท 1.1 ม.4-6/1 อา่ นออกเสยี งบทรอ้ ยแก้ว และบทร้อยกรองไดอ้ ย่างถูกต้อง ไพเราะ และเหมาะสมกับเรอ่ื งที่
อา่ น

ท 1.1 ม.4-6/2 ตคี วาม แปลความ และขยายความเรื่องที่อ่าน
ท 1.1 ม.4-6/3 วิเคราะหแ์ ละวจิ ารณ์เรื่องท่ีอ่าน ในทุกๆ ด้านอย่างมีเหตุผล
ท 2.1 ม.4-6/1 เขยี นส่ือสารในรปู แบบต่างๆ ได้ตรงตามวัตถุประสงค์ โดยใชภ้ าษาเรียบเรียงถูกต้อง มขี ้อมลู

และสาระสาคัญชัดเจน
ท 2.1 ม.4-6/2 เขียนเรียงความ
ท 2.1 ม.4-6/3 เขยี นย่อความจากสอ่ื ทม่ี รี ปู แบบ และเนอ้ื หาหลากหลาย
ท 2.1 ม.4-6/8 มีมารยาทในการเขียน

ท 3.1 ม.4-6/1 สรปุ แนวคิด และแสดงความคดิ เห็นจากเรื่องท่ีฟังและดู
ท 3.1 ม.4-6/3 ประเมนิ เร่อื งท่ีฟงั และดู แลว้ กาหนดแนวทางนาไปประยกุ ต์ใช้ในการดาเนินชวี ิต
ท 3.1 ม.4-6/5 พดู ในโอกาสตา่ ง ๆ พดู แสดงทรรศนะ โตแ้ ย้ง โนม้ น้าวใจ และเสนอแนวคิดใหม่ดว้ ยภาษา

ถูกต้องเหมาะสม
ท 3.1 ม.4-6/6 มีมารยาทในการฟงั การดู และการพูด
ท 4.1 ม.4-6/1 อธิบายธรรมชาติของภาษา พลังของภาษา และลกั ษณะของภาษา
ท 4.1 ม.4-6/2 ใช้คาและกลุ่มคาสรา้ งประโยคตรงตามวัตถปุ ระสงค์
ท 4.1 ม.4-6/6 อธบิ ายและวิเคราะหห์ ลกั การสร้างคาในภาษาไทย
ท 4.1 ม.4-6/7 วิเคราะหแ์ ละประเมินการใชภ้ าษาจากสื่อสิ่งพมิ พแ์ ละสื่ออเิ ล็กทรอนิกส์
ท 5.1 ม.4-6/1 วเิ คราะห์และวจิ ารณว์ รรณคดแี ละวรรณกรรมตามหลักการวจิ ารณ์เบอื้ งต้น
ท 5.1 ม..4-6/6 ท่องจาและบอกคุณคา่ บทอาขยานตามที่กาหนดและบทร้อยกรองท่ีมคี ุณคา่ ตามความสนใจ

และนาไปใช้อา้ งอิง

งานหลกั สตู รสถานศึกษา กลุ่มบรหิ ารวิชาการ อสิ ลามวทิ ยาลัยแห่งประเทศไทย

SUBMITTED BY PATTHARAPONG THONGNAIKAEW

หลักสตู รกลุ่มสาระการเรียนรภู้ าษาไทย อิสลามวิทยาลยั แห่งประเทศไทย - 62 -

รายวิชาภาษาไทย 2 คาอธบิ ายรายวชิ า เวลา 40 ช่ัวโมง
ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 4 1 หนว่ ยกติ
รหัสวิชา ท 31102
ภาคเรยี นที่ 2

อ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรองเป็นทานองเสนาะได้ถูกต้อง เข้าใจ ตีความ แปลความ
และขยายความเรื่องท่ีอ่านได้ วิเคราะห์วิจารณ์เรื่องท่ีอ่าน คาดคะเนเหตุการณ์จากเร่ืองท่ีอ่าน เขียนกรอบ
แนวคิด บันทึก ย่อความและเขียนรายงานจากส่ิงท่ีอ่าน สังเคราะห์ ประเมินค่า และนาความรู้ ความคิดจาก
การอ่านมาพัฒนาตน เพิ่มเติมความรู้ทางอาชีพ หน้าที่ด้วยการพูด วิพากย์ วิจารณ์ ฟัง จดบันทึก และนา
ความรู้ ความคิดทไ่ี ด้ประยุกต์ใช้แกป้ ญั หาในชีวิตประจาวัน มีมารยาทรักและเหน็ คณุ คา่ ของการอ่าน

เขียนส่ือสารในรูปแบบต่างๆ โดยใช้ภาษาไทยเลขไทยได้อย่างถูกต้องตรงตามวัตถุประสงค์ เขียนย่อ
ความจากส่ือท่ีมีรูปแบบและเนื้อหาที่หลากหลาย เขียนเรียงความแต่งคาประพันธ์ประเภทกาพย์ เพ่ือแสดง
แนวคิดท่ีสร้างสรรค์ โดยใช้คา สานวน โวหารได้อย่างเหมาะสม เขียนรายงาน บันทึก การศึกษาค้นคว้าตาม
หลักทางการเขียนเชิงวิชาการ ใช้ข้อมูลสารสนเทศในการอ้างอิง ผลิตผลงานเขียนของตนเองในรูปแบบต่างๆ
ทั้งสารคดีและบันเทิงคดี รวมท้ังประเมินงานเขียนของผู้อื่น เพื่อนามาพัฒนางานเขียนของตนเองได้อย่าง
เหมาะสม

ตั้งคาถาม พูดแสดงความคิดเห็นเก่ียวกับเรื่องที่ฟัง ดูและอ่าน มีวิจารณญาณในการเลือกเร่ืองที่ฟัง ดู
อ่าน โดยวิเคราะห์ วัตถุประสงค์ แนวคิด การใช้ภาษา ความน่าเชื่อถือหรือประเมิน เร่ืองน้ันๆ แล้วนาไป
ประยุกต์ใช้ในการดาเนินชีวิต มีทักษะในการพูดในโอกาสต่างๆ ทั้งที่เป็นทางการและไม่เป็นทางการ โดยใช้
ภาษาเหมาะสมตรงตามหัวข้อ รวมทั้งมมี ารยาทในการฟัง ดู พดู

วิเคราะห์หลกั การสรา้ งคาในภาษาไทย ใชค้ าได้เหมาะสมกบั โอกาส กาลเทศะหรอื หวั ขอ้ เรอื่ ง สามารถ
ประเมนิ การใชภ้ าษาจากสื่อสิ่งพิมพ์และสือ่ อิเลก็ ทรอนิกส์ได้

วเิ คราะห์วิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมตามหลักการวิจารณ์วรรณคดีเบ้ืองต้น รู้และเข้าใจลักษณะ
เด่นของวรรณคดี ภูมิปัญญาทางภาษาของวรรณกรรมพ้ืนบ้านที่เชื่อมโยงการเรียนรู้กับเหตุการณ์ทาง
ประวัติศาสตร์และวิถีชีวิตสังคมไทย ประเมินคุณค่าวรรณกรรม วรรณคดีด้านวรรณศิลป์ สังคมและวัฒนธรรม
และนาความรู้ ความคดิ ข้อคดิ ท่ีได้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง

ตวั ชวี้ ัด
ท 1.1 ม.4-6/7/8/9
ท 2.1 ม.4-6/4/5/7/8
ท 3.1 ม.4-6/1/3/5/6
ท 4.1 ม.4-6/6/7
ท 5.1 ม.4-6/1/6

รวม 15 ตวั ช้ีวัด

งานหลกั สูตรสถานศึกษา กลุ่มบริหารวิชาการ อสิ ลามวทิ ยาลัยแห่งประเทศไทย

SUBMITTED BY PATTHARAPONG THONGNAIKAEW

หลักสตู รกลุ่มสาระการเรยี นรูภ้ าษาไทย อสิ ลามวทิ ยาลัยแห่งประเทศไทย - 63 -

ตัวชว้ี ดั
ท 1.1 ม.4-6/7 อ่านเร่ืองต่างๆ แล้วเขียนกรอบแนวคดิ ผังความคดิ บันทึก ย่อความ และรายงาน
ท 1.1 ม.4-6/8 สังเคราะหค์ วามรจู้ ากการอา่ น สื่อสิ่งพมิ พ์ ส่ืออเิ ล็กทรอนิกส์ และแหลง่ เรยี นรตู้ า่ งๆ มา

พฒั นาตนพัฒนาการเรียน และพฒั นาความรู้ทางอาชีพ
ท 1.1 ม.4-6/9 มมี ารยาทในการอ่าน
ท 2.1 ม.4-6/4 ผลติ งานเขยี นของตนเองในรปู แบบตา่ งๆ
ท 2.1 ม.4-6/5 ประเมินงานเขียนของผอู้ ่ืน แล้วนามาพัฒนางานเขียนของตนเอง
ท 2.1 ม.4-6/7 บันทกึ การศึกษาค้นควา้ เพ่อื นาไปพัฒนาตนเองอย่างสม่าเสมอ
ท 2.1 ม.4-6/8 มมี ารยาทในการเขียน

ท 3.1 ม.4-6/1 สรปุ แนวคดิ และแสดงความคดิ เห็นจากเรื่องที่ฟังและดู

ท 3.1 ม.4-6/3 ประเมนิ เร่ืองทีฟ่ งั และดู แลว้ กาหนดแนวทางนาไปประยกุ ต์ใชใ้ นการดาเนนิ ชีวิต
ท 3.1 ม.4-6/5 พูดในโอกาสตา่ ง ๆ พูดแสดงทรรศนะ โตแ้ ย้ง โน้มน้าวใจ และเสนอแนวคดิ ใหม่ด้วยภาษา

ถกู ตอ้ งเหมาะสม
ท 3.1 ม.4-6/6 มีมารยาทในการฟัง การดู และการพูด
ท 4.1 ม.4-6/6 อธิบายและวิเคราะหห์ ลกั การสรา้ งคาในภาษาไทย
ท 4.1 ม.4-6/7 วเิ คราะห์และประเมินการใช้ภาษาจากส่ือสิ่งพมิ พ์และส่ืออเิ ล็กทรอนิกส์
ท 5.1 ม.4-6/1 วเิ คราะหแ์ ละวิจารณว์ รรณคดีและวรรณกรรมตามหลักการวจิ ารณเ์ บ้อื งต้น
ท 5.1 ม..4-6/6 ทอ่ งจาและบอกคุณคา่ บทอาขยานตามที่กาหนดและบทร้อยกรองที่มคี ุณค่าตามความสนใจ

และนาไปใช้อา้ งอิง

งานหลกั สูตรสถานศึกษา กลุ่มบรหิ ารวิชาการ อสิ ลามวทิ ยาลัยแห่งประเทศไทย

SUBMITTED BY PATTHARAPONG THONGNAIKAEW

หลักสูตรกลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาไทย อสิ ลามวิทยาลัยแหง่ ประเทศไทย - 64 -

รายวิชา ภาษาไทย 3 คาอธบิ ายรายวชิ า เวลา 40 ช่วั โมง
ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 5 1 หน่วยกติ
รหสั วชิ า ท32101
ภาคเรียนที่ 1

อ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรอง ตีความ แปลความ ขยายความ วิเคราะห์ วิจารณ์
แสดงความคิดเห็นโต้แย้งเก่ียวกับเรื่องท่ีอ่าน และเสนอความคิดใหม่อย่างมีเหตุผล ตอบคาถามจากการอ่าน
งานเขียนประเภทต่างๆภายในเวลาท่ีกาหนด เขียนสื่อสารในรูปแบบต่างๆได้ตรงตามวัตถุประสงค์ เขียน
เรียงความ เขียนย่อความจากส่ือท่ีมีรูปแบบและเน้ือหาที่หลากหลาย พูดสรุปแนวคิดและแสดงความคิดเห็น
จากเร่ืองทฟี่ งั และดู วิเคราะห์แนวคิด การใช้ภาษา และความน่าเชื่อถือจากเรือ่ งท่ีฟงั และดอู ย่างมเี หตุผล มี
วิจารณญาณในการเลือกเร่อื งท่ฟี ังและดู พูดในโอกาสต่างๆ พูดแสดงทรรศนะ โต้แย้ง โน้มน้าวใจและเสนอ
แนวคิดใหม่ด้วยภาษาท่ีถูกต้องเหมาะสม อธิบายธรรมชาติของภาษา พลังของภาษาและลักษณะของภาษา
ใช้คาและกลุ่มคาในการสร้างประโยค ร้อยเรียงประโยคเพื่อการส่ือสารได้ตรงตามวัตถุประสงค์ แต่งบทร้อย
กรองประเภทร่าย วิเคราะห์วิจารณ์วรรณคดี วรรณกรรมตามหลักการวิจารณเ์ บือ้ งต้น สังเคราะห์ข้อคดิ จาก
วรรณคดีและวรรณกรรมเพื่อนาไปประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง รวบรวมวรรณกรรมพื้นบ้านและอธิบายภูมิปัญญา
ทางภาษา ท่องจาและบอกคุณค่าบทอาขยานตามที่กาหนดและบทร้อยกรองที่มีคุณค่าตามความสนใจ และ
นาไปใช้อา้ งอิง

โดยใช้กระบวนการอ่าน กระบวนการวิเคราะห์ วิจารณ์ กระบวนการเขียน การฟงั การดู การพูด
การตคี วาม การสรุปความ การอภิปรายแสดงความคิดเห็น การนาเสนอผลงาน การใชภ้ าษาเพื่อการส่ือสาร
การสบื ค้นขอ้ มูล และกระบวนการคิดอยา่ งมวี จิ ารณญาณ

มีความสามารถในการวิเคราะห์ วิจารณ์ ประเมินค่าอย่างมีเหตุผล มีวิจารณญาณในการอ่าน
มีมารยาทในการอ่าน การเขียน การฟัง การดู การพูด และมีนิสัยรักการอ่าน มีความสามารถในการใช้
ภาษาเพ่ือการสื่อสาร เห็นคุณค่าของการนาความรู้ไปใช้ในชวี ิตประจาวัน มเี จตคติที่ดตี ่อภาษาไทย ใช้ภาษา
ได้อย่างถูกต้อง อนุรักษ์สืบสานภาษาไทยและภาษาถ่ินในฐานะมรดกทางวัฒนธรรม มีคุณธรรม จริยธรรม
และค่านยิ มทเ่ี หมาะสม

ตัวช้วี ดั
ท 1.1 ม.5/1.ม,5/2.ม,5/3.ม,5/5.ม,5/6.ม,5/9
ท 2.1 ม.5/1.ม,5/2.ม,5/3.ม,5/8
ท 3.1 ม.5/2.ม,5/2.ม,5/4 ม.5/5.ม,5/6
ท 4.1 ม.5/1.ม,5/2.ม,5/4
ท 5.1 ม.5/1.ม,5/4.ม,5/5.ม,5/6

รวม 22 ตัวช้ีวัด

งานหลักสตู รสถานศึกษา กลุ่มบริหารวิชาการ อสิ ลามวิทยาลัยแห่งประเทศไทย

SUBMITTED BY PATTHARAPONG THONGNAIKAEW

หลักสูตรกลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาไทย อิสลามวทิ ยาลยั แหง่ ประเทศไทย - 65 -

ตวั ชี้วดั
1. อ่านออกเสยี งบทรอ้ ยแกว้ และบทร้อยกรอง ได้อยา่ งถูกตอ้ งไพเราะและเหมาะสมกับเรื่องที่อา่ น
2. ตคี วาม แปลความ ขยายความเรอื่ งทีอ่ า่ น
3. วเิ คราะห์ วจิ ารณ์เรื่องท่ีอ่านทกุ ๆ ดา้ นอย่างมีเหตุผล
4. วเิ คราะห์ วิจารณ์ แสดงความคิดเหน็ เชิงโต้แย้งเกีย่ วกับเรอ่ื งที่อา่ นและเสนอแนวคิดใหมอ่ ย่างมเี หตุผล
5. ตอบคาถามจากการอ่านงานเขยี นประเภทตา่ งๆ ภายในเวลาที่กาหนด
6. มมี ารยาทในการอา่ น
7. เขยี นสือ่ สารในรูปแบบตา่ งๆ ได้ตรง ตามวัตถุประสงค์ โดยใช้ภาษาเรียบเรียงไดถ้ ูกต้อง

มีข้อมลู สาระทช่ี ัดเจน
8. เขยี นเรียงความ
9. เขียนย่อความจากสอื่ ทม่ี ีรูปแบบและเน้ือหาทีห่ ลากหลาย
10. มมี ารยาทในการเขยี น
11. สรุปแนวคิดและแสดงความคดิ เหน็ จากเรอ่ื งที่ฟังทดี่ ู
12. วิเคราะห์แนวคดิ การใช้ภาษา และความน่าเช่ือถือจากเร่ืองทีฟ่ ังและดูอยา่ งมีเหตุผล
13. มวี ิจารณญาณในการเลอื กเรอื่ งทฟ่ี ัง และดู
14. พดู ในโอกาสต่างๆ พูดแสดงทรรศนะโต้แย้ง โน้มนา้ วใจ และเสนอแนวคิดใหมด่ ว้ ยภาษา

ถกู ตอ้ งเหมาะสม
15. มีมารยาทในการฟัง การดู และการพูด
16. อธิบายธรรมชาตขิ องภาษา พลังของภาษา และลกั ษณะของภาษา
17. ใชค้ าและกลุ่มคาสรา้ งประโยคตามความเหมาะสม
18. แต่งบทรอ้ ยกรอง
19. วิเคราะห์ วจิ ารณ์วรรณคดแี ละวรรณกรรมตามหลักการวจิ ารณ์เบอื้ งตน้
20. สงั เคราะหข์ ้อคิดจากวรรณคดีและวรรณกรรมเพื่อนาไปประยกุ ต์ใชใ้ นชีวิตจริง
21. รวบรวมวรรณกรรมพื้นบ้านและอธบิ ายภมู ปิ ัญญาทางภาษา
22. ท่องจาและบอกคุณคา่ ของบทอาขยานตามทก่ี าหนด และบทรอ้ ยกรองที่มีคณุ ค่าตามความสนใจ

