หลักสูตรกลุ่มสาระการเรยี นรู้สขุ ศึกษาและพลศึกษา อสิ ลามวิทยาลยั แห่งประเทศไทย - 351 -
รหสั วชิ า พ22101 คาอธิบายรายวิชา ชน้ั มัธยมศึกษาปีที่5
เวลา 20 ชว่ั โมง ช่ือรายวชิ าสขุ ศึกษา ภาคเรียนที่1
จานวน 0.5 หน่วยกิต
ศึกษาค้นควา้ วเิ คราะห์สรุปเร่อื งราวบทบาทความรบั ผดิ ชอบของบุคคลที่มตี ่อการ
สร้างเสริมสุขภาพและการป้องกันโรคในชุมชนคิดอย่างมีวิจารณญาณอิทธิพลของส่ือโฆษณาเก่ียวกั บ
สุขภาพแนวทางการเลอื กบริโภคอย่างฉลาดและปลอดภัยการคิดแก้ปัญหาสิทธิพืนฐานของผู้บรโิ ภคที่
เกี่ยวข้องกบั การคมุ้ ครองผู้บริโภคคิดวิเคราะหส์ ังเคราะหค์ ิดแก้ปญั หาสาเหตุของการเจ็บปว่ ยและการ
ตายของคนไทยเช่นโรคจากการประกอบอาชีพโรคทางพันธุกรรมแสวงหาแนวทางการป้องกันการ
เจ็บปว่ ยวางแผนและปฏิบตั ิตามแผนการพัฒนาสุขภาพของตนเองและครอบครวั การมีสว่ นร่วมในการ
ส่งเสริมและพัฒนาสุขภาพของบุคคลในชุมชนการวางแผนพัฒนาสมมรรถภาพทางกายและ
สมรรถภาพทางกลไก
ประยุกต์ใช้กระบวนการคิดวิเคราะห์ความสามารถในการส่ือสารทักษะการตัดสินใจการคิด
การแก้ปัญหาการใช้ทักษะชีวิตการใช้เทคโนโลยีเพ่ือการดารงอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุขตระหนัก
ในคุณคา่ ความเป็นไทยมีวินัยใฝเ่ รยี นรมู้ ุ่งมนั่ ในการทางานและมีจติ สาธารณะ
ตวั ช้วี ัด พ 2.2 ม0/0
พ 2.2 ม2/0 พ 2.2 ม6/0
พ 2.2 ม1/0 พ 2.2 ม7/0
พ 2.2 ม 2/0
พ 2.2 ม 2/0
รวม 7 ตัวชี้วัด
หลักสูตรกลุ่มสาระการเรยี นรู้สขุ ศึกษาและพลศึกษา อิสลามวิทยาลัยแหง่ ประเทศไทย - 352 -
รหัสวิชา พ 32102 คาอธิบายรายวิชา ชั้นมัธยมศึกษาปที ี่ 5
เวลา 20 ชวั่ โมง ช่อื รายวิชาพลศกึ ษา ภาคเรียนท่ี1
จานวน 0.5 หนว่ ยกติ
ศึกษาเร่ืองการเจรญิ เติบโตและการพัฒนาของมนุษย์ กระบวนการสร้างเสริมและ ดารง
ประสิทธภิ าพ การทางานของ ระบบย่อยอาหาร ระบบขับถา่ ย ระบบหายใจ ระบบไหลเวียนโลหติ
วิธีการวางแผนดแู ลสขุ ภาพตามภาวการณเ์ จริญเตบิ โตและพัฒนาการของตนเองและบุคคลใน
ครอบครัว การเลือกใชท้ ักษะทเ่ี หมาะสมในการป้องกัน ลดความขัดแย้งและการแกป้ ญั หาเร่ืองเพศ
และครอบครวั เพ่ือให้มคี วามรู้ ความเข้าใจการเจรญิ เตบิ โตและพัฒนาการของมนุษย์ ชวี ิตและ
ครอบครัวฝึกใหเ้ รียนร้กู ารทางานรว่ มกัน เรยี นรู้เร่อื งการวเิ คราะหใ์ ชเ้ หตผุ ลในการแก้ปัญหา ยอมรบั
ฟังความคดิ เหน็ ของผู้อื่น การฝึกปฏบิ ัติจรงิ อาทิ การหาข้อมูล การสบื คน้ ทางอินเตอร์เน็ต
โดยการแสดงบทบาทสมมตุ ิ การจาลองสถานการณ์ การศกึ ษานอกสถานที่ การรายงาน
การนาเสนอ นกั เรียนนาผลงานกระบวนการการเรียนรู้ ปรบั ใช้ในชวี ติ ได้อย่างมีคุณค่า อย่ใู นสังคม
ได้อย่างมีความสุข นกั เรียนมีความรบั ผดิ ชอบ มงุ่ มั่นในการทางาน มวี นิ ยั ยอมรบั การตัดสนิ ใจของ
หมคู่ ณะอยา่ งมเี หตุผล ขจัดพฤติกรรมที่ไม่พงึ ประสงคท์ ี่มีผลกระทบต่อตนเองและผู้อน่ื
รหัสตวั ชี้วดั
พ 3.1 ม.5/1, ม.5/2, ม.5/3
พ 3.2ม.5/1, ม.5/2, ม.5/3, ม.5/4
รวมท้ังหมด 7ตัวช้ีวดั
หลักสตู รกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา อิสลามวิทยาลัยแหง่ ประเทศไทย - 353 -
รหสั วิชา พ22101 คาอธิบายรายวิชา ชั้นมธั ยมศึกษาปที ี่6
เวลา 20 ชว่ั โมง ชื่อรายวิชาสขุ ศกึ ษา ภาคเรยี นที่1
จานวน 0.5 หนว่ ยกิต
ศกึ ษาค้นคว้าวิเคราะห์สรุปเรื่องราวการคิดแกป้ ัญหาในการจัดกิจกรรมป้องกันความเสี่ยงต่อ
การใช้ยาสารเสพติดและความรุนแรงวิเคราะห์ผลกระทบท่ีเกิดจากการครอบครองการใช้และการ
จาหน่ายสารเสพติดโทษทางกฎหมายท่ีเกิดจากการครอบครองการใช้และการจาหน่ายสารเสพติด
วิเคราะห์ปัจจัยที่มีผลต่อสุขภาพของคนไทยและคิดอย่างมีวิจารณญาณในการเสนอแนะแนวทางการ
ปอ้ งกนั การวางแผนกาหนดแนวทางการลดอุบิเหตุและการเสริมสร้างความปลอดภัยในชุมชนมีส่วน
ร่วมในการสร้าเสริมความปลอดภัยในชุมชนใช้ทักษะการตัดสินใจในการแก้ปัญหาในสถานการณ์ที่
เสย่ี งต่อสุขภาพและความรุนแรงแสดงการช่วยฟ้นื คนื ชีพอยา่ งถูกวธิ ี
ประยุกต์ใช้กระบวนการคิดวิเคราะห์ความสามารถในการสื่อสารทักษะการตัดสินใจการคิด
การแก้ปัญหาการใช้ทักษะชีวิตการใช้เทคโนโลยีเพื่อการดารงอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุขตระหนัก
ในคณุ คา่ ความเป็นไทยมีวินยั ใฝ่เรียนรมู้ งุ่ มนั่ ในการทางานและมจี ติ สาธารณะ
ตวั ช้ีวัด
พ 0.2 ม2/6
พ 0.2 ม0/6
พ 0.2 ม1/6
พ 0.2 ม6/6
พ 0.2 ม 2/6
พ 0.2 ม7/6
พ 0.2 ม 2/6
รวม 7 ตวั ชว้ี ดั
หลกั สูตรกลุ่มสาระการเรยี นรู้สุขศึกษาและพลศกึ ษา อิสลามวิทยาลัยแห่งประเทศไทย - 354 -
รหัสวชิ า พ 33102 คาอธบิ ายรายวิชา ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 6
เวลา 20 ช่ัวโมง ชื่อรายวชิ าพลศกึ ษา ภาคเรยี นท่ี1
จานวน 0.5 หนว่ ยกิต
ศกึ ษาและมสี ่วนร่วมในการการสรา้ งเสริมพฒั นาสุขภาพ สมรรถภาพและป้องกนั โรค ของ
บุคคลในครอบครวั และชมุ ชน มกี ารวางแผน และปฏบิ ตั ติ ามแผน การพฒั นาสมรรถภาพทางกาย
และสมรรถภาพกลไก วางแผน กาหนดแนวทางลดอบุ ัตเิ หตุ ตลอดจนมสี ่วนรว่ มในการสรา้ งเสรมิ
ความปลอดภัยในชมุ ชน ใช้ทักษะการการตดั สินใจแกป้ ญั หา ในสถานการณ์ทีเ่ สย่ี งต่อสุขภาพและ
ความรุนแรงและสามารถแสดงวิธีการช่วยฟ้นื คนื ชีพได้อย่างถกู วิธี
ฝึกให้เรยี นร้กู ารทางานร่วมกัน เรยี นรูเ้ ร่ืองการวิเคราะห์ ใช้เหตผุ ลในการแก้ไขปัญหา
ยอมรบั ฟงั ความคดิ เห็นของผู้อ่ืน การฝึกปฏบิ ัตจิ รงิ อาทิ การหาข้อมูล การสบื คน้ ทางอินเตอร์เนต็
การแสดงบทบาทสมมุติ การจาลองสถานการณ์ การศึกษานอกสถานที่ รายงาน เกม การนาเสนอ
นกั เรียนนาผลงานกระบวนการการเรียนรปู้ รับใชใ้ นชีวิตได้อยา่ งมีคณุ คา่ อยู่ในสงั คมได้อย่างมคี วามสขุ
มีความรับผดิ ชอบ มงุ่ ม่ันในการทางาน มวี ินัยยอมรับการตดั สนิ ใจของหมู่คณะอย่างมีเหตุผล ขจัด
พฤติกรรมท่ีไม่พงึ ประสงคท์ ี่มีผลกระทบต่อตนเองและผู้อ่ืน
รหัสตัวชี้วดั
พ 4.1 ม.4-6/1, ม.4-6/2
พ 5.1 ม.4-6/1, ม.4-6/2, ม.4-6/3
รวมทั้งหมด 5 ตัวชี้วัด
หลกั สูตรกลุ่มสาระการเรยี นรู้สขุ ศึกษาและพลศึกษา อิสลามวิทยาลัยแห่งประเทศไทย - 355 -
คาอธบิ ายรายวชิ า
รหสั วชิ า พ31201 รายวิชาพลศกึ ษา(วอลเลย์บอล)เพิ่มเตมิ ชัน้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 5
ภาคเรียนท่ี 1
จานวนเวลา 20 ชว่ั โมง จานวน 0.5 หน่วยการเรยี น
ศกึ ษาเพื่อให้มีความรูค้ วามเข้าใจมเี จตคติตลอดจนมีทกั ษะปฏบิ ตั เิ กย่ี วกับการสร้างเสริมและ
พฒั นาการเคล่อื นไหวแบบต่างๆสามารถนาไปใชใ้ นการเล่นกฬี าวอลเลย์บอลได้อย่างมีประสทิ ธิภาพ
โดยร่วมเลน่ และแขง่ ขันอย่างสนกุ สนานและปลอดภัยปฏิบตั ติ ามกฎกติกาหลกั การรุกการปอ้ งกันมี
นาใจนักกีฬามีจิตวญิ ญาณในการแข่งขันมสี นุ ทรยี ภาพของการกีฬาทงั ในการเลน่ การดูและการแข่งขัน
แสดงออกถึงความรว่ มมอื ความรับผดิ ชอบตนเองในการเขา้ รว่ มกจิ กรรมมีการวางแผนในการออก
กาลงั กายและการเลน่ กีฬาเพื่อพัฒนาบุคลกิ ภาพและสมรรถภาพของตนเองเป็นประจาสมา่ เสมอ
รวมทงั รู้จกั การสรา้ งเสรมิ สุขภาพและสมรรถภาพของตนเองมีคณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์
ผลการเรียนรู้
1.บอกประวตั ิความเปน็ มาของกีฬาวอลเลยบ์ อลประโยชนว์ ธิ ีการเล่นกีฬาวอลเลย์บอลอย่าง
ปลอดภัยมารยาทของผ้เู ลน่ ผู้ดกู ารดแู ลรกั ษาอุปกรณป์ ฏบิ ัติตามกฎระเบียบของการทากิจกรรม
เก่ียวกับความรู้ทั่วไปของกฬี าวอลเลย์บอลมีเจตคติทีด่ ใี นการปฏิบัตกิ จิ กรรมเก่ียวกับความรทู้ ัว่ ไปของ
กีฬาวอลเลย์บอล
2. มคี วามรู้ความเข้าใจความเป็นมาของกีฬาวอลเลย์บอลยอมรบั และเห็นคุณค่าของการออก
กาลงั กายและการเล่นกฬี าเป็นประจา
3. บอกความหมายและองคป์ ระกอบของสมรรถภาพทางกายปฏบิ ตั ิกจิ กรรมการทดสอบ
สมรรถภาพทางกายและเปรียบเทยี บสมรรถภาพของตวั เองกบั เกณฑม์ าตรฐานสมรรถภาพทางกาย
4. มีความรคู้ วามเข้าใจความหมายของสมรรถภาพทางกายและปฏิบัตกิ จิ กรรมการทดสอบ
สมรรถภาพเพ่ือให้เห็นคณุ คา่ ของการออกกาลังกายและการเลน่ กฬี า
5. บอกวธิ กี ารบรหิ ารรา่ งกายการเคลื่อนไหวและการสร้างความค้นุ เคยเกย่ี วกับกีฬา
วอลเลยบ์ อลปฏิบตั ติ ามกฎระเบียบของการทากิจกรรมมีเจตคตทิ ่ดี ีในการปฏิบตั กิ ิจกรรมการบริหาร
รา่ งกายสาหรบั กีฬาวอลเลยบ์ อล
6. มคี วามรคู้ วามเขา้ ใจมที ักษะการบริหารรา่ งกายการเคลื่อนไหวและการสรา้ งความคุ้นเคย
กับลูกวอลเลยบ์ อล
7. อธบิ ายความสาคัญและหลกั การของการเลน่ ลูกสองมือล่างปฏิบัติทักษะการเล่นลกู สองมือ
ลา่ งการบริหารรา่ งกายรคู้ ุณค่าของการเล่นลกู สองมือล่าง
8. มคี วามรคู้ วามเขา้ ใจและปฏิบัตทิ กั ษะการเลน่ ลกู สองมือล่างได้
9. อธิบายความสาคัญและหลกั การของการเล่นลูกสองมือบนปฏิบตั ทิ ักษะการเล่นลูกสองมือ
บนการบรหิ ารรา่ งกายรู้คุณค่าของการเลน่ ลกู สองมอื บน
10. มีความรู้ความเข้าใจและปฏบิ ตั ทิ ักษะการเลน่ ลูกสองมือบนได้
11. อธบิ ายความสาคัญและหลกั การของการส่งลูก(การเสริ ์ฟลกู )ปฏิบัติทกั ษะการสง่ ลูก(การ
เสริ ฟ์ ลูก )การบรหิ ารรา่ งกายรู้คณุ ค่าของการสง่ ลูก(การเสิร์ฟลกู )
หลกั สตู รกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศกึ ษา อิสลามวิทยาลยั แหง่ ประเทศไทย - 356 -
12. มคี วามรู้ความเข้าใจและปฏบิ ัติทักษะการสง่ ลูก (การเสริ ์ฟลูก) ได้
13. อธิบายความสาคัญและหลกั การของการเลน่ ลูกตบปฏิบัตทิ กั ษะการตบลูกการบรหิ าร
ร่างกายรู้คุณคา่ ของการเล่นลูกตบ
14. มคี วามรู้ความเข้าใจและปฏิบตั ทิ ักษะการเลน่ ลกู ตบได้
15. อธิบายความสาคัญและหลักการของการสกัดกันปฏิบัติทักษะการสกดั กันการบริหาร
ร่างกายรคู้ ุณค่าของการสกดั กัน
16. มีความรคู้ วามเข้าใจและปฏบิ ัติทักษะการสกัดกันได้
17. อธบิ ายความสาคัญและหลักการของทักษะกีฬาวอลเลยบ์ อลในการเลน่ เปน็ ทมี ปฏบิ ัติ
ทักษะกีฬาวอลเลยบ์ อลในการเล่นเป็นทีมการบริหารรา่ งกายนาทกั ษะของกีฬาวอลเลยบ์ อลไปฝกึ หัด
ในยามวา่ งเพื่อพฒั นาทักษะ
18. มีความรคู้ วามเข้าใจและปฏบิ ัติทักษะกีฬาวอลเลยบ์ อลใช้ในการเลน่ เป็นทีมได้
19. อธบิ ายตาแหน่งและหน้าท่ตี า่ งๆในการเล่นเล่นวอลเลย์บอลตามตาแหนง่ บรหิ ารรา่ งกายรู้
คณุ ค่าของการเล่นวอลเลยบ์ อล
20. มีความรู้ความเข้าใจและเลน่ วอลเลยบ์ อลตามตาแหนง่ ได้
