The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รวมคำพิพากษา-แผนกคดีแรงงาน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by iprd.pic, 2024-01-31 21:12:27

รวมคำพิพากษา-แผนกคดีแรงงาน

รวมคำพิพากษา-แผนกคดีแรงงาน

๒๙๐ พิพากษาแกเปนวา ใหจำเลยเสียดอกเบี้ยของตนเงินสินจางแทนการบอกกลาวลวงหนา ในอัตรารอยละ ๑๕ ตอป นอกจากที่แกใหเปนไปตามคำพิพากษาศาลแรงงานภาค ๘. (ปณิธาน วิสุทธากร - วิโรจน ตุลาพันธุ - ไพรัช โปรงแสง) กิตติ เนตรประเสริฐชัย - ยอ วัชรินทร ฤชุโรจน - ตรวจ


๒๙๑ คำพิพากษาศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษที่ ๑๘๐๑ - ๑๘๐๔/๒๕๖๔ นางสาวชนมนิภา หงษสุวรรณ (ประชุมใหญ) กับพวก โจทก บริษัทโอโย เทคโนโลยี แอนด ฮอสพิทอลลิตี้ (ประเทศไทย) จำกัด จำเลย ป.พ.พ. มาตรา ๘, ๕๘๑, ๕๘๒ พ.ร.บ. คุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา ๙ วรรคหนึ่ง, ๑๗ วรรคสอง, ๕๕, ๗๐ วรรคหนึ่ง (๑), ๗๕ วรรคหนึ่ง พ.ร.บ. จัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๔๙, ๕๔ วรรคหนึ่ง พ.ร.บ. คุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา ๗๕ วรรคหนึ่ง บัญญัติวา “ในกรณี ที่นายจางมีความจำเปนโดยเหตุหนึ่งเหตุใดที่สำคัญอันมีผลกระทบตอการประกอบกิจการ ของนายจางจนทำใหนายจางไมสามารถประกอบกิจการไดตามปกติซึ่งมิใชเหตุสุดวิสัย ตองหยุดกิจการทั้งหมดหรือบางสวนเปนการชั่วคราว ใหนายจางจายเงินใหแกลูกจาง ไมนอยกวารอยละเจ็ดสิบหาของคาจางในวันทำงานที่ลูกจางไดรับกอนนายจางหยุดกิจการ ตลอดระยะเวลาที่นายจางไมไดใหลูกจางทำงาน ณ สถานที่จายเงินตามมาตรา ๕๕ และ ภายในกำหนดเวลาการจายเงินตามมาตรา ๗๐ (๑)” บทบัญญัติดังกลาวมีเจตนารมณ คุมครองนายจางที่ประสบวิกฤตการณในการดำเนินกิจการ โดยใหสิทธินายจางสั่งหยุด กิจการไมใหลูกจางทั้งหมดหรือบางสวนทำงานเปนการชั่วคราวไดเมื่อมีความจำเปนที่ สำคัญอันมีผลกระทบตอการประกอบกิจการของนายจางอยางมากซึ่งมิใชเหตุสุดวิสัย เพื่อนายจางจะไดมีโอกาสแกไขวิกฤตการณที่เกิดขึ้นใหหมดไปหรือบรรเทาลง ขณะ เดียวกันก็คุมครองลูกจางใหยังพอมีรายไดในการดำรงชีพระหวางเวลาที่นายจางไมให ทำงานดวย สวนการหยุดกิจการเปนการชั่วคราวดวยเหตุสุดวิสัย ตองเปนกรณีที่นายจาง ไมสามารถประกอบกิจการทั้งหมดหรือบางสวนในชวงเวลานั้นโดยสิ้นเชิง และถือวาการ ที่นายจางไมอาจมอบหมายงานใหลูกจางทำเปนกรณีการชำระหนี้ตกเปนพนวิสัยเพราะ พฤติการณอยางหนึ่งอยางใดซึ่งเกิดขึ้นภายหลังกอหนี้และซึ่งนายจางไมตองรับผิด นายจาง ยอมหลุดพนจากหนาที่ในการชำระหนี้และไมตองจายเงินใหแกลูกจาง แต พ.ร.บ. คุมครอง


๒๙๒ แรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ ไมไดกำหนดคำนิยามของคำวา “เหตุสุดวิสัย” ไว จึงตองตีความ ตาม ป.พ.พ. มาตรา ๘ ที่บัญญัติวา “เหตุสุดวิสัย” หมายความวา เหตุใด ๆ อันจะเกิดขึ้น ก็ดี จะใหผลพิบัติก็ดี เปนเหตุที่ไมอาจปองกันไดแมทั้งบุคคลผูตองประสบหรือใกลจะตอง ประสบเหตุนั้นจะไดจัดการระมัดระวังตามสมควรอันพึงคาดหมายไดจากบุคคลในฐานะ และภาวะเชนนั้น การแพรระบาดของโรคโควิด ๑๙ หรือมาตรการปองกันการแพรระบาด เปนเหตุสุดวิสัยอันจะทำใหนายจางหลุดพนจากการชำระหนี้หรือไม ตองพิจารณาวาเหตุ ดังกลาวมีผลถึงขนาดใหนายจางไมสามารถประกอบกิจการหรือไม ขอเท็จจริงไดความวา ธุรกิจของจำเลยเปนการใหบริการเปนตลาดกลางในการรับจองหองพัก ที่พัก และพื้นที่ ทำงานรวมกันทางออนไลนใหแกพันธมิตรธุรกิจตาง ๆ ในประเทศไทย ในขณะเกิดเหตุ มีการแพรระบาดของโรคโควิด ๑๙ แตก็ไมปรากฏวาเปนเหตุขัดขวางมิใหจำเลยประกอบ กิจการใหบริการจองที่พักออนไลนในงานสวนใดอยางสิ้นเชิง ดังนั้น เมื่อจำเลยยังสามารถ ประกอบกิจการได แมการประกอบกิจการในชวงสถานการณการแพรระบาดของโรค ดังกลาวจะมีผลใหจำเลยประสบภาวะขาดทุนอยางมากเนื่องจากนักทองเที่ยวตางชาติ ไมสามารถเดินทางเขามาในประเทศไทย ตามมาตรการจำกัดการเดินทางระหวางประเทศ ของรัฐบาลจนมีผลใหมีนักทองเที่ยวใชบริการจองที่พักทางออนไลนกับจำเลยนอยลงก็ตาม กรณีจึงไมใชการหยุดกิจการเปนการชั่วคราวดวยเหตุสุดวิสัย และจำเลยตองจายเงินอัตรา รอยละ ๗๕ ของคาจางในวันทำงานที่โจทกที่ ๒ ถึงที่ ๕ ไดรับกอนหยุดกิจการตั้งแตวันที่ ๑ พฤษภาคม ๒๕๖๓ ถึงวันที่ ๒๗ สิงหาคม ๒๕๖๓ ที่โจทกที่ ๒ ถึงที่ ๕ ยังเปนลูกจางจำเลย แตจำเลยไมไดใหโจทกที่ ๒ ถึงที่ ๕ ทำงาน และจายภายในกำหนดเวลาการจายเงินตาม มาตรา ๗๐ (๑) ตาม พ.ร.บ. คุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา ๗๕ วรรคหนึ่ง ทั้งนี้ พ.ร.บ. คุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา ๗๐ วรรคหนึ่ง (๑) บัญญัติวา “ในกรณีที่มี การคำนวณคาจางเปนรายเดือน รายวัน รายชั่วโมง หรือเปนระยะเวลาอยางอื่นที่ไมเกิน หนึ่งเดือน หรือตามผลงานโดยคำนวณเปนหนวย ใหจายเดือนหนึ่งไมนอยกวาหนึ่งครั้ง เวนแตจะมีการตกลงกันเปนอยางอื่นที่เปนประโยชนแกลูกจาง” และวรรคสอง บัญญัติวา “ในกรณีที่นายจางเลิกจางลูกจาง ใหนายจางจายคาจาง คาลวงเวลา คาทำงานในวันหยุด คาลวงเวลาในวันหยุด และเงินที่นายจางมีหนาที่ตองจายตามพระราชบัญญัตินี้ ตามที่ ลูกจางมีสิทธิไดรับ ใหแกลูกจางภายในสามวันนับแตวันที่เลิกจาง” จำเลยกำหนดจาย คาจางใหแกโจทกที่ ๒ ถึงที่ ๕ ทุกวันสิ้นเดือน จำเลยจึงตองจายเงินในกรณีหยุดกิจการทุกวัน สิ้นเดือนในเดือนพฤษภาคม ๒๕๖๓ ถึงเดือนกรกฎาคม ๒๕๖๓ สวนเดือนสิงหาคม ๒๕๖๓


๒๙๓ จำเลยเลิกจางโจทกที่ ๒ ถึงที่ ๕ วันที่ ๒๗ สิงหาคม ๒๕๖๓ จึงตองจายภายในวันที่ ๓๐ สิงหาคม ๒๕๖๓ เมื่อไมจายตองเสียดอกเบี้ยในระหวางเวลาผิดนัดอัตรารอยละ ๑๕ ตอป ตาม พ.ร.บ. คุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา ๙ วรรคหนึ่ง ไมปรากฏวาจำเลยสั่งให โจทกที่ ๒ ถึงที่ ๕ ทำงานตามที่โจทกที่ ๒ ถึงที่ ๕ กลาวอาง แตไดความวาจำเลยแจงกำหนด หยุดกิจการเปนการชั่วคราวตั้งแตวันที่ ๑ พฤษภาคม ๒๕๖๓ ถึงวันที่ ๓๑ สิงหาคม ๒๕๖๓ ใหโจทกที่ ๒ ถึงที่ ๕ ทราบแลว และการหยุดกิจการเปนการชั่วคราวดังกลาวชอบดวย พ.ร.บ. คุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา ๗๕ มีผลเทากับนายจางมีคำสั่งใหลูกจาง หยุดทำงานตามระยะเวลาที่นายจางกำหนด แมระหวางนั้นจำเลยยังไมเก็บอุปกรณการ ทำงานของจำเลยไปจากโจทกที่ ๒ ถึงที่ ๕ ก็ไมไดหมายความวาจำเลยมีคำสั่งใหมใหโจทก ที่ ๒ ถึงที่ ๕ ทำงานใหจำเลย การที่โจทกที่ ๒ ถึงที่ ๕ ยังฝาฝนทำงานในชวงที่จำเลยหยุด กิจการเปนการไมปฏิบัติตามคำสั่งจำเลย โจทกที่ ๒ ถึงที่ ๕ จึงไมมีสิทธิเรียกรองคาจาง จากจำเลย สวน ป.พ.พ. มาตรา ๕๘๑ ที่โจทกที่ ๒ ถึงที่ ๕ ยกขึ้นอางนั้น เปนบทบัญญัติที่ กำหนดใหการบอกเลิกสัญญาจางที่มีกำหนดระยะเวลาแนนอนซึ่งไดสิ้นสุดลงแลว แตลูกจาง ยังคงทำงานอยูตอไปโดยนายจางรูแลวไมทักทวง ตองบอกกลาวลวงหนา ไมอาจนำมา ใชกับกรณีนี้ได เมื่อวินิจฉัยดังนี้แลว กรณีไมจำตองวินิจฉัยวาโจทกที่ ๒ ถึงที่ ๕ ทำงาน จากที่บานหรือที่สำนักงานจำเลย เพราะไมทำใหผลคดีเปลี่ยนแปลงไป การพิจารณาวาการเลิกจางเปนการเลิกจางที่ไมเปนธรรมหรือไม ตองพิจารณา ที่เหตุแหงการเลิกจางวามีอยูจริงหรือไมและเหตุนั้นเปนเหตุสมควรที่นายจางจะเลิกจาง หรือไม เมื่อขอเท็จจริงรับฟงเปนยุติตามคำวินิจฉัยของศาลแรงงานกลางแลววา จำเลย เลิกจางโจทกที่ ๒ ถึงที่ ๕ เนื่องจากการแพรระบาดของโรคโควิด ๑๙ ที่ยังไมสิ้นสุดลง สงผลกระทบตอภาคธุรกิจการทองเที่ยวและการโรงแรม รวมถึงกิจการของจำเลยดวย โดยไมปรากฏเหตุอื่น จึงเปนการพิจารณาเลิกจางโจทกที่ ๒ ถึงที่ ๕ เพื่อปรับลดตนทุน รายจายของจำเลย ถือวามีเหตุอันสมควร ไมเปนเลิกจางที่ไมเปนธรรม ซึ่งการเลิกจางที่ ไมเปนธรรมกับการเลิกจางโดยไมไดบอกกลาวลวงหนาเปนคนละเรื่องกัน การที่จำเลย เลิกจางโจทกที่ ๒ ถึงที่ ๕ โดยไมไดบอกกลาวลวงหนา คงมีผลเพียงใหจำเลยตองจายสินจาง แทนการบอกกลาวลวงหนาใหแกโจทกที่ ๒ ถึงที่ ๕ ตาม ป.พ.พ. มาตรา ๕๘๒ วรรคหนึ่ง และ พ.ร.บ. คุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา ๑๗ วรรคสองเทานั้น หาไดมีผลให การเลิกจางนั้นกลับเปนการเลิกจางที่ไมมีเหตุอันสมควรหรือไมเปนธรรมไม


๒๙๔ โจทกทั้งเจ็ดฟองและแกไขคำฟอง ขอใหบังคับจำเลยจายคาจางคางจาย จายเงิน ไมนอยกวารอยละ ๗๕ ของคาจางในวันทำงานที่โจทกแตละคนไดรับกอนจำเลยหยุดกิจการ ตั้งแตเดือนพฤษภาคมถึงเดือนสิงหาคม ๒๕๖๓ สินจางแทนการบอกกลาวลวงหนาคาชดเชยและ คาเสียหายจากการเลิกจางที่ไมเปนธรรม พรอมดอกเบี้ยใหแกโจทกแตละคนตามคำขอทายฟอง แตละสำนวน จำเลยทั้งเจ็ดสำนวนใหการและแกไขคำใหการ ขอใหยกฟอง ระหวางพิจารณาของศาลแรงงานกลาง โจทกที่ ๑ ที่ ๖ และที่ ๗ รวม ๓ คน ขอถอนฟอง ศาลแรงงานกลางอนุญาตและจำหนายคดีเฉพาะโจทกดังกลาวจากสารบบความ เหลือโจทกที่ ๒ ถึงที่ ๕ รวม ๔ คน และคูความแถลงรับกันวา จำเลยจายสินจางแทนการบอกกลาวลวงหนา และคาชดเชยใหแกโจทกที่ ๒ ถึงที่ ๕ แลว ศาลแรงงานกลาง พิพากษายกฟอง โจทกที่ ๒ ถึงที่ ๕ อุทธรณ ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษแผนกคดีแรงงานวินิจฉัยวา ขอเท็จจริงที่ศาลแรงงานกลาง รับฟงมาและตามที่คูความไมไดโตแยงกันไดความวา จำเลยเปนนิติบุคคลประเภทบริษัทจำกัด ประกอบธุรกิจใหบริการเปนตลาดกลางในการรับจองหองพัก ที่พัก และพื้นที่ทำงานรวมกันใหกับ พันธมิตรธุรกิจตาง ๆ ในประเทศไทยทางออนไลนผานทางเว็บไซต แอปพลิเคชันในโทรศัพท เคลื่อนที่และอุปกรณอื่น ๆ ผูใชบริการสวนใหญเปนชาวตางชาติที่เดินทางจากตางประเทศเขามา ในประเทศไทย เดิมโจทกที่ ๒ ถึงที่ ๕ เปนลูกจางของโจทก มีระยะเวลาการทำงาน ตำแหนง สุดทายและคาจางตามฟองแตละสำนวน กำหนดจายคาจางเปนรายเดือนทุกวันสิ้นเดือน ลักษณะ การทำงานของโจทกที่ ๒ และที่ ๓ สวนใหญเปนการออกไปพบลูกคานอกบริษัท เมื่อตนป ๒๕๖๓ มีเหตุการณการแพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ หรือโรคโควิด ๑๙ ในประเทศไทย ตอมารัฐบาลและหนวยงานราชการมีมาตรการปองกันการแพรระบาดของโรคดังกลาว อันรวมถึง การจำกัดการเดินทางระหวางประเทศ โดยมีประกาศสำนักงานการบินพลเรือนแหงประเทศไทย หามอากาศยานขนสงคนโดยสารทำการบินเขามายังทาอากาศยานในประเทศไทยเปนการชั่วคราว ตั้งแตวันที่ ๔ เมษายน ๒๕๖๓ กระทบตอภาคธุรกิจการทองเที่ยวและการโรงแรมโดยทั่วไป วันที่ ๒๗ เมษายน ๒๕๖๓ จำเลยประชุมลูกจางทั้งหมดชี้แจงวาจำเลยไดรับผลกระทบจากการ แพรระบาดของโรคโควิด ๑๙ ไมสามารถเปดทำการไดตามปกติ จำเปนตองหยุดกิจการชั่วคราว ดวยเหตุสุดวิสัยตั้งแตวันที่ ๑ พฤษภาคม ๒๕๖๓ ถึงวันที่ ๓๑ สิงหาคม ๒๕๖๓ และเสนอเงื่อนไข ใหลูกจางรับเงินสนับสนุนชวยเหลือในเดือนพฤษภาคม ๒๕๖๓ อัตรารอยละ ๔๐ ของคาจางและ


๒๙๕ ในเดือนมิถุนายน ๒๕๖๓ อัตรารอยละ ๑๕ ของคาจาง หรือลาออกแลวรับเงินชวยเหลือในเดือน พฤษภาคม ๒๕๖๓ อัตรารอยละ ๕๐ ของคาจาง วันที่ ๒๘ เมษายน ๒๕๖๓ จำเลยแจงการหยุด กิจการบางสวนชั่วคราวตอสำนักงานสวัสดิการและคุมครองแรงงานกรุงเทพมหานครพื้นที่ ๑ และหยุดกิจการชั่วคราวตั้งแตวันที่ ๑ พฤษภาคม ๒๕๖๓ ถึงวันที่ ๓๑ สิงหาคม ๒๕๖๓ แตวันที่ ๑ ถึงวันที่ ๑๐ พฤษภาคม ๒๕๖๓ โจทกที่ ๒ ถึงที่ ๕ ยังทำงานตามปกติ ตอมาจำเลยเก็บอุปกรณ การทำงานของจำเลยไปจากโจทกที่ ๒ ถึงที่ ๕ และไมจายคาจางเดือนพฤษภาคม ๒๕๖๓ ใหแก โจทกที่ ๒ ถึงที่ ๕ หลังจากนั้นวันที่ ๒๗ สิงหาคม ๒๕๖๓ จำเลยมีหนังสือเลิกจางโจทกที่ ๒ ถึงที่ ๕ โดยใหมีผลตั้งแตวันที่ ๒๘ สิงหาคม ๒๕๖๓ จำเลยจายสินจางแทนการบอกกลาวลวงหนาและ คาชดเชยใหแกโจทกที่ ๒ ถึงที่ ๕ แลว ศาลแรงงานกลางวินิจฉัยวา พระราชบัญญัติคุมครอง แรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา ๗๕ บัญญัติใหนายจางที่มีความจำเปนตองหยุดกิจการทั้งหมดหรือ บางสวนเปนการชั่วคราว โดยเหตุหนึ่งเหตุใดที่สำคัญอันมีผลกระทบตอการประกอบกิจการของ นายจาง จนทำใหนายจางไมสามารถประกอบกิจการไดตามปกติซึ่งมิใชเหตุสุดวิสัย จายเงินให แกลูกจางไมนอยกวารอยละ ๗๕ ของคาจางในวันทำงานที่ลูกจางไดรับกอนนายจางหยุดกิจการ เหตุสุดวิสัยตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา ๘ หมายความวา เหตุใด ๆ อันจะ เกิดขึ้นก็ดี จะใหผลพิบัติก็ดี เปนเหตุที่ไมอาจปองกันไดแมทั้งบุคคลผูตองประสบหรือใกลจะตอง ประสบเหตุนั้นจะไดจัดการระมัดระวังตามสมควรอันพึงคาดหมายไดจากบุคคลในฐานะและภาวะ เชนนั้น เมื่อพิจารณาประกอบกับหมายเหตุในหนังสือรับรองการขอรับประโยชนทดแทนในกรณี วางงานเนื่องจากมีเหตุสุดวิสัยที่ระบุวา เหตุสุดวิสัยซึ่งมีผลกระทบตอนายจางจนไมสามารถ ประกอบกิจการไดตามปกติรวมถึงโรคโควิด ๑๙ ดวย จำเลยประกอบกิจการเรื่อยมาจนเมื่อมี เหตุการณการแพรระบาดของโรคโควิด ๑๙ จึงหยุดกิจการเปนการชั่วคราว ถือวาการหยุดกิจการ เปนการชั่วคราวของจำเลยเนื่องจากโรคโควิด ๑๙ เปนเหตุสุดวิสัยตามพระราชบัญญัติคุมครอง แรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา ๗๕ จำเลยไมตองจายคาจางใหแกโจทกที่ ๒ ถึงที่ ๕ ไมนอยกวา รอยละ ๗๕ ของคาจางในวันทำงานที่โจทกที่ ๒ ถึงที่ ๕ ไดรับตลอดชวงระยะเวลาที่จำเลยประกาศ หยุดกิจการ ตามพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา ๗๕ และประมวลกฎหมาย แพงและพาณิชย มาตรา ๕๗๕ บัญญัติวา อันวาจางแรงงานนั้น คือสัญญาซึ่งบุคคลคนหนึ่ง เรียกวา ลูกจาง ตกลงจะทำงานใหแกบุคคลอีกคนหนึ่ง เรียกวานายจาง และนายจางตกลงจะใหสินจาง ตลอดเวลาที่ทำงานให การที่จำเลยแสดงเจตนาใหลูกจางทั้งหมดทราบวา จำเลยจะหยุดกิจการ เปนการชั่วคราวตั้งแตวันที่ ๑ พฤษภาคม ๒๕๖๓ ถึงวันที่ ๓๑ สิงหาคม ๒๕๖๓ ยังไมถือเปน การเลิกจาง แตการที่โจทกที่ ๒ ถึงที่ ๕ ไปทำงานตั้งแตวันที่ ๑ ถึงวันที่ ๑๐ พฤษภาคม ๒๕๖๓


