The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รวมคำพิพากษา-แผนกคดีแรงงาน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by iprd.pic, 2024-01-31 21:12:27

รวมคำพิพากษา-แผนกคดีแรงงาน

รวมคำพิพากษา-แผนกคดีแรงงาน

คำพิพากษาศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษที่ ๑๗๖๑/๒๕๖๐ บริษัทพารค ควิซีน จำกัด โจทก สำนักงานประกันสังคม จำเลย พ.ร.บ. ประกันสังคม พ.ศ. ๒๕๓๓ มาตรา ๕, ๔๖, ๔๗ คาบริการหรือเซอรวิซชารจเปนเงินของลูกคาที่โจทกทำหนาที่เรียกเก็บจากลูกคา เพื่อจายใหแกลูกจางของโจทก คาบริการไมใชเงินของโจทกผูเปนนายจาง โจทกไมได จายเงินของโจทกใหแกลูกจาง คาบริการจึงไมใชคาจางตาม พ.ร.บ. ประกันสังคม พ.ศ. ๒๕๓๓ มาตรา ๕ อันจะตองนำมาเปนฐานในการคำนวณเงินสมทบประจำปเพื่อเขากองทุน ประกันสังคมตามมาตรา ๔๖ และ ๔๗ คาน้ำมันที่โจทกเหมาจายรายเดือนใหแกลูกจางตำแหนงพนักงานสงเอกสาร เปนการจายเพื่อชดเชยกับการที่ลูกจางใชพาหนะสวนตัวในการทำงานใหแกนายจาง คาน้ำมันจึงไมใชคาจาง คาโทรศัพทที่โจทกเหมาจายรายเดือนใหแกลูกจางที่มีหนาที่ติดตอกับลูกคา ประสานงานจัดเลี้ยง เปนการจายเพื่อชดเชยกับการที่ลูกจางใชโทรศัพทสวนตัวในการ ทำงานใหแกนายจาง คาโทรศัพทจึงไมใชคาจาง คากะที่โจทกจายใหแกลูกจางที่เขาทำงานในเวลาดึกถึงเชาตามวันที่มาทำงานจริง เปนเงินชวยเหลือดานสุขภาพและการเดินทาง และเพื่อจูงใจใหลูกจางมาทำงานเชาหรือดึก คากะจึงไมใชคาจาง ______________________________ โจทกฟองขอใหเพิกถอนคำสั่งของสำนักงานประกันสังคมกรุงเทพมหานครพื้นที่ ๔ ที่ รง ๐๖๒๗/๖๔๒๐๕ ลงวันที่ ๓๐ ตุลาคม ๒๕๕๕ และเพิกถอนคำวินิจฉัยที่ ๓๓๗๐/๒๕๕๗ ลงวันที่ ๒๕ พฤศจิกายน ๒๕๕๘ (ที่ถูกคือ ลงวันที่ ๒๕ พฤศจิกายน ๒๕๕๗) ของคณะกรรมการ อุทธรณ พรอมทั้งใหจำเลยคืนเงินของโจทกที่ชำระไวในเรื่องนี้ทั้งหมด จำเลยใหการ ขอใหยกฟอง ศาลแรงงานกลาง พิพากษาใหเพิกถอนคำสั่งของสำนักงานประกันสังคมกรุงเทพมหานคร พื้นที่ ๔ ที่ รง ๐๖๒๗/๖๔๒๐๕ ลงวันที่ ๓๑ ตุลาคม ๒๕๕๕ และคำวินิจฉัยของคณะกรรมการอุทธรณ ที่ ๓๓๗๐/๒๕๕๗ ลงวันที่ ๒๕ พฤศจิกายน ๒๕๕๘ (ที่ถูกคือ ลงวันที่ ๒๕ พฤศจิกายน ๒๕๕๗) และใหจำเลยคืนเงินของโจทกที่ชำระไวในเรื่องนี้ทั้งหมด ๕๔๐


จำเลยอุทธรณ ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษแผนกคดีแรงงานวินิจฉัยวา ศาลแรงงานกลางฟงขอเท็จจริงวา สำนักงานประกันสังคมกรุงเทพมหานครพื้นที่ ๔ มีหนังสือที่ รง ๐๖๒๗/๖๔๒๐๕ ลงวันที่ ๓๑ ตุลาคม ๒๕๕๕ แจงผลการตรวจสอบบัญชีคาจางประจำป ๒๕๕๔ ใหโจทกจายเงินสมทบเพิ่มเติม ในสวนของคาบริการ คากะ คาน้ำมัน และคาโทรศัพทเพิ่มเติมตั้งแตเดือนมกราคมถึงเดือน ธันวาคม ๒๕๕๔ เปนคาจาง ๓,๘๙๕,๕๗๓.๙๔ บาท คิดเปนเงินสมทบ ๓๘๙,๕๕๘ บาท พรอมเงินเพิ่ม ๑๒๑,๑๒๙.๗๒ บาท ภายในวันที่ ๒๙ พฤศจิกายน ๒๕๕๕ โจทกอุทธรณ คณะกรรมการอุทธรณ มีคำวินิจฉัย ที่ ๓๓๗๐/๒๕๕๗ ลงวันที่ ๒๕ พฤศจิกายน ๒๕๕๘ (ที่ถูกคือ ลงวันที่ ๒๕ พฤศจิกายน ๒๕๕๗) เห็นวาคาบริการ คากะ คาน้ำมัน และคาโทรศัพทถือเปนคาจางที่ตองนำมา คำนวณเพื่อนำสงเงินสมทบ คำสั่งของสำนักงานประกันสังคมกรุงเทพมหานครพื้นที่ ๔ ชอบดวยกฎหมายแลวจึงมีมติยกอุทธรณของโจทก แลววินิจฉัยวา คาบริการไมใชเงินของโจทกที่จาย ใหแกลูกจางสวนคากะ คาน้ำมัน และคาโทรศัพทเปนเงินที่นายจางจายเพื่อจูงใจใหลูกจางทำงาน คาบริการ คากะ คาน้ำมัน และคาโทรศัพท จึงไมใชคาจางตามมาตรา ๕ แหงพระราชบัญญัติ ประกันสังคม พ.ศ. ๒๕๓๓ คดีมีปญหาตองวินิจฉัยตามอุทธรณของจำเลยวาคาบริการหรือเซอรวิซชารจ เปนคาจาง ตามพระราชบัญญัติประกันสังคม พ.ศ. ๒๕๓๓ มาตรา ๕ อันจะตองนำมาเปนฐานการคำนวณ เงินสมทบตามมาตรา ๔๗ หรือไม จำเลยอุทธรณวา คาบริการเปนเงินที่โจทกเรียกเก็บจากลูกคา มิใชเงินที่ลูกคาเต็มใจใหแกลูกจางโดยตรง ยอดคาบริการจะปรากฏอยูในงบการเงินของโจทก โจทกจะนำเงินมาจายใหแกลูกจางทุกสิ้นเดือน ลูกจางไดรับในจำนวนเทากันเปนประจำสม่ำเสมอ จึงเปนเงินของโจทกที่จายเปนเงินคาตอบแทนในวันและเวลาทำงานตามปกติ ซึ่งโจทกไดรับประโยชน เพราะเทากับเปนการเพิ่มคาจางโดยไมตองจายเอง จึงถือวาคาบริการเปนคาจางที่โจทกตอง นำมารวมคำนวณเพื่อสงเปนเงินสมทบนั้น เห็นวา คาจางคือเงินทุกประเภทที่นายจางจายใหแก ลูกจางเปนคาตอบแทนการทำงานในวันและเวลาทำงานปกติ แตคาบริการตามอุทธรณของจำเลย เปนเงินที่นายจางเรียกเก็บจากลูกคาเพื่อจายใหแกลูกจางของโจทกเพื่อจูงใจใหลูกจางใหบริการ ลูกคาดวยดี คาบริการจึงมิใชเงินของโจทกผูเปนนายจางแตโจทกทำหนาที่เรียกเก็บเงินแทน ลูกจางโจทกไมเคยจายเงินของโจทกเปนคาบริการใหแกลูกจางแตอยางใด ดังนั้น คาบริการ จึงไมใชคาจางตามมาตรา ๕ แหงพระราชบัญญัติประกันสังคม พ.ศ. ๒๕๓๓ อันจะตองนำมาเปนฐาน การคำนวณเงินสมทบเพื่อเขากองทุนประกันสังคมตามมาตรา ๔๖ และ ๔๗ ที่ศาลแรงงานกลาง วินิจฉัยวาคาบริการไมใชคาจางนั้น ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษเห็นพองดวย อุทธรณขอนี้ของ จำเลยฟงไมขึ้น ๕๔๑


คดีมีปญหาตองวินิจฉัยตามอุทธรณของจำเลยประการตอไปวาคาน้ำมันเปนคาจางหรือไม จำเลยอุทธรณวา โจทกจายคาน้ำมันใหแกพนักงานตำแหนงพนักงานสงเอกสารในลักษณะ เหมาจายใหเปนรายเดือนในจำนวนที่แนนอนทุกเดือน และจายเปนแบบไมมีเงื่อนไขใด คาน้ำมัน จึงเปนคาจางตามมาตรา ๕ แหงพระราชบัญญัติประกันสังคม พ.ศ. ๒๕๓๓ เห็นวา คาน้ำมัน ที่โจทกเหมาจายรายเดือนใหแกลูกจางนั้นก็เพื่อใหลูกจางใชเปนคาพาหนะในการสงเอกสาร โดย รถจักรยานยนตที่ใชสงเอกสารก็เปนของลูกจางเองที่นำมาใชในงานของโจทกผูเปนนายจาง คาน้ำมันดังกลาวจึงเปนการจายเพื่อชดเชยกับการที่ลูกจางใชรถจักรยานยนตสวนตัวไปในการ ทำงานใหแกโจทก คาน้ำมันนี้จึงมิใชเงินที่นายจางจายใหแกลูกจางเปนคาตอบแทนในการทำงาน คาน้ำมันจึงไมใชคาจาง ที่ศาลแรงงานกลางวินิจฉัยวาคาน้ำมันไมใชคาจางจึงชอบแลว ศาลอุทธรณ คดีชำนัญพิเศษเห็นพองดวย อุทธรณของจำเลยขอนี้ฟงไมขึ้นเชนกัน คดีมีปญหาตองวินิจฉัยตามอุทธรณของจำเลยประการตอไปวาคาโทรศัพทถือเปนคาจาง หรือไม จำเลยอุทธรณวา โจทกจายคาโทรศัพทใหกับลูกจางตำแหนง F&B Co-ordinator Manager มีหนาที่ติดตองานกับลูกคาประสานงานจัดเลี้ยง ซึ่งลูกจางนำโทรศัพทเคลื่อนที่ สวนตัวมาใชใน การทำงานใหแกโจทก โจทกจายคาโทรศัพทแกลูกจางเปนจำนวนแนนอนตายตัวทุกเดือน โดยมิไดดูหลักฐานการใชโทรศัพทแตอยางใด จึงเปนการจายแบบไมมีเงื่อนไข ถือวาเปนคาจางนั้น เห็นวา โจทกจายคาโทรศัพทใหแกลูกจางที่ทำหนาที่ติดตองานกับลูกคา ทั้งโทรศัพทเคลื่อนที่ ก็เปนของลูกจางเองมิใชของโจทกแตอยางใด การจายคาโทรศัพทดังกลาวก็เปนไปเพื่อชดเชย กับการที่ลูกจางมีหนาที่ติดตอประสานงานลูกคา ตองใชโทรศัพทในการติดตอลูกคาของโจทก เพื่อประโยชนในการทำงานใหแกโจทก คาโทรศัพทที่โจทกจายใหแกลูกจางจึงมิใชคาตอบแทน ในการทำงาน คาโทรศัพทจึงมิใชคาจาง ที่ศาลแรงงานกลางวินิจฉัยวาคาโทรศัพทไมใชคาจาง จึงชอบแลว ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษเห็นพองดวย อุทธรณของจำเลยขอนี้ฟงไมขึ้นเชนกัน คดีมีปญหาตองวินิจฉัยตามอุทธรณของจำเลยประการสุดทายวาคากะเปนคาจางหรือไม จำเลย อุทธรณวา โจทกมีการกำหนดจายคากะ ๓ ประเภท ๑. จายใหพนักงานครัวรอน (กุก) พนักงานเสิรฟ ที่เขาทำงานไมเกินเวลา ๐๔.๐๐ นาิกา โดยจายใหวันละ ๑๕๐ บาท ตามจำนวนวันที่เขาทำงาน ชวงดังกลาว ๒. จายใหพนักงานครัวรอน (กุก) พนักงานเสิรฟที่ทำงานรอบดึกตั้งแตเวลา ๒๑.๐๐-๐๕.๐๐ นาิกา โดยเหมาจายใหเดือนละ ๒,๐๐๐ บาท ๓. จายใหพนักงานขนสงสินคา ที่เขาทำงานตั้งแตเวลา ๐๔.๐๐-๐๕.๐๐ นาิกา หรือสายกวาเวลาดังกลาวไมเกิน ๑๕ นาที วันละ ๑๐๐ บาท ตามจำนวนวันที่พนักงานเขาทำงานชวงดังกลาว ระยะเวลาเขากะถือเปนเวลา ในการทำงานปกติ คากะจึงเปนคาจางนั้น เห็นวา คากะที่โจทกจายใหแกลูกจางนั้น เปนเงินที่ ๕๔๒


โจทกจายใหแกลูกจางที่เขาทำงานในเวลาดึกถึงเชาตามวันที่มาทำงานจริงเพื่อชวยเหลือดาน สุขภาพและการเดินทาง รวมทั้งเพื่อเปนเงินจูงใจใหลูกจางมาทำงานเชาหรือดึก คากะที่โจทก จายเปนเพียงเงินชวยเหลือและเงินจูงใจใหลูกจางมาทำงานผิดจากเวลาทำงานปกติ มิใชคาตอบแทน ในการทำงาน คากะจึงมิใชคาจางตามมาตรา ๕ ตามพระราชบัญญัติประกันสังคม พ.ศ. ๒๕๓๓ อันจะตองนำมาคำนวณเปนเงินสมทบเพื่อเขากองทุนประกันสังคมตามมาตรา ๔๖ และ ๔๗ ที่ศาลแรงงานกลางวินิจฉัยวาคากะมิใชคาจางนั้นชอบแลว ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษเห็นพองดวย อุทธรณของจำเลยขอนี้ฟงไมขึ้นอีกเชนกัน พิพากษายืน. (เกื้อ วุฒิปวัฒน - สุจินต เชี่ยวชาญศิลป - วิชชุพล สุขสวัสดิ์) สุรพัศ เพ็ชรคง - ยอ สุโรจน จันทรพิทักษ - ตรวจ ๕๔๓


คำพิพากษาศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษที่ ๕๔๒/๒๕๖๒ นางสาวภรธนา จารุดลจินดา โจทก คณะกรรมการอุทธรณ ตามพระราชบัญญัติประกันสังคม พ.ศ. ๒๕๓๓ กับพวก จำเลย พ.ร.บ. ประกันสังคม พ.ศ. ๒๕๓๓ มาตรา ๓๓, ๓๙, ๕๔ เดิม เมื่อวันที่ ๑ กุมภาพันธ ๒๕๓๙ โจทกเปนผูประกันตนตาม พ.ร.บ. ประกันสังคม พ.ศ. ๒๕๓๓ มาตรา ๓๓ ตอมาวันที่ ๒๑ พฤษภาคม ๒๕๔๒ โจทกประสบอุบัติเหตุ ทางรถยนตไดรับบาดเจ็บสาหัสเขารับการรักษาที่โรงพยาบาล แพทยลงความเห็นวาโจทก เปนโรคกลุมประสาทแขนขวาขาด สงผลใหมือและแขนขวาสูญเสียสมรรถภาพรอยละ ๑๐๐ อยางถาวร โจทกยื่นคำรองขอรับประโยชนทดแทนในกรณีทุพพลภาพจากกองทุน ประกันสังคม สำนักงานประกันสังคมกรุงเทพมหานครพื้นที่ ๓ มีคำสั่งวา โจทกมีสิทธิ ไดรับเงินทดแทนการขาดรายไดกรณีทุพพลภาพตั้งแตวันที่ ๑๗ มีนาคม ๒๕๕๖ โจทกยื่น อุทธรณตอจำเลยที่ ๑ ซึ่งจำเลยที่ ๑ มีคำวินิจฉัยวา โจทกเปนผูทุพพลภาพตั้งแตวันที่ ๑๔ กรกฎาคม ๒๕๔๓ โจทกฟองจำเลยทั้งสองตอศาลแรงงานกลาง ศาลแรงงานกลางพิพากษา เมื่อวันที่ ๒๗ มกราคม ๒๕๖๐ ใหเพิกถอนคำวินิจฉัยของจำเลยที่ ๑ และใหจำเลยที่ ๒ จายเงินทดแทนการขาดรายไดกรณีทุพพลภาพตั้งแตวันที่ ๒๑ พฤษภาคม ๒๕๔๒ ไปจน ตลอดชีวิตของโจทก โดยหลังจากโจทกประสบอุบัติเหตุและไมไดทำงานเปนลูกจาง โจทก ขึ้นทะเบียนเปนผูประกันตนตามมาตรา ๓๙ นำสงเงินสมทบตั้งแตงวดเดือน กรกฎาคม ๒๕๔๓ ถึงเดือนมิถุนายน ๒๕๕๕ รวมเงินสมทบที่โจทกนำสงเขากองทุนประกันสังคม ๔๗,๙๕๒บาท วันที่ ๒๖ เมษายน ๒๕๖๐ โจทกยื่นคำรองขอรับเงินสมทบดังกลาวคืน สำนักงานประกันสังคมกรุงเทพมหานครพื้นที่ ๙ พิจารณาไมคืนให โจทกอุทธรณคำสั่ง ตอจำเลยที่ ๑ แตจำเลยที่ ๑ ยกอุทธรณของโจทก ดังนี้ แมขณะโจทกขึ้นทะเบียนเปน ผูประกันตนตามมาตรา ๓๙ โจทกจะประสบอุบัติเหตุทางรถยนตไดรับบาดเจ็บสาหัส แตไมปรากฏความชัดเจนวาโจทกสูญเสียสมรรถภาพรอยละ ๑๐๐ อยางถาวร โจทกตกเปน ผูทุพพลภาพตั้งแตวันที่ ๒๑ พฤษภาคม ๒๕๔๒ ก็ดวยผลตามคำพิพากษาศาลแรงงานกลาง เมื่อวันที่ ๒๗ มกราคม ๒๕๖๐ แสดงวาขณะจำเลยที่ ๒ อนุมัติใหโจทกเปนผูประกันตน ๕๔๔


ตามมาตรา ๓๙ และรับเงินสมทบที่โจทกสงเขากองทุนประกันสังคม จำเลยที่ ๒ ไมทราบ วาโจทกขาดคุณสมบัติไมสามารถเปนผูประกันตนตามมาตรา ๓๙ ได การที่จำเลยที่ ๒ อนุมัติใหโจทกเปนผูประกันตนตามมาตรา ๓๙ จึงกระทำไปโดยสุจริต จำเลยที่ ๒ มีสิทธิ รับเงินสมทบที่โจทกนำสงตามมาตรา ๓๙ วรรคสาม เขากองทุนประกันสังคมเพื่อการจาย ประโยชนทดแทนในกรณีตาง ๆ ตามมาตรา ๕๔ ซึ่งเปนไปตามความสมัครใจของโจทก ผูประกันตนและวัตถุประสงคของพระราชบัญญัติประกันสังคม พ.ศ. ๒๕๓๓ ที่จัดตั้งขึ้น เพื่อสรางหลักประกันใหแกผูประกันตนและบุคคลในครอบครัวใหไดรับการสงเคราะห เมื่อผูประกันตนตองประสบอันตราย เจ็บปวย ทุพพลภาพ หรือตายอันมิใชเนื่องจาก การทำงาน คลอดบุตร สงเคราะหบุตร ชราภาพ และวางงาน โจทกและจำเลยที่ ๒ จึงตาง มีหนาที่และใชสิทธิตามกฎหมายโดยสุจริต และโจทกไดใชสิทธิประโยชนทดแทนในกรณี เจ็บปวย กรณีคลอดบุตร กรณีสงเคราะหบุตร และกรณีชราภาพแลว กรณีไมมีเหตุให เพิกถอนคำวินิจฉัยของจำเลยที่ ๑ ที่ ๘๑๓/๒๕๖๐ ลงวันที่ ๒๕ พฤษภาคม ๒๕๖๐ และ จำเลยที่ ๒ ไมตองคืนเงินสมทบพรอมดอกเบี้ยใหแกโจทก และเมื่อโจทกและจำเลยที่ ๒ ตางมีหนาที่และใชสิทธิตามกฎหมายโดยสุจริต และโจทกไดรับความคุมครองเพื่อการ จายประโยชนทดแทนในกรณีตาง ๆ ตาม พ.ร.บ. ประกันสังคม พ.ศ. ๒๕๓๓ มาตรา ๕๔ และไดใชสิทธิตามกฎหมายที่มีอยูแลว โจทกจึงไมตองคืนเงินประโยชนทดแทนที่ไดรับ ในกรณีเจ็บปวย กรณีคลอดบุตร กรณีสงเคราะหบุตร และกรณีชราภาพพรอมดอกเบี้ย ตามฟองแยง ______________________________ โจทกฟอง ขอใหเพิกถอนคำวินิจฉัยของจำเลยที่ ๑ ที่ ๘๑๓/๒๕๖๐ ลงวันที่ ๒๕ พฤษภาคม ๒๕๖๐ และใหจำเลยที่ ๒ จายเงินสมทบคืน ๔๗,๙๕๒ บาท พรอมดอกเบี้ยอัตรา รอยละ ๗.๕ ตอป นับแตวันฟองเปนตนไปจนกวาจะชำระเสร็จแกโจทก จำเลยทั้งสองใหการและจำเลยที่ ๒ ฟองแยง ขอใหยกฟอง และบังคับโจทกชำระเงิน ๓๘,๗๒๒.๘๓ บาท พรอมดอกเบี้ยอัตรารอยละ ๗.๕ ตอป นับแตวันที่ ๗ สิงหาคม ๒๕๖๐ เปนตนไปจนกวาจะชำระเสร็จแกจำเลยที่ ๒ โจทกใหการแกฟองแยง ขอใหยกฟองแยง ศาลแรงงานกลาง พิพากษาใหเพิกถอนคำสั่งของคณะกรรมการอุทธรณตามพระราชบัญญัติ ประกันสังคม พ.ศ. ๒๕๓๓ ที่ ๘๑๓/๒๕๖๐ ลงวันที่ ๒๕ พฤษภาคม ๒๕๖๐ และใหจำเลยที่ ๒ ๕๔๕


