The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หลักสูตรสถานศึกษา 2564

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by bumbimva.2015, 2022-07-10 00:05:10

หลักสูตรสถานศึกษา 2564

หลักสูตรสถานศึกษา 2564

หลกั สตู รกลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี อิสลามวทิ ยาลยั แห่งประเทศไทย 201

คาอธบิ ายรายวชิ า

ว 21282 วทิ ยาศาสตรก์ ับการแก้ปญั หา กล่มุ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ฯ

ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 1 ภาคเรียนท่ี 2 เวลา 40 ชั่วโมง จานวน 1.0 หนว่ ยกิต

ศึกษา วิเคราะห์ สารวจ ตรวจสอบ และทดลองการใช้เคร่ืองมือ และหน่วยในการวัดปริมาตรต่างๆ
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ประวัติและลักษณะนิสัยการทางานของนักวิทยาศาสตร์ โดยใช้กระบวน
สืบเสาะหาความรู้ การแก้ปัญหา มีความสามารถในการสารวจ ตรวจสอบ การสืบค้นข้อมูลและการ
อภิปรายคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ความรู้ทีไ่ ด้

เพ่ือให้เกิดการเรียนรู้ท่ีมีประสิทธิภาพและเห็นคุณค่าของการนาความรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์ในการ
ดาเนนิ ชวี ิตประจาวนั สามารถสือ่ สารทง้ั ทเี รยี นรู้ มีจติ สาธารณะ คณุ ธรรม จรยิ ธรรมและคา่ นยิ มทพ่ี ึงประสงค์

ผลการเรยี นรู้
1. ตระหนักถงึ บทบาทของผลกระทบของผลผลติ ทางวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยที ี่มตี อ่ มนษุ ย์
2. ทดลองและอธิบายทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ขน้ั พื้นฐาน
3. นาวิธีการทางวิทยาศาสตร์ไปใชใ้ นการแก้ปญั หาและเป็นประโยชนใ์ นชวี ติ ประจาวัน
4. ทดลองและเลือกใชเ้ คร่อื งมอื บางชนิดมาใชใ้ นการวดั และการขยายขอบเขตจากดั ของประสาท

สัมผสั ไดอ้ ยา่ งเหมาะสม
5. อธิบายคุณลกั ษณะนสิ ัยท่ีสาคัญของนกั วิทยาศาสตร์และสามารถฝึกฝนใหม้ ีคุณลักษณะดงั กลา่ ว

รวมทังส้ิน 5 ผลการเรยี นรู้

64

หลกั สตู รกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี อิสลามวทิ ยาลยั แห่งประเทศไทย 202

คาอธบิ ายรายวชิ า

ว 21283 สะเต็มศึกษา 1 กลุม่ สาระการเรียนร้วู ิทยาศาสตร์ ฯ
ชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี 1 ภาคเรียนท่ี 1
เวลา 60 ชวั่ โมง จานวน 1.5หน่วยกติ

ศึกษาความหมายของสะเต็ม (STEM) โดยศึกษาความหมายของแต่ละองค์ประกอบของ STEM และ
บอกความเป็น (S = Science , T = Technology , E = Engineering , M = Mathematics) ท่ีมีอยู่ใน
อุปกรณ์ต่างๆที่มีอยู่ในชีวิตประจาวัน ค้นหาทักษะในตัวเองเทียบกับทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ด้วย
กระบวนการการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้พร้อมกับการเรียนรู้ทักษะท่ีจาเป็นของทศวรรษท่ี 21 โดยใช้
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสบื เสาะหาความรู้ การแกป้ ัญหา

เพ่ือให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถสื่อสารสิ่งท่ีเรียนรู้ มีความสามารถในการตัดสินใจ
และแกป้ ัญหา นาความรู้ไปใช้ในชวี ติ ประจาวนั ได้ มจี ิตวิทยาศาสตร์ จริยธรรม และคา่ นยิ มทเี่ หมาะสม

ผลการเรยี นรู้
1. บอกท่ีมาของวชิ าสะเตม็ ศึกษา (STEM)ได้
2. อธิบายความหมายของ สะเตม็ โดยแยกเปน็ S , T , E , M ได้
3. บอกความเป็น S = Science , T = Technology , E = Engineering , M = Mathematics
ในอปุ กรณต์ ่างๆในชีวติ ประจาวนั ได้
4. บอกทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรท์ ต่ี ัวเองมแี ละเทียบกับทักษะท่จี าเป็นในทศวรรษท่ี 21 ได้
5. สามารถพฒั นาตนเองให้มีทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และทักษะท่ีจาเป็นในทศวรรษที่ 21

รวมท้ังหมด 5 ผลการเรียนรู้

65

หลักสตู รกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี อสิ ลามวทิ ยาลัยแห่งประเทศไทย 203

ว 21284 คาอธิบายรายวชิ า
ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 1 ภาคเรียนท่ี 2
สะเตม็ ศึกษา 2 กลุ่มสาระการเรยี นรูว้ ทิ ยาศาสตร์ฯ
เวลา 60 ช่วั โมง จานวน 1.5 หนว่ ยกติ

ศึกษากระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เรียนรู้การใช้เทคนิค 5W1H เรียนรู้การแก้ปัญหาแบบ STEM
ประกอบด้วย 6 ข้ันตอน แก้ปัญหาจากกิจกรรมท่ีสอดคล้องกับเน้ือหาวิชาวิทยาศาสตร์พ้ืนฐาน และความรู้
เกยี่ วกบั STEM สร้างแบบจาลองช้ินงานจากการทากจิ กรรมการแก้ปญั หา โดยใชก้ ระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์
การสืบเสาะหาความรู้ การแกป้ ญั หา

เพ่ือให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถส่ือสารส่ิงที่เรียนรู้ มีความสามารถในการตัดสินใจ
และแกป้ ัญหา นาความรู้ไปใชใ้ นชวี ิตประจาวนั ได้ มจี ติ วทิ ยาศาสตร์ จริยธรรม และค่านิยมที่เหมาะสม

ผลการเรียนรู้
1. อธบิ ายกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ และนาไปใชใ้ นการเรียนรูก้ จิ กรรมตา่ งๆได้
2. อธบิ ายความหมายของเทคนิค 5W1H พร้อมกับนาแนวทางของเทคนิคนี้ไปใช้ได้
3. อธิบายข้ันตอนการแก้ไขปัญหาแบบ STEM
4. สามารถนาวิธีการแกไ้ ขปญั หาแบบ STEM ไปใชใ้ นการเรยี นรผู้ ่านกิจกรรมได้
5. สามารถสร้างแบบจาลองช้นิ งานจากกิจกรรมการแก้ไขปญั หาได้

รวมทั้งหมด 5 ผลการเรียนรู้

66

หลกั สตู รกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี อสิ ลามวิทยาลยั แห่งประเทศไทย 204

คาอธบิ ายรายวิชา

รหสั วชิ า ว 21211 วิทยาการคานวณ กลุ่มสาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์

ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 1 ภาคเรียนที่ 1 จานวน 1 หน่วยกิต (2คาบ/สัปดาห์)

ศกึ ษาแนวคิดเชงิ นามธรรม การคดั เลือกคุณลักษณะท่จี าเป็นตอ่ การแก้ปญั หา ขน้ั ตอนการแก้ปญั หา
การเขียนรหัสลาลองและผังงาน การเขียนออกแบบและเขียนโปรแกรมอย่างง่ายท่ีมีการใช้งานตัวแปร
เงือ่ นไข และการวนซา้ เพื่อแก้ปัญหาทางคณติ ศาสตร์หรือวิทยาศาสตร์ การรวบรวบรวมข้อมลู ปฐมภมู ิ การ
ประมวลผลข้อมูล การสร้างทางเลือกและประเมินผลเพ่ือตัดสินใจ ซอฟต์แวร์และบรกิ ารบนอินเตอรเ์ น็ตท่ีใช้
ในการจัดการขอ้ มูล แนวทางการใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศให้ปลอดภัย การจัดการอัตลักษณ์ การพิจารณา
ความเหมาะสมของเนือ้ หา ขอ้ ตกลงและขอ้ กาหนดการใช้ส่อื และแหลง่ ข้อมูล

นาแนวคิดเชิงนามธรรมและข้ันตอนการแก้ปัญหา ไปประยุกต์ใช้ในการเขียนโปรแกรม หรือการ
แก้ปัญหาในชีวติ จริง รวบรวมข้อมูลและสรา้ งทางเลือก ในการตัดสินใจได้อย่างมีประสทิ ธิภาพและตระหนักถึง
การใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศสารอย่างปลอดภัย เกิดประโยชน์ต่อการเรียนรู้ และไม่สร้างความเสียหาย
ให้แกผ่ ู้อ่นื

ผลการเรียนรู้
1. ออกแบบอลั กอริทึมท่ีใช้แนวคิดเชิงนามธรรมเพ่ือแก้ปญั หาหรอื อธบิ ายการทางานท่ีพบในชวี ติ จริง
2. ออกแบบและเขยี นโปรแกรมอยา่ งง่าย เพอ่ื แก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์หรือวิทยาศาสตร์
3. รวบรวมข้อมูลปฐมภมู ิ ประมวลผล ประเมนิ ผล นาเสนอข้อมลู และสารสนเทศ ตาม
วัตถุประสงค์โดยใช้ซอฟต์แวรห์ รอื บริการบนอนิ เทอรเ์ น็ตท่ีหลากหลาย
4. ใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศอย่างปลอดภยั ใชส้ ือ่ และแหล่งขอ้ มลู ตามข้อกาหนดและขอ้ ตกลง

67

หลักสตู รกลุ่มสาระการเรียนร้วู ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี อิสลามวิทยาลัยแห่งประเทศไทย 205

คาอธบิ ายรายวิชา

ว 21212 วิชา การออกแบบและเทคโนโลยี กลมุ่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ฯ

ระดบั ชนั้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 1 ภาคเรียนที่ 1 จานวน 0.5 หน่วยกิต (1คาบ/สปั ดาห์)

ศึกษา อธิบายความหมายของเทคโนโลยี วิเคราะห์สาเหตุหรือปัจจัยท่ีส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงของ
เทคโนโลยีการทางานของระบบทางเทคโนโลยี ประยุกต์ใช้ความรู้ ทักษะ และทรัพยากร โดยวิเคราะห์
เปรียบเทียบและเลือกข้อมูลท่ีจาเป็นเพ่ือออกแบบวิธีการแก้ปัญหาในชีวิตประจาวันในด้านการเกษตรและ
อาหาร และสร้างชิ้นงานหรือพัฒนาวิธีการโดยใช้กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม รวมท้ังเลือกใช้วัสดุ
อุปกรณ์ เครอื่ งมอื ในการแกป้ ญั หาได้อยา่ งถูกต้อง เหมาะสม และปลอดภัย

เพ่ือให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจ ความสัมพันธ์ของความรู้วิทยาศาสตร์ท่ีมีผลต่อการพัฒนา
เทคโนโลยีประเภทต่าง ๆ เป็นผู้ที่มีจิตวิทยาศาสตร์มีคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมในการใช้วิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยีอยา่ งสรา้ งสรรค์

ผลการเรียนรู้
1. อธบิ ายแนวคดิ หลกั ของเทคโนโลยีในชีวิตประจาวันและวเิ คราะห์สาเหตุหรอื ปจั จัยที่ส่งผลตอ่ การ

เปล่ยี นแปลงของเทคโนโลยี
2. ระบุปัญหาหรอื ความต้องการในชวี ิตประจาวัน รวบรวม วิเคราะหข์ ้อมูลและแนวคิดทเ่ี กย่ี วกบั

ปัญหา
3. ออกแบบวธิ ีการแกป้ ัญหา โดยวิเคราะห์เปรียบเทียบ และตัดสนิ ใจเลอื กข้อมูลทจี่ าเป็น นาเสนอ

แนวทางการแกป้ ญั หาให้ผู้อืน่ เขา้ ใจ วางแผนและดาเนนิ การแก้ปญั หา
4. ทดสอบ ประเมนิ ผล และระบุข้อบกพร่องทเ่ี กิดขน้ึ พร้อมท้ังหาแนวทางการปรบั ปรุงแกไ้ ข และ

นาเสนอผลการแกป้ ัญหา
5. ใชค้ วามรูแ้ ละทักษะเกีย่ วกับวัสดุ อุปกรณ์ เคร่ืองมือ กลไก ไฟฟ้า หรอื อิเลก็ ทรอนิกส์เพือ่

แกป้ ญั หาได้อยา่ งถูกตอ้ ง เหมาะสมและปลอดภัย

รวม 5 ผลการเรียนรู้

68

หลักสตู รกลุ่มสาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี อสิ ลามวทิ ยาลัยแห่งประเทศไทย 206

รหัสวชิ า ว22111 คาอธบิ ายรายวิชา
มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 2 ภาคเรียนที่ 1
วิชา วทิ ยาศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ฯ
จานวน1.5 หนว่ ยกติ จานวน 3 คาบ / สัปดาห์

ศึกษาเกี่ยวกับระบบร่างกายมนุษย์ ระบบหายใจ โครงสร้างและหน้าท่ีของอวัยวะในระบบหายใจ
การหายใจ การดูแลรักษาอวัยวะในระบบหายใจ ระบบขับถ่าย โครงสร้างและหน้าท่ีของอวัยวะในระบบ
ขับถ่าย กลไกการกาจัดของเสีย การดูแลรักษาอวัยวะในระบบขับถ่าย ระบบหมุนเวียนเลือด โครงสร้างแ ละ
หน้าท่ีของอวัยวะในระบบหมุนเวยี นเลือด การทางานของระบบหมนุ เวียนเลือด การดูแลรกั ษาอวยั วะในระบบ
หมุนเวียนเลือด ระบบประสาท โครงสร้างและหน้าที่ของอวัยวะในระบบประสาท การทางานของระบบ
ประสาท การดูแลรักษาอวัยวะในระบบประสาท ระบบสืบพันธุ์ โครงสร้างและหน้าท่ีของอวัยวะในระบบ
สืบพนั ธ์ุเพศชายและเพศหญิง ฮอร์โมนเพศ การปฏิสนธแิ ละการตง้ั ครรภ์ การคมุ กาเนิด ศึกษาเกี่ยวกบั การแยก
สารผสม การระเหยแห้ง การตกผลกึ การกลัน่ โครมาโทกราฟีแบบกระดาษ การสกดั ด้วยตวั ทาละลาย การนา
วิธีการแยกสารไปใช้แก้ปัญหาในชีวิตประจาวัน ศึกษาเกี่ยวกับสารละลาย สภาพละลายได้ของสาร ความ
เขม้ ขน้ ของสารละลาย การใช้สารละลายในชวี ติ ประจาวัน

โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ การสืบค้นข้อมูล การสังเกต
การวิเคราะห์ การทดลอง การอภิปราย การอธิบาย และการสรุป เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ มี
ความสามารถในการตัดสินใจ ส่ือสารส่ิงท่ีเรียนรู้และนาความรู้ไปใช้ในชีวิตของตนเอง มีจิตวิทยาศาสตร์
จริยธรรม คุณธรรม และคา่ นยิ ม

ตัวช้วี ัด
ว 1.2 ม.2/1 ม.2/2 ม.2/3 ม.2/4 ม.2/5 ม.2/6 ม.2/7 ม.2/8 ม.2/9 ม.2/10
ม.2/11 ม.2/12 ม.2/13 ม.2/14 ม.2/15 ม.2/16 ม.2/17
ว 2.1 ม.2/1 ม.2/2 ม.2/3 ม.2/4 ม.2/5 ม.2/6

รวม 23 ตัวชี้วัด

69

หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี อิสลามวทิ ยาลัยแห่งประเทศไทย 207

รหสั วิชา ว22112 คาอธบิ ายรายวชิ า
มธั ยมศึกษาปที ่ี 2 ภาคเรียนท่ี 2
วิชา วิทยาศาสตร์ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ ฯ
จานวน1.5 หนว่ ยกติ จานวน 3 คาบ / สปั ดาห์

ศึกษาเก่ียวกับแรงและการเคล่ือนท่ี แรง แรงดนั ในของเหลว แรงพยุง แรงเสียดทาน โมเมนต์ของแรง
แรงในธรรมชาติ การเคล่ือนที่ ระยะทางและการกระจัด อัตราเร็ว ความเร็ว ศึกษาเกี่ยวกับงานและพลังงาน
งาน กาลัง เครื่องกลอย่างง่าย พลังงาน ประเภทของพลังงานกล กฎการอนุรักษ์พลังงาน ศึกษาเกี่ยวกับโลก
และการเปลี่ยนแปลง เช้ือเพลงิ ซากดึกดาบรรพ์ ถา่ นหนิ หินน้ามนั ปโิ ตรเลียม พลังงานทดแทน โครงสร้างของ
โลก การเปลี่ยนแปลงของโลก ทรัพยากรดิน กระบวนการเกิดดิน หน้าตัดข้างของดิน ปัจจัยในการเกิดดิน
สมบัติของดิน การปรับปรุงคุณภาพของดิน แหล่งน้า น้าบนดิน น้าใต้ดิน การใช้ประโยชน์จากแหล่งน้า ภัย
พิบัติทเี่ กิดจากน้า

โดยใชก้ ระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ การสืบค้นข้อมูล การสังเกต การ
วิเคราะห์ การทดลอง การอภิปราย การอธบิ าย และการสรุป เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ มี
ความสามารถในการตัดสินใจ สื่อสารส่ิงท่ีเรียนรู้และนาความรู้ไปใช้ในชีวิตของตนเอง มีจิตวิทยาศาสตร์
จรยิ ธรรม คุณธรรม และคา่ นิยม
ตวั ช้ีวัด

ว 2.2 ม.2/1 ม.2/2 ม.2/3 ม.2/4 ม.2/5 ม.2/6 ม.2/7 ม.2/8 ม.2/9 ม.2/10
ม.2/11 ม.2/12 ม.2/13 ม.2/14 ม.2/15

ว 2.3 ม.2/1 ม.2/2 ม.2/3 ม.2/4 ม.2/5 ม.2/6
ว 3.2 ม.2/1 ม.2/2 ม.2/3 ม.2/4 ม.2/5 ม.2/6 ม.2/7 ม.2/8 ม.2/9 ม.2/10

รวม 31 ตัวชี้วัด

70

หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี อิสลามวิทยาลัยแห่งประเทศไทย 208

รหัสวชิ า ว 22284 คาอธิบายรายวชิ า
ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 2 ภาคเรยี นที่ 1
วทิ ยาศาสตร์เพิ่มเตมิ กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์ ฯ
เวลา 40 ชว่ั โมง จานวน 1.0 หน่วยกิต

ศึกษา สังเกต สารวจตรวจสอบ สืบค้น ตั้งคาถาม ตั้งสมมติฐาน สังเคราะห์ ทาการทดลอง วิเคราะห์
สังเคราะห์ และอธิบายเก่ียวกับธรรมชาติของแสง สมบัติของแสง ได้แก่ การสะท้อนของแสง และการหักเ ห
ของแสง โดยวิเคราะห์การเกิดภาพจากกระจกเงาราบ และการเกิดภาพจากกระจกเงาโค้ง การเกิดภาพจาก
เลนส์นูน และการเกดิ ภาพจากเลนส์เวา้ คานวณหาความยาวโฟกัส ระยะภาพ ระยะวัตถุ และกาลังขยาย ของ
ภาพท่ีเกิดจากกระจกเงาราบ กระจกเงาโค้ง และเลนส์ชนิดต่างๆ ทาการทดลองการกระจายของแสงขาวและ
การรวมสเปกตรัม การเกิดรุ้ง สีของท้องฟา้ การเดนิ ทางของแสงผา่ นตัวกลางรปู แบบต่างๆ การผสมแสงสี และ
การเห็นวัตถุในแสงสีต่างๆ การเห็นภาพติดตา และความผิดปกติของสายตาประเภทต่างๆ อธิบายหลักการ
ทางานของทัศนูปกรณบ์ างชนิด

โดยใชก้ ระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การแก้ปญั หา เพื่อใหเ้ กดิ ความรู้ ความคิด
ความเข้าใจ สามารถสื่อสารส่ิงท่ีเรียนรู้ มีความสามารถในการตัดสินใจและแก้ปัญหา นาความรู้ไปใช้ใน
ชวี ติ ประจาวนั ได้ มีจิตวทิ ยาศาสตร์ จริยธรรม และค่านิยมที่เหมาะสม

ผลการเรยี นรู้
1. อธบิ ายเกยี่ วกับปรากฏการณ์ทางธรรมชาติของแสงได้
2. เขียนแผนภาพเพื่ออธิบายสมบัติการสะท้อนของแสง รวมทั้งแสดงการเกิดภาพจากกระจกเงาราบ

