The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รวมคำพิพากษา-แผนกคดีแรงงาน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by iprd.pic, 2024-01-31 21:12:27

รวมคำพิพากษา-แผนกคดีแรงงาน

รวมคำพิพากษา-แผนกคดีแรงงาน

๙๐ เพียงใด ศาลแรงงานกลางจำตองฟงขอเท็จจริงใหยุติเปนที่แนนอนเสียกอนวา ขอ ๑ พนักงาน ทีมขายตองมีสวนรวมในกระบวนการขายสินคาถึงขั้นตอนใดจึงจะมีสิทธิไดรับสวนแบงคาคอมมิชชั่น จากการขายสินคานั้น ขอ ๒ ผูบริหารทีมขายของโจทกกำหนดสัดสวนการจายคาคอมมิชชั่นจาก การขายสินคาแตละรายการตามฟองใหโจทกอยางไร ขอ ๓ จำเลยตกลงจายคาคอมมิชชั่นจาก การขายสินคารายการที่ ๑ ใหพนักงานทีมขายของโจทกในอัตรา ๕ เปอรเซ็นต หรือไม ขอ ๔ จำเลยมีเงื่อนไขการจายคาคอมมิชชั่นจากการขายสินคารายการที่ ๒ และที่ ๓ ใหพนักงานทีมขาย ของโจทกในอัตรา ๔.๕ เปอรเซ็นตไวอยางไร ขอ ๕ กำไรหลังหักคาใชจายในการขายที่ตองนำมา ใชคำนวณอัตรารอยละกำไรหลังหักคาใชจายในการขายเปนจำนวนเทาไร ขอ ๖ ยอดขาย (ไมรวม ภาษีมูลคาเพิ่ม) ของสินคาตามฟองแตละรายการเปนจำนวนเทาไร ขอ ๗ จำเลยมีสิทธิหักคา คอมมิชชั่นทีมขายของโจทกจากการขายสินคาแตละรายการเปนจำนวนเทาไร และขอ ๘ โจทก มีสิทธิไดรับคาคอมมิชชั่นจากการขายสินคาแตละรายการเปนจำนวนเทาไร แตศาลแรงงานกลาง ยังไมไดรับฟงขอเท็จจริงและวินิจฉัยขอเท็จจริงดังกลาวมา คงวินิจฉัยแตเพียงสิทธิของทีมขาย ในการเบิกคาคอมมิชชั่น เมื่อพนวันที่ ๑๐ ของเดือนถัดจากเดือนที่เก็บเงินได และสิทธิของโจทก ที่จะไดรับคาคอมมิชชั่นแมไมไดเปนผูตั้งเบิกหรือทำเอกสารเบิกจายดวยตนเอง โดยนำคาคอมมิชชั่น ที่โจทกไดรับหลังลาออกที่ยังไมฟงขอเท็จจริงใหแนชัดเสียกอนวาเปนคาคอมมิชชั่นจากการขาย สินคาใด ไดรับเพราะเหตุใด มาเปนเหตุผลแหงการวินิจฉัย ซึ่งสิทธิดังกลาวลวนแตเปนคนละ ประเด็นกับสิทธิของโจทกในการที่จะไดรับสวนแบงคาคอมมิชชั่น แลวยังนำตัวเลขที่ยังไมไดฟง เปนยุติมาใชประกอบการพิจารณากำหนดคาคอมมิชชั่นใหโจทกตามที่เห็นสมควรเอง โดยไมคำนึง ถึงขอตกลงระหวางโจทกกับจำเลย คำพิพากษาศาลแรงงานกลางจึงไมชอบดวยพระราชบัญญัติ จัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๕๑ วรรคหนึ่ง ชอบที่ศาล อุทธรณคดีชำนัญพิเศษจะมีคำสั่งยกคำพิพากษาของศาลแรงงานกลางเสีย แลวยอนสำนวนให ศาลแรงงานกลางรับฟงขอเท็จจริงดังกลาวขางตนใหชัดเจนเพียงพอแกการวินิจฉัยชี้ขาดประเด็น แหงคดีแลวพิพากษาใหมตามรูปคดี ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพง มาตรา ๒๔๓ (๓) (ข) ประกอบพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๕๗ ทั้งนี้ ใหมีผลถึงการขายสินคารายการที่ ๒ ดวย เพราะการวินิจฉัยในสวนนี้ก็ตองอาศัย ขอเท็จจริงที่ศาลแรงงานกลางจะรับฟงตอไป เมื่อวินิจฉัยดังนี้แลว คดีไมจำตองวินิจฉัยอุทธรณ ขออื่นของจำเลยอีก เพราะไมเปนสาระแกคดีอันควรไดรับการวินิจฉัย ตามประมวลกฎหมาย วิธีพิจารณาความแพง มาตรา ๒๒๕ วรรคหนึ่ง ประกอบพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแรงงานและวิธี พิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๕๔ วรรคหนึ่ง เนื่องจากไมทำใหผลของคดีเปลี่ยนแปลง


๙๑ พิพากษายกคำพิพากษาศาลแรงงานกลาง ใหยอนสำนวนไปใหศาลแรงงานกลางรับฟง ขอเท็จจริงใหยุติเพียงพอแกการวินิจฉัยชี้ขาดประเด็นแหงคดี แลวมีคำพิพากษาใหมตอไปตาม รูปคดี. ภัทรวรรณ ทรงกำพล - ยอ วัชรินทร ฤชุโรจน - ตรวจ (บุญชู ทัศนประพันธ - วิโรจน ตุลาพันธุ - ปณิธาน วิสุทธากร)


๙๒ คำพิพากษาศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษที่ ๘๔๐/๒๕๖๔ นางสาวชรินพันธุ มหายศนันท โจทก สหกรณออมทรัพยสาธารณสุข จังหวัดนาน จำกัด จำเลย พ.ร.บ. แรงงานสัมพันธ พ.ศ. ๒๕๑๘ มาตรา ๕, ๒๐ โจทกเขาทํางานเปนลูกจางจําเลยเมื่อวันที่ ๒๖ สิงหาคม ๒๕๓๖ ระหวางทํางาน โจทกอยูภายใตระเบียบสหกรณออมทรัพยสาธารณสุขจังหวัดนาน จํากัด พ.ศ. ๒๕๓๙ ขอ ๓๒ ที่กําหนดให พนักงานหรือลูกจางของสหกรณคนใดที่ทํางานดวยความสงบเรียบรอย เปนเวลาไมนอยกวา ๕ ปขึ้นไป มีสิทธิไดรับเงินบําเหน็จเมื่อออกจากตําแหนง ตอมาจําเลย แกไขระเบียบดังกลาวและนําระเบียบ สหกรณออมทรัพยสาธารณสุขจังหวัดนาน จํากัด วาดวยเจาหนาที่ ลูกจาง และขอบังคับเกี่ยวกับการทํางาน พ.ศ. ๒๕๖๐ ขอ ๕๑ ระบุวา เจาหนาที่ของสหกรณฯ คนใดทํางานในสหกรณฯ ดวยความสงบ เรียบรอยเปนเวลาติดตอ กันไมนอยกวา ๕ ปขึ้นไป มีสิทธิไดรับเงินบําเหน็จเมื่อลาออกจากสหกรณมาใชบังคับ โดยระเบียบดังกลาวไมรวมถึงกรณีที่ลูกจางจําเลยเกษียณอายุหรือถูกเลิกจางโดยไมได กระทําผิดไว เมื่อการแกไขระเบียบดังกลาวถือเปนการเปลี่ยนแปลงขอตกลงเกี่ยวกับ สภาพการจาง และไมไดรับความยินยอมจากโจทก อีกทั้งการแกไขยังมีลักษณะที่ไมเปนคุณ จึงไมชอบดวยกฎหมายและไมมีผลบังคับกับโจทก คาชดเชยเปนเงินที่จําเลยจายใหแกลูกจางตามกฎหมายเมื่อเลิกจางโดยลูกจาง ไมไดกระทําผิด สวนเงินบําเหน็จเปนเงินที่จําเลยสมัครใจจายใหแกลูกจางเพื่อเปนการ ตอบแทนการที่ลูกจางทํางาน ดวยความเรียบรอยเปนเวลาติดตอกันไมนอยกวา ๕ ป การจายเงินบําเหน็จตามระเบียบจึงมีเงื่อนไขแตกตางจากการจายคาชดเชยตาม พ.ร.บ. คุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ เงินบําเหน็จจึงเปนเงินประเภทอื่นที่ไมใชคาชดเชย การที่ ระเบียบดังกลาวระบุใหจําเลยจายเงินบําเหน็จเฉพาะสวนที่เกินกวาคาชดเชย ถือเปนการ เอาเงินบําเหน็จเปนคาชดเชยดวยจึงไมชอบ


โจทกฟองและแกไขคำฟอง ขอใหบังคับจำเลยจายคาจาง ๔๐๔,๑๗๓ บาท พรอมดอกเบี้ย อัตรารอยละ ๗.๕ ตอปของตนเงินดังกลาวนับแตวันที่ ๘ มิถุนายน ๒๕๖๒ เปนตนไปจนกวาจะ ชำระเสร็จแกโจทก และใหจำเลยแกไขระเบียบสหกรณออมทรัพยสาธารณสุขจังหวัดนาน จำกัด วาดวยเจาหนาที่ ลูกจาง และขอบังคับเกี่ยวกับการทำงาน พ.ศ. ๒๕๖๐ ใหเปนคุณแกโจทก และ ใหยกเลิกมติคณะกรรมการดำเนินการสหกรณของจำเลยในสวนที่เรียกเงินบำเหน็จคืนจากโจทก จำเลยใหการและแกไขคำใหการ ขอใหยกฟอง ศาลแรงงานภาค ๕ พิพากษาใหเพิกถอนมติที่ประชุมคณะกรรมการดำเนินการสหกรณ จำเลย ครั้งที่ ๑๓/๒๕๖๒ ลงวันที่ ๑ ตุลาคม ๒๕๖๒ เฉพาะมติที่ใหเรียกเงินบำเหน็จคืนจากโจทก และใหจำเลยจายคาจาง ๔๐๔,๑๗๓ บาท พรอมดอกเบี้ยอัตรารอยละ ๑๕ ตอปของตนเงินจำนวน ดังกลาวนับแตวันที่ ๓๑ ธันวาคม ๒๕๖๒ เปนตนไปจนกวาจะชำระเสร็จแกโจทก คำขออื่นนอก จากนี้ใหยก จำเลยอุทธรณ ระหวางพิจารณา ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษขอใหประธานศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษ วินิจฉัยวา คดีนี้อยูในอำนาจพิจารณาพิพากษาของศาลแรงงานหรือไม ตามพระราชบัญญัติจัดตั้ง ศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๙ วรรคสอง และประธานศาลอุทธรณ คดีชำนัญพิเศษมีคำวินิจฉัยที่ วร ๙๒/๒๕๖๔ ลงวันที่ ๒๔ พฤษภาคม ๒๕๖๔ วาคดีระหวางโจทก กับจำเลยอยูในอำนาจพิจารณาพิพากษาของศาลแรงงาน ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษแผนกคดีแรงงานวินิจฉัยวา ศาลแรงงานภาค ๕ ฟงขอเท็จจริง วา จำเลยเปนนิติบุคคลประเภทสหกรณออมทรัพยตามพระราชบัญญัติสหกรณ พ.ศ. ๒๕๑๑ เมื่อวันที่ ๒๖ สิงหาคม ๒๕๓๖ โจทกเขาทำงานเปนลูกจางจำเลย ตำแหนงสุดทายผูจัดการสหกรณ ออมทรัพย ไดรับคาจางอัตราสุดทายเดือนละ ๕๙,๗๓๐ บาท จำเลยมีอายุครบ ๖๐ ปบริบูรณเมื่อ วันที่ ๘ มิถุนายน ๒๕๖๒ และเกษียณอายุการทำงาน โดยคณะกรรมการสหกรณออมทรัพยจำเลย ไดประชุมอนุมัติเงินบำเหน็จและคาชดเชยใหแกโจทก และจำเลยอนุมัติใหโจทกไดรับคาชดเชย ๗๙๖,๔๐๐ บาท และเงินบำเหน็จ ๑,๕๕๒,๙๘๐ บาท โดยมีการโอนเงินเขาบัญชีโจทกแลว ตอมา จำเลยมีหนังสือแจงโจทกวาการจายเงินบำเหน็จใหโจทกขัดตอระเบียบสหกรณออมทรัพยสาธารณสุข จังหวัดนาน จำกัด วาดวยเจาหนาที่ ลูกจาง และขอบังคับเกี่ยวกับการทำงาน พ.ศ. ๒๕๖๐ และ ใหโจทกคืนเงินบำเหน็จใหจำเลย แลววินิจฉัยวา ระเบียบสหกรณออมทรัพยสาธารณสุขจังหวัดนาน จำกัด วาดวยเจาหนาที่ ลูกจาง และขอบังคับเกี่ยวกับการทำงาน พ.ศ. ๒๕๖๐ ขอ ๕๑ กำหนด หลักเกณฑการจายเงินบำเหน็จใหแกลูกจางจำเลยที่ทำงานดวยความเรียบรอยเปนเวลาติดตอกัน ๙๓


ไมนอยกวา ๕ ป และประสงคจะลาออกจากงานจึงจะไดรับเงินบำเหน็จ แตระเบียบดังกลาวไมได กำหนดหลักเกณฑการจายเงินบำเหน็จในกรณีลูกจางเกษียณอายุการทำงานไว จำเลยจะนำ ระเบียบดังกลาวมาใชบังคับกับลูกจางที่เกษียณอายุการทำงานไมไดเพราะจะทำใหลูกจางเสีย ประโยชนเมื่อขณะที่โจทกเกษียณอายุการทำงานมีเพียงระเบียบสหกรณออมทรัพยสาธารณสุข จังหวัดนาน จำกัด วาดวยเจาหนาที่ ลูกจาง และขอบังคับเกี่ยวกับการทำงาน พ.ศ. ๒๕๖๐ ใชบังคับ ประกอบกับเมื่อพิจารณาระเบียบฉบับดังกลาวแลวแสดงใหเห็นวา จำเลยระบุหลักเกณฑ การจายเงินบำเหน็จไวในขอ ๕๑ เพื่อตอบแทนการที่ลูกจางจำเลยทำงานดวยความเรียบรอยเปน เวลาติดตอกันไมนอยกวา ๕ ป และขอเท็จจริงปรากฏวาโจทกทำงานใหจำเลยดวยความเรียบรอย มาโดยตลอดจนเกษียณอายุ กรณีจึงตองนำระเบียบสหกรณออมทรัพยสาธารณสุขจังหวัดนาน จำกัด วาดวยเจาหนาที่ ลูกจาง และขอบังคับเกี่ยวกับการทำงาน พ.ศ. ๒๕๖๐ ขอ ๕๑ เฉพาะสวน ที่เปนคุณมาใชบังคับกับโจทกเพื่อใหเกิดความเปนธรรม จำเลยจึงตองจายเงินบำเหน็จใหโจทก มติของคณะกรรมการดำเนินการสหกรณจำเลยที่เรียกเงินบำเหน็จคืนจากโจทกจึงไมชอบดวย กฎหมาย และเมื่อพิจารณาขอบังคับสหกรณออมทรัพยสาธารณสุขจังหวัดนาน จำกัด พ.ศ. ๒๕๖๐ ขอ ๙๕ (๔) ที่ระบุวาใหผูจัดการจำเลยพนจากตำแหนงเมื่ออายุครบ ๖๐ ปบริบูรณ หรือครบกำหนด ตามสัญญาจาง และจำเลยมีระเบียบสหกรณออมทรัพยสาธารณสุขจังหวัดนาน จำกัด วาดวย เจาหนาที่ ลูกจาง และขอบังคับเกี่ยวกับการทำงาน พ.ศ. ๒๕๖๐ หมวดที่ ๑๑ ขอ ๔๕ (๓) ระบุวา ใหลูกจางเกษียณอายุเมื่อมีอายุครบ ๖๐ ป ตามปบัญชีสหกรณจำเลย ซึ่งขอ ๙ ของระเบียบดังกลาว ระบุวา ปบัญชีสหกรณคือ ๑ มกราคม สิ้นสุด ๓๑ ธันวาคมของทุกปดังนี้ เห็นไดวา ขอบังคับกับ ระเบียบของจำเลยแตกตางกัน และตางก็เปนขอตกลงเกี่ยวกับสภาพการจาง กรณีจึงตองนำ ขอบังคับหรือระเบียบของจำเลยในสวนที่เปนคุณมาใชบังคับกับโจทก และเมื่อพิจารณาขอบังคับ กับระเบียบของจำเลยทั้งสองฉบับดังกลาวแลวเห็นไดวา ระเบียบสหกรณออมทรัพยสาธารณสุข จังหวัดนาน จำกัด วาดวยเจาหนาที่ ลูกจาง และขอบังคับเกี่ยวกับการทำงาน พ.ศ. ๒๕๖๐ ขอ ๔๕ (๓) ที่ระบุใหลูกจางเกษียณอายุเมื่อมีอายุครบ ๖๐ ป ตามปบัญชีสหกรณจำเลย เปนคุณกับ โจทกมากกวาเนื่องจากโจทกจะมีเวลาทำงานกับจำเลยนานขึ้น และมีผลในการคำนวณคาชดเชย เงินบำเหน็จและเงินอื่น ๆ ที่โจทกจะพึงไดรับจากจำเลยมากขึ้นดวย กรณีจึงตองนำระเบียบสหกรณ ออมทรัพยสาธารณสุขจังหวัดนาน จำกัด วาดวยเจาหนาที่ ลูกจาง และขอบังคับเกี่ยวกับการทำงาน พ.ศ. ๒๕๖๐ ขอ ๔๕ (๓) มาใชบังคับ โจทกยอมมีสิทธิทำงานกับจำเลยจนถึงวันที่ ๓๑ ธันวาคม ๒๕๖๒ ตามปบัญชีสหกรณจำเลย การที่จำเลยใหโจทกเกษียณอายุการทำงานเมื่อวันที่ ๘ มิถุนายน ๒๕๖๒ จึงไมชอบ โจทกจึงมีสิทธิไดรับคาจางสวนที่ขาดพรอมดอกเบี้ยตามกฎหมาย ๙๔


มีปญหาที่ตองวินิจฉัยตามอุทธรณของจำเลยประการแรกวา มติของคณะกรรมการ ดำเนินการสหกรณจำเลยที่ใหเรียกเงินบำเหน็จคืนจากโจทกชอบดวยกฎหมายหรือไม เห็นวา ศาลแรงงานภาค ๕ ฟงขอเท็จจริงวา โจทกเขาทำงานเปนลูกจางจำเลยเมื่อวันที่ ๒๖ สิงหาคม ๒๕๓๖ ระหวางทำงานโจทกอยูภายใตระเบียบสหกรณออมทรัพยสาธารณสุขจังหวัดนาน จำกัด พ.ศ. ๒๕๓๙ ขอ ๓๒ ที่กำหนดใหพนักงานหรือลูกจางของสหกรณคนใดที่ทำงานดวยความสงบ เรียบรอยเปนเวลาไมนอยกวา ๕ ปขึ้นไป มีสิทธิไดรับเงินบำเหน็จเมื่อออกจากตำแหนง การที่ ตอมาจำเลยแกไขระเบียบดังกลาวและนำระเบียบสหกรณออมทรัพยสาธารณสุขจังหวัดนาน จำกัด วาดวยเจาหนาที่ ลูกจาง และขอบังคับเกี่ยวกับการทำงาน พ.ศ. ๒๕๖๐ ขอ ๕๑ ที่ระบุวา เจาหนาที่ ของสหกรณฯ คนใดทำงานในสหกรณฯ ดวยความสงบเรียบรอยเปนเวลาติดตอกันไมนอยกวา ๕ ปขึ้นไป มีสิทธิไดรับเงินบำเหน็จเมื่อลาออกจากสหกรณมาใชบังคับ โดยระเบียบดังกลาวไมรวมถึง กรณีที่ลูกจางจำเลยเกษียณอายุหรือถูกเลิกจางโดยไมไดกระทำผิดไว เมื่อการแกไขระเบียบ ดังกลาวถือเปนการเปลี่ยนแปลงขอตกลงเกี่ยวกับสภาพการจาง และไมปรากฏขอเท็จจริงวาไดรับ ความยินยอมจากโจทก อีกทั้งการแกไขระเบียบหรือขอตกลงเกี่ยวกับสภาพการจางดังกลาวมี ลักษณะไมเปนคุณแกโจทก จึงไมชอบดวยกฎหมายและไมมีผลบังคับกับโจทก กรณีจึงตองบังคับ ตามระเบียบสหกรณออมทรัพยสาธารณสุขจังหวัดนาน จำกัด พ.ศ. ๒๕๓๙ ขอ ๓๒ สวนที่จำเลย อุทธรณวา ระเบียบสหกรณออมทรัพยสาธารณสุขจังหวัดนาน จำกัด พ.ศ. ๒๕๓๙ ขอ ๓๒ วรรคสี่ ตอนทาย กำหนดใหสหกรณฯ จายเงินบำเหน็จเพิ่มไดเฉพาะสวนที่เกินกวาคาชดเชยนั้น เห็นวา คาชดเชยเปนเงินที่จำเลยจายใหแกลูกจางตามกฎหมายเมื่อเลิกจางโดยลูกจางไมไดกระทำผิด สวนเงินบำเหน็จเปนเงินที่จำเลยสมัครใจจายใหแกลูกจางเพื่อเปนการตอบแทนการที่ลูกจาง ทำงานดวยความเรียบรอยเปนเวลาติดตอกันไมนอยกวา ๕ ป การจายเงินบำเหน็จตามระเบียบ จึงมีเงื่อนไขแตกตางจากการจายคาชดเชยตามพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ เงินบำเหน็จจึงเปนเงินประเภทอื่นที่ไมใชคาชดเชย การที่ระเบียบดังกลาวระบุใหจำเลยจายเงิน บำเหน็จเฉพาะสวนที่เกินกวาคาชดเชย ถือเปนการเอาเงินบำเหน็จเปนคาชดเชยดวยจึงไมชอบ โจทกยังมีสิทธิไดรับเงินบำเหน็จเต็มจำนวนจากจำเลย มติของคณะกรรมการดำเนินการสหกรณ จำเลยที่ใหเรียกเงินบำเหน็จคืนจากโจทกจึงไมชอบดวยกฎหมาย ที่ศาลแรงงานภาค ๕ วินิจฉัย ปญหาดังกลาวมานั้น ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษเห็นพองดวยในผล อุทธรณของจำเลยขอนี้ ฟงไมขึ้น มีปญหาที่ตองวินิจฉัยตามอุทธรณของจำเลยประการสุดทายวา จำเลยตองจายคาจาง ตามฟองพรอมดอกเบี้ยแกโจทกหรือไม เห็นวา ขอบังคับสหกรณออมทรัพยสาธารณสุขจังหวัด ๙๕


