The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รวมคำพิพากษา-แผนกคดีแรงงาน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by iprd.pic, 2024-01-31 21:12:27

รวมคำพิพากษา-แผนกคดีแรงงาน

รวมคำพิพากษา-แผนกคดีแรงงาน

๔๔๐ ของโจทกแตละสำนวน โดยมีกำหนดวันทำงานสัปดาหละ ๖ วัน วันจันทรถึงวันเสาร วันอาทิตย เปนวันหยุดประจำสัปดาห กำหนดการจายคาจาง คาลวงเวลา และคาทำงานในวันหยุดเดือนละ ๑ ครั้ง ทุกวันสิ้นเดือน กำหนดวันหยุดพักผอนประจำปปละ ๖ วัน ลูกจางไมสามารถสะสมวันหยุด พักผอนประจำปได เมื่อวันที่ ๒๔ พฤษภาคม ๒๕๖๐ ศาลลมละลายกลางมีคำสั่งพิทักษทรัพย เด็ดขาดจำเลยที่ ๒ ตามคดีหมายเลขแดงที่ ล.๒๔๓๖/๒๕๖๐ ตอมาโจทกทั้งหนึ่งรอยยื่นคำรอง ตอจำเลยที่ ๑ อางวาจำเลยที่ ๒ ถูกพิทักษทรัพยเด็ดขาดไมสามารถดำเนินกิจการได ขอใหจำเลย ที่ ๑ มีคำสั่งใหจำเลยที่ ๒ จายคาชดเชย คาจางแทนการบอกกลาวลวงหนา และคาจางสำหรับ วันหยุดพักผอนประจำปใหแกโจทกทั้งหนึ่งรอย จำเลยที่ ๑ สอบสวนแลวมีคำสั่งที่ ๑/๒๕๖๑ ลงวันที่ ๑๒ มีนาคม ๒๕๖๑ โดยเห็นวากรณีดังกลาวยังไมมีการเลิกจาง โจทกทั้งหนึ่งรอยจึงไมมีสิทธิได รับคาชดเชย คาจางแทนการบอกกลาวลวงหนา และคาจางสำหรับวันหยุดพักผอนประจำป แลว วินิจฉัยวา แมคำสั่งพิทักษทรัพยเด็ดขาดลูกหนี้ผูเปนนายจางไมมีผลทำใหความสัมพันธระหวาง นายจางกับลูกจางตองสิ้นสุดหรือระงับไปดวย ทั้งไมมีบทกฎหมายใดบัญญัติวาเมื่อศาลลมละลายกลาง มีคำสั่งพิทักษทรัพยเด็ดขาดลูกหนี้แลว ลูกจางของลูกหนี้ผูเปนนายจางหมดสิทธิที่จะทำงาน ใหลูกหนี้ตอไป แตขอเท็จจริงไดความจากเจาพนักงานพิทักษทรัพยของจำเลยที่ ๒ วา กอนศาล มีคำสั่งพิทักษทรัพยเด็ดขาด จำเลยที่ ๒ ใหเชาทรัพยสินที่เกี่ยวของกับกิจการแกบริษัทคูคา แมจะ เปนขั้นตอนการดำเนินธุรกิจ แตยอมสอใหเห็นถึงเจตนาในการหยุดประกอบกิจการและเลิกจาง ลูกจางทั้งหมดโดยปริยาย ประกอบกับตัวแทนของโจทกทั้งหนึ่งรอยเบิกความยืนยันวาในวันที่ ศาลมีคำสั่งพิทักษทรัพยเด็ดขาด ตัวแทนของจำเลยที่ ๒ เรียกประชุมลูกจางและแจงถึงการดำเนิน กิจการของจำเลยที่ ๒ วาไมสามารถดำเนินกิจการตอไปได และผูบริหารของจำเลยที่ ๒ เคยให การตอจำเลยที่ ๑ ซึ่งเปนพนักงานตรวจแรงงานถึงการไมสามารถดำเนินกิจการของจำเลยที่ ๒ ตอไปได ทั้งจำเลยที่ ๒ ยังแจงตอสำนักงานประกันสังคมเกี่ยวกับการสิ้นสุดความเปนผูประกันตน กับลูกจางในคดีนี้ทั้งหมด โดยระบุเหตุออกจากงานเนื่องจากการเลิกจาง พฤติการณและพยาน หลักฐานดังกลาวบงชี้วา จำเลยที่ ๒ แสดงเจตนาเลิกจางลูกจางทั้งหมดรวมถึงโจทกทั้งหนึ่งรอย โดยการถายโอนทรัพยสินเพื่อหยุดดำเนินกิจการ รวมไปถึงการแสดงเจตนายอมรับการเลิกจาง ตอลูกจางทั้งหมดดวยการแจงการเลิกจางตอสำนักงานประกันสังคมเกี่ยวกับการสิ้นสุดความเปน ผูประกันตน ประกอบกับลูกจางทั้งหมดไดรับการแจงจากผูบริหารของจำเลยที่ ๒ วาจำเลยที่ ๒ ไมสามารถใหลูกจางทั้งหมดทำงานกับจำเลยที่ ๒ ได และลูกจางจะไมไดรับคาจาง ถือไดวาจำเลย ที่ ๒ เลิกจางโจทกทั้งหนึ่งรอยตามพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา ๑๑๘ วรรคสอง โดยพฤติการณที่จำเลยที่ ๒ ไมใหลูกจางทำงานตอไปและไมจายคาจางใหเพราะเหตุที่


๔๔๑ นายจางไมสามารถดำเนินกิจการตอไป โจทกทั้งหนึ่งรอยจึงมีสิทธิไดรับคาชดเชย คาจางแทนการ บอกกลาวลวงหนา และคาจางสำหรับวันหยุดพักผอนประจำปจากจำเลยที่ ๒ ตามคำฟอง คำสั่ง ที่ ๑/๒๕๖๑ ลงวันที่ ๑๒ มีนาคม ๒๕๖๑ ของจำเลยที่ ๑ ยอมมิชอบดวยกฎหมาย คดีมีปญหาตองวินิจฉัยตามอุทธรณของจำเลยทั้งสองวา ตามคำพิพากษาศาลแรงงาน ภาค ๑ ที่ใหเพิกถอนคำสั่งของจำเลยที่ ๑ และใหจำเลยที่ ๒ จายคาชดเชย คาจางแทนการบอก กลาวลวงหนา และคาจางสำหรับวันหยุดพักผอนประจำปพรอมดอกเบี้ยตามคำฟองนั้นชอบดวย กฎหมายหรือไม เห็นวา คำสั่งพิทักษทรัพยเด็ดขาดจำเลยที่ ๒ ผูเปนลูกหนี้ มีผลทำใหลูกหนี้ ไมสามารถกระทำการใด ๆ เกี่ยวกับทรัพยสินหรือกิจการของตน ตองใหเจาพนักงานพิทักษทรัพย เปนผูจัดการหรือกระทำการแทนตามพระราชบัญญัติลมละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓ มาตรา ๒๒ และ มาตรา ๒๔ เจาพนักงานพิทักษทรัพยจึงมีฐานะเปนนายจางตามพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา ๕ และหามีผลทำใหความสัมพันธระหวางจำเลยที่ ๒ ลูกหนี้ผูเปนนายจาง กับโจทกทั้งหนึ่งรอยเจาหนี้ผูเปนลูกจางสิ้นสุดหรือระงับไปดวยไม การกระทำของจำเลยที่ ๒ กอนถูกพิทักษทรัพยเด็ดขาดทั้งการนำที่ดินซึ่งเปนที่ตั้งของโรงงาน ตัวอาคารโรงงาน และเครื่องจักร ออกใหบุคคลอื่นเชา หรือการแจงกับบรรดาลูกจางใหไปสมัครงานใหม ก็ลวนเกิดขึ้นกอนที่ เจาพนักงานพิทักษทรัพยจะเขามารวบรวมทรัพยสินของจำเลยที่ ๒ สวนการกระทำของจำเลยที่ ๒ ภายหลังจากที่ศาลลมละลายกลางมีคำสั่งพิทักษทรัพยเด็ดขาด ไมวาการไปแจงตอสำนักงาน ประกันสังคมเกี่ยวกับการสิ้นสุดความเปนผูประกันตนกับลูกจางคดีนี้ทั้งหมดก็หาไดเกิดจากการ กระทำของเจาพนักงานพิทักษทรัพยหรือโดยความรูเห็นยินยอมของเจาพนักงานพิทักษทรัพย ไมรวมตลอดถึงการที่โจทกทั้งหนึ่งรอยไปสมัครงานกับบริษัทบางกอกรับเบอร ดีเวลลอปเมนต เซ็นเตอร จำกัด นายจางคนใหมโดยความสมัครใจเอง โดยโจทกทั้งหนึ่งรอยหาทางเลือกประโยชน ที่จะไดรับจากการเขาทำงานกับบริษัทดังกลาวตอไป กรณีจึงไมมีการกระทำของเจาพนักงาน พิทักษทรัพยในประการอื่นใดที่ไมใหโจทกทั้งหนึ่งรอยทำงานตอไปและไมจายคาจางให อันจะถือ วาเปนการเลิกจางตามพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา ๑๑๘ วรรคสอง เมื่อจำเลยที่ ๒ ไมไดเลิกจางโจทกทั้งหนึ่งรอยแลว โจทกทั้งหนึ่งรอยจึงไมมีสิทธิไดรับคาชดเชย คาจางแทนการบอกกลาวลวงหนา และคาจางสำหรับวันหยุดพักผอนประจำป พรอมดอกเบี้ยตาม คำฟอง ที่ศาลแรงงานภาค ๑ พิพากษาใหเพิกถอนคำสั่งของจำเลยที่ ๑ และใหจำเลยที่ ๒ จาย คาชดเชย คาจางแทนการบอกกลาวลวงหนา และคาจางสำหรับวันหยุดพักผอนประจำป พรอม ดอกเบี้ยตามคำฟองใหแกโจทกทั้งหนึ่งรอยมานั้นจึงหาถูกตองไม ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษ ไมเห็นพองดวย อุทธรณของจำเลยทั้งสองฟงขึ้น


๔๔๒ พิพากษากลับ ใหยกฟองโจทกทั้งหนึ่งรอย. กิตติ เนตรประเสริฐชัย - ยอ ฤทธิรงค สมอุดร - ตรวจ (ยงยุทธ สมัย - สุรพงษ ชิดเชื้อ - นงนภา จันทรศักดิ์ ลิ่มไพบูลย)


๔๔๓ คำพิพากษาศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษที่ ๙๑๘๑ - ๙๑๘๕/๒๕๖๒ นายเจริญ เมืองอยู กับพวก โจทก บริษัทอีซูซุมอเตอร (ประเทศไทย) จำกัด จำเลย ป.วิ.พ. มาตรา ๑๗๖ พ.ร.บ. คุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา ๑๑๘ พ.ร.บ. จัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๓๑ การถอนฟองยอมเปนการลบลางผลแหงการยื่นคําฟองนั้น รวมทั้งกระบวน พิจารณาอื่น ๆ อันมีมาตอภายหลังยื่นคําฟอง และกระทําใหคูความกลับคืนสูฐานะเดิม แตวาคําฟองที่ไดถอนฟองก็อาจยื่นฟองใหมไดภายในอายุความ ตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๑๗๖ ประกอบ พ.ร.บ. จัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๓๑ แมโจทกที่ ๔ และที่ ๕ จะยื่นคํารองขอถอนฟองโดยมีขอความระบุวาโจทกที่ ๔ และที่ ๕ ไมประสงคจะดําเนินคดีกับจําเลยอีกตอไป ก็คงมีความหมายเพียงวาไมประสงคจะดําเนินคดี แกจําเลยสําหรับคดีนั้นเทานั้น หาไดเปนการสละสิทธิที่จะไมฟองจําเลยเปนคดีอื่นอีกไม โจทกที่ ๔ และที่ ๕ จึงมีอํานาจฟองจําเลยใหมเปนคดีนี้ได  พ.ร.บ. คุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา ๑๑๘ วรรคหนึ่ง กําหนดเงื่อนไข ใหนายจางจายคาชดเชยแกลูกจางเมื่อเลิกจาง โดยกําหนดหลักเกณฑการคิดคํานวณ คาชดเชยไวตาม (๑) ถึง (๕) เดิม แมไมมีบทบัญญัติหามมิใหนายจางออกระเบียบขอบังคับ เกี่ยวกับการจายเงินคาชดเชยรวมไปกับเงินประเภทอื่น แตเงินที่นายจางจายไปนั้นจะ ถือวาเปนคาชดเชยตาม พ.ร.บ. คุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ หรือไม ตองพิจารณาจาก หลักเกณฑการคิดคํานวณและเงื่อนไขการจายตามระเบียบขอบังคับเปนสําคัญ เงินชดเชย ที่จําเลยจายใหแกโจทกทั้งหานั้นเปนการจายตามขอบังคับกองทุนสํารองเลี้ยงชีพพนักงาน บริษัท อ. ซึ่งจดทะเบียนแลว ซึ่งเปนนิติบุคคลแยกตางหากจากจําเลย และมีหลักเกณฑ การคิดคํานวณและเงื่อนไขการจายเงินแตกตางจากการจายคาชดเชยตาม พ.ร.บ. คุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา ๑๑๘ กรณีจึงถือไมไดวาจําเลยไดจายคาชดเชย ตามกฎหมายรวมไปกับเงินประเภทอื่นแลว ดังนั้น แมโจทกทั้งหาจะไดรับเงินจากกองทุน


๔๔๔ สํารองเลี้ยงชีพพนักงานบริษัท อ. ซึ่งจดทะเบียนแลว และเงินเพิ่มสวนตางจากจําเลยแลว โจทกทั้งหาก็ยังมีสิทธิไดรับคาชดเชยตาม พ.ร.บ. คุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ โจทกทั้งหาฟอง ขอใหบังคับจำเลยจายคาชดเชยตามกฎหมายคุมครองแรงงานและ เงินชดเชยจากการออกจากงานเนื่องจากการเกษียณอายุตามระเบียบวาดวยเงินชดเชยเมื่อออกจากงาน สำหรับพนักงานบริษัทอีซูซุมอเตอร (ประเทศไทย) จำกัด พรอมดอกเบี้ยอัตรารอยละ ๑๕ ตอป จำเลยใหการ ขอใหยกฟอง ระหวางพิจารณา โจทกทั้งหาแถลงขอสละขอเรียกรองเกี่ยวกับเงินชดเชยตามระเบียบ วาดวยการจายเงินชดเชยเมื่อออกจากงานสำหรับพนักงานจำเลย ศาลแรงงานภาค ๑ พิพากษาใหจำเลยจายคาชดเชยแกโจทกที่ ๑ เปนเงิน ๒๙๒,๑๓๐ บาท โจทกที่ ๒ เปนเงิน ๓๙๖,๕๐๐ บาท โจทกที่ ๓ เปนเงิน ๒๗๒,๘๓๐ บาท โจทกที่ ๔ เปนเงิน ๓๖๐,๐๐๐ บาท และโจทกที่ ๕ เปนเงิน ๒๘๐,๕๒๐ บาท พรอมดอกเบี้ยอัตรารอยละ ๑๕ ตอป ของตนเงินคาชดเชยของโจทกแตละคน นับแตวันที่ ๓๑ ธันวาคม ๒๕๕๙ วันที่ ๓๑ พฤษภาคม ๒๕๕๘ วันที่ ๒๘ กุมภาพันธ ๒๕๕๕ วันที่ ๓๑ มกราคม ๒๕๕๕ และวันที่ ๓๑ ตุลาคม ๒๕๕๕ ตามลำดับ เปนตนไปจนกวาจะชำระเสร็จแกโจทกทั้งหา คำขออื่นนอกจากนี้ใหยก จำเลยอุทธรณ ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษแผนกคดีแรงงานวินิจฉัยวา ขอเท็จจริงยุติตามทางพิจารณา ของศาลแรงงานภาค ๑ และตามที่ศาลแรงงานภาค ๑ ฟงขอเท็จจริงวา โจทกทั้งหาเคยเปนลูกจาง จำเลย แตละคนทำงานกับจำเลยติดตอกันครบ ๑๐ ป ขึ้นไป โดยโจทกที่ ๑ เกษียณอายุงานกอน ครบกำหนดเมื่อวันที่ ๓๑ ธันวาคม ๒๕๕๙ ไดรับคาจางอัตราสุดทายเดือนละ ๒๙,๒๑๓ บาท โจทกที่ ๒ ทำงานจนครบกำหนดเกษียณอายุตามระเบียบของจำเลยเมื่อวันที่ ๓๑ พฤษภาคม ๒๕๕๘ ไดรับคาจางอัตราสุดทายเดือนละ ๓๙,๖๕๐ บาท โจทกที่ ๓ ทำงานจนครบกำหนดเกษียณ อายุตามระเบียบของจำเลยเมื่อวันที่ ๒๘ กุมภาพันธ ๒๕๕๕ ไดรับคาจางอัตราสุดทายเดือนละ ๒๗,๒๘๓ บาท โจทกที่ ๔ ทำงานจนครบกำหนดเกษียณอายุตามระเบียบของจำเลยเมื่อวันที่ ๓๑ มกราคม ๒๕๕๕ ไดรับคาจางอัตราสุดทายเดือนละ ๓๖,๐๐๐ บาท และโจทกที่ ๕ ทำงาน จนครบกำหนดเกษียณอายุตามระเบียบของจำเลยเมื่อวันที่ ๓๑ ตุลาคม ๒๕๕๔ ไดรับคาจางอัตรา สุดทายเดือนละ ๒๘,๐๕๒ บาท เดิมจำเลยมีระเบียบวาดวยเงินชดเชยเมื่อออกจากงานสำหรับ พนักงานบริษัทอีซูซุมอเตอร (ประเทศไทย) จำกัด ตอมาเมื่อป ๒๕๔๐ จำเลยจัดตั้งกองทุนสำรอง


๔๔๕ เลี้ยงชีพขึ้น และออกขอบังคับกองทุนสำรองเลี้ยงชีพพนักงานบริษัทอีซูซุมอเตอร (ประเทศไทย) จำกัด ซึ่งจดทะเบียนแลว ซึ่งภายหลังมีการปรับปรุงเปนขอบังคับกองทุนสำรองเลี้ยงชีพพนักงาน บริษัทอีซูซุมอเตอร (ประเทศไทย) จำกัด ซึ่งจดทะเบียนแลว และใชบังคับจนถึงปจจุบัน โจทกทั้งหา สมัครเขาเปนสมาชิกกองทุนสำรองเลี้ยงชีพพนักงานบริษัทอีซูซุมอเตอร (ประเทศไทย) จำกัด ซึ่งจดทะเบียนแลว ที่จำเลยจัดตั้งขึ้น เมื่อโจทกที่ ๑ เกษียณอายุงานกอนครบกำหนด และโจทกที่ ๒ ถึงที่ ๕ เกษียณอายุงานตามระเบียบ โจทกทั้งหาไดรับผลประโยชนจากกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ พนักงานบริษัทอีซูซุมอเตอร (ประเทศไทย) จำกัด ซึ่งจดทะเบียนแลว นอยกวาเงินชดเชยตามระเบียบ วาดวยเงินชดเชยเมื่อออกจากงานสำหรับพนักงานบริษัทอีซูซุมอเตอร (ประเทศไทย) จำกัด จำเลย จึงจายเงินเพิ่มสวนตางใหแกโจทกทั้งหา แลววินิจฉัยวา โจทกที่ ๔ และที่ ๕ มีอำนาจฟองโจทกที่ ๑ ไดรับอนุมัติจากจำเลยใหเกษียณอายุกอนกำหนด ถือเปนการเกษียณอายุตามระเบียบของจำเลย ถือวาจำเลยเลิกจางโจทกที่ ๑ การจายเงินตามขอบังคับกองทุนสำรองเลี้ยงชีพพนักงานบริษัท อีซูซุมอเตอร (ประเทศไทย) จำกัด ซึ่งจดทะเบียนแลว กับการจายคาชดเชยตามพระราชบัญญัติ คุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มีหลักเกณฑการจายเงินที่แตกตางกัน เงินสมทบที่กองทุนสำรอง เลี้ยงชีพพนักงานบริษัทอีซูซุมอเตอร (ประเทศไทย) จำกัด ซึ่งจดทะเบียนแลว จายใหแกโจทก ทั้งหาเปนเงินประเภทอื่นมิใชคาชดเชยตามพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ แมโจทก ทั้งหาไดรับเงินจากกองทุนสำรองเลี้ยงชีพพนักงานบริษัทอีซูซุมอเตอร (ประเทศไทย) จำกัด ซึ่งจดทะเบียนแลว รวมทั้งเงินเพิ่มสวนตางจากจำเลยแลว โจทกทั้งหาก็ยังมีสิทธิไดรับคาชดเชย ตามพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา ๑๑๘ วรรคหนึ่ง จึงกำหนดใหจำเลย จายคาชดเชยแกโจทกทั้งหา มีปญหาตองวินิจฉัยตามอุทธรณของจำเลยประการแรกวา โจทกที่ ๔ และที่ ๕ มีอำนาจฟอง หรือไม เห็นวา การถอนฟองยอมเปนการลบลางผลแหงการยื่นคำฟองนั้น รวมทั้งกระบวน พิจารณาอื่น ๆ อันมีมาตอภายหลังยื่นคำฟอง และกระทำใหคูความกลับคืนสูฐานะเดิม แตวา คำฟองที่ไดถอนฟองก็อาจยื่นฟองใหมไดภายในอายุความ ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณา ความแพง มาตรา ๑๗๖ ประกอบพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๓๑ ดังนั้น เมื่อขอเท็จจริงไดความวาโจทกที่ ๔ และที่ ๕ ถอนฟองจำเลย ตอศาลแรงงานกลาง และศาลแรงงานกลางอนุญาตใหโจทกที่ ๔ และที่ ๕ ถอนฟอง ยอมเทากับวา คดีหมายเลขดำที่ สป.๒๒๓-๒๒๘/๒๕๖๐ ไมเคยมีการฟองรองกันมากอน แมโจทกที่ ๔ และ ที่ ๕ จะยื่นคำรองขอถอนฟองโดยมีขอความระบุวาโจทกที่ ๔ และที่ ๕ ไมประสงคจะดำเนินคดี กับจำเลยอีกตอไป ก็คงมีความหมายเพียงวาไมประสงคจะดำเนินคดีแกจำเลยสำหรับคดีนั้นเทานั้น


