The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รวมคำพิพากษา-แผนกคดีแรงงาน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by iprd.pic, 2024-01-31 21:12:27

รวมคำพิพากษา-แผนกคดีแรงงาน

รวมคำพิพากษา-แผนกคดีแรงงาน

๑๔๐ คำพิพากษาศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษที่ ๑๓๗๔/๒๕๖๒ นายณภัทร วรรณกลาง หรือฉัตรวรรณกลาง โจทก บริษัทลีดอน ดิสทริบิวชั่น (ประเทศไทย) จำกัด จำเลย ป.พ.พ. มาตรา ๓๘๖ วรรคหนึ่ง, ๕๘๒ วรรคหนึ่ง จำเลยอุทธรณวา สัญญาจางแรงงานเปนเอกเทศสัญญาประเภทหนึ่งที่คูสัญญา อาจบอกเลิกสัญญาโดยแสดงเจตนาไปยังคูสัญญาอีกฝายหนึ่งโดยไมจำตองไดรับความ ยินยอม ตามที่บัญญัติไวใน ป.พ.พ. มาตรา ๓๘๖ วรรคหนึ่ง และ ๕๘๒ วรรคหนึ่ง โดยลูกจาง อาจบอกเลิกสัญญาจางดวยการแสดงเจตนาลาออก สวนนายจางอาจบอกเลิกสัญญาจาง ดวยการแสดงเจตนาเลิกจาง เมื่อใบลาออกซึ่งโจทกยอมรับวาเปนผูลงลายมือชื่อ ซึ่งขณะ ลงลายมือชื่อนั้นมีขอความแสดงเจตนาจะลาออกจากการเปนพนักงานของจำเลย โดยให มีผลในวันที่ ๒๘ กุมภาพันธ ๒๕๕๘ แลว จึงเปนการบอกเลิกสัญญาจางแรงงาน อันมีผล ทำใหนิติสัมพันธระหวางโจทกกับจำเลยในฐานะนายจางกับลูกจางสิ้นสุดลงตามบทบัญญัติ ของกฎหมายดังกลาว การที่ใบลาออกระบุเหตุผลของการลาออกวา เลิกจางเพราะกระทำ ความผิด ก็ไมมีผลทำใหใบลาออกของโจทกกลับกลายเปนหนังสือเลิกจางของจำเลยดังที่ ศาลแรงงานกลางวินิจฉัย เพราะใบลาออกมิใชหนังสือของจำเลยที่มีถึงโจทกเพื่อแสดง เจตนาที่จะเลิกจางเพราะเหตุที่โจทกกระทำผิด ประกอบกับโจทกเปนผูบริหารระดับสูง ของจำเลย ทำงานใหแกจำเลยมาหลายป หากโจทกมิไดกระทำผิดดังที่ระบุเหตุผลไวใน ใบลาออก ก็ไมมีเหตุผลที่โจทกจะยอมลงชื่อในใบลาออก ใบลาออกของโจทกจึงมีผล สมบูรณและผูกพันโจทก ทำใหสัญญาจางแรงงานระหวางโจทกกับจำเลยสิ้นสุดลง แมภายหลัง จำเลยจะมีหนังสือถึงสำนักงานประกันสังคม แจงเรื่องการสิ้นสุดความเปนผูประกันตน ของโจทก โดยระบุเหตุผลวา ไลออก/ปลดออก/ใหออก เนื่องจากกระทำความผิด ซึ่งไมตรง กับความเปนจริงที่โจทกไดลาออก และอาจทำใหโจทกไดรับความเสียหายก็ตาม ก็เปน เรื่องที่ตองไปวากลาวกันภายหลัง หามีผลทำใหสัญญาจางแรงงานระหวางโจทกกับจำเลย ซึ่งสิ้นสุดลงแลวกลับมีผลผูกพันอันจะถือไดวาจำเลยเลิกจางโจทกไม จำเลยจึงมิไดเลิกจาง โจทกและไมตองรับผิดจายคาชดเชย สินจางแทนการบอกกลาวลวงหนา และคาเสียหาย จากการเลิกจางที่ไมเปนธรรมตามฟอง คำพิพากษาของศาลแรงงานกลางที่ใหจำเลย


๑๔๑ จายเงินดังกลาวแกโจทก ไมตองดวยความเห็นของศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษ อุทธรณ ของจำเลยฟงขึ้น โจทกฟอง ขอใหบังคับจำเลยจายสินจางแทนการบอกกลาวลวงหนาจำนวน ๙๘,๓๓๓ บาท และคาเสียหายจากการเลิกจางที่ไมเปนธรรมจำนวน ๓๐๐,๐๐๐ บาท พรอมดอกเบี้ยอัตรา รอยละ ๗.๕ ตอป ของตนเงินแตละจำนวน และคาชดเชยจำนวน ๓๐๐,๐๐๐ บาท พรอมดอกเบี้ย อัตรารอยละ ๑๕ ตอป นับแตวันฟองเปนตนไปจนกวาจะชำระเสร็จแกโจทก จำเลยใหการ ขอใหยกฟอง ศาลแรงงานกลาง พิพากษาใหจำเลยจายสินจางแทนการบอกกลาวลวงหนาจำนวน ๙๓,๓๓๓ บาท และคาเสียหายจากการเลิกจางที่ไมเปนธรรมจำนวน ๒๕๐,๐๐๐ บาท พรอม ดอกเบี้ยอัตรารอยละ ๗.๕ ตอป ของตนเงินแตละจำนวน นับแตวันถัดจากฟอง (ฟองวันที่ ๓๑ สิงหาคม ๒๕๖๐) เปนตนไปจนกวาจะชำระเสร็จแกโจทก ใหจำเลยจายคาชดเชยจำนวน ๓๐๐,๐๐๐ บาท พรอมดอกเบี้ยอัตรารอยละ ๑๕ ตอป นับแตวันถัดจากฟอง (ฟองวันที่ ๓๑ สิงหาคม ๒๕๖๐) เปนตนไปจนกวาจะชำระเสร็จแกโจทก จำเลยอุทธรณ ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษแผนกคดีแรงงานวินิจฉัยวา ศาลแรงงานกลางฟงขอเท็จจริง เปนยุติวา เมื่อวันที่ ๑ มิถุนายน ๒๕๕๓ จำเลยจางโจทกเขาทำงานเปนลูกจาง ตำแหนงสุดทาย ทำหนาที่เปนผูจัดการฝายขาย ไดรับคาจางอัตราสุดทายเดือนละ ๕๐,๐๐๐ บาท กำหนดจาย คาจางทุกวันที่ ๒๕ ของเดือน ตอมาวันที่ ๒๗ กุมภาพันธ ๒๕๕๘ จำเลยใหโจทกลงชื่อในใบลาออก ตอมาจำเลยมีหนังสือแจงการสิ้นสุดการเปนผูประกันตนตอสำนักงานประกันสังคม แลววินิจฉัยวา จำเลยเลิกจางโจทกไมใชโจทกลาออกเอง และการที่จำเลยตั้งคณะทำงานเพื่อสอบสวนหาสาเหตุ ของการเลิกจางโจทกโดยไมไดระบุแตแรกวา จำเลยเลิกจางโจทกเพราะโจทกกระทำผิดเรื่องอะไร ไวใหชัดเจนที่ถือวาเปนหนังสือเลิกจาง ดังนั้น ขอเท็จจริงรับฟงไดวา จำเลยเลิกจางโจทกโดยไมมี เหตุอันควรและไมเปนธรรมแกโจทก จำเลยจึงตองจายสินจางแทนการบอกกลาวลวงหนา คาชดเชย และคาเสียหายจากการเลิกจางที่ไมเปนธรรม คดีมีปญหาตองวินิจฉัยตามอุทธรณของจำเลยวา จำเลยเลิกจางโจทกหรือไม เห็นวา สัญญาจางแรงงานเปนเอกเทศสัญญาประเภทหนึ่งที่คูสัญญาอาจบอกเลิกสัญญาโดยแสดงเจตนา


๑๔๒ ไปยังคูสัญญาอีกฝายหนึ่งโดยไมจำตองไดรับความยินยอมตามที่บัญญัติไวในประมวลกฎหมาย แพงและพาณิชย มาตรา ๓๘๖ วรรคหนึ่ง และ ๕๘๒ วรรคหนึ่ง โดยลูกจางอาจบอกเลิกสัญญาจาง ดวยการแสดงเจตนาลาออก สวนนายจางอาจบอกเลิกสัญญาจางดวยการแสดงเจตนาเลิกจาง เมื่อใบลาออกซึ่งโจทกยอมรับวาเปนผูลงลายมือชื่อ ซึ่งขณะลงลายมือชื่อนั้นมีขอความแสดงเจตนา จะลาออกจากการเปนพนักงานของจำเลย โดยใหมีผลในวันที่ ๒๘ กุมภาพันธ ๒๕๕๘ แลว จึงเปนการบอกเลิกสัญญาจางแรงงานอันมีผลทำใหนิติสัมพันธระหวางโจทกกับจำเลยในฐานะ นายจางกับลูกจางสิ้นสุดลงตามบทบัญญัติของกฎหมายดังกลาว การที่ใบลาออกระบุเหตุผลของ การลาออกวา “เลิกจางเพราะกระทำความผิด” ก็ไมมีผลทำใหใบลาออกของโจทกกลับกลายเปน หนังสือเลิกจางของจำเลยดังที่ศาลแรงงานกลางวินิจฉัย เพราะใบลาออกมิใชหนังสือของจำเลย ที่มีถึงโจทกเพื่อแสดงเจตนาที่จะเลิกจางเพราะเหตุที่โจทกกระทำผิด ประกอบกับโจทกเปน ผูบริหารระดับสูงของจำเลย ทำงานใหแกจำเลยมาหลายปหากโจทกมิไดกระทำผิดดังที่ระบุเหตุผล ไวในใบลาออก ก็ไมมีเหตุผลที่โจทกจะยอมลงชื่อในใบลาออก ใบลาออกของโจทกจึงมีผลสมบูรณ และผูกพันโจทก ทำใหสัญญาจางแรงงานระหวางโจทกกับจำเลยสิ้นสุดลง แมภายหลังจำเลยจะมี หนังสือถึงสำนักงานประกันสังคม แจงเรื่องการสิ้นสุดความเปนผูประกันตนของโจทก โดยระบุ เหตุผลวา “ไลออก/ปลดออก/ใหออก เนื่องจากกระทำความผิด” ซึ่งไมตรงกับความเปนจริงที่โจทก ไดลาออก และอาจทำใหโจทกไดรับความเสียหายก็ตาม ก็เปนเรื่องที่ตองไปวากลาวกันภายหลัง หามีผลทำใหสัญญาจางแรงงานระหวางโจทกกับจำเลย ซึ่งสิ้นสุดลงแลวกลับมีผลผูกพันอันจะถือไดวา จำเลยเลิกจางโจทกไม จำเลยจึงมิไดเลิกจางโจทกและไมตองรับผิดจายคาชดเชย สินจางแทน การบอกกลาวลวงหนาและคาเสียหายจากการเลิกจางที่ไมเปนธรรมตามฟอง คำพิพากษาของ ศาลแรงงานกลางที่ใหจำเลยจายเงินดังกลาวแกโจทก ไมตองดวยความเห็นของศาลอุทธรณ คดีชำนัญพิเศษ อุทธรณของจำเลยฟงขึ้น พิพากษากลับใหยกฟอง. สุเจตน สถาพรนานนท - ยอ สุโรจน จันทรพิทักษ - ตรวจ (ดำรงค ทรัพยผล - อนันต คงบริรักษ - วัฒนา สุขประดิษฐ)


๑๔๓ คำพิพากษาศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษที่ ๑๕๖๗/๒๕๖๒ นางสาวฉัฐมณฑน ครองผล โจทก บริษัทเดอะมอลล กรุป จำกัด จำเลย พ.ร.บ. คุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา ๒๗ ขอบังคับเกี่ยวกับการทำงานของจำเลย หมวด ๑ วันทำงาน เวลาทำงานปกติ เวลาพัก กำหนดใหงานสำนักงานมีวันทำงานตั้งแตวันจันทรถึงวันศุกร วันละ ๙ ชั่วโมง เวลาทำงานปกติระหวางเวลา ๘.๓๐ นาิกา ถึง ๑๘.๓๐ นาิกา และ ๙ นาิกา ถึง ๑๙ นาิกา มีเวลาพัก ๑๒ นาิกา ถึง ๑๓ นาิกา โดยโจทกทำงานวันละ ๙ ชั่วโมง มีเวลาพัก ชวง ๑๒ นาิกา ถึง ๑๓ นาิกา เมื่อพิจารณาตาม พ.ร.บ. คุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา ๒๗ ที่บัญญัติวา ในวันที่มีการทำงาน ใหนายจางจัดใหลูกจางมีเวลาพักระหวาง การทำงานวันหนึ่งไมนอยกวาหนึ่งชั่วโมงหลังจากที่ลูกจางทำงานมาแลวไมเกิน ๕ ชั่วโมง ติดตอกันนั้น ตามบทบัญญัติดังกลาว กฎหมายกำหนดคุมครองลูกจางใหมีเวลาพัก โดยให นายจางกำหนดใหลูกจางหยุดพักระหวางการทำงาน มิใหตองทำงานติดตอกันเปนเวลา นานเกินสมควรซึ่งจะสงผลกระทบตอลูกจาง บทบัญญัติดังกลาวมีวัตถุประสงคเพื่อให ลูกจางมีโอกาสฟนฟูสมรรถภาพของรางกายสามารถทำงานตอไปได โดยไมมีผลกระทบ ตอสุขภาพและความปลอดภัยของลูกจางในการทำงาน แมปรากฏวาจำเลยไดจัดใหโจทก ทำงานตั้งแตเวลา ๘.๓๐ นาิกา หรือ ๙ นาิกา โดยใหพักเวลา ๑๒ นาิกา ถึง ๑๓ นาิกา ถือวานายจางไดจัดใหลูกจางมีเวลาพักวันหนึ่งไมนอยกวา ๑ ชั่วโมง ตามกฎหมายแลว ก็ตาม แตในชวงบายจำเลยมิไดจัดใหโจทกมีเวลาพักหลังจากทำงานมาแลวไมเกิน ๕ ชั่วโมง ติดตอกัน และกรณียังไมเขาขอยกเวนตามกฎหมาย จึงไมชอบดวย พ.ร.บ. คุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา ๒๗ แตที่โจทกฟองขอคาลวงเวลาในสวนนี้มานั้น เมื่อระยะเวลาระหวาง ๑๘ นาิกา ถึง ๑๙ นาิกา ยังคงเปนเวลาทำงานปกติของโจทกและนายจางก็ไดจัดใหโจทก มีเวลาพักวันหนึ่งไมนอยกวา ๑ ชั่วโมง แลว เพียงแตวิธีการกำหนดหรือจัดสรรเวลาพักของ จำเลยไมเปนไปตามที่บัญญัติไวใน พ.ร.บ. คุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา ๒๗ เทานั้น โจทกจึงไมมีสิทธิเรียกคาลวงเวลาในชวงเวลาดังกลาวตามฟอง อยางไรก็ดี พอถือไดวา โจทกฟองเรียกคาเสียหายจากการกระทำของจำเลยที่ทำใหโจทกมิไดมีเวลาพักถูกตอง


๑๔๔ ตามที่กฎหมายบัญญัติ จำเลยจึงตองรับผิดตอโจทก โดยคาเสียหายที่จำเลยตองรับผิด ตองไมใชคาเสียหายที่มีลักษณะเดียวกับคาจางหรือคาลวงเวลา ทั้งโจทกไดรับการจัดสรร เวลาพักวันหนึ่งไมนอยกวา ๑ ชั่วโมงแลว แตโจทกจะไดรับความเสียหายเทาใดนั้น คดียังไมมี ขอเท็จจริงเพียงพอและการกำหนดคาเสียหายดังกลาวเปนเรื่องดุลพินิจซึ่งเปนขอเท็จจริง ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษไมอาจจะกระทำได จึงตองยอนสำนวนไปใหศาลแรงงานกลาง ฟงขอเท็จจริงในสวนนี้เพิ่มเติมและกำหนดจำนวนคาเสียหายเสียกอนแลวพิพากษาใหม ตอไปตามรูปคดี โจทกฟองและแกไขคําฟอง ขอใหบังคับจําเลยจายสินจางแทนการบอกกลาวลวงหนา ๔๒,๔๙๙.๖๖ บาท เงินโบนัส ๒๓,๙๗๓.๕๐ บาท คาลวงเวลา ๘๔๖,๗๒๐ บาท คาเสียหายจาก การเลิกจางไมเปนธรรม ๓๒๔,๑๕๐ บาท พรอมดอกเบี้ยอัตรารอยละ ๗.๕ ตอป ของตนเงินแตละ จำนวนนับแตวันฟองเปนตนไปจนกวาจะชำระเสร็จ คาชดเชย ๒๑๖,๑๐๐ บาท คาจางสําหรับ วันหยุดพักผอนประจําป ๙,๗๒๐ บาท พรอมดอกเบี้ยอัตรารอยละ ๑๕ ตอป ของตนเงินแตละ จำนวนนับแตวันฟองเปนตนไป จนกวาจะชําระเสร็จแกโจทก จําเลยใหการและแกไขคําใหการ ขอใหยกฟอง ศาลแรงงานกลาง พิพากษายกฟอง โจทกอุทธรณ ศาลอุทธรณคดีชํานัญพิเศษแผนกคดีแรงงานวินิจฉัยวา ศาลแรงงานกลางฟงขอเท็จจริง และวินิจฉัยวา โจทกอางวาจําเลยขมขูใหเขียนใบลาออกมิฉะนั้นจะไมจายเงินโบนัส โจทกทํางาน กับจําเลยมานาน เปนผูจัดการแผนก ยอมตองรูดีวาลาออกแลวจะไมไดรับคาชดเชยและเงินอื่น ตามกฎหมายซึ่งมีจํานวนมากกวาเงินโบนัสที่โจทกจะไดรับ และสิทธิในการรับเงินโบนัสนั้น หากโจทกไมไดกระทําผิด ก็สามารถใชสิทธิเรียกรองไดโดยไมจําตองลาออก ทั้งโจทกเองก็เคย กระทําผิดระเบียบขอบังคับเกี่ยวกับการทํางานของจําเลยทะเลาะวิวาทกับเพื่อนรวมงานประมาท เลินเลอแจงโอนสินคาผิดสาขาทําใหจําเลยไดรับความเสียหาย ถูกจําเลยลงโทษทางวินัยโดย ตักเตือนเปนหนังสือ มาทํางานสายบอย และกอนที่โจทกจะลาออกยังไดปรึกษากับอดีตที่ปรึกษา กฎหมายของจําเลย แนะนําวาหากไมยอมลาออกจะไมไดรับเงินใด ๆ ทั้งสิ้น โจทกจึงเขียนใบลาออก เพราะกลัววาจะไมไดรับเงิน ดังนั้นการที่โจทกเขียนใบลาออกนาจะเกิดจากปญหาการทํางานของ โจทกเอง จึงเกิดความกดดันและความกลัววาจะถูกไลออกและไมไดรับเงินใด ๆ โจทกไดเขียน


๑๔๕ ความประสงคขอลาออกจากการเปนพนักงานแลวนําไปใหนางพิมพใจ พิจารณาอนุมัติ จากนั้น วันที่ ๑๕ ธันวาคม ๒๕๖๐ โจทกนําเอกสารแจงตนสังกัดมาติดตอกับฝายบุคคลอีกครั้งหนึ่งเพื่อ ขอใบลาออกไปเขียนเสนอผูมีอํานาจพิจารณาอนุมัติตามสายงาน โดยโจทกไดกรอกแบบสอบถาม พนักงานลาออกใหแกฝายบุคคล และไดเขียนใบลาออกและนําไปยื่นใหนางพิมพใจเพื่อมีความเห็น กอนเสนอนายจักรกฤษณ ผูอํานวยการใหญอาวุโสบริหารสินคา B๒ เพื่ออนุมัติตามขั้นตอน โจทก เขียนขอความและลงลายมือชื่อในเอกสารดวยตนเองเสนอผูบังคับบัญชาตามสายงานอนุมัติตาม ขั้นตอนซึ่งโจทกมีเวลาคิดเปนเวลานาน ทั้งยังมีอิสระในการตัดสินใจโดยไมอยูในภาวะตองเกรงกลัว จําเลย พฤติการณของโจทกฟงไดวาโจทกสมัครใจลาออกเอง โจทกจึงไมมีสิทธิไดรับคาชดเชย สินจางแทนการบอกกลาวลวงหนา และคาเสียหายจากการเลิกจางไมเปนธรรม ตามขอบังคับ เกี่ยวกับการทํางานของจําเลยไมอนุญาตใหสะสมวันหยุดพักผอนประจําปเพื่อใชในปถัดไป ในป ๒๕๖๐ โจทกมีวันหยุดพักผอนประจําปเหลือ ๑ วัน ๔ ชั่วโมง และโจทกไดใชสิทธิลาพักผอนไปแลว โจทกจึงไมมีสิทธิไดรับคาจางสําหรับวันหยุดพักผอนประจําป เมื่อขอเท็จจริงฟงไดวาผลการประเมิน การทํางานของโจทกในป ๒๕๖๐ ไดเกรด C โจทกตองถูกหักเงินโบนัส ๓๐ เปอรเซ็นต เมื่อจําเลย จายเงินโบนัสใหโจทก ๗๐ เปอรเซ็นต เปนเงิน ๕๕,๙๓๙ บาท ถือวาจําเลยจายเงินโบนัสใหโจทก ครบถวนแลว ตามกฎกระทรวงฉบับที่ ๗ (พ.ศ. ๒๕๔๑) ออกตามความในพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ ขอ ๒ กําหนดไววางานอาชีพดานบริการนายจางและลูกจางตกลงกันกําหนดเวลา ทํางานปกติในวันหนึ่ง ๆ เปนจํานวนกี่ชั่วโมงก็ได แตเมื่อรวมเวลาทํางานทั้งสิ้นแลวสัปดาหหนึ่ง ตองไมเกิน ๔๘ ชั่วโมง และตามระเบียบขอบังคับเกี่ยวกับการทํางานของจําเลยกําหนดใหงาน สำนักงานทำงานวันละ ๙ ชั่วโมง มีเวลาพักวันละ ๑ ชั่วโมง งานของจําเลยเปนงานดานบริการ จําเลยจึงกําหนดเวลาทํางานเกินวันละ ๘ ชั่วโมง ไดทั้งโจทกไดปฏิบัติตามขอบังคับเกี่ยวกับ การทํางานของจําเลยมาตลอดโดยมิไดโตแยงคัดคานถือวาโจทกและจําเลยตกลงกําหนดเวลาทํางาน และเวลาพักแลว แมในชวงบายจําเลยจะกําหนดเวลาทํางานเกิน ๕ ชั่วโมงติดตอกัน แตสัปดาหหนึ่ง รวมกันแลวโจทกทํางาน ๔๕ ชั่วโมง มีเวลาพักวันละ ๑ ชั่วโมง จึงไมขัดตอกฎหมาย โจทก ไมมีสิทธิไดรับคาลวงเวลา ที่โจทกอุทธรณในขอ ๒.๑ วา พยานหลักฐานตาง ๆ ในการไตสวนของศาลแรงงานกลาง เปนพยานของจําเลยแทบทั้งสิ้น จําเลยเปนบริษัทใหญและมีที่ปรึกษากฎหมายที่มีความรูความ สามารถ ตรงขามกับโจทกที่เปนแคพนักงานระดับ ๖ ในการทํางานของโจทกไมมีลูกนองหรือ ผูใตบังคับบัญชาใหตองปกครองโดยตําแหนงเทียบเทาผูจัดการแผนกที่ตั้งขึ้นในบริษัทจําเลยเพื่อ ความสะดวกในการจัดสวัสดิการตาง ๆ รวมทั้งการคํานวณเงินโบนัสรายปเทานั้น ซึ่งตามกฎหมาย