๙๖ นาน จำกัด พ.ศ. ๒๕๖๐ ขอ ๙๕ (๔) ระบุวา ใหผูจัดการจำเลยพนจากตำแหนงเมื่ออายุครบ ๖๐ ปบริบูรณ หรือครบกำหนดตามสัญญาจาง นอกจากนั้นจำเลยยังมีระเบียบสหกรณออมทรัพย สาธารณสุขจังหวัดนาน จำกัด วาดวยเจาหนาที่ ลูกจาง และขอบังคับเกี่ยวกับการทำงาน พ.ศ. ๒๕๖๐ หมวดที่ ๑๑ ขอ ๔๕ (๓) ที่ระบุวาใหเจาหนาที่สหกรณเกษียณอายุ ๖๐ ป ตามปบัญชี สหกรณจำเลย โดยขอ ๙ ของระเบียบฉบับดังกลาวระบุไววา ปบัญชีสหกรณคือ ๑ มกราคม สิ้นสุด ๓๑ ธันวาคมของทุกปดังนี้ เห็นไดวาขอบังคับกับระเบียบของจำเลยกำหนดหลักเกณฑ การเกษียณอายุแตกตางกัน และตางก็เปนขอตกลงเกี่ยวกับสภาพการจาง กรณีจึงตองนำขอบังคับ หรือระเบียบของจำเลยในสวนที่เปนคุณมาใชบังคับกับโจทก ประกอบกับเมื่อพิจารณาขอบังคับ กับระเบียบของจำเลยทั้งสองฉบับดังกลาวแลวเห็นไดวา ระเบียบสหกรณออมทรัพยสาธารณสุข จังหวัดนาน จำกัด วาดวยเจาหนาที่ ลูกจาง และขอบังคับเกี่ยวกับการทำงาน พ.ศ. ๒๕๖๐ ขอ ๔๕ (๓) ที่ระบุใหเจาหนาที่สหกรณเกษียณอายุครบ ๖๐ ป ตามปบัญชีสหกรณจำเลย เปนคุณ กับโจทกมากกวาเนื่องจากโจทกมีระยะเวลาทำงานกับจำเลยนานขึ้น และมีสิทธิไดรับคาชดเชย เงินบำเหน็จและเงินอื่น ๆ ที่โจทกพึงไดรับจากจำเลยเพิ่มมากขึ้นดวย กรณีจึงตองนำระเบียบ สหกรณออมทรัพยสาธารณสุขจังหวัดนาน จำกัด วาดวยเจาหนาที่ ลูกจาง และขอบังคับเกี่ยวกับ การทำงาน พ.ศ. ๒๕๖๐ ขอ ๔๕ (๓) มาใชบังคับ โจทกยอมมีสิทธิทำงานและไดรับคาจางจนถึง วันที่ ๓๑ ธันวาคม ๒๕๖๒ ตามปบัญชีสหกรณจำเลย ที่ศาลแรงงานภาค ๕ วินิจฉัยปญหาดังกลาว มานั้น ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษเห็นพองดวย อุทธรณของจำเลยขอนี้ฟงไมขึ้นเชนกัน พิพากษายืน. ฐานุตร เล็กสุภาพ - ยอ วัชรินทร ฤชุโรจน - ตรวจ (วิชชุพล สุขสวัสดิ์ - สุจินต เชี่ยวชาญศิลป - วรศักดิ์ จันทรคีรี)


๙๗ คำพิพากษาศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษที่ ๒๔๘๘/๒๕๖๐ นายนรินท พิทักษมโนรมย โจทก บริษัทที เอ พี เทรดดิ้ง จำกัด จำเลย ป.พ.พ. มาตรา ๕๘๓ พ.ร.บ. คุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา ๑๑๙ (๔) แมนโยบายเกี่ยวกับการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอลของจำเลยจะไมไดหาม พนักงานขายดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอลในขณะปฏิบัติหนาที่เปนการเด็ดขาดก็ตาม แตจำเลยวางนโยบายไววาควรดื่มในปริมาณที่พอเหมาะ และเมื่อดื่มแลวไมควรขับขี่ ยานพาหนะใด ๆ ทั้งยังกำหนดโทษทางวินัยถึงการเลิกจางพนักงานที่ขับขี่ยานพาหนะของ จำเลยในขณะปฏิบัติหนาที่ ซึ่งไดกระทำความผิดเกี่ยวกับการดื่มแลวขับและนำไปสูการ สูญเสียใบอนุญาตขับรถยนต อันเปนผลใหไมสามารถปฏิบัติหนาที่ตามปกติของตนได ทำใหทรัพยสินของจำเลยและหรือของบุคคลที่สามเสียหาย นโยบายดังกลาวมีความ มุงหมายที่จะหามมิใหพนักงานขับขี่ยานพาหนะใด ๆ เมื่อมีการดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล อันเปนนโยบายทางดานความปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสินของพนักงานและสาธารณชน ทั่วไป เพื่อปองกันอันตรายหรือความเสียหายที่อาจเกิดแกพนักงานหรือทรัพยสินของจำเลย อันอาจเกิดขึ้นไดไวลวงหนา เพราะการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอลกอใหเกิดความประมาท ในการปฏิบัติหนาที่ และยังอาจกอใหเกิดผลกระทบตอชื่อเสียงและภาพลักษณของจำเลย ซึ่งเปนบริษัทที่จำหนายเครื่องดื่มแอลกอฮอลได ทั้งการขับรถในขณะเมาสุรายังเปนความผิด ตอกฎหมายซึ่งมีโทษทางอาญา อาจกอใหเกิดอุบัติเหตุไดงายอันจะทำใหจำเลยเสียหาย และอาจเปนอันตรายตอชีวิต รางกาย หรือทรัพยสินของบุคคลภายนอกดวย ระเบียบและ นโยบายของจำเลยในเรื่องดังกลาวจึงชอบดวยกฎหมายและเปนธรรมแลว ดังนั้น การที่ โจทกดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอลขณะปฏิบัติหนาที่แลวขับรถยนตจนเกิดอุบัติเหตุ ทำให รถยนตกระบะที่จำเลยมอบใหใชงานเสียหาย โดยตรวจพบปริมาณแอลกอฮอลในรางกาย โจทกสูงเกินกวาปริมาณที่กฎหมายกำหนด จนถูกดำเนินคดีและพักใชใบอนุญาต ขับรถยนต ๖ เดือน แมเหตุที่เกิดดังกลาวจะเกิดขึ้นหลังเลิกงานก็ตาม แตก็เกิดจากการที่ โจทกไมปฏิบัติตามระเบียบนโยบายของจำเลยโดยการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอลในปริมาณ


๙๘ เกินสมควร ทั้งยังขับขี่ยานพาหนะ จนเปนเหตุใหเกิดอุบัติเหตุและรถยนตกระบะที่จำเลย มอบไวใหใชงานเสียหาย การกระทำของโจทกจึงเปนการฝาฝนระเบียบหรือคำสั่งของจำเลย อันชอบดวยกฎหมายและเปนธรรมในกรณีรายแรง จำเลยจึงเลิกจางโจทกไดโดยไมตอง บอกกลาวลวงหนาตาม ป.พ.พ. มาตรา ๕๘๓ และไมตองจายคาชดเชยตาม พ.ร.บ. คุมครอง แรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา ๑๑๙ (๔) โจทกฟองขอใหบังคับจำเลยจายสินจางแทนการบอกกลาวลวงหนา ๖๑,๖๘๖ บาท พรอมดอกเบี้ยอัตรารอยละ ๗.๕ ตอป นับแตวันฟองเปนตนไปจนกวาจะชำระเสร็จ และคาชดเชย ๒๗๔,๑๖๐ บาท พรอมดอกเบี้ยอัตรารอยละ ๑๕ ตอป นับแตวันเลิกจางเปนตนไปจนกวาจะ ชำระเสร็จ จำเลยใหการขอใหยกฟอง ศาลแรงงานกลางพิพากษาใหจำเลยจายสินจางแทนการบอกกลาวลวงหนา ๖๑,๖๘๖ บาท พรอมดอกเบี้ยอัตรารอยละ ๗.๕ ตอป นับแตวันฟอง (ฟองวันที่ ๒ กันยายน ๒๕๕๙) เปนตนไป จนกวาจะชำระเสร็จ และคาชดเชย ๒๗๔,๑๖๐ บาท พรอมดอกเบี้ยอัตรารอยละ ๑๕ ตอป นับแต วันฟองเปนตนไปจนกวาจะชำระเสร็จแกโจทก คำขออื่นนอกจากนี้ใหยก จำเลยอุทธรณ ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษแผนกคดีแรงงานวินิจฉัยวา ศาลแรงงานกลางฟงขอเท็จจริงวา จำเลยเปนนิติบุคคลประเภทบริษัทจำกัด มีวัตถุประสงคประกอบกิจการจำหนายเครื่องดื่ม แอลกอฮอล เมื่อวันที่ ๑๗ มีนาคม ๒๕๕๑ จำเลยรับโจทกเขาทำงานเปนลูกจาง ตำแหนงสุดทาย พนักงานขายอาวุโส ปฏิบัติหนาที่อยูจังหวัดนครปฐม จังหวัดราชบุรีและจังหวัดกาญจนบุรี จำเลย มีขอบังคับเกี่ยวกับการทำงานหมวดที่ ๘ ขอ ๓.๕.๓ พนักงานตองระวังรักษาทรัพยสินของบริษัท มิใหสูญหายหรือถูกทำลายไป แมจะไมใชหนาที่โดยตรงของตน ขอ ๓.๗.๕ พนักงานตองไมกระทำการ ใด ๆ อันเปนการผิดกฎหมายที่มีโทษทางอาญาโดยเจตนาถึงแมวาจะไมถูกดำเนินคดีก็ตาม จำเลยมีนโยบายเกี่ยวกับการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอลป ๒๕๔๘ ซึ่งใชกับพนักงานทุกตำแหนงวา การดื่มในปริมาณที่พอเหมาะ โดยพิจารณาถึงความเหมาะสมของสถานที่ เวลา และเหตุผล และ เมื่อดื่มแลวไมควรขับขี่ยานพาหนะใด ๆ และนโยบายเกี่ยวกับการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล ป ๒๕๕๐ ขอ ๔.๕ การใชวินัยอยางเครงครัด หรือการเลิกจางพนักงานทีเอพีบีซึ่งขับขี่พาหนะของ บริษัทในขณะปฏิบัติหนาที่ของตน และขอ ๔.๕.๑ กระทำความผิดเกี่ยวกับการดื่มแลวขับขี่ และ


๙๙ นำไปสูการเสียใบอนุญาตขับขี่ซึ่งเปนผลใหไมสามารถปฏิบัติหนาที่ตามปกติของตนได ขอ ๔.๕.๒ ทำใหทรัพยสินของบริษัทและ/หรือทรัพยสินของบุคคลที่สามเสียหาย โดยพนักงานอาจตองรับ ผิดชอบเปนการสวนตัวตอคาใชจายในการซอมแซมหรือหาทรัพยสินนั้นมาทดแทน ซึ่งจำเลยใช เปนเหตุในการเลิกจางโจทกโดยไมจายคาชดเชยและสินจางแทนการบอกกลาวลวงหนาตามหนังสือ เลิกจาง ลงวันที่ ๑ มิถุนายน ๒๕๕๙ จำเลยมอบรถยนตกระบะ ยี่หอโตโยตา หมายเลขทะเบียน ๔ กฆ ๖๑๑๘ กรุงเทพมหานคร ซึ่งทำสัญญาลิสซิ่งกับบริษัทซูมิโตโม มิตซุย ออโต ลิสซิ่ง แอนด เซอรวิส (ไทยแลนด) จำกัด ใหโจทกไวใชในการปฏิบัติงาน มีการทำประกันภัยรถยนตดังกลาวไว ที่บริษัทแอกซา ประกันภัย จำกัด (มหาชน) เมื่อวันที่ ๑๓ เมษายน ๒๕๕๙ โจทกเขาทำงานที่ จังหวัดนครปฐมตั้งแตเวลา ๑๐ นาิกา โดยไปพบลูกคาตามรานตาง ๆ มีการดื่มสุราและเบียร วันดังกลาวเปนชวงเทศกาลสงกรานต รานลูกคาสุดทายที่โจทกไปพบปดเกินเวลาตามกฎหมาย โดยปดรานเวลา ๓ นาิกา ของวันที่ ๑๔ เมษายน ๒๕๕๙ โจทกจึงเลิกงานเวลา ๓ นาิกา ของวันที่ ๑๔ เมษายน ๒๕๕๙ และนั่งพักจนถึงเวลา ๔ นาิกา จึงขับรถยนตกระบะดังกลาวกลับ ที่พักจังหวัดนครปฐม ระหวางทางโจทกประสบอุบัติเหตุ เปนเหตุใหรถยนตกระบะไดรับความ เสียหายและคูกรณีไดรับบาดเจ็บสาหัส เจาพนักงานตำรวจตรวจวัดปริมาณแอลกอฮอลในรางกาย ของโจทกแลวพบวามีปริมาณแอลกอฮอลในรางกายสูงถึง ๑๔๓ มิลลิกรัมเปอรเซ็นต และเปน ปริมาณที่มากเกินกวาที่กฎหมายกำหนด โจทกถูกฟองที่ศาลแขวงนครปฐม เมื่อวันที่ ๑๔ เมษายน ๒๕๕๙ และศาลแขวงนครปฐมมีคำพิพากษาวาโจทกมีความผิดตามฟอง คงจำคุก ๒ เดือน และ ปรับ ๔,๐๐๐ บาท โทษจำคุกใหรอการลงโทษไวมีกำหนด ๒ ป โดยใหโจทกไปรายงานตัวตอ พนักงานคุมประพฤติ ๓ ครั้ง ภายในเวลา ๑ ป และใหโจทกทำกิจกรรมบริการสังคมและสาธารณประโยชน ตามที่เจาพนักงานคุมประพฤติและโจทกเห็นสมควรมีกำหนด ๒๔ ชั่วโมง และพักใช ใบอนุญาตขับรถยนตสวนบุคคล เลขที่ ๕๑๐๑๐๔๑๒ ของโจทกมีกำหนด ๖ เดือน นับแตวันมี คำพิพากษา บริษัทแอกซา ประกันภัย จำกัด (มหาชน) ไดซอมแซมรถยนตกระบะใหแกจำเลย เรียบรอยแลว สวนคูกรณีที่ไดรับบาดเจ็บบริษัทดังกลาวไดจายคาเสียหายและโจทกก็จายเงิน สวนตัวเพิ่มเติมใหแกคูกรณีไปแลวโดยจำเลยไมไดจายเงินจำนวนใด ๆ ในเหตุดังกลาว ตอมา วันที่ ๑ มิถุนายน ๒๕๕๙ จำเลยมีหนังสือเลิกจางโจทก แลวศาลแรงงานกลางวินิจฉัยวา นโยบาย ของจำเลยไมไดหามพนักงานขายดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอลในขณะปฏิบัติหนาที่เปนการเด็ดขาด เพียงกำหนดใหดื่มในปริมาณที่พอเหมาะ โดยพิจารณาถึงความเหมาะสมของสถานที่ เวลา แมโจทกจะดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอลขณะปฏิบัติหนาที่แตขณะเกิดอุบัติเหตุไมใชเวลาทำงาน ของโจทกและเปนชวงเดินทางกลับที่พัก บริษัทแอกซา ประกันภัย จำกัด (มหาชน) ไดซอมแซม


๑๐๐ รถยนตกระบะใหแกจำเลยและจายคาเสียหายใหแกคูกรณีที่ไดรับบาดเจ็บเรียบรอยแลว และโจทก ไดจายเงินสวนตัวเพิ่มเติมดวย จึงฟงไมไดวาโจทกกระทำผิดขอบังคับเกี่ยวกับการทำงาน หมวดที่ ๘ ขอ ๓.๕.๓ การกระทำของโจทกไมเปนการกระทำผิดอาญาโดยเจตนาตอนายจาง ถือวาไมเปน การกระทำผิดตามขอ ๓.๗.๕ ไมเปนการผิดตอนโยบายเกี่ยวกับการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล ของจำเลยขอ ๔.๕ ขอ ๔.๕.๑ คงเปนความผิดตามขอ ๔.๕.๒ ซึ่งถือวาไมใชกรณีรายแรง ไมเปน การจงใจขัดคำสั่งของนายจางอันชอบดวยกฎหมาย ละเลยไมนำพาตอคำสั่งเชนวานั้นเปนอาจิณ ดังนั้นจำเลยจึงตองจายสินจางแทนการบอกกลาวลวงหนาและคาชดเชยพรอมดอกเบี้ยแกโจทก คดีมีปญหาตองวินิจฉัยตามอุทธรณของจำเลยวา การกระทำของโจทกถือเปนการฝาฝน ระเบียบ ขอบังคับเกี่ยวกับการทำงาน และนโยบายเกี่ยวกับการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอลของ จำเลยกรณีรายแรง อันทำใหจำเลยมีสิทธิเลิกจางโจทกไดโดยไมตองจายคาชดเชยและสินจางแทน การบอกกลาวลวงหนาพรอมดอกเบี้ยตามฟองหรือไม เห็นวา แมนโยบายเกี่ยวกับการบริโภค เครื่องดื่มแอลกอฮอล จะไมไดหามพนักงานขายดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอลในขณะปฏิบัติหนาที่ เปนการเด็ดขาดก็ตาม แตจำเลยวางนโยบายไววาควรดื่มในปริมาณที่พอเหมาะ และเมื่อดื่มแลว ไมควรขับขี่ยานพาหนะใด ๆ ทั้งยังกำหนดโทษทางวินัยถึงการเลิกจางพนักงานที่ขับขี่ยานพาหนะ ของจำเลยในขณะปฏิบัติหนาที่ ซึ่งไดกระทำความผิดเกี่ยวกับการดื่มแลวขับและนำไปสูการสูญเสีย ใบอนุญาตขับรถยนตอันเปนผลใหไมสามารถปฏิบัติหนาที่ตามปกติของตนได ทำใหทรัพยสินของ จำเลยและหรือของบุคคลที่สามเสียหาย นโยบายดังกลาวมีความมุงหมายที่จะหามมิใหพนักงาน ขับขี่ยานพาหนะใด ๆ เมื่อมีการดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล อันเปนนโยบายทางดานความปลอดภัย ในชีวิตและทรัพยสินของพนักงานและสาธารณชนทั่วไป เพื่อปองกันอันตรายหรือความเสียหาย ที่อาจเกิดแกพนักงานหรือทรัพยสินของจำเลยอันอาจเกิดขึ้นไดไวลวงหนา เพราะการดื่มเครื่องดื่ม ที่มีแอลกอฮอลกอใหเกิดความประมาทในการปฏิบัติหนาที่ และยังอาจกอใหเกิดผลกระทบตอ ชื่อเสียงและภาพลักษณของจำเลยซึ่งเปนบริษัทที่จำหนายเครื่องดื่มแอลกอฮอลได ทั้งการขับรถ ในขณะเมาสุรายังเปนความผิดตอกฎหมายซึ่งมีโทษทางอาญา อาจกอใหเกิดอุบัติเหตุไดงาย อันจะทำใหจำเลยเสียหายและอาจเปนอันตรายตอชีวิต รางกาย หรือทรัพยสินของบุคคลภายนอก ดวย ระเบียบและนโยบายของจำเลยในเรื่องดังกลาวจึงชอบดวยกฎหมายและเปนธรรมแลว ดังนั้น การที่โจทกดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอลขณะปฏิบัติหนาที่แลวขับรถยนตจนเกิดอุบัติเหตุ ทำให รถยนตกระบะที่จำเลยมอบใหใชงานเสียหาย โดยตรวจพบปริมาณแอลกอฮอลในรางกายโจทก สูงเกินกวาปริมาณที่กฎหมายกำหนด และถูกดำเนินคดีและพักใชใบอนุญาตขับรถยนต ๖ เดือน แมเหตุที่เกิดดังกลาวจะเกิดขึ้นหลังเลิกงานและเปนชวงเดินทางกลับที่พักก็ตาม แตก็เกิดจากการ


๑๐๑ ที่โจทกไมปฏิบัติตามระเบียบนโยบายของจำเลยโดยการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอลในปริมาณเกิน สมควรในขณะปฏิบัติหนาที่ ทั้งยังขับขี่ยานพาหนะจนเปนเหตุใหเกิดอุบัติเหตุและรถยนตกระบะ ที่จำเลยมอบไวใหใชงานเสียหาย การกระทำของโจทกจึงเปนการฝาฝนระเบียบหรือคำสั่งของ จำเลยอันชอบดวยกฎหมายและเปนธรรมในกรณีรายแรง จำเลยจึงเลิกจางโจทกไดโดยไมตอง บอกกลาวลวงหนาตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา ๕๘๓ และไมตองจายคาชดเชย ตามพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา ๑๑๙ (๔) ที่ศาลแรงงานกลางพิพากษา มานั้น ไมตองดวยความเห็นของศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษ อุทธรณของจำเลยขอนี้ฟงขึ้น กรณี ไมจำตองวินิจฉัยอุทธรณของจำเลยขออื่นอีกตอไปเพราะไมทำใหผลคดีเปลี่ยนแปลง พิพากษากลับใหยกฟอง. พรรณทิพย วัฒนกิจการ - ยอ สุโรจน จันทรพิทักษ - ตรวจ (กนกรดา ไกรวิชญพงศ - ธีระพล ศรีอุดมขจร - อนุวัตร ขุนทอง)


๑๐๒ คำพิพากษาศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษที่ ๑๔๓๖/๒๕๖๑ หางหุนสวนจำกัดซี.เอ็ม. อินเตอร แพ็ค โจทก นายสุพรรณ วิรุณพันธุ กับพวก จำเลย ป.พ.พ. มาตรา ๑๕๐, ๖๘๑ วรรคสอง, ๖๘๕/๑ พ.ร.บ. คุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา ๑๐ วรรคหนึ่ง ประกาศกระทรวงแรงงาน เรื่อง หลักเกณฑและวิธีการเรียกหรือรับหลักประกันการทำงาน หรือหลักประกันความเสียหายในการทำงานจากลูกจาง พ.ศ. ๒๕๕๑ ขอ ๑๐ วรรคหนึ่ง เมื่อจำเลยที่ ๒ ตกลงทำสัญญาค้ำประกันมอบไวแกโจทกภายหลังจากที่ประกาศ กระทรวงแรงงาน เรื่อง หลักเกณฑและวิธีการเรียกหรือรับหลักประกันการทำงานหรือ หลักประกันความเสียหายในการทำงานจากลูกจาง พ.ศ. ๒๕๕๑ มีผลใชบังคับแลว การทำ สัญญาค้ำประกันจึงตองระบุจำนวนเงินสูงสุดที่ค้ำประกันไวไมเกินหกสิบเทาของอัตรา คาจางรายวันโดยเฉลี่ยที่ลูกจางไดรับตามประกาศดังกลาว แตสัญญาค้ำประกันที่จำเลยที่ ๒ ทำมอบไวแกโจทกมิไดระบุจำนวนเงินสูงสุดที่ค้ำประกันไว โดยระบุใหจำเลยที่ ๒ รับผิด ชดใชคาเสียหายที่เกิดขึ้นทั้งจำนวน เทากับกำหนดใหจำเลยที่ ๒ รับผิดไมจำกัดจำนวน จึงขัดตอ พ.ร.บ. คุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา ๑๐ วรรคหนึ่ง และประกาศกระทรวง แรงงาน เรื่อง หลักเกณฑและวิธีการเรียกหรือรับหลักประกันการทำงานหรือหลักประกัน ความเสียหายในการทำงานจากลูกจาง พ.ศ. ๒๕๕๑ ขอ ๑๐ วรรคหนึ่ง อยางชัดแจง ทั้งนี้ กฎหมายไมเปดชองใหกระทำในลักษณะที่ไมกำหนดจำนวนเงินสูงสุดที่ค้ำประกันแลว สามารถเลือกไดวาหากความเสียหายไมเกินหกสิบเทาของอัตราคาจางรายวันโดยเฉลี่ย ที่ลูกจางไดรับจะผูกพันผูค้ำประกันทุกจำนวน แตถาความเสียหายเกินหกสิบเทาของอัตรา คาจางรายวันโดยเฉลี่ยที่ลูกจางไดรับก็ผูกพันผูค้ำประกันเฉพาะสวนที่ไมเกินหกสิบเทา โดยความเสียหายที่เกินจากนั้นไมสามารถบังคับเอาแกผูค้ำประกันได ดังที่โจทกอุทธรณไม เพราะหากเปนเชนนั้นเมื่อสบโอกาสโจทกสามารถเรียกใหผูค้ำประกันรับผิดเต็มตามสัญญา ซึ่งอาจเกินหกสิบเทาของอัตราคาจางรายวันโดยเฉลี่ยที่ลูกจางไดรับเฉกเชนที่โจทกฟอง ขอใหบังคับจำเลยที่ ๒ รวมรับผิดกับจำเลยที่ ๑ เต็มจำนวน ซึ่งเมื่อคำนวณแลวเกินหกสิบเทา