งานหลกั สตู รสถานศึกษา กลุ่มบริหารวิชาการ อสิ ลามวทิ ยาลัยแห่งประเทศไทย

SUBMITTED BY PATTHARAPONG THONGNAIKAEW

หลกั สูตรกลุ่มสาระการเรียนรูภ้ าษาไทย อิสลามวทิ ยาลยั แห่งประเทศไทย - 66 -

รายวิชา ภาษาไทย 4 คาอธบิ ายรายวชิ า เวลา 40 ชัว่ โมง
ชน้ั มธั ยมศึกษาปีที่ 5 1 หนว่ ยกติ
รหัสวชิ า ท32102
ภาคเรียนที่ 2

อ่านออกเสียงบทรอ้ ยแกว้ บทร้อยกรอง ตีความ แปลความ ขยายความ วิเคราะห์ วจิ ารณเ์ รอ่ื งที่
อา่ นในทุกๆดา้ นอยา่ งมีเหตุผล คาดคะเนเหตกุ ารณ์ และประเมนิ ค่าเรื่องท่ีอ่านเพื่อนาความรู้ความคิดไปใช้ใน
การตัดสินใจแก้ปัญหาในการดาเนินชีวิต อ่านเร่ืองต่าง ๆ แล้วเขียนกรอบแนวคิด ผังความคิด สังเคราะห์
ความรู้จากการอ่านส่อื สิ่งพิมพ์ ส่ืออิเล็กทรอนิกส์ และเหล่งเรียนรู้ตา่ ง ๆ มาพัฒนาตน พัฒนาการเรียนและ
พัฒนาความร้ทู างอาชพี

เขียนส่ือสารในรูปแบบต่างๆ ได้ตรงตามวัตถุประสงค์ ประเมินงานเขียนของผู้อื่นแล้วนามาพัฒนา
งานเขียนของตนเอง เขียนรายงานการศึกษาค้นคว้าและใช้ข้อมูลสารสนเทศอ้างอิงได้อย่างถูกต้อง บันทึก
การศึกษาคน้ ควา้ เพอ่ื นาไปพฒั นาตนเองอยา่ งสมา่ เสมอ

วิเคราะห์แนวคิดการภาษาและความน่าเชื่อถือจากเรื่องที่ฟังและดูอย่างมีเหตุผล ประเมินเร่ืองท่ีฟัง
และดแู ล้วกาหนดแนวทางนาไปประยุกต์ใช้ในการดาเนินชวี ติ ใชภ้ าษาเหมาะแก่โอกาส กาลเทศะและบคุ คล

วเิ คราะหอ์ ทิ ธพิ ลของภาษาตา่ งประเทศและภาษาถิ่น อธบิ ายหลกั การสร้างคาในภาษาไทย วิเคราะห์
และประเมินการใช้ภาษาจากส่ือหนังสือพิมพ์และส่ืออิเล็กทรอนิกส์ วิเคราะห์ลักษณะเด่นของวรรณคดี
เชื่อมโยงกับการเรียนรู้ทางประวัติศาสตร์ และวิถีชีวิตของสังคมในอดีต วิเคราะห์และประเมินคุณค่าด้าน
วรรณศลิ ป์ ด้านเนอ้ื หา ด้านสังคมขอวรรณคดแี ละวรรณกรรมในฐานะทเี่ ป็นมรดกทางวัฒนธรรม สงั เคราะห์
ขอ้ คิดจากวรรณคดีและวรรณกรรมเพ่ือนาไปประยกุ ต์ใช้ในชีวิตจริง ท่องจาและบอกคุณค่าบทอาขยานตามที่
กาหนดและบทรอ้ ยกรองตามความสนใจแล้วนาไปใช้อ้างอิง

โดยใช้กระบวนการอ่าน กระบวนการวิเคราะห์วิจารณ์ กระบวนการเขียน การฟัง การดู การพูด
การตีความ การสรุปความ การอภิปรายแสดงความคิดเห็น การนาเสนอผลงาน การใช้ภาษาเพ่ือ
การส่อื สาร การสบื ค้นข้อมลู และกระบวนการคิดอยา่ งมวี จิ ารณญาณ

มีความสามารถในการวิเคราะห์วิจารณ์ ประเมินค่าอย่างมีเหตุผล มีวิจารณญาณในการอ่าน
มีมารยาทในการอ่าน การเขียน การฟัง การดู การพูด และมีนิสัยรักการอ่าน มีความสามารถในการใช้
ภาษาเพ่ือการสื่อสาร เห็นคุณค่าของการนาความรู้ไปใช้ในชีวิตประจาวัน มีเจตคติที่ดีต่อภาษาไทย ใช้ภาษา
ได้อย่างถูกต้อง อนุรักษ์สืบสานภาษาไทยและภาษาถิ่นในฐานะมรดกทางวัฒนธรรม มีคุณธรรม จริยธรรม
และคา่ นิยมทเี่ หมาะสม

ตวั ชี้วัด
ท 1.1 ม.4-5/1.ม,4-5/2.ม,4-5/3.ม,4-5/4.ม,4-5/7.ม,4-5/8.ม,4-5/9
ท 2.1 ม.4-5/1.ม,4-5/4.ม,4-5/6.ม,4 4-5/7.ม,4-5/8
ท 3.1 ม.4-5/2.ม,4-5/3.ม,4-5/6
ท 4.1 ม.4-5/3.ม,4-5/6.ม,4-5/7
ท 5.1 ม.4-5/1.ม,4-5/2.ม,4-5/3.ม,4-5/4.ม,4-5/6

รวม 23 ตัวช้ีวดั

งานหลักสตู รสถานศึกษา กลุ่มบรหิ ารวิชาการ อสิ ลามวิทยาลัยแห่งประเทศไทย

SUBMITTED BY PATTHARAPONG THONGNAIKAEW

หลกั สูตรกลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาไทย อสิ ลามวทิ ยาลัยแห่งประเทศไทย - 67 -

ตัวชีว้ ัด
1. อา่ นออกเสียงบทรอ้ ยแกว้ และบทร้อยกรอง ได้อยา่ งถูกตอ้ งไพเราะและเหมาะสมกบั เรอ่ื งท่ีอ่าน
2. ตคี วาม แปลความ ขยายความเรือ่ งที่อ่าน
3. วเิ คราะห์ วิจารณ์เรอ่ื งที่อ่านทกุ ๆ ด้านอย่างมเี หตุผล
4. คาดคะเนเหตกุ ารณจ์ ากเร่ืองท่ีอ่านและประเมินค่าเพื่อนาความรู้ ความคดิ ไปใชต้ ดั สินใจ แกป้ ญั หา

ในการดาเนนิ ชวี ิต
5. อ่านเร่อื งตา่ งๆ แลว้ เขยี นกรอบแนวคิด ผังความคิด บันทกึ ย่อความ และรายงาน
6. สังเคราะห์ความรู้จากการอา่ นสอื่ สงิ่ พมิ พ์ สอื่ อิเล็กทรอนกิ ส์และแหล่งเรียนรู้ต่างๆ มาพฒั นาตน

พัฒนาการเรียน และพัฒนาความรทู้ างอาชีพ
7. มมี ารยาทในการอา่ น
8. เขียนสอื่ สารในรปู แบบตา่ งๆ ไดต้ รงตามวัตถปุ ระสงค์ โดยใช้ภาษาเรียบเรียงได้ถูกต้อง
9. ผลติ งานเขียนของตนเองในรปู แบบตา่ งๆ
10. เขยี นรายงานการศึกษาค้นคว้าเร่ืองที่ตนสนใจตามหลกั การเขยี นเชิงวชิ าการ และใช้ขอ้ มูลสารสนเทศ

อ้างองิ อยา่ งถูกตอ้ ง
11. บันทกึ การศึกษาคน้ ควา้ เพ่ือนาไปพัฒนาตนเองอยา่ งสมา่ เสมอ
12. มมี ารยาทในการเขยี น
13. วิเคราะหแ์ นวคิด การใชภ้ าษา และความนา่ เชื่อถือจากเร่อื งที่ฟังและดูอยา่ งมีเหตุผล
14. ประเมินเร่ืองท่ีฟงั และดู แล้วกาหนดแนวทางนาไปประยุกตใ์ ช้ในการดาเนนิ ชวี ิต
15. มมี ารยาทในการฟัง การดู และการพดู
16. ใชภ้ าษาเหมาะสมแกโ่ อกาส กาลเทศะ และบุคคล รวมท้ังคาราชาศพั ทอ์ ย่างเหมาะสม
17. อธิบายและวิเคราะห์หลกั การสร้างคาในภาษาไทย
18. วิเคราะห์และประเมินหลักการใช้ภาษาจากส่อื สง่ิ พิมพ์และส่อื อเิ ล็กทรอนิกส์
19. วิเคราะห์ วิจารณว์ รรณคดีและวรรณกรรมตามหลักการวิจารณเ์ บ้ืองตน้
20. วเิ คราะห์ลกั ษณะเดน่ ของวรรณคดเี ชอ่ื มโยงกับการเรียนร้ทู างประวตั ศิ าสตรแ์ ละวถิ ีชีวติ ของสงั คม

ในอดีต
21. วิเคราะหแ์ ละประเมินคณุ ค่าดา้ นวรรณศิลป์ของวรรณคดีและวรรณกรรมใน ฐานะทีเ่ ป็นมรดก

ทางวัฒนธรรมของชาติ
22. สงั เคราะห์ข้อคิดจากวรรณคดแี ละวรรณกรรมเพื่อนาไปประยกุ ต์ใชใ้ นชวี ิตจรงิ
23. ทอ่ งจาและบอกคุณคา่ ของบท อาขยานตามที่กาหนด และบทร้อยกรองทม่ี ีคณุ ค่าตามความสนใจ

งานหลกั สตู รสถานศึกษา กลุ่มบริหารวิชาการ อสิ ลามวทิ ยาลัยแห่งประเทศไทย

SUBMITTED BY PATTHARAPONG THONGNAIKAEW

หลกั สตู รกลุ่มสาระการเรยี นรภู้ าษาไทย อสิ ลามวิทยาลัยแหง่ ประเทศไทย - 68 -

รายวิชา ภาษาไทย 5 คาอธิบายรายวชิ า เวลา 40 ชั่วโมง
ช้นั มัธยมศึกษาปที ่ี 6 1 หน่วยกิต
รหัสวชิ า ท33101
ภาคเรียนที่ 1

อ่านออกเสียงบทร้อยแกว้ บทรอ้ ยกรอง ตีความ แปลความ ขยายความ วิเคราะห์ วจิ ารณ์เร่อื งท่ี

อ่านในทกุ ๆด้านอยา่ งมีเหตุผล คาดคะเนเหตุการณ์ และประเมนิ คา่ เร่ืองท่ีอา่ นเพื่อนาความรู้ความคิดไปใชใ้ น

การตัดสินใจแก้ปัญหาในการดาเนินชีวิต อ่านเร่ืองต่างๆ แล้วเขียนกรอบแนวคิด ผังความคิด สังเคราะห์

ความรจู้ ากการอา่ นสอื่ สงิ่ พมิ พ์ ส่ืออิเลก็ ทรอนกิ ส์ และเหลง่ เรยี นรตู้ ่างๆ มาพฒั นาตน พัฒนาการเรียน และ

พัฒนาความรู้ทางอาชีพ เขียนสื่อสารในรูปแบบต่างๆ ได้ตรงตามวัตถุประสงค์ ประเมินงานเขียนของผู้อ่ืน

แล้วนามาพัฒนางานเขียนของตนเอง เขียนรายงานการศึกษาค้นคว้าและใช้ข้อมูลสารสนเทศอ้างอิงได้อย่าง

ถกู ตอ้ ง บนั ทึกการศึกษาค้นควา้ เพอื่ นาไปพฒั นาตนเองอยา่ งสมา่ เสมอ วเิ คราะหแ์ นวคดิ การภาษาและความ

น่าเช่ือถือจากเร่ืองที่ฟังและดูอย่างมีเหตุผล ประเมินเร่ืองท่ีฟังและดูแล้วกาหนดแนวทางนาไปประยุกต์ใช้ใน

การดาเนินชีวิตใช้ภาษาเหมาะแก่โอกาส กาลเทศะและบุคคล วิเคราะห์อิทธิพลของภาษาต่างประเทศและ

ภาษาถิ่น อธิบายหลักการสรา้ งคาในภาษาไทย วิเคราะห์และประเมนิ การใชภ้ าษาจากส่ือหนังสือพิมพ์และสื่อ

อเิ ล็กทรอนิกส์ วิเคราะห์ลกั ษณะเด่นของวรรณคดีเชื่อมโยงกับการเรียนรู้ ทางประวัติศาสตร์ และ

วิถชี วี ติ ของสังคมในอดตี วิเคราะห์และประเมินคณุ ค่าดา้ นวรรณศิลป์ ดา้ นเน้ือหา ดา้ นสงั คมขอวรรณคดแี ละ

วรรณกรรมในฐานะท่ีเป็นมรดกทางวัฒนธรรม สังเคราะห์ข้อคิดจากวรรณคดีและวรรณกรรมเพ่ือนาไป

ประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง ท่องจาและบอกคุณค่าบทอาขยานตามที่กาหนดและบทรอ้ ยกรองตามความสนใจแล้ว

นาไปใช้อ้างองิ

โดยใช้กระบวนการอ่าน กระบวนการวิเคราะห์วิจารณ์ กระบวนการเขียน การฟัง การดู การพูด

การตีความ การสรุปความ การอภิปรายแสดงความคิดเห็น การนาเสนอผลงาน การใช้ภาษาเพ่ือ

การส่ือสาร การสืบค้นข้อมูล และกระบวนการคิดอย่างมีวิจารณญาณ มีความสามารถในการวิเคราะห์

วิจารณ์ ประเมินค่าอย่างมีเหตุผล มีวิจารณญาณในการอ่าน มีมารยาทในการอ่าน การเขียน การฟัง

การดู การพูด และมีนิสัยรักการอ่าน มีความสามารถในการใช้ภาษาเพื่อการสื่อสาร เห็นคุณค่าของการนา

ความรู้ไปใช้ในชีวิตประจาวัน มีเจตคติท่ีดีต่อภาษาไทย ใช้ภาษาได้อย่างถูกต้อง อนุรักษ์สืบสานภาษาไทย

และภาษาถน่ิ ในฐานะมรดกทางวัฒนธรรม มีคณุ ธรรม จริยธรรมและค่านยิ มทเี่ หมาะสม

ตวั ชีว้ ัด
ท 1.1 ม.4-6/1/2/3/4/7/8/9
ท 2.1 ม.4-6/1/4/6/7/8
ท 3.1 ม.4-6/2/3/6
ท 4.1 ม.4-6/3/6/7
ท 5.1 ม.4-6/1/2/3/4/6

รวม 23 ตัวช้ีวดั

งานหลักสูตรสถานศึกษา กลุ่มบริหารวิชาการ อสิ ลามวทิ ยาลัยแห่งประเทศไทย

SUBMITTED BY PATTHARAPONG THONGNAIKAEW

หลกั สตู รกลุ่มสาระการเรยี นร้ภู าษาไทย อสิ ลามวิทยาลยั แห่งประเทศไทย - 69 -

ตวั ช้ีวัด
ท1.1

1. อ่านออกเสยี งบทรอ้ ยแก้วและบทร้อยกรองได้อยา่ งถูกต้อง ไพเราะ และเหมาะสมกบั เร่ืองท่ีอา่ น
2. ตคี วาม แปลความ และขยายความเรอ่ื งที่อา่ นวิเคราะหแ์ ละวจิ ารณ์เรื่องที่อา่ นในทุกๆ ด้านอย่างมี

เหตุผล
3. คาดคะเนเหตุการณจ์ ากเรื่องทอ่ี า่ น และประเมนิ คา่ เพอ่ื นาความรู้ ความคิดไปใช้ตดั สนิ ใจแกป้ ญั หาใน

การดาเนินชวี ติ
4. วเิ คราะห์ วจิ ารณ์ แสดงความคดิ เห็นโต้แย้งกับเร่ืองที่อา่ นและเสนอความคดิ ใหม่อยา่ งมีเหตุผล
5. ตอบคาถามจากการอ่านประเภทต่างๆ ภายในเวลาทก่ี าหนด
6. อ่านเร่อื งตา่ งๆ แล้วเขียนกรอบแนวคิด ผังความคิด บนั ทกึ ยอ่ ความ และรายงาน
7. สังเคราะหค์ วามรู้จากการอ่านสื่อสิ่งพมิ พ์ ส่ืออิเลก็ ทรอนิกส์และแหลง่ เรียนร้ตู า่ งๆ มาพฒั นาตน พฒั นาการ

เรียน และพัฒนาความรู้ทางอาชีพ
8. มมี ารยาทในการอ่าน

ท2.1
1. เขียนส่อื สารในรปู แบบต่างๆไดต้ รงตามวัตถปุ ระสงค์ โดยใช้ภาษาเรียบเรยี งถูกตอ้ ง มขี ้อมูลและ
สาระสาคญั ชัดเจน
2. ผลิตงานเขยี นของตนเองในรูปแบบตา่ งๆ
3. เขียนรายงานการศกึ ษาคน้ ควา้ เร่ืองท่สี นใจตามหลกั การเขียนเชิงวชิ าการ และใชข้ ้อมูลสารสนเทศ
อา้ งอิงอยา่ งถูกตอ้ ง
4. บันทึกการศึกษาค้นควา้ เพ่ือนาไปพฒั นาตนเองอย่างสม่าเสมอ
5. มีมารยาทในการเขยี น

ท3.1
1. วิเคราะห์ แนวคิด การใชภ้ าษา และความนา่ เชื่อถือจากเร่ืองที่ฟังและดูอยา่ งมีเหตผุ ล
2. ประเมนิ เรื่องที่ฟงั และดูแลว้ กาหนดแนวทางนาไประยุกตใ์ ช้ในการดาเนินชวี ติ
3. มมี ารยาทในการฟงั การดู และการพดู

ท4.1
1. ใช้ภาษาเหมาะสมแก่โอกาสกาลเทศะ และบุคคล รวมทง้ั คาราชาศัพท์อยา่ งเหมาะสม
2. อธบิ ายและวเิ คราะหห์ ลักการสรา้ งคาในภาษาไทย
3. วเิ คราะหแ์ ละประเมนิ การใช้ภาษาจากส่ือสง่ิ พิมพ์และสอ่ื อิเล็กทรอนิกส์

