The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รวมคำพิพากษา-แผนกคดีแรงงาน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by iprd.pic, 2024-01-31 21:12:27

รวมคำพิพากษา-แผนกคดีแรงงาน

รวมคำพิพากษา-แผนกคดีแรงงาน

แจงที่ประชุมวาเอกสารที่เสนอในที่ประชุมทำผิดพลาด โจทกเสนอราคากาซ CBG ที่คำนวณ ผิดพลาดใหแกบริษัท NER ทำใหจำเลยเสียภาพลักษณ ขาดความนาเชื่อถือ มีผลตอการติดตอ ซื้อขายในครั้งตอไป นายสุรพงษตองคำนวณตัวเลขที่แทจริงใหจำเลยแจงบริษัท NER ทราบ บริษัท NER จึงตกลงซื้อกาซ CBG จากจำเลย ตอมาจำเลยมีหนังสือฉบับลงวันที่ ๒๘ พฤศจิกายน ๒๕๖๒ แจงผลการทดลองงานใหโจทกทราบวา ผลการปฏิบัติงานของโจทกต่ำกวาเกณฑมาตรฐาน ที่กำหนดไว ขอยกเลิกการจางงานนับแตวันที่ ๓๑ ธันวาคม ๒๕๖๒ โจทกทราบผลการทดลองงาน และการเลิกจางตั้งแตวันที่ ๒๘ พฤศจิกายน ๒๕๖๒ แตลงลายมือชื่อรับทราบวันที่ ๓ ธันวาคม ๒๕๖๒ แลววินิจฉัยวา ขอบังคับเกี่ยวกับการทำงานของจำเลย ในขอ ๘ ระบุไวความวา จำเลย มีสิทธิบอกเลิกจางพนักงานที่อยูในระหวางทดลองงานเมื่อไรก็ไดในชวงการทดลองงาน หาก ปรากฏวาผลงานความประพฤติ ทัศนคติหรือสุขภาพอยางใดอยางหนึ่งยังไมเปนที่นาพอใจ ในขอ ๙๗ ระบุไวความวา พนักงานที่อยูในระหวางทดลองงาน โดยปรากฏผลงานความประพฤติ ทัศนคติ ตองาน หรือทัศนคติตอบริษัทอยางใดอยางหนึ่งไมเปนที่นาพอใจ จำเลยอาจสั่งเลิกจางโดยจะ บอกกลาวลวงหนาไมนอยกวา ๓๐ วัน สัญญาจางในขอ ๓ ระบุวา หากในระยะเวลาทดลองงาน โจทกไมผานการประเมินผลการทดลองงาน จำเลยมีสิทธิบอกเลิกสัญญาไดทันที โจทกตกลงยอมรับ การประเมินผลการทำงานวาอยูในดุลพินิจของผูบริหารระดับสูงและใหถือเปนที่สุด ไมไดระบุวา การประเมินการทดลองงานของโจทกตองทำเปนหนังสือ การที่จำเลยจางโจทกเขาทำงานโดยให ทดลองงานมีกำหนดเวลา ๙๐ วัน นับแตวันที่ ๑๒ กันยายน ๒๕๖๒ แลวในวันที่ ๒๘ พฤศจิกายน ๒๕๖๒ กอนครบกำหนดทดลองงานในวันที่ ๑๒ ธันวาคม ๒๕๖๒ จำเลยมีหนังสือบอกเลิกจาง โจทก โดยใหมีผลในวันที่ ๓๑ ธันวาคม ๒๕๖๒ อันเปนการเลิกจางในระยะเวลาทดลองงาน เพราะ ผลการทำงานของโจทกไมเปนที่พอใจ เนื่องจากโจทกปฏิบัติงานผิดพลาดหลายครั้ง กอใหเกิด ผลเสียแกจำเลย มีเหตุใหจำเลยเลิกจางโจทก การเลิกจางโจทกระหวางการทดลองงานจึงมิใช การเลิกจางไมเปนธรรม จำเลยไมตองชำระคาเสียหายจากการเลิกจางไมเปนธรรมแกโจทก สัญญา จางทดลองงานเปนสัญญาจางที่ไมมีกำหนดระยะเวลา พนักงานฝายบุคคลหรือฝาย HR ของจำเลย บอกโจทกเมื่อวันที่ ๒๘ พฤศจิกายน ๒๕๖๒ วา โจทกไมผานการทดลองงาน ถือวาจำเลยไดบอก กลาวการเลิกจางกอนครบกำหนดจายคาจางในเดือนพฤศจิกายน ๒๕๖๒ ใหมีผลเปนการเลิกจาง ในวันที่ ๓๑ ธันวาคม ๒๕๖๒ ซึ่งเปนวันถึงกำหนดจายคาจางคราวถัดไปขางหนาตามระยะเวลา ที่กฎหมายกำหนดไวแลว แมโจทกเพิ่งลงลายมือชื่อรับทราบการเลิกจางในวันที่ ๓ ธันวาคม ๒๕๖๒ แตนายจางหรือลูกจางแสดงเจตนาบอกเลิกสัญญาจางไดเพียงฝายเดียว ไมจำตองใหอีกฝายหนึ่ง ยินยอมตกลง จำเลยจึงไมตองจายสินจางแทนการบอกกลาวลวงหนาแกโจทก ๔๐


คดีมีประเด็นที่ตองวินิจฉัยตามอุทธรณของโจทกประการแรกวา การที่จำเลยเลิกจาง โจทกเปนการไมปฏิบัติตามสัญญาจางและเปนการเลิกจางไมเปนธรรมหรือไม จำเลยตองชำระ คาเสียหายจากการเลิกจางไมเปนธรรมแกโจทกหรือไม เห็นวา การทดลองงานเปนกรณีที่นายจาง กำหนดระยะเวลาเพื่อทดสอบความรูความสามารถ ทักษะในการปฏิบัติงาน ทัศนคติในการทำงาน ปฏิสัมพันธกับผูรวมงานและผลการปฏิบัติงานของลูกจางกอนพิจารณาวาจะจางลูกจางตอไปหรือไม หากผลการทดลองปฏิบัติงานของลูกจางเปนที่พอใจของนายจาง นายจางก็จะรับเขาทำงานเปน ลูกจางประจำ หากผลงานไมเปนที่พอใจ นายจางก็มีสิทธิเลิกจางลูกจางนั้นได ทั้งนี้ เพื่อที่นายจาง จะไดคัดเลือกเฉพาะลูกจางที่มีคุณภาพใหไดทำงานกับนายจางตอไป อันเปนปกติของการบริหาร งานบุคคล เมื่อขอเท็จจริงรับฟงเปนยุติตามคำพิพากษาศาลแรงงานกลางแลววา โจทกละเลยไม ตรวจสอบรายงานงบประมาณประจำป ๒๕๖๓ วาระบุรายไดจากการขายกาซ CBG ในหนาที่ แสดงกระแสเงินสด (Cash Flow) กับหนาที่แสดงงบกำไรขาดทุนไมตรงกัน ระบุรายไดจากการ ขายกาซ CBG ในปเดียวกันใหแกบริษัทเดียวกันในเอกสารสองฉบับแตกตางกัน สรุปงบกำไร ขาดทุนในปเดียวกันฉบับหนึ่งวากำไร อีกฉบับวาขาดทุน ทำใหเกิดความสับสน ไมสามารถเขาใจ ไดวาบริษัทไดกำไรหรือขาดทุน โจทกไมตัดทอนขอความเรื่องการจายสวัสดิการโบนัสแกพนักงาน ในรายงานงบประมาณประจำป ๒๕๖๓ ออกตามคำสั่งของนายธนาพณ ทำใหนายธนาพณตอง แกไขปญหาเฉพาะหนาดวยการแจงที่ประชุมผูถือหุนของ บริษัทสากล เอนเนอยี จำกัด (มหาชน) วา เอกสารที่เสนอในที่ประชุมทำผิดพลาด โจทกเสนอราคากาซ CBG ที่คำนวณผิดพลาดใหแก บริษัทนอรทหรือบริษัท NER ลูกคาเพียงรายเดียวของจำเลย ทำใหจำเลยเสียภาพลักษณ ขาด ความนาเชื่อถือ จำเลยจึงประเมินวาผลการปฏิบัติงานของโจทกต่ำกวาเกณฑมาตรฐานที่กำหนดไว ไมสามารถปฏิบัติงานตามที่มอบหมายไดและยกเลิกการจางงานโจทก หนังสือแจงผลการ ทดลองงานมีนายธนาพณซึ่งเปนกรรมการผูมีอำนาจของจำเลยลงลายมือชื่อไว ซึ่งตามสัญญาจาง ในขอ ๓ ระบุวาโจทกตกลงยอมรับการประเมินผลการทำงานวาอยูในดุลพินิจของผูบริหารระดับสูง และใหถือเปนที่สุด การประเมินดังกลาวจึงถือวาเปนไปตามเงื่อนไขในสัญญาจางแลว จำเลย ไมจำเปนตองมีเอกสารหรือแบบฟอรมการประเมินที่กำหนดหลักเกณฑการใหคะแนนในแตละหัวขอ งานหรือระบุรายละเอียดของงานที่ผิดพลาดไวดวย โจทกเปนผูรางใบบรรยายลักษณะงาน (Job Description) ที่มีคำอธิบายถึงหนาที่ ความรับผิดชอบ ขอบเขตและคุณสมบัติของผูดำรงตำแหนง ผูจัดการทั่วไป แสดงใหเห็นวาโจทกทราบดีอยูแลววาตำแหนงงานของโจทกมีหนาที่รับผิดชอบ อะไรบาง ควรตองวางตนและประพฤติปฏิบัติตนในการทำงานอยางไรบาง พิจารณาแตละหัวขอ โดยรวมแลวเปนอำนาจในการบริหารจัดการการดำเนินงานของจำเลย นับวาเปนตำแหนงงาน ๔๑


สำคัญ จำเลยยอมคาดหวังใหโจทกปฏิบัติงานที่ไดรับมอบหมายใหสำเร็จลุลวงไปโดยถูกตอง แต โจทกกลับทำงานผิดพลาดหลายครั้ง แตละครั้งสรางปญหาทั้งตอผูบังคับบัญชาและเพื่อนรวมงาน ของโจทก รวมถึงคูคาและกิจการของจำเลย การที่จำเลยประเมินผลการปฏิบัติงานของโจทกวา ต่ำกวาเกณฑมาตรฐาน จึงเปนการพิจารณาไปตามมาตรฐานการทำงานที่พึงคาดหมายได หาใช นำหลักเกณฑที่เพิ่งกำหนดขึ้นมาใช หรือเปนการประเมินที่ไมโปรงใสและไมเปนธรรม แมโจทก ไมไดทำงานผิดพลาดทุกหัวขอในใบบรรยายลักษณะงาน แตก็แสดงใหเห็นแลววาโจทกขาดความ ระมัดระวัง ไมรอบคอบ ไมมุงมั่นตั้งใจทำงาน หากจำเลยใหโจทกทำงานตอไปมีแตจะกอใหเกิด ปญหามากขึ้น นับวามีเหตุสมควรเพียงพอที่จำเลยจะไมไววางใจใหโจทกทำงานกับจำเลยตอไป นอกจากนี้ ที่โจทกอางวาขอผิดพลาดดังกลาวเปนเพียงการหยอนสมรรถภาพ ไมใชความผิดรายแรง สะทอนใหเห็นวาโจทกไมสามารถวิเคราะหแยกแยะความสำคัญของงาน ไมพรอมจะยอมรับความผิด และปรับปรุงแกไขตนเองใหดีขึ้น สมควรที่จำเลยจะเลิกจางโจทกเพื่อใหโอกาสคนที่มีสมรรถภาพ และทัศนคติที่ดีกวาโจทกเขามาทำงานแทน ทั้งนี้ ไมมีกฎหมายใดบัญญัติวาการประเมินผลการ ทำงานของโจทกซึ่งเปนลูกจางทดลองงานตองปรากฏวาโจทกปฏิบัติหนาที่ผิดพลาดบกพรอง อยางไรจึงจะมีสิทธิเลิกจางโจทกได การที่จำเลยเลิกจางโจทกจึงไมถือวาเปนการเลิกจางไมเปนธรรม ที่ศาลแรงงานกลางวินิจฉัยมานั้นชอบแลว อุทธรณของโจทกขอนี้ฟงไมขึ้น สวนที่โจทกอุทธรณวานายปยะและนางสาวณัฐชาเปนพนักงานฝายบุคคลหรือฝาย HR ของบริษัทสากล เอนเนอยี จำกัด (มหาชน) ไมมีสิทธิหรืออำนาจบอกเลิกจางโจทก จำเลยไมได มีหนังสือแตงตั้งหรือมอบอำนาจใหบุคคลทั้งสองมีอำนาจหนาที่กระทำการแทนจำเลย วันที่ ๒๘ พฤศจิกายน ๒๕๖๒ เปนการบอกกลาวเลิกจางโจทกดวยวาจาจากผูไมมีอำนาจจากจำเลย ผูมี อำนาจจากจำเลยบอกกลาวการเลิกจางและจำเลยมีหนังสือเลิกจางโจทกวันที่ ๓ ธันวาคม ๒๕๖๒ แตลงวันที่ยอนหลังเปนวันที่ ๒๘ พฤศจิกายน ๒๕๖๒ จำเลยจึงตองจายสินจางแทนการ บอกกลาวลวงหนาถึงวันที่ ๓๑ มกราคม ๒๕๖๓ แกโจทกนั้น เห็นวา ศาลแรงงานกลางฟงขอเท็จจริง และวินิจฉัยวา พนักงานฝาย HR ของจำเลยแจงใหโจทกทราบวา โจทกไมผานทดลองงานและมี หนังสือเลิกจางโจทกเมื่อวันที่ ๒๘ พฤศจิกายน ๒๕๖๒ แตโจทกลงชื่อรับทราบในวันที่ ๓ ธันวาคม ๒๕๖๒ อุทธรณของโจทกดังกลาวเปนการโตเถียงดุลพินิจในการรับฟงพยานหลักฐานของศาล แรงงานกลางเพื่อนำไปสูขอกฎหมาย อันเปนอุทธรณในขอเท็จจริง ซึ่งตองหามมิใหอุทธรณตาม พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๕๔ วรรคหนึ่ง ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษไมรับวินิจฉัย ๔๒


๔๓ พิพากษายืน. ภัทรวรรณ ทรงกำพล - ยอ วัชรินทร ฤชุโรจน - ตรวจ (ดาราวรรณ ใจคำปอ - ศุภร พิชิตวงศเลิศ - กนกรดา ไกรวิชญพงศ)


คำพิพากษาศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษที่ ๘๕๘/๒๕๖๔ นายไล ชวน เช็ง โจทก บริษัทพรินซิพเทค อินเตอรเนชั่นแนล จำกัด กับพวก จำเลย ป.พ.พ. มาตรา ๕๗๗ วรรคหนึ่ง พ.ร.บ. คุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา ๑๑๙ วรรคหนึ่ง (๔) พ.ร.บ. จัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๔๙, ๕๖ วรรคสอง และวรรคสาม ตามสัญญาจางระหวางจำเลยที่ ๒ กับโจทกฉบับลงวันที่ ๒ พฤษภาคม ๒๕๔๙ มีขอความระบุตามสัญญาจาง ขอ ๕ สถานที่จางงานวา ... จำเลยที่ ๒ สงวนสิทธิที่จะโยกยาย โจทกไปยังสถานที่จางงานอื่นหรือสถานที่หรือตำแหนงงานอื่นตามที่เห็นสมควร และทาย สัญญามีขอความระบุอีกวา โจทกผูลงลายมือชื่อขางลางนี้ยืนยันวาตกลงยอมรับการแตงตั้ง ขางตนและตกลงผูกพันตามขอกำหนดและเงื่อนไขที่กลาวมานี้ ... นั้น ขอตกลงระหวาง โจทกกับจำเลยที่ ๒ ดังกลาวเปนเพียงขอตกลงที่ใหสิทธิจำเลยที่ ๒ สามารถโยกยายโจทก ไปทำงานในสถานที่ทำงานอื่นของจำเลยที่ ๒ เทานั้น มิใชมีความหมายวาจำเลยที่ ๒ มีสิทธิที่จะโยกยายโจทกไปทำงานยังประเทศมาเลเซียกับนายจางอื่นอันเปนการโอนสิทธิ ความเปนนายจางไปใหบุคคลภายนอกได ดังนั้น เมื่อจำเลยที่ ๔ ซึ่งเปนกรรมการผูมีอำนาจ ของจำเลยที่ ๒ มีคำสั่งโยกยายโจทกใหไปทำงานที่สำนักงานในประเทศมาเลเซียตามคำสั่ง ยายโจทกผานโปรแกรมวอตสแอปปทางโทรศัพทเคลื่อนที่จากจำเลยที่ ๔ กรณีจึงเปนไป ตาม ป.พ.พ. มาตรา ๕๗๗ วรรคหนึ่ง ที่บัญญัติวา “นายจางจะโอนสิทธิของตนใหแกบุคคล ภายนอกก็ไดเมื่อลูกจางยินยอมพรอมใจดวย” เมื่อไดความวาโจทกไมยินยอมและไมไป ทำงานตามคำสั่งจำเลยที่ ๔ โจทกจึงไมมีความผิดฐานขัดคำสั่งนายจางเปนกรณีรายแรง แตอยางใด การออกคำสั่งของจำเลยที่ ๔ กรรมการผูมีอำนาจของจำเลยที่ ๒ ดังกลาวเปน คำสั่งที่มิชอบดวยกฎหมาย โจทกจึงมิไดกระทำผิดระเบียบขอบังคับ แตการที่จำเลยที่ ๔ มีคำสั่งใหโจทกกลับไปทำงานที่ประเทศมาเลเซียและไมจายเงินเดือนใหแกโจทกจึงถือวา จำเลยที่ ๒ โดยจำเลยที่ ๔ ในฐานะกรรมการผูมีอำนาจเลิกจางโจทกแลว เมื่อโจทกไมได กระทำผิดฐานฝาฝนคำสั่งของนายจางอันชอบดวยกฎหมายและเปนธรรมกรณีที่รายแรง ๔๔


๔๕ ตาม พ.ร.บ. คุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา ๑๑๙ วรรคหนึ่ง (๔) จึงถือวาเปนการ เลิกจางโดยโจทกไมไดกระทำผิด จำเลยที่ ๒ ตองจายคาชดเชยและสินจางแทนการบอก กลาวลวงหนาแกโจทก และการที่จำเลยที่ ๒ เลิกจางเพราะเหตุดังกลาวเปนการเลิกจาง ที่ไมเปนธรรม จำเลยที่ ๒ ตองชดใชคาเสียหายใหแกโจทกดวย สำหรับปญหาวาโจทก มีสิทธิไดรับคาชดเชย สินจางแทนการบอกกลาวลวงหนา และคาเสียหายเพียงใดนั้น ศาลแรงงานกลางไมไดฟงขอเท็จจริงเปนยุติในเรื่องอัตราคาจางวาโจทกไดรับคาจางเปนจำนวน เทาใด วันจายคาจางคือวันใด และจายดวยวิธีใด วันที่โจทกมาทำงานใหแกจำเลยที่ ๒ จนถึงวันใดหรือวันที่ถือไดวาจำเลยที่ ๒ เลิกจางโจทกแลว รวมถึงความเสียหายตาง ๆ ที่โจทกไดรับ เพื่อจะไดคำนวณคาชดเชย สินจางแทนการบอกกลาวลวงหนา รวมถึง คาเสียหายจากการเลิกจางที่ไมเปนธรรมในกรณีตาง ๆ ตามที่โจทกฟอง ศาลอุทธรณ คดีชำนัญพิเศษไมอาจรับฟงขอเท็จจริงในสวนนี้เองไดจึงตองยอนสำนวนไปใหศาลแรงงานกลาง รับฟงขอเท็จจริงดังกลาวทั้งหมดใหเพียงพอแลววินิจฉัยความรับผิดในสวนตาง ๆ ตามที่ โจทกฟอง รวมทั้งกำหนดคาเสียหายจากการเลิกจางที่ไมเปนธรรมตาม พ.ร.บ. จัดตั้ง ศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๔๙ ตอไป โจทกฟอง ขอใหบังคับจำเลยทั้งสี่รวมกันหรือแทนกันจายเงินเดือนที่โจทกตองไดรับใน เดือนตุลาคมและพฤศจิกายน ๒๕๖๒ สินจางแทนการบอกกลาวลวงหนา คาชดเชย คาขาดรายได จากการทำงาน และคาเสียหายจากการเลิกจางที่ไมเปนธรรม รวม ๑๒,๐๑๒,๙๔๘ บาท พรอม ดอกเบี้ยอัตรารอยละ ๑๕ ตอป โดยคิดดอกเบี้ยนับแตวันที่ ๑ ธันวาคม ๒๕๖๒ อันเปนวันถัดจาก วันครบกำหนดวันจายเงินเดือนงวดเดือนพฤศจิกายนใหแกโจทกจนถึงวันฟองรวม ๔๐ วัน เปนเงิน ๑๙๗,๔๗๓ บาท รวมเปนเงิน ๑๒,๒๑๐,๔๒๑ บาท และใหชำระดอกเบี้ยอัตรารอยละ ๗.๕ ตอป ของตนเงินดังกลาวนับแตวันถัดจากวันฟองเปนตนไปจนกวาจะชำระเสร็จแกโจทก ใหจำเลยที่ ๑ และที่ ๒ รวมกันหรือแทนกันจายเงินเดือนจากการปฏิบัติหนาที่เปนกรรมการของจำเลยที่ ๑ ใน อัตราเดือนละ ๕๐,๐๐๐ บาท เปนเวลา ๙๓ เดือน เปนเงิน ๔,๖๕๐,๐๐๐ บาท พรอมดอกเบี้ยอัตรา รอยละ ๑๕ ตอป ของตนเงินดังกลาว โดยคิดดอกเบี้ยนับแตวันที่ ๑๗ กันยายน ๒๕๖๒ อันเปน วันที่โจทกพนจากการปฏิบัติหนาที่เปนกรรมการของจำเลยที่ ๑ จนถึงวันฟองรวม ๑๑๕ วัน เปนเงิน ๒๑๙,๗๖๐.๓๐ บาท รวมเปนเงิน ๔,๘๖๙,๗๖๐.๓๐ บาท และดอกเบี้ยอัตรารอยละ ๗.๕ ตอป ของตนเงิน ๔,๘๖๙,๗๖๐.๓๐ บาท นับแตวันถัดจากวันฟองเปนตนไปจนกวาจะชำระเสร็จแกโจทก


จำเลยทั้งสี่ใหการ ขอใหยกฟอง ศาลแรงงานกลาง พิพากษาใหจำเลยที่ ๒ ที่ ๓ และที่ ๔ รวมกันจายคาจางคางจาย ๒๓๕,๕๔๘ บาท พรอมดอกเบี้ยอัตรารอยละ ๑๕ ตอป นับแตวันที่ ๑ พฤศจิกายน ๒๕๖๒ เปนตนไปจนกวาจะชำระเสร็จแกโจทก โดยจำเลยที่ ๓ และที่ ๔ ไมตองรับผิดเปนการสวนตัว คำขออื่นนอกจากนี้ใหยก และใหยกฟองโจทกสำหรับจำเลยที่ ๑ โจทกอุทธรณ ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษแผนกคดีแรงงานวินิจฉัยวา ศาลแรงงานกลางฟงขอเท็จจริง วา บริษัทในเครือของบริษัทพรินซิพเทค คอรปอเรชั่น เบอรฮัด ในประเทศมาเลเซีย มีหนังสือ สงตัวโจทกมาทำงานเปนลูกจางจำเลยที่ ๒ ตามหนังสือการแตงตั้งใหโจทกเปนผูจัดการฝายสัญญา ผูชวย จำเลยที่ ๒ เปนผูจายคาจางและเงินสมทบใหแกโจทก สวนจำเลยที่ ๓ และที่ ๔ เปนกรรมการ ผูมีอำนาจกระทำการแทนจำเลยที่ ๒ ตามสัญญาจางระหวางจำเลยที่ ๒ กับโจทกฉบับลงวันที่ ๒ พฤษภาคม ๒๕๔๙ มีขอความระบุตามสัญญาจาง ขอ ๕ สถานที่จางงานวา ... จำเลยที่ ๒ สงวนสิทธิ ที่จะโยกยายโจทกไปยังสถานที่จางงานอื่นหรือสถานที่หรือตำแหนงงานอื่นตามที่เห็นสมควร และทายสัญญามีขอความระบุวา โจทกผูลงลายมือชื่อขางลางนี้ยืนยันวาตกลงยอมรับการแตงตั้ง ขางตนและตกลงผูกพันตามขอกำหนดและเงื่อนไขที่กลาวมานี้ แลววินิจฉัยวา จำเลยที่ ๔ ซึ่งเปน กรรมการผูมีอำนาจของจำเลยที่ ๒ มีคำสั่งยายโจทกไปปฏิบัติงานหรือไปทำงานยังสถานที่ทำงาน แหงใหม ซึ่งเปนคำสั่งที่ชอบดวยกฎหมาย โจทกมีหนาที่ตองปฏิบัติตามคำสั่งนั้น การที่โจทก กระทำการฝาฝนคำสั่งของนายจางไมไปทำงานยังสถานที่ทำงานแหงใหมตามที่ไดรับมอบหมาย ถือวาโจทกขัดคำสั่งโดยชอบดวยกฎหมายของจำเลยที่ ๒ ซึ่งเปนนายจาง และโจทกไมมาปฏิบัติ งานตามคำสั่งดังกลาวและขาดงานมาโดยตลอดอันเปนความผิดวินัยกรณีรายแรงตามสัญญาจาง ขอ ๑๒ เรื่องบทลงโทษทางวินัย จำเลยที่ ๒ เลิกจางโจทกไดโดยไมตองจายคาชดเชยและสินจาง แทนการบอกกลาวลวงหนา และถือไมไดวาเปนการเลิกจางที่ไมเปนธรรม เมื่อโจทกปฏิบัติงาน ใหจำเลยที่ ๒ จนถึงวันที่ ๓๑ ตุลาคม ๒๕๖๒ ซึ่งเปนวันที่โจทกไดรับคำสั่งจากจำเลยที่ ๔ กรรมการ ผูมีอำนาจของจำเลยที่ ๒ ดังกลาวและไมมาปฏิบัติงานโดยขาดงานมาโดยตลอด ดังนั้น โจทกคง มีสิทธิเรียกรองเงินเดือนเฉพาะเดือนตุลาคม ๒๕๖๒ ที่จำเลยที่ ๒ ยังมิไดชำระคาจางสวนนี้ใหแก โจทกเทานั้นเปนเงิน ๒๓๕,๕๔๘ บาท สวนจำเลยที่ ๑ มิใชเปนนายจางโจทกจึงไมจำตองรับผิด สำหรับจำเลยที่ ๓ และที่ ๔ ซึ่งเปนกรรมการผูมีอำนาจกระทำการแทนจำเลยที่ ๒ ไดกระทำไป ภายในวัตถุประสงค จำเลยที่ ๓ และที่ ๔ จึงไมตองผูกพันรับผิดเปนการสวนตัวตอโจทก สวนการ แตงตั้งใหโจทกเปนกรรมการบริษัทในเครือบริษัทจำเลยที่ ๑ มีขอความระบุในหนังสือแตงตั้ง ๔๖