จายเงินสมทบคืน ๔๗,๙๕๒ บาท พรอมดอกเบี้ยอัตรารอยละ ๗.๕ ตอป ของตนเงินดังกลาว นับแตวันฟอง (ฟองวันที่ ๗ สิงหาคม ๒๕๖๐) เปนตนไปจนกวาจะชำระเสร็จแกโจทก และให ยกฟองแยงจำเลยทั้งสอง (ที่ถูกฟองแยงจำเลยที่ ๒) จำเลยทั้งสองอุทธรณ ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษแผนกคดีแรงงานวินิจฉัยวา ขอเท็จจริงที่คูความไมโตแยงกัน และศาลแรงงานกลางรับฟงมาเปนยุติวา เมื่อวันที่ ๑ กุมภาพันธ ๒๕๓๙ โจทกเปนผูประกันตนตาม พระราชบัญญัติประกันสังคม พ.ศ. ๒๕๓๓ มาตรา ๓๓ ตอมาวันที่ ๒๑ พฤษภาคม ๒๕๔๒ โจทก ประสบอุบัติเหตุทางรถยนตไดรับบาดเจ็บสาหัสเขารับการรักษาที่โรงพยาบาล แพทยลงความเห็นวา โจทกเปนโรคกลุมประสาทแขนขวาขาด สงผลใหมือและแขนขวาสูญเสียสมรรถภาพรอยละ ๑๐๐ อยางถาวร โจทกยื่นคำรองขอรับประโยชนทดแทนในกรณีทุพพลภาพจากกองทุนประกันสังคม สำนักงานประกันสังคมกรุงเทพมหานครพื้นที่ ๓ มีคำสั่งวา โจทกมีสิทธิไดรับเงินทดแทนการ ขาดรายไดกรณีทุพพลภาพตั้งแตวันที่ ๑๗ มีนาคม ๒๕๕๖ โจทกยื่นอุทธรณตอจำเลยที่ ๑ ซึ่งจำเลยที่ ๑ มีคำวินิจฉัยวา โจทกเปนผูทุพพลภาพตั้งแตวันที่ ๑๔ กรกฎาคม ๒๕๔๓ โจทกฟอง จำเลยทั้งสองตอศาลแรงงานกลาง ศาลแรงงานกลางพิพากษาเมื่อวันที่ ๒๗ มกราคม ๒๕๖๐ ใหเพิกถอนคำวินิจฉัยของจำเลยที่ ๑ และใหจำเลยที่ ๒ จายเงินทดแทนการขาดรายไดกรณี ทุพพลภาพตั้งแตวันที่ ๒๑ พฤษภาคม ๒๕๔๒ ไปจนตลอดชีวิตของโจทก หลังจากโจทกประสบ อุบัติเหตุและไมไดทำงานเปนลูกจาง โจทกขึ้นทะเบียนเปนผูประกันตนตามมาตรา ๓๙ นำสง เงินสมทบตั้งแตงวดเดือนกรกฎาคม ๒๕๔๓ ถึงเดือนมิถุนายน ๒๕๕๕ รวมเงินสมทบที่โจทก นำสงเขากองทุนประกันสังคม ๔๗,๙๕๒ บาท วันที่ ๒๖ เมษายน ๒๕๖๐ โจทกยื่นคำรองขอรับ เงินสมทบดังกลาวคืน สำนักงานประกันสังคมกรุงเทพมหานครพื้นที่ ๙ พิจารณาไมคืนให โจทก อุทธรณคำสั่งตอจำเลยที่ ๑ แตจำเลยที่ ๑ ยกอุทธรณของโจทก แลววินิจฉัยวา เมื่อโจทกตกเปน ผูทุพพลภาพตั้งแตวันที่ ๒๑ พฤษภาคม ๒๕๔๒ โจทกไมอาจเปนผูประกันตนตามมาตรา ๓๙ ไดอีก การที่จำเลยที่ ๒ อนุมัติใหโจทกเปนผูประกันตนตามมาตรา ๓๙ ในแตละชวงเวลาจึงไมชอบ ดวยกฎหมาย การรับเงินสมทบที่โจทกนำสงตามมาตรา ๓๙ เปนการรับโดยปราศจากมูลอันจะ อางกฎหมายได จำเลยที่ ๒ ตองคืนเงินสมทบเต็มจำนวนแกโจทก สวนหลักเกณฑการคืนเงิน ไมพึงชำระ แนบทายระเบียบสำนักงานประกันสังคมวาดวยการคืนเงินใหแกนายจาง หรือผูประกันตน หรือบุคคลอื่นในกรณีเงินที่รับไวเปนเงินไมพึงชำระแกกองทุนประกันสังคม พ.ศ. ๒๕๕๗ เปนเพียง ระเบียบปฏิบัติภายในที่จำเลยที่ ๑ ออกเพื่อกำหนดรายละเอียด ขั้นตอน และวิธีการในการคืนเงิน กรณีที่ผูประกันตนไมมีหนาที่ตองชำระแกกองทุนประกันสังคม จำเลยที่ ๑ ไมอาจใชหลักเกณฑ ๕๔๖


ดังกลาวลิดรอนหรือตัดสิทธิที่โจทกจะพึงไดรับเงินคืนจากจำเลยที่ ๒ กรณีมีเหตุใหเพิกถอน คำวินิจฉัยของจำเลยที่ ๑ ที่ ๘๑๓/๒๕๖๐ ลงวันที่ ๒๕ พฤษภาคม ๒๕๖๐ การที่จำเลยที่ ๒ ไมตรวจสอบคุณสมบัติของผูสมัครเขาเปนผูประกันตนตามมาตรา ๓๙ เปนการละเลยหนาที่ตาม กฎหมาย และเปนการรับเงินสมทบจากโจทกไวโดยไมสุจริตเมื่อมีการขอรับประโยชนทดแทน ทั้งในกรณีชราภาพ กรณีเจ็บปวย กรณีคลอดบุตร กรณีบริการทางการแพทย กรณีสงเคราะหบุตร และจำเลยที่ ๒ ไดใหสิทธิประโยชนแกโจทกไปแลว จำเลยที่ ๒ ไมมีสิทธินำประโยชนทดแทน ที่โจทกไดรับมาหักจากเงินสมทบที่โจทกนำสงใหแกจำเลยที่ ๒ โจทกจึงไมตองคืนประโยชนทดแทน ที่รับไปแกจำเลยที่ ๒ คดีมีปญหาตองวินิจฉัยตามอุทธรณของจำเลยทั้งสองในประการแรกวา มีเหตุใหเพิกถอน คำวินิจฉัยของจำเลยที่ ๑ ที่ ๘๑๓/๒๕๖๐ ลงวันที่ ๒๕ พฤษภาคม ๒๕๖๐ หรือไม และจำเลยที่ ๒ ตองคืนเงินสมทบใหแกโจทกพรอมดอกเบี้ยหรือไม เห็นวา แมขณะโจทกขึ้นทะเบียนเปนผูประกันตน ตามมาตรา ๓๙ โจทกจะประสบอุบัติเหตุทางรถยนตไดรับบาดเจ็บสาหัส แตไมปรากฏความชัดเจน วาโจทกสูญเสียสมรรถภาพรอยละ ๑๐๐ อยางถาวร โจทกตกเปนผูทุพพลภาพตั้งแตวันที่ ๒๑ พฤษภาคม ๒๕๔๒ ก็ดวยผลตามคำพิพากษาศาลแรงงานกลางเมื่อวันที่ ๒๗ มกราคม ๒๕๖๐ แสดงวาขณะจำเลยที่ ๒ อนุมัติใหโจทกเปนผูประกันตนตามมาตรา ๓๙ และรับเงินสมทบที่โจทก สงเขากองทุนประกันสังคม จำเลยที่ ๒ ไมทราบวาโจทกขาดคุณสมบัติไมสามารถเปนผูประกันตน ตามมาตรา ๓๙ ได การที่จำเลยที่ ๒ อนุมัติใหโจทกเปนผูประกันตนตามมาตรา ๓๙ จึงกระทำ ไปโดยสุจริต จำเลยที่ ๒ มีสิทธิรับเงินสมทบที่โจทกนำสงตามมาตรา ๓๙ วรรคสาม เขากองทุน ประกันสังคมเพื่อการจายประโยชนทดแทนในกรณีตาง ๆ ตามมาตรา ๕๔ ซึ่งเปนไปตามความ สมัครใจของโจทกผูประกันตนและวัตถุประสงคของพระราชบัญญัติประกันสังคม พ.ศ. ๒๕๓๓ ที่จัดตั้งขึ้นเพื่อสรางหลักประกันใหแกผูประกันตนและบุคคลในครอบครัวใหไดรับการสงเคราะห เมื่อผูประกันตนตองประสบอันตราย เจ็บปวย ทุพพลภาพ หรือตายอันมิใชเนื่องจากการทำงาน คลอดบุตร สงเคราะหบุตร ชราภาพ และวางงาน โจทกและจำเลยที่ ๒ จึงตางมีหนาที่และใชสิทธิ ตามกฎหมายโดยสุจริต และโจทกไดใชสิทธิประโยชนทดแทนในกรณีเจ็บปวย กรณีคลอดบุตร กรณีสงเคราะหบุตรและกรณีชราภาพแลว กรณีไมมีเหตุใหเพิกถอนคำวินิจฉัยของจำเลยที่ ๑ ที่ ๘๑๓/๒๕๖๐ ลงวันที่ ๒๕ พฤษภาคม ๒๕๖๐ และจำเลยที่ ๒ ไมตองคืนเงินสมทบพรอมดอกเบี้ยใหแกโจทก ที่ศาลแรงงานกลางวินิจฉัยสวนนี้มานั้น ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษไมเห็นพองดวย อุทธรณของ จำเลยทั้งสองในขอนี้ฟงขึ้น ๕๔๗


คดีมีปญหาตองวินิจฉัยตามอุทธรณของจำเลยทั้งสองในประการสุดทายวา โจทกตอง ชำระเงินพรอมดอกเบี้ยตามฟองแยงหรือไม เห็นวา เมื่อโจทกและจำเลยที่ ๒ ตางมีหนาที่และ ใชสิทธิตามกฎหมายโดยสุจริต และโจทกไดรับความคุมครองเพื่อการจายประโยชนทดแทนใน กรณีตาง ๆ ตามพระราชบัญญัติประกันสังคม พ.ศ. ๒๕๓๓ มาตรา ๕๔ และไดใชสิทธิตามกฎหมาย ที่มีอยูแลว โจทกจึงไมตองคืนเงินประโยชนทดแทนที่ไดรับในกรณีเจ็บปวย กรณีคลอดบุตร กรณี สงเคราะหบุตร และกรณีชราภาพ พรอมดอกเบี้ยตามฟองแยง ที่ศาลแรงงานกลางวินิจฉัยมานั้น ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษเห็นพองดวยในผล พิพากษาแกเปนวา ใหยกฟองโจทก นอกจากที่แกใหเปนไปตามคำพิพากษาศาลแรงงานกลาง. (อนันต คงบริรักษ - วัฒนา สุขประดิษฐ - สุวรรณา แกวบุตตา) ธัชวุทธิ์ พุทธิสมบัติ - ยอ สุโรจน จันทรพิทักษ - ตรวจ ๕๔๘


คำพิพากษาศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษที่ ๘๘๐/๒๕๖๒ หางหุนสวนจำกัด ดี.ดี. ไฟฝ โจทก สำนักงานประกันสังคม กับพวก จำเลย พ.ร.บ. ประกันสังคม พ.ศ. ๒๕๓๓ มาตรา ๕ พ.ร.บ. ประกันสังคม พ.ศ. ๒๕๓๓ มาตรา ๕ บัญญัติวา “คาจาง” หมายความวา เงินทุกประเภทที่นายจางจายใหแกลูกจางเปนคาตอบแทนการทำงานในวันและเวลา ทำงานปกติไมวาจะคำนวณตามระยะเวลาหรือคำนวณตามผลงานที่ลูกจางทำได และให หมายความรวมถึงเงินที่นายจางใหในวันหยุดและวันลาซึ่งลูกจางไมไดทำงานดวย ทั้งนี้ ไมวาจะกำหนด คำนวณ หรือจายในลักษณะใดหรือโดยวิธีการใด และไมวาจะเรียกชื่อ อยางไร แมโจทกจะจายคาอาหารใหลูกจางแบบเหมาจายเดือนละ ๔,๕๐๐ บาทตอคนก็ตาม แตหากวันใดลูกจางหยุดงานโจทกจะหักคาอาหารในวันดังกลาวออก อันแสดงใหเห็นวา โจทกจะจายคาอาหารใหแกเฉพาะลูกจางซึ่งมาทำงานในวันทำงานปกติเทานั้น สวนลูกจาง ที่ไมไดทำงานในวันทำงานปกติก็จะไมมีสิทธิไดรับคาอาหาร จึงเห็นไดวาโจทกจายคาอาหาร ใหแกลูกจางโดยมีวัตถุประสงคเพื่อชวยเหลือการครองชีพของลูกจางซึ่งมาทำงานใน วันทำงานปกติอันมีลักษณะเปนการใหสวัสดิการอยางหนึ่งแกลูกจาง คาอาหารดังกลาว จึงไมเปนคาจาง ตาม พ.ร.บ. ประกันสังคม พ.ศ. ๒๕๓๓ มาตรา ๕ ______________________________ โจทกฟอง ขอใหเพิกถอนคำสั่งของจำเลยที่ ๑ ที่ใหโจทกจายเงินสมทบเพิ่มเติมพรอม เงินเพิ่มและใหเพิกถอนคำวินิจฉัยของจำเลยที่ ๒ ถึงที่ ๑๑ ที่ ๑๖๕๘/๒๕๖๐ ลงวันที่ ๓๐ พฤศจิกายน ๒๕๖๐ จำเลยทั้งสิบเอ็ดใหการ ขอใหยกฟอง ศาลแรงงานกลาง พิพากษาใหเพิกถอนคำวินิจฉัยของคณะกรรมการอุทธรณตาม พระราชบัญญัติประกันสังคม พ.ศ. ๒๕๓๓ ที่ ๑๖๕๘/๒๕๖๐ ลงวันที่ ๓๐ พฤศจิกายน ๒๕๖๐ ๕๔๙


๕๕๐ จำเลยทั้งสิบเอ็ดอุทธรณ ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษแผนกคดีแรงงานวินิจฉัยวา ศาลแรงงานกลางฟงขอเท็จจริงวา โจทกเปนนิติบุคคลประเภทหางหุนสวนจำกัด จำเลยที่ ๑ เปนหนวยงานของรัฐ จำเลยที่ ๒ ถึงที่ ๑๑ เปนคณะกรรมการอุทธรณ ตอมาจำเลยที่ ๑ มีหนังสือแจงใหโจทกจายเงินสมทบกองทุนประกันสังคม เพิ่มเติมในสวนของคาอาหารตั้งแตเดือนมกราคมถึงเดือนธันวาคม ๒๕๕๔ เปนเงิน ๒๔๓,๑๖๘ บาท พรอมเงินเพิ่มรอยละสองตอเดือนตามกฎหมาย ตั้งแตเดือนมกราคมถึงเดือนธันวาคม ๒๕๕๕ เปนเงิน ๒๗๘,๓๗๐ บาท พรอมเงินเพิ่มรอยละสองตอเดือนตามกฎหมาย และตั้งแตเดือนมกราคม ถึงเดือนธันวาคม ๒๕๕๖ เปนเงิน ๒๖๗,๗๔๔ บาท พรอมเงินเพิ่มรอยละสองตอเดือนตามกฎหมาย โจทกอุทธรณคำสั่งของจำเลยที่ ๑ ตอมาจำเลยที่ ๒ ถึงที่ ๑๑ พิจารณาแลวมีคำวินิจฉัยให ยกอุทธรณของโจทก มีปญหาตองวินิจฉัยตามอุทธรณของจำเลยทั้งสิบเอ็ดวา เงินคาอาหารที่โจทกจายใหแก ลูกจางเปนคาจางที่ตองนำมาคำนวณเพื่อนำสงเปนเงินสมทบกองทุนประกันสังคมหรือไม เห็นวา พระราชบัญญัติประกันสังคม พ.ศ. ๒๕๓๓ มาตรา ๕ บัญญัติวา “คาจาง” หมายความวา เงินทุกประเภท ที่นายจางจายใหแกลูกจางเปนคาตอบแทนการทำงานในวันและเวลาทำงานปกติไมวาจะคำนวณ ตามระยะเวลาหรือคำนวณตามผลงานที่ลูกจางทำไดและใหหมายความรวมถึงเงินที่นายจาง จายใหในวันหยุดและวันลาซึ่งลูกจางไมไดทำงานดวย ทั้งนี้ ไมวาจะกำหนด คำนวณ หรือจาย ในลักษณะใดหรือโดยวิธีการใด และไมวาจะเรียกชื่ออยางไร เมื่อศาลแรงงานกลางฟงขอเท็จจริงวา แมเดิมโจทกจะจายคาอาหารใหแกลูกจางแบบเหมาจายเดือนละ ๓,๐๐๐ บาทตอคน ตอมาโจทก ปรับคาอาหารใหแกลูกจางแบบเหมาจายเปนเดือนละ ๔,๕๐๐ บาทตอคนก็ตาม แตหากวันใด ลูกจางลาหยุดงานโจทกจะหักคาอาหารในวันดังกลาวออก อันแสดงใหเห็นวาโจทกจะจายคาอาหาร ใหแกเฉพาะลูกจางซึ่งมาทำงานในวันทำงานปกติเทานั้น สวนลูกจางที่ไมไดมาทำงานในวันทำงาน ปกติ ลูกจางนั้นก็จะไมมีสิทธิไดรับคาอาหาร กรณีจึงเห็นไดวาโจทกจายคาอาหารใหแกลูกจาง โดยมีวัตถุประสงคเพื่อชวยเหลือการครองชีพของลูกจางซึ่งมาทำงานในวันทำงานปกติ อันมี ลักษณะเปนการใหสวัสดิการอยางหนึ่งแกลูกจาง จึงไมใชกรณีที่โจทกจายเงินใหแกลูกจางเพื่อเปน คาตอบแทนการทำงานในวันและเวลาทำงานปกติ ดังนั้น คาอาหารดังกลาวไมใชเปนคาจางตาม ความหมายของพระราชบัญญัติประกันสังคม พ.ศ. ๒๕๓๓ มาตรา ๕ จำเลยที่ ๑ จึงไมมีสิทธินำเงิน คาอาหารดังกลาวมารวมคำนวณเพื่อนำสงเงินสมทบกองทุนประกันสังคมพรอมเงินเพิ่มตาม กฎหมายได ที่ศาลแรงงานกลางพิพากษาใหเพิกถอนคำวินิจฉัยของคณะกรรมการอุทธรณตาม พระราชบัญญัติประกันสังคม พ.ศ. ๒๕๓๓ ที่ ๑๖๕๘/๒๕๖๐ ลงวันที่ ๓๐ พฤศจิกายน ๒๕๖๐ มานั้น


๕๕๑ ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษเห็นพองดวย อุทธรณของจำเลยทั้งสิบเอ็ดฟงไมขึ้น พิพากษายืน. (นาวี สกุลวงศธนา - เริงศักดิ์ วิริยะชัยวงศ - นงนภา จันทรศักดิ์ ลิ่มไพบูลย) ฐานุตร เล็กสุภาพ - ยอ สุโรจน จันทรพิทักษ - ตรวจ


๕๕๒ คำพิพากษาศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษที่ ๔๕๗๔/๒๕๖๒ นายชัยชนะ วรรณศิร ิ โจทก องคการสงเคราะหทหาร ผานศึก จำเลย ป.พ.พ. มาตรา ๒๒๔ วรรคหนึ่ง พ.ร.บ. คุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา ๙ พ.ร.บ. แรงงานรัฐวิสาหกิจสัมพันธ พ.ศ. ๒๕๔๓ มาตรา ๖, ๑๓ (๑) พ.ร.บ. องคการสงเคราะหทหารผานศึก พ.ศ. ๒๕๑๐ มาตรา ๖, ๗ ประกาศคณะกรรมการแรงงานรัฐวิสาหกิจสัมพันธ เรื่อง มาตรฐานขั้นต่ำของสภาพการจาง ในรัฐวิสาหกิจ จำเลยเปนองคการของรัฐ เปนนิติบุคคลตาม พ.ร.บ. องคการสงเคราะหทหารผานศึก พ.ศ. ๒๕๑๐ มาตรา ๖ และมาตรา ๗ เปนรัฐวิสาหกิจตาม พ.ร.บ. แรงงานรัฐวิสาหกิจสัมพันธ พ.ศ. ๒๕๔๓ มาตรา ๖ อยูภายใตประกาศคณะกรรมการแรงงานรัฐวิสาหกิจสัมพันธ เรื่อง มาตรฐานขั้นต่ำของสภาพการจางในรัฐวิสาหกิจ ซึ่งออกโดยอาศัยอำนาจตามความ ในมาตรา ๑๓ (๑) แหง พ.ร.บ. แรงงานรัฐวิสาหกิจสัมพันธ พ.ศ. ๒๕๔๓ ดังนั้น ที่ศาลแรงงานกลาง วินิจฉัยใหจำเลยชำระดอกเบี้ยของคาจาง คาชดเชย และเงินประกันการทำงาน อัตรา รอยละ ๑๕ ตอป ตาม พ.ร.บ. คุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา ๙ จึงไมถูกตอง เมื่อ ประกาศคณะกรรมการแรงงานรัฐวิสาหกิจสัมพันธ เรื่อง มาตรฐานขั้นต่ำของสภาพการจาง ในรัฐวิสาหกิจ มิไดมีบทบัญญัติเรื่องดอกเบี้ยในกรณีนายจางไมจายคาจาง คาชดเชย และ เงินประกันการทำงานไว แตเมื่อเปนหนี้เงิน โจทกจึงมีสิทธิเรียกดอกเบี้ยในระหวางผิดนัด ไดเพียงรอยละ ๗.๕ ตอป ตาม ป.พ.พ. มาตรา ๒๒๔ วรรคหนึ่ง เทานั้น ______________________________ โจทกฟอง ขอใหบังคับจำเลยจายสินจางแทนการบอกกลาวลวงหนา ๙,๖๖๘.๗๕ บาท และคาเสียหายจากการเลิกจางที่ไมเปนธรรม ๑๕๓,๕๖๒.๕๐ บาท พรอมดอกเบี้ยอัตรารอยละ ๗.๕ ตอป ของตนเงินแตละจำนวนนับแตวันฟองเปนตนไปจนกวาจะชำระเสร็จแกโจทก กับให จำเลยจายคาจางคางจาย ๖,๒๕๖.๒๕ บาท เงินประกันการทำงาน ๑๒,๐๐๐ บาท และคาชดเชย ๑๓๖,๕๐๐ บาท พรอมดอกเบี้ยอัตรารอยละ ๑๕ ตอป ของตนเงินแตละจำนวนนับแตวันฟอง เปนตนไปจนกวาจะชำระเสร็จแกโจทก


๕๕๓ จำเลยใหการและฟองแยงและแกไขคำใหการและฟองแยง ขอใหยกฟอง และบังคับโจทก ชำระเงินจำนวนดังกลาวพรอมดอกเบี้ยอัตรารอยละ ๗.๕ ตอป นับแตวันฟองแยงเปนตนไป จนกวาจะชำระเสร็จแกจำเลย โจทกใหการแกฟองแยง ขอใหยกฟองแยง ศาลแรงงานกลาง พิพากษาใหจำเลยจายคาจาง ๖,๒๕๖.๒๕ บาท และ ๘๐๒.๗๕ บาท กับคาชดเชย ๑๓๖,๕๐๐ บาท และคืนเงินประกันการทำงาน ๑๒,๐๐๐ บาท แกโจทก พรอมดอกเบี้ย อัตรารอยละ ๑๕ ตอป ของตนเงินแตละจำนวนดังกลาวนับแตวันฟอง (ฟองวันที่ ๒๘ กันยายน ๒๕๖๑) เปนตนไปจนกวาจะชำระเสร็จ จายสินจางแทนการบอกกลาวลวงหนา ๙,๖๖๘.๗๕ บาท และคาเสียหายจากการเลิกจางที่ไมเปนธรรม ๑๒๐,๐๐๐ บาท แกโจทกพรอมดอกเบี้ยอัตรา รอยละ ๗.๕ ตอป ของตนเงินแตละจำนวนดังกลาวนับแตวันฟองเปนตนไปจนกวาจะชำระเสร็จ และใหโจทกจายคาน้ำมัน ๓๔๘.๔๐ บาท แกจำเลยพรอมดอกเบี้ยอัตรารอยละ ๗.๕ ตอป นับแต วันฟองแยง (ฟองแยงวันที่ ๒๗ พฤศจิกายน ๒๕๖๑) เปนตนไปจนกวาจะชำระเสร็จ คำขออื่น ตามคำฟองและคำฟองแยงนอกจากนี้ใหยก จำเลยอุทธรณ ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษแผนกคดีแรงงานวินิจฉัยวา ศาลแรงงานกลางฟงขอเท็จจริงวา โจทกเปนลูกจางจำเลย ตำแหนงเจาหนาที่ชวยปฏิบัติงาน เจาหนาที่สายตรวจ แผนกควบคุมพื้นที่ ๑ สวนปฏิบัติการ สำนักงานรักษาความปลอดภัย (ระดับ ๑) ไดรับคาจางอัตราสุดทายวันละ ๘๑๒.๕๐ บาท ตอมาในชวงวันที่ ๒๖ ถึงวันที่ ๒๙ พฤษภาคม ๒๕๖๑ โจทกขาดงานโดยพลการ วันที่ ๑ มิถุนายน ๒๕๖๑ ผูอำนวยการสำนักงานรักษาความปลอดภัยมีคำสั่งใหโจทกไปเปนเจาหนาที่สายตรวจปฏิบัติหนาที่ ประจำศูนยวิทยุผานศึกทำหนาที่เวรเพื่อเตรียมความพรอม โดยโจทกตองไปรายงานตัวและลงชื่อ ในสมุดเซ็นชื่อการปฏิบัติหนาที่สายตรวจประจำศูนยขาว แตโจทกมิไดปฏิบัติตามคำสั่งวันที่ ๒๙ มิถุนายน ๒๕๖๑ ผูอำนวยการสำนักงานรักษาความปลอดภัยมีคำสั่งยายโจทกไปเปนเจาหนาที่ รักษาความปลอดภัยสำรองแทนเวร หลังจากนั้น โจทกไมเขาปฏิบัติงานอีกเลย วันที่ ๖ สิงหาคม ๒๕๖๑ ผูอำนวยการสำนักงานรักษาความปลอดภัยมีคำสั่งใหโจทกออกจากงานมีผลตั้งแตวันที่ ๑ สิงหาคม ๒๕๖๑ เปนตนไป แลววินิจฉัยวา การที่ผูอำนวยการสำนักงานรักษาความปลอดภัย มีคำสั่งใหโจทกไปเปนเจาหนาที่สายตรวจ ปฏิบัติหนาที่ประจำศูนยวิทยุผานศึกทำหนาที่เวร เพื่อเตรียมความพรอม โดยโจทกมีหนาที่ตองไปรายงานตัวและลงชื่อในสมุดเซ็นชื่อการปฏิบัติ หนาที่สายตรวจประจำศูนยขาวกอนปฏิบัติหนาที่ ถือเปนเพียงมาตรการกำกับดูแลการปฏิบัติงาน ของโจทกเทานั้น มิใชการปฏิบัติงานในหนาที่เจาหนาที่สายตรวจของโจทกโดยตรงดังจะเห็นไดจาก