๒๙๖ ระหวางเวลาที่จำเลยหยุดกิจการเปนการชั่วคราวโดยจำเลยมิไดสั่ง จำเลยไมตองจายสินจางหรือ คาจางเพื่อตอบแทนการทำงานใหแกโจทกที่ ๒ ถึงที่ ๕ จำเลยจายสินจางแทนการบอกกลาว ลวงหนาและคาชดเชยใหแกโจทกที่ ๒ ถึงที่ ๕ แลว โจทกที่ ๒ ถึงที่ ๕ จึงไมมีสิทธิเรียกรองเงิน สวนนี้อีก เมื่อใกลครบกำหนดที่จำเลยประกาศหยุดกิจการชั่วคราวแลว การแพรระบาดของ โรคโควิด ๑๙ ยังไมสิ้นสุดลง สงผลกระทบตอภาคธุรกิจการทองเที่ยวและการโรงแรมโดยทั่วไป รวมทั้งกิจการของจำเลยดวย ทำใหลูกจางของจำเลยรวมทั้งโจทกที่ ๒ ถึงที่ ๕ ไมสามารถเขามา ทำงานใหกับจำเลยไดตามปกติ จำเลยจึงเลิกจางโจทกที่ ๒ ถึงที่ ๕ โดยไมปรากฏวามีการกลั่นแกลง เปนการเลิกจางที่มีเหตุสมควร ถือไมไดวาเปนการเลิกจางที่ไมเปนธรรม จำเลยจึงไมตองจาย คาเสียหายจากการเลิกจางที่ไมเปนธรรมใหแกโจทกที่ ๒ ถึงที่ ๕ คดีมีปญหาตองวินิจฉัยตามอุทธรณของโจทกที่ ๒ ถึงที่ ๕ ประการแรกวา การที่จำเลย หยุดกิจการบางสวนเปนการชั่วคราวเปนเหตุสุดวิสัยตามพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา ๗๕ และจำเลยตองจายเงินไมนอยกวารอยละ ๗๕ ของคาจางในวันทำงานที่โจทก ที่ ๒ ถึงที่ ๕ ไดรับกอนจำเลยหยุดกิจการตลอดระยะเวลาที่จำเลยไมไดใหโจทกที่ ๒ ถึงที่ ๕ ทำงานหรือไม ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษโดยมติที่ประชุมใหญเห็นวา พระราชบัญญัติคุมครอง แรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา ๗๕ วรรคหนึ่ง บัญญัติวา “ในกรณีที่นายจางมีความจำเปนโดยเหตุหนึ่ง เหตุใดที่สำคัญอันมีผลกระทบตอการประกอบกิจการของนายจางจนทำใหนายจางไมสามารถ ประกอบกิจการไดตามปกติซึ่งมิใชเหตุสุดวิสัยตองหยุดกิจการทั้งหมดหรือบางสวนเปนการชั่วคราว ใหนายจางจายเงินใหแกลูกจางไมนอยกวารอยละเจ็ดสิบหาของคาจางในวันทำงานที่ลูกจางได รับกอนนายจางหยุดกิจการตลอดระยะเวลาที่นายจางไมไดใหลูกจางทำงาน ณ สถานที่จายเงิน ตามมาตรา ๕๕ และภายในกำหนดเวลาการจายเงินตามมาตรา ๗๐ (๑)” บทบัญญัติดังกลาว มีเจตนารมณคุมครองนายจางที่ประสบวิกฤตการณในการดำเนินกิจการ โดยใหสิทธินายจางสั่ง หยุดกิจการไมใหลูกจางทั้งหมดหรือบางสวนทำงานเปนการชั่วคราวไดเมื่อมีความจำเปนที่สำคัญ อันมีผลกระทบตอการประกอบกิจการของนายจางอยางมากซึ่งมิใชเหตุสุดวิสัย เพื่อนายจางจะ ไดมีโอกาสแกไขวิกฤตการณที่เกิดขึ้นใหหมดไปหรือบรรเทาลง ขณะเดียวกันก็คุมครองลูกจาง ใหยังพอมีรายไดในการดำรงชีพระหวางเวลาที่นายจางไมใหทำงานดวย สวนการหยุดกิจการเปน การชั่วคราวดวยเหตุสุดวิสัย ตองเปนกรณีที่นายจางไมสามารถประกอบกิจการทั้งหมดหรือบางสวน ในชวงเวลานั้นโดยสิ้นเชิง และถือวาการที่นายจางไมอาจมอบหมายงานใหลูกจางทำเปนกรณี การชำระหนี้ตกเปนพนวิสัยเพราะพฤติการณอยางหนึ่งอยางใดซึ่งเกิดขึ้นภายหลังกอหนี้ และซึ่งนายจางไมตองรับผิด นายจางยอมหลุดพนจากหนาที่ในการชำระหนี้และไมตองจายเงิน


๒๙๗ ใหแกลูกจาง แตพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ ไมไดกำหนดคำนิยามของคำวา “เหตุสุดวิสัย” ไว จึงตองตีความตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา ๘ ที่บัญญัติวา “เหตุสุดวิสัย” หมายความวา เหตุใด ๆ อันจะเกิดขึ้นก็ดี จะใหผลพิบัติก็ดี เปนเหตุที่ไมอาจปองกันได แมทั้งบุคคลผูตองประสบหรือใกลจะตองประสบเหตุนั้นจะไดจัดการระมัดระวังตามสมควร อันพึงคาดหมายไดจากบุคคลในฐานะและภาวะเชนนั้น การแพรระบาดของโรคโควิด ๑๙ หรือ มาตรการปองกันการแพรระบาดเปนเหตุสุดวิสัยอันจะทำใหนายจางหลุดพนจากการชำระหนี้ หรือไม ตองพิจารณาวาเหตุดังกลาวมีผลถึงขนาดใหนายจางไมสามารถประกอบกิจการหรือไม ขอเท็จจริงไดความวา ธุรกิจของจำเลยเปนการใหบริการเปนตลาดกลางในการรับจองหองพัก ที่พัก และพื้นที่ทำงานรวมกันทางออนไลนใหแกพันธมิตรธุรกิจตาง ๆ ในประเทศไทย ในขณะ เกิดเหตุมีการแพรระบาดของโรคโควิด ๑๙ แตก็ไมปรากฏวาเปนเหตุขัดขวางมิใหจำเลยประกอบ กิจการใหบริการจองที่พักออนไลนในงานสวนใดอยางสิ้นเชิง ดังนั้น เมื่อจำเลยยังสามารถประกอบ กิจการได แมการประกอบกิจการในชวงสถานการณการแพรระบาดของโรคดังกลาวจะมีผลให จำเลยประสบภาวะขาดทุนอยางมากเนื่องจากนักทองเที่ยวตางชาติไมสามารถเดินทางเขามาใน ประเทศไทย ตามมาตรการจำกัดการเดินทางระหวางประเทศของรัฐบาล จนมีผลใหมีนักทองเที่ยว ใชบริการจองที่พักทางออนไลนกับจำเลยนอยลงก็ตาม กรณีจึงไมใชการหยุดกิจการเปนการ ชั่วคราวดวยเหตุสุดวิสัย และจำเลยตองจายเงินอัตรารอยละ ๗๕ ของคาจางในวันทำงานที่โจทก ที่ ๒ ถึงที่ ๕ ไดรับกอนหยุดกิจการตั้งแตวันที่ ๑ พฤษภาคม ๒๕๖๓ ถึงวันที่ ๒๗ สิงหาคม ๒๕๖๓ ที่โจทกที่ ๒ ถึงที่ ๕ ยังเปนลูกจางจำเลยแตจำเลยไมไดใหโจทกที่ ๒ ถึงที่ ๕ ทำงาน และจาย ภายในกำหนดเวลาการจายเงินตามมาตรา ๗๐ (๑) ตามพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา ๗๕ วรรคหนึ่ง ที่ศาลแรงงานกลางวินิจฉัยมานั้น ไมตองดวยความเห็นของศาลอุทธรณ คดีชำนัญพิเศษ อุทธรณขอนี้ของโจทกที่ ๒ ถึงที่ ๕ ฟงขึ้น ทั้งนี้ พระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา ๗๐ วรรคหนึ่ง (๑) บัญญัติวา “ในกรณีที่มีการคำนวณคาจางเปนรายเดือน รายวัน รายชั่วโมง หรือเปนระยะเวลาอยางอื่นที่ไมเกินหนึ่งเดือน หรือตามผลงานโดยคำนวณ เปนหนวย ใหจายเดือนหนึ่งไมนอยกวาหนึ่งครั้ง เวนแตจะมีการตกลงกันเปนอยางอื่นที่เปน ประโยชนแกลูกจาง” และวรรคสอง บัญญัติวา “ในกรณีที่นายจางเลิกจางลูกจาง ใหนายจาง จายคาจาง คาลวงเวลา คาทำงานในวันหยุด คาลวงเวลาในวันหยุด และเงินที่นายจางมีหนาที่ ตองจายตามพระราชบัญญัตินี้ ตามที่ลูกจางมีสิทธิไดรับ ใหแกลูกจางภายในสามวันนับแตวันที่ เลิกจาง” จำเลยกำหนดจายคาจางใหแกโจทกที่ ๒ ถึงที่ ๕ ทุกวันสิ้นเดือน จำเลยจึงตองจายเงิน ในกรณีหยุดกิจการทุกวันสิ้นเดือนในเดือนพฤษภาคม ๒๕๖๓ ถึงเดือนกรกฎาคม ๒๕๖๓ สวน


๒๙๘ เดือนสิงหาคม ๒๕๖๓ จำเลยเลิกจางโจทกที่ ๒ ถึงที่ ๕ วันที่ ๒๗ สิงหาคม ๒๕๖๓ จึงตองจาย ภายในวันที่ ๓๐ สิงหาคม ๒๕๖๓ เมื่อไมจายตองเสียดอกเบี้ยในระหวางเวลาผิดนัดอัตรารอยละ ๑๕ ตอป ตามพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา ๙ วรรคหนึ่ง ปญหาที่ตองวินิจฉัยตามอุทธรณของโจทกที่ ๒ ถึงที่ ๕ ประการตอไปมีวา จำเลยตอง จายคาจางระหวางวันที่ ๑ ถึงวันที่ ๑๐ พฤษภาคม ๒๕๖๓ ใหแกโจทกที่ ๒ ถึงที่ ๕ หรือไม เห็นวา เมื่อขอเท็จจริงที่ศาลแรงงานกลางรับฟงมา ไมปรากฏวาจำเลยสั่งใหโจทกที่ ๒ ถึงที่ ๕ ทำงาน ตามที่โจทกที่ ๒ ถึงที่ ๕ กลาวอาง แตไดความวาจำเลยแจงกำหนดหยุดกิจการเปนการชั่วคราว ตั้งแตวันที่ ๑ พฤษภาคม ๒๕๖๓ ถึงวันที่ ๓๑ สิงหาคม ๒๕๖๓ ใหโจทกที่ ๒ ถึงที่ ๕ ทราบแลว และการหยุดกิจการเปนการชั่วคราวดังกลาวชอบดวยพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา ๗๕ มีผลเทากับนายจางมีคำสั่งใหลูกจางหยุดทำงานตามระยะเวลาที่นายจางกำหนด แมระหวางนั้นจำเลยยังไมเก็บอุปกรณการทำงานของจำเลยไปจากโจทกที่ ๒ ถึงที่ ๕ ก็ไมได หมายความวาจำเลยมีคำสั่งใหมใหโจทกที่ ๒ ถึงที่ ๕ ทำงานใหจำเลย การที่โจทกที่ ๒ ถึงที่ ๕ ยังฝาฝนทำงานในชวงที่จำเลยหยุดกิจการเปนการไมปฏิบัติตามคำสั่งจำเลย โจทกที่ ๒ ถึงที่ ๕ จึงไมมีสิทธิเรียกรองคาจางจากจำเลย สวนประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา ๕๘๑ ที่โจทกที่ ๒ ถึงที่ ๕ ยกขึ้นอางนั้น เปนบทบัญญัติที่กำหนดใหการบอกเลิกสัญญาจางที่มีกำหนด ระยะเวลาแนนอนซึ่งไดสิ้นสุดลงแลว แตลูกจางยังคงทำงานอยูตอไปโดยนายจางรูแลวไมทักทวง ตองบอกกลาวลวงหนา ไมอาจนำมาใชกับกรณีนี้ได เมื่อวินิจฉัยดังนี้แลว กรณีไมจำตองวินิจฉัยวา โจทกที่ ๒ ถึงที่ ๕ ทำงานจากที่บานหรือที่สำนักงานจำเลย เพราะไมทำใหผลคดีเปลี่ยนแปลงไป ปญหาประการสุดทายตามอุทธรณของโจทกที่ ๒ ถึงที่ ๕ มีวา การเลิกจางโจทกที่ ๒ ถึงที่ ๕ ของจำเลยเปนการเลิกจางที่ไมเปนธรรมหรือไม เห็นวา การพิจารณาวาการเลิกจางเปน การเลิกจางที่ไมเปนธรรมหรือไม ตองพิจารณาที่เหตุแหงการเลิกจางวามีอยูจริงหรือไมและเหตุนั้น เปนเหตุสมควรที่นายจางจะเลิกจางหรือไม เมื่อขอเท็จจริงรับฟงเปนยุติตามคำวินิจฉัยของ ศาลแรงงานกลางแลววา จำเลยเลิกจางโจทกที่ ๒ ถึงที่ ๕ เนื่องจากการแพรระบาดของโรคโควิด ๑๙ ที่ยังไมสิ้นสุดลง สงผลกระทบตอภาคธุรกิจการทองเที่ยวและการโรงแรม รวมถึงกิจการของจำเลยดวย โดยไมปรากฏเหตุอื่น จึงเปนการพิจารณาเลิกจางโจทกที่ ๒ ถึงที่ ๕ เพื่อปรับลดตนทุนรายจาย ของจำเลย ถือวามีเหตุอันสมควร ไมเปนการเลิกจางที่ไมเปนธรรม ซึ่งการเลิกจางที่ไมเปนธรรม กับการเลิกจางโดยไมไดบอกกลาวลวงหนาเปนคนละเรื่องกัน การที่จำเลยเลิกจางโจทกที่ ๒ ถึงที่ ๕ โดยไมไดบอกกลาวลวงหนา คงมีผลเพียงใหจำเลยตองจายสินจางแทนการบอกกลาว ลวงหนาใหแกโจทกที่ ๒ ถึงที่ ๕ ตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา ๕๘๒ วรรคหนึ่ง


๒๙๙ และพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา ๑๗ วรรคสองเทานั้น หาไดมีผลให การเลิกจางนั้นกลับเปนการเลิกจางที่ไมมีเหตุอันสมควรหรือไมเปนธรรมไม อุทธรณของโจทกที่ ๒ ถึงที่ ๕ ในขอนี้ฟงไมขึ้น พิพากษาแกเปนวา ใหจำเลยจายเงินในเดือนพฤษภาคมถึงเดือนกรกฎาคม ๒๕๖๓ ใหแกโจทกที่ ๒ ไมนอยกวาเดือนละ ๒๔,๗๕๐ บาท ใหแกโจทกที่ ๓ ไมนอยกวาเดือนละ ๖๐,๐๐๐ บาท ใหแกโจทกที่ ๔ ไมนอยกวาเดือนละ ๓๘,๔๕๘.๕๐ บาท และใหแกโจทกที่ ๕ ไมนอยกวา เดือนละ ๓๓,๗๕๐ บาท และจายเงินในเดือนสิงหาคม ๒๕๖๓ ใหแกโจทกที่ ๒ ไมนอยกวา ๒๒,๒๗๕ บาท ใหแกโจทกที่ ๓ ไมนอยกวา ๕๔,๐๐๐ บาท ใหแกโจทกที่ ๔ ไมนอยกวา ๓๔,๖๑๒.๖๕ บาท และใหแกโจทกที่ ๕ ไมนอยกวา ๓๐,๓๗๕ บาท พรอมดอกเบี้ยอัตรารอยละ ๑๕ ตอปของตนเงินที่ตองจายในแตละเดือน นับแตวันที่จำเลยผิดนัดไมจายเงินดังกลาวใน แตละเดือนเปนตนไปจนกวาจะชำระเสร็จแกโจทกแตละคน นอกจากที่แกใหเปนไปตามคำพิพากษา ศาลแรงงานกลาง. (สิริพร เปรมาสวัสดิ์ สุรมณี - ธีระพล ศรีอุดมขจร - อนุวัตร ขุนทอง) ภัทรวรรณ ทรงกำพล - ยอ วัชรินทร ฤชุโรจน - ตรวจ


๓๐๐ คำพิพากษาศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษที่ ๕๔๐/๒๕๖๐ บริษัทลินฟอกซ ทรานสปอรต (ประเทศไทย) จำกัด โจทก คณะกรรมการ แรงงานสัมพันธ จำเลย พ.ร.บ. แรงงานสัมพันธ พ.ศ. ๒๕๑๘ มาตรา ๑๒๑ (๑) แมการงดจายงานเปนสิทธิโดยชอบดวยกฎหมายของโจทกที่จะมอบหมายให ผูกลาวหาที่ ๑ ถึงที่ ๓ ซึ่งเปนลูกจางขับรถขนสงสินคาหรือไม และผูกลาวหาที่ ๑ ถึงที่ ๓ ยังคงไดรับคาจางและสวัสดิการอื่น ๆ ตามปกติก็ตาม แตการงดจายงานตองมีเหตุผล อันสมควร เพราะมีผลทำใหผูกลาวหาที่ ๑ ถึงที่ ๓ มีรายไดลดลงกวาครึ่งหนึ่งตอเดือน เห็นไดชัดวารายไดไมพอแกการดำรงชีพอยางแนนอน หากไมมีเหตุผลอันสมควร ยอมถือวาโจทกมีเจตนากลั่นแกลงผูกลาวหาที่ ๑ ถึงที่ ๓ เพื่อบีบบังคับไมใหยื่นขอเรียกรองอีก ดังนั้น การงดจายงานแกผูกลาวหาที่ ๑ ถึงที่ ๓ จึงเปนการกระทำใด ๆ อันอาจเปนผลให ลูกจาง กรรมการสหภาพแรงงาน หรือกรรมการสหพันธแรงงาน ไมสามารถทนทำงาน อยูตอไปไดเพราะเหตุที่ลูกจางหรือสหภาพแรงงานไดยื่นขอเรียกรองตอนายจาง อันถือ เปนการกระทำอันไมเปนธรรมตามมาตรา ๑๒๑ (๑) แหง พ.ร.บ. แรงงานสัมพันธ พ.ศ. ๒๕๑๘ แลว แมการยื่นขอเรียกรองจะไมครบจำนวนหนึ่งในหาของลูกจางทั้งหมดตามมาตรา ๑๕ หรือลูกจางลงลายมือชื่อแลวถอนรายชื่อจนทำใหไมครบจำนวนตามที่บัญญัติไวใน มาตรา ๑๓ วรรคสาม แหง พ.ร.บ. แรงงานสัมพันธ พ.ศ. ๒๕๑๘ ก็ตาม ก็ถือวาไดมี การยื่นขอเรียกรองแลว โจทกซึ่งเปนนายจางจึงตองหามมิใหกระทำการใด ๆ อันอาจเปน ผลใหผูกลาวหาที่ ๑ ถึงที่ ๓ ซึ่งเปนลูกจางไมสามารถทนทำงานอยูตอไปได เพราะเหตุมี การยื่นขอเรียกรองดังกลาวตามมาตรา ๑๒๑ (๑) แหง พ.ร.บ. แรงงานสัมพันธ พ.ศ. ๒๕๑๘ โจทกฟองขอใหเพิกถอนคำสั่งคณะกรรมการแรงงานสัมพันธ ๑-๔/๒๕๕๙ ของจำเลย จำเลยใหการขอใหยกฟอง ศาลแรงงานกลางพิพากษายกฟอง


๓๐๑ โจทกอุทธรณ ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษแผนกคดีแรงงานวินิจฉัยวา ศาลแรงงานกลางฟงขอเท็จจริง และปรากฏขอเท็จจริงที่คูความไมไดโตแยงกันวา นายสมชาย นายสุทธิโชค นายสราวุธ และนายศุภกฤต ผูกลาวหาที่ ๑ ถึงที่ ๔ เปนลูกจางของโจทก ทำหนาที่พนักงานขับรถ ๑๘ ลอ ขนสงสินคา ไดรับคาจางรายเดือนคือ ๑๐,๐๗๕ บาท ๙,๗๗๕ บาท ๑๐,๑๐๐ บาท ๑๐,๐๗๕ บาท ตามลำดับ คาเบี้ยเลี้ยงและคาน้ำมันเดือนละ ๑๖,๐๐๐ บาท และคาตอบแทนเรียกวาคาเที่ยวที่ วิ่งงานตามเงื่อนไขที่กำหนดผูกลาวหาทั้งสี่สมัครเปนสมาชิกสหภาพแรงงานลินฟอกซในเดือน สิงหาคม ๒๕๕๗ ผูกลาวหาที่ ๑ ถึงที่ ๓ ไดรับเลือกตั้งเปนกรรมการสหภาพแรงงานลินฟอกซ ผูกลาวหาที่ ๔ เคยเปนกรรมการสหภาพแรงงานลินฟอกซแตหมดวาระแลว เมื่อวันที่ ๑๗ กันยายน ๒๕๕๘ สหภาพแรงงานลินฟอกซยื่นขอเรียกรองขอเปลี่ยนแปลงสภาพการจางตอโจทก คือ ใหจาย คาครองชีพ ๕๐๐ บาท และเบี้ยขยัน ๕๐๐ บาทตอเดือน โบนัสคนละ ๖๐ วัน แบงเปน ๒ งวด ใหแกพนักงานทุกคน เบี้ยกันดาร ๓,๐๐๐ บาทตอเดือน ในกรณียายพนักงานเกิน ๑๐๐ กิโลเมตร โดยไดรับความยินยอมจากพนักงานปรับคาดรอปงานจาก ๗๕ บาท เปน ๑๐๐ บาท และใหผูแทน สหภาพแรงงานลินฟอกซเขารวมฟงการสอบสวนความผิดของพนักงาน โจทกไมยอมเจรจา อางเหตุสมาชิกไมครบหนึ่งในหาของลูกจางทั้งหมด จึงแจงเปนขอพิพาทแรงงานตอพนักงานประนอม ขอพิพาทแรงงานจังหวัดพระนครศรีอยุธยาแตไดรับแจงวาจำนวนพนักงานไมครบหนึ่งในหาของ พนักงานทั้งหมดตามกฎหมาย สหภาพแรงงานลินฟอกซจึงถอนขอเรียกรอง ตอมาโจทกไดเรียก ลูกจางรวมทั้งผูกลาวหา ๑ ถึงที่ ๓ ที่ลงลายมือชื่อสนับสนุนขอเรียกรองเพื่อขอเปลี่ยนแปลงสภาพ การจางเมื่อวันที่ ๒๙ กันยายน ๒๕๕๘ ไปพบ และใหถอนรายชื่อจากการสนับสนุนขอเรียกรอง หากไมถอนก็จะไมไดรับคาเบี้ยเลี้ยงและคาน้ำมันเดือนละ ๑๖,๐๐๐ บาทตอเดือน ลูกจางสวนใหญ ถอนรายชื่อจากการสนับสนุนขอเรียกรอง คงเหลือเฉพาะผูกลาวหาที่ ๑ และที่ ๒ และนายศิริ สวนผูกลาวหาที่ ๓ ถอนรายชื่อจากการสนับสนุนขอเรียกรองภายหลัง แตมีเงื่อนไขและไมสามารถ ตกลงกันได ตอมาวันที่ ๖ พฤศจิกายน ๒๕๕๘ โจทกมีคำสั่งงดจายงานแกผูกลาวหาที่ ๑ ถึงที่ ๓ และนายศิริ อางเหตุประพฤติตนไมเหมาะสมกับการเปนพนักงานที่ดี กระทำตนเปนตัวอยางที่ไมดี แกพนักงานอื่น และไมปฏิบัติตามคำสั่งหรือระเบียบขอบังคับอันเปนธรรมและชอบดวยกฎหมาย จนโจทกไมไววางใจใหรับมอบหมายงานจากโจทกใหขับรถขนสงสินคา นายศิริเจรจากับโจทกและ ไดรับมอบหมายงานขับรถ จึงถอนขอเรียกรอง ตอมาเมื่อวันที่ ๙ พฤศจิกายน ๒๕๕๘ ผูกลาวหา ที่ ๑ ถึงที่ ๔ ยื่นคำรองตอจำเลยกลาวหาโจทกวางดจายงานแกผูกลาวหาทั้งสี่ เพราะเหตุที่ ผูกลาวหาทั้งสี่เปนสมาชิกสหภาพแรงงาน ผูกลาวหาที่ ๑ ถึงที่ ๓ เปนกรรมการสหภาพแรงงาน