๑๐๓ ของอัตราคาจางรายวันโดยเฉลี่ยที่จำเลยที่ ๑ ไดรับ การทำสัญญาค้ำประกันตามฟองจึงมี วัตถุประสงคเปนการตองหามชัดแจงโดยกฎหมาย ขัดตอความสงบเรียบรอยของประชาชน ตกเปนโมฆะตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๕๐ โจทกฟอง ขอใหบังคับจำเลยทั้งสองรวมกันชำระเงิน ๓๒๑,๕๙๒ บาท พรอมดอกเบี้ย อัตรารอยละ ๗.๕ ตอป ของตนเงิน ๓๑๔,๙๗๓ บาท นับถัดจากวันฟองเปนตนไปจนกวาจะชำระ เสร็จแกโจทก จำเลยที่ ๑ ขาดนัด จำเลยที่ ๒ ใหการดวยวาจา ขอใหยกฟอง ศาลแรงงานภาค ๔ พิพากษาใหจำเลยที่ ๑ ชำระเงิน ๓๑๔,๙๗๓ บาท พรอมดอกเบี้ย อัตรารอยละ ๗.๕ ตอป นับแตวันที่ ๑๘ มิถุนายน ๒๕๖๐ เปนตนไปจนกวาจะชำระเสร็จแกโจทก แตดอกเบี้ยคิดถึงวันฟอง (ฟองวันที่ ๒๙ กันยายน ๒๕๖๐) ตองไมเกิน ๖,๖๑๙ บาท ยกฟองโจทก สำหรับจำเลยที่ ๒ โจทกอุทธรณ ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษแผนกคดีแรงงานวินิจฉัยวา ศาลแรงงานภาค ๔ ฟงขอเท็จจริงวา จำเลยที่ ๑ เปนพนักงานของโจทก ตำแหนงพนักงานขับรถขนสงสินคาและขายสินคา มีหนาที่ ขับรถยนตนำสินคาประเภทผลิตภัณฑบำรุงรักษารถยนตที่โจทกมอบหมายไปสงขายใหแกลูกคา และรับเงินคาสินคาจากลูกคาแทนโจทก จำเลยที่ ๒ เปนผูค้ำประกันโดยทำสัญญาค้ำประกัน มอบไวแกโจทกเมื่อวันที่ ๘ เมษายน ๒๕๕๘ สัญญาค้ำประกันดังกลาวระบุวา ในระหวาง สัญญาจางนี้หากผูรับจางไดกอใหเกิดหนี้สิน หรือกระทำการใดอันกอใหเกิดความเสียหายแกผูวาจาง ผูค้ำประกันยอมรับผิดใชหนี้และหรือคาเสียหายทั้งหมดที่เกิดขึ้นจริงทั้งจำนวนใหแกผูวาจางทันที โดยไมอางเหตุใด ๆ มาปดความรับผิดชอบเปนอันขาด ระหวางเดือนพฤษภาคมถึงเดือนมิถุนายน ๒๕๖๐ จำเลยที่ ๑ รับเงินคาสินคาจากลูกคาไว ๒๙๗,๐๗๔ บาท แลวไมนำสงโจทก จำเลยที่ ๑ เบิกสินคาเพื่อไปสงขายคิดเปนเงิน ๑๑,๑๕๕ บาท แตไมนำสินคานั้นไปสงขาย กับเบิกเบี้ยเลี้ยง และคาโทรศัพทของเดือนมิถุนายน ๒๕๖๐ เปนเวลา ๒๔ วัน เปนเงิน ๒๐,๒๐๐ บาท แตจำเลยที่ ๑ ทำงานใหแกโจทกเพียง ๑๖ วัน แลววินิจฉัยวาจำเลยที่ ๑ รับเงินคาสินคาจากลูกคาแตไมนำสง โจทก เบิกสินคาไปสงขายแตไมนำไปสงขาย เปนการทำละเมิดและผิดสัญญาจางแรงงานตอง ชดใชคาเสียหายดังกลาวใหแกโจทกพรอมดอกเบี้ย การที่จำเลยที่ ๑ เบิกเบี้ยเลี้ยงและคาโทรศัพท


๑๐๔ ของเดือนมิถุนายน ๒๕๖๐ ไป ๒๔ วัน แตทำงานใหโจทกเพียง ๑๖ วัน จึงตองคืนเงินที่เบิกเกินไป ๖,๗๔๔ บาท ใหแกโจทกพรอมดอกเบี้ย สวนสัญญาค้ำประกันเปนการเรียกหรือรับหลักประกัน เกินหกสิบเทาของอัตราคาจางรายวันโดยเฉลี่ยที่ลูกจางไดรับ ขัดตอพระราชบัญญัติคุมครอง แรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา ๑๐ และประกาศกระทรวงแรงงาน เรื่อง หลักเกณฑและวิธีการเรียก หรือรับหลักประกันการทำงานหรือหลักประกันความเสียหายในการทำงานจากลูกจาง พ.ศ. ๒๕๕๑ จึงมีวัตถุประสงคเปนการตองหามชัดแจงโดยกฎหมาย ตกเปนโมฆะตามประมวลกฎหมายแพง และพาณิชย มาตรา ๑๕๐ จำเลยที่ ๒ จึงไมตองรับผิดตามสัญญาค้ำประกันดังกลาว คดีมีปญหาวินิจฉัยตามอุทธรณของโจทกวา จำเลยที่ ๒ ตองรับผิดตอโจทกหรือไม เพียงใด โดยโจทกอุทธรณวา สัญญาค้ำประกันที่จำเลยที่ ๒ ทำมอบไวแกโจทกเปนการค้ำประกัน หนี้ในอนาคตที่ไมอาจคาดหมายได ความเสียหายจะมีเพียงใดจึงขึ้นอยูกับการกระทำของจำเลย ที่ ๑ หากความเสียหายไมเกินหกสิบเทาของอัตราคาจางรายวันโดยเฉลี่ยที่จำเลยที่ ๑ ไดรับ ยอมผูกพันจำเลยที่ ๒ ทุกจำนวน แตถาความเสียหายเกินหกสิบเทาของอัตราคาจางรายวันโดย เฉลี่ยที่จำเลยที่ ๑ ไดรับ ก็ผูกพันจำเลยที่ ๒ เฉพาะสวนที่ไมเกินหกสิบเทา ความเสียหายที่เกิน จากนั้นไมสามารถบังคับเอาแกจำเลยที่ ๒ ได สัญญาค้ำประกันดังกลาวจึงมิไดเปนการกำหนด จำนวนเงินที่ค้ำประกันเกินหกสิบเทาของอัตราคาจางรายวันโดยเฉลี่ยที่จำเลยที่ ๑ ไดรับ นอกจากนี้ สัญญาค้ำประกันที่ขัดตอพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา ๑๐ และประกาศ กระทรวงแรงงาน เรื่อง หลักเกณฑและวิธีการเรียกหรือรับหลักประกันการทำงานหรือหลักประกัน ความเสียหายในการทำงานจากลูกจาง พ.ศ. ๒๕๕๑ ที่จะทำใหเปนโมฆะตองเปนกรณีที่นายจาง ไมมีสิทธิเรียกหรือรับหลักประกันการทำงานหรือหลักประกันความเสียหายในการทำงานจาก ลูกจางแลวไปเรียก หรือรับหลักประกัน แตโจทกมีสิทธิเรียกหรือรับหลักประกัน ดังนั้น สัญญา ค้ำประกันที่จำเลยที่ ๒ ทำมอบไวแกโจทกจึงมีผลสมบูรณและบังคับได หาตกเปนเปนโมฆะ ทั้งฉบับดังที่ศาลแรงงานภาค ๔ วินิจฉัยไม เห็นวา การที่พระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา ๑๐ หามมิใหนายจางเรียกหรือรับหลักประกันการทำงานหรือหลักประกันความเสียหาย ในการทำงานจากลูกจาง เวนแตลักษณะหรือสภาพของงานที่ทำนั้นลูกจางตองรับผิดชอบเกี่ยวกับ การเงินหรือทรัพยสินของนายจางซึ่งอาจกอใหเกิดความเสียหายแกนายจางได ก็เพื่อมิใหเปนภาระ แกลูกจางเกินความจำเปน อันเปนการคุมครองลูกจางทางหนึ่ง ในขณะเดียวกันก็เปนประโยชน แกนายจางที่ไมตองวิตกกังวลเกี่ยวกับการทำงานของลูกจางเนื่องจากมีหลักประกัน แมในคดีนี้ งานที่จำเลยที่ ๑ รับผิดชอบจะมีลักษณะหรือสภาพที่กอใหเกิดสิทธิแกโจทกในอันที่จะเรียกหรือ รับหลักประกันการทำงานหรือหลักประกันความเสียหายในการทำงานดังอุทธรณของโจทกก็ตาม


๑๐๕ แตการเรียกหรือรับหลักประกันเชนวานั้นตองเปนไปตามหลักเกณฑ และวิธีการที่รัฐมนตรีวาการ กระทรวงแรงงานประกาศกำหนดตามที่กฎหมายบัญญัติไวดวย ปรากฏวารัฐมนตรีวาการกระทรวง แรงงานไดอาศัยอำนาจตามพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา ๖ และมาตรา ๑๐ ซึ่งแกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๑ ออกประกาศ กระทรวงแรงงาน เรื่อง หลักเกณฑและวิธีการเรียกหรือรับหลักประกันการทำงานหรือหลักประกัน ความเสียหายในการทำงานจากลูกจาง พ.ศ. ๒๕๕๑ ลงวันที่ ๓ มิถุนายน ๒๕๕๑ ประกาศดังกลาว มีผลใชบังคับตั้งแตวันที่ ๔ กรกฎาคม ๒๕๕๑ เปนตนไป โดยขอ ๑๐ วรรคหนึ่ง กำหนดวาในกรณี ที่นายจางเรียกหรือรับหลักประกันโดยการค้ำประกันดวยบุคคล วงเงินค้ำประกันที่นายจางเรียก ใหผูค้ำประกันรับผิดตองไมเกินหกสิบเทาของอัตราคาจางรายวันโดยเฉลี่ยที่ลูกจางไดรับ และเมื่อ ประกาศดังกลาวมีผลใชบังคับแลว นายจางผูใดฝาฝนหรือไมปฏิบัติตามอาจมีความผิดทางอาญา ตามพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา ๑๔๔ วรรคหนึ่ง กรณีถือวาเปนกฎหมาย เกี่ยวดวยความสงบเรียบรอยของประชาชน อีกทั้งตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา ๖๘๑ วรรคสอง ซึ่งแกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติแกไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย (ฉบับที่ ๒๐) พ.ศ. ๒๕๕๗ มีผลใชบังคับตั้งแตวันที่ ๑๒ กุมภาพันธ ๒๕๕๘ ก็กำหนดวา หนี้ในอนาคตหรือหนี้มีเงื่อนไขจะประกันไวเพื่อเหตุการณซึ่งหนี้นั้นอาจเปนผลไดจริงก็ประกันได แตตองระบุวัตถุประสงคในการกอหนี้รายที่ค้ำประกัน ลักษณะของมูลหนี้ จำนวนเงินสูงสุดที่ ค้ำประกัน และมาตรา ๖๘๕/๑ ซึ่งแกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติแกไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมาย แพงและพาณิชย (ฉบับที่ ๒๑) พ.ศ. ๒๕๕๘ ไดกำหนดวา บรรดาขอตกลงเกี่ยวกับการค้ำประกัน ที่แตกตางไปจากมาตรา ๖๘๑ วรรคหนึ่ง วรรคสองและวรรคสาม ขอตกลงนั้นเปนโมฆะ ซึ่งเปน บทบัญญัติในทำนองเดียวกัน ดังนั้น เมื่อจำเลยที่ ๒ ทำสัญญาค้ำประกันมอบไวแกโจทกภายหลัง จากที่ประกาศกระทรวงแรงงาน เรื่อง หลักเกณฑและวิธีการเรียกหรือรับหลักประกันการทำงาน หรือหลักประกันความเสียหายในการทำงานจากลูกจาง พ.ศ. ๒๕๕๑ ลงวันที่ ๓ มิถุนายน ๒๕๕๑ มีผลใชบังคับแลว การทำสัญญาค้ำประกันจึงตองระบุจำนวนเงินสูงสุดที่ค้ำประกันไวไมเกินหกสิบเทา ของอัตราคาจางรายวันโดยเฉลี่ยที่ลูกจางไดรับตามประกาศดังกลาว แตสัญญาค้ำประกันที่จำเลย ที่ ๒ ทำมอบไวแกโจทกมิไดระบุจำนวนเงินสูงสุดที่ค้ำประกันไว โดยระบุใหจำเลยที่ ๒ รับผิดชดใช คาเสียหายที่เกิดขึ้นทั้งจำนวน เทากับกำหนดใหจำเลยที่ ๒ รับผิดไมจำกัดจำนวน จึงขัดตอ พระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา ๑๐ วรรคหนึ่ง และประกาศกระทรวงแรงงาน เรื่อง หลักเกณฑและวิธีการเรียกหรือรับหลักประกันการทำงานหรือหลักประกันความเสียหายใน การทำงานจากลูกจาง พ.ศ. ๒๕๕๑ ขอ ๑๐ วรรคหนึ่ง อยางชัดแจง ทั้งนี้ กฎหมายไมเปดชองให


๑๐๖ กระทำในลักษณะที่ไมกำหนดจำนวนเงินสูงสุดที่ค้ำประกันแลวสามารถเลือกไดวาหากความ เสียหายไมเกินหกสิบเทาของอัตราคาจางรายวันโดยเฉลี่ยที่ลูกจางไดรับจะผูกพันผูค้ำประกัน ทุกจำนวน แตถาความเสียหายเกินหกสิบเทาของอัตราคาจางรายวันโดยเฉลี่ยที่ลูกจางไดรับก็ ผูกพันผูค้ำประกันเฉพาะสวนที่ไมเกินหกสิบเทา โดยความเสียหายที่เกินจากนั้นไมสามารถบังคับ เอาแกผูค้ำประกันได ดังที่โจทกอุทธรณไม เพราะหากเปนเชนนั้นเมื่อสบโอกาสโจทกสามารถ เรียกใหผูค้ำประกันรับผิดเต็มตามสัญญาซึ่งอาจเกินหกสิบเทาของอัตราคาจางรายวันโดยเฉลี่ย ที่ลูกจางไดรับเฉกเชนที่โจทกฟองขอใหบังคับจำเลยที่ ๒ รวมรับผิดกับจำเลยที่ ๑ เต็มจำนวน ซึ่งเมื่อคำนวณแลวเกินหกสิบเทาของอัตราคาจางรายวันโดยเฉลี่ยที่จำเลยที่ ๑ ไดรับ การทำสัญญา ค้ำประกันตามฟองจึงมีวัตถุประสงคเปนการตองหามชัดแจงโดยกฎหมายขัดตอความสงบเรียบรอย ของประชาชน ตกเปนโมฆะตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา ๑๕๐ ที่ศาลแรงงาน ภาค ๔ หยิบยกปญหาดังกลาวขึ้นแลววินิจฉัยวาสัญญาค้ำประกันตามฟองตกเปนโมฆะและ พิพากษายกฟองนั้น ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษเห็นพองดวย อุทธรณของโจทกฟงไมขึ้น พิพากษายืน. มนุเชษฐ โรจนศิริบุตร - ยอ สุโรจน จันทรพิทักษ - ตรวจ (ไพรัช โปรงแสง - วิโรจน ตุลาพันธุ - ปณิธาน วิสุทธากร)


๑๐๗ คำพิพากษาศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษที่ ๒๖๘๔/๒๕๖๑ นายธวัชชัย คนไว โจทก บริษัทฮารดแวร เฮาส แอนด โฮม โปรดักส จำกัด จำเลย พ.ร.บ. คุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา ๑๑๙ (๔) (๕) หนังสือเตือนของจำเลยมีขอความวาโจทกปฏิบัติผิดขอบังคับในการทำงานของ จำเลย ขอ ๙.๒.๑๘ และขอ ๙.๕.๓.๑ แมจะมีรายละเอียดของขอบังคับ แตไมมีขอความ ที่มีลักษณะเปนการเตือนโดยหามมิใหโจทกกระทำเชนนั้นซ้ำอีก คงมีแตถอยคำวาผูมี อำนาจในการสอบสวนและพิจารณาโทษไดวินิจฉัยขอเท็จจริงแลว เห็นสมควรตักเตือน เปนลายลักษณอักษร และมีผลใหพนสภาพการเปนพนักงานของจำเลยโดยทันที เอกสาร ดังกลาวจึงเปนเพียงหนังสือของจำเลยที่แจงการปฏิบัติผิดขอบังคับในการทำงานของ จำเลยใหโจทกทราบเทานั้น แมจะมีขอความวาหนังสือเตือนอยูที่ดานบนของเอกสาร ก็ตาม หนังสือดังกลาวจึงไมเปนหนังสือเตือนตาม พ.ร.บ. คุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา ๑๑๙ (๔) แตอยางไรก็ดี หนังสือเตือนดังกลาวมีขอความวามีผลใหพนสภาพการเปน พนักงานของจำเลยโดยทันที จึงมีสภาพเปนหนังสือเลิกจาง แมกรรมการผูจัดการซึ่งเปน ผูมีอำนาจกระทำการแทนจำเลยยังไมไดลงลายมือชื่อในหนังสือดังกลาวซึ่งเปนเพียง สำเนาก็ตาม แตขอเท็จจริงที่ศาลแรงงานกลางฟงมาปรากฏพฤติการณวาผูจัดการฝาย บุคคลของจำเลยซึ่งมีหนาที่ควบคุมดูแลพนักงานของจำเลยเปนผูลงลายมือชื่อใหโจทก พนสภาพจากการเปนพนักงานของจำเลย จึงถือไดวาผูจัดการฝายบุคคลของจำเลยเปน ตัวแทนเชิดของจำเลยแลวในการเลิกจางโจทก ซึ่งมีผลทำใหถือวาจำเลยเปนผูเลิกจาง โจทก การที่โจทกไมมาทำงานจึงไมใชการละทิ้งหนาที่เปนเวลาสามวันทำงานติดตอกัน โดยไมมีเหตุอันสมควรตาม พ.ร.บ. คุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา ๑๑๙ (๕) การ เลิกจางตามหนังสือเลิกจางจึงเปนการเลิกจางโดยไมชอบ ไมเขาขอยกเวนที่จะไมตอง จายคาชดเชย และสินจางแทนการบอกกลาวลวงหนาตามกฎหมาย กับเปนการเลิกจาง โดยไมเปนธรรม


๑๐๘ โจทกฟองขอใหบังคับจำเลยจายคาจาง ๕,๓๓๓ บาท คาชดเชย ๑๖,๐๐๐ บาท คาลวงเวลา ๑,๙๐๐ บาท พรอมดอกเบี้ยอัตรารอยละ ๑๕ ตอป ของตนเงินแตละจำนวนดังกลาว นับแต วันฟองจนกวาจะชำระเสร็จแกโจทก สินจางแทนการบอกกลาวลวงหนา ๒๘,๘๐๐ บาท และ คาเสียหายจากการเลิกจางโดยไมเปนธรรม ๔,๔๑๖,๐๐๐ บาท พรอมดอกเบี้ยอัตรารอยละ ๗.๕ ตอป ของตนเงินแตละจำนวนดังกลาว นับแตวันฟองจนกวาจะชำระเสร็จแกโจทก จำเลยใหการขอใหยกฟอง ศาลแรงงานกลางพิพากษาใหจำเลยจายคาชดเชย ๑๖,๐๐๐ บาท พรอมดอกเบี้ยอัตรา รอยละ ๑๕ ตอป นับแตวันฟอง (ฟองวันที่ ๒๑ มีนาคม ๒๕๖๐) เปนตนไปจนกวาจะชำระเสร็จ แกโจทก สินจางแทนการบอกกลาวลวงหนา ๒๘,๘๐๐ บาท และคาเสียหายจากการเลิกจางโดย ไมเปนธรรม ๑๖,๐๐๐ บาท รวมเปนเงิน ๔๔,๘๐๐ บาท พรอมดอกเบี้ยอัตรารอยละ ๗.๕ ตอป นับแตวันฟองเปนตนไปจนกวาจะชำระเสร็จแกโจทก คำขออื่นนอกจากนี้ใหยก จำเลยอุทธรณ ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษแผนกคดีแรงงานวินิจฉัยวา ศาลแรงงานกลางฟงขอเท็จจริง วาจำเลยเปนนิติบุคคลประเภทบริษัทจำกัด โจทกเปนลูกจางจำเลยตั้งแตวันที่ ๒ เมษายน ๒๕๕๙ ทำงานในตำแหนงหัวหนาพนักงานปองกันการสูญเสีย ไดรับคาจางอัตราสุดทายเดือนละ ๑๖,๐๐๐ บาท กำหนดจายคาจาง ทุกวันสิ้นเดือน โดยคำนวณรอบวันทำงานตั้งแตวันที่ ๒๖ ของเดือนถึง วันที่ ๒๕ ของเดือนถัดไป เมื่อวันที่ ๖ มีนาคม ๒๕๖๐ จำเลยแจงเตือนโจทกวาโจทกกระทำผิด รายแรงโดยการโตเถียงแสดงความกาวราวและพูดจาไมสุภาพกับลูกคา ทำใหจำเลยเสื่อมเสีย ชื่อเสียงและไดรับความเสียหาย ตามหนังสือเตือนเอกสารหมาย ล.๔ ซึ่งมีขอความตอนหนึ่งวา ผูมีอำนาจในการสอบสวนและพิจารณาโทษไดวินิจฉัยขอเท็จจริงแลวเห็นสมควรตักเตือนเปน ลายลักษณอักษร และมีผลใหพนสภาพการเปนพนักงานของจำเลยโดยทันที โดยไมปรากฏลายมือชื่อ กรรมการผูจัดการหรือรองกรรมการผูจัดการของจำเลย คงมีเพียงลายมือชื่อผูจัดการฝายบุคคล ของจำเลย โจทกไมยอมลงลายมือชื่อรับทราบในหนังสือดังกลาว และไมมาทำงานตั้งแตวันที่ ๘ มีนาคม ๒๕๖๐ เปนตนไป จำเลยจายคาจางระหวางวันที่ ๒๖ กุมภาพันธ ๒๕๖๐ ถึงวันที่ ๗ มีนาคม ๒๕๖๐ ใหแกโจทก ๕,๓๓๓ บาท แลว และโจทกติดใจรับเงินคาลวงเวลาเพียง ๑,๔๐๐ บาท แลววินิจฉัยวาหากวัตถุประสงคในการออกหนังสือเตือนเอกสารหมาย ล.๔ เพื่อใหโจทก ปรับปรุงตัวและเขาสูขั้นตอนของคณะกรรมการสอบสวนดังที่พยานจำเลยเบิกความ ก็ไมควรมี ขอความวามีผลใหพนสภาพจากการเปนพนักงานของจำเลยโดยทันที เพราะโจทกหรือบุคคลที่ พบเห็นเอกสารนี้ยอมตองเขาใจวาเปนการลงโทษโจทกโดยใหพนสภาพจากการเปนพนักงาน