๔๔๖ หาไดเปนการสละสิทธิที่จะไมฟองจำเลยเปนคดีอื่นอีกไม โจทกที่ ๔ และที่ ๕ จึงมีอำนาจฟอง จำเลยใหมเปนคดีนี้ได ที่ศาลแรงงานภาค ๑ วินิจฉัยวาโจทกที่ ๔ และที่ ๕ มีอำนาจฟองนั้น ชอบแลว อุทธรณของจำเลยขอนี้ฟงไมขึ้น มีปญหาตองวินิจฉัยตามอุทธรณของจำเลยประการตอไปวา จำเลยเลิกจางโจทกที่ ๑ หรือไม เห็นวา ตามคูมือพนักงานซึ่งเปนระเบียบขอบังคับเกี่ยวกับการทำงานของจำเลย เรื่องการ พนสภาพการเปนพนักงานของบริษัท ขอ ๓ กำหนดหลักเกณฑเกี่ยวกับการเกษียณอายุของ พนักงานวา พนักงานจะครบเกษียณเมื่ออายุเต็ม ๕๕ ป และจะตองออกจากงานในวันสิ้นเดือนที่ ครบเกษียณอายุและพนักงานจะไดรับเงินคาชดเชยจากจำเลย และในวรรคสองระบุวา พนักงาน อาจยื่นความจำนงขอเกษียณอายุกอนอายุครบ ๕๕ ป ก็ได แตตองทำงานกับจำเลยติดตอกันมา เปนระยะเวลาไมนอยกวา ๑๐ ป และมีอายุไมนอยกวา ๕๐ ป เมื่อจำเลยอนุมัติคำขอดังกลาว ใหถือวาพนักงานผูนั้นเกษียณอายุกอนครบกำหนดและมีสิทธิไดรับเงินคาชดเชย จากขอกำหนด ดังกลาวเห็นไดวาจำเลยจำแนกการเกษียณอายุของพนักงานไวเปน ๒ กรณี คือ เมื่อพนักงาน มีอายุเต็ม ๕๕ ป กรณีหนึ่ง และเมื่อพนักงานยื่นความจำนงขอเกษียณอายุกอนกำหนด โดยมี เงื่อนไขวาพนักงานผูนั้นตองมีอายุไมนอยกวา ๕๐ ป และมีอายุการทำงานไมนอยกวา ๑๐ ป โดยไดรับอนุมัติจากจำเลยอีกกรณีหนึ่ง ซึ่งทั้งสองกรณีตางก็มีสิทธิไดรับเงินคาชดเชยจากจำเลย ไมแตกตางกัน ดังนั้น เมื่อขอเท็จจริงรับฟงไดเปนยุติวา โจทกที่ ๑ ขอเกษียณอายุกอนกำหนดโดย มีคุณสมบัติครบถวนตามเงื่อนไขที่ระบุไวในระเบียบขอบังคับและจำเลยอนุมัติคำขอของโจทกแลว ยอมถือเปนการเกษียณอายุตามระเบียบขอบังคับของจำเลยเชนเดียวกัน หาใชเปนการที่โจทกที่ ๑ และจำเลยสมัครใจยกเลิกสัญญาจางรวมกันดังที่จำเลยอุทธรณไม ที่ศาลแรงงานภาค ๑ วินิจฉัยวา จำเลยเลิกจางโจทกที่ ๑ ดวยเหตุเกษียณอายุนั้น ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษเห็นพองดวย อุทธรณ ของจำเลยขอนี้ฟงไมขึ้น มีปญหาตองวินิจฉัยตามอุทธรณของจำเลยประการตอไปวา โจทกทั้งหามีสิทธิไดรับ คาชดเชยตามพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ หรือไม เห็นวา พระราชบัญญัติคุมครอง แรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา ๑๑๘ วรรคหนึ่ง กำหนดเงื่อนไขใหนายจางจายคาชดเชยแกลูกจาง เมื่อเลิกจาง โดยกำหนดหลักเกณฑการคิดคำนวณคาชดเชยไวตาม (๑) ถึง (๕) เดิม แมไมมี บทบัญญัติหามมิใหนายจางออกระเบียบขอบังคับเกี่ยวกับการจายเงินคาชดเชยรวมไปกับเงิน ประเภทอื่น แตเงินที่นายจางจายไปนั้นจะถือวาเปนคาชดเชยตามพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ หรือไม ตองพิจารณาจากหลักเกณฑการคิดคำนวณและเงื่อนไขการจายตามระเบียบ ขอบังคับเปนสำคัญ คดีนี้ขอเท็จจริงไดความวา เดิมจำเลยออกระเบียบวาดวยเงินชดเชยเมื่อออก


๔๔๗ จากงานสำหรับพนักงานบริษัทอีซูซุมอเตอร (ประเทศไทย) จำกัด กำหนดใหลูกจางที่เกษียณอายุ มีสิทธิไดรับเงินชดเชยตามวิธีการคำนวณที่กำหนดไวในระเบียบดังกลาว คือ เงินเดือนประจำ ๑๐ เดือน เงินชดเชยตามอายุงาน และเงินประจำตำแหนง ตอมาจำเลยจัดตั้งกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ พนักงานบริษัทอีซูซุมอเตอร (ประเทศไทย) จำกัด ซึ่งจดทะเบียนแลว โดยออกขอบังคับ ขอ ๕๒.๑ กำหนดใหสมาชิกที่เขาทำงานกับนายจางกอนวันที่ ๑ พฤศจิกายน ๒๕๔๐ และสิ้นสมาชิกภาพ เนื่องจากครบเกษียณอายุ เสียชีวิต ถูกใหออกจากงานโดยไมมีความผิด ศาลมีคำสั่งใหเปนบุคคล สาบสูญ ไรความสามารถ หรือเสมือนไรความสามารถ หรือลาออกจากงาน โดยมีอายุการทำงาน ไมนอยกวา ๑๐ ป และมีอายุไมนอยกวา ๕๐ ป มีสิทธิไดรับเงินสมทบและสวนเฉลี่ยผลประโยชนสุทธิ ของเงินสมทบ ในกรณีเงินสมทบและสวนเฉลี่ยผลประโยชนสุทธิของเงินสมทบมีจำนวนนอยกวา เงินชดเชยเมื่อออกจากงาน ใหกองทุนจายเงินสมทบพรอมทั้งสวนเฉลี่ยผลประโยชนของเงินสมทบ เต็มจำนวน และนายจางจายเงินผลตางระหวางเงินสองจำนวนนี้เต็มจำนวนใหแกสมาชิก หรือใน กรณีที่เงินสมทบและสวนเฉลี่ยผลประโยชนสุทธิของเงินสมทบมีจำนวนมากกวาเงินชดเชยเมื่อออก จากงาน ใหสมาชิกไดรับเงินสมทบและสวนเฉลี่ยผลประโยชนสุทธิของเงินสมทบเต็มจำนวน โจทก ทั้งหาสมัครเขาเปนสมาชิกกองทุนสำรองเลี้ยงชีพพนักงานบริษัทอีซูซุมอเตอร (ประเทศไทย) จำกัด ซึ่งจดทะเบียนแลว โดยสละสิทธิรับเงินชดเชยเมื่อออกจากงานตามระเบียบขอบังคับเดิมมาใชสิทธิ ตามขอบังคับกองทุนสำรองเลี้ยงชีพพนักงานจำเลยซึ่งจดทะเบียนแลวแทน ซึ่งตามขอบังคับกองทุน สำรองเลี้ยงชีพพนักงานบริษัทอีซูซุมอเตอร (ประเทศไทย) จำกัด ซึ่งจดทะเบียนแลว ใหถือวาสิทธิ การรับเงินชดเชยเมื่อออกจากงานภายใตระเบียบเดิมของจำเลยที่ใชอยูในปจจุบันเปนอันระงับไป ดังนี้ ยอมเปนการชัดแจงวาเงินชดเชยที่จำเลยจายใหแกโจทกทั้งหานั้นเปนการจายตามขอบังคับ กองทุนสำรองเลี้ยงชีพพนักงานบริษัทอีซูซุมอเตอร (ประเทศไทย) จำกัด ซึ่งจดทะเบียนแลว ซึ่งเปน นิติบุคคลแยกตางหากจากจำเลย และมีหลักเกณฑการคิดคำนวณและเงื่อนไขการจายเงินแตกตาง จากการจายคาชดเชยตามพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา ๑๑๘ กรณีจึงถือ ไมไดวาจำเลยไดจายคาชดเชยตามกฎหมายรวมไปกับเงินประเภทอื่นแลว ดังนั้น แมโจทกทั้งหาจะ ไดรับเงินจากกองทุนสำรองเลี้ยงชีพพนักงานบริษัทอีซูซุมอเตอร (ประเทศไทย) จำกัด ซึ่งจดทะเบียน แลว และเงินเพิ่มสวนตางจากจำเลยแลว โจทกทั้งหาก็ยังมีสิทธิไดรับคาชดเชยตามพระราชบัญญัติ คุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ ที่ศาลแรงงานกลางพิพากษาใหจำเลยรับผิดจายคาชดเชยแกโจทก ทั้งหามานั้น ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษเห็นพองดวย อุทธรณของจำเลยขอนี้ฟงไมขึ้น


๔๔๘ มีปญหาตองวินิจฉัยตามอุทธรณของจำเลยประการสุดทายวา จำเลยตองรับผิดชำระ ดอกเบี้ยผิดนัดในคาชดเชยใหแกโจทกทั้งหาหรือไม เห็นวา ในกรณีนายจางไมจายคาชดเชยให แกลูกจาง พระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา ๙ วรรคหนึ่ง กำหนดใหนายจาง ตองเสียดอกเบี้ยในระหวางเวลาผิดนัดอัตรารอยละ ๑๕ ตอป เมื่อขอเท็จจริงไดความวาจำเลยซึ่ง เปนนายจางไมจายคาชดเชยแกโจทกทั้งหาซึ่งเปนลูกจาง ที่ศาลแรงงานภาค ๑ พิพากษาใหจำเลย รับผิดชำระดอกเบี้ยอัตรารอยละ ๑๕ ตอป ในคาชดเชยของโจทกแตละคนนับแตวันผิดนัดคือ วันเลิกจางจึงชอบแลว อุทธรณของจำเลยขอนี้ฟงไมขึ้นเชนเดียวกัน พิพากษายืน. ธัชวุทธิ์ พุทธิสมบัติ - ยอ ฤทธิรงค สมอุดร - ตรวจ (โสภณ พรหมสุวรรณ - ผจงธรณ วรินทรเวช - พิเชฏฐ รื่นเจริญ)


๔๔๙ คำพิพากษาศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษที่ ๑๗๓/๒๕๖๓ บริษัทฮาบิโร (ไทยแลนด) จำกัด ผูรอง นางสาวศิริทร เนาะคำ ผูคัดคาน ป.วิ.พ. มาตรา ๗๔ (๒), ๗๖, ๒๔๓ (๒) พ.ร.บ. จัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๓๑, ๔๐, ๔๑, ๕๗ การที่ศาลแรงงานภาค ๒ จะมีคําสั่งวาผูคัดคานขาดนัดและพิจารณาชี้ขาดตัดสินคดี ไปฝายเดียวตามมาตรา ๔๐ วรรคสอง ไดนั้น จะตองปรากฏวาผูคัดคานไดรับหมายเรียก ใหมาศาลโดยชอบแลวเทานั้น หากปรากฏวาการสงหมายเรียกแกผูคัดคานเปนไป โดยไมชอบยอมทําใหกระบวนพิจารณาที่ไดดําเนินตอไปเปนการไมชอบและไมมีผล ตามกฎหมาย เพราะเปนกรณีที่มิไดปฏิบัติตามบทบัญญัติแหงกฎหมายในขอที่มุงหมาย จะยังใหการเปนไปดวยความยุติธรรมตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๒๗ ซึ่งมาใชบังคับโดยอนุโลม ตาม พ.ร.บ. จัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๓๑  เมื่อ พ.ร.บ. จัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ ไมได บัญญัติวิธีการสงหมายเรียกไวโดยเฉพาะ จึงตองนําบทบัญญัติแหง ป.วิ.พ. มาใชบังคับโดย อนุโลมตาม พ.ร.บ. จัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๓๑ คือ ตองสง ณ ภูมิลําเนาหรือสํานักการงานของผูคัดคานตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๗๔ (๒)  ผูรองไมไดอางในคํารองใหสงหมายเรียกไปยังภูมิลําเนาของผูคัดคาน กลับให สงหมายเรียกไปยังสํานักทําการงานของผูรองเอง ตอมาศาลแรงงานภาค ๒ ไดออกหมายเรียก ผูคัดคานมาศาลในวันนัดไกลเกลี่ยโดยสงหมายเรียกใหแกผูคัดคานพรอมสําเนา คํารองที่สํานักงานของผูรองดังกลาวโดยมีผูรับหมายไวแทน กรณีเชนนี้ตองถือวาเปนการ สงหมายแกคูความฝายปรปกษเปนผูรับแทนซึ่งเปนการไมชอบดวย ป.วิ.พ. มาตรา ๗๖ วรรคสอง แมตอมาศาลแรงงานภาค ๒ ไดกําหนดวันนัดพิจารณาโดยปดประกาศแจง วันนัดใหผูคัดคานทราบที่หนาศาลใหมีผลทันทีและลงโฆษณาทางสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ อีกทางหนึ่งดวยก็ตาม ก็ไมทําใหการสงหมายเรียกแกผูคัดคานเปนการสงหมายเรียกที่ ชอบดวยกฎหมายแตประการใด ผูคัดคานจึงมีสิทธิยื่นคํารองขอใหพิจารณาคดีใหมได กรณีไมอยูในบังคับของมาตรา ๔๑ แหง พ.ร.บ. จัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดี


๔๕๐ แรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ วาตองดําเนินการภายใน ๗ วัน นับแตวันที่ศาลแรงงานภาค ๒ มีคําสั่งวาผูคัดคานขาดนัด และศาลแรงงานภาค ๒ ตองดําเนินการไตสวนคํารองของ ผูคัดคานกอนมีคําสั่งในเรื่องนี้ ที่ศาลแรงงานภาค ๒ มีคําสั่งยกคํารองของผูคัดคานใน ทันทีนั้นเปนการไมชอบดวยกฎหมาย ผูรองยื่นคำรองวา เมื่อวันที่ ๒๗ กรกฎาคม ๒๕๖๒ ผูคัดคานซึ่งเปนลูกจางผูรองและ เปนกรรมการลูกจางในสถานประกอบกิจการของผูรองไมไดเขาปฏิบัติหนาที่และไมไดแจงลางาน กับผูรอง อันเปนการฝาฝนระเบียบขอบังคับการทำงานของผูรอง ขออนุญาตลงโทษผูคัดคานโดย การตักเตือนเปนลายลักษณอักษร ศาลแรงงานภาค ๒ รับคำรองและกำหนดวันนัดไกลเกลี่ยใน วันที่ ๑๓ กันยายน ๒๕๖๒ เวลา ๙ นาิกา โดยออกหมายเรียกผูคัดคานมาศาล ในวันนัดสงให แกผูคัดคานพรอมสำเนาคำรองที่บานเลขที่ ๕๐๕/๑ หมูที่ ๙ ถนนกบินทรบุรี-โคราช ตำบลหนองกี่ อำเภอกบินทรบุรี จังหวัดปราจีนบุรี ตามที่ผูรองระบุในคำรอง ครั้นถึงวันเวลานัด ผูรับมอบอำนาจ จากผูรองมาศาล สวนผูคัดคานไมมา ศาลแรงงานภาค ๒ ไมสามารถไกลเกลี่ยคดีได จึงกำหนด วันนัดพิจารณาในวันที่ ๒ ตุลาคม ๒๕๖๒ เวลา ๙ นาิกา โดยปดประกาศแจงวันนัดใหผูคัดคาน ทราบที่หนาศาลใหมีผลทันทีและลงโฆษณาทางสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศอีกทางหนึ่งดวย เมื่อถึง วันเวลานัดพิจารณา ผูคัดคานไมมาศาลโดยไมแจงเหตุขัดของ ศาลแรงงานภาค ๒ จึงมีคำสั่งวา ผูคัดคานขาดนัดและพิจารณาชี้ขาดตัดสินคดีไปฝายเดียว ตามพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแรงงานและ วิธีพิจารณาแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๔๐ วรรคสอง แลวศาลแรงงานภาค ๒ มีคำสั่งอนุญาต ใหผูรองลงโทษผูคัดคานซึ่งเปนกรรมการลูกจางของผูรองโดยการตักเตือนเปนลายลักษณอักษรได วันที่ ๑๖ ตุลาคม ๒๕๖๒ ผูคัดคานยื่นคำรองขอพิจารณาคดีใหมวา เหตุที่ผูคัดคานขาดนัด เนื่องจากผูคัดคานไมเคยไดรับหมายเรียกและสำเนาคำรองในคดีนี้ ซึ่งภายหลังจากศาลมีคำสั่งแลว ผูคัดคานไดมาขอตรวจสำนวนคดีพบวา เจาพนักงานศาลสงหมายเรียกไปที่บานเลขที่ ๕๐๕/๑ หมูที่ ๙ ตำบลหนองกี่ อำเภอกบินทรบุรี จังหวัดปราจีนบุรี ซึ่งเปนที่อยูของผูรอง โดยผูรองเปน ผูรับหมายไวแตไมไดนำสงหมายเรียกและสำเนาคำรองใหแกผูคัดคานแตประการใด ผูคัดคานมี ภูมิลำเนาอยูเลขที่ ๘๖ หมูที่ ๑ ตำบลหนองกี่ อำเภอกบินทรบุรี จังหวัดปราจีนบุรี หากผูคัดคาน มีโอกาสยื่นคำใหการแกคดีแลว คำสั่งของศาลตองเปลี่ยนแปลงไป เนื่องจากผูคัดคานลาปวยใน วันที่ ๒๗ กรกฎาคม ๒๕๖๒ จึงไมมีเหตุที่จะลงโทษผูคัดคานได ขอใหนัดไตสวนและมีคำสั่ง อนุญาตใหพิจารณาคดีใหม


๔๕๑ ศาลแรงงานภาค ๒ มีคำสั่งวา การยื่นคำรองขอพิจารณาคดีใหมตามคำรองของผูคัดคาน เปนการยื่นเมื่อพนกำหนดเวลา ๗ วัน นับแตวันมีคำสั่ง ตามพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแรงงาน และวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๔๑ จึงใหยกคำรอง ผูคัดคานอุทธรณคำสั่ง ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษแผนกคดีแรงงานวินิจฉัยวา คดีมีปญหาตองวินิจฉัยตาม อุทธรณของผูคัดคานวา คำสั่งศาลแรงงานภาค ๒ ที่ยกคำรองขอพิจารณาคดีใหมของผูคัดคาน เปนคำสั่งที่ชอบดวยกฎหมายหรือไม เห็นวา เมื่อศาลแรงงานภาค ๒ สั่งรับคดีนี้ไวพิจารณาแลว ตอมาศาลแรงงานภาค ๒ ไดกำหนดวันเวลานัดพิจารณาและออกหมายเรียกใหผูคัดคานมาศาล ในวันเวลานัดตามพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๓๗ แตผูคัดคานไมมาศาลในวันเวลานัดพิจารณาโดยไมแจงเหตุขัดของ ศาลแรงงานภาค ๒ จึงมีคำสั่งวาผูคัดคานขาดนัดและพิจารณาชี้ขาดคดีของผูรองไปฝายเดียว อันเปนการดำเนิน กระบวนพิจารณาตามมาตรา ๔๐ วรรคสอง ซึ่งผูคัดคานจะตองขอใหเพิกถอนคำสั่งดังกลาวและ พิจารณาคดีใหมตามมาตรา ๔๑ ภายใน ๗ วัน นับแตวันที่ศาลแรงงานภาค ๒ มีคำสั่งวาผูคัดคาน ขาดนัดก็ตาม แตการที่ศาลแรงงานภาค ๒ จะมีคำสั่งวาผูคัดคานขาดนัดและพิจารณาชี้ขาดตัดสินคดี ไปฝายเดียวตามมาตรา ๔๐ วรรคสอง ไดนั้น กรณีจะตองปรากฏวาผูคัดคานไดรับหมายเรียก ใหมาศาลโดยชอบแลวเทานั้น หากปรากฏวาการสงหมายเรียกแกผูคัดคานเปนไปโดยไมชอบ ยอมทำใหกระบวนพิจารณาที่ไดดำเนินตอไปเปนการไมชอบและไมมีผลตามกฎหมายเพราะเปน กรณีที่มิไดปฏิบัติตามบทบัญญัติแหงกฎหมายในขอที่มุงหมายจะยังใหการเปนไปดวยความ ยุติธรรมตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพงมาตรา ๒๗ ซึ่งมาใชบังคับโดยอนุโลมตาม พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๓๑ เมื่อ พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ ไมไดบัญญัติวิธีการ สงหมายเรียกไวโดยเฉพาะ จึงตองนำบทบัญญัติแหงประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพงมา ใชบังคับโดยอนุโลมตามพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๓๑ คือ ตองสง ณ ภูมิลำเนาหรือสำนักการงานของผูคัดคานตามประมวลกฎหมายวิธี พิจารณาความแพง มาตรา ๗๔ (๒) แตปรากฏวา ผูรองไมไดอางในคำรองใหสงหมายเรียกไปยัง ภูมิลำเนาของผูคัดคาน กลับใหสงหมายเรียกไปยังบานเลขที่ ๕๐๕/๑ หมูที่ ๙ ถนนกบินทรบุรี- โคราช ตำบลหนองกี่ อำเภอกบินทรบุรี จังหวัดปราจีนบุรี ซึ่งเปนสำนักทำการงานของผูรองเอง ตอมาศาลแรงงานภาค ๒ ไดออกหมายเรียกผูคัดคานมาศาลในวันนัดไกลเกลี่ยโดยสงหมายเรียก ใหแกผูคัดคานพรอมสำเนาคำรองที่สำนักงานของผูรองดังกลาวโดยมีผูรับหมายไวแทน กรณี


๔๕๒ เชนนี้ตองถือวาเปนการสงหมายแกคูความฝายปรปกษเปนผูรับแทนซึ่งเปนการไมชอบดวย ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพงมาตรา ๗๖ วรรคสอง แมตอมาศาลแรงงานภาค ๒ ได กำหนดวันนัดพิจารณาโดยปดประกาศแจงวันนัดใหผูคัดคานทราบที่หนาศาลใหมีผลทันทีและ ลงโฆษณาทางสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศอีกทางหนึ่งดวยก็ตามก็ไมทำใหการสงหมายเรียกแก ผูคัดคานนั้น เปนการสงหมายเรียกที่ชอบดวยกฎหมายแตประการใด ผูคัดคานจึงมีสิทธิยื่นคำรอง ขอใหพิจารณาคดีใหมได กรณีไมอยูในบังคับของมาตรา ๔๑ แหงพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแรงงาน และวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ วาตองดำเนินการภายใน ๗ วัน นับแตวันที่ศาลแรงงาน ภาค ๒ มีคำสั่งวาผูคัดคานขาดนัด และศาลแรงงานภาค ๒ ตองดำเนินการไตสวนคำรองของ ผูคัดคานกอนมีคำสั่งในเรื่องนี้ ที่ศาลแรงงานภาค ๒ มีคำสั่งยกคำรองของผูคัดคานในทันทีนั้น เปนการไมชอบดวยกฎหมาย ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษไมเห็นพองดวย อุทธรณของผูคัดคาน ฟงขึ้น กรณีคดีนี้จึงตองยอนสำนวนกลับไปใหศาลแรงงานภาค ๒ ดำเนินการไตสวนคำรองของ ผูคัดคานกอน แลวมีคำสั่งคดีใหมตามรูปคดีตอไปตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพง มาตรา ๒๔๓ (๒) ประกอบพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแรงงานและวิธิพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๕๗ พิพากษายกคำสั่งศาลแรงงานภาค ๒ ใหศาลแรงงานภาค ๒ ไตสวนคำรองขอพิจารณา คดีใหมของผูคัดคาน แลวมีคำสั่งใหมตามรูปคดีตอไป. (ธีระพล ศรีอุดมขจร - อนุวัตร ขุนทอง - กนกรดา ไกรวิชพงศ) สุรพัศ เพ็ชรคง - ยอ สุโรจน จันทรพิทักษ - ตรวจ


