The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รวมคำพิพากษา-แผนกคดีแรงงาน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by iprd.pic, 2024-01-31 21:12:27

รวมคำพิพากษา-แผนกคดีแรงงาน

รวมคำพิพากษา-แผนกคดีแรงงาน

๒๔๐ คำพิพากษาศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษที่ ๑๔๑๖ - ๑๔๑๙/๒๕๖๓ นางนัฏฐิยา ขุนพรม กับพวก โจทก มูลนิธิฮั่วเคี้ยวปอเต็กเซี่ยงตึ๊ง (ปอเต็กตึ๊ง) หรือ มูลนิธิปอเต็กตึ๊ง จำเลย พ.ร.บ. คุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา ๑๑๘ เงินสะสมที่จําเลยจายใหแกโจทกทั้งสี่เปนการจายตามประกาศเรื่องการ เปลี่ยนแปลงสวัสดิการระบบเงินบําเหน็จเปนระบบเงินสะสม และคําสั่งเรื่องระเบียบขอบังคับ เกี่ยวกับการทํางาน เพื่อเปนสวัสดิการแกพนักงานที่ปฏิบัติงานดวยดีตลอดมาและ พนสภาพจากการเปนพนักงานไปโดยไมมีความผิด ทั้งนี้ไมวาพนักงานผูนั้นจะลาออกหรือ ถูกเลิกจางก็ตาม อันมีลักษณะเปนการจายเพื่อตอบแทนคุณงามความดีของลูกจาง จึงแตกตางจากการจายคาชดเชยตาม พ.ร.บ. คุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา ๑๑๘ วรรคหนึ่ง ที่กําหนดใหนายจางจายคาชดเชยใหแกลูกจางที่เลิกจางเทานั้น ดังนั้น แมโจทก ทั้งสี่จะตกลงยินยอมทําบันทึกขอตกลงใหโรงพยาบาล ห. เปลี่ยนแปลงสวัสดิการจากระบบ เงินบําเหน็จเปนระบบเงินสะสม โดยใหถือวาการจายเงินสะสมเปนการจายคาชดเชยดวย ก็ตาม ก็หามีผลทําใหเงินสะสมที่จําเลยจายใหแกโจทกทั้งสี่กลายเปนคาชดเชยตามกฎหมาย คุมครองแรงงานไปไม กรณีจึงถือไมไดวาจําเลยไดจายคาชดเชยตามกฎหมายคุมครอง แรงงานรวมไปกับเงินประเภทอื่นแลว ฉะนั้น จําเลยจึงตองจายคาชดเชยตาม พ.ร.บ. คุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา ๑๑๘ ใหแกโจทกทั้งสี่ โจทกทั้งสี่สำนวนฟองและแกไขคำฟอง ขอใหบังคับจำเลยจายคาชดเชยแกโจทกที่ ๑ เปนเงิน ๒๕๗,๓๑๐ บาท โจทกที่ ๒ เปนเงิน ๒๕๗,๕๑๐ บาท โจทกที่ ๓ เปนเงิน ๒๖๑,๓๒๐ บาท และโจทกที่ ๔ เปนเงิน ๒๗๕,๘๘๐ บาท พรอมดอกเบี้ยอัตรารอยละ ๑๕ ตอป นับแตวันที่ ๑ มกราคม ๒๕๖๒ เปนตนไปจนกวาจะชำระเสร็จแกโจทกทั้งสี่ จำเลยทั้งสี่สำนวนใหการและแกไขคำใหการ ขอใหยกฟอง ศาลแรงงานกลาง พิพากษายกฟองโจทกทั้งสี่ โจทกทั้งสี่สำนวนอุทธรณ


๒๔๑ ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษแผนกคดีแรงงานวินิจฉัยวา ศาลแรงงานกลางฟงขอเท็จจริง วา จำเลยเปนนิติบุคคลประเภทมูลนิธิ โรงพยาบาลหัวเฉียวเปนกิจการของจำเลย จำเลยจางโจทก ทั้งสี่ทำงานเปนลูกจางโรงพยาบาลหัวเฉียว โจทกที่ ๑ เริ่มทำงานวันที่ ๑ กรกฎาคม ๒๕๒๒ ครั้งสุดทายตำแหนงผดุงครรภ แผนกหองผาตัด ฝายการพยาบาล ไดรับคาจางอัตราสุดทายเดือนละ ๒๕,๗๓๑ บาท โจทกที่ ๒ เริ่มทำงานวันที่ ๑ กรกฎาคม ๒๕๒๒ ครั้งสุดทายตำแหนงผดุงครรภ แผนกหองผาตัด ฝายการพยาบาล ไดรับคาจางอัตราสุดทายเดือนละ ๒๕,๗๕๑ บาท โจทกที่ ๓ เริ่มทำงานวันที่ ๑ กรกฎาคม ๒๕๒๒ ครั้งสุดทายตำแหนงผดุงครรภ แผนกหองผาตัด ฝายการ พยาบาล ไดรับคาจางอัตราสุดทายเดือนละ ๒๖,๑๓๒ บาท โจทกที่ ๔ เริ่มทำงานวันที่ ๑ กรกฎาคม ๒๕๒๑ ครั้งสุดทายตำแหนงผดุงครรภ แผนกหอผูปวยชั้น ๑๐ ES ไดรับคาจางอัตราสุดทายเดือนละ ๒๗,๕๘๘ บาท เดิมโรงพยาบาลหัวเฉียวมีสวัสดิการใหแกพนักงานเปนระบบเงินบำเหน็จ ซึ่งมิใช สวัสดิการที่เกิดจากการแจงขอเรียกรองของลูกจาง ตอมาวันที่ ๓๐ ธันวาคม ๒๕๒๖ โรงพยาบาล หัวเฉียวออกประกาศเรื่องการเปลี่ยนแปลงสวัสดิการระบบเงินบำเหน็จเปนระบบเงินสะสม ใหมีผล ใชบังคับตั้งแตวันที่ ๑ เมษายน ๒๕๒๗ เปนตนไป ตามประกาศโรงพยาบาลหัวเฉียวที่ ๔๘/๒๕๒๖ และออกคำสั่งเรื่องระเบียบขอบังคับเกี่ยวกับการทํางาน ใหการพนสภาพจากการเปนพนักงาน มี ๓ กรณี คือ ลาออก เลิกจาง หรือเกษียณอายุ และกำหนดการครบเกษียณอายุของพนักงาน เมื่ออายุครบ ๖๐ ป หรืออายุการทำงาน ๓๐ ป ตามคำสั่งโรงพยาบาลหัวเฉียวที่ ๘๓/๒๕๒๖ โจทก ทั้งสี่ทำบันทึกขอตกลงยินยอมใหโรงพยาบาลหัวเฉียวเปลี่ยนแปลงระบบสวัสดิการดังกลาว ตอมา วันที่ ๓๑ ธันวาคม ๒๕๖๑ (ที่ถูก วันที่ ๑ มกราคม ๒๕๖๒) จำเลยเลิกจางโจทกทั้งสี่เพราะเหตุ เกษียณอายุ ๖๐ ป หลังเลิกจางโจทกทั้งสี่ไดรับเงินสะสมตามบันทึกขอตกลงในการเปลี่ยนแปลง ขอบังคับเกี่ยวกับการทำงานและสวัสดิการระบบเงินบำเหน็จเปนระบบเงินสะสมแลว ตามรายการ ชำระเงิน แลววินิจฉัยวา การประกอบกิจการโรงพยาบาลหัวเฉียวของจำเลยมีวัตถุประสงคเพื่อ แสวงกำไรในทางเศรษฐกิจ จึงตกอยูภายใตบังคับพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ จำเลยจายเงินสะสมตามประกาศโรงพยาบาลหัวเฉียวที่ ๔๘/๒๕๒๖ เรื่อง การเปลี่ยนแปลง สวัสดิการระบบเงินบำเหน็จเปนระบบเงินสะสม ใหโจทกที่ ๑ ที่ ๓ และที่ ๔ มีจำนวนสูงกวา คาชดเชยที่แตละคนมีสิทธิไดรับแลว สวนโจทกที่ ๒ แมเงินสะสมมีจำนวนนอยกวาคาชดเชย แตจำเลย ไดจายเงินเพิ่มใหจนเทากับคาชดเชย ถือวาโจทกทั้งสี่ไดรับเงินตามบันทึกขอตกลงครบถวนแลว จำเลยจึงไมตองจายคาชดเชยใหแกโจทกทั้งสี่อีก มีปญหาตองวินิจฉัยตามอุทธรณของโจทกทั้งสี่วา จำเลยตองจายคาชดเชยตามพระราชบัญญัติ คุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ ใหแกโจทกทั้งสี่หรือไม เพียงใด เห็นวา คาชดเชยเปนเงินที่กฎหมาย คุมครองแรงงานบังคับใหนายจางตองจายใหแกลูกจางซึ่งถูกเลิกจางโดยไมไดกระทำผิด ซึ่งตาม


๒๔๒ พระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา ๑๑๘ (เดิม) บัญญัติใหนายจางจายคาชดเชย ใหแกลูกจางเมื่อเลิกจาง โดยกำหนดหลักเกณฑการคิดคำนวณคาชดเชยไวตาม (๑) ถึง (๕) และ ตามขอบังคับเกี่ยวกับการทำงานของโรงพยาบาลหัวเฉียว ฉบับลงวันที่ ๙ กุมภาพันธ ๒๕๔๗ ใชบังคับในขณะเลิกจาง ก็มีขอกำหนดเรื่องคาชดเชยไวในหมวดที่ ๙ การเลิกจาง คาชดเชย และ คาชดเชยพิเศษ ขอ ๑ วา โรงพยาบาลหัวเฉียวจะจายคาชดเชยใหแกพนักงานที่ถูกเลิกจาง โดยมี หลักเกณฑการคิดคำนวณคาชดเชยเชนเดียวกับบทบัญญัติขางตน แมไมมีบทบัญญัติหามมิให นายจางจายคาชดเชยใหแกลูกจางรวมไปกับเงินประเภทอื่น แตเงินที่นายจางจายไปนั้นจะถือวา เปนคาชดเชยตามพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ หรือไม ตองพิจารณาจาก หลักเกณฑการคิดคำนวณและเงื่อนไขการจายตามระเบียบขอบังคับเกี่ยวกับการทำงานเปนสำคัญ คดีนี้ ขอเท็จจริงที่คูความไมโตเถียงกันและที่ศาลแรงงานกลางรับฟงมาไดความวา เดิมโรงพยาบาลหัวเฉียว มีสวัสดิการใหแกพนักงานเปนระบบเงินบำเหน็จ ตอมาวันที่ ๓๐ ธันวาคม ๒๕๒๖ โรงพยาบาล หัวเฉียวเปลี่ยนแปลงสวัสดิการระบบเงินบำเหน็จเปนระบบเงินสะสม ใหมีผลใชบังคับตั้งแตวันที่ ๑ เมษายน ๒๕๒๗ เปนตนไป โดยออกประกาศเรื่องการเปลี่ยนแปลงสวัสดิการระบบเงินบำเหน็จ เปนระบบเงินสะสม และคำสั่งเรื่องระเบียบขอบังคับเกี่ยวกับการทํางานใหพนักงานทราบและถือ ปฏิบัติ ซึ่งตามประกาศและคำสั่งของโรงพยาบาลหัวเฉียวดังกลาวระบุถึงวัตถุประสงคในการจาย เงินสะสมไวชัดแจงวาโรงพยาบาลหัวเฉียวจัดระบบเงินสะสมแทนเงินบำเหน็จใหเปนสวัสดิการแก พนักงานเพื่อเปนทุนเลี้ยงชีพเมื่อพนจากการเปนพนักงานโดยถูกตองตามระเบียบ และกำหนด หลักเกณฑการจายเงินสะสมตามระเบียบขอบังคับเกี่ยวกับการทำงาน ในหมวดที่ ๙ สวัสดิการ ขอ ๙ ใหพนักงานที่ผานการทดลองงานแลวจึงมีสิทธิไดรับเงินสะสม ทั้งนี้ จะเริ่มตนในวันที่ ๑ ของเดือนถัดไป โดยจะไดรับ ๓ เปอรเซ็นตของเงินเดือน ไปจนถึงเดือนที่ ๔๙ จะไดรับเพิ่มเปน ๔ เปอรเซ็นตของเงินเดือน และตั้งแตเดือนที่ ๖๑ เปนตนไปจะไดรับเพิ่มเปน ๕ เปอรเซ็นตของ เงินเดือน สำหรับเงินที่โรงพยาบาลหัวเฉียวจายสะสมใหนั้น จะนำเขาฝากธนาคารในบัญชีเงินฝาก ประจำของพนักงาน แตจะถอนไดเมื่อพนักงานลาออกโดยมีเงื่อนไขวาหากพนักงานลาออกกอน ครบกำหนด ๕ ป หรือลาออกอยางผิดระเบียบ หรือพนสภาพจากการเปนพนักงานดวยขัดตอ ระเบียบของโรงพยาบาลหัวเฉียว จะไมมีสิทธิไดรับเงินสะสมและดอกเบี้ยของเงินสะสม ยกเวน กรณีที่โรงพยาบาลหัวเฉียวเลิกจางโดยพนักงานไมมีความผิด ดังนี้ จึงเห็นไดวา เงินสะสมที่จำเลย จายใหแกโจทกทั้งสี่นั้นเปนการจายตามประกาศเรื่องการเปลี่ยนแปลงสวัสดิการระบบเงินบำเหน็จ เปนระบบเงินสะสม และคำสั่งเรื่องระเบียบขอบังคับเกี่ยวกับการทำงานเพื่อเปนสวัสดิการแก พนักงานที่ปฏิบัติงานดวยดีตลอดมาและพนสภาพจากการเปนพนักงานไปโดยไมมีความผิด ทั้งนี้ ไมวาพนักงานผูนั้นจะลาออกหรือถูกเลิกจางก็ตาม อันมีลักษณะเปนการจายเพื่อตอบแทนคุณงาม


๒๔๓ ความดีของลูกจาง จึงแตกตางจากการจายคาชดเชยตามพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา ๑๑๘ วรรคหนึ่ง ที่กำหนดใหนายจางจายคาชดเชยใหแกลูกจางที่ถูกเลิกจางเทานั้น ดังนั้น แมโจทกทั้งสี่จะตกลงยินยอมใหโรงพยาบาลหัวเฉียวเปลี่ยนแปลงสวัสดิการจากระบบเงิน บำเหน็จเปนระบบเงินสะสมตามบันทึกขอตกลง โดยใหถือวาการจายเงินสะสมนี้เปนการจาย คาชดเชยดวยก็ตาม ก็หามีผลทำใหเงินสะสมที่จำเลยจายใหแกโจทกทั้งสี่ตามประกาศเรื่องการ เปลี่ยนแปลงสวัสดิการระบบเงินบำเหน็จเปนระบบเงินสะสมและคำสั่งเรื่องระเบียบขอบังคับเกี่ยวกับ การทำงาน กลายเปนคาชดเชยตามกฎหมายคุมครองแรงงานไปไม กรณีจึงถือไมไดวาจำเลยไดจาย คาชดเชยตามกฎหมายคุมครองแรงงานรวมไปกับเงินประเภทอื่นแลว ฉะนั้น จำเลยจึงตองจาย คาชดเชยตามพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ ใหแกโจทกทั้งสี่ สำหรับปญหาวาโจทกทั้งสี่ มีสิทธิไดรับคาชดเชยเพียงใดนั้น เห็นวา โจทกทั้งสี่ทำงานกับจำเลยติดตอกันครบ ๑๐ ปขึ้นไป โจทกทั้งสี่จึงมีสิทธิไดรับคาชดเชยไมนอยกวาคาจางอัตราสุดทาย ๓๐๐ วัน ตามพระราชบัญญัติ คุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา ๑๑๘ (๕) (เดิม) จำเลยตองจายคาชดเชยใหแกโจทกที่ ๑ เปนเงิน ๒๕๗,๓๑๐ บาท โจทกที่ ๒ เปนเงิน ๒๕๗,๕๑๐ บาท โจทกที่ ๓ เปนเงิน ๒๖๑,๓๒๐ บาท และโจทกที่ ๔ เปนเงิน ๒๗๕,๘๘๐ บาท พรอมดอกเบี้ยในระหวางเวลาผิดนัดรอยละ ๑๕ ตอป ในคาชดเชยของโจทกแตละคน นับแตวันเลิกจาง (วันที่ ๑ มกราคม ๒๕๖๒) เปนตนไปจนกวาจะ ชำระเสร็จ ตามพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา ๙ วรรคหนึ่ง ที่ศาลแรงงาน กลางพิพากษายกฟองโจทกทั้งสี่มานั้น ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษไมเห็นพองดวย อุทธรณของ โจทกทั้งสี่ฟงขึ้น พิพากษากลับเปนวา ใหจำเลยจายคาชดเชยแกโจทกที่ ๑ จำนวน ๒๕๗,๓๑๐ บาท โจทกที่ ๒ จำนวน ๒๕๗,๕๑๐ บาท โจทกที่ ๓ จำนวน ๒๖๑,๓๒๐ บาท และโจทกที่ ๔ จำนวน ๒๗๕,๘๘๐ บาท พรอมดอกเบี้ยอัตรารอยละ ๑๕ ตอป ของตนเงินคาชดเชยของโจทกแตละคน นับแตวันเลิกจาง (วันที่ ๑ มกราคม ๒๕๖๒) เปนตนไปจนกวาจะชำระเสร็จแกโจทกทั้งสี่. กิตติ เนตรประเสริฐชัย - ยอ สุโรจน จันทรพิทักษ - ตรวจ (โสภณ พรหมสุวรรณ - ผจงธรณ วรินทรเวช - พิเชฏฐ รื่นเจริญ)


๒๔๔ คำพิพากษาศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษที่ ๒๖๔๓/๒๕๖๓ บริษัทการบินไทย จำกัด (มหาชน) โจทก นายเชาวลิต ตามใจเพียร กับพวก จำเลย ป.พ.พ. มาตรา ๖๘๐ จําเลยที่ ๒ ทําสัญญาค้ำประกันกับโจทกตามหนังสือสัญญาค้ำประกันเอกสาร หมาย จ.๖ มีขอความวา จําเลยที่ ๒ รับรองวาหากจําเลยที่ ๑ ซึ่งปฏิบัติงานใหแกโจทก กระทําดวยประการใด ๆ ก็ตามไมวาจะจงใจหรือประมาทเลินเลอในหนาที่การงานหรือไม ก็ตาม เปนเหตุใหเกิดความเสียหายแกทรัพยสินตาง ๆ ของโจทกแลว จําเลยที่ ๒ ยินยอม ชําระคาเสียหายทั้งสิ้นใหแกโจทกทันที โดยโจทกไมจําเปนตองเรียกรองใหจําเลยที่ ๑ ชําระหนี้กอน จึงเปนสัญญาที่จําเลยที่ ๒ ตกลงผูกพันตนตอโจทกวาหากจําเลยที่ ๑ ลูกจาง โจทกปฏิบัติหนาที่การงานแลวกอใหเกิดความเสียหายแกโจทก จําเลยที่ ๒ ยินยอมชําระ หนี้นั้นใหแกโจทก เมื่อในระหวางจําเลยที่ ๑ ทํางานเปนลูกจางโจทก โจทกทําสัญญากับ จําเลยที่ ๑ ใหจําเลยที่ ๑ ไปปฏิบัติงานในโครงการ Star Alliance Short-term Secondment ที่กรุงแฟรงคเฟรต ประเทศเยอรมันนี รวม ๒ ครั้ง ครั้งแรกมีกําหนด ๖ เดือน ครั้งที่สอง มีกําหนด ๙๒ วัน ตามลําดับ โดยมีเงื่อนไขใหจําเลยที่ ๑ กลับมาปฏิบัติงานไมนอยกวา ๒ ป นับแตวันที่จําเลยที่ ๑ กลับมารายงานตัวเขาปฏิบัติงานในแตละครั้ง แตจําเลยที่ ๑ ไมได กลับมาปฏิบัติงานใหโจทกครบตามเงื่อนไขที่ตกลงไว ทําใหโจทกไดรับความเสียหาย ยอมนับไดวาจําเลยที่ ๑ กระทําดวยประการใด ๆ ไมวาจะจงใจหรือประมาทเลินเลอใน หนาที่การงานเปนเหตุใหเกิดความเสียหายแกโจทกแลว จําเลยที่ ๒ ในฐานะผูค้ำประกัน ตองผูกพันรับผิดตอโจทกในความเสียหายดังกลาว โจทกฟอง ขอใหบังคับจำเลยทั้งสองรวมกันหรือแทนกันชำระเงิน ๒,๒๙๖,๕๑๒.๔๘ บาท พรอมดอกเบี้ยอัตรารอยละ ๗.๕ ตอป ของตนเงิน ๑,๘๙๙,๘๘๐ บาท จนกวาจะชำระเสร็จแกโจทก จำเลยทั้งสองใหการ ขอใหยกฟอง