๑๔๖ แรงงานใหอํานาจแกศาลแรงงานในการเรียกพยานหลักฐานมาสืบเองไดตามสมควรเพื่อใชดุลพินิจ วาการเลิกจางไมเปนธรรมตอโจทกหรือไม และการกําหนดแนวทางในการพิจารณาที่ใหศาลคํานึง ถึงอายุของลูกจาง ระยะเวลาการทํางานของลูกจาง ความเดือดรอนของลูกจางเมื่อถูกเลิกจาง มูลเหตุแหงการเลิกจาง เงินคาชดเชยที่ลูกจางมีสิทธิไดรับ ประกอบการพิจารณาดวย จําเลยบังคับ ใหโจทกลาออก ซึ่งขอเท็จจริงทางคดีมีนอกเหนือจากที่ศาลไดทําการไตสวนไวในสํานวน ยังมี ขอเท็จจริงอีกหลายประการที่ยังไมปรากฏ ที่ศาลแรงงานกลางวินิจฉัยวา การที่โจทกเขียนใบลาออก นาจะเกิดจากปญหาในการทํางานของโจทกเอง จึงเกิดความกดดันและความกลัววาถาหากถูก ไลออกจะไมไดรับเงินใด ๆ นั้น เปนคําวินิจฉัยที่ขัดตอกฎหมายเพราะศาลตองฟงขอเท็จจริงให ครบถวนเสียกอนที่จะพิพากษา เห็นวา ศาลแรงงานกลางฟงขอเท็จจริงวา โจทกทำงานกับจำเลย มานาน เปนถึงผูจัดการแผนก โจทกยอมรูดีวาหากลาออกเองโจทกจะไมไดรับเงินคาชดเชยและ เงินอื่น ๆ ตามกฎหมายซึ่งมีจำนวนมากกวาเงินโบนัสที่จะไดรับ โจทกเคยทำผิดระเบียบขอบังคับ เกี่ยวกับการทำงาน ประมาทเลินเลอแจงโอนสินคาผิดสาขา มาทำงานสายบอย โจทกจึงเขียน ใบลาออกเอง อุทธรณของโจทกดังกลาวจึงเปนอุทธรณโตแยงดุลพินิจในการรับฟงพยานหลักฐาน ของศาลแรงงานกลาง อันเปนอุทธรณในขอเท็จจริง ซึ่งตองหามมิใหอุทธรณตามพระราชบัญญัติ จัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๕๔ วรรคหนึ่ง ศาลอุทธรณ คดีชำนัญพิเศษไมรับวินิจฉัย คดีมีปญหาตองวินิจฉัยตามอุทธรณของโจทกขอ ๒.๒ วา โจทกมีสิทธิไดรับคาลวงเวลา หรือไม เพียงใด เห็นวา ศาลแรงงานกลางฟงขอเท็จจริงวา ขอบังคับเกี่ยวกับการทำงานของจำเลย หมวด ๑ วันทำงาน เวลาทำงานปกติ เวลาพัก กำหนดใหงานสำนักงานมีวันทำงานตั้งแตวันจันทร ถึงวันศุกร วันละ ๙ ชั่วโมง เวลาทำงานปกติระหวางเวลา ๘.๓๐ นาิกา ถึง ๑๘.๓๐ นาิกา และ ๙ นาิกา ถึง ๑๙ นาิกา มีเวลาพัก ๑๒ นาิกา ถึง ๑๓ นาิกา โดยโจทกทำงานวันละ ๙ ชั่วโมง มีเวลาพักชวง ๑๒ นาิกา ถึง ๑๓ นาิกา เมื่อพิจารณาตามพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา ๒๗ ที่บัญญัติวา ในวันที่มีการทำงาน ใหนายจางจัดใหลูกจางมีเวลาพัก ระหวางการทำงานวันหนึ่งไมนอยกวาหนึ่งชั่วโมงหลังจากที่ลูกจางทำงานมาแลวไมเกิน ๕ ชั่วโมง ติดตอกันนั้น ตามบทบัญญัติดังกลาว กฎหมายกำหนดคุมครองลูกจางใหมีเวลาพัก โดยใหนายจาง กำหนดใหลูกจางหยุดพักระหวางการทำงาน มิใหตองทำงานติดตอกันเปนเวลานานเกินสมควร ซึ่งจะสงผลกระทบตอลูกจาง บทบัญญัติดังกลาวมีวัตถุประสงคเพื่อใหลูกจางมีโอกาสฟนฟู สมรรถภาพของรางกายสามารถทำงานตอไปได โดยไมมีผลกระทบตอสุขภาพและความปลอดภัย ของลูกจางในการทำงานแมปรากฏวาจำเลยไดจัดใหโจทกทำงานตั้งแตเวลา ๘.๓๐ นาิกา หรือ


๑๔๗ ธัชวุทธิ์ พุทธิสมบัติ - ยอ สุโรจน จันทรพิทักษ - ตรวจ ๙ นาิกา โดยใหพักเวลา ๑๒ นาิกา ถึง ๑๓ นาิกา ถือวานายจางไดจัดใหลูกจางมีเวลาพัก วันหนึ่งไมนอยกวา ๑ ชั่วโมงตามกฎหมายแลวก็ตาม แตในชวงบายจำเลยมิไดจัดใหโจทกมีเวลาพัก หลังจากทำงานมาแลวไมเกิน ๕ ชั่วโมงติดตอกัน และกรณียังไมเขาขอยกเวนตามกฎหมาย จึงไมชอบดวยพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา ๒๗ แตที่โจทกฟองขอ คาลวงเวลาในสวนนี้มานั้น เมื่อระยะเวลาระหวาง ๑๘ นาิกา ถึง ๑๙ นาิกา ยังคงเปนเวลา ทำงานปกติของโจทก และนายจางก็ไดจัดใหโจทกมีเวลาพักวันหนึ่งไมนอยกวา ๑ ชั่วโมงแลว เพียงแตวิธีการกำหนดหรือจัดสรรเวลาพักของจำเลยไมเปนไปตามที่บัญญัติไวในพระราชบัญญัติ คุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา ๒๗ เทานั้น โจทกจึงไมมีสิทธิเรียกคาลวงเวลาในชวงเวลา ดังกลาวตามฟอง อยางไรก็ดี พอถือไดวาโจทกฟองเรียกคาเสียหายจากการกระทำของจำเลยที่ทำ ใหโจทกมิไดมีเวลาพักถูกตองตามที่กฎหมายบัญญัติ จำเลยจึงตองรับผิดตอโจทก โดยคาเสียหาย ที่จำเลยตองรับผิดตองไมใชคาเสียหายที่มีลักษณะเดียวกับคาจางหรือคาลวงเวลา ทั้งโจทกไดรับ การจัดสรรเวลาพักวันหนึ่งไมนอยกวา ๑ ชั่วโมงแลว แตโจทกจะไดรับความเสียหายเทาใดนั้น คดียังไมมีขอเท็จจริงเพียงพอและการกำหนดคาเสียหายดังกลาวเปนเรื่องดุลพินิจซึ่งเปนขอเท็จจริง ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษไมอาจจะกระทำได จึงตองยอนสำนวนไปใหศาลแรงงานกลางฟง ขอเท็จจริงในสวนนี้เพิ่มเติมและกำหนดจำนวนคาเสียหายเสียกอนแลวพิพากษาใหมตอไปตาม รูปคดี ที่ศาลแรงงานกลางวินิจฉัยในสวนนี้มานั้น ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษไมเห็นพองดวย อุทธรณของโจทกฟงขึ้น พิพากษาแกเปนวา ใหยกคำพิพากษาศาลแรงงานกลางที่ยกฟองโจทกในสวนที่โจทก ฟองขอคาลวงเวลาในเวลาพักตามคำรองขอแกไขเพิ่มเติมคำฟองครั้งที่ ๓ และครั้งที่ ๔ ให ศาลแรงงานกลางฟงขอเท็จจริงเพิ่มเติมและกำหนดคาเสียหายดังกลาวขางตน แลวพิพากษาใหม ตอไปตามรูปคดี นอกจากที่แกใหเปนไปตามคำพิพากษาศาลแรงงานกลาง. (เกื้อ วุฒิปวัฒน - สุจินต เชี่ยวชาญศิลป - วิชชุพล สุขสวัสดิ์)


๑๔๘ คำพิพากษาศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษที่ ๑๕๖๘/๒๕๖๒ นางสาวเฮซุน ชุง โจทก มูลนิธิคณะสงฆพระมหาไถ แหงประเทศไทย กับพวก จำเลย ป.วิ.พ. มาตรา ๒๓๑ พ.ร.บ. จัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๓๑, ๔๙, ๕๔, ๕๕ สัญญาจางที่มีกำหนดเวลาการจางไวแนนอน จะตองเปนสัญญาจางที่มีกำหนด ระยะเวลาเริ่มตนและสิ้นสุดตามสัญญาเอาไวแนนอน ไมมีการเปลี่ยนแปลง และจะตอง เลิกจางตามกำหนดเวลานั้น แมสัญญาจางระหวางโจทกและจำเลยที่ ๑ แตละฉบับมีกำหนด ระยะเวลาจาง ๑ ป แตมีการทำสัญญาจางแตละฉบับตอเนื่องกันมาตลอดตั้งแตสัญญาจาง ฉบับแรกจนถึงสัญญาจางฉบับสุดทายรวมระยะเวลาที่โจทกทำงานใหแกจำเลยทั้งสอง ๑๗ ป ๑๐ เดือน สัญญาจาง ขอ ๔ กำหนดใหคูสัญญาฝายที่ประสงคจะเลิกสัญญาตองแจงแกอีก ฝายหนึ่งทราบลวงหนา ๓๐ วัน โดยบอกกลาวเปนลายลักษณอักษร อันเปนการกำหนด ใหโจทกและจำเลยทั้งสองบอกเลิกสัญญาจางเมื่อใดก็ไดโดยบอกกลาวเปนลายลักษณ อักษรใหอีกฝายทราบลวงหนา ๓๐ วัน สัญญาจางดังกลาวจึงไมมีลักษณะเปนสัญญาจาง ที่มีกำหนดระยะเวลาการจางไวแนนอน ดังนั้น จึงตองพิจารณาถึงเหตุแหงการเลิกจาง ของนายจางวามีเหตุอันสมควรหรือไม ที่ศาลแรงงานกลางวินิจฉัยวา จำเลยที่ ๒ เลิกจาง โจทกโดยไมปรากฏวาจำเลยที่ ๒ ประสบภาวะขาดทุนจนไมสามารถประกอบกิจการ ตอไปได การที่จำเลยที่ ๒ ไมตอสัญญากับโจทกโดยอางวาประสบปญหาทางการเงิน อยางรายแรง จึงเปนกรณีที่ไมมีเหตุอันสมควร การเลิกจางโจทกดังกลาวเปนการเลิกจาง ไมเปนธรรมนั้นชอบแลว แมจำเลยที่ ๒ ยื่นอุทธรณ แตจำเลยที่ ๒ ไมไดขอทุเลาการบังคับ และการยื่น อุทธรณไมเปนการทุเลาการบังคับตามคำพิพากษาหรือคำสั่งของศาลแรงงาน ตาม พ.ร.บ. จัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๕๕ เมื่อจำเลยที่ ๒ วางเงินตอศาลแรงงานกลางเพื่อชำระหนี้ตามคำพิพากษาใหแกโจทกโดยไมไดระบุวาเปน การวางเงินเพื่อชำระหนี้ใหแกโจทกหากจำเลยที่ ๒ แพคดีในชั้นอุทธรณ และจำเลยที่ ๒ ไมไดคัดคานการที่โจทกขอรับเงินดังกลาว ทั้งมิใชกรณีที่จำเลยที่ ๒ วางเงินตอศาลแรงงาน กลางเปนจำนวนพอชำระหนี้ตามคำพิพากษารวมทั้งคาฤชาธรรมเนียมในการฟองรอง


๑๔๙ และการบังคับคดี เพื่อขอใหศาลแรงงานกลางงดการบังคับคดีไว ตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๒๓๑ วรรคสาม ประกอบ พ.ร.บ. จัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๓๑ โจทกจึงมีสิทธิขอรับเงินที่จำเลยที่ ๒ นำมาวางศาลเมื่อวันที่ ๑๐ มกราคม ๒๕๖๒ เพื่อชำระหนี้ตามคำพิพากษาศาลแรงงานกลาง อยางไรก็ดี แมโจทกจะมีสิทธิขอ รับเงินที่จำเลยที่ ๒ นำมาวางศาลเพื่อชำระหนี้ใหแกโจทก แตก็ไมเปนการตัดอำนาจของ ศาลแรงงานกลางที่จะสั่งอนุญาตหรือไมอนุญาตใหโจทกรับเงินที่มาวางศาลนั้นได ดังนี้ เมื่อคดีขึ้นมาสูการพิจารณาของศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษโดยคดีไมมีการอุทธรณใน สวนคาชดเชย และศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษไดมีคำพิพากษาในสวนคาเสียหายจาก การเลิกจางไมเปนธรรมแลว เมื่อพิจารณาจากพฤติการณแหงคดี เห็นสมควรอนุญาตให โจทกรับเงินที่จำเลยที่ ๒ นำมาวางศาลดังกลาวไปได แมคดียังไมถึงที่สุด โจทกฟอง ขอใหบังคับจำเลยทั้งสองจายคาชดเชย ๑,๖๘๔,๘๕๐ บาท พรอมดอกเบี้ย อัตรารอยละ ๑๕ ตอป ของตนเงินดังกลาวนับแตวันที่ ๓๐ มิถุนายน ๒๕๖๐ เปนตนไปจนกวาจะ ชำระเสร็จแกโจทก ดอกเบี้ยคิดถึงวันฟองเปนเงิน ๑๗๘,๘๗๑.๐๖ บาท ใหจำเลยทั้งสองชำระเงิน เพิ่มอัตรารอยละ ๑๕ ตอป ของคาชดเชยดังกลาวทุกระยะเวลา ๗ วัน นับตั้งแตวันที่ ๓๐ มิถุนายน ๒๕๖๐ จนกวาจะชำระเสร็จแกโจทก เงินเพิ่มคิดถึงวันฟองเปนเงิน ๙,๐๖๒,๐๘๖.๐๗ บาท และให จำเลยทั้งสองจายคาเสียหายจากการเลิกจางไมเปนธรรมเทากับคาจางอัตราสุดทายของโจทกรวม ๑๘ เดือน เปนเงิน ๓,๐๓๒,๗๓๐ บาท พรอมดอกเบี้ยอัตรารอยละ ๗.๕ ตอป ของตนเงินดังกลาว นับแตวันที่ ๓๐ มิถุนายน ๒๕๖๐ เปนตนไปจนกวาจะชำระเสร็จแกโจทก ดอกเบี้ยคิดถึงวันฟอง เปนเงิน ๑๖๐,๙๘๓.๙๖ บาท จำเลยทั้งสองใหการ ขอใหยกฟอง ระหวางพิจารณาคูความแถลงรับขอเท็จจริงรวมกันวา โจทกไดรับเงินเดือน ๑๓๓,๔๘๕ บาท คาเชาบาน ๒๕,๐๐๐ บาท และคาวิชาชีพ ๑๐,๐๐๐ บาท โดยจายใหแกโจทกทุกเดือนไมตองมี ใบเสร็จรับเงิน ศาลแรงงานกลาง พิพากษาใหจำเลยที่ ๒ จายคาชดเชย ๑,๖๘๔,๘๕๐ บาท พรอมดอกเบี้ย อัตรารอยละ ๑๕ ตอป ของตนเงินจำนวนดังกลาว นับแตวันที่ ๓๐ มิถุนายน ๒๕๖๐ เปนตนไป จนกวาจะชำระเสร็จแกโจทก และชำระคาเสียหายจากการเลิกจางไมเปนธรรม ๒,๓๐๐,๐๐๐ บาท พรอมดอกเบี้ยอัตรารอยละ ๗.๕ ตอป นับแตวันที่ ๓๐ มิถุนายน ๒๕๖๐ เปนตนไปจนกวาจะชำระ เสร็จแกโจทก ยกฟองโจทกสำหรับจำเลยที่ ๑ คำขออื่นนอกจากนี้ใหยก


๑๕๐ จำเลยที่ ๒ อุทธรณ โจทกยื่นคำรองขอรับเงิน ๔,๖๓๗,๒๕๓.๘๓ บาท ที่จำเลยที่ ๒ นำมาวางศาลแรงงานกลาง เพื่อชำระหนี้ตามคำพิพากษาใหแกโจทกเมื่อวันที่ ๑๐ มกราคม ๒๕๖๒ ศาลแรงงานกลางมีคำสั่งวา คดียังไมถึงที่สุด จึงไมอนุญาต ใหยกคำรอง โจทกอุทธรณคำสั่ง ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษแผนกคดีแรงงานวินิจฉัยวา ศาลแรงงานกลางรับฟงขอเท็จจริง และวินิจฉัยวา ตามสัญญาจางพรอมคำแปลเปนสัญญาจางที่จำเลยที่ ๒ ทำสัญญากับโจทก โดยไดรับการแตงตั้งและรับมอบอำนาจจากจำเลยที่ ๑ แมสัญญาจางแตละฉบับดังกลาวจะมีกำหนด ระยะเวลา ๑ ป โดยมีกำหนดระยะเวลาเริ่มตนและสิ้นสุดแนนอน แตจำเลยทั้งสองก็ทำสัญญา ตอเนื่องกับโจทกมาตลอดนับแตสัญญาจางฉบับแรกถึงสัญญาจางฉบับสุดทาย รวมระยะเวลาที่ โจทกทำงานใหแกจำเลยทั้งสอง ๑๗ ป ๑๐ เดือน โดยในการตอสัญญาแตละฉบับ จำเลยทั้งสอง จะสงสัญญาใหกับโจทกลวงหนาหลายเดือน เพื่อใหโจทกตอบรับภายใน ๑๕ วัน วาประสงคจะตอ สัญญากับจำเลยทั้งสองหรือไม มิใชในกรณีที่ใกลจะครบสัญญาแลวจึงมีการตอสัญญากันใหม แตอยางใด ลักษณะของการที่จำเลยที่ ๒ ทำสัญญาจางโจทกตั้งแตวันที่ ๑ กันยายน ๒๕๔๒ เปนตนไปจนกระทั่งถึงวันที่ ๓๐ มิถุนายน ๒๕๖๐ ตอเนื่องกันมาเปนระยะเวลา ๑๗ ปเศษ โดยมีการ ตอสัญญาจางเปนระยะเวลาครั้งละ ๑ ป ปตอปเชนนี้ ถือวาจำเลยที่ ๒ มีเจตนาทำสัญญาจางกับ โจทกไปเรื่อย ๆ โดยไมมีกำหนดระยะเวลา พฤติการณที่จำเลยทั้งสองทำสัญญาในลักษณะดังกลาว ปตอปกับโจทกและครูคนอื่นก็โดยมีเจตนาที่จะหลีกเลี่ยงไมจายคาชดเชยใหกับโจทกและครูคนอื่น ซึ่งเปนลูกจาง และการที่จำเลยทั้งสองยื่นสัญญาจางฉบับใหมใหโจทกตอสัญญาจางลวงหนาหลาย เดือนก็มีลักษณะเปนการผูกมัดเพื่อที่จะไมใหโจทกออกไปทำงานที่อื่น สัญญาจางระหวางจำเลยที่ ๒ กับโจทกเปนสัญญาจางที่ไมมีกำหนดระยะเวลา จึงไมสามารถนำระเบียบกระทรวงศึกษาธิการ วาดวยการคุมครองการทำงานของครูใหญและครูโรงเรียนเอกชน (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๗ ขอ ๓๕ (๒) มาใชบังคับกับโจทกได กรณีดังกลาวจึงตองนำพระราชบัญญัติโรงเรียนเอกชน พ.ศ. ๒๕๕๐ มาตรา ๘๖ ประกอบระเบียบกระทรวงศึกษาธิการวาดวยการคุมครองการทำงานของครูใหญและ ครูโรงเรียนเอกชน พ.ศ. ๒๕๔๒ หมวด ๔ ขอ ๓๒ (๕) มาใชกับโจทก เมื่อขอเท็จจริงรับฟงไดวา โจทกทำงานกับจำเลยที่ ๒ เปนเวลา ๑๗ ป ๑๐ เดือน ถือวาโจทกทำงานติดตอกันครบ ๑๐ ป ขึ้นไป จึงใหจำเลยที่ ๒ จายคาชดเชยใหกับโจทกเทากับอัตราเงินเดือนสุดทาย ๑๐ เดือน ขอเท็จจริงรับฟงไดตามคำแถลงรับของคูความวาโจทกไดรับเงินเดือน ๑๓๓,๔๘๕ บาท คาเชาบาน ๒๕,๐๐๐ บาท และคาวิชาชีพ ๑๐,๐๐๐ บาท โดยจำเลยที่ ๒ จายใหแกโจทกทุกเดือนโดยไมตอง


๑๕๑ มีใบเสร็จรับเงิน และทางนำสืบของโจทกไดความวาจำเลยที่ ๒ จายเงินดังกลาวใหแกโจทก ตลอดมาเปนเวลา ๑๗ ป ๑๐ เดือน ดังนั้น จึงตองถือวาโจทกไดรับเงินเดือนทั้งสิ้นในอัตราเดือนละ ๑๖๘,๔๘๕ บาท จำเลยที่ ๒ จึงตองจายคาชดเชยใหแกโจทก ๑,๖๘๔,๘๕๐ บาท พรอมดอกเบี้ย ตามกฎหมายนับแตวันสิ้นสุดสัญญาจางเปนตนไปจนกวาจะชำระเสร็จแกโจทก สวนกรณีของ เงินเพิ่มนั้น การที่จำเลยที่ ๒ ไมจายคาชดเชยใหแกโจทกเนื่องมาจากจำเลยที่ ๒ เขาใจวาสัญญาจาง ระหวางโจทกกับจำเลยที่ ๒ เปนสัญญาจางที่มีกำหนดระยะเวลาแนนอน ซึ่งอาจเปนเหตุใหจำเลย ที่ ๒ ไมตองจายคาชดเชยใหแกโจทกตามระเบียบกระทรวงศึกษาธิการวาดวยการคุมครองการ ทำงานของครูใหญและครูโรงเรียนเอกชน (ฉบับที่ ๒) พ.ศ ๒๕๔๗ ขอ ๓๕ (๒) กรณีดังกลาว ถือวาจำเลยที่ ๒ ซึ่งเปนนายจางไมไดจงใจไมคืนหรือไมจายเงินตามพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา ๙ วรรคหนึ่ง (ที่ถูกตองเปน ตามระเบียบกระทรวงศึกษาธิการวาดวยการคุมครอง การทำงานของครูใหญและครูโรงเรียนเอกชน พ.ศ. ๒๕๔๒ ขอ ๑๓ วรรคสอง) โดยปราศจาก เหตุผลอันสมควร จำเลยที่ ๒ จึงไมตองเสียเงินเพิ่มใหแกโจทก สวนการเลิกจางโจทกเปนการ เลิกจางไมเปนธรรมหรือไมนั้น จะตองพิจารณาวาการเลิกจางนั้นมีเหตุผลอันสมควรหรือไม เมื่อปรากฏ ตามเอกสารซึ่งเปนเอกสารการบอกกลาวไมตอสัญญากับโจทกระบุสาเหตุการไมตอสัญญาวามี ผูสมัครเขาเรียนนอยลงหรือการประสบปญหาทางดานการเงิน (ที่ถูกการประสบปญหาทางการ เงินอยางรายแรง) เปนเหตุใหตองลดจำนวนพนักงานและไมตอสัญญากับโจทกนั้น เมื่อไมปรากฏ วาจำเลยที่ ๒ ประสบภาวะขาดทุนจนไมสามารถประกอบกิจการตอไปได การที่จำเลยที่ ๒ ไมตอ สัญญากับโจทกโดยอางวาประสบปญหาดานการเงิน (ที่ถูก ประสบปญหาทางการเงินอยางรายแรง) จึงเปนกรณีที่ไมมีเหตุอันสมควร การเลิกจางโจทกดังกลาวเปนการเลิกจางไมเปนธรรม มีปญหาตองวินิจฉัยตามอุทธรณของจำเลยที่ ๒ ประการแรกวา จำเลยที่ ๒ เลิกจาง โจทกเปนการเลิกจางไมเปนธรรมหรือไม เห็นวา สัญญาจางที่มีกำหนดเวลาการจางไวแนนอน จะตองเปนสัญญาจางที่มีกำหนดระยะเวลาเริ่มตนและสิ้นสุดตามสัญญาเอาไวแนนอน ไมมีการ เปลี่ยนแปลง และจะตองเลิกจางตามกำหนดเวลานั้น แมสัญญาจางระหวางโจทกและจำเลยที่ ๑ แตละฉบับมีกำหนดระยะเวลาจาง ๑ ป แตมีการทำสัญญาจางแตละฉบับตอเนื่องกันมาตลอด ตั้งแตสัญญาจางฉบับแรกจนถึงสัญญาจางฉบับสุดทาย รวมระยะเวลาที่โจทกทำงานใหแกจำเลย ทั้งสอง ๑๗ ป ๑๐ เดือน สัญญาจางขอ ๔ กำหนดใหคูสัญญาฝายที่ประสงคจะเลิกสัญญาตองแจง แกอีกฝายหนึ่งทราบลวงหนา ๓๐ วัน โดยบอกกลาวเปนลายลักษณอักษร อันเปนการกำหนด ใหโจทกและจำเลยทั้งสองบอกเลิกสัญญาจางเมื่อใดก็ไดโดยบอกกลาวเปนลายลักษณอักษรให อีกฝายทราบลวงหนา ๓๐ วัน สัญญาจางดังกลาวจึงไมมีลักษณะเปนสัญญาจางที่มีกำหนดระยะ


