The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หลักสูตรสถานศึกษา 2564

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by bumbimva.2015, 2022-07-10 00:05:10

หลักสูตรสถานศึกษา 2564

หลักสูตรสถานศึกษา 2564

13

หลกั สตู รกลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี อสิ ลามวิทยาลัยแห่งประเทศไทย - 151 -

4. เข้าใจการย่อยอาหารของสัตว์และมนุษย์ การหายใจและการแลกเปลี่ยนแก๊ส การลาเลียงสาร
และการหมุนเวียนเลือด ภูมิคุ้มกันของร่างกาย การขับถ่าย การรับรู้และการตอบสนอง การเคลื่อนที่ การ
สืบพันธุ์และการเจริญเติบโต ฮอร์โมนกับการรักษาดุลยภาพ และพฤติกรรม ของสัตว์ รวมท้ังนาความรู้ไปใช้
ประโยชน์

5. เข้าใจแนวคิดเกี่ยวกับระบบนิเวศ กระบวนการถ่ายทอดพลังงานและการหมุนเวียน สารในระบบ
นิเวศ ความหลากหลายของไบโอม การเปล่ียนแปลงแทนท่ีของส่ิงมีชีวิตในระบบนิเวศ ประชากรและรูปแบบ
การเพ่ิมของประชากร ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม ปัญหาและ ผลกระทบท่ีเกิดจากการใช้ประโยชน์
และแนวทางการแกไ้ ขปัญหา

สาระเคมี
1. เข้าใจโครงสรา้ งอะตอม การจดั เรยี งธาตุในตารางธาตุ สมบัตขิ องธาตุ พันธะเคมแี ละสมบัตขิ องสาร
แก๊สและสมบัติของแก๊ส ประเภทและสมบัติของสารประกอบอินทรีย์และพอลิเมอร์ รวมท้ังการนาความรู้
ไปใชป้ ระโยชน์
2. เข้าใจการเขียนและการดุลสมการเคมี ปริมาณสัมพันธ์ในปฏิกิริยาเคมี อัตราการเกิด ปฏกิ ิริยาเคมี
สมดุลในปฏิกิริยาเคมี สมบัติและปฏิกิริยาของกรด-เบส ปฏิกิริยารีดอกซ์และเซลล์เคมี ไฟฟ้า รวมท้ังการนา
ความรู้ไปใชป้ ระโยชน์
3. เข้าใจหลักการทาปฏิบัติการเคมี การวัดปริมาณสาร หน่วยวัดและการเปลี่ยนหน่วย การคานวณ
ปริมาณของสาร ความเข้มข้นของสารละลาย รวมทั้งการบูรณาการความรู้และทักษะ ในการอธิบาย
ปรากฏการณ์ในชีวิตประจาวันและการแกป้ ญั หาทางเคมี

สาระฟสิ ิกส์
1. เข้าใจธรรมชาติทางฟิสิกส์ ปริมาณและกระบวนการวัด การเคลื่อนที่แนวตรงแรงและกฎการ
เคลื่อนทีข่ องนิวตัน กฎความโน้มถว่ งสากล แรงเสียดทานสมดุลกลของวตั ถุ งานและกฎการอนุรักษ์พลงั งานกล
โมเมนตมั และกฎการอนุรักษโ์ มเมนตมั การเคลอ่ื นท่ีแนวโคง้ รวมทง้ั นาความรไู้ ปใชป้ ระโยชน์
2. เขา้ ใจการเคล่อื นที่แบบฮาร์มอนิกส์อยา่ งง่าย ธรรมชาติของคลนื่ เสียงและ การไดย้ ิน ปรากฏการณ์
ทเ่ี ก่ยี วขอ้ งกับเสยี ง แสงและการเห็น ปรากฏการณ์ทเ่ี กีย่ วขอ้ งกบั แสง รวมทัง้ นาความร้ไู ปใชป้ ระโยชน์
3. เข้าใจแรงไฟฟ้าและกฎของคูลอมบ์ สนามไฟฟา้ ศักย์ไฟฟ้า ความจุไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และกฎของ
โอห์ม วงจรไฟฟ้ากระแสตรง พลังงานไฟฟ้าและกาลังไฟฟ้า การเปล่ียนพลังงานทดแทน เป็นพลังงานไฟฟ้า
สนามแม่เหล็ก แรงแม่เหล็กท่ีกระทากับประจุไฟฟ้าและกระแสไฟฟ้า การเหนี่ยวนา แม่เหล็กไฟฟ้าและกฎ
ของฟาราเดย์ ไฟฟ้ากระแสสลับ คลืน่ แมเ่ หลก็ ไฟฟา้ และการสอ่ื สาร รวมทั้ง นาความรไู้ ปใชป้ ระโยชน์
4. เข้าใจความสัมพันธ์ของความร้อนกับการเปลี่ยนอุณหภูมิและสถานะของสสาร สภาพยืดหยุ่นของ
วัสดุและมอดุลัสของยัง ความดันในของไหล แรงพยุง และหลักของอาร์คิมีดีส ความตึงผิวและแรงหนืดของ
ของเหลว ของไหลอุดมคติ และสมการแบร์นูลลี กฎของแก๊ส ทฤษฎีจลน์ ของแก๊สอุดมคติและพลังงานใน
ระบบ ทฤษฎีอะตอมของโบร์ ปรากฏการณ์โฟโตอิเล็กทริก ทวิภาวะ ของคล่ืนและอนุภาค กัมมันตภาพรังสี
แรงนวิ เคลยี ร์ ปฏิกิรยิ านวิ เคลยี ร์ พลังงานนิวเคลียร์ ฟิสกิ ส์ อนุภาค รวมทง้ั นาความร้ไู ปใช้ประโยชน์
สาระโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ
1. เข้าใจกระบวนการเปลี่ยนแปลงภายในโลก ธรณีพิบัติภัยและผลต่อสิ่งมีชีวิต และส่ิงแวดล้อม
รวมทั้งการศึกษาลาดับช้นั หิน ทรัพยากรธรณี แผนท่ี และการนาไปใชป้ ระโยชน์
2. เขา้ ใจสมดุลพลังงานของโลก การหมุนเวียนของอากาศบนโลก การหมุนเวยี นของน้า ในมหาสมุทร
การเกดิ เมฆ การเปลีย่ นแปลงภมู อิ ากาศโลกและผลต่อส่งิ มชี วี ิตและสง่ิ แวดลอ้ ม รวมทง้ั การพยากรณอ์ ากาศ

14

หลักสูตรกลุ่มสาระการเรยี นร้วู ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี อิสลามวิทยาลัยแห่งประเทศไทย - 152 -

3. เข้าใจองค์ประกอบ ลักษณะ กระบวนการเกดิ และวิวฒั นาการของเอกภพ กาแล็กซี ดาวฤกษ์ และ
ระบบสุรยิ ะ ความสัมพันธ์ของดาราศาสตร์กบั มนุษย์จากการศึกษาตาแหน่ง ดาวบนทรงกลมฟา้ และปฏิสัมพันธ์
ภายในระบบสุริยะ รวมท้งั การประยกุ ตใ์ ชเ้ ทคโนโลยอี วกาศ ในการดารงชวี ติ

ผเู้ รยี นท่เี รยี นครบทกุ ผลการเรยี นรู้ มีคุณภาพดงั นี้
❖ เข้าใจวิธีการทางวิทยาศาสตร์ในการค้นหาคาตอบเกี่ยวกับส่ิงมีชีวิต สารท่ีเป็น องค์ประกอบของ

สง่ิ มีชวี ิต และปฏิกิรยิ าเคมีภายในเซลล์ การใชก้ ลอ้ งจุลทรรศน์ โครงสรา้ ง และหนา้ ทขี่ องเซลล์ การลาเลียงสาร
เขา้ และออกจากเซลล์ การแบ่งเซลล์ และการหายใจระดบั เซลล์

❖ เข้าใจหลักการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมของส่ิงมีชีวิต การถ่ายทอดยีน บนออโตโซมและ
โครโมโซมเพศ โครงสร้างและองค์ประกอบทางเคมีของดีเอ็นเอ การจาลองดีเอ็นเอ กระบวนการสังเคราะห์
โปรตีน การเกดิ มวิ เทชันในสิง่ มชี ีวติ หลักการและการประยุกต์ใช้เทคโนโลยี ทางดีเอ็นเอ หลักฐานและข้อมลู ที่
ใช้ในการศกึ ษาวิวัฒนาการของสิ่งมีชวี ิต แนวคิดเกี่ยวกบั วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต เงื่อนไขของภาวะสมดุลของ
ฮาร์ดี-ไวน์เบิร์ก กระบวนการเกิดสปีชีส์ใหม่ ของส่ิงมีชีวิต ความหลากหลายทางชีวภาพ กาเนิดของส่ิงมีชีวิต
ลักษณะสาคัญของส่ิงมชี ีวติ กลุม่ แบคทีเรีย โพรทสิ ต์ พืช ฟังไจ และสัตว์ การจาแนกสง่ิ มชี ีวติ ออกเป็นหมวดหมู่
และวธิ ีการเขยี น ช่อื วทิ ยาศาสตร์

❖ เข้าใจโครงสร้างและส่วนประกอบของพืชท้ังราก ลาต้น และใบ การแลกเปลย่ี นแก๊ส การคายน้า
การลาเลียงน้าและธาตุอาหาร การลาเลียงอาหาร การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช กระบวนการสร้างเซลล์
สืบพันธ์ุและการปฏิสนธิของพืชดอก การเกิดผลและเมล็ด บทบาทของสาร ควบคุมการเจริญเติบโตของพืช
และการประยกุ ตใ์ ช้ และการตอบสนองของพืช

❖ เข้าใจกลไกการรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต โครงสรา้ ง หน้าท่ี และกระบวนการ ต่าง ๆ ของสัตว์
และมนุษย์ ได้แก่ การย่อยอาหาร การแลกเปล่ียนแก๊ส การเคล่ือนท่ี การกาจัดของเสีย ออกจากร่างกายของ
ส่ิงมีชีวิต ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบภูมิคุ้มกันในร่างกายของมนุษย์ การทางาน ของระบบประสาทและ
อวัยวะรบั ความรู้สกึ ระบบสบื พันธุ์ การปฏิสนธิ การเจริญเตบิ โต ฮอร์โมน
และพฤตกิ รรมของสัตว์

❖ เข้าใจกระบวนการถ่ายทอดพลังงานและการหมุนเวียนสารในระบบนิเวศ ความหลากหลาย
ของไบโอม การเปล่ียนแปลงแทนท่ีแบบต่าง ๆ ในระบบนิเวศ การเปล่ียนแปลง จานวนประชากรมนุษย์ใน
ระดับท้องถิ่น ระดับประเทศ และระดับโลก แนวทางการป้องกันและแก้ไข ปัญหาทรัพยากรธรรมชาติและ
สง่ิ แวดลอ้ ม

❖ เข้าใจการศึกษาโครงสร้างอะตอมของนักวิทยาศาสตร์ การจัดเรียงอิเล็กตรอน ในอะตอม
สมบัติบางประการของธาตุและการจัดเรียงธาตุในตารางธาตุ พันธะเคมี สมบัติของสารท่ีมี ความสัมพันธ์กับ
พนั ธะเคมี กฎต่าง ๆ ของแก๊ส และสมบัติของแก๊ส ประเภทและสมบัติของ สารประกอบอินทรีย์ และประเภท
และสมบตั ขิ องพอลเิ มอร์

❖ เขา้ ใจการเขียนและการดลุ สมการเคมี การคานวณปริมาณสารตา่ ง ๆ ทเ่ี กีย่ วข้องกับปฏกิ ิรยิ าเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีและปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี สมดุล ในปฏิกิริยาเคมีและปัจจัยท่ีมี
ผลต่อสมดุลเคมี ทฤษฎีกรด-เบส สมบัติและปฏิกิริยาของกรด-เบส สารละลายบัฟเฟอร์ ปฏิกิริยารดี อกซ์ และ
เซลลเ์ คมีไฟฟา้

❖ เข้าใจข้อปฏิบัติเบ้ืองต้นเก่ียวกับความปลอดภัยในการทาปฏิบัติการเคมีการเลือกใช้อุปกรณ์
หรือเครื่องมือในการทาปฏิบัติการ หน่วยวัดและการเปลี่ยนหน่วยวัดด้วยการ ใช้แฟกเตอร์เปล่ียนหน่วย

15

หลักสูตรกลุ่มสาระการเรยี นรูว้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี อสิ ลามวทิ ยาลยั แห่งประเทศไทย - 153 -

การคานวณเกี่ยวกับมวลอะตอม มวลโมเลกุล และมวลสูตร ความสัมพันธ์ ของโมล จานวนอนุภาค มวล
และปริมาตรของแก๊สที่ STP การคานวณสูตรอย่างง่ายและสูตร โมเลกุลของสาร ความเข้มข้นของสารละลาย
การเตรียมสารละลาย และการบูรณาการความรู้และ ทักษะในการอธิบายปรากฏการณ์ในชีวิตประจาวันและ
การแก้ปัญหาทางเคมี

❖ เข้าใจธรรมชาติของฟิสิกส์ กระบวนการวัด ความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณที่เก่ียวข้องกับการ
เคลื่อนที่ การเคลื่อนท่ีในแนวตรง แรงลัพธ์ กฎการเคลอื่ นที่ แรงเสียดทาน กฎความโน้มถ่วง สากล สนามโน้ม
ถ่วง งาน กฎการอนุรักษ์พลังงานกล สมดุลกลของวัตถุ เคร่ืองกลอย่างง่าย โมเมนตัมและการดล กฎการ
อนุรักษ์โมเมนตัม การชน และการเคลื่อนทใ่ี นแนวโคง้

❖ เข้าใจการเคลื่อนท่ีแบบคลื่น ปรากฏการณ์คล่ืน การสะท้อน การหักเหการเล้ียวเบนและ
การแทรกสอด หลกั การของฮอยเกนส์ การเคล่ือนท่ีของคลื่นเสยี ง ปรากฏการณ์ ท่ีเกี่ยวข้องกับเสียง ความเข้ม
เสียงและระดับเสียง การได้ยิน ภาพท่ีเกิดจากกระจกเงาและเลนส์ ปรากฏการณ์ที่เก่ียวข้องกับแสงและ
การมองเหน็ แสงสี

❖ เขา้ ใจสนามไฟฟา้ แรงไฟฟา้ กฎของคลู อมบ์ ศักยไ์ ฟฟ้า ตัวเกบ็ ประจุ ตัวต้านทานและ กฎ
ของโอห์ม พลังงานไฟฟ้า การเปลี่ยนพลังงานทดแทนเป็นพลังงานไฟฟ้า เทคโนโลยีด้าน พลังงาน
สนามแม่เหล็ก ความสัมพันธ์ระหว่างสนามแม่เหล็กกับกระแสไฟฟ้า การเหน่ียวนาแม่เหล็ก ไฟฟ้า ไฟฟ้า
กระแสสลบั คลน่ื แม่เหล็กไฟฟา้ และประโยชน์ของคลน่ื แม่เหลก็ ไฟฟ้า

❖ เข้าใจผลของความร้อนต่อสสาร สภาพยืดหยุ่น ความดันในของไหล แรงพยุง ของไหลอุดมคติ
ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส แนวคิดควอนตัมของพลังงาน ทฤษฎีอะตอมของโบร์ ปรากฏการณ์โฟโตอิเล็กทริก
ทวิภาวะของคลื่นและอนุภาค การสลายของนิวเคลียสกัมมันตรังสี กัมมันตภาพ ปฏิกิริยานิวเคลียร์ พลังงาน
นิวเคลยี ร์ ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งมวลและพลังงาน แรงภายในนิวเคลียส และการค้นควา้ วจิ ยั ดา้ นฟิสิกส์อนภุ าค

❖ เข้าใจการแบ่งช้ันและสมบัติของโครงสร้างโลก สาเหตุ และรูปแบบการเคลื่อนท่ีของแผ่นธรณี
ท่ีสัมพันธ์กับการเกิดลักษณะธรณีสัณฐานและธรณีโครงสร้างแบบต่าง ๆ หลักฐาน ทางธรณีวิทยาท่ีพบ
ในปัจจบุ ันและการลาดับเหตุการณ์ทางธรณีวิทยาในอดตี สาเหตุ กระบวนการ เกิดแผ่นดินไหว ภูเขาไฟระเบิด
สึนามิ ผลกระทบ แนวทางการเฝ้าระวัง และการปฏิบัติตนให้ปลอดภัย สมบัติและการจาแนกชนิดของแร่
กระบวนการเกิดและการจาแนกชนิดหิน กระบวนการเกิดและ การสารวจแหล่งปิโตรเลียมและถ่านหิน
การแปลความหมายจากแผนท่ีภูมิประเทศและแผนที่ ธรณีวิทยา และการนาข้อมูลทางธรณีวิทยาไปใช้
ประโยชน์

❖ เข้าใจปัจจัยสาคัญท่ีมีผลต่อการรับและปลดปล่อยพลังงานจากดวงอาทิตย์กระบวนการท่ีทาให้
เกิดสมดุลพลังงานของโลก ผลของแรงเนื่องจากความแตกต่างของความกดอากาศ แรงคอริออลิส
แรงสู่ศูนย์กลางและแรงเสียดทานท่ีมีต่อการหมุนเวียนของอากาศ การหมุนเวียน ของอากาศตามเขตละติจูด
และผลที่มีต่อภูมิอากาศ ปัจจัยที่ทาให้เกิดการแบ่งชั้นน้าและการหมุนเวียน ของน้าในมหาสมุทร รูปแบบการ
หมุนเวียนของน้าในมหาสมุทร และผลของการหมุนเวียนของน้า ในมหาสมุทรท่ีมีต่อลักษณะลมฟ้าอากาศ
สิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม ความสัมพันธ์ระหว่างเสถียรภาพ อากาศและการเกิดเมฆ การเกิดแนวปะทะอากาศ
แบบต่าง ๆ และลักษณะลมฟ้าอากาศท่ีเกี่ยวข้อง ปัจจัยต่าง ๆ ท่ีมีผลต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศของโลก
รวมท้ังการแปลความหมายสัญลักษณ์ ลมฟ้าอากาศ และการพยากรณ์ลักษณะลมฟ้าอากาศเบ้ืองต้น
จากแผนทีอ่ ากาศและข้อมลู สารสนเทศ

❖ เข้าใจการกาเนิดและการเปล่ียนแปลงพลังงาน สสาร ขนาดอุณหภูมิของเอกภพหลักฐาน
ท่ีสนับสนุนทฤษฎีบิกแบง ประเภทของกาแล็กซี โครงสร้างและองค์ประกอบของกาแล็กซี ทางช้างเผือก

16
หลกั สตู รกลุ่มสาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี อิสลามวิทยาลัยแห่งประเทศไทย - 154 -

กระบวนการเกิดดาวฤกษ์ และการสร้างพลังงานของดาวฤกษ์ ปัจจัยที่ส่งผลต่อ ความส่องสว่างของดาวฤกษ์
และความสัมพันธ์ระหว่างความส่องสว่างกับโชติมาตรของดาวฤกษ์ ความสัมพันธ์ระหว่างสี อุณหภูมิผิว
และสเปกตรัมของดาวฤกษ์ วิธีการหาระยะทางของดาวฤกษ์ ด้วยหลักการแพรัลแลกซ์ วิวัฒนาการและการ
เปลี่ยนแปลงสมบัตบิ างประการของดาวฤกษ์ กระบวนการเกิดระบบสุริยะ การแบ่งเขตบริวารของดวงอาทิตย์
ลักษณะของดาวเคราะห์ที่เอื้อต่อการ ดารงชีวิต การโคจรของดาวเคราะห์รอบดวงอาทิตย์ด้วยกฎเคพเลอร์
และกฎความโน้มถ่วงของนิวตัน โครงสร้างของดวงอาทิตย์ การเกิดลมสุริยะ พายุสุริยะและผลที่มีต่อโลก
การระบุพิกัดของดาว ในระบบขอบฟ้าและระบบศูนยส์ ูตร เสน้ ทางการขึ้นการตกของดวงอาทิตยแ์ ละดาวฤกษ์
เวลา สุริยคติ และการเปรียบเทียบเวลาของแต่ละเขตเวลาบนโลก การสารวจอวกาศและการประยุกต์
ใช้ เทคโนโลยอี วกาศ

❖ ระบปุ ญั หา ต้ังคาถามที่จะสารวจตรวจสอบ โดยมีการกาหนดความสัมพนั ธ์ระหว่าง ตัวแปรต่าง ๆ
สืบค้นข้อมูลจากหลายแหล่ง ต้ังสมมติฐานท่ีเป็นไปได้หลายแนวทาง ตัดสินใจเลือก ตรวจสอบสมมติฐานที่
เป็นไปได้

❖ ตง้ั คาถามหรือกาหนดปัญหาท่ีอยู่บนพื้นฐานของความรู้และความเข้าใจทางวิทยาศาสตร์ ท่ีแสดง
ให้เห็นถึงการใช้ความคิดระดับสูงท่ีสามารถสารวจตรวจสอบหรือศึกษาค้นคว้าได้ อย่างครอบคลุมและเช่ือถือ
ได้ สร้างสมมติฐานที่มีทฤษฎีรองรับหรือคาดการณ์ส่ิงท่ีจะพบ เพ่ือนาไปสู่ การสารวจตรวจสอบออกแบบ
วธิ กี ารสารวจตรวจสอบตามสมมตฐิ านท่ีกาหนดไวไ้ ด้อย่างเหมาะสม มีหลักฐานเชงิ ประจักษ์ เลือกวสั ดุ อุปกรณ์
รวมทง้ั วธิ ีการในการสารวจตรวจสอบอย่างถกู ต้อง ทัง้ ในเชิงปริมาณและคุณภาพ และบนั ทกึ ผล การสารวจ
ตรวจสอบอยา่ งเปน็ ระบบ

❖ วิเคราะห์ แปลความหมายข้อมูล และประเมินความสอดคล้องของข้อสรุปเพื่อตรวจสอบ
กับสมมติฐานที่ตั้งไว้ ให้ข้อเสนอแนะเพอื่ ปรบั ปรุงวิธกี ารสารวจตรวจสอบ จัดกระทา ข้อมูลและนาเสนอขอ้ มูล
ด้วยเทคนิควิธีท่ีเหมาะสม ส่ือสารแนวคิด ความรู้ จากผลการสารวจ ตรวจสอบ โดยการพูด เขียน จัดแสดง
หรือใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศ เพอ่ื ให้ผู้อ่ืนเข้าใจ โดยมหี ลักฐาน อ้างองิ หรือมีทฤษฎรี องรบั

❖ แสดงถึงความสนใจ มุ่งม่ัน รับผิดชอบ รอบคอบ และซื่อสัตย์ ในการสืบเสาะหาความรู้ โดย
ใช้เคร่ืองมือ และวิธีการท่ีให้ได้ผลถูกต้อง เชื่อถือได้ มีเหตุผลและยอมรับได้ว่าความรู้ ทางวิทยาศาสตร์
อาจมีการเปลยี่ นแปลงได้

❖ แสดงถึงความพอใจและเห็นคุณค่าในการค้นพบความรู้ พบคาตอบ หรือแก้ปัญหาได้ทางาน
ร่วมกับผู้อื่นอย่างสร้างสรรค์ แสดงความคิดเห็นโดยมีข้อมูลอ้างอิงและเหตุผลประกอบ เกี่ยวกับผลของการ
พัฒนาและการใช้วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีอย่างมีคุณธรรมต่อสังคม และส่ิงแวดล้อม และยอมรับฟังความ
คดิ เห็นของผู้อ่นื

❖ เข้าใจความสัมพันธ์ของความรู้วิทยาศาสตร์ท่ีมีผลต่อการพัฒนาเทคโนโลยีประเภทต่าง ๆ
และการพัฒนาเทคโนโลยีท่ีส่งผลให้มีการคิดค้นความรู้ทางวิทยาศาสตร์ที่ก้าวหน้า ผลของเทคโนโลยีต่อชีวิต
สังคม และส่งิ แวดล้อม

❖ ตระหนักถึงความสาคัญและเห็นคุณค่าของความรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีท่ีใช้ใน
ชีวิตประจาวัน ใช้ความรู้และกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในการดารงชีวิต และการประกอบ
อาชีพแสดงความช่ืนชม ภูมิใจ ยกย่อง อ้างอิงผลงาน ชิ้นงานที่เปน็ ผลมาจาก ภูมปิ ัญญาท้องถิ่นและการพัฒนา
เทคโนโลยีทที่ ันสมยั ศึกษาหาความรู้เพ่มิ เติม ทาโครงงาน หรือสร้างชิน้ งานตามความสนใจ

หลักสูตรกลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี อิสลามวทิ ยาลัยแห่งประเทศไทย - 155 -

❖ แสดงความซาบซึง้ ห่วงใย มีพฤติกรรมเกี่ยวกับการใชแ้ ละรักษาทรพั ยากรธรรมชาติ และ 17

สิ่งแวดล้อมอย่างรู้คุณค่า เสนอตัวเองร่วมมือปฏิบัติกับชุมชนในการป้องกัน ดูแลทรัพยากร ธรรมชาติและ

สงิ่ แวดล้อมของทอ้ งถน่ิ

มาตรฐานการเรียนรูแ้ กนกลาง

สาระท่ี 1 วทิ ยาศาสตร์ชีวภาพ

มาตรฐาน ว 1.1 เข้าใจความหลากหลายของระบบนิเวศ ความสัมพันธ์ระหว่างส่ิงไม่มีชีวิตกับ

ส่ิงมีชีวิต และความสัมพันธ์ระหว่างส่ิงมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตต่าง ๆ ในระบบนิเวศการถ่ายทอดพลังงาน

การเปล่ียนแปลงแทนท่ีในระบบนิเวศ ความหมายของประชากร ปัญหาและผลกระทบที่มีต่อ

ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมแนวทางในการอนรุ ักษ์ทรพั ยากรธรรมชาติและการแก้ไขปญั หาสงิ่ แวดล้อม