๒๔๕ ศาลแรงงานกลาง พิพากษาใหจำเลยทั้งสองรวมกันชำระเงิน ๔๗๐,๐๐๐ บาท พรอม ดอกเบี้ยอัตรารอยละ ๗.๕ ตอป นับแตวันที่ ๒๐ มกราคม ๒๕๖๐ เปนตนไปจนกวาจะชำระเสร็จ แกโจทก จำเลยทั้งสองอุทธรณ ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษแผนกคดีแรงงานวินิจฉัยวา ศาลแรงงานกลางฟงขอเท็จจริงวา เมื่อวันที่ ๑ ตุลาคม ๒๕๔๒ จำเลยที่ ๑ เปนลูกจางโจทก ตำแหนงโปรแกรมเมอร ๑ จำเลยที่ ๒ เปนผูค้ำประกันการทำงานของจำเลยที่ ๑ ตอมาวันที่ ๑๑ พฤษภาคม ๒๕๕๓ จำเลยที่ ๑ ไดรับ อนุมัติ ใหไปปฏิบัติหนาที่ที่บริษัท Star Alliance Services GmbH กรุงแฟรงคเฟรต ประเทศเยอรมนี ในโครงการ Star Alliance Short-term Secondment เปนเวลา ๖ เดือน วันที่ ๓๑ พฤษภาคม ๒๕๕๓ โจทกและจำเลยที่ ๑ ทำสัญญาใหพนักงานไปปฏิบัติงานในโครงการ Star Alliance Short-term Secondment นับตั้งแตวันที่ ๑ กรกฎาคม ๒๕๕๓ เปนตนไป แลวจำเลยที่ ๑ กลับมาปฏิบัติหนาที่ ใหแกโจทกเปนเวลา ๖ เดือน ๓ วัน ตอมาวันที่ ๘ มิถุนายน ๒๕๕๔ จำเลยที่ ๑ ไดรับอนุมัติใหไป ปฏิบัติหนาที่ที่ประเทศเยอรมนีตามโครงการเดิมอีกครั้งเปนเวลา ๙๒ วัน นับตั้งแตวันที่ ๔ กรกฎาคม ๒๕๕๔ เปนตนไป หลังจากจำเลยที่ ๑ ปฏิบัติงานในโครงการดังกลาวครบกำหนดแลวไดกลับมา ปฏิบัติหนาที่ใหแกโจทกจนถึงวันที่ ๒๗ พฤศจิกายน ๒๕๕๖ แลวยื่นใบลาออกโดยใหมีผลในวันที่ ๑๑ มกราคม ๒๕๕๗ เปนตนไป ที่จำเลยทั้งสองอุทธรณขอ ๒.๓ วา ศาลแรงงานกลางวินิจฉัยวา จำเลยที่ ๑ ไปปฏิบัติงาน ในโครงการ Star Alliance Short-term Secondment ฉบับวันที่ ๓๑ พฤษภาคม ๒๕๕๓ เมื่อกลับ มาแลวก็ปฏิบัติงานใหแกโจทกเปนเวลา ๖ เดือน ๓ วัน หลังจากนั้นกลับไปปฏิบัติงานในโครงการ เดิมตามสัญญาใหพนักงานไปปฏิบัติงานในโครงการ Star Alliance Short-term Secondment ฉบับวันที่ ๒๘ กรกฎาคม ๒๕๕๔ เมื่อกลับมาแลวปฏิบัติงานใหแกโจทกอีกเปนเวลา ๒ ป ๙ เดือน ๑๐ วัน ซึ่งเปนกรณีที่จำเลยที่ ๑ ปฏิบัติงานชดใชใหแกโจทกครบตามสัญญาใหพนักงานไปปฏิบัติ งานในโครงการ Star Alliance Short-term Secondment ฉบับวันที่ ๒๘ กรกฎาคม ๒๕๕๔ แลว จำเลยทั้งสองเห็นวาไมถูกตองและไมชอบดวยกฎหมาย เพราะมิไดเปนไปตามลำดับสัญญา ทั้งคาใชจายที่โจทกตองเสียไปตามสัญญาใหพนักงานไปปฏิบัติงานในโครงการ Star Alliance Short-term Secondment ฉบับวันที่ ๓๑ พฤษภาคม ๒๕๕๓ สูงกวาตามสัญญาใหพนักงานไปปฏิบัติงาน ในโครงการ Star Alliance Short-term Secondment ฉบับวันที่ ๒๘ กรกฎาคม ๒๕๕๔ มากนั้น เห็นวา จำเลยที่ ๑ ใหการเพียงวาโจทกคำนวณระยะเวลาที่จำเลยที่ ๑ กลับมาปฏิบัติงานใหแก โจทกไมถูกตอง เพราะมิไดนำระยะเวลา ๙๒ วัน ที่จำเลยที่ ๑ ปฏิบัติงานที่ประเทศเยอรมนีมารวม


๒๔๖ เขาดวย เพราะขณะนั้นจำเลยที่ ๑ ยังเปนลูกจางโจทก ซึ่งหากนำระยะเวลาดังกลาวมารวมคำนวณ ดวยแลว จำเลยที่ ๑ ไดกลับมาปฏิบัติงานใหแกโจทก รวมเปนเวลา ๓ ป ๑๐ วัน ซึ่งเปนเวลานานพอ และชดเชยกับคาใชจายอันเปนคาเสียหายและคาปรับแลว จำเลยทั้งสองจึงไมตองรับผิดตอ โจทกอีก จำเลยทั้งสองมิไดตอสูวาโจทกนับระยะเวลาการกลับมาชดใชปฏิบัติงานของจำเลยที่ ๑ ไมถูกตองและไมเปนไปตามลำดับสัญญาทำใหจำเลยที่ ๑ เสียเปรียบ จึงไมมีประเด็นพิพาทขอนี้ ในการพิจารณาของศาลแรงงานกลาง อุทธรณของจำเลยทั้งสองดังกลาวจึงเปนขอที่มิไดยกขึ้นวา กลาวกันมาแลวโดยชอบในศาลแรงงานกลาง สวนที่จำเลยทั้งสองอุทธรณวา การคำนวณระยะ เวลาที่จำเลย ๑ กลับมาปฏิบัติงานใหแกโจทกไมถูกตอง เพราะมิไดนำระยะเวลา ๙๒ วัน ที่จำเลย ที่ ๑ ปฏิบัติงานที่ประเทศเยอรมนีตามสัญญาใหพนักงานไปปฏิบัติงานในโครงการ Star Alliance Short-term Secondment ฉบับวันที่ ๒๘ กรกฎาคม ๒๕๕๔ มารวมเขาดวย เนื่องจากขณะนั้น จำเลยที่ ๑ ยังเปนลูกจางโจทก ซึ่งหากนำระยะเวลาดังกลาวมารวมคำนวณดวยแลว จำเลยที่ ๑ ไดกลับมาปฏิบัติงานใหแกโจทกรวมเปนเวลา ๓ ป ๑๐ วัน นั้น เห็นวา แมจะนำระยะเวลา ๙๒ วัน ที่จำเลยที่ ๑ ปฏิบัติงานที่ประเทศเยอรมนีตามสัญญาใหพนักงานไปปฏิบัติงานในโครงการ Star Alliance Short-term Secondment ฉบับวันที่ ๒๘ กรกฎาคม ๒๕๕๔ มารวมเขาดวยก็ตาม จำเลยที่ ๑ ก็ยังกลับมาปฏิบัติงานใหแกโจทกไมครบถวนตามที่กำหนดไวทั้งสองสัญญาตามที่ ศาลแรงงานกลางวินิจฉัย จำเลยที่ ๑ จึงยังคงตองรับตามผิดตามสัญญาใหพนักงานไปปฏิบัติงาน ในโครงการ Star Alliance Short-term Secondment อุทธรณของจำเลยทั้งสองในสวนนี้จึงไมเปน สาระแกคดีอันควรไดรับการวินิจฉัย อุทธรณของจำเลยทั้งสอง ขอ ๒.๓ นี้จึงตองหามตามประมวล กฎหมายวิธีพิจารณาความแพงมาตรา ๒๒๕ วรรคหนึ่ง ประกอบพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแรงงาน และวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๕๔ วรรคหนึ่ง ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษ ไมรับวินิจฉัย สวนที่จำเลยทั้งสองอุทธรณขอ ๒.๖ วา การสงคำบอกกลาวทวงถามใหจำเลยที่ ๒ ชำระหนี้ ไมชอบดวยกฎหมาย เพราะตามใบตอบรับของไปรษณีย ในสวนที่ลงชื่อผูรับหรือผูรับแทนนั้น ระบุชื่อวา สุภาพร เกี่ยวพันกับผูรับโดยเปนบุตรนั้น จำเลยที่ ๒ ไมเคยมีบุตรหรือญาติที่ชื่อสุภาพร และไมมีชื่อบุคคลดังกลาวในบานที่สงหมาย คงมีเพียงบิดามารดาของจำเลยที่ ๒ พักอาศัยที่บาน ดังกลาวนั้น เห็นวา อุทธรณของจำเลยทั้งสองดังกลาวเปนอุทธรณโตแยงดุลพินิจในการรับฟง พยานหลักฐานของศาลแรงงานกลาง อันเปนอุทธรณในขอเท็จจริง ซึ่งตองหามมิใหอุทธรณตาม พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๕๔ วรรคหนึ่ง ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษไมรับวินิจฉัย


๒๔๗ คงมีปญหาตองวินิจฉัยตามอุทธรณของจำเลยทั้งสองขอแรกในขอ ๒.๑ วา คาใชจาย อันเปนคาเสียหายที่โจทกเรียกรองมานั้นเคลือบคลุมหรือไม โดยจำเลยทั้งสองอุทธรณวา โจทก บรรยายฟองเพียงวา การกระทำของจำเลยทั้งสองเปนการโตแยงสิทธิของโจทกทำใหโจทกไดรับ ความเสียหายจากการที่โจทกตองออกคาใชจายในการไปปฏิบัติหนาที่ของจำเลยที่ ๑ เปนเงิน ๑,๘๙๙,๘๘๐ บาท โดยมิไดบรรยายใหชัดวา คาใชจายอันเปนคาเสียหายนั้นมีรายการอะไรบาง แตละรายการเสียหาย เทาใด คิดเปนเงินเทาใด จึงไมชัดแจง อานแลวไมเขาใจ ทำใหจำเลยทั้งสอง ไมสามารถตอสูคดีไดอยางถูกตองนั้น เห็นวา โจทกบรรยายฟองวา โจทกและจำเลยที่ ๑ ตกลง ทำสัญญาใหพนักงานไปปฏิบัติงานในโครงการ Star Alliance Short-term Secondment โดยมี เงื่อนไขวาเมื่อจำเลยที่ ๑ ปฏิบัติงานตามโครงการดังกลาวสำเร็จตามกำหนดเวลาแลว ตองกลับ มาปฏิบัติงานใหแกโจทกเปนเวลาไมนอยกวา ๒ ป นับแตวันที่จำเลยที่ ๑ กลับมารายงานตัว หากจำเลยที่ ๑ ผิดสัญญาหรือไมกลับมาปฏิบัติงานใหแกโจทกตอจำเลยที่ ๑ ตองรับผิดชอบ ชดใชเงินเดือน เงินเพิ่ม และหรือเงินอื่นใดที่จำเลยที่ ๑ ไดรับจากโจทกในระหวางที่ไปปฏิบัติงาน ในโครงการดังกลาว รวมทั้งตองชดใชคาปรับและดอกเบี้ยแกโจทกดวย เมื่อจำเลยที่ ๑ กลับมา ปฏิบัติงานยังไมครบถวนตามระยะเวลาที่ระบุไวในสัญญา จึงถือวาผิดสัญญาทำใหโจทกไดรับ ความเสียหายอันเปนคาใชจายในการปฏิบัติงานของจำเลยที่ ๑ ซึ่งโจทกไดหักเงินที่โจทกตองคืน ใหแกจำเลยที่ ๑ แลว คงเหลือเงินที่จำเลยทั้งสองตองรวมกันชำระเงินใหแกโจทก ๑,๘๙๙,๘๘๐ บาท เปนคำฟองที่บรรยายจำนวนเงินคาเสียหายที่เปนคาใชจายที่โจทกตองเสียไปจากการไปปฏิบัติ หนาที่ของจำเลยที่ ๑ โดยรวมชัดแจงแลว สวนคาใชจายแตละรายการมีอยางไร จำนวนเทาใดนั้น โจทกสามารถนำสืบไดในชั้นพิจารณา ฟองโจทกที่เปนคาใชจายอันเปนคาเสียหายที่โจทกเรียกรอง มานั้นจึงไมเคลือบคลุม อุทธรณของจำเลยทั้งสองขอนี้ฟงไมขึ้น มีปญหาตองวินิจฉัยตามอุทธรณของจำเลยทั้งสองขอ ๒.๒ ตอไปวา สัญญาใหพนักงาน ไปปฏิบัติงานในโครงการ Star Alliance Short-term Secondment ฉบับวันที่ ๓๑ พฤษภาคม ๒๕๕๓ และฉบับวันที่ ๒๘ กรกฎาคม ๒๕๕๔ ขอ ๕ และขอ ๖ เปนขอสัญญาที่ไมเปนธรรมหรือไม โดยจำเลยทั้งสองอุทธรณวา สัญญาดังกลาวทั้งสองฉบับขอ ๕ ที่ระบุวาเมื่อจำเลยที่ ๑ ปฏิบัติงาน ที่ประเทศเยอรมนีครบกำหนดในแตละสัญญาแลว จะตองกลับมาปฏิบัติงานใหแกโจทกอีกสัญญา ละไมนอยกวา ๒ ป นับแตวันที่จำเลยที่ ๑ กลับมารายงานตัวเขาปฏิบัติงาน และขอ ๖ ที่ระบุวา ในกรณีที่พนักงานผิดสัญญาขอ ๕ หรือพนักงานไมกลับมาปฏิบัติงานตอดวยเหตุผลใด ๆ ก็ดี พนักงานจะตองชดใชเงินเดือน เงินเพิ่ม และหรือเงินอื่นใดที่พนักงานไดรับจากบริษัทในระหวาง เวลาที่ไดรับอนุมัติใหไปปฏิบัติงานตามโครงการคืนใหแกบริษัททั้งสิ้น นอกจากนี้พนักงานจะตอง


๒๔๘ ชดใชคาปรับใหแกบริษัทเปนสองเทาของจำนวนเงินที่พนักงานจะตองชดใชคืนอีกสวนหนึ่งดวย เปนขอสัญญาที่มีผลใหจำเลยที่ ๑ ตองปฏิบัติหนาที่และรับผิดหรือรับภาระเกินกวาที่วิญูชนจะ คาดหมายไดตามปกติเปนขอตกลงที่ทำใหโจทกไดเปรียบจำเลยที่ ๑ แตเพียงฝายเดียว ทำให จำเลยที่ ๑ ตองรับผิดหรือรับภาระเกินกวาที่กฎหมายกำหนด และโจทกมีสิทธิเรียกรองไดตลอด จำเลยที่ ๑ ตองรับภาระเพิ่มขึ้นมากกวาภาระที่เปนอยูในเวลาทำสัญญา เพราะจำเลยที่ ๑ ไป ปฏิบัติงานตามโครงการที่ประเทศเยอรมนีครั้งแรก ๖ เดือน ครั้งที่สอง ๙๒ วัน แตใหกลับมา ปฏิบัติงานชดใชที่ประเทศไทยตามสัญญาละ ๒ ป จึงเปนการเอาเปรียบจำเลยที่ ๑ อยางยิ่ง นอกจากนี้สัญญาดังกลาวใชบังคับตอพนักงานของโจทกที่ไปฝกอบรมเทานั้น แตจำเลยที่ ๑ มิได ไปฝกอบรมหากแตไปปฏิบัติงานใหแกโจทก จึงไมสามารถนำมาใชบังคับแกโจทก จึงเปนขอสัญญา ที่ไมเปนธรรม เห็นวา สัญญาใหพนักงานไปปฏิบัติงานในโครงการ Star Alliance Short-term Secondment เปนความรวมมือระหวางสายการบินนานาชาติของประเทศตาง ๆ ที่สงบุคลากร ของตนไปปฏิบัติงานที่บริษัท Star Alliance Services GmbH กรุงแฟรงคเฟรต ประเทศเยอรมนี เพื่อเพิ่มพูนความรูทางดานเทคโนโลยีและดานการจัดการโครงการ สรางประสบการณและพัฒนา ศักยภาพของพนักงานสูระดับสากล สงเสริมความสัมพันธอันดีระหวางโจทก กับบริษัท Star Alliance Services GmbH เพื่อความคลองตัวในการปฏิบัติงานในอนาคตอันเปนประโยชนแก โจทกและจำเลยที่ ๑ ตามที่ปรากฏในหนังสือขออนุมัติใหพนักงานไปปฏิบัติหนาที่ และรายงาน การปฏิบัติหนาที่ที่บริษัท Star Alliance Services GmbH ประเทศเยอรมนี ภายใตโครงการ Short-term Secondment ของจำเลยที่ ๑ การสงจำเลยที่ ๑ ไปปฏิบัติหนาที่ตามโครงการดังกลาว โจทกตองรับผิดชอบคาใชจายตาง ๆ เชนเงินเดือน คาใชจายดานการประกันสุขภาพ และอื่น ๆ ระหวางที่จำเลยที่ ๑ ไปปฏิบัติหนาที่ดังกลาว การที่สัญญาใหพนักงานไปปฏิบัติงานในโครงการ Star Alliance Short term Secondment ขอ ๕ และขอ ๖ กำหนดระยะเวลาใหจำเลยที่ ๑ กลับมา ปฏิบัติงานใหแกโจทกภายหลังจากปฏิบัติหนาที่ตามโครงการแลวเสร็จหากจำเลยที่ ๑ ผิดสัญญา จะตองรับผิดชอบคาใชจายที่โจทกตองเสียไปรวมทั้งเบี้ยปรับนั้น เปนสัญญาตางตอบแทนเพื่อ รักษาสิทธิและประโยชนองคกรของโจทก มิใหสูญเสียบุคลากรที่ลงทุนสงไปเพิ่มพูนความรู ประสบการณ และพัฒนาศักยภาพในการทำงานยังตางประเทศ จึงมิใชขอกำหนดที่ทำใหจำเลย ที่ ๑ ตองรับภาระมากกวาที่วิญูชนจะพึงคาดหมายไดตามปกติ และโจทกไดประโยชนฝายเดียว ดังที่จำเลยที่ ๑ กลาวอางในอุทธรณ ขอสัญญาดังกลาว จึงไมใชขอสัญญาที่ไมเปนธรรม อุทธรณ ของจำเลยทั้งสองขอนี้ฟงไมขึ้น