๓๐๒ และรวมกันลงลายมือชื่อยื่นขอเรียกรอง จำเลยพิจารณาแลวเห็นวา การที่โจทกงดจายงานแก ผูกลาวหาที่ ๑ ถึงที่ ๓ เปนเพราะเหตุที่ผูกลาวหาที่ ๑ ถึงที่ ๓ ไดรวมกันลงลายมือชื่อยื่นขอเรียกรอง เปนการฝาฝนมาตรา ๑๒๑ (๑) แหงพระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ พ.ศ. ๒๕๑๘ อันเปน การกระทำอันไมเปนธรรม จึงมีคำสั่งคณะกรรมการแรงงานสัมพันธที่ ๑-๔/๒๕๕๙ ใหโจทกมอบหมาย งานในตำแหนงหนาที่เดิมแกผูกลาวหาที่ ๑ ถึงที่ ๓ ตามปกติ สวนคาเสียหายจากการขาดรายได บางสวนระหวางที่ถูกงดจายงานนั้น จำเลยเห็นวา ผูกลาวหา ๑ ถึงที่ ๓ ไดรับคาจางระหวาง งดจายงานตามปกติ สวนคาเที่ยวและคาเบี้ยเลี้ยงคาน้ำมันจะไดรับตอเมื่อไดรับมอบหมายงานให ขับรถขนสงสินคาเมื่อไมไดรับมอบหมายงานใหขับรถขนสงสินคาจึงไมมีสิทธิไดรับเงินดังกลาว จึงไมอาจสั่งตามที่รองขอในกรณีนั้นได โดยใหโจทกปฏิบัติตามคำสั่งของจำเลยภายใน ๑๐ วัน นับแตวันที่ไดรับทราบคำสั่งและยกคำรองของผูกลาวหาที่ ๔ มีปญหาที่ตองวินิจฉัยตามอุทธรณของโจทกเพียงประเด็นเดียววา มีเหตุเพิกถอนคำสั่ง คณะกรรมการแรงงานสัมพันธที่ ๑-๔/๒๕๕๙ ของจำเลยดังกลาวหรือไม โจทกอุทธรณวา การที่ โจทกงดจายงานแกผูกลาวหาที่ ๑ ถึงที่ ๓ ไมถือเปนการกระทำอันไมเปนธรรมตามมาตรา ๑๒๑ (๑) แหงพระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ พ.ศ. ๒๕๑๘ เพราะการกระทำอันไมเปนธรรมจะตองเปน กรณีนายจางกระทำการใด ๆ ที่เปนการลดทอนความเขมแข็งขององคกรลูกจาง หรือการกระทำใด ๆ อันอาจเปนผลทำใหลูกจาง ผูแทนลูกจาง กรรมการสหภาพแรงงาน หรือกรรมการสหพันธแรงงาน ที่ไดดำเนินการตามบทบัญญัติดังกลาว ไมสามารถดำเนินการได และการยื่นขอเรียกรอง ตองเปนการยื่นขอเรียกรองที่ชอบดวยกฎหมายแตการยื่นขอเรียกรองของสหภาพแรงงานและ การลงลายมือชื่อยื่นขอเรียกรองของผูกลาวหาที่ ๑ ถึงที่ ๓ ลูกจางทั้งหมด และลูกจางโจทกที่ยื่น ขอเรียกรองทยอยถอนรายชื่อสนับสนุนการยื่นขอเรียกรองจนจำนวนไมครบ และการงดจายงาน เปนสิทธิโดยชอบดวยกฎหมายของโจทกที่จะมอบหมายงานใหผูกลาวหาที่ ๑ ถึงที่ ๓ ขับรถขนสง สินคาหรือไม เมื่อไมไดรับมอบหมายงานใหขับรถขนสงสินคาก็จะไมไดรับคาเที่ยว คาเบี้ยเลี้ยง และคาน้ำมันตามเงื่อนไขการทำงานของโจทก แตผูกลาวหาที่ ๑ ถึงที่ ๓ ยังคงไดรับคาจางและ สวัสดิการอื่น ๆ ตามปกติ จึงไมถือเปนการกระทำอันไมเปนธรรม เห็นวา การกระทำอันไมเปนธรรม ตามมาตรา ๑๒๑ (๑) แหงพระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ พ.ศ. ๒๕๑๘ นั้น นอกจากจะตอง เปนกรณีนายจางกระทำการใด ๆ ที่เปนการลดทอนความเขมแข็งขององคกรลูกจาง หรือการ กระทำใด ๆ อันอาจเปนผลทำใหลูกจาง ผูแทนลูกจาง กรรมการสหภาพแรงงานหรือกรรมการ สหพันธแรงงานไมสามารถดำเนินการตามมาตรา ๑๒๑ (๑) แลว ยังหมายความรวมถึงการกระทำ การใด ๆ อันอาจเปนผลใหลูกจาง ผูแทนลูกจาง กรรมการสหภาพแรงงาน หรือกรรมการสหพันธ


๓๐๓ แรงงาน ไมสามารถทนทำงานอยูตอไปไดเพราะเหตุที่ลูกจาง หรือสหภาพแรงงานไดยื่นขอเรียกรอง ตอนายจางดวยขอนี้ศาลแรงงานกลางฟงขอเท็จจริงมาวา หลังจากผูกลาวหาที่ ๑ ถึงที่ ๓ และ ลูกจางอื่นของโจทกสาขาวังนอยรวม ๖๕ คน ไดรวมกันลงลายมือชื่อยื่นขอเรียกรองตอโจทกเพื่อ ขอเปลี่ยนแปลงสภาพการจางเมื่อวันที่ ๒๙ กันยายน ๒๕๕๘ โจทกไดเรียกลูกจางที่ลงลายมือชื่อ สนับสนุนขอเรียกรองไปพบ และใหถอนรายชื่อจากการสนับสนุนขอเรียกรอง หากไมถอนก็จะ ไมไดรับคาเบี้ยเลี้ยงและคาน้ำมันเดือนละ ๑๖,๐๐๐ บาท ลูกจางสวนใหญถอนรายชื่อจากการ สนับสนุนขอเรียกรอง คงเหลือเฉพาะผูกลาวหาที่ ๑ และที่ ๒ และนายศิริ สวนผูกลาวหาที่ ๓ ถอนรายชื่อจากการสนับสนุนขอเรียกรองภายหลัง แตมีเงื่อนไขและไมสามารถตกลงกันได ตอมา เมื่อวันที่ ๖ พฤศจิกายน ๒๕๕๘ โจทกมีคำสั่งงดจายงานแกผูกลาวหาที่ ๑ ถึงที่ ๓ และนายศิริ อางเหตุประพฤติตนไมเหมาะสมกับการเปนพนักงานที่ดี กระทำตนเปนตัวอยางที่ไมดีแกพนักงานอื่น และไมปฏิบัติตามคำสั่งหรือระเบียบขอบังคับอันเปนธรรมและชอบดวยกฎหมายโดยที่ ผูกลาวหาที่ ๑ และที่ ๓ ไมเคยถูกตักเตือนมากอน ผูกลาวหาที่ ๒ เคยถูกตักเตือน ๑ ครั้ง เนื่องจาก ขับรถตอเนื่องครบ ๔ ชั่วโมงแลวไมไดหยุดรถพักผอน อันเห็นไดวาผูกลาวหาที่ ๑ และที่ ๓ ไมเคย กระทำผิด สวนผูกลาวหาที่ ๒ เคยกระทำผิดเล็กนอยซึ่งไมใชเรื่องรายแรง จึงไมถือวาเปนการ ประพฤติตนไมเหมาะสมกับการเปนพนักงานที่ดีหรือกระทำตนเปนตัวอยางที่ไมดีแกพนักงานอื่น หรือไมปฏิบัติตามคำสั่งหรือระเบียบขอบังคับตามที่โจทกกลาวอาง พฤติการณของโจทกดังกลาว แสดงวาการงดจายงานแกผูกลาวหาที่ ๑ ถึงที่ ๓ และนายศิริ เปนผลมาจากการที่ผูกลาวหาที่ ๑ ถึงที่ ๓ และนายศิริลงลายมือชื่อยื่นขอเรียกรองตอโจทกเพื่อขอเปลี่ยนแปลงสภาพการจาง แตไมยอมถอนรายชื่อนั่นเอง ทั้งศาลแรงงานกลางยังฟงขอเท็จจริงมาอีกวา การที่โจทกงดจายงาน ทำใหผูกลาวหาที่ ๑ ถึงที่ ๓ และนายศิริขาดรายไดเฉลี่ยประมาณเดือนละ ๒๕,๐๐๐ บาท ซึ่งมากกวา เงินเดือนที่ผูกลาวหาที่ ๑ ถึงที่ ๓ ไดรับเดือนละ ๑๐,๐๗๕ บาท ๙,๗๗๕ บาท ๑๐,๑๐๐ บาท ตามลำดับเมื่อนายศิริเจรจากับโจทกและไดรับมอบหมายงานใหขับรถ นายศิริจึงถอนขอเรียกรอง แมการงดจายงานเปนสิทธิโดยชอบดวยกฎหมายของโจทกที่จะมอบหมายใหผูกลาวหาที่ ๑ ถึง ที่ ๓ ขับรถขนสงสินคาหรือไม และผูกลาวหาที่ ๑ ถึงที่ ๓ ยังคงไดรับคาจางและสวัสดิการอื่น ๆ ตามปกติก็ตาม แตการงดจายงานตองมีเหตุผลอันสมควร เพราะมีผลทำใหผูกลาวหาที่ ๑ ถึง ที่ ๓ มีรายไดลดลงกวาครึ่งหนึ่งตอเดือน เห็นไดชัดวารายไดไมพอแกการดำรงชีพอยางแนนอน หากไมมีเหตุผลอันสมควรยอมถือวาโจทกมีเจตนากลั่นแกลงผูกลาวหา ๑ ถึงที่ ๓ เพื่อบีบบังคับ ไมใหยื่นขอเรียกรองอีก ดังนั้น การงดจายงานแกผูกลาวหา ๑ ถึงที่ ๓ ของโจทกดังกลาว จึงเปนการกระทำการใด ๆ อันอาจเปนผลใหลูกจาง ผูแทนลูกจาง กรรมการสหภาพแรงงานหรือ


๓๐๔ กรรมการสหพันธแรงงานไมสามารถทนทำงานอยูตอไปไดเพราะเหตุที่ลูกจาง หรือสหภาพแรงงาน ไดยื่นขอเรียกรองตอนายจาง อันถือเปนการกระทำอันไมเปนธรรมตามมาตรา ๑๒๑ (๑) แหงพระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ พ.ศ. ๒๕๑๘ แลว แมการยื่นขอเรียกรองจะไมครบจำนวน หนึ่งในหาของลูกจางทั้งหมดตามมาตรา ๑๕ หรือลูกจางลงลายมือชื่อยื่นขอเรียกรองแลวถอนรายชื่อ จนทำใหไมครบจำนวนตามมาตรา ๑๓ วรรคสาม แหงพระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ พ.ศ. ๒๕๑๘ ก็ตาม ก็ถือวาไดมีการยื่นขอเรียกรองแลว โจทกซึ่งเปนนายจางจึงตองหามมิใหกระทำการใด ๆ อันอาจเปนผลใหผูกลาวหา ๑ ถึงที่ ๓ ซึ่งเปนลูกจางไมสามารถทนทำงานอยูตอไปไดเพราะเหตุ ที่มีการยื่นขอเรียกรองดังกลาวตามมาตรา ๑๒๑ (๑) แหงพระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ พ.ศ. ๒๕๑๘ คำสั่งของจำเลยชอบแลว จึงไมมีเหตุใหตองเพิกถอนคำสั่งคณะกรรมการแรงงานสัมพันธ ๑-๔/๒๕๕๙ ของจำเลยตามอุทธรณของโจทก ที่ศาลแรงงานกลางพิพากษายกฟองโจทกมานั้นตองดวยความเห็น ของศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษ อุทธรณของโจทกฟงไมขึ้น พิพากษายืน. (ปณิธาน วิสุทธากร - สถาพร วงศตระกูลรักษา - ฐานันดร กิตติวงศากูล) เดชวิบุล พนาเศรษฐเนตร - ยอ สุโรจน จันทรพิทักษ - ตรวจ


๓๐๕ คำพิพากษาศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษที่ ๒๕๕/๒๕๖๒ สหภาพแรงงาน ธนาคารกรุงเทพ โจทก นายศักดิ์สิทธิ์ อุดมศิลป กับพวก จำเลย พ.ร.บ. แรงงานสัมพันธ พ.ศ. ๒๕๑๘ มาตรา ๑๐๓ (๒) โจทกฟองอางวาจำเลยทั้งยี่สิบรวมกันกระทำละเมิดเปนเหตุใหโจทกไดรับความ เสียหายกับมีคำขอใหจำเลยทั้งยี่สิบรวมกันหรือแทนกันชดใชคาเสียหายแกโจทก อันมี ลักษณะเปนฟองคดีเพื่อปกปองผลประโยชนของโจทกและสมาชิกของโจทก กรณีจึงไมใช การดำเนินกิจการอันอาจกระทบกระเทือนถึงสวนไดเสียของสมาชิกเปนสวนรวม โจทก ยอมมีอำนาจดำเนินการไดโดยไมตองมีมติของที่ประชุมใหญตาม พ.ร.บ. แรงงานสัมพันธ พ.ศ. ๒๕๑๘ มาตรา ๑๐๓ (๒) อีกทั้งยังไมเปนการขัดตอวัตถุประสงคของโจทกตามขอบังคับ ของโจทกแตอยางใด สวนหนังสือมอบอำนาจของโจทกที่มีลายมือชื่อบุคคลซึ่งพนสภาพ จากการเปนลูกจางธนาคารแลวนั้น ก็มีผลเพียงทำใหบุคคลดังกลาวไมอยูในฐานะเปน กรรมการโจทกในขณะที่มอบอำนาจเทานั้น เมื่อองคประกอบของคณะกรรมการโจทก ตามหนังสือมอบอำนาจดังกลาวยังคงมีอยูครบถวนตามขอบังคับของโจทก จึงไมทำให หนังสือมอบอำนาจของโจทกดังกลาวบกพรองหรือขัดตอกฎหมาย ประกอบกับหนังสือ มอบอำนาจฉบับดังกลาวระบุใหผูรับมอบอำนาจโจทกมีอำนาจแจงความรองทุกขดำเนินคดี แกบุคคลผูไดกระทำความเสียหายใหแกโจทกทั้งในคดีแพงและคดีอาญากับใหมีอำนาจ มอบอำนาจชวงได ดังนี้ผูรับมอบอำนาจโจทกจึงมีอำนาจฟองบุคคลใดในขอหาใดที่เกี่ยวกับ กิจการของโจทกไดโดยไมจำตองระบุชื่อบุคคลและขอหาที่จะฟองในหนังสือมอบอำนาจ แตอยางใด โจทกยอมมีอำนาจฟองจำเลยที่ ๑ ถึงที่ ๑๘ โดยอาศัยหนังสือมอบอำนาจ ฉบับดังกลาวได โจทกฟองและแกไขคำฟอง ขอใหบังคับจำเลยทั้งยี่สิบรวมกันหรือแทนกันชดใชเงิน ๗๐๓,๗๖๑ บาท พรอมดอกเบี้ยอัตรารอยละ ๗.๕ ตอปของตนเงินจำนวนดังกลาว นับแตวันที่ ๒๘ มิถุนายน ๒๕๕๙ เปนตนไปจนกวาจะชำระเสร็จแกโจทก


๓๐๖ จำเลยทั้งยี่สิบใหการและแกไขคำใหการ ขอใหยกฟอง ศาลแรงงานกลาง พิพากษาใหจำเลยที่ ๑ ถึงที่ ๑๘ รวมกันหรือแทนกันชำระเงิน ๗๐๓,๗๖๑ บาท พรอมดอกเบี้ยอัตรารอยละ ๗.๕ ตอปของตนเงินจำนวนดังกลาว นับแตวันที่ ๒๘ มิถุนายน ๒๕๕๙ เปนตนไปจนกวาจะชำระเสร็จแกโจทก ยกฟองโจทกสำหรับจำเลยที่ ๑๙ และที่ ๒๐ จำเลยที่ ๑ ถึงที่ ๑๘ อุทธรณ ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษแผนกคดีแรงงานวินิจฉัยวา ศาลแรงงานกลางฟงขอเท็จจริงวา จำเลยที่ ๑ ถึงที่ ๑๘ เปนคณะกรรมการชุดเดิมของโจทก มีวาระการดำรงตำแหนงตั้งแตวันที่ ๒๒ กรกฎาคม ๒๕๕๗ ถึงวันที่ ๒๑ กรกฎาคม ๒๕๕๙ จำเลยที่ ๑๙ เปนอนุกรรมการชุดเดิมของโจทก และขณะที่คณะกรรมการชุดเดิมมีมติตามฟอง จำเลยที่ ๒๐ พนสภาพจากการเปนกรรมการชุดเดิม และดำรงตำแหนงเปนที่ปรึกษา สวนคณะกรรมการชุดใหมของโจทกมีวาระการดำรงตำแหนง ตั้งแตวันที่ ๒๒ กรกฎาคม ๒๕๕๙ ถึงวันที่ ๒๑ กรกฎาคม ๒๕๖๒ และการดำเนินการของ คณะกรรมการเปนไปตามขอบังคับของโจทก และวินิจฉัยวา การที่โจทกโดยคณะกรรมการมอบอำนาจ ใหนายชูเกียรติ ประธานโจทก และนางสาวชนากานต รองประธานโจทก รวมกันเปนผูแทนและ ผูรับมอบอำนาจโจทก ใหมีอำนาจฟองรองดำเนินคดีกับบุคคลผูไดกระทำความเสียหายแกโจทก ทั้งคดีแพงและคดีอาญา ทั้งมีอำนาจมอบอำนาจชวงไดโดยไมตองประทับตราโจทก เปนการ มอบอำนาจทั่วไป แมบุคคลลำดับที่ ๒๔ ไดลาออกจากการเปนพนักงานธนาคารตามที่ระบุไวในเอกสาร ก็ไมทำใหการมอบอำนาจใหฟองคดีซึ่งสมบูรณแลวบกพรองไป และยังเปนการมอบหมายให ประธานกรรมการรวมกับคณะกรรมการคนหนึ่งเปนผูทำการแทนโจทกไดโดยมีหลักฐานการ มอบหมายตามขอบังคับของโจทกขอ ๒๑ กรณีไมจำตองขอมติตอที่ประชุมใหญของโจทกเสียกอน จึงเปนการมอบอำนาจโดยชอบดวยกฎหมายและโดยสุจริต โจทกจึงมีอำนาจฟองจำเลยทั้งยี่สิบได และการที่ฝายจำเลยซึ่งเปนคณะกรรมการชุดเดิมของโจทกไดเรียกประชุมคณะกรรมการภายหลัง จากที่ประชุมใหญสามัญประจำป ๒๕๕๙ ของโจทกมีมติเลือกคณะกรรมการชุดใหมแลวนั้น เปนการใชสิทธิที่ขัดตอขอบังคับของโจทกอีกทั้งยังไมเปนการใชอำนาจควบคุมการดำเนินงาน ของโจทกแตอยางใด พฤติการณและการกระทำของฝายจำเลยมีเจตนาไมสุจริตเปนการกระทำเพื่อ ผลประโยชนของฝายจำเลยเอง จึงฟงไดวาการประชุมวิสามัญและมติที่ประชุมของคณะกรรมการ ชุดเดิมเมื่อวันที่ ๒๑ มิถุนายน ๒๕๕๙ และวันที่ ๒๘ มิถุนายน ๒๕๕๙กับการประชุมใหญวิสามัญ เมื่อวันที่ ๙ กรกฎาคม ๒๕๕๙ เปนการกระทำที่ไมชอบดวยกฎหมายและเปนการกระทำละเมิด ตอโจทก จำเลยที่ ๑ ถึงที่ ๑๘ ในฐานะคณะกรรมการชุดเดิมจึงตองรวมกันรับผิดชดใชคาเสียหาย


๓๐๗ ตามฟอง สวนจำเลยที่ ๑๙ และที่ ๒๐ ไมมีสิทธิออกเสียงลงมติใด ๆ ตามขอบังคับของโจทก จึงไมตองรับผิดตอโจทก มีปญหาตองวินิจฉัยตามอุทธรณของจำเลยที่ ๑ ถึงที่ ๑๘ ประการแรกวา โจทกมีอำนาจ ฟองหรือไม เห็นวา คดีนี้โจทกฟองอางวาจำเลยทั้งยี่สิบรวมกันกระทำละเมิดเปนเหตุใหโจทกได รับความเสียหายกับมีคำขอใหจำเลยทั้งยี่สิบรวมกันหรือแทนกันชดใชคาเสียหายแกโจทก อันมี ลักษณะเปนการฟองคดีเพื่อปกปองผลประโยชนของโจทกและสมาชิกของโจทก กรณีจึงไมใชการ ดำเนินกิจการอันอาจกระทบกระเทือนถึงสวนไดเสียของสมาชิกเปนสวนรวม โจทกยอมมีอำนาจ ดำเนินการไดโดยไมตองมีมติของที่ประชุมใหญตาม พ.ร.บ. แรงงานสัมพันธ พ.ศ. ๒๕๑๘ มาตรา ๑๐๓ (๒) อีกทั้งยังไมเปนการขัดตอวัตถุประสงคของโจทกตามขอบังคับของโจทก แตอยางใด สวนหนังสือ มอบอำนาจของโจทกที่มีลายมือชื่อบุคคลลำดับที่ ๒๔ ซึ่งพนสภาพจากการเปนลูกจางธนาคาร แลวนั้น มีผลเพียงทำใหบุคคลดังกลาวไมอยูในฐานะเปนกรรมการโจทกในขณะที่มอบอำนาจ เทานั้น เมื่อองคประกอบของคณะกรรมการโจทกตามหนังสือมอบอำนาจฉบับดังกลาวยังคงมี อยูครบถวนตามขอบังคับของโจทก ขอ ๒๐ จึงไมทำใหหนังสือมอบอำนาจของโจทกดังกลาว บกพรองและขัดตอกฎหมาย ประกอบกับหนังสือมอบอำนาจฉบับดังกลาวระบุใหนายชูเกียรติ ในฐานะประธานโจทก และนางสาวชนากานตในฐานะกรรมการและรองประธานโจทก เปนผูแทน ของสหภาพแรงงานและเปนผูรับมอบอำนาจโจทกตามขอบังคับ ขอ ๒๑ วรรคหนึ่ง โดยใหมี อำนาจแจงความรองทุกขดำเนินคดีกับบุคคลผูไดกระทำความเสียหายใหแกโจทกทั้งในคดีแพง และคดีอาญา กับใหมีอำนาจมอบอำนาจชวงไดดังนี้ ผูรับมอบอำนาจโจทกจึงมีอำนาจฟองบุคคลใด ในขอหาใดที่เกี่ยวกับกิจการของโจทกไดโดยไมจำตองระบุชื่อบุคคลและขอหาที่จะฟองในหนังสือ มอบอำนาจแตอยางใด โจทกยอมมีอำนาจฟองจำเลยที่ ๑ ถึงที่ ๑๘ โดยอาศัยหนังสือมอบอำนาจ ฉบับดังกลาวได อุทธรณของจำเลยที่ ๑ ถึงที่ ๑๘ ขอนี้ฟงไมขึ้น มีปญหาตองวินิจฉัยตามอุทธรณของจำเลยที่ ๑ ถึงที่ ๑๘ ประการตอไปวา การประชุม วิสามัญและมติที่ประชุมของคณะกรรมการชุดเดิมเมื่อวันที่ ๒๑ มิถุนายน ๒๕๕๙ และ ๒๘ มิถุนายน ๒๕๕๙ กับการประชุมใหญวิสามัญเมื่อวันที่ ๙ กรกฎาคม ๒๕๕๙ ชอบดวยกฎหมายหรือไม เห็นวา ศาลแรงงานกลางฟงขอเท็จจริงแลววา เมื่อวันที่ ๑๘ มิถุนายน ๒๕๕๙ คณะกรรมการชุดเดิม ของโจทกจัดการประชุมใหญสามัญ เพื่อใหมีการเลือกตั้งคณะกรรมการโจทกชุดใหมเนื่องจาก คณะกรรมการชุดเดิมใกลจะหมดวาระลงในวันที่ ๒๑ กรกฎาคม ๒๕๕๙ ผลการเลือกตั้งปรากฏวา คณะกรรมการโจทกชุดปจจุบันไดรับการเลือกตั้งเปนคณะกรรมการชุดใหมของโจทก ตอมาจำเลย ที่ ๑ ถึงที่ ๑๓ และที่ ๑๘ ไดรวมกันเรียกและเปดประชุมวิสามัญคณะกรรมการชุดเดิมของโจทก