ชัดเจนวา เปนหนังสือของบริษัทพรินซิพเทค คอรปอเรชั่น เบอรฮัด ซึ่งอยูที่ประเทศมาเลเซีย ลงนามโดย ดาโตะ ฟู กรรมการผูจัดการ แตงตั้งใหโจทกเปนกรรมการบริษัทในเครือบริษัทจำเลย ที่ ๑ และจะชำระเงินคาตอบแทนแกโจทกในนามของจำเลยที่ ๑ และการแตงตั้งนี้และขอกำหนด ที่เกี่ยวของทั้งหมดอยูภายใตกฎหมายมาเลเซีย หนังสือแตงตั้งโจทกดังกลาวไมไดเกี่ยวของกับ จำเลยที่ ๒ ซึ่งเปนนายจางโจทก สวนจำเลยที่ ๑ มิใชนายจางโจทก โจทกจึงไมมีสิทธิเรียกรองเงิน คาตอบแทนดังกลาวจากจำเลยที่ ๑ และที่ ๒ ที่โจทกอุทธรณวา โจทกเปนลูกจางจำเลยที่ ๑ ดวยนั้น เห็นวา ศาลแรงงานกลาง ฟงขอเท็จจริงวา ตามหนังสือการแตงตั้งใหโจทกเปนผูจัดการฝายสัญญาผูชวย ผูที่รับโจทกเขาทำงาน นั้นคือจำเลยที่ ๒ แสดงใหเห็นวาจำเลยที่ ๑ ไมใชนิติบุคคลที่ตกลงรับโจทกเขาทำงาน แมโจทก จะนำสืบวาจำเลยที่ ๑ และที่ ๒ เปนบริษัทลูกของบริษัทแมในประเทศมาเลเซียและจดทะเบียน จัดตั้งในวันเดียวกันและมีสำนักงานแหงใหญเดียวกันก็ตาม ก็หาทำใหจำเลยที่ ๑ เปนนายจาง โจทก อีกทั้งปรากฏตามหนังสือการสงเงินสมทบวาจำเลยที่ ๒ เปนนายจางโจทกผูจายคาจางและ เงินสมทบ หาใชจำเลยที่ ๑ ไม และจากขอเท็จจริงก็ไมปรากฏวาโจทกกับจำเลยที่ ๑ มีนิติสัมพันธ เปนนายจางลูกจางตามสัญญาจางแรงงาน จำเลยที่ ๑ ไมใชนายจางโจทก อุทธรณของโจทกจึง เปนอุทธรณโตเถียงขอเท็จจริงที่ศาลแรงงานกลางรับฟงมาดังกลาวขางตนเพื่อใหศาลอุทธรณคดี ชำนัญพิเศษรับฟงขอเท็จจริงใหมใหเปนไปตามที่โจทกอุทธรณ จึงเปนอุทธรณโตแยงดุลพินิจใน การรับฟงพยานหลักฐานของศาลแรงงานกลางเพื่อนำไปสูขอกฎหมายวาโจทกเปนลูกจางจำเลย ที่ ๑ หรือไม อันเปนอุทธรณในขอเท็จจริง ซึ่งตองหามมิใหอุทธรณตามพระราชบัญญัติจัดตั้ง ศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๕๔ วรรคหนึ่ง สวนที่โจทกอุทธรณ ตอไปวา โจทกมีสิทธิไดรับเงินจากจำเลยที่ ๑ และที่ ๒ กรณีที่บริษัทแมในประเทศมาเลเซียแตงตั้ง โจทกใหเปนกรรมการผูมีอำนาจของจำเลยที่ ๑ และจะจายเงินใหในนามของจำเลยที่ ๑ เดือนละ ๕๐,๐๐๐ บาท นั้น เมื่อศาลแรงงานกลางฟงขอเท็จจริงวา หนังสือแตงตั้งใหโจทกเปนกรรมการ บริษัทในเครือบริษัทจำเลยที่ ๑ มีขอความระบุชัดเจนวา เปนหนังสือของบริษัทพรินซิพเทค คอรปอเรชั่น เบอรฮัด ซึ่งอยูที่ประเทศมาเลเซีย ลงนามโดย ดาโตะ ฟู กรรมการผูจัดการ แตงตั้ง ใหโจทกเปนกรรมการบริษัทในเครือบริษัทจำเลยที่ ๑ และจะชำระเงินคาตอบแทนแกโจทกในนาม ของจำเลยที่ ๑ และการแตงตั้งนี้และขอกำหนดที่เกี่ยวของทั้งหมดอยูภายใตกฎหมายมาเลเซีย จะเห็นไดวา หนังสือแตงตั้งโจทกดังกลาวไมไดเกี่ยวของกับจำเลยที่ ๒ ซึ่งเปนนายจางโจทก สวนจำเลยที่ ๑ มิใชนายจางโจทก โจทกจึงไมมีสิทธิเรียกรองเงินคาตอบแทนดังกลาวจากจำเลย ที่ ๑ และที่ ๒ อุทธรณของโจทกในสวนนี้เปนการโตแยงดุลพินิจในการรับฟงพยานหลักฐานของ ๔๗


ศาลแรงงานกลาง อันเปนอุทธรณในขอเท็จจริง ซึ่งตองหามมิใหอุทธรณตามพระราชบัญญัติ จัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๕๔ วรรคหนึ่ง เชนเดียวกัน ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษไมรับวินิจฉัย มีปญหาตองวินิจฉัยตามอุทธรณของโจทกวา โจทกกระทำผิดวินัยกรณีรายแรงฐานฝาฝน คำสั่งอันชอบดวยกฎหมายของนายจางอันเปนการฝาฝนระเบียบขอบังคับของจำเลยที่ ๒ หรือไม เห็นวา ตามสัญญาจางระหวางจำเลยที่ ๒ กับโจทกฉบับลงวันที่ ๒ พฤษภาคม ๒๕๔๙ มีขอความ ระบุตามสัญญาจาง ขอ ๕ สถานที่จางงานวา ... จำเลยที่ ๒ สงวนสิทธิที่จะโยกยายโจทกไปยัง สถานที่จางงานอื่นหรือสถานที่หรือตำแหนงงานอื่นตามที่เห็นสมควร และทายสัญญามีขอความ ระบุอีกวา โจทกผูลงลายมือชื่อขางลางนี้ยืนยันวาตกลงยอมรับการแตงตั้งขางตนและตกลงผูกพัน ตามขอกำหนดและเงื่อนไขที่กลาวมานี้ ... นั้น ขอตกลงระหวางโจทกกับจำเลยที่ ๒ ดังกลาวเปน เพียงขอตกลงที่ใหสิทธิจำเลยที่ ๒ สามารถโยกยายโจทกไปทำงานในสถานที่ทำงานอื่นของจำเลย ที่ ๒ เทานั้น มิใชมีความหมายวาจำเลยที่ ๒ มีสิทธิที่จะโยกยายโจทกไปทำงานยังประเทศมาเลเซีย กับนายจางอื่นอันเปนการโอนสิทธิความเปนนายจางไปใหบุคคลภายนอกได ดังนั้น เมื่อจำเลย ที่ ๔ ซึ่งเปนกรรมการผูมีอำนาจของจำเลยที่ ๒ มีคำสั่งโยกยายโจทกใหไปทำงานที่สำนักงานใน ประเทศมาเลเซียตามคำสั่งยายโจทกผานโปรแกรมวอตสแอปปทางโทรศัพทเคลื่อนที่จากจำเลย ที่ ๔ กรณีจึงเปนไปตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา ๕๗๗ วรรคหนึ่ง ที่บัญญัติวา “นายจางจะโอนสิทธิของตนใหแกบุคคลภายนอกก็ไดเมื่อลูกจางยินยอมพรอมใจดวย” เมื่อได ความวาโจทกไมยินยอมและไมไปทำงานตามคำสั่งจำเลยที่ ๔ โจทกจึงไมมีความผิดฐานขัดคำสั่ง นายจางเปนกรณีรายแรงแตอยางใด การออกคำสั่งของจำเลยที่ ๔ กรรมการผูมีอำนาจของจำเลย ที่ ๒ ดังกลาวเปนคำสั่งที่มิชอบดวยกฎหมาย โจทกจึงมิไดกระทำผิดระเบียบขอบังคับ แตการที่ จำเลยที่ ๔ มีคำสั่งใหโจทกกลับไปทำงานที่ประเทศมาเลเซียและไมจายเงินเดือนใหแกโจทกจึง ถือวาจำเลยที่ ๒ โดยจำเลยที่ ๔ ในฐานะกรรมการผูมีอำนาจเลิกจางโจทกแลว ที่ศาลแรงงานกลาง วินิจฉัยวาโจทกขัดคำสั่งโดยชอบดวยกฎหมายของจำเลยที่ ๔ ในฐานะกรรมการผูมีอำนาจของ จำเลยที่ ๒ นายจาง และโจทกไมมาปฏิบัติงานตามคำสั่งดังกลาวและขาดงานมาโดยตลอดอันเปน ความผิดวินัยกรณีรายแรงตามสัญญาจาง จำเลยที่ ๒ เลิกจางโจทกไดโดยไมตองจายคาชดเชย และสินจางแทนการบอกกลาวลวงหนา และถือไมไดวาเปนการเลิกจางที่ไมเปนธรรมนั้น ศาล อุทธรณคดีชำนัญพิเศษไมเห็นพองดวย อุทธรณของโจทกในขอนี้ฟงขึ้น เมื่อไดวินิจฉัยแลววา โจทกไมไดกระทำผิดฐานฝาฝนคำสั่งของนายจางอันชอบดวยกฎหมายและเปนธรรมกรณีที่รายแรง ตามพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา ๑๑๙ วรรคหนึ่ง (๔) จึงถือวาเปนการ ๔๘


๔๙ เลิกจางโดยโจทกไมไดกระทำผิด จำเลยที่ ๒ จึงตองจายคาชดเชยและสินจางแทนการบอกกลาว ลวงหนาแกโจทก และการที่จำเลยที่ ๒ เลิกจางเพราะเหตุดังกลาวเปนการเลิกจางที่ไมเปนธรรม จำเลยที่ ๒ ตองชดใชคาเสียหายใหแกโจทกดวย สำหรับปญหาวาโจทกมีสิทธิไดรับคาชดเชย สินจางแทนการบอกกลาวลวงหนา และคาเสียหายเพียงใดนั้น เห็นวา ศาลแรงงานกลางไมไดฟง ขอเท็จจริงเปนยุติในเรื่องอัตราคาจางวาโจทกไดรับคาจางเปนจำนวนเทาใด วันจายคาจางคือวันใด และจายดวยวิธีใด วันที่โจทกมาทำงานใหแกจำเลยที่ ๒ จนถึงวันใดหรือวันที่ถือไดวาจำเลยที่ ๒ เลิกจางโจทกแลว รวมถึงความเสียหายตาง ๆ ที่โจทกไดรับ เพื่อจะไดคำนวณคาชดเชย สินจาง แทนการบอกกลาวลวงหนา รวมถึงคาเสียหายจากการเลิกจางที่ไมเปนธรรมในกรณีตาง ๆ ตาม ที่โจทกฟอง ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษไมอาจรับฟงขอเท็จจริงในสวนนี้เองไดจึงตองยอนสำนวน ไปใหศาลแรงงานกลางรับฟงขอเท็จจริงดังกลาวทั้งหมดใหเพียงพอแลววินิจฉัยความรับผิดในสวน ตาง ๆ ตามที่โจทกฟอง รวมทั้งกำหนดคาเสียหายจากการเลิกจางที่ไมเปนธรรมตามพระราชบัญญัติ จัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๔๙ ตอไป พิพากษาแกเปนวา ใหยกคำพิพากษาของศาลแรงงานกลางในสวนที่พิพากษาวาโจทก ขัดคำสั่งโดยชอบดวยกฎหมายของจำเลยที่ ๔ ในฐานะกรรมการผูมีอำนาจของจำเลยที่ ๒ นายจาง และโจทกไมมาปฏิบัติงานตามคำสั่งดังกลาวและขาดงานมาโดยตลอดอันเปนความผิดวินัยกรณี รายแรงตามสัญญาจาง จำเลยที่ ๒ เลิกจางโจทกไดโดยไมตองจายคาชดเชยและสินจางแทนการ บอกกลาวลวงหนา และถือไมไดวาเปนการเลิกจางที่ไมเปนธรรม รวมทั้งคาจางคางจายของเดือน ตุลาคม ๒๕๖๒ ใหยอนสำนวนไปใหศาลแรงงานกลางรับฟงขอเท็จจริงดังกลาวใหเพียงพอแกการ วินิจฉัยแลวพิพากษาใหมตามรูปคดีตอไป ตามพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณา คดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๕๖ วรรคสอง และวรรคสาม นอกจากที่แกใหเปนไปตาม คำพิพากษาศาลแรงงานกลาง. อิศเรศ ปราโมช ณ อยุธยา - ยอ สุโรจน จันทรพิทักษ - ตรวจ (สมเกียรติ เมาลานนท - สุรพงษ ชิดเชื้อ - นงนภา จันทรศักดิ์ ลิ่มไพบูลย)


คำพิพากษาศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษที่ ๑๑๗๘/๒๕๖๔ นางรุงรวี จรูญรัตน โจทก บริษัทสายการบินคูเวต สาขาประเทศไทย จำกัด จำเลย ป.วิ.พ. มาตรา ๑๐๔ พ.ร.บ. จัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๓๑, ๔๕ วรรคสอง, ๔๙ ธุรกิจของจําเลยเปนธุรกิจสายการบิน ตารางการทํางานของพนักงานที่ปฏิบัติ หนาที่อยูที่ทาอากาศยานตาง ๆ ยอมแตกตางจากพนักงานที่ประจําอยูที่อื่น ตามขอบังคับ เกี่ยวกับการทํางานที่กําหนดชั่วโมงการทํางานวา ข. งานภายในสํานักงานที่ทาอากาศยาน กรุงเทพฯ วันทํางานคือ วันจันทร ถึง วันเสาร ค. งานในฝายชาง ฝายการโดยสาร ฝายขนสง สินคา ฝายสํารองที่นั่ง เวลาทํางานตามความเหมาะสมของเที่ยวบิน และ ฉ. ตองมีการ หมุนเวียนตารางการทํางานตามความจําเปน เมื่องานของโจทกเปนงานซึ่งกําหนดชั่วโมง การทํางานและวันหยุดไวในขอ ข. และ ค. แมจําเลยมีคําสั่งใหโจทกทํางานตั้งแตวันจันทร ถึงวันศุกร ไมตองมาทํางานในวันเสาร ก็ยังถือไมไดวาจําเลยมีเจตนาเปลี่ยนแปลง สภาพการจางโดยใหวันเสารเปนวันหยุดประจําสัปดาหเพิ่มขึ้นอีก ๑ วัน โจทกยอมไมมีสิทธิ ไดรับคาทํางานในวันหยุด พ.ร.บ. จัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๔๕ วรรคสอง บัญญัติวา ในการสืบพยานไมวาจะเปนพยานที่คูความฝายใดอางหรือที่ศาล แรงงานเรียกมาเองใหศาลแรงงานเปนผูซักถามพยาน ตัวความหรือทนายความจะซักถาม พยานไดตอเมื่อไดรับอนุญาตจากศาลแรงงาน ตามบทบัญญัติดังกลาวกําหนดใหศาล แรงงานเทานั้นเปนผูซักถามพยานของฝายโจทกหรือจําเลย หรือที่ศาลแรงงานเรียกมาเอง ฝายโจทกหรือจําเลยไมมีสิทธิซักถาม เวนแตศาลแรงงานจะอนุญาตเทานั้น หากศาล แรงงานไมอนุญาตแลว ฝายโจทกหรือจําเลยจะซักถามพยานที่ตนอางมาหรือพยานที่อีก ฝายหนึ่งอางมาไมได ประกอบกับ ป.วิ.พ. มาตรา ๑๐๔ บัญญัติใหศาลมีอํานาจในอันที่จะ วินิจฉัยวาพยานหลักฐานที่คูความนํามาสืบนั้นจะเกี่ยวกับประเด็นและเปนอันเพียงพอ ใหเชื่อฟงเปนยุติไดหรือไม แลวพิพากษาไปตามนั้น ซึ่งนํามาอนุโลมใชกับคดีแรงงานดวย ตาม พ.ร.บ. จัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๓๑ เมื่อ ศาลแรงงานภาค ๑ พิจารณาแลวไมอนุญาตใหจําเลยซักถามพยานเพิ่มเติม ถือไดวา ๕๐


๕๑ ศาลแรงงานภาค ๑ ใชดุลพินิจพิเคราะหพยานหลักฐานในการรับฟงขอเท็จจริงที่ชอบดวย กฎหมายแลว การที่นายจางเลิกจางลูกจางจะเปนการเลิกจางที่ไมเปนธรรมตาม พ.ร.บ. จัดตั้ง ศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๔๙ หรือไมนั้น ตองพิจารณา ถึงสาเหตุของการเลิกจางเปนสําคัญ กลาวคือนายจางมีเหตุจําเปนหรือเหตุอันสมควร ถึงกับตองเลิกจางลูกจางหรือไม ซึ่งเหตุดังกลาวอาจเปนเหตุตามที่ระบุไวในหนังสือเลิกจาง หรือเหตุอื่นที่จําเลยยกขึ้นอางในภายหลังเพื่อเปนขอตอสูในเรื่องการเลิกจางที่ไมเปนธรรมได จําเลยประกอบธุรกิจสายการบินซึ่งเปนธุรกิจบริการที่มีคูแขงขันหลายรายทั่วโลก การใหผูโดยสารเชื่อมั่นในความปลอดภัยและความสะดวกรวดเร็วในการใชบริการขึ้นอยู กับการรักษาเวลา มาตรฐานและคุณภาพในการใหบริการของจําเลย การบริหารจัดการ ภายในองคกรจึงเปนสิ่งสําคัญยิ่งโดยสวนสําคัญคือ พนักงานที่ทําหนาที่ติดตอโดยตรงกับ ผูโดยสารตองมีประสิทธิภาพและรวมมือกันเปนทีม ดังปรากฏในขอบังคับเกี่ยวกับการ ทำงานบทที่ ๗ และบทที่ ๙ ระเบียบวินัย เมื่อเหตุที่จําเลยเลิกจางโจทกเปนเพราะโจทก ละทิ้งหนาที่ ปฏิบัติหนาที่บกพรอง และมีทัศนคติตอจําเลยผูเปนนายจางและผูรวมงาน ในเชิงลบ แมในระหวางทํางานจําเลยก็ยังตองแสวงหาหลักฐานไวปกปองตนเองยอมเกิด ความขัดของในการบริหารจัดการของจําเลย การดําเนินกิจการและการบริการของจําเลย อาจขาดประสิทธิภาพหรือทําใหจําเลยไดรับความเสียหายไดเปนเหตุใหจําเลยไมไววางใจ และขาดความเชื่อถือในการทํางานของโจทก จําเลยจึงมีเหตุผลอันสมควรและเพียงพอ ที่จะเลิกจางโจทกได มิใชการเลิกจางที่ไมเปนธรรม โจทกฟองและแกไขคำฟอง ขอใหบังคับจำเลยรับโจทกกลับเขาทำงานตอไปในอัตรา คาจางที่ไดรับขณะที่เลิกจางโดยนับอายุงานตอเนื่อง ใหจำเลยจายคาเสียหายจากการเลิกจางที่ ไมเปนธรรม ๓,๐๗๘,๒๗๒ บาท สินจางแทนการบอกกลาวลวงหนา ๘,๔๒๔ บาท และคาทำงาน ในวันหยุด ๘๔,๒๔๐ บาท พรอมดอกเบี้ยอัตรารอยละ ๑๕ ตอปของตนเงินแตละจำนวนนับแต วันเลิกจางเปนตนไปจนกวาจะชำระเสร็จแกโจทก จำเลยใหการและแกไขคำใหการ ขอใหยกฟอง ศาลแรงงานภาค ๑ พิพากษาใหจำเลยรับโจทกกลับเขาทำงานในตำแหนงเดิมหรือ ตำแหนงไมต่ำกวาเดิมในอัตราคาจางที่ไดรับไมนอยกวาขณะเลิกจางและใหนับอายุงานตอเนื่อง