๑๕๒ เวลาการจางไวแนนอน ดังนั้น จึงตองพิจารณาถึงเหตุแหงการเลิกจางของนายจางวามีเหตุอัน สมควรหรือไม ที่ศาลแรงงานกลางวินิจฉัยวา จำเลยที่ ๒ เลิกจางโจทกโดยไมปรากฏวาจำเลยที่ ๒ ประสบภาวะขาดทุนจนไมสามารถประกอบกิจการตอไปได การที่จำเลยที่ ๒ ไมตอสัญญากับโจทก โดยอางวาประสบปญหาทางการเงินอยางรายแรง จึงเปนกรณีที่ไมมีเหตุอันสมควร การเลิกจาง โจทกดังกลาวเปนการเลิกจางไมเปนธรรมนั้นชอบแลว อุทธรณขอนี้ของจำเลยที่ ๒ ฟงไมขึ้น ปญหาตองวินิจฉัยตามอุทธรณของจำเลยที่ ๒ ตอไปวา ศาลแรงงานกลางกำหนด คาเสียหายจากการเลิกจางไมเปนธรรมใหแกโจทกสูงเกินไปหรือไม เห็นวา ศาลแรงงานกลางกำหนด คาเสียหายจากการเลิกจางไมเปนธรรมใหแกโจทกโดยคำนึงถึงหลักเกณฑตามพระราชบัญญัติ จัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๔๙ โดยชอบแลว อุทธรณขอนี้ ของจำเลยที่ ๒ จึงเปนอุทธรณโตแยงดุลพินิจของศาลแรงงานกลางในการกำหนดคาเสียหาย จากการเลิกจางไมเปนธรรมใหแกโจทก อันเปนอุทธรณในขอเท็จจริง ซึ่งตองหามมิใหอุทธรณ ตามพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๕๔ วรรคหนึ่ง ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษไมรับวินิจฉัย ปญหาตองวินิจฉัยตามอุทธรณของโจทกวา โจทกขอรับเงินที่จำเลยที่ ๒ นำมาวางศาล เพื่อชำระหนี้ตามคำพิพากษาศาลแรงงานกลางไดหรือไม เห็นวา แมจำเลยที่ ๒ ยื่นอุทธรณ แตจำเลยที่ ๒ ไมไดขอทุเลาการบังคับ และการยื่นอุทธรณไมเปนการทุเลาการบังคับตามคำพิพากษา หรือคำสั่งของศาลแรงงาน ตามพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๕๕ เมื่อจำเลยที่ ๒ วางเงินตอศาลแรงงานกลางเพื่อชำระหนี้ตามคำพิพากษาใหแกโจทก โดยไมไดระบุวาเปนการวางเงินเพื่อชำระหนี้ใหแกโจทกหากจำเลยที่ ๒ แพคดีในชั้นอุทธรณและ จำเลยที่ ๒ ไมไดคัดคานการที่โจทกขอรับเงินดังกลาว ทั้งมิใชกรณีที่จำเลยที่ ๒ วางเงินตอศาล แรงงานกลางเปนจำนวนพอชำระหนี้ตามคำพิพากษารวมทั้งคาฤชาธรรมเนียมในการฟองรองและ การบังคับคดี เพื่อขอใหศาลแรงงานกลางงดการบังคับคดีไว ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพง มาตรา ๒๓๑ วรรคสาม ประกอบพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๓๑ โจทกจึงมีสิทธิขอรับเงินที่จำเลยที่ ๒ นำมาวางศาลเมื่อวันที่ ๑๐ มกราคม ๒๕๖๒ เพื่อชำระหนี้ตามคำพิพากษาศาลแรงงานกลาง อยางไรก็ดี แมโจทกจะมีสิทธิขอรับเงินที่จำเลยที่ ๒ นำมาวางศาลเพื่อชำระหนี้ใหแกโจทก แตก็ไมเปนการตัดอำนาจของศาลแรงงานกลางที่จะสั่งอนุญาต หรือไมอนุญาตใหโจทกรับเงินที่มาวางศาลนั้นได ดังนี้ เมื่อคดีขึ้นมาสูการพิจารณาของศาลอุทธรณ คดีชำนัญพิเศษโดยคดีไมมีการอุทธรณในสวนคาชดเชย และศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษไดมี คำพิพากษาในสวนคาเสียหายจากการเลิกจางไมเปนธรรมแลว เมื่อพิจารณาจากพฤติการณแหงคดี


๑๕๓ เห็นสมควรอนุญาตใหโจทกรับเงินที่จำเลยที่ ๒ นำมาวางศาลดังกลาวไปได แมคดียังไมถึงที่สุด อุทธรณของโจทกฟงขึ้น พิพากษายืน อนุญาตใหโจทกรับเงินที่จำเลยที่ ๒ นำมาวางศาลเพื่อชำระหนี้ ตามคำพิพากษาศาลแรงงานกลาง. ธัชวุทธิ์ พุทธิสมบัติ - ยอ สุโรจน จันทรพิทักษ - ตรวจ (ชาตรี หาญไพโรจน - สัญชัย ลิ่มไพบูลย - ยุคนธร พาณิชปฐมพงศ)


๑๕๔ คำพิพากษาศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษที่ ๑๕๙๗/๒๕๖๒ นายสิวะวุฒิ มาทอง โจทก บริษัทเรย ครีเอทีฟ คอนซัลทิงค จำกัด กับพวก จำเลย พ.ร.บ. จัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๔๙, ๕๖ วรรคสอง และวรรคสาม การกระทำของโจทกเปนการประมาทเลินเลออยางไมรายแรง และโจทกปฏิบัติ หนาที่ในขอบเขตที่ไดรับมอบหมาย ความผิดพลาดไมไดเกิดจากโจทก โจทกไมไดกระทำ ความผิดตามหนังสือบอกเลิกสัญญาจางและไมทำใหจำเลยที่ ๑ เสียหาย การเลิกจางของ จำเลยที่ ๑ จึงเปนการเลิกจางที่มีสาเหตุไมจำเปนหรือสมควรถึงกับตองเลิกจางจึงเปน การเลิกจางที่ไมเปนธรรม สัญญาจางที่กำหนดวา พนักงานไมสามารถถายทอด สอน แสดง โชว หรือกระทำ การใด ๆ ที่เปนการนำความรูที่ไดรับจากการฝกสอน ฝกอบรมจากบริษัท และหรือจาก สถาบันอื่นโดยที่บริษัทเปนผูจัดหาใหกับบุคคลภายนอก หากพนักงานกระทำการใด ๆ ที่อาจกอใหเกิดความเสียหายตอบริษัท พนักงานตกลงยินยอมที่จะชดใชคาเสียหายตามแต ที่บริษัทเรียกรองโดยมูลคาความเสียหายสูงสุดไมเกิน ๕,๐๐๐,๐๐๐ บาท จึงเปนสัญญา ที่ไมกำหนดขอบเขตระยะเวลาและพื้นที่อันจะใชบังคับ อันเปนการผูกมัดหรือบังคับคูสัญญา ตลอดไป จึงเปนกรณีสัญญาจางระหวางนายจางกับลูกจางที่ทำใหนายจางไดเปรียบลูกจาง เกินสมควร ซึ่งตาม พ.ร.บ. คุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา ๑๔/๑ ใหศาลแรงงานกลาง มีอำนาจสั่งใหสัญญาจางนั้นมีผลใชบังคับเพียงเทาที่เปนธรรมและพอสมควรแกกรณี เมื่อ ศาลแรงงานกลางยังไมไดฟงขอเท็จจริงวา หลังจากจำเลยที่ ๑ เลิกจางโจทก โจทกไดลง ประกาศวาโจทกเปนผูคิดคนทาออกกำลังกายและชักชวนผูอื่นใหมาเรียนกับโจทกเปนการ ผิดสัญญาจางงาน ขอ ๙.๑ หรือไม หากทำใหจำเลยที่ ๑ ไดรับความเสียหาย จำเลยที่ ๑ ไดรับความเสียหายเพียงใด และสัญญาจางงาน ขอ ๙.๑ นั้นมีผลใชบังคับเพียงเทาที่เปน ธรรมและพอสมควรแกกรณีโดยมีขอบเขตระยะเวลาและพื้นที่การใชบังคับเพียงใด จึงให ยอนสำนวนไปใหศาลแรงงานกลางวินิจฉัยชี้ขาดปญหาดังกลาวเสียใหมใหถูกตอง ตาม พ.ร.บ. จัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๕๖ วรรคสอง และวรรคสาม


๑๕๕ โจทกฟอง ขอใหบังคับจำเลยทั้งสามรวมกันหรือแทนกันชำระเงิน ๓๕,๕๘๔,๗๗๙ บาท พรอมดอกเบี้ยอัตรารอยละ ๗.๕ ตอป ของยอดเงินดังกลาวนับถัดจากวันฟองเปนตนไปจนกวา จะชำระเสร็จแกโจทก จำเลยทั้งสามใหการ แกไขคำใหการและฟองแยง ขอใหยกฟอง และบังคับโจทกชำระเงิน แกจำเลยที่ ๑ เปนคาฝกอบรมและคาเสียหาย ๑,๘๘๖,๘๑๕ บาท พรอมดอกเบี้ยอัตรารอยละ ๗.๕ ตอป ของตนเงิน ๑,๘๕๒,๐๘๕ บาท นับถัดจากวันฟองแยงจนกวาจะชำระเสร็จ ใหโจทกหยุดการ กระทำอันเปนการคาแขงกับจำเลยที่ ๑ และหามกระทำการคาแขงเปนเวลา ๕ ป หากไมหยุด กระทำการใหชดใชเงิน ๕,๐๐๐,๐๐๐ บาท โจทกใหการแกฟองแยง ขอใหยกฟองแยง ระหวางพิจารณาของศาลแรงงานกลาง โจทกแถลงสละประเด็นเรื่องคาจางคางจาย ศาลแรงงานกลาง พิพากษาใหจำเลยที่ ๑ จายคาชดเชย ๑๕๐,๐๐๐ บาท สินจางแทน การบอกกลาวลวงหนา ๘๐,๐๐๐ บาท คาจางสำหรับวันหยุดพักผอนประจำป ๑๖,๖๖๖.๖๖ บาท คาเสียหายจากการปรับลดคลาสการสอนและคาขาดโอกาส ๒๕๓,๐๐๐ บาท คาเสียหายจากการ เลิกจางที่ไมเปนธรรม ๘๐,๐๐๐ บาท พรอมดอกเบี้ยอัตรารอยละ ๗.๕ ตอป ของยอดเงินแตละ จำนวนตามลำดับ นับถัดจากวันฟอง (ฟองวันที่ ๒๑ ธันวาคม ๒๕๖๐) เปนตนไป จนกวาจะชำระ เสร็จแกโจทก คำขออื่นนอกจากนี้ใหยก และใหยกฟองแยงของจำเลยทั้งสาม จำเลยทั้งสามอุทธรณ ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษแผนกคดีแรงงานวินิจฉัยวา ศาลแรงงานกลางฟงขอเท็จจริงวา โจทกเปนลูกจางจำเลยที่ ๑ ในตำแหนง ARTISTIC DIRECTOR ตั้งแตวันที่ ๑ กุมภาพันธ ๒๕๕๙ คาจางเดือนละ ๕๐,๐๐๐ บาท คาฝกสอนเดือนละ ๘๐,๐๐๐ บาท กอนหนานั้นจำเลยที่ ๑ พาโจทกไปเรียนวิชาสอนการออกกำลังกายดวยบันจี้ (BUNGEE) ที่ประเทศอังกฤษ การสงไป เรียนวิชาสอนการออกกำลังกายที่ประเทศอังกฤษ จำเลยที่ ๑ สงคนไปเรียน ๓ คน คือ โจทก จำเลยที่ ๒ และนางสาววรินรดา ลูกจางของจำเลยที่ ๑ อีกคน หลังจากโจทกและจำเลยที่ ๑ ทำสัญญาจางงานกันไปไดระยะหนึ่งแลว เมื่อวันที่ ๑๖ สิงหาคม ๒๕๖๐ จำเลยที่ ๑ ออกหนังสือแจง ใหปรับปรุงพฤติกรรมและทัศนคติตอการทำงานและองคกรโดยสั่งใหโจทกหยุดงาน ๒ วัน เมื่อวันที่ ๒๑ กันยายน ๒๕๖๐ จำเลยที่ ๑ ออกหนังสือตักเตือนใหปรับปรุงประสิทธิภาพการทำงานและ จำเลยที่ ๑ มีคำสั่งเลิกจางโจทกเมื่อวันที่ ๑๓ ตุลาคม ๒๕๖๐ แลววินิจฉัยวา เมื่อวันที่ ๑๖ สิงหาคม ๒๕๖๐ จำเลยที่ ๑ มีหนังสือแจงใหโจทกปรับปรุงพฤติกรรมและทัศนคติตอการทำงานและองคกร จึงเปนหนึ่งในสาเหตุที่เริ่มจะนำไปสูการจะยุตินิติสัมพันธดานการจางงานตอกัน จากนั้นมาจำเลยที่ ๑


๑๕๖ ก็มีหนังสือตักเตือนโจทกใหปรับปรุงประสิทธิภาพการทำงานฉบับลงวันที่ ๒๑ กันยายน ๒๕๖๐ อางวาเมื่อวันที่ ๑๐ กันยายน ๒๕๖๐ พบขอผิดพลาดในการจัดตารางการเรียนการสอน โจทก ประมาทเลินเลออยางรายแรงโดยจัดตารางการเรียนการสอนไมรอบคอบทำใหคลาสเรียนตกหลน โดยลูกคาที่ซื้อแพ็กเกจเรียนที่ตกหลนแจงมายังจำเลยที่ ๑ จำเลยที่ ๑ พบความผิดพลาดของโจทก กอนหนานี้หลายครั้ง และเคยตักเตือนดวยวาจาแตโจทกไมปรับปรุง นอกจากนี้ยังพบวาโจทกไม ปฏิบัติหนาที่อยูในพื้นที่บริการที่จัดไวเปนสถานที่ทำงาน ถือวาเปนการละทิ้งหนาที่ จำเลยที่ ๒ ตรวจพบในวันที่ ๑๐ กันยายน ๒๕๖๐ จึงแจงใหโจทกแกไขดวยวาจา โจทกรับวาโจทกจะแกไข และในที่สุดวันที่ ๑๕ กันยายน ๒๕๖๐ ลูกคาสามารถเขาเรียนไดจึงมีการเรียนการสอนตามปกติ จำเลยที่ ๒ อางวา การที่โจทกแกไขตารางการเรียนการสอนวันที่ ๑๕ กันยายน ๒๕๖๐ แลว จำเลยที่ ๑ ยังไดรับความเสียหายเนื่องจากมีลูกคาบางสวนที่เห็นตารางการเรียนการสอนไมมี การจัดการเรียนการสอนในวันดังกลาว ลูกคาจะไปเรียนที่อื่นไมมาเรียนกับจำเลยที่ ๑ และมีลูกคา บางสวนที่ไมใชลูกคาประจำหากเห็นตารางไมมีการจัดการเรียนการสอนก็ไมมาใชบริการทำให จำเลยที่ ๑ เกิดความเสียหาย แตไมพบวาลูกคาที่จำเลยที่ ๑ อางวาไปเรียนที่อื่นไมมาเรียนกับ จำเลยที่ ๑ หรือจำเลยที่ ๑ มีลูกคาขาจรเปนใครมีจริงหรือไม ที่จำเลยที่ ๑ กลาวอางวามีความ เสียหายเกิดขึ้นจึงเปนการคาดคะเนของจำเลยที่ ๑ ไปเอง การกระทำของโจทกจึงเปนการประมาท เลินเลออยางไมรายแรงและไมทำใหจำเลยที่ ๑ เสียหาย ที่จำเลยที่ ๑ อางวาโจทกละทิ้งหนาที่และ ฝาฝนคำสั่งนายจางไมปฏิบัติหนาที่ในพื้นที่บริการที่จำเลยที่ ๑ จัดไว โดยจะหลบอยูหลังกำแพง ทำใหไมสามารถตรวจสอบการทำงานได แตไมปรากฏเหตุดังกลาว ขออางของจำเลยที่ ๑ จึงไมมีมูล ที่จำเลยที่ ๑ อางวา วันที่ ๓๐ กันยายน ๒๕๖๐ จำเลยที่ ๑ ตรวจพบวา โจทกจัดตารางการเรียน การสอนผิดพลาดอีกครั้ง คือ ครูผูฝกสอนไดแจงลาหยุดกับโจทกและโจทกทราบแลว แตโจทก กลับจัดตารางการเรียนการสอนของครูผูฝกสอนลงในระบบของบริษัท เปนเหตุใหลูกคาในคลาส เดินทางมาเรียนแตไมพบครูผูฝกสอน ลูกคาตอวาและแสดงขอความผานสื่อบริษัททำใหจำเลยที่ ๑ ไดรับความเสียหาย ไดความวา วันที่ ๑๕ กันยายน ๒๕๖๐ ครูกานตขอลาในวันที่ ๓๐ กันยายน ๒๕๖๐ และวันที่ ๗ ตุลาคม ๒๕๖๐ ซึ่งคลาสวันที่ ๓๐ กันยายน ๒๕๖๐ ครูกานตลาในวันดังกลาว โจทกแจงใหจำเลยที่ ๒ ทราบแลว ซึ่งจำเลยที่ ๒ ทราบและแจงโจทกวา คลาสครูกานตคนไมเยอะ เดือนตุลาคมเอาออก จำเลยที่ ๒ จะแจงครูกานตเองแตไมปรากฏวาคลาสวันที่ ๓๐ ตุลาคม ๒๕๖๐ จะทำอยางไร ทั้งคลาสครูกานตวันที่ ๓๐ กันยายน ๒๕๖๐ โจทก จำเลยที่ ๒ และพนักงานของ จำเลยที่ ๑ ไมมีใครสอนได โจทกมีหนาที่จัดตารางการเรียนการสอนแตก็ตองไดรับความเห็นชอบ จากจำเลยที่ ๒ ทั้งจำเลยที่ ๒ ยังสามารถแกไขเปลี่ยนแปลงตารางการเรียนการสอนไดโดยไมตอง


๑๕๗ แจงโจทก กรณีที่คลาสครูกานตลาในวันที่ ๓๐ กันยายน ๒๕๖๐ โจทกก็ไดแจงใหจำเลยที่ ๒ ทราบแลวจึงฟงไดวาโจทกไดปฏิบัติหนาที่ตามขอบเขตที่ไดรับมอบหมายแลว ความผิดพลาดที่ เกิดขึ้นดังกลาวจึงไมไดเกิดจากโจทก โจทกจึงไมไดกระทำผิดตามที่ระบุในหนังสือบอกเลิกสัญญาจาง คาฝกสอนไมใชคาจางตามคำนิยามตามพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ คาจางที่จาย เดือนละ ๕๐,๐๐๐ บาทเทานั้นเปนคาจางตามคำนิยามดังกลาว จำเลยที่ ๑ เลิกจางโจทกโดยโจทก ไมมีความผิด จึงตองจายคาชดเชยและสินจางแทนการบอกกลาวลวงหนาแกโจทก โจทกทำงาน กับจำเลยที่ ๑ ครบ ๑ ป แตไมครบ ๓ ป มีสิทธิไดรับคาชดเชยเปนเวลา ๙๐ วัน ของคาจางเดือนละ ๕๐,๐๐๐ บาท จึงมีสิทธิไดรับคาชดเชยเปนเงิน ๑๕๐,๐๐๐ บาท จำเลยที่ ๑ เลิกจางโจทกในวันที่ ๑๓ ตุลาคม ๒๕๖๐ โดยไมไดบอกกลาวลวงหนา จึงตองชำระสินจางแทนการบอกกลาวลวงหนา ใหแกโจทกตั้งแตวันที่ ๑๔ ตุลาคม ๒๕๖๐ ถึงวันที่ ๓๑ ตุลาคม ๒๕๖๐ และเดือนพฤศจิกายน ๒๕๖๐ เปนเวลา ๔๘ วัน ของคาจางเดือนละ ๕๐,๐๐๐ บาท เปนเงิน ๘๐,๐๐๐ บาท โจทกมีสิทธิ หยุดตามกฎหมายและวันหยุดประจำป ๒๕๕๙ และป ๒๕๖๐ จำนวน ๑๐ วัน จำเลยที่ ๑ จึงตอง จายคาจางสำหรับวันหยุดพักผอนประจำปใหแกโจทกเปนเงิน ๑๖,๖๖๖.๖๖ บาท สัญญาจางงาน ขอ ๒ ซึ่งระบุวาคาฝกสอนในอัตราเดือนละ ๘๐,๐๐๐ บาท ไมพบวาลูกคาที่มาเรียนกับโจทกไม อยากกลับมาเรียนกับโจทกอีกอันทำใหจำเลยที่ ๑ ไมมีรายได ทั้งพบวาตารางการเรียนการสอน ของโจทกในป ๒๕๖๐ ลดลงจากป ๒๕๕๙ จำเลยที่ ๑ ประกาศลดคลาสการสอนของโจทกลงจาก ๙๐ นาที ใหเหลือ ๖๐ นาที เปนเหตุใหโจทกไดรับคาฝกสอนลดลงเกือบครึ่งหนึ่งของสัญญาจางงาน โดยโจทกไมยินยอม ในเดือนกันยายน ๒๕๖๐ กอนที่จำเลยที่ ๑ จะเลิกจางโจทก โจทกมีรายได คาจางและคาฝกสอนเหลือเพียงประมาณเดือนละ ๘๔,๖๖๖ บาท จำเลยที่ ๑ จึงเปนฝายผิดสัญญา เรื่องการจายคาฝกสอน จำเลยที่ ๑ ปรับลดคลาสการสอนของโจทกลงตั้งแตเดือนมกราคม ๒๕๖๐ ถึงเดือนตุลาคม ๒๕๖๐ ซึ่งโจทกยังคงมาทำงานตามปกติเทาเดิม จึงใหจำเลยที่ ๑ ชำระคาเสียหาย แกโจทกเดือนละ ๓๐,๐๐๐ บาท ตั้งแตเดือนมกราคม ๒๕๖๐ ถึงวันที่ ๑๓ ตุลาคม ๒๕๖๐ เปนเงิน ๒๕๓,๐๐๐ บาท จำเลยที่ ๑ เลิกจางโจทกโดยโจทกไมมีความผิด การเลิกจางของจำเลยที่ ๑ จึงไม เปนธรรม โจทกทำงานกับจำเลยที่ ๑ มาเกือบ ๒ ป เมื่อพิเคราะหสาเหตุของการเลิกจาง อายุของ โจทกขณะถูกเลิกจางประกอบคาชดเชย สินจางแทนการบอกกลาวลวงหนา คาเสียหาย คาสินไหม ทดแทนอื่น ๆ ของสัญญาจางงาน ๓ ป แลว จึงเห็นสมควรกำหนดคาเสียหายใหแกโจทกเปนเงิน ๘๐,๐๐๐ บาท จำเลยที่ ๒ และที่ ๓ เปนกรรมการผูมีอำนาจกระทำการแทนจำเลยที่ ๑ ซึ่งเปน นิติบุคคล และจำเลยที่ ๒ และที่ ๓ กระทำภายในขอบอำนาจของผูแทนนิติบุคคล จำเลยที่ ๒ และที่ ๓ จึงไมตองรวมรับผิดกับจำเลยที่ ๑ สัญญาจางงานเลิกกอนครบกำหนดเวลาเมื่อจำเลยที่ ๑