กระจกนนู และกระจกเวา้ ได้
3. เขียนแผนภาพเพอ่ื อธิบายสมบตั ิการหักเหของแสง รวมท้ังแสดงการเกิดภาพจากเลนส์นูนและเลนส์

เว้าได้
4. ทาการทดลองเพื่อศึกษาองค์ประกอบของแสงขาวและอธิบายปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่

เกีย่ วขอ้ งได้
5. อธิบายการผสมแสงสี และการมองเหน็ วตั ถุในสภาพแสงสตี ่างๆได้
6. อธิบายหลักการทางานของทัศนูปกรณ์ ไดแ้ ก่ กล้องจลุ ทรรศน์ และกล้องโทรทรรศน์
7. อธิบายความผิดปกติของสายตาประเภทต่างๆและอธิบายวิธีการแก้ไขความผิดปกติดังกล่าวโดย

การใช้ทศั นอปุ กรณ์

รวมท้ังหมด 7 ผลการเรยี นรู้

71

หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี อสิ ลามวิทยาลยั แห่งประเทศไทย 209

คาอธิบายรายวชิ า

ว 22281 เริม่ ต้นโครงงานวิทยาศาสตร์ กลมุ่ สาระการเรียนร้วู ทิ ยาศาสตร์ ฯ

ชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ 2 ภาคเรยี นที่ 2 เวลา 40 ชั่วโมง จานวน 1.0 หนว่ ยกิต

ศึกษา วิเคราะห์ สืบค้นข้อมูล และอธิบายลักษณะของนักวิทยาศาสตร์ กระบวนการทางานของ
นกั วิทยาศาสตร์ การตงั้ สมมติฐานจากปญั หา หรอื สถานการณ์ ออกแบบการทดลองกาหนดและควบคุมตวั แปร
กาหนดนิยามเชงิ ปฏิบัติการ ออกแบบวิธีการทดลอง เลือกใชอ้ ุปกรณ์ และการปฏิบัตกิ ารทดลอง บันทึกข้อมูล
สรุปผลขอ้ มูล วเิ คราะห์โครงงานวทิ ยาศาสตร์ การคิดวางแผนการทดลอง จัดทาเคา้ โครงงานวิทยาศาสตร์ การ
ออกแบบดัดแปลงการทดลอง กาหนดวสั ดอุ ปุ กรณ์ตา่ งๆในการปฏิบัตกิ ิจกรรมแกป้ ัญหา

โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์ในการสืบเสาะหาความรู้ มีความสามารถใน
การคิดแก้ปัญหาการสื่อสารการใช้เทคโนโลยีการสืบค้นข้อมูล และการอภิปรายเพ่ือให้เกิดความรู้ ความคิด
ความเข้าใจใฝ่เรียนรู้ มุ่งม่ันในการทางานสามารถส่ือสารส่ิงที่เรียนรู้นาความรู้ไปใช้ประโยชน์ในการดารงชีวิต
และดูแลสิ่งแวดล้อมมีคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมท่ีเหมาะสมและเข้าใจว่าวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีสังคมและ
สิง่ แวดลอ้ มเกีย่ วข้องสัมพนั ธ์กนั

ผลการเรียนรู้
1. เรียนรูล้ กั ษณะของนักวิทยาศาสตร์ และกระบวนการทางานของนกั วยิ าศาสตร์
2. ต้ังสมมติฐานจากปัญหา หรือสถานการณ์ต่างๆได้
3. ออกแบบการทดลองเพื่อตรวจสอบสมมตฐิ านโดยมกี ารกาหนดและควบคมุ ตัวแปรต่างๆ และ

กาหนดนิยามเชิงปฏิบตั ิการได้
4. ออกแบบวิธีการทดลอง เลอื กใชอ้ ุปกรณ์ และลงมือทาการทดลองได้
5. บันทกึ ขอ้ มูลที่สามารถ อา่ นเข้าใจงา่ ย และสรปุ ผลของข้อมูลจากการศึกษาทดลองได้
6. วิเคราะห์โครงงานวทิ ยาศาสตร์ และมีแนวคิดในการวางแผนการทดลอง รวมถงึ จดั ทาเค้าโครงงาน

วิทยาศาสตรไ์ ด้
7. มีความคิดรเิ ร่ิมสรา้ งสรรค์ในการแสดงความคดิ เหน็ การออกแบบหรือดดั แปลงการทดลอง

ตลอดจนวัสดอุ ปุ กรณต์ ่างๆในการทากิจกรรมแกป้ ญั หา
8. มที ักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ จิตวิทยาศาสตร์ และความสามารถในการแกป้ ัญหาโดยใช้

วธิ ีการทางวทิ ยาศาสตร์

รวมท้ังสน้ิ 8 ผลการเรยี นรู้

72

หลกั สตู รกลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี อิสลามวิทยาลัยแห่งประเทศไทย 210

คาอธบิ ายรายวชิ า

ว 22285 สะเต็มศึกษา 3 กลุม่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ ฯ
ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 2 ภาคเรยี นท่ี 1
เวลา 60 ชั่วโมง จานวน 1.5 หนว่ ยกติ

ศึกษาการแก้ปัญหาโดยใช้หลักการแก้ไขปัญหาทางด้านวิศวกรรม 6 ขั้นตอน เปรียบเทียบกับการ
แก้ไขปัญหาโดยหลักวิศวกรรมกับแนวทางการเรียนรู้แบบ STEM บอกตัวอยา่ งส่ิงของในชีวิตประจาวัน พร้อม
เขียนการใช้หลักการด้านวิศวกรรม และขั้นตอนการแก้ปัญหาแบบ STEM โดยใช้กระบวนการทาง
วทิ ยาศาสตร์ การสบื เสาะหาความรู้ การแก้ปัญหา

เพ่ือให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถส่ือสารส่ิงที่เรียนรู้ มีความสามารถในการตัดสินใจ
และแกป้ ัญหา นาความรูไ้ ปใชใ้ นชีวิตประจาวันได้ มีจติ วทิ ยาศาสตร์ จรยิ ธรรม และค่านยิ มที่เหมาะสม

ผลการเรยี นรู้
1. อธิบายหลักการแกป้ ญั หาตามหลกั วศิ วกรรม 6 ขนั้ ตอนได้
2. เปรยี บเทยี บการใชห้ ลกั วศิ วกรรม 6 ขัน้ ตอน กับการแก้ไขปญั หาแบบ STEM ได้
3. สามารถยกตัวอยา่ งสิ่งของทพ่ี บในชวี ติ ประจาวนั และบอกหลักการในการแก้ไขปัญหาโดยใชห้ ลกั
วิศวกรร 6 ขน้ั ตอน
4. สามารถยกตวั อย่างส่ิงของที่พบในชีวิตประจาวนั และบอกหลักการในการแก้ไขปัญหาโดยใช้
หลกั การแก้ไขปัญหาแบบ STEM

รวมทั้งหมด 4 ผลการเรยี นรู้

73

หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี อสิ ลามวทิ ยาลยั แห่งประเทศไทย 211

ว 22286 คาอธบิ ายรายวิชา
ชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 2 ภาคเรยี นท่ี 2
สะเต็มศึกษา 4 กลมุ่ สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์ฯ
เวลา 60 ช่ัวโมง จานวน 1.5 หน่วยกติ

ศึกษาขั้นตอนการทางานแบบ STEM 6 ข้ันตอน ระบุการแก้ไขปัญหาจากเครื่องมืออานวยความ
สะดวกต่างๆ ในชีวิตประจาวัน บอกแนวคิดในการแก้ไขปัญหาจากเคร่ืองมือในปัจจุบันไปยังเครื่องมือในอดีต
บอกแนวทางการแก้ไขปัญหาโดยใช้หลักการทางานแบบ STEM 6 ขั้นตอน แก้ไขปัญหาจากสถานการณ์ท่ี
กาหนด กิจกรรมการแก้ไขปัญหาแบบ STEM โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้
การแกป้ ัญหา

เพ่ือให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถสื่อสารส่ิงท่ีเรียนรู้ มีความสามารถในการตัดสินใจ
และแก้ปญั หา นาความร้ไู ปใช้ในชีวติ ประจาวันได้ มีจิตวทิ ยาศาสตร์ จรยิ ธรรม และคา่ นิยมทเ่ี หมาะสม

ผลการเรียนรู้
1. สามารถนาหลกั การการแก้ไขปัญหาแบบ STEM มาอธิบายองค์ประกอบจากสิ่งของเคร่ืองใช้ไป
ฟ้าในบ้านได้
2. สามารถบอกความเป็นมาจากอดีตถงึ ปจั จุบนั ของเคร่ืองใชต้ ่างๆในชีวิตประจาวัน
3. อธบิ ายความเปน็ มาจากอดีตถึงปัจจุบันของเครือ่ งใช้ตา่ งๆในชวี ติ ประจาวนั โดยนาหลกั การการ
แก้ไขปญั หาแบบ STEM
4. สามารถทากจิ กรรมการแกไ้ ขปญั หาแบบ STEM ได้

รวมทั้งหมด 4ผลการเรียนรู้

74

หลกั สูตรกลุ่มสาระการเรยี นรูว้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี อสิ ลามวิทยาลัยแห่งประเทศไทย 212

คาอธิบายรายวชิ า

ว 22211 วชิ าวิทยาการคานวณ กลมุ่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ ฯ

ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ภาคเรยี นที่ จานวน 1 หน่วยกิต (2 คาบ/สัปดาห์)

ศึกษาแนวคิดเชิงคานวณ การแก้ปัญหาโดยใช้แนวคิดเชิงคานวณ การเขียนโปรแกรมที่มีการใช้
ตรรกะและฟังก์ช่ัน องค์ประกอบและหลักการทางานของระบบคอมพิวเตอร์ เทคโนโลยีส่ือสาร แนวทางการ
ปฏิบัติเมื่อพบเน้ือหาท่ีไม่เหมาะสม การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างมีความรับผิดชอบ วิธีการสร้างและ
กาหนดสทิ ธคิ วามเป็นเจ้าของผลงาน

นาแนวคดิ เชงิ คานวณไปประยุกต์ใชใ้ นการเขียนโปรแกรมหรือการแกป้ ัญหาในชวี ิตจริง สร้างและ
กาหนดสิทธิก์ ารใชข้ ้อมูล ตระหนักถงึ ผลกระทบในการเผยแพรข่ ้อมูล

ผลการเรียนรู้
1. ออกแบบอัลกอริทึมทีใ่ ชแ้ นวคดิ เชิงคานวณในการแก้ปัญหา หรอื การทางานที่พบในชีวิตจริง
2. ออกแบบและเขยี นโปรแกรมทใ่ี ช้ตรรกะและฟังกช์ ันในการแก้ปัญหา
3. อภปิ รายองค์ประกอบและหลกั การทางานของระบบคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีการส่อื สาร เพ่ือ
ประยกุ ต์ ใชง้ านหรอื แกป้ ญั หาเบอ้ื งต้น
4. ใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย มคี วามรบั ผดิ ชอบ สร้างและแสดงสทิ ธใ์ิ นการเผยแพร่

ผลงาน

รวม 4 ผลการเรยี นรู้

75

หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี อิสลามวิทยาลัยแห่งประเทศไทย 213

คาอธบิ ายรายวชิ า

ว 22212 วิชา การออกแบบ และเทคโนโลยี กลมุ่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ ฯ

ระดบั ช้ันมัธยมศกึ ษาปีท่ี 2 ภาคเรยี นท่ี 2 จานวน 0.5 หน่วยกิต (1คาบ/สัปดาห์)

ศกึ ษาสาเหตุหรอื ปจั จัยทีท่ าให้เกดิ การเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยี ตลอดจนคาดการณ์แนวโน้มเทคโนโลยี
ในอนาคต เลือกใช้เทคโนโลยีโดยคานงึ ถึงผลกระทบท่เี กดิ ข้ึนตอ่ ชวี ติ สังคม และสงิ่ แวดล้อม ประยุกตใ์ ช้ความรู้
ทักษะ และทรัพยากร โดยวิเคราะห์ เปรียบเทียบและเลือกข้อมูลท่ีจาเป็นเพื่อออกแบบวิธีการแก้ปัญหาใน
ชุมชนหรือท้องถ่ินในด้านพลังงาน ส่ิงแวดล้อม การเกษตรและอาหาร และสร้างช้ินงานหรือพัฒนาวิธีการโดย
ใช้กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม รวมท้ังเลือกใช้วัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือในการแก้ปัญหาได้อย่างถูกต้อง
เหมาะสม และปลอดภัย

ผลการเรยี นรู้
1. คาดการณ์แนวโน้มเทคโนโลยีท่ีจะเกิดขึ้นโดยพิจารณาจากสาเหตุหรือปัจจัยที่ส่งผลต่อการ

เปล่ียนแปลงของเทคโนโลยี และวิเคราะห์ เปรียบเทียบ ตัดสินใจเลือกใช้เทคโนโลยี โดยคานึงถึงผลกระทบท่ี
เกิดขนึ้ ต่อชวี ิต สังคม และสิง่ แวดลอ้ ม

2. ระบุปัญหาหรือความต้องการในชุมชนหรือท้องถิ่น สรปุ กรอบของปัญหา รวบรวม วิเคราะห์ข้อมูล
และแนวคิดทเ่ี กีย่ วขอ้ งกบั ปญั หา

3. ออกแบบวิธีการแก้ปัญหา โดยวิเคราะห์เปรียบเทียบ และตัดสินใจเลือกข้อมูลท่ีจาเป็นภายใต้
เง่ือนไขและทรัพยากรท่ีมีอยู่ นาเสนอแนวทางการแก้ปัญหาให้ผู้อื่นเข้าใจ วางแผนขั้นตอนการทางานและ
ดาเนินการแกป้ ัญหาอยา่ งเป็นขั้นตอน

4. ทดสอบ ประเมนิ ผล และอธบิ ายปัญหาหรอื ข้อบกพรอ่ งที่เกิดขน้ึ ภายใตก้ รอบเงื่อนไข พร้อมทัง้ หา
แนวทางการปรับปรุงแกไ้ ข และนาเสนอผลการแก้ปัญหา

5. ใช้ความรู้และทักษะเกี่ยวกับวัสดุ อปุ กรณ์ เครื่องมือ กลไก ไฟฟ้า และอเิ ล็กทรอนิกส์เพ่ือแก้ปัญหา
หรือพฒั นางานได้อย่างถูกตอ้ ง เหมาะสม และปลอดภยั

รวม 5 ผลการเรยี นรู้

76

หลกั สูตรกลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี อิสลามวิทยาลัยแห่งประเทศไทย 214

คาอธบิ ายรายวิชา

รหสั วิชา ว23111 วิทยาศาสตร์ กลมุ่ สาระการเรยี นร้วู ทิ ยาศาสตร์ ฯ
ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 3
จานวน 1.5 หน่วยกิต เวลา 60 ชัว่ โมง

ศึกษาเกี่ยวกับระบบนิเวศ องค์ประกอบของระบบนิเวศ ความสัมพันธ์ระหว่างส่ิงมีชีวิตในระบบนิเวศ
การถ่ายทอดพลังงานในระบบนิเวศ พันธุกรรม โครโมโซม ดีเอ็นเอ และยีน การถ่ายทอดลักษณะทาง
พันธุกรรม การแบ่งเซลล์ของส่ิงมีชีวิต ความผิดปกติทางพันธุกรรม การดัดแปรทางพันธุกรรม การเกิดคล่ืน
ส่วนประกอบของคล่ืน คล่ืนแม่เหล็กไฟฟ้า สเปกตรัมคล่ืน แม่เหล็กไฟฟ้า ประโยชน์และการป้องกันอันตราย
จากคลื่นแมเ่ หล็กไฟฟา้ การสะท้อนของแสงบนกระจกเงาราบ การสะทอ้ นของแสงบนกระจกเงาโค้ง การหกั เห
ของแสงผ่านเลนส์ การทดลองการหักเหของแสง การเกิดภาพจากเลนส์บาง ปรากฏการณ์ที่เกี่ยวกับแสง เช่น
รงุ้ มิราจ และการทางานของทัศนอุปกรณ์ เชน่ แว่นขยาย กระจกโค้งจราจร การมองเห็นวัตถุ ความสวา่ งของ
แสง การโคจรของดาวเคราะห์รอบดวงอาทิตย์ การเกิดฤดูกาล การเคลื่อนท่ีปรากฏของดวงอาทิตย์ การเกิด
ข้างขึ้นข้างแรม การเกิดน้าข้ึนน้าลง น้าเป็น น้าตาย เทคโนโลยีอวกาศ กล้องโทรทรรศน์ ดาวเทียมและยาน
อวกาศ นกั บนิ อวกาศ โครงการสารวจอวกาศ

โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ การสืบคน้ ข้อมูล การสังเกต การ
วิเคราะห์ การทดลอง การอภิปราย การอธิบาย และการสรุป เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ มี
ความสามารถในการตัดสินใจส่ือสารสิ่งท่ีเรียนรู้และนาความรู้ไปใช้ในชีวิตของตนเอง มีจิตวิทยาศาสตร์
จรยิ ธรรม คณุ ธรรม และค่านิยม

ตวั ช้วี ดั
ว 1.3 ม.3/1 ,ม.3/2 , ม.3/3 ,ม.3/4 , ม.3/5, ม.3/6, ม.3/7 , ม.3/8
ว 2.3 ม.3/10 ,ม.3/11, ม.3/12 ,ม.3/13 ,ม.3/14 ,ม.3/15 ,ม.3/16,ม.3/17 ,ม.3/18 ,
ม.3/19,ม.3/20, ม.3/21 ,ม.3/1, ม.3/2, ม.3/3, ม.3/4

รวม 24 ตัวช้ีวัด

77

หลักสูตรกลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี อิสลามวทิ ยาลยั แห่งประเทศไทย 215

คาอธิบายรายวิชา

รหัสวชิ า ว23112 วิทยาศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนร้วู ทิ ยาศาสตร์ ฯ
ชน้ั มธั ยมศึกษาปีที่ 3
จานวน 1.5 หนว่ ยกิต เวลา 60 ชว่ั โมง

ศึกษาเกี่ยวกับระบบนิเวศ องค์ประกอบของระบบนิเวศ ความสัมพันธ์ระหว่างส่ิงมีชีวิตในระบบนิเวศ
การถ่ายทอดพลังงานในระบบนิเวศ วัสดุในชีวิตประจาวัน สมบัติทางกายภาพและการใช้ประโยชน์พอลิเมอร์
เซรามิก และวัสดุผสม ผลกระทบจากการใช้วัสดุประเภทพอลิเมอร์ เซรามิกและวัสดุผสม ปฏิกิริยาเคมี การ
เกิดปฏิกิริยาเคมี ประเภทของปฏิกิริยาเคมี ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจาวัน ศึกษา วิเคราะห์ ปริมาณทางไฟฟ้า
กระแสไฟฟา้ ความตา่ งศักย์ ความสัมพันธร์ ะหว่างกระแสไฟฟ้ากับความต่างศกั ย์ กฎของโอห์ม ความต้านทาน
ตัวต้านทาน การต่อตัวต้านทานแบบอนุกรมและแบบขนาน ช้ินส่วนอิเล็กทรอนิกส์อย่างง่าย ไดโอด
ทรานซิสเตอร์ ตัวเก็บประจุ วงจรรวม การต่อวงจรอิเล็กทรอนิกส์ พลังงานไฟฟ้าและกาลังไฟฟ้า การคานวณ
ค่าไฟฟา้ วงจรไฟฟ้าในบา้ น อุปกรณไ์ ฟฟา้ และเคร่อื งใช้ไฟฟา้ ในบ้าน การใช้ไฟฟ้าอย่างประหยดั และปลอดภัย

โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ การสืบค้นข้อมูล การสังเกต
การวิเคราะห์ การทดลองการอภิปราย การอธิบาย และการสรุป เพ่ือให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ
มีความสามารถในการตัดสินใจสื่อสารสิ่งท่ีเรียนรู้และนาความรู้ไปใช้ในชีวิตของตนเอง มีจิตวิทยาศาสตร์
จรยิ ธรรม คุณธรรม และคา่ นยิ ม

ตัวชวี้ ดั
ว 1.3 ม.3/9, ม.3/10, ม.3/11
ว 2.1 ม.3/1, ม.3/2, ม.3/3 , ม.3/4, ม.3/5, ม.3/6, ม.3/7, ม.3/8
ว 2.3 ม.3/1, ม.3/2, ม.3/3, ม.3/4, ม.3/5, ม.3/6, ม.3/7, ม.3/8, ม.3/9

รวม 20 ตัวช้ีวัด

78

หลักสูตรกลุ่มสาระการเรยี นรูว้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี อสิ ลามวทิ ยาลยั แห่งประเทศไทย 216

