The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รวมคำพิพากษา-แผนกคดีแรงงาน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by iprd.pic, 2024-01-31 21:12:27

รวมคำพิพากษา-แผนกคดีแรงงาน

รวมคำพิพากษา-แผนกคดีแรงงาน

๓๔๐ ศาลแรงงานกลาง พิพากษาใหเพิกถอนคำสั่งของจำเลยที่ ๙๕/๒๕๖๒ ลงวันที่ ๒๒ สิงหาคม ๒๕๖๒ จำเลยและจำเลยรวมอุทธรณ ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษแผนกคดีแรงงานวินิจฉัยวา ศาลแรงงานกลางฟงขอเท็จจริง และวินิจฉัยวา จำเลยรวมถือมีดคัตเตอรขมขูจะทำรายนายอะนุโลม พนักงานโจทก มีการรองทุกข ลงบันทึกประจำวันไวเปนหลักฐานเมื่อวันที่ ๓ มิถุนายน ๒๕๖๒ ตามรายงานประจำวันรับแจงเปน หลักฐาน กอนที่จำเลยรวมจะยื่นคำรองกลาวหาโจทกตอคณะกรรมการแรงงานสัมพันธจำเลย เมื่อวันที่ ๕ มิถุนายน ๒๕๖๒ และขอเท็จจริงฟงไดวา เมื่อวันที่ ๓๐ พฤษภาคม ๒๕๖๒ เวลา ประมาณ ๒๑.๓๐ นาิกา จำเลยรวมนั่งรับประทานอาหารในระหวางเวลาปฏิบัติงานที่โตะแผนก โปรดักชั่น ๒ ซึ่งเปนพื้นที่นอกที่ทำงานของจำเลยรวม นายอะนุโลมมาวากลาวตักเตือนวาเปน เวลาทำงาน มีการถายรูปพฤติกรรมของจำเลยรวมที่ละทิ้งหนาที่และสงรูปเขาทางโปรแกรมไลน ใหแกผูบังคับบัญชาโดยนายประทีปผูจัดการทราบเรื่องที่จำเลยรวมขึ้นไปที่ชั้น ๒ ของแผนก โปรดักชั่น ๒ จึงสงไลนไปหานายสุนิตยซึ่งเปนหัวหนางานโดยตรงของจำเลยรวมบอกใหจำเลยรวม หามขึ้นไปยุงกับแผนกโปรดักชั่น ๒ และตอมาวันที่ ๓๑ พฤษภาคม ๒๕๖๒ เวลา ๔.๑๑ นาิกา จำเลยรวมขึ้นไปที่ชั้น ๒ แผนกโปรดักชั่น ๒ ไปหานายอะนุโลม และใชถอยคำหยาบคาย ดานายอะนุโลมโดยถือมีดคัตเตอรรูดมีดคัตเตอรขึ้นลงไปมาในลักษณะขมขู และมีการผลักอกนายอะนุโลม นายอะนุโลมหลบหนีออกมาไมเขารวมทะเลาะวิวาทดวย และจำเลยรวมตะโกนดาตามหลังวา ไอเหี้ย ไอสัตว ไอหนาตัวเมีย มึงมาเลย พรอมกับใชมือที่ถือมีดคัตเตอรกวักเรียกนายอะนุโลม แตนายอะนุโลมยังคงหนีออกไป นอกจากนี้จำเลยรวมลงเฟซบุกมีขอความขมขูนายอะนุโลม มาโดยตลอด จากพฤติการณดังกลาวเปนการใชความรุนแรงในสถานที่ทำงานโดยไปทาทาย ชวนทะเลาะวิวาทกับนายอะนุโลมซึ่งจำเลยรวมกระทำมาโดยตลอดจนสำเร็จแลว แตการ ทะเลาะวิวาทไมสำเร็จเนื่องจากนายอะนุโลมไดหลบหลีกเพื่อไมใหเกิดปญหา หากนายอะนุโลม โตตอบหรือรวมทะเลาะวิวาทดวยก็อาจเกิดความเสียหายไดรับอันตรายแกกายหรือชีวิตได อีกทั้ง การกระทำดังกลาวเปนการฝาฝนระเบียบขอบังคับเกี่ยวกับการทำงานอันชอบดวยกฎหมายของ นายจางและเปนกรณีที่รายแรง ไมจำตองวากลาวและตักเตือน และจากพฤติการณการกระทำ ของจำเลยรวมเปนการทำใหสายงานการบังคับบัญชาและระบบการทำงานของโจทกเสียหาย ผูบังคับบัญชาไมสามารถควบคุมดูแลผูใตบังคับบัญชาหรือวากลาวและตักเตือนได เปนพฤติการณ ที่ผูใตบังคับบัญชาประพฤติตนเปนนักเลง ใชความรุนแรงตอพนักงานอื่นที่ทำงานรวมกันในบริษัท เดียวกัน การที่โจทกเลิกจางจำเลยรวมจึงไมเปนการกระทำอันไมเปนธรรม


๓๔๑ มีปญหาตองวินิจฉัยตามอุทธรณของจำเลยและจำเลยรวมวา จำเลยรวมฝาฝนระเบียบ ขอบังคับเกี่ยวกับการทำงานของโจทก หมวดที่ ๗ (๔) การเลิกจางโดยไมจายคาชดเชย ขอ ๔.๔ เปนผูกอเหตุทะเลาะวิวาท ทำรายรางกาย ขูเข็ญ หรือชักจูงใหกอเหตุทะเลาะวิวาทระหวาง พนักงานดวยกัน หรือกระทำตอหัวหนางานหรือผูจัดการฝาย/แผนกเปนเหตุใหมีผูไดรับอันตราย หรือทำใหบริษัทเสียหาย ซึ่งเปนกรณีที่รายแรงหรือไม โดยจำเลยอุทธรณวา จำเลยรวมขมขูทำให นายอะนุโลม พนักงานโจทก เกิดความกลัวโดยใชวาจากาวราวดาทอดวยถอยคำหยาบคาย มีการ ชวนทะเลาะวิวาท ขมขูดวยมีดคัตเตอร และโพสตรูปปนและขอความในเฟซบุกตามที่โจทกใชเปน เหตุเลิกจาง แมเปนการกระทำผิดวินัยตามระเบียบขอบังคับเกี่ยวกับการทำงานของโจทก แตไม ปรากฏในขอเท็จจริงวานายอะนุโลมไดรับอันตรายและมิไดเกิดความเสียหายใด ๆ แกโจทก จึงไม เขาองคประกอบความผิดรายแรงตามระเบียบขอบังคับเกี่ยวกับการทำงานของโจทก หมวดที่ ๗ (๔) การเลิกจางโดยไมจายคาชดเชย ขอ ๔.๔ เมื่อโจทกเลิกจางจำเลยรวมที่กระทำผิดไมรายแรง จึงไมเขาขอยกเวนตามพระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ พ.ศ. ๒๕๑๘ มาตรา ๑๒๓ (๓) ขอเท็จจริง ไมปรากฏวาโจทกไดวากลาวและตักเตือนจำเลยรวมเปนหนังสือแตอยางใด การเลิกจางจำเลยรวม เพราะเหตุดังกลาวจึงเปนการฝาฝนพระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ พ.ศ. ๒๕๑๘ มาตรา ๑๒๓ สวนจำเลยรวมอุทธรณวา โจทกอางระเบียบขอบังคับเกี่ยวกับการทำงานของโจทก หมวดที่ ๗ (๔) การเลิกจางโดยไมจายคาชดเชย ขอ ๔.๔ แมขอเท็จจริงคดีนี้จำเลยรวมขมขูนายอะนุโลมพนักงาน โจทก แตไมปรากฏวานายอนุโลมไดรับบาดเจ็บหรือไดรับความเสียหายและไมปรากฏวาโจทก เสียหายแตอยางใด จึงมิใชเปนความผิดถึงขนาดที่จะเลิกจางจำเลยรวมโดยไมจายคาชดเชยตาม ระเบียบขอบังคับเกี่ยวกับการทำงานของโจทกดังกลาวนั้น ศาลแรงงานกลางฟงขอเท็จจริงวา จำเลยรวมขึ้นไปที่ชั้น ๒ แผนกโปรดักชั่น ๒ ไปหานายอะนุโลมพนักงานโจทกและใชถอยคำ หยาบคายดานายอะนุโลมโดยถือมีดคัตเตอรรูดมีดคัตเตอรขึ้นลงไปมาในลักษณะขมขู และมีการ ผลักอกนายอะนุโลม นายอะนุโลมหลบหนีออกมาไมเขารวมทะเลาะวิวาทดวย และจำเลยรวม ลงเฟซบุกมีขอความขมขูนายอะนุโลม แลววินิจฉัยวา พฤติการณของจำเลยรวมเปนการใชความ รุนแรงในสถานที่ทำงาน อีกทั้งการกระทำดังกลาวเปนการฝาฝนระเบียบขอบังคับเกี่ยวกับการ ทำงานอันชอบดวยกฎหมายของนายจางและเปนกรณีที่รายแรง ไมจำตองวากลาวและตักเตือน และจากพฤติการณการกระทำของจำเลยรวมเปนการทำใหสายงานการบังคับบัญชาและระบบ การทำงานของโจทกเสียหาย ผูบังคับบัญชาไมสามารถควบคุมดูแลผูใตบังคับบัญชาหรือวากลาว และตักเตือนได เห็นวา โจทกเลิกจางจำเลยรวมอางวาจำเลยรวมกระทำผิดระเบียบขอบังคับ เกี่ยวกับการทำงาน หมวดที่ ๗ (๔) การเลิกจางโดยไมจายคาชดเชย ขอ ๔.๔ เปนผูกอเหตุทะเลาะ


๓๔๒ วิวาท ทำรายรางกาย ขูเข็ญ หรือชักจูงใหกอเหตุทะเลาะวิวาทระหวางพนักงานดวยกัน หรือกระทำ ตอหัวหนางานหรือผูจัดการฝาย/แผนกเปนเหตุใหมีผูไดรับอันตรายหรือทำใหบริษัทเสียหาย ซึ่งเปนกรณีที่รายแรง แมการกระทำของจำเลยรวมดังกลาวเปนผูชักจูงใหกอเหตุทะเลาะวิวาท ระหวางพนักงานดวยกัน และขูเข็ญวาจะทำรายรางกายนายอะนุโลมพนักงานโจทก แตขอเท็จจริง ไมปรากฏวาการกระทำของจำเลยรวมเปนเหตุใหนายอะนุโลมไดรับอันตรายหรือทำใหโจทกไดรับ ความเสียหาย ที่ศาลแรงงานกลางวินิจฉัยวา พฤติการณของจำเลยรวมทำใหสายงานการบังคับ บัญชาและระบบการทำงานของโจทกเสียหาย ผูบังคับบัญชาไมสามารถควบคุมดูแลผูใตบังคับ บัญชาหรือวากลาวและตักเตือนไดนั้น เมื่อขอเท็จจริงรับฟงไดวานายอะนุโลมไมไดเปนหัวหนางาน ในแผนกที่จำเลยรวมทำงานอยู จำเลยรวมไมไดทำงานภายใตการบังคับบัญชาของนายอะนุโลม แมจำเลยรวมมีพฤติการณขมขูวาจะทำรายนายอะนุโลม แตนายอะนุโลมไมไดเปนผูบังคับบัญชา โดยตรงของจำเลยรวม ถือไมไดวาจำเลยรวมกระทำตอผูบังคับบัญชาอันจะทำใหสายงานการ บังคับบัญชาและระบบการทำงานของโจทกเสียหาย จึงมิใชกรณีที่จำเลยรวมฝาฝนระเบียบ ขอบังคับเกี่ยวกับการทำงานของโจทก หมวดที่ ๗ (๔) การเลิกจางโดยไมจายคาชดเชย ขอ ๔.๔ ซึ่งเปนกรณีที่รายแรงที่โจทกจะเลิกจางจำเลยรวมไดโดยไมตองจายคาชดเชย เมื่อจำเลยรวม ฝาฝนระเบียบขอบังคับเกี่ยวกับการทำงานของโจทกกรณีที่ไมรายแรง โจทกเลิกจางจำเลยรวม ที่เปนสมาชิกสหภาพแรงงานฮิตาชิคอมเพรสเซอรประเทศไทย ซึ่งเกี่ยวของกับขอเรียกรองใน ระหวางที่ขอตกลงเกี่ยวกับสภาพการจางมีผลใชบังคับโดยไมไดวากลาวและตักเตือนเปนหนังสือ จึงเปนการกระทำอันไมเปนธรรมตามพระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ พ.ศ. ๒๕๑๘ มาตรา ๑๒๓ (๓) คำสั่งของจำเลยที่ ๙๕/๒๕๖๒ ลงวันที่ ๒๒ สิงหาคม ๒๕๖๒ ใหโจทกจายคาเสียหายใหแก จำเลยรวมเปนเงิน ๒๖๗,๔๕๐ บาท ชอบแลว ที่ศาลแรงงานกลางพิพากษาใหเพิกถอนคำสั่งของ จำเลยดังกลาว ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษไมเห็นพองดวย อุทธรณของจำเลยและจำเลยรวม ฟงขึ้น พิพากษากลับ ใหยกฟองโจทก. (ชาตรี หาญไพโรจน - สัญชัย ลิ่มไพบูลย - ยุคนธร พาณิชปฐมพงศ) กิตติ เนตรประเสริฐชัย - ยอ สุโรจน จันทรพิทักษ - ตรวจ


๓๔๓ คำพิพากษาศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษที่ ๒๗๖๑ - ๒๗๖๔/ นายภาคภูมิ แสงดี ๒๕๖๓ กับพวก โจทก บริษัทฟูจิคูระ อิเล็กทรอนิกส (ประเทศไทย) จำกัด จำเลย พ.ร.บ. แรงงานสัมพันธ พ.ศ. ๒๕๑๘ มาตรา ๑๒ วรรคสอง การปรับขึ้นคาจางจะมีขึ้นในชวงระยะเวลาใดและเปนจํานวนมากนอยเพียงใดนั้น หากมิไดมีกฎหมายหรือขอตกลงเกี่ยวกับสภาพการจางกําหนดไวเปนอยางอื่น ยอมเปน สิทธิของนายจางที่จะใชดุลพินิจตามที่เห็นสมควร เมื่อทางปฏิบัติ จําเลยประกาศปรับ คาจางประจําปใหแกลูกจางทุกป ทั้งนี้ไมวาลูกจางจะไดยื่นขอเรียกรองหรือไม โดยหากปใด ไมมีการยื่นขอเรียกรอง จําเลยก็จะประกาศปรับคาจางประจําปตามดุลพินิจของจําเลย สวนปใดที่ลูกจางยื่นขอเรียกรองและมีการเจรจาตกลง จําเลยก็จะประกาศปรับคาจาง ประจําปนั้นตามขอตกลงเกี่ยวกับสภาพการจางที่ทําไวกับลูกจาง โดยมิไดมีเจตนาที่จะ ใหถือเปนเกณฑในการปรับคาจางปถัดไป แม พ.ร.บ. แรงงานสัมพันธ พ.ศ. ๒๕๑๘ มาตรา ๑๒ วรรคสอง บัญญัติใหในกรณีที่ระยะเวลาที่กําหนดตามขอตกลงเกี่ยวกับสภาพการจาง สิ้นสุดลง ถามิไดมีการเจรจาตกลงกันใหม ใหถือวาขอตกลงเกี่ยวกับสภาพการจางนั้น มีผลใชบังคับตอไปอีกคราวละหนึ่งปก็ตาม แตบทบัญญัติดังกลาวมีผลใชบังคับแกขอตกลง เกี่ยวกับสภาพการจางโดยทั่วไปเทานั้น หามีผลใชบังคับแกขอตกลงที่คูสัญญามีเจตนา ใหใชบังคับชั่วระยะเวลาใดเวลาหนึ่งที่กําหนดไวเปนการเฉพาะไม ซึ่งขอตกลงเกี่ยวกับ สภาพการจางเรื่องการปรับคาจางประจําป ๒๕๖๑ มีลักษณะเฉพาะใชบังคับเฉพาะป ๒๕๖๑ มิใชขอตกลงเกี่ยวกับสภาพการจางที่มีผลใชบังคับเปนการทั่วไปแตอยางใด กรณีจึงไมอาจ นํามาใชบังคับในปถัดไปได ดังนั้น เมื่อขอตกลงเกี่ยวกับสภาพการจางป ๒๕๖๑ สิ้นสุดลง และจําเลยกับลูกจางมิไดมีการทําขอตกลงเกี่ยวกับสภาพการจางเรื่องการปรับคาจาง ประจําปกันใหม การที่จําเลยประกาศปรับขึ้นคาจางประจําป ๒๕๖๒ ใหแกลูกจางรวมทั้ง โจทกที่ ๑ ที่ ๓ และที่ ๔ ตามดุลพินิจที่เห็นสมควร ยอมเปนสิทธิของจําเลยที่สามารถกระทําได โดยชอบ


๓๔๔ โจทกทั้งสี่สำนวนฟอง ขอใหบังคับจำเลยจายคาเสียหายเปนสวนตางของคาจาง พรอม ดอกเบี้ยอัตราละ ๑๕ ตอป ของตนเงินคาเสียหายตามฟองของโจทกแตละคน นับแตวันฟอง เปนตนไปจนกวาจะชำระเสร็จแกโจทกทั้งสี่ จำเลยทั้งสี่สำนวนใหการ ขอใหยกฟอง ระหวางพิจารณา โจทกที่ ๒ ขอถอนฟอง ศาลแรงงานภาค ๑ อนุญาต เหลือโจทกรวม ๓ คน ศาลแรงงานภาค ๑ พิพากษายกฟอง โจทกที่ ๑ ที่ ๓ และที่ ๔ อุทธรณ ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษแผนกคดีแรงงานวินิจฉัยวา ศาลแรงงานภาค ๑ ฟงขอเท็จจริง วา จำเลยเปนนิติบุคคลประเภทบริษัทจำกัด โจทกที่ ๑ ที่ ๓ และที่ ๔ เปนลูกจางจำเลย เมื่อ ปลายป ๒๕๖๐ สหภาพแรงงานฟูจิ ผูแทนฝายลูกจาง ยื่นขอเรียกรองตอจำเลยเกี่ยวกับการ เปลี่ยนแปลงสภาพการจาง ตอมามีการเจรจาสามารถตกลงกันได จำเลยและผูแทนฝายลูกจาง ไดทำบันทึกขอตกลงเกี่ยวกับสภาพการจางตามสำเนาบันทึกขอตกลงเกี่ยวกับสภาพการจาง ลงวันที่ ๘ มกราคม ๒๕๖๑ โดยขอ ๒ ระบุวา จำเลยตกลงปรับคาจางประจำป ๒๕๖๑ ใหแก ลูกจางอัตราเฉลี่ยรอยละ ๔ ของคาจาง (คากลางเทากับเกรด B) สวนเกรดอื่น ๆ และเงื่อนไขใน การประเมินใหเปนไปตามหลักเกณฑการประเมินเดิม ทั้งนี้ใหมีผลตั้งแตวันที่ ๑ เมษายน ๒๕๖๑ เปนตนไป และนำขอตกลงเกี่ยวกับสภาพการจางดังกลาวไปจดทะเบียนตอสำนักงานสวัสดิการ และคุมครองแรงงานแลว แตป ๒๕๖๒ จำเลยกับลูกจางไมมีขอตกลงเกี่ยวกับสภาพการจางเรื่อง การปรับคาจางประจำปกันใหม แลวจำเลยประกาศปรับขึ้นคาจางประจำป ๒๕๖๒ ใหแกลูกจาง อัตราเฉลี่ยรอยละ ๓.๒ ของคาจาง ซึ่งต่ำกวาขอตกลงเกี่ยวกับสภาพการจางในปกอน แลววินิจฉัย วา ขอตกลงเกี่ยวกับสภาพการจางเรื่องการปรับคาจางประจำป ๒๕๖๑ มีผลใชบังคับเฉพาะการ ปรับขึ้นคาจางป ๒๕๖๑ เทานั้น ไมอาจนำมาใชบังคับในปถัดไปได เมื่อไมมีการทำขอตกลงเกี่ยวกับ สภาพการจางกันใหม จำเลยยอมมีสิทธิที่จะปรับขึ้นคาจางประจำป ๒๕๖๒ ตามดุลพินิจของ จำเลยได การที่จำเลยปรับคาจางประจำป ๒๕๖๒ ใหแกลูกจางรวมทั้งโจทกแตละคนอัตราเฉลี่ย รอยละ ๓.๒ เปนการชอบแลว จำเลยจึงไมตองรับผิดชดใชคาเสียหายพรอมดอกเบี้ยตามฟองให แกโจทกที่ ๑ ที่ ๓ และที่ ๔ มีปญหาตองวินิจฉัยตามอุทธรณของโจทกที่ ๑ ที่ ๓ และที่ ๔ วา การปรับคาจางประจำ ป ๒๕๖๒ ของจำเลยแกโจทกที่ ๑ ที่ ๓ และที่ ๔ เปนการชอบดวยกฎหมายหรือไม เห็นวา คาจาง เปนเงินที่นายจางและลูกจางตกลงกันจายเปนคาตอบแทนในการทำงานตามสัญญาจาง แตการ


๓๔๕ ปรับขึ้นคาจางจะมีขึ้นในชวงระยะเวลาใดและเปนจำนวนมากนอยเพียงใดนั้น หากมิไดมีกฎหมาย หรือขอตกลงเกี่ยวกับสภาพการจางกำหนดไวเปนอยางอื่น ยอมเปนสิทธิของนายจางที่จะใช ดุลพินิจตามที่เห็นสมควร ทั้งนี้เพื่อใหสอดคลองกับสภาวะเศรษฐกิจ ผลประกอบการของนายจาง และประสิทธิภาพในการทำงานของลูกจางในชวงระยะเวลานั้นเปนสำคัญ คดีนี้ศาลแรงงานภาค ๑ ฟงขัอเท็จจริงดวยวา เดิมตั้งแตป ๒๕๕๓ จำเลยไมมีขอตกลงเกี่ยวกับสภาพการจางในเรื่องการ ปรับคาจางประจำปกับลูกจาง จำเลยจึงประกาศปรับขึ้นคาจางประจำปแกลูกจางตามดุลพินิจของ จำเลยเรื่อยมา จนกระทั่งป ๒๕๕๙ จำเลยมีขอตกลงเกี่ยวกับสภาพการจางเรื่องการปรับคาจาง ประจำปกับลูกจางเปนครั้งแรก อันเกิดแตขอเรียกรองของลูกจาง จำเลยจึงประกาศปรับขึ้นคาจาง ประจำป ๒๕๕๙ ในอัตราเฉลี่ยรอยละ ๓.๕ ตามขอตกลง โดยระบุวาใชเฉพาะการปรับขึ้นคาจาง ประจำปดังกลาวเทานั้น ตอมาป ๒๕๖๐ ไมมีขอตกลงเกี่ยวกับสภาพการจางเรื่องการปรับคาจาง ประจำประหวางจำเลยกับลูกจาง จำเลยจึงประกาศปรับขึ้นคาจางประจำปดังกลาวแกลูกจางตาม ดุลพินิจของจำเลยอีก จึงเห็นไดวาในทางปฏิบัติ จำเลยประกาศปรับคาจางประจำปใหแกลูกจาง ทุกป ทั้งนี้ไมวาลูกจางจะไดยื่นขอเรียกรองหรือไม โดยหากปใดไมมีการยื่นขอเรียกรอง จำเลยก็ จะประกาศปรับคาจางประจำปตามดุลพินิจของจำเลย สวนปใดที่ลูกจางยื่นขอเรียกรองและมีการ เจรจาตกลง จำเลยก็จะประกาศปรับคาจางประจำปนั้นตามขอตกลงเกี่ยวกับสภาพการจางที่ทำไว กับลูกจาง โดยมิไดมีเจตนาที่จะใหถือเปนเกณฑในการปรับคาจางปถัดไป เชนนี้ แมพระราชบัญญัติ แรงงานสัมพันธ พ.ศ. ๒๕๑๘ มาตรา ๑๒ วรรคสอง บัญญัติใหในกรณีที่ระยะเวลาที่กำหนดตาม ขอตกลงเกี่ยวกับสภาพการจางสิ้นสุดลง ถามิไดมีการเจรจาตกลงกันใหม ใหถือวาขอตกลงเกี่ยวกับ สภาพการจางนั้นมีผลใชบังคับตอไปอีกคราวละหนึ่งปก็ตาม แตบทบัญญัติดังกลาวมีผลใชบังคับ แกขอตกลงเกี่ยวกับสภาพการจางโดยทั่วไปเทานั้น หามีผลใชบังคับแกขอตกลงที่คูสัญญามีเจตนา ใหใชบังคับชั่วระยะเวลาใดเวลาหนึ่งที่กำหนดไวเปนการเฉพาะไม เมื่อขอเท็จจริงไดความวา ขอตกลงเกี่ยวกับสภาพการจางเรื่องการปรับคาจางประจำป ๒๕๖๑ มีลักษณะเฉพาะใชบังคับ เฉพาะป ๒๕๖๑ มิใชขอตกลงเกี่ยวกับสภาพการจางที่มีผลใชบังคับเปนการทั่วไปแตอยางใด กรณีจึงไมอาจนำมาใชบังคับในปถัดไปได ดังนั้น เมื่อขอตกลงเกี่ยวกับสภาพการจางป ๒๕๖๑ สิ้นสุดลง และจำเลยกับลูกจางมิไดมีการทำขอตกลงเกี่ยวกับสภาพการจางเรื่องการปรับคาจาง ประจำปกันใหม การที่จำเลยประกาศปรับขึ้นคาจางประจำป ๒๕๖๒ ใหแกลูกจางรวมทั้งโจทก ที่ ๑ ที่ ๓ และที่ ๔ ตามดุลพินิจที่เห็นสมควร ยอมเปนสิทธิของจำเลยที่สามารถกระทำไดโดยชอบ ที่ศาลแรงงานภาค ๑ วินิจฉัยมานั้น ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษเห็นพองดวย อุทธรณของโจทก ที่ ๑ ที่ ๓ และที่ ๔ ฟงไมขึ้น