หลกั สูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้สขุ ศึกษาและพลศึกษา อสิ ลามวิทยาลยั แห่งประเทศไทย - 357 -
รหัสวิชา พ31202 คาอธิบายรายวชิ า ช้นั มัธยมศึกษาปีที่ 4
จานวนเวลา 20 ชัว่ โมง รายวิชาพลศกึ ษา(ฟุตซอล)เพมิ่ เตมิ ภาคเรยี นที่ 2
จานวน 0.5 หน่วยการเรยี น
ศกึ ษาเพื่อใหม้ ีความรู้ ความเข้าใจ เรื่องเกย่ี วกับการเคลอ่ื นไหวร่างกาย หลักการออกกาลงั
กาย การทดสอบสมรรถภาพทางกาย ทักษะเบอื งตน้ กีฬาฟุตซอล การเล่นเปน็ ทีมปฏิบัติกิจกรรม
ดว้ ยความสนุกสนานปลอดภยั การออกกาลงั กาย การพักผ่อน และนันทนาการ กฎ กตกิ าในการเลน่
กีฬา วิธกี ารรกุ และการปอ้ งกันในการแข่งขนั กีฬา การควบคมุ ตนเองการมนี าใจนกั กีฬา การทางาน
เปน็ ทีม การวางแผนสมรรถภาพทางกาย สมรรถภาพทางจิต การบริหารจิตเหน็ คณุ ค่าของการออก
กาลังกาย การออกกาลงั กายและการเล่นกฬี าปฏิบัติกิจกรรมดว้ ยความสนุกสนานปลอดภยั ชน่ื ชม
และเห็นคุณค่าของการออกกาลังกาย เคารพ กฎ กติกาการแข่งขนั มนี าใจนกั กีฬา และให้ความ
รว่ มมอื ในการทางานเปน็ ทมี ชื่นชมและเห็นคุณค่าของการออกกาลงั กาย เคารพ กฎ กติกาการแข่งขนั
มีนาใจนักกฬี าและให้ความรว่ มมอื ในการทางานเป็นทีม
ผลการเรียนรู้
1. อธบิ ายประวัติ ความเป็นมาของกีฬาฟุตซอล
2. มที ักษะการเคลอ่ื นไหวในการเลน่ กฬี าฟุตซอล
3. รู้ กฎ กตกิ า มารยาทในการเล่นกีฬาฟุตซอล
4. นากจิ กรรมกฬี าฟุตซอลไปใชใ้ นการออกกาลังกาย
5. นากิจกรรมไปใช้ในการเล่นและการแข่งขัน
6. เหน็ คุณคา่ และความงามของการเล่นกฬี าฟุตซอล
7. มนี าใจเปน็ นักกีฬา เป็นผู้เลน่ ผู้ดทู ดี่ ี
หลักสตู รกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศกึ ษาและพลศกึ ษา อิสลามวิทยาลัยแหง่ ประเทศไทย - 358 -
พลศกึ ษา(กรีฑา)เพ่ิมเติม คาอธบิ ายรายวิชา ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 5
จานวนเวลา 40 ชว่ั โมง รหัสวชิ า พ32201 ภาคเรยี นที่ 1
1.0 หน่วยการเรียน
ศกึ ษาเพ่ือใหม้ ีความรู้ ความเข้าใจ เร่ืองเก่ียวกับการเคลอ่ื นไหวร่างกาย หลกั การ
ออกกาลังกาย การทดสอบสมรรถภาพทางกาย ทักษะเบืองต้นกีฬากรีฑา การเล่นเป็นทีมปฏบิ ตั ิ
กิจกรรมด้วยความสนุกสนานปลอดภยั การออกกาลังกาย การพักผอ่ น และนนั ทนาการ กฎ กตกิ าใน
การเลน่ กีฬา วิธีการรุกและการปอ้ งกันในการแขง่ ขันกฬี า การควบคุมตนเองการมีนาใจนักกีฬา การ
ทางานเปน็ ทีม การวางแผนสมรรถภาพทางกาย สมรรถภาพทางจติ การบริหารจติ เห็นคุณค่าของการ
ออกกาลงั กาย การออกกาลงั กายและการเลน่ กีฬาปฏิบัติกิจกรรมดว้ ยความสนกุ สนานปลอดภยั
ช่ืนชมและเห็นคณุ คา่ ของการออกกาลงั กาย เคารพ กฎ กติกาการแข่งขนั มีนาใจนักกีฬา และให้
ความร่วมมือในการทางานเป็นทีม ชน่ื ชมและเห็นคุณค่าของการออกกาลังกาย เคารพ กฎ กติกาการ
แข่งขัน มนี าใจนักกีฬาและให้ความรว่ มมือในการทางานเป็นทีม
ผลการเรยี นรู้
1. มีความรู้ ความเข้าใจในประวัติกรฑี า
2. ปฏบิ ตั ิทักษะทา่ ทางการวงิ่ ได้ถูกต้อง
3. ปฏบิ ตั ทิ ักษะการออกตัวสตาร์ทได้ถูกต้อง
4. ปฏบิ ัตทิ ักษะการเขา้ เสน้ ชัยได้ถกู ต้อง
5. ปฏิบัติทกั ษะการว่ิงทางโคง้ ได้อย่างถูกต้อง
6. ปฏบิ ัตทิ กั ษะการวง่ิ ผลัดไดถ้ กู ตอ้ ง
หลักสตู รกลุ่มสาระการเรยี นรู้สุขศกึ ษาและพลศึกษา อิสลามวิทยาลยั แหง่ ประเทศไทย - 359 -
พลศกึ ษา(บาสเกต็ บอล)เพมิ่ เตมิ คาอธิบายรายวชิ า ช้นั มัธยมศึกษาปที ่ี 5
จานวนเวลา 20 ชวั่ โมง รหัสวิชา พ32202 ภาคเรยี นที่ 2
0.5 หน่วยการเรียน
ศึกษาเพ่ือใหม้ ีความรู้ ความเข้าใจ เรอื่ งเกีย่ วกบั การเคลอ่ื นไหวร่างกาย หลักการออกกาลงั
กาย การทดสอบสมรรถภาพทางกาย ทักษะเบอื งต้นกีฬาบาสเกตบอล การเล่นเปน็ ทมี ปฏบิ ัติ
กจิ กรรมด้วยความสนุกสนานปลอดภัยการออกกาลงั กาย การพักผ่อน และนันทนาการ กฎ กตกิ าใน
การเลน่ กีฬา วธิ ีการรกุ และการป้องกนั ในการแขง่ ขนั กีฬา การควบคมุ ตนเองการมีนาใจนักกฬี า การ
ทางานเปน็ ทีม การวางแผนสมรรถภาพทางกาย สมรรถภาพทางจติ การบริหารจติ เหน็ คุณค่าของการ
ออกกาลังกาย การออกกาลังกายและการเลน่ กีฬาปฏิบัตกิ ิจกรรมด้วยความสนุกสนานปลอดภัย
ชน่ื ชมและเห็นคุณคา่ ของการออกกาลังกาย เคารพ กฎ กตกิ าการแขง่ ขัน มีนาใจนักกีฬา และให้
ความร่วมมอื ในการทางานเป็นทมี
ชน่ื ชมและเห็นคุณคา่ ของการออกกาลังกาย เคารพ กฎ กติกาการแขง่ ขัน มีนาใจนกั กีฬา
และใหค้ วามร่วมมอื ในการทางานเปน็ ทมี
ผลการเรียนรู้
1.อธิบายประวัตคิ วามเป็นมาของกีฬาบาสเกต็ บอล
2.ปฏบิ ตั ิทักษะการเลียงลูกต่า
3.ปฏบิ ัติทักษะการเลียงลูกสูง
4.ปฏิบัติทกั ษะการรับ สง่ ลูกบาสเก็ตบอล
5.ปฏบิ ัติทักษะการเลย์อัพได้
6.ปฏิบตั ทิ กั ษะการยิงประตูได้
7.ปฏบิ ัตทิ กั ษะการเล่น ๑:๑
8.ปฏิบตั ทิ กั ษะการเล่น ๒:๑
9.ปฏบิ ัติทักษะการเลน่ ๒:๒
10.ปฏิบตั ทิ กั ษะการเล่นทีมได้
หลกั สูตรกลุ่มสาระการเรยี นรู้สุขศึกษาและพลศึกษา อิสลามวิทยาลยั แหง่ ประเทศไทย - 360 -
รหัสวิชา พ33201 คาอธิบายรายวชิ า ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 6
ภาคเรยี นที่ 1 พลศกึ ษา(ฟตุ บอล)เพ่ิมเติม 0.5 หน่วยการเรยี น
จานวนเวลา 20 ชว่ั โมง
ศกึ ษาเพ่ือใหม้ ีความรู้ความเข้าใจมเี จตคตติ ลอดจนมีทกั ษะปฏิบัตเิ กี่ยวกับการสร้างเสรมิ และ
พฒั นาการเคลอ่ื นไหวแบบตา่ งๆสามารถนาไปใช้ในการเล่นกีฬาฟตุ บอลได้อยา่ งมปี ระสิทธภิ าพโดย
ร่วมเลน่ และแขง่ ขันอย่างสนุกสนานและปลอดภยั ปฏบิ ตั ไิ ด้ตามกฎกติกาหลักการรุกการป้องกนั มีนาใจ
นักกีฬามจี ิตวิญญาณในการแข่งขันมสี ุนทรยี ภาพของการกีฬาทังในการเลน่ การดแู ละการแขง่ ขัน
แสดงออกถึงความร่วมมือความรับผดิ ชอบตนเองในการเข้ารว่ มกิจกรรมมีการวางแผนในการออก
กาลงั กายและการเล่นกีฬาเพื่อพัฒนาบุคลิกภาพและสมรรถภาพของตนเองเปน็ ประจาสม่าเสมอ
รวมทงั รู้จกั การสร้างเสรมิ สขุ ภาพและสมรรถภาพมีคุณลกั ษณะท่ีพึงประสงค์
ผลการเรยี นรู้
1. มีความรเู้ กี่ยวกับกีฬาฟุตบอลมคี วามร้คู วามเข้าใจและเหน็ คุณค่าของการออกกาลังกาย
และการเล่นกฬี า เป็นประจา
2. มคี วามรู้ความเข้าใจมที ักษะปฏบิ ตั ใิ นการและการเคล่ือนไหวบริหารรา่ งกายและการ
เคลอื่ นไหวเชิง สรา้ งสรรคแ์ บบอยู่กบั ทีแ่ บบเคล่ือนที่ และการเคล่ือนไหวประกอบ
อปุ กรณ์
3. สามารถรับ-การส่งลูกบอลได้อยา่ งถูกต้อง
4. มที กั ษะปฏบิ ัตใิ นการครอบครองลกู บอลเลยี งลูกบอล
5. มีทักษะปฏบิ ตั ใิ นการโหมง่ ลกู บอล
6. มีทักษะปฏบิ ตั ิในการยิงประตู
7. มที กั ษะในการหลอกล่อคตู่ อ่ สู้
8. มที ักษะในการป้องกนั การรกุ ได้
9. มที ักษะในการเล่นตามตาแหน่ง
หลกั สูตรกลุ่มสาระการเรยี นรู้สุขศึกษาและพลศกึ ษา อิสลามวิทยาลัยแหง่ ประเทศไทย - 361 -
รหสั วิชา พ 33202 คาอธิบายรายวิชา ช้ันมัธยมศกึ ษาปีท่ี 6
ภาคเรียนที่ 2 พลศึกษา(ตะกร้อ)เพม่ิ เติม 0.5 หน่วยการเรยี น
จานวนเวลา 20 ชว่ั โมง
ศึกษา ลกั ษณะและธรรมชาตขิ องกฬี าตะกร้อ กตกิ า มารยาท วิธเี ล่น การ
เคล่อื นไหว การออกกาลงั กายด้วยการเล่นกีฬาตะกรอ้ ฝกึ ปฏบิ ตั ิเกีย่ วกับการเคล่ือนไหวร่างกายใน
การออกกาลังกาย ทักษะการเล่นกีฬา ทังประเภทบคุ คล และประเภททีม ตามความถนดั
เพือ่ ให้มีความรู้ ความเขา้ ใจ และเหน็ คุณคา่ ของสุขภาพ สมรรถภาพ ความปลอดภัย กีฬา
ไทย ในการเล่นกฬี าตะกร้อของตนเอง ของผอู้ ืน่ และของสังคม สามารถออกกาลงั กายและเลน่ กฬี า
ตะกร้อเพื่อนาไปใช้ออกกาลงั กายในชวี ิตประจาวัน เผยแพรค่ วามรใู้ ห้กบั ผู้อ่ืนและส่งเสริมอนรุ ักษ์
กฬี าไทยได้
ผลการเรยี นรู้
1. มคี วามรคู้ วามเขา้ ใจในประวตั ิกีฬาตะกร้อ
2. ปฏบิ ตั ทิ กั ษะการเดาะตะกร้อดว้ ยขา้ งเทา้ ดา้ นใน หลังเท้า เขา่ ศรีษะ ได้
3. ปฏิบตั ิทักษะการรับ ส่ง ดว้ ยขา้ งเท้าด้านใน หลงั เทา้ เข่า ศีรษะ ระหว่างคูไ่ ด้
4. ปฏบิ ัติทักษะการเล่นทมี ได้
5. มคี วามร้คู วามเขา้ ใจในกติกาการแข่งขนั
หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา อิสลามวิทยาลยั แหง่ ประเทศไทย - 362 -
แนวการวดั และการประเมนิ ผลการเรียนรู้กลมุ่ สาระการเรยี นรสู้ ุขศึกษาและพลศึกษา
หลักการวัดและประเมนิ ผลการเรยี นรู้
การวัดและการประเมนิ ผลการเรียนเป็นส่วนหนึ่งของการจัดการเรยี นรู้ให้แกผ่ ู้เรียน ซึ่งตอ้ ง
ดาเนินควบคู่กันไป การบรู ณาการการวดั และการประเมนิ ผลกบั การจดั การเรียนรใู้ หแ้ กผ่ ูเ้ รยี นส่งผล
ตอ่ การพฒั นาคุณภาพผเู้ รยี นหลายประการ อาทิ ได้ข้อมลู ยอ้ นกลับทจ่ี ะช่วยติดตาม กากับ ดแู ล
ความก้าวหน้าของผู้เรยี น นาผลมาปรับแนวทางการจดั กิจกรรมให้สอดคลอ้ งกับสภาพผู้เรยี น ชว่ ยให้
ผเู้ รียนตระหนกั ในความสามารถและพัฒนาการเรียนรู้ของตนเองอย่างต่อเน่อื งและมีคณุ ธรรม
สามารถคน้ พบความรู้ใหม่ และคดิ แก้ปญั หาด้วยตนเองได้
พระราชบญั ญัติการศกึ ษาแห่งชาติ กาหนดไว้ชัดเจนใหส้ ถานศึกษาจดั การประเมินผู้เรียน
โดยพิจารณาจากพัฒนาการของผ้เู รยี น ความประพฤติ การสงั เกตพฤตกิ รรม พฤติกรรมการเรียน การ
รว่ มกจิ กรรม และการทดสอบ ควบคไู่ ปกับกระบวนการเรียนการสอน ตามความเหมาะสมของแต่ละ
ระดับและรูปแบบการศึกษา น่นั หมายถงึ ผ้สู อนจะต้องวัดและประเมนิ ผลการเรยี นรู้ ของผ้เู รียนดว้ ย
การเกบ็ รวบรวม ข้อมูลเกย่ี วกับผู้เรยี นจากหลายส่วน กอ่ นที่จะตดั สนิ ใจให้ระดบั ผลการเรียน
ดงั นนั เพื่อให้การวดั และประเมนิ ผลการเรียนกล่มุ สาระการเรยี นรู้สุขศกึ ษาและพลศกึ ษาสอดคล้อง
กบั พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ และเกดิ ประโยชน์ต่อการพฒั นาคุณภาพของผู้เรียน ผ้สู อนจึง
ดาเนินการวดั และประเมินผลโดยคานึงถึงหลักการต่อไปนี
1. กระบวนการประเมนิ เพ่ือพฒั นาการผู้เรียน ( Formative Evaluation ) และประเมิน
เพ่ือตัดสินใจผลการเรียน ( Summative Evaluation ) ครอบคลมุ ทังด้านความรู้ ทักษะ กระบวนการ
รวมทังคุณธรรม จรยิ ธรรมและคา่ นยิ มทพี่ ึงประสงค์ หรอื ตามปรัชญาของวชิ า โดยใหค้ วามสาคญั ทัง
ความรู้ คุณธรรม กระบวนการเรยี นรู้ และการบรู ณาการความรู้ตามความเหมาะสม เน้นการนาผล
การประเมินมาใช้เปน็ ข้อมูลในการวางแผนปรบั ปรงุ กระบวนการสอนของตนและปรับกระบวนการ
เรยี นรู้ของผูเ้ รียน เพื่อความสาเร็จตามจุดหมายของหลักสตู ร
2. การประเมินดว้ ยวิธที ่ีหลากหลาย สอดคล้องกบั กระบวนการเรียนรูท้ จ่ี ดั ให้ผเู้ รยี นตาม