รวมทง้ั นาความรู้ไปใชป้ ระโยชน์

ม. 1 – 3 ม. 4 - 6

ม.1 - ม.4

ม.2 - 1. สบื คน้ ขอ้ มูลและอธบิ ายความสมั พนั ธข์ องสภาพ

ม.3 ทางภมู ศิ าสตร์บนโลกกบั ความหลากหลายของไบ

1. อธบิ ายปฏสิ ัมพนั ธ์ขององค์ประกอบของระบบ โอม และยกตัวอย่างไบโอมชนิดต่าง ๆ

นเิ วศทไ่ี ด้จากการสารวจ 2. สบื ค้นขอ้ มูล อภิปรายสาเหตุ และยกตัวอย่างการ

2. อธิบายรปู แบบความสมั พันธร์ ะหว่างสิง่ มชี ีวิต เปลี่ยนแปลงแทนท่ีของระบบนเิ วศ

กบั ส่งิ มชี ีวติ รูปแบบต่าง ๆ ในแหล่งที่อยู่เดียวกนั ที่ 3. สืบค้นข้อมูล อธิบายและยกตัวอย่างเกี่ยวกับการ

ไดจ้ ากการสารวจ เปล่ียนแปลงขององค์ประกอบทางกายภาพและทาง

3. สร้างแบบจาลองในการอธิบายการถ่ายทอด ชีวภาพทีม่ ผี ลต่อการเปลี่ยนแปลงขนาด

พลงั งานในสายใยอาหาร ของประชากรสง่ิ มีชีวติ ในระบบนเิ วศ

4. อธบิ ายความสัมพันธ์ของผู้ผลิต ผ้บู ริโภค และผู้ 4. สืบค้นข้อมูลและอภิปรายเกี่ยวกับปัญหาและ

ยอ่ ยสลายสารอนิ ทรียใ์ นระบบนเิ วศ ผลกระทบท่มี ีต่อทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

5. อธิบายการสะสมสารพิษในสงิ่ มชี วี ติ ในโซ่อาหา พ ร้ อ ม ท้ั ง น า เ ส น อ แ น ว ท า ง ใ น ก า ร อ นุ รั ก ษ์

6. ตระหนกั ถึงความสมั พนั ธข์ องสงิ่ มีชวี ติ และ ทรัพยากรธรรมชาติและการแก้ไขปญั หาสงิ่ แวดลอ้ ม

ส่งิ แวดลอ้ มในระบบนเิ วศ โดยไมท่ าลายสมดุล

ของระบบนิเวศ

ม.5 -

ม.6 -

18
หลกั สตู รกลุ่มสาระการเรียนร้วู ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี อิสลามวิทยาลยั แห่งประเทศไทย - 156 -

สาระท่ี 1 วิทยาศาสตรช์ ีวภาพ

มาตรฐาน ว 1.2 เข้าใจสมบัติของส่ิงมีชีวิต หน่วยพ้ืนฐานของส่ิงมีชีวิต การลาเลียงสารเข้า และออก

จากเซลล์ ความสัมพันธ์ของโครงสร้างและหน้าท่ีของระบบต่าง ๆ ของสัตว์และมนุษย์ที่ทางานสัมพันธ์กัน

ความสัมพันธ์ของโครงสร้างและหน้าที่ ของอวัยวะต่าง ๆ ของพืชที่ทางานสัมพันธ์กัน รวมทั้งนาความรู้ไปใช้

ประโยชน์

ม. 1 – 3 ม. 4 - 6

ม.1 ม.4

1. เปรยี บเทียบรปู รา่ ง ลกั ษณะ และโครงสรา้ ง 1. อธบิ ายโครงสร้างและสมบัติของเยื่อห้มุ เซลลท์ ี่

ของเซลล์พืชและเซลล์สตั ว์ รวมท้งั บรรยายหนา้ ที่ สมั พันธก์ บั การลาเลยี งสาร และเปรียบเทยี บ

ของผนงั เซลล์ เยื่อห้มุ เซลล์ ไซโทพลาซมึ การลาเลียงสารผ่านเยื่อหมุ้ เซลลแ์ บบตา่ ง ๆ

นิวเคลยี ส แวคิวโอล ไมโทคอนเดรียและคลอโรพ 2. อธิบายการควบคุมดุลยภาพของนา้ และสารใน

ลาสต์ เลอื ดโดยการทางานของไต

2. ใช้กลอ้ งจลุ ทรรศน์ใชแ้ สงศึกษาเซลลแ์ ละ 3. อธบิ ายการควบคุมดลุ ยภาพของกรด-เบสของ

โครงสร้างต่าง ๆ ภายในเซลล์ เลอื ดโดยการทางานของไตและปอด

3. อธบิ ายความสมั พันธ์ระหวา่ งรปู รา่ งกับการทา 4. อธิบายการควบคุมดุลยภาพของอุณหภมู ภิ ายใน

หนา้ ท่ีของเซลล์ รา่ งกายโดยระบบหมุนเวยี นเลือด ผวิ หนงั และ

4. อธิบายการจัดระบบของส่ิงมชี วี ิต โดยเริ่มจาก กลา้ มเนือ้ โครงร่าง

เซลล์ เนอื้ เย่ือ อวยั วะ ระบบอวัยวะ จนเปน็ 5. อธบิ าย และเขียนแผนผังเกีย่ วกับการตอบสนอง

สิ่งมชี วี ิต ของรา่ งกายแบบไมจ่ าเพาะ และแบบจาเพาะต่อสิ่ง

5. อธบิ ายกระบวนการแพร่และออสโมซิสจาก แปลกปลอมของรา่ งกาย

หลักฐานเชงิ ประจักษ์ และยกตัวอยา่ งการแพร่ 6. สืบคน้ ข้อมูล อธิบาย และยกตัวอย่างโรคหรือ

และออสโมซิสในชวี ติ ประจาวัน อาการท่เี กิดจากความผิดปกติของระบบ

6. ระบปุ ัจจยั ท่จี าเปน็ ในการสังเคราะห์ดว้ ยแสง ภูมคิ มุ้ กัน

และผลผลิตท่เี กดิ ขึน้ จากการสังเคราะห์ดว้ ยแสง 7. อธิบายภาวะภูมคิ มุ้ กันบกพรอ่ งที่มีสาเหตมุ าจาก

โดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ การติดเชื้อ HIV

7. อธิบายความสาคญั ของการสังเคราะห์ดว้ ยแสง 8. ทดสอบ และบอกชนิดของสารอาหารที่พชื

ของพชื ตอ่ สิ่งมชี วี ิตและสิง่ แวดล้อม สงั เคราะห์ได้

8. ตระหนกั ในคุณคา่ ของพชื ท่ีมีตอ่ สิ่งมีชีวิตและ 9. สืบค้นขอ้ มลู อภปิ ราย และยกตัวอย่างเกีย่ วกบั

สง่ิ แวดลอ้ ม โดยการร่วมกันปลูกและดูแลรักษา การใชป้ ระโยชน์จากสารตา่ ง ๆ ที่พืชบางชนิด สรา้ ง

ตน้ ไม้ในโรงเรียนและชมุ ชน ขึ้น

9. บรรยายลกั ษณะและหน้าทข่ี องไซเลม็ และโฟล 10. ออกแบบการทดลอง ทดลอง และอธิบาย

เอม็ เกีย่ วกับปจั จัยภายนอกที่มีผลต่อการเจริญเตบิ โตของ

10. เขยี นแผนภาพทีบ่ รรยายทศิ ทางการลาเลยี ง พืช

สารในไซเล็มและโฟลเอ็มของพชื 19

11. อธิบายการสืบพนั ธ์ุแบบอาศัยเพศ และไม่ 11. สบื ค้นข้อมูลเก่ยี วกบั สารควบคุมการเจริญเตบิ โต
อาศัยเพศของพืชดอก ของพชื ท่ีมนุษย์สังเคราะหข์ น้ึ และยกตวั อย่างการ
12. อธบิ ายลักษณะโครงสร้างของดอกทมี่ ีสว่ นทา นามาประยุกตใ์ ชท้ างด้านการเกษตรของพชื
ใหเ้ กิดการถ่ายเรณู รวมทัง้ บรรยาย การปฏิสนธิ 12. สงั เกต และอธบิ ายการตอบสนองของพืชต่อสงิ่
เรา้ ในรูปแบบต่าง ๆ ทม่ี ีผลต่อการดารงชีวติ

หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนร้วู ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี อสิ ลามวทิ ยาลัยแห่งประเทศไทย - 157 -

ของพืชดอก การเกิดผลและเมล็ด การกระจาย

เมล็ด และการงอกของเมลด็ ม.5 -
-
13. ตระหนกั ถึงความสาคัญของสตั วท์ ช่ี ่วยในการ ม.6

ถา่ ยเรณขู องพชื ดอก โดยการไมท่ าลายชวี ิต ของ

สตั วท์ ่ชี ่วยในการถา่ ยเรณู

14.อธบิ ายความสาคัญของธาตุอาหารบางชนดิ ท่ีมี

ผลตอ่ การเจรญิ เติบโตและการดารงชวี ติ ของพชื

15.เลอื กใช้ปุ๋ยที่มธี าตอุ าหารเหมาะสมกับพืชใน

สถานการณ์ท่ีกาหนด

16.เลอื กวิธกี ารขยายพันธุพ์ ืชให้เหมาะสมกบั

ความตอ้ งการของมนษุ ย์ โดยใช้ความรเู้ กย่ี วกับ

การสืบพันธ์ขุ องพชื

17.อธิบายความสาคญั ของเทคโนโลยีการ

เพาะเล้ยี งเนือ้ เย่ือพชื ในการใชป้ ระโยชนด์ ้านต่าง



18. ตระหนักถึงประโยชนข์ องการขยายพนั ธพ์ุ ชื

โดยการนาความรไู้ ปใชใ้ นชวี ติ ประจาวนั

ม.2

1. ระบุอวยั วะและบรรยายหน้าที่ของอวัยวะท่ี

เกยี่ วข้องในระบบหายใจ

2. อธบิ ายกลไกการหายใจเข้าและออก โดยใช้

แบบจาลอง รวมท้งั อธิบายกระบวนการ

แลกเปลยี่ นแก๊ส

3. ตระหนักถึงความสาคญั ของระบบหายใจโดย

การบอกแนวทางในการดูแลรักษาอวยั วะ

ในระบบหายใจให้ทางานเปน็ ปกติ

4. ระบุอวัยวะและบรรยายหนา้ ทขี่ องอวัยวะใน

ระบบขับถา่ ยในการกาจดั ของเสียทางไต

5. ตระหนกั ถงึ ความสาคัญของระบบขับถ่ายใน

การกาจัดของเสียทางไต โดยการบอกแนวทางใน

การปฏบิ ตั ิตนท่ีชว่ ยให้ระบบขับถา่ ยทาหน้าที่ได้

อยา่ งปกติ

6. บรรยายโครงสรา้ งและหน้าทขี่ องหัวใจหลอด

เลือด และเลือด

7. อธบิ ายการทางานของระบบหมนุ เวียนเลือด

โดยใช้แบบจาลอง

8. ออกแบบการทดลองและทดลอง ในการ

เปรียบเทยี บอตั ราการเต้นของหัวใจ ขณะปกติ

และหลังทากิจกรรม

หลักสตู รกลุ่มสาระการเรยี นร้วู ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี อิสลามวทิ ยาลยั แห่งประเทศไทย - 158 -
20

9. ตระหนกั ถงึ ความสาคัญของระบบหมนุ เวยี น
เลอื ดโดยการบอกแนวทางในการดแู ลรักษา
อวัยวะ
10. ระบุอวยั วะและบรรยายหน้าที่ของอวัยวะใน
ระบบประสาทสว่ นกลางในการควบคุม
การทางานต่าง ๆ ของร่างกาย
11. ตระหนักถึงความสาคัญของระบบประสาท
โดยการบอกแนวทางในการดูแลรกั ษา รวมถึง
การป้องกันการกระทบกระเทือนและอนั ตรายต่อ
สมองและไขสันหลงั
12. ระบุอวยั วะและบรรยายหนา้ ท่ขี องอวยั วะใน
ระบบสืบพันธ์ขุ องเพศชายและเพศหญิง
โดยใชแ้ บบจาลอง
13. อธิบายผลของฮอรโ์ มนเพศชายและเพศหญงิ
ท่คี วบคุมการเปล่ียนแปลงของรา่ งกาย เมือ่ เข้าสู่
วัยหนุ่มสาว
14. ตระหนกั ถึงการเปล่ียนแปลงของร่างกายเมอื่
เขา้ สวู่ ัยหนมุ่ สาว โดยการดูแลรักษาร่างกาย
และจติ ใจของตนเองในชว่ งที่มี
การเปลยี่ นแปลง
15. อธิบายการตกไข่ การมปี ระจาเดอื นการ
ปฏิสนธิ และการพฒั นาของไซโกตจนคลอดเปน็
ทารก

16. เลือกวธิ กี ารคุมกาเนิดทีเ่ หมาะสมกบั
สถานการณ์ทก่ี าหนด
17. ตระหนกั ถึงผลกระทบของการตั้งครรภ์ก่อน
วยั อันควร โดยการประพฤตติ นใหเ้ หมาะสม
ม.3 -

21
หลกั สตู รกลุ่มสาระการเรียนร้วู ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี อสิ ลามวิทยาลัยแห่งประเทศไทย - 159 -

สาระที่ 1 วทิ ยาศาสตรช์ วี ภาพ
มาตรฐาน ว 1.3 เข้าใจกระบวนการและความสาคัญของการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม สาร

พันธุกรรม การเปล่ียนแปลงทางพันธุกรรมที่มีผลต่อส่ิงมีชีวิต ความหลากหลาย ทางชีวภาพและวิวัฒนาการ
ของสิ่งมชี วี ติ รวมทั้งนาความรู้ไปใช้ประโยชน์

ม. 1 – 3 ม. 4 - 6

ม.1 - ม.4

ม.2 - 1. อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างยีน การสังเคราะห์

ม.3 โปรตีน และลกั ษณะทางพันธกุ รรม

1. อธบิ ายความสัมพันธ์ระหวา่ ง ยนี ดีเอ็นเอ และ 2. อธิบายหลักการถ่ายทอดลักษณะที่ถูกควบคมุ ดว้ ย

โครโมโซม โดยใช้แบบจาลอง ยีนท่ีอยบู่ นโครโมโซมเพศและมลั ตเิ ปิลแอลลีล

2. อธิบายการถ่ายทอดลักษณะทางพนั ธกุ รรมจาก 3. อธิบายผลที่เกิดจากการเปล่ียนแปลงลาดับนิวคลี

การผสมโดยพิจารณาลักษณะเดียวทแ่ี อลลีลเด่น โอไทดใ์ นดเี อน็ เอต่อการแสดงลกั ษณะของสิง่ มีชวี ติ

ข่มแอลลีลดอ้ ยอย่างสมบูรณ์ 4. สืบค้นขอ้ มูล และยกตัวอย่างการนามิวเทชันไปใช้

3. อธิบายการเกิดจโี นไทปแ์ ละฟีโนไทป์ของลูก ประโยชน์

และคานวณอตั ราส่วนการเกิดจีโนไทป์ 5. สืบคน้ ข้อมูล และอภปิ รายผลของเทคโนโลยที างดี

และฟีโนไทป์ของรุ่นลูก เอน็ เอท่มี ีตอ่ มนษุ ย์และส่งิ แวดลอ้ ม

4. อธบิ ายความแตกต่างการแบง่ เซลลแ์ บบไมโทซสิ 6. สืบค้นข้อมูล อธิบาย และยกตัวอย่างความ

และไมโอซสิ หลากห ลายขอ งสิ่งมี ชีวิต ซึ่ง เป็นผล มาจา ก

5. บอกได้วา่ การเปลี่ยนแปลงของยีนหรือ ววิ ัฒนาการ

โครโมโซมอาจทาให้เกดิ โรคทางพันธุกรรม

พร้อมทงั้ ยกตวั อยา่ งโรคทางพันธุกรรม ม.5 -

6. ตระหนกั ถึงประโยชน์ของความรูเ้ ร่ืองโรคทาง ม.6 -

พันธุกรรม โดยรวู้ า่ กอ่ นแต่งงานควรปรกึ ษาแพทย์

เพอ่ื ตรวจและวินจิ ฉยั ภาวะเสี่ยงของลูกท่ีอาจเกิด

โรคทางพันธุกรรม

7. อธบิ ายการใชป้ ระโยชน์จากสิง่ มีชีวติ ดดั แปร
พันธุกรรม และผลกระทบทอ่ี าจมีต่อมนุษย์
และส่งิ แวดล้อม โดยใชข้ ้อมลู ทรี่ วบรวมได้
8. ตระหนกั ถึงประโยชน์และผลกระทบของ
ส่ิงมชี ีวติ ดดั แปรพันธกุ รรมทอ่ี าจมีต่อมนุษยแ์ ละ
สิ่งแวดลอ้ มโดยการเผยแพร่ความรูท้ ีไ่ ด้จากการ
โต้แย้งทาง
วทิ ยาศาสตร์ ซ่ึงมีขอ้ มลู สนบั สนนุ
9. เปรยี บเทยี บความหลากหลายทางชีวภาพใน
ระดบั ชนดิ สงิ่ มชี ีวติ ในระบบนิเวศต่าง ๆ
10. อธิบายความสาคัญของความหลากหลายทาง
ชวี ภาพที่มตี อ่ การรกั ษาสมดลุ ของระบบนิเวศ
และต่อมนษุ ย์

22
หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนร้วู ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี อิสลามวิทยาลยั แห่งประเทศไทย - 160 -

11. แสดงความตระหนกั ในคุณค่าแลความสาคญั
ของความหลากหลายทางชวี ภาพ โดยมสี ว่ นรว่ มใน
การดูแลรกั ษาความหลากหลายทางชวี ภาพ

23
หลกั สูตรกลุ่มสาระการเรยี นร้วู ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี อสิ ลามวทิ ยาลัยแห่งประเทศไทย - 161 -

สาระท่ี 2 วิทยาศาสตรก์ ายภาพ
มาตรฐาน ว 2.1 เข้าใจสมบัติของสสาร องค์ประกอบของสสาร ความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติ ของ

สสารกับโครงสร้างและแรงยึดเหน่ียวระหว่างอนุภาค หลักและธรรมชาติ ของการเปลี่ยนแปลงสถานะของ
สสาร การเกิดสารละลาย และการเกิดปฏิกิริยาเคมี

ม. 1 – 3 ม. 4 - 6

ม.1 ม.4 -

1. อธิบายสมบตั ิทางกายภาพบางประการของธาตุ ม.5

โลหะ อโลหะ และก่งึ โลหะ โดยใชห้ ลักฐาน 1. ระบวุ ่าสารเปน็ ธาตหุ รือสารประกอบ และอยู่ใน

เชงิ ประจกั ษ์ที่ไดจ้ ากการสังเกตและการทดสอบและ รูปอะตอม โมเลกุล หรอื ไอออนจากสูตรเคมี

ใช้สารสนเทศท่ีได้จากแหลง่ ข้อมูลต่าง ๆรวมทั้งจดั 2. เปรียบเทียบความเหมือนและความแตกต่างของ

กลุม่ ธาตุเป็นโลหะ อโลหะ และกงึ่ โลหะ แบบจาลองอะตอมของโบรก์ ับแบบจาลอง

2. วิเคราะหผ์ ลจากการใชธ้ าตุโลหะ อโลหะ กึ่งโลหะ อะตอมแบบกลมุ่ หมอก

และธาตุกมั มนั ตรงั สี ท่มี ีต่อสง่ิ มีชีวติ สิ่งแวดลอ้ ม 3. ระบจุ านวนโปรตอน นวิ ตรอน และอิเล็กตรอนของ

เศรษฐกจิ และสงั คม จากข้อมูลทร่ี วบรวมได้ อะตอม และไอออนที่เกดิ จากอะตอมเดยี ว

3. ตระหนกั ถึงคุณคา่ ของการใชธ้ าตุโลหะ อโลหะกงึ่ 4. เขยี นสัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุและระบุการเปน็

โลหะ ธาตุกัมมันตรงั สี โดยเสนอแนวทาง ไอโซโทป

การใช้ธาตุอย่างปลอดภยั คมุ้ ค่า 5. ระบุหมูแ่ ละคาบของธาตุ และระบุวา่ ธาตุเป็นโลหะ

4. เปรยี บเทยี บจดุ เดือด จุดหลอมเหลวของสาร อโลหะ กึ่งโลหะ กลมุ่ ธาตุเรพรีเซนเททีฟ

บริสทุ ธ์ิ หรือกล่มุ ธาตุแทรนซิชัน จากตารางธาตุ

และสารผสม โดยการวัดอุณหภมู ิ เขยี นกราฟแปล 6. เปรยี บเทยี บสมบัติการนาไฟฟ้า การให้และรับ

ความหมายข้อมูลจากกราฟ หรอื สารสนเทศ อเิ ลก็ ตรอนระหวา่ งธาตใุ นกลุ่มโลหะกับอโลหะ

5. อธิบายและเปรยี บเทียบความหนาแนน่ ของสาร 7. สืบค้นขอ้ มูลและนาเสนอตัวอย่างประโยชน์และ

บรสิ ทุ ธิ์และสารผสม อนั ตรายทเี่ กดิ จากธาตเุ รพรเี ซนเททีฟและ

6. ใช้เครอื่ งมือเพ่ือวัดมวลและปริมาตรของสาร ธาตุแทรนซชิ ัน

บรสิ ุทธิแ์ ละสารผสม 8. ระบวุ า่ พันธะโคเวเลนต์เป็นพันธะเด่ยี ว พนั ธะคู่

7. อธิบายเกีย่ วกับความสัมพันธร์ ะหว่างอะตอมธาตุ หรือพันธะสาม และระบุจานวนคู่อเิ ล็กตรอนระหว่าง

และสารประกอบ โดยใชแ้ บบจาลอง อะตอมครู่ ่วมพนั ธะ จากสูตรโครงสรา้ ง

และสารสนเทศ 9. ระบุสภาพขั้วของสารที่โมเลกลุ ประกอบด้วย2

8. อธบิ ายโครงสรา้ งอะตอมที่ประกอบดว้ ยโปรตอน อะตอม

นิวตรอน และอิเล็กตรอน โดยใช้แบบจาลอง 10. ระบุสารท่ีเกิดพนั ธะไฮโดรเจนได้จากสูตรโครงสร้าง

9. อธบิ ายและเปรียบเทยี บการจดั เรยี งอนุภาคแรงยึด 11. อธิบายความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งจุดเดือดของสารโคเว

เหนย่ี วระหว่างอนภุ าค และการเคล่ือนท่ีของอนุภาค เลนตก์ ับแรงดึงดูดระหว่างโมเลกลุ ตามสภาพขัว้ หรอื

ของสสารชนิดเดยี วกนั ในสถานะของแข็ง ของเหลว การเกดิ พันธะไฮโดรเจน

และแก๊ส โดยใช้แบบจาลอง 12. เขยี นสูตรเคมีของไอออนและสารประกอบไอออนิก 24

10. อธบิ ายความสมั พนั ธร์ ะหว่าง พลังงานความร้อน 13. ระบวุ า่ สารเกดิ การละลายแบบแตกตวั หรือไม่แตก

กับการเปล่ียนสถานะของสสาร โดยใชห้ ลกั ฐานเชงิ ตวั พร้อมให้เหตผุ ลและระบวุ ่าสารละลายท่ีได้เป็น

ประจักษ์และแบบจาลอง สารละลายอเิ ลก็ โทรไลต์

ม.2 หรือนอนอเิ ลก็ โทรไลต์

หลกั สูตรกลุ่มสาระการเรียนร้วู ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี อิสลามวิทยาลยั แห่งประเทศไทย - 162 -

1. อธิบายการแยกสารผสมโดยการระเหยแหง้ การตก 14. ระบสุ ารประกอบอินทรยี ์ประเภทไฮโดรคาร์บอนว่า
ผลกึ การกล่นั อยา่ งง่ายโครมาโทกราฟีแบบกระดาษ อ่มิ ตัวหรอื ไม่อม่ิ ตัวจากสูตรโครงสร้าง
การสกดั ดว้ ยตัวทาละลาย โดยใช้หลกั ฐานเชงิ 15. สบื ค้นขอ้ มูลและเปรียบเทยี บสมบัตทิ างกายภาพ
ประจกั ษ์ ระหว่างพอลิเมอร์และมอนอเมอร์ของพอลิเมอรช์ นิดน้นั
2. แยกสารโดยการระเหยแห้ง การตกผลกึ การกลน่ั 16. ระบุสมบตั คิ วามเป็นกรด-เบสจากโครงสร้างของ
อย่างงา่ ย โครมาโทกราฟีแบบกระดาษ สารประกอบอนิ ทรยี ์
การสกดั ดว้ ยตวั ทาละลาย 17. อธบิ ายสมบตั กิ ารละลายในตัวทาละลายชนิดต่าง ๆ
3. นาวธิ กี ารแยกสารไปใช้แก้ปัญหาในชีวติ ประจาวนั ของสาร
โดยบูรณาการวิทยาศาสตร์ คณติ ศาสตรเ์ ทคโนโลยี 18. วเิ คราะหแ์ ละอธิบายความสมั พันธร์ ะหวา่ ง
และวิศวกรรมศาสตร์ โครงสร้างกับสมบตั ิเทอร์มอพลาสตกิ และเทอรม์ อเซต
4. ออกแบบการทดลองและทดลองในการอธบิ ายผล ของพอลิเมอร์ และการนาพอลิเมอรไ์ ปใชป้ ระโยชน์
ของชนดิ ตัวละลาย ชนิดตวั ทาละลายอุณหภมู ิทมี่ ตี ่อ 19. สืบค้นข้อมลู และนาเสนอผลกระทบของการใช้
สภาพละลายได้ของสาร รวมท้งั อธบิ ายผลของความ ผลิตภณั ฑ์พอลิเมอร์ท่ีมตี ่อส่ิงมชี วี ิตและ
ดันที่มตี ่อสภาพละลายได้ สงิ่ แวดลอ้ ม พร้อมแนวทางป้องกันหรือแก้ไข
ของสาร โดยใชส้ ารสนเทศ 20. ระบุสตู รเคมีของสารตั้งต้น ผลติ ภัณฑ์ และแปล
5. ระบปุ ริมาณตัวละลายใน ความหมายของสญั ลักษณ์ในสมการเคมี
สารละลาย ในหน่วย ของปฏิกิริยาเคมี
ความเข้มข้นเปน็ รอ้ ยละ ปรมิ าตรตอ่ ปรมิ าตร 21. ทดลองและอธบิ ายผลของความเข้มขน้ พนื้ ท่ผี ิว
มวลต่อมวล และมวลตอ่ ปริมาตร อณุ หภมู ิ และตวั เรง่ ปฏกิ ริ ยิ าทม่ี ผี ลตอ่ อตั ราการ
6. ตระหนักถงึ ความสาคัญของการนาความรู้เร่ือง เกดิ ปฏิกิรยิ าเคมี
ความเขม้ ข้นของสารไปใช้ โดยยกตวั อยา่ งการใช้ 22. สืบคน้ ขอ้ มลู และอธิบายปัจจัยท่มี ีผลตอ่ อัตราการ
สารละลายในชีวิตประจาวันอยา่ งถูกต้อง เกดิ ปฏกิ ริ ยิ าเคมีท่ใี ชป้ ระโยชน์ในชีวิตประจาวนั หรือใน
และปลอดภัย อุตสาหกรรม
ม.3 23. อธบิ ายความหมายของปฏิกิรยิ ารีดอกซ์
1. ระบสุ มบัติทางกายภาพและการใชป้ ระโยชน์ 24. อธิบายสมบัตขิ องสารกัมมันตรงั สี และคานวณครึ่ง
วัสดุประเภทพอลิเมอร์ เซรามิก และวัสดผุ สม ชวี ิตและปริมาณของสารกัมมันตรังสี
โดยใชห้ ลักฐานเชิงประจักษ์ และสารสนเทศ 25. สืบค้นข้อมลู และนาเสนอตวั อย่างประโยชนข์ องสาร
2. ตระหนักถงึ คุณค่าของการใชว้ สั ดุประเภท กมั มันตรงั สแี ละการป้องกนั อันตรายท่ีเกดิ จาก
พอลเิ มอร์ เซรามิก และวสั ดุผสม โดยเสนอแนะ กัมมนั ตภาพรังสี
แนวทางการใชว้ สั ดอุ ยา่ งประหยัดและคุม้ ค่า ม.6 -
3. อธิบายการเกิดปฏิกริ ยิ าเคมี รวมถึงการจดั
เรยี งตัวใหมข่ องอะตอมเมื่อเกิดปฏกิ ิรยิ าเคมี
โดยใชแ้ บบจาลองและสมการขอ้ ความ
4. อธิบายกฎทรงมวล โดยใช้หลักฐานเชงิ ประจกั ษ์
5. วเิ คราะห์ปฏิกริ ิยาดูดความรอ้ น และปฏกิ ิริยา
คายความร้อน จากการเปลย่ี นแปลงพลังงาน
ความรอ้ นของปฏิกริ ิยา
6. อธิบายปฏิกิรยิ าการเกดิ สนมิ ของเหล็ก ปฏกิ ิริยา
ของกรดกับโลหะ ปฏกิ ิรยิ าของกรดกับเบส และ