๓๔๖ พิพากษายืน. วิฑูรย ตรีสุนทรรัตน - ยอ สุโรจน จันทรพิทักษ - ตรวจ (โสภณ พรหมสุวรรณ - ผจงธรณ วรินทรเวช - พิเชฏฐ รื่นเจริญ)


๓๔๗ คำพิพากษาศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษที่ ๕๕/๒๕๖๔ นายทนงศักดิ์ เสนะวีระกุล โจทก นางดวงใจ มุสิกะวงษ ในฐานะพนักงานตรวจแรงงาน กับพวก จำเลย พ.ร.บ. แรงงานสัมพันธ พ.ศ. ๒๕๑๘ มาตรา ๑๐ วรรคสาม พ.ร.บ. คุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา ๑๑๙ (๔) ขอตกลงเกี่ยวกับสภาพการจางระหวางโจทกกับจําเลยที่ ๒ คงมีแตกฎระเบียบ และขอบังคับ ของจําเลยที่ ๒ ซึ่งตามพ.ร.บ. แรงงานสัมพันธ พ.ศ. ๒๕๑๘ มาตรา ๑๐ วรรคสาม ใหถือวาเปน ขอตกลงเกี่ยวกับสภาพการจาง ซึ่งตามกฎระเบียบและขอบังคับดังกลาว หมวดที่ ๘ วินัยและโทษทางวินัย จําเลยที่ ๒ กําหนดลักษณะการลงโทษทางวินัยไว ๔ ลักษณะ คือ ๑.การตักเตือนดวยวาจา ๒.การตักเตือนเปนหนังสือ ๓.การพักงาน และ ๔.การเลิกจางหรือการใหออกจากงาน การลงโทษโจทกดวยการลดตําแหนงและลดเงินเดือน ไมใชโทษทางวินัยที่กําหนดไว จําเลยที่ ๒ จึงลงโทษโจทกดวยการลดตําแหนงและ ลดเงินเดือนไมได คําสั่งของจําเลยที่ ๒ ไมมีผลใชบังคับแกโจทก แมโจทกไมปฏิบัติตาม ก็ยังถือไมไดวา โจทกฝาฝนคําสั่งของจําเลยที่ ๒ อันชอบดวยกฎหมายและเปนธรรมกรณี ที่รายแรง เมื่อจําเลยที่ ๒ เลิกจางโจทกดวยเหตุดังกลาวจึงตองจายคาชดเชย โจทกฟองและแกไขคำฟอง ขอใหเพิกถอนคำสั่งของจำเลยที่ ๑ กับบังคับจำเลยที่ ๒ ชำระคาชดเชย ๑๖๒,๐๐๐ บาท และคาเสียหายจากการเลิกจางไมเปนธรรม ๑๐๐,๐๐๐ บาท แกโจทก จำเลยที่ ๑ ใหการ ขอใหยกฟอง จำเลยที่ ๒ ใหการ ขอใหยกฟอง ศาลแรงงานภาค ๖ พิพากษาใหเพิกถอนคำสั่งพนักงานตรวจแรงงาน สำนักงานสวัสดิการ และคุมครองแรงงานจังหวัดกำแพงเพชรที่ ๑๒/๒๕๖๓ ลงวันที่ ๒๘ เมษายน ๒๕๖๓ ของจำเลย ที่ ๑ และใหจำเลยที่ ๒ ชำระคาชดเชย ๑๖๒,๐๐๐ บาท แกโจทก คำขออื่นใหยก


๓๔๘ จำเลยทั้งสองอุทธรณ ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษแผนกคดีแรงงานวินิจฉัยวา ศาลแรงงานภาค ๖ ฟงขอเท็จจริง วา จำเลยที่ ๒ มีวัตถุประสงคประกอบกิจการศูนยบริการและจำหนายรถยนตยี่หอฮอนดา โจทกเปนลูกจางจำเลยที่ ๒ เริ่มทำงานเมื่อวันที่ ๑ กรกฎาคม ๒๕๕๒ ตำแหนงชางเครื่องยนต ตำแหนงสุดทายเปนหัวหนาที่ปรึกษางานบริการ ทำหนาที่เปนที่ปรึกษางานบริการ หัวหนา พนักงานรับรถ ครูฝกประจำศูนยและพนักงานเคลมคุณภาพอะไหล ไดรับคาจางอัตราสุดทาย เดือนละ ๑๖,๒๐๐ บาท โจทกถูกเลิกจางเมื่อวันที่ ๒๐ กุมภาพันธ ๒๕๖๓ จึงยื่นคำรองตอจำเลยที่ ๑ ซึ่งเปนพนักงานตรวจแรงงาน เพื่อมีคำสั่งใหจำเลยที่ ๒ จายคาชดเชยแกโจทก แตจำเลยที่ ๑ มีคำสั่งวาโจทกไมมีสิทธิไดรับคาชดเชย เนื่องจากโจทกฝาฝนไมปฏิบัติตามคำสั่งของนายจาง อันชอบดวยกฎหมายและเปนธรรมกรณีที่รายแรง ตามสำนวนการสอบสวนพรอมคำสั่งที่ ๑๒/๒๕๖๓ ลงวันที่ ๒๘ เมษายน ๒๕๖๓ แลววินิจฉัยวา การที่โจทกไมสงพนักงานใหมไปฝกอบรมหรือไมสง แผนการอบรมใหบริษัทฮอนดา ออโตโมบิล (ประเทศไทย) จำกัด เปนเพียงกรณีที่โจทกไมตั้งใจ ปฏิบัติงานหรือไมมีประสิทธิภาพในการทำงานเทานั้น ซึ่งเปนคุณลักษณะสวนตัวของโจทก ไมเปน การฝาฝนขอบังคับเกี่ยวกับการทำงาน ระเบียบหรือคำสั่งของจำเลยที่ ๒ ตามกฎระเบียบและ ขอบังคับเอกสารหมาย ล.๑ กรณีที่รายแรง ทั้งถือไมไดวาเปนการจงใจทำใหจำเลยที่ ๒ ไดรับ ความเสียหาย หรือเปนการกระทำโดยประมาทเลินเลอเปนเหตุใหจำเลยที่ ๒ ไดรับความเสียหาย อยางรายแรง ยิ่งกวานั้น การที่จำเลยที่ ๒ มีคำสั่งลดตำแหนงโจทกจากหัวหนาที่ปรึกษางาน บริการหรือหัวหนาพนักงานรับรถเปนพนักงานรับรถ และลดเงินเดือนโจทกลง ๕๐๐ บาท นั้น แมจำเลยที่ ๒ มีสิทธิที่จะโยกยายเพื่อปรับปรุงหนวยงานของตนใหเกิดความคลองตัวและ มีประสิทธิภาพในการบริหารงาน แตการกระทำดังกลาวเปนการเปลี่ยนแปลงขอตกลงเกี่ยวกับ สภาพการจางที่เปนโทษแกโจทก กลาวคือ เปนการลดตำแหนงจากตำแหนงที่มีอำนาจบังคับบัญชา ใหคำแนะนำและเปนครูฝกพนักงานรับรถ มาเปนพนักงานรับรถทั่ว ๆ ไป ทั้งลดเงินเดือนซึ่งเปน รายไดประจำลงอีกดวย เมื่อไมปรากฏวาโจทกใหความยินยอม แมโจทกไมไดโตแยงก็จะถือวา โจทกใหความยินยอมแลวไมได ดังนี้ จำเลยที่ ๒ ยอมไมมีอำนาจเปลี่ยนแปลงขอตกลงเกี่ยวกับ สภาพการจางดังกลาวไดตามลำพังฝายเดียว เนื่องจากมิใชการเปลี่ยนแปลงขอตกลงเกี่ยวกับ สภาพการจางที่เปนคุณแกลูกจาง คำสั่งของจำเลยที่ ๒ ที่ลดตำแหนงและลดเงินเดือนโจทกจึงเปนคำสั่ง ไมชอบดวยกฎหมายตามพระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ พ.ศ. ๒๕๑๘ มาตรา ๒๐ ไมมีผล ใชบังคับแกโจทก แมโจทกไมยินยอมปฏิบัติตาม ก็ถือไมไดวาโจทกฝาฝนคำสั่งของจำเลยที่ ๒ อันชอบดวยกฎหมายและเปนธรรมกรณีที่รายแรง จำเลยที่ ๒ เลิกจางโจทกดวยเหตุดังกลาว


๓๔๙ ถือวาโจทกไมไดกระทำผิด โจทกจึงมีสิทธิไดรับคาชดเชย แตเมื่อโจทกทำงานผิดพลาดบกพรอง ไมไดมาตรฐาน ทั้งที่จำเลยที่ ๒ ตักเตือนดวยวาจาหลายครั้ง อีกทั้งผลงานของโจทกไมเปนที่ นาพอใจ กอใหเกิดความเสียหายแกจำเลยที่ ๒ ยอมเปนเหตุใหจำเลยที่ ๒ ไมไววางใจในการที่จะ ใหทำงานรวมกันตอไป จึงเปนการเลิกจางที่มีเหตุอันสมควรและเพียงพอที่จะเลิกจางได ถือไมได วาเปนการเลิกจางไมเปนธรรมแตอยางใด โจทกจึงไมมีสิทธิไดรับคาเสียหายจากการเลิกจาง ไมเปนธรรม มีปญหาตองวินิจฉัยวา โจทกมีสิทธิไดรับคาชดเชยหรือไม เห็นวา มาตรา ๒๐ แหง พระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ พ.ศ. ๒๕๑๘ เปนกรณีตอเนื่องจากมาตรา ๑๙ ซึ่งเปนเรื่องของ ขอตกลงเกี่ยวกับสภาพการจางอันเกิดจากการยื่นขอเรียกรองโดยใหมีผลผูกพันนายจางกับลูกจาง ซึ่งลงลายมือชื่อในขอเรียกรองหรือลูกจางซึ่งมีสวนในการเลือกผูแทนผูเขารวมในการเจรจา ขอเรียกรองนั้น โดยเมื่อขอตกลงเกี่ยวกับสภาพการจางอันเกิดจากการยื่นขอเรียกรองมีผลใชบังคับ แลว นายจางจะทำสัญญาจางแรงงานกับลูกจางขัดหรือแยงกับขอตกลงเกี่ยวกับสภาพการจาง ไมได ขอตกลงเกี่ยวกับสภาพการจางตามที่บัญญัติไวในมาตรา ๒๐ จึงหมายถึงขอตกลงเกี่ยวกับ สภาพการจางอันเกิดจากการยื่นขอเรียกรอง ทางพิจารณาไมปรากฏวาโจทกกับจำเลยที่ ๒ มี ขอตกลงเกี่ยวกับสภาพการจางอันเกิดจากการยื่นขอเรียกรอง กรณีจึงนำมาตรา ๒๐ มาปรับใช กับคดีนี้ไมได ขอตกลงเกี่ยวกับสภาพการจางระหวางโจทกกับจำเลยที่ ๒ คงมีแตกฎระเบียบและ ขอบังคับของจำเลยที่ ๒ ซึ่งตามมาตรา ๑๐ วรรคสาม ใหถือวาเปนขอตกลงเกี่ยวกับสภาพการจาง จึงมีปญหาตองพิจารณาวาที่จำเลยที่ ๒ ลงโทษโจทกดวยการลดตำแหนงและลดเงินเดือน ชอบดวยกฎระเบียบและขอบังคับหรือไม เห็นวา ตามกฎระเบียบและขอบังคับดังกลาว หมวดที่ ๘ วินัยและโทษทางวินัย จำเลยที่ ๒ กำหนดลักษณะการลงโทษทางวินัยไว ๔ ลักษณะ คือ ๑. การตักเตือนดวยวาจา ๒. การตักเตือนเปนหนังสือ ๓. การพักงาน และ ๔. การเลิกจางหรือ การใหออกจากงาน การลงโทษดวยการลดตำแหนงและลดเงินเดือนไมใชโทษทางวินัยที่กำหนดไว จำเลยที่ ๒ จึงลงโทษโจทกดวยการลดตำแหนงและลดเงินเดือนไมได คำสั่งของจำเลยที่ ๒ ไมมีผล ใชบังคับแกโจทก แมโจทกไมปฏิบัติตามก็ยังถือไมไดวาโจทกฝาฝนคำสั่งของจำเลยที่ ๒ อันชอบดวยกฎหมายและเปนธรรมกรณีที่รายแรง เมื่อจำเลยที่ ๒ เลิกจางโจทกดวยเหตุดังกลาว จึงตองจายคาชดเชย ที่ศาลแรงงานภาค ๖ พิพากษามานั้น ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษเห็นพองดวย ในผล อุทธรณของจำเลยทั้งสองฟงไมขึ้น


๓๕๐ พิพากษายืน. กิตติ เนตรประเสริฐชัย - ยอ วัชรินทร ฤชุโรจน - ตรวจ (อรรถพงษ กุลโชครังสรรค - เฉลิมพงศ ขันตี - อนันต ชุมวิสูตร)


๓๕๑ คำพิพากษาศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษที่ ๑๗๑๓ - ๑๗๑๕/ นายสุนันท แสงศรี ๒๕๖๐ กับพวก โจทก บริษัทไทย โกลบอล ทรานสปอรต จำเลย ป.วิ.พ มาตรา ๒๓ พ.ร.บ. จัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๒๖, ๓๑ พ.ร.บ. จัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๒๖ บัญญัติเรื่องการขยายระยะเวลาไวเปนการเฉพาะแลว จึงไมอาจนำ ป.วิ.พ. มาตรา ๒๓ มาอนุโลมใชไดอีก ที่ศาลแรงงานกลางมีคำสั่งใหเพิกถอนคำสั่งอนุญาตใหขยายระยะเวลา ยื่นอุทธรณโดยอางเหตุตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๒๓ จึงไมถูกตอง เพื่อใหการพิจารณาเปนไปโดยรวดเร็ว ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษเห็นสมควร พิจารณาสั่งคำรองขอขยายระยะเวลายื่นอุทธรณเสียเองโดยไมตองยอนสำนวนไปให ศาลแรงงานกลางมีคำสั่งใหม จำเลยอางวาทนายความจำเลยติดวาความหลายคดีและตองเดินทางไป ตางจังหวัด ทำใหไมสามารถเขียนอุทธรณไดทันภายในกำหนดเวลา ถือเปนเหตุสวนตัว และเปนความบกพรองของทนายความจำเลยเอง ทั้งจำเลยยื่นคำรองเกินกำหนดระยะเวลา เปนเวลานาน กรณีจึงไมมีเหตุจำเปน และเพื่อประโยชนแหงความยุติธรรมที่จะตองขยาย ระยะเวลายื่นอุทธรณใหแกจำเลย คดีสืบเนื่องมาจากโจทกทั้งสามฟองขอใหบังคับจำเลยจายสินจางแทนการบอกกลาว ลวงหนา คาจาง คาชดเชยและคืนเงินคาจางที่หักไว พรอมดอกเบี้ยนับแตวันฟองเปนตนไปจนกวา จะชำระเสร็จ จำเลยขาดนัด ศาลแรงงานกลางพิจารณาแลว พิพากษาใหจำเลยจายสินจางแทน การบอกกลาวลวงหนา ๑๖,๕๐๐ บาท คาจางรวม ๑๐๖,๓๐๐ บาท และคาชดเชย ๙,๐๐๐ บาท แกโจทกที่ ๑ จายสินจางแทนการบอกกลาวลวงหนา ๑๓,๘๐๐ บาท คาจางรวม ๒๑๒,๘๐๐ บาท และคาชดเชย ๒๗,๐๐๐ บาท แกโจทกที่ ๒ จายสินจางแทนการบอกกลาวลวงหนา ๑๓,๘๐๐ บาท คาจางรวม ๑๙๙,๖๐๐ บาท และคาชดเชย ๒๗,๐๐๐ บาท แกโจทกที่ ๓ พรอมดอกเบี้ยอัตรารอยละ


๓๕๒ ๗.๕ ตอป ของตนเงินสินจางแทนการบอกกลาวลวงหนา กับดอกเบี้ยอัตรารอยละ ๑๕ ของตนเงิน คาจางกับคาชดเชยแตละจำนวนนับแตวันฟอง (ฟองวันที่ ๒๒ สิงหาคม ๒๕๕๙) เปนตนไปจนกวา จะชำระเสร็จแกโจทกแตละคน จำเลยยื่นคำรองขอพิจารณาคดีใหม ศาลแรงงานกลาง ยกคำรอง จำเลยอุทธรณคำสั่ง ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษแผนกคดีแรงงานวินิจฉัยวา คดีมีปญหาตองวินิจฉัยตาม อุทธรณคำสั่งของจำเลยวา มีเหตุสมควรขยายระยะเวลาในการยื่นอุทธรณใหแกจำเลยและรับ อุทธรณของจำเลยหรือไม จำเลยอุทธรณวา ศาลแรงงานกลางมีคำสั่งในวันที่ ๑๐ เมษายน ๒๕๖๐ อนุญาตใหขยายระยะเวลายื่นอุทธรณไดถึงวันที่ ๑๐ พฤษภาคม ๒๕๖๐ นั้นชอบดวยกฎหมายแลว การที่ศาลแรงงานกลางกลับมีคำสั่งเพิกถอนคำสั่งเดิมแลวมีคำสั่งใหมวาจำเลยยื่นคำรองขอขยาย ระยะเวลายื่นอุทธรณเมื่อพนระยะเวลาตามที่กฎหมายกำหนด ใหยกคำรอง จึงเปนคำสั่งที่ ไมถูกตองนั้น เห็นวา พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๒๖ บัญญัติเรื่องการขยายระยะเวลาไวเปนการเฉพาะแลว จึงไมอาจนำประมวลกฎหมาย วิธีพิจารณาความแพง มาตรา ๒๓ มาอนุโลมใชตามมาตรา ๓๑ แหงพระราชบัญญัติจัดตั้ง ศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ ได ซึ่งมาตรา ๒๖ บัญญัติวา ระยะเวลาตามที่ กำหนดไวในพระราชบัญญัตินี้ หรือตามที่ศาลแรงงานไดกำหนด ศาลแรงงานมีอำนาจยนหรือ ขยายไดตามความจำเปน และเพื่อประโยชนแหงความยุติธรรม หาไดกำหนดหลักเกณฑวาคูความ ตองยื่นคำรองตอศาลแรงงานกอนสิ้นระยะเวลาตามที่กำหนดไว และจะตองมีพฤติการณพิเศษ หรือเหตุสุดวิสัย เชนที่บัญญัติไวในประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพง มาตรา ๒๓ ไม ดังนั้น ที่ศาลแรงงานกลางมีคำสั่งใหเพิกถอนคำสั่งอนุญาตใหขยายระยะเวลายื่นอุทธรณโดยอางเหตุตาม ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพง มาตรา ๒๓ จึงไมถูกตอง แตเพื่อใหการพิจารณาเปนไป โดยรวดเร็ว ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษเห็นสมควรพิจารณาสั่งเสียเองโดยไมตองยอนสำนวน ไปใหศาลแรงงานกลางมีคำสั่งใหม เมื่อพิจารณาเหตุในการขอขยายระยะเวลายื่นอุทธรณของ จำเลยแลว จำเลยอางวาทนายความจำเลยติดวาความหลายคดีและตองเดินทางไปตางจังหวัด ทำใหไมสามารถเขียนอุทธรณไดทันภายในกำหนดเวลาตามกฎหมายนั้น ถือวาเปนเหตุสวนตัว และเปนความบกพรองของทนายความจำเลยเอง อีกทั้งคำรองขอขยายระยะเวลายื่นอุทธรณของ จำเลยก็เกินระยะเวลาตามที่กฎหมายกำหนดเปนระยะเวลานาน กรณีจึงไมมีความจำเปน และเพื่อ ประโยชนแหงความยุติธรรมที่จะตองขยายระยะเวลายื่นอุทธรณใหแกจำเลยตามพระราชบัญญัติ


๓๕๓ จัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๒๖ ที่ศาลแรงงานกลางมีคำสั่ง ใหเพิกถอนคำสั่งเดิมแลวมีคำสั่งใหมเปนใหยกคำรองของจำเลยมานั้น ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษ เห็นพองดวยในผล และเมื่อคำรองขอขยายระยะเวลายื่นอุทธรณของจำเลย ไมมีเหตุตาม กฎหมายที่จะขยายระยะเวลาใหไดดังที่วินิจฉัยมาแลวขางตน ดังนั้น อุทธรณของจำเลยฉบับ ลงวันที่ ๙ พฤษภาคม ๒๕๖๐ จึงยื่นเกินกำหนดเวลาตามกฎหมาย ที่ศาลแรงงานกลางมีคำสั่ง ไมรับอุทธรณของจำเลยจึงชอบแลว อุทธรณของจำเลยฟงไมขึ้น พิพากษายืน. สุรพัศ เพ็ชรคง - ยอ สุโรจน จันทรพิทักษ - ตรวจ (พิเชฏฐ รื่นเจริญ - โสภณ พรหมสุวรรณ - ศราวุธ ภาณุธรรมชัย)