ท5.1
1. วิเคราะห์และวจิ ารณว์ รรณคดีและวรรณกรรมตามหลกั การวิจารณเ์ บือ้ งตน้
2. วิเคราะหล์ ักษณะเดน่ ของวรรณคดีเชือ่ มโยงกบั การเรียนรู้ทางประวัติศาสตรแ์ ละวถิ ีชวี ิตของสงั คมในอดตี
3. วิเคราะห์และประเมินคุณค่าด้านวรรณศลิ ป์ของวรรณคดีและวรรณกรรมในฐานะท่ีเป็นมรดกทาง
วัฒนธรรมของชาติ
4. สังเคราะห์ข้อคิดจากวรรณคดีและวรรณกรรมเพ่ือนาไปประยุกตใ์ ชใ้ นชวี ิตจริง
5. ทอ่ งจาและบอกคุณค่าบทอาขยานตามที่กาหนดและบทร้อยกรองทม่ี คี ุณคา่ ตามความสนใจและนาไปใช้
อ้างองิ

งานหลักสูตรสถานศึกษา กลุ่มบริหารวิชาการ อสิ ลามวิทยาลยั แห่งประเทศไทย

SUBMITTED BY PATTHARAPONG THONGNAIKAEW

หลักสตู รกลุ่มสาระการเรียนรูภ้ าษาไทย อิสลามวิทยาลยั แห่งประเทศไทย - 70 -

รายวชิ า ภาษาไทย 6 คาอธบิ ายรายวชิ า เวลา 40 ชัว่ โมง
ชนั้ มธั ยมศึกษาปที ่ี 6 1 หน่วยกิต
รหสั วิชา ท33102
ภาคเรียนท่ี 2

การอ่านร้อยแก้วประเภทต่างๆ โดยการแปลความ ตีความ ขยายความและใช้วิจารณญาณ
คิดวิเคราะห์ วิจารณ์ พฒั นาสมรรถภาพการอ่าน มมี ารยาทและนสิ ยั รักการอา่ น

การเลือกใช้คาตรงตามความหมายเรียบเรียงประโยค การเขียนเรียงความ ย่อความ การเขียน
จดหมายธรุ กจิ จดหมายราชการ เขียนสารคดี เขยี นบทวจิ ารณ์ มมี ารยาทและนสิ ัยรักการอ่าน

นาไปใช้ในการพดู ฟงั บนั เทงิ คดี จากสือ่ ประเภทต่างๆ ประกอบการวเิ คราะห์ วิจารณ์ และมมี ารยาท
ในการฟงั การดู การพดู

หลักการใช้ภาษา การเปล่ียนแปลงของคาไทย หลักการสร้างคากับศัพท์ ศัพท์บัญญัติที่ใช้ในโวหาร
ต่างๆ หลักการใช้คาและกลุ่มคาสร้างประโยคที่ซับซ้อน การแต่งคาประพันธ์ฉันท์ การใช้ภาษาถูกต้อง ตาม
ระดบั ภาษา คาราชาศัพท์ คาสภุ าพ การใชท้ ักษะทางภาษาและเทคโนโลยีการส่ือสาร พฒั นาความรู้ อาชีพ
ในการดาเนนิ ชวี ิต และสร้างสรรค์งานเชิงวชิ าการ

การศึกษากวีนพิ นธ์ประเภท กลอน โคลง ฉันท์ ร่าย ลลิ ิต บทละครและกวีร่วมสมัย วรรณกรรม
ประเภทเรอ่ื งสั้น นวนิยาย บทความ สารคดี ภมู ิปญั ญาทางภาษาประเภทคาสู่ขวัญ คาให้พร คาสอนและ
ความเชื่อ หลักการวิจารณ์ วรรณคดีเบื้องต้น ปัจจัยแวดล้อมท่ีทาให้วรรณคดี นาความรู้ไปใช้ในการ
พฒั นาการพดู และการเขียน การตัดสินใจ แก้ปญั หาและสรา้ งวิสยั ทัศน์

ตัวช้วี ัด
ท1.1 ม.6/1,3,5,6,9
ท2.1 ม.6/3,4,5,8
ท3.1 ม.6/1,4,6
ท4.1 ม.6/1,3,7
ท5.1 ม.6/1,4

รวม 17 ตวั ชว้ี ดั

งานหลกั สูตรสถานศึกษา กลุ่มบรหิ ารวิชาการ อสิ ลามวทิ ยาลยั แห่งประเทศไทย

SUBMITTED BY PATTHARAPONG THONGNAIKAEW

หลักสตู รกลุ่มสาระการเรียนรภู้ าษาไทย อิสลามวทิ ยาลัยแหง่ ประเทศไทย - 71 -

ตัวชี้วดั
ท 1.1 ม.6/1,3,5,6,9

1. อ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรองได้อยา่ งถกู ต้องไพเราะ และเหมาะสมกับเร่ืองท่ีอ่าน
2. วิเคราะหแ์ ละวิจารณเ์ ร่ืองท่อี ่านในทุกๆ ด้านอยา่ งมเี หตุผล
3. วิเคราะห์ วจิ ารณ์ แสดงความคดิ เห็นโตแ้ ยง้ กับเรื่องท่ีอ่านและเสนอความคิดใหมอ่ ย่างมีเหตุผล
4. ตอบคาถามจากการอ่านประเภทต่างๆ ภายในเวลาท่กี าหนด
5. มีมารยาทในการอ่าน

ท 2.1 ม.6/3,4,5,8
1. เขียนย่อความจากสื่อทม่ี ีรปู แบบ และเนอ้ื หาหลากหลาย
2. ผลิตงานเขียนของตนเองในรูปแบบต่างๆ
3. ประเมนิ งานเขียนของผู้อ่นื แล้วนามาพฒั นางานเขยี นของตนเอง
4. มีมารยาทในการเขยี น

ท 3.1 ม.6/1,4,6
1. สรปุ แนวคิด และแสดงความคิดเหน็ จากเรือ่ งท่ฟี ังและดู
2. มีวจิ ารณญาณในการเลือกเรื่องท่ฟี งั และดู
3. มมี ารยาทในการฟงั การดูและการพดู

ท 4.1 ม.6/1,3,7
1. อธิบายธรรมชาตขิ องภาษาพลงั ของภาษา และลกั ษณะของภาษา
2. ใชภ้ าษาเหมาะสมแก่โอกาส กาลเทศะ และบุคคล รวมท้ังคาราชาศพั ท์อยา่ งเหมาะสม
3. วิเคราะหแ์ ละประเมนิ การใช้ภาษาจากสื่อสิง่ พิมพแ์ ละสอื่ อิเล็กทรอนิกส์

ท 5.1 ม.6/1,4
1. วิเคราะหแ์ ละวิจารณว์ รรณคดีและวรรณกรรมตามหลกั การวิจารณเ์ บ้ืองตน้
2. สงั เคราะห์ข้อคิดจากวรรณคดีและวรรณกรรมเพ่ือนาไปประยุกตใ์ ช้ในชีวติ จรงิ

งานหลักสตู รสถานศึกษา กลุ่มบริหารวิชาการ อสิ ลามวิทยาลัยแห่งประเทศไทย

SUBMITTED BY PATTHARAPONG THONGNAIKAEW

หลกั สตู รกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย อสิ ลามวทิ ยาลยั แห่งประเทศไทย - 72 -

รายวิชาเพม่ิ เตมิ

วชิ า อา่ น – เขยี น 1 คาอธบิ ายรายวิชา เวลา 40 ชว่ั โมง
ชั้นมัธยมศึกษาปที ่ี 1 1 หน่วยกิต
รหัสวชิ า ท 21201
ภาคเรยี นที่ 1

ศึกษาหลักการอ่านออกเสียง คัดลายมือตัวบรรจงคร่ึงบรรทัด เขียนสื่อสาร การอ่านและการเขียน
สะกดคาที่ถูกต้องโดยใช้กระบวนการทางภาษา กระบวนการอ่านคิดวิเคราะห์ การสืบค้นความรู้ การจด
บันทึก ใช้ความสามารถในการคิด การแสดงความคิดเห็น การลงความคิดเห็น ฝึกทักษะการอ่านและการ
เขียน การฟังการดูและการพูด เพ่ือให้เกิดความรู้ ความเข้าใจในการเรียนรู้ ใช้ความสามารถในการสื่อสาร
กบั ผอู้ ืน่ ให้เข้าใจตรงกัน เห็นคณุ คา่ ของภาษาไทย

เพื่อให้เป็นผู้มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ มีมารยาทในการอ่าน การเขียน การฟัง การดูและ
การพูด เห็นคุณค่าภาษาไทยซึ่งเป็นเอกลักษณ์ของชาติ รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัยใฝ่
เรียนรู้ อยู่อย่างพอเพียง มุ่งมน่ั ในการทางาน รักความเป็นไทยและมีจติ สาธารณะเพื่อให้เกดิ การเรยี นรูอ้ ยา่ งมี
ประสิทธิภาพ ภาคภูมิใจในภาษาไทย และรักษาไว้เป็นสมบัติของชาติ เพ่ือนาความรู้ไปประยุกต์ใช้ในการ
แก้ปญั หาใหเ้ กดิ ประโยชน์ในชวี ติ

ผลการเรยี นรู้

1. เกิดความตระหนักเหน็ คุณคา่ ของภาษาไทย
2. มีความรคู้ วามเข้าใจลกั ษณะของภาษาไทย อกั ษรไทย และการเขียนใหถ้ กู ตอ้ ง สวยงาม
3. มีความรู้ความเขา้ ใจไตรยางศแ์ ละการผนั อกั ษร อ่าน เขยี นคาทีม่ ีวรรณยกุ ต์ได้อยา่ งถกู ตอ้ ง
4. จาแนกอกั ษรนา อกั ษรควบไดอ้ ย่างถกู ต้อง อา่ น เขียนอักษรนา อักษรควบไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ งแมน่ ยา
5. สามารถระบคุ วามหมาย และวธิ ใี ชค้ าราชาศัพท์พืน้ ฐาน โดยรวบรวมเปน็ คลังราชาศัพท์
6. สามารถใชส้ านวน สุภาษติ คาพงั เพยในสถานการณต์ า่ ง ๆ ไดถ้ ูกต้องตามความหมาย และมีความ

ภมู ใิ จในภมู ิปัญญาไทย
7. สามารถอา่ นออกเสียงคาตา่ ง ๆ เชน่ คาพ้อง คาย่อ คาที่มาจากภาษาอ่นื และเขยี นคาอ่านได้

ถูกต้อง
8. ใชพ้ จนานกุ รมเพอื่ การค้นควา้ อ้างอิงไดอ้ ย่างคล่องแคลว่ เพ่ือใชป้ ระโยชนใ์ นชวี ติ ประจาวัน และ

การศึกษาข้นั สงู ตอ่ ไป
9. มีความรคู้ วามเข้าใจและแตง่ รอ้ ยแกว้ รอ้ ยกรองอยา่ งง่าย เช่น กาพยฉ์ บงั กาพย์ยานี- และกาพย์

สรุ างคนางค์

รวม 9 ผลการเรยี นรู้

งานหลกั สูตรสถานศึกษา กลุ่มบรหิ ารวิชาการ อสิ ลามวิทยาลัยแห่งประเทศไทย

SUBMITTED BY PATTHARAPONG THONGNAIKAEW

หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรูภ้ าษาไทย อสิ ลามวทิ ยาลยั แห่งประเทศไทย - 73 -

วิชา อา่ น – เขยี น 2 คาอธบิ ายรายวชิ า เวลา 40 ชัว่ โมง
ชนั้ มธั ยมศึกษาปที ี่ 1 1 หนว่ ยกิต
รหัสวชิ า ท 21202
ภาคเรียนที่ 2

ศึกษาหลักการอ่านออกเสียง คัดลายมือตัวบรรจงคร่ึงบรรทัด เขียนส่ือสาร การอ่านและการเขียน
สะกดคาท่ีถูกต้องโดยใช้กระบวนการทางภาษา กระบวนการอ่านคิดวิเคราะห์ การสืบค้นความรู้ การจด
บันทึก ใช้ความสามารถในการคิด การแสดงความคิดเห็น การลงความคิดเห็น ฝึกทักษะการอ่านและการ
เขียน การฟังการดูและการพูด เพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจในการเรียนรู้ ใช้ความสามารถในการสื่อสาร
กบั ผูอ้ ืน่ ให้เขา้ ใจตรงกนั เห็นคุณคา่ ของภาษาไทย

เพื่อให้เป็นผู้มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ มีมารยาทในการอ่าน การเขียน การฟัง การดูและการ
พูด เห็นคุณค่าภาษาไทยซึ่งเป็นเอกลักษณ์ของชาติ รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ซ่ือสัตย์สุจริต มีวินัย ใฝ่
เรียนรู้ อยู่อย่างพอเพียง มุ่งมัน่ ในการทางาน รักความเป็นไทยและมีจติ สาธารณะเพ่ือให้เกิดการเรียนรู้อย่าง
มีประสิทธิภาพ ภาคภูมิใจในภาษาไทย และรักษาไว้เป็นสมบัติของชาติ เพื่อนาความรู้ไปประยุกต์ใช้ในการ
แก้ปญั หาใหเ้ กดิ ประโยชนใ์ นชีวติ

ผลการเรยี นรู้

1. อ่านจบั ใจความ สรปุ ความสารท่ีพบในชวี ิตประจาวนั เชน่ ฉลากยา คาแนะนาในการใชว้ สั ดุ
อปุ กรณ์ตา่ ง ๆ

2. อ่านวรรณกรรมประเภทสารคดี บันทกึ บทความ ข่าว แล้วสรุปความ จับประเด็นสาคญั แยก
ขอ้ เท็จจรงิ ขอ้ คดิ เห็น โดยจดั กจิ กรรมส่งเสริมการอ่าน

3. อ่านกวนี ิพนธป์ ระเภทกาพย์ กลอน โคลง เปน็ ทานองเสนาะไดอ้ ย่างถกู ต้องไพเราะ และแสดง
ความคดิ เหน็ เกย่ี วกบั คณุ ค่าด้านเนื้อหา ด้านวรรณศลิ ป์ ภาษา ความไพเราะ และคุณคา่ ดา้ นสงั คม

4. แสดงการมนี ิสัยรกั การอ่าน โดยอ่านอย่างสมา่ เสมอ และร่วมกจิ กรรมการอ่าน
5. เขียนสรุปความ ย่อความ เรียงความ ได้ถูกต้องตามหลกั การ และกระบวนการเขียน โดยมผี ลงาน

การเขยี นของตนเอง
6. เขยี นร้อยกรองกาพย์ประเภทตา่ ง ๆ นาไปประยุกต์ใชใ้ นชวี ิตประจาวัน
7. แสดงการมนี สิ ยั รกั การเขยี น โดยจดั ทาบนั ทึกประจาวนั
8. พดู รายงานแสดงความคิดเห็นเกย่ี วกบั เรอ่ื งท่ีฟังเพ่ือจุดประสงค์ต่าง ๆ
9. พูดนาเสนอการวเิ คราะห์ ประเมินค่าสอ่ื ทด่ี ู ประเภทตา่ ง ๆ อยา่ งมีมารยาท
10. แสดงการมมี ารยาทในการฟงั ดู และพดู ไดเ้ หมาะสมกาลเทศะและบคุ คล

รวม 10 ผลการเรียนรู้

งานหลกั สตู รสถานศึกษา กลุ่มบรหิ ารวิชาการ อสิ ลามวทิ ยาลัยแห่งประเทศไทย

SUBMITTED BY PATTHARAPONG THONGNAIKAEW

หลกั สตู รกลุ่มสาระการเรยี นรภู้ าษาไทย อิสลามวทิ ยาลัยแหง่ ประเทศไทย - 74 -

วิชา หลักภาษา 1 คาอธบิ ายรายวชิ า เวลา 40 ช่วั โมง
ชนั้ มธั ยมศึกษาปีที่ 2 1 หน่วยกิต
รหสั วิชา ท 22201
ภาคเรียนท่ี 1

ศึกษาหลักภาษาไทย เรื่องเสียงในภาษาไทย ท้ังรูปและเสียง อักษรไตรยางศ์กับการผันวรรณยุกต์
การสะกดคา การจาแนกคา คาเป็น คาตาย คาและกลุ่มคา เพ่ือให้มีความรู้ความเข้าใจในพ้ืนฐานของหลัก
ภาษาไทย อธิบายและสรปุ หลกั การใช้ได้อย่างถกู ตอ้ ง

มีทักษะการอ่านและการเขียนที่ถูกต้องตามหลักภาษาไทย สามารถอ่านและเขียนร้อยแก้วหรือร้อย
กรองได้ มีนิสัยรักการอ่าน การเขียน ตระหนักในวัฒนธรรมการใช้ภาษาไทยท่ีถูกต้อง เห็นคุณค่าภาษาไทยซ่ึง
เป็นภาษาประจาชาติ

ผลการเรยี นรู้

1. เขยี นพยัญชนะ สระ วรรณยกุ ตไ์ ด้ถูกตอ้ ง
2. สามารถแยกสระเสียงส้ันและสระเสียงยาวได้
3. บอกมาตราตัวสะกดได้
4. ยกตัวอย่างคาทส่ี ะกดตรงตามมาตราและไม่ตรงตามมาตราได้
5. สามารถบอกและแยกอกั ษรไตรยางศไ์ ด้
6. สามารถผนั วรรณยุกตไ์ ด้ถกู ตอ้ งตามหลักเกณฑ์
7. มที ักษะการอ่านและเขยี นสะกดคาได้ถูกต้อง
8. สามารถแจกลูกคาได้
9. อธิบายคาเป็นและคาตายได้
10. ยกตัวอย่างและวิเคราะหค์ าเปน็ คาตายได้
11. เข้าใจและแยกคาและกลมุ่ คาได้
12. วิเคราะห์คาและกลุม่ คาได้

รวม 12 ผลการเรียนรู้

งานหลักสูตรสถานศึกษา กลุ่มบริหารวิชาการ อสิ ลามวิทยาลัยแห่งประเทศไทย

SUBMITTED BY PATTHARAPONG THONGNAIKAEW

หลกั สูตรกลุ่มสาระการเรียนรภู้ าษาไทย อิสลามวทิ ยาลัยแห่งประเทศไทย - 75 -

วชิ า หลักภาษา 2 คาอธิบายรายวชิ า เวลา 40 ชวั่ โมง
ชัน้ มธั ยมศึกษาปีที่ 2 1 หนว่ ยกติ
รหัสวชิ า ท 22202
ภาคเรียนท่ี 2