๔๕๓ คำพิพากษาศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษที่ ๑๐๑๙/๒๕๖๓ บริษัทบอนกาแฟ (ประเทศไทย) จำกัด โจทก นางสาวศิริกาญจน เงินลายลักษณ กับพวก จำเลย ผิดสัญญาจางแรงงาน คดีนี้ศาลแรงงานกลางฟงขอเท็จจริงยุติแลววา หลังจากที่จำเลยทั้งสองลาออก จากบริษัทโจทก ไดไปทำงานใหแกบริษัท ค. ที่เปนคูแขงทางการคากับโจทก อันเปนการผิด สัญญาจางแรงงาน ทำใหโจทกไดรับความเสียหาย เมื่อตามคำฟองโจทกขอใหจำเลย ทั้งสองชดใชคาเสียหายจากการผิดสัญญาเปนระยะเวลา ๒ ป ตามที่กำหนดไวในสัญญา และคาเสียหายที่จำเลยทั้งสองจะตองชดใชเทากับเงินไดของบริษัท ค. ที่เพิ่มขึ้นจากการ ที่จำเลยทั้งสองทำงานให เมื่อศาลแรงงานกลางพิจารณากำหนดคาเสียหายใหแกจำเลย ทั้งสองตองรับผิดตอโจทกตามคำพิพากษา เทากับโจทกไดรับคาเสียหายกรณีที่จำเลย ทั้งสองทำผิดสัญญาครบตามระยะเวลาที่กำหนดไวในสัญญาจางแรงงานแลว โจทกจึง ไมอาจมีคำขอใหจำเลยทั้งสองหยุดทำงานใหแกบริษัท ค. เปนเวลา ๒ ป อันเปนการขอ ใหบังคับจำเลยทั้งสองปฏิบัติตามขอกำหนดในสัญญาจางแรงงานไดอีก โจทกฟองและแกไขคำฟอง ขอใหบังคับจำเลยทั้งสองหยุดทำงานใหแกบริษัทเค.วี.เอ็น. โดยทันทีเปนระยะเวลา ๒ ป นับแตวันที่มีคำพิพากษา ใหจำเลยทั้งสองชำระคาเสียหายคิดเปน เงินเทากับคาจางและผลประโยชนอื่นใดที่จำเลยทั้งสองไดรับจากบริษัทเค.วี.เอ็น. อิมปอรต เอกซปอรต (๑๙๙๑) จำกัด เปนระยะเวลา ๒ ป สำหรับจำเลยที่ ๑ เปนเงิน ๑,๖๐๘,๐๐๐ บาท จำเลยที่ ๒ เปนเงิน ๑,๗๑๖,๐๐๐ บาท ใหจำเลยทั้งสองชำระคาเสียหายเทากับเงินไดของบริษัท เค.วี.เอ็น. อิมปอรต เอกซปอรต (๑๙๙๑) จำกัด ที่เพิ่มขึ้นหลังที่จำเลยทั้งสองเขาทำงานเปนเงิน คนละ ๒,๐๐๐,๐๐๐ บาท พรอมดอกเบี้ยอัตรารอยละ ๗.๕ ตอป ของตนเงินแตละจำนวนดังกลาว นับแตวันฟองเปนตนไปจนกวาจะชำระเสร็จแกโจทก


๔๕๔ จำเลยทั้งสองใหการ ขอใหยกฟอง ศาลแรงงานกลาง พิพากษาใหจำเลยที่ ๑ ชดใชคาเสียหาย ๑๙๐,๐๐๐ บาท พรอม ดอกเบี้ยอัตรารอยละ ๗.๕ ตอป ของตนเงินดังกลาว นับแตวันที่ ๑๗ พฤษภาคม ๒๕๖๒ ซึ่งเปน วันฟองเปนตนไปจนกวาจะชำระเสร็จแกโจทก ใหจำเลยที่ ๒ ชดใชคาเสียหาย ๑๖๐,๐๐๐ บาท พรอมดอกเบี้ยอัตรารอยละ ๗.๕ ตอป ของตนเงินดังกลาว นับแตวันฟองเปนตนไปจนกวาจะชำระ เสร็จแกโจทก และใหจำเลยทั้งสองหยุดทำงานใหแกบริษัทเค.วี.เอ็น. อิมปอรต เอกซปอรต (๑๙๙๑) จำกัด โดยทันทีเปนระยะเวลา ๒ ป ตามที่ระบุไวในสัญญาจาง โดยจำเลยที่ ๑ พนกำหนด ๒ ป ในวันที่ ๒๒ กุมภาพันธ ๒๕๖๔ และจำเลยที่ ๒ พนกำหนด ๒ ป ในวันที่ ๑๘ กุมภาพันธ ๒๕๖๔ คำขออื่นนอกจากนี้ใหยก จำเลยทั้งสองอุทธรณ ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษแผนกคดีแรงงานวินิจฉัยวา ศาลแรงงานกลางฟงขอเท็จจริง วา โจทกเปนนิติบุคคลประเภทบริษัทจำกัด ประกอบธุรกิจกาแฟและชา จัดจำหนายผลิตภัณฑ เกี่ยวกับกาแฟและชาทุกชนิด จำเลยที่ ๑ เคยทำงานเปนลูกจางโจทกในตำแหนงผูจัดการฝาย การตลาด ไดรับคาจางอัตราสุดทายเดือนละ ๖๗,๐๐๐ บาท จำเลยที่ ๒ เคยทำงานเปนลูกจาง โจทกในตำแหนงผูชวยผูจัดการฝายพัฒนาธุรกิจ ไดรับคาจางอัตราสุดทายเดือนละ ๗๑,๐๐๐ บาท สัญญาจางระหวางโจทกกับจำเลยทั้งสองมีขอตกลงหามจำเลยทั้งสองประกอบธุรกิจอันเปนการ แขงขันกับโจทกในระหวางระยะเวลาจางงานและภายใน ๒ ปหลังจากสิ้นสุดการจาง เมื่อวันที่ ๑๘ มกราคม ๒๕๖๒ จำเลยที่ ๒ ยื่นใบลาออกมีผลในวันที่ ๑๘ กุมภาพันธ ๒๕๖๒ และเมื่อวันที่ ๒๕ มกราคม ๒๕๖๒ จำเลยที่ ๑ ยื่นใบลาออกมีผลในวันที่ ๒๒ กุมภาพันธ ๒๕๖๒ หลังจากที่จำเลย ทั้งสองลาออก จำเลยทั้งสองไปทำงานใหแกบริษัทเค.วี.เอ็น. ซึ่งเปนบริษัทในเครือของบริษัทอโรมา กรุป จำกัด ที่เปนคูแขงทางการคากับโจทก จำเลยทั้งสองทราบดีวาบริษัทเค.วี.เอ็น. อิมปอรต เอกซปอรต (๑๙๙๑) จำกัด เปนคูแขงทางการคาที่สำคัญกับโจทก แลววินิจฉัยวา การที่จำเลย ทั้งสองทำสัญญาจางเปนพนักงานของบริษัทเค.วี.เอ็น. อิมปอรต เอกซปอรต (๑๙๙๑) จำกัด ที่เปน คูแขงทางการคาของโจทก เปนการผิดสัญญาจางแรงงาน ทำใหโจทกไดรับความเสียหาย แตทาง นำสืบของโจทกไมปรากฏขอเท็จจริงใดที่แสดงใหเห็นวา จำเลยทั้งสองนำความลับทางการคาของ โจทกไปใชในทางมิชอบ เมื่อจำเลยทั้งสองทำงานใหแกบริษัทเค.วี.เอ็น. อิมปอรต เอกซปอรต (๑๙๙๑) จำกัด ไดรับคาจางเพิ่มขึ้นจากที่เคยทำงานใหแกโจทก ทำใหจำเลยทั้งสองไดรับประโยชน เพิ่มขึ้น และเปนการทำสัญญาจางแรงงานกับบริษัทเค.วี.เอ็น. อิมปอรต เอกซปอรต (๑๙๙๑) จำกัด กอนระยะเวลาตามสัญญาจางระหวางโจทกกับจำเลยทั้งสองสิ้นสุดลง กรณีเห็นสมควรใหจำเลยที่ ๑


๔๕๕ ชดใชคาเสียหาย ๑๙๐,๐๐๐ บาท และจำเลยที่ ๒ ชดใชคาเสียหาย ๑๖๐,๐๐๐ บาท ใหแก โจทกในสวนของคาเสียหายที่โจทกขอใหจำเลยทั้งสองชดใชเทากับเงินไดของบริษัทเค.วี.เอ็น. อิมปอรต เอกซปอรต (๑๙๙๑) จำกัด ที่เพิ่มขึ้นจากการที่จำเลยทั้งสองเขาทำงานใหนั้น ไมปรากฏ ขอเท็จจริงวาการทำงานของจำเลยทั้งสองทำใหบริษัทดังกลาวมีผลประกอบการเพิ่มขึ้นแตอยางใด โจทกจึงไมไดรับความเสียหายในสวนนี้ จึงไมกำหนดคาเสียหายให นอกจากนี้ จำเลยทั้งสองตอง ปฏิบัติตามสัญญาจางแรงงานที่ทำไวกับโจทก เมื่อจำเลยทั้งสองผิดสัญญา จำเลยทั้งสองจึงตอง ยุติการทำงานใหแกบริษัทเค.วี.เอ็น. อิมปอรต เอกซปอรต (๑๙๙๑) จำกัด ในระยะเวลา ๒ ป นับแตวันสิ้นสุดของสัญญา มีปญหาตองวินิจฉัยตามอุทธรณของจำเลยทั้งสองวา คำพิพากษาของศาลแรงงานกลาง ที่พิพากษาใหจำเลยทั้งสองตองหยุดทำงานใหแกบริษัทเค.วี.เอ็น. อิมปอรต เอกซปอรต (๑๙๙๑) จำกัด เปนระยะเวลา ๒ ป นับแตวันสิ้นสุดสัญญาชอบดวยกฎหมายหรือไม เห็นวา คดีนี้ ศาลแรงงานกลางฟงขอเท็จจริงยุติแลววา หลังจากที่จำเลยทั้งสองลาออกจากบริษัทโจทกไดไปทำงาน ใหแกบริษัทเค.วี.เอ็น. อิมปอรต เอกซปอรต (๑๙๙๑) จำกัด ที่เปนคูแขงทางการคากับโจทก อันเปนการผิดสัญญาจางแรงงานทำใหโจทกไดรับความเสียหาย เมื่อตามคำฟองโจทกขอใหบังคับ จำเลยทั้งสองชดใชคาเสียหายจากการผิดสัญญาเปนระยะเวลา ๒ ป ตามที่กำหนดไวในสัญญา จางแรงงาน และคาเสียหายที่จำเลยทั้งสองจะตองชดใชเทากับเงินไดของบริษัทเค.วี.เอ็น. อิมปอรต เอกซปอรต (๑๙๙๑) จำกัด ที่เพิ่มขึ้นจากการที่จำเลยทั้งสองทำงานให เมื่อศาลแรงงานกลาง พิจารณากำหนดคาเสียหายใหแกจำเลยทั้งสองตองรับผิดตอโจทกตามคำพิพากษา เทากับโจทก ไดรับคาเสียหายกรณีที่จำเลยทั้งสองทำผิดสัญญาครบตามระยะเวลาที่กำหนดไวในสัญญาจาง แรงงานแลว โจทกจึงไมอาจมีคำขอใหจำเลยทั้งสองหยุดทำงานใหแกบริษัทเค.วี.เอ็น. อิมปอรต เอกซปอรต (๑๙๙๑) จำกัด เปนเวลา ๒ ป อันเปนการขอใหบังคับจำเลยทั้งสองปฏิบัติตาม ขอกำหนดในสัญญาจางแรงงานไดอีก ที่ศาลแรงงานกลางมีคำพิพากษาในสวนนี้ ไมตองดวยความเห็น ของศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษ อุทธรณของจำเลยทั้งสองฟงขึ้น


๔๕๖ พิพากษาแกเปนวา ใหยกคำพิพากษาศาลแรงงานกลางในสวนที่พิพากษาใหจำเลย ทั้งสองหยุดทำงานใหแกบริษัทเค.วี.เอ็น. อิมปอรต เอกซปอรต (๑๙๙๑) จำกัด โดยทันทีเปน ระยะเวลา ๒ ป ตามที่ระบุไวในสัญญาจางแรงงาน นอกจากที่แกใหเปนไปตามคำพิพากษา ศาลแรงงานกลาง. มนุเชษฐ โรจนศิริบุตร - ยอ ฤทธิรงค สมอุดร - ตรวจ (พิเชฏฐ รื่นเจริญ - โสภณ พรหมสุวรรณ - ผจงธรณ วรินทรเวช)


๔๕๗ คำพิพากษาศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษที่ ๒๕๗๑ - ๒๕๗๖/๒๕๖๓ นายนิรุตต พานิชย กับพวก โจทก บริษัทนิรันดร (ประเทศไทย) จำกัด จำเลย ป.วิ.พ. มาตรา ๒๙๕ วรรคสองและวรรคสาม, ๓๒๔ (๑) (ก) (ข), ๓๓๑ วรรคสอง พ.ร.บ. จัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๓๑ หากทรัพยสินของจําเลยเปนสวนประกอบของเครื่องจักรที่ติดจํานองอยูกับบริษัท ซ. ตามคํารองของจําเลย บริษัท ซ. ผูรับจํานองอาจยื่นคํารองขอตอศาลแรงงานภาค ๒ ที่ออกหมายบังคับคดี กอนเอาทรัพยสินดังกลาวออกขายหรือจําหนาย ขอใหมีคําสั่งบังคับ เอาทรัพยสินซึ่งจํานองหลุด หรือขอใหเจาพนักงานบังคับคดีนําเงินที่ไดจากการขายหรือ จําหนายทรัพยสินนั้นมาชําระหนี้แกตนกอนเจาหนี้อื่นได ตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๓๒๔ (๑) (ก) (ข) บริษัท ซ. ยอมเปนบุคคลผูมีสวนไดเสียในการบังคับคดีแกทรัพยสินของจําเลยนั้น เจาพนักงานบังคับคดีจึงตองแจงใหบริษัทดังกลาวทราบวัน เวลา และสถานที่ซึ่งจะทําการ ขายทอดตลาดดวย เมื่อเจาพนักงานบังคับคดีไดประกาศขายทอดตลาดไปโดยมิไดแจง ใหบริษัทดังกลาวทราบ จึงเปนกรณีที่เจาพนักงานบังคับคดีไดดําเนินการบังคับคดีฝาฝน ตอมาตรา ๓๓๑ วรรคสอง อันเปนบทบัญญัติแหง ป.วิ.พ. ภาค ๔ ลักษณะ ๒ วาดวยการ บังคับคดีตามคําพิพากษาหรือคําสั่ง จําเลยซึ่งเปนลูกหนี้ตามคําพิพากษาที่ตองเสียหาย โดยการฝาฝนนั้นจึงชอบที่จะยื่นคํารองตอศาลไดไมวาในเวลาใดกอนการบังคับคดีได เสร็จลง แตตองไมชากวา ๑๕ วัน นับแตวันที่ไดทราบขอความหรือพฤติการณอันเปนมูล แหงขออางนั้น โดยขอใหศาลมีคําสั่งแกไขการประกาศขายทอดตลาดในสวนทรัพยสิน ของจําเลยได ตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๒๙๕ วรรคสองและวรรคสาม ประกอบ พ.ร.บ. จัดตั้ง ศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๓๑ เมื่อจําเลยยื่นคํารอง กลาวอางเพื่อใชสิทธิตามกฎหมายดังกลาวและอางวายื่นคํารองภายในกําหนดเวลา ศาลแรงงานภาค ๒ จึงตองรับคํารองตามสิทธิของจําเลยไวทําการไตสวนขอเท็จจริงกอน ไมควรยกคํารองของจําเลยเสียแตตน


๔๕๘ คดีทั้งหกสำนวนนี้ ศาลแรงงานภาค ๒ มีคำสั่งใหรวมพิจารณาเปนคดีเดียวกันโดยให เรียกโจทกเรียงตามลำดับสำนวนวาโจทกที่ ๑ ถึงที่ ๖ และเรียกจำเลยทุกสำนวนวาจำเลย คดีสืบเนื่องมาจากศาลแรงงานภาค ๒ พิพากษาใหจำเลยจายคาจางสำหรับวันหยุด พักผอนประจำป คาชดเชย และคาจางแทนการบอกกลาวลวงหนาแกโจทกทั้งหก พรอมดอกเบี้ย อัตรารอยละ ๑๕ ตอป ของตนเงินของโจทกแตละคนเปนตนไปจนกวาจะชำระเสร็จ ตามคำสั่ง พนักงานตรวจแรงงานจังหวัดระยองที่ ๒๒๔/๒๕๖๒ ลงวันที่ ๑๖ กันยายน ๒๕๖๒ จำเลย ไมชำระหนี้ ผูแทนโจทกทั้งหกนำเจาพนักงานบังคับคดียึดและประกาศขายทอดตลาดทรัพยสิน ของจำเลย ๘ รายการ จำเลยยื่นคำรองวา ถังน้ำสแตนเลสทรัพยสินของจำเลยรายการที่ ๔ ถึงที่ ๘ ตามบัญชี ยึดทรัพยและประกาศขายทอดตลาดเปนสวนประกอบของเครื่องจักรติดจำนองอยูกับบริษัทซี โจว กั๋ว จี้ จำกัด (บริษัทเซอรริช อินเตอรเนชันแนล คอมปานี ลิมิเต็ด) แตเจาพนักงานบังคับคดีไม แจงการยึดและประกาศขายทอดตลาดใหบริษัทซี โจว กั๋ว จี้ จำกัด ผูรับจำนองซึ่งเปนผูมีสวน ไดเสียในการบังคับคดีทราบเนื่องจากโจทกทั้งหกปกปดขอเท็จจริง เปนการดำเนินการบังคับคดี บกพรอง ผิดพลาด หรือฝาฝนกฎหมาย ขอใหไตสวนและมีคำสั่งเพิกถอนประกาศขายทอดตลาด ทรัพยสินของจำเลย ศาลแรงงานภาค ๒ มีคำสั่งวา แมจะฟงขอเท็จจริงเปนไปตามคำรองก็ตาม ก็หาไดกอ ใหเกิดความเสียหายตอผูรับจำนองแตอยางใด เพราะเปนเจาหนี้บุริมสิทธิ กรณีไมมีเหตุสั่งตาม คำรอง ใหยกคำรอง จำเลยทั้งหกสำนวนอุทธรณ ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษแผนกคดีแรงงานวินิจฉัยวา คำสั่งศาลแรงงานภาค ๒ ที่ยก คำรองของจำเลยโดยไมฟงขอเท็จจริงกอนชอบดวยกฎหมายหรือไม โดยจำเลยอุทธรณสรุปวา การที่เจาพนักงานบังคับคดีไมแจงประกาศขายทอดตลาดใหบริษัทซี โจว กั๋ว จี้ จำกัด ผูรับจำนอง ทราบ ทำใหผูรับจำนองไมทราบหรือรูเห็นเกี่ยวกับทรัพยสินที่ยึดและประกาศขายทอดตลาด ไมได เขารวมดูแลการขายทอดตลาดและไมไดใชสิทธิยื่นคำรองขอใหเจาพนักงานบังคับคดีนำเงินที่ได จากการขายทอดตลาดมาชำระหนี้แกตนกอนเจาหนี้อื่น มีผลใหจำเลยไมสามารถหักกลบหนี้ จำนองได เปนการดำเนินการบังคับคดีฝาฝนตอกฎหมาย การที่ศาลแรงงานภาค ๒ ยกคำรองของ จำเลยโดยไมฟงขอเท็จจริงกอน เปนการไมชอบดวยกฎหมายนั้น เห็นวา ตามประมวลกฎหมาย วิธีพิจารณาความแพง มาตรา ๓๓๑ วรรคสอง บัญญัติใหกอนการขายทอดตลาดทรัพยสินหรือ สิทธิเรียกรองตามมาตรา ๓๓๑ วรรคหนึ่ง เจาพนักงานบังคับคดีตองแจงกำหนดวัน เวลา และ


๔๕๙ สถานที่ซึ่งจะทำการขายทอดตลาดใหบรรดาผูมีสวนไดเสียในการบังคับคดีซึ่งปรากฏตามทะเบียน หรือประการอื่นไดทราบดวย ดังนั้นหากทรัพยสินของจำเลยรายการที่ ๔ ถึงที่ ๘ เปนสวนประกอบ ของเครื่องจักรที่ติดจำนองอยูกับบริษัทซี โจว กั๋ว จี้ จำกัด ตามคำรองของจำเลย บริษัทซี โจว กั๋ว จี้ จำกัด ผูรับจำนองอาจยื่นคำรองขอตอศาลแรงงานภาค ๒ ที่ออกหมายบังคับคดีกอนเอา ทรัพยสินดังกลาวออกขายหรือจำหนาย ขอใหมีคำสั่งบังคับเอาทรัพยสินซึ่งจำนองหลุด หรือขอ ใหเจาพนักงานบังคับคดีนำเงินที่ไดจากการขายหรือจำหนายทรัพยสินนั้นมาชำระหนี้แกตนกอน เจาหนี้อื่นได ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพง มาตรา ๓๒๔ (๑) (ก) (ข) บริษัทซี โจว กั๋ว จี้ จำกัด ยอมเปนบุคคลผูมีสวนไดเสียในการบังคับคดีแกทรัพยสินของจำเลยนั้น เจาพนักงาน บังคับคดีจึงตองแจงใหบริษัทซี โจว กั๋ว จี้ จำกัด ทราบวัน เวลา และสถานที่ซึ่งจะทำการขาย ทอดตลาดดวย เมื่อเจาพนักงานบังคับคดีไดประกาศขายทอดตลาดไปโดยมิไดแจงใหบริษัทซี โจว กั๋ว จี้ จำกัด ทราบ จึงเปนกรณีที่เจาพนักงานบังคับคดีไดดำเนินการบังคับคดีฝาฝนตอมาตรา ๓๓๑ วรรคสอง อันเปนบทบัญญัติแหงประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพง ภาค ๔ ลักษณะ ๒ วาดวยการบังคับคดีตามคำพิพากษาหรือคำสั่ง จำเลยซึ่งเปนลูกหนี้ตามคำพิพากษาที่ตองเสียหาย โดยการฝาฝนนั้นจึงชอบที่จะยื่นคำรองตอศาลไดไมวาในเวลาใดกอนการบังคับคดีไดเสร็จลง แตตองไมชากวา ๑๕ วันนับแตวันที่ไดทราบขอความหรือพฤติการณอันเปนมูลแหงขออางนั้น โดยขอใหศาลมีคำสั่งแกไขการประกาศขายทอดตลาดในสวนทรัพยสินของจำเลยรายการที่ ๔ ถึงที่ ๘ ได ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพง มาตรา ๒๙๕ วรรคสองและวรรคสาม ประกอบพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๓๑ เมื่อจำเลยยื่นคำรองกลาวอางเพื่อใชสิทธิตามกฎหมายดังกลาวและอางวา ยื่นคำรองภายในกำหนด เวลา ศาลแรงงานภาค ๒ จึงตองรับคำรองตามสิทธิของจำเลยไวทำการไตสวนขอเท็จจริงกอน ไมควรยกคำรองของจำเลยเสียแตตน คำสั่งศาลแรงงานภาค ๒ ที่ยกคำรองของจำเลยมานั้น ไมตองดวยความเห็นของศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษ อุทธรณของจำเลยฟงขึ้น พิพากษายกคำสั่งศาลแรงงานภาค ๒ ใหศาลแรงงานภาค ๒ ดำเนินกระบวนพิจารณา ไตสวนขอเท็จจริงตามคำรองของจำเลย แลวมีคำสั่งใหมตามรูปคดี. กิตติ เนตรประเสริฐชัย - ยอ สุโรจน จันทรพิทักษ - ตรวจ (อนันต คงบริรักษ - สุวรรณา แกวบุตตา - ดำรงค ทรัพยผล)