๓๕๔ คำพิพากษาศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษที่ ๒๒๘/๒๕๖๑ นางชไมพร สายเกษม โจทก การทางพิเศษแหงประเทศไทย กับพวก จำเลย ป.วิ.พ. มาตรา ๑๗๓ วรรคสอง (๑), ๒๒๕ วรรคหนึ่ง พ.ร.บ. ความรับผิดทางละเมิดของเจาหนาที่ พ.ศ. ๒๕๓๙ มาตรา ๑๐ วรรคสอง พ.ร.บ. จัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๓๑, ๕๔ วรรคหนึ่ง ที่โจทกอุทธรณวา การที่ศาลแรงงานกลางฟงคำเบิกความของนาย อ. นาย ล. และ นาง ส. พยานจำเลยแลววินิจฉัยวา โจทกปฏิบัติหนาที่ดวยความประมาทเลินเลออยางรายแรง เปนการรับฟงพยานหลักฐานที่ขัดตอกฎหมายนั้น เปนการอุทธรณโตแยงดุลพินิจในการ รับฟงพยานหลักฐานของศาลแรงงานกลางที่ฟงขอเท็จจริงวา โจทกปฏิบัติหนาที่ดวย ความประมาทเลินเลออยางรายแรง อันเปนอุทธรณในขอเท็จจริง ซึ่งตองหามมิใหอุทธรณ ตาม พ.ร.บ. จัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๕๔ วรรคหนึ่ง ตามคำสั่งของจำเลยที่ ๑ ที่ ๒๑๑/๒๕๕๓ เมื่อคณะกรรมการสอบขอเท็จจริง ความรับผิดทางละเมิดสอบขอเท็จจริงแลวเสร็จ จำเลยที่ ๑ ไดรายงานผลการสอบขอเท็จจริง ใหกระทรวงการคลังตรวจสอบกระทรวงการคลังโดยกรมบัญชีกลางตรวจสอบแลวพบวา ยังไมไดมีการสอบปากคำและใหโอกาสโจทกและเจาหนาที่บางคนไดชี้แจงขอเท็จจริงและ โตแยงแสดงพยานหลักฐาน จึงขอใหจำเลยที่ ๑ ตรวจสอบและใหโอกาสเจาหนาที่ไดชี้แจง ขอเท็จจริงและโตแยงแสดงพยานหลักฐานอยางเพียงพอและเปนธรรม จำเลยที่ ๑ จึงมี คำสั่งเพิกถอนคำสั่งดังกลาวและแตงตั้งคณะกรรมการสอบขอเท็จจริงความรับผิด ทางละเมิดใหมตามคำสั่งที่ ๑๖๔/๒๕๕๗ กรณีจึงเปนการปฏิบัติตามที่กระทรวงการคลัง แจงมาและมิใชเปนการแตงตั้งคณะกรรมการสอบขอเท็จจริงความรับผิดทางละเมิด ในเหตุเดียวกัน ๒ ครั้ง เมื่อพิจารณาหนังสือของกระทรวงการคลังโดยกรมบัญชีกลาง ระบุไววา เนื่องจาก การสอบสวนเรื่องนี้มีเจาหนาที่ที่เกี่ยวของกับความเสียหายหลายคนและจากการสอบสวน ปรากฏวา ยังมิไดมีการสอบปากคำและใหโอกาสเจาหนาที่บางคนไดชี้แจงขอเท็จจริงและ โตแยงแสดงพยานหลักฐานอยางเพียงพอและเปนธรรมกอนออกคำสั่งเรียกใหชดใช คาสินไหมทดแทน และหากปรากฏขอเท็จจริงหรือพยานหลักฐานใดที่จะทำใหความเห็นของ


๓๕๕ กระทรวงการคลังเปลี่ยนแปลงไป ก็ใหสงเรื่องใหกระทรวงการคลังพิจารณาอีกครั้งหนึ่ง จำเลยที่ ๑ จึงมีคำสั่งแตงตั้งคณะกรรมการสอบขอเท็จจริงความรับผิดทางละเมิดขึ้น ใหมตามคำสั่งที่ ๑๖๔/๒๕๕๗ เพื่อใหโอกาสเจาหนาที่ที่เกี่ยวของรวมถึงโจทกไดชี้แจง ขอเท็จจริงและโตแยงแสดงพยานหลักฐานอยางเพียงพอและเปนธรรม ตามระเบียบ สำนักนายกรัฐมนตรีวาดวยหลักเกณฑการปฏิบัติเกี่ยวกับความรับผิดทางละเมิดของเจาหนาที่ พ.ศ. ๒๕๓๙ นอกจากนั้น การที่โจทกไดชี้แจงขอเท็จจริงและสงพยานหลักฐานตาง ๆ ตอ กระทรวงการคลังเพื่อประกอบการพิจารณา กระทรวงการคลังโดยกรมบัญชีกลางจึงมี หนังสือถึงจำเลยที่ ๒ เพื่อสงเอกสารและพยานหลักฐานตาง ๆ ของโจทกใหจำเลยที่ ๑ พิจารณา และหากปรากฏวาขอเท็จจริงหรือเอกสารหลักฐานดังกลาวเปนพยานหลักฐานใหม ซึ่งอาจทำใหความเห็นของกระทรวงการคลังเปลี่ยนแปลงไป ก็ใหสงเรื่องใหกระทรวง การคลังพิจารณาอีกครั้งหนึ่ง เปนกระบวนการสอบสวนที่เปดโอกาสใหโจทกไดชี้แจง ขอเท็จจริงและโตแยงแสดงพยานหลักฐานของตนอยางเพียงพอและเปนธรรมแลว ประกอบ กับระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีวาดวยหลักเกณฑการปฏิบัติเกี่ยวกับความรับผิด ทางละเมิดของเจาหนาที่ พ.ศ. ๒๕๓๙ ขอ ๑๗ วรรคสอง ที่ระบุวา ใหผูแตงตั้งสงสำนวนภายใน เจ็ดวันนับแตวันวินิจฉัยสั่งการใหกระทรวงการคลังเพื่อตรวจสอบ เวนแตเปนเรื่องที่ กระทรวงการคลังประกาศกำหนดไมตองรายงานใหกระทรวงการคลังตรวจสอบ ดังนั้น การที่กระทรวงการคลังมีหนังสือแจงมายังจำเลยที่ ๑ วา หากไมปรากฏขอเท็จจริงหรือ พยานหลักฐานใหมก็ไมตองสงรายงานผลการสอบขอเท็จจริงความรับผิดทางละเมิดให กระทรวงการคลังพิจารณาอีกครั้งหนึ่ง จำเลยที่ ๑ จึงมีอำนาจพิจารณาและวินิจฉัยวา ขอเท็จจริงหรือพยานหลักฐานของโจทกเปนขอเท็จจริงหรือพยานหลักฐานใหมที่จะทำ ใหความเห็นของกระทรวงการคลังเปลี่ยนแปลงไปหรือไม เมื่อจำเลยที่ ๑ พิจารณาแลว เห็นวาเอกสารหลักฐานของโจทกไมใชเอกสารหรือพยานหลักฐานใหม จำเลยที่ ๑ จึง ไมจำตองสงรายงานผลการสอบขอเท็จจริงและความเห็นของคณะกรรมการสอบขอเท็จจริง ความรับผิดทางละเมิดไปใหกระทรวงการคลังพิจารณาแตอยางใด การที่จำเลยที่ ๑ มีคำสั่งแตงตั้งคณะกรรมการสอบขอเท็จจริงความรับผิด ทางละเมิด ตามคำสั่งที่ ๑๖๔/๒๕๕๗ ซึ่งตอมาคณะกรรมการไดรายงานผลการสอบขอเท็จจริง ความรับผิดทางละเมิดใหจำเลยที่ ๒ ทราบเมื่อวันที่ ๓๑ ตุลาคม ๒๕๕๗ วา โจทกกระทำ ดวยความประมาทเลินเลออยางรายแรงทำใหเกิดการละเมิด จึงตองรับผิดชดใชคาสินไหม ทดแทนแกจำเลยที่ ๑ จึงถือไดวาจำเลยทั้งสองรูถึงการละเมิดและรูตัวเจาหนาที่ผูจะพึง


๓๕๖ ใชคาสินไหมทดแทนในวันดังกลาว เมื่อนับถึงวันที่จำเลยที่ ๑ มีคำสั่งที่ ๓๓๓/๒๕๕๗ ลงวันที่ ๑๓ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ จึงยังไมเกินกำหนด ๒ ป ตาม พ.ร.บ. ความรับผิด ทางละเมิดของเจาหนาที่ พ.ศ. ๒๕๓๙ มาตรา ๑๐ วรรคสอง คำสั่งของจำเลยที่ ๑ ดังกลาว จึงไมขาดอายุความ และการที่จำเลยที่ ๑ มีคำสั่งอายัดเงินโบนัสและเงินโบนัสเพิ่มเติมของ โจทกตามขอบังคับของจำเลยที่ ๑ วาดวยการจายเงินโบนัสพนักงาน พ.ศ. ๒๕๕๑ ขอ ๑๐ เพื่อนำมาชำระคาสินไหมทดแทนใหแกจำเลยที่ ๑ ตามคำสั่งดังกลาวจึงชอบดวยกฎหมาย ที่โจทกอุทธรณวา จำเลยที่ ๑ มีคำสั่งอายัดเงินโบนัสและเงินโบนัสเพิ่มเติมพน กำหนด ๒ ป ตาม พ.ร.บ. ความรับผิดทางละเมิดของเจาหนาที่ พ.ศ. ๒๕๓๙ มาตรา ๑๐ วรรคสองนั้น โจทกเพิ่งยกขึ้นอางในชั้นอุทธรณจึงเปนขอที่ไมไดยกขึ้นวากันมาแลว โดยชอบในศาลแรงงานกลาง เปนอุทธรณที่ไมชอบตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๒๒๕ วรรคหนึ่ง ประกอบ พ.ร.บ. จัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๕๔ วรรคหนึ่ง ศาลแรงงานกลางฟงขอเท็จจริงวา กอนคดีนี้โจทกเคยฟองจำเลยทั้งสองตอ ศาลแรงงานกลางเปนคดีหมายเลขดำที่ ๑๕๔๗/๒๕๕๕ ขอใหเพิกถอนคำสั่งของจำเลยที่ ๑ ที่ ๑๙๗/๒๕๕๔ ที่ลงโทษตัดเงินเดือนโจทกและใหจำเลยทั้งสองรวมกันคืนเงินเดือนและ ชดใชคาเสียหายพรอมดอกเบี้ยของตนเงินแตละจำนวนนับแตวันฟองเปนตนไป แตคดี ดังกลาวศาลฎีกามีคำพิพากษายกคำพิพากษาศาลแรงงานกลาง ใหศาลแรงงานกลาง ฟงขอเท็จจริงวาโจทกกระทำผิดตามขอกลาวหาหรือไม และโจทกมีสิทธิไดรับคาเสียหาย หรือไม เพียงใด แลวพิจารณาพิพากษาใหมตามรูปคดี เมื่อคดีดังกลาวอยูในระหวางการ พิจารณาของศาลแรงงานกลาง ดังนั้น การที่โจทกมาฟองคดีนี้ขอใหจำเลยทั้งสองรวมกัน ใชดอกเบี้ยสวนตางของเงินเดือน เงินจากวันลาพักผอนสะสม เงินตอบแทนความชอบ และเงินสมทบกองทุนสำรองเลี้ยงชีพแกโจทก ซึ่งเนื้อหาตามคำขอสวนนี้เปนสวนที่ เกี่ยวเนื่องกับที่โจทกฟองจำเลยทั้งสองตอศาลแรงงานกลางตามคดีดังกลาว แมโจทกจะมี คำขอเรียกดอกเบี้ยเพิ่มเติมหลังจากฟองคดีแรก แตคำขอดังกลาวก็สืบเนื่องมาจากมูลคดี เดียวกัน คำฟองในสวนนี้จึงเปนฟองซอนตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๑๗๓ วรรคสอง (๑) ประกอบ พ.ร.บ. จัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๓๑ โจทกฟองขอใหเพิกถอนคำสั่งจำเลยที่ ๑ ที่ ๓๓๓/๒๕๕๗ ที่ใหโจทกชดใชคาสินไหม ทดแทน ๑,๑๖๖,๒๑๑ บาท ใหจำเลยทั้งสองรวมกันคืนเงินโบนัสพรอมดอกเบี้ยจนถึงวันฟอง


๓๕๗ เปนเงิน ๗๔๖,๔๒๘.๐๕ บาท และชำระดอกเบี้ยอัตรารอยละ ๗.๕ ตอปของตนเงิน ๕๗๓,๑๐๕ บาท นับถัดจากวันฟองเปนตนไปจนกวาจะชำระเสร็จแกโจทก และใหรวมกันชดใชดอกเบี้ยเนื่องจาก การคืนเงินสวนตางของเงินเดือน เงินลาพักผอน เงินตอบแทนความชอบ และเงินสมทบ กองทุนสำรองเลี้ยงชีพลาชาเปนเงิน ๓๕,๓๘๗.๘๕ บาท แกโจทก จำเลยทั้งสองใหการขอใหยกฟอง ศาลแรงงานกลางพิพากษายกฟอง โจทกอุทธรณ ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษแผนกคดีแรงงานวินิจฉัยวา มีปญหาตองวินิจฉัยตามอุทธรณ ของโจทกประการแรกวา กรณีมีเหตุเพิกถอนคำสั่งของจำเลยที่ ๑ ที่ ๓๓๓/๒๕๕๗ ลงวันที่ ๑๓ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ หรือไม เห็นวา อุทธรณของโจทกดังกลาวเปนการโตแยงดุลพินิจในการรับฟง พยานหลักฐานของศาลแรงงานกลางที่ฟงขอเท็จจริงวาโจทกปฏิบัติหนาที่ดวยความประมาท เลินเลออยางรายแรง อันเปนอุทธรณในขอเท็จจริง ซึ่งตองหามมิใหอุทธรณตามพระราชบัญญัติ จัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๕๔ วรรคหนึ่ง ศาลอุทธรณ คดีชำนัญพิเศษไมรับวินิจฉัย ที่โจทกอุทธรณวา คำสั่งของจำเลยที่ ๑ ที่ ๓๓๓/๒๕๕๗ ไมชอบดวยกฎหมายนั้น เห็นวา ตามคำสั่งของจำเลยที่ ๑ ที่ ๒๑๑/๒๕๕๓ ลงวันที่ ๑๖ สิงหาคม ๒๕๕๓ เมื่อคณะกรรมการ สอบขอเท็จจริงความรับผิดทางละเมิดสอบขอเท็จจริงแลวเสร็จ จำเลยที่ ๑ ไดรายงานผลการสอบ ขอเท็จจริงใหกระทรวงการคลังตรวจสอบ กระทรวงการคลังโดยกรมบัญชีกลางตรวจสอบแลวพบวา ยังไมไดมีการสอบปากคำและใหโอกาสโจทกและเจาหนาที่บางคนไดชี้แจงขอเท็จจริงและโตแยง แสดงพยานหลักฐาน จึงขอใหจำเลยที่ ๑ ตรวจสอบและใหโอกาสโจทกและเจาหนาที่ไดชี้แจง ขอเท็จจริงและโตแยงแสดงพยานหลักฐานอยางเพียงพอและเปนธรรม จำเลยที่ ๑ จึงมีคำสั่ง เพิกถอนคำสั่งดังกลาวและแตงตั้งคณะกรรมการสอบขอเท็จจริงความรับผิดทางละเมิดใหม ตาม คำสั่งที่ ๑๖๔/๒๕๕๗ ลงวันที่ ๑๗ พฤษภาคม ๒๕๕๗ กรณีจึงเปนการปฏิบัติตามที่กระทรวง การคลังแจงมา และมิใชเปนการแตงตั้งคณะกรรมการสอบขอเท็จจริงความรับผิดทางละเมิด ในเหตุเดียวกัน ๒ ครั้ง เนื่องจากคำสั่งแตงตั้งคณะกรรมการสอบขอเท็จจริงความรับผิดทางละเมิด คำสั่งแรกไดถูกยกเลิกไปแลว อุทธรณของโจทกฟงไมขึ้น สวนที่โจทกอุทธรณวา คณะกรรมการสอบขอเท็จจริงความรับผิดทางละเมิดไมไดให โอกาสโจทกอยางเพียงพอและเปนธรรมในการแกขอกลาวหาหรือโตแยงแสดงพยานหลักฐาน และจำเลยที่ ๑ ไมไดสงรายงานผลการสอบขอเท็จจริงและความเห็นของคณะกรรมการสอบ


๓๕๘ ขอเท็จจริงความรับผิดทางละเมิดไปใหกระทรวงการคลังตรวจสอบกอน จึงเปนการไมชอบดวย กฎหมายนั้น เห็นวา เมื่อพิจารณาหนังสือของกระทรวงการคลังโดยกรมบัญชีกลาง เรื่อง แจงผล การพิจารณาความรับผิดทางละเมิด ถึงจำเลยที่ ๒ ตาม ระบุไววา เนื่องจากการสอบสวนเรื่องนี้ มีเจาหนาที่ที่เกี่ยวของกับความเสียหายหลายคนและจากการสอบสวนเบื้องตนปรากฏวา ยังมิได มีการสอบปากคำและใหโอกาสเจาหนาที่บางคนไดชี้แจงขอเท็จจริงและโตแยงแสดงพยานหลักฐาน จึงขอใหจำเลยที่ ๑ ตรวจสอบและใหโอกาสเจาหนาที่ไดชี้แจงขอเท็จจริงและโตแยงแสดงพยาน หลักฐานอยางเพียงพอและเปนธรรมกอนออกคำสั่งเรียกใหชดใชคาสินไหมทดแทน และหาก ปรากฏขอเท็จจริงหรือพยานหลักฐานใดที่จะทำใหความเห็นของกระทรวงการคลังเปลี่ยนแปลง ไปก็ใหสงเรื่องใหกระทรวงการคลังพิจารณาอีกครั้งหนึ่ง จำเลยที่ ๑ จึงมีคำสั่งแตงตั้งคณะกรรมการ สอบขอเท็จจริงความรับผิดทางละเมิดขึ้นใหม ตามคำสั่งที่ ๑๖๔/๒๕๕๗ ลงวันที่ ๑๗ พฤษภาคม ๒๕๕๗ เพื่อใหโอกาสเจาหนาที่ที่เกี่ยวของรวมถึงโจทกไดชี้แจงขอเท็จจริงและโตแยงแสดงพยาน หลักฐานของตนอยางเพียงพอและเปนธรรมตอคณะกรรมการสอบขอเท็จจริงชุดใหมตามระเบียบ สำนักนายกรัฐมนตรีวาดวยหลักเกณฑการปฏิบัติเกี่ยวกับความรับผิดทางละเมิดของเจาหนาที่ พ.ศ. ๒๕๓๙ ขอ ๑๕ นอกจากนั้น การที่โจทกไดชี้แจงขอเท็จจริงและสงพยานหลักฐานตาง ๆ ตอกระทรวงการคลังเพื่อประกอบการพิจารณากับรายงานของคณะกรรมการสอบขอเท็จจริง ความรับผิดทางละเมิดที่จำเลยที่ ๑ สงใหกระทรวงการคลังตรวจสอบ กระทรวงการคลังโดย กรมบัญชีกลางจึงมีหนังสือถึงจำเลยที่ ๒ เพื่อสงเอกสารและพยานหลักฐานตาง ๆ ของโจทกใหจำเลย ที่ ๑ พิจารณา และหากปรากฏวาขอเท็จจริงและเอกสารหลักฐานดังกลาวเปนพยานหลักฐานใหม ซึ่งอาจทำใหความเห็นของกระทรวงการคลังเปลี่ยนแปลงไป ก็ใหสงเรื่องใหกระทรวงการคลัง พิจารณาอีกครั้งหนึ่ง ตาม ก็เปนกระบวนการสอบสวนที่เปดโอกาสใหโจทกไดชี้แจงขอเท็จจริง และโตแยงแสดงพยานหลักฐานของตนอยางเพียงพอและเปนธรรมแลว ไมวาโจทกจะไดชี้แจงตอ คณะกรรมการสอบขอเท็จจริงความรับผิดทางละเมิดที่จำเลยที่ ๑ ตั้งขึ้น หรือกรณีที่โจทกชี้แจง ขอเท็จจริงและสงพยานหลักฐานตาง ๆ ไปใหกระทรวงการคลังพิจารณาดวยตนเอง ซึ่งกระทรวง การคลังไดสงพยานหลักฐานของโจทกใหจำเลยที่ ๑ พิจารณาอีกครั้ง ประกอบกับเมื่อพิจารณา ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีวาดวยหลักเกณฑการปฏิบัติเกี่ยวกับความรับผิดทางละเมิดของ เจาหนาที่ พ.ศ. ๒๕๓๙ ขอ ๑๗ วรรคสองที่ระบุวา ใหผูแตงตั้งสงสำนวนภายในเจ็ดวันนับแต วันวินิจฉัยสั่งการใหกระทรวงการคลังเพื่อตรวจสอบ เวนแตเปนเรื่องที่กระทรวงการคลังประกาศ กำหนดไมตองรายงานใหกระทรวงการคลังตรวจสอบ ซึ่งตามระเบียบดังกลาวโดยหลักการจำเลยที่ ๑ ตองสงรายงานผลการสอบขอเท็จจริงความรับผิดทางละเมิดไปยังกระทรวงการคลังเพื่อ


๓๕๙ ตรวจสอบ เวนแตกระทรวงการคลังประกาศกำหนดวาไมตองรายงานใหกระทรวงการคลังตรวจสอบ ดังนั้น การที่กระทรวงการคลังมีหนังสือแจงมายังจำเลยที่ ๑ วาหากไมปรากฏขอเท็จจริงหรือพยาน หลักฐานใหมก็ไมตองสงรายงานผลการสอบขอเท็จจริงความรับผิดทางละเมิดใหกระทรวงการคลัง พิจารณาอีกครั้งหนึ่ง จำเลยที่ ๑ จึงมีอำนาจพิจารณาและวินิจฉัยวาขอเท็จจริงหรือพยานหลักฐาน ของโจทกที่สงใหกระทรวงการคลังเปนขอเท็จจริงหรือพยานหลักฐานใหมที่จะทำใหความเห็นของ กระทรวงการคลังเปลี่ยนแปลงไปหรือไม เมื่อจำเลยที่ ๑ พิจารณาเอกสารหลักฐานของโจทกตาม ที่ปรากฏตอคณะกรรมการสอบขอเท็จจริงความรับผิดทางละเมิด และเอกสารหลักฐานของโจทก ที่จำเลยที่ ๑ ไดรับจากกระทรวงการคลังแลวเห็นวา ไมใชเอกสารหรือพยานหลักฐานใหม จำเลยที่ ๑ จึงไมจำตองสงรายงานผลการสอบขอเท็จจริงและความเห็นของคณะกรรมการสอบขอเท็จจริง ความรับผิดทางละเมิดไปใหกระทรวงการคลังพิจารณากอนแตอยางใด อุทธรณของโจทกขอนี้ ฟงไมขึ้น และที่โจทกอุทธรณวา คำสั่งของจำเลยที่ ๑ ที่ ๓๓๓/๒๕๕๗ ที่ใหโจทกชดใชคาสินไหม ทดแทนขาดอายุความ ๒ ปแลว นับแตวันที่ ๑๔ พฤศจิกายน ๒๕๕๕ ซึ่งเปนวันที่จำเลยทั้งสอง รูถึงการละเมิดและรูตัวผูจะพึงตองใชคาสินไหมทดแทน ตามพระราชบัญญัติความรับผิดทาง ละเมิดของเจาหนาที่ พ.ศ. ๒๕๓๙ มาตรา ๑๐ วรรคสองนั้น เห็นวา จำเลยที่ ๑ มีคำสั่งแตงตั้ง คณะกรรมการสอบขอเท็จจริงความรับผิดทางละเมิด ตามคำสั่งที่ ๑๖๔/๒๕๕๗ ลงวันที่ ๑๗ พฤษภาคม ๒๕๕๗ ซึ่งตอมาคณะกรรมการไดรายงานผลการสอบขอเท็จจริงความรับผิดทางละเมิดใหจำเลยที่ ๒ ทราบเมื่อวันที่ ๓๑ ตุลาคม ๒๕๕๗ วา โจทกกระทำดวยความประมาทเลินเลออยางรายแรง ทำใหเกิดการละเมิด จึงตองรับผิดชดใชคาสินไหมทดแทนใหแกจำเลยที่ ๑ จึงถือไดวาจำเลย ทั้งสองรูถึงการละเมิดและรูตัวเจาหนาที่ผูจะพึงตองใชคาสินไหมทดแทนตั้งแตวันที่ ๓๑ ตุลาคม ๒๕๕๗ เมื่อนับถึงวันที่จำเลยที่ ๑ มีคำสั่งที่ ๓๓๓/๒๕๕๗ ลงวันที่ ๑๓ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ ใหโจทก ชดใชคาสินไหมทดแทนแกจำเลยที่ ๑ จึงยังไมเกินกำหนด ๒ ป นับแตวันที่จำเลยทั้งสองรูถึง การละเมิดและรูตัวเจาหนาที่ผูจะพึงตองใชคาสินไหมทดแทน ตามพระราชบัญญัติความรับผิด ทางละเมิดของเจาหนาที่ พ.ศ. ๒๕๓๙ มาตรา ๑๐ วรรคสอง คำสั่งของจำเลยที่ ๑ ที่ ๓๓๓/๒๕๕๗ จึงไมขาดอายุความ อุทธรณของโจทกขอนี้ฟงไมขึ้นเชนกัน คำสั่งของจำเลยที่ ๑ ที่ ๓๓๓/๒๕๕๗ ลงวันที่ ๑๓ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ จึงชอบดวยกฎหมาย กรณีไมมีเหตุเพิกถอนคำสั่งดังกลาว มีปญหาตองวินิจฉัยตามอุทธรณของโจทกประการตอไปวา จำเลยทั้งสองตองรวมกัน คืนเงินโบนัสพรอมดอกเบี้ยตามฟองแกโจทกหรือไม เห็นวา เมื่อไดวินิจฉัยแลววาคำสั่งของจำเลยที่ ๑ ที่ ๓๓๓/๒๕๕๗ ลงวันที่ ๑๓ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ เปนคำสั่งที่ชอบดวยกฎหมาย โจทกจึง