๕๕๔ คำสั่งที่ ๓๑๘/๒๕๖๑ ลงวันที่ ๒๙ มิถุนายน ๒๕๖๑ ระบุวา โจทกยังคงมีตำแหนงเปนเจาหนาที่ ชวยปฏิบัติงาน เจาหนาที่สายตรวจ แผนกควบคุมพื้นที่ ๑ สวนปฏิบัติการ สำนักงานรักษา ความปลอดภัย (ระดับ ๑) การที่โจทกไมยอมไปรายงานตัวและลงชื่อในสมุดเซ็นชื่อการปฏิบัติงาน เจาหนาที่สายตรวจประจำศูนยขาวในชวงระหวางวันที่ ๒ ถึงวันที่ ๒๔ มิถุนายน ๒๕๖๑ ถือเปนการฝาฝนคำสั่งผูบังคับบัญชา มิใชการขาดงานหรือไมปฏิบัติงานตามหนาที่เจาหนาที่ สายตรวจ จำเลยไมมีสิทธิปฏิเสธไมจายคาจางแกโจทก ทั้งโจทกเบิกความยืนยันวาโจทกปฏิบัติงาน ในตำแหนงเจาหนาที่สายตรวจในชวงระหวางวันที่ ๓๐ และวันที่ ๓๑ พฤษภาคม ๒๕๖๑ และ วันที่ ๑ ถึงวันที่ ๒๔ มิถุนายน ๒๕๖๑ เจือสมกับใบแจงยอดการใชบัตรฟลีทการดและบันทึกผล การเขาตรวจการปฏิบัติหนาที่กับตารางแผนที่ ๔ และที่ ๖ รับฟงไดวา โจทกปฏิบัติงานในตำแหนง เจาหนาที่สายตรวจในชวงวันที่ ๓๐ และวันที่ ๓๑ พฤษภาคม ๒๕๖๑ และวันที่ ๑ ถึงวันที่ ๒๔ มิถุนายน ๒๕๖๑ โดยไมไดขาดงานหรือไมปฏิบัติงาน จำเลยจึงตองจายคาจางคางจายแกโจทก จำเลยไมมีสิทธินำเงินประกันการทำงานมาหักกับคาจางที่จำเลยจายใหแกโจทกแลว และหักกับ คาปรับกรณีโจทกไมดำเนินการแตงตั้งหัวหนาเจาหนาที่รักษาความปลอดภัย เนื่องจากจำเลย มิไดนำสืบใหเห็นถึงระเบียบที่กำหนดใหโจทกซึ่งเปนเจาหนาที่สายตรวจตองมีหนาที่ในการแตงตั้ง หัวหนาชุด จำเลยจึงตองคืนเงินประกันการทำงานแกโจทก สวนคาน้ำมัน โจทกเบิกในชวงวันที่ ๒๘ และวันที่ ๒๙ พฤษภาคม ๒๕๖๑ ซึ่งเปนวันที่โจทกขาดงานหรือไมปฏิบัติงาน จึงเปนการเบิก โดยไมมีสิทธิ โจทกตองคืนเงินคาน้ำมันใหแกจำเลย และการที่จำเลยงดตั้งเบิกเงินจายคาจาง ในชวงวันที่ ๑ ถึงวันที่ ๑๑ มิถุนายน ๒๕๖๑ ใหแกโจทก โดยอางวาโจทกขาดงานหรือไมปฏิบัติงาน ซึ่งไมเปนความจริง การกระทำของจำเลยถือเปนการจงใจกลั่นแกลงมิใหโจทกไดรับคาจาง โดยไมมีเหตุอันสมควร และเมื่อโจทกเริ่มงานสวนธุรการสำนักงานรักษาความปลอดภัย โดยโจทก ลงชื่อในสมุดลงชื่อผูที่ไมสามารถสแกนลายพิมพนิ้วมือไดในวันที่ ๒๖ มิถุนายน ๒๕๖๑ แลว จำเลยยังคงมีคำสั่งสงตัวโจทกคืนสวนธุรการสำนักงานรักษาความปลอดภัย และมีคำสั่งยายโจทก ไปเปนเจาหนาที่รักษาความปลอดภัยสำรองแทนเวร ซึ่งถือเปนการลดตำแหนงและลดเงินเดือน ของโจทกและเปนการเปลี่ยนแปลงสภาพการจางที่ไมเปนคุณแกโจทกโดยไมมีเหตุผลเพียงพอ รับฟงไดวาจำเลยเลิกจางโจทกในวันที่ ๒๙ มิถุนายน ๒๕๖๑ อันเปนวันที่โจทกพนจากตำแหนง เจาหนาที่ชวยปฏิบัติงาน เจาหนาที่สายตรวจ แผนกควบคุมพื้นที่ ๑ สวนปฏิบัติการ สำนักงาน รักษาความปลอดภัย (ระดับ ๑) เนื่องจากโจทกมิไดขาดงานติดตอกันหรือละทิ้งหนาที่ติดตอ ในคราวเดียวกันเปนเวลาเกินกวา ๑๕ วัน โดยไมมีเหตุผลอันสมควร ผูอำนวยการสำนักงาน รักษาความปลอดภัยไมมีอำนาจออกคำสั่งใหโจทกออกจากงาน เมื่อจำเลยเลิกจางโจทกในวันที่


๕๕๕ ๒๙ มิถุนายน ๒๕๖๑ โดยโจทกไมมีความผิด ไมไดบอกกลาวลวงหนา และไมมีเหตุอันควร จำเลยจึงตองจายสินจางแทนการบอกกลาวลวงหนา คาชดเชย และคาเสียหายจากการเลิกจาง ที่ไมเปนธรรมแกโจทก ปญหาที่ตองวินิจฉัยตามอุทธรณของจำเลยมีวา จำเลยมีสิทธิออกคำสั่งใหโจทกออกจากงาน โดยไมตองจายคาจางคางจาย สินจางแทนการบอกกลาวลวงหนา คาชดเชย และคาเสียหาย จากการเลิกจางที่ไมเปนธรรมหรือไม เห็นวา เมื่อขอเท็จจริงรับฟงเปนยุติวา งานในตำแหนง เจาหนาที่ชวยปฏิบัติงาน เจาหนาที่สายตรวจ แผนกควบคุมพื้นที่ ๑ สวนปฏิบัติการของโจทก มีหนาที่ออกตรวจการปฏิบัติงานของพนักงานรักษาความปลอดภัยที่เขาเวรอยูตามจุดตาง ๆ สวนเหตุที่จำเลยออกคำสั่งใหโจทกทำงานในตำแหนงเจาหนาที่สายตรวจ ปฏิบัติหนาที่ประจำศูนย วิทยุผานศึก เพื่อทำหนาที่เวรเตรียมความพรอมเนื่องจากโจทกขาดงานโดยพลการในชวงวันที่ ๒๖ ถึงวันที่ ๒๙ พฤษภาคม ๒๕๖๑ โดยกำหนดใหโจทกตองไปรายงานตัวและลงชื่อในสมุดเซ็นชื่อ การปฏิบัติงานเจาหนาที่สายตรวจประจำศูนยขาวทุกครั้งกอนออกไปปฏิบัติหนาที่เจาหนาที่ สายตรวจตามปกติ เชนนี้ยอมแสดงใหเห็นถึงวัตถุประสงคในการออกคำสั่งของจำเลย เพียงเพื่อ ตองการกำกับดูแลการปฏิบัติงานของโจทกมิใหขาดงานโดยพลการอีกเทานั้น หาไดมีการ เปลี่ยนแปลงงานในหนาที่ของโจทกแตประการใดไม ดังนั้น แมในชวงวันที่ ๓๐ และวันที่ ๓๑ พฤษภาคม ๒๕๖๑ และวันที่ ๑ ถึงวันที่ ๒๔ มิถุนายน ๒๕๖๑ โจทกจะมิไดไปรายงานตัวและลงชื่อ ในสมุดเซ็นชื่อการปฏิบัติงานเจาหนาที่สายตรวจประจำศูนยขาวเพื่อเตรียมความพรอม แตโจทก ยังคงออกตรวจการปฏิบัติงานของพนักงานรักษาความปลอดภัยตามปกติ ยอมถือไมไดวาโจทก ขาดงานหรือไมปฏิบัติงานในชวงวันดังกลาว สำหรับความผิดที่โจทกขัดคำสั่งผูบังคับบัญชา โดย ไมไปรายงานตัวและลงชื่อในสมุดเซ็นชื่อการปฏิบัติงานเจาหนาที่สายตรวจประจำศูนยขาวเพื่อ เตรียมความพรอมนั้น ถือมิใชเรื่องรายแรงถึงขั้นตองออกจากงานตามระเบียบสำนักงานรักษา ความปลอดภัย องคการสงเคราะหทหารผานศึก วาดวยเจาหนาที่รักษาความปลอดภัย สำนักงาน รักษาความปลอดภัย องคการสงเคราะหทหารผานศึก พ.ศ. ๒๕๕๐ ขอ ๑๑ ดวยเหตุนี้ จำเลย จึงไมมีสิทธิออกคำสั่งใหโจทกออกจากงาน ไมจายคาจาง และนำเงินประกันการทำงานของโจทก ไปหักกับเงินตาง ๆ ที่ศาลแรงงานกลางกำหนดใหจำเลยจายคาจางคางจาย สินจางแทนการ บอกกลาวลวงหนา คาชดเชย และคาเสียหายจากการเลิกจางที่ไมเปนธรรมมานั้น ถูกตองแลว อุทธรณของจำเลยฟงไมขึ้น สวนที่จำเลยอุทธรณทำนองวา ในชวงวันดังกลาวโจทกมิไดปฏิบัติ หนาที่ เนื่องจากบันทึกผลการเขาตรวจการปฏิบัติงานเจาหนาที่เปนเอกสารที่โจทกทำขึ้นเองนั้น เห็นวา ศาลแรงงานกลางมิไดวินิจฉัยเฉพาะเอกสารตามที่จำเลยยกขึ้นอุทธรณเพียงอยางเดียว


๕๕๖ โดยชั่งน้ำหนักจากพยานหลักฐานของทั้งสองฝายประกอบการพิจารณา ดังนั้น อุทธรณของจำเลย จึงเปนการอุทธรณโตแยงดุลพินิจในการรับฟงพยานหลักฐานของศาลแรงงานกลาง อันเปนอุทธรณ ในขอเท็จจริง ซึ่งตองหามมิใหอุทธรณตามพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณา คดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๕๔ วรรคหนึ่ง ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษไมรับวินิจฉัย ที่จำเลยอุทธรณทำนองวา คำสั่งใหโจทกเปนเจาหนาที่รักษาความปลอดภัยสำรองแทนเวร มิไดเปนการลดตำแหนง และจำเลยมีสิทธิหักคาเสียหายจากเงินประกันการทำงานของโจทก เนื่องจากโจทกไมดำเนินการแตงตั้งหัวหนาเจาหนาที่รักษาความปลอดภัย นั้น เห็นวา คดีนี้ ศาลแรงงานกลางรับฟงขอเท็จจริงวา คำสั่งของจำเลยดังกลาวเปนการลดตำแหนงและลดเงินเดือน ของโจทก อันเปนการเปลี่ยนแปลงสภาพการจางที่ไมเปนคุณแกโจทกโดยไมมีเหตุผลเพียงพอ และจำเลยมิไดนำสืบใหเห็นถึงระเบียบที่กำหนดใหโจทกตองมีหนาที่ในการแตงตั้งหัวหนาชุด ดังนั้น อุทธรณของจำเลยถือเปนเพียงการกลาวอางลอย ๆ มิไดโตแยงคำวินิจฉัยของศาลแรงงานกลาง วาไมถูกตองอยางไร จึงไมชอบตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพง มาตรา ๒๒๕ วรรคหนึ่ง ประกอบพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๕๔ วรรคหนึ่ง ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษไมรับวินิจฉัย ที่จำเลยอุทธรณวา ผูอำนวยการสำนักงานรักษาความปลอดภัยมีอำนาจออกคำสั่งใหโจทก เปนเจาหนาที่รักษาความปลอดภัยสำรองแทนเวร และออกคำสั่งใหโจทกออกจากงานได เห็นวา เมื่อขอเท็จจริงรับฟงไดวา จำเลยไมมีสิทธิออกคำสั่งใหโจทกออกจากงาน แตเปนการเลิกจางโจทก ในวันที่ที่จำเลยออกคำสั่งใหโจทกเปนเจาหนาที่รักษาความปลอดภัยสำรองแทนเวร อุทธรณ ของจำเลยจึงไมเปนสาระแกคดีอันควรไดรับการวินิจฉัย เพราะไมทำใหผลแหงคดีเปลี่ยนแปลงไป ตองหามมิใหอุทธรณตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพง มาตรา ๒๒๕ วรรคหนึ่ง ประกอบ พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๕๔ วรรคหนึ่ง ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษไมรับวินิจฉัย อนึ่ง จำเลยเปนองคการของรัฐ เปนนิติบุคคลตามพระราชบัญญัติองคการสงเคราะห ทหารผานศึก พ.ศ. ๒๕๑๐ มาตรา ๖ และมาตรา ๗ เปนรัฐวิสาหกิจตามพระราชบัญญัติแรงงาน รัฐวิสาหกิจสัมพันธ พ.ศ. ๒๕๔๓ มาตรา ๖ อยูภายใตประกาศคณะกรรมการแรงงานรัฐวิสาหกิจสัมพันธ เรื่อง มาตรฐานขั้นต่ำของสภาพการจางในรัฐวิสาหกิจ ซึ่งออกโดยอาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๑๓ (๑) แหงพระราชบัญญัติแรงงานรัฐวิสาหกิจสัมพันธ พ.ศ. ๒๕๔๓ ดังนั้น ที่ศาลแรงงานกลางวินิจฉัย ใหจำเลยชำระดอกเบี้ยของคาจาง คาชดเชย และเงินประกันการทำงานอัตรารอยละ ๑๕ ตอป ตามพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา ๙ จึงไมถูกตอง เมื่อประกาศ


๕๕๗ คณะกรรมการแรงงานรัฐวิสาหกิจสัมพันธ เรื่อง มาตรฐานขั้นต่ำของสภาพการจางในรัฐวิสาหกิจ มิไดมีบทบัญญัติเรื่อง ดอกเบี้ยในกรณีนายจางไมจายคาจาง คาชดเชย และเงินประกันการทำงานไว แตเมื่อเปนหนี้เงินโจทกจึงมีสิทธิเรียกดอกเบี้ยในระหวางผิดนัดไดเพียงรอยละ ๗.๕ ตอปตาม ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา ๒๒๔ วรรคหนึ่ง เทานั้น ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษ เห็นสมควรแกไขเสียใหถูกตอง พิพากษาแกเปนวา ใหจำเลยชำระดอกเบี้ยอัตรารอยละ ๗.๕ ตอป ของตนเงินคาจาง คาชดเชย และเงินประกันการทำงาน นอกจากที่แกใหเปนไปตามคำพิพากษาศาลแรงงานกลาง. (สาโรช ทาสวัสดิ์ - ชาตรี หาญไพโรจน - ดาราวรรณ ใจคำปอ) อิศเรศ ปราโมช ณ อยุธยา - ยอ สุโรจน จันทรพิทักษ - ตรวจ


๕๕๘ คำพิพากษาศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษที่ ๖๙๓๔/๒๕๖๒ นายณรงคเดช สมจิตต โจทก การไฟฟาสวนภูมิภาค จำเลย ป.วิ.พ. มาตรา ๒๒๔ วรรคหนึ่ง พ.ร.บ. คุณสมบัติมาตรฐานสําหรับกรรมการและพนักงานรัฐวิสาหกิจ พ.ศ. ๒๕๑๘ มาตรา ๙, ๑๑ ประกาศคณะกรรมการแรงงานรัฐวิสาหกิจสัมพันธ เรื่อง มาตรฐานขั้นต่ำของสภาพการจาง ในรัฐวิสาหกิจ ขอ ๗ วรรคหนึ่ง พ.ร.บ. คุณสมบัติมาตรฐานสําหรับกรรมการและพนักงานรัฐวิสาหกิจ พ.ศ. ๒๕๑๘ มาตรา ๙ และมาตรา ๑๑ เปนเพียงการวางเกณฑทั่วไปสําหรับรัฐวิสาหกิจ แตบทบัญญัติ ทั้งสองมาตราดังกลาวก็ไดใหอํานาจแกรัฐวิสาหกิจที่จะกําหนดคุณสมบัติ ลักษณะตองหาม และหลักเกณฑการพนตําแหนงขึ้นเองไดอีก เมื่อการกําหนดคุณสมบัติและลักษณะ ตองหามตามขอบังคับจําเลยวาดวยระเบียบพนักงาน พ.ศ. ๒๕๑๗ ขอ ๖ ข (๒) เปนเพียง หลักเกณฑกอนที่จะเขาเปนพนักงาน หาใชเปนการกําหนดคุณสมบัติและลักษณะ ตองหามของพนักงานแตอยางใด เพราะใชบังคับกับผูที่จะเขาเปนพนักงานจําเลยซึ่งแมจะ ไมเหมาะสมนัก แตก็ไมถึงขนาดขัดตอ พ.ร.บ. คุณสมบัติมาตรฐานสําหรับกรรมการและ พนักงานรัฐวิสาหกิจ พ.ศ. ๒๕๑๘ มาตรา ๙ และมาตรา ๑๑ สวนที่โจทกอุทธรณอางวา ขอบังคับจําเลยวาดวยระเบียบพนักงาน พ.ศ. ๒๕๑๗ ขอ ๖ ข (๒) ขัดตอหลักขอสันนิษฐาน ความเปนผูบริสุทธิ์ของผูตองหาคดีอาญาตามรัฐธรรมนูญก็เปนการกลาวอางเพื่อนํา กฎหมายที่ไมตรงกับเรื่องมาปรับใชแกกรณีนี้ซึ่งเปนเรื่องกระบวนการเลือกสรรลูกจาง เขาทํางานตามสัญญาจางแรงงาน จําเลยเปนนิติบุคคลประเภทรัฐวิสาหกิจจึงอยูภายใตบังคับแหง พ.ร.บ. แรงงาน รัฐวิสาหกิจสัมพันธ พ.ศ. ๒๕๔๓ และประกาศคณะกรรมการแรงงานรัฐวิสาหกิจสัมพันธ เรื่อง มาตรฐานขั้นต่ำของสภาพการจางในรัฐวิสาหกิจ ไมนํา พ.ร.บ. คุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาใชบังคับ ซึ่งตาม ประกาศคณะกรรมการแรงงานรัฐวิสาหกิจสัมพันธ เรื่อง มาตรฐานขั้นต่ำของสภาพการจางในรัฐวิสาหกิจ ขอ ๗ วรรคหนึ่ง บัญญัติใหนายจาง เสียดอกเบี้ยใหแกลูกจางในระหวางเวลาผิดนัดไมจายคาชดเชย โดยไมไดกําหนดอัตราดอกเบี้ย ของคาชดเชยในระหวางเวลาผิดนัดไว เมื่อคาชดเชยเปนหนี้เงิน โจทกจึงมีสิทธิเรียก ดอกเบี้ยในระหวางเวลาผิดนัดไดเพียงอัตรารอยละ ๗.๕ ตอป ตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๒๒๔ วรรคหนึ่ง เทานั้น ______________________________


๕๕๙ โจทกฟอง ขอใหเพิกถอนคำสั่งของจำเลยที่ ๑๘๓๑/๒๕๖๐ เฉพาะสวนของโจทก และ บังคับจำเลยใหรับโจทกกลับเขาทำงานในตำแหนงหนาที่และคาจางที่ไมต่ำกวาเดิม ใหนับอายุงาน ตอเนื่องนับแตวันเลิกจางจนถึงวันรับโจทกกลับเขาทำงาน ใหโจทกไดรับสิทธิประโยชนตามขอบังคับ จำเลยเสมือนไมเคยเลิกจางโจทก กับจายคาเสียหายเทากับอัตราคาจางเดือนละ ๑๔,๑๖๐ บาท นับแตวันเลิกจางจนถึงวันรับโจทกกลับเขาทำงาน พรอมดอกเบี้ยอัตรารอยละ ๑๕ ตอป หาก จำเลยไมสามารถรับโจทกกลับเขาทำงานได ใหจายคาชดเชย ๔๒,๔๘๐ บาท คาเสียหายจากการ เลิกจางไมเปนธรรม ๑๖๙,๙๒๐ บาท คาเสียโอกาสจากการทำงานกับจำเลย ๑๖๙,๙๒๐ บาท คาเสียหายจากการไมไดรับสิทธิประโยชนเงินชวยเหลือคาไฟฟาของพนักงาน ๑๒๐,๐๐๐ บาท รวมเปนเงิน ๕๑๖,๔๘๐ บาท พรอมดอกเบี้ยอัตรารอยละ ๑๕ ตอป นับแตวันฟองจนกวาชำระเสร็จ แกโจทก จำเลยใหการ ขอใหยกฟอง ศาลแรงงานภาค ๒ พิพากษาใหจำเลยจายสินจางแทนการบอกกลาวลวงหนา ๑๔,๑๖๐ บาท พรอมดอกเบี้ยอัตรารอยละ ๗.๕ ตอป และคาชดเชย ๔๒,๔๘๐ บาท พรอมดอกเบี้ยอัตรารอยละ ๑๕ ตอป นับแตวันฟอง (ฟองวันที่ ๓๐ เมษายน ๒๕๖๑) จนกวาชำระเสร็จแกโจทก คำขออื่น นอกจากนี้ใหยก โจทกและจำเลยอุทธรณ ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษแผนกคดีแรงงานวินิจฉัยวา ขอเท็จจริงยุติในชั้นพิจารณา ของศาลแรงงานภาค ๒ และตามที่ศาลแรงงานภาค ๒ รับฟงมาวา จำเลยเปนนิติบุคคลประเภท รัฐวิสาหกิจ จัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติการไฟฟาสวนภูมิภาค พ.ศ. ๒๕๐๓ เมื่อวันที่ ๑๖ เมษายน ๒๕๕๘ จำเลยประกาศรับสมัครคัดเลือกบุคคลเขาปฏิบัติงานในตำแหนงพนักงานชาง (แกไขไฟฟาขัดของ) สังกัดการไฟฟาสวนภูมิภาคเขต ๒ (ชลบุรี) ภาค ๓ ตามสำเนาประกาศ ซึ่งตามเอกสารดังกลาวในสวนคุณสมบัติและคุณวุฒิของผูสมัคร ขอ ๒.๑๐ กำหนดวา ผูสมัคร ตองมีคุณสมบัติและไมมีลักษณะตองหามตามขอบังคับการไฟฟาสวนภูมิภาควาดวยระเบียบ พนักงาน พ.ศ. ๒๕๑๗ (ตามรายละเอียดแนบทายประกาศ) และในสวนเงื่อนไขในการจางและ บรรจุเปนพนักงาน ขอ ๘.๕ กำหนดวา ผูสมัครที่คุณสมบัติไมเปนไปตามขอบังคับดังกลาว จำเลย สงวนสิทธิในการเลิกจางผูนั้นไดทันที กับคุณสมบัติและลักษณะตองหามของผูสมัครคัดเลือก ในรายละเอียดแนบทายประกาศดังกลาว ขอ ๗. กำหนดวา ผูสมัครคัดเลือกตองไมเปนผูที่อยูใน ระหวางพักราชการ พักงานหรือตองหาคดีอาญา เวนแตความผิดลหุโทษหรือความผิดอันได กระทำโดยประมาท วันที่ ๒๗ เมษายน ๒๕๕๘ โจทกสมัครและสอบผานไดรับคัดเลือก วันที่ ๑๖ พฤศจิกายน ๒๕๕๘ จำเลยวาจางโจทกเขาปฏิบัติงานเปนพนักงานชาง (แกไขไฟฟาขัดของ)