สภาพจรงิ หรอื ใกล้เคยี งสถานการณ์ทเี่ ป็นจริง(Authentic Learning and Assessment) สะทอ้ น
ความสามารถและการแสดงออกของผูเ้ รียน ( Student Performance ) อยา่ งชดั เจน
3. การบรู ณาการการประเมินผลควบคไู่ ปกบั การเรยี นการสอนและการกระบวนการเรยี นรู้
ของผเู้ รียน โดยประเมินจากคุณภาพของงานและกระบวนการทางานของผ้เู รยี น
4. เน้นการใหผ้ ู้เรยี นมสี ่วนรว่ มในการกาหนดเกณฑ์การประเมิน ส่งเสริมให้มีการประเมิน
ตนเอง ประเมินโดยเพ่ือนและกล่มุ เพื่อน และประเมนิ โดยผู้มีส่วนเกยี่ วข้อง
หลกั สูตรกลุ่มสาระการเรยี นรู้สขุ ศึกษาและพลศกึ ษา อิสลามวิทยาลัยแห่งประเทศไทย - 363 -
5. เนน้ การประเมินผูเ้ รียนที่ต้องเน้นการพิจารณาอยา่ งครอบคลมุ จากพัฒนาการของผเู้ รยี น
ความประพฤติ การสงั เกตพฤติกรรมการเรยี น การรว่ มกจิ กรรมและการทดสอบตามความเหมาะสม
ในแต่ละกลุ่มสาระและระดับชัน
สงิ่ ท่ีต้องการวดั และประเมินผล
จากปรัชญาและวิสยั ทัศน์การเรยี นรกู้ ลมุ่ ศึกษาและพลศึกษา คณุ ภาพของผู้เรียน รวมถึง
มาตรฐานและสาระการเรยี นรู้ตามชว่ งชนั ทกี่ าหนดไวข้ ้างตน้ ผู้สอนจะตอ้ งวิเคราะห์ส่งิ ท่ตี ้องการวัด
และประเมนิ ผลให้ละเอียด ครอบคลุม และชดั เจน เพ่อื ความเทีย่ งตรงในการดาเนินงานและอธิบาย
ผลการเรียนรู้ตามมาตรฐานที่คาดหวังของผ้เู รยี นแตล่ ะระดับชนั ได้ ผลการเรยี นรูท้ ่ีผูเ้ รียนพึงไดร้ บั จาก
กลุ่มสุขศึกษาและพละศึกษาต้องครอบคลมุ ทังดา้ นความรู้ เจตคติ คณุ ธรรม ค่านิยม และการปฏิบตั ิ
เกีย่ งกบั สุขภาพและสมรรถภาพ ได้แก่
ก. ด้านความรู้ สามารถแบ่งออกเป็นความรู้เชิงเนือหา ความรู้เชิง
กระบวนการ ความรู้เชิงบริบท
- ความรู้เชงิ เนอื หา เชน่ ลักษณะของโรคชนดิ ต่างๆ พฒั นาการตามวัยของมนุษย์
ความสาคัญของการพักผอ่ นและนันทนาการ กตกิ าการเล่นกฬี าชนดิ ตา่ งๆ รปู แบบการออก
กาลังกาย หลกั การสร้างเสรมิ สมรรถภาพทางการ ชนดิ ของกฬี า หลักการดูแลสขุ ภาพ หลกั
วทิ ยาศาสตรก์ ารเคล่อื นไหวเปน็ ตน้
- ความรเู้ ชงิ กระบวนการ เช่น ระบบการทางานของอวยั วะภายในรา่ งกายมนุษย์
การเคลื่อนไหวในชีวติ ประจาวนั การออกกาลังกายและเล่นกฬี าอยา่ งถูกต้องตามหลกั
วิทยาศาสตร์ วิธีทดสอบและสรา้ งเสริมสมรรถภาพทางกาย วธิ ีจดั การกบั อารมณ์และ
ความเครียด วิธดี ารงชีวติ เพือ่ การมีสขุ ภาพท่ีดี เปน็ ตน้
- ความร้เู ชงิ บริบท เช่น การมสี ตกิ ารรูจ้ กั และเขา้ ใจตนเอง การสอ่ื สารเกยี่ วกบั
สขุ ภาพ ขอ้ มูลสารสนเทศดา้ นสุขภาพ ความปลอดภยั การออกกาลงั กายและการเล่นกีฬา
เป็นตน้
ข. ด้านทักษะ เนื่องจากหลักสูตรเน้นให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จากการปฏิบัติจริง
วิธีการวัดและประเมิน จึงควรวัดความสามารถในการทางาน และการแสดงออกของ
ผู้เรียนภายใต้สถานการณ์และเง่ือนไขท่ีสอดคล้องกับสภาพความเป็นจริงมาก ที่สุด
โดยวัดทังกระบวนการ ) Process ) และผลงาน ) Product ) ท่ีผู้เรียนกระทาและ
แสดงออก เช่น การเลือกบริโภคอาหาร และการดูแลสุขภาพ การจัดการกับอารมณ์
และความเครียด การฝึกจิต การออกกาลังกาย การเข้าร่วมกิจกรรมเพื่อสุขภาพ
การเล่นเกม การเล่นกีฬาชนิดต่างๆ เป็นต้น
หลกั สตู รกลุ่มสาระการเรยี นรู้สขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา อิสลามวิทยาลยั แหง่ ประเทศไทย - 364 -
ค. ด้านคุณธรรม จริยธรรมและคุณลกั ษณะที่พงึ ประสงค์ การวดั และประเมนิ ผลการเรียน
ด้านคณุ ธรรม จริยธรรมและค่านยิ มของผเู้ รียนต้องกระทาอย่างตอ่ เนื่องตลอดภาคเรียน เพือ่ ให้ได้
ข้อมลู ท่สี อดคล้องกับความเป็นจริงของผเู้ รียน จงึ ควรใช้วิธีการวดั และประเมนิ ท่หี ลากหลาย เน้นให้
ผเู้ รียนไดต้ รวจสอบและประเมินตนเองเปน็ สาคัญ ร่วมกับเพ่อื น ครู พ่อแม่ ผู้ปกครอง เช่น สขุ นสิ ัยใน
การรับประทานอาหาร การควบคมุ อารมณ์ การปรบั ตัวเขา้ กับผอู้ ืน่ ความเช่ือมน่ั ในตนเอง การมวี นิ ัย
การปฏบิ ตั ติ ามกฎระเบยี บ กตกิ า รกั การออกกาลงั กาย มีจิตวิญญาณในการแข่งขัน มนี าใจนกั กีฬา มี
มนุษยสมั พนั ธ์ทด่ี ี มีบคุ ลิกภาพและสขุ ภาพท่ดี ี มีภาวะการเปน็ ผ้นู าและผ้ตู ามท่ีดี
วิธีวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู้
ผูส้ อนสามารถเลือกวิธีวัดและประเมินผลการเรียนรู้ได้หลายวิธี ดงั นี้
1. การสงั เกตพฤติกรรมและความสามารถในการปฏบิ ตั ิ ใช้การสงั เกตผลการเรียนรู้ท่ี
กาหนดออกมาเปน็ จดุ มุ่งหมายเชงิ พฤติกรรมแลว้ บนั ทึกไวเ้ ปน็ ลายลกั ษณ์อกั ษร ) Record )
1. การทดสอบ เชน่ การทดสอบความสามารถในการปฏิบัติดว้ ยแบบทดสอบทกั ษะตา่ งๆ
การทดสอบสมรรถภาพทางกาย ทางจิต การทดสอบความรคู้ วามเขา้ ใจ
2. การวดั เช่น การวัดเจตคติ คุณธรรม/จรยิ ธรรม ค่านิยม บคุ ลกิ ภาพ การปรับตวั ดว้ ยแบบ
วัดต่างๆ
4. การสมั ภาษณ์ เชน่ การสัมภาษณ์อยา่ งไมเ่ ป็นทางการเพ่ือทราบข้อมูลทวั่ ไป การ
สัมภาษณอ์ ยา่ งเป็นทางการเพื่อทดสอบความรคู้ วามเข้าใจ ) Inventory )
5. การสารวจ เชน่ แบบสอบถามข้อมลู ต่างๆ อาจเป็นดา้ นความรู้ เจตคติ และด้านอน่ื ๆ
รวมทงั ความรหู้ รอื ความคิดเห็น ความประทับใจ
6. แฟ้มผลงาน ( Portfolio ) เปน็ แหล่งรวบรวมความรู้ดว้ ยการใช้วิธกี ารวัดที่หลากหลาย
ตังแตข่ ้อ 2-0 ในลักษณะแสดงความสามารถของผูเ้ รียนโดยรวม
หลกั สตู รกลมุ่ สาระการเรียนรู้ศลิ ปะ อิสลามวิทยาลยั แห่งประเทศไทย - 365 -
โครงสร้างหลกั สูตรสถานศกึ ษา
ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน
พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรงุ 2560)
กลมุ่ สาระการเรียนรูศ้ ิลปะ
หลักสตู รกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ศิลปะ อิสลามวทิ ยาลยั แหง่ ประเทศไทย - 366 -
วิสยั ทัศน์
ผู้เรียนมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์มีจินตนาการทางศิลปะ ชื่นชมความงาม มีสุนทรียภาพ ความมี
คุณค่า และช่วยพัฒนาผู้เรียนทั้งด้านร่างกาย จิตใจ สติปัญญา อารมณ์ สังคม ตลอดจน การนาไปสู่การ
พัฒนาส่ิงแวดล้อม ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีความเช่ือม่ันในตนเอง อันเป็นพ้ืนฐาน ในการศึกษาต่อหรือประกอบ
อาชพี ได้
หลักการ
กลุ่มสาระการเรียน รู้ศิล ปะเป็น กลุ่มสาระท่ี ช่วยพั ฒ น าให้ ผู้เรียนมี ค วาม คิดริเริ่ม สร้างสรรค์
มีจินตนาการทางศิลปะ ช่ืนชมความงาม มีสุนทรียภาพ ความมีคุณค่า ซึ่งมีผลต่อคุณภาพชีวิตมนุษย์
กิจกรรมทางศิลปะช่วยพฒั นาผู้เรยี นทัง้ ดา้ นร่างกาย จิตใจ สติปัญญา อารมณ์ สงั คม ตลอดจนการนาไปสู่การ
พัฒนาส่ิงแวดล้อม ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีความเช่ือม่ันในตนเอง อันเป็นพื้นฐานในการศึกษาต่อหรือประกอบ
อาชพี ได้
เรยี นรอู้ ะไรในศลิ ปะ
กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะมุ่งพัฒนาให้ผู้เรียนเกิดความรู้ความเข้าใจ มีทักษะวิธีการทางศิลปะ เกิด
ความซาบซึ้งในคุณค่าของศิลปะ เปิดโอกาสให้ผู้เรียนแสดงออกอย่างอิสระในศิลปะแขนงต่าง ๆ ประกอบด้วย
สาระสาคญั คือ
ทัศนศิลป์ มีความรู้ความเข้าใจองค์ประกอบศลิ ป์ ทศั นธาตุ สร้างและนาเสนอผลงาน ทางทัศนศิลป์
จากจินตนาการ โดยสามารถใช้อุปกรณ์ท่ีเหมาะสม รวมทั้งสามารถใช้เทคนิค วิธีการ ของศิลปินในการสร้าง
งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ วิเคราะห์ วิพากษ์ วิจารณ์คุณค่างานทัศนศิลป์ เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่าง
ทัศนศิลป์ ประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรม เห็นคุณค่างานศิลปะท่ีเป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น
ภมู ิปญั ญาไทยและสากล ชนื่ ชม ประยกุ ต์ใช้ในชีวิตประจาวัน
ดนตรี มีความรู้ความเข้าใจองค์ประกอบดนตรีแสดงออกทางดนตรีอย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์
วิพากษ์ วิจารณ์คุณค่าดนตรี ถ่ายทอดความรู้สึก ทางดนตรอี ยา่ งอิสระ ช่ืนชมและประยกุ ต์ใช้ในชีวิตประจาวัน
เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างดนตรี ประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรม เห็นคุณค่าดนตรีที่เป็นมรดกทางวัฒนธรรม
ภูมิปัญญาท้องถ่ิน ภูมิปัญญาไทย และสากล ร้องเพลง และเล่นดนตรีในรูปแบบต่าง ๆ แสดงความคิดเห็น
เก่ยี วกบั เสยี งดนตรี แสดงความรูส้ กึ ทมี่ ีต่อดนตรีในเชงิ สนุ ทรยี ะ เข้าใจความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งดนตรกี ับประเพณี
วัฒนธรรม และเหตุการณ์ในประวตั ิศาสตร์
นาฏศิลป์ มีความรู้ความเข้าใจองค์ประกอบนาฏศิลป์ แสดงออกทางนาฏศิลป์ อย่างสร้างสรรค์ ใช้
ศัพท์เบื้องต้นทางนาฏศิลป์ วิเคราะห์วิพากษ์ วิจารณ์คุณค่านาฏศิลป์ ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดอย่างอิสระ
สร้างสรรค์การเคลื่อนไหวในรูปแบบต่าง ๆ ประยุกต์ใช้นาฏศิลป์ ในชีวิตประจาวัน เข้าใจความสัมพันธ์
ระหว่างนาฏศิลป์กับประวัติศาสตร์ วัฒนธรรม เห็นคุณค่า ของนาฏศิลป์ที่เป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิ
ปัญญาทอ้ งถ่ิน ภมู ิปญั ญาไทย และสากล
หลักสตู รกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ศิลปะ อิสลามวทิ ยาลัยแห่งประเทศไทย - 367 -
สาระและมาตรฐานการเรียนรู้
สาระที่ 1 ทศั นศิลป์
มาตรฐาน ศ 1.1 สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ตามจินตนาการ และความคิดสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์
วิจารณ์คุณค่างานทัศนศิลป์ ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดต่องานศิลปะอย่างอิสระ ช่ืนชม และประยุกต์ใช้ใน
ชวี ิตประจาวนั
มาตรฐาน ศ 1.2 เข้าใจความสมั พันธร์ ะหวา่ งทศั นศิลป์ ประวตั ิศาสตร์ และวัฒนธรรม เห็นคุณค่างาน
ทศั นศลิ ป์ท่เี ปน็ มรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปญั ญาทอ้ งถิน่ ภมู ิปญั ญาไทย และสากล
สาระท่ี 2 ดนตรี
มาตรฐาน ศ 2.1 เข้าใจและแสดงออกทางดนตรอี ย่างสรา้ งสรรค์ วิเคราะห์ วพิ ากษว์ ิจารณค์ ณุ ค่า
ดนตรี ถ่ายทอดความรู้สึก ความคดิ ต่อดนตรีอยา่ งอิสระ ชน่ื ชม และประยุกต์ใชใ้ นชวี ิตประจาวนั
มาตรฐาน ศ 2.2 เขา้ ใจความสัมพันธร์ ะหวา่ งดนตรี ประวัตศิ าสตร์ และวัฒนธรรม เหน็ คณุ คา่ ของดนตรีท่ี