๓๐๘ ขึ้นในวันที่ ๒๑ มิถุนายน ๒๕๕๙ และมีมติมอบอำนาจใหจำเลยที่ ๑ และที่ ๒ ไปรองตอ อธิบดีกรมสวัสดิการและคุมครองแรงงาน ขอใหการเลือกตั้งคณะกรรมการโจทกเมื่อวันที่ ๑๘ มิถุนายน ๒๕๕๙ เปนโมฆะ และมีคำสั่งใหจัดการเลือกตั้งใหม หลังจากนั้นเมื่อวันที่ ๒๘ มิถุนายน ๒๕๕๙ จำเลยที่ ๑ ถึงที่ ๑๔ และที่ ๒๐ รวมกันเรียกและเปดประชุมวิสามัญคณะกรรมการชุดเดิมของ โจทกและมีมติใหเปดการประชุมใหญวิสามัญตามคำขอของสมาชิกในวันที่ ๙ กรกฎาคม ๒๕๕๙ พรอมทั้งมีมติอนุมัติคาใชจายในการประชุมใหญวิสามัญครั้งนี้เปนเงิน ๑,๓๐๐,๐๐๐ บาท กับมีมติ รับรองคณะกรรมการเตรียมการประชุมใหญวิสามัญและคณะกรรมการเตรียมการและดำเนินการ เลือกตั้งทั้ง ๒ คณะดังนี้ ตามขอบังคับของโจทกขอ ๑๒ กำหนดวาการประชุมใหญสามัญให หมายถึงการประชุมที่จัดใหมีปละครั้งและกำหนดระเบียบวาระการประชุมไวใน (๓) วา เลือกตั้ง กรรมการอันแสดงใหเห็นถึงเจตนารมณที่กำหนดไวในขอบังคับแลววา ในกรณีปกติการเลือกตั้ง คณะกรรมการโจทกจะตองจัดใหมีขึ้นในการประชุมใหญสามัญเทานั้น แมคำวา “การประชุมใหญ” ตามบังคับของโจทกขอ ๑๙ จะหมายถึงการประชุมใหญสามัญและการประชุมใหญวิสามัญตาม นิยามในขอบังคับของโจทกขอ ๑๐ ก็ตาม แตการที่ขอบังคับของโจทกกำหนดใหนำระเบียบวาระ การประชุมที่ระบุไวในการประชุมใหญสามัญตามขอ ๑๒ มาระบุซ้ำไวอีก ก็เพื่อหากไมสามารถ ประชุมใหญสามัญใหสำเร็จลุลวงไปได ก็สามารถที่จะจัดใหมีการประชุมใหญวิสามัญขึ้นไดเพื่อ แกปญหาขอขัดของที่ตองใชมติของที่ประชุมใหญตามขอบังคับของโจทกขอ ๑๘ ไดเทานั้น เมื่อการ เลือกตั้งคณะกรรมการชุดใหมของโจทกไดลงคะแนนและประกาศผลเสร็จสิ้นไปแลวเมื่อวันที่ ๑๘ มิถุนายน ๒๕๕๙ เพียงแตคณะกรรมการชุดเดิมของโจทกประชุมรวมกันและมีมติเมื่อวันที่ ๒๑ มิถุนายน ๒๕๕๙ วา ใหทำหนังสือถึงอธิบดีกรมสวัสดิการและคุมครองแรงงานเพื่อมีคำสั่งใหการ เลือกตั้งดังกลาวเปนโมฆะและใหจัดการเลือกตั้งใหม ซึ่งอธิบดีกรมสวัสดิการและคุมครองแรงงาน ยังไมไดมีคำสั่งอยางใด ๆ การที่จำเลยที่ ๑ ถึงที่ ๑๔ และที่ ๒๐ จัดใหมีการประชุมวิสามัญ คณะกรรมการชุดเดิมขึ้นอีกเมื่อวันที่ ๒๘ มิถุนายน ๒๕๕๙ แลวมีมติใหเปดการประชุมใหญวิสามัญ ตามคำขอของสมาชิกในวันที่ ๙ กรกฎาคม ๒๕๕๙ พรอมทั้งมีมติอนุมัติคาใชจายในการประชุมใหญ วิสามัญเปนเงิน ๑,๓๐๐,๐๐๐ บาท กับมีมติรับรองคณะกรรมการเตรียมการประชุมใหญวิสามัญ และคณะกรรมการเตรียมการและดำเนินการเลือกตั้งทั้ง ๒ คณะ จึงเปนการกระทำโดยไมชอบ ดวยกฎหมาย แมจำเลยที่ ๑ ถึงที่ ๑๘ จะอางวามีสมาชิกโจทกเขาชื่อกันครบจำนวนตามขอบังคับ ขอใหเปดประชุมใหญวิสามัญเพื่อเลือกตั้งคณะกรรมการโจทกก็ตาม แตขอเท็จจริงก็ปรากฏวา การเลือกตั้งคณะกรรมการโจทกเพิ่งเสร็จสิ้นไปโดยการประชุมใหญสามัญและอยูในระหวางการ ยื่นหนังสือขอใหอธิบดีกรมสวัสดิการและคุมครองแรงงานวินิจฉัยวาการเลือกตั้งเปนโมฆะหรือไม


๓๐๙ อีกทั้งการดำรงตำแหนงของคณะกรรมการชุดเดิมของโจทกก็ยังไมหมดวาระ ยังคงมีอำนาจใน การบริหารกิจการของโจทกเพื่อไมใหเกิดความเสียหายและหยุดชะงักตอไปได กรณีจึงไมมี ความจำเปนเรงดวนที่จะตองจัดใหมีการเลือกตั้งคณะกรรมการโจทกขึ้นใหมดวยการประชุมใหญวิสามัญ สวนที่จำเลยที่ ๑ ถึงที่ ๑๘ อางวาเมื่อมีสมาชิกโจทกเขาชื่อกันครบจำนวนตามขอบังคับขอให เปดประชุมใหญวิสามัญแลว คณะกรรมการโจทกตองเปดประชุมใหญวิสามัญขึ้นตามขอบังคับนั้น กรณีตามขอบังคับของโจทกขอ ๑๓ กำหนดวา เมื่อสมาชิกเขาชื่อกันครบจำนวนตามขอบังคับ ใหคณะกรรมการเรียกประชุมใหญภายในเกาสิบวันนับแตวันไดรับหนังสือ แตทั้งนี้ หาก คณะกรรมการไมเรียกประชุมใหญภายในระยะเวลาดังกลาวก็มีขั้นตอนกำหนดตอไปวา สมาชิกมีสิทธิ แจงเปนหนังสือใหนายทะเบียนจังหวัดทราบเพื่อพิจารณาสั่งใหคณะกรรมการเรียกประชุมใหญ ไดตามที่เห็นสมควร จึงแสดงใหเห็นวาตามขอบังคับขอดังกลาวไมไดบังคับไวโดยเด็ดขาดวา คณะกรรมการจะตองเปดประชุมใหญวิสามัญตามที่สมาชิกรองขอเสมอไป ทั้งนี้คณะกรรมการ จะตองพิจารณาถึงความชอบดวยเหตุผล ระเบียบ ขอบังคับและกฎหมายรวมดวย ดังนั้น การที่ จำเลยที่ ๑ ถึงที่ ๑๘ รวมกันจัดประชุมใหญวิสามัญเมื่อวันที่ ๙ กรกฎาคม ๒๕๕๙ เพื่อเลือกตั้ง คณะกรรมการโจทกขึ้นใหมอีกจึงไมชอบดวยขอบังคับของโจทกและไมชอบดวยกฎหมาย อุทธรณ ของจำเลยที่ ๑ ถึงที่ ๑๘ ขอนี้ฟงไมขึ้นเชนกัน สวนที่จำเลยที่ ๑ ถึงที่ ๑๘ อุทธรณวา โจทกไมมีพยานหลักฐานใดมาแสดงวาไดรับมติ ที่ประชุมใหญใหมีอำนาจฟองจำเลยทั้งยี่สิบแลวก็ดี โจทกกลาวหาวาจำเลยที่ ๑ ถึงที่ ๑๘ ยักยอก เอาเงิน ๗๐๓,๗๖๑ บาท ของโจทกไปโดยไมมีผูใดรับรองความถูกตอง เปนการกลาวหาลอย ๆ ไมมีหลักฐานวาไดมีการเบิกถอนจากบัญชีใดหรือจำเลยคนใดเปนผูนำเอาไปบาง และเปนจำนวน เงินที่ถูกตองหรือไมก็ดี และโจทกใชเงินของสมาชิกที่ไดรับมาจากคาบำรุงมาฟองรองเรียกเงิน ที่จำเลยที่ ๑ ถึงที่ ๑๘ ไดบริหารจัดการแทนโจทก เปนการใชสิทธิที่ไมไดแสวงหาและคุมครอง ผลประโยชนเกี่ยวกับสภาพการจางหรือสรางความสัมพันธอันดีระหวางนายจางและลูกจางดวยกัน เปนการใชสิทธิโดยไมชอบดวยกฎหมายก็ดีนั้น เห็นวา อุทธรณของจำเลยที่ ๑ ถึงที่ ๑๘ ดังกลาว ลวนแตเปนการอุทธรณโตแยงดุลพินิจในการรับฟงพยานหลักฐานและการกำหนดคาเสียหาย ของศาลแรงงานกลาง อันเปนอุทธรณในขอเท็จจริงซึ่งตองหามมิใหอุทธรณตามพระราชบัญญัติ จัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๕๔ วรรคหนึ่ง ศาลอุทธรณ คดีชำนัญพิเศษไมรับวินิจฉัย


๓๑๐ ปณิธาน วิสุทธากร - ยอ สุโรจน จันทรพิทักษ - ตรวจ พิพากษายืน. (วิโรจน ตุลาพันธุ - ปณิธาน วิสุทธากร - ไพรัช โปรงแสง)


๓๑๑ คำพิพากษาศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษที่ ๒๙๘ - ๓๓๖/๒๕๖๒ นายโภชนพงค พูนศิริ กับพวก โจทก สหกรณออมทรัพย ครูสุรินทร จำกัด จำเลย พ.ร.บ. แรงงานสัมพันธ พ.ศ. ๒๕๑๘ มาตรา ๒๐ ระเบียบเกี่ยวกับการใหเงินบำเหน็จหรือบำเหน็จรายเดือนแกเจาหนาที่ ที่เกษียณอายุหรือลาออก ถือเปนขอตกลงเกี่ยวกับสภาพการจางที่จำเลยจะตองปฏิบัติตาม หากจำเลยประสงคจะแกไขเพิ่มเติมหรือยกเลิกระเบียบในทางที่ไมเปนคุณแกลูกจาง จำเลยจะตองไดรับความยินยอมจากลูกจาง หรือมิฉะนั้นจำเลยจะตองแจงขอเรียกรอง ตอลูกจาง และปฏิบัติใหถูกตองตามขั้นตอนแหง พ.ร.บ. แรงงานสัมพันธ พ.ศ. ๒๕๑๘ เมื่อจำเลยออกระเบียบสหกรณออมทรัพยครูสุรินทร จำกัด วาดวยเจาหนาที่และขอบังคับ เกี่ยวกับการทำงาน พ.ศ. ๒๕๕๐ (แกไขเพิ่มเติม ฉบับที่ ๘ พ.ศ. ๒๕๖๑) ตัดสิทธิลูกจาง ที่เคยมีสิทธิเลือกรับเงินบำเหน็จหรือบำเหน็จรายเดือนก็ไดใหรับเงินบำเหน็จไดเพียง อยางเดียว จึงขัดหรือแยงกับขอตกลงเกี่ยวกับสภาพการจางเดิม และเปนขอตกลงเกี่ยวกับ สภาพการจางที่ไมเปนคุณแกโจทกทั้งสามสิบเกาซึ่งเปนลูกจาง ระเบียบฉบับดังกลาว ในสวนเกี่ยวกับการเกษียณอายุกอนกำหนดและบำเหน็จรายเดือนจึงไมมีผลใชบังคับ ยอนหลังกับโจทกทั้งสามสิบเกา ตาม พ.ร.บ. แรงงานสัมพันธ พ.ศ. ๒๕๑๘ มาตรา ๒๐ โจทกทั้งสามสิบเกาสำนวนฟองขอใหมีคำสั่งใหระเบียบสหกรณออมทรัพยครูสุรินทร จำกัด วาดวย เจาหนาที่และขอบังคับเกี่ยวกับการทำงาน พ.ศ. ๒๕๕๐ (แกไขเพิ่มเติม ฉบับที่ ๘ พ.ศ. ๒๕๖๑) ไมมีผลใชบังคับยอนหลังสำหรับโจทกทั้งสามสิบเกา ใหจำเลยจายบำเหน็จรายเดือน แกโจทกที่ ๑ ถึงที่ ๙ ตามเดิม นับแตสิ้นเดือนกุมภาพันธ ๒๕๖๑ เปนตนไปจนกวาโจทกที่ ๑ ถึง ที่ ๙ จะถึงแกกรรม และใหจำเลยจายคาเสียหายใหแกโจทกที่ ๑ ถึงที่ ๙ คนละ ๕,๐๐๐ บาท พรอม ดอกเบี้ยอัตรารอยละ ๗.๕ ตอป นับแตวันฟองเปนตนไปจนกวาจะชำระเสร็จแกโจทกที่ ๑ ถึงที่ ๙


๓๑๒ จำเลยทั้งสามสิบเกาสำนวนใหการดวยวาจา ขอใหยกฟอง ศาลแรงงานภาค ๓ พิพากษาวาระเบียบสหกรณออมทรัพยครูสุรินทร จำกัด วาดวย เจาหนาที่และขอบังคับเกี่ยวกับการทำงาน พ.ศ. ๒๕๕๐ (แกไขเพิ่มเติม ฉบับที่ ๘ พ.ศ. ๒๕๖๑) ในขอ ๓๒ ในสวนที่แกไขใหม ไมมีผลใชบังคับยอนหลังสำหรับโจทกทั้งสามสิบเกา ใหจำเลยจาย บำเหน็จรายเดือนใหแกโจทกที่ ๑ ถึงที่ ๙ ตามเดิมนับแตสิ้นเดือนกุมภาพันธ ๒๕๖๑ เปนตนไป จนกวาโจทกที่ ๑ ถึงที่ ๙ จะถึงแกกรรม กับใหจำเลยจายคาเสียหายใหโจทกที่ ๑ ถึงที่ ๙ อีกคนละ ๕,๐๐๐ บาท พรอมดอกเบี้ยอัตรารอยละ ๗.๕ ตอป นับถัดจากวันฟอง (ฟองวันที่ ๒๓ กุมภาพันธ ๒๕๖๑) เปนตนไปจนกวาจะชำระเสร็จ จำเลยอุทธรณ ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษแผนกคดีแรงงานวินิจฉัยวา ศาลแรงงานภาค ๓ ฟงขอเท็จจริง และปรากฏขอเท็จจริงที่คูความไมไดโตแยงกันวา จำเลยเปนนิติบุคคลประเภทสหกรณออมทรัพย จดทะเบียนตามพระราชบัญญัติสหกรณ พ.ศ. ๒๕๑๑ โจทกทั้งสามสิบเกาเปนลูกจางจำเลย ตอมา โจทกที่ ๑ ถึงที่ ๙ พนสภาพการเปนลูกจางจำเลยโดยบางคนเกษียณอายุ บางคนลาออกจากงาน และบางคนเกษียณอายุกอนกำหนด สวนโจทกที่ ๑๐ ถึงที่ ๓๙ ยังทำงานเปนเจาหนาที่ของจำเลย เดิมจำเลยมีระเบียบสหกรณออมทรัพยครูสุรินทร จำกัด วาดวยเจาหนาที่และขอบังคับเกี่ยวกับ การทำงาน พ.ศ. ๒๕๕๐ (แกไขเพิ่มเติม ฉบับที่ ๕ พ.ศ. ๒๕๕๗) ตามเอกสารหมาย จ.๕๐ ใชบังคับมาตั้งแตวันที่ ๑ พฤษภาคม ๒๕๕๗ เปนตนไป และมีระเบียบสหกรณออมทรัพยครูสุรินทร จำกัด วาดวยเจาหนาที่และขอบังคับเกี่ยวกับการทำงาน พ.ศ. ๒๕๕๐ (แกไขเพิ่มเติม ฉบับที่ ๗ พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามที่ปรากฏในสำเนารายงานการประชุมเอกสารหมาย จ.๑ ซึ่งในขอ ๓๒ ระบุไววา ในกรณีเจาหนาที่ลาออกตามที่กำหนดไวในขอ ๖๔ (๒) หรือเกษียณอายุตามที่กำหนดไวในขอ ๖๗ และมีอายุการทำงานไมนอยกวา ๒๕ ป ใหมีสิทธิเลือกรับเงินบำเหน็จหรือบำเหน็จรายเดือน และ ไมสามารถเปลี่ยนแปลงความประสงคภายหลังได โจทกที่ ๑ ถึงที่ ๙ ไดเลือกรับบำเหน็จรายเดือน และจำเลยไดจายบำเหน็จรายเดือนใหแกโจทกที่ ๑ ถึงที่ ๙ ตลอดมาจนถึงสิ้นเดือนมกราคม ๒๕๖๑ ตอมาคณะกรรมการดำเนินการ ชุดที่ ๖๑ ของจำเลยในการประชุมกรณีพิเศษ ครั้งที่ ๒๒/๒๕๖๐ เมื่อวันที่ ๑๗ มกราคม ๒๕๖๑ ไดมีมติใหออกระเบียบสหกรณออมทรัพยครูสุรินทร จำกัด วาดวย เจาหนาที่และขอบังคับเกี่ยวกับการทำงาน พ.ศ. ๒๕๕๐ (แกไขเพิ่มเติม ฉบับที่ ๘ พ.ศ. ๒๕๖๑) เพื่อแกไขระเบียบฉบับเดิม โดยมีการแกไขสาระสำคัญในขอ ๓๒ วา ในกรณีเจาหนาที่ลาออก ตามที่กำหนดไวในขอ ๖๔ (๒) หรือเกษียณอายุตามที่กำหนดไวในขอ ๖๗ ใหมีสิทธิไดรับเงิน บำเหน็จการทำเรื่องขอรับบำเหน็จ ใหทำตามแบบและวิธีที่สหกรณกำหนด ตามระเบียบเอกสาร


๓๑๓ หมาย จ.๕๒ และสำเนารายงานการประชุมเอกสารหมาย จ.๑ และจำเลยมีคำสั่งงดจายบำเหน็จ รายเดือนใหแกโจทกที่ ๑ ถึงที่ ๙ ตั้งแตวันที่ ๑ กุมภาพันธ ๒๕๖๑ เปนตนไป ตามเอกสารหมาย จ.๔๙ แลววินิจฉัยวา จำเลยออกระเบียบสหกรณออมทรัพย ครูสุรินทร จำกัด วาดวย เจาหนาที่ และขอบังคับเกี่ยวกับการทำงาน พ.ศ. ๒๕๕๐ (แกไขเพิ่มเติม ฉบับที่ ๘ พ.ศ. ๒๕๖๑) แกไข ระเบียบสหกรณออมทรัพยครูสุรินทร จำกัด วาดวยเจาหนาที่และขอบังคับเกี่ยวกับการทำงาน พ.ศ. ๒๕๕๐ (แกไขเพิ่มเติม ฉบับที่ ๕ พ.ศ. ๒๕๕๗) ตัดสิทธิเจาหนาที่ที่มีอายุการทำงาน ไมนอยกวา ๒๕ ป ในการเลือกที่จะรับเงินบำเหน็จหรือบำเหน็จรายเดือน โดยใหรับเงินบำเหน็จเพียง อยางเดียว เปนการแกไขขอตกลงเกี่ยวกับสภาพการจางในทางที่ไมเปนคุณแกโจทกทั้งสามสิบเกา ขัดตอพระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ พ.ศ. ๒๕๑๘ มาตรา ๒๐ ไมมีผลผูกพันและไมใชบังคับ ยอนหลังกับโจทกทั้งสามสิบเกา และกำหนดใหจำเลยจายบำเหน็จรายเดือนและจายคาเสียหาย แกโจทกที่ ๑ ถึงที่ ๙ พรอมดอกเบี้ย มีปญหาตองวินิจฉัยตามอุทธรณของจำเลยวา ระเบียบสหกรณออมทรัพยครูสุรินทร จำกัด วาดวยเจาหนาที่และขอบังคับเกี่ยวกับการทำงาน พ.ศ. ๒๕๕๐ (แกไขเพิ่มเติม ฉบับที่ ๘ พ.ศ. ๒๕๖๑) ในสวนเกี่ยวกับการเกษียณอายุกอนกำหนดและบำเหน็จรายเดือนมีผลใชบังคับ ยอนหลังกับโจทกทั้งสามสิบเกาหรือไม เห็นวา ระเบียบสหกรณออมทรัพยครูสุรินทร จำกัด วาดวย เจาหนาที่และขอบังคับเกี่ยวกับการทำงาน พ.ศ. ๒๕๕๐ (แกไขเพิ่มเติม ฉบับที่ ๕ พ.ศ. ๒๕๕๗) และ (แกไขเพิ่มเติม ฉบับที่ ๗ พ.ศ. ๒๕๖๐) ซึ่งใชบังคับขณะโจทกทั้งสามสิบเกาเปนลูกจางของ จำเลย กำหนดขึ้นโดยคณะกรรมการดำเนินการสหกรณเพื่อใชบังคับแกเจาหนาที่หรือลูกจางของ จำเลยเปนการทั่วไป และเปนระเบียบที่จำเลยในฐานะนายจางประกาศใชบังคับเอง มิไดเกิดจาก การแจงขอเรียกรองของฝายหนึ่งฝายใด ระเบียบเกี่ยวกับการใหเงินบำเหน็จหรือบำเหน็จรายเดือน แกเจาหนาที่ที่เกษียณอายุหรือลาออกตามระเบียบดังกลาว จึงถือเปนขอตกลงเกี่ยวกับสภาพ การจางที่จำเลยจะตองปฏิบัติตาม หากจำเลยประสงคจะแกไขเพิ่มเติมหรือยกเลิกระเบียบในทาง ที่ไมเปนคุณแกลูกจาง จำเลยจะตองไดรับความยินยอมจากลูกจาง หรือมิฉะนั้นจำเลยจะตอง แจงขอเรียกรองตอลูกจางและปฏิบัติใหถูกตองตามขั้นตอนแหงพระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ พ.ศ. ๒๕๑๘ การที่จำเลยแกไขขอตกลงเกี่ยวกับสภาพการจางดังกลาวโดยออกระเบียบสหกรณ ออมทรัพยครูสุรินทร จำกัด วาดวยเจาหนาที่และขอบังคับเกี่ยวกับการทำงาน พ.ศ. ๒๕๕๐ (แกไขเพิ่มเติม ฉบับที่ ๘ พ.ศ. ๒๕๖๑) มาใชบังคับ โดยกำหนดในขอ ๓๒ วา ในกรณีเจาหนาที่ ลาออกตามที่กำหนดไวในขอ ๖๔ (๒) หรือเกษียณอายุตามที่กำหนดไวในขอ ๖๗ ใหมีสิทธิไดรับ เงินบำเหน็จ ยอมเทากับตัดสิทธิลูกจางที่เคยมีสิทธิเลือกรับเงินบำเหน็จหรือบำเหน็จรายเดือน


