The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รวมคำพิพากษา-แผนกคดีแรงงาน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by iprd.pic, 2024-01-31 21:12:27

รวมคำพิพากษา-แผนกคดีแรงงาน

รวมคำพิพากษา-แผนกคดีแรงงาน

๕๙๐ ขอเท็จจริงปรากฏวาในระหวางการพิจารณาของศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษ คดีหมายเลขแดง ที่ ๖๐๙๕/๒๕๕๒ ของศาลแรงงานกลาง ที่โจทกยื่นฟองจำเลยที่ ๑ ขอใหเพิกถอนคำสั่งเลิกจาง ซึ่งมีมูลเหตุจากเรื่องเดียวกันนี้ ศาลฎีกาไดมีคำพิพากษาที่ ๙๓๕๖/๒๕๖๐ ยืนตามศาลแรงงานกลาง ใหจำเลยที่ ๑ รับโจทกกลับเขาทำงานตอไปในตำแหนงหนาที่การงานไมต่ำกวาเดิม ใหไดรับคาจาง และสวัสดิการไมต่ำกวาเดิม และใหนับอายุงานตอเนื่อง โดยวินิจฉัยวาโจทกในฐานะประธาน คณะทำงานมีอำนาจหนาที่บริหารการแปลงสินทรัพยเปนทุนและพัฒนาวิสาหกิจชุมชน เพื่อแกไข ปญหาสังคมและความยากจนเชิงบูรณาการตามคำสั่งของจำเลยที่ ๑ การที่โจทกนำที่ดินรกราง วางเปลาสวนที่เหลือจากการจัดสรรขายแกบุคคลภายนอกเนื้อที่ประมาณ ๒ ไร ๓ งาน ๓๕ ตารางวา ซึ่งไมสามารถลงทุนหรือพัฒนาได เนื่องจากผูอาศัยเขาใจวาเปนสวนกลางของที่ดินจัดสรร ใหนายนภจรเชา โดยนำเสนอวาเปนการรวมลงทุน เพื่อใหจำเลยที่ ๑ สามารถเรียกคืนที่ดินไดทันที โดยปราศจากเงื่อนไข และเปนการหลีกเลี่ยงปญหากับผูอาศัย ไมปรากฏวาโจทกกระทำไปโดย ทุจริตตอหนาที่ และการดำเนินการของโจทกไมเปนเหตุใหจำเลยที่ ๑ ไดรับความเสียหายอยาง รายแรง เนื่องจากภายหลังเกิดเหตุที่โจทกนำที่ดินรกรางวางเปลาดังกลาวซึ่งไมสามารถนำมาใช ประโยชนมาพัฒนาตอ จนถึงปจจุบันจำเลยที่ ๑ ก็ยังคงสามารถเก็บรายไดจากที่ดินแปลง ดังกลาวได เมื่อคดีตามคำพิพากษาศาลฎีกาดังกลาวถึงที่สุดแลว ยอมผูกพันจำเลยที่ ๑ ซึ่งเปน คูความตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพง มาตรา ๑๔๕ วรรคหนึ่ง ประกอบพระราชบัญญัติ จัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๓๑ ดังนั้น คดีนี้จึงตองรับฟง ขอเท็จจริงเปนอยางเดียวกันวาการที่โจทกนำที่ดินของจำเลยที่ ๑ ไปใหนายนภจร ใชประโยชน โดยมิไดทำหลักฐานการเชาเปนหนังสือ เปนการกระทำในการปฏิบัติตามอำนาจหนาที่ในฐานะ ประธานคณะทำงานบริหารการแปลงสินทรัพยเปนทุนของจำเลยที่ ๑ ตามที่ไดรับมอบหมาย โดยมิไดทุจริตตอหนาที่ และการกระทำของโจทกไมไดทำใหจำเลยที่ ๑ ไดรับความเสียหาย จึงไมเปนการกระทำละเมิดตอจำเลยที่ ๑ เชนนี้ จำเลยที่ ๑ ในฐานะหนวยงานของรัฐจึงไมมีสิทธิ เรียกใหโจทกซึ่งเปนพนักงานชดใชคาสินไหมทดแทนจากการกระทำในการปฏิบัติหนาที่ดังกลาวได ตามพระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจาหนาที่ พ.ศ. ๒๕๓๙ มาตรา ๑๐ ประกอบ มาตรา ๘ การที่จำเลยที่ ๑ มีคำสั่งที่ ๑/๒๕๕๕ ใหโจทกรับผิดชดใชคาสินไหมทดแทนในกรณี ดังกลาวจึงเปนการไมชอบ แมโจทกไมไดปฏิบัติตามหนังสือเตือนของจำเลยที่ ๑ ใหชำระเงินตาม ระยะเวลาที่กำหนดก็ไมกอใหเกิดสิทธิแกจำเลยที่ ๑ ในการที่จะใชมาตรการบังคับทางปกครองยึด หรืออายัดทรัพยสินของโจทกโดยวิธีหักเงินเดือนโจทกเพื่อชำระหนี้คาสินไหมทดแทนได จำเลยที่ ๑ จึงตองคืนเงินที่หักไวทั้งหมดใหแกโจทกพรอมดอกเบี้ยอัตรารอยละ ๑๕ ตอป ตามพระราชบัญญัติ


๕๙๑ คุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา ๙ วรรคหนึ่ง นับแตวันที่ ๓๑ พฤษภาคม ๒๕๕๙ ซึ่งเปน วันที่หักไปจนกวาจะชำระเสร็จ อุทธรณขอนี้ของโจทกฟงขึ้น คดีมีปญหาตองวินิจฉัยตามอุทธรณของโจทกตอไปวา จำเลยทั้งสี่กระทำละเมิดและ ตองรับผิดชดใชคาสินไหมทดแทนใหแกโจทกตามฟองหรือไม เห็นวา การที่จำเลยที่ ๑ หักเงินเดือน ของโจทกเพื่อชำระหนี้ ถือไดวาเปนคำสั่งทางปกครองและมาตรการบังคับทางปกครองตาม มาตรา ๕๗ แหงพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙ ที่บัญญัติวา “คำสั่ง ทางปกครองที่กำหนดใหผูใดชำระเงิน ถาถึงกำหนดแลวไมมีการชำระโดยถูกตองครบถวน ใหเจาหนาที่มีหนังสือเตือนใหผูนั้นชำระภายในระยะเวลาที่กำหนดแตตองไมนอยกวาเจ็ดวัน ถาไมมี การปฏิบัติตามคำเตือนเจาหนาที่อาจใชมาตรการบังคับทางปกครองโดยยึดหรืออายัดทรัพยสิน ของผูนั้นและขายทอดตลาดเพื่อชำระเงินใหครบถวน วิธีการยึด การอายัดและการขายทอดตลาด ทรัพยสินใหปฏิบัติตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพงโดยอนุโลม...” เมื่อขอเท็จจริงฟง ไดวาจำเลยที่ ๑ ไดปฏิบัติตามขั้นตอนในการใชมาตรการบังคับทางปกครองครบถวนแลว โดย แจงใหโจทกชำระคาสินไหมทดแทนภายใน ๓๐ วัน นับแตวันที่ไดรับหนังสือแตโจทกเพิกเฉย จำเลยที่ ๑ จึงมีหนังสือเตือนใหโจทกชดใชคาสินไหมทดแทนอีกครั้งภายใน ๑๕ วัน นับแตวันที่ ไดรับหนังสือ โจทกยังคงเพิกเฉย จำเลยที่ ๑ ยอมเขาใจโดยสุจริตวามีสิทธิยึดหรืออายัดทรัพยสิน ของโจทกโดยวิธีหักเงินเดือนเพื่อชำระหนี้คาสินไหมทดแทนตามบทบัญญัติดังกลาวได การกระทำ ของจำเลยที่ ๑ จึงไมเปนการละเมิด ตอโจทก สวนจำเลยที่ ๒ ถึงที่ ๔ ปฏิบัติหนาที่ตามอำนาจ หนาที่ในฐานะผูอำนวยการและพนักงานของจำเลยที่ ๑ โดยมิไดมีเจตนากลั่นแกลงโจทก เปนสวนตัว จำเลยทั้งสี่จึงไมตองรับผิดชดใชคาสินไหมทดแทนแกโจทกตามฟอง ที่ศาลแรงงานกลาง วินิจฉัยมานั้น ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษเห็นพองดวยในผลอุทธรณขอนี้ของโจทกฟงไมขึ้น พิพากษาแกเปนวา ใหเพิกถอนคำสั่งของจำเลยที่ ๑ ลงวันที่ ๑๘ พฤษภาคม ๒๕๕๙ ที่ใหหักเงินไดทุกประเภทของโจทก กับใหจำเลยที่ ๑ คืนเงินที่หักไวทั้งหมด พรอมดอกเบี้ยอัตรา รอยละ ๑๕ ตอป นับแตวันที่ ๓๑ พฤษภาคม ๒๕๕๙ เปนตนไปจนกวาจะชำระเสร็จแกโจทก คำขออื่นนอกจากนี้ใหยก นอกจากที่แกใหเปนไปตามคำพิพากษาศาลแรงงานกลาง. (โสภณ พรหมสุวรรณ - พิเชฏฐ รื่นเจริญ - ศราวุธ ภาณุธรรมชัย) มนุเชษฐ โรจนศิริบุตร - ยอ สุโรจน จันทรพิทักษ - ตรวจ


๕๙๒ คำพิพากษาศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษที่ ๑๒๓๐/๒๕๖๑ นายพอล แอนโทนี่ ฮิวแล็ต หรือพอล ฮิวแลตต โจทก บริษัทบรูเนล เอ็นเนอรยี (ไทยแลนด) จำกัด กับพวก จำเลย พ.ร.บ. จัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๔๙ พ.ร.บ. อนุญาโตตุลาการ พ.ศ. ๒๕๔๕ มาตรา ๑๔ ขอตกลงตามสัญญาจางแรงงานที่ตกลงกันวา ขอพิพาทใด ๆ ที่อาจมีขึ้นจาก สัญญา ละเมิด หรือในทางกฎหมายอันเกี่ยวกับสัญญาฉบับนี้ หรือจากการตีความ ความถูกตองสมบูรณ การผิดสัญญา หรือการบอกเลิกสัญญาฉบับนี้หรือขอสัญญาอื่นใดจะตอง ถูกนำขึ้นสูอนุญาโตตุลาการ ขอตกลงดังกลาวโจทกและจำเลยที่ ๑ ประสงคจะใหมีการ ระงับขอพิพาทระหวางกันโดยวิธีอนุญาโตตุลาการเฉพาะขอพิพาทที่เกิดจากสิทธิตาม สัญญาจางแรงงานเทานั้น คดีนี้โจทกฟองเรียกคาเสียหายจากการเลิกจางโดยไมเปนธรรม อันเปนการใชสิทธิตาม พ.ร.บ. จัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๔๙ มิใชการฟองเกี่ยวกับสิทธิตามสัญญาจางแรงงาน จึงมิใชขอพิพาทตาม ขอตกลงเรื่องอนุญาโตตุลาการในสัญญาจางแรงงาน โจทกจึงนำคดีมาสูศาลแรงงานกลาง ไดโดยไมตองเสนอคดีตออนุญาโตตุลาการเพื่อวินิจฉัยชี้ขาดกอน แมสัญญาจางแรงงานระหวางโจทกกับจำเลยที่ ๑ จะมีกำหนดระยะเวลาเริ่มตน และสิ้นสุดไวชัดเจนแตในสัญญาจางแรงงานทุกฉบับระหวางโจทกกับจำเลยที่ ๑ ลวนมี ขอความใหสิทธิโจทกและจำเลยที่ ๑ บอกเลิกสัญญาโดยการสงหนังสือบอกกลาวการ บอกเลิกสัญญาเปนลายลักษณอักษรลวงหนาเปนเวลา ๓๐ วัน จึงยอมมีผลเปนการ ไมแนนอนวาสัญญาจางแรงงานจะสิ้นสุดเมื่อใด เพราะคูสัญญาอาจบอกเลิกสัญญากอน ครบกำหนดได จึงไมใชสัญญาจางแรงงานที่มีกำหนดระยะเวลาแนนอน แตเปนสัญญา จางแรงงานที่ไมมีกำหนดระยะเวลาแนนอน แตการที่จำเลยที่ ๒ ทำสัญญาใหบริการและ คำสั่งใหบริการกับจำเลยที่ ๑ เพื่อใหจำเลยที่ ๑ จัดหาบุคลากรที่เหมาะสมและทำการ วาจางแลวจัดสงบุคลากรดังกลาวไปทำงานกับจำเลยที่ ๒ สัญญาจางแรงงานระหวางโจทก กับจำเลยที่ ๑ จึงมีวัตถุประสงคเพื่อสงโจทกไปทำงานกับจำเลยที่ ๒ เปนการเฉพาะ เมื่อ


๕๙๓ ตอมาจำเลยที่ ๒ แจงกับจำเลยที่ ๑ วาจะไมตอสัญญาที่จำเลยที่ ๒ ทำไวกับจำเลยที่ ๑ ยอมมีผลทำใหจำเลยที่ ๑ หมดความจำเปนในการวาจางโจทกเนื่องจากไมสามารถจัดสง โจทกไปทำงานใหแกจำเลยที่ ๒ ไดอีกตอไป การที่จำเลยที่ ๑ เลิกจางโจทกเมื่อครบกำหนด ในสัญญาจางแรงงานเพราะสาเหตุดังกลาวโดยบอกกลาวเปนลายลักษณอักษรใหโจทก ทราบลวงหนาตามสัญญาแลว ยอมนับไดวาเปนการเลิกจางโดยมีเหตุอันสมควรและ เพียงพอ มิใชเปนการเลิกจางโดยไมเปนธรรม ตาม พ.ร.บ. คุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา ๑๒๕ เมื่อพนักงานตรวจ แรงงานไดมีคำสั่งตามมาตรา ๑๒๔ แลว ถานายจาง ลูกจาง หรือทายาทโดยธรรมของ ลูกจางซึ่งถึงแกความตายไมพอใจคำสั่งนั้น ใหนำคดีไปสูศาลไดภายในสามสิบวันนับแต วันทราบคำสั่ง ในกรณีที่นายจาง ลูกจาง หรือทายาทโดยธรรมของลูกจางซึ่งถึงแกความตาย ไมนำคดีไปสูศาลภายในกำหนด ใหคำสั่งนั้นเปนที่สุด บทบัญญัติดังกลาวเปนการ เปดโอกาสใหนายจางหรือลูกจางที่ไมเห็นดวยกับคำสั่งพนักงานตรวจแรงงานสามารถ นำคดีไปฟองศาลใหตรวจสอบคำสั่งนั้นไดอีกชั้นหนึ่ง แตหากนายจางหรือลูกจางไมประสงค จะใชสิทธิดังกลาว คำสั่งนั้นยอมเปนที่สุดมีผลผูกพันนายจางและลูกจาง การที่พนักงาน ตรวจแรงงานมีคำสั่งวาจำเลยทั้งสองเปนนายจางโจทกมีหนาที่ตองจายคาชดเชยใหแกโจทก จำเลยที่ ๒ ไมพอใจคำสั่งนั้นจึงนำคดีไปฟองศาลแรงงานกลางเพื่อเพิกถอนคำสั่งพนักงาน ตรวจแรงงานดังกลาวเปนอีกคดีหนึ่งแลว คดีอยูระหวางการพิจารณาของศาลแรงงานกลาง คำสั่งพนักงานตรวจแรงงานดังกลาวจึงยังไมถึงที่สุด โดยที่การพิจารณาคดีของศาลแรงงาน ตองอยูภายใต พ.ร.บ. จัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ ซึ่งบัญญัติ ไวโดยเฉพาะ และหาไดมีบทบัญญัติใดกำหนดไววาหากเปนคดีที่นายจางหรือลูกจางนำคดี มาสูศาลแรงงานตาม พ.ร.บ. คุมครองแรงงานฯ มาตรา ๑๒๕ แลว ในการพิจารณาคดีของ ศาลแรงงานตองพิจารณาขอเท็จจริงตามที่พนักงานตรวจแรงงานรับฟงเปนยุติมีผลผูกพัน นายจางลูกจาง ดังนั้น เมื่อคำสั่งพนักงานตรวจแรงงานในคดีดังกลาวยังไมถึงที่สุดยอม ไมมีผลผูกพันโจทกและจำเลยที่ ๒ ในคดีนี้ ______________________________ โจทกฟองและแกไขคำฟองขอใหบังคับจำเลยทั้งสองรวมกันชำระคาเสียหายจากการ เลิกจางโดยไมเปนธรรม ๗๙๖,๑๒๗.๓๓ ดอลลารสหรัฐ พรอมดอกเบี้ยอัตรารอยละ ๗.๕ ตอป ของตนเงิน ๗๕๓,๘๔๐ ดอลลารสหรัฐ นับถัดจากวันฟองเปนตนไปจนกวาจะชำระเสร็จแกโจทก


๕๙๔ จำเลยที่ ๑ ใหการและแกไขคำใหการขอใหยกฟอง จำเลยที่ ๒ ใหการขอใหยกฟอง ศาลแรงงานกลางพิพากษายกฟอง โจทกและจำเลยที่ ๒ อุทธรณ ระหวางพิจารณาของศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษ โจทกยื่นคำรองขอถอนอุทธรณ และ คำแกอุทธรณเฉพาะในสวนจำเลยที่ ๒ ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษมีคำสั่งอนุญาต ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษแผนกคดีแรงงานวินิจฉัยวา ศาลแรงงานกลางฟงขอเท็จจริง ยุติวา จำเลยที่ ๒ ทำสัญญาใหบริการและคำสั่งใหบริการกับจำเลยที่ ๑ จำเลยที่ ๑ ทำสัญญา จางโจทกทำงานในตำแหนงตัวแทนที่ไดรับอนุญาตจากบริษัทในดานกำกับดูแลการกอสรางใหแก จำเลยที่ ๒ มีการทำและตอสัญญาหลายฉบับ ครั้งสุดทายสัญญาเริ่มตั้งแตวันที่ ๑ กรกฎาคม ๒๕๕๘ ถึงวันที่ ๓๑ ธันวาคม ๒๕๕๘ เมื่อวันที่ ๒๖ พฤศจิกายน ๒๕๕๘ จำเลยที่ ๑ มีหนังสือแจง ไมตอสัญญาแกโจทกโดยใหสัญญาสิ้นสุดในวันที่ ๓๑ ธันวาคม ๒๕๕๘ ตอมาโจทกยื่นคำรองตอ พนักงานตรวจแรงงานเรียกคาชดเชยจากจำเลยทั้งสอง พนักงานตรวจแรงงานสอบสวนขอเท็จจริง และมีคำสั่งพนักงานตรวจแรงงาน สำนักงานสวัสดิการและคุมครองแรงงานกรุงเทพมหานครเขต ๒ ที่ ๑๖๐/๒๕๕๙ ใหจำเลยทั้งสองในฐานะนายจางจายคาชดเชยแกโจทก จำเลยที่ ๒ ไมพอใจ คำสั่งนั้นจึงนำคดีไปสูศาลแรงงานกลางโดยฟองขอใหเพิกถอนคำสั่งดังกลาว คดีอยูในระหวาง การพิจารณา แลววินิจฉัยวา ปญหาที่ตองวินิจฉัยขึ้นอยูกับขอตกลงในสัญญาจางแรงงาน เมื่อ ขอตกลงตามสัญญาจางแรงงานกำหนดใหใชวิธีระงับขอพิพาทโดยอนุญาโตตุลาการ การที่โจทก ยื่นฟองจำเลยที่ ๑ โดยไมปฏิบัติตามขอตกลงในสัญญา โจทกจึงไมมีอำนาจฟองจำเลยที่ ๑ แต เมื่อจำเลยที่ ๑ ยื่นคำรองขอใหวินิจฉัยชี้ขาดเบื้องตนในปญหาขอกฎหมายเมื่อพนกำหนดระยะ เวลายื่นคำใหการแลวจึงพนกำหนดระยะเวลาที่จะจำหนายคดีเพื่อใหคูสัญญาไปดำเนินการทาง อนุญาโตตุลาการ สำหรับจำเลยที่ ๒ เมื่อพนักงานตรวจแรงงานสอบสวนขอเท็จจริงวาจำเลย ทั้งสองเปนนายจางโจทก และมีคำสั่งใหจำเลยทั้งสองจายคาชดเชยแกโจทก ตราบใดที่คำสั่ง พนักงานตรวจแรงงานยังไมถูกเพิกถอนโดยคำพิพากษาของศาล คำสั่งพนักงานตรวจแรงงาน ยอมมีผลผูกพันคูกรณีทุกฝายรวมทั้งจำเลยที่ ๒ แตการเลิกจางโจทกเปนไปตามขอกำหนด ในสัญญาจางแรงงานถือวาเปนการเลิกจางโดยมีเหตุอันสมควรจึงไมเปนการเลิกจางโดยไมเปนธรรม โจทกจึงไมอาจเรียกคาเสียหายจากการเลิกจางโดยไมเปนธรรมได


๕๙๕ ปญหาประการแรกที่ตองวินิจฉัยตามอุทธรณของโจทกและจำเลยที่ ๒ ที่อุทธรณ ในประเด็นเดียวกันมีวา โจทกมีอำนาจฟองจำเลยที่ ๑ หรือไม โจทกและจำเลยที่ ๒ อุทธรณในทำนอง เดียวกันสรุปความไดวา โจทกฟองเรียกคาเสียหายจากการเลิกจางโดยไมเปนธรรมจากจำเลย ทั้งสองเปนการใชสิทธิตามพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๔๙ มิใชเปนการฟองเกี่ยวกับขอพิพาทตามสัญญาจางแรงงานโจทกยอมมีอำนาจนำคดี มาฟองยังศาลแรงงานกลางไดโดยไมตองผานการระงับขอพิพาทโดยวิธีอนุญาโตตุลาการกอน เห็นวา ขอตกลงที่เปนสวนหนึ่งของสัญญาจางแรงงานระหวางโจทกกับจำเลยที่ ๑ มีขอความ เพียงวา “ขอพิพาทใด ๆ ที่อาจมีขึ้นจากสัญญา ละเมิด หรือในทางกฎหมายอันเกี่ยวกับสัญญา ฉบับนี้ หรือจากการตีความ ความถูกตองสมบูรณ การผิดสัญญา หรือการบอกเลิกสัญญาฉบับนี้ หรือขอสัญญาอื่นใดจะตองถูกนำขึ้นสูอนุญาโตตุลาการ...” จากขอตกลงดังกลาวโจทกและจำเลยที่ ๑ ประสงคจะใหมีการระงับขอพิพาทระหวางกันโดยวิธีอนุญาโตตุลาการเฉพาะขอพิพาทที่เกิดจาก สิทธิตามสัญญาจางแรงงานเทานั้น คดีนี้เปนคดีที่โจทกฟองเรียกใหจำเลยทั้งสองชำระคาเสียหาย จากการเลิกจางโดยไมเปนธรรม อันเปนการใชสิทธิตามพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแรงงานและ วิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๔๙ มิใชการฟองเกี่ยวกับสิทธิตามสัญญาจางแรงงาน จึงมิใชขอพิพาทตามขอตกลงเรื่องอนุญาโตตุลาการในสัญญาจางแรงงาน โจทกจึงนำคดีมาสู ศาลแรงงานกลางไดโดยไมตองเสนอคดีตออนุญาโตตุลาการเพื่อวินิจฉัยชี้ขาดกอน โจทกจึงมี อำนาจฟองจำเลยที่ ๑ ที่ศาลแรงงานกลางวินิจฉัยมานั้น ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษไมเห็นพองดวย อุทธรณของโจทกและจำเลยที่ ๒ ฟงขึ้น ปญหาประการที่สองที่ตองวินิจฉัยตามอุทธรณของโจทกมีวา การเลิกจางโจทกเปนการ เลิกจางโดยไมเปนธรรมหรือไม ที่โจทกอุทธรณวา จำเลยที่ ๑ ทำสัญญาจางโจทกหลายฉบับ ตอเนื่องกันเปนเวลานาน เปนสัญญาจางแรงงานที่ไมมีกำหนดระยะเวลาแนนอน ทั้งจำเลยที่ ๒ มิไดประสบปญหาขาดทุนจนถึงขนาดไมสามารถประกอบธุรกิจตอไปได การที่จำเลยที่ ๑ เลิกจางโจทกจึงเปนการเลิกจางโดยไมเปนธรรมนั้น เห็นวา แมจำเลยที่ ๑ ทำสัญญาจางโจทกทำงาน เปนลูกจาง โดยมีกำหนดระยะเวลาเริ่มตนและสิ้นสุดไวชัดเจน เมื่อครบกำหนดก็ตอสัญญาจาง อีกคราวละ ๑ ปเรื่อยมา และสัญญาจางฉบับสุดทายกำหนดระยะเวลาการจางไว ๖ เดือน ตั้งแต วันที่ ๑ กรกฎาคม ๒๕๕๘ ถึงวันที่ ๓๑ ธันวาคม ๒๕๕๘ อันเปนสัญญาจางที่มีกำหนดระยะเวลา เริ่มตนและสิ้นสุดไวก็ตาม แตในสัญญาจางทุกฉบับลวนมีขอความใหสิทธิจำเลยที่ ๑ และโจทก มีสิทธิจะบอกเลิกสัญญาโดยการสงหนังสือบอกกลาวการบอกเลิกสัญญาเปนลายลักษณอักษร ลวงหนาเปนเวลา ๓๐ วัน จากขอตกลงดังกลาวยอมมีผลเปนการไมแนนอนวาสัญญาจาง