๓๖๐ มีหนี้ที่จะตองชำระคาสินไหมทดแทนแกจำเลยที่ ๑ ตามคำสั่งดังกลาว ดังนั้น การที่จำเลยที่ ๑ มีคำสั่งอายัดเงินโบนัสและเงินโบนัสเพิ่มเติมของโจทกเพื่อนำมาชำระคาสินไหมทดแทน ใหแก จำเลยที่ ๑ ตามขอบังคับการทางพิเศษแหงประเทศไทยวาดวยการจายเงินโบนัสพนักงาน พ.ศ. ๒๕๕๑ ขอ ๑๐ จึงชอบดวยกฎหมาย อุทธรณของโจทกฟงไมขึ้น และที่โจทกอุทธรณวา จำเลยที่ ๑ มีคำสั่งอายัดเงินโบนัสและเงินโบนัสเพิ่มเติม พนกำหนดอายุความ ๒ ป ตามพระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจาหนาที่ พ.ศ. ๒๕๓๙ มาตรา ๘ (ที่ถูก มาตรา ๑๐ วรรคสอง) นั้น เห็นวา อุทธรณดังกลาวของโจทกเพิ่งยกขึ้นอางใน ชั้นอุทธรณจึงเปนขอที่ไมไดยกขึ้นวากันมาแลวโดยชอบในศาลแรงงานกลาง เปนอุทธรณที่ไมชอบ ดวยประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพง มาตรา ๒๒๕ วรรคหนึ่ง ประกอบพระราชบัญญัติ จัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๕๔ วรรคหนึ่ง ศาลอุทธรณ คดีชำนัญพิเศษไมรับวินิจฉัย ที่ศาลแรงงานกลางวินิจฉัยวาจำเลยทั้งสองไมตองคืนเงินโบนัส พรอมดอกเบี้ยแกโจทกนั้น ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษเห็นพองดวย อุทธรณของโจทกฟงไมขึ้น มีปญหาตองวินิจฉัยตามอุทธรณของโจทกประการตอไปวา จำเลยทั้งสองตองรวมกัน ชดใชดอกเบี้ยสวนตางของเงินเดือน เงินจากวันลาพักผอนสะสม เงินตอบแทนความชอบ และ เงินสมทบกองทุนสำรองเลี้ยงชีพแกโจทกหรือไม เห็นวา ศาลแรงงานกลางฟงขอเท็จจริงวา กอนคดีนี้ โจทกเคยฟองจำเลยทั้งสองตอศาลแรงงานกลางเปนคดีหมายเลขดำที่ ๑๕๔๗/๒๕๕๕ ขอให เพิกถอนคำสั่งของจำเลยที่ ๑ ที่ ๑๙๗/๒๕๕๔ ลงวันที่ ๒๑ มิถุนายน ๒๕๕๔ ที่ลงโทษตัดเงินเดือน โจทกรอยละ ๑๐ เปนเวลา ๑ เดือน ใหจำเลยทั้งสองรวมกันคืนเงินเดือน ๗,๓๓๗ บาท พรอม ดอกเบี้ยอัตรารอยละ ๗.๕ ตอปของตนเงินจำนวนดังกลาวนับจากวันที่ ๒๙ กรกฎาคม ๒๕๕๔ เปนตนไป ใหชดใชคาเสียหาย ๑,๓๙๘,๑๐๐ บาท พรอมดอกเบี้ยอัตรารอยละ ๗.๕ ตอปของตนเงิน จำนวนดังกลาวนับจากวันฟองเปนตนไป และเสียภาษีเงินไดบุคคลธรรมดาใหแกโจทก แต คดีดังกลาวศาลฎีกามีคำพิพากษายกคำพิพากษาศาลแรงงานกลาง ใหศาลแรงงานกลางฟง ขอเท็จจริงวา โจทกกระทำความผิดตามขอกลาวหาหรือไม และโจทกมีสิทธิไดรับคาเสียหายหรือไม เพียงใด แลวพิจารณาพิพากษาใหมตามรูปคดี เมื่อคดีดังกลาวอยูในระหวางพิจารณาของ ศาลแรงงานกลาง ดังนั้น การที่โจทกมาฟองคดีนี้ขอใหจำเลยทั้งสองรวมกันชดใชดอกเบี้ยสวนตาง ของเงินเดือน เงินจากวันลาพักผอนสะสม เงินตอบแทนความชอบ และเงินสมทบกองทุนสำรอง เลี้ยงชีพแกโจทก ซึ่งเนื้อหาตามคำขอในสวนนี้เปนสวนที่เกี่ยวเนื่องกับที่โจทกฟองจำเลยทั้งสอง ตอศาลแรงงานกลางเปนคดีหมายเลขดำที่ ๑๕๔๗/๒๕๕๕ แมการฟองคดีนี้โจทกจะมีคำขอเรียก ดอกเบี้ยเพิ่มเติมหลังจากฟองคดีแรก แตคำขอดังกลาวก็สืบเนื่องมาจากมูลคดีเดียวกัน การยื่น


๓๖๑ คำฟองในสวนนี้จึงเปนฟองซอนตองหามตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพง มาตรา ๑๗๓ วรรคสอง (๑) ประกอบพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๓๑ ที่ศาลแรงงานกลางวินิจฉัยมานั้น ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษเห็นพองดวย อุทธรณ ของโจทกฟงไมขึ้นเชนกัน พิพากษายืน. ฐานุตร เล็กสุภาพ - ยอ สุโรจน จันทรพิทักษ - ตรวจ (พิเชฏฐ รื่นเจริญ - โสภณ พรหมสุวรรณ - ศราวุธ ภาณุธรรมชัย)


๓๖๒ คำพิพากษาศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษที่ ๑๐๙๘/๒๕๖๑ บริษัทแคมฟล (ประเทศไทย) จำกัด โจทก นายวีระชัย วีรวัฒนปรัชญา จำเลย ป.พ.พ. มาตรา ๓๗๙, ๓๘๐, ๓๘๓ วรรคหนึ่ง ป.วิ.พ. มาตรา ๓๕๙ พ.ร.บ. วาดวยขอสัญญาที่ไมเปนธรรม พ.ศ. ๒๕๔๐ มาตรา ๕ ขอตกลงตามสัญญาจางงานเอกสารหมาย จ.๔ และ จ.๕ ขอ ๖.๑ ดังกลาว เปน เพียงขอจำกัดหามประกอบอาชีพอันเปนการแขงขันกับโจทก และระบุจำกัดประเภทธุรกิจ ไวอยางชัดเจน มิไดเปนการหามจำเลยประกอบอาชีพอันเปนการปดทางทำมาหาไดโดย เด็ดขาด และจำเลยมีสิทธิเสรีภาพในการประกอบอาชีพอื่น หรือทำงานในบริษัทซึ่งประกอบ ธุรกิจที่อยูนอกเหนือขอตกลงและนอกขอบเขตพื้นที่ที่หามได ลักษณะของขอตกลงที่ กอใหเกิดหนี้ในการงดเวนการกระทำตามที่กำหนดโดยความสมัครใจของคูกรณีเชนนี้ ไมเปนการตัดการประกอบอาชีพของจำเลยทั้งหมดเสียทีเดียว เพียงแตเปนการหามประกอบ อาชีพบางอยางที่เปนการแขงขันกับโจทกในระยะเวลาหนึ่งเทานั้น ลักษณะขอหาม ของโจทกกระทำไปเพื่อปกปองขอมูลความลับและธุรกิจการคาของโจทกใหอยูรอดดำเนินการ ตอไปได จึงเปนสัญญาตางตอบแทนที่รักษาสิทธิและประโยชนของคูกรณีที่เปนไปโดยชอบ ในเชิงของการประกอบธุรกิจ ไมเปนการเกินสมควรหรือเอาเปรียบกันในการทำสัญญา อันจะเขาลักษณะขอสัญญาที่ไมเปนธรรม เปนขอตกลงที่ชอบดวยกฎหมาย ไมขัดตอ รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย และความสงบเรียบรอยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน ที่ศาลแรงงานกลางมีคำพิพากษาหามจำเลยทำงานใหแกบริษัท อ. หรือบริษัทอื่นที่ประกอบ กิจการประเภทเดียวกันกับโจทกภายในระยะเวลา ๒ ป นับแตวันที่จำเลยออกจากงาน จึงชอบดวยกฎหมายแลว และเปนการพิพากษาตามขอตกลงในสัญญาจางงานที่กอให เกิดหนี้ในการงดเวนการกระทำตามที่กำหนดโดยความสมัครใจของคูกรณีซึ่งมีผลใช บังคับได อีกทั้งยังสามารถดำเนินการบังคับคดีไดตามความใน ป.วิ.พ. มาตรา ๓๕๙ ที่ แกไขใหม


๓๖๓ สัญญาจางงานเอกสารหมาย จ.๕ ขอ ๖.๓ ระบุวา ในกรณีที่ลูกจางฝาฝนเงื่อนไข ในขอไมทำการเปนคูแขง นายจางมีสิทธิบังคับลูกจางใหหยุดการกระทำที่ฝาฝนนั้นได โดยนายจางยังมีสิทธิเรียกรองใหลูกจางชดใชคาสินไหมทดแทนความเสียหายใหแก นายจางเปนจำนวน ๑,๐๐๐,๐๐๐ บาท ยอมเปนขอสัญญาที่มีลักษณะเปนการกำหนด คาเสียหายจากการผิดสัญญาไวลวงหนา จึงเปนเบี้ยปรับตาม ป.พ.พ. มาตรา ๓๗๙, ๓๘๐ ซึ่งไมจำตองพิสูจนถึงความเสียหายที่แทจริงโดยพยานหลักฐานอันใดอีก และเบี้ยปรับ เปนสวนหนึ่งของคาเสียหาย หากกำหนดไวสูงเกินสวน ศาลแรงงานกลางมีอำนาจ ใชดุลพินิจลดเบี้ยปรับลงเปนจำนวนพอสมควรก็ได โดยคำนึงถึงทางไดเสียของเจาหนี้หรือ โจทกทุกอยางอันชอบดวยกฎหมาย ไมใชแตเพียงทางไดเสียในเชิงทรัพยสินตาม ป.พ.พ. มาตรา ๓๘๓ วรรคหนึ่ง นอกจากนี้เบี้ยปรับยังเปนการกำหนดขึ้นเพื่อลงโทษจำเลยซึ่งมี ฐานะเปนลูกหนี้ผิดสัญญาจางงานดวย จึงชอบที่จะพิจารณามูลเหตุของการผิดสัญญาของ ลูกหนี้วาเปนการจงใจกระทำผิดสัญญาเพื่อแสวงหาประโยชนใสตนอันเปนการไดเปรียบ กวาอีกฝายหนึ่งดวยหรือไม ศาลแรงงานกลางจะใชดุลพินิจไมใหคาเสียหายสวนนี้เลย หาไดไม เพราะไมมีบทบัญญัติใน ป.พ.พ. มาตราใดที่ใหอำนาจงดเบี้ยปรับเสียทั้งหมด จึงใหศาลแรงงานกลางฟงขอเท็จจริงเพิ่มเติมถึงทางไดเสียของโจทกทุกอยางอันชอบดวย กฎหมาย ไดแก จุดมุงหมายของขอสัญญาที่กำหนดวาภายในระยะเวลา ๒ ป นับจาก จำเลยออกจากการเปนลูกจางของโจทก จำเลยจะตองไมไปเปนลูกจางหรือดำรงตำแหนง หรือเปนหุนสวนในกิจการใด ๆ ที่ประกอบธุรกิจเปนคูแขงกับโจทก ความจำเปนที่ตอง ทำสัญญาไวเชนนี้ ความสำคัญของตำแหนงหนาที่การงานของจำเลยตอโจทก ความเสียหายอื่น ที่มิใชทรัพยสิน รวมตลอดถึงเหตุผลที่จำเลยผิดสัญญาจางงานวาเปนการกระทำไป โดยจงใจเพื่อแสวงหาประโยชนใสตนเปนการไดเปรียบกวาอีกฝายหนึ่งหรือไมเสียกอน แลวใชดุลพินิจพิเคราะหถึงขอเท็จจริงทางไดเสียของโจทกทุกอยางอันชอบดวยกฎหมาย แลวกำหนดเบี้ยปรับเปนจำนวนพอสมควร โจทกฟองขอใหบังคับหามไมใหจำเลยทำงานใหแกบริษัทเอเอเอฟ อินเตอรเนชั่นแนล (ประเทศไทย) จำกัด หรือบริษัทอื่นที่ประกอบกิจการประเภทเดียวกันกับโจทก ภายในระยะเวลา ๒ ป นับแตวันที่จำเลยออกจากงาน (วันที่ ๓๐ มิถุนายน ๒๕๕๙) กับใหจำเลยชดใชคาเสียหาย ๑,๖๔๘,๖๑๐.๕๖ บาท พรอมดอกเบี้ยอัตรารอยละ ๗.๕ ตอป ของตนเงินดังกลาว นับถัดจาก


๓๖๔ วันฟองเปนตนไปจนกวาจะชำระเสร็จแกโจทก และใหจำเลยชดใชคาเสียหายใหแกโจทกในอัตรา เดือนละ ๗๔,๓๐๕.๒๘ บาท พรอมดอกเบี้ยอัตรารอยละ ๗.๕ ตอป ของตนเงินดังกลาว นับแต เดือนกันยายน ๒๕๕๙ เปนตนไปจนกวาจำเลยจะออกจากงานที่บริษัทเอเอเอฟ อินเตอรเนชั่นแนล (ประเทศไทย) จำกัด แตทั้งนี้ ไมเกิน ๒๔ เดือน นับแตเดือนสิงหาคม ๒๕๕๙ จำเลยใหการขอใหยกฟอง ศาลแรงงานกลางพิจารณาแลว พิพากษาหามไมใหจำเลยทำงานใหแกบริษัทเอเอเอฟ อินเตอรเนชั่นแนล (ประเทศไทย) จำกัด หรือบริษัทอื่นที่ประกอบกิจการประเภทเดียวกันกับโจทก ภายในระยะเวลา ๒ ป นับจากวันที่จำเลยออกจากงาน (วันที่ ๓๐ มิถุนายน ๒๕๕๙) คำขออื่น นอกจากนี้ใหยก โจทกและจำเลยอุทธรณ ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษแผนกคดีแรงงานวินิจฉัยวา ขอเท็จจริงที่ยุติ ในชั้นพิจารณา ของศาลแรงงานกลางวา โจทกเปนนิติบุคคลประเภทบริษัทจำกัด เมื่อวันที่ ๑ พฤศจิกายน ๒๕๔๙ โจทกรับจำเลยเขาทำงานเปนลูกจาง ตำแหนงสุดทายเปนผูจัดการผลิตภัณฑและปฏิบัติการ ไดรับ คาจางอัตราสุดทายเดือนละ ๗๔,๓๐๕.๒๘ บาท สัญญาจางงานฉบับแรกมีขอหามเกี่ยวกับการ ไมกระทำเปนคูแขงวา เมื่อจำเลยพนจากการเปนลูกจางโจทก ไมใหจำเลยเขาเปนลูกจางของ นิติบุคคลอื่นที่ประกอบธุรกิจและเปนคูแขงทางการคากับโจทกภายใน ๒ ป นับแตพนจากการเปน ลูกจาง แตไมไดกำหนดคาเสียหายไว ตอมามีการทำสัญญาจางงานฉบับใหมซึ่งมีขอหามเกี่ยวกับ การไมกระทำเปนคูแขงเชนเดียวกัน และในกรณีที่ลูกจางฝาฝน มีการกำหนดคาเสียหายไวเปน เงิน ๑,๐๐๐,๐๐๐ บาท เมื่อวันที่ ๑๑ พฤษภาคม ๒๕๕๙ จำเลยยื่นหนังสือลาออกตอโจทกโดย ใหมีผลพนจากการเปนลูกจางวันที่ ๓๐ มิถุนายน ๒๕๕๙ ตอมา เดือนสิงหาคม ๒๕๕๙ จำเลยเขา ทำงานเปนลูกจางบริษัทเอเอเอฟ อินเตอรเนชั่นแนล (ประเทศไทย) จำกัด ซึ่งขายสินคาประเภท เดียวกันกับโจทก คดีมีปญหาตองวินิจฉัยตามอุทธรณของจำเลยประการแรกวา คำพิพากษา ศาลแรงงานกลางที่หามจำเลยทำงานใหแกบริษัทเอเอเอฟ อินเตอรเนชั่นแนล (ประเทศไทย) จำกัด หรือบริษัทอื่นที่ประกอบกิจการประเภทเดียวกันกับโจทกภายในระยะเวลา ๒ ป นับแตวันที่จำเลย ออกจากงาน เปนการจำกัดสิทธิและเสรีภาพในการทำงานของจำเลยอันขัดตอรัฐธรรมนูญแหง ราชอาณาจักรไทยหรือไมนั้น เห็นวา ขอตกลงตามสัญญาจางงานเอกสารหมาย จ.๔ และ จ.๕ ขอ ๖.๑ ดังกลาว เปนเพียงขอจำกัดหามการประกอบอาชีพอันเปนการแขงขันกับโจทก และระบุ จำกัดประเภทธุรกิจไวอยางชัดเจน มิไดเปนการหามจำเลยประกอบอาชีพอันเปนการปดทาง ทำมาหาไดโดยเด็ดขาดและจำเลยมีสิทธิเสรีภาพในการประกอบอาชีพอื่น หรือทำงานในบริษัท


๓๖๕ ซึ่งประกอบธุรกิจที่อยูนอกเหนือขอตกลงและนอกขอบเขตพื้นที่ที่หามได ลักษณะของขอตกลง ที่กอใหเกิดหนี้ในการงดเวนการกระทำตามที่กำหนดโดยความสมัครใจของคูกรณีเชนนี้ ไมเปน การตัดการประกอบอาชีพของจำเลยทั้งหมดเสียทีเดียว เพียงแตเปนการหามประกอบอาชีพ บางอยางที่เปนการแขงขันกับโจทกในระยะเวลาหนึ่งเทานั้น ลักษณะขอหามของโจทกกระทำไป เพื่อปกปองขอมูลความลับและธุรกิจการคาของโจทกใหอยูรอดดำเนินการตอไปได จึงเปนสัญญา ตางตอบแทนที่รักษาสิทธิและประโยชนของคูกรณีที่เปนไปโดยชอบในเชิงของการประกอบธุรกิจ ไมเปนการเกินสมควรหรือเอาเปรียบกันในการทำสัญญา อันจะเขาลักษณะขอสัญญาที่ไมเปนธรรม ขอตกลงดังกลาวยอมมีผลใชบังคับได โจทกจึงมีสิทธิบังคับจำเลยใหหยุดการกระทำที่ฝาฝน ขอสัญญาดังกลาวได เปนขอตกลงที่ชอบดวยกฎหมาย ไมขัดตอรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย และความสงบเรียบรอยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน ดังนั้น ที่ศาลแรงงานกลางมีคำพิพากษา หามจำเลยทำงานใหแกบริษัทเอเอเอฟ อินเตอรเนชั่นแนล (ประเทศไทย) จำกัด หรือบริษัทอื่นที่ ประกอบกิจการประเภทเดียวกันกับโจทกภายในระยะเวลา ๒ ป นับแตวันที่จำเลยออกจากงาน จึงชอบดวยกฎหมายแลวศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษเห็นพองดวย อุทธรณของจำเลยขอนี้ ฟงไมขึ้น ปญหาตองวินิจฉัยตามอุทธรณของจำเลยประการสุดทายวา คำพิพากษาศาลแรงงานกลาง ไมมีสภาพบังคับเพราะสภาพแหงหนี้ไมเปดชองใหบังคับคดีไดหรือไมนั้น เห็นวา คำพิพากษาของ ศาลแรงงานกลางเปนการพิพากษาตามขอตกลงในสัญญาจางงานที่กอใหเกิดหนี้ในการงดเวน การกระทำตามที่กำหนดโดยความสมัครใจของคูกรณีซึ่งมีผลใชบังคับไดดังที่กลาวมาแลวในขางตน อีกทั้งยังสามารถดำเนินการบังคับคดีไดตามความในประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพง มาตรา ๓๕๙ คดีมีปญหาตองวินิจฉัยตามอุทธรณของโจทกประการแรกวา โจทกมีสิทธิไดรับ คาเสียหายจากการที่จำเลยจงใจกระทำผิดสัญญาจางงานหรือไม ที่โจทกอุทธรณวา สัญญาจางงาน ที่พิพาทไดกำหนดเบี้ยปรับจากการกระทำผิดสัญญาจางของจำเลยไวชัดแจงแลว ศาลแรงงานกลาง จึงไมมีอำนาจงดเบี้ยปรับได เห็นวา สัญญาจางงานเอกสารหมาย จ.๕ ขอ ๖.๓ ระบุวา ในกรณีที่ ลูกจางฝาฝนเงื่อนไขในขอไมทำการเปนคูแขง นายจางมีสิทธิบังคับลูกจางใหหยุดการกระทำที่ ฝาฝนนั้นได โดยนายจางยังมีสิทธิเรียกรองใหลูกจางชดใชคาสินไหมทดแทนความเสียหายใหแก นายจางเปนจำนวน ๑,๐๐๐,๐๐๐ บาท ยอมเปนขอสัญญาที่มีลักษณะเปนการกำหนดคาเสียหาย จากการผิดสัญญาไวลวงหนา จึงเปนเบี้ยปรับตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา ๓๗๙ และ ๓๘๐ ซึ่งไมจำตองพิสูจนถึงความเสียหายที่แทจริงโดยพยานหลักฐานอันใดอีก และเบี้ยปรับ เปนสวนหนึ่งของคาเสียหาย หากกำหนดไวสูงเกินสวน ศาลแรงงานกลางมีอำนาจใชดุลพินิจ


