The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รวมคำพิพากษา-แผนกคดีแรงงาน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by iprd.pic, 2024-01-31 21:12:27

รวมคำพิพากษา-แผนกคดีแรงงาน

รวมคำพิพากษา-แผนกคดีแรงงาน

๔๙๐ จําเลยมีหนังสือแตงตั้งนางสาว ก. ใหมาดํารงตําแหนงผูจัดการฝายขายแทนโจทก และโจทกก็ไมไดทํางานในตําแหนงผูจัดการฝายขายอีก แตไดเขาไปสแกนลายพิมพนิ้วมือ ที่บริษัทจําเลยจนถึงสิ้นเดือนมีนาคม ๒๕๖๓ หลังจากนั้นโจทกไมไดเขาไปที่ทํางานจําเลย อีก โดยในระหวางนั้นผูจัดการฝายบุคคลของจําเลยไดสงขอความผานแอปพลิเคชันไลน ทวงถามใบลาออกและอุปกรณการทํางานคืนจากโจทก กรณีจึงเปนความเขาใจของจําเลย วาโจทกจะยื่นหนังสือลาออกหลังจากเดือนมีนาคม ๒๕๖๓ แตโจทกยังไมไดยื่นและยังไม คืนอุปกรณการทํางานแกจําเลย แมตอมาโจทกจะไมไดยื่นหนังสือลาออกใหจําเลยก็ตาม แตโจทกก็ไดสงมอบอุปกรณการทํางานคืนใหจําเลยแลว หลังจากนั้นโจทกไมไดเขามา ทํางานกับจําเลยอีก และจําเลยก็ไมไดจายคาจางใหโจทกหลังจากสิ้นเดือนมีนาคม ๒๕๖๓ เปนตนไป พฤติการณดังกลาวยังถือไมไดวาจําเลยกระทําการใด ๆ ที่ไมใหโจทกเขาทํางาน กับจําเลยอีกตอไป กรณีจึงถือไดวาคูสัญญาทั้งสองฝายตางประสงคจะยุติสัญญาจางที่มี ตอกันโดยปริยายเมื่อสิ้นเดือนมีนาคม ๒๕๖๓ ระหวางการพิจารณาคดีของศาลอุทธรณคดีชํานัญพิเศษมีการประกาศใช พ.ร.ก. แกไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย พ.ศ. ๒๕๖๔ ซึ่งมีผลใชบังคับตั้งแตวันที่ ๑๑ เมษายน ๒๕๖๔ โดย พ.ร.ก. ดังกลาวไดแกไข ป.พ.พ. มาตรา ๗ และมาตรา ๒๒๔ เปนผล ใหอัตราดอกเบี้ยผิดนัดปรับเปลี่ยนจากอัตรารอยละ ๗.๕ ตอป เปนอัตราที่กําหนดตาม มาตรา ๗ บวกดวยอัตราเพิ่มรอยละสองตอป จึงตองกําหนดดอกเบี้ยตาม พ.ร.ก. ดังกลาว ซึ่งการกําหนดอัตราดอกเบี้ยตาม พ.ร.ก. เปนขอกฎหมายเกี่ยวดวยความสงบเรียบรอย ของประชาชน ศาลอุทธรณคดีชํานัญพิเศษเห็นสมควรยกขึ้นวินิจฉัยไดเองแมไมมีคูความ ฝายใดยื่นอุทธรณตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๑๔๒ (๕) ประกอบ พ.ร.บ. จัดตั้งศาลแรงงานและ วิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๕๗ โจทกฟอง ขอใหบังคับจำเลยคืนคาจาง ๑,๑๑๖,๒๖๕ บาท จายคาชดเชย ๒๐๐,๐๐๐ บาท และสินจางแทนการบอกกลาวลวงหนา ๒๕,๐๐๐ บาท พรอมดอกเบี้ยอัตรารอยละ ๑๕ ตอปของ ตนเงินแตละจำนวนนับแตวันเลิกจางเปนตนไป และจายคาเสียหายจากการเลิกจางไมเปนธรรม ๓๐๐,๐๐๐ บาท พรอมดอกเบี้ยอัตรารอยละ ๗.๕ ตอปนับแตวันฟองเปนตนไปจนกวาจะชำระ เสร็จแกโจทก


๔๙๑ จำเลยใหการและฟองแยง ขอใหยกฟอง และบังคับโจทกชำระเงิน ๑,๗๑๕,๐๑๗.๙๕ บาท พรอมดอกเบี้ยอัตรารอยละ ๗.๕ ตอปของตนเงิน ๑,๖๐๖,๖๘๗.๙๕ บาท นับถัดจากวันฟองแยง เปนตนไปจนกวาจะชำระเสร็จแกจำเลย โจทกใหการแกฟองแยง ขอใหยกฟองแยง ศาลแรงงานกลาง พิพากษาใหจำเลยจายคาชดเชย ๒๐๐,๐๐๐ บาท สินจางแทนการ บอกกลาวลวงหนา ๒๕,๐๐๐ บาท คาจางคางจาย ๕๕๘,๑๓๒.๕๐ บาท พรอมดอกเบี้ยอัตรารอยละ ๑๕ ตอป นับแตวันที่ ๓๐ มีนาคม ๒๕๖๓ เปนตนไป และจายคาเสียหายจากการเลิกจางไมเปนธรรม ๗๕,๐๐๐ บาท พรอมดอกเบี้ยอัตรารอยละ ๗.๕ ตอปนับแตวันฟอง (ฟองวันที่ ๑๓ เมษายน ๒๕๖๓) เปนตนไปจนกวาจะชำระเสร็จแกโจทก และใหโจทกชำระเงินตามฟองแยง ๒,๑๖๔,๓๖๔.๕๐ บาท พรอมดอกเบี้ยอัตรารอยละ ๗.๕ ตอปนับแตวันฟองแยง (ฟองแยงวันที่ ๒๔ กรกฎาคม ๒๕๖๓) เปนตนไปจนกวาจะชำระเสร็จแกจำเลย โจทกและจำเลยอุทธรณ ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษแผนกคดีแรงงานวินิจฉัยวา ศาลแรงงานกลางฟงขอเท็จจริง ยุติวา จำเลยเปนนิติบุคคลประเภทบริษัทจำกัด โจทกเคยเปนลูกจางจำเลย เริ่มทำงานตั้งแตวันที่ ๑๖ พฤศจิกายน ๒๕๕๕ ตำแหนงสุดทายเปนผูจัดการฝายขาย ไดรับคาจางอัตราสุดทายเดือนละ ๒๕,๐๐๐ บาท กำหนดจายคาจางทุกวันสิ้นเดือน แลววินิจฉัยวา เมื่อวันที่ ๔ มีนาคม ๒๕๖๓ จำเลยมีหนังสือแตงตั้งนางสาวกิตติธราใหมาเปนผูจัดการฝายขายแทนโจทก และไมปรากฏวา จำเลยมีหนังสือแตงตั้งใหโจทกไปดำรงตำแหนงใด และโจทกก็ไมไดเขาไปทำงานในฐานะผูจัดการ ฝายขายอีก พฤติการณของจำเลยถือไดวาเปนการไมใหโจทกทำงานและไมจายคาจางใหโจทก อีกตอไป เมื่อจำเลยไมมีหนังสือลาออกของโจทกมาแสดงจึงยังฟงไมไดวาโจทกขอลาออกเอง แตฟงไดวาจำเลยเลิกจางโจทกแลวตั้งแตวันที่ ๓๐ มีนาคม ๒๕๖๓ ซึ่งเปนวันสุดทายที่โจทกมา ทำงาน และเหตุที่จำเลยเลิกจางโจทกเนื่องมาจากจำเลยสงสัยในพฤติกรรมของโจทกที่เกี่ยวของ กับการซื้อขายรถยนตเกาของลูกคาที่นำมาเปลี่ยนเปนรถยนตคันใหมกับจำเลย ทำใหจำเลยเสีย ผลประโยชน แตจำเลยยังมิไดทำการสอบสวนหรือมีหลักฐานมายืนยันวาโจทกกระทำผิดจริง ขอเท็จจริงจึงยังฟงไมไดวาโจทกกระทำการทุจริตตอหนาที่หรือมีเหตุอยางหนึ่งอยางใดตาม พระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา ๑๑๙ ที่จำเลยจะเลิกจางโจทกไดโดยไมตอง จายคาชดเชย เมื่อจำเลยเลิกจางโจทกโดยไมไดบอกกลาวลวงหนา จำเลยจึงตองจายคาชดเชย และสินจางแทนการบอกกลาวลวงหนาพรอมดอกเบี้ยแกโจทก อีกทั้งยังเปนการเลิกจางที่ยังไมมี เหตุผลสมควรเพียงพอเปนการเลิกจางไมเปนธรรม จำเลยจึงตองจายคาเสียหายจากการเลิกจาง


๔๙๒ ไมเปนธรรมพรอมดอกเบี้ยแกโจทกดวย เมื่อขอเท็จจริงฟงไดวาเงินคาคอมมิชชั่นเปนเงินที่ จำเลยจายใหโจทกเปนการตอบแทนโดยคำนวณตามผลงานที่ลูกจางทำไดในเวลาปกติของวัน ทำงานจึงถือเปนคาจาง การที่จำเลยหักเงินคาคอมมิชชั่นของโจทกจึงเปนการหักคาจาง ซึ่งตาม พระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา ๗๖ (๔) บัญญัติหามมิใหนายจางหักคาจาง... เวนแตเปนการหักเพื่อ... ชดใชคาเสียหายใหแกนายจางซึ่งลูกจางไดกระทำโดยจงใจหรือประมาท เลินเลออยางรายแรงโดยไดรับความยินยอมจากลูกจาง เมื่อโจทกในฐานะผูจัดการฝายขายสามารถ ทราบไดอยูแลววาในแตละวันจะมีรถยนตที่ซื้อขายหรือสงมอบกันจำนวนเทาใด โจทกจึงตองใช ความระมัดระวังคอยติดตามตรวจสอบการชำระเงินหรือการสงมอบกุญแจรถยนตกับพนักงาน บัญชีของจำเลยตลอดเวลาอันอยูในวิสัยที่โจทกสามารถกระทำได การที่พนักงานขายในสาขาที่ โจทกเปนผูรับผิดชอบจำนวน ๓ ราย ไดนำเงินที่ไดจากการขายรถยนตใหกับลูกคาไปโดยทุจริต และมีพนักงานขาย ๑ ราย ปลอยรถยนตไปโดยทำใหจำเลยไมสามารถเรียกเก็บเงินหรือติดตาม รถยนตคืนได ทำใหจำเลยไดรับความเสียหายเปนเงินถึง ๑,๙๐๗,๗๙๗ บาท จึงถือไดวาโจทก ทำหนาที่โดยปราศจากความระมัดระวังอันเปนการประมาทเลินเลออยางรายแรง ประกอบกับเมื่อ พิจารณาสัญญาจางแรงงานระหวางโจทกกับจำเลยแลว มีขอความระบุวา... พนักงานใหสัญญาวา หากพนักงานไดทำความเสียหายใหแกบริษัท หรือบุคคลที่สามซึ่งเปนเหตุใหบริษัทตองชดใช คาเสียหาย พนักงานยินยอมรับผิดชดใชคาเสียหายดังกลาวใหแกบริษัทจนครบถวนดังนี้ จำเลยจึง มีสิทธิหักคาจางโจทกชดใชคาเสียหายใหแกจำเลยได อยางไรก็ตามพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา ๗๖ วรรคสอง ยังบัญญัติตอไปวา การหักตาม... (๔) มิใหหักเกินรอยละ ๑๐ เมื่อขอเท็จจริงไดความวาจำเลยหักคาจางโจทกในอัตรารอยละ ๒๐ ตอเดือนจึงเกินกวากฎหมาย กำหนด ทั้งไมปรากฏวาจำเลยจัดทำหนังสือใหโจทกลงลายมือชื่อใหความยินยอมในการหักไวเปน การเฉพาะตามพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา ๗๗ จำเลยจึงตองคืนคาจาง ที่หักไวเกินแกโจทกพรอมดอกเบี้ย สำหรับฟองแยงของจำเลยนั้น ขอเท็จจริงฟงไดวา โจทกไดรับ เงินคาตอบแทนการขายกรณีพิเศษ (Repurchase) จำนวน ๗๖๓,๑๐๐ บาท จากจำเลยเพื่อนำ ไปมอบใหกับพนักงานขายแลว แตโจทกกลับไมไดสงมอบเงินจำนวนดังกลาวใหกับพนักงานขาย โจทกจึงตองคืนเงินจำนวนดังกลาวพรอมดอกเบี้ยแกจำเลย สวนที่จำเลยฟองแยงเรียกคานาิกา Apple Watch นั้น ขอเท็จจริงฟงไดวานาิกา Apple Watch เปนสินคาของบริษัทโตโยตามอเตอร (ประเทศไทย) จำกัด ที่มอบใหแกลูกคาในการจัดรายการชิงโชคและไดสงมาใหจำเลยจำนวน ๔ เรือน โดยโจทกไดรับมอบนาิกา Apple Watch จากจำเลยเพื่อนำไปสงมอบแกลูกคาที่ไดรับรางวัล จากกิจกรรม จำนวน ๔ ราย แตโจทกกลับไมไดสงมอบนาิกาใหแกลูกคาหรือนำนาิกามาคืน


๔๙๓ ใหกับจำเลย โจทกจึงตองคืนเงินคานาิกา Apple Watch ดังกลาวพรอมดอกเบี้ย และเมื่อ ศาลแรงงานกลางฟงขอเท็จจริงแลววา โจทกประมาทเลินเลออยางรายแรงเปนเหตุใหพนักงานขาย ในสาขาที่โจทกเปนผูรับผิดชอบกระทำการทุจริตตอหนาที่ ทำใหจำเลยไดรับความเสียหาย และ ยังคงเหลือเงินที่โจทกตองรับผิดอยูอีก ๗๙๑,๕๓๒ บาท โจทกจึงตองรับผิดชำระเงินจำนวน ดังกลาว และเมื่อศาลแรงงานกลางวินิจฉัยไปแลววา จำเลยหักคาจางโจทกเกินกวากฎหมาย กำหนด อาศัยอำนาจตามพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๕๒ จึงใหนำเงินที่จำเลยตองคืนแกโจทกซึ่งโจทกจะตองรับผิดไปรวมกับเงินที่โจทกจะตอง รับผิดตามฟองแยง รวมเปนเงินทั้งสิ้น ๒,๑๖๔,๓๖๔.๕๐ บาท โจทกจึงตองรับผิดชำระเงินจำนวน ดังกลาวพรอมดอกเบี้ยแกจำเลย มีปญหาตองวินิจฉัยตามอุทธรณของโจทกประการแรกวา จำเลยมีสิทธิหักคาจางโจทก เพื่อชดใชคาเสียหายใหแกจำเลยหรือไม เห็นวา เอกสารหมาย ล.๙ และ ล.๑๐ เปนเอกสารที่ ศาลแรงงานกลางมีคำสั่งเรียกใหจำเลยนำมาสงศาลภายหลังสืบพยานจำเลยเสร็จแลว ไมใชเอกสาร ที่จำเลยอางเปนพยานหลักฐานดังที่โจทกอางในอุทธรณ ถือไดวาเอกสารทั้งสองฉบับดังกลาว เปนเอกสารที่ศาลแรงงานกลางใชอำนาจเรียกมาสืบไดเองตามที่เห็นสมควรตามพระราชบัญญัติ จัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๔๕ วรรคหนึ่ง ซึ่งบัญญัติวา “เพื่อประโยชนแหงความยุติธรรมในอันที่จะใหไดความชัดแจงในขอเท็จจริงแหงคดี ใหศาลแรงงาน มีอำนาจเรียกพยานหลักฐานมาสืบไดเองตามที่เห็นสมควร” ดังนั้นการที่ศาลแรงงานกลางมีคำสั่ง เรียกพยานเอกสารหมาย ล.๙ และ ล.๑๐ มารับฟงเปนพยานหลักฐานจึงชอบดวยกฎหมาย ซึ่ง เปนนายจางจะหักคาจางโจทกชดใชคาเสียหายไดตองเปนไปตามพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา ๗๖ ที่บัญญัติวา “หามมิใหนายจางหักคาจาง... เวนแตเปนการหักเพื่อ... (๔) เงินประกันตามมาตรา ๑๐ หรือชดใชคาเสียหายใหแกนายจาง ซึ่งลูกจางไดกระทำโดยจงใจหรือ ประมาทเลินเลออยางรายแรงโดยไดรับความยินยอมจากลูกจาง...” เมื่อศาลแรงงานกลางฟง ขอเท็จจริงแลววา เงินคาคอมมิชชั่นของโจทกที่จำเลยหักไวเปนเงินที่จำเลยจายเปนการตอบแทน โดยคำนวณตามผลงานที่ลูกจางทำไดในเวลาปกติของวันทำงาน จึงเปนคาจาง การที่จำเลยหักเงิน คาคอมมิชชั่นดังกลาวจึงเปนการหักคาจางตามมาตรา ๗๖ โดยศาลแรงงานกลางฟงขอเท็จจริง ดวยวา พนักงานขายในสาขาที่โจทกเปนผูรับผิดชอบจำนวน ๓ ราย ไดนำเงินที่ไดจากการขาย รถยนตใหกับลูกคาไปโดยทุจริต และมีพนักงานขายอีก ๑ ราย ปลอยรถยนตไปโดยทำใหจำเลย ไมสามารถเรียกเก็บเงินหรือติดตามรถยนตคืนได รวมเปนคาเสียหายถึง ๑,๙๐๗,๗๙๗ บาท ดังนี้ โจทกในฐานะผูจัดการฝายขายควรจะใชความระมัดระวังควบคุมดูแลพนักงานขายซึ่งเปน


๔๙๔ ผูใตบังคับบัญชาของตนใหปฏิบัติหนาที่ไปดวยความซื่อสัตยสุจริต ไมทำใหจำเลยไดรับความ เสียหาย แมโจทกจะอางวาไดติดตามและดำเนินคดีอาญากับพนักงานขายที่ทุจริตมาโดยตลอด แลวก็ตาม แตก็ถือไดวาโจทกในฐานะผูบังคับบัญชามีความบกพรองตอหนาที่ในการควบคุมดูแล ผูใตบังคับบัญชาใหปฏิบัติหนาที่ไปดวยความซื่อสัตยสุจริต และเปนการกระทำที่ปราศจากความ ระมัดระวังอันเปนการประมาทเลินเลออยางรายแรง ประกอบกับเมื่อพิจารณาสัญญาจางแรงงาน ระหวางโจทกกับจำเลย ขอ ๑๓ มีขอความระบุวา พนักงานใหสัญญาวา “หากพนักงานไดทำความ เสียหายใหแกบริษัทหรือแกบุคคลที่สามซึ่งเปนเหตุใหบริษัทตองชดใชคาเสียหาย พนักงานยินยอม รับผิดชดใชคาเสียหายดังกลาวใหบริษัทจนครบถวน” จึงถือไดวาโจทกยินยอมชดใชคาเสียหาย ใหแกจำเลยตามที่กำหนดไวในสัญญาจางแลว จำเลยจึงสามารถหักคาจางโจทกชดใชคาเสียหาย ใหแกจำเลยไดตามพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา ๗๖ (๔) อยางไรก็ตาม พระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา ๗๖ วรรคสอง บัญญัติไววา การหักตาม...(๔) มิใหหักเกินรอยละ ๑๐ เมื่อศาลแรงงานกลางฟงขอเท็จจริงวาจำเลยหักคาจางโจทกในอัตรารอยละ ๒๐ ตอเดือนจึงเกินกวาที่กฎหมายกำหนด ทั้งยังไมปรากฏวาจำเลยจัดทำหนังสือใหโจทก ลงลายมือชื่อใหความยินยอมในการหักคาจางไวเปนการเฉพาะตามพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา ๗๗ จำเลยจึงตองคืนคาจางที่หักไวเกินแกโจทกพรอมดอกเบี้ย ที่ศาลแรงงานกลาง วินิจฉัยปญหาดังกลาวมานั้น ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษเห็นพองดวย อุทธรณของโจทก ขอนี้ฟงไมขึ้น ที่โจทกอุทธรณวา ฟองแยงของจำเลยที่วาโจทกไดรับเงินคาตอบแทนการขายกรณีพิเศษ (Repurchase) จำนวน ๗๖๓,๑๐๐ บาท จากจำเลยเพื่อนำไปมอบใหพนักงานขาย แตโจทกไมได สงมอบเงินแกพนักงานขาย จำเลยจึงฟองแยงเรียกเงินดังกลาวคืนจากโจทก ภาระการพิสูจนจึง ตกแกจำเลย แตจำเลยไมมีประจักษพยานหรือพนักงานขายมาเบิกความยืนยันวายังไมไดรับเงิน ดังกลาวจากโจทก แสดงวาโจทกไดจายเงินใหแกพนักงานขายครบถวนเรียบรอยแลว โจทกจึง ไมตองคืนเงินจำนวนดังกลาวพรอมดอกเบี้ยแกจำเลยตามฟองแยงนั้น เห็นวา อุทธรณของโจทก ดังกลาวเปนการอุทธรณโตแยงดุลพินิจในการรับฟงพยานหลักฐานของศาลแรงงานกลางที่ฟง ขอเท็จจริงวา โจทกไดรับเงินคาตอบแทนการขายกรณีพิเศษ (Repurchase) จำนวน ๗๖๓,๑๐๐ บาท จากจำเลยเพื่อนำไปมอบใหกับพนักงานขายแลว แตโจทกไมไดสงมอบเงินจำนวนดังกลาว ใหกับพนักงานขายอันเปนอุทธรณในขอเท็จจริง ซึ่งตองหามมิใหอุทธรณตามพระราชบัญญัติ จัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๕๔ วรรคหนึ่ง ศาลอุทธรณ คดีชำนัญพิเศษไมรับวินิจฉัย