๑๐๙ และการแจงใหโจทกเขารวมการสอบสวนก็แจงดวยวาจา ไมไดแจงเปนกิจจะลักษณะโดยการทำ เปนลายลักษณอักษรดังเชนหนังสือเตือน ทั้งผูจัดการฝายบุคคลของจำเลยซึ่งถือเปนฝายบริหาร ของจำเลยมีหนาที่ควบคุมดูแลพนักงานของจำเลยเปนผูลงลายมือชื่อ จึงทำใหโจทกเขาใจไดวา ผูมีอำนาจของจำเลยแจงใหโจทกทราบบทลงโทษแลว พนักงานของจำเลยอานขอความในหนังสือ เตือนใหโจทกฟงเพราะโจทกไมยอมลงชื่อรับทราบ ซึ่งถือวาจำเลยไดสงหนังสือฉบับดังกลาวให แกโจทกและโจทกทราบบทลงโทษในหนังสือเตือนแลววา ใหโจทกพนสภาพจากการเปนพนักงาน ดังนั้นการที่โจทกไมมาทำงาน และจำเลยมีหนังสือเลิกจางโจทกโดยอางเหตุวาโจทกละทิ้งหนาที่ เปนเวลาสามวันทำงานติดตอกันโดยไมมีเหตุอันสมควร ก็ยังไมถือวาโจทกมีพฤติการณตามที่ ปรากฏในหนังสือเลิกจาง แตถือวาจำเลยเลิกจางโจทกตามที่ปรากฏในหนังสือเตือนเอกสารหมาย ล.๔ โดยไมมีการสอบสวนใหไดความชัดเจน จึงเปนการเลิกจางที่ไมชอบ และไมเขาขอยกเวนที่ จำเลยจะเลิกจางโจทกไดโดยไมตองจายคาชดเชยตามพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา ๑๑๙ และโจทกมีสิทธิไดรับสินจางแทนการบอกกลาวลวงหนาตามประมวลกฎหมายแพง และพาณิชย มาตรา ๕๘๒ และพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา ๑๗ และ คาเสียหายจากการเลิกจางโดยไมเปนธรรม คดีมีปญหาวินิจฉัยตามอุทธรณของจำเลยในขอ ๒.๑ วา หนังสือตามเอกสารหมาย ล.๔ เปนหนังสือเตือน หรือหนังสือเลิกจาง หรือไม โดยจำเลยอุทธรณวาจำเลยมีระเบียบขั้นตอนปฏิบัติ ในการพิจารณาความผิดของพนักงาน ๕ ขั้นตอน ไดแก ๑. ผูจัดการสาขาทำการไตสวนเบื้องตน และทำหนังสือรายงานเหตุการณมายังผูบริหาร ๒. ผูบริหารแตงตั้งคณะกรรมการสืบสวนขอเท็จจริง และพิจารณาโทษทางวินัย ๓. คณะกรรมการสืบสวนขอเท็จจริงและพิจารณาโทษทางวินัยประชุม ผูจัดการสาขาและเจาหนาที่ที่เกี่ยวของ ๔. คณะกรรมการสืบสวนขอเท็จจริงพิจารณาโทษทางวินัย เรียกพนักงานผูกระทำผิดมาไตสวนและพิจารณาโทษทางวินัย และ ๕. คณะกรรมการสืบสวน ขอเท็จจริงและพิจารณาโทษทางวินัยทำรายงานสรุปสงผูบริหาร หากพนักงานผูนั้นทำผิดจริง ผูจัดการฝายบุคคลจะออกหนังสือเลิกจางเสนอผูบริหารลงชื่ออนุมัติ กรณีของโจทกนั้นจำเลยได แตงตั้งคณะกรรมการตรวจสอบและพิจารณาโทษทางวินัย ซึ่งอยูในขั้นตอนที่ ๓ กำลังจะเขาสู ขั้นตอนที่ ๔ จำเลยจึงออกหนังสือเตือนและมีขอความวามีผลใหพนสภาพการเปนพนักงานของ จำเลย โดยทันทีตามเอกสารหมาย ล.๔ แตกรรมการผูมีอำนาจของจำเลยยังไมไดลงลายมือชื่อ ในหนังสือดังกลาวซึ่งเปนเพียงสำเนา และจำเลยก็ไมไดมอบอำนาจใหผูจัดการฝายบุคคลมีอำนาจ เลิกจางประกอบกับขั้นตอนการไตสวนการกระทำผิดของโจทกยังไมแลวเสร็จยังอยูในขั้นที่ ๔ ซึ่งไมใชขั้นตอนที่จะมีคำสั่งทางหนึ่งทางใด หนังสือเตือนตามเอกสารหมาย ล.๔ จึงไมถือเปนการ


๑๑๐ เลิกจางโจทก การที่ศาลแรงงานกลางฟงวาหนังสือดังกลาวมีผลเปนการเลิกจางโจทกแลว จึง ไมชอบดวยประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย และพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ นั้น เห็นวา หนังสือเตือนนอกจากจะตองมีขอความซึ่งแสดงถึงขอเท็จจริงเกี่ยวกับการฝาฝนขอบังคับ เกี่ยวกับการทำงานหรือคำสั่งของนายจางใหเพียงพอที่ลูกจางจะเขาใจการกระทำนั้นของตนไดแลว ก็จะตองมีขอความที่มีลักษณะเปนการเตือนโดยหามไมใหลูกจางกระทำการเชนนั้นซ้ำอีกดวย หนังสือเตือนของจำเลยมีขอความวาโจทกปฏิบัติผิดขอบังคับในการทำงานของจำเลยขอ ๙.๒.๑๘ และขอ ๙.๕.๓.๑ แมจะมีรายละเอียดของขอบังคับ แตไมมีขอความที่มีลักษณะเปนการเตือนโดย หามมิใหโจทกกระทำเชนนั้นซ้ำอีก คงมีแตถอยคำวาผูมีอำนาจในการสอบสวนและพิจารณาโทษ ไดวินิจฉัยขอเท็จจริงแลวเห็นสมควรตักเตือนเปนลายลักษณอักษร และมีผลใหพนสภาพการเปน พนักงานของจำเลยโดยทันที เอกสารดังกลาวจึงเปนเพียงหนังสือของจำเลยที่แจงการปฏิบัติผิด ขอบังคับในการทำงานของจำเลยใหโจทกทราบเทานั้น แมจะมีขอความวาหนังสือเตือนอยูที่ดานบน ของเอกสารก็ตาม หนังสือดังกลาวจึงไมเปนหนังสือเตือนตามพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา ๑๑๙ (๔) แตอยางไรก็ดีหนังสือเตือนดังกลาวมีขอความวามีผลใหพนสภาพ การเปนพนักงานของจำเลยโดยทันทีจึงมีสภาพเปนหนังสือเลิกจาง แมกรรมการผูจัดการซึ่งเปน ผูมีอำนาจกระทำการแทนจำเลยยังไมไดลงลายมือชื่อในหนังสือดังกลาวซึ่งเปนเพียงสำเนาก็ตาม แตขอเท็จจริงที่ศาลแรงงานกลางฟงมาปรากฏพฤติการณวาผูจัดการฝายบุคคลของจำเลยซึ่งมี หนาที่ควบคุมดูแลพนักงานของจำเลยเปนผูลงลายมือชื่อใหโจทกพนสภาพจากการเปนพนักงาน ของจำเลย จึงถือไดวาผูจัดการฝายบุคคลของจำเลยเปนตัวแทนเชิดของจำเลยแลวในการเลิกจาง โจทก ซึ่งมีผลทำใหถือวาจำเลยเปนผูเลิกจางโจทก การที่โจทกไมมาทำงานจึงไมใชการละทิ้งหนาที่ เปนเวลาสามวันทำงานติดตอกันโดยไมมีเหตุอันสมควรตามพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา ๑๑๙ (๕) การเลิกจางตามหนังสือเลิกจางเอกสารหมาย ล.๘ จึงเปนการ เลิกจางโดยไมชอบ ไมเขาขอยกเวนที่จะไมตองจายคาชดเชย และสินจางแทนการบอกกลาวลวงหนา ตามกฎหมาย และเปนการเลิกจางโดยไมเปนธรรม ที่ศาลแรงงานกลางวินิจฉัยมานั้น ศาลอุทธรณ คดีชำนัญพิเศษเห็นพองดวยในผล อุทธรณของจำเลยฟงไมขึ้น พิพากษายืน. มนุเชษฐ โรจนศิริบุตร - ยอ สุโรจน จันทรพิทักษ - ตรวจ (สุวรรณา แกวบุตตา - อนันต คงบริรักษ - วัฒนา สุขประดิษฐ)


๑๑๑ คำพิพากษาศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษที่ ๔๐๔๒/๒๕๖๑ บริษัทโรงพยาบาล วิภาราม - ปากเกร็ด จำกัด โจทก นายวีระยุทธ ธานีวรรณ กับพวก จำเลย ป.พ.พ. มาตรา ๑๕๐ ป.วิ.พ. มาตรา ๑๔๒ (๕) พ.ร.บ. คุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา ๑๐ วรรคหนึ่ง พ.ร.บ. จัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๓๑ ประกาศกระทรวงแรงงาน เรื่อง หลักเกณฑและวิธีการเรียกหรือรับหลักประกันการทำงาน หรือหลักประกันความเสียหายในการทำงานจากลูกจาง พ.ศ. ๒๕๕๑ ขอ ๔ พ.ร.บ. คุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา ๑๐ วรรคหนึ่ง ประกอบประกาศ กระทรวงแรงงาน เรื่อง หลักเกณฑและวิธีการเรียกหรือรับหลักประกันการทำงานหรือ หลักประกันความเสียหายในการทำงานจากลูกจาง พ.ศ. ๒๕๕๑ ขอ ๔ ที่นายจางจะมีสิทธิ เรียกหรือรับหลักประกันการทำงานหรือหลักประกันความเสียหายในการทำงานไมวาจะ เปนเงินสด ทรัพยสิน หรือการค้ำประกันดวยบุคคลจากลูกจางได จะตองเปนไปเพื่อการ ประกันการทำงานใน ๒ กรณี คือ การประกันความเสียหายจากการทำงานซึ่งลูกจางอาจ กอใหเกิดขึ้นเนื่องจากการทำงานเปนลูกจาง และการประกันการทำงานเพื่อประกันวา ลูกจางจะปฏิบัติตามกำหนดเวลาและเงื่อนไขขอตกลงตามสัญญาจางแรงงาน จึงถือวา สัญญาค้ำประกันที่จำเลยที่ ๒ ทำไวตอโจทกเปนหลักประกันเกี่ยวเนื่องกับการทำงานที่ ตองอยูภายใตบังคับแหง พ.ร.บ. คุมครองแรงงาน พ.ศ ๒๕๔๑ มาตรา ๑๐ และประกาศ กระทรวงแรงงาน เรื่อง หลักเกณฑและวิธีการเรียกหรือรับหลักประกันการทำงานหรือ หลักประกันความเสียหายในการทำงานจากลูกจาง พ.ศ. ๒๕๕๑ และลูกจางนั้นตอง รับผิดชอบเกี่ยวกับการเงิน หรือลูกจางตองรับผิดชอบเกี่ยวกับทรัพยสินของนายจางเทานั้น แตเมื่อพิจารณาขอความในสัญญาจางแรงงาน บันทึกขอตกลง และหนังสือค้ำประกันแลว ตามบันทึกขอตกลงแมจะมีขอความวาจำเลยที่ ๑ ไดรับเงินทุนแตแทจริงแลวเปนเพียงการ ที่โจทกใหเงินแกจำเลยที่ ๑ โดยประสงคจะผูกมัดใหจำเลยที่ ๑ ตองทำงานใหแกโจทก ไมนอยกวา ๕ ป การที่จำเลยที่ ๒ เขาค้ำประกันจึงเปนการประกันวาจำเลยที่ ๑ จะทำงาน


๑๑๒ ใหแกโจทกครบถวนตามกำหนดเวลาดังกลาว จึงเปนการประกันการทำงานนั่นเอง ดังนั้น เมื่อจำเลยที่ ๒ ประกันการทำงานของจำเลยที่ ๑ โดยที่จำเลยที่ ๑ ไมมีหนาที่ตองรับผิดชอบ เกี่ยวกับการเงินหรือทรัพยสินของโจทก โจทกจึงไมสามารถเรียกหรือรับหลักประกันการ ทำงาน หรือหลักประกันความเสียหายในการทำงานดวยการค้ำประกันดวยบุคคลจาก จำเลยที่ ๒ ได ขอตกลงตามหนังสือค้ำประกันดังกลาวจึงเปนการตกลงกันใหผิดแผก แตกตางไปจากบทบัญญัติของมาตรา ๑๐ วรรคหนึ่ง แหง พ.ร.บ. คุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ และขอ ๔ ของประกาศกระทรวงแรงงาน เรื่อง หลักเกณฑและวิธีการเรียกหรือ รับหลักประกันการทำงานหรือหลักประกันความเสียหายในการทำงานจากลูกจาง พ.ศ. ๒๕๕๑ อันเปนกฎหมายที่เกี่ยวดวยความสงบเรียบรอยของประชาชน ตกเปนโมฆะตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๕๐ ศาลแรงงานกลางสามารถยกขึ้นวินิจฉัยไดตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๑๔๒ (๕) ประกอบ พ.ร.บ. จัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๓๑ โจทกฟอง ขอใหบังคับจำเลยทั้งสองรวมกันคืนเงิน ๑๙๑,๘๗๖.๕๐ บาท พรอมดอกเบี้ย อัตรารอยละ ๑๕ ตอป ของตนเงิน ๑๔๐,๐๐๐ บาท นับถัดจากวันฟองเปนตนไปจนกวาชำระเสร็จ แกโจทก จำเลยทั้งสองขาดนัด ศาลแรงงานกลาง พิพากษาใหจำเลยที่ ๑ ชดใชเงิน ๑๙๑,๘๗๖.๕๐ บาท พรอมดอกเบี้ย อัตรารอยละ ๑๕ ตอป ของตนเงิน ๑๔๐,๐๐๐ บาท นับแตวันถัดจากวันฟองเปนตนไปจนกวาจะ ชำระเสร็จแกโจทก ยกฟองจำเลยที่ ๒ โจทกอุทธรณ ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษแผนกคดีแรงงานวินิจฉัยวา ศาลแรงงานกลางฟงขอเท็จจริง วาจำเลยที่ ๑ เปนลูกจางโจทก ในตำแหนงพยาบาลวิชาชีพ ตอมาจำเลยที่ ๑ ผิดสัญญาจางแรงงาน และไมชำระเงินคืนใหแกโจทกตามที่ตกลงกัน แลววินิจฉัยวาจำเลยที่ ๑ ตองชดใชเงินใหแกโจทก แตจำเลยที่ ๒ ในฐานะผูค้ำประกันไมตองรวมรับผิดชดใชเงินใหแกโจทก เนื่องจากจำเลยที่ ๑ ไมไดปฏิบัติหนาที่ในตำแหนงการเงินหรือพนักงานการเงิน จึงไมตองมีผูค้ำประกันการทำงาน คดีมีปญหาตองวินิจฉัยตามอุทธรณของโจทกวา จำเลยที่ ๒ ตองรวมรับผิดกับจำเลยที่ ๑ ชดใชเงินใหแกโจทกหรือไม โจทกอุทธรณวาจำเลยที่ ๒ เปนผูค้ำประกันหนี้ของจำเลยที่ ๑ แต ไมใชเปนการค้ำประกันการทำงานของจำเลยที่ ๑ เห็นวา ตามพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน


๑๑๓ พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา ๑๐ วรรคหนึ่ง ประกอบประกาศกระทรวงแรงงาน เรื่อง หลักเกณฑและวิธี การเรียกหรือรับหลักประกันการทำงานหรือหลักประกันความเสียหายในการทำงานจากลูกจาง พ.ศ. ๒๕๕๑ ขอ ๔ ที่นายจางจะมีสิทธิเรียกหรือรับหลักประกันการทำงานหรือหลักประกันความ เสียหายในการทำงานไมวาจะเปนเงินสด ทรัพยสิน หรือการค้ำประกันดวยบุคคลจากลูกจางได จะตองเปนไปเพื่อการประกันการทำงานใน ๒ กรณี คือ การประกันความเสียหายจากการทำงาน ซึ่งลูกจางอาจกอใหเกิดขึ้นเนื่องจากการทำงานเปนลูกจาง และการประกันการทำงานเพื่อประกัน วาลูกจางจะปฏิบัติตามกำหนดเวลาและเงื่อนไขขอตกลงตามสัญญาจางแรงงาน จึงถือวาสัญญา ค้ำประกันที่จำเลยที่ ๒ ทำไวตอโจทกเปนหลักประกันเกี่ยวเนื่องกับการทำงานที่ตองอยูภายใต บังคับแหงพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา ๑๐ ประกอบประกาศกระทรวง แรงงาน เรื่อง หลักเกณฑและวิธีการเรียกหรือรับหลักประกันการทำงานหรือหลักประกันความ เสียหายในการทำงานจากลูกจาง พ.ศ. ๒๕๕๑ และลูกจางนั้นตองรับผิดชอบเกี่ยวกับการเงิน หรือลูกจางตองรับผิดชอบเกี่ยวกับทรัพยสินของนายจางเทานั้น แตเมื่อพิจารณาขอความในสัญญา จางแรงงาน บันทึกขอตกลง และหนังสือค้ำประกันแลว ตามบันทึกขอตกลงแมจะมีขอความวา จำเลยที่ ๑ ไดรับเงินทุน แตแทจริงแลวเปนเพียงการที่โจทกใหเงินแกจำเลยที่ ๑ โดยประสงคจะ ผูกมัดใหจำเลยที่ ๑ ตองทำงานใหโจทกไมนอยกวา ๕ ป การที่จำเลยที่ ๒ เขาค้ำประกันจึงเปน การประกันวาจำเลยที่ ๑ จะทำงานใหโจทกครบถวนตามกำหนดเวลาดังกลาว จึงเปนการประกัน การทำงานนั่นเอง ดังนั้นเมื่อจำเลยที่ ๒ ประกันการทำงานของจำเลยที่ ๑ โดยที่จำเลยที่ ๑ ไมมี หนาที่ตองรับผิดชอบเกี่ยวกับการเงินหรือทรัพยสินของโจทก โจทกจึงไมสามารถเรียกหรือรับ หลักประกันการทำงานหรือหลักประกันความเสียหายในการทำงานดวยการค้ำประกันดวยบุคคล จากจำเลยที่ ๒ ได ขอตกลงตามหนังสือค้ำประกันดังกลาวจึงเปนการตกลงกันใหผิดแผกแตกตาง ไปจากบทบัญญัติของมาตรา ๑๐ วรรคหนึ่ง แหงพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ และขอ ๔ ของประกาศกระทรวงแรงงาน เรื่อง หลักเกณฑและวิธีการเรียกหรือรับหลักประกันการ ทำงานหรือหลักประกันความเสียหายในการทำงานจากลูกจาง พ.ศ. ๒๕๕๑ อันเปนกฎหมายที่ เกี่ยวดวยความสงบเรียบรอยของประชาชน ตกเปนโมฆะ ตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา ๑๕๐ ศาลแรงงานกลางสามารถยกขึ้นวินิจฉัยไดตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพง มาตรา ๑๔๒ (๕) ประกอบพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๓๑ ที่ศาลแรงงานกลางพิพากษายกฟองจำเลยที่ ๒ มานั้นชอบแลว ศาลอุทธรณ คดีชำนัญพิเศษเห็นพองดวย อุทธรณของโจทกฟงไมขึ้น


๑๑๔ พิพากษายืน. มนุเชษฐ โรจนศิริบุตร - ยอ สุโรจน จันทรพิทักษ - ตรวจ (ศราวุธ ภาณุธรรมชัย - โสภณ พรหมสุวรรณ - พิเชฏฐ รื่นเจริญ)


๑๑๕ คำพิพากษาศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษที่ ๑๒๑๔/๒๕๖๒ นางสาวจันทมาศ จันเทือง โจทก บริษัทอิเล็กทรอนิกส ดาตา ซอรซ แอนด ซัพพลาย จํากัด จำเลย ป.พ.พ. มาตรา ๑๑, ๕๘๒, ๓๘๖ วรรคสอง พ.ร.บ. คุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา ๙, ๑๗, ๑๑๙ พ.ร.บ. จัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๔๙ เมื่อหนังสือแจงปดศูนยบริการซัมซุง สาขาสยามสแควรวัน ลงวันที่ ๓๐ พฤษภาคม ๒๕๖๐ ลงวันที่ ๑ มิถุนายน ๒๕๖๐ ตามเอกสารหมาย ล. ๙ และ จ. ๒ มีขอความทํานองวา จําเลยประกาศใหโจทกและพนักงานทุกคนวา จําเลยขอยุติการจางหรือเลิกจางพนักงาน โดยใหโจทกและพนักงานทุกคนสิ้นสภาพพนักงานตั้งแตวันที่ ๑ กรกฎาคม ๒๕๖๐ เปนตนไป และจําเลยจะจายคาชดเชยตามกฎหมาย แมตามเอกสารหมาย ล.๑๐ จําเลยมีคําสั่งยาย โจทกไปทํางานที่ศูนยบริการซัมซุง สาขาอื่น กําหนดเริ่มทํางานวันที่ ๑ กรกฎาคม ๒๕๖๐ ซึ่งไมตรงหรือสอดคลองกับหนังสือแจงปดศูนยบริการซัมซุง สาขาสยามสแควรวัน ที่ระบุ ใหโจทกสิ้นสภาพการเปนพนักงานจําเลยตั้งแตวันที่ ๑ กรกฎาคม ๒๕๖๐ และจําเลยยินดี จะจายคาชดเชยแกโจทกตามกฎหมาย ดังนั้น เมื่อกรณีมีขอสงสัย จึงตองตีความไปในทาง ที่เปนคุณแกคูกรณีฝายซึ่งจะตองเปนผูเสียในมูลหนี้นั้น ตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๑ จึงตอง ตีความไปในทางที่วา หนังสือแจงปดศูนยบริการซัมซุง สาขาสยามสแควรวันเปนหนังสือ เลิกจางโจทกใหมีผลตั้งแตวันที่ ๑ กรกฎาคม ๒๕๖๐ แลว และเมื่อสัญญาจางแรงงานเปน สัญญาชนิดหนึ่ง เมื่อนายจางซึ่งเปนคูสัญญาแสดงเจตนาเลิกจางกับลูกจางแลว สัญญา จางแรงงานยอมสิ้นสุดลงตามหนังสือแจงปดศูนยบริการซัมซุง สาขาสยามสแควรวัน โดยมีผลตั้งแตวันที่ ๑ กรกฎาคม ๒๕๖๐ การแสดงเจตนาเลิกสัญญา หาถอนไดไมตาม ป.พ.พ. มาตรา ๓๘๖ วรรคสอง การที่จําเลยแจงใหโจทกไปทํางานชั่วคราวที่ศูนยบริการ ซัมซุง สาขาอื่นอีกในภายหลัง จึงหามีผลใดๆ ตามกฎหมายไม เพราะขณะไดรับแจงโจทก ไมมีสภาพเปนลูกจางของจําเลยแลว