25

หลกั สตู รกลุ่มสาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี อสิ ลามวิทยาลยั แห่งประเทศไทย - 163 -

ปฏิกิรยิ าของเบสกับโลหะ โดยใช้หลกั ฐานเชิง
ประจกั ษ์ และอธิบายปฏิกิรยิ าการเผาไหม้
การเกิดฝนกรด การสังเคราะหด์ ว้ ยแสง โดยใช้
สารสนเทศ รวมทั้งเขียนสมการข้อความแสดง
ปฏิกริ ยิ าดงั กล่าว
7. ระบุประโยชนแ์ ละโทษของปฏกิ ริ ิยาเคมี
ท่ีมีตอ่ สิ่งมชี วี ิตและสงิ่ แวดล้อม และยกตัวอยา่ ง
วิธีการปอ้ งกันและแก้ปัญหาท่ีเกิดจากปฏิกริ ยิ าเคมี ที่
พบในชีวติ ประจาวัน จากการสบื ค้นข้อมูล
8. ออกแบบวิธแี กป้ ัญหาในชวี ิตประจาวัน โดยใช้
ความรูเ้ กยี่ วกบั ปฏิกริ ยิ าเคมี โดยบรู ณาการ
วทิ ยาศาสตร์ คณติ ศาสตร์ เทคโนโลยี และ
วิศวกรรมศาสตร์

26
หลักสตู รกลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี อสิ ลามวิทยาลัยแห่งประเทศไทย - 164 -

สาระที่ 2 วทิ ยาศาสตร์กายภาพ
มาตรฐาน ว 2.2 เข้าใจธรรมชาติของแรงในชีวิตประจาวัน ผลของแรงท่ีกระทาต่อวัตถุ ลักษณะการ

เคลือ่ นทแ่ี บบตา่ ง ๆ ของวตั ถุ รวมทงั้ นาความรู้ไปใชป้ ระโยชน์

ม. 1 – 3 ม. 4 - 6

ม.1 ม.4 -

1. สรา้ งแบบจาลองที่อธิบายความสัมพนั ธร์ ะหว่าง ม.5

ความดันอากาศกับความสูงจากพื้นโลก 1. วิเคราะห์และแปลความหมายข้อมูลความเร็วกับ

ม.2 เวลาของการเคล่ือนทข่ี องวัตถุ เพอื่ อธิบาย
1. พยากรณ์การเคลื่อนท่ีของวตั ถุทเ่ี ปน็ ผลของแรงลัพธ์ ความเรง่ ของวตั ถุ
2. สังเกตและอธิบายการหาแรงลัพธท์ ีเ่ กดิ จากแรงหลาย
ที่เกิดจากแรงหลายแรงที่กระทาตอ่ วตั ถุ
แรงทีอ่ ย่ใู นระนาบเดยี วกันทีก่ ระทาตอ่
ในแนวเดยี วกนั จากหลักฐานเชิงประจักษ์
2. เขียนแผนภาพแสดงแรงและแรงลพั ธ์ทีเ่ กิดจากแรง วตั ถุโดยการเขยี นแผนภาพการรวมแบบเวกเตอร์
3. สังเกต วิเคราะห์ และอธิบายความสัมพันธ์ระหว่าง
หลายแรงทกี่ ระทาต่อวตั ถใุ นแนวเดยี วกัน
3. ออกแบบการทดลองและทดลองด้วยวธิ ที ่ีเหมาะสม ความเรง่ ของวัตถกุ ับแรงลัพธ์
ที่กระทาตอ่ วตั ถุและมวลของวัตถุ
ในการอธิบายปจั จัยทม่ี ีผลตอ่ ความดนั
4. สงั เกตและอธิบายแรงกิริยาและแรงปฏกิ ิรยิ าระหว่าง
ของของเหลว
4. วิเคราะหแ์ รงพยุงและการจม การลอยของวัตถุใน วตั ถคุ หู่ น่ึง ๆ
5. สังเกตและอธิบายผลของความเร่งที่มีต่อการ
ของเหลวจากหลักฐานเชิงประจกั ษ์
5. เขยี นแผนภาพแสดงแรงที่กระทาตอ่ วตั ถุในของเหลว เคลือ่ นทแ่ี บบต่าง ๆ ของวัตถุ ได้แก่ การเคลือ่ นท่ี
6. อธิบายแรงเสียดทานสถิตและแรงเสยี ดทานจลน์ แนวตรง การเคล่ือนท่ีแบบโพรเจกไทล์การเคล่ือนที่
แบบวงกลม และการเคล่ือนที่แบบส่ัน
จากหลักฐานเชงิ ประจักษ์
6. สบื คน้ ขอ้ มูลและอธบิ ายแรงโนม้ ถว่ ง
7. ออกแบบการทดลองและทดลองด้วยวิธที ี่
ที่เกี่ยวกับการเคลื่อนที่ของวัตถตุ า่ ง ๆ รอบโลก
เหมาะสมในการอธบิ ายปจั จยั ท่มี ีผลตอ่ ขนาด
7. สงั เกตและอธิบายการเกิดสนามแมเ่ หล็ก
ของแรงเสยี ดทาน
8. เขียนแผนภาพแสดงแรงเสยี ดทานและแรงอน่ื ๆ เน่อื งจากกระแสไฟฟา้
8. สังเกตและอธิบายแรงแม่เหลก็ ท่กี ระทาตอ่
ที่กระทาต่อวตั ถุ
9. ตระหนักถงึ ประโยชนข์ องความรู้เรอื่ งแรงเสียดทาน อนภุ าคทีม่ ีประจไุ ฟฟา้ ทเ่ี คล่อื นท่ีในสนามแม่เหลก็
และแรงแมเ่ หลก็ ที่กระทาตอ่ ลวดตวั นาท่มี ี
โดยวเิ คราะห์สถานการณป์ ัญหาและเสนอแนะ
กระแสไฟฟ้าผา่ นในสนามแมเ่ หลก็ รวมทั้ง
วิธีการลดหรอื เพิม่ แรงเสียดทานทเ่ี ปน็ ประโยชน์
อธบิ ายหลักการทางานของมอเตอร์
ตอ่ การทากิจกรรมในชวี ิตประจาวัน
9. สงั เกตและอธบิ ายการเกิดอีเอม็ เอฟ รวมทั้ง
10. ออกแบบการทดลองและทดลองดว้ ยวิธี
ยกตวั อยา่ งการนาความรไู้ ปใชป้ ระโยชน์
ทเี่ หมาะสมในการอธิบายโมเมนต์
10. สบื คน้ ข้อมลู และอธิบายแรงเข้มและแรงอ่อน
ของแรง เมื่อวตั ถุอยู่ในสภาพสมดุลต่อ
ม.6 -
การหมนุ และคานวณโดยใชส้ มการ

M = Fl

11. เปรยี บเทยี บแหล่งของสนามแม่เหลก็

สนามไฟฟา้ และสนามโน้มถว่ ง และทิศทาง

ของแรงท่กี ระทาตอ่ วัตถุที่อยู่ในแตล่ ะสนาม

จากข้อมูลท่ีรวบรวมได้

27

หลกั สตู รกลุ่มสาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี อิสลามวิทยาลัยแห่งประเทศไทย - 165 -

12. เขยี นแผนภาพแสดงแรงแม่เหลก็ แรงไฟฟา้
และแรงโนม้ ถ่วงทก่ี ระทาต่อวัตถุ
13. วเิ คราะห์ความสมั พันธร์ ะหวา่ งขนาดของแรง
แม่เหล็ก แรงไฟฟ้า และแรงโนม้ ถ่วงท่ีกระทา
ตอ่ วตั ถทุ ี่อยใู่ นสนามน้ัน ๆ กับระยะหา่ งจาก
แหลง่ ของสนามถงึ วตั ถุจากข้อมูลท่ีรวบรวมได้
14. อธบิ ายและคานวณอัตราเร็วและความเร็วของ
การเคลือ่ นท่ีของวัตถุ โดยใช้สมการ
v = และ ⃑ ⃑⃑ =



จากหลักฐานเชิงประจักษ์
15. เขยี นแผนภาพแสดงการกระจัดและความเรว็
ม.3 -

28
หลกั สตู รกลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี อิสลามวทิ ยาลัยแห่งประเทศไทย - 166 -

สาระท่ี 2 วทิ ยาศาสตรก์ ายภาพ
มาตรฐาน ว 2.3 เข้าใจความหมายของพลังงาน การเปล่ียนแปลงและการถ่ายโอนพลังงาน

ปฏิสัมพันธ์ระหว่างสสารและพลงั งาน พลังงานในชีวิตประจาวนั ธรรมชาติ ของคลนื่ ปรากฏการณ์ที่เกยี่ วข้อง
กับเสียง แสง และคล่นื แม่เหลก็ ไฟฟ้า รวมทั้งนาความรู้ไปใช้ประโยชน์

ม. 1 – 3 ม. 4 - 6

ม.1 ม.4 -

1. วิเคราะห์ แปลความหมายข้อมลู และคานวณปริมาณ ม.5

ความร้อนที่ทาใหส้ สารเปลี่ยนอุณหภูมิและเปล่ยี นสถานะ 1. สืบค้นข้อมูลและอธิบายพลังงานนิวเคลียร์ฟิชชัน

โดยใช้สมการ Q = mcΔt และ และฟิวชัน และความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งมวล

Q = mL กบั พลังงานที่ปลดปล่อยออกมาจากฟิชชันและฟิวชนั

2. ใช้เทอร์มอมิเตอรใ์ นการวัดอุณหภมู ขิ องสสาร 2. สืบค้นข้อมูล และอธิบายการเปลี่ยนพลังงานทดแทน

3. สรา้ งแบบจาลองท่ีอธบิ ายการขยายตวั หรือหดตวั เป็นพลังงานไฟฟา้ รวมทง้ั สืบคน้ และ
อภิปรายเก่ียวกับเทคโนโลยีท่ีนามาแก้ปัญหาหรือ
เนอ่ื งจากได้รับหรือสูญเสียความร้อน
4. ตระหนักถึงประโยชน์ของความรขู้ องการหดและ ตอบสนองความตอ้ งการทางด้านพลังงาน
ขยายตวั ของสสารเนอื่ งจากความร้อนโดยวเิ คราะห์ โดยเน้นด้านประสิทธภิ าพและความคุม้ ค่าดา้ นคา่ ใชจ้ า่ ย
สถานการณ์ปัญหา และเสนอแนะวิธีการนาความรู้มา 3. สังเกต และอธิบายการสะท้อน การหักเหการ
เล้ียวเบน และการรวมคล่ืน
แกป้ ัญหาในชีวิตประจาวนั
5. วิเคราะห์สถานการณก์ ารถ่ายโอนความรอ้ นและ 4. สงั เกต และอธิบายความถธ่ี รรมชาติ การส่ันพ้องและ
คานวณปริมาณความร้อนท่ีถ่ายโอนระหว่างสสารจนเกิด ผลที่เกิดขน้ึ จากการส่นั พ้อง
5. สังเกต และอธิบายการสะท้อน การหักเหการ
สมดลุ ความรอ้ นโดยใช้
เล้ยี วเบน และการรวมคลื่นของคล่ืนเสยี ง
สมการ Q สูญเสีย = Q ไดร้ บั
6. สรา้ งแบบจาลองท่ีอธบิ ายการถ่ายโอนความรอ้ นโดย 6. สืบค้นข้อมูล และอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างความ
การนาความร้อน การพาความร้อนการแผร่ งั สคี วามร้อน เข้มเสยี งกับระดับเสียงและผลของความถี่กับระดับเสียง
7. ออกแบบ เลอื กใช้ และสร้างอุปกรณ์ เพอ่ื แก้ปัญหาใน ทีม่ ตี อ่ การไดย้ ินเสยี ง
ชวี ิตประจาวนั โดยใชค้ วามรู้เกี่ยวกับการถ่ายโอนความ 7. สงั เกต และอธิบายการเกดิ เสยี งสะทอ้ นกลบั บี
รอ้ น ตดอปเพลอร์ และการส่นั พ้องของเสียง
ม.2 8. สืบค้นข้อมูล และยกตัวอย่างการนาความรู้เก่ียวกับ
1. วิเคราะหส์ ถานการณแ์ ละคานวณเกย่ี วกบั งาน และ เสียงไปใช้ประโยชนใ์ นชวี ิตประจาวัน

กาลังที่เกิดจากแรงทก่ี ระทาตอ่ วตั ถโุ ดยใชส้ มการ 9. สังเกต และอธิบายการมองเห็นสีของวัตถุและความ

W = Fs และ P= จากขอ้ มูลท่รี วบรวมได้ ผดิ ปกติในการมองเห็นสี
10. สังเกต และอธิบายการทางานของแผ่นกรองแสงสี
การผสมแสงสี การผสมสารสี และการนาไปใช้
ประโยชน์ในชวี ิตประจาวัน
2. วเิ คราะห์หลกั การทางานของเคร่ืองกลอย่างง่าย จาก
ข้อมลู ท่รี วบรวมได้

3. ตระหนักถึงประโยชนข์ องความรขู้ องเคร่ืองกลอย่าง 11. สบื คน้ ข้อมูลและอธิบายคลืน่ แมเ่ หล็กไฟฟ้า
งา่ ย โดยบอกประโยชน์ และการประยุกต์ใช้ใน สว่ นประกอบคลื่นแม่เหลก็ ไฟฟ้า และหลัก
ชีวิตประจาวนั การทางานของอปุ กรณบ์ างชนิดทีอ่ าศัย
4. ออกแบบและทดลองดว้ ยวธิ ีที่เหมาะสม คลื่นแมเ่ หลก็ ไฟฟ้า
ในการอธบิ ายปจั จยั ที่มีผลตอ่ พลงั งานจลน์ 12. สบื ค้นข้อมลู และอธบิ ายการสือ่ สาร โดยอาศัย

29
หลกั สตู รกลุ่มสาระการเรยี นร้วู ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี อิสลามวิทยาลัยแห่งประเทศไทย - 167 -

และพลังงานศกั ยโ์ นม้ ถว่ ง คลืน่ แม่เหล็กไฟฟา้ ในการส่งผา่ นสารสนเทศ

5. แปลความหมายข้อมูลและอธิบายการเปล่ยี น และเปรียบเทียบการส่ือสารด้วยสญั ญาณ

พลงั งานระหว่างพลังงานศักย์โน้มถ่วงและ แอนะลอ็ กกบั สญั ญาณดิจทิ ลั

พลังงานจลน์ของวัตถโุ ดยพลังงานกลของวัตถุ ม.6 -

มคี ่าคงตัวจากข้อมลู ท่รี วบรวมได้

6. วเิ คราะหส์ ถานการณ์และอธิบายการเปลี่ยน

และการถา่ ยโอนพลังงานโดยใช้

กฎการอนุรักษ์พลงั งาน

ม.3

1. วเิ คราะหค์ วามสมั พันธ์ระหวา่ งความต่างศักย์

กระแสไฟฟ้า และความต้านทาน และคานวณ

ปรมิ าณท่ีเกี่ยวขอ้ งโดยใช้สมการ V = IR

จากหลักฐานเชงิ ประจักษ์

2. เขยี นกราฟความสัมพนั ธร์ ะหว่างกระแสไฟฟ้า

และความตา่ งศักย์ไฟฟา้

3. ใชโ้ วลตม์ เิ ตอร์ แอมมิเตอร์ในการวดั ปรมิ าณทางไฟฟา้

4. วเิ คราะห์ความต่างศักย์ไฟฟา้ และกระแสไฟฟ้า

ในวงจรไฟฟ้าเมื่อต่อตัวตา้ นทานหลายตัว

แบบอนุกรมและแบบขนานจากหลักฐาน

เชงิ ประจักษ์

5. เขียนแผนภาพวงจรไฟฟา้ แสดงการตอ่ ตัวตา้ นทาน

แบบอนกุ รมและขนาน

6. บรรยายการทางานของชิ้นส่วนอิเลก็ ทรอนิกส์

อย่างงา่ ยในวงจรจากข้อมูลที่รวบรวมได้

7. เขยี นแผนภาพและต่อชิ้นส่วนอเิ ลก็ ทรอนิกส์

อยา่ งงา่ ยในวงจรไฟฟ้า

8. อธิบายและคานวณพลงั งานไฟฟา้ โดยใชส้ มการ

W = Pt รวมท้งั คานวณค่าไฟฟ้าของเครอ่ื งใช้ ไฟฟ้าในบ้าน

9. ตระหนกั ในคุณคา่ ของการเลอื กใช้เคร่ืองใช้ไฟฟ้า โดย
นาเสนอวธิ ีการใชเ้ ครื่องใช้ไฟฟ้า อย่างประหยัดและ
ปลอดภยั
10. สรา้ งแบบจาลองท่ีอธบิ ายการเกิดคลื่น
และบรรยายสว่ นประกอบของคล่ืน
11. อธิบายคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าและสเปกตรัม
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าจากข้อมูลท่รี วบรวมได้
12. ตระหนักถึงประโยชนแ์ ละอันตรายจาก

หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี อสิ ลามวทิ ยาลยั แห่งประเทศไทย - 168 -

คลืน่ แม่เหลก็ ไฟฟ้าโดยนาเสนอการใช้ ประโยชนใ์ นด้าน 30
ตา่ ง ๆ และอันตรายจาก คลืน่ แม่เหลก็ ไฟฟา้ ใน
ชวี ิตประจาวนั
13. ออกแบบการทดลองและดาเนนิ การทดลองดว้ ยวธิ ที ่ี
เหมาะสมในการอธิบาย
กฎการสะท้อนของแสง
14. เขยี นแผนภาพการเคล่ือนที่ของแสง แสดงการเกิด
ภาพจากกระจกเงา
15. อธิบายการหักเหของแสงเมื่อผ่านตวั กลางโปร่งใสท่ี
แตกต่างกัน และอธิบายการกระจาย
แสงของแสงขาวเม่ือผา่ นปรซิ ึมจากหลกั ฐานเชงิ ประจักษ์
16. เขยี นแผนภาพการเคลอื่ นที่ของแสงแสดงการเกิดภาพ
จากเลนส์บาง
17. อธิบายปรากฏการณท์ ่เี ก่ียวกบั แสง และการทางาน
ของทัศนอปุ กรณจ์ ากข้อมลู ที่รวบรวมได้
18. เขียนแผนภาพการเคลื่อนทข่ี องแสง แสดงการเกดิ
ภาพของทศั นอุปกรณ์และเลนส์ตา
19. อธบิ ายผลของความสว่างทีม่ ตี อ่ ดวงตาจากข้อมลู ท่ี
ได้จากการสืบคน้
20. วัดความสว่างของแสงโดยใช้อุปกรณว์ ดั ความสวา่ ง
ของแสง
21. ตระหนกั ในคุณค่าของความรเู้ รือ่ ง ความสวา่ งของ
แสงที่มีต่อดวงตา โดยวเิ คราะหส์ ถานการณ์
ปญั หาและเสนอแนะการจัดความสว่างให้เหมาะสมในการ
ทากิจกรรมต่าง ๆ

31
หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี อิสลามวทิ ยาลัยแห่งประเทศไทย - 169 -

สาระที่ 3 วทิ ยาศาสตรโ์ ลก และอวกาศ
มาตรฐาน ว 3.1 เข้าใจองค์ประกอบ ลักษณะ กระบวนการเกิด และววิ ัฒนาการของเอกภพ กาแลก็ ซี

ดาวฤกษ์ และระบบสุริยะ รวมทั้งปฏิสัมพันธ์ภายในระบบสุริยะ ท่ีส่งผลต่อส่ิงมีชีวิต และการประยุกต์ใช้
เทคโนโลยอี วกาศ

ม. 1 – 3 ม. 4 - 6

ม.1 - ม.4 -
ม.2 - ม.5 -
ม.3 ม.6
1. อธิบายการโคจรของดาวเคราะหร์ อบ ดวงอาทติ ย์ 1. อธิบายการกาเนิดและการเปลย่ี นแปลงพลงั งาน
ด้วยแรงโนม้ ถ่วงจากสมการ สสาร ขนาด อุณหภมู ิของเอกภพหลังเกดิ
F = (Gm1 m2 )/r2 บิกแบงในช่วงเวลาต่าง ๆ ตามววิ ัฒนาการของเอกภพ
2. สรา้ งแบบจาลองท่ีอธิบายการเกดิ ฤดู และ การ 2. อธิบายหลักฐานท่ีสนับสนุนทฤษฎีบิกแบง จาก
เคลือ่ นทีป่ รากฏของดวงอาทิตย์
3. สรา้ งแบบจาลองท่ีอธบิ ายการเกิดขา้ งขนึ้ ขา้ งแรม ความสัมพันธร์ ะหว่างความเรว็ กับระยะทางของกาแล็กซี
การเปล่ยี นแปลงเวลาการขน้ึ และตก ของดวงจันทร์ รวมท้ังขอ้ มลู การคน้ พบไมโครเวฟ
และการเกิดนา้ ขึ้นน้าลง พ้ืนหลังจากอวกาศ
4. อธบิ ายการใช้ประโยชน์ของเทคโนโลยอี วกาศ 3. อธิบายโครงสรา้ งและองค์ประกอบของกาแลก็ ซี
และยกตัวอย่างความก้าวหน้าของโครงการ ทางช้างเผือก และระบตุ าแหน่งของระบบสุริยะ
สารวจอวกาศ จากข้อมูลทร่ี วบรวมได้ พร้อมอธิบายเชื่อมโยงกับการสังเกตเห็นทางช้างเผือก
ของคนบนโลก
4. อธบิ ายกระบวนการเกิดดาวฤกษ์ โดยแสดง
การเปลี่ยนแปลงความดนั อณุ หภมู ิ ขนาด
จากดาวฤกษ์ก่อนเกิดจนเป็นดาวฤกษ์
5. ระบุปจั จัยท่สี ง่ ผลตอ่ ความสอ่ งสว่างของ
ดาวฤกษ์ และอธบิ ายความสัมพนั ธ์ระหวา่ ง
ความสอ่ งสว่างกบั โชติมาตรของดาวฤกษ์
6. อธบิ ายความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งสี อณุ หภมู ผิ วิ
และสเปกตรัมของดาวฤกษ์
7. อธิบายลาดับววิ ฒั นาการท่สี มั พนั ธ์กับมวลตง้ั ตน้
และวิเคราะหก์ ารเปล่ยี นแปลงสมบัตบิ างประการ
ของดาวฤกษ์
8. อธิบายกระบวนการเกดิ ระบบสรุ ิยะ และการแบ่ง
เขตบริวารของดวงอาทติ ย์ และลักษณะของ
ดาวเคราะหท์ เ่ี อือ้ ต่อการดารงชีวิต
9. อธิบายโครงสรา้ งของดวงอาทิตย์ การเกดิ
ลมสรุ ยิ ะ พายุสรุ ยิ ะ และสืบคน้ ขอ้ มลู วิเคราะห์
นาเสนอปรากฏการณ์หรือเหตุการณท์ เี่ กี่ยวข้อง
กับผลของลมสุริยะ และพายสุ ุรยิ ะทม่ี ีต่อโลก
รวมทง้ั ประเทศไทย
10. สืบคน้ ข้อมลู อธิบายการสารวจอวกาศ โดยใช้

32
หลักสูตรกลุ่มสาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี อิสลามวทิ ยาลัยแห่งประเทศไทย - 170 -

กล้องโทรทรรศนใ์ นช่วงความยาวคลนื่ ต่าง ๆ
ดาวเทยี ม ยานอวกาศ สถานอี วกาศ และนาเสนอ
แนวคดิ การนาความรทู้ างดา้ นเทคโนโลยี
อวกาศมาประยุกตใ์ ช้ ในชีวิตประจาวนั
หรือในอนาคต

สาระท่ี 3 วทิ ยาศาสตรโ์ ลก และอวกาศ
มาตรฐาน ว 3.2 เข้าใจองค์ประกอบและความสัมพันธ์ของระบบโลก กระบวนการเปล่ียนแปลง