๔๙๕ และที่โจทกอุทธรณวา ฟองแยงของจำเลยที่เรียกคานาิกา Apple Watch ที่จำเลยสง มอบใหโจทกเพื่อนำไปสงมอบใหแกลูกคาที่ไดรับรางวัลจำนวน ๔ ราย แตโจทกไมไดนำนาิกา ไปสงมอบกับลูกคาคิดเปนคาเสียหาย ๕๑,๖๐๐ บาท ภาระการพิสูจนจึงตกแกจำเลย แตจำเลย ไมมีประจักษพยานมาเบิกความยืนยันวา โจทกไมไดสงมอบนาิกาใหลูกคาที่ไดรับรางวัลทั้ง ๔ ราย แตโจทกพิสูจนไดวาโจทกไดมอบนาิกาใหกับลูกคาเรียบรอยแลว โจทกจึงไมตองรับผิด ชำระเงินคานาิกาตามฟองแยงนั้น เห็นวา อุทธรณของโจทกดังกลาวเปนการอุทธรณโตแยง ดุลพินิจในการรับฟงพยานหลักฐานของศาลแรงงานกลางที่ฟงขอเท็จจริงวา โจทกไดรับมอบ นาิกา Apple Watch จากจำเลยเพื่อนำไปมอบใหแกลูกคาที่ไดรับรางวัลจำนวน ๔ ราย แตโจทก ไมไดสงมอบนาิกาใหแกลูกคาหรือนำนาิกามาคืนใหกับจำเลยอันเปนอุทธรณในขอเท็จจริง ซึ่งตองหามมิใหอุทธรณตามพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๕๔ วรรคหนึ่ง ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษไมรับวินิจฉัยเชนกัน สำหรับความเสียหายตามฟองแยงที่วาพนักงานขายที่อยูในความดูแลของโจทกทุจริต ไมสงมอบเงินคาขายรถยนตแกจำเลย ทำใหจำเลยไดรับความเสียหาย และจำเลยไดหักคาจาง โจทกชำระคาเสียหายไปแลวบางสวน คงเหลือเปนเงินอีก ๗๙๑,๕๓๒ บาท จึงฟองแยงเรียกให โจทกรับผิดชำระเงินดังกลาวพรอมดอกเบี้ยนั้น เห็นวา ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษวินิจฉัยแลววา การกระทำของโจทกในฐานะผูจัดการฝายขายที่ปลอยปละละเลยใหพนักงานขายซึ่งเปนผูใตบังคับ บัญชาของโจทกทุจริตตอหนาที่ ไมนำเงินที่ไดจากการขายรถยนตใหกับลูกคาสงมอบแกจำเลย การกระทำของโจทกถือเปนการบกพรองตอหนาที่และเปนการกระทำที่ปราศจากความระมัดระวัง อันเปนการประมาทเลินเลออยางรายแรง ทำใหจำเลยไดรับความเสียหาย โจทกจึงตองรับผิดชำระ คาเสียหายดังกลาวพรอมดอกเบี้ยแกจำเลย ที่ศาลแรงงานกลางวินิจฉัยปญหาดังกลาวมานั้น ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษเห็นพองดวย อุทธรณของโจทกฟงไมขึ้นเชนกัน มีปญหาตองวินิจฉัยตามอุทธรณของโจทกประการสุดทายวา ศาลแรงงานกลางมี คำพิพากษาเกินกวาฟองแยงของจำเลยหรือไม เห็นวา คดีนี้ศาลแรงงานกลางวินิจฉัยวาจำเลย หักเงินคาจางโจทกไวเกินกวาที่กฎหมายกำหนด จึงพิพากษาใหจำเลยคืนเงินดังกลาวแกโจทกพรอม ดอกเบี้ย แตเงินที่จำเลยตองคืนแกโจทกนั้นเปนสวนของความเสียหายที่โจทกตองรับผิดชอบดวย เพื่อความเปนธรรมมิใหจำเลยตองไปฟองเรียกเงินดังกลาวจากโจทกอีก ศาลแรงงานกลางจึง พิพากษาใหนำเงินที่จำเลยตองคืนแกโจทกนั้นมารวมกับความเสียหายที่โจทกตองรับผิดตามฟอง แยงโดยอาศัยอำนาจตามพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๕๒ ซึ่งเปนบทบัญญัติที่ยกเวนใหศาลแรงงานมีคำพิพากษาเกินกวาคำขอบังคับตาม


๔๙๖ ฟองแยงได การที่ศาลแรงงานกลางเห็นสมควรเพื่อความเปนธรรมแกคูความที่จำเลยจะไมตองไป ฟองโจทกเรียกเงินดังกลาวอีกจึงเปนการใชดุลพินิจตามที่บัญญัติไวในมาตรา ๕๒ แลว คำพิพากษา ศาลแรงงานกลางในสวนฟองแยงจึงชอบดวยกฎหมาย อุทธรณของโจทกขอนี้ฟงไมขึ้นเชนกัน มีปญหาตองวินิจฉัยตามอุทธรณของจำเลยวา จำเลยตองจายคาชดเชย สินจางแทน การบอกกลาวลวงหนา และคาเสียหายจากการเลิกจางไมเปนธรรมแกโจทกหรือไม เห็นวา พระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา ๑๑๘ วรรคสอง บัญญัติวา “การเลิกจาง ตามมาตรานี้ หมายความวา การกระทำใดที่นายจางไมใหลูกจางทำงานตอไปและไมจายคาจางให ไมวาจะเปนเพราะเหตุสิ้นสุดสัญญาจางหรือเหตุอื่นใด...” เมื่อศาลแรงงานกลางฟงขอเท็จจริงวา วันที่ ๓ มีนาคม ๒๕๖๓ ผูบริหารของจำเลยรวมประชุมกับโจทก โดยในที่ประชุมฝายจำเลยมีการ แจงวาโจทกมีสวนไดเสียกับกรณีที่ลูกคานำรถยนตเกามาแลกเปลี่ยนเปนรถยนตคันใหมของ จำเลย โดยลูกคานำไปขายกับเตนทรถยนตแทนที่จะนำมาขายใหกับบริษัทในเครือของจำเลย ทำใหจำเลยไดรับความเสียหาย โจทกจึงแจงวาจะขอสะสางงานจนถึงสิ้นเดือนมีนาคม ๒๕๖๓ ตอมาวันที่ ๔ มีนาคม ๒๕๖๓ จำเลยมีหนังสือแตงตั้งนางสาวกิตติธราใหมาดำรงตำแหนงผูจัดการ ฝายขายแทนโจทก และโจทกก็ไมไดทำงานในตำแหนงผูจัดการฝายขายอีก แตไดเขาไปสแกน ลายพิมพนิ้วมือที่บริษัทจำเลยจนถึงสิ้นเดือนมีนาคม ๒๕๖๓ หลังจากนั้นโจทกไมไดเขาไปที่ทำงาน จำเลยอีก โดยในระหวางนั้นผูจัดการฝายบุคคลของจำเลยไดสงขอความผานแอปพลิเคชันไลน ทวงถามใบลาออกและอุปกรณการทำงานคืนจากโจทกดังนี้ กรณีจึงเปนความเขาใจของจำเลยวา โจทกจะยื่นหนังสือลาออกหลังจากเดือนมีนาคม ๒๕๖๓ แตโจทกยังไมไดยื่นและยังไมคืนอุปกรณ การทำงานแกจำเลย แมตอมาโจทกจะไมไดยื่นหนังสือลาออกใหจำเลยก็ตาม แตโจทกก็ไดสงมอบ อุปกรณการทำงานคืนใหจำเลยแลว หลังจากนั้นโจทกไมไดเขามาทำงานกับจำเลยอีก และจำเลย ก็ไมไดจายคาจางใหโจทกหลังจากสิ้นเดือนมีนาคม ๒๕๖๓เปนตนไป พฤติการณดังกลาวยังถือ ไมไดวาจำเลยกระทำการใด ๆ ที่ไมใหโจทกเขาทำงานกับจำเลยอีกตอไป กรณีจึงถือไดวาคูสัญญา ทั้งสองฝายตางประสงคจะยุติสัญญาจางที่มีตอกันโดยปริยายเมื่อสิ้นเดือนมีนาคม ๒๕๖๓ จำเลย ไมไดเลิกจางโจทก จำเลยจึงไมตองจายคาชดเชย สินจางแทนการบอกกลาวลวงหนา และ คาเสียหายจากการเลิกจางไมเปนธรรมพรอมดอกเบี้ยตามฟอง ที่ศาลแรงงานกลางวินิจฉัยปญหา ดังกลาวมานั้น ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษไมเห็นพองดวย อุทธรณของจำเลยฟงขึ้น อนึ่ง ระหวางการพิจารณาคดีของศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษปรากฏวามีการประกาศ ใชพระราชกำหนดแกไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย พ.ศ. ๒๕๖๔ ซึ่งมีผลใชบังคับ ตั้งแตวันที่ ๑๑ เมษายน ๒๕๖๔ โดยพระราชกำหนดดังกลาวไดแกไขประมวลกฎหมายแพงและ


๔๙๗ พาณิชย มาตรา ๗ และมาตรา ๒๒๔ เปนผลใหอัตราดอกเบี้ยผิดนัดปรับเปลี่ยนจากอัตรารอยละ ๗.๕ ตอป เปนอัตราที่กำหนดตามมาตรา ๗ บวกดวยอัตราเพิ่มรอยละสองตอปดังนี้ ศาลอุทธรณ คดีชำนัญพิเศษจึงตองกำหนดดอกเบี้ยตามพระราชกำหนดดังกลาว ซึ่งการกำหนดอัตราดอกเบี้ย ตามพระราชกำหนดเปนขอกฎหมายเกี่ยวดวยความสงบเรียบรอยของประชาชน ศาลอุทธรณ คดีชำนัญพิเศษเห็นสมควรยกขึ้นวินิจฉัยไดเองแมไมมีคูความฝายใดยื่นอุทธรณตามประมวลกฎหมาย วิธีพิจารณาความแพงมาตรา ๑๔๒ (๕) ประกอบพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณา คดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๕๗ พิพากษาแกเปนวา จำเลยไมตองจายคาชดเชย สินจางแทนการบอกกลาวลวงหนา และคาเสียหายจากการเลิกจางไมเปนธรรมพรอมดอกเบี้ยแกโจทก และใหโจทกจายดอกเบี้ย อัตรารอยละ ๗.๕ ตอปนับแตวันฟองแยง (ฟองแยงวันที่ ๒๔ กรกฎาคม ๒๕๖๓) เปนตนไปจนถึง วันที่ ๑๐ เมษายน ๒๕๖๔ และดอกเบี้ยอัตรารอยละ ๕ ตอปนับแตวันที่ ๑๑ เมษายน ๒๕๖๔ เปนตนไปจนกวาจะชำระเสร็จแกจำเลย ทั้งนี้ใหปรับเปลี่ยนลดลงหรือเพิ่มขึ้นตามพระราชกฤษฎีกา แตตองไมเกินอัตรารอยละ ๗.๕ ตอป นอกจากที่แกใหเปนไปตามคำพิพากษาศาลแรงงานกลาง. ฐานุตร เล็กสุภาพ - ยอ วัชรินทร ฤชุโรจน - ตรวจ (พิเชฏฐ รื่นเจริญ - โสภณ พรหมสุวรรณ - ศราวุธ ภาณุธรรมชัย)


๔๙๘ คำพิพากษาศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษที่ ๘๐๐/๒๕๖๔ บริษัทโมเดิรน เทจ เฮาสแอนดดีไซน จำกัด หรือ บริษัทบี วิน ๙๘๘๙ จำกัด โจทก นายธราพงษ สุขะอาคม กับพวก จำเลย ป.วิ.พ. มาตรา ๒๑ (๒), ๒๙๕ พ.ร.บ. จัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๓๑ เมื่อจำเลยทั้งสามยื่นคำรองขอใหเพิกถอนหมายบังคับคดีโดยอางวา จำเลยที่ ๑ และที่ ๒ ไมไดทำผิดสัญญาประนีประนอมยอมความ และศาลแรงงานภาค ๖ มีคำสั่งให ออกหมายบังคับคดีโดยฟงเฉพาะคำแถลงของโจทกเพียงอยางเดียว จึงเปนกรณีที่ออกหมาย บังคับคดีโดยไมชอบ ขอใหเพิกถอนหมายบังคับคดี การที่ศาลแรงงานภาค ๖ พิจารณา คำรองดังกลาวแลวมีคำสั่งวา นัดไตสวน หมายนัดและสำเนาคำรองใหแกโจทก หากจะ คัดคานประการใดใหยื่นเขามากอนหรือภายในวันนัด จึงเปนการดำเนินกระบวนพิจารณา ตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๒๑ (๒) ประกอบ พ.ร.บ. จัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๓๑ สวนเหตุผลตามอุทธรณของโจทกเชนวา จำเลยทั้งสามยื่นคำรอง ขอใหเพิกถอนหมายบังคับคดีชากวา ๑๕ วัน นับแตวันที่ไดทราบขอความหรือพฤติการณ อันเปนมูลแหงขออางนั้น หรือจำเลยที่ ๑ และที่ ๒ มีการดำเนินการขึ้นใหมหลังจากไดทราบ เรื่องการออกหมายบังคับคดี และถือวามีการใหสัตยาบันแกการออกหมายบังคับคดีแลว คำรองของจำเลยทั้งสามจึงไมชอบดวยกฎหมาย ตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๒๙๕ วรรคสาม นั้น ขออางตามอุทธรณของโจทกดังกลาว เปนกรณีที่ศาลตองไตสวนหาความจริงกอนวา ขอเท็จจริงเปนไปตามที่โจทกยื่นคำรองจริงหรือไม จึงจะมีคำสั่งเมื่อไตสวนเสร็จแลว ศาลไมอาจสั่งยกคำรองของจำเลยทั้งสามทันทีได ที่ศาลแรงงานภาค ๖ พิจารณาคำรองของ โจทกที่ขอใหเพิกถอนกระบวนพิจารณาที่ผิดระเบียบแลว มีคำสั่งวาการดำเนินกระบวน พิจารณายังไมเปนการผิดระเบียบ ยกคำรอง แตใหรับคำรองของโจทกไวเปนคำคัดคาน จึงเปนการดำเนินกระบวนพิจารณาที่ชอบแลว


๔๙๙ โจทกและจำเลยทั้งสามทำสัญญาประนีประนอมยอมความวา ใหจำเลยที่ ๑ และที่ ๒ ประกอบกิจการตามวัตถุประสงคของจำเลยที่ ๒ ในพื้นที่จังหวัดพิษณุโลก พิจิตร สุโขทัย ตาก กำแพงเพชร และนครสวรรค เทานั้น โดยใชสถานที่ประกอบกิจการหลักอยูที่จังหวัดพิษณุโลก โดยจะไมเปดสาขาในจังหวัดพิจิตร สุโขทัย ตาก กำแพงเพชร และนครสวรรคอีก จำเลยที่ ๑ และที่ ๒ ตกลงวาจะหยุดประกอบกิจการที่สาขาขอนแกน มีกำหนดระยะเวลา ๕ ป นับแตวันทำ สัญญาเปนตนไป โจทกยินยอมใหจำเลยที่ ๑ และที่ ๒ ดำเนินการกอสรางบานซึ่งไดทำสัญญา รับจางกอสรางไวกอนหนาภายในเขตสาขาขอนแกนตามที่ไดทำสัญญารับจางจากผูวาจาง และ อยูในระหวางขออนุมัติสินเชื่อกับทางธนาคารรวมทั้งหมด ๖ สัญญา ใหแลวเสร็จ ในการปฏิบัติ ตามขอตกลงดังกลาวจำเลยที่ ๑ และที่ ๒ จะไมแตงตั้งตัวแทนเชิดเพื่อดำเนินการแทนจำเลยที่ ๑ และที่ ๒ หากจำเลยที่ ๑ และที่ ๒ ผิดสัญญาตามขอตกลงดังกลาว ยินยอมใหโจทกบังคับคดีได ทันทีในยอดเงิน ๒๐,๘๕๕,๑๑๔.๖๔ บาท ศาลแรงงานภาค ๖ พิพากษาตามยอม โจทกยื่นคำรองวา จำเลยที่ ๑ และที่ ๒ จงใจไมปฏิบัติตามคำพิพากษาตามยอม จำเลย ที่ ๑ และที่ ๒ จึงตองรับผิดตอโจทก ยินยอมใหโจทกบังคับคดีในยอดเงิน ๒๐,๘๕๕,๑๑๔.๖๔ บาท ขอใหออกหมายบังคับคดี ศาลแรงงานภาค ๖ จึงออกหมายบังคับคดีแกจำเลยที่ ๑ และที่ ๒ วันที่ ๒ เมษายน ๒๕๖๔ ทนายจำเลยทั้งสามยื่นคำรองวา จำเลยที่ ๑ และที่ ๒ ไมได กระทำผิดสัญญาประนีประนอมยอมความตามที่โจทกกลาวหา โจทกไมมีพยานหลักฐานยืนยัน ใหปรากฏชัดแจงวา จำเลยที่ ๑ และที่ ๒ ประพฤติผิดสัญญาประนีประนอมยอมความ การที่ศาล หลงเชื่อคำแถลงของโจทกและมีคำสั่งออกหมายบังคับคดี จึงเปนการออกหมายบังคับคดีที่บกพรอง ผิดพลาด หรือฝาฝนกฎหมาย ขอใหศาลไตสวนคำรองของจำเลยทั้งสามและมีคำสั่งเพิกถอนหมาย บังคับคดี ศาลแรงงานภาค ๖ มีคำสั่งวา นัดไตสวน หมายนัดและสำเนาคำรองใหแกโจทก หากจะ คัดคานประการใดใหยื่นเขามากอนหรือภายในวันนัด วันที่ ๙ เมษายน ๒๕๖๔ โจทกยื่นคำรองขอใหเพิกถอนกระบวนพิจารณาผิดระเบียบ กลาวอางวา จำเลยทั้งสามยื่นคำรองขอใหเพิกถอนหมายบังคับคดีชากวา ๑๕ วัน นับแตวันที่ได ทราบขอความหรือพฤติการณอันเปนมูลแหงขออางนั้น และกรณีถือวามีการดำเนินการขึ้นใหม หลังจากไดทราบเรื่องบกพรอง ผิดพลาด หรือฝาฝนกฎหมายนั้น และถือวามีการใหสัตยาบันแก การออกหมายบังคับคดีแลว คำรองของจำเลยทั้งสามไมชอบดวยกฎหมาย ขอใหมีคำสั่งเพิกถอน คำสั่งรับคำรองของจำเลยทั้งสาม ศาลแรงงานภาค ๖ มีคำสั่งวา พิเคราะหแลว การที่ศาลมีคำสั่งรับคำรองขอใหเพิกถอน หมายบังคับคดีของจำเลยทั้งสามไวไตสวนนั้น ยังฟงไมไดวาเปนกระบวนพิจารณาที่ผิดระเบียบ ยกคำรอง แตใหถือคำรองนี้เปนคำคัดคานของโจทก สำเนาใหจำเลยทั้งสาม


๕๐๐ โจทกอุทธรณ คดีมีปญหาตองวินิจฉัยตามอุทธรณของโจทกวา การที่จำเลยทั้งสามยื่นคำรองขอให เพิกถอนหมายบังคับคดีแกจำเลยที่ ๑ และที่ ๒ ซึ่งศาลแรงงานภาค ๖ มีคำสั่งรับคำรองและนัด ไตสวน เปนการดำเนินกระบวนพิจารณาที่ผิดระเบียบหรือไม เห็นวา เมื่อจำเลยทั้งสามยื่นคำรอง ขอใหเพิกถอนหมายบังคับคดีโดยอางวา จำเลยที่ ๑ และที่ ๒ ไมไดทำผิดสัญญาประนีประนอม ยอมความ และศาลแรงงานภาค ๖ มีคำสั่งใหออกหมายบังคับคดีโดยฟงเฉพาะคำแถลงของโจทก เพียงอยางเดียว จึงเปนกรณีที่ออกหมายบังคับคดีโดยไมชอบ ขอใหเพิกถอนหมายบังคับคดี การที่ ศาลแรงงานภาค ๖ พิจารณาคำรองดังกลาวแลวมีคำสั่งวา นัดไตสวน หมายนัดและสำเนาคำรอง ใหแกโจทก หากจะคัดคานประการใดใหยื่นเขามากอนหรือภายในวันนัด จึงเปนการดำเนินกระบวน พิจารณาตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพง มาตรา ๒๑ (๒) ประกอบพระราชบัญญัติ จัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๓๑ สวนเหตุผลตามอุทธรณ ของโจทกเชนวา จำเลยทั้งสามยื่นคำรองขอใหเพิกถอนหมายบังคับคดีชากวา ๑๕ วัน นับแตวัน ที่ไดทราบขอความหรือพฤติการณอันเปนมูลแหงขออางนั้น หรือจำเลยที่ ๑ และที่ ๒ มีการดำเนินการ ขึ้นใหมหลังจากไดทราบเรื่องการออกหมายบังคับคดี และถือวามีการใหสัตยาบันแกการออกหมาย บังคับคดีแลว คำรองของจำเลยทั้งสามจึงไมชอบดวยกฎหมาย ตามประมวลกฎหมาย วิธีพิจารณาความแพง มาตรา ๒๙๕ วรรคสาม นั้น ขออางตามอุทธรณของโจทกดังกลาว เปนกรณี ที่ศาลตองไตสวนหาความจริงกอนวา ขอเท็จจริงเปนไปตามที่โจทกยื่นคำรองจริงหรือไม จึงจะ มีคำสั่งเมื่อไตสวนเสร็จแลว ศาลไมอาจสั่งยกคำรองของจำเลยทั้งสามทันทีได ที่ศาลแรงงานภาค ๖ พิจารณาคำรองของโจทกที่ขอใหเพิกถอนกระบวนพิจารณาที่ผิดระเบียบแลว มีคำสั่งวาการดำเนิน กระบวนพิจารณายังไมเปนการผิดระเบียบ ยกคำรอง แตใหรับคำรองของโจทกไวเปนคำคัดคาน จึงเปนการดำเนินกระบวนพิจารณาที่ชอบแลว ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษเห็นพองดวย อุทธรณ ของโจทกฟงไมขึ้น พิพากษายืน. (พิเชฏฐ รื่นเจริญ - โสภณ พรหมสุวรรณ - ศราวุธ ภาณุธรรมชัย) ธัชวุทธิ์ พุทธิสมบัติ - ยอ วัชรินทร ฤชุโรจน - ตรวจ


คำพิพากษาศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษที่ ๖๑/๒๕๖๔ นางทิพย กาย โจทก นายธนพร เขตรัตนา ในฐานะ พนักงานตรวจแรงงาน จำเลย พ.ร.บ. คุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา ๕, ๙๒, ๑๒๐ (เดิม), ๑๒๐/๑, ๑๒๕ วรรคสาม วรรคสี่ พ.ร.บ. คุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา ๑๒๕ วรรคสาม บัญญัติใหนายจาง ที่ไมพอใจคําสั่งของพนักงานตรวจแรงงานและประสงคจะนําคดีไปสูศาลตองวางเงินตอ ศาลตามจํานวนที่ถึง กําหนดจายตามคําสั่งนั้น จึงจะฟองคดีได และวรรคสี่บัญญัติให ศาลมีอํานาจจายเงินที่นายจางวางไวตอศาลใหแกลูกจางหรือทายาทโดยธรรมของลูกจาง ซึ่งถึงแกความตาย เมื่อคดีถึงที่สุดและนายจางมีหนาที่ตองจายเงินจํานวนใดใหแกลูกจาง หรือทายาทโดยธรรมของลูกจางซึ่งถึงแกความตาย บทบัญญัติของกฎหมายดังกลาว มุงประสงคมิใหนายจางที่มีหนาที่ตองจายเงินใหแกลูกจางตามคําสั่งพนักงานตรวจแรงงาน ประวิงการชําระหนี้โดยนําคดีมาสูศาล จึงกําหนดใหนายจางตองวางเงินที่ตองจายใหแก ลูกจางตามคําสั่งพนักงานตรวจแรงงาน เพื่อเปนหลักประกันใหแกลูกจางเมื่อคดีถึงที่สุด จึงจะมีสิทธิฟองคดีได ดังนั้น นายจางที่ประสงคจะใชสิทธิฟองขอใหเพิกถอนคําสั่งพนักงาน ตรวจแรงงาน จะตองวางเงินตอศาลตามจํานวนที่ถึงกําหนดจายตามคําสั่งพนักงาน ตรวจแรงงาน หามีสิทธิวางเงินเพียงบางสวนโดยอางเหตุตาง ๆ ดังที่โจทกกลาวอางใน อุทธรณไม บทบัญญัติเกี่ยวกับการที่นายจางจะตองวางเงินตอศาลในกรณีที่นายจางประสงค จะอุทธรณ คําสั่งของเจาพนักงานตาม พ.ร.บ. คุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ จึงจะฟองคดี ไดนั้น เคยมีคําวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญที่ ๓๓/๒๕๔๘ วินิจฉัยเกี่ยวกับเรื่องนี้ในกรณี ที่นายจางประสงคจะอุทธรณคําวินิจฉัยของคณะกรรมการสวัสดิการแรงงานตาม มาตรา ๑๒๐ (เดิม) แหง พ.ร.บ.คุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ ซึ่งปจจุบันคือมาตรา ๑๒๐/๑ ศาลรัฐธรรมนูญพิจารณาแลวมีคําวินิจฉัยวา พ.ร.บ. คุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา ๑๒๐ (เดิม) บัญญัติขึ้นเพื่อคุมครองลูกจางผูที่ดอยโอกาส โดยกฎหมายคุมครอง แรงงานเปนการกําหนดมาตรฐานขั้นต่ำที่ลูกจางพึงไดรับการปฏิบัติจากนายจาง และเปน กฎหมายที่เกี่ยวกับความสงบเรียบรอยของประชาชน จึงไมเปนกรณีที่ไมเปนธรรมสําหรับ นายจางแตอยางใด บทบัญญัติกฎหมายดังกลาวเปนการบัญญัติกฎหมายขึ้นเฉพาะเพื่อ ๕๐๑