รหัสวิชา ว 23281 คาอธิบายรายวชิ า
ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 1
โครงงานวิทยาศาสตร์ กลุ่มสาระการเรยี นร้วู ิทยาศาสตร์ ฯ
จานวน 1.0 หนว่ ยกติ เวลา 40 ชว่ั โมง

ศึกษาวิเคราะห์การออกแบบการทดลอง เขียนเค้าโครงโครงงาน รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ ลงมือ
ปฏิบัตติ ามข้นั ตอน ประเมินผล และนาเสนอผลการศกึ ษาคน้ คว้า

โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การสารวจตรวจสอบ การสืบค้นข้อมูล
และการอภิปราย เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถสื่อสารสิ่งท่ีเรียนรู้มีความสามารถในการ
ตดั สนิ ใจ นาความรู้ไปใชใ้ นชวี ิตประจาวนั มีจติ วิทยาศาสตร์ จริยธรรม คณุ ธรรม และคา่ นยิ มทีเ่ หมาะสม

ผลการเรยี นรู้
1. มีความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับการออกแบบการทดลองและสามารถเขียนเค้าโครงของโครงงาน

วิทยาศาสตรไ์ ดถ้ กู ตอ้ งตามขนั้ ตอน
2. ลงมือปฏบิ ัติงานตามขน้ั ตอนทรี่ ะบุไวใ้ นเค้าโครงของโครงงานวิทยาศาสตร์
3. เขียนรายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ได้สมบูรณแ์ ละถูกต้อง
4. สามารถประเมินผลโครงงานนาเสนอผลการศึกษาค้นคว้าและจัดแสดงผลงานของตนเองให้ผู้อื่น

รับรู้และเข้าใจได้
5. วเิ คราะหโ์ ครงงานวทิ ยาศาสตรต์ ามรปู แบบของโครงงานวิทยาศาสตร์

79

หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี อิสลามวิทยาลัยแห่งประเทศไทย 217

รหสั วิชา ว.23286 คาอธบิ ายรายวชิ า
ระดบั มัธยมศึกษาปีท่ี 3
อิเล็กทรอนกิ สเ์ บอ้ื งต้น กลุ่มสาระวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
1.0 หน่วยกิต 2 คาบ/ สปั ดาห์

ศึกษา อธิบาย สืบค้นขอ้ มูล กระแสไฟฟ้า สมบัติการนาไฟฟ้าของสาร การเพ่ิมสมบัติการนาไฟฟ้าของ
สารกึ่งตัวนาบริสุทธิ์ อิเล็กทรอนิคส์ เคร่ืองใช้ประเภทอิเล็กทรอนิกส์ สัญญาณอิเล็กทรอนิกส์ อุปกรณ์พ้ืนฐาน
ในวงจรไฟฟ้า ลักษณะ สัญลักษณ์ และสมบัติของช้นิ สว่ นอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ วงจรอิเล็กทรอนิกสเ์ บอื้ งตน้

ปฏิบัติ ทดลอง อธิบาย อิเล็กทรอนิคส์ และระบุเครื่องใช้ประเภทอิเล็กทรอนิกส์ สัญญาณ
อิเลก็ ทรอนิกส์ และอปุ กรณ์พืน้ ฐานในวงจรไฟฟา้ ลกั ษณะ สัญญาณ และสมบัตขิ องช้ินสว่ นอิเล็กทรอนกิ สว์ งจร
อเิ ล็กทรอนิกส์ วิธีต่อเข้ากับวงจรไฟฟ้า และประกอบวงจรอิเล็กทรอนิกส์เบ้ืองต้น ที่มีทรานซิสเตอร์ 1 ตัว ใช้
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสบื เสาะหาความรู้ การสารวจตรวจสอบ การสืบคน้ ขอ้ มูลและการอภิปราย

เพอื่ ใหเ้ กิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถส่ือสารส่งิ ท่เี รียนรู้ มคี วามสามารถในการตัดสนิ ใจ นา
ความรไู้ ปใชใ้ นชีวิตประจาวัน มีจติ วิทยาศาสตร์ มจี ริยธรรม คณุ ธรรม และคา่ นยิ มท่ีเหมาะสม

ผลการเรยี นรู้
1. อธบิ ายตัวต้านทาน ไดโอด ทรานซิสเตอร์ และทดลองต่อวงจรอิเลก็ ทรอนิกสเ์ บ้ืองต้นที่มีทรานซสิ เตอร์
2. ต้ังคาถามทีก่ าหนดประเดน็ หรือตัวแปรท่ีสาคัญในการสารวจตรวจสอบ หรือศึกษาค้นคว้าเรอ่ื งท่ีน่าสนใจได้
อย่างคลอบคลุมและเชอ่ื ถอื ได้
3. สรา้ งสมมตฐิ านที่สามารถตรวจสอบได้ และวางแผนการสารวจตรวจสอบหลาย ๆ วิธี
4. เลือกเทคนิควิธีการตรวจสอบท้ังเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพที่ได้ผลเท่ียงตรงและปลอดภัยโดยใช้วัสดุและ
เครอื่ งมือท่ีเหมาะสม
5. รวบรวมข้อมลู จัดกระทาข้อมลู เชงิ ปรมิ าณและคุณภาพ
6. วิเคราะห์และประเมินความสอดคล้องของประจักษ์พยานกับข้อสรุป ทั้งท่ีสนับสนุนหรือขัดแย้งกับ
สมมตฐิ านและความผิดปกตขิ องขอ้ มลู จากการสารวจตรวจสอบ
7. สรา้ งแบบจาลอง หรือรปู แบบท่ีอธิบายผลหรอื แสดงผลของการสารวจตรวจสอบ
8. สร้างคาถามทีน่ าไปสกู่ ารสารวจตรวจสอบในเรอ่ื งทีเ่ กย่ี วขอ้ งและนาความรู้ทไ่ี ด้ไปใชใ้ นสถานการณใ์ หม่ หรือ
อธิบายเกยี่ วกบั แนวคิดกระบวนการและผลของโครงงานหรอื ช้ินงานใหผ้ ู้อ่ืนเข้าใจ
9. บันทกึ และอธิบายผลการสังเกตการณ์สารวจตรวจสอบค้นควา้ เพ่ิมเติมจากแหล่งความรู้ต่าง ๆ ให้ได้ข้อมูลท่ี
เชื่อถือได้ และยอมรับการเปลี่ยนแปลงความรู้ท่ีค้นพบ เม่ือมีข้อมูลและประจักษ์พยานใหม่เพ่ิมขึ้นหรือโต้แย้ง
จากเดมิ
10. จัดแสดงผลงาน เขียนรายงานและหรืออธิบายเก่ียวกับแนวคิดกระบวนการ และผลของโครงงานหรือ
ช้นิ งานใหผ้ ้อู ่นื เขา้ ใจ

80

ศึกษาข้ันตอนการพัฒนาแอปพลิเคชัน Internet of things (IoT) การเขียนโปรแกรมเพื่อพัฒนาแอป
พลิเคชัน ข้อมูลปฐมภูมิและทุติยภูมิ การประมวลผลข้อมูล การสร้างทางเลือกและประเมินผลซอฟต์แวร์หรือ
บริการบนอินเทอร์เน็ตที่ใช้ในการจัดการข้อมูล การประเมินการความน่าเช่ือถือของข้อมูลการสืบค้นหาแหล่ง

หลักสตู รกลุ่มสาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี อสิ ลามวทิ ยาลัยแห่งประเทศไทย 218

คาอธิบายรายวชิ า

รหัสวิชา ว23211 วิชาวิทยาการคานวณ กลมุ่ สาระวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนตน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 3 จานวน 1.0 หนว่ ยกติ จานวน 2 คาบ/สปั ดาห์

ต้นตอของข้อมูล เหตุผลวิวัติ ผลกระทบจากข่าวสารท่ีผิดพลาด การรู้เท่าทันส่ือ กฎหมายท่ีเกี่ยวกับ

คอมพิวเตอร์ การใช้ลิขสิทธ์ิของผู้อื่นโดยชอบธรรม รวบรวมข้อมูลปฐมภูมิหรือทุติยภูมิ ประมวลผล สร้าง

ทางเลือก และนาเสนอการตัดสินใจได้อย่างมีประสทิ ธภิ าพ ออกแบบและเขยี นโปรแกรม เพ่ือพัฒนาแอปพลเิ ค

ชันที่มีการบูรณาการกับวิชาอื่นอย่างสร้างสรรค์ ใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศ อย่างรู้เท่าทัน และมีความ

รับผิดชอบตอ่ สังคม

มาตรฐานและตวั ชว้ี ัด
มาตรฐาน ว 4.2 ม.3/1 , ม.3/2 , ม.3/3 , ม.3/4

รวมทั้งหมด 4 ตัวชี้วดั

หลักสูตรกลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี อสิ ลามวทิ ยาลยั แห่งประเทศไทย 219

คาอธบิ ายรายวชิ า ระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย

81

หลักสูตรกลุ่มสาระการเรยี นร้วู ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี อิสลามวิทยาลัยแห่งประเทศไทย 220

คาอธิบายรายวิชา

รหัสวชิ า ว30122 วิทยาศาสตร์กายภาพ (เคม)ี กลุ่มสาระการเรยี นร้วู ิทยาศาสตร์ฯ

ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 4 ภาคเรยี นท่ี 1 เวลา 40 ชั่วโมงจานวน หน่วยกติ 1.0 หน่วยกิต

ศึกษาวิเคราะห์เปรียบเทียบแบบจาลองอะตอมของดอลตัน ทอมสัน รัทเทอร์ฟอร์ด โบร์ และกลุ่ม
หมอก อนุภาคมูลฐานของอะตอม สัญลักษณ์นิวเคลยี ร์โมเลกุล ไอออน และไอโซโทปของธาตุ วิวัฒนาการของ
การสร้างตารางธาตุและตารางธาตุในปัจจุบัน แนวโน้มสมบัติบางประการของธาตุในตารางธาตุตามหมู่และ
คาบ

ศึกษาการเกิดพันธะเคมีในโมเลกุลของสาร การเกิดพันธะโคเวเลนต์ ชนิดของพันธะโคเวเลนต์
การอ่านช่ือสารประกอบโคเวเลนต์ สภาพขั้วของโมเลกุลโคเวเลนต์ แรงยึดเหน่ียวระหว่างโมเลกุลโคเวเลนต์
สมบัติของสารประกอบโคเวเลนต์ การเกิดพันธะไอออนิก การเขียนสูตรและเรียกชื่อสารประกอบไอออนิก
และสมบัตบิ างประการของสารประกอบไอออนิก สมบตั ิของกรด เบส และเกลือ สารละลายอิเล็กโทรไลต์และ
นอนอิเล็กโทรไลต์ สารประกอบไฮโดรคาร์บอน

ศึกษาโครงสร้าง สมบัติ ประเภทของพอลิเมอร์ ตัวอย่างพอลิเมอร์ธรรมชาติและพอลิเมอร์สังเคราะห์
ปฏิกิริยาการสังเคราะห์พอลิเมอร์ รวมท้ังการใช้ประโยชน์และผลกระทบจากการใช้ผลิตภัณฑ์ของพอลิเมอร์
ศกึ ษาและทดลองการเกิดปฏกิ ิริยาเคมี อัตราการเกดิ ปฏกิ ิรยิ าเคมี

ศกึ ษาและทดลองปัจจัยที่มีผลต่ออตั ราการเกิดปฏกิ ิริยาเคมี ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจาวันและการใช้
ประโยชน์ ปฏิกิริยารีดอกซ์ ศึกษาสมบัติของสารกัมมันตรังสีและคานวณครึ่งชีวิตและปริมาณของสาร
กมั มันตรังสี ประโยชนแ์ ละอันตรายของสารกัมมันตรังสี

โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การสารวจตรวจสอบ การสืบค้นข้อมูล
และการอภิปราย เพื่อให้ผูเ้ รียนเกดิ ความรู้ ความคดิ ความเข้าใจ สามารถส่ือสารส่งิ ที่เรียนรู้ มคี วามสามารถใน
การตัดสินใจ เห็นคุณค่าของการนาความรู้ไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจาวัน มีความรับผิดชอบต่อส่ิงแวดล้อม
และมีเจตคติท่ดี ตี อ่ วิชาวทิ ยาศาสตร์

ผลการเรยี นรู้
1. ระบุว่าสารเปน็ ธาตหุ รอื สารประกอบ และอย่ใู นรปู อะตอม โมเลกลุ หรอื ไอออนจากสตู รเคมี
2. เปรียบเทยี บความเหมือนและความแตกต่างของแบบจาลองอะตอมของโบร์กบั แบบจาลองอะตอมแบบกลุ่ม

หมอก
3. ระบุจานวนโปรตอน นวิ ตรอน และอเิ ล็กตรอนของอะตอม และไอออนท่ีเกิดจากอะตอมเดยี ว
4. เขยี นสัญลกั ษณน์ ิวเคลยี รข์ องธาตุและระบกุ ารเปน็ ไอโซโทป
5. ระบุหมู่และคาบของธาตุ และระบุว่าธาตุเป็นโลหะ อโลหะ กึ่งโลหะ กลุ่มธาตุเรพรีเซนเททีฟ หรือกลุ่ม

ธาตแุ ทรนซิชนั จากตารางธาตุ
6. เปรียบเทยี บสมบตั ิการนาไฟฟ้า การใหแ้ ละรบั อเิ ลก็ ตรอนระหวา่ งธาตใุ นกลุ่มโลหะกับอโลหะ
7. สืบค้นข้อมูลและนาเสนอตัวอยา่ งประโยชน์และอนั ตรายทเี่ กิดจากธาตุเรพรีเซนเททีฟและธาตุแทรนซิชัน
8. ระบุว่าพันธะโคเวเลนต์เป็นพันธะเด่ียว พันธะคู่ หรือพันธะสาม และระบุจานวนคู่อิเล็กตรอนระหว่าง

อะตอมครู่ ่วมพนั ธะจากสตู รโครงสรา้ ง
9. ระบสุ ภาพข้วั ของสารท่โี มเลกลุ ประกอบดว้ ย 2 อะตอม
10. ระบุสารท่ีเกิดพนั ธะไฮโดรเจนได้จากสตู รโครงสรา้ ง

หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี อิสลามวทิ ยาลยั แห่งประเทศไทย 221 82

11. อธบิ ายความสมั พันธร์ ะหว่างจุดเดอื ดของสารโคเวเลนต์กบั แรงดงึ ดูดระหว่างโมเลกุลตามสภาพข้วั หรอื การ
เกิดพันธะไฮโดรเจน

12. เขยี นสูตรเคมีของไอออนและสารประกอบ ไอออนิก
13. ระบุว่าสารเกิดการละลายแบบแตกตัวหรือ ไม่แตกตัว พร้อมให้เหตุผลและระบุว่าสารละลายที่ได้เป็น

สารละลายอิเลก็ โทรไลต์ หรอื นอนอเิ ลก็ โทรไลต์
14. ระบสุ ารประกอบอินทรีย์ประเภทไฮโดรคารบ์ อนว่าอม่ิ ตัวหรือไม่อิม่ ตัวจากสตู รโครงสรา้ ง
15. สบื คน้ ขอ้ มลู และเปรียบเทยี บสมบตั ทิ างกายภาพระหวา่ งพอลเิ มอร์และมอนอเมอรข์ องพอลิเมอรช์ นดิ น้ัน
16. ระบุสมบัตคิ วามเป็นกรด-เบส จากโครงสร้างของสารประกอบอินทรยี ์
17. อธิบายสมบตั ิการละลายในตวั ทาละลายชนดิ ตา่ ง ๆ ของสาร
18. วิเคราะห์และอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างโครงสร้างกับสมบัติเทอร์มอพลาสติกและเทอร์มอเซตของ

พอลิเมอร์ และการนาพอลิ-เมอร์ไปใชป้ ระโยชน์
19. สืบค้นข้อมูลและนาเสนอผลกระทบของการใช้ผลิตภัณฑ์พอลิเมอร์ที่มีต่อสิ่งมีชีวิตและส่ิงแวดล้อม พร้อม

แนวทางป้องกนั หรือแก้ไข
20. ระบุสตู รเคมขี องสารตั้งต้น ผลิตภณั ฑ์ และแปลความหมายของสัญลกั ษณใ์ นสมการเคมีของปฏกิ ริ ิยาเคมี
21. ทดลองและอธิบายผลของความเข้มข้น พื้นท่ีผิว อุณหภูมิ ตัวเริงปฏิกิริยาท่ีมีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยา

เคมี
22. สืบค้นข้อมูลและอธิบายปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีที่ใช้ประโยชน์ในชีวิตประจาวันหรือใน

อุตสาหกรรม
23. อธิบายความหมายของปฏิกิริยารดี อกซ์
24. อธบิ ายสมบัตขิ องสารกมั มันตรงั สี และคานวณครงึ่ ชวี ติ และปรมิ าณของสารกัมมันตรังสี
25. สืบค้นข้อมูลลานาเสนอตัวอย่างประโยชน์ของสารกัมมันตรงสี และการป้องกันอันตรายที่เกิดจาก

กมั มันตรังสี

83

หลกั สูตรกลุ่มสาระการเรยี นร้วู ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี อิสลามวทิ ยาลัยแห่งประเทศไทย 222

คาอธิบายรายวิชา

รหัสวิชา ว 30112 วทิ ยาศาสตรก์ ายภาพ(ฟิสิกส)์ กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์ฯ

ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 4 ภาคเรยี นที่ 2 จานวน 1.0 หน่วยกิต เวลา 40 ชวั่ โมง

ศึกษา วิเคราะห์ และแปลความหมายของปริมาณท่ีเกี่ยวข้องกับการเคล่อื นท่ี ระยะทาง การกระจัด
อัตราเร็ว ความเร็ว ความเร่ง ลักษณะของแรง การหาแรงลัพธ์ กฎการเคล่ือนที่ของนิวตัน การเคลื่อนท่ีแบบ
โพรเจกไทล์ การเคลื่อนที่แบบวงกลมและปริมาณที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนที่แบบวงกลม แรงสู่ศูนย์กลาง
ความเร่งสศู่ ูนย์กลาง การประยุกต์ใช้ความรกู้ ารเคล่ือนทแ่ี บบวงกลมในการอธบิ ายการเคลือ่ นที่ของรถบนถนน
โค้ง การแกว่งของวัตถุติดปลายเชือก การสั่นของวัตถุติดปลายสปริง แรงโน้มถ่วงและสนามโน้มถ่วง การ
เคลื่อนท่ีของวัตถุในสนามโน้มถ่วงของโลก ประโยชน์จากสนามโน้มถ่วง แรงไฟฟ้าและสนามไฟฟ้า ผลของ
สนามไฟฟ้าต่ออนุภาคที่มีประจุไฟฟ้า ประโยชน์จากสนามไฟฟ้า แรงแม่เหล็กและสนามแม่เหล็ก ผลของ
สนามแม่เหล็กต่ออนุภาคที่มีประจุไฟฟ้า ผลของสนามแม่เหล็กต่อตัวนาที่มีกระแสไฟฟ้า ประโยชน์จาก
สนามแมเ่ หลก็ แรงนิวเคลยี รอ์ ยา่ งเข้ม แรงนวิ เคลยี ร์อย่างอ่อน

โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ การสารวจตรวจสอบ การ
สืบค้นข้อมูล การสังเกต การวิเคราะห์ การอภิปราย และการสรุปผล เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด และความ
เข้าใจ มีความสามารถในการตัดสินใจ สื่อสารส่ิงท่ีเรียนรู้และนาความรู้ไปใช้ในชีวิตประจาวัน ตลอดจนมี
จิตวิทยาศาสตร์ จรยิ ธรรม คณุ ธรรม และคา่ นยิ มทีเ่ หมาะสม

ตัวช้วี ดั
ว 2.2 ม.5/1 ,ม.5/2, ม.5/3, ม.5/4, ม.5/5, ม.5/6, ม.5/7 ,ม.5/8, ม.5/9, ม.5/10, ม.5/1

รวม 11 ตวั ชีว้ ัด

84

หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี อิสลามวทิ ยาลัยแห่งประเทศไทย 223

ว 30143 คาอธิบายรายวชิ า
ช้ันมธั ยมศกึ ษาปีที่ 4 ภาคเรยี นที่ 1
วิทยาศาสตร์ชวี ภาพ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ฯ
เวลา 40 ชัว่ โมง จานวน 1.0 หน่วยกติ