ภายในโลกและบนผิวโลก ธรณีพิบัติภยั กระบวนการเปลี่ยนแปลง ลมฟ้าอากาศและภูมิอากาศโลก รวมทั้งผล
ตอ่ สงิ่ มชี วี ิตและสิง่ แวดล้อม

ม. 1 – 3 ม. 4 - 6

ม.1 ม.4 -

1. สร้างแบบจาลองท่ีอธิบายการแบ่งช้ันบรรยากาศ และ ม.5 -

เปรยี บเทียบประโยชน์ของบรรยากาศแตล่ ะชั้น ม.6

2. อธิบายปัจจัยที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงองค์ประกอบ 1. อธบิ ายการแบ่งชนั้ และสมบัตขิ องโครงสรา้ งโลก
ของลมฟ้าอากาศ จากขอ้ มลู ที่รวบรวมได้
พร้อมยกตวั อยา่ งข้อมูลที่สนบั สนนุ
3. เปรียบเทยี บกระบวนการเกดิ พายุ ฝนฟา้ คะนอง และพายุ 2. อธบิ ายหลักฐานทางธรณีวิทยาท่ีสนบั สนนุ
หมุนเขตร้อน และผลที่มีต่อสิ่งมีชีวิตและส่ิงแวดล้อม การเคลอ่ื นทข่ี องแผน่ ธรณี
รวมทั้งนาเสนอแนวทางการปฏิบัติตนให้เหมาะสมและ 3. ระบุสาเหตุ และอธิบายรปู แบบแนวรอยต่อ
ปลอดภัย
ของแผ่นธรณีที่สัมพันธ์กับการเคล่ือนท่ีของแผ่นธรณี
4. อธิบายการพยากรณ์อากาศ และพยากรณ์อากาศอย่าง พรอ้ มยกตัวอยา่ งหลกั ฐานทางธรณีวิทยาท่ีพบ
งา่ ยจากขอ้ มูลทรี่ วบรวมได้
4. อธบิ ายสาเหตุ กระบวนการเกดิ ภูเขาไฟระเบิด
5. ตระหนักถึงคุณค่าของการพยากรณ์อากาศ โดยนาเสนอ รวมท้ังสืบค้นข้อมูลพนื้ ท่ีเส่ียงภยั ออกแบบและ
แนวทางการปฏิบัตติ นและการใช้ประโยชนจ์ ากคาพยากรณ์ นาเสนอแนวทางการเฝ้าระวังและการปฏิบตั ติ น
อากาศ ให้ปลอดภัย
6. อธิบายสถานการณ์และผลกระทบการเปลี่ยนแปลง 5. อธบิ ายสาเหตุ กระบวนการเกิด ขนาดและ
ภมู ิอากาศโลกจากข้อมลู ท่ีรวบรวมได้
ความรุนแรง และผลจากแผ่นดนิ ไหว รวมทัง้
7. ตระหนักถึงผลกระทบของการเปลย่ี นแปลง
สืบค้นข้อมูลพื้นท่ีเส่ียงภัย ออกแบบและนาเสนอแนว
ภมู ิอากาศโลก โดยนาเสนอแนวทางการปฏบิ ตั ติ น ทางการเฝ้าระวงั และการปฏิบตั ิตน ใหป้ ลอดภยั
ภายใตก้ ารเปลยี่ นแปลงภมู ิอากาศโลก
6. อธิบายสาเหตุ กระบวนการเกดิ และผลจากสึนามิ

หลกั สตู รกลุ่มสาระการเรียนรูว้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี อิสลามวิทยาลัยแห่งประเทศไทย - 171 -

ม.2 รวมทง้ั สืบค้นข้อมูลพื้นท่ีเส่ียงภัย ออกแบบ และนาเสนอ

1. เปรยี บเทียบกระบวนการเกิด สมบตั ิ และการใช้ แนวทางการเฝ้าระวงั และการปฏบิ ัติตนให้ปลอดภยั

ประโยชน์ รวมทงั้ อธิบายผลกระทบจากการใช้ 7. อธิบายปจั จยั สาคัญทม่ี ผี ลต่อการไดร้ ับพลังงาน

เชอ้ื เพลงิ ซากดึกดาบรรพ์ จากข้อมลู ทีร่ วบรวมได้ จากดวงอาทติ ย์แตกตา่ งกันในแตล่ ะบริเวณของโลก

2. แสดงความตระหนักถึงผลจากการใชเ้ ช้ือเพลิง 8. อธิบายการหมุนเวียนของอากาศ ที่เป็นผลมาจาก

ซากดกึ ดาบรรพ์ โดยนาเสนอแนวทางการใช้ ความแตกต่างของความกดอากาศ

เชอ้ื เพลิงซากดึกดาบรรพ์ 9. อธบิ ายทศิ ทางการเคล่ือนท่ีของอากาศ ท่ีเปน็

3. เปรยี บเทยี บขอ้ ดีและข้อจากดั ของพลงั งาน ผลมาจากการหมุนรอบตวั เองของโลก

ทดแทนแตล่ ะประเภทจากการรวบรวมข้อมูล 10. อธิบายการหมุนเวียนของอากาศตามเขต ละติจูด

และนาเสนอแนวทางการใช้พลังงานทดแทน และผลทม่ี ีต่อภูมิอากาศ

ทเ่ี หมาะสมในท้องถนิ่ 11. อธิบายปัจจัยท่ีทาให้เกิดการหมุนเวียนของน้า

4. สรา้ งแบบจาลองที่อธบิ ายโครงสร้างภายในโลก ผิวหน้าในมหาสมุทร และรูปแบบการหมุนเวียนของน้า

ตามองค์ประกอบทางเคมีจากข้อมลู ทรี่ วบรวมได้ ผิวหน้าในมหาสมุทร

5. อธิบายกระบวนการผพุ ังอยู่กบั ท่ี การกรอ่ น 12. อธิบายผลของการหมุนเวียนของอากาศ และน้า

และการสะสมตัวของตะกอนจากแบบจาลอง ผิวหน้าในมหาสมุทรที่มีต่อลักษณะ ภูมิอากาศ ลมฟ้า

รวมทั้งยกตวั อย่างผลของกระบวนการดังกลา่ ว อากาศ สิ่งมีชวี ิต และสิ่งแวดล้อม

ทท่ี าใหผ้ ิวโลกเกดิ การเปลยี่ นแปลง 13. อธบิ ายปจั จัยท่มี ีผลตอ่ การเปลี่ยนแปลง

6. อธบิ ายลักษณะของชัน้ หน้าตดั ดนิ และกระบวนการ ภูมิอากาศของโลก พร้อมท้ังนาเสนอแนวปฏิบัติเพื่อลด

เกิดดิน จากแบบจาลอง รวมทั้งระบปุ ัจจัย กิจกรรมของมนุษย์ ท่ีส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลง

ทท่ี าให้ดินมลี ักษณะและสมบัติแตกต่างกัน ภูมอิ ากาศโลก

7. ตรวจวดั สมบตั ิบางประการของดนิ โดยใชเ้ ครอื่ งมือที่ 14. แปลความหมายสญั ลกั ษณ์ลมฟ้าอากาศ

เหมาะสมและนาเสนอแนวทางการใช้ ที่สาคัญจากแผนที่อากาศ และนาข้อมูล สารสนเทศต่าง

ประโยชนด์ ินจากข้อมูลสมบัติของดิน ๆ มาวางแผนการดาเนินชีวิตให้สอดคล้องกับสภาพลม

8. อธบิ ายปจั จัยและกระบวนการเกดิ แหล่งน้าผิวดิน ฟา้ อากาศ

และแหล่งน้าใต้ดิน จากแบบจาลอง

9. สร้างแบบจาลองที่อธิบายการใช้นา้ และนาเสนอ

แนวทางการใชน้ ้าอยา่ งยงั่ ยนื ในทอ้ งถน่ิ ของตนเอง

10. สรา้ งแบบจาลองที่อธิบายกระบวนการเกดิ

และผลกระทบของนา้ ท่วม การกดั เซาะชายฝั่ง

ดนิ ถลม่ หลุมยุบ แผ่นดินทรดุ

ม.3 -

34
หลักสตู รกลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี อสิ ลามวทิ ยาลยั แห่งประเทศไทย - 172 -

สาระท่ี 4 เทคโนโลยี

มาตรฐาน ว 4.1 เข้าใจแนวคิดหลักของเทคโนโลยีเพื่อการดารงชีวิตในสังคมท่ีมีการเปล่ียนแปลง

อย่างรวดเร็ว ใช้ความรู้และทักษะทางด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และ ศาสตร์อ่ืน ๆ เพื่อแก้ปัญหาหรือ

พัฒนางานอย่างมีความคิดสร้างสรรค์ ด้วยกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม เลือกใช้เทคโนโลยีอย่าง

เหมาะสม โดยคานึงถึงผลกระทบต่อชีวิต สงั คม และสง่ิ แวดลอ้ ม

ม. 1 – 3 ม. 4 - 6

ม.1 ม.4

1. อธิบายแนวคิดหลักของเทคโนโลยีในชีวิตประจาวัน 1. วิเคราะห์แนวคิดหลักของเทคโนโลยี ความสัมพันธ์

และวิเคราะห์สาเหตุหรือปัจจัยท่ีส่งผลต่อ การ กบั ศาสตร์อ่ืน โดยเฉพาะวิทยาศาสตร์ หรือคณิตศาสตร์

เปลย่ี นแปลงของเทคโนโลยี รวมทง้ั ประเมนิ ผลกระทบที่

2. ระบปุ ญั หาหรอื ความต้องการในชีวติ ประจาวนั จะเกิดข้ึนต่อมนุษย์ สังคม เศรษฐกิจ และสิ่งแวดล้อม

รวบรวม วเิ คราะหข์ อ้ มลู และแนวคิดทเี่ กยี่ วขอ้ ง เพ่ือเป็นแนวทางในการพัฒนา

กับปัญหา เทคโนโลยี

3. ออกแบบวธิ กี ารแกป้ ญั หา โดยวเิ คราะห์ 2. ระบปุ ญั หาหรอื ความตอ้ งการทมี่ ีผลกระทบต่อ

เปรียบเทียบ และตัดสินใจเลือกขอ้ มูลท่ีจาเป็น นาเสนอ สังคม รวบรวม วิเคราะห์ข้อมูลและแนวคิดท่ีเกี่ยวข้อง

แนวทางการแก้ปัญหาให้ผู้อ่ืนเข้าใจวางแผน และ กับปัญหาท่ีมีความซับซ้อน เพื่อสังเคราะห์วิธีการ

ดาเนินการแกป้ ญั หา เทคนิคในการแก้ปัญหา โดยคานึงถึงความถูกต้องด้าน

4. ทดสอบ ประเมินผล และระบุข้อบกพร่องท่ีเกิดขึ้น ทรพั ย์สนิ ทางปญั ญา

พร้อมท้งั หาแนวทางการปรับปรุงแก้ไข และนาเสนอผล 3. ออกแบบวธิ กี ารแก้ปญั หา โดยวิเคราะห์

การแกป้ ญั หา เปรียบเทียบ และตัดสนิ ใจเลอื กข้อมูลทจี่ าเป็น

5. ใช้ความรู้และทักษะเก่ียวกับวัสดุ อุปกรณ์ เคร่ืองมือ ภายใตเ้ ง่อื นไขและทรพั ยากรทีม่ อี ยู่ นาเสนอ

กลไก ไฟฟ้า หรืออิเล็กทรอนิกส์ เพ่ือแก้ปัญหาได้อย่าง แนวทางการแก้ปัญหาใหผ้ อู้ น่ื เขา้ ใจด้วยเทคนคิ

ถูกต้อง เหมาะสมและปลอดภยั หรอื วธิ กี ารทีห่ ลากหลาย โดยใชซ้ อฟต์แวร์

ม.2 ชว่ ยในการออกแบบ วางแผนขั้นตอนการทางาน

1. คาดการณ์แนวโน้มเทคโนโลยที ่จี ะเกิดขน้ึ และดาเนนิ การแก้ปัญหา

โดยพจิ ารณาจากสาเหตหุ รอื ปัจจยั ทีส่ ่งผลต่อ 4. ทดสอบ ประเมนิ ผล วเิ คราะห์ และใหเ้ หตผุ ล

การเปลีย่ นแปลงของเทคโนโลยี และวเิ คราะห์ ของปญั หาหรอื ขอ้ บกพรอ่ งท่ีเกิดขึน้ ภายใต้

เปรียบเทียบ ตัดสินใจเลือกใช้เทคโนโลยี โดยคานึงถึง กรอบเงือ่ นไข หาแนวทางการปรบั ปรุงแก้ไข
ผลกระทบทีเ่ กิดขึ้นตอ่ ชีวิต สังคม และสง่ิ แวดลอ้ ม และนาเสนอผลการแกป้ ัญหา พร้อมท้งั เสนอ
แนวทางการพฒั นาตอ่ ยอด
2. ระบุปญั หาหรอื ความต้องการในชมุ ชนหรือ
5. ใชค้ วามรู้และทักษะเกีย่ วกบั วสั ดุ อปุ กรณ์
ท้องถ่นิ สรุปกรอบของปัญหา รวบรวม วิเคราะห์
เคร่ืองมือ กลไก ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ และ
ขอ้ มลู และแนวคิดทเี่ กี่ยวขอ้ งกบั ปญั หา
เทคโนโลยีที่ซบั ซ้อนในการแก้ปัญหา หรอื พัฒนางาน ได้
3. ออกแบบวิธกี ารแก้ปัญหา โดยวิเคราะห์
อย่างถกู ต้อง เหมาะสมและปลอดภัย
เปรยี บเทียบ และตัดสินใจเลือกขอ้ มลู ทจ่ี าเปน็

ภายใตเ้ ง่อื นไขและทรพั ยากรที่มีอยู่ นาเสนอ ม.5
แนวทางการแกป้ ัญหาให้ผ้อู นื่ เขา้ ใจ วางแผน 1. ประยุกต์ใช้ความรู้และทักษะจากศาสตร์ต่าง ๆ
ข้ันตอนการทางานและดาเนินการแก้ปญั หา รวมท้ังทรัพยากรในการทาโครงงานเพื่อแก้ปัญหาหรือ
อยา่ งเปน็ ขั้นตอน พัฒนางาน

ม.6 -

หลักสูตรกลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี อสิ ลามวทิ ยาลยั แห่งประเทศไทย - 173 -

4. ทดสอบ ประเมนิ ผล และอธบิ ายปัญหาหรือ
ข้อบกพร่องท่ีเกิดข้ึน ภายใต้กรอบเงื่อนไขพร้อมท้ังหา
แนวทางการปรับปรุงแก้ไข และนาเสนอผลการ
แก้ปญั หา
5. ใช้ความรู้ และทกั ษะเก่ยี วกบั วสั ดุ อุปกรณ์
เคร่ืองมอื กลไก ไฟฟา้ และอเิ ล็กทรอนกิ ส์
เพือ่ แกป้ ัญหาหรอื พัฒนางานได้อย่างถกู ต้อง
เหมาะสม และปลอดภัย
ม.3
1. วิเคราะห์สาเหตุ หรอื ปจั จัยท่ีส่งผลต่อการ
เปลยี่ นแปลงของเทคโนโลยี และความสัมพนั ธ์
ของเทคโนโลยีกบั ศาสตรอ์ นื่ โดยเฉพาะ
วิทยาศาสตร์ หรอื คณิตศาสตร์ เพอ่ื เป็นแนวทาง
การแก้ปญั หาหรอื พฒั นางาน
2. ระบุปัญหาหรือความตอ้ งการของชมุ ชนหรอื
ท้องถิ่น เพือ่ พฒั นางานอาชีพ สรุปกรอบของ
ปัญหา รวบรวม วเิ คราะหข์ อ้ มูลและแนวคิด
ทีเ่ ก่ียวข้องกับปญั หา โดยคานงึ ถงึ ความถกู ต้อง
ดา้ นทรพั ยส์ ินทางปญั ญา
3. ออกแบบวธิ กี ารแกป้ ัญหา โดยวิเคราะห์
เปรียบเทียบ และตดั สนิ ใจเลอื กข้อมลู ทจ่ี าเป็น
ภายใตเ้ งอ่ื นไขและทรัพยากรทมี่ อี ยู่ นาเสนอ
แนวทางการแก้ปัญหาใหผ้ ้อู ืน่ เขา้ ใจดว้ ยเทคนิค
หรือวธิ ีการทหี่ ลากหลาย วางแผนขนั้ ตอน
การทางานและดาเนินการแก้ปญั หาอยา่ งเปน็
ขั้นตอน
4. ทดสอบ ประเมนิ ผล วิเคราะห์ และให้เหตุผล
ของปญั หาหรือขอ้ บกพร่องทีเ่ กิดขึ้นภายใต้
กรอบเงื่อนไข พร้อมทงั้ หาแนวทางการปรับปรุง
แกไ้ ข และนาเสนอผลการแกป้ ัญหา
5. ใช้ความรู้ และทกั ษะเกี่ยวกบั วัสดุ อุปกรณ์
เครอื่ งมือ กลไก ไฟฟา้ และอเิ ล็กทรอนิกส์
ให้ถกู ตอ้ งกบั ลักษณะของงาน และปลอดภัย
เพอ่ื แก้ปญั หาหรือพัฒนางาน

36
หลกั สตู รกลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี อิสลามวทิ ยาลยั แห่งประเทศไทย - 174 -

สาระท่ี 4 เทคโนโลยี
มาตรฐาน ว 4.2 เข้าใจและใช้แนวคิดเชิงคานวณในการแก้ปัญหาท่ีพบในชีวิตจริงอย่างเป็น ขั้นตอน

และเป็นระบบ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารในการเรียนรู้ การทางาน และการแก้ปัญหาได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ ร้เู ทา่ ทัน และมีจรยิ ธรรม

ม. 1 – 3 ม. 4 - 6

ม.1 ม.4
1. ออกแบบอลั กอริทมึ ทใี่ ช้แนวคิดเชิงนามธรรมเพื่อ 1. ประยุกต์ใช้แนวคิดเชงิ คานวณในการพฒั นา
แก้ปญั หาหรืออธิบายการทางานท่พี บในชวี ติ จริง โครงงานทีม่ ีการบรู ณาการกับวิชาอืน่
2. ออกแบบและเขยี นโปรแกรมอยา่ งง่าย อย่างสร้างสรรค์ และเชอ่ื มโยงกับชวี ติ จรงิ
เพือ่ แก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์หรือวิทยาศาสตร์ ม.5
3. รวบรวมข้อมูลปฐมภูมิ ประมวลผล ประเมนิ ผล 1. รวบรวม วิเคราะหข์ ้อมูล และใชค้ วามรู้
นาเสนอข้อมลู และสารสนเทศ ตามวตั ถปุ ระสงค์โดยใช้ ดา้ นวทิ ยาการคอมพิวเตอร์ สอ่ื ดิจทิ ัล เทคโนโลยี
ซอฟต์แวร์ หรอื บรกิ ารบนอินเทอร์เน็ตทีห่ ลากหลาย สารสนเทศในการแก้ปัญหาหรือเพ่ิมมูลค่าให้กับบริการ
4. ใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศอย่างปลอดภัย ใช้ส่ือ หรือผลติ ภัณฑท์ ี่ใช้ในชีวิตจรงิ อย่างสรา้ งสรรค์
และแหล่งข้อมูลตามข้อกาหนดและข้อตกลง ม.6
ม.2 1. ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการนาเสนอ และ
1. ออกแบบอัลกอริทึมทีใ่ ช้แนวคิดเชงิ คานวณ ในการ แบ่งปันขอ้ มูลอย่างปลอดภยั มีจรยิ ธรรม และ
แก้ปญั หา หรือการทางานที่พบในชวี ติ จริง วิเคราะห์การเปลย่ี นแปลงเทคโนโลยีสารสนเทศ
2. ออกแบบและเขยี นโปรแกรมท่ใี ช้ตรรกะ ทม่ี ผี ลต่อการดาเนนิ ชวี ิต อาชพี สังคม และ
และฟังก์ชนั ในการแก้ปญั หา วฒั นธรรม
3. อภิปรายองคป์ ระกอบและหลกั การทางานของ
ระบบคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยกี ารสอ่ื สาร
เพอ่ื ประยกุ ต์ใช้งานหรือแก้ปัญหาเบ้ืองต้น
4. ใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย มีความ
รับผดิ ชอบ สรา้ งและแสดงสิทธใิ นการเผยแพรผ่ ลงาน
ม.3
1. พฒั นาแอปพลิเคชันท่ีมีการบรู ณาการกับวชิ าอื่น
อยา่ งสร้างสรรค์
2. รวบรวมข้อมลู ประมวลผล ประเมนิ ผล นาเสนอ
ข้อมูลและสารสนเทศตามวตั ถุประสงค์ โดยใช้
ซอฟตแ์ วร์หรอื บริการบนอนิ เทอร์เน็ตท่ี
หลากหลาย
3. ประเมินความน่าเช่ือถือของขอ้ มลู วิเคราะห์ส่ือ
และผลกระทบจากการให้ข่าวสารทผี่ ดิ เพือ่ การ
ใชง้ านอย่างรู้เทา่ ทัน
4. ใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย และมี
ความรับผิดชอบต่อสงั คม ปฏิบัติตามกฎหมาย
เกย่ี วกบั คอมพิวเตอร์ ใช้ลิขสิทธิข์ องผู้อน่ื
โดยชอบธรรม

37

หลักสูตรกลุ่มสาระการเรยี นร้วู ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี อสิ ลามวิทยาลยั แห่งประเทศไทย - 175 -

การเรียนรู้ และสาระการเรยี นรเู้ พิ่มเติม

สาระชวี วิทยา
1. เข้าใจธรรมชาติของส่ิงมชี ีวิต การศกึ ษาชีววทิ ยาและวธิ ีการทางวิทยาศาสตร์สารทีเ่ ปน็ องค์ประกอบ

ของสิง่ มีชีวติ ปฏกิ ิริยาเคมใี นเซลลข์ องสงิ่ มีชวี ิตกลอ้ งจุลทรรศน์ โครงสร้างและหนา้ ท่ขี องเซลล์ การลาเลียงสาร
เขา้ และออกจากเซลลก์ ารแบ่งเซลล์ และการหายใจระดบั เซลล์

ช้ัน ผลการเรยี นรู้
ม.4 1. อธิบาย และสรุปสมบัติที่สาคัญของสิ่งมีชีวิตและความสัมพันธ์ของการจัดระบบในสิ่งมีชีวิตที่ทา

ให้สงิ่ มชี ีวิตดารงชีวติ อยไู่ ด้
2. อภิปราย และบอกความสาคัญของการระบุปัญหา ความสัมพันธ์ระหว่างปัญหา สมมติฐานและ
วิธีการตรวจสอบสมมติฐาน รวมท้ังออกแบบการทดลองเพ่ือตรวจสอบสมมตฐิ าน
3. สืบค้นข้อมูล อธิบายเก่ียวกับสมบัติของน้าและบอกความสาคัญของน้าที่มีต่อส่ิงมีชีวิตและ
ยกตัวอยา่ งธาตชุ นดิ ต่าง ๆ ทม่ี ีความสาคัญตอ่ รา่ งกายสิง่ มีชวี ิต
4. สืบค้นขอ้ มูล อธิบายโครงสรา้ งของคารโ์ บไฮเดรตระบุกลุ่มของคาร์โบไฮเดรต รวมทั้งความสาคญั
ของคาร์โบไฮเดรตทมี่ ีตอ่ สงิ่ มีชวี ติ
5. สบื คน้ ขอ้ มูล อธบิ ายโครงสรา้ งของโปรตีนและความสาคัญของโปรตนี ท่ีมีต่อส่งิ มชี วี ิต
6. สบื ค้นขอ้ มลู อธิบายโครงสร้างของลิพดิ และความสาคญั ของลิพิดที่มีต่อสง่ิ มชี ีวติ
7. อธบิ ายโครงสร้างของกรดนิวคลอิ ิก และระบุชนดิ ของกรดนวิ คลอิ กิ และความสาคัญของกรด
นิวคลิอิกที่มีต่อส่งิ มชี วี ิต
8. สบื คน้ ข้อมูล และอธิบายปฏกิ ิริยาเคมที เ่ี กดิ ขน้ึ ในสิ่งมีชวี ติ
9. อธบิ ายการทางานของเอนไซม์ในการเรง่ ปฏิกริ ิยาเคมีในสง่ิ มชี วี ิต และระบปุ จั จยั ท่ีมผี ลต่อการ
ทางานของเอนไซม์
10. บอกวธิ กี าร และเตรียมตัวอย่างส่ิงมีชีวิตเพ่ือศึกษาภายใตก้ ลอ้ งจลุ ทรรศนใ์ ชแ้ สง
วดั ขนาดโดยประมาณ และวาดภาพที่ปรากฏภายใต้กลอ้ ง บอกวิธกี ารใช้ และการดูแลรักษากล้อง
จุลทรรศน์ใชแ้ สงที่ถูกต้อง
11. อธิบายโครงสร้างและหน้าท่ีของสว่ นที่ห่อหุ้มเซลลข์ องเซลลพ์ ืชและเซลลส์ ัตว์
12. สบื ค้นข้อมลู อธิบาย และระบุชนดิ และหนา้ ทขี่ องออรแ์ กเนลล์
13. อธบิ ายโครงสรา้ งและหน้าที่ของนิวเคลียส
14. อธบิ าย และเปรยี บเทยี บการแพร่ ออสโมซิสการแพรแ่ บบฟาซิลเิ ทต และแอกทีฟทรานสปอรต์
15. สืบค้นขอ้ มลู อธิบาย และเขยี นแผนภาพการลาเลียงสารโมเลกุลใหญ่ออกจากเซลล์
ด้วยกระบวนการเอกโซไซโทซิสและการลาเลียงสารโมเลกุลใหญ่เขา้ สูเ่ ซลล์ดว้ ยกระบวนการเอนโด
ไซโทซสิ
16. สังเกตการแบ่งนวิ เคลียสแบบไมโทซสิ และแบบไมโอซิสจากตัวอยา่ งภายใต้กล้องจุลทรรศน์
พร้อมทง้ั อธิบายและเปรยี บเทียบการแบง่ นิวเคลียสแบบไมโทซิส และแบบไมโอซสิ
17. อธิบาย เปรียบเทยี บ และสรปุ ขัน้ ตอนการหายใจระดับเซลลใ์ นภาวะท่ีมีออกซเิ จน
เพียงพอ และภาวะทม่ี ีออกซเิ จนไมเ่ พียงพอ
ม.5 -