เป็นมรดกทางวฒั นธรรม ภูมปิ ัญญาท้องถิน่ ภูมิปัญญาไทยและสากล
สาระที่ 3 นาฏศลิ ป์
มาตรฐาน ศ 3.1 เขา้ ใจ และแสดงออกทางนาฏศิลป์อย่างสร้างสรรค์ วเิ คราะห์ วพิ ากษว์ ิจารณค์ ุณคา่
นาฏศิลป์ถา่ ยทอดความรสู้ กึ ความคิดอย่างอิสระ ชืน่ ชม และประยกุ ตใ์ ช้ในชวี ิตประจาวัน
มาตรฐาน ศ 3.2 เข้าใจความสัมพันธร์ ะหวา่ งนาฏศลิ ป์ ประวัตศิ าสตรแ์ ละวฒั นธรรม เห็นคุณค่า
ของนาฏศิลป์ที่เปน็ มรดกทางวัฒนธรรม ภมู ิปัญญาทอ้ งถิ่น ภูมปิ ญั ญาไทยและสากล
หลักสูตรกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ศิลปะ อสิ ลามวทิ ยาลัยแห่งประเทศไทย - 368 -
คณุ ภาพผเู้ รยี น
จบช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 3
รู้และเข้าใจเรื่องทัศนธาตุและหลกั การออกแบบและเทคนคิ ที่หลากหลายในการ สร้างงานทัศนศิลป์
2 มิติ และ 3 มิติ เพื่อส่ือความหมายและเรื่องราวต่าง ๆ ได้อย่างมีคุณภาพ วิเคราะห์รูปแบบเน้ือหาและ
ประเมินคุณค่างานทัศนศิลป์ของตนเองและผู้อ่ืน สามารถเลือกงานทัศนศิลป์โดยใช้เกณฑ์ที่กาหนดขึ้นอย่าง
เหมาะสม สามารถออกแบบรูปภาพ สัญลักษณ์ กราฟิก ในการนาเสนอข้อมูลและมีความรู้ ทักษะท่ีจาเป็น
ดา้ นอาชีพทเี่ กีย่ วข้องกันกับงานทศั นศลิ ป์
รู้และเข้าใจการเปล่ียนแปลงและพฒั นาการของงานทศั นศิลป์ของชาติและทอ้ งถ่ิน แตล่ ะยคุ สมัย เห็น
คุณค่างานทัศนศิลป์ท่ีสะท้อนวัฒนธรรมและสามารถเปรียบเทียบงานทัศนศิลป์ ท่ีมาจากยุคสมัยและ
วัฒนธรรมต่าง ๆ
รู้และเข้าใจถึงความแตกต่างทางด้านเสียง องค์ประกอบ อารมณ์ ความรู้สึก ของบทเพลงจาก
วัฒนธรรมต่าง ๆ มีทักษะในการร้อง บรรเลงเครื่องดนตรี ท้ังเดี่ยวและเป็นวงโดยเน้นเทคนิคการร้องบรรเลง
อย่างมีคุณภาพ มีทักษะในการสร้างสรรค์บทเพลงอย่างงา่ ย อา่ นเขยี นโน้ต ในบนั ไดเสียงที่มเี ครอ่ื งหมาย แปลง
เสียงเบ้ืองต้นได้ รู้และเข้าใจถึงปัจจัยที่มีผลต่อรูปแบบของผลงานทางดนตรี องค์ประกอบของผลงานด้าน
ดนตรีกบั ศิลปะแขนงอนื่ แสดงความคิดเห็นและบรรยายอารมณ์ความรู้สกึ ที่มีต่อบทเพลง สามารถนาเสนอบท
เพลงทช่ี ่ืนชอบได้อย่างมเี หตุผล มีทักษะในการประเมินคุณภาพของบทเพลงและการแสดงดนตรี รูถ้ ึงอาชพี ตา่ ง
ๆ ท่เี กย่ี วขอ้ งกบั ดนตรีและบทบาทของดนตรใี นธรุ กิจบนั เทงิ เขา้ ใจถึงอิทธพิ ลของดนตรที ่ีมตี อ่ บุคคลและสงั คม
รู้และเข้าใจทีม่ า ความสมั พันธ์ อิทธพิ ลและบทบาทของดนตรแี ตล่ ะวฒั นธรรมในยคุ สมยั ต่าง ๆ
วิเคราะห์ปัจจยั ทที่ าให้งานดนตรไี ด้รับการยอมรับ
รู้และเข้าใจการใช้นาฏยศัพท์หรือศัพท์ทางการละครในการแปลความและส่ือสาร ผ่านการแสดง
รวมท้ังพัฒนารูปแบบการแสดง สามารถใช้เกณฑ์ง่าย ๆ ในการพิจารณาคุณภาพ การแสดง วิจารณ์
เปรียบเทียบงานนาฏศิลป์ โดยใช้ความรเู้ ร่อื งองค์ประกอบทางนาฏศลิ ป์ รว่ มจดั การแสดง นาแนวคิดของการ
แสดงไปปรบั ใช้ในชวี ิตประจาวัน
รู้และเขา้ ใจประเภทละครไทยในแตล่ ะยุคสมยั ปจั จยั ที่มีผลตอ่ การเปล่ียนแปลง ของนาฏศลิ ป์ไทย
นาฏศิลปพ์ ื้นบา้ น ละครไทย และละครพน้ื บ้าน เปรยี บเทยี บลกั ษณะเฉพาะ ของการแสดงนาฏศลิ ป์จาก
วฒั นธรรมต่าง ๆ รวมทัง้ สามารถออกแบบและสรา้ งสรรค์อุปกรณ์ เครอ่ื งแตง่ กายในการแสดงนาฏศิลป์และ
ละคร มีความเข้าใจ ความสาคญั บทบาทของนาฏศลิ ป์ และละครในชวี ติ ประจาวนั
หลกั สูตรกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ศิลปะ อสิ ลามวิทยาลยั แหง่ ประเทศไทย - 369 -
จบช้ันมัธยมศกึ ษาปีที่ 6
• รู้และเข้าใจเก่ียวกับทัศนธาตุและหลักการออกแบบในการสื่อความหมาย สามารถใช้ศัพท์ทาง
ทัศนศิลป์ อธิบายจุดประสงค์และเนื้อหาของงานทัศนศิลป์ มีทักษะและเทคนิคในการใช้วัสดุ อุปกรณ์และ
กระบวนการท่ีสูงขึ้นในการสร้างงานทัศนศิลป์ วิเคราะห์เน้ือหาและแนวคิด เทคนิควิธีการ การแสดงออกของ
ศลิ ปินทั้งไทยและสากล ตลอดจนการใชเ้ ทคโนโลยีต่าง ๆ ในการออกแบบสร้างสรรค์งานทีเ่ หมาะสมกับโอกาส
สถานที่ รวมท้ังแสดงความคิดเห็นเก่ียวกับสภาพสังคมด้วยภาพล้อเลียนหรือการ์ตูน ตลอดจนประเมินและ
วจิ ารณ์คุณค่างานทศั นศลิ ปด์ ้วยหลักทฤษฎวี จิ ารณศ์ ิลปะ
• วิเคราะห์เปรียบเทียบงานทัศนศิลป์ในรูปแบบตะวันออกและรูปแบบตะวันตก เข้าใจอิทธิพลของ
มรดกทางวัฒนธรรมภมู ปิ ัญญาระหว่างประเทศท่มี ผี ลต่อการสรา้ งสรรค งานทศั นศลิ ป์ในสงั คม
• รู้และเขา้ ใจรูปแบบบทเพลงและวงดนตรแี ต่ละประเภท และจาแนกรปู แบบ ของวงดนตรีทั้งไทยและ
สากล เข้าใจอิทธิพลของวัฒนธรรมต่อการสร้างสรรค์ดนตรี เปรียบเทียบอารมณ์และความรู้สึกท่ีได้รับจาก
ดนตรที ่ีมาจากวฒั นธรรมต่างกัน อ่าน เขยี น โนต้ ดนตรไี ทยและสากล ในอัตราจังหวะต่าง ๆ มที ักษะในการรอ้ ง
เพลงหรือเล่นดนตรีเดี่ยวและรวมวงโดยเน้นเทคนิค การแสดงออกและคุณภาพของการแสดง สร้างเกณฑ์
สาหรับประเมินคุณภาพการประพนั ธ์ การเลน่ ดนตรีของตนเองและผอู้ ่ืนได้อย่างเหมาะสม สามารถนาดนตรไี ป
ระยุกตใ์ ช้ในงานอน่ื ๆ
• วิเคราะห์ เปรียบเทียบรูปแบบ ลักษณะเด่นของดนตรีไทยและสากลในวัฒนธรรมต่าง ๆ เข้าใจ
บทบาทของดนตรีที่สะท้อนแนวความคิดและค่านิยมของคนในสังคม สถานะทางสังคม ของนักดนตรีใน
วฒั นธรรมต่าง ๆ สรา้ งแนวทางและมสี ่วนร่วมในการส่งเสริมและอนรุ ักษ์ดนตรี
• มีทักษะในการแสดงหลากหลายรูปแบบ มีความคิดริเริ่มในการแสดงนาฏศิลป์เป็นคู่ และเป็นหมู่
สร้างสรรค์ละครส้ันในรูปแบบที่ชื่นชอบ สามารถวิเคราะห์แก่นของการแสดงนาฏศิลป์และละครที่ต้องการส่ือ
ความหมายในการแสดง อิทธิพลของเคร่ืองแต่งกาย แสง สี เสียง ฉาก อุปกรณ์ และสถานท่ีท่ีมีผลต่อการ
แสดง วิจารณ์การแสดงนาฏศิลป์และละคร พัฒนาและใช้เกณฑ์การประเมินในการประเมินการแสดง และ
สามารถวเิ คราะหท์ ่าทางการเคล่ือนไหวของผู้คนในชีวิตประจาวัน และนามาประยุกต์ใช้ในการแสดง
• เข้าใจวิวัฒนาการของนาฏศิลป์และการแสดงละครไทย และบทบาทของบุคคลสาคัญ ในวงการ
นาฏศิลป์และการละครของประเทศไทยในยุคสมัยต่าง ๆ สามารถเปรียบเทียบ การนาการแสดงไปใช้ใน
โอกาสต่าง ๆ และเสนอแนวคิดในการอนรุ ักษ์นาฏศลิ ป์ไทย
หลกั สูตรกลมุ่ สาระการเรียนรู้ศิลปะ อิสลามวทิ ยาลัยแห่งประเทศไทย - 370 -
โครงสรา้ งหลักสูตร กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
โครงสร้างหลกั สตู รชนั้ มัธยมศึกษาตอนต้น ชน้ั มธั ยมศึกษาปีที่ 1 - 3
รายวชิ าพืน้ ฐาน 2 ชว่ั โมง / สัปดาห์ 1.0 หน่วยกิต
ศ 21101 ทศั นศิลป์ 1 2 ชั่วโมง / สปั ดาห์ 1.0 หนว่ ยกิต
ศ 21102 ดนตรี- นาฏศลิ ป์ 2 ชวั่ โมง / สัปดาห์ 1.0 หนว่ ยกติ
ศ 22101 ทศั นศิลป์ 2 ชั่วโมง / สปั ดาห์ 1.0 หนว่ ยกิต
ศ 22102 ดนตรี- นาฏศิลป์ 2 ชว่ั โมง / สัปดาห์ 1.0 หนว่ ยกิต
ศ 23101 ทศั นศิลป์ 2 ชั่วโมง / สัปดาห์ 1.0 หน่วยกิต
ศ 23102 ดนตรี- นาฏศลิ ป์
รายวิชาเพิม่ เติม 2 ชว่ั โมง / สัปดาห์ 1.0 หน่วยกิต
2 ชว่ั โมง / สปั ดาห์ 1.0 หนว่ ยกิต
ศ 21201 ดนตรี – ศลิ ปะ 1 (เพิ่มเติม) 2 ชัว่ โมง / สปั ดาห์ 1.0 หนว่ ยกิต
ศ 21201 ดนตรี – ศิลปะ 2 (เพม่ิ เติม) 2 ชว่ั โมง / สัปดาห์ 1.0 หน่วยกิต
ศ 22201 ดนตรี – ศิลปะ 1 (เพ่ิมเติม) 2 ชัว่ โมง / สปั ดาห์ 1.0 หนว่ ยกิต
ศ 22202 ดนตรี – ศิลปะ 2 (เพ่มิ เติม) 2 ชั่วโมง / สัปดาห์ 1.0 หน่วยกติ
ศ 23201 ดนตรี – ศลิ ปะ 1 (เพมิ่ เติม)
ศ 23201 ดนตรี – ศิลปะ 2 (เพ่มิ เติม)
หลกั สตู รกลมุ่ สาระการเรียนรู้ศลิ ปะ อสิ ลามวทิ ยาลยั แหง่ ประเทศไทย - 371 -
โครงสรา้ งหลกั สูตรช้ันมัธยมศกึ ษาตอนปลาย
ชัน้ มัธยมศกึ ษาปีที่ 4 - 6
รายวชิ าพื้นฐาน 1 ชั่วโมง / สปั ดาห์ 0.5 หนว่ ยกิต
1 ช่ัวโมง / สัปดาห์ 0.5 หนว่ ยกติ
ศ 31101 ศิลปะพืน้ ฐาน 1 ชว่ั โมง / สัปดาห์ 0.5 หนว่ ยกิต
ศ 31102 ศิลปะพื้นฐาน
ศ 32101 ศิลปะพืน้ ฐาน 1 ช่ัวโมง / สปั ดาห์ 0.5 หน่วยกิต
ศ 32102 ศิลปะพ้นื ฐาน 1 ช่ัวโมง / สัปดาห์ 0.5 หน่วยกิต
ศ 33101 ศลิ ปะพื้นฐาน 1 ชั่วโมง / สปั ดาห์ 0.5 หนว่ ยกติ
ศ 33102 ศลิ ปะพื้นฐาน
รายวิชาเพมิ่ เติม 2 ชวั่ โมง / สัปดาห์ 1.0 หน่วยกติ
2 ชวั่ โมง / สัปดาห์ 1.0 หน่วยกติ
ศ 31211 ศิลปะ 1 2 ชว่ั โมง / สัปดาห์ 1.0 หน่วยกติ
ศ 31221 ศิลปะ 2 2 ชั่วโมง / สปั ดาห์ 1.0 หนว่ ยกิต
ศ 31212 ศิลปะ 3 2 ชว่ั โมง / สัปดาห์ 1.0 หนว่ ยกิต
ศ 31222 ศลิ ปะ 4 2 ชว่ั โมง / สปั ดาห์ 1.0 หนว่ ยกิต
ศ 32211 ศลิ ปะ 5 2 ชวั่ โมง / สัปดาห์ 1.0 หนว่ ยกติ
ศ 32221 ศลิ ปะ 6 2 ชว่ั โมง / สัปดาห์ 1.0 หน่วยกิต
ศ 32212 ศลิ ปะ 7 2 ชวั่ โมง / สัปดาห์ 1.0 หนว่ ยกิต
ศ 32222 ศลิ ปะ 8 2 ชั่วโมง / สัปดาห์ 1.0 หนว่ ยกิต
ศ 33211 ศลิ ปะ 9 2 ชัว่ โมง / สปั ดาห์ 1.0 หนว่ ยกิต
ศ 33221 ศิลปะ 10 2 ช่วั โมง / สปั ดาห์ 1.0 หน่วยกติ
ศ 33212 ศิลปะ 11
ศ 33222 ศลิ ปะ 12
หลกั สูตรกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ศลิ ปะ อสิ ลามวทิ ยาลยั แหง่ ประเทศไทย - 372 -
รายวชิ าเพมิ่ เติม
ศ 31231 ดนตรไี ทย 1 2 ชว่ั โมง / สัปดาห์ 1.0 หน่วยกติ
1.0 หนว่ ยกติ
ศ 31241 ดนตรีไทย 2 2 ชว่ั โมง / สัปดาห์ 1.0 หนว่ ยกิต
1.0 หน่วยกิต
ศ 31232 ดนตรีไทย 3 2 ชั่วโมง / สปั ดาห์ 1.0 หน่วยกิต
1.0 หน่วยกิต
ศ 31242 ดนตรีไทย 4 2 ชั่วโมง / สัปดาห์ 1.0 หน่วยกิต
1.0 หนว่ ยกิต
ศ 32231 ดนตรไี ทย 5 2 ชั่วโมง / สปั ดาห์ 1.0 หนว่ ยกิต
1.0 หน่วยกิต
ศ 32242 ดนตรีไทย 6 2 ชั่วโมง / สปั ดาห์ 1.0 หนว่ ยกติ
1.0 หนว่ ยกิต
ศ 32232 ดนตรไี ทย 7 2 ชั่วโมง / สัปดาห์
ศ 32242 ดนตรีไทย 8 2 ช่ัวโมง / สัปดาห์
ศ 33231 ดนตรีไทย 9 2 ช่ัวโมง / สปั ดาห์
ศ 33241 ดนตรไี ทย 10 2 ชั่วโมง / สปั ดาห์
ศ 33232 ดนตรีไทย 11 2 ชวั่ โมง / สัปดาห์
ศ 33242 ดนตรีไทย 12 2 ชวั่ โมง / สปั ดาห์
หลกั สตู รกลมุ่ สาระการเรียนรู้ศิลปะ อิสลามวิทยาลยั แห่งประเทศไทย - 373 -
โครงสรา้ งหลกั สูตรชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น
คาอธิบายรายวิชาพื้นฐาน
รายวิชา ทศั นศลิ ป์ รหสั วิชา ศ 21101 ช้นั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 1
2 คาบ/สัปดาห/์ ภาคเรียน 1.0 หนว่ ยกติ
........................................................................................................................ ......................................................