๔๖๐ คำพิพากษาศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษที่ ๒๘๓๕ - ๒๙๓๙/๒๕๖๓ นางณัฐสุดา โชติกเสถียร กับพวก โจทก บริษัทแควนตัส แอรเวย จำกัด หรือบริษัทสายการบินแควนตัส จำกัด กับพวก จำเลย ป.วิ.พ. มาตรา ๑๔๒ (๕), ๑๔๔ วรรคหนึ่ง พ.ร.บ. จัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๕๗ ประเด็นที่ตองพิจารณาตามคํารองของโจทกทั้งหนึ่งรอยหาทั้ง ๒ ครั้ง เปนอยาง เดียวกันวาโจทกทั้งหนึ่งรอยหายังมีสิทธิไดรับดอกเบี้ยนับแตวันที่จําเลยที่ ๑ นําเงินมา วางศาลคือวันที่ ๒๓ มีนาคม ๒๕๕๕ ตอไปอีกหรือไม เมื่อศาลแรงงานกลางมีคําวินิจฉัย ไปแลววา จําเลยที่ ๑ วางเงินตามคําพิพากษาศาลแรงงานกลางครบถวนแลวตามคํารอง ของจําเลยที่ ๑และคําสั่งถึงที่สุดแลว ประเด็นเรื่องสิทธิไดรับดอกเบี้ยนับแตวันที่จําเลย ที่ ๑ นําเงินมาวางศาลตอไปอีกหรือไม จึงเปนการดําเนินกระบวนพิจารณาซ้ำ ตองหาม ตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๑๔๔ วรรคหนึ่ง ประกอบ พ.ร.บ. จัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณา คดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๕๗ ปญหาเรื่องการดําเนินกระบวนพิจารณาซ้ำ เปน ขอกฎหมายอันเกี่ยวดวยความสงบเรียบรอยของประชาชน แมวาศาลแรงงานกลางไมได ยกขึ้นวินิจฉัย ศาลอุทธรณคดีชํานัญพิเศษก็มีอํานาจยกขึ้นวินิจฉัยไดตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๑๔๒ (๕) ประกอบ พ.ร.บ. จัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๕๗ คดีสืบเนื่องมาจาก ศาลแรงงานกลางพิพากษาใหจำเลยที่ ๑ และที่ ๓ รวมกันชำระเงิน แกโจทกที่ ๑ ถึงที่ ๓๒ คนละ ๒๒๐,๐๖๐ บาท โจทกที่ ๓๓ ถึงที่ ๙๑ คนละ ๑๘๐,๐๕๔ บาท และ โจทกที่ ๙๒ ถึงที่ ๑๐๕ คนละ ๑๖๐,๐๔๘ บาท พรอมดอกเบี้ยอัตรารอยละเจ็ดครึ่งตอป ของตนเงิน แตละจำนวนดังกลาว นับแตวันที่ ๒๖ ตุลาคม ๒๕๕๒ เปนตนไปจนกวาจะชำระเสร็จ ยกฟอง จำเลยที่ ๒ และที่ ๔ ถึงที่ ๘ คำขออื่นนอกจากนี้ใหยก โจทกทั้งหนึ่งรอยหา กับจำเลยที่ ๑ และ ที่ ๓ อุทธรณ ศาลแรงงานกลางมีคำสั่งไมรับอุทธรณของโจทกทั้งหนึ่งรอยหา และอุทธรณของ


๔๖๑ จำเลยที่ ๑ และที่ ๓ โจทกทั้งหนึ่งรอยหา และจำเลยที่ ๓ อุทธรณคำสั่งไมรับอุทธรณตอศาลฎีกา วันที่ ๒๓ มีนาคม ๒๕๕๕ จำเลยที่ ๑ นำเงิน ๒๓,๕๐๕,๑๗๙.๐๓ บาท มาวางตอศาลแรงงานกลาง เพื่อชำระหนี้ตามคำพิพากษาพรอมดอกเบี้ย จากนั้นวันที่ ๓๐ เมษายน ๒๕๕๕ โจทกทั้งหนึ่งรอยหา ยื่นคำรองขอรับเงินดังกลาว ศาลแรงงานกลางมีคำสั่งวา เนื่องจากคดียังไมยุติเรื่องหนี้รวม จึงไม อาจพิจารณาสั่งจายเงินได ตอมาวันที่ ๗ มกราคม ๒๕๖๒ ศาลฎีกามีคำสั่งยกคำรองอุทธรณคำสั่ง ไมรับอุทธรณของโจทกทั้งหนึ่งรอยหา และจำเลยที่ ๓ กับคำรองอุทธรณคำสั่งศาลแรงงานกลาง เกี่ยวกับการไมสั่งจายเงินดังกลาว โดยศาลแรงงานกลางอานคำสั่งศาลฎีกาดังกลาวทั้งหมดให คูความฟงเมื่อวันที่ ๒๖ กุมภาพันธ ๒๕๖๒ โจทกทั้งหนึ่งรอยหายื่นคำรองลงวันที่ ๒๒ กรกฎาคม ๒๕๖๓ วา โจทกทั้งหนึ่งรอยหา มีสิทธิไดรับดอกเบี้ยอัตรารอยละเจ็ดครึ่งตอป จากตนเงินตามคำพิพากษาศาลแรงงานกลางที่ โจทกทั้งหนึ่งรอยหาแตละคนจะไดรับนับแตวันที่จำเลยที่ ๑ นำเงินมาวางตอศาลแรงงานกลางใน วันที่ ๒๓ มีนาคม ๒๕๕๕ จนถึงวันที่ ๒๖ กุมภาพันธ ๒๕๖๒ เนื่องจากเหตุที่จำเลยที่ ๓ อุทธรณ คำสั่งตอศาลฎีกามีพฤติการณยังตอสูคดีอยูอันเปนเหตุใหศาลแรงงานกลางไมมีคำสั่งใหโจทกทั้ง หนึ่งรอยหารับเงินที่จำเลยที่ ๑ วางไวตอศาลแรงงานกลางได จำเลยที่ ๓ ทราบคำสั่งของศาลฎีกา ที่มีคำสั่งยกคำรองอุทธรณคำสั่งไมรับอุทธรณของจำเลยที่ ๓ และพนกำหนดตามคำบังคับของ ศาลแรงงานกลางแลว แตจำเลยที่ ๑ และที่ ๓ ยังมิไดชำระดอกเบี้ยแกโจทกทั้งหนึ่งรอยหาให ครบถวน ขอใหศาลแรงงานกลางออกหมายบังคับคดีเพื่อยึดทรัพยของจำเลยที่ ๑ และที่ ๓ ศาลแรงงานกลางมีคำสั่งวา โจทกทั้งหมดไดยื่นคำรองขอหมายบังคับคดีลงวันที่ ๒๖ มิถุนายน ๒๕๖๒ ศาลแรงงานกลางยกคำรอง โจทกทั้งหมดยื่นอุทธรณ ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษ พิพากษายกอุทธรณของโจทกทั้งหมด โจทกทั้งหมดยื่นคำรองขอหมายบังคับคดี ศาลแรงงานกลาง มีคำสั่งใหงดการบังคับคดีไวตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพง มาตรา ๒๘๙ (๒) ประกอบ พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๓๑ จึงใหงด การบังคับคดีไวกอน วันที่ ๑๙ กุมภาพันธ ๒๕๖๓ โจทกทั้งหมดอุทธรณคำสั่งและศาลแรงงานกลาง รับอุทธรณของโจทกทั้งหมดแลว ดังนั้น จึงเห็นวาคำรองของโจทกดังกลาวเกี่ยวกับเรื่องเดิมและ มีสวนที่อยูในการพิจารณาคดีของศาลสูงดวย กรณีจึงเห็นสมควรใหงดการบังคับคดีไวกอนตาม ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพง มาตรา ๒๘๙ (๒) ประกอบพระราชบัญญัติจัดตั้ง ศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๓๑ จึงใหยกคำรอง


๔๖๒ โจทกทั้งหนึ่งรอยหาอุทธรณ ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษแผนกคดีแรงงานวินิจฉัยวา รับฟงยุติวา เมื่อวันที่ ๑๔ ธันวาคม ๒๕๕๔ ศาลแรงงานกลางพิพากษาใหจำเลยที่ ๑ และที่ ๓ รวมกันชำระเงินแกโจทก ทั้งหนึ่งรอยหามากนอยตางกันตามแตละคน พรอมดอกเบี้ยอัตรารอยละเจ็ดครึ่งตอป นับแตวันที่ ๒๖ ตุลาคม ๒๕๕๒ เปนตนไปจนกวาจะชำระเสร็จ ยกฟองจำเลยที่ ๒ และที่ ๔ ถึงที่ ๘ คำขออื่น นอกจากนี้ใหยก โจทกทั้งหนึ่งรอยหากับจำเลยที่ ๑ และที่ ๓ อุทธรณ ศาลแรงงานกลางมีคำสั่ง ไมรับอุทธรณของโจทกทั้งหนึ่งรอยหา กับอุทธรณของจำเลยที่ ๑ และที่ ๓ โจทกทั้งหนึ่งรอยหา และจำเลยที่ ๓ อุทธรณคำสั่งไมรับอุทธรณตอศาลฎีกา วันที่ ๒๓ มีนาคม ๒๕๕๕ จำเลยที่ ๑ นำเงิน ๒๓,๕๐๕,๑๗๙.๐๓ บาท มาวางตอศาลแรงงานกลางเพื่อชำระหนี้ตามคำพิพากษาพรอม ดอกเบี้ย วันที่ ๓๐ เมษายน ๒๕๕๕ โจทกทั้งหนึ่งรอยหายื่นคำรองขอรับเงินดังกลาวศาลแรงงานกลาง มีคำสั่งวา เนื่องจากคดียังไมยุติเรื่องหนี้รวมจึงไมอาจพิจารณาสั่งจายเงินได โจทกทั้ง หนึ่งรอยหาอุทธรณคำสั่ง วันที่ ๗ มกราคม ๒๕๖๒ ศาลฎีกามีคำสั่งยกคำรองอุทธรณคำสั่งไมรับ อุทธรณของโจทกทั้งหนึ่งรอยหา และอุทธรณคำสั่งไมรับอุทธรณของจำเลยที่ ๓ ตามคำรองที่ ท.๒๒๙๓-๒๓๙๗/๒๕๕๖ และคำรองที่ ท.๑๒๒๒-๑๓๒๖/๒๕๕๕ ยกคำรองอุทธรณคำสั่ง ศาลแรงงานกลางเกี่ยวกับการไมสั่งจายเงินที่จำเลยที่ ๑ นำมาวางดังกลาวแกโจทกทั้งหนึ่งรอยหา และคำรองขอรับหนังสือค้ำประกันธนาคารซึ่งจำเลยที่ ๓ ยื่นตอศาลแรงงานกลางเพื่อเปนประกัน การชำระหนี้ตามคำพิพากษาคืนตามคำรองที่ ท.๒๑๘๘-๒๒๙๒/๒๕๕๖ โดยศาลแรงงานกลาง อานคำสั่งศาลฎีกาดังกลาวทั้งหมดใหคูความฟงเมื่อวันที่ ๒๖ กุมภาพันธ ๒๕๖๒ หลังจากนั้น ตั้งแตวันที่ ๒๗ กุมภาพันธ ๒๕๖๒ โจทกแตละคนเริ่มทยอยยื่นคำรองขอรับเงินที่จำเลยที่ ๑ นำมาวางชำระหนี้ วันที่ ๒๖ มิถุนายน ๒๕๖๒ โจทกทั้งหนึ่งรอยหายื่นคำรองขอหมายบังคับคดี จำเลยที่ ๑ และที่ ๓ อางเหตุวา เมื่อวันที่ ๓๐ เมษายน ๒๕๕๕ โจทกทั้งหนึ่งรอยหายื่นคำรองขอ รับเงินที่จำเลยที่ ๑ นำมาวางชำระหนี้ตามคำพิพากษา แตศาลแรงงานกลางมีคำสั่งวา ยังไมยุติ เรื่องหนี้รวมจึงไมอาจพิจารณาสั่งจายเงินได โจทกทั้งหนึ่งรอยหายังมีสิทธิไดรับดอกเบี้ยอัตรา รอยละเจ็ดครึ่งตอป นับแตวันที่จำเลยที่ ๑ นำเงินมาวางศาลคือวันที่ ๒๓ มีนาคม ๒๕๕๕ เปนตนไป จนกวาจำเลยที่ ๑ และที่ ๓ จะชำระเสร็จแกโจทกทั้งหนึ่งรอยหา ศาลแรงงานกลางมีคำสั่ง ลงวันที่ ๒๗ มิถุนายน ๒๕๖๒ วา จำเลยที่ ๑ วางเงินตามคำพิพากษาครบถวนแลวตามคำรองของ จำเลยที่ ๑ ลงวันที่ ๒๓ มีนาคม ๒๕๕๕ และศาลมีคำสั่งในรายงานกระบวนพิจารณาฉบับลงวันที่ ๓๐ เมษายน ๒๕๕๕ ใหยกคำรอง โจทกทั้งหนึ่งรอยหาอุทธรณคำสั่งตามอุทธรณคำสั่งฉบับ ลงวันที่ ๒๓ กรกฎาคม ๒๕๖๒ ตอมาศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษมีคำพิพากษาศาลอุทธรณ


๔๖๓ คดีชำนัญพิเศษที่ ๘๑๐๐-๘๒๐๔/๒๕๖๒ ลงวันที่ ๔ ธันวาคม ๒๕๖๒ พิพากษายกอุทธรณของโจทก ทั้งหนึ่งรอยหาที่อุทธรณคำสั่งศาลแรงงานกลางลงวันที่ ๒๗ มิถุนายน ๒๕๖๒ โดยวินิจฉัยวา โจทกทั้งหนึ่งรอยหายื่นอุทธรณเกินเวลาที่กฎหมายกำหนด ศาลแรงงานกลางอานคำพิพากษา ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษดังกลาวใหโจทกทั้งหนึ่งรอยหาฟงเมื่อวันที่ ๑๘ กุมภาพันธ ๒๕๖๓ ตอมาวันที่ ๒๒ กรกฎาคม ๒๕๖๓ โจทกทั้งหนึ่งรอยหายื่นคำรองขอออกหมายบังคับคดีจำเลยที่ ๑ และที่ ๓ ที่อุทธรณในครั้งนี้อางวา โจทกทั้งหนึ่งรอยหามีสิทธิไดรับดอกเบี้ยอัตรารอยละเจ็ดครึ่ง ตอปจากตนเงินตามคำพิพากษาศาลแรงงานกลางที่โจทกทั้งหนึ่งรอยหาแตละคนจะไดรับนับแต วันที่จำเลยที่ ๑ นำเงินมาวางศาลในวันที่ ๒๓ มีนาคม ๒๕๕๕ จนถึงวันที่ ๒๖ กุมภาพันธ ๒๕๖๒ เนื่องจากเหตุที่จำเลยที่ ๓ อุทธรณคำสั่งตอศาลฎีกามีพฤติการณยังตอสูคดีอยู อันเปนเหตุให ศาลแรงงานกลางไมมีคำสั่งใหโจทกทั้งหนึ่งรอยหารับเงินที่จำเลยที่ ๑ วางไวตอศาลได และ พนกำหนดตามคำบังคับของศาลแรงงานกลางแลว แตจำเลยที่ ๑ และที่ ๓ ยังมิไดชำระดอกเบี้ย แกโจทกทั้งหนึ่งรอยหาใหครบถวน ขอใหศาลแรงงานกลางออกหมายบังคับคดีเพื่อยึดทรัพยของ จำเลยที่ ๑ และที่ ๓ ศาลแรงงานกลางมีคำสั่งวา “โจทกทั้งหมดไดยื่นคำรองขอหมายบังคับคดี ลงวันที่ ๒๖ มิถุนายน ๒๕๖๒ ศาลชั้นตนยกคำรอง โจทกทั้งหมดยื่นอุทธรณ ศาลอุทธรณคดี ชำนัญพิเศษพิพากษายกอุทธรณของโจทกทั้งหมด โจทกทั้งหมดยื่นคำรองขอหมายบังคับคดี ศาลมีคำสั่งใหงดการบังคับคดีไวตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพง มาตรา ๒๘๙ (๒) ประกอบพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๓๑ จึงใหงดการบังคับคดีไวกอน วันที่ ๑๙ กุมภาพันธ ๒๕๖๓ โจทกทั้งหมดอุทธรณคำสั่งและศาลรับ อุทธรณของโจทกทั้งหมดแลว ดังนั้น จึงเห็นวาคำรองของโจทกดังกลาวเกี่ยวกับเรื่องเดิมและมี สวนที่อยูในการพิจารณาคดีของศาลสูงดวย กรณีจึงเห็นสมควรใหงดการบังคับคดีไวกอนตาม ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพง มาตรา ๒๘๙ (๒) ประกอบพระราชบัญญัติจัดตั้ง ศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๓๑ จึงใหยกคำรอง” ปญหาตามอุทธรณของโจทกทั้งหนึ่งรอยหาที่วา โจทกทั้งหนึ่งรอยหายังมีสิทธิไดรับ ดอกเบี้ยอัตรารอยละเจ็ดครึ่งตอป นับแตวันที่จำเลยที่ ๑ นำเงินมาวางศาลในวันที่ ๒๓ มีนาคม ๒๕๕๕ จนถึงวันที่ ๒๖ กุมภาพันธ ๒๕๖๒ อันเปนวันที่คำพิพากษาศาลแรงงานกลางถึงที่สุด หรือไมนั้น เห็นวา หลังจากศาลแรงงานกลางอานคำสั่งศาลฎีกาที่ไมรับอุทธรณของโจทกทั้ง หนึ่งรอยหาและจำเลยที่ ๓ ในวันที่ ๒๖ กุมภาพันธ ๒๕๖๒ ทำใหคดีถึงที่สุดแลว เมื่อวันที่ ๒๖ มิถุนายน ๒๕๖๒ โจทกทั้งหนึ่งรอยหาเคยยื่นคำรองขอหมายบังคับคดีจำเลยที่ ๑ และที่ ๓ อาง เหตุวา เมื่อวันที่ ๓๐ เมษายน ๒๕๕๕ โจทกทั้งหนึ่งรอยหายื่นคำรองขอรับเงินที่จำเลยที่ ๑


๔๖๔ นำมาวาง ศาลแรงงานกลางมีคำสั่งวา ยังไมยุติเรื่องหนี้รวมจึงไมอาจพิจารณาสั่งจายเงินได โจทก ทั้งหนึ่งรอยหายังมีสิทธิไดรับดอกเบี้ยอัตรารอยละเจ็ดครึ่งตอป นับแตวันที่จำเลยที่ ๑ นำเงินมา วางศาลคือวันที่ ๒๓ มีนาคม ๒๕๕๕ เปนตนไปจนกวาจำเลยที่ ๑ และที่ ๓ จะชำระเสร็จแกโจทก ทั้งหนึ่งรอยหา ศาลแรงงานกลางมีคำสั่งลงวันที่ ๒๗ มิถุนายน ๒๕๖๒ วา “จำเลยที่ ๑ วางเงิน ตามคำพิพากษาครบถวนแลวตามคำรองของจำเลยที่ ๑ ลงวันที่ ๒๓ มีนาคม ๒๕๕๕ และศาล มีคำสั่งในรายงานกระบวนพิจารณาฉบับลงวันที่ ๓๐ เมษายน ๒๕๕๕ ใหยกคำรอง” คำสั่งของ ศาลแรงงานกลางดังกลาวนี้เทากับเปนการวินิจฉัยวา จำเลยที่ ๑ วางเงินชำระหนี้ตามคำพิพากษา พรอมดอกเบี้ยครบถวนแลว ไมตองรับผิดชำระดอกเบี้ยเพิ่มเติมถัดจากวันที่วางเงินตอไปอีก ดังที่โจทกทั้งหนึ่งรอยหายื่นคำรองขอหมายบังคับคดี เมื่อโจทกทั้งหนึ่งรอยหาอุทธรณคำสั่งของ ศาลแรงงานกลางดังกลาว แตศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษไมรับวินิจฉัยเพราะโจทกทั้งหนึ่งรอยหา ยื่นอุทธรณเกินเวลาที่กฎหมายกำหนด ประเด็นเรื่องจำเลยที่ ๑ วางเงินชำระหนี้ตามคำพิพากษา พรอมดอกเบี้ยครบถวนแลว หรือยังตองรับผิดชำระดอกเบี้ยถัดจากวันที่วางเงินตอไปอีก จึงเปน อันยุติไปตามคำสั่งของศาลแรงงานกลางแลว การที่โจทกทั้งหนึ่งรอยหายื่นคำรองขอหมายบังคับ คดีเพื่อยึดทรัพยของจำเลยที่ ๑ และที่ ๓ อีกในครั้งนี้ โดยอางเหตุเชนเดิมวา เมื่อวันที่ ๓๐ เมษายน ๒๕๕๕ โจทกทั้งหนึ่งรอยหายื่นคำรองขอรับเงินที่จำเลยที่ ๑ นำมาวางชำระหนี้ตามคำพิพากษา ศาลแรงงานกลางมีคำสั่งวา ยังไมยุติเรื่องหนี้รวมจึงไมอาจพิจารณาสั่งจายเงินได โจทกทั้ง หนึ่งรอยหายังมีสิทธิไดรับดอกเบี้ยอัตรารอยละเจ็ดครึ่งตอปนับแตวันที่จำเลยที่ ๑ นำเงินมาวางศาล คือวันที่ ๒๓ มีนาคม ๒๕๕๕ เปนตนไป เพียงแตครั้งนี้อางถึงวันสิ้นสุดที่โจทกทั้งหนึ่งรอยหา มีสิทธิไดรับดอกเบี้ยเปนวันที่ ๒๖ กุมภาพันธ ๒๕๖๒ อันเปนวันที่ศาลแรงงานกลางอานคำสั่ง ศาลฎีกาที่ไมรับอุทธรณของโจทกทั้งหนึ่งรอยหาและจำเลยที่ ๓ แตกตางจากครั้งกอนที่อางวา โจทกทั้งหนึ่งรอยหามีสิทธิไดรับดอกเบี้ยนับแตวันที่จำเลยที่ ๑ นำเงินมาวางศาลคือวันที่ ๒๓ มีนาคม ๒๕๕๕ เปนตนไปจนกวาชำระเสร็จโดยไมระบุวันสิ้นสุด แตประเด็นที่ตองพิจารณาตาม คำรองของโจทกทั้งหนึ่งรอยหาทั้ง ๒ ครั้ง เปนอยางเดียวกันวา โจทกทั้งหนึ่งรอยหายังมีสิทธิได รับดอกเบี้ยนับแตวันที่จำเลยที่ ๑ นำเงินมาวางศาลคือวันที่ ๒๓ มีนาคม ๒๕๕๕ ตอไปอีกหรือไม ในเมื่อศาลแรงงานกลางมีคำวินิจฉัยไปแลววา จำเลยที่ ๑ วางเงินตามคำพิพากษาศาลแรงงานกลาง ครบถวนแลวตามคำรองของจำเลยที่ ๑ ลงวันที่ ๒๓ มีนาคม ๒๕๕๕ และคำสั่งถึงที่สุดแลว ประเด็น เรื่องโจทกทั้งหนึ่งรอยหายังมีสิทธิไดรับดอกเบี้ยนับแตวันที่จำเลยที่ ๑ นำเงินมาวางศาลคือวันที่ ๒๓ มีนาคม ๒๕๕๕ ตอไปอีกหรือไม จึงเปนการดำเนินกระบวนพิจารณาซ้ำ ตองหามตามประมวล กฎหมายวิธีพิจารณาความแพง มาตรา ๑๔๔ วรรคหนึ่ง ประกอบพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแรงงาน


๔๖๕ และวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๕๗ ปญหาเรื่องการดำเนินกระบวนพิจารณาซ้ำ ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพง มาตรา ๑๔๔ หรือไมนั้น เปนขอกฎหมายอันเกี่ยว ดวยความสงบเรียบรอยของประชาชน แมวาศาลแรงงานกลางไมไดยกขึ้นวินิจฉัย ศาลอุทธรณ คดีชำนัญพิเศษก็มีอำนาจยกขึ้นวินิจฉัยไดตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพง มาตรา ๑๔๒ (๕) ประกอบพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๕๗ ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษไมรับวินิจฉัยอุทธรณของโจทกทั้งหนึ่งรอยหา พิพากษายกอุทธรณของโจทกทั้งหนึ่งรอยหา. (วิโรจน ตุลาพันธุ - ปณิธาน วิสุทธากร - ไพรัช โปรงแสง) มนุเชษฐ โรจนศิริบุตร - ยอ วัชรินทร ฤชุโรจน - ตรวจ


๔๖๖ คำพิพากษาศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษที่ ๕๖/๒๕๖๔ บริษัทแอ็บสแตรค คอมพิวเตอร จำกัด โจทก นายสรสิทธิ์ วรรณเสรี กับพวก จำเลย ป.พ.พ. มาตรา ๕ พ.ร.บ. จัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๕๑, ๕๒ กิจการของจําเลยที่ ๔ มีลักษณะอยางเดียวกับโจทกบางอยางและแขงขันกับโจทก การที่โจทกฟองอางวาโจทกเชื่อวาจําเลยที่ ๑ มีสวนเขาไปชวยเหลือสนับสนุนจําเลยที่ ๔ ในการดําเนินธุรกิจอันมีลักษณะเชนเดียวกับโจทกและแขงขันกับโจทกในระหวางที่ จําเลยที่ ๑ ยังเปนลูกจางโจทก เปนเหตุใหโจทกไดรับความเสียหาย จึงเปนการใชสิทธิ โดยสุจริต โจทกมีอํานาจฟองจําเลยที่ ๑ คําฟองของโจทกไมไดบรรยายรายละเอียดความเสียหายที่ไดรับเปนคาอะไรบาง แตจะนําเสนอในชั้นพิจารณา ซึ่งในชั้นพิจารณาโจทกนําสืบเฉพาะคาเสียหายจากการขาด รายไดที่ไมไดรับการประมูลงานหรือเขาทําสัญญากับหนวยงานทางการแพทยเพราะเหตุ ที่จําเลยที่ ๔ เปนผูไดรับงาน เมื่อศาลแรงงานกลางรับฟงขอเท็จจริงยุติโดยฟงไมไดวา จําเลยที่ ๑ และที่ ๒ รวมกันปกปดขอมูลการประกวดราคาในโครงการตาง ๆ เพื่อไมให โจทกทราบตามฟอง ทั้งขอเท็จจริงฟงไดตามที่โจทกนําสืบรับวา จําเลยที่ ๑ และที่ ๒ ไมได มีสวนเกี่ยวของในงานประกวดราคาในโครงการตาง ๆ ของโจทก กับจําเลยที่ ๑ ถึงที่ ๓ มีตําแหนงวิศวกรระบบ จึงไมไดรูขอมูลราคาที่โจทกเสนอตอหนวยงานราชการตาง ๆ จําเลยที่ ๑ กระทําละเมิดตอโจทกมีเฉพาะการใช คอมพิวเตอรโนตบุคของโจทกไปรับขอมูล จากจําเลยที่ ๔ และทําการโอนเงินและรับเงินในสวนเงินกูนอกระบบกับจําเลยที่ ๔ โดย ใชเวลาทํางานบางสวนแตไมทราบรายละเอียดที่แนนอน และไมปรากฏวา คอมพิวเตอร โนตบุคของโจทกไดรับความเสียหายรายแรงอยางไร การที่ศาลแรงงานกลางกําหนดให จําเลยที่ ๑ ใชคาเสียหายโดยพิจารณาจากลักษณะของการใชงานคอมพิวเตอรโนตบุค กับเวลาที่เบียดบังไปทํางานใหกับบริษัทอื่น เปนเงิน ๕๐,๐๐๐ บาท จึงเปนการกําหนด คาเสียหายที่เกินไปกวาหรือนอกจากที่ปรากฏในคําฟอง กับทั้งไมมีกรณีเพื่อความเปนธรรม แกคูความที่จะพิพากษาเกินคําขอได เปนการไมชอบดวย พ.ร.บ. จัดตั้งศาลแรงงานและ วิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๕๒


๔๖๗ โจทกฟองและแกไขคำฟอง ขอใหบังคับจำเลยทั้งสี่รวมกันชำระคาเสียหาย คาสูญเสีย รายได ๑๕,๐๐๐,๐๐๐ บาท พรอมดอกเบี้ยอัตรารอยละ ๗.๕ ตอป ของตนเงินดังกลาว นับถัดจาก วันฟองเปนตนไปจนกวาจะชำระเสร็จแกโจทก จำเลยที่ ๑ ใหการ ขอใหยกฟอง จำเลยที่ ๒ ใหการ ขอใหยกฟอง จำเลยที่ ๓ ใหการ ขอใหยกฟอง จำเลยที่ ๔ ใหการ ขอใหยกฟอง ระหวางพิจารณา ศาลแรงงานกลางเห็นวา กรณีมีปญหาวาคดีระหวางโจทกกับจำเลย ที่ ๓ และที่ ๔ อยูในอำนาจพิจารณาพิพากษาของศาลแรงงานหรือไม จึงสงสำนวนใหประธาน ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษวินิจฉัยตามพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดี แรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๙ วรรคสอง ประธานศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษมีคำวินิจฉัยวา คดีระหวางโจทกกับจำเลยที่ ๓ อยูในอำนาจพิจารณาพิพากษาของศาลแรงงาน แตคดีระหวาง โจทกกับจำเลยที่ ๔ ไมอยูในอำนาจพิจารณาพิพากษาของศาลแรงงาน ศาลแรงงานกลาง พิพากษาใหจำเลยที่ ๑ ชำระเงิน ๕๐,๐๐๐ บาท พรอมดอกเบี้ยอัตรา รอยละ ๗.๕ ตอป ของตนเงินดังกลาว นับถัดจากวันฟอง (ฟองวันที่ ๖ กันยายน ๒๕๖๒) เปน ตนไปจนกวาจะชำระเสร็จแกโจทก ยกฟองโจทกสำหรับจำเลยที่ ๒ และที่ ๓ จำเลยที่ ๑ อุทธรณ ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษแผนกคดีแรงงานวินิจฉัยวา ศาลแรงงานกลางรับฟง ขอเท็จจริงยุติวา โจทกเปนนิติบุคคลประเภทบริษัทจำกัด มีวัตถุประสงคประกอบกิจการ ผลิต จำหนาย บริการ บำรุงรักษาคอมพิวเตอร อุปกรณตอพวงครุภัณฑคอมพิวเตอร และโปรแกรม คอมพิวเตอร จำเลยที่ ๑ ถึงที่ ๓ เขาทำงานเปนพนักงานของโจทกตั้งแตป ๒๕๔๓ ตำแหนง สุดทายเปนวิศวกรระบบ มีหนาที่ติดตั้งระบบคอมพิวเตอร อุปกรณตอพวงครุภัณฑคอมพิวเตอร โปรแกรมคอมพิวเตอร ทดสอบระบบ ดูแลซอมบำรุงรักษา แกไขระบบคอมพิวเตอรและอุปกรณ ที่โจทกไดรับคัดเลือกใหเปนคูสัญญาตามวิธีการจัดซื้อจัดจางใหกับโครงการของหนวยงานภาครัฐ หนวยงานสวนราชการ สังกัดสำนักการแพทย โรงพยาบาล หนวยงานสวนรัฐวิสาหกิจ องคการ มหาชน หนวยงานอิสระของรัฐ มหาวิทยาลัยหรือหนวยงานภาคเอกชน จำเลยที่ ๑ ถึงที่ ๓ ลาออกจากการเปนพนักงานของโจทกวันที่ ๑๓ มิถุนายน ๒๕๖๒ ใหมีผลนับแตวันที่ ๓๐ มิถุนายน ๒๕๖๒ วันที่ ๑๔ มิถุนายน ๒๕๖๒ ใหมีผลนับแตวันที่ ๓๐ มิถุนายน ๒๕๖๒ และ วันที่ ๒ มีนาคม ๒๕๕๘ ใหมีผลนับแตวันที่ ๑๖ มีนาคม ๒๕๕๘ ตามลำดับ โจทกตรวจสอบ


๔๖๘ คอมพิวเตอรโนตบุคที่มอบใหจำเลยที่ ๑ ใชปฏิบัติงานพบขอมูลภาพถายเอกสารการสั่งซื้อ ผลิตภัณฑ UPS เครื่องสำรองไฟฟาและปรับแรงดันไฟฟาของหางหุนสวนจำกัดเอ็น ระบุชื่อ ลูกคาคือจำเลยที่ ๔ ในชองผูติดตอระบุชื่อเลนของจำเลยที่ ๑ ลงวันที่ ๒๙ สิงหาคม ๒๕๖๐ ภาพถายรายละเอียดรายการเดินบัญชียอนหลังของจำเลยที่ ๔ ลงวันที่ ๑๖ ตุลาคม ๒๕๖๐ และ ภาพถายใบรับรองรายการฝากธนาคารไทยพาณิชย จำกัด (มหาชน) มีชื่อบุคคลชื่อเดียวกันกับ ภริยาของจำเลยที่ ๑ เปนผูนำฝากเงินเขาบัญชีของจำเลยที่ ๔ ลงวันที่ ๒๕ มิถุนายน ๒๕๕๘ ภาพถายเอกสารใบกำกับภาษี/ใบเสร็จรับเงินของหางทอง ระบุชื่อผูซื้อคือจำเลยที่ ๔ ชองผูรับ สินคาเปนลายมือชื่อของจำเลยที่ ๑ ระบุวันที่ ๑๕ ธันวาคม ๒๕๖๐ ภาพถายเอกสารการสั่งซื้อ ผลิตภัณฑ LED จอภาพคอมพิวเตอร ชุดคอมพิวเตอรของบริษัทแอดไวซ โฮลดิ้งส กรุป จำกัด ระบุชื่อลูกคาคือจำเลยที่ ๔ มีลายมือชื่อของจำเลยที่ ๒ เปนผูรับสินคา ลงวันที่ ๒๒ มิถุนายน ๒๕๖๐ ขอความการพูดคุยทางแอปพลิเคชันไลนอดีตพนักงานของโจทกมีจำเลยที่ ๑ และที่ ๓ รวมอยูดวย หัวขอการพูดคุยเปนเรื่องการวางบิล ชวงระยะเวลาดังกลาวจำเลยที่ ๓ ลาออกจาก การเปนพนักงานของโจทกเปนระยะปเศษแลว ภาพถายสัญญาซื้อขายครุภัณฑคอมพิวเตอร อุปกรณตรวจสอบและควบคุมการเขาถึงขอมูลของผูใชจากระยะไกล ระหวางคณะแพทยศาสตร กับจำเลยที่ ๔ ลงวันที่ ๒๖ สิงหาคม ๒๕๕๘ มีจำเลยที่ ๓ เปนผูรับมอบอำนาจในการทำสัญญา ภาพถายบรรดาเอกสารในการทำธุรกิจของจำเลยที่ ๔ โจทกไมไดมีขอกำหนดหรือขอตกลงวา หลังจากจำเลยที่ ๑ ถึงที่ ๓ พนสภาพจากการเปนลูกจางโจทกแลวหามประกอบกิจการหรือ ทำงานกับกิจการที่มีลักษณะอยางเดียวกันหรือแขงขันกับโจทก จำเลยที่ ๔ เปนนิติบุคคลที่มี วัตถุประสงคในการประกอบกิจการบางอยางคลายกับโจทก และไดรับคัดเลือกตามวิธีการจัดซื้อ จัดจางใหเปนคูสัญญากับคณะแพทยศาสตร โรงพยาบาลเจริญกรุงประชารักษ และโรงพยาบาล ชลบุรี ในโครงการเกี่ยวกับครุภัณฑคอมพิวเตอร การวางระบบบริการจัดการงานผาตัดพรอม อุปกรณตอพวงระบบบริหารจัดการ บำรุงรักษาเครื่องคอมพิวเตอร ภริยาของจำเลยที่ ๑ เปน บุตรสาวของกรรมการคนหนึ่งของจำเลยที่ ๔ แลววินิจฉัยวา คำฟองโจทกและขอตอสูของจำเลย ที่ ๒ และที่ ๓ เปนขอเท็จจริงที่จะตองนำเสนอพยานหลักฐานและไดรับการพิจารณาโดย องคคณะผูพิพากษา รวมทั้งคาเสียหายที่โจทกเรียกรองจะสูงเกินจริงหรือไม อยางไร เปนเรื่องที่ โจทกจะตองนำสืบพยานหลักฐานใหศาลพิจารณา ยังไมปรากฏชัดแจงวา โจทกใชสิทธิฟองคดี โดยไมสุจริต โจทกไมไดมีขอกำหนดหรือขอตกลงหามจำเลยที่ ๑ ถึงที่ ๓ ประกอบกิจการหรือ ทำงานกับกิจการที่มีลักษณะอยางเดียวกันหรือแขงขันกับโจทกภายหลังจากที่จำเลยที่ ๑ ถึงที่ ๓ พนสภาพจากการเปนลูกจางโจทก จำเลยที่ ๑ ถึงที่ ๓ จึงไมตองรับผิดตอโจทกภายหลังจากที่


๔๖๙ พนสภาพจากการเปนลูกจางโจทก และขอเท็จจริงรับฟงไมไดวา จำเลยที่ ๑ และที่ ๒ รวมกัน ปกปดขอมูลการประกวดราคาในโครงการตาง ๆ เพื่อไมใหโจทกทราบตามฟอง แตขอเท็จจริง ฟงไดตามที่โจทกนำสืบรับวา จำเลยที่ ๑ และที่ ๒ ไมไดมีสวนเกี่ยวของในงานประกวดราคาใน โครงการตาง ๆ ของโจทก จำเลยที่ ๑ ถึงที่ ๓ มีตำแหนงวิศวกรระบบจึงไมไดรูขอมูลราคาที่ โจทกเสนอตอหนวยงานราชการตาง ๆ แตเมื่อจำเลยที่ ๑ ยอมรับในเรื่องการหาเงินกูนอกระบบ ใหแกจำเลยที่ ๔ และยังรับขอมูลเกี่ยวกับเทคนิคและเอกสารทางการเงิน เชน บัญชีเงินฝากของ จำเลยที่ ๔ ใบฝากเงิน การไปซื้อทองคำและการใหคำปรึกษากรรมการของจำเลยที่ ๔ จึงรับฟง ไดวา จำเลยที่ ๑ ไมปฏิบัติหนาที่ดวยความซื่อสัตย โดยใชเครื่องคอมพิวเตอรโนตบุคของโจทก รับขอมูลจากกรรมการจำเลยที่ ๔ และใหความชวยเหลือทางดานการจัดหาเงินกูนอกระบบและ ใหคำปรึกษาในเรื่องราคาซื้อขายสินคาแกจำเลยที่ ๔ แตจำเลยที่ ๒ และที่ ๓ ไมไดรวมกระทำ ผิดในเรื่องนี้กับจำเลยที่ ๑ จำเลยที่ ๒ ไมไดกระทำผิดสัญญาจางแรงงานและกระทำละเมิดตอ โจทกตามฟอง สวนการกระทำของจำเลยที่ ๓ ที่เปนผูรับมอบอำนาจจำเลยที่ ๔ เปนการกระทำ ภายหลังจากจำเลยที่ ๓ พนสภาพจากการเปนลูกจางโจทก จำเลยที่ ๓ ไมไดกระทำผิดสัญญาจาง แรงงานและละเมิดตอโจทกในขณะที่เปนลูกจางโจทก จึงไมตองรับผิดชดใชคาเสียหายใหแกโจทก การที่จำเลยที่ ๑ กระทำผิดสัญญาจางแรงงานและละเมิดตอโจทกเฉพาะการใชคอมพิวเตอร โนตบุคของโจทกไปรับขอมูลจากจำเลยที่ ๔ และทำการโอนเงินและรับเงินในสวนเงินกูนอกระบบ กับจำเลยที่ ๔ โดยใชเวลาทำงานบางสวนแตไมทราบรายละเอียดที่แนนอน และไมปรากฏวา คอมพิวเตอรโนตบุคของโจทกไดรับความเสียหายรายแรงอยางไรจากการบันทึกขอมูลดังกลาว เมื่อโจทกไมไดนำสืบถึงความเสียหายในสวนนี้วามีจำนวนเทาใด คงนำสืบเฉพาะคาเสียหาย ในสวนของการปดบังขอมูลตาง ๆ ของจำเลยที่ ๑ และที่ ๒ ซึ่งไดวินิจฉัยแลววา จำเลยที่ ๑ และ ที่ ๒ ไมไดกระทำละเมิด จึงไมตองรับผิดชอบในเรื่องนี้ และฟงไมไดวา จำเลยที่ ๑ และที่ ๒ จงใจ กระทำใหโจทกขาดคุณสมบัติ ไมสามารถเขาประกวดราคาหรือเสนอราคาได จำเลยที่ ๑ และที่ ๒ ไมมีสวนเกี่ยวของกับเรื่องการประกวดราคาของโจทก จำเลยที่ ๑ เบียดบังเวลางานไปบาง แตไม ทราบรายละเอียดของชั่วโมงเวลาทำงานที่เบียดบังไปโอนเงินและซื้อทองดังกลาว กรณีจึงถือวา จำเลยที่ ๑ กระทำผิดสัญญาจางแรงงานและละเมิดตอโจทก จึงเห็นควรกำหนดคาเสียหายที่ โจทกไดรับเฉพาะกรณีที่จำเลยที่ ๑ ใชทรัพยของโจทกและเวลาทำงานไปชวยเหลือจำเลยที่ ๔ ซึ่งทำกิจการแขงขันกับโจทกเทานั้น โดยพิจารณาจากเงินเดือนที่จำเลยที่ ๑ ไดรับ ลักษณะของ การใชงานคอมพิวเตอรโนตบุคกับเวลาที่เบียดบังไปทำงานใหกับบริษัทอื่นเปนเงิน ๕๐,๐๐๐ บาท


๔๗๐ คดีมีปญหาตองวินิจฉัยประการแรกตามอุทธรณของจำเลยที่ ๑ วา ศาลแรงงานกลาง ไมวินิจฉัยประเด็นวา โจทกใชสิทธิฟองคดีโดยสุจริตหรือไม ใหแกจำเลยที่ ๑ เปนการไมชอบ เห็นวา ปญหานี้ในชั้นกำหนดประเด็นขอพิพาทศาลแรงงานกลางกำหนดประเด็นวา โจทกใชสิทธิ ฟองคดีโดยสุจริตหรือไม อันเปนการกำหนดประเด็นที่ไมไดแยกเปนรายจำเลยแตละคน ดังนั้น จึงตองพิจารณาคำใหการของจำเลยแตละคนวาใหการในเรื่องนี้ไวหรือไม อยางไร เมื่อพิจารณา คำใหการของจำเลยที่ ๑ ขอ ๖ หนาที่ ๖ ตั้งแตบรรทัดที่ ๙ เปนการใหการปฏิเสธวาจำเลยที่ ๑ ไมมีหนาที่เกี่ยวของกับการประมูลงานหรือรับงานของโจทก ไมมีสวนรูเห็นหรือปกปดประกาศ เชิญชวนการเขาเสนอราคาของหนวยงานราชการ การไมไดรับทราบประกาศเชิญชวนตาง ๆ ไมไดเกิดจากจำเลยที่ ๑ การเขาทำสัญญาหรือไดรับงานของจำเลยที่ ๔ เกิดจากคูคาพิจารณา คัดเลือกตามหลักเกณฑ ไมไดเกิดจากการกระทำของจำเลยที่ ๑ จำเลยที่ ๑ ไมไดกระทำใหโจทก เสียหาย ตามคำใหการในสวนนี้เปนการปฏิเสธคำฟองของโจทกที่กลาวอางวาพบขอมูลตาง ๆ ที่บันทึกไวในคอมพิวเตอรโนตบุคที่โจทกมอบใหจำเลยที่ ๑ ใชปฏิบัติงาน โจทกสงสัยวาจำเลย ที่ ๔ ชนะการประกวดราคาเกิดจากการที่จำเลยที่ ๑ และอดีตพนักงานของโจทกปกปดขอมูล ไมใหโจทกทราบ เปนการรวมกันทุจริตตอหนาที่ สวนคำใหการของจำเลยที่ ๑ ที่ใหการตอไป วาการฟองคดีของโจทกกระทำการไมสุจริต เจตนากลั่นแกลงเนื่องจากไมพอใจที่ไมไดรับการ พิจารณาใหไดรับงานตามโครงการตาง ๆ และจำเลยที่ ๑ เขาไปเปนลูกจางของจำเลยที่ ๔ ถือได วาจำเลยที่ ๑ ใหการไวโดยแจงชัดแลวรวมทั้งเหตุแหงการปฏิเสธวา โจทกใชสิทธิฟองคดีโดยไม สุจริต การที่ศาลแรงงานกลางไมวินิจฉัยในเรื่องนี้ใหจำเลยที่ ๑ จึงไมชอบ เมื่อศาลแรงงานกลาง รับฟงขอเท็จจริงเปนที่ยุติและเพียงพอตอการวินิจฉัยในปญหาดังกลาวแลว ศาลอุทธรณคดี ชำนัญพิเศษเห็นควรวินิจฉัยไปโดยไมจำตองยอนสำนวนไปใหศาลแรงงานกลางวินิจฉัยใหม โดยปรากฏตามคำฟองของโจทกกลาวอางวา ตรวจพบขอมูลเอกสารตาง ๆ ในคอมพิวเตอร โนตบุคที่โจทกมอบใหจำเลยที่ ๑ ใชปฏิบัติงานซึ่งไมเกี่ยวของกับการทำงานใหโจทก ตอมา ภายหลังเมื่อจำเลยที่ ๑ ลาออกจากโจทกแลวไปทำงานกับจำเลยที่ ๔ โดยทางนำสืบของโจทก ไดความเชนเดียวกับคำฟอง และศาลแรงงานกลางรับฟงขอเท็จจริงดวยวา กิจการของจำเลยที่ ๔ มีลักษณะอยางเดียวกับโจทกบางอยางและแขงขันกับโจทกแลว เชนนี้ การที่โจทกฟองอางวา โจทกเชื่อวาจำเลยที่ ๑ มีสวนเขาไปชวยเหลือสนับสนุนจำเลยที่ ๔ ในการดำเนินธุรกิจอันมี ลักษณะเชนเดียวกับโจทกและแขงขันกับโจทกในระหวางที่จำเลยที่ ๑ ยังเปนลูกจางโจทกเปน เหตุใหโจทกไดรับความเสียหาย จึงเปนการใชสิทธิโดยสุจริต โจทกมีอำนาจฟองจำเลยที่ ๑ อุทธรณของจำเลยที่ ๑ ประเด็นนี้ฟงขึ้นบางสวน