๒๔๙ มีปญหาตองวินิจฉัยตามอุทธรณของจำเลยทั้งสองขอ ๒.๔ และขอ ๒.๕ ตอไปวา จำเลย ที่ ๒ ในฐานะผูค้ำประกันตองรวมรับผิดกับจำเลยที่ ๑ หรือไม โดยจำเลยทั้งสองอุทธรณวา สัญญา ใหพนักงานไปปฏิบัติงานในโครงการ Star Alliance Short-term Secondment ฉบับวันที่ ๓๑ พฤษภาคม ๒๕๕๓ และฉบับวันที่ ๒๘ กรกฎาคม ๒๕๕๔ เปนสัญญาที่เพิ่มภาระผูกพันนอกเหนือ ไปจากหนังสือสัญญาค้ำประกันเอกสารหมาย จ.๖ ใหแกจำเลยที่ ๒ ซึ่งเปนบุคคลภายนอกและ เปนผูค้ำประกันหนักยิ่งขึ้น โดยโจทกและจำเลยที่ ๑ มิไดแจงหรือไดรับความยินยอมจากจำเลย ที่ ๒ จำเลยที่ ๒ จึงไมตองรวมรับผิดกับจำเลยที่ ๑ เห็นวา จำเลยที่ ๒ ทำสัญญาค้ำประกันกับ โจทกตามหนังสือสัญญาค้ำประกันเอกสารหมาย จ.๖ มีขอความวา จำเลยที่ ๒ รับรองวาหาก จำเลยที่ ๑ ซึ่งปฏิบัติงานใหแกโจทกกระทำดวยประการใด ๆ ก็ตาม ไมวาจะจงใจหรือประมาท เลินเลอในหนาที่การงานหรือไมก็ตาม เปนเหตุใหเกิดความเสียหายแกทรัพยสินตาง ๆ ของโจทก แลว จำเลยที่ ๒ ยินยอมชำระคาเสียหายทั้งสิ้นใหแกโจทกทันที โดยโจทกไมจำเปนตองเรียกรอง ใหจำเลยที่ ๑ ชำระหนี้กอน จึงเปนสัญญาที่จำเลยที่ ๒ ตกลงผูกพันตนตอโจทกวา หากจำเลยที่ ๑ ลูกจางโจทกปฏิบัติหนาที่การงานแลวกอใหเกิดความเสียหายแกโจทก จำเลยที่ ๒ ยินยอมชำระ หนี้นั้นใหแกโจทก เมื่อในระหวางจำเลยที่ ๑ ทำงานเปนลูกจางโจทก โจทกทำสัญญากับจำเลยที่ ๑ ใหจำเลยที่ ๑ ไปปฏิบัติงานในโครงการ Star Alliance Shot-term Secondment ที่กรุงแฟรงคเฟรต ประเทศเยอรมันนี รวม ๒ ครั้ง ครั้งแรกมีกำหนด ๖ เดือน ครั้งที่สองมีกำหนด ๙๒ วัน ตามลำดับ โดยมีเงื่อนไขใหจำเลยที่ ๑ กลับมาปฏิบัติงานไมนอยกวา ๒ ป นับแตวันที่จำเลยที่ ๑ กลับมา รายงานตัวเขาปฏิบัติงานในแตละครั้ง แตจำเลยที่ ๑ ไมไดกลับมาปฏิบัติงานใหโจทกครบตาม เงื่อนไขที่ตกลงไว ทำใหโจทกไดรับความเสียหาย ยอมนับไดวาจำเลยที่ ๑ กระทำดวยประการใด ๆ ไมวาจะจงใจหรือประมาทเลินเลอในหนาที่การงาน เปนเหตุใหเกิดความเสียหายแกโจทกแลว จำเลยที่ ๒ ในฐานะผูค้ำประกันตองผูกพันรับผิดตอโจทกในความเสียหายดังกลาว ที่ศาลแรงงานกลาง วินิจฉัยมานั้น ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษเห็นพองดวย อุทธรณของจำเลยทั้งสองในสวนนี้ ฟงไมขึ้น พิพากษายืน. (ดำรงค ทรัพยผล - อนันต คงบริรักษ - สุวรรณา แกวบุตตา) มนุเชษฐ โรจนศิริบุตร - ยอ สุโรจน จันทรพิทักษ - ตรวจ


๒๕๐ คำพิพากษาศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษที่ ๒๘๐๕ - ๒๘๐๗/๒๕๖๓ นายอุทิตย ภูผาคุณ กับพวก โจทก สหกรณการเกษตรเพื่อการตลาด ลูกคา ธ.ก.ส. กาฬสินธุ จำกัด กับพวก จำเลย ป.พ.พ. มาตรา ๕๘๒, ๕๘๓ พ.ร.บ. คุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา ๑๑๙ วรรคสาม การพิจารณาวาจำเลยที่ ๑ จะตองชำระสินจางแทนการบอกกลาวลวงหนาใหแก โจทกที่ ๑ หรือไมนั้น จะตองพิจารณาตาม ป.พ.พ. มาตรา ๕๘๒ และมาตรา ๕๘๓ ซึ่งบท กฎหมายดังกลาวมิไดบัญญัติวา ถานายจางไมไดแจงเหตุผลในการเลิกจางใหลูกจางทราบ ในขณะเลิกจางแลว นายจางจะยกเหตุแหงการเลิกจางขึ้นมาอางภายหลังไมได ทั้งไมมี บทกฎหมายใดบัญญัติใหนำ พ.ร.บ. คุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา ๑๑๙ วรรคสาม มาใชบังคับแกกรณีการบอกกลาวลวงหนา ดังนั้น แมหนังสือไลออกโจทกที่ ๑ จะระบุ เฉพาะกรณีการซื้อขาวเปลือกเกาผสมขาวเปลือกใหม จำเลยที่ ๑ ก็ยอมยกเหตุผลในการ เลิกสัญญาจางขึ้นอางในภายหลังเพื่อเปนขอตอสูในสวนของสินจางแทนการบอกกลาว ลวงหนาได เมื่อจำเลยที่ ๑ ใหการตอสูอางเหตุไลออกโจทกที่ ๑ ดวยวา โจทกที่ ๑ จัดซื้อ ปุยเคมีและวัสดุอุปกรณการเกษตรหลายรายการเกินความตองการของสมาชิกโดยไม สอบถามความตองการของสมาชิกซึ่งไมถูกตองตามระเบียบและไมดำเนินการใหเปนไป ตามคำแนะนำของกรมสงเสริมสหกรณ โดยศาลแรงงานภาค ๔ กำหนดเปนประเด็น ขอพิพาท ขอ ๒. ไว แตศาลแรงงานภาค ๔ ยังไมไดวินิจฉัยวา มีเหตุตามที่จำเลยที่ ๑ ให การตอสูหรือไม และหากมีเหตุดังกลาวเกิดขึ้นจริง โจทกที่ ๑ มีสวนเกี่ยวของอันจะสงผล ใหโจทกที่ ๑ มีสิทธิไดรับสินจางแทนการบอกกลาวลวงหนาและเงินบำเหน็จจากจำเลยที่ ๑ หรือไม เพียงใด มิใชวาเมื่อไมมีการสอบสวนเกี่ยวกับความผิดดังกลาวแลวนายจางจะสิ้น สิทธิไมสามารถยกเหตุนั้นขึ้นตอสูเพื่อปฏิเสธไมจายสินจางแทนการบอกกลาวลวงหนา และเงินบำเหน็จอันเปนผลสืบเนื่อง เพราะเปนคนละเรื่องคนละกรณีกัน การที่ศาลแรงงาน ภาค ๔ ไมไดวินิจฉัยตามประเด็นขอพิพาทใหครบถวน เปนการไมชอบ จึงยอนสำนวน ไปใหศาลแรงงานภาค ๔ ดำเนินกระบวนพิจารณาตามประเด็นขอพิพาท ขอ ๒. เสียให


๒๕๑ ครบถวน แลวพิจารณาพิพากษาในประเด็นเกี่ยวกับสิทธิการไดรับสินจางแทนการบอก กลาวลวงหนาและเงินบำเหน็จของโจทกที่ ๑ ใหมตามรูปคดี โจทกทั้งสามสำนวนฟองและแกไขคำฟอง ขอใหบังคับจำเลยทั้งสองรวมกันจายคาชดเชย สินจางแทนการบอกกลาวลวงหนา คาจางสำหรับวันหยุดพักผอนประจำปสะสม คาทำงานใน วันหยุดประจำสัปดาห คาทำงานในวันหยุดตามประเพณี คาลวงเวลา เงินบำเหน็จ คาเสียหายจาก การเลิกจางโดยไมเปนธรรม พรอมดอกเบี้ย และแจงสำนักงานประกันสังคมจังหวัด ตามคำขอ ทายคำฟองของโจทกแตละสำนวน จำเลยทั้งสองทุกสำนวนใหการและจำเลยที่ ๑ ฟองแยง กับแกไขคำใหการและฟองแยง ขอใหยกฟอง และบังคับโจทกทั้งสามรวมกันชดใชคาเสียหาย ๗๗๙,๖๙๒.๓๔ บาท พรอมดอกเบี้ย อัตรารอยละ ๗.๕ ตอป ของตนเงินดังกลาว นับแตวันฟองแยงเปนตนไปจนกวาจะชำระเสร็จแก จำเลยที่ ๑ โจทกทั้งสามสำนวนใหการแกฟองแยง ขอใหยกฟองแยง ศาลแรงงานภาค ๔ พิพากษาใหจำเลยที่ ๑ จายคาชดเชย ๑๓๙,๗๕๐ บาท พรอมดอกเบี้ย อัตรารอยละ ๑๕ ตอป นับแตวันที่ ๒๓ พฤษภาคม ๒๕๖๑ สินจางแทนการบอกกลาวลวงหนา ๑๗,๗๐๑ บาท พรอมดอกเบี้ยอัตรารอยละ ๗.๕ ตอป นับแตวันฟอง (ฟองวันที่ ๑๑ กรกฎาคม ๒๕๖๒) คาทำงานในวันหยุดพักผอนประจำปสะสม (ที่ถูก คาจางสำหรับวันหยุดพักผอนประจำป สะสม) ๙,๓๑๖ บาท พรอมดอกเบี้ยอัตรารอยละ ๑๕ ตอป นับแตวันที่ ๒๗ พฤษภาคม ๒๕๖๑ คาทำงานในวันหยุดประจำสัปดาห ๗๔,๖๓๐ บาท พรอมดอกเบี้ยอัตรารอยละ ๑๕ ตอป นับแต วันที่ ๒๗ พฤษภาคม ๒๕๖๑ คาทำงานในวันหยุดตามประเพณี ๙,๑๔๕ บาท พรอมดอกเบี้ย อัตรารอยละ ๑๕ ตอป นับแตวันที่ ๒๗ พฤษภาคม ๒๕๖๑ คาลวงเวลา ๑๕๗,๒๑๘ บาท พรอม ดอกเบี้ยอัตรารอยละ ๑๕ ตอป นับแตวันที่ ๒๗ พฤษภาคม ๒๕๖๑ และเงินบําเหน็จ ๒๐๙,๖๒๕ บาท พรอมดอกเบี้ยอัตรารอยละ ๗.๕ ตอป นับแตวันฟองเปนตนไปจนกวาจะชำระเสร็จแกโจทกที่ ๑ คาทำงานในวันหยุดพักผอนประจำปสะสม (ที่ถูก คาจางสำหรับวันหยุดพักผอนประจำปสะสม) ๒๙,๘๘๘ บาท พรอมดอกเบี้ยอัตรารอยละ ๑๕ ตอป นับแตวันที่ ๒๗ พฤษภาคม ๒๕๖๑ เปนตนไปจนกวาจะชำระเสร็จแกโจทกที่ ๒ คาทำงานในวันหยุดพักผอนประจำปสะสม (ที่ถูก คาจาง สำหรับวันหยุดพักผอนประจำปสะสม) ๑๘,๔๐๓ บาท พรอมดอกเบี้ยอัตรารอยละ ๑๕ ตอป นับแต วันที่ ๒๗ พฤษภาคม ๒๕๖๑ คาทำงานในวันหยุดประจำสัปดาห ๑๖๗,๒๘๐ บาท พรอมดอกเบี้ย


๒๕๒ อัตรารอยละ ๑๕ ตอป นับแตวันที่ ๒๗ พฤษภาคม ๒๕๖๑ คาทำงานในวันหยุดตามประเพณี ๒๐,๕๐๐ บาท พรอมดอกเบี้ยอัตรารอยละ ๑๕ ตอป นับแตวันที่ ๒๗ พฤษภาคม ๒๕๖๑ และ คาลวงเวลา ๓๑๐,๕๕๔ บาท พรอมดอกเบี้ยอัตรารอยละ ๑๕ ตอป นับแตวันที่ ๒๗ พฤษภาคม ๒๕๖๑ เปนตนไปจนกวาจะชำระเสร็จแกโจทกที่ ๓ คำขออื่นนอกจากนี้ใหยก ยกฟองโจทกสำหรับ จำเลยที่ ๒ และใหยกฟองแยงของจำเลยที่ ๑ โจทกทั้งสามและจำเลยที่ ๑ ทั้งสามสำนวนอุทธรณ ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษแผนกคดีแรงงานวินิจฉัยวา ขอเท็จจริงที่คูความไมโตแยงกัน และศาลแรงงานภาค ๔ รับฟงเปนยุติวา จำเลยที่ ๑ เปนนิติบุคคลประเภทสหกรณการเกษตร มีจำเลยที่ ๒ เปนประธานกรรมการ โจทกทั้งสามเปนลูกจางรายเดือนของจำเลยที่ ๑ มีวันเริ่ม ทำงาน ตำแหนง คาจางอัตราสุดทาย และเงินประจำตำแหนงตามฟองแตละสำนวน กำหนดจาย คาจางทุกวันสิ้นเดือน ทำงานวันจันทรถึงวันศุกรตั้งแตเวลา ๘.๓๐ ถึง ๑๖.๓๐ นาิกา วันหยุด ประจำสัปดาหเปนวันเสารและวันอาทิตย วันหยุดตามประเพณีเปนไปตามวันหยุดที่ทางราชการ ประกาศกำหนดในแตละป เมื่อวันที่ ๒๓ พฤษภาคม ๒๕๖๑ จำเลยที่ ๑ โดยจำเลยที่ ๒ มีคำสั่ง ไลออกโจทกทั้งสามตามมติที่ประชุมคณะกรรมการดำเนินการชุดที่ ๒๗ ลงวันที่ ๒๒ พฤษภาคม ๒๕๖๑ ใหมีผลเปนการเลิกจางทันที อางวาโจทกที่ ๑ และที่ ๓ จงใจไมปฏิบัติตามระเบียบขอบังคับ ของจำเลยที่ ๑ เปนเหตุใหจำเลยที่ ๑ ไดรับความเสียหายอยางรายแรง และประมาทเลินเลอใน หนาที่เปนเหตุใหจำเลยที่ ๑ ไดรับความเสียหายอยางรายแรง โจทกที่ ๒ กระทำผิดดังกลาวและ ขัดคำสั่งผูบังคับบัญชาซึ่งสั่งในกิจการของจำเลยที่ ๑ โดยชอบเปนเหตุใหจำเลยที่ ๑ ไดรับความ เสียหายอยางรายแรง ตามสำเนาคำสั่ง สำเนาบันทึก และสำเนาหนังสือแจงผลการสอบสวน ขอเท็จจริง แลววินิจฉัยวา กอนที่จำเลยที่ ๑ มีคำสั่งไลออกโจทกทั้งสาม จำเลยที่ ๑ แตงตั้ง คณะอนุกรรมการสอบขอเท็จจริงความผิดตามที่โจทกทั้งสามถูกกลาวหากรณีการซื้อขาวเปลือกเกา ผสมขาวเปลือกใหมในปการผลิต ๒๕๖๐/๒๕๖๑ และดำเนินการสอบสวนครบถวนตามขั้นตอนที่ กำหนดไวในระเบียบสหกรณการเกษตรเพื่อการตลาดลูกคา ธ.ก.ส. กาฬสินธุ จำกัด วาดวยวินัย การสอบสวนและการลงโทษสำหรับเจาหนาที่และลูกจาง พ.ศ. ๒๕๔๙ ขอ ๙ แลว สวนการจัดซื้อ สินคาประเภทปุยเคมีวัสดุอุปกรณการเกษตรโดยไมดำเนินการใหถูกตองตามระเบียบขอบังคับ และการทำขาวเปลือกขาดหายไปจากบัญชีของจำเลยที่ ๑ ยังมิไดมีการสอบสวน จำเลยที่ ๑ ไมอาจอางมูลเหตุดังกลาวมาเลิกจางโจทกทั้งสามดวยการลงโทษไลออกและไมอาจยกขึ้นอางเพื่อ ปฏิเสธการจายคาชดเชยและสินจางแทนการบอกกลาวลวงหนา กรณีไมจำตองวินิจฉัยประเด็น ขอพิพาทดังกลาว จำเลยที่ ๑ มีนโยบายรับซื้อขาวเปลือกใหมในปการผลิต ๒๕๖๐/๒๕๖๑