คาอธิบายรายวชิ า
บรรยายความแตกต่างและความคล้ายคลึงกันของงานทัศนศิลป์และสิ่งแวดล้อมโดยใช้ความรู้เร่ือง
ทัศนธาตุ บอกหลักการออกแบบงานทัศนศิลป์ การออกแบบรูปภาพสัญลักษณ์หรืองานกราฟิกอ่ืนๆในการ
นาเสนอความคิดและข้อมูล การประเมินงานทัศนศิลป์ ลักษณะรูปแบบงานทัศนศิลป์ของชาติและท้องถ่ิน
งานทัศนศลิ ปใ์ นภาคตา่ งๆของไทย ความแตกตา่ งของงานทศั นศลิ ป์ในวัฒนธรรมไทยและสากล
ปฏิบัติการวาดภาพทัศนียภาพ แสดงให้เห็นระยะใกล้ไกลเปน็ 3 มิติ รวบรวมงานป้ันส่อื ผสมมาสร้าง
เป็นสื่อเรื่องราว 3 มิติ โดยเน้นความเป็นเอกภาพ ความกลมกลืน และสื่อถึงเรื่องราวของงานออกแบบ
รปู ภาพ สญั ลกั ษณห์ รอื กราฟิกอ่ืนๆในการเสนอความคิดและข้อมูลด้วยความมุ่งมัน่ ในการทางาน
เห็นคุณค่าและความสาคัญของการนาความรู้เก่ียวกับงานทัศนศิลป์ของชาติและท้องถิ่นไปใช้
ประโยชน์ในชีวติ ประจาวนั มจี ติ วญิ ญาณทางศิลปะ จรยิ ธรรม คุณธรรม และค่านยิ มทเี่ หมาะสม
รหัสตวั ช้ีวัด
ศ.1.1 ม.1/1,ม.1/2,ม.1/3,ม.1/4,ม.1/5,ม.1/6
ศ.1.2 ม.1/1,ม.1/2,ม.1/3
หลักสตู รกลมุ่ สาระการเรียนรู้ศลิ ปะ อสิ ลามวทิ ยาลัยแหง่ ประเทศไทย - 374 -
โครงสร้าง รายวิชา ศ 21101 ทัศนศลิ ป์
ชัน้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 1 ภาคเรยี นที่ 1
ลาดบั ที่ หนว่ ยการเรยี นรู้ มาตรฐานการเรียนร/ู้ ตัวช้ีวดั สาระการเรยี นรู้ เวลา นา้ หนกั
(ชว่ั โมง) คะแนน
1 ทศั นธาตุ - ความแตกต่างและความคล้ายคลึง
4 10
ศ 1.1 ม.1/1 กันของงานทัศนศิลป์ 4 15
4 10
2 เอกภาพ ความกลมกลืนและความสมดลุ - ความเปน็ เอกภาพ ความกลมกลืน 4 10
4 10
ศ 1.1 ม. 1/2 และความสมดลุ
6 15
3 การวาดภาพทัศนียภาพ - หลกั การวาดภาพแสดงทัศนยี ภาพ 4 10
6 10
ศ 1.1 ม.1/ 3 6 10
40 100
4 งานปั้นสื่อผสม - รวบรวมงานปน้ั ส่ือผสมมาสรา้ งเป็น
ศ 1.1 ม.1/4 สอ่ื เรือ่ งราว 3 มติ ิ
5 ออกแบบรปู ภาพสญั ลักษณห์ รอื งานกราฟิก - การออกแบบรปู ภาพสัญลกั ษณ์หรือ
อืน่ ๆ งานกราฟิกอน่ื ๆ
ศ 1.1 ม.1/5
6 งานทัศนศิลป์ ศ 1.1 ม.1/6 - การประเมินงานทัศนศลิ ป์
7 งานทัศนศลิ ป์ของชาติและทอ้ งถ่นิ - ลักษณะรปู แบบงานทัศนศิลปข์ อง
ศ 1.2 ม.1/1 ชาตแิ ละท้องถิน่
8 งานทัศนศลิ ป์ภาคต่างๆของไทย - งานทัศนศลิ ปภ์ าคตา่ งๆของไทย
ศ 1.2 ม. 1/2
9 ความแตกตา่ งของงานทัศนศิลป์ - ความแตกต่างของงานทัศนศิลป์ใน
ศ 1.2 ม.1/3 วัฒนธรรมไทยและสากล
รวมตลอดภาคเรียน
หลกั สตู รกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ศิลปะ อสิ ลามวิทยาลัยแหง่ ประเทศไทย - 375 -
คาอธบิ ายรายวชิ าพ้ืนฐาน
รายวิชา ดนตรี - นาฏศลิ ป์ รหัสวชิ า ศ 21102 ชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ 1
2 คาบ/สปั ดาห/์ ภาคเรียน 1.0 หนว่ ยกิต
................................................................................................................................................................... ...........
คาอธิบายรายวิชา
ศึกษาและฝึกปฏิบัติงานศิลปะด้านขับร้อง ดนตรีใน เครื่องหมายและสัญลักษณ์ทางดนตรี การขับ
ร้องและการบรรเลงเครื่องดนตรปี ระกอบการขับรอ้ ง บทบาทและอิทธพิ ลของดนตรี องค์ประกอบของดนตรี
ในแต่ละวัฒนธรรม ประเภทของวงดนตรีไทย และวงดนตรีท่ีมาจากวฒั นธรรมต่างๆ
ศึกษาวิเคราะห์ และฝึกปฏิบัติเพื่อให้มีความรู้ และความสามารถเก่ียวกับนาฏยศัพท์หรือศัพท์
ทางการละครในการแสดง รูปแบบการแสดงนาฏศิลป์พ้ืนบ้าน นาฏศิลป์นานาชาติ โดยใช้ทักษะในการ
ทางานเป็นกลุ่มในกระบวนการผลิต การแสดง การแสดงความคิดเห็น ความรู้สึกในการชมการแสดงโดยใช้
เกณฑ์ง่าย ๆ ที่กาหนดให้ในการพิจารณาคุณภาพการแสดงที่ชม โดยเน้นเรื่องการใช้เสียง การแสดงท่ า
และการเคล่ือนไหว
มีความรู้ความเข้าใจ ทักษะพ้ืนฐานทางนาฏศิลป์ ได้แก่ นาฏยศัพท์ ละคร ระบาเบ็ดเตล็ด ราวง
มาตรฐาน การถา่ ยทอดความรู้ทางด้านการแสดงในรูปแบบต่าง ๆ จัดกิจกรรมทางนาฏศิลป์และตระหนักใน
คุณค่าของประเพณีและวัฒนธรรมไทย โดยใช้กระบวนการการสร้างความรู้ความเข้าใจ กระบวนการคิด
วิเคราะห์ กระบวนการสรา้ งเสรมิ คุณลักษณะท่ีพงึ ประสงค์
เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจ การเรียนรู้เทคนิค วิธีการทางาน ตลอดจนเปิดโอกาสให้แสดงออก
อย่างอิสระ มคี วามคิดริเร่ิมสร้างสรรค์ จินตนาการ มีสุนทรียภาพ สร้างสรรค์งานนาฏศิลป์ด้วยความชื่นชม
และเห็นคณุ คา่ ของนาฏศิลปไ์ ทย นาฏศลิ ป์นานาชาติ
รหัสตัวชี้วดั
ศ.2.1 ม.1/1, ม.1/3, ม.1/4
ศ.2.2 ม.1/1, ม.1/2
ศ. 3.1 ม.1/2, ม.1/3, ม.1/4, ม.1/5
ศ.3.2 ม.1/2
หลักสูตรกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ศิลปะ อิสลามวทิ ยาลัยแห่งประเทศไทย - 376 -
โครงสร้าง รายวิชา ศ 21102 ดนตรี –นาฏศิลป์
ชั้น มธั ยมศึกษาปีท่ี 1 ภาคเรียนที่ 2
ลาดับที่ หนว่ ยการเรยี นรู้ มาตรฐานการเรยี นรู/้ ตัวช้วี ัด สาระการเรยี นรู้ เวลา นา้ หนกั
(ช่ัวโมง) คะแนน
1 เครือ่ งหมายและสัญลักษณ์ทางดนตรี เครือ่ งหมายและสญั ลักษณ์ทางดนตรี
ศ 2.1 ม.1/1 - โนต้ บทเพลงไทย อัตราจังหวะสอง 4 10
ช้ัน
2 ประเภทของวงดนตรี - โน้ตสากล ในกุญแจซอลและฟาใน 6 15
ศ 2.1 ม.1/4 บันไดเสยี ง C Major 4 10
วงดนตรพี นื้ เมือง
3 การร้องและบรรเลงเคร่ืองดนตรี • วงดนตรีไทย 4 10
ศ 2.1 ม.1/3 • วงดนตรีสากล 2 5
การร้องและการบรรเลงเคร่ืองดนตรี 6 15
4 บทบาทความสัมพนั ธแ์ ละอิทธิพลของดนตรี ประกอบการร้อง
ศ 2.2 ม.1/1 - บทเพลงพืน้ บ้าน บทเพลงปลุกใจ 4 10
- บทเพลงไทยเดิม
5 องคป์ ระกอบของดนตรีในแต่ละวฒั นธรรม - บทเพลงประสานเสียง 2 แนว
ศ 2.2ม.1/2 - บทเพลงรปู แบบ ABA
- บทเพลงประกอบการเตน้ รา
6 นาฏยศัพท์หรือศัพทท์ างการละคร บทบาทและอิทธิพลของดนตรี
ศ 3.1 ม.1/2 - บทบาทดนตรใี นสังคม
- อทิ ธิพลของดนตรใี นสงั คม
7 นาฏศลิ ปแ์ ละละครในรปู แบบง่ายๆ องคป์ ระกอบของดนตรีในแต่ละ
ศ 3.1 ม.1/3 วฒั นธรรม
นาฏยศัพท์หรือศัพทท์ างการละครใน
การแสดง
• ภาษาทา่ และการตบี ท
• ทา่ ทางเคล่ือนไหวทแี่ สดงสอ่ื ทาง
อารมณ์ • ระบาเบด็ เตลด็
• ราวงมาตรฐาน
รูปแบบการแสดงนาฏศิลป์
- นาฏศิลป์
หลักสตู รกลมุ่ สาระการเรียนรู้ศิลปะ อิสลามวิทยาลัยแห่งประเทศไทย - 377 -
- นาฏศลิ ปพ์ ้ืนบ้าน
- นาฏศิลป์นานาชาติ
8 ทกั ษะในการทางานเปน็ กลุม่ บทบาทและหน้าทขี่ องฝา่ ยต่าง ๆ ใน 6 10
ศ 3.1 ม.1/4 การจัดการแสดง 5
5
•การสรา้ งสรรค์กจิ กรรมการแสดงท่ี 100
สนใจโดยแบ่งฝ่ายและหน้าที่ใหช้ ดั เจน
9 ความรูส้ กึ ในการชมการ ศ 3.1 ม.1/5 หลักในการชมการแสดง 2
10 ละครไทย ศ 3.2 ม.1/2 ประเภทของละครไทยในแตล่ ะยุคสมัย 2
รวมตลอดภาคเรียน 40
หลักสูตรกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ศลิ ปะ อสิ ลามวิทยาลัยแหง่ ประเทศไทย - 378 -
คาอธบิ ายรายวิชาพ้นื ฐาน
รายวิชา ทศั นศลิ ป์ รหัสวชิ า ศ 22101 ชนั้ มธั ยมศึกษาปที ี่ 2
2 คาบ/สัปดาห์/ภาคเรียน 1.0 หนว่ ยกติ
………………………………………………………………………………………………………..........................................................