ม.6 -

38

หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี อิสลามวิทยาลัยแห่งประเทศไทย - 176 -

สาระชีววทิ ยา
2. เข้าใจการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม การถ่ายทอดยีนบนโครโมโซม สมบัตแิ ละหน้าท่ีของสาร

พันธุกรรม การเกิดมิวเทชัน เทคโนโลยีทางดีเอ็นเอ หลักฐานข้อมูลและแนวคิดเก่ียวกับวิวัฒนาการของ
สง่ิ มีชีวิต ภาวะสมดุลของฮาร์ดี-ไวน์เบิรก์ การเกิดสปีชีส์ใหม่ ความหลากหลายทางชีวภาพ กาเนิดของส่ิงมีชีวิต
ความหลากหลายของส่ิงมีชีวติ และอนุกรมวธิ าน รวมทง้ั นาความรู้ไปใช้ประโยชน์

ชัน้ ผลการเรยี นรู้
ม.4 1. สืบคน้ ขอ้ มลู อธบิ าย และสรุปผลการทดลองของเมนเดล

2. อธบิ าย และสรปุ กฎแห่งการแยก และกฎแห่งการรวมกลมุ่ อยา่ งอสิ ระ และนากฎของเมนเดลนี้ ไป
อธบิ ายการถ่ายทอดลักษณะทางพันธกุ รรมและใชใ้ นการคานวณโอกาสในการเกดิ ฟโี นไทป์และจโี น
ไทปแ์ บบต่าง ๆ ของรุ่นF1 และ F2
3. สืบค้นข้อมลู วิเคราะห์ อธิบาย และสรุปเกยี่ วกับการถา่ ยทอดลักษณะทางพันธกุ รรม ทเี่ ป็น
ส่วนขยายของพันธศุ าสตร์เมนเดล
4. สืบค้นขอ้ มูล วเิ คราะห์ และเปรียบเทียบลักษณะทางพนั ธกุ รรมทีม่ กี ารแปรผันไมต่ อ่ เนื่องและ
ลักษณะทางพันธุกรรมทม่ี ีการแปรผันตอ่ เนอ่ื ง
5. อธบิ ายการถา่ ยทอดยีนบนโครโมโซม และยกตวั อย่างลกั ษณะทางพนั ธกุ รรมท่ีถกู ควบคุมด้วยยีน
บนออโตโซมและยีนบนโครโมโซมเพศ
6. สืบค้นข้อมูล อธบิ ายสมบตั ิและหนา้ ทข่ี องสารพนั ธกุ รรม โครงสร้างและองค์ประกอบทางเคมีของ
DNA และสรุปการจาลอง DNA
7. อธบิ าย และระบุข้นั ตอนในกระบวนการสังเคราะห์โปรตนี และหนา้ ท่ีของ DNA และRNA แต่ละ
ชนดิ ในกระบวนการสงั เคราะห์โปรตนี
8. สรุปความสัมพันธร์ ะหว่างสารพันธุกรรม แอลลลี โปรตนี ลักษณะทางพันธุกรรม และเช่อื มโยงกบั
ความร้เู ร่ืองพนั ธุศาสตร์เมนเดล
9. สบื คน้ ขอ้ มลู และอธิบายการเกดิ มิวเทชันระดบั ยนี และระดับโครโมโซม สาเหตกุ ารเกิดมิวเทชัน
รวมท้งั ยกตัวอย่างโรคและกลุ่มอาการทเี่ ปน็ ผลของการเกดิ มิวเทชนั
10. อธิบายหลกั การสรา้ งสงิ่ มีชวี ิตดดั แปรพนั ธกุ รรมโดยใชด้ ีเอ็นเอรีคอมบิแนนท์
11. สืบค้นขอ้ มลู ยกตวั อย่าง และอภปิ รายการนาเทคโนโลยีทางดีเอ็นเอไปประยุกตใ์ ชท้ ั้งในดา้ น
สง่ิ แวดลอ้ ม นติ วิ ิทยาศาสตร์ การแพทย์การเกษตรและอตุ สาหกรรม และข้อควรคานึงถึงด้านชีวจริย
ธรรม
12. สืบคน้ ขอ้ มูล และอธิบายเกย่ี วกับหลักฐานทีส่ นับสนนุ และขอ้ มูลทใี่ ช้อธิบายการเกิดววิ ฒั นาการ
ของสงิ่ มชี วี ิต
13. อธิบาย และเปรยี บเทยี บแนวคิดเกีย่ วกับวิวัฒนาการของสิง่ มีชีวติ ของฌอง ลามารก์
และทฤษฎีเก่ยี วกับววิ ัฒนาการของสิ่งมชี วี ติ ของชาลส์ ดารว์ นิ
14. ระบสุ าระสาคัญ และอธบิ ายเงื่อนไขของภาวะสมดลุ ของฮาร์ดี-ไวนเ์ บิรก์ ปจั จัยท่ที าให้เกดิ การ
เปลี่ยนแปลงความถี่ของแอลลีลในประชากร พร้อมทั้งคานวณหาความถีข่ องแอลลลี และจีโนไทป์ของ
ประชากรโดยใชห้ ลักของฮาร์ดี-ไวนเ์ บิรก์
15. สืบค้นข้อมูล อภิปราย และอธิบายกระบวนการเกิดสปีชีสใ์ หมข่ องสิง่ มีชวี ิต

ม.5 -

39

หลักสตู รกลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี อสิ ลามวทิ ยาลัยแห่งประเทศไทย - 177 -

ม.6 1. อภิปรายความสาคญั ของความหลากหลายทางชวี ภาพ และความเชอ่ื มโยงระหวา่ งควาหลากหลาย
ทางพันธุกรรม ความหลากหลายของสปชี สี ์ และความหลากหลายของระบบนเิ วศ
2. อธบิ ายการเกิดเซลลเ์ ริ่มแรกของส่งิ มชี วี ติ และววิ ัฒนาการของสิ่งมีชีวิตเซลลเ์ ดยี ว
3. อธิบายลกั ษณะสาคัญ และยกตัวอย่างสง่ิ มีชวี ติ กลุม่ แบคทเี รีย สงิ่ มีชวี ิตกลมุ่ โพรทสิ ต์ สง่ิ มีชวี ติ กลุ่ม
พชื สิง่ มีชวี ิตกลมุ่ ฟังไจ และสงิ่ มชี วี ิตกลมุ่ สัตว์
4. อธิบาย และยกตวั อยา่ งการจาแนกส่ิงมชี ีวิตจากหมวดหมใู่ หญจ่ นถึงหมวดหมู่ยอ่ ย และวธิ กี าร
เขยี นช่อื วิทยาศาสตร์ในลาดบั ขั้นสปีชีส์
5. สร้างไดโคโทมัสคยี ์ในการระบุส่งิ มชี วี ติ หรอื ตวั อย่างที่กาหนดออกเป็นหมวดหมู่

สาระชีววทิ ยา
3. เข้าใจสว่ นประกอบของพืช การแลกเปล่ียนแก๊สและคายน้าของพืช การลาเลยี งของพืชการสังเคราะห์ด้วย

แสง การสบื พันธุ์ของพชื ดอกและการเจริญเติบโต และการตอบสนองของพืช รวมท้ังนาความรูไ้ ปใช้ประโยชน์

ช้ัน ผลการเรียนรู้
ม.4 -

ม.5 1. อธิบายเกยี่ วกบั ชนิดและลักษณะของเนื้อเย่อื พืชและเขยี นแผนผงั เพอ่ื สรุปชนดิ ของเน้ือเยื่อพชื
2. สงั เกต อธบิ าย และเปรียบเทียบโครงสร้างภายในของรากพืชใบเลย้ี งเดยี่ วและรากพชื ใบเลย้ี งคูจ่ าก
การตัดตามขวาง
3. สงั เกต อธิบาย และเปรยี บเทียบโครงสรา้ งภายในของลาตน้ พชื ใบเล้ียงเดย่ี วและลาต้นพืชใบเลีย้ งคู่
จากการตัดตามขวาง
4. สงั เกต และอธิบายโครงสร้างภายในของใบพืชจากการตัดตามขวาง
5. สืบคน้ ข้อมลู สงั เกต และอธิบายการแลกเปลี่ยนแก๊สและการคายน้าของพชื
6. สบื คน้ ขอ้ มลู และอธิบายกลไกการลาเลยี งน้าและธาตุอาหารของพชื
7. สบื ค้นขอ้ มลู อธบิ ายความสาคญั ของธาตุอาหารและยกตัวอยา่ งธาตอุ าหารทีส่ าคัญท่ีมีผลต่อการ
เจริญเติบโตของพชื
8. อธบิ ายกลไกการลาเลียงอาหารในพชื
9. สืบคน้ ข้อมลู และสรุปการศึกษาท่ไี ด้จากการทดลองของนักวิทยาศาสตร์ในอดตี เก่ียวกักระบวนการ
สังเคราะหด์ ว้ ยแสง
10. อธิบายขนั้ ตอนท่ีเกิดข้นึ ในกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช C3
11. เปรียบเทียบกลไกการตรึงคารบ์ อนไดออกไซดใ์ นพชื C3 พชื C4 และ พชื CAM
12. สบื ค้นข้อมูล อภปิ ราย และสรุปปจั จัยความเข้มของแสง ความเขม้ ขน้ ของคาร์บอนไดออกไซด์และ
อุณหภูมิ ทีม่ ีผลตอ่ การสงั เคราะห์ด้วยแสงของพชื
13. อธิบายวัฏจกั รชวี ิตแบบสลบั ของพืชดอก
14. อธบิ าย และเปรียบเทยี บกระบวนการสร้างเซลลส์ บื พนั ธเ์ุ พศผู้และเพศเมียของพืชดอกและอธิบาย
การปฏิสนธขิ องพืชดอก
15. อธบิ ายการเกิดเมลด็ และการเกดิ ผลของพชื ดอกโครงสร้างของเมลด็ และผล และยกตัวอยา่ งการใช้
ประโยชนจ์ ากโครงสรา้ งตา่ ง ๆ ของเมลด็ และผล
16. ทดลอง และอธิบายเก่ียวกบั ปจั จยั ตา่ ง ๆ ทม่ี ีผลต่อการงอกของเมล็ด สภาพพักตวั ของเมลด็ และ
บอกแนวทางในการแกส้ ภาพพักตวั ของเมล็ด

40

หลักสูตรกลุ่มสาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี อิสลามวิทยาลยั แห่งประเทศไทย - 178 -

17. สืบคน้ ข้อมลู อธิบายบทบาทและหนา้ ท่ีของออกซิน ไซโทไคนิน จบิ เบอเรลลิน เอทิลีนและกรดแอบ
ไซซิก และอภปิ รายเกยี่ วกับการนาไปใชป้ ระโยชนท์ างการเกษตร
18. สบื ค้นข้อมูล ทดลอง และอภิปรายเกี่ยวกับสิ่งเร้าภายนอกท่ีมีผลตอ่ การเจรญิ เติบโตของพืช
ม.6 -

สาระชีววิทยา
4. เข้าใจการย่อยอาหารของสัตว์และมนุษย์ การหายใจและการแลกเปล่ียนแก๊สการลาเลียงสาร

และการหมุนเวียนเลือด ภูมิคุ้มกันของร่างกาย การขับถ่าย การรับรู้และการตอบสนอง การเคลื่อนท่ี การ
สืบพันธ์ุและการเจริญเติบโต ฮอร์โมนกับการรักษาดุลยภาพ และพฤติกรรมของสัตว์ รวมทั้งนาความรู้ไปใช้
ประโยชน์

ช้ัน ผลการเรยี นรู้
ม.4 -
ม.5 1. สืบค้นขอ้ มลู อธิบาย และเปรยี บเทยี บโครงสรา้ งและกระบวนการย่อยอาหารของสตั ว์ทไ่ี ม่มีทางเดิน

อาหาร สัตว์ทีม่ ีทางเดนิ อาหารแบบไม่สมบูรณ์ และสัตว์ทม่ี ีทางเดนิ อาหารแบบสมบรู ณ์
2. สงั เกต อธิบาย การกนิ อาหารของไฮดราและพลานาเรยี
3. อธบิ ายเกย่ี วกับโครงสร้าง หน้าท่ี และกระบวนการย่อยอาหาร และการดูดซึมสารอาหารภายใน
ระบบยอ่ ยอาหารของมนษุ ย์
4. สืบคน้ ข้อมูล อธบิ าย และเปรยี บเทียบโครงสรา้ งท่ที าหน้าที่แลกเปลี่ยนแกส๊ ของฟองน้า ไฮดรา พลา
นาเรีย ไส้เดือนดนิ แมลง ปลา กบ และนก
5. สังเกต และอธบิ ายโครงสร้างของปอดในสัตวเ์ ล้ียงลกู ด้วยนา้ นม
6. สืบคน้ ขอ้ มูล อธบิ ายโครงสรา้ งทใ่ี ช้ในการแลกเปลีย่ นแกส๊ และกระบวนการแลกเปลีย่ นแก๊สของมนุษย์
7. อธบิ ายการทางานของปอด และทดลองวดั ปรมิ าตรของอากาศในการหายใจออกของมนุษย์
8. สบื คน้ ข้อมูล อธบิ าย และเปรียบเทยี บระบบหมนุ เวียนเลอื ดแบบเปดิ และระบบหมุนเวยี นเลอื ดแบบปดิ
9. สงั เกต และอธิบายทศิ ทางการไหลของเลอื ดและการเคล่ือนท่ขี องเซลล์เม็ดเลือดในหางปลาและสรุป
ความสมั พนั ธ์ระหว่างขนาดของหลอดเลือดกับความเร็วในการไหลของเลือด
10. อธบิ ายโครงสรา้ งและการทางานของหัวใจและหลอดเลือดในมนุษย์
11. สงั เกต และอธบิ ายโครงสรา้ งหวั ใจของสตั วเ์ ล้ียงลกู ดว้ ยน้านม ทศิ ทางการไหลของเลือดผา่ นหวั ใจ
ของมนุษย์ และเขียนแผนผังสรปุ การหมนุ เวยี นเลอื ดของมนุษย์
12. สืบค้นขอ้ มูล ระบคุ วามแตกตา่ งของเซลลเ์ ม็ดเลือดแดง เซลลเ์ มด็ เลือดขาวเพลตเลต และพลาสมา
13. อธบิ ายหมู่เลือดและหลักการใหแ้ ละรับเลือดในระบบ ABO และระบบ Rh
14. อธบิ าย และสรปุ เก่ยี วกบั ส่วนประกอบและหน้าท่ีของน้าเหลือง รวมทงั้ โครงสร้างและหน้าทข่ี อง
หลอดนา้ เหลอื ง และต่อมนา้ เหลอื ง
15. สบื คน้ ข้อมลู อธิบาย และเปรยี บเทยี บกลไกการตอ่ ตา้ นหรอื ทาลายส่งิ แปลกปลอมแบบไม่จาเพาะ
และแบบจาเพาะ
16. สืบค้นขอ้ มลู อธิบาย และเปรียบเทยี บการสรา้ งภูมิค้มุ กันก่อเองและภมู ิค้มุ กนั รบั มา
17. สืบคน้ ข้อมูล และอธบิ ายเก่ยี วกับความผิดปกตขิ องระบบภมู ิคมุ้ กนั ท่ที าใหเ้ กดิ เอดส์ ภมู แิ พ้การ
สร้างภมู ิตา้ นทานต่อเนือ้ เยื่อตนเอง
18. สบื คน้ ขอ้ มูล อธิบาย และเปรยี บเทยี บโครงสรา้ งและหน้าทีใ่ นการกาจดั ของเสยี ออกจากรา่ งกาย
ของฟองน้า ไฮดรา พลานาเรยี ไส้เดอื นดิน แมลง และสตั ว์มีกระดูกสันหลงั

41
41

หลกั สตู รกลุ่มสาระการเรยี นร้วู ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี อิสลามวทิ ยาลัยแห่งประเทศไทย - 179 -

19. อธิบายโครงสร้างและหน้าท่ีของไต และโครงสร้างที่ใช้ลาเลียงปสั สาวะออกจากรา่ งกาย
20. อธบิ ายกลไกการทางานของหน่วยไต ในการกาจัดของเสียออกจากรา่ งกาย และเขียนแผนผงั สรปุ
ขนั้ ตอนการกาจดั ของเสียออกจากร่างกายโดยหน่วยไต
21. สืบคน้ ข้อมลู อธบิ าย และยกตัวอยา่ งเก่ยี วกับความผดิ ปกติของไตอันเน่ืองมาจากโรคต่าง ๆ
ม.6 1. สืบคน้ ขอ้ มูล อธบิ าย และเปรยี บเทียบโครงสรา้ งและหน้าทขี่ องระบบประสาทของไฮดรา พลานาเรยี
ไสเ้ ดือนดิน กุ้ง หอย แมลงและสัตวม์ ีกระดูกสันหลงั
2. อธิบายเกยี่ วกับโครงสรา้ งและหนา้ ทข่ี องเซลล์ประสาท
3. อธิบายเก่ียวกบั การเปลย่ี นแปลงของศักย์ไฟฟา้ ท่เี ยือ่ หุ้มเซลล์ของเซลล์ประสาท และกลไก
การถ่ายทอดกระแสประสาท
4. อธิบาย และสรุปเก่ียวกบั โครงสรา้ งของระบบประสาทส่วนกลางและระบบประสาทรอบนอก
5. สืบคน้ ข้อมูล อธิบายโครงสร้างและหนา้ ท่ีของส่วนต่าง ๆ ในสมองสว่ นหนา้ สมองสว่ นกลางสมอง
สว่ นหลัง และไขสนั หลงั
6. สืบค้นข้อมูล อธิบาย เปรียบเทยี บ และยกตวั อยา่ งการทางานของระบบประสาทโซมาตกิ และระบบ
ประสาทอัตโนวตั ิ
7. สบื ค้นขอ้ มูล อธิบายโครงสรา้ งและหนา้ ท่ีของตา หู จมกู ลน้ิ และผิวหนงั ของมนุษย์ ยกตัวอยา่ งโรค
ตา่ ง ๆ ทเ่ี กี่ยวข้อง และบอกแนวทางในการดูแลปอ้ งกนั และรกั ษา
8. สงั เกต และอธิบายการหาตาแหน่งของจุดบอดโฟเวยี และความไวในการรับสัมผัสของผิวหนัง
9. สืบค้นข้อมลู อธิบาย และเปรียบเทยี บโครงสรา้ งและหน้าทขี่ องอวัยวะทีเ่ กยี่ วข้องกับการเคล่ือนท่ี
ของแมงกะพรุน หมึก ดาวทะเล ไส้เดือนดนิ แมลง ปลา และนก
10. สืบค้นขอ้ มูล และอธิบายโครงสรา้ งและหนา้ ท่ีของกระดูกและกล้ามเน้ือท่ีเก่ยี วขอ้ งกับการ
เคลอื่ นไหวและการเคลื่อนที่ของมนุษย์
11. สงั เกต และอธบิ ายการทางานของข้อตอ่ ชนดิ ต่าง ๆ และการทางานของกล้ามเน้ือโครงรา่ งท่ี
เกย่ี วข้องกับการเคล่ือนไหวและการเคลื่อนที่ของมนุษย์
12. สบื ค้นขอ้ มลู อธิบาย และยกตวั อยา่ งการสบื พันธุแ์ บบไมอ่ าศัยเพศและการสบื พันธุ์แบบอาศัยเพศในสัตว์
13. สืบคน้ ขอ้ มูล อธบิ ายโครงสรา้ งและหนา้ ที่ของอวยั วะในระบบสืบพันธ์ุเพศชายและระบบสืบพันธ์ุ
เพศหญงิ
14. อธิบายกระบวนการสร้างสเปิรม์ กระบวนการสรา้ งเซลล์ไข่ และการปฏิสนธิในมนษุ ย์
15. อธบิ ายการเจรญิ เตบิ โตระยะเอม็ บรโิ อและระยะหลงั เอ็มบรโิ อของกบ ไก่ และมนุษย์
16. สืบค้นข้อมูล อธบิ าย และเขียนแผนผงั สรปุ หนา้ ท่ขี องฮอร์โมนจากต่อมไรท้ ่อและเนื้อเยื่อที่สรา้ งฮอร์โมน
17. สบื คน้ ข้อมูล อธบิ าย เปรียบเทียบ และยกตัวอยา่ งพฤติกรรมทเ่ี ป็นมาแต่กาเนดิ
และพฤตกิ รรมที่เกิดจากการเรียนร้ขู องสัตว์
18. สบื ค้นขอ้ มลู อธิบาย และยกตวั อย่างความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งพฤติกรรมกับวิวฒั นาการของระบบประสาท
19. สืบค้นขอ้ มูล อธิบาย และยกตวั อยา่ งการส่ือสารระหว่างสัตว์ทที่ าใหส้ ตั วแ์ สดงพฤตกิ รรม

42

หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี อสิ ลามวิทยาลยั แห่งประเทศไทย - 180 -

สาระชีววิทยา
5. เข้าใจแนวคิดเกี่ยวกับระบบนิเวศ กระบวนการถ่ายทอดพลังงานและการหมุนเวียนสารในระบบ

นิเวศ ความหลากหลายของไบโอม การเปล่ียนแปลงแทนท่ีของส่ิงมีชีวิตในระบบนิเวศ ประชากรและรูปแบบ
การเพ่ิมของประชากรทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ปัญหาและผลกระทบที่เกิดจากการใช้ประโยชน์
และแนวทางการแก้ไขปญั หา

ชนั้ ผลการเรยี นรู้
ม.4 -

ม.5 -

ม.6 1. วเิ คราะห์ อธบิ าย และยกตัวอย่างกระบวนการถ่ายทอดพลงั งานในระบบนเิ วศ
2. อธิบาย ยกตวั อยา่ งการเกิดไบโอแมกนิฟิเคชันและบอกแนวทางในการลดการเกิด
ไบโอแมกนิฟิเคชนั
3. สบื คน้ ขอ้ มูล และเขยี นแผนภาพ เพ่อื อธบิ ายวัฏจักรไนโตรเจน วัฏจกั รกามะถัน และวัฏจักร
ฟอสฟอรัส
4. สืบคน้ ข้อมูล ยกตัวอยา่ ง และอธิบายลกั ษณะของไบโอมท่ีกระจายอยูต่ ามเขตภูมิศาสตร์ต่าง ๆบน
โลก
5. สืบค้นข้อมลู ยกตัวอยา่ ง อธบิ าย และเปรยี บเทียบการเปล่ียนแปลงแทนท่ีแบบปฐมภมู ิ และการ
เปล่ียนแปลงแทนที่แบบทตุ ยิ
6. สบื คน้ ขอ้ มลู อธิบาย ยกตวั อย่าง และสรปุ เกีย่ วกบั ลกั ษณะเฉพาะของประชากรของ
ส่งิ มชี วี ิตบางชนิด
7. สืบค้นขอ้ มลู อธิบาย เปรยี บเทยี บ และยกตัวอย่างการเพิม่ ของประชากรแบบเอ็กโพเนนเชยี ลและ
การเพ่ิมของประชากรแบบลอจสิ ตกิ
8. อธบิ าย และยกตวั อย่างปัจจัยที่ควบคุมการเติบโตของประชากร
9. วเิ คราะห์ อภปิ ราย และสรุปปญั หาการขาดแคลนนา้ การเกดิ มลพิษทางน้า และผลกระทบท่ีมตี ่อ
มนุษย์และสง่ิ แวดล้อม รวมทัง้ เสนอแนวทางการวางแผนการจดั การน้าและการแกไ้ ขปญั หา
10. วเิ คราะห์ อภิปราย และสรุปปัญหามลพิษทางอากาศ และผลกระทบทีม่ ตี ่อมนุษยแ์ ละสง่ิ แวดลอ้ ม
รวมท้ังเสนอแนวทางการแก้ไขปัญหา
11. วิเคราะห์ อภิปราย และสรุปปัญหาท่เี กิดกับทรัพยากรดิน และผลกระทบทม่ี ีต่อมนุษยแ์ ละ
สง่ิ แวดล้อม รวมทัง้ เสนอแนวทางการแกไ้ ขปัญหา
12. วิเคราะห์ อภิปราย และสรุปปญั หา ผลกระทบทีเ่ กิดจากการทาลายป่าไม้ รวมทง้ั เสนอแนวทางใน
การป้องกันการทาลายปา่ ไมแ้ ละการอนุรกั ษป์ ่าไม้
13. วเิ คราะห์ อภปิ ราย และสรปุ ปญั หา ผลกระทบที่ทาให้สัตว์ป่ามีจานวนลดลง และแนวทางในการ
อนุรักษส์ ตั ว์ปา่

43

หลักสูตรกลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี อิสลามวทิ ยาลัยแห่งประเทศไทย - 181 -

สาระเคมี
1. เข้าใจโครงสร้างอะตอม การจดั เรียงธาตใุ นตารางธาตุ สมบตั ขิ องธาตุพันธะเคมแี ละสมบตั ิของสาร แกส๊

และสมบัติของแก๊ส ประเภทและสมบตั ิของสารประกอบอินทรียแ์ ละพอลเิ มอร์ รวมท้งั การนาความรู้ไปใชป้ ระโยชน์

ช้ัน ผลการเรยี นรู้
ม.4 1. สบื ค้นข้อมลู สมมติฐาน การทดลอง หรือผลการทดลองท่ีเปน็ ประจักษ์พยานในการเสนอแบบจาลอง