๑๕๘ เปนผูผิดสัญญาและบอกเลิกสัญญาจางงานกับโจทกเอง จำเลยที่ ๑ จึงไมมีสิทธิเรียกคาใชจาย ในการฝกอบรม ที่สัญญาจางงาน ขอ ๙ เรื่องความรับผิดชอบของพนักงาน ขอ ๙.๑ ระบุวา ไมวา จะอยูในอายุสัญญาหรือสิ้นสุดสัญญา พนักงานไมสามารถถายทอด สอน แสดง โชว หรือกระทำการ ใด ๆ ที่เปนการนำความรูที่ไดรับจากการฝกสอน ฝกอบรม จากบริษัทและหรือจากสถาบันอื่น โดยบริษัทเปนผูจัดหาใหกับบุคคลภายนอกโดยปราศจากความยินยอมเปนลายลักษณอักษรจาก บริษัท หากพนักงานกระทำการใด ๆ ที่อาจจะกอใหเกิดความเสียหายตอบริษัทดวยทางใดทางหนึ่ง พนักงานตกลงยินยอมที่จะชดใชคาเสียหายตามแตบริษัทเรียกรอง โดยมูลคาความเสียหายสูงสุด ไมเกิน ๕,๐๐๐,๐๐๐ บาท สัญญาดังกลาวไมกำหนดขอบเขตระยะเวลาและพื้นที่อันจะใชบังคับตอกัน อันเปนการผูกมัดหรือบังคับคูสัญญาตลอดไป จึงเปนสัญญาที่ไมเปนธรรม ไมอาจใหนำมาใชบังคับได ที่จำเลยทั้งสามอุทธรณในขอ ๓ วา โจทกกระทำผิดตามหนังสือบอกเลิกสัญญาจางและ หนังสือตักเตือน เห็นวา เมื่อศาลแรงงานกลางฟงขอเท็จจริงแลววา แมโจทกมีหนาที่จัดตาราง การเรียนการสอน แตตองไดรับความเห็นชอบจากจำเลยที่ ๒ ทั้งจำเลยที่ ๒ ยังสามารถแกไข เปลี่ยนแปลงตารางการเรียนการสอนไดโดยไมตองแจงโจทก โจทกไดปฏิบัติหนาที่ตามขอบเขตที่ไดรับ มอบหมายแลว ความผิดพลาดที่เกิดขึ้นไมไดเกิดจากโจทก โจทกจึงไมไดกระทำผิดตามหนังสือ บอกเลิกสัญญาจาง อุทธรณของจำเลยทั้งสามดังกลาวจึงลวนเปนอุทธรณโตเถียงหรือโตแยง ดุลพินิจในการรับฟงพยานหลักฐานของศาลแรงงานกลาง จึงเปนอุทธรณในขอเท็จจริง ซึ่งตอง หามมิใหอุทธรณตามพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๕๔ วรรคหนึ่ง ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษไมรับวินิจฉัย ที่จำเลยทั้งสามอุทธรณในขอ ๔ ขอ ๕ และขอ ๗ วา โจทกไมมีสิทธิไดรับคาชดเชย สินจาง แทนการบอกกลาวลวงหนา คาเสียหายจากการปรับลดคลาสการสอนและคาขาดโอกาสเพราะ จำเลยทั้งสามจายคาจางเปนเงินเดือนใหแกโจทกครบถวนแลว สวนคาฝกสอนนั้นเมื่อจำเลยที่ ๑ เปดกิจการมาครบ ๑ ป จำเลยที่ ๑ จึงมีการปรับปรุงตารางการเรียนการสอนใหมีประสิทธิภาพ การลดเวลาการสอนจาก ๙๐ นาที เหลือ ๖๐ นาที แตยังคงจายคาจางตามอัตราเดิม จำนวนคลาส การสอนจำเลยที่ ๑ ก็กำหนดใหตามประสิทธิภาพการสอนและจายเปนเงินคาตอบแทนตาม การสอนจริง ทั้งโจทกไดรับคาตอบแทนเปนเงินเดือนแลวจึงไมทำใหโจทกไดรับความเสียหาย เมื่อโจทก กระทำผิดสัญญาจางงาน จำเลยที่ ๑ จึงมีสิทธิเรียกคาใชจายในการฝกอบรมจากโจทกนั้น เห็นวา เมื่อศาลแรงงานกลางฟงขอเท็จจริงแลววา โจทกไมไดกระทำผิดตามหนังสือบอกเลิกสัญญาจาง จึงมีสิทธิไดรับคาชดเชยและสินจางแทนการบอกกลาวลวงหนา การที่สัญญาจางงานเลิกกอนครบ กำหนดเวลาตามสัญญานั้นเกิดจากจำเลยที่ ๑ เปนผูผิดสัญญาเพราะปรับลดคลาสการสอนโดย


๑๕๙ โจทกไมยินยอมและบอกเลิกสัญญาจางงานกับโจทกเอง จึงไมมีสิทธิเรียกคาใชจายในการฝกอบรม และใหจำเลยที่ ๑ ชำระคาเสียหายจากการปรับลดคลาสการสอนและคาขาดโอกาสเปนเงิน ๒๕๓,๐๐๐ บาท แกโจทก อุทธรณของจำเลยทั้งสามดังกลาวจึงลวนเปนการโตเถียงหรือโตแยง ดุลพินิจในการรับฟงพยานหลักฐานและดุลพินิจในการกำหนดคาเสียหายของศาลแรงงานกลาง จึงเปนอุทธรณในขอเท็จจริง ซึ่งตองหามมิใหอุทธรณตามพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแรงงานและ วิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๕๔ วรรคหนึ่ง ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษไมรับ วินิจฉัยเชนกัน มีปญหาตองวินิจฉัยตามอุทธรณของจำเลยทั้งสามในขอ ๖ วา การเลิกจางโจทกเปน การเลิกจางที่เปนธรรมหรือไม เห็นวา การเลิกจางที่ไมเปนธรรมตามพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแรงงาน และวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๔๙ นั้น หมายถึง การที่นายจางเลิกจางลูกจาง โดยไมมีสาเหตุหรือแมมีสาเหตุแตก็ไมใชสาเหตุที่จำเปนหรือสมควรจนถึงกับตองเลิกจาง แตหาก นายจางเลิกจางมีเหตุที่สมควรและเพียงพอถือวาเปนการเลิกจางที่เปนธรรม เมื่อศาลแรงงานกลาง ฟงวา การกระทำของโจทกเปนการประมาทเลินเลออยางไมรายแรง และโจทกปฏิบัติหนาที่ใน ขอบเขตที่ไดรับมอบหมาย ความผิดพลาดดังกลาวไมไดเกิดจากโจทก โจทกไมไดกระทำผิดตาม หนังสือบอกเลิกสัญญาจางและไมทำใหจำเลยที่ ๑ เสียหาย ดังนั้น การเลิกจางของจำเลยที่ ๑ จึงเปนการเลิกจางที่มีสาเหตุไมจำเปนหรือสมควรจนถึงกับตองเลิกจางจึงเปนการเลิกจางที่ไมเปนธรรม ที่ศาลแรงงานกลางพิพากษามานั้น ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษเห็นพองดวย อุทธรณของจำเลย ทั้งสามขอนี้ฟงไมขึ้น มีปญหาตองวินิจฉัยตามอุทธรณของจำเลยทั้งสามในขอ ๘ วา การที่ศาลแรงงานกลาง ไมกำหนดขอบเขตการมีผลใชบังคับของสัญญาจางงานชอบดวยกฎหมายหรือไม เห็นวา ตามสัญญา จางงาน ขอ ๙.๑ ที่ระบุวา ไมวาจะอยูในอายุสัญญาหรือสิ้นสุดสัญญา พนักงานไมสามารถถายทอด สอน แสดง โชว หรือกระทำการใด ๆ ที่เปนการนำความรูที่ไดรับจากการฝกสอน ฝกอบรมจาก บริษัท และหรือจากสถาบันอื่นโดยที่บริษัทเปนผูจัดหาใหกับบุคคลภายนอกโดยปราศจากความ ยินยอมเปนลายลักษณอักษรจากบริษัท หากพนักงานกระทำการใด ๆ ที่อาจกอใหเกิดความ เสียหายตอบริษัทดวยทางใดทางหนึ่ง พนักงานตกลงยินยอมที่จะชดใชคาเสียหายตามแตบริษัท เรียกรองโดยมูลคาความเสียหายสูงสุดไมเกิน ๕,๐๐๐,๐๐๐ บาท ซึ่งไมปรากฏวาระหวางที่โจทก เปนลูกจางจำเลยที่ ๑ อยูนั้น โจทกนำความรูที่ไดรับจากการฝกสอน ฝกอบรมจากจำเลยที่ ๑ และหรือจากสถาบันอื่นโดยที่จำเลยที่ ๑ เปนผูจัดหาใหกับบุคคลภายนอก ดังนั้น จึงตองพิจารณา วาหลังจากที่จำเลยที่ ๑ เลิกจางโจทกแลว โจทกไดกระทำผิดสัญญาจางงาน ขอ ๙.๑ หรือไม แตเมื่อ


๑๖๐ สัญญาดังกลาวไมกำหนดระยะเวลาและขอบเขตพื้นที่การใชบังคับ เปนผลใหผูกมัดหรือบังคับ คูสัญญาตลอดไป จึงเปนกรณีสัญญาจางระหวางนายจางกับลูกจางที่ทำใหนายจางไดเปรียบลูกจาง เกินสมควร ซึ่งตามพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา ๑๔/๑ ใหศาลแรงงานกลาง มีอำนาจสั่งใหสัญญาจางนั้นมีผลใชบังคับเพียงเทาที่เปนธรรมและพอสมควรแกกรณี เมื่อ ศาลแรงงานกลางยังไมไดฟงขอเท็จจริงวา หลังจากจำเลยที่ ๑ เลิกจางโจทก โจทกไดลงประกาศวา โจทกเปนผูคิดคนทาออกกำลังกายและชักชวนผูอื่นใหมาเรียนกับโจทกเปนการผิดสัญญาจางงาน ขอ ๙.๑ หรือไม หากทำใหจำเลยที่ ๑ ไดรับความเสียหาย จำเลยที่ ๑ ไดรับความเสียหายเพียงใด และสัญญาจางงาน ขอ ๙.๑ นั้นมีผลใชบังคับเพียงเทาที่เปนธรรมและพอสมควรแกกรณีโดยมี ระยะเวลาและขอบเขตพื้นที่การใชบังคับเพียงใด จึงใหยอนสำนวนไปใหศาลแรงงานกลางวินิจฉัย ชี้ขาดปญหาดังกลาวเสียใหมใหถูกตอง ตามพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณา คดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๕๖ วรรคสองและวรรคสาม พิพากษาแกเปนวา ใหยกคำพิพากษาศาลแรงงานกลางเฉพาะประเด็นสัญญาจางงาน ขอ ๙.๑ ไมมีผลใชบังคับ และใหศาลแรงงานกลางวินิจฉัยวา การที่โจทกไดลงประกาศวาโจทก เปนผูคิดคนทาออกกำลังกายและชักชวนผูอื่นใหมาเรียนกับโจทกเปนการผิดสัญญาจางงาน ขอ ๙.๑ หรือไม หากทำใหจำเลยที่ ๑ ไดรับความเสียหาย จำเลยที่ ๑ ไดรับความเสียหายเพียงใด และสัญญาจางงาน ขอ ๙.๑ นั้นมีผลใชบังคับเพียงใด แลวพิพากษาประเด็นนี้ใหมตามรูปคดี นอกจากที่แกใหเปนไปตามคำพิพากษาศาลแรงงานกลาง. กิตติ เนตรประเสริฐชัย - ยอ สุโรจน จันทรพิทักษ - ตรวจ (เริงศักดิ์ วิริยะชัยวงศ - นาวี สกุลวงศธนา - นงนภา จันทรศักดิ์ ลิ่มไพบูลย)


๑๖๑ คำพิพากษาศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษที่ ๑๖๓๙/๒๕๖๒ สหกรณออมทรัพยตำรวจภูธร จังหวัดพระนครศรีอยุธยา จำกัด โจทก นางกมลรัตน ไชยบุดดี ในฐานะพนักงาน ตรวจแรงงาน จำเลย พ.ร.บ. คุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา ๑๑๘, ๑๑๙ การเลิกจางที่จะมีเหตุยกเวนใหนายจางไมตองจายคาชดเชยตาม พ.ร.บ. คุมครอง แรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา ๑๑๘ วรรคสามและวรรคสี่หรือไม ตองพิจารณาเสียกอนวา เปนการเลิกจางตามสัญญาจางที่มีกำหนดระยะเวลาการจางไวแนนอนหรือไม หากเปน กรณีที่การจางมีกำหนดระยะเวลาการจางไวแนนอนและเลิกจางตามกำหนดนั้น ก็ตอง พิจารณาตอไปวาเปนการจางงานในโครงการเฉพาะที่มิใชงานปกติของธุรกิจหรือการคา ของนายจางและงานนั้นจะตองแลวเสร็จภายในเวลาไมเกินสองปหรือไม เมื่อพิเคราะหตาม หนังสือสัญญาจางเจาหนาที่ (ตำแหนงผูจัดการ) ขอ ๕.๒ กำหนดใหโจทกและพันตำรวจโท ส. สามารถบอกเลิกสัญญานี้ไดดวยการบอกกลาวลวงหนาเพื่อใหมีผลเปนการเลิกสัญญากัน เมื่อสิ้นเดือนถัดไป แสดงวาแมสัญญาจางจะกำหนดระยะเวลาการจางไว แตก็ยังใหสิทธิ แกคูสัญญาในการเลิกสัญญากอนครบกำหนดได ระยะเวลาการจางจึงไมแนนอน สัญญาจาง ดังกลาวจึงไมมีลักษณะเปนสัญญาจางที่มีกำหนดระยะเวลาการจางไวแนนอน จึงไม จำตองพิจารณาตอไปวาเปนการจางงานในโครงการเฉพาะที่มิใชงานปกติของธุรกิจหรือ การคาของนายจางอีกหรือไม กรณีไมเขาขอยกเวนที่จะเลิกจางโดยไมจายคาชดเชยตาม พ.ร.บ. คุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา ๑๑๘ วรรคสามและวรรคสี่ แมโจทกจะอางขอยกเวนในการไมจายคาชดเชยตามระเบียบสหกรณออมทรัพย ของโจทกวาดวยขอบังคับเกี่ยวกับการทำงาน พ.ศ. ๒๕๕๔ หมวดที่ ๙ คาชดเชย คาชดเชย พิเศษ ขอ ๓๒ วรรคทาย ที่กำหนดวาสหกรณไมจายคาชดเชยใหแกเจาหนาที่ที่จางโดยมี กำหนดระยะเวลาการจางแนนอนตามสัญญาจาง และถูกเลิกจางตามกำหนดระยะเวลา ของสัญญาจางนั้นก็ตาม แตก็เปนการกำหนดที่ขัดตอบทบัญญัติของกฎหมายเกี่ยวกับ ความสงบเรียบรอยของประชาชนซึ่งโจทกจะยกมาเปนเหตุในการไมจายคาชดเชยไมได


๑๖๒ ขณะที่โจทกบอกเลิกจางพันตำรวจโท ส. โจทกแจงเหตุที่เลิกจางเพียงวาไมเหมาะสม กับตำแหนง โดยไมไดระบุขอเท็จจริงอันเปนเหตุที่เลิกจางวาการไมเหมาะสมกับตำแหนงนั้น มีรายละเอียดอยางไรจึงไมเหมาะสมถึงขนาดที่จะเลิกจางโดยไมจายคาชดเชย ดังนั้น โจทก จะยกเหตุอื่นขึ้นมาอางภายหลังเปนขอตอสูเพื่อไมตองจายคาชดเชยไมได ตาม พ.ร.บ. คุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา ๑๑๙ วรรคสาม โจทกจึงตองจายคาชดเชยใหแก พันตำรวจโท ส. โจทกฟอง ขอใหเพิกถอนคำสั่งพนักงานตรวจแรงงาน สำนักงานสวัสดิการและคุมครอง แรงงานจังหวัดพระนครศรีอยุธยาที่ ๓๐/๒๕๖๑ ลงวันที่ ๒๐ มีนาคม ๒๕๖๑ จำเลยใหการ ขอใหยกฟอง ศาลแรงงานภาค ๑ พิพากษาใหเพิกถอนคำสั่งพนักงานตรวจแรงงาน สำนักงานสวัสดิการ และคุมครองแรงงานจังหวัดพระนครศรีอยุธยาที่ ๓๐/๒๕๖๑ ลงวันที่ ๒๐ มีนาคม ๒๕๖๑ จำเลยอุทธรณ ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษแผนกคดีแรงงานวินิจฉัยวา ศาลแรงงานภาค ๑ ฟงขอเท็จจริงวา โจทกเปนนิติบุคคลประเภทสหกรณออมทรัพยตามพระราชบัญญัติสหกรณ พ.ศ. ๒๕๔๒ โจทก ทำสัญญาจางพันตำรวจโทสมบัติ ในตำแหนงผูจัดการ โดยทำสัญญาจางเริ่มตั้งแตวันที่ ๑ มกราคม ๒๕๖๐ ถึงวันที่ ๓๑ ธันวาคม ๒๕๖๐ คาจางอัตราสุดทายเดือนละ ๔๑,๗๒๐ บาท กำหนดจาย คาจางกอนวันสิ้นเดือน ๓ วัน พันตำรวจโทสมบัติทำงานใหโจทกจนครบกำหนดตามสัญญา วันที่ ๒๗ ธันวาคม ๒๕๖๐ คณะกรรมการดำเนินการโจทกมีมติที่ประชุมครั้งที่ ๓/๒๕๖๑ ไมตอสัญญา จางใหพันตำรวจโทสมบัติเนื่องจากมีความไมเหมาะสมกับตำแหนง วันที่ ๒๐ มกราคม ๒๕๖๑ พันตำรวจโทสมบัติยื่นคำรองตอจำเลยวาโจทกเลิกจางโดยไมจายคาชดเชย จำเลยสอบสวน ขอเท็จจริง แลวมีคำสั่งพนักงานตรวจแรงงาน สำนักงานสวัสดิการและคุมครองแรงงานจังหวัด พระนครศรีอยุธยาที่ ๓๐/๒๕๖๑ วันที่ ๒๐ มีนาคม ๒๕๖๑ ใหโจทกจายคาชดเชยใหแกพันตำรวจโท สมบัติ ๑๒๕,๑๖๐ บาท แลววินิจฉัยวาพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา ๑๑๘ บัญญัติวา “ใหนายจางจายคาชดเชยใหแกลูกจางซึ่งเลิกจางดังตอไปนี้...(๒) ลูกจางซึ่งทำงานติดตอกัน ครบหนึ่งปแตไมครบสามป ใหจายไมนอยกวาคาจางอัตราสุดทายเกาสิบวัน...” วรรคสองบัญญัติวา “การเลิกจางตามมาตรานี้ หมายความวา การกระทำใดที่นายจางไมใหลูกจางทำงานตอไปและ ไมจายคาจางให ไมวาจะเปนเพราะเหตุสิ้นสุดสัญญาจางหรือเหตุอื่นใด...” วรรคสามบัญญัติวา


๑๖๓ “ความในวรรคหนึ่งมิใหใชบังคับแกลูกจางที่มีกำหนดระยะเวลาการจางไวแนนอนและเลิกจางตาม กำหนดระยะเวลานั้น” วรรคสี่บัญญัติวา “การจางที่มีกำหนดระยะเวลาตามวรรคสามจะกระทำได สำหรับ...หรือในงานอันมีลักษณะเปนครั้งคราวที่มีกำหนดการสิ้นสุด หรือความสำเร็จของงาน... โดยนายจางและลูกจางไดทำสัญญาเปนหนังสือไวตั้งแตเมื่อเริ่มจาง” ระเบียบสหกรณออมทรัพย ตำรวจภูธรจังหวัดพระนครศรีอยุธยา จำกัด วาดวยขอบังคับเกี่ยวกับการทำงาน พ.ศ. ๒๕๕๔ หมวดที่ ๘ การสิ้นสุดการจาง ขอ ๓๐ การเลิกจาง วรรคสาม กำหนดวา “การเลิกจางดังกลาว สหกรณจะแจงผล และวันเลิกจางใหเจาหนาที่ทราบเปนหนังสือ โดยจะแจงใหเจาหนาที่ทราบ ลวงหนา ๑ งวดการจายคาจาง เวนแต เจาหนาที่ที่จางไวโดยมีกำหนดระยะเวลาแนนอน หรือ เจาหนาที่ที่กระทำความผิด และไมมีสิทธิไดรับคาชดเชย” หมวดที่ ๙ คาชดเชย คาชดเชยพิเศษ ขอ ๓๒ กำหนดวา “ขอยกเวนในการไมจายคาชดเชย นายจางไมตองจายคาชดเชยใหแกลูกจาง ซึ่งเลิกจางในกรณีหนึ่งกรณีใด ดังนี้... สหกรณไมจายคาชดเชยใหแกเจาหนาที่ที่สหกรณจางไว โดยมีกำหนดระยะเวลาการจางแนนอนตามสัญญาจาง และถูกเลิกจางตามกำหนดระยะเวลา ของสัญญาจางนั้น” ดังนั้น โจทกจางพันตำรวจโทสมบัติเปนลูกจางชั่วคราวตำแหนงผูจัดการโดย กำหนดระยะเวลาจางตั้งแตวันที่ ๑ มกราคม ๒๕๖๐ ถึงวันที่ ๓๐ ธันวาคม ๒๕๖๑ (ที่ถูก ๓๑ ธันวาคม ๒๕๖๐) สัญญาจางระหวางโจทกกับพันตำรวจโทสมบัติเปนสัญญาที่ไดระบุวันเริ่มตน และวันสิ้นสุดแหงสัญญาไวชัดแจง ถือวาโจทกและพันตำรวจโทสมบัติมีเจตนาทำสัญญาจางโดย มีกำหนดระยะเวลาการจางไวแนนอน เมื่อสิ้นสุดระยะเวลาตามสัญญาจางโจทกเลิกจางพันตำรวจโท สมบัติตามกำหนดระยะเวลาการจางตามสัญญานั้นไดโดยไมตองแจงการเลิกจางและไมตองจาย คาชดเชย สวนรายงานการประชุมคณะกรรมการดำเนินการสหกรณออมทรัพยตำรวจภูธรจังหวัด พระนครศรีอยุธยา จำกัด ครั้งที่ ๓/๒๕๖๑ วันที่ ๒๗ ธันวาคม ๒๕๖๐ ซึ่งมีมติที่ประชุมตามขอ ๕.๖ ผูจัดการหมดสัญญาวามีมติไมตอสัญญาใหพันตำรวจโทสมบัติเนื่องจากมีความไมเหมาะสมกับ ตำแหนงนั้น แมในรายงานการประชุมจะไมปรากฏรายละเอียดวาพันตำรวจโทสมบัติมีความไม เหมาะสมในการทำหนาที่อยางไร ก็เปนการประชุมเพื่อพิจารณาวาสมควรที่จะทำสัญญาจาง พันตำรวจโทสมบัติทำงานใหโจทกตอไปหรือไมเมื่อสัญญาจางครบตามกำหนดระยะเวลาแลว เมื่อที่ประชุมคณะกรรมการดำเนินการโจทกมีมติไมตอสัญญาใหพันตำรวจโทสมบัติเทากับเปน การเลิกจางตามกำหนดระยะเวลาในสัญญาจางที่ทำไว เมื่อสัญญาจางระหวางพันตำรวจโทสมบัติ กับโจทกเปนสัญญาที่กำหนดระยะเวลาเริ่มตนและสิ้นสุดการจางไวแนนอน และระยะเวลาการจาง เปนอันสิ้นสุดลงตามสัญญาดังกลาว โจทกจึงไมตองบอกเลิกสัญญาและไมตองจายคาชดเชยแก พันตำรวจโทสมบัติดังที่วินิจฉัยไวขางตน