๒๕๓ แตขาวเปลือกที่ซื้อมาเก็บไวที่โกดังเก็บขาวกมลาเปนขาวเปลือกเกาผสมขาวเปลือกใหม โดยไมอาจ แยกไดวาลูกจางหรือเจาหนาที่ของจำเลยที่ ๑ คนใดเปนผูซื้อและรับซื้อมาจากจุดใดระหวาง จุดรับซื้อที่โกดังกมลา โกดังสี และโกดังฆอง จึงฟงไมไดวาโจทกที่ ๑ และที่ ๓ รับซื้อขาวเปลือกเกา ผสมขาวเปลือกใหมในปการผลิต ๒๕๖๐/๒๕๖๑ แตการที่โจทกที่ ๒ มิไดตรวจสอบการรับซื้อขาว ของผูใตบังคับบัญชา และโจทกที่ ๓ มิไดตรวจสอบคุณภาพขาวที่รับซื้อตามหนาที่ที่ตองปฏิบัติ ใหเปนไปตามที่คณะกรรมการดำเนินการมอบหมายหรือตามที่ควรกระทำใหกิจการในหนาที่ของ ตนลุลวงไปดวยดี ทั้งยังไดรับแตงตั้งจากจำเลยที่ ๑ ใหเปนคณะอนุกรรมการตรวจคุณภาพขาวสาร และขาวเปลือกที่อยูในสต็อกซึ่งมีหนาที่รับผิดชอบในการตรวจสอบคุณภาพขาวที่รับซื้อโดยตรง จึงเปนการไมปฏิบัติหนาที่ใหถูกตองตามระเบียบขอบังคับของจำเลยที่ ๑ เปนการประมาทเลินเลอ เปนเหตุใหจำเลยที่ ๑ ไดรับความเสียหายอยางรายแรง จำเลยที่ ๑ ไมตองจายคาชดเชยและ สินจางแทนการบอกกลาวลวงหนาแกโจทกที่ ๒ และที่ ๓ ตามพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา ๑๑๙ (๓) สวนการเลิกจางโจทกที่ ๑ ไมเขากรณีหนึ่งกรณีใดตามมาตรา ๑๑๙ แหงพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ จำเลยที่ ๑ ตองจายคาชดเชยตามกฎหมาย และจายสินจางแทนการบอกกลาวลวงหนาพรอมดอกเบี้ยในระหวางเวลาผิดนัดอัตรารอยละ ๗.๕ ตอป แกโจทกที่ ๑ นับแตทวงถาม เมื่อไมปรากฏวาทวงถามเมื่อใดจึงใหนับแตวันฟองเปนตนไป โจทกทั้งสามมีวันหยุดพักผอนประจำปสะสมคนละ ๒๐ วัน จำเลยที่ ๑ ตองจายคาจางสำหรับ วันหยุดพักผอนประจำปสะสมใหแกโจทกทั้งสามตามพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา ๖๗ วรรคสอง โจทกที่ ๑ และที่ ๓ ยังทำงานในวันหยุดประจำสัปดาหคนละ ๒๐๔ วัน ในวันหยุดตามประเพณีคนละ ๒๕ วัน การที่จำเลยที่ ๑ จายคาทำงานในวันหยุดดังกลาวเพียง วันละ ๑๐๐ บาท ไมเปนไปตามพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา ๖๒ (๑) จำเลยที่ ๑ ตองจายคาทำงานในวันหยุดประจำสัปดาหและคาทำงานในวันหยุดตามประเพณีให แกโจทกที่ ๑ และที่ ๓ เพิ่มอีก โจทกที่ ๑ และที่ ๓ ทำงานลวงเวลาคนละ ๑,๘๐๐ ชั่วโมง จำเลยที่ ๑ ตองจายคาลวงเวลาแกโจทกที่ ๑ เปนเงิน ๑๗๙,๖๕๘ บาท และแกโจทกที่ ๓ เปนเงิน ๓๕๔,๙๐๖ บาท แตโจทกที่ ๑ และที่ ๓ ขอมา ๑๕๗,๒๑๘ บาท และ ๓๑๐,๕๕๔ บาท ตามลำดับ จึงใหตามขอ นอกจากนี้จำเลยที่ ๑ ตองจายเงินบำเหน็จเมื่อออกจากงานแกโจทกที่ ๑ ซึ่งทำงานดวยความ เรียบรอยติดตอกันไมนอยกวา ๖ ปขึ้นไป พรอมดอกเบี้ยในระหวางเวลาผิดนัดอัตรารอยละ ๗.๕ ตอป นับแตทวงถาม เมื่อไมปรากฏวาทวงถามเมื่อใดจึงใหนับแตวันฟองเปนตนไป สวนโจทกที่ ๒ และที่ ๓ ทำงานบกพรองตอหนาที่มิไดปฏิบัติหนาที่ดวยความเรียบรอย ไมมีสิทธิไดรับเงินบำเหน็จ การเลิกจางโจทกที่ ๑ แมฟงไมไดวาโจทกที่ ๑ รับซื้อขาวเปลือกเกามาผสมขาวเปลือกใหม


๒๕๔ แตไดความวาโจทกที่ ๑ รับซื้อขาวเปลือกที่จุดรับซื้อกมลาในขณะที่จำเลยที่ ๑ ปดจุดรับซื้อและจำเลย ทั้งสองอางวาขาวเปลือกที่รับซื้อเปนขาวเกา การเลิกจางจึงมีสาเหตุเกิดจากความไมไววางใจใน การทำงานของโจทกที่ ๑ สวนการเลิกจางโจทกที่ ๒ และที่ ๓ มีสาเหตุจากการประมาทเลินเลอ ไมปฏิบัติหนาที่ใหถูกตองตามระเบียบขอบังคับของจำเลยที่ ๑ เปนเหตุใหจำเลยที่ ๑ ไดรับความ เสียหายอยางรายแรง และจำเลยที่ ๑ ไมตองจายคาชดเชย การเลิกจางโจทกทั้งสามมีเหตุสมควร เพียงพอ มิใชการเลิกจางโดยไมเปนธรรม จำเลยที่ ๑ ไมตองชดใชคาเสียหายจากการเลิกจางโดย ไมเปนธรรมแกโจทกทั้งสาม และจำเลยที่ ๑ ไมมีหนาที่แจงการสิ้นสภาพลูกจางตอสำนักงาน ประกันสังคมจังหวัด จำเลยที่ ๑ ดำเนินกิจการในรูปแบบคณะกรรมการโดยมีจำเลยที่ ๒ เปนประธานคณะกรรมการดำเนินการ ถือวาคณะกรรมการดำเนินการเปนผูทำการแทนจำเลยที่ ๑ ซึ่งเปนนิติบุคคล จำเลยที่ ๒ จึงไมตองรวมรับผิดกับจำเลยที่ ๑ ฟองแยงของจำเลยที่ ๑ ไมเคลือบคลุม โจทกทั้งสามมิไดมีสวนเกี่ยวของกับการขาดหายไปของน้ำหนักขาวเปลือกจึงไมตองรับผิดใน คาเสียหายตามฟองแยงของจำเลยที่ ๑ กรณีไมจำตองวินิจฉัยวาฟองแยงของจำเลยที่ ๑ ขาดอายุความ หรือไม คดีมีปญหาตองวินิจฉัยตามอุทธรณของโจทกทั้งสามเสียกอนเปนประการแรกวา การปฏิบัติงานของโจทกที่ ๒ และที่ ๓ เปนการกระทำโดยประมาทเลินเลอเปนเหตุใหจำเลยที่ ๑ ไดรับ ความเสียหายอยางรายแรงหรือไม เห็นวา โจทกที่ ๒ และที่ ๓ มีหนาที่ตองปฏิบัติงานใหเปนไป ตามที่คณะกรรมการดำเนินการมอบหมายหรือตามที่ควรกระทำเพื่อใหกิจการในหนาที่ของตน ลุลวงไปดวยดี และยังไดรับแตงตั้งจากจำเลยที่ ๑ เปนคณะอนุกรรมการตรวจคุณภาพขาวสาร และขาวเปลือกที่อยูในสต็อกซึ่งมีหนาที่รับผิดชอบในการตรวจสอบคุณภาพขาวที่รับซื้อโดยตรง เมื่อขอเท็จจริงปรากฏวาโจทกที่ ๒ มิไดตรวจสอบการรับซื้อขาวของผูใตบังคับบัญชา และโจทกที่ ๓ มิไดตรวจสอบคุณภาพขาวที่รับซื้อ จึงเปนการละเลยและปฏิบัติหนาที่โดยปราศจากความระมัด ระวังตามวิสัยของปกติชนหรือตามวิสัยของลูกจางซึ่งมีหนาที่ตองทำงานใหเปนไปตามที่ คณะกรรมการดำเนินการหรือจำเลยที่ ๑ มอบหมายและแตงตั้งสำเร็จลุลวงไปดวยดี ถือไดวาโจทกที่ ๒ และที่ ๓ ปฏิบัติงานประมาทเลินเลอ และเมื่อจำเลยที่ ๑ นำขาวเปลือกผสมระหวางขาวเกาและใหม ไปขายใหแกผูซื้อไมเปนไปตามชนิดหรือคุณภาพที่ตกลงกันในสัญญาซื้อขายจนผูซื้อบอกเลิก สัญญายอมเกิดความเสียหายแกจำเลยที่ ๑ แมจำเลยที่ ๑ จะนำขาวเปลือกผสมดังกลาวไปขาย ใหแกคนอื่นไดและเพียงแตขาดทุนกำไรหรือขายไดกำไรนอย แตก็ต่ำกวาราคาที่ควรจะไดอยูมากถึง ประมาณ ๑,๐๐๐,๐๐๐ บาท ไมเปนไปตามวัตถุประสงคเพื่อผลประโยชนทางเศรษฐกิจและธุรกิจ หลักการขายขาวของจำเลยที่ ๑ การกระทำของโจทกที่ ๒ และที่ ๓ จึงเปนการประมาทเลินเลอ


๒๕๕ ในหนาที่การงานเปนเหตุใหจำเลยที่ ๑ ซึ่งเปนนายจางไดรับความเสียหายอยางรายแรง ที่ศาลแรงงานภาค ๔ วินิจฉัยมานั้น ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษเห็นพองดวย อุทธรณของโจทก ที่ ๒ และที่ ๓ ในขอนี้ฟงไมขึ้น มีปญหาตองวินิจฉัยตามอุทธรณของโจทกทั้งสามตอไปวา การเลิกจางโจทกทั้งสามเปน การเลิกจางโดยไมเปนธรรมหรือไม และจำเลยที่ ๑ ตองจายคาชดเชย สินจางแทนการบอกกลาว ลวงหนาแกโจทกที่ ๒ และที่ ๓ กับคาเสียหายจากการเลิกจางโดยไมเปนธรรมแกโจทกทั้งสาม หรือไม เห็นวา การที่จะพิจารณาวานายจางเลิกจางลูกจางจะเปนการเลิกจางโดยไมเปนธรรมตาม พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๔๙ หรือไมนั้น จะตองพิจารณาถึงเหตุแหงการเลิกจางที่แทจริงวาไดมีไดเกิดขึ้นหรือไม หากมีจึงพึงพิจารณาตอไป วาการกระทำนั้น ๆ เปนการฝาฝนขอบังคับเกี่ยวกับการทำงานและมีเหตุผลเพียงพอแกการเลิกจาง หรือไมเปนสำคัญ สวนการแตงตั้งกรรมการสอบสวนจะชอบดวยกฎหมายหรือไม หรือกรรมการ สอบสวนดำเนินการสอบสวนตามขอบังคับหรือระเบียบเกี่ยวกับการทำงานหรือไม หาเปนขอสำคัญ ที่จะทำใหการเลิกจางเปนการเลิกจางโดยไมเปนธรรมไม เมื่อขอเท็จจริงปรากฏวา การจัดซื้อ ขาวเปลือกใหมตามนโยบายของจำเลยที่ ๑ ในปการผลิต ๒๕๖๐/๒๕๖๑ โจทกที่ ๒ และที่ ๓ ฝาฝน ขอบังคับการทำงานของจำเลยที่ ๑ โดยประมาทเลินเลอในหนาที่การงานเปนเหตุใหจำเลยที่ ๑ ซึ่งเปนนายจางไดรับความเสียหายอยางรายแรง การเลิกจางโจทกที่ ๒ และที่ ๓ ของจำเลยที่ ๑ จึงมีเหตุอันสมควรและเพียงพอที่จะเลิกจางได มิใชการเลิกจางโดยไมเปนธรรม มีผลใหจำเลยที่ ๑ ไมตองจายคาเสียหายจากการเลิกจางโดยไมเปนธรรม และกรณีเขาเหตุยกเวนที่นายจางไมตอง จายคาชดเชยตามพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา ๑๑๙ (๓) ทั้งจำเลยที่ ๑ มีสิทธิเลิกจางโจทกที่ ๒ และที่ ๓ โดยมิพักตองบอกกลาวลวงหนาหรือจายสินจางแทนการบอก กลาวลวงหนาตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา ๕๘๓ สวนโจทกที่ ๑ ซึ่งมีตำแหนง เจาหนาที่การตลาดรับซื้อขาวเปลือกในขณะที่จำเลยที่ ๑ ปดจุดรับซื้อขาวและอยูในชวงระยะเวลา ที่มีการซื้อขาวเปลือกเกามาผสมขาวเปลือกใหมในปการผลิต ๒๕๖๐/๒๕๖๑ อันเปนเหตุใหจำเลย ที่ ๑ ไดรับความเสียหายอยางรายแรง แมขอเท็จจริงรับฟงไมไดวาโจทกที่ ๑ เปนผูซื้อขาวเปลือกเกา เพื่อนำมาผสมขาวเปลือกใหมก็ตาม ก็นับวาเปนพฤติการณที่ทำใหจำเลยที่ ๑ สงสัยวาโจทก ที่ ๑ เปนผูซื้อขาวเปลือกเกามาผสมขาวเปลือกใหมอยูดวย ยอมเปนธรรมดาที่จำเลยที่ ๑ ซึ่งเปน นายจางไมอาจไววางใจใหโจทกที่ ๑ ทำงานตอไป จึงมีเหตุอันสมควรและเพียงพอที่จะเลิกจางได มิใชการเลิกจางโดยไมเปนธรรม จำเลยที่ ๑ ไมตองจายคาเสียหายจากการเลิกจางโดยไมเปนธรรม ที่ศาลแรงงานภาค ๔ วินิจฉัยมานั้น ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษเห็นพองดวย อุทธรณของโจทก ทั้งสามในขอนี้ฟงไมขึ้นเชนกัน


๒๕๖ มีปญหาตองวินิจฉัยตามอุทธรณของโจทกทั้งสามในประการสุดทายวา โจทกที่ ๑ และ ที่ ๓ มีสิทธิไดรับคาลวงเวลาตามความเปนจริง ๑๗๙,๖๕๘ บาท และ ๓๕๔,๙๐๖ บาท ตามลำดับ หรือไม เห็นวา โจทกที่ ๑ และที่ ๓ บรรยายฟองวาโจทกที่ ๑ ไดรับคาจางอัตราสุดทายเดือนละ ๑๓,๙๗๕ บาท โจทกที่ ๓ ไดรับคาจางอัตราสุดทายเดือนละ ๒๖,๑๐๕ บาท และเงินประจำตำแหนง เดือนละ ๑,๕๐๐ บาท แมจะมีคำขอใหจำเลยที่ ๑ จายคาลวงเวลาสำหรับโจทกที่ ๑ จำนวน ๑๕๗,๒๑๘ บาท และโจทกที่ ๓ จำนวน ๓๑๐,๕๕๔ บาท ก็ตาม แตเมื่อฟงขอเท็จจริงวาโจทกที่ ๑ และที่ ๓ ไดรับคาจางแตละเดือนในอัตราดังกลาวและตางทำงานลวงเวลาคนละ ๑,๘๐๐ ชั่วโมง ดังนั้น เพื่อความเปนธรรมจึงเห็นสมควรพิพากษาใหจำเลยที่ ๑ จายคาลวงเวลาตามความเปนจริง ๑๗๙,๖๕๘ บาท และ ๓๕๔,๙๐๖ บาท แกโจทกที่ ๑ และที่ ๓ ตามลำดับ เกินคำขอบังคับตาม พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๕๒ อุทธรณ ของโจทกที่ ๑ และที่ ๓ ในขอนี้ฟงขึ้น สวนที่โจทกทั้งสามอุทธรณวา จำเลยที่ ๒ ตองรับผิดรวมกับจำเลยที่ ๑ ก็ดี จำเลยทั้งสอง มีหนาที่แจงการสิ้นสภาพลูกจางตอสำนักงานประกันสังคมจังหวัดวาเลิกจางโจทกที่ ๑ โดยไมมี ความผิดก็ดี นั้น เห็นวา โจทกทั้งสามมิไดโตแยงหรือคัดคานวา ศาลแรงงานภาค ๔ พิพากษา ไมถูกตองอยางไร และที่ถูกตองควรเปนอยางไร จึงเปนอุทธรณที่ไมชัดแจง ไมชอบดวยประมวล กฎหมายวิธีพิจารณาความแพง มาตรา ๒๒๕ วรรคหนึ่ง ประกอบพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแรงงาน และวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๕๔ วรรคหนึ่ง ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษ ไมรับวินิจฉัย มีปญหาตองวินิจฉัยตามอุทธรณของจำเลยที่ ๑ วา จำเลยที่ ๑ ตองรับผิดชำระสินจาง แทนการบอกกลาวลวงหนาและเงินบำเหน็จใหแกโจทกที่ ๑ หรือไม เห็นวา การพิจารณาวาจำเลย ที่ ๑ จะตองชำระสินจางแทนการบอกกลาวลวงหนาใหแกโจทกที่ ๑ หรือไมนั้น จะตองพิจารณา ตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา ๕๘๒ และมาตรา ๕๘๓ ซึ่งบทกฎหมายดังกลาว มิไดบัญญัติวา ถานายจางไมไดแจงเหตุผลในการเลิกจางใหลูกจางทราบในขณะเลิกจางแลว นายจางจะยกเหตุแหงการเลิกจางขึ้นมาอางภายหลังไมได ทั้งไมมีบทกฎหมายใดบัญญัติใหนำ พระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา ๑๑๙ วรรคสาม มาใชบังคับแกกรณีการ บอกกลาวลวงหนา ดังนั้น แมหนังสือไลออกโจทกที่ ๑ จะระบุเฉพาะกรณีการซื้อขาวเปลือกเกา ผสมขาวเปลือกใหม จำเลยที่ ๑ ก็ยอมยกเหตุผลในการเลิกสัญญาจางขึ้นอางในภายหลังเพื่อเปน ขอตอสูในสวนของสินจางแทนการบอกกลาวลวงหนาได เมื่อจำเลยที่ ๑ ใหการตอสูอางเหตุ ไลออกโจทกที่ ๑ ดวยวา โจทกที่ ๑ จัดซื้อปุยเคมีและวัสดุอุปกรณการเกษตรหลายรายการเกิน


๒๕๗ ความตองการของสมาชิกโดยไมสอบถามความตองการของสมาชิกซึ่งไมถูกตองตามระเบียบและ ไมดำเนินการใหเปนไปตามคำแนะนำของกรมสงเสริมสหกรณ โดยศาลแรงงานภาค ๔ กำหนด เปนประเด็นขอพิพาท ขอ ๒. ไว แตศาลแรงงานภาค ๔ ยังไมไดวินิจฉัยวา มีเหตุตามที่จำเลยที่ ๑ ใหการตอสูหรือไม และหากมีเหตุดังกลาวเกิดขึ้นจริง โจทกที่ ๑ มีสวนเกี่ยวของอันจะสงผลให โจทกที่ ๑ มีสิทธิไดรับสินจางแทนการบอกกลาวลวงหนาและเงินบำเหน็จจากจำเลยที่ ๑ หรือไม เพียงใด มิใชวาเมื่อไมมีการสอบสวนเกี่ยวกับความผิดดังกลาวแลวนายจางจะสิ้นสิทธิไมสามารถ ยกเหตุนั้นขึ้นตอสูเพื่อปฏิเสธไมจายสินจางแทนการบอกกลาวลวงหนาและเงินบำเหน็จอันเปนผล สืบเนื่อง เพราะเปนคนละเรื่องคนละกรณีกัน การที่ศาลแรงงานภาค ๔ ไมไดวินิจฉัยตามประเด็น ขอพิพาทใหครบถวน จึงเปนการไมชอบ ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษเห็นสมควรยอนสำนวนไป ใหศาลแรงงานภาค ๔ ดำเนินกระบวนพิจารณาตามประเด็นขอพิพาท ขอ ๒. เสียใหครบถวน แลวพิจารณาพิพากษาในประเด็นเกี่ยวกับสิทธิการไดรับสินจางแทนการบอกกลาวลวงหนาและ เงินบำเหน็จของโจทกที่ ๑ ใหมตามรูปคดี สำหรับที่จำเลยที่ ๑ อุทธรณวา โจทกที่ ๑ รับซื้อขาวเปลือกเกาผสมขาวเปลือกใหมทำ ใหจำเลยที่ ๑ ไมสามารถนำขาวเปลือกเขารวมโครงการชะลอการขายขาวของรัฐบาลไดเปนเหตุ ใหจำเลยที่ ๑ ไดรับความเสียหายอยางรายแรง โดยโจทกที่ ๑ รับซื้อขาวเปลือกเกาจากพอคา ซึ่งมิใชสมาชิกของจำเลยที่ ๑ จนนำไปสูการตรวจสอบการซื้อขายขาวทั้งระบบพบวามีการซื้อ ขาวเปลือกเกาผสมขาวเปลือกใหมจริงและมีคำสั่งใหจำเลยที่ ๑ คืนขาวที่ซื้อมา แสดงวาโจทกที่ ๑ รวมกับโจทกที่ ๒ และที่ ๓ กระทำผิดตอจำเลยที่ ๑ นั้น เห็นวา จำเลยที่ ๑ อางขอเท็จจริงดังกลาว เพื่อใหศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษรับฟงขอเท็จจริงแตกตางจากที่ศาลแรงงานภาค ๔ รับฟงมา จากพยานหลักฐานในสำนวนวาโจทกที่ ๑ ไมไดรวมรับซื้อขาวเปลือกเกาผสมขาวเปลือกใหมใน ปการผลิต ๒๕๖๐/๒๕๖๑ จึงเปนอุทธรณในขอเท็จจริง ซึ่งตองหามมิใหอุทธรณตามพระราชบัญญัติ จัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๕๔ วรรคหนึ่ง ศาลอุทธรณ คดีชำนัญพิเศษไมรับวินิจฉัย ที่จำเลยที่ ๑ อุทธรณตอไปวา การกระทำของโจทกทั้งสามเปนการผิดสัญญาจางอีก สวนหนึ่งเปนเหตุใหจำเลยที่ ๑ ไดรับความเสียหายอยางรายแรง และจำเลยที่ ๑ ฟองแยงเรียก คาเสียหายจากโจทกทั้งสามในเรื่องผิดสัญญาทำใหน้ำหนักขาวขาดหายไปจากบัญชีของจำเลยที่ ๑ จำนวน ๕ รายการ เปนเงิน ๗๗๙,๖๙๒.๓๔ บาท นั้น เห็นวา ศาลแรงงานภาค ๔ ฟงขอเท็จจริง และวินิจฉัยวา โจทกที่ ๑ ไมไดรวมรับซื้อขาวเปลือกเกาผสมขาวเปลือกใหมในปการผลิต ๒๕๖๐/๒๕๖๑ และโจทกทั้งสามมิไดมีสวนเกี่ยวของกับการขาดหายไปของน้ำหนักขาวเปลือกจึงไมตองรับผิด