๕๖๐ ที่การไฟฟาสวนภูมิภาคอำเภอพานทอง จังหวัดชลบุรี โดยใหโจทกทดลองงานมีกำหนด ๓ เดือน เริ่มปฏิบัติหนาที่วันที่ ๑ ตุลาคม ๒๕๕๘ โจทกทำงานครบกำหนดทดลองงานในวันที่ ๓๑ ธันวาคม ๒๕๕๘ จำเลยจะตองบรรจุโจทกเปนพนักงานในวันถัดจากวันทดลองงานครบ ๓ เดือน คือในวันที่ ๑ มกราคม ๒๕๕๙ ระหวางรอการพิจารณาบรรจุ จำเลยตรวจสอบประวัติโจทกจาก กองทะเบียนประวัติอาชญากร สำนักงานตำรวจแหงชาติ พบวา เมื่อวันที่ ๓ กรกฎาคม ๒๕๕๘ นายอนุชิต และนายธีระวัฒน แจงความกลาวหาโจทกตอพนักงานสอบสวนสถานีตำรวจภูธร บางปะกงวาโจทกกับพวกรวมกันทำรายบุคคลทั้งสองเปนเหตุใหไดรับอันตรายแกกายสาหัส ซึ่งไมใชความผิดลหุโทษและมิใชความผิดที่โจทกกระทำโดยประมาท โจทกตองหาและถูกดำเนินคดี ในขอหาดังกลาวเมื่อวันที่ ๒๔ กรกฎาคม ๒๕๕๘ พนักงานอัยการมีคำสั่งไมฟองโจทกเมื่อวันที่ ๑๘ เมษายน ๒๕๕๙ จำเลยมีคำสั่งที่ ๑๘๓๑/๒๕๖๐ ลงวันที่ ๒๔ เมษายน ๒๕๖๐ ใหเลิกจางโจทก ตามสำเนาคำสั่งจำเลย แลววินิจฉัยวาโจทกขาดคุณสมบัติการเปนพนักงานจำเลยตามที่ประกาศ รับสมัคร โจทกไมเคยมีคุณสมบัติเปนพนักงานจำเลยในชวงเวลาตั้งแตโจทกเริ่มทดลองงาน ในวันที่ ๑ ตุลาคม ๒๕๕๘ ถึงวันที่จำเลยตองบรรจุโจทกเปนพนักงานในวันที่ ๑ มกราคม ๒๕๕๙ คำสั่งจำเลยที่ ๑๘๓๑/๒๕๖๐ ลงวันที่ ๒๔ เมษายน ๒๕๖๐ ใหเลิกจางโจทกเนื่องจากโจทกขาด คุณสมบัติเปนพนักงานจำเลย จึงเปนคำสั่งที่จำเลยสั่งไปตามระเบียบของจำเลยโดยชอบ ขอบังคับ จำเลยวาดวยระเบียบพนักงาน พ.ศ. ๒๕๑๗ เปนขอบังคับที่กำหนดโดยคณะกรรมการการไฟฟา สวนภูมิภาคตามที่พระราชบัญญัติการไฟฟาสวนภูมิภาค พ.ศ. ๒๕๐๓ มาตรา ๒๓ วรรคหนึ่ง (๓) แกไขโดยพระราชบัญญัติการไฟฟาสวนภูมิภาค (ฉบับที่ ๔) พ.ศ.๒๕๔๒ บัญญัติใหอำนาจหนาที่ ไวกับปรากฏตามพระราชบัญญัติคุณสมบัติมาตรฐานสำหรับกรรมการและพนักงานรัฐวิสาหกิจ พ.ศ. ๒๕๑๘ มาตรา ๙ วรรคหนึ่งบัญญัติใหกรรมการหรือพนักงานรัฐวิสาหกิจตองมีคุณสมบัติ และไมมีลักษณะตองหามตามที่กำหนดไวสำหรับรัฐวิสาหกิจนั้น ๆ จำเลยโดยคณะกรรมการ การไฟฟาสวนภูมิภาคยอมมีอำนาจกำหนดคุณสมบัติและลักษณะตองหามเฉพาะสำหรับพนักงาน จำเลยได ขอบังคับจำเลยวาดวยระเบียบพนักงานจึงเปนขอบังคับที่จำเลยออกบังคับใชโดยชอบ ดวยกฎหมาย สวนคุณสมบัติและลักษณะตองหามอื่น ๆ ที่กำหนดไวในมาตรา ๙ วรรคหนึ่ง (๑) ถึง (๘) แหงพระราชบัญญัติคุณสมบัติมาตรฐานสำหรับกรรมการและพนักงานรัฐวิสากิจ พ.ศ. ๒๕๑๘ เปนเพียงการกำหนดเกณฑขั้นต่ำของคุณสมบัติและลักษณะตองหามของกรรมการหรือพนักงาน รัฐวิสาหกิจไวเปนการทั่วไปเทานั้น บทบัญญัติแหงกฎหมายดังกลาวหาไดจำกัดหามมิใหจำเลย หรือรัฐวิสาหกิจอื่นกำหนดคุณสมบัติและลักษณะตองหามเฉพาะสำหรับพนักงานตนเองไม ขอบังคับดังกลาวขอ ๖ ข (๒) จึงไมเปนการตัดสิทธิโจทกและไมขัดตอรัฐธรรมนูญแตอยางใด


๕๖๑ นอกจากนี้ จำเลยเลิกจางโจทกเพราะโจทกขาดคุณสมบัติการเปนพนักงาน หาใชเลิกจางโจทก เพียงเพราะเหตุโจทกตกเปนผูตองหาในคดีอาญาไม จึงไมเปนการขัดตอหลักสันนิษฐานความ เปนผูบริสุทธิ์ของผูตองหาในคดีอาญาแตอยางใด จำเลยเลิกจางลูกจางอื่นอีกสองคนพรอมกับโจทก จึงไมเปนการเลือกปฏิบัติสวนที่จำเลยแกไขขอบังคับจำเลยวาดวยระเบียบพนักงานในขอ ๖ ข (๒) ใหยกเลิกขอความเดิมแลวใชขอความใหมแทนวา “(๒) เปนผูอยูในระหวางพักงาน พักราชการ หรือใหออกจากราชการไวกอนตามกฎหมาย” ตามสำเนาขอบังคับการไฟฟาสวนภูมิภาควาดวย ระเบียบพนักงาน (ฉบับที่ ๒๔) พ.ศ. ๒๕๖๐ นั้น ใหใชบังคับตั้งแตวันที่ประกาศคือวันที่ ๒๒ พฤศจิกายน ๒๕๖๐ เปนตนไป อันเปนเวลาภายหลังจากโจทกขาดคุณสมบัติและจำเลยเลิกจาง โจทกแลว การแกไขขอบังคับจำเลยจึงไมมีผลเปลี่ยนแปลงยอนหลังไปใหโจทกกลับกลายเปน ผูมีคุณสมบัติครบถวนในการเปนพนักงานจำเลยมาแตแรกไม จำเลยเลิกจางโจทกเปนธรรมแลว ไมมีเหตุใหเพิกถอนคำสั่งจำเลยที่ ๑๘๓๑/๒๕๖๐ เมื่อขอเท็จจริงฟงไดวาจำเลยเลิกจางโจทก เปนธรรมแลว จำเลยจึงไมตองจายคาเสียหายจากการเลิกจางไมเปนธรรมแกโจทก สำหรับเงิน ชวยเหลือคาไฟฟาเปนเงินที่จำเลยจายใหแกพนักงานที่จำเลยบรรจุเปนพนักงานประจำแลว แตจำเลยมิไดบรรจุใหโจทกเปนพนักงานประจำและเลิกจางโจทกแลว จำเลยจึงไมตองจายเงิน ชวยเหลือคาไฟฟาแกโจทกสวนคาเสียโอกาสจากการไมไดทำงานกับจำเลยและคาเสียโอกาส ในเงินชวยเหลือคาไฟฟาเปนผลสืบเนื่องมาจากโจทกขาดคุณสมบัติการเปนพนักงานจำเลย จำเลยหาไดกระทำการอยางใดเปนผลใหโจทกเสียโอกาสไม จำเลยจึงไมตองจายคาเสียโอกาส ทั้งสองจำนวนดังกลาวแกโจทก จำเลยจางโจทกเขาทดลองงานตั้งแตวันที่ ๑ ตุลาคม ๒๕๕๘ และเลิกจางโจทกวันที่ ๒๔ เมษายน ๒๕๖๐ แมเปนเพราะโจทกขาดคุณสมบัติ แตไมปรากฏวา โจทกมีการกระทำใดอันจะเปนเหตุใหจำเลยไมตองจายสินจางแทนการบอกกลาวลวงหนาตามที่ บัญญัติไวในประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา ๕๘๓ หรือไมตองจายคาชดเชยตาม พระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา ๑๑๙ จำเลยจึงตองจายสินจางแทนการ บอกกลาวลวงหนาและคาชดเชยแกโจทก พรอมดอกเบี้ยตามที่โจทกขอ แตดอกเบี้ยสำหรับ สินจางแทนการบอกกลาวลวงหนา จำเลยตองรับผิดในอัตรารอยละ ๗.๕ ตอป ตามประมวล กฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา ๒๒๔ วรรคหนึ่ง เทานั้น คดีมีปญหาตองวินิจฉัยตามอุทธรณของโจทกวา ขอบังคับจำเลยวาดวยระเบียบพนักงาน พ.ศ. ๒๕๑๗ ขอ ๖ ข (๒) เกินกวาและขัดตอกฎหมายที่มีศักดิ์สูงกวา คือรัฐธรรมนูญและ พระราชบัญญัติคุณสมบัติมาตรฐานสำหรับกรรมการและพนักงานรัฐวิสาหกิจ พ.ศ. ๒๕๑๘ ไมสามารถนำมาใชเปนเหตุเลิกจางโจทกได ใชหรือไม เห็นวา ตามพระราชบัญญัติคุณสมบัติ


๕๖๒ มาตรฐานสำหรับกรรมการและพนักงานรัฐวิสาหกิจ พ.ศ. ๒๕๑๘ มาตรา ๙ วรรคหนึ่ง ในขณะ เกิดเหตุคดีนี้ที่บัญญัติวา “พนักงานรัฐวิสาหกิจ นอกจากจะตองมีคุณสมบัติและไมมีลักษณะ ตองหามตามที่กำหนดไวสำหรับรัฐวิสาหกิจนั้น ๆ แลว ยังตองมีคุณสมบัติและไมมีลักษณะ ตองหามดังตอไปนี้...” นั้น เปนบทบัญญัติที่กลาวถึงคุณสมบัติของพนักงานรัฐวิสาหกิจวาจะตอง มีคุณสมบัติและไมมีลักษณะตองหามอยางไรบาง ซึ่งผลของการขาดคุณสมบัติหรือมีลักษณะ ตองหามตามมาตรา ๙ นั้น มาตรา ๑๑ บัญญัติใหพนักงานผูนั้นตองพนจากตำแหนง อันแสดงวา คุณสมบัติและลักษณะตองหามที่บัญญัติไวในมาตรา ๙ เปนคุณสมบัติและลักษณะตองหามที่ใชกับ ผูที่เปนพนักงานรัฐวิสาหกิจ แตขอบังคับจำเลยวาดวยระเบียบพนักงาน พ.ศ. ๒๕๑๗ ขอ ๖ ที่ระบุวา “ผูที่จะเขาเปนพนักงานตองมีคุณสมบัติและไมมีลักษณะตองหามดังตอไปนี้...” นั้น เปนการกำหนดคุณสมบัติและลักษณะตองหามสำหรับผูที่จะเขาเปนพนักงานจำเลยเทานั้น ไมใช เปนการกำหนดคุณสมบัติและลักษณะตองหามของผูที่เปนพนักงานแลว เพราะในเรื่องคุณสมบัติ และลักษณะตองหามอันจะทำใหไมสามารถเปนพนักงานเนื่องจากขาดคุณสมบัติและตองพนจาก ตำแหนง นั้น จำเลยกำหนดไวในขอบังคับจำเลยวาดวยระเบียบพนักงาน พ.ศ. ๒๕๑๗ ขอ ๓๔ โดยไมมีขอความที่วา “เปนผูที่อยูในระหวางพักราชการ พักงาน หรือตองหาคดีอาญา เวนแต ความผิดลหุโทษหรือความผิดอันไดกระทำโดยประมาท” ซึ่งหมายความวา พนักงานจำเลย แมจะตองหาคดีอาญา ก็ไมเปนเหตุใหขาดคุณสมบัติและตองพนจากตำแหนง พระราชบัญญัติ คุณสมบัติมาตรฐานสำหรับกรรมการและพนักงานรัฐวิสาหกิจ พ.ศ. ๒๕๑๘ มาตรา ๙ และมาตรา ๑๑ เปนเพียงการวางเกณฑทั่วไปสำหรับรัฐวิสาหกิจ แตบทบัญญัติทั้งสองมาตราดังกลาวก็ไดใหอำนาจ แกรัฐวิสาหกิจที่จะกำหนดคุณสมบัติ ลักษณะตองหาม และหลักเกณฑการพนตำแหนงขึ้นเอง ไดอีก เมื่อการกำหนดคุณสมบัติและลักษณะตองหามตามขอบังคับจำเลยวาดวยระเบียบพนักงาน พ.ศ. ๒๕๑๗ ขอ ๖ ข (๒) เปนเพียงหลักเกณฑกอนที่จะเขาเปนพนักงาน หาใชเปนการกำหนด คุณสมบัติและลักษณะตองหามของพนักงานแตอยางใด เพราะใชบังคับกับผูที่จะเขาเปนพนักงาน จำเลยซึ่งแมจะไมเหมาะสมนัก แตก็ไมถึงขนาดขัดตอพระราชบัญญัติคุณสมบัติมาตรฐานสำหรับ กรรมการและพนักงานรัฐวิสาหกิจ พ.ศ. ๒๕๑๘ มาตรา ๙ และมาตรา ๑๑ สวนที่โจทกอุทธรณ อางวา ขอบังคับจำเลยวาดวยระเบียบพนักงาน พ.ศ. ๒๕๑๗ ขอ ๖ ข (๒) ขัดตอหลักขอสันนิษฐาน ความเปนผูบริสุทธิ์ของผูตองหาคดีอาญาตามรัฐธรรมนูญก็เปนการกลาวอางเพื่อนำกฎหมาย ที่ไมตรงกับเรื่องมาปรับใชแกกรณีนี้ซึ่งเปนเรื่องกระบวนการเลือกสรรลูกจางเขาทำงานตามสัญญา จางแรงงาน จึงไมไดเปนการกำหนดหลักเกณฑเกินไปกวาหรือขัดแยงตอกฎหมายที่มีศักดิ์สูงกวา แตอยางใด ยอมนำมาใชเปนเหตุเลิกจางโจทกได เพราะโจทกมีลักษณะตองหามมากอนที่จะเขาเปน


๕๖๓ พนักงานจำเลยตามที่ระบุไวในขอบังคับจำเลยวาดวยระเบียบพนักงาน พ.ศ. ๒๕๑๗ ขอ ๖ ข (๒) โจทกจึงไมสามารถจะเขาเปนพนักงานจำเลยได ที่ศาลแรงงานภาค ๒ วินิจฉัยวา ขอกำหนดดังกลาว ของจำเลยไมเปนการตัดสิทธิโจทกและไมขัดตอหลักสันนิษฐานความเปนผูบริสุทธิ์ของผูตองหา คดีอาญาตามรัฐธรรมนูญแตอยางใด นั้น ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษเห็นพองดวย อุทธรณของ โจทกขอนี้ฟงไมขึ้น ปญหาตองวินิจฉัยตามอุทธรณของจำเลยมีวา ศาลแรงงานภาค ๒ ปรับบทกฎหมาย คลาดเคลื่อน และจำเลยตองรับผิดดอกเบี้ยคาชดเชยดวยอัตรารอยละ ๗.๕ ตอป ใชหรือไม เห็นวา จำเลยเปนนิติบุคคลประเภทรัฐวิสาหกิจ จัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติการไฟฟาสวนภูมิภาค พ.ศ. ๒๕๐๓ จึงอยูภายใตบังคับแหงพระราชบัญญัติแรงงานรัฐวิสาหกิจสัมพันธ พ.ศ. ๒๕๔๓ และประกาศคณะกรรมการแรงงานรัฐวิสาหกิจสัมพันธ เรื่อง มาตรฐานขั้นต่ำของสภาพการจาง ในรัฐวิสาหกิจ ลงวันที่ ๓๑ พฤษภาคม ๒๕๔๙ ไมนำพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาใชบังคับ ที่ศาลแรงงานภาค ๒ วินิจฉัยใหจำเลยจายคาชดเชย พรอมดอกเบี้ยอัตรารอยละ ๑๕ ตอป ใหแกโจทก ตามพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ จึงเปนการปรับบทกฎหมาย คลาดเคลื่อน ซึ่งตามประกาศคณะกรรมการแรงงานรัฐวิสาหกิจสัมพันธ เรื่อง มาตรฐานขั้นต่ำ ของสภาพการจางในรัฐวิสาหกิจ ขอ ๗ วรรคหนึ่ง บัญญัติใหนายจางเสียดอกเบี้ยใหแกลูกจาง ในระหวางเวลาผิดนัดไมจายคาชดเชย โดยมิไดกำหนดอัตราดอกเบี้ยของคาชดเชยในระหวาง เวลาผิดนัดไว เมื่อคาชดเชยเปนหนี้เงิน โจทกจึงมีสิทธิเรียกดอกเบี้ยในระหวางเวลาผิดนัดไดเพียง รอยละ ๗.๕ ตอป ตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา ๒๒๔ วรรคหนึ่ง เทานั้น ที่ศาลแรงงานภาค ๒กำหนดดอกเบี้ยสำหรับคาชดเชยอัตรารอยละ ๑๕ ตอป ตามพระราชบัญญัติ คุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ จึงไมถูกตอง ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษไมเห็นพองดวย อุทธรณ ของจำเลยขอนี้ฟงขึ้น พิพากษาแกเปนวา ใหจำเลยจายดอกเบี้ยสำหรับคาชดเชยในอัตรารอยละ ๗.๕ ตอป นอกจากที่แกใหเปนไปตามคำพิพากษาศาลแรงงานภาค ๒. (วิโรจน ตุลาพันธุ - ปณิธาน วิสุทธากร -ไพรัช โปรงแสง) วิฑูรย ตรีสุนทรรัตน - ยอ สุโรจน จันทรพิทักษ - ตรวจ


๕๖๔ คำพิพากษาศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษที่ ๙๖๓/๒๕๖๓ นางนิตยา อังคานุสรณ โจทก บริษัทธนาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน) จำเลย พ.ร.บ. เงินทดแทน พ.ศ. ๒๕๓๗ มาตรา ๔ (๒), ๕ ประกาศคณะกรรมการแรงงานรัฐวิสาหกิจสัมพันธ เรื่องมาตรฐานขั้นต่ำของสภาพการจาง ในรัฐวิสาหกิจ ขอ ๔ แมจําเลยซึ่งเปนรัฐวิสาหกิจจะไมอยูภายใตบังคับของกฎหมายวาดวยเงินทดแทน ตามมาตรา ๔ (๒) ของ พ.ร.บ. เงินทดแทน พ.ศ. ๒๕๓๗ ก็ตาม แตก็หาไดหมายความวา จะนํากฎหมายวาดวยเงินทดแทนเฉพาะเรื่องมาเทียบเคียงปรับใชแกจําเลย โดยอาศัย บทบัญญัติแหงกฎหมายฉบับอื่นไมได แมคําขอเรียกเงินชวยเหลือหรือเงินทดแทนของ โจทกจะกลาวอางโดยอาศัยสิทธิตามระเบียบการพนักงานของจําเลย ขอ ๔.๑.๒ และ ขอ ๕.๕ ตามลําดับ โดยระเบียบดังกลาวมิไดใหคํานิยามศัพทของคําวา “เจ็บปวย” หรือ “การถึงแกกรรมอันเนื่องมาจากการทํางาน” ไวโดยตรงก็ตาม แตก็หาอาจสรุปไดวา การที่พนักงานจําเลยถึงแกกรรมในขณะปฏิบัติหนาที่ในทางการที่จาง จะเปนการถึงแกกรรม อันเนื่องมาจากการทํางานเสมอไปดังที่โจทกอางไม เนื่องจากการจายเงินชวยเหลือตาม ระเบียบขอ ๔.๑.๒ ก็ดี หรือการจายเงินทดแทนตามระเบียบขอ ๕.๕ ก็ดี หาอาจจายไดโดย ปราศจากหลักเกณฑและเงื่อนไขโดยไมตองพิจารณาถึงกฎระเบียบขออื่นใดไม หากแต การจายเงินชวยเหลือนั้น ยังตองปฏิบัติตามระเบียบขอ ๔.๓ ที่กําหนดใหตองผานการ พิจารณาจากคณะกรรมการที่จําเลยแตงตั้ง เพื่อใหเปนการจายเงินทดแทนตามที่กฎหมาย กําหนด และสําหรับการจายเงินทดแทนนั้น ตามระเบียบขอ ๕.๕ ยังกําหนดใหตองมีการ พิจารณาใหไดรับคาทดแทนเทากับอัตราคาทดแทนและระยะเวลาการจายตามที่กฎหมาย กําหนด อันเปนขอที่แสดงวาการพิจารณาจายเงินทั้งสองจํานวน ดังกลาวไมอาจกระทํา ไดโดยอาศัยระเบียบการพนักงานของจําเลยแตเพียงอยางเดียว หากแตยังตองนํา กฎหมายอื่นที่เกี่ยวของบังคับใชแกจําเลย อันไดแก ประกาศคณะกรรมการแรงงาน รัฐวิสาหกิจสัมพันธ เรื่องมาตรฐานขั้นต่ำของสภาพการจางในรัฐวิสาหกิจ ซึ่งออกโดย อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๑๓ (๑) แหง พ.ร.บ. แรงงานรัฐวิสาหกิจสัมพันธ พ.ศ. ๒๕๔๓ อันเปนกฎหมายที่บังคับใชแกจําเลยโดยตรงมาพิจารณาประกอบระเบียบของจําเลยดวย