๓๑๔ ก็ไดใหรับเงินบำเหน็จไดเพียงอยางเดียว จึงขัดหรือแยงกับขอตกลงเกี่ยวกับสภาพการจางเดิม และเปนขอตกลงเกี่ยวกับสภาพการจางที่ไมเปนคุณแกโจทกทั้งสามสิบเกาซึ่งเปนลูกจาง เมื่อ ขอเท็จจริงไดความวา แมการแกไขระเบียบดังกลาวเปนอำนาจของคณะกรรมการดำเนินการสหกรณ จำเลยฝายเดียว แตโจทกทั้งสามสิบเกามิไดใหความยินยอมใหจำเลยแกไขระเบียบดังกลาวและ จำเลยไมไดดำเนินการใหถูกตองตามขั้นตอนแหงพระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ พ.ศ. ๒๕๑๘ กอน ระเบียบที่ใหยกเลิกบำเหน็จรายเดือนแกเจาหนาที่ที่เกษียณอายุหรือลาออกตามระเบียบดังกลาว จึงไมมีผลผูกพันโจทกทั้งสามสิบเกา ตามพระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ พ.ศ. ๒๕๑๘ มาตรา ๒๐ และการแกไขขอตกลงเกี่ยวกับสภาพการจางดังกลาวมีผลกระทบตอโจทกที่ ๑ ถึงที่ ๙ ที่จำเลยมีคำสั่งใหงดจายบำเหน็จรายเดือนตามสิทธิที่มีอยูเดิม สวนโจทกที่ ๑๐ ถึงที่ ๓๙ นั้น เปนเจาหนาที่ที่อาจใชสิทธิเลือกรับเงินบำเหน็จหรือบำเหน็จรายเดือนไดเมื่อลาออกหรือเกษียณอายุ ตามระเบียบฉบับเดิม แมจะยังมิไดลาออกหรือเกษียณอายุก็ยอมไดรับผลกระทบจากการที่ จำเลยแกไขระเบียบฉบับเดิมเชนเดียวกัน ดังนั้น ระเบียบสหกรณออมทรัพยครูสุรินทร จำกัด วาดวยเจาหนาที่และขอบังคับเกี่ยวกับการทำงาน พ.ศ. ๒๕๕๐ (แกไขเพิ่มเติม ฉบับที่ ๘ พ.ศ. ๒๕๖๑) ในสวนเกี่ยวกับการเกษียณอายุกอนกำหนดและบำเหน็จรายเดือน จึงไมมีผลใชบังคับยอนหลัง กับโจทกทั้งสามสิบเกา ที่ศาลแรงงานภาค ๓ พิพากษามานั้นชอบแลว อุทธรณของจำเลยฟงไมขึ้น พิพากษายืน. (โสภณ พรหมสุวรรณ - พิเชฏฐ รื่นเจริญ - ศราวุธ ภาณุธรรมชัย) กิตติ เนตรประเสริฐชัย - ยอ สุโรจน จันทรพิทักษ - ตรวจ


๓๑๕ คำพิพากษาศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษที่ ๑๔๖๒ - ๑๔๗๑/๒๕๖๒ นายมะณู ยิ้มละมัย กับพวก โจทก บริษัทอีเทอรนิตี้ แกรนด โลจิสติคส จำกัด (มหาชน) จำเลย พ.ร.บ. แรงงานสัมพันธ พ.ศ. ๒๕๑๘ มาตรา ๑๒ วรรคสอง นับแตมีการทำขอตกลงเกี่ยวกับสภาพการจางครั้งแรก จำเลยและพนักงานขับรถ ของจำเลยยอมรับและตกลงกันวาจำเลยจายคาตอบแทนการทำงานนอกเวลาทำงานปกติ ใหแกพนักงานขับรถไปแลว และเมื่อมีการยื่นขอเรียกรองขอแกไขเพิ่มเติมขอตกลงเกี่ยวกับ สภาพการจางในครั้งตอๆ มามีการเจรจากัน ผูแทนทั้งฝายนายจางและลูกจางยอมรับกัน วาจำเลยจายคาตอบแทนการทำงานนอกเวลาทำงานปกติใหแกพนักงานขับรถทุกคน อยูแลวโดยเรียกวา คาเที่ยวหรือเบี้ยเลี้ยง ภายหลังเมื่อมีการทำบันทึกขอตกลงเกี่ยวกับ สภาพการจางแลวไมมีการแกไขเพิ่มเติมขอตกลงเกี่ยวกับการจายคาตอบแทนการทำงาน นอกเวลาทำงานปกติตามที่เคยปฏิบัติมา ยอมถือไดวา มิไดมีการเจรจาตกลงกันใหมใน ขอตกลงเกี่ยวกับสภาพการจางที่ใหถือวาการจายคาเที่ยวหรือเบี้ยเลี้ยงเปนการจายเพื่อ ตอบแทนการทำงานนอกเวลาทำงานปกติ ซึ่งใหถือวาขอตกลงนั้นมีผลใชบังคับตอไป อีกคราวละหนึ่งปตามมาตรา ๑๒ วรรคสอง แหง พ.ร.บ. แรงงานสัมพันธ พ.ศ. ๒๕๑๘ คาเที่ยวหรือเบี้ยเลี้ยงจึงมิใชคาจางตามผลงาน แตถือเปนคาตอบแทนการทำงาน นอกเวลาทำงานปกติ เมื่อโจทกทั้งสิบไดรับคาเที่ยวหรือเบี้ยเลี้ยงแลว จำเลยจึงไมตองจาย คาเที่ยวหรือเบี้ยเลี้ยงใหแกโจทกทั้งสิบอีก โจทกทั้งสิบสำนวนฟอง ขอใหบังคับจำเลยจายคาตอบแทนการทำงานนอกเวลาทำงาน ปกติพรอมดอกเบี้ยตามคำขอทายคำฟองของโจทกแตละคน จำเลยทั้งสิบสำนวนใหการ ขอใหยกฟอง ศาลแรงงานกลาง พิพากษายกฟอง


๓๑๖ โจทกทั้งสิบสำนวนอุทธรณ ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษแผนกคดีแรงงานวินิจฉัยวา ศาลแรงงานกลางฟงขอเท็จจริง และวินิจฉัยวา โจทกทั้งสิบเปนพนักงานขับรถบรรทุกตูคอนเทนเนอร ๑๘ ลอ ใหแกจำเลยและ ปจจุบันยังคงทำงานอยู ในการจายคาตอบแทนการทำงานนอกเวลาทำงานปกติ จำเลยจายเปน เงินไมนอยกวาอัตราคาจางตอชั่วโมงในวันทำงานตามจำนวนชั่วโมงที่ทำ ดังที่กำหนดไวใน ขอบังคับเกี่ยวกับการทำงานขอ ๑๒.๒ โดยเรียกคาตอบแทนนั้นวาคาเที่ยวหรือเบี้ยเลี้ยง ซึ่งคาเที่ยว หรือเบี้ยเลี้ยงดังกลาวเปนไปตามกฎกระทรวง ฉบับที่ ๑๒ (พ.ศ. ๒๕๔๑) ออกตามความในพระราชบัญญัติ คุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ ขอ ๖ อันเปนการจายเพื่อตอบแทนการทำงานลวงเวลาใน วันทำงานและทำงานลวงเวลาในวันหยุด และมีจำนวนมากกวาอัตราคาจางตอชั่วโมงที่โจทกทั้งสิบ มีสิทธิไดรับอยูแลว เมื่อโจทกทั้งสิบและจำเลยไมมีขอตกลงกันวาจำเลยจะจายคาลวงเวลาใน วันทำงานหรือคาลวงเวลาในวันหยุด ประกอบกับจำเลยจายคาเที่ยวหรือเบี้ยเลี้ยงใหแกโจทกทั้งสิบ ตลอดมาจนถึงปจจุบันตามใบจายเงินเดือน โดยโจทกทั้งสิบยอมรับวาไดรับคาตอบแทนการ ทำงานนอกเวลาทำงานปกติจากจำเลยที่เรียกกันวาคาเที่ยวหรือเบี้ยเลี้ยงแลว โจทกทั้งสิบ จึงไมมีสิทธิไดรับคาตอบแทนดังกลาวจากจำเลยอีก ที่โจทกทั้งสิบอุทธรณวา ขอตกลงเกี่ยวกับสภาพการจางที่ใหถือวาคาเที่ยวหรือเบี้ยเลี้ยง เปนการจายเพื่อตอบแทนการทำงานนอกเวลาทำงานปกติรวมอยูดวยสิ้นสุดลงแลว และไมมีการ เจรจาตกลงกันใหม โจทกทั้งสิบและพนักงานขับรถของจำเลยในปจจุบันมิไดเปนสมาชิกสหภาพ แรงงานที่ทำขอตกลงเกี่ยวกับสภาพการจางกับจำเลยดังกลาว นอกจากนี้ โจทกทั้งสิบ ตัวแทน พนักงานขับรถ หรือสหภาพแรงงานที่โจทกทั้งสิบและพนักงานขับรถของจำเลยเปนสมาชิกอยูใน ปจจุบันมิไดทำขอตกลงเกี่ยวกับสภาพการจางที่ใหถือวาคาเที่ยวหรือเบี้ยเลี้ยงเปนการจายเพื่อ ตอบแทนการทำงานนอกเวลาทำงานปกติรวมอยูดวยแตอยางใด ทั้งสัญญาจางแรงงานก็มิได กำหนดไวเชนเดียวกัน ขอตกลงเกี่ยวกับสภาพการจางที่ใหถือวาคาเที่ยวหรือเบี้ยเลี้ยงเปนการ จายเพื่อตอบแทนการทำงานนอกเวลาทำงานปกติรวมอยูดวย จึงไมมีผลใชบังคับแกโจทกทั้งสิบ และพนักงานขับรถของจำเลยในปจจุบันนั้น เห็นวา ตามขออุทธรณของโจทกทั้งสิบ ศาลอุทธรณ คดีชำนัญพิเศษจำตองยอนไปวินิจฉัยเสียกอนวามีการทำขอตกลงเกี่ยวกับสภาพการจางที่ใหถือวา คาเที่ยวหรือเบี้ยเลี้ยงเปนการจายเพื่อตอบแทนการทำงานนอกเวลาทำงานปกติรวมอยูดวย และ ขอตกลงเกี่ยวกับสภาพการจางนั้นมีผลใชบังคับแกโจทกทั้งสิบ อันจะนำไปสูปญหาวาจำเลยตอง จายคาตอบแทนการทำงานนอกเวลาทำงานปกติแกโจทกทั้งสิบหรือไม เพียงใด ในการวินิจฉัย ปญหาดังกลาวจะตองกระทำโดยอาศัยพยานหลักฐานในสำนวน แมศาลแรงงานกลางจะรวบรัด


๓๑๗ วินิจฉัยในประเด็นดังกลาว แตการที่ศาลแรงงานกลางฟงขอเท็จจริงวาจำเลยจายคาเที่ยวหรือ เบี้ยเลี้ยงใหแกโจทกทั้งสิบเพื่อตอบแทนการทำงานนอกเวลาทำงานปกติแลว กรณีพอเขาใจได อยูในตัววา ศาลแรงงานกลางพิจารณาถึงความมีอยูและการมีผลใชบังคับของขอตกลงเกี่ยวกับ สภาพการจางที่ใหถือวาคาเที่ยวหรือเบี้ยเลี้ยงเปนการจายเพื่อตอบแทนการทำงานนอกเวลา ทำงานปกติรวมอยูดวย อันเปนการวินิจฉัยชั่งน้ำหนักพยานหลักฐานในสำนวนนั่นเอง อุทธรณ ของโจทกทั้งสิบจึงเปนการโตแยงดุลพินิจในการรับฟงพยานหลักฐานของศาลแรงงานกลาง อันเปนอุทธรณในขอเท็จจริง ซึ่งตองหามมิใหอุทธรณตามพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแรงงานและ วิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๕๔ วรรคหนึ่ง ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษไมรับ วินิจฉัย คดีมีปญหาตองวินิจฉัยตามอุทธรณของโจทกทั้งสิบวา จำเลยตองจายคาตอบแทนการ ทำงานนอกเวลาทำงานปกติใหแกโจทกทั้งสิบหรือไม เพียงใด เห็นวา เงินที่จำเลยจายใหแกโจทก ทั้งสิบจะเปนคาจางหรือไมตองพิจารณาจากวัตถุประสงคในการจายเปนสำคัญ หากจายเปน คาตอบแทนในการทำงานตามสัญญาจางสำหรับระยะเวลาการทำงานปกติหรือจายโดยคำนวณตาม ผลงานที่ลูกจางทำไดในเวลาทำงานปกติของวันทำงานก็เปนคาจาง แมประเด็นนี้ศาลแรงงานกลาง จะมิไดแสดงเหตุผลแหงคำวินิจฉัยเพื่อใหทราบวานำขอเท็จจริงใดมาเปนหลักในการวินิจฉัยวา มีการทำขอตกลงเกี่ยวกับสภาพการจางที่ใหถือวาการจายคาเที่ยวหรือเบี้ยเลี้ยงเปนการจายเพื่อ ตอบแทนการทำงานนอกเวลาทำงานปกติ และขอตกลงเกี่ยวกับสภาพการจางนั้นมีผลใชบังคับ แกโจทกทั้งสิบก็ตาม แตเมื่อขอเท็จจริงในสำนวนเพียงพอที่จะวินิจฉัยได ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษ เห็นสมควรวินิจฉัยโดยไมยอนสำนวนไปใหศาลแรงงานกลางพิพากษาใหม ซึ่งไดความจาก คำเบิกความของนายจิรัฐิติ ผูรับมอบอำนาจจำเลย ประกอบรายงานการประชุม บันทึกขอตกลง เกี่ยวกับสภาพการจาง หนังสือแจงขอเรียกรอง หนังสือแตงตั้งผูแทนในการเจรจาขอเรียกรอง บันทึกการไกลเกลี่ยขอพิพาทแรงงาน หนังสือรับจดทะเบียนขอตกลงเกี่ยวกับสภาพการจาง โดยโจทกทั้งสิบไมโตแยง ทำใหขอเท็จจริงยุติในชั้นพิจารณาของศาลแรงงานกลางฟงไดวา เดิมจำเลยและสหภาพแรงงานขนสงสินคาซึ่งพนักงานขับรถของจำเลยเปนสมาชิกอยูไดทำ ขอตกลงเกี่ยวกับสภาพการจาง ลงวันที่ ๘ เมษายน ๒๕๔๘ ระบุวาจำเลยจายคาตอบแทนการ ทำงานนอกเวลาทำงานปกติใหแกพนักงานขับรถไปแลวและมีการปฏิบัติตามขอตกลงเกี่ยวกับ สภาพการจางดังกลาวตอพนักงานขับรถทุกคนเรื่อยมา ตอมาโจทกที่ ๑ ถึงที่ ๔ โจทกที่ ๖ ถึง ที่ ๘ โจทกที่ ๑๐ และพนักงานขับรถของจำเลยยื่นขอเรียกรองขอแกไขเพิ่มเติมขอตกลงเกี่ยวกับ สภาพการจาง กระทั่งวันที่ ๒๖ มีนาคม ๒๕๕๗ ไดทำขอตกลงเกี่ยวกับสภาพการจางกับจำเลย


๓๑๘ ตกลงใหจำเลยเปลี่ยนถอยคำในใบจายเงินเดือนจากคาลวงเวลาเปนคาเที่ยวหรือเบี้ยเลี้ยงโดยยัง คงเรื่องการจายคาตอบแทนการทำงานนอกเวลาทำงานปกติไวตามเดิม หลังจากนั้นพนักงาน ขับรถของจำเลยบางสวนรวมกันกอตั้งสหภาพแรงงานอีเทอรนิตี้ ประเทศไทย ขึ้น และยื่น ขอเรียกรองขอแกไขเพิ่มเติมขอตกลงเกี่ยวกับสภาพการจางอีก ซึ่งในชั้นไกลเกลี่ยขอพิพาทแรงงาน โดยพนักงานประนอมขอพิพาทแรงงาน นายจิรัฐิติเขารวมเปนผูแทนเจรจาฝายจำเลย โจทกที่ ๑ และที่ ๖ เขารวมเปนผูแทนเจรจาฝายสหภาพแรงงานอีเทอรนิตี้ ประเทศไทย โดยผูแทนเจรจา ทั้งสองฝายยอมรับกันวาจำเลยจายคาตอบแทนการทำงานนอกเวลาทำงานปกติใหแกพนักงาน ขับรถทุกคนอยูแลว โดยเรียกวาคาเที่ยวหรือเบี้ยเลี้ยง จึงเปนเหตุใหการทำบันทึกขอตกลงเกี่ยวกับ สภาพการจางในวันที่ ๑๑ มกราคม ๒๕๖๑ โดยไมมีการแกไขเพิ่มเติมขอตกลงเกี่ยวกับการจาย คาตอบแทนการทำงานนอกเวลาทำงานปกติตามที่ปฏิบัติกันมา และจำเลยก็ไมเคยตกลงจาย คาเที่ยวหรือเบี้ยเลี้ยงใหเปนคาจางตามผลงานอีกสวนหนึ่งแกโจทกทั้งสิบหรือพนักงานขับรถ กรณีเห็นไดวา นับแตมีการทำขอตกลงเกี่ยวกับสภาพการจางครั้งแรก จำเลยและพนักงานขับรถ ของจำเลยยอมรับและตกลงกันวาจำเลยจายคาตอบแทนการทำงานนอกเวลาทำงานปกติใหแก พนักงานขับรถไปแลว และเมื่อมีการยื่นขอเรียกรองขอแกไขเพิ่มเติมขอตกลงเกี่ยวกับสภาพการจาง ในครั้งตอ ๆ มา มีการกลาวถึงคาตอบแทนที่ไดตกลงกันไวดังกลาวทุกครั้ง โดยเฉพาะเมื่อ โจทกที่ ๑ ถึงที่ ๔ โจทกที่ ๖ ถึงที่ ๘ โจทกที่ ๑๐ และพนักงานขับรถของจำเลยบางสวนรวมกันยื่น ขอเรียกรองขอแกไขเพิ่มเติมขอตกลงเกี่ยวกับสภาพการจาง ซึ่งในชั้นไกลเกลี่ยขอพิพาทแรงงาน ผูแทนเจรจาทั้งสองฝายยอมรับกันวาจำเลยจายคาตอบแทนการทำงานนอกเวลาทำงานปกติให แกพนักงานขับรถทุกคนอยูแลวโดยเรียกวาคาเที่ยวหรือเบี้ยเลี้ยง เมื่อมีการทำบันทึกขอตกลง เกี่ยวกับสภาพการจางในวันที่ ๑๑ มกราคม ๒๕๖๑ ก็ไมมีการแกไขเพิ่มเติมขอตกลงเกี่ยวกับ การจายคาตอบแทนการทำงานนอกเวลาทำงานปกติตามที่ปฏิบัติกันมา ยอมถือไดวามิไดมีการ เจรจาตกลงกันใหมในขอตกลงเกี่ยวกับสภาพการจางที่ใหถือวาการจายคาเที่ยวหรือเบี้ยเลี้ยงเปน การจายเพื่อตอบแทนการทำงานนอกเวลาทำงานปกติ ซึ่งใหถือวาขอตกลงนั้นมีผลใชบังคับตอไป อีกคราวละหนึ่งปตามมาตรา ๑๒ วรรคสอง แหงพ.ร.บ. แรงงานสัมพันธ พ.ศ. ๒๕๑๘ ดังนั้น คาเที่ยวหรือเบี้ยเลี้ยงดังกลาวจึงมิใชคาจางตามผลงานดังที่โจทกทั้งสิบอางในอุทธรณ แตถือ เปนคาตอบแทนการทำงานนอกเวลาทำงานปกติ เมื่อโจทกทั้งสิบไดรับคาเที่ยวหรือเบี้ยเลี้ยงแลว จำเลยจึงไมตองจายคาเที่ยวหรือเบี้ยเลี้ยงใหแกโจทกทั้งสิบอีก ที่ศาลแรงงานกลางพิพากษามานั้น ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษเห็นพองดวย อุทธรณของโจทกทั้งสิบฟงไมขึ้น


๓๑๙ พิพากษายืน. กิตติ เนตรประเสริฐชัย - ยอ สุโรจน จันทรพิทักษ - ตรวจ (ไพรัช โปรงแสง - วิโรจน ตุลาพันธุ - ปณิธาน วิสุทธากร)


๓๒๐ คำพิพากษาศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษที่ ๔๑๗๓/๒๕๖๒ บริษัทรูเบียอุตสาหกรรม จำกัด ผูรอง นายวิเชียร ทองอยู ผูคัดคาน พ.ร.บ. แรงงานสัมพันธ พ.ศ. ๒๕๑๘ มาตรา ๕๒ การที่ผูคัดคานไปดื่มเบียรกับพวกในชวงเวลาพัก และเมื่อกลับเขามาในโรงงาน ของผูรองเวลาประมาณ ๑๓ นาิกา ผูคัดคานยังไปดื่มเบียรกับพวกที่โรงคัดแยกขยะ ซึ่งอยูภายในโรงงานของผูรองอีกจนถึงเวลาประมาณ ๑๗ นาิกา อันเปนเวลานานหลาย ชั่วโมง โดยที่ผูคัดคานมิไดเกรงกลัววาการกระทําดังกลาวเปนการฝาฝนขอบังคับเกี่ยวกับ การทํางานของผูรอง แมผูคัดคานจะไมไดทําหนาที่เกี่ยวกับการควบคุมเครื่องจักรหรือ เกี่ยวของกับการผลิต แตผูคัดคานเปนชางไฟฟาทั่วไปมีหนาที่ดูแลซอมแซมระบบไฟฟา และมีหนาที่เดินตรวจดูความเรียบรอยในบริเวณโรงงาน รวมถึงเดินตรวจดูเครื่องจักรดวย และแมหนาที่ตรวจดูดังกลาวจะไมใชหนาที่หลักของผูคัดคานก็ตาม แตการปฏิบัติงาน ของผูคัดคานไมวาจะเปนหนาที่หลักหรือหนาที่รอง เมื่อผูคัดคานดื่มของมึนเมาในขณะ ปฏิบัติงานยอมอาจเกิดการผิดพลาดหรือบกพรองซึ่งอาจเปนอันตรายแกพนักงานอื่นได โดยงาย นอกจากนั้นผูคัดคานยังเปนกรรมการลูกจางและเปนรองประธานสหภาพแรงงาน ร. ยอมตองปฏิบัติตนใหเปนตัวอยางที่ดีแกลูกจางดวยกัน การกระทําของผูคัดคานดังกลาว ถือไดวาเปนการฝาฝนขอบังคับเกี่ยวกับการทํางานของผูรองกรณีที่รายแรง กรณีมีเหตุ สมควรอนุญาตใหผูรองเลิกจางผูคัดคานได ผูรองยื่นคำรองขอใหเลิกจางผูคัดคานโดยไมตองจายคาชดเชย ผูคัดคานยื่นคำคัดคาน ขอศาลอนุญาตใหผูรองลงโทษผูคัดคานเพียงตักเตือนเปน ลายลักษณอักษร ศาลแรงงานภาค ๑ มีคำสั่งอนุญาตใหผูรองเลิกจางผูคัดคานได คำขออื่นใหยก