และใหจำเลยใชคาเสียหายแกโจทกเดือนละ ๕๐,๕๔๔ บาท นับแตวันเลิกจาง (วันที่ ๒๘ ธันวาคม ๒๖๕๒) (ที่ถูก วันที่ ๒๘ ธันวาคม ๒๕๖๒) เปนตนไปจนกวาจำเลยจะรับโจทกกลับเขาทำงาน คำขออื่นนอกจากนี้ใหยก โจทกและจำเลยอุทธรณ ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษแผนกคดีแรงงานวินิจฉัยวา ศาลแรงงานภาค ๑ ฟงขอ เท็จจริงวา เมื่อวันที่ ๑๖ กันยายน ๒๕๔๕ โจทกเขาทำงานกับจำเลยตำแหนงพนักงานตอนรับ ภาคพื้นดิน ฝายการโดยสาร เริ่มทำงานที่สายการบินคูเวตประจำทาอากาศยานกรุงเทพ (ดอนเมือง) ตอมาป ๒๕๔๙ โจทกปฏิบัติหนาที่ที่สายการบินคูเวตประจำทาอากาศยานสุวรรณภูมิ จังหวัด สมุทรปราการ ไดรับคาจางอัตราสุดทายเดือนละ ๕๐,๕๔๔ บาท กำหนดจายคาจางทุกวันที่ ๒๕ ของเดือน จำเลยมีขอบังคับเกี่ยวกับการทำงานตามขอบังคับเกี่ยวกับการทำงานสายการบินคูเวต สาขาประเทศไทย ซึ่งกำหนดชั่วโมงการทำงานและวันหยุดในบทที่ ๒ ชั่วโมงการทำงานและ วันหยุด ขอ ๑ ก. ข. และ ค. วา สำหรับงานภายในสำนักงานที่ทาอากาศยานกรุงเทพฯ วันทำงาน วันจันทรถึงวันเสาร เวลาทำงานระหวางเวลา ๘ นาิกา ถึง ๑๗ นาิกา เวลาพักระหวางเวลา ๑๒ นาิกา ถึง ๑๓ นาิกา งานของโจทกเปนงานซึ่งกำหนดชั่วโมงการทำงานและวันหยุดใน ขอ ข. และ ค. ตอมาวันที่ ๒๗ ธันวาคม ๒๕๖๒ จำเลยเลิกจางโจทกโดยไมบอกกลาวลวงหนา ใหมีผลตั้งแตวันที่ ๒๘ ธันวาคม ๒๕๖๒ ตามหนังสือเลิกจางพรอมคำแปล กอนการเลิกจางจำเลย มีหนังสือเตือนโจทก กรณีโจทกละทิ้งหนาที่ในวันที่ ๑๑ กุมภาพันธ ๒๕๖๒ ซึ่งโจทกรับมอบหมาย ใหปฏิบัติงานในชวงเวลา ๖ นาิกา ถึง ๑๔ นาิกา แตไมไดมาปฏิบัติหนาที่ในชวงเวลาดังกลาว โดยไมแจงหัวหนากะทราบลวงหนา ตามหนังสือเตือนฉบับลงวันที่ ๑๒ มีนาคม ๒๕๖๒ พรอม คำแปล กรณีโจทกละเลยไมเก็บคาน้ำหนักสวนเกินของกระเปาสัมภาระผูโดยสารซึ่งโจทกไมมี อำนาจและไมมีสิทธิที่จะทำได ตามหนังสือเตือนการละเวนสัมภาระสวนเกินโดยไมไดรับอนุญาต ฉบับลงวันที่ ๕ กันยายน ๒๕๖๒ พรอมคําแปล และกรณีโจทกไมปฏิบัติตามบันทึกภายในที่มอบ ใหกับเจาหนาที่ในวันที่ ๑๔ พฤศจิกายน ๒๕๕๙ ไมเปนไปตามกฎและขอบังคับที่บริษัทกำหนด ตามหนังสือเตือนฉบับลงวันที่ ๑๐ ธันวาคม ๒๕๕๙ พรอมคำแปล แลววินิจฉัยวา ที่โจทกขาดงาน ละทิ้งหนาที่ในวันที่ ๑๑ กุมภาพันธ ๒๕๖๒ โดยอางวามาทำงานผิดกะ หรือการกระทำความผิด ดังกลาวจำเลยไมไดพิจารณาลงโทษลูกจางรายอื่นนั้น โจทกไมอาจยกเหตุดังกลาวขึ้นอางเพื่อปด ความผิดของตนได การที่จำเลยมีหนังสือเตือนฉบับลงวันที่ ๑๒ มีนาคม ๒๕๖๒ จึงชอบแลว และ กรณีที่จำเลยมีหนังสือเตือนโจทกที่ละเวนสัมภาระสวนเกินโดยไมไดรับอนุญาตในวันที่ ๒๙ สิงหาคม ๒๕๖๒ พยานหลักฐานของโจทกนาเชื่อวาโจทกละเวนไมเก็บคาสัมภาระของผูโดยสารรายดังกลาว ๕๒


เพิ่มเติมจริง โดยโจทกไมมีสิทธิหรือไมมีสิทธิใหลดคาน้ำหนักสัมภาระเกิน หนังสือเตือนฉบับ ลงวันที่ ๕ กันยายน ๒๕๖๒ จึงชอบแลวเชนกัน แตการกระทำผิดของโจทกดังกลาวยังไมพอรับฟง ไดวาจะสงผลตอเนื่องไปถึงความเสียหายในระดับที่รุนแรงดังที่จำเลยอาง การที่จำเลยเลิกจาง โจทกจะเปนไปโดยมีเหตุอันสมควรหรือเพียงพอหรือไม ตองรับฟงประกอบเหตุอื่น ๆ ตอไปดวย สำหรับกรณีที่โจทกเช็คอินผูโดยสารผิดเที่ยวบินเมื่อวันที่ ๓๐ พฤศจิกายน ๒๕๖๒ นั้นจำเลยรับวา สวนหนึ่งเปนเพราะความผิดของแผนกออกตั๋วโดยสารที่ไมทำการแกไขขอมูลในระบบคอมพิวเตอร กรณีจึงจะกลาวโทษวาเปนความผิดของโจทกฝายเดียวที่ทำงานบกพรองไมใชความระมัดระวัง หากพบขอมูลตั๋วโดยสารไมตรงกันไมได อีกทั้งยังไมปรากฏวาจำเลยพิจารณาดำเนินการลงโทษ ทางวินัยโจทกในการกระทำผิดภายในระยะเวลาที่เหมาะสม ตามพฤติการณถือไดวาจำเลยไมติดใจ ลงโทษโจทกแลว จำเลยจึงจะยกเหตุดังกลาวขึ้นลงโทษหรือเลิกจางโจทกอีกไมได นอกจากนี้ การที่โจทกลาปวยในป ๒๕๖๑ เปนเวลา ๒๓ วัน และในป ๒๕๖๒ เปนเวลา ๓๑ วัน โดยไดรับอนุญาต จากจำเลยจึงเปนไปตามสิทธิ อาการเจ็บปวยของโจทกไมไดเกิดจากโรคที่รุนแรงถึงขั้นไมมีทาง รักษาใหหายขาดได โจทกจึงไมไดมีปญหาเกี่ยวกับสุขภาพจนสงผลตอการทำงานและการที่โจทก ฟองจำเลยเปนคดีแรงงานเปนการใชสิทธิฟองคดีโดยเขาใจโดยสุจริตโจทกไมไดรับการปฏิบัติที่ เปนธรรมถูกกลั่นแกลงในการปฏิบัติงานและจำเลยยังไมดำเนินการเลื่อนขั้นเลื่อนตำแหนงและ ไมปรับคาตอบแทนใหแกโจทก การกระทำของโจทกยังถือไมไดวาเปนการจงใจทำใหจำเลยไดรับ ความเสียหายหรือกระทำการเปนปฏิปกษตอนายจาง การที่จำเลยเลิกจางโจทกจึงเปนการเลิกจาง ที่ยังไมมีเหตุสมควรหรือเพียงพอเปนการเลิกจางที่ไมเปนธรรม เมื่อโจทกประสงคจะทำงานกับ จำเลยตอไปโดยโจทกและจำเลยยังสามารถทำงานรวมกันได จำเลยจึงตองรับโจทกกลับเขาทำงาน ในตำแหนงหนาที่เดิมหรือตำแหนงหนาที่ไมต่ำกวาเดิมในอัตราคาจางที่ไดรับไมนอยกวาขณะที่ เลิกจางและใหนับอายุงานตอเนื่อง และใหจำเลยชดใชคาเสียหายใหโจทกอีกสวนหนึ่งจนกวาจำเลย จะรับโจทกกลับเขาทำงาน และเมื่อศาลวินิจฉัยใหจำเลยรับโจทกกลับเขาทำงานในตำแหนงหนาที่ เดิมหรือตำแหนงหนาที่ไมต่ำกวาเดิมแลว จึงถือเสมือนวาไมเคยมีการเลิกจาง โจทกจึงมีหนาที่ ตองคืนคาชดเชยและสินจางแทนการบอกกลาวลวงหนาแกจำเลย สวนที่โจทกฟองเรียกคาทำงาน ในวันหยุดอีก ๘๔,๒๔๐ บาทนั้น เมื่อขอเท็จจริงฟงไดวาจำเลยมีขอบังคับเกี่ยวกับการทำงาน สายการบินคูเวตสาขาประเทศไทย โดยขอบังคับดังกลาวกำหนดชั่วโมงการทำงานและวันหยุด ไวในบทที่ ๒ ชั่วโมงการทำงานและวันหยุด ขอ ๑ ก. ข. และ ค. วา สำหรับงานภายในสำนักงาน ที่ทาอากาศยานกรุงเทพฯ วันทำงานวันจันทรถึงวันเสาร เวลาทำงานระหวางเวลา ๘ นาิกา ถึง ๑๗ นาิกา เวลาพักระหวางเวลา ๑๒ นาิกา ถึง ๑๓ นาิกา และงานของโจทกเปนงานซึ่ง ๕๓


กำหนดชั่วโมงการทำงานและวันหยุดในขอ ข. และ ค. แมเดิมจำเลยจะมีคำสั่งใหโจทกไมตอง มาทำงานในวันเสารก็เปนอำนาจบริหารจัดการของนายจางที่สามารถกระทำได ไมถือวาจำเลย เปลี่ยนแปลงสภาพการจางโดยใหวันเสารเปนวันหยุดเพิ่มอีก ๑ วัน การที่จำเลยกำหนดใหโจทก มาปฏิบัติงานในทุกวันเสารตั้งแตวันที่ ๑ กรกฎาคม ๒๕๖๒ จนถึงวันเลิกจาง จึงเปนการสั่ง ใหโจทกปฏิบัติงานในวันทำงานตามปกติตามระเบียบขอบังคับเกี่ยวกับการทำงาน ไมเปนการ เปลี่ยนแปลงสภาพการจาง โจทกจึงไมมีสิทธิไดรับคาทำงานในวันหยุดพรอมดอกเบี้ยตามฟอง คดีมีปญหาตองวินิจฉัยตามอุทธรณของโจทกวา จำเลยตองจายคาทำงานในวันหยุด พรอมดอกเบี้ยแกโจทกหรือไม เพียงใด เห็นวา ธุรกิจของจำเลยเปนธุรกิจสายการบิน ตารางการ ทำงานของพนักงานที่ปฏิบัติหนาที่อยูที่ทาอากาศยานตาง ๆ ยอมแตกตางจากพนักงานที่ประจำ อยูที่อื่น ดังปรากฏตามขอบังคับเกี่ยวกับการทำงานที่กำหนดชั่วโมงการทำงานวา ก. สำหรับงาน ภายในสำนักงานธุรกิจในเมือง คือ วันจันทร ถึง วันศุกร เปนวันทำงาน ข. งานภายในสำนักงาน ที่ทาอากาศยานกรุงเทพฯ วันทำงานคือ วันจันทร ถึง วันเสาร ค. งานในฝายชาง ฝายการโดยสาร ฝายขนสงสินคา ฝายสำรองที่นั่ง เวลาทำงานตามความเหมาะสมของเที่ยวบิน และ ฉ. ตองมีการ หมุนเวียนตารางการทำงานตามความจำเปน กลาวคือ จำเลยสามารถปรับเปลี่ยนไดตามเหตุการณ หรือความตองการของผูโดยสาร หากอยูในขอบเขตของขอบังคับเกี่ยวกับการทำงานอันถือไดวา เปนการใชอำนาจในการบริหารจัดการตามปกติ ซึ่งจำเลยยอมมีอำนาจกระทำไดตามที่เห็นสมควร เพื่อผลประโยชนของจำเลย เมื่องานของโจทกเปนงานซึ่งกำหนดชั่วโมงการทำงานและวันหยุด ไวในขอ ข. และ ค. แมจำเลยมีคำสั่งใหโจทกทำงานตั้งแตวันจันทรถึงวันศุกร ไมตองมาทำงาน ในวันเสาร ตั้งแตโจทกทำงานอยูที่ทาอากาศยานดอนเมืองก็ยังถือไมไดวาจำเลยมีเจตนาเปลี่ยน แปลงสภาพการจางโดยใหวันเสารเปนวันหยุดประจำสัปดาหเพิ่มขึ้นอีก ๑ วัน ฉะนั้นการที่จำเลย ใหพนักงานที่ปฏิบัติงานที่สำนักงานทาอากาศยานกรุงเทพฯ รวมถึงโจทกมาปฏิบัติงานในวันเสาร จึงเปนการออกคำสั่งใหพนักงานปฏิบัติงานในวันทำงานตามปกติ ซึ่งพนักงานประจำทาอากาศยาน กรุงเทพฯ ทุกคนจะตองปฏิบัติตามอยูแลวตามที่กำหนดไวในขอบังคับเกี่ยวกับการทำงานของ จำเลย กรณีจึงไมเปนการเปลี่ยนแปลงสภาพการจางตามที่โจทกอุทธรณแตอยางใด การที่จำเลย กำหนดใหโจทกมาทำงานในทุกวันเสารตั้งแตวันที่ ๑ กรกฎาคม ๒๕๖๒ จนถึงวันที่ถูกเลิกจาง จึงเปนการทำงานในวันทำงานตามปกติ โจทกยอมไมมีสิทธิไดรับคาทำงานในวันหยุด ที่ศาล แรงงานภาค ๑ วินิจฉัยปญหาดังกลาวมานั้นชอบแลว อุทธรณของโจทกขอนี้ฟงไมขึ้น คดีมีปญหาตองวินิจฉัยตามอุทธรณของจำเลยประการแรกวา การที่ศาลแรงงานภาค ๑ มีคำสั่งไมอนุญาตใหจำเลยซักถามพยานเพิ่มเติม เปนคำสั่งที่ไมชอบดวยพระราชบัญญัติจัดตั้ง ๕๔


ศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ และประมวลกฎหมายวิธีพิจารณา ความแพงหรือไม เห็นวา พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๔๕ วรรคสอง บัญญัติวา ในการสืบพยานไมวาจะเปนพยานที่คูความฝายใดอางหรือที่ ศาลแรงงานเรียกมาเองใหศาลแรงงานเปนผูซักถามพยาน ตัวความหรือทนายความจะซักถาม พยานไดตอเมื่อไดรับอนุญาตจากศาลแรงงาน ตามบทบัญญัติดังกลาวกำหนดใหศาลแรงงาน เทานั้นเปนผูซักถามพยานของฝายโจทกหรือของฝายจำเลย หรือที่ศาลแรงงานเรียกมาเอง ฝาย โจทกหรือจำเลยไมมีสิทธิซักถาม เวนแตศาลแรงงานจะอนุญาตเทานั้น หากศาลแรงงานไมอนุญาต แลวฝายโจทกหรือจำเลยจะซักถามพยานที่ตนอางมาหรือพยานที่อีกฝายหนึ่งอางมาไมได ประกอบ กับประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพง มาตรา ๑๐๔ บัญญัติใหศาลมีอำนาจในอันที่จะวินิจฉัย วาพยานหลักฐานที่คูความนำมาสืบนั้นจะเกี่ยวกับประเด็นและเปนอันเพียงพอใหเชื่อฟงเปนยุติ ไดหรือไม แลวพิพากษาไปตามนั้น ซึ่งนำมาอนุโลมใชกับคดีแรงงานดวยตามพระราชบัญญัติ จัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๓๑ เมื่อศาลแรงงานภาค ๑ พิจารณาแลวไมอนุญาตใหจำเลยซักถามพยานเพิ่มเติม ถือไดวาศาลแรงงานภาค ๑ ใชดุลพินิจ พิเคราะหพยานหลักฐานในการรับฟงขอเท็จจริงที่ชอบดวยกฎหมายแลว คำสั่งของศาลแรงงาน ภาค ๑ ดังกลาวจึงไมขัดตอพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ และประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพงแตอยางใด อุทธรณของจำเลยขอนี้ฟงไมขึ้น คดีมีปญหาตองวินิจฉัยตามอุทธรณของจำเลยประการตอไปวา การที่จำเลยเลิกจาง โจทกเปนการเลิกจางที่ไมเปนธรรมหรือไม เห็นวา การที่นายจางเลิกจางลูกจางจะเปนการเลิกจาง ที่ไมเปนธรรมตามพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๔๙ หรือไมนั้น ตองพิจารณาถึงสาเหตุของการเลิกจางเปนสำคัญ กลาวคือนายจางมีเหตุ จำเปนหรือเหตุอันสมควรถึงกับตองเลิกจางลูกจางหรือไม ซึ่งเหตุดังกลาวอาจเปนเหตุตามที่ระบุ ไวในหนังสือเลิกจางหรือเหตุอื่นที่จำเลยยกขึ้นอางในภายหลังเพื่อเปนขอตอสูในเรื่องการเลิกจาง ที่ไมเปนธรรมได คดีนี้ศาลแรงงานภาค ๑ รับฟงขอเท็จจริงถึงเหตุเลิกจางตามหนังสือเลิกจาง โจทกวา นอกจากโจทกใชสิทธิลาปวยเต็มตามสิทธิแลวโจทกละทิ้งหนาที่ในวันที่ ๑๑ กุมภาพันธ ๒๕๖๒ และในการปฏิบัติหนาที่เมื่อวันที่ ๒๙ สิงหาคม ๒๕๖๒ โจทกละเลยที่จะเก็บคาน้ำหนัก เกินกระเปาสัมภาระของผูโดยสารซึ่งโจทกไมมีอำนาจและสิทธิที่จะทำเชนนั้นได สวนการเช็คอิน ผูโดยสารผิดเที่ยวบินเมื่อวันที่ ๓๐ พฤศจิกายน ๒๕๖๒ ไมใชความผิดของโจทกฝายเดียวที่ทำงาน บกพรองไมใชความระมัดระวังหากพบขอมูลตั๋วโดยสารไมตรงกัน สวนสาเหตุอื่นที่จำเลยยกขึ้น อางเปนเหตุเลิกจางและนำสืบตอสูคือ โจทกทำงานไมมีประสิทธิภาพทำเกินอำนาจหนาที่ที่เช็คอิน ๕๕


ลวงหนาใหผูโดยสารที่มาสายจากการตอเครื่องบินจากสายการบินอื่นและไมแจงหัวหนางานนำ ไปสูการการเลื่อนชั้นที่นั่งผูโดยสาร เปดเคานเตอรเช็คอินลาชา ขาดการประสานงานกับเพื่อน รวมงาน ไมสามารถทำงานเปนทีม เขางานสายบอยครั้ง กระทำตัวเปนปฏิปกษตอการทำงาน รวมกันกับนายจาง ขาดความตั้งใจในการทำงานไมมีสมาธิและความแข็งแรงของรางกายพรอม ที่จะทำงานเปนกะตามตำแหนงหนาที่และความรับผิดชอบ ซึ่งขอนี้ศาลแรงงานภาค ๑ รับฟง ขอเท็จจริงวา ผูบังคับบัญชาโจทกรายงานขอเท็จจริงวาโจทกไมเขาใจกฎระเบียบของจำเลยในการ เช็คอินผูโดยสารซึ่งเดินทางโดยเที่ยวบินชั้นประหยัด โจทกไมสามารถเลื่อนชั้นประเภทที่นั่ง ผูโดยสารได โจทกเขาปฏิบัติหนาที่ที่เคานเตอรเช็คอินสายกวา ๑๐ นาที ตามรายงานขอเท็จจริง พรอมคำแปล ซึ่งแมศาลแรงงานภาค ๑ เห็นวาจำเลยไมดำเนินการทางวินัยกับโจทกสำหรับกรณี ดังกลาว และผูบังคับบัญชาที่ทำรายงานมีอคติตอโจทกตามที่ศาลแรงงานกลางเคยวินิจฉัยไวใน คดีหมายเลขแดงที่ สป.๗๑/๒๕๖๑ ของศาลแรงงานกลาง ทำใหตองรับฟงคำเบิกความดวยความ ระมัดระวังก็ตาม แตยอมรับฟงไดวามีเหตุดังกลาวเกิดขึ้นจริง สวนหลังจากที่โจทกฟองจำเลยตอ ศาลแรงงานกลางเปนคดีหมายเลขดำที่ สป.๑๕๕/๒๕๕๙ และคดีหมายเลขแดงที่ สป.๗๑/๒๕๖๑ อางวาไมไดรับการปฏิบัติที่เปนธรรม ถูกกลั่นแกลงในการปฏิบัติงานเปนผลใหโจทกไมไดรับการ พิจารณาเลื่อนชั้นเลื่อนตำแหนงและไมไดรับคาตอบแทนเพิ่มจนศาลมีคำพิพากษาถึงที่สุดใหจำเลย ชำระคาเสียหายใหแกโจทกนั้น เมื่อจำเลยปฏิบัติตามคำพิพากษาครบถวนแลว โจทกกลับฟอง จำเลยเปนคดีใหมในเรื่องเดียวกันอีกตามคดีหมายเลขดำที่ ร.๙๓๙/๒๕๖๒ ของศาลแรงงานภาค ๑ แมจะฟงวาโจทกเขาใจโดยสุจริตวาสามารถฟองคดีดังกลาวไดก็ตาม แตการใชสิทธิฟองคดีตอง ตั้งอยูบนพื้นฐานของความเขาใจเยี่ยงวิญูชน ความเขาใจของโจทกที่ฟองคดีในลักษณะดังกลาว ยอมทำใหจำเลยผูเปนนายจางเกิดความคลางแคลงใจ อีกประการหนึ่งศาลแรงงานภาค ๑ ยังรับฟง ขอเท็จจริงตามที่ศาลแรงงานกลางวินิจฉัยไวในคดีหมายเลขดำที่ สป.๑๕๕/๒๕๕๙ และคดี หมายเลขแดงที่ สป.๗๑/๒๕๖๑ อีกวา หลังจากโจทกถูกกลั่นแกลงไมไดรับความเปนธรรมจาก ผูบังคับบัญชา โจทกจึงจำเปนตองปกปองตัวเองโดยคัดถายเอกสารหรือบันทึกขอมูลที่เกี่ยวของ ภายในสำนักงานของจำเลยอันรวมถึงการถายคลิปวิดีโอบันทึกเหตุการณตาง ๆ ไวเปนหลักฐาน เมื่อพิจารณาขอเท็จจริงที่วา จำเลยประกอบธุรกิจสายการบินซึ่งเปนธุรกิจบริการที่มีคูแขงขัน หลายรายทั่วโลก การใหผูโดยสารเชื่อมั่นในความปลอดภัยและความสะดวกรวดเร็วในการใชบริการ ขึ้นอยูกับการรักษาเวลา มาตรฐานและคุณภาพในการใหบริการของจำเลย การบริหารจัดการ ภายในองคกรจึงเปนสิ่งสำคัญยิ่งโดยสวนสำคัญคือ พนักงานที่ทำหนาที่ติดตอโดยตรงกับผูโดยสาร ตองมีประสิทธิภาพและรวมมือกันเปนทีม ดังปรากฏในขอบังคับเกี่ยวกับการทำงานบทที่ ๗ ที่ ๕๖


๕๗ จำเลยจะขอใหพนักงานเขารับการฝกอบรมเพื่อใหพนักงานไดพัฒนาความรูความสามารถและนำ ไปปฏิบัติหนาที่ และในบทที่ ๙ ระเบียบวินัย ๑. ระเบียบทั่วไป ก. กฎขอบังคับสำหรับพนักงาน ๑. พนักงานตองมีความรูและเขาใจกฎระเบียบของจำเลย ความประพฤติ ความปลอดภัยของพนักงาน และตองปฏิบัติตามกฎระเบียบนั้น ๒. สายการบินตองดำเนินงานตอเนื่องกันและมีตารางการบิน ที่แนนอน พนักงานทุกคนตองรักษาเวลาการมาปฏิบัติงาน มาทำงานตรงเวลาและปฏิบัติงาน ลวงเวลาเมื่อมีความจำเปน เพื่อใหงานดำเนินไปดวยดีและมีประสิทธิภาพ ซึ่งขอเท็จจริงที่ศาล แรงงานภาค ๑ ฟงมาแสดงวา เหตุที่จำเลยเลิกจางโจทกเปนเพราะโจทกละทิ้งหนาที่ ปฏิบัติหนาที่ บกพรอง และมีทัศนคติตอจำเลยผูเปนนายจางและผูรวมงานในเชิงลบ แมในระหวางทำงานจำเลย ก็ยังตองแสวงหาหลักฐานไวปกปองตนเองยอมเกิดความขัดของในการบริหารจัดการของจำเลย การดำเนินกิจการและการบริการของจำเลยอาจขาดประสิทธิภาพหรือทำใหจำเลยไดรับความ เสียหายได เปนเหตุใหจำเลยไมไววางใจและขาดความเชื่อถือในการทำงานของโจทก จำเลยจึงมี เหตุผลอันสมควรและเพียงพอที่จะเลิกจางโจทกได มิใชการเลิกจางที่ไมเปนธรรม ที่ศาลแรงงาน ภาค ๑ วินิจฉัยวาการที่จำเลยเลิกจางโจทกเปนการเลิกจางที่ไมเปนธรรม และใหจำเลยรับโจทก กลับเขาทำงานในตำแหนงเดิมหรือตำแหนงไมต่ำกวาเดิมในอัตราคาจางที่ไดรับไมนอยกวาขณะ เลิกจางและใหนับอายุงานตอเนื่อง และใหใชคาเสียหายนับแตวันเลิกจางจนกวาจำเลยจะรับโจทก กลับเขาทำงานนั้น ไมตองดวยความเห็นของศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษ อุทธรณของจำเลยขอนี้ ฟงขึ้น พิพากษาแกเปนวา จำเลยไมตองรับโจทกกลับเขาทำงานและไมตองใชคาเสียหายให โจทกนอกจากที่แกใหเปนไปตามคำพิพากษาศาลแรงงานภาค ๑. ฐานุตร เล็กสุภาพ - ยอ วัชรินทร ฤชุโรจน - ตรวจ (สุรพงษ ชิดเชื้อ - สมเกียรติ เมาลานนท - นงนภา จันทรศักดิ์ ลิ่มไพบูลย)


คำพิพากษาศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษที่ ๑๘๑๗/๒๕๖๔ นายสมควร มนตรีเลิศรัศมี โจทก บริษัทควอลิตี้ ซีลด จำกัด จำเลย ป.พ.พ. มาตรา ๕๘๓ พ.ร.บ. คุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา ๑๗ วรรคสี่, ๑๑๙ (๕) โจทกเปนลูกจางจำเลยตำแหนงผูจัดการทั่วไป ทราบดีวาตนมีหนาที่ตองมา ปฏิบัติงานที่บริษัทจำเลยในวันและเวลาทำงานปกติตามที่ไดรับมอบหมายจากจำเลย แมโจทกจะขออนุญาตไมเขาปฏิบัติงานที่บริษัทและขอนำงานมาทำที่บานตั้งแตวันที่ ๒๗ มีนาคม ๒๕๖๓ ถึงวันที่ ๓๐ เมษายน ๒๕๖๓ โดยอางเหตุจากสถานการณการแพรระบาด ของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ ดังที่กลาวอางในอุทธรณก็ตาม แตเมื่อจำเลยพิจารณา คำขอของโจทกแลวในวันที่ ๒ เมษายน ๒๕๖๓ จำเลยมีหนังสือแจงไมอนุมัติและเตือน โจทกวาหยุดงานโดยไมไดรับอนุญาตตั้งแตวันที่ ๒๗ มีนาคม ๒๕๖๓ หากยังไมมาทำงาน ถือวาขัดตอระเบียบขอบังคับของจำเลยและละเลยตอหนาที่ หนังสือดังกลาวมีขอความ อยูในตัวเองแลววาจำเลยผูเปนนายจางไดแสดงความผิดของโจทกใหปรากฏวาโจทก หยุดงานโดยไมไดรับอนุญาต จึงเตือนใหโจทกมาทำงานตามระเบียบขอบังคับของจำเลย เปนทำนองวามิใหละทิ้งหนาที่อีก อันเปนการสั่งใหโจทกมาทำงานที่บริษัทจำเลยตาม ระเบียบแลว แตโจทกยังคงฝาฝนไมไปทำงานที่บริษัทจำเลยตอไปอีก วันที่ ๗ เมษายน ๒๕๖๓ โจทกสงจดหมายอิเล็กทรอนิกสถึงกรรมการจำเลยเพื่อขอใหจำเลยใหความรวมมือ กับรัฐบาลโดยใหโจทกทำงานที่บาน และโจทกมิไดไปทำงานที่บริษัทจำเลยจนถึงวันที่ถูก เลิกจาง ถือไมไดวามีความจำเปนเพียงพอที่จะรับฟงไดวาเปนกรณีที่มีเหตุอันสมควร การ กระทำของโจทกจึงเปนการจงใจฝาฝนหรือขัดคำสั่งอันชอบดวยกฎหมายของจำเลยที่ให โจทกปฏิบัติงานตามหนาที่ที่บริษัทจำเลย และเปนการละทิ้งหนาที่เปนเวลาสามวันทำงาน ติดตอกันไมวาจะมีวันหยุดคั่นหรือไมก็ตามโดยไมมีเหตุอันสมควร จำเลยจึงเลิกจางโจทก ไดโดยไมตองจายคาชดเชยใหแกโจทกตาม พ.ร.บ. คุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา ๑๑๙ (๕) และไมตองจายสินจางแทนการบอกกลาวลวงหนาตาม พ.ร.บ. คุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา ๑๗ วรรคสี่ ประกอบ ป.พ.พ. มาตรา ๕๘๓ ทั้งการที่จำเลยเลิกจางโจทก ๕๘


๕๙ โดยอาศัยเหตุดังกลาวถือวามีเหตุอันสมควรเพียงพอ มิใชเปนการเลิกจางไมเปนธรรม จำเลยจึงไมตองจายคาเสียหายจากการเลิกจางไมเปนธรรมแกโจทก โจทกฟองและแกไขคำฟอง ขอใหบังคับจำเลยจายคาจางเดือนมีนาคม ๒๕๖๓ เปนเงิน ๒๑๘,๐๖๖ บาท คาชดเชย ๑,๓๕๒,๐๐๘.๘ บาท สินจางแทนการบอกกลาวลวงหนา ๒๑๘,๐๖๖ บาท และคาเสียหายจากการเลิกจางไมเปนธรรม ๑,๓๐๘,๓๙๖ บาท จำเลยใหการ ขอใหยกฟอง ศาลแรงงานกลาง พิพากษายกฟอง โจทกอุทธรณ ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษแผนกคดีแรงงานวินิจฉัยวา ศาลแรงงานกลางฟงขอเท็จจริงวา โจทกเปนลูกจางจำเลย ตำแหนงสุดทายเปนผูจัดการทั่วไป ไดรับคาจางอัตราสุดทายเดือนละ ๒๑๘,๐๖๖ บาท เมื่อวันที่ ๒๗ มีนาคม ๒๕๖๓ โจทกมีหนังสือถึงจำเลยขอทำงานที่บาน เนื่องจากสถานการณแพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ แตวันที่ ๒ เมษายน ๒๕๖๓ จำเลยมีหนังสือแจงไมอนุมัติและเตือนวาโจทกหยุดงานโดยไมไดรับอนุญาตตั้งแตวันที่ ๒๗ มีนาคม ๒๕๖๓ หากยังไมมาทำงานถือวาขัดตอระเบียบขอบังคับของจำเลยและละเลยตอหนาที่ ในวันที่ ๗ เมษายน ๒๕๖๓ โจทกสงจดหมายอิเล็กทรอนิกสถึงกรรมการจำเลยเพื่อขอใหจำเลย ใหความรวมมือกับรัฐบาลโดยใหโจทกทำงานที่บาน ตอมาวันที่ ๘ เมษายน ๒๕๖๓ จำเลยแจง ไมอนุมัติตามความเห็นเดิม และวันที่ ๑๐ เมษายน ๒๕๖๓ จำเลยมีหนังสือเลิกจางโจทก อางเหตุ โจทกไมปฏิบัติตามกฎระเบียบของบริษัทจำเลยและหยุดงานเกินกวาที่กฎหมายกำหนดและ ไมแจงตอผูบังคับบัญชาโดยตรง รัฐบาลมิไดมีคำสั่งกำหนดใหประชาชนอยูแตในบาน บริษัทจำเลย ไมอยูในพื้นที่การแพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ แลววินิจฉัยวา การที่จำเลยซึ่ง เปนนายจางเห็นวาไมมีเหตุอันสมควรใหโจทกทำงานที่บาน เปนดุลพินิจของจำเลยโดยชอบที่จะ บริหารจัดการในชวงเวลาดังกลาวตามที่เห็นวาเหมาะสม เมื่อจำเลยไมอนุญาตตามคำขอของ โจทกถึงสองครั้ง ยอมชัดเจนแลววาจำเลยจะไมเปลี่ยนแปลงคำสั่งแนนอน ดังนั้นพฤติกรรมที่ โจทกฝาฝนไมมาทำงานตั้งแตวันที่ ๒๗ มีนาคม ๒๕๖๓ จนถึงวันที่จำเลยเลิกจางโจทก จึงเปน ทั้งการขัดคำสั่งนายจางและละทิ้งหนาที่เปนเวลาสามวันทำงานติดตอกันโดยไมมีเหตุอันสมควร ตามพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา ๑๑๘ (๕) (ที่ถูกคือ มาตรา ๑๑๙ (๕)) นับเปนเหตุอันสมควรและเพียงพอที่จำเลยจะเลิกจางโจทก มิใชการเลิกจางไมเปนธรรมและไม


จำตองบอกกลาวลวงหนา จำเลยจึงไมตองจายคาเสียหายจากการเลิกจางไมเปนธรรม สินจาง แทนการบอกกลาวลวงหนา และคาชดเชยแกโจทก สวนคาจางสำหรับเดือนมีนาคม ๒๕๖๓ นั้น ขอเท็จจริงรับฟงไดวาจำเลยจายใหแกโจทกแลว จำเลยจึงไมตองจายคาจางสวนนี้ใหแกโจทก คดีมีปญหาตองวินิจฉัยตามอุทธรณของโจทกวา โจทกละทิ้งหนาที่โดยไมมีเหตุอัน สมควรตามพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา ๑๑๙ (๕) หรือไม และจำเลย ตองชำระเงินตามฟองใหแกโจทกหรือไม เห็นวา คดีนี้โจทกเปนลูกจางจำเลยตำแหนงผูจัดการ ทั่วไป ทราบดีวาตนมีหนาที่ตองมาปฏิบัติงานที่บริษัทจำเลยในวันและเวลาทำงานปกติตามที่ ไดรับมอบหมายจากจำเลย แมโจทกจะขออนุญาตไมเขาปฏิบัติงานที่บริษัทและขอนำงานมาทำ ที่บานตั้งแตวันที่ ๒๗ มีนาคม ๒๕๖๓ ถึงวันที่ ๓๐ เมษายน ๒๕๖๓ โดยอางเหตุจากสถานการณ การแพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ ดังที่กลาวอางในอุทธรณก็ตาม แตเมื่อจำเลย พิจารณาคำขอของโจทกแลวในวันที่ ๒ เมษายน ๒๕๖๓ จำเลยมีหนังสือแจงไมอนุมัติและเตือน โจทกวาหยุดงานโดยไมไดรับอนุญาตตั้งแตวันที่ ๒๗ มีนาคม ๒๕๖๓ หากยังไมมาทำงานถือวา ขัดตอระเบียบขอบังคับของจำเลยและละเลยตอหนาที่ หนังสือดังกลาวมีขอความอยูในตัวเอง แลววาจำเลยผูเปนนายจางไดแสดงความผิดของโจทกใหปรากฏวาโจทกหยุดงานโดยไมไดรับ อนุญาต จึงเตือนใหโจทกมาทำงานตามระเบียบขอบังคับของจำเลย เปนทำนองวามิใหละทิ้ง หนาที่อีก อันเปนการสั่งใหโจทกมาทำงานที่บริษัทจำเลยตามระเบียบแลว แตโจทกยังคงฝาฝน ไมไปทำงานที่บริษัทจำเลยตอไปอีก วันที่ ๗ เมษายน ๒๕๖๓ โจทกสงจดหมายอิเล็กทรอนิกสถึง กรรมการจำเลยเพื่อขอใหจำเลยใหความรวมมือกับรัฐบาลโดยใหโจทกทำงานที่บาน และโจทก มิไดไปทำงานที่บริษัทจำเลยจนถึงวันที่ถูกเลิกจาง โดยที่ไมปรากฏขอเท็จจริงวาบริษัทจำเลย ซึ่งเปนสถานที่ทำงานของโจทกอยูในพื้นที่ที่มีการแพรระบาดหรือมีความเสี่ยงสูงตอการ แพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ หรือมีความจำเปนอยางยิ่งประการใดที่พนักงานจะ ตองทำงานที่บาน หรือหากโจทกไปทำงานตามคำสั่งจำเลยแลวจะเปนอันตรายถึงขั้นไดรับเชื้อโรค เขาสูรางกายและมีผลถึงขั้นเสียชีวิตดังที่โจทกมีความหวาดกลัว ประกอบกับรัฐบาลก็มิไดมีคำสั่ง ใหประชาชนอยูแตในบาน ขอที่โจทกกลาวอางดังกลาวเปนความหวาดกลัวสวนตัวของโจทกที่ เกินกวาความเปนจริง ทั้งเปนเรื่องที่โจทกคำนึงถึงแตประโยชนสวนตนฝายเดียวโดยมิไดคำนึง ถึงความรับผิดชอบตอหนาที่ ถือไมไดวามีความจำเปนเพียงพอที่จะรับฟงไดวาเปนกรณีที่มีเหตุ อันสมควร การกระทำของโจทกจึงเปนการจงใจฝาฝนหรือขัดคำสั่งอันชอบดวยกฎหมายของ จำเลยที่ใหโจทกปฏิบัติงานตามหนาที่ที่บริษัทจำเลย และเปนการละทิ้งหนาที่เปนเวลาสามวัน ทำงานติดตอกันไมวาจะมีวันหยุดคั่นหรือไมก็ตามโดยไมมีเหตุอันสมควร จำเลยจึงเลิกจางโจทก ๖๐


๖๑ ไดโดยไมตองจายคาชดเชยใหแกโจทกตามพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา ๑๑๙ (๕) และไมตองจายสินจางแทนการบอกกลาวลวงหนาตามพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา ๑๗ วรรคสี่ ประกอบประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา ๕๘๓ ทั้ง การที่จำเลยเลิกจางโจทกโดยอาศัยเหตุดังกลาวถือวามีเหตุอันสมควรเพียงพอ มิใชเปนการ เลิกจางไมเปนธรรม จำเลยจึงไมตองจายคาเสียหายจากการเลิกจางไมเปนธรรมแกโจทก ที่ศาล แรงงานกลางวินิจฉัยมานั้น ตองดวยความเห็นของศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษ อุทธรณของโจทก ฟงไมขึ้น พิพากษายืน. พรรณทิพย วัฒนกิจการ - ยอ วัชรินทร ฤชุโรจน - ตรวจ (ผจงธรณ วรินทรเวช - โสภณ พรหมสุวรรณ - พิเชฏฐ รื่นเจริญ)


๖๒ คำพิพากษาศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษที่ ๑๑๐๘/๒๕๖๑ นายพจน ศิริอัสสกุล โจทก มิสซังโรมันคาทอลิก กรุงเทพฯ จำเลย ป.พ.พ. มาตรา ๕๗๕, ๕๘๓ พ.ร.บ. คุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา ๕, ๑๑๙ พ.ร.บ. จัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๔๙ โรงพยาบาลที่โจทกทำงานมีอำนาจควบคุมการทำงานของโจทกซึ่งเปนแพทย ประจำไมวาจะเปนเรื่องเวลาทำงาน การลา การคิดคาบริการ การคัดเลือกแพทยใหม และการตรวจสอบคุณภาพการทำงานของโจทก ดังนี้ ลักษณะการทำงานของโจทกจึงอยู ภายใตอำนาจบังคับบัญชาของโรงพยาบาลอยางชัดเจน มิใชการทำงานเปนผูประกอบ วิชาชีพอิสระ โจทกจึงมีฐานะเปนลูกจางของโรงพยาบาลจำเลย เหตุที่จำเลยเลิกจางโจทกสืบเนื่องมาจาก โรงพยาบาลจะรับแพทยวิสัญญีเพิ่ม โจทกไมเห็นดวยและรองเรียนขอความเปนธรรมเกี่ยวกับสภาพการจาง จำเลยปลดโจทก ออกจากตำแหนงหัวหนาแพทยวิสัญญีและเปลี่ยนการทำงานของโจทกเหลือเพียง ๔ วัน ตอสัปดาห โจทกอุทธรณ จำเลยจึงเลิกสัญญา เรื่องดังกลาวถือเปนปกติวิสัยของลูกจาง ที่ยอมไมพอใจคำสั่งของนายจางที่มีผลกระทบตอประโยชนของตนจึงตองโตแยงคำสั่ง เมื่อไมปรากฏวาการกระทำของโจทกกอใหเกิดความเสียหาย แมฝาฝนขอบังคับ ก็มิใชกรณี รายแรง แตจำเลยไมไดมีหนังสือเตือนโจทกกอนเลิกจาง จึงไมเขาขอยกเวนที่ไมตองจาย คาชดเชย จำเลยจึงตองจายคาชดเชยแกโจทก การกระทำของโจทกเปนการขัดนโยบายการบริหารงานบุคคล และมีผลตอ ประสิทธิภาพของการบริหารงานบุคคล การที่จำเลยเลิกจางโจทกจึงมีเหตุสมควร ไมเปน การเลิกจางโดยไมเปนธรรม


๖๓ โจทกฟองและแกไขคำฟอง ขอใหบังคับจำเลยจายคาจาง ๕๖๒,๑๗๒ บาท และ คาชดเชย ๔,๑๐๐,๐๐๐ บาท พรอมดอกเบี้ยอัตรารอยละ ๑๕ ตอป ของตนเงินแตละจำนวน และ ชำระคาเสียหายจากการเลิกจางโดยไมเปนธรรม ๙,๔๓๐,๐๐๐ บาท พรอมดอกเบี้ยอัตรารอยละ ๗.๕ ตอป ของตนเงินดังกลาว ทั้งนี้นับแตวันฟองเปนตนไปจนกวาจะชำระเสร็จแกโจทก จำเลยใหการขอใหยกฟอง ศาลแรงงานกลาง พิพากษายกฟอง โจทกอุทธรณ ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษแผนกคดีแรงงานวินิจฉัยวา ศาลแรงงานกลางเพียงฟง ขอเท็จจริงจากขอตกลงการใชสถานที่เพื่อประกอบโรคศิลปะ เปนหลักในการวินิจฉัย โดยยังมิไดฟง ขอเท็จจริงจากพฤติการณแหงความสัมพันธระหวางโจทกและจำเลยประกอบดวย การฟงขอเท็จจริง ดังกลาวของศาลแรงงานกลางจึงยังไมพอแกการวินิจฉัยปญหาตามอุทธรณของโจทกวา โจทก เปนลูกจางจำเลยหรือไม เห็นสมควรใหศาลแรงงานกลางรับฟงขอเท็จจริงเกี่ยวกับการทำงาน ระหวางโจทกและจำเลยเพิ่มเติมดังตอไปนี้คือ ๑. โครงสรางการบริหารงานดานบุคลากรแพทย ในโรงพยาบาลเซนตหลุยสมีขั้นตอนและแบงอำนาจหนาที่กันอยางไร ๒. ขอบังคับหรือระเบียบ วาดวยการทำงานของแพทยในโรงพยาบาลเซนตหลุยสเปนอยางไร ๓. ขอบเขตหนาที่การงาน ของโจทกเปนอยางไรและมีใครเปนผูกำหนดหรือไม อยางไร เชน อำนาจในการตัดสินใจเลือกรับ หรือไมรับรักษาผูปวยของโจทก หรืออำนาจในการเลือกสถานที่ปฏิบัติงานหรือหองทำงานภายใน โรงพยาบาลเซนตหลุยสเปนของโจทกหรือจำเลย เปนตน ๔. เวลาทำงานของโจทกที่โรงพยาบาล เซนตหลุยสเปนแบบใดและโจทกตองปฏิบัติตามระเบียบเวลาการทำงานกับใครหรือไม อยางไร ๕. การตรวจสอบการทำงานของแพทยที่เรียกวา PEER REVIEW เปนการตรวจสอบเรื่องใด และมีผลตอการทำงานของแพทยทุกคนหรือไม อยางไร ๖. ใครเปนผูมีอำนาจกำหนดอัตรากำลัง แพทยในโรงพยาบาลเซนตหลุยส ๗. รายไดของโจทกจากโรงพยาบาลเซนตหลุยสมีวิธีคิดคำนวณ จากฐานใดอยางไรและมีการหักเงินสงใหแกสำนักงานประกันสังคมหรือไม ทั้งมีการคำนวณภาษี เงินไดเปนแบบใดเพราะอะไร ๘. มูลเหตุแหงการเปลี่ยนแปลงสัญญาระหวางโจทกและจำเลยจาก สัญญาจางทำงานมาเปนขอตกลงการใชสถานที่เพื่อประกอบโรคศิลปะ เพราะอะไร ๙. มูลเหตุ แหงการทำขอตกลงการใชสถานที่เพื่อประกอบโรคศิลปะฉบับใหม เพราะเหตุใด ๑๐. พฤติการณ หรือความสัมพันธที่เปลี่ยนแปลงไประหวางโจทกและจำเลยภายหลังเปลี่ยนจากสัญญาจางงาน มาเปนขอตกลงในการใชสถานที่เพื่อประกอบโรคศิลปะเปนอยางไร แลวพิพากษายกคำพิพากษา ศาลแรงงานกลาง ใหศาลแรงงานกลางฟงขอเท็จจริงเพิ่มเติมดังกลาว หากศาลแรงงานกลางเห็นวา


๖๔ ขอเท็จจริงดังกลาวจะเปนผลทำใหคำพิพากษาเปลี่ยนแปลงไปก็ใหศาลแรงงานกลางพิพากษา ใหมตามพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๕๖ วรรคสอง และวรรคสาม ศาลแรงงานกลาง พิพากษายกฟอง โจทกอุทธรณ ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษแผนกคดีแรงงานวินิจฉัยวา เดิมศาลแรงงานกลางฟง ขอเท็จจริงวา จำเลยเปนนิติบุคคลตามพระราชบัญญัติวาดวยลักษณะฐานะของวัดบาทหลวงโรมัน คาทอลิกกรุงเทพ ร.ศ. ๑๒๘ (พ.ศ. ๒๔๕๒) ไดรับอนุญาตใหประกอบกิจการสถานพยาบาลชื่อ โรงพยาบาลเซนตหลุยส โจทกเขาทำงานกับจำเลยเมื่อวันที่ ๑ กรกฎาคม ๒๕๓๕ ตามสัญญา วาจางทำงาน ตอมาวันที่ ๑ มกราคม ๒๕๔๑ โจทกและจำเลยทำบันทึกขอตกลงการใชสถานที่ เพื่อประกอบโรคศิลปะซึ่งมีขอความระบุวา จำเลยตกลงใหโจทกเขามาใชสถานที่และบริการดาน อื่น ๆ ของจำเลยในการเปดคลินิกรักษาพยาบาลผูปวย โจทกเปนผูประกอบวิชาชีพอิสระไมมี ฐานะเปนลูกจางของจำเลย เมื่อโจทกคิดคารักษาพยาบาลผูปวยแลวจำเลยรวบรวมจายคืนให โจทกเดือนละครั้ง โดยแบงใหโจทกรอยละ ๘๐ สวนจำเลยรอยละ ๒๐ ของคารักษาพยาบาล หลังจากนั้นวันที่ ๑ มกราคม ๒๕๕๐ โจทกและจำเลยไดทำบันทึกขอตกลงทำนองเดียวกันอีก ตอมาวันที่ ๓๐ ตุลาคม ๒๕๕๘ จำเลยบอกเลิกสัญญาขอตกลงการใชสถานที่เพื่อประกอบโรค ศิลปะโดยใหมีผลตั้งแตวันที่ ๑ ธันวาคม ๒๕๕๘ เปนตนไป ตามสำเนาหนังสือของจำเลย เมื่อ ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษยอนสำนวนใหศาลแรงงานกลางฟงขอเท็จจริงเพิ่มเติม ศาลแรงงาน กลางฟงขอเท็จจริงเพิ่มเติมวา โรงพยาบาลเซนตหลุยสมีโครงสรางการบริหารงานดานบุคลากร แพทย คือ ๑. ประธานกรรมการบริหารโรงพยาบาลเซนตหลุยส ๒. รองประธาน กรรมการบริหาร โรงพยาบาลเซนตหลุยส ๓. ผูอำนวยการโรงพยาบาลเซนตหลุยส ๔. ผูจัดการฝายการแพทย ๕. คณะกรรมการบริหารองคกรแพทย ๖. แพทยหัวหนาแผนก/ศูนย/สถาบัน ๗. แพทยประจำ/ แพทยสมทบ/แพทยเวร โจทกเปนวิสัญญีแพทยมีหนาที่ดมยาสลบหรือระงับความรูสึกเจ็บปวด ใหแกผูปวยที่จะเขารับการผาตัดหรือคลอดบุตรตลอดจนใสทอชวยหายใจเพื่อชวยชีวิตผูปวยที่ อยูในภาวะวิกฤติ เมื่อป ๒๕๕๓ จำเลยแตงตั้งโจทกเปนแพทยหัวหนาแผนกวิสัญญีแพทยมีอำนาจ พิจารณาอัตรากำลังแพทยประจำรวมกับผูจัดการฝายการแพทย การตรวจสอบการทำงานของ แพทยที่เรียกวา PEER REVIEW คือ การตรวจสอบการทำงานของแพทยวามีขอผิดพลาดเกิดขึ้น แกผูปวยหรือไม เปนการนำตัวอยางผูปวยที่เสียชีวิตหรือเกิดเหตุไมพึงประสงคมาพิจารณา ทบทวนรวมกันโดยเชิญผูเชี่ยวชาญซึ่งเปนแพทยจากราชวิทยาลัยในสาขาที่เกี่ยวของหรือแพทย