ศึกษาหลักภาษาไทย เร่ืองหลักการสร้างคา การวิเคราะห์คา กลุ่มคา ประโยค และการสร้างประโยค
เคร่ืองหมายวรรคตอน ใช้ภาษาได้ตามเจตนาการส่ือสาร ถูกต้องตามวัฒนธรรมของการใช้ภาษา ฝึกการอ่าน
การเขียน การฟัง การดูและการพูด โดยอ่านบทร้อยแก้วและร้อยกรองประเภทเร่ืองสั้นและคาบรรยาย
สามารถเขียนบทร้อยแก้วและร้อยกรองด้วยถ้อยคาไพเราะถูกต้อง เพ่อื การใชภ้ าษาไทยได้ถูกต้องตามหลักการ
ใช้ภาษาไทย มีมรรยาทในการใช้ภาษา มีนิสัยรักการอ่าน การเขียน ใช้ทักษะพื้นฐานของวิชาหลักภาษาไทย
พัฒนาทักษะการทางาน ทักษะการเรียนรู้ของตนเอง ให้รู้จักค้นคว้าหาความรู้เพิ่มเติม และรักษาภาษาไทย
ภาษาประจาชาตไิ วใ้ ห้เป็นสมบัติของชาติสบื ต่อไป

ผลการเรยี นรู้
1. ระบุวิธกี ารสร้างคา
2. จาแนกชนดิ ของคาได้
3. อธบิ ายและวเิ คราะหอ์ งค์ประกอบของพยางค์และคาในภาษาไทย
4. จาแนกชนิดคา และหนา้ ท่ีของคาในประโยคภาษาไทย
5. จาแนกชนิดและหน้าท่ีของกล่มุ คาในประโยคภาษาไทยได้
6. จาแนกประโยคและวิเคราะหอ์ งคป์ ระกอบของประโยคทใ่ี ชใ้ นภาษาไทย
7. การเลือกใช้คา กลุ่มคา ประโยคในภาษาไทยไดอ้ ย่างมปี ระสทิ ธิภาพ
8. ระบเุ คร่อื งหมายวรรคตอนไดถ้ ูกตอ้ ง
9. อ่านและเขยี นรอ้ ยแกว้ และร้อยกรองได้ถูกต้องตามหลักเกณฑ์

รวม 9 ผลการเรียนรู้

งานหลักสตู รสถานศึกษา กลุ่มบริหารวิชาการ อสิ ลามวิทยาลยั แห่งประเทศไทย

SUBMITTED BY PATTHARAPONG THONGNAIKAEW

หลักสตู รกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย อสิ ลามวิทยาลยั แห่งประเทศไทย - 76 -

วิชา ทักษะการคดิ วเิ คราะห์ 1 คาอธิบายรายวชิ า เวลา 40 ช่ัวโมง
ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 3 1 หน่วยกิต
รหสั วิชา ท 23201
ภาคเรยี นท่ี 1

มคี วามรแู้ ละความสามารถในการอ่านเชิงวิเคราะห์จากการอ่านจากสือ่ สิ่งพิมพ์และสื่ออิเลคทรอนิกส์
ที่ให้ข้อมลู สารสนเทศ ความรู้ ประสบการณ์ท่เี อ้ือให้ผู้อ่านนาไปคิดวิเคราะห์ แสดงความคิดเห็น โต้แย้ง หรือ
สนับสนุน ทานาย คาดการณ์ ตลอดจนประยุกต์ใช้ในการตัดสินใจแก้ปัญหาและถ่ายทอดเป็นข้อเขียนเชิง
สร้างสรรค์ รายงานบทความทางวิชาการอย่างถกู ตอ้ งตามหลักวิชา เชน่ อา่ นบทความทางวิชาการ วรรณกรรม
ประเภทต่าง ๆ

ใช้กระบวนการคัดสรรสื่อท่ีต้องการอ่านเพ่ือหาข้อมูลสารสนเทศได้ตามวัตถุประสงค์ สามารถสร้าง
ความเขา้ ใจและประยุกตใ์ ช้ความรู้จากการอ่านสามารถจับประเด็นสาคัญและประเด็นสนับสนนุ โต้แย้งสามารถ
วิเคราะห์ วิจารณ์ ความสมเหตุสมผล ความน่าเช่ือถือ ลาดับความและความเป็นไปได้ของเร่ืองท่ีอ่าน
สามารถสรุปคณุ ค่า แนวคดิ แงค่ ิดท่ไี ด้จากการอา่ น และสามารถสรุปอภปิ ราย ขยายความแสดงความคิดเหน็
โตแ้ ย้งสนับสนนุ โนม้ นา้ ว โดยการเขียนส่อื สารในรปู แบบต่างๆ เช่น ผังความคดิ เปน็ ตน้

ตระหนกั เหน็ คณุ คา่ เห็นความสาคญั ชนื่ ชม มกี ารทางานร่วมกนั เกดิ จติ สานึกทดี่ ี ใหค้ วามสนใจ ใน
การนาความรู้ทไี่ ด้รบั ไปใช้ให้เกิดประโยชนต์ ่อตนเอง และสังคมต่อไป

ผลการเรียนรู้
1. สามารถระบปุ ระเดน็ ท่คี ิดจากเรื่องที่อ่านได้
2. สามารถประมวลข้อมูล ท้งั ทางด้านข้อเท็จจรงิ ขอ้ โตแ้ ยง้ และความคดิ เห็นทเ่ี ก่ียวขอ้ งกบั ประเดน็

ทค่ี ดิ จากเร่ืองที่อา่ นได้
3. สามารถวิเคราะห์ขอ้ มูล และเลอื กข้อมลู ทจี่ ะนามาใชใ้ นการหาคาตอบ
4. สามารถประเมินขอ้ มลู ที่ใชใ้ นการคิดตามเกณฑ์ที่กาหนด
5. สามารถพิจารณาข้อมลู ข้อโตแ้ ย้งและความคิดเหน็ ตามหลักเหตุผล
6. สามารถระบทุ างเลอื ก/คาตอบทีม่ คี วามสมเหตุสมผล
7. สามารถประเมนิ ทางเลอื กและเลือกทางเลือก/คาตอบทเ่ี หมาะสมที่สุด

รวม 7 ผลการเรยี นรู้

งานหลกั สตู รสถานศึกษา กลุ่มบริหารวิชาการ อสิ ลามวิทยาลัยแห่งประเทศไทย

SUBMITTED BY PATTHARAPONG THONGNAIKAEW

หลักสตู รกลุ่มสาระการเรียนรภู้ าษาไทย อสิ ลามวิทยาลัยแห่งประเทศไทย - 77 -

วชิ า ทักษะการคดิ วเิ คราะห์ 2 คาอธิบายรายวชิ า เวลา 40 ชวั่ โมง
ชั้นมัธยมศกึ ษาปีที่ 3 1 หนว่ ยกติ
รหัสวิชา ท 23202
ภาคเรียนที่ 2

มคี วามรู้และความสามารถในการอา่ นเชิงวเิ คราะห์จากการอ่านจากสื่อ ส่ิงพิมพ์และสื่ออิเลคทรอนกิ ส์
ท่ีให้ข้อมูลสารสนเทศ ความรู้ ประสบการณ์ท่ีเอ้ือให้ผู้อ่านนาไปคิดวิเคราะห์ แสดงความคิดเห็น โต้แย้งหรือ
สนับสนุน ทานาย คาดการณ์ ตลอดจนประยุกต์ใช้ในการตัดสินใจแก้ปัญหาและถ่ายทอดเป็นข้อเขียนเชิง
สร้างสรรค์ รายงานบทความทางวิชาการอย่างถูกต้องตามหลักวิชา เช่น อ่านบทความทางวิชาการ
วรรณกรรมประเภทตา่ ง ๆ

ใช้กระบวนการคัดสรรสื่อท่ีต้องการอ่านเพ่ือหาข้อมูลสารสนเทศได้ตามวัตถุประสงค์ สามารถสร้าง
ความเข้าใจและประยกุ ต์ใช้ความรู้จากการอ่านสามารถจับประเดน็ สาคัญและประเด็นสนับสนนุ โตแ้ ย้งสามารถ
วิเคราะห์ วิจารณ์ ความสมเหตุสมผล ความน่าเช่ือถือ ลาดับความและความเป็นไปได้ของเรื่องที่อ่าน
สามารถสรุปคุณค่า แนวคิด แง่คิดที่ได้จากการอ่าน และสามารถสรุปอภิปราย ขยายความแสดงความ
คิดเห็นโต้แยง้ สนบั สนนุ โนม้ น้าว โดยการเขียนส่อื สารในรปู แบบตา่ งๆ เช่น ผังความคิด เปน็ ต้น

ตระหนัก เห็นคุณค่า เห็นความสาคัญ ชื่นชม มีการทางานร่วมกัน เกิดจิตสานึกที่ดี ให้ความสนใจ
ในการนาความรทู้ ไี่ ดร้ ับไปใช้ใหเ้ กดิ ประโยชน์ตอ่ ตนเองและสงั คมตอ่ ไป

ผลการเรยี นรู้

1. สามารถระบปุ ระเด็นทีค่ ดิ จากเรอื่ งทอี่ ่านได้
2. สามารถประมวลข้อมูล ทงั้ ทางด้านข้อเท็จจรงิ ข้อโต้แยง้ และความคดิ เห็นทีเ่ กี่ยวขอ้ งกบั ประเดน็

ท่ีคดิ จากเรือ่ งท่ีอ่านได้
3. สามารถวเิ คราะหข์ อ้ มูล และเลอื กขอ้ มลู ที่จะนามาใช้ในการหาคาตอบ
4. สามารถประเมินข้อมูลท่ีใช้ในการคดิ ตามเกณฑ์ที่กาหนด
5. สามารถพจิ ารณาขอ้ มลู ขอ้ โตแ้ ยง้ และความคิดเหน็ ตามหลักเหตผุ ล
6. สามารถระบทุ างเลอื ก/คาตอบทม่ี คี วามสมเหตุสมผล
7. สามารถประเมนิ ทางเลอื ก และเลอื กทางเลอื ก/คาตอบท่เี หมาะสมท่ีสดุ

รวม 7 ผลการเรียนรู้

งานหลกั สตู รสถานศึกษา กลุ่มบรหิ ารวิชาการ อสิ ลามวิทยาลยั แห่งประเทศไทย

SUBMITTED BY PATTHARAPONG THONGNAIKAEW

หลักสูตรกลุ่มสาระการเรยี นรภู้ าษาไทย อสิ ลามวิทยาลัยแห่งประเทศไทย - 78 -

การวดั และประเมนิ ผล

การวัดผลและการประเมินผลทางวิชาภาษาไทยนั้น ผู้สอนไม่ควรมุ่งวัดแต่ด้านความรู้เพียงด้านเดียว
ควรวัดให้ครอบคลุมด้านทักษะ / กระบวนการ รวมถึงด้านคุณธรรมจริยธรรมและค่านิยมด้วย ท้ังน้ีต้องวัดให้
ไดส้ ัดสว่ นและสอดคล้องกบั มาตรฐานการเรียนรทู้ ไี่ ดก้ าหนดไวใ้ นหลกั สูตร

การวัดผลและการประเมินผล ควรใช้วิธีการท่ีหลากหลายท่ีสอดคล้องและเหมาะสมกับ
วตั ถุประสงค์ของการวัด เช่น การวัดผลเพือ่ ปรับปรงุ คุณภาพการเรียนการสอนและพัฒนาผเู้ รียน (Formative
Test) การวัดผลเพื่อวินิจฉัยหาจุดบกพร่องของผู้เรียน (Diagnostic Test) การวัดผลเพ่ือ ตัดสินผลการเรียน
ของผู้เรียน (Summative Test หรือ Achievement Test) การวัดผลตามสภาพจริง (Authentic Test)
การสังเกต แฟ้มสะสมผลงาน (Portfolio) โครงงานภาษาไทย (Mathematics Project) การสัมภาษณ์
(Interview)

การวดั ผลและการประเมนิ ผลทางวิชาภาษาไทย ควรมุ่งเน้นการวัดสมรรถภาพโดยรวมของผูเ้ รียนเป็น
หลัก (Performance Examination) และผู้สอนต้องถือว่าการวัดผลและการประเมินผลเป็นส่วนหน่ึงของ
กระบวนการจัดการเรียนรู้ อย่างไรก็ตามสาหรับการเรียนรู้ภาษาไทยน้ัน หัวใจของการวัดผลและการ
ประเมนิ ผล ไม่ใชอ่ ย่ทู ่กี ารวัดผลเพ่ือประเมินตัดสนิ ได้หรือตกของผู้เรยี นเพยี งอย่างเดยี ว แต่อยู่ท่ีการวัดผลเพื่อ
วนิ ิจฉัยหาจุดบกพร่อง ตลอดจนการวดั ผลเพื่อนาข้อมูลมาใช้ในการปรับปรุงการเรียนการสอนที่ช่วยพัฒนาให้
ผู้เรียนได้สามารถเรียนรู้ภาษาไทยได้อยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพและเต็มตามศักยภาพ

การประเมินผลท่ีดีนั้นต้องมาจากการวัดผลที่ดี กล่าวคือ จะต้องเป็นการวัดผลท่ีมีความถูกต้อง
(Validity) และมีความเชอื่ มั่น (Reliability) และการวัดผลน้ันต้องมีการวัดผลด้วยวิธีต่างๆที่หลากหลายตาม
สภาพ และผู้สอนจะต้องวัดให้ต่อเน่ือง ครอบคลุมและทั่วถึง เมื่อนาผลการวัดท้ังหลายมารวมสรุปก็จะทาให้
การประเมินผลน้นั ถูกต้องใกลเ้ คียงตามสภาพจรงิ

แหล่งการเรยี นรู้

การเรียนรู้ภาษาไทยในยุคโลกไร้พรมแดนน้ัน ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ได้ทุกเวลาและทุกสถานที่ ทั้งนี้
เพราะแหล่งเรียนรู้ได้เปิดกว้าง ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ ศึกษาค้นคว้าได้ตลอดเวลาและตลอดชีวิต ท้ังการศึกษา
ในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศัย

แหล่งการเรียนรู้สาหรับวิชาภาษาไทยนั้นไม่ใช่แค่ห้องเรียนเท่าน้ัน แต่ยังรวมถึงสถานที่ต่าง ๆ
ในชุมชน เช่น ห้องเรียน ห้องสมุด โรงเรียน วิทยาลัย มหาวิทยาลัย ศูนย์การเรียน พิพิธภัณฑ์ สมาคม ชุมนุม
ชมรม มุมความรู้ สวนในวรรณคดี ห้องสมุดกลุ่มสาระการเรียนรู้ ห้องกลุ่มสาระการเรียนรู้ สื่อสิ่งพิมพ์ต่าง ๆ
สาหรับผู้สอนและผู้เรียน อุปกรณ์การเรียนการสอน เกมและของเล่นทางภาษาไทย ส่ืออิเล็กทรอนิกส์ต่าง ๆ
เช่น คอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI) ซอฟท์แวร์ (Software) อินเตอร์เน็ต (Internet) หนังสืออิเล็กทรอนิกส์
(E-Book) รวมท้ังบุคคลทั้งหลายที่มีความรู้ความสามารถทางภาษาไทย เช่น ครู อาจารย์ ศึกษานิเทศก์
ภมู ิปัญญาทอ้ งถ่นิ

ทั้งนี้หากได้มกี ารส่งเสริมและพัฒนา ตลอดจนจดั เตรยี มแหลง่ การเรียนรทู้ ีไ่ ด้กล่าวมาข้างต้นให้มีความ
เหมาะสม สอดคล้อง และพอเพียงกับผู้เรียนและผู้สอนก็จะช่วยพัฒนาการเรียนการสอนวิชาภาษาไทยให้มี
ประสิทธิภาพและประสทิ ธิผลย่งิ ข้ึน

งานหลักสูตรสถานศึกษา กลุ่มบรหิ ารวิชาการ อสิ ลามวิทยาลยั แห่งประเทศไทย

SUBMITTED BY PATTHARAPONG THONGNAIKAEW

หลักสตู รกลุ่มสาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์ อิสลามวิทยาลัยแหง่ ประเทศไทย - 79 -

โครงสร้างหลักสตู รสถานศึกษา

ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน
พุทธศักราช 2551 (ฉบบั ปรับปรงุ 2560)

กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์

หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ อสิ ลามวิทยาลัยแหง่ ประเทศไทย - 80 -

บทนา

ความสาคัญ

คณิตศาสตร์มีบทบาทสาคัญยิ่งต่อการพัฒนาความคิดของมนุษย์ ทาให้มนุษย์มีความคิด สร้างสรรค์
คิดอย่างมีเหตุผล เป็นระบบ ระเบียบ มีแบบแผน สามารถวิเคราะห์ปัญหาและสถานการณ์ได้อย่างถี่ถ้วน
รอบคอบ ทาให้สามารถคาดการณ์ วางแผน ตัดสินใจและแก้ปญั หาไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ งและเหมาะสม

คณิตศาสตร์เปน็ เครือ่ งมอื ในการศึกษาวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ตลอดจนศาสตร์อ่ืน ๆ ทีเ่ กี่ยวข้อง
คณิตศาสตรจ์ ึงมีประโยชน์ต่อการดารงชีวิตและช่วยพัฒนาคุณภาพชีวิตให้ดีขึน้ นอกจากนี้คณิตศาสตรย์ ังช่วย
พัฒนาคนให้เป็นมนุษย์ท่ีสมบูรณ์ มีความสมดุลทั้งทางรา่ งกาย จิตใจ สติปัญญา และอารมณ์ สามารถคิด
เป็น ทาเปน็ แก้ปญั หาเป็น และสามารถอยู่รว่ มกบั ผ้อู ื่นได้อย่างมีความสุข

วสิ ยั ทศั นข์ องกลุ่มสาระ

ร่วมกันพัฒนาผู้เรียนให้เป็นคนดี มีความรู้ ความสามารถด้านคณิตศาสตร์แ ละนาไปใช้ใน
ชวี ติ ประจาวนั ไดอ้ ยา่ งมีความสุข

เป้าหมาย ( Goals )

พัฒนานกั เรยี นร้อยละ 95 ให้เป็นคนดี มคี ุณธรรมจรยิ ธรรม มคี วามรู้ ความสามารถ และอยู่ใน
สงั คมได้อย่างมีความสขุ

เป้าหมาย

กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตรม์ งุ่ มั่นพฒั นาผู้เรยี นใหบ้ รรลศุ กั ยภาพสูงสดุ ของแตล่ ะบุคคล เป็นคนดี
แก้ปัญหาได้ มคี วามสุขโดยได้กาหนดเปา้ หมายการพฒั นาผู้เรียน ดังตอ่ ไปน้ี