๑๑๖ โจทกฟองขอใหจายสินจางแทนการบอกกลาวลวงหนาเปนเงิน ๑๖,๙๒๖ บาท คาเสียหาย จากการเลิกจางไมเปนธรรมเปนเงิน ๖๗,๗๐๔ บาท พรอมดอกเบี้ยอัตรารอยละ ๗.๕ ตอปนับแต วันฟองไปจนกวาจะชำระเสร็จ คาชดเชยเปนเงิน ๑๐๑,๕๕๖ บาท พรอมดอกเบี้ยอัตรารอยละ ๑๕ ตอป ของตนเงินดังกลาวนับแตวันฟองไปจนกวาจะชำระเสร็จแกโจทก จำเลยใหการ ขอใหยกฟอง ศาลแรงงานกลางพิจารณาแลว พิพากษายกฟอง โจทกอุทธรณ ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษแผนกคดีแรงงานวินิจฉัยวา ศาลแรงงานกลางฟงขอเท็จจริงวา จำเลยเปนนิติบุคคลประเภทบริษัทจำกัด โดยเปนตัวแทนที่ไดรับการแตงตั้งจากบริษัท ไทยซัมซุงอิเลคโทรนิคส จำกัด ประกอบธุรกิจจำหนายซอมและใหบริการติดตั้งอะไหลและอุปกรณ อิเล็กทรอนิกสเครื่องใชไฟฟาในสำนักงานชนิดตาง ๆ และเครื่องใชไฟฟาภายใตยี่หอซัมซุงทุกชนิด โจทกทำงานเปนลูกจางจำเลยตั้งแตวันที่ ๒๖ มิถุนายน ๒๕๕๖ ตำแหนงสุดทายเปนเจาหนาที่ ประสานงานประจำศูนยบริการซัมซุง สาขาสยามสแควรวัน คาจางอัตราสุดทายเดือนละ ๑๖,๙๒๖ บาท กำหนดจายทุกวันที่ ๓๐ ของเดือน แลววินิจฉัยวา โจทกละทิ้งหนาที่เกินกวาสามวัน ทำงานติดตอกันจำเลยจึงเลิกจางโจทกโดยเปนการเลิกจางที่เปนธรรมและจำเลยไมตองจายสินจาง แทนการบอกกลาวลวงหนาและคาชดเชยใหแกโจทก คดีมีปญหาตองวินิจฉัยตามอุทธรณของโจทกมีวา จำเลยเลิกจางโจทกตามหนังสือแจง เอกสารหมาย จ.๒ และ จ.๙ หรือไม เห็นวา หนังสือแจงปดศูนยบริการซัมซุง สาขาสยามสแควรวัน ลงวันที่ ๓๐ พฤษภาคม ๒๕๖๐ และวันที่ ๑ มิถุนายน ๒๕๖๐ ตามเอกสารหมาย ล.๙ และ จ.๒ มีขอความทำนองวา จำเลยมีความเสียใจที่จะแจงใหพนักงานทุกทานทราบวาจำเลยมีความจำเปน ตองปดศูนยบริการซัมซุง สาขาสยามสแควรวัน อันเนื่องมาจากบริษัทไทยซัมซุงอิเลคโทรนิคส จำกัด ยกเลิกการเชาพื้นที่ศูนยบริการซัมซุง สาขาสยามสแควรวัน อันสงผลใหจำเลยตองปด ศูนยบริการซัมซุง สาขาสยามสแควรวัน และจำเลยมีความจำเปนที่จะตองยุติการจางงาน (เลิกจาง) พนักงานที่ทำงานประจำสาขาสยามสแควรวัน โดยพนักงานจะสิ้นสุดสภาพการเปนพนักงาน ตั้งแตวันที่ ๑ กรกฎาคม ๒๕๖๐ เปนตนไป จำเลยยินดีจะจายคาชดเชยตามกฎหมาย จำเลย ขอขอบคุณเพื่อนพนักงานทุกทานที่ไดปฏิบัติหนาที่อยางดีตลอดมา และสุดทายนี้จำเลยขอความ รวมมือจากเพื่อนพนักงานทุกทานใหปฏิบัติงานอยางเต็มความสามารถตลอดเดือนมิถุนายน ๒๕๖๐ ถือวา ขอความที่ระบุในหนังสือแจงปดศูนยบริการซัมซุง สาขาสยามสแควรวัน ที่จำเลยปดประกาศ ใหโจทกและพนักงานทุกคนทราบมีขอความยุติการจางหรือการเลิกจางพนักงาน โดยใหโจทกและ


๑๑๗ พนักงานสิ้นสุดสภาพการเปนพนักงานตั้งแตวันที่ ๑ กรกฎาคม ๒๕๖๐ เปนตนไป และจำเลยจะจาย คาชดเชยตามกฎหมาย แมตามเอกสารหมาย ล.๑๐ รายชื่อผูเขารวมประชุมวันที่ ๓๐ พฤษภาคม ๒๕๖๐ พนักงานที่ตองโยกยายสาขาที่ทำงานมีชื่อโจทกอยูในลำดับ ๑๐ มีคำสั่งยายโจทกไปทำงาน ที่ศูนยบริการซัมซุง สาขาศรีนครินทร กำหนดเริ่มทำงานวันที่ ๑ กรกฎาคม ๒๕๖๐ ซึ่งไมตรงหรือ สอดคลองกับหนังสือแจงปดศูนยบริการซัมซุง สาขาสยามสแควรวันที่ระบุใหโจทกสิ้นสุดสภาพ การเปนพนักงานจำเลยตั้งแตวันที่ ๑ กรกฎาคม ๒๕๖๐ และจำเลยยินดีจะจายคาชดเชยแกโจทก ตามกฎหมาย ดังนั้น เมื่อกรณีมีขอสงสัยจึงใหตีความไปในทางที่เปนคุณแกคูกรณีฝายซึ่งจะเปน ผูตองเสียในมูลหนี้นั้นตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา ๑๑ จึงตองตีความไปใน ทางที่วาหนังสือแจงปดศูนยบริการซัมซุง สาขาสยามสแควรวัน เปนหนังสือเลิกจางโจทกใหมีผล ตั้งแตวันที่ ๑ กรกฎาคม ๒๕๖๐ แลว ทั้งรายชื่อผูเขาประชุมตามเอกสารหมาย ล.๑๐ ก็ระบุให โจทกไปทำงานที่ศูนยบริการซัมซุง สาขาศรีนครินทร ซึ่งไมตรงกับการที่จำเลยแจงใหโจทกไป ชวยงานชั่วคราวที่ศูนยบริการ สาขาฟวเจอรพารค รังสิต ปทุมธานี โดยสัญญาจางแรงงานเปน สัญญาชนิดหนึ่ง เมื่อนายจางซึ่งเปนคูสัญญาแสดงเจตนาเลิกจางแกลูกจางโดยการเลิกจางแลว สัญญาจางแรงงานยอมสิ้นสุดลงตามหนังสือแจงปดศูนยบริการซัมซุง สาขาสยามสแควรวัน มีผล ตั้งแตวันที่ ๑ กรกฎาคม ๒๕๖๐ ตามเอกสารหมาย จ.๒ และ ล.๙ การแสดงเจตนาเลิกสัญญา หาอาจถอนไดไม ตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา ๓๘๖ วรรคสอง ดังนั้น การที่จำเลย แสดงเจตนาเลิกจางตอโจทกเมื่อวันที่ตามหนังสือแจงปดศูนยบริการซัมซุง สาขาสยามสแควรวัน ตามเอกสารหมาย จ.๒ และ ล.๙ สัญญาจางแรงงานระหวางโจทกและจำเลยยอมสิ้นสุดลงและ มีผลใหโจทกพนสภาพการเปนลูกจางจำเลยตั้งแตวันที่ ๑ กรกฎาคม ๒๕๖๐ แลว การที่จำเลย แจงใหโจทกไปทำงานชั่วคราวที่ศูนยบริการซัมซุง สาขาฟวเจอรพารครังสิต ปทุมธานีอีก จึงหามี ผลใด ๆ ตามกฎหมายไมเพราะขณะไดรับแจงโจทกไมมีสภาพเปนลูกจางของจำเลยแลว อุทธรณ ของโจทกฟงขึ้น คดีมีปญหาตองวินิจฉัยตามอุทธรณของโจทกตอไปมีวา จำเลยเลิกจางโจทกเปนการ เลิกจางที่ไมเปนธรรมหรือไม เห็นวา การเลิกจางที่ไมเปนธรรมตามพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแรงงาน และวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๔๙ นั้น ศาลจะตองพิจารณาถึงสาเหตุอันเปนมูล ใหมีการเลิกจางวาเปนสาเหตุที่สมควรหรือไม การที่นายจางเลิกจางลูกจางโดยไมมีสาเหตุ หรือแม มีสาเหตุอยูบางแตก็ไมใชสาเหตุที่จำเปนหรือสมควร จนถึงกับตองเลิกจางนั้น ถือวาเปนการเลิกจาง ที่ไมเปนธรรม จำเลยเลิกจางโจทกเพราะบริษัทไทยซัมซุงอิเลคโทรนิคส จำกัด ยกเลิกการเชาพื้นที่ ศูนยบริการซัมซุง สาขาสยามสแควรวัน จำเลยจึงตองปดศูนยบริการซัมซุง สาขาสยามสแควรวัน


๑๑๘ โดยเลิกจางโจทกและพนักงานอื่นโดยไมปรากฏวาโจทกและพนักงานอื่นกระทำผิดก็ตาม แตจำเลย ในฐานะที่เปนตัวแทนที่ไดรับการแตงตั้งจากบริษัทซัมซุงอิเลคโทรนิคส จำกัด มีหนาที่จำหนาย รับซอม รวมทั้งใหบริการติดตั้งอะไหลและอุปกรณอิเล็กทรอนิกส เครื่องใชไฟฟาในสำนักงานตาง ๆ และเครื่องใชไฟฟาภายใตยี่หอซัมซุงทุกชนิด เมื่อบริษัทไทยซัมซุงอิเลคโทรนิคส จำกัด ประสงค จะยกเลิกพื้นที่เชาที่ใชเปนศูนยบริการซัมซุง สาขาสยามสแควรวัน จำเลยยอมไมสามารถปฏิเสธ การปดศูนยบริการซัมซุง สาขาสยามสแควรวันได จำเลยในฐานะนายจางจึงไดเลิกจางลูกจางทุกคน ที่ทำงานที่ศูนยบริการซัมซุง สาขาสยามสแควรวัน ประกอบกับกอนครบกำหนดการทำงานวันที่ ๑ กรกฎาคม ๒๕๖๐ จำเลยไดเสนอใหโจทกไปทำงาน ณ ศูนยบริการซัมซุง สาขาอื่น แตโจทก ปฏิเสธ โดยอางวาโจทกเดินทางไมสะดวก กรณีนี้ถือวา จำเลยไดพยายามบรรเทาผลรายที่จะเกิด แกโจทกแลว การที่จำเลยเลิกจางโจทกไมถือวาเปนการเลิกจางโดยปราศจากเหตุผลอันสมควร จึงไมถือวาเปนการเลิกจางที่ไมเปนธรรม ตามพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณา คดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๔๙ อุทธรณของโจทกในขอนี้ฟงไมขึ้น คดีมีปญหาตองวินิจฉัยตามอุทธรณของโจทกประการสุดทายวา จำเลยตองจายคาชดเชย และสินจางแทนการบอกกลาวลวงหนาหรือไม เพียงใด เห็นวา เมื่อจำเลยเลิกจางโจทก โดยที่โจทก ไมไดกระทำผิดใด ตามพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา ๑๑๙ จำเลยจึงตอง จายคาชดเชยแกโจทก โจทกทำงานติดตอกันครบสามปแตไมครบหกป จำเลยจึงตองจายคาชดเชย ไมนอยกวาคาจางอัตราสุดทายหนึ่งรอยแปดสิบวัน เปนเงิน ๑๐๑,๕๕๖ บาท พรอมดอกเบี้ยอัตรา รอยละ ๑๕ ตอป ตามพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา ๙ ซึ่งถือวาจำเลยผิดนัด ตั้งแตวันเลิกจาง สวนที่โจทกขอใหจำเลยจายสินจางแทนการบอกกลาวลวงหนา ๑๖,๙๒๖ บาท นั้น เห็นวา สินจางแทนการบอกกลาวลวงหนาเปนเงินที่นายจางตองจายใหแกลูกจางเนื่องจาก เลิกจางโดยไมไดบอกกลาวลวงหนาใหถูกตอง อันเปนการฝาฝนประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา ๕๘๒ และมาตรา ๕๘๓ และพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา ๑๗ แตตามหนังสือแจงปดศูนยบริการสาขาสยามสแควรวัน เลิกจางโจทกตามเอกสารหมาย จ.๒ และ ล.๙ ลงวันที่ ๑ มิถุนายน ๒๕๖๐ และลงวันที่ ๓๐ พฤษภาคม ๒๕๖๐ ไมตรงกัน แตทั้งสองฉบับ ใหมีผลใหโจทกสิ้นสุดการเปนพนักงานตั้งแตวันที่ ๑ กรกฎาคม ๒๕๖๐ เปนตนไป ถือวาสัญญา จางแรงงานระหวางจำเลยกับโจทกไมไดกำหนดระยะเวลาการจางไวกอนเลิกจาง จำเลยซึ่งเปน นายจางตองบอกกลาวลวงหนาใหลูกจางทราบเมื่อถึงหรือกอนถึงงวดการจายคาจางโดยใหมีผล เปนการเลิกจางเมื่อถึงงวดจายคาจางถัดไป เมื่อขอเท็จจริงดังกลาว ศาลแรงงานกลางไมได ฟงขอเท็จจริงเปนยุติ เห็นสมควรยอนสำนวนใหศาลแรงงานกลางฟงขอเท็จจริงแลว กำหนดสินจาง แทนการบอกกลาวลวงหนาแกโจทก


๑๑๙ พิพากษาแกเปนวา ใหจำเลยจายคาชดเชย ๑๐๑,๕๕๖ บาท พรอมดอกเบี้ยอัตรารอยละ ๑๕ ตอป นับแตวันเลิกจาง (วันที่ ๑ กรกฎาคม ๒๕๖๐) เปนตนไปจนกวาจะชำระเสร็จแกโจทก และใหศาลแรงงานกลางฟงขอเท็จจริงวา หนังสือแจงปดศูนยบริการตามเอกสารหมาย จ.๒ และ ล.๙ เปนการเลิกจางโจทกในวันใด แลวกำหนดสินจางแทนการบอกกลาวลวงหนาแกโจทก นอกจาก ที่แกใหเปนตามคำพิพากษาศาลแรงงานกลาง. สุเจตน สถาพรนานนท - ยอ สุโรจน จันทรพิทักษ - ตรวจ (เริงศักดิ์ วิริยะชัยวงศ - นาวี สกุลวงศธนา - นงนภา จันทรศักดิ์ ลิ่มไพบูลย)


๑๒๐ คำพิพากษาศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษที่ ๑๒๒๔/๒๕๖๒ ธนาคารออมสิน โจทก นางสาวพิรดาหรือพัฒนนรี ศรีวิวัฒน กับพวก จำเลย ป.พ.พ. มาตรา ๑๙๓/๑๒, ๑๙๓/๓๐ พ.ร.บ. ความรับผิดทางละเมิดของเจาหนาที่ พ.ศ. ๒๕๓๙ มาตรา ๑๐ วรรคสอง โจทกบรรยายฟองถึงความสัมพันธระหวางโจทกกับจำเลยที่ ๑ ถึงที่ ๕ วาเปน พนักงานโจทก ไดทำสัญญาเขาทำงานกับโจทกโดยตกลงจะปฏิบัติตามคำสั่งของโจทกที่ กำหนดไวอยางเครงครัดและดวยความซื่อสัตยสุจริต และระบุถึงการปฏิบัติงานของจำเลย ที่ ๑ วากระทำการทุจริต จำเลยที่ ๒ ที่ ๔ และที่ ๕ ปฏิบัติงานไมเปนไปตามคำสั่งโจทก ปฏิบัติหนาที่ดวยความประมาทเลินเลออยางรายแรง ทำใหโจทกไดรับความเสียหาย คำฟองโจทกจึงเปนการฟองขอใหจำเลยที่ ๑ ถึงที่ ๕ รับผิดทั้งมูลละเมิดและมูลสัญญาจาง แรงงาน ซึ่งในเรื่องผิดสัญญาจางแรงงานมิไดบัญญัติอายุความไวโดยเฉพาะ จึงตองใช อายุความทั่วไป ๑๐ ป ตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๙๓/๓๐ และเริ่มนับแตขณะที่อาจบังคับสิทธิ เรียกรองไดเปนตนไปตามมาตรา ๑๙๓/๑๒ กลาวคือนับแตวันที่จำเลยที่ ๑ กระทำการทุจริต และนับแตวันที่จำเลยที่ ๒ และที่ ๔ รวมกันวิเคราะหและอนุมัติปลอยสินเชื่อไมเปนไป ตามคำสั่งโจทก และนับแตวันที่จำเลยที่ ๕ อนุมัติใหเปดบัญชีไมเปนไปตามคำสั่งโจทก ซึ่งเปนวันผิดสัญญาจางแรงงานอันเปนวันที่โจทกอาจบังคับสิทธิเรียกรองได เมื่อนับถึง วันฟองไมเกิน ๑๐ ป ฟองโจทกจึงไมขาดอายุความ เมื่อจำเลยที่ ๒ และที่ ๔ ในฐานะคณะกรรมการสินเชื่อสาขามีหนาที่ความรับผิดชอบ ที่ตองวิเคราะหสินเชื่อและพิจารณาอนุมัติใหเปนไปตามคำสั่งโจทกและโจทกได แจงเวียนคำสั่งใหพนักงานทราบแลว แตจำเลยที่ ๒ และที่ ๔ ไดพิจารณาอนุมัติสินเชื่อ ใหสูงเกินกวาที่กำหนดไวในคำสั่งและไมไดพิจารณาวัตถุประสงคของการกูเงิน ความ สามารถในการชำระหนี้ และวิเคราะหความเปนไปไดในการขอสินเชื่อใหเปนไปตามคำสั่ง โจทก จนกระทั่งเปนชองทางใหจำเลยที่ ๑ กระทำการทุจริตไดสำเร็จ และจำเลยที่ ๕ ในฐานะผูอนุมัติใหเปดบัญชีมิไดตรวจสอบความถูกตองของเอกสาร ประกอบกับผูกูมิได มาติดตอใหตัวอยางลายมือชื่อดวยตนเอง เปนชองทางใหจำเลยที่ ๑ กระทำการทุจริต ถอนเงินกูออกจากบัญชีเงินฝากไดสำเร็จ จนเปนเหตุใหโจทกไดรับความเสียหายถึง


๑๒๑ ประมาณ ๑๒ ลานบาท หากจำเลยที่ ๒ ที่ ๔ และที่ ๕ ไดใชความระมัดระวังในการปฏิบัติ หนาที่ของตนโดยละเอียดรอบคอบแลว จำเลยที่ ๑ ก็คงไมมีโอกาสที่จะกระทำการทุจริตได พฤติการณของจำเลยที่ ๒ ที่ ๔ และที่ ๕ จึงเปนการปฏิบัติหนาที่ดวยความประมาทเลินเลอ อยางรายแรง ทำใหเกิดความเสียหายแกโจทก จึงตองรับผิดตอโจทกในสวนที่ตนมีสวน กอใหเกิดความเสียหาย สัญญาค้ำประกันผูเขาทำงานเปนขอตกลงที่ผูค้ำประกันยินยอมผูกพันตน รวมรับผิดในความเสียหายที่ผูเขาทำงานจะพึงกอใหเกิดขึ้นในอนาคต หาใชความเสียหายที่ ไดเกิดขึ้นมากอนแลวไม เมื่อจำเลยที่ ๗ เขาทำสัญญาค้ำประกันการทำงานของจำเลยที่ ๒ และจำเลยที่ ๘ เขาทำสัญญาค้ำประกันการทำงานของจำเลยที่ ๕ ภายหลังจากที่จำเลยที่ ๒ และที่ ๕ ผิดสัญญาจางแรงงานหรือกระทำละเมิดตอโจทกแลว จำเลยที่ ๗ และที่ ๘ จึง ไมตองรับผิดในหนี้ที่เกิดขึ้นกอนเขาทำสัญญาค้ำประกัน โจทกฟองและแกไขคำฟอง ขอใหบังคับจำเลยที่ ๑ ชดใชคาเสียหาย ๖,๒๒๖,๔๐๔.๒๕ บาท พรอมดอกเบี้ยอัตรารอยละ ๗.๕ ตอป ของตนเงิน ๕,๔๑๓,๒๙๗.๓๓ บาท นับถัดจากวันฟอง เปนตนไปจนกวาจะชำระเสร็จแกโจทก จำเลยที่ ๒ ชดใชคาเสียหาย ๑,๘๗๗,๑๕๕.๕๕ บาท พรอมดอกเบี้ยอัตรารอยละ ๗.๕ ตอป ของตนเงิน ๑,๖๓๒,๐๑๗.๕๗ บาท นับถัดจากวันฟอง เปนตนไปจนกวาจะชำระเสร็จแกโจทก จำเลยที่ ๓ ชดใชคาเสียหาย ๑,๓๕๔,๗๕๓.๔๗ บาท พรอมดอกเบี้ยอัตรารอยละ ๗.๕ ตอป ของตนเงิน๑,๑๗๗,๘๓๖.๐๔ บาท นับถัดจากวันฟอง เปนตนไปจนกวาจะชำระเสร็จแกโจทก จำเลยที่ ๔ ชดใชคาเสียหาย ๑,๑๓๐,๑๐๕.๔๓ บาท พรอม ดอกเบี้ยอัตรารอยละ ๗.๕ ตอป ของตนเงิน ๙๘๒,๕๒๔.๘๒ บาท นับถัดจากวันฟองเปนตนไป จนกวาจะชำระเสร็จแกโจทก จำเลยที่ ๕ ชดใชคาเสียหาย ๒๓๐,๐๒๖.๔๘ บาท พรอมดอกเบี้ย อัตรารอยละ ๗.๕ ตอปของตนเงิน ๑๙๙,๙๘๗.๒๙ บาท นับถัดจากวันฟองเปนตนไปจนกวาจะ ชำระเสร็จแกโจทก จำเลยที่ ๖ ชดใชคาเสียหาย ๒๔,๖๒๐ บาท พรอมดอกเบี้ยอัตรารอยละ ๗.๕ ตอป นับถัดจากวันฟองเปนตนไป จนกวาจะชำระเสร็จแกโจทก จำเลยที่ ๗ ชดใชคาเสียหาย ๕๐,๐๐๐ บาท พรอมดอกเบี้ยอัตรารอยละ ๗.๕ ตอป นับถัดจากวันฟองเปนตนไปจนกวาจะชำระ เสร็จแกโจทก จำเลยที่ ๘ ชดใชคาเสียหาย ๔๓,๙๖๐ บาท พรอมดอกเบี้ยอัตรารอยละ ๗.๕ ตอป นับถัดจากวันฟองเปนตนไปจนกวาจะชำระเสร็จแกโจทก