๖๕ ผูเชี่ยวชาญในสาขานั้น ๆ เขารวมใหความคิดเห็นเปนกรณีศึกษา มีวัตถุประสงคเพื่อนำมา พิจารณาปรับปรุงและพัฒนาแนวทางการดูแลรักษาผูปวยใหอยูในธรรมภิบาลมีความเหมาะสม มากขึ้นซึ่งจะไดกำหนดเปนแนวปฏิบัติของแพทยตอไป เปนสวนหนึ่งของระบบพัฒนาคุณภาพ ในการดูแลผูปวย หากปรากฏวาแพทยผูใดประมาทเลินเลอทำใหเกิดความเสียหายแกผูปวยและ โรงพยาบาลอันเปนการกระทำผิดตอกฎระเบียบขอบังคับของโรงพยาบาล แพทยจะตองถูกลงโทษ ทางวินัยตามอำนาจและดุลพินิจของผูบังคับบัญชาตอไป ผูจัดการฝายแพทยและแพทยหัวหนา แผนกเปนผูรวมกันพิจารณาความเหมาะสมของอัตรากำลังแพทยเมื่อเปรียบเทียบกับจำนวน ผูปวยที่มารับบริการ ถาเห็นสมควรเพิ่มเติมแพทยก็จะกำหนดประเภท จำนวน และคุณสมบัติ ของแพทยที่ตองการรับเพิ่ม โดยผูจัดการฝายแพทยจัดทำบันทึกแผนอัตรากำลังเสนอกรรมการ บริหารองคกรแพทย รายไดของแพทยคิดคำนวณจากคารักษาพยาบาลที่แพทยคิดตามความ ยากงายในการรักษาโรคของผูปวยเปนราย ๆ ไป โดยโรงพยาบาลเปนผูเรียกเก็บคารักษาพยาบาล แทนแพทยแลวรวบรวมจายคืนใหแพทยเดือนละครั้ง โดยแพทยไดรับรายไดจากการรักษาผูปวย ในอัตรารอยละ ๘๐ และจายเงินคารักษาพยาบาลที่เรียกเก็บใหแกโรงพยาบาลในอัตรารอยละ ๒๐ เปนคาใชสถานที่และเครื่องมือตาง ๆ โดยไมมีการหักเงินสงใหแกสำนักงานประกันสังคม มีการ คำนวณภาษีเงินไดตามประมวลรัษฎากร มาตรา ๔๐ (๖) ประเภทเงินไดจากการประกอบอาชีพ อิสระ มูลเหตุแหงการเปลี่ยนแปลงสัญญาระหวางโจทกและจำเลยจากสัญญาจางทำงาน มาเปน ขอตกลงการใชสถานที่เพื่อประกอบโรคศิลปะ เพราะกรมสรรพกรมีหนังสือแจงเรื่องการซอมความ เขาใจเกี่ยวกับเงินไดการประกอบอาชีพอิสระการประกอบโรคศิลปะวาผูไดรับอนุญาตใหประกอบ โรคศิลปะจะเสียภาษีเงินไดบุคคลธรรมดาตามประมวลรัษฎากร มาตรา ๔๐ (๖) จะตองทำสัญญา หรือขอตกลงพิเศษกับโรงพยาบาล แลวศาลแรงงานกลางยังคงวินิจฉัยเชนเดิมวา หลังจากการ ทำบันทึกขอตกลงการใชสถานที่เพื่อประกอบโรคศิลปะระหวางโจทกและโรงพยาบาลเซนตหลุยส ตั้งแตป ๒๕๔๑ เปนตนมา ความสัมพันธระหวางโจทกกับโรงพยาบาลจำเลยมิใชลูกจาง นายจางกันตามพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา ๕ และมาตรา ๑๑๙ และ ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา ๕๗๕ และมาตรา ๕๘๓ กรณีไมมีผลใหคำพิพากษา เปลี่ยนแปลงไป คดีมีปญหาตองวินิจฉัยตามอุทธรณของโจทกประการแรกวา โจทกเปนลูกจางของจำเลย หรือไม เห็นวา เมื่อพิจารณาจากโครงสรางการบริหารงานดานบุคลากรแพทยของโรงพยาบาล เซนตหลุยสวาแบงแพทยผูปฏิบัติงานออกเปน ๓ ประเภท คือ ๑. แพทยประจำ ๒. แพทยสมทบ ๓. แพทย ซึ่งเปนเอกสารคูมือปฏิบัติหนาที่สำหรับแพทย มีรายละเอียด เปนเรื่องการวางแผน


๖๖ อัตรากำลังและการสรรหาแพทย ขอ ๔.๓ ระบุวา แพทยประจำ คือแพทยที่โรงพยาบาลรับเขามา ทำงานเปนประจำ โดยมีฐานะเปนลูกจางของโรงพยาบาลและไดรับคาตอบแทนเปนรายเดือนที่ แนนอน หรือเปนแพทยที่มาใชสถานที่ของโรงพยาบาลประกอบวิชาชีพไมนอยกวา ๔๐ ชั่วโมง ตอสัปดาหในเวลาทำการโดยมีขอตกลงแบงผลประโยชนเปนสัดสวนระหวางแพทยกับโรงพยาบาล ขอ ๔.๔ ระบุวา แพทยสมทบ คือแพทยเฉพาะทางสาขาตาง ๆ ที่มาใชสถานที่ของโรงพยาบาล ตรวจรักษาผูปวยในหรือนอกเวลาทำการต่ำกวา ๔๐ ชั่วโมงตอสัปดาหและ/หรือ รับปรึกษาปญหา ของผูปวยที่รักษาตัวในโรงพยาบาล โดยมีขอตกลงแบงผลประโยชนเปนสัดสวนระหวางแพทย กับโรงพยาบาล และขอ ๔.๕ ระบุวา แพทยเวร คือ แพทยที่ปฏิบัติหนาที่ที่แผนกอุบัติเหตุและ ฉุกเฉิน และดูแลผูปวยในของโรงพยาบาลระหวางเวลา ๑๗.๐๐ - ๖.๐๐ น. ของวันรุงขึ้น กรณีโจทก เปนวิสัญญีแพทยของโรงพยาบาลเซนตหลุยสมาตั้งแตป ๒๕๓๕ และโรงพยาบาลเซนตหลุยสได ออกบัตรประจำตัวพนักงานใหแกโจทก ซึ่งเปนตารางเวรแพทยประจำเดือนพฤศจิกายน ๒๕๕๘ วา โจทกตองเขาเวรวันจันทรถึงวันศุกรเวลา ๘ นาิกา ถึง ๑๘ นาิกา สวนวันเสารและ วันอาทิตยเรียกโจทกไดระหวางเวลา ๖ นาิกา ถึง เวลา ๑๘ นาิกา แสดงวาโจทกทำงานเปน แพทยประจำ มิใชเปนแพทยสมทบแตประการใด เมื่อพิจารณาตอไป มีรายละเอียดเรื่องแนวทาง การดูแลผูปวยตามมาตรฐานวิชาชีพสำหรับแพทยโรงพยาบาลเซนตหลุยส ขอ ๒.๓.๒.๑ ระบุวา แพทยประจำที่จะลาพักผอนประจำป ลากิจ หรือลาประชุมวิชาการ ตองแจงหรือสงใบลาใหหัวหนา แผนกที่ตนสังกัดเพื่อขออนุมัติลวงหนาอยางนอย ๓ วัน และควรจัดหาแพทยสาขาเดียวกันมา ปฏิบัติหนาที่แทน และขอ ๒.๔.๒.๑๓ ระบุวา แพทยจะคิดคาตอบแทนไดไมเกินอัตราที่โรงพยาบาล กำหนด เรื่องการวางแผนอัตรากำลังและการสรรหาแพทย ขอ ๕.๑ ระบุวา คณะกรรมการบริหาร โรงพยาบาล กำหนดปรัชญาและเปาหมาย ตลอดจนแผนยุทธศาสตร (กลยุทธ) ประจำปดานการ บริการทางการแพทยของโรงพยาบาล และขอ ๕.๒ ระบุวา ผูจัดการฝายการแพทยและแพทย หัวหนาแผนก/สถาบัน รวมกันพิจารณาความเหมาะสมของอัตรากำลังแพทยเมื่อเปรียบเทียบ กับจำนวนผูปวยที่มารับบริการ และแผนการบริการทางการแพทยของคณะกรรมการบริหาร ถาเห็นสมควรเพิ่มแพทยก็จะกำหนดประเภท จำนวน และคุณสมบัติของแพทยที่ตองการรับเพิ่ม โดยผูจัดการฝายการแพทยจัดทำบันทึกแผนอัตรากำลังเสนอคณะกรรมการบริหารองคกรแพทย ประกอบกับโรงพยาบาลเซนตหลุยสมีการตรวจสอบการทำงานของแพทยที่เรียกวา PEER REVIEW หากปรากฏวาแพทยผูใดประมาทเลินเลอทำใหเกิดความเสียหายแกผูปวยและโรงพยาบาลอันเปน การกระทำผิดตอกฎระเบียบขอบังคับของโรงพยาบาล แพทยจะตองถูกลงโทษทางวินัยตาม อำนาจและดุลพินิจของผูบังคับบัญชาตอไป แสดงใหเห็นวาโรงพยาบาลเซนตหลุยสมีอำนาจ


๖๗ ควบคุมการทำงานของโจทกซึ่งเปนแพทยประจำไมวาจะเรื่องเวลาทำงาน การลา การคิดคา บริการ การคัดเลือกแพทยใหม และการตรวจสอบคุณภาพการทำงาน อีกทั้งผูบริหารโรงพยาบาล เซนตหลุยสก็เคยมีคำสั่งแตงตั้งโจทกเปนหัวหนาแพทยแผนกวิสัญญีและกรรมการบริหารองคกร แพทยเมื่อป ๒๕๕๓ มีหนาที่เพิ่มเติมคือ ดูแลอัตรากำลังของแพทยในแผนก กำหนดเวลาทำงาน ใหวิสัญญีแพทยในแผนก ตอมาป ๒๕๕๘ ผูบริหารโรงพยาบาลเซนตหลุยสมีคำสั่งปลดโจทก จากตำแหนงดังกลาว แสดงวาโรงพยาบาลเซนตหลุยสสามารถใหคุณใหโทษแกโจทกได ดังนี้ ลักษณะการทำงานของโจทกจึงอยูภายใตการบังคับบัญชาของโรงพยาบาลเซนตหลุยสอยาง ชัดเจน มิใชทำงานในลักษณะเปนผูประกอบวิชาชีพอิสระ ตามบันทึกขอตกลงการใชสถานที่เพื่อ ประกอบโรคศิลปะ แตประการใด โจทกจึงมีฐานะเปนลูกจางโรงพยาบาลเซนตหลุยสของจำเลย ตามพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา ๕ และประมวลกฎหมายแพงและ พาณิชย มาตรา ๕๗๕ ที่ศาลแรงงานกลางพิพากษามานั้น ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษไมเห็น พองดวย อุทธรณของโจทกขอนี้ฟงขึ้น ปญหาที่ตองวินิจฉัยตามอุทธรณของโจทกประการตอไปมีวา จำเลยตองจายคาจาง คางจาย คาชดเชย และคาเสียหายจากการเลิกจางโดยไมเปนธรรม พรอมดอกเบี้ยแกโจทกหรือไม เพียงใด เห็นวา ขอเท็จจริงในสำนวนยุติเพียงพอแกการวินิจฉัยประเด็นดังกลาวแลว เพื่อใหคดีตอง ลาชา ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษเห็นควรวินิจฉัยประเด็นดังกลาวไปโดยไมจำตองยอนสำนวน ไปใหศาลแรงงานกลางวินิจฉัยอีก ขอเท็จจริงที่ยุติในชั้นพิจารณาของศาลแรงงานกลางปรากฏวา สาเหตุที่โรงพยาบาลเซนตหลุยสเลิกจางโจทกสืบเนื่องมาจากโรงพยาบาลจะรับวิสัญญีแพทยเพิ่ม อีก ๑ ตำแหนง แตโจทกไมเห็นดวยและรองเรียนขอความเปนธรรมเกี่ยวกับสภาพการจาง ประธาน กรรมการบริหารจึงมีคำสั่งปลดโจทกออกจากการเปนหัวหนาแพทยวิสัญญีและเปลี่ยนแปลงการ จัดลำดับการทำงานของโจทกเหลือ ๔ วัน ตอสัปดาห โจทกยื่นอุทธรณ จำเลยจึงบอกเลิกสัญญา กับโจทกโดยใหมีผลตั้งแตวันที่ ๑ ธันวาคม ๒๕๕๘ เปนตนไป เมื่อพิจารณาถึงการกระทำของ โจทกดังกลาววาเปนเรื่องปกติวิสัยของลูกจางโดยทั่วไปที่ยอมไมพอใจคำสั่งนายจางที่มีผลกระทบ ตอประโยชนของตนจึงตองโตแยงคำสั่งนายจางเพื่อใหทบทวน เมื่อไมปรากฏวาการกระทำของ โจทกดังกลาวทำใหเกิดความเสียหายแกโรงพยาบาลจำเลยแตประการใด แมการกระทำของโจทก ดังกลาวจะฝาฝนตอขอบังคับเกี่ยวกับการทำงานของโรงพยาบาลจำเลยก็ยังไมถือวาเปนกรณี ความผิดรายแรง เมื่อจำเลยไมไดมีหนังสือตักเตือนโจทกกอนเลิกจาง จึงเปนการเลิกจางในกรณี ที่ไมเขาขอยกเวนที่ไมตองจายคาชดเชยตามพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา ๑๑๙ (๔) จำเลยจึงตองจายคาชดเชยแกโจทก เมื่อโจทกทำงานกับจำเลยติดตอกันครบสิบปขึ้นไป


๖๘ สุรพัศ เพ็ชรคง - ยอ สุโรจน จันทรพิทักษ - ตรวจ โดยไดรับคาจางคำนวณตามผลงาน ดังนั้น จำเลยตองจายคาชดเชยใหแกโจทกไมนอยกวา คาจางของการทำงานสามรอยวันสุดทาย ตามพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา ๑๑๘ (๕) ซึ่งโจทกไดรับคาจางของการทำงานสามรอยวันสุดทายตั้งแตเดือนกุมภาพันธ ๒๕๕๘ ถึงเดือนพฤศจิกายน ๒๕๕๘ คิดเปนเงิน ๓,๕๒๓,๓๒๐ บาท ตามรายการแสดงคา แพทยและหนังสือรับรองการหักภาษี ณ ที่จาย จำเลยจึงตองจายคาชดเชย ๓,๕๒๓,๓๒๐ บาท แกโจทกและจำเลยยังตองเสียดอกเบี้ยใหแกโจทกในอัตรารอยละ ๑๕ ตอป นับแตวันเลิกจางคือ วันที่ ๑ ธันวาคม ๒๕๕๘ ซึ่งถือเปนวันผิดนัดเปนตนไปจนกวาจะชำระเสร็จแกโจทกอีกดวยตาม พระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา ๙ วรรคหนึ่ง อยางไรก็ตามการกระทำของ โจทกดังกลาวเปนการขัดตอนโยบายการบริหารงานของโรงพยาบาลจำเลยและมีผลกระทบตอ ประสิทธิภาพในการบริหารงานบุคคลของจำเลยเพื่อใหเกิดคุณภาพแกผูใชบริการตอไป การที่ จำเลยเลิกจางโจทกจึงมีเหตุอันสมควร ไมเปนการเลิกจางโดยไมเปนธรรมตามพระราชบัญญัติ จัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๔๙ จำเลยจึงไมตองจาย คาเสียหายแกโจทก สวนที่โจทกเรียกคาจางคางจายโดยคิดจากรายไดที่ขาดไปนั้น เมื่อโจทกไดรับ คาจางโดยคำนวณตามผลงานและจำเลยไดจายคาจางโดยคำนวณตามผลงานใหแกโจทกครบถวน แลว การที่โจทกเรียกคาจางดังกลาวโดยคิดจากรายไดที่ขาดไปจึงเปนกรณีเรียกรองคาเสียหาย โจทกไมมีสิทธิเรียกรองคาเสียหายสวนนี้เชนกัน อุทธรณของโจทกขอนี้ฟงขึ้นในผลเพียงบางสวน พิพากษากลับเปนวา ใหจำเลยจายคาชดเชย ๓,๕๒๓,๓๒๐ บาท พรอมดอกเบี้ยอัตรา รอยละ ๑๕ ตอป ของตนเงินดังกลาวนับแตวันที่ ๑ ธันวาคม ๒๕๕๘ เปนตนไปจนกวาจะชำระ เสร็จแกโจทก คำขออื่นนอกจากนี้ใหยก. (ธีระพล ศรีอุดมขจร - อนุวัตร ขุนทอง - กนกรดา ไกรวิชญพงศ)


คำพิพากษาศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษที่ ๔๓๕๓/๒๕๖๑ นางสาวมณีชนก สำมณี โจทก บริษัทบางกอก เชน ฮอสปทอล จำเลย ป.พ.พ. มาตรา ๕๗๕ พ.ร.บ. คุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา ๕ พ.ร.บ. จัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๕๒ โจทกเปนแพทยประจำแผนกเวชปฏิบัติทั่วไปทำงานกับจำเลยที่โรงพยาบาล ก. มีกำหนดเวลาทำงานโดยออกตรวจผูปวยนอกประกันสังคมทุกวันจันทร เวลา ๘ ถึง ๑๗ นาิกา วันอังคาร วันพุธและวันพฤหัสบดี เวลา ๑๒ ถึง ๒๑ นาิกา และวันศุกร เวลา ๗ ถึง ๑๖ นาิกา ไดรับเงินจากการทำงานจากจำเลยทุกเดือน เดือนละ ๑๐๐,๐๐๐ บาท ซึ่งเปนเงินที่จำเลยตกลงจายใหแกโจทกในอัตราที่แนนอน และมีกำหนดจายในวันที่ กำหนดไวทุกเดือน แมจำเลยจะเรียกเงินสวนนี้วาคาแพทยโดยจำเลยกำหนดวาเปน วงเงินการันตีก็ตาม ก็ถือวาเปนเงินที่จำเลยจายใหแกโจทกเพื่อเปนคาตอบแทนจากการ ทำงาน ถือเปนคาจาง ตาม พ.ร.บ. คุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา ๕ เมื่อตามบันทึกขอตกลงกำหนดใหโจทกทำหนาที่แพทยประจำแผนก (full time) โดยมีหนาที่ตรวจรักษาผูปวยตามกำหนดวันและเวลาดังกลาว นอกจากนี้ยังมีขอตกลง อีกวา หากโจทกจะลา โจทกตองหาผูปฏิบัติงานแทน และยื่นใบลาอยางนอย ๑ สัปดาห โดยตองไดรับอนุญาตจากผูอำนวยการฝายการแพทย โจทกตองปฏิบัติงานตรงเวลาตาม สัญญา และสแกนลายนิ้วมือในการเขาปฏิบัติงาน โจทกจะตองปฏิบัติตาม CPG ในการ ใหการรักษาตามที่จำเลยกำหนด ดังนั้น ขอตกลงดังกลาวแสดงใหเห็นวาโจทกตองทำงาน ตามที่จำเลยมอบหมายภายใตการบังคับบัญชาของจำเลยตามวันเวลาการทำงานที่จำเลย กำหนด โจทกจะตองถูกควบคุมเวลาการทำงาน ทั้งจะตองอยูภายใตขอบังคับเกี่ยวกับ การทำงาน จะหยุด จะลา ตองไดรับอนุญาตกอน โจทกตองปฏิบัติตามบันทึกขอตกลงและ ขอตกลงเกี่ยวกับการปฏิบัติหนาที่ บันทึกขอตกลงระหวางโจทกกับจำเลยจึงเปนสัญญา จางแรงงาน ตาม ป.พ.พ. มาตรา ๕๗๕ และอยูภายใตบังคับของ พ.ร.บ. คุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ ๖๙


๗๐ บันทึกขอตกลงกำหนดเวลาการปฏิบัติหนาที่ของโจทกตั้งแตวันที่ ๓ ตุลาคม ๒๕๕๙ จนถึงวันที่ ๓๑ มีนาคม ๒๕๖๐ อันเปนการกำหนดระยะเวลาตามสัญญาจางไว ๖ เดือน แตมีเงื่อนไขวา จำเลยอาจจะพิจารณาตอระยะเวลาการทำงานใหโจทกครั้งละ ๖ เดือน โดยพิจารณาจากผลการปฏิบัติงานของโจทก ถือวาสัญญาจางฉบับนี้ถูกทำลาย ความแนนอนของระยะเวลาการทำงานโดยขอความดังกลาวไปแลว เสมือนเปนการตอ สัญญาไปเรื่อย ๆ จึงไมเปนสัญญาจางที่มีกำหนดระยะเวลาแนนอน โจทกฟอง ขอใหบังคับจำเลยจายคาตรวจรักษาคนไขที่จายคารักษาเปนเงินสด ๒๗,๘๐๐ บาท คาตรวจรักษาคนไขที่จายคารักษาเปนเงินสดและนอนพักรักษาในโรงพยาบาล ๕,๐๔๐ บาท คาทำหัตถการใหคนไข ๖๓,๔๐๙.๖๐ บาท พรอมดอกเบี้ยอัตรารอยละ ๗.๕ ตอป จายคาจาง ๔๖,๔๗๓.๓๔ บาท และคาชดเชย ๑๐๐,๐๐๐ บาท พรอมดอกเบี้ยอัตรารอยละ ๑๕ ตอป ดอกเบี้ย ทุกจำนวนใหนับแตวันฟองเปนตนไปจนกวาจะชำระเสร็จแกโจทก จำเลยใหการและแกไขคำใหการ ขอใหยกฟอง ระหวางพิจารณา ศาลแรงงานกลางเห็นวากรณีมีปญหาวาคดีระหวางโจทกกับจำเลย อยูในอำนาจพิจารณาพิพากษาของศาลแรงงานหรือไม จึงสงสำนวนใหประธานศาลอุทธรณ คดีชำนัญพิเศษวินิจฉัยตาม พ.ร.บ. จัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๙ วรรคสอง ประธานศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษวินิจฉัยวา คดีนี้อยูในอำนาจพิจารณาพิพากษา ของศาลแรงงาน ศาลแรงงานกลาง พิพากษาใหจำเลยจายคาจาง ๑๓๓,๑๓๙.๙๕ บาท และคาชดเชย ๑๐๐,๐๐๐ บาท พรอมดอกเบี้ยอัตรารอยละ ๑๕ ตอป ของตนเงินแตละจำนวนดังกลาวนับแตวัน ถัดจากวันฟอง (ฟองวันที่ ๖ มิถุนายน ๒๕๖๐) เปนตนไปจนกวาจะชำระเสร็จแกโจทก กับให จำเลยจายคาตรวจรักษาผูปวยเงินสดเปนเงิน ๒๗,๘๐๐ บาท คาตรวจผูปวยเงินสดและนอนพัก รักษาตัว ๕,๐๔๐ บาท และคาหัตถการ ๖๓,๔๐๙.๖๐ บาท พรอมดอกเบี้ยอัตรารอยละ ๗.๕ ตอป ของตนเงินแตละจำนวนนับแตวันถัดจากวันฟอง (ฟองวันที่ ๖ มิถุนายน ๒๕๖๐) เปนตนไปจนกวา จะชำระเสร็จแกโจทก คำขออื่นนอกจากนี้ใหยก


๗๑ จำเลยอุทธรณ ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษแผนกคดีแรงงานวินิจฉัยวา ศาลแรงงานกลางฟงขอเท็จจริง และวินิจฉัยวา จำเลยประกอบกิจการโรงพยาบาลเอกชนใชชื่อวา โรงพยาบาลเกษมราษฎร โจทก ทำงานกับจำเลยในตำแหนงแพทยประจำแผนกเวชปฏิบัติทั่วไป โจทกจะตองทำงานตามบันทึก ขอตกลง มีวันเวลาทำงานรวม ๔๕ ชั่วโมงตอสัปดาห โดยจำเลยกำหนดวงเงินการันตีใหแกโจทก ๑๐๐,๐๐๐ บาท ตอเดือนโดยไมนับ CASE เปนระยะเวลา ๖ เดือน ตั้งแตวันที่ ๓ ตุลาคม ๒๕๕๙ จนถึงวันที่ ๓๑ มีนาคม ๒๕๖๐ จึงเห็นไดวาจำเลยตกลงจายคาจางเปนรายเดือนใหแกโจทกกำหนด วงเงินการันตี ๑๐๐,๐๐๐ บาท ตอเดือนทั้งโจทกตองปฏิบัติตามคำสั่งของจำเลย จำเลยมีขอบังคับ เกี่ยวกับการใหโจทกปฏิบัติตามซึ่งเปนการใชอำนาจบังคับบัญชาในการปฏิบัติงานของจำเลย สัญญาจางระหวางโจทกกับจำเลยจึงมีลักษณะเปนสัญญาจางแรงงาน สวนสัญญาใชคลินิกเพื่อ ประกอบโรคศิลปะ ไมปรากฏวาโจทกจะตองจายคาใชคลินิกโดยจายเปนเงินใหแกจำเลย และ จำเลยเปนผูคิดคาใชจายจากผูปวยโดยจำเลยเปนผูกำหนดอัตราในการทำงานของโจทก แลวโจทก ก็จะไดสวนแบงตามที่จำเลยกำหนด สัญญาดังกลาวเปนนิติกรรมอำพรางที่ไมไดปฏิบัติตามสัญญา และไมไดมีการใชบังคับกับโจทก บันทึกขอตกลง ที่โจทกจำเลยตกลงกันและใชบังคับกันจึงเปน สัญญาจางแรงงาน แมจะมีกำหนดเวลาการจางตั้งแตวันที่ ๓ ตุลาคม ๒๕๕๙ จนถึงวันที่ ๓๑ มีนาคม ๒๕๖๐ แตจำเลยอาจจะพิจารณาตอใหครั้งละ ๖ เดือน โดยพิจารณาจากผลการปฏิบัติงาน ของโจทก สัญญาจางดังกลาวไมเปนการแนนอนวาจะสิ้นสุดเมื่อใด จึงไมใชสัญญาจางที่มีกำหนด ระยะเวลาการจางไวแนนอน สวนการที่จำเลยหักเงินกรณีที่โจทกไมมาปฏิบัติงาน ออกกอนเวลา และมาสาย โดยในขณะยื่นฟอง โจทกเขาใจวาจำเลยมีสิทธิหักเงินจากโจทกตามกฎหมายแรงงาน ดังนั้น โจทกเขาใจวาจำเลยหักเงินเกินกวาสิทธิที่จะหักไดเปนเงิน ๔๖,๔๗๓.๓๔ บาท เมื่อโจทก ยืนยันวาไมเคยลงลายมือชื่อยินยอมใหจำเลยหักคาจางและจำเลยไมมีหลักฐานการยินยอมให หักคาจางของโจทก การที่จำเลยหักเงินดังกลาวจำนวน ๑๓๓,๑๓๙.๙๕ บาท ซึ่งเปนคาจางโจทก จึงเปนการกระทำที่ขัดตอพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา ๗๖ ซึ่งเปนกฎหมาย ที่เกี่ยวกับความสงบเรียบรอยของประชาชน เห็นสมควรพิพากษาหรือสั่งเกินคำขอบังคับตาม พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๕๒ จึงใหจำเลย ชำระเงินสวนที่หักคาจางของโจทกไวจำนวน ๑๓๓,๑๓๙.๙๕ บาท และเมื่อสัญญาที่จำเลยจางโจทก เปนสัญญาที่มิใชสัญญาจางที่มีกำหนดระยะเวลาการจางไวแนนอน จำเลยจึงตองจายคาชดเชย ใหแกโจทกซึ่งเปนลูกจางทำงานติดตอกันครบ ๑๒๐ วัน แตไมครบ ๑ ป ใหจายไมนอยกวาคาจาง อัตราสุดทาย ๓๐ วัน เปนเงิน ๑๐๐,๐๐๐ บาท และเมื่อพิจารณาหนาที่ความรับผิดชอบตามสัญญาจาง ระหวางโจทกกับจำเลยแลว จำเลยมอบหมายหนาที่รับผิดชอบใหโจทกตรวจรักษาผูปวยเหมาจาย