๓๒๑ ผูคัดคานอุทธรณ ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษแผนกคดีแรงงานวินิจฉัยวา ศาลแรงงานภาค ๑ ฟงขอเท็จจริงวา ผูคัดคานเปนลูกจางผูรอง ตำแหนงชางไฟฟาทั่วไป และเปนกรรมการลูกจางผูรอง เมื่อวันที่ ๔ พฤศจิกายน ๒๕๖๐ ซึ่งเปนวันทำงานและในระหวางทำงาน ผูคัดคานกับพวกรวมกัน ดื่มเบียรภายในบริเวณโรงงานของผูรอง แลววินิจฉัยวา การที่ผูคัดคานดื่มเบียรในเวลาทำงาน และสถานที่ทำงานของผูรอง เปนการฝาฝนขอบังคับเกี่ยวกับการทำงานของผูรองตามเอกสาร หมาย ร.๑๒ ขอ ๖ และในขอ ๘ ยังระบุไววา ผูรองไมตองจายคาชดเชยแกลูกจางซึ่งเลิกจาง กรณี ลูกจางดื่มสุราในบริเวณบริษัทของผูรองได ตามขอบังคับเกี่ยวกับการทำงานของผูรองดังกลาว ถือวาการดื่มของมึนเมาในสถานที่ทำงานของผูรองเปนเรื่องรายแรง ผูคัดคานถึงขนาดรวมกับ พวกหลายคนดื่มเบียรดวยกันในเวลาทำงานตั้งแตเวลา ๑๓ นาิกา ถึง ๑๗ นาิกา อันเปนเวลา นานหลายชั่วโมง แสดงใหเห็นวาผูคัดคานไมไดหวั่นเกรงการกระทำดังกลาวเปนเรื่องที่ไมถูกตอง อีกทั้งผูคัดคานยังมีหนาที่เดินตรวจดูความเรียบรอยในบริเวณโรงงาน รวมถึงเดินตรวจดูเครื่องจักร และเคยซอมมอเตอรของเครื่องจักรที่ใชในการผลิตดวย การที่ผูคัดคานดื่มของมึนเมาในขณะ ทำงานยอมมีโอกาสกอใหเกิดความบกพรองในการทำงานซึ่งอาจเปนอันตรายแกพนักงานอื่นได ประกอบกับผูคัดคานเปนกรรมการลูกจางและเปนรองประธานสหภาพแรงงานรูเบีย ประเทศไทย สมควรทำตนใหเปนตัวอยางที่ดีแกลูกจางดวยกัน การกระทำของผูคัดคานจึงถือไดวาเปนการ ฝาฝนขอบังคับเกี่ยวกับการทำงานของผูรองในกรณีที่รายแรง มีเหตุสมควรอนุญาตใหผูรองเลิกจาง ผูคัดคานได สวนที่ผูรองจะตองจายคาชดเชยแกผูคัดคานหรือไม เปนเรื่องที่เกิดขึ้นภายหลังจาก ที่ผูรอง มีคำสั่งเลิกจางผูคัดคานแลว กรณียังไมสมควรมีคำสั่งไวลวงหนาโดยยังไมมีขอพิพาท เกิดขึ้น มีปญหาตองวินิจฉัยตามอุทธรณของผูคัดคานวา กรณีมีเหตุสมควรอนุญาตใหผูรอง เลิกจางผูคัดคานหรือไม เห็นวา การที่ผูคัดคานไปดื่มเบียรกับพวกในชวงเวลาพัก และเมื่อกลับ เขามาในโรงงาน ของผูรองเวลาประมาณ ๑๓ นาิกา ผูคัดคานยังไปดื่มเบียรกับพวกที่โรงคัดแยก ขยะซึ่งอยูภายในโรงงานของผูรองอีกจนถึงเวลาประมาณ ๑๗ นาิกา อันเปนเวลานานหลาย ชั่วโมง โดยที่ผูคัดคานมิไดเกรงกลัววาการกระทำดังกลาวเปนการฝาฝนขอบังคับเกี่ยวกับการ ทำงานของผูรอง แมผูคัดคานจะไมไดทำหนาที่เกี่ยวกับการควบคุมเครื่องจักรหรือเกี่ยวของกับ การผลิต แตผูคัดคานเปนชางไฟฟาทั่วไปมีหนาที่ดูแลซอมแซมระบบไฟฟาและมีหนาที่เดินตรวจ ดูความเรียบรอยในบริเวณโรงงานรวมถึงเดินตรวจดูเครื่องจักรดวย และแมหนาที่ตรวจดูดังกลาว จะไมใชหนาที่หลักของผูคัดคานก็ตาม แตการปฏิบัติงานของผูคัดคานไมวาจะเปนหนาที่หลัก


๓๒๒ หรือหนาที่รอง เมื่อผูคัดคานดื่มของมึนเมาในขณะปฏิบัติงานยอมอาจเกิดการผิดพลาดหรือ บกพรองซึ่งอาจเปนอันตรายแกพนักงานอื่นไดโดยงาย นอกจากนั้นผูคัดคานยังเปนกรรมการ ลูกจางและเปนรองประธานสหภาพแรงงาน รูเบีย ประเทศไทย ยอมตองปฏิบัติตนใหเปนตัวอยาง ที่ดีแกลูกจางดวยกัน การกระทำของผูคัดคานดังกลาวถือไดวาเปนการฝาฝนขอบังคับเกี่ยวกับ การทำงานของผูรองกรณีที่รายแรง กรณีมีเหตุสมควรอนุญาตใหผูรองเลิกจางผูคัดคานได ตามพระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ พ.ศ. ๒๕๑๘ มาตรา ๕๒ ที่ศาลแรงงานภาค ๑ พิพากษามานั้น ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษเห็นพองดวย อุทธรณของผูคัดคานฟงไมขึ้น พิพากษายืน. ฐานุตร เล็กสุภาพ - ยอ สุโรจน จันทรพิทักษ - ตรวจ (วัฒนา สุขประดิษฐ - อนันต คงบริรักษ - สุวรรณา แกวบุตตา)


๓๒๓ คำพิพากษาศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษที่ ๔๕๖๘ - ๔๕๖๙/๒๕๖๒ นายอนุรักษ ภูเวียงแกว กับพวก โจทก บริษัทเจนเนอรัล มอเตอรส (ประเทศไทย) จํากัด จำเลย ป.พ.พ. มาตรา ๕  พ.ร.บ. แรงงานสัมพันธ พ.ศ. ๒๕๑๘ มาตรา ๑๒๔  แมคําฟองของโจทกที่ ๒ และที่ ๖ จะบรรยายฟองไวตอนหนึ่งวา การกระทําของ จําเลยเปนการกระทําใด ๆ ใหโจทกที่ ๒ และที่ ๖ ไมสามารถทนทํางานอยูตอไปไดเพราะ เหตุที่ลูกจางซึ่งเปนสมาชิกสหภาพแรงงานนัดชุมนุม ทําคํารอง ยื่นขอเรียกรอง เจรจาหรือ ดําเนินการฟองรอง หรือเปนพยานหรือใหหลักฐานตอพนักงานเจาหนาที่ตามกฎหมาย วาดวยการคุมครองแรงงานก็ตาม แตก็ไดบรรยายฟองไวดวยวา จําเลยทําสัญญาจาง แรงงานกับลูกจางที่เปนสมาชิกสหภาพแรงงานรวมทั้งโจทกที่ ๒ และที่ ๖ ขัดหรือแยงกับ ขอตกลงเกี่ยวกับสภาพการจาง ไมเปนคุณยิ่งกวาแกโจทกที่ ๒ และที่ ๖ และไมตรงตาม ขอเรียกรองที่โจทกที่ ๒ และที่ ๖ รับขอเสนอของจําเลย โดยจําเลยปรับลดคาจางของโจทก ที่ ๒ และที่ ๖ ลง สวัสดิการอื่น ๆ ยกเลิกทั้งหมด ยายสถานที่ทํางานและตําแหนงหนาที่งาน อันเปนการกลาวหาวาจําเลยทําสัญญาจางแรงงานขัดหรือแยงกับขอตกลงเกี่ยวกับ สภาพการจางตามขอเรียกรองของจําเลยที่โจทกที่ ๒ และที่ ๖ ยอมรับ โดยไมเปนคุณยิ่งกวา แกโจทกที่ ๒ และที่ ๖ ซึ่งไมมีกฎหมายบัญญัติใหโจทกตองยื่นคํารองตอพนักงานเจาหนาที่ หรือปฏิบัติตามขั้นตอนและวิธีการอยางใดกอนที่จะดําเนินการฟองรองในศาลแรงงาน โจทกที่ ๒ และที่ ๖ จึงมีอํานาจฟองจําเลยเปนคดีนี้ไดโดยไมตองยื่นคํารองกลาวหาจําเลยตอ คณะกรรมการแรงงานสัมพันธตาม พ.ร.บ. แรงงานสัมพันธ พ.ศ. ๒๕๑๘ มาตรา ๑๒๔ กอน  เมื่อคณะกรรมการแรงงานสัมพันธมีคําสั่งที่ ๑๑๑-๔๐๖/๒๕๕๖ สั่งใหจําเลยรับ โจทกที่ ๒ และที่ ๖ กับพวก กลับเขาทํางานในตําแหนงหนาที่เดิมและจายคาเสียหาย ทั้งฝาย นายจางและลูกจางจะตองปฏิบัติตามคําสั่งดังกลาว แมจําเลยซึ่งเปนนายจางจะไมพอใจ คําสั่งและมีอํานาจฟองตอศาลแรงงานขอใหเพิกถอนหรือแกไขเปลี่ยนแปลงคําสั่งของ คณะกรรมการแรงงานสัมพันธได แตตราบใดที่ศาลแรงงานยังไมเพิกถอนหรือแกไข


๓๒๔ เปลี่ยนแปลงคําสั่งดังกลาว จําเลยยอมยังคงตองผูกพันถือปฏิบัติตามคําสั่งดังกลาว แตการ ที่จําเลยไมยอมรับโจทกที่ ๒ และที่ ๖ กับพวกกลับเขาทํางานตามคําสั่งดังกลาว การแจง ขอเรียกรองเพิ่มเติมรวม ๑๑ ขอตอโจทกที่ ๒ และที่ ๖ กับพวก แลวมีการปดงานตอโจทก ที่ ๒ และที่ ๖ กับพวกตอไป การเรียกตัวโจทกที่ ๒ และที่ ๖ กับพวกไปฝกอบรมหลายครั้ง โดยในระหวางการฝกอบรมนั้นมีการเจรจาตอรองจูงใจใหโจทกที่ ๒ และที่ ๖ กับพวกออก จากงานดวยขอเสนอจะจายเงินชวยเหลือพิเศษตามโครงการสมัครใจลาออกกรณีพิเศษ มีลูกจางบางสวนยอมตาม จนเหลือลูกจางที่ยังประสงคจะกลับเขาทํางานรวมทั้งโจทกที่ ๒ และที่ ๖ เพียง ๑๓ คน การที่จําเลยเพิ่งจัดใหโจทกที่ ๒ และที่ ๖ รายงานตัวกลับเขาทํางาน เมื่อวันที่ ๗ มีนาคม ๒๕๖๑ อันเปนเวลาภายหลังจากคณะกรรมการแรงงานสัมพันธมีคําสั่ง ดังกลาวเปนระยะเวลาเกือบ ๕ ป และในวันเดียวกันก็มีคําสั่งใหปฏิบัติงานกําหนดใหโจทก ที่ ๒ และที่ ๖ ยายไปปฏิบัติงานที่คลังสินคาจังหวัดพระนครศรีอยุธยามีหนาที่ขูดสีทาสี โดยจายคาจางเพียงเดือนละ ๙,๖๐๐ บาท ไมตองตามคําสั่งดังกลาวและมีผลในทาง รอนสิทธิลูกจาง พฤติการณของจําเลยดังกลาวแสดงใหเห็นไดวา จําเลยไมตองการรับลูกจางที่ ถูกเลิกจางกลับเขาทํางานตามคําสั่งของคณะกรรมการแรงงานสัมพันธที่ ๑๑๑-๔๐๖/๒๕๕๖ ทําใหโจทกที่ ๒ และที่ ๖ เสียสิทธิที่จะกลับเขาทํางานในตําแหนงเดิมหรือสิทธิประโยชน อื่นที่พึงไดรับตามกฎหมาย อันเปนการแสวงหาประโยชนโดยอาศัย พ.ร.บ. แรงงานสัมพันธ พ.ศ. ๒๕๑๘ ยอมเปนการขัดตอวัตถุประสงคแหงกฎหมายดังกลาว และยอมเปนการ ใชสิทธิโดยไมสุจริต ไมชอบดวย ป.พ.พ. มาตรา ๕ โจทกที่ ๒ และที่ ๖ ฟองและแกไขคำฟอง ขอใหเพิกถอนหนังสือตกลงและยินยอมรับ สภาพการจางตามที่บริษัทเรียกรอง ลงวันที่ ๗ มีนาคม ๒๕๖๑ และคำสั่งใหปฏิบัติงาน ลงวันที่ ๗ มีนาคม ๒๕๖๑ ใหจำเลยจัดใหโจทกที่ ๒ และที่ ๖ กลับเขาทำงานในตำแหนงหนาที่และสภาพ การจางเดิมที่จังหวัดระยอง ใหไดรับคาจางและสวัสดิการตามที่โจทกที่ ๒ และที่ ๖ เคยไดรับกอน จำเลยใชสิทธิปดงาน โดยใหมีผลนับแตวันที่ ๘ มีนาคม ๒๕๖๑ เปนตนไป พรอมดอกเบี้ยอัตรา รอยละ ๑๕ ตอป นับแตวันผิดนัด และเงินเพิ่มรอยละ ๑๕ ทุกระยะเวลา ๗ วัน นับแตวันครบ กำหนด จนกวาจะชำระเสร็จแกโจทกที่ ๒ และที่ ๖


๓๒๕ จำเลยใหการ ขอใหยกฟอง ศาลแรงงานภาค ๑ พิพากษาใหจำเลยรับโจทกที่ ๒ และที่ ๖ กลับเขาทำงานในตำแหนง หนาที่เดิมหรือเทียบเทาตำแหนงหนาที่เดิมโดยไดรับคาจางสำหรับโจทกที่ ๒ เดือนละไมต่ำกวา ๑๕,๓๔๙ บาท สำหรับโจทกที่ ๖ เดือนละไมต่ำกวา ๑๔,๑๑๘ บาท นับแตวันที่ ๗ มีนาคม ๒๕๖๑ เปนตนไป คำขออื่นนอกจากนี้ใหยก โจทกที่ ๒ ที่ ๖ และจำเลยอุทธรณ ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษแผนกคดีแรงงานวินิจฉัยวา ขอเท็จจริงยุติในชั้นพิจารณา ของศาลแรงงานภาค ๑ และตามที่ศาลแรงงานภาค ๑ รับฟงมาวา เมื่อวันที่ ๑ กรกฎาคม ๒๕๔๗ และวันที่ ๑ ธันวาคม ๒๕๔๕ โจทกที่ ๒ และที่ ๖ ตามลำดับ เขาทำงานเปนลูกจางจำเลย ณ วันที่ ๑๘ มกราคม ๒๕๕๗ โจทกที่ ๒ มีหนาที่พนสีรถยนตไดรับคาจางอัตราสุดทายเดือนละ ๑๕,๓๔๙ บาท และโจทกที่ ๖ มีหนาที่ดูแลระบบสาธารณูปโภคพื้นฐานในการผลิต ไดรับคาจางอัตราสุดทาย เดือนละ ๑๔,๑๑๘ บาท กำหนดจายคาจางทุกวันที่ ๒๘ ของทุกเดือน โจทกที่ ๒ และที่ ๖ เปน สมาชิกสหภาพแรงงานเจนเนอรัลมอเตอรส ประเทศไทย ตอมาวันที่ ๙ และวันที่ ๑๕ มกราคม ๒๕๕๖ สหภาพแรงงานเจนเนอรัลมอเตอรส ประเทศไทย และจำเลยตามลำดับ ยื่นขอเรียกรองขอแกไข เปลี่ยนแปลงขอตกลงเกี่ยวกับสภาพการจาง มีการเจรจาแตไมสามารถตกลงกันไดจนเกิดเปน ขอพิพาทแรงงานที่ตกลงกันไมได สหภาพแรงงานนัดหยุดงานตั้งแตวันที่ ๘ กุมภาพันธ ๒๕๕๖ และจำเลยใชสิทธิปดงานในวันเดียวกัน วันที่ ๑๙ ถึงวันที่ ๒๘ พฤษภาคม ๒๕๖๐ จำเลย เลิกจางโจทกที่ ๒ และที่ ๖ กับพวก โจทกที่ ๒ และที่ ๖ กับพวกยื่นคำรองกลาวหาจำเลยตอ คณะกรรมการแรงงานสัมพันธวาการเลิกจางของจำเลยเปนการกระทำอันไมเปนธรรม คณะกรรมการ แรงงานสัมพันธมีคำสั่งที่ ๑๑๑-๔๐๖/๒๕๕๖ ลงวันที่ ๖ กันยายน ๒๕๕๖ วาจำเลยเลิกจางเพราะเหตุที่ โจทกที่ ๒ และที่ ๖ กับพวกยื่นขอเรียกรอง รวมชุมนุมเปนการฝาฝนพระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ พ.ศ. ๒๕๑๘ มาตรา ๑๒๑ (๑) จึงสั่งใหจำเลยรับโจทกที่ ๒ และที่ ๖ กับพวกกลับเขาทำงานใน ตำแหนงหนาที่เดิมและจายคาเสียหายเทากับคาจางอัตราสุดทายนับแตวันเลิกจางถึงวันรับกลับ เขาทำงานตามสำเนาคำสั่ง แตจำเลยไมรับโจทกที่ ๒ และที่ ๖ กับพวกกลับเขาทำงาน วันที่ ๗ พฤศจิกายน ๒๕๕๖ จำเลยแจงขอเรียกรองขอเปลี่ยนแปลงขอตกลงเกี่ยวกับสภาพการจางรวม ๑๑ ขอ ลงวันที่ ๗ พฤศจิกายน ๒๕๕๖ ตอโจทกที่ ๒ และที่ ๖ กับพวก ตามสำเนาหนังสือ พรอมทั้ง แจงชื่อผูแทนเจรจาฝายจำเลย ๔ คน แตโจทกที่ ๒ และที่ ๖ กับพวกไมไดตั้งผูแทนเขารวมการ เจรจาขอเรียกรองและระงับขอพิพาทแรงงานตามที่กฎหมายกำหนด กลายเปนขอพิพาทแรงงาน ที่ตกลงกันไมไดจำเลยจึงใชสิทธิปดงานตั้งแตวันที่ ๑๘ มกราคม ๒๕๕๗ เปนตนมา ตามสำเนา


๓๒๖ หนังสือ เรื่อง ประกาศปดงาน วันที่ ๖ พฤศจิกายน ๒๕๖๐ โจทกที่ ๒ และที่ ๖ กับพวกยื่นหนังสือ ถึงจำเลยยอมรับขอเรียกรองของจำเลยโดยไมมีเงื่อนไขและขอกลับเขาทำงาน แตจำเลยยังคง ไมรับกลับเขาทำงาน วันที่ ๒๒ ธันวาคม ๒๕๖๐ โจทกที่ ๒ และที่ ๖ กับพวกยื่นคำรองตอ คณะกรรมการแรงงานสัมพันธ ขอใหมีคำสั่งใหจำเลยรับโจทกที่ ๒ และที่ ๖ กับพวกกลับเขาทำงาน ในตำแหนงหนาที่และสภาพการจางเดิม วันที่ ๗ กุมภาพันธ ๒๕๖๑ คณะกรรมการแรงงานสัมพันธ มีคำสั่งที่ ๒๗-๙๒/๒๕๖๑ ใหจำเลยรับโจทกที่ ๒ และที่ ๖ กับพวกกลับเขาทำงานและจาย คาเสียหายเทากับคาจางอัตราสุดทายนับแตวันที่ ๘ พฤศจิกายน ๒๕๖๐ จนถึงวันรับกลับเขาทำงาน ตามสำเนาคำสั่งวันที่ ๒ มีนาคม ๒๕๖๑ จำเลยมีหนังสือแจงโจทกที่ ๒ กับพวกใหรายงานตัวเพื่อ กลับเขาทำงานในวันที่ ๖ มีนาคม ๒๕๖๑ ณ กองพันทหารปนใหญที่ ๒๑ แตจำเลยยกเลิกวันนัด และนัดใหมเปนวันที่ ๗ มีนาคม ๒๕๖๑ ที่สนามพัฒนากอลฟคลับแอนดรีสอรท ซึ่งโจทกที่ ๒ กับพวก ไปรายงานตัวตามกำหนดวันที่ ๗ มีนาคม ๒๕๖๑ ในวันดังกลาวจำเลยทำหนังสือตกลงและ ยินยอมรับสภาพการจางตามที่บริษัทเรียกรองใหลูกจางที่ขอกลับเขาทำงานลงลายมือชื่อ และมี คำสั่งใหปฏิบัติงานใหโจทกที่ ๒ และที่ ๖ ไปปฏิบัติงานที่คลังสินคาจังหวัดพระนครศรีอยุธยา มีหนาที่ขูดสี ทาสี ไดรับคาจางเดือนละ ๙,๖๐๐ บาท ระหวางวันที่ ๗ ถึงวันที่ ๑๔ มีนาคม ๒๕๖๑ จำเลยสั่งใหโจทกที่ ๒ กับพวกเขารับการฝกอบรมกอนเขาทำงานและทดสอบหลายครั้ง แตละครั้ง จำเลยแจงขอเสนอสำหรับลูกจางที่ไมประสงคจะทำงานตอไป จะไดรับเงินชวยเหลือพิเศษ ซึ่งมี ลูกจางบางคนยอมรับขอเสนอ คงเหลือลูกจางที่ยังประสงคกลับเขาทำงานรวมโจทกที่ ๒ และที่ ๖ แลวทั้งสิ้น ๑๓ คนแลววินิจฉัยวา โจทกที่ ๒ และที่ ๖ ฟองกลาวหาวา จำเลยเปลี่ยนแปลงสภาพ การจางที่ไมเปนคุณกรณีไมจำตองยื่นคำรองตอคณะกรรมการแรงงานสัมพันธภายใน ๖๐ วัน นับแตวันที่มีการฝาฝนตามพระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ พ.ศ. ๒๕๑๘ มาตรา ๑๒๔ โจทกที่ ๒ และ ที่ ๖ จึงมีอำนาจฟองคดีนี้การที่จำเลยมีคำสั่งใหโจทกที่ ๒ และที่ ๖ ไปปฏิบัติงานที่คลังสินคา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา มีหนาที่ขูดสีเกา ทาสีใหม ทาสีโครงหลังคา ไดรับคาจางเพียงเดือนละ ๙,๖๐๐ บาท แตกตางจากเดิมเปนการลดตำแหนงและลดคาจางของโจทกที่ ๒ และที่ ๖ โดยโจทก ที่ ๒ และที่ ๖ ไมยินยอม ถือวาเปนการเปลี่ยนแปลงสภาพการจางที่ไมเปนคุณแกโจทกที่ ๒ และ ที่ ๖ เปนการไมชอบดวยพระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ พ.ศ. ๒๕๑๘ มาตรา ๕ และเห็นสมควร กำหนดใหจำเลยรับโจทกที่ ๒ และที่ ๖ กลับเขาทำงานในตำแหนงหนาที่เดิมหรือเทียบเทาตำแหนง หนาที่เดิม โดยไดรับคาจางไมนอยกวาคาจางอัตราสุดทายสำหรับโจทกที่ ๒ เดือนละ ๑๕,๓๔๙ บาท และโจทกที่ ๖ เดือนละ ๑๔,๑๑๘ บาท นับแตวันที่ ๗ มีนาคม ๒๕๖๑ เปนตนไป สำหรับคำขอ ที่ใหโจทกที่ ๒ และที่ ๖ ปฏิบัติหนาที่ในทองที่จังหวัดระยองและเพิกถอนหนังสือตกลงและยินยอม