๒๕๘ ในคาเสียหายตามฟองแยงของจำเลยที่ ๑ อุทธรณของจำเลยที่ ๑ นอกจากจะเปนการโตแยง ดุลพินิจในการรับฟงพยานหลักฐานของศาลแรงงานภาค ๔ แลว ยังเปนการยกขอเท็จจริงขึ้นใหม วาโจทกทั้งสามผิดสัญญาจางทำใหจำเลยที่ ๑ ไดรับความเสียหายตามฟองแยง อันเปนอุทธรณ ในขอเท็จจริง ซึ่งตองหามมิใหอุทธรณตามระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดี แรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๕๔ วรรคหนึ่ง ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษไมรับวินิจฉัยเชนกัน พิพากษาแกเปนวา ใหจำเลยที่ ๑ รับผิดจายคาลวงเวลา ๑๗๙,๖๕๘ บาท แกโจทกที่ ๑ และ ๓๕๔,๙๐๖ บาท แกโจทกที่ ๓ ใหยกคำพิพากษาศาลแรงงานภาค ๔ เฉพาะในสวนที่ให จำเลยที่ ๑ ชำระสินจางแทนการบอกกลาวลวงหนาและเงินบำเหน็จแกโจทกที่ ๑ ใหยอนสำนวน ไปใหศาลแรงงานภาค ๔ ดำเนินกระบวนพิจารณาตามประเด็นขอพิพาท ขอ ๒. เสียใหครบถวน แลวพิจารณาพิพากษาในประเด็นเกี่ยวกับสิทธิการไดรับสินจางแทนการบอกกลาวลวงหนาและ เงินบำเหน็จของโจทกที่ ๑ ใหมตามรูปคดี นอกจากที่แกใหเปนไปตามคำพิพากษาศาลแรงงาน ภาค ๔. (อนันต คงบริรักษ - วัฒนา สุขประดิษฐ - สุวรรณา แกวบุตตา) อิศเรศ ปราโมช ณ อยุธยา - ยอ สุโรจน จันทรพิทักษ - ตรวจ


๒๕๙ คำพิพากษาศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษที่ ๑๔๑/๒๕๖๔ นายภุชงค จุณณทัศน โจทก บริษัทแอดวานซ เอเซีย ไฟเบอร จำกัด จำเลย ป.พ.พ. มาตรา ๑๙๓/๓ วรรคสอง, ๑๙๕/๕ วรรคสอง พ.ร.บ. คุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา ๙ วรรคหนึ่ง, ๑๗ วรรคสอง, ๑๑๘ (๒) โจทกเขาทํางานเปนลูกจางจําเลยเมื่อวันที่ ๑๗ ธันวาคม ๒๕๖๑ และจําเลย เลิกจางโจทกวันที่ ๑๖ ธันวาคม ๒๕๖๒ โดยจําเลยทํางานในวันดังกลาวเปนวันสุดทาย ดังนั้น เดือนธันวาคม ๒๕๖๒ โจทกทํางานใหแกจําเลยตั้งแตวันที่ ๑ ธันวาคม ๒๕๖๒ ถึงวันที่ ๑๖ ธันวาคม ๒๕๖๒ เทากับโจทกทํางานรวม ๑๖ วัน หาใชทํางานใหโจทกเพียงครึ่งเดือนไม จําเลยจึงตองจายคาจางใหแกโจทกรวม ๑๖ วันเปนเงิน ๑๓๓,๓๓๓.๒๘ บาท และจําเลยจาย คาจางใหโจทกทุกวันสิ้นเดือน เมื่อจําเลยบอกเลิกจางโจทกในวันที่ ๑๖ ธันวาคม ๒๕๖๒ จึงมีผลเปนการเลิกสัญญาจางเมื่อถึงกําหนดจายคาจางคราวถัดไปขางหนาคือ วันที่ ๓๑ มกราคม ๒๕๖๓ ตาม พ.ร.บ. คุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา ๑๗ วรรคสอง และ ขอเท็จจริงปรากฏวาโจทกทํางานวันสุดทายในวันที่จําเลยบอกเลิกจางดวย จําเลยจึงตอง จายสินจางแทนการบอกกลาวลวงหนาใหแกโจทกเทากับคาจางที่โจทกควรจะไดรับ นับแตวันที่ ๑๗ ธันวาคม ๒๕๖๒ ถึงวันที่ ๓๑ มกราคม ๒๕๖๓ รวม ๔๖ วัน หาใชหนึ่งเดือนครึ่ง ดังที่จําเลยอุทธรณไม สวนคาชดเชยที่จําเลยอุทธรณวา โจทกทํางานไมครบหนึ่งปจึงมีสิทธิไดรับ คาชดเชยเทากับคาจางเพียงสามสิบวันนั้น พ.ร.บ. คุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มิไดบัญญัติ เกี่ยวกับวิธีการนับระยะเวลาไวโดยเฉพาะ การนับระยะเวลาการทํางานตามที่กําหนดไวใน พ.ร.บ. คุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ จึงตองบังคับตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย เมื่อโจทกทํางานกับจําเลยตั้งแตวันที่ ๑๗ ธันวาคม ๒๕๖๑ ซึ่งตามปกติประเพณีลูกจาง ตองเริ่มทําการงานใหนายจางตั้งแตวันแรกที่เขาทํางาน จึงตองนับระยะเวลาทํางานของ โจทกตั้งแตวันเริ่มทํางานวันที่ ๑๗ ธันวาคม ๒๕๖๑ เปนหนึ่งวันตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๙๓/๓ วรรคสอง เมื่อนับถึงวันทํางานวันสุดทายวันที่ ๑๖ ธันวาคม ๒๕๖๒ ซึ่งเปนวันกอนหนา จะถึงวันแหงปสุดทายอันเปนวันตรงกับวันเริ่มระยะเวลานั้น ระยะเวลาทํางานของโจทก จึงครบหนึ่งปตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๙๓/๕ วรรคสอง โจทกทํางานติดตอกันครบหนึ่งป


๒๖๐ แตไมครบสามป จําเลยจึงตองจายคาชดเชยแกโจทกไมนอยกวาคาจางอัตราสุดทาย เกาสิบวันตาม พ.ร.บ. คุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา ๑๑๘ (๒) พ.ร.บ. คุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา ๙ วรรคหนึ่ง แกไขเพิ่มเติมโดย พ.ร.บ. คุมครองแรงงาน (ฉบับที่ ๗) พ.ศ. ๒๕๖๒ มีผลบังคับใชเมื่อวันที่ ๖ พฤษภาคม ๒๕๖๒ บัญญัติวา ในกรณีที่นายจางไมจายเงินกรณีนายจางบอกเลิกสัญญาจางโดยไมบอกกลาว ลวงหนาตามมาตรา ๑๗/๑ ใหนายจางเสียดอกเบี้ยใหแกลูกจางในระหวางเวลาผิดนัดรอยละ ๑๕ ตอป เมื่อจําเลยมีหนังสือเลิกจางโจทกวันที่ ๑๖ ธันวาคม ๒๕๖๒ โดยใหมีผลเลิกจาง ทันที่จึงเปนการเลิกจางภายหลังจากพระราชบัญญัติฉบับดังกลาวมีผลบังคับใชแลว จําเลย ตองเสียดอกเบี้ยของสินจางแทนการบอกกลาว ลวงหนาใหแกโจทกในระหวางเวลา ผิดนัดรอยละ ๑๕ ตอป ตามบทบัญญัติดังกลาวขางตน โจทกฟองและแกไขคำฟอง ขอใหบังคับจำเลยจายคาเดินทางและคาทางดวนที่โจทก ทดรองจาย ๓๓,๐๗๐ บาท เงินเบี้ยเลี้ยง ๒๘,๐๐๐ บาท และเงินตามขอตกลง MBO และ MIB รวม ๕๒๘,๗๕๐ บาท พรอมดอกเบี้ยอัตรารอยละ ๗.๕ ตอป ของตนเงินแตละจำนวนดังกลาว นับแตวันฟอง จายคาจางคางจาย ๘,๓๓๓.๒๘ บาท คาชดเชย ๗๕๐,๐๐๐ บาท สินจางแทนการ บอกกลาวลวงหนา ๓๘๓,๓๓๓ บาท พรอมดอกเบี้ยอัตรารอยละ ๑๕ ตอป ของตนเงินแตละจำนวน นับแตวันที่ ๑๗ ธันวาคม ๒๕๖๒ เปนตนไปจนกวาจะชำระเสร็จแกโจทก จำเลยใหการวาและแกไขคำใหการ ขอใหยกฟอง ศาลแรงงานกลาง พิพากษาใหจำเลยจายคาจาง ๘,๓๓๓.๒๘ บาท พรอมดอกเบี้ยอัตรา รอยละ ๑๕ ตอป ของตนเงินจำนวนดังกลาว นับแตวันที่ ๑๗ ธันวาคม ๒๕๖๒ เปนตนไป จายเงิน คาตอบแทนตามขอตกลง ๕๒๘,๗๕๐ บาท พรอมดอกเบี้ยอัตรารอยละ ๗.๕ ตอป ของตนเงิน จำนวนดังกลาว นับแตวันที่ ๑๗ มกราคม ๒๕๖๓ เปนตนไป จายสินจางแทนการบอกกลาว ลวงหนา ๓๘๓,๓๓๐.๘๘ บาท พรอมดอกเบี้ยอัตรารอยละ ๗.๕ ตอป ของตนเงินจำนวนดังกลาว นับแตวันที่ ๑๗ ธันวาคม ๒๕๖๒ เปนตนไป และจายคาชดเชย ๗๕๐,๐๐๐ บาท พรอมดอกเบี้ย อัตรารอยละ ๑๕ ตอป ของตนเงินจำนวนดังกลาว นับแตวันที่ ๑๗ ธันวาคม ๒๕๖๒ เปนตนไป จนกวาจะชำระเสร็จแกโจทก คำขออื่นนอกจากนี้ใหยก


๒๖๑ โจทกและจำเลยอุทธรณ ศาลอุทธรณคดีชํานัญพิเศษแผนกคดีแรงงานวินิจฉัยวา ศาลแรงงานกลางฟงขอเท็จจริง วา จำเลยเปนนิติบุคคลประเภทบริษัทจำกัด มีวัตถุประสงคประกอบกิจการผลิต ผลิตภัณฑจาก ไมทุกชนิด เมื่อวันที่ ๑๗ ธันวาคม ๒๕๖๑ โจทกเขาทำงานเปนลูกจางจำเลยในตำแหนงประธาน เจาหนาที่บริหาร (CEO) มีหนาที่บริหารโรงงานผลิตฮารดบอรด (ไมอัด) ของจำเลยซึ่งตั้งอยูที่ ตำบลโชคชัย อำเภอโชคชัย จังหวัดนครราชสีมา ไดรับคาจางอัตราสุดทายเดือนละ ๒๕๐,๐๐๐ บาท กำหนดจายคาจางทุกวันสิ้นเดือน และจำเลยตกลงจายเงินคาตอบแทนการทำงานอื่นใหกับโจทก เพิ่มเติมคือเงิน MBO (Management by Objective) จำนวนสูงสุดไมเกินเดือนละ ๒๕,๐๐๐ บาท โจทกอาจไดรับต่ำกวาจำนวนนี้ไดขึ้นอยูกับหลักเกณฑการประเมินของ MBO ตามที่ทั้งสองฝาย กำหนดรวมกัน โจทกจะไดรับในงวดการจายเงินถัดไปหลังจากผานการทดลองงานหรืออาจไดรับ กอนหากจำเลยพิจารณาแลวเห็นวาโจทกสามารถทำงานไดตามหลักเกณฑการวัดผลของ MBO และตกลงจายเงิน MIB (Monthly Incentive Bonus) ใหแกโจทกจำนวนสูงสุดไมเกินเดือนละ ๓๗,๕๐๐ บาท โจทกอาจไดรับต่ำกวาจำนวนดังกลาวไดขึ้นอยูกับหลักเกณฑการประเมินของ MIB ตามที่ทั้งสองฝายกำหนดรวมกัน ตอมาวันที่ ๑๖ ธันวาคม ๒๕๖๒ จำเลยเลิกจางโจทกเปนหนังสือ ดวยเหตุผลทางเศรษฐกิจและใหมีผลเลิกจางทันทีในวันดังกลาว และวินิจฉัยวา จำเลยจัดทำเอกสาร การเบิกจายคาเดินทาง คาทางดวนใหแกโจทกตลอดมาทุกเดือนจนถึงเดือนธันวาคม ๒๕๖๒ โดย โอนเงินครั้งสุดทายเมื่อวันที่ ๓๐ มกราคม ๒๕๖๓ จึงฟงไมไดวาจำเลยคางจายคาเดินทาง คาทางดวน แกโจทก สวนเงินเบี้ยเลี้ยง ไมปราฏวามีขอสัญญาหรือขอตกลงใด ๆ ที่จำเลยจะตองจายเงิน ดังกลาวแกโจทก ทั้งเอกสารการขอเบิกเงินเบี้ยเลี้ยงในการปฏิบัติงานนอกสถานที่ก็เปนเอกสาร ที่โจทกจัดทำขึ้นแตเพียงฝายเดียวโดยไมปรากฏวามีการรับรองความถูกตองแทจริงในการปฏิบัติ งานของโจทกนอกสถานที่ จึงไมอาจรับฟงไดวาโจทกมีสิทธิไดรับเงินเบี้ยเลี้ยง สำหรับเงินตอบแทน ตามขอสัญญา MBO และ MIB นั้น โจทกเสนอขอมูลที่อางวาทำงานไดครบตามหลักเกณฑตาม หัวขอดัชนีชี้วัดและผลการดำเนินการตลอดจนคะแนนที่โจทกควรไดรับใหแกผูบริหารของจำเลย ทุกเดือนแลว แตจำเลยกลับไมไดแจงผลการพิจารณาใหโจทกทราบ และหากจำเลยเห็นวาโจทก ทำงานไมมีประสิทธิภาพไมสมควรไดรับเงินตอบแทนดังกลาว จำเลยยอมตองปฏิเสธใหชัดเจน พรอมเหตุผล มิใชนิ่งเฉย เมื่อเงินตอบแทน MBO และ MIB เปนเงินเพื่อสรางแรงจูงใจใหเกิด ประสิทธิภาพสูงสุดในการทำงานและประโยชนสูงสุดแกจำเลย และขอเท็จจริงปรากฏวาในป ๒๕๖๒ ซึ่งเปนปที่โจทกปฏิบัติงาน จำเลยมีผลประกอบการกำไร (ขาดทุน) สุทธิดีกวาป ๒๕๖๑ จึงถือวา จำเลยไดรับประโยชนจากศักยภาพและความสามารถในการบริหารของโจทกแลว โจทกจึงมีสิทธิ


๒๖๒ ไดรับเงินตามขอตกลง MBO และ MIB และเมื่อจำเลยคางจายคาจางโจทกอีก ๑ วัน และเลิกจาง โจทกโดยไมไดบอกกลาวลวงหนาและโจทกไมมีความผิด โจทกจึงมีสิทธิไดรับคาจางคางจาย สินจางแทนการบอกกลาวลวงหนาและคาชดเชยพรอมดอกเบี้ยตามกฎหมาย ที่จำเลยอุทธรณวา จำเลยตองจายเงินคาตอบแทนตามสัญญาในการบริหารจัดการงาน ตามขอตกลง (MBO) และเงินตามขอตกลงตามผลปฏิบัติงานตามตัวชี้วัดที่กำหนดยอดผลงาน หรือกิจกรรมที่ตกลงรวมกัน (MIB) ใหแกโจทกหรือไมนั้น เห็นวา ศาลแรงงานกลางฟงขอเท็จจริง แลววา โจทกเสนอขอมูลที่อางวาทำงานไดครบตามหลักเกณฑตามหัวขอดัชนีชี้วัดและผลการ ดำเนินการตลอดจนคะแนน ที่โจทกควรไดรับใหแกผูบริหารของจำเลยทุกเดือนแลว แตจำเลย ไมไดแจงผลการพิจารณาใหโจทกทราบ และหากจำเลยเห็นวาโจทกทำงานไมมีประสิทธิภาพ ไมสมควรไดรับเงินตอบแทนดังกลาว จำเลยยอมตองปฏิเสธใหชัดเจนพรอมเหตุผล มิใชนิ่งเฉย ทั้งขอเท็จจริงยังปรากฏวาในป ๒๕๖๒ ซึ่งเปนปที่โจทกปฏิบัติงาน จำเลยมีผลประกอบการกำไร (ขาดทุน) สุทธิดีกวาป ๒๕๖๑ ถือวาจำเลยไดรับประโยชนจากศักยภาพและความสามารถในการ บริหารของโจทกแลว โจทกจึงมีสิทธิไดรับเงินตามขอตกลง MBO และ MIB อันมีความหมายวา ศาลแรงงานกลางรับฟงพยานหลักฐานแลวฟงไมไดวาโจทกไมผานการประเมินผลงานตามขอตกลง MBO และ MIB ที่จำเลยอุทธรณวา นางสาวรุงทิพย พยานจำเลยเบิกความยืนยันวาผูบริหารของ จำเลยประเมินผลงานตามขอตกลง MBO และ MIB ของโจทกแลวปรากฏวา ไมผานการประเมิน และโจทกไมมีสิทธิไดเงินดังกลาว จึงเปนการอุทธรณโตแยงดุลพินิจในการรับฟงพยานหลักฐาน ของศาลแรงงานกลางอันเปนอุทธรณในขอเท็จจริง ซึ่งตองหามมิใหอุทธรณตามพระราชบัญญัติ จัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๕๔ วรรคหนึ่ง ศาลอุทธรณ คดีชํานัญพิเศษไมรับวินิจฉัย คดีมีปญหาที่ตองวินิจฉัยตามอุทธรณของจำเลยวา จำเลยตองรับผิดจายคาจางเดือน ธันวาคม ๒๕๖๒ และตองจายสินจางแทนการบอกกลาวลวงหนาและคาชดเชยแกโจทกหรือไม เพียงใด เห็นวา ศาลแรงงานกลางฟงขอเท็จจริงวา โจทกเขาทำงานเปนลูกจางจำเลยเมื่อวันที่ ๑๗ ธันวาคม ๒๕๖๑ และจำเลยเลิกจางโจทกวันที่ ๑๖ ธันวาคม ๒๕๖๒ โดยจำเลยทำงานใน วันดังกลาวเปนวันสุดทาย ดังนั้นเดือนธันวาคม ๒๕๖๒ โจทกทำงานใหแกจำเลยตั้งแตวันที่ ๑ ธันวาคม ๒๕๖๒ ถึงวันที่ ๑๖ ธันวาคม ๒๕๖๒ เทากับโจทกทำงานรวม ๑๖ วัน หาใชทำงานให โจทกเพียงครึ่งเดือนไม จำเลยจึงตองจายคาจางใหแกโจทกรวม ๑๖ วันเปนเงิน ๑๓๓,๓๓๓.๒๘ บาท เมื่อจำเลยจายคาจางใหแกโจทกเพียง ๑๒๕,๐๐๐ บาท จึงตองจายคาจางคางจายอีก ๘,๓๓๓.๒๘ บาท สำหรับสินจางแทนการบอกกลาวลวงหนานั้น จำเลยจายคาจางใหโจทกทุกวันสิ้นเดือน เมื่อจำเลย