๗๒ ไปยังศูนยเหมาจายโดยออกตรวจผูปวยนอกประกันสังคม ซึ่งจำเลยกำหนดวงเงินการันตีใหแกโจทก ๑๐๐,๐๐๐ บาท ตอเดือน สวนเงื่อนไขการจายคาแพทยในกรณีอื่นตามขอ ๒.๑ ถึงขอ ๒.๕ เปน การปฏิบัติหนาที่นอกเหนือจากหนาที่รับผิดชอบโดยมีการตรวจผูปวยเงินสดนอกแผนก การทำ หัตถการ การรับแอดมิทผูปวยและตองติดตามดูผลและใหการรักษาเองกรณีที่ขาดแพทยเวรใน วันนั้น เปนการทำหนาที่แพทยนอกเหนือจากหนาที่รับผิดชอบ ที่จำเลยตีความวารวมอยูในกำหนด วงเงินการันตี ๑๐๐,๐๐๐ บาท ตอเดือนอยูแลว โดยจำเลยไมตองจายเพิ่มอีกนั้น เปนการตีความ สัญญาจางแรงงานที่ไมถูกตอง จำเลยจึงตองจายเงินดังกลาวแกโจทก มีปญหาตองวินิจฉัยตามอุทธรณจำเลยขอ ๒.๑ ประเด็นแรกวา เงินที่จำเลยจายให แกโจทกเปนคาแพทยหรือคา DF ตามบันทึกขอตกลงเปนคาจางหรือไม โดยจำเลยอุทธรณวา การจายคาแพทยหรือคา DF เปนการกำหนดวงเงินการันตีใหแกแพทย ๑๐๐,๐๐๐ บาท ตอเดือน ซึ่งมิไดระบุวาเปนเงินเดือนที่จำเลยจะตองจายใหแกโจทก เปนรายเดือนประจำทุกเดือน เดือนละ ๑๐๐,๐๐๐ บาท เทากันทุกเดือนแตอยางใด แตเปนการที่จำเลยรับรองรายไดใหแกโจทกวาโจทก จะไดรับเงินคา DF หรือคาธรรมเนียมแพทยในแตละเดือนไมต่ำกวา ๑๐๐,๐๐๐ บาท จำเลยจะจายเงิน ของจำเลยใหแกโจทกเฉพาะกรณีที่คิดคำนวณคา DF หรือสวนแบงรายไดของโจทกดังกลาว ไมถึง ๑๐๐,๐๐๐ บาท นั้น เห็นวา ตามพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา ๕ กำหนดความหมายไววา “คาจาง หมายถึงเงินที่นายจางและลูกจางตกลงกันจายเปนคาตอบแทน ในการทำงานตามสัญญาจางสำหรับระยะเวลาการทำงานปกติเปนรายชั่วโมง รายวัน รายสัปดาห รายเดือน หรือระยะเวลาอื่น หรือจายใหโดยคำนวณตามผลงานที่ลูกจางทำไดในเวลาทำงานปกติของ วันทำงาน” ดังนั้น ไมวาจะเรียกชื่ออยางไรหากนายจางจายโดยมีวัตถุประสงคเพื่อใหเปนคาตอบแทน ในการทำงานสำหรับระยะเวลาการทำงานปกติหรือจายใหแกลูกจางเปนประจำ มีอัตราหรือจำนวน ที่แนนอนโดยไมปรากฏวัตถุประสงคการจายเปนประการอื่นยอมถือเปนคาจาง โจทกเปนแพทย ประจำแผนกเวชปฏิบัติทั่วไปทำงานกับจำเลยที่โรงพยาบาลเกษมราษฎร ประชาชื่น กรุงเทพ มหานคร มีกำหนดเวลาทำงานโดยออกตรวจผูปวยนอกประกันสังคมทุกวันจันทรเวลา ๘ - ๑๗ นาิกา วันอังคาร พุธและพฤหัสบดีเวลา ๑๒ - ๒๑ นาิกา และวันศุกรเวลา ๗ - ๑๖ นาิกา ไดรับเงินจากการทำงานจากจำเลยทุกเดือน เดือนละไมนอยกวา ๑๐๐,๐๐๐ บาท ซึ่งเปนเงินที่ จำเลยตกลงจายใหแกโจทกในอัตราที่แนนอน มีกำหนดจายในวันที่กำหนดไวในทุกเดือน แมจำเลย จะเรียกเงินสวนนี้วาคาแพทยโดยจำเลยกำหนดวาเปนวงเงินการันตีก็ตาม ก็ถือวาเปนเงินที่จำเลย จายใหแกโจทกเพื่อเปนคาตอบแทนจากการทำงานในหนาที่แพทยประจำโรงพยาบาลเกษมราษฎร ที่โจทกทำในเวลาปกติของการทำงานที่โรงพยาบาลดังกลาว ถือเปนคาจางตามพระราชบัญญัติ คุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา ๕ แลว อุทธรณของจำเลยในขอนี้ฟงไมขึ้น


๗๓ สวนที่จำเลยอุทธรณตอมาวา คาธรรมเนียมแพทยที่จำเลยการันตีไว ๑๐๐,๐๐๐ บาท ตอเดือน เงินสวนนี้ก็ไมใชเงินที่จำเลยจายใหแกโจทกโดยตรงแตเปนเงินสวนแบงที่จำเลยไดรับ จากผูปวยที่มาทำการรักษากับจำเลยโดยโจทกเปนผูตรวจรักษา ซึ่งจำเลยและโจทกตางไดรับ สวนแบงดวยกันตามอัตราที่กำหนด เพียงแตจำเลยจะเปนผูไดรับเงินจากผูปวยหรือผูมาใชบริการ ทั้งจำนวนและแบงสวนแบงใหแกโจทกในภายหลังทุกสิ้นเดือนตามขอตกลง เงินที่โจทกไดรับใน แตละเดือน จึงเปนเงินที่โจทกและจำเลยไดรับมาจากผูปวยหรือผูมารับบริการกับจำเลย มิใชเงิน ของจำเลยที่จะใหแกโจทก เงินดังกลาวจึงไมใชเงินเดือนที่จำเลยจายใหแกโจทกนั้น เห็นวา จำเลยไมไดตอสูขออุทธรณดังกลาวเปนประเด็นไวในคำใหการ ดังนั้น อุทธรณของจำเลยในสวนนี้ จึงเปนการยกขอเท็จจริงขึ้นอางใหมในชั้นอุทธรณ ถือวาเปนขอที่ไมไดวากลาวกันมาแลวใน ศาลแรงงานกลาง ไมชอบดวยประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพง มาตรา ๒๒๕ วรรคหนึ่ง ประกอบพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๕๔ วรรคหนึ่ง ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษไมรับวินิจฉัย ที่จำเลยอุทธรณขอ ๒.๔ วา คาธรรมเนียมแพทยอันเปนสวนแบงของโจทกซึ่งปรากฏ เปนสวนแบงตามขอ ๒.๑ ถึงขอ ๒.๕ เปนเงินที่จำเลยคิดคำนวณใหแกโจทกและจายใหแกโจทก แลวอันอยูในวงเงินการันตี ๑๐๐,๐๐๐ บาท จำเลยจึงไมจำตองชำระใหแกโจทกนั้น เห็นวาศาล แรงงานกลางฟงขอเท็จจริงและวินิจฉัยแลววา เงื่อนไขการจายคาแพทยตามขอ ๒.๑ ถึงขอ ๒.๕ เปนการปฏิบัติหนาที่นอกเหนือจากหนาที่รับผิดชอบของโจทก โดยมีการตรวจผูปวยเงินสด นอกแผนก การทำหัตถการ การรับแอดมิทผูปวยและตองติดตามดูผล ซึ่งหากการทำหนาที่ดังกลาว รวมอยูในวงเงินการันตี ๑๐๐,๐๐๐ บาท แลว จำเลยก็ไมจำตองเขียนไวในสัญญาเปนรายละเอียด ในขอ ๒.๑ ถึงขอ ๒.๕ อุทธรณของจำเลยในขอนี้ จึงเปนอุทธรณโตแยงดุลพินิจในการรับฟง พยานหลักฐานของศาลแรงงานกลาง อันเปนอุทธรณในขอเท็จจริง ซึ่งตองหามมิใหอุทธรณตาม พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๕๔ วรรคหนึ่ง ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษไมรับวินิจฉัยเชนกัน มีปญหาตองวินิจฉัยตามอุทธรณจำเลยขอ ๒.๑ ในประเด็นสุดทายวา บันทึกขอตกลง เปนสัญญาจางแรงงานหรือไม โดยจำเลยอุทธรณวา จำเลยไมไดบังคับบัญชาในการปฏิบัติงาน ของโจทกแตอยางใดนั้น เห็นวา การที่จะวินิจฉัยวาสัญญาใดเปนสัญญาจางแรงงานหรือไม ตอง พิจารณาวานายจางมีอำนาจบังคับบัญชาลูกจางเกี่ยวกับการทำงานหรือไมเปนสำคัญ ขอเท็จจริง ตามที่ศาลแรงงานกลางรับฟงมาปรากฏวาจำเลยประกอบกิจการโรงพยาบาลเอกชน โจทกทำงาน กับจำเลยโดยทำหนาที่แพทย ตามบันทึกขอตกลง กำหนดวาใหโจทกทำหนาที่แพทยประจำแผนก (full time) เวชปฏิบัติทั่วไป มีหนาที่ตรวจรักษาผูปวยเหมาจายประจำศูนยเหมาจายโดยมีเวลา


๗๔ ทำการ วันจันทร ๘ - ๑๗ นาิกา วันอังคาร พุธและพฤหัสบดี ๑๒ - ๒๑ นาิกา วันศุกร ๗ - ๑๖ นาิกา โดยในขอ ๓ กำหนดวาหากโจทกจะลา โจทกตองหาผูปฏิบัติงานแทน ยื่นใบลาอยางนอย ๑ สัปดาห และตองไดรับอนุญาตจากผูอำนวยการฝายการแพทยกอนจึงจะหยุดงานได ในขอ ๖ กำหนดใหโจทกตองปฏิบัติงานตรงเวลาตามสัญญา และแสกนลายนิ้วมือในการเขาปฏิบัติงาน และในขอ ๗ ระบุวาโจทกจะตองปฏิบัติตาม CPG ในการใหการรักษาตามที่จำเลยกำหนด ขอตกลง ดังกลาวแสดงใหเห็นวาโจทกตองทำงานตามที่จำเลยมอบหมายภายใตการบังคับบัญชาของจำเลย ตามวันเวลาการทำงานที่จำเลยกำหนด โจทกจะตองถูกควบคุมเวลาการทำงาน ทั้งจะตองอยูภายใต ขอบังคับเกี่ยวกับทำงาน จะหยุด จะลา ตองไดรับอนุญาตกอน โจทกตองปฏิบัติตามบันทึกขอตกลง และขอตกลงกำหนดเกี่ยวกับการปฏิบัติหนาที่ โดยจำเลยกำหนดเงื่อนไขการจายคาตอบแทนแกโจทก โดยใชชื่อวาจายคาแพทยกำหนดวงเงิน Guarantee ใหแกโจทก ๑๐๐,๐๐๐ บาทตอเดือน บันทึก ขอตกลงระหวางโจทกกับจำเลย จึงเปนสัญญาจางแรงงานตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา ๕๗๕ และอยูภายใตบังคับของพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ ที่ศาลแรงงานกลาง วินิจฉัยมานั้นชอบแลว ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษเห็นพองดวย อุทธรณของจำเลยในขอนี้ฟงไมขึ้น มีปญหาตองวินิจฉัยตามอุทธรณจำเลยขอ ๒.๒ วา การที่ศาลแรงงานกลางพิพากษา ใหจำเลยชำระเงินสวนที่หักคาจางของโจทกไวจำนวน ๑๓๓,๑๓๙.๙๕ บาท พรอมดอกเบี้ยอัตรา รอยละ ๑๕ ตอป ของตนเงินดังกลาว ซึ่งเปนการพิพากษาเกินคำขอ ชอบดวยกฎหมายหรือไม เห็นวา ตามที่ไดวินิจฉัยขางตนแลววาบันทึกขอตกลงระหวางโจทกกับจำเลยเปนสัญญาจางแรงงาน และอยูภายใตบังคับของพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ และเมื่อศาลชั้นตนฟง ขอเท็จจริงแลววาจำเลยหักเงินกรณีที่โจทกไมมาทำงาน มาสาย และออกกอนเวลาตั้งแตเดือน ตุลาคม ๒๕๕๙ ถึงเดือนมีนาคม ๒๕๖๐ รวมเปนเงิน ๑๓๓,๑๓๙.๙๕ บาท และไดพิเคราะหพยาน หลักฐานของโจทกและจำเลยตลอดแลวจึงวินิจฉัยวาจำเลยไมมีสิทธิหักเงินดังกลาวซึ่งเปนคาจาง การกระทำของจำเลยที่หักคาจางของโจทกจึงเปนการขัดตอบทบัญญัติตามพระราชบัญญัติ คุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา ๗๖ ซึ่งเปนกฎหมายที่เกี่ยวกับความสงบเรียบรอยของ ประชาชน และตามพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๕๒ บัญญัติใหศาลแรงงานมีอำนาจพิเศษที่จะพิพากษาหรือสั่งเกินคำขอบังคับได เปนดุลพินิจ ที่ศาลแรงงานจะกระทำไดเมื่อเห็นสมควรเพราะคดีแรงงานเปนคดีระหวางนายจางกับลูกจาง โดยสวนมากนายจางจะเปนองคกรหรือนิติบุคคลที่มีบุคลากรรอบรูดานกฎหมายเปนผูใหคำปรึกษา กำหนดหลักเกณฑ ตลอดทั้งจัดทำเอกสาร สัญญาหรือขอตกลงตาง ๆ ใหเปนไปตามกฎหมายและ เปนประโยชนแกนายจางสูงสุด สวนลูกจางเปนบุคคลที่ไมมีความรูดานกฎหมายหรือแมจะเปน


๗๕ ผูมีการศึกษาสูงก็ตาม แตอาจจะไมมีความรูดานกฎหมายเพียงพอ จึงอาจจะไมเขาใจระบบกฎหมาย ที่เกี่ยวของกับการจางแรงงาน ดังนั้น ที่ศาลแรงงานกลางวินิจฉัยวาโจทกไมทราบกฎหมายเกี่ยวกับ สัญญาจางแรงงาน ขณะฟองจึงคิดวาจำเลยมีสิทธิหักคาจางจากเหตุที่ตนไมมาทำงาน มาสาย หรือออก กอนเวลา แลวพิพากษาใหจำเลยชำระเงินสวนที่หักคาจางของโจทกจำนวน ๑๓๓,๑๓๙.๙๕ บาท พรอมดอกเบี้ยอัตรารอยละ ๑๕ ตอป ของตนเงินดังกลาว ถือวาศาลแรงงานกลางไดใชดุลพินิจแลว เห็นวาเปนการสมควรเพื่อความเปนธรรมแกโจทก จึงพิพากษาเกินคำขอทายคำฟองของโจทก เปนไปตามอำนาจของศาลแรงงานที่พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๕๒ บัญญัติใหอำนาจพิเศษไวแลวโดยชอบ ที่ศาลแรงงานกลางวินิจฉัยมานั้น ชอบแลว ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษเห็นพองดวย อุทธรณของจำเลยในขอนี้ฟงไมขึ้น มีปญหาตองวินิจฉัยตามอุทธรณจำเลยขอ ๒.๓ เปนประการสุดทายวา สัญญาจางแรงงาน ระหวางโจทกกับจำเลยเปนสัญญาจางที่มีกำหนดระยะเวลาการจางไวแนนอนหรือไม เห็นวา บันทึก ขอตกลง กำหนดเวลาการปฏิบัติหนาที่ของโจทกตั้งแตวันที่ ๓ ตุลาคม ๒๕๕๙ จนถึงวันที่ ๓๑ มีนาคม ๒๕๖๐ อันเปนการกำหนดระยะเวลาตามสัญญาจางไว ๖ เดือน แตจะถือวาเปนสัญญา จางแบบมีกำหนดระยะเวลาแนนอนหรือไมนั้น สัญญาดังกลาวตองเปนสัญญาจางที่ระบุวันที่เริ่มจาง และวันที่เลิกจางไวอยางแนนอนโดยไมมีขอความอื่นหรือขอแมอื่น ๆ แตปรากฏวาในบันทึก ขอตกลง มีขอความเพิ่มเติมวาจำเลยอาจจะพิจารณาตอระยะเวลาการทำงานใหโจทกครั้งละ ๖ เดือน โดยพิจารณาจากผลการปฏิบัติงานของโจทก ถือวาสัญญาจางฉบับนี้ถูกทำลายความแนนอน ของระยะเวลาการทำงานโดยขอความดังกลาวไปแลว เสมือนเปนการตอสัญญาไปเรื่อย ๆ จึงไม เปนสัญญาจางที่มีกำหนดระยะเวลาแนนอน เมื่อสัญญาจางระหวางโจทกกับจำเลยไมเขาขอยกเวน ที่มิใหใชบังคับแกลูกจางที่มีกำหนดระยะเวลาการจางไวแนนอน ที่ศาลแรงงานกลางพิพากษา ใหจำเลยจายคาชดเชยใหแกโจทกซึ่งเปนลูกจางทำงานติดตอกันครบ ๑๒๐ วัน แตไมครบ ๑ ป เปนเงิน ๑๐๐,๐๐๐ บาท ตามพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา ๑๑๘ (๑) นั้น ชอบแลว ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษเห็นพองดวย อุทธรณของจำเลยในขอนี้ฟงไมขึ้นเชนกัน พิพากษายืน. อิศเรศ ปราโมช ณ อยุธยา - ยอ สุโรจน จันทรพิทักษ - ตรวจ (นาวี สกุลวงศธนา - เริงศักดิ์ วิริยะชัยวงศ - นงนภา จันทรศักดิ์ ลิ่มไพบูลย)


๗๖ คำพิพากษาศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษที่ ๒๙๐๔/๒๕๖๒ นางพรนราช เปลี่ยนวงษ โจทก บริษัทโจโฮคุ (ประเทศไทย) จำกัด จำเลย ป.พ.พ. มาตรา ๑๔๙, ๓๕๔ สัญญาจะเกิดขึ้นไดเมื่อคําเสนอและคําสนองถูกตองตรงกันทุกประการ สัญญา จึงเปนนิติกรรมที่เกิดจากการแสดงเจตนาของบุคคลตั้งแตสองฝายขึ้นไป ฝายหนึ่งเปน ผูแสดงเจตนาเปนคําเสนอ อีกฝายหนึ่งเปนผูแสดงเจตนาเปนคําสนอง แมจะไดความวา จําเลยแถลงในรายงานกระบวนพิจารณา ของศาลแรงงานกลางเมื่อวันที่ ๒๑ สิงหาคม ๒๕๕๘ วา “ในโอกาสตอไปหากบริษัทนายจางใหลูกจางทํางานลวงเวลา จะรับโจทกไว พิจารณาโดยไมเลือกปฏิบัติและเสนอผูบริหารตอไป” ขอความดังกลาวยังไมมีความ ชัดเจนเพียงพอที่จะเปนคําเสนออันจะกอใหเกิดสัญญาเมื่อมีคําสนอง แตเปนแคเพียง ถอยคําใหความมั่นใจตอโจทกวาหากมีงานลวงเวลาแลวจําเลยจะรับพิจารณาใหโจทก ไดทํางานโดยไมเลือกปฏิบัติเทานั้น ยังไมกอใหเกิดความผูกพันที่จะทําใหจําเลยตองให โจทกทํางานลวงเวลา เนื่องจากตองผานการพิจารณาของจําเลยกอน กรณีจึงยังไมกอ ใหเกิดสัญญาที่จําเลยตองปฏิบัติตาม จําเลยยังมีอํานาจในการใชดุลพินิจเต็มที่ในการ พิจารณาเพื่อคัดเลือกลูกจางทํางานลวงเวลาอยู การจะใหลูกจางทํางานลวงเวลาจึงเปน สิทธิและเปนอํานาจบริหารกิจการของนายจาง อีกทั้งไมมีบทบัญญัติกฎหมายรองรับให ศาลออกคำสั่งบังคับใหนายจางใหลูกจางทํางานลวงเวลาได จำเลยจึงไมจำตองใช คาเสียหายแกโจทก โจทกฟองขอใหบังคับจำเลยจายคาเสียหาย ๒๑๐,๐๐๐ บาท พรอมดอกเบี้ยอัตรารอยละ ๗.๕ ตอป นับแตวันฟองจนกวาจะชำระเสร็จ กับใหจำเลยใชคาเสียหายอีกเดือนละ ๗,๐๐๐ บาท จนกวาจำเลยจะไดมีคำสั่งอนุญาตใหโจทกทำงานลวงเวลาเชนเดียวกับพนักงานรายอื่น จำเลยใหการ ขอใหยกฟอง ศาลแรงงานกลาง พิพากษายกฟอง