๕๙๖ จะสิ้นสุดลงเมื่อใด เพราะคูสัญญาอาจบอกเลิกสัญญากอนครบกำหนดไดจึงไมใชเปนสัญญาจาง แรงงานที่มีกำหนดระยะเวลาแนนอน แตเปนสัญญาจางแรงงานที่ไมมีกำหนดระยะเวลาแนนอน อยางไรก็ดี จำเลยที่ ๒ ทำสัญญาใหบริการและคำสั่งใหบริการกับจำเลยที่ ๑ เพื่อใหจำเลยที่ ๑ จัดหาบุคลากรที่มีคุณสมบัติและประสบการณที่เหมาะสม วาจางและจัดสงบุคลากรดังกลาวไป ทำงานใหแกจำเลยที่ ๒ ซึ่งประกอบกิจการเกี่ยวกับการสำรวจ ขุดเจาะ การวางทอสง แทนขุดเจาะ และการผลิตปโตรเลียมและกาซธรรมชาติ จำเลยที่ ๑ จางโจทกเพื่อสงไปทำงานกับจำเลยที่ ๒ ในตำแหนงตัวแทนที่ไดรับอนุญาตจากบริษัทในดานกำกับดูแลการกอสราง ซึ่งบุคคลที่ทำงาน ในตำแหนงงานดังกลาวตองมีความรู ประสบการณ และความชำนาญดานการกอสราง ซึ่งเปน ความรูความสามารถเฉพาะดาน สัญญาจางแรงงานระหวางจำเลยที่ ๑ กับโจทกจึงทำขึ้นโดยมี วัตถุประสงคเพื่อสงโจทกไปทำงานใหแกจำเลยที่ ๒ เปนการเฉพาะ แมสัญญาจางระหวางจำเลยที่ ๑ กับโจทกจะเปนสัญญาจางแรงงานที่ไมมีกำหนดระยะเวลาแนนอน แตตอมาจำเลยที่ ๒ แจง จำเลยที่ ๑ วาจะไมตอสัญญาที่ทำไวกับจำเลยที่ ๑ การบอกเลิกสัญญาดังกลาวยอมมีผลทำให จำเลยที่ ๑ หมดความจำเปนในการวาจางโจทก เนื่องจากจำเลยที่ ๑ ไมสามารถจัดสงโจทกไป ทำงานใหแกจำเลยที่ ๒ อีกตอไป เมื่อการจางงานระหวางจำเลยที่ ๑ กับโจทกทำขึ้นโดยมีวัตถุ ประสงคแหงสัญญาเพื่อทำงานใหแกจำเลยที่ ๒ เปนการเฉพาะ การที่จำเลยที่ ๑ เลิกจางโจทก เมื่อครบกำหนดในสัญญาจางแรงงานเพราะสาเหตุดังกลาว โดยบอกกลาวเปนลายลักษณอักษร ใหโจทกทราบลวงหนาไมนอยกวา ๓๐ วันตามขอตกลงในสัญญาจางแรงงานแลว ยอมนับไดวา เปนการเลิกจางโดยมีเหตุผลอันสมควรและเพียงพอที่จะเลิกจาง มิใชเปนการเลิกจางโดยไมเปนธรรม ตามพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๔๙ ที่ศาลแรงงานกลางวินิจฉัยมานั้น ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษเห็นดวยในผล อุทธรณของโจทก ฟงไมขึ้น ปญหาประการที่สามตองวินิจฉัยตามอุทธรณของจำเลยที่ ๒ มีวา คำสั่งพนักงานตรวจ แรงงานมีผลผูกพันจำเลยที่ ๒ หรือไม จำเลยที่ ๒ อุทธรณวา ภายหลังพนักงานตรวจแรงงาน สอบสวนขอเท็จจริงและมีคำสั่งวาจำเลยที่ ๒ เปนนายจางโจทกและใหจายคาชดเชย จำเลยที่ ๒ ไมพอใจคำสั่งนั้นจึงไดนำคดีมาฟองตอศาลแรงงานกลางเพื่อขอใหเพิกถอนคำสั่งพนักงานตรวจ แรงงานดังกลาวแลว คดีอยูระหวางพิจารณาของศาลแรงงานกลาง คำสั่งพนักงานตรวจแรงงาน ยังไมถึงที่สุดจึงไมมีผลผูกพันจำเลยที่ ๒ ในคดีนี้ เห็นวา พระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา ๑๒๕ วรรคหนึ่ง บัญญัติวา เมื่อพนักงานตรวจแรงงานไดมีคำสั่งตาม มาตรา ๑๒๔ แลว ถานายจาง ลูกจาง หรือทายาทโดยธรรมของลูกจางซึ่งถึงแกความตายไมพอใจ


๕๙๗ คำสั่งนั้น ใหนำคดีไปสูศาลไดภายในสามสิบวันนับแตวันทราบคำสั่ง และวรรคสอง บัญญัติวา ในกรณีที่นายจาง ลูกจาง หรือทายาทโดยธรรมของลูกจางซึ่งถึงแกความตายไมนำคดีไปสูศาล ภายในกำหนด ใหคำสั่งนั้นเปนที่สุด บทบัญญัติทั้งสองวรรคดังกลาวเปนการเปดโอกาสหรือให สิทธิแกนายจางหรือลูกจางที่ไมเห็นชอบดวยกับคำสั่งนำคดีไปฟองศาลเพื่อใหตรวจสอบคำสั่ง ดังกลาวอีกชั้นหนึ่ง แตหากนายจางหรือลูกจางไมประสงคจะใชสิทธิดังกลาว แสดงวานายจาง หรือลูกจางไมมีขอโตแยงคำสั่งดังกลาว คำสั่งนั้นใหเปนที่สุดและมีผลผูกพันนายจางและลูกจาง แตสำหรับคดีนี้เมื่อพนักงานตรวจแรงงานสอบสวนขอเท็จจริงและมีคำสั่ง จำเลยที่ ๒ ไมพอใจ จึงนำคดีไปสูศาลแรงงานกลาง เมื่อคดีอยูในระหวางพิจารณาของศาลแรงงานกลาง คำสั่งพนักงาน ตรวจแรงงานจึงยังไมถึงที่สุด สวนการพิจารณาคดีแรงงานตองอยูภายใตบังคับของพระราชบัญญัติ จัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ ซึ่งบัญญัติไวโดยเฉพาะ ตามกฎหมาย ดังกลาวหาไดมีบทบัญญัติใดกำหนดไววา หากเปนคดีที่นายจางหรือลูกจางนำคดีมาสูศาลแรงงาน ตามพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา ๑๒๕ แลว ในการพิจารณาคดีของ ศาลแรงงานตองพิจารณาขอเท็จจริงตามที่พนักงานตรวจแรงงานรับฟงยุติไวในสำนวนมีผลผูกพัน นายจางและลูกจาง ดังนั้นเมื่อคำสั่งพนักงานตรวจแรงงานยังไมถึงที่สุดยอมไมมีผลผูกพันโจทก และจำเลยที่ ๒ ในคดีนี้ ที่ศาลแรงงานกลางวินิจฉัยในปญหานี้มานั้น ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษ ไมเห็นพองดวย อุทธรณของจำเลยที่ ๒ ฟงขึ้น พิพากษายืน. (ยิ่งศักดิ์ โอฬารสกุล - พงษรัตน เครือกลิ่น - ดาราวรรณ ใจคำปอ) ธัชวุทธิ์ พุทธิสมบัติ - ยอ สุโรจน จันทรพิทักษ - ตรวจ


๕๙๘ คำพิพากษาศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษที่ ๔๓๔๘ - ๔๓๔๙/๒๕๖๑ นายเสนห บุญสง กับพวก โจทก องคการ สะพานปลา จำเลย พ.ร.บ. วิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙ มาตรา ๓๐ วรรคหนึ่ง พ.ร.บ. วิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ ๒๕๓๙ มาตรา ๓๐ วรรคหนึ่ง บัญญัติวา “ในกรณีที่คำสั่งทางปกครองอาจกระทบถึงสิทธิของคูกรณี เจาหนาที่ตองใหคูกรณี มีโอกาสที่จะไดรับทราบขอเท็จจริงอยางเพียงพอและมีโอกาสไดโตแยงและแสดงพยาน หลักฐานของตน” ที่โจทกที่ ๑ เคยใหถอยคำในฐานะพยานในการสอบสวนทางวินัยแกนาย ส. ตอจำเลย ไมถือวาจำเลยใหโอกาสแกโจทกที่ ๑ ชี้แจงโตแยงตามบทบัญญัติแหงกฎหมาย ดังกลาว เมื่อจำเลยไมไดแจงขอกลาวหาหรือตั้งคณะกรรมการสอบขอเท็จจริงความรับผิด ทางละเมิดตอโจทกที่ ๑ และใหโอกาสโจทกที่ ๑ ที่จะชี้แจงขอเท็จจริงและโตแยงแสดง พยานหลักฐานของตนในฐานะเจาหนาที่ผูถูกกลาวหาวากระทำละเมิดตอหนวยงานของรัฐ กอนที่จำเลยจะออกคำสั่งที่ กษ ๑๗๐๔.๒/๓๕๖๘ เรียกใหโจทกกที่ ๑ รับผิดใชคาสินไหม ทดแทนเพื่อละเมิดแกจำเลยตามความเห็นของกระทรวงการคลัง จึงเปนการออกคำสั่ง โดยไมปฏิบัติตามขั้นตอนหรือวิธีการอันเปนสาระสำคัญตามที่กฎหมายกำหนด ตาม พ.ร.บ. วิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙ มาตรา ๓๐ วรรคหนึ่ง ถือเปนคำสั่งที่ไมชอบ ดวยกฎหมาย และมีผลทำใหจำเลยไมมีสิทธิอาศัยคำสั่งที่ไมชอบดวยกฎหมายดังกลาว มาดำเนินการออกหนังสือเตือนและใชมาตรการบังคับทางปกครองแกโจทกที่ ๑ ______________________________ คดีทั้งสองสำนวนนี้ ศาลแรงงานกลางมีคำสั่งใหรวมพิจารณาเปนคดีเดียวกันโดยให เรียกโจทกในสำนวนแรกวาโจทกที่ ๑ เรียกโจทกในสำนวนที่ ๒ วาโจทกที่ ๒ และเรียกจำเลย ทั้งสองสำนวนวาจำเลย โจทกทั้งสองสำนวนฟอง ขอใหเพิกถอนหนังสือที่ กษ ๑๗๐๔.๒/๓๕๖๘ หนังสือที่ กษ ๑๗๐๕.๓/๙๑๘ คำสั่งองคการสะพานปลา ที่ ๖๑/๒๕๕๗ คำสั่งองคการสะพานปลาที่ ๕๕/๒๕๕๙ หนังสือที่ กษ ๑๗๐๔.๒/๔๑๙๘ หนังสือที่ กษ ๑๗๐๕.๓/๓๔๘๕ คำสั่งองคการสะพานปลา ที่ ๑๖๑/๒๕๕๙ และประกาศเจาพนักงานยึดและอายัดทรัพย เรื่องการยึดทรัพย กับใหจำเลย ใชคาเสียหายแกโจทกที่ ๑ และโจทกที่ ๒ เปนเงิน ๕๔,๒๘๐ บาท และ ๓๐,๐๐๐ บาท ตามลำดับ พรอมดอกเบี้ยอัตรารอยละ ๗.๕ ตอป ของตนเงินดังกลาวนับแตวันฟองเปนตนไปจนกวาชำระเสร็จ


๕๙๙ จำเลย ขอใหยกฟอง ระหวางพิจารณาของศาลแรงงานกลาง โจทกทั้งสี่รอยเกาสละคำขอทายฟองลำดับที่ ๒ ถึงที่ ๔ คงเหลือเฉพาะเงินสวนตางตามคำขอทายฟองลำดับแรกเพียงขอเดียว ศาลแรงงานกลาง พิพากษายกฟอง โจทกทั้งสองอุทธรณ ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษแผนกคดีแรงงานวินิจฉัยวา ศาลแรงงานกลางฟงขอเท็จจริง และวินิจฉัยวา จำเลยเปนนิติบุคคลจัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติจัดระเบียบกิจการแพปลา พ.ศ. ๒๔๙๖ โจทกทั้งสองเปนอดีตพนักงานจำเลย ออกจากงานเนื่องจากเกษียณอายุเมื่อวันที่ ๑ ตุลาคม ๒๕๕๔ ตำแหนงสุดทาย โจทกที่ ๑ เปนหัวหนาสำนักงานสะพานปลาสมุทรปราการ และโจทกที่ ๒ เปนผูอำนวยการฝายปฏิบัติการ ๑ จำเลยดำเนินการสอบสวนทางวินัยแกนายสมชาย เจาหนาที่ การเงินและบัญชี ๖ สำนักงานสะพานปลากรุงเทพ กรณีเก็บเงินจากผูประกอบกิจการแพปลาแลว ไมนำเงินสงคลัง จำเลยเรียกโจทกที่ ๑ มาใหถอยคำเปนพยาน ซึ่งโจทกที่ ๑ ใหถอยคำไวตาม สำเนาบันทึกถอยคำของพยานของฝายกลาวหา/ฝายผูถูกกลาวหา คณะกรรมการสอบสวนวินัย มีมติเสนอจำเลยลงโทษนายสมชายใหไลออก แลวจำเลยมีคำสั่งที่ ๖/๒๕๕๒ เรื่อง แตงตั้ง คณะกรรมการสอบขอเท็จจริงความรับผิดทางละเมิด ตามสำเนาคำสั่ง ซึ่งเสนอจำเลยมีคำสั่งให นายสมชายชดใชคาสินไหมทดแทน ๑,๒๐๐,๗๒๖.๓๐ บาท แกจำเลย เนื่องจากจงใจทำใหจำเลย ไดรับเสียหายอยางรายแรง ขณะนั้นโจทกที่ ๑ ดำรงตำแหนงหัวหนาแผนกบัญชีและการเงิน สำนักงานสะพานปลากรุงเทพ และโจทกที่ ๒ เปนผูจัดการสำนักงานสะพานปลากรุงเทพ ซึ่งตาง เปนผูบังคับบัญชานายสมชาย แตคณะกรรมการสอบขอเท็จจริงความรับผิดทางละเมิดพิจารณา แลวเห็นวาโจทกทั้งสองไมไดจงใจหรือประมาทเลินเลออยางรายแรงจึงไมเรียกใหโจทกทั้งสอง รับผิด ตอมากรมบัญชีกลางพิจารณาสำนวนการสอบขอเท็จจริงความรับผิดทางละเมิดดังกลาว แลวเห็นวา โจทกทั้งสองมิไดควบคุมดูแลการปฏิบัติงานของนายสมชาย ผูใตบังคับบัญชาอยาง เพียงพอ ถือไดวาเปนการกระทำประมาทเลินเลออยางรายแรง จึงใหโจทกทั้งสองรับผิดชดใช คาสินไหมทดแทนแกจำเลยดวยตามสัดสวนความรับผิดทางละเมิด โดยใหนายสมชายรับผิด เต็มจำนวนความเสียหาย ๑,๒๐๐,๗๒๖.๓๐ บาท ใหโจทกที่ ๑ รับผิดอัตรารอยละ ๕๐ ของความ เสียหาย คิดเปนเงิน ๖๐๐,๓๖๓.๑๕ บาท กับใหโจทกที่ ๒ และบุคคลอื่นอีก ๒ คน รวมกันรับผิด อัตรารอยละ ๕๐ ของความเสียหาย คิดเปนเงิน ๖๐๐,๓๖๓.๑๕ บาท ตอมาจำเลยมีคำสั่งใหโจทกที่ ๑ และโจทกที่ ๒ รับผิดชำระเงิน ๖๐๐,๓๖๓.๑๕ บาท และ ๒๙๖,๗๘๔.๙๒ บาท ตามสำเนา หนังสือที่ กษ ๑๗๐๔.๒/๓๕๖๘ และสำเนาหนังสือที่ กษ ๑๗๐๔.๒/๔๑๙๘ และจำเลยมีหนังสือ


๖๐๐ เตือนโจทกที่ ๑ และโจทกที่ ๒ ใหชดใชคาสินไหมทดแทนดังกลาว ตามสำเนาหนังสือที่ กษ ๑๗๐๕.๓/๙๑๘ และสำเนาหนังสือที่ กษ.๑๗๐๕.๓/๓๔๘๕ แตโจทกทั้งสองไมชำระหนี้ภายใน กำหนดเวลา จำเลยจึงใชมาตรการบังคับทางปกครองโดยมีคำสั่งแตงตั้งเจาพนักงานบังคับคดียึด และอายัดทรัพยสินของโจทกทั้งสองตามสำเนาคำสั่งองคการสะพานปลาที่ ๒๑/๒๕๕๗ ที่ ๕๕/๒๕๕๙ และสำเนาคำสั่งองคการสะพานปลาที่ ๑๖๑/๒๕๕๙ ตามลำดับ การที่โจทกที่ ๑ ใหถอยคำในฐานะ พยานไวแลวในการสอบสวนวินัยแกนายสมชาย ตามสำเนาบันทึกถอยคำของพยานของฝาย กลาวหา/ฝายผูถูกกลาวหา ถือไดวาจำเลยใหโอกาสแกโจทกที่ ๑ ที่จะชี้แจงโตแยงแลว โจทกที่ ๑ เปนหัวหนาแผนกการเงินซึ่งเปนผูบังคับบัญชาโดยตรงของนายสมชาย มีหนาที่ตรวจสอบ รายรับ-รายจาย บันทึกบัญชีรับ-จาย ลงสมุดบัญชีแตละราย จัดทำใบรับ-จาย และเงินฝาก ประจำวัน กับควบคุมตรวจสอบใหนายสมชายปฏิบัติงานใหเปนไปตามขอบังคับองคการสะพานปลา วาดวยการรับเงิน การจายเงินและการเก็บรักษาเงิน พ.ศ. ๒๕๕๐ แตโจทกที่ ๑ ปลอยปละละเลย มิไดควบคุมดูแลการปฏิบัติงานของนายสมชายใหนำเงินที่จัดเก็บสงแกจำเลยใหถูกตองครบถวน จนเปนชองทางใหนายสมชายกระทำการเบียดบังเงินของทางราชการไปไดโดยงาย การกระทำ ของโจทกที่ ๑ จึงเปนประมาทเลินเลอ เปนเหตุใหจำเลยไดรับความเสียหายอยางรายแรง คำสั่ง เรียกใหโจทกที่ ๑ ชำระเงินเปนไปตามพระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจาหนาที่ พ.ศ. ๒๕๓๙ มาตรา ๑๐ ประกอบมาตรา ๘ แลว สวนโจทกที่ ๒ นั้น จำเลยใหโอกาสชี้แจงขอเท็จจริง และโตแยงแสดงพยานหลักฐานอยางเพียงพอและเปนธรรมแลว การที่โจทกที่ ๒ เปนผูจัดการ สำนักงานสะพานปลากรุงเทพปลอยปละละเลยใหนายสมชายกระทำผิดระเบียบ เก็บเงินผูประกอบ กิจการแพปลาแลวไมนำสงแกจำเลยตามระเบียบขอบังคับของจำเลย ไมมีมาตรการควบคุมตรวจสอบ การชำระหนี้และหนี้คางชำระเพื่อปองกันความเสียหายแกจำเลย จึงเปนการกระทำประมาทเลินเลอ เปนเหตุใหจำเลยไดรับความเสียหายอยางรายแรง ตองรับผิดตามพระราชบัญญัติความรับผิด ทางละเมิดของเจาหนาที่ พ.ศ. ๒๕๓๙ มาตรา ๑๐ ประกอบมาตรา ๘ การกำหนดสัดสวนความ รับผิดเพื่อละเมิดในสวนของโจทกที่ ๒ เปนการชอบแลว ไมมีเหตุจะเพิกถอนคำสั่งและหนังสือ ตามฟองของโจทกทั้งสอง และจำเลยไมตองชดใชคาเสียหายตามฟองแกโจทกทั้งสอง สวนที่ โจทกที่ ๒ ขอใหวินิจฉัยชี้ขาดเบื้องตนในปญหาขอกฎหมายเรื่องอายุความนั้น โจทกที่ ๒ ไมได ใหการตอสูไว จึงไมเปนประเด็นที่จะชี้ขาดในปญหาขอกฎหมายนี้ได มีปญหาตองวินิจฉัยตามอุทธรณของโจทกทั้งสองในสวนของโจทกที่ ๑ วา มีเหตุให เพิกถอนหนังสือที่ กษ ๑๗๐๔.๒/๓๕๖๘ หนังสือที่ กษ ๑๗๐๕.๓/๙๑๘ คำสั่งองคการสะพานปลา ที่ ๖๑/๒๕๕๗ และคำสั่งองคการสะพานปลาที่ ๕๕/๒๕๕๙ หรือไม เห็นวา พระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติ


๖๐๑ ราชการทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙ มาตรา ๓๐ วรรคหนึ่ง บัญญัติวา “ในกรณีที่คำสั่งทางปกครอง อาจกระทบถึงสิทธิของคูกรณี เจาหนาที่ตองใหคูกรณีมีโอกาสที่จะไดรับทราบขอเท็จจริงอยาง เพียงพอและมีโอกาสไดโตแยงและแสดงพยานหลักฐานของตน” ขอเท็จจริงยุติตามคำฟองและ คำใหการที่ตรงกันตามทางนำสืบของคูความที่ไมโตแยงกัน และตามที่ศาลแรงงานกลางฟงมาวา ระหวางการสอบสวนทางวินิจฉัยแกนายสมชาย จำเลยเรียกโจทกที่ ๑ มาใหการเปนพยานตอ คณะกรรมการสวบสวนทางวินัย ซึ่งโจทกที่ ๑ ใหการไวตามสำเนาบันทึกถอยคำของพยานของ ฝายกลาวหา/ฝายผูถูกกลาวหา แลวคณะกรรมการสอบสวนทางวินัยเสนอความเห็นตอจำเลย ใหมีคำสั่งไลออกแกนายสมชาย ตอมาจำเลยมีคำสั่งตั้งคณะกรรมการสอบขอเท็จจริงความรับผิด ทางละเมิด ตามสำเนาคำสั่ง ซึ่งคณะกรรมการสอบขอเท็จจริงความรับผิดทางละเมิดเสนอความ เห็นตอจำเลยใหมีคำสั่งเรียกใหสมชายใชคาสินไหมทดแทน ๑,๒๐๐,๗๒๖.๓๐ บาท แกจำเลย แตเห็นสมควรไมเรียกใหโจทกที่ ๑ รับผิด เพราะคณะกรรมการสอบขอเท็จจริงความรับผิดทาง ละเมิดเห็นวาโจทกที่ ๑ ไมไดจงใจหรือประมาทเลินเลออยางรายแรง แตกรมบัญชีกลางพิจารณา สำนวนการสอบขอเท็จจริงความรับผิดทางละเมิดดังกลาวแลวเห็นวาโจทกที่ ๑ มิไดควบคุมดูแล การปฏิบัติงานของนายสมชายซึ่งเปนผูใตบังคับบัญชาอยางเพียงพอจนทำใหจำเลยไดรับความ เสียหาย เปนการกระทำประมาทเลินเลออยางรายแรง จึงใหจำเลยมีคำสั่งเรียกใหโจทกที่ ๑ รับผิด ชดใชคาสินไหมทดแทนแกจำเลยดวยตามสัดสวนความรับผิดทางละเมิดเปนเงิน ๖๐๐,๓๖๐.๑๕ บาท จำเลยจึงมีคำสั่งเรียกใหโจทกที่ ๑ ใชคาสินไหมทดแทน ๖๐๐,๓๖๓.๑๕ บาท แกจำเลยตาม ความเห็นของกรมบัญชีกลางดังกลาว ตามสำเนาหนังสือที่ กษ ๑๗๐๔.๒/๓๕๖๘ โจทกที่ ๑ ไมชำระ จำเลยมีหนังสือเตือนแกโจทกที่ ๑ ตามหนังสือที่กษ ๑๗๐๕.๓/๙๑๘ และใชมาตรการ บังคับทางปกครองโดยมีคำสั่งตั้งเจาพนักงานบังคับคดียึดและอายัดทรัพยสินของโจทกที่ ๑ ตาม คำสั่งองคการสะพานปลาที่ ๖๑/๒๕๕๗ และคำสั่งองคการสะพานปลาที่ ๕๕/๒๕๕๙ แตจำเลย ไมไดแจงขอกลาวหาหรือตั้งคณะกรรมการสอบขอเท็จจริงความรับผิดทางละเมิดตอโจทกที่ ๑ และใหโอกาสโจทกที่ ๑ ที่จะชี้แจงขอเท็จจริงและโตแยงแสดงพยานหลักฐานของตนในฐานะ เจาหนาที่ผูถูกกลาวหาวากระทำละเมิดตอหนวยงานของรัฐ กอนที่จำเลยจะออกคำสั่งตามหนังสือ ที่ กษ ๑๗๐๔.๒/๓๕๖๘ แตอยางใด สวนกรณีที่โจทกที่ ๑ มีหนังสือลงวันที่ ๒๕ ธันวาคม ๒๕๕๖ เรื่องโตแยงหนังสือบอกกลาวใหชำระคาสินไหมทดแทน แลวจำเลยตั้งคณะกรรมการพิจารณา ความเห็นโตแยงหนังสือดังกลาวนั้นก็เปนกรณีโจทกที่ ๑ โตแยงภายหลังจำเลยมีคำสั่งใหโจทกที่ ๑ รับผิดใชคาสินไหมทดแทนแลว ถือไมไดวาเปนการใหโอกาสโจทกที่ ๑ ชี้แจงขอเท็จจริงและโตแยง แสดงพยานหลักฐานของตนกอนที่จำเลยจะมีคำสั่งดังกลาว กรณีจึงเปนการออกคำสั่งโดยไมปฏิบัติ