1. เปน็ คนดี มคี ุณธรรม จริยธรรม
2. มคี วามรู้ ความสามารถทางคณิตศาสตร์
3. มที กั ษะและความสามารถในการคดิ คานวณ
4. เรียนคณติ ศาสตร์อยา่ งมีความสุข

คุณภาพของผู้เรียน

เม่ือผู้เรียนจบการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน 12 ปีแล้ว ผู้เรียนจะต้องมีความรู้ความเข้าใจในเน้ือหาสาระ
คณิตศาสตร์ มีทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ มีเจตคติท่ีดีต่อคณิตศาสตร์ ตระหนักในคุณค่าของ
คณิตศาสตร์ และสามารถนาความรู้ทางคณิตศาสตร์ไปพัฒนาคุณภาพชีวิต ตลอดจนสามารถนาความรู้ทาง
คณิตศาสตรไ์ ปเป็นเครือ่ งมอื ในการเรยี นรสู้ ่งิ ต่าง ๆ และเปน็ พ้นื ฐานในการศกึ ษาในระดบั ท่ีสูงขึ้น

การที่ผู้เรียนจะเกิดการเรียนรู้คณิตศาสตร์อย่างมีคุณภาพน้ัน จะต้องมีความสมดุลระหว่างสาระ
ทางด้านความรู้ ทักษะกระบวนการ ควบคไู่ ปกบั คุณธรรม จรยิ ธรรม และค่านิยม ดังน้ี

1. มีความรคู้ วามเข้าใจในคณิตศาสตรพ์ ้ืนฐานเกย่ี วกับจานวนและการดาเนนิ การ การวดั เรขาคณิต
พชี คณติ การวเิ คราะห์ขอ้ มูลและความน่าจะเปน็ พรอ้ มทั้งสามารถนาความร้นู นั้ ไปประยุกต์ได้

หลักสตู รกลุ่มสาระการเรยี นร้คู ณติ ศาสตร์ อสิ ลามวิทยาลัยแหง่ ประเทศไทย - 81 -

2. มที ักษะกระบวนการทางคณติ ศาสตรท์ ่ีจาเป็น ได้แก่ ความสามารถในการแก้ปญั หาดว้ ยวิธีการที่
หลากหลาย การให้เหตุผล การส่ือสาร ส่ือความหมายทางคณิตศาสตร์ และการนาเสนอ การมีความคิดริเร่ิม
สร้างสรรค์ การเช่อื มโยงความรตู้ า่ งๆ ทางคณติ ศาสตรแ์ ละเชื่อมโยงคณติ ศาสตร์กบั ศาสตร์อ่นื ๆ

3. มีความสามารถในการทางานอย่างเป็นระบบ มีระเบียบวินัย มีความรอบคอบ มีความ
รับผิดชอบ มีวิจารณญาณ มีความเช่ือม่ันในตนเอง พร้อมท้ังตระหนักในคุณค่าและมี เจตคติท่ีดีต่อ
คณติ ศาสตร์

คุณภาพของผ้เู รยี นเมอื่ จบชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 3

เมอื่ ผเู้ รยี นจบชัน้ มธั ยมศึกษาปที ี่ 3 ผเู้ รยี นควรจะมีความสามารถดังนี้
 มีความคิดรวบยอดเกี่ยวกับจานวนจริง มีความเข้าใจเก่ียวกับอัตราส่วน สัดส่วน ร้อยละ

เลขยกกาลังท่ีมีเลขชี้กาลังเป็นจานวนเต็ม รากที่สองและรากท่ีสามของจานวนจริง สามารถดาเนินการ
เก่ียวกับจานวนเต็ม เศษส่วน ทศนิยม เลขยกกาลัง รากท่ีสองและรากที่สามของจานวนจริงใช้การประมาณ
ค่าในการดาเนินการและแกป้ ัญหา และนาความร้เู กยี่ วกับจานวนไปใช้ในชีวติ จริงได้

 มีความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับพื้นที่ผิวของปริซึม ทรงกระบอก และปริมาตรของปริซึม
ทรงกระบอก พีระมิด กรวย และทรงกลม เลือกใช้หน่วยการวัดในระบบต่างๆ เก่ียวกับความยาว พ้ืนที่ และ
ปริมาตรได้อย่างเหมาะสม พร้อมทง้ั สามารถนาความรเู้ กี่ยวกบั การวดั ไปใชใ้ นชีวิตจริงได้

 สามารถสร้างและอธิบายขั้นตอนการสร้างรูปเรขาคณิตสองมิติโดยใช้วงเวียนและสันตรง
อธิบายลักษณะและสมบตั ขิ องรปู เรขาคณติ สามมิติ ซึง่ ไดแ้ ก่ ปริซมึ พีระมิด ทรงกระบอก กรวย และทรงกลมได้

 มีความเข้าใจเกี่ยวกับสมบัติของความเท่ากันทุกประการและความคล้ายของรูปสามเหลี่ยม
เสน้ ขนาน ทฤษฏีบทพที าโกรสั และบทกลบั และสามารถนาสมบัติเหล่านน้ั ไปใชใ้ นการให้เหตุผลและแก้ปัญหา
ได้ มีความเข้าใจเก่ียวกับการแปลงทางเรขาคณิต (GEOMETRIC TRANSFORMATION ) ในเร่ืองการเลื่อนขนาน
(TRANSLATION) การสะทอ้ น (REFLECTION) และการหมนุ (ROTATION) และนาไปใชไ้ ด้

 สามารถนึกภาพและอธิบายลักษณะของรปู เรขาคณติ สองมติ ิและสามมิติ
 สามารถวิเคราะห์และอธิบายความสัมพันธ์ของแบบรูป สถานการณ์หรือปัญหาและสามารถ
ใช้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวและกราฟในการ
แก้ปัญหาได้
 สามารถกาหนดประเด็น เขียนข้อคาถามเกี่ยวกับปัญหาหรือสถานการณ์ กาหนดวิธีการ
ศกึ ษาเก็บรวบรวมขอ้ มลู และนาเสนอข้อมลู โดยใชแ้ ผนภูมิรูปวงกลม หรือรปู แบบอน่ื ทีเ่ หมาะสมได้
 เข้าใจค่ากลางของข้อมูลในเร่ืองค่าเฉล่ียเลขคณิต มัธยฐาน และฐานนิยมของข้อมูลที่ยังไม่ได้
แจกแจงความถี่ และเลือกใชไ้ ดอ้ ยา่ งเหมาะสม รวมท้งั ใชค้ วามรูใ้ นการพิจารณาขอ้ มูลขา่ วสารทางสถติ ิ
 เข้าใจเก่ียวกับการทดลองสุ่ม เหตุการณ์ และความน่าจะเป็นของเหตุการณ์ สามารถใช้
ความรู้เกี่ยวกบั ความนา่ จะเปน็ ในการคาดการณ์และประกอบการตดั สนิ ใจในสถานการณ์ต่างๆ ได้ฃ
 ใช้วิธีการท่ีหลากหลายแก้ปัญหา ใช้ความรู้ ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์และ
เทคโนโลยีในการแก้ปัญหาในสถานการณ์ต่างๆ ได้อย่างเหมาะสม ให้เหตุผลประกอบการตัดสินใจและสรุปผล
ได้อย่างเหมาะสม ใช้ภาษาและสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตรใ์ นการสื่อสาร การส่ือความหมายและการนาเสนอ
ได้อย่างถูกต้องและชัดเจน เช่ือมโยงความรู้ต่างๆ ในคณิตศาสตร์และนาความรู้ หลักการกระบวนการทาง
คณติ ศาสตรไ์ ปเช่อื มโยงกับศาสตร์อนื่ ๆ และมคี วามคิดรเิ ริ่มสรา้ งสรรค์

หลักสตู รกลุ่มสาระการเรียนร้คู ณิตศาสตร์ อิสลามวิทยาลัยแห่งประเทศไทย - 82 -

คณุ ภาพของผ้เู รียนเม่อื จบชัน้ มัธยมศกึ ษาปีที่ 6

เมอ่ื ผ้เู รียนจบชั้นมัธยมศกึ ษาปที ่ี 6 ผูเ้ รียนควรจะมคี วามสามารถดงั น้ี
 มีความคิดรวบยอดเก่ียวกับระบบจานวนจริง ค่าสัมบูรณ์ของจานวนจริง จานวนจริงท่ีอยู่ใน

รูปกรณฑ์ และจานวนจรงิ ทอ่ี ยูใ่ นรปู เลขยกกาลังทีม่ ีเลขชีก้ าลงั เป็นจานวนตรรกยะ หาค่าประมาณของจานวน
จริงที่อยู่ในรูปกรณฑ์ และจานวนจริงท่ีอยู่ในรูปเลขยกกาลังโดยใช้วิธีการคานวณที่เหมาะสมและสามารถนา
สมบตั ขิ องจานวนจรงิ ไปใชไ้ ด้

 นาความรู้เร่ืองอัตราส่วนตริโกณมิติไปใช้คาดคะเนระยะทาง ความสูงและแก่ปัญหาเกี่ยวกับ
การวดั ได้

 มีความคิดรวบยอดในเร่ืองเซต การดาเนินการของเซต และใช้ความรู้เกี่ยวกับแผนภาพ
เวนน์-ออยเลอร์ แสดงเซตไปใช้แกป้ ญั หา และตรวจสอบความสมเหตสุ มผลของการใหเ้ หตผุ ล

 เขา้ ใจและสามารถใชก้ ารให้เหตุผลแบบอุปนัยและนิรนยั ได้
 มีความคิดรวบยอดเก่ียวกับความสัมพันธ์และฟังก์ชัน สามารถใช้ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แก้ปัญหาในสถานการณ์ต่าง ๆได้
 เข้าใจความหมายของสาดับเลขคณิต ลาดับเรขาคณิต และสามารถหาพจน์ทั่วไปได้เข้าใจ
ความหมายของผลบวกของ N พจน์แรกของอนุกรมเลขคณิต อนุกรมเรขาคณิต และหาผลบวก N พจน์แรก
ของอนกุ รมเลขคณิต และอนุกรมเรขาคณติ โดยใช้สตู รและนาไปใชไ้ ด้
 รู้และเข้าใจการแก้สมการและอสมการตัวแปรเดียวดีกรีไม่เกินสอง รวมทั้งใช้กราฟของ
สมการ อสมการ หรอื ฟังกช์ ันในการแก้ปัญหา
 เข้าใจวิธีการสารวจความคิดเห็นอย่างง่าย เลือกใช้ค่ากลางได้เหมาะสมกับข้อมูลและ
วัตถุประสงค์ สามารถหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต มัธยฐาน ฐานนิยม ส่วนเบี่ยงเบนมาตาฐาน และเปอร์เซ็นไทล์
ของขอ้ มลู และนาผลจากการวิเคราะห์ข้อมลู ไปช่วยในการตดั สินใจ
 เข้าใจเกี่ยวกับการทดลองสุ่ม เหตุการณ์ ประกอบการตัดสินใจและแก้ปัญหาสถานการณ์
ตา่ งๆ ได้
 ใช้วธิ กี ารที่หลากหลายแก้ปัญหา ใช้ความรู้ ทักษะและกระบวนการทางคณติ ศาสตร์และ
เทคโนโลยีในการแกป้ ัญหาในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้อย่างสถานการณ์ต่างๆ ได้อย่างเหมาะสม ใหเ้ หตุผล
ประกอบการตัดสินใจและสรุปผลได้อยา่ งเหมาะสม ใช้ภาษาและสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ในการสอ่ื สาร
การส่ือความหมายและการนาเสนอได้อย่างถูกต้องและชดั เจน เชอ่ื มโยงความรู้ต่าง ๆ ในคณิตศาสตร์และนา
ความรู้ หลีกการกระบวนการทางคณิตศาสตร์ไปเชอ่ื มโยงกับศาสตรไ์ ปเชื่อมโยงกบั ศาสตร์อื่น ๆ และมี
ความคิดริเรมิ่ สรา้ งสรรค์

หลกั สตู รกลุ่มสาระการเรียนรู้คณติ ศาสตร์ อสิ ลามวิทยาลัยแหง่ ประเทศไทย - 83 -

สาระการเรียนรู้

สาระการเรียนรู้ที่กาหนดไว้นี้เป็นสาระหลักที่จาเป็นสาหรับผู้เรียนทุกคน ประกอบด้วยเนื้อหาวิชา
คณิตศาสตรแ์ ละทักษะกระบวนการทางคณติ ศาสตร์ ในการจัดการเรียนรผู้ ู้สอนควรบูรณาการสาระต่าง ๆเข้า
ด้วยกนั เทา่ ทจ่ี ะเปน็ ไปได้

สาระที่เปน็ องค์ความรู้ของกลุ่มสาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์ ประกอบดว้ ย
สาระที่ 1 จานวนและการดาเนนิ การ
สาระที่ 2 การวัด
สาระที่ 3 เรขาคณิต
สาระท่ี 4 พชี คณติ
สาระที่ 5 การวิเคราะห์ข้อมลู และความน่าจะเปน็
สาระที่ 6 ทกั ษะ / กระบวนการทางคณิตศาสตร์

สาหรับผู้เรียนท่ีมีความสนใจหรือมีความสามารถสูงทางคณิตศาสตร์ สถานศึกษาอาจจัดให้
ผู้เรียนเรียนรู้สาระที่เป็นเน้ือหาวิชาให้กว้างข้ึน เข้มข้นข้ึน หรือฝึกทักษะกระบวนการมากข้ึนโดยพิจารณา
จากสาระหลักที่กาหนดไว้น้ี หรือสถานศึกษาอาจจัดสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์อื่น ๆ เพิ่มเติมก็ได้ เช่น
แคลคูลัสเบ้ืองต้น หรือทฤษฎีกราฟเบื้องต้น โดยพิจารณาให้เหมาะสมกับความสามารถและความต้องการ
ของผู้เรยี น

มาตรฐานการเรยี นรู้

มาตรฐานการเรียนรู้แกนกลาง

มาตรฐานการเรียนรทู้ ี่จาเป็นสาหรับผู้เรียนทุกคน มีดังนี้

สาระท่ี 1 : จานวนและการดาเนินการ
มาตรฐาน ค 1.1 เข้าใจถึงความหลากหลายของการแสดงจานวนและการใช้จานวนในชวี ติ จรงิ
มาตรฐาน ค 1.2 เข้าใจถึงผลท่ีเกิดขน้ึ จากการดาเนินการของจานวนและความสมั พันธ์ระหวา่ ง
การดาเนินการต่าง ๆ และสามารถใช้การดาเนนิ การในการแก้ปัญหาได้
มาตรฐาน ค 1.3 ใช้การประมาณค่าในการคานวณและแก้ปัญหาได้
มาตรฐาน ค 1.4 เขา้ ใจในระบบจานวนและสามารถนาสมบตั เิ กีย่ วกบั จานวนไปใชไ้ ด้

สาระท่ี 2 : การวัด เขา้ ใจพื้นฐานเก่ียวกับการวัด
มาตรฐาน ค 2.1 วัดและคาดคะเนขนาดของสิ่งท่ีตอ้ งการวดั ได้
มาตรฐาน ค 2.2 แกป้ ญั หาเก่ยี วกบั การวัดได้
มาตรฐาน ค 2.3

สาระท่ี 3 : เรขาคณติ อธบิ ายและวเิ คราะหร์ ปู เรขาคณติ สองมิตแิ ละสามมิติได้
มาตรฐาน ค 3.1 ใชก้ ารนึกภาพ (visualization) ใช้เหตผุ ลเกี่ยวกบั ปรภิ มู ิ (spatial reasoning)
มาตรฐาน ค 3.2 และใช้แบบจาลองทางเรขาคณติ (geometric model) ในการแก้ปัญหาได้

หลักสตู รกลุ่มสาระการเรียนรู้คณติ ศาสตร์ อิสลามวทิ ยาลัยแห่งประเทศไทย - 84 -

สาระที่ 4: พีชคณิต อธบิ ายและวเิ คราะหแ์ บบรปู (pattern) ความสัมพันธแ์ ละฟังกช์ นั ตา่ งๆได้
มาตรฐาน ค 4.1 ใชน้ พิ จน์ สมการ อสมการ กราฟ และแบบจาลองทางคณติ ศาสตร์อน่ื ๆ
มาตรฐาน ค 4.2 แทนสถานการณต์ า่ ง ๆ ตลอดจนแปลความหมายและนาไปใช้แกป้ ญั หาได้

สาระที่ 5 : การวเิ คราะหข์ ้อมลู และความนา่ จะเปน็
มาตรฐาน ค 5.1 เข้าใจและใช้วธิ กี ารทางสถติ ิในการวิเคราะห์ข้อมลู ได้
มาตรฐาน ค 5.2 ใช้วิธกี ารทางสถิติและความรเู้ กย่ี วกับความน่าจะเป็นในการคาดการณ์ได้
อยา่ งสมเหตสุ มผล
มาตรฐาน ค 5.3 ใชค้ วามรเู้ กี่ยวกับสถิติและความน่าจะเปน็ ชว่ ยในการตัดสนิ ใจและแก้ปญั หาได้

สาระท่ี 6 : ทักษะ / กระบวนการทางคณติ ศาสตร์
มาตรฐาน ค 6.1 มีความสามารถในการแกป้ ัญหา
มาตรฐาน ค 6.2 มีความสามารถในการให้เหตุผล
มาตรฐาน ค 6.3 มีความสามารถในการส่อื สาร การส่อื ความหมายทางคณติ ศาสตร์ และการ
นาเสนอ
มาตรฐาน ค 6.4 มีความสามารถในการเชื่อมโยงความรตู้ า่ ง ๆ ทางคณิตศาสตรแ์ ละ
เชอื่ มโยงคณติ ศาสตร์กบั ศาสตร์อ่ืน ๆ ได้
มาตรฐาน ค 6.5 มคี วามคิดริเร่ิมสร้างสรรค์