ศึกษาเซลล์และองค์ประกอบสาคัญของเซลล์ การลาเลียงสารเข้าและออกจากเซลล์ การรักษา ดุลย
ภาพของนา้ ในพชื การรักษาดุลยภาพของนา้ และแรธ่ าตุในสตั วต์ า่ งๆ รวมทั้งในคน การรักษาดุลยภาพของกรด-
เบส อุณหภูมิในร่างกายคน การป้องกันและกาจัดเชื้อโรคของร่างกาย การเสริมสร้างภูมิคุ้มกันโรคให้กับ
รา่ งกาย ความผดิ ปกตขิ องระบบภูมิคุ้มกนั

โดยใชก้ ระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ การสบื คน้ ข้อมูล การสังเกต การ
วิเคราะห์ การอธิบาย การอภิปรายและสรุป เพ่ือให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ มีความสามารถใน
การตดั สินใจ ส่ือสารส่งิ ที่เรียนรแู้ ละนาความรู้ไปใช้ในชีวิตของตนเองและดแู ลรกั ษาส่ิงมีชวี ิตอื่นๆ เฝ้าระวงั และ
พัฒนาสงิ่ แวดล้อมอย่างยัง่ ยนื มีจิตวทิ ยาศาสตรจ์ รยิ ธรรม คุณธรรมและค่านยิ มทีเ่ หมาะสม

รหัสตัวช้ีวัด
ว 1.1 ม.4-6/1, ม.4-6/2, ม.4-6/3, ม.4-6/4
ว 8.1 ม.4-6/1, ม.4-6/2, ม.4-6/3, ม.4-6/4, ม.4-6/5, ม.4-6/6, ม.4-6/7, ม.4-6/8, ม.4-6/9, ม.4-6/10,
ม.4-6/11, ม.4-6/12

รวมทั้งหมด 16 ตัวช้วี ัด

85

หลกั สูตรกลุ่มสาระการเรียนรูว้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี อิสลามวทิ ยาลัยแห่งประเทศไทย 224

คาอธิบายรายวชิ า

รหัสวชิ า ว30162 วิทยาศาสตรโ์ ลก และอวกาศ กลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตรฯ์

ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 6 ภาคเรยี นที่ 1,2 เวลา 40 ชว่ั โมง จานวน 1.0 หนว่ ยกิต

ศึกษากาเนิดอนุภาคในเอกภพ หลักฐานท่ีสนับสนุนทฤษฎีบิกแบง กาแล็กซี ธรรมชาติของดาวฤกษ์
กาเนิด และองค์ประกอบของระบบสุริยะ เทคโนโลยีอวกาศ การส่งและการโคจรของดาวเทียม ประโยชน์จาก
ดาวเทียม การศึกษาโครงสร้างโลกโดยใชค้ ล่นื ไหวสะเทือน ลกั ษณะโครงสร้างโลก ทฤษฎีทวีปเลือ่ น ทฤษฎีการ
แผ่ขยายพน้ื สมทุ ร ทฤษฎกี ารแปรสัณฐานของแผน่ ธรณี การเคล่ือนที่ของแผ่นธรณใี นลักษณะต่างๆ แผ่นดินไหว
ภเู ขาไฟระเบิด อายุทางธรณีวทิ ยา ซากดกึ ดาบรรพ์ โครงสร้างทางธรณีวิทยา การอธิบายประวตั ิทางธรณีวิทยา
พื้นที่เส่ียงภัยภูเขาไฟระเบิด แผ่นดินไหวและสึนามิ แนวทางการเฝ้าระวังและการปฏิบัติตนให้ปลอดภัยจาก
ธรณีพิบัติภัยปัจจัยสาคัญท่ีมีผลต่อการได้รับพลังงานแสงอาทิตย์ การหมุนเวียนของอากาศ น้าผิวหน้าใน
มหาสมุทร ปัจจัยที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศของโลก แปลความหมายสัญลักษณ์ลมฟ้าอากาศจาก
แผนทอ่ี ากาศ

โดยใชก้ ระบวนการทางวิทยาศาสตร์ กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ การสืบค้นข้อมูล การสังเกต การ
วิเคราะห์ การอธิบาย การอภิปรายและสรุป เพ่ือให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ มีความสามารถในการ
ตัดสินใจ ส่ือสารสิ่งที่เรียนรู้และนาความรู้ไปใช้ในชีวิตของตนเองและดูแลรักษา สิ่งมีชีวิตอ่ืนๆ เฝ้าระวังและ
พฒั นาสิ่งแวดล้อมอยา่ งยั่งยืน มจี ติ วิทยาศาสตร์จรยิ ธรรม คณุ ธรรมและค่านยิ มท่เี หมาะสม

ตัวชี้วัด
ว 3.1 ม.6/1, ม.6/2, ม.6/3, ม.6/4, ม.6/5, ม.6/6 , ม.6/7, ม.6/8,ม.6/9,ม.6/10
ว 3.2 ม.6/1, ม.6/2, ม.6/3, ม.6/4, ม.6/5, ม.6/6, ม.6/7,ม.6/8, ม.6/9, ม.6/10, ม.6/11, ม.6/12
ม.6/13, ม.6/14

รวม 24 ตัวช้ีวดั

86

หลักสตู รกลุ่มสาระการเรียนรูว้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี อิสลามวทิ ยาลัยแห่งประเทศไทย 225

รหสั วชิ า ว31211 คาอธิบายรายวิชา
ช้นั มัธยมศึกษาปีท่ี 4
ฟสิ กิ สเ์ พ่ิมเติม กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์ฯ
เวลา 80 ชั่วโมง จานวน 2.0 หน่วยกติ

ศึกษาการค้นหาความรทู้ างฟิสิกส์ ประวตั คิ วามเป็นมา รวมทง้ั พฒั นาการของหลักการและแนวคิดทาง
ฟิสิกส์ท่ีมีผลต่อการแสวงหาความรู้ใหม่และการพัฒนาเทคโนโลยี การวัดและการรายงานผลการวัดปริมาณ
ศกึ ษาความรทู้ างฟิสกิ ส์ ประวตั ิความเป็นมา พฒั นาการของหลกั การและแนวคิดทางฟสิ ิกส์ การวดั ปริมาณทาง
ฟิสิกส์ ความคลาดเคล่ือนในการวัด การแสดงผลการทดลองในรูปของกราฟ ความหมายจากกราฟเส้นตรง
ความสัมพันธ์ระหว่างตาแหน่ง การกระจดั ความเร็ว ความเร่งของการเคลื่อนท่ีของวัตถใุ นแนวตรงท่ีมีความเร่ง
คงตัวจากกราฟและสมการ ค่าความเร่งโน้มถ่วงของโลก แรงลัพธ์ของแรงสองแรงท่ีทามุมต่อกัน กฎการ
เคลื่อนที่ของนิวตัน กฎความโน้มถ่วงสากล การใช้กฎการเคล่ือนที่ของนิวตันกับสภาพการเคล่ือนท่ีของวัตถุ
แรงเสยี ดทานระหว่างผิวสัมผัสของวัตถุคู่หน่ึงๆ ในกรณที ี่วตั ถุหยุดน่ิงและวัตถุเคล่ือนที่ สมั ประสิทธ์ิความเสียด
ทานระหว่างผิวสัมผัสของวัตถุคู่หน่ึงๆ และนาความรู้เร่ืองแรงเสียดทานไปใช้ในชีวิตประจาวัน การเคล่ือนที่
แบบโพรเจกไทล์ และปริมาณต่างๆ ของการเคล่ือนท่ีแบบโพรเจกไทล์ ความสัมพันธ์ระหว่างแรงสู่ศูนย์กลาง
รัศมีของการเคลื่อนที่ อัตราเร็วเชิงเส้น อัตราเร็วเชิงมุม มวลของวัตถุในการเคล่ือนท่ีแบบวงกลมในระนาบ
ระดับ การประยุกต์ใช้ความรกู้ ารเคลอ่ื นทแ่ี บบวงกลมในการอธิบายการโคจรของดาวเทียม

โดยใช้กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ การสบื คน้ ข้อมูล การสังเกต การ
วิเคราะห์ การอธิปราย การอธิบายและการสรุปผล เพ่ือให้ผู้เรียนเกิดความรู้ ความคิด และความเข้าใจ มี
ความสามารถในการตัดสินใจ สื่อสารส่ิงท่ีเรียนรู้และนาความรู้ไปใช้ในชีวิตตนเอง ตลอดจนมีจิตวิทยาศาสตร์
จรยิ ธรรม คุณธรรม และคา่ นยิ มทถี่ กู ต้อง
ผลการเรยี นรู้

1. สบื ค้นและอธบิ ายการคน้ หาความรทู้ างฟสิ ิกส์ ประวัติความเปน็ มา รวมทั้งพัฒนาการของหลักการและ
แนวคิดทางฟิสกิ สท์ ่ีมผี ลต่อการแสวงหาความรู้ใหม่และการพัฒนาเทคโนโลยไี ด้

2. วดั และรายงานผลการวดั ปริมาณทางฟิสกิ ส์ได้ถกู ต้องเหมาะสม โดยนาความคลาดเคลอ่ื นในการวัดมา
พิจารณาในการนาเสนอผล รวมทง้ั แสดงผลการทดลองในรูปของกราฟ วเิ คราะหแ์ ละแปลความหมาย
จากกราฟเส้นตรงได้

3. ทดลองและอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างตาแหน่ง การกระจัด ความเร็ว และความเร่งของการ
เคลื่อนท่ขี องวตั ถุในแนวตรงท่ีมคี วามเร่งคงตัวจากกราฟและสมการ รวมทง้ั ทดลองหาค่าความเรง่ โน้ม
ถว่ งของโลก และคานวณปริมาณต่างๆ ท่เี กย่ี วขอ้ งได้

4. ทดลองและอธิบายการหาแรงลพั ธข์ องแรงสองแรงท่ีทามมุ ต่อกันได้
5. เขยี นแผนภาพของแรงที่กระทาต่อวัตถุอิสระ ทดลองและอธบิ ายกฎการเคลอ่ื นทขี่ องนิวตันและการใช้

กฎการเคล่ือนท่ีของนวิ ตนั กับสภาพการเคลื่อนที่ของวัตถุ รวมทัง้ คานวณปรมิ าณตา่ งๆ ทีเ่ กย่ี วขอ้ งได้
6. อธิบายกฎความโน้มถ่วงสากลและผลของสนามโน้มถ่วงท่ีทาให้วัตถุมีน้าหนัก รวมท้ังคานวณปริมาณ

ตา่ งๆ ที่เกย่ี วขอ้ งได้
7. วิเคราะห์ อธิบาย และคานวณแรงเสียดทานระหว่างผิวสัมผัสของวัตถุคู่หน่ึงๆ ในกรณีที่วัตถุหยุดนิ่ง

และวตั ถุเคลือ่ นที่ รวมท้ังทดลองหาสัมประสิทธ์ิความเสียดทานระหว่างผิวสัมผสั ของวัตถคุ ู่หนง่ึ ๆ และ
นาความรู้เรือ่ งแรงเสยี ดทานไปใช้ในชีวติ ประจาวันได้

หลักสตู รกลุ่มสาระการเรียนร้วู ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี อิสลามวทิ ยาลัยแห่งประเทศไทย 226 87
8. อธิบาย วเิ คราะห์ และคานวณปริมาณตา่ งๆ ที่เก่ียวข้องกบั การเคล่ือนที่แบบโพรเจกไทล์ และทดลอง

การเคลือ่ นท่ีแบบโพรเจกไทลไ์ ด้
9. ทดลองและอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างแรงสู่ศูนย์กลาง รัศมีของการเคล่ือนที่ อัตราเร็วเชิงเส้น

อตั ราเร็วเชิงมุม และมวลของวัตถุในการเคล่ือนท่ีแบบวงกลมในระนาบระดับ รวมทั้งคานวณปริมาณ
ต่างๆ ท่ีเก่ียวข้อง และประยุกต์ใช้ความรู้การเคลื่อนท่ีแบบวงกลมในการอธิบายการโคจรของ
ดาวเทียมได้
รวมทัง้ หมด 9 ผลการเรยี นรู้

87

หลักสตู รกลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี อสิ ลามวทิ ยาลัยแห่งประเทศไทย 227

คาอธบิ ายรายวิชา

รหสั วชิ า ว31212 ฟิสิกส์เพมิ่ เติม กลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ฯ
ช้ันมธั ยมศึกษาปีท่ี 4 เวลา 80 ช่ัวโมง จานวน 2.0 หน่วยกิต

ศึกษาหลักการของงาน พลังงาน ความสัมพันธ์ระหว่างงานและพลังงานจลน์ ความสัมพันธ์ระหว่าง 88
งานกับพลังงานศักย์โน้มถ่วง และความสัมพันธ์ระหว่างงานและพลังงานจลน์ ความสัมพันธ์ระหว่างงานกับ
พลงั งานศกั ยโ์ น้มถ่วง และความสัมพันธ์ระหวา่ งขนาดของแรงทีใ่ ช้ดึงสปรงิ กบั ระยะที่สปริงยดื ออก แรงอนุรักษ์
กฎการอนุรักษ์พลังงาน กาลัง เคร่ืองกลอย่างง่าย ประสิทธิภาพ และการได้เปรียบเชิงกลของเคร่ืองกลอย่าง
ง่ายบางชนิด โมเมนตัม การชนกันของวัตถุในหนึ่งมิติ การดล แรงดล และกฎการอนุรักษ์โมเมนตัมหลักการ
ของกลศาสตร์ในเร่ืองสมดุลกลและเง่ือนไขที่ทาให้วัตถุ หรือระบบอยู่ในสมดุลกล ศูนย์กลางมวลของวัตถุและ
ผลของศูนย์ถ่วงท่มี ตี ่อเสถียรภาพของวัตถุ

โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การสืบค้นข้อมูล การสังเกต วิเคราะห์
เปรียบเทียบ อธิบายอภิปราย และสรุป เพ่ือให้เกิดความรู้ความเข้าใจ มีความสามารถในการตัดสินใจ มที ักษะ
ปฏิบัติการทางวทิ ยาศาสตร์ รวมท้ังทกั ษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ในดา้ นการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศ ดา้ น
การคิดและการแก้ปัญหา ด้านการสื่อสาร สามารถส่ือสารส่ิงท่ีเรียนรู้และนาความรู้ไปใช้ในชีวิตของตนเอง มี
จิตวทิ ยาศาสตร์ จรยิ ธรรม คุณธรรม และค่านยิ มท่ีเหมาะสม
ผลการเรียนรู้

1. วิเคราะห์ และคานวณงานของแรงคงตัว จากสมการและพ้ืนทีใ่ ต้กราฟความสัมพันธร์ ะหวา่ งแรงกับ
ตาแหน่ง รวมทัง้

อธบิ ายและคานวณกาลงั เฉลยี่
2. อธิบายและคานวณพลังงานจลน์ พลังงานศกั ย์พลังงานกล ทดลองหาความสมั พนั ธ์ระหวา่ งงานกบั
พลงั งานจลน์

ความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งงานกับพลังงานศักยโ์ นม้ ถว่ ง ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งขนาดของแรงท่ีใชด้ งึ
สปรงิ กบั ระยะทีส่ ปรงิ

ยืดออก และความสมั พันธร์ ะหวา่ งงานกับพลงั งานศักยย์ ืดหยุ่น รวมทั้งอธิบายความสัมพันธ์
ระหว่างงานของแรงลัพธ์

และพลังงานจลน์ และคานวณงานท่เี กดิ ขึน้ จากแรงลัพธ์
3. อธิบายกฎการอนุรักษ์พลังงานกล รวมท้ังวิเคราะห์ และคานวณปริมาณต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการ
เคลื่อนทีข่ องวัตถุ

ในสถานการณ์ต่างๆ โดยใช้กฎการอนุรกั ษ์พลงั งานกล
4. อธิบายการทางาน ประสิทธิภาพและการได้เปรียบเชิงกลของเครื่องกลอย่างง่ายบางชนิด โดยใช้
ความรเู้ ร่อื งงานและ

สมดุลกล รวมทง้ั คานวณประสทิ ธิภาพและการไดเ้ ปรียบเชิงกล
5. อธิบาย และคานวณโมเมนตัมของวัตถุ และการดลจากสมการและพ้ืนท่ีใต้กราฟความสัมพันธ์
ระหวา่ งแรงลพั ธก์ ับ

เวลา รวมทงั้ อธิบายความสมั พันธร์ ะหว่างแรงดลกับโมเมนตมั
6. ทดลอง อธิบาย และคานวณปริมาณต่างๆ ท่ีเกยี่ วข้องกบั การชนของวตั ถุในหน่ึงมิติ ทง้ั แบบยืดหยุ่น
ไม่ยืดหยุ่น

และการดดี ตัวแยกจากกนั ในหน่งึ มติ ิซงึ่ เปน็ ไปตามกฎการอนรุ ักษโ์ มเมนตัม

หลกั สตู รกลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี อิสลามวทิ ยาลยั แห่งประเทศไทย 228
7. อธิบายสมดุลกลของวัตถุ โมเมนตแ์ ละผลรวมของโมเมนตท์ มี่ ีต่อการหมุน แรงคคู่ วบและผลของแรง
คู่ควบทีม่ ีต่อ

สมดุลของวัตถุ เขียนแผนภาพวัตถุอิสระเม่ือวัตถุอยู่ในสมดุลกลและคานวณปริมาณต่างๆ ที่
เกี่ยวข้อง รวมทั้งทดลอง

และอธิบายสมดุลของแรงสามแรง
8. สังเกตและอธิบายสภาพการเคล่ือนที่ของวัตถุ เมือ่ แรงทก่ี ระทาต่อวัตถผุ ่านศูนยก์ ลางมวลของวัตถุ และผล
ของศูนย์ถว่ งท่ีมตี ่อเสถียรภาพของวตั ถุ
รวมทงั้ หมด 8 ผลการเรียนรู้

90

หลักสูตรกลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี อสิ ลามวิทยาลัยแห่งประเทศไทย 229

คาอธิบายรายวิชา

รหัสวชิ า ว31223 เคมเี พิ่มเตมิ กลมุ่ สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์ ฯ
ชัน้ มธั ยมศึกษาปที ่ี 4 ภาคเรยี นท่ี 1
เวลา 60 ช่วั โมงจานวน หนว่ ยกติ 1.5 หน่วยกติ

ศึกษาแบบจาลองอะตอมของดอลตนั ทอมสัน รัทเทอรฟ์ อรด์ โบร์ และแบบกลุม่ หมอก เขียนและแปล
ความหมายสญั ลักษณน์ ิวเคลียร์ของธาตุ เลขอะตอม เลขมวล ไอโซโทป เขียนการจัดเรยี งอเิ ล็กตรอนในอะตอม
ศึกษาความหมายของระดับพลังงานของอิเล็กตรอน ออร์บิทัล เวเลนต์อิเล็กตรอน วิวัฒนาการของการสร้าง
ตารางธาตุและตารางธาตุในปัจจุบัน แนวโน้มสมบัติบางประการของธาตุในตารางธาตุตามหมู่และตามคาบ
เกย่ี วกบั ขนาดอะตอม ขนาดไอออน พลงั งานไอออไนเซชัน สัมพรรคภาพอิเลก็ ตรอน อิเล็กโทรเนกาติวิตี ศกึ ษา
สมบัติของธาตุแทรนซิชัน ธาตุกัมมันตรังสี การเกิดกัมมันตภาพรังสี การสลายตัวและอันตรายของไอโซโทป
กมั มนั ตรังสี คานวณครึ่งชีวิตของธาตกุ ัมมนั ตรังสี ศึกษาปฏิกิรยิ านิวเคลียรแ์ ละเทคโนโลยที ี่เก่ยี วข้องกบั การใช้
สารกมั มันตรังสี การนาธาตไุ ปใช้ประโยชน์ รวมท้งั ผลกระทบตอ่ สง่ิ มชี วี ติ และสิ่งแวดลอ้ ม

ศกึ ษาพันธะเคมี สัญลักษณ์แบบจุดของลิวอิสและกฎออกเตต การเกิดพันธะไอออนิก สูตรเคมีและช่ือ
ของสารประกอบไอออนิก พลังงานกับการเกิดสารประกอบไอออนิก สมบัติสารประกอบไอออนิก สมการไอ
ออนิกและสมการไอออนิกสุทธิ การเกดิ พนั ธะโคเวเลนต์ โครงสร้างลวิ อิส สูตรโมเลกุลและชื่อของสารโคเว
เลนต์ ความยาวและพลังงานพันธะ เรโซเนนซ์ การคานวณพลังงานพันธะและพลังงานของปฏิกิริยา
รูปร่างและสภาพข้ัวของโมเลกุลโคเวเลนต์ แรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลและสมบัติของสารโคเวเลนต์ สาร
โคเวเลนต์ โครงร่างตาข่าย การเกิดพันธะโลหะและสมบตั ิของโลหะ และการนาสารประกอบชนิดต่าง ๆ ไปใช้
ประโยชน์

โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การสืบค้นข้อมูล การสังเกต วิเคราะห์
เปรียบเทียบ อธิบาย อภิปราย และสรปุ เพอื่ ใหเ้ กิดความรู้ ความเขา้ ใจ มีความสามารถในการตดั สินใจ มีทักษะ
ปฏิบัติการทางวิทยาศาสตร์ รวมทั้งทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 ในด้านการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ด้านการคิด
และการแกป้ ัญหา ด้านการส่ือ สามารถสื่อสารส่งิ ที่เรยี นรู้ และนาความรไู้ ปใช้ประโยชนใ์ นชีวติ ของตนเอง มีจิต
วิทยศาสตร์ จรยิ ธรรม คุณธรรม และคา่ นยิ มที่เหมาะสม

ผลการเรียนรู้ 91
1. สืบค้นข้อมูล สมมติฐาน การทดลองหรือผลการทดลองที่เป็นประจักษ์พยานในการเสนอแบบจาลอง
อะตอมของนักวทิ ยาศาสตร์ และอธบิ ายวิวัฒนาการของแบบจาลองอะตอม
2. เขียนสัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ และระบุจานวนโปรตอน นิวตรอน และอิเล็กตรอนของอะตอมจาก
สัญลักษณน์ ิวเคลยี ร์ รวมทง้ั บอกความหมายของไอโซโทป
3. อธิบายและเขียนการจัดเรียงอิเล็กตรอนในระดับพลังงานหลักและระดับพลังงานย่อยเม่ือทราบเลข
อะตอมของธาตุ
4. ระบุหมู่ คาบ ความเปน็ โลหะ อโลหะ และก่งึ โลหะ ของกลมุ่ ธาตเุ รพรเี ซนเททีฟ และธาตุแทรนซิชนั ใน
ตารางธาตุ
5. วเิ คราะห์และบอกแนวโน้มสมบัตขิ องกลุ่มธาตเุ รพรีเซนเททีฟ ตามหมู่และตามคาบ
6. บอกสมบตั ขิ องธาตุโลหะแทรนซิชัน และเปรยี บเทียบสมบัตกิ บั ธาตุโลหะในกลุ่มธาตเุ รพรเี ซนเททฟี
7. อธิบายสมบตั แิ ละคานวณครึ่งชีวิตของไอโซโทปกมั มนั ตรังสี
8. สบื ค้นข้อมูลและยกตวั อย่างการนาธาตุมาใชป้ ระโยชน์ รวมทงั้ ผลกระทบตอ่ สงิ่ มีชีวิตและสงิ่ แวดล้อม
9. อธิบายการเกดิ ไอออนและการเกดิ พันธะไอออนกิ โดยใชแ้ ผนภาพหรือสญั ลกั ษณ์แบบจุดของลวิ อิส

หลักสตู รกลุ่มสาระการเรยี นร้วู ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี อสิ ลามวิทยาลัยแห่งประเทศไทย 230

10. เขยี นสตู รและเรียกช่อื สารประกอบไอออนิก
11. คานวณพลงั งานท่ีเกยี่ วขอ้ งกับปฏกิ ริ ยิ าการเกิดสารประกอบไอออนิกจากวฏั จกั รบอร์น ฮาเบอร์
12. อธบิ ายสมบตั ขิ องสารประกอบไอออนิก
13. เขยี นสมการไอออนกิ และสมการไอออนิกสทุ ธิของปฏกิ ริ ิยาของสารประกอบไอออนิก
14. อธิบายการเกดิ พนั ธะโคเวเลนตแ์ บบพันธะเดย่ี ว พนั ธะคู่ และพนั ธะสาม ดว้ ยดครงสรา้ งลิวอสิ
15. เขียนสตู รและเรยี กชื่อสารโคเวเลนต์
16. วเิ คราะห์และเปรียบเทียบความยาวพันธะและพลังงานพันธะในสารโคเวเลนต์ รวมท้ังคานวนพลงั งาน

ทเี่ กี่ยวข้องกบั ปฏิกิรยิ าของสารโคเวเลนต์จากพลงั งานพันธะ
17. คาดคะเนรูปร่างโคเวเลนต์โดยใช้ทฤษฎีการผลักระหว่างคู่อิเล็กตรอนในวงเวเลนซ์ และระบุสภาพขั้ว

ของโมเลกุลโคเวเลนต์
18. ระบชุ นิดของแรงยึดเหนย่ี วระหวา่ งโมเลกุลโคเวเลนต์ และเปรียบเทียบจุดหลอมเหลว จดุ เดอื ด และ

การละลายน้าของสารโคเวเลนต์
19. สบื ค้นข้อมูลและอธบิ ายสมบัตขิ องสารโคเวเลนตโ์ ครงรา่ งตาข่ายชนิดตา่ ง ๆ
20. อธิบายการเกิดพนั ธะโลหะและสมบตั ิของโลหะ
21. เปรียบเทียบสมบัติบางประการของสารไอออนิก สารโคเวเลนต์ และโลหะ สืบค้นข้อมูลและนาเสนอ

ตวั อยา่ งการใช้ประโยชนข์ องสารประกอบไอออนิก สารโคเวเลนต์ และโลหะ ไดอ้ ย่างเหมาะสม
รวมทั้งหมด 21 ผลการเรยี นรู้

92

หลกั สตู รกลุ่มสาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี อิสลามวิทยาลัยแห่งประเทศไทย 231

คาอธบิ ายรายวิชา

รหัสวิชา ว31224 เคมเี พิ่มเตมิ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ฯ
ชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรยี นท่ี 2
เวลา 60 ชว่ั โมง จานวนหน่วยกติ 1.5 หนว่ ยกติ

ศึกษาความหมายและคานวณมวลอะตอม มวลอะตอมสัมพัทธ์ มวลอะตอมเฉลย่ี ของธาตุ โมล มวลต่อ
โมล มวลโมเลกุล และมวลสูตร ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างจานวนโมล อนุภาค มวลและปริมาตรของแก๊สที่
STP ศึกษากฎสดั ส่วนคงที่ คานวณอัตราสว่ นโดยมวล อัตราส่วนโดยโมล ร้อยละโดยมวล สตู รโมเลกุลและสูตร
เอมพริคัลื ศึกษาหน่วยความเข้มข้นและการคานวณความเข้มข้นของสารละลายในหน่วยร้อยละ ส่วนในล้าน
ส่วน สว่ นในพันล้านส่วน โมลารติ ี โมแลริตี และเศษส่วนโมล ศกึ ษาการเตรียมสารละลายจากสารบริสุทธ์ิและ
จากการเจือจางสารละลายเข้มขน้ เปรียบเทียบจุดเดือดและจดุ หลอมเหลวของสารบรสิ ทุ ธแ์ิ ละสารละลาย

ศึกษาการเขียนและดุลสมการเคมี อัตราส่วนโดยโมลของสารในปฏิกิริยาเคมี แปลความหมาย
สญั ลกั ษณใ์ นสมการเคมคี านวณปริมาณของสารในปฏิกิริยาเคมีตามกฎทรงมวล ศึกษากฎการรวมปรมิ าตรแก๊ส
เกย์-ลูสแซกและสมมุตฐิ านของอาโวกาโด คานวณปริมาณของสารในปฏกิ ิริยาเคมโี ดยใช้ความสัมพันธ์ระหว่าง
โมล มวล ความเข้มข้น และปริมาตรของแก๊ส คานวณปริมาณสารในปฏิกิริยาเคมีหลายขั้นตอน ปริมาณสาร
เม่อื มีสารกาหนดปริมาณ และผลได้รอ้ ยละ

โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การสืบค้นข้อมูล การสังเกต วิเคราะห์
เปรียบเทียบ อธิบาย อภิปราย และสรุปเพือ่ ใหเ้ กิดความรู้ ความเข้าใจ มีความสามารถในการตดั สินใจ มีทักษะ
ปฏิบัติการทางวิทยาศาสตร์ รวมทั้งทักษะแห่งศตวรรษท่ี 21 ในด้านการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ด้านการคิด
และการแกป้ ัญหา ด้านการสอื่ สามารถสอื่ สารสิง่ ที่เรียนรู้ และนาความรูไ้ ปใช้ประโยชน์ในชีวิตของตนเอง มจี ิต
วทิ ยศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรม และค่านยิ มทีเ่ หมาะสม

ผลการเรียนรู้ 93
1. บอกความหมายของมวลอะตอมของธาตุ และคานวณมวลอะตอมเฉลีย่ ของธาตุ มวลโมเลกลุ และมวลสตู รได้
2. อธบิ ายและคานวณปริมาณใดปรมิ าณหน่ึงจากความสัมพนั ธ์ของโมล จานวนอนุภาค มวล และปริมาตรของแก๊ส
ที่ STP ได้
3. คานวณอตั ราส่วนโดยมวลของธาตอุ งค์ประกอบของสารประกอบตามกฎสัดส่วนคงท่ีได้
4. คานวณสตู รอยา่ งง่ายและสูตรโมเลกลุ ของสารได้
5. คานวณความเขม้ ข้นของสารละลายในหน่วยตา่ ง ๆ ได้
6. อธิบายวิธีการและเตรียมสารละลายให้มีความเข้มข้นในหน่วยโมลาริตี และปริมาตรสารละลายตามที่
กาหนดได้
7. เปรียบเทียบจุดเดือดและจุดเยือกแข็งของสารละลายกับสารบริสุทธ์ิ รวมท้ังคานวณจุดเดือดและจุดเยือกแข็ง
ของสารละลายได้
8. แปลความหมายสญั ลกั ษณ์ในสมการเคมี เขยี นและดลุ สมการเคมขี องปฏกิ ริ ิยาเคมบี างชนิดได้
9. คานวณปริมาณของสารในปฏกิ ิรยิ าเคมีทีเ่ ก่ียวขอ้ งกบั มวลสารได้
10. คานวณปรมิ าณของสารในปฏิกิริยาเคมที ีเ่ ก่ยี วขอ้ งกบั ความเขม้ ขน้ ของสารละลายได้
11. คานวณปรมิ าณของสารในปฏิกริ ยิ าเคมีทเ่ี กี่ยวขอ้ งกับปรมิ าตรแก๊สได้
12. คานวณปรมิ าณของสารในปฏกิ ริ ยิ าเคมีหลายขั้นตอนได้
13. ระบุสารกาหนดปรมิ าณและคานวณปริมาณสารตา่ ง ๆ ในปฏิกริ ยิ าเคมีได้
14. คานวณผลไดร้ ้อยละของผลติ ภณั ฑใ์ นปฏกิ ิรยิ าเคมไี ด้

หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี อสิ ลามวิทยาลัยแห่งประเทศไทย 232

รหัสวิชา ว31243 คาอธบิ ายรายวชิ า
ชั้นมธั ยมศึกษาปีท่ี 4 ภาคเรียนที่ 1
ชวี วทิ ยาเพิ่มเติม กลุ่มสาระการเรยี นร้วู ทิ ยาศาสตร์ ฯ
จานวน 1.5 หน่วยกิต เวลา 60 ชัว่ โมง

ศึกษาเกี่ยวกับลักษณะสาคัญของส่ิงมีชีวิตการศึกษาชีววิทยาโดยอาศัยวิธีการทางวิทยาศาสตร์การนา
ความร้เู ก่ียวกบั ชีววิทยามาประยกุ ต์ใช้ในชีวิตประจาวันโครงสร้างและหน้าที่ของสารเคมีที่เป็นองค์ประกอบใน
เซลล์ของส่ิงมีชีวิตปฏิกิริยาเคมีในเซลล์ของสิ่งมีชีวิตโครงสร้างและหน้าท่ีของส่วนประกอบของเซลล์การแพร่
การออสโมซสิ การแพร่แบบฟาซลิ เิ ทตแอกทฟี ทรานสปอร์ตการลาเลียงสารโมเลกุลใหญ่ การแบง่ เซลล์ และการ
หายใจระดบั เซลล์

โดยอาศัยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์กระบวนการสืบเสาะหาความรกู้ ารสืบค้นข้อมูลการสังเกตการ
วเิ คราะห์การทดลอง การอภิปรายการอธิบายและสรุปเพ่อื ให้เกิดความร้คู วามคิดความเข้าใจมีความสามารถใน
การตัดสินใจส่ือสารส่ิงท่ีเรียนรู้และนาความรู้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวันมีจิตวิทยาศาสตร์ มีคุณธรรมและ
จรยิ ธรรม

ผลการเรยี นรู้ 94
1. อธิบายและสรุปสมบัติท่ีสาคัญของส่ิงมีชีวิต และความสัมพันธ์ของการจัดระบบในสิ่งมีชีวิตที่ทาให้
สง่ิ มชี วี ติ ดารงชวี ติ อยไู่ ด้
2. อภิปรายและบอกความสาคัญของการระบุปัญหาความสัมพันธ์ระหว่างปัญหาสมมติฐาน และวิธีการ
ตรวจสอบสมมติฐานรวมทงั้ ออกแบบการทดลองเพ่ือตรวจสอบสมมติฐาน
3. สืบค้นข้อมูลอธิบายเกี่ยวกับสมบัติของน้าและบอกความสาคัญของน้าท่ีมีต่อส่ิงมีชีวิตและยกตัวอย่าง
ธาตุต่าง ๆทีม่ ีความสาคัญตอ่ ร่างกายสิ่งมชี ีวติ
4. สืบค้นข้อมูล อธิบายโครงสร้างของคาร์โบไฮเดรตระบุกลุ่มคาร์โบไฮเดรตรวมท้ังความสาคัญของ
คาร์โบไฮเดรตทีม่ ีตอ่ สงิ่ มีชวี ิต
5. สบื ค้นข้อมลู อธบิ ายโครงสร้างของโปรตนี และความสาคัญของโปรตีนทม่ี ตี ่อสิ่งมชี ีวิต
6. สืบคน้ ขอ้ มลู อธบิ ายโครงสรา้ งของลพิ ิดและความสาคัญของลิพิดที่มตี ่อส่งิ มีชีวติ
7. อธิบายโครงสร้างของกรดนวิ คลอี ิกและระบุชนิดของกรดนิวคลีอิกและความสาคัญของกรดนิวคลีอิกท่ีมี
ต่อส่งิ มชี ีวิต
8. สบื คน้ ขอ้ มูลและอธบิ ายปฏิกริ ิยาเคมีทเี่ กิดขึ้นในส่งิ มชี ีวติ
9. อธิบายการทางานของเอนไซม์ในการเร่งปฏิกิริยาเคมีในสิ่งมีชีวิต และระบุปัจจัยที่มีผลต่อการทางาน
ของเอนไซม์

10. บอกวิธีการและเตรียมตัวอย่างส่ิงมีชีวิตเพื่อศึกษาภายใต้กล้องจุลทรรศน์ใช้แสงวัดขนาดโดยประมาณ
และวาดภาพทีป่ รากฏภายใต้กล้องบอกวิธกี ารใชแ้ ละการดแู ลรักษากล้องจุลทรรศน์ใช้แสงท่ีถูกต้อง

11. อธิบายโครงสรา้ งและหน้าท่ขี องส่วนท่ีห่อหุ้มเซลลข์ องเซลล์พืชและเซลลส์ ตั ว์
12. สืบค้นขอ้ มลู อธิบายและระบุชนิดและหน้าท่ขี องออร์แกเนลล์
13. อธบิ ายโครงสร้างและหนา้ ทขี่ องนวิ เคลยี ส
14. อธบิ ายและเปรียบเทียบการแพร่ออสโมซสิ การแพร่แบบฟาซลิ เิ ทต และ แอกทีฟทรานสปอรต์
15. สืบค้นข้อมูลอธิบายและเขียนแผนภาพการลาเลียงสารโมเลกุลใหญ่ออกจากเซลล์ด้วยกระบวนการเอก

โซไซโทซสิ และการลาเลียงสารโมเลกุลใหญ่เข้าสเู่ ซลล์ด้วยกระบวนการเอนโดไซโทซิส

หลกั สูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี อิสลามวทิ ยาลัยแห่งประเทศไทย 233
16. สังเกตการแบ่งนิวเคลียสแบบไมโทซิสและแบบไมโอซิสจากตัวอย่างภายใต้กล้องจุลทรรศน์พร้อมทั้ง

อธบิ ายและเปรยี บเทียบการแบง่ นิวเคลยี สแบบไมโทซสิ และแบบไมโอซิส
17. อธิบายเปรียบเทียบและสรุปขั้นตอนการหายใจระดับเซลล์ในภาวะท่ีมีออกซิเจนเพียงพอและภาวะท่ีมี

ออกซิเจนไม่เพียงพอ
รวมทั้งหมด 17 ผลการเรยี นรู้

95

หลกั สูตรกลุ่มสาระการเรยี นรูว้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี อสิ ลามวิทยาลัยแห่งประเทศไทย 234

รหสั วิชา ว31244 คาอธิบายรายวิชา
ชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรยี นที่ 2
ชีววิทยาเพิ่มเติม กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ฯ
จานวน 1.5 หน่วยกติ เวลา 60 ชัว่ โมง

ศึกษาเกี่ยวกับการถ่ายทอดทางพันธุกรรม การศึกษาพันธุศาสตร์ของเมนเดล กฎการแยกและกฎการ

รวมกลุ่มอย่างอิสระ ลักษณะทางพันธุกรรมที่เป็นส่วนขยายของพันธุศาสตร์เมนเดล ศึกษาเก่ียวกับยีน

และโครโมโซม การค้นพบสารพนั ธุกรรม โครโมโซม องค์ประกอบทางเคมีของของดเี อ็นเอ โครงสร้างของดเี อ็น

เอสมบัติของสารพันธุกรรม การกลาย ศึกษาเกี่ยวกับพันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทางดีเอ็นเอพันธุวิศวกรรม

การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีทางดีเอ็นเอความปลอดภัยของเทคโนโลยีทางดีเอ็นเอและมุมมองทางสังคม

และจริยธรรม ศึกษาเก่ียวกับวิวัฒนาการ หลักฐานที่บ่งบอกถึงวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต แนวคิดเก่ียวกับ

ววิ ฒั นาการของสง่ิ มีชวี ิต พนั ธศุ าสตร์ประชากร และกาเนดิ ของสปชี ีส์

โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ การสืบค้นข้อมูล การสังเกต

การวเิ คราะห์ การทดลอง อภปิ ราย การอธิบาย และสรปุ เพ่อื ให้เกิดความรู้ ความคดิ ความเข้าใจ มี

ความสามารถในการตัดสินใจ สื่อสารส่ิงท่ีเรียนรู้และนาความรู้ไปใช้ในชีวิตของตนเอง มีจิตวิทยาศาสตร์

จรยิ ธรรมคุณธรรม และค่านิยม

ผลการเรียนรู้
1. สืบค้นข้อมูล อธบิ ายและสรปุ ผลการ ทดลองของเมนเดลได้
2. อธิบายและสรุปกฎแห่งการแยกและกฎแห่งการรวมกลุ่มอย่างอิสระ และนากฎของเมนเดลนี้ไป
อธิบายการถ่ายทอดลักษณะทางพันธกุ รรมและใช้ในการคานวณโอกาสในการเกิดฟีโนไทป์และจีโน
ไทปแ์ บบตา่ ง ๆ ของรุ่น F1 และ F2ได้
3. สืบค้นข้อมูล วิเคราะห์ อธิบาย และสรุปเก่ียวกับการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมท่ีเป็นส่วน
ขยายของพันธุศาสตร์เมนเดลได้
4. สืบค้นข้อมูล วิเคราะห์ และเปรียบเทียบลักษณะทางพันธุกรรมที่มีการแปรผันไม่ต่อเนื่องและ
ลักษณะทางพันธกุ รรมท่มี ีการแปรผนั ต่อเน่ืองได้
5. อธิบายการถ่ายทอดยีนบนโครโมโซม และยกตัวอย่างลักษณะทางพันธุกรรมท่ีถูกควบคุมด้วยยีน
บนออโตโซมและยีนบนโครโมโซมเพศได้
6. สืบค้นข้อมูล อธิบายสมบัติและหน้าท่ีของสารพันธุกรรม โครงสร้างและองค์ประกอบทางเคมีของ
DNA และสรุปการจาลอง DNA ได้
7. อธิบายและระบุขั้นตอนในกระบวนการสังเคราะห์โปรตีนและหน้าที่ของ DNA และ RNA แต่ละ
ชนดิ ในกระบวนการสงั เคราะห์โปรตนี ได้
8. สรุปความสัมพันธ์ระหว่างสารพันธุกรรม แอลลลี โปรตนี ลักษณะทางพันธุกรรม และเชื่อมโยงกับ
ความรู้เรอ่ื งพนั ธุศาสตร์เมนเดลได้
9. สืบค้นข้อมูล และอธิบายการเกิดมิวเทชันระดับยีนและระดับโครโมโซม สาเหตุการเกิดมิวเทชัน
รวมทัง้ ยกตัวอย่างโรคและกล่มุ อาการทีเ่ ป็นผลของการเกิดมวิ เทชนั ได้
10. อธบิ ายหลกั การสร้างสง่ิ มชี วี ิตดัดแปรพันธกุ รรมโดยใช้ดีเอน็ เอรคี อมบิแนนท์ได้

หลักสูตรกลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี อิสลามวิทยาลัยแห่งประเทศไทย 23596
11. สืบค้นข้อมูล ยกตัวอย่าง และอภิปรายการนาเทคโนโลยีทางดีเอ็นเอไปประยุกต์ ท้ังในด้าน

ส่ิงแวดล้อม นิติวิทยาศาสตร์ การแพทย์ การเกษตร และอุตสาหกรรม และข้อควรคานึงถึงด้าน
ชวี จรยิ ธรรมได้
12. สืบค้นขอ้ มูลและอธิบายเกี่ยวกับหลกั ฐานทสี่ นับสนนุ และข้อมูลที่ใช้อธิบายการเกิดวิวัฒนาการของ
สง่ิ มชี ีวติ ได้
13. อธิบายและเปรียบเทียบแนวคิดเก่ียวกับวิวัฒนาการของส่ิงมีชีวิตของฌองลามาร์ก และทฤษฎี
เกยี่ วกบั ววิ ฒั นาการของสง่ิ มชี วี ิตของชาลส์ ดารว์ นิ ได้
14. ระบุสาระสาคัญและอธิบายเง่ือนไขของภาวะสมดุลของฮาร์ดี-ไวน์เบิร์ก ปัจจัยที่ทาให้เกิดการ
เปลี่ยนแปลงความถี่ของแอลลีลในประชากร พร้อมท้ังคานวณหาความถี่ของแอลลีลและจีโนไทป์
ของประชากรโดยใช้หลักของฮารด์ ี-ไวนเ์ บิร์กได้
15. สืบค้นขอ้ มูล อภปิ ราย และอธิบายกระบวนการเกิดสปชี ีสใ์ หม่ของส่ิงมชี ีวิตได้
รวม 15 ผลการเรียนรู้

97

หลักสตู รกลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี อสิ ลามวทิ ยาลัยแห่งประเทศไทย 236

คาอธบิ ายรายวชิ า

รหสั วิชา ว31261 โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ กลุ่มสาระการเรียนร้วู ทิ ยาศาสตร์ฯ
ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 4 จานวน 1.0 หน่วยกิต เวลา 40 ชั่วโมง

ศึกษาการแบ่งช้ันและสมบัติของโครงสร้างโลก รอยต่อระหว่างชั้นโครงสร้างพร้อมหลักฐานสนับสนุน
ศึกษาการเคล่ือนทข่ี องแผน่ ธรณตี ามทฤษฎีธรณีแปรสณั ฐานพร้อมหลักฐานสนบั สนุน ศึกษาสาเหตุและรูปแบบ
แนวรอยต่อของแผ่นธรณีท่ีสัมพันธ์กับการเคล่ือนที่ของแผ่นธรณี และหลักฐานท่ีเป็นผลจากการเคล่ือนท่ีของ
แผ่นธรณี ศึกษาสาเหตุ กระบวนการเกิด และผลจากกการเกดิ ภเู ขาไฟระเบิด แผน่ ดนิ ไหว และ สนึ ามิ พรอ้ ม
แนวทางการเฝ้าระวังและปฏิบัติตนให้ปลอดภัย รวมทั้งอธิบายลาดับเหตุการณ์ทางธรณีวิทยาในอดีตจากการ
ใช้หลักฐานทพี่ บในปัจจุบัน โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การสืบค้นข้อมูล การ
สังเกต วิเคราะห์ เปรียบเทียบอธิบาย อภิปราย และสรุปเพ่ือให้เกิดความรู้ ความเข้าใจมีความสามารถในการ
ตัดสินใจ มีทักษะปฏิบัติการทางวิทยาศาสตร์ รวมทั้งทักษะแห่งศตวรรษท่ี 21 ในด้านการใช้เทคโนโลยี
สารสนเทศ ด้านการคิด และการแก้ปัญหา ด้านการสื่อสาร สามารถส่ือสารสิ่งที่เรียนรู้ และนาความรู้ไปใช้ใน
ชีวิตของตนเอง มจี ิตวิทยาศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรม และค่านิยมทเ่ี หมาะสม

ผลการเรยี นรู้
1. อธิบายการแบ่งช้นั และสมบัตขิ องโครงสร้างโลก พร้อมยกตวั อยา่ งข้อมลู ทส่ี นับสนุน
2. อธบิ ายหลกั ฐานทางธรณีวิทยาท่ีสนับสนนุ การเคล่ือนทีข่ องแผ่นธรณี
3. ระบสุ าเหตุ และอธบิ ายแนวรอยต่อของแผ่นธรณีทสี่ ัมพันธก์ ารเคล่ือนที่ของแผน่ ธรณพี ร้อม
ยกตวั อย่างหลักฐานทางธรณวี ทิ ยาที่พบ
4. วิเคราะหห์ ลักฐานทางธรณวี ิทยาทพี่ บในปัจจุบัน และอธบิ ายลาดับเหตุการณท์ างธรณวี ทิ ยาในอดีต
5. อธบิ ายสาเหตุ กระบวนการเกิดภูเขาไฟระเบิด และปัจจัยทที่ าให้ความรุนแรงของการปะทุ และ
รูปรา่ งของภเู ขาไฟแตกต่างกนั รวมทง้ั สืบค้นขอ้ มลู พน้ื ทเี่ สี่ยงภัย ออกแบบและนาเสนอแนว
ทางการเฝ้าระวงั และการปฏบิ ตั ิตนให้ปลอดภยั
6. อธิบายสาเหตุ กระบวนการเกิด ขนาดและความรุนแรง และผลจากแผ่นดนิ ไหว รวมทง้ั สืบค้น
ข้อมูลพ้นื ทีเ่ สย่ี งภัยออกแบบและนาเสนอแนวทางการเฝา้ ระวงั และปฏบิ ตั ติ นใหป้ ลอดภยั
7. อธิบายสาเหตุ กระบวนการเกิด และผลจากสนึ ามิ รวมทั้งสืบค้นข้อมูลพ้นื ท่เี สีย่ งภัย ออกแบบและ
นาเสนอแนวทางการเฝ้าระวงั และการปฏิบตั ติ นใหป้ ลอดภยั
8. ตรวจสอบและระบุชนดิ แร่ รวมท้ังวิเคราะห์สมบัตแิ ละนาเสนอการใช้ประโยชน์จากทรพั ยากรแร่ท่ี
เหมาะสม
9. ตรวจสอบ จาแนกประเภท และระบชุ ่อื หิน รวมทัง้ วเิ คราะหส์ มบตั แิ ละนาเสนอการใชป้ ระโยชน์
ของทรัพยากรหินที่เหมาะสม

รวมท้ังหมด 9 ผลการเรียนรู้

98

หลกั สตู รกลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี อสิ ลามวทิ ยาลยั แห่งประเทศไทย 237

คาอธิบายรายวิชา

รหัสวิชา ว31262 โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ กลุ่มสาระการเรียนรูว้ ทิ ยาศาสตร์ฯ
ช้ันมธั ยมศึกษาปที ่ี 4 เวลา 40 ชัว่ โมง จานวน 1.0 หนว่ ยกติ

ศกึ ษาชนิดของแร่คณุ สมบัติ และการใช้ประโยชน์จากทรพั ยากรแร่ ประเภทของหิน ชื่อหิน คุณสมบัติ
และการใช้ประโยชน์ของทรัพยากรหิน กระบวนการเกิด การสารวจ และการใช้ประโยชน์จากปิโตรเลียมและ
ถา่ นหิน ศึกษาหลกั การใชแ้ ผนทีภ่ มู ิประเทศและแผนท่ีธรณีวิทยา และการนาไปใช้ประโยชน์

โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การสืบค้นข้อมูล การสังเกต วิเคราะห์
เปรียบเทียบ อธิบายอภิปราย และสรุป เพือ่ ให้เกิดความร้คู วามเข้าใจ มีความสามารถในการตดั สินใจ มที ักษะ
ปฏบิ ัติการทางวิทยาศาสตร์ รวมท้ังทกั ษะการเรยี นรูใ้ นศตวรรษที่ 21 ในด้านการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ดา้ น
การคิดและการแก้ปัญหา ด้านการส่ือสาร สามารถส่ือสารสิ่งท่ีเรียนรู้และนาความรู้ไปใช้ในชีวิตของตนเอง มี
จิตวทิ ยาศาสตร์ จริยธรรม คณุ ธรรม และค่านยิ มทีเ่ หมาะสม

ผลการเรยี นรู้
1. ตรวจสอบและระบชุ นิดแร่ รวมทัง้ วเิ คราะหค์ ุณสมบตั ิและนาเสนอการใช้ประโยชนจ์ ากทรพั ยากร
แร่ที่เหมาะสม
2. ตรวจสอบ จาแนกประเภท และระบชุ ื่อหนิ รวมท้ังวเิ คราะห์สมบตั แิ ละนาเสนอการใช้ประโยชน์
ของทรพั ยากรหนิ ท่เี หมาะสม
3. อธิบายกระบวนการเกดิ และการสารวจปิโตรเลยี มและถ่านหิน พรอ้ มนาเสนอการใช้ประโยชน์
อย่างเหมาะสม
4. อ่านและแปลความหมายจากแผนท่ภี ูมิประเทศและแผนที่ธรณีวทิ ยาของพนื้ ที่ทก่ี าหนด พรอ้ มทง้ั
อธบิ าย และยกตัวอยา่ งการนาไปใช้ประโยชน์

รวมทั้งหมด 4 ผลการเรียนรู้

99

หลกั สูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี อสิ ลามวทิ ยาลยั แห่งประเทศไทย 238

คาอธิบายรายวิชา

รหสั วชิ า ว31281 วิทยาการคานวณ กลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ฯ

ระดบั ชั้นมธั ยมศึกษาปีท่ี 4 ภาคเรยี นที่ 1 2 คาบ/สปั ดาห)์ จานวน 1.0 หนว่ ยกติ

ศึกษาหลักการของแนวคิดเซิงคานวณ การแยกส่วนประกอบและการย่อยปัญหา การหารูปแบบการ
คิด เซิงนามธรรม ตัวอย่างและประโยชน์ของแนวคิดเซิงคานวณเพื่อแก้ปัญหาในชีวิตประจาวัน การวิเคราะห์
แนวคิด หลักของเทคโนโลยี ความสัมพันธ์กับศาสตร์อ่ืน โดยเฉพาะวิทยาศาสตร์ หรือคณิตศาสตร์ รวมทั้ง
ประเมินผล กระทบท่ีจะเกิดขึ้นต่อมนุษย์ สังคม เศรษฐกิจ และสิ่งแวดล้อม เพ่ือเป็นแนวทางในการพัฒนา
เทคโนโลยี สามารถ ระบุปัญหาหรือความตอ้ งการทม่ี ผี ลกระทบตอ่ สังคม รวบรวม วิเคราะห์ขอ้ มลู และแนวคิด
ท่ีเก่ียวข้องกับปัญหาท่ี มีความซับซ้อนเพ่ือสังเคราะห์วิธีการเทคนิคในการแก้ปัญหาโดยคานึงถึงความถูกต้อง
ดา้ นทรัพยส์ นิ ทางปัญญาได้

ประยุกต์ใช้แนวคิดเซิงคานวณในการออกแบบข้ึนตอนวิธีสาหรับแก้ปัญหา การแก้ปัญหาด้วย
คอมพิวเตอร์ การระบุข้อมูลเข้า ข้อมูลออก และเงื่อนไขของปัญหา การออกแบบข้ันตอนวิธี การทาซ้า การ
จัดเรียงและค้นหาข้อมูล ตัวอย่างการออกแบบข้ึนตอนวิธีเพ่ือแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์ การศึกษาตัวอย่าง
โครงงานทางเทคโนโลยีสารสนเทศ การกาหนดปญั หา ศึกษา วางแผน ดาเนินงาน สรปุ ผล และเผยแพร่ ในการ
พัฒนาโครงงานท่ีมีการบูรณาการร่วมกับวิชาอื่นและเชื่อมโยงกับชีวิตจริง ออกแบบวิธีการแก้ปัญหา โดย
วิเคราะห์เปรียบเทียบ และตัดสินใจเลือกข้อมลู ท่ีจาเป็น ภายใต้เงื่อนไขและทรัพยากรท่ีมีอยู่ นาเสนอแนวทาง
การแก้ปัญหาให้ผู้อ่ืนเข้าใจด้วยเทคนิคหรือวิธีการที่หลากหลาย โดยใชซ้ อฟต์แวร์ช่วยในการออกแบบ วางแผน
ข้ันตอนการทางาน และดาเนินการแก้ปัญหา ทดสอบ ประเมินผล วิเคราะห์ และให้เหตุผลของปัญหาหรือ
ข้อบกพร่องท่ีเกิดข้ึนภายใต้กรอบเง่ือนไข หาแนวทางการปรับปรุงแก้ไข และนาเสนอผลการแก้ปัญหา พร้อม
ทัง้ เสนอแนวทางการพฒั นาต่อยอด

ใชค้ วามรแู้ ละทกั ษะเกย่ี วกบั วัสดุ อปุ กรณ์ เครื่องมือ กลไก ไฟฟ้าและอเิ ล็กทรอนกิ ส์ และเทคโนโลยีที่
ซบั ซ้อนในการแกป้ ัญหา หรือพัฒนางาน ได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม และปลอดภัย มีคุณธรรมและจริยธรรมใน
การใช้เทคโนโลยี ตระหนักถึงผลกระทบของการใช้เทคโนโลยีกับสังคม มีมารยาท ระเบียบ และข้อบังคับใน
การ เลือกใช้เทคโนโลยีอย่างสร้างสรรค์ต่อชีวิต สังคม ส่ิงแวดล้อม และมีการจัดการเทคโนโลยีด้วยการลดการ
ใช้ ทรัพยากรหรอื เลือกใชเ้ ทคโนโลยที ไี่ ม่มีผลกระทบตอ่ สิง่ แวดล้อม

มาตรฐาน ว4.1 ม.4/1, ม.4/2 ,ม.4/3 ,ม.4/4, ม.4/5
มาตรฐาน ว4.2 ม.4/1

รวมท้งั หมด 6 ตัวชี้วดั

100

หลักสตู รกลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี อิสลามวิทยาลัยแห่งประเทศไทย 239

คาอธิบายรายวิชา

รหสั วชิ า ว31282 การออกแบบ และเทคโนโลยี กลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ฯ

ระดับชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี 4 ภาคเรียนที่ 2 1 คาบ/สปั ดาห)์ จานวน 0.5 หนว่ ยกิต

ศึกษา วิเคราะห์แนวคิดหลักของเทคโนโลยี การเปล่ียนแปลงและผลกระทบของเทคโนโลยีที่เกิดขึ้น
และความสัมพันธ์ของเทคโนโลยีกับศาสตร์อื่น ออกแบบ สร้าง หรือพัฒนาผลงานสาหรับแก้ปัญหาที่คานึงถึง
ผลกระทบต่อสังคม โดยใช้กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม ซึ่งใช้ความรู้ ทักษะ และเลือกใช้วัสดุ อุปกรณ์
เครื่องมือ กลไก ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ เพื่อแก้ปัญหาได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม ปลอดภัย โดยคานึงถึง
ทรัพย์สินทางปัญญา มกี ารใชซ้ อฟต์แวรช์ ่วยในการออกแบบและนาเสนอผลงาน

ใช้ความร้แู ละทักษะเกี่ยวกบั วัสดุ อุปกรณ์ เคร่ืองมือ กลไก ไฟฟา้ และอิเล็กทรอนกิ ส์ และเทคโนโลยีท่ี
ซบั ซ้อนในการแกป้ ัญหา หรือพัฒนางาน ได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม และปลอดภัย มีคุณธรรมและจริยธรรมใน
การใช้เทคโนโลยี ตระหนักถึงผลกระทบของการใช้เทคโนโลยีกับสังคม มีมารยาท ระเบียบ และข้อบังคับใน
การ เลอื กใช้เทคโนโลยีอย่างสร้างสรรค์ต่อชีวิต สังคม ส่ิงแวดล้อม และมีการจัดการเทคโนโลยีด้วยการลดการ
ใช้ ทรัพยากรหรอื เลอื กใชเ้ ทคโนโลยที ีไ่ มม่ ผี ลกระทบต่อส่งิ แวดลอ้ ม

ตัวช้ีวัด
ว4.1 ม.4/1, ม.4/2, ม.4/3, ม.4/4,ม.4/5
รวมท้งั หมด 5 ตัวชี้วัด

101

หลักสตู รกลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี อิสลามวิทยาลัยแห่งประเทศไทย 240

คาอธิบายรายวชิ า

รหัส ว32211 วิชาฟิสิกส์เพิ่มเติม กล่มุ สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ ฯ
ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ่ี 5 ภาคเรียนที่ 1 จานวนหนว่ ยกิต 2.0 หน่วยกิต เวลา 80 ช่ัวโมง

ศึกษา วิเคราะห์ และอธิบายการเคล่ือนท่แี บบฮาร์มอนิกอย่างง่ายของระบบมวล-สปริงเบา เงาของ
วตั ถุท่ีเคล่ือนท่เี ป็นวงกลมสม่าเสมอ การแกวง่ ของลกู ตุ้มนาฬิกาอย่างงา่ ยการสั่นพ้องการถา่ ยโอนพลังงานของ
คลื่นกลชนิดของคล่นื รปู ร่างและส่วนประกอบของคลืน่ คล่ืนผวิ น้า คลน่ื ในเส้นเชอื กการซ้อนทบั ของคล่ืน หลัก
ของฮอยเกนส์ การสะท้อนของคลื่น การหักเหของคลื่น การเลี้ยวเบนของคลื่น การแทรกสอดของคลื่น การ
เคล่ือนที่ของเสียงผ่านอากาศ อัตราเร็วของคล่ืนเสียง การสะท้อนของเสียง การหักเหของเสียง การเล้ียวเบน
ของเสียง การแทรกสอดของเสียง ความเข้มเสียง ระดับเสียง หูกับการได้ยิน มลภาวะทางเสียง เสียงดนตรี
ระดับสูงต่าของเสียง คุณภาพเสียง การส่ันพ้องของเสียง บีต คล่ืนน่ิงของเสยี งในท่อ ปรากฏการณ์ดอปเพลอร์
คลื่นกระแทกการนาความรู้ของเสียงไปใช้ประโยชน์ การเคล่ือนที่และอัตราเร็วของแสง การสะท้อนของแสงที่
ผิววัตถุตามกฎการสะท้อน การเขียนรังสีของแสง การคานวณตาแหน่งและขนาดภาพของวัตถุเม่ือแสงตก
กระทบกระจกเงาราบและกระจกเงาทรงกลม การสะท้อนของแสงจากกระจกเงาราบและกระจกเงาทรงกลม
การหักเหของแสง กฎการหักเหของแสง ภาพท่ีเกิดจากการหักเหท่ีผิวเรียบ ความลึกจริง ความลึกปรากฏ มุม
วกิ ฤตและการสะท้อนกลบั หมด การเขยี นรงั สีของแสงเพ่ือแสดงภาพทีเ่ กดิ จากเลนสบ์ าง การหาตาแหนง่ ขนาด
ชนิดของภาพ ความสัมพนั ธ์ระหวา่ งระยะวัตถุ ระยะภาพ และความยาวโฟกัส ปรากฏการณท์ ่เี ก่ียวกับแสง เช่น
การกระจายแสง รุ้ง การทรงกลด มิราจ เป็นต้น ทัศนอุปกรณ์ เช่น เคร่ืองฉายภาพ กล้องถ่ายรูป กล้อง
จุลทรรศน์ กล้องโทรทรรศน์ เป็นตน้ ความสว่าง ตาและการมองเห็นสี การผสมสารสี การผสมแสง สาเหตุของ
การบอดสี

โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ การสืบค้นข้อมูล การ
สังเกต การวิเคราะห์ การอภิปราย การอธิบายและการสรุปผล เพื่อให้ผู้เรียนเกิดความรู้ ความคิด และ
ความเข้าใจ มีความสามารถในการตัดสินใจ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนาความรู้ไปใช้ในชีวิตตนเอง
ตลอดจนมีจิตวิทยาศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรม และค่านิยมที่ถูกต้อง
ผลการเรียนรู้
1. ทดลอง และอธิบายการเคล่ือนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่ายของวัตถุติดปลายสปริงและลูกตุ้มอย่างง่าย