การที่รัฐธรรมนูญไดกําหนดไวและเปนการจํากัดสิทธิของนายจางเทาที่จําเปน โดยไม กระทบกระเทือนถึงสาระสําคัญแหงสิทธิและเสรีภาพของนายจาง มิไดขัดตอหลักความ เสมอภาค และไมถือเปนการเลือกปฏิบัติโดยไมเปนธรรมตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญ แตประการใด อํานาจในการวินิจฉัยวาคําโตแยงของคูความเขาหลักเกณฑที่จะตองสงไปให ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยหรือไมเปนอํานาจหนาที่ของศาลยุติธรรม มิใชวาหากคูความมี คําโตแยงในเรื่องนี้อยางไรแลว ศาลยุติธรรมจะตองสงเรื่องไปใหศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัย ทุกกรณีไป ศาลอุทธรณคดีชํานัญพิเศษจึงเห็นควรไมจําตองสงขอโตแยงดังกลาวของ โจทกไปยังศาลรัฐธรรมนูญเพื่อวินิจฉัยวาขัดตอรัฐธรรมนูญหรือไม เนื่องจากเคยมีคําวินิจฉัย ของศาลรัฐธรรมนูญในสวนที่เกี่ยวกับบทบัญญัติในเรื่องนี้มาแลว ______________________________ โจทกฟอง ขอใหเพิกถอนคำสั่งจำเลย สำนักงานสวัสดิการและคุมครองแรงงานจังหวัด ภูเก็ต ที่ ๑๐๔/๒๕๖๓ ลงวันที่ ๒๗ สิงหาคม ๒๕๖๓ ที่สั่งใหโจทกจายคาจางแทนการบอกกลาว ลวงหนา และคาชดเชย พรอมดอกเบี้ยในระหวางเวลาผิดนัดแกนางสุภัตราและนางสาวน้ำฝน ศาลแรงงานภาค ๘ มีคำสั่งใหโจทกวางเงินที่จะตองชำระใหแกนางสุภัตราและนางสาวน้ำฝน ภายในระยะเวลาที่กำหนด โจทกเพิกเฉย ศาลแรงงานภาค ๘ มีคำสั่งวา โจทกไมวางเงินตาม คำสั่งพนักงานตรวจแรงงานภายในเวลาที่ศาลกำหนด จึงมีคำสั่งไมรับคำฟองโจทก โจทกอุทธรณ ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษแผนกคดีแรงงานวินิจฉัยวา คดีมีปญหาตองวินิจฉัยตาม อุทธรณของโจทกวา โจทกมีอำนาจฟองจำเลยโดยวางเงินที่ตองชำระตามคำสั่งของจำเลยเพียง บางสวนหรือไม เห็นวา พระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา ๑๒๕ วรรคสาม บัญญัติใหนายจางที่ไมพอใจคำสั่งของพนักงานตรวจแรงงานและประสงคจะนำคดีไปสูศาลตอง วางเงินตอศาลตามจำนวนที่ถึงกำหนดจายตามคำสั่งนั้น จึงจะฟองคดีได และวรรคสี่บัญญัติ ใหศาลมีอำนาจจายเงินที่นายจางวางไวตอศาลใหแกลูกจางหรือทายาทโดยธรรมของลูกจาง ซึ่งถึงแกความตาย เมื่อคดีถึงที่สุดและนายจางมีหนาที่ตองจายเงินจำนวนใดใหแกลูกจางหรือ ทายาทโดยธรรมของลูกจางซึ่งถึงแกความตาย บทบัญญัติของกฎหมายดังกลาวมุงประสงคมิให นายจางที่มีหนาที่ตองจายเงินใหแกลูกจางตามคำสั่งพนักงานตรวจแรงงานประวิงการชำระหนี้ โดยนำคดีมาสูศาล จึงกำหนดใหนายจางตองวางเงินที่ตองจายใหแกลูกจางตามคำสั่งพนักงาน ๕๐๒


ตรวจแรงงาน เพื่อเปนหลักประกันใหแกลูกจางเมื่อคดีถึงที่สุด จึงจะมีสิทธิฟองคดีได ดังนั้น นายจางที่ประสงคจะใชสิทธิฟองขอใหเพิกถอนคำสั่งพนักงานตรวจแรงงาน จะตองวางเงินตอศาล ตามจำนวนที่ถึงกำหนดจายตามคำสั่งพนักงานตรวจแรงงาน หามีสิทธิวางเงินเพียงบางสวน โดยอางเหตุตาง ๆ ดังที่โจทกกลาวอางในอุทธรณไม เมื่อโจทกมิไดวางเงินตอศาลตามจำนวน ที่ถึงกำหนดจายตามคำสั่งจำเลย โจทกจึงไมมีอำนาจฟองจำเลย ที่ศาลแรงงานภาค ๘ มีคำสั่ง ไมรับคำฟองโจทกจึงชอบแลว อุทธรณของโจทกในขอนี้ฟงไมขึ้น สวนที่โจทกอุทธรณวา พระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา ๑๒๕ วรรคสาม เปนบทบัญญัติที่ขัดตอรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ มาตรา ๕ ประกอบมาตรา ๒๖ วรรคหนึ่ง วรรคสอง และมาตรา ๒๗ และยังขัดตอหลักนิติธรรมวาดวยความ เทาเทียมกันทางกฎหมาย การเขาถึงกระบวนการยุติธรรมของบุคคล ขอใหศาลอุทธรณคดีชำนัญ พิเศษสงขอโตแยงดังกลาวของโจทกไปยังศาลรัฐธรรมนูญเพื่อวินิจฉัยวาขัดตอรัฐธรรมนูญหรือไม เห็นวา ตามรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ มาตรา ๒๑๒ กรณีที่ศาล จะสงขอโตแยงตอศาลรัฐธรรมนูญเพื่อวินิจฉัยนั้น จะตองเปนกรณีที่ศาลจะใชบทบัญญัติแหง กฎหมายนั้นบังคับแกคดี แตมีขอโตแยงวาบทบัญญัติแหงกฎหมายนั้นขัดหรือแยงตอรัฐธรรมนูญ และยังไมมีคำวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญในสวนที่เกี่ยวกับบทบัญญัตินั้น แตบทบัญญัติเกี่ยวกับ การที่นายจางจะตองวางเงินตอศาลในกรณีที่นายจางประสงคจะอุทธรณคำสั่งของเจาพนักงาน ตามพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ จึงจะฟองคดีไดนั้น เคยมีคำวินิจฉัยของ ศาลรัฐธรรมนูญที่ ๓๓/๒๕๔๘ วินิจฉัยเกี่ยวกับเรื่องนี้ในกรณีที่นายจางประสงคจะอุทธรณคำวินิจฉัย ของคณะกรรมการสวัสดิการแรงงานตามมาตรา ๑๒๐ (เดิม) แหงพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ ซึ่งปจจุบันคือมาตรา ๑๒๐/๑ ซึ่งเปนกรณีที่คณะกรรมการสวัสดิการแรงงานเห็นวา ลูกจางมีสิทธิไดรับคาชดเชยพิเศษแทนการบอกกลาวลวงหนาหรือคาชดเชยพิเศษเนื่องจากนายจาง ยายสถานประกอบกิจการไปตั้ง ณ สถานที่ใหมหรือยายไปยังสถานที่อื่นของนายจางแตลูกจาง เห็นวาการยายสถานประกอบกิจการดังกลาวมีผลกระทบสำคัญตอการดำรงชีวิตตามปกติของ ลูกจางหรือครอบครัวของลูกจาง และลูกจางไมประสงคจะไปทำงาน ณ สถานประกอบกิจการ แหงใหม แตนายจางไมเห็นดวยกับคำสั่งของคณะกรรมการสวัสดิการแรงงานและประสงคจะ อุทธรณคำสั่งดังกลาวตอศาล ซึ่งตามมาตรา ๑๒๐ วรรคสี่ (เดิม) แหงพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ กำหนดไววาในกรณีที่นายจางเปนฝายนำคดีไปสูศาล นายจางตองวางเงินตอศาล ตามจำนวนที่ตองจายแกลูกจาง จึงจะฟองคดีได ซึ่งมีการโตแยงกันวาบทบัญญัติของกฎหมาย ดังกลาวขัดตอรัฐธรรมนูญ ศาลรัฐธรรมนูญพิจารณาแลวมีคำวินิจฉัยวาพระราชบัญญัติคุมครอง ๕๐๓


แรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา ๑๒๐ (เดิม) บัญญัติขึ้นเพื่อคุมครองลูกจางผูที่ดอยโอกาส โดย กฎหมายคุมครองแรงงานเปนการกำหนดมาตรฐานขั้นต่ำที่ลูกจางพึงไดรับการปฏิบัติจากนายจาง และเปนกฎหมายที่เกี่ยวกับความสงบเรียบรอยของประชาชน ดังนั้น บทบัญญัติพระราชบัญญัติ คุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา ๑๒๐ (เดิม) นั้นเปนการกำหนดวิธีการขั้นตอนใหฝาย ลูกจางที่ไดรับผลกระทบจากการยายสถานประกอบการใชสิทธิยื่นคำขอใหคณะกรรมการสวัสดิการ แรงงานพิจารณาวินิจฉัยวาลูกจางมีสิทธิบอกเลิกสัญญาจางโดยมีสิทธิไดรับคาชดเชยหรือไม สวนฝายนายจางหากไมพอใจคำวินิจฉัยของคณะกรรมการสวัสดิการแรงงานก็สามารถใชสิทธิ โตแยงตอศาลได แตมีเงื่อนไขวาจะตองวางเงินคาชดเชยพิเศษที่ตองจายแกลูกจางตอศาลกอน จึงจะฟองคดีได เปนการวางหลักประกันใหลูกจางไดรับความคุมครองวาจะไดรับเงินคาชดเชย พิเศษตามกฎหมายเทานั้น และเงินที่วางประกันยังไมไดตกเปนของลูกจางแตอยางใด หาก อุทธรณของนายจางฟงขึ้น นายจางก็มีสิทธิที่จะรับเงินที่วางประกันไวคืนจากศาลได จึงไมเปน กรณีที่ไมเปนธรรมสำหรับนายจางแตอยางใด บทบัญญัติกฎหมายดังกลาวเปนการบัญญัติ กฎหมายขึ้นเฉพาะเพื่อการที่รัฐธรรมนูญไดกำหนดไวและเปนการจัดสิทธิของนายจางเทาที่จำเปน โดยไมกระทบกระเทือนถึงสาระสำคัญแหงสิทธิและเสรีภาพของนายจาง มิไดขัดตอหลักความ เสมอภาคและไมถือเปนการเลือกปฏิบัติโดยไมเปนธรรมตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแตประการใด คดีนี้แมจะไมไดพิพาทกันตามพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา ๑๒๐ (เดิม) แตการที่โจทกโตแยงวาพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา ๑๒๕ วรรคสาม ขัดตอรัฐธรรมนูญ ซึ่งเปนบทบัญญัติที่กำหนดใหนายจางที่ประสงคจะอุทธรณคำสั่งของเจาพนักงาน ตรวจแรงงานที่มีคำสั่งใหนายจางจายเงินอยางหนึ่งอยางใดตามพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ แตนายจางไมพอใจคำสั่งนั้นและประสงคนำคดีไปสูศาล ซึ่งตามมาตรา ๑๒๕ วรรคสาม กำหนดไววาในกรณีที่นายจางเปนฝายนำคดีไปสูศาล นายจางตองวางเงินตอศาลตามจำนวนที่ ถึงกำหนดจายตามคำสั่งนั้น จึงจะฟองคดีได ก็เปนการโตแยงบทบัญญัติเกี่ยวกับการที่กฎหมาย กำหนดใหนายจางจะตองวางเงินตอศาลกอนในกรณีที่นายจางประสงคจะอุทธรณคำสั่งของ เจาพนักงานตามพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ ในทำนองเดียวกันกับบทบัญญัติ ที่ศาลรัฐธรรมนูญเคยมีคำวินิจฉัยไวแลวตามคำวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญที่ ๓๓/๒๕๔๘ ดังกลาวขางตน โดยเจาพนักงานตรวจแรงงานและคณะกรรมการสวัสดิการแรงงานตางก็เปน เจาพนักงานที่แตงตั้งโดยฝายบริหารคือรัฐมนตรีวาการกระทรวงแรงงานเชนเดียวกันตาม พระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา ๕ และมาตรา ๙๒ จึงเปนกรณีที่นายจาง ประสงคจะอุทธรณคำสั่งของเจาพนักงานตามพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ ๕๐๔


เชนเดียวกัน แมจะเปนการโตแยงบทบัญญัติคนละมาตรา แตก็เปนบทบัญญัติในเรื่องเดียวกัน ประกอบกับอำนาจในการวินิจฉัยวา คำโตแยงของคูความเขาหลักเกณฑที่จะตองสงไปให ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยหรือไมเปนอำนาจหนาที่ของศาลยุติธรรม มิใชวาหากคูความมีคำโตแยง ในเรื่องนี้อยางไรแลว ศาลยุติธรรมจะตองสงเรื่องไปใหศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยทุกกรณีไป ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษจึงเห็นควรไมจำตองสงขอโตแยงดังกลาวของโจทกไปยังศาลรัฐธรรมนูญ เพื่อวินิจฉัยวาขัดตอรัฐธรรมนูญหรือไม เนื่องจากเคยมีคำวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญในสวนที่ เกี่ยวกับบทบัญญัติในเรื่องนี้มาแลว พิพากษายืน. (ดำรงค ทรัพยผล - อนันต คงบริรักษ - สุวรรณา แกวบุตตา) มนุเชษฐ โรจนศิริบุตร - ยอ วัชรินทร ฤชุโรจน - ตรวจ ๕๐๕


คำพิพากษาศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษที่ ๒๕๕/๒๕๖๔ บริษัทแฮปป สตาร จำกัด โจทก นายหรือวาที่รอยตรี สุรเชษฐ พรหมทองแกว ในฐานะ พนักงานตรวจแรงงาน จำเลย พ.ร.บ. คุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา ๑๒๔, ๑๒๕ วรรคหนึ่ง วรรคสาม พ.ร.บ. จัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๒๖ พ.ร.บ. คุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา ๑๒๕ วรรคหนึ่ง บัญญัติวา “เมื่อ พนักงานตรวจแรงงานไดมีคําสั่งตามมาตรา ๑๒๔ แลว ถานายจาง ลูกจาง หรือทายาท โดยธรรมของลูกจางซึ่งถึงแกความตายไมพอใจคําสั่งนั้น ใหนําคดีไปสูศาลไดภายใน สามสิบวันนับแตวันทราบคําสั่ง” และวรรคสาม บัญญัติวา “ในกรณีที่นายจางเปนฝาย นําคดีไปสูศาล นายจางตองวางเงินตอศาลตามจํานวนที่ถึงกําหนดจายตามคําสั่งนั้น จึงจะฟองคดีได” ตามบทบัญญัติดังกลาวกําหนดไวอยางชัดแจงวา ในกรณีที่นายจาง ไมพอใจคําสั่งของพนักงานตรวจแรงงานที่สั่งใหนายจางจายเงินใหแกลูกจาง และนายจาง ประสงคจะนําคดีไปสูศาลแรงงานเพื่อขอใหเพิกถอนคําสั่ง นายจางจะตองวางเงินตาม จํานวนที่พนักงานตรวจแรงงานสั่งใหจาย จึงจะมีอํานาจฟอง หาใชวางเงินเฉพาะสวน ที่ประสงคโตแยงเทานั้น ทั้งนี้ เพื่อคุมครองสิทธิของลูกจางในการที่จะไดรับเงินที่นายจาง มีหนาที่ตองจายโดยเร็วเมื่อคดีถึงที่สุด และใหศาลมีอํานาจจายเงินที่นายจางวางไวตอ ศาลใหแกลูกจางไดโดยไมตองบังคับคดี รวมถึงเปนการปองกันไมใหนายจางประวิง การชําระเงินใหแกลูกจาง หากศาลพิพากษาใหเพิกถอนหรือแกไขคําสั่งของพนักงาน ตรวจแรงงาน นายจางจึงมาขอรับเงินที่วางไวคืนไปได ศาลแรงงานภาค ๘ มีคําสั่งเมื่อวันที่ ๒๓ ธันวาคม ๒๕๖๓ ใหโจทกนําเงินมาวางศาล ตามคําสั่ง พนักงานตรวจแรงงานพรอมดอกเบี้ยจนถึงวันฟองภายในวันที่ ๗ มกราคม ๒๕๖๔ มิฉะนั้นจะไมรับฟอง อันเปนกรณีที่ศาลแรงงานภาค ๘ เห็นวามีเหตุจําเปนและเพื่อ ประโยชนแหงความยุติธรรม จึงขยายเวลาวางเงินใหแกโจทก ตาม พ.ร.บ. จัดตั้งศาลแรงงาน และวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๒๖ แตการที่ศาลแรงงานภาค ๘ มีคําสั่ง ในวันที่ ๗ มกราคม ๒๕๖๔ ซึ่งเปนวันสุดทายที่โจทกมีสิทธิวางเงินไดวา โจทกไมวางเงิน ภายในกําหนด จึงไมรับฟอง ใหจําหนายคดีออกจากสารบบความ เปนคําสั่งที่ออกเมื่อยัง ไมพนกําหนดเวลาที่ศาลแรงงานภาค ๘ ใหไว จึงไมชอบ ______________________________ ๕๐๖


คดีสืบเนื่องมาจากโจทกฟองขอใหเพิกถอนหรือแกไขคำสั่งพนักงานตรวจแรงงานที่ ๑๗๗/๒๕๖๓ ลงวันที่ ๑๑ พฤศจิกายน ๒๕๖๓ ที่ใหโจทกรวมกับกรรมการผูจัดการจายคาจาง แทนการบอกกลาวลวงหนา และคาชดเชยใหแกนางมณฑากับพวกรวม ๔ คน ซึ่งเปนลูกจาง ของโจทกรวมเปนเงิน ๖๒๑,๐๐๐ บาท พรอมดอกเบี้ยระหวางผิดนัดอัตรารอยละ ๑๕ ตอปจนกวา จะชำระเสร็จ โดยอางวา คำสั่งของจำเลยไมชอบ โจทกตองจายเงินใหแกนางมณฑากับพวก ไมเกิน ๕๔๑,๐๐๐ บาท จำเลยสั่งใหโจทกจายสูงเกินไป ๘๐,๐๐๐ บาท และโจทกไดวางเงิน ๘๐,๐๐๐ บาท ตอศาลแรงงานภาค ๘ ศาลแรงงานภาค ๘ มีคำสั่งวา ตรวจคำฟองแลว โจทกขอใหเพิกถอนคำสั่งพนักงาน ตรวจแรงงาน จึงตองนำเงินมาวางศาลตามคำสั่งพนักงานตรวจแรงงานพรอมดอกเบี้ยถึงวันฟอง ภายในวันที่ ๗ มกราคม ๒๕๖๔ มิฉะนั้นจะไมรับฟอง ตอมาวันที่ ๗ มกราคม ๒๕๖๔ ศาลแรงงาน ภาค ๘ มีคำสั่งวา โจทกไมวางเงินภายในกำหนด จึงไมรับฟอง ใหจำหนายคดีออกจากสารบบความ โจทกอุทธรณ ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษแผนกคดีแรงงานวินิจฉัยวา คดีมีปญหาตองวินิจฉัยตาม อุทธรณของโจทกในประการแรกวา ในการยื่นฟองคดีนี้โจทกจะตองวางเงินตอศาลแรงงานภาค ๘ เพียงใด เห็นวา พระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา ๑๒๕ วรรคหนึ่ง บัญญัติวา “เมื่อพนักงานตรวจแรงงานไดมีคำสั่งตามมาตรา ๑๒๔ แลว ถานายจาง ลูกจาง หรือทายาท โดยธรรมของลูกจางซึ่งถึงแกความตายไมพอใจคำสั่งนั้น ใหนำคดีไปสูศาลไดภายในสามสิบวัน นับแตวันทราบคำสั่ง” และวรรคสาม บัญญัติวา “ในกรณีที่นายจางเปนฝายนำคดีไปสูศาล นายจางตองวางเงินตอศาลตามจำนวนที่ถึงกำหนดจายตามคำสั่งนั้น จึงจะฟองคดีได” ตาม บทบัญญัติดังกลาวกำหนดไวอยางชัดแจงวา ในกรณีที่นายจางไมพอใจคำสั่งของพนักงาน ตรวจแรงงานที่สั่งใหนายจางจายเงินใหแกลูกจาง และนายจางประสงคจะนำคดีไปสูศาลแรงงาน เพื่อขอใหเพิกถอนคำสั่ง นายจางจะตองวางเงินตามจำนวนที่พนักงานตรวจแรงงานสั่งใหจาย จึงจะมีอำนาจฟอง หาใชวางเงินเฉพาะสวนที่ประสงคโตแยงเทานั้น ทั้งนี้ เพื่อคุมครองสิทธิของ ลูกจางในการที่จะไดรับเงินที่นายจางมีหนาที่ตองจายโดยเร็วเมื่อคดีถึงที่สุด และใหศาลมีอำนาจ จายเงินที่นายจางวางไวตอศาลใหแกลูกจางได โดยไมตองบังคับคดี รวมถึงเปนการปองกันไมให นายจางประวิงการชำระเงินใหแกลูกจาง หากศาลพิพากษาใหเพิกถอนหรือแกไขคำสั่งของ พนักงานตรวจแรงงาน นายจางจึงมาขอรับเงินที่วางไวคืนไปได เมื่อจำเลยซึ่งเปนพนักงาน ตรวจแรงงานมีคำสั่งใหโจทกจายเงินใหแกนางมณฑากับพวกรวม ๔ คน ซึ่งเปนลูกจางของโจทก เปนเงินรวม ๖๒๑,๐๐๐ บาท พรอมดอกเบี้ยในระหวางผิดนัดอัตรารอยละ ๑๕ ตอป จนกวา ๕๐๗