๒๖๓ บอกเลิกจางโจทกในวันที่ ๑๖ ธันวาคม ๒๕๖๒ จึงมีผลเปนการเลิกสัญญาจางเมื่อถึงกำหนดจาย คาจางคราวถัดไปขางหนาคือ วันที่ ๓๑ มกราคม ๒๕๖๓ ตามพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา ๑๗ วรรคสอง และขอเท็จจริงปรากฏวาโจทกทำงานวันสุดทายในวันที่จำเลย บอกเลิกจางดวย จำเลยจึงตองจายสินจางแทนการบอกกลาวลวงหนาใหแกโจทกเทากับคาจาง ที่โจทกควรจะไดรับนับแตวันที่ ๑๗ ธันวาคม ๒๕๖๒ ถึงวันที่ ๓๑ มกราคม ๒๕๖๓ รวม ๔๖ วัน หาใชหนึ่งเดือนครึ่งดังที่จำเลยอุทธรณไม สวนคาชดเชยที่จำเลยอุทธรณวาโจทกทำงานไมครบ หนึ่งปจึงมีสิทธิไดรับคาชดเชยเทากับคาจางเพียงสามสิบวันนั้น ตามพระราชบัญญัติคุมครอง แรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มิไดบัญญัติเกี่ยวกับวิธีการนับระยะเวลาไวโดยเฉพาะ การนับระยะเวลา การทำงานตามที่กำหนดไวในพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ จึงตองบังคับตาม ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย เมื่อโจทกทำงานกับจำเลยตั้งแตวันที่ ๑๗ ธันวาคม ๒๕๖๑ ซึ่งตามปกติประเพณีลูกจางตองเริ่มทำการงานใหนายจางตั้งแตวันแรกที่เขาทำงาน จึงตองนับ ระยะเวลาทำงานของโจทกตั้งแตวันเริ่มทำงานวันที่ ๑๗ ธันวาคม ๒๕๖๑ เปนหนึ่งวันตามประมวล กฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา ๑๙๓/๓ วรรคสอง เมื่อนับถึงวันทำงานวันสุดทายวันที่ ๑๖ ธันวาคม ๒๕๖๒ ซึ่งเปนวันกอนหนาจะถึงวันแหงปสุดทายอันเปนวันตรงกับวันเริ่มระยะเวลานั้น ระยะเวลาทำงานของโจทกจึงครบหนึ่งปตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา ๑๙๓/๕ วรรคสอง เมื่อโจทกทำงานติดตอกันครบหนึ่งปแตไมครบสามป จำเลยจึงตองจายคาชดเชยแก โจทกไมนอยกวาคาจางอัตราสุดทายเกาสิบวันตามพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา ๑๑๘ (๒) ที่ศาลแรงงานกลางวินิจฉัยใหจำเลยจายคาจางคางจาย สินจางแทนการ บอกกลาวลวงหนาและคาชดเชยแกโจทกมานั้นชอบแลว ศาลอุทธรณ คดีชำนัญพิเศษเห็นพองดวย อุทธรณของจำเลยขอนี้ฟงไมขึ้น มีปญหาที่ตองวินิจฉัยตามอุทธรณของโจทกประการแรกวา จำเลยตองจายคาเดินทาง คาทางดวนและเงินเบี้ยเลี้ยงแกโจทกหรือไม เพียงใดนั้น เห็นวา สำหรับคาเดินทางและคาทางดวน ศาลแรงงานกลางฟงขอเท็จจริงวา จำเลยจัดทำเอกสารเบิกจายคาเดินทางและคาทางดวนเดือน กันยายน ตุลาคม พฤศจิกายนและธันวาคม ๒๕๖๒ ใหแกโจทกรวมเปนเงิน ๓๓,๖๐๕ บาท โดยทุกเดือนจำเลยจะโอนเงินเขาบัญชีธนาคารไทยพาณิชยเลขที่ ๑๐๒๑๑๔๖๔ ของโจทก โดยโอน ครั้งสุดทายเมื่อวันที่ ๓๐ มกราคม ๒๕๖๓ จำเลยจึงไมไดคางจายคาเดินทางและคาทางดวนที่ โจทกอุทธรณวาจำเลยยังไมไดจายคาเดินทางและคาทางดวนจำนวนดังกลาวใหแกโจทก เนื่องจาก บัญชีเลขที่ดังกลาวเปนบัญชีของจำเลย บัญชีที่โจทกแจงใหโอนเงินเปนบัญชีธนาคารไทยพาณิชย เลขที่ ๑๔๒๒๐๙๕๑๗๔ และจำเลยไมมีเอกสารหลักฐานการโอนเงินมาแสดงตอศาล ทั้งการที่


๒๖๔ พยานจำเลยเบิกความวาเงินจำนวน ๕๐,๐๐๐ บาท ที่จำเลยจายพรอมเงินเดือนประจำเดือน ธันวาคม ๒๕๖๒ เปนการจายเงินคาเดินทางและคาทางดวนใหแกโจทกแลวเปนการบิดเบือน ขอเท็จจริง และเปนการรับฟงพยานหลักฐานคลาดเคลื่อนนั้น แมจะฟงไดวาศาลแรงงานกลาง ฟงขอเท็จจริงเกี่ยวกับเลขบัญชีที่จำเลยโอนคาเดินทางและคาทางดวนคลาดเคลื่อนโดยไมใชเลขบัญชี ธนาคารของโจทกก็ตาม แตเมื่อโจทกยอมรับในอุทธรณแลววาจำเลยไดโอนเงินเดือนประจำเดือน ธันวาคม ๒๕๖๒ พรอมกับเงินไดอื่น ๆ จำนวน ๕๐,๐๐๐ บาท เขาบัญชีเลขที่ ๑๔๒๒๐๙๕๑๗๔ ของโจทกจริง โดยโจทกมิไดแสดงใหเห็นวาเงินดังกลาวเปนเงินรายไดอยางอื่นที่โจทกมีสิทธิไดรับ นอกเหนือจากคาเดินทางและคาทางดวน กรณีจึงรับฟงไดตามอุทธรณของโจทกวาจำเลยจายเงิน คาเดินทางและคาทางดวนเดือนกันยายนถึงเดือนธันวาคม ๒๕๖๒ ใหแกโจทกครบถวนแลวโดย จายรวมอยูในเงินจำนวน ๕๐,๐๐๐ บาท สวนเงินเบี้ยเลี้ยงนั้น โจทกฟองวา โจทกมีสิทธิไดรับเงิน เบี้ยเลี้ยงตั้งแตเขาเปนลูกจางโจทกจนถึงวันเลิกจางในอัตราวันละ ๕๐๐ บาท รวม ๕๖ วัน แตจำเลย ไมยอมจาย จำเลยใหการวา จำเลยจายเงินเบี้ยเลี้ยงใหแกโจทกแลว อันแสดงใหเห็นวาจำเลย ยอมรับวาโจทกมีสิทธิไดรับเงินเบี้ยเลี้ยงในกรณีที่ปฏิบัติงานนอกสถานที่จริง คงตอสูเพียงวาจำเลย จายเงินเบี้ยเลี้ยงครบถวนแลว ดังนั้นคดีจึงมีประเด็นเกี่ยวกับเงินเบี้ยเลี้ยงเพียงวาโจทกมีสิทธิไดรับ เงินเบี้ยเลี้ยงเทาใด และจำเลยจายเงินเบี้ยเลี้ยงใหแกโจทกครบถวนหรือไม การที่ศาลแรงงานกลาง รับฟงขอเท็จจริงวาสัญญาจางแรงงานระหวางโจทกกับจำเลยไมมีขอสัญญาหรือขอตกลงใด ๆ ที่นายจางจะตองจายคาไปปฏิบัติงานนอกสถานที่ใหแกลูกจาง และเอกสารการขอเบิกเงินเบี้ยเลี้ยง ในการปฏิบัติงานนอกสถานที่เปนเอกสารที่โจทกจัดทำขึ้นแตเพียงฝายเดียวโดยไมปรากฏวา มีการรับรองความถูกตองแทจริงในการปฏิบัติงานของโจทกนอกสถานที่ แลววินิจฉัยวา พยาน หลักฐานของโจทกไมอาจรับฟงไดวาโจทกมีสิทธิไดรับเงินเบี้ยเลี้ยง จึงเปนการวินิจฉัยนอกเหนือ จากที่จำเลยใหการและฟงขอเท็จจริงไมครบถวน ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษเห็นสมควรยอน สำนวนใหศาลแรงงานกลางฟงขอเท็จจริงหรือสืบพยานโจทกและจำเลยเพื่อฟงขอเท็จจริงดังกลาว เสียกอนแลววินิจฉัยตอไปตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพงมาตรา ๒๔๓ (๓) (ข) ประกอบพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๕๗ มีปญหาที่ตองวินิจฉัยตามอุทธรณของโจทกประการสุดทายวา ศาลแรงงานกลางพิพากษา ใหจำเลยชำระดอกเบี้ยของสินจางแทนการบอกกลาวลวงหนาในอัตรารอยละ ๗.๕ ตอปชอบดวย กฎหมายหรือไม โดยโจทกอุทธรณวา พระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา ๙ ฉบับแกไขเพิ่มเติม พ.ศ. ๒๕๖๒ กำหนดใหนายจางตองเสียดอกเบี้ยจากการจายสินจางแทนการ บอกกลาวลวงหนาลาชาในอัตรารอยละ ๑๕ ตอป ที่ศาลแรงงานกลางพิพากษาใหจำเลยเสียดอกเบี้ย


๒๖๕ ของสินจางแทนการบอกกลาวลวงหนาในอัตรารอยละ ๗.๕ ตอป จึงไมชอบดวยกฎหมายนั้น เห็นวา พระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา ๙ วรรคหนึ่ง แกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติ คุมครองแรงงาน (ฉบับที่ ๗) พ.ศ. ๒๕๖๒ มีผลบังคับใชเมื่อวันที่ ๖ พฤษภาคม ๒๕๖๒ บัญญัติวา ในกรณีที่นายจางไมจายเงินกรณีนายจางบอกเลิกสัญญาจางโดยไมบอกกลาวลวงหนาตามมาตรา ๑๗/๑ ใหนายจางเสียดอกเบี้ยใหแกลูกจางในระหวางเวลาผิดนัดรอยละ ๑๕ ตอป เมื่อจำเลยมี หนังสือเลิกจางโจทกในวันที่ ๑๖ ธันวาคม ๒๕๖๒ โดยใหมีผลเลิกจางทันที จึงเปนการเลิกจาง ภายหลังจากพระราชบัญญัติฉบับดังกลาวมีผลบังคับใชแลว จำเลยจึงตองเสียดอกเบี้ยของสินจาง แทนการบอกกลาวลวงหนาใหแกโจทกในระหวางเวลาผิดนัดรอยละ ๑๕ ตอปตามบทบัญญัติ ดังกลาวขางตน ที่ศาลแรงงานกลางพิพากษาใหจำเลยชำระดอกเบี้ยของสินจางแทนการบอกกลาว ลวงหนาในอัตรารอยละ ๗.๕ ตอป จึงไมชอบดวยกฎหมาย อุทธรณของโจทกขอนี้ฟงขึ้น พิพากษาแกเปนวา ใหจำเลยชำระดอกเบี้ยของสินจางแทนการบอกกลาวลวงหนาใน อัตรารอยละ ๑๕ ตอป และยกคำพิพากษาศาลแรงงานกลางในสวนเงินเบี้ยเลี้ยงโดยยอนสำนวน ใหศาลแรงงานกลางฟงขอเท็จจริงหรือสืบพยานโจทกและจำเลยในประเด็นนี้แลวมีคำพิพากษา ใหมตอไปตามรูปคดี นอกจากที่แกใหเปนไปตามคำพิพากษาศาลแรงงานกลาง. (สิริพร เปรมาสวัสดิ์ สุรมณี - ธีระพล ศรีอุดมขจร - อนุวัตร ขุนทอง) ฐานุตร เล็กสุภาพ - ยอ วัชรินทร ฤชุโรจน - ตรวจ


๒๖๖ คำพิพากษาศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษที่ ๑๕๘ - ๑๖๔/๒๕๖๔ บริษัทฟวเจอริส ออโตโมทีฟ (ประเทศไทย) จำกัด โจทก นายณรงค ชะฎาแกว กับพวก จำเลย พ.ร.บ. แรงงานสัมพันธ พ.ศ. ๒๕๑๘ มาตรา ๕๒ พ.ร.บ. คุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา ๑๓ การเปลี่ยนตัวนายจางตาม พ.ร.บ. คุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา ๑๓ เปนการเปลี่ยนตัวนายจางเนื่องจากมีการกระทําใด ๆ ที่เปนการเปลี่ยนแปลง โอน หรือ ควบกับนิติบุคคลใด ที่มีผลทําใหลูกจางไปเปนลูกจางของนายจางใหม เมื่อพิจารณาจาก ขอตกลงซื้อขายกิจการระหวางผูรอง กับบริษัท ส. แลว ไมมีขอตกลงขอใดที่เปนการตกลง อันมีผลทําใหผูคัดคานทั้งเจ็ดไปเปนลูกจางของบริษัท ส. เพียงแตมีขอตกลงเกี่ยวกับการ เลิกจางพนักงานของผูรองในขอ ๗ ตั้งแตขอ ๗.๑ ถึงขอ ๗.๓ วา พนักงานที่อยูภายใต การจางงานของผูรอง ผูรองจะดําเนินการเลิกจาง และผูรองจะเปนผูดําเนินการเจรจา กับกลุมพนักงานที่ยังไมสิ้นสุดสภาพการจางเพื่อดําเนินการเลิกจาง โดยผูรองจะเปน ผูรับผิดชอบในคาใชจายทั้งหมดที่อาจเกิดขึ้นจากการดําเนินการเลิกจางดังกลาวเทานั้น โดยไมมีการตกลงใหผูคัดคานทั้งเจ็ดโอนไปเปนพนักงานของบริษัท ส. หรือบริษัท ส. ตกลงรับผูคัดคานทั้งเจ็ดไปเปนพนักงานของตน ดังนั้น การทําสัญญาตกลงซื้อขายกิจการ ระหวางผูรองกับบริษัท ส. หามีผลทําใหผูคัดคานทั้งเจ็ดไปเปนลูกจางของบริษัท ส. แมผูคัดคานทั้งเจ็ดจะสงหนังสือยินยอมไปเปนลูกจางของบริษัท ส. ใหแกผูรอง และบริษัท ส. เมื่อวันที่ ๙ มกราคม ๒๕๖๓ ก็ไมมีผลทําใหผูคัดคานทั้งเจ็ดไปเปนลูกจางของบริษัท ส. เชนกัน เพราะไมมีการตกลงใดที่มีผลใหมีการเปลี่ยนตัวนายจางเกิดขึ้นตั้งแตแรกดังกลาว แมตอมาผูคัดคานทั้งเจ็ดจะยินยอมไปเปนลูกจางของบริษัท ส. ก็ตาม ผูรองจึงยังคงเปน นายจางของผูคัดคานทั้งเจ็ด ที่ศาลแรงงานภาค ๒ เห็นวาสถานะความเปนนายจางของ ผูรองสิ้นสุดลงแลวตั้งแตวันที่ผูคัดคานทั้งเจ็ดยินยอมไปเปนลูกจางของบริษัท ส. เมื่อวันที่ ๙ มกราคม ๒๕๖๓ นั้น ศาลอุทธรณคดีชํานัญพิเศษไมเห็นพองดวย  การที่นายจางตองไดรับอนุญาตจากศาลแรงงานเพื่อขอเลิกจางลูกจางที่เปน กรรมการลูกจาง ตาม พ.ร.บ. แรงงานสัมพันธ พ.ศ. ๒๕๑๘ มาตรา ๕๒ นั้น เพื่อเปนการ


๒๖๗ คุมครองลูกจางที่เปนกรรมการลูกจางมิใหถูกนายจางกลั่นแกลงอันเปนเหตุใหกระทบ กระเทือนตอการปฏิบัติหนาที่ของกรรมการลูกจาง โดยใหอํานาจศาลแรงงานพิจารณา กลั่นกรองอีกชั้นหนึ่งวามีเหตุสมควรและเพียงพอที่จะเลิกจางลูกจางที่เปนกรรมการลูกจาง ไดหรือไม ซึ่งศาลแรงงานภาค ๒ ฟงขอเท็จจริงวาปจจุบันผูรองปดกิจการแลวอยูในระหวาง การชําระบัญชี คงเหลือเพียงผูคัดคานทั้งเจ็ด เมื่อเดือนกันยายน ๒๕๖๐ ผูรองขายกิจการ เฉพาะกลุมงานเบาะรถยนตแกบริษัท อ. คงเหลือกิจการตกแตงภายในรถยนต ผูคัดคาน ทั้งเจ็ดยังเปนลูกจางผูรองเพราะผูคัดคานทั้งเจ็ดไมไดรวมโครงการสมัครใจลาออก ตอมา ตนป ๒๕๖๓ ผูรองขายธุรกิจตกแตงภายในรถยนตแกบริษัท ส. ผูรองเปดโครงการให พนักงานสมัครใจลาออก คงเหลือลูกจาง ๓๒ คน รวมผูคัดคานทั้งเจ็ดที่ไมสมัครใจลาออก ผูรองจึงเลิกจางพนักงาน ๒๕ คน โดยจายเงินตามสิทธิและผลประโยชนตามกฎหมายแลว คงเหลือผูคัดคานทั้งเจ็ดซึ่งทํางานในสวนของงานตกแตงภายในรถยนตที่โอนขายแก บริษัท ส. ดังนั้น เมื่อผูรองปดกิจการและเลิกจางลูกจางทั้งหมดแลวคงเหลือแตเพียงผูคัดคาน ทั้งเจ็ด กรณีจึงมีเหตุใหเลิกจางผูคัดคานทั้งเจ็ดซึ่งเปนกรรมการลูกจางได ผูรองยื่นคำรองและแกไขคำรอง ขออนุญาตใหผูรองเลิกจางผูคัดคานทั้งเจ็ดในฐานะ กรรมการลูกจาง ผูคัดคานทั้งเจ็ดยื่นคำคัดคานและแกไขคำคัดคาน ขอใหยกคำรอง ศาลแรงงานภาค ๒ มีคำสั่งยกคำรอง ผูรองอุทธรณ ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษแผนกคดีแรงงานวินิจฉัยวา ศาลแรงงานภาค ๒ ฟงขอเท็จจริงวา ผูคัดคานทั้งเจ็ดเปนลูกจาง และกรรมการลูกจางผูรอง ปจจุบันผูรองปดกิจการอยูในระหวาง การชำระบัญชี คงเหลือเพียงผูคัดคานทั้งเจ็ด เมื่อเดือนกันยายน ๒๕๖๐ ผูรองขายกิจการเฉพาะ กลุมงานเบาะรถยนตแกบริษัทแอเดียนท แอนด ซัมมิท คอรปอเรชั่น อินทีเรียส จำกัด คงเหลือ กิจการตกแตงภายในรถยนต ผูคัดคานทั้งเจ็ดยังเปนลูกจางผูรองเพราะผูคัดคานทั้งเจ็ดไมไดรวม โครงการสมัครใจลาออก ตอมาตนป ๒๕๖๓ ผูรองขายธุรกิจตกแตงภายในรถยนตแกบริษัทสุพรีม เฟลตัล (ประเทศไทย) จำกัด ผูรองเปดโครงการใหพนักงานสมัครใจลาออก คงเหลือลูกจาง ๓๒ คน รวมผูคัดคานทั้งเจ็ดที่ไมสมัครใจลาออก ผูรองจึงเลิกจางพนักงาน ๒๕ คน โดยจายเงินตามสิทธิ และผลประโยชนตามกฎหมายแลว คงเหลือผูคัดคานทั้งเจ็ดซึ่งทำงานในสวนของงานตกแตง