๖๐๒ ตามขั้นตอนหรือวิธีการอันเปนสาระสำคัญตามที่กฎหมายกำหนด ตามพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติ ราชการทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙ มาตรา ๓๐ วรรคหนึ่ง ถือเปนคำสั่งที่ไมชอบดวยกฎหมาย และมีผลทำใหจำเลยไมมีสิทธิอาศัยคำสั่งที่ไมชอบดวยกฎหมายดังกลาวมาดำเนินการออก หนังสือเตือนตามหนังสือที่ กษ ๐๗๐๕.๓/๙๑๘ และใชมาตรการบังคับทางปกครองตามคำสั่ง องคการสะพานปลาที่ ๖๑/๒๕๕๗ และคำสั่งองคการสะพานปลาที่ ๕๕/๒๕๕๙ ที่ศาลแรงงานกลาง วินิจฉัยวา การที่โจทกที่ ๑ ใหถอยคำในฐานะพยานไวแลวในการสอบสวนทางวินัยแกนายสมชาย ถือไดวาจำเลยใหโอกาสแกโจทกที่ ๑ ชี้แจงโตแยงแลว และพิพากษายกฟองในสวนของโจทกที่ ๑ ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษไมเห็นพองดวย กรณีมีเหตุสมควรใหเพิกถอนหนังสือที่ กษ ๑๗๐๔.๒/๓๕๖๘ หนังสือที่ กษ ๑๗๐๕.๓/๙๑๘ คำสั่งองคการสะพานปลาที่ ๖๑/๒๕๕๗ และคำสั่งองคการสะพานปลาที่ ๕๕/๒๕๕๙ ที่ไมชอบดวยกฎหมาย อุทธรณของโจทกทั้งสองในสวนของโจทกที่ ๑ ในขอนี้ฟงขึ้น สวนที่โจทกที่ ๑ อุทธรณขอใหบังคับจำเลยใชคาเสียหาย ๕๔,๒๘๐ บาท พรอมดอกเบี้ยแกโจทกที่ ๑ นั้น เห็นวา เมื่อเพิกถอนหนังสือและคำสั่งของจำเลยดังกลาวแลว จำเลยจึงไมมีสิทธิยึดและอายัด ทรัพยสินของโจทกที่ ๑ อีกตอไป โจทกที่ ๑ ยอมสามารถไปดำเนินการขอรับชำระหนี้ตาม คำพิพากษาไดตามขั้นตอน จึงยังไมเกิดความเสียหายที่จำเลยจะตองรับผิด อุทธรณของโจทก ทั้งสองในสวนของโจทกที่ ๑ ในสวนนี้ฟงไมขึ้น ปญหาตองวินิจฉัยตามอุทธรณของโจทกทั้งสองในสวนของโจทกที่ ๒ มีวา ศาลแรงงานกลาง ไมรับวินิจฉัยในปญหาเรื่องอายุความเปนการชอบหรือไม เห็นวา โจทกที่ ๒ บรรยายฟองเพียงวา จำเลยเรียกใหโจทกที่ ๒ ชำระเงินโดยมิไดปฏิบัติใหถูกตองตามกฎหมาย ไมไดระบุวาโจทกที่ ๒ กระทำผิดตามระเบียบขอบังคับใด เพียงแตอางความเห็นของกรมบัญชีกลาง การกำหนดให โจทกที่ ๒ รับผิดอัตรารอยละ ๕๐ ไมชอบดวยหนังสือของกระทรวงการคลัง เรื่อง แนวทางการ สอบขอเท็จจริงความรับผิดทางละเมิดตามประเภทสำนวนการสอบสวน ลงวันที่ ๑๒ กันยายน ๒๕๕๐ และแนวทางการกำหนดสัดสวนความรับผิดทางละเมิดของเจาหนาที่ ลงวันที่ ๒๕ กันยายน ๒๕๕๐ โจทกที่ ๒ ไมไดปฏิบัติหนาที่ดวยความประมาทเลินเลออยางรายแรง ตามคำฟองดังกลาว โจทกที่ ๒ ไมไดบรรยายใหเห็นวาคำสั่งของจำเลยที่ใหโจทกที่ ๒ ชำระเงินนั้น ขาดอายุความ ตั้งแตเมื่อใด เพราะเหตุใด จึงไมไดเปนการตั้งประเด็นไวในคำฟองวา คำสั่งของจำเลยที่ใหโจทกที่ ๒ ชำระเงินขาดอายุความแลวหรือไม เพราะเหตุใด ซึ่งในปญหาเรื่องอายุความนี้ ไมใชปญหา ขอกฎหมายเกี่ยวดวยความสงบเรียบรอยของประชาชนที่ศาลจะยกขึ้นวินิจฉัยชี้ขาดไดเอง เมื่อ โจทกที่ ๒ ไมไดตั้งประเด็นมาในคำฟอง จึงไมอาจยื่นคำรองขอใหศาลแรงงานกลางวินิจฉัยชี้ขาด เบื้องตนในปญหาขอกฎหมายในเรื่องนี้ ที่ศาลแรงงานกลางไมรับวินิจฉัยในปญหาเรื่องอายุความนั้น


๖๐๓ ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษเห็นพองดวย สวนที่อางในอุทธรณวา ปญหาเรื่องอายุความรวม อยูในประเด็นขอพิพาทขอที่ ๒ ที่กำหนดวา มีเหตุเพิกถอนคำสั่งหรือไม นั้น เห็นวา แมวาปญหา เรื่องอายุความอาจจะรวมอยูในประเด็นขอพิพาทที่วามีเหตุเพิกถอนคำสั่งหรือไม แตปญหาเรื่อง อายุความอันเปนประเด็นยอยที่จะรวมอยูในประเด็นใหญดังกลาวโจทกที่ ๒ จะตองยกขึ้นกลาว อางในคำฟองโดยแจงชัดซึ่งสภาพแหงขอหา คำขอบังคับ ทั้งขออางซึ่งอาศัยเปนหลักแหงขอหา ดังกลาวดวย ซึ่งศาลแรงงานกลางอาจจะจดประเด็นดังกลาวไวเปนการเฉพาะหรือจะรวมอยูใน ประเด็นใหญก็ได เพียงแตศาลแรงงานกลางจะตองวินิจฉัยใหครบถวนตามประเด็นแหงคดีที่ ปรากฏจากคำฟองและคำใหการ เพราะประเด็นขอพิพาทยอมเกิดจากประเด็นในคำฟองและ คำใหการที่มีการโตเถียงกัน แตโจทกที่ ๒ ไมไดบรรยายฟองวาคำสั่งของจำเลยที่ใหโจทกที่ ๒ ชำระเงินนั้น ขาดอายุความตั้งแตเมื่อใด เพราะเหตุใด ยอมไมเกิดมีประเด็นที่จะโตแยงกันได จึงไมสามารถจะรวมอยูในประเด็นขอพิพาทขอที่ ๒ ดังที่อุทธรณมาได อุทธรณของโจทกทั้งสอง ในสวนโจทกที่ ๒ ขอนี้ฟงไมขึ้น ที่ศาลแรงงานกลางพิพากษามานั้น ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษ เห็นพองดวย พิพากษาแกเปนวา ใหเพิกถอนหนังสือที่ กษ ๑๗๐๔.๒/๓๕๖๘ หนังสือที่ กษ ๑๗๐๕.๓/๙๑๘ คำสั่งองคการสะพานปลาที่ ๖๑/๒๕๕๗ และคำสั่งองคการสะพานปลาที่ ๕๕/๒๕๕๙ คำขออื่น ของโจทกที่ ๑ นอกจากนี้ใหยก นอกจากที่แกคงเปนไปตามคำพิพากษาศาลแรงงานกลาง. (วิโรจน ตุลาพันธุ - ปณิธาน วิสุทธากร - ไพรัช โปรงแสง) วิทูรย ตรีสุนทรรัตน - ยอ สุโรจน จันทรพิทักษ - ตรวจ


๖๐๔ คำพิพากษาศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษที่ ๘๑๕/๒๕๖๒ นางสาวสุทาทร ศิริจันทร โจทก นายทรงพล ศิริจันทร จำเลย พ.ร.บ. โรงเรียนเอกชน พ.ศ. ๒๕๒๕ มาตรา ๘๖, ๑๐๗, ๑๑๒, ๑๖๖ ระเบียบกระทรวงศึกษาธิการ วาดวยการคุมครองการทำงานของครูใหญและครูโรงเรียนเอกชน พ.ศ. ๒๕๔๒ ขอ ๔, ๑๓, ๓๓ ตามระเบียบกระทรวงศึกษาธิการ วาดวยการคุมครองการทำงานของครูใหญ และครูโรงเรียนเอกชน พ.ศ. ๒๕๔๒ ขอ ๓๓ (๑) กำหนดใหผูรับใบอนุญาตเปนผูที่มีหนาที่ ตองจายคาชดเชยใหแกครูที่เลิกสัญญาการเปนครูในกรณีโรงเรียนเลิกลมกิจการ โดย ระเบียบฉบับดังกลาวไดกำหนดนิยามของคำวา ผูรับใบอนุญาต ไวในขอ ๔ วาหมายความวา ผูรับใบอนุญาตตาม พ.ร.บ. โรงเรียนเอกชน พ.ศ. ๒๕๒๕ หมายความรวมถึงผูที่ไดรับ อนุญาตใหทำการแทนผูรับใบอนุญาตหรือผูซึ่งไดรับมอบหมายใหทำการแทนผูรับใบ อนุญาต ซึ่งตาม พ.ร.บ. โรงเรียนเอกชน พ.ศ. ๒๕๕๐ มาตรา ๑๖๖ บัญญัติวา ในระหวาง ที่ยังมิไดออกกฎกระทรวง ระเบียบ และประกาศ เพื่อปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้ ใหนำกฎกระทรวง ระเบียบ และประกาศที่ออกตาม พ.ร.บ. โรงเรียนเอกชน พ.ศ. ๒๕๒๕ มาบังคับใชโดยอนุโลม เทาที่ไมขัดหรือแยงกับพระราชบัญญัตินี้ ดังนั้น เมื่อ พ.ร.บ. โรงเรียนเอกชน พ.ศ. ๒๕๕๐ มิไดบัญญัติในเรื่องคาชดเชยและการจายคาชดเชยไว โดยเฉพาะ จึงตองนำระเบียบกระทรวงศึกษาธิการ วาดวยการคุมครองการทำงานของครูใหญ และครูโรงเรียนเอกชน พ.ศ. ๒๕๔๒ มาบังคับใชโดยอนุโลม ซึ่งตามระเบียบกระทรวง ศึกษาธิการฉบับดังกลาวกำหนดใหผูรับใบอนุญาตเปนผูจายคาชดเชย มิใชโรงเรียน และ ผูรับใบอนุญาตใหหมายความรวมถึงผูที่ไดรับอนุญาตใหทำการแทนผูรับใบอนุญาตหรือ ผูซึ่งไดรับมอบหมายใหทำการแทนผูรับใบอนุญาต ฉะนั้นเมื่อขอเท็จจริงปรากฏวาจำเลย ซึ่งเปนผูอำนวยการโรงเรียนและเปนผูขอรับโอนใบอนุญาตใหจัดตั้งโรงเรียน ไดรับการ แตงตั้งใหเปนผูปฏิบัติหนาที่แทนผูรับใบอนุญาตภายหลังจากผูรับใบอนุญาตไดถึงแก ความตาย ก็เพื่อใหจำเลยปฏิบัติหนาที่แทนผูตายในกิจการของโรงเรียน ส. ตามที่ พ.ร.บ. โรงเรียนเอกชน พ.ศ. ๒๕๕๐ มาตรา ๑๐๗ กำหนดไว แมตอมาการโอนใบอนุญาตจะ ไมสำเร็จและโรงเรียน ส. ถูกสั่งใหเลิกกิจการก็ตาม จำเลยซึ่งเปนผูอำนวยการโรงเรียนก็ยัง มีหนาที่และความรับผิดชอบเชนเดียวกับผูรับใบอนุญาตตามมาตรา ๑๑๒ แหงพระราชบัญญัติ


๖๐๕ ฉบับดังกลาว และถือเปนผูที่ไดรับอนุญาตใหทำการแทนผูรับใบอนุญาตตามคำนิยามของ “ผูรับใบอนุญาต” ตามขอ ๔ ที่จะตองรับผิดชำระคาชดเชยตามขอ ๓๓ (๑) ของระเบียบ กระทรวงศึกษาธิการฉบับขางตน ดังนั้น แมตอมาโรงเรียน ส. จะเลิกกิจการและจำเลย จะไดรับมอบหมายใหเปนผูชำระบัญชีของโรงเรียนดวย ก็เปนการทำหนาที่ชำระสะสาง การงานของโรงเรียนกับจัดการใชหนี้รวมทั้งจัดการทรัพยสินของโรงเรียนใหเสร็จสิ้นไป เทานั้น จำเลยหาอาจอางวาเมื่อโรงเรียนถูกสั่งใหเลิกกิจการแลว จำเลยจึงหมดหนาที่ ทำแทนผูรับใบอนุญาต หรือเปนหนาที่ของผูจัดการมรดกในการชำระคาชดเชยใหแกโจทก หรือผูจัดการมรดกไมสงมอบทรัพยมรดกใหจำเลยชำระหนี้ เพื่อใหจำเลยพนจาก ความรับผิดไดไม จำเลยยังมีหนาที่จายคาชดเชยใหแกโจทกตามขอ ๓๓ (๑) ของระเบียบ กระทรวงศึกษาธิการฉบับดังกลาวกำหนดไว พ.ร.บ. โรงเรียนเอกชน พ.ศ. ๒๕๕๐ มาตรา ๘๖ วรรคหนึ่ง กำหนดวา กิจการ ของโรงเรียนในระบบเฉพาะในสวนของผูอำนวยการ ครูและบุคลากรทางการศึกษา ไมอยู ภายใตบังคับกฎหมายวาดวยการคุมครองแรงงาน อัตราดอกเบี้ยที่จำเลยตองรับผิดจาย แกโจทกตองบังคับตามระเบียบกระทรวงศึกษาธิการ วาดวยการคุมครองการทำงานของ ครูใหญและครูโรงเรียนเอกชน พ.ศ. ๒๕๔๒ ประกอบ พ.ร.บ. โรงเรียนเอกชน พ.ศ. ๒๕๕๐ มาตรา ๑๖๖ ที่บัญญัติวา ในระหวางที่ยังมิไดออกกฎกระทรวง ระเบียบ และประกาศ เพื่อ ปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้ ใหนำกฎกระทรวง ระเบียบ และประกาศที่ออกตาม พ.ร.บ. โรงเรียนเอกชน พ.ศ. ๒๕๒๕ มาใชบังคับโดยอนุโลม เทาที่ไมขัดหรือแยงกับพระราชบัญญัตินี้ โดยระเบียบดังกลาวขอ ๑๓ กำหนดไววา ในกรณีที่ผูรับใบอนุญาตไมจายคาชดเชย ใหผูรับ ใบอนุญาตเสียดอกเบี้ยใหแกครูระหวางผิดนัดรอยละ ๑๕ ตอป เวนแตการผิดนัดนั้น เกิดจากเหตุสุดวิสัยหรือมีเหตุอันสมควร ดังนั้นดอกเบี้ยของคาชดเชยจึงตองบังคับตามระเบียบ กระทรวงศึกษาธิการ วาดวยการคุมครองการทำงานของครูใหญและครูโรงเรียนเอกชน พ.ศ. ๒๕๔๒ ขอ ๑๓ ______________________________ โจทกฟอง ขอใหบังคับจำเลยจายคาชดเชย ๕๐๐,๐๐๐ บาท พรอมดอกเบี้ยอัตรารอยละ ๑๕ ตอป นับแตวันฟอง (วันที่ ๙ พฤศจิกายน ๒๕๖๐) เปนตนไปจนกวาจะชำระเสร็จ สินจางแทนการ บอกกลาวลวงหนา ๑๐๑,๖๖๖ บาท และคาเสียหายจากการเลิกจางที่ไมเปนธรรม ๖๐๐,๐๐๐ บาท พรอมดอกเบี้ยอัตรารอยละ ๗.๕ ตอปนับแตวันฟองเปนตนไปจนกวาจะชำระเสร็จแกโจทก


๖๐๖ จำเลยใหการ ขอใหยกฟอง ศาลแรงงานกลาง พิพากษาใหจำเลยจายคาชดเชย ๕๐๐,๐๐๐ บาท พรอมดอกเบี้ย อัตรารอยละ ๑๕ ตอป นับแตวันฟอง (ฟองวันที่ ๙ พฤศจิกายน ๒๕๖๐) เปนตนไป จนกวาจะ ชำระเสร็จแกโจทก จำเลยอุทธรณ ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษแผนกคดีแรงงานวินิจฉัยวา ศาลแรงงานกลางฟงขอเท็จจริงวา โจทกเปนครูโรงเรียนสิริศึกษา เริ่มทำงานตั้งแตวันที่ ๑ พฤษภาคม ๒๕๔๕ ตำแหนงสุดทาย เปนรองผูอำนวยการแผนกอนุบาล เดิมนายหัสพงศหรือนายคำนึง ไดรับใบอนุญาตใหเปนเจาของ จัดตั้งโรงเรียนสิริศึกษา ตอมานายหัสพงศถึงแกความตาย ศาลจังหวัดสมุทรปราการมีคำสั่งตั้ง นางพจนีย และนายอาคม เปนผูจัดการมรดกตามพินัยกรรม จำเลยเปนผูอำนวยการและปฏิบัติ หนาที่ผูรับใบอนุญาตโรงเรียนสิริศึกษาและเปนผูชำระบัญชีของโรงเรียนตามมติของกรรมการ ควบคุมโรงเรียนสิริศึกษา เมื่อวันที่ ๑ พฤษภาคม ๒๕๖๐ จำเลยมีหนังสือถอดถอนโจทกจากการ เปนครูโรงเรียนสิริศึกษา แลววินิจฉัยวา จำเลยในฐานะผูอำนวยการโรงเรียนสิริศึกษา เปนผูปฏิบัติ หนาที่แทนผูรับใบอนุญาตและผูจัดการโรงเรียน ซึ่งตามพระราชบัญญัติโรงเรียนเอกชน พ.ศ. ๒๕๕๐ มาตรา ๘๖ และมาตรา ๑๖๖ กำหนดสรุปความไดวา การคุมครองการทำงานในสวนของ ผูอำนวยการครูและบุคลากรทางการศึกษาใหเปนไปตามระเบียบที่คณะกรรมการสงเสริมการศึกษา เอกชนกำหนด และตามระเบียบกระทรวงศึกษาธิการ วาดวยการคุมครองการทำงานของครูใหญ และครูโรงเรียนเอกชน พ.ศ. ๒๕๔๒ กำหนดวาใหผูรับใบอนุญาตจายคาชดเชยแกครูที่เลิกสัญญา เปนครู และมาตรา ๑๑๕ เมื่อโรงเรียนในระบบเลิกกิจการตามมาตรา ๑๑๓ ใหคณะกรรมการบริหาร หรือคณะกรรมการควบคุมโรงเรียนในระบบ แลวแตกรณี แตงตั้งผูชำระบัญชีเพื่อชำระบัญชีของ โรงเรียนในระบบ จำเลยในฐานะผูปฏิบัติหนาที่แทนผูรับใบอนุญาตและเปนผูชำระบัญชีของ โรงเรียนสิริศึกษาจึงมีหนาที่ตามที่กฎหมายดังกลาวกำหนดไว โจทกจึงมีอำนาจฟองจำเลย ตาม ระเบียบกระทรวงศึกษาธิการ วาดวยการคุมครองการทำงานของครูใหญและครูโรงเรียนเอกชน พ.ศ. ๒๕๔๒ ขอ ๓๒ กำหนดใหผูรับใบอนุญาตจายคาชดเชยใหแกครูที่เลิกสัญญาจากการเปนครู ดังตอไปนี้ (๕) ครูที่ทำงานติดตอกันครบ ๑๐ ปขึ้นไป จายใหไมนอยกวา ๑๐ เดือนของเงินเดือน เดือนสุดทาย โจทกทำงานกับโรงเรียนมาเปนระยะเวลา ๑๕ ป ไดรับคาจางสุดทายเดือนละ ๕๐,๐๐๐ บาท จำเลยจึงตองจายคาชดเชยใหแกโจทก ๕๐๐,๐๐๐ บาท พรอมดอกเบี้ยระหวางผิดนัดในอัตรา รอยละ ๑๕ ตอปนับแตวันฟองตามที่โจทกขอ จำเลยไดแจงใหโจทกทราบกอนวันที่ปดกิจการ โรงเรียนตามระเบียบกระทรวงศึกษาธิการแลว จำเลยจึงไมตองจายสินจางแทนการบอกกลาว


๖๐๗ ลวงหนาแกโจทก และเมื่อโรงเรียนสิริศึกษาปดกิจการ จำเลยเลิกจางโจทกจึงเปนการเลิกจาง ที่มีเหตุอันสมควร ไมเปนการเลิกจางที่ไมเปนธรรม โจทกจึงไมมีสิทธิเรียกรองใหจำเลยชดใช คาเสียหาย คดีมีปญหาตองวินิจฉัยตามอุทธรณของจำเลยประการแรกวา จำเลยจะตองรับผิดจาย คาชดเชยใหแกโจทกหรือไม เห็นวา ตามระเบียบกระทรวงศึกษาธิการ วาดวยการคุมครองการ ทำงานของครูใหญและครูโรงเรียนเอกชน พ.ศ. ๒๕๔๒ ขอ ๓๓ (๑) กำหนดใหผูรับใบอนุญาต เปนผูที่มีหนาที่ตองจายคาชดเชยใหแกครูที่เลิกสัญญาการเปนครูในกรณีโรงเรียนเลิกลมกิจการ โดยระเบียบฉบับดังกลาวไดกำหนดนิยามของคำวา ผูรับใบอนุญาต ไวในขอ ๔ วาหมายความวา ผูรับใบอนุญาตตามพระราชบัญญัติโรงเรียนเอกชน พ.ศ. ๒๕๒๕ และใหหมายความรวมถึงผูที่ไดรับ อนุญาตใหทำการแทนผูรับใบอนุญาตหรือผูซึ่งไดรับมอบหมายใหทำการแทนผูรับใบอนุญาต ซึ่งตามพระราชบัญญัติโรงเรียนเอกชน พ.ศ. ๒๕๕๐ มาตรา ๑๖๖ บัญญัติวา ในระหวางที่ยังมิไดออก กฎกระทรวง ระเบียบ และประกาศ เพื่อปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้ ใหนำกฎกระทรวง ระเบียบ และประกาศที่ออกตามพระราชบัญญัติโรงเรียนเอกชน พ.ศ. ๒๕๒๕ มาบังคับใชโดยอนุโลม เทาที่ไมขัดหรือแยงกับพระราชบัญญัตินี้ ดังนั้น เมื่อพระราชบัญญัติโรงเรียนเอกชน พ.ศ. ๒๕๕๐ มิได บัญญัติในเรื่องคาชดเชยและการจายคาชดเชยไวโดยเฉพาะ จึงตองนำระเบียบกระทรวงศึกษาธิการ วาดวยการคุมครองการทำงานของครูใหญและครูโรงเรียนเอกชน พ.ศ. ๒๕๔๒ มาบังคับใชโดย อนุโลม ซึ่งตามระเบียบกระทรวงศึกษาธิการฉบับดังกลาวกำหนดใหผูรับใบอนุญาตเปนผูจาย คาชดเชย มิใชโรงเรียน และผูรับใบอนุญาตใหหมายความรวมถึงผูที่ไดรับอนุญาตใหทำการแทน ผูรับใบอนุญาตหรือผูซึ่งไดรับมอบหมายใหทำการแทนผูรับใบอนุญาต ฉะนั้นเมื่อขอเท็จจริง ปรากฏวาจำเลยซึ่งเปนผูอำนวยการโรงเรียนและเปนผูขอรับโอนใบอนุญาตใหจัดตั้งโรงเรียน ไดรับการแตงตั้งใหเปนผูปฏิบัติหนาที่แทนผูรับใบอนุญาตภายหลังจากผูรับใบอนุญาตไดถึงแก ความตาย ก็เพื่อใหจำเลยปฏิบัติหนาที่แทนผูตายในกิจการของโรงเรียนสิริศึกษาตามที่พระราชบัญญัติ โรงเรียนเอกชน พ.ศ. ๒๕๕๐ มาตรา ๑๐๗ กำหนดไว แมตอมาการโอนใบอนุญาตจะไมสำเร็จ และโรงเรียนสิริศึกษาถูกสั่งใหเลิกกิจการก็ตาม จำเลยซึ่งเปนผูอำนวยการโรงเรียนก็ยังมีหนาที่ และความรับผิดชอบเชนเดียวกับผูรับใบอนุญาตตามมาตรา ๑๑๒ แหงพระราชบัญญัติฉบับ ดังกลาว และถือเปนผูที่ไดรับอนุญาตใหทำการแทนผูรับใบอนุญาตตามคำนิยามของ “ผูรับ ใบอนุญาต” ตามขอ ๔ ที่จะตองรับผิดชำระคาชดเชยตามขอ ๓๓ (๑) ของระเบียบกระทรวง ศึกษาธิการฉบับขางตน ดังนั้น แมตอมาโรงเรียนสิริศึกษาจะเลิกกิจการและจำเลยจะไดรับมอบ หมายใหเปนผูชำระบัญชีของโรงเรียนดวย ก็เปนการทำหนาที่ชำระสะสางการงานของโรงเรียน