จะชำระเสร็จ และโจทกตองการนำคดีไปสูศาลแรงงานภาค ๘ เพื่อขอใหเพิกถอนหรือแกไขคำสั่ง ดังกลาว โจทกจึงตองวางเงิน ๖๒๑,๐๐๐ บาท พรอมดอกเบี้ยตามคำสั่งดังกลาวขางตนตอ ศาลแรงงานภาค ๘ กอน มิใชวางเงินเพียง ๘๐,๐๐๐ บาท ตามที่โจทกอาง ที่ศาลแรงงานภาค ๘ มีคำสั่งใหโจทกวางเงินตามจำนวนที่พนักงานตรวจแรงงาน มีคำสั่งพรอมดอกเบี้ยถึงวันฟองชอบแลว อุทธรณของโจทกขอนี้ฟงไมขึ้น คดีมีปญหาตองวินิจฉัยตามอุทธรณของโจทกในประการตอมาวา คำสั่งศาลแรงงานภาค ๘ ที่ไมรับฟอง ใหจำหนายคดีออกจากสารบบความ ชอบหรือไม เห็นวา ศาลแรงงานภาค ๘ มีคำสั่ง เมื่อวันที่ ๒๓ ธันวาคม ๒๕๖๓ ใหโจทกนำเงินมาวางศาลตามคำสั่งพนักงานตรวจแรงงานพรอม ดอกเบี้ยจนถึงวันฟองภายในวันที่ ๗ มกราคม ๒๕๖๔ มิฉะนั้นจะไมรับฟอง อันเปนกรณีที่ ศาลแรงงานภาค ๘ เห็นวามีเหตุจำเปนและเพื่อประโยชนแหงความยุติธรรม จึงขยายเวลาวางเงิน ใหแกโจทก ตามพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๒๖ แตการที่ศาลแรงงานภาค ๘ มีคำสั่งในวันที่ ๗ มกราคม ๒๕๖๔ ซึ่งเปนวันสุดทาย ที่โจทกมีสิทธิวางเงินไดวา โจทกไมวางเงินภายในกำหนด จึงไมรับฟองใหจำหนายคดีออกจาก สารบบความ เปนคำสั่งที่ออกเมื่อยังไมพนกำหนดเวลาที่ศาลแรงงานภาค ๘ ใหไว จึงไมชอบ อุทธรณของโจทกขอนี้ฟงขึ้น พิพากษายกคำสั่งศาลแรงงานภาค ๘ ที่ไมรับฟอง ใหจำหนายคดีออกจากสารบบความ ใหศาลแรงงานภาค ๘ กำหนดเวลาใหมใหโจทกวางเงินพรอมดอกเบี้ยตามคำสั่งพนักงานตรวจ แรงงานแลวพิจารณาสั่งคำฟองของโจทกใหมตามรูปคดี. (วัฒนา สุขประดิษฐ - อนันต คงบริรักษ - สุวรรณา แกวบุตตา) ภัทรวรรณ ทรงกำพล - ยอ วัชรินทร ฤชุโรจน - ตรวจ ๕๐๘


คำพิพากษาศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษที่ ๔๕๖๒/๒๕๖๒ บริษัทเวสเทิรน ดิจิตอล (ประเทศไทย) จำกัด โจทก สำนักงานประกันสังคม จำเลย ป.พ.พ. มาตรา ๒๐๖ ป.วิ.พ. มาตรา ๑๔๕ พ.ร.บ. เงินทดแทน พ.ศ. ๒๕๓๗ มาตรา ๔๖ พ.ร.บ. จัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๓๑ เหตุคดีนี้สืบเนื่องมาจากโจทกเปนบริษัทใหมที่เกิดขึ้นจากการควบบริษัท เขาดวยกัน จําเลยประเมินเรียกเก็บเงินสมทบเขากองทุนเงินทดแทนประจําป ๒๕๔๙ ถึงป ๒๕๕๓ ใหโจทกจายเงินสมทบหลักในอัตรารอยละ ๐.๔ ของคาจางรายป โดยไมมีสิทธิ จายเงินสมทบในอัตราตามคาประสบการณของบริษัทเดิมที่ควบเขากันซึ่งกําหนดไวอัตรา รอยละ ๐.๐๘ ของคาจางรายป โจทกจึงยื่นฟองจําเลยตอศาลแรงงานภาค ๑ ขอใหเพิกถอน การประเมินของจําเลยเปนคดีหมายเลขดําที่ ๒๐๕/๒๕๕๐ คดีหมายเลขดําที่ ๓๓๘/๒๕๕๐ คดีหมายเลขดําที่ ๓๐๔/๒๕๕๑ คดีหมายเลขดําที่ ๒๑/๒๕๕๕ และคดีหมายเลขดําที่ ๒๒/๒๕๕๕ ตามลําดับ ตอมาศาลฎีกามีคําพิพากษาถึงที่สุดยืนตามศาลแรงงานภาค ๑ ในคดีหมายเลขดํา ที่ ๒๐๕/๒๕๕๐ หมายเลขแดงที่ ๑๕๕/๒๕๕๐ ใหเพิกถอนคําสั่งของจําเลย โดยใหจําเลย สั่งใหโจทกจายเงินสมทบเขากองทุนเงินทดแทนประจําป ๒๕๔๙ ในอัตรารอยละ ๐.๐๘ ของเงินคาจาง โดยวินิจฉัยวาการกระทําของจําเลยเปนการแสวงหาผลประโยชนในกองทุน เงินทดแทนใหมีจํานวนมากขึ้นเกินสมควร เปนการเพิ่มภาระใหแกโจทกซึ่งเปนนายจาง จึงเปนการกระทําที่ไมชอบดวยกฎหมาย ตามคําพิพากษาศาลฎีกาที่ ๑๑๒๐๖/๒๕๕๗ สวนอีก ๔ คดีโจทกไดถอนฟองเนื่องจากจําเลยไดปฏิบัติตามคําพิพากษาศาลฎีกา โดย ประเมินเงินสมทบประจําปดังกลาวใหแกโจทกใหมในอัตรารอยละ ๐.๐๘ ของคาจาง รายปตามที่โจทกมีสิทธิอยูเดิม และตอมาไดจายเงินสมทบสวนที่เรียกเก็บเกินจากโจทก ในแตละปคืนทั้งหมด เชนนี้ เมื่อคดีตามคําพิพากษาศาลฎีกาดังกลาวซึ่งมีมูลเหตุจาก เรื่องเดียวกันถึงที่สุดแลว ยอมผูกพันจําเลยซึ่งเปนคูความตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๑๔๕ วรรคหนึ่ง ประกอบ พ.ร.บ. จัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๓๑ สวนคดีอื่นที่มีการถอนฟองไปก็มีลักษณะเปนอยางเดียวกัน การที่จําเลยประเมิน เรียกเก็บเงินสมทบเขากองทุนเงินทดแทนประจําป ๒๕๔๙ ถึงป ๒๕๕๓ ใหโจทกจายเงิน ๕๐๙


สมทบหลักในอัตรารอยละ ๐.๔ ของคาจางรายป เกินกวาอัตราที่โจทกตองจายตาม คาประสบการณของบริษัทเดิมที่ควบเขากันซึ่งกําหนดไวอัตรารอยละ ๐.๐๘ ของคาจาง รายป ทําใหโจทกตองจายเงินสมทบเกินไปกวาอัตราที่จะตองชําระรวมเปนเงินทั้งสิ้น ๓๐,๕๐๗,๕๓๓ บาท นั้น จึงเปนการแสวงหาผลประโยชนในกองทุนเงินทดแทนใหมี จํานวนมากขึ้นเกินสมควร และเปนการเพิ่มภาระใหแกโจทกซึ่งเปนนายจาง อันเปนการ กระทําที่ไมชอบดวยกฎหมาย ดังนั้น การกระทําของจําเลยดังกลาวจึงเปนการละเมิด ตอโจทก จําเลยจึงตองรับผิดในความเสียหายของโจทกที่เกิดขึ้นจากการนี้ เมื่อโจทก จําตองชําระเงินสมทบตามอัตราที่จําเลยเรียกเก็บไปตามคําสั่งที่ไมชอบ ทั้งนี้เพื่อหลีกเลี่ยง อํานาจบังคับทางปกครองที่จะตองจายเงินเพิ่มตาม พ.ร.บ. เงินทดแทน พ.ศ. ๒๕๓๗ มาตรา ๔๖ ยอมทําใหโจทกไดรับความเสียหายขาดประโยชนอันควรไดจากเงินดังกลาว จําเลยจึงตองรับผิดชําระคาเสียหายเปนดอกเบี้ยผิดนัดในอัตรารอยละ ๗.๕ ตอป ของ เงินสมทบที่เรียกเก็บไวโดยไมชอบตามที่โจทกเรียกรอง และถือวาจําเลยตกเปนผูผิดนัด นับแตวันทําละเมิด คือวันที่โจทกไดชําระเงินสมทบตามอัตราที่จําเลยเรียกเก็บเปนตนไป ตาม ป.พ.พ. มาตรา ๒๐๖ ______________________________ โจทกฟอง ขอใหบังคับจำเลยชำระดอกเบี้ยของเงินสมทบกองทุนเงินทดแทนที่เรียกเก็บ ไวเกินประจำป ๒๕๔๙ ถึงป ๒๕๕๓ คิดเปนดอกเบี้ยทั้งสิ้น ๑๖,๓๕๙,๙๐๘.๐๘ บาท แกโจทก จำเลยใหการ ขอใหยกฟอง ศาลแรงงานภาค ๑ พิพากษายกฟอง โจทกอุทธรณ ศาลฎีกาวินิจฉัยวา ฟองของโจทกคดีนี้ไมเปนฟองซ้ำกับคดีหมายเลขดำที่ ๒๐๕/๒๕๕๐ คดีหมายเลขดำที่ ๓๓๘/๒๕๕๐ คดีหมายเลขดำที่ ๓๐๔/๒๕๕๑ คดีหมายเลขดำที่ ๒๑/๒๕๕๕ และคดีหมายเลขดำที่ ๒๒/๒๕๕๕ ของศาลแรงงานภาค ๑ แลวพิพากษายกคำพิพากษาศาลแรงงาน ภาค ๑ ใหศาลแรงงานภาค ๑ พิจารณาตามประเด็นขอ ๑ ที่วาการกระทำของจำเลยเปนการละเมิด ตอโจทก และถือเปนการผิดนัดที่โจทกจะพึงมีสิทธิเรียกดอกเบี้ยในอัตรารอยละ ๗.๕ ตอป ของ ยอดเงินตามฟองหรือไม เพียงใด แลวพิพากษาใหมตามรูปคดีตอไป ศาลแรงงานภาค ๑ พิพากษาใหจำเลยชำระดอกเบี้ยของตนเงินสมทบกองทุนเงินทดแทน ที่เรียกเก็บไวเกินประจำป ๒๕๔๙ ถึงป ๒๕๕๓ ที่ตองคืนใหแกโจทกเปนเงินทั้งสิ้น ๑๖,๓๕๙,๙๐๘.๐๘ บาท ๕๑๐


๕๑๑ จำเลยอุทธรณ ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษแผนกคดีแรงงานวินิจฉัยวา ศาลแรงงานภาค ๑ ฟงขอเท็จจริง วาเมื่อวันที่ ๒๗ (ที่ถูก วันที่ ๑๗) กรกฎาคม ๒๕๔๙ วันที่ ๑๓ พฤศจิกายน ๒๕๔๙ วันที่ ๔ ธันวาคม ๒๕๕๐ วันที่ ๔ ธันวาคม ๒๕๕๑ และวันที่ ๔ ธันวาคม ๒๕๕๒ ตามลำดับ จำเลยไดประเมินเรียกเก็บเงินสมทบเขากองทุนเงินทดแทนประจำป ๒๕๔๙ ถึงป ๒๕๕๓ ใหโจทก จายเงินสมทบหลักในอัตรารอยละ ๐.๔ ของคาจางรายป โดยไมมีสิทธิจายเงินสมทบในอัตราตาม คาประสบการณของบริษัทเดิมที่ควบเขากันนั้นซึ่งกำหนดไวอัตรารอยละ ๐.๐๘ ของคาจางรายป โจทกไดยื่นฟองจำเลยตอศาลแรงงานภาค ๑ ขอใหเพิกถอนการประเมินของจำเลยเปนคดีหมายเลข ดำที่ ๒๐๕/๒๕๕๐ คดีหมายเลขดำที่ ๓๓๘/๒๕๕๐ คดีหมายเลขดำที่๓๐๔/๒๕๕๑ คดีหมายเลข ดำที่ ๒๑/๒๕๕๕ และคดีหมายเลขดำที่ ๒๒/๒๕๕๕ ตอมาศาลฎีกามีคำพิพากษาถึงที่สุดใน คดีหมายเลขดำที่ ๒๐๕/๒๕๕๐ คดีหมายเลขแดงที่ ๑๕๕/๒๕๕๐ ของศาลแรงงานภาค ๑ วาการ กระทำของจำเลยเปนการแสวงหาผลประโยชนในกองทุนเงินทดแทนใหมีจำนวนมากขึ้นเกินสมควร เพิ่มภาระใหแกโจทก เปนการกระทำที่ไมชอบดวยกฎหมาย จำเลยจึงประเมินเงินสมทบประจำป ดังกลาวใหแกโจทกใหมในอัตรารอยละ ๐.๐๘ ของคาจางรายปตามที่โจทกมีสิทธิอยูเดิม โจทก ไดถอนฟองคดีหมายเลขดำที่ ๓๓๘/๒๕๕๐ คดีหมายเลขดำที่ ๓๐๔/๒๕๕๑ คดีหมายเลขดำที่ ๒๑/๒๕๕๕ และคดีหมายเลขดำที่ ๒๒/๒๕๕๕ ของศาลแรงงานภาค ๑ และจำเลยจายเงินสมทบ สวนที่เรียกเก็บจากโจทกเกินจำนวน ๓๐,๕๐๗,๕๓๓ บาท คืนแกโจทกแลวเมื่อวันที่ ๒๘ ตุลาคม ๒๕๕๘ แตไมยอมชำระดอกเบี้ย แลววินิจฉัยวา การที่จำเลยเรียกเก็บเงินสมทบกองทุน เงินทดแทนเกินกวาอัตราที่โจทกจะตองชำระตามกฎหมายเปนการออกคำสั่งที่ไมชอบ โจทกจำตอง ชำระเงินสมทบตามอัตราที่จำเลยเรียกเก็บเพื่อหลีกเลี่ยงอำนาจทางปกครอง เพื่อไมใหตองจาย เงินเพิ่มอีกรอยละ ๓ ตามพระราชบัญญัติเงินทดแทน พ.ศ. ๒๕๓๗ ทำใหโจทกขาดประโยชน อันควรไดจากเงินที่ใหแกจำเลยไปตามคำสั่งที่ไมชอบดวยกฎหมาย ถือวาจำเลยตกเปนผูผิดนัด ในหนี้เงินดังกลาวนับแตวันที่โจทกไดชำระเงินสมทบตามอัตราที่จำเลยเรียกเก็บ และตองเสีย ดอกเบี้ยในอัตรารอยละ ๗.๕ ตอป นับแตวันที่รับเงินไว ตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา ๒๒๔ รวมดอกเบี้ยของตนเงินสมทบกองทุนเงินทดแทนที่จำเลยเรียกเก็บไวเกินประจำป ๒๕๔๙ ถึงป ๒๕๕๓ เปนเงินทั้งสิ้น ๑๖,๓๕๙,๙๐๘.๐๘ บาท ตามตารางการคำนวณดอกเบี้ย


๕๑๒ มีปญหาตองวินิจฉัยตามอุทธรณของจำเลยวา จำเลยกระทำละเมิดและตองรับผิดชำระ ดอกเบี้ยแกโจทกตามฟองหรือไม เห็นวา เหตุคดีนี้สืบเนื่องมาจากโจทกเปนบริษัทใหมที่เกิดขึ้น จากการควบบริษัทเขาดวยกัน จำเลยประเมินเรียกเก็บเงินสมทบเขากองทุนเงินทดแทนประจำป ๒๕๔๙ ถึงป ๒๕๕๓ ใหโจทกจายเงินสมทบหลักในอัตรารอยละ ๐.๔ ของคาจางรายป โดย ไมมีสิทธิจายเงินสมทบในอัตราตามคาประสบการณของบริษัทเดิมที่ควบเขากันซึ่งกำหนดไว อัตรารอยละ ๐.๐๘ ของคาจางรายป โจทกจึงยื่นฟองจำเลยตอศาลแรงงานภาค ๑ ขอใหเพิกถอน การประเมินของจำเลยเปนคดีหมายเลขดำที่ ๒๐๕/๒๕๕๐ คดีหมายเลขดำที่ ๓๓๘/๒๕๕๐ คดีหมายเลขดำที่ ๓๐๔/๒๕๕๑ คดีหมายเลขดำที่ ๒๑/๒๕๕๕ และคดีหมายเลขดำที่ ๒๒/๒๕๕๕ ตามลำดับ ตอมาศาลฎีกามีคำพิพากษาถึงที่สุดยืนตามศาลแรงงานภาค ๑ ในคดีหมายเลขดำ ที่ ๒๐๕/๒๕๕๐ หมายเลขแดงที่ ๑๕๕/๒๕๕๐ ใหเพิกถอนคำสั่งของจำเลย โดยใหจำเลยสั่งให โจทกจายเงินสมทบเขากองทุนเงินทดแทนประจำป ๒๕๔๙ ในอัตรารอยละ ๐.๐๘ ของเงินคาจาง โดยวินิจฉัยวาการกระทำของจำเลยเปนการแสวงหาผลประโยชนในกองทุนเงินทดแทนใหมี จำนวนมากขึ้นเกินสมควร เปนการเพิ่มภาระใหแกโจทกซึ่งเปนนายจาง จึงเปนการกระทำที่ไมชอบ ดวยกฎหมายตามคำพิพากษาศาลฎีกาที่ ๑๑๒๐๖/๒๕๕๗ สวนอีก ๔ คดี โจทกไดถอนฟอง เนื่องจากจำเลยไดปฏิบัติตามคำพิพากษาศาลฎีกา โดยประเมินเงินสมทบประจำปดังกลาวให แกโจทกใหมในอัตรารอยละ ๐.๐๘ ของคาจางรายปตามที่โจทกมีสิทธิอยูเดิม และตอมาไดจาย เงินสมทบสวนที่เรียกเก็บเกินจากโจทกในแตละปคืนทั้งหมด เชนนี้ เมื่อคดีตามคำพิพากษา ศาลฎีกาดังกลาวซึ่งมีมูลเหตุจากเรื่องเดียวกันถึงที่สุดแลว ยอมผูกพันจำเลยซึ่งเปนคูความตาม ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพง มาตรา ๑๔๕ วรรคหนึ่ง ประกอบพระราชบัญญัติจัดตั้ง ศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๓๑ สวนคดีอื่นที่มีการถอนฟองไป ก็มีลักษณะเปนอยางเดียวกัน การที่จำเลยประเมินเรียกเก็บเงินสมทบเขากองทุนเงินทดแทน ประจำป ๒๕๔๙ ถึงป ๒๕๕๓ ใหโจทกจายเงินสมทบหลักในอัตรารอยละ ๐.๔ ของคาจางรายป เกินกวาอัตราที่โจทกตองจายตามคาประสบการณของบริษัทเดิมที่ควบเขากันซึ่งกำหนดไวอัตรา รอยละ ๐.๐๘ ของคาจางรายปทำใหโจทกตองจายเงินสมทบเกินไปกวาอัตราที่จะตองชำระรวม เปนเงินทั้งสิ้น ๓๐,๕๐๗,๕๓๓ บาทนั้น จึงเปนการแสวงหาผลประโยชนในกองทุนเงินทดแทน ใหมีจำนวนมากขึ้นเกินสมควร และเปนการเพิ่มภาระใหแกโจทกซึ่งเปนนายจาง อันเปนการกระทำ ที่ไมชอบดวยกฎหมาย ดังนั้น การกระทำของจำเลยดังกลาวจึงเปนการละเมิดตอโจทก จำเลย จึงตองรับผิดในความเสียหายของโจทกที่เกิดขึ้นจากการนี้ เมื่อโจทกจำตองชำระเงินสมทบตาม อัตราที่จำเลยเรียกเก็บไปตามคำสั่งที่ไมชอบทั้งนี้ เพื่อหลีกเลี่ยงอำนาจบังคับทางปกครองที่จะตอง


๕๑๓ จายเงินเพิ่มตามพระราชบัญญัติเงินทดแทน พ.ศ. ๒๕๓๗ มาตรา ๔๖ ยอมทำใหโจทกไดรับ ความเสียหายหายขาดประโยชนอันควรไดจากเงินดังกลาว จำเลยจึงตองรับผิดชำระคาเสียหาย เปนดอกเบี้ยผิดนัดในอัตรารอยละ ๗.๕ ตอป ของเงินสมทบที่เรียกเก็บไวโดยไมชอบตามที่โจทก เรียกรอง และถือวาจำเลยตกเปนผูผิดนัดนับแตวันทำละเมิด คือวันที่โจทกไดชำระเงินสมทบ ตามอัตราที่จำเลยเรียกเก็บเปนตนไป ตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา ๒๐๖ ที่ศาลแรงงานภาค ๑ คำนวณดอกเบี้ยจากยอดเงินที่โจทกชำระเกินไวในแตละปแลวพิพากษา ใหจำเลยรับผิดมานั้น ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษเห็นพองดวย อุทธรณของจำเลยฟงไมขึ้น พิพากษายืน. (โสภณ พรหมสุวรรณ - พิเชฏฐ รื่นเจริญ - ศราวุธ ภาณุธรรมชัย) ธัชวุทธิ์ พุทธิสมบัติ - ยอ สุโรจน จันทรพิทักษ - ตรวจ


๕๑๔ คำพิพากษาศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษที่ ๙๔๒/๒๕๖๓ นายวิค กิจโอธาน โจทก บริษัทไทย โซลาร เอ็นเนอรยี่ จำกัด (มหาชน) กับพวก จำเลย พ.ร.บ. จัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๔๙ แมโจทกจะมีสิทธิฟองเรียกรองคาเสียหายจากการเลิกจางที่ไมเปนธรรมและ คาเสียหายจากมูลละเมิดอันเกี่ยวเนื่องกับสัญญาจางแรงงานซึ่งมีมูลจากกฎหมายที่ แตกตางกันมาในคราวเดียวกันไดก็ตาม แตการกําหนดคาเสียหายใหชดใชแกกัน เพียงใดนั้นตองพิจารณาถึงขอเท็จจริงอันเปนมูลเหตุที่กอใหเกิดสิทธิเรียกรองเปนสําคัญ หาใช พิจารณาเพียงแตมูลตามกฎหมายประการเดียวไม คดีนี้ ขอเท็จจริงไดความวา สิทธิเรียกรอง คาเสียหายตามที่โจทกกลาวอางลวนแตมีมูลเหตุที่กอใหเกิดสิทธิ เปนอยางเดียวกัน กลาวคือ เกิดจากการที่จําเลยทั้งสามใชสิทธิบอกเลิกสัญญาจางแกโจทกนั่นเอง ทั้งนี้โดย โจทกบรรยายฟองวา จําเลยที่ ๑ โดยจําเลยที่ ๒ และที่ ๓ มีหนังสือเลิกจางโจทกอางวาโจทก กระทําความผิดอาญาฐานหมิ่นประมาทและดูหมิ่นจําเลยที่ ๑ โดยไมมีมูลความจริง ทําให โจทกไดรับ ความเสียหาย และขอใหบังคับจําเลยทั้งสามชดใชคาเสียหายตาง ๆ ที่เกิดจาก การกระทําดังกลาว รวมทั้งคาเสียหายจากการเสื่อมเสียชื่อเสียงและคาเสียโอกาสในการ ทํามาหาไดดวย ซึ่งในสวนนี้ศาลแรงงานกลางฟงขอเท็จจริงเปนยุติและวินิจฉัยวา จําเลย ทั้งสามเลิกจางโจทกโดยโจทกไมไดกระทํา ความผิด เปนการเลิกจางโดยไมถูกตองและ ไมมีเหตุสมควร ถือเปนการเลิกจางที่ไมเปนธรรม ดังนั้น เมื่อศาลแรงงานกลางกําหนด คาเสียหายจากการเลิกจางที่ไมเปนธรรมใหจําเลยทั้งสามรับผิดตอโจทก โดยคํานึงถึง อายุของลูกจาง ระยะเวลาการทํางานของลูกจาง ความเดือดรอนของลูกจางเมื่อถูกเลิกจาง มูลเหตุแหงการเลิกจางและเงินคาชดเชยที่ลูกจางมีสิทธิไดรับประกอบการพิจารณา ตาม พ.ร.บ. จัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๔๙ แลว จึงเทากับวาศาลแรงงานกลางไดใชดุลพินิจกําหนดคาเสียหายที่เกิดจากการเลิกจางครั้งนี้ ครอบคลุมถึงสวนที่โจทกอางวาจําเลยทั้งสามกระทําละเมิดตอโจทกซึ่งเปนมูลเดียวกันดวย การที่โจทกเรียกใหจําเลยทั้งสามรับผิดในคาเสียหายจากมูลละเมิดอีกตางหากจึงเปน การซ้ำซอนโดยอาศัยมูลเหตุเดียวกัน _____________________________