มาตรฐานการเรียนรู้แกนกลาง

สาระที่ 1 : จานวนและการดาเนินการ

มาตรฐาน ค 1.1 เข้าใจถงึ ความหลากหลายของการแสดงจานวนและการใชจ้ านวนในชีวิตจริง

ม. 1 – 3 ม. 4 - 6
1. มคี วามคิดรวบยอดเกี่ยวกบั จานวนเตม็ -บวก 1. แสดงความสัมพันธ์ของจานวนต่าง ๆ ใน
จานวนเต็มลบ ศนู ย์ และจานวน ระบบจานวนจริงได้
ตรรกยะ 2. มีความคิดรวบยอดเก่ียวกบั ค่าสัมบรู ณ์ของ
2. รูจ้ กั จานวนอตรรกยะ และจานวนจริง จานวนจริง จานวนจรงิ ที่อยูใ่ นรูปเลขยก
3. เข้าใจเกีย่ วกับ อัตราสว่ น สัดสว่ น กาลังท่ีมีเลขช้กี าลังเปน็ จานวนตรรกยะ
ร้อยละ และนาไปใชใ้ นการแก้ปัญหาได้ และจานวนจริงในรูปกรณฑ์
4. เข้าใจเก่ยี วกับเลข-ยกกาลังท่ีมีเลขช้ี-กาลงั
เปน็ จานวนเตม็ และสามารถเขียนจานวน
ใหอ้ ยูใ่ นรูปสญั กรณ์วิทยาศาสตร์

(A  10n เมอ่ื 1  A  10 และ n เป็น
จานวนเตม็ ) ได้
5. เขา้ ใจเกีย่ วกับรากทีส่ องและรากที่สามของ
จานวนจริง

หลักสตู รกลุ่มสาระการเรียนรูค้ ณิตศาสตร์ อสิ ลามวทิ ยาลัยแหง่ ประเทศไทย - 85 -

สาระที่ 1 : จานวนและการดาเนินการ (ตอ่ )

มาตรฐาน ค 1.2 เข้าใจถงึ ผลทีเ่ กิดขึน้ จากการดาเนนิ การของจานวนและความสัมพนั ธ์ระหว่างการดาเนินการ

ตา่ ง ๆ และสามารถใช้การดาเนนิ การในการแกป้ ัญหาได้

ม. 1 – 3 ม. 4 - 6

1. บวก ลบ คูณ และหารจานวนเต็ม เศษส่วน 1. เขา้ ใจความหมายและหาผลลัพธท์ ี่เกดิ จากการบวก
ทศนิยม เลขยกกาลงั และนาไปใช้แก้ปัญหาได้ การลบ การคณู การหารจานวนจรงิ จานวนจรงิ
2. หารากทส่ี องและรากที่สามของจานวนเตม็ โดย ทอ่ี ยู่ในรปู เลขยกกาลังทมี่ ีเลขชี้กาลงั เปน็ จานวน
การแยกตวั ประกอบ และไปใชแ้ ก้ปญั หาได้ ตรรกยะ และจานวนจริงในรูปกรณฑ์
3. อธบิ ายผลท่ีเกดิ ขน้ึ จากการบวก การลบ การ
คูณ การหาร การยกกาลงั และการหาราก
ของจานวนเต็มและจานวนตรรกยะ พร้อมทั้ง
บอกความสมั พนั ธ์ของการดาเนินการของ
จานวนต่าง ๆ ได้
4. ตระหนกั ถึงความสมเหตสุ มผลของคาตอบทไ่ี ด้
จากการคานวณและการแก้ปัญหา

มาตรฐาน ค 1.3 ใช้การประมาณค่าในการคานวณและแก้ปัญหาได้

ม. 1 – 3 ม. 4 - 6

1. เขา้ ใจเก่ยี วกับการประมาณค่าและนาไปใช้ 1. หาค่าประมาณของจานวนที่อย่ใู นรปู กรณฑแ์ ละ

แก้ปญั หาไดอ้ ย่างเหมาะสม จานวนทอี่ ยู่ในรูปเลขยกกาลัง โดยใชว้ ิธีการ

2. หารากที่สองและรากทีส่ ามของจานวนจริงโดยการ คานวณทเ่ี หมาะสม

ประมาณ การเปดิ ตาราง หรือการใชเ้ ครอ่ื ง

คานวณ และนาไปใช้แก้ปัญหาได้

มาตรฐาน ค 1.4 เข้าใจในระบบจานวนและสามารถนาสมบตั ิเกี่ยวกับจานวนไปใชไ้ ด้

ม. 1 – 3 ม. 4 - 6

1. เข้าใจสมบตั ิตา่ ง ๆ เกยี่ วกับระบบจานวนเตม็ และ 1. เข้าใจสมบตั ิของจานวนจรงิ ท่เี กยี่ วกับการบวก

นาไปใชแ้ ก้ปัญหาได้ การคณู การเท่ากัน การไมเ่ ทา่ กัน และ

2. มีความคิดรวบยอดเก่ียวกับจานวนในระบบจานวน นาไปใช้ได้

จรงิ

หลกั สูตรกลุ่มสาระการเรียนรคู้ ณิตศาสตร์ อสิ ลามวิทยาลัยแห่งประเทศไทย - 86 -

สาระท่ี 2 : การวัด ม. 4 - 6

มาตรฐาน ค 2.1 เขา้ ใจพืน้ ฐานเก่ยี วกับการวดั –––––

ม. 1 – 3

1. เขา้ ใจเก่ยี วกับพน้ื ท่ี-ผวิ และปรมิ าตรของรูป
เรขาคณิตสาม-มิติ

2. เลอื กใช้หน่วยการวัดในระบบต่าง ๆ เกี่ยวกบั
ความยาว พื้นท่ี และปริมาตรได้อยา่ งเหมาะสม

มาตรฐาน ค 2.2 วัดและคาดคะเนขนาดของส่ิงท่ีต้องการวดั ได้

ม. 1 – 3 ม. 4 - 6

1. คาดคะเนเวลา ระยะทาง ขนาด และนา้ หนัก 1. ใชค้ วามรู้เรอ่ื ง อัตราส่วนตรีโกณ-มิตขิ องมมุ ที่

ไดอ้ ย่างใกล้เคยี ง และสามารถอธิบายวิธกี ารท่ี กาหนดให้ในการคาดคะเนระยะทางและความ

ใชค้ าดคะเนได้ สูงได้

2. ใช้การคาดคะเนเกี่ยวกับการวัดในการแกป้ ัญหา

ในสถานการณ์ตา่ ง ๆไดอ้ ย่างเหมาะสม

มาตรฐาน ค 2.3 แกป้ ญั หาเกยี่ วกับการวัดได้ ม. 4 - 6

ม. 1 – 3 1. ใชค้ วามรูเ้ รื่องอัตราสว่ นตรโี กณมติ ิแก้ปญั หา
ท่เี กี่ยวกบั การวดั ได้
1. 1. ใช้ความรูเ้ กย่ี วกบั ความยาว พืน้ ที่ พนื้ ท่ีผวิ
และปริมาตรในการแก้ปัญหาในสถานการณ์
ต่าง ๆ ได้

สาระท่ี 3 : เรขาคณิต ม. 4 - 6

มาตรฐาน ค 3.1 อธิบายและวเิ คราะห์รปู เรขาคณติ สองมิตแิ ละสามมิติได้ –––––

ม. 1 – 3

1. อธบิ ายลักษณะและสมบตั ิของปริซมึ พีระมิด
ทรง-กระบอก กรวย และทรงกลมได้

2. สร้างรปู เรขาคณิตอยา่ งงา่ ยโดยไม่เนน้ การ
พิสูจนไ์ ด้

3. วิเคราะหล์ ักษณะของรปู เรขาคณติ สามมิติจาก
ภาพสองมติ ิได้

หลักสตู รกลุ่มสาระการเรียนร้คู ณติ ศาสตร์ อิสลามวิทยาลัยแหง่ ประเทศไทย - 87 -

สาระท่ี 3 : เรขาคณิต (ต่อ)

มาตรฐาน ค 3.2 ใช้การนึกภาพ (visualization) ใชเ้ หตผุ ลเก่ยี วกบั ปรภิ มู ิ (spatial reasoning) และใช้

แบบจาลองทางเรขาคณติ (geometric model) ในการแก้ปัญหาได้

ม. 1 – 3 ม. 4 - 6

1. เขา้ ใจเกย่ี วกบั สมบัติของความเท่ากนั ทุกประการ –––––
และความคลา้ ยของรูปสามเหล่ยี ม เส้น-ขนาน
ทฤษฎีบทป-ี ทาโกรัสและบทกลบั และนาไปใชใ้ น
การใหเ้ หตผุ ลและแก้ปัญหาได้
2. เขา้ ใจเกีย่ วกับ การแปลง(transformation)
ทางเรขาคณติ ในเรื่องการเล่อื นขนาน
(translation) การสะท้อน (reflection) และการ
หมุน (rotation) และนาไปใช้ได้
3. บอกภาพที่เกดิ ข้นึ จากการเลอ่ื นขนาน การสะท้อน
และการหมนุ รูปตน้ แบบ และสามารถอธิบาย
วธิ กี ารทจี่ ะได้ภาพทป่ี รากฏเม่ือกาหนดรปู ตน้ แบบ
และภาพนัน้ ให้

สาระท่ี 4 : พีชคณิต

มาตรฐาน ค 4.1 อธบิ ายและวิเคราะห์แบบรปู (pattern) ความสัมพนั ธ์ และฟังกช์ นั ตา่ ง ๆ ได้

ม. 1 – 3 ม. 4 - 6

1. วิเคราะห์และอธบิ ายความสัมพันธ์ของแบบรปู ที่ 1. มคี วามคดิ รวบยอดในเร่ืองเซตและการ

กาหนดให้ได้ ดาเนินการของเซต

2. เข้าใจและใช้การให้เหตผุ ลแบบอุปนยั และนริ

นัยได้

3. มคี วามคดิ รวบยอดเกย่ี วกบั ความสัมพนั ธ์ และ

ฟังกช์ ัน เขียนแทนความสัมพันธ์และฟงั กช์ ันใน

รปู ต่าง ๆ เชน่ สมการ กราฟ และ ตารางได้

4. เขา้ ใจความหมายของลาดับและหาพจนท์ วั่ ไป

ของลาดบั จากดั ท่ีกาหนดให้ได้

5. เข้าใจความหมายของลาดับเลขคณติ และลาดับ

เรขาคณิต หาพจน์ต่าง ๆ ของลาดบั เลขคณิต

และลาดับเรขาคณิตได้

หลกั สูตรกลุ่มสาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์ อิสลามวิทยาลัยแห่งประเทศไทย - 88 -

สาระที่ 4 : พชี คณติ (ต่อ)

มาตรฐาน ค 4.2 ใช้นิพจน์ สมการ อสมการ กราฟ และแบบจาลองทางคณติ ศาสตร์อื่น ๆ แทน

สถานการณ์ต่าง ๆ ตลอดจนแปลความหมายและนาไปใช้แก้ปัญหาได้

ม. 1 – 3 ม. 4 - 6

1. แกส้ มการและอสมการเชิงเสน้ ตัวแปรเดียวได้ 1. เขียนแผนภาพแทนเซต (Venn – Euler Diagram)

2. เขียนสมการหรืออสมการเชิงเส้นตัวแปรเดยี วแทน และนา ไปใชใ้ นการแก้ปญั หาท่ีเก่ียวกับการหา

สถานการณห์ รือปัญหาท่ีกาหนดใหแ้ ละนาไปใช้ สมาชกิ ของเซต ได้

แก้ปญั หา พร้อมทัง้ ตระหนกั ถึง ความสมเหตสุ มผล 2. บอกไดว้ า่ การอา้ งเหตผุ ลสมเหตุสมผลหรอื ไม่โดยใช้

ของคาตอบทไ่ี ด้ แผนภาพแทนเซต (Venn – Euler Diagram)

3. เขียนกราฟแสดงความเก่ยี วข้องระหว่างปริมาณสอง 3. แกส้ มการและอสมการตัวแปรเดยี วดีกรีไม่เกนิ สอง

ชุด หรือสมการเชิงเส้นทีก่ าหนดให้ได้ ได้

4. อา่ นและแปลความหมายกราฟท่กี าหนดให้ได้ 4. สรา้ งความสมั พนั ธห์ รอื ฟังกช์ นั จากสถานการณห์ รือ

5. แก้ระบบสมการเชิงเสน้ สองตัวแปร และสามารถ ปญั หาทกี่ าหนดให้ และนาไปใชใ้ นการแกป้ ญั หาได้

นาไปใชแ้ กป้ ญั หา พรอ้ มท้ังตระหนักถงึ ความ 5. เขา้ ใจความหมายของผลบวก n พจน์แรกของ

สมเหตสุ มผลของคาตอบทไ่ี ด้ อนกุ รมเลขคณิตและอนกุ รมเรขาคณิต หา

6. อธบิ ายลักษณะของรูปทเี่ กดิ ข้ึนจากการเลื่อน ผลบวก n พจนแ์ รกของอนุกรมเลข-คณติ และ

ขนาน การสะท้อน และการหมนุ บน อนุกรมเรขาคณิตโดยใชส้ ูตรและนาไปใชไ้ ด้

ระนาบพกิ ัดฉากได้ 6. ใช้กราฟของสมการ อสมการ ฟงั กช์ ันในการ

แก้ปญั หาได้

สาระท่ี 5 : การวเิ คราะหข์ อ้ มูลและความนา่ จะเปน็

มาตรฐาน ค 5.1 เขา้ ใจและใช้วธิ ีการทางสถิตใิ นการวเิ คราะหข์ ้อมลู ได้

ม. 1 – 3 ม. 4 - 6

1. กาหนดประเดน็ เขียนขอ้ คาถาม กาหนดวิธีการ 1. รูว้ ิธกี ารสารวจความคดิ เหน็ อยา่ งง่าย

ศกึ ษา และเก็บรวบรวมขอ้ มูลได้ 2. เลอื กใช้คา่ กลางที่เหมาะสมกับขอ้ มลู ทีก่ าหนดให้

2. เข้าใจเกย่ี วกบั คา่ กลางของขอ้ มลู ในเรื่องค่าเฉลย่ี และวตั ถปุ ระสงค์ทต่ี อ้ งการ

เลข-คณติ มธั ยฐาน และฐานนยิ ม และเลือก 3. วิเคราะหข์ อ้ มูลเบ้อื งต้นโดยใช้ ค่ากลาง (คา่ เฉล่ยี

ใช้ไดอ้ ยา่ งเหมาะสม เลขคณติ มธั ยฐาน และฐานนยิ ม) การวัดการ

3. นาเสนอขอ้ มูลในรปู แบบทเี่ หมาะสม อา่ น แปล กระจายโดยใชส้ ว่ นเบ่ยี งเบนมาตรฐาน และ การ
ความหมายและวเิ คราะหข์ อ้ มูลจากการนาเสนอข้อมลู ได้ หาตาแหน่งที่ของข้อมลู โดยใชเ้ ปอรเ์ ซ็นไทลไ์ ด้

สาระที่ 5 : การวเิ คราะห์ขอ้ มูลและความน่าจะเป็น (ต่อ)

มาตรฐาน ค 5.2 ใช้วธิ ีการทางสถติ ิและความรเู้ ก่ียวกับความนา่ จะเป็นในการคาดการณ์ได้อยา่ งสมเหตสุ มผล

ม. 1 – 3 ม. 4 - 6

1. เข้าใจเกย่ี วกับ การทดลองส่มุ เหตุการณ์ 1. อธิบายการทดลองสุม่ เหตกุ ารณ์ ความนา่ จะ

ความนา่ จะเปน็ ของเหตกุ ารณ์ และใชค้ วามรู้ เป็นของเหตุการณ์ และนาผลทไี่ ด้ไปใชใ้ นการ

เกี่ยวกับความน่าจะเป็นในการคาดการณไ์ ด้ คาดการณ์บางอย่างได้

อยา่ งสมเหตุสมผล 2. นาผลท่ีไดจ้ ากการสารวจความคิดเหน็ ไปใช้ใน

การคาดการณบ์ างอย่างได้

หลักสตู รกลุ่มสาระการเรียนรคู้ ณิตศาสตร์ อิสลามวิทยาลัยแหง่ ประเทศไทย - 89 -

มาตรฐาน ค 5.3 ใชค้ วามรเู้ กย่ี วกับสถิตแิ ละความน่าจะเปน็ ช่วยในการตัดสินใจและแก้ปญั หาได้

ม. 1 – 3 ม. 4 - 6

1. ใช้ความรู้เกี่ยวกับสถิตใิ นการพจิ ารณาข้อมลู 1. ใชข้ ้อมลู ข่าวสารและค่าสถิตชิ ่วยในการ

ข่าวสารทางสถติ แิ ละใชค้ วามรเู้ กี่ยวกบั ความ ตัดสินใจได้

น่าจะเปน็ ประกอบการตัดสินใจในสถานการณ์ 2. ใช้ความรู้เกยี่ วกบั ความนา่ จะเปน็ ช่วยในการ

ตา่ ง ๆ ได้ ตัดสินใจและแกป้ ัญหาได้

2. เข้าใจถึงความคลาดเคล่อื นท่ีอาจเกิดข้ึนได้จาก

การนาเสนอขอ้ มูลทางสถิติ

สาระที่ 6 : ทกั ษะ / กระบวนการทางคณติ ศาสตร์

มาตรฐาน ค 6.1 มคี วามสามารถในการแกป้ ัญหา

ม. 1 – 3 ม. 4 - 6

1. ใชว้ ธิ กี ารทีห่ ลากหลายแก้ปัญหาได้ 1. ใช้วิธีการที่หลากหลายแก้ปญั หาได้

2. ใช้ความรู้ ทกั ษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ 2. แก้ปญั หาในสถานการณจ์ รงิ โดยใช้

และเทคโนโลยใี นการแกป้ ัญหาในสถานการณ์ ความรทู้ างคณติ ศาสตร์ได้

ต่าง ๆ ได้อย่างเหมาะสม 3. ใช้ความรู้ ทกั ษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์

และเทคโนโลยใี นการแกป้ ญั หาไดอ้ ย่างหมาะสม

มาตรฐาน ค 6.2 มคี วามสามารถในการให้เหตผุ ล ม. 4 - 6

ม. 1 – 3 1. นาวธิ กี ารให้เหตุผลแบบอุปนัยและ นริ นยั มา
ช่วยในการค้นหาความจรงิ หรอื ข้อสรุป และ
1. สามารถแสดงเหตุผลโดยการอ้างอิงความรู้ ช่วยในการตัดสนิ ใจบางอย่างได้
ข้อมลู หรือข้อเทจ็ จรงิ หรอื สร้างแผนภาพ

สาระท่ี 6 : ทักษะ / กระบวนการทางคณติ ศาสตร์ (ต่อ)

มาตรฐาน ค 6.3 มีความสามารถในการส่อื สาร การส่อื ความหมายทางคณติ ศาสตร์ และการนาเสนอ

ม. 1 – 3 ม. 4 - 6

1. ใชภ้ าษาและสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตรใ์ นการ 1. ใช้ภาษาและสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตรใ์ นการ