๔๗๑ คดีมีปญหาตองวินิจฉัยประการตอไปตามอุทธรณของจำเลยที่ ๑ วา ศาลแรงงานกลาง พิพากษาใหจำเลยที่ ๑ รับผิดใชคาเสียหายชอบหรือไม เห็นวา โจทกบรรยายฟองอางวา โจทก เริ่มมีขอสงสัยในความไมโปรงใสที่เกิดขึ้นจากการจัดซื้อจัดจางในหนวยงานราชการหลายโครงการ ที่ประกาศใหจำเลยที่ ๔ เปนผูชนะการคัดเลือก จำเลยที่ ๑ ถึงที่ ๓ และอดีตพนักงานโจทก เกี่ยวพัน เกี่ยวของ และสนับสนุนทำใหจำเลยที่ ๔ ชนะการประกวดราคาในการจัดซื้อจัดจาง หลายโครงการ และเหตุผลที่โจทกไมมีโอกาสเขาไปเสนอราคาใหกับหนวยงานราชการหลาย หนวยงานเกิดจากการกระทำของจำเลยที่ ๑ ถึงที่ ๓ และอดีตพนักงานของโจทกที่ปกปดประกาศ ประกวดราคาในโครงการตาง ๆ เพื่อไมใหโจทกทราบ จำเลยที่ ๑ ถึงที่ ๓ และอดีตพนักงาน โจทกมีความสัมพันธเกี่ยวของกับจำเลยที่ ๔ รวมกันวางแผนจดทะเบียนตั้งจำเลยที่ ๔ ขึ้นมา เมื่อวันที่ ๒๓ มกราคม ๒๕๕๘ ใหบุคคลอื่นดำเนินการแทนตนเอง การกระทำและพฤติกรรมของ จำเลยที่ ๑ ถึงที่ ๓ เปนการรวมกันกระทำทุจริตตอหนาที่ในขณะเปนพนักงานโจทก ประพฤติ ตนไมซื่อสัตย ไมดูแลรักษาประโยชนของโจทก เบียดบังวันเวลาทำงาน ใชเวลางาน เครื่องมือ เครื่องใชของโจทก เพื่อแสวงหาผลประโยชนอันมิชอบดวยกฎหมายเพื่อตนเองหรือผูอื่น ทำให โจทกผูเปนนายจางไดรับความเสียหาย และยังมีเจตนาจงใจจัดตั้งจำเลยที่ ๔ ขึ้นมาเพื่อคาแขง กับกิจการโจทกผูเปนนายจาง จำเลยที่ ๑ ถึงที่ ๓ จึงมีเจตนาจงใจทุจริตตอหนาที่อยางรายแรง เปนการกระทำอันเปนปรปกษตอการดำเนินธุรกิจของโจทกอันมีลักษณะเปนการแขงขันกับโจทก การที่จำเลยที่ ๑ ถึงที่ ๓ เขาไปมีสวนเกี่ยวของกับธุรกิจของจำเลยที่ ๔ แมจะไมไดถือหุนหรือ เปนกรรมการของจำเลยที่ ๔ โดยตรง แตการไปปฏิบัติหนาที่หรือดูแลรายละเอียดเรื่องการเงิน ในบัญชีของจำเลยที่ ๔ หรือรับผลประโยชน ผลตอบแทนจากจำเลยที่ ๔ ยอมแสดงใหเห็น ชัดเจนวา จำเลยที่ ๑ ถึงที่ ๓ ทุจริตตอหนาที่ แสวงหาผลประโยชนอันมิชอบดวยกฎหมายเพื่อ ตนเองหรือผูอื่น กระทำการอันเปนปรปกษตอการดำเนินธุรกิจของโจทกอันมีลักษณะเปนการ แขงขันกับโจทกผูเปนนายจางและรวมกันปกปดประกาศเชิญชวนการเขาเสนอราคาของหนวยงาน ราชการหลายโครงการเพื่อไมใหโจทกทราบและเขาไปเสนอราคากับหนวยงานราชการดังกลาว จำเลยที่ ๑ ถึงที่ ๓ กลับใหจำเลยที่ ๔ เขาไปเสนอราคาเสียเอง อีกทั้งยังมีการกระทำอันไมโปรงใส มุงหมายใหจำเลยที่ ๔ มีโอกาสเขารับการคัดเลือกตามวิธีการจัดซื้อจัดจางจากหนวยงานราชการ หลายโครงการและไดรับการคัดเลือกเปนผูชนะการคัดเลือกหลายโครงการ การกระทำทุจริตตอ หนาที่ของจำเลยที่ ๑ ถึงที่ ๓ โดยสนับสนุนใหจำเลยที่ ๔ ดำเนินธุรกิจแขงขันกับโจทก ทำให โจทกไดรับความเสียหาย ขาดรายไดเปนจำนวนมาก โจทกขอคิดคาเสียหายจากจำเลยทั้งสี่รวม ทั้งสิ้น ๑๕,๐๐๐,๐๐๐ บาท รายละเอียดสวนนี้โจทกจะขอนำพยานหลักฐานเสนอตอศาลในชั้น


๔๗๒ พิจารณาคดีตอไป ตามคำฟองของโจทกดังกลาวไมไดบรรยายรายละเอียดวาประสงคจะเรียก คาเสียหายจากจำเลยที่ ๑ เปนคาอะไรบาง จำนวนเทาไร แตจะนำเสนอในชั้นพิจารณา ดังนั้น การพิจารณาวาโจทกประสงคเรียกคาเสียหายเปนคาอะไร จำนวนเทาไร และศาลจะกำหนด คาเสียหายใหเพียงใด จึงตองพิจารณาจากขอเท็จจริงที่โจทกนำสืบ ซึ่งจากขอเท็จจริงที่ ศาลแรงงานกลางรับฟงมานั้น ศาลแรงงานกลางวินิจฉัยวา โจทกมีนายพิชัย พยานโจทกเบิกความวา โจทกตองสูญเสียรายไดเนื่องจากการที่จำเลยที่ ๑ และที่ ๒ รวมกันปกปดขอมูลเพื่อไมใหโจทก ทราบและไมสามารถเขาไปเสนอราคากับหนวยงานราชการได อีกทั้งในบางโครงการ จำเลยที่ ๑ และที่ ๒ จงใจกระทำการเพื่อใหโจทกขาดคุณสมบัติ ไมสามารถเขาประกวดราคา เสนอราคาได เพื่อประสงคใหจำเลยที่ ๔ เขาไปประกวดราคา เสนอราคา และไดรับคัดเลือกเปนคูสัญญากับ หนวยงานของรัฐโดยไมมีโจทกเขารวมแขงขัน โครงการที่จำเลยที่ ๑ ถึงที่ ๓ รวมมือกันทำให จำเลยที่ ๔ ไดรับการคัดเลือกจากหนวยงานของรัฐแทนโจทก มีดังนี้ ๑. งานโครงการที่มี คณะแพทยศาสตรและหรือโรงพยาบาลเปนคูสัญญา (๑) โครงการจัดซื้อครุภัณฑคอมพิวเตอร ๓ รายการ เปนเงิน ๕,๓๑๐,๐๐๐ บาท (๒) โครงการจัดซื้ออุปกรณวางเครื่องคอมพิวเตอรติดผนัง เปนเงิน ๑,๘๙๐,๐๐๐ บาท (๓) โครงการจัดซื้ออุปกรณเครือขายพรอมเดินสาย LAN เปนเงิน ๑,๗๒๕,๐๐๐ บาท (๔) โครงการจัดซื้อเครื่องคอมพิวเตอรแมขาย เปนเงิน ๗๙๐,๐๐๐ บาท (๕) โครงการจัดซื้อระบบ WIFI พรอมติดตั้งภายในคณะแพทย เปนเงิน ๔,๙๐๐,๐๐๐ บาท (๖) โครงการจัดซื้อครุภัณฑคอมพิวเตอร เปนเงิน ๙๙๙,๐๐๐ บาท (๗) โครงการจัดซื้อสแกนเนอร สำหรับงานเก็บเอกสาร เปนเงิน ๑๙๐,๐๐๐ บาท (๘) โครงการจัดซื้อครุภัณฑคอมพิวเตอรเปนเงิน ๑,๕๘๖,๓๘๒ บาท (๙) โครงการจัดซื้ออุปกรณบริหารจัดการหมายเลขเครือขายและ Domain Name System เปนเงิน ๗๒๗,๖๐๐ บาท (๑๐) โครงการจัดซื้อครุภัณฑคอมพิวเตอรรายการ อุปกรณตรวจสอบและควบคุมการเขาถึงขอมูลของผูใชจากระยะไกล เปนเงิน ๒๔๐,๗๕๐ บาท (๑๑) โครงการจัดซื้อครุภัณฑคอมพิวเตอร เปนเงิน ๑,๓๔๕,๕๐๐ บาท (๑๒) โครงการจัดซื้อ ระบบ Server แบบ Hyperconvergence พรอมติดตั้ง เปนเงิน ๙,๘๕๐,๐๐๐ บาท (๑๓) โครงการ จัดซื้อครุภัณฑคอมพิวเตอร เปนเงิน ๒๔๙,๐๐๐ บาท รวมมูลคางานที่จำเลยที่ ๔ ไดรับงานจาก คณะแพทยศาสตรวชิรพยาบาลและหรือโรงพยาบาลวชิรพยาบาล เปนเงิน ๒๙,๘๐๓,๒๓๒ บาท คิดมูลคากำไรอัตรารอยละ ๓๐ เปนเงิน ๘,๙๔๐,๙๖๙.๖๐ บาท ๒. งานโครงการที่มีโรงพยาบาล เจริญกรุงประชารักษ เปนคูสัญญา (๑) โครงการซื้อขายอุปกรณปองกันการบุกรุกในระบบ เครือขายพรอมติดตั้ง เปนเงิน ๒,๒๗๐,๐๐๐ บาท (๒) โครงการซื้อขายเครื่องพิมพฉลากชนิด ใชความรอนแบบ Roll Label ติดตั้งภายใน ๒๖ เครื่อง เปนเงิน ๔๑๗,๓๐๐ บาท (๓) โครงการ


๔๗๓ จัดซื้ออุปกรณกระจายสัญญาณระดับ Access Switch สำหรับการใหบริการผูปวยดวยโปรแกรม e-Phis พรอมติดตั้ง เปนเงิน ๔๗๖,๐๐๐ บาท (๔) โครงการจางเหมาปรับปรุงแผงกระจายสัญญาณ เปนเงิน ๑,๑๐๐,๐๐๐ บาท (๕) โครงการครุภัณฑคอมพิวเตอร จัดซื้อเครื่องสำรองไฟฟาขนาด ๑๐ KVA เปนเงิน ๒๖๕,๐๐๐ บาท (๖) โครงการจัดซื้ออุปกรณเฝาระวังหอง Data Center พรอม ติดตั้ง ๓ ชุด เปนเงิน ๔๖๕,๐๐๐ บาท (๗) โครงการซื้อระบบบริการจัดการงานการผาตัดพรอม อุปกรณตอพวง เปนเงิน ๒,๕๖๐,๐๐๐ บาท (๘) โครงการงานจางเหมาเดินสายเคเบิลใยแกวเปน เงิน ๓๓,๐๐๐ บาท รวมมูลคางานที่จำเลยที่ ๔ ไดรับงานจากโรงพยาบาลเจริญกรุงประชารักษ เปนเงิน ๗,๕๘๖,๓๐๐ บาท คิดมูลคากำไรอัตรารอยละ ๓๐ เปนเงิน ๒,๒๗๕,๘๙๐ บาท ๓. งานโครงการที่มีโรงพยาบาลชลบุรี เปนคูสัญญา (๑) โครงการงานจางบำรุงรักษาเครื่อง คอมพิวเตอรแมขายพรอมอุปกรณ เปนเงิน ๑,๖๐๐,๐๐๐ บาท (๒) โครงการงานจางบำรุงรักษา เครื่องคอมพิวเตอรแมขายพรอมอุปกรณ เปนเงิน ๑,๖๐๐,๐๐๐ บาท (๓) โครงการงานจางบำรุง รักษาเครื่องคอมพิวเตอรแมขายพรอมอุปกรณ เปนเงิน ๑,๖๐๐,๐๐๐ บาท (๔) โครงการงานจาง บำรุงรักษาเครื่องคอมพิวเตอรแมขายพรอมอุปกรณ เปนเงิน ๑,๖๐๐,๐๐๐ บาท (๕) โครงการ จางบำรุงรักษาระบบคอมพิวเตอรและโปรแกรมประยุกต เปนเงิน ๑,๕๕๔,๐๐๐ บาท (๖) โครงการ ระบบบริหารจัดการหมายเลขเครือขายและ Domain Name SYSTEM เปนเงิน ๗๒๐,๐๐๐ บาท (๗) โครงการจางบำรุงรักษาอุปกรณระบบเครือขาย Network Access Control เปนเงิน ๑๙๖,๐๐๐ บาท (๘) โครงการงานจางบำรุงรักษาระบบตรวจจับพฤติกรรมที่นาสงสัยและปองกัน การบุกรุกระบบเครือขาย เปนเงิน ๔๐,๐๐๐ บาท (๙) โครงการงานจางบำรุงรักษาอุปกรณระบบ เครือขาย เปนเงิน ๔๘๐,๐๐๐ บาท รวมมูลคางานที่จำเลยที่ ๔ ไดรับงานจากโรงพยาบาลชลบุรี เปนเงิน ๙,๓๙๐,๐๐๐ บาท คิดมูลคากำไรอัตรารอยละ ๓๐ เปนเงิน ๒,๘๑๗,๐๐๐ บาท รวมรายได ที่จำเลยที่ ๔ ไดรับเปนเงิน ๔๖,๗๗๙,๕๓๒ บาท ซึ่งเมื่อนำมาหักตนทุนคาสินคาและคาใชจายใน การบริหารแตละโครงการ คงเหลือกำไรอัตรารอยละ ๓๐ ของรายได รวมทั้งสิ้น ๑๔,๐๓๓,๘๕๙.๖๐ บาท จำเลยที่ ๑ ถึงที่ ๓ จะตองรวมกันหรือแทนกันรับผิดตอโจทกพรอมดอกเบี้ยนับแตวันฟอง จนกวาจะชำระเสร็จแกโจทก ซึ่งจำนวนเงินดังกลาวถือเปนคาเสียหาย เนื่องจากจำเลยที่ ๑ และ ที่ ๒ ใชเวลาทำงานในขณะจำเลยที่ ๑ และที่ ๒ เปนพนักงานของโจทก ถือเปนการกระทำ อันไมชอบดวยกฎหมายโดยรวมกับจำเลยที่ ๓ รวมทั้งจำเลยที่ ๑ และที่ ๒ ยังรวมกันปดบังขอมูล การประกวดราคางานจัดซื้อจัดจางของหนวยงานราชการมิใหโจทกลวงรูถึงการประกวดราคางาน จัดซื้อจัดจางดังกลาว สงผลใหโจทกไมสามารถเขาเสนอราคากับหนวยงานราชการได อีกทั้ง ในบางโครงการ จำเลยที่ ๑ และที่ ๒ จงใจกระทำการเพื่อใหโจทกขาดคุณสมบัติไมสามารถเขา


๔๗๔ ประกวดราคา เสนอราคา เพื่อประสงคใหจำเลยที่ ๔ เขาไปประกวดราคา เสนอราคา และไดรับ คัดเลือกเปนคูสัญญากับหนวยงานของรัฐโดยไมมีโจทกเขารวมแขงขัน จำเลยทั้งสามตองรวมกัน รับผิดตอโจทก เชนนี้ เมื่อตามคำฟองของโจทกไมไดบรรยายรายละเอียดความเสียหายที่ไดรับ เปนคาอะไรบาง แตจะนำเสนอในชั้นพิจารณา ซึ่งในชั้นพิจารณา โจทกนำสืบเฉพาะคาเสียหาย จากการขาดรายไดที่ไมไดรับการประมูลงานหรือเขาทำสัญญากับหนวยงานทางการแพทย เพราะเหตุที่จำเลยที่ ๔ เปนผูไดรับงาน เมื่อศาลแรงงานกลางรับฟงขอเท็จจริงยุติโดยฟงไมไดวา จำเลยที่ ๑ และที่ ๒ รวมกันปกปดขอมูลการประกวดราคาในโครงการตาง ๆ เพื่อไมใหโจทก ทราบตามฟอง ทั้งขอเท็จจริงฟงไดตามที่โจทกนำสืบรับวา จำเลยที่ ๑ และที่ ๒ ไมไดมีสวน เกี่ยวของในงานประกวดราคาในโครงการตาง ๆ ของโจทก กับจำเลยที่ ๑ ถึงที่ ๓ มีตำแหนง วิศวกรระบบ จึงไมไดรูขอมูลราคาที่โจทกเสนอตอหนวยงานราชการตาง ๆ จำเลยที่ ๑ กระทำ ละเมิดตอโจทกมีเฉพาะการใชคอมพิวเตอรโนตบุคของโจทกไปรับขอมูลจากจำเลยที่ ๔ และทำ การโอนเงินและรับเงินในสวนเงินกูนอกระบบกับจำเลยที่ ๔ โดยใชเวลาทำงานบางสวนแต ไมทราบรายละเอียดที่แนนอน และไมปรากฏวาคอมพิวเตอรโนตบุคของโจทกไดรับความเสียหาย รายแรงอยางไรจากการบันทึกขอมูลดังกลาว ดังนั้น ตามคำวินิจฉัยของศาลแรงงานกลาง การทำ ละเมิดของจำเลยที่ ๑ ขางตนจึงไมเกี่ยวของกับการมีสวนชวยเหลือหรือสนับสนุนใหจำเลยที่ ๔ ไดรับการประมูลงานหรือเสนอราคาแขงขันกับโจทก เมื่อโจทกไมไดบรรยายฟองและนำสืบถึง ความเสียหาย กับทั้งไมมีคำขอใหจำเลยที่ ๑ ใชคาเสียหายเพราะเหตุดังกลาวไว การที่ ศาลแรงงานกลางกำหนดใหจำเลยที่ ๑ ใชคาเสียหายโดยพิจารณาจากลักษณะของการใชงาน คอมพิวเตอรโนตบุคกับเวลาที่เบียดบังไปทำงานใหกับบริษัทอื่น เปนเงิน ๕๐,๐๐๐ บาท จึงเปน การกำหนดคาเสียหายที่เกินไปกวาหรือนอกจากที่ปรากฏในคำฟอง กับทั้งไมมีกรณีเพื่อความ เปนธรรมแกคูความที่จะพิพากษาเกินคำขอได เปนการไมชอบดวยพระราชบัญญัติจัดตั้ง ศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๕๒ อุทธรณสวนนี้ของจำเลยที่ ๑ ฟงขึ้น จำเลยที่ ๑ จึงไมตองรับผิดตอโจทก เมื่อวินิจฉัยเชนนี้แลว ปญหาอื่นตามอุทธรณของ จำเลยที่ ๑ จึงไมจำตองวินิจฉัยอีกตอไปเพราะไมทำใหผลของคดีเปลี่ยนแปลงไป


๔๗๕ พิพากษาแกเปนวา ใหยกฟองโจทกสำหรับจำเลยที่ ๑ เสียดวย นอกจากที่แกใหเปน ไปตามคำพิพากษาศาลแรงงานกลาง. (วิโรจน ตุลาพันธุ - ปณิธาน วิสุทธากร - ไพรัช โปรงแสง) ธัชวุทธิ์ พุทธิสมบัติ - ยอ วัชรินทร ฤชุโรจน - ตรวจ


๔๗๖ คำพิพากษาศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษที่ ๒๕๗/๒๕๖๔ ธนาคารออมสิน โจทก นายชนินทรหรือธิติชนินทร ธนะรงคเจริญ หรือธนพงศวัฒนา กับพวก จำเลย พ.ร.บ. จัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๓๙ วรรคหนึ่ง พ.ร.บ. ความรับผิดทางละเมิดของเจาหนาที่ พ.ศ. ๒๕๓๙ มาตรา ๘, ๑๐ วรรคหนึ่ง โจทกซึ่งเปนหนวยงานของรัฐฟองจำเลยที่ ๑ ถึงที่ ๓ ซึ่งเปนเจาหนาที่วา เจาหนาที่ ทั้งสามกระทำละเมิดตอหนวยงานของรัฐในการปฏิบัติหนาที่และยังเปนการกระทำผิด สัญญาจางแรงงาน ตองรับผิดชดใชคาเสียหายตามสวนแกโจทก ซึ่งจำเลยที่ ๑ ถึงที่ ๓ ใหการวา ไมไดปฏิบัติหนาที่โดยประมาทเลินเลอจึงไมตองใชคาเสียหาย อันเปนการ ปฏิเสธวา ไมไดกระทำละเมิดในการปฏิบัติหนาที่ตอโจทกและไมไดกระทำผิดสัญญาจาง แรงงาน จึงไมตองชดใชคาเสียหายใหแกโจทก ประเด็นขอพิพาทในสวนจำเลยที่ ๑ ถึงที่ ๓ จึงไดแก จำเลยที่ ๑ ถึงที่ ๓ ปฏิบัติหนาที่โดยประมาทเลินเลออันเปนการกระทำละเมิด และกระทำผิดสัญญาจางแรงงานตอโจทกหรือไม และตองชดใชคาเสียหายแกโจทกหรือไม เพียงใด ที่ศาลแรงงานกลางกำหนดประเด็นขอพิพาทขอที่ ๒ วา โจทกไดรับความเสียหาย หรือไม และจำเลยทั้งหกตองชดใชคาเสียหายแกโจทกหรือไม เพียงใด จึงมีประเด็นวา จำเลยที่ ๑ ถึงที่ ๓ กระทำละเมิดตอโจทกหรือไมรวมอยูดวยแลว ซึ่งจะตองพิเคราะห ตอไปวา จำเลยที่ ๑ ถึงที่ ๓ กระทำละเมิดตอหนวยงานของรัฐในการปฏิบัติหนาที่ตาม พ.ร.บ. ความรับผิดทางละเมิดของเจาหนาที่ พ.ศ. ๒๕๓๙ หรือไม ดังนี้ ที่ศาลแรงงานกลาง พิเคราะหคดีนี้โดยปรับบทดวย พ.ร.บ. ความรับผิดทางละเมิดของเจาหนาที่ พ.ศ. ๒๕๓๙ จึงไมเปนการเพิ่มเติมประเด็นขอพิพาทอยางที่โจทกอางในอุทธรณ ศาลแรงงานกลางจะตองพิเคราะหพยานหลักฐานในคดีวา จำเลยที่ ๑ ถึงที่ ๓ เปนผูกระทำละเมิดตอหนวยงานของรัฐในการปฏิบัติหนาที่โดยประมาทเลินเลออยาง รายแรง โจทกจึงจะมีสิทธิเรียกใหจำเลยที่ ๑ ถึงที่ ๓ ชดใชคาเสียหายตามฟองแกโจทกได เมื่อศาลแรงงานกลางฟงขอเท็จจริงและวินิจฉัยวา การกระทำของจำเลยที่ ๑ ถึงที่ ๓ เปน การปฏิบัติหนาที่โดยประมาทเลินเลอ แตไมถึงขนาดประมาทเลินเลออยางรายแรง จึงไมตอง รับผิดชดใชคาเสียหายแกโจทกตาม พ.ร.บ. ความรับผิดทางละเมิดของเจาหนาที่