๑๒๒ จำเลยที่ ๑ ใหการและแกไขคำใหการ ขอใหยกฟอง จำเลยที่ ๒ และที่ ๗ จำเลยที่ ๓ จำเลยที่ ๔ ใหการ และจำเลยที่ ๒ ที่ ๔ และที่ ๕ แกไข คำใหการทำนองเดียวกัน ขอใหยกฟอง จำเลยที่ ๕ ใหการและแกไขคำใหการ ขอใหยกฟอง จำเลยที่ ๖ ใหการ ขอใหยกฟอง จำเลยที่ ๘ ใหการ ขอใหยกฟอง ระหวางพิจารณาของศาลแรงงานกลาง โจทกกับจำเลยที่ ๓ ทำสัญญาประนีประนอม ยอมความ ศาลพิพากษาตามยอมแลว ศาลแรงงานภาค ๔ พิพากษาใหจำเลยที่ ๑ ชดใชคาเสียหาย ๕,๔๑๓,๒๙๗.๓๓ บาท พรอมดอกเบี้ยอัตรารอยละ ๗.๕ ตอป นับแตวันที่ ๑๐ สิงหาคม ๒๕๕๘ เปนตนไปจนกวาจะ ชำระเสร็จแกโจทก ใหจำเลยที่ ๒ ชดใชคาเสียหาย ๑,๖๓๒,๐๑๗.๕๗ บาท พรอมดอกเบี้ยอัตรา รอยละ ๗.๕ ตอป นับแตวันที่ ๑๐ สิงหาคม ๒๕๕๘ เปนตนไปจนกวาจะชำระเสร็จแกโจทก ใหจำเลย ที่ ๔ ชดใชคาเสียหาย ๙๘๒,๕๒๔.๘๒ บาท พรอมดอกเบี้ยอัตรารอยละ ๗.๕ ตอป นับแตวันที่ ๑๐ สิงหาคม ๒๕๕๘ เปนตนไปจนกวาจะชำระเสร็จแกโจทก ใหจำเลยที่ ๕ ชดใชคาเสียหาย ๑๙๙,๙๘๗.๒๙ บาท พรอมดอกเบี้ยอัตรารอยละ ๗.๕ ตอป นับแตวันที่ ๑๐ สิงหาคม ๒๕๕๘ เปนตนไปจนกวาจะชำระเสร็จแกโจทก ใหจำเลยที่ ๗ ชดใชคาเสียหาย ๕๐,๐๐๐ บาท พรอม ดอกเบี้ยอัตรารอยละ ๗.๕ ตอป นับถัดจากวันฟอง (ฟองวันที่ ๙ สิงหาคม ๒๕๖๐) เปนตนไป จนกวาจะชำระเสร็จแกโจทก ใหจำเลยที่ ๘ ชดใชคาเสียหาย ๔๓,๙๖๐ บาท พรอมดอกเบี้ยอัตรา รอยละ ๗.๕ ตอป นับถัดจากวันฟองเปนตนไปจนกวาจะชำระเสร็จแกโจทก ทั้งนี้หากโจทกได บังคับชำระหนี้คืนจากจำเลยที่ ๑ หรือผูกู เมื่อนำมารวมกับจำนวนเงินที่จำเลยที่ ๒ จำเลยที่ ๓ จำเลยที่ ๔ จำเลยที่ ๕ จำเลยที่ ๗ จำเลยที่ ๘ ชดใชเกินจำนวนความเสียหาย หรือหากผูกูชำระ หนี้คืนโจทก เมื่อนำมารวมกับจำนวนเงินที่จำเลยที่ ๑ ชำระ หากเกินจำนวนความเสียหายของ จำเลยที่ ๑ ที่จะตองรับผิด ใหคืนเงินสวนที่โจทกไดรับชำระหนี้ไวเกินแกจำเลยที่ ๑ จำเลยที่ ๒ จำเลยที่ ๓ จำเลยที่ ๔ จำเลยที่ ๕ จำเลยที่ ๗ จำเลยที่ ๘ ตามสัดสวนที่โจทกไดรับชำระไว (ที่ถูก สำหรับจำเลยที่ ๓ พิพากษาใหคดีเสร็จไปตามสัญญาประนีประนอมยอมความ) ยกฟองจำเลยที่ ๖ จำเลยที่ ๑ ที่ ๒ ที่ ๔ ที่ ๕ ที่ ๗ และที่ ๘ อุทธรณ ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษแผนกคดีแรงงานวินิจฉัยวา ศาลแรงงานภาค ๔ ฟงขอเท็จจริง และวินิจฉัยวา โจทกเปนนิติบุคคลตามพระราชบัญญัติธนาคารออมสิน พ.ศ. ๒๔๘๙ มีฐานะเปน รัฐวิสาหกิจ จำเลยที่ ๑ ถึงที่ ๕ เปนพนักงานโจทก จำเลยที่ ๖ เปนผูค้ำประกันการทำงานของ จำเลยที่ ๑ ยอมรับผิดในความเสียหายวงเงิน ๒๔,๖๒๐ บาท จำเลยที่ ๗ เปนผูค้ำประกันการ


๑๒๓ ทำงานของจำเลยที่ ๒ ยอมรับผิดในความเสียหายวงเงิน ๕๐,๐๐๐ บาท จำเลยที่ ๘ เปนผูค้ำประกัน การทำงานของจำเลยที่ ๕ ยอมรับผิดในความเสียหายวงเงิน ๔๓,๙๖๐ บาท ขณะเกิดเหตุ จำเลยที่ ๑ และที่ ๔ ดำรงตำแหนงพนักงานปฏิบัติการ ๕ สาขาขอนแกน จำเลยที่ ๒ ดำรง ตำแหนงผูจัดการ สาขาขอนแกน จำเลยที่ ๓ ดำรงตำแหนงผูชวยผูจัดการ สาขาขอนแกน จำเลย ที่ ๕ ดำรงตำแหนงพนักงานปฏิบัติการ ๗ สาขาขอนแกน โจทกมีคำสั่งที่ ๕๖/๒๕๕๕ เรื่องการ ใหสินเชื่อบุคคล และตอมาโจทกไดมีคำสั่งแกไขเพิ่มเติมตามคำสั่งโจทกที่ ๑๐๗/๒๕๕๖ เรื่องการ ใหสินเชื่อบุคคล และโจทกมีคำสั่งที่ ๑๔๙/๒๕๕๒ เรื่องหลักเกณฑและวิธีปฏิบัติงานการรับฝากเงิน ประเภทเผื่อเรียกและประจำ จำเลยที่ ๑ ขณะปฏิบัติหนาที่พนักงานสินเชื่อไดนำบัตรประจำตัว ประชาชนและทะเบียนบานของนายอัฐภวินท นางสาวฐานิดา นางสาวปญณปราณ นางอมรรัตน นายกวิภัฎ และนางสาวลำดวน มาปลอมลายมือชื่อ พรอมจัดทำแบบคำขอกู ลงนามในเอกสาร และทำการปลอมเอกสารที่ใชประกอบการยื่นกู ไดแก หนังสือรับรองของผูบังคับบัญชา หนังสือ ยินยอมใหหักเงินเดือน และสลิปเงินเดือนของบริษัทเอส เอฟ ขอนแกน จำกัด (ที่ถูก หรือบริษัท เอส เอฟ โภคภัณฑ จำกัด) วิเคราะหสินเชื่อสวัสดิการหนวยงานเอกชนโดยเสนอวงเงินกูเกินกวา ที่ธนาคารกำหนด แลวจัดทำบันทึกอนุมัติสินเชื่อในระบบสินเชื่อธนาคารเพื่อนำเสนอคณะกรรมการ สินเชื่อสาขาอนุมัติ เมื่อไดรับการอนุมัติแลว จำเลยที่ ๑ ไดปลอมลายมือชื่อของผูกูและผูค้ำประกัน ในสัญญากูและสัญญาค้ำประกัน ปลอมลายมือชื่อในใบจายเงิน (อส.๒๐) และใบจายเงินกู (สช.๖) และจำเลยที่ ๑ ไดปลอมลายมือชื่อผูกูพรอมนำเอกสารการขอเปดบัญชีมาเปดบัญชีเงินฝากประเภท เผื่อเรียกแลวถอนเงินออกจากบัญชีดังกลาว อันเปนการกระทำทุจริต เปนการจงใจกระทำละเมิด และผิดสัญญาจางแรงงานทำใหโจทกไดรับความเสียหาย จำเลยที่ ๑ จึงตองรับผิดชดใชคาเสียหาย พรอมดอกเบี้ยอัตรารอยละ ๗.๕ ตอป นับจากวันที่ผูอำนวยการโจทกลงนามเห็นชอบตามมติคณะ กรรมการพิจารณาความรับผิดทางละเมิดเมื่อวันที่ ๑๐ สิงหาคม ๒๕๕๘ เปนตนไป จำเลยที่ ๒ และที่ ๔ ไมปฏิบัติตามคำสั่งโจทกที่ ๕๖/๒๕๕๕ เรื่องการใหสินเชื่อบุคคล ขอ ๒.๑.๒ โดยไมได พิจารณาวัตถุประสงคของการกูเงิน ความสามารถในการชำระหนี้ และวิเคราะหความเปนไปได ในการขอสินเชื่อใหเปนไปตามคำสั่งของโจทก และจำเลยที่ ๒ ไมไดปฏิบัติตามคำสั่งของโจทกที่ ๕๖/๒๕๕๕ วาดวยเรื่องการจายเงินกู สินเชื่อที่ตองตรวจความถูกตองกอนจึงจะอนุมัติจายเงินกู จำเลยที่ ๒ ลงนามอนุมัติจายเงินกูตามใบจายเงินโดยผูกูไมไดติดตอขอรับเงินดวยตนเอง จนเปน ชองทางใหจำเลยที่ ๑ กระทำการทุจริตไดสำเร็จ พฤติการณของจำเลยที่ ๒ และที่ ๔ เปนการ ปฏิบัติหนาที่ดวยความประมาทเลินเลออยางรายแรงทำใหโจทกไดรับความเสียหายซึ่งเปนคา เสียหายที่เกิดจากการที่จำเลยที่ ๒ และที่ ๔ กระทำผิดสัญญาจางแรงงาน และหนี้ดังกลาวเปน


๑๒๔ หนี้เงิน จำเลยที่ ๒ และที่ ๔ จึงตองชำระดอกเบี้ยอัตรารอยละ ๗.๕ ตอป นับจากวันที่ผูอำนวยการ โจทกลงนามเห็นชอบตามมติคณะกรรมการพิจารณาความรับผิดทางละเมิดเมื่อวันที่ ๑๐ สิงหาคม ๒๕๕๘ เปนตนไป จำเลยที่ ๕ ในฐานะผูอนุมัติใหมีการเปดบัญชีผูกูรายนางสาวฐานิดา นางอมรรัตน และนางสาวลำดวน มีหนาที่ตองปฏิบัติตามคำสั่งโจทกที่ ๑๔๙/๒๕๕๒ เรื่องหลักเกณฑและวิธี ปฏิบัติงานการรับฝากเงินประเภทเผื่อเรียกและประจำ ที่กำหนดใหผูอนุมัติเปดบัญชีเงินฝากตอง ตรวจสอบความสมบูรณถูกตองแลวลงลายมือชื่อรับรองยอดในสมุดเงินฝากและเอกสารตามที่ โจทกกำหนดกอนสงมอบสมุดเงินฝากใหแกผูฝาก แตจำเลยที่ ๕ มิไดตรวจสอบความถูกตองของ เอกสาร ประกอบกับผูกูดังกลาวมิไดมาติดตอใหตัวอยางลายมือชื่อดวยตนเอง จนเปนชองทาง ใหจำเลยที่ ๑ ถอนเงินกูออกจากบัญชีเงินฝากดังกลาวไดสำเร็จ เปนการไมปฏิบัติใหเปนไปตาม คำสั่งของโจทก พฤติการณของจำเลยที่ ๕ เปนการปฏิบัติหนาที่ดวยความประมาทเลินเลออยาง รายแรง ทำใหโจทกไดรับความเสียหาย จำเลยที่ ๕ จึงตองรับผิดตอโจทกตามสัญญาจางแรงงาน และหนี้ดังกลาวเปนหนี้เงิน จำเลยที่ ๕ จึงตองรับผิดชำระดอกเบี้ยอัตรารอยละ ๗.๕ ตอป นับแต วันที่ผูอำนวยการโจทกลงนามเห็นชอบตามมติคณะกรรมการพิจารณาความรับผิดทางละเมิดเมื่อ วันที่ ๑๐ สิงหาคม ๒๕๕๘ เปนตนไป จำเลยที่ ๖ ในฐานะผูค้ำประกันการทำงานของจำเลยที่ ๑ ในความเสียหายวงเงิน ๒๔,๖๒๐ บาท ไดชำระคาเสียหายแกโจทกครบถวนแลวตามสัญญา ค้ำประกัน จำเลยที่ ๖ จึงไมจำตองรับผิดชำระคาเสียหายใหแกโจทกอีกและตามสัญญาค้ำประกัน ผูเขาทำงาน เมื่อวันที่ ๑๗ พฤศจิกายน ๒๕๕๘ จำเลยที่ ๗ เขาทำสัญญาค้ำประกันการทำงาน ของจำเลยที่ ๒ ในความเสียหายวงเงิน ๕๐,๐๐๐ บาท และเมื่อวันที่ ๑๖ กรกฎาคม ๒๕๕๗ จำเลย ที่ ๘ เขาทำสัญญาค้ำประกันการทำงานของจำเลยที่ ๕ ในความเสียหายวงเงิน ๔๓,๙๖๐ บาท แมจะเปนการเขาทำสัญญาค้ำประกันการทำงานภายหลังที่จำเลยที่ ๒ และที่ ๕ ตองรับผิดตอโจทก แลวก็ตาม ยอมเปนการผูกพันตนชำระหนี้ตามสัญญาค้ำประกัน ซึ่งเปนหนี้อันสมบูรณที่เกิดขึ้น แลวตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา ๖๘๑ จึงมิใชขอสัญญาที่ไมเปนธรรมหรือ ขัดตอความสงบเรียบรอยและศีลธรรมอันดีของประชาชน จำเลยที่ ๗ และที่ ๘ จึงตองรับผิดชดใช คาเสียหายใหแกโจทกตามสัญญาค้ำประกัน และหนี้ดังกลาวเปนหนี้เงิน โจทกบอกกลาวทวงถาม ใหจำเลยที่ ๗ และที่ ๘ ชำระหนี้แลว แตจำเลยที่ ๗ และที่ ๘ ไมชำระ จึงตกเปนผูผิดนัดตองชดใช ดอกเบี้ยอัตรารอยละ ๗.๕ ตอป นับถัดจากวันฟองเปนตนไปจนกวาจะชำระเสร็จแกโจทก และคดีนี้ โจทกฟองจำเลยที่ ๑ ถึงที่ ๕ เนื่องจากไมปฏิบัติใหเปนไปตามระเบียบและคำสั่งของโจทก เปนการ ฟองขอใหบังคับทั้งมูลหนี้ละเมิดและมูลสัญญาจางแรงงาน ซึ่งไมมีกฎหมายบัญญัติอายุความในเรื่อง ผิดสัญญาจางแรงงานไวโดยเฉพาะจึงมีกำหนดอายุความ ๑๐ ปตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย


๑๒๕ มาตรา ๑๙๓/๓๐ เมื่อคณะกรรมการพิจารณาความรับผิดทางละเมิดของโจทกสรุปสำนวนการสอบสวน ตั้งแตวันที่ ๒๘ พฤษภาคม ๒๕๕๘ และมีหนังสือถึงผูอำนวยการโจทกเมื่อวันที่ ๗ สิงหาคม ๒๕๕๘ โจทกฟองคดีนี้เมื่อวันที่ ๙ สิงหาคม ๒๕๖๐ ฟองโจทกในเรื่องผิดสัญญาจางแรงงานจึงไมขาดอายุความ คดีมีปญหาที่ตองวินิจฉัยเปนประการแรกตามอุทธรณของจำเลยที่ ๑ ที่ ๒ ที่ ๔ ที่ ๕ ที่ ๗ และที่ ๘ วา ฟองของโจทกขาดอายุความหรือไม เห็นวา โจทกบรรยายฟองถึงความสัมพันธ ระหวางโจทกกับจำเลยที่ ๑ ถึงที่ ๕ วาเปนพนักงานโจทก ไดทำสัญญาเขาทำงานกับโจทกโดย ตกลงจะปฏิบัติหนาที่ดวยความวิริยะ อุตสาหะและยินยอมปฏิบัติงานตามกฎหมาย ขอบังคับ ระเบียบ และคำสั่งของโจทกที่กำหนดไวอยางเครงครัด และจะปฏิบัติหนาที่ดวยความซื่อสัตย สุจริต รอบคอบระมัดระวัง มิใหเกิดความเสียหาย หากฝาฝนเปนเหตุใหโจทกไดรับความเสียหาย ยินยอมชดใชคาเสียหายใหแกโจทก และระบุถึงการปฏิบัติงานของจำเลยที่ ๑ วากระทำการทุจริต จำเลยที่ ๒ และที่ ๔ ปฏิบัติงานไมเปนไปตามคำสั่งโจทกที่ ๕๖/๒๕๕๕ เรื่องการใหสินเชื่อบุคคล และคำสั่งโจทกที่ ๑๐๗/๒๕๕๖ เรื่องการใหสินเชื่อบุคคล (แกไขเพิ่มเติมครั้งที่ ๗) และจำเลยที่ ๕ ปฏิบัติงานไมเปนไปตามคำสั่งโจทกที่ ๑๔๙/๒๕๕๒ เรื่องหลักเกณฑและวิธีปฏิบัติงานการรับ ฝากเงินประเภทเผื่อเรียกและประจำ อันเปนความบกพรองตอหนาที่ ปฏิบัติหนาที่ดวยความ ประมาทเลินเลออยางรายแรง ทำใหโจทกไดรับความเสียหาย คำฟองโจทกจึงเปนการฟองขอให จำเลยที่ ๑ ถึงที่ ๕ รับผิดทั้งมูลละเมิดและมูลสัญญาจางแรงงาน ดังนั้น แมโจทกจะไดรูถึงการ ละเมิดและรูตัวเจาหนาที่ ผูจะพึงตองใชคาสินไหมทดแทนตั้งแตวันที่ ๒๓ กุมภาพันธ ๒๕๕๘ ซึ่งเปนวันที่โจทกมีคำสั่งไลจำเลยที่ ๑ ออกจากตำแหนงตามที่จำเลยที่ ๑ อางในอุทธรณ และแม ผูอำนวยการโจทกจะทราบผลการสอบสวนของคณะกรรมการสอบสวนความรับผิดทางละเมิดเมื่อ วันที่ ๗ สิงหาคม ๒๕๕๘ ซึ่งถือวาโจทกรูตัวเจาหนาที่ผูจะพึงตองใชคาสินไหมทดแทนแกโจทก แลวตั้งแตวันที่ ๗ สิงหาคม ๒๕๕๘ ตามที่จำเลยที่ ๒ ที่ ๔ ที่ ๕ ที่ ๗ และที่ ๘ อางในอุทธรณ และแมโจทกนำคดีมาฟองเมื่อวันที่ ๙ สิงหาคม ๒๕๖๐ เกินกวา ๒ ป นับแตวันที่หนวยงานของรัฐ รูถึงการละเมิดและรูตัวเจาหนาที่ ผูจะพึงตองใชคาสินไหมทดแทน คดีจึงขาดอายุความตาม พระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจาหนาที่ พ.ศ. ๒๕๓๙ มาตรา ๑๐ วรรคสอง ก็ตาม แตในเรื่องผิดสัญญาจางแรงงาน มิไดบัญญัติอายุความไวโดยเฉพาะ จึงตองใชอายุความทั่วไป ๑๐ ป ตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา ๑๙๓/๓๐ และเริ่มนับแตขณะที่อาจบังคับสิทธิ เรียกรองไดเปนตนไปตามมาตรา ๑๙๓/๑๒ กลาวคือนับแตวันที่จำเลยที่ ๑ กระทำการทุจริต และนับแตวันที่จำเลยที่ ๒ และที่ ๔ รวมกันวิเคราะหและอนุมัติปลอยสินเชื่อไมเปนไปตามคำสั่งโจทก และนับแตวันที่จำเลยที่ ๕ อนุมัติใหเปดบัญชีไมเปนไปตามคำสั่งโจทก ซึ่งเปนวันผิดสัญญาจางแรงงาน


๑๒๖ อันเปนวันที่โจทกอาจบังคับสิทธิเรียกรองได เมื่อนับถึงวันฟองไมเกิน ๑๐ ป ฟองโจทกจึงไมขาด อายุความ ที่ศาลแรงงานภาค ๔ พิพากษามานั้น ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษเห็นพองดวย อุทธรณ ของจำเลยที่ ๑ ที่ ๒ ที่ ๔ ที่ ๕ ที่ ๗ และที่ ๘ ฟงไมขึ้น ที่จำเลยที่ ๑ อุทธรณในประเด็นที่ ๑ ตอมาวา ผูอำนวยการโจทกมิไดเสนอสำนวนการ สอบสวนความรับผิดทางละเมิดใหแกกระทรวงการคลังซึ่งถือเปนหนวยงานที่กำกับดูแลโจทก เพื่อพิจารณาและมีความเห็นชอบกอนที่โจทกจะทำหนังสือแจงใหจำเลยทั้งแปดผูตองรับผิดใช คาสินไหมทดแทนทราบกอนนำคดีมาฟอง การที่โจทกนำคดีมาฟองโดยไมไดดำเนินการตามขั้นตอน ดังกลาวจึงเปนการไมชอบดวยกฎหมายนั้น เห็นวา อุทธรณของจำเลยที่ ๑ ในขอนี้ จำเลยที่ ๑ ไมไดใหการไว จึงเปนอุทธรณในขอที่ไมไดยกขึ้นวากันมาแลวโดยชอบในศาลแรงงานภาค ๔ ซึ่ง ตองหามมิใหอุทธรณตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพง มาตรา ๒๒๕ วรรคหนึ่ง ประกอบ พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๕๔ วรรคหนึ่ง ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษไมรับวินิจฉัย ที่จำเลยที่ ๑ อุทธรณในประเด็นที่ ๒ ขอ ๒.๑ วา โจทกไมมีประจักษพยานมายืนยันวา จำเลยที่ ๑ เปนผูปลอมเอกสารและปลอมลายมือชื่อของผูกูและผูค้ำประกันในสัญญากูเงินและ สัญญาค้ำประกัน ผูกูทุกรายตางใหถอยคำวาไดรับเงินกูไปมากบางนอยบางซึ่งถือวาเปนผูมีสวน ไดเสียในมูลเหตุแหงคดี มีโอกาสที่ผูกูจะใหถอยคำเพื่อใหตนเองหลุดพนความรับผิดหรือรับผิดใน จำนวนที่ต่ำกวาความเปนจริง บันทึกถอยคำพยานโจทกเปนเพียงพยานบอกเลามีน้ำหนักความ นาเชื่อถือนอย พยานโจทกมีพิรุธหลายประการและพยานโจทกทั้งหมดเปนเพียงพยานบอกเลานั้น เห็นวา ศาลแรงงานภาค ๔ ฟงขอเท็จจริงและวินิจฉัยแลววา จำเลยที่ ๑ นำบัตรประจำตัวประชาชน และทะเบียนบานของผูกูมาปลอมลายมือชื่อพรอมจัดทำแบบคำขอกูและจัดใหมีการลงนามใน เอกสารและทำการปลอมเอกสารที่ใชในการประกอบการยื่นกู แลวจัดทำบันทึกอนุมัติสินเชื่อใน ระบบสินเชื่อเพื่อนำเสนอคณะกรรมการสินเชื่อสาขาอนุมัติ เมื่อไดรับอนุมัติแลวจำเลยที่ ๑ ปลอมลายมือชื่อของผูกูและผูค้ำประกันในสัญญากูและสัญญาค้ำประกัน ปลอมลายมือชื่อใน ใบจายเงิน (อส.๒๐) และใบจายเงินกู (สช.๖) และจำเลยที่ ๑ ปลอมลายมือชื่อผูกูพรอมนำเอกสาร ขอเปดบัญชีมาเปดบัญชีเงินฝากประเภทเผื่อเรียกแลวถอนเงินออกจากบัญชี อุทธรณของจำเลยที่ ๑ ในขอนี้ลวนเปนอุทธรณโตแยงดุลพินิจในการวินิจฉัยและรับฟงพยานหลักฐานของศาลแรงงาน ภาค ๔ จึงเปนอุทธรณในขอเท็จจริง ซึ่งตองหามมิใหอุทธรณตามพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแรงงาน และวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๕๔ วรรคหนึ่ง ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษ ไมรับวินิจฉัยเชนกัน