ส่ือสาร ส่อื ความ-หมาย และนาเสนอไดอ้ ย่าง ส่อื สาร สือ่ ความหมาย และนาเสนอได้อยา่ ง

ถกู ต้อง ชัดเจน และรัดกุม ถกู ต้อง ชัดเจน และรัดกมุ

มาตรฐาน ค 6.4 มีความสามารถในการเชือ่ มโยงความร้ตู ่าง ๆ ทางคณติ ศาสตร์และเช่ือมโยงคณิตศาสตร์กับ

ศาสตรอ์ น่ื ๆ ได้

ม. 1 – 3 ม. 4 - 6
1. เชอ่ื มโยงความรู้ เนื้อหาตา่ ง ๆ ในคณติ ศาสตร์ 1. เชื่อมโยงความคิดรวบยอด หลกั การ และ
และ นาความรู้ หลักการ กระบวนการทาง วธิ ีการทางคณิตศาสตร์ และศาสตร์อืน่ ๆ
คณิตศาสตร์ไปเชื่อมโยงกบั ศาสตรอ์ ืน่ ๆ เพอื่ อธิบายข้อสรุป หรือเร่ืองราวตา่ ง ๆ ได้
2. นาความรู้และทกั ษะท่ีไดจ้ ากการเรียน 2. นาความรแู้ ละทกั ษะที่ไดจ้ ากการเรียน
คณติ ศาสตร์ไปประยกุ ต์ในการเรยี นรสู้ ง่ิ ตา่ ง ๆ คณิตศาสตร์ไปประยกุ ต์ในการเรยี นรู้ในงาน
และในการดารงชวี ติ และในการดารงชวี ิต

หลักสตู รกลุ่มสาระการเรียนรูค้ ณติ ศาสตร์ อสิ ลามวทิ ยาลัยแหง่ ประเทศไทย - 90 -

มาตรฐาน ค 6.5 มคี วามคดิ รเิ รมิ่ สร้างสรรค์ ม. 4 - 6

ม. 1 – 3 1. มคี วามคดิ ริเริ่มสร้างสรรคใ์ นการทางาน

1. มีความคดิ รเิ ร่ิมสร้างสรรคใ์ นการทางาน

หมายเหตุ
กาหนดมาตรฐานการเรียนร้ไู ว้เฉพาะสว่ นทจ่ี าเป็นเพ่อื เปน็ พน้ื ฐานในการดารงชีวิตให้มคี ุณภาพสาหรับ

ผเู้ รียนทุกคน สถานศึกษาจึงต้องจัดการเรียนรู้ให้ผู้เรียนทุกคนบรรลุมาตรฐานการเรียนรู้ระดับช้ันที่กาหนดไว้
ทัง้ หมด

สาหรับสาระและมาตรฐานการเรียนรู้ตามความสามารถ ความถนัด และความสนใจของผู้เรียน
สถานศึกษาสามารถพัฒนาเพ่มิ เติม เพ่อื ให้ผูเ้ รียนไดพ้ ัฒนาเตม็ ตามศกั ยภาพ

หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรคู้ ณิตศาสตร์ อิสลามวทิ ยาลัยแห่งประเทศไทย - 91 -

โครงสร้างหลักสตู ร กลุ่มสาระการเรียนรคู้ ณิตศาสตร์
หลักสตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พื้นฐาน พุทธศักราช 2551(ฉบบั ปรับปรุง 2560)

ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น

รายวิชาพ้นื ฐาน จานวน 60 ชวั่ โมง 1.5 หน่วยกติ
ค21111 คณิตศาสตร์ จานวน 60 ชว่ั โมง 1.5 หน่วยกติ
ค21112 คณิตศาสตร์ จานวน 60 ชว่ั โมง 1.5 หน่วยกิต
ค22111 คณิตศาสตร์ จานวน 60 ชวั่ โมง 1.5 หนว่ ยกติ
ค22112 คณิตศาสตร์ จานวน 60 ชว่ั โมง 1.5 หนว่ ยกิต
ค23111 คณิตศาสตร์ จานวน 60 ชว่ั โมง 1.5 หนว่ ยกิต
ค23112 คณติ ศาสตร์

รายวชิ าเพ่ิมเติม จานวน 40 ชว่ั โมง 1.0 หน่วยกิต
ค21201 คณติ ศาสตรเ์ พิ่มเติม จานวน 40 ชว่ั โมง 1.0 หน่วยกิต
ค21202 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม จานวน 40 ชัว่ โมง 1.0 หน่วยกิต
ค21203 เสริมทกั ษะคณติ ศาสตร์ จานวน 40 ชั่วโมง 1.0 หนว่ ยกิต
ค21204 เสรมิ ทักษะคณติ ศาสตร์ จานวน 40 ชว่ั โมง 1.0 หนว่ ยกิต
ค22201 คณติ ศาสตรเ์ พ่ิมเติม จานวน 40 ชั่วโมง 1.0 หนว่ ยกิต
ค22202 คณติ ศาสตรเ์ พ่ิมเติม จานวน 40 ชว่ั โมง 1.0 หนว่ ยกิต
ค22203 เสริมทักษะคณิตศาสตร์ จานวน 40 ชั่วโมง 1.0 หน่วยกิต
ค22204 เสรมิ ทกั ษะคณิตศาสตร์ จานวน 40 ชว่ั โมง 1.0 หนว่ ยกิต
ค23201 คณติ ศาสตร์เพ่ิมเติม จานวน 40 ชั่วโมง 1.0 หน่วยกติ
ค23202 คณิตศาสตรเ์ พิ่มเติม จานวน 40 ชั่วโมง 1.0 หน่วยกติ
ค23203 เสรมิ ทกั ษะคณิตศาสตร์ จานวน 40 ชั่วโมง 1.0 หน่วยกิต
ค23204 เสรมิ ทักษะคณิตศาสตร์

หลกั สูตรกลุ่มสาระการเรยี นร้คู ณติ ศาสตร์ อสิ ลามวทิ ยาลัยแห่งประเทศไทย - 92 -

โครงสรา้ งหลกั สูตร กลุม่ สาระการเรียนรูค้ ณิตศาสตร์
หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 (ฉบับปรับปรงุ 2560)

ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย

รายวิชาพนื้ ฐาน จานวน 40 ชว่ั โมง 1.0 หนว่ ยกติ
ค31111 คณิตศาสตร์ จานวน 40 ช่ัวโมง 1.0 หนว่ ยกติ
ค31112 คณติ ศาสตร์ จานวน 40 ชั่วโมง 1.0 หน่วยกติ
ค31113 คณิตศาสตร์ จานวน 40 ชั่วโมง 1.0 หน่วยกติ
ค31114 คณติ ศาสตร์ จานวน 40 ชัว่ โมง 1.0 หน่วยกติ
ค32111 คณิตศาสตร์ จานวน 40 ช่ัวโมง 1.0 หน่วยกติ
ค32112 คณติ ศาสตร์ จานวน 40 ชว่ั โมง 1.0 หนว่ ยกติ
ค32113 คณติ ศาสตร์ จานวน 40 ชัว่ โมง 1.0 หนว่ ยกติ
ค32114 คณติ ศาสตร์ จานวน 40 ช่วั โมง 1.0 หน่วยกติ
ค33111 คณิตศาสตร์ จานวน 40 ชั่วโมง 1.0 หน่วยกติ
ค33112 คณิตศาสตร์ จานวน 40 ชั่วโมง 1.0 หนว่ ยกติ
ค33113 คณิตศาสตร์ จานวน 40 ชว่ั โมง 1.0 หน่วยกิต
ค33114 คณิตศาสตร์

รายวิชาเพิ่มเติม จานวน 80 ชวั่ โมง 2.0 หนว่ ยกิต
ค31211 คณิตศาสตรเ์ พิ่มเตมิ จานวน 80 ชวั่ โมง 2.0 หนว่ ยกิต
ค31212 คณิตศาสตร์เพมิ่ เตมิ จานวน 80 ชวั่ โมง 2.0 หนว่ ยกติ
ค32211 คณติ ศาสตร์เพิ่มเตมิ จานวน 80 ชวั่ โมง 2.0 หนว่ ยกติ
ค32212 คณิตศาสตรเ์ พ่ิมเตมิ จานวน 80 ชวั่ โมง 2.0 หนว่ ยกิต
ค33211 คณิตศาสตรเ์ พิ่มเตมิ จานวน 80 ชวั่ โมง 2.0 หนว่ ยกิต
ค33212 คณิตศาสตรเ์ พิ่มเติม จานวน 40 ชว่ั โมง 1.0 หนว่ ยกิต
ค33213 คณติ ศาสตร์เครอ่ื งคิดเลข จานวน 40 ชวั่ โมง 1.0 หนว่ ยกติ
ค33214 คณิตศาสตร์เครื่องคดิ เลข

หลกั สูตรกลุ่มสาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์ อสิ ลามวทิ ยาลัยแหง่ ประเทศไทย - 93 -

คาอธิบายรายวิชา

ค21111 คณิตศาสตร์ กล่มุ สาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์

ชนั้ มัธยมศึกษาปที ี่ 1 ภาคเรยี นท่ี 1 จานวนเวลา 60 ชวั่ โมง 1.5 หน่วยกิต

ศึกษาการเปรียบเทียบจานวนเต็ม จานวนตรงข้ามและค่าสัมบูรณ์ การบวก การลบ การคูณ และการ
หาร จานวนเต็ม สมบัติของจานวนเต็ม และการนาความรู้เก่ียวกับจานวนเต็มไปใช้ในชีวิตจริง เศษส่วน การ
เปรียบเทียบ เศษส่วน การบวก การลบ การคณู และการหารเศษส่วน และการนาไปใช้ในชีวิตจริง ทศนิยม ค่า
ประจาหลักทศนิยม การเปรยี บเทียบทศนิยม การบวก การลบ การคณู และการหารทศนยิ ม (ไม่รวมผลลัพธ์ที่
เป็นทศนิยมซ้า) ความสัมพันธ์ของเศษส่วนกับทศนิยม การนาความรู้เก่ียวกับทศนิยมไปใช้ในชีวิตจริง และ
จานวนตรรกยะและสมบัติ ของจานวนตรรกยะ การเขียนเลขยกกาลังท่ีมีเลขช้ีกาลังเป็นจานวนเต็มบวก การ
คูณและการหารเลขยกกาลัง เม่ือ เลขช้ีกาลังเป็นจานวนเต็มบวก การเขียนจานวนในรูปสัญกรณ์วิทยาศาสตร์
และการนาความร้เู ก่ยี วกับเลขยกกาลัง ไปใชใ้ นชีวติ จริง หนา้ ตัดของรูปเรขาคณิตสามมิติ การอธิบายภาพสอง
มิติท่ีได้จากการมองด้านหน้า ด้านข้าง และ ด้านบนของรูปเรขาคณิตสามมิติ และรูปเรขาคณิตสามมิติที่
ประกอบขึน้ จากลูกบาศก์ แบบรปู และความสัมพันธ์ คาตอบของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดยี ว การแก้สมการเชิง
เส้นตัวแปรเดียว และการนาความรู้เก่ียวกับสมการเชงิ เส้น ตัวแปรเดียวไปใช้ในชีวิตจริง โดยจัดประสบการณ์
หรือสร้างสถานการณ์ให้ผู้เรียนได้ศึกษาค้นคว้าโดยการปฏิบัติจริง ทดลอง สรุป รายงาน เพื่อพัฒนาทักษะ/
กระบวนการในการคดิ คานวณ แก้ปัญหา การให้เหตผุ ล และนาความรู้ ความคิด ทักษะ กระบวนการท่ีไดไ้ ปใช้
ในชีวิตประจาวนั อย่างสร้างสรรค์ เพื่อใหเ้ ห็นคุณค่าและมีเจตนคติท่ีดตี ่อคณิตศาสตร์ สามารถทางานได้อย่าง
เปน็ ระบบ มีระเบียบ มีความรบั ผิดชอบ มวี ิจารณญาณ มีความคิดรเิ ร่มิ สร้างสรรค์และมคี วามเชื่อมั่นในตนเอง

ตัวช้ีวัด
ค. 1.1 ม.1/1 ม.1/2

ค. 1.3 ม.1/1
ค. 2.2 ม.1/2

รวมทั้งหมด 4 ตัวชว้ี ัด

หลักสตู รกลุ่มสาระการเรยี นรคู้ ณิตศาสตร์ อิสลามวิทยาลัยแห่งประเทศไทย - 94 -

ค21201 คณติ ศาสตร์เพม่ิ เตมิ คาอธิบายรายวชิ า
ช้ันมธั ยมศกึ ษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 1
กล่มุ สาระการเรยี นรูค้ ณิตศาสตร์
จานวน 40 ชั่วโมง 1.0 หน่วยกิต

ศึกษา ฝึกทักษะการคิดคานวณ การแกป้ ัญหา การให้เหตุผล การจัดการเรยี นรู้โดยการปฏิบัติจริงใน
สาระการเรียนรู้ต่อไปน้ี การเปรียบเทียบจานวนเต็ม จานวนตรงข้ามและค่าสัมบูรณ์ การบวก การลบ การ
คูณและการหารจานวนเต็มสมบัติของจานวนเต็มและการนาความรู้เกี่ยวกับจานวนเต็มไปใช้ในชีวิตจริง
เศษส่วน การเปรียบเทียบเศษส่วนการบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วน และการนาความรู้เก่ียวกับ
เศษส่วนไปใช้ในชีวิตจรงิ ทศนิยม คา่ ประจาหลักของทศนยิ มและการเปรียบเทยี บทศนิยม การบวก การลบ
การคูณ การหารทศนยิ ม (ไม่รวมผลลพั ธ์ทเี่ ป็นทศนิยมซา้ )ความสมั พันธ์ของเศษส่วนกบั ทศนิยม การนาความรู้
เกี่ยวกับทศนยิ มไปใช้ในชวี ติ จรงิ และจานวนตรรกยะและสมบัตขิ องจานวนตรรกยะ

โดยการจัดประสบการณ์หรือสร้างสถานการณ์ในชีวิตประจาวันท่ีใกล้ตัวให้ผู้เรียนได้ศึกษา ค้นคว้า
ฝกึ ทักษะโดยการปฏิบัติจริง ทดลอง สรุป รายงาน เพ่ือพัฒนาทักษะ กระบวนการในการคิดคานวณ การ
แก้ปัญหา การให้เหตุผล การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์และนาประสบการณ์ด้านความรู้ ความคิด
ทกั ษะและกระบวนการที่ไดไ้ ปใชใ้ นการเรยี นรูส้ ง่ิ ต่าง ๆ และใช้ในชีวิตจาวนั อย่างสรา้ งสรรค์

ผลการเรยี นรู้
1. เข้าใจจานวนตรรกยะและความสัมพนั ธ์ของจานวนตรรกยะและใช้สมบัตขิ องจานวนตรรกยะในการ

แกป้ ญั หาคณติ ศาสตร์ และปัญหา ในชวี ิตจรงิ ได้
2. เขา้ ใจจานวนตรรกยะและความสัมพนั ธ์ของจานวนตรรกยะและใช้สมบัตขิ องจานวนตรรกยะในการ

แก้ปัญหาคณิตศาสตร์ และปัญหาในชวี ติ จรงิ ได้
3. มีความสามารถในการแก้ปัญหา การให้เหตุผล การสือ่ สาร การสอื่ ความหมายทางคณติ ศาสตรแ์ ละ

การนาเสนอ การเชอื่ มโยงความรตู้ า่ ง ๆ ทางคณิตศาสตร์ และเชอื่ มโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อนื่ ๆ และมี
ความคดิ ริเริม่ สรา้ งสรรค์

หลักสตู รกลุ่มสาระการเรียนรคู้ ณติ ศาสตร์ อสิ ลามวิทยาลัยแห่งประเทศไทย - 95 -

ค21202 คณิตศาสตร์ คาอธบิ ายรายวชิ า
ชนั้ มัธยมศึกษาปีท่ี 1 ภาคเรยี นที่ 2
กลุ่มสาระการเรยี นรูค้ ณิตศาสตร์
จานวนเวลา 40 ชั่วโมง 1.0 หนว่ ยกิต

ศกึ ษา ฝึกทักษะการคิดคานวณ การแก้ปัญหา การใหเ้ หตุผล การจัดการเรียนรู้โดยการปฏิบตั ิจริงใน
สาระการเรียนรูต้ ่อไปนี้ อัตราสว่ น สัดส่วน และร้อยละ อตั ราส่วนของจานวนหลายๆจานวน สัดส่วน ร้อยละ
การนาความรู้เก่ียวกับอัตราส่วน สัดส่วน และร้อยละ ไปใช้ในชีวิตประจาวัน สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
กราฟของสมการเชิงเส้น สมการและคาตอบของสมการ การแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว การนาความรู้
เกย่ี วกับกราฟของความสมั พันธ์เชงิ เสน้ ไปใช้ในชีวิตจริง

โดยการจัดประสบการณ์หรือสร้างสถานการณ์ในชีวิตประจาวันที่ใกล้ตัวให้ผู้เรียนได้ศึกษา ค้นคว้า
ฝึกทักษะโดยการปฏิบัติจริง ทดลอง สรุป รายงาน เพ่ือพัฒนาทักษะ กระบวนการในการคิดคานวณ การ
แก้ปัญหา การให้เหตุผล การส่ือความหมายทางคณิตศาสตร์และนาประสบการณ์ด้านความรู้ ความคิด
ทกั ษะและกระบวนการท่ไี ด้ไปใช้ในการเรียนรสู้ งิ่ ต่าง ๆ และใชใ้ นชีวิตจาวนั อย่างสรา้ งสรรค์

เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจ มีทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ สามารถนาไปใช้อย่าง
มีวิจารณญาณและสร้างสรรค์ในชีวิตประจาวัน รวมทั้งสามารถทางานอย่างเป็นระบบ มีระเบียบวินัย มี
ความรบั ผิดชอบ มีความเพียรพยายามและ มเี จตคตทิ ดี่ ีตอ่ คณิตศาสตร์

ผลการเรียนรู้
1. หาอัตราส่วน สดั ส่วน และร้อยละ อัตราสว่ นของจานวนหลายๆจานวนได้
2. หาสัดสว่ น ร้อยละ การนาความรู้เกี่ยวกบั อัตราส่วน สดั ส่วน และรอ้ ยละ ไปใช้ในชวี ิตประจาวนั ได้
3. หาคาตอบของสมการเชิงเส้นตวั แปรเดยี วและเขียนกราฟของสมการเชิงเส้นได้
4. นาความร้เู ก่ียวกับกราฟของความสัมพันธ์เชงิ เสน้ ไปใชใ้ นชวี ิตจริงได้