๓๒๗ รับสภาพการจางตามที่บริษัทเรียกรองและคำสั่งใหปฏิบัติงาน ลงวันที่ ๗ มีนาคม ๒๕๖๑ นั้น จำเลยสามารถโยกยายสถานที่ทำงานของโจทกที่ ๒ และที่ ๖ ตามขอเรียกรองของจำเลยที่โจทก ที่ ๒ และที่ ๖ เคยใหการยอมรับไวกอนแลวได กรณีไมจำตองเพิกถอนหนังสือตกลงและยินยอม รับสภาพการจางตามที่บริษัทเรียกรองและคำสั่งใหปฏิบัติงาน ลงวันที่ ๗ มีนาคม ๒๕๖๑ สวน คำขอดอกเบี้ยอัตรารอยละ ๑๕ ตอป และเงินเพิ่มรอยละ ๑๕ ทุกระยะเวลา ๗ วันนั้น เมื่อไมใช กรณีที่นายจางจงใจไมจายคาจางตามพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา ๙ จึงไมกำหนดให คดีมีปญหาตองวินิจฉัยตามอุทธรณของจำเลยวา โจทกที่ ๒ และที่ ๖ มีอำนาจฟอง หรือไม เห็นวา แมคำฟองของโจทกที่ ๒ และที่ ๖ จะบรรยายฟองไวตอนหนึ่งวา การกระทำของ จำเลยกระทบสิทธิของโจทกที่ ๒ และที่ ๖ เปนการกระทำใด ๆ ใหโจทกที่ ๒ และที่ ๖ ไมสามารถ ทนทำงานอยูตอไปได เพราะเหตุที่ลูกจางซึ่งเปนสมาชิกสหภาพแรงงานนัดชุมนุม ทำคำรอง ยื่นขอเรียกรอง เจรจา หรือดำเนินการฟองรอง หรือเปนพยานหรือใหหลักฐานตอพนักงานเจาหนาที่ ตามกฎหมายวาดวยการคุมครองแรงงานก็ตาม แตก็ไดบรรยายฟองไวดวยวา จำเลยทำสัญญา จางแรงงานกับลูกจางที่เปนสมาชิกสหภาพแรงงานรวมทั้งโจทกที่ ๒ และที่ ๖ ขัดหรือแยงกับ ขอตกลงเกี่ยวกับสภาพการจางเนื่องจากสัญญาจางแรงงานที่จำเลยทำไมเปนคุณยิ่งกวาแกโจทก ที่ ๒ และที่ ๖ และไมตรงตามขอเรียกรองที่โจทกที่ ๒ และที่ ๖ รับขอเสนอของจำเลย โดยจำเลย ปรับลดคาจางของโจทกที่ ๒ และที่ ๖ เหลือเพียงเดือนละ ๙,๖๐๐ บาท สวัสดิการอื่น ๆ ยกเลิก ทั้งหมด ยายสถานที่ทำงานและตำแหนงหนาที่งาน ทำใหจำเลยไดเปรียบสมาชิกสหภาพแรงงาน รวมทั้งโจทกที่ ๒ และที่ ๖ เกินสมควร ขอใหเพิกถอนหนังสือตกลงและยินยอมรับสภาพการจาง ตามที่บริษัทเรียกรอง ลงวันที่ ๗ มีนาคม ๒๕๖๑ และคำสั่งใหปฏิบัติงาน ลงวันที่ ๗ มีนาคม ๒๕๖๑ อันเปนการกลาวหาวาจำเลยทำสัญญาจางแรงงานขัดหรือแยงกับขอตกลงเกี่ยวกับสภาพการจาง ตามขอเรียกรองของจำเลยที่โจทกที่ ๒ และที่ ๖ ยอมรับ โดยไมเปนคุณยิ่งกวาแกโจทกที่ ๒ และ ที่ ๖ ทั้งเปนสัญญาจางแรงงานหรือคำสั่งของนายจางที่ทำใหนายจางไดเปรียบสหภาพแรงงาน รวมทั้งโจทกที่ ๒ และที่ ๖ เกินสมควร ซึ่งไมมีกฎหมายบัญญัติใหโจทกตองยื่นคำรองตอพนักงาน เจาหนาที่หรือปฏิบัติตามขั้นตอนและวิธีการอยางใดกอนที่จะดำเนินการฟองรองในศาลแรงงาน โจทกที่ ๒ และที่ ๖ มีอำนาจฟองจำเลยเปนคดีนี้ไดโดยไมตองยื่นคำรองกลาวหาจำเลยตอ คณะกรรมการแรงงานสัมพันธตามพระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ พ.ศ. ๒๕๑๘ มาตรา ๑๒๔ กอน ที่ศาลแรงงานภาค ๑ วินิจฉัยวา โจทกมีอำนาจฟองนั้นชอบแลว อุทธรณของจำเลยขอนี้ฟงไมขึ้น


๓๒๘ มีปญหาตองวินิจฉัยตามอุทธรณของโจทกที่ ๒ และที่ ๖ กับจำเลยวา ศาลแรงงานภาค ๑ พิพากษาใหจำเลยรับโจทกที่ ๒ และที่ ๖ กลับเขาทำงานในตำแหนงหนาที่เดิมหรือเทียบเทา ตำแหนงหนาที่เดิมโดยไดรับคาจางไมนอยกวาคาจางอัตราสุดทายสำหรับโจทกที่ ๒ เดือนละ ๑๕,๓๔๙ บาท และโจทกที่ ๖ เดือนละ ๑๔,๑๑๘ บาท นับแตวันที่ ๗ มีนาคม ๒๕๖๑ โดยไม เพิกถอนหนังสือตกลงและยินยอมรับสภาพการจางตามที่บริษัทเรียกรอง ลงวันที่ ๗ มีนาคม ๒๕๖๑ และคำสั่งใหปฏิบัติงาน ลงวันที่ ๗ มีนาคม ๒๕๖๑ เปนการชอบหรือไม และโจทกใชสิทธิโดยสุจริต หรือไม เห็นวา เมื่อคณะกรรมการแรงงานสัมพันธมีคำสั่งใหจำเลยรับโจทกที่ ๒ และที่ ๖ กับพวก รวม ๒๙๖ คน กลับเขาทำงานในตำแหนงหนาที่เดิมและจายคาเสียหายเทากับคาจางอัตราสุดทาย นับแตวันเลิกจางจนถึงวันรับกลับเขาทำงาน ตามคำสั่งคณะกรรมการแรงงานสัมพันธที่ ๑๑๑-๔๐๖/๒๕๕๖ ทั้งฝายนายจางและลูกจางจะตองปฏิบัติตามคำวินิจฉัยชี้ขาดของคณะกรรมการแรงงานสัมพันธ ดังกลาว แมจำเลยซึ่งเปนนายจางจะไมพอใจคำสั่งและมีอำนาจฟองตอศาลแรงงานขอใหเพิกถอน หรือแกไขเปลี่ยนแปลงคำสั่งของคณะกรรมการแรงงานสัมพันธได แตตราบใดที่ศาลแรงงาน ยังไมเพิกถอนหรือแกไขเปลี่ยนแปลงคำสั่งดังกลาว จำเลยยอมยังคงตองผูกพันถือปฏิบัติ ตามคำสั่งดังกลาว การที่จำเลยไมรับโจทกที่ ๒ และที่ ๖ กับพวกรวม ๒๙๖ คน กลับเขาทำงาน ทั้งยังใชสิทธิเลือกปฏิบัติตอลูกจางบางสวนดวยการแจงขอเรียกรองขอเปลี่ยนแปลงขอตกลงเกี่ยวกับ สภาพการจางรวม ๑๑ ขอ ลงวันที่ ๗ พฤศจิกายน ๒๕๕๖ ตอโจทกที่ ๒ และที่ ๖ กับพวก ดังกลาว จนกลายเปนขอพิพาทแรงงานที่ตกลงกันไมได แลวจำเลยปดงานตอโจทกที่ ๒ และที่ ๖ กับพวก อีกครั้งตั้งแตวันที่ ๑๘ มกราคม ๒๕๕๗ เปนตนมาเปนระยะเวลาอีก ๓ ปเศษ จนเมื่อวันที่ ๖ พฤศจิกายน ๒๕๖๐ โจทกที่ ๒ และที่ ๖ กับพวกรวม ๖๖ คน ยื่นหนังสือถึงจำเลยยอมรับขอเรียกรอง ของจำเลยโดยไมมีเงื่อนไขและขอกลับเขาทำงาน เพื่อใหจำเลยรับโจทกที่ ๒ และที่ ๖ กับพวก กลับเขาทำงานตามคำสั่งของคณะกรรมการแรงงานสัมพันธ แตจำเลยยังคงไมรับกลับเขาทำงาน เปนเหตุใหโจทกที่ ๒ และที่ ๖ กับพวกตองยื่นคำรองตอคณะกรรมการแรงงานสัมพันธขอใหมี คำสั่งใหจำเลยรับโจทกที่ ๒ และที่ ๖ กับพวกกลับเขาทำงานในตำแหนงหนาที่และสภาพ การจางเดิมอีกครั้ง และแมคณะกรรมการแรงงานสัมพันธมีคำสั่งที่ ๒๗-๙๒/๒๕๖๑ ตามสำเนาคำสั่ง สั่งใหจำเลยรับโจทกที่ ๒ และที่ ๖ กับพวกกลับเขาทำงาน และจายคาเสียหายเทากับคาจางอัตรา สุดทายนับแตวันที่ ๘ พฤศจิกายน ๒๕๖๐ จนถึงวันรับกลับเขาทำงานก็ตาม แตจำเลยก็ยังทำ หนังสือตกลงและยินยอมรับสภาพการจางตามที่บริษัทเรียกรองกำหนดใหลูกจางที่จะขอกลับ เขาทำงานตองลงลายมือชื่อเสียกอน และมีคำสั่งใหปฏิบัติงานกำหนดใหโจทกที่ ๒ และที่ ๖ ไป ปฏิบัติงานที่คลังสินคาจังหวัดพระนครศรีอยุธยา มีหนาที่ขูดสี ทาสี ไดรับคาจางเดือนละ ๙,๖๐๐ บาท


๓๒๙ ดังนี้ ไมวาโจทกที่ ๒ และที่ ๖ จะไดลงลายมือชื่อในหนังสือตกลงและยินยอมรับสภาพการจาง ตามที่บริษัทเรียกรองหรือไมก็ตาม แตการที่จำเลยไมยอมรับโจทกที่ ๒ และที่ ๖ กับพวกซึ่งถูก จำเลยเลิกจางกลับเขาทำงานตามคำสั่งคณะกรรมการแรงงานสัมพันธที่ ๑๑๑-๔๐๖/๒๕๕๖ ก็ดี การแจงขอเรียกรองเพิ่มเติมรวม ๑๑ ขอตอโจทกที่ ๒ และที่ ๖ กับพวก ตามสำเนาหนังสือแลวมี การปดงานตอโจทกที่ ๒ และที่ ๖ กับพวกตอไปก็ดี การเรียกตัวโจทกที่ ๒ และที่ ๖ กับพวกไป ฝกอบรมหลายครั้งโดยในระหวางการฝกอบรมนั้นมีการเจรจาตอรองจูงใจใหโจทกที่ ๒ และที่ ๖ กับพวกออกจากงานดวยขอเสนอจะจายเงินชวยเหลือพิเศษตามโครงการสมัครใจลาออกกรณี พิเศษ มีลูกจางบางสวนยอมตาม จนเหลือลูกจางที่ยังประสงคจะกลับเขาทำงานรวมทั้งโจทกที่ ๒ และที่ ๖ เพียง ๑๓ คน ก็ดี การที่จำเลยเพิ่งจัดใหโจทกที่ ๒ และที่ ๖ รายงานตัวกลับเขาทำงาน เมื่อวันที่ ๗ มีนาคม ๒๕๖๑ อันเปนเวลาภายหลังจากคณะกรรมการแรงงานสัมพันธมีคำสั่งที่ ๑๑๑-๔๐๖/๒๕๕๖ ลงวันที่ ๖ กันยายน ๒๕๕๖ เปนระยะเวลาเกือบ ๕ ป ก็ดี และในวันเดียวกัน ก็มีคำสั่งใหปฏิบัติงาน ลงวันที่ ๗ มีนาคม ๒๕๖๑ กำหนดใหโจทกที่ ๒ และที่ ๖ ยายไปปฏิบัติงาน ที่คลังสินคาจังหวัดพระนครศรีอยุธยามีหนาที่ขูดสี ทาสี โดยจายคาจางเพียงเดือนละ ๙,๖๐๐ บาท ไมตองตามคำสั่งคณะกรรมการแรงงานสัมพันธที่ ๑๑๑-๔๐๖/๒๕๕๖ และมีผลในทางรอนสิทธิ ลูกจางก็ดี พฤติการณของจำเลยดังกลาวแสดงใหเห็นไดวา จำเลยไมตองการรับลูกจางที่ถูกเลิกจาง กลับเขาทำงานตามคำสั่งของคณะกรรมการแรงงานสัมพันธที่ ๑๑๑-๔๐๖/๒๕๕๖ ทำใหโจทก ที่ ๒ และที่ ๖ เสียสิทธิที่จะกลับเขาทำงานในตำแหนงเดิมหรือสิทธิประโยชนอื่นที่พึงไดรับตาม กฎหมาย เปนการแสวงหาประโยชนโดยอาศัยพระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ พ.ศ. ๒๕๑๘ ยอมเปน การขัดตอวัตถุประสงคแหงกฎหมายดังกลาว และยอมเปนการใชสิทธิโดยไมสุจริต ไมชอบดวย ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา ๕ และยังเปนผลใหจำเลยไมอาจอางเหตุที่จำเลยฟองขอ เพิกถอนหรือแกไขเปลี่ยนแปลงคำสั่งของคณะกรรมการแรงงานสัมพันธที่ ๑๑๑-๔๐๖/๒๕๕๖ และคดีอยูระหวางการพิจารณาของศาลฎีกา เพื่อใหจำเลยไดรับสิทธิประโยชนตาง ๆ มาแจง ขอเรียกรองและเจรจาตอรองการขอกลับเขาทำงานของโจทกที่ ๒ และที่ ๖ ได คำสั่งจำเลยให โจทกที่ ๒ และที่ ๖ ไปปฏิบัติงานหนาที่ ขูดสี ทาสี อัตราคาจางเดือนละ ๙,๖๐๐ บาท จึงไมผูกพัน โจทกที่ ๒ และที่ ๖ โดยไมจำตองเพิกถอนหนังสือตกลงและยินยอมรับสภาพการจางตามที่จำเลย เรียกรอง ลงวันที่ ๗ มีนาคม ๒๕๖๑ และคำสั่งใหปฏิบัติงาน ลงวันที่ ๗ มีนาคม ๒๕๖๑ หากแต จำเลยยังผูกพันตองรับโจทกที่ ๒ และที่ ๖ กลับเขาทำงานในตำแหนงหนาที่เดิมและจายคาเสียหาย เทากับคาจางอัตราสุดทายนับแตวันเลิกจางจนถึงวันรับกลับเขาทำงานตามคำสั่งคณะกรรมการ แรงงานสัมพันธที่ ๑๑๑-๔๐๖/๒๕๕๖ กลาวคือ ในการรับโจทกที่ ๒ และที่ ๖ กลับเขาทำงาน


๓๓๐ เมื่อวันที่ ๗ มีนาคม ๒๕๖๑ จำเลยตองมอบหมายงานใหโจทกที่ ๒ และที่ ๖ ทำในตำแหนงหนาที่เดิม หรือเทียบเทาตำแหนงหนาที่เดิมโดยไดรับคาจางไมนอยกวาคาจางอัตราสุดทายกอนถูกเลิกจาง สำหรับโจทกที่ ๒ เดือนละ ๑๕,๓๔๙ บาท และโจทกที่ ๖ เดือนละ ๑๔,๑๑๘ บาท ปญหาเกี่ยวกับ การใชสิทธิโดยไมสุจริตเปนขอกฎหมายอันเกี่ยวดวยความสงบเรียบรอยของประชาชน แมคูความ จะมิไดยกขึ้นวากันมาแลวในศาลแรงงานภาค ๑ โจทกที่ ๒ และที่ ๖ ยอมมีสิทธิยกขึ้นอุทธรณได ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพง มาตรา ๒๒๕ วรรคสอง ประกอบพระราชบัญญัติ จัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๕๗ ที่ศาลแรงงานภาค ๑ วินิจฉัยคดีสวนนี้มานั้น ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษเห็นพองดวยในผล อุทธรณของโจทกที่ ๒ และที่ ๖ ขอนี้ฟงขึ้น สวนอุทธรณของจำเลยขอนี้ฟงไมขึ้น สวนที่โจทกที่ ๒ และที่ ๖ อุทธรณวา หนังสือตกลงและยินยอมรับสภาพการจางตามที่ บริษัทเรียกรอง ลงวันที่ ๗ มีนาคม ๒๕๖๑ และคำสั่งใหปฏิบัติงานของจำเลย ลงวันที่ ๗ มีนาคม ๒๕๖๑ ขัดและแยงตอขอเรียกรองของจำเลยที่ขอเปลี่ยนแปลงขอตกลงเกี่ยวกับสภาพการจาง ลงวันที่ ๗ พฤศจิกายน ๒๕๕๖ ไมเปนคุณยิ่งกวาแกโจทกที่ ๒ และที่ ๖ ทำใหจำเลยไดเปรียบ โจทกที่ ๒ และที่ ๖ กับสมาชิกสหภาพแรงงานเกินสมควร จึงมีเหตุใหเพิกถอนเอกสารทั้งสองฉบับ ดังกลาว และที่จำเลยอุทธรณวา ศาลแรงงานกลางรับฟงขอเท็จจริงขัดตอพยานหลักฐานในสำนวน เนื่องจากโจทกที่ ๒ และโจทกที่ ๖ ไมไดลงชื่อในหนังสือตกลงและยินยอมรับสภาพการจางตาม ที่จำเลยเรียกรอง ลงวันที่ ๗ มีนาคม ๒๕๖๑ นั้น เห็นวา เมื่อวินิจฉัยวา โจทกที่ ๒ และที่ ๖ จะได ลงชื่อในหนังสือตกลงและยินยอมรับสภาพการจางตามที่บริษัทเรียกรองหรือไมก็ตาม การที่จำเลย ไมยอมรับโจทกที่ ๒ และที่ ๖ กับพวกซึ่งถูกจำเลยเลิกจางกลับเขาทำงานอันเปนการไมถือปฏิบัติ ตามคำสั่งของคณะกรรมการแรงงานสัมพันธที่ ๑๑๑-๔๐๖/๒๕๕๖ และพฤติการณตอเนื่องภายหลัง จากนั้นของจำเลยเพื่อจะไมตองรับโจทกที่ ๒ และที่ ๖ กับพวกซึ่งถูกจำเลยเลิกจางกลับเขาทำงาน ตามคำสั่งดังกลาวเปนการใชสิทธิโดยไมสุจริต กับคำสั่งใหปฏิบัติงานของจำเลยที่จำเลยสั่งใหโจทก ที่ ๒ และที่ ๖ ไปปฏิบัติงานหนาที่ขูดสี ทาสี อัตราคาจางเดือนละ ๙,๖๐๐ บาท ไมผูกพันโจทก ที่ ๒ และที่ ๖ โดยไมจำตองเพิกถอนแลว อุทธรณของโจทกที่ ๒ และที่ ๖ กับอุทธรณของจำเลย ดังกลาว จึงไมทำใหผลของคำพิพากษาเปลี่ยนแปลงไป ถือเปนอุทธรณที่ไมเปนสาระแกคดีอันควร ไดรับการวินิจฉัย ซึ่งตองหามมิใหอุทธรณตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพง มาตรา ๒๒๕ วรรคหนึ่ง ประกอบพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแรงงานและวิธีการพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๕๔ วรรคหนึ่ง ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษไมรับวินิจฉัย


๓๓๑ สำหรับอุทธรณของโจทกที่ ๒ และที่ ๖ ที่ขอใหจำเลยจายดอกเบี้ยตามคำขอทายฟอง แกโจทกที่ ๒ และโจทกที่ ๖ นั้น เห็นวา โจทกที่ ๒ และที่ ๖ มิไดกลาวอางวา คำพิพากษา ศาลแรงงานภาค ๑ ในเรื่องดอกเบี้ยไมถูกตองอยางไร และจำเลยตองจายดอกเบี้ยเพราะเหตุใด จึงเปนอุทธรณที่มิไดกลาวไวโดยชัดแจง ไมชอบดวยประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพง มาตรา ๒๒๕ วรรคหนึ่ง ประกอบพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแรงงานและวิธีการพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๕๔ วรรคหนึ่ง ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษไมรับวินิจฉัยอีกเชนกัน พิพากษายืน. (อนันต คงบริรักษ - วัฒนา สุขประดิษฐ - สุวรรณา แกวบุตตา) วิฑูรย ตรีสุนทรรัตน - ยอ สุโรจน จันทรพิทักษ - ตรวจ


๓๓๒ คำพิพากษาศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษที่ ๖๙๓๖ - ๖๙๓๗/๒๕๖๒ นายธันยาภัทร เอมตี่ กับพวก โจทก บริษัทกรุป เดอะทัช ๙๙ จํากัด จำเลย พ.ร.บ. คุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา ๑๑๙ (๔) พ.ร.บ. แรงงานสัมพันธ พ.ศ. ๒๕๑๘ มาตรา ๓๔, ๑๓๔ โจทกที่ ๑ และที่ ๓ ไปชุมนุมกันที่หนาบริษัทจำเลยโดยไมไดแจงขอเรียกรองตาม กฎหมาย และไมไดเขาทำงานในวันที่ไปชุมนุม มีผลกระทบกระเทือนตอกิจการของจำเลย มิใหดำเนินไปไดตามปกติทำใหจำเลยขาดรายได ซึ่งเห็นไดอยูในตัววาจำเลยยอมไดรับ ความเสียหาย จึงถือวาโจทกที่ ๑ และที่ ๓ จงใจทำใหจำเลยไดรับความเสียหาย ทั้ง การชุมนุมกันหนาบริษัทจำเลยและหยุดงานโดยไมชอบดวยกฎหมายทั้งที่กอนหนานั้น จำเลยมีคำสั่งไมใหลูกจางมาชุมนุมและหยุดงานโดยไมชอบดวยกฎหมายดังกลาว ยอมเปน การฝาฝนตอ พ.ร.บ. แรงงานสัมพันธฯ มาตรา ๓๔ ซี่งมีโทษอาญาตามมาตรา ๑๓๔ จึงเปน กรณีรายแรง และยอมถือเปนการฝาฝนขอบังคับเกี่ยวกับการทำงาน ระเบียบ หรือคำสั่ง ของนายจางอันชอบดวยกฎหมายและเปนธรรมกรณีที่รายแรง โจทกทั้งสามฟอง ขอใหบังคับจำเลยชำระคาจางคางจาย คาชดเชย สินจางแทนการ บอกกลาวลวงหนา และคาเสียหายจากการเลิกจางที่ไมเปนธรรม พรอมดอกเบี้ยแกโจทกทั้งสาม จำเลยใหการในสำนวนที่หนึ่งและที่สาม ขอใหยกฟอง จำเลยใหการในสำนวนที่สอง ขอใหยกฟอง ศาลแรงงานกลาง พิพากษายกฟองโจทกทั้งสาม โจทกที่ ๑ และที่ ๓ อุทธรณ ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษแผนกคดีแรงงานวินิจฉัยวา ศาลแรงงานกลางรับฟงขอเท็จจริง และวินิจฉัยวา โจทกที่ ๑ และที่ ๓ เปนลูกจางจำเลย โดยโจทกที่ ๑ ทำงานในตำแหนงผูจัดการเขต โจทกที่ ๓ ทำงานในตำแหนงผูจัดการสาขา จำเลยไมไดคางจายคาจางของโจทกทั้งสามใน เดือนมิถุนายน ๒๕๖๑ โจทกที่ ๑ และที่ ๓ กับลูกจางฝายขายคนอื่น ๆ มีความสงสัย ทุกขใจหรือ