คาอธบิ ายรายวชิ า
ศึกษาและฝึกปฏิบัติเพื่อให้มีความรู้ ความสามารถเกี่ยวกับรูปแบบของทัศนธาตุและแนวคิดในงาน
ทัศนศิลป์ ความเหมือนและความแตกต่างของรูปแบบการใช้วัสดุ อุปกรณ์ ในงานทัศนศิลป์ของศิลปิน
เทคนิคในการวาดภาพสื่อความหมาย การประเมินและการวิจารณ์นาผลงานการประเมินไปพัฒนางาน
ทศั นศิลป์ สร้างงานทศั นศิลป์ในการโฆษณาและนาความรู้ไปใชก้ ับกลุม่ สาระการเรยี นรอู้ นื่ ๆ และนาความรู้ไป
ใช้ในชีวิตประจาวัน บรรยายเก่ียวกับวัฒนธรรมท่ีสะท้อนในงานทัศนศิลป์ในแต่ละยุคสมัย เปรียบเทียบ
แนวคิดในการออกแบบงานทัศนศิลป์ที่มาจากวฒั นธรรมไทยและสากล โดยใช้กระบวนการสร้างความรู้ความ
เข้าใจ กระบวนการฝึกปฏิบัติ กระบวนการคิด การวิจารณ์ อภิปราย กระบวนการสืบค้นข้อมูล และ
นาเสนอผลงาน กระบวนการเรียนรูแ้ บบบรู ณาการ และกระบวนการสรา้ งเสริมคุณลกั ษณะท่ีพงึ ประสงค์
เพ่ือให้เกิดความรู้ความเข้าใจ การเรียนรู้เทคนิควิธีการทางาน การเปิดโอกาสให้แสดงออกอย่าง
อิสระมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ มีสุนทรียภาพ สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ด้วยความช่ืนชมและเห็นคุณค่างาน
ศลิ ปะทมี่ บี ริบทมาจากศลิ ปวฒั นธรรมไทยและสากล
รหสั ตัวชวี้ ัด
ศ.1.1 ม.2/1, ม.2/2,ม.2/3,ม.2/4,ม.2/5,ม.2/6
ศ.1.2 ม.2/1
หลักสตู รกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ศลิ ปะ อิสลามวทิ ยาลยั แหง่ ประเทศไทย - 379 -
โครงสร้าง รายวชิ า ศ 22101 ทศั นศลิ ป์
ช้นั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 2 ภาคเรยี นท่ี 1
ลาดบั ท่ี หน่วยการเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู/้ ตวั ช้ีวดั สาระการเรยี นรู้ เวลา น้าหนกั
(ช่ัวโมง) คะแนน
1 ทัศนธาตุ รปู แบบของทัศนธาตุและแนวคดิ ใน
4 10
ศ 1.1 ม.2/1 งานทัศนศิลป์ 6 10
2 การใชว้ สั ดุ อุปกรณ์ ความเหมือนและความแตกต่างของ 6 15
6 15
ศ 1.1 ม. 2/2 รปู แบบการใช้วสั ดุ อุปกรณ์ในงาน 6 20
6 15
ทศั นศิลป์ ของศลิ ปนิ 6 15
40 100
3 สือ่ ความหมาย เทคนคิ ในการวาดภาพส่ือความหมาย
ศ 1.1 ม.2/ 3
4 การประเมินและการวจิ ารณ์ การประเมนิ และวจิ ารณ์งานทัศนศิลป์
ศ 1.1 ม.2/4
5 งานทัศนศิลป์ในการโฆษณา องค์ประกอบของดนตรีในแต่ละ
ศ 1.1 ม.2/5 วัฒนธรรม
6 งานทศั นศลิ ป์ในแต่ละยุคสมัย งานทศั นศลิ ป์ของไทยในแต่ละยคุ สมยั
ศ 1.1 ม.2/6
7 การออกแบบงานทัศนศิลป์ การออกแบบงานทัศนศิลปใ์ น
ศ 1.2 ม.2/1 วัฒนธรรมไทยและสากล
รวมตลอดภาคเรียน
หลกั สูตรกลมุ่ สาระการเรียนรู้ศลิ ปะ อสิ ลามวิทยาลยั แหง่ ประเทศไทย - 380 -
คาอธบิ ายรายวิชาพ้ืนฐาน
รายวชิ า ดนตรี -นาฏศิลป์ รหสั วชิ า ศ 22102 ช้ันมัธยมศกึ ษาปีที่ 2
2 คาบ/สัปดาห/์ ภาคเรียน 1.0 หนว่ ยกติ
............................................................................................. ........................................................... ......................
คาอธบิ ายรายวชิ า
เปรียบเทียบองค์ประกอบของดนตรีตัวใหญ่กว่าจากวัฒนธรรมที่ต่างกัน อ่าน เขียน ร้องโน้ตไทย
โน้ตสากลท่ีมีเครื่องหมายแปลงเสียง บอกปัจจัยสาคัญท่ีมีอิทธิพลต่อการสร้างสรรค์ ดนตรีขับร้อง บรรเลง
ดนตรีทั้งเดี่ยวและรวมวง บรรยายบทบาทและอิทธิพลของดนตรีในวัฒนธรรมของประเทศต่าง ๆ บรรยาย
อิทธพิ ลของวฒั นธรรมและเหตกุ ารณ์ประวัตศิ าสตรท์ ม่ี ีต่อดนตรีในประเทศไทย
ศึกษาวิเคราะห์ และเช่ือมโยงการเรียนรู้ระหว่างนาฏศิลป์และการละครกับสาระการเรียนรู้อ่ืน ๆ
อธิบายการบูรณาการศิลปะแขนงอื่น ๆ กับการแสดงและสามารถสร้างสรรค์การแสดงโดยใช้องค์ประกอบ
นาฏศิลป์และการละคร วิเคราะห์การแสดงของตนเองและผู้อื่นโดยใช้นาฏยศัพท์หรือศัพท์ทางการละครท่ี
เหมาะสม เปรียบเทียบลักษณะเฉพาะของการแสดงนาฏศิลป์จากวัฒนธรรมต่าง ๆ การนาความรู้ไปใช้กับ
กลุม่ สาระการเรยี นรูอ้ ่นื ๆ และชีวิตประจาวนั
เพ่ือให้เกิดความรู้ความเข้าใจ การเรียนรู้เทคนิค วิธีการทางาน ตลอดจนเปิดโอกาสให้แสดงออก
อย่างอิสระมีความคิดริเร่ิมสร้างสรรค์ จินตนาการ มีสุนทรียภาพ สร้างสรรค์งานด้วยความช่ืนชมและเห็น
คณุ ค่าของนาฏศิลปไ์ ทยและนานาชาติ
รหัสตวั ชว้ี ดั
ศ.2.1 ม.2/1, ม.2/3, ม.2/4
ศ.2.2 ม.2/1, ม.2/2
ศ. 3.1 ม.2/1, ม.2/2, ม.2/3
ศ.3.2 ม.2/1
หลักสตู รกลมุ่ สาระการเรียนรู้ศลิ ปะ อิสลามวทิ ยาลัยแหง่ ประเทศไทย - 381 -
โครงสร้าง รายวชิ า ศ 22102 ดนตรี –นาฏศลิ ป์
ชัน้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 2 ภาคเรยี นท่ี 2
ลาดบั ที่ หน่วยการเรยี นรู้ มาตรฐานการเรียนร/ู้ ตัวชวี้ ดั สาระการเรียนรู้ เวลา นา้ หนกั
(ชวั่ โมง) คะแนน
1 องคป์ ระกอบของดนตรี การใชอ้ งค์ประกอบของดนตรีจาก
ศ 2.1 ม.2/1 วัฒนธรรมท่ตี ่างกนั 2 15
- โน้ตจากเพลงไทยอัตราจงั หวะสอง
2 อ่าน เขียน รอ้ งโน้ตไทย โน้ตสากล ช้นั - โน้ตสากล 4 10
ศ 2.1 ม.2/2
3 ดนตรขี บั ร้อง บรรเลงดนตรี * เทคนิคการร้องและบรรเลงดนตรี 4 15
ศ 2.1 ม.2/4 - การร้องและบรรเลงเดย่ี ว 4 15
- การร้องและบรรเลงเปน็ วง 4 20
4 อทิ ธพิ ลของดนตรี *ดนตรใี นวฒั นธรรมตา่ งประเทศ
ศ 2.2 ม.2/1 - บทบาทของดนตรใี นวฒั นธรรม 6 10
-อทิ ธพิ ลของดนรใี นวัฒนธรรม
5 อทิ ธพิ ลของวัฒนธรรม * เหตกุ ารณ์ประวัติศาสตรก์ บั การ 6 15
ศ 2.2 ม.2/2 เปล่ยี นแปลงทางดนตรีในประเทศไทย
- การเปลี่ยนแปลงทางการเมืองกับ
6 บรู ณาการศิลปะ งานดนตรี
ศ.3.1 ม.2/1 - การเปล่ียนแปลงทางเทคโนโลยกี บั
งานดนตรี
7 องค์ประกอบนาฏศลิ ปแ์ ละการละคร ศลิ ปะแขนงอน่ื ๆ กบั การแสดง
ศ.3.1 ม.2/2 - แสง สี เสยี ง
- ฉาก
- เครื่องแต่งกาย
- อุปกรณ์
หลักและวธิ ีการสร้างสรรคก์ ารแสดง
โดยใช้องค์ประกอบนาฏศิลป์และการ
ละคร
หลกั สูตรกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ศลิ ปะ อสิ ลามวิทยาลยั แหง่ ประเทศไทย - 382 -
ลาดับท่ี หน่วยการเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนร้/ู ตัวช้วี ัด สาระการเรยี นรู้ เวลา น้าหนกั
(ช่ัวโมง) คะแนน
8 วิเคราะห์การแสดง หลกั และวิธีการวเิ คราะห์การแสดง
ศ.3.1 ม.2/3 • วิธกี ารวิเคราะห์ วจิ ารณ์การแสดง 6 15
นาฏศิลป์ และการละคร
9 ลักษณะเฉพาะของการแสดงนาฏศลิ ป์ นาฏศิลปพ์ ื้นเมือ 4 10
ศ.3.2 ม.2/1 - ความหมาย - ท่ีมา
- วฒั นธรรม - ลักษณะเฉพาะ
รวม
40 100
หลักสูตรกลมุ่ สาระการเรียนรู้ศิลปะ อสิ ลามวิทยาลยั แห่งประเทศไทย - 383 -
คาอธบิ ายรายวิชาพ้ืนฐาน
รายวิชา ทัศนศลิ ป์ รหัสวิชา ศ 23101 ช้นั มัธยมศึกษาปีที่ 3
2 คาบ/สัปดาห/์ ภาคเรียน 1 หน่วยกติ
…………………………………………………………………………………………………................................................................
คาอธบิ ายรายวชิ า
ศึกษาหลักทัศนธาตุ และหลักการออกแบบในส่ิงแวดล้อมและงานทัศนศิลป์โดยระบุและบรรยาย
เทคนิควิธกี ารของศิลปนิ ในการสร้างงานทัศนศิลป์ มีทักษะในการสร้างงานและสามารถเลือกใช้เทคนิควิธีการ
เพอ่ื ประยกุ ตใ์ ชใ้ นการสร้างงานทัศนศลิ ปท์ ้ัง 2 มิตแิ ละ 3 มิติ มีทักษะในการผสมผสานวัสดุต่างๆในการสรา้ ง
งานทัศนศิลป์โดยใช้ในหลักการออกแบบ และเพ่ือนาทักษะ ท่ีจาเป็นไปใช้ในการประกอบอาชีพ เล็งเห็น
คณุ ค่าของวัฒนธรรมและเปรียบเทียบความแตกต่างของงานทัศนศิลป์ในแต่ละยุคสมัยของวัฒนธรรมไทยและ
สากลได้การสร้างความรู้ความเข้าใจ กระบวนการคิดวิเคราะห์ กระบวนการการจัดการเรียนรู้ด้วยตนเอง
กระบวนการสืบค้นข้อมูลและอภิปรายกระบวนการเรียนรู้แบบบูรณาการ และกระบวนการสร้างเสริม
คุณลักษณะที่พึงประสงค์ เพ่ือให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ การเรียนรู้เทคนิค วิธีการทางาน ตลอดจนเปิด
โอกาสให้แสดงออกอยา่ งอิสระ มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ จินตนาการ มีสุนทรยี ภาพ สรา้ งสรรค์งานศิลปะ
ด้วยความชน่ื ชมและเห็นคณุ ค่าของศิลปวัฒนธรรมไทยสากล
รหัสตัวชี้วดั
ศ.1.1 ม.3/1, ม.3/2, ม.3/3 ,ม.3/4 ม.3/5 ม.3/6 ม.3/10
หลกั สูตรกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ศลิ ปะ อสิ ลามวทิ ยาลยั แห่งประเทศไทย - 384 -
โครงสรา้ ง รายวชิ า ศ 23101 ทศั นศิลป์
ช้นั มธั ยมศึกษาปที ่ี 3 ภาคเรียนท่ี 1
ลาดับท่ี หนว่ ยการเรียนรู้ มาตรฐานการเรยี นร/ู้ ตัวชีว้ ดั สาระการเรยี นรู้ เวลา นา้ หนัก
(ชว่ั โมง) คะแนน
1 ทศั นธาตุ และหลกั การออกแบบ ทศั นธาตุ หลกั การออกแบบใน
ศ 1.1 ม.3/1 ส่ิงแวดลอ้ ม และงานทศั นศิลป์ 6 25
เทคนคิ วธิ กี ารของศิลปนิ ในการสรา้ ง
2 การสร้างงานทัศนศิลป์ งานทัศนศลิ ป์ 10 15
ศ 1.1 ม. 3/2 • วิธีการใชท้ ัศนธาตแุ ละหลกั การ
ศ 1.1 ม. 3/3 ออกกแบบในการสรา้ งงานทัศนศลิ ป์
การใช้หลักการออกแบบในการสร้าง
3 การผสมผสานวัสดุ งานสื่อผสม 6 25
ศ 1.1 ม.3/ 5 การสร้างงานทัศนศิลปแ์ บบ 2 มิติ 10 20
และ 3 มิติ เพ่ือถ่ายทอด
4 สร้างงานทศั นศลิ ปท์ ้งั 2 มิติและ 3 มติ ิ ประสบการณ์ และจินตนาการ 8 15
ศ 1.1 ม.3/6 การประกอบอาชพี ทางทัศนศิลป์ 40 100
5 ประกอบอาชีพงานทัศนศลิ ป์
ศ 1.1 ม.3/10
รวม
หลักสูตรกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ศลิ ปะ อสิ ลามวิทยาลัยแห่งประเทศไทย - 385 -
คาอธิบายรายวชิ าพน้ื ฐาน
รายวิชา ดนตรี - นาฏศลิ ป์ 3 รหสั วชิ า ศ 23102 ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 3
2 คาบ/สปั ดาห/์ ภาคเรียน 1.0 หน่วยกติ
………………………………………………………………………………...............................................................................……
คาอธิบายรายวชิ า
รอ้ งเพลง เล่นดนตรีเด่ียวและรวมวง โดยเน้นเทคนิคการร้อง การเล่น การแสดงออกและคุณภาพ
เสียง อธิบายเหตุผลในการเลือกใช้องค์ประกอบดนตรีในการสร้างสรรค์งานดนตรีของตนเอง เปรียบเทียบ
ความแตกต่างระหว่างงานดนตรีของตนเองและผู้อื่น อธิบายเกยี่ วกบั อิทธิพลของดนตรีท่มี ีต่อบุคคลและสังคม
นาเสนอหรือจัดการแสดงดนตรีท่ีเหมาะสมโดยการบูรณาการกับสาระการเรียนรู้อื่นในกลุ่มศิลปะ บรรยาย
ววิ ัฒนาการของดนตรีแต่ละยุคสมัย มีความรคู้ วามเข้าใจเก่ียวกับองค์ประกอบของบทละคร ได้แก่ โครงเรื่อง
ตัวละคร ความคิดหรือแก่นของเร่ือง บทสนทนา ใช้นาฏยศัพท์ได้อย่างเหมาะสม เปรียบเทียบการแสดง
อากัปกิริยาของผู้คนในชีวิตประจาวันกับการแสดง สร้างสรรค์ภาษาท่าที่มาจากธรรมชาติและจากการ
ประดิษฐ์ จัดการแสดงเป็นหมู่ เดี่ยว การแสดงละครเป็นชุดเป็นตอน ประดิษฐ์ท่าราและท่าทาง
ประกอบการแสดง วิจารณ์นาฏศิลป์ตามหลักองค์ประกอบและสุนทรียภาพ จัดการแสดงละครกับชีวิต
จัดทาอุปกรณ์และเคร่ืองแต่งกาย ตระหนักและเห็นคุณค่าบ่งบอกความสาคัญของนาฏศิลป์ การละครใน
ชีวิตประจาวัน โดยใช้กระบวนการ การสร้างความรู้ความเข้าใจ กระบวนการคิดวิเคราะห์ วิจารณ์
กระบวนการฝึกปฏิบัติ กระบวนการประยุกต์และนาไปใช้ กระบวนการเรียนรู้แบบบูรณาการ กระบวนการ
สบื คน้ และกระบวนการสร้างเสรมิ คุณลกั ษณะที่พึงประสงค์
เพ่ือให้เกิดความรู้ความเข้าใจ ทักษะ การแสดงออกอย่างอิสระ มีความคิดริเร่ิมสร้างสรรค์
จินตนาการ มีสุนทรียภาพ สร้างสรรค์งานนาฏศิลป์ท่ีมีบริบทมาจากศิลปวัฒนธรรมไทย ร่วมอนุรักษ์ชื่นชม
และเห็นคุณคา่ ของนาฏศิลปแ์ ละละครในชวี ติ ประจาวัน
รหัสตัวชวี้ ดั
ศ 2.1 ม.3/2, ม.3/4, ม.3/5 ,ม.3/6 ,ม.3/7
ศ.2.2 ม.3/1
ศ.3/1 ม.3/1 , ม.3/3 , ม.3/5
หลกั สตู รกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ศิลปะ อิสลามวทิ ยาลยั แห่งประเทศไทย - 386 -
โครงสร้าง รายวชิ า ศ 23102 ดนตรี -นาฏศลิ ป์
ชัน้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 3 ภาคเรียนที่ 2
ลาดับที่ หนว่ ยการเรยี นรู้ มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชวี้ ัด สาระการเรยี นรู้ เวลา นา้ หนกั
(ช่วั โมง) คะแนน
1 เทคนิคการร้อง • เทคนิคและการแสดงออกในการขับ
ศ 2.1 ม.3/2 รอ้ งและบรรเลงดนตรีเด่ยี วและรวมวง 4 25
• การเลอื กใชอ้ งค์ประกอบในการ 4 10
2 องค์ประกอบดนตรี สรา้ งสรรค์บทเพลง
ศ 2.1 ม.3/4 6 25
-การเลอื กจังหวะเพื่อสร้างสรรค์
3 ความแตกต่างระหวา่ งงานดนตรี บทเพลง 8 10
ศ 2.1 ม.3/5 8 10
-การเรียบเรยี งทานองเพลง
4 อทิ ธพิ ลของดนตรี • การเปรยี บเทยี บความแตกตา่ งของ 4 20
ศ 2.1 ม.3/6 บทเพลง 40 100
- สาเนยี ง - เคร่อื งดนตรีท่ีบรรเลง
5 การแสดงดนตรี - อตั ราจงั หวะ - รปู แบบบทเพลง
ศ 2.1 ม.3/7 - การประสานเสยี ง
อทิ ธิพลของดนตรี
ววิ ัฒนาการของดนตรี - อิทธพิ ลของดนตรตี ่อบุคคล
ศ 2.2 ม.3/1 - อทิ ธพิ ลของดนตรีต่อสังคม
การจัดการแสดงดนตรีในวาระตา่ ง ๆ
- การเลอื กวงดนตรี
- การเลอื กบทเพลง
- การเลือกและจดั เตรียมสถานที่
- การเตรียมบคุ ลากร
- การจดั รายการแสดง
- การเตรียมอปุ กรณ์เครอื่ งมือ
•ประวัตดิ นตรไี ทยยุคสมยั ต่าง ๆ
• ประวตั ิดนตรตี ะวันตกยุคสมัยต่าง ๆ
หลกั สตู รกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ศลิ ปะ อสิ ลามวิทยาลยั แห่งประเทศไทย - 387 -
ลาดับที่ หนว่ ยการเรียนรู้ มาตรฐานการเรยี นร้/ู ตวั ชี้วดั สาระการเรียนรู้ เวลา น้าหนกั
(ช่วั โมง) คะแนน
7 โครงสร้างบทละคร องค์ประกอบของบทละคร
ศ 3.1 ม. 3/1 - โครงเร่อื ง 6 15
- บทสนทนา
8 รปู แบบการแสดง - ตัวละครและการวางลกั ษณะนสิ ัยตวั 6 15
ศ 3.1 ม.3/3 ละคร
- ความคดิ หรือแก่นของเร่ือง 4 10
9 องคป์ ระกอบนาฏศิลป์ รปู แบบการแสดง
ศ 3.1 ม.3/5 - การแสดงเป็นหมู่ 40 100
- การแสดงเดย่ี ว
รวม - การแสดงละคร
- การแสดงเป็นชุดเป็นตอน
• องค์ประกอบนาฏศลิ ป์
- จังหวะทานอง
- การเคล่ือนไหว
- อารมณแ์ ละความรสู้ กึ
- ภาษาทา่ นาฎยศัพท์
- รูปแบบของการแสดง
- การแตง่ กาย
หลกั สูตรกลมุ่ สาระการเรียนรู้ศิลปะ อสิ ลามวทิ ยาลยั แห่งประเทศไทย - 388 -
โครงสรา้ งหลักสตู รช้นั มธั ยมศึกษาตอนปลาย
คาอธิบายรายวชิ าพ้ืนฐาน
รายวิชา ทศั นศิลป์ รหสั วชิ า ศ 31101 ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีที่ 4
1 คาบ/สปั ดาห/์ ภาคเรยี น 0.5 หนว่ ยกติ
............................................................................................................................. .................................................