หลกั สูตรกลุ่มสาระการเรยี นรคู้ ณิตศาสตร์ อิสลามวทิ ยาลัยแหง่ ประเทศไทย - 96 -

ค21203 เสริมทกั ษะคณติ ศาสตร์ คาอธิบายรายวิชา
ชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนท่ี 1
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
จานวน 40 ชั่วโมง 1.0 หน่วยกิต

ศกึ ษาการเปรียบเทยี บจานวนเต็ม จานวนตรงข้ามและค่าสัมบูรณ์ การบวก การลบ การคูณ และการ
หาร จานวนเต็ม สมบัติของจานวนเต็ม และการนาความรู้เก่ียวกับจานวนเต็มไปใช้ในชีวิตจริง เศษส่วน การ
เปรียบเทียบ เศษส่วน การบวก การลบ การคณู และการหารเศษส่วน และการนาไปใช้ในชวี ิตจริง ทศนิยม ค่า
ประจาหลักทศนิยม การเปรียบเทียบทศนิยม การบวก การลบ การคณู และการหารทศนิยม (ไม่รวมผลลัพธ์ท่ี
เป็นทศนิยมซ้า) ความสัมพันธ์ของเศษส่วนกับทศนิยม การนาความรู้เกี่ยวกับทศนิยมไปใช้ในชีวิตจริง และ
จานวนตรรกยะและสมบตั ิ ของจานวนตรรกยะ

โดยจัดประสบการณ์หรือสร้างสถานการณ์ให้ผู้เรียนได้ศึกษาค้นคว้าโดยการปฏิบัติจริง ทดลอง สรุป
รายงาน เพ่ือพัฒนาทักษะ/กระบวนการในการคิดคานวณ แก้ปัญหา การให้เหตุผล และนาความรู้ ความคิด
ทักษะ กระบวนการทีไ่ ด้ไปใช้ในชวี ิตประจาวันอย่างสรา้ งสรรค์

เพ่ือให้เห็นคุณค่าและมีเจตนคติท่ีดีต่อคณิตศาสตร์ สามารถทางานได้อย่างเป็นระบบ มีระเบียบ มี
ความรบั ผดิ ชอบ มวี ิจารณญาณ มคี วามคิดรเิ ร่มิ สรา้ งสรรคแ์ ละมีความเชื่อมั่นในตนเอง

ผลการเรยี นรู้
1. เปรียบเทียบจานวนเตม็ จานวนตรงข้ามและค่าสมั บรู ณ์ ได้
2. บวก ลบ คูณ และหาร จานวนเตม็ สมบตั ขิ องจานวนเต็ม ได้
3. นาระบบจานวนเต็มไปใชใ้ นชีวิตจริง
4. เปรยี บเทียบ เศษสว่ น บวก ลบ คณู และหารเศษสว่ นได้
5. นาเศษส่วนไปใช้ในชวี ิตจรงิ ได้
6. ทศนิยม ค่าประจาหลักทศนิยม การเปรียบเทียบทศนยิ มได้
7. บวก ลบ คณู และหารทศนยิ มได้
8. นาความรู้เกีย่ วกับทศนิยมไปใชใ้ นชีวิตจริง
9. มคี วามสามารถในการแก้ปัญหา การใหเ้ หตผุ ล การส่ือสาร การสอ่ื ความหมายทางคณติ ศาสตร์

และการนาเสนอ การเชื่อมโยงความรู้ตา่ ง ๆ ทางคณติ ศาสตร์ และเชือ่ มโยงคณติ ศาสตร์กับศาสตร์อน่ื ๆ
และมคี วามคิดรเิ ร่มิ สร้างสรรค์

หลกั สูตรกลุ่มสาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์ อิสลามวิทยาลัยแหง่ ประเทศไทย - 97 -

ค21204 เสริมทักษะคณติ ศาสตร์ คาอธิบายรายวิชา
ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 1
กลุ่มสาระการเรียนรคู้ ณติ ศาสตร์
จานวน 40 ช่ัวโมง 1.0 หน่วยกติ

ศึกษา ฝึกทักษะและกระบวนการในสาระต่อไปน้ี
การประยุกต์ของอัตราส่วน อัตราส่วนของจานวนหลายๆ จานวน สัดส่วน การนาความรู้เกี่ยวกับ
อัตราสว่ น สดั สว่ นไปใช้ในการแกป้ ัญหา
โดยจัดประสบการณ์ หรือสร้างสถานการณ์ในชีวิตประจาวันท่ีใกล้ตัวให้ผู้เรียนได้ศึกษา ค้นคว้า
โดยปฏิบัติจริง ทดลอง สรุป รายงาน เพ่ือพัฒนาทักษะและกระบวนการในการคิดคานวณ การแก้ปัญหา
การให้เหตุผล การสอ่ื ความหมายทางคณิตศาสตร์ และนาประสบการณ์ด้านความรู้ ทักษะกระบวนการท่ีได้
ไปใช้เรียนรู้ส่ิงต่าง ๆ และใช้ในชีวิตประจาวันอย่างสร้างสรรค์ รวมทั้งเห็นคุณค่าและเจตคติท่ีดีต่อวิชา
คณิตศาสตร์ สามารถทางานอย่างเป็นระบบ ระเบียบ มีความรอบคอบ มีความรับผิดชอบ มีวิจารณญาณ
และมีความเชื่อม่นั ในตนเอง
การวัดและประเมินผล ใช้วธิ กี ารทหี่ ลากหลายตามสภาพความเป็นจริงใหส้ อดคลอ้ งกับเนอื้ หา
และทกั ษะทต่ี ้องการวัด

ผลการเรยี นรู้
1. เรียนรคู้ วามหมาย การบวก การลบ เอกนาม และพหนุ าม การคูณ และการหาร พหุนามด้วยเอกนามได้
2. บวก ลบ คูณ และหาร พหนุ ามได้
3. บวก ลบ คูณ และหาร เศษสว่ นของพหนุ ามอยา่ งงา่ ยได้
4. คานวณเรื่องอัตราสว่ นและรอ้ ยละโจทยป์ ัญหาได้

หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรคู้ ณติ ศาสตร์ อสิ ลามวิทยาลัยแห่งประเทศไทย - 98 -

คาอธบิ ายรายวิชา

ค 22111 คณิตศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรูค้ ณติ ศาสตร์

ชนั้ มธั ยมศึกษาปที ี่ 2 ภาคเรยี นท่ี 1 จานวนเวลา 60 ชว่ั โมง 1.5 หนว่ ยกิต

ศึกษา ทฤษฎีบทพีทาโกรัส บทกลับทฤษฎีบทพีทาโกรัส และการนาความรู้เกี่ยวกับทฤษฎีบทพีทา
โกรัสและบทกลับไปใช้ในชีวิตจริง การเขียนเศษส่วนในรูปทศนิยมซ้า การเขียนทศนิยมซ้าในรูปเศษส่วน
จานวนจริง สมบัตขิ องจานวนจรงิ รากท่ีสองและรากทีส่ ามของจานวนจรงิ การหารากที่สองและรากที่สามของ
จานวนจริงโดยการแยกตัวประกอบ การประมาณค่า เปิดตาราง และใช้เครื่องคานวณ ความรู้เก่ียวกับ
ปริมาตร พื้นที่ผิวของปริซึม ปริมาตรของปรึซึม การนาความรู้เกี่ยวกับพื้นที่ผิวและปริมาตรของปริซึมไปใช้ใน
ชีวิตจริง พ้ืนที่ผิวของทรงกระบอก ปริมาตรของทรงกระบอก การนาความรู้เก่ียวกับพื้นที่ผิวและปริมาตรของ
ทรงกระบอกไปใช้ในชีวิตจริง การแปลง การแปลงทางเรขาคณิต การเลื่อนขนาน การสะท้อน และการหมุน
ความสัมพนั ธข์ องการเล่ือนขนาน การสะท้อน และการหมุน และการนาสมบัตขิ องการเลอื่ นขนาน การสะท้อน
และการหมุนไปใช้ในชวี ิตประจาวนั จริง เลขยกกาลงั ท่ีมีเลขชี้กาลังเป็นจานวนเต็ม การคูณและการหารเลขยก
กาลัง เมื่อเลขชี้กาลังเป็นจานวนเต็มสัญกรณ์วทิ ยาศาสตร์ และการนาความรเู้ ก่ียวกับเลขยกกาลังไปใช้ในชีวิต
จริง เอกนาม การบวกและการลบเอกนาม พหุนาม การบวกและการลบพหุนาม การคูณระหว่างเอกนามกับ
เอกนาม การคูณระหว่างเอกนามกับพหุนาม การคณู ระหว่างพหุนามกับพหุนาม การหารเอกนามดว้ ยเอกนาม
การหารพหุนามด้วยเอกนามที่มผี ลหารเปน็ พหนุ าม

โดยการจัดประสบการณ์หรือสร้างสถานการณ์ในชีวิตประจาวนั ที่ใกล้ตัวให้ผูเ้ รียนไดศ้ ึกษา ค้นคว้า ฝึก
ทักษะโดยการปฏิบัติจริง ทดลอง สรุป รายงาน เพื่อพัฒนาทักษะ กระบวนการในการคิดคานวณ การ
แก้ปัญหา การให้เหตุผล การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ และนาประสบการณ์ด้านความรู้ ความคิด ทักษะ
กระบวนการทไ่ี ด้ไปใชใ้ นการเรียนรู้ สิง่ ตา่ งๆ และใชใ้ นชีวิตประจาวันอย่างสร้างสรรค์

เพ่ือให้เห็นคุณค่าและมีเจตคติท่ีดีต่อคณิตศาสตร์ สามารถทางานได้อย่างเป็นระบบ มีระเบียบ มี
ความรอบคอบ มคี วามรบั ผดิ ชอบ มีวิจารณญาณ มีความคดิ รเิ ริ่มสร้างสรรค์และมีความเช่อื มัน่ ในตนเอง

การวัดและประเมินผล ใช้วิธีการท่ีหลากหลายตามสภาพความเป็นจริงให้สอดคล้องกับเน้ือหาและ
ทกั ษะทีต่ ้องการวดั

รหัสตวั ชี้วัด
ค 1.1 ม.2/1, ม.2/2
ค 1.2 ม.2/1
ค 2.1 ม.2/1, ม.2/2
ค 2.2 ม.2/3, ม.2/5

รวม 7 ตวั ชว้ี ัด

หลักสูตรกลุ่มสาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์ อิสลามวทิ ยาลัยแห่งประเทศไทย - 99 -

ค 22112 คณิตศาสตร์ คาอธิบายรายวชิ า
ชัน้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 2 ภาคเรยี นท่ี 2
กลุ่มสาระการเรยี นรคู้ ณิตศาสตร์
จานวนเวลา 60 ช่ัวโมง 1.5 หนว่ ยกติ

ศึกษา แผนภาพจุด แผนภาพต้น – ใบ ฮิสโทแกรม ค่าเฉล่ียเลขคณิต มัธยฐาน ฐานนิยม การเลือกใช้
ค่าเฉล่ียเลขคณิต การเลือกใช้มัธยฐาน การเลือกใช้ฐานนิยม และการใช้ความรู้เกี่ยวกับสถิติประกอบการ
ตดั สินใจ ความเท่ากันทุกประการของรูปเรขาคณิต ความเท่ากนั ทุกประการของส่วนของเส้นตรง ความเทา่ กัน
ทุกประการของมุมความเท่ากันทุกประการของรูปสามเหลี่ยม ความเท่ากันทุกประการของรูปสามเหล่ียมสอง
รปู ท่ีมีความสัมพันธ์แบบต่างๆ รปู สามเหลี่ยมสองรปู ที่สัมพันธ์กันแบบ ด้าน–มุม–ด้าน รปู สามเหล่ียมสองรูปที่
สัมพันธ์กันแบบมุม–ด้าน–มุม รูปสามเหล่ียมสองรูปท่ีสัมพันธ์กันแบบ ด้าน–ด้าน–ด้าน และการนาความรู้
เก่ียวกับความเท่ากันทุกประการไปใชแ้ ก้ปัญหา เสน้ ขนานและมุมภายใน เส้นขนานและมมุ แย้ง เส้นขนานและ
มุมภายนอกกับมุมภายใน เสน้ ขนานและรูปสามเหล่ียม การให้เหตุผลและแกป้ ัญหาโดยใชส้ มบตั ิของเส้นขนาน
และความเท่ากันทุกประการของรูปสามเหลี่ยม ประโยคเงื่อนไข บทกลับของประโยคเงื่อนไข การให้เหตุผล
เกี่ยวกับการสร้างทางเรขาคณิต การนาความรู้เก่ียวกับการสร้างทางเรขาคณิตและการให้เหตุผลไปใช้ในชีวิต
จริง การหารพหุนาม ตัวประกอบของพหุนาม การแยกตัวประกอบของพหุนามโดยใช้สมบัติการแจกแจง การ
แยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองตัวแปรเดียว การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองที่เป็นกาลังสอง
สมบรู ณ์ การแยกตวั ประกอบของพหุนามดีกรีสองท่ีเปน็ ผลตา่ งกาลังสอง

โดยการจัดประสบการณ์หรือสร้างสถานการณ์ในชีวิตประจาวันที่ใกล้ตวั ให้ผ้เู รียนได้ศกึ ษา ค้นคว้า ฝึก
ทักษะโดยการปฏิบัติจริง ทดลอง สรุป รายงาน เพื่อพัฒนาทักษะ กระบวนการในการคิดคานวณ การ
แก้ปญั หา การให้เหตุผล การส่ือความหมายทางคณิตศาสตร์ และนาประสบการณ์ดา้ นความรู้ ความคิด ทกั ษะ
กระบวนการที่ไดไ้ ปใชใ้ นการเรยี นรู้ สิ่งต่างๆ และใชใ้ นชีวติ ประจาวนั อยา่ งสรา้ งสรรค์

เพ่ือให้เห็นคุณค่าและมีเจตคติท่ีดีต่อคณิตศาสตร์ สามารถทางานได้อย่างเป็นระบบ มีระเบียบ มี
ความรอบคอบ มีความรับผดิ ชอบ มีวจิ ารณญาณ มคี วามคดิ รเิ ร่ิมสรา้ งสรรคแ์ ละมคี วามเชอ่ื มัน่ ในตนเอง

การวัดและประเมินผล ใช้วิธีการที่หลากหลายตามสภาพความเป็นจริงให้สอดคล้องกับเนื้อหาและ
ทกั ษะที่ ต้องการวัด

รหัสตัวชี้วัด
ค 1.2 ม.2/2
ค 2.2 ม.2/1, ม.2/2, ม.2/4
ค 3.1 ม.2/1

รวม 5 ตวั ช้ีวัด

หลกั สูตรกลุ่มสาระการเรยี นรูค้ ณติ ศาสตร์ อสิ ลามวิทยาลัยแห่งประเทศไทย - 100 -

ค 22201 คณิตศาสตรเ์ พ่ิมเติม คาอธบิ ายรายวิชา
ชัน้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 2 ภาคเรยี นท่ี 1
กลุ่มสาระการเรยี นรูค้ ณติ ศาสตร์
จานวนเวลา 40 ชั่วโมง 1.0 หน่วยกติ

ศกึ ษา ทาความเขา้ ใจ ฝกึ ทกั ษะการคานวณ การแก้ปญั หา และการใหเ้ หตุผลในสาระตอ่ ไปน้ี
เลขยกกาลัง เลขยกกาลังที่มีเลขชี้กาลังเป็นจานวนเต็ม การคูณและการหารเลขยกกาลัง เมื่อเลขช้ี
กาลังเปน็ จานวนเต็มสัญกรณว์ ิทยาศาสตร์ และการนาความรู้เกีย่ วกับเลขยกกาลังไปใชใ้ นชวี ติ จรงิ
เอกนาม พหุนาม เอกนาม การบวกและการลบเอกนาม พหุนาม การบวกและการลบพหุนาม การ
คูณระหว่าง เอกนามกับเอกนาม การคูณระหว่างเอกนามกับพหุนาม การคณู ระหว่างพหุนามกับพหุนาม การ
หารเอกนามดว้ ยเอกนาม การหารพหนุ ามด้วยเอกนามทีม่ ผี ลหารเปน็ พหุนาม
โดยการจัดประสบการณ์หรือสร้างสถานการณ์ในชีวติ ประจาวนั ที่ใกล้ตวั ให้ผูเ้ รียนได้ศกึ ษา ค้นคว้า ฝึก
ทักษะโดยการปฏิบัติจริง ทดลอง สรุป รายงาน เพื่อพัฒนาทักษะ กระบวนการในการคิดคานวณ การ
แก้ปญั หา การให้เหตุผล การส่อื ความหมายทางคณิตศาสตร์ และนาประสบการณ์ดา้ นความรู้ ความคิด ทักษะ
กระบวนการท่ีไดไ้ ปใชใ้ นการเรียนรู้ สิ่งต่างๆ และใชใ้ นชวี ิตประจาวันอย่างสร้างสรรค์
เพ่ือให้เห็นคุณค่าและมีเจตคติท่ีดีต่อคณิตศาสตร์ สามารถทางานได้อย่างเป็นระบบ มีระเบียบ มี
ความรอบคอบ มคี วามรบั ผดิ ชอบ มีวจิ ารณญาณ มคี วามคิดรเิ ร่ิมสรา้ งสรรคแ์ ละมคี วามเชอ่ื มัน่ ในตนเอง
การวัดและประเมินผล ใช้วิธีการที่หลากหลายตามสภาพความเป็นจริงและศักยภาพชองแตล่ ะบคุ คล
ใหส้ อดคล้องกับเนือ้ หาและทักษะท่ีต้องการวัดโดยอิงมาตรฐานการเรียนรู้

ผลการเรียนรู้
1. เข้าใจและใช้สมบัตขิ องเลขยกกาลังท่มี ีเลขชกี้ าลังเปน็ จานวนเต็มในการแก้ปัญหาคณิตศาสตร์และ
ปญั หาในชวี ติ จริง
2. เข้าใจหลกั การการดาเนนิ การของพหนุ ามและใชพ้ หุนามในการแกป้ ญั หาคณติ ศาสตร์

รวมทั้งหมด 2 ผลการเรียนรู้


Click to View FlipBook Version