๑๖๔ คดีมีปญหาตองวินิจฉัยตามอุทธรณของจำเลยวา โจทกตองจายคาชดเชยใหแกพันตำรวจโท สมบัติ และมีเหตุเพิกถอนคำสั่งพนักงานตรวจแรงงาน สำนักงานสวัสดิการและคุมครองแรงงาน จังหวัดพระนครศรีอยุธยาที่ ๓๐/๒๕๖๑ หรือไม เห็นวา การเลิกจางที่จะมีเหตุยกเวนใหนายจาง ไมตองจายคาชดเชยตามพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา ๑๑๘ วรรคสามและ วรรคสี่หรือไม ตองพิจารณาเสียกอนวาเปนการเลิกจางตามสัญญาจางที่มีกำหนดระยะเวลาการจางไว แนนอนหรือไม หากเปนกรณีที่การจางมีกำหนดระยะเวลาการจางไวแนนอนและเลิกจางตาม กำหนดนั้น ก็ตองพิจารณาตอไปวาเปนการจางงานในโครงการเฉพาะที่มิใชงานปกติของธุรกิจ หรือการคาของนายจางและงานนั้นจะตองแลวเสร็จภายในเวลาไมเกินสองปหรือไม เมื่อพิเคราะห ตามหนังสือสัญญาจางเจาหนาที่ (ตำแหนงผูจัดการ) ขอ ๕.๒ กำหนดใหโจทกและพันตำรวจโท สมบัติสามารถบอกเลิกสัญญานี้ไดดวยการบอกกลาวลวงหนาเพื่อใหมีผลเปนการเลิกสัญญากัน เมื่อสิ้นเดือนถัดไป แสดงวาแมสัญญาจางจะกำหนดระยะเวลาการจางไว แตก็ยังใหสิทธิแกคูสัญญา ในการเลิกสัญญากอนครบกำหนดได ระยะเวลาการจางจึงไมแนนอน สัญญาจางดังกลาวจึงไมมี ลักษณะเปนสัญญาจางที่มีกำหนดระยะเวลาการจางไวแนนอน จึงไมจำตองพิจารณาตอไปวาเปน การจางงานในโครงการเฉพาะที่มิใชงานปกติของธุรกิจหรือการคาของนายจางอีกหรือไม กรณีไมเขา ขอยกเวนที่จะเลิกจางโดยไมจายคาชดเชยตามพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา ๑๑๘ วรรคสามและวรรคสี่ แมโจทกจะอางขอยกเวนในการไมจายคาชดเชยตามระเบียบสหกรณ ออมทรัพยของโจทกวาดวยขอบังคับเกี่ยวกับการทำงาน พ.ศ. ๒๕๕๔ หมวดที่ ๙ คาชดเชย คาชดเชยพิเศษ ขอ ๓๒ วรรคทาย ที่กำหนดวาสหกรณไมจายคาชดเชยใหแกเจาหนาที่ที่จางโดย มีกำหนดระยะเวลาการจางแนนอนตามสัญญาจาง และถูกเลิกจางตามกำหนดระยะเวลาของสัญญาจาง นั้นก็ตาม แตก็เปนการกำหนดที่ขัดตอบทบัญญัติของกฎหมายเกี่ยวกับความสงบเรียบรอยของ ประชาชนซึ่งโจทกจะยกมาเปนเหตุในการไมจายคาชดเชยไมได ทั้งปรากฏวาขณะที่โจทกบอกเลิก จางพันตำรวจโทสมบัติ โจทกแจงเหตุที่เลิกจางเพียงวาไมเหมาะสมกับตำแหนง โดยไมไดระบุ ขอเท็จจริงอันเปนเหตุที่เลิกจางวาการไมเหมาะสมกับตำแหนงนั้นมีรายละเอียดอยางไร จึงไม เหมาะสมถึงขนาดที่จะเลิกจางโดยไมจายคาชดเชย ดังนั้น โจทกจะยกเหตุอื่นขึ้นมาอางภายหลัง เปนขอตอสูเพื่อไมตองจายคาชดเชยไมได ตามพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา ๑๑๙ วรรคสาม โจทกจึงตองจายคาชดเชยใหแกพันตำรวจโทสมบัติ เมื่อศาลแรงงานภาค ๑ ฟงขอเท็จจริงวา พันตำรวจโทสมบัติไดรับคาจางอัตราสุดทายเดือนละ ๔๑,๗๒๐ บาท พันตำรวจโทสมบัติ ทำงานครบ ๑ ป จึงมีสิทธิไดรับคาชดเชยไมนอยกวาคาจางอัตราสุดทายเกาสิบวัน เปนเงิน ๑๒๕,๑๖๐ บาท ตามพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา ๑๑๘ (๒) กรณีไมมีเหตุ


๑๖๕ เพิกถอนคำสั่งพนักงานตรวจแรงงาน สำนักงานสวัสดิการและคุมครองแรงงานจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ที่ ๓๐/๒๕๖๑ ที่ศาลแรงงานภาค ๑ พิพากษามานั้น ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษไมเห็นพองดวย อุทธรณของจำเลยฟงขึ้น พิพากษากลับ ใหยกฟองโจทก. ธัชวุทธิ์ พุทธิสมบัติ - ยอ สุโรจน จันทรพิทักษ - ตรวจ (กนกรดา ไกรวิชญพงศ - ธีระพล ศรีอุดมขจร - อนุวัตร ขุนทอง)


๑๖๖ คำพิพากษาศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษที่ ๒๗๙๕/๒๕๖๒ นายนพชัย สุขวิบูลย โจทก บริษัทเนชั่นไวด แอนด โกลบอล คอรปอเรชั่น จำกัด จำเลย ป.พ.พ. มาตรา ๒๒๔ วรรคหนึ่ง พ.ร.บ. คุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา ๖๕ (๙) กฎกระทรวง ฉบับที่ ๑๒ (พ.ศ. ๒๕๔๑) ออกตามความใน พ.ร.บ. คุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ ขอ ๖ เมื่องานที่โจทกทำเปนงานขนสงทางบกและจำเลยไมไดตกลงจายคาลวงเวลา ใหแกโจทก จำเลยจึงมีหนาที่ตองจายคาตอบแทนใหแกโจทกในอัตราคาจางตอชั่วโมง ในวันทำงานตามจำนวนชั่วโมงที่ทำหากโจทกไดทำงานลวงเวลา ตาม พ.ร.บ. คุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา ๖๕ (๙) ประกอบกฎกระทรวง ฉบับที่ ๑๒ (พ.ศ. ๒๕๔๑) ออกตามความ ใน พ.ร.บ. คุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ ขอ ๖ ซึ่งในการคำนวณจายคาตอบแทนการทำงาน ลวงเวลาดังกลาวตองถือเกณฑคำนวณคาจางเฉลี่ยรายเดือนเปนคาจางเฉลี่ยรายวันและ รายชั่วโมง แลวนำคาจางเฉลี่ยรายชั่วโมงมาคำนวณเปนคาตอบแทนสำหรับเวลาที่ทำงาน เกินเวลาทำงานปกติ ปญหาวาโจทกมีสิทธิไดรับคาตอบแทนการทำงานลวงเวลาเพียงใดนั้น เมื่อ ขอเท็จจริงที่ศาลแรงงานกลางไดรับฟงมาแลวเพียงพอที่ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษจะวินิจฉัย ปญหานี้ได จึงเห็นสมควรที่จะวินิจฉัยปญหานี้โดยไมจำตองยอนสำนวนไปใหศาลแรงงาน กลางวินิจฉัยเสียกอน โดยศาลแรงงานกลางรับฟงขอเท็จจริงวาตามคำฟองโจทกระบุวา โจทกทำงานลวงเวลา ๒,๓๒๑.๕๕ ชั่วโมง ซึ่งพิเคราะหแลวปรากฏวาขอเท็จจริงดังกลาว มีรายละเอียดเปนไปตามเอกสารทายฟองหรือบัญชีคาทำงานเกินเวลาที่โจทกอางสง ยอมฟง ไดวา ในแตละวันโจทกมีเวลาการทำงานและไดรับคาจางเฉลี่ยรายชั่วโมงในอัตราตามที่ระบุ ในบัญชีคาทำงานเกินเวลา ในการคำนวณคาตอบแทนการทำงานลวงเวลาจึงตองถือชั่วโมง การทำงานลวงเวลาและอัตราคาจางเฉลี่ยรายชั่วโมงในเอกสารฉบับดังกลาวเปนเกณฑ เมื่อปรากฏวาเงินที่โจทกมีสิทธิไดรับเปนเงินคาตอบแทนการทำงานลวงเวลา มิใชคาลวงเวลาที่จะมีสิทธิคิดดอกเบี้ยในระหวางผิดนัดรอยละ ๑๕ ตอป ได ตาม พ.ร.บ.


๑๖๗ คุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา ๒๒๔ วรรคหนึ่ง จึงเปนหนี้เงินที่คิดดอกเบี้ยใน ระหวางผิดนัดไดรอยละ ๗.๕ ตอป ตาม ป.พ.พ. มาตรา ๒๒๔ วรรคหนึ่ง เทานั้น โจทกฟองและแกไขคำฟอง ขอใหบังคับจำเลยจายคาลวงเวลา ๔๕๓,๗๑๔.๒๕ บาท พรอมดอกเบี้ยอัตรารอยละ ๑๕ ตอป ของตนเงินดังกลาว นับแตวันฟองเปนตนไปจนกวาจะชำระ เสร็จแกโจทก จำเลยใหการ ขอใหยกฟอง ศาลแรงงานกลาง พิพากษาใหจำเลยจายคาลวงเวลา ๘๘,๕๐๙ บาท พรอมดอกเบี้ย อัตรารอยละ ๑๕ ตอป ของตนเงินจำนวนดังกลาว นับแตวันฟอง (ฟองวันที่ ๑๔ มิถุนายน ๒๕๖๑) เปนตนไปจนกวาจะชำระเสร็จแกโจทก โจทกและจำเลยอุทธรณ ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษแผนกคดีแรงงานวินิจฉัยวา ปรากฏขอเท็จจริงที่คูความไม โตแยงกันและขอเท็จจริงที่ศาลแรงงานกลางฟงเปนยุติวา โจทกเคยเปนลูกจางจำเลยเมื่อวันที่ ๑ กรกฎาคม ๒๕๕๘ ตำแหนงสุดทายพนักงานขับรถยนต (รถยนตลีมูซีน) มีหนาที่ใหบริการรับสง ลูกคาของจำเลยไปตามสถานที่ตาง ๆ ไดรับคาจางอัตราสุดทายโดยคำนวณตามผลงานที่โจทก ทำได จำเลยไมไดตกลงจายคาลวงเวลาใหแกโจทก แลววินิจฉัยวา งานที่โจทกทำเปนงานขนสง ทางบกตามกฎกระทรวง ฉบับที่ ๑๒ (พ.ศ. ๒๕๔๑) แมโจทกจะไมมีสิทธิไดรับคาลวงเวลา แตมี สิทธิไดรับคาตอบแทนเปนเงินเทากับอัตราคาจางตอชั่วโมงในวันทำงานตามจำนวนชั่วโมงที่ทำ ตามพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา ๖๕ (๙) ประกอบกฎกระทรวง ฉบับที่ ๑๒ (พ.ศ. ๒๕๔๑) ออกตามความในพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ ขอ ๖ จำเลยจึงมี หนาที่ตองจายคาตอบแทนการทำงานหากโจทกไดทำงานลวงเวลา หาใชวาเมื่อลูกจางไมมีสิทธิไดรับ คาลวงเวลาแลวจะถูกตัดสิทธิไมใหไดรับคาจางธรรมดาไปดวยไม โจทกจึงมีสิทธิไดรับคาตอบแทน การทำงานลวงเวลาเปนเงินเทากับอัตราคาจางตอชั่วโมงในวันทำงานตามจำนวนชั่วโมงที่ทำ ตามกฎกระทรวง ฉบับที่ ๑๒ (พ.ศ. ๒๕๔๑) ออกตามความในพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ ที่กำหนดเวลาทำงานปกติของลูกจางในงานขนสงทางบกวันหนึ่งไมเกิน ๘ ชั่วโมง แมวา ลูกจางไมไดขับรถยนตตลอด ๒๔ ชั่วโมง ขึ้นอยูกับจำนวนผูโดยสารที่มาใชบริการ แตโจทกมีหนาที่ ตองทำงานตามที่จำเลยมอบหมาย โจทกเริ่มตนการทำงานขับรถเที่ยวแรกตอนเชาของวันทำงาน และสิ้นสุดการทำงานขับรถเที่ยวสุดทายในเชาของอีกวันหนึ่ง โจทกตองเริ่มขับรถกอนจะถึงเวลา นัดหมายเพื่อไปถึงที่หมายใหทันเวลา และเมื่อสงลูกคาแลวโจทกตองขับรถกลับมายังสำนักงาน


๑๖๘ ของจำเลยเพื่อคืนกุญแจรถ หากจำเลยมีงานใหโจทกทำ โจทกก็ตองออกไปขับรถอีก การทำงาน ของโจทกจึงเปนการทำงานตอเนื่องกันไมนอยกวา ๒๔ ชั่วโมง เมื่อโจทกทำงานเกินกวาวันละ ๘ ชั่วโมง เปนการทำงานเกินกำหนดเวลาทำงานปกติ และเปนการทำงานลวงเวลาวันละ ๑๖ ชั่วโมง ในแตละวันที่ทำงานเกินกวาวันละ ๘ ชั่วโมง โจทกไดรับคาจางตอชั่วโมงทำงานเฉลี่ย ชั่วโมงละ ๓๘.๑๒๕ บาท ตามประกาศคณะกรรมการคาจาง เรื่อง อัตราคาจางขั้นต่ำ ฉบับที่ ๗ และที่ ๘ และตามคำฟองโจทกระบุวาโจทกทำงานลวงเวลา ๒,๓๒๑.๕๕ ชั่วโมง จำเลยจึงตองจาย คาตอบแทนการทำงานลวงเวลาใหแกโจทก ๘๘,๕๐๙ บาท ที่จำเลยอุทธรณวา จำเลยจายคาตอบแทนการทำงานลวงเวลาใหแกโจทกระหวางเดือน กรกฎาคม ๒๕๕๙ ถึงเดือนพฤษภาคม ๒๕๖๐ ครบแลวทุกเที่ยว การที่ศาลแรงงานกลางพิพากษา ใหจำเลยจายคาตอบแทนการทำงานลวงเวลาแกโจทกอีกจึงขัดตอกฎหมายเพราะทำใหจำเลย ตองจายคาตอบแทนการทำงานลวงเวลาซ้ำซอนนั้น เห็นวา อุทธรณของจำเลยดังกลาวเปนการ อุทธรณโตแยงดุลพินิจในการรับฟงพยานหลักฐานของศาลแรงงานกลาง อันเปนอุทธรณในขอเท็จจริง ซึ่งตองหามมิใหอุทธรณตามพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๕๔ วรรคหนึ่ง ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษไมรับวินิจฉัย ที่โจทกอุทธรณวา แมขอบังคับเกี่ยวกับการทำงานของจำเลยประกาศใชในวันที่ ๑ ธันวาคม ๒๕๖๐ ซึ่งเปนวันภายหลังที่โจทกพนสภาพการเปนลูกจางของจำเลยแลว แตขอบังคับ เกี่ยวกับการทำงานของจำเลยดังกลาวมีผลใชบังคับตั้งแตบริษัทจำเลยกอตั้งแลว โจทกจึงมีสิทธิ ไดรับคาตอบแทนการทำงานลวงเวลาในอัตราหนึ่งเทาครึ่งของอัตราคาจางตอชั่วโมงในวันทำงาน ตามจำนวนชั่วโมงที่ทำตามที่กำหนดไวในขอบังคับเกี่ยวกับการทำงานของจำเลยนั้น เห็นวา ศาล แรงงานกลางฟงขอเท็จจริงและวินิจฉัยแลววา งานที่โจทกทำเปนงานขนสงทางบกตามกฎกระทรวง ฉบับที่ ๑๒ (พ.ศ. ๒๕๔๑) ออกตามความในพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ และจำเลย ไมไดตกลงจายคาลวงเวลาใหแกโจทก โจทกมีสิทธิไดรับคาตอบแทนเปนเงินเทากับอัตราคาจาง ตอชั่วโมงในวันทำงานตามจำนวนชั่วโมงที่ทำ อุทธรณของโจทกดังกลาวจึงเปนการอุทธรณโตแยง ดุลพินิจในการรับฟงพยานหลักฐานของศาลแรงงานกลาง อันเปนอุทธรณในขอเท็จจริง ซึ่งตองหาม มิใหอุทธรณตามพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๕๔ วรรคหนึ่ง ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษไมรับวินิจฉัยเชนกัน มีปญหาตองวินิจฉัยตามอุทธรณของโจทกประการตอไปวา ที่ศาลแรงงานกลางกำหนด ใหจำเลยจายคาตอบแทนการทำงานลวงเวลาแกโจทกโดยพิจารณาจากอัตราคาจางขั้นต่ำตาม กฎหมายชอบหรือไม เห็นวา ศาลแรงงานกลางฟงขอเท็จจริงและวินิจฉัยแลววา งานที่โจทกทำ


๑๖๙ เปนงานขนสงทางบกตามกฎกระทรวง ฉบับที่ ๑๒ (พ.ศ. ๒๕๔๑) ออกตามความในพระราชบัญญัติ คุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ จำเลยไมไดตกลงจายคาลวงเวลาใหแกโจทก ดังนั้น หากโจทกได ทำงานลวงเวลา จำเลยยอมมีหนาที่ตองจายคาตอบแทนสำหรับเวลาที่ทำงานเกินเวลาทำงาน ปกติจากวันละ ๘ ชั่วโมง ใหแกโจทกในอัตราคาจางตอชั่วโมงในวันทำงานตามจำนวนชั่วโมงที่ทำ ตามพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา ๖๕ (๙) ประกอบกฎกระทรวง ฉบับที่ ๑๒ (พ.ศ. ๒๕๔๑) ออกตามความในพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ ขอ ๖ ซึ่งในการ คำนวณจายคาตอบแทนการทำงานลวงเวลาดังกลาวตองถือเกณฑคำนวณคาจางเฉลี่ยรายเดือน เปนคาจางเฉลี่ยรายวันและรายชั่วโมง แลวนำคาจางเฉลี่ยรายชั่วโมงมาคำนวณเปนคาตอบแทน สำหรับเวลาที่ทำงานเกินเวลาทำงานปกติ ที่ศาลแรงงานกลางวินิจฉัยเกี่ยวกับอัตราคาจางตอชั่วโมง ในวันทำงานโดยพิจารณาจากอัตราคาจางขั้นต่ำตามประกาศคณะกรรมการคาจาง เรื่อง อัตราคาจาง ขั้นต่ำ ฉบับที่ ๗ และที่ ๘ นั้น ไมตองดวยความเห็นของศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษ อุทธรณของ โจทกขอนี้ฟงขึ้น สำหรับปญหาวาโจทกมีสิทธิไดรับคาตอบแทนการทำงานลวงเวลาเพียงใดนั้น เมื่อขอเท็จจริงที่ศาลแรงงานกลางไดรับฟงมาแลวเพียงพอที่ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษจะวินิจฉัย ปญหานี้ได จึงเห็นสมควรที่จะวินิจฉัยปญหานี้โดยไมจำตองยอนสำนวนไปใหศาลแรงงานกลาง วินิจฉัยเสียกอน โดยศาลแรงงานกลางรับฟงขอเท็จจริงวา ตามคำฟองโจทกระบุวา โจทกทำงาน ลวงเวลา ๒,๓๒๑.๕๕ ชั่วโมง ซึ่งพิเคราะหแลวปรากฏวาขอเท็จจริงดังกลาวมีรายละเอียดเปนไป ตามเอกสารทายฟองหรือบัญชีคาทำงานเกินเวลาที่โจทกอางสง ยอมฟงไดวาในแตละวันโจทกมี เวลาการทำงานและไดรับคาจางเฉลี่ยรายชั่วโมงในอัตราตามที่ระบุในบัญชีคาทำงานเกินเวลา ดังนั้น ในการคำนวณคาตอบแทนการทำงานลวงเวลาตองถือชั่วโมงการทำงานลวงเวลาและอัตรา คาจางเฉลี่ยรายชั่วโมงในเอกสารฉบับดังกลาวเปนเกณฑ โจทกจึงมีสิทธิไดรับคาตอบแทนการ ทำงานลวงเวลา ๓๐๒,๓๗๔.๘๐ บาท อนึ่ง ที่ศาลแรงงานกลางกำหนดใหจำเลยจายคาตอบแทนการทำงานลวงเวลาแกโจทก พรอมดอกเบี้ยอัตรารอยละ ๑๕ ตอป นั้น เห็นวา ในสวนของดอกเบี้ยนั้นเมื่อปรากฏวาเงินที่โจทก มีสิทธิไดรับเปนเงินคาตอบแทนการทำงานลวงเวลา มิใชคาลวงเวลาที่จะมีสิทธิคิดดอกเบี้ยในระหวาง ผิดนัดรอยละ ๑๕ ตอป ได ตามพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา ๙ วรรคหนึ่ง จึงเปนหนี้เงินที่คิดดอกเบี้ยในระหวางผิดนัดไดรอยละ ๗.๕ ตอป ตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา ๒๒๔ วรรคหนึ่ง เทานั้น ที่ศาลแรงงานกลางพิพากษาใหจำเลยจายคาลวงเวลาใหแกโจทก พรอมดอกเบี้ยอัตรารอยละ ๑๕ ตอป นับแตวันฟอง จึงไมชอบดวยกฎหมาย ปญหานี้เปนขอกฎหมาย เกี่ยวกับความสงบเรียบรอย ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษมีอำนาจแกไขใหถูกตอง


๑๗๐ พิพากษาแกเปนวา ใหจำเลยจายคาตอบแทนการทำงานลวงเวลา ๓๐๒,๓๗๔.๘๐ บาท พรอมดอกเบี้ยอัตรารอยละ ๗.๕ ตอป นับแตวันฟอง (ฟองวันที่ ๑๔ มิถุนายน ๒๕๖๑) เปนตนไป จนกวาจะชำระเสร็จแกโจทก นอกจากที่แกใหเปนไปตามคำพิพากษาของศาลแรงงานกลาง. กรรณิกา อัศวเมธา - ยอ สุโรจน จันทรพิทักษ - ตรวจ (ดาราวรรณ ใจคำปอ - สุชาติ ตระกูลเกษมสุข - สาโรช ทาสวัสดิ์)