๖๐๘ กับจัดการใชหนี้รวมทั้งจัดการทรัพยสินของโรงเรียนใหเสร็จสิ้นไปเทานั้น จำเลยหาอาจอางวา เมื่อโรงเรียนถูกสั่งใหเลิกกิจการแลว จำเลยจึงหมดหนาที่ทำแทนผูรับใบอนุญาต หรือเปนหนาที่ ของผูจัดการมรดกในการชำระคาชดเชยใหแกโจทก หรือผูจัดการมรดกไมสงมอบทรัพยมรดกให จำเลยชำระหนี้ เพื่อใหจำเลยพนจากความรับผิดไดไม จำเลยยังมีหนาที่จายคาชดเชยใหแกโจทก ตามขอ ๓๓ (๑) ของระเบียบกระทรวงศึกษาธิการฉบับดังกลาวกำหนดไว ที่ศาลแรงงานกลาง พิพากษามานั้น ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษเห็นพองดวยในผล อุทธรณขอนี้ของจำเลยฟงไมขึ้น ที่จำเลยอุทธรณวา จำเลยใหการตอสูวาจำเลยไมใชนายจางและโจทกไมใชลูกจางของ จำเลย จึงไมตองจายคาชดเชยแกโจทก ซึ่งเปนประเด็นสำคัญในเรื่องอำนาจฟองวา โจทกเปน ลูกจางและจำเลยเปนนายจางของโจทกหรือไม การที่ศาลแรงงานกลางมิไดหยิบยกประเด็นนี้ขึ้น มาวินิจฉัย คำวินิจฉัยจึงขาดความสมบูรณ และแมจำเลยจะเปนผูชำระบัญชี แตโจทกไมไดฟอง จำเลยในฐานะผูชำระบัญชีดวย การที่ศาลแรงงานกลางวินิจฉัยโดยหยิบยกประเด็นผูชำระบัญชี มาวินิจฉัยใหจำเลยรับผิด จึงเปนการวินิจฉัยนอกฟองนอกประเด็นนั้น เห็นวา เมื่อศาลอุทธรณ คดีชำนัญพิเศษไดวินิจฉัยขางตนแลววาจำเลยเปนผูที่ไดรับอนุญาตใหทำการแทนผูรับใบอนุญาต จึงตองรับผิดชำระคาชดเชยใหแกโจทก กรณีจึงไมจำตองวินิจฉัยประเด็นอุทธรณของจำเลย ทั้งสองประการนี้อีกตอไป เพราะไมทำใหผลคดีเปลี่ยนแปลง อนึ่ง พระราชบัญญัติโรงเรียนเอกชน พ.ศ. ๒๕๕๐ มาตรา ๘๖ วรรคหนึ่ง กำหนดวา กิจการ ของโรงเรียนในระบบเฉพาะในสวนของผูอำนวยการ ครูและบุคลากรทางการศึกษา ไมอยูภายใต บังคับกฎหมายวาดวยการคุมครองแรงงาน ที่ศาลแรงงานกลางวินิจฉัยวาโจทกมีสิทธิไดรับดอกเบี้ย ในระหวางผิดนัดในอัตรารอยละ ๑๕ ตอป ตามพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา ๙ จึงไมถูกตอง อัตราดอกเบี้ยที่จำเลยตองรับผิดจายแกโจทกตองบังคับตามระเบียบกระทรวง ศึกษาธิการ วาดวยการคุมครองการทำงานของครูใหญและครูโรงเรียนเอกชน พ.ศ. ๒๕๔๒ ซึ่ง ออกตามความในพระราชบัญญัติโรงเรียนเอกชน พ.ศ. ๒๕๒๕ ประกอบพระราชบัญญัติโรงเรียน เอกชน พ.ศ. ๒๕๕๐ มาตรา ๑๖๖ ที่บัญญัติวา ในระหวางที่ยังมิไดออกกฎกระทรวง ระเบียบและ ประกาศ เพื่อปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้ ใหนำกฎกระทรวง ระเบียบ และประกาศที่ออกตาม พระราชบัญญัติโรงเรียนเอกชน พ.ศ. ๒๕๒๕ มาใชบังคับโดยอนุโลม เทาที่ไมขัดหรือแยงกับ พระราชบัญญัตินี้ โดยระเบียบดังกลาวขอ ๑๓ กำหนดไววา ในกรณีที่ผูรับใบอนุญาตไมจายคาชดเชย ใหผูรับใบอนุญาตเสียดอกเบี้ยใหแกครูระหวางผิดนัดรอยละ ๑๕ ตอป เวนแตการผิดนัดนั้นเกิดจาก เหตุสุดวิสัยหรือมีเหตุอันสมควร ดังนั้นดอกเบี้ยของคาชดเชยจึงตองบังคับตามระเบียบกระทรวงศึกษาธิการ วาดวยการคุมครองการทำงานของครูใหญและครูโรงเรียนเอกชน พ.ศ. ๒๕๔๒ ขอ ๑๓ แตเนื่องจาก


๖๐๙ อัตราดอกเบี้ยที่ศาลแรงงานกลางพิพากษาใหจำเลยจายแกโจทกตรงตามอัตราที่กำหนดในขอ ๑๓ แลว จึงไมจำตองแกไขอัตราดอกเบี้ยที่จำเลยตองจายแกโจทก พิพากษายืน. (วัฒนา สุขประดิษฐ - อนันต คงบริรักษ - สุวรรณา แกวบุตตา) พรรณทิพย วัฒนกิจการ - ยอ สุโรจน จันทรพิทักษ - ตรวจ


๖๑๐ คำพิพากษาศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษที่ ๑๓๔๓/๒๕๖๒ นางเอมี่ แมคคอนเนล แฟรงคลินน โจทก โรงเรียนนานาชาติ ยูดับเบิลยูซี ประเทศไทย กับพวก จำเลย ป.พ.พ. มาตรา ๗๐, ๗๗, ๕๘๓, ๘๒๐ พ.ร.บ. โรงเรียนเอกชน พ.ศ. ๒๕๕๐ มาตรา ๒๔, ๘๖, ๑๖๖ ระเบียบกระทรวงศึกษาธิการวาดวยการคุมครองการทำงานของครูใหญและครูโรงเรียน เอกชน พ.ศ. ๒๕๔๒ ตามจรรยาบรรณในวิชาชีพและสวนบุคคลของโรงเรียนจำเลยที่ ๑ ขอ ๘ ระบุวา เราทุกคนสามารถเขาถึงขอมูลที่เปนความลับเกี่ยวกับนักเรียนและเจาหนาที่ ในการ ทำงานตามหนาที่รับผิดชอบของเราในแตละวัน ในบางสถานการณเราอาจไดรับขอมูล ที่มีความละเอียดออนหรือเปนสวนตัวมาก เราตองไมละเมิดความไวเนื้อเชื่อใจที่เรา ไดรับจากการเขาถึงขอมูลดังกลาว จะตองไมมีการนำขอมูลเหลานี้มาพูดคุยสนทนาโดย ไมระมัดระวัง หรือเปดเผยแกใครก็ตามที่ไมมีความจำเปนตองทราบขอมูลนั้น ขอกำหนด ดังกลาวจึงเปนการหามโจทกนำขอมูลที่ไดรับมาสนทนาหรือเปดเผยแกบุคคลอื่น ในกรณี ที่ไดรับขอมูลที่เปนความลับเกี่ยวกับนักเรียนและเจาหนาที่ ซึ่งมีลักษณะเปนขอมูลลับ ที่ละเอียดออนหรือเปนสวนตัวมาก เมื่อขอเท็จจริงฟงยุติวา โจทกเปนครูผูจัดทำโครงการ วิปสสนาปดวาจารวมกับนักเรียน อันเปนโครงการตอเนื่อง การที่โรงเรียนจำเลยที่ ๑ ไมตอสัญญาใหแกโจทก โจทกจึงแจงใหนักเรียนในโครงการดังกลาวทราบ เนื่องมาจาก มีการพูดคุยในกลุมเกี่ยวกับโครงการวิปสสนาปดวาจา จึงพูดไปถึงเรื่องการที่โจทกไมได รับพิจารณาตอสัญญาเพื่อใหนักเรียนในโครงการซึ่งเปนผูมีสวนเกี่ยวของทราบในเบื้องตน เพื่อเตรียมตัวเกี่ยวกับโครงการภายหลังจากโจทกไมไดเปนครูโรงเรียนจำเลยที่ ๑ ตอไป การที่จำเลยทั้งสองยังไมไดประกาศเรื่องดังกลาวอยางเปนทางการ ถึงแมเปนขอมูลสวนตัว และเปนความลับก็ตาม แตก็เปนเพียงเรื่องเล็กนอยและมีเหตุผลตามสมควร ยังไมถึง ขนาดเปนการกระทำผิดจรรยาบรรณในวิชาชีพและสวนบุคคลของโรงเรียนจำเลยที่ ๑ และไมถือวาโจทกกระทำผิดระเบียบและสัญญาจางดังที่จำเลยทั้งสองกลาวอางในอุทธรณ แตอยางใด จึงไมตองดวยขอยกเวนไมตองจายคาชดเชย ตามระเบียบกระทรวงศึกษาธิการ วาดวยการคุมครองการทำงานของครูใหญและครูโรงเรียนเอกชน พ.ศ. ๒๕๔๒ ขอ ๓๔ ระเบียบกระทรวงศึกษาธิการวาดวยการคุมครองการทำงานของครูใหญและ ครูโรงเรียนเอกชน พ.ศ. ๒๕๔๒ ออกโดยอาศัยอำนาจตาม พ.ร.บ. โรงเรียนเอกชน


๖๑๑ พ.ศ. ๒๕๒๕ ซึ่งตอมาถูกยกเลิกโดย พ.ร.บ. โรงเรียนเอกชน พ.ศ. ๒๕๕๐ นั้น พ.ร.บ. สองฉบับ มีความแตกตางกัน การนำระเบียบกระทรวงศึกษาธิการวาดวยการคุมครองการทำงาน ของครูใหญและครูโรงเรียนเอกชน พ.ศ. ๒๕๔๒ ที่ออกตาม พ.ร.บ. โรงเรียนเอกชน พ.ศ. ๒๕๒๕ มาใชบังคับจึงตองใชโดยอนุโลมเทาที่ไมขัดหรือแยงกับ พ.ร.บ. โรงเรียนเอกชน พ.ศ. ๒๕๕๐ ตามที่บัญญัติไวในมาตรา ๑๖๖ โดยที่ตามมาตรา ๒๔ แหง พ.ร.บ. โรงเรียน เอกชน พ.ศ. ๒๕๕๐ บัญญัติวา เมื่อไดรับใบอนุญาตใหจัดตั้งโรงเรียนในระบบแลวให โรงเรียนในระบบเปนนิติบุคคลนับแตวันที่ไดรับใบอนุญาต และใหผูรับใบอนุญาตเปน ผูแทนของนิติบุคคล แต พ.ร.บ. โรงเรียนเอกชน พ.ศ. ๒๕๕๐ ไมไดกำหนดเรื่องความ รับผิดของผูรับใบอนุญาตไวเปนการเฉพาะตางหาก ดังนั้นจึงตองบังคับตาม ป.พ.พ. มาตรา ๗๐, ๗๗ ประกอบมาตรา ๘๒๐ จำเลยทั้งสองเปนผูทำสัญญาจางโจทก เมื่อการกระทำของจำเลยที่ ๒ เปนการกระทำแทนจำเลยที่ ๑ ในขอบอำนาจ จำเลยที่ ๑ ซึ่งเปนคูสัญญาโดยตรงกับโจทกจึงตองเปนผูรับผิดจายคาชดเชยใหแกโจทก ตามสัญญาจาง โดยจำเลยที่ ๒ ไมตองรวมรับผิดกับจำเลยที่ ๑ ตาม พ.ร.บ. โรงเรียนเอกชน พ.ศ. ๒๕๕๐ มาตรา ๘๖ และมาตรา ๑๖๖ ประกอบระเบียบกระทรวงศึกษาธิการวาดวย การคุมครองการทำงานของครูใหญและครูโรงเรียนเอกชน พ.ศ. ๒๕๔๒ ขอ ๓๒ แตอยางใด การกระทำของโจทกยังไมถึงขนาดเปนการกระทำผิดจรรยาบรรณในวิชาชีพและ สวนบุคคลของโรงเรียนจำเลยที่ ๑ และไมถือวาโจทกกระทำผิดระเบียบและสัญญาจาง ดังที่จำเลยทั้งสองกลาวอางในอุทธรณแตอยางใด จึงไมเขาขอยกเวนตาม ป.พ.พ. มาตรา ๕๘๓ และถือวาการเลิกจางโจทกเปนการเลิกจางที่ไมมีเหตุอันสมควรและเพียงพอเปนการ เลิกจางไมเปนธรรม จำเลยทั้งสองจึงตองจายสินจางแทนการบอกกลาวลวงหนาและ คาเสียหายจากการเลิกจางไมเปนธรรมใหแกโจทก โดยจำเลยที่ ๒ ไมตองรับผิดเปนการ สวนตัว ______________________________ โจทกฟอง ขอใหบังคับจำเลยทั้งสองรวมกันจายคาชดเชย ๗๕๐,๐๐๐ บาท พรอม ดอกเบี้ยอัตรารอยละ ๑๕ ตอป และเงินเพิ่มอัตรารอยละ ๑๕ ตอปทุกระยะ ๗ วัน ของตนเงิน ดังกลาว นับแตวันที่ ๖ พฤศจิกายน ๒๕๕๙ สินจางแทนการบอกกลาวลวงหนาเทากับเงินเดือน ๖ เดือน ตามสัญญาเปนเงิน ๑,๕๐๐,๐๐๐ บาท พรอมดอกเบี้ยอัตรารอยละ ๑๕ ตอป และเงินเพิ่ม อัตรารอยละ ๑๕ ตอป ทุกระยะ ๗ วัน ของตนเงินดังกลาว นับแตวันที่ ๖ พฤศจิกายน ๒๕๕๙ และคาเสียหายจากการเลิกจางไมเปนธรรม ๑๕,๐๐๐,๐๐๐ บาท พรอมดอกเบี้ยอัตรารอยละ ๗.๕ ตอป ของตนเงินดังกลาว นับถัดจากวันฟองเปนตนไปจนกวาจะชำระเสร็จแกโจทก


๖๑๒ จำเลยทั้งสองใหการ ขอใหยกฟอง ศาลแรงงานภาค ๘ พิพากษาใหจำเลยทั้งสองจายสินจางแทนการบอกกลาวลวงหนา ๑,๕๐๐,๐๐๐ บาท พรอมดอกเบี้ยอัตรารอยละ ๗.๕ ตอป นับแตวันที่ ๒๔ พฤศจิกายน ๒๕๖๐ และคาเสียหายจากการเลิกจางไมเปนธรรม ๒๑๕,๐๐๐ บาท พรอมดอกเบี้ยอัตรารอยละ ๗.๕ ตอป นับแตวันฟอง (วันที่ ๑๙ มกราคม ๒๕๖๑) โดยจำเลยที่ ๒ ไมตองรับผิดเปนการสวนตัว และให จำเลยที่ ๒ จายคาชดเชย ๖๔๕,๐๐๐ บาท พรอมดอกเบี้ยอัตรารอยละ ๑๕ ตอป นับแตวันที่ ๖ พฤศจิกายน ๒๕๖๐ เปนตนไปจนกวาจะชำระเสร็จแกโจทก คำขออื่นนอกจากนี้ใหยก จำเลยทั้งสองอุทธรณ ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษแผนกคดีแรงงานวินิจฉัยวา ศาลแรงงานภาค ๘ ฟงขอเท็จจริง และวินิจฉัยวา เมื่อจำเลยทั้งสองจายเบี้ยเลี้ยงคาบานพักอาศัยโดยมีวัตถุประสงคเพื่อชวยเหลือ และจัดอยูในหัวขอสิทธิประโยชนตามสัญญาจางชาวตางประเทศเปนครู ขอ ๗ เรื่องสิทธิประโยชน ดังนั้นจำเลยที่ ๑ จึงมีวัตถุประสงคในการจายเบี้ยเลี้ยงคาบานพักอาศัยเพียงเพื่อเปนสวัสดิการ แกโจทกเทานั้น เบี้ยเลี้ยงคาบานพักอาศัยจึงไมใชคาจาง โจทกจึงมีคาจางอัตราสุดทายเดือนละ ๒๑๕,๐๐๐ บาท การที่โจทกเปนครูผูจัดทำโครงการวิปสสนาปดวาจารวมกับนักเรียนซึ่งเปนโครงการ ตอเนื่อง และเมื่อโจทกรูวาจะไมไดรับการตอสัญญากับโรงเรียนจำเลยที่ ๑ แลว จึงแจงเรื่อง ดังกลาวใหนักเรียนในโครงการทราบ อันสืบเนื่องมาจากมีการพูดคุยกันในกลุมเกี่ยวกับโครงการ วิปสสนาปดวาจาแลวจึงพูดคุยไปถึงเรื่องการไมไดรับพิจารณาตอสัญญา เพื่อใหเด็กนักเรียนใน โครงการซึ่งเปนผูมีสวนเกี่ยวของทราบในเบื้องตนเพื่อเตรียมตัวเกี่ยวกับโครงการภายหลังจาก โจทกไมไดเปนครูที่โรงเรียนตอไป และแมจำเลยทั้งสองจะยังไมไดประกาศเรื่องดังกลาวอยาง เปนทางการก็ไมถือเปนขอมูลสวนตัวซึ่งเปนความลับถึงขนาดที่ไมสามารถบอกใหนักเรียนในโรงเรียน ทราบได การที่โจทกบอกเรื่องที่ตนไมไดรับการตอสัญญาใหนักเรียนบางกลุมทราบ จึงยังไม เพียงพอใหรับฟงไดวาเปนการปฏิบัติผิดจรรยาบรรณในวิชาชีพและสวนบุคคลของโรงเรียนจำเลยที่ ๑ เมื่อฟงไดวาโจทกบอกเลาเรื่องการไมไดรับการตอสัญญาใหกลุมนักเรียนที่รวมทำโครงการวิปสสนา ปดวาจากับตนฟงเพื่อเตรียมตัวทำโครงการตอเมื่อโจทกไมไดเปนครูที่โรงเรียนจำเลยที่ ๑ ตอไป เทานั้น กรณีจึงไมตองดวยขอยกเวนตามระเบียบกระทรวงศึกษาธิการวาดวยการคุมครองการ ทำงานของครูใหญและครูโรงเรียนเอกชน พ.ศ. ๒๕๔๒ ขอ ๓๔ เมื่อโจทกทำงานติดตอกันครบ ๑ ป แตไมครบ ๓ ป โจทกจึงมีสิทธิไดรับคาชดเชยไมนอยกวา ๓ เดือน ของเงินเดือนเดือนสุดทาย ทั้งนี้ตามระเบียบกระทรวงศึกษาธิการวาดวยการคุมครองการทำงานของครูใหญและครูโรงเรียน


๖๑๓ เอกชน พ.ศ. ๒๕๔๒ ขอ ๓๒ (๒) เปนเงิน ๖๔๕,๐๐๐ บาท แมจำเลยที่ ๑ จะเปนเจาของกิจการ โรงเรียนเอกชนก็ตาม แตเมื่อระเบียบกระทรวงศึกษาธิการวาดวยการคุมครองการทำงานของ ครูใหญและครูโรงเรียนเอกชน พ.ศ. ๒๕๔๒ ขอ ๓๒ กำหนดใหผูรับใบอนุญาตเปนผูจายคาชดเชย แกครู จำเลยที่ ๒ ซึ่งเปนผูรับใบอนุญาตจึงตองรับผิดจายคาชดเชยแกโจทก โดยจำเลยที่ ๑ ไมตองรวมรับผิดจายคาชดเชยแกโจทกดวย ซึ่งเมื่อขอ ๑๓ กำหนดใหในกรณีที่ผูรับใบอนุญาต ไมจายคาชดเชยผูรับใบอนุญาตตองเสียดอกเบี้ยใหแกครูในระหวางผิดนัดรอยละ ๑๕ ตอป และ ตามระเบียบกระทรวงศึกษาธิการวาดวยการคุมครองการทำงานของครูใหญและครูโรงเรียนเอกชน พ.ศ. ๒๕๔๒ ไดกำหนดนิยามคำวา คาชดเชย หมายถึง เงินที่ผูรับใบอนุญาตจายใหแกครูเมื่อ เลิกสัญญาการเปนครู นอกเหนือจากเงินประเภทอื่นซึ่งผูรับใบอนุญาตตกลงจายใหแกครู ดังนั้น เมื่อนายจางเลิกจางลูกจางจึงมีหนาที่ตองจายคาชดเชยใหแกลูกจางทันทีเมื่อไมยอมจายให ตองถือวาผิดนัดนับแตวันที่เลิกจางโดยมิพักตองเรียกรองหรือทวงถาม โจทกจึงมีสิทธิเรียกดอกเบี้ย ในคาชดเชยดังกลาวอัตรารอยละ ๑๕ ตอป นับแตวันที่ ๖ พฤศจิกายน ๒๕๖๐ ซึ่งเปนวันเลิกจาง สวนที่โจทกขอใหคิดเงินเพิ่มในคาชดเชยดังกลาวนั้นเมื่อคาชดเชยที่จำเลยทั้งสองไมไดจายให แกโจทกยังมีขอโตแยงระหวางโจทกกับจำเลยทั้งสองวา โจทกกระทำผิดจรรยาบรรณในวิชาชีพ และสวนบุคคลของโรงเรียนจำเลยที่ ๑ หรือไม และจำเลยทั้งสองตองจายคาชดเชยใหแกโจทก หรือไม กรณีจึงยังถือไมไดวาจำเลยทั้งสองซึ่งเปนนายจางจงใจไมจายเงินดังกลาวแกโจทกโดย ปราศจากเหตุผลอันควรตามระเบียบกระทรวงศึกษาธิการวาดวยการคุมครองการทำงานของ ครูใหญและครูโรงเรียนเอกชน พ.ศ. ๒๕๔๒ ขอ ๑๓ วรรคทาย จำเลยทั้งสองจึงไมตองเสียเงินเพิ่ม ใหแกโจทกแตอยางใด เมื่อขอเท็จจริงรับฟงไดวาจำเลยทั้งสองบอกเลิกจางโจทกในวันที่ ๖ พฤศจิกายน ๒๕๖๐ ใหมีผลทันที โดยโจทกไมไดกระทำผิดดังที่วินิจฉัยมาแลวขางตน อีกทั้งยัง ฟงไมไดวาโจทกจงใจขัดคำสั่งของนายจางอันชอบดวยกฎหมาย ละเลยไมนำพาตอคำสั่งเชนวานั้น เปนอาจิณ ละทิ้งการงานไปกระทำความผิดอยางรายแรง หรือทำประการอื่นอันไมสมแกการ ปฏิบัติหนาที่ของตนใหลุลวงไปโดยถูกตองและสุจริต ประกอบกับตามสัญญาจางชาวตางชาติ เปนครู ขอ ๑๑.๑ ระบุวาคูสัญญาฝายใดฝายหนึ่งอาจบอกเลิกสัญญาฉบับนี้ในเวลาใดก็ตามโดย แจงใหอีกฝายทราบเปนลายลักษณอักษรไมนอยกวา ๖ เดือน โดยมีเงื่อนไขวาฝายใดฝายหนึ่ง อาจบอกเลิกสัญญาฉบับนี้ โดยจายเงินใหอีกฝายหนึ่งแทนการแจงบอกเลิกสัญญาดังกลาวขางตน ดังนี้ (๑) จำนวนเงินเทากับเงินเดือนของครูเปนเวลา ๖ เดือน โดยคิดตามเงินเดือนที่ออกใหครั้ง ลาสุดบวกกับเบี้ยเลี้ยงที่จายใหลาสุดแทนการแจง ดังนั้นการที่จำเลยทั้งสองบอกเลิกจางโจทก โดยใหมีผลทันที จำเลยทั้งสองจึงตองจายสินจางแทนการบอกกลาวลวงหนาแกโจทกเปนเวลา