๒๖๘ ภายในรถยนตที่โอนขายแกบริษัทสุพรีม เฟลตัล (ประเทศไทย) จำกัด แลววินิจฉัยวา การที่ผูรอง ขายกิจการแกบริษัทสุพรีม เฟลตัล (ประเทศไทย) จำกัด เปนการเปลี่ยนแปลงตัวนายจาง ยอมมี ผลทำใหผูคัดคานทั้งเจ็ดในฐานะกรรมการลูกจางไปเปนลูกจางของบริษัทดังกลาวในฐานะนายจาง ใหมดวย ที่ผูรองอางวาเหตุที่ตองเลิกจางเพราะไมไดประกอบกิจการและโอนขายกิจการไปแลว ไมใชเหตุที่จะนำมากลาวอางไดเพราะสถานะความเปนนายจางของผูรองสิ้นสุดลงแลวเมื่อผูคัดคาน ทั้งเจ็ดยินยอมไปเปนลูกจางของนายจางใหมตั้งแตวันที่ ๙ มกราคม ๒๕๖๓ เมื่อความเปนนายจาง สิ้นสุดลง ณ วันดังกลาว ผูรองจึงไมอาจอางความเปนนายจางของผูคัดคานทั้งเจ็ดเพื่อรองขอ เลิกจางผูคัดคานทั้งเจ็ด สวนที่มีขอตกลงใหผูรองเลิกจางพนักงานรวมทั้งผูคัดคานทั้งเจ็ดดวยไมมี ผลผูกพันผูคัดคานทั้งเจ็ด อีกทั้งขอตกลงดังกลาวขัดตอพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา ๑๓ ซึ่งเปนกฎหมายเกี่ยวดวยความสงบเรียบรอยของประชาชนยอมตกเปนโมฆะ การที่ ผูรองยังคงจายคาจางโดยเขาใจวาความเปนลูกจางของผูคัดคานทั้งเจ็ดไมไดโอนไปดวย ก็เปน เรื่องที่ผูรองจัดการไปเอง ผูรองจึงไมมีอำนาจยื่นคำรองเพื่อขอเลิกจางผูคัดคานทั้งเจ็ด และกรณี ไมมีเหตุสมควรเลิกจางผูคัดคานทั้งเจ็ด คดีมีปญหาตองวินิจฉัยวา การทำสัญญาขายกิจการของผูรอง และการแสดงเจตนา ยินยอมของผูคัดคานทั้งเจ็ด เปนการเปลี่ยนตัวนายจางหรือไม เห็นวา ในกรณีที่กิจการที่มีการ เปลี่ยนตัวนายจาง นายจางใหมตองรับไปทั้งสิทธิและหนาที่ที่ลูกจางเคยมีตอนายจางเดิม โดย ลูกจางมีสิทธิหนาที่กับนายจางเดิมอยางไร นายจางใหมก็ตองรับไปทั้งสิทธิและหนาที่นั้น แตเดิม การคุมครองลูกจางในเรื่องการเปลี่ยนตัวนายจางตามพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา ๑๓ บัญญัติวา “ในกรณีที่กิจการใดมีการเปลี่ยนแปลงตัวนายจางเนื่องจากการโอน รับมรดก หรือดวยประการอื่นใด หรือในกรณีที่นายจางเปนนิติบุคคล และมีการจดทะเบียนเปลี่ยนแปลง โอน หรือควบกับนิติบุคลใด สิทธิตาง ๆ ที่ลูกจางมีอยูตอนายจางเดิมเชนใดใหลูกจางมีสิทธิเชนวา นั้นตอไป และใหนายจางใหมรับไปทั้งสิทธิและหนาที่อันเกี่ยวกับลูกจางนั้นทุกประการ” ตอมา ในป ๒๕๖๒ มีการปรับปรุงแกไขความในมาตรา ๑๓ นี้ โดยพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน (ฉบับที่ ๗) พ.ศ. ๒๕๖๒ เปนขอความวา “ในกรณีที่มีการเปลี่ยนแปลงตัวนายจาง หรือในกรณีที่ นายจางเปนนิติบุคคล และมีการจดทะเบียนเปลี่ยนแปลง โอน หรือควบกับนิติบุคลใด หากมี ผลทำใหลูกจางคนหนึ่งคนใดไปเปนลูกจางของนายจางใหม การไปเปนลูกจางของนายจางใหม ดังกลาวตองไดรับความยินยอมจากลูกจางคนนั้นดวย และใหสิทธิตาง ๆ ที่ลูกจางมีอยูตอนายจาง เดิมคงมีสิทธิตอไป โดยนายจางใหมตองรับไปทั้งสิทธิและหนาที่อันเกี่ยวกับลูกจางนั้นทุกประการ” ซึ่งบทบัญญัติมาตราดังกลาวเปนการเปลี่ยนตัวนายจางเนื่องจากมีการกระทำใด ๆ ที่เปนการ


๒๖๙ เปลี่ยนแปลง โอน หรือควบกับนิติบุคคลใด ที่มีผลทำใหลูกจางไปเปนลูกจางของนายจางใหม เมื่อพิจารณาจากขอตกลงซื้อขายกิจการระหวางผูรอง กับบริษัทสุพรีม เฟลตัล (ประเทศไทย) จำกัด แลว ไมมีขอตกลงขอใดที่เปนการตกลงอันมีผลทำใหผูคัดคานทั้งเจ็ดไปเปนลูกจางของ บริษัทสุพรีม เฟลตัล (ประเทศไทย) จำกัด เพียงแตมีขอตกลงเกี่ยวกับการเลิกจางพนักงานของ ผูรองในขอ ๗ ตั้งแตขอ ๗.๑ ถึงขอ ๗.๓ วา พนักงานที่อยูภายใตการจางงานของผูรอง ผูรองจะ ดำเนินการเลิกจาง และผูรองจะเปนผูดำเนินการเจรจากับกลุมพนักงานที่ยังไมสิ้นสุดสภาพการจาง เพื่อดำเนินการเลิกจาง โดยผูรองจะเปนผูรับผิดชอบในคาใชจายทั้งหมดที่อาจเกิดขึ้นจากการ ดำเนินการเลิกจางดังกลาวเทานั้น โดยไมมีการตกลงใหผูคัดคานทั้งเจ็ดโอนไปเปนพนักงานของ บริษัทสุพรีม เฟลตัล (ประเทศไทย) จำกัด หรือบริษัทสุพรีม เฟลตัล (ประเทศไทย) จำกัด ตกลง รับผูคัดคานทั้งเจ็ดไปเปนพนักงานของตน ดังนั้น การทำสัญญาตกลงซื้อขายกิจการระหวางผูรอง กับบริษัทสุพรีม เฟลตัล (ประเทศไทย) จำกัด หามีผลทำใหผูคัดคานทั้งเจ็ดไปเปนลูกจางของ บริษัทสุพรีม เฟลตัล (ประเทศไทย) จำกัด แมผูคัดคานทั้งเจ็ดจะสงหนังสือยินยอมไปเปนลูกจาง ของบริษัทสุพรีม เฟลตัล (ประเทศไทย) จำกัด ใหแกผูรองและบริษัทสุพรีม เฟลตัล (ประเทศไทย) จำกัด เมื่อวันที่ ๙ มกราคม ๒๕๖๓ ก็ไมมีผลทำใหผูคัดคานทั้งเจ็ดไปเปนลูกจางของบริษัทสุพรีม เฟลตัล (ประเทศไทย) จำกัด เชนกัน เพราะไมมีการตกลงใดที่มีผลใหมีการเปลี่ยนตัวนายจาง เกิดขึ้นตั้งแตแรกดังกลาว แมตอมาผูคัดคานทั้งเจ็ดจะยินยอมไปเปนลูกจางของบริษัทสุพรีม เฟลตัล (ประเทศไทย) จำกัด ก็ตาม ผูรองจึงยังคงเปนนายจางของผูคัดคานทั้งเจ็ด ที่ศาลแรงงาน ภาค ๒ เห็นวาสถานะความเปนนายจางของผูรองสิ้นสุดลงแลวตั้งแตวันที่ผูคัดคานทั้งเจ็ดยินยอม ไปเปนลูกจางของบริษัทสุพรีม เฟลตัล (ประเทศไทย) จำกัด เมื่อวันที่ ๙ มกราคม ๒๕๖๓ นั้น ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษไมเห็นพองดวย อุทธรณของผูรองฟงขึ้น คดีมีปญหาตองวินิจฉัยตอไปวา กรณีมีเหตุทำใหตองเลิกจางผูคัดคานทั้งเจ็ดหรือไม เห็นวา การที่นายจางตองไดรับอนุญาตจากศาลแรงงานเพื่อขอเลิกจางลูกจางที่เปนกรรมการลูกจาง ตามพระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ พ.ศ. ๒๕๑๘ มาตรา ๕๒ นั้น เพื่อเปนการคุมครองลูกจางที่ เปนกรรมการลูกจางมิใหถูกนายจางกลั่นแกลงอันเปนเหตุใหกระทบกระเทือนตอการปฏิบัติหนาที่ ของกรรมการลูกจาง โดยใหอำนาจศาลแรงงานพิจารณากลั่นกรองอีกชั้นหนึ่งวามีเหตุสมควรและ เพียงพอที่จะเลิกจางลูกจางที่เปนกรรมการลูกจางไดหรือไม ซึ่งศาลแรงงานภาค ๒ ฟงขอเท็จจริง วาปจจุบันผูรองปดกิจการแลวอยูในระหวางการชำระบัญชี คงเหลือเพียงผูคัดคานทั้งเจ็ด เมื่อเดือน กันยายน ๒๕๖๐ ผูรองขายกิจการเฉพาะกลุมงานเบาะรถยนตแกบริษัทแอเดียนท แอนด ซัมมิท คอรปอเรชั่น อินทีเรียส จำกัด คงเหลือกิจการตกแตงภายในรถยนตผูคัดคานทั้งเจ็ดยังเปนลูกจาง


๒๗๐ ผูรองเพราะผูคัดคานทั้งเจ็ดไมไดรวมโครงการสมัครใจลาออก ตอมาตนป ๒๕๖๓ ผูรองขายธุรกิจ ตกแตงภายในรถยนตแกบริษัทสุพรีม เฟลตัล (ประเทศไทย) จำกัด ผูรองเปดโครงการใหพนักงาน สมัครใจลาออก คงเหลือลูกจาง ๓๒ คน รวมผูคัดคานทั้งเจ็ดที่ไมสมัครใจลาออก ผูรองจึงเลิกจาง พนักงาน ๒๕ คน โดยจายเงินตามสิทธิและผลประโยชนตามกฎหมายแลว คงเหลือผูคัดคานทั้งเจ็ด ซึ่งทำงานในสวนของงานตกแตงภายในรถยนตที่โอนขายแกบริษัทสุพรีม เฟลตัล (ประเทศไทย) จำกัด ดังนั้น เมื่อผูรองปดกิจการและเลิกจางลูกจางทั้งหมดแลวคงเหลือแตเพียงผูคัดคานทั้งเจ็ด กรณีจึงมีเหตุใหเลิกจางผูคัดคานทั้งเจ็ดซึ่งเปนกรรมการลูกจางได ที่ศาลแรงงานภาค ๒ เห็นวา ยังไมมีเหตุสมควรเลิกจางผูคัดคานทั้งเจ็ดนั้น ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษไมเห็นพองดวย อุทธรณ ของผูรองฟงขึ้น พิพากษากลับเปนวา อนุญาตใหผูรองเลิกจางผูคัดคานทั้งเจ็ด. (วรศักดิ์ จันทรคีรี - สุจินต เชี่ยวชาญศิลป - วิชชุพล สุขสวัสดิ์) มนุเชษฐ โรจนศิริบุตร - ยอ สุโรจน จันทรพิทักษ - ตรวจ


๒๗๑ คำพิพากษาศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษที่ ๔๓๕/๒๕๖๔ นายทองลักษ บุญทล โจทก บริษัทเรียล เอสซอเด เจ.เอส. จำกัด จำเลย ป.พ.พ. มาตรา ๘ พ.ร.บ. คุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา ๗๕ ตาม พ.ร.บ. คุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา ๗๕ ไมไดกำหนดความหมาย ของคำวา “เหตุสุดวิสัย” ไว จึงตองตีความตาม ป.พ.พ. มาตรา ๘ ที่บัญญัติวา คำวา “เหตุสุดวิสัย” หมายความวา เหตุใด ๆ อันจะเกิดขึ้นก็ดี จะใหผลพิบัติก็ดี เปนเหตุที่ไมอาจ ปองกันไดแมทั้งบุคคลผูตองประสบหรือใกลจะตองประสบเหตุนั้นจะไดจัดการระมัดระวัง ตามสมควรอันพึงคาดหมายไดจากบุคคลในฐานะและภาวะเชนนั้น เมื่อกิจการโรงแรม ของจำเลยรับนักทองเที่ยวทั้งในประเทศและตางประเทศ เมื่อวันที่ ๒ เมษายน ๒๕๖๓ ผูวาราชการจังหวัดภูเก็ตมีคำสั่งใหปดโรงแรมเนื่องจากสถานการณการแพรระบาดของ โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ ตั้งแตวันที่ ๔ เมษายน ๒๕๖๓ และวันที่ ๑๖ พฤษภาคม ๒๕๖๓ ยังคงมีคำสั่งใหคงมาตรการการปดโรงแรมและปดชองทางบกและชองทางน้ำ หามเดินทางขามเขตจังหวัด เพื่อเฝาระวัง ควบคุม และปองกันการแพรระบาดตอไป ตอมา ผูวาราชการจังหวัดภูเก็ตมีคำสั่งผอนคลายการบังคับการปดสถานที่โดยใหเปดโรงแรม และเดินทางขามเขตพื้นที่จังหวัดภูเก็ตไดตั้งแตวันที่ ๑ มิถุนายน ๒๕๖๓ เปนตนไป เห็นไดวา ในชวงระหวางวันที่ ๔ เมษายน ๒๕๖๓ ถึงวันที่ ๓๑ พฤษภาคม ๒๕๖๓ โรงแรมจำเลย จึงถูกปดกิจการและหามประชาชนเดินทางขามเขตจังหวัดภูเก็ต การที่จำเลยมีความจำเปน ตองหยุดกิจการเปนการชั่วคราวดวยเหตุดังกลาวจึงเปนเหตุที่ไมอาจปองกันไดถือวาเปน เหตุสุดวิสัยตาม ป.พ.พ. มาตรา ๘ ในชวงระยะเวลาดังกลาวจำเลยจึงไมตองจายเงินรอยละ ๗๕ ของคาจางในวันทำงานที่โจทกไดรับกอนหยุดกิจการตลอดระยะเวลาที่จำเลยไมได ใหโจทกทำงานตาม พ.ร.บ. คุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา ๗๕ แตตอมาเมื่อผูวา ราชการจังหวัดภูเก็ตมีคำสั่งใหเปดโรงแรมและเดินทางขามเขตพื้นที่จังหวัดภูเก็ตไดตั้งแต วันที่ ๑ มิถุนายน ๒๕๖๓ เปนตนไป ประชาชนจึงสามารถเดินทางเขาและออกจังหวัด ภูเก็ตได การที่จำเลยอางวาแมจำเลยจะเปดโรงแรมก็จะไมมีนักทองเที่ยวจากตางประเทศ เขาประเทศไทยนั้น แตจำเลยก็ยังสามารถรับนักทองเที่ยวจากภายในประเทศได


๒๗๒ การประกาศหยุดกิจการโรงแรมเปนการชั่วคราวของจำเลยตั้งแตวันที่ ๑ มิถุนายน ๒๕๖๓ จึงมิใชเปนเหตุสุดวิสัย จำเลยตองจายเงินรอยละ ๗๕ ของคาจางในวันทำงานที่โจทก ไดรับกอนหยุดกิจการ ตาม พ.ร.บ. คุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา ๗๕ โจทกฟอง ขอใหบังคับจำเลยชำระเงิน ๘๒๐,๔๑๖ บาท พรอมดอกเบี้ยอัตรารอยละ ๑๕ ตอป ของตนเงิน ๖๐๕,๖๑๖ บาท อัตรารอยละ ๗.๕ ตอป ของตนเงิน ๒๑๔,๘๐๐ บาท นับแตวันฟอง เปนตนไปจนกวาจะชำระเสร็จแกโจทก ใหจำเลยคืนเงินประกันการทำงาน ๕,๐๐๐ บาท พรอม ดอกเบี้ยอัตรารอยละ ๑๕ ตอป ของตนเงินดังกลาวนับแตวันฟองเปนตนไปจนกวาจะชำระเสร็จ แกโจทก กับใหจำเลยมีหนังสือแจงเปลี่ยนแปลงเหตุสิ้นสุดสภาพการจางของโจทกตอสำนักงาน ประกันสังคมจังหวัดภูเก็ตจากลาออกเปนเลิกจาง จำเลยใหการ ขอใหยกฟอง ศาลแรงงานภาค ๘ พิพากษาใหจำเลยชำระเงิน ๗,๑๓๘ บาท พรอมดอกเบี้ยอัตรา รอยละ ๑๕ ตอป ของตนเงินดังกลาวนับแตวันฟองเปนตนไปจนกวาจะชำระเสร็จแกโจทก คำขออื่น นอกจากนี้ใหยก โจทกและจำเลยอุทธรณ ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษแผนกคดีแรงงานวินิจฉัยวา ศาลแรงงานภาค ๘ ฟงขอเท็จจริงวา จำเลยเปนนิติบุคคลประเภทบริษัทจำกัด มีวัตถุประสงคในการประกอบกิจการโรงแรมจำหนาย อาหารและเครื่องดื่ม โดยมีลูกคาสวนใหญเปนชาวตางชาติ วันที่ ๑๖ มกราคม ๒๕๕๖ (ที่ถูก วันที่ ๑๖ ธันวาคม ๒๕๕๖) จำเลยตกลงวาจางโจทกเขาทำงานเปนลูกจาง ตำแหนงสุดทายคือ ผูชวยผูจัดการฝายปฏิบัติการ ตกลงจายคาจางเปนงวดรายเดือน กำหนดจายคาจางทุกสิ้นเดือน อัตราคาจางสุดทายเดือนละ ๓๕,๘๐๐ บาท ขอบังคับการทำงานของจำเลยเปนไปตามเอกสาร หมาย ล.๔ เดือนมีนาคม ๒๕๖๓ มีสถานการณการแพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ ตอมาวันที่ ๒ เมษายน ๒๕๖๓ ผูวาราชการจังหวัดภูเก็ตมีคำสั่งจังหวัดภูเก็ตที่ ๑๗๙๗/๒๕๖๓ ใหปดสถานประกอบการโรงแรมตั้งแตวันที่ ๔ เมษายน ๒๕๖๓ โดยไมมีกำหนด จำเลยจึงตอง ปดกิจการตามคำสั่งดังกลาว วันที่ ๓ เมษายน ๒๕๖๓ จำเลยมีหนังสือแจงปดกิจการชั่วคราว ตอพนักงานตรวจแรงงาน และแจงใหลูกจางทุกคนทราบ เดือนเมษายน ๒๕๖๓ โจทกเฝาโรงแรม ของจำเลย โดยนางสาวทิพยชลิตาผูจัดการของจำเลยอนุญาตใหโจทกใชหองพักโรงแรม และ รับประทานอาหารของโรงแรมไดโดยไมเสียคาใชจาย ในเดือนพฤษภาคมและมิถุนายน ๒๕๖๓ จำเลย