โจทกอุทธรณ ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษแผนกคดีแรงงานวินิจฉัยวาศาลแรงงานกลางฟงขอเท็จจริง แลววินิจฉัยวา ตามพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา ๒๔ กำหนดหามมิให นายจางใหลูกจางทำงานลวงเวลาโดยไมไดรับความยินยอมจากลูกจางเทานั้น ไมไดบังคับใหนาย จางตองใหลูกจางทำงานลวงเวลา ซึ่งเปนบทบัญญัติที่ใหสิทธิแกนายจางที่จะใหลูกจางทำงาน ลวงเวลาหรือไมก็ได แตจะบังคับใหลูกจางทำงานลวงเวลาโดยปราศจากความยินยอมของลูกจาง ไมได เมื่อจำเลยไมใหโจทกทำงานลวงเวลาไมวาดวยสาเหตุจากการไมมีงานลวงเวลาหรือความรู ความสามารถและความเหมาะสมของโจทกไมเหมาะที่จะทำงานลวงเวลาก็ไมทำใหการกระทำ ดังกลาวของจำเลยเปนการละเมิดตอโจทก แมจำเลยจะเคยตกลงไวในรายงานกระบวนพิจารณา คดีกอน ก็ไมใชขอบังคับที่จำเลยจะตองใหโจทกทำงานลวงเวลา สวนที่โจทกเรียกรองคาเสียหาย นั้นโจทกฟองใหจำเลยรับผิดฐานละเมิดกรณีที่จำเลยไมปฏิบัติตามขอตกลงตามรายงานกระบวน พิจารณา มีกำหนดอายุความหนึ่งปนับแตวันที่โจทกรูถึงการละเมิดและรูตัวผูจะพึงตองใชคาสินไหม ทดแทน เมื่อโจทกรูถึงการละเมิดและรูตัวผูจะพึงตองใชคาสินไหมทดแทนตั้งแตวันที่ ๒๑ สิงหาคม ๒๕๕๘ โจทกนำคดีมาฟองเมื่อวันที่ ๒ มีนาคม ๒๕๖๑ ฟองโจทกจึงขาดอายุความ คดีมีปญหาที่จะตองวินิจฉัยตามที่โจทกอุทธรณวา จำเลยจะตองชดใชคาเสียหายใหโจทก ตามฟองหรือไม เห็นวา สัญญาจะเกิดขึ้นไดเมื่อคำเสนอและคำสนองถูกตองตรงกันทุกประการ สัญญาจึงเปนนิติกรรมที่เกิดจากการแสดงเจตนาของบุคคลตั้งแตสองฝายขึ้นไป ฝายหนึ่งเปน ผูแสดงเจตนาเปนคำเสนอ อีกฝายหนึ่งเปนผูแสดงเจตนาเปนคำสนอง แมจะไดความวาจำเลย แถลงในรายงานกระบวนพิจารณาของศาลแรงงานกลางเมื่อวันที่ ๒๑ สิงหาคม ๒๕๕๘ วา “ในโอกาสตอไปหากบริษัทนายจางใหลูกจางทำงานลวงเวลา จะรับโจทกไวพิจารณาโดยไมเลือก ปฏิบัติและเสนอผูบริหารตอไป” ขอความดังกลาวยังไมมีความชัดเจนเพียงพอที่จะเปนคำเสนอ อันจะกอใหเกิดสัญญาเมื่อมีคำสนอง แตเปนแคเพียงถอยคำใหความมั่นใจตอโจทกวาหากมีงาน ลวงเวลาแลวจำเลยจะรับพิจารณาใหโจทกไดทำงานโดยไมเลือกปฏิบัติเทานั้น ยังไมกอใหเกิด ความผูกพันที่จะทำใหจำเลยตองใหโจทกทำงานลวงเวลา เนื่องจากตองผานการพิจารณาของ จำเลยกอน กรณีจึงยังไมกอใหเกิดสัญญาที่จำเลยตองปฏิบัติตาม จำเลยยังมีอำนาจในการใช ดุลพินิจเต็มที่ในการพิจารณาเพื่อคัดเลือกลูกจางทำงานลวงเวลาอยู การจะใหลูกจางทำงาน ลวงเวลาจึงเปนสิทธิและเปนอำนาจบริหารกิจการของนายจาง อีกทั้งไมมีบทบัญญัติกฎหมายรองรับ ใหศาลออกคำสั่งบังคับใหนายจางใหลูกจางทำงานลวงเวลาได จำเลยจึงไมจำตองใชคาเสียหายแก โจทกที่ศาลแรงงานกลางวินิจฉัยมานั้น ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษเห็นพองดวยในผล อุทธรณ ๗๗


๗๘ โจทกฟงไมขึ้น เมื่อวินิจฉัยดังนี้แลวกรณีจึงไมจำตองวินิจฉัยอุทธรณขออื่น ๆ ของโจทกอีกตอไป เพราะไมทำใหผลแหงคดีเปลี่ยนแปลง พิพากษายืน. พรรณทิพย วัฒนกิจการ - ยอ สุโรจน จันทรพิทักษ - ตรวจ (วิชชุพล สุขสวัสดิ์ - สุจินต เชี่ยวชาญศิลป - เกื้อวุฒิปวัฒน)


คำพิพากษาศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษที่ ๑๒๕๐/๒๕๖๓ นางศิริพร ยอดกันหา โจทก สหกรณออมทรัพยครู ปทุมธานี จำกัด จำเลย ป.วิ.พ. มาตรา ๒๒๕ วรรคหนึ่ง พ.ร.บ. จัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๕๔ วรรคหนึ่ง พ.ร.บ. แรงงานสัมพันธ พ.ศ. ๒๕๑๘ มาตรา ๒๐ ศาลแรงงานภาค ๑ วินิจฉัยวา แมโจทกจะรวมประชุมกับคณะกรรมการดําเนินการ ในการพิจารณาแกไขระเบียบและมิไดโตแยงคัดคานก็ไมอาจถือวาโจทกยอมรับระเบียบ ที่แกไขใหม ระเบียบดังกลาวในสวนการจายเงินบําเหน็จจึงไมมีผลบังคับแกโจทก ที่จําเลย อุทธรณวา ขณะมีการแกไขระเบียบอันเปนขอตกลงเกี่ยวกับสภาพการจาง โจทกทํางาน ตําแหนงรักษาการผูจัดการของจําเลย มีหนาที่ดูแลรับผิดชอบกิจการของจําเลย จึงเปน ผูรูเห็นการแกไขระเบียบของจําเลยมาตลอด แตไมเคยโตแยงคัดคานทั้งโจทกยังไดรับ ประโยชนจากระเบียบที่แกไขใหม โดยไดรับการเพิ่มเงินเดือนจาก ๖๒,๕๓๐ บาท เปน ๗๐,๐๐๐ บาท ซึ่งเปนจํานวนเงินที่สมควรและสมเหตุผลแลว และที่โจทกนําจํานวน เงินเดือนดังกลาวมาเปนฐานในการคิดคํานวณเงินฟองจําเลยอีก ยอมเทากับวาโจทกยอมรับ การเปลี่ยนแปลงขอตกลงเกี่ยวกับสภาพการจางดังกลาวโดยปริยาย ทั้งยังเปนการใชสิทธิ โดยไมสุจริต เปนการกลาวอางเพื่ออุทธรณโตแยงวาโจทกไดใหความยินยอมในการแกไข เปลี่ยนแปลงขอตกลงเกี่ยวกับสภาพการจางดังกลาวแลวยอมเปนการโตแยงดุลพินิจใน การรับฟงพยานหลักฐานของศาลแรงงานภาค ๑ ที่รับฟงวาจําเลยแกไขระเบียบใหม โดย โจทกมิไดตกลงยินยอมดวย อันเปนอุทธรณในขอเท็จจริงซึ่งตองหามมิใหอุทธรณตาม พ.ร.บ. จัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๕๔ วรรคหนึ่ง ศาลอุทธรณคดีชํานัญพิเศษไมรับวินิจฉัย แมระเบียบที่แกไขใหมจะมีผลใหโจทกไดรับเงินเดือนเพิ่มขึ้นอันเปนคุณแกโจทก และโจทกไดเขาถือเอาประโยชนนั้นแลวก็ตาม แตก็เปนการถือเอาซึ่งเงินคาตอบแทนที่ เปนคุณแกโจทก ที่โจทกพึงไดรับจากการทํางานของตน ที่ไมจําตองไดรับความยินยอม จากโจทกกอน ซึ่งหามีผลให ระเบียบอันเปนขอตกลงเกี่ยวกับสภาพการจางในเรื่องอื่นที่ ทําใหโจทกตองเสียประโยชนมีผลบังคับ โดยปริยายโดยไมตองไดรับความยินยอมจากโจทก ๗๙


๘๐ เสียกอนไปดวยไม เมื่อระเบียบที่แกไขใหมทําใหสิทธิในการไดรับเงินบําเหน็จเมื่อออกจาก การทํางานของโจทกลดนอยถอยลงไปจากระเบียบที่มีแตเดิมอันเปนการเปลี่ยนแปลง ขอตกลงเกี่ยวกับสภาพการจางที่มีลักษณะไมเปนคุณแกโจทก โดยมิไดมีการยื่นขอเรียกรอง ปฏิบัติตามขั้นตอนของกฎหมาย และไมไดรับความยินยอมจากโจทก ระเบียบที่แกไขใหม ซึ่งเปนการเปลี่ยนแปลงขอตกลงเกี่ยวกับสภาพการจางเกี่ยวกับการจายเงินบําเหน็จ จึงเปนการตองหามตาม พ.ร.บ. แรงงานสัมพันธ พ.ศ. ๒๕๑๘ มาตรา ๒๐ และไมมีผลบังคับ แกโจทก กรณีตองบังคับตามระเบียบเดิม ที่จําเลยอุทธรณในทํานองวา โจทกไมมีอํานาจฟอง เพราะมิไดดําเนินการ ตามขั้นตอนแหง พ.ร.บ. สหกรณ พ.ศ. ๒๕๔๒ มาตรา ๔๕ ที่จะตองขอคําวินิจฉัยจาก นายทะเบียนสหกรณกอนนําคดีมาฟองนั้น ขออุทธรณของจําเลยดังกลาว ไมปรากฏวา จําเลยไดใหการตอสูคดีในขอนี้ไว จึงเปนขอที่ไมไดยกขึ้นวากลาวกันมาแลวโดยชอบใน ศาลแรงงานภาค ๑ ตองหามมิใหอุทธรณตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๒๒๕ วรรคหนึ่ง ประกอบ พ.ร.บ. จัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๕๔ วรรคหนึ่ง ศาลอุทธรณคดีชํานัญพิเศษไมรับวินิจฉัย โจทกฟอง ขอใหบังคับจำเลยชำระเงิน ๒,๓๔๔,๐๒๓ บาท พรอมดอกเบี้ยอัตรารอยละ ๗.๕ ตอป ของตนเงิน ๒,๒๔๐,๐๐๐ บาท นับถัดจากวันฟองเปนตนไปจนกวาจะชำระเสร็จแกโจทก จำเลยใหการ ขอใหยกฟอง ศาลแรงงานภาค ๑ พิพากษาใหจำเลยชำระเงิน ๒,๒๔๐,๐๐๐ บาท พรอมดอกเบี้ยอัตรา รอยละ ๗.๕ ตอป ของตนเงินดังกลาว นับแตวันที่ ๑ ธันวาคม ๒๕๖๐ เปนตนไปจนกวาจะชำระ เสร็จแกโจทก ดอกเบี้ยคำนวณถึงวันฟอง (ฟองวันที่ ๑๔ สิงหาคม ๒๕๖๑) ตองไมเกิน ๑๐๔,๐๒๓ บาท ตามที่โจทกขอ จำเลยอุทธรณ ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษแผนกคดีแรงงานวินิจฉัยวา ขอเท็จจริงที่ศาลแรงงานภาค ๑ ฟงเปนยุติและไมมีคูความฝายใดโตแยงกันในชั้นอุทธรณรับฟงไดวา โจทกเปนลูกจางประจำของ จำเลยตั้งแตวันที่ ๑๘ มกราคม ๒๕๑๘ ถึงวันที่ ๓๐ พฤศจิกายน ๒๕๖๐ รวมระยะเวลาทำงาน ๔๒ ป ตำแหนงสุดทายรองผูจัดการรักษาการตำแหนงผูจัดการ เงินเดือนสุดทายอัตราเดือนละ ๗๐,๐๐๐ บาท เดิมจำเลยมีระเบียบสหกรณออมทรัพยครูปทุมธานี จำกัด วาดวยเจาหนาที่และ


ลูกจาง พ.ศ. ๒๕๕๐ ตอมาเมื่อป ๒๕๕๖ จำเลยแกไขระเบียบดังกลาวในเรื่องการจายเงินบำเหน็จ เมื่อออกจากงาน โดยกำหนดใหพนักงานมีสิทธิรับเงินบำเหน็จเพิ่มไดเฉพาะสวนที่เกินกวาเงิน คาชดเชย แตตองไมเกินคาชดเชยสูงสุดตามกฎหมายคุมครองแรงงาน และใหถือวาไดจายเงิน คาชดเชยใหดวยแลว และวินิจฉัยวา ระเบียบเดิมที่ใชบังคับตั้งแตป ๒๕๕๐ กำหนดใหพนักงานมี สิทธิไดรับเงินบำเหน็จมีจำนวนเทากับเงินเดือนเต็มครั้งสุดทาย คูณจำนวนปเต็มแหงเวลาทำงาน เศษของปถาเกิน ๑๘๐ วัน ใหนับเปน ๑ ปเต็ม แยกตางหากจากคาชดเชยที่พนักงานพึงมีสิทธิ ไดรับตามกฎหมาย ซึ่งเงินบำเหน็จและคาชดเชยเปนเงินคนละประเภทกัน ระเบียบที่แกไขใหมนี้ จึงเปนการเปลี่ยนแปลงขอตกลงเกี่ยวกับสภาพการจางที่ไมเปนคุณแกโจทก และเปนเหตุใหโจทก ไดรับเงินบำเหน็จจากการเกษียณอายุเมื่อคิดคำนวณตามระเบียบที่แกไขใหมเพียง ๗๐๐,๐๐๐ บาท ลดนอยถอยลงกวาระเบียบที่มีอยูแตเดิมที่โจทกพึงมีสิทธิไดรับ ๒,๙๔๐,๐๐๐ บาท โจทกไมไดเปน คณะกรรมการดำเนินการ ไมมีอำนาจออกเสียงลงมติในที่ประชุม แมโจทกจะรวมประชุมกับ คณะกรรมการดำเนินการในการพิจารณาแกไขระเบียบและมิไดโตแยงคัดคานก็ไมอาจถือวาโจทก ยอมรับระเบียบที่แกไขใหม ระเบียบดังกลาวในสวนการจายเงินบำเหน็จจึงไมมีผลบังคับแกโจทก จำเลยตองปฏิบัติตามระเบียบเดิม โดยจายเงินบำเหน็จพรอมดอกเบี้ยตามคำฟองใหแกโจทก ที่จำเลยอุทธรณวา ขณะมีการแกไขระเบียบอันเปนขอตกลงเกี่ยวกับสภาพการจาง โจทก ทำงานตำแหนงรักษาการผูจัดการของจำเลย มีหนาที่ดูแลรับผิดชอบกิจการของจำเลย จึงเปนผูรูเห็น การแกไขระเบียบของจำเลยมาตลอด แตไมเคยโตแยงคัดคาน ทั้งโจทกยังไดรับประโยชนจาก ระเบียบที่แกไขใหม โดยไดรับการเพิ่มเงินเดือนจาก ๖๒,๕๓๐ บาท เปน ๗๐,๐๐๐ บาท ซึ่งเปน จำนวนเงินที่สมควรและสมเหตุผลแลว และที่โจทกนำจำนวนเงินเดือนดังกลาวมาเปนฐานในการ คิดคำนวณเงินฟองจำเลยอีก ยอมเทากับวาโจทกยอมรับการเปลี่ยนแปลงขอตกลงเกี่ยวกับสภาพ การจางดังกลาวโดยปริยาย ทั้งยังเปนการใชสิทธิโดยไมสุจริตนั้น เห็นวา ตามพฤติการณตาง ๆ ของโจทกที่จำเลยกลาวอางมาเพื่ออุทธรณโตแยงวาโจทกไดใหความยินยอมในการแกไขเปลี่ยน แปลงขอตกลงเกี่ยวกับสภาพการจางดังกลาวแลวนั้น ยอมเปนการโตแยงดุลพินิจในการรับฟง พยานหลักฐานของศาลแรงงานภาค ๑ ที่รับฟงวา จำเลยแกไขระเบียบใหม โดยโจทกมิไดตกลง ยินยอมดวย อันเปนอุทธรณในขอเท็จจริง ซึ่งตองหามมิใหอุทธรณตามพระราชบัญญัติจัดตั้ง ศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๕๔ วรรคหนึ่ง ศาลอุทธรณคดีชำนัญ พิเศษไมรับวินิจฉัย ๘๑


๘๒ มีปญหาตองวินิจฉัยตามอุทธรณของจำเลยวา การเปลี่ยนแปลงระเบียบสหกรณออมทรัพย ครูปทุมธานี จำกัด ป ๒๕๕๖ อันถือเปนขอตกลงเกี่ยวกับสภาพการจางมีผลใชบังคับไดหรือไม เห็นวา แมระเบียบที่แกไขใหมจะมีผลใหโจทกไดรับเงินเดือนเพิ่มขึ้นอันเปนคุณแกโจทกและโจทก ไดเขาถือเอาประโยชนนั้นแลวก็ตาม แตก็เปนการถือเอาซึ่งเงินคาตอบแทนที่เปนคุณแกโจทกที่ โจทกพึงไดรับจากการทำงานของตน ที่ไมจำตองไดรับความยินยอมจากโจทกกอน ซึ่งหามีผลให ระเบียบอันเปนขอตกลงเกี่ยวกับสภาพการจางในเรื่องอื่นที่ทำใหโจทกตองเสียประโยชนมีผลบังคับ โดยปริยายโดยไมตองไดรับความยินยอมจากโจทกเสียกอนไปดวยไม เมื่อระเบียบที่แกไขใหมทำ ใหสิทธิในการไดรับเงินบำเหน็จเมื่อออกจากการทำงานของโจทกลดนอยถอยลงไปจากระเบียบ ที่มีแตเดิม อันเปนการเปลี่ยนแปลงขอตกลงเกี่ยวกับสภาพการจางที่มีลักษณะไมเปนคุณแกโจทก โดยมิไดมีการยื่นขอเรียกรองปฏิบัติตามขั้นตอนของกฎหมาย และไมไดรับความยินยอมจากโจทก ระเบียบที่แกไขใหมซึ่งเปนการเปลี่ยนแปลงขอตกลงเกี่ยวกับสภาพการจางเกี่ยวกับการจายเงิน บำเหน็จจึงเปนการตองหามตามพระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ พ.ศ. ๒๕๑๘ มาตรา ๒๐ และ ไมมีผลบังคับแกโจทก กรณีตองบังคับตามระเบียบเดิมที่ศาลแรงงานภาค ๑ วินิจฉัยมานั้นชอบแลว อุทธรณของจำเลยขอนี้ฟงไมขึ้น สวนที่จำเลยอุทธรณในทำนองวา โจทกไมมีอำนาจฟอง เพราะมิไดดำเนินการตาม ขั้นตอนแหงพระราชบัญญัติสหกรณ พ.ศ. ๒๕๔๒ มาตรา ๔๕ ที่จะตองขอคำวินิจฉัยจาก นายทะเบียนสหกรณกอนนำคดีมาฟองนั้น เห็นวา ขออุทธรณของจำเลยดังกลาว ไมปรากฏวา จำเลยไดใหการตอสูคดีในขอนี้ไว จึงเปนขอที่ไมไดยกขึ้นวากลาวกันมาแลวโดยชอบในศาลแรงงาน ภาค ๑ ซึ่งตองหามมิใหอุทธรณตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพง มาตรา ๒๒๕ วรรคหนึ่ง ประกอบพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๕๔ วรรคหนึ่ง ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษไมรับวินิจฉัย พิพากษายืน. อิศเรศ ปราโมช ณ อยุธยา - ยอ สุโรจน จันทรพิทักษ - ตรวจ (ดณยา วีรฤทธิ์ - เฉลิมพงศ ขันตี - สมเกียรติ คูวัธนไพศาล)


คำพิพากษาศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษที่ ๗๒๕/๒๕๖๔ นางนันทิยา สิทธิวรรณรักษ โจทก บริษัทวินเนอรยี่ เมดิคอล จำกัด จำเลย ป.วิ.พ. มาตรา ๒๔๓ (๓) (ข) พ.ร.บ. จัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๕๑ วรรคหนึ่ง, ๕๗ พ.ร.บ. แรงงานสัมพันธ พ.ศ. ๒๕๑๘ มาตรา ๕ พ.ร.บ. แรงงานสัมพันธ พ.ศ. ๒๕๑๘ มาตรา ๕ บัญญัติวา “สภาพการจาง” หมายความวา เงื่อนไขการจางหรือการทํางาน กําหนดวันและเวลาทํางาน คาจาง สวัสดิการ การเลิกจางหรือประโยชนอื่นของนายจางหรือลูกจางอันเกี่ยวกับการจางหรือการทํางาน การที่จําเลยประกาศนโยบายและหลักเกณฑการพิจารณาเกี่ยวกับคานายหนาจากการ ขายสินคากลุมธุรกิจการแพทยที่จายใหพนักงานทีมขาย ตามประกาศ บค.ที่ ๐๐๔/๒๕๖๒ โดยกําหนดใหพนักงานขายที่สามารถทํายอดขายไดตามเปาหมายมีสิทธิไดรับคานายหนา หรือคาคอมมิชชั่นนอกเหนือจากคาจาง เพื่อจูงใจพนักงานขายใหขายสินคาไดมากขึ้น คานายหนาหรือคาคอมมิชชั่นจึงเปนสวัสดิการอยางหนึ่งที่จําเลยจัดใหมีขึ้น อันอยูใน ความหมายของสภาพการจางตามกฎหมาย เมื่อพฤติการณของโจทกและจําเลยตางแสดง ออกวาตกลงจะยึดถือเอาประกาศดังกลาวมาใชเปนหลักเกณฑสําหรับเบิกจายคานายหนา หรือคาคอมมิชชั่น ประกาศดังกลาวยอมถือไดวาเปนขอตกลงเกี่ยวกับสภาพการจางโดย ปริยาย คาคอมมิชชั่นที่โจทกเรียกรองมาเปนคานายหนาจากการขายสินคากลุมธุรกิจ การแพทยที่จําเลยตกลงจะจายใหพนักงานทีมขาย ภายใตหลักเกณฑและเงื่อนไขที่จําเลย ประกาศกําหนด จะมากหรือนอย ขึ้นอยูกับอัตรารอยละกําไรหลังหักคาใชจายในการขาย คาคอมมิชชั่นจึงเปนเงินที่นายจางตกลงจายใหลูกจางนอกเหนือไปจากที่กฎหมายคุมครอง แรงงานกําหนด นายจางจะจายคาคอมมิชชั่นใหลูกจางหรือไมก็ได ถาจะจายจะมีวิธีการ และหลักเกณฑอยางใดก็แลวแตนายจางกําหนด หรือเปนไปตามสัญญาระหวางนายจาง กับลูกจาง หรือตามขอตกลงเกี่ยวกับสภาพการจาง แลวแตกรณี เพราะไมมีกฎหมายบัญญัติ ไวโดยเฉพาะ ดังนั้น สิทธิของโจทกที่จะไดรับคาคอมมิชชั่นจากการขายสินคาตามฟอง แตละรายการจะมีอยูอยางไรตองพิจารณาถึงขอตกลงระหวางโจทกกับจําเลยเปนสําคัญ ๘๓


๘๔ การจะวินิจฉัยวาโจทกมีสิทธิไดรับคาคอมมิชชั่นจากการขายสินคาแตละรายการ หรือไม เพียงใด ศาลแรงงานกลางจําตองฟงขอเท็จจริงใหยุติเปนที่แนนอนเสียกอนวา ขอ ๑ พนักงานทีมขายตองมีสวนรวมในกระบวนการขายสินคาถึงขั้นตอนใดจึงจะมีสิทธิ ไดรับสวนแบงคาคอมมิชชั่นจากการขายสินคานั้น ขอ ๒ ผูบริหารทีมขายของโจทกกําหนด สัดสวนการจายคาคอมมิชชั่นจากการขายสินคาแตละรายการตามฟองใหโจทกอยางไร ขอ ๓ จําเลยตกลงจายคาคอมมิชชั่นจากการขายสินคารายการที่ ๑ ใหพนักงานทีมขาย ของโจทกในอัตรา ๕ เปอรเซ็นตหรือไม ขอ ๔ จําเลยมีเงื่อนไขการจายคาคอมมิชชั่นจาก การขายสินคารายการที่ ๒ และที่ ๓ ใหพนักงานทีมขายของโจทกในอัตรา ๔.๕ เปอรเซ็นต ไวอยางไร ขอ ๕ กําไรหลังหักคาใชจายในการขายที่ตองนํามาใชคํานวณอัตรารอยละกําไร หลังหักคาใชจายในการขายเปนจํานวนเทาไร ขอ ๖ ยอดขาย (ไมรวมภาษีมูลคาเพิ่ม) ของ สินคาตามฟองแตละรายการเปนจํานวนเทาไร ขอ ๗ จําเลยมีสิทธิหักคาคอมมิชชั่นทีมขาย ของโจทกจากการขายสินคาแตละรายการเปนจํานวนเทาไร และขอ ๘ โจทกมีสิทธิไดรับ คาคอมมิชชั่นจากการขายสินคาแตละรายการเปนจํานวนเทาไร แตศาลแรงงานกลาง ยังไมไดรับฟงขอเท็จจริงและวินิจฉัยขอเท็จจริงดังกลาวมา คําพิพากษาศาลแรงงานกลาง จึงไมชอบดวย พ.ร.บ. จัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๕๑ วรรคหนึ่ง ชอบที่ศาลอุทธรณคดีชํานัญพิเศษจะมีคําสั่งยกคําพิพากษาของศาลแรงงาน กลางเสีย แลวยอนสํานวนใหศาลแรงงานกลางรับฟงขอเท็จจริงดังกลาวขางตนใหชัดเจน เพียงพอแกการวินิจฉัยชี้ขาดประเด็นแหงคดีแลวพิพากษาใหมตามรูปคดี ตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๒๔๓ (๓) (ข) ประกอบ พ.ร.บ. จัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๕๗ ทั้งนี้ ใหมีผลถึงการขายสินคารายการที่ ๒ ดวย เพราะการวินิจฉัย ในสวนนี้ก็ตองอาศัยขอเท็จจริงที่ศาลแรงงานกลางจะรับฟงตอไป โจทกฟอง ขอใหบังคับจำเลยจายคาคอมมิชชั่นรายการที่ ๑ เปนเงิน ๕๐๕,๔๑๘.๗๙ บาท รายการที่ ๒ เปนเงิน ๒๙,๐๘๔.๑๑ บาท และรายการที่ ๓ เปนเงิน ๓๗๗,๓๓๑.๕๘ บาท รวมเปนเงิน ๙๑๑,๘๓๔.๔๘ บาท พรอมดอกเบี้ยอัตรารอยละ ๗.๕ ตอป นับแตวันฟองเปนตนไป จนกวาจะชำระเสร็จแกโจทก