๖๑๔ ๖ เดือน พรอมเบี้ยเลี้ยงที่จายใหลาสุด ซึ่งหมายความรวมถึงเบี้ยเลี้ยงคาบานพักอาศัยตามสัญญา จางชาวตางประเทศเปนครู ขอ ๗.๑ ซึ่งตามสัญญาดังกลาวโจทกไดรับเงินเดือน ๒๑๕,๐๐๐ บาท และเบี้ยเลี้ยงคาที่พักอาศัย ๓๕,๐๐๐ บาท รวมเปนเงิน ๒๕๐,๐๐๐ บาท คิดคำนวณเปนสินจาง แทนการบอกกลาวลวงหนา ๖ เดือน ตามสัญญาเปนเงิน ๑,๕๐๐,๐๐๐ บาท สวนที่โจทกฟองขอดอกเบี้ย ของสินจางแทนการบอกกลาวลวงหนาอัตรารอยละ ๑๕ ตอป นับแตวันที่ ๖ พฤศจิกายน ๒๕๖๐ นั้น เมื่อหนี้ดังกลาวเปนหนี้เงินและกฎหมายไมไดกำหนดอัตราดอกเบี้ยระหวางผิดนัดไวเปนการเฉพาะ จึงตองถืออัตรารอยละ ๗.๕ ตอป ตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา ๒๒๔ นับแตวันผิดนัด และเมื่อไมมีกฎหมายกำหนดใหนายจางตองจายสินจางแทนการบอกกลาวลวงหนาทันทีที่เลิกจาง จึงตองถือวานายจางผิดนัดนับแตวันที่ลูกจางทวงถามแลวนายจางไมชำระ ซึ่งหนังสือทวงถามและ ใบไปรษณียตอบรับปรากฏวาโจทกไดทวงถามใหจำเลยทั้งสองจายสินจางแทนการบอกกลาว ลวงหนาและจำเลยไดรับหนังสือทวงถามดังกลาววันที่ ๒๔ พฤศจิกายน ๒๕๖๐ โจทกจึงมีสิทธิ เรียกดอกเบี้ยนับจากวันดังกลาว สวนที่โจทกขอใหจำเลยจายเงินเพิ่มจากสินจางแทนการบอกกลาว ลวงหนานั้น เมื่อสินจางแทนการบอกกลาวลวงหนาไมใชเงินประเภทหนึ่งประเภทใดตามระเบียบ กระทรวงศึกษาธิการวาดวยการคุมครองการทำงานของครูใหญและครูโรงเรียนเอกชน พ.ศ. ๒๕๔๒ ขอ ๑๓ วรรคทาย จำเลยทั้งสองซึ่งเปนนายจางจึงไมตองเสียเงินเพิ่มใหแกโจทก เมื่อจำเลยทั้งสอง ซึ่งเปนนายจางเลิกจางโจทกดวยเหตุดังที่วินิจฉัยมาขางตน จึงเปนการเลิกจางโดยปราศจากเหตุ อันสมควรและเพียงพอ จึงเปนการเลิกจางที่ไมเปนธรรม เมื่อคำนึงถึงอายุโจทก ระยะเวลาการ ทำงานของโจทก ความเดือดรอนของโจทก และมูลเหตุแหงการเลิกจางแลว เห็นควรกำหนด คาเสียหายให ๒๑๕,๐๐๐ บาท เมื่อหนี้ดังกลาวเปนหนี้เงินและกฎหมายไมไดกำหนดอัตราดอกเบี้ย ระหวางผิดนัดไวเปนการเฉพาะ จึงตองถืออัตรารอยละ ๗.๕ ตอป เมื่อตามสัญญาจางชาวตางประเทศ เปนครูเปนสัญญาจางระหวางโจทกกับจำเลยที่ ๑ จำเลยที่ ๑ จึงเปนนายจางโจทก สวนจำเลยที่ ๒ เปนผูรับใบอนุญาตจึงเปนผูแทนของจำเลยที่ ๑ ซึ่งเปนโรงเรียนในระบบ ตามพระราชบัญญัติ โรงเรียนเอกชน พ.ศ. ๒๕๕๐ มาตรา ๒๔ ดังนั้นในสวนของสินจางแทนการบอกกลาวลวงหนา และคาเสียหายจากการเลิกจางไมเปนธรรมนั้น จำเลยที่ ๒ จึงไมจำตองรับผิดเปนการสวนตัว คดีมีปญหาตองวินิจฉัยตามอุทธรณของจำเลยทั้งสองประการแรกวา จำเลยทั้งสองจะ ตองจายคาชดเชยใหแกโจทกหรือไม เพียงใด เห็นวา ตามจรรยาบรรณในวิชาชีพและสวนบุคคล ของโรงเรียนจำเลยที่ ๑ ขอ ๘ ระบุวา เราทุกคนสามารถเขาถึงขอมูลที่เปนความลับเกี่ยวกับ นักเรียนและเจาหนาที่ ในการทำงานตามหนาที่รับผิดชอบของเราในแตละวัน ในบางสถานการณ เราอาจไดรับขอมูลที่มีความละเอียดออนหรือเปนสวนตัวมาก เราตองไมละเมิดความไวเนื้อเชื่อใจ


๖๑๕ ที่เราไดรับจากการเขาถึงขอมูลดังกลาว จะตองไมมีการนำขอมูลเหลานี้มาพูดคุยสนทนาโดย ไมระมัดระวัง หรือเปดเผยแกใครก็ตามที่ไมมีความจำเปนตองทราบขอมูลนั้น ขอกำหนดดังกลาว จึงเปนการหามโจทกนำขอมูลที่ไดรับมาสนทนาหรือเปดเผยแกบุคคลอื่น ในกรณีที่ไดรับขอมูล ที่เปนความลับเกี่ยวกับนักเรียนและเจาหนาที่ ซึ่งมีลักษณะเปนขอมูลลับที่ละเอียดออนหรือเปน สวนตัวมาก เมื่อขอเท็จจริงฟงยุติวา โจทกเปนครูผูจัดทำโครงการวิปสสนาปดวาจารวมกับนักเรียน อันเปนโครงการตอเนื่อง การที่โรงเรียนจำเลยที่ ๑ ไมตอสัญญาใหแกโจทก โจทกจึงแจงใหนักเรียน ในโครงการดังกลาวทราบ เนื่องมาจากมีการพูดคุยในกลุมเกี่ยวกับโครงการวิปสสนาปดวาจา จึงพูดไปถึงเรื่องการที่โจทกไมไดรับพิจารณาตอสัญญาเพื่อใหนักเรียนในโครงการ ซึ่งเปนผูมีสวน เกี่ยวของทราบในเบื้องตน เพื่อเตรียมตัวเกี่ยวกับโครงการภายหลังจากโจทกไมไดเปนครูโรงเรียน จำเลยที่ ๑ ตอไป การที่จำเลยทั้งสองยังไมไดประกาศเรื่องดังกลาวอยางเปนทางการ ถึงแมเปน ขอมูลสวนตัวและเปนความลับก็ตาม แตก็เปนเพียงเรื่องเล็กนอยและมีเหตุผลตามสมควร ยังไมถึง ขนาดเปนการกระทำผิดจรรยาบรรณในวิชาชีพและสวนบุคคลของโรงเรียนจำเลยที่ ๑ และไมถือ วาโจทกกระทำผิดระเบียบและสัญญาจางดังที่จำเลยทั้งสองกลาวอางในอุทธรณแตอยางใด จึงไม ตองดวยขอยกเวนไมตองจายคาชดเชย ตามระเบียบกระทรวงศึกษาธิการวาดวยการคุมครองการ ทำงานของครูใหญและครูโรงเรียนเอกชน พ.ศ. ๒๕๔๒ ขอ ๓๔ ที่ศาลแรงงานภาค ๘ พิพากษา มานั้น ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษเห็นพองดวย อุทธรณของจำเลยทั้งสองขอนี้ฟงไมขึ้น อยางไรก็ดี คดีมีปญหาตองวินิจฉัยในประเด็นนี้ตอไปวา จำเลยทั้งสองตองรับผิด ในคาชดเชย เพียงใด เห็นวา ระเบียบกระทรวงศึกษาธิการวาดวยการคุมครองการทำงานของ ครูใหญและครูโรงเรียนเอกชน พ.ศ. ๒๕๔๒ ออกโดยอาศัยอำนาจตามพระราชบัญญัติโรงเรียนเอกชน พ.ศ. ๒๕๒๕ ซึ่งตอมาถูกยกเลิกโดยพระราชบัญญัติโรงเรียนเอกชน พ.ศ. ๒๕๕๐ นั้น พระราชบัญญัติ สองฉบับมีความแตกตางกัน การนำระเบียบกระทรวงศึกษาธิการวาดวยการคุมครองการทำงาน ของครูใหญและครูโรงเรียนเอกชน พ.ศ. ๒๕๔๒ ที่ออกตามพระราชบัญญัติโรงเรียนเอกชน พ.ศ. ๒๕๒๕ มาใชบังคับจึงตองใชโดยอนุโลมเทาที่ไมขัดหรือแยงกับพระราชบัญญัติโรงเรียนเอกชน พ.ศ. ๒๕๕๐ ตามที่บัญญัติไวในมาตรา ๑๖๖ โดยที่ตามมาตรา ๒๔ แหงพระราชบัญญัติโรงเรียนเอกชน พ.ศ. ๒๕๕๐ บัญญัติวา เมื่อไดรับใบอนุญาตใหจัดตั้งโรงเรียนในระบบแลวใหโรงเรียนในระบบเปนนิติบุคคล นับแตวันที่ไดรับใบอนุญาต และใหผูรับใบอนุญาตเปนผูแทนของนิติบุคคล แตพระราชบัญญัติ โรงเรียนเอกชน พ.ศ. ๒๕๕๐ ไมไดกำหนดเรื่องความรับผิดของผูรับใบอนุญาตไวเปนการเฉพาะ ตางหาก ดังนั้นจึงตองบังคับตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา ๗๐, ๗๗ ประกอบ มาตรา ๘๒๐ จำเลยทั้งสองเปนผูทำสัญญาจางโจทกประกอบกับเมื่อการกระทำของจำเลยที่ ๒


๖๑๖ เปนการกระทำแทนจำเลยที่ ๑ ในขอบอำนาจ จำเลยที่ ๑ ซึ่งเปนคูสัญญาโดยตรงกับโจทกจึงตอง เปนผูรับผิดจายคาชดเชยใหแกโจทกตามสัญญาจาง โดยจำเลยที่ ๒ ไมตองรวมรับผิดกับจำเลยที่ ๑ ตามพระราชบัญญัติโรงเรียนเอกชน พ.ศ. ๒๕๕๐ มาตรา ๘๖ และมาตรา ๑๖๖ ประกอบระเบียบ กระทรวงศึกษาธิการวาดวยการคุมครองการทำงานของครูใหญและครูโรงเรียนเอกชน พ.ศ. ๒๕๔๒ ขอ ๓๒ แตอยางใด ที่ศาลแรงงานภาค ๘ วินิจฉัยใหจำเลยที่ ๒ รับผิดจายคาชดเชยแกโจทก โดยจำเลยที่ ๑ ไมตองรวมรับผิดดวยนั้น ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษไมเห็นพองดวย คดีมีปญหาตองวินิจฉัยตามอุทธรณของจำเลยทั้งสองในประการตอมาวา จำเลยทั้งสอง จะตองจายสินจางแทนการบอกกลาวลวงหนาและคาเสียหายจากการเลิกจางไมเปนธรรมแกโจทก หรือไม เพียงใด เห็นวา ศาลไดวินิจฉัยในอุทธรณของจำเลยทั้งสองขางตนมาแลววา การกระทำ ของโจทกยังไมถึงขนาด เปนการกระทำผิดจรรยาบรรณในวิชาชีพและสวนบุคคลของโรงเรียน จำเลยที่ ๑ และไมถือวาโจทกกระทำผิดระเบียบและสัญญาจางดังที่จำเลยทั้งสองกลาวอางใน อุทธรณแตอยางใด จึงไมเขาขอยกเวนตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา ๕๘๓ และถือวาการเลิกจางโจทกเปนการเลิกจางที่ไมมีเหตุอันสมควรและเพียงพอเปนการเลิกจาง ไมเปนธรรม จำเลยทั้งสองจึงตองจายสินจางแทนการบอกกลาวลวงหนาและคาเสียหายจากการ เลิกจางไมเปนธรรมใหแกโจทก โดยจำเลยที่ ๒ ไมตองรับผิดเปนการสวนตัว ที่ศาลแรงงานภาค ๘ พิพากษาในสวนนี้มานั้น ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษเห็นพองดวย อุทธรณของจำเลยทั้งสองขอนี้ ฟงไมขึ้น พิพากษาแกเปนวา ใหจำเลยทั้งสองจายคาชดเชย ๖๔๕,๐๐๐ บาท พรอมดอกเบี้ย อัตรารอยละ ๑๕ ตอป นับแตวันที่ ๖ พฤศจิกายน ๒๕๖๐ เปนตนไปจนกวาจะชำระเสร็จแกโจทก โดยจำเลยที่ ๒ ไมตองรับผิดเปนการสวนตัว นอกจากที่แกใหเปนไปตามคำพิพากษาศาลแรงงานภาค ๘. (วัฒนา สุขประดิษฐ - อนันต คงบริรักษ - สุวรรณา แกวบุตตา) ธัชวุทธิ์ พุทธิสมบัติ - ยอ สุโรจน จันทรพิทักษ - ตรวจ


๖๑๗ คำพิพากษาศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษที่ ๔๕๖๐/๒๕๖๒ นางสู เฟน เซี้ย (MRS.SHU-FEN-HSIEN) โจทก โรงเรียนสงเสริมภาษาจีน กับพวก จำเลย พ.ร.บ. คุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา ๔ วรรคสอง พ.ร.บ. จัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๕๔ วรรคหนึ่ง พ.ร.บ. โรงเรียนเอกชน พ.ศ. ๒๕๕๐ มาตรา ๘๖, ๑๒๗ (๓) พ.ร.บ. คุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา ๔ วรรคสอง บัญญัติวา “…จะออก กฎกระทรวงมิใหใชบังคับพระราชบัญญัติฉบับนี้ทั้งหมดหรือแตบางสวนแกนายจาง ประเภทใดประเภทหนึ่งก็ได” และตามกฎกระทรวง (พ.ศ. ๒๕๔๑) ออกตามความใน พระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ ขอ (๑) บัญญัติวา “มิใหใชพระราชบัญญัติ คุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ บังคับแกนายจางซึ่งประกอบกิจการโรงเรียนเอกชนตาม กฎหมายวาดวยโรงเรียนเอกชน ทั้งนี้ เฉพาะในสวนที่เกี่ยวกับครูใหญและครู” อยางไร ก็ตาม พ.ร.บ. โรงเรียนเอกชน พ.ศ. ๒๕๕๐ กําหนดลักษณะของโรงเรียนเอกชนไวสอง รูปแบบ ไดแก โรงเรียนเอกชนในระบบและโรงเรียนเอกชนนอกระบบ ซึ่งบุคลากรของ โรงเรียนเอกชนนอกระบบจะแตกตางจากในระบบเฉพาะในสวนของผูอํานวยการ ครูและ บุคลากรทางการศึกษา กลาวคือบุคลากรของโรงเรียนเอกชนนอกระบบไมอยูภายใต บังคับของ พ.ร.บ. โรงเรียนเอกชน พ.ศ. ๒๕๕๐ มาตรา ๘๖ ประกอบกับมาตรา ๑๒๗ (๓) หากแตอยูภายใตบังคับของกฎหมายวาดวยคุมครองแรงงานและกฎหมายวาดวย แรงงานสัมพันธ เมื่อโจทกมิไดอุทธรณโตแยงคําพิพากษาของศาลแรงงานกลางในปญหานี้ไว ศาลอุทธรณคดีชํานัญพิเศษจึงเห็นสมควรไมวินิจฉัยสิทธิประโยชนอื่นแกโจทกนอกเหนือ จากที่ศาลแรงงานกลางพิพากษามา ______________________________ โจทกฟองวา ขอใหบังคับจำเลยทั้งสองรวมกันหรือแทนกันจายสินจางแทนการบอกกลาว ลวงหนา ๒๗,๓๖๐ บาท คาเสียหายจากการเลิกจางที่ไมเปนธรรม ๑๙๔,๔๐๐ บาท พรอมดอกเบี้ย อัตรารอยละ ๗.๕ ตอป ของตนเงินแตละจำนวน นับแตวันฟองเปนตนไปจนกวาจะชำระเสร็จ และออกใบสำคัญการผานงานใหแกโจทก และจายคาชดเชย ๑๗๒,๘๐๐ บาท พรอมดอกเบี้ย อัตรารอยละ ๗.๕ ตอป นับแตวันฟองเปนตนไปจนกวาจะชำระเสร็จแกโจทก


๖๑๘ จำเลยทั้งสองใหการและแกไขคำใหการขอใหยกฟอง ระหวางพิจารณา จำเลยทั้งสองสละประเด็นเรื่องอำนาจฟอง ศาลแรงงานกลาง พิพากษาใหจำเลยทั้งสองรวมกันจายสินจางแทนการบอกกลาวลวงหนา ๒๗,๓๖๐ บาท คาเสียหายจากการเลิกจางที่ไมเปนธรรม ๑๕๑,๐๐๐ บาท พรอมดอกเบี้ยอัตรา รอยละ ๗.๕ ตอปของตนเงินดังกลาวนับแตวันฟอง (วันที่ ๑๒ มิถุนายน ๒๕๖๑) เปนตนไปจนกวา จะชำระเสร็จแกโจทก และออกใบสำคัญการผานงานใหโจทก คำขออื่นนอกจากนี้ใหยก จำเลยทั้งสองอุทธรณ ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษแผนกคดีแรงงานวินิจฉัยวา ศาลแรงงานกลางฟงขอเท็จจริง และวินิจฉัยวา โจทกเริ่มทำงานกับจำเลยทั้งสองตั้งแตป พ.ศ. ๒๕๕๓ นิติสัมพันธระหวางโจทก กับจำเลยทั้งสองเปนสัญญาจางแรงาน จำเลยทั้งสองเลิกจางโจทกในวันที่ ๒๑ มีนาคม ๒๕๖๑ ไมใชเพราะโจทกจงใจขัดคำสั่งจำเลยทั้งสองและละทิ้งหนาที่การงานเกินกวา ๓ วัน ติดตอกัน โดยไมมีเหตุผลอันควรตามกฎหมายแตอยางใด การเลิกจางของโจทกในวันที่ ๒๑ มีนาคม ๒๕๖๑ ไมปรากฏวาจำเลยทั้งสองไดเลิกจางโจทกดวยเหตุโจทกกระทำผิดระเบียบขอบังคับการทำงาน และจะตองดำเนินการตามระเบียบของจำเลยอยางไร การเลิกจางของจำเลยทั้งสองตอโจทกนั้น จึงเปนการเลิกจางโดยไมมีเหตุอันควรเปนการเลิกจางที่ไมเปนธรรม แตที่โจทกเรียกคาเสียหาย ในสวนนี้มาเปนเงินถึง ๑๙๔,๔๐๐ บาท นั้น โดยไมมีหลักฐานอื่นใดวาไดรับความเสียหาย เชนนั้นจริง เมื่อพิจารณาประกอบถึงอายุของโจทกระยะเวลาการทำงานของโจทกและความ เดือดรอนของโจทกเมื่อถูกเลิกจาง มูลเหตุแหงการเลิกจางแลวจึงเห็นสมควรกำหนดคาเสียหาย เปนเงิน ๑๕๑,๐๐๐ บาท จำเลยที่ ๑ เปนโรงเรียนเอกชนนอกระบบ ซึ่งมาตรา ๔ มิใหใชบังคับ บางสวนแกนายจางประเภทใดประเภทหนึ่ง และตามกฎกระทรวง (พ.ศ. ๒๕๔๑) ตามความใน พระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ ไดออกมาเพื่อมิใหใชพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ ทั้งหมดหรือแตบางสวนบังคับแกนายจางประเภทใดประเภทหนึ่งใหเปนไปตาม หลักเกณฑดังนี้ (๑) มิใหใชพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ บังคับแกนายจางซึ่ง ประกอบกิจการโรงเรียนเอกชนตามกฎหมายวาดวยโรงเรียนเอกชน ทั้งนี้ เฉพาะในสวนที่เกี่ยวของ กับครูใหญและครู จำเลยทั้งสองจึงไมตองรับผิดชดใชคาชดเชยใหแกโจทกแตอยางใด สวนสินจาง แทนการบอกกลาวลวงหนานั้น ไมปรากฏขอเท็จจริงวาจำเลยทั้งสองไดมีการบอกกลาวลวงหนา ใหแกโจทกในการเลิกจางลวงหนาแตอยางใด จำเลยทั้งสองจึงตองชดใชคาสินจางแทนการ บอกกลาวลวงหนาใหแกโจทก ๒๗,๓๖๐ บาท และจำเลยทั้งสองตองออกใบสำคัญการผานงาน ของโจทกใหแกโจทกตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยมาตรา ๕๘๓


๖๑๙ ที่จำเลยทั้งสองอุทธรณในขอ ๒.๑ วา ตามพระราชบัญญัติโรงเรียนเอกชน พ.ศ. ๒๕๕๐ มาตรา ๒๔ บัญญัติวา “เมื่อไดรับใบอนุญาตใหจัดตั้งโรงเรียนในระบบแลว ใหโรงเรียนในระบบ เปนนิติบุคคล นับแตวันที่ไดรับใบอนุญาต และใหผูรับใบอนุญาตเปนผูแทนของนิติบุคคล” ซึ่งจะ เห็นไดวากฎหมายมอบสถานะนิติบุคคลแตเพียงโรงเรียนในระบบเทานั้น โดยไมมีบทบัญญัติ อื่นใดมอบสถานะ นิติบุคคลใหโรงเรียนเอกชนนอกระบบ เมื่อจำเลยที่ ๑ ไมมีสถานะบุคคล โจทกจึงไมมีอำนาจฟอง จำเลยที่ ๑ ที่ศาลแรงงานกลางรับฟองและดำเนินกระบวนพิจารณา และ มีคำพิพากษาบังคับจำเลยที่ ๑ นั้น จึงไมชอบดวยกฎหมาย และที่จำเลยทั้งสองอุทธรณใน ขอ ๒.๒ วา โจทกไมไดบรรยายคำฟองและนำสืบใหเห็นวา จำเลยที่ ๒ เปนนิติบุคคลหรือไม มีวัตถุประสงคทางการศึกษาหรือไม จำเลยทั้งสองมีความเกี่ยวพันหรือมีนิติสัมพันธกันอยางไร และไมมีการนำสงหนังสือรับรองนิติบุคคลของจำเลยที่ ๒ ตอศาล ฟองของโจทกจึงเปนฟองที่ขาด สาระสำคัญตามนัยแหงประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพง เห็นวา ในประเด็นที่วาโจทก มีอำนาจฟองจำเลยที่ ๑ หรือไม จำเลยทั้งสองไดสละประเด็นในเรื่องอำนาจฟองตามรายงาน กระบวนพิจารณาฉบับลงวันที่ ๑๐ กันยายน ๒๕๖๑ ดังนั้นการที่จำเลยที่ ๒ ยกประเด็นเรื่อง อำนาจฟองขึ้นมาอุทธรณอีกในขอ ๒.๑ และยกประเด็นเรื่องโจทกไมบรรยายฟองวาจำเลยที่ ๒ เปนนิติบุคคลหรือไมขึ้นมาอุทธรณ ลวนแลวเปนการอุทธรณที่ไมไดยกขึ้นวากันมาแลวโดยชอบ ในศาลแรงงานกลาง ซึ่งตองหามมิใหอุทธรณตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพง มาตรา ๒๒๕ วรรคหนึ่ง ประกอบพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๕๔ วรรคหนึ่ง ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษไมรับวินิจฉัย ที่จำเลยทั้งสองอุทธรณในขอ ๒.๓ วา โจทกมิไดมีสัญชาติไทยแตเปนคนตางดาว มีสัญชาติไตหวันเขามาอยูในประเทศไทย โดยหนังสือเดินทางที่ราชการออกใหประเภทวีซาแบบ ใชชีวิตบั้นปลายหรือเกษียณอายุ ซึ่งไมอนุญาตใหบุคคลที่มีหรือใชวีซาประเภทนี้ทำงาน ในระหวางพักอยูในประเทศไทย โจทกมิไดมีเจตนาเขามาในประเทศไทยเพื่อทำงานหรือประกอบ ธุรกิจหารายไดที่ถูกตองตามกฎหมาย เปนการลักลอบเขามาทำงานในราชอาณาจักรโดย ผิดกฎหมาย เมื่อโจทกเองไมสุจริต จึงไมอาจเรียกรองสิทธิใด ๆ ไมไดรับความคุมครองตามกฎหมาย แรงงานหรือกฎหมายอื่น ๆ โจทกตองไดรับอนุญาตหรือมีใบอนุญาตในการทำงานโดยชอบดวย กฎหมาย โดยเฉพาะอยางยิ่งตำแหนงครูตามที่โจทกกลาวอาง เมื่อโจทกเพิ่งจะมีใบอนุญาต ในการทำงานในวันที่ ๒ พฤศจิกายน ๒๕๕๙ ทำใหการทำงานของโจทกในชวงระหวางป พ.ศ. ๒๕๕๓ ถึง พ.ศ. ๒๕๕๙ ไมเปนสัญญาจางแรงงาน เพราะการทำงานดังกลาวยอมเปนสัญญาที่มีวัตถุประสงค ตองหามชัดแจงโดยกฎหมาย เปนโมฆะ เห็นวา อุทธรณของจำเลยทั้งสองเปนขอที่ไมไดใหการไว