๔๗๗ พ.ศ. ๒๕๓๙ จึงเปนการวินิจฉัยไปตามคำฟอง คำใหการ และประเด็นขอพิพาทที่ ศาลแรงงานกลางกำหนดไว หาเปนการวินิจฉัยนอกฟองและนอกประเด็นขอพิพาทอยางที่ โจทกอางในอุทธรณ โจทกฟอง ขอใหบังคับจำเลยทั้งหกชำระคาเสียหายคนละ ๒๐,๕๗๒.๙๘ บาท พรอม ดอกเบี้ยอัตรารอยละ ๗.๕ ตอป นับแตวันฟองเปนตนไปจนกวาชำระเสร็จแกโจทก จำเลยที่ ๑ ถึงที่ ๓ ที่ ๕ และที่ ๖ ใหการ ขอใหยกฟอง จำเลยที่ ๔ ขาดนัด ศาลแรงงานกลาง พิพากษายกฟอง โจทกอุทธรณ ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษแผนกคดีแรงงานวินิจฉัยวา ศาลแรงงานกลางรับฟงขอเท็จจริงวา โจทกเปนนิติบุคคลตามพระราชบัญญัติธนาคารออมสิน พ.ศ. ๒๔๘๙ และเปนรัฐวิสาหกิจ มีวัตถุประสงคในการรับฝากเงิน ถอนเงิน สลากออมสิน และลงทุนแสวงหาผลประโยชนตามที่ รัฐมนตรีวาการกระทรวงการคลังอนุญาต รวมทั้งการใหกูเงินสินเชื่อประเภทตาง ๆ อันเปนธุรกิจ ของโจทก โดยกำหนดใหผูอำนวยการเปนผูบริหารธนาคารในฐานะผูจัดการ และมีอำนาจกระทำการ แทนโจทก ขณะฟองคดีมีนายชาติชาย เปนผูอำนวยการโจทก ในการดำเนินคดีนี้ ผูอำนวยการ โจทกมอบอำนาจใหนางสาวพรรณพิศ ผูอำนวยการฝายคดี เปนผูมีอำนาจกระทำการแทนและให มีอำนาจมอบอำนาจชวงได ซึ่งผูอำนวยการฝายคดีมอบอำนาจชวงใหนายศราวุธ เปนผูมีอำนาจ ดำเนินคดีแทนโจทก จำเลยที่ ๑ ถึงที่ ๓ เปนพนักงานของโจทก ทำงานที่สำนักงานใหญของโจทก แขวงสามแสนใน เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร มีจำเลยที่ ๔ เปนผูค้ำประกันการทำงานของ จำเลยที่ ๑ จำเลยที่ ๕ เปนผูค้ำประกันการทำงานของจำเลยที่ ๒ และจำเลยที่ ๖ เปนผูค้ำประกัน การทำงานของจำเลยที่ ๓ ขณะเกิดเหตุจำเลยที่ ๑ ดำรงตำแหนงชางเทคนิค ๗ สวนออกแบบ และกอสราง ไดรับมอบหมายใหทำงานในฐานะผูควบคุมงาน จำเลยที่ ๒ เปนรองผูอำนวยการ ฝายบริหารงานออกแบบและกอสราง รับผิดชอบควบคุมงานดานออกแบบ และจำเลยที่ ๓ เปนผูชวยผูอำนวยการฝายบริหารงานออกแบบและกอสราง รับผิดชอบควบคุมดูแลงานดาน สถาปตยกรรม จำเลยที่ ๒ และที่ ๓ ไดรับแตงตั้งใหเปนคณะกรรมการตรวจการจาง เมื่อวันที่ ๑๑ กันยายน ๒๕๕๗ โจทกทำสัญญาวาจางบริษัทโชครุงเรืองการชาง จำกัด ปรับปรุงพื้นที่ปฏิบัติ การสำรองพรอมจัดซื้อครุภัณฑอาคารแอดสาทรชั้นที่ ๑๑ เพื่อเปนศูนยปฏิบัติการสำรองและ


๔๗๘ สำนักงานผูบริหารระดับสูงฉุกเฉิน เปนเงิน ๙,๖๒๒,๐๐๐ บาท กำหนดเสร็จภายใน ๙๐ วัน นับแต วันที่สงมอบพื้นที่ โดยในแบบระบุใหปรับปรุงพื้นที่อาคารจอดรถชั้นที่ ๑๐ ของอาคารบางสวนเพื่อ ใชเปนหองเครื่องกำเนิดไฟฟา เมื่อวันที่ ๑๐ ตุลาคม ๒๕๕๗ โจทกสงมอบพื้นที่จางให และโจทก แตงตั้งจำเลยที่ ๒ และที่ ๓ เปนกรรมการตรวจการจางตามคำสั่งของโจทก เฉพาะที่ ๑-๘๗๘/๒๕๕๗ และเมื่อวันที่ ๒๓ กันยายน ๒๕๕๗ โจทกมีคำสั่งแตงตั้งจำเลยที่ ๑ เปนผูควบคุมงานตามคำสั่ง ของโจทก เฉพาะที่ ๑-๙๒๙/๒๕๕๗ ตอมาเมื่อวันที่ ๒๘ เมษายน ๒๕๕๙ สายงานตรวจสอบ ภายในของโจทกรับแจงปญหาการปรับปรุงพื้นที่ ที่ผูรับจางสรางนอกพื้นที่ที่โจทกทำสัญญาเชาไว โดยไปสรางชั้นที่ ๑๑ เปนผลใหโจทกตองรื้อถอนหองเก็บเสียง ตอมาโจทกมีคำสั่งตั้งคณะกรรมการ สอบสวนขอเท็จจริงความรับผิดทางละเมิดตามคำสั่งของโจทก เฉพาะที่ บค.ล.๑-๖๕/๒๕๕๙ ซึ่งเสนอรายงานการสอบสวนขอเท็จจริงความรับผิดทางละเมิดตอคณะกรรมการพิจารณาความ รับผิดทางละเมิดตามสรุปสำนวนการสอบสวนขอเท็จจริงความรับผิดทางละเมิด แลวคณะกรรมการ พิจารณาความรับผิดทางละเมิดมีความเห็นเสนอผูอำนวยการโจทกวา จำเลยที่ ๑ ในฐานะ ผูควบคุมงาน และจำเลยที่ ๒ ที่ ๓ ในฐานะคณะกรรมการตรวจการจางตองรับผิดเนื่องจากมีการ กอสรางหองเครื่องกำเนิดไฟฟา ผิดชั้นจากชั้นที่ ๑๐ เปนชั้นที่ ๑๑ ซึ่งไมตรงกับแบบแปลน แนบทายสัญญาจาง เปนการปฏิบัติหนาที่โดยประมาทเลินเลออยางรายแรง ทำใหโจทกไดรับ ความเสียหาย ๘๐,๐๘๖.๗๘ บาท ใหจำเลยที่ ๑ ในฐานะผูควบคุมงานรับผิดรอยละ ๒๐ (ที่ถูกรอยละ ๒๕) ของคาเสียหายเปนเงิน ๒๐,๐๒๑.๗๐ บาท สวนจำเลยที่ ๒ และที่ ๓ ในฐานะคณะกรรมการ ตรวจการจาง แตละคนใหรับผิดรอยละ ๒๐ (ที่ถูกรอยละ ๒๕) ของคาเสียหายเปนเงินคนละ ๒๐,๐๒๑.๗๐ บาท และใหจำเลยที่ ๔ ถึงที่ ๖ ในฐานะผูค้ำประกันการทำงานรวมรับผิดกับจำเลย ที่ ๑ ถึงที่ ๓ ตามลำดับ โจทกแจงผลการพิจารณาความรับผิดใหจำเลยทั้งหกชำระคาเสียหายแลว แตจำเลยทั้งหกเพิกเฉย แลววินิจฉัยวา โจทกเปนรัฐวิสาหกิจ จำเลยที่ ๑ ถึงที่ ๓ เปนเจาหนาที่ ใหผูรับจางดำเนินการกอสรางเครื่องกำเนิดไฟฟาผิดชั้นคือไปสรางที่ชั้นที่ ๑๑ โดยไมไดรับความ ยินยอมเปนหนังสือจากเจาหนาที่ของนิติบุคคลอาคารที่ใหเชา แตก็ไดรับความยินยอมโดยพฤตินัย ใหกระทำเชนนั้นได มีเหตุใหจำเลยที่ ๑ ถึงที่ ๓ เขาใจวาสามารถกอสรางเครื่องกำเนิดไฟฟาที่ชั้น ที่ ๑๑ ได ประกอบกับอาคารไมมีพื้นที่ชั้นที่ ๑๐ แตมีชั้นที่ ๙ เอ และชั้นที่ ๙ บี ซึ่งเปนชั้นจอดรถ ไมอาจกอสรางเครื่องกำเนิดไฟฟาได การกระทำของจำเลยที่ ๑ ถึงที่ ๓ เปนการปฏิบัติหนาที่ โดยประมาทเลินเลอ แตไมถึงขนาดประมาทเลินเลออยางรายแรง จึงไมตองรับผิดตอโจทกตาม พระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจาหนาที่ พ.ศ. ๒๕๓๙ และไมใชกรณีรับผิดทางสัญญา จางแรงงาน จำเลยที่ ๑ ถึงที่ ๓ ไมตองรับผิดใชคาเสียหายแกโจทก จำเลยที่ ๔ ถึงที่ ๖ ในฐานะ ผูค้ำประกัน จึงไมตองรับผิดตอโจทกดวย


๔๗๙ มีปญหาตองวินิจฉัยตามอุทธรณของโจทกวา ศาลแรงงานกลางวินิจฉัยนอกฟองนอก ประเด็นขอพิพาทที่ศาลแรงงานกลางกำหนดไวหรือไม เห็นวา การกำหนดประเด็นขอพิพาทใน คดีแรงงานไมจำตองอยูภายใตบังคับบทบัญญัติประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพงเนื่องจาก พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ ซึ่งเปนกฎหมายเฉพาะ ไดบัญญัติไวแลวในมาตรา ๓๙ วรรคหนึ่ง คดีนี้ โจทกบรรยายฟองวา จำเลยที่ ๑ ถึงที่ ๓ เปน เจาหนาที่ซึ่งปฏิบัติหนาที่โดยประมาทเลินเลออยางรายแรงเปนเหตุใหโจทกไดรับความเสียหาย อันเปนการกระทำผิดสัญญาจางแรงงาน โจทกตั้งคณะกรรมการสอบขอเท็จจริงความรับผิดทาง ละเมิดแกจำเลยที่ ๑ ถึงที่ ๓ ซึ่งสรุปสำนวนเสนอตอคณะกรรมการพิจารณาความรับผิดทางละเมิด แลวคณะกรรมการพิจารณาความรับผิดทางละเมิดเสนอรายงานพรอมความเห็นตอผูอำนวยการ โจทกวา จำเลยที่ ๑ ถึงที่ ๓ ปฏิบัติหนาที่โดยประมาทเลินเลออยางรายแรงทำใหโจทกไดรับความ เสียหาย ตองใชคาเสียหายตามสวนในผลแหงละเมิดคนละรอยละ ๒๕ ของความเสียหายใหแก โจทก มีคำขอใหบังคับจำเลยที่ ๑ ถึงที่ ๓ ชดใชคาเสียหายตามสวนดังกลาวใหแกโจทก ดังนี้ จึงเปนเรื่องที่โจทกซึ่งเปนหนวยงานของรัฐฟองจำเลยที่ ๑ ถึงที่ ๓ ซึ่งเปนเจาหนาที่วา เจาหนาที่ ทั้งสามกระทำละเมิดตอหนวยงานของรัฐในการปฏิบัติหนาที่และยังเปนการกระทำผิดสัญญาจาง แรงงาน ตองรับผิดชดใชคาเสียหายตามสวนแกโจทก ซึ่งจำเลยที่ ๑ ถึงที่ ๓ ใหการวา ไมไดปฏิบัติ หนาที่โดยประมาทเลินเลอจึงไมตองใชคาเสียหาย อันเปนการปฏิเสธวา ไมไดกระทำละเมิดใน การปฏิบัติหนาที่ตอโจทกและไมไดกระทำผิดสัญญาจางแรงงาน จึงไมตองชดใชคาเสียหายให แกโจทก ประเด็นขอพิพาทในสวนจำเลยที่ ๑ ถึงที่ ๓ จึงไดแก จำเลยที่ ๑ ถึงที่ ๓ ปฏิบัติหนาที่ โดยประมาทเลินเลออันเปนการกระทำละเมิดและกระทำผิดสัญญาจางแรงงานตอโจทกหรือไม และตองชดใชคาเสียหายแกโจทกหรือไม เพียงใด ที่ศาลแรงงานกลางกำหนดประเด็นขอพิพาท ขอที่ ๒ วา โจทกไดรับความเสียหายหรือไม และจำเลยทั้งหกตองชดใชคาเสียหายแกโจทกหรือไม เพียงใด จึงมีประเด็นวาจำเลยที่ ๑ ถึงที่ ๓ กระทำละเมิดตอโจทกหรือไมรวมอยูดวยแลว ซึ่งจะ ตองพิเคราะหตอไปวา จำเลยที่ ๑ ถึงที่ ๓ กระทำละเมิดตอหนวยงานของรัฐในการปฏิบัติหนาที่ ตามพระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจาหนาที่ พ.ศ. ๒๕๓๙ หรือไม ดังนี้ ที่ศาลแรงงาน กลางพิเคราะหคดีนี้โดยปรับบทดวยพระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจาหนาที่ พ.ศ. ๒๕๓๙ จึงไมเปนการเพิ่มเติมประเด็นขอพิพาทอยางที่โจทกอางในอุทธรณ โดยที่คาเสียหายทั้ง มูลละเมิดและมูลสัญญาดังกลาวตามฟองเปนจำนวนเดียวกัน และพระราชบัญญัติความรับผิดทาง ละเมิดของเจาหนาที่ พ.ศ. ๒๕๓๙ เปนกฎหมายที่เกี่ยวดวยความสงบเรียบรอยของประชาชน การพิเคราะหวาจำเลยที่ ๑ ถึงที่ ๓ ตองรับผิดชดใชคาเสียหายตามฟองแกโจทกหรือไม จำตองอยู


๔๘๐ ภายใตบังคับแหงพระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจาหนาที่ พ.ศ. ๒๕๓๙ หมายความวา คดีนี้ ศาลแรงงานกลางจะตองพิเคราะหพยานหลักฐานในคดีวา จำเลยที่ ๑ ถึงที่ ๓ เปนผูกระทำ ละเมิดตอหนวยงานของรัฐในการปฏิบัติหนาที่โดยประมาทเลินเลออยางรายแรง โจทกจึงจะมี สิทธิเรียกใหจำเลยที่ ๑ ถึงที่ ๓ ชดใชคาเสียหายตามฟองแกโจทกไดตามมาตรา ๑๐ วรรคหนึ่ง ประกอบมาตรา ๘ ซึ่งหากจำเลยที่ ๑ ถึงที่ ๓ ไมตองชดใชคาเสียหายในมูลละเมิดดังกลาวนี้แลว ก็จะเปนผลใหจำเลยที่ ๑ ถึงที่ ๓ ไมตองชดใชคาเสียหายในมูลผิดสัญญาจางแรงงานแกโจทกดวย เมื่อศาลแรงงานกลางฟงขอเท็จจริงและวินิจฉัยวา การกระทำของจำเลยที่ ๑ ถึงที่ ๓ เปนการ ปฏิบัติหนาที่โดยประมาทเลินเลอ แตไมถึงขนาดประมาทเลินเลออยางรายแรง จึงไมตองรับผิด ชดใชคาเสียหายแกโจทกตามพระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจาหนาที่ พ.ศ. ๒๕๓๙ จึงเปนการวินิจฉัยไปตามคำฟอง คำใหการ และประเด็นขอพิพาทที่ศาลแรงงานกลางกำหนดไว หาเปนการวินิจฉัยนอกฟองและนอกประเด็นขอพิพาทอยางที่โจทกอางในอุทธรณ อุทธรณของ โจทกขอนี้ฟงไมขึ้น สวนที่โจทกอุทธรณวา พยานบุคคลและพยานเอกสารตาง ๆ ในชั้นสืบพยานของ ศาลแรงงานกลางทำใหขอเท็จจริงฟงไดวา การกระทำของจำเลยที่ ๑ ถึงที่ ๓ เปนการปฏิบัติ หนาที่โดยประมาทเลินเลออยางรายแรง เห็นวา เปนการอุทธรณโตแยงดุลพินิจในการรับฟง พยานหลักฐานของศาลแรงงานกลาง อันเปนอุทธรณในขอเท็จจริง ซึ่งตองหามมิใหอุทธรณตาม พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๕๔ วรรคหนึ่ง ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษไมรับวินิจฉัย พิพากษายืน. วิฑูรย ตรีสุนทรรัตน - ยอ วัชรินทร ฤชุโรจน - ตรวจ (ยุคนธร พาณิชปฐมพงศ - ชะรัตน สุวรรณมา - สัญชัย ลิ่มไพบูลย)


๔๘๑ คำพิพากษาศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษที่ ๓๓๓ - ๓๓๔/๒๕๖๔ นายบุญยงค ลิ้มนันทเสรี กับพวก โจทก บริษัทซีพีเอฟ (ประเทศไทย) จำกัด (มหาชน) จำเลย พ.ร.บ. จัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๔๙, ๕๑ วรรคหนึ่ง พ.ร.บ. จัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๔๙ ใหอํานาจศาลแรงงานในการกําหนดจํานวนคาเสียหายใหนายจางชดใชแทนการรับลูกจาง กลับเขาทํางาน โดยคํานึงถึงอายุของลูกจาง ระยะเวลาการทํางานของลูกจาง ความเดือดรอน ของลูกจางเมื่อถูกเลิกจาง มูลเหตุแหงการเลิกจาง และเงินคาชดเชยที่ลูกจางมีสิทธิไดรับ ประกอบการพิจารณา อันเปนการกําหนดใหศาลแรงงานกลางนําปจจัยตาง ๆ ตามกฎหมาย มาเปนเครื่องมือประกอบดุลพินิจในการกําหนดจํานวนคาเสียหาย โดยมิไดมีความหมายวา หามมิใหศาลแรงงานกําหนดจํานวนคาเสียหายเกินไปกวาคาชดเชยตามที่กฎหมาย กําหนดไวแตอยางใด เมื่อศาลแรงงานกลางไดพิจารณากําหนดคาเสียหายใหแกโจทกทั้งสองโดยคํานึง ถึงอายุของโจทกที่ ๑ และที่ ๒ ขณะถูกเลิกจางวามีอายุ ๕๒ ป และ ๔๘ ป ตามลําดับ ระยะ เวลาการทํางานกับจําเลยของโจทกที่ ๑ เปนเวลา ๒๘ ปเศษ โจทกที่ ๒ เปนเวลา ๒๕ ปเศษ ความเดือดรอนของโจทกทั้งสองเมื่อถูกเลิกจางที่ตองสูญเสียอาชีพและรายไดเลี้ยงตนเอง และครอบครัว โอกาสที่โจทกทั้งสองจะหางานใหมยากเพราะมีอายุมากแลว มูลเหตุแหง การเลิกจางเกิดจากนโยบายของจําเลยที่ตองการปรับปรุงประสิทธิภาพการทํางานและ ลดคาใชจายขององคกร รวมถึงคาชดเชยที่โจทกทั้งสองไดรับไปแลวมาประกอบการ พิจารณา ดังนั้น การพิจารณากําหนดคาเสียหายจากการเลิกจางไมเปนธรรมใหแกโจทก ทั้งสองของศาลแรงงานกลางจึงเปนไปตาม มาตรา ๔๙ ครบถวนแลว การพิจารณากําหนด คาเสียหายของศาลแรงงานกลางดังกลาวมิไดขัดตอกฎหมาย ขอเท็จจริงโดยสรุปที่ศาลแรงงานกลางฟงไดนั้นถูกแสดงอยูในคําพิพากษาฉบับแรก กอนที่ศาลอุทธรณคดีชํานัญพิเศษจะพิพากษายอนสํานวนใหศาลแรงงานกลางพิจารณา กําหนดคาเสียหายจากการเลิกจางไมเปนธรรมใหแกโจทกทั้งสองแลว ดังนั้น ขอเท็จจริง ตามคําพิพากษาของศาลแรงงานกลางในเรื่องนี้กับคําพิพากษาในฉบับแรกจึงมีความ


๔๘๒ เกี่ยวพันกัน เมื่อศาลแรงงานกลางไดแสดงและนําขอเท็จจริงที่ฟงไดโดยสรุปในคําพิพากษา ฉบับแรกที่ยุติแลวมาใชพิจารณากําหนดจํานวนคาเสียหายใหแกโจทกทั้งสองตาม คําพิพากษาฉบับนี้ จึงไมไดทําใหคําพิพากษาของศาลแรงงานกลางฉบับนี้ไมชอบดวย กฎหมายตาม พ.ร.บ. จัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๕๑ วรรคหนึ่ง ตามที่จําเลยกลาวอางแตอยางใด คําพิพากษาของศาลแรงงานกลาง จึงชอบดวยกฎหมายแลว โจทกทั้งสองสำนวนฟอง ขอใหบังคับจำเลยจายคาเสียหายจากการเลิกจางไมเปนธรรม ๔,๖๖๕,๐๐๐ บาท สินจางแทนการบอกกลาวลวงหนา ๒๖,๐๐๐ บาท พรอมดอกเบี้ยอัตรารอยละ ๗.๕ ตอป ของตนเงินแตละจำนวนนับแตวันฟองเปนตนไปจนกวาจะชำระเสร็จ คาชดเชย ๒๖๐,๐๐๐ บาท พรอมดอกเบี้ยอัตรารอยละ ๑๕ ตอป นับแตวันฟองเปนตนไปจนกวาจะชำระเสร็จ แกโจทกที่ ๑ และจายคาเสียหายจากการเลิกจางไมเปนธรรม ๕,๐๐๐,๐๐๐ บาท สินจางแทนการ บอกกลาวลวงหนา ๒๖,๐๐๐ บาท พรอมดอกเบี้ยอัตรารอยละ ๗.๕ ตอป ของตนเงินแตละจำนวน นับแตวันฟองเปนตนไปจนกวาจะชำระเสร็จ คาชดเชย ๒๖๐,๐๐๐ บาท พรอมดอกเบี้ยอัตรา รอยละ ๑๕ ตอป นับแตวันฟองเปนตนไปจนกวาจะชำระเสร็จแกโจทกที่ ๒ จำเลยใหการ ขอใหยกฟอง ศาลแรงงานกลาง พิพากษายกฟองโจทกทั้งสอง โจทกทั้งสองอุทธรณ ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษพิพากษาแก ใหจำเลยจายคาเสียหายจากการเลิกจางไมเปน ธรรม ใหศาลแรงงานกลางพิจารณากำหนดคาเสียหายจากการเลิกจางไมเปนธรรมใหโจทกทั้งสอง แลวมีคำพิพากษาใหมในประเด็นดังกลาวตามรูปคดี นอกจากที่แกใหเปนไปตามคำพิพากษา ศาลแรงงานกลาง จำเลยยื่นคำรองขออนุญาตฎีกาตอศาลฎีกา ศาลฎีกามีคำสั่งไมอนุญาตใหจำเลยฎีกา ยกคำรองขออนุญาตฎีกา และไมรับฎีกาของ จำเลย ศาลแรงงานกลาง พิพากษาใหจำเลยจายคาเสียหายจากการเลิกจางไมเปนธรรม ๒,๕๙๐,๐๐๐ บาท พรอมดอกเบี้ยอัตรารอยละ ๗.๕ ตอป ของตนเงินดังกลาวนับแตวันฟอง (ฟอง วันที่ ๒๘ มีนาคม ๒๕๖๑) เปนตนไปจนกวาจะชำระเสร็จแกโจทกที่ ๑ และใหจาย ๑,๗๐๗,๐๐๐ บาท