๓๖๖ ลดเบี้ยปรับลงเปนจำนวนพอสมควรก็ได โดยคำนึงถึงทางไดเสียของเจาหนี้หรือโจทกทุกอยาง อันชอบดวยกฎหมาย ไมใชแตเพียงทางไดเสียในเชิงทรัพยสินตามประมวลกฎหมายแพงและ พาณิชยมาตรา ๓๘๓ วรรคหนึ่ง กลาวคือศาลแรงงานกลางจะตองคำนึงทางไดเสียของโจทกใน ฐานะเจาหนี้ทุกอยางอันชอบดวยกฎหมาย มิใชเฉพาะความเสียหายที่คำนวณไดเปนเงินเทานั้น นอกจากนี้เบี้ยปรับยังเปนการกำหนดขึ้นเพื่อลงโทษจำเลยซึ่งมีฐานะเปนลูกหนี้ผิดสัญญาจางงานดวย จึงชอบที่จะพิจารณามูลเหตุของการผิดสัญญาของลูกหนี้วาเปนการจงใจกระทำผิดสัญญา เพื่อแสวงหาประโยชนใสตนอันเปนการไดเปรียบกวาอีกฝายหนึ่งดวยหรือไม ศาลแรงงานกลาง จะใชดุลพินิจไมใหคาเสียหายสวนนี้เลยหาไดไม เพราะไมมีบทบัญญัติในประมวลกฎหมายแพง และพาณิชยมาตราใดที่ใหอำนาจงดเบี้ยปรับเสียทั้งหมด การที่ศาลแรงงานกลางวินิจฉัยวา โจทก ไมสามารถนำสืบใหเห็นวาในการสงจำเลยไปฝกอบรมนั้นมีคาใชจายอะไร จำนวนเทาไหร จึงไม สามารถรับฟงไดวาโจทกไดรับความเสียหาย จึงไมกำหนดคาเสียหายใหแกโจทก จึงมีผลเทากับ ศาลแรงงานกลางงดเบี้ยปรับเสียทั้งหมด ไมไดใชดุลพินิจกำหนดเบี้ยปรับเปนจำนวนพอสมควร ดังนั้น จึงใหศาลแรงงานกลางฟงขอเท็จจริงเพิ่มเติมถึงทางไดเสียของโจทกทุกอยางอันชอบดวย กฎหมาย ไดแกจุดมุงหมายของขอสัญญาที่กำหนดวาภายในระยะเวลา ๒ ป นับจากจำเลยออก จากการเปนลูกจางของโจทก จำเลยจะตองไมไปเปนลูกจางหรือดำรงตำแหนงหรือเปนหุนสวน ในกิจการใด ๆ ที่ประกอบธุรกิจเปนคูแขงกับโจทก ความจำเปนที่ตองทำสัญญาไวเชนนี้ ความสำคัญของตำแหนงหนาที่การงานของจำเลยตอโจทก ความเสียหายอื่นที่มิใชทรัพยสิน รวมตลอด ถึงเหตุผลที่จำเลยผิดสัญญาจางงานวาเปนการกระทำไปโดยจงใจเพื่อแสวงหาประโยชนใสตน เปนการไดเปรียบกวาอีกฝายหนึ่งหรือไมเสียกอน แลวใชดุลพินิจพิเคราะหถึงขอเท็จจริง ทางไดเสียของโจทกทุกอยางอันชอบดวยกฎหมายแลวกำหนดเบี้ยปรับเปนจำนวนพอสมควร ที่ศาลแรงงานกลางวินิจฉัยมานั้น ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษไมเห็นพองดวย อุทธรณของโจทกฟงขึ้น ที่โจทกอุทธรณตอไปวาเมื่อวันที่ ๑๑ สิงหาคม ๒๕๕๙ โจทกแจงใหจำเลยหยุดการทำงานกับ บริษัทเอเอเอฟ อินเตอรเนชั่นแนล (ประเทศไทย) จำกัด แตจำเลยยังคงทำงานตอไป การกระทำ ของจำเลยเปนการจงใจผิดสัญญามาตั้งแตแรก สงผลใหยอดขายของโจทกในป ๒๕๕๙ ลดลงไป ๑๐,๐๐๐,๐๐๐ บาท จำเลยจะตองชดใชคาเสียหายใหแกโจทกเปนรายเดือนตลอดไปจนกวาจำเลย จะออกจากงานที่บริษัทดังกลาว และที่โจทกอุทธรณอีกวาโจทกเสียคาใชจาย ๓,๐๐๐,๐๐๐ บาท เพื่อสงจำเลยไปฝกอบรมความรูเกี่ยวกับผลิตภัณฑสินคาของโจทก ศาลแรงงานกลางจึงชอบที่จะ กำหนดคาเสียหายและคาใชจายในการลงทุนเพื่อสงเสริมความรูความสามารถของจำเลย เห็นวา คาเสียหายทั้งสองสวนที่โจทกเรียกรองจากจำเลยนี้ มิใชคาเสียหายที่กำหนดไวในสัญญาจาง


๓๖๗ เอกสารหมาย จ.๕ ขอ ๖.๓ จึงมิใชเบี้ยปรับตามที่ไดวินิจฉัยมาแลวในตอนตน เมื่อศาลแรงงานกลาง ฟงขอเท็จจริงมาแลววา โจทกสงตัวจำเลยไปสวนใหญเปนการอบรมความรูเกี่ยวกับผลิตภัณฑ สินคาของโจทกวาจะขายอยางไร โดยไมปรากฏวาโจทกไดแสดงคาเสียหายคาใชจายในการอบรม อยางไร และการอบรมดังกลาวนั้นก็มิไดเปนการเพิ่มทักษะความสามารถของจำเลยเพิ่มขึ้นเปน อยางมาก แตก็เพื่อประโยชนในการขายสินคาของโจทกโดยตรง อีกทั้งโจทกก็ไมสามารถแสดง ใหศาลแรงงานกลางเห็นไดวาในการอบรมครั้งนั้น มีคาใชจายอะไร เทาไหร ทั้งโจทกก็ไมไดแสดง ใหเห็นวาจำเลยนำขอมูลที่สำคัญเกี่ยวกับการบริหารงานวางแผนการตลาด แผนกลยุทธและ ผลิตภัณฑของโจทกไปใชพัฒนาธุรกิจของบริษัทเอเอเอฟ อินเตอรเนชั่นแนล (ประเทศไทย) จำกัด อยางไร และทำใหโจทกไดรับความเสียหายเพราะเหตุนี้อยางไร อุทธรณของโจทกทั้งสองขอนี้ ลวนเปนการอุทธรณโตแยงดุลพินิจในการรับฟงพยานหลักฐานของศาลแรงงานกลาง อันเปน อุทธรณในขอเท็จจริง ซึ่งตองหามมิใหอุทธรณตามพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแรงงานและวิธี พิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๕๔ วรรคหนึ่ง ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษจึงไมรับ วินิจฉัย พิพากษาแกเปนวาใหยกคำพิพากษาศาลแรงงานกลางที่วินิจฉัยประเด็นเกี่ยวกับความ รับผิดในเรื่องเบี้ยปรับ ใหยอนสำนวนไปใหศาลแรงงานกลางฟงขอเท็จจริงและวินิจฉัยในประเด็น ดังกลาวพรอมกับกำหนดจำนวนเบี้ยปรับ แลวพิพากษาประเด็นนี้ใหมตามรูปคดี นอกจากที่แก ใหเปนไปตามคำพิพากษาศาลแรงงานกลาง. มนุเชษฐ โรจนศิริบุตร - ยอ สุโรจน จันทรพิทักษ - ตรวจ (นาวี สกุลวงศธนา - มาลิน ภูพงศ จุลมนต - นงนภา จันทรศักดิ์ ลิ่มไพบูลย)


๓๖๘ คำพิพากษาศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษที่ ๑๒๒๔/๒๕๖๑ นายสมบูรณ ลาภทวี โจทก บริษัทเจ. เอส. เท็คนิคัล เซอรวิสเซส จำกัด จำเลย ป.วิ.พ. มาตรา ๒๓๑, ๒๘๙ พ.ร.บ. จัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๕๔ วรรคหนึ่ง, ๕๗ กรณีที่ยังไมมีการบังคับคดี หากลูกหนี้ตามคำพิพากษาไมประสงคจะใหเจาหนี้ ตามคำพิพากษาบังคับคดี ก็ตองรองขอตอศาลใหมีการทุเลาการบังคับคดี ตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๒๓๑ ประกอบ พ.ร.บ. จัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๕๔ วรรคหนึ่ง หาใชการงดการบังคับคดีดังที่โจทกกลาวอางไม และเมื่อมีการบังคับคดี ตามคำพิพากษาแลว ขั้นตอนใด ๆ ที่ไดดำเนินการบังคับคดีไปแลว คูความมิอาจขอให งดการบังคับคดีได สวนขั้นตอนใดที่ยังมิไดกระทำหรือกระทำตอไป เจาหนี้หรือลูกหนี้ตาม คำพิพากษาก็อาจขอใหงดการบังคับคดีไดโดยมีเงื่อนไขเปนไปตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๒๘๙ ที่แกไขใหมประกอบ พ.ร.บ. จัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๕๗ คดีนี้มีการบังคับคดีโดยอายัดสิทธิเรียกรองเงินฝากของจำเลยไวแลว ตอมา ธนาคารไดสงเงินที่อายัดใหแกเจาพนักงานบังคับคดีแตยังมิไดจายเงินใหแกโจทก จำเลย ยอมมีสิทธิรองขอใหงดการบังคับคดีโดยใหระงับการจายเงินไวกอนจนกวาคดีจะถึงที่สุดได คดีสืบเนื่องมาจากศาลแรงงานกลางพิพากษาใหจำเลยจายคาชดเชยและสินจางแทน การบอกกลาวลวงหนาพรอมดอกเบี้ยแกโจทก จำเลยไมชำระหนี้ตามคำพิพากษา โจทกขอออก หมายบังคับคดีโดยอายัดสิทธิเรียกรองเงินในบัญชีเงินฝากธนาคารกสิกรไทย จำกัด (มหาชน) สาขาเอกมัย ประเภทออมทรัพย กระแสรายวัน เผื่อเรียก และฝากประจำของจำเลย ตอมาธนาคาร กสิกรไทย จำกัด (มหาชน) สาขาเอกมัย ไดสงเงินตามคำสั่งอายัดใหแกเจาพนักงานบังคับคดีแลว วันที่ ๗ กันยายน ๒๕๖๐ จำเลยยื่นคำรองขอใหงดการบังคับคดีโดยขอใหศาลแรงงานกลางมีคำสั่ง ระงับการจายเงินที่เจาพนักงานบังคับคดีอายัดไวแกโจทกจนกวาคดีจะถึงที่สุด โดยอางวาจำเลย ไดยื่นอุทธรณและมีโอกาสชนะคดี โจทกคัดคาน ศาลแรงงานกลางไตสวนแลวมีคำสั่งใหงดการ บังคับคดีไวจนกวาคดีจะถึงที่สุดโจทกอุทธรณ


๓๖๙ ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษแผนกคดีแรงงานวินิจฉัยวา มีปญหาตองวินิจฉัยตามอุทธรณ ของโจทกวา จำเลยมีสิทธิขอใหศาลแรงงานกลางงดการบังคับคดีหรือไมโดยโจทกอุทธรณวา การ บังคับคดีงดไดเฉพาะการบังคับคดีที่ยังไมไดกระทำ แตคดีนี้มีการบังคับคดีแลวจำเลยไมมีสิทธิ ขอใหงดการบังคับคดีไดอีก เห็นวา กรณีที่ยังไมมีการบังคับคดีหากลูกหนี้ตามคำพิพากษาไมประสงค จะใหเจาหนี้ตามคำพิพากษาบังคับคดี ก็ตองรองขอตอศาลใหมีการทุเลาการบังคับคดี ตามประมวล กฎหมายวิธีพิจารณาความแพง มาตรา ๒๓๑ ประกอบพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแรงงานและวิธี พิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๕๔ วรรคหนึ่ง หาใชการงดการบังคับคดีดังที่โจทก กลาวอางไม และเมื่อมีการบังคับคดีตามคำพิพากษาแลว ขั้นตอนใด ๆ ที่ไดดำเนินการบังคับคดี ไปแลว คูความมิอาจขอใหงดการบังคับคดีได สวนขั้นตอนใดที่ยังมิไดกระทำหรือที่จะกระทำตอไป เจาหนี้หรือลูกหนี้ตามคำพิพากษาก็อาจขอใหงดการบังคับคดีไดโดยมีเงื่อนไขเปนไปตามประมวล กฎหมายวิธีพิจารณาความแพง มาตรา ๒๘๙ ที่แกไขใหมประกอบพระราชบัญญัติจัดตั้ง ศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๕๗ คดีนี้มีการบังคับคดีโดยการอายัด สิทธิเรียกรองเงินฝากของจำเลยไวแลว ตอมาธนาคารไดสงเงินที่อายัดใหแกเจาพนักงานบังคับคดี แตยังมิไดมีการจายเงินใหแกโจทก จำเลยยอมมีสิทธิรองขอใหงดการบังคับคดีโดยใหระงับการ จายเงินไวกอนจนกวาคดีจะถึงที่สุดได ที่ศาลแรงงานกลางมีคำสั่งใหงดการบังคับคดีโดยใหระงับ การจายเงินใหแกโจทกจนกวาคดีจะถึงที่สุดจึงชอบแลว อุทธรณของโจทกฟงไมขึ้น พิพากษายืน. ฐานุตร เล็กสุภาพ - ยอ สุโรจน จันทรพิทักษ - ตรวจ (ดำรงค ทรัพยผล - อนันต คงบริรักษ - วัฒนา สุขประดิษฐ)


๓๗๐ คำพิพากษาศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษที่ ๑๘๒๑/๒๕๖๑ บริษัทวาย.วาย.เอส อินเตอรเนชั่นแนล โลจิสติกส จำกัด โจทก คณะกรรมการ แรงงานสัมพันธ จำเลย นายประสิทธิ์ ใชเจริญ จำเลยรวม ป.วิ.พ. มาตรา ๑๘๐, ๒๒๕ วรรคหนึ่ง พ.ร.บ. คุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา ๑๔๓ วรรคหนึ่ง พ.ร.บ. จัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๙ วรรคสอง, ๓๑, ๓๙, ๕๔ วรรคหนึ่ง พ.ร.บ. จัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มิไดบัญญัติ ถึงวิธีการหรือหลักเกณฑในการขอแกไขคำฟองไวจึงตองนำ ป.วิ.พ. มาตรา ๑๘๐ มาใช บังคับโดยอนุโลมตาม พ.ร.บ. จัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๓๑ ซึ่ง ป.วิ.พ. มาตรา ๑๘๐ บัญญัติวา การแกไขคำฟองหรือคำใหการที่คูความ เสนอตอศาลไวแลว ใหทำเปนคำรองยื่นตอศาลกอนวันชี้สองสถาน หรือกอนวันนัดสืบพยาน ไมนอยกวาเจ็ดวัน ในกรณีที่ไมมีการชี้สองสถาน เวนแตมีเหตุอันสมควรที่ไมอาจยื่นคำรอง ไดกอนนั้นหรือเปนการขอแกไขในเรื่องที่เกี่ยวกับความสงบเรียบรอยของประชาชน หรือเปนการแกไขขอผิดพลาดเล็กนอยหรือขอผิดหลงเล็กนอย ในคดีแรงงาน ถือไดวาไมมีการชี้สองสถานเพราะการกำหนดประเด็นขอพิพาทและกำหนดวันสืบพยาน เปนการดำเนินกระบวนพิจารณาไปตาม พ.ร.บ. จัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดี แรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๓๙ ซึ่งบัญญัติไวโดยเฉพาะ ฉะนั้น โจทกจะตองยื่นคำรอง ขอแกไขคำฟองกอนวันสืบพยานไมนอยกวา ๗ วัน เวนแตมีเหตุยกเวนตามบทบัญญัติขางตน เมื่อคดีนี้มีการสืบพยานจำเลยและจำเลยรวมจนแลวเสร็จ โจทกเพิ่งยื่นคำรองขอแกไข เพิ่มเติมคำฟองในเรื่องดังกลาว จึงลวงเลยระยะเวลาที่โจทกจะยื่นคำรองขอแกไขเพิ่มเติม คำฟอง ประกอบกับโจทกเปนผูฟองคดีนี้ตอศาลแรงงานกลางเองทั้งโจทกเคยรับขอเท็จจริง วาจำเลยรวมเปนลูกจางโจทกเทากับโจทกไดยอมรับอำนาจพิจารณาพิพากษาคดีของ


๓๗๑ ศาลแรงงานกลางแลว จึงไมถือวามีเหตุอันสมควรที่ไมอาจยื่นคำรองไดกอนนั้นหรือ เปนการขอแกไขในเรื่องที่เกี่ยวกับความสงบเรียบรอยของประชาชน หรือเปนการแกไข ขอผิดพลาดเล็กนอยหรือขอผิดหลงเล็กนอยแตอยางใด และกรณีไมมีปญหาวาคดีจะอยูใน อำนาจของศาลแรงงานหรือไม ตาม พ.ร.บ. จัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๙ วรรคสอง สวนที่โจทกอุทธรณวาสัญญาระหวางโจทกและจำเลยรวมเปนสัญญาจางทำของ และสัญญารับขน ไมใชสัญญาจางแรงงานนั้น เมื่อไดวินิจฉัยแลววาที่ศาลแรงงานกลาง มีคำสั่งไมอนุญาตใหโจทกแกไขเพิ่มเติมคำฟองชอบดวยกฎหมาย ประกอบกับโจทกเปน ผูฟองคดีนี้ตอศาลแรงงานกลางและยอมรับขอเท็จจริงวาจำเลยรวมเปนลูกจางโจทก จึงไมมีปญหาตองวินิจฉัยตามอุทธรณของโจทกดังกลาว แมโจทกจะนำพยานเขาสืบใน ประเด็นดังกลาวและศาลแรงงานกลางวินิจฉัยใหมาก็เปนการนำสืบพยานหลักฐานและ วินิจฉัยคดีนอกประเด็นไมชอบดวยกระบวนพิจารณา อุทธรณของโจทกดังกลาวจึงเปน ขอที่มิไดยกขึ้นวากันมาแลวโดยชอบในศาลแรงงานกลาง ตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๒๒๕ วรรคหนึ่ง ประกอบ พ.ร.บ. จัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๕๔ วรรคหนึ่ง ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษไมรับวินิจฉัย โจทกฟอง ขอใหเพิกถอนคำสั่งของคณะกรรมการแรงงานสัมพันธที่ ๒๐๐/๒๕๕๘ ลงวันที่ ๓ มิถุนายน ๒๕๕๘ จำเลยใหการ ขอใหยกฟอง ระหวางพิจารณานายประสิทธิ์ ยื่นคำรองขอเขาเปนจำเลยรวม ศาลแรงงานกลางมีคำสั่ง อนุญาต จำเลยรวมขอถือเอาคำใหการของจำเลยเปนคำใหการของจำเลยรวม ศาลแรงงานกลาง พิพากษายกฟอง โจทกอุทธรณ ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษแผนกคดีแรงงานวินิจฉัยวา จำเลยรวมทำงานกับโจทก ตั้งแตวันที่ ๒๐ กันยายน ๒๕๕๒ ตำแหนงพนักงานขับรถขนสงสินคา (เทรลเลอร) ไดรับคาจาง เดือนละ ๕,๐๐๐ บาท และคาเบี้ยเลี้ยงในการขับรถขนสงสินคาตามระยะทางใกลไกล รวมไดรับ คาจางและเบี้ยเลี้ยงเดือนละ ๒๐,๐๐๐ บาทเศษ เมื่อวันที่ ๕ มีนาคม ๒๕๕๘ โจทกเลิกจางจำเลยรวม


๓๗๒ โดยอางวาฝาฝนระเบียบขอบังคับเกี่ยวกับการทำงาน ไมปฏิบัติงานในหนาที่ที่รับผิดชอบและ ไมปฏิบัติตามคำสั่งหรือขัดคำสั่งในการมอบหมายงานจากผูบังคับบัญชาตามประกาศเอกสาร หมาย ล.๑ แผนที่ ๕๐ และ ๕๑ ตอมาวันที่ ๑๘ มีนาคม ๒๕๕๘ จำเลยรวมยื่นคำรองตอจำเลยวา โจทกเลิกจางเพราะเหตุจำเลยรวมเปนแกนนำรวมลงลายมือชื่อยื่นขอเรียกรองและเปนผูแทน เจรจาเปนการกระทำอันไมเปนธรรมตามมาตรา ๑๒๑ (๑) แหงพระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ พ.ศ. ๒๕๑๘ ขอใหโจทกจายคาเสียหาย จำเลยพิจารณาแลวมีคำสั่งวาโจทกเลิกจางจำเลยรวม เปนการฝาฝนมาตรา ๑๒๑ (๑) แหงพระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ พ.ศ. ๒๕๑๘ เปนการกระทำ อันไมเปนธรรม ใหโจทกจายคาเสียหายแกจำเลยรวมเปนเงิน ๑๒๐,๔๐๐ บาท ตามคำสั่ง คณะกรรมการแรงงานสัมพันธที่ ๒๐๐/๒๕๕๘ แลววินิจฉัยวา โจทกฟองคดีนี้โดยไมปรากฏขอเท็จจริง วาจำเลยดำเนินการโดยไมชอบดวยกฎหมายอยางไร โจทกไมไดโตแยงอำนาจวินิจฉัยของจำเลย วาสัญญาระหวางโจทกกับจำเลยรวมเปนสัญญาจางทำของ มิใชสัญญาจางแรงงานมาตั้งแตแรก เมื่อพิเคราะหเอกสารที่เกี่ยวของกับโจทกและจำเลยรวมซึ่งไดแก สัญญาจาง หนังสือตักเตือน หนังสือชี้แจง และหนังสือสำคัญการจายคาชดเชยแลว เห็นไดชัดวาสัญญาระหวางโจทกกับ จำเลยรวมมีลักษณะที่นายจางสามารถบังคับบัญชาควบคุมสั่งการและสามารถลงโทษลูกจางตาม ขอบังคับเกี่ยวกับการทำงานในหมวดวินัยและโทษทางวินัยอันมีลักษณะเปนสัญญาจางแรงงาน ซึ่งอยูในอำนาจวินิจฉัยของจำเลยตามกฎหมายแลว สำหรับเบี้ยเลี้ยงที่โจทกอางวาไมใชคาจางนั้น เมื่อพิเคราะหตามหลักฐานการแจงรายไดประจำเดือน ใบสำคัญการจายเบี้ยเลี้ยงประจำเดือนและ บันทึกการทำงานประจำวันของจำเลยรวม เมื่อรวมเบี้ยเลี้ยงกับเงินเดือน ๕,๐๐๐ บาท แลวปรากฏ วาจำเลยรวมมีรายไดประจำเฉลี่ยเดือนละมากกวา ๑๐,๐๐๐ บาท ถึง ๒๐,๐๐๐ บาท เบี้ยเลี้ยง ดังกลาวจึงเปนเงินที่โจทกตกลงจายเปนคาตอบแทนการทำงานใหแกจำเลยรวมและพนักงาน ขับรถคนอื่น ๆ สำหรับระยะเวลาการทำงานปกติของวันทำงานซึ่งถือเปนคาจางตามสัญญาจาง แรงงาน พยานหลักฐานของโจทกไมมีน้ำหนักหักลางพยานหลักฐานของจำเลย คำสั่งของจำเลย ที่ใหโจทกจายคาเสียหายแกจำเลยรวม ๑๒๐,๔๐๐ บาท จึงชอบดวยกฎหมายแลว ไมมีเหตุให แกไขเปลี่ยนแปลงหรือเพิกถอนคำสั่งที่ ๒๐๐/๒๕๕๘ ลงวันที่ ๓ มิถุนายน ๒๕๕๘ คดีมีปญหาตองวินิจฉัยตามอุทธรณของโจทกวา ศาลแรงงานกลางไมอนุญาตใหโจทก แกไขเพิ่มเติมคำฟองและยกคำรองชอบดวยกฎหมายหรือไม โจทกอุทธรณวา สัญญาระหวางโจทก กับจำเลยรวมเปนสัญญาจางทำของและสัญญารับขนไมใชสัญญาจางแรงงาน ศาลแรงงานกลาง จึงไมมีอำนาจพิจารณาคดีนี้ ขอใหสงสำนวนไปใหประธานศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษวินิจฉัย และมีคำสั่งเกี่ยวกับเขตอำนาจศาลนั้น เห็นวา พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณา


๓๗๓ คดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มิไดบัญญัติถึงวิธีการหรือหลักเกณฑในการขอแกไขเพิ่มเติมคำฟองไว จึงตองนำประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพง มาตรา ๑๘๐ มาใชบังคับโดยอนุโลมตาม พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๓๑ ซึ่งประมวล กฎหมายวิธีพิจารณาความแพง มาตรา ๑๘๐ บัญญัติวา “การแกไขคำฟองหรือคำใหการที่คูความ เสนอตอศาลไวแลว ใหทำเปนคำรองยื่นตอศาลกอนวันชี้สองสถาน หรือกอนวันนัดสืบพยาน ไมนอยกวาเจ็ดวัน ในกรณีที่ไมมีการชี้สองสถาน เวนแตมีเหตุอันสมควรที่ไมอาจยื่นคำรองไดกอนนั้น หรือเปนการขอแกไขในเรื่องที่เกี่ยวกับความสงบเรียบรอยของประชาชน หรือเปนการแกไข ขอผิดพลาดเล็กนอยหรือขอผิดหลงเล็กนอย” ในคดีแรงงานถือไดวาไมมีการชี้สองสถานเพราะ การกำหนดประเด็นขอพิพาทและกำหนดวันสืบพยานเปนการดำเนินกระบวนพิจารณาไปตาม พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๓๙ ซึ่งบัญญัติ ไวโดยเฉพาะ ฉะนั้น โจทกจะตองยื่นคำรองขอแกไขคำฟองกอนวันสืบพยานไมนอยกวา ๗ วัน เวนแตมีเหตุยกเวนตามบทบัญญัติขางตน ดังนั้นเมื่อคดีนี้มีการสืบพยานจำเลยและจำเลยรวม จนแลวเสร็จ โจทกเพิ่งยื่นคำรองขอแกไขเพิ่มเติมคำฟองในเรื่องดังกลาว จึงลวงเลยระยะเวลาที่ โจทกจะยื่นคำรองขอแกไขเพิ่มเติมคำฟอง ประกอบกับคดีไดความวาโจทกเปนผูฟองคดีนี้ตอ ศาลแรงงานกลางเอง ทั้งโจทกเคยรับขอเท็จจริงวาจำเลยรวมเปนลูกจางโจทกตามรายงานกระบวน พิจารณาฉบับลงวันที่ ๑๖ ตุลาคม ๒๕๕๘ และทนายความโจทกแถลงวาโจทกเลิกจางจำเลยรวม เพราะขัดคำสั่งนายจางโดยชอบและเคยมีหนังสือตักเตือนจำเลยรวมแลวตามรายงานกระบวน พิจารณาฉบับลงวันที่ ๒๒ ธันวาคม ๒๕๕๙ เทากับโจทกไดยอมรับอำนาจพิจารณาพิพากษาคดี ของศาลแรงงานกลางแลว จึงไมถือวามีเหตุอันสมควรที่ไมอาจยื่นคำรองไดกอนนั้น หรือเปน การขอแกไขในเรื่องที่เกี่ยวกับความสงบเรียบรอยของประชาชน หรือเปนการแกไขขอผิดพลาด เล็กนอยหรือขอผิดหลงเล็กนอยแตอยางใด และกรณีไมมีปญหาวาคดีจะอยูในอำนาจของ ศาลแรงงานหรือไมตามพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๙ วรรคสอง ที่ศาลแรงงานกลางยกคำรองขอแกไขเพิ่มเติมคำฟองมานั้น ศาลอุทธรณ คดีชำนัญพิเศษเห็นพองดวยในผล อุทธรณของโจทกฟงไมขึ้น สวนที่โจทกอุทธรณวา สัญญาระหวางโจทกกับจำเลยรวมเปนสัญญาจางทำของและ สัญญารับขนไมใชสัญญาจางแรงงานนั้น เห็นวา เมื่อวินิจฉัยขางตนวาที่ศาลแรงงานกลางมีคำสั่ง ไมอนุญาตใหโจทกแกไขเพิ่มเติมคำฟองชอบดวยกฎหมายแลว ประกอบกับโจทกเปนผูฟองคดีนี้ ตอศาลแรงงานกลางและยอมรับขอเท็จจริงวาจำเลยรวมเปนลูกจางโจทก จึงไมมีปญหาตอง วินิจฉัยตามอุทธรณของโจทกดังกลาววาสัญญาระหวางโจทกและจำเลยรวมเปนสัญญาจางแรงงาน


๓๗๔ หรือไม แมโจทกจะนำพยานเขาสืบในประเด็นดังกลาวและศาลแรงงานกลางวินิจฉัยใหมาก็เปน การนำสืบพยานหลักฐานและวินิจฉัยคดีนอกประเด็นไมชอบดวยกระบวนพิจารณา อุทธรณของ โจทกดังกลาวจึงเปนขอที่มิไดยกขึ้นวากันมาแลวโดยชอบในศาลแรงงานกลาง เปนอุทธรณที่ไมชอบ ดวยประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพง มาตรา ๒๒๕ วรรคหนึ่ง ประกอบพระราชบัญญัติ จัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๕๔ วรรคหนึ่ง ศาลอุทธรณ คดีชำนัญพิเศษไมรับวินิจฉัย สำหรับอุทธรณโจทกที่วา ศาลแรงงานกลางวินิจฉัยคลาดเคลื่อนตอขอกฎหมายเกี่ยวกับ คาจางโดยนำคาเบี้ยเลี้ยงในการขับรถหรือคาเที่ยวมาคำนวณเปนคาจางซึ่งไมถูกตอง เนื่องจาก คาจางตองมีลักษณะการจายใหแกลูกจางแนนอนเปนประจำทุกเดือน แตกิจการของโจทกไม แนนอนวามีงานตองวาจางจำเลยรวมเพียงใด เงินคาเบี้ยเลี้ยงหรือคาเที่ยวมีลักษณะการจายที่ ไมแนนอนจึงไมใชคาจาง สวนเงินเดือนเดือนละ ๕,๐๐๐ บาท นั้น ก็ปรากฏขอเท็จจริงวาเปน เจตนาลวงที่แสดงตอสำนักงานประกันสังคมวาจำเลยมีสถานะเปนลูกจาง โดยไมมีเจตนาจาย กันจริง จึงไมใชคาจางนั้น เห็นวา ศาลแรงงานกลางฟงขอเท็จจริงวาจำเลยรวมไดรับคาจางเดือนละ ๕,๐๐๐ บาท และคาเบี้ยเลี้ยงในการขับรถหรือคาเที่ยวที่โจทกตกลงจายเปนคาตอบแทนการ ทำงานใหแกจำเลยรวมสำหรับระยะเวลาการทำงานปกติของวันทำงานถือเปนคาจาง ดังนั้น อุทธรณของโจทกดังกลาวจึงเปนการอุทธรณโตแยงและเพิ่มเติมขอเท็จจริงที่ศาลแรงงานกลางฟง มาเพื่อนำไปสูการวินิจฉัยขอกฎหมายอันเปนอุทธรณในขอเท็จจริง ซึ่งตองหามมิใหอุทธรณตาม พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๕๔ วรรคหนึ่ง ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษไมรับวินิจฉัยเชนกัน พิพากษายืน. (สุวรรณา แกวบุตตา - อนันต คงบริรักษ - วัฒนา สุขประดิษฐ) กิตติ เนตรประเสริฐชัย - ยอ สุโรจน จันทรพิทักษ - ตรวจ


๓๗๕ คำพิพากษาศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษที่ ๑๙๐๒/๒๕๖๑ ธนาคารอาคารสงเคราะห โจทก นายศักดาหรือศักดาพินิจ ณรงค หรือณรงคชาติโสภณ จำเลย ป.พ.พ. มาตรา ๔๐๗, ๔๑๙, ๑๓๓๖ ป.วิ.พ. มาตรา ๓๔๕ ศาลแรงงานกลางมีคำสั่งเพิกถอนคำสั่งพักงาน และใหโจทกจายเงินเดือน คาจาง และสิทธิประโยชนอื่นแกจำเลย จำเลยกลับไปปฏิบัติงานกับโจทกแลว การปฏิบัติงานใน ชวงเวลาดังกลาวยอมทำใหโจทกไดรับประโยชนจากการปฏิบัติงานของจำเลย แมตอมา ศาลฎีกามีคำพิพากษาใหเพิกถอนคำสั่งใหใชวิธีการชั่วคราวของศาลแรงงานกลาง และ พิพากษายกฟอง ก็หามีผลถึงการปฏิบัติงานของจำเลยไม จำเลยจึงไมตองคืนเงินเดือน คาจางและสิทธิประโยชนอื่นแกโจทก เมื่อศาลฎีกาพิพากษากลับใหยกฟองจำเลย โจทกยอมทราบแลววาโจทกไมมี หนาที่ตองจายคาตอบแทนพิเศษและคาจางแกจำเลย โจทกจึงมีหนาที่ตองมาขอรับเงิน ดังกลาวที่โจทกไดนำมาวางศาลไวคืนไปจากศาลแรงงานกลาง เมื่อโจทกไมมารับคืน ภายใน ๕ ป จนศาลแรงงานกลางมีคำสั่งใหตกเปนของแผนดินแลว จำเลยจึงไมตอง รับผิดชดใชเงินดังกลาวแกโจทก เงินเดือน คาจาง และสิทธิประโยชนที่โจทกจายใหจำเลยตามคำสั่งศาลแรงงานกลาง จนถึงวันที่ศาลฎีกามีคำพิพากษาใหยกฟองนั้น มิใชการจายโดยปราศจากมูลอันจะ อางกฎหมายได โจทกในฐานะเจาของเงินยอมมีสิทธิติดตามและเอาคืนซึ่งทรัพยสินของตน จากจำเลยไดตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๓๓๖ ซึ่งไมมีกำหนดอายุความ โจทกฟองและแกไขคำฟองวา ขอใหบังคับจำเลยคืนเงิน ๗,๙๕๕,๔๙๙.๗๗ บาท และ ๘๑,๘๖๑.๖๑ บาท พรอมดอกเบี้ยอัตรารอยละ ๗.๕ ตอป ของตนเงินแตละจำนวนดังกลาวนับถัดจาก วันฟองเปนตนไปจนกวาจะชำระเสร็จแกโจทก จำเลยใหการขอใหยกฟอง


๓๗๖ ระหวางพิจารณา จำเลยขอสละประเด็นเรื่องการมอบอำนาจฟองคดี และประเด็นเรื่อง ฟองซ้ำหรือดำเนินกระบวนพิจารณาซ้ำ ศาลแรงงานกลางพิพากษาใหจำเลยชำระเงิน ๒,๐๕๒,๔๑๐.๗๐ บาท พรอมดอกเบี้ย อัตรารอยละ ๗.๕ ตอป ของตนเงิน ๒,๐๐๒,๗๗๗ บาท นับแตวันที่ ๑ ธันวาคม ๒๕๔๙ และของ ตนเงิน ๔๙,๖๓๓.๗๐ บาท นับแตวันที่ ๑๖ มิถุนายน ๒๕๕๐ เปนตนไป จนกวาจะชำระเสร็จ แกโจทก คำขออื่นนอกจากนี้ใหยก โจทกและจำเลยอุทธรณ ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษแผนกคดีแรงงานวินิจฉัยวา ศาลแรงงานกลางฟงขอเท็จจริง วา จำเลยเขาทำงานเปนพนักงานโจทกตั้งแตวันที่ ๑๗ ตุลาคม ๒๕๒๐ ตอมาโจทกมีคำสั่งที่ พ.๑๒๗/๒๕๔๔ ลงวันที่ ๑๓ กรกฎาคม ๒๕๔๔ ใหพักงานจำเลย จำเลยยื่นฟองโจทกตอ ศาลแรงงานกลางขอใหเพิกถอนคำสั่งพักงาน เรียกคาเสียหาย และขอใหคุมครองชั่วคราวในระหวาง พิจารณา วันที่ ๒๑ มกราคม ๒๕๔๕ ศาลแรงงานกลางมีคำสั่งคุมครองชั่วคราวแกจำเลย ใหเพิกถอน คำสั่งพักงานเปนการชั่วคราว ใหโจทกจายเงินเดือน คาจางและสิทธิประโยชนอันพึงไดรับ ตามปกติแกจำเลยนับแตวันที่ ๑๓ กรกฎาคม ๒๕๔๔ ตลอดระยะเวลาที่จำเลยเปนพนักงานโจทก โจทกยื่นคำรองฉุกเฉินขอใหเพิกถอนคำสั่งคุมครองชั่วคราวดังกลาว ศาลแรงงานกลางยกคำรอง โจทกอุทธรณคำสั่งตอศาลฎีกา และไดจายเงินเดือน คาชวยเหลือบุตรและสิทธิประโยชนตาง ๆ แก จำเลยตั้งแตวันที่ ๑๔ กรกฎาคม ๒๕๔๔ ถึงวันที่ ๒๘ สิงหาคม ๒๕๔๕ เปนเงิน ๒,๓๕๓,๗๗๓.๗๘ บาท วันที่ ๒๙ มีนาคม ๒๕๔๕ จำเลยฟองโจทกตอศาลแรงงานกลางขอใหเพิกถอนคำสั่งเกี่ยวกับ การแตงตั้งคณะกรรมการสอบสวนขอเท็จจริงและคณะกรรมการสอบสวนทางวินัยแกจำเลย ตอมา วันที่ ๑๓ สิงหาคม ๒๕๔๕ โจทกมีคำสั่งที่ พ.๑๑๗/๒๕๔๕ ใหจำเลยออกจากการเปนพนักงาน และวันที่ ๒๓ สิงหาคม ๒๕๔๕ โจทกมีคำสั่งที่ พ.๑๒๓/๒๕๔๕ ใหไลจำเลยออกจากการเปน พนักงาน วันที่ ๒๖ สิงหาคม ๒๕๔๕ ศาลแรงงานกลางมีคำพิพากษาใหเพิกถอนคำสั่งของโจทก ที่สั่งพักงานจำเลยและคำสั่งอื่น ๆ รวมทั้งคำสั่งที่ใหจำเลยออกจากการเปนพนักงานและไลจำเลย ออกจากการเปนพนักงาน ใหจำเลยเขาปฏิบัติงานเปนพนักงานโจทก ใหโจทกจายเงินเดือน คาจาง และสิทธิประโยชนที่จำเลยพึงไดรับตั้งแตวันที่ ๑๓ กรกฎาคม ๒๕๔๔ เปนตนไป โจทกอุทธรณและ ขอทุเลาการบังคับระหวางอุทธรณในเหตุฉุกเฉิน วันที่ ๑๐ กันยายน ๒๕๔๕ ศาลแรงงานกลาง อนุญาตใหทุเลาการบังคับในสวนที่สั่งใหรับจำเลยกลับเขาทำงานเปนการชั่วคราวเพื่อรอคำวินิจฉัย ของศาลฎีกา แตใหโจทกจายคาจางแกจำเลยตอไปวันที่ ๒๙ ตุลาคม ๒๕๔๖ ศาลแรงงานกลาง อานคำพิพากษาศาลฎีกาที่โจทกอุทธรณคำสั่งขอคุมครองชั่วคราวกอนพิพากษา โดยศาลฎีกา


๓๗๗ พิพากษากลับใหเพิกถอนคำสั่งใหใชวิธีการชั่วคราวกอนพิพากษาของศาลแรงงานกลาง ซึ่งใน ระหวางรอคำวินิจฉัยของศาลฎีกานั้น โจทกจายเงินเดือนและคาชวยเหลือบุตรแกจำเลยตั้งแต เดือนกันยายน ๒๕๔๕ ถึงเดือนตุลาคม ๒๕๔๖ เปนเงินรวม ๑,๘๗๐,๔๐๐ บาท และเมื่อวันที่ ๒ ธันวาคม ๒๕๔๕ โจทกนำเงิน ๒๓๗,๘๘๐.๘๔ บาท มาวางศาลตอศาลแรงงานกลาง และแถลงวา เปนคาตอบแทนพิเศษอัตราสองเทาของเงินเดือนนอกเหนือจากเงินโบนัสประจำป ซึ่งไมใชคาจาง ตามปกติและโจทกยังไมตองจายจนกวาศาลฎีกาจะมีคำพิพากษาใหจำเลยชนะคดี และโจทกวาง คาจางเดือนพฤศจิกายน ๒๕๔๖ เปนเงิน ๔๘,๔๒๓ บาท ตอศาลแรงงานกลางดวย จำเลยใชสิทธิ เบิกคารักษาพยาบาลตั้งแตวันที่ ๒๔ ธันวาคม ๒๕๔๕ ถึงวันที่ ๒๔ เมษายน ๒๕๔๖ เปนเงิน ๔๙,๖๓๓.๗๐ บาท ตอมาศาลฎีกาไดพิพากษากลับใหยกฟองจำเลยที่ขอใหเพิกถอนคำสั่งพักงาน จำเลย และคำสั่งเกี่ยวกับการแตงตั้งคณะกรรมการสอบสวนขอเท็จจริงและคณะกรรมการสอบสวน ทางวินัย โจทกจึงมีหนังสือทวงถามใหจำเลยคืนเงินและสิทธิประโยชนตาง ๆ แกโจทก แตจำเลย เพิกเฉย โจทกฟองจำเลยตอศาลแรงงานกลาง ซึ่งศาลแรงงานกลางพิพากษาใหจำเลยคืนเงินที่ รับไวตั้งแตวันที่ ๑๑ กันยายน ๒๕๔๕ พรอมดอกเบี้ยนับแตวันที่ ๑ ธันวาคม ๒๕๔๙ กับใหคืน คารักษาพยาบาล ๔๙,๗๕๒.๔๙ บาท พรอมดอกเบี้ยนับแตวันที่ ๒๕ มิถุนายน ๒๕๕๐ เปนตนไป จนกวาจะชำระเสร็จ จำเลยอุทธรณ ศาลฎีกาพิพากษากลับใหยกฟองโจทกแตไมตัดสิทธิโจทกที่ จะฟองใหมภายในอายุความ โจทกจึงมายื่นฟองใหมเปนคดีนี้ คดีมีปญหาตองวินิจฉัยตามอุทธรณของโจทกขอ ๓.๑ วา จำเลยตองคืนเงินเดือนและ ผลประโยชนตอบแทนที่ไดรับในระหวางปฏิบัติหนาที่ตั้งแตวันที่ ๑๔ กรกฎาคม ๒๕๔๔ ถึงวันที่ ๑๐ กันยายน ๒๕๔๕ เปนเงิน ๒,๓๕๓,๗๗๓.๗๘ บาท ที่ไดรับจากโจทกตามคำสั่งคุมครองชั่วคราว ระหวางพิจารณาของศาลแรงงานกลาง แกโจทกหรือไม เห็นวา โจทกมีคำสั่งที่ พ.๑๒๗/๒๕๔๔ ลงวันที่ ๑๓ กรกฎาคม ๒๕๔๔ ใหพักงานจำเลย ตอมาจำเลยยื่นฟองโจทกตอศาลแรงงานกลาง ขอใหเพิกถอนคำสั่งพักงานและขอใหคุมครองชั่วคราวในระหวางพิจารณา ซึ่งศาลแรงงานกลาง มีคำสั่งคุมครองชั่วคราวแกจำเลย โดยใหเพิกถอนคำสั่งพักงานเปนการชั่วคราว ใหโจทกจาย เงินเดือน คาจางและสิทธิประโยชนอันพึงไดรับแกจำเลยตามปกติ นับแตวันที่ ๑๓ กรกฎาคม ๒๕๔๔ ตลอดระยะเวลาที่จำเลยเปนพนักงานโจทก ก็ไดความวาจำเลยกลับไปปฏิบัติงานตามอำนาจ หนาที่ที่ไดรับมอบหมายจากโจทกเรื่อยมาจนถึงวันที่ ๑๐ กันยายน ๒๕๔๕ ซึ่งเปนวันที่ ศาลแรงงานกลางอนุญาตใหทุเลาการบังคับแกโจทกในสวนที่มีคำสั่งใหรับจำเลยกลับเขาทำงาน เปนการชั่วคราวเพื่อรอคำวินิจฉัยของศาลฎีกา การปฏิบัติหนาที่ของจำเลยในชวงเวลาดังกลาว ยอมทำใหโจทกไดรับประโยชนเปนผลการปฏิบัติงานในหนาที่ของจำเลย เงินเดือนและผลประโยชน