๖๒๐ จึงเปนอุทธรณในขอที่ไมไดยกขึ้นวากันมาแลวโดยชอบในศาลแรงงานกลางซึ่งตองหามมิใหอุทธรณ ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพง มาตรา ๒๒๕ วรรคหนึ่ง ประกอบพระราชบัญญัติ จัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๕๔ วรรคหนึ่ง ศาลอุทธรณ คดีชำนัญพิเศษไมรับวินิจฉัย ที่จำเลยทั้งสองอุทธรณในขอ ๒.๔ วา ตามเอกสารหมาย จ.๑๐ หนังสือเชิญมาเปนครู ตั้งแตวันที่ ๑ มกราคม ๒๕๕๘ ถึงวันที่ ๓๑ มกราคม ๒๕๕๘ เมื่อสัญญาจางสิ้นสุดลงโดยไมมีการ ตอสัญญา และโจทกไมมีหลักฐานยืนยันวาโจทกทำงานตอเนื่อง รวมถึงในชวงวันที่ ๑ มกราคม ๒๕๕๙ ถึงวันที่ ๑ พฤศจิกายน ๒๕๕๙ โจทกจึงไมอาจอางระยะเวลาอื่นใดนับเวลาทำงานรวมตอเนื่องกันได และที่จำเลยทั้งสองอุทธรณในขอ ๒.๕ วา จำเลยทั้งสองมิไดเปนฝายเลิกจางโจทก แตเปนการ ที่โจทกไมมาปฏิบัติงานโดยจงใจขัดคำสั่งจำเลยทั้งสอง และทิ้งหนาที่การทำงานเกิน ๓ วัน โดยไมมีเหตุผลอันสมควร เมื่อจำเลยที่ ๒ สงหนังสือเรียกใหโจทกมาพูดคุยและปรับความเขาใจกัน แตโจทกกลับบายเบี่ยงไมมาพบจำเลยทั้งสอง เห็นวา อุทธรณของจำเลยทั้งสองลวนแลวแตเปน อุทธรณโตแยงดุลพินิจในการรับฟงพยานหลักฐานของศาลแรงงานกลาง อันเปนการอุทธรณ ในขอเท็จจริง ซึ่งตองหามมิใหอุทธรณตามพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๕๔ วรรคหนึ่ง ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษไมรับวินิจฉัยเชนกัน อนึ่ง การที่ศาลแรงงานกลางรับฟงขอเท็จจริงและวินิจฉัยวา โจทกเปนโรงเรียนเอกชน นอกระบบ ตามพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา ๔ วรรคสอง ไดบัญญัติวา “...จะออกกฎกระทรวงมิใหใชบังคับพระราชบัญญัติฉบับนี้ทั้งหมดหรือแตบางสวนแกนายจาง ประเภทใดประเภทหนึ่งก็ได” และตามกฎกระทรวง (พ.ศ. ๒๕๔๑) ออกตามความในพระราชบัญญัติ คุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ ขอ (๑) ไดบัญญัติวา “มิใหใชพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ บังคับแกนายจางซึ่งประกอบกิจการโรงเรียนเอกชนตามกฎหมายวาดวยโรงเรียน เอกชน ทั้งนี้ เฉพาะในสวนที่เกี่ยวกับครูใหญและครู” นั้น อยางไรก็ตาม พระราชบัญญัติโรงเรียน เอกชน พ.ศ. ๒๕๕๐ ไดกำหนดลักษณะของโรงเรียนเอกชนไวสองรูปแบบ ไดแก โรงเรียนเอกชน ในระบบและโรงเรียนเอกชนนอกระบบ ซึ่งบุคลากรของโรงเรียนเอกชนนอกระบบจะแตกตางจาก บุคลากรของโรงเรียนในระบบเฉพาะในสวนของผูอำนวยการ ครูและบุคลากรทางการศึกษา โดย บุคลากรของโรงเรียนเอกชนนอกระบบไมอยูภายใตบังคับของพระราชบัญญัติโรงเรียนเอกชน พ.ศ. ๒๕๕๐ มาตรา ๘๖ ประกอบกับมาตรา ๑๒๗ (๓) กลาวคือ บุคลากรของโรงเรียนเอกชน นอกระบบอยูภายใตบังคับของกฎหมายวาดวยคุมครองแรงงานและกฎหมายวาดวยแรงงานสัมพันธ ที่ศาลแรงงานกลางวินิจฉัยปญหานี้มานั้นจึงไมถูกตอง ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษเห็นสมควร


๖๒๑ วินิจฉัยไวเสียใหถูกตอง และเมื่อโจทกมิไดอุทธรณโตแยงคำพิพากษาของศาลแรงงานกลาง ในปญหานี้ไว ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษจึงเห็นสมควรไมวินิจฉัยสิทธิประโยชนอื่นแกโจทก นอกเหนือจากที่ศาลแรงงานกลางพิพากษามา พิพากษายกอุทธรณของจำเลยทั้งสอง. (วัฒนา สุขประดิษฐ - อนันต คงบริรักษ - สุวรรณา แกวบุตตา) สุเจตน สถาพรนานนท - ยอ สุโรจน จันทรพิทักษ - ตรวจ


๖๒๒ คําพิพากษาศาลอุทธรณคดีชํานัญพิเศษที่ ๖๓๖๘/๒๕๖๒ นางกุลวรรณ ดานทิพารักษ โจทก สมาคมฌาปนกิจสงเคราะห เกษตรกรลูกคา ธ.ก.ส. สาขาคลองขลุง ๑ จําเลย พ.ร.บ. การฌาปนกิจสงเคราะห พ.ศ. ๒๕๔๕ เมื่อพิจารณาระเบียบฉบับที่ ๑ ระเบียบวาดวยเจาหนาที่สมาคมฌาปนกิจสงเคราะห เกษตรกรลูกคา ธ.ก.ส. สาขาคลองขลุง ๑ พ.ศ. ๒๕๔๗ ขอ ๒๔ ที่ระบุวา เมื่อเจาหนาที่คนใด ทํางานดวยความเรียบรอยเปนระยะเวลาติดตอกันไมนอยกวา ๕ ป เมื่อออกจากตําแหนง จะไดรับเงินสะสมและเงินบําเหน็จ เวนแตการถูกลงโทษไลออก การคํานวณเงินบําเหน็จ ใหเอาเงินเดือนสุดทายคูณดวยจํานวนปที่ทํางาน เศษของปถาถึง ๑๘๐ วันใหคิดเปน ๑ ป ถาไมถึง ใหปดทิ้ง สวนที่จําเลยจายเงินบําเหน็จใหโจทกเทากับเงินสะสมของโจทก ๕๘๔,๗๖๓ บาท โดยไมไดคํานวณเงินบําเหน็จตามระเบียบดังกลาว ขอ ๒๔ ทําใหเงินบําเหน็จที่โจทกควร ไดรับขาดไป ๘๖๗,๙๐๙ บาท โดยอางวาเงินจํานวนดังกลาวจําเลยยังไมไดตั้งบัญชีเจาหนี้ กองทุนบําเหน็จไว ซึ่งเปนการขัดตอระเบียบดังกลาว อันถือวาเปนขอตกลงเกี่ยวกับ สภาพการจาง หากจําเลยมีความประสงคจะลดเงินบําเหน็จลงอันเปนการเปลี่ยนแปลง ขอตกลงเกี่ยวกับสภาพการจาง จําเลยตองแจงขอเรียกรองตอลูกจางและดําเนินตาม ขั้นตอนจนมีขอตกลงเกี่ยวกับสภาพการจางฉบับใหมดังที่บัญญัติไวใน พ.ร.บ. แรงงานสัมพันธ พ.ศ. ๒๕๑๘ เมื่อจําเลยไมไดปฏิบัติตามขั้นตอนดังกลาว จําเลยจึงมีหนาที่ที่จะตองปฏิบัติ ตามขอตกลงสภาพการจางที่ระบุไวในระเบียบฉบับที่ ๑ ระเบียบวาดวยเจาหนาที่สมาคม ฌาปนกิจสงเคราะหเกษตรกรลูกคา ธ.ก.ส. สาขาคลองขลุง ๑ พ.ศ. ๒๕๔๗ ขอ ๒๔ _____________________________ โจทกฟอง ขอใหบังคับจำเลยจายเงินบำเหน็จ ๘๖๗,๙๐๙ บาท พรอมดอกเบี้ยรอยละ ๗.๕ ตอปของตนเงินดังกลาว นับจากวันฟองเปนตนไปจนกวาจะชำระเสร็จแกโจทก จำเลยใหการ ขอใหศาลพิพากษายกฟอง ศาลแรงงานภาค ๖ พิพากษาใหจำเลยชำระเงินบำเหน็จสวนที่ขาด ๘๖๗,๙๐๙ บาท พรอมดอกเบี้ยอัตรารอยละ ๗.๕ ตอป นับจากวันฟองเปนตนไปจนกวาจะชำระเสร็จแกโจทก


๖๒๓ จำเลยอุทธรณ ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษแผนกคดีแรงงานวินิจฉัยวา ศาลแรงงานภาค ๖ ฟงขอเท็จจริงวา จำเลยเปนนิติบุคคลประเภทฌาปนกิจสงเคราะห ตาม พ.ร.บ. การฌาปนกิจสงเคราะห พ.ศ. ๒๕๔๕ มีวัตถุประสงคในการสงเสริมสวัสดิการชวยเหลือในการจัดงานศพและสงเคราะหครอบครัว ของสมาชิกที่เสียชีวิต เมื่อวันที่ ๑ กันยายน ๒๕๒๕ จำเลยรับโจทกเขาทำงานตำแหนงสุดทาย คือเจาหนาที่บัญชี รับเงินเดือนอัตราสุดทาย ๔๐,๓๕๒ บาท เมื่อวันที่ ๑ กรกฎาคม ๒๕๖๑ โจทกยื่นใบลาออกจากการเปนพนักงานของจำเลยรวมอายุการทำงาน ๓๖ ป แลววินิจฉัยวา เมื่อวันที่ ๒๗ ธันวาคม ๒๕๔๕ รัฐมนตรีวาการกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย ออกประกาศกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย เรื่อง วิธีการจายเงินคาจัดการศพ หรือคาจัดการศพและสงเคราะหครอบครัว การใชจาย และการเก็บรักษาเงินของสมาคมฌาปนกิจ สงเคราะห ซึ่งคาใชจายเงินจากกองทุนบำเหน็จตองวางเปนระเบียบและนำเสนอที่ประชุมใหญ อนุมัติและตองใหนายทะเบียนพิจารณาใหความเห็นชอบกอน จำเลยวางระเบียบฉบับที่ ๑ วาดวยเจาหนาที่สมาคม สมาคมฌาปนกิจสงเคราะหเกษตรลูกคา ธ.ก.ส. สาขาคลองขลุง ๑ พ.ศ. ๒๕๔๗ มีสาระสำคัญเกี่ยวกับวิธีการจายเงินบำเหน็จโดยเจาหนาที่ของสมาคมตองยินยอม ใหหักเงินเดือนอัตรารอยละ ๕ เขาบัญชีสะสมของเจาหนาที่ และถาเจาหนาที่คนใดทำงาน ดวยความเรียบรอยเปนระยะเวลาติดตอกันไมนอยกวา ๕ ป เมื่อออกจากตำแหนงจะไดรับเงินสะสม พรอมกับเงินบำเหน็จ การคำนวณเงินบำเหน็จใหเอาเงินเดือนสุดทายคูณดวยจำนวนปที่ทำงาน เศษของปถาถึง ๑๘๐ วันใหคิดเปน ๑ ป จำเลยตองจายเงินบำเหน็จใหโจทกตามระเบียบดังกลาว เต็มตามที่โจทกเรียกรอง การที่จำเลยจายเงินบำเหน็จใหโจทกรวมไปกับเงินสะสมตามขอ ๒๒ ของระเบียบดังกลาว จึงไมชอบ และถือวาระเบียบดังกลาวเปนขอตกลงเกี่ยวกับสภาพการจาง การลดเงินบำเหน็จลงถือวาเปนการเปลี่ยนแปลงสภาพการจางที่ไมเปนคุณตอโจทกไมมีผลใชบังคับ คดีมีปญหาที่จะตองวินิจฉัยตามอุทธรณของจำเลยมีวา จำเลยจายเงินบำเหน็จแกโจทก ชอบหรือไม และตองจายเงินบำเหน็จแกโจทก หรือไมเพียงใด เห็นวา ระเบียบฉบับที่ ๑ ระเบียบ วาดวยเจาหนาที่สมาคม สมาคมฌาปนกิจสงเคราะหเกษตรกรลูกคา ธ.ก.ส. สาขาคลองขลุง ๑ พ.ศ. ๒๕๔๗ ขอ ๒๔ ที่ระบุวา เมื่อเจาหนาที่คนใดทำงานดวยความเรียบรอยเปนระยะเวลา ติดตอกันไมนอยกวา ๕ ป เมื่อออกจากตำแหนงจะไดรับเงินสะสมและเงินบำเหน็จ เวนแตการ ถูกลงโทษไลออก การคำนวณเงินบำเหน็จใหเอาเงินเดือนสุดทายคูณดวยจำนวนปที่ทำงาน เศษของปถาถึง ๑๘๐ วันใหคิดเปน ๑ ป ถาไมถึงใหปดทิ้ง การที่จำเลยจายเงินบำเหน็จใหโจทก เทากับเงินสะสมของโจทก ๕๘๔,๗๖๓ บาท โดยไมไดคำนวณเงินบำเหน็จตามระเบียบดังกลาว


๖๒๔ ขอ ๒๔ ทำใหเงินบำเหน็จที่โจทกควรไดรับขาดไป ๘๖๗,๙๐๙ บาท โดยอางวาเงินจำนวนดังกลาว จำเลยยังไมไดตั้งบัญชีเจาหนี้กองทุนบำเหน็จไว ซึ่งเปนการขัดตอระเบียบดังกลาว อันถือวาเปน ขอตกลงเกี่ยวกับสภาพการจาง หากจำเลยมีความประสงคจะลดเงินบำเหน็จลงอันเปนการ เปลี่ยนแปลงขอตกลงเกี่ยวกับสภาพการจาง จำเลยตองแจงขอเรียกรองตอลูกจางและดำเนินตาม ขั้นตอนจนมีขอตกลงเกี่ยวกับสภาพการจางฉบับใหม ดังที่บัญญัติไวในพระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ พ.ศ. ๒๕๑๘ แตกรณีนี้ไมมีการแจงขอเรียกรองจากจำเลยหรือไดมีการเปลี่ยนแปลงสภาพ การจางเปนลายลักษณอักษร โดยความเห็นชอบจากนายทะเบียนกลางและถือปฏิบัติติดตอ กันมาเปนระยะเวลาอันสมควรเพียงพอที่จะถือไดวาโจทกไดยินยอมโดยปริยายใหเปลี่ยนขอตกลง เกี่ยวกับสภาพการจางดังกลาว ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษเห็นพองดวยกับคำพิพากษาศาลแรงงานภาค ๖ อุทธรณของจำเลยฟงไมขึ้น พิพากษายืน. (วิชชุพล สุขสวัสดิ์ - สุจินต เชี่ยวชาญศิลป - เกื้อ วุฒิปวัฒน) สุเจตน สถาพรนานนท - ยอ สุโรจน จันทรพิทักษ - ตรวจ


๖๒๕ คําพิพากษาศาลอุทธรณคดีชํานัญพิเศษที่ ๖๓๗๒/๒๕๖๒ นายเจมส แอนโทนี่ แลนดี้โจทก กองทุนสํารองเลี้ยงชีพ เอไอเอมาสเตอรพูล ซึ่งจดทะเบียนแลว กับพวก จําเลย ป.พ.พ. มาตรา ๒๒๔ วรรคหนึ่ง ป.วิ.พ. มาตรา ๑๔๒ (๕) พ.ร.บ. กองทุนสํารองเลี้ยงชีพ พ.ศ. ๒๕๓๐ มาตรา ๗, ๑๓, ๒๓ พ.ร.บ. จัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๕๗ เมื่อโจทกถูกเลิกจางโดยไมไดกระทําผิดตามที่ระบุไวในขอบังคับของจําเลยที่ ๑ จําเลยที่ ๑ โดยจําเลยที่ ๒ ผูจัดการกองทุนจึงมีหนาที่ตองจายเงินสมทบและผลประโยชน ของเงินสมทบใหแกโจทก ไมวากองทุนสํารองเลี้ยงชีพหรือผูจัดการกองทุนจะไดสงเงิน และผลประโยชนคืนใหแกจําเลยที่ ๓ ซึ่งเปนนายจาง จําเลยที่ ๑ เปนนิติบุคคลแยกตางหากจากจําเลยที่ ๓ จําเลยที่ ๓ จึงไมมีอํานาจ และหนาที่ในการจัดการกองทุนสํารองเลี้ยงชีพจําเลยที่ ๑ โจทกจึงไมมีอํานาจฟองใหจําเลย ที่ ๓ จายเงินสมทบและผลประโยชนของเงินสมทบจากกองทุนสํารองเลี้ยงชีพจําเลยที่ ๑ ซึ่งจดทะเบียนแลวได ปญหานี้แมไมมีคูความฝายใดอุทธรณ แตอํานาจฟองเปนขอกฎหมาย เกี่ยวกับความสงบเรียบรอยของประชาชน ศาลอุทธรณคดีชํานัญพิเศษยกขึ้นวินิจฉัยเองได ขอบังคับของจําเลยที่ ๑ ระบุวา กองทุนโดยบริษัทจัดการจะจายเงินสมทบและ ผลประโยชนของเงินสมทบทั้งหมดครั้งเดียวแกสมาชิกภายในเวลาไมเกิน ๓๐ วัน นับแต วันสิ้นสมาชิกภาพ จําเลยที่ ๑ โดยจําเลยที่ ๒ จึงมีหนาที่ตองจายเงินสมทบและผลประโยชน ของเงินสมทบใหแกโจทกภายใน ๓๐ วัน นับแตวันที่ ๑ ธันวาคม ๒๕๕๘ เมื่อโจทกยังไมได รับชําระหนี้จํานวนนี้ จําเลยที่ ๑ จึงยังไมหลุดพนจากหนี้นั้น การที่จําเลยที่ ๑ ไมจายเงิน จํานวนดังกลาวภายในกําหนด จึงตกเปนผูผิดนัดและตองเสียดอกเบี้ยระหวางผิดนัด อัตรารอยละ ๗.๕ ตอป นับแตวันที่ ๓๑ ธันวาคม ๒๕๕๘ เปนตนไปจนกวาจะชําระเสร็จ แกโจทก ______________________________


๖๒๖ โจทกฟอง ขอใหบังคับจำเลยทั้งสามรวมกันชำระเงิน ๑,๑๘๖,๕๑๑.๙๐ บาท พรอมดอกเบี้ยอัตรารอยละ ๗.๕ ตอปของตนเงิน ๑,๐๐๖,๗๗๔.๙๐ บาท นับถัดจากวันฟองเปนตนไป จนกวาจะชำระเสร็จแกโจทก จำเลยที่ ๑ และที่ ๒ ใหการ ขอใหยกฟอง จำเลยที่ ๓ ใหการ ขอใหยกฟอง ศาลแรงงานกลาง พิพากษาใหจำเลยที่ ๓ ชำระเงิน ๑,๐๐๖,๗๗๔.๙๐ บาท พรอมดอกเบี้ย อัตรารอยละ ๗.๕ ตอป นับแตวันที่ ๑ ธันวาคม ๒๕๕๘ เปนตนไปจนกวาจะชำระเสร็จแกโจทก แตดอกเบี้ยคำนวณถึงวันฟอง (วันที่ ๑๗ เมษายน ๒๕๖๑) ตองไมเกิน ๑๗๙,๗๓๗ บาท ตามที่โจทกขอ ยกฟองโจทกในสวนของจำเลยที่ ๑ และที่ ๒ โจทกและจำเลยที่ ๓ อุทธรณ ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษแผนกคดีแรงงานวินิจฉัยวา คดีนี้ศาลแรงงานกลางฟง ขอเท็จจริงวา จำเลยที่ ๑ เปนนิติบุคคลประเภทกองทุนสำรองเลี้ยงชีพตามพระราชบัญญัติกองทุนสำรอง เลี้ยงชีพ พ.ศ. ๒๕๓๐ จำเลยที่ ๒ เปนนิติบุคคลประเภทบริษัทจำกัดและเปนบริษัทจัดการกองทุน จำเลยที่ ๑ จำเลยที่ ๓ เปนนิติบุคคลประเภทบริษัทมหาชนจำกัด เดิมใชชื่อวา บริษัทเอแคป แอดไวเซอรี่ จำกัด (มหาชน) โจทกเปนลูกจางจำเลยที่ ๓ และเปนสมาชิกของจำเลยที่ ๑ จนสิ้นสุด สมาชิกภาพเมื่อวันที่ ๓๐ พฤศจิกายน ๒๕๕๘ เนื่องจากถูกจำเลยที่ ๓ เลิกจางโดยอางวาโจทก กระทำผิดอยางรายแรง จำเลยที่ ๑ โดยจำเลยที่ ๒ ไดจายเงินสะสมที่โจทกจายเขากองทุนและ ผลประโยชนของเงินสะสมคืนแกโจทกแลว ตอมาโจทกฟองจำเลยที่ ๓ วา โจทกไมไดกระทำผิด ตามที่ถูกเลิกจาง ศาลแรงงานกลางมีคำพิพากษาในคดีหมายเลขแดงที่ ๔๕๑/๒๕๖๐ ใหจำเลยที่ ๓ จายคาชดเชย สินจางแทนการบอกกลาวลวงหนา และคาเสียหายจากการเลิกจางที่ไมเปนธรรม พรอมดอกเบี้ยแกโจทก จำเลยที่ ๓ อุทธรณ ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษพิพากษาแกเปนวา ใหจำเลยที่ ๓ ออกใบสำคัญการทำงานแกโจทก นอกจากที่แกใหเปนไปตามคำพิพากษาศาลแรงงานกลาง คดีถึงที่สุด จำเลยที่ ๓ ไดนำเงินที่ตองชำระตามคำพิพากษาดังกลาวชำระแกโจทกครบถวนแลว แตไมไดชำระเงินสมทบสวนของนายจางและผลประโยชนของเงินสมทบแกโจทก โจทกมีหนังสือ ทวงถามไปยังจำเลยทั้งสามแลว จำเลยที่ ๑ และที่ ๒ ปฏิเสธอางวาไดจายเงินสมทบสวนของ นายจางและผลประโยชนของเงินสมทบใหจำเลยที่ ๓ ไปแลว ปญหาตองวินิจฉัยตามอุทธรณของโจทกมีวา จำเลยที่ ๑ และที่ ๒ ตองรับผิดชำระ เงินสมทบสวนของนายจางและผลประโยชนของเงินสมทบใหแกโจทกตามฟองหรือไม เห็นวา คดีนี้ศาลแรงงานกลางฟงขอเท็จจริงวา จำเลยที่ ๓ ซึ่งเปนนายจางเลิกจางโจทกโดยอางวาโจทก


๖๒๗ ไดกระทำผิดอยางรายแรงตอนายจาง โจทกไดฟองจำเลยที่ ๓ วาโจทกไมไดกระทำผิดตามที่ ถูกเลิกจาง ศาลแรงงานกลางในคดีหมายเลขดำที่ ๔๒๙/๒๕๕๙ หมายเลขแดงที่ ๔๕๑/๒๕๖๐ พิพากษาใหจำเลยที่ ๓ ชำระคาชดเชย สินจางแทนการบอกกลาวลวงหนา และคาเสียหายจาก การเลิกจางที่ไมเปนธรรมพรอมดอกเบี้ยแกโจทก จำเลยที่ ๓ อุทธรณศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษ พิพากษาแกเปนวา ใหจำเลยที่ ๓ ออกใบสำคัญการทำงานแกโจทก นอกจากที่แกใหเปนไปตาม คำพิพากษาศาลแรงงานกลาง คดีถึงที่สุด ขอเท็จจริงจึงยุติตามคำพิพากษาดังกลาววา โจทก ไมไดกระทำผิดอยางรายแรงตามที่ถูกจำเลยที่ ๓ เลิกจาง เมื่อโจทกถูกเลิกจาง จึงเปนการสิ้น สมาชิกภาพแลว โดยไมไดกระทำผิดตามที่ระบุไวในขอบังคับของจำเลยที่ ๑ จำเลยที่ ๑ โดย จำเลยที่ ๒ ผูจัดการกองทุนจึงมีหนาที่ตองจายเงินสมทบและผลประโยชนของเงินสมทบให แกโจทก ไมวากองทุนสำรองเลี้ยงชีพหรือผูจัดการกองทุนจะไดสงเงินและผลประโยชนคืนใหแก จำเลยที่ ๓ ซึ่งเปนนายจางไปแลวหรือไม การที่ศาลแรงงานกลางวินิจฉัยใหจำเลยที่ ๑ และที่ ๒ ไมตองรับผิดชำระเงินดังกลาวแกโจทก ไมตองดวยความเห็นของศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษ อุทธรณของโจทกฟงขึ้น ปญหาตองวินิจฉัยตามอุทธรณของจำเลยที่ ๓ มีวา จำเลยที่ ๓ ตองรับผิดชำระเงินสมทบ และผลประโยชนของเงินสมทบแกโจทกตามคำพิพากษาศาลแรงงานกลางหรือไม กอนอื่นเห็นควร วินิจฉัยเสียกอนวา โจทกมีอำนาจฟองจำเลยที่ ๓ หรือไม เห็นวา ตามพระราชบัญญัติกองทุนสำรอง เลี้ยงชีพ พ.ศ. ๒๕๓๐ มาตรา ๗ บัญญัติใหกองทุนสำรองเลี้ยงชีพที่ไดจดทะเบียนแลวใหเปนนิติบุคคล มาตรา ๑๓ บัญญัติใหบุคคลซึ่งมิใชนายจางเปนผูดำเนินการในการจัดการกองทุน และมาตรา ๒๓ บัญญัติใหเมื่อลูกจางสิ้นสมาชิกภาพเพราะเหตุอื่นซึ่งมิใชกองทุนเลิก ผูจัดการกองทุนตอง จายเงินจากกองทุนใหแกลูกจาง คดีนี้กองทุนสำรองเลี้ยงชีพซึ่งจดทะเบียนแลวคือจำเลยที่ ๑ ซึ่งเปนนิติบุคคลแยกตางหากจากจำเลยที่ ๓ ที่เปนนายจาง จำเลยที่ ๓ จึงไมมีอำนาจและ หนาที่ในการจัดการกองทุนสำรองเลี้ยงชีพจำเลยที่ ๑ โจทกจึงไมมีอำนาจฟองใหจำเลยที่ ๓ จายเงิน สมทบและผลประโยชนของเงินสมทบจากกองทุนสำรองเลี้ยงชีพจำเลยที่ ๑ ซึ่งจดทะเบียนแลวได ปญหานี้แมไมมีคูความฝายใดอุทธรณ แตอำนาจฟองเปนขอกฎหมายเกี่ยวกับความสงบเรียบรอย ของประชาชน ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษยกขึ้นวินิจฉัยเองได ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณา ความแพง มาตรา ๑๔๒ (๕) ประกอบพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๕๗ ดังนั้นปญหาตามอุทธรณของจำเลยที่ ๓ จึงไมจำตองวินิจฉัยเพราะไมทำให ผลคดีเปลี่ยนแปลง