๑๗๑ คำพิพากษาศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษที่ ๒๘๑๘/๒๕๖๒ บริษัทซิงเกอรประเทศไทย จำกัด (มหาชน) โจทก นายอุบล โมคา จำเลย ป.พ.พ. มาตรา ๖๙๘, ๘๕๐, ๘๕๒ จำเลยทำสัญญาค้ำประกันการทำงานของนาย อ. ตอโจทก ตอมานาย อ. กระทำผิด สัญญาจางแรงงานและทำใหโจทกไดรับความเสียหาย แตตอมาโจทกกับนาย อ. ตกลงทำ สัญญาประนีประนอมยอมความเกี่ยวกับคาเสียหายที่นาย อ. จะตองรับผิดดังกลาว จึงมีผล ทำใหความรับผิดที่เกิดจากการทำงานของนาย อ. ระงับสิ้นไป และทำใหนาย อ. ตองรับผิด ตอโจทกตามสัญญาประนีประนอมยอมความตาม ป.พ.พ. มาตรา ๘๕๐ และ ๘๕๒ ความรับผิด ของจำเลยในฐานะผูค้ำประกันการทำงานของนาย อ. จึงระงับสิ้นไปตาม ป.พ.พ. มาตรา ๖๙๘ จำเลยจึงไมตองรับผิดตอโจทก โจทกฟองและแกไขคำฟอง ขอใหบังคับจำเลยชำระเงิน ๒๒,๓๒๐ บาท พรอมดอกเบี้ย อัตรารอยละ ๗.๕ ตอปของตนเงินจำนวนดังกลาวนับแตวันฟองเปนตนไปจนกวาจะชำระเสร็จ แกโจทก จำเลยขาดนัด ศาลแรงงานภาค ๒ พิพากษายกฟอง โจทกอุทธรณ ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษแผนกคดีแรงงานวินิจฉัยวา ศาลแรงงานภาค ๒ ฟงขอเท็จจริงวา เมื่อวันที่ ๒๑ กุมภาพันธ ๒๕๕๔ โจทกทำสัญญาจางนายอาทิตย เปนพนักงานขายสินคา และเก็บเงิน ตอมาเลื่อนตำแหนงเปนผูจัดการรานคาสาขายอย โดยมีจำเลยเปนผูค้ำประกัน การทำงาน ในระหวางเดือนสิงหาคมถึงเดือนพฤศจิกายน ๒๕๕๙ โจทกตรวจสอบพบวานายอาทิตย ทำความเสียหายแกโจทกเปนเงิน ๑๕๔,๕๔๐ บาท โจทกทวงถามนายอาทิตยและจำเลยใหชำระ หนี้ดังกลาวแลว แตทั้งสองเพิกเฉย โจทกจึงฟองคดีตอศาลแรงงานภาค ๒ ตอมาไดถอนฟองจำเลย เนื่องจากโจทกกับนายอาทิตยทำสัญญาประนีประนอมยอมความกันในคดีดังกลาว หลังจากนั้น โจทกมาฟองจำเลยเปนคดีนี้ใหม


๑๗๒ มีปญหาตองวินิจฉัยตามอุทธรณของโจทกวา การที่โจทกทำสัญญาประนีประนอมยอมความ กับนายอาทิตยมีผลทำใหจำเลยหลุดพนจากความรับผิดหรือไม เห็นวา จำเลยทำสัญญา ค้ำประกันการทำงานของนายอาทิตยตอโจทก ตอมานายอาทิตยกระทำผิดสัญญาจางแรงงานและ ทำใหโจทกไดรับความเสียหายซึ่งจำเลยจะตองรับผิดตามสัญญาค้ำประกันการทำงาน แตปรากฏวา ตอมาโจทกกับนายอาทิตยตกลงทำสัญญาประนีประนอมยอมความเกี่ยวกับคาเสียหายของโจทก ที่นายอาทิตยจะตองรับผิดดังกลาว จึงมีผลทำใหความรับผิดของนายอาทิตยตอโจทกที่เกิด จากการทำงานระงับสิ้นไป และทำใหนายอาทิตยตองรับผิดตอโจทกตามสัญญาประนีประนอม ยอมความตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา ๘๕๐ และมาตรา ๘๕๒ เมื่อความรับผิด ของนายอาทิตยตอโจทกเปลี่ยนมาเปนความรับผิดตามสัญญาประนีประนอมยอมความแลว ความรับผิดของจำเลยในฐานะผูค้ำประกันการทำงานของนายอาทิตยจึงระงับสิ้นไปตาม ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา ๖๙๘ จำเลยจึงหลุดพนจากความรับผิดตามสัญญา ค้ำประกันการทำงานของนายอาทิตยตอโจทกแลว ที่ศาลแรงงานภาค ๒ พิพากษายกฟองโจทก มานั้น ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษเห็นพองดวย อุทธรณของโจทกฟงไมขึ้น พิพากษายืน. ฐานุตร เล็กสุภาพ - ยอ สุโรจน จันทรพิทักษ - ตรวจ (สมเกียรติ คูวัธนไพศาล - เฉลิมพงศ ขันตี - ยิ่งลักษณ สุขวิสิฏฐ)


๑๗๓ คำพิพากษาศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษที่ ๒๙๐๓/๒๕๖๒ นายพงษพันธ พงษสังข โจทก บริษัทแม็กซแท็กซ เอ็นจิเนียริ่ง จำกัด จำเลย พ.ร.บ. คุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา ๑๗, ๑๑๘ วรรคหนึ่ง, ๑๑๙ (๔) จําเลยอุทธรณวา คดีนี้แมจะวินิจฉัยวาโจทกประมาทเลินเลอจนเปนเหตุใหจําเลย ซึ่งเปนนายจางไดรับความเสียหายอยางรายแรงหรือไมก็ตาม แตขอเท็จจริงตามที่ ศาลแรงงานกลางฟงมาและที่ปรากฏในสํานวนวา เมื่อโจทกกระทําผิดโดยออกแบบผลิตภัณฑ หลอดไฟสําหรับใชในเครื่องจักรใหกับจําเลยโดยกําหนดขนาดความยาวของหลอดไฟ ผิดพลาดจนเปนเหตุใหจําเลยไดรับความเสียหาย และตอมาจําเลยไดลงโทษโจทกในความผิดนี้ ตามขอบังคับการทํางานของจําเลยดวยการตักเตือนเปนหนังสือตามเอกสารหมาย จ.๑ ถือไดวาความผิดดังกลาวโจทกไดกระทําโดยประมาทเลินเลอไปหมดดวยการลงโทษโดย การตักเตือนเปนหนังสือแลว จําเลยยอมไมอาจนําความผิดดังกลาวมาเปนเหตุเลิกจาง โจทกไดอีก การที่จําเลยเลิกจางโจทกตามหนังสือเลิกจางเอกสารหมาย จ.๙ จึงเทากับ เปนการเลิกจางโดยโจทกไมไดกระทําผิด จําเลยตองจายคาชดเชยและสินจางแทนการ บอกกลาวลวงหนาแกโจทก โจทกฟองขอใหบังคับจำเลยจายสินจางแทนการบอกกลาวลวงหนา ๙๓,๗๓๑ บาท พรอมดอกเบี้ยอัตรารอยละ ๗.๕ ตอป นับแตวันฟองเปนตนไป คาชดเชย ๑๕๓,๓๗๘ บาท พรอม ดอกเบี้ยอัตรารอยละ ๑๕ ตอป นับแตวันที่ ๗ ตุลาคม ๒๕๖๐ เปนตนไป และใหจำเลยคืนเงิน ประกันการทำงาน ๑๕,๐๐๐ บาท พรอมดอกเบี้ยอัตรารอยละ ๑๕ ตอป นับแตวันที่ ๑๔ ตุลาคม ๒๕๖๐ เปนตนไปจนกวาจะชำระเสร็จแกโจทก จำเลยใหการและฟองแยง ขอใหยกฟองและขอใหโจทกชำระคาเสียหาย ๕๓๘,๕๒๐.๒๕ บาท พรอมดอกเบี้ยอัตรารอยละ ๗.๕ ตอปนับแตวันที่จำเลยไดชำระเงินใหแกผูผลิตและนำเขาสินคา ที่สั่งผิดพลาดเปนตนไปจนกวาโจทกจะชำระเสร็จแกจำเลย โจทกใหการแกฟองแยง ขอใหยกฟองแยง


๑๗๔ ศาลแรงงานกลาง พิพากษาใหจำเลยจายสินจางแทนการบอกกลาวลวงหนา ๙๓,๗๓๑ บาท พรอมดอกเบี้ยอัตรารอยละ ๗.๕ ตอป นับแตวันฟอง (ฟองวันที่ ๒๘ มีนาคม ๒๕๖๑) เปนตนไป จนกวาจะชำระเสร็จแกโจทก ใหจำเลยจายคาชดเชย ๑๕๓,๓๗๘ บาท และคืนเงินประกัน การทำงาน ๑๕,๐๐๐ บาท พรอมดอกเบี้ยอัตรารอยละ ๑๕ ตอปของตนเงินแตละจำนวน นับแต วันที่ ๗ ตุลาคม ๒๕๖๐ และวันที่ ๑๔ ตุลาคม ๒๕๖๐ ตามลำดับเปนตนไปจนกวาจะชำระเสร็จ แกโจทก และใหโจทกจายคาเสียหาย ๕๐,๐๐๐ บาท พรอมดอกเบี้ยอัตรารอยละ ๗.๕ ตอป นับแต วันที่ ๒๐ กุมภาพันธ ๒๕๖๐ เปนตนไปจนกวาจะชำระเสร็จแกจำเลย คำขออื่นนอกจากนี้ใหยก จำเลยอุทธรณ ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษแผนกคดีแรงงานวินิจฉัยวา ศาลแรงงานกลางฟงขอเท็จจริง และวินิจฉัยวา โจทกมีหนาที่ออกแบบผลิตภัณฑหลอดไฟสำหรับใชในเครื่องจักรใหกับจำเลย การที่ โจทกเขียนแบบกำหนดความยาวของหลอดไฟ ๑,๗๙๘ มิลลิเมตร และจำเลยไดสั่งผลิตที่ประเทศ ญี่ปุน แตปรากฏวาหลอดไฟดังกลาวไมสามารถนำมาใชกับเครื่องจักรของจำเลยไดเนื่องจากขนาด ของหลอดไฟที่ถูกตองคือ ๑,๗๖๒ มิลลิเมตร ถือวาโจทกกระทำโดยประมาทเลินเลออันเปนเหตุ ใหจำเลยไดรับความเสียหาย แตการที่จำเลยมีหนังสือเตือนโจทกเมื่อวันที่ ๒๐ กันยายน ๒๕๖๐ ซึ่งเปนระยะเวลาหลังจากที่เกิดเหตุถึง ๖ เดือนและหนังสือเตือนดังกลาวมีขอความทำนองใหโจทก กับจำเลยชวยกันหาทางแกไขเยียวยาความเสียหายที่เกิดขึ้น ทำใหเห็นวาการกระทำละเมิดของ โจทกไมใชเรื่องรายแรง และจำเลยลงโทษโจทกเพียงมีหนังสือเตือนการกระทำความผิดเทานั้น ยอมแสดงวาการกระทำของโจทกไมใชเปนการกระทำโดยประมาทเลินเลออยางรายแรง อันเปน เหตุใหจำเลยสามารถเลิกจางโจทกได จำเลยจึงตองจายคาชดเชยไมนอยกวาคาจางอัตราสุดทาย ๙๐ วัน เปนเงิน ๑๕๓,๓๗๘ บาท และจายสินจางแทนการบอกกลาวลวงหนาใหกับโจทก ๕๕ วัน เปนเงิน ๙๓,๗๓๑ บาท สวนเงินประกันการทำงานที่โจทกเรียกจากจำเลย ๑๕,๐๐๐ บาท เมื่อ จำเลยไมนำสืบใหเห็นเปนอยางอื่น ขอตอสูของจำเลยจึงฟงไมขึ้น และพยานหลักฐานของจำเลย ไมมีน้ำหนักใหรับฟงวาโจทกออกไปตั้งบริษัทคอมพลีทพอยท ออโต เอ็นจิเนียริ่ง จำกัด อันเปน การแขงขันกับกิจการของจำเลย จึงไมเปนการฝาฝนระเบียบขอบังคับการทำงานจำเลยอยาง รายแรง สำหรับคาเสียหายที่จำเลยฟองแยงมานั้น จำเลยสั่งผลิตหลอดไฟมากถึง ๓๐๐ หลอด เพื่อนำมาใชงานกับเครื่องยิงสีเพียง ๖ หลอดตอ ๑ เครื่อง แลวสำรองหลอดไฟไวถึง ๒๙๔ หลอด จึงเปนการสั่งผลิตหลอดไฟที่มากเกินความจำเปนที่จะนำมาใชกับเครื่องยิงสีเพียงเครื่องเดียว อีกทั้งการสั่งหลอดไฟดังกลาวก็ไมไดเปนอำนาจของโจทก แตเปนการสั่งโดยฝายจัดซื้อของจำเลย ความเสียหายที่จำเลยไดรับทั้งหมดไมไดเกิดจากโจทกแตเพียงฝายเดียว จึงกำหนดคาเสียหาย ใหจำเลยเพียง ๕๐,๐๐๐ บาท


๑๗๕ คดีมีปญหาที่ตองวินิจฉัยตามอุทธรณของจำเลยวา โจทกประมาทเลินเลออันเปนเหตุ ใหจำเลยไดรับความเสียหายอยางรายแรงหรือไม เห็นวา คดีนี้แมจะวินิจฉัยวาโจทกประมาทเลินเลอ จนเปนเหตุใหจำเลยซึ่งเปนนายจางไดรับความเสียหายอยางรายแรงหรือไมก็ตาม แตเมื่อขอเท็จจริง ตามที่ศาลแรงงานกลางฟงมาและปรากฏในสำนวนวา เมื่อโจทกไดกระทำผิดโดยออกแบบ ผลิตภัณฑหลอดไฟสำหรับใชในเครื่องจักรใหกับจำเลยโดยกำหนดขนาดความยาวของหลอดไฟ ผิดพลาดจนเปนเหตุใหจำเลยไดรับความเสียหาย และตอมาจำเลยไดลงโทษโจทกในความผิดนี้ ตามขอบังคับเกี่ยวกับการทำงานของจำเลยดวยการตักเตือนเปนหนังสือ ตามหนังสือลงโทษเอกสาร หมาย จ.๑ ถือไดวาความผิดดังกลาวที่โจทกไดกระทำโดยประมาทเลินเลอไดหมดไปดวยการลงโทษ ดวยการตักเตือนเปนหนังสือแลว จำเลยยอมไมอาจนำความผิดดังกลาวมาเปนเหตุเลิกจางโจทกได การที่จำเลยเลิกจางโจทกตามหนังสือเลิกจางเอกสารหมาย จ.๙ จึงเทากับเปนการเลิกจางโดย โจทกไมไดกระทำผิด จำเลยตองจายคาชดเชยและสินจางแทนการบอกกลาวลวงหนาแกโจทก ที่ศาลแรงงานกลางพิพากษามานั้น ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษเห็นพองดวยในผล อุทธรณขอนี้ ของจำเลยฟงไมขึ้น พิพากษายืน. สุเจตน สถาพรนานนท - ยอ สุโรจน จันทรพิทักษ - ตรวจ (นาวี สกุลวงศธนา - เริงศักดิ์ วิริยะชัยวงศ - นงนภา จันทรศักดิ์ ลิ่มไพบูลย)


๑๗๖ คำพิพากษาศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษที่ ๓๔๒๒ - ๓๔๒๓/๒๕๖๒ นางสาววิไล พนมวนาภิรัต กับพวก โจทก นิติบุคคลหมูบานจัดสรร บานฟารังสิต จำเลย ป.พ.พ. มาตรา ๕๘๓  กฎกระทรวง (พ.ศ. ๒๕๔๑) ออกตามความใน พ.ร.บ. คุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑  จําเลยเปนนิติบุคคลตาม พ.ร.บ. การจัดสรรที่ดิน พ.ศ. ๒๕๔๓ ที่ตองดําเนินกิจการ ภายใตบทบัญญัติแหงกฎหมายและขอบังคับของจําเลย ตามขอบังคับของจําเลย หมวดที่ ๒ แสดงถึงวัตถุประสงคในการดําเนินกิจการของจําเลยวา เพื่อรับโอนทรัพยสินและบริการ อันเปนสาธารณูปโภคหรือบริการสาธารณะที่ผูจัดสรรที่ดินไดจัดใหมีขึ้น เพื่อการจัดสรร ที่ดินตามแผนผังและโครงการที่รับอนุญาต และดําเนินการดานการบริหารจัดการเพื่อ ประโยชนของสมาชิกและบริวารใหมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลโดยรวม อันเปนการ กระทําโดยมีวัตถุประสงคมุงเนนเพื่อประโยชนสวนรวมของสมาชิกในหมูบาน แมขอบังคับ ในหมวดที่ ๔ การบริหารการคลัง การดําเนินงานการบัญชีและการเงิน ขอ ๔ (๑) จะกําหนด ใหจําเลยสามารถลงทุนในกิจการตาง ๆ ที่เปนประโยชนตอสมาชิก แตรายไดที่จําเลยไดรับ มีระบุไวในขอ ๖ วา ในกรณีที่จําเลยมีรายไดหลังจากหักคาใชจายแลว ในแตละปที่มี กําไรใหนําไปฝากเขาเปนเงินกองทุนสํารองของหมูบานตอไปตามความจําเปน แสดงวา รายไดตาง ๆ รวมทั้งรายไดที่เกิดจากการลงทุนของจําเลยนั้น หากมีกําไรตองนําฝากเขา เปนเงินกองทุนสํารองของหมูบาน มิใชนําเงินรายไดที่หามาไดนั้นมาจัดสรรหรือแบงปน ผลกําไรระหวางกัน จึงไมอาจถือไดวาจําเลยดําเนินกิจการเพื่อแสวงหากําไรในทางเศรษฐกิจ ไมอาจนําบทบัญญัติหมวด ๑๑ คาชดเชย ตั้งแตมาตรา ๑๑๘ ถึง มาตรา ๑๒๒ มาใช บังคับกับจําเลยตามกฎกระทรวง (พ.ศ. ๒๕๕๑) ออกตามความใน พ.ร.บ. คุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ กรณีจึงไมจําตองวินิจฉัยอีกตอไปวาการกระทําของโจทกทั้งสองเขาขอยกเวน ที่จําเลยมีสิทธิเลิกจางโดยไมตองจายคาชดเชยตาม พ.ร.บ. คุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา ๑๑๙ (๑) (๒) หรือไมอีก  การที่โจทกทั้งสองรับเงินมาแลวไมนําฝากเขาบัญชีธนาคารของจําเลยจนลวงเลย เวลามานานและเปนเงินจํานวนมาก แมจะอางวาทําตามคําสั่งของประธานคณะกรรมการ


๑๗๗ จําเลยในขณะนั้น และมติของคณะกรรมการจําเลย แตเงินที่ยังไมนําฝากมีจํานวนมากเกิน กวาที่จะเก็บไวสํารองจายเปนคาใชจายของจําเลยรายวัน การกระทําของโจทกทั้งสองเปน การกระทําอันไมสมแกการปฏิบัติหนาที่ของตนใหลุลวงไปโดยถูกตองและสุจริต กับทั้งมี เหตุอันควรสงสัยไดวาเปนการนําเงินไปหมุนเวียนใชจายสวนตัว จําเลยจึงมีสิทธิเลิกจาง โจทกทั้งสองไดโดยไมตองบอกกลาวลวงหนาตาม ป.พ.พ. มาตรา ๕๘๓ และถือเปนเหตุ อันสมควรเพียงพอที่จะเลิกจางโจทกทั้งสองได มิใชเปนการกลั่นแกลงโจทกทั้งสอง การ เลิกจางโจทกทั้งสองจึงมิใชการเลิกจางที่ไมเปนธรรม จําเลยไมตองจายสินจางแทนการ บอกกลาวลวงหนาและคาเสียหายจากการเลิกจางที่ไมเปนธรรมแกโจทกทั้งสอง  พ.ร.บ. การจัดสรรที่ดิน พ.ศ. ๒๕๔๓ มาตรา ๔๖ บัญญัติวา “ใหนิติบุคคลหมูบาน จัดสรรที่จดทะเบียนแลวมีฐานะเปนนิติบุคคล ใหนิติบุคคลหมูบานจัดสรรมีคณะกรรมการ หมูบานจัดสรรเปนผูดําเนินกิจการของนิติบุคคลหมูบานจัดสรรตามกฎหมายและขอบังคับ ของนิติบุคคลหมูบานจัดสรรภายใตการควบคุมดูแลของที่ประชุมใหญของสมาชิก คณะกรรมการหมูบานจัดสรรเปนผูแทนของนิติบุคคลหมูบานจัดสรรในกิจการอันเกี่ยวกับ บุคคลภายนอก” และมาตรา ๔๘ บัญญัติวา “เพื่อประโยชนของผูซื้อที่ดินจัดสรร ใหนิติบุคคล หมูบานจัดสรรมีอํานาจหนาที่ดังตอไปนี้…(๔) ยื่นคํารองทุกขหรือเปนโจทกฟองแทน สมาชิกเกี่ยวกับกรณีที่กระทบสิทธิหรือประโยชนของสมาชิกจํานวนตั้งแตสิบรายขึ้นไป...” เมื่อขอบังคับของจําเลย หมวดที่ ๓ ขอ ๕ (๗) ระบุวา การแจงความรองทุกข ฟองรอง ดําเนินคดีในการปกปองสิทธิและผลประโยชนของสวนรวมเปนอํานาจของคณะกรรมการ หมูบาน และขอ ๘ (๑) ซึ่งระบุขอบเขตอํานาจหนาที่ของประธานคณะกรรมการซึ่งไมได ใหอํานาจประธานคณะกรรมการจําเลยมีอํานาจฟองรองดําเนินคดีไดโดยลําพัง เมื่อไม ปรากฏวาคณะกรรมการนิติบุคคลจําเลยมีมติมอบอํานาจใหประธานคณะกรรมการจําเลย ฟองแยงโจทกทั้งสอง จําเลยจึงไมมีอํานาจฟองแยง ที่ศาลแรงงานกลางมิไดวินิจฉัยปญหา ขอนี้มาทั้ง ๆ ที่โจทกทั้งสองไดใหการแกฟองแยงตอสูเปนประเด็นไวแลว จึงเปนการไมชอบ ศาลอุทธรณคดีชํานัญพิเศษชอบที่จะวินิจฉัยเสียใหถูกตอง โจทกทั้งสองสำนวนฟอง ขอใหบังคับจำเลยจายคาชดเชยและสินจางแทนการบอกกลาว ลวงหนาแกโจทกที่ ๑ และที่ ๒ รวมเปนเงิน ๑๒๖,๕๐๐ บาท และ ๑๑๓,๓๐๐ บาท ตามลำดับ พรอมดอกเบี้ยอัตรารอยละ ๗.๕ ตอป ของตนเงินดังกลาวนับแตวันฟองเปนตนไปจนกวาจะ