๕๑๕ โจทกฟองขอใหบังคับจำเลยทั้งสามรวมกันจายคาชดเชย ๒,๙๒๙,๓๒๐ บาท พรอม ดอกเบี้ยอัตรารอยละ ๑๕ ตอป สินจางแทนการบอกกลาวลวงหนา ๖๓๔,๖๘๖ บาท พรอมดอกเบี้ย อัตรารอยละ ๗.๕ ตอป เงินโบนัสประจำป ๒๕๖๐ จำนวน ๔๘๘,๒๒๐ บาท พรอมดอกเบี้ยอัตรา รอยละ ๗.๕ ตอป ทั้งนี้ดอกเบี้ยใหคำนวณนับแตวันที่ ๒๓ มีนาคม ๒๕๖๐ จนกวาจะชำระเสร็จ แกโจทก กับจายคาเสียหายจากการขาดรายไดในฐานะผูบริหารนับแตวันเลิกจางจนเกษียณอายุ ๖๐ ป เปนเงิน ๕๐,๗๗๔,๘๘๐ บาท เงินโบนัสระหวางถูกเลิกจาง ๙ ป เปนเงิน ๔,๓๙๓,๙๘๐ บาท เงินสมทบกองทุนสำรองเลี้ยงชีพในสวนของนายจาง ๒,๕๓๘,๗๔๔ บาท และคาเสียหายจาก การทำใหเสื่อมเสียชื่อเสียงและคาเสียโอกาสในการทำมาหาได ๑๐๐,๐๐๐,๐๐๐ บาท จำเลยทั้งสามใหการ แกไขคำใหการ และจำเลยที่ ๑ ฟองแยงวา ขอใหยกฟอง และบังคับ โจทกชดใชคาเสียหาย ๕๐,๐๐๐,๐๐๐ บาท พรอมดอกเบี้ยอัตรารอยละ ๗.๕ ตอป นับแตวันที่ ๑๒ กุมภาพันธ ๒๕๖๑ อันเปนวันที่จำเลยทั้งสามยื่นคำใหการจนกวาจะชำระเสร็จแกจำเลยที่ ๑ โจทกใหการแกฟองแยงวา โจทกไมไดกระทำความผิดอาญาและปฏิบัติผิดหนาที่ตาม ที่จำเลย ทั้งสามกลาวอาง การยายที่ทำการของจำเลยที่ ๑ ไมเกี่ยวของหรือเกิดจากการกระทำ ของโจทก จึงไมตองรับผิดชดใชคาเสียหายแกจำเลยที่ ๑ ขอใหยกฟองแยง ศาลแรงงานกลาง พิพากษายกฟองโจทกและยกฟองแยงของจำเลยที่ ๑ โจทกและจำเลยทั้งสามอุทธรณ ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษวินิจฉัยวา โจทกเปนลูกจางจำเลยที่ ๑ โจทกและจำเลยที่ ๑ มีอำนาจฟองและฟองแยง พิพากษายกคำพิพากษาศาลแรงงานกลาง ใหศาลแรงงานกลางวินิจฉัย ประเด็นขอพิพาทอื่นแลวพิพากษาใหมตามรูปคดี ศาลแรงงานกลางพิจารณาฟงขอเท็จจริงเพิ่มเติมแลว พิพากษาใหมใหจำเลยทั้งสาม รวมกันจายคาเสียหายจากการเลิกจางที่ไมเปนธรรม ๒,๙๐๐,๐๐๐ บาท พรอมดอกเบี้ยอัตรา รอยละ ๗.๕ ตอป นับแตฟอง (วันที่ ๒๒ กันยายน ๒๕๖๐) จนกวาจะชำระเสร็จแกโจทก โดย จำเลยที่ ๒ และที่ ๓ ไมจำตองรับผิดเปนสวนตัว ยกคำขออื่นของโจทก ยกฟองแยงของจำเลยที่ ๑ โจทกอุทธรณ ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษแผนกคดีแรงงานวินิจฉัยวา ขอเท็จจริงรับฟงไดตามที่ ศาลแรงงานกลางรับฟงมาวา จำเลยที่ ๑ เปนนิติบุคคลประเภทบริษัทมหาชนจำกัด ประกอบ กิจการจัดการดานพลังงานแบบครบวงจร มีจำเลยที่ ๒ และที่ ๓ เปนกรรมการผูมีอำนาจกระทำ การแทน โจทกเปนลูกจางจำเลยที่ ๑ ตำแหนงกรรมการบริหารและประธานเจาหนาที่ฝายวิศวกรรม เขาทำงานเมื่อวันที่ ๑ มิถุนายน ๒๕๕๔ จำเลยที่ ๒ เปนประธานกรรมการบริหาร สวนจำเลยที่ ๓


๕๑๖ เปนประธานเจาหนาที่ฝายปฏิบัติการ เมื่อวันที่ ๒๐ ถึง วันที่ ๒๑ มีนาคม ๒๕๖๐ โจทกกับจำเลยที่ ๓ เจรจากันเรื่องที่จำเลยที่ ๑ เขาไปลงทุนโครงการโรงไฟฟาพลังงานแสงอาทิตยโอนิโกเบ (Onikobe Project) ที่ประเทศญี่ปุน ระหวางเจรจาโจทกโทรศัพทหานายประชา บิดาของจำเลยที่ ๒ ซึ่งเคย เปนกรรมการบริหารจำเลยที่ ๑ ใหพูดคุยกับจำเลยที่ ๓ นายประชาพูดตำหนิจำเลยที่ ๒ และที่ ๓ เกี่ยวกับการบริหารงานจำเลยที่ ๑ ที่ตองใชเงินลงทุนในโครงการดังกลาวจำนวนมาก หากไมสำเร็จ จำเลยที่ ๑ จะมีภาระหนี้มาก ตอมาวันที่ ๒๒ มีนาคม ๒๕๖๐ จำเลยที่ ๑ โดยจำเลยที่ ๒ และที่ ๓ มีหนังสือเลิกจางโจทกใหมีผลทันที โดยอางเหตุวาโจทกหมิ่นประมาทหรือดูหมิ่นซึ่งหนาจำเลยที่ ๑ เปนการกระทำความผิดอาญารายแรงโดยเจตนาแกนายจาง ทำใหจำเลยที่ ๑ ไดรับความเสียหาย หลังเลิกจางจำเลยที่ ๑ ไดจายคาชดเชยและสินจางแทนการบอกกลาวลวงหนาใหแกโจทกแลว แลววินิจฉัยวา ถอยคำในการเจรจาระหวางโจทกกับจำเลยที่ ๒ และที่ ๓ มีลักษณะเปนการแสดง ขอคิดเห็นที่ไมตรงกันอันเปนความขัดแยงในเชิงบริหารรับฟงไมไดวาโจทกกระทำความผิดอาญา แกจำเลยทั้งสามซึ่งเปนนายจาง หรือฝาฝนคำสั่งของนายจางอันชอบดวยกฎหมาย และจำเลยที่ ๑ ไมไดรับความเสียหายจากการกระทำของโจทก การที่จำเลยที่ ๑ เลิกจางโจทกเปนการเลิกจาง ที่ไมเปนธรรม จึงกำหนดใหจำเลยทั้งสามจายคาเสียหายจากการเลิกจางที่ไมเปนธรรมแกโจทก ๒,๙๐๐,๐๐๐ บาท สวนคาเสียหายจากการเสื่อมเสียชื่อเสียงและคาเสียโอกาสถือเปนคาเสียหาย จากมูลเหตุเดียวกันกับการเลิกจางที่ไมเปนธรรม จึงไมกำหนดใหอีกเพราะเปนการซ้ำซอน และ โจทกไมตองรับผิดตามฟองแยงจำเลยที่ ๑ มีปญหาตองวินิจฉัยตามอุทธรณของโจทกประการเดียววา ศาลแรงงานกลางไมกำหนด ใหจำเลยทั้งสามจายคาเสียหายจากการทำใหเสื่อมเสียชื่อเสียงและคาเสียโอกาสตามคำขอของ โจทกนอกเหนือจากคาเสียหายจากการเลิกจางที่ไมเปนธรรมชอบหรือไม โดยโจทกอุทธรณวา โจทกฟองเรียกคาเสียหายจากการเลิกจางที่ไมเปนธรรมจำนวนหนึ่งกับคาเสียหายจากการ กระทำละเมิดกอใหเกิดความเสียหายเสื่อมเสียชื่อเสียงสวนตัว วงศตระกูล และเสียโอกาสในการ ทำมาหาไดจากจำเลยทั้งสามอีก ๑๐๐,๐๐๐,๐๐๐ บาท ซึ่งสิทธิเรียกรองดังกลาวมีมูลมาจากกฎหมาย ตางฉบับไมซ้ำซอนกัน โดยสิทธิเรียกรองคาเสียหายจากการเลิกจางที่ไมเปนธรรมเปนไปตาม สัญญาจางแรงงานและกฎหมายคุมครองแรงงาน สวนสิทธิเรียกรองจากการกระทำละเมิดเปนไป ตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยการที่ศาลแรงงานกลางไมกำหนดคาเสียหายจากการ กระทำละเมิดใหจำเลยทั้งสามรับผิดตอโจทกนอกเหนือจากคาเสียหายจากการเลิกจางที่ไมเปนธรรม เปนการไมชอบดวยกฎหมายนั้น เห็นวา แมโจทกจะมีสิทธิฟองเรียกรองคาเสียหายจากการ เลิกจางที่ไมเปนธรรมและคาเสียหายจากมูลละเมิดอันเกี่ยวเนื่องกับสัญญาจางแรงงานซึ่งมีมูล


๕๑๗ จากกฎหมายที่แตกตางกันมาในคราวเดียวกันไดก็ตาม แตการกำหนดคาเสียหายใหชดใชแกกัน เพียงใดนั้นตองพิจารณาถึงขอเท็จจริงอันเปนมูลเหตุที่กอใหเกิดสิทธิเรียกรองเปนสำคัญ หาใช พิจารณาเพียงแตมูลตามกฎหมายประการเดียวไม คดีนี้ขอเท็จจริงไดความวา สิทธิเรียกรอง คาเสียหายตามที่โจทกกลาวอางลวนแตมีมูลเหตุที่กอใหเกิดสิทธิเปนอยางเดียวกัน กลาวคือ เกิดจากการที่จำเลยทั้งสามใชสิทธิบอกเลิกสัญญาจางแกโจทกนั่นเอง ทั้งนี้โดยโจทกบรรยาย ฟองวา จำเลยที่ ๑ โดยจำเลยที่ ๒ และที่ ๓ มีหนังสือเลิกจางโจทกอางวาโจทกกระทำความผิด อาญาฐานหมิ่นประมาทและดูหมิ่นจำเลยที่ ๑ โดยไมมีมูลความจริง ทำใหโจทกไดรับความเสียหาย และขอใหบังคับจำเลยทั้งสามชดใชคาเสียหายตาง ๆ ที่เกิดจากการกระทำดังกลาว รวมทั้งคาเสียหาย จากการเสื่อมเสียชื่อเสียงและคาเสียโอกาสในการทำมาหาไดดวย ซึ่งในสวนนี้ศาลแรงงานกลาง ฟงขอเท็จจริงเปนยุติและวินิจฉัยวา จำเลยทั้งสามเลิกจางโจทกโดยโจทกไมไดกระทำความผิด เปนการเลิกจางโดยไมถูกตองและไมมีเหตุสมควร ถือเปนการเลิกจางที่ไมเปนธรรม ดังนั้น เมื่อศาลแรงงานกลางกำหนดคาเสียหายจากการเลิกจางที่ไมเปนธรรมใหจำเลยทั้งสามรับผิดตอโจทก โดยคำนึงถึงอายุของลูกจาง ระยะเวลาการทำงานของลูกจาง ความเดือดรอนของลูกจางเมื่อถูก เลิกจาง มูลเหตุแหงการเลิกจางและเงินคาชดเชยที่ลูกจางมีสิทธิไดรับประกอบการพิจารณา ตามพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๔๙ แลว จึงเทากับวาศาลแรงงานกลางไดใชดุลพินิจกำหนดคาเสียหายที่เกิดจากการเลิกจางครั้งนี้ครอบคลุม ถึงสวนที่โจทกอางวาจำเลยทั้งสามกระทำละเมิดตอโจทกซึ่งเปนมูลเดียวกันดวย การที่โจทกเรียก ใหจำเลยทั้งสามรับผิดในคาเสียหาย จากมูลละเมิดอีกตางหากจึงเปนการซ้ำซอนโดยอาศัย มูลเหตุเดียวกัน ที่ศาลแรงงานกลางไมกำหนดใหจำเลยทั้งสามจายคาเสียหายจากการทำให เสื่อมเสียชื่อเสียงและคาเสียโอกาสแกโจทกโดยพิพากษายกคำขอของโจทก ในสวนนี้มานั้นชอบแลว อุทธรณของโจทกฟงไมขึ้น พิพากษายืน. (โสภณ พรหมสุวรรณ - ผจงธรณ วรินทรเวช - พิเชฏฐ รื่นเจริญ) พรรณทิพย วัฒนกิจการ - ยอ ฤทธิรงค สมอุดร - ตรวจ


๕๑๘ คำพิพากษาศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษที่ ๒๗๑๘/๒๕๖๓ นายสุธรรม ทะสะระ โจทก บริษัทวงษพาณิชยหาดใหญ ท็อปซีเคร็ต จำกัด กับพวก จำเลย ป.พ.พ. มาตรา ๘๒๐, ๑๑๖๗ พ.ร.บ. คุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา ๕ ตาม พ.ร.บ. คุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา ๕ กําหนดให นายจาง หมายความวา ผูซึ่งตกลงรับลูกจางเขาทํางานโดยจายคาจางให ในกรณีที่นายจางเปน นิติบุคคลใหหมายความรวมถึงผูมีอํานาจกระทําการแทนนิติบุคคลและผูซึ่งไดรับมอบหมาย จากผูมีอํานาจกระทําการแทนนิติบุคคลใหทําการแทนดวย เมื่อจําเลยที่ ๒ เปนกรรมการ ผูมีอํานาจกระทําการแทนจําเลยที่ ๑ ยอมมีฐานะเปนนายจางของโจทกตามบทบัญญัติ ดังกลาว แตอยางไรก็ดี เนื่องจากจําเลยที่ ๑ ซึ่งเปนนายจางโดยตรงของโจทกมีฐานะเปน นิติบุคคล มีจําเลยที่ ๒ เปนกรรมการผูมีอํานาจทําการแทน ตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๑๖๗ บัญญัติวา “ความเกี่ยวพันกันในระหวางกรรมการและบริษัท และบุคคลภายนอกนั้น ทานใหบังคับตามบทบัญญัติแหงประมวลกฎหมายนี้วาดวยตัวแทน” และบทบัญญัติวา ดวยตัวแทนมาตรา ๘๒๐ บัญญัติ วา “ตัวการยอมมีความผูกพันตอบุคคลภายนอกใน กิจการทั้งหลาย อันตัวแทนหรือตัวแทนชวงไดทําไปภายในขอบอํานาจแหงฐานตัวแทน” ซึ่งมีความหมายวา กิจการใดอันตัวแทนไดกระทําไปในขอบอํานาจของตัวแทนนั้นเปน การกระทําของตัวการ จําเลยที่ ๑ ผูเปนตัวการจึงตองผูกพันตอบุคคลภายนอกในการ กระทําของจําเลยที่ ๒ ที่ไดกระทําไปภายในวัตถุประสงคของจําเลยที่ ๑ จําเลยที่ ๒ จึง ไมผูกพันรับผิดเปนสวนตัวตอโจทก ประกอบกับตามคําสั่งพนักงานตรวจแรงงาน สํานักงาน สวัสดิการและคุมครองแรงงานจังหวัด สงขลา ที่ ๖๐/๒๕๖๒ นั้น พนักงานตรวจแรงงาน ก็มิไดสั่งใหจําเลยที่ ๒ จายคาจางคางจายและคาชดเชยพรอมดอกเบี้ยใหแกโจทกดวย ที่ศาลแรงงานภาค ๙ พิพากษาใหจําเลยที่ ๒ ปฏิบัติตามคําสั่งพนักงานตรวจแรงงาน ที่ ๖๐/๒๕๖๒ โดยใหจายคาจางคางจายและคาชดเชยพรอมดอกเบี้ยใหแกโจทกตามคําสั่ง พนักงานตรวจแรงงานและไมไดระบุวาจําเลยที่ ๒ ไมตองรับผิดเปนสวนตัวนั้นไมชอบ แมจําเลยที่ ๒ จะตองรวมรับผิดในการจายคาจางคางจายและคาชดเชยพรอมดอกเบี้ย แกโจทก แตจําเลยที่ ๒ ไมตองรับผิดเปนสวนตัว ______________________________


๕๑๙ โจทกฟอง ขอใหบังคับจำเลยทั้งสองปฏิบัติตามคำสั่งพนักงานตรวจแรงงาน ที่ ๖๐/๒๕๖๒ ลงวันที่ ๓๐ สิงหาคม ๒๕๖๒ โดยจายคาจางคางจายเปนเงิน ๖,๘๖๑ บาท พรอมดอกเบี้ยอัตรา รอยละ ๑๕ ตอป ของตนเงิน ๖,๐๐๐ บาท และคาชดเชยเปนเงิน ๑๓,๗๒๐ บาท พรอมดอกเบี้ย อัตรารอยละ ๑๕ ตอป ของตนเงิน ๑๒,๐๐๐ บาท นับถัดจากวันฟองเปนตนไปจนกวาจะชำระเสร็จ แกโจทก จำเลยทั้งสองขาดนัด ศาลแรงงานภาค ๙ พิพากษาใหจำเลยทั้งสองปฏิบัติตามคำสั่งพนักงานตรวจแรงงาน ที่ ๖๐/๒๕๖๒ ฉบับลงวันที่ ๓๐ สิงหาคม ๒๕๖๒ โดยใหจายคาจางคางจายเปนเงิน ๖,๘๖๑ บาท พรอมดอกเบี้ยอัตรารอยละ ๑๕ ตอป ของตนเงิน ๖,๐๐๐ บาท และจายคาชดเชยเปนเงิน ๑๓,๗๒๐ บาท พรอมดอกเบี้ยอัตรารอยละ ๑๕ ตอป ของตนเงิน ๑๒,๐๐๐ บาท นับถัดจากวันฟอง (ฟองวันที่ ๑๗ มิถุนายน ๒๕๖๓) เปนตนไปจนกวาจะชำระเสร็จแกโจทก จำเลยที่ ๒ อุทธรณ ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษแผนกคดีแรงงานวินิจฉัยวา ขอเท็จจริงที่ยุติในชั้นพิจารณา ของศาลแรงงานภาค ๙ และที่ศาลแรงงานภาค ๙ รับฟงปรากฏวา จำเลยที่ ๑ เปนนิติบุคคล ประเภทบริษัทจำกัด มีจำเลยที่ ๒ เปนกรรมการผูมีอำนาจ เมื่อวันที่ ๑ กันยายน ๒๕๖๑ จำเลย ทั้งสองวาจางโจทกเปนลูกจางรายเดือน ตำแหนงสุดทายเปนพนักงานทั่วไป ทำงานสัปดาหละ ๖ วัน ตั้งแตเวลา ๘ นาิกา ถึง ๑๗ นาิกา มีวันหยุดประจำสัปดาหคือวันอาทิตย ไดรับคาจางอัตรา สุดทายเดือนละ ๑๒,๐๐๐ บาท กำหนดจายคาจางทุกวันสิ้นเดือน ตอมาวันที่ ๒๖ มิถุนายน ๒๕๖๒ จำเลยทั้งสองบอกเลิกจางโจทกเนื่องจากปดกิจการ โดยมีผลตั้งแตวันที่ ๓๐ มิถุนายน ๒๕๖๒ เปนตนไป จำเลยทั้งสองคางจายคาจางระหวางวันที่ ๑๖ ถึงวันที่ ๓๐ มิถุนายน ๒๕๖๒ เปนเงิน ๙,๖๐๐ บาท และไมจายคาชดเชยใหโจทก วันที่ ๔ กรกฎาคม ๒๕๖๒ โจทกจึงยื่นคำรองตอ พนักงานตรวจแรงงาน สำนักงานสวัสดิการและคุมครองแรงงานจังหวัดสงขลา พนักงานตรวจ แรงงานสอบสวนแลวมีคำสั่งใหจำเลยทั้งสอง (ที่ถูกคือ จำเลยที่ ๑) จายคาจางคางจายแกโจทก ตามอัตราคาจางขั้นต่ำเปนเงิน ๑๒,๐๐๐ บาท และคาชดเชยเปนเงิน ๑๒,๐๐๐ บาท พรอม ดอกเบี้ยอัตรารอยละ ๑๕ ตอป นับแตวันผิดนัดจนกวาจะชำระเสร็จ ซึ่งจำเลยทั้งสองทราบ คำสั่งพนักงานตรวจแรงงานแลวจายคาจางบางสวน ๖,๐๐๐ บาท ใหแกโจทก แลววินิจฉัยวา นายจางมีหนาที่ตองจายคาจางแกลูกจางใหถูกตองและตามกำหนดเวลา และยังมีหนาที่ตองจาย คาชดเชยใหแกลูกจางซึ่งเลิกจางตามมาตรา ๗๐ และมาตรา ๑๑๘ แหงพระราชบัญญัติคุมครอง แรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ เมื่อพนักงานตรวจแรงงาน สำนักงานสวัสดิการและคุมครองแรงงาน