คาอธบิ ายรายวชิ า
ศึกษาและฝึกปฏิบัติงานศิลปะ ด้านทัศนศิลป์ในเรื่อง ทัศนธาตุและหลักการออกแบบในการสื่อ
ความหมายในรูปแบบต่างๆ ศัพท์ทางทัศนศิลป์ เลือกใช้วัสดุอปุ กรณ์ และเทคนิคของศิลปนิ ในการแสดงออก
ทางทัศนศิลป์ เปรียบเทียบงานทัศนศิลป์ในรูปแบบตะวันออกและรูปแบบตะวันตก เพื่อให้เกิดความรู้
ความเข้าใจ การเรียนรู้เทคนิค วิธีการทางาน ตลอดจนเปิดโอกาสให้แสดงออกอย่างอิสระ มีความคิดริเร่ิม
สร้างสรรค์ จินตนาการ มีสุนทรียภาพ สร้างสรรค์งานศิลปะด้วยความช่ืนชมและเห็นคุณค่ าของ
ศลิ ปวฒั นธรรมไทยสากล
รหัสตวั ชว้ี ดั
ศ 1.1 ม.4/1 ,ม.4/2 ,ม.4/3 ,ม.4/4
ศ 1.2 ม.4/1
หลักสูตรกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ศลิ ปะ อสิ ลามวิทยาลัยแห่งประเทศไทย - 389 -
โครงสร้าง รายวชิ า ศ 31101 ทศั นศิลป์
ชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ 4 ภาคเรียนที่ 1
ลาดบั ท่ี หนว่ ยการเรยี นรู้ มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวช้วี ัด สาระการเรยี นรู้ เวลา น้าหนกั
(ชว่ั โมง) คะแนน
1 ทศั นธาตแุ ละการออกแบบ • ทศั นธาตุและหลักการออกแบบ
5 25
ศ 1.1 ม.4/1 2 10
3 25
2 ศพั ท์ทางทัศนศิลป์ • ศัพท์ทางทศั นศิลป์ 5 10
8 10
ศ 1.1 ม.4/2
20 100
3 เทคนิคของศลิ ปนิ • วัสดุ อุปกรณ์ และเทคนคิ ของศลิ ปนิ
ศ 1.1 ม.4/3 ในการแสดงออกทางทัศนศิลป์
4 กระบวนการสรา้ งงานทศั นศิลป์ • เทคนคิ วสั ดุ อปุ กรณ์ กระบวนการ
ศ 1.1 ม.4/4 ในการสร้างงานทัศนศิลป์
5 งานทศั นศิลปต์ ะวนั ออกและตะวันตก การจดั การแสดงดนตรีในวาระตา่ ง ๆ
ศ 1.2 ม.4/1 - การเลอื กวงดนตรี
- การเลอื กบทเพลง
- การเลือกและจดั เตรยี มสถานที่
- การเตรียมบุคลากร
- การจัดรายการแสดง
- การเตรยี มอุปกรณ์เครอื่ งมอื
รวมตลอดภาคเรยี น
หลกั สูตรกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ศลิ ปะ อิสลามวิทยาลยั แหง่ ประเทศไทย - 390 -
คาอธิบายรายวิชาพ้ืนฐาน
รายวชิ า ทศั นศลิ ป์ รหสั วิชา ศ 31102 ช้นั มัธยมศกึ ษาปีที่ 5
1 คาบ/สัปดาห/์ ภาคเรยี น 0.5 หนว่ ยกติ
............................................................................................................................. .................................................
คาอธบิ ายรายวชิ า
ศึกษาและฝึกปฏิบัติงานศิลปะ ด้านทัศนศิลป์ในเรื่อง งานทัศนศิลป์ด้วยเทคโนโลยีต่าง ๆ โดยเน้น
หลักการออกแบบและการจัดองค์ประกอบศิลป์ ออกแบบงานทัศนศิลป์ได้เหมาะกับโอกาสและสถานท่ี
อธิบายจุดมุ่งหมายของศิลปินในการเลือกใช้วัสดุ อุปกรณ์ เทคนิคและเน้ือหา เพื่อสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์
วิจารณ์งานทศั นศิลป์ โดยใช้ทฤษฎกี ารวจิ ารณศ์ ิลปะ ระบุงานทศั นศิลป์ของศิลปนิ ท่มี ีชื่อเสียง และบรรยายผล
ตอบรับของสังคมเพ่ือให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ การเรียนรู้เทคนิค วิธีการทางาน ตลอดจนเปิดโอกาสให้
แสดงออกอย่างอิสระ มีความคิดริเริ่มสรา้ งสรรค์ จนิ ตนาการ มีสนุ ทรยี ภาพ สร้างสรรค์งานศิลปะดว้ ยความ
ชน่ื ชมและเห็นคุณคา่ ของศลิ ปวัฒนธรรมไทยสากล
รหัสตวั ชวี้ ดั
ศ 1.1 ม.4/5 ,ม.4/6 ,ม.4/7 ,ม.4/8
ศ 1.2 ม.4/2
หลักสตู รกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ศิลปะ อสิ ลามวิทยาลยั แห่งประเทศไทย - 391 -
โครงสร้างรายวชิ า ศ 31102 ทศั นศิลป์ สาระศลิ ปะ
ชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ 5 ภาคเรยี นที่ 1
ลาดบั ที่ หน่วยการเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนร/ู้ ตัวชวี้ ดั สาระการเรยี นรู้ เวลา นา้ หนกั
(ชวั่ โมง) คะแนน
1 หลกั การออกแบบและการจดั องค์ประกอบ • หลักการออกแบบและการจัด 3 25
ศิลปศ์ 1.1 ม.4/5 องคป์ ระกอบศลิ ป์ด้วยเทคโนโลยี
2 ออกแบบงานทศั นศลิ ป์ • การออกแบบงานทศั นศลิ ป์ 5 15
ศ 1.1 ม.4/6
3 สร้างสรรค์งานทัศนศลิ ป์ • จุดมุ่งหมายของศลิ ปินในการเลอื กใช้ 4 25
ศ 1.1 ม.4/7 วสั ดุ อุปกรณ์ เทคนิคและเน้ือหา ใน
การสรา้ งงานทัศนศลิ ป์
4 ทฤษฎกี ารวจิ ารณ์ศลิ ปะ ทฤษฎีการวิจารณ์ศลิ ปะ 4 4 15
ศ 1.1 ม.4/8
5 งานทัศนศิลป์ของศลิ ปนิ งานทศั นศิลป์ของศิลปินท่ีมชี อื่ เสยี ง 4 20
ศ 1.2 ม.4/2
รวมตลอดภาคเรยี น 20 100
หลกั สตู รกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ศลิ ปะ อิสลามวิทยาลยั แหง่ ประเทศไทย - 392 -
คาอธบิ ายรายวิชาพื้นฐาน
รายวชิ า สาระดนตรี รหัสวิชา ศ 32101 ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 5
1 คาบ/สปั ดาห/์ ภาคเรียน 0.5 หนว่ ยกิต
............................................................................................................................. .................................................
คาอธิบายรายวิชา
ศึกษาและอธิบายถึงดนตรีไทยที่มีความเก่ียวเนื่องกับศิลปะการแสดงในโอกาสต่างๆ ดนตรีท่ีใช้ใน
โอกาสต่างๆตามความเหมาะสม ดนตรีที่มีความเก่ียวข้องกับวิถีชีวิตการดาเนินชีวิตของคนในสังคมไทย ร้แู ละ
เข้าใจรูปแบบบทเพลงและวงดนตรีแต่ละประเภท และจาแนกรูปแบบ ของวงดนตรีทั้งไทยและสากล เข้าใจ
อิทธิพลของวัฒนธรรมต่อการสร้างสรรค์ดนตรี เปรียบเทียบอารมณ์และความรู้สึกท่ีได้รับจากดนตรีท่ีมาจาก
วฒั นธรรมต่างกัน อ่าน เขียน โน้ตดนตรีไทยและสากล ในอัตราจังหวะต่าง ๆ สามารถนาดนตรีไประยุกต์ใช้ใน
งานอืน่ ๆ วเิ คราะห์ เปรยี บเทยี บรปู แบบ ลักษณะเดน่ ของดนตรีไทยและสากลในวฒั นธรรมตา่ ง ๆ
เข้าใจบทบาทของดนตรีท่ีสะท้อนแนวความคิดและค่านิยมของคนในสังคม สถานะทางสังคม ของนัก
ดนตรีในวัฒนธรรมต่าง ๆ สร้างแนวทางและมีส่วนร่วมในการส่งเสริมและอนุรักษ์ดนตรี เพ่ือให้เกิดความรู้
ความเข้าใจ การเรียนรู้เทคนิค วิธีการทางาน ตลอดจนเปิดโอกาสให้แสดงออกอย่างอิสระ มีความคิดริเร่ิม
สร้างสรรค์ จนิ ตนาการ มสี นุ ทรียภาพ สรา้ งสรรค์ผลงานทางดนตรใี นรูปแบบของตนเอง
มาตรฐาน / ตวั ช้วี ดั / ผลการเรยี นรู้
หนว่ ยท่ี 1 หลักการดนตรีโลกและดนตรไี ทย
มฐ. ศ. 2.1
ตวั ชี้วดั ขอ้ ม.4-6 /1 อธิบายถงึ ดนตรไี ทยท่ีมีความเกี่ยวเนอ่ื งกบั ศิลปะการแสดงต่างๆได้
ตวั ชี้วดั ข้อ ม.4-6/1,3,5,7,8 อธิบายถงึ ดนตรีไทยและดนตรีโลก ทมี่ คี วามเกย่ี วเนื่องกบั การ
แสดงเพ่ือ ความบันเทิงต่างๆ
หนว่ ยท่ี 2 การสร้างสรรค์งานดนตรี
มฐ. ศ. 2.2
ตวั ชว้ี ดั ข้อ ม. 4-6 /1,3,4,5 หลักการขบั รอ้ ง องคป์ ระกอบของเสียง ลักษณะเพลง
ตัวชีว้ ัดขอ้ ม. 4-6/1,2,3,4,5 สรา้ งสรรคง์ านดนตรจี ากประสบการณท์ างด้านดนตรขี อง
ตนเองและ สามารถฝึกปฏบิ ัตดิ นตรสี ากลพืน้ ฐานได้
หนว่ ยที่ 3 การสร้างสุนทรียภาพทางดนตรี
มฐ. ศ 2.1
ตวั ชีว้ ัดข้อที่ ม. 4-6/2,5,6,8 อธิบายคณุ ค่าของงานดนตรีสากลและดนตรีไทยได้
มฐ. ศ 2.2
ตัวชว้ี ดั ข้อท่ี ม. 4-6/3,5,6,7,8 อธิบายถงึ ค่านยิ มและอทิ ธพิ ลดนตรตี ะวนั ตกกับดนตรไี ทยได้
หลักสูตรกลมุ่ สาระการเรียนรู้ศิลปะ อิสลามวิทยาลยั แหง่ ประเทศไทย - 393 -
โครงสรา้ ง รายวชิ า ศ 32101 ศลิ ปะพ้ืนฐาน สาระดนตรี
ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปี 5 ภาคเรยี นที่ 1
หนว่ ยการเรยี นที่ ช่ือหน่วย/รายละเอียดเนือ้ หา เวลา(ชั่วโมง) น้าหนกั คะแนน
4 20
ประวตั ิและองค์ประกอบดนตรีไทย
4 20
1 - พธิ ีไหวค้ รดู นตรไี ทย และเทพสังคตี ราจารย์ 4 20
- เคร่อื งดนตรไี ทย 4 20
4 20
- รูปแบบวงดนตรีไทย 20 100
ประเภทของเพลงไทยและศพั ท์สังคตี
1 - ประเภทของบทเพลงและอัตตราจงั หวะตา่ งๆ
- ลักษณะของคาศัพท์ทใ่ี ชใ้ นวงการดนตรีไทย
คีตกวีดนตรไี ทย
1 - คีตกวีท่ีมคี วามสาคัญตอ่ วงการดนตรีไทย
- เพลงไทยท่ีมีเอกลักษณค์ วามสาคัญ
2 ดนตรีไทยในปจั จบุ ัน
- แนวทางและการเปล่ยี นแปลงของดนตรไี ทยในปัจจุบนั
ขนบธรรมเนยี มการปฏบิ ัติ และรูปแบบการบรรเลงดนตรีไทย
2 - ปรัชญาและความงามของดนตรีไทย
- การวเิ คราะหค์ วามงามและปรัชญาของดนตรีไทย
รวม
หลกั สตู รกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ศิลปะ อิสลามวทิ ยาลยั แห่งประเทศไทย - 394 -
คาอธบิ ายรายวิชาพื้นฐาน
รายวชิ า สาระดนตรี รหสั วิชา ศ32102 ชั้น มธั ยมศึกษาปที ่ี 5
1 คาบ/สัปดาห/์ ภาคเรยี น 0.5 หนว่ ยกิต
............................................................................................................................. .................................................