๖๒๘ อนึ่ง สวนที่โจทกขอใหชำระดอกเบี้ยอัตรารอยละ ๗.๕ ตอป นับแตวันที่ ๑ ธันวาคม ๒๕๕๘ นั้น เห็นวา ขอบังคับกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ เอไอเอมาสเตอรพูล ซึ่งจดทะเบียนแลว หมวด ๙ ขอ ๙.๕ ระบุวา กองทุนโดยบริษัทจัดการจะจายเงินสมทบและผลประโยชนของเงินสมทบทั้งหมดครั้งเดียว แกสมาชิกภายในเวลาไมเกิน ๓๐ วัน นับแตวันสิ้นสมาชิกภาพ ทั้งตามคำฟองโจทกและหนังสือ แจงการสิ้นสุดสมาชิกภาพระบุวา วันสิ้นสุดสมาชิกภาพ คือ วันที่ ๑ ธันวาคม ๒๕๕๘ (ทั้งนี้ หมายถึง วันแรกที่พนสภาพการเปนพนักงาน) ดังนั้น จำเลยที่ ๑ โดยจำเลยที่ ๒ จึงมีหนาที่ ตองจายเงินสมทบ และผลประโยชนของเงินสมทบใหแกโจทก ๑,๐๐๖,๗๗๔.๙๐ บาท ภายใน ๓๐ วัน นับแตวันที่ ๑ ธันวาคม ๒๕๕๘ ตามที่ขอบังคับของจำเลยที่ ๑ กำหนดไว เมื่อโจทก ยังไมไดรับชำระหนี้จำนวนนี้ จำเลยที่ ๑ จึงยังไมหลุดพนจากหนี้นั้น เงินจำนวน ๑,๐๐๖,๗๗๔.๙๐ บาท เปนหนี้เงินที่จำเลยที่ ๑ จะตองจายใหแกโจทก การที่จำเลยที่ ๑ ไมจายเงินจำนวนดังกลาว ภายในกำหนด ๓๐ วัน นับแตวันสิ้นสุดสมาชิกภาพ จำเลยที่ ๑ จึงตกเปนผูผิดนัดและตองเสีย ดอกเบี้ยระหวางผิดนัดอัตรารอยละ ๗.๕ ตอป นับแตวันที่ ๓๑ ธันวาคม ๒๕๕๘ เปนตนไปจนกวา จะชำระเสร็จแกโจทก พิพากษากลับเปนวา ใหจำเลยที่ ๑ ชำระเงิน ๑,๐๐๖,๗๗๔.๙๐ บาท พรอมดอกเบี้ย อัตรารอยละ ๗.๕ ตอป ของตนเงินดังกลาว นับแตวันที่ ๓๑ ธันวาคม ๒๕๕๘ เปนตนไปจนกวา จะชำระเสร็จ โดยใหจำเลยที่ ๒ ดำเนินการจายเงินพรอมดอกเบี้ยจำนวนดังกลาวจากกองทุน จำเลยที่ ๑ แกโจทก ใหยกฟองโจทกสำหรับจำเลยที่ ๓. (พิเชฏฐ รื่นเจริญ - โสภณ พรหมสุวรรณ - ศราวุธ ภาณุธรรมชัย) กรรณิกา อัศวเมธา - ยอ สุโรจน จันทรพิทักษ - ตรวจ


๖๒๙ คำพิพากษาศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษที่ ๗๐๖๕/๒๕๖๒ นายพลอย ชื่นชม โจทก บริษัทเกรท เซอรเคิล ชิปปง เอเยนซี่ จำกัด จำเลย พ.ร.บ. แรงงานทางทะเล พ.ศ. ๒๕๕๘ มาตรา ๑๘, ๔๔ วรรคสอง พ.ร.บ. จัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๔๙ โจทกทําสัญญาจางงานกับจําเลยตั้งแตป ๒๕๓๗ อยางตอเนื่องรวม ๑๘ ฉบับ แมสัญญาบางชวงจะมีระยะหางตั้งแต ๓ เดือนจนถึงกวา ๑ ปก็ตาม แตโจทกยังคงทําสัญญา จางงานกับจําเลย ตั้งแตป ๒๕๓๗ ถึงป ๒๕๖๐ อันเปนระยะเวลามากกวา ๒๐ ป ระยะเวลา การทํางานของโจทกจึงเปนไปอยางตอเนื่อง ประกอบกับสัญญาจางงานมีขอความระบุวา โจทกมีสิทธิบอกเลิกสัญญาจางงานนี้โดยมีคําบอกกลาวเปนหนังสือ ๒ เดือน และจําเลย จะพยายามปลดเปลื้องโจทกจากภาระหนาที่ภายใน ๒ เดือนนับจากไดรับหนังสือ บอกกลาวนั้น หมายความวา ระหวางที่สัญญามีผลบังคับ โจทกมีสิทธิบอกเลิกสัญญาได ซึ่งไมแนนอนวาโจทกจะบอกเลิกสัญญาเมื่อใด จึงเปนการจางที่ไมมีกําหนดระยะเวลา ทั้งโจทกยังทํางานเชนเดิมโดยปฏิบัติหนาที่เปนนายทายเรือ ปฏิบัติงาน ณ เรือขนสงสินคา ระหวางประเทศ กรณีจึงมิใชการจางงานโดยเฉพาะเจาะจง ที่จําเลยอางวา โจทกตอง ผานการตรวจสอบคุณสมบัติจากจําเลยตามที่เจาของเรือกําหนดและตรวจสุขภาพกอน จึงจะทํางานบนเรือไดนั้น ก็เปนขั้นตอนและกระบวนการรับสมัครแรงงานทางทะเลโดย ทั่วไป และเปนหนาที่ของจําเลยที่ตองกระทําตาม พ.ร.บ. แรงงานทางทะเล พ.ศ. ๒๕๕๘ มาตรา ๑๘ อยูแลว จึงฟงไดวาสัญญาจางงานระหวางโจทกกับจําเลยเปนสัญญาจางงาน ที่ไมมีกําหนดระยะเวลา เมื่อจำเลยเลิกจางโจทกโดยไมไดบอกกลาวลวงหนา โจทกจึง มีสิทธิไดรับสินจางแทนการบอกกลาวลวงหนาสามสิบวันพรอมดอกเบี้ยผิดนัด ตาม พ.ร.บ. แรงงานทางทะเล พ.ศ. ๒๕๕๘ มาตรา ๔๔ วรรคสอง เมื่อจําเลยเลิกจางโจทกเมื่อ ครบกําหนดระยะเวลาตามขอตกลงจึงมิใชการเลิกจางที่ไมเปนธรรม โจทกไมมีสิทธิ ไดรับคาเสียหายจากการเลิกจางที่ไมเปนธรรม ______________________________


๖๓๐ โจทกฟอง ขอใหบังคับจำเลยจายสินจางแทนการบอกกลาวลวงหนา ๒๗,๒๕๘ บาท และคาเสียหายจากการเลิกจางที่ไมเปนธรรม ๔๖๙,๐๐๐ บาท พรอมดอกเบี้ยอัตรารอยละ ๗.๕ ตอปของตนเงินแตละจำนวน กับใหจำเลยจายคาชดเชย ๒๓๔,๕๐๐ บาท พรอมดอกเบี้ยอัตรา รอยละ ๑๕ ตอปของตนเงินจำนวนดังกลาว ทั้งนี้ นับแตวันฟองเปนตนไปจนกวาจะชำระเสร็จ แกโจทก จำเลยใหการขอใหยกฟอง ศาลแรงงานกลาง พิพากษาใหจำเลยจายสินจางแทนการบอกกลาวลวงหนา ๒๗,๓๕๘ บาท และคาเสียหายจากการเลิกจางที่ไมเปนธรรม ๒๓๔,๕๐๐ บาท พรอมดอกเบี้ยอัตรารอยละ ๗.๕ ตอป ของตนเงินแตละจำนวนนับแตวันฟอง (ฟองวันที่ ๑๒ มีนาคม ๒๕๖๑) เปนตนไปจนกวาจะ ชำระเสร็จแกโจทก คำขออื่นนอกจากนี้ใหยก จำเลยอุทธรณ ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษแผนกคดีแรงงานวินิจฉัยวา ศาลแรงงานกลางฟงขอเท็จจริงวา เมื่อวันที่ ๒๔ มีนาคม ๒๕๓๗ จำเลยจางโจทกเขาทำงานเปนลูกจาง ครั้งสุดทายทำงาน ในตำแหนงนายทายเรือ ไดรับคาจางอัตราสุดทายเดือนละ ๒๓,๔๕๐ บาท กำหนดจายคาจาง ทุกวันที่ ๕ ของเดือน เมื่อวันที่ ๒๘ ตุลาคม ๒๕๖๐ โจทกทำงานกับจำเลยเปนวันสุดทาย และวินิจฉัยวา จำเลยทำสัญญาวาจางโจทกใหเขาทำงานเปนนายทายเรือ ปฏิบัติงาน ณ เรือขนสง สินคาระหวางประเทศ อันมีลักษณะและสภาพของงานที่มีลักษณะเฉพาะแมโจทกจะเขาทำงาน กับจำเลยตั้งแตป ๒๕๓๗ แตก็มีการทำสัญญากับจำเลยอยางตอเนื่องรวม ๑๘ ฉบับ ระยะเวลา การทำงานของโจทกจึงเปนไปอยางตอเนื่อง อีกทั้งหลังจากโจทกทำงานครบกำหนดระยะเวลา ตามสัญญาจางแลว จะตองมีระยะเวลาพักโดยเวนชวงระหวางระยะเวลาการทำงานอยางนอย ๒ เดือน จึงเห็นไดวาสัญญาจางแรงงานเพื่อทำงานทางทะเล โดยสภาพแลวลูกจางตองใชชีวิต อยูบนเรือตลอดระยะเวลาของสัญญา และเมื่อสิ้นสุดสัญญาจางแลวจึงตองพักผอนกอนเริ่มทำงานใหม แมระหวางระยะเวลาดังกลาว จำเลยจะไมไดจายคาจางใหโจทกก็ตาม แตก็ตองถือวาระยะเวลา การทำงานของโจทกยังคงเปนไปอยางตอเนื่อง สวนที่จำเลยทำสัญญาจางแรงงานกับโจทกโดยระบุ ชวงเวลาไวก็เปนเรื่องที่จำเลยสงโจทกไปทำงานเปนคนประจำเรือในเรือขนสงสินคาระหวางประเทศ จึงมิใชกรณีงานที่ทำตามสัญญาจางสิ้นสุดลง ถือไดวาสัญญาจางระหวางโจทกกับจำเลยเปน สัญญาจางที่ไมมีกำหนดระยะเวลา อยางไรก็ตามเมื่อขณะที่จำเลยเลิกจางโจทกในวันที่ ๒๘ ตุลาคม ๒๕๖๐ เปนวันที่พระราชบัญญัติแรงงานทางทะเล พ.ศ. ๒๕๕๘ มีผลใชบังคับแลว แมโจทก จะทำงานกับจำเลยตั้งแตป ๒๕๓๗ แตเมื่อการทำงานของโจทกอยูภายใตบังคับของพระราชบัญญัติ


๖๓๑ ฉบับดังกลาว มาตรา ๔ วรรคหนึ่ง ซึ่งบัญญัติวาการจางงานระหวางเจาของเรือกับคนประจำเรือ ตามพระราชบัญญัตินี้ไมอยูภายใตบังคับกฎหมายวาดวยการคุมครองแรงงาน โจทกจึงไมมีสิทธิ ไดรับคาชดเชยตามพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา ๑๑๘ วรรคหนึ่ง (๕) สวนสินจางแทนการบอกกลาวลวงหนานั้น พระราชบัญญัติแรงงานทางทะเล พ.ศ. ๒๕๕๘ มาตรา ๔ มิไดบัญญัติยกเวนสิทธิของโจทกตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยไวแตอยางใด เมื่อจำเลย โดย ศ. ผูจัดการทั่วไปของจำเลยบอกเลิกจางโจทกเมื่อวันที่ ๒๘ ตุลาคม ๒๕๖๐ โดยใหมีผล เปนการเลิกจางในวันที่ ๒๙ ตุลาคม ๒๕๖๐ จึงเปนกรณีที่จำเลยบอกเลิกจางโจทกโดยไมบอกกลาว ลวงหนาตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา ๕๘๒ โจทกจึงมีสิทธิไดรับสินจางแทน การบอกกลาวลวงหนาเปนเงิน ๒๗,๓๕๘ บาท และเมื่อจำเลยเลิกจางโจทกโดยไมปรากฏ ขอเท็จจริงวาโจทกกระทำผิดใด ๆ จึงเปนการเลิกจางที่ไมเปนธรรม เมื่อคำนึงถึงระยะเวลา การทำงาน อายุของโจทก ประกอบกับโจทกไมมีสิทธิไดรับคาชดเชยแลว เห็นสมควรใหโจทก มีสิทธิไดรับคาเสียหายจากการเลิกจางที่ไมเปนธรรม เปนเงิน ๒๓๔,๕๐๐ บาท พรอมดอกเบี้ย ผิดนัดอัตรารอยละ ๗.๕ ตอปของตนเงินสินจางแทนการบอกกลาวลวงหนาและคาเสียหาย จากการเลิกจางที่ไมเปนธรรมตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา ๒๒๔ วรรคหนึ่ง มีปญหาตองวินิจฉัยตามอุทธรณของจำเลยวา จำเลยเลิกจางโจทกโดยตองบอกกลาว ลวงหนาหรือไม และเปนการเลิกจางที่ไมเปนธรรมหรือไม เห็นวา ศาลแรงงานกลางฟงขอเท็จจริง แลววาโจทกทำสัญญาจางงานกับจำเลยตั้งแตป ๒๕๓๗ โดยมีการทำสัญญากับจำเลยอยางตอเนื่อง รวม ๑๘ ฉบับ แมสัญญาจางงานบางชวง จะมีระยะหางของสัญญาตั้งแต ๓ เดือน จนถึงกวา ๑ ป ก็ตาม แตขอเท็จจริงปรากฏวาโจทกยังคงทำสัญญาจางแรงงานกับจำเลยอยางตอเนื่องตั้งแตป ๒๕๓๗ จนถึงป ๒๕๖๐ อันเปนระยะเวลามากกวา ๒๐ ป ระยะเวลาการทำงานของโจทกจึงเปนไปอยาง ตอเนื่อง ประกอบกับสัญญาจางงานระหวางโจทกกับจำเลยมีขอความระบุวา โจทกมีสิทธิบอก เลิกสัญญาจางงานนี้โดยมีคำบอกกลาวเปนหนังสือ ๒ เดือน และจำเลยจะพยายามปลดเปลื้องโจทก จากภาระหนาที่ภายใน ๒ เดือนนับจากไดรับหนังสือบอกกลาวนั้น หมายความวาระหวางที่สัญญา มีผลใชบังคับ โจทกมีสิทธิบอกเลิกสัญญาจางงานไดซึ่งไมแนนอนวาโจทกจะบอกเลิกสัญญา จางงานเมื่อใด จึงเปนการจางงานที่ไมมีกำหนดระยะเวลา ที่จำเลยอางวาจางงานโจทกโดยเฉพาะ เจาะจงเนื่องจากโจทกทำงานบนเรือแตละลำที่ไมซ้ำกันและถูกระบุอยูในสัญญาจางงานโจทก แตละฉบับนั้น ขอเท็จจริงก็ปรากฏวาโจทกยังคงทำงานเชนเดิมโดยปฏิบัติหนาที่เปนนายทายเรือ ปฏิบัติงาน ณ เรือขนสงสินคาระหวางประเทศ กรณีจึงมิใชเปนการจางงานโดยเฉพาะเจาะจง และที่จำเลยอางวาโจทกตองผานการตรวจสอบคุณสมบัติจากจำเลยตามที่เจาของเรือกำหนด


๖๓๒ และตรวจสุขภาพกอนจึงจะไดทำงานบนเรือนั้น ก็เปนขั้นตอนและกระบวนการรับสมัครแรงงาน ทางทะเลโดยทั่วไป ทั้งจำเลยยังมีหนาที่ตามที่เจาของเรือกำหนดใหตรวจสอบใบรับรองแพทย ของคนประจำเรือวามีความพรอมดานสุขภาพในการทำงานบนเรืออยูแลวตามพระราชบัญญัติ แรงงานทางทะเล พ.ศ. ๒๕๕๘ มาตรา ๑๘ ขออางของจำเลยจึงไมอาจรับฟงได ขอเท็จจริงจึงฟง ไดวา สัญญาจางงานระหวางโจทกกับจำเลยเปนสัญญาจางที่ไมมีกำหนดระยะเวลา เมื่อจำเลย เลิกจางโจทกโดยไมไดบอกกลาวลวงหนา โจทกจึงมีสิทธิไดรับสินจางแทนการบอกกลาวลวงหนา สามสิบวัน เปนเงิน ๒๓,๔๕๐ บาท ตามพระราชบัญญัติแรงงานทางทะเล พ.ศ. ๒๕๕๘ มาตรา ๔๔ วรรคสอง พรอมดอกเบี้ยผิดนัด จำเลยเลิกจางโจทกเมื่อครบกำหนดระยะเวลาตามขอตกลง ในสัญญาจางงานตามที่ตกลงกันไวตั้งแตตนนับไดวา เปนการเลิกจางที่มีเหตุผลสมควรและเพียงพอ ที่จะเลิกจางไมเปนการเลิกจางที่ไมเปนธรรม โจทกจึงไมมีสิทธิไดรับคาเสียหายจากการเลิกจาง ที่ไมเปนธรรม ที่ศาลแรงงานกลางพิพากษามานั้น ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษเห็นพองดวยบางสวน อุทธรณของจำเลยฟงขึ้นบางสวน พิพากษาแกเปนวาใหจำเลยจายสินจางแทนการบอกกลาวลวงหนา ๒๓,๔๕๐ บาท และไมตองจายคาเสียหายจากการเลิกจางที่ไมเปนธรรม นอกจากที่แกใหเปนไปตามคำพิพากษา ศาลแรงงานกลาง. (วัฒนา สุขประดิษฐ - อนันต คงบริรักษ - สุวรรณา แกวบุตตา) ฐานุตร เล็กสุภาพ - ยอ สุโรจน จันทรพิทักษ - ตรวจ


๖๓๓ คำพิพากษาศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษที่ ๗๐๘/๒๕๖๓ บรรษัทตลาดรองสินเชื่อ ที่อยูอาศัย โจทก นางฐิติญาหรือชรินทรทิพย กรัษนัยรวิวงค กับพวก จำเลย ป.วิ.พ. มาตรา ๕๙ (๑) ป.พ.พ. มาตรา ๑๙๓/๑๒, ๑๙๓/๓๐, ๔๔๘ วรรคหนึ่ง พ.ร.บ. ความรับผิดทางละเมิดของเจาหนาที่ พ.ศ. ๒๕๓๙ มาตรา ๘, ๑๐ วรรคสอง พ.ร.บ. จัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๓๑ คดีนี้ฟองโจทกเปนการฟองใหจําเลยทั้งสิบซึ่งเปนลูกจางรับผิดทั้งมูลละเมิด และมูลสัญญาจางแรงงาน เมื่อขอเท็จจริงปรากฏวาศาลแรงงานกลางยกอายุความ กรณีผิดสัญญาจางแรงงานซึ่งมิไดบัญญัติอายุความไวโดยเฉพาะจึงมีกําหนด ๑๐ ป ตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๙๓/๓๐ มาบังคับใชในคดีนี้ โดยวินิจฉัยวา การละเมิดและผิดสัญญา จางแรงงานในคดีนี้เกิดขึ้นในชวงป ๒๕๔๗ ถึงป ๒๕๔๘ หากแตสิทธิเรียกรองเริ่มนับแต วันที่โจทกทราบเรื่องการกระทําละเมิดและผิดสัญญาจางแรงงาน ก็อยางชาที่สุดคือ วันที่ ๒๘ มิถุนายน ๒๕๕๐ ซึ่งเปนวันที่คณะกรรมการโจทกมีมติเห็นชอบตามรายงาน การสอบสวนของคณะกรรมการสอบสวนตาม พ.ร.บ. ความรับผิดทางละเมิดของ เจาหนาที่ พ.ศ. ๒๕๓๙ ซึ่งถือเปนวันที่เริ่มตนอาจบังคับสิทธิเรียกรองไดเปนตนไปตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๙๓/๑๒ มิใชวันที่ ๙ มีนาคม ๒๕๕๒ ซึ่งเปนวันที่โจทกไดรับบันทึกแจง ผลการพิจารณาความรับผิดทางละเมิดจากกรมบัญชีกลางวามีผูตองรับผิดชดใชคาสินไหม ทดแทนเพิ่มเติม เมื่อศาลแรงงานกลางฟงขอเท็จจริงวา การกระทําของจําเลยทั้งสิบเปน การกระทําโดยประมาทเลินเลอและผิดสัญญาจางแรงงาน ทําใหโจทกไดรับความเสียหาย คําฟองของโจทกดังกลาวจึงเปนการฟองขอใหจําเลยทั้งสิบรับผิดในมูลสัญญาจางแรงงานดวย มิไดมุงประสงคใหจําเลยทั้งสิบรับผิดในมูลละเมิดแตเพียงอยางเดียว ประกอบกับมาตรา ๑๐ วรรคสอง แหง พ.ร.บ. ความรับผิดทางละเมิดของเจาหนาที่ พ.ศ. ๒๕๓๙ เปนกฎหมายพิเศษ ที่บัญญัติเรื่องอายุความไวเปนการเฉพาะ ซึ่งขัดหรือแยงกับมาตรา ๔๔๘ วรรคหนึ่ง แหง ป.พ.พ. ซึ่งเปนกฎหมายทั่วไป จึงมีผลยกเวน มาตรา ๔๔๘ วรรคหนึ่ง เฉพาะในสวน ที่กําหนดใหสิทธิเรียกรองคาเสียหายอันเกิดแตมูลละเมิดขาดอายุความเมื่อพนหนึ่งป นับแตวันที่ผูตองเสียหายรูถึงการละเมิดและรูตัวผูจะพึงตองใชคาสินไหมทดแทนเทานั้น


๖๓๔ หาไดมีขอความขัดหรือแยงและมีผลยกเลิกบทบัญญัติมาตรา ๔๔๘ วรรคหนึ่ง ในสวนที่ กําหนดวาสิทธิเรียกรองคาเสียหายอันเกิดแตมูลละเมิดขาดอายุความเมื่อพนกําหนด ๑๐ ปนับแตวันทําละเมิดแตอยางใด นอกจากนี้ความเสียหายที่เกิดขึ้นนั้นเปนความ เสียหายที่ลูกคาของโจทกแตละรายไมชําระหนี้ในโครงการเดียวกัน ดังนั้นหนี้ของลูกคา แตละรายจึงเปนหนี้ที่จําเลยแตละคนที่มีหนาที่ตรวจสอบเลมประเมินราคาหลักประกัน และรายการเคลื่อนไหวทางบัญชีกับธนาคารอันเปนสวนหนึ่งของการตรวจสอบคุณสมบัติ ของลูกคาเบื้องตน ใหความเห็นชอบในการตรวจสอบคุณสมบัติของลูกคาเบื้องตนวา ลูกคามีความสามารถที่จะกูเงินและชําระหนี้เงินกูไดหรือไม โดยมีการปฏิบัติงานตาม สายการบังคับบัญชาตั้งแตพนักงานระดับปฏิบัติการ พนักงานผูบริหารระดับกลางและ พนักงานผูบริหารระดับสูง จึงตองรวมรับผิดดวยกันมิอาจแบงแยกจากกันได สิทธิเรียกรอง ของโจทกตอจําเลยทุกคนที่มีหนาที่เกี่ยวของในการตรวจสอบคุณสมบัติของลูกคา เบื้องตนในแตละรายในโครงการเดียวกันนั้นยอมเปนสิทธิอันเดียวกัน เมื่อจําเลยที่ ๗ ที่ ๙ และที่ ๑๐ ยกอายุความขึ้นตอสู ถือไดวาจําเลยที่ ๔ ถึงที่ ๖ และที่ ๘ ยกอายุความ ขึ้นตอสูแลวเชนกันตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๕๙ (๑) ประกอบ พ.ร.บ. จัดตั้งศาลแรงงานและ วิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๓๑ ฟองโจทกจึงขาดอายุความสําหรับ จําเลยที่ ๔ ถึงที่ ๑๐ แลว _____________________________ รายชื่อจำเลยปรากฏตามคำพิพากษาศาลแรงงานกลาง โจทกฟองขอใหบังคับจำเลยที่ ๑ จายคาสินไหมทดแทนเปนเงิน ๒๘,๓๒๖.๑๘ บาท พรอมดอกเบี้ยอัตรารอยละ ๗.๕ ตอป ของตนเงิน ๑๖,๖๔๗.๗๐ บาท จำเลยที่ ๒ จายคาสินไหม ทดแทนเปนเงิน ๕๑,๒๐๔.๐๑ บาท พรอมดอกเบี้ยอัตรารอยละ ๗.๕ ตอป ของตนเงิน ๓๐,๐๙๓.๓๓ บาท จำเลยที่ ๓ จายคาสินไหมทดแทนเปนเงิน ๓๗๘,๐๖๘.๐๒ บาท พรอมดอกเบี้ยอัตรารอยละ ๗.๕ ตอป ของตนเงิน ๒๒๒,๒๒๒.๘๔ บาท จำเลยที่ ๔ จายคาสินไหมทดแทนเปนเงิน ๑๙๔,๐๓๕.๕๙ บาท พรอมดอกเบี้ยอัตรารอยละ ๗.๕ ตอป ของตนเงิน ๑๑๔,๐๓๗.๕๐ บาท จำเลยที่ ๕ จายคาสินไหม ทดแทนเปนเงิน ๗๒๖,๗๖๙.๗๖ บาท พรอมดอกเบี้ยอัตรารอยละ ๗.๕ ตอป ของตนเงิน ๔๒๗,๑๘๔.๖๑ บาท จำเลยที่ ๖ จายคาสินไหมทดแทนเปนเงิน ๑๑,๘๑๑,๗๗๓.๒๒ บาท พรอม ดอกเบี้ยอัตรารอยละ ๗.๕ ตอป ของตนเงิน ๖,๙๖๔,๖๕๗.๖๙ บาท จำเลยที่ ๗ จายคาสินไหม ทดแทนเปนเงิน ๗,๐๒๓,๙๐๙.๗๖ บาท พรอมดอกเบี้ยอัตรารอยละ ๗.๕ ตอป ของตนเงิน