๑๒๗ มีปญหาที่ตองวินิจฉัยตามอุทธรณของจำเลยที่ ๑ ในประเด็นที่ ๒ ขอ ๒.๒ วา จำเลย ที่ ๑ และที่ ๖ ไดชดใชคาเสียหายใหแกโจทกไปแลวประมาณ ๖,๐๐๐,๐๐๐ บาท โจทกมิอาจฟอง เรียกคาเสียหายกรณีละเมิดหรือกรณีผิดสัญญาจางแรงงานเอากับจำเลยที่ ๑ ไดอีกนั้น เห็นวา ศาลแรงงานภาค ๔ ฟงขอเท็จจริงวา จำเลยที่ ๑ กระทำการทุจริตปลอมลายมือชื่อและเอกสาร ของผูกูจำนวน ๑๑ ราย เปนเหตุใหโจทกไดรับความเสียหายเปนเงิน ๑๒,๒๐๐,๐๐๐ บาท ตอมา จำเลยที่ ๑ นำเงินมาชดใชคืนแกโจทกบางสวน คงเหลือความเสียหายจำนวนผูกู ๖ ราย รวมความ เสียหาย ๕,๔๑๓,๒๙๗.๓๓ บาท ซึ่งเปนความเสียหายที่โจทกยังไมไดรับชดใชจากจำเลยทั้งแปด ในขณะฟอง ซึ่งจำนวนเงินที่จำเลยที่ ๑ ชดใชขางตนเปนเพียงการชดใชความเสียหายบางสวน เทานั้น ดังนั้น การที่โจทกใชสิทธิฟองจำเลยที่ ๑ เรียกคาเสียหายจากการกระทำละเมิดจากจำเลย ที่ ๑ ในสวนที่ยังขาดอยูจึงชอบแลว อุทธรณของจำเลยที่ ๑ ในขอนี้จึงฟงไมขึ้น ที่จำเลยที่ ๒ และที่ ๔ อุทธรณในประเด็นที่ ๒ และที่ ๓ วา จำเลยที่ ๒ และที่ ๔ ผิดสัญญา จางแรงงานหรือไม เห็นวา ศาลแรงงานภาค ๔ ฟงขอเท็จจริงประกอบคำเบิกความพยานปาก นายอนุชา นายภพกร และนายคชภัค วาหนาที่ความรับผิดชอบของคณะกรรมการสินเชื่อสาขา ตามคำสั่งโจทกที่ ๕๖/๒๕๕๕ เรื่องการใหสินเชื่อบุคคลขอ ๒.๑.๒ คณะกรรมการสินเชื่อสาขามี อำนาจหนาที่ใหพนักงานสินเชื่อพิจารณาและวิเคราะหสินเชื่อโดยพิจารณาวัตถุประสงค ความ สามารถในการชำระหนี้ และวิเคราะหความเปนไปไดในการขอสินเชื่อ มิใชเปนการพิจารณาอนุมัติ ตามที่จำเลยที่ ๑ เปนผูวิเคราะหสินเชื่อมาแตฝายเดียว จำเลยที่ ๒ และที่ ๔ มีหนาที่ตองวิเคราะห สินเชื่อและพิจารณาอนุมัติใหเปนไปตามคำสั่งของโจทก และจำเลยที่ ๒ ในฐานะผูอนุมัติใหจาย เงินกูสินเชื่อสวัสดิการในใบจายเงิน (อส.๒๐) ใหแกผูกูรายนายอัฐภวินท นางสาวฐานิดา นางสาว ปญณปราณ นายกวิภัฎ และนางสาวลำดวน ไมปฏิบัติตามคำสั่งของโจทกที่ ๕๖/๒๕๕๕ เรื่องการ ใหสินเชื่อบุคคลที่ตองตรวจความถูกตองจึงจะอนุมัติจายเงินกู จำเลยที่ ๒ ไดลงนามอนุมัติจายเงินกู ตามใบจายเงิน โดยผูกูไมไดติดตอขอรับเงินดวยตนเองแตอยางใด ดังนั้น อุทธรณของจำเลยที่ ๒ และที่ ๔ ในขอนี้ลวนเปนอุทธรณโตเถียงดุลพินิจในการวินิจฉัยและรับฟงพยานหลักฐานของ ศาลแรงงานภาค ๔ จึงเปนอุทธรณในขอเท็จจริง ซึ่งตองหามมิใหอุทธรณตามพระราชบัญญัติ จัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๕๔ วรรคหนึ่ง ศาลอุทธรณ คดีชำนัญพิเศษไมรับวินิจฉัย ที่จำเลยที่ ๕ อุทธรณในประเด็นที่ ๒ วา จำเลยที่ ๕ ผิดสัญญาจางแรงงานหรือไม เห็นวา ศาลแรงงานภาค ๔ ฟงขอเท็จจริงแลววา ผูกูรายนางสาวฐานิดา นางอมรรัตน และนางสาวลำดวน ไมไดมาเปดบัญชีดวยตนเอง จำเลยที่ ๕ ในฐานะผูอนุมัติใหเปดบัญชี มิไดตรวจสอบความถูกตอง


๑๒๘ ของเอกสาร ประกอบกับผูกูมิไดมาติดตอใหตัวอยางลายมือชื่อดวยตนเอง อันเปนชองทางใหมี การทุจริตถอนเงินกูออกจากบัญชีเงินฝากดังกลาวไดสำเร็จ จึงเปนการไมปฏิบัติใหเปนไปตาม คำสั่งของโจทก ดังนั้น อุทธรณของจำเลยที่ ๕ ในขอนี้จึงเปนอุทธรณโตเถียงดุลพินิจในการรับฟง พยานหลักฐานของศาลแรงงานภาค ๔ อันเปนอุทธรณในขอเท็จจริง ซึ่งตองหามมิใหอุทธรณตาม พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๕๔ วรรคหนึ่ง ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษไมรับวินิจฉัยเชนกัน มีปญหาที่ตองวินิจฉัยตามอุทธรณของจำเลยที่ ๒ และที่ ๔ ในประเด็นที่ ๔ และอุทธรณ ของจำเลยที่ ๕ ในประเด็นที่ ๓ วา จำเลยที่ ๒ ที่ ๔ และที่ ๕ ประมาทเลินเลออยางรายแรงหรือไม เห็นวา เมื่อศาลแรงงานภาค ๔ ฟงขอเท็จจริงแลววา จำเลยที่ ๒ และที่ ๔ ในฐานะคณะกรรมการ สินเชื่อสาขา มีหนาที่ความรับผิดชอบที่ตองวิเคราะหสินเชื่อและพิจารณาอนุมัติใหเปนไปตามคำสั่ง ของโจทกตามคำสั่งโจทกที่ ๕๖/๒๕๕๕ และที่ ๑๐๗/๒๕๕๖ และโจทกไดแจงเวียนคำสั่งใหพนักงาน ของโจทกทราบแลว แตจำเลยที่ ๒ และที่ ๔ ไดพิจารณาอนุมัติสินเชื่อใหสูงเกินกวาที่กำหนดไว ในคำสั่งและไมไดพิจารณาวัตถุประสงคของการกูเงิน ความสามารถในการชำระหนี้ และวิเคราะห ความเปนไปไดในการขอสินเชื่อใหเปนไปตามคำสั่งโจทกที่ ๕๖/๒๕๕๕ และที่ ๑๐๗/๒๕๕๖ จนกระทั่งเปนชองทางใหจำเลยที่ ๑ กระทำการทุจริตไดสำเร็จ และจำเลยที่ ๕ ในฐานะผูอนุมัติ ใหเปดบัญชี มิไดตรวจสอบความถูกตองของเอกสาร ประกอบกับผูกูมิไดมาติดตอใหตัวอยาง ลายมือชื่อดวยตนเอง อันเปนชองทางใหจำเลยที่ ๑ กระทำการทุจริตถอนเงินกูออกจากบัญชี เงินฝากไดสำเร็จ จนเปนเหตุใหโจทกไดรับความเสียหายเปนเงิน ๑๒,๒๐๐,๐๐๐ บาท ซึ่งหากจำเลย ที่ ๒ และที่ ๔ ไดใชความระมัดระวังในการปฏิบัติหนาที่ของตนโดยละเอียดรอบคอบโดยสอบถาม จำเลยที่ ๑ ถึงเหตุผลในการวิเคราะหสินเชื่อใหกับผูกูสูงเกินกวาที่กำหนดไวในคำสั่งโจทกที่ ๑๐๗/๒๕๕๖ รวมถึงตรวจสอบเอกสารที่ใชประกอบการกู และหากจำเลยที่ ๕ ไดใชความระมัดระวังใน การปฏิบัติหนาที่ของตนโดยละเอียดรอบคอบโดยตรวจสอบความถูกตองของเอกสารการขอเปด บัญชีแลว จำเลยที่ ๑ ก็คงไมมีโอกาสที่จะกระทำการทุจริตได แตจำเลยที่ ๒ ที่ ๔ และที่ ๕ ไมได ใชความระมัดระวังใหเพียงพอ พฤติการณของจำเลยที่ ๒ ที่ ๔และที่ ๕ จึงเปนการปฏิบัติหนาที่ ดวยความประมาทเลินเลออยางรายแรง ทำใหเกิดความเสียหายแกโจทก จึงตองรับผิดตอโจทก ในสวนที่ตนมีสวนกอใหเกิดความเสียหาย ที่ศาลแรงงานภาค ๔ พิพากษามานั้นชอบแลว ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษเห็นพองดวย อุทธรณของจำเลยที่ ๒ ที่ ๔ และที่ ๕ ในขอนี้ฟงไมขึ้น ที่จำเลยที่ ๒ และที่ ๔ อุทธรณในประเด็นที่ ๕ วา โจทกมีสวนรวมในการประมาทเลินเลอ เห็นวา ตามที่ไดวินิจฉัยไปแลวขางตนวา โจทกมีการแจงเวียนคำสั่งใหพนักงานโจทกทราบแลว


๑๒๙ จึงไมจำตองวินิจฉัยในอุทธรณขอนี้ และที่จำเลยที่ ๒ และที่ ๔ อุทธรณตอมาวา เนื่องจากโจทก ทราบดีและพบวามีปญหาในการนำประกาศคำสั่งของโจทกมาปฏิบัติ จนเปนเหตุใหโจทกตั้ง คณะกรรมการเพื่อรวบรวม ปรับปรุงระเบียบคำสั่งตาง ๆ ในวันที่ ๒๒ ตุลาคม ๒๕๖๑ โจทกไดออก ประกาศคำสั่งโจทกที่ ๑๑๔/๒๕๖๑ เรื่องการใหสินเชื่อบุคคล โดยใหยกเลิกคำสั่งโจทกที่ ๕๖/๒๕๕๕ ทั้งฉบับ ดังนั้น การปรับปรุงคำสั่งเกี่ยวกับการใหสินเชื่อบุคคลของโจทกแสดงใหเห็นวาโจทก ทราบถึงสภาพปญหาของการออกประกาศใชคำสั่งและการนำคำสั่งไปใชของพนักงานผูปฏิบัติงาน ดานสินเชื่อของโจทก ทำใหพนักงานสินเชื่อสับสนโดยเฉพาะคำสั่งเกี่ยวกับการใหสินเชื่อซึ่งออก คำสั่งมาใหมโดยไมแจงการเปลี่ยนแปลงใหพนักงานผูปฏิบัติทราบโดยตรงยอมถือวาโจทกมีสวน ประมาทเลินเลอดวยนั้น เห็นวา อุทธรณของจำเลยที่ ๒ และที่ ๔ ในสวนนี้จึงเปนขอที่ไมไดยกขึ้น วากันมาแลวโดยชอบในศาลแรงงานภาค ๔ ซึ่งตองหามมิใหอุทธรณตามประมวลกฎหมาย วิธีพิจารณาความแพง มาตรา ๒๒๕ วรรคหนึ่ง ประกอบพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแรงงานและ วิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๕๔ วรรคหนึ่ง ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษไมรับวินิจฉัย ที่จำเลยที่ ๒ และที่ ๔ อุทธรณในประเด็นที่ ๖ และจำเลยที่ ๕ อุทธรณในประเด็นที่ ๔ วา ศาลแรงงานภาค ๔ กำหนดใหจำเลยที่ ๒ ที่ ๔ และที่ ๕ ชดใชคาเสียหายโดยไมเปนธรรมและ ไมชอบดวยกฎหมาย เห็นวา การที่ศาลแรงงานภาค ๔ กำหนดใหจำเลยที่ ๒ รับผิดอัตรารอยละ ๒๐ ของความเสียหายรายนายอัฐภวินท นางสาวฐานิดา นางอมรรัตน นายกวิภัฎ และนางสาวลำดวน ของความเสียหาย ๔,๔๖๑,๕๓๑.๕๖ บาท เปนเงิน ๘๙๒,๓๐๖.๓๑ บาท สวนผูกูรายนางสาว ปญณปราณ ใหจำเลยที่ ๒ รับผิดรอยละ ๓๐ ของความเสียหาย ๙๕๑,๗๖๕.๗๗ บาท เปนเงิน ๒๘๕,๕๒๙.๗๓ บาท และจำเลยที่ ๒ รับผิดในฐานะผูอนุมัติใหจายเงินกูสินเชื่อสวัสดิการใน ใบจายเงิน (อส.๒๐) ใหกับผูกูรายนายอัฐภวินท นางสาวฐานิดา นางสาวปญณปราณ นายกวิภัฎ และนางสาวลำดวนรอยละ ๑๐ ของความเสียหายดังกลาว เปนเงิน ๔๕๔,๑๘๑.๕๓ บาท และ จำเลยที่ ๔ ในฐานะกรรมการสินเชื่อสาขา รับผิดรอยละ ๒๐ ผูกูรายนายอัฐภวินท นางสาวฐานิดา นางอมรรัตน และนายกวิภัฎของความเสียหาย ๓,๔๘๔,๙๗๕.๕๗ บาท เปนเงิน ๖๙๒,๙๙๕.๐๙ บาท และผูกูรายนางสาวปญณปราณใหรับผิดรอยละ ๓๐ ของความเสียหาย ๙๕๑,๗๖๕.๗๗ บาท เปนเงิน ๒๘๕,๕๒๙.๗๓ บาท และใหจำเลยที่ ๕ รับผิดอัตรารอยละ ๑๐ ของความเสียหาย รายผูกูนางสาวฐานิดา นางอมรรัตน และนางสาวลำดวนของความเสียหาย ๒,๗๙๙,๘๗๒.๗๓ บาท เปนเงิน ๒๗๙,๙๘๗.๒๙ บาท นั้น เปนกรณีที่ศาลแรงงานภาค ๔ ใชดุลพินิจกำหนดคาเสียหาย ที่เหมาะสมแกพฤติการณและความรายแรงที่จำเลยที่ ๒ ที่ ๔ และที่ ๕ จะตองรับผิดตามสัญญา จางแรงงานและพฤติการณตอความเสียหายที่เกิดขึ้นแกโจทก อุทธรณของจำเลยที่ ๒ ที่ ๔ และ


๑๓๐ ที่ ๕ ในขอนี้จึงเปนอุทธรณที่โตแยงดุลพินิจในการกำหนดคาเสียหายของศาลแรงงานภาค ๔ เปนอุทธรณในขอเท็จจริง ซึ่งตองหามมิใหอุทธรณตามพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแรงงานและวิธี พิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๕๔ วรรคหนึ่ง ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษไมรับวินิจฉัย เชนกัน มีปญหาที่จะตองวินิจฉัยตามอุทธรณของจำเลยที่ ๗ และที่ ๘ เปนประการสุดทายวา จำเลยที่ ๗ และที่ ๘ ตองรับผิดตามสัญญาค้ำประกันหรือไม เห็นวา สัญญาค้ำประกันผูเขาทำงาน เปนขอตกลงที่ผูค้ำประกันยินยอมผูกพันตนรวมรับผิดในความเสียหายที่ผูเขาทำงานจะพึงกอให เกิดขึ้นในอนาคต หาใชความเสียหายที่ไดเกิดขึ้นมากอนแลวไม เมื่อขอเท็จจริงในคดีนี้จำเลยที่ ๒ และที่ ๕ ผิดสัญญาจางแรงงานหรือกระทำละเมิดตอโจทกชวงเดือนมิถุนายน ๒๕๕๖ ถึงเดือน พฤษภาคม ๒๕๕๗ แตเมื่อจำเลยที่ ๗ เขาทำสัญญาค้ำประกันการทำงานของจำเลยที่ ๒ เมื่อ วันที่ ๑๗ พฤศจิกายน ๒๕๕๘ และจำเลยที่ ๘ เขาทำสัญญาค้ำประกันการทำงานของจำเลยที่ ๕ เมื่อวันที่ ๑๖ กรกฎาคม ๒๕๕๗ ภายหลังจากที่จำเลยที่ ๒ และที่ ๕ ผิดสัญญาจางแรงงานหรือ กระทำละเมิดตอโจทกแลว จำเลยที่ ๗ และที่ ๘ จึงไมตองรับผิดในหนี้ที่เกิดขึ้นกอนเขาทำสัญญา ค้ำประกันที่ศาลแรงงานภาค ๔ พิพากษาใหจำเลยที่ ๗ และที่ ๘ รับผิดตอโจทกตามสัญญา ค้ำประกันดังกลาวไมตองดวยความเห็นของศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษ อุทธรณของจำเลยที่ ๗ และ ที่ ๘ ในขอนี้ฟงขึ้น พิพากษาแกเปนวา ใหยกฟองจำเลยที่ ๗ และที่ ๘ นอกจากที่แกใหเปนไปตาม คำพิพากษาศาลแรงงานภาค ๔. กิตติ เนตรประเสริฐชัย - ยอ สุโรจน จันทรพิทักษ - ตรวจ (นาวี สกุลวงศธนา - เริงศักดิ์ วิริยะชัยวงศ - นงนภา จันทรศักดิ์ ลิ่มไพบูลย)


๑๓๑ คำพิพากษาศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษที่ ๑๒๖๖/๒๕๖๒ นายเศรษฐพัชร สุจินพรัหม โจทก บริษัทปตท.สผ. อินเตอรเนชั่นแนล จำกัด จำเลย ป.วิ.พ. มาตรา ๑๔๘ พ.ร.บ. คุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา ๑๑/๑ พ.ร.บ. จัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๓๑ ตาม พ.ร.บ. คุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา ๑๑/๑ วรรคหนึ่ง บัญญัติวา ในกรณีที่ผูประกอบกิจการมอบหมายใหบุคคลหนึ่งบุคคลใดเปนผูจัดหาคนมาทำงาน อันมิใชการประกอบธุรกิจจัดหางาน โดยการทำงานนั้นเปนสวนหนึ่งสวนใดในกระบวนการ ผลิตหรือธุรกิจในความรับผิดชอบของผูประกอบกิจการ และโดยบุคคลนั้นจะเปน ผูควบคุมดูแลการทำงานหรือรับผิดชอบในการจายคาจางใหแกคนที่มาทำงานนั้นหรือไม ก็ตาม ใหถือวาผูประกอบกิจการเปนนายจางของคนที่มาทำงานดังกลาว บทบัญญัติดังกลาว มุงประสงคที่จะคุมครองลูกจางรับเหมาคาแรงเทานั้น ดังนั้น ตองพิจารณาเสียกอนวา การที่ผูประกอบกิจการมอบหมายใหบุคคลใดบุคคลหนึ่งไปจัดหาคนมาทำงานใหนั้น ผูประกอบกิจการตองมุงประสงคตอการจัดหาแรงงาน มิใชมุงประสงคตอสินคาหรือบริการ อันจะมีผลทำใหนิติสัมพันธระหวางผูประกอบกิจการและคูสัญญามีลักษณะเปนสัญญา จางทำของหรือจางเหมาบริการซึ่งไมอยูภายใตบังคับของบทบัญญัติมาตรานี้ การพิจารณา วาสัญญาใดเปนสัญญาจางแรงงานหรือจางทำของหรือจางเหมาบริการ ตองพิจารณาถึง ขอเท็จจริงในการทำงานตามสัญญาของคูสัญญา จึงจะทราบเจตนาในการทำสัญญาวา คูสัญญาเจตนาทำสัญญาจางแรงงาน หรือสัญญาจางทำของหรือจางเหมาบริการ คดีนี้ ปรากฏขอเท็จจริงในสำนวนวาจำเลยซึ่งรวมทุนกับกลุมบริษัทกิจการรวมคาในงานที่ เกี่ยวเนื่องกับแทนนอกชายฝงและการวางทอสงใตทะเลในโครงการซอวติกา ไดตกลงทำ สัญญาเลขที่ IMA-IMO/M-CT-๑๒-๐๐๖๔ กับบริษัท ส. ซึ่งเปนหนึ่งในผูรับจางตามสัญญา ดังกลาว มีวัตถุประสงคในการใหบริการงานบำรุงรักษาทั่วไป งานวิศวกรรมและงาน ปรับปรุงเพื่อการดำเนินงานเกี่ยวกับไฮโดรคารบอน โดยบริษัท ส. เปนผูจัดหาบุคลากร อุปกรณและวัสดุที่จำเปนสำหรับใชทำงานตามสัญญา มีความเปนอิสระในการทำงาน


๑๓๒ ตามสัญญาโดยตองทำงานตามขอบขายของงานที่กำหนดไวในสัญญา แมวาจำเลยจะมี สิทธิออกคำสั่ง หรือเขาตรวจสอบงานก็เปนเพียงขอกำหนดเพื่อใหไดผลลัพธและการ ปฏิบัติงานใหเปนไปตามที่ตกลงกันในสัญญา นอกจากนี้ ยังมีขอกำหนดในการรับประกัน คุณภาพของงาน สิ่งของ วัสดุ อุปกรณ เครื่องมือที่จัดหาหรือของงานที่ทำ และการควบคุม คุณภาพของงาน รวมทั้งจำเลยยังมีสิทธิปฏิเสธหากงานตามสัญญามีความชำรุดบกพรอง หรือไมเปนไปตามที่กำหนดไวในสัญญาหรือคำสั่งของจำเลย หากมีความเสียหายหรือ สูญหายเกิดขึ้นแกงานตามสัญญาหรือสิ่งอื่นใดที่อยูภายใตการดูแลรักษาของบริษัทผูรับจาง ผูรับจางตองเยียวยาความเสียหายหรือสูญหายนั้นดวยคาใชจายของผูรับจางเอง พฤติการณ ดังกลาวยอมแสดงใหเห็นวาการจางงานตามสัญญาฉบับดังกลาวระหวางจำเลยกับบริษัท ส. มุงถึงการใหบริการรวมทั้งผลสำเร็จของงานที่วาจางเปนสำคัญ อันเปนลักษณะของ การจางทำของ ตาม ป.พ.พ. มาตรา ๕๘๗ หาใชกรณีที่บริษัท ส. จัดหาโจทกหรือคนมา ทำงานใหกับจำเลยตาม พ.ร.บ. คุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา ๑๑/๑ ดังที่โจทก กลาวอางไม โจทกจึงไมใชลูกจางของจำเลย โจทกฟอง ขอใหบังคับจำเลยจายเงินโบนัส ๓๘๙,๖๙๓.๙๖ บาท พรอมดอกเบี้ยอัตรา รอยละ ๗.๕ ตอป นับแตวันผิดนัด (วันที่ ๑ เมษายน ๒๕๖๐) เปนตนไปจนกวาจะชำระเสร็จแก โจทก และคาชดเชย ๒๙,๖๓๖.๓๗ ดอลลารสหรัฐ พรอมดอกเบี้ยอัตรารอยละ ๑๕ ตอป นับตั้งแต วันเลิกจาง (วันที่ ๑๐ มกราคม ๒๕๖๐) เปนตนไปจนกวาจะชำระเสร็จแกโจทก จำเลยใหการ ขอใหยกฟอง ศาลแรงงานกลาง พิพากษายกฟอง โจทกอุทธรณ ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษแผนกคดีแรงงานวินิจฉัยวา ขอเท็จจริงที่ยุติในชั้นพิจารณา ของศาลแรงงานกลางและศาลแรงงานกลางฟงขอเท็จจริงวา โจทกเริ่มสมัครงานกับบริษัท สป ออยล แอนด แกส เซอรวิสเซส (ประเทศไทย) จำกัด บริษัทดังกลาวสงโจทกไปสัมภาษณงาน เพื่อพิจารณาคุณสมบัติกับจำเลยซึ่งมีสาขาตั้งอยูประเทศเมียนมา เนื่องจากจำเลยไดรับสัมปทาน จากประเทศเมียนมาและไดวาจางบริษัท สป ออยล แอนด แกส เซอรวิสเซส (ประเทศไทย) จำกัด ใหซอมบำรุงแทนผลิตกาซธรรมชาติในประเทศเมียนมา โจทกจึงไดรับการพิจารณาคุณสมบัติวา ผานเกณฑการทำงานหรือไม จำเลยรับวาโจทกมีคุณสมบัติเหมาะสมกับงาน บริษัท สป ออยล