๑๗๘ ชำระเสร็จ และใหจำเลยชดใชคาเสียหายจากการเลิกจางที่ไมเปนธรรมแกโจทกที่ ๑ และที่ ๒ เปนเงิน ๖๙๐,๐๐๐ บาท และ ๖๑๘,๐๐๐ บาท ตามลำดับ จำเลยทั้งสองสำนวนใหการและฟองแยง ขอใหยกฟอง และบังคับโจทกทั้งสองชำระเงิน แกจำเลย ๙๔๙,๙๒๗.๘๔ บาท พรอมดอกเบี้ยอัตรารอยละ ๗.๕ ตอป ของตนเงิน ๙๓๗,๘๑๕.๑๐ บาท นับถัดจากวันฟองแยงเปนตนไปจนกวาจะชำระเสร็จแกจำเลย โจทกทั้งสองสำนวนใหการแกฟองแยง ขอใหยกฟองแยง ศาลแรงงานกลาง พิพากษายกฟองโจทกทั้งสอง ใหโจทกทั้งสองรวมกันชำระเงิน ๙๓๗,๘๑๕.๑๐ บาท พรอมดอกเบี้ยอัตรารอยละ ๗.๕ ตอป นับตั้งแตวันที่ ๒๗ ธันวาคม ๒๕๖๐ เปนตนไปจนกวาจะชำระเสร็จแกจำเลย ดอกเบี้ยคำนวณถึงวันฟองแยง (วันที่ ๙ มีนาคม ๒๕๖๑) ตองไมเกิน ๑๒,๑๑๒.๗๔ บาท ตามที่จำเลยขอ คำขออื่นใหยก โจทกทั้งสองสำนวนอุทธรณ ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษแผนกคดีแรงงานวินิจฉัยวา ศาลแรงงานกลางรับฟงขอเท็จจริงวา จำเลยเปนนิติบุคคลตามพระราชบัญญัติการจัดสรรที่ดิน พ.ศ. ๒๕๔๓ จัดตั้งเมื่อวันที่ ๓ กุมภาพันธ ๒๕๔๗ ปจจุบันมีนายกิจจา เปนประธานกรรมการ และมีกรรมการอื่นอีก ๑๑ คน โจทกทั้งสอง เปนลูกจางของจำเลยตั้งแตป ๒๕๔๗ ไดรับเงินเดือนอัตราสุดทายเดือนละ ๑๑,๕๐๐ บาท และ ๑๐,๓๐๐ บาท ตามลำดับเมื่อวันที่ ๒๗ ธันวาคม ๒๕๖๐ จำเลยมีคำสั่งเลิกจางโจทกทั้งสองอางวา ทุจริตตอหนาที่หรือจงใจทำใหจำเลยไดรับความเสียหายหรือกระทำความผิดอาญาโดยเจตนาแก นายจางหรือฝาฝนขอบังคับของจำเลยเปนกรณีรายแรง ตามขอบังคับของจำเลยขอ ๘ (๒) กำหนด ใหเก็บรักษาเงินสดไดไมเกิน ๑๐,๐๐๐ บาท จำเลยมีบัญชีเงินฝากธนาคารรวม ๔ บัญชี ไดแก บัญชีเงินฝากธนาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน) สาขารังสิต-นครนายก คลอง ๔ บัญชีเลขที่ ๑๔๘-๑-xxxxx-x และ ๑๔๘-๖-xxxxx-x บัญชีเงินฝากธนาคารอาคารสงเคราะห สาขา สำนักงานใหญ บัญชีเลขที่ ๐๒๘-๑-xxxxxxx-x และ ๐๒๘-๒-xxxxxxx-x แลววินิจฉัยวา เมื่อตรวจสอบใบเสร็จรับเงินระหวางป ๒๕๕๙ และวันที่ ๑ มกราคม ๒๕๖๐ ถึงวันที่ ๓๐ มิถุนายน ๒๕๖๐ ซึ่งโจทกทั้งสองออกใหแกผูชำระหนี้ รายงานการรับชำระเงิน และเงินรับประจำเดือนกับ รายการเคลื่อนไหวทางบัญชีเงินฝากของจำเลยทั้ง ๔ บัญชีแลว ยอดเงินตามเอกสารดังกลาว สอดคลองกัน โดยในป ๒๕๕๙ โจทกทั้งสองรับเงินจากผูชำระหนี้โดยออกใบเสร็จรับเงินแลว นำฝาก เขาบัญชีธนาคารของจำเลยบัญชีเลขที่ ๑๔๘-๑-xxxxx-x สวนที่เหลือยังไมนำฝากธนาคาร เปนเงิน ๑,๒๓๒,๘๔๐.๖๕ บาท โดยนำไปฝากเขาบัญชีธนาคารของจำเลยเลขที่ดังกลาวในวันที่ ๒๖ มกราคม ๒๕๖๐ จำนวน ๓๘๔,๗๔๐ บาท ๑๔,๘๕๐ บาท และ ๑๘,๐๐๐ บาท รวม ๔๑๔,๔๔๐ บาท


๑๗๙ คงเหลือเงินที่ยังไมนำฝากของป ๒๕๕๙ จำนวน ๘๐๐,๔๐๐.๖๕ บาท สวนระหวางวันที่ ๑ มกราคม ๒๕๖๐ ถึงวันที่ ๓๐ มิถุนายน ๒๕๖๐ โจทกทั้งสองรับเงินจากผูชำระหนี้โดยออกใบเสร็จ รับเงินและนำฝากเขาธนาคารบางสวน สวนที่เหลือที่ยังไมนำฝากเขาบัญชีธนาคารของจำเลย เปนเงิน ๕๕๕,๓๒๐.๔๒ บาท เงินที่ยังไมนำฝากธนาคารดังกลาวไดนำมาหักคาใชจายและรวมกับ เงินที่ไดรับโดยที่ยังไมมีการออกใบเสร็จรับเงิน ๑๖,๒๘๐ บาทแลว คงเหลือเงินที่ยังไมนำฝาก ธนาคาร ๑๕๗,๔๑๔.๔๒ บาท รวมเปนเงิน ๙๕๗,๘๑๕.๐๗ บาท และยังไดความจากพยานโจทก ปากนางสาววันดี ผูตรวจสอบบัญชีของจำเลยชวงป ๒๕๕๑ ถึงป ๒๕๕๘ วา เมื่อมีการรับเงินมา โจทกทั้งสองจะนำไปจายคาใชจายไมไดนำฝากเขาธนาคารเต็มจำนวน ตอมาจึงทยอยนำเงินฝาก เขาบัญชีเงินฝากของจำเลย จากวิธีปฏิบัติของโจทกทั้งสองแสดงใหเห็นวาโจทกทั้งสองตองยึดถือ เงินจำนวนหนึ่งไวกับตัวหมุนเวียนใชจาย โดยเมื่อรับเงินมาแลวก็นำไปจายเปนคาใชจายอยางอื่น ที่เหลือเก็บรักษาไวไมไดนำไปฝากบัญชีธนาคาร ขอเท็จจริงรับฟงไดวาโจทกทั้งสองยังไมนำเงิน ที่ไดรับในป ๒๕๕๙ และวันที่ ๑ มกราคม ๒๕๖๐ ถึงวันที่ ๓๐ มิถุนายน ๒๕๖๐ ฝากเขาบัญชีธนาคาร ของจำเลย ๙๕๗,๘๑๕.๐๗ บาท การปฏิบัติของโจทกทั้งสองเปนการเบียดบังเอาเงินของจำเลย ไปหมุนเวียนหาประโยชนใหแกตนเองเปนการทุจริตตอหนาที่และเปนการกระทำความผิดอาญา โดยเจตนาแกจำเลยซึ่งเปนนายจาง จงใจทำใหจำเลยไดรับความเสียหายไมไดรับดอกเบี้ยจาก ธนาคารตามอัตราที่กำหนด จึงเขาขอยกเวนที่จำเลยมีสิทธิเลิกจางโจทกทั้งสองไดโดยไมตองจาย คาชดเชยตามพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา ๑๑๙ (๑) และ (๒) แมโจทกทั้งสอง จะไดรับคำสั่งใหถือเงินดังกลาวไวโดยมีนายวงศเดชา อดีตประธานกรรมการจำเลยในชวงป ๒๕๔๗ ถึง ๒๕๕๗ เบิกความยืนยัน แตเปนคำสั่งที่ไมถูกตองขัดตอขอบังคับของจำเลยเปนชองทางใหเกิด การทุจริตไดงายไมอาจรับฟงได จำเลยเปนนิติบุคคลตามพระราชบัญญัติการจัดสรรที่ดิน พ.ศ. ๒๕๔๓ การดำเนินกิจการยอมอยูภายใตบทบัญญัติแหงกฎหมายและขอบังคับของจำเลย ซึ่งหมวดที่ ๒ วัตถุประสงค ขอ ๑ ระบุวาจำเลยจัดตั้งขึ้นเพื่อรับโอนทรัพยสินและบริการอันเปนสาธารณูปโภคหรือ บริการสาธารณะที่ผูจัดสรรที่ดินไดจัดใหมีขึ้นเพื่อประโยชนของสมาชิกและบริวารใหมีประสิทธิภาพ และประสิทธิผลโดยรวม และขอเท็จจริงฟงไดวา รายไดของจำเลยทุกประเภทจะนำมาเปนรายได ของจำเลย ไมไดนำกำไรไปแบงปนระหวางกรรมการหรือลูกบานแตอยางใด การดำเนินการของ จำเลยจึงเปนการประกอบกิจการที่ไมไดแสวงหากำไรในทางเศรษฐกิจ มิใหใชบทบัญญัติหมวด ๑๑ คาชดเชย มาใชบังคับแกจำเลยตามกฎกระทรวง (พ.ศ. ๒๕๔๑) ออกตามความในพระราชบัญญัติ คุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ ขอ (๓) จำเลยจึงไมตองจายคาชดเชยพรอมดอกเบี้ยใหแกโจทกทั้งสอง โจทกทั้งสองรับเงินจากผูชำระหนี้แลวไมนำฝากธนาคารแตนำไปใชหรือหาประโยชนสวนตน ถือวา


๑๘๐ โจทกทั้งสองกระทำผิดอยางรายแรงและทำประการอื่นอันไมสมแกการปฏิบัติหนาที่ของตนใหลุลวง ไปโดยถูกตองและสุจริต จำเลยจึงมีสิทธิเลิกจางโจทกทั้งสองไดโดยไมตองบอกกลาวลวงหนา ตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา ๕๘๓ จำเลยไมตองจายสินจางแทนการบอกกลาว ลวงหนาแกโจทกทั้งสอง โจทกทั้งสองเปนลูกจางจำเลยมีหนาที่รับเงินจากผูชำระหนี้ใหแกจำเลยแลว ไมนำฝากเขาบัญชีธนาคารทำใหเงินสูญหายไปจำนวนมากถึง ๙๕๗,๘๑๕.๑๐ บาท (ที่ถูก คือ ๙๕๗,๘๑๕.๐๗ บาท) อันเปนการทุจริตตอหนาที่ พฤติการณของโจทกทั้งสองมีเหตุที่จำเลยไมอาจ ไววางใจใหทำงานไดอีกตอไปเปนการเลิกจางที่มีเหตุผลเพียงพอ มิใชเปนการกลั่นแกลงโจทกทั้งสอง มิใชการเลิกจางที่ไมเปนธรรม จำเลยไมตองจายคาเสียหายแกโจทกทั้งสอง โจทกทั้งสองรับเงิน จากผูชำระหนี้ใหแกจำเลยแลวไมนำสงมอบใหแกจำเลย ๙๕๗,๘๑๕.๐๗ บาท เปนการผิดสัญญาจาง และกระทำละเมิดตอจำเลย จึงตองรับผิดชดใชคาเสียหาย ๙๓๗,๘๑๕.๑๐ บาท พรอมดอกเบี้ย ผิดนัดนับแตวันที่ ๒๗ ธันวาคม ๒๕๖๐ ตามที่จำเลยมีคำขอ ที่โจทกทั้งสองอุทธรณในขอ ๒.๖ วา ที่ประชุมคณะกรรมการจำเลยมีมติใหพักงานโจทก ทั้งสองถึงวันที่ ๑๙ มกราคม ๒๕๖๑ ตอมาวันที่ ๒๗ ธันวาคม ๒๕๖๐ ประธานคณะกรรมการจำเลย ออกหนังสือเลิกจางโจทกโดยไมมีมติจากคณะกรรมการจำเลย อันเปนอุทธรณในทำนองวาประธาน คณะกรรมการจำเลยไมมีอำนาจเลิกจาง โจทกทั้งสองยังไมถูกจำเลยเลิกจางนั้น เห็นวา เปนอุทธรณ ที่ขัดแยงกับคำฟองของโจทกทั้งสองเองที่ยืนยันวา เมื่อวันที่ ๒๗ ธันวาคม ๒๕๖๐ จำเลยมีคำสั่ง เลิกจางโจทกทั้งสอง กับมีคำขอใหบังคับจำเลยจายคาชดเชย สินจางแทนการบอกกลาวลวงหนา และคาเสียหายจากการเลิกจางที่ไมเปนธรรม และโจทกทั้งสองกับจำเลยยังแถลงรับขอเท็จจริงกันวา โจทกทั้งสองเปนลูกจางจำเลยและมีการเลิกจางในวันที่ ๒๖ ธันวาคม ๒๕๖๐ ตามรายงานกระบวน พิจารณาคดีของศาลแรงงานกลาง ฉบับลงวันที่ ๒๔ เมษายน ๒๕๖๑ ดังนั้น อุทธรณของโจทก ทั้งสองในขอนี้จึงเปนขอที่ไมไดยกขึ้นวากันมาแลวโดยชอบในศาลแรงงานกลางตามประมวลกฎหมาย วิธีพิจารณาความแพง มาตรา ๒๒๕ วรรคหนึ่ง ประกอบพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแรงงานและ วิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๕๔ วรรคหนึ่ง ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษไมรับวินิจฉัย คดีมีปญหาตองวินิจฉัยตามอุทธรณของโจทกทั้งสองประการแรกวา จำเลยดำเนินกิจการ เพื่อแสวงหากำไรในทางเศรษฐกิจหรือไม เห็นวา จำเลยเปนนิติบุคคลตามพระราชบัญญัติการจัดสรรที่ดิน พ.ศ. ๒๕๔๓ ที่ตองดำเนินกิจการภายใตบทบัญญัติแหงกฎหมายและขอบังคับของจำเลย ตาม ขอบังคับของจำเลยหมวดที่ ๒ แสดงถึงวัตถุประสงคในการดำเนินกิจการของจำเลยวา เพื่อรับโอน ทรัพยสินและบริการอันเปนสาธารณูปโภคหรือบริการสาธารณะที่ผูจัดสรรที่ดินไดจัดใหมีขึ้น เพื่อ การจัดสรรที่ดินตามแผนผังและโครงการที่รับอนุญาตและดำเนินการดานการบริหารจัดการเพื่อ


๑๘๑ ประโยชนของสมาชิกและบริวารใหมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลโดยรวม อันเปนการกระทำโดย มีวัตถุประสงคมุงเนนเพื่อประโยชนสวนรวมของสมาชิกในหมูบาน แมขอบังคับในหมวดที่ ๔ การบริการคลัง การดำเนินงานการบัญชีและการเงิน ขอ ๔ (๑) จะกำหนดใหจำเลยสามารถลงทุน ในกิจการตาง ๆ ที่เปนประโยชนตอสมาชิก แตรายไดที่จำเลยไดรับมีระบุไวในขอ ๖ วา ในกรณีที่ จำเลยมีรายไดหลังจากหักคาใชจายแลวในแตละปที่มีกำไร ใหนำไปฝากเขาเปนเงินกองทุนสำรอง ของหมูบานตอไปตามความจำเปน แสดงวารายไดตาง ๆ รวมทั้งรายไดที่เกิดจากการลงทุนของ จำเลยนั้น หากมีกำไรตองนำฝากเขาเปนเงินกองทุนสำรองของหมูบาน มิใชนำเงินรายไดที่หามา ไดนั้นมาจัดสรรหรือแบงปนผลกำไรระหวางกัน จึงไมอาจถือไดวาจำเลยดำเนินกิจการเพื่อแสวงหา กำไรในทางเศรษฐกิจ กรณีจึงมิใหใชบทบัญญัติหมวด ๑๑ คาชดเชย ตั้งแตมาตรา ๑๑๘ ถึง มาตรา ๑๒๒ บังคับแกจำเลยตามกฎกระทรวง (พ.ศ. ๒๕๔๑) ออกตามความในพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ ขอ (๓) จำเลยจึงไมตองจายคาชดเชยพรอมดอกเบี้ยแกโจทกทั้งสอง ที่ศาลแรงงาน กลางยกปญหานี้ขึ้นวินิจฉัยวาจำเลยไมไดดำเนินกิจการเพื่อแสวงหากำไรในทางเศรษฐกิจจึงไม ตองจายคาชดเชยแกโจทกทั้งสองนั้น ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษเห็นพองดวย อุทธรณของโจทก ทั้งสองในประเด็นนี้ฟงไมขึ้น เมื่อวินิจฉัยดังนี้แลวกรณีจึงไมจำตองวินิจฉัยอีกตอไปวาการกระทำ ของโจทกทั้งสองเขาขอยกเวนที่จำเลยมีสิทธิเลิกจางโดยไมตองจายคาชดเชยตามพระราชบัญญัติ คุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา ๑๑๙ (๑) (๒) หรือไมอีก ปญหาตองวินิจฉัยตามอุทธรณของโจทกทั้งสองประการที่สองมีวา จำเลยตองจายสินจาง แทนการบอกกลาวลวงหนาและคาเสียหายจากการเลิกจางไมเปนธรรมหรือไม เห็นวา การที่โจทก ทั้งสองรับเงินมาแลวไมนำฝากเขาบัญชีธนาคารของจำเลยจนลวงเลยเวลามานานและเปนเงิน จำนวนมาก แมจะอางวาทำตามคำสั่งของประธานคณะกรรมการจำเลยในขณะนั้นและมติของ คณะกรรมการจำเลย แตเงินที่ยังไมนำฝากมีจำนวนมากเกินกวาที่จะเก็บไวสำรองจายเปนคาใชจาย ของจำเลยรายวัน การกระทำของโจทกทั้งสองเปนการกระทำอันไมสมแกการปฏิบัติหนาที่ของตน ใหลุลวงไปโดยถูกตองและสุจริต กับทั้งมีเหตุอันควรสงสัยไดวาเปนการนำเงินไปหมุนเวียนใชจาย สวนตัว จำเลยจึงมีสิทธิเลิกจางโจทกทั้งสองไดโดยไมตองบอกกลาวลวงหนาตามประมวลกฎหมาย แพงและพาณิชย มาตรา ๕๘๓ และถือเปนเหตุอันสมควรเพียงพอที่จะเลิกจางโจทกทั้งสองได มิใชเปนการกลั่นแกลงโจทกทั้งสอง การเลิกจางโจทกทั้งสองจึงมิใชการเลิกจางที่ไมเปนธรรม จำเลยไมตองจายสินจางแทนการบอกกลาวลวงหนาและคาเสียหายจากการเลิกจางไมเปนธรรม แกโจทกทั้งสอง ที่ศาลแรงงานกลางวินิจฉัยมานั้น ตองดวยความเห็นของศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษ อุทธรณของโจทกทั้งสองฟงไมขึ้น


๑๘๒ สวนอุทธรณของโจทกทั้งสองในขอ ๒.๕ เรื่องการรับฟงพยานหลักฐานวาเอกสารที่ นางสาวศรีสกุลจัดทำนั้นไมถูกตอง ไมไดนำรายจายมาหักออก เงินของจำเลยไมไดสูญหายแตถูก นำไปใชจายในกิจการของจำเลยโดยอางเหตุประการตาง ๆ นั้น เห็นวา ลวนเปนการอุทธรณโตแยง ดุลพินิจในการรับฟงพยานหลักฐานของศาลแรงงานกลาง อันเปนอุทธรณในขอเท็จจริงซึ่งตองหาม มิใหอุทธรณตามพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๕๔ วรรคหนึ่ง ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษไมรับวินิจฉัย ปญหาตองวินิจฉัยตามอุทธรณของโจทกทั้งสองประการตอไปมีวา จำเลยมีอำนาจ ฟองแยงหรือไม เห็นวาพระราชบัญญัติการจัดสรรที่ดิน พ.ศ. ๒๕๔๓ มาตรา ๔๖ บัญญัติวา “ใหนิติบุคคล หมูบานจัดสรรที่จดทะเบียนแลวมีฐานะเปนนิติบุคคล ใหนิติบุคคลหมูบานจัดสรรมีคณะกรรมการ หมูบานจัดสรรเปนผูดําเนินกิจการของนิติบุคคลหมูบานจัดสรรตามกฎหมายและขอบังคับของ นิติบุคคลหมูบานจัดสรรภายใตการควบคุมดูแลของที่ประชุมใหญของสมาชิก คณะกรรมการ หมูบานจัดสรรเปนผูแทนของนิติบุคคลหมูบานจัดสรรในกิจการอันเกี่ยวกับบุคคลภายนอก” และ มาตรา ๔๘ บัญญัติวา “เพื่อประโยชนของผูซื้อที่ดินจัดสรร ใหนิติบุคคลหมูบานจัดสรรมีอำนาจ หนาที่ดังตอไปนี้... (๔) ยื่นคำรองทุกขหรือเปนโจทกฟองแทนสมาชิกเกี่ยวกับกรณีที่กระทบสิทธิ หรือประโยชนของสมาชิกจำนวนตั้งแตสิบรายขึ้นไป...” เมื่อขอบังคับของจำเลย หมวดที่ ๓ ขอ ๕ (๗) ระบุวา การแจงความรองทุกข ฟองรองดำเนินคดีในการปกปองสิทธิและผลประโยชนของ สวนรวม เปนอำนาจของคณะกรรมการหมูบาน และขอ ๘ (๑) ซึ่งระบุขอบเขตอำนาจหนาที่ของ ประธานคณะกรรมการ ซึ่งไมไดใหอำนาจประธานคณะกรรมการจำเลยมีอำนาจฟองรองดำเนินคดีได โดยลำพัง เมื่อไมปรากฏวาคณะกรรมการนิติบุคคลจำเลยมีมติมอบอำนาจใหประธานคณะกรรมการ จำเลยฟองแยงโจทกทั้งสอง จำเลยจึงไมมีอำนาจฟองแยง ที่ศาลแรงงานกลางมิไดวินิจฉัยปญหา ขอนี้มาทั้ง ๆ ที่โจทกทั้งสองไดใหการแกฟองแยงตอสูเปนประเด็นไวแลว จึงเปนการไมชอบ ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษชอบที่จะวินิจฉัยไวเสียใหถูกตอง อุทธรณของโจทกทั้งสองประการนี้ฟงขึ้น เมื่อวินิจฉัยดังนี้แลวปญหาเรื่องฟองแยงของจำเลยเปนคดีแพงเกี่ยวเนื่องกับคดีอาญาหรือไม โจทก ทั้งสองทำละเมิดและตองชดใชคาเสียหายแกจำเลยหรือไม เพียงใด กรณีจึงไมจำตองวินิจฉัยอีก ตอไปเพราะไมทำใหเปลี่ยนแปลงผลคำพิพากษา


๑๘๓ พิพากษาแกเปนวา ใหยกฟองแยงของจำเลยโดยไมตัดสิทธิจำเลยที่จะฟองใหมภายใน กำหนดอายุความ นอกจากที่แกใหเปนไปตามคำพิพากษาศาลแรงงานกลาง. พรรณทิพย วัฒนกิจการ - ยอ สุโรจน จันทรพิทักษ - ตรวจ (วิโรจน ตุลาพันธุ - ปณิธาน วิสุทธากร - ไพรัช โปรงแสง)


๑๘๔ คำพิพากษาศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษที่ ๔๑๗๑/๒๕๖๒ สหกรณออมทรัพย กระทรวงมหาดไทย จํากัด โจทก นางจันเพ็ญ ฟุงทวีวงศ หรือแขมโคกกรวด กับพวก จำเลย ป.พ.พ. มาตรา ๖๘๒ วรรคสอง พ.ร.บ. คุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา ๑๐ สัญญาจางระหวางโจทกกับจําเลยที่ ๑ ระบุชัดแจงวา ผูวาจางไดวาจางผูรับจาง กระทําการในตําแหนงเจาหนาที่ประจําหนวยสหกรณออมทรัพย หรือตําแหนงหนาที่อื่น ที่ไดรับแตงตั้งหรือมอบหมายจากคณะกรรมการดําเนินการ หรือผูจัดการสหกรณ และ สัญญาค้ำประกันระหวางโจทกกับจําเลยที่ ๒ ยังระบุวา ตามที่จําเลยที่ ๑ ทําสัญญาจางไว กับโจทก จําเลยที่ ๒ ยินยอมค้ำประกันอยางไมมีจํากัด เพื่อเปนประกันความเสียหาย อันอาจเกิดขึ้นตามสัญญาจาง ทั้งสัญญาค้ำประกันมิไดมีขอความตอนใดระบุวา จําเลยที่ ๒ จะรับผิดชอบขณะที่จําเลยที่ ๑ มีตําแหนงเจาหนาที่ประจําหนวยสหกรณออมทรัพยเทานั้น การที่จําเลยที่ ๒ เขาค้ำประกันการทํางานของจําเลยที่ ๑ จึงเปนการค้ำประกันในทุกตําแหนง หนาที่ของจําเลยที่ ๑ ตามที่โจทกมอบหมายหรือมีคําสั่งแตงตั้งตลอดระยะเวลาที่จําเลยที่ ๑ ทํางานกับโจทก เมื่อตอมาโจทกมอบหมายใหจําเลยที่ ๑ ทํางานในตําแหนงเจาหนาที่บัญชี ซึ่งเปนตําแหนงหนาที่ที่มิไดอยูนอกเหนือความตกลงของสัญญาค้ำประกันและเปนงาน ที่นายจางจะเรียกหรือรับหลักประกันการทํางานหรือหลักประกันความเสียหายในการ ทํางานจากลูกจางได ตามประกาศกระทรวงแรงงาน เรื่อง หลักเกณฑและวิธีการเรียกหรือ รับหลักประกันการทํางานหรือหลักประกันความเสียหายในการทํางานจากลูกจาง พ.ศ. ๒๕๕๑ ขอ ๔ สัญญาค้ำประกันจึงมีผลผูกพันจําเลยที่ ๒ ประกาศกระทรวงแรงงาน เรื่อง หลักเกณฑและวิธีการเรียกหรือรับหลักประกัน การทํางานหรือหลักประกันความเสียหายในการทํางานจากลูกจาง พ.ศ. ๒๕๕๑ ขอ ๓ กําหนดวา ใหยกเลิกประกาศกระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม เรื่อง หลักเกณฑและ วิธีการเรียกหรือรับเงินประกันการทํางานหรือเงินประกันความเสียหายในการทํางานจาก