๘๕ จำเลยใหการและแกไขคำใหการ ขอใหยกฟอง ศาลแรงงานกลาง พิพากษาใหจำเลยจายคาคอมมิชชั่นรวม ๕๗๔,๖๓๖.๘๒ บาท พรอม ดอกเบี้ยอัตรารอยละ ๗.๕ ตอป นับแตวันฟอง (ฟองวันที่ ๒๗ มีนาคม ๒๕๖๓) เปนตนไปจนกวา จะชำระเสร็จแกโจทก จำเลยอุทธรณ ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษแผนกคดีแรงงานวินิจฉัยวา ขอเท็จจริงที่คูความไมไดโตเถียงกัน และศาลแรงงานกลางรับฟงมาไดความวา จำเลยเปนนิติบุคคลประเภทบริษัทจำกัด ประกอบ กิจการนำเขาและจำหนายเครื่องมือแพทย โจทกทำงานกับจำเลยตั้งแตวันที่ ๑๖ พฤษภาคม ๒๕๕๗ ถึงวันที่ ๓๑ สิงหาคม ๒๕๖๒ แลวลาออก ตำแหนงสุดทายเปนผูชวยรองประธานเจาหนาที่ บริหาร แผนกขายเซลลเทค (Cell Tech) ไดรับคาจางอัตราสุดทายเดือนละ ๑๗๒,๐๖๒ บาท และ มีสิทธิไดรับคาคอมมิชชั่นจากการขายสินคา ระหวางที่โจทกทำงานกับจำเลย ทีมขายของโจทกมี โจทกกับนายเอกพล จำเลยมีประกาศ บค.ที่ ๐๐๓/๒๕๖๒ นโยบายและหลักเกณฑการพิจารณา เกี่ยวกับคานายหนาจากการขายสินคากลุมธุรกิจการแพทย ที่จายใหพนักงานทีมขาย ซึ่งลงวันที่ ยอนหลังเปนวันที่ ๓ กันยายน ๒๕๖๑ มีขอกำหนดดานอัตราการจายคานายหนากลุมเครื่องมือ และอุปกรณทางการแพทยแปรผันตามอัตรากำไรหลังหักคาใชจายในการขายทุกประเภท มีเงื่อนไข การจายคานายหนาและคาตอบแทนกลุมเครื่องมือและอุปกรณทางการแพทยในขอ ๔ ระบุวา “ผูบริหารทีมขายตองจัดทำเอกสารการเบิกคานายหนาและคาตอบแทนใหแลวเสร็จ และจัดสงให ฝายบัญชีภายในวันที่ ๑๐ ของเดือนถัดไป ทั้งนี้ หลังจากไดรับชำระและสงมอบสินคาแลว” และมี เงื่อนไขรวมในขอ ๓ ระบุวา “เมื่อพนักงานพนสภาพการเปนพนักงานบริษัท จะสิ้นสุดสิทธิ์การได คานายหนาและคาตอบแทนทุกประเภท” และมีประกาศ บค.ที่ ๐๐๔/๒๕๖๒ ลงวันที่ ๓ มกราคม ๒๕๖๒ กำหนดอัตราการจายคานายหนาจากการขายสินคาเทาเดิม แตมีเงื่อนไขรวมในขอ ๓ ให สิทธิพนักงานที่พนสภาพการเปนพนักงานไดรับคานายหนาจากการขายตามระยะเวลาที่ทำงาน กับบริษัทเมื่อลาออกอยางถูกตอง มีเงื่อนไขการจายในขอ ๕ ใหผูบริหารทีมขายจัดทำเอกสาร การเบิกคานายหนาและคาตอบแทนใหแลวเสร็จ และจัดสงใหฝายบัญชีภายในวันที่ ๑๐ ของเดือนถัดไป หลังจากไดรับชำระและสงมอบสินคาแลว เพื่อใหฝายการเงินดำเนินการจายภายใน ๓๐ วัน นับจากวันสิ้นเดือนของเดือนที่เก็บเงินไดครบถวนและสงมอบสินคาใหลูกคาแลว กรณีไมสามารถ เรียกชำระคาสินคาจากลูกคาไดภายใน ๑๒๐ วันนับจากวันที่เปดใบกำกับภาษีขาย บริษัทจะหัก คานายหนาในอัตราดอกเบี้ยจายเงินเบิกเกินบัญชี (ตามประกาศธนาคารที่บริษัทใชสูงสุด) จนกวา จะไดรับชำระคาสินคา เมื่อวันที่ ๓๑ พฤษภาคม ๒๕๖๑ โจทกเสนอขายและเปนตัวแทนจำเลย ทำสัญญาซื้อขายชุดทำวัคซีนมะเร็งสำหรับผูปวยมะเร็งเตานมและ/หรือมะเร็งตอมลูกหมาก


๘๖ (MoDC) (CliniNACS Prodigy, Electroporator, GentleMAC Octo with heater) ราคา ๒๐,๐๐๐,๐๐๐ บาท กับมูลนิธิศูนยมะเร็งเตานม กำหนดสงมอบสินคาภายในวันที่ ๓๑ กรกฎาคม ๒๕๖๑ เดือน ตุลาคม ๒๕๖๑ จำเลยสงมอบสินคาดังกลาว ณ สถานที่ของลูกคา แตผลการทดสอบการใชงาน ลมเหลว ลูกคาปฏิเสธการรับมอบสินคาและการชำระเงิน หลังจากโจทกลาออกแลวจำเลยสง ทีมงานไปทดสอบการใชงานอีกครั้งในเดือนพฤศจิกายน ๒๕๖๒ จนผานการทดสอบและลูกคา ชำระคาสินคาวันที่ ๒๗ ธันวาคม ๒๕๖๒ เมื่อวันที่ ๑๙ พฤศจิกายน ๒๕๖๑ โจทกเสนอขายเครื่อง แยกเซลลจากชิ้นเนื้อพรอมระบบควบคุมอุณหภูมิ (gentleMACS OCTO with heater) ราคา ๑,๕๐๐,๐๐๐ บาท และเครื่องคัดแยกและเพาะเลี้ยงเซลลในระบบปดแบบอัตโนมัติ (CliniMACS Prodigy, CliniMACS Electroporator, MACSQuant Analyzer ๑๐) ราคา ๑๘,๙๐๐,๐๐๐ บาท ใหคณะแพทยศาสตร แตโจทกเปนตัวแทนจำเลยทำสัญญาซื้อขายเฉพาะเครื่องแยกเซลลจาก ชิ้นเนื้อพรอมระบบควบคุมอุณหภูมิ (gentleMACS OCTO with heater) ในวันที่ ๒๗ ธันวาคม ๒๕๖๑ ลูกคาไดรับมอบสินคาวันที่ ๒๙ มีนาคม ๒๕๖๒ และชำระคาสินคาวันที่ ๒ สิงหาคม ๒๕๖๒ สวนเครื่องคัดแยกและเพาะเลี้ยงเซลลในระบบปดแบบอัตโนมัติ (CliniMACS Prodigy, CliniMACS Electroporator, MACSQuant Analyzer ๑๐) นายเอกพลเปนตัวแทนจำเลยทำสัญญา ซื้อขายในวันที่ ๙ สิงหาคม ๒๕๖๒ หลังจากโจทกลาออกจำเลยยังจายคาคอมมิชชั่นใหโจทก ๑๓๗,๗๖๔.๕๐ บาท แลววินิจฉัยวา เงินคาคอมมิชชั่นเปนเงินที่นายจางตกลงจายใหแกลูกจาง เพื่อจูงใจการทำงานในลักษณะเปนการเสริมเพิ่มใหจากคาตอบแทนในการทำงานตามระยะเวลา การทำงานปกติตามสัญญาจางแรงงาน จึงไมใชคาจางตามพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ แตมีลักษณะเปนสวัสดิการหรือประโยชนอื่นของลูกจาง ซึ่งนายจางกับลูกจางอาจ ตกลงกันเกี่ยวกับสภาพการจางหรือการทำงานก็ได ประกาศ บค.ที่ ๐๐๓/๒๕๖๒ หรือประกาศ บค. ที่ ๐๐๔/๒๕๖๒ ที่จำเลยผูเปนนายจางทำขึ้นและลูกจางที่เกี่ยวของยอมรับนำมาใชปฏิบัติสืบตอกันมา ถือเปนขอตกลงเกี่ยวกับสภาพการจางที่ไมไดเกิดจากการแจงขอเรียกรองระหวางกัน แตเปน สภาพการจางที่ตกลงโดยปริยาย ซึ่งมีผลผูกพันทั้งสองฝายใหตองปฏิบัติตาม การเปลี่ยนแปลง สภาพการจางโดยอีกฝายไมตกลงยินยอมทำไมได เวนแตจะเปนคุณยิ่งกวา ประกาศ บค. ที่ ๐๐๓/๒๕๖๒ ใหบังคับใชครอบคลุมการพิจารณาจายคานายหนาตั้งแตเดือนมกราคม ๒๕๖๑ เปนตนไป แตเมื่อมีประกาศ บค.ที่ ๐๐๔/๒๕๖๒ ระบุวันมีผลบังคับใชตั้งแตป ๒๕๖๒ ใหยกเลิก ประกาศอัตราคานายหนากลุมธุรกิจการแพทยกอนหนาทุกฉบับและใชประกาศฉบับนี้ ประกาศ บค.ที่ ๐๐๔/๒๕๖๒ จึงมีผลเปนการยกเลิกประกาศ บค.ที่ ๐๐๓/๒๕๖๒ ไป การจายคานายหนา หรือคาคอมมิชชั่นที่ขอเบิกจายในป ๒๕๖๒ เปนตนไป ไมวาจำนวนคานายหนาหรือคาคอมมิชชั่น


๘๗ จะเกิดขึ้นกอนป ๒๕๖๒ หรือไม ตองใชประกาศ บค.ที่ ๐๐๔/๒๕๖๒ แทน กรณีที่ทีมขายไมสามารถ จัดทำเอกสารการเบิกคานายหนาและคาตอบแทนสงฝายบัญชีไดตามกำหนดในประกาศ คงมีผล เพียงใหตองไปดำเนินการในเดือนถัดไปและจะไดรับเงินลาชาเทานั้น แตไมไดตัดสิทธิทีมขายใน การที่จะเบิกคานายหนาและคาตอบแทน และโจทกมีสิทธิไดรับคาคอมมิชชั่นโดยไมจำตองเปน ผูตั้งขอเบิกเงินหรือทำเอกสารเพื่อเบิกจายดวยตนเอง จำเลยไมไดคำนวณดอกเบี้ยที่ตองจายให ธนาคารและใชสิทธิขอหักเงินคาคอมมิชชั่นที่ตองจายใหโจทกจากการที่ไมสามารถเรียกชำระ คาสินคาจากลูกคาไดภายใน ๑๒๐ วันนับจากวันที่เปดใบกำกับภาษีขาย โจทกจึงมีสิทธิไดรับคา คอมมิชชั่นจากการขายสินคาทั้ง ๓ รายการ รายการที่ ๑ คำนวณอัตรารอยละกำไรหลังหักคาใชจาย จาก (๑๔,๔๔๐,๕๓๖.๙๑/๑๘,๖๙๑,๕๘๘.๗๙) x ๑๐๐ เทากับ ๗๗.๒๕ เปอรเซ็นต อัตราการจาย คาคอมมิชชั่นใหทีมขายตามประกาศ คือ ๗.๕ เปอรเซ็นต แตอัตราที่โจทกขอมา คือ ๕ เปอรเซ็นต เห็นควรใชวิธีการคำนวณของโจทกซึ่งเปนคุณแกจำเลยมากกวา แบงเปนสวนของโจทก ๓.๕ เปอรเซ็นต เปนเงิน ๕๐๕,๔๑๘.๗๙ บาท แตโจทกลาออกกอนลูกคาตรวจรับสินคาและชำระเงิน จึงใหลดคาคอมมิชชั่นสวนของโจทกลง ๓๐ เปอรเซ็นต คงเหลือคาคอมมิชชั่นที่จำเลยตองจาย ใหโจทก ๓๕๓,๗๙๓.๑๕ บาท รายการที่ ๒ เอกสารการคำนวณคาคอมมิชชั่นที่โจทกจัดทำและ สงใหจำเลยไมตรงกับที่เบิกความ ที่จำเลยคำนวณคาคอมมิชชั่นที่โจทกจะมีสิทธิไดรับอัตรา ๒ เปอรเซ็นต เปนเงิน ๑๒,๙๒๖.๒๗ บาท นาเชื่อถือมากกวา โจทกจึงมีสิทธิไดรับคาคอมมิชชั่น ๑๒,๙๒๖.๒๗ บาท รายการที่ ๓ คำนวณอัตรารอยละกำไรหลังหักคาใชจายจาก (๑๕,๓๒๗,๐๕๗.๖๓ /๑๗,๒๘๙,๗๑๙.๖๓) x ๑๐๐ เทากับ ๘๘.๖๔ เปอรเซ็นต อัตราการจายคาคอมมิชชั่นใหทีมขาย ตามประกาศ คือ ๘.๕ เปอรเซ็นต แตอัตราที่โจทกขอมา คือ ๕ เปอรเซ็นต เปนคุณแกจำเลย มากกวา คิดเปนคาคอมมิชชั่นที่ทีมขายของโจทกมีสิทธิไดรับเปนเงิน ๖๙๓,๐๕๘.๐๑ บาทโจทก มีสวนรวมในการเสนอขาย มีสิทธิไดรับสวนแบงคาคอมมิชชั่น แตโจทกลาออกกอนลูกคาตรวจรับ สินคาและชำระเงิน เห็นควรกำหนดคาคอมมิชชั่นใหโจทก ๓๐ เปอรเซ็นตของคาคอมมิชชั่น ที่ทีมขายมีสิทธิไดรับ คิดเปน ๒๐๗,๙๑๗.๔๐ บาท ที่จำเลยอุทธรณวา สินคารายการที่ ๑ และที่ ๓ ทำสัญญาซื้อขายในป ๒๕๖๑ ตองถือ หลักเกณฑตามประกาศ บค.ที่ ๐๐๓/๒๕๖๒ นั้น เห็นวา ศาลแรงงานกลางฟงขอเท็จจริงและ วินิจฉัยวา แมประกาศ บค.ที่ ๐๐๓/๒๕๖๒ ใหบังคับใชครอบคลุมการพิจารณาจายคานายหนาตั้งแต เดือนมกราคม ๒๕๖๑ เปนตนไป แตเมื่อมีประกาศ บค.ที่ ๐๐๔/๒๕๖๒ ระบุวันมีผลบังคับใชตั้งแต ป ๒๕๖๒ โดยใหยกเลิกประกาศอัตราคานายหนากลุมธุรกิจการแพทยกอนหนาทุกฉบับและ ใชประกาศฉบับนี้ ประกาศ บค.ที่ ๐๐๔/๒๕๖๒ จึงมีผลเปนการยกเลิกประกาศ บค.ที่ ๐๐๓/๒๕๖๒


๘๘ ไปการจายคานายหนาหรือคาคอมมิชชั่นที่ขอเบิกจายในป ๒๕๖๒ เปนตนไป ไมวาจำนวน คานายหนาหรือคาคอมมิชชั่นจะเกิดขึ้นกอนป ๒๕๖๒ หรือไม ตองใชประกาศ บค.ที่ ๐๐๔/๒๕๖๒ แทน อุทธรณของจำเลยดังกลาวเปนการโตแยงดุลพินิจในการรับฟงพยานหลักฐานของ ศาลแรงงานกลาง อันเปนอุทธรณในขอเท็จจริง ซึ่งตองหามมิใหอุทธรณตามพระราชบัญญัติจัดตั้ง ศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๕๔ วรรคหนึ่ง ศาลอุทธรณคดีชำนัญ พิเศษไมรับวินิจฉัย คดีมีปญหาที่ตองวินิจฉัยตามอุทธรณของจำเลยประการแรกวา ประกาศ บค.ที่ ๐๐๔/๒๕๖๒ ถือเปนขอตกลงเกี่ยวกับสภาพการจางหรือไม เห็นวาพระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ พ.ศ. ๒๕๑๘ มาตรา ๕ บัญญัติวา “สภาพการจาง” หมายความวา เงื่อนไขการจางหรือการทำงานกำหนดวัน และเวลาทำงาน คาจาง สวัสดิการ การเลิกจางหรือประโยชนอื่นของนายจางหรือลูกจาง อันเกี่ยวกับการจางหรือการทำงาน การที่จำเลยประกาศนโยบายและหลักเกณฑการพิจารณา เกี่ยวกับคานายหนาจากการขายสินคากลุมธุรกิจการแพทยที่จายใหพนักงานทีมขาย ตามประกาศ บค.ที่ ๐๐๔/๒๕๖๒ โดยกำหนดใหพนักงานขายที่สามารถทำยอดขายไดตามเปาหมายมีสิทธิไดรับ คานายหนาหรือคาคอมมิชชั่นนอกเหนือจากคาจาง เพื่อจูงใจพนักงานขายใหขายสินคาไดมากขึ้น คานายหนาหรือคาคอมมิชชั่นจึงเปนสวัสดิการอยางหนึ่งที่จำเลยจัดใหมีขึ้น อันอยูในความหมาย ของสภาพการจางตามกฎหมาย เมื่อพฤติการณของโจทกและจำเลยตางแสดงออกวาตกลงจะยึดถือ เอาประกาศดังกลาวมาใชเปนหลักเกณฑสำหรับเบิกจายคานายหนาหรือคาคอมมิชชั่น ประกาศ ดังกลาวยอมถือไดวาเปนขอตกลงเกี่ยวกับสภาพการจางโดยปริยาย ที่ศาลแรงงานกลางวินิจฉัย วาประกาศ บค.ที่ ๐๐๔/๒๕๖๒ ถือเปนขอตกลงเกี่ยวกับสภาพการจางชอบแลว คำพิพากษา ศาลฎีกาที่จำเลยอางมาเปนกรณีพิพาทระหวางสหภาพแรงงานรัฐวิสาหกิจและหนวยงานรัฐวิสาหกิจ เกี่ยวกับการปรับเพิ่มเงินเดือนลูกจาง อันมีขอเท็จจริงแตกตางจากคดีนี้ ไมอาจนำมาใชเทียบเคียง กันได อุทธรณของจำเลยขอนี้ฟงไมขึ้น คดีมีปญหาที่ตองวินิจฉัยตามอุทธรณของจำเลยประการที่สองวา ที่ศาลแรงงานกลาง กำหนดคาคอมมิชชั่นใหโจทกชอบดวยกฎหมายหรือไม เห็นวา คาคอมมิชชั่นที่โจทกเรียกรองมา เปนคานายหนาจากการขายสินคากลุมธุรกิจการแพทยที่จำเลยตกลงจะจายใหพนักงานทีมขาย ภายใตหลักเกณฑและเงื่อนไขที่จำเลยประกาศกำหนด จะมากหรือนอยขึ้นอยูกับอัตรารอยละกำไร หลังหักคาใชจายในการขาย คาคอมมิชชั่นจึงเปนเงินที่นายจางตกลงจายใหลูกจางนอกเหนือไป จากที่กฎหมายคุมครองแรงงานกำหนด นายจางจะจายคาคอมมิชชั่นใหลูกจางหรือไมก็ได ถาจะ จายจะมีวิธีการและหลักเกณฑอยางใดก็แลวแตนายจางกำหนด หรือเปนไปตามสัญญาระหวาง


๘๙ นายจางกับลูกจาง หรือตามขอตกลงเกี่ยวกับสภาพการจาง แลวแตกรณี เพราะไมมีกฎหมาย บัญญัติไวโดยเฉพาะ ดังนั้น สิทธิของโจทกที่จะไดรับคาคอมมิชชั่นจากการขายสินคาตามฟอง แตละรายการจะมีอยูอยางไรตองพิจารณาถึงขอตกลงระหวางโจทกกับจำเลยเปนสำคัญ ศาล แรงงานกลางไมอาจกำหนดหลักเกณฑและจำนวนคาคอมมิชชั่นแทนจำเลยซึ่งเปนนายจาง หรือ นอกเหนือไปจากสัญญาจาง หรือขอตกลงเกี่ยวกับสภาพการจางได ที่ศาลแรงงานกลางวินิจฉัย ใหจำเลยจายคาคอมมิชชั่นตามที่ศาลเห็นสมควรวาเปนคุณแกจำเลยหรือเปนธรรมเพียงพอนั้น ไมชอบ อุทธรณของจำเลยในขอนี้ฟงขึ้น คดีมีปญหาที่ตองวินิจฉัยตามอุทธรณของจำเลยประการที่สามวา โจทกมีสิทธิไดรับ คาคอมมิชชั่นจากการขายสินคาตามฟองหรือไม เพียงใด เห็นวา ขอเท็จจริงรับฟงเปนยุติตาม คำพิพากษาศาลแรงงานกลางแลววา ประกาศ บค.ที่ ๐๐๔/๒๕๖๒ มีผลเปนการยกเลิกประกาศ บค.ที่ ๐๐๓/๒๕๖๒ ไปแลว จึงไมอาจนำประกาศ บค.ที่ ๐๐๓/๒๕๖๒ มาใชกับการพิจารณาจาย คาคอมมิชชั่นใหโจทกได แตโจทกฟองอางวาอัตราคาคอมมิชชั่นที่จำเลยตกลงจายใหโจทกสำหรับ สินคารายการที่ ๑ คือ ๕ เปอรเซ็นต สินคารายการที่ ๒ และที่ ๓ คือ ๔.๕ เปอรเซ็นต จำเลยให การตอสูและนำสืบวา จำเลยไมเคยตกลงจายคาคอมมิชชั่นจากการขายสินคารายการที่ ๑ ในอัตรา ๕ เปอรเซ็นตตามที่โจทกอาง สวนขอตกลงจายคาคอมมิชชั่นในอัตรา ๔.๕ เปอรเซ็นต จะมีผล ตอเมื่อพนักงานทีมขายของโจทกสามารถทำยอดขายสำหรับสินคารายการที่ ๒ และที่ ๓ รวมกับ รายการอื่นที่เสนอขออนุมัติพรอมกันเปนเงิน ๓๐.๓๓ ลานบาทในคราวเดียว แตเมื่อลูกคาซื้อแยกกัน จึงไมเขาเงื่อนไข โจทกไมไดรับผิดชอบการขายสินคารายการที่ ๑ และที่ ๓ จนเสร็จสิ้นกระบวนการ เมื่อลูกคาชำระเงิน และลูกคาชำระเงินเกิน ๑๒๐ วันนับจากวันที่เปดใบกำกับภาษีขาย โจทกจึง ไมมีสิทธิไดรับคาคอมมิชชั่นจากการขายสินคาดังกลาว นอกจากนี้ เมื่อพิจารณาตามประกาศ บค.ที่ ๐๐๔/๒๕๖๒ แลว ยังมีเงื่อนไขรวมในขอ ๒ ใหผูบริหารทีมขายกำหนดสัดสวนการจาย คานายหนาใหผูเกี่ยวของอีก สวนที่ศาลแรงงานกลางคำนวณอัตรากำไรหลังหักคาใชจายในการ ขายสินคารายการที่ ๑ และที่ ๓ เพื่อหาอัตราคาคอมมิชชั่นตามประกาศ บค.ที่ ๐๐๔/๒๕๖๒ แลว เปรียบเทียบวาอัตราที่โจทกอางกับอัตราตามประกาศอยางไหนเปนคุณแกจำเลยมากกวา โดย สินคารายการที่ ๑ ใชตัวเลขตามบันทึกถอยคำของโจทกและเอกสารหมาย จ.๖ แตสินคารายการที่ ๓ ตัวเลขตามบันทึกถอยคำของโจทกกับเอกสารหมาย จ.๖ ไมตรงกัน จึงเลือกใชตัวเลขตามเอกสาร หมาย จ.๖ อยางเดียว ในขณะที่สินคารายการที่ ๒ ระบุวาการคำนวณของจำเลยนาเชื่อถือกวาโจทก จึงไมแสดงการคำนวณตัวเลขที่เกี่ยวของ เชนนี้ยังไมอาจถือไดวาขอเท็จจริงในสวนตัวเลขเหลานั้น เปนยุติแลว การจะวินิจฉัยวาโจทกมีสิทธิไดรับคาคอมมิชชั่นจากการขายสินคาแตละรายการหรือไม


Click to View FlipBook Version