๕๖๕ เมื่อประกาศคณะกรรมการแรงงานรัฐวิสาหกิจสัมพันธ เรื่อง มาตรฐานขั้นต่ำของสภาพ การจางในรัฐวิสาหกิจ ขอ ๔ ไดใหคํานิยามศัพท คําวา “เจ็บปวย” วา หมายความวา “การที่ลูกจาง... ถึงแกความตายโดยโรคซึ่งเกิดขึ้นตามลักษณะหรือสภาพของงานหรือ เนื่องจากการทํางานตามกฎหมายวาดวยเงินทดแทน” อันเปนบทบัญญัติใหนําคํานิยามศัพท คําวา “เจ็บปวย” ตาม พ.ร.บ. เงินทดแทนมาใชแกกรณีการวินิจฉัยถึงความตายของลูกจาง วาเปนการตายอันเนื่องมาจากการทํางานหรือไม มิไดบัญญัติใหนํากฎหมายวาดวย เงินทดแทนหรือ พ.ร.บ. เงินทดแทนทั้งฉบับมาใชบังคับแกจําเลย หรือใหจําเลยอยูใน บังคับของ พ.ร.บ. เงินทดแทน อันเปนการฝาฝนตอขอหามตาม มาตรา ๔ (๒) ของ พ.ร.บ. เงินทดแทน พ.ศ. ๒๕๓๗ แตอยางใด ดังนั้น คํานิยามศัพท คําวา “เจ็บปวย” ตามประกาศ คณะกรรมการแรงงานรัฐวิสาหกิจสัมพันธฉบับดังกลาวยอมมีผลบังคับใชได หาไดมีผล ตกไปดังที่โจทกอางไม จึงชอบที่ศาลแรงงานกลางจะนําคํานิยามศัพท คําวา “เจ็บปวย” ตาม พ.ร.บ. เงินทดแทน พ.ศ. ๒๕๓๗ มาตรา ๕ มาปรับใชแกกรณีการใหคํานิยามศัพท คําวา “เจ็บปวย” ตามที่ประกาศคณะกรรมการแรงงานรัฐวิสาหกิจสัมพันธ เรื่อง มาตรฐาน ขั้นต่ำของสภาพการจางในรัฐวิสาหกิจ ขอ ๔ บัญญัติไว เมื่อศาลแรงงานกลางฟงขอเท็จจริงวา นาย พ. สามีโจทก ถึงแกกรรมดวยโรคภาวะกลามเนื้อหัวใจขาดเลือดเนื่องจากโรคหลอด เลือด มิไดเปนการถึงแกกรรมอันเนื่องมาจากการประสบอุบัติเหตุจากการทํางานหรือ อันเนื่องมาจากปองกันรักษาทรัพยสินหรือประโยชนของจําเลย กรณีจึงมิไดเปนการ ถึงแกกรรมดวยโรคซึ่งเกิดขึ้นตามลักษณะหรือสภาพของงานตามประกาศคณะกรรมการ แรงงานรัฐวิสาหกิจ สัมพันธ เรื่อง มาตรฐานขั้นต่ำของสภาพการจางในรัฐวิสาหกิจ และ มิไดเปนการถึงแกกรรมอันเนื่องมาจากการทํางานตามระเบียบปฏิบัติงานของจําเลย จําเลยจึงไมจําตองจายเงินชวยเหลือหรือเงินทดแทนตามฟอง _____________________________ โจทกฟองและแกไขคำฟอง ขอใหบังคับจำเลยชำระเงิน ๑,๐๕๔,๕๘๓.๓๓ บาท พรอม ดอกเบี้ยอัตรารอยละ ๑๕ ตอปของตนเงิน ๑,๐๐๐,๐๐๐ บาท นับถัดจากวันฟองเปนตนไปจนกวา จะชำระเสร็จแกโจทก จำเลยใหการและแกไขคำใหการ ขอใหยกฟอง ศาลแรงงานกลาง พิพากษายกฟอง


๕๖๖ โจทกอุทธรณ ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษแผนกคดีแรงงานวินิจฉัยวา ขอเท็จจริงที่ศาลแรงงานกลาง ฟงเปนยุติและไมมีคูความฝายใดโตแยงกันในชั้นอุทธรณรับฟงไดวา โจทกเปนทายาทโดยธรรม ในฐานะภริยาโดยชอบดวยกฎหมาย และเปนผูจัดการมรดกของนายพยุงศักดิ์ นายพยุงศักดิ์ ถึงแกกรรมเมื่อวันที่ ๑๗ มกราคม ๒๕๖๒ ขณะปฏิบัติงานในหนาที่ตรวจคัดธนบัตรตางประเทศ ใหแกจำเลย โดยมีสาเหตุการตายจากภาวะกลามเนื้อหัวใจขาดเลือด จำเลยเปนนิติบุคคลประเภท บริษัทมหาชนจำกัด ขณะนายพยุงศักดิ์มีชีวิตอยูเปนพนักงานของจำเลยเปนเวลากวา ๓๐ ป เริ่มทำงานประมาณกลางป ๒๕๓๐ ถึงวันที่ ๑๗ มกราคม ๒๕๖๒ ตำแหนงหัวหนาสวนบริหาร เงินสด ฝายบริหารเงินสด ไดรับคาจางอัตราสุดทายรวม ๙๙,๔๐๐ บาท และจำเลยไดจายเงินตาม ระเบียบใหโจทกอันเนื่องจากการตายของสามีโจทก ไดแก เงินสงเคราะหคาฌาปนกิจ ๙๕๑,๓๔๐ บาท เงินตอบแทนพิเศษในการทำงานกับจำเลย ๒๔๙,๓๕๐ บาท และเงินกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ ๓,๘๐๐,๐๐๐ บาท รวมเปนเงิน ๕,๐๐๐,๖๙๐ บาท มีปญหาตองวินิจฉัยตามอุทธรณของโจทกวา จำเลยตองจายเงินชวยเหลือหรือเงินทดแทน พรอมดอกเบี้ยแกโจทกหรือไม เพียงใด เห็นวา แมจำเลยซึ่งเปนรัฐวิสาหกิจจะไมอยูภายใตบังคับ ของกฎหมายวาดวยเงินทดแทนตามมาตรา ๔ (๒) ของพระราชบัญญัติเงินทดแทน พ.ศ. ๒๕๓๗ ก็ตาม แตก็หาไดหมายความวาจะนำกฎหมายวาดวยเงินทดแทนเฉพาะเรื่องมาเทียบเคียงปรับใช แกจำเลยโดยอาศัยบทบัญญัติแหงกฎหมายฉบับอื่นไมได แมคำขอเรียกเงินชวยเหลือหรือ เงินทดแทนของโจทกจะกลาวอางโดยอาศัยสิทธิตามระเบียบการพนักงานของจำเลย ขอ ๔.๑.๒ และขอ ๕.๕ ตามลำดับ โดยระเบียบดังกลาวมิไดใหคำนิยามศัพทของคำวา “เจ็บปวย” หรือ “การถึงแกกรรมอันเนื่องมาจากการทำงาน” ไวโดยตรงก็ตาม แตก็หาอาจสรุปไดวาการที่พนักงาน จำเลยถึงแกกรรมในขณะปฏิบัติหนาที่ในทางการที่จางจะเปนการถึงแกกรรมอันเนื่องมาจากการ ทำงานเสมอไปดังที่โจทกอางไม เนื่องจากการจายเงินชวยเหลือตามระเบียบขอ ๔.๑.๒ ก็ดี หรือ การจายเงินทดแทนตามระเบียบขอ ๕.๕ ก็ดี หาอาจจายไดโดยปราศจากหลักเกณฑและเงื่อนไข โดยไมตองพิจารณาถึงกฎระเบียบขออื่นใดไม หากแตการจายเงินชวยเหลือนั้น ยังตองปฏิบัติตาม ระเบียบขอ ๔.๓ ที่กำหนดใหตองผานการพิจารณาจากคณะกรรมการที่จำเลยแตงตั้ง เพื่อใหเปน การจายเงินทดแทนตามที่กฎหมายกำหนด และสำหรับการจายเงินทดแทนนั้น ตามระเบียบขอ ๕.๕ ยังกำหนดใหตองมีการพิจารณาใหไดรับคาทดแทนเทากับอัตราคาทดแทนและระยะเวลาการจาย ตามที่กฎหมายกำหนด อันเปนขอที่แสดงวาการพิจารณาจายเงินทั้งสองจำนวนดังกลาวไมอาจ กระทำไดโดยอาศัยระเบียบการพนักงานของจำเลยแตเพียงอยางเดียว หากแตยังตองนำกฎหมายอื่น ที่เกี่ยวของบังคับใชแกจำเลยอันไดแก ประกาศคณะกรรมการแรงงานรัฐวิสาหกิจสัมพันธ เรื่อง


๕๖๗ มาตรฐานขั้นต่ำของสภาพการจางในรัฐวิสาหกิจ ซึ่งออกโดยอาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๑๓ (๑) แหงพระราชบัญญัติแรงงานรัฐวิสาหกิจสัมพันธ พ.ศ. ๒๕๔๓ อันเปนกฎหมายที่บังคับใชแกจำเลย โดยตรงมาพิจารณาประกอบระเบียบของจำเลยดวย เมื่อประกาศคณะกรรมการแรงงานรัฐวิสาหกิจ สัมพันธ เรื่อง มาตรฐานขั้นต่ำของสภาพการจางในรัฐวิสาหกิจ ขอ ๔ ไดใหคำนิยามศัพท คำวา “เจ็บปวย” วา หมายความวา “การที่ลูกจาง...ถึงแกความตายโดยโรคซึ่งเกิดขึ้นตามลักษณะหรือ สภาพของงานหรือเนื่องจากการทำงานตามกฎหมายวาดวยเงินทดแทน” อันเปนบทบัญญัติใหนำ คำนิยามศัพท คำวา “เจ็บปวย” ตามพระราชบัญญัติเงินทดแทนมาใชแกกรณีการวินิจฉัยถึง ความตายของลูกจางวาเปนการตายอันเนื่องมาจากการทำงานหรือไม มิไดบัญญัติใหนำกฎหมาย วาดวยเงินทดแทนหรือพระราชบัญญัติเงินทดแทนทั้งฉบับมาใชบังคับแกจำเลย หรือใหจำเลย อยูในบังคับของพระราชบัญญัติเงินทดแทนอันเปนการฝาฝนตอขอหามตาม มาตรา ๔ (๒) ของพระราชบัญญัติเงินทดแทน พ.ศ. ๒๕๓๗ แตอยางใด ดังนั้น คำนิยามศัพท คำวา “เจ็บปวย” ตามประกาศคณะกรรมการแรงงานรัฐวิสาหกิจสัมพันธฉบับดังกลาวยอมมีผลบังคับใชได หาได มีผลตกไปดังที่โจทกอางไม จึงชอบที่ศาลแรงงานกลางจะนำคำนิยามศัพท คำวา “เจ็บปวย” ตาม พระราชบัญญัติเงินทดแทน พ.ศ. ๒๕๓๗ มาตรา ๕ มาปรับใชแกกรณี การใหคำนิยามศัพท คำวา “เจ็บปวย” ตามที่ประกาศคณะกรรมการแรงงานรัฐวิสาหกิจสัมพันธ เรื่อง มาตรฐานขั้นต่ำ ของสภาพการจางในรัฐวิสาหกิจ ขอ ๔ บัญญัติไว เมื่อศาลแรงงานกลางฟงขอเท็จจริงวา นายพยุงศักดิ์สามีโจทก ถึงแกกรรมดวยโรคภาวะกลามเนื้อหัวใจขาดเลือดเนื่องจากโรคหลอดเลือด มิไดเปนการถึงแกกรรมอันเนื่องมาจากการประสบอุบัติเหตุจากการทำงานหรืออันเนื่องมาจาก ปองกันรักษาทรัพยสินหรือประโยชนของจำเลย กรณีจึงมิไดเปนการถึงแกกรรมดวยโรคซึ่งเกิดขึ้น ตามลักษณะหรือสภาพของงานตามประกาศคณะกรรมการแรงงานรัฐวิสาหกิจสัมพันธ เรื่อง มาตรฐานขั้นต่ำของสภาพการจางในรัฐวิสาหกิจ และมิไดเปนการถึงแกกรรมอันเนื่องมาจาก การทำงานตามระเบียบปฏิบัติงานของจำเลย จำเลยจึงไมจำตองจายเงินชวยเหลือหรือเงินทดแทน ตามฟอง ที่ศาลแรงงานกลางพิพากษายกฟองโจทกมานั้น ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษเห็นพองดวย อุทธรณของโจทกฟงไมขึ้น พิพากษายืน. (ดณยา วีรฤทธิ์ - เฉลิมพงศ ขันตี - สมเกียรติ คูวัธนไพศาล) ฐานุตร เล็กสุภาพ - ยอ สุโรจน จันทรพิทักษ - ตรวจ


๕๖๘ คำพิพากษาศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษที่ ๑๕๗๔/๒๕๖๓ นายพงษพิทักษ ตันติ์ทวิสุทธิ์ โจทก บริษัทไปรษณียไทย จำกัด จำเลย พ.ร.บ. แรงงานรัฐวิสาหกิจสัมพันธ พ.ศ. ๒๕๔๓ มาตรา ๑๓ พ.ร.บ. สหกรณ พ.ศ. ๒๕๔๒ มาตรา ๔๒/๑ ประกาศคณะกรรมการแรงงานรัฐวิสาหกิจสัมพันธ เรื่อง มาตรฐานขั้นต่ำของสภาพการจาง ในรัฐวิสาหกิจ ขอ ๓๑ ประกาศคณะกรรมการแรงงานรัฐวิสาหกิจสัมพันธ เรื่อง มาตรฐานขั้นต่ำของ สภาพการจางในรัฐวิสาหกิจ ขอ ๓๑ ออกโดยอาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๑๓ (๑) แหง พ.ร.บ. แรงงานรัฐวิสาหกิจสัมพันธ พ.ศ. ๒๕๔๓ กําหนดวา หามนายจางหักคาจาง คาลวงเวลา คาทํางานในวันหยุด และคาลวงเวลาในวันหยุด เวนแตเปนการหักเพื่อชําระ ภาษีเงินได ชําระคาบํารุงสหภาพ ฯ ชําระ หนี้สินสหกรณออมทรัพย เงินประกันความ เสียหายหรือชดใชคาเสียหาย เงินสะสมตามขอตกลงเกี่ยวกับกองทุนเงินสะสมหรือกองทุน สํารองเลี้ยงชีพ โดยหามมิใหหักเกินรอยละสิบและจะหักรวมกันไดไมเกินหนึ่งในหาของ เงินที่ลูกจางมีสิทธิไดรับ ทั้งนี้ เวนแตไดรับความยินยอมเปนหนังสือจากลูกจาง และ พ.ร.บ. สหกรณ พ.ศ. ๒๕๔๒ มาตรา ๔๒/๑ กําหนดวา เมื่อสมาชิกไดทําความยินยอมเปน หนังสือไวกับสหกรณใหผูบังคับบัญชาหรือนายจางหักเงินเดือนหรือคาจางหรือเงินอื่นใด ที่ถึงกําหนดจายแกสมาชิกนั้นได ซึ่งหมายความวา นายจางที่เปนรัฐวิสาหกิจจะหักเงินเดือน คาจางของลูกจางไมได เวนแตเขาขอยกเวนที่ใหนายจางหักคาจางได โดยการจะหักได มากนอยเพียงใดจึงตองมาพิจารณาตามประกาศคณะกรรมการแรงงานรัฐวิสาหกิจสัมพันธ เรื่อง มาตรฐานขั้นต่ำของสภาพการจางในรัฐวิสาหกิจ ขอ ๓๑ ซึ่งตามประกาศดังกลาว ไดกําหนดจํานวนเงินคาจางที่นายจางจะสามารถหักจากลูกจางไดวาไมเกินรอยละสิบ ของเงินแตละประเภทและไมอาจหักรวมกันเกินหนึ่งในหาของเงินที่ลูกจางมีสิทธิไดรับได อันเปนประกาศที่กําหนดขึ้นเพื่อประโยชนของลูกจางในการไดรับคาจางอยางเต็มจํานวน คาจาง โดยไมใหนายจางมีสิทธิหักคาจาง เวนแตเขาขอยกเวน ซึ่งใน ขอยกเวนยังกําหนด ประเภทและจํานวนของคาจางที่นายจางสามารถหักไดไวดวยเพื่อเปนการคุมครองให ลูกจางมีคาจางเพื่อไปใชจายใหอยูรอดในสังคมโดยไมแรนแคนและไมถูกใชใหทํางาน


๕๖๙ ฝายเดียวจนไมไดรับคาจางตอบแทน ดวยเหตุนี้ ขอยกเวนในการใหความยินยอมเปน หนังสือของลูกจางที่ยอมใหนายจางหักคาจางมากกวาจํานวนที่ระบุไวในขอ ๓๑ อันเปน ขอตกลงในทํานองสละสิทธิที่กฎหมายคุมครอง ซึ่งตองตีความโดยเครงครัด ขอตกลง ดังกลาวจึงตองมีความชัดแจงวาลูกจางรูและเขาใจถึงสิทธิของตนในการที่จะถูกหักคาจาง มากกวาจํานวนที่กฎหมายคุมครอง หากลูกจางไมรูและเขาใจในการตกลงใหนายจาง หักคาจางมากกวาจํานวนตามขอ ๓๑ แลว นายจางอาจหักเงินเดือนคาจางของลูกจาง จนหมดสิ้น ไมมีเงินเหลือเพื่อการดํารงชีพสําหรับลูกจางแมสักเล็กนอยจนลูกจางอาจจะ ไรซึ่งคาจางที่จะนําไปจัดหาปจจัยสี่อันเปนสิ่งจําเปนพื้นฐานสําหรับมนุษยทุกคนมาดํารงชีพ จนทําใหลูกจางขาดพละกําลังในการทํางานใหแกนายจางไดในที่สุด อันจะไมตรงตาม เจตนารมณของกฎหมายเกี่ยวกับการคุมครองแรงงานในรัฐวิสาหกิจและยังไมเปนไปตาม มาตรฐานขั้นต่ำของสภาพการจางดังที่ประกาศคณะกรรมการแรงงานรัฐวิสาหกิจสัมพันธ เรื่อง มาตรฐานขั้นต่ำของสภาพการจางในรัฐวิสาหกิจกําหนดไว เมื่อพิจารณาหนังสือยินยอม (ผูกู) ใหหักชําระหนี้แกสหกรณออมทรัพยการสื่อสาร แหงประเทศไทย จํากัด ลงวันที่ ๒๘ เมษายน ๒๕๖๐ แลว มีขอความที่โจทกยินยอมให จําเลยหักคาจางเทานั้น หาไดระบุโดยชัดแจงวายินยอมใหหักคาจางมากกวาจํานวน ตามประกาศคณะกรรมการแรงงานรัฐวิสาหกิจสัมพันธ เรื่อง มาตรฐานขั้นต่ำของสภาพ การจางในรัฐวิสาหกิจ ขอ ๓๑ และเมื่อพิจารณาหนังสือยินยอมของผูค้ำประกัน ใหหัก ชําระหนี้แกสหกรณออมทรัพยการสื่อสารแหงประเทศไทย จํากัด เอกสารหมาย จ.๒๐ แลว แมจะมีขอความวา “การหักเงินเดือนคาจางหรือเงินอื่นใด โจทกยินยอมใหหักคาจาง เกินกวารอยละสิบและหักรวมกับรายการหักอื่น ๆ ไดเกินกวาหนึ่งในหาของเงินที่โจทก มีสิทธิไดรับตามกําหนดเวลาการจายเงินดังกลาว” ก็ตาม แตก็เปนการตกลงใหหักเงิน อื่นใดรวมอยูดวย มิใชการตกลงโดยชัดแจงใหหักคาจางเพียงอยางเดียว ทั้งมิไดระบุ ใหชัดแจงวาจะเปนการหักคาจางจนไมเหลือแมแตบาทเดียว ซึ่งไมสอดคลองกับขอความ ตามขอ ๓๑ วรรคสอง ที่จํากัดการหักในแตละรายการไดไมเกินรอยละสิบและรวม รายการอื่นแลวตองไมเกินหนึ่งในหาของเงินที่โจทกมีสิทธิไดรับ โดยไมปรากฏวาโจทก รับทราบและยินยอมใหหักเฉพาะคาจางจนไมเหลือแมแตบาทเดียว จึงถือไมไดวาโจทก ไดใหความยินยอมในการหักคาจางเกินจํานวนตามขอ ๓๑วรรคสอง แลว ดังนั้น แมวา โจทกจะตองรับผิดตามสัญญากูและสัญญาค้ำประกันเงินกูตอสหกรณออมทรัพยการสื่อสาร แหงประเทศไทย จํากัด โดยไดทําหนังสือยินยอมใหจําเลยหักเงินเดือนคาจางของโจทก


๕๗๐ ก็ตาม แตเมื่อการหักคาจางของจําเลยเปนการหักคาจางที่รวมหนี้ที่โจทกกูยืมเองและ หนี้จากการค้ำประกันรวมอยูดวย โดยโจทกไมไดยินยอมโดยชัดแจงใหหักคาจางเพื่อ ชําระหนี้ที่โจทกเปนผูกูเกินกวาจํานวนตามขอ ๓๑ การหักคาจางของจําเลยจึงไมชอบ ดวยกฎหมาย สวนการที่โจทกมีคําขอใหจําเลยหักคาจางแลวยังคงเหลือคาจางไมนอยกวา เดือนละ ๒๐,๐๐๐ บาท นั้น เปนการขอใหจําเลยกระทําการในการหักคาจางในอนาคต สำหรับการจายคาจางเดือนถัดไปใหถูกตองตามกฎหมายและประกาศคณะกรรมการ แรงงานรัฐวิสาหกิจสัมพันธ เรื่อง มาตรฐานขั้นต่ำของสภาพการจางในรัฐวิสาหกิจ ซึ่งการ ที่จําเลยจะหักคาจางโจทกเทาใดและคงเหลือเทาใดนั้น จําตองขึ้นอยูกับจํานวนคาจาง จํานวนภาระหนี้ และขอตกลงตาง ๆ ภายใตกรอบของกฎหมายและขอตกลงที่โจทกได กระทําไว จึงเปนเรื่องที่จําเลยจะตองปฏิบัติใหถูกตองตอไป ในชั้นนี้จึงมิใชเรื่องที่จําตอง กําหนดใหเปนจํานวนแนนอนเฉพาะลงไป ______________________________ โจทกฟอง ขอใหบังคับจำเลยหักเงินเดือนคาจางโจทกในสวนชำระหนี้ฐานะผูค้ำประกัน ไมเกินรอยละ ๑๐ และรวมแลวใหคงเหลือเพียงพอแกการยังชีพไมต่ำกวา ๒๐,๐๐๐ บาท จำเลยใหการ ขอใหยกฟอง ศาลแรงงานกลาง พิพากษายกฟอง โจทกอุทธรณ ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษแผนกคดีแรงงานวินิจฉัยวา ศาลแรงงานกลางฟงขอเท็จจริง และวินิจฉัยวา โจทกเปนลูกจางจำเลย อัตราเงินเดือน ๔๘,๕๗๐ บาท และโจทกเปนสมาชิก สหกรณออมทรัพยการสื่อสารแหงประเทศไทย จำกัด ซึ่งมีฐานะเปนนิติบุคคลแยกตางหากจาก จำเลยผูเปนนายจางของโจทก เมื่อเดือนกันยายน ๒๕๖๒ จำเลยหักเงินเดือนคาจางของโจทก มอบใหแกสหกรณออมทรัพยการสื่อสารแหงประเทศไทย จำกัด ซึ่งเปนการหักเพื่อชำระคาหุน และหนี้เงินกูทั้งในฐานะผูกูและผูค้ำประกันแทนสมาชิกที่ผิดนัดรวมเปนเงินที่หักทั้งสิ้น ๔๘,๕๗๐ บาท ทำใหโจทกไดรับเงิน ๐ บาท โดยโจทกทำหนังสือยินยอมในการหักเงินดังกลาวไวแกสหกรณ ออมทรัพยการสื่อสารแหงประเทศไทย จำกัด แลว การที่จำเลยหักเงินเดือนคาจางของโจทก ดังกลาวจึงไมขัดตอประกาศคณะกรรมการแรงงานรัฐวิสาหกิจสัมพันธ เรื่อง มาตรฐานขั้นต่ำ ของสภาพการจางในรัฐวิสาหกิจ ลงวันที่ ๓๑ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๔๙ ขอ ๓๑