คาอธิบายรายวชิ า
ศึกษาและอธิบายถึงองคป์ ระกอบของดนตรสี ากล จังหวะ ทานอง ตัวโนต้ เบือ้ งต้น รปู แบบประเภท
ของวงดนตรสี ากล ดนตรที ี่ใช้ในโอกาสต่างๆตามความเหมาะสม ดนตรที มี่ ีความเกย่ี วขอ้ งกับวิถชี ีวิตการดาเนิน
ชีวติ ของคนในสังคมไทยและสังคมโลก รแู้ ละเข้าใจรปู แบบบทเพลงและวงดนตรแี ตล่ ะประเภท และนักเรยี น
สามารถจาแนกรูปแบบ ของวงดนตรี จงั หวะ และทานอง เข้าใจอิทธิพลของวฒั นธรรมต่อการสร้างสรรค์ดนตรี
เปรียบเทยี บอารมณแ์ ละความรู้สกึ ทไ่ี ด้รบั จากดนตรีท่มี าจากวฒั นธรรมตา่ งกัน สามารถนาดนตรีไประยุกตใ์ ช้
ในงานอนื่ ๆ วิเคราะห์ เปรียบเทยี บรูปแบบ ลกั ษณะเดน่ ของดนตรีไทยและสากลในวัฒนธรรมต่าง ๆ เข้าใจ
บทบาทของดนตรีที่สะท้อนแนวความคิดและคา่ นิยมของคนในสงั คม สถานะทางสงั คม ของนักดนตรใี น
วัฒนธรรมต่าง ๆ สร้างแนวทางและมสี ่วนรว่ มในการส่งเสริมและอนุรกั ษ์ดนตรี
เพ่ือใหเ้ กิดความรู้ ความเข้าใจ การเรียนร้เู ทคนิค วิธกี ารทางาน ตลอดจนเปดิ โอกาสให้แสดงออก
อยา่ งอสิ ระ มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ จนิ ตนาการ มีสนุ ทรียภาพ สร้างสรรค์ผลงานทางดนตรีในรูปแบบของ
ตนเอง
มาตรฐาน / ตวั ช้ีวัด / ผลการเรียนรู้
หนว่ ยท่ี 1 หลกั การดนตรีโลกและดนตรไี ทย
มฐ. ศ. 2.1
ตวั ชวี้ ดั ข้อ ม.4-6 /1 อธิบายถงึ ดนตรีไทยทีม่ ีความเกยี่ วเนอื่ งกับศิลปะการแสดงตา่ งๆได้
ตวั ช้ีวัดข้อ ม.4-6 /1,3,5,7,8 อธบิ ายถงึ ดนตรีไทยและดนตรีโลก ที่มคี วามเก่ียวเน่ืองกบั การ
แสดงเพ่ือ ความบันเทงิ ตา่ งๆ
หน่วยที่ 2 การสร้างสรรคง์ านดนตรี
มฐ. ศ. 2.2
ตัวชว้ี ดั ข้อ ม.4-6 /1,3,4,5 หลกั การขบั ร้อง องค์ประกอบของเสียง ลักษณะเพลง
ตวั ชว้ี ัดขอ้ ม.4-6 /1,2,3,4,5 สรา้ งสรรค์งานดนตรีจากประสบการณท์ างดา้ นดนตรีของตนเอง
และ สามารถฝกึ ปฏบิ ตั ดิ นตรีสากลพนื้ ฐานได้
หน่วยท่ี 3 การสร้างสนุ ทรยี ภาพทางดนตรี
มฐ. ศ 2.1
ตวั ชว้ี ดั ข้อท่ี ม. 4-6/2,5,6,8 อธิบายคุณค่าของงานดนตรีสากลและดนตรีไทยได้
มฐ. ศ 2.2
ตวั ช้ีวดั ข้อที่ ม. 4-6/3,5,6,7,8 อธิบายถึงค่านิยมและอทิ ธพิ ลดนตรีตะวนั ตกกับดนตรไี ทยได้
หลักสูตรกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ศลิ ปะ อิสลามวิทยาลยั แหง่ ประเทศไทย - 395 -
รายวิชาศลิ ปะพนื้ ฐานพื้นฐาน ศ 32102
ชัน้ มัธยมศกึ ษาปีที่ 5 เวลา 20 ช่วั โมง
จานวนหนว่ ยการเรยี นรู้ 0.5 หน่วย
หน่วยการเรยี นที่ ชือ่ หน่วย/รายละเอียดเน้ือหา เวลา นา้ หนกั
(ช่วั โมง) คะแนน
องคป์ ระกอบของดนตรีสากล
1 - องคป์ ระกอบของสยี ง จงั หวะ ทานอง 4 15
- เสยี งประสาน ความหลากหลายขององคป์ ระกอบและบริบททางดนตรี 2 15
เคร่อื งหมายและสัญลักษณ์ทางดนตรี 3 15
1 - ตวั โน้ต การอา่ นโนต้ เบ้อื งต้น 15
4
- การอา่ นจังหวะเบื้องต้น 20
3
อัตราจังหวะ และทานองเพลงสากล 20
1 - การอ่านจงั หวะเบื้องต้น 2 100
20
- ทานองเพลงที่เปน็ เอกลกั ษณ์
ประเภทของดนตรสี ากล
2 - รูปแบบของวงดนตรสี ากล
- การสรา้ งสรรค์งานดนตรี
ดนตรีสากลกบั การประยุกต์
2 - ดนตรีสากลในอดีตและปจั จุบนั
- การนางานดนตรีไปใชใ้ ห้เกิดความเหมาะสม
ความงามและสุนทรียศาสตรแ์ ละคณุ คา่ ของดนตรี
2 - ความงามของสุนทรียศาสตร์ของเสียงและงานดนตรี และคณุ คา่ ของ
งานดนตรี
รวม
หลกั สตู รกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ศิลปะ อิสลามวทิ ยาลัยแหง่ ประเทศไทย - 396 -
คาอธบิ ายรายวิชาพ้ืนฐาน
รายวิชา สาระนาฏศลิ ป์ รหัสวชิ า ศ 33101 ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ่ี 6
1 คาบ/สัปดาห/์ ภาคเรียน 0.5 หนว่ ยกติ
......................................................................................... .....................................................................................
คาอธิบายรายวชิ า
ศึกษาและฝึกปฏิบัติงานศิลปะ ด้านดนตรีในเร่ืองอารมณ์ และความรู้สึก ท่ีได้รับจากงานดนตรีท่ีมา
จากวัฒนธรรมตา่ งกนั นาดนตรไี ปประยกุ ตใ์ ช้ในงานอื่น ๆ บทบาทของดนตรใี นการสะท้อนแนวความคดิ และ
ค่านิยม ที่เปล่ียนไปของคนในสังคมนาเสนอแนวทางในการส่งเสริมและอนุรักษ์ดนตรีในฐานะมรดกของชาติ
ดา้ นนาฏศลิ ป์และการแสดงในเร่อื ง ใชเ้ กณฑก์ ารประเมนิ ในการ ประเมินการแสดง ท่าทาง และการ
เคลอื่ นไหวของผคู้ นในชวี ติ ประจาวนั และนามาประยุกต์ใช้ในการแสดง ในการอนรุ ักษ์ นาฏศลิ ปไ์ ทย
ตัวช้ีวัด
ศ 2.1 ม.4/1 ,ม.4/2 ,ม.4/3
ศ 2.2 ม.4/1
ศ 3.1 ม.4/1 , ม.4/2
ศ 3.2 ม.4/1 ,ม.4/2
หลกั สูตรกลมุ่ สาระการเรียนรู้ศิลปะ อิสลามวิทยาลยั แหง่ ประเทศไทย - 397 -
โครงสร้าง รายวชิ า ศ 33101 ดนตรี -นาฏศิลป์
ช้นั มัธยมศกึ ษาปี 6 ภาคเรยี นที่ 1
ลาดบั ที่ หน่วยการเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนร/ู้ ตวั ช้ีวัด สาระการเรียนรู้ เวลา น้าหนกั
(ชัว่ โมง) คะแนน
1 อารมณ์ และความรู้สึก • การถ่ายทอดอารมณ์ ความรสู้ ึกของ
4 10
ศ 2.1 ม.6/7 งานดนตรีจากแตล่ ะวัฒนธรรม 4 10
2 รปู แบบของการแสดง • รูปแบบของการแสดง 4 25
ศ 3.1 ม.4/1 - ระบา รา ฟ้อน 4 10
4 10
- การแสดงพื้นเมืองภาคต่าง ๆ 20 100
- การละครไทย
- การละครสากล
3 ละครสร้างสรรค์ • ละครสร้างสรรค์
ศ 3.1 ม.4/2 - ความเปน็ มา
- องคป์ ระกอบของละครสร้างสรรค์
- ละครพูด
- ละครโศกนาฏกรรม
- ละครสุขนาฏกรรม
- ละครแนวเหมือนจริง
- ละครแนวไม่เหมือนจรงิ
4 การแสดงนาฏศิลป์ในโอกาสต่างๆ • การแสดงนาฏศลิ ป์ในโอกาสต่างๆ
ศ 3.2 ม.4/1
5 บุคคลสาคัญในวงการนาฏศิลปแ์ ละละครไทย • บุคคลสาคัญในวงการนาฏศิลป์และ
ศ 3.2 ม.4/2 การละครของไทยในยคุ สมัยต่าง ๆ
รวมตลอดทงั้ ภาคเรยี น
หลักสูตรกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ศิลปะ อสิ ลามวทิ ยาลัยแหง่ ประเทศไทย - 398 -
คาอธิบายรายวิชาพน้ื ฐาน
รายวชิ า สาระนาฏศิลป์ รหัสวชิ า ศ 33102 ชนั้ มธั ยมศึกษาปีที่ 6
1 คาบ/สปั ดาห/์ ภาคเรียน 0.5 หน่วยกติ
............................................................................................................................................................... ...............
คาอธิบายรายวิชา
ศึกษาและฝึกปฏิบัติงานศิลปะ ด้านดนตรีในเร่ืองอารมณ์ และความรู้สึก ที่ได้รับจากงานดนตรีที่มา
จากวัฒนธรรมต่างกนั นาดนตรไี ปประยุกตใ์ ช้ในงานอ่ืน ๆ บทบาทของดนตรีในการสะท้อนแนวความคิดและ
ค่านิยม ท่ีเปลี่ยนไปของคนในสังคมนาเสนอแนวทางในการส่งเสริมและอนุรักษ์ดนตรีในฐานะมรดกของชาติ
ด้านนาฏศิลป์และการแสดงในเร่ือง ใช้เกณฑ์การประเมินในการ ประเมินการแสดง ท่าทาง และก าร
เคลื่อนไหวของผูค้ นในชีวติ ประจาวนั และนามาประยกุ ต์ใช้ในการแสดง ในการอนุรกั ษ์ นาฏศลิ ป์ไทย
ตัวช้วี ดั
ศ 3.1 ม.5/4
ศ 3.1 ม.5/5
ศ 3.1 ม.6/8
ศ 3.2 ม.6/3
หลกั สูตรกลมุ่ สาระการเรียนรู้ศลิ ปะ อสิ ลามวทิ ยาลัยแห่งประเทศไทย - 399 -
โครงสร้าง รายวชิ า ศ 33102 สาระนาฏศิลป์
ช้นั มธั ยมศกึ ษาปี 6 ภาคเรยี นที่ 2
ลาดบั ท่ี หน่วยการเรียนรู้ มาตรฐานการเรยี นร/ู้ ตัวชวี้ ัด สาระการเรยี นรู้ เวลา นา้ หนกั
(ชั่วโมง) คะแนน
หลักการสร้างสรรค์และการวิจารณ์ • หลกั การสรา้ งสรรค์และการวิจารณ์
ศ 3.1 ม.5/4 • หลักการชมการแสดงนาฏศิลป์และ 5 20
ละคร
1
2 ประวัติความเปน็ มาของนาฏศิลป์ • ประวตั ิความเปน็ มาของนาฏศิลป์ 5 25
และการละคร ศ 3.1 ม.5/5 และการละคร
- วิวฒั นาการ
- ความงามและคณุ ค่า
3 การสร้างสรรค์ผลงาน - การจัดการแสดงในวนั สาคัญ 5 25
ศ 3.1 ม.6/8 ของโรงเรยี น ชุดการแสดงประจา 5 30
20 100
โรงเรยี น
4 ววิ ฒั นาการของนาฏศิลป์และการละครไทย • การอนุรกั ษน์ าฏศลิ ป์
ศ 3.2 ม.6/3 ภมู ิปญั ญาท้องถ่ิน
รวมตลอดท้ังภาคเรยี น
หลักสตู รกลมุ่ สาระการเรียนรู้ศลิ ปะ อสิ ลามวทิ ยาลยั แห่งประเทศไทย - 400 -
โครงสรา้ งหลักสตู รชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น
คาอธบิ ายรายวิชาเพิ่มเติม
รายวิชาศิลปะ – ดนตรี รหสั วชิ า ศ 21201 ช้นั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 1
2 คาบ/สปั ดาห/์ ภาคเรียน 1.0 หน่วยกติ
...............................................................................…………………………………………………………………………………
คาอธิบายรายวชิ า
ศึกษาหลักและกระบวนการสร้างงานระบายสนี า้ การใชเ้ คร่ืองมือและวัสดุอปุ กรณ์ คุณสมบตั ิของสนี า้
และเทคนิคการเขียนสนี ้า ฝกึ ปฏิบตั ิเขียนสีนา้ จากหุน่ จริง ภาพทิวทศั น์ ภาพคนเหมือน และตามความคดิ
สรา้ งสรรค์ เพ่อื ให้มคี วามรู้ความเขา้ ใจและมีทกั ษะในการสรา้ งสรรค์งานระบายสีน้า ศกึ ษาทฤษฎีการดนตรี
ไทย หลักการฟังเพลงไทย การอา่ นและการบันทึกโน้ตไทย ประวัตเิ พลง ศัพทส์ ังคตี ฝึกโสตประสาท ฝกึ ปฏบิ ัติ
เคร่ืองดนตรีไทยอยา่ งน้อย 1 ช้ิน ฝกึ บรรเลงเพลงอัตรา สองช้นั ชัน้ เดียว และเพลงเถาฝึกบรรเลงท้งั เดย่ี วในข้ัน
สูงขน้ึ และกลุม่ ตามเกณฑ์มาตรฐานของทบวง(ขั้นท่ี5-6) จดั การแสดงเปน็ ครัง้ คราว การดแู ลรักษาเครอื่ งดนตรี
เพอื่ ใหม้ ีความรู้ความเข้าใจและบรรเลงเพลงไทยได้อย่างถูกต้อง
ผลการเรียนรู้
1. ศกึ ษาหลกั และกระบวนการสร้างงานระบายสนี ้า
2. ศกึ ษาการใชเ้ คร่ืองมือและวสั ดอุ ปุ กรณ์
3. บอกคุณสมบัติของสีนา้ และเทคนิคการเขียนสีน้า
4. ฝึกปฏิบตั ิเขยี นสีนา้ จากหนุ่ จริง ภาพทวิ ทัศน์ ภาพคนเหมอื น
5. มีความรคู้ วามเขา้ ใจและมีทกั ษะในการสร้างสรรค์งานระบายสีน้า
6. ศึกษาทฤษฎกี ารดนตรีไทย หลักการฟังเพลงไทย การอ่านและการบนั ทึกโน้ตไทย
7. ศึกษาประวัตเิ พลง ศัพท์สังคีต ฝกึ โสตประสาท
8. ฝึกปฏิบัตเิ ครอื่ งดนตรีไทยอยา่ งน้อย 1 ชิ้น