๕๒๐ จังหวัดสงขลา มีคำสั่งใหจำเลยทั้งสอง (ที่ถูก คือ จำเลยที่ ๑) จายคาจางคางจายและคาชดเชย ใหแกโจทกแลวตามคำสั่งที่ ๖๐/๒๕๖๒ ลงวันที่ ๓๐ สิงหาคม ๒๕๖๒ จำเลยทั้งสองทราบคำสั่ง ดังกลาวแลวเมื่อวันที่ ๑๙ กันยายน ๒๕๖๒ แตไมไดนำคดีมาสูศาลภายในกำหนด ๓๐ วัน นับแต วันทราบคำสั่ง จึงตองถือวาคำสั่งนั้นเปนที่สุดตามมาตรา ๑๒๕ แหงพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ จำเลยทั้งสองจึงตองจายคาจางคางจายสวนที่ยังไมไดจายและคาชดเชย พรอมดอกเบี้ย อัตรารอยละ ๑๕ ตอป ตามมาตรา ๙ แหงพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มีปญหาตองวินิจฉัยตามอุทธรณของจำเลยที่ ๒ วา ที่ศาลแรงงานภาค ๙ มีคำพิพากษา โดยมิไดระบุวาจำเลยที่ ๒ ไมตองรับผิดเปนสวนตัวนั้นชอบดวยกฎหมายหรือไม เห็นวา ตาม พระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา ๕ กำหนดให นายจาง หมายความวา ผูซึ่งตกลงรับลูกจางเขาทำงานโดยจายคาจางให ในกรณีที่นายจางเปนนิติบุคคลใหหมายความ รวมถึงผูมีอำนาจกระทำการแทนนิติบุคคลและผูซึ่งไดรับมอบหมายจากผูมีอำนาจกระทำการ แทนนิติบุคคลใหทำการแทนดวย เมื่อจำเลยที่ ๒ เปนกรรมการผูมีอำนาจกระทำการแทนจำเลยที่ ๑ ยอมมีฐานะเปนนายจางของโจทกตามบทบัญญัติดังกลาว แตอยางไรก็ดี เนื่องจากจำเลยที่ ๑ ซึ่งเปนนายจางโดยตรงของโจทกมีฐานะเปนนิติบุคคล มีจำเลยที่ ๒ เปนกรรมการผูมีอำนาจ ทำการแทนตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา ๑๑๖๗ บัญญัติวา “ความเกี่ยวพันกัน ในระหวางกรรมการและบริษัท และบุคคลภายนอกนั้น ทานใหบังคับตามบทบัญญัติแหงประมวล กฎหมายนี้ วาดวยตัวแทน” และบทบัญญัติวาดวยตัวแทนมาตรา ๘๒๐ บัญญัติวา “ตัวการยอมมี ความผูกพันตอบุคคลภายนอกในกิจการทั้งหลาย อันตัวแทนหรือตัวแทนชวงไดทำไปภายใน ขอบอำนาจแหงฐานตัวแทน” ซึ่งมีความหมายวา กิจการใดอันตัวแทนไดกระทำไปในขอบอำนาจ ของตัวแทนนั้น เปนการกระทำของตัวการ จำเลยที่ ๑ ผูเปนตัวการจึงตองผูกพันตอบุคคลภายนอก ในการกระทำของจำเลยที่ ๒ ที่ไดกระทำไปภายในวัตถุประสงคของจำเลยที่ ๑ จำเลยที่ ๒ จึงไม ผูกพันรับผิดเปนสวนตัวตอโจทก ประกอบกับตามคำสั่งพนักงานตรวจแรงงาน สำนักงานสวัสดิการ และคุมครองแรงงานจังหวัดสงขลา ที่ ๖๐/๒๕๖๒ นั้น พนักงานตรวจแรงงานก็มิไดสั่งใหจำเลยที่ ๒ จายคาจางคางจายและคาชดเชยพรอมดอกเบี้ยใหแกโจทกดวย ที่ศาลแรงงานภาค ๙ พิพากษา ใหจำเลยที่ ๒ ปฏิบัติตามคำสั่งพนักงานตรวจแรงงาน ที่ ๖๐/๒๕๖๒ โดยใหจายคาจางคางจาย และคาชดเชยพรอมดอกเบี้ยใหแกโจทกตามคำสั่งพนักงานตรวจแรงงานและไมไดระบุวาจำเลยที่ ๒ ไมตองรับผิดเปนสวนตัวนั้นไมชอบ แมจำเลยที่ ๒ จะตองรวมรับผิดในการจายคาจางคางจาย และคาชดเชยพรอมดอกเบี้ยแกโจทก แตจำเลยที่ ๒ ไมตองรับผิดเปนสวนตัว อุทธรณของ จำเลยที่ ๒ ฟงขึ้น


๕๒๑ พิพากษาแกเปนวา ใหจำเลยที่ ๒ รวมจายคาจางคางจาย ๖,๘๖๑ บาท พรอมดอกเบี้ย อัตรารอยละ ๑๕ ตอป ของตนเงิน ๖,๐๐๐ บาท และจายคาชดเชย ๑๓,๗๒๐ บาท พรอมดอกเบี้ย อัตรารอยละ ๑๕ ตอป ของตนเงิน ๑๒,๐๐๐ บาท ทั้งนี้ ดอกเบี้ยใหนับถัดจากวันฟอง (ฟองวันที่ ๑๗ มิถุนายน ๒๕๖๓) เปนตนไปจนกวาจะชำระเสร็จแกโจทก โดยจำเลยที่ ๒ ไมตองรับผิดเปน สวนตัว นอกจากที่แกใหเปนไปตามคำพิพากษาศาลแรงงานภาค ๙. (วรศักดิ์ จันทรคีรี - สุจินต เชี่ยวชาญศิลป - วิชชุพล สุขสวัสดิ์) พรรณทิพย วัฒนกิจการ - ยอ สุโรจน จันทรพิทักษ - ตรวจ


๕๒๒ คำพิพากษาศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษที่ ๒๐๒/๒๕๖๔ นายโยชิกาสุ กาโต โดยนางสาวจิตรตา เพลินตายซาย ผูเขาเปนคูความแทน โจทก บริษัททุงคา บลูแคนยอน จำกัด กับพวก จำเลย ป.วิ.พ. มาตรา ๒๔๓ (๑) พ.ร.บ. จัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๔๙, ๕๗ การกําหนดคาเสียหายจากการเลิกจางที่ไมเปนธรรมจะมีมากนอยเพียงใด ศาลแรงงานภาค ๘ จะตองใชดุลพินิจกําหนดใหโดยคํานึงถึงอายุของลูกจางเมื่อถูกเลิกจาง ระยะเวลาการทํางานของลูกจาง ความเดือดรอนของลูกจางเมื่อถูกเลิกจาง มูลเหตุแหง การเลิกจางและเงินคาชดเชยที่ลูกจางมีสิทธิไดรับ ตาม พ.ร.บ. จัดตั้งศาลแรงงานและ วิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๔๙ คดีนี้ศาลอุทธรณคดีชํานัญพิเศษได พิพากษายกคําพิพากษาศาลแรงงานภาค ๘ ในสวนของคาเสียหายจากการเลิกจาง ที่ไมเปนธรรม โดยวินิจฉัยวาโจทกทํางานเปนลูกจางจําเลยทั้งสองเปนระยะเวลาเพียง ๑ ปเศษ การที่ศาลแรงงานภาค ๘ นําเอาระยะเวลาการทํางานของโจทกกับนายจางอื่น มารวมประกอบการพิจารณา กําหนดจํานวนคาเสียหายจากการเลิกจางที่ไมเปนธรรมดวย เปนการไมปฏิบัติใหถูกตองตามบทบัญญัติ ดังกลาว แตการกําหนดคาเสียหายจากการ เลิกจางที่ไมเปนธรรมเปนดุลพินิจซึ่งเปนขอเท็จจริง ศาลอุทธรณคดีชํานัญพิเศษไมอาจ วินิจฉัยไดจึงใหยอนสํานวนไปใหศาลแรงงานภาค ๘ พิจารณาวินิจฉัย แตเมื่อศาลแรงงาน ภาค ๘ พิจารณาพิพากษาใหมแลวก็ยังคงกําหนดจํานวนคาเสียหายจากการเลิกจาง ที่ไมเปนธรรมใหแกโจทก ๑,๕๐๐,๐๐๐ บาท เชนเดิม ทั้ง ๆ ที่ระยะเวลาการทํางานของ โจทกที่ตองนํามาประกอบการพิจารณาแตกตางจากเดิมนับสิบป ซึ่งจํานวนคาเสียหาย ที่โจทกพึงไดรับยอมจะตองเปลี่ยนแปลงไปในทิศทางเดียวกัน การที่มิไดมีการเปลี่ยนแปลงใดๆ เกิดขึ้นเลย แสดงวาศาลแรงงานภาค ๘ หาไดนําเอาระยะเวลาการทํางานที่แทจริงของโจทก มาประกอบการพิจารณากําหนดคาเสียหาย ตามคําวินิจฉัยของศาลอุทธรณคดีชํานัญ พิเศษไม จึงเปนการไมปฏิบัติใหถูกตองตามบทบัญญัติดังกลาว และไมชอบดวยกฎหมาย วิธีพิจารณาความ ชอบที่ศาลอุทธรณคดีชํานัญพิเศษจะมีคําสั่งยกคําพิพากษาศาลแรงงาน


๕๒๓ ภาค ๘ เสียตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๒๔๓ (๑) ประกอบดวย พ.ร.บ. จัดตั้งศาลแรงงานและ วิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๕๗ กรณีจึงตองยอนสํานวนไปใหศาลแรงงาน ภาค ๘ กําหนดจํานวนคาเสียหายใหจําเลยทั้งสองชดใชแกโจทกใหม ______________________________ คดีสืบเนื่องมาจากโจทกฟองวาจำเลยทั้งสองเลิกจางโจทกโดยไมไดกระทำผิด ไมได บอกกลาวลวงหนา และเปนการเลิกจางที่ไมเปนธรรม ขอใหบังคับจำเลยทั้งสองรวมกันจาย คาชดเชย ๑,๘๐๐,๐๐๐ บาท สินจางแทนการบอกกลาวลวงหนา ๑๘๐,๐๐๐ บาท และคาเสียหาย จากการเลิกจางที่ไมเปนธรรม ๑,๘๐๐,๐๐๐ บาท รวมเปนเงิน ๓,๗๘๐,๐๐๐ บาท พรอมดอกเบี้ย อัตรารอยละ ๑๕ ตอป นับแตวันฟองเปนตนไปจนกวาจะชำระเสร็จแกโจทก จําเลยทั้งสองใหการวา จำเลยที่ ๒ เปนกรรมการผูมีอํานาจกระทําการแทนจำเลยที่ ๑ ซึ่งเปนนิติบุคคล ไมตองรับผิด ในฐานะสวนตัว จําเลยที่ ๑ จางโจทกเปนที่ปรึกษาผูบริหารเมื่อเดือนสิงหาคม ๒๕๕๙ โจทก ไมไดทํางานใหแกจำเลยที่ ๑ ตอเนื่องมาเปนระยะเวลา ๑๘ ป โจทกฟองจําเลยทั้งสองตอศาลแรงงาน ภาค ๘ กลาวหาจำเลยทั้งสองคางชําระคาจางซึ่งไมเปนความจริง เปนการจงใจกลั่นแกลงทําให จําเลยทั้งสองไดรับความเสียหาย จําเลยทั้งสองมีสิทธิเลิกจางโจทกโดยไมตองจายคาชดเชย และ สินจางแทนการบอกกลาวลวงหนาและไมเปนการเลิกจางที่ไมเปนธรรม ขอใหยกฟอง ระหวาง พิจารณาของศาลแรงงานภาค ๘ โจทกถึงแกความตาย นางสาวจิตรตา ภริยาของโจทก ยื่นคำรอง ขอเขาเปนคูความแทน ศาลแรงงานภาค ๘ อนุญาต ศาลแรงงานภาค ๘ พิจารณาแลวพิพากษา ใหจําเลยทั้งสองรวมกันชําระเงิน ๒,๒๒๐,๐๐๐ บาท (คาชดเชย ๕๔๐,๐๐๐ บาท สินจางแทนการ บอกกลาวลวงหนา ๑๘๐,๐๐๐ บาท และคาเสียหายจากการเลิกจางที่ไมเปนธรรม ๑,๕๐๐,๐๐๐ บาท) พรอมดอกเบี้ยอัตรารอยละ ๑๕ ตอป นับแตวันฟอง (ฟองวันที่ ๒๓ กุมภาพันธ ๒๕๖๑) เปนตนไป จนกวาจะชําระเสร็จแกโจทก จำเลยทั้งสองอุทธรณ ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษพิพากษาแกเปนวา ใหจำเลยทั้งสองรวมกันจายคาชดเชย ๕๔๐,๐๐๐ บาท พรอมดอกเบี้ยอัตรารอยละ ๑๕ ตอป นับแตวันฟอง (ฟองวันที่ ๒๓ กุมภาพันธ ๒๕๖๑) เปนตนไปจนกวาจะชําระเสร็จแกโจทก สินจางแทนการบอกกลาวลวงหนา ๑๘๐,๐๐๐ บาท พรอม ดอกเบี้ยอัตรารอยละ ๗.๕ ตอป นับแตวันฟองเปนตนไปจนกวาจะชำระเสร็จแกโจทก และใหยก คำพิพากษาศาลแรงงานภาค ๘ ในสวนของคาเสียหายจากการเลิกจางที่ไมเปนธรรม โดยใหยอน สำนวนใหศาลแรงงานภาค ๘ พิจารณากำหนดจำนวนคาเสียหายจากการเลิกจางที่ไมเปนธรรม ที่ใหจำเลยทั้งสองชดใชแกโจทกใหม พรอมดอกเบี้ยอัตรารอยละ ๗.๕ ตอป นับแตวันฟองเปนตนไป จนกวาจะชำระเสร็จแกโจทก แลวพิพากษาใหมตามรูปคดีตอไป แตจำเลยที่ ๒ ไมตองรับผิดเปน การสวนตัว


๕๒๔ จำเลยทั้งสองยื่นคำรองขออนุญาตฎีกาตอศาลฎีกา ศาลฎีกามีคำสั่งไมอนุญาตใหจำเลยทั้งสองฎีกา ยกคำรองขออนุญาตฎีกา และไมรับฎีกา ของจำเลยทั้งสอง ศาลแรงงานภาค ๘ พิพากษาใหมกำหนดคาเสียหายจากการเลิกจางที่ไมเปนธรรม ใหแกโจทก ๑,๕๐๐,๐๐๐ บาท พรอมดอกเบี้ยอัตรารอยละ ๗.๕ ตอป นับแตวันฟอง (ฟองวันที่ ๒๓ กุมภาพันธ ๒๕๖๑) เปนตนไปจนกวาจะชำระเสร็จแกโจทก จำเลยทั้งสองอุทธรณ ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษแผนกคดีแรงงานวินิจฉัยวา มีปญหาตองวินิจฉัยตามอุทธรณ ของจำเลยทั้งสองวา ศาลแรงงานภาค ๘ กำหนดคาเสียหายจากการเลิกจางที่ไมเปนธรรมใหแกโจทก ชอบดวยกฎหมายหรือไม โดยจำเลยทั้งสองอุทธรณวา พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแรงงานและ วิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๔๙ กำหนดใหศาลแรงงานพิจารณากำหนดคาเสียหาย จากการเลิกจางที่ไมเปนธรรมโดยคำนึงถึงอายุของลูกจาง ระยะเวลาการทำงานของลูกจาง ความ เดือดรอนของลูกจางเมื่อถูกเลิกจาง มูลเหตุแหงการเลิกจางและเงินคาชดเชยที่ลูกจางมีสิทธิไดรับ โดยตองพิจารณาในเรื่องตาง ๆ โดยรวม มิใชพิจารณาเรื่องใดเรื่องหนึ่งโดยเฉพาะ โจทกเขาทำงาน กับจำเลยทั้งสองขณะมีอายุ ๘๑ ป มีระยะเวลาการทำงานถึงวันเลิกจางเพียง ๑ ป ๔ เดือน ไดรับคาจางอัตราสุดทายเดือนละ ๑๘๐,๐๐๐ บาท ซึ่งมีสิทธิไดรับคาชดเชยตามกฎหมายคุมครอง แรงงานเทากับคาจางอัตราสุดทาย ๙๐ วัน แตศาลแรงงานภาค ๘ กลับกำหนดคาเสียหายจาก การเลิกจางที่ไมเปนธรรมใหแกโจทกถึง ๑,๕๐๐,๐๐๐ บาท จึงไมเปนไปตามบทบัญญัติของ กฎหมายนั้น เห็นวา การกำหนดคาเสียหายจากการเลิกจางที่ไมเปนธรรมจะมีมากนอยเพียงใด ศาลแรงงานภาค ๘ จะตองใชดุลพินิจกำหนดใหโดยคำนึงถึงอายุของลูกจางเมื่อถูกเลิกจาง ระยะ เวลาการทำงานของลูกจาง ความเดือดรอนของลูกจางเมื่อถูกเลิกจาง มูลเหตุแหงการเลิกจาง และเงินคาชดเชยที่ลูกจางมีสิทธิไดรับตามพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณา คดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๔๙ คดีนี้ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษไดพิพากษายกคำพิพากษา ศาลแรงงานภาค ๘ ในสวนของคาเสียหายจากการเลิกจางที่ไมเปนธรรม โดยวินิจฉัยวาโจทก ทำงานเปนลูกจางจำเลยทั้งสองเปนระยะเวลาเพียง ๑ ปเศษ การที่ศาลแรงงาน ภาค ๘ นำเอา ระยะเวลาการทำงานของโจทกกับนายจางอื่นมารวมประกอบการพิจารณากำหนดจำนวน คาเสียหายจากการเลิกจางที่ไมเปนธรรมดวย เปนการไมปฏิบัติใหถูกตองตามบทบัญญัติ ดังกลาว แตการกำหนดคาเสียหายจากการเลิกจางที่ไมเปนธรรมเปนดุลพินิจซึ่งเปนขอเท็จจริง ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษไมอาจวินิจฉัยไดจึงใหยอนสำนวนไปใหศาลแรงงานภาค ๘ พิจารณา


๕๒๕ วินิจฉัย แตเมื่อศาลแรงงานภาค ๘ พิจารณาพิพากษาใหมแลวก็ยังคงกำหนดจำนวนคาเสียหาย จากการเลิกจางที่ไมเปนธรรมใหแกโจทก ๑,๕๐๐,๐๐๐ บาท เชนเดิม ทั้ง ๆ ที่ระยะเวลาการ ทำงานของโจทกที่ตองนำมาประกอบการพิจารณาแตกตางจากเดิมนับสิบป ซึ่งจำนวนคาเสียหาย ที่โจทกพึงไดรับยอมจะตองเปลี่ยนแปลงไปในทิศทางเดียวกัน การที่มิไดมีการเปลี่ยนแปลงใด ๆ เกิดขึ้นเลย แสดงวาศาลแรงงานภาค ๘ หาไดนำเอาระยะเวลาการทำงานที่แทจริงของโจทก มาประกอบการพิจารณากำหนดคาเสียหายตามคำวินิจฉัยของศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษไม จึงเปนการไมปฏิบัติใหถูกตองตามบทบัญญัติดังกลาวและไมชอบดวยกฎหมายวิธีพิจารณาความ ชอบที่ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษจะมีคำสั่งยกคำพิพากษาศาลแรงงานภาค ๘ เสียตาม ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพง มาตรา ๒๔๓ (๑) ประกอบดวยพระราชบัญญัติจัดตั้ง ศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๕๗ กรณีจึงตองยอนสำนวนไป ใหศาลแรงงานภาค ๘ กำหนดจำนวนคาเสียหายใหจำเลยทั้งสองชดใชแกโจทกใหม อุทธรณของ จำเลยทั้งสองฟงขึ้น พิพากษายกคำพิพากษาศาลแรงงานภาค ๘ ใหศาลแรงงานภาค ๘ พิจารณากำหนด จำนวนคาเสียหายจากการเลิกจางที่ไมเปนธรรมใหแกโจทกตามนัยคำวินิจฉัยที่ระบุในคำพิพากษา ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษครั้งแรก แลวพิพากษาใหมตามรูปคดีตอไป. (โสภณ พรหมสุวรรณ - ผจงธรณ วรินทรเวช - พิเชฏฐ รื่นเจริญ) มนุเชษฐ โรจนศิริบุตร - ยอ สุโรจน จันทรพิทักษ - ตรวจ


คำพิพากษาศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษที่ ๗๙๓/๒๕๖๒ บริษัทเซ็นทรัลหัวหินบีชรีสอรท จำกัด โจทก สำนักงานประกันสังคม กับพวก จำเลย พ.ร.บ. เงินทดแทน พ.ศ. ๒๕๓๗ มาตรา ๕ พ.ร.บ. ประกันสังคม พ.ศ. ๒๕๓๕ มาตรา ๕ เงินคาบริการดูแลเด็กเปนเงินที่โจทกเรียกเก็บจากลูกคาในการใหบริการดูแลเด็ก พนักงานที่ทำหนาที่ดูแลเด็กจะตองมีประสบการณในการดูแลเด็ก โดยโจทกจะคิดเงิน จากลูกคาเปนรายชั่วโมง แลวโจทกจึงจายเงินใหแกพนักงานในอัตรารอยละ ๗๐ ของเงิน ที่โจทกเรียกเก็บจากลูกคา เงินคาบริการดูแลเด็กที่โจทกจายใหแกพนักงานดูแลเด็ก จึงเปนการจายเงินเพื่อตอบแทนการทำงานโดยคำนวณตามผลงานตามที่พนักงานดูแลเด็ก แตละคนสามารถทำได ถือเปนคาจางตาม พ.ร.บ. ประกันสังคม พ.ศ. ๒๕๓๓ มาตรา ๕ และ พ.ร.บ. เงินทดแทน พ.ศ. ๒๕๓๗ มาตรา ๕ สำหรับเงินสวัสดิการพนักงานทีมผจญเพลิง เปนเงินที่โจทกจะจายใหแกพนักงานในทีมดับเพลิง ซึ่งพนักงานทีมดับเพลิงมีหนาที่ดูแล และระงับเหตุเพลิงไหมในวันและเวลาปกติ ซึ่งพนักงานจะไดรับเปนรายเดือน เดือนละ เทา ๆ กันเปนเงิน ๒๐๐ บาท โดยไมมีเงื่อนไข แตถาพนักงานดับเพลิงคนใดไมเขารวม ซอมใหญปละสองครั้ง ก็จะถูกตัดสิทธิไมไดรับเงินนี้ โดยไมไดความวาเงินดังกลาวเปน เงินสวัสดิการหรือเงินชวยเหลืออื่นใดที่โจทกจายใหแกพนักงานของตนที่ทำงานหนาที่ เปนพนักงานทีมผจญเพลิงเชนนี้ เงินสวัสดิการพนักงานทีมผจญเพลิงจึงเปนเงินที่มี จำนวนแนนอนที่โจทกตกลงจายเปนคาตอบแทนในการทำงานใหแกพนักงานโจทกใน ตำแหนงพนักงานทีมผจญเพลิง ถือเปนคาจางตาม พ.ร.บ. ประกันสังคม พ.ศ. ๒๕๓๓ มาตรา ๕ และ พ.ร.บ. เงินทดแทน พ.ศ. ๒๕๓๗ มาตรา ๕ สวนเงินจูงใจเพื่อเพิ่มยอดการขายเปนเงินที่โจทกจายใหกับพนักงานตอนรับ ในกรณีที่ลูกคาจองหองพักแบบธรรมดา แตหากพนักงานสามารถเชิญชวนใหลูกคาที่ มิไดจองหองพักไวลวงหนา (Walk in) เขาพักในหองที่มีราคาสูงกวาแบบธรรมดาได พนักงานก็จะไดเงินคาจูงใจเพิ่มในอัตรารอยละ ๑๕ การจายเงินจูงใจเพื่อเพิ่มยอดการขาย จึงมีลักษณะเปนการจายเงินจูงใจใหพนักงานตอนรับที่สรางยอดขายคาหองพักใหเพิ่ม ๕๒๖