๕๗๑ ปญหาที่ตองวินิจฉัยตามอุทธรณโจทกมีวา จำเลยหักเงินเดือนคาจางของโจทกใหแก สหกรณออมทรัพยการสื่อสารแหงประเทศไทย จำกัด คงเหลือเงินสุทธิศูนยบาทนั้นชอบดวย กฎหมายหรือไม เห็นวา ประกาศคณะกรรมการแรงงานรัฐวิสาหกิจสัมพันธ เรื่อง มาตรฐานขั้นต่ำ ของสภาพการจางในรัฐวิสาหกิจ ลงวันที่ ๓๑ พฤษภาคม ๒๕๔๙ ขอ ๓๑ ออกโดยอาศัยอำนาจ ตามความในมาตรา ๑๓ (๑) แหงพระราชบัญญัติแรงงานรัฐวิสาหกิจสัมพันธ พ.ศ. ๒๕๔๓ กำหนด “หามนายจางหักคาจาง คาลวงเวลา คาทำงานในวันหยุด และคาลวงเวลาในวันหยุด เวนแตเปน การหักเพื่อ (๑) ชำระภาษีเงินไดตามจำนวนที่ลูกจางตองจายหรือชำระเงินอื่นตามที่กฎหมาย บัญญัติไว (๒) ชำระคาบำรุงสหภาพแรงงานรัฐวิสาหกิจตามขอบังคับของสหภาพแรงงาน รัฐวิสาหกิจ หรือเพื่อชำระเงินอื่นอันเปนสวัสดิการที่สหภาพแรงงานรัฐวิสาหกิจจัดใหเพื่อประโยชน ของลูกจางฝายเดียว โดยไดรับความยินยอมลวงหนาจากลูกจาง (๓) ชำระหนี้สินสหกรณออมทรัพย หรือสหกรณอื่นที่มีลักษณะเดียวกันกับสหกรณออมทรัพย หรือหนี้ที่เปนไปเพื่อประโยชนของ ลูกจางฝายเดียวโดยไดรับความยินยอมลวงหนาจากลูกจาง (๔) เปนเงินประกันความเสียหาย หรือชดใชคาเสียหายแกนายจาง ซึ่งลูกจางไดกระทำโดยจงใจหรือประมาทเลินเลออยางรายแรง โดยไดรับความยินยอมจากลูกจาง (๕) เปนเงินสะสมตามขอตกลงเกี่ยวกับกองทุนเงินสะสมหรือ กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ ทั้งนี้ การหักตาม (๒) (๓) (๔) และ (๕) หามมิใหหักเกินรอยละสิบ และ จะหักรวมกันไดไมเกินหนึ่งในหาของเงินที่ลูกจางมีสิทธิไดรับ ทั้งนี้ เวนแตไดรับความยินยอม เปนหนังสือจากลูกจาง” และพระราชบัญญัติสหกรณ พ.ศ. ๒๕๔๒ มาตรา ๔๒/๑ กำหนดวา เมื่อสมาชิกไดทำความยินยอมเปนหนังสือไวกับสหกรณใหผูบังคับบัญชาหรือนายจางหักเงินเดือน หรือคาจาง หรือเงินอื่นใดที่ถึงกำหนดจายแกสมาชิกนั้น เพื่อชำระหนี้หรือภาระผูกพันอื่นที่มีตอ สหกรณ ใหแกสหกรณตามจำนวนที่สหกรณแจงไป จนกวาหนี้หรือภาระผูกพันนั้นจะระงับสิ้นไป ใหหนวยงานนั้นหักเงินดังกลาวและสงเงินที่หักไวนั้นใหแกสหกรณโดยพลัน การแสดงเจตนา ยินยอมดังกลาว มิอาจจะถอนคืนได เวนแตสหกรณใหความยินยอม ซึ่งหมายความวา นายจาง ที่เปนรัฐวิสาหกิจจะหักเงินเดือนคาจางของลูกจางไมได แตมีขอยกเวนใหหักคาจางไดตามกรณี ตามประกาศคณะกรรมการแรงงานรัฐวิสาหกิจสัมพันธ เรื่อง มาตรฐานขั้นต่ำของสภาพการจาง ในรัฐวิสาหกิจ ขอ ๓๑ (๑) – (๕) โดยการหักคาจางตาม (๒) (๓) (๔) และ (๕) หามมิใหหักเกิน รอยละสิบ และจะหักรวมกันไดไมเกินหนึ่งในหาของเงินที่ลูกจางมีสิทธิไดรับไมได เวนแตลูกจาง ทำหนังสือยินยอมระบุใหหักไดเกินกวานั้น ทั้งตามพระราชบัญญัติสหกรณ พ.ศ. ๒๕๔๒ มาตรา ๔๒/๑ การหักที่นายจางจะหักคาจางได ลูกจางตองยินยอมเปนหนังสือ นายจางจึงจะมีสิทธิหักได แตตามพระราชบัญญัติสหกรณ พ.ศ. ๒๕๔๒ ก็มิไดระบุจำนวนของการหักไววาหักไดมากนอย


๕๗๒ เพียงใด การจะหักไดมากนอยเพียงใดจึงตองมาพิจารณาตามประกาศคณะกรรมการแรงงาน รัฐวิสาหกิจสัมพันธ เรื่อง มาตรฐานขั้นต่ำของสภาพการจางในรัฐวิสาหกิจ ขอ ๓๑ ซึ่งตาม ประกาศดังกลาวไดกำหนดจำนวนเงินคาจางที่นายจางจะสามารถหักจากลูกจางไดวาไมเกิน รอยละสิบของเงินแตละประเภทและไมอาจหักรวมกันเกินหนึ่งในหาของเงินที่ลูกจางมีสิทธิไดรับได อันเปนประกาศที่กำหนดขึ้นเพื่อประโยชนของลูกจางในการไดรับคาจางอยางเต็มจำนวนคาจาง โดยไมใหนายจางมีสิทธิหักคาจาง เวนแตเขาขอยกเวน ซึ่งในขอยกเวนยังกำหนดประเภทและ จำนวนของคาจางที่นายจางสามารถหักไดไวดวยเพื่อเปนการคุมครองใหลูกจางมีคาจางเพื่อไป ใชจายใหอยูรอดในสังคมโดยไมแรนแคนและไมถูกใชใหทำงานฝายเดียวแตไมไดรับคาจางตอบแทน ดวยเหตุนี้ ขอยกเวนในการใหความยินยอมเปนหนังสือของลูกจางที่ยอมใหนายจางหักคาจาง มากกวาจำนวนที่ระบุไวในขอ ๓๑ อันเปนขอตกลงในทำนองสละสิทธิที่กฎหมายคุมครอง ซึ่งตอง ตีความโดยเครงครัด ขอตกลงดังกลาวจึงตองมีความชัดแจงวาลูกจางรูและเขาใจถึงสิทธิของตน ในการที่จะถูกหักคาจางมากกวาจำนวนที่กฎหมายคุมครอง หากลูกจางไมรูและเขาใจในการตกลง ใหนายจางหักคาจางมากกวาจำนวนตามขอ ๓๑ แลว นายจางอาจหักเงินเดือนคาจางของลูกจาง จนหมดสิ้น ไมมีเงินเหลือเพื่อการดำรงชีพสำหรับลูกจางแมสักเล็กนอย จนลูกจางอาจจะไรซึ่ง คาจางที่จะนำไปจัดหาปจจัยสี่อันเปนสิ่งจำเปนพื้นฐานสำหรับมนุษยทุกคนมาดำรงชีพจนทำให ลูกจางขาดพละกำลังในการทำงานใหแกนายจางไดในที่สุด อันจะไมตรงตามเจตนารมณของ กฎหมายเกี่ยวกับการคุมครองแรงงานในรัฐวิสาหกิจและยังไมเปนไปตามมาตรฐานขั้นต่ำของสภาพ การจางดังที่ประกาศคณะกรรมการแรงงานรัฐวิสาหกิจสัมพันธ เรื่อง มาตรฐานขั้นต่ำของสภาพ การจางในรัฐวิสาหกิจ ลงวันที่ ๓๑ พฤษภาคม ๒๕๔๙ กำหนดไว เมื่อพิจารณาหนังสือยินยอม (ผูกู) ใหหักชำระหนี้แกสหกรณออมทรัพยการสื่อสารแหงประเทศไทย จำกัด ลงวันที่ ๒๘ เมษายน ๒๕๖๐ แลว มีขอความที่โจทกยินยอมใหจำเลยหักคาจางเทานั้น หาไดระบุโดยชัดแจงวายินยอม ใหหักคาจางมากกวาจำนวนตามประกาศคณะกรรมการแรงงานรัฐวิสาหกิจสัมพันธ เรื่อง มาตรฐาน ขั้นต่ำของสภาพการจางในรัฐวิสาหกิจ ขอ ๓๑ และเมื่อพิจารณาหนังสือยินยอมของผูค้ำประกัน ใหหักชำระหนี้แกสหกรณออมทรัพยการสื่อสารแหงประเทศไทย จำกัด ลงวันที่ ๑๗ สิงหาคม แลว แมจะมีขอความวา “การหักเงินเดือนคาจางหรือเงินอื่นใด โจทกยินยอมใหหักคาจางเกินกวา รอยละสิบและหักรวมกับรายการหักอื่น ๆ ไดเกินกวาหนึ่งในหาของเงินที่โจทกมีสิทธิไดรับตาม กำหนดเวลาการจายเงินดังกลาว” ก็ตาม แตก็เปนการตกลงใหหักเงินอื่นใดรวมอยูดวย มิใชการ ตกลงโดยชัดแจงใหหักคาจางเพียงอยางเดียว ทั้งมิไดระบุใหชัดแจงวาจะเปนการหักคาจางจน ไมเหลือแมแตบาทเดียว ซึ่งไมสอดคลองกับขอความตามขอ ๓๑ วรรคสอง ที่จำกัดการหัก


๕๗๓ ในแตละรายการไดไมเกินรอยละสิบและรวมรายการอื่นแลวตองไมเกินหนึ่งในหาของเงินที่โจทก มีสิทธิไดรับ โดยไมปรากฏวาโจทกรับทราบและยินยอมใหหักเฉพาะคาจางจนไมเหลือแมแต บาทเดียว จึงถือไมไดวาโจทกไดใหความยินยอมในการหักคาจางเกินจำนวนตามขอ ๓๑ วรรคสองแลว ดังนั้น แมวาโจทกจะตองรับผิดตามสัญญากูและสัญญาค้ำประกันเงินกูตอสหกรณออมทรัพย การสื่อสารแหงประเทศไทย จำกัด โดยไดทำหนังสือยินยอมใหจำเลยหักเงินเดือนคาจางของโจทก ก็ตาม แตเมื่อการหักคาจางของจำเลยเปนการหักคาจางที่รวมหนี้ที่โจทกกูยืมเองและหนี้จากการ ค้ำประกันรวมอยูดวย โดยโจทกไมไดยินยอมโดยชัดแจงใหหักคาจางเพื่อชำระหนี้ที่โจทกเปน ผูกูเกินกวาจำนวนตามขอ ๓๑ วรรคสอง การหักคาจางของจำเลยจึงไมชอบดวยกฎหมาย สวน การที่โจทกมีคำขอใหจำเลยหักคาจางแลวยังคงเหลือคาจางไมนอยกวาเดือนละ ๒๐,๐๐๐ บาท นั้น เปนการขอใหจำเลยกระทำการในการหักคาจางในอนาคตสำหรับการจายคาจางเดือนถัดไป ใหถูกตองตามกฎหมายและประกาศคณะกรรมการแรงงานรัฐวิสาหกิจสัมพันธ เรื่อง มาตรฐาน ขั้นต่ำของสภาพการจางในรัฐวิสาหกิจ ซึ่งการที่จำเลยจะหักคาจางโจทกเทาใดและคงเหลือ เทาใดนั้น จำตองขึ้นอยูกับจำนวนคาจาง จำนวนภาระหนี้ และขอตกลงตาง ๆ ภายใตกรอบของ กฎหมายและขอตกลงที่โจทกไดกระทำไว จึงเปนเรื่องที่จำเลยจะตองปฏิบัติใหถูกตองตอไป ในชั้นนี้จึงมิใชเรื่องที่จำตองกำหนดใหเปนจำนวนแนนอนเฉพาะลงไป ที่ศาลแรงงานกลางวินิจฉัย มานั้น ไมตองดวยความเห็นของศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษ อุทธรณของโจทกฟงขึ้น พิพากษากลับ ใหจำเลยหักเงินเดือนคาจางโจทกในแตละเดือนโดยใหเปนไปตามประกาศ คณะกรรมการแรงงานรัฐวิสาหกิจสัมพันธ เรื่อง มาตรฐานขั้นต่ำของสภาพการจางในรัฐวิสาหกิจ ขอ ๓๑ (ผจงธรณ วรินทรเวช - โสภณ พรหมสุวรรณ - พิเชฏฐ รื่นเจริญ) สุรพัศ เพ็ชรคง - ยอ สุโรจน จันทรพิทักษ - ตรวจ


๕๗๔ คำพิพากษาศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษที่ ๒๘๑๑/๒๕๖๓ นางวรพรรณ สธนพงศ โจทก องคการพิพิธภัณฑวิทยาศาสตร แหงชาติ กับพวก จำเลย ประกาศคณะกรรมการแรงงานรัฐวิสาหกิจสัมพันธ เรื่อง มาตรฐานขั้นต่ำของสภาพการจาง ในรัฐวิสาหกิจ ขอ ๕๙ วรรคสอง จําเลยที่ ๑ เพียงแตมีคําสั่งโอนยายโจทกไปดํารงตําแหนงอื่นในหนวยงานของ จําเลยที่ ๑ โดยคาจางและสิทธิประโยชนตาง ๆ มิไดเปลี่ยนแปลงไป มิใชการกระทําใด ที่นายจางไมใหลูกจาง ทํางานตอไปและไมจายคาจางให อันจะถือวาเปนการเลิกจาง ตาม ประกาศคณะกรรมการแรงงาน รัฐวิสาหกิจสัมพันธ เรื่อง มาตรฐานขั้นต่ำของสภาพการจาง ในรัฐวิสาหกิจ ขอ ๕๙ วรรคสอง โจทกจึงไมมีสิทธิเรียกรองคาชดเชยและคาเสียหาย จากการเลิกจางที่ไมเปนธรรมตามฟอง _______________________________ โจทกฟองและแกไขคำฟอง ขอใหบังคับจำเลยทั้งสองจายคาชดเชยในอัตรา ๓๐๐ วัน จากเงินเดือนอัตราสุดทายเดือนละ ๘๔,๑๔๐ บาท หรือวันละ ๒,๘๐๔ บาท รวม ๘๔๑,๔๐๐ บาท และคาเสียหายจากการเลิกจางที่ไมเปนธรรม ๑๔,๔๘๕,๒๗๕ บาท รวมเปนเงิน ๑๕,๓๒๖,๖๗๕ บาท แกโจทก จำเลยทั้งสองใหการและแกไขคำใหการ ขอใหยกฟอง ศาลแรงงานภาค ๑ พิพากษายกฟอง โจทกอุทธรณ ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษแผนกคดีแรงงานวินิจฉัยวา ศาลแรงงานภาค ๑ ฟงขอเท็จจริง และวินิจฉัยวา คำสั่งของจำเลยที่ ๑ ที่ ๒๙/๒๕๖๑ เรื่องยายและแตงตั้งพนักงาน ที่ใหยกเลิก คำสั่งที่ ๔๐/๒๕๕๙ เรื่องแตงตั้งพนักงาน ที่โอนยายโจทกจากเดิมตำแหนงนักวิชาการ ระดับ ๘ งานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สำนักบริหาร เปนนักวิชาการ ระดับ ๘ กองวัสดุอุเทศ เทคโนโลยีสารสนเทศ พิพิธภัณฑเทคโนโลยีสารสนเทศ โดยโจทกคงไดรับคาจางไมต่ำกวาเดิม และสามารถปรับเลื่อนระดับไปจนถึงระดับผูอำนวยการพิพิธภัณฑไดอีก จึงเปนการโอนยายตาม อำนาจบริหารของจำเลยที่ ๒ ที่จะกระทำไดเพื่อการปรับปรุงงานของจำเลยที่ ๑ ผูเปนนายจาง ไมถือวาเปนการเลิกจาง โจทกจึงไมมีสิทธิเรียกรองคาชดเชยและคาเสียหายจากการเลิกจางที่ ไมเปนธรรมตามฟอง


๕๗๕ มีปญหาตองวินิจฉัยตามอุทธรณของโจทกวา จำเลยที่ ๑ เลิกจางโจทกอันเปนเหตุให โจทกมีสิทธิไดรับคาชดเชยและคาเสียหายจากการเลิกจางที่ไมเปนธรรมหรือไม เห็นวา ตาม ประกาศคณะกรรมการแรงงานรัฐวิสาหกิจสัมพันธ เรื่อง มาตรฐานขั้นต่ำของสภาพการจาง ในรัฐวิสาหกิจ วันที่ ๓๑ พฤษภาคม ๒๕๔๙ ขอ ๕๙ วรรคสอง กำหนดวา การเลิกจาง หมายความวา การกระทำใดที่นายจางไมใหลูกจางทำงานตอไป และไมจายคาจางให ไมวาจะเปนเพราะเหตุสิ้นสุด สัญญาจางหรือเหตุอื่นใด และหมายความรวมถึง กรณีที่ลูกจางไมไดทำงานและไมไดรับคาจาง เพราะเหตุที่นายจางไมสามารถดำเนินกิจการตอไปได แตไมรวมถึงการพนจากตำแหนงเพราะเหตุ เกษียณอายุตามขอบังคับ ขอกำหนด ระเบียบหรือคำสั่งของนายจาง ขอเท็จจริงที่ศาลแรงงานภาค ๑ ฟงมาไดความวา จำเลยที่ ๑ เพียงแตมีคำสั่งโอนยายโจทกไปดำรงตำแหนงอื่นในหนวยงานของ จำเลยที่ ๑ โดยคาจางและสิทธิประโยชนตาง ๆ มิไดเปลี่ยนแปลงไป ซึ่งเปนการกระทำคนละกรณี กับการที่นายจางไมใหลูกจางทำงานตอไป อันจะถือวาเปนการเลิกจางที่ตองพิจารณาตามประกาศ คณะกรรมการแรงงานรัฐวิสาหกิจสัมพันธ เรื่อง มาตรฐานขั้นต่ำของสภาพการจางในรัฐวิสาหกิจ วันที่ ๓๑ พฤษภาคม ๒๕๔๙ ขอ ๕๙ วรรคสอง ขางตน ดังนั้น คำสั่งโอนยายโจทกไปดำรง ตำแหนงอื่นดังกลาวจึงมิใชการกระทำใดที่นายจางไมใหลูกจางทำงานตอไปและไมจายคาจาง ใหอันเปนการเลิกจางตามบทบัญญัติดังกลาว และปรากฏขอเท็จจริงเปนที่ยุติดวยวา ปจจุบัน โจทกยังคงทำงานกับจำเลยที่ ๑ อยู กรณีจึงถือไมไดวาจำเลยที่ ๑ เลิกจางโจทก ที่ศาลแรงงานภาค ๑ พิพากษามานั้นชอบแลว อุทธรณของโจทกฟงไมขึ้น สวนที่โจทกอุทธรณขอใหศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษพิพากษาใหจำเลยที่ ๑ จัดใหโจทก ดำรงตำแหนงที่ถูกตองและเหมาะสมกับประสบการณ อายุงาน และความรูความสามารถของ โจทกนั้น เห็นวา โจทกฟองเรียกคาชดเชยและคาเสียหายจากการเลิกจางที่ไมเปนธรรมเทานั้น อางวาจำเลยที่ ๑ เลิกจางโจทก โดยมิไดมีคำขอใหศาลพิพากษาใหจำเลยที่ ๑ จัดใหโจทกดำรง ตำแหนงที่ถูกตองและเหมาะสมกับประสบการณ อายุงาน และความรูความสามารถของโจทก แตอยางใด อุทธรณของโจทกขอนี้จึงเปนขอที่มิไดยกขึ้นวากันมาแลวโดยชอบในศาลแรงงานภาค ๑ ทั้งไมใชขอกฎหมายอันเกี่ยวดวยความสงบเรียบรอยของประชาชน ซึ่งตองหามมิใหอุทธรณตาม ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพง มาตรา ๒๒๕ วรรคหนึ่ง ประกอบพระราชบัญญัติจัดตั้ง ศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๕๔ วรรคหนึ่ง ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษ ไมรับวินิจฉัย พิพากษายืน. (สุรพงษ ชิดเชื้อ - สมเกียรติ เมาลานนท - นงนภา จันทรศักดิ์ ลิ่มไพบูลย) กิตติ เนตรประเสริฐชัย - ยอ สุโรจน จันทรพิทักษ - ตรวจ


๕๗๖ คำพิพากษาศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษที่ ๒๗๗/๒๕๖๔ นายภวัต วงศมณีวรรณ โจทก ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจ ขนาดกลางและขนาดยอม แหงประเทศไทย จำกัด จำเลย ประกาศคณะกรรมการแรงงานรัฐวิสาหกิจสัมพันธ เรื่อง มาตรฐานขั้นต่ำของสภาพการจาง ในรัฐวิสาหกิจ ลงวันที่ ๓๑ พฤษภาคม ๒๕๔๙ ขอ ๔, ๕๙ วรรคสอง ประกาศคณะกรรมการแรงงานรัฐวิสาหกิจสัมพันธ เรื่อง มาตรฐานขั้นต่ำของ สภาพการจางในรัฐวิสาหกิจ ลงวันที่ ๓๑ พฤษภาคม ๒๕๔๙ ขอ ๔ คาจาง หมายความวา เงินทุกประเภทที่นายจางจายใหแกลูกจางเปนคาตอบแทนการทํางานในวันและเวลา ทํางานปกติ ไมวาจะคํานวณตามระยะเวลาหรือคํานวณตามผลงานที่ลูกจางทําได และ ใหหมายความรวมถึงเงินที่นายจางจายใหแกลูกจางในวันหยุดและวันลาซึ่งลูกจางไมได ทํางานดวย ทั้งนี้ ไมวาจะกําหนด คํานวณ หรือจายในลักษณะใดและโดยวิธีการใด และ ไมวาจะเรียกชื่ออยางไร และตามขอบังคับธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและ ขนาดยอมแหงประเทศไทย วาดวยการบริหารงานบุคคล เงินตอบแทน และคาใชจายอื่นของ ธนาคาร พ.ศ. ๒๕๖๒ ขอ ๑๘ วรรคสอง ระบุวา ในกรณีมีความจําเปนในการจายเงินอื่น ๆ ใหแกพนักงานที่มีเงินเดือนเต็มขั้นตามวรรคหนึ่ง ใหจายไดในอัตราสูงสุดไมเกินรอยละสี่ ของเงินเดือนขั้นสูงของตําแหนงที่ดํารงอยู โดยใหพิจารณาจากการประเมินผลการปฏิบัติงาน ประจําปประกอบดวย และใหจายเปนรายเดือนโดยไมถือเปนสวนหนึ่งของเงินเดือน ทั้งนี้ มิใหการจายเงินอื่น ๆ นํามาสะสมในปถัดไปดังนี้ การพิจารณาวาโจทกจะไดรับเงินอื่นๆ ในอัตราใดจึงขึ้นอยูกับการประเมินผลการปฏิบัติงานประจําปเปนเงื่อนไขสําคัญ ของการจาย พนักงานจําเลยที่มีเงินเดือนเต็มขั้นเทากันก็อาจไดรับเงินอื่น ๆ ในอัตรา ที่ไมเทากัน เนื่องจากไดรับคะแนนการประเมินผลการปฏิบัติงานประจําปตางกัน อีกทั้ง ในแตละปพนักงานของจําเลยอาจไดรับเงินอื่น ๆ ในอัตราที่ไมแนนอนไมเทากัน เนื่องจาก อาจไดรับคะแนนการประเมินผลการปฏิบัติงานในแตละปแตกตางกันไป จึงเห็นไดวา การจายเงินอื่น ๆ ในกรณีนี้มีลักษณะเปนการจายเพื่อจูงใจใหพนักงานของจําเลยทํางาน ใหแกจําเลยอยางมีประสิทธิภาพ มิใชเปนการจายในลักษณะแนนอนและเปนประจํา ทุกเดือนเพื่อตอบแทนการทํางานในทํานองเดียวกับเงินเดือน ดังจะเห็นไดจากตาม