๑๘๕ ลูกจาง ลงวันที่ ๑๙ สิงหาคม ๒๕๔๑ ซึ่งไมไดจํากัดวงเงินค้ำประกันที่นายจางจะเรียกให ผูค้ำประกันรับผิดไว ขอ ๑๐ กําหนดวา ในกรณีที่นายจางเรียกหรือรับหลักประกันโดย การค้ำประกันดวยบุคคล วงเงินค้ำประกันที่นายจางเรียกใหผูค้ำประกันรับผิดตองไมเกิน ๖๐ เทาของอัตราคาจางรายวันโดยเฉลี่ยที่ลูกจางไดรับ และขอ ๑๒ กําหนดใหนายจางที่ เรียกหรือรับหลักประกันการทํางานเกินจากที่กําหนดไวกอนวันที่ประกาศมีผลใชบังคับ ดําเนินการใหมีหลักประกันไมเกินจํานวนมูลคาของหลักประกันตามที่กําหนดไวในประกาศ ดวย เมื่อประกาศกระทรวงแรงงาน เรื่อง หลักเกณฑและวิธีการเรียกหรือรับหลักประกัน การทํางานหรือหลักประกันความเสียหายในการทํางานจากลูกจาง พ.ศ. ๒๕๕๑ มีผลใช บังคับตั้งแตวันที่ ๔ กรกฎาคม ๒๕๕๑ ความรับผิดของผูค้ำประกันจะตองพิจารณาวาความ เสียหายอันกอใหเกิดหนี้ที่ผูค้ำประกันตองรวมรับผิดตอนายจางเกิดขึ้นในวันใด หากหนี้ ที่ผูค้ำประกันตองรวมรับผิดเกิดขึ้นกอนวันที่ประกาศมีผลบังคับใช ผูค้ำประกันตองรับผิด เต็มจํานวนคาเสียหายที่เกิดขึ้น แตหากหนี้ที่ผูค้ำประกันตองรวมรับผิดเกิดขึ้นตั้งแตหรือ หลังจากวันดังกลาว ความรับผิดของผูค้ำประกันจะถูกจํากัดไวไมเกิน ๖๐ เทาของอัตรา คาจางรายวันโดยเฉลี่ยที่ลูกจางไดรับ และหากขอเท็จจริงไมชัดแจงวาหนี้ที่ผูค้ำประกัน ตองรวมรับผิดเกิดขึ้นในชวงเวลาใดเปนการแนนอน กรณีจําตองตีความไปในทางที่เปน คุณแกผูค้ำประกัน จําเลยที่ ๒ และที่ ๓ จึงตองรวมรับผิดตอโจทกไมเกิน ๖๐ เทาของอัตรา คาจางรายวันโดยเฉลี่ยที่จําเลยที่ ๑ ซึ่งเปนลูกจางไดรับ ไมใชวาเมื่อโจทกมิไดดําเนินการ ตามประกาศกระทรวงแรงงานดวยการแกไขสัญญาค้ำประกันใหจําเลยที่ ๒ และที่ ๓ รับผิด ไมเกิน ๖๐ เทาของอัตราคาจางรายวันโดยเฉลี่ยที่จําเลยที่ ๑ ไดรับใหแลวเสร็จภายใน ๓๐ วัน นับแตวันที่ประกาศกระทรวงแรงงานมีผลใชบังคับแลว สัญญาค้ำประกันจะตกเปนโมฆะ  จําเลยที่ ๒ และที่ ๓ ตางยอมตนเขาเปนผูค้ำประกันการทํางานของจําเลยที่ ๑ ตอโจทกซึ่งเปนหนี้รายเดียวกัน แมการค้ำประกันจะทําขึ้นตางวาระกันและเปนคนละ ฉบับกัน ก็ตกอยูในบังคับบทบัญญัติแหง ป.พ.พ. มาตรา ๖๘๒ วรรคสอง ที่ผูค้ำประกัน จะตองรับผิดอยางลูกหนี้รวม โจทกฟอง ขอใหบังคับจำเลยทั้งสามรวมกันใชคาเสียหาย ๑๔,๗๙๘,๐๖๐.๔๓ บาท พรอมดอกเบี้ยอัตรารอยละ ๗.๕ ตอป ของตนเงินดังกลาว นับถัดจากวันฟองเปนตนไปจนกวา จะชำระเสร็จแกโจทก


๑๘๖ จำเลยที่ ๑ ขาดนัด จำเลยที่ ๒ ใหการและแกไขคำใหการ ขอใหยกฟอง จำเลยที่ ๓ ใหการ ขอใหยกฟอง ศาลแรงงานกลาง พิพากษาใหจำเลยที่ ๑ ใชคาเสียหาย ๑,๒๗๘,๑๐๕ บาท พรอมดอกเบี้ย อัตรารอยละ ๗.๕ ตอป นับถัดจากวันฟอง (ฟองวันที่ ๑๔ พฤศจิกายน ๒๕๖๐) จนกวาชำระเสร็จ แกโจทก โดยใหจำเลยที่ ๓ รวมรับผิดกับจำเลยที่ ๑ ใชคาเสียหาย ๖๑,๓๐๐.๒๐ บาท พรอมดอกเบี้ย อัตรารอยละ ๗.๕ ตอป นับถัดจากวันฟองจนกวาชำระเสร็จแกโจทก ยกฟองโจทกสำหรับจำเลย ที่ ๒ คำขออื่นนอกจากนี้ใหยก โจทกและจำเลยทั้งสามอุทธรณ ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษแผนกคดีแรงงานวินิจฉัยวา ศาลแรงงานกลางฟงขอเท็จจริง วา เมื่อวันที่ ๒ กันยายน ๒๕๓๔ โจทกทำสัญญาจางจำเลยที่ ๑ เขาทำงานเปนลูกจางตำแหนง เจาหนาที่ประจำหนวย มีจำเลยที่ ๒ และที่ ๓ ทำสัญญาค้ำประกันการทำงานตั้งแตวันที่ ๑ ตุลาคม ๒๕๓๔ และวันที่ ๑๙ กุมภาพันธ ๒๕๕๑ ตามลำดับ ตอมาโจทกยายจำเลยที่ ๑ ไปทำหนาที่เกี่ยวกับ การเงินโดยจำเลยที่ ๒ และที่ ๓ ไมไดรับแจงการเปลี่ยนแปลง หลังจากพระราชบัญญัติคุมครอง แรงงาน (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๑ และประกาศกระทรวงแรงงาน เรื่อง หลักเกณฑและวิธีการเรียก หรือรับหลักประกันการทำงานหรือหลักประกันความเสียหายในการทำงานจากลูกจาง พ.ศ. ๒๕๕๑ มีผลบังคับใช โจทกไมเคยเรียกจำเลยที่ ๒ และที่ ๓ ไปทำสัญญาค้ำประกันใหม แลววินิจฉัยวา จำเลยที่ ๑ ทำงานฝายบัญชีมีหนาที่รับผิดชอบเรียกเก็บเงินประจำเดือนของหนวยงานกรมราชทัณฑ กรมโยธาธิการและผังเมือง หนวยงานอื่น และลูกหนี้พนสภาพ บกพรองตอหนาที่ไมติดตามยอด และไมหายอดลูกหนี้ตัวแทนคางชำระของกรมราชทัณฑ ไมสรุปยอดลูกหนี้ตัวแทนคางชำระของ กรมโยธาธิการและผังเมือง และไมติดตามยอดลูกหนี้ตัวแทนพนสภาพคางชำระ เปนการผิดสัญญาจาง และกระทำละเมิดตอโจทก คาเสียหายที่โจทกเรียกในสวนของกรมราชทัณฑ ๖,๕๑๕,๖๐๒.๘๙ บาท กรมโยธาธิการและผังเมือง ๗,๖๘๔,๙๔๒.๕๔ บาท และลูกหนี้ตัวแทนพนสภาพคางชำระ ๕๙๗,๕๑๕ บาท รวมเปนเงิน ๑๔,๗๙๘,๐๖๐.๔๓ บาท โดยอางบันทึกความเสียหายวาจำเลยที่ ๑ ยักยอกเงินและบกพรองตอหนาที่ไมติดตามยอดและไมหายอดลูกหนี้ตัวแทนคางชำระ บันทึกการ โอนเงินเขาบัญชีสวนตัวของจำเลยที่ ๑ บันทึกใหปากคำของจำเลยที่ ๑ รายงานประจำวันรับแจง เอกสารหาย รายการบัญชีเอกสารที่สูญหาย และรายงานการประชุมคณะกรรมการดำเนินการ ของโจทกเปนพยานนั้น เอกสารดังกลาวไมใชหลักฐานแหงหนี้ที่แนนอนไมอาจกำหนดคาสินไหม ทดแทนเปนเงิน ๑๔,๗๙๘,๐๖๐.๔๓ บาท ได แตเมื่อพิเคราะหพฤติการณและความรายแรงแหง


๑๘๗ ละเมิดประกอบคาจางอัตราสุดทายที่จำเลยที่ ๑ ไดรับเดือนละ ๓๐,๖๕๐ บาท แลวกำหนด คาเสียหายใหโจทกเปนเงิน ๔,๒๖๐,๓๕๐ บาท ฝายบัญชีของโจทกละเลยมิไดตรวจสอบการทำงาน ของจำเลยที่ ๑ มีสวนกอใหเกิดความเสียหาย เห็นสมควรใหจำเลยที่ ๑ ใชคาเสียหายแกโจทก รอยละ ๓๐ เปนเงิน ๑,๒๗๘,๑๐๕ บาท สวนจำเลยที่ ๒ ทำสัญญาค้ำประกันการทำงานของจำเลยที่ ๑ ขณะจำเลยที่ ๑ ทำงานตำแหนงเจาหนาที่ประจำหนวยไมใชงานสมุหบัญชีหรืองานพนักงาน เก็บหรือจายเงิน โดยพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา ๑๐ หามมิใหนายจาง เรียกประกันการทำงานจากลูกจาง เวนแตลักษณะของงานที่ทำนั้นลูกจางตองรับผิดชอบเกี่ยวกับ การเงิน โจทกใหจำเลยที่ ๑ ไปทำงานสมุหบัญชีหรืองานพนักงานเก็บหรือจายเงินเมื่อป ๒๕๔๒ ถึงป ๒๕๕๓ กอนวันที่ ๒๑ สิงหาคม ๒๕๔๑ (ที่ถูก วันที่ ๑๙ สิงหาคม ๒๕๔๑) อันเปนวันที่ พระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ ใชบังคับ โจทกจึงตองหามเรียกประกันการทำงาน จากจำเลยที่ ๑ สัญญาค้ำประกันที่จำเลยที่ ๒ ทำกับโจทกจึงขัดตอกฎหมายและเปนกฎหมาย เกี่ยวกับความสงบเรียบรอยของประชาชน ตกเปนโมฆะ แมตอมาโจทกจะใหจำเลยที่ ๑ ไปทำงาน สมุหบัญชีหรืองานพนักงานเก็บหรือจายเงินก็ไมทำใหสัญญาที่เปนโมฆะกลับสมบูรณไดอีก จำเลย ที่ ๒ จึงไมตองรับผิดตอโจทก สำหรับจำเลยที่ ๓ ทำสัญญาค้ำประกันการทำงานของจำเลยที่ ๑ เมื่อวันที่ ๑๙ กุมภาพันธ ๒๕๕๑ เปนเวลาภายหลังพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ ใชบังคับ และโจทกใหจำเลยที่ ๑ ทำงานสมุหบัญชีหรืองานพนักงานเก็บหรือจายเงินตั้งแตป ๒๕๔๒ จนถึงป ๒๕๕๓ จำเลยที่ ๓ ตองผูกพันตามสัญญาค้ำประกัน แตมาตรา ๑๐ แหงพระราชบัญญัติ คุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ แกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๑ และประกาศกระทรวงแรงงาน เรื่อง หลักเกณฑและวิธีการเรียกหรือรับหลักประกัน การทำงานหรือหลักประกันความเสียหายในการทำงานจากลูกจาง พ.ศ. ๒๕๕๑ ขอ ๖ บัญญัติใหใน กรณีที่นายจางเรียกหลักประกัน จำนวนเงินที่เรียกตองไมเกิน ๖๐ เทาของอัตราคาจางรายวันโดย เฉลี่ยที่ลูกจางไดรับ จำเลยที่ ๓ จึงตองรับผิดไมเกิน ๖๐ เทาของอัตราคาจางรายวันโดยเฉลี่ย ที่จำเลยที่ ๑ ไดรับอัตราสุดทาย ใหจำเลยที่ ๓ รวมรับผิดกับจำเลยที่ ๑ ใชคาเสียหายแกโจทก ๖๑,๓๐๐.๒๐ บาท ที่โจทกอุทธรณวา คดีนี้จำเลยที่ ๑ ขาดนัด พยานหลักฐานของโจทกมีน้ำหนักมั่นคง สนับสนุนคำฟองใหรับฟงเปนความจริงตามที่นายถวิลผูรับมอบอำนาจโจทก เบิกความสรุปทำนองวา จำเลยที่ ๑ ยอมรับตอคณะกรรมการตรวจสอบขอเท็จจริงวาไมไดติดตามตรวจสอบยอดเงินที่ เรียกเก็บของสมาชิกกรมราชทัณฑ กรมโยธาธิการและผังเมือง และหนวยงานอื่น ทำใหเก็บเงิน ไมครบตามจำนวนที่โจทกเรียกเก็บ ณ วันที่ ๓๐ กันยายน ๒๕๖๐ มียอดคางชำระบัญชีในสวน


๑๘๘ กรมราชทัณฑ ๖,๕๑๕,๖๐๒.๘๙ บาท กรมโยธาธิการและผังเมือง ๗,๖๘๔,๙๔๒.๕๔ บาท และลูกหนี้ ตัวแทนพนสภาพ ๕๙๗,๕๑๕ บาท จำเลยที่ ๑ จึงตองรับผิดชดใชคาเสียหาย ๑๔,๗๙๘,๐๖๐.๔๓ บาท พรอมดอกเบี้ยผิดนัดอัตรารอยละ ๗.๕ ตอป นั้น เห็นวา ศาลแรงงานกลางฟงขอเท็จจริงวา เอกสารที่โจทกนำเขาไตสวนสนับสนุนพยานบุคคลไมใชหลักฐานแหงหนี้ที่แนนอนไมอาจกำหนด คาสินไหมทดแทนใหจำเลยที่ ๑ ชดใชแกโจทกเปนเงิน ๑๔,๗๙๘,๐๖๐.๔๓ บาท ได แตเมื่อพิเคราะห พฤติการณและความรายแรงแหงละเมิดประกอบคาจางอัตราสุดทายที่จำเลยที่ ๑ ไดรับเดือนละ ๓๐,๖๕๐ บาท แลว กำหนดคาเสียหายใหโจทกเปนเงิน ๔,๒๖๐,๓๕๐ บาท อุทธรณของโจทก จึงเปนการโตแยงดุลพินิจในการรับฟงพยานหลักฐานและกำหนดคาเสียหายของศาลแรงงานกลาง อันเปนอุทธรณในขอเท็จจริง ซึ่งตองหามมิใหอุทธรณตามพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแรงงานและ วิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๕๔ วรรคหนึ่ง ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษไมรับ วินิจฉัย ที่จำเลยที่ ๑ อุทธรณวา ศาลแรงงานกลางรับฟงพยานหลักฐานไมชอบดวยกฎหมาย เนื่องจากขัดตอพยานหลักฐานในสำนวนโดยอางถึงคำเบิกความพยานบุคคลและพยานเอกสารที่ โจทกนำเขาไตสวนแลวสรุปวาพยานหลักฐานของโจทกไมสามารถยืนยันไดวาจำเลยที่ ๑ กระทำ ละเมิดและทำใหโจทกเสียหาย ๑๔,๗๙๘,๐๖๐.๔๓ บาท นั้น เห็นวา เนื้อหาตามอุทธรณของจำเลยที่ ๑ เปนการกลาวอางเพื่อใหศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษรับฟงขอเท็จจริงแตกตางจากที่ศาลแรงงานกลาง รับฟงมา จึงเปนการโตแยงดุลพินิจในการรับฟงพยานหลักฐานของศาลแรงงานกลางอันเปนอุทธรณ ในขอเท็จจริง ซึ่งตองหามมิใหอุทธรณตามพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณา คดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๕๔ วรรคหนึ่ง ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษไมรับวินิจฉัยเชนกัน คดีมีปญหาตองวินิจฉัยตามอุทธรณของโจทก กับจำเลยที่ ๒ และที่ ๓ วา จำเลยที่ ๒ และที่ ๓ ตองรวมรับผิดกับจำเลยที่ ๑ ใชคาเสียหายแกโจทกตามสัญญาค้ำประกันหรือไม เห็นวา การเรียกหรือรับหลักประกันการทำงานหรือหลักประกันความเสียหายในการทำงานจากลูกจางนั้น นายจางจะตองปฏิบัติตามพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา ๑๐ วรรคหนึ่ง กลาวคือ นายจางจะเรียกหรือรับหลักประกันการทำงานหรือหลักประกันความเสียหายในการ ทำงาน ไมวาจะเปนเงิน ทรัพยสินอื่นหรือการค้ำประกันดวยบุคคลจากลูกจางได หากลักษณะหรือ สภาพของงานที่ทำนั้นลูกจางตองรับผิดชอบเกี่ยวกับการเงินหรือทรัพยสินของนายจาง ซึ่งอาจ กอใหเกิดความเสียหายแกนายจางได ทั้งนี้ ลักษณะหรือสภาพของงานที่ใหเรียกหรือรับหลักประกัน จากลูกจาง ตลอดจนประเภทของหลักประกัน จำนวนมูลคาของหลักประกัน และวิธีการเก็บรักษา ใหเปนไปตามหลักเกณฑและวิธีการที่รัฐมนตรีประกาศกำหนด ซึ่งรัฐมนตรีวาการกระทรวงแรงงาน


๑๘๙ อาศัยอำนาจตามพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา ๖ และมาตรา ๑๐ ซึ่งแกไข เพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๑ ออกประกาศกระทรวงแรงงาน เรื่อง หลักเกณฑและวิธีการเรียกหรือรับหลักประกันการทำงานหรือหลักประกันความเสียหายใน การทำงานจากลูกจาง พ.ศ. ๒๕๕๑ ขอ ๔ กำหนดลักษณะหรือสภาพของงานที่นายจางจะเรียก หรือรับหลักประกันการทำงานหรือหลักประกันความเสียหายในการทำงานจากลูกจางได ดังนั้น เมื่อไดความตามที่ศาลแรงงานกลางรับฟงมาวา จำเลยที่ ๓ ทำสัญญาค้ำประกันวันที่ ๑๙ กุมภาพันธ ๒๕๕๑ ขณะจำเลยที่ ๑ ทำงานรับผิดชอบเกี่ยวกับการเงินตำแหนงเจาหนาที่บัญชี ซึ่งเปนงาน ที่นายจางเรียกหรือรับหลักประกันการทำงานหรือหลักประกันความเสียหายในการทำงานจาก ลูกจางได ตามประกาศกระทรวงแรงงาน เรื่อง หลักเกณฑและวิธีการเรียกหรือรับหลักประกันการ ทำงานหรือหลักประกันความเสียหายในการทำงานจากลูกจาง พ.ศ. ๒๕๕๑ ขอ ๔ สัญญาค้ำประกัน ฉบับดังกลาวยอมมีผลผูกพันจำเลยที่ ๓ สวนที่จำเลยที่ ๒ ทำสัญญาค้ำประกันวันที่ ๑ ตุลาคม ๒๕๓๔ นั้น แมขอเท็จจริงฟงเปนยุติวา จำเลยที่ ๒ ทำสัญญาค้ำประกันกับโจทกขณะจำเลยที่ ๑ ทำงานในตำแหนงเจาหนาที่ประจำหนวยสหกรณออมทรัพยก็ตาม แตเมื่อพิเคราะหสัญญาจาง ระหวางโจทกกับจำเลยที่ ๑ ฉบับวันที่ ๒ กันยายน ๒๕๓๔ และสัญญาค้ำประกันระหวางโจทกกับ จำเลยที่ ๒ ฉบับวันที่ ๑ ตุลาคม ๒๕๓๔ ตามเอกสารหมาย จ.๕ ขอ ๑ และ จ.๗ ขอ ๑ ประกอบ กันแลว สัญญาจางระหวางโจทกกับจำเลยที่ ๑ ตามเอกสารหมาย จ.๕ ขอ ๑ มีขอความระบุชัดแจง วา ผูวาจางไดวาจางผูรับจางกระทำการในตำแหนงเจาหนาที่ประจำหนวยสหกรณออมทรัพยหรือ ตำแหนงหนาที่อื่นที่ไดรับแตงตั้งหรือมอบหมายจากคณะกรรมการดำเนินการหรือผูจัดการสหกรณ และสัญญาค้ำประกันระหวางโจทกกับจำเลยที่ ๒ ตามเอกสารหมาย จ.๗ ขอ ๑ ยังระบุวา ตามที่ จำเลยที่ ๑ ทำสัญญาจางไวกับโจทก จำเลยที่ ๒ ยินยอมค้ำประกันอยางไมมีจำกัด เพื่อเปนประกัน ความเสียหายอันอาจเกิดขึ้นตามสัญญาจาง ดังนั้น เมื่อสัญญาค้ำประกันมิไดมีขอความตอนใด ระบุวา จำเลยที่ ๒ จะรับผิดชอบขณะที่จำเลยที่ ๑ มีตำแหนงเจาหนาที่ประจำหนวยสหกรณ ออมทรัพยเทานั้น การที่จำเลยที่ ๒ เขาค้ำประกันการทำงานของจำเลยที่ ๑ จึงเปนการค้ำประกันใน ทุกตำแหนงหนาที่ของจำเลยที่ ๑ ตามที่โจทกมอบหมายหรือมีคำสั่งแตงตั้งตลอดระยะเวลาที่จำเลย ที่ ๑ ทำงานกับโจทกดังที่ระบุไวในสัญญาจางและสัญญาค้ำประกันฉบับดังกลาว เมื่อตอมาโจทก มอบหมายใหจำเลยที่ ๑ ทำงานในตำแหนงเจาหนาที่บัญชีซึ่งเปนตำแหนงหนาที่ที่มิไดอยูนอก เหนือความตกลงของสัญญาค้ำประกันและเปนงานที่นายจางจะเรียกหรือรับหลักประกันการทำงาน หรือหลักประกันความเสียหายในการทำงานจากลูกจางได ตามประกาศกระทรวงแรงงาน เรื่อง หลักเกณฑและวิธีการเรียกหรือรับหลักประกันการทำงานหรือหลักประกันความเสียหายในการ


Click to View FlipBook Version