ขึ้นได ไมใชจายเพื่อตอบแทนการทำงานในวันและเวลาทำงานปกติของวันทำงาน มิใช คาจาง ตาม พ.ร.บ. ประกันสังคม พ.ศ. ๒๕๓๓ มาตรา ๕ และ พ.ร.บ. เงินทดแทน พ.ศ. ๒๕๓๗ มาตรา ๕ ______________________________ โจทกฟอง ขอใหมีคำพิพากษาหรือคำสั่งเพิกถอนคำวินิจฉัยของจำเลยที่ ๒ และที่ ๓ รวมทั้งเพิกถอนคำสั่งจำเลยที่ ๑ ที่ใหโจทกชำระเงินสมทบกองทุนประกันสังคมประจำป ๒๕๕๗ เพิ่มเติม ๒,๐๔๔,๕๕๐ บาท พรอมเงินเพิ่มตามกฎหมายในอัตรารอยละ ๒ ตอเดือน และเงินสมทบ กองทุนเงินทดแทนประจำป ๒๕๕๗ เพิ่มเติม ๓๐,๕๔๓ บาท พรอมเงินเพิ่มเติมตามกฎหมาย อัตรารอยละ ๓ ตอเดือน จำเลยทั้งสามใหการ ขอใหยกฟอง ศาลแรงงานกลาง พิพากษาใหเพิกถอนคำวินิจฉัยอุทธรณของจำเลยที่ ๒ และจำเลยที่ ๓ เฉพาะในสวนเงินคาบริการที่วินิจฉัยวาโจทกมีหนาที่ตองชำระเงินสมทบกองทุนประกันสังคมและ กองทุนเงินทดแทนประจำป ๒๕๕๗ เพิ่มเติมตามคำสั่งของจำเลยที่ ๑ คำขออื่นนอกจากนี้ใหยก โจทกอุทธรณ ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษแผนกคดีแรงงานวินิจฉัยวา ศาลแรงงานกลางฟงขอเท็จจริงวา เงินจูงใจเพื่อเพิ่มยอดการขายเปนเงินที่โจทกจายใหกับพนักงานตอนรับในกรณีที่ลูกคาจองหองพัก แบบธรรมดา แตหากพนักงานสามารถเชิญชวนใหลูกคาเขาพักในหองที่มีราคาสูงกวาแบบ ธรรมดาได พนักงานก็จะไดเงินคาจูงใจเพิ่ม เงินคาบริการดูแลเด็กเปนเงินที่โจทกเรียกเก็บจาก ลูกคาในการใหบริการดูแลเด็ก พนักงานที่ทำหนาที่ดูแลเด็กจะตองมีประสบการณในการดูแลเด็ก โดยโจทกจะคิดเงินจากลูกคาเปนรายชั่วโมง แลวโจทกจึงจายเงินใหแกพนักงานในอัตรารอยละ ๗๐ ของเงินที่โจทกเรียกเก็บจากลูกคา เงินสวัสดิการพนักงานทีมผจญเพลิงเปนเงินที่โจทกจะจาย ใหแกพนักงานในทีมดับเพลิง ซึ่งพนักงานทีมดับเพลิงมีหนาที่ดูแลและระงับเหตุเพลิงไหมในวัน และเวลาปกติ ซึ่งพนักงานจะไดรับเปนรายเดือน เดือนละเทา ๆ กันเปนเงิน ๒๐๐ บาท แลววินิจฉัยวา เงินจูงใจเพื่อเพิ่มยอดการขายหรือรายได เงินคาบริการดูแลเด็ก และเงินสวัสดิการพนักงาน ทีมผจญเพลิงเปนคาจางตามความหมายของพระราชบัญญัติประกันสังคม พ.ศ. ๒๕๓๓ มาตรา ๕ และพระราชบัญญัติเงินทดแทน พ.ศ. ๒๕๓๗ มาตรา ๕ ๕๒๗


คดีมีปญหาตองวินิจฉัยตามอุทธรณของโจทกวา เงินจูงใจเพื่อเพิ่มยอดการขายหรือ รายได เงินคาบริการดูแลเด็ก และเงินสวัสดิการพนักงานทีมผจญเพลิง เปนคาจางตามพระราชบัญญัติ ประกันสังคม พ.ศ. ๒๕๓๓ มาตรา ๕ อันจะตองนำมาคำนวณเงินสมทบตามมาตรา ๔๗ หรือไม เห็นวา ศาลแรงงานกลางฟงขอเท็จจริงวา เงินคาบริการดูแลเด็กเปนเงินที่โจทกเรียกเก็บจากลูกคา ในการใหบริการดูแลเด็ก พนักงานที่ทำหนาที่ดูแลเด็กจะตองมีประสบการณในการดูแลเด็ก โดย โจทกจะคิดเงินจากลูกคาเปนรายชั่วโมง แลวโจทกจึงจายเงินใหแกพนักงานในอัตรารอยละ ๗๐ ของเงินที่โจทกเรียกเก็บจากลูกคา เงินคาบริการดูแลเด็กที่โจทกจายใหแกพนักงานดูแลเด็ก จึงเปนการจายเงินเพื่อตอบแทนการทำงานโดยคำนวณตามผลงานตามที่พนักงานดูแลเด็ก แตละคนสามารถทำได ถือเปนคาจางตามพระราชบัญญัติประกันสังคม พ.ศ. ๒๕๓๓ มาตรา ๕ และ พระราชบัญญัติเงินทดแทน พ.ศ. ๒๕๓๗ มาตรา ๕ สำหรับเงินสวัสดิการพนักงานทีมผจญเพลิง เปนเงินที่โจทกจะจายใหแกพนักงานในทีมดับเพลิง ซึ่งพนักงานทีมดับเพลิงมีหนาที่ดูแลและระงับ เหตุเพลิงไหมในวันและเวลาปกติ ซึ่งพนักงานจะไดรับเปนรายเดือน เดือนละเทา ๆ กันเปนเงิน ๒๐๐ บาท โดยไมมีเงื่อนไข แตถาพนักงานดับเพลิงคนใดไมเขารวมซอมใหญปละสองครั้ง ก็จะ ถูกตัดสิทธิไมไดรับเงินนี้ โดยไมไดความวาเงินดังกลาวเปนเงินสวัสดิการหรือเงินชวยเหลืออื่นใด ที่โจทกจายใหแกพนักงานของตนที่ทำงานหนาที่เปนพนักงานทีมผจญเพลิงเชนนี้ เงินสวัสดิการ พนักงานทีมผจญเพลิงจึงเปนเงินที่มีจำนวนแนนอน ที่โจทกตกลงจายเปนคาตอบแทนในการ ทำงานใหแกพนักงานโจทกในตำแหนงพนักงานทีมผจญเพลิง ถือเปนคาจางตามพระราชบัญญัติ ประกันสังคม พ.ศ. ๒๕๓๓ มาตรา ๕ และพระราชบัญญัติเงินทดแทน พ.ศ. ๒๕๓๗ มาตรา ๕ อุทธรณของโจทกฟงไมขึ้น สวนเงินจูงใจเพื่อเพิ่มยอดการขายเปนเงินที่โจทกจายใหกับพนักงานตอนรับ ในกรณี ที่ลูกคาจองหองพักแบบธรรมดา แตหากพนักงานสามารถเชิญชวนใหลูกคาที่มิไดจองหองพัก ไวลวงหนา (Walk in) เขาพักในหองที่มีราคาสูงกวาแบบธรรมดาได พนักงานก็จะไดเงินคาจูงใจ เพิ่มในอัตรารอยละ ๑๕ การจายเงินจูงใจเพื่อเพิ่มยอดการขายจึงมีลักษณะเปนการจายเงินจูงใจ ใหพนักงานตอนรับที่สรางยอดขายคาหองพักใหเพิ่มขึ้นได ไมใชจายเพื่อตอบแทนการทำงาน ในวันและเวลาทำงานปกติของวันทำงานมิใชคาจาง ตามพระราชบัญญัติประกันสังคม พ.ศ. ๒๕๓๓ มาตรา ๕ และพระราชบัญญัติเงินทดแทน พ.ศ. ๒๕๓๗ มาตรา ๕ การที่ศาลแรงงานกลางพิพากษาวา เงินจูงใจเพื่อเพิ่มยอดการขายเปนคาจางมานั้น ไมตองดวยความของศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษ อุทธรณของโจทกฟงขึ้น ๕๒๘


พิพากษาแกเปนวา ใหเพิกถอนคำวินิจฉัยอุทธรณของจำเลยที่ ๒ และที่ ๓ เฉพาะใน สวนที่วินิจฉัยวาเงินจูงใจเพื่อเพิ่มยอดการขายเปนคาจาง นอกจากที่แกใหเปนไปตามคำพิพากษา ศาลแรงงานกลาง. (ยิ่งลักษณ สุขวิสิฏฐ - เฉลิมพงศ ขันตี - สมเกียรติ คูวัธนไพศาล) สุเจตน สถาพรนานนท - ยอ สุโรจน จันทรพิทักษ - ตรวจ ๕๒๙


คำพิพากษาศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษที่ ๑๕๙๕/๒๕๖๒ นางสุทธาทิพย วองไว โจทก องคการขนสงมวลชน กรุงเทพ จำเลย พ.ร.บ. วาดวยการจัดตั้งองคการของรัฐบาล พ.ศ. ๒๔๙๖ พ.ร.ฎ. จัดตั้งองคการขนสงมวลชนกรุงเทพ พ.ศ. ๒๕๑๙ ขอบังคับองคการขนสงมวลชนกรุงเทพ ฉบับที่ ๑๗๕ วาดวยการจายเงินทดแทนกรณี ประสบอันตราย หรือเจ็บปวย หรือตาย หรือสูญหายเนื่องจากการทำงาน พ.ศ. ๒๕๕๗ ตามขอบังคับองคการขนสงมวลชนกรุงเทพ ฉบับที่ ๑๗๕ วาดวยการจายเงิน ทดแทนกรณีประสบอันตราย หรือเจ็บปวย หรือตาย หรือสูญหายเนื่องจากการทำงาน พ.ศ. ๒๕๕๗ ขอ ๔ คำวา “ประสบอันตราย” หมายความวา การที่พนักงานไดรับอันตราย แกกายหรือผลกระทบแกจิตใจ หรือถึงแกความตายเนื่องจากการทำงาน หรือปองกัน รักษาประโยชนใหแกองคการ หรือการปฏิบัติตามคำสั่งของผูบังคับบัญชา เมื่อโจทกไดรับ คำสั่งใหไปปฏิบัติหนาที่บนรถโดยสารสาย ๖๐ ตามคำสั่งของผูบังคับบัญชาซึ่งเปนรถวิ่ง ระยะยาว แลวโจทกมีอาการปวดขอเทาซายและฝาเทายกไมขึ้นเนื่องจากการทำงาน ซึ่งหากโจทกทำงานบนรถโดยสารประจำทางระยะสั้นตามเดิมอาการบาดเจ็บดังกลาว ก็คงไมเกิดขึ้น จึงถือวาโจทกไดรับอันตรายแกกาย เนื่องจากการปฏิบัติตามคำสั่งของ ผูบังคับบัญชา จึงเปนการประสบอันตราย ตามความหมายของขอบังคับองคการขนสง มวลชนกรุงเทพ ฉบับที่ ๑๗๕ แลว จำเลยจึงตองจายเงินทดแทนแกโจทก ____________________________ โจทกฟองและแกไขคำฟอง ขอคิดคาเสียหายเปน ๓ เทาของคาจาง เปนเงิน ๖๐,๐๙๐ บาท ขอใหศาลเพิกถอนคำวินิจฉัยของกรรมการพิจารณาอุทธรณและคำรองทุกขของจำเลย ใหจำเลย มีคำสั่งใหโจทกมีสิทธิลาปวยโดยไมนับเปนวันลาตั้งแตวันที่ ๒ มิถุนายน ๒๕๖๐ ถึงวันที่ ๕ กรกฎาคม ๒๕๖๐ เปนเวลา ๓๕ วัน โดยมีสิทธิไดรับคาทดแทน ๑๔,๐๒๑ บาท พรอมดอกเบี้ย อัตรารอยละ ๗.๕ ตอป ของตนเงินจำนวนดังกลาว และมีสิทธิไดรับการเพิ่มขั้นเงินเดือนในป ๒๕๖๐ อีก ๑ ขั้นเงินเดือน ใหจำเลยจายคาจาง ๑๑,๓๕๐.๕๐ บาท พรอมดอกเบี้ยอัตรารอยละ ๑๕ ตอป ของตนเงินดังกลาวนับแตวันฟองเปนตนไปจนกวาจะชำระเสร็จแกโจทก ๕๓๐


จำเลยใหการ ขอใหยกฟอง ศาลแรงงานกลาง พิพากษาใหเพิกถอนคำวินิจฉัยคำรองทุกขของคณะกรรมการพิจารณา อุทธรณและคำรองทุกขของจำเลย และใหโจทกมีสิทธิลาปวยโดยไมนับเปนวันลาตั้งแตวันที่ ๒ มิถุนายน ๒๕๖๐ ถึงวันที่ ๕ กรกฎาคม ๒๕๖๐ เปนเวลา ๓๕ วัน และใหโจทกมีสิทธิรับคาทดแทน ๑๔,๐๒๑ บาท พรอมดอกเบี้ยอัตรารอยละ ๗.๕ ตอป ของตนเงินจำนวนดังกลาวนับแตวันฟอง เปนตนไปจนกวาจะชำระเสร็จแกโจทก ใหโจทกมีสิทธิไดรับการเพิ่มขั้นเงินเดือนในป ๒๕๖๐ หนึ่งขั้นเงินเดือนเปนเงิน ๑,๒๒๐ บาท และใหจำเลยจายเงินตกเบิกใหกับโจทกในอัตราเดือนละ ๑,๒๒๐ บาท นับแตวันที่ ๒๘ ตุลาคม ๒๕๖๐ เปนตนไป คำขออื่นนอกจากนี้ใหยก จำเลยอุทธรณ ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษแผนกคดีแรงงานวินิจฉัยวา ศาลแรงงานกลางฟงขอเท็จจริงวา เมื่อป ๒๕๕๔ โจทกประสบอันตรายไดรับบาดเจ็บเอ็นขอเทาฉีกขาดเนื่องจากการทำงานโดย ไดรับเงินทดแทนจากจำเลยไปแลว โจทกรักษาอาการดังกลาวมาโดยตลอด แพทยมีความเห็นวา ใหโจทกทำงานที่ไมตองยืนนาน จำเลยใหโจทกทำงานบนรถโดยสารประจำทางระยะสั้นครีมแดง บริการฟรี จนกระทั่งวันที่ ๒ มิถุนายน ๒๕๖๐ นายวิเศษ หัวหนากลุมงานปฏิบัติการเดินรถที่ ๒ มีคำสั่งใหโจทกไปปฏิบัติหนาที่ประจำรถโดยสารประจำทางปรับอากาศสาย ๖๐ ซึ่งเปนรถวิ่ง ระยะยาวระหวางสวนสยาม-ปากคลองตลาด โจทกมีอาการเจ็บปวดขอเทาซายและฝาเทา ยกเทาไมขึ้น ซึ่งเปนอาการบาดเจ็บเรื้อรังจากที่เคยไดรับบาดเจ็บเมื่อป ๒๕๕๔ แพทยโรงพยาบาล นพรัตนราชธานีวินิจฉัยวา โจทกมีอาการเอ็นอักเสบบริเวณขอเทาดานซาย และโจทกเดินทาง ไปโรงพยาบาลภูมิพลอดุลยเดช แพทยมีความเห็นวาเอ็นขอเทาซายอักเสบและใหหยุดพักเพื่อให อาการดีขึ้นมีกำหนด ๕ วัน ตั้งแตวันที่ ๒ มิถุนายน ๒๕๖๐ ถึงวันที่ ๖ มิถุนายน ๒๕๖๐ ตอมา วันที่ ๗ มิถุนายน ๒๕๖๐ โจทกเดินทางไปใหแพทยของหนวยงานจำเลยทำการตรวจรักษา แพทยมีความเห็นวา ผาตัดขอเทา ปวดขอเทาเรื้อรัง รักษาตอเนื่อง และใหหยุดพักมีกำหนด ๓๐ วัน ตั้งแตวันที่ ๗ มิถุนายน ๒๕๖๐ ถึงวันที่ ๕ กรกฎาคม ๒๕๖๐ โจทกยื่นคำรองขอใหจำเลย จายเงินทดแทนกรณีเจ็บปวยเนื่องจากการปฏิบัติหนาที่ แตจำเลยไมอนุมัติเนื่องจากเคยจาย คาทดแทนใหโจทกแลวและอาการบาดเจ็บของโจทกไมไดเกิดจากอุบัติเหตุจากการทำงาน โจทกอุทธรณ คณะกรรมการพิจารณาอุทธรณและคำรองทุกขของจำเลย ยกคำรองของโจทก แลววินิจฉัยวาหลังจากที่โจทกประสบอุบัติเหตุจากการปฏิบัติหนาที่ตั้งแตป ๒๕๕๔ แลว จำเลย ใหโจทกปฏิบัติงานในรถโดยสารประจำทางครีมแดงซึ่งเปนรถโดยสารประจำทางที่วิ่งระยะสั้นและ ไมมีการเก็บคาโดยสารเพื่อไมใหโจทกตองยืนหรือเดินเปนเวลานาน ๆ ตามความเห็นของแพทย ๕๓๑


ประจำหนวยงานของจำเลยเปนเวลา ๙๐ วัน ตั้งแตวันที่ ๒๙ พฤษภาคม ๒๕๖๐ ถึงวันที่ ๒๙ สิงหาคม ๒๕๖๐ แตปรากฏวาในวันที่ ๒ มิถุนายน ๒๕๖๐ นายวิเศษ หัวหนางานปฏิบัติการเดินรถ ที่ ๒ ซึ่งเปนผูบังคับบัญชาโจทกไดสั่งใหโจทกไปปฏิบัติหนาที่บนรถโดยสารประจำทางปรับอากาศ สาย ๖๐ วิ่งระหวางสวนสยาม-ปากคลองตลาด ซึ่งเปนรถที่วิ่งระยะยาว มีสภาพอากาศที่เย็น และสภาพรถที่โคลงเคลงไมเหมาะกับการปฏิบัติงาน เปนเหตุใหโจทกมีอาการปวดบริเวณ ขอเทาซายและยกฝาเทาไมขึ้น ถือวาโจทกประสบอันตรายแกกายจากการที่โจทกปฏิบัติตาม คำสั่งของนายวิเศษ ผูบังคับบัญชาโจทก การที่โจทกประสบอันตรายไดรับอันตรายแกกาย โดยบาดเจ็บที่ขอเทาดังกลาวแมจะเปนการบาดเจ็บเรื้อรังมาจากอุบัติเหตุเดิมตั้งแตป ๒๕๕๔ โจทกก็มีสิทธิที่จะไดรับคาทดแทนตามขอ ๑๕ แหงขอบังคับองคการขนสงมวลชนกรุงเทพ ฉบับที่ ๑๗๕ การที่คณะกรรมการพิจารณาอุทธรณและคำรองทุกขของจำเลยเห็นวาอาการ เจ็บปวยของโจทกไมไดเกิดจากการทำงานตามขอบังคับองคการขนสงมวลชนกรุงเทพ ฉบับที่ ๑๗๕ ขอ ๔ และการเจ็บปวยนั้นไมไดเกิดจากลักษณะหรือสภาพของงาน โดยยกคำรองและไมจาย คาทดแทนใหโจทก จึงเปนคำวินิจฉัยที่ไมชอบ เมื่อแพทยมีความเห็นใหโจทกหยุดงานไดตั้งแต วันที่ ๒ มิถุนายน ๒๕๖๐ ถึงวันที่ ๕ กรกฎาคม ๒๕๖๐ เปนเวลา ๓๕ วัน จำเลยจึงตองจาย คาทดแทนใหโจทกตามขอบังคับองคการขนสงมวลชนกรุงเทพฉบับที่ ๑๗๕ ขอ ๑๕.๑ รอยละ ๖๐ ของเงินเดือนเปนเวลา ๓๕ วัน เปนเงิน ๑๔,๐๒๑ บาท และเมื่อโจทกประสบอันตรายขณะปฏิบัติ งานในหนาที่ตามคำสั่งของผูบัญชาและโจทกหยุดงานเปนเวลา ๓๕ วัน ตามใบรับรองความเห็น แพทย จึงถือวาในปงบประมาณ ๒๕๖๐ โจทกลากิจ ลาปวยเพียง ๓๕ วัน โจทกจึงตองไดรับ การพิจารณาเลื่อนขั้นเงินเดือนและคาจางตามขอบังคับองคการขนสงมวลชนกรุงเทพ ฉบับที่ ๑๖๘ โจทกจึงมีสิทธิไดรับการเพิ่มขั้นเงินเดือนในป ๒๕๖๐ อีก ๑ ขั้น เปนเงิน ๑,๒๒๐ บาท และมีสิทธิ ไดรับเงินเดือนสวนตางตกเบิกยอนหลังอัตราเดือนละ ๑,๒๒๐ บาท นับแตวันที่ ๒๗ ตุลาคม ๒๕๖๐ เปนตนไป มีปญหาตองวินิจฉัยตามอุทธรณของจำเลยวา กรณีมีเหตุเพิกถอนคำวินิจฉัยของ คณะกรรมการพิจารณาอุทธรณและคำรองทุกขของจำเลยหรือไม โดยจำเลยอุทธรณวา พนักงาน ขับรถโดยสารประจำทางไมไดแจงวาในวันที่โจทกปฏิบัติหนาที่บนรถโดยสารประจำทางแลวโจทก มีอาการปวดเทา ยกเทาไมขึ้นนั้น การเกิดอุบัติเหตุหรือเบรกกะทันหันระหวางทางหรือมีเหตุอื่นใด ที่ทำใหโจทกประสบอันตรายไดรับบาดเจ็บ ลักษณะการเจ็บปวยของโจทกไมไดเกิดจากลักษณะ หรือสภาพของงาน โจทกเคยประสบอันตรายเนื่องจากการทำงานเมื่อป ๒๕๕๔ กรณีรถเบรก กะทันหัน ทำใหเทาขางซายพลิก จำเลยไดจายเงินทดแทนใหโจทกไปแลว และในปงบประมาณ ๒๕๖๐ ๕๓๒