๕๗๗ ขอบังคับฉบับดังกลาวระบุมิใหถือวาเงินอื่น ๆ นี้เปนสวนหนึ่งของเงินเดือนดวย เงินอื่น ๆ ตามขอบังคับธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอมแหงประเทศไทย วาดวย การบริหารงานบุคคล เงินตอบแทน และคาใชจายอื่นของธนาคาร พ.ศ. ๒๕๖๒ ขอ ๑๘ วรรคสอง จึงไมมีลักษณะเปนเงินที่จายใหแกลูกจางเปนคาตอบแทนการทํางานในวันและ เวลาทํางานปกติ ไมเปนคาจางตามความในขอ ๔ ของประกาศคณะกรรมการแรงงาน รัฐวิสาหกิจสัมพันธ เรื่อง มาตรฐานขั้นต่ำของสภาพการจางในรัฐวิสาหกิจ ลงวันที่ ๓๑ พฤษภาคม ๒๕๔๙ ที่จําเลยจะตองนํามารวมเปนฐานในการคํานวณเงินตอบแทนความชอบ ในการทํางานแกโจทก ตามขอบังคับธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอมแหงประเทศไทย วาดวยการบริหารงานบุคคล เงินตอบแทน และคาใชจายอื่นของธนาคาร พ.ศ. ๒๕๖๒ ขอ ๑๑ ระบุวา วันหยุดมี ๓ ประเภท คือ...(๓) วันหยุดพักผอนประจําป... การหยุดทั้ง ๓ ประเภท ดังกลาวพนักงานมีสิทธิหยุดงานโดยไดรับเงินเดือนตามปกติขอ ๗๗ ระบุวา พนักงาน พนสภาพการเปนพนักงานเมื่อ... (๒) ครบเกษียณอายุ และขอ ๗๔ ระบุวาพนักงานผูใด มีอายุครบหกสิบปใหพนสภาพการเปนพนักงานเพราะเกษียณอายุ...และตามประกาศ คณะกรรมการแรงงานรัฐวิสาหกิจสัมพันธ เรื่อง มาตรฐานขั้นต่ำของสภาพการจางใน รัฐวิสาหกิจ ลงวันที่ ๓๑ พฤษภาคม ๒๕๕๙ ขอ ๕๙ วรรคสอง ระบุวาการเลิกจางตามขอนี้ หมายความวา การกระทําใดที่นายจางไมใหลูกจางทํางานตอไปและไมจายคาจางให ไมวาจะเปนเพราะเหตุสิ้นสุดสัญญาจางหรือเหตุอื่นใด และหมายความรวมถึงกรณีที่ลูกจาง ไมไดทํางานและไมไดรับคาจางเพราะเหตุที่นายจางไมสามารถดําเนินกิจการตอไปได แตไมรวมถึงการพนจากตําแหนงเพราะเหตุเกษียณอายุตามขอบังคับ ขอกําหนด ระเบียบ หรือคําสั่งของนายจาง ดังนั้น เมื่อขอเท็จจริงฟงไดวาโจทกเกษียณอายุเพราะมีอายุครบ หกสิบปตามขอบังคับของจําเลย จึงไมใชกรณีที่จําเลยเลิกจางโจทกโจทกจึงไมมีสิทธิ ไดรับคาจางสําหรับวันหยุดพักผอนประจําปที่โจทกยังไมไดใชสิทธิตามขอบังคับของจําเลย ____________________________ โจทกฟองและแกไขคำฟอง ขอใหบังคับจำเลยจายเงิน ๔๔,๕๕๕.๖๐ บาท พรอม ดอกเบี้ยอัตรารอยละ ๗.๕ ตอปของตนเงินจำนวนดังกลาวนับแตวันที่ ๓ ตุลาคม ๒๕๖๒ เปนตนไป จนกวาจะชำระเสร็จแกโจทก


๕๗๘ จำเลยใหการ ขอใหยกฟอง ศาลแรงงานกลาง พิพากษาใหจำเลยจายคาจางสำหรับวันหยุดพักผอนประจำป ๓๒,๒๘๖.๖๗ บาท พรอมดอกเบี้ยอัตรารอยละ ๗.๕ ตอปของตนเงินดังกลาวนับแตวันที่ ๓ ตุลาคม ๒๕๖๒ เปนตนไปจนกวาจะชำระเสร็จแกโจทก คำขออื่นใหยก โจทกและจำเลยอุทธรณ ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษแผนกคดีแรงงานวินิจฉัยวา ขอเท็จจริงเบื้องตนรับฟงไดวา จำเลยเปนนิติบุคคลและเปนรัฐวิสาหกิจจัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติธนาคารพัฒนาวิสาหกิจ ขนาดกลางและขนาดยอมแหงประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๔๕ โจทกเปนพนักงานจำเลยตั้งแตป ๒๕๔๙ และเกษียณอายุการทำงานเมื่อวันที่ ๓๐ กันยายน ๒๕๖๒ ในตำแหนงรองผูอำนวยการระดับ ๑๑ ฝายนิติการ ไดรับเงินเดือนอัตราสุดทายเดือนละ ๙๖,๘๖๐ บาท และไดรับเงินอื่น ๆ ตามขอบังคับ ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอมแหงประเทศไทย วาดวยการบริหารงานบุคคล เงินตอบแทน และคาใชจายอื่นของธนาคาร พ.ศ. ๒๕๖๒ ขอ ๑๘ วรรคสอง อีกเดือนละ ๑,๙๓๗.๒๐ บาท โดยไดรับเงินอื่น ๆ ตั้งแตวันที่ ๑ มกราคม ๒๕๖๑ จนถึงวันเกษียณอายุ เนื่องจากโจทกไดรับ เงินเดือนเต็มขั้นแลว และโจทกมีวันหยุดพักผอนประจำปเหลือ ๑๐ วันทำการ และวินิจฉัยวา ตามขอบังคับธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอมแหงประเทศไทย วาดวยการ บริหารงานบุคคล เงินตอบแทน และคาใชจายอื่นของธนาคาร พ.ศ. ๒๕๖๒ ขอ ๑๘ วรรคสอง ระบุใหจายเงินอื่น ๆ เปนรายเดือนโดยไมถือเปนสวนหนึ่งของเงินเดือน อีกทั้งการพิจารณาวาจะ ไดรับเงินดังกลาวในอัตราเทาใดขึ้นอยูกับการประเมินผลการทำงานในปที่ผานมา ซึ่งจะมีการ ประเมินผลการทำงานในทุกป เงินอื่น ๆ ตามขอบังคับฉบับดังกลาวเปนเงินชวยเหลือที่จำเลย กำหนดหลักเกณฑการจายวาจะจายเงินดังกลาวในอัตราเทาใด จึงไมใชคาตอบแทนการทำงาน ในเวลาทำงานปกติของวันทำงานที่มีจำนวนแนนอน และไมเปนคาจาง โจทกจึงไมมี สิทธินำเงินอื่น ๆ มารวมเปนสวนหนึ่งของคาจางเพื่อคำนวณเปนเงินตอบแทนความชอบในการทำงานได สวนคาจางสำหรับวันหยุดพักผอนประจำปจำนวน ๑๐ วันนั้น เมื่อโจทกพนสภาพการเปน พนักงานของจำเลยเนื่องจากเกษียณอายุ จึงเปนกรณีที่นายจางไมใหลูกจางทำงานตอไปและ ไมจายคาจางให ถือวาเปนการเลิกจางตามกฎหมาย สวนกรณีการเกษียณอายุที่ไมใชการเลิกจาง ตามประกาศคณะกรรมการแรงงานรัฐวิสาหกิจสัมพันธ เรื่อง มาตรฐานขั้นต่ำของสภาพการจาง ในรัฐวิสาหกิจ ลงวันที่ ๓๑ พฤษภาคม ๒๕๔๙ ขอ ๕๙ นั้น หมายถึงการเลิกจางในกรณีการจาย คาชดเชย แตไมรวมถึงการจายคาจางสำหรับวันหยุดพักผอนประจำปดวย เมื่อจำเลยเลิกจาง โจทกโดยโจทกไมมีความผิดตามประกาศคณะกรรมการแรงงานรัฐวิสาหกิจสัมพันธฉบับดังกลาว ขอ ๖๐ จำเลยจึงตองจายคาจางสำหรับวันหยุดพักผอนประจำปจำนวน ๑๐ วันแกโจทกพรอม ดอกเบี้ยตามกฎหมาย


๕๗๙ มีปญหาตองวินิจฉัยตามอุทธรณของโจทกวา เงินอื่น ๆ ตามขอบังคับธนาคารพัฒนา วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอมแหงประเทศไทย วาดวยการบริหารงานบุคคล เงินตอบแทน และคาใชจายอื่นของธนาคาร พ.ศ. ๒๕๖๒ ขอ ๑๘ วรรคสอง เปนคาจางหรือไม เห็นวา ประกาศ คณะกรรมการแรงงานรัฐวิสาหกิจสัมพันธ เรื่อง มาตรฐานขั้นต่ำของสภาพการจางในรัฐวิสาหกิจ ลงวันที่ ๓๑ พฤษภาคม ๒๕๔๙ ขอ ๔ คาจาง หมายความวา เงินทุกประเภทที่นายจางจายใหแก ลูกจางเปนคาตอบแทนการทำงานในวันและเวลาทำงานปกติ ไมวาจะคำนวณตามผลงานที่ลูกจาง ทำไดและใหหมายความรวมถึงเงินที่นายจางจายใหแกลูกจางในวันหยุดและวันลาซึ่งลูกจางไมได ทำงานดวย ทั้งนี้ ไมวาจะกำหนด คำนวณ หรือจายในลักษณะใดและโดยวิธีการใด และไมวา จะเรียกชื่ออยางไร คดีนี้ตามขอบังคับธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอมแหง ประเทศไทย วาดวยการบริหารงานบุคคล เงินตอบแทน และคาใชจายอื่นของธนาคาร พ.ศ. ๒๕๖๒ ขอ ๑๘ วรรคสอง ระบุวา ในกรณีมีความจำเปนในการจายเงินอื่น ๆ ใหแกพนักงานที่มีเงินเดือน เต็มขั้นตามวรรคหนึ่ง ใหจายไดในอัตราสูงสุดไมเกินรอยละสี่ของเงินเดือนขั้นสูงของตำแหนง ที่ดำรงอยู โดยใหพิจารณาจากการประเมินผลการปฏิบัติงานประจำปประกอบดวย และใหจาย เปนรายเดือนโดยไมถือเปนสวนหนึ่งของเงินเดือน ทั้งนี้ มิใหการจายเงินอื่น ๆ นำมาสะสมในป ถัดไปดังนี้ การพิจารณาวาโจทกจะไดรับเงินอื่น ๆ ในอัตราใดจึงขึ้นอยูกับการประเมินผลการ ปฏิบัติงานประจำปเปนเงื่อนไขสำคัญของการจาย พนักงานจำเลยที่มีเงินเดือนเต็มขั้นเทากัน ก็อาจไดรับเงินอื่น ๆ ในอัตราที่ไมเทากัน เนื่องจากไดรับคะแนนการประเมินผลการปฏิบัติงาน ประจำปตางกัน อีกทั้งในแตละปพนักงานของจำเลยอาจไดรับเงินอื่น ๆ ในอัตราที่ไมแนนอน ไมเทากัน เนื่องจากอาจไดรับคะแนนการประเมินผลการปฏิบัติงานในแตละปแตกตางกันไป จึงเห็นไดวาการจายเงินอื่น ๆ ในกรณีนี้มีลักษณะเปนการจายเพื่อจูงใจใหพนักงานของจำเลย ทำงานใหแกจำเลยอยางมีประสิทธิภาพ มิใชเปนการจายในลักษณะแนนอนและเปนประจำทุกเดือน เพื่อตอบแทนการทำงานในทำนองเดียวกับเงินเดือน ดังจะเห็นไดจากตามขอบังคับฉบับดังกลาว ระบุมิใหถือวาเงินอื่น ๆ นี้เปนสวนหนึ่งของเงินเดือนดวย เงินอื่น ๆ ตามขอบังคับธนาคารพัฒนา วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอมแหงประเทศไทย วาดวยการบริหารงานบุคคล เงินตอบแทน และคาใชจายอื่นของธนาคาร พ.ศ. ๒๕๖๒ ขอ ๑๘ วรรคสอง จึงไมมีลักษณะเปนเงินที่จายใหแก ลูกจางเปนคาตอบแทนการทำงานในวันและเวลาทำงานปกติ จึงไมเปนคาจางตามความในขอ ๔ ของประกาศคณะกรรมการแรงงานรัฐวิสาหกิจสัมพันธ เรื่อง มาตรฐานขั้นต่ำของสภาพการจาง ในรัฐวิสาหกิจ ลงวันที่ ๓๑ พฤษภาคม ๒๕๔๙ ที่จำเลยจะตองนำมารวมเปนฐานในการคำนวณ เงินตอบแทนความชอบในการทำงานแกโจทก ที่ศาลแรงงานกลางวินิจฉัยวาเงินอื่น ๆ ตามขอบังคับ ฉบับดังกลาวไมเปนคาจางนั้น ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษเห็นพองดวย อุทธรณของโจทกฟงไมขึ้น


๕๘๐ มีปญหาตองวินิจฉัยตามอุทธรณของจำเลยวา โจทกมีสิทธิไดรับคาจางสำหรับวันหยุด พักผอนประจำปหรือไม สำหรับจำนวนเงินคาจางสำหรับวันหยุดพักผอนประจำปรวม ๑๐ วัน ที่โจทกขอมาเปนเงิน ๓๒,๙๓๒.๔๐ บาทนั้น ศาลแรงงานกลางกำหนดใหโดยคำนวณจากฐาน เงินเดือน ๙๖,๘๖๐ บาทแตเพียงอยางเดียว โดยไมนำเงินอื่น ๆ มาเปนฐานในการคำนวณ ไดเปน เงิน ๓๒,๒๘๖.๖๗ บาท และโจทกไมอุทธรณวาจำนวนเงินที่ศาลแรงงานกลางกำหนดใหไมถูกตอง อยางไร ประเด็นขอพิพาทในเรื่องจำนวนเงินจึงยุติไป สวนที่จำเลยอุทธรณวา การพนจากตำแหนง ของโจทกเพราะเหตุเกษียณอายุตามขอบังคับ ระเบียบ หรือคำสั่งของจำเลย ไมถือเปนการเลิกจาง ตามที่ระบุไวในประกาศคณะกรรมการแรงงานรัฐวิสาหกิจสัมพันธ เรื่อง มาตรฐานขั้นต่ำของสภาพ การจางในรัฐวิสาหกิจ ลงวันที่ ๓๑ พฤษภาคม ๒๕๔๙ ขอ ๕๙ วรรคสอง โจทกจึงไมมีสิทธิไดรับ คาจางสำหรับวันหยุดพักผอนประจำปนั้น เห็นวา การที่โจทกพนจากตำแหนงเพราะเหตุเกษียณอายุนั้น ตามขอบังคับธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอมแหงประเทศไทย วาดวยการ บริหารงานบุคคล เงินตอบแทน และคาใชจายอื่นของธนาคาร พ.ศ. ๒๕๖๒ ขอ ๑๑ ระบุวา วันหยุด มี ๓ ประเภท คือ...(๓) วันหยุดพักผอนประจำป... การหยุดทั้ง ๓ ประเภทดังกลาวพนักงานมีสิทธิ หยุดงานโดยไดรับเงินเดือนตามปกติ ขอ ๗๗ ระบุวา พนักงานพนสภาพการเปนพนักงานเมื่อ... (๒) ครบเกษียณอายุ และขอ ๗๙ ระบุวา พนักงานผูใดมีอายุครบหกสิบปใหพนสภาพการเปน พนักงานเพราะเกษียณอายุ... และตามประกาศคณะกรรมการแรงงานรัฐวิสาหกิจสัมพันธ เรื่อง มาตรฐานขั้นต่ำของสภาพการจางในรัฐวิสาหกิจ ลงวันที่ ๓๑ พฤษภาคม ๒๕๕๙ ขอ ๕๙ วรรคสอง ระบุวา การเลิกจางตามขอนี้ หมายความวา การกระทำใดที่นายจางไมใหลูกจางทำงานตอไปและ ไมจายคาจางให ไมวาจะเปนเพราะเหตุสิ้นสุดสัญญาจางหรือเหตุอื่นใด และหมายความรวมถึง กรณีที่ลูกจางไมไดทำงานและไมไดรับคาจางเพราะเหตุที่นายจางไมสามารถดำเนินกิจการตอไปได แตไมรวมถึงการพนจากตำแหนงเพราะเหตุเกษียณอายุตามขอบังคับ ขอกำหนด ระเบียบ หรือ คำสั่งของนายจาง ดังนั้น เมื่อขอเท็จจริงฟงไดวาโจทกเกษียณอายุเพราะมีอายุครบหกสิบปตาม ขอบังคับของจำเลย จึงไมใชกรณีที่จำเลยเลิกจางโจทก โจทกจึงไมมีสิทธิไดรับคาจางสำหรับ วันหยุดพักผอนประจำปที่โจทกยังไมไดใชสิทธิตามขอบังคับของจำเลย ที่ศาลแรงงานกลางวินิจฉัยวา จำเลยตองจายคาจางสำหรับวันหยุดพักผอนประจำปจำนวน ๑๐ วันแกโจทกมานั้น ศาลอุทธรณ คดีชำนัญพิเศษไมเห็นพองดวย อุทธรณของจำเลยฟงขึ้น


๕๘๑ พิพากษาแกเปนวาจำเลยไมตองจายคาจางสำหรับวันหยุดพักผอนประจำปพรอมดอกเบี้ย นอกจากที่แกใหเปนไปตามคำพิพากษาศาลแรงงานกลาง. (ดณยา วีรฤทธิ์ - เฉลิมพงศ ขันตี - สมเกียรติ คูวัธนไพศาล) ฐานุตร เล็กสุภาพ - ยอ สุโรจน จันทรพิทักษ - ตรวจ


๕๘๒ คำพิพากษาศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษที่ ๒๓๒๕/๒๕๖๐ นายมาเซล โมเซอ โจทก โรงเรียนโยธินบูรณะ จำเลย ป.วิ.พ. มาตรา ๑๔๒ (๕) พ.ร.บ. คุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา ๔ วรรคหนึ่ง (๑), ๓๐, ๖๗, ๑๑๘ พ.ร.บ. จัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๕๗ ตาม พ.ร.บ. ระเบียบบริหารราชการแผนดิน พ.ศ. ๒๕๓๔ มาตรา ๗ ไดจำแนก การจัดระเบียบบริหารราชการสวนกลางออกเปน ๔ สวน คือ สำนักนายกรัฐมนตรี กระทรวง ทบวง กรม หรือสวนราชการที่เรียกชื่ออยางอื่นและมีฐานะเปนกรม ซึ่งตาม พ.ร.บ. ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. ๒๕๔๖ มาตรา ๑๐ กำหนดใหสำนักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน มีฐานะเปนนิติบุคคลและเปนกรมตามกฎหมายวา ดวยระเบียบบริหารราชการแผนดิน สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน จึงถือเปนราชการสวนกลาง จำเลยเปนสวนราชการ สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพื้นฐาน ที่จัดตั้งขึ้นตามมาตรา ๓๔ (๒) และมาตรา ๓๕ แหง พ.ร.บ. ระเบียบบริหาร ราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. ๒๕๔๖ จำเลยจึงอยูในฐานะราชการสวนกลาง เชนเดียวกัน เมื่อ พ.ร.บ. คุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา ๔ วรรคหนึ่ง (๑) บัญญัติวา “พระราชบัญญัตินี้มิใหใชบังคับแก (๑) ราชการสวนกลาง ราชการสวนภูมิภาค และราชการ สวนทองถิ่น...” จึงนำคาชดเชยและคาจางสำหรับวันหยุดพักผอนประจำปตาม พ.ร.บ. คุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาใชบังคับกับการเลิกจางโจทกไมได ดังนั้น จำเลยไมตอง รับผิดจายคาชดเชยและคาจางสำหรับวันหยุดพักผอนประจำปใหแกโจทก ปญหานี้เปน ขอกฎหมายอันเกี่ยวดวยความสงบเรียบรอยของประชาชน ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษ มีอำนาจยกขึ้นวินิจฉัยไดเองตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๑๔๒ (๕) ประกอบ พ.ร.บ. จัดตั้งศาลแรงงาน และวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๕๗ ______________________________ โจทกฟองและแกไขคำฟองขอใหบังคับจำเลยชำระเงินคาชดเชยเทากับคาจางอัตรา สุดทายเกาสิบวัน เปนเงิน ๑๒๒,๙๙๙.๔๐ บาท พรอมดอกเบี้ยอัตรารอยละ ๑๕ ตอป ของตนเงิน ดังกลาว นับแตวันที่ ๕ พฤศจิกายน ๒๕๕๘ เปนตนไปจนกวาจะชำระเสร็จแกโจทก คาจาง


๕๘๓ สำหรับวันหยุดพักผอนประจำปที่โจทกยังไมไดใชสิทธิ ๒๐ วัน เปนเงิน ๒๗,๓๓๓.๒๐ บาท พรอมดอกเบี้ยอัตรารอยละ ๗.๕ ตอป ของตนเงินดังกลาว และคาเสียหายจากการเลิกจางโดย ไมเปนธรรม ๑๖๔,๐๐๐ บาท พรอมดอกเบี้ยอัตรารอยละ ๗.๕ ตอป ของตนเงินดังกลาว ทั้งนี้ นับแตวันฟองเปนตนไปจนกวาจะชำระเสร็จแกโจทก จำเลยใหการขอใหยกฟอง ศาลแรงงงานกลางพิพากษาใหจำเลยชำระเงิน ๑๒๒,๙๙๙.๔๐ บาท พรอมดอกเบี้ย อัตรารอยละ ๑๕ ตอป ของตนเงินดังกลาว นับแตวันที่ ๕ พฤศจิกายน ๒๕๕๘ เปนตนไปจนกวา จะชำระเสร็จแกโจทก และชำระเงิน ๑๓,๖๖๖.๖๖ บาท พรอมดอกเบี้ยอัตรารอยละ ๗.๕ ตอป ของตนเงินดังกลาว นับแตวันฟอง (ฟองวันที่ ๒๑ ธันวาคม ๒๕๕๘) เปนตนไป จนกวาจะชำระเสร็จ แกโจทก คำขออื่นนอกจากนี้ใหยก จำเลยยื่นคำรองขอขยายระยะเวลายื่นอุทธรณ ศาลแรงงานกลางมีคำสั่งอนุญาต โจทกยื่น คำคัดคาน ศาลแรงงานกลางมีคำสั่งยกคำคัดคานของโจทก โจทกและจำเลยอุทธรณ ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษแผนกคดีแรงงานวินิจฉัยวา ศาลแรงงานกลางฟงขอเท็จจริงวา โจทกเปนลูกจางจำเลยตั้งแตวันที่ ๔ มีนาคม ๒๕๕๗ มีกำหนดระยะเวลาการจางเปนคราว คราวละ ๑ ป สัญญาจางคราวสุดทายเปนการตอสัญญาจางครั้งที่ ๒ ระหวางที่สัญญาจางยังไมสิ้นสุด วันที่ ๕ ตุลาคม ๒๕๕๘ จำเลยเลิกจางโจทกมีผลตั้งแตวันที่ ๕ พฤศจิกายน ๒๕๕๘ โดยใหเหตุผลวา การสอนภาษาอังกฤษของโจทกไมผานการประเมินการสอน ขาดการเตรียมและความชำนาญ ในการสอน มีความขัดแยงกับนักเรียนจนมีการรองเรียนจากผูปกครองหลายครั้ง มีความคิดเห็น ขัดแยงกับองคกรเมื่อมีการแจงขอปฏิบัติ ทั้งเมื่อใหขอมูลการประเมินการจัดการเรียนรูก็ไมปฏิบัติ ตามและไมมีการพัฒนา เปนเหตุใหจำเลยไดรับความเสียหายอยางรายแรง แลววินิจฉัยวา โจทก เปนชาวสวิสใชภาษาสวิส – เยอรมัน เปนภาษาพื้นฐานไมใชภาษาอังกฤษ แตจำเลยรับโจทกเขา ทำงานโดยพิจารณาจากวุฒิการศึกษาและประสบการณการสอนไมไดคำนึงถึงการเรียนรูสำเนียง การออกเสียงภาษาที่ถูกตองจากเจาของภาษาโดยตรงเปนสำคัญ เมื่อมีขอรองเรียนเกี่ยวกับ สำเนียงและการออกเสียงภาษาของโจทกวาไมถูกตองตรงกับเจาของภาษา จำเลยจึงไมอาจ กลาวโทษโจทกในขอนี้ แมมีคำรองเรียนจากนักเรียนและผูปกครองแตไดความวา มีนักเรียน ไมพอใจโจทกเพียง ๙ คน จากนักเรียนที่อยูในความรับผิดชอบของโจทกประมาณ ๓๐ คน โดย ไมปรากฏวานักเรียนสวนที่เหลือมีความคิดเห็นอยางไร จึงยังไมอาจถือตามขอเท็จจริงในคำรองเรียน ของนักเรียนและผูปกครองวาวิธีการสอนและพฤติกรรมของโจทกมีขอบกพรองที่ควรตองไดรับ