๑๓๓ แอนด แกส เซอรวิสเซส (ประเทศไทย) จำกัด จึงทำสัญญาจางฉบับที่ ๑ กับโจทกเมื่อวันที่ ๑๗ กุมภาพันธ ๒๕๕๗ เริ่มงานวันที่ ๒๔ กุมภาพันธ ๒๕๕๗ สิ้นสุดสัญญาวันที่ ๒๓ กุมภาพันธ ๒๕๕๘ หลังจากทำงานได ๑๐ เดือน บริษัท สป ออยล แอนด แกส เซอรวิสเซส (ประเทศไทย) จำกัด ไดยกเลิกสัญญาจางฉบับดังกลาว และใหโจทกทำสัญญาฉบับใหมโดยมีเนื้อหาเหมือนกับ สัญญาฉบับที่ ๑ ทั้งหมดเพียงแตเปลี่ยนนายจางใหโจทกสังกัดบริษัท เอเอสบี โปรเจ็คส แอนด รีซอสเซส จำกัด (ASB Projects And Resources Pte Ltd.) ซึ่งจดทะเบียนเปนนิติบุคคลที่ ประเทศสิงคโปร โดยสัญญาเริ่มตน-สิ้นสุดเหมือนฉบับที่ ๑ คือเริ่มตั้งแตวันที่ ๒๔ กุมภาพันธ ๒๕๕๗ สิ้นสุดสัญญาวันที่ ๒๓ กุมภาพันธ ๒๕๕๘ หลังสิ้นสุดฉบับที่ ๓ บริษัท สป ออยล แอนด แกส เซอรวิสเซส (ประเทศไทย) จำกัด ไดสงสัญญาจาง ของบริษัท เอเอสบี โปรเจ็คส แอนด รีซอสเซส จำกัด (ASB Projects and Resources Pte Ltd.) ฉบับที่ ๔ ลงวันที่ ๘ มกราคม ๒๕๕๙ ใหแกโจทก เริ่มงานวันที่ ๒๔ กุมภาพันธ ๒๕๕๙ สิ้นสุดสัญญาวันที่ ๒๓ กุมภาพันธ ๒๕๖๐ แต วันที่ ๙ ธันวาคม ๒๕๕๙ บริษัท สป ออยล แอนด แกส เซอรวิสเซส (ประเทศไทย) จำกัด ไดสง จดหมายอิเล็กทรอนิกสใหแกโจทกระบุวาใหสิ้นสุดสัญญากอนครบกำหนด คือ สิ้นสุดวันที่ ๙ มกราคม ๒๕๖๐ หลังจากนั้นบริษัท สป ออยล แอนด แกส เซอรวิสเซส (ประเทศไทย) จำกัด ไดสง สัญญาจางของบริษัท เอเอสบี โปรเจ็คส แอนด รีซอสเซส จำกัด (ASB Projects and Resources Pte Ltd.) เพื่อตอสัญญากับโจทกอีก ๒ เดือน เริ่มวันที่ ๑๐ มกราคม ๒๕๖๐ สิ้นสุดสัญญาวันที่ ๒๘ กุมภาพันธ ๒๕๖๐ เมื่อครบกำหนดบริษัท สป ออยล แอนด แกส เซอรวิสเซส (ประเทศไทย) จำกัด ไมตอสัญญากับโจทกอีกตอไป แลววินิจฉัยวา ที่โจทกอางวาจำเลยเปนนายจางโจทกจนถึงวันที่ ๙ มกราคม ๒๕๖๐ จึงฟงไมได ทั้งยังไดความวานับตั้งแตวันที่ ๒๔ กุมภาพันธ ๒๕๕๗ เปนตนมา ก็ไดมีการเปลี่ยนนายจางใหโจทกไปสังกัดบริษัท เอเอสบี โปรเจ็คส แอนด รีซอสเซส จำกัด (ASB Projects and Resources Pte Ltd.) ขอเท็จจริงฟงไมไดวา โจทกเปนลูกจางจำเลย โจทกจึงไมมี อำนาจฟอง คดีมีปญหาตองวินิจฉัยตามอุทธรณของโจทกวา จำเลยเปนนายจางโจทกหรือไม เห็นวา ตามพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา ๑๑/๑ วรรคหนึ่ง บัญญัติวา ในกรณีที่ ผูประกอบกิจการมอบหมายใหบุคคลหนึ่งบุคคลใดเปนผูจัดหาคนมาทำงานอันมิใชการประกอบ ธุรกิจจัดหางาน โดยการทำงานนั้นเปนสวนหนึ่งสวนใดในกระบวนการผลิตหรือธุรกิจในความ รับผิดชอบของผูประกอบกิจการ และโดยบุคคลนั้นจะเปนผูควบคุมดูแลการทำงานหรือรับผิดชอบ ในการจายคาจางใหแกคนที่มาทำงานนั้นหรือไมก็ตาม ใหถือวาผูประกอบกิจการเปนนายจางของคน ที่มาทำงานดังกลาว บทบัญญัติดังกลาวมุงประสงคที่จะคุมครองลูกจางรับเหมาคาแรงเทานั้น ดังนั้น


๑๓๔ ตองพิจารณาเสียกอนวา การที่ผูประกอบกิจการมอบหมายใหบุคคลใดบุคคลหนึ่งไปจัดหาคนมา ทำงานใหนั้นผูประกอบกิจการตองมุงประสงคตอการจัดหาแรงงาน มิใชมุงประสงคตอสินคาหรือ บริการอันจะมีผลทำใหนิติสัมพันธระหวางผูประกอบกิจการและคูสัญญามีลักษณะเปนสัญญาจาง ทำของหรือจางเหมาบริการซึ่งไมอยูภายใตบังคับของบทบัญญัติมาตรานี้การพิจารณาวาสัญญาใด เปนสัญญาจางแรงงานหรือจางทำของหรือจางเหมาบริการ ตองพิจารณาถึงขอเท็จจริงในการ ทำงานตามสัญญาของคูสัญญา จึงจะทราบเจตนาในการทำสัญญาวาคูสัญญาเจตนาทำสัญญา จางแรงงาน หรือสัญญาจางทำของหรือจางเหมาบริการ คดีนี้ปรากฏขอเท็จจริงในสำนวนวา จำเลยซึ่งรวมทุนกับกลุมบริษัทกิจการรวมคาในงานที่เกี่ยวเนื่องกับแทนนอกชายฝงและการวาง ทอสงใตทะเลในโครงการซอวติกา ไดตกลงทำสัญญาเลขที่ IMA-IMO/M-CT-๑๒-๐๐๖๔ กับ บริษัท สป ออยล แอนด แกส เซอรวิสเซส (ประเทศไทย) จำกัด ซึ่งเปนหนึ่งในผูรับจางตามสัญญาดังกลาว มีวัตถุประสงคในการใหบริการงานบำรุงรักษาทั่วไป งานวิศวกรรมและงานปรับปรุงเพื่อการดำเนินงาน เกี่ยวกับไฮโดรคารบอนโดยบริษัท สป ออยล แอนด แกส เซอรวิสเซส (ประเทศไทย) จำกัด เปนผูจัดหาบุคลากร อุปกรณและวัสดุที่จำเปนสำหรับใชทำงานตามสัญญา มีความเปนอิสระใน การทำงานตามสัญญา โดยตองทำงานตามขอบขายของงานที่กำหนดไวในสัญญา แมวาจำเลยจะ มีสิทธิออกคำสั่ง หรือเขาตรวจสอบงานก็เปนเพียงขอกำหนดเพื่อใหไดผลลัพธและการปฏิบัติงาน ใหเปนไปตามที่ตกลงกันในสัญญา นอกจากนี้ ยังมีขอกำหนดในการรับประกันคุณภาพของงาน สิ่งของ วัสดุ อุปกรณ เครื่องมือที่จัดหาหรือของงานที่ทำ และการควบคุมคุณภาพของงาน รวมทั้ง จำเลยยังมีสิทธิปฏิเสธ หากงานตามสัญญามีความชำรุดบกพรองหรือไมเปนไปตามที่กำหนดไว ในสัญญาหรือคำสั่งของจำเลย หากมีความเสียหายหรือสูญหายเกิดขึ้นแกงานตามสัญญาหรือ สิ่งอื่นใดที่อยูภายใตการดูแลรักษาของบริษัทผูรับจาง ผูรับจางตองเยียวยาความเสียหายหรือสูญหาย นั้นดวยคาใชจายของผูรับจางเอง พฤติการณดังกลาวจึงยอมแสดงใหเห็นวาการจางงานตามสัญญา ฉบับดังกลาวระหวางจำเลยกับบริษัท สป ออยล แอนด แกส เซอรวิสเซส (ประเทศไทย) จำกัด มุงถึงการใหบริการรวมทั้งผลสำเร็จของงานที่วาจางเปนสำคัญ อันเปนลักษณะของการจางทำของ ตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา ๕๘๗ หาใชกรณีที่บริษัท สป ออยล แอนด แกส เซอรวิสเซส (ประเทศไทย) จำกัด จัดหาโจทกหรือคนมาทำงานใหกับจำเลยตามพระราชบัญญัติ คุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา ๑๑/๑ ดังที่โจทกกลาวอางไม โจทกจึงไมใชลูกจางของจำเลย ที่ศาลแรงงานกลางพิพากษาวาโจทกไมเปนลูกจางจำเลยนั้น ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษเห็นพองดวย ในผลอุทธรณขอนี้ของโจทกฟงไมขึ้น สวนที่โจทกอุทธรณวาคำพิพากษาของศาลแรงงานกลาง ที่รับฟงขอเท็จจริงเปนยุติโดยถือเอาคำสั่งของพนักงานตรวจแรงงานที่ ๗๘/๒๕๖๐ ที่จำเลยกลาวอาง


๑๓๕ ในคำใหการวาบริษัท เอเอสบี โปรเจ็คส แอนด รีซอสเซส จำกัด (ASB Projects and Resources Pte Ltd.) เปนนายจางโจทกในคดีกอนคดีนี้ คดีดังกลาวยังไมถึงที่สุดทั้งการวินิจฉัยปญหาขอเท็จจริง ตองอาศัยพยานหลักฐานในสำนวน คำวินิจฉัยของศาลแรงงานกลางในสวนนี้จึงไมชอบดวย กฎหมายนั้น เห็นวา เมื่อศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษไดวินิจฉัยดังกลาวขางตนแลว กรณีจึงไมจำตอง วินิจฉัยอุทธรณของโจทกขอนี้อีก เพราะไมทำใหผลของคดีเปลี่ยนแปลง พิพากษายืน. พรรณทิพย วัฒนกิจการ - ยอ สุโรจน จันทรพิทักษ - ตรวจ (วัฒนา สุขประดิษฐ - อนันต คงบริรักษ - สุวรรณา แกวบุตตา)


๑๓๖ คำพิพากษาศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษที่ ๑๓๕๑/๒๕๖๒ บริษัทสยาม แอ็ท สยาม จำกัด โจทก นางสาววรีภรณ อึ้งสุนทร ในฐานะพนักงาน ตรวจแรงงาน จำเลย พ.ร.บ. คุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา ๑๑๘ วรรคสาม วรรคสี่, ๑๑๙ โจทกอุทธรณวา แมการจางงานระหวางโจทกกับนาย จ. ผูที่มีฐานะเปนลูกจางจะ มีกำหนดระยะเวลาการจางไวแนนอนตาม พ.ร.บ. คุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา ๑๑๘ วรรคสาม ก็ตาม แตการจะพิจารณาวาโจทกตองจายคาชดเชยเมื่อโจทกเลิกสัญญาจาง ที่มีกำหนดระยะเวลาไวแนนอนกับนาย จ. ไดหรือไม จำตองพิจารณาขอยกเวนตาม พ.ร.บ. คุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา ๑๑๘ วรรคสี่ อีกชั้นหนึ่ง ดังนั้น เมื่อโจทกจาง ใหนาย จ. ทำงานที่มีลักษณะเปนงานปกติของธุรกิจหรือการคาของโจทก สัญญาจางนี้ จึงตองดวยขอยกเวนที่ใหนายจางตองจายคาชดเชยใหแกลูกจาง แมสัญญาจางดังกลาว จะมีกำหนดระยะเวลาไวแนนอนและไดมีการเลิกจางตามกำหนดระยะเวลานั้น หาใชเมื่อ สัญญาจางแรงงานระหวางโจทกและนาย จ. เปนสัญญาจางแรงงานที่มีกำหนดระยะเวลา การจางไวแนนอนแลว เมื่อโจทกเลิกจางนาย จ. โจทกไมจำตองจายคาชดเชยใหแกนาย จ. ตามที่โจทกกลาวอางไม โจทกฟอง ขอใหเพิกถอนคำสั่งของจำเลยและมีคำสั่งใหคืนเงิน ๙๔๒,๓๑๒ บาท แกโจทก จำเลยใหการ ขอใหยกฟอง ศาลแรงงานกลาง พิพากษายกฟอง โจทกอุทธรณ ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษแผนกคดีแรงงานวินิจฉัยวา ศาลแรงงานกลางฟงขอเท็จจริงวา โจทกประกอบกิจการโรงแรม รีสอรท หองชุด หองพัก และหองอาหาร ไดรับนายจิลลเขาทำงาน เปนลูกจางเมื่อวันที่ ๑ พฤศจิกายน ๒๕๕๕ ในตำแหนงหัวหนาพอครัว มีหนาที่ในการดูแล และจัดการในครัวทั้งหมดโดยเฉพาะการปรุงอาหาร ของหวานหรือเครื่องดื่มใหมีคุณภาพและความ


๑๓๗ พึงพอใจ รวมทั้งสรางผลกำไรจากการขายอาหาร ของหวานและเครื่องดื่มใหแกโจทก กำหนด ระยะเวลาการจาง ๑ ป ตั้งแตวันที่ ๑ พฤศจิกายน ๒๕๕๕ ถึงวันที่ ๓๑ ตุลาคม ๒๕๕๖ เมื่อครบ กำหนดเวลา มีการทำสัญญาจางปตอปติดตอกันมาตลอด สัญญาจางฉบับสุดทายเริ่มวันที่ ๑ พฤศจิกายน ๒๕๕๙ ถึงวันที่ ๓๑ ตุลาคม ๒๕๖๐ แลววินิจฉัยวา งานดูแลและจัดการในครัวทั้งหมด ที่นายจิลลไดรับมอบหมายโดยเฉพาะการปรุงอาหาร ของหวาน และเครื่องดื่มใหมีคุณภาพและ ความพึงพอใจ รวมทั้งสรางผลกำไรจากการขายอาหารของหวานหรือเครื่องดื่มใหแกโจทก ซึ่งถือ เปนการประกันคุณภาพสินคาและบริการ หรือใหบริการและผลิตภัณฑที่มีคุณภาพถูกสุขอนามัย และรักษาประสิทธิภาพการดำเนินงานอันกอใหเกิดผลกำไรตามขอตกลงตามสัญญา ธุรกิจ รานอาหารฝรั่งเศสในโรงแรมของโจทกไมไดเปนงานในโครงการเฉพาะของโจทก งานของนายจิลล จึงเปนงานตามปกติของธุรกิจหรือการคาของโจทก แมการจางงานระหวางโจทกกับนายจิลลจะมี กำหนดระยะเวลาการจางไวแนนอนและโจทกไดเลิกจางนายจิลลตามกำหนดเวลานั้นก็ตาม นายจิลล ก็มิใชลูกจางที่มีกำหนดระยะเวลาการจางไวแนนอนตามพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา ๑๑๘ วรรคสามและวรรคสี่ และการที่ผูจัดการทั่วไปของโจทกมีปญหาและไมสามารถ รวมงานกับนายจิลลได ทำใหเกิดขัดของจนตองเลิกจางนายจิลล ก็ไมใชเหตุเลิกจางโดยไมตอง จายคาชดเชยตามกฎหมาย การที่นายจิลลใชสิทธิเรียกรองตอจำเลยจึงเปนการใชสิทธิโดยสุจริต ที่โจทกอุทธรณในขอ ๒.๒ วา แมธุรกิจประกอบรานอาหารจะเปนกิจการของโจทกตาม ปกติก็ตาม แตวัตถุประสงคของการจางนายจิลลก็เพื่อเปนหัวหนาพอครัว มีหนาที่ในการดูแลและ จัดการในครัวทั้งหมดโดยเฉพาะการปรุงอาหารฝรั่งเศส ซึ่งไมไดเปนอาหารตามปกติทั่วไป แตเปน กิจการเฉพาะโครงการรานอาหารของจำเลยเทานั้น ดังนั้นเมื่อนายจิลลไมสามารถปฏิบัติตามวัตถุ ประสงคในการวาจางไดแลว โจทกจึงมีสิทธิที่จะเลิกสัญญาจางกับนายจิลลได เห็นวา ศาลแรงงานกลาง ฟงขอเท็จจริงและวินิจฉัยแลววา ธุรกิจรานอาหารฝรั่งเศสซึ่งเปนธุรกิจตามปกติของโจทกไมได เปนงานในโครงการเฉพาะของโจทก งานของนายจิลลจึงเปนงานตามปกติของธุรกิจหรือการคา ของโจทก ดังนั้นอุทธรณของโจทกในขอนี้ จึงเปนการอุทธรณโตแยงดุลพินิจในการรับฟง พยานหลักฐานของศาลแรงงานกลาง อันเปนอุทธรณในขอเท็จจริง ซึ่งตองหามมิใหอุทธรณตาม พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๕๔ วรรคหนึ่ง ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษไมรับวินิจฉัย ที่โจทกอุทธรณในขอ ๒.๔ วานายจิลลไมสามารถจะปฏิบัติงานรวมกับผูอำนวยการฝาย อาหารและเครื่องดื่มหรือผูจัดการทั่วไปของโจทกได การทำงานของนายจิลลจึงไมไดเปนการ ทำงานใหสำเร็จตามวัตถุประสงคของงานที่วาจางได โจทกจึงบอกเลิกสัญญาจางโดยไมตองจาย


๑๓๘ คาชดเชยใหแกนายจิลลนั้น เห็นวา ศาลแรงงานกลางฟงขอเท็จจริงและวินิจฉัยแลววา การที่ นายจิลลไมสามารถรวมทำงานกับผูจัดการทั่วไปของโจทก มิใชเหตุที่โจทกจะเลิกจางนายจิลลโดยไม ตองจายคาชดเชยตามกฎหมาย ดังนั้นอุทธรณของโจทกดังกลาวก็เปนการอุทธรณโตแยงดุลพินิจ ในการรับฟงพยานหลักฐานของศาลแรงงานกลาง อันเปนอุทธรณในขอเท็จจริง ซึ่งตองหามมิให อุทธรณตามพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๕๔ วรรคหนึ่ง ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษไมรับวินิจฉัยเชนกัน คดีมีปญหาที่ตองวินิจฉัยตามอุทธรณของโจทกในขอ ๒.๓ วา สัญญาจางระหวางโจทก กับนายจิลลเปนสัญญาจางที่ไดกำหนดระยะเวลาจางไวแนนอน ดังนั้น เมื่อครบกำหนดในสัญญา แลว สัญญายอมเลิกกันทันทีหรือไม เห็นวา งานดูแลและจัดการในครัวทั้งหมดที่นายจิลล ไดรับ มอบหมายจากโจทกโดยเฉพาะการปรุงอาหารของหวานหรือเครื่องดื่มใหมีคุณภาพและความ พึงพอใจ รวมทั้งสรางผลกำไรจากการขายอาหาร ของหวานและเครื่องดื่มแกโจทก ถือเปนการ ประกันคุณภาพสินคาหรือบริการอันกอใหเกิดผลกำไรตามขอตกลงตามสัญญา ดังนั้น การที่ โจทกวาจางนายจิลลใหทำหนาที่หัวหนาพอครัวมีหนาที่ดูแลและจัดการการปรุงอาหาร ของหวาน หรือเครื่องดื่มจึงตองถือวาเปนการปฏิบัติงานตามปกติของธุรกิจหรือการคาของโจทกดวย ฉะนั้น แมการจางงานระหวางโจทกกับนายจิลลจะมีกำหนดระยะเวลาการจางไวแนนอนตามพระราชบัญญัติ คุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา ๑๑๘ วรรคสาม ก็ตาม แตการจะพิจารณาวาโจทกตองจาย คาชดเชยเมื่อโจทกเลิกสัญญาจางแรงงานที่มีกำหนดระยะเวลาการจางไวแนนอนกับนายจิลล ไดหรือไม จำตองพิจารณาขอยกเวนตามพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา ๑๑๘ วรรคสี่ อีกชั้นหนึ่ง หาใชเมื่อสัญญาจางแรงงานระหวางโจทกและนายจิลลเปนสัญญาจางแรงงาน ที่มีกำหนดระยะเวลาการจางไวแนนอนแลว เมื่อโจทกเลิกจางนายจิลล โจทกไมจำตองจาย คาชดเชยใหแกนายจิลลตามที่โจทกกลาวอางไม อุทธรณของโจทกขอนี้ฟงไมขึ้น คดีมีปญหาที่ตองไดวินิจฉัยประการสุดทายตามอุทธรณของโจทกขอ ๒.๕ วา นายจิลล ใชสิทธิเรียกรองตอจำเลยเปนการใชสิทธิโดยสุจริตตามกฎหมายหรือไม เห็นวา แมการจางงาน ระหวางโจทกกับนายจิลลจะมีกำหนดระยะเวลาการจางไวแนนอนและโจทกไดเลิกจางนายจิลล ตามกำหนดระยะเวลานั้นก็ตาม แตเมื่อการจางงานดังกลาวเปนงานปกติของธุรกิจหรือการคา ของโจทก จึงตองดวยขอยกเวนที่ใหนายจางตองจายคาชดเชยใหแกลูกจางซึ่งเลิกจางกรณี การจางมีกำหนดระยะเวลาไวแนนอนและเลิกจางตามกำหนดระยะเวลานั้น ตามที่บัญญัติไวใน พระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา ๑๑๘ วรรคสี่ ดังที่ไดวินิจฉัยมาแลวขางตน เมื่อโจทกเลิกจางนายจิลลโดยไมปรากฏวานายจิลลกระทำผิดหรือกระทำการอันมีลักษณะ


๑๓๙ อยางหนึ่งอยางใดตามพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา ๑๑๙ อันจะทำให โจทกซึ่งเปนนายจางไมตองจายคาชดเชย โจทกจึงตองจายคาชดเชยใหแกนายจิลลตามมาตรา ๑๑๘ ดังนั้นการที่นายจิลลใชสิทธิเรียกรองตอจำเลย จึงถือเปนการใชสิทธิโดยสุจริตตามกฎหมาย ที่ศาลแรงงานกลางพิพากษามานั้น ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษเห็นพองดวย อุทธรณของโจทก ฟงไมขึ้น พิพากษายืน. สุเจตน สถาพรนานนท - ยอ สุโรจน จันทรพิทักษ - ตรวจ (นาวี สกุลวงศธนา - เริงศักดิ์ วิริยะชัยวงศ - นงนภา จันทรศักดิ์ ลิ่มไพบูลย)


Click to View FlipBook Version