รวมทง้ั คานวณปริมาณตา่ ง ๆ ที่เกีย่ วขอ้ ง
2. อธบิ ายความถี่ธรรมชาติของวัตถุและการเกิดการสน่ั พ้อง
3. อธิบายปรากฏการณ์คล่ืน ชนิดของคลื่น ส่วนประกอบของคลื่น การแผ่ของหน้าคล่ืนด้วยหลักการของ

ฮอยเกนส์ และการรวมกันของคล่ืนตามหลักการซ้อนทับ พร้อมท้ังคานวณ อัตราเร็ว ความถ่ี และความ
ยาวคล่ืน
4. สังเกต และอธิบายการสะท้อน การหักเห การแทรกสอด และการเลยี้ วเบนของคลื่นผิวนา้ รวมทั้งคานวณ
ปริมาณตา่ ง ๆ ทเ่ี กยี่ วข้อง
5. ทดลอง และอธิบายการสะท้อนของแสงที่ผิววัตถุตามกฎการสะท้อน เขียนรังสีของแสงและคานวณ
ตาแหนง่ และขนาดภาพของวัตถุ เมื่อแสงตกกระทบกระจกเงาราบและกระจกเงาทรงกลม รวมทั้งอธบิ าย
การนาความรู้เร่ืองการสะท้อนของแสงจากกระจกเงาราบและกระจกเงาทรงกล มไปใช้ประโยชน์ใน
ชีวติ ประจาวนั

102
หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี อสิ ลามวทิ ยาลยั แห่งประเทศไทย 241
6. ทดลอง และอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างดรรชนีหักเห มุมตกกระทบ และมุมหักเห รวมท้ังอธิบาย
ความสัมพันธ์ระหว่างความลึกจริง และความลึกปรากฏ มุมวิกฤตและการสะท้อนกลบั หมดของแสง และ
คานวณปริมาณต่าง ๆ ที่เกีย่ วข้อง
7. ทดลอง และเขียนรังสีของแสงเพื่อแสดงภาพที่เกิดจากเลนส์บาง หาตาแหน่ง ขนาด ชนิดของภาพ และ
ความสัมพันธ์ระหวา่ งระยะวตั ถุ ระยะภาพ และความยาวโฟกัส รวมทั้งคานวณปริมาณต่าง ๆ ท่ีเกี่ยวข้อง
และอธิบายการนาความรูเ้ รอ่ื งการหักเหของแสงผา่ นเลนส์บางไปใชป้ ระโยชน์ในชวี ติ ประจาวนั
8. อธิบายปรากฏการณ์ธรรมชาติที่เก่ียวกับแสง เช่น รุ้ง การทรงกลด มิราจ การเห็นท้องฟ้าเป็นสีต่าง ๆ
ในช่วงเวลาต่างกนั
9. สงั เกต และอธิบายการมองเห็นแสงสี สีของวัตถุ การผสมสารสี และการผสมแสงสี รวมทั้งอธิบายสาเหตุ
ของการบอดสี
รวม 12 ผลการเรียนรู้

103

หลักสตู รกลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี อสิ ลามวิทยาลัยแห่งประเทศไทย 242

คาอธบิ ายรายวชิ า

รหสั ว32212 ฟิสิกสเ์ พม่ิ เติม กล่มุ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ ฯ
ชัน้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 5 ภาคเรยี นที่ 2 จานวนหนว่ ยกติ 2.0 หนว่ ยกิต เวลา 80 ช่ัวโมง

ศึกษา วิเคราะห์ และอธิบายการศกึ ษาแสงเชิงกายภาพ การทดลองการแทรกสอดของยัง การแทรก
สอดของแสงผ่านช่องเปิดคู่ การค้นพบสมบัติการเล้ียวเบนของแสงของกริมัลดิ การเลี้ยวเบนของแสงผ่านช่อง
เปิดเดย่ี ว การแทรกสอดของแสงท่ีเล้ียวเบนผ่านช่องแคบของเกรตติง การกระเจิงของแสง ปัจจัยที่มผี ลต่อการ
กระเจิงของแสง สีของท้องฟ้า ปรากฏการณ์ธรรมชาติของไฟฟ้า ประจุไฟฟ้า กฎการอนุรักษ์ประจุไฟฟ้า การ
เหน่ียวนาไฟฟ้า แรงระหว่างประจุและกฎของคูลอมบ์ การคานวณสนามไฟฟ้าและแรงไฟฟ้าที่กระทากับ
อนุภาคท่ีมีประจุไฟฟ้าที่อยู่ในสนามไฟฟ้า การหาสนามไฟฟ้าลัพธ์เน่ืองจากระบบจุดประจุโดยรวมกันแบบ
เวกเตอร์ ศกั ย์ไฟฟ้าเนื่องจากจุดประจุ ศักย์ไฟฟ้าเน่ืองจากประจุบนตวั นาทรงกลม ความสัมพันธ์ระหว่างความ
ต่างศักย์และสนามไฟฟ้าสม่าเสมอ การถ่ายโอนประจุระหว่างตัวนาทรงกลม ชนิดของตัวเก็บประจุ พลังงาน
สะสมในตัวเก็บประจุและความจุสมมูลของตัวเก็บประจุท่ีต่อแบบอนุกรมและแบบขนาน การนาความรู้
เก่ียวกับไฟฟ้าสถิตไปใช้ประโยชน์ เช่น เคร่ืองถ่ายเอกสาร เครื่องพ่นสี ไมโครโฟนแบบตัวเก็บประจุ การ
ประยุกต์ใช้ไฟฟ้าสถิตกับการทดลองหาประจุไฟฟ้า เป็นต้น การนาไฟฟ้า กระแสไฟฟ้าในตัวนาไฟฟ้า กฎของ
โอห์ม ชนิดของตัวต้านทาน ความต้านทานสมมูลเม่ือนาตัวต้านทานมาต่อกันแบบอนุกรมและแบบขนาน
สภาพตา้ นทานไฟฟ้าและสภาพนาไฟฟ้า ผลของอุณหภูมิท่ีมีต่อสภาพต้านทาน แรงเคล่ือนไฟฟ้าและความต่าง
ศักย์ แรงเคล่ือนไฟฟ้าสมมูลของการต่อแบตเตอรี่แบบอนุกรมและแบบขนาน การคานวณปริมาณต่าง ๆ ที่
เก่ียวข้องในวงจรไฟฟ้ากระแสตรง ซ่ึงประกอบด้วยแบตเตอร่ีและตัวต้านทาน พลังงานไฟฟ้าและกาลังไฟฟ้า
เครื่องวัดไฟฟ้า เช่น แอมมิเตอร์ โวลต์มิเตอร์ โอห์มมิเตอร์ เป็นต้น การคานวนหาพลังงานไฟฟ้าของ
เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน วงจรไฟฟ้าในบ้าน อุปกรณ์ไฟฟ้าและเครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน การใช้ไฟฟ้าอย่างปลอดภัย
ไฟฟ้าจากพลังงานทดแทน

โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ การสืบค้นข้อมูล การ
สังเกต การวิเคราะห์ การอภิปราย การอธิบายและการสรุปผล เพื่อให้ผู้เรียนเกิดความรู้ ความคิด และ
ความเข้าใจ มีความสามารถในการตัดสินใจ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนาความรู้ไปใช้ในชีวิตตนเอง
ตลอดจนมีจิตวิทยาศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรม และค่านิยมท่ีถูกต้อง

ผลการเรยี นรู้ 104
1. อธิบายการเกิดเสียง การเคล่ือนท่ีของเสียง ความสัมพันธ์ระหว่างคล่ืน การกระจัดของ อนุภาคกับ
คล่ืนความดัน ความสัมพันธ์ระหว่างอัตราเร็วของเสียงในอากาศท่ีข้ึนกับอุณหภูมิในหน่วยองศา
เซลเซียส สมบัติของคลื่นเสียง ได้แก่ การสะท้อน การหักเห การแทรกสอด และการเลี้ยวเบน
รวมทงั้ คานวณปรมิ าณต่าง ๆ ที่เกยี่ วข้อง
2. อธิบายความเข้มเสียง ระดับเสียง องค์ประกอบของการได้ยิน คุณภาพเสียง และมลพิษทางเสียง
รวมทงั้ คานวณปรมิ าณต่าง ๆ ที่เกย่ี วข้อง
3. ทดลอง และอธิบายการเกิดการส่ันพ้องของอากาศในท่อปลายเปิดหนึ่งด้าน รวมท้ังสังเกต และ
อธิบายการเกิดบีต คล่ืนนิ่ง ปรากฏการณ์ดอปเพลอร์คล่ืนกระแทกของเสียง คานวณปริมาณต่าง ๆ
ทเ่ี ก่ียวข้อง และนาความร้เู รอ่ื งเสียงไปใชใ้ นชวี ิตประจาวนั
4. ทดลอง และอธิบายการทาวัตถุท่ีเป็นกลางทางไฟฟ้าให้มีประจุไฟฟ้าโดยการขัดสีกันและการ
เหนย่ี วนาไฟฟา้ สถิต

หลกั สูตรกลุ่มสาระการเรยี นร้วู ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี อสิ ลามวทิ ยาลัยแห่งประเทศไทย 243

5. อธิบาย และคานวณแรงไฟฟา้ ตามกฎของคูลอมบ์
6. อธิบาย และคานวณสนามไฟฟ้าและแรงไฟฟ้าทกี่ ระทากับอนภุ าคทีม่ ีประจไุ ฟฟ้าที่อยใู่ นสนามไฟฟ้า

รวมท้งั หาสนามไฟฟ้าลัพธ์เนื่องจากระบบจุดประจโุ ดยรวมกนั แบบเวกเตอร์
7. อธิบาย และคานวณพลงั งานศักยไ์ ฟฟา้ ศักย์ไฟฟ้า และความต่างศกั ย์ระหวา่ งสองตาแหนง่ ใด ๆ
8. อธิบายส่วนประกอบของตัวเก็บประจุ ความสัมพนั ธร์ ะหว่างประจุไฟฟ้า ความต่างศักย์ และความจุ

ของตัวเก็บประจุ และอธิบายพลังงานสะสมในตัวเก็บประจุ และความจุสมมูลรวมท้ังคานวณ
ปริมาณตา่ ง ๆ ทีเ่ ก่ียวขอ้ ง
9. นาความรู้เรอื่ งไฟฟ้าสถติ ไปอธิบายหลักการทางานของเครอ่ื งใชไ้ ฟฟ้าบางชนิด และปรากฏการณ์ใน
ชีวติ ประจาวัน
10. อธิบายการเคล่ือนท่ีของอิเล็กตรอนอิสระและกระแสไฟฟ้าในลวดตัวนา ความสัมพันธ์ระหว่าง
กระแสไฟฟ้าในลวดตัวนากับความเร็วลอยเล่ือนของอิเล็กตรอนอิสระ ความหนาแน่นของ
อเิ ล็กตรอนในลวดตัวนาและพน้ื ทห่ี น้าตัดของลวดตัวนา และคานวณปริมาณต่าง ๆ ที่เกย่ี วขอ้ ง
11. ทดลอง และอธิบายกฎของโอห์ม อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างความต้านทานกับความยาว
พื้นที่หน้าตัด และสภาพต้านทานของตัวนาโลหะที่อุณหภูมิคงตัว และคานวณปริมาณต่าง ๆ ท่ี
เกี่ยวข้อง รวมทั้งอธิบายและคานวณความต้านทานสมมูล เมื่อนาตัวต้านทานมาต่อกันแบบอนุกรม
และแบบขนาน
12. ทดลอง อธิบาย และคานวณอีเอ็มเอฟของแหล่งกาเนิดไฟฟ้ากระแสตรง รวมท้ังอธิบายและคานวณ
พลังงานไฟฟ้า และกาลงั ไฟฟ้า
13. ทดลอง และคานวณอีเอ็มเอฟสมมูลจากการต่อแบตเตอรี่แบบอนุกรมและแบบขนาน รวมทั้ง
คานวณปริมาณต่าง ๆ ท่ีเก่ียวข้องในวงจรไฟฟ้ากระแสตรงซ่ึงประกอบด้วยแบตเตอร่ีและตัว
ตา้ นทาน
14. อธิบายการเปล่ียนพลงั งานทดแทนเป็นพลังงานไฟฟา้ รวมท้ังสืบค้นและอภิปรายเก่ียวกับเทคโนโลยี
ที่นามาแก้ปัญหาหรือตอบสนองความต้องการทางด้านพลังงานไฟฟ้า โดยเน้นด้านประสิทธิภาพ
และความคมุ้ ค่าดา้ นค่าใช้จา่ ย

รวม 14 ผลการเรียนรู้

105

หลกั สูตรกลุ่มสาระการเรยี นรูว้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี อสิ ลามวทิ ยาลัยแห่งประเทศไทย 244

คาอธบิ ายรายวิชา

ว32223 เคมีเพมิ่ เติม กล่มุ สาระการเรยี นรูว้ ิทยาศาสตร์ ฯ
ช้นั มัธยมศึกษาปที ่ี 5 ภาคเรยี นท่ี 1 เวลา 60 ช่ัวโมง จานวน 1.5 หน่วยกติ

ศึกษาเก่ยี วกบั สมบัติบางประการของแก๊สทฤษฎจี ลน์ของแกส๊ ศึกษาและทดลองเก่ียวกับความสัมพันธ์
ของความดันอุณหภูมิและปริมาตรของแก๊สและคานวณหาปริมาตรความดันและอุณหภูมิของแก๊สโดยใช้กฎ
ของบอยล์กฎของชาร์ลกฎรวมแก๊สศึกษาและคานวณความดันปริมาตรจานวนโมลมวลและอุณหภูมิของแก๊ส
ตามกฎแกส๊ สมบรู ณ์ศกึ ษาทดลองการแพร่และอัตราการแพร่ของแก๊สการคานวณเก่ียวกับกฎการแพร่ผ่านของ
เกรแฮมศึกษาเทคโนโลยีท่ีเกย่ี วขอ้ งกับสมบัติของของแข็งของเหลวและแก๊ส

ศึกษาความหมายของอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีทดลองเพื่อศึกษาอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีการ
คานวณหาอัตราการเกิดปฏิกิริยาของสารจากกราฟศึกษาและวิเคราะห์แนวคิดเก่ียวกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
โดยใช้ทฤษฎีจลน์และการชนกนั ของอนภุ าคการเกดิ สารเชิงซ้อนกัมมันตพ์ ลังงานกับการดาเนินไปของปฏิกิรยิ า
เคมีศึกษาและทดลองเกี่ยวกับผลของความเข้มข้นพื้นท่ีผิวอุณหภูมิตัวเร่งปฏิกิริยาและตัวหน่วงปฏิกิริยาต่อ
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีสมบัติของตัวเร่งปฏิกิริยาและการใช้ทฤษฎีจลน์อธิบายผลของปัจจัยต่างๆที่มีต่อ
อตั ราการเกดิ ปฏิกิรยิ าเคมี

ศึกษาปฏิกริ ิยาเคมที เี่ กิดข้นึ อย่างสมบรู ณก์ ารเกิดปฏกิ ริ ิยาไปข้างหนา้ ปฏิกิริยายอ้ นกลับและปฏกิ ริ ยิ าที่
ผันกลับได้ทดลองเก่ียวกับปฏิกิริยาที่ผันกลับได้ศึกษาการเปล่ียนแปลงท่ีทาให้เกิดภาวะสมดุลระหว่างสถานะ
สมดลุ ในสารละลายอิ่มตวั สมดลุ ไดนามกิ ศึกษาและทดลองสมดุลเคมีในปฏกิ ิริยาวิเคราะหค์ วามสัมพนั ธร์ ะหวา่ ง
ความเข้มข้นของสารต่างๆณภาวะสมดุลค่าคงท่ีสมดุลกับสมการเคมีคานวณหาค่าคงท่ีของสมดุลและหาความ
เข้มข้นของสารในปฏิกริ ิยาณภาวะสมดลุ ทดลองเพอ่ื ศึกษาผลของความเขม้ ข้นความดันอณุ หภมู ิตอ่ ภาวะสมดุล
และค่าคงท่ีสมดุลหลักของเลอชาเตอลิเอและการนาหลักของเลอชาเตอลิเอไปใช้ในกระบวนการอุตสาหกรรม
กระบวนการตา่ งๆของส่ิงมีชีวิตและสง่ิ แวดลอ้ ม

เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสมบัติของแก๊สและการคานวณเกี่ยวกับผลผลิตของปฏิกิริยาเคมี
โดยใช้การเรียนรู้ด้วยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์การสืบเสาะหาความรู้การสารวจตรวจสอบสามารถนา
ความรู้และหลักการไปใช้ประโยชน์เช่ือมโยงอธิบายปรากฏการณ์หรือ แก้ปัญหาในชีวิตประจาวันสามารถจัด
กระทาและวิเคราะห์ข้อมูลสื่อสารส่ิงท่ีเรียนรู้มีความสามารถในการตัดสินใจแก้ปัญหามีจิตวิทยาศาสตร์เห็น
คณุ ค่าของวทิ ยาศาสตร์มีจรยิ ธรรมคณุ ธรรมและค่านยิ มท่ีเหมาะสม

ผลการเรียนรู้ 106
1. อธิบายความสัมพันธ์และคานวณปริมาตร ความดัน หรืออุณหภูมิของแก๊สที่ภาวะต่าง ๆ ตามกฎ
ของบอย กฎของชาร์ล กฎของเกย์-ลสู แซก
2. คานวณปริมาตร ความดัน หรืออุณภมู ขิ องแกส๊ ท่ีภาวะต่าง ๆ ตามกฎของแกส๊
3. คานวณปริมาตร ความดัน อณุ หภูมิ จานวนโมล หรอื มวลแกส๊ จากความสมั พันธ์ตามกฎของอาโว
กาโดร และกฎแก๊สอดุ มคติ
4. คานวณความดนั ย่อยหรอื จานวนโมลของแกส๊ ในแก๊สผสม โดยใช้กฎความดนั ยอ่ ยของดอลตัน
5. อธิบายการแพร่ของแก๊สโดยใช้ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส คานวณและเปรียบเทียบอัตราการแพร่ของ
แกส๊ โดยใช้กฎการแพรผ่ ่านของเกรแฮม
6. สืบค้นข้อมูล นาเสนอตัวอย่าง และอธิบายการประยุกต์ใช้ความรู้เก่ียวกับสมบัติของกฎต่าง ๆ
ของแก๊สในการอธบิ ายปรากฎการณ์ หรอื แก้ปญั หาในชวี ิตประจาวันและในอตุ สาหกรรม

หลักสูตรกลุ่มสาระการเรยี นรูว้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี อสิ ลามวทิ ยาลัยแห่งประเทศไทย 245

7. ทดลองและเขยี นกราฟการเพ่มิ ข้นึ หรอื ลดลงของสารที่ทาการวัดในปฏกิ ิริยา
8. คานวณอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี และเขียนกราฟการลดลงหรือเพ่ิมข้ึนของสารท่ีไม่ได้วัดใน
ปฏกิ ริ ยิ า
9. เขียนแผนภาพและอธิบายทิศทางการชนกันของอนุภาคของพลังงานท่ีส่งผลต่ออัตราการ
เกดิ ปฏกิ ิรยิ าเคมี
10. เปรียบเทียบอัตราการเกิดปฏิกิริยาเม่ือมีการเปล่ียนแปลงความเข้มข้น พื้นที่ผิวของสารต้ังต้น
อุณหภมู ิ และตวั เรง่ ปฏิกริ ยิ า
11. ยกตวั อย่างและอธบิ ายปจั จัยทีม่ ผี ลต่ออัตราการเกิดปฏกิ ริ ิยาเคมใี นชวี ติ ประจาวนั หรืออุสาหกรรม
12. ทดสอบและอธิบายความหมายของปฏิกิรยิ าผันกลบั ได้และภาวะสมดุล
13. อธิบายการเปล่ียนแปลงความเข้มข้นของสาร อัตราการเกิดปฏิกิริยาไปข้างหน้า และอัตราการ
เกิดปฏิกิรยิ ายอ้ นกลับ เม่ือเรมิ่ ปฏกิ ิรยิ าจนกระท่ังระบบอยใู่ นภาวะสมดุล
14. คานวณค่าคงทีส่ มดลุ ของปฏิกิริยา
15. คานวณความเขม้ ข้นของสารทภี่ าวะสมดุล
16. ระบุปัจจัยที่มีผลต่อภาวะสมดุลและค่าคงท่ีสมดุลของระบบ รวมทั้งคาดคะเนการเปลี่ยนแปลงท่ี
เกิดข้นึ เมอ่ื ภาวะสมดลุ ของระบบถกู รบกวนโดยใชห้ ลกั ของเลอชาเตอลเิ อ
17. ยกตัวอย่างและอธิบายสมดุลเคมีของกระบวนการท่ีเกดิ ข้ึนในสิ่งมีชีวิต ปรากฎการณใ์ นธรรมชาติ
และกระยวนการในอุตสาหกรรม
รวม 17 ผลการเรยี นรู้