๔๘๓ พรอมดอกเบี้ยอัตรารอยละ ๗.๕ ตอป ของตนเงินดังกลาวนับแตวันฟอง (ฟองวันที่ ๒๙ มีนาคม ๒๕๖๑) เปนตนไปจนกวาจะชำระเสร็จแกโจทกที่ ๒ จำเลยอุทธรณ ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษแผนกคดีแรงงานวินิจฉัยวา คดีนี้ศาลแรงงานกลางฟง ขอเท็จจริงวา เมื่อพิจารณาถึงอายุของโจทกที่ ๑ และที่ ๒ ขณะถูกเลิกจางอายุ ๕๒ ป และ ๔๘ ป ตามลำดับ ระยะเวลาทำงานของโจทกที่ ๑ เปนเวลา ๒๘ ปเศษ โจทกที่ ๒ เปนเวลา ๒๕ ปเศษ ความเดือดรอนของลูกจางเมื่อถูกเลิกจางที่ตองสูญเสียอาชีพและรายไดเลี้ยงตนเองและครอบครัว โอกาสหางานใหมยากเพราะมีอายุมาก มูลเหตุแหงการเลิกจางเปนนโยบายของจำเลยที่ตองการ ปรับปรุงประสิทธิภาพการทำงานและลดคาใชจายขององคกร รวมถึงเงินคาชดเชยที่ลูกจางมีสิทธิ ไดรับประกอบการพิจารณา จึงเห็นสมควรกำหนดคาเสียหายจากการเลิกจางไมเปนธรรมใหแก โจทกที่ ๑ เปนเงิน ๒,๕๙๐,๐๐๐ บาท แกโจทกที่ ๒ เปนเงิน ๑,๗๐๗,๐๐๐ บาท ปญหาตองวินิจฉัยตามอุทธรณของจำเลยมีวา คำพิพากษาของศาลแรงงานกลางที่ กำหนดคาเสียหายจากการเลิกจางไมเปนธรรมแกโจทกทั้งสองชอบดวยกฎหมายหรือไม เห็นวา พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๔๙ ใหอำนาจ ศาลแรงงานในการกำหนดจำนวนคาเสียหายใหนายจางชดใชแทนการรับลูกจางกลับเขาทำงาน โดยคำนึงถึงอายุของลูกจาง ระยะเวลาการทำงานของลูกจาง ความเดือดรอนของลูกจางเมื่อ ถูกเลิกจาง มูลเหตุแหงการเลิกจาง และเงินคาชดเชยที่ลูกจางมีสิทธิไดรับประกอบการพิจารณา อันเปนการกำหนดใหศาลแรงงานกลางนำปจจัยตาง ๆ ตามกฎหมายมาเปนเครื่องมือประกอบ ดุลพินิจในการกำหนดจำนวนคาเสียหาย โดยมิไดมีความหมายวาหามมิใหศาลแรงงานกำหนด จำนวนคาเสียหายเกินไปกวาคาชดเชยตามที่กฎหมายกำหนดไวแตอยางใด เมื่อศาลแรงงานกลาง ไดพิจารณากำหนดคาเสียหายใหแกโจทกทั้งสองโดยคำนึงถึงอายุของโจทกที่ ๑ และที่ ๒ ขณะ ถูกเลิกจางวามีอายุ ๕๒ ป และ ๔๘ ป ตามลำดับ ระยะเวลาการทำงานกับจำเลยของโจทกที่ ๑ เปนเวลา ๒๘ ปเศษ โจทกที่ ๒ เปนเวลา ๒๕ ปเศษ ความเดือดรอนของโจทกทั้งสองเมื่อถูก เลิกจางที่ตองสูญเสียอาชีพและรายไดเลี้ยงตนเองและครอบครัว โอกาสที่โจทกทั้งสองจะหางาน ใหมยากเพราะมีอายุมากแลว มูลเหตุแหงการเลิกจางเกิดจากนโยบายของจำเลยที่ตองการปรับปรุง ประสิทธิภาพการทำงานและลดคาใชจายขององคกร รวมถึงคาชดเชยที่โจทกทั้งสองไดรับไปแลว มาประกอบการพิจารณา ดังนั้น การพิจารณากำหนดคาเสียหายจากการเลิกจางไมเปนธรรม ใหแกโจทกทั้งสองของศาลแรงงานกลางจึงเปนไปตามพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแรงงานและวิธี พิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๔๙ ครบถวนแลว การพิจารณากำหนดคาเสียหาย


๔๘๔ ของศาลแรงงานกลางดังกลาวมิไดขัดตอกฎหมาย และขอเท็จจริงโดยสรุปที่ศาลแรงงานกลาง ฟงไดนั้นถูกแสดงอยูในคำพิพากษาฉบับแรก กอนที่ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษจะพิพากษายอน สำนวนใหศาลแรงงานกลางพิจารณากำหนดคาเสียหายจากการเลิกจางไมเปนธรรมใหแกโจทก ทั้งสองแลว ดังนั้น ขอเท็จจริงตามคำพิพากษาของศาลแรงงานกลางในเรื่องนี้กับคำพิพากษาใน ฉบับแรกจึงมีความเกี่ยวพันกัน เมื่อศาลแรงงานกลางไดแสดงและนำขอเท็จจริงที่ฟงไดโดยสรุป ในคำพิพากษาฉบับแรกที่ยุติแลวมาใชพิจารณากำหนดจำนวนคาเสียหายใหแกโจทกทั้งสองตาม คำพิพากษาฉบับนี้ จึงไมไดทำใหคำพิพากษาของศาลแรงงานกลางฉบับนี้ไมชอบดวยกฎหมาย ตามพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๕๑ วรรคหนึ่ง ตามที่จำเลยกลาวอางแตอยางใด คำพิพากษาของศาลแรงงานกลางจึงชอบดวย กฎหมายแลว ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษเห็นพองดวย อุทธรณของจำเลยฟงไมขึ้น ที่จำเลยอุทธรณวา จำนวนเงินที่จำเลยจายใหโจทกทั้งสองเปนคาชดเชยและสินจางแทน การบอกกลาวลวงหนารวม ๑๑ เทาของคาจางอัตราสุดทาย มีจำนวนเพียงพอสมควรแกเหตุ ที่ชดเชยความเสียหายใหแกโจทกทั้งสองแลว หรือหากจะมีคำพิพากษากำหนดคาเสียหายใน สวนนี้ใหแกโจทกทั้งสองเพิ่มเติม สำหรับโจทกที่ ๑ ก็ควรไดไมเกิน ๒ เทาของคาจางอัตราสุดทาย สวนโจทกที่ ๒ ควรไดไมเกิน ๔ เทาของคาจางอัตราสุดทายนั้น เห็นวา อุทธรณของจำเลยดังกลาว เปนการโตแยงดุลพินิจในการพิจารณากำหนดจำนวนคาเสียหายใหแกโจทกทั้งสองของ ศาลแรงงานกลาง อันเปนอุทธรณในขอเท็จจริง ซึ่งตองหามมิใหอุทธรณตามพระราชบัญญัติ จัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๕๔ วรรคหนึ่ง ศาลอุทธรณ คดีชำนัญพิเศษไมรับวินิจฉัย พิพากษายืน. (พิเชฏฐ รื่นเจริญ - โสภณ พรหมสุวรรณ - ผจงธรณ วรินทรเวช) สุรพัศ เพ็ชรคง - ยอ สุโรจน จันทรพิทักษ - ตรวจ


๔๘๕ คำพิพากษาศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษที่ ๖๑๗/๒๕๖๔ บริษัทบริหารมหานคร จำกัด (มหาชน) หรือ ธนาคารมหานคร จำกัด (มหาชน) โจทก นางภคินี สุวรรณภักดี จำเลย ป.วิ.พ. มาตรา ๒๗๒, ๒๗๓, ๒๗๔, ๒๗๕, ๒๗๖ พ.ร.บ. จัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๓๑ การบังคับคดียอมอาศัยคำพิพากษาเปนหลักแหงคำบังคับ เมื่อศาลไดมีคำพิพากษา ใหดำเนินการอยางใด ก็ชอบที่จะออกคำบังคับใหดำเนินการตามคำพิพากษาเชนวานั้น สวนการบังคับคดีจะบังคับกันอยางไรยอมเปนไปตามที่สภาพแหงการบังคับคดีจะเปดชอง ใหกระทำได ตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๒๗๒ ถึงมาตรา ๒๗๖ ประกอบ พ.ร.บ. จัดตั้งศาลแรงงาน และวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๓๑ แมคำบังคับและหมายบังคับคดีของ ศาลแรงงานกลางจะไมไดระบุถึงจำนวนเงินที่จำเลยจะตองจายใหแกโจทกไวแนนอน แตก็เปนการออกคำบังคับและหมายบังคับคดีตามผลคำพิพากษาศาลแรงงานกลางและ ศาลฎีกา ซึ่งจำเลยสามารถนำหลักการตามคำพิพากษาของศาลแรงงานกลางและศาลฎีกา ที่แนบทายคำบังคับและที่ปรากฏในหมายบังคับคดีดังกลาวไปเปนหลักในการคิดคำนวณ และดำเนินการใหเปนไปตามคำพิพากษาได เมื่อคำบังคับไดมีการกำหนดใหใชเงินตาม สำเนาคำพิพากษาที่แนบทายคำบังคับ โดยไดระบุไวในคำบังคับนั้นโดยชัดแจง ซึ่งระยะ เวลาและเงื่อนไขอื่น ๆ อันจะตองใชเงินแลว และเมื่อการบังคับคดีตองทำโดยทาง เจาพนักงานบังคับคดี โดยศาลไดมีคำสั่งใหออกหมายบังคับคดีตั้งเจาพนักงานบังคับคดี และแจงใหเจาพนักงานบังคับคดีทราบเพื่อดำเนินการตอไปตามที่กำหนดไวในหมายนั้นแลว คำบังคับและหมายบังคับคดีของศาลแรงงานกลางจึงชอบดวยกฎหมาย สวนรายละเอียด หรือขั้นตอนการบังคับคดีจะเปดชองใหบังคับกันอยางไรยอมเปนไปตามที่กฎหมายบัญญัติ ไวตอไป โจทกยื่นคำรองขอใหออกคำบังคับจำเลยปฏิบัติตามคำพิพากษาศาลฎีกา ศาลแรงงาน กลางมีคำสั่งใหออกคำบังคับ จำเลยยื่นคำรองขอใหเพิกถอนคำบังคับ


๔๘๖ ศาลแรงงานกลาง มีคำสั่งวา การหักจำนวนเงินชำระหนี้ตามคำรองจำเลย เปนเรื่องที่ ตองดำเนินการในชั้นบังคับคดี คำบังคับคดีนี้ออกชัดแจงถูกตองตามคำพิพากษาศาลฎีกาแลว ไมมีเหตุใหเพิกถอน ยกคำรอง จำเลยอุทธรณ โจทกยื่นคำรองขอใหออกหมายบังคับคดี ศาลแรงงานกลางมีคำสั่งใหออกหมายบังคับคดี จำเลยยื่นคำรองขอใหเพิกถอนหมายบังคับคดี ศาลแรงงานกลางพิจารณาแลว มีคำสั่งวา โจทกยื่นคำรองวาจำเลยไมไดปฏิบัติตาม คำบังคับหรือนำเงินมาชำระหนี้ตามคำพิพากษาแตอยางใด อีกทั้งตามคำรองนี้ไมปรากฏวาจำเลย ไดชำระหนี้ตามคำพิพากษาแกโจทกครบถวนแลว จึงยังไมมีเหตุเพิกถอนหมายบังคับคดี แตศาล ไดตรวจดูหมายบังคับคดี ลงวันที่ ๑๖ มีนาคม ๒๕๖๔ แลว ปรากฏวามิไดระบุขอความในสวนที่ ศาลฎีกาพิพากษาแกไวดวย จึงเห็นควรยกเลิกหมายเดิมแลวออกหมายบังคับคดีใหมใหปรากฏ ขอความที่ถูกตองตรงตามคำพิพากษาศาลฎีกา จำเลยอุทธรณ ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษแผนกคดีแรงงานวินิจฉัยวา ขอเท็จจริงที่คูความไมโตแยงกัน ฟงไดวา เมื่อวันที่ ๓๐ ธันวาคม ๒๕๖๓ โจทกยื่นคำรองขอใหออกคำบังคับตอศาลแรงงานกลางวา คดีนี้ศาลแรงงานกลางพิพากษาใหจำเลยชำระเงิน ๔,๑๙๘,๐๐๐,๐๐๐ บาท พรอมดอกเบี้ยอัตรา รอยละ ๗.๕ ตอป ของตนเงินดังกลาว นับแตวันที่ ๑๐ กุมภาพันธ ๒๕๔๗ เปนตนไปจนกวาจะ ชำระเสร็จแกโจทก แตดอกเบี้ยที่คำนวณดังกลาวถึงวันฟอง (วันที่ ๑๒ กุมภาพันธ ๒๕๕๗) ตอง ไมเกินจำนวนตามคำขอในคำฟอง ตอมาศาลฎีกาพิพากษาแกเปนวา หากโจทกไดรับชำระหนี้ ในคดีหมายเลขดำที่ ๒๓๖๐/๒๕๕๓ ของศาลแพงกรุงเทพใต และคดีหมายเลขดำที่ ๔๕๕๐/๒๕๔๙ คดีหมายเลขแดงที่ อ.๓๔๘๑/๒๕๕๙ คดีหมายเลขดำที่ ๓๑๗/๒๕๕๐ คดีหมายเลขแดงที่ อ.๓๔๘๓/๒๕๕๙ และคดีหมายเลขดำที่ ๑๙๘/๒๕๕๐ คดีหมายเลขแดงที่ อ.๓๔๘๒/๒๕๕๙ ของ ศาลอาญากรุงเทพใตเพียงใด ก็ใหนำมาหักชำระออกจากตนเงินที่จำเลยตองชำระในคดีนี้ดวย นอกจากที่แกใหเปนไปตามคำพิพากษาศาลแรงงานกลาง แตศาลแรงงานกลางไมไดออกคำบังคับ ขอใหศาลแรงงานกลางออกคำบังคับเพื่อแจงผลคำพิพากษาใหจำเลยทราบ ศาลแรงงานกลาง มีคำสั่งใหออกคำบังคับ โดยใหจำเลยปฏิบัติตามรายละเอียดตามสำเนาคำพิพากษาแนบทาย ตอมาเมื่อวันที่ ๔ กุมภาพันธ ๒๕๖๔ จำเลยยื่นคำรองวา เมื่อวันที่ ๒๔ มกราคม ๒๕๖๔ จำเลย ไดรับคำบังคับโดยมีคำพิพากษาศาลแรงงานกลางและคำพิพากษาศาลฎีกาแนบมากับคำบังคับ จำเลยเห็นวาคำบังคับที่ศาลแรงงานกลางสงมาดังกลาวไมชอบดวยประมวลกฎหมายวิธีพิจารณา


๔๘๗ ความแพง มาตรา ๒๗๓, ๒๗๕ และมาตรา ๒๗๖ เนื่องจากคำบังคับนั้นมิไดระบุจำนวนหนี้เงิน โดยชัดแจงที่จำเลยจะตองชำระหนี้ตามคำพิพากษา เพราะโจทกยังไมแสดงถึงหนี้ตามคำพิพากษา ของศาลแพงกรุงเทพใตคดีหมายเลขดำที่ ๒๓๖๐/๒๕๕๓ และคดีหมายเลขดำที่ ๔๕๕๐/๒๕๔๙ คดีหมายเลขแดงที่ อ.๓๔๘๑/๒๕๕๙ คดีหมายเลขดำที่ ๓๑๗/๒๕๕๐ คดีหมายเลขแดงที่ อ.๓๔๘๓/๒๕๕๙ และคดีหมายเลขดำที่ ๑๙๘/๒๕๕๐ คดีหมายเลขแดงที่ อ.๓๔๘๒/๒๕๕๙ ของ ศาลอาญากรุงเทพใต ที่โจทกไดรับชำระหนี้แตละคดีเพียงใดเพื่อนำมาหักตนเงินในคดีนี้วายังมี เหลืออยูจำนวนเทาใดที่จำเลยจะตองรับผิดชำระหนี้ใหแกโจทกในคดีนี้ ดังที่ศาลฎีกาพิพากษา แกไขจำนวนหนี้ไว เมื่อจำนวนหนี้ที่จำเลยจะตองปฏิบัติตามคำบังคับยังไมชัดแจง จึงเปนกรณี ที่สภาพแหงหนี้ไมเปดชองใหบังคับได คำบังคับดังกลาวฝาฝนบทบัญญัติของกฎหมาย ขอให ศาลแรงงานกลางเพิกถอนคำบังคับ ศาลแรงงานกลางมีคำสั่งยกคำรอง ตอมา โจทกยื่นคำรอง ขอใหออกหมายบังคับคดี ศาลแรงงานกลางมีคำสั่งใหออกหมายบังคับคดี หลังจากนั้นวันที่ ๓๐ มีนาคม ๒๕๖๔ จำเลยยื่นคำรองวา โจทกไมอาจระบุหนี้ตนเงินที่จำเลยตองชำระโดยชัดแจงใน ขณะขอออกหมายบังคับคดี โจทกตองแถลงใหชัดแจงวาโจทกไดรับชำระหนี้ในแตละคดีไปแลว เพียงใด จึงจะขอออกหมายบังคับคดีได และศาลแรงงานกลางตองไตสวนใหชัดแจงวาจำนวนหนี้ เงินที่จะบังคับคดีคงเหลือเพียงใด ขอใหศาลแรงงานกลางเพิกถอนหมายบังคับคดี ศาลแรงงาน กลางวินิจฉัยวา ไมมีเหตุเพิกถอนหมายบังคับคดี แตศาลไดตรวจดูหมายบังคับคดี ลงวันที่ ๑๖ มีนาคม ๒๕๖๔ แลว ปรากฏวามิไดระบุขอความในสวนที่ศาลฎีกาพิพากษาแกไวดวย จึงเห็นควร ยกเลิกหมายเดิมแลวออกหมายบังคับคดีใหมใหปรากฏขอความที่ถูกตองตรงตามคำพิพากษา ศาลฎีกา คดีมีปญหาตองวินิจฉัยตามอุทธรณของจำเลยฉบับแรกวา กรณีมีเหตุเพิกถอนคำบังคับ หรือไม และตามอุทธรณฉบับที่สองวา กรณีมีเหตุเพิกถอนหมายบังคับคดีหรือไม กรณีเห็นสมควร วินิจฉัยอุทธรณทั้งสองฉบับไปในคราวเดียวกัน เห็นวา การบังคับคดียอมอาศัยคำพิพากษาเปน หลักแหงคำบังคับ เมื่อศาลไดมีคำพิพากษาใหดำเนินการอยางใด ก็ชอบที่จะออกคำบังคับให ดำเนินการตามคำพิพากษาเชนวานั้น สวนการบังคับคดีจะบังคับกันอยางไรยอมเปนไปตามที่ สภาพแหงการบังคับคดีจะเปดชองใหกระทำได ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพง มาตรา ๒๗๒ ถึงมาตรา ๒๗๖ ประกอบพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดี แรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๓๑ แมคำบังคับและหมายบังคับคดีของศาลแรงงานกลางจะไม ไดระบุถึงจำนวนเงินที่จำเลยจะตองจายใหแกโจทกไวแนนอน แตก็เปนการออกคำบังคับและ หมายบังคับคดีตามผลคำพิพากษาศาลแรงงานกลางและศาลฎีกา ซึ่งจำเลยสามารถนำหลักการ


๔๘๘ ตามคำพิพากษาของศาลแรงงานกลางและศาลฎีกาที่แนบทายคำบังคับและที่ปรากฏในหมาย บังคับคดีดังกลาวไปเปนหลักในการคิดคำนวณและดำเนินการใหเปนไปตามคำพิพากษาได เมื่อ คำบังคับไดมีการกำหนดใหใชเงินตามสำเนาคำพิพากษาที่แนบทายคำบังคับ โดยไดระบุไวใน คำบังคับนั้นโดยชัดแจง ซึ่งระยะเวลาและเงื่อนไขอื่น ๆ อันจะตองใชเงินแลว และเมื่อการบังคับ คดีตองทำโดยทางเจาพนักงานบังคับคดี โดยศาลไดมีคำสั่งใหออกหมายบังคับคดีตั้งเจาพนักงาน บังคับคดีและแจงใหเจาพนักงานบังคับคดีทราบเพื่อดำเนินการตอไปตามที่กำหนดไวในหมายนั้น แลว คำบังคับและหมายบังคับคดีของศาลแรงงานกลางจึงชอบดวยกฎหมาย สวนรายละเอียดหรือ ขั้นตอนการบังคับคดีจะเปดชองใหบังคับกันอยางไรยอมเปนไปตามที่กฎหมายบัญญัติไวตอไป คำบังคับและหมายบังคับคดีของศาลแรงงานกลางจึงชอบดวยกฎหมาย ที่ศาลแรงงานกลาง วินิจฉัยมานั้นศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษเห็นพองดวย อุทธรณของจำเลยฟงไมขึ้น พิพากษายืน. (ชะรัตน สุวรรณมา - สัญชัย ลิ่มไพบูลย - ยุคนธร พาณิชปฐมพงศ) ธัชวุทธิ์ พุทธิสมบัติ - ยอ วัชรินทร ฤชุโรจน - ตรวจ


๔๘๙ คำพิพากษาศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษที่ ๗๓๒/๒๕๖๔ นายสาโรช รักมิตรศิริพร โจทก บริษัทโตโยตามหานคร จํากัด จำเลย ป.วิ.พ. มาตรา ๑๔๒ (๕) พ.ร.บ. คุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา ๗๖ (๔), ๗๖ วรรคสอง, ๗๗, ๑๑๘ วรรคสอง พ.ร.บ. จัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๔๕ วรรคหนึ่ง, ๕๒, ๕๔ วรรคหนึ่ง, ๕๗ พ.ร.ก. แกไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย พ.ศ. ๒๕๖๔ เอกสารหมาย ล.๙ และ ล.๑๐ เปนเอกสารที่ศาลแรงงานกลางมีคําสั่งเรียกให จําเลยนํามาสงศาลภายหลังสืบพยานจําเลยเสร็จแลว ไมใชเอกสารที่จําเลยอางเปนพยาน หลักฐานดังที่โจทกอางในอุทธรณ ถือไดวาเอกสารทั้งสองฉบับดังกลาวเปนเอกสารที่ ศาลแรงงานกลางใชอํานาจเรียกมาสืบไดเองตามที่เห็นสมควรตาม พ.ร.บ. จัดตั้งศาลแรงงาน และวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๔๕ วรรคหนึ่ง พ.ร.บ. คุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา ๗๖ วรรคสอง บัญญัติไววา “การหัก ตาม... (๔) มิใหหักเกินรอยละ ๑๐...” การที่จําเลยหักคาจางโจทกในอัตรารอยละ ๒๐ ตอเดือน จึงเกินกวาที่กฎหมายกําหนด ทั้งยังไมปรากฏขอเท็จจริงวาจําเลยจัดทําหนังสือใหโจทก ลงลายมือชื่อใหความยินยอมในการหักคาจางไวเปนการเฉพาะตาม พ.ร.บ. คุมครอง แรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา ๗๗ จําเลยจึงตองคืนคาจางที่หักไวเกินแกโจทก เมื่อศาลแรงงานกลางวินิจฉัยวา จําเลยหักเงินคาจางโจทกไวเกินกวาที่กฎหมาย กําหนด จึงพิพากษาใหจําเลยคืนเงินดังกลาวแกโจทกพรอมดอกเบี้ย แตเงินที่จําเลยตอง คืนแกโจทกนั้นเปนสวนของความเสียหายที่โจทกตองรับผิดชอบดวย เพื่อความเปนธรรม มิใหจําเลยตองไปฟองเรียกเงินดังกลาวจากโจทกอีก ศาลแรงงานกลางจึงพิพากษาใหนํา เงินที่จําเลยตองคืนแกโจทกนั้นมารวมกับความเสียหายที่โจทกตองรับผิดตามฟองแยง โดยอาศัยอํานาจตาม พ.ร.บ. จัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๕๒ ซึ่งเปนบทบัญญัติที่ยกเวนใหศาลแรงงานมีคําพิพากษาเกินกวาคําขอบังคับ ตามฟองแยงได คําพิพากษาศาลแรงงานกลางในสวนฟองแยงจึงชอบดวยกฎหมาย


Click to View FlipBook Version