๖๓๕ ๔,๑๒๘,๐๕๒.๕๙ บาท จำเลยที่ ๘ จายคาสินไหมทดแทนเปนเงิน ๙๕,๒๙๕,๓๑๒.๗๐ บาท พรอมดอกเบี้ยอัตรารอยละ ๗.๕ ตอป ของตนเงิน ๕๖,๐๐๖,๔๒๓.๒๑ บาท จำเลยที่ ๙ จาย คาสินไหมทดแทนเปนเงิน ๒,๖๘๒,๕๑๕.๙๑ บาท พรอมดอกเบี้ยอัตรารอยละ ๗.๕ ตอป ของตนเงิน ๑,๕๗๖,๕๕๓.๑๑ บาท และจำเลยที่ ๑๐ จายคาสินไหมทดแทนเปนเงิน ๒๐,๒๔๑,๓๔๔.๖๑ บาท พรอมดอกเบี้ยอัตรารอยละ ๗.๕ ตอป ของตนเงิน ๑๑,๙๐๓,๓๑๖.๒๐ บาท นับแตวันถัดจาก วันฟองเปนตนไปจนกวาจะชำระเสร็จแกโจทก จำเลยที่ ๔ ใหการและฟองแยง ขอใหยกฟอง และบังคับโจทกจายคาชดเชย สินจาง แทนการบอกกลาวลวงหนา และคาเสียหายจากการเลิกจางโดยไมเปนธรรมรวม ๑๐,๑๐๐,๐๐๐ บาท ศาลแรงงานกลางมีคำสั่งไมรับฟองแยงของจำเลยที่ ๔ จำเลยที่ ๗ ถึงที่ ๑๐ ใหการ ขอใหยกฟอง ระหวางพิจารณาของศาลแรงงานกลาง โจทกถอนฟองจำเลยที่ ๑ และที่ ๒ ศาลแรงงานกลาง อนุญาต สวนจำเลยที่ ๓ ศาลแรงงานกลางพิพากษาตามสัญญาประนีประนอมยอมความฉบับ ลงวันที่ ๑๔ มิถุนายน ๒๕๖๒ จำเลยที่ ๕ และที่ ๖ ขาดนัด ศาลแรงงานกลาง พิพากษายกฟอง โจทกอุทธรณ ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษแผนกคดีแรงงานวินิจฉัยวาศาลแรงงานกลางฟงขอเท็จจริงวา จำเลยที่ ๑ ถึงที่ ๑๐ เปนลูกจางโจทกฝายการตลาด/สินเชื่อ มีหนาที่ตองปฏิบัติงานใหเปนไปตาม คูมือปฏิบัติงานสินเชื่อรายยอยดานการตลาด เมื่อวันที่ ๒๕ กรกฎาคม ๒๕๔๖ คณะกรรมการโจทก มีมติใหโจทกดำเนินโครงการสินเชื่อที่อยูอาศัยอัตราดอกเบี้ยคงที่ ๓๐ ป เมื่อวันที่ ๑๕ กันยายน ๒๕๔๖ โจทกทำสัญญารวมดำเนินธุรกิจกับ บค.ไทยเคหะ ทำหนาที่อำนวยสินเชื่อเพื่อที่อยูอาศัย ในตลาดแรกและโจทกจะรับซื้อสินเชื่อดังกลาวมาบริหารจัดการ เริ่มมีการซื้อขายสินเชื่อครั้งที่ ๑ เมื่อวันที่ ๔ ธันวาคม ๒๕๔๖ และมีการแกไขสัญญารวมดำเนินธุรกิจระหวางโจทกกับ บค.ไทย จำนวน ๒ ครั้ง หลังจากมีการแกไขแลวไดมีการนำรายชื่อผูกูในโครงการเอกสยาม โครงการ บานพนารีและโครงการอื่น ขอสินเชื่อผาน บค.ไทย โจทกรับซื้อสินเชื่อคืนจาก บค.ไทย เรื่อยมา ปรากฏวาผูกูในโครงการเอกสยาม โครงการบานพนารีและโครงการอื่น ไมไดชำระหนี้คืนใหแก โจทกเกือบทั้งหมด ฝายตรวจสอบภายในโจทกไดตรวจสอบพบวา การใหสินเชื่อที่อยูอาศัย โครงการนี้มีความผิดปกติเกี่ยวกับเอกสารของลูกหนี้และราคาประเมินที่ดินและสิ่งปลูกสราง เปนเหตุใหโจทกไดรับความเสียหาย คณะกรรมการโจทกจึงไดแตงตั้งคณะกรรมการสอบขอเท็จจริง


๖๓๖ ผลการสอบขอเท็จจริงสรุปวา การวิเคราะหสินเชื่อมีการวิเคราะหที่บกพรองและหละหลวม โดยเฉพาะอยางยิ่งเจาหนาที่ที่เกี่ยวของกับการวิเคราะหสินเชื่อทุกระดับมิไดปฏิบัติตามคูมือ ปฏิบัติงานสินเชื่อรายยอยดานการตลาด ตอมาคณะกรรมการสอบขอเท็จจริงรายงานผลการสอบ ขอเท็จจริงไปยังประธานกรรมการโจทก จำเลยที่ ๗ ขอลาออกแตโจทก ไมอนุมัติใหจำเลยที่ ๗ ลาออก จำเลยที่ ๗ ละทิ้งหนาที่โดยขาดงานไมกลับมาทำงานกับโจทกอีก โจทกไดแตงตั้ง คณะกรรมการสอบสวนทางวินัยกับจำเลยที่ ๑ ถึงที่ ๘ และที่ ๑๐ และตอมามีการแตงตั้ง คณะกรรมการสอบสวนทางวินัยเพิ่มเติมกับจำเลยที่ ๙ ผลการสอบสวนทางวินัยสรุปวา จำเลยที่ ๑ ถึงที่ ๗ ปฏิบัติหนาที่ดวยความประมาทเลินเลอเปนเหตุใหเสียหายแกทรัพยสินหรือชื่อเสียง ของโจทกอยางรายแรง เปนการกระทำผิดวินัยอยางรายแรงตามขอบังคับโจทก ฉบับที่ ๑ วาดวย การพนักงาน พ.ศ. ๒๕๔๘ แกไขครั้งที่ ๑ ขอ ๒๗ (๕) โดยจำเลยที่ ๑ ถึงที่ ๓ เปนผูไมมี ประสบการณในงานดานสินเชื่อมากอน จึงเห็นสมควรไดรับโทษใหออกโดยจายคาชดเชย จำเลย ที่ ๔ ถึงที่ ๗ ไมปรากฏขอเท็จจริงวาการกระทำสอไปในทางทุจริต จึงเห็นสมควรไดรับโทษใหออก โดยไมจายคาชดเชย สวนจำเลยที่ ๘ ถึงที่ ๑๐ ปฏิบัติหนาที่ดวยความจงใจหรือประมาทเลินเลอ เปนเหตุใหเสียหายแกทรัพยสินหรือชื่อเสียงของโจทกอยางรายแรงและสอไปในทางทุจริต ตามขอบังคับโจทกดังกลาว ขอ ๒๗ (๓) (๕) จึงเห็นสมควรไดรับโทษไลออก คณะกรรมการ สอบสวนทางวินัยไดรายงานผลการสอบสวนทางวินัยไปยังประธานกรรมการโจทก และโจทก มีคำสั่งลงโทษทางวินัยแกจำเลยทั้งสิบ จำเลยที่ ๑ ถึงที่ ๕ และจำเลยที่ ๗ ถึงที่ ๑๐ ไดยื่นอุทธรณ คำสั่งลงโทษทางวินัย สวนจำเลยที่ ๖ ไมยื่นอุทธรณคำสั่งลงโทษดังกลาว ผลการพิจารณา ของคณะกรรมการอุทธรณสรุปวา จำเลยที่ ๑ ถึงที่ ๕ ปฏิบัติหนาที่ดวยความประมาทเลินเลอ เปนเหตุใหเสียหายแกทรัพยสินหรือชื่อเสียงของโจทก แตไมเปนการประมาทเลินเลออยางรายแรง จำเลยที่ ๗ และที่ ๙ ปฏิบัติหนาที่ดวยความประมาทเลินเลอเปนเหตุใหเสียหายแกทรัพยสิน หรือชื่อเสียงของโจทกอยางรายแรง ไมมีเหตุเปลี่ยนแปลงคำสั่งลงโทษ จำเลยที่ ๘ และที่ ๑๐ ปฏิบัติหนาที่ดวยความประมาทเลินเลอเปนเหตุใหเสียหายแกทรัพยสินหรือชื่อเสียงของโจทก อยางรายแรงและสอไปในทางทุจริต ไมมีเหตุเปลี่ยนแปลงคำสั่งลงโทษ ตอมาโจทกมีคำสั่ง แตงตั้งคณะกรรมการสอบสวนตามพระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจาหนาที่ พ.ศ. ๒๕๓๙ ใหดำเนินการสอบสวนพนักงานที่กระทำผิดในโครงการสินเชื่อที่อยูอาศัยอัตราดอกเบี้ยคงที่ ๓๐ ป คณะกรรมการกฤษฎีกามีความเห็นวาโจทกมีสภาพเปนหนวยงานของรัฐตามพระราชบัญญัติ ความรับผิดทางละเมิดของเจาหนาที่ พ.ศ. ๒๕๓๙ คณะกรรมการสอบสวนความรับผิดทางละเมิด พิจารณาแลว เห็นวา โจทกไดรับความเสียหายจากกระบวนการรับซื้อสินเชื่อที่ไมมีคุณภาพ


๖๓๗ ซึ่งมีเอกสารปลอมประกอบการใหสินเชื่อ โดยโจทกเปนผูตรวจสอบคุณสมบัติของลูกคา (Pre-checking) กอนสงใหสถาบันการเงินพิจารณาอนุมัติสินเชื่อ จึงเปนความเสียหายโดยตรง จากการตรวจสอบคุณสมบัติของลูกคาที่ไมเปนไปตามคูมือปฏิบัติงานสินเชื่อรายยอยดานการตลาด เนื่องจากการตรวจสอบคุณสมบัติของลูกคาเบื้องตนเปนขั้นตอนสำคัญในการคัดเลือกลูกหนี้และ ตรวจสอบคุณภาพของลูกหนี้ที่โจทกรับซื้อสินเชื่อกอนสงใหสถาบันการเงินพิจารณาอนุมัติสินเชื่อ จึงเปนความเสียหายโดยตรงจากการตรวจสอบคุณสมบัติของลูกคาที่ไมเปนไปตามคูมือปฏิบัติงาน สินเชื่อรายยอยดานการตลาด จากการตรวจสอบพบวามีลูกหนี้ที่พบความผิดปกติจากเลมประเมิน ราคาหลักประกันปลอมประกอบการใหสินเชื่อที่บริษัทบีซีเอ ประเมินราคา จำกัด ผูประเมิน ราคาหลักประกันมีหนังสือแจงวาเลมประเมินราคาที่โจทกมีอยูไมใชเลมประเมินราคาที่บริษัทดังกลาว เปนผูประเมิน คิดเปนความเสียหายสวนที่ ๑ จากการซื้อสินเชื่อที่มีราคาสูงกวาปกติมากหรือ ซื้อแพงกวาปกติ ตรวจพบวามีลูกหนี้ใชเลมประเมินราคาหลักประกันปลอม รวม ๑๐๒ ราย เปนเงิน ๑๑๗,๔๙๕,๑๐๐ บาท ความเสียหายสวนที่ ๒ จากการรับซื้อสินเชื่อไมมีคุณภาพ กลายเปนหนี้ที่ไมกอใหเกิดรายได พบลูกหนี้ใชเลมประเมินราคาหลักประกันปลอมและรายการ เคลื่อนไหวทางบัญชีปลอม ๑๑๙ ราย เปนเงิน ๒๐,๓๔๖,๓๔๓.๐๔ บาท แลววินิจฉัยวาคำฟองโจทก เปนการฟองขอใหจำเลยทั้งสิบรับผิดทั้งมูลละเมิดและมูลสัญญาจางแรงงาน ในเรื่องผิดสัญญา จางแรงงานนั้นมิไดบัญญัติอายุความไวโดยเฉพาะจึงมีกำหนด ๑๐ ป ตามประมวลกฎหมายแพง และพาณิชย มาตรา ๑๙๓/๓๐ อันเปนอายุความที่ยาวกวาอายุความ ๑ ป ในความรับผิดฐานละเมิด ตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา ๔๔๘ และอายุความ ๒ ป ตามพระราชบัญญัติ ความรับผิดทางละเมิดของเจาหนาที่ พ.ศ. ๒๕๓๙ เมื่อการละเมิดและผิดสัญญาจางแรงงาน ในคดีนี้เกิดขึ้นในชวงป ๒๕๔๗ ถึงป ๒๕๔๘ ทั้งการฟองคดีของโจทกเปนการฟองและนำสืบวา จำเลยทั้งสิบโดยจำเลยที่ ๑ ถึงที่ ๔ เปนพนักงานฝายการตลาด/สินเชื่อ จำเลยที่ ๕ เปนผูชวย ผูจัดการสวน ฝายการตลาด/สินเชื่อ จำเลยที่ ๖ และที่ ๗ เปนผูจัดการสวน ฝายการตลาด/สินเชื่อ จำเลยที่ ๘ เปนรองผูอำนวยการฝายการตลาด/สินเชื่อ จำเลยที่ ๙ และที่ ๑๐ เปนผูอำนวยการ ฝายการตลาด/สินเชื่อ โดยโจทกฟอง และนำสืบการกระทำของจำเลยที่ ๑ ถึงที่ ๕ ซึ่งเปน พนักงานระดับปฏิบัติการ จำเลยที่ ๖ และที่ ๗ ซึ่งเปนพนักงานผูบริหารระดับตน สวนจำเลยที่ ๘ ถึงที่ ๑๐ ซึ่งเปนพนักงานผูบริหารระดับกลาง อีกทั้งโจทกฟองและนำสืบถึงการตรวจสอบคุณสมบัติ ของลูกคาเบื้องตนตามระบบ Credit Scoring และการใหความเห็นชอบการตรวจสอบคุณสมบัติ ของลูกคาเบื้องตน Pre-Checking มีการปฏิบัติงานตามลำดับการบังคับบัญชา การกระทำตาม ที่โจทกฟองมานั้นโจทกฟองโดยใหจำเลยทั้งสิบแบงกันชดใชตามสัดสวน โดยมีจำเลยที่ ๘ ถึงที่ ๑๐


๖๓๘ เปนปลายทางของการกระทำละเมิดและทำผิดสัญญาจางในการตรวจสอบคุณสมบัติของลูกคา เบื้องตนตามระบบ Credit Scoring และการใหความเห็นชอบการตรวจสอบคุณสมบัติของลูกคา เบื้องตน Pre-Checking ในลูกคาทุกรายซึ่งเปนมูลเหตุของการฟองคดีนี้ จึงเปนกรณีมูลความ แหงคดีเปนการชำระหนี้ซึ่งแบงแยกจากกันมิได เมื่อจำเลยที่ ๗ ถึงที่ ๑๐ ใหการตอสูเรื่องฟองโจทก ขาดอายุความ ๑๐ ป คดีนี้เกิดเหตุเมื่อป ๒๕๔๗ ถึงป ๒๕๔๘ ทั้งการที่โจทกทราบเรื่องการกระทำ ละเมิดและผิดสัญญาจางตามที่จำเลยดังกลาวใหการตอสูไวนั้นซึ่งเปนกรณีที่โจทกทราบอยางชา ที่สุดคือวันที่ ๒๘ มิถุนายน ๒๕๕๐ แตโจทกนำคดีมาฟองในวันที่ ๒๕ ตุลาคม ๒๕๖๑ คดีโจทก จึงขาดอายุความ แมจำเลยที่ ๔ ไมไดยกอายุความ ๑๐ ปขึ้นใหการตอสู เมื่อเปนลูกหนี้รวมใน มูลความแหงคดีเปนการชำระหนี้ซึ่งแบงแยกจากกันมิได ถือวาจำเลยที่ ๔ ใหการตอสูเรื่อง อายุความไวแลวเชนกัน ในสวนของจำเลยที่ ๕ และที่ ๖ แมขาดนัด แตเมื่อมูลความแหงคดี เปนการชำระหนี้ซึ่งแบงแยกจากกันมิได จำเลยที่ ๕ และที่ ๖ จึงไมตองรับผิดดวย คดีมีปญหาตองวินิจฉัยตามอุทธรณของโจทกวา ฟองโจทกขาดอายุความหรือไม เห็นวา คดีนี้นอกจากโจทกฟองจำเลยที่ ๑ ถึงที่ ๗ และที่ ๙ โดยอางวาขณะเปนลูกจางโจทกปฏิบัติหนาที่ ดวยความประมาทเลินเลอเปนเหตุใหเสียหายแกทรัพยสินหรือชื่อเสียงของโจทกอยางรายแรง และฟองจำเลยที่ ๘ และที่ ๑๐ โดยอางวาขณะเปนลูกจางโจทกปฏิบัติหนาที่ดวยความประมาทเลินเลอ เปนเหตุใหเสียหายแกทรัพยสินหรือชื่อเสียงของโจทกอยางรายแรงและสอไปในทางทุจริต ซึ่งเปนการ ไมปฏิบัติตามขอบังคับโจทก ฉบับที่ ๑ วาดวยการพนักงาน พ.ศ. ๒๕๔๘ แกไขครั้งที่ ๑ แลว การกระทำของจำเลยทั้งสิบในขณะเปนลูกจางโจทกยังเปนการกระทำโดยจงใจฝาฝนไมปฏิบัติ ตามกฎหมาย ขอบังคับ ระเบียบ คำสั่งของโจทก และสัญญาจางแรงงานที่จำเลยทั้งสิบตองปฏิบัติตาม อันถือวาเปนสภาพการจาง ถือไดวาจำเลยทั้งสิบไดกระทำผิดสัญญาจางแรงงานตอโจทกดวย ฟองโจทกจึงเปนการฟองใหลูกจางรับผิดทั้งมูลละเมิดและมูลสัญญาจางแรงงาน เมื่อขอเท็จจริง ปรากฏวาศาลแรงงานกลางยกอายุความกรณีผิดสัญญาจางแรงงานซึ่งมิไดบัญญัติอายุความไวโดยเฉพาะ จึงมีกำหนด ๑๐ ป ตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา ๑๙๓/๓๐ มาบังคับใชในคดีนี้ โดยวินิจฉัยวา การละเมิดและผิดสัญญาจางแรงงานในคดีนี้เกิดขึ้นในชวงป ๒๕๔๗ ถึงป ๒๕๔๘ แตหากสิทธิเรียกรองเริ่มนับแตวันที่โจทกทราบเรื่องการกระทำละเมิดและผิดสัญญาจางแรงงาน ก็อยางชาที่สุดคือวันที่ ๒๘ มิถุนายน ๒๕๕๐ ซึ่งเปนวันที่คณะกรรมการโจทกมีมติเห็นชอบตาม รายงานการสอบสวนของคณะกรรมการสอบสวนตามพระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของ เจาหนาที่ พ.ศ. ๒๕๓๙ วา พฤติการณของจำเลยที่ ๖ ที่ ๗ ที่ ๙ และที่ ๑๐ เปนการปฏิบัติหนาที่ ดวยความประมาทเลินเลอเปนเหตุใหเสียหายแกทรัพยสินหรือชื่อเสียงของโจทกอยางรายแรง


๖๓๙ และจำเลยที่ ๘ เปนการปฏิบัติหนาที่ดวยความประมาทเลินเลอเปนเหตุใหเสียหายแกทรัพยสิน หรือชื่อเสียงของโจทกอยางรายแรงและสอไปในทางทุจริตจึงตองรับผิดชดใชคาสินไหมทดแทน สวนจำเลยที่ ๑ ถึงที่ ๕ นั้น คณะกรรมการโจทกมีมติเห็นชอบตามรายงานการสอบสวนของ คณะกรรมการสอบสวนตามพระราชบัญญัติดังกลาววา พฤติการณ ของจำเลยที่ ๑ ถึงที่ ๕ เปน การปฏิบัติหนาที่ดวยความประมาทเลินเลอไมถึงระดับประมาทเลินเลออยางรายแรง จึงไมตอง รับผิดชดใชคาสินไหมทดแทนตามมาตรา ๑๐ ประกอบมาตรา ๘ แหงพระราชบัญญัติความรับผิด ทางละเมิดของเจาหนาที่ พ.ศ. ๒๕๓๙ ซึ่งถือเปนการวินิจฉัยถึงวันที่เริ่มตนอาจบังคับสิทธิเรียกรองได เปนตนไปตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา ๑๙๓/๑๒ มิใชวันที่ ๙ มีนาคม ๒๕๕๒ ซึ่งเปนวันที่โจทกไดรับบันทึกแจงผลการพิจารณาความรับผิดทางละเมิดจากกรมบัญชีกลาง วามีผูตองรับผิดชดใชคาสินไหมทดแทนเพิ่มเติมคือจำเลยที่ ๑ ถึงที่ ๕ และแกไขจำนวนคาสินไหม ทดแทนที่จำเลยที่ ๘ ตองรับผิดตอโจทก เมื่อศาลแรงงานกลางฟงขอเท็จจริงวา การกระทำของ จำเลยทั้งสิบเปนการกระทำโดยประมาทเลินเลอและผิดสัญญาจางแรงงาน ทำใหโจทกไดรับ ความเสียหาย คำฟองของโจทกดังกลาวจึงเปนการฟองขอใหจำเลยทั้งสิบรับผิดในมูลสัญญาจาง แรงงานเปนหลักแหงขอหาและขออางที่อาศัยเปนหลักแหงขอหาดวย แมโจทกจะบรรยายฟองอาง ถึงการที่โจทกมีคำสั่งแตงตั้งคณะกรรมการสอบขอเท็จจริง แตงตั้งคณะกรรมการสอบสวนทางวินัย แลวมีการดำเนินการตามพระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจาหนาที่ พ.ศ. ๒๕๓๙ มาดวยก็ตาม แตก็เปนเพียงการบรรยายใหเห็นถึงลำดับเหตุการณที่เกิดขึ้นเทานั้น มิไดมุงประสงค ใหจำเลยทั้งสิบรับผิดในมูลละเมิดแตเพียงอยางเดียว ประกอบกับมาตรา ๑๐ วรรคสอง แหง พระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจาหนาที่ พ.ศ. ๒๕๓๙ ซึ่งบัญญัติวา สิทธิเรียกรอง คาสินไหมทดแทนจากเจาหนาที่ ใหมีกําหนดอายุความสองปนับแตวันที่หนวยงานของรัฐรูถึง การละเมิดและรูตัวเจาหนาที่ผูจะพึงตองใชคาสินไหมทดแทน เปนกฎหมายพิเศษที่บัญญัติ เรื่องอายุความไวเปนการเฉพาะ ซึ่งขัดหรือแยงกับมาตรา ๔๔๘ วรรคหนึ่ง แหงประมวลกฎหมายแพง และพาณิชย ซึ่งเปนกฎหมายทั่วไป จึงมีผลยกเวนมาตรา ๔๔๘ วรรคหนึ่ง เฉพาะในสวนที่กำหนด ใหสิทธิเรียกรองคาเสียหายอันเกิดแตมูลละเมิดขาดอายุความ เมื่อพนหนึ่งปนับแตวันที่ผูตอง เสียหายรูถึงการละเมิดและรูตัวผูจะพึงตองใชคาสินไหมทดแทนเทานั้น หาไดมีขอความขัดหรือ แยงและมีผลยกเลิกบทบัญญัติมาตรา ๔๔๘ วรรคหนึ่ง ในสวนที่กำหนดวา สิทธิเรียกรอง คาเสียหายอันเกิดแตมูลละเมิดขาดอายุความเมื่อพนกำหนดสิบปนับแตวันทำละเมิดแตอยางใด นอกจากนี้ความเสียหายที่เกิดขึ้นนั้นเปนความเสียหายที่ลูกคาของโจทกแตละรายไมชำระหนี้ ในโครงการสินเชื่อที่อยูอาศัยอัตราดอกเบี้ยคงที่ ๓๐ ป ซึ่งเปนโครงการเดียวกัน ดังนั้นหนี้ของ


Click to View FlipBook Version