107

หลักสตู รกลุ่มสาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี อสิ ลามวทิ ยาลยั แห่งประเทศไทย 246

คาอธิบายรายวชิ า

ว32224 เคมเี พ่ิมเติม กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ ฯ
ช้ันมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 5 ภาคเรยี นท่ี 2
เวลา 60 ชวั่ โมง จานวน 1.5 หน่วยกติ

ศึกษาและทดลองสมบัติบางประการของสารละลายอิเล็กโทรไลต์และสารละลายนอนอิเล็กโทรไลต์ 108
ประเภทของสารละลายอิเล็กโทรไลต์ศึกษาไอออนในสารละลายกรดและเบสทฤษฎีกรด -เบสของอาร์เรเนียส
เบรินสเตด–ลาวรีและลิวอิสศึกษาและทดลองเกี่ยวกับการถ่ายโอนโปรตอนของสารละลายกรด -เบสศึกษาคู่
กรด–เบสการคานวณและการเขียนสมการการแตกตัวของกรด-เบสการคานวณค่าคงท่ีการแตกตัวเป็นไอออน
ของกรดอ่อนและเบสอ่อนศึกษาและทดลองการแตกตัวเป็นไอออนของน้าการคานวณค่าคงท่ีการแตกตัวของ
น้า pH ของสารละลายและการคานวณค่า pH อินดิเคเตอร์สาหรับกรด-เบสสารละลายกรด-เบสใน
ชีวิตประจาวันและในส่ิงมีชีวิตศึกษาและทดลองเรื่องปฏิกิริยาสะเทินและปฏิกิริยาการเกิดเกลือจากปฏิกิริยา
ระหว่างสารละลายกรดกับสารละลายเบสปฏิกิริยาไฮโดรลิซิสของเกลือศึกษาเกี่ยวกับการไทเทรตสารละลาย
กรด-เบสการเขียนกราฟและการหาจุดสมมูลจากกราฟของการไทเทรตและคานวณหาความเข้มข้นของ
สารละลายกรด-เบสศึกษาหลักการเลือกใช้อินดิเคเตอร์สาหรับไทเทรตกรด-เบสการประยุกต์ความรู้เรื่องการ
ไทเทรตไปใช้ในชวี ติ ประจาวันศกึ ษาและทดลองสมบัติความเปน็ บัฟเฟอรข์ องสารละลาย

ศึกษาทดลองการถ่ายโอนอิเล็กตรอนในปฏิกิริยาระหว่างโลหะกับสารละลายของโลหะไอออนศึกษา
ปฏิกิรยิ าออกซิเดชันปฏิกิรยิ ารีดักชันปฏิกิริยารีดอกซ์ตัวรีดวิ ซ์ตวั ออกซิไดซก์ ารเขียนและดุลสมการรีดอกซ์โดย
ใช้เลขออกซิเดชันและครึ่งปฏิกิริยาศึกษาเซลล์ไฟฟ้าเคมีศึกษาและทดลองเกี่ยวกับหลักการของเซลล์ กัลวานิก
ศกึ ษาการเขียนแผนภาพของเซลล์กลั วานกิ การหาค่าศักย์ไฟฟา้ ของเซลลแ์ ละศกั ยไ์ ฟฟ้ามาตรฐานของคร่ึงเซลล์
ปฏิกิริยาในเซลล์กัลวานิกประเภทเซลล์ปฐมภูมแิ ละเซลล์ทุติยภูมิบางชนิดทดลองเพื่อศึกษาหลักการสร้างและ
การทางานของเซล ล์สะส มไฟฟ้าแบบตะกั่วศึกษาหลักการของเซลล์อิเล็ กโทรไลต์และทดลองการแยก
สารละลายด้วยไฟฟ้าตามหลักการของเซลล์อิเล็กโทรไลต์ศึกษาการแยกสารที่หลอมเหลวด้วยไฟฟ้าศึกษาและ
ทดลองชุบโลหะด้วยกระแสไฟฟ้าศึกษาวิธีการทาให้โลหะบริสุทธ์ิการถลุงแร่ศึกษาและทดลองเก่ียวกับการผุ
กร่อนและการปอ้ งกนั การผุกร่อนของโลหะศึกษาความก้าวหน้าทางเทคโนโลยที เ่ี ก่ียวขอ้ งกบั เซลลไ์ ฟฟ้าเคมี

เพ่ือให้มีความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับสารละลายกรด-เบสและเซลล์ไฟฟ้าเคมีโดยใช้การเรียนรู้ด้วย
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์การสืบเสาะหาความรู้การสารวจตรวจสอบสามารถนาความรู้และหลักการไปใช้
ประโยชน์ในการอธิบายปรากฏการณ์หรือแก้ปัญหาในชีวิตประจาวันมีความสามารถในการจัดกระทาและ
วิเคราะห์ข้อมูลตัดสินใจแก้ปัญหาสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้รวมท้ังมีจิตวิทยาศาสตร์เห็นคุณค่าของวิทยาศาสตร์มี
จรยิ ธรรมคุณธรรมและคา่ นิยมทีเ่ หมาะสม

ผลการเรียนรู้
1. ระบุและอธบิ ายว่าสารหรือกรดหรือเบส โดยใชท้ ฤษฎีกรด – เบสของอารีเนียส เบรินสเตด -

ลาวรี และลวิ อสิ
2. ระบุคกู่ รด – เบสของสารตามทฤษฎีกรด - เบสของเบรินสเตด - ลาวรี
3. คานวณและเปรียบเทยี บความสามารถในการแตกตัวหรือความแรงของกรดและเบส
4. คานวณ pH ความเขม้ ข้นของไฮโดรเนยี มไอออนหรือไฮดรอกไซด์ไอออนของสารละลายกรดและ
เบส
5. เขยี นสมการเคมีแสดงปฏิกิรยิ าสะเทิน และระบุความเป็นกรด – เบสของสารละลายหลังการ

สะเทนิ

หลกั สูตรกลุ่มสาระการเรยี นรูว้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี อิสลามวิทยาลยั แห่งประเทศไทย 247

6. เขียนปฏิกริ ยิ าไฮโดรลิซิสของเกลือ และระบุความเป็นกรด – เบสของสารละลายเกลอื
7. ทดลองและอธิบายหลกั การการไทเทรตและเลือกใช้อินดเิ คเตอร์ท่ีเหมาะสมสาหรบั การไทเทรต
กรด – เบส
8. คานวณปรมิ าณสารหรือควรามเขม้ ข้นของสารละลายกรดหรอื เบสการไทเทรต
9. อธิบายสมบัติ องคป์ ระกอบและประโยชน์ของสารละลายบฟั เฟอร์
10. สืบค้นขอ้ มลู และนาเสนอตัวอยา่ งการใช้ประโยชนก์ ารแก้ปญั หาโดยใช้ความร้เู ก่ียวกบั กรด – เบส
11. คานวณลขออกซิเดชนั และระบุปฏกิ ิริยาทีเ่ ปน็ กริ ิยารดี อกซ์
12. วิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงเลขออกซิเดชันและระบุตัวรีดิว์และตัวออกซิไดส์ รวมท้ังเขียนคร่ึง
ปฏกิ ริ ยิ าออกซิเดชนั

และครึ่งปฏิกิริยารดี ักชันของปฏิกิรยิ ารดี อกซ์
13. ทดลองและเปรียบเทียบความสามารถในการเป็นตัวรีดิวซ์หรือตัวออกซิไดส์และเขียนแสดง
ปฏิกิริยารีดอกซ์
14. ดุลสมการรดี อกซด์ ้วยการใช้เลขออกซิเดชัน และวธิ คี รี่งปฏกิ ิรยิ า
15. ระบุองค์ประกอบของเซลลเ์ คมีไฟฟ้าและเขยี นสมการเคมขี องปฏกิ ิรยิ าทแี่ อโนดและแคโทด
ปฏิกริ ิยารวม และ

แผนภาพเซลล์
16. คานวณคา่ ศกั ย์ไฟฟา้ มาตรฐานของเซลล์ และระบปุ ระเภทของเซลลเ์ คมไี ฟฟา้ ข้ัวไฟฟ้า และ
ปฏกิ ิริยาเคมีทเี่ กิดขึน้
17. อธบิ ายหลักการทางานและเขียนสมการแสดงปฏกิ ริ ยิ าของเซลล์ปฐมภมู ิและเซลลท์ ุติยภมู ิ
18. ทดลองชบุ โลหะและแยกสารเคมดี ว้ ยกระแสไฟฟา้ และอธบิ ายหลกั ารทางเคมไี ฟฟา้ ท่ีใช้ในการ
ชุบโลหะ การแยก

สารเคมีด้วยกระแสไฟฟ้า การทาโลหะใหบ้ ริสทุ ธิ์ และการป้องกนั การกดั กร่อนของโลหะ
19. สืบค้นข้อมูลและนาเสนอตัวอย่างความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับเซลล์เคมีไฟฟ้าใน
ชีวติ ประจาวัน

รวม 19 ผลการเรยี นรู้

109

หลกั สูตรกลุ่มสาระการเรยี นรูว้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี อิสลามวทิ ยาลยั แห่งประเทศไทย 248

คาอธิบายรายวชิ า

รหัสวชิ า ว32243 ชีววิทยาเพิ่มเตมิ กลมุ่ สาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์ ฯ
1.5 หนว่ ยกติ จานวน 60 ชั่วโมง
ระดบั ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ่ี 5 ภาคเรยี นท่ี 1

ศึกษาเก่ียวกับการดารงชีวิตของพืชโครงสร้างและหน้าท่ีของพืชดอกเนื้อเย่ือพืชอวัยวะและหน้าที่ของ 110
อวัยวะของพืชจากรากลาต้นและใบการแลกเปล่ียนแก๊สและการคายน้าของพืชการลาเลียงน้าของพืชการ
ลาเลียงสารอาหารของพืชและการลาเลียงอาหารของพืชศึกษาการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชการค้นคว้าท่ี
เกี่ยวขอ้ งกับการสังเคราะหด์ ้วยแสงกระบวนการสังเคราะห์ดว้ ยแสงโฟโตเรสไพเรชนั กลไกการเพิ่มความเข้มข้น
ของคาร์บอนไดออกไซด์ในพืช C4 และพืช CAM ปัจจัยบางประการที่มีผลต่ออัตราการสังเคราะห์ด้วยแสง
รวมทั้งการปรับตัวของพืชทางด้านโครงสร้างของใบทิศทางของใบและการจัดเรียงใบของพืชเพื่อรับแสงศึกษา
การสืบพนั ธุข์ องพืชดอกและการเจริญเตบิ โตวัฏจักรชีวติ และการสบื พันธ์ุแบบอาศัยเพศของพืชดอกท่ีเกีย่ วข้อง
กบั โครงสร้างของดอกและการสร้างสปอร์เรณูถงุ เอ็มบริโอการสร้างเซลล์สืบพันธ์ุและการปฏิสนธิผลและเมล็ด
และการงอกของเมล็ดการสืบพันธ์ุแบบไม่อาศัยเพศของพืชดอกและการขยายพันธุ์พืชรวมท้ังการวัดการ
เจริญเติบโตของพืชศึกษาสารควบคุมการเจริญเติบโตของพืชและการตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อมการนา
ความรเู้ ก่ยี วกบั พชื มาประยกุ ตใ์ ช้ในชีวติ ประจาวนั

โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์กระบวนการสืบเสาะหาความรู้การสืบค้นข้อมูลการสังเกตการ
วิเคราะห์การทดลองการอภิปรายการอธบิ ายและสรุปเพื่อให้เกิดความรู้ความคิดความเข้าใจมีความสามารถใน
การตัดสินใจสื่อสารสิ่งท่ีเรียนรู้และนาความรู้ไปใช้ในชีวิตของตนเองมีจิตวิทยาศาสตร์จริยธรรมคุณธรรมและ
คา่ นยิ มท่เี หมาะสม

ผลการเรียนรู้
1. อธบิ ายเกยี่ วกับชนิดและลักษณะของเนอ้ื เย่ือ พืช และเขยี นแผนผงั เพอ่ื สรปุ ชนิดของเนือ้ เยื่อพืช
2. สังเกต อธิบาย และเปรียบเทียบโครงสร้างภายในของรากพืชใบเล้ียงเดี่ยวและรากพืชใบเลี้ยงคู่จากการตัด

ตามขวาง
3. สงั เกต อธิบาย และเปรียบเทียบโครงสรา้ ง ภายในของลาต้นพืชใบเลี้ยงเด่ยี วและลาตน้ พืชใบเลี้ยงคู่จากการ

ตดั ตามขวาง
4. สังเกต และอธิบายโครงสร้างภายในของใบพืชจากการตัดตามขวาง
5. สืบคน้ ขอ้ มลู สงั เกต และอธบิ ายการแลกเปล่ียนแกส๊ และการคายน้าของพชื
6. สบื คน้ ขอ้ มูล และอธบิ ายกลไกการลาเลียงนา้ และธาตุอาหารของพืช
7. สืบค้นข้อมูล อธิบายความสาคัญของธาตุอาหาร และยกตัวอย่างธาตุอาหารท่ีสาคัญที่มีผลต่อการ

เจริญเติบโตของพืช
8. อธิบายกลไกการลาเลียงอาหารในพืช
9. สืบค้นข้อมูล และสรุปการศึกษาที่ได้จากการทดลองของนักวิทยาศาสตร์ในอดีตเก่ียวกับกระบวนการ

สงั เคราะห์ด้วยแสง
10. อธิบายขัน้ ตอนท่เี กิดข้ึนในกระบวนการ สังเคราะหด์ ว้ ยแสงของพชื C3
11. เปรียบเทยี บกลไกการตรงึ คารบ์ อนไดออกไซด์ ในพชื C3 พืช C4 และ พืช CAM
12. สืบคน้ ขอ้ มูล อภิปราย และสรปุ ปัจจยั ความเข้มของแสง ความเขม้ ข้นของคาร์บอนไดออกไซด์และอุณหภูม

ที่มผี ลตอ่ การสังเคราะหด์ ้วยแสงของพชื
13. อธบิ ายวัฏจกั รชวี ิตแบบสลับของพชื ดอก

หลกั สูตรกลุ่มสาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี อสิ ลามวิทยาลัยแห่งประเทศไทย 249
14. อธิบาย และเปรียบเทียบกระบวนการสร้างเซลล์สืบพันธ์ุเพศผู้และเพศเมียของพืชดอก และอธิบายการ

ปฏิสนธขิ องพืชดอก
15. อธิบายการเกิดเมล็ดและการเกิดผลของพืช ดอกโครงสร้างของเมล็ดและผลและยกตัวอย่างการใช้

ประโยชนจ์ ากโครงสร้างต่างๆ ของเมลด็ และผล
16. ทดลอง และอธิบายเก่ียวกับปัจจัยต่าง ๆ ที่มีผลต่อการงอกของเมล็ด สภาพพักตัวของเมล็ด และบอก

แนวทางในการแก้สภาพพกั ตัวของเมล็ด
17. สืบค้นข้อมูล อธิบายบทบาทและหน้าที่ของออกซิน ไซโทไคนิน จิบเบอเรลลิน เอทลิ ีน และกรดแอบไซซิก

และอภปิ รายเกี่ยวกับการนาไปใช้ประโยชน์ทางการเกษตร
18. สบื คน้ ข้อมูล ทดลอง และอภิปรายเก่ียวกบั สิ่งเร้าภายนอกท่ีมผี ลต่อการเจริญเติบโตของพชื
รวม 18 ผลการเรยี นรู้

111

หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี อิสลามวิทยาลัยแห่งประเทศไทย 250

คาอธบิ ายรายวิชา

รหสั วชิ า ว32244 ชวี วิทยาเพ่มิ เตมิ กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์ ฯ
1.5 หน่วยกิต จานวน 60 ชว่ั โมง
ระดับช้ันมธั ยมศึกษาปที ่ี 5 ภาคเรยี นท่ี 2

ศึกษาเกย่ี วกับระบบยอ่ ยอาหาร การยอ่ ยอาหารของสิ่งมชี ีวิต ทั้งจลุ ินทรยี ์ สิ่งมชี ีวิตเซลล์เดยี วและสตั ว์
การย่อยอาหารของมนุษย์ อวัยวะที่เก่ียวข้องกับการย่อยอาหารของมนุษย์ ความผดิ ปกตขิ องทางเดนิ อาหารใน
มนุษย์ ศึกษาเกี่ยวกับระบบหายใจการแลกเปล่ียนแก๊สของส่ิงมีชีวิตเซลล์เดียวและของสัตว์ การแลกเปลี่ยน
แก๊สของมนุษย์ โครงสร้างท่ีใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สการแลกเปลี่ยนแก๊ส กลไกการหายใจ การควบคุมการ
หายใจ การวัดอัตราการหายใจ ความผิดปกติที่เกี่ยวข้องกับปอด และโรคระบบทางเดินหายใจ ศกึ ษาเกี่ยวกับ
ระบบหมุนเวียนเลอื ด การลาเลียงสารในร่างกายของสตั วแ์ ละของมนุษย์ ระบบน้าเหลืองระบบภูมิคมุ้ กัน กลไก
การท้างานของระบบภูมิคุ้มกัน กลไกการสร้างภูมิคุ้มกัน ความผิดปกติของระบบภูมิคุ้มกัน ศึกษาเก่ียวกับ
ระบบขับถ่าย การขับถ่ายของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและของสัตว์ การขับถ่ายของมนุษย์ ไตและอวัยวะในระบบ
ขบั ถา่ ยปสั สาวะไตกับการรักษาดุลยภาพของรา่ งกาย โรคท่เี กยี่ วข้องกบั ไต

โดยใช้กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ การสบื ค้นข้อมูล การสังเกต การ
วิเคราะห์การทดลอง การอภิปราย การอธิบาย และการสรุป เพ่ือให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ มี
ความสามารถในการตัดสินใจ สื่อสารส่ิงท่ีเรียนรู้ และน้าความรู้ไปใช้ในชีวิตของตนเอง มีจิตวิทยาศาสตร์
จรยิ ธรรม คณุ ธรรม และค่านิยม

ผลการเรยี นรู้ 112
1. ส่ิงมีชีวิตเซลล์เดียวละสัตว์ท่ีมีโครงสร้างร่างกายไม่ซับซ้อน มีการลาเลียงสารต่าง ๆ โดยการแพร่
ระหว่างเซลลก์ บั สิ่งแวดลอ้ ม
2. สัตว์ที่มีโครงสร้างร่างกายซับซ้อนจะมีการลาเลียงสารโดย ระบบหมุนเวียนเลือด ซ่ึงประกอบด้วย
หัวใจ หลอดเลอื ดและเลอื ด
3. สืบค้นข้อมูล อธิบาย และเปรียบเทียบโครงสร้างและกระบวนการย่อยอาหารของสัตว์ที่ไม่มี
ทางเดินอาหาร สัตวท์ มี่ ีทางเดนิ อาหารแบบไม่สมบูรณ์ และสตั ว์ทีม่ ที างเดินอาหารแบบสมบรู ณ์
4. สงั เกต อธบิ าย การกนิ อาหารของไฮดราและพลานาเรีย
5. อธิบายเก่ียวกับโครงสร้าง หน้าท่ี และกระบวนการย่อยอาหาร และการดูดซึมสารอาหารภายใน
ระบบย่อยอาหารของมนุษย์
6. สืบค้นข้อมูล อธิบาย และเปรียบเทียบโครงสร้างท่ีทาหน้าที่แลกเปลี่ยนแก๊สของฟองน้า ไฮดรา
พลานาเรยี ไส้เดอื นดนิ แมลง ปลา กบ และนก
7. สังเกต และอธิบายโครงสร้างของปอดในสัตวเ์ ล้ียงลูกดว้ ยน้านม
8. สืบค้นข้อมูล อธิบายโครงสร้างท่ีใช้ในการแลกเปล่ียนแก๊ส และกระบวนการแลกเปลี่ยนแก๊สของ
มนษุ ย์
9. อธิบายการทางานของปอด และทดลองวัดปริมาตรของอากาศในการหายใจออกของมนุษย์
10. สืบค้นข้อมูล อธิบาย และเปรียบเทียบระบบหมุนเวียนเลือดแบบเปิดและระบบหมุนเวียนเลือด
แบบปดิ
11. สังเกต และอธิบายทิศทางการไหลของเลือดและการเคลื่อนท่ีของเซลล์เม็ดเลือดในหางปลา และ
สรุปความสมั พนั ธร์ ะหว่างขนาดของหลอดเลอื ดกบั ความเร็วในการไหลของเลือด


Click to View FlipBook Version