๓๗๘ ตอบแทนอื่นที่จำเลยไดรับระหวางนั้น จึงเปนคาตอบแทนการทำงานที่จำเลยมีสิทธิไดรับตาม สัญญาจางแรงงานและคำสั่งคุมครองชั่วคราวระหวางพิจารณาของศาลแรงงานกลาง แมศาลฎีกา มีคำพิพากษาใหเพิกถอนคำสั่งใหใชวิธีการชั่วคราวกอนพิพากษาของศาลแรงงานกลาง และ พิพากษายกฟองจำเลยที่ขอใหเพิกถอนคำสั่งเกี่ยวกับการแตงตั้งคณะกรรมการสอบสวนขอเท็จจริง และคณะกรรมการสอบสวนทางวินัยในเวลาตอมา อันเปนผลใหคำสั่งคุมครองชั่วคราวระหวาง พิจารณาของศาลแรงงานกลางดังกลาวเปนอันถูกเพิกถอนยอนไปตั้งแตวันที่ ๑๔ กรกฎาคม ๒๕๔๔ ก็ตาม แตหามีผลถึงการปฏิบัติงานตามหนาที่ของจำเลยในฐานะพนักงานของโจทกในชวงเวลา ดังกลาวถูกเพิกถอนไปดวยไม ที่ศาลแรงงานกลางวินิจฉัยวาจำเลยไมตองคืนเงินเดือนและ ผลประโยชนตอบแทนอื่นที่ไดรับขณะปฏิบัติหนาที่เปนพนักงานโจทกในระหวางนั้นชอบแลว ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษเห็นพองดวย อุทธรณของโจทกขอนี้ฟงไมขึ้น คดีมีปญหาตองวินิจฉัยตอไปตามอุทธรณของโจทกขอ ๓.๒ วา จำเลยตองชดใชคาจาง เดือนพฤศจิกายน ๒๕๔๖ เปนเงิน ๔๘,๔๒๓ บาท และคาตอบแทนพิเศษอัตราสองเทาของเงินเดือน นอกเหนือจากเงินโบนัสประจำป ๒๓๗,๘๘๐.๘๔ บาท คืนแกโจทกหรือไม เห็นวา โจทกเปนฝาย นำคาตอบแทนพิเศษอัตราสองเทาของเงินเดือนนอกเหนือจากเงินโบนัสประจำป ๒๓๗,๘๘๐.๘๔ บาท มาวางศาลเมื่อวันที่ ๒ ธันวาคม ๒๕๔๕ ตามคำสั่งศาลแรงงานกลางลงวันที่ ๑๐ กันยายน ๒๕๔๕ ที่ใหทุเลาการบังคับในสวนที่ใหรับจำเลยกลับเขาทำงานเปนการชั่วคราว แตใหโจทกจายคาจาง ใหแกจำเลยตามปกติ ซึ่งโจทกไดแถลงเพิ่มเติมวาเงินดังกลาวไมใชคาจาง โจทกยังไมตอง จายจนกวาศาลฎีกาจะมีคำพิพากษาใหจำเลยชนะคดี แสดงวาการวางเงินจำนวนดังกลาวเปน ไปตามคำสั่งของศาลแรงงานกลาง ทั้งโจทกยังสงวนสิทธิวาจะยอมใหศาลแรงงานกลางจายเงิน ดังกลาวเมื่อศาลฎีกาพิพากษาใหจำเลยชนะคดีเทานั้น การวางเงินดังกลาวจึงมิไดเกี่ยวของกับ จำเลย สวนคาจางเดือนพฤศจิกายน ๒๕๔๖ จำนวน ๔๘,๔๒๓ บาท นั้น โจทกก็เปนฝายนำมา วางศาลเมื่อวันที่ ๑๙ กันยายน ๒๕๔๖ ตามคำสั่งศาลแรงงานกลางที่ใหทุเลาการบังคับไว เชนเดียวกัน ไดความวาเงินทั้งสองจำนวนดังกลาวจำเลยยังไมไดมารับไปจากศาล เทากับจำเลยยัง ไมไดรับเงินดังกลาวจากโจทก เงินดังกลาวจึงยังคงเปนกรรมสิทธิ์ของโจทก ตอมาวันที่ ๒๙ ตุลาคม ๒๕๔๖ ศาลแรงงานกลางไดอานคำพิพากษาศาลฎีกาที่โจทกอุทธรณคำสั่งขอคุมครองชั่วคราว กอนพิพากษา โดยศาลฎีกาพิพากษากลับใหเพิกถอนคำสั่งใหใชวิธีการชั่วคราวกอนพิพากษาของ ศาลแรงงานกลางดังกลาว และวันที่ ๒๖ มิถุนายน ๒๕๔๙ ศาลแรงงานกลางไดอานคำพิพากษา ศาลฎีกาที่โจทกอุทธรณคำพิพากษาศาลแรงงานกลางที่ใหเพิกถอนคำสั่งพักงานจำเลย และคำสั่ง เกี่ยวกับการแตงตั้งคณะกรรมการสอบสวนขอเท็จจริงและคณะกรรมการสอบสวนทางวินัยจำเลย


๓๗๙ โดยศาลฎีกาพิพากษากลับใหยกฟองจำเลย เมื่อโจทกทราบคำพิพากษาศาลฎีกาดังกลาวแลว โจทกยอมทราบวาโจทกไมมีหนาที่ตองจายคาตอบแทนพิเศษอัตราสองเทาของเงินเดือนนอกเหนือ จากเงินโบนัสประจำป ๒๓๗,๘๘๐.๘๔ บาท และคาจางเดือนพฤศจิกายน ๒๕๔๖ จำนวน ๔๘,๔๒๓ บาท แกจำเลย โจทกจึงมีหนาที่ตองมาขอรับเงินดังกลาวคืนไปจากศาลแรงงานกลาง หาใชเปนหนาที่หรือความรับผิดชอบของจำเลยที่จะตองมาขอรับเงินดังกลาวคืนไปจาก ศาลแรงงานกลางไม ดังนั้น เมื่อโจทกไมมาขอรับคืนภายในกำหนด ๕ ป จนศาลแรงงานกลางมีคำสั่ง ใหตกเปนของแผนดินแลว จำเลยจึงไมจำตองรับผิดชดใชเงินจำนวนดังกลาวคืนโจทกแตประการใด สวนที่โจทกอุทธรณตอไปวา โจทกไมเคยไดรับแจงจากศาลแรงงานกลางใหไปติดตอขอรับเงิน ดังกลาวคืน เงินที่คางจายดังกลาวจึงยังไมตกเปนของแผนดินนั้น เห็นวา โจทกจะไดรับแจงใหไป รับเงินคืนหรือไม หาไดเกี่ยวของกับจำเลยไม ที่ศาลแรงงานกลางวินิจฉัยวาจำเลยไมตองรับผิด ชดใชเงินดังกลาวแกโจทกนั้นชอบแลว ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษเห็นพองดวย อุทธรณของ โจทกขอนี้ฟงไมขึ้นเชนเดียวกัน คดีมีปญหาตองวินิจฉัยตามอุทธรณของจำเลยวา คดีของโจทกขาดอายุความหรือไม จำเลยอุทธรณวา เมื่อศาลฎีกามีคำพิพากษาวา คำสั่งของโจทกที่ พ.๑๒๗/๒๕๔๔ ลงวันที่ ๑๓ กรกฎาคม ๒๕๔๔ ใหพักงานจำเลย คำสั่งของโจทกที่ พ.๑๑๗/๒๕๔๕ ลงวันที่ ๑๓ สิงหาคม ๒๕๔๕ ใหจำเลยออกจากการเปนพนักงาน และคำสั่งของโจทกที่ พ.๑๒๓/๒๕๔๕ ลงวันที่ ๒๓ สิงหาคม ๒๕๔๕ ใหไลจำเลยออกจากการเปนพนักงาน เปนคำสั่งที่ชอบดวยกฎหมายและ ขอบังคับของโจทกแลว คำสั่งดังกลาวยอมมีผลยอนหลังนับแตวันที่โจทกออกคำสั่ง และผูกพันโจทก จำเลยซึ่งเปนคูความ โจทกจึงไมมีหนาที่ตองจายคาจางหรือสิทธิประโยชนอื่นใดแกจำเลยอีกตอไป นับแตวันที่ ๒๓ สิงหาคม ๒๕๔๕ อันเปนวันที่โจทกออกคำสั่งใหไลจำเลยออกจากการเปนพนักงาน เงินหรือสิทธิประโยชนที่โจทกจายใหจำเลยภายหลังวันดังกลาวจนถึงเดือนพฤศจิกายน ๒๕๔๖ ถือเปนลาภมิควรไดโจทกตองฟองเรียกคืนภายใน ๑ ป นับแตวันที่ ๒๓ สิงหาคม ๒๕๔๕ ที่โจทก รูวาตนมีสิทธิเรียกคืน แตโจทกฟองเรียกคาจางหรือสิทธิประโยชนตาง ๆ คืนจากจำเลยเมื่อวันที่ ๑ และ ๒๔ มิถุนายน ๒๕๕๐ ตามลำดับ ฟองโจทกจึงขาดอายุความนั้น เห็นวา แมโจทกมีคำสั่ง ที่พ.๑๒๓/๒๕๔๕ ใหไลจำเลยออกจากการเปนพนักงานเมื่อวันที่ ๒๓ สิงหาคม ๒๕๔๕ แตได ความวาวันที่ ๒๖ สิงหาคม ๒๕๔๕ ศาลแรงงานกลางมีคำพิพากษาใหเพิกถอนคำสั่งของโจทกที่สั่ง พักงานจำเลยและคำสั่งอื่น ๆ รวมทั้งคำสั่งที่ใหจำเลยออกจากการเปนพนักงานและไลจำเลยออก จากการเปนพนักงาน ใหจำเลยเขาปฏิบัติงานเปนพนักงานโจทก ใหโจทกจายเงินเดือน คาจาง และ สิทธิประโยชนที่จำเลยพึงไดรับตั้งแตวันที่ ๑๓ กรกฎาคม ๒๕๔๔ เปนตนไป โดยศาลแรงงานกลาง


๓๘๐ อนุญาตใหทุเลาการบังคับในสวนที่สั่งรับจำเลยกลับเขาทำงานเปนการชั่วคราวเพื่อรอคำวินิจฉัย ของศาลฎีกา แตใหโจทกจายคาจางแกจำเลยตอไป โจทกจำตองจายเงินเดือน คาจาง และสิทธิ ประโยชนที่จำเลยพึงไดรับตามคำสั่งของศาลแรงงานกลางตอไป จนกระทั่งศาลแรงงานกลางได อานคำพิพากษาศาลฎีกาที่ใหยกฟองจำเลยเมื่อวันที่ ๒๖ มิถุนายน ๒๕๔๙ การจายเงินเดือน คาจาง และสิทธิประโยชนตาง ๆ แกจำเลยในระหวางนั้น จึงมิใชการจายโดยปราศจากมูลอันจะ อางกฎหมายได ตอมาเมื่อศาลฎีกาพิพากษายกฟองจำเลย โจทกจึงไมมีหนาที่ตองจายเงินเดือน คาจาง และสิทธิประโยชนตาง ๆ แกจำเลยแตอยางใด โจทกในฐานะเจาของเงินยอมมีสิทธิติดตาม และเอาคืนซึ่งทรัพยสินของตนจากจำเลยไดตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา ๑๓๓๖ ซึ่งไมมีกำหนดอายุความ ฟองของโจทกจึงไมขาดอายุความ ศาลแรงงานกลางพิพากษาชอบแลว ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษเห็นพองดวย อุทธรณของจำเลยยังไมขึ้น พิพากษายืน. (ปณิธาน วิสุทธากร - วิโรจน ตุลาพันธุ - ไพรัช โปรงแสง) สุรพัศ เพ็ชรคง - ยอ สุโรจน จันทรพิทักษ - ตรวจ


๓๘๑ คำพิพากษาศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษที่ ๔๗๕๕/๒๕๖๑ นายนราวิชญ นาคเสนีย โจทก สภาการพยาบาล กับพวก จำเลย ป.วิ.พ. มาตรา ๒๒๖ (๒) พ.ร.บ. จัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๔๙, ๕๔ วรรคหนึ่ง พ.ร.บ. วิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ พ.ศ. ๒๕๒๘ มาตรา ๒๒ (๑) พ.ร.บ. วาดวยการวินิจฉัยชี้ขาดอำนาจหนาที่ระหวางศาล พ.ศ. ๒๕๔๒ มาตรา ๑๐ ระเบียบสภาการพยาบาลวาดวยเจาหนาที่ของสภาการพยาบาล พ.ศ. ๒๕๕๑ ขอ ๒๔ จำเลยที่ ๑ เปนนิติบุคคลที่จัดตั้งขึ้นโดยมีวัตถุประสงคและอำนาจหนาที่ตาม พ.ร.บ. วิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ พ.ศ. ๒๕๒๘ ซึ่งไมใชสวนราชการจึงไมอยู ภายใตบังคับของกฎหมายระเบียบขาราชการพลเรือนและกฎหมายวาดวยบำเหน็จบำนาญ ขาราชการที่ตองกำหนดใหเจาหนาที่ของจำเลยที่ ๑ ออกจากงานเมื่ออายุ ๖๐ ปบริบูรณ คณะกรรมการของจำเลยที่ ๑ ซึ่งมีอำนาจหนาที่บริหารกิจการของจำเลยที่ ๑ ใหเปนไป ตามวัตถุประสงค จึงมีอำนาจทำสัญญาวาจางลูกจาง รวมทั้งออกระเบียบวาดวยการทำงาน ของลูกจางเพื่อใหการปฏิบัติหนาที่ของจำเลยที่ ๑ บรรลุวัตถุประสงคได เมื่อระเบียบ สภาการพยาบาลวาดวยเจาหนาที่ของสภาการพยาบาล พ.ศ. ๒๕๓๑ และ พ.ศ. ๒๕๕๑ ที่ระบุ ใหเจาหนาที่ของจำเลยที่ ๑ ออกจากงานเมื่ออายุครบ ๕๕ ปบริบูรณ เปนขอบังคับเกี่ยวกับ การทำงาน ซึ่งโจทกในฐานะลูกจางก็ทราบถึงระเบียบดังกลาวมาโดยตลอด ยอมเห็นไดวา ระเบียบดังกลาวไมใชขอตกลงอันมีวัตถุประสงคเปนการตองหามชัดแจงโดยกฎหมาย เปนการพนวิสัย หรือเปนการขัดตอความสงบเรียบรอยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน จึงไมตกเปนโมฆะ เมื่อโจทกสมัครใจทำงานเปนเจาหนาที่ของจำเลยที่ ๑ โดยยอมรับ ระเบียบดังกลาว จึงเปนขอสัญญาจางแรงงานที่ผูกพันคูสัญญาแลว เมื่อวันที่ ๗ พฤศจิกายน ๒๕๖๐ โจทกยื่นคำรองขอใหอธิบดีผูพิพากษา ศาลแรงงานกลางวินิจฉัยวาคดีนี้อยูในอำนาจของศาลแรงงานหรือศาลปกครอง ศาลแรงงานกลาง มีคำสั่งใหโจทกไปแกไขคำรองใหมใหถูกตอง ตอมาวันที่ ๑๔ พฤศจิกายน ๒๕๖๐ โจทกยื่นคำรองขออนุญาตโอนคดีไปศาลปกครอง ศาลแรงงานกลางมีคำสั่งวา ตาม พ.ร.บ. วาดวยการวินิจฉัยชี้ขาดอำนาจหนาที่ระหวางศาล พ.ศ. ๒๕๔๒ มาตรา ๑๐ กำหนดให


๓๘๒ คูความฝายที่ถูกฟองคือจำเลยโตแยงเรื่องเขตอำนาจศาล มิใชใหสิทธิโจทกโตแยงเอง ใหยกคำรอง จากนั้นวันที่ ๓๐ พฤศจิกายน ๒๕๖๐ โจทกยื่นคำรองขออนุญาตโอนคดีไป ศาลปกครองอีกครั้ง ศาลแรงงานกลางมีคำสั่งวาไมมีเหตุเปลี่ยนแปลง ใหยกคำรอง คำสั่ง ของศาลแรงงานกลางทั้ง ๓ ครั้ง เปนคำสั่งกอนที่ศาลแรงงานกลางจะมีคำพิพากษาหรือ คำสั่งชี้ขาดตัดสินคดี ถือเปนคำสั่งระหวางพิจารณา เมื่อไมปรากฏวาโจทกไดโตแยงคำสั่งไว โจทกจึงไมมีสิทธิอุทธรณในเรื่องดังกลาวอีก ตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๒๒๖ (๒) ประกอบ พ.ร.บ. จัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๕๔ วรรคหนึ่ง ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษไมรับวินิจฉัย ตามระเบียบสภาการพยาบาลวาดวยเจาหนาที่ของสภาการพยาบาล พ.ศ. ๒๕๕๑ ขอ ๒๔ ระบุวา เพื่อประโยชนตองานของสภาการพยาบาล เจาหนาที่ที่อายุครบ ๕๕ ป บริบูรณอาจไดรับการบรรจุจางใหดำรงตำแหนงตอไปอีกคราวละ ๑ ป จนกวาจะมีอายุ ครบ ๖๐ ปบริบูรณก็ได แสดงวาการจะบรรจุจางโจทกตอไปอีกไดหรือไมเปนดุลพินิจของ คณะกรรมการจำเลยที่ ๑ ซึ่งจะพิจารณาเปนกรณี ๆ ไป ดังนั้น เมื่อศาลแรงงานกลาง ฟงขอเท็จจริงวา จำเลยที่ ๑ พิจารณาแลวเห็นวาการบรรจุจางโจทกตอไปไมเปนประโยชน ตองานของจำเลยที่ ๑ อีกทั้งขอเท็จจริงปรากฏวาขณะที่โจทกยังเปนเจาหนาที่ของจำเลยที่ ๑ โจทกไดกระทำผิดวินัย ปฏิบัติหนาที่บกพรอง และไมสามารถทำงานรวมกับคนอื่นได การที่จำเลยที่ ๑ ไมบรรจุแตงตั้งใหโจทกทำงานตอไป จึงไมเปนการเลิกจางโดยไมเปนธรรม แสดงวาการที่จำเลยที่ ๒ ไมเสนอเรื่องของโจทกตอคณะกรรมการของจำเลยที่ ๑ ใหอนุมัติวาจะบรรจุจางโจทกตอไปอีกหรือไมเปนกรณีที่มีเหตุผลอันสมควร มิใชเปนการ กลั่นแกลงโจทก ดังนั้น การเลิกจางโจทกไมเปนการเลิกจางโดยไมเปนธรรม โจทกฟอง ขอใหบังคับจำเลยทั้งสองแกไขระเบียบสภาการพยาบาลวาดวยเจาหนาที่ของ สภาการพยาบาลใหเปนไปตามพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ และพระราชบัญญัติ วิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ พ.ศ. ๒๕๒๘ กับรวมกันจายคาชดเชย ๒๙๓,๑๐๐ บาท และคาเสียหาย ๑,๗๕๘,๖๐๐ บาท พรอมดอกเบี้ยอัตรารอยละ ๑๕ ตอป นับแตวันที่ ๑ มกราคม ๒๕๕๙ เปนตนไปจนกวาจะชำระเสร็จแกโจทก จำเลยทั้งสองใหการ ขอใหยกฟอง ศาลแรงงานกลาง พิพากษายกฟอง


๓๘๓ โจทกอุทธรณ ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษแผนกคดีแรงงานวินิจฉัยวา ศาลแรงงานกลางฟงขอเท็จจริง วา จำเลยที่ ๑ เปนนิติบุคคลตามพระราชบัญญัติวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ พ.ศ. ๒๕๒๘ มีจำเลยที่ ๒ เปนเลขาธิการของจำเลยที่ ๑ โจทกทำงานเปนเจาหนาที่ของจำเลยที่ ๑ มาตั้งแตวันที่ ๑ พฤศจิกายน ๒๕๒๙ เมื่อวันที่ ๓๐ กันยายน ๒๕๓๑ จำเลยที่ ๑ ออกระเบียบ สภาการพยาบาลวาดวยเจาหนาที่ของสภาการพยาบาล พ.ศ. ๒๕๓๑ ซึ่งในหมวด ๑๐ ขอ ๗๓ (๒) กำหนดใหเจาหนาที่ออกจากงานเมื่ออายุครบ ๕๕ ปบริบูรณ ตอมาวันที่ ๑๕ มกราคม ๒๕๕๑ จำเลยที่ ๑ ออกระเบียบสภาการพยาบาลวาดวยเจาหนาที่ของสภาการพยาบาล พ.ศ. ๒๕๕๑ ใชบังคับแทนระเบียบสภาการพยาบาลวาดวยเจาหนาที่ของสภาการพยาบาล พ.ศ. ๒๕๓๑ ซึ่งระเบียบใหมในหมวด ๗ ขอ ๖๘ (๒) กำหนดใหเจาหนาที่ออกจากงานเมื่ออายุครบ ๕๕ ป บริบูรณเชนเดิม และในหมวด ๓ ขอ ๒๔ กำหนดไวเชนเดียวกับระเบียบเกาวาเพื่อประโยชนตอ งานของสภาการพยาบาล เจาหนาที่ที่อายุครบ ๕๕ ปบริบูรณ อาจไดรับการบรรจุจางใหดำรง ตำแหนงตอไปอีกคราวละ ๑ ป จนกวาจะมีอายุครบ ๖๐ ปบริบูรณก็ได โดยเสนอคณะกรรมการ ลวงหนาเปนเวลาไมนอยกวา ๖๐ วัน กอนสิ้นปนั้น เมื่อคณะกรรมการอนุมัติแลวใหผูมีอำนาจ บรรจุและแตงตั้งตอไป โจทกไดรับเงินเดือนอัตราสุดทาย ๒๙,๓๑๐ บาท เมื่อโจทกจะอายุครบ ๕๕ ปบริบูรณ เมื่อวันที่ ๒๗ ตุลาคม ๒๕๕๘ โจทกไดทำบันทึกถึงนายกสภาการพยาบาลผาน จำเลยที่ ๒ ขอความอนุเคราะหบรรจุจางเปนเจาหนาที่ของจำเลยที่ ๑ ตอไป โดยเสนอลวงหนา เปนเวลาไมนอยกวา ๖๐ วัน แลว แตโจทกไมไดรับอนุญาตใหทำงานตอไป แลววินิจฉัยวา ระเบียบ สภาการพยาบาลวาดวยเจาหนาที่ของสภาการพยาบาลที่ออกมาและไดมีการประกาศแกไขนั้น ไมปรากฏวามีขอความขัดหรือแยงกับกฎหมายวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภหรือ กฎหมายรัฐธรรมนูญอยางไร และไมปรากฏวาออกมาโดยมิชอบอยางไร ทั้งไมปรากฏวาจำเลย ที่ ๑ จะตองใชกฎหมายระเบียบขาราชการพลเรือนและกฎหมายบำเหน็จบำนาญขาราชการบังคับ กับโจทกอยางไร ดังนั้น ระเบียบสภาการพยาบาลชอบดวยกฎหมาย เมื่อจำเลยที่ ๑ พิจารณาแลว เห็นวาการบรรจุจางโจทกตอไปไมเปนประโยชนตองานของจำเลยที่ ๑ อีกทั้งขอเท็จจริงปรากฏ วาขณะที่โจทกยังเปนเจาหนาที่ของจำเลยที่ ๑ โจทกไดกระทำผิดวินัย ปฏิบัติหนาที่บกพรอง และไมสามารถทำงานรวมกับคนอื่นได การที่จำเลยที่ ๑ ไมบรรจุแตงตั้งใหโจทกทำงานตอไป จึงไมเปนการเลิกจางโดยไมเปนธรรม และเมื่อพิจารณาถึงพระราชบัญญัติวิชาชีพการพยาบาล และการผดุงครรภ พ.ศ. ๒๕๒๘ โดยตลอดแลว เห็นไดวาจำเลยที่ ๑ เปนนิติบุคคลซึ่งไมไดแสวงหา กำไรทางเศรษฐกิจ ซึ่งไมตองอยูภายใตบังคับของพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑


๓๘๔ ในเรื่องคาชดเชยตามกฎกระทรวง (พ.ศ. ๒๕๔๑) กรณีจึงไมอาจนำพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ ในเรื่องคาชดเชยมาใชบังคับกับจำเลยที่ ๑ ได จำเลยที่ ๑ จึงไมจำตองจายคาชดเชย แกโจทกตามฟอง คดีมีปญหาตองวินิจฉัยตามอุทธรณของโจทกประการแรกวา มีเหตุแกไขระเบียบ สภาการพยาบาลวาดวยเจาหนาที่ของสภาการพยาบาล พ.ศ. ๒๕๕๑ หรือไม โดยโจทกอุทธรณวา พระราชบัญญัติวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ พ.ศ. ๒๕๒๘ ไมไดบัญญัติใหอำนาจ คณะกรรมการของจำเลยที่ ๑ ออกระเบียบขอบังคับจำกัดสิทธิในการทำงานของเจาหนาที่วาตองออก จากงานเมื่ออายุครบ ๕๕ ปบริบูรณ การที่คณะกรรมการของจำเลยที่ ๑ จะออกระเบียบขอบังคับ ที่เปนการจำกัดสิทธิลูกจางใหแตกตางไปจากระเบียบขอบังคับตามจารีตประเพณีและตามหลัก กฎหมายทั่วไปวาดวยเจาหนาที่หรือหนวยงาน พนักงานลูกจางอื่น ๆ อันเปนผูใชแรงงานโดย ทั่วไป ตองมีกฎหมายบัญญัติใหอำนาจไวโดยชัดแจง ดังนั้น การกำหนดใหเจาหนาที่ของจำเลย ที่ ๑ ออกจากงานเมื่ออายุ ๕๕ ปบริบูรณ จึงขัดหรือแยงตอพระราชบัญญัติวิชาชีพการพยาบาล และการผดุงครรภ พ.ศ. ๒๕๒๘ ไมสามารถบังคับไดตามกฎหมาย นั้น เห็นวา จำเลยที่ ๑ เปน นิติบุคคลที่จัดตั้งขึ้นโดยมีวัตถุประสงคและอำนาจหนาที่ตามพระราชบัญญัติวิชาชีพการพยาบาล และการผดุงครรภ พ.ศ. ๒๕๒๘ อันไมใชสวนราชการจึงไมอยูภายใตบังคับของกฎหมายระเบียบ ขาราชการพลเรือนและกฎหมายวาดวยบำเหน็จบำนาญขาราชการที่ตองกำหนดใหเจาหนาที่ของ จำเลยที่ ๑ ออกจากงานเมื่ออายุ ๖๐ ปบริบูรณ แตอยางใด ดังนั้น คณะกรรมการของจำเลยที่ ๑ ซึ่งมีอำนาจหนาที่บริหารกิจการของจำเลยที่ ๑ ใหเปนไปตามวัตถุประสงคของจำเลยที่ ๑ ตาม พระราชบัญญัติวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ พ.ศ. ๒๕๒๘ มาตรา ๒๒ (๑) จึงมีอำนาจ ทำสัญญาวาจางลูกจางรวมทั้งออกระเบียบวาดวยการทำงานของลูกจางเพื่อใหการปฏิบัติหนาที่ ของจำเลยที่ ๑ บรรลุวัตถุประสงคได เมื่อพิจารณาวาระเบียบสภาการพยาบาลวาดวยเจาหนาที่ ของสภาการพยาบาล พ.ศ. ๒๕๓๑ และระเบียบสภาการพยาบาลวาดวยเจาหนาที่ของสภาการ พยาบาล พ.ศ. ๒๕๕๑ ที่ระบุใหเจาหนาที่ของจำเลยที่ ๑ ออกจากงานเมื่ออายุครบ ๕๕ ปบริบูรณ เปนขอบังคับเกี่ยวกับการทำงานของลูกจาง ซึ่งโจทกในฐานะลูกจางของจำเลยที่ ๑ ก็ทราบถึง ระเบียบดังกลาวมาโดยตลอดวาโจทกตองออกจากงานเมื่ออายุครบ ๕๕ ปบริบูรณ แตจะไดรับ สิทธิประโยชนตอบแทนจากการออกจากงานตามระเบียบของจำเลยที่ ๑ ยอมเห็นไดวาระเบียบ ดังกลาวไมใชขอตกลงอันมีวัตถุประสงคเปนการตองหามชัดแจงโดยกฎหมาย เปนการพนวิสัย หรือเปนการขัดตอความสงบเรียบรอยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน จึงไมตกเปนโมฆะ เมื่อโจทก สมัครใจทำงานเปนเจาหนาที่ของจำเลยที่ ๑ โดยยอมรับระเบียบดังกลาว จึงเปนขอสัญญาจาง


๓๘๕ แรงงานที่ผูกพันคูสัญญา กรณีไมมีเหตุที่จะแกไขระเบียบสภาการพยาบาลวาดวยเจาหนาที่ของ สภาการพยาบาล พ.ศ. ๒๕๕๑ ตามที่โจทกกลาวอางแตประการใด ที่ศาลแรงงานกลางวินิจฉัย มานั้น ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษเห็นพองดวยในผล อุทธรณของโจทกขอนี้ฟงไมขึ้น ที่โจทกอุทธรณวา จำเลยที่ ๑ เปนหนวยงานทางปกครอง สวนจำเลยที่ ๒ เปนเจาหนาที่ ของรัฐ ตามพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ มาตรา ๓ คดีนี้จึงไมไดอยูในอำนาจพิจารณาพิพากษาของศาลแรงงาน แตอยูในอำนาจพิจารณาพิพากษา ของศาลปกครอง เมื่อมีปญหาวาคดีนี้อยูในอำนาจพิจารณาพิพากษาของศาลแรงงานหรือ ศาลปกครอง ศาลแรงงานกลางตองทำความเห็นกอน ตามพระราชบัญญัติวาดวยการวินิจฉัยชี้ขาด อำนาจหนาที่ระหวางศาล พ.ศ. ๒๕๔๒ มาตรา ๑๐ ที่ศาลแรงงานกลางมีคำพิพากษากอนทำ ความเห็น ไมชอบดวยกฎหมายนั้น เห็นวา กอนสืบพยาน เมื่อวันที่ ๗ พฤศจิกายน ๒๕๖๐ โจทก ยื่นคำรองขอใหอธิบดีผูพิพากษาศาลแรงงานกลางวินิจฉัยวาคดีนี้อยูในอำนาจของศาลแรงงาน หรือศาลปกครอง ศาลแรงงานกลางมีคำสั่งใหโจทกไปแกไขคำรองใหมใหถูกตอง ตอมาวันที่ ๑๔ พฤศจิกายน ๒๕๖๐ โจทกยื่นคำรองขออนุญาตโอนคดีไปศาลปกครอง ศาลแรงงานกลางมีคำสั่งวา ตามพระราชบัญญัติวาดวยการวินิจฉัยชี้ขาดอำนาจหนาที่ระหวางศาล พ.ศ. ๒๕๔๒ มาตรา ๑๐ กำหนดใหคูความฝายที่ถูกฟองคือจำเลยโตแยงเรื่องเขตอำนาจศาล มิใชใหสิทธิโจทกโตแยงเอง จากนั้นวันที่ ๓๐ พฤศจิกายน ๒๕๖๐ โจทกยื่นคำรองขออนุญาตโอนคดีไปศาลปกครองอีกครั้ง ศาลแรงงานกลางมีคำสั่งวา ไมมีเหตุเปลี่ยนแปลง ใหยกคำรอง คำสั่งของศาลแรงงานกลางทั้ง ๓ ครั้ง เปนคำสั่งกอนที่ศาลแรงงานกลางจะมีคำพิพากษาหรือคำสั่งชี้ขาดตัดสินคดี ถือเปนคำสั่ง ระหวางพิจารณา เมื่อไมปรากฏวาโจทกไดโตแยงคำสั่งดังกลาวไว โจทกจึงไมมีสิทธิอุทธรณ ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพง มาตรา ๒๒๖ (๒) ประกอบพระราชบัญญัติจัดตั้ง ศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๕๔ วรรคหนึ่ง ศาลอุทธรณ คดีชำนัญพิเศษไมรับวินิจฉัย ปญหาที่ตองวินิจฉัยตามอุทธรณของโจทกประการสุดทายมีวา การเลิกจางโจทก เปนธรรมหรือไม และจำเลยทั้งสองตองชดใชคาเสียหายแกโจทกหรือไม เพียงใด โดยโจทกอุทธรณวา ระเบียบสภาการพยาบาลวาดวยเจาหนาที่ของสภาการพยาบาล พ.ศ. ๒๕๕๑ หมวด ๓ การบรรจุ และการแตงตั้ง ขอ ๒๔ ระบุวา เพื่อประโยชนตองานของสภาการพยาบาล เจาหนาที่ที่อายุครบ ๕๕ ปบริบูรณอาจไดรับการบรรจุจางใหดำรงตำแหนงตอไปอีกคราวละ ๑ ป จนกวาจะมีอายุครบ ๖๐ ปบริบูรณก็ได โดยเสนอคณะกรรมการลวงหนาเปนเวลาไมนอยกวา ๖๐ วัน กอนสิ้นปนั้น เมื่อคณะกรรมการอนุมัติแลวใหผูมีอำนาจบรรจุและแตงตั้งตอไป แสดงวาคณะกรรมการของจำเลยที่ ๑


๓๘๖ เปนผูมีอำนาจพิจารณาวาจะอนุมัติจางโจทกตออีกหรือไม การที่จำเลยที่ ๒ ใชดุลพินิจแต เพียงผูเดียวไมนำเรื่องตออายุการทำงานของโจทกเสนอตอที่ประชุมคณะกรรมการของจำเลยที่ ๑ จึงเปนการปฏิบัติหนาที่ขัดหรือแยงตอกฎหมายและระเบียบสภาการพยาบาลวาดวยเจาหนาที่ ของสภาการพยาบาล พ.ศ. ๒๕๕๑ ดังนั้น การเลิกจางโจทกเปนการเลิกจางโดยไมเปนธรรม จำเลยทั้งสองจึงตองชดใชคาเสียหายพรอมดอกเบี้ยตามฟองแกโจทกนั้น เห็นวา ระเบียบ สภาการพยาบาลวาดวยเจาหนาที่ของสภาการพยาบาล พ.ศ. ๒๕๕๑ หมวด ๓ การบรรจุและ การแตงตั้ง ขอ ๒๔ ระบุวา เพื่อประโยชนตองานของสภาการพยาบาล เจาหนาที่ที่อายุครบ ๕๕ ป บริบูรณอาจไดรับการบรรจุจางใหดำรงตำแหนงตอไปอีกคราวละ ๑ ป จนกวาจะมีอายุครบ ๖๐ ป บริบูรณก็ได แสดงวาการจะบรรจุจางโจทกตอไปอีกไดหรือไมเปนดุลพินิจของคณะกรรมการ จำเลยที่ ๑ ซึ่งจะพิจารณาเปนกรณี ๆ ไป ดังนั้น เมื่อศาลแรงงานกลางฟงขอเท็จจริงวา จำเลยที่ ๑ พิจารณาแลวเห็นวาการบรรจุจางโจทกตอไปไมเปนประโยชนตองานของจำเลยที่ ๑ อีกทั้ง ขอเท็จจริงปรากฏวาขณะที่โจทกยังเปนเจาหนาที่ของจำเลยที่ ๑ โจทกไดกระทำผิดวินัย ปฏิบัติ หนาที่บกพรอง และไมสามารถทำงานรวมกับคนอื่นได การที่จำเลยที่ ๑ ไมบรรจุแตงตั้งใหโจทก ทำงานตอไป จึงไมเปนการเลิกจางโดยไมเปนธรรม แสดงวาการที่จำเลยที่ ๒ ไมเสนอเรื่องของ โจทกตอคณะกรรมการของจำเลยที่ ๑ ใหอนุมัติวาจะบรรจุจางตอไปอีกหรือไมเปนกรณีที่มีเหตุผล อันสมควร มิใชการกลั่นแกลงโจทกแตประการใด ดังนั้น การเลิกจางโจทกไมเปนการเลิกจางโดย ไมเปนธรรม ที่ศาลแรงงานกลางวินิจฉัยมานั้น ชอบแลว ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษเห็นพองดวย อุทธรณของโจทกขอนี้ฟงไมขึ้น พิพากษายืน. (ธีระพล ศรีอุดมขจร - อนุวัตร ขุนทอง - กนกรดา ไกรวิชญพงศ) อิศเรศ ปราโมช ณ อยุธยา - ยอ สุโรจน จันทรพิทักษ - ตรวจ


๓๘๗ คำพิพากษาศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษที่ ๒๘๖๒/๒๕๖๒ บริษัทบีแทค อินดัสเตรียล ออโตเมชั่น จำกัด โจทก นางศิณะตา รอดคง กับพวก จำเลย ป.วิ.พ. มาตรา ๒๒๕ วรรคหนึ่ง พ.ร.บ. คุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา ๑๔/๑ พ.ร.บ. จัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๕๔ วรรคหนึ่ง  เมื่อศาลแรงงานกลางวินิจฉัยวาคําใหการของจําเลยทั้งสี่เพียงแตยกขอเถียงวา โจทกไมมีสิทธิเรียกคาเสียหายในชวงเวลาใด โดยมิไดอางเรื่องที่โจทกรูถึงการละเมิดและ รูตัวผูพึงจะตองใชคาสินไหมทดแทนเมื่อใด อันจะทําใหฟองโจทกขาดอายุความ คดี จึงไมมีประเด็นเรื่องอายุความแลว แมศาลแรงงานกลางจะรับฟงขอเท็จจริงและวินิจฉัยตอไป วาโจทกรูถึงการละเมิดในวันที่ ๑ ตุลาคม ๒๕๖๐ หรือหลังจากนั้น โจทกฟองคดีเมื่อวันที่ ๒๓ เมษายน ๒๕๖๑ ฟองโจทกไมขาดอายุความ ก็เปนการนอกประเด็น ถือวาเปนขอที่ มิไดยกขึ้นวากันมาแลวโดยชอบในศาลแรงงานกลาง ตองหามอุทธรณตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๒๒๕ วรรคหนึ่ง ประกอบ พ.ร.บ. จัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๕๔ วรรคหนึ่ง  สัญญาจางแรงงานระหวางโจทกกับจําเลยที่ ๑ และที่ ๒ แมจะทําขึ้นกอนวันที่ พ.ร.บ. คุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา ๑๔/๑ มีผลใชบังคับ แตในวันที่โจทกฟองคดี พระราชบัญญัติดังกลาวมีผลใชบังคับแลว กรณีจึงตองบังคับตาม พ.ร.บ. คุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา ๑๔/๑ อันเปนกฎหมายที่บัญญัติไวโดยเฉพาะ โดยหากสัญญา จางแรงงานทําใหโจทกไดเปรียบจําเลยที่ ๑ และที่ ๒ เกินสมควรแลว ศาลมีอํานาจสั่งใหสัญญานั้น มีผลบังคับเพียงเทาที่เปนธรรมและพอสมควรแกกรณี ซึ่งการที่จะถือวาเปนการไดเปรียบ จนเกินสมควรแกกรณีดังกลาว ความตองปรากฏวาโจทกมีสภาพเหนือกวาจําเลยที่ ๑ และที่ ๒ ในลักษณะไมเหมาะสมอยางยิ่ง การที่จําเลยที่ ๑ และที่ ๒ ผานการฝกอบรม ยอมทําใหมีความรู ความเขาใจเกี่ยวกับสินคาของโจทก สวนโจทกก็ไดรับประโยชนทาง ธุรกิจจากการประกอบกิจการ ขอตกลงที่กําหนดหามมิใหจําเลยที่ ๑ และที่ ๒ ไปรวมงาน กับบริษัทที่ทําธุรกิจการคาประเภทเดียวกันหรือคูแขงทางการคาของโจทกภายในระยะ


๓๘๘ เวลา ๓ ป หลังพนสภาพการเปนพนักงานโจทกไมวากรณีใด ๆ เปนเพียงขอจํากัดหามการ ประกอบอาชีพอันเปนการแขงขันกับโจทก ระบุจํากัดประเภทธุรกิจไวอยางชัดเจน ไมได หามประกอบอาชีพอันเปนการปดกั้นทางทํามาหาไดของจําเลยที่ ๑ และที่ ๒ เด็ดขาด จําเลยที่ ๑ และที่ ๒ ยังสามารถประกอบอาชีพหรือทํางานในดานอื่นที่อยูนอกเหนือ ขอตกลงนี้ได ทั้งขอหามตามขอตกลงก็มีผลเพียง ๓ ป นับแตจําเลยที่ ๑ และที่ ๒ พนสภาพ การเปนพนักงานโจทกเทานั้น จึงเปนสัญญาตางตอบแทนที่รักษาสิทธิและประโยชนของ คูกรณีที่เปนไปโดยชอบในเชิงการประกอบธุรกิจ ไมเปนการปดทางทํามาหาไดของฝายใด โดยเด็ดขาดจนไมอาจดํารงอยูได ขอตกลงดังกลาวมิไดทําใหโจทกไดเปรียบจําเลยที่ ๑ และที่ ๒ เกินสมควร และเปนธรรมแกคูกรณีแลว มีผลบังคับได โจทกฟอง ขอใหบังคับจำเลยทั้งสี่รวมกันหรือแทนกันชดใชคาเสียหาย ๒๙,๖๘๗,๔๓๒.๐๙ บาท พรอมดอกเบี้ยอัตรารอยละ ๗.๕ ตอป ของตนเงิน ๒๓,๑๖๙,๗๔๙.๗๕ บาท นับถัดจากวันฟอง เปนตนไปจนกวาจะชำระเสร็จแกโจทก จำเลยทั้งสี่ใหการ ขอใหยกฟอง ศาลแรงงานกลาง พิพากษาใหจำเลยที่ ๑ ถึงที่ ๓ รวมกันหรือแทนกัน ชดใชคาเสียหาย ๑๕๐,๐๐๐ บาท พรอมดอกเบี้ยอัตรารอยละ ๗.๕ ตอป นับถัดจากวันฟองเปนตนไปจนกวาจะชำระ เสร็จ ใหจำเลยที่ ๑ และที่ ๓ รวมกันหรือแทนกันชดใชคาเสียหาย ๑๕๐,๐๐๐ บาท พรอมดอกเบี้ย อัตรารอยละ ๗.๕ ตอป นับถัดจากวันฟองเปนตนไปจนกวาจะชำระเสร็จ ใหจำเลยที่ ๑ และที่ ๔ รวมกันหรือแทนกันชดใชคาเสียหาย ๗๐,๐๐๐ บาท พรอมดอกเบี้ยอัตรารอยละ ๗.๕ ตอป นับถัดจาก วันฟองเปนตนไปจนกวาจะชำระเสร็จ และใหจำเลยที่ ๑ ชดใชคาเสียหาย ๓๐๐,๐๐๐ บาท พรอมดอกเบี้ยอัตรารอยละ ๗.๕ ตอป นับถัดจากวันฟองเปนตนไปจนกวาจะชำระเสร็จแกโจทก คำขออื่นนอกจากนี้ใหยก จำเลยทั้งสี่อุทธรณ ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษแผนกคดีแรงงานวินิจฉัยวา ศาลแรงงานกลางรับฟง ขอเท็จจริงวาโจทกเปนนิติบุคคลประเภทบริษัทจำกัด ประกอบกิจการเปนตัวแทนนำเขาสินคา ประเภทอุปกรณนิวแมติค ไฮดรอลิค และแวคคั่มจากตางประเทศมาจำหนาย จำเลยที่ ๓ เปน นิติบุคคลประเภทบริษัทจำกัด ประกอบกิจการจำหนายอุปกรณชิ้นสวนเครื่องจักรซอมแซม บำรุง รักษา ติดตั้งเครื่องจักรทุกชนิด จำเลยที่ ๔ เปนนิติบุคคลประเภทบริษัทจำกัด ประกอบกิจการ


๓๘๙ จำหนายอุปกรณไฮดรอลิค สูบน้ำมัน วาลว ผลิต และจำหนายนิวแมติค ไดแก กระบอกสูบ วาลวลม แวคคั่ม วาลวสูญญากาศ ปมสูญญากาศ รวมทั้งรับซอมแซมเครื่องจักรเกี่ยวกับเครื่องไฮดรอลิค และนิวแมติค จำเลยที่ ๑ เปนพนักงานโจทกเริ่มทำงานเมื่อวันที่ ๕ พฤษภาคม ๒๕๕๑ ตำแหนง สุดทายพนักงานขาย มีหนาที่ติดตอเจรจากับลูกคาของโจทกเพื่อเสนอขายสินคาตามที่ไดรับมอบ หมายจากโจทก มีขอตกลงตามสัญญาจางแรงงาน ขอ ๑๔ วาจำเลยที่ ๑ จะไมรับจางทำงานให แกบุคคลอื่นหรือดำเนินกิจการไมวาดวยตนเองหรือตัวแทน หรือเขาไปมีประโยชนไดเสียในกิจการใด ๆ อันเปนการแขงขันหรือเปนการเสียหายแกกิจการของโจทก โดยยินยอมใหโจทกดำเนินการ ตามกฎหมายตอไป และขอ ๑๕ วาจำเลยที่ ๑ สัญญาวาหากพนสภาพการเปนพนักงานโจทก ไมวากรณีใด ๆ จะไมไปรวมงานกับบริษัทที่ทำธุรกิจการคาประเภทเดียวกันหรือคูแขงทางการคา ของโจทกภายในระยะเวลา ๓ ป โดยยินยอมใหโจทกดำเนินการตามกฎหมายตอไป จำเลยที่ ๒ เปนพนักงานโจทกเริ่มทำงานเมื่อวันที่ ๑๒ มีนาคม ๒๕๕๑ ตำแหนงสุดทายพนักงานขาย มีหนาที่ ติดตอเจรจากับลูกคาของโจทกเพื่อเสนอขายสินคาตามที่ไดรับมอบหมายจากโจทก มีขอตกลง ตามสัญญาจางแรงงาน ขอ ๑๔ วาจำเลยที่ ๒ สัญญาวาหากพนสภาพการเปนพนักงานโจทก ไมวากรณีใด ๆ จะไมไปรวมงานกับบริษัทที่ทำธุรกิจการคาประเภทเดียวกันหรือคูแขงทางการคา ของโจทกภายในระยะเวลา ๓ ป โดยยินยอมใหโจทกดำเนินการตามกฎหมายตอไป และขอ ๑๕ วาจำเลยที่ ๒ จะไมรับจางทำงานใหแกบุคคลอื่นหรือดำเนินกิจการไมวาดวยตนเองหรือตัวแทน หรือเขาไปมีประโยชนไดเสียในกิจการใด ๆ อันเปนการแขงขันหรือเปนการเสียหายแกกิจการ ของโจทก โดยยินยอมใหโจทกดำเนินการตามกฎหมายตอไป เมื่อวันที่ ๑๘ กรกฎาคม ๒๕๕๗ จำเลยที่ ๑ และที่ ๒ รวมกับนายโชคชัย พนักงานโจทก ตำแหนงพนักงานขาย จดทะเบียน ตั้งบริษัทจำเลยที่ ๓ ขึ้นมา โดยมีจำเลยที่ ๑ เปนกรรมการผูมีอำนาจกระทำการแทนจำเลยที่ ๓ สวนจำเลยที่ ๒ และนายโชคชัยเปนผูถือหุน วันที่ ๑ มีนาคม ๒๕๕๙ จำเลยที่ ๒ ลาออกจาก การเปนพนักงานโจทกโดยใหมีผลตั้งแตวันที่ ๒๘ พฤษภาคม ๒๕๕๙ วันที่ ๖ มีนาคม ๒๕๖๐ นายพลพีร สามีจำเลยที่ ๑ กับพวกรวมกันจดทะเบียนตั้งบริษัทจำเลยที่ ๔ ขึ้นมา โดยมีนายพลพีร กับพวกเปนกรรมการผูมีอำนาจกระทำการแทนจำเลยที่ ๔ วันที่ ๑๖ ตุลาคม ๒๕๖๐ มีการ จดทะเบียนเปลี่ยนแปลงรายชื่อผูถือหุน แกไขเพิ่มเติมวัตถุประสงครวมทั้งกรรมการผูมีอำนาจกระทำ การแทนจำเลยที่ ๓ และโจทกเลิกจางจำเลยที่ ๑ โดยใหมีผลตั้งแตวันที่ ๑๗ ตุลาคม ๒๕๖๐ ในสวน การประกอบกิจการของจำเลยที่ ๓ และที่ ๔ ปรากฏวาป ๒๕๕๗ ถึงป ๒๕๖๐ จำเลยที่ ๓ มีกำไร ทุกป ป ๒๕๖๐ และป ๒๕๖๑ จำเลยที่ ๔ ก็มีกำไรเชนเดียวกัน แลววินิจฉัยวาตามคำใหการของ จำเลยทั้งสี่เพียงแตยกขอเถียงวาโจทกไมมีสิทธิเรียกคาเสียหายในชวงเวลาใด โดยมิไดอางเรื่อง


Click to View FlipBook Version