อะตอมของนักวิทยาศาสตร์และอธิบายวิวัฒนาการของแบบจาลองอะตอม
2. เขยี นสัญลักษณ์นวิ เคลยี ร์ของธาตุ และระบจุ านวนโปรตอน นวิ ตรอน และอเิ ลก็ ตรอนของอะตอมจาก
สัญลักษณน์ วิ เคลยี ร์ รวมทัง้ บอกความหมายของไอโซโทป
3. อธบิ าย และเขยี นการจดั เรียงอเิ ลก็ ตรอนในระดบั พลงั งานหลกั และระดับพลงั งานย่อย
เมอ่ื ทราบเลขอะตอมของธาตุ
4. ระบหุ มู่ คาบ ความเปน็ โลหะ อโลหะ และกึง่ โลหะ ของธาตุเรพรเี ซนเททีฟและธาตแุ ทรนซชิ ันในตารางธาตุ
5. วิเคราะห์ และบอกแนวโน้มสมบตั ิของธาตุเรพรีเซนเททีฟตามหมู่และตามคาบ
6. บอกสมบตั ิของธาตโุ ลหะแทรนซชิ นั และเปรียบเทียบสมบตั กิ ับธาตุโลหะในกลุ่มธาตเุ รพรเี ซนเททีฟ
7. อธิบายสมบตั ิ และคานวณคร่ึงชีวิตของไอโซโทปกมั มนั ตรังสี
8. สบื คน้ ข้อมลู และยกตัวอย่างการนาธาตุมาใชป้ ระโยชน์ รวมทัง้ ผลกระทบต่อส่ิงมชี วี ติ และส่งิ แวดล้อม
9. อธิบายการเกดิ ไอออนและการเกดิ พันธะไอออนิก โดยใชแ้ ผนภาพหรือสญั ลกั ษณแ์ บบจดุ ของลวิ อสิ
10. เขยี นสตู ร และเรยี กชื่อสารประกอบไอออนิก
11. คานวณพลงั งานที่เกี่ยวข้องกับปฏิกิรยิ าการเกดิ สารประกอบไอออนิกจากวฏั จักรบอรน์ -ฮาเบอร์
12. อธิบายสมบัติของสารประกอบไอออนิก
13. เขียนสมการไอออนิกและสมการไอออนิกสุทธิของปฏกิ ิริยาของสารประกอบไอออนิก
14. อธบิ ายการเกิดพนั ธะโคเวเลนต์แบบพันธะเดี่ยวพันธะคู่ และพนั ธะสาม ดว้ ยโครงสร้างลวิ อิส
15. เขยี นสูตร และเรยี กช่ือสารโคเวเลนต์
16. วเิ คราะห์ และเปรยี บเทียบความยาวพนั ธะและพลังงานพนั ธะในสารโคเวเลนต์ รวมท้ังคานวณพลังงาน
ทีเ่ ก่ยี วข้องกบั ปฏิกิริยาของสารโคเวเลนต์จากพลังงานพันธะ
17. คาดคะเนรูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์ โดยใช้ทฤษฎกี ารผลักระหวา่ งคู่อิเลก็ ตรอนในวงเวเลนซแ์ ละระบุ
สภาพขั้วของโมเลกลุ โคเวเลนต์
18. ระบชุ นิดของแรงยึดเหนี่ยวระหวา่ งโมเลกุลโคเวเลนต์ และเปรยี บเทยี บจดุ หลอมเหลวจุดเดือด และการ
ละลายนา้ ของสารโคเวเลนต์
19. สบื ค้นข้อมลู และอธบิ ายสมบตั ิของสารโคเวเลนตโ์ ครงรา่ งตาข่ายชนดิ ต่าง ๆ
20. อธบิ ายการเกิดพนั ธะโลหะและสมบัตขิ องโลหะ
21. เปรียบเทยี บสมบัติบางประการของสารประกอบไอออนิก สารโคเวเลนต์ และโลหะ สบื คน้ ข้อมลู และ
นาเสนอตัวอยา่ งการใชป้ ระโยชนข์ องสารประกอบไอออนกิ สารโคเวเลนต์ และโลหะ ไดอ้ ยา่ งเหมาะสม

ม.5 1. อธบิ ายความสมั พันธ์และคานวณปรมิ าตรความดัน หรอื อณุ หภูมิของแก๊สทภี่ าวะ ตา่ ง ๆตามกฎของ
บอยล์ กฎของชารล์ กฎของเกย-์ ลสู แซก
2. คานวณปริมาตร ความดนั หรอื อณุ หภมู ิของแกส๊ ท่ภี าวะต่าง ๆ ตามกฎรวมแกส๊
3. คานวณปรมิ าตร ความดนั อุณหภูมิ จานวนโมลหรือมวลของแก๊ส จากความสมั พันธ์ตามกฎของอาโวกา
โดร และกฎแกส๊ อุดมคติ
4. คานวณความดนั ย่อยหรือจานวนโมลของแก๊สในแก๊สผสม โดยใช้กฎความดันย่อยของดอลตนั

44

หลกั สตู รกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี อสิ ลามวทิ ยาลยั แห่งประเทศไทย - 182 -

5. อธิบายการแพร่ของแกส๊ โดยใชท้ ฤษฎจี ลน์ของแก๊ส คานวณและเปรียบเทียบอัตรา
การแพร่ของแกส๊ โดยใชก้ ฎการแพร่ผ่านของเกรแฮม
6. สืบคน้ ข้อมลู นาเสนอตัวอย่าง และอธิบายการประยุกต์ใชค้ วามรเู้ กย่ี วกบั สมบัติและกฎตา่ ง ๆของแกส๊ ใน
การอธิบายปรากฏการณ์ หรือแกป้ ญั หาในชวี ติ ประจาวันและในอุตสาหกรรม
ม.6 1. สบื คน้ ขอ้ มูลและนาเสนอตัวอย่างสารประกอบอินทรียท์ ่ีมพี นั ธะเด่ียว พนั ธะคู่ หรือพนั ธะสามท่พี บใน
ชวี ติ ประจาวัน
2. เขยี นสตู รโครงสรา้ งลิวอสิ สูตรโครงสรา้ งแบบย่อและสตู รโครงสร้างแบบเสน้ ของสารประกอบอินทรีย์
3. วิเคราะหโ์ ครงสร้าง และระบปุ ระเภทของสารประกอบอินทรียจ์ ากหมู่ฟงั ก์ชัน
4. เขยี นสูตรโครงสร้างและเรียกชอื่ สารประกอบอินทรยี ์ประเภทตา่ ง ๆ ที่มหี มู่ฟังก์ชนั ไม่เกนิ 1 หมู่ ตาม
ระบบ IUPAC
5. เขยี นไอโซเมอรโ์ ครงสร้างของสารประกอบอินทรียป์ ระเภทตา่ ง ๆ
6. วิเคราะห์ และเปรยี บเทียบจุดเดือดและการละลายในน้าของสารประกอบอินทรียท์ ่มี ี หมูฟ่ งั กช์ ัน ขนาด
โมเลกลุ หรือโครงสรา้ งตา่ งกัน
7. ระบุประเภทของสารประกอบไฮโดรคารบ์ อนและเขียนผลติ ภณั ฑจ์ ากปฏกิ ิริยาการเผาไหม้ปฏิกริ ยิ ากบั
โบรมีน หรือปฏิกิรยิ ากับโพแทสเซียมเปอร์แมงกาเนต
8. เขยี นสมการเคมีและอธบิ ายการเกิดปฏกิ ริ ยิ าเอสเทอริฟิเคชัน ปฏิกริ ยิ าการสังเคราะหเ์ อไมด์ปฏิกริ ยิ า
ไฮโดรลิซิส และปฏกิ ริ ยิ าสะปอนนิฟเิ คชัน
9. ทดสอบปฏกิ ิรยิ าเอสเทอริฟิเคชนั ปฏิกิรยิ าไฮโดรลซิ สิ และปฏิกริ ิยาสะปอนนิฟเิ คชัน
10. สบื ค้นข้อมลู และนาเสนอตัวอย่างการนาสารประกอบอินทรีย์ไปใช้ประโยชนใ์ นชีวติ ประจาวนั และอุตสาหกรรม
11. ระบปุ ระเภทของปฏกิ ริ ิยาการเกดิ พอลเิ มอร์จากโครงสรา้ งของมอนอเมอร์หรอื พอลิเมอร์
12. วเิ คราะห์ และอธบิ ายความสัมพนั ธ์ระหวา่ งโครงสร้างและสมบัตขิ องพอลเิ มอร์ รวมทง้ั การนาไปใช้ประโยชน์
13. ทดสอบ และระบุประเภทของพลาสตกิ และผลติ ภณั ฑ์ยาง รวมท้ังการนาไปใช้ประโยชน์
14. อธบิ ายผลของการปรบั เปลีย่ นโครงสร้าง และการสงั เคราะหพ์ อลิเมอรท์ ีม่ ตี ่อสมบัติของพอลเิ มอร์
15. สบื คน้ ข้อมลู และนาเสนอตัวอยา่ งผลกระทบจากการใช้และการกาจัดผลติ ภัณฑ์พอลิเมอรแ์ ละแนว
ทางแก้ไข

45

หลกั สตู รกลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี อสิ ลามวิทยาลัยแห่งประเทศไทย - 183 -

สาระเคมี
2. เข้าใจการเขียนและการดุลสมการเคมี ปริมาณสัมพันธ์ในปฏิกิริยาเคมี อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี

สมดุลในปฏิกิริยาเคมี สมบัติและปฏิกิริยาของกรด-เบส ปฏิกิริยารีดอกซ์และเซลล์เคมีไฟฟ้า รวมทั้งการนา
ความรไู้ ปใช้ประโยชน์

ช้ัน ผลการเรยี นรู้
ม.4 1. แปลความหมายสัญลกั ษณ์ในสมการเคมเี ขียนและดุลสมการเคมีของปฏิกริ ิยาเคมบี างชนดิ

2. คานวณปริมาณของสารในปฏิกริ ยิ าเคมทีเ่ กีย่ วข้องกับมวลสาร
3. คานวณปรมิ าณของสารในปฏิกริ ยิ าเคมที เ่ี ก่ยี วข้องกับความเขม้ ขน้ ของสารละลาย
4. คานวณปริมาณของสารในปฏกิ ิริยาเคมีที่เกยี่ วข้องกบั ปริมาตรแกส๊
5. คานวณปรมิ าณของสารในปฏิกริ ิยาเคมหี ลายข้นั ตอน
6. ระบุสารกาหนดปริมาณ และคานวณปริมาณสารตา่ ง ๆ ในปฏิกริ ิยาเคมี
7. คานวณผลได้ร้อยละของผลิตภณั ฑ์ในปฏกิ ริ ยิ าเคมี

ม.5 1. ทดลอง และเขยี นกราฟการเพิม่ ขน้ึ หรือลดลงของสารที่ทาการวัดในปฏิกริ ยิ า
2. คานวณอัตราการเกดิ ปฏิกิรยิ าเคมี และเขยี นกราฟการลดลงหรือเพิ่มขึน้ ของสารที่ไม่ได้วัดใน
ปฏกิ ริ ยิ า
3. เขยี นแผนภาพ และอธิบายทิศทางการชนกนั ของอนภุ าคและพลังงานท่สี ่งผลตอ่ อตั ราการ
เกิดปฏกิ ิรยิ าเคมี
4. ทดลอง และอธิบายผลของความเข้มข้น พ้ืนท่ผี วิ ของสารต้ังต้น อุณหภมู ิ และตวั เร่งปฏิกิริยาทมี่ ีต่อ
อตั ราการเกดิ ปฏกิ ิรยิ าเคมี
5. เปรียบเทียบอัตราการเกดิ ปฏกิ ิริยาเมือ่ มกี ารเปลย่ี นแปลงความเข้มข้น พ้ืนทผี่ วิ ของสารต้งั ต้น
อณุ หภมู ิ และตัวเร่งปฏกิ ิริยา
6. ยกตวั อย่าง และอธิบายปจั จยั ท่มี ีผลต่ออตั ราการเกิดปฏิกริ ยิ าเคมีในชวี ติ ประจาวัน
หรอื อตุ สาหกรรม
7. ทดสอบ และอธิบายความหมายของปฏกิ ิริยาผันกลับได้และภาวะสมดุล
8. อธิบายการเปลยี่ นแปลงความเข้มข้นของสารอัตราการเกิดปฏิกิริยาไปข้างหนา้ และอตั ราการ
เกิดปฏกิ ิริยาย้อนกลับ เมอ่ื เริ่มปฏกิ ริ ยิ าจนกระท่งั ระบบอยู่ในภาวะสมดุล
9. คานวณค่าคงทสี่ มดลุ ของปฏิกริ ยิ า
10. คานวณความเขม้ ข้นของสารท่ภี าวะสมดุล
11. คานวณค่าคงท่ีสมดลุ หรือความเขม้ ข้นของปฏกิ ริ ิยาหลายขัน้ ตอน
12. ระบปุ จั จัยทม่ี ผี ลต่อภาวะสมดลุ และค่าคงท่สี มดลุ ของระบบ รวมท้งั คาดคะเนการเปลยี่ นแปลงท่ี
เกดิ ข้ึนเมื่อภาวะสมดุลของระบบถกู รบกวน โดยใชห้ ลักของเลอชาเตอลเิ อ
13. ยกตัวอย่าง และอธบิ ายสมดลุ เคมขี องกระบวนการที่เกิดข้ึนในส่งิ มีชีวติ ปรากฏการณใ์ นธรรมชาติ
และกระบวนการในอตุ สาหกรรม
14. ระบุ และอธิบายวา่ สารเปน็ กรดหรือเบสโดยใช้ทฤษฎีกรด-เบสของอารเ์ รเนยี สเบรินสเตด-ลาวรี
และลิวอสิ
15. ระบุคู่กรด-เบสของสารตามทฤษฎกี รด-เบสของเบรินสเตด-ลาวรี
16. คานวณ และเปรียบเทียบความสามารถในการแตกตวั หรอื ความแรงของกรดและเบส
17. คานวณค่า pH ความเข้มข้นของไฮโดรเนียมไอออนหรือไฮดรอกไซด์ไอออนของสารละลายกรด
และเบส

46

หลักสตู รกลุ่มสาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี อิสลามวทิ ยาลยั แห่งประเทศไทย - 184 -

18. เขยี นสมการเคมีแสดงปฏิกิริยาสะเทิน และระบุความเป็นกรด-เบสของสารละลายหลังการสะเทิน
19. เขยี นปฏิกริ ยิ าไฮโดรลซิ ิสของเกลือ และระบุความเปน็ กรด-เบสของสารละลายเกลือ
20. ทดลอง และอธบิ ายหลกั การการไทเทรตและเลือกใช้อินดิเคเตอร์ทีเ่ หมาะสมสาหรบั การไทเทรต
กรด-เบส
21. คานวณปรมิ าณสารหรือความเข้มข้นของสารละลายกรดหรอื เบสจากการไทเทรต
22. อธบิ ายสมบตั ิ องค์ประกอบ และประโยชนข์ องสารละลายบัฟเฟอร์
23. สบื ค้นข้อมูล และนาเสนอตัวอยา่ งการใช้ประโยชน์และการแก้ปัญหาโดยใชค้ วามรเู้ กยี่ วกบั กรด – เบส
24. คานวณเลขออกซเิ ดชนั และระบุปฏกิ ริ ยิ าทเี่ ปน็ ปฏกิ ิรยิ ารีดอกซ์
25. วเิ คราะห์การเปลยี่ นแปลงเลขออกซเิ ดชันและระบุตวั รดี ิวซ์และตัวออกซิไดส์ รวมทงั้
เขียนครึง่ ปฏกิ ิริยาออกซเิ ดชันและครงึ่ ปฏกิ ิรยิ ารีดักชันของปฏิกริ ิยารดี อกซ์
26. ทดลอง และเปรียบเทยี บความสามารถในการเป็นตวั รีดิวซห์ รอื ตวั ออกซิไดส์ และเขียนแสดง
ปฏิกิริยารดี อกซ์
27. ดุลสมการรีดอกซ์ด้วยการใช้เลขออกซเิ ดชนั และวธิ คี รึง่ ปฏิกริ ยิ า
28. ระบุองค์ประกอบของเซลล์เคมไี ฟฟา้ และเขียนสมการเคมขี องปฏกิ ิรยิ าที่แอโนดและแคโทด
ปฏิกิรยิ ารวม และแผนภาพเซลล์
29. คานวณคา่ ศักย์ไฟฟ้ามาตรฐานของเซลล์และระบปุ ระเภทของเซลล์เคมไี ฟฟ้า ขั้วไฟฟ้าและ
ปฏกิ ริ ิยาเคมที เี่ กิดข้ึน
30. อธบิ ายหลกั การทางาน และเขียนสมการแสดงปฏกิ ิริยาของเซลลป์ ฐมภูมิและเซลล์ทุตยิ ภูมิ
31. ทดลองชุบโลหะและแยกสารเคมีดว้ ยกระแสไฟฟา้ และอธบิ ายหลักการทางเคมีไฟฟ้าทีใ่ ชใ้ นการชุบ
โลหะ การแยกสารเคมดี ว้ ยกระแสไฟฟ้า การทาโลหะใหบ้ ริสุทธ์ิ และการป้องกันการกัดกร่อนของโลหะ
32. สืบคน้ ข้อมลู และนาเสนอตัวอยา่ งความก้าวหน้าทางเทคโนโลยที ี่เกยี่ วขอ้ งกบั เซลลเ์ คมีไฟฟ้าใน
ชวี ติ ประจาวัน
ม.6 -

47

หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี อิสลามวิทยาลยั แห่งประเทศไทย - 185 -

สาระเคมี
3. เข้าใจหลักการทาปฏิบัติการเคมี การวัดปริมาณสาร หน่วยวัดและการเปล่ียนหน่วยการคานวณ

ปริมาณของสาร ความเข้มข้นของสารละลาย รวมทั้งการบูรณาการความรู้และทักษะในการอธิบาย
ปรากฏการณใ์ นชวี ิตประจาวนั และการแกป้ ัญหาทางเคมี

ช้นั ผลการเรยี นรู้
ม.4 1. บอก และอธบิ ายข้อปฏบิ ัติเบอ้ื งตน้ และปฏบิ ัติตนที่แสดงถึงความตระหนักในการทาปฏบิ ตั ิการเคมี

เพอื่ ให้มีความปลอดภยั ท้งั ต่อตนเอง ผู้อ่ืนและสง่ิ แวดลอ้ ม และเสนอแนวทางแก้ไขเมอ่ื เกิดอุบตั ิเหตุ
2. เลือก และใช้อุปกรณห์ รือเคร่อื งมือในการทาปฏิบตั ิการ และวัดปรมิ าณต่าง ๆ ได้อย่างเหมาะสม
3. นาเสนอแผนการทดลอง ทดลองและเขยี นรายงานการทดลอง
4. ระบุหนว่ ยวัดปรมิ าณตา่ ง ๆ ของสาร และเปลีย่ นหนว่ ยวดั ใหเ้ ป็นหน่วยในระบบเอสไอด้วยการใช้
แฟกเตอร์เปลี่ยนหน่วย
5. บอกความหมายของมวลอะตอมของธาตุ และคานวณมวลอะตอมเฉลย่ี ของธาตุ มวลโมเลกุลและมวลสตู ร
6. อธบิ าย และคานวณปริมาณใดปริมาณหน่งึ จากความสัมพันธข์ องโมล จานวนอนภุ าค มวลและ
ปรมิ าตรของแก๊สที่ STP
7. คานวณอัตราส่วนโดยมวลของธาตุองค์ประกอบของสารประกอบตามกฎสัดส่วนคงท่ี
8. คานวณสตู รอยา่ งง่ายและสตู รโมเลกุลของสาร
9. คานวณความเข้มข้นของสารละลายในหน่วยต่าง ๆ
10. อธบิ ายวิธีการ และเตรยี มสารละลายให้มคี วามเข้มขน้ ในหนว่ ยโมลารติ ี และปรมิ าตรสารละลาย
ตามทกี่ าหนด
11. เปรียบเทยี บจดุ เดือดและจุดเยือกแขง็ ของสารละลายกับสารบรสิ ทุ ธ์ิ รวมท้งั คานวณจุดเดือดและจดุ
เยือกแขง็ ของสารละลาย

ม.5 -

ม.6 1. กาหนดปัญหา และนาเสนอแนวทางการแกป้ ัญหาโดยใช้ความรทู้ างเคมีจาสถานการณ์ทเี่ กิดข้นึ ใน
ชวี ติ ประจาวนั การประกอบอาชพี หรอื อุตสาหกรรม
2. แสดงหลักฐานถงึ การบรู ณาการความรูท้ างเคมรี ่วมกบั สาขาวชิ าอ่นื รวมทัง้ ทักษะกระบวนการทาง
วิทยาศาสตรห์ รือกระบวนการออกแบบเชิงวศิ วกรรม โดยเน้นการคิดวเิ คราะห์การแกป้ ัญหาและความคดิ
สรา้ งสรรค์ เพอื่ แก้ปัญหาในสถานการณ์หรือประเดน็ ทีส่ นใจ
3. นาเสนอผลงานหรือชนิ้ งานทไี่ ด้จากการแก้ปญั หาในสถานการณ์หรือประเด็นทีส่ นใจโดยใช้เทคโนโลยี
สารสนเทศ
4. แสดงหลกั ฐานการเขา้ รว่ มการสมั มนา การเขา้ ร่วมประชุมวิชาการ หรอื การแสดงผลงานสิ่งประดษิ ฐ์
ในงานนิทรรศการ

48

หลกั สูตรกลุ่มสาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี อสิ ลามวิทยาลัยแห่งประเทศไทย - 186 -

สาระฟสิ กิ ส์
1. เข้าใจธรรมชาติทางฟิสิกส์ ปริมาณและกระบวนการวัด การเคล่ือนท่ีแนวตรงแรงและกฎการ

เคลอื่ นทข่ี องนิวตัน กฎความโน้มถ่วงสากล แรงเสียดทานสมดลุ กลของวัตถุ งานและกฎการอนุรกั ษพ์ ลังงานกล
โมเมนตัมและกฎการอนุรกั ษ์โมเมนตัม การเคล่อื นที่แนวโค้ง รวมทัง้ นาความรู้ไปใช้ประโยชน์

ช้ัน ผลการเรียนรู้
ม.4 1. สบื ค้น และอธบิ ายการค้นหาความรทู้ างฟสิ กิ สป์ ระวตั ิความเปน็ มา รวมท้ังพัฒนาการของหลกั การและ

แนวคิดทางฟิสกิ ส์ท่ีมีผลต่อการแสวงหาความร้ใู หมแ่ ละการพฒั นาเทคโนโลยี
2. วัด และรายงานผลการวัดปริมาณทางฟิสกิ ส์ไดถ้ ูกต้องเหมาะสม โดยนาความคลาดเคลื่อนในการวดั มา
พจิ ารณาในการนาเสนอผล รวมทง้ั แสดงผลการทดลองในรูปของกราฟ วเิ คราะห์และแปลความหมายจาก
กราฟเส้นตรง
3. ทดลอง และอธบิ ายความสัมพนั ธ์ระหวา่ งตาแหนง่ การกระจัด ความเรว็ และความเรง่ ของการ
เคลือ่ นท่ีของวตั ถุในแนวตรงท่ีมีความเร่งคงตวั จากกราฟและสมการ รวมท้งั ทดลองหาคา่ ความเรง่ โนม้ ถว่ ง
ของโลก และคานวณปริมาณต่าง ๆ ทเ่ี กีย่ วข้อง
4. ทดลอง และอธิบายการหาแรงลัพธ์ของแรงสองแรงท่ีทามมุ ต่อกัน
5. เขียนแผนภาพของแรงที่กระทาต่อวัตถุอิสระทดลอง และอธิบายกฎการเคลอ่ื นท่ีของนิวตนั และการใช้
กฎการเคลื่อนทขี่ องนิวตันกบั สภาพการเคล่ือนท่ขี องวัตถุ รวมทั้งคานวณปริมาณต่าง ๆท่ีเกย่ี วขอ้ ง
6. อธบิ ายกฎความโนม้ ถว่ งสากลและผลของสนามโนม้ ถ่วงทท่ี าให้วตั ถุมนี า้ หนกั รวมทงั้ คานวณปรมิ าณ
ตา่ ง ๆ ท่เี กี่ยวข้อง
7. วิเคราะห์ อธบิ าย และคานวณแรงเสยี ดทานระหวา่ งผวิ สมั ผสั ของวตั ถุคหู่ นง่ึ ๆ ในกรณีท่ีวตั ถหุ ยุดน่ิง
และวตั ถุเคล่ือนที่ รวมทั้งทดลองหาสัมประสิทธคิ์ วามเสียดทานระหว่างผวิ สมั ผัสของวัตถุค่หู น่ึง ๆ และนา
ความรูเ้ ร่ืองแรงเสียดทานไปใชใ้ นชวี ิตประจาวัน
8. อธบิ ายสมดลุ กลของวตั ถุ โมเมนต์ และผลรวมของโมเมนต์ท่มี ีต่อการหมุน แรงคูค่ วบและผลของแรงคู่
ควบทีม่ ีต่อสมดุลของวัตถุ เขยี นแผนภาพของแรงท่ีกระทาต่อวตั ถอุ สิ ระเมื่อวัตถุอยใู่ นสมดุลกล และ
คานวณปริมาณต่าง ๆทเ่ี ก่ยี วขอ้ ง รวมทัง้ ทดลองและอธิบายสมดลุ ของแรงสามแรง
9. สังเกต และอธิบายสภาพการเคล่อื นท่ีของวตั ถุเมื่อแรงที่กระทาตอ่ วัตถุผา่ นศูนยก์ ลางมวลของวัตถุ
และผลของศนู ยถ์ ว่ งทมี่ ตี ่อเสถยี รภาพของวตั ถุ
10. วเิ คราะห์ และคานวณงานของแรงคงตวั จากสมการและพนื้ ท่ีใตก้ ราฟความสัมพนั ธ์ระหวา่ งแรงกับ
ตาแหน่ง รวมท้ังอธบิ าย และคานวณกาลังเฉล่ีย
11. อธิบาย และคานวณพลงั งานจลน์ พลงั งานศักย์พลงั งานกล ทดลองหาความสัมพนั ธ์ระหวา่ งงานกับ
พลงั งานจลน์ ความสัมพันธ์ระหวา่ งงานกับพลังงานศักยโ์ นม้ ถว่ งความสัมพนั ธร์ ะหว่างขนาดของแรงทีใ่ ช้
ดึงสปริงกบั ระยะทีส่ ปรงิ ยืดออกและความสัมพันธ์ระหว่างงานกับพลังงานศักย์ยดื หยนุ่ รวมทง้ั อธิบาย
ความสมั พันธร์ ะหว่างงานของแรงลพั ธแ์ ละพลงั งานจลน์ และคานวณงานทเี่ กิดขึน้ จากแรงลัพธ์
12. อธิบายกฎการอนรุ ักษ์พลังงานกล รวมทง้ั วเิ คราะห์ และคานวณปริมาณต่าง ๆ ท่ีเกย่ี วข้องกบั การ
เคลือ่ นท่ีของวัตถใุ นสถานการณ์ต่าง ๆโดยใชก้ ฎการอนุรักษ์พลังงานกล
13. อธบิ ายการทางาน ประสทิ ธิภาพและการได้เปรยี บเชิงกลของเครอื่ งกลอยา่ งง่ายบางชนิดโดยใช้
ความรเู้ ร่ืองงานและสมดลุ กล รวมทง้ั คานวณประสิทธภิ าพและการได้เปรียบเชงิ กล
14. อธบิ าย และคานวณโมเมนตมั ของวตั ถแุ ละการดลจากสมการและพืน้ ท่ีใต้กราฟความสมั พันธร์ ะหว่าง
แรงลพั ธ์กบั เวลา รวมทง้ั อธิบายความสัมพนั ธ์ระหว่างแรงดลกับโมเมนตมั