โจทกลาปวย ๗๐ วัน ถือวาในรอบปพิจารณาผลการปฏิบัติงานโจทกมีวันลาปวยเกิน ๕๕ วัน ยังมีคุณสมบัติไมครบถวน จำเลยจึงไมตองพิจารณาเลื่อนขั้นเงินเดือนแกโจทกนั้น เห็นวา ตามขอบังคับองคการขนสงมวลชนกรุงเทพฉบับที่ ๑๗๕ ขอ ๔ คำวา “ประสบอันตราย” หมายความวา การที่พนักงานไดรับอันตรายแกกาย หรือผลกระทบแกจิตใจ หรือถึงแกความตาย เนื่องจากการทำงาน หรือปองกันรักษาประโยชนใหแกองคการ หรือการปฏิบัติตามคำสั่งของ ผูบังคับบัญชา ตามขอบังคับดังกลาวแสดงวาในกรณีที่พนักงานไดรับอันตรายแกกาย จำเลยจะ ตองจายเงินทดแทนใน ๓ กรณี คือ กรณีที่ไดรับอันตรายแกกายอันมีสาเหตุเนื่องจากการทำงาน ไดรับอันตรายแกกายอันมีสาเหตุเนื่องจากการปองกันรักษาประโยชนใหแกจำเลย และไดรับ อันตรายแกกายอันมีสาเหตุเนื่องจากการปฏิบัติตามคำสั่งของผูบังคับบัญชา กรณีของโจทก ยอมเห็นไดวาโจทกตองไปปฏิบัติหนาที่บนรถโดยสารประจำทางปรับอากาศสาย ๖๐ วิ่งระหวาง สวนสยาม-ปากคลองตลาดตั้งแตวันที่ ๒ มิถุนายน ๒๕๖๐ ตามคำสั่งของนายวิเศษ หัวหนา กลุมงานปฏิบัติการเดินรถที่ ๒ ซึ่งเปนผูบังคับบัญชาของโจทก โดยกอนหนานั้นโจทกทำงาน บนรถโดยสารประจำทางระยะสั้นครีมแดงบริการฟรี ซึ่งทำใหโจทกปฏิบัติหนาที่โดยไมตองยืน หรือตองเดินนาน ๆ ตามคำแนะนำของแพทยซึ่งระยะเวลาดังกลาวหากโจทกไมตองไปปฏิบัติ หนาที่เปนพนักงานเก็บคาโดยสารประจำรถโดยสารประจำทางปรับอากาศสาย ๖๐ ซึ่งเปนรถวิ่ง ระยะยาว โจทกก็ไมตองทำกิจกรรมที่ตองยืนหรือเดินมาก ๆ ซึ่งตรงกับความเห็นของแพทยของ หนวยงานจำเลยที่เห็นวาควรใหโจทกทำงานเบา โดยปฏิบัติหนาที่อยูบนรถโดยสารประจำทาง ระยะสั้นครีมแดงมีกำหนด ๙๐ วัน ตั้งแตวันที่ ๒๙ พฤษภาคม ๒๕๖๐ ถึงวันที่ ๒๙ สิงหาคม ๒๕๖๐ โจทกมีอาการปวดขอเทาซายและฝาเทายกเทาไมขึ้นเนื่องจากการทำงานในวันที่ ๒ มิถุนายน ๒๕๖๐ นาจะมาจากสาเหตุที่โจทกตองปฏิบัติหนาที่บนรถโดยสารประจำทางปรับอากาศสาย ๖๐ ซึ่งเปน รถที่วิ่งระยะยาว มีสภาพอากาศที่เย็น และสภาพรถที่โคลงเคลง จึงเห็นวาอาการปวดขอเทา ที่เกิดขึ้นของโจทกนาจะมีสาเหตุมาจากที่โจทกปฏิบัติหนาที่ตามคำสั่งของนายวิเศษซึ่งเปน ผูบังคับบัญชาของโจทก ซึ่งถาโจทกทำงานบนโดยสารประจำทางระยะสั้นครีมแดงบริการฟรี ตามปกติ อาการบาดเจ็บบริเวณขอเทาดานซายของโจทกคงไมเกิดขึ้น เมื่อโจทกไดรับอันตราย แกกายอันมีสาเหตุเนื่องจากการปฏิบัติตามคำสั่งของผูบังคับบัญชาจึงเปนการประสบอันตราย ในความหมายของคำวา “ประสบอันตราย” ตามขอ ๔ ของขอบังคับองคการขนสงมวลชนกรุงเทพ ฉบับที่ ๑๗๕ โจทกจึงมีสิทธิไดรับคาทดแทนตามขอบังคับองคการขนสงมวลชนกรุงเทพฉบับที่ ๑๗๕ ขอ ๑๕.๑ จำเลยจึงตองจายเงินทดแทนแกโจทก และการที่โจทกหยุดงานชวงวันที่ ๒ มิถุนายน ๒๕๖๐ ถึงวันที่ ๕ กรกฎาคม ๒๕๖๐ เปนเวลา ๓๕ วัน ตามใบรับรองความเห็นแพทย จึงไมนับวันลาปวย ๕๓๓


ดังกลาวเขาคำนวณเพื่อพิจารณาผลการปฏิบัติงานของโจทกตามขอ ๑๒.๕ ของขอบังคับองคการ ขนสงมวลชนกรุงเทพฉบับที่ ๑๖๘ ประกอบตารางสรุปวันทำงานของพนักงานประจำป ๒๕๖๐ เอกสารหมาย ล.๒๔ ถือไดวาในปงบประมาณ ๒๕๖๐ โจทกมีคุณสมบัติที่จำเลยตองพิจารณา เลื่อนขั้นเงินเดือนและคาจาง โจทกจึงมีสิทธิไดรับการเพิ่มขั้นเงินเดือนในป ๒๕๖๐ อีก ๑ ขั้น ตามขอบังคับองคการขนสงมวลชนกรุงเทพฉบับที่ ๑๖๘ ขอที่ ๑๒ ที่ศาลแรงงานกลางพิพากษา มานั้น ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษเห็นพองดวย อุทธรณของจำเลยฟงไมขึ้น พิพากษายืน. (นาวี สกุลวงศธนา - เริงศักดิ์ วิริยะชัยวงศ - นงนภา จันทรศักดิ์ ลิ่มไพบูลย) สุรพัศ เพ็ชรคง - ยอ สุโรจน จันทรพิทักษ - ตรวจ ๕๓๔


คำพิพากษาศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษที่ ๕๖๑/๒๕๖๔ นางสาวพัฒนา พลอยประไพ โจทก คณะกรรมการกองทุน เงินทดแทน จำเลย พ.ร.บ. เงินทดแทน พ.ศ. ๒๕๓๗ มาตรา ๕, ๕๒, ๕๓ วรรคหนึ่ง ตาม พ.ร.บ. เงินทดแทน พ.ศ. ๒๕๓๗ มาตรา ๕ ไดนิยามคำวา “เจ็บปวย” หมายความวา การที่ลูกจางเจ็บปวยหรือถึงแกความตายดวยโรคซึ่งเกิดขึ้นตามลักษณะ หรือสภาพของงานหรือเนื่องจากการทำงาน สวนคำวา “ประสบอันตราย” หมายความวา การที่ลูกจางไดรับอันตรายแกกายหรือผลกระทบแกจิตใจ หรือถึงแกความตายเนื่องจาก การทำงานหรือปองกันรักษาประโยชนใหแกนายจางหรือตามคำสั่งของนายจาง การเจ็บปวย หรือถึงแกความตายตามคำนิยามดังกลาวจะตองเปนการเจ็บปวยจากโรคใดโรคหนึ่งที่ สัมพันธกับลักษณะงานหรือสภาพของงานหรือเนื่องจากการทำงาน ที่ลูกจางไดกระทำ อยูทุกวัน ขอเท็จจริงไดความตามที่ศาลแรงงานกลางรับฟงมาวา โจทกทำงานในสำนักงาน มีการตรวจหาสารฟอรมาลีนและสารเอทิลีนไดออกไซดซึ่งเปนสารที่กอใหเกิดโรคมะเร็ง ในโรงงานแหงนี้ ปรากฏวาบางรายงานตรวจไมพบ บางรายงานตรวจพบแตอยูในเกณฑ มาตรฐาน และไมมีรายงานทางการแพทยหรือทางระบาดวิทยาวาสารฟอรมาลีนและ สารเอทิลีนไดออกไซดทำใหเกิดโรคมะเร็งสมอง (เนื้องอกในสมอง) โจทกทำงานในอาคาร เปนหลัก โอกาสสัมผัสสารเคมีต่ำเมื่อพิจารณาจากผลการวัดสารเคมีในสภาพแวดลอม การทำงาน อาการภูมิแพที่ตาและตาแหงเรื้อรังเกิดจากการแพยากันชักอยางรุนแรงจน เปนโรคสตีเวนส จอหนสัน ซินโดรม (SJS: Stephen Johnson Syndrome) ซึ่งสืบเนื่องจาก การรักษาโรคมะเร็งสมอง ทำใหเยื่อบุตาออนแอ แมโจทกเลิกใชยากันชักแลว แตอาการ ภูมิแพก็ยังสงผลใหเกิดความไวตอสารกอภูมิแพไดงาย อาการเจ็บปวยของโจทกไมได สัมพันธกับลักษณะงานหรือสภาพของงานที่โจทกทำ จึงไมใชการเจ็บปวยดวยโรคซึ่ง เกิดขึ้นตามลักษณะหรือสภาพของงานหรือเนื่องจากการทำงาน โจทกจึงไมมีสิทธิไดรับ เงินจากกองทุนเงินทดแทน และไมมีเหตุใหเพิกถอนคำวินิจฉัยของคณะกรรมการกองทุน เงินทดแทน ที่ ๔/๒๕๖๓ ลงวันที่ ๒๐ มกราคม ๒๕๖๓ ของจำเลย และหนังสือแจงผลการ วินิจฉัยเงินทดแทนของสำนักงานประกันสังคมจังหวัดระยอง ที่ รย ๐๐๓๐/๓๗๗๒๒ ลงวันที่ ๓ กรกฎาคม ๒๕๖๒ ที่ศาลแรงงานกลางวินิจฉัยมานั้นชอบแลว ______________________________ ๕๓๕


๕๓๖ โจทกฟอง ขอใหเพิกถอนคำวินิจฉัยของคณะกรรมการกองทุนเงินทดแทน ที่ ๔/๒๕๖๓ ลงวันที่ ๒๐ มกราคม ๒๕๖๓ ของจำเลย ที่มีมติวาอาการเจ็บปวยของโจทกลูกจาง ไมไดเกิดเนื่อง จากการทำงาน ใหยกอุทธรณของโจทก กับหนังสือแจงผลการวินิจฉัยเงินทดแทนของสำนักงาน ประกันสังคมจังหวัดระยอง ที่ รย ๐๐๓๐/๓๗๗๒๒ ลงวันที่ ๓ กรกฎาคม ๒๕๖๒ และขอให พิพากษาวาอาการเจ็บปวยของโจทกเกิดเนื่องจากการทำงาน และโจทกมีสิทธิไดรับเงินจากกองทุน เงินทดแทนตามกฎหมาย จำเลยใหการ ขอใหยกฟอง ศาลแรงงานกลาง พิพากษายกฟอง โจทกอุทธรณ ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษแผนกคดีแรงงานวินิจฉัยวา ปรากฏขอเท็จจริงที่คูความ ไมโตแยงกันและขอเท็จจริงที่ศาลแรงงานกลางฟงเปนยุติวา โจทกเคยเปนลูกจางของบริษัทพีทีที โกลบอล เคมีคอล จำกัด (มหาชน) สาขาระยอง เมื่อวันที่ ๑ พฤศจิกายน ๒๕๔๙ ในตำแหนง เจาหนาที่ประสานงานโครงการอาวุโส มีหนาที่ประสานงานโครงการ ประเมินความพึงพอใจของ ลูกคา ติดตามการประเมินผลการทำงานของคูคา ปดประเด็นปญหาของลูกคา ที่ทำงานของโจทก อยูที่สำนักงานตึกดานขางฝายการผลิตของโรงกลั่นน้ำมัน ทำงานตั้งแตวันจันทรถึงวันศุกรตั้งแต เวลา ๘ นาิกา ถึงเวลา ๑๗ นาิกา และทำงานนอกเวลาบางเปนบางวัน ตำแหนงสุดทายเปน พนักงานบริหารทั่วไป ไดรับคาจางอัตราสุดทายเดือนละ ๑๒๐,๖๑๒ บาท กำหนดจายคาจาง ทุกวันที่ ๒๕ ของเดือน เมื่อประมาณป ๒๕๕๑ โจทกมีอาการตาพรามัว แพทยสแกนสมอง (MRI) พบเนื้องอกในสมอง ๒ กอน โจทกไดรับการรักษาโดยการผาตัดรวมกับการฉายรังสี และใหยากันชัก ซึ่งทำใหโจทกเกิดอาการแพอยางรุนแรง สงผลใหแสบตา ตาแหงเรื้อรัง แพทยจึงใหโจทกหยุดทาน ยาแกแพ โจทกไปรับการรักษาที่โรงพยาบาลหลายแหง ตอมาเมื่อวันที่ ๒๓ พฤศจิกายน ๒๕๖๑ โจทกยื่นคำรองตอสำนักงานประกันสังคมจังหวัดระยองใหพิจารณาวาอาการของโรคที่ดำเนินอยู เกิดจากการทำงานหรือสิ่งแวดลอมในที่ทำงานเปนปจจัย หรือสาเหตุ หรือสาเหตุรวมที่ทำใหเกิด โรคเรื้อรังซ้ำเติมอาการของโรคหรือไม และสามารถนำไปประเมินการสูญเสียสมรรถภาพทางกาย และจิตใจเพื่อใชเปนแนวทางในการคำนวณเงินทดแทนที่ลูกจางพึงไดรับจากกองทุนประกันสังคม และกองทุนเงินทดแทนกรณีลูกจางประสบอันตรายหรือเจ็บปวยเนื่องจากการทำงานไดอยางไร สำนักงานประกันสังคมจังหวัดระยองสงเรื่องอาการเจ็บปวยของโจทกไปใหคณะอนุกรรมการแพทย หนวยที่ ๑ สำนักงานประกันสังคมจังหวัดสมุทรปราการ ซึ่งประกอบดวยแพทย ๑๐ คน ชวย พิจารณาและวินิจฉัย คณะอนุกรรมการดังกลาวมีความเห็นวา ไมพบวาเนื้องอกที่สมองของโจทก


๕๓๗ เกิดจากการสัมผัสสารเคมีในการทำงานตามประกาศกระทรวงแรงงาน เรื่อง กำหนดชนิดของโรค ซึ่งเกิดขึ้นตามลักษณะหรือสภาพของงานหรือเนื่องจากการทำงาน ภูมิแพที่ตาและตาแหงมี สาเหตุหลักจากปฏิกิริยาแพยากันชัก เปนผลพวงใหเยื่อบุตาออนแอ เกิดอาการกำเริบไดงาย แมไมไดสัมผัสสิ่งกระตุนทางเคมี นอกจากนี้งานของโจทกเปนการทำงานในสำนักงานเปนหลัก โอกาสสัมผัสสารเคมีต่ำโดยพิจารณาจากผลการวัดสารเคมีในสภาพแวดลอมการทำงาน จึงมีมติ วาอาการเจ็บปวยของโจทกไมไดเกิดเนื่องจากการทำงาน วันที่ ๓ กรกฎาคม ๒๕๖๒ สำนักงาน ประกันสังคมจังหวัดระยองมีหนังสือแจงผลการวินิจฉัยเงินทดแทนตามมติของคณะอนุกรรมการ แพทย หนวยที่ ๑ สำนักงานประกันสังคมจังหวัดสมุทรปราการใหโจทกทราบ โจทกอุทธรณ คำวินิจฉัยเงินทดแทนตามมติของคณะอนุกรรมการแพทยดังกลาวตอจำเลย ตอมาเดือนตุลาคม ๒๕๖๒ นายจางยายโจทกเขามาทำงานในกรุงเทพมหานคร แลวเลิกจางโจทกเมื่อวันที่ ๒๕ กุมภาพันธ ๒๕๖๓ นายแพทยกรรชิต ซึ่งเปนกรรมการกองทุนเงินทดแทน และพยานจำเลย เปนผูทำคำวินิจฉัยของคณะกรรมการกองทุนเงินทดแทน ที่ ๔/๒๕๖๓ โดยพิจารณาจากรายงาน แพทยที่โจทกรับการรักษา รายงานทางวิทยาศาสตรของโรงงานนายจางโจทก และรายงานของ ฝายบุคคลไดความวา มีการตรวจหาสารฟอรมาลีนและสารเอทิลีนออกไซดซึ่งเปนสารที่กอใหเกิด โรคมะเร็งที่โรงงานที่โจทกทำงานอยู ปรากฏวาบางรายงานตรวจไมพบ บางรายงานตรวจพบ แตอยูในเกณฑมาตรฐาน แตไมมีรายงานทางการแพทยหรือทางระบาดวิทยาวาสารฟอรมาลีน และสารเอทิลีนออกไซดทำใหเกิดโรคมะเร็งสมอง (เนื้องอกในสมอง) โจทกทำงานในสำนักงาน เปนหลัก โอกาสสัมผัสสารเคมีต่ำเมื่อพิจารณาจากผลการวัดสารเคมีในสภาพแวดลอมการทำงาน อาการภูมิแพที่ตาและตาแหงเกิดจากการแพยากันชักอยางรุนแรงจนเปนโรคสตีเวนส จอหนสัน ซินโดรม (SJS: Stephen Johnson Syndrome) ทำใหเยื่อบุตาออนแอ อันเปนผลสืบเนื่องจาก การรักษาโรคมะเร็งสมอง แมโจทกเลิกใชยากันชักอาการภูมิแพของโจทกก็ยังสงผลใหเกิดความ ไวตอสารภูมิแพไดงายมาก โรคของโจทกไมไดเกิดเนื่องมาจากการทำงาน ใหยกอุทธรณของโจทก และนายแพทยศุภชัย รองผูอำนวยการฝายการแพทยโรงพยาบาลเฉลิมพระเกียรติสมเด็จ พระเทพรัตนราชสุดาฯ จังหวัดระยอง ซึ่งเปนพยานจำเลยก็เบิกความยืนยันวาโรคสตีเวนส จอหนสัน ซินโดรม ที่โจทกเปนนั้น ไมไดเกิดจากการสัมผัสสารเคมีและไมใชโรคที่เกิดจากการ ทำงาน แตโรคดังกลาวทิ้งรองรอยการอักเสบไวที่ดวงตา ทำใหระคายเคืองไดงาย แพทยที่วินิจฉัย อาการของโรคและสาเหตุของการเกิดโรคมีจำนวน ๑๒ คน ไดทำตามหนาที่ และจริยธรรมแหง วิชาชีพแพทย จึงมีน้ำหนักมั่นคงใหรับฟง พยานหลักฐานโจทกไมอาจหักลางพยานหลักฐานจำเลย ในเรื่องที่มาของโรค การวินิจฉัย และอาการของโรคได จึงรับฟงไดตามคำวินิจฉัยของแพทยวาโรค


๕๓๘ และอาการเจ็บปวยของโจทกไมไดเกิดขึ้นตามลักษณะหรือสภาพของงาน หรือเนื่องจากการทำงาน โจทกจึงไมมีสิทธิไดรับเงินจากกองทุนเงินทดแทน กรณีไมมีเหตุใหเพิกถอนคำวินิจฉัยของ คณะกรรมการกองทุนเงินทดแทน ที่ ๔/๒๕๖๓ ลงวันที่ ๒๐ มกราคม ๒๕๖๓ และหนังสือแจงผล การวินิจฉัยเงินทดแทนของสำนักงานประกันสังคมจังหวัดระยองที่ รย ๐๐๓๐/๓๗๗๒๒ ลงวันที่ ๓ กรกฎาคม ๒๕๖๒ มีปญหาวินิจฉัยตามอุทธรณของโจทกวา อาการเจ็บปวยของโจทกเกิดตามลักษณะ หรือสภาพของงานหรือเนื่องจากการทำงาน และโจทกมีสิทธิไดรับเงินจากกองทุนเงินทดแทนหรือไม กับมีเหตุใหเพิกถอนคำวินิจฉัยของคณะกรรมการกองทุนเงินทดแทน ที่ ๔/๒๕๖๓ ลงวันที่ ๒๐ มกราคม ๒๕๖๓ ของจำเลย และหนังสือแจงผลการวินิจฉัยเงินทดแทนของสำนักงานประกันสังคม จังหวัดระยอง ที่ รย ๐๐๓๐/๓๗๗๒๒ ลงวันที่ ๓ กรกฎาคม ๒๕๖๒ หรือไม เห็นวา ตาม พระราชบัญญัติเงินทดแทน พ.ศ. ๒๕๓๗ มาตรา ๕ ไดนิยามคำวา “เจ็บปวย” หมายความวา การที่ลูกจางเจ็บปวยหรือถึงแกความตายดวยโรคซึ่งเกิดขึ้นตามลักษณะหรือสภาพของงานหรือ เนื่องจากการทำงาน สวนคำวา “ประสบอันตราย” หมายความวา การที่ลูกจางไดรับอันตราย แกกายหรือผลกระทบแกจิตใจ หรือถึงแกความตายเนื่องจากการทำงานหรือปองกันรักษา ประโยชนใหแกนายจางหรือตามคำสั่งของนายจาง การเจ็บปวยหรือถึงแกความตายตามคำนิยาม ดังกลาวจะตองเปนการเจ็บปวยจากโรคใดโรคหนึ่งที่สัมพันธกับลักษณะงานหรือสภาพของงาน หรือเนื่องจากการทำงานที่ลูกจางไดกระทำอยูทุกวัน ขอเท็จจริงไดความตามที่ศาลแรงงานกลาง รับฟงมาวา โจทกทำงานในสำนักงาน มีการตรวจหาสารฟอรมาลีนและสารเอทิลีนไดออกไซด ซึ่งเปนสารที่กอใหเกิดโรคมะเร็งในโรงงานแหงนี้ ปรากฏวาบางรายงานตรวจไมพบ บางรายงาน ตรวจพบแตอยูในเกณฑมาตรฐาน และไมมีรายงานทางการแพทยหรือทางระบาดวิทยาวา สารฟอรมาลีนและสารเอทิลีนไดออกไซดทำใหเกิดโรคมะเร็งสมอง (เนื้องอกในสมอง) โจทกทำงาน ในอาคารเปนหลัก โอกาสสัมผัสสารเคมีต่ำเมื่อพิจารณาจากผลการวัดสารเคมีในสภาพแวดลอม การทำงาน อาการภูมิแพที่ตาและตาแหงเรื้อรังเกิดจากการแพยากันชักอยางรุนแรงจนเปน โรคสตีเวนส จอหนสัน ซินโดรม (SJS: Stephen Johnson Syndrome) ซึ่งสืบเนื่องจากการ รักษาโรคมะเร็งสมอง ทำใหเยื่อบุตาออนแอ แมโจทกเลิกใชยากันชักแลว แตอาการภูมิแพก็ยัง สงผลใหเกิดความไวตอสารกอภูมิแพไดงาย อาการเจ็บปวยของโจทกไมไดสัมพันธกับลักษณะงาน หรือสภาพของงานที่โจทกทำ จึงไมใชการเจ็บปวยดวยโรคซึ่งเกิดขึ้นตามลักษณะหรือสภาพของ งานหรือเนื่องจากการทำงาน โจทกจึงไมมีสิทธิไดรับเงินจากกองทุนเงินทดแทน และไมมีเหตุให เพิกถอนคำวินิจฉัยของคณะกรรมการกองทุนเงินทดแทน ที่ ๔/๒๕๖๓ ลงวันที่ ๒๐ มกราคม ๒๕๖๓


๕๓๙ ของจำเลย และหนังสือแจงผลการวินิจฉัยเงินทดแทนของสำนักงานประกันสังคมจังหวัดระยอง ที่ รย ๐๐๓๐/๓๗๗๒๒ ลงวันที่ ๓ กรกฎาคม ๒๕๖๒ ที่ศาลแรงงานกลางวินิจฉัยมานั้นชอบแลว อุทธรณของโจทกฟงไมขึ้น พิพากษายืน. (สุวรรณา แกวบุตตา - อนันต คงบริรักษ - วัฒนา สุขประดิษฐ) มนุเชษฐ โรจนศิริบุตร - ยอ วัชรินทร ฤชุโรจน - ตรวจ


Click to View FlipBook Version