๕๘๔ การปรับปรุง สวนที่อางวาโจทกมักสอนผิดหลักไวยากรณนั้น ไดความวาโจทกจะพัฒนาภาษาอังกฤษ โดยจะจัดสรรเวลาหลังจากการสอน เพื่อเรียนภาษาอังกฤษเพิ่มเติมใหไดสัปดาหละ ๓ วัน ที่สถาบัน การสอนภาษาบริติช เคานซิล ดวยคาใชจายของโจทกเองและโจทกพรอมจะปรับปรุงแกไขเมื่อ มีการบอกกลาว แสดงใหเห็นวาโจทกมีความกระตือรือรนและรับผิดชอบตองานในหนาที่ ทั้งยัง พยายามบรรเทาผลรายไมใหเกิดความเสียหายแกจำเลย การที่โจทกสอนผิดหลักไวยากรณจึงหาใช เกิดจากความจงใจหรือประมาทเลินเลอที่จะทำใหนายจางไดรับความเสียหายไม และการออก ขอสอบของโจทกไดผานการพิจารณาไปตามขั้นตอนระเบียบปฏิบัติของจำเลยแลว ที่จำเลยอางวา จำเลยมีคำสั่งหามปรามและใหโจทกแกไขวิธีการออกขอสอบแตโจทกไมปฏิบัติตาม อันถือเปนการ ฝาฝนระเบียบหรือคำสั่งของนายจางนั้นก็ยังฟงไมไดวาจำเลยกระทำการฝาฝนระเบียบหรือคำสั่ง และการประเมินการปฏิบัติงานของโจทกไมไดเกิดจากการประเมินที่อยูในสภาวการณปกติ อันจะ ทำใหไดผลการประเมินที่ถูกตองและเปนธรรมแกโจทก การที่โจทกไมผานการประเมินของจำเลย จึงหาใชความผิดกรณีที่รายแรงไมและรับฟงไมไดวาเหตุเลิกจางโจทกตามที่กลาวหานั้นเขากรณีใด กรณีหนึ่งที่จำเลยไมตองจายคาชดเชย แตเมื่อผลการปฏิบัติงานของโจทกยังมีขอที่ไดรับการ รองเรียนอันเปนผลสืบเนื่องจากความไมเชื่อถือในความรูทางดานไวยากรณและคำศัพทภาษาอังกฤษ ของครูผูสอนเปนสำคัญ หากจำเลยยังคงจางโจทกใหเปนครูผูสอนตอไปโดยไมคำนึงถึงขอรองเรียน ของนักเรียนและผูปกครองก็ยอมจะกอใหเกิดผลเสียตอตัวผูเรียนและสงผลกระทบตอความเชื่อมั่น ในระบบการสอนของจำเลยซึ่งอาจกอใหเกิดความเสียหายแกจำเลยไดในที่สุด การเลิกจางโจทก จึงมิไดเกิดจากการกลั่นแกลงโจทกและเปนกรณีมีเหตุสมควร หาใชการเลิกจางโดยไมเปนธรรมไม ที่โจทกอุทธรณวา จำเลยนำสืบไมไดวามีเด็กนักเรียนรองเรียนเทาไร และทางนำสืบ ของจำเลยยังไมปรากฏชัดเจนวาโจทกสรางความเสียหายใหแกจำเลยอยางไร เห็นวา อุทธรณ ของโจทกดังกลาวเปนการอุทธรณโตแยงดุลพินิจในการรับฟงพยานหลักฐานของศาลแรงงานกลาง อันเปนอุทธรณในขอเท็จจริง ซึ่งตองหามมิใหอุทธรณตามพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแรงงานและ วิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๕๔ วรรคหนึ่ง ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษไมรับ วินิจฉัย สวนที่จำเลยอุทธรณวา การที่คณะกรรมการของจำเลยไดทำการประเมินวาโจทก มีความรูความสามารถในการสอนต่ำกวามาตรฐานนั้นเปนการกระทำไปตามหนาที่โดยสุจริต เปนการประเมินตามสัญญาจาง ตามระเบียบของจำเลย การกระทำของโจทกทำใหนักเรียนและ ผูปกครองรองเรียน จำเลยจึงมีหนาที่โดยตรงที่จะปกปองนักเรียน สวนเอกสารที่โจทกอางวา มีนักเรียนชื่นชมการสอนนั้น โจทกจัดทำขึ้นมาภายหลังจำเลยไมเคยทราบ กรณีมีเหตุใหจำเลย


๕๘๕ เลิกจางไดเพราะโจทกทำใหจำเลยซึ่งเปนนายจางไดรับความเสียหายอยางรายแรง จำเลยจึง ไมตองรับผิดจายคาชดเชยและคาจางสำหรับวันหยุดพักผอนประจำป เห็นวา อุทธรณของจำเลย ดังกลาวก็เปนการอุทธรณโตแยงดุลพินิจในการรับฟงพยานหลักฐานของศาลแรงงานกลาง อันเปน อุทธรณในขอเท็จจริง ซึ่งตองหามมิใหอุทธรณตามพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณา คดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๕๔ วรรคหนึ่ง ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษไมรับวินิจฉัย สำหรับที่โจทกอุทธรณคำสั่งศาลแรงงานกลางที่อนุญาตใหจำเลยขยายระยะเวลา ยื่นอุทธรณตามคำรองฉบับลงวันที่ ๓ สิงหาคม ๒๕๖๐ โดยอางวา การยื่นคำรองขอขยายระยะเวลา อุทธรณตองปรากฏถึงความจำเปนและเพื่อประโยชนแหงความยุติธรรม จะตองยื่นขอขยาย กอนที่ระยะเวลานั้นจะสิ้นสุดลง หากยื่นคำรองเมื่อพนกำหนดกรณีตองมีเหตุสุดวิสัย แตคำสั่ง อนุญาตใหขยายระยะเวลาอุทธรณนั้นไมปรากฏถึงความจำเปน ทนายความจำเลยระบุเหตุผล ในคำรองเพียงวาสับสนในเรื่องระยะเวลาการยื่นอุทธรณ ซึ่งตามพฤติการณทนายความจำเลย สามารถยื่นอุทธรณภายในระยะเวลาอุทธรณได กรณีเชนนี้ถือเปนความบกพรองของทนายความ จำเลย ถือไมไดวากรณีมีความจำเปนและเพื่อประโยชนแหงความยุติธรรม อีกทั้งคำสั่ง ศาลแรงงานกลางครั้งแรกไมปรากฏคำวา มีความจำเปนนั้น เห็นวา เมื่อวินิจฉัยไปขางตนแลววา อุทธรณของจำเลยเปนอุทธรณในขอเท็จจริง ซึ่งตองหามมิใหอุทธรณ และศาลอุทธรณคดีชำนัญ พิเศษไมรับวินิจฉัยให ดังนั้น อุทธรณคำสั่งของโจทกขอนี้จึงไมเปนสาระแกคดีอันควรไดรับการ วินิจฉัยตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพง มาตรา ๒๒๕ วรรคหนึ่ง ประกอบ พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๕๔ วรรคหนึ่ง ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษไมรับวินิจฉัย อนึ่ง ที่ศาลแรงงานกลางพิพากษาใหจำเลยรับผิดจายคาชดเชยและคาจางสำหรับ วันหยุดพักผอนประจำปตามพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา ๑๑๘ มาตรา ๖๗ ประกอบมาตรา ๓๐ นั้น เห็นวา ตามพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผนดิน พ.ศ. ๒๕๓๔ มาตรา ๗ ไดจำแนกการจัดระเบียบบริหารราชการสวนกลางออกเปน ๔ สวน คือ สำนักนายกรัฐมนตรี กระทรวง ทบวง กรม หรือสวนราชการที่เรียกชื่ออยางอื่นและมีฐานะเปนกรม ซึ่งตาม พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. ๒๕๔๖ มาตรา ๑๐ กำหนด ใหสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน มีฐานะเปนนิติบุคคลและเปนกรมตามกฎหมาย วาดวยระเบียบบริหารราชการแผนดิน สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานจึงถือเปน ราชการสวนกลาง จำเลยเปนสวนราชการสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ที่จัดตั้งขึ้นตามมาตรา ๓๔ (๒) และมาตรา ๓๕ แหงพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการ


๕๘๖ กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. ๒๕๔๖ จึงตองฟงวา จำเลยมีฐานะเปนราชการสวนกลางเชนเดียวกัน ซึ่งตามพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา ๔ วรรคหนึ่ง (๑) บัญญัติวา “พระราชบัญญัตินี้มิใหใชบังคับแก (๑) ราชการสวนกลาง ราชการสวนภูมิภาค และราชการ สวนทองถิ่น...” เมื่อปรากฏวาจำเลยมีฐานะเปนราชการสวนกลาง จึงนำคาชดเชยตามมาตรา ๑๑๘ คาจางสำหรับวันหยุดพักผอนประจำป ตามมาตรา ๖๗ ประกอบมาตรา ๓๐ มาบังคับใชกับการ เลิกจางโจทกไมได ดังนั้น ที่ศาลแรงงานกลางพิพากษาใหจำเลยรับผิดชำระคาชดเชยและคาจาง สำหรับวันหยุดพักผอนประจำปแกโจทกนั้นเปนการไมชอบ ปญหานี้เปนขอกฎหมายอันเกี่ยว ดวยความสงบเรียบรอยของประชาชน ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษมีอำนาจยกขึ้นวินิจฉัยไดเอง ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพง มาตรา ๑๔๒ (๕) ประกอบพระราชบัญญัติจัดตั้ง ศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๕๗ พิพากษาแกเปนวา ใหยกคำพิพากษาศาลแรงงานกลางในสวนที่ใหจำเลยชำระคาชดเชย และคาจางสำหรับวันหยุดพักผอนประจำป นอกจากที่แกใหเปนไปตามคำพิพากษาศาลแรงงานกลาง. (สัญชัย ลิ่มไพบูลย - อารีรัตน วงศศักดิ์มณี - โกสินทร ฤทธิรงค) อิศเรศ ปราโมช ณ อยุธยา - ยอ สุโรจน จันทรพิทักษ - ตรวจ


๕๘๗ คำพิพากษาศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษที่ ๗๔๖/๒๕๖๑ นายทรงพล อาทรธุระสุข โจทก องคการอุตสาหกรรมปาไม กับพวก จำเลย ป.วิ.พ. มาตรา ๑๔๕ วรรคหนึ่ง พ.ร.บ. ความรับผิดทางละเมิดของเจาหนาที่ พ.ศ. ๒๕๓๙ มาตรา ๑๐ ประกอบมาตรา ๘ พ.ร.บ. จัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๓๑ พ.ร.บ. วิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙ มาตรา ๕๗ ในระหวางการพิจารณาของศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษ ศาลฎีกามีคำพิพากษา ยืนตามศาลแรงงานกลางใหจำเลยที่ ๑ รับโจทกกลับเขาทำงานตอไปในตำแหนงหนาที่ การงานไมต่ำกวาเดิมใหไดรับคาจางและสวัสดิการไมต่ำกวาเดิม และใหนับอายุงาน ตอเนื่อง โดยวินิจฉัยวาไมปรากฏวาโจทกกระทำไปโดยทุจริตตอหนาที่ และการดำเนินการ ของโจทกไมเปนเหตุใหจำเลยที่ ๑ ไดรับความเสียหายอยางรายแรง เมื่อคดีตามคำพิพากษา ศาลฎีกาดังกลาวถึงที่สุดแลว ยอมผูกพันจำเลยที่ ๑ ซึ่งเปนคูความตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๑๔๕ วรรคหนึ่ง ประกอบ พ.ร.บ. จัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๓๑ คดีจึงตองรับฟงขอเท็จจริงเปนอยางเดียวกัน เชนนี้ จำเลยที่ ๑ ในฐานะหนวยงาน ของรัฐจึงไมมีสิทธิเรียกใหโจทกซึ่งเปนพนักงานชดใชคาสินไหมทดแทนจากการกระทำ ในการปฏิบัติหนาที่ดังกลาวได ตาม พ.ร.บ. ความรับผิดทางละเมิดของเจาหนาที่ พ.ศ. ๒๕๓๙ มาตรา ๑๐ ประกอบมาตรา ๘ การที่จำเลยที่ ๑ หักเงินเดือนของโจทกเพื่อชำระหนี้ ถือวาเปนคำสั่งทางปกครอง ตามมาตรา ๕๗ แหง พ.ร.บ. วิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙ เมื่อขอเท็จจริง ฟงไดวาจำเลยที่ ๑ ไดปฏิบัติตามขั้นตอนในการใชมาตรการบังคับทางปกครองครบถวนแลว โดยแจงใหโจทกชำระคาสินไหมทดแทนภายใน ๓๐ วัน นับแตวันที่ไดรับหนังสือแตโจทก เพิกเฉย จำเลยที่ ๑ จึงมีหนังสือเตือนใหโจทกชดใชคาสินไหมทดแทนอีกครั้งภายใน ๑๕ วัน นับแตวันที่ไดรับหนังสือ โจทกยังคงเพิกเฉย จำเลยที่ ๑ ยอมเขาใจโดยสุจริตวามีสิทธิยึด หรืออายัดทรัพยสินของโจทกโดยวิธีหักเงินเดือนเพื่อชำระหนี้คาสินไหมทดแทน ตามบทบัญญัติดังกลาวได การกระทำของจำเลยที่ ๑ จึงไมเปนการละเมิดตอโจทก สวนจำเลยที่ ๒ ถึงที่ ๔ ปฏิบัติหนาที่ตามอำนาจหนาที่ในฐานะผูอำนวยการและพนักงานของจำเลยที่ ๑


๕๘๘ โดยมิไดมีเจตนากลั่นแกลงโจทกเปนสวนตัว จำเลยทั้งสี่จึงไมตองรับผิดชดใชคาสินไหม ทดแทนแกโจทกตามฟอง ______________________________ โจทกฟองขอใหเพิกถอนคำสั่งของจำเลยที่ ๑ ลงวันที่ ๑๘ พฤษภาคม ๒๕๕๙ ที่ให หักเงินไดทุกประเภทของโจทก คืนเงินที่หักไวทั้งหมดพรอมดอกเบี้ยอัตรารอยละ ๑๕ ตอป นับแตวันที่ ๓๑ พฤษภาคม ๒๕๕๙ จนกวาจะชำระเสร็จแกโจทก ใหจำเลยทั้งสี่ชดใชคาเสียหาย ที่ทำละเมิดตอโจทก ๑,๐๐๐,๐๐๐ บาท และเบี้ยปรับเดือนละ ๑๐,๐๐๐ บาท จนกวาจำเลยที่ ๑ จะเพิกถอนคำสั่ง จำเลยทั้งสี่ใหการขอใหยกฟอง ศาลแรงงานกลางพิพากษายกฟอง โจทกอุทธรณ ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษแผนกคดีแรงงานวินิจฉัยวา ศาลแรงงานกลางฟงขอเท็จจริง วาจำเลยที่ ๑ เปนนิติบุคคลประเภทรัฐวิสาหกิจ จัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติวาดวยการจัดตั้ง องคการของรัฐบาล พ.ศ. ๒๔๙๖ และพระราชกฤษฎีกาจัดตั้งองคการอุตสาหกรรมปาไม พ.ศ. ๒๔๙๙ มีจำเลยที่ ๒ เปนผูอำนวยการของจำเลยที่ ๑ จำเลยที่ ๓ เปนผูอำนวยการสำนักกฎหมายของ จำเลยที่ ๑ และจำเลยที่ ๔ เปนผูอำนวยการสำนักบัญชีและการเงินของจำเลยที่ ๑ โจทกเปน พนักงานของจำเลยที่ ๑ ตำแหนงผูอำนวยการสำนักกิจกรรมสัมพันธ เริ่มเขาทำงานตั้งแตวันที่ ๑ ธันวาคม ๒๕๒๔ เมื่อป ๒๕๔๖ ขณะโจทกเปนหัวหนาฝายกฎหมายธุรกิจ สำนักกฎหมาย ไดรับ แตงตั้งเปนคณะทำงานบริหารการแปลงสินทรัพยเปนทุนของจำเลยที่ ๑ โดยเปนเลขานุการ และ เปนประธานคณะทำงานดังกลาวในเวลาตอมา ระหวางดำเนินการมีการนำที่ดิน ของจำเลยที่ ๑ ไปใหนายนภจรใชประโยชน โดยไมไดทำหลักฐานการเชาเปนหนังสือ เปนเหตุใหจำเลยที่ ๑ เรียกรองใหนายนภจรรับผิดชำระคาเชาไมได ทำใหจำเลยที่ ๑ ไดรับความเสียหาย จำเลยที่ ๑ แตงตั้งคณะกรรมการสอบสวนทางวินัย และคณะกรรมการสอบสวนขอเท็จจริงความรับผิด ทางแพงในทางวินัยคณะกรรมการสอบสวนมีความเห็นวาโจทกกระทำผิดวินัยอยางรายแรง จำเลยที่ ๑ จึงมีคำสั่งเลิกจางโจทกเมื่อวันที่ ๑ พฤศจิกายน ๒๕๕๐ โจทกยื่นฟองจำเลยที่ ๑ ตอศาลแรงงานกลาง ขอใหเพิกถอนคำสั่งเลิกจาง และใหจายคาจางนับแตวันที่มีคำสั่งเลิกจาง พรอมดอกเบี้ยนับแตวันเลิกจาง จนกวาจะรับโจทกกลับเขาทำงาน ศาลแรงงานกลางมีคำพิพากษา ใหจำเลยที่ ๑ รับโจทกกลับเขาทำงานในตำแหนงหนาที่การงานไมต่ำกวาเดิม ใหไดรับคาจางและ


๕๘๙ สวัสดิการไมต่ำกวาเดิม และใหนับอายุงานตอเนื่องจากเดิม ตามคดีหมายเลขแดงที่ ๖๐๙๕/๒๕๕๒ จำเลยที่ ๑ อุทธรณตอศาลฎีกาและยื่นคำรองขอทุเลาการบังคับคดีอยูในระหวางการพิจารณา ของศาลฎีกา สำหรับคำรองขอทุเลาการบังคับ ศาลฎีกามีคำสั่งยกคำรอง จำเลยที่ ๑ รับโจทก กลับเขาทำงานเมื่อวันที่ ๗ สิงหาคม ๒๕๕๘ ในสวนความรับผิดทางแพง จำเลยที่ ๑ แตงตั้ง คณะกรรมการสอบขอเท็จจริงความรับผิดทางละเมิด และมีหนังสือแจงโจทกไปใหการตอ คณะกรรมการสอบขอเท็จจริงความรับผิดทางละเมิด โจทกไมไปใหการแตมีหนังสือชี้แจงวา ไมตองรับผิดเนื่องจากศาลแรงงานกลางมีคำพิพากษาวาจำเลยที่ ๑ ไมไดรับความเสียหาย ตอมา คณะกรรมการสอบขอเท็จจริงความรับผิดทางละเมิดมีความเห็นใหโจทกชดใชคาเสียหายรอยละ ๗๐ ของความเสียหายที่จำเลยที่ ๑ ไดรับ คิดเปนเงิน ๒๔๘,๕๐๐ บาท วันที่ ๓๑ พฤษภาคม ๒๕๕๙ จำเลยที่ ๑ หักเงินเดือนโจทกประจำเดือนพฤษภาคม ๒๕๕๙ ไวรอยละ ๓๐ เปนเงิน ๑๐,๘๙๙ บาท เพื่อชำระหนี้คาเสียหายดังกลาว แลววินิจฉัยวาโจทกจงใจกระทำละเมิดตอจำเลยที่ ๑ จึงตอง รับผิดชดใชคาสินไหมทดแทนใหแกจำเลยที่ ๑ ตามมาตรา ๑๐ ประกอบมาตรา ๘ แหงพระราชบัญญัติ ความรับผิดทางละเมิดของเจาหนาที่ พ.ศ. ๒๕๓๙ คำสั่งของคณะกรรมการบริหารกิจการของ จำเลยที่ ๑ ที่ใหโจทกรับผิดชดใชคาสินไหมทดแทนกรณีนำที่ดินของจำเลยที่ ๑ ไปใชประโยชน จึงชอบดวยกฎหมาย และจำเลยที่ ๑ มีสิทธิหักคาจางโจทกเพื่อชำระหนี้คาสินไหมทดแทนได ไมเปนการละเมิดตอโจทก คดีมีปญหาตองวินิจฉัยตามอุทธรณของโจทกขอแรกวา จำเลยที่ ๑ มีสิทธิหักเงินเดือน ของโจทก เพื่อชำระหนี้หรือไม โดยโจทกอุทธรณวาจำเลยที่ ๑ ไมมีสิทธิหักเงินเดือนของโจทก เนื่องจากไมไดรับความยินยอมเปนหนังสือจากโจทกและไมมีขอยกเวนตามกฎหมาย เปนการ ฝาฝนตอประกาศคณะกรรมการแรงงานรัฐวิสาหกิจสัมพันธ เรื่อง มาตรฐานขั้นต่ำของสภาพการ จางในรัฐวิสาหกิจ ขอ ๓๑ นั้น เห็นวา สาเหตุที่จำเลยที่ ๑ หักเงินเดือนของโจทกสืบเนื่องมาจาก คณะกรรมการบริหารกิจการของจำเลยที่ ๑ มีคำสั่งที่ ๑/๒๕๕๕ ลงวันที่ ๒๗ กุมภาพันธ ๒๕๕๕ ใหโจทกรับผิดชดใชคาสินไหมทดแทนทางแพง กรณีที่โจทกซึ่งไดรับแตงตั้งเปนประธานคณะทำงาน บริหารการแปลงสินทรัพยเปนทุนของจำเลยที่ ๑ นำที่ดินของจำเลยที่ ๑ ไปใหนายนภจรใช ประโยชน โดยไมไดทำหลักฐานการเชาเปนหนังสือ ทำใหจำเลยที่ ๑ ฟองเรียกคาเชาที่นายนภจร คางชำระไมได จำเลยที่ ๑ จึงมีคำสั่งทางปกครองใหโจทกชดใชคาเสียหายแกจำเลยที่ ๑ ในอัตรา รอยละ ๗๐ เปนเงิน ๒๔๘,๕๐๐ บาท เมื่อโจทกไมชำระ จำเลยที่ ๑ จึงใชมาตรการบังคับ ทางปกครองยึดหรืออายัดทรัพยสินของโจทกโดยวิธีหักเงินเดือนเพื่อชำระหนี้คาสินไหมทดแทน ดังกลาวตามมาตรา ๕๗ แหงพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙ แต


Click to View FlipBook Version