49

หลกั สูตรกลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี อิสลามวทิ ยาลยั แห่งประเทศไทย - 187 -

15. ทดลอง อธบิ าย และคานวณปริมาณตา่ ง ๆทีเ่ กี่ยวกับการชนของวัตถใุ นหน่ึงมติ ิ ทงั้ แบบยืดหยุ่น ไม่
ยืดหย่นุ และการดดี ตัวแยกจากกันในหน่ึงมติ ิซ่ึงเป็นไปตามกฎการอนุรักษ์โมเมนตัม
16. อธิบาย วเิ คราะห์ และคานวณปริมาณตา่ ง ๆที่เกี่ยวข้องกับการเคลอ่ื นท่ีแบบโพรเจกไทล์และทดลอง
การเคลื่อนท่ีแบบโพรเจกไทล์
17. ทดลอง และอธิบายความสัมพนั ธ์ระหว่างแรงสู่ศนู ยก์ ลาง รศั มขี องการเคลอื่ นท่ีอัตราเร็วเชิงเสน้
อตั ราเร็วเชงิ มมุ และมวลของวัตถุ ในการเคล่ือนที่แบบวงกลมในระนาบระดบั รวมท้งั คานวณปริมาณตา่ ง
ๆ ทีเ่ กี่ยวข้องและประยุกต์ใช้ความรู้การเคล่ือนท่ีแบบวงกลมในการอธบิ ายการโคจรของดาวเทยี ม

ม.5 -

ม.6 -

สาระฟสิ ิกส์
2. เข้าใจการเคล่ือนทแ่ี บบฮาร์มอนกิ อย่างง่าย ธรรมชาติของคล่ืน เสียงและการได้ยิน ปรากฏการณ์ที่

เกยี่ วขอ้ งกบั เสยี ง แสงและการเห็น ปรากฏการณท์ เี่ ก่ยี วขอ้ งกับแสง รวมทงั้ นาความร้ไู ปใชป้ ระโยชน์
ชั้น ผลการเรียนรู้
ม.4 -
ม.5 1. ทดลอง และอธบิ ายการเคลอ่ื นทแ่ี บบฮาร์มอนกิ อย่างง่ายของวัตถุติดปลายสปริงและลูกตุ้มอยา่ งง่าย
รวมท้งั คานวณปริมาณต่าง ๆ ท่ีเกย่ี วข้อง
2. อธบิ ายความถ่ธี รรมชาตขิ องวตั ถุและการเกิดการสั่นพ้อง
3. อธิบายปรากฏการณ์คลื่น ชนดิ ของคล่นื สว่ นประกอบของคลน่ื การแผ่ของหนา้ คลืน่ ด้วยหลักการของ
ฮอยเกนส์ และการรวมกนั ของคลื่นตามหลกั การซ้อนทับ พร้อมทง้ั คานวณอัตราเรว็ ความถ่ี และความ
ยาวคลนื่
4. สังเกต และอธิบายการสะท้อน การหักเหการแทรกสอด และการเล้ยี วเบนของคลื่นผวิ นา้ รวมทง้ั
คานวณปรมิ าณต่าง ๆ ทเ่ี กี่ยวขอ้ ง
5. อธิบายการเกิดเสียง การเคลือ่ นทข่ี องเสียงความสัมพันธ์ระหว่างคล่นื การกระจดั ของอนภุ าคกับคลน่ื
ความดนั ความสัมพันธ์ระหวา่ งอตั ราเรว็ ของเสียงในอากาศทีข่ ้นึ กบั อุณหภูมิในหนว่ ยองศาเซลเซียส
สมบตั ขิ องคล่นื เสยี ง ไดแ้ ก่การสะท้อน การหักเห การแทรกสอดการเลี้ยวเบน รวมท้ังคานวณปริมาณ
ตา่ ง ๆ ท่เี ก่ยี วข้อง
6. อธบิ ายความเข้มเสียง ระดับเสียง องค์ประกอบของการไดย้ นิ คณุ ภาพเสียง และมลพิษทางเสยี ง
รวมทง้ั คานวณปริมาณต่าง ๆ ที่เก่ยี วข้อง
7. ทดลอง และอธบิ ายการเกิดการส่ันพ้องของอากาศในท่อปลายเปดิ หนึง่ ด้าน รวมทง้ั สังเกตและอธบิ าย
การเกิดบตี คล่นื นิง่ ปรากฏการณ์ดอปเพลอร์ คล่ืนกระแทกของเสียง คานวณปรมิ าณตา่ ง ๆ ท่ีเกี่ยวข้อง
และนาความรู้เรื่องเสียงไปใชใ้ นชวี ติ ประจาวนั
8. ทดลอง และอธิบายการแทรกสอดของแสงผ่านสลิตค่แู ละเกรตติง การเลย้ี วเบนและการแทรกสอดของ
แสงผา่ นสลิตเดีย่ วรวมท้ังคานวณปริมาณต่าง ๆ ทเี่ กยี่ วข้อง
9. ทดลอง และอธบิ ายการสะท้อนของแสงทผี่ วิ วัตถตุ ามกฎการสะท้อน เขียนรังสีของแสงและคานวณ
ตาแหนง่ และขนาดภาพของวัตถุ เม่อื แสงตกกระทบกระจกเงาราบและกระจกเงาทรงกลมรวมทัง้ อธบิ าย
การนาความรู้เร่ืองการสะท้อนของแสงจากกระจกเงาราบ และกระจกเงาทรงกลมไปใช้ประโยชนใ์ น
ชีวิตประจาวัน

50

หลักสตู รกลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี อิสลามวิทยาลยั แห่งประเทศไทย - 188 -

10. ทดลอง และอธบิ ายความสมั พันธ์ระหวา่ งดรรชนีหกั เห มุมตกกระทบ และมุมหกั เหรวมทงั้ อธบิ าย
ความสัมพนั ธ์ระหว่างความลึกจริงและความลึกปรากฏ มมุ วกิ ฤตและการสะทอ้ นกลบั หมดของแสง และ
คานวณปรมิ าณตา่ ง ๆ ที่เก่ยี วข้อง
11. ทดลอง และเขียนรังสขี องแสงเพื่อแสดงภาพท่เี กิดจากเลนสบ์ าง หาตาแหนง่ ขนาด ชนิดของภาพ
และความสัมพันธร์ ะหวา่ งระยะวัตถุระยะภาพและความยาวโฟกสั รวมทั้งคานวณปริมาณต่าง ๆ ที่
เกี่ยวข้อง และอธบิ ายการนาความรเู้ ร่ืองการหักเหของแสงผ่านเลนสบ์ างไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจาวนั
12. อธบิ ายปรากฏการณธ์ รรมชาติทเี่ ก่ียวกับแสงเชน่ รงุ้ การทรงกลด มิราจ และการเห็นท้องฟา้ เป็นสี
ตา่ ง ๆ ในชว่ งเวลาตา่ งกัน
13. สังเกต และอธบิ ายการมองเหน็ แสงสี สขี องวัตถุ การผสมสารสี และการผสมแสงสรี วมทงั้ อธบิ าย
สาเหตุของการบอดสี
ม.6 -

สาระฟสิ ิกส์
3. เข้าใจแรงไฟฟ้าและกฎของคูลอมบ์ สนามไฟฟ้า ศักย์ไฟฟ้า ความจุไฟฟ้ากระแสไฟฟ้าและกฎของ

โอห์ม วงจรไฟฟ้ากระแสตรง พลังงานไฟฟ้าและกาลังไฟฟ้าการเปล่ียนพลังงานทดแทนเป็นพลังงานไฟฟ้า
สนามแม่เหล็ก แรงแม่เหล็กที่กระทากับประจุไฟฟ้าและกระแสไฟฟ้า การเหน่ียวนาแม่เหล็กไฟฟ้าและกฎ
ของฟาราเดย์ ไฟฟา้ กระแสสลับ คล่นื แมเ่ หลก็ ไฟฟา้ และการสอื่ สาร รวมท้ังนาความรู้ไปใชป้ ระโยชน์

ชั้น ผลการเรียนรู้
ม.4 -

ม.5 1. ทดลอง และอธบิ ายการทาวัตถทุ เี่ ป็นกลางทางไฟฟา้ ใหม้ ปี ระจุไฟฟา้ โดยการขดั สีกนั และการเหนย่ี วนาไฟฟ้าสถิต
2. อธบิ าย และคานวณแรงไฟฟา้ ตามกฎของคูลอมบ์
3. อธบิ าย และคานวณสนามไฟฟ้าและแรงไฟฟา้ ที่กระทากับอนภุ าคท่ีมปี ระจุไฟฟา้ ท่ีอยู่ในสนามไฟฟ้า รวมทง้ั หา
สนามไฟฟ้าลัพธ์เนอ่ื งจากระบบจุดประจโุ ดยรวมกันแบบเวกเตอร์
4. อธบิ าย และคานวณพลงั งานศักยไ์ ฟฟา้ ศักย์ไฟฟ้าและความต่างศักย์ระหว่างสองตาแหนง่ ใด ๆ
5. อธิบายส่วนประกอบของตัวเกบ็ ประจคุ วามสัมพนั ธร์ ะหว่างประจไุ ฟฟ้า ความต่างศักยแ์ ละความจุของตวั เก็บ
ประจุ และอธิบายพลังงานสะสมในตวั เก็บประจุ และความจสุ มมลู รวมท้งั คานวณปริมาณต่าง ๆ ทเี่ กีย่ วขอ้ ง
6. นาความรู้เรอื่ งไฟฟ้าสถติ ไปอธบิ ายหลักการทางานของเครอื่ งใช้ไฟฟ้าบางชนดิ และปรากฏการณใ์ นชวี ติ ประจาวัน
7. อธิบายการเคล่ือนท่ขี องอิเล็กตรอนอิสระและกระแสไฟฟ้าในลวดตัวนา ความสัมพันธ์ระหวา่ งกระแสไฟฟา้ ในลวด
ตวั นากับความเร็วลอยเลื่อนของอเิ ล็กตรอนอิสระ ความหนาแนน่ ของอิเล็กตรอนในลวดตัวนาและพน้ื ทหี่ น้าตดั ของ
ลวดตวั นา และคานวณปริมาณตา่ ง ๆท่ีเกยี่ วข้อง
8. ทดลอง และอธิบายกฎของโอห์ม อธิบายความสมั พันธร์ ะหวา่ งความต้านทานกับความยาวพน้ื ที่หนา้ ตัด และ
สภาพตา้ นทานของตัวนาโลหะที่อุณหภมู ิคงตวั และคานวณปริมาณต่าง ๆทเ่ี ก่ียวข้อง รวมทงั้ อธิบายและคานวณ
ความตา้ นทานสมมูล เมอ่ื นาตัวตา้ นทานมาต่อกันแบบอนุกรมและแบบขนาน
9. ทดลอง อธิบาย และคานวณอเี อ็มเอฟของแหล่งกาเนิดไฟฟา้ กระแสตรง รวมท้งั อธิบายและคานวณพลังงาน
ไฟฟา้ และกาลงั ไฟฟ้า
10. ทดลอง และคานวณอเี อ็มเอฟสมมลู จากการต่อแบตเตอรแี่ บบอนุกรมและแบบขนานรวมท้ังคานวณปรมิ าณ
ตา่ ง ๆ ทเี่ กย่ี วข้องในวงจรไฟฟ้ากระแสตรงซ่งึ ประกอบด้วยแบตเตอรแ่ี ละตัวต้านทาน
11. อธบิ ายการเปลย่ี นพลังงานทดแทนเป็นพลงั งานไฟฟา้ รวมทง้ั สบื ค้นและอภิปรายก่ยี วกับเทคโนโลยี ทน่ี ามาแกป้ ัญหา
หรอื ตอบสนองความตอ้ งการทางดา้ นพลงั งานไฟฟ้า โดยเน้นดา้ นประสิทธิภาพและความคุม้ ค่าดา้ นคา่ ใชจ้ า่ ย

51

หลกั สูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี อสิ ลามวทิ ยาลัยแห่งประเทศไทย - 189 -

ช้นั ผลการเรยี นรู้

ม.6 1. สังเกต และอธิบายเสน้ สนามแม่เหล็ก อธิบายและคานวณฟลกั ซ์แม่เหลก็ ในบรเิ วณท่ีกาหนดรวมทั้งสงั เกต และ
อธบิ ายสนามแม่เหล็กที่เกิดจากกระแสไฟฟ้าในลวดตัวนาเส้นตรงและโซเลนอยด์
2. อธิบาย และคานวณแรงแม่เหล็กท่ีกระทาต่ออนุภาคที่มีประจไุ ฟฟ้าเคลอื่ นทีใ่ นสนามแมเ่ หลก็ แรงแมเ่ หลก็ ท่ี
กระทาตอ่ เสน้ ลวดทมี่ ีกระแสไฟฟ้าผา่ นและวางในสนามแมเ่ หล็ก รศั มคี วามโคง้ ของการเคล่ือนทเ่ี ม่ือประจุเคลื่อนทตี่ ้ัง
ฉากกบั สนามแม่เหล็ก รวมทง้ั อธบิ ายแรงระหว่างเส้นลวดตัวนาคขู่ นานทม่ี ีกระแสไฟฟ้าผ่าน
3. อธบิ ายหลักการทางานของแกลแวนอมิเตอร์และมอเตอร์ไฟฟา้ กระแสตรง รวมทงั้ คานวณปรมิ าณต่างๆ ท่ี
เกย่ี วขอ้ ง
4. สงั เกต และอธบิ ายการเกิดอเี อ็มเอฟเหน่ยี วนากฎการเหน่ียวนาของฟาราเดย์ และคานวณปริมาณต่าง ๆ ที่
เกย่ี วข้อง รวมทัง้ นาความร้เู รื่องอเี อ็มเอฟเหนี่ยวนาไปอธิบายการทางานของเครื่องใช้ไฟฟา้
5. อธบิ าย และคานวณความตา่ งศกั ย์อารเ์ อ็มเอสและกระแสไฟฟา้ อาร์เอ็มเอส
6. อธบิ ายหลกั การทางานและประโยชนข์ องเคร่ืองกาเนิดไฟฟ้ากระแสสลบั 3 เฟสการแปลงอีเอ็มเอฟของหม้อแปลง
และคานวณปริมาณต่าง ๆ ท่ีเก่ยี วข้อง
7. อธบิ ายการเกิดและลักษณะเฉพาะของคลืน่ แม่เหล็กไฟฟ้า แสงไมโ่ พลาไรส์แสงโพลาไรสเ์ ชงิ เส้น และแผน่ โพลา
รอยดร์ วมท้ังอธบิ ายการนาคลื่นแม่เหลก็ ไฟฟ้าในชว่ งความถ่ีต่าง ๆ ไปประยุกต์ใช้และหลกั การทางานของอุปกรณ์ที่
เกย่ี วข้อง
8. สบื คน้ และอธบิ ายการสอ่ื สารโดยอาศัยคลนื่ แม่เหล็กไฟฟา้ ในการสง่ ผา่ นสารสนเทศและเปรียบเทียบการสอื่ สาร
ด้วยสัญญาณแอนะล็อกกบั สัญญาณดจิ ิทลั

สาระฟสิ ิกส์
4. เข้าใจความสัมพันธ์ของความร้อนกับการเปลี่ยนอุณหภูมิและสถานะของสสารสภาพยืดหยุ่นของ

วัสดุและมอดุลัสของยัง ความดันในของไหล แรงพยุง และหลักของอาร์คิมีดิส ความตึงผิวและแรงหนืดของ
ของเหลว ของไหลอุดมคติ และสมการแบร์นลู ลี กฎของแก๊ส ทฤษฎีจลนข์ องแกส๊ อดุ มคตแิ ละพลังงานในระบบ
ทฤษฎีอะตอมของโบร์ ปรากฏการณ์โฟโตอิเล็กทริก ทวิภาวะของคล่ืนและอนุภาค กัมมันตภาพรังสี
แรงนิวเคลยี ร์ ปฏิกริ ิยานวิ เคลยี ร์ พลงั งานนวิ เคลียรฟ์ สิ ิกส์อนภุ าค รวมทัง้ นาความรไู้ ปใช้ประโยชน์

ชนั้ ผลการเรยี นรู้
ม.4 -
ม.5 -

ม.6 1. อธิบาย และคานวณความร้อนที่ทาใหส้ สารเปลี่ยนอณุ หภมู ิ ความรอ้ นท่ีทาใหส้ สารเปล่ียนสถานะ และความ
ร้อนทเี่ กิดจากการถ่ายโอนตามกฎการอนุรกั ษ์พลังงาน
2. อธบิ ายสภาพยดื หยนุ่ และลักษณะการยืดและหดตวั ของวัสดุทเี่ ป็นแท่ง เมอ่ื ถูกกระทาด้วยแรงค่าต่าง ๆ
รวมท้ังทดลอง อธบิ ายและคานวณความเคน้ ตามยาว ความเครียดตามยาวและมอดุลสั ของยงั และนาความรู้
เรือ่ งสภาพยืดหยนุ่ ไปใชใ้ นชีวติ ประจาวนั
3. อธบิ าย และคานวณความดันเกจ ความดนั สัมบูรณ์ และความดนั บรรยากาศ รวมทั้งอธบิ ายหลกั การทางาน
ของแมนอมเิ ตอร์บารอมิเตอร์ และเคร่อื งอดั ไฮดรอลิก
4. ทดลอง อธิบาย และคานวณขนาดแรงพยงุ จากของไหล
5. ทดลอง อธิบาย และคานวณความตงึ ผวิ ของของเหลว รวมทง้ั สังเกตและอธิบายแรงหนดื ของของเหลว
6. อธบิ ายสมบัตขิ องของไหลอุดมคติ สมการความตอ่ เน่ือง และสมการแบร์นลู ลี รวมท้งั คานวณปรมิ าณตา่ ง ๆ

52

หลักสตู รกลุ่มสาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี อิสลามวิทยาลัยแห่งประเทศไทย - 190 -

ช้นั ผลการเรยี นรู้

ที่เกย่ี วข้อง และนาความรเู้ ก่ยี วกบั สมการความต่อเน่ืองและสมการแบร์นูลลีไปอธิบายหลักการทางานของ
อุปกรณ์ตา่ ง ๆ
7. อธิบายกฎของแกส๊ อดุ มคติและคานวณปริมาณต่าง ๆ ทเ่ี กีย่ วขอ้ ง
8. อธบิ ายแบบจาลองของแก๊สอุดมคติ ทฤษฎีจลน์ของแกส๊ และอัตราเร็วอาร์เอ็มเอสของโมเลกุลของแก๊ส
รวมท้ังคานวณปรมิ าณตา่ ง ๆ ท่ีเกีย่ วข้อง
9. อธบิ าย และคานวณงานท่ีทาโดยแกส๊ ในภาชนะปิดโดยความดันคงตวั และอธบิ ายความสมั พันธร์ ะหว่างความ
รอ้ น พลงั งานภายในระบบ และงานรวมทั้งคานวณปรมิ าณต่าง ๆ ทเี่ กย่ี วข้องและนาความรู้เร่อื งพลังงานภายใน
ระบบไปอธบิ ายหลกั การทางานของเครอ่ื งใช้ในชีวติ ประจาวนั
10. อธบิ ายสมมติฐานของพลังค์ ทฤษฎีอะตอมของโบร์ และการเกิดเสน้ สเปกตรัมของ
อะตอมไฮโดรเจน รวมทง้ั คานวณปริมาณต่าง ๆ ท่ีเกย่ี วข้อง
11. อธิบายปรากฏการณ์โฟโตอิเลก็ ทริกและคานวณพลังงานโฟตอน พลังงานจลน์ของ
โฟโตอิเล็กตรอนและฟังกช์ ันงานของโลหะ
12. อธิบายทวภิ าวะของคลืน่ และอนภุ าค รวมท้งั อธิบาย และคานวณความยาวคล่ืนเดอบรอยล์
13. อธิบายกัมมันตภาพรงั สแี ละความแตกต่างของรงั สแี อลฟา บีตา และแกมมา
14. อธบิ าย และคานวณกมั มันตภาพของนวิ เคลยี สกมั มันตรังสี รวมทง้ั ทดลอง อธบิ าย
และคานวณจานวนนิวเคลียสกัมมันตภาพรงั สีที่เหลอื จากการสลาย และคร่ึงชวี ิต
15. อธบิ ายแรงนวิ เคลยี ร์ เสถยี รภาพของนิวเคลยี สและพลังงานยดึ เหนย่ี ว รวมท้ังคานวณปริมาณต่าง ๆ ทเ่ี กยี่ วขอ้ ง
16. อธิบายปฏิกิรยิ านิวเคลียร์ ฟชิ ชนั และฟิวชันรวมทง้ั คานวณพลังงานนิวเคลยี ร์
17. อธบิ ายประโยชนข์ องพลังงานนวิ เคลียร์ และรังสี รวมทั้งอนั ตรายและการป้องกันรงั สีในด้านตา่ ง ๆ
18. อธิบายการค้นควา้ วิจยั ดา้ นฟิสกิ ส์อนภุ าคแบบจาลองมาตรฐาน และการใชป้ ระโยชนจ์ ากการค้นคว้าวิจยั
ดา้ นฟิสกิ ส์อนุภาคในดา้ นต่าง ๆ

53
หลกั สตู รกลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี อิสลามวทิ ยาลยั แห่งประเทศไทย - 191 -

สาระโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ
1. เข้าใจกระบวนการเปลี่ยนแปลงภายในโลก ธรณพี บิ ัตภิ ัยและผลต่อสิง่ มชี ีวติ และสง่ิ แวดลอ้ ม รวมทั้ง

การศกึ ษาลาดับช้ันหนิ ทรัพยากรธรณี แผนที่ และการนาไปใชป้ ระโยชน์

ช้ัน ผลการเรียนรู้

ม.4 1. อธบิ ายการแบง่ ช้ันและสมบตั ิของโครงสรา้ งโลกพร้อมยกตวั อยา่ งข้อมูลทีส่ นบั สนนุ
2. อธบิ ายหลกั ฐานทางธรณีวิทยาท่ีสนับสนนุ การเคล่อื นท่ีของแผ่นธรณี
3. ระบสุ าเหตุและอธบิ ายแนวรอยตอ่ ของแผน่ ธรณีทส่ี มั พนั ธ์กบั การเคลื่อนทข่ี องแผน่ ธรณพี ร้อม
ยกตวั อยา่ งหลักฐานทางธรณีวทิ ยาท่ีพบ

4. วิเคราะหห์ ลักฐานทางธรณีวิทยาท่ีพบในปัจจุบันและอธบิ ายลาดบั เหตกุ ารณ์ ทางธรณวี ิทยาในอดีต

5. อธิบายสาเหตุ กระบวนการเกดิ ภูเขาไฟระเบิดและปัจจยั ทีท่ าใหค้ วามรนุ แรงของการปะทุและรปู รา่ ง
ของภูเขาไฟแตกตา่ งกัน รวมทัง้ สบื ค้นข้อมูลพืน้ ท่เี สยี่ งภยั ออกแบบและนาเสนอแนวทางการเฝา้ ระวังและ
การปฏิบัติตนใหป้ ลอดภัย

6. อธบิ ายสาเหตุ กระบวนการเกิด ขนาดและความรนุ แรง และผลจากแผ่นดินไหว รวมทั้งสบื คน้ ขอ้ มูล

พื้นท่เี สยี่ งภัย ออกแบบและนาเสนอแนวทางการเฝ้าระวงั และการปฏบิ ตั ติ นใหป้ ลอดภัย
7. อธบิ ายสาเหตุ กระบวนการเกดิ และผลจากสึนามิ รวมท้ังสืบค้นข้อมูลพืน้ ทเี่ สยี่ งภยั ออกแบบและ
นาเสนอแนวทางการเฝ้าระวังและการปฏิบตั ิตนให้ปลอดภัย

8. ตรวจสอบ และระบุชนดิ แร่ รวมทง้ั วิเคราะหส์ มบตั แิ ละนาเสนอการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรแร่ท่เี หมาะสม

9. ตรวจสอบ จาแนกประเภท และระบชุ อ่ื หนิ รวมทั้งวเิ คราะห์สมบัติและนาเสนอการใช้ประโยชนข์ อง
ทรัพยากรหนิ ที่เหมาะสม
10. อธิบายกระบวนการเกดิ และการสารวจแหล่งปิโตรเลียมและถ่านหิน โดยใชข้ ้อมูลทางธรณีวทิ ยา
11. อธบิ ายสมบัตขิ องผลิตภัณฑท์ ่ีไดจ้ ากปิโตรเลยี มและถา่ นหิน พรอ้ มนาเสนอการใช้ประโยชนอ์ ยา่ งเหมาะสม

12. อ่านและแปลความหมายจากแผนที่ภมู ปิ ระเทศและแผนที่ธรณีวทิ ยาของพนื้ ท่ี ทกี่ าหนดพร้อมทั้ง

อธบิ ายและยกตัวอยา่ ง การนาไปใช้ประโยชน์ 54
ม.5 -

ม.6 -

สาระโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ
2. เข้าใจสมดลุ พลังงานของโลก การหมนุ เวียนของอากาศบนโลก การหมนุ เวียนของน้าในมหาสมุทร

การเกดิ เมฆ การเปลยี่ นแปลงภมู อิ ากาศโลกและผลต่อสิง่ มีชีวิตและสิ่งแวดลอ้ ม รวมทัง้ การพยากรณ์อากาศ

ชั้น ผลการเรยี นรู้
ม.4 -
ม.5 1. อธบิ ายปัจจัยสาคญั ท่มี ผี ลตอ่ การรบั และคายพลงั งานจากดวงอาทิตยแ์ ตกต่างกนั และผลท่ีมีตอ่ อณุ หภูมิ