๓๓๓ ไมพอใจที่จำเลยมีคำสั่งปลดนายปฏฐกรณ หัวหนาฝายขายหรือผูบังคับบัญชาสายงานฝายขาย เมื่อวันที่ ๒๑ มิถุนายน ๒๕๖๑ โจทกที่ ๑ และที่ ๓ เปนแกนนำลูกจางฝายขายของจำเลยไปชุมนุม ที่สำนักงานใหญจำเลยโดยไมไดแจงขอเรียกรองตามกฎหมาย เปนเหตุใหลูกจางฝายขายของ จำเลยที่มาเขารวมชุมนุมไมไดเขาทำงานในระหวางชุมนุมในวันดังกลาว อันสงผลกระทบกระเทือน ตอกิจการของจำเลยมิใหดำเนินการไดตามปกติ ทำใหจำเลยขาดรายได ทั้งที่กอนหนานั้นจำเลย มีคำสั่งแจงใหลูกจางทุกคนทราบทั่วกันแลวมิใหมีการชุมนุม อันเปนการออกคำสั่งที่ชอบดวย กฎหมาย การกระทำของโจทกที่ ๑ และที่ ๓ เปนการกระทำที่เปนปฏิปกษกับจำเลย มิใชเปน การกระทำโดยมีเจตนาสุจริตในการสอบถามถึงสาเหตุของการที่จำเลยมีคำสั่งปลดนายปฏฐกรณ ถือเปนการฝาฝนขอบังคับเกี่ยวกับการทำงานหรือระเบียบหรือคำสั่งของนายจางอันชอบดวย กฎหมายและเปนธรรมกรณีรายแรง เปนการจงใจทำใหนายจางไดรับความเสียหาย มีปญหาตองวินิจฉัยวา โจทกที่ ๑ และที่ ๓ ฝาฝนขอบังคับเกี่ยวกับการทำงานระเบียบ หรือคำสั่งของนายจางอันชอบดวยกฎหมายและเปนธรรมกรณีที่รายแรง และจงใจทำใหนายจาง ไดรับความเสียหายหรือไม เห็นวา การที่โจทกที่ ๑ และโจทกที่ ๓ ละทิ้งหนาที่ไปชุมนุมกันที่หนา บริษัทจำเลยโดยไมไดแจงขอเรียกรองตามกฎหมาย และไมไดเขาทำงานในวันที่ไปชุมนุมยอมมี ผลกระทบกระเทือนตอกิจการของจำเลยมิใหดำเนินไปไดตามปกติ ทำใหจำเลยขาดรายได ซึ่งเห็น ไดอยูในตัววาจำเลยยอมไดรับความเสียหาย จึงถือไดวาโจทกที่ ๑ และที่ ๓ จงใจทำใหจำเลยได รับความเสียหาย ทั้งการชุมนุมกันหนาบริษัทจำเลยและหยุดงานโดยไมชอบดวยกฎหมายทั้งที่ กอนหนานั้น จำเลยมีคำสั่งมิใหลูกจางมาชุมนุมและหยุดงานโดยไมชอบดวยกฎหมายดังกลาว ยอมเปนการฝาฝนตอพระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ พ.ศ. ๒๕๑๘ มาตรา ๓๔ ซึ่งมีโทษทาง อาญาตามมาตรา ๑๓๔ จึงเปนกรณีรายแรง ยอมถือเปนการฝาฝนขอบังคับเกี่ยวกับการทำงาน ระเบียบ หรือคำสั่งของนายจางอันชอบดวยกฎหมายและเปนธรรมกรณีที่รายแรง ที่ศาลแรงงานกลาง พิพากษายกฟองโจทกทั้งสามมานั้น ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษเห็นพองดวย อุทธรณของ โจทกที่ ๑ และที่ ๓ ขอนี้ฟงไมขึ้น สวนอุทธรณขออื่นไมจำตองวินิจฉัยเพราะไมทำใหผลคดี เปลี่ยนแปลง พิพากษายืน. (สัญชัย ลิ่มไพบูลย - ชาตรี หาญไพโรจน - ยุคนธร พาณิชปฐมพงษ) วิฑูรย ตรีสุนทรรัตน - ยอ สุโรจน จันทรพิทักษ - ตรวจ


๓๓๔ คำพิพากษาศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษที่ ๑๐๐๘/๒๕๖๓ บริษัทมิตซูบิชิ อีเล็คทริค คอนซูมเมอร โปรดักส (ประเทศไทย) จำกัด โจทก คณะกรรมการ แรงงานสัมพันธ จำเลย นายเชิด นามสงคราม กับพวก จำเลยรวม พ.ร.บ. แรงงานสัมพันธ พ.ศ. ๒๕๑๘ มาตรา ๔๑, ๑๒๑, ๑๒๕ การที่จำเลยมีคำสั่งใหโจทกจัดใหจำเลยรวมทั้งสองเขาทำงานและมอบหมายงาน ใหในตำแหนงเดิมหรือไมต่ำกวาเดิม เปนการใชอำนาจของคณะกรรมการแรงงานสัมพันธ ในกรณีที่เห็นวาการกระทำของนายจางเปนการกระทำอันไมเปนธรรม ตาม พ.ร.บ. แรงงานสัมพันธ พ.ศ. ๒๕๑๘ มาตรา ๔๑ (๔) ประกอบมาตรา ๑๒๕ หาใชเปนการกาวลวง เขาไปใชสิทธิบริหารกิจการตามปกติของโจทกไม โจทกกับจำเลยรวมทั้งสองมีนิติสัมพันธตอกันตามสัญญาจางแรงงาน ซึ่งเปน สัญญาตางตอบแทนที่นายจางและลูกจางจะตองปฏิบัติการชำระหนี้ตอบแทนซึ่งกันและกัน กลาวคือ ลูกจางมีหนาที่ทำงานใหแกนายจาง และนายจางมีหนาที่จายคาจางตอบแทน ตลอดเวลาที่ลูกจางทำงานให ดังนั้น แมโจทกในฐานะนายจางจะมีสิทธิบังคับบัญชาและ บริหารงานภายในของตนดวยการไมมอบหมายงานใหแกผูกลาวหาและจำเลยรวมทั้งสอง ซึ่งเปนลูกจาง โดยที่ยังคงจายคาจางและสวัสดิการใหลูกจางตามสิทธิที่จะไดรับก็ตาม แตการใชสิทธิเชนวานั้นจะตองเปนไปโดยสุจริตและไมขัดตอวัตถุประสงคของ การจางแรงงานดวย โจทกไมใหจำเลยรวมทั้งสองเขามาทำงานและไมมอบหมายงานใหทำตั้งแต ปดงานตลอดมาเปนเวลานานถึง ๙ เดือน นับวาเนิ่นนานเกินกวาการพิจารณาหาตำแหนง งานใหตามปกติมาก ทั้งนี้เพราะจำเลยรวมทั้งสองตางก็มีตำแหนงงานเดิมอยูแลว โดยไม ปรากฏวาจำเลยรวมทั้งสองมีความบกพรองในการทำงานหรือความสามารถไมเหมาะสม ถึงขนาดตองเปลี่ยนตำแหนงงานใหม พฤติการณแสดงวา โจทกมิไดประสงคที่จะใหจำเลยรวม ทั้งสองทำงานใหตามวัตถุประสงคของสัญญาจางที่มีตอกัน แตมีเจตนากลั่นแกลง


๓๓๕ ใหจำเลยรวมทั้งสองไดรับความเสียหายขาดความกาวหนาเนื่องจากไมมีผลงาน และ ละอายใจจนไมสามารถทนทำงานอยูตอไปไดเพราะเหตุความไมพอใจที่จำเลยรวมทั้งสอง เปนสมาชิกสหภาพแรงงานที่เกี่ยวของกับขอเรียกรองและนัดชุมนุมจนโจทกตองปดงาน เชนนี้ ยอมถือไมไดวาการที่โจทกไมมอบหมายงานใหจำเลยรวมทั้งสองทำเปนการ ใชสิทธิในทางการบริหารกิจการของนายจางโดยสุจริต การกระทำของโจทกจึงเปนการกระทำ อันไมเปนธรรมตาม พ.ร.บ. แรงงานสัมพันธ พ.ศ. ๒๕๑๘ มาตรา ๑๒๑ (๑) และ (๒) โจทกฟอง ขอใหเพิกถอนคำสั่งของจำเลย ที่ ๓๕๑-๓๗๗/๒๕๖๑ ลงวันที่ ๖ ธันวาคม ๒๕๖๑ จำเลยใหการ ขอใหยกฟอง ระหวางพิจารณา นายเชิด และนายเตชทัต ขอเขาเปนจำเลยรวม ศาลแรงงานกลาง เห็นวา บุคคลทั้งสองเปนลูกจางและเปนผูกลาวหาในคดี จึงอนุญาตใหเขาเปนจำเลยรวมที่ ๑ และ ที่ ๒ ตามลำดับ จำเลยรวมทั้งสองใหการ ขอใหยกฟอง ศาลแรงงานกลาง พิพากษายกฟอง โจทกอุทธรณ ระหวางการพิจารณาของศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษ โจทกยื่นคำรองขอถอนอุทธรณ เฉพาะในสวนที่เกี่ยวกับจำเลยรวมที่ ๒ และจำเลยรวมที่ ๒ ไมคาน จึงอนุญาตใหโจทก ถอนอุทธรณเฉพาะสวนที่เกี่ยวกับจำเลยรวมที่ ๒ ได จำหนายคดีเฉพาะสวนของจำเลยรวมที่ ๒ เสียจากสารบบความของศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษ ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษแผนกคดีแรงงานวินิจฉัยวา ศาลแรงงานกลางฟงขอเท็จจริง วา โจทกเปนนิติบุคคลประเภทบริษัทจำกัด ประกอบธุรกิจผลิตเครื่องปรับอากาศ ผูกลาวหา ทั้ง ๒๗ คน รวมทั้งจำเลยรวมทั้งสองเปนลูกจางโจทกและเปนสมาชิกสหภาพแรงงานมิตซูบิชิ อีเล็คทริค ประเทศไทย โดยจำเลยรวมทั้งสองเปนกรรมการของสหภาพแรงงานดังกลาวดวย เมื่อ วันที่ ๗ กันยายน ๒๕๖๐ สหภาพแรงงานมิตซูบิชิ อีเล็คทริค ประเทศไทย ซึ่งมีสมาชิกประมาณ ๑,๗๐๐ คน ยื่นขอเรียกรองขอเปลี่ยนแปลงสภาพการจางตอโจทก และวันที่ ๒๕ กันยายน ๒๕๖๐ โจทกยื่นขอเรียกรองขอเปลี่ยนแปลงสภาพการจางตอสหภาพแรงงานดังกลาวเชนเดียวกัน แตขอเรียกรองของทั้งสองฝายไมสามารถตกลงกันได วันที่ ๒๗ ธันวาคม ๒๕๖๐ โจทกใชสิทธิ ปดงานตอลูกจางที่เปนสมาชิกสหภาพแรงงานทุกคนโดยใหมีผลตั้งแตวันที่ ๒๙ ธันวาคม ๒๕๖๐


๓๓๖ เปนตนไปจนกวาขอเรียกรองจะสามารถตกลงกันได ตอมาวันที่ ๒๙ มกราคม ๒๕๖๑ พนักงานประนอม ขอพิพาทแรงงานไกลเกลี่ยจนโจทกและสหภาพแรงงานสามารถตกลงกันได และมีการทำบันทึก ขอตกลงเกี่ยวกับสภาพการจางฉบับลงวันที่ ๒๙ มกราคม ๒๕๖๑ ใหมีผลใชบังคับ ๑ ป โจทก ยกเลิกการปดงานตั้งแตวันที่ ๓๐ มกราคม ๒๕๖๑ และทยอยเรียกลูกจางเขาทำงานเปนกลุม ๆ โดยกอนใหเขาทำงานโจทกใหลูกจางที่เรียกมาเขารวมกิจกรรมตามที่โจทกกำหนด จำเลยรวม ทั้งสองและผูกลาวหาทั้งหมดเขารวมกิจกรรมตามที่โจทกกำหนดแลว แตโจทกยังไมเรียกใหกลับ เขาทำงาน ครั้นวันที่ ๒๒ สิงหาคม ๒๕๖๑ โจทกมีหนังสือแจงจำเลยรวมทั้งสอง ผูกลาวหาและ สมาชิกสหภาพแรงงานที่ยังไมไดกลับเขาทำงานใหมารายงานตัวเพื่อกลับเขาทำงานภายในวันที่ ๒๙ สิงหาคม ๒๕๖๑ ผูกลาวหา จำเลยรวมทั้งสอง และสมาชิกสหภาพแรงงานคนอื่นรวม ๔๘ คน เขารายงานตัวเมื่อวันที่ ๒๗ สิงหาคม ๒๕๖๑ โจทกใหทุกคนเขารับการอบรมเกี่ยวกับระเบียบ ขอบังคับเกี่ยวกับการทำงานและความปลอดภัยในการทำงานจนถึงวันที่ ๒๙ สิงหาคม ๒๕๖๑ ตอมาวันที่ ๓๐ สิงหาคม ๒๕๖๑ โจทกมีหนังสือแจงผูกลาวหาและจำเลยทั้งสองวาไมตองเขามา ทำงานในบริษัทจนกวาจะมีคำสั่งเปลี่ยนแปลง อางวาประพฤติตนเปนปฏิปกษตอโจทก เชน สงเสียงเอะอะ แสดงกิริยาไมเหมาะสม จนพนักงานอื่นตื่นตระหนกและกังวลถึงความไมปลอดภัย ในการทำงาน โดยโจทกจายคาจางและสวัสดิการใหตามปกติ ผูกลาวหาและจำเลยรวมทั้งสองยื่น คำรองตอจำเลย กลาวหาวาโจทกกระทำการอันไมเปนธรรมตอผูกลาวหาและจำเลยรวมทั้งสอง จำเลยมีคำสั่งคณะกรรมการแรงงานสัมพันธ ที่ ๓๕๑-๓๗๗/๒๕๖๑ ลงวันที่ ๖ ธันวาคม ๒๕๖๑ วา การที่โจทกไมใหผูกลาวหาและจำเลยรวมทั้งสองเขาทำงานและไมมอบหมายงานเปนการฝาฝน มาตรา ๑๒๑ (๑) และ (๒) แหงพระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ พ.ศ. ๒๕๑๘ เปนการกระทำ อันไมเปนธรรม ใหโจทกจัดใหผูกลาวหาและจำเลยรวมทั้งสองเขาทำงานและมอบหมายงานใน ตำแหนงหนาที่เดิมหรือไมต่ำกวาเดิม โดยไดรับสิทธิประโยชนและสวัสดิการไมต่ำกวาเดิม แลว วินิจฉัยวา ขอเท็จจริงฟงไมไดวาผูกลาวหาและจำเลยรวมทั้งสองกระทำการเปนปฏิปกษตอโจทก การที่โจทกไมมอบหมายงานและหามไมใหผูกลาวหาและจำเลยรวมทั้งสองเขาไปทำงานเปนเพราะ เหตุที่ผูกลาวหาและจำเลยรวมทั้งสองเปนสมาชิกของสหภาพแรงงานไดนัดชุมนุมและยื่นขอเรียกรอง ตอพนักงานเจาหนาที่ตามกฎหมายวาดวยการคุมครองแรงงาน ฝาฝนพระราชบัญญัติแรงงาน สัมพันธ พ.ศ. ๒๕๑๘ มาตรา ๑๒๑ (๑) และ (๒) เปนการกระทำอันไมเปนธรรม คำสั่งของจำเลย ชอบแลว ไมมีเหตุที่จะเพิกถอนคำสั่งของจำเลย


๓๓๗ คดีมีปญหาตองวินิจฉัยตามอุทธรณของโจทกวา มีเหตุเพิกถอนคำสั่งของจำเลยที่ ๓๕๑-๓๗๗/๒๕๖๑ หรือไม เห็นวา โจทกกับผูกลาวหาและจำเลยรวมทั้งสองมีนิติสัมพันธตอกัน ตามสัญญาจางแรงงาน ซึ่งเปนสัญญาตางตอบแทนที่นายจางและลูกจางจะตองปฏิบัติการชำระหนี้ ตอบแทนซึ่งกันและกัน กลาวคือ ลูกจางมีหนาที่ทำงานใหแกนายจาง และนายจางมีหนาที่จาย คาจางตอบแทนตลอดเวลาที่ลูกจางทำงานให ดังนั้น แมโจทกในฐานะนายจางจะมีสิทธิบังคับ บัญชาและบริหารงานภายในของตนดวยการไมมอบหมายงานใหแกผูกลาวหาและจำเลยรวมทั้งสอง ซึ่งเปนลูกจาง โดยที่ยังคงจายคาจางและสวัสดิการใหลูกจางตามสิทธิที่จะไดรับก็ตาม แตการใช สิทธิเชนวานั้นจะตองเปนไปโดยสุจริตและไมขัดตอวัตถุประสงคของการจางแรงงานดวย สำหรับ คดีนี้ศาลแรงงานกลางฟงขอเท็จจริงวา เหตุที่โจทกไมใหผูกลาวหาและจำเลยรวมทั้งสองเขาทำงาน และไมมอบหมายงานใหทำเปนเพราะโจทกยังติดใจเรื่องที่ผูกลาวหาและจำเลยรวมทั้งสองเปน สมาชิกของสหภาพแรงงานที่เกี่ยวของกับขอเรียกรองและนัดชุมนุมจนโจทกตองปดงาน ทั้งที่ ขอพิพาทแรงงานดังกลาวมีการเจรจาตกลงกันไดเรียบรอยแลว มิไดเกิดจากการที่ผูกลาวหาและ จำเลยรวมทั้งสองกระทำการเปนปฏิปกษตอโจทกดังที่อาง และโจทกไมใหผูกลาวหาและจำเลย รวมทั้งสองเขามาทำงานและไมมอบหมายงานใหทำตั้งแตปดงานตลอดมาเปนเวลานานถึง ๙ เดือน นับวาเนิ่นนานเกินกวาการพิจารณาหาตำแหนงงานใหตามปกติมาก ทั้งนี้เพราะผูกลาวหาและ จำเลยรวมทั้งสองตางก็มีตำแหนงงานเดิมอยูแลว โดยไมปรากฏวาผูกลาวหาและจำเลยรวมทั้งสอง มีความบกพรองในการทำงานหรือความสามารถไมเหมาะสมถึงขนาดตองเปลี่ยนตำแหนงงานใหม พฤติการณแสดงวา โจทกมิไดประสงคที่จะใหผูกลาวหาและจำเลยรวมทั้งสองทำงานใหตาม วัตถุประสงคของสัญญาจางที่มีตอกัน แตมีเจตนากลั่นแกลงใหผูกลาวหาและจำเลยรวมทั้งสองไดรับ ความเสียหาย ขาดความกาวหนาเนื่องจากไมมีผลงาน และละอายใจจนไมสามารถทนทำงานอยู ตอไปได เพราะเหตุความไมพอใจขางตน เชนนี้ ยอมถือไมไดวาการที่โจทกไมมอบหมายงานให ผูกลาวหาและจำเลยรวมทั้งสองทำเปนการใชสิทธิในทางการบริหารกิจการของนายจางโดยสุจริต การกระทำของโจทกจึงเปนการกระทำอันไมเปนธรรมตามพระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ พ.ศ. ๒๕๑๘ มาตรา ๑๒๑ (๑) และ (๒) การที่จำเลยมีคำสั่งใหโจทกจัดใหผูกลาวหาและจำเลยรวมทั้งสองเขา ทำงานและมอบหมายงานใหในตำแหนงเดิมหรือไมต่ำกวาเดิม จึงเปนการใชอำนาจของคณะกรรมการ แรงงานสัมพันธในกรณีที่เห็นวาการกระทำของนายจางเปนการกระทำอันไมเปนธรรมตาม พระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ พ.ศ. ๒๕๑๘ มาตรา ๔๑ (๔) ประกอบมาตรา ๑๒๕ หาใชเปน การกาวลวงเขาไปใชสิทธิบริหารกิจการตามปกติของโจทกไม คำสั่งของจำเลยที่ ๓๕๑-๓๗๗/๒๕๖๑ ชอบแลว กรณีไมมีเหตุที่จะเพิกถอน ที่ศาลแรงงานกลางพิพากษายกฟองมานั้น ศาลอุทธรณ คดีชำนัญพิเศษเห็นพองดวย อุทธรณของโจทกฟงไมขึ้น


๓๓๘ พิพากษายืน. สุรพัศ เพ็ชรคง - ยอ สุโรจน จันทรพิทักษ - ตรวจ (โสภณ พรหมสุวรรณ - ผจงธรณ วรินทรเวช - พิเชฏฐ รื่นเจริญ)


๓๓๙ คำพิพากษาศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษที่ ๑๕๕๙/๒๕๖๓ บริษัทฮิตาชิ คอมเพรสเซอร (ประเทศไทย) จำกัด โจทก คณะกรรมการ แรงงานสัมพันธ จำเลย นายสายัณห ทรัพยสินชัย จำเลยรวม พ.ร.บ. แรงงานสัมพันธ พ.ศ. ๒๕๑๘ มาตรา ๑๒๓ (๓) แมจําเลยรวมเปนผูชักจูงใหกอเหตุทะเลาะวิวาทระหวางพนักงานดวยกัน และ ขูเข็ญวา จะทํารายรางกายพนักงานโจทก แตขอเท็จจริงไมปรากฏวาการกระทําของจําเลยรวม เปนเหตุใหพนักงานโจทกไดรับอันตรายหรือทําใหโจทกไดรับความเสียหาย เมื่อพนักงาน ดังกลาวไมไดเปนหัวหนางานในแผนกที่จําเลยรวมทํางานอยู ไมไดเปนผูบังคับบัญชาโดยตรง ของจําเลยรวม ถือไมไดวาจําเลยรวมกระทําตอผูบังคับบัญชาอันจะทําใหสายงานการ บังคับบัญชาและระบบการทํางานของโจทกเสียหาย จึงมิใชกรณีที่จําเลยรวมฝาฝนระเบียบ ขอบังคับเกี่ยวกับการทํางานของโจทกกรณีที่รายแรงที่โจทกจะเลิกจางจําเลยรวมไดโดย ไมตองจายคาชดเชย เมื่อจําเลยรวมฝาฝนระเบียบขอบังคับเกี่ยวกับการทํางานของโจทก กรณีที่ไมรายแรง โจทกเลิกจางจําเลยรวมที่เปนสมาชิกสหภาพแรงงานซึ่งเกี่ยวของกับ ขอเรียกรองในระหวางที่ขอตกลงเกี่ยวกับสภาพการจางมีผลใชบังคับโดยไมไดวากลาว และตักเตือนเปนหนังสือ จึงเปนการกระทําอันไมเปนธรรมตาม พ.ร.บ. แรงงานสัมพันธ พ.ศ. ๒๕๑๘ มาตรา ๑๒๓ (๓) โจทกฟองขอใหเพิกถอนคำสั่งของจำเลยที่ ๙๕/๒๕๖๒ ลงวันที่ ๒๒ สิงหาคม ๒๕๖๒ จำเลยใหการ ขอใหยกฟอง ระหวางพิจารณาของศาลแรงงานกลาง นายสายัณห ยื่นคำรองขอเขาเปนจำเลยรวม ศาลแรงงานกลางมีคำสั่งอนุญาต จำเลยรวมขอถือเอาคำใหการของจำเลยเปนคำใหการของจำเลยรวม


Click to View FlipBook Version