ในแต่ละบริเวณของโลก
2. อธบิ ายกระบวนการทท่ี าใหเ้ กิดสมดุลพลังงานของโลก
3. อธิบายผลของแรงเนื่องจากความแตกตา่ งของความกดอากาศ แรงคอริออลสิ แรงสศู่ นู ย์กลางและแรง
เสยี ดทานที่มตี ่อการหมุนเวยี นของอากาศ
4. อธิบายการหมุนเวยี นของอากาศตามเขตละติจดู และผลทีม่ ตี อ่ ภูมิอากาศ

หลกั สูตรกลุ่มสาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี อิสลามวิทยาลัยแห่งประเทศไทย - 192 -

5. อธิบายปัจจยั ทีท่ าให้เกดิ การแบ่งชนั้ น้าในมหาสมทุ ร

6. อธบิ ายปจั จัยทีท่ าให้เกดิ การหมุนเวียนของน้าในมหาสมุทรและรูปแบบการหมุนเวยี นของนา้ ใน

มหาสมทุ ร

7. อธบิ ายผลของการหมนุ เวียนของน้าในมหาสมุทรทีม่ ีต่อลักษณะลมฟ้าอากาศ ส่งิ มีชวี ิต และส่งิ แวดล้อม

8. อธบิ ายความสัมพนั ธ์ระหว่างเสถยี รภาพอากาศและการเกิดเมฆ

9. อธบิ ายการเกดิ แนวปะทะอากาศแบบต่าง ๆและลักษณะลมฟา้ อากาศทีเ่ กยี่ วข้อง

10. อธิบายปจั จยั ต่าง ๆ ท่ีมีผลตอ่ การเปลยี่ นแปลงภูมิอากาศของโลก พร้อมยกตัวอย่างข้อมูลสนบั สนุน

11. วิเคราะห์ และอภปิ รายเหตุการณ์ท่ีเป็นผลจากการเปล่ียนแปลงภูมิอากาศโลก และนาเสนอแนวปฏบิ ตั ิ

ของมนษุ ย์ที่มสี ่วนชว่ ยในการชะลอการเปลยี่ นแปลงภูมิอากาศโลก

12. แปลความหมายสัญลกั ษณ์ลมฟา้ อากาศบนแผนทอ่ี ากาศ

13. วเิ คราะห์ และคาดการณ์ลกั ษณะลมฟ้าอากาศเบ้ืองตน้ จากแผนที่อากาศและข้อมลู สารสนเทศอ่ืน ๆ 55
เพ่อื วางแผนในการประกอบอาชพี และการดาเนนิ ชีวติ ใหส้ อดคล้องกับสภาพลมฟา้ อากาศ

ม.6 -

สาระโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ
3. เข้าใจองค์ประกอบ ลักษณะ กระบวนการเกิด และวิวัฒนาการของเอกภพกาแล็กซี ดาวฤกษ์ และ

ระบบสุรยิ ะ ความสัมพนั ธข์ องดาราศาสตร์กับมนุษย์จากการศึกษาตาแหน่งดาวบนทรงกลมฟ้าและปฏิสัมพันธ์
ภายในระบบสุรยิ ะรวมทัง้ การประยุกตใ์ ช้เทคโนโลยีอวกาศในการดารงชีวติ

ช้ัน ผลการเรียนรู้
ม.4 -
ม.5 -

ม.6 1. อธิบายการกาเนิดและการเปล่ียนแปลงพลังงานสสาร ขนาดอณุ หภมู ิของเอกภพหลงั เกิดบิกแบงใน
ชว่ งเวลาตา่ ง ๆ ตามววิ ฒั นาการของเอกภพ
2. อธบิ ายหลักฐานที่สนบั สนุนทฤษฎบี ิกแบงจากความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งความเร็วกับระยะทางของกาแล็กซี
รวมทั้งขอ้ มลู การค้นพบไมโครเวฟพื้นหลงั จากอวกาศ
3. อธบิ ายโครงสร้างและองค์ประกอบของกาแลก็ ซีทางช้างเผอื ก และระบุตาแหนง่ ของระบบสุรยิ ะพรอ้ ม
อธิบายเชอ่ื มโยงกับการสังเกตเห็นทางชา้ งเผอื กของคนบนโลก
4. อธิบายกระบวนการเกดิ ดาวฤกษ์ โดยแสดงการเปลย่ี นแปลงความดนั อุณหภูมิ ขนาด
จากดาวฤกษก์ ่อนเกิดจนเป็นดาวฤกษ์
5. อธบิ ายกระบวนการสรา้ งพลังงานของดาวฤกษ์และผลที่เกิดข้นึ โดยวเิ คราะห์ปฏกิ ิริยาลกู โซ่โปรตอน-
โปรตอน และวัฏจกั รคารบ์ อนไนโตรเจน ออกซิเจน
6. ระบุปัจจัยทีส่ ่งผลต่อความส่องสวา่ งของดาวฤกษ์และอธิบายความสมั พันธร์ ะหว่างความสอ่ งสว่างกับ
โชตมิ าตรของดาวฤกษ์
7. อธบิ ายความสัมพันธร์ ะหวา่ งสี อุณหภูมิผวิ และสเปกตรัมของดาวฤกษ์
8. อธบิ ายวธิ กี ารหาระยะทางของดาวฤกษ์ดว้ ยหลักการแพรลั แลกซ์ พร้อมคานวณหาระยะทางของดาว
ฤกษ์
9. อธบิ ายลาดับวิวัฒนาการท่ีสมั พันธก์ บั มวลตั้งตน้ และวิเคราะหก์ ารเปลย่ี นแปลงสมบัติบางประการของ
ดาวฤกษ์ในลาดับววิ ฒั นาการ จากแผนภาพเฮิรซ์ ปรงุ -รัสเซลล์

หลกั สตู รกลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี อสิ ลามวิทยาลยั แห่งประเทศไทย - 193 -

10. อธบิ ายกระบวนการเกิดระบบสรุ ยิ ะ การแบ่งเขตบริวารของดวงอาทิตย์และลักษณะของดาวเคราะห์ท่ี
เออ้ื ต่อการดารงชวี ิต

11. อธบิ ายการโคจรของดาวเคราะห์รอบดวงอาทติ ยด์ ้วยกฎเคพเลอร์ และกฎความโน้มถว่ งของนวิ ตนั

พรอ้ มคานวณคาบการโคจรของดาวเคราะห์
12. อธิบายโครงสรา้ งของดวงอาทิตย์ การเกิดลมสรุ ยิ ะ พายสุ รุ ยิ ะ และวิเคราะห์ นาเสนอปรากฏการณ์
หรือเหตุการณ์ท่ีเกีย่ วข้องกับผลของลมสรุ ิยะ และพายสุ ุริยะท่ีมีต่อโลกรวมท้ังประเทศไทย

13. สรา้ งแบบจาลองทรงกลมฟ้า สงั เกต และเชอ่ื มโยงจดุ และเส้นสาคัญของแบบจาลองทรงกลมฟา้ กับ

ท้องฟา้ จริง และอธิบายการระบุพิกัดของดาวในระบบขอบฟา้ และระบบศนู ยส์ ูตร
14. สังเกตท้องฟ้า และอธิบายเสน้ ทางการขึ้นการตกของดวงอาทติ ย์และดาวฤกษ์

ชน้ั ผลการเรยี นรู้

15. อธิบายเวลาสรุ ยิ คตปิ รากฏ โดยรวบรวมข้อมูลและเปรียบเทยี บเวลาขณะท่ีดวงอาทิตย์ผา่ นเมริเดียน 56
ของผูส้ งั เกตในแตล่ ะวัน
16. อธบิ ายเวลาสุรยิ คตปิ านกลาง และการเปรยี บเทยี บเวลาของแตล่ ะเขตเวลาบนโลก

17. อธบิ ายมุมหา่ งท่ีสัมพันธ์กับตาแหน่งในวงโคจร และอธิบายเชื่อมโยงกับตาแหนง่ ปรากฏของดาว

เคราะหท์ ี่สงั เกตได้จากโลก

ชัน้ ผลการเรยี นรู้

ม.6 18. สืบคน้ ข้อมูล อธิบายการสารวจอวกาศ โดยใชก้ ล้องโทรทรรศนใ์ นชว่ งความยาวคลืน่ ต่าง ๆดาวเทียม
ยานอวกาศ สถานีอวกาศ และนาเสนอแนวคิดการนาความรทู้ างดา้ นเทคโนโลยอี วกาศมาประยุกต์ใชใ้ น
ชีวติ ประจาวนั หรือในอนาคต

19. สบื ค้นข้อมูล ออกแบบ และนาเสนอกจิ กรรมการสงั เกตดาวบนท้องฟ้าดว้ ยตาเปล่า และ/หรอื กล้อง

โทรทรรศน์

-

หลกั สตู รกลุ่มสาระการเรียนร้วู ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี อสิ ลามวิทยาลัยแห่งประเทศไทย 194 57

โครงสรา้ งหลกั สูตร กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช 2560
ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนตน้

รายวชิ าพนื้ ฐาน จานวน 60 ชั่วโมง 1.5 หน่วยกติ
ว21101 วิทยาศาสตร์ จานวน 60 ชว่ั โมง 1.5 หน่วยกิต
ว21103 วทิ ยาศาสตร์ จานวน 60 ชั่วโมง 1.5 หน่วยกติ
ว22111 วทิ ยาศาสตร์ จานวน 60 ชั่วโมง 1.5 หนว่ ยกติ
ว22112 วิทยาศาสตร์ จานวน 60 ชั่วโมง 1.5 หน่วยกิต
ว23111 วทิ ยาศาสตร์ จานวน 60 ชั่วโมง 1.5 หนว่ ยกิต
ว23112 วทิ ยาศาสตร์

รายวชิ าเพม่ิ เติม

ว21281 ทกั ษะวทิ ยาศาสตร์ จานวน 40 ชว่ั โมง 1.0 หน่วยกิต
1.0 หนว่ ยกติ
ว21282 วทิ ยาศาสตรก์ ับการแก้ปญั หา จานวน 40 ชว่ั โมง 1.5 หน่วยกติ
1.5 หน่วยกติ
ว21283 STEM 1 จานวน 60 ชว่ั โมง 1.0 หนว่ ยกิต
1.0 หน่วยกติ
ว21284 STEM 2 จานวน 60 ชั่วโมง 1.0 หน่วยกติ

ว21211 วทิ ยาการคานวณ จานวน 40 ชั่วโมง 1.0 หนว่ ยกิต
1.5 หน่วยกติ
ว21212 การออกแบบ และเทคโนโลยี จานวน 40 ชว่ั โมง 1.5 หนว่ ยกติ
1.0 หน่วยกิต
ว22284 วิทยาศาสตร์เพิ่มเตมิ จานวน 40 ชั่วโมง 1.0 หน่วยกิต
1.0 หน่วยกิต
(แสง และการมองเห็น) 1.0 หน่วยกติ

ว22281 เริม่ ตน้ กบั โครงงานวทิ ยาศาสตร์ จานวน 40 ช่วั โมง 1.0 หน่วยกิต
1.0 หน่วยกิต
ว22285 STEM 3 จานวน 60 ชว่ั โมง

ว22286 STEM 4 จานวน 60 ชว่ั โมง

ว22211 วทิ ยาการคานวณ จานวน 40 ช่ัวโมง

ว22212 การออกแบบ และเทคโนโลยี จานวน 40 ชั่วโมง

ว23281 โครงงานวทิ ยาศาสตร์ จานวน 40 ชั่วโมง

ว23286 วทิ ยาศาสตรเ์ พิ่มเติม จานวน 40 ชั่วโมง

(อเิ ลก็ ทรอนิกส์เบือ้ ตน้ )

ว23211 วทิ ยาการคานวณ จานวน 40 ชว่ั โมง

ว23212 การออกแบบ และเทคโนโลยี จานวน 40 ช่ัวโมง

หลกั สูตรกลุ่มสาระการเรยี นร้วู ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี อิสลามวทิ ยาลยั แห่งประเทศไทย 195 58

โครงสร้างหลักสตู ร กลมุ่ สาระการเรยี นร้วู ทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี
หลักสตู รแกนกลางการศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน พทุ ธศักราช 2560
ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย

รายวิชาพ้นื ฐาน จานวน 40 ชั่วโมง 1.0 หนว่ ยกติ
ว30122 วิทยาศาสตร์กายภาพ (เคมี) จานวน 40 ช่วั โมง 1.0 หน่วยกติ
ว30112 วิทยาศาสตร์กายภาพ (ฟิสิกส)์ จานวน 40 ชั่วโมง 1.0 หน่วยกติ
ว30143 วทิ ยาศาสตรช์ วี ภาพ จานวน 40 ชว่ั โมง 1.0 หนว่ ยกติ
ว30162 วทิ ยาศาสตร์ โลก และอวกาศ

รายวิชาเพิม่ เติม จานวน 80 ชว่ั โมง 2.0 หนว่ ยกติ
ว31211ฟสิ กิ สเ์ พิ่มเติม จานวน 80 ชั่วโมง 2.0 หน่วยกติ
ว31212 ฟิสิกส์เพมิ่ เติม
ว31223เคมเี พิ่มเตมิ จานวน 60 ชั่วโมง 1.5 หน่วยกิต
ว31224เคมเี พิ่มเติม จานวน 60 ชั่วโมง 1.5 หน่วยกิต
ว31243 ชีววิทยาเพ่ิมเตมิ จานวน 60 ชว่ั โมง 1.5 หน่วยกิต
ว31244 ชีววทิ ยาเพิม่ เตมิ จานวน 60 ชั่วโมง 1.5 หน่วยกิต
ว31261โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ จานวน 60 ชั่วโมง 1.5 หน่วยกิต
ว31262 โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ จานวน 60 ชว่ั โมง 1.5 หนว่ ยกิต
ว31281 วทิ ยาการคานวณ จานวน 40 ชว่ั โมง 1.0 หนว่ ยกิต
ว31282 การออกแบบ และเทคโนโลยี จานวน 40 ชว่ั โมง 1.0 หนว่ ยกิต
ว32211 ฟสิ กิ สเ์ พม่ิ เติม จานวน 80 ช่วั โมง 2.0 หน่วยกิต
ว32212 ฟสิ ิกสเ์ พ่มิ เติม จานวน 80 ชวั่ โมง 2.0 หน่วยกิต
ว32223 เคมเี พม่ิ เติม จานวน 60 ชว่ั โมง 1.5 หน่วยกิต
ว32224 เคมีเพมิ่ เติม จานวน 60 ช่ัวโมง 1.5 หนว่ ยกิต
ว32243 ชีววทิ ยาเพิ่มเติม จานวน 60 ชว่ั โมง 1.5 หน่วยกิต
ว32244 ชวี วทิ ยาเพ่มิ เตมิ จานวน 60 ชั่วโมง 1.5 หน่วยกิต
ว32261 โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ จานวน 60 ชั่วโมง 1.5 หน่วยกิต
ว32262 โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ จานวน 60 ชั่วโมง 1.5 หน่วยกิต
ว30281โครงงานวทิ ยาศาสตร์ จานวน 40 ชวั่ โมง 1.0 หนว่ ยกติ
ว32271 วิทยาการคานวณ จานวน 40 ชั่วโมง 1.0 หนว่ ยกติ
ว32282 การออกแบบ และเทคโนโลยี จานวน 40 ชั่วโมง 1.0 หนว่ ยกติ
ว32271 วิทยาการคานวณ จานวน 40 ชว่ั โมง 1.0 หนว่ ยกิต
ว32282 การออกแบบ และเทคโนโลยี จานวน 40 ชว่ั โมง 1.0 หน่วยกติ
ว33211 ฟิสกิ ส์เพ่มิ เติม จานวน 80 ชั่วโมง 2.0 หนว่ ยกิต
ว33212 ฟิสกิ ส์เพมิ่ เติม จานวน 80 ชั่วโมง 2.0 หนว่ ยกิต
ว33211 ฟิสกิ สเ์ พิ่มเติม จานวน 80 ชั่วโมง 2.0 หนว่ ยกติ
ว33212 ฟิสกิ สเ์ พมิ่ เติม จานวน 80 ชว่ั โมง 2.0 หนว่ ยกติ

หลกั สตู รกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี อิสลามวิทยาลัยแห่งประเทศไทย 196 59

รายวชิ าเพิม่ เติม (ต่อ) จานวน 60 ชว่ั โมง 1.5 หนว่ ยกิต
ว33223 เคมเี พิ่มเติม จานวน 60 ชว่ั โมง 1.5 หน่วยกิต
ว33224 เคมีเพม่ิ เติม จานวน 60 ช่วั โมง 1.5 หนว่ ยกิต
ว33243 ชวี วทิ ยาเพิ่มเตมิ จานวน 60 ชวั่ โมง 1.5 หนว่ ยกติ
ว33244 ชีววทิ ยาเพม่ิ เติม จานวน 60 ชั่วโมง 1.5 หน่วยกติ
ว33261 โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ จานวน 60 ชว่ั โมง 1.5 หนว่ ยกติ
ว33262 โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ จานวน 40 ชั่วโมง 1.0 หน่วยกติ
ว33281 วิทยาการคานวณ จานวน 40 ชัว่ โมง 1.0 หน่วยกิต
ว33282 การออกแบบ และเทคโนโลยี

หลกั สูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี อสิ ลามวทิ ยาลัยแห่งประเทศไทย 197

คาอธบิ ายรายวชิ า ระดบั มธั ยมศึกษาตอนต้น

60

หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี อสิ ลามวิทยาลยั แห่งประเทศไทย 198

คาอธิบายรายวชิ า

รหัสวชิ า ว21112 วิชา วิทยาศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ฯ
มัธยมศกึ ษาปีที่ 1 ภาคเรยี นท่ี 1
จานวน1.5 หน่วยกติ จานวน 3 คาบ /สปั ดาห์

ศึกษาวิเคราะห์สถานะของสาร ปัจจัยที่มีผลต่อการเปลี่ยนสถานะ ผลของความร้อนท่ีมีต่อการ
เปลี่ยนแปลงของสาร การถ่ายโอนพลังงานความร้อนช้ันบรรยากาศผลของรังสีจากดวงอาทิตย์ต่อบรรยากาศ
อณุ หภูมิอากาศความดันอากาศความชื้นอากาศลมเมฆฝนพายุฟ้าคะนองพายุหมุนเขตร้อนมรสุมการพยากรณ์
อากาศการเปล่ียนแปลงอณุ หภมู ิอากาศของโลกมลพษิ ทางอากาศ

โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์การสืบเสาะหาความรู้การสารวจตรวจสอบการสืบค้นข้อมูลและ
การอภิปรายเพอ่ื ให้เกิดความรู้ความคิดความเข้าใจสามารถสือ่ สารสิ่งทีเ่ รียนรู้มีความสามารถในการตัดสินใจนา
ความรไู้ ปใชใ้ นชวี ิตประจาวันมีจติ วทิ ยาศาสตรจ์ ริยธรรมคุณธรรมและค่านิยมท่เี หมาะสม

รหัสตัวชี้วดั
ว 2.2 ม.1/1
ว 2.3 ม.1/1ม.1/2 ม.1/3 ม.1/4 ม.1/5 ม.1/6 ม.1/7
ว 3.2 ม.1/1 ม.1/2 ม.1/3 ม.1/4 ม.1/5 ม.1/6 ม.1/7

รวมท้ังหมด 15 ตัวชี้วัด

61

หลกั สตู รกลุ่มสาระการเรียนรูว้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี อิสลามวิทยาลยั แห่งประเทศไทย 199

คาอธบิ ายรายวชิ า

รหัสวิชา ว21111 วชิ า วิทยาศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ฯ

มธั ยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรยี นที่ 2 จานวน1.5 หน่วยกติ จานวน 3 คาบ / สปั ดาห์

ศึกษา วิเคราะห์ ความหมายของวิทยาศาสตร์ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ลักษณะสาคัญของ
นักวิทยาศาสตร์ สารรอบตัว สมบัติของสาร การจาแนกสารด้วยสถานะ เนื้อสาร และขนาดอนุภาคของสาร
การเปลี่ยนแปลงของสาร สารบริสุทธ์ิและสารผสม สมบัติของสารบริสุทธิ์และสารผสม การใช้ความรู้ทางเคมี
ให้เป็นประโยชน์ต่อการเลือกใช้สารเคมีในชีวิตประจาวันได้อย่างเหมาะสมและปลอดภัย การศึกษาชีววิทยา
โดยอาศยั วิธีการทางวิทยาศาสตร์ ศึกษาประเภทโครงสร้างและหน้าทขี่ องส่วนประกอบภายในเซลลส์ ่ิงมชี ีวิต
ด้วยกล้องจุลทรรศน์ ศึกษากระบวนการลาเลียงสารเข้าและออกจากเซลล์ด้วยวิธีการแพร่และการออสโมซิส
ศึกษาการดารงชีวิตของพืช กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง การลาเลียงสารในพืชการเจริญเติบโตของพืช
การสบื พนั ธขุ์ องพืช และเทคโนโลยชี ีวภาพของพืช

โดยอาศัยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ การสืบค้นข้อมูล การสังเกต
การวิเคราะห์ การทดลองการอภิปราย การอธิบาย และสรุป เพ่ือให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ มี
ความสามารถในการตัดสินใจ การใชส้ อ่ื ออนไลน์ในการเรยี นรู้ สื่อสารส่ิงทเี่ รียนรแู้ ละนาความรูไ้ ปประยุกตใ์ ชใ้ น
ชีวติ ประจาวัน มจี ิตวิทยาศาสตร์ มีคณุ ธรรม และจรยิ ธรรม

รหสั ตัวชีว้ ดั
ว 1.2 ม.1/1 ม.1/2 ม.1/3 ม.1/4 ม.1/5 ม.1/6 ม.1/7 ม.1/8 ม.1/9 ม.1/10 ม.1/11
ม.1/12 ม.1/13 ม.1/14 ม.1/15 ม.1/16 ม.1/17 ม.1/18
ว 2.1 ม.1/1 ม.1/2 ม.1/3 ม.1/4 ม.1/5 ม.1/6 ม.1/7 ม.1/8 ม.1/9 ม.1/10

รวม 28 ตวั ช้ีวดั

62

หลกั สูตรกลุ่มสาระการเรยี นรูว้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี อิสลามวทิ ยาลัยแห่งประเทศไทย 200

ว 21281 คาอธิบายรายวชิ า
ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ่ี 1 ภาคเรียนที่ 1
ทักษะวทิ ยาศาสตร์ กลมุ่ สาระการเรียนร้วู ิทยาศาสตร์ฯ
เวลา 40 ชั่วโมง จานวน 1.0 หนว่ ยกติ

ศึกษาวิเคราะห์ ตั้งคาถามท่ีกาหนดประเด็นหรือตัวแปรที่สาคัญในการสารวจตรวจสอบ หรือศึกษา
ค้นคว้าเรื่องที่สนใจได้อย่างครอบคลุมและเชื่อถือได้ สร้างสมมติฐานท่ีสามารถตรวจสอบได้ และวางแผนการ
สารวจตรวจสอบหลากหลายวิธี เลือกเทคนิควิธีการสารวจตรวจสอบทั้งเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ ท่ีได้ผล
เท่ียงตรงและปลอดภัย โดยใช้วัสดุและเคร่ืองมือท่ีเหมาะสม รวบรวมข้อมูลจัดกระทาข้อมูลเชิงปริมาณ และ
คุณภาพ วิเคราะห์และประเมินความสอดคล้องของประจักษ์พยานกับข้อสรุป ท้ังที่สนับสนุนหรือขัดแย้งกับ
สมมติฐานและความผิดปกติของข้อมูลจากการสารวจตรวจสอบ สร้างแบบจาลอง หรือรูปแบบ ที่อธิบายผล
หรือแสดงผลของการสารวจตรวจสอบ สร้างคาถามที่นาไปสูก่ ารสารวจตรวจสอบ ในเรื่องท่ีเกี่ยวขอ้ ง และ
นาความรู้ท่ีได้ไปใช้ในสถานการณ์ใหม่หรืออธิบายเกี่ยวกับแนวคิด กระบวนการและผลของโครงงาน หรือ
ช้ินงานให้ผู้อ่ืนเข้าใจ บันทึกและอธิบายผลการสังเกตการสารวจตรวจสอบ ค้นคว้าเพ่ิมเติมจากแหล่งความรู้
ต่างๆ ให้ได้ข้อมูลที่เช่อื ถือได้ และยอมรับการเปลี่ยนแปลงความรู้ที่ค้นพบ เมื่อมีขอ้ มูลและประจักษ์พยานใหม่
เพ่ิมข้นึ หรือโตแ้ ย้งจากเดิม จดั แสดงผลงาน เขียนรายงาน และ/หรืออธิบายเก่ียวกับแนวคิด กระบวนการ และ
ผลของโครงงานหรอื ชน้ิ งานใหผ้ ูอ้ น่ื เขา้ ใจ และมีจติ วิทยาศาสตร์

เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถส่ือสารส่ิงท่เี รยี นรู้ มีความสามารถในการตัดสินใจ นา
ความรไู้ ปใช้ในชวี ติ ประจาวนั จริยธรรม คณุ ธรรม และค่านิยมที่เหมาะสม

ผลการเรยี นรู้
1. มเี จตคติทางวทิ ยาศาสตร์ และมเี จตคติทีด่ ีต่อวชิ าวิทยาศาสตร์
2. มีความเขา้ ใจเกยี่ วกบั วธิ ีการทางวิทยาศาสตร์และอธบิ ายทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์
3. มีทักษะการสงั เกต การวดั การจัดจาแนกประเภท การหาความสมั พันธ์ของพ้นื ท่ี การจัดกระทา

และสือ่ ความหมายข้อมูลเบื้องต้น รวมทัง้ การลงความเห็นจากข้อมลู
4. ทากจิ กรรมทน่ี าไปสู่ความเขา้ ใจเก่ยี วกับ การตงั้ สมมติฐาน ตวั แปรตน้ ตัวแปรตาม และตวั แปร

ควบคุม การทดลอง และสามารถการตีความหมายข้อมลู จากผลการทดลอง
5. มีความเข้าใจเกี่ยวกับนิยามเชงิ ปฏิบตั ิการ
6. มีทักษะในการออกแบบและทาการทดลองเพื่อเก็บรวบรวมขอ้ มูลทางวทิ ยาศาสตร์
7. มที ักษะในการเก็บรวบรวมข้อมลู และสามารถนาเสนอในรปู แบบของแฟ้มสะสมผลงาน

รวมทั้งหมด 7 ผลการเรียนรู้

63


Click to View FlipBook Version