๒๗๓ จัดเวรใหลูกจางที่สมัครใจเฝาโรงแรม รับเอกสารที่มาสงคนละ ๑ วันตอสัปดาห โดยลูกจางดังกลาว สามารถเขาใชหองพัก รับประทานอาหารในโรงแรม ใชบริการสระวายน้ำและหองออกกำลังกาย โดยไมเสียคาใชจายอีกเชนกัน โจทกทำหนาที่เฝาโรงแรมในเดือนดังกลาวเดือนละ ๕ วัน ในเดือน เมษายน ๒๕๖๓ จำเลยจายเงินใหแกโจทก ๓,๐๐๐ บาท สวนเดือนพฤษภาคมถึงกรกฎาคม ๒๕๖๓ จำเลยจายเงินใหแกโจทกเดือนละ ๑๗,๙๐๐ บาท วันที่ ๑๖ พฤษภาคม ๒๕๖๓ ผูวาราชการจังหวัด ภูเก็ตมีคำสั่งจังหวัดภูเก็ตที่ ๒๖๗๔/๒๕๖๓ ใหผูประกอบการโรงแรมคงปดกิจการตอไป ตอมา วันที่ ๓๑ พฤษภาคม ๒๕๖๓ ผูวาราชการจังหวัดภูเก็ตมีคำสั่งจังหวัดภูเก็ตที่ ๓๐๑๘/๒๕๖๓ ให กิจการโรงแรมที่ไดรับใบอนุญาตประกอบธุรกิจโรงแรม ตามกฎหมายเปดสถานประกอบการได ตั้งแตวันที่ ๑ มิถุนายน ๒๕๖๓ เปนตนไป ตอมาวันที่ ๒ กรกฎาคม ๒๕๖๓ นางสาวทิพยชลิตา เรียกประชุมโจทกและลูกจางอื่นของจำเลย ในวันดังกลาวมีการจัดทำหนังสือเลิกจาง ใบลาออก ใบเตือน ๓ ฉบับ ซึ่งโจทกลงลายมือชื่อไวในเอกสารดังกลาวทุกฉบับแลวมอบคืนแกนางสาว ทิพยชลิตาโดยโจทกถายภาพเฉพาะหนังสือเลิกจางไว แลววินิจฉัยวา การที่จำเลยใหโจทกและ ลูกจางอื่นที่สมัครใจชวยเฝาโรงแรม เปนเพียงการเอื้อเฟอชวยเหลือกันระหวางนายจางและลูกจาง ตามความสมัครใจเพื่อบรรเทาความเดือดรอนใหแกกัน ถือไมไดวาเปนการทำงานที่วาจางและ ยังตองถือวาไมมีงานอันจะใหทำลวงเวลาได โจทกจึงไมมีสิทธิไดรับคาลวงเวลา และการที่ผูวา ราชการจังหวัดภูเก็ตมีคำสั่งใหปดกิจการโรงแรมตั้งแตวันที่ ๔ เมษายน ๒๕๖๓ เปนตนไป และ ใหเปดกิจการโรงแรมอีกครั้งตั้งแตวันที่ ๑ มิถุนายน ๒๕๖๓ ตองถือวาการชำระหนี้โดยการทำ การงานใหของโจทกในชวงเวลาดังกลาวตกเปนพนวิสัยเพราะเหตุอยางใดอยางหนึ่งอันจะโทษ ฝายหนึ่งฝายใดก็ไมไดตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา ๓๗๒ วรรคหนึ่ง โจทกหา มีสิทธิไดรับชำระหนี้คาจางในชวงระยะเวลาดังกลาวตอบแทนไม คงมีสิทธิไดรับคาจางเฉพาะวันที่ ๑ ถึงวันที่ ๓ เมษายน ๒๕๖๓ รวม ๓ วัน เปนเงิน ๓,๕๗๙ บาท เทานั้น สำหรับคาจางในงวด เดือนมิถุนายน ๒๕๖๓ แมผูวาราชการจังหวัดภูเก็ตจะมีคำสั่งอนุญาตใหผูประกอบการโรงแรม เปดกิจการไดตั้งแตวันที่ ๑ มิถุนายน ๒๕๖๓ เปนตนไปซึ่งถือวาเหตุใหการชำระหนี้ตกเปนพน วิสัยสิ้นไป แตเมื่อจำเลยแจงปดกิจการชั่วคราวตอพนักงานตรวจแรงงานและลูกจางตั้งแตวันที่ ๓ เมษายน ๒๕๖๓ แตสถานการณการแพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ ยังสงผล ใหจำเลยไมสามารถประกอบกิจการไดตามปกติ จำเลยจึงมีความจำเปนตองหยุดกิจการทั้งหมด หรือบางสวนเปนการชั่วคราวดวยเหตุหนึ่งเหตุใดที่สำคัญอันมีผลกระทบตอการประกอบกิจการ ของจำเลยจนทำใหไมสามารถประกอบกิจการไดตามปกติซึ่งมิใชเหตุสุดวิสัยตามพระราชบัญญัติ คุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา ๗๕ โจทกจึงมีสิทธิเพียงไดรับเงินไมนอยกวารอยละ ๗๕


๒๗๔ ของคาจางในวันทำงานที่ไดรับกอนหยุดกิจการ หามีสิทธิไดรับคาจางไม แมโจทกมีคำขอเพียงให ชำระคาจางมิไดมีคำขอใหชำระเงินดังกลาว แตเมื่อขอเท็จจริงสวนนี้ปรากฏชัดแจงในทางพิจารณา เพื่อความเปนธรรมแกคูความตามพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๕๒ ใหจำเลยจายเงินรอยละ ๗๕ ของคาจางในเดือนมิถุนายน ๒๕๖๓ แก โจทกดวย เมื่อโจทกใชวันหยุดพักผอนประจำป ๒๕๖๒ ครบถวนแลว คงเหลือวันหยุดพักผอน ประจำป ๒๕๖๓ เพียง ๑๓ วัน โจทกจึงมีวันหยุดพักผอนประจำปที่ยังไมไดใช ๑๓ วัน และมีสิทธิ ไดรับคาจางสำหรับวันหยุดพักผอนประจำปที่ยังไมไดใช ๑๕,๕๐๙ บาท อีกทั้งเมื่อโจทกตกลง รูเห็นใหมีการทำหนังสือเลิกจาง ใบลาออก และใบเตือนพรอมกันในวันเดียวกัน เปนการแสดง เจตนาขัดแยงกันในตัว ถือวาจำเลยยังไมไดเลิกจางโจทก จำเลยจึงไมตองจายคาชดเชย สินจาง แทนการบอกกลาวลวงหนา และคาเสียหายจากการเลิกจางโดยไมเปนธรรมแกโจทก และไมตอง แจงเปลี่ยนแปลงสถานะการสิ้นสุดสัญญาจางจากลาออกเปนเลิกจางใหแกโจทก มีปญหาที่ตองวินิจฉัยตามอุทธรณของจำเลยและโจทกวา การหยุดประกอบกิจการโรงแรม เปนการชั่วคราวของจำเลยเปนเหตุสุดวิสัยหรือไม และจำเลยตองจายเงินไมนอยกวารอยละ ๗๕ ของคาจางในวันทำงานที่ลูกจางไดรับกอนหยุดกิจการหรือไม เห็นวา ตามพระราชบัญญัติคุมครอง แรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา ๗๕ วางหลักวา ในกรณีที่นายจางมีความจําเปนตองหยุดกิจการ ทั้งหมดหรือบางสวนเปนการชั่วคราวดวยเหตุหนึ่งเหตุใดที่สําคัญอันมีผลกระทบตอการประกอบ กิจการของนายจางจนทําใหนายจางไมสามารถประกอบกิจการไดตามปกติซึ่งมิใชเหตุสุดวิสัย ใหนายจางจายเงินใหแกลูกจางไมนอยกวารอยละ ๗๕ ของคาจางในวันทํางานที่ลูกจางไดรับกอน นายจางหยุดกิจการตลอดระยะเวลาที่นายจางไมไดใหลูกจางทํางาน ซึ่งเหตุสุดวิสัยตามมาตรา ดังกลาวนั้น พระราชบัญญัติดังกลาวไมไดกำหนดความหมายไวจึงตองตีความตามประมวลกฎหมาย แพงและพาณิชย มาตรา ๘ ที่บัญญัติวา คำวา “เหตุสุดวิสัย” หมายความวา เหตุใด ๆ อันจะเกิดขึ้น ก็ดี จะใหผลพิบัติก็ดี เปนเหตุที่ไมอาจปองกันไดแมทั้งบุคคลผูตองประสบหรือใกลจะตองประสบ เหตุนั้นจะไดจัดการระมัดระวังตามสมควรอันพึงคาดหมายไดจากบุคคลในฐานะและภาวะเชนนั้น เมื่อขอเท็จจริงฟงไดวา กิจการของจำเลยรับนักทองเที่ยวทั้งในประเทศและตางประเทศ เมื่อวันที่ ๒ เมษายน ๒๕๖๓ ผูวาราชการจังหวัดภูเก็ตมีคำสั่งใหปดโรงแรมที่ไดรับใบอนุญาตประกอบธุรกิจ โรงแรมตามกฎหมายเนื่องจากสถานการณการแพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ ตั้งแตวันที่ ๔ เมษายน ๒๕๖๓ ตามคำสั่งที่ ๑๗๙๗/๒๕๖๓ และวันที่ ๑๖ พฤษภาคม ๒๕๖๓ ผูวาราชการจังหวัดภูเก็ตมีคำสั่งใหคงมาตรการการปดโรงแรมที่ไดรับใบอนุญาตประกอบธุรกิจ โรงแรมตามกฎหมายและปดชองทางบกและชองทางน้ำ หามเดินทางขามเขตจังหวัด เพื่อเฝาระวัง


๒๗๕ ควบคุม และปองกันการแพรระบาดจากโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ ตามคำสั่งที่ ๒๖๗๔/๒๕๖๓ ตอมาผูวาราชการจังหวัดภูเก็ตมีคำสั่งผอนคลายการบังคับการปดสถานที่โดยใหเปดโรงแรมที่ได รับใบอนุญาตประกอบธุรกิจโรงแรมตามกฎหมาย และเดินทางขามเขตพื้นที่จังหวัดภูเก็ตไดตั้งแต วันที่ ๑ มิถุนายน ๒๕๖๓ เปนตนไป ตามคำสั่งที่ ๓๐๑๘/๒๕๖๓ เห็นไดวา ในชวงระหวางวันที่ ๔ เมษายน ๒๕๖๓ ถึงวันที่ ๓๑ พฤษภาคม ๒๕๖๓ โรงแรมของจำเลยจึงถูกปดกิจการและหาม ประชาชนเดินทางขามเขตจังหวัดภูเก็ตตามคำสั่งที่ ๑๗๙๗/๒๕๖๓ และที่ ๒๖๗๔/๒๕๖๓ การที่ จำเลยมีความจำเปนตองหยุดกิจการเปนการชั่วคราว ดวยเหตุดังกลาวจึงเปนเหตุที่ไมอาจปองกัน ไดถือวาเปนเหตุสุดวิสัยตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา ๘ ในชวงระยะเวลาดังกลาว จำเลยจึงไมตองจายเงินรอยละ ๗๕ ของคาจางในวันทำงานที่โจทกไดรับกอนหยุดกิจการตลอด ระยะเวลาที่จำเลยไมไดใหโจทกทำงานตามพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา ๗๕ แตตอมาเมื่อผูวาราชการจังหวัดภูเก็ตมีคำสั่งที่ ๓๐๑๘/๒๕๖๓ ใหเปดโรงแรมและเดินทาง ขามเขตพื้นที่จังหวัดภูเก็ตไดตั้งแตวันที่ ๑ มิถุนายน ๒๕๖๓ เปนตนไป ประชาชนจึงสามารถ เดินทางเขาและออกจังหวัดภูเก็ตได การที่จำเลยอางวาแมจำเลยจะเปดโรงแรมก็จะไมมีนักทองเที่ยว จากตางประเทศเขาประเทศไทยนั้น แตจำเลยก็ยังสามารถรับนักทองเที่ยวจากภายในประเทศได การที่จำเลยยังคงปดกิจการเปนการชั่วคราวตั้งแตวันที่ ๑ มิถุนายน ๒๕๖๓ จึงมิใชเปนเหตุสุดวิสัย ตามพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา ๗๕ ที่ศาลแรงงานภาค ๘ วินิจฉัยมา วาตั้งแตวันที่ ๔ เมษายน ๒๕๖๓ ถึงวันที่ ๓๑ พฤษภาคม ๒๕๖๓ โจทกไมมีสิทธิไดรับชำระหนี้ คาจางตอบแทน ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษเห็นพองดวยในผล สวนที่วินิจฉัยมาวาตั้งแตวันที่ ๑ มิถุนายน ๒๕๖๓ ไมถือเปนเหตุสุดวิสัยมานั้นชอบแลว ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษเห็นพองดวย อุทธรณของจำเลยและโจทกขอนี้ฟงไมขึ้น มีปญหาที่ตองวินิจฉัยตามอุทธรณของจำเลยตอไปวา จำเลยตองจายคาจางระหวางวันที่ ๑ ถึง ๓ เมษายน ๒๕๖๓ หรือไม เห็นวา โจทกเบิกความรับวาจำเลยไดจายคาจางและคาตอบแทน บริการ (เซอรวิสชารจ) ของงวดวันที่ ๒๕ มีนาคม ๒๕๖๓ ถึง ๓ เมษายน ๒๕๖๓ รวม ๒๓,๘๖๖.๖๗ บาท แลว ดังนั้นจำเลยจึงไมตองจายคาจางสำหรับวันที่ ๑ ถึง ๓ เมษายน ๒๕๖๓ แกโจทกอีก อุทธรณของจำเลยขอนี้ฟงขึ้น มีปญหาที่ตองวินิจฉัยตามอุทธรณของจำเลยประการสุดทายวา จำเลยตองจายคาจาง สำหรับวันหยุดพักผอนประจำป ๒๕๖๓ จำนวน ๑๓ วัน ใหแกโจทกหรือไม เห็นวา เมื่อศาลแรงงาน ภาค ๘ ฟงขอเท็จจริงวา จำเลยยังไมไดเลิกจางโจทก จำเลยจึงไมตองจายคาจางสำหรับวันหยุด พักผอนประจำป ๒๕๖๓ ซึ่งเปนปที่เลิกจางตามสวนของวันหยุดพักผอนประจำปที่ลูกจางพึงมี


๒๗๖ สิทธิไดรับตามพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา ๖๗ วรรคหนึ่ง ที่ศาลแรงงาน ภาค ๘ วินิจฉัยวาโจทกมีวันหยุดพักผอนประจำป ๒๕๖๓ ที่ยังไมไดใช ๑๓ วัน และมีสิทธิไดรับ คาจางสำหรับวันหยุดพักผอนประจำปที่ยังไมไดใชนั้น ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษไมเห็นพองดวย อุทธรณของจำเลยขอนี้ฟงขึ้น ที่โจทกอุทธรณวา โจทกทำงานในเดือนเมษายน ๒๕๖๓ ทุกวัน วันละ ๒๔ ชั่วโมง และ เดือนพฤษภาคมและมิถุนายน ๒๕๖๓ จำนวน ๕ วัน เปนการทำงานใหนายจาง จึงมีสิทธิไดรับ คาลวงเวลา มิใชเปนการตกลงบรรเทาความเดือดรอนตามที่ศาลแรงงานภาค ๘ วินิจฉัย และจำเลย เลิกจางโจทกเนื่องจากโจทกไมสมัครใจลาออก แตถูกจำเลยกดดันโจทกจึงยอมลงลายมือชื่อใน ใบลาออก หนังสือเลิกจาง และใบเตือน อีกทั้งโจทกไมไดละทิ้งหนาที่เพราะจำเลยเลิกจางโจทกแลว โจทกจึงไมตองไปทำงานใหจำเลยนั้น เห็นวา เมื่อศาลแรงงานภาค ๘ ฟงขอเท็จจริงมาแลววา การที่จำเลยใหโจทกชวยเฝาโรงแรมเปนเพียงการเอื้อเฟอชวยเหลือกันระหวางนายจางและลูกจาง ตามความสมัครใจเพื่อบรรเทาความเดือดรอนใหแกกัน ถือไมไดวาเปนการทำงานที่วาจางและยัง ตองถือวาไมมีงานอันจะใหทำลวงเวลาได โจทกจึงไมมีสิทธิไดรับคาลวงเวลา และจำเลยยังไมได เลิกจางโจทก อุทธรณดังกลาวจึงเปนการโตแยงดุลพินิจในการรับฟงพยานหลักฐานของศาลแรงงาน ภาค ๘ ซึ่งตองหามมิใหอุทธรณตามพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๕๔ วรรคหนึ่ง ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษไมรับวินิจฉัย สวนที่ศาลแรงงานภาค ๘ วินิจฉัยวาโจทกไดรับเงินจากจำเลยในเดือนเมษายน ๒๕๖๓ ไปแลว ๓,๐๐๐ บาท ไดรับเงินในเดือนพฤษภาคมและมิถุนายน ๒๕๖๓ อีกเดือนละ ๑๗,๙๐๐ บาท แลวนำมาหักกับเงินที่โจทกมีสิทธิไดรับกรณีจำเลยหยุดกิจการในเดือนมิถุนายน ๒๕๖๓ จำนวน ๒๖,๘๕๐ บาท ซึ่งเปนเงินรอยละ ๗๕ ของคาจางในวันทำงานที่โจทกไดรับกอนจำเลยหยุดกิจการนั้น เมื่อศาลแรงงานภาค ๘ วินิจฉัยวา การที่จำเลยใหโจทกและลูกจางอื่นที่สมัครใจชวยเฝาโรงแรม เปนเพียงการเอื้อเฟอชวยเหลือกันระหวางนายจางและลูกจางตามความสมัครใจเพื่อบรรเทาความ เดือดรอนใหแกกัน ถือไมไดวาเปนการทำงานที่วาจางตามสัญญาจางโจทกในตำแหนงผูชวย ผูจัดการฝายปฏิบัติการ เงินที่จำเลยจายใหแกโจทกเพื่อบรรเทาความเดือดรอนดังกลาวจึงเปน คาตอบแทนการทำงานเฝาโรงแรมที่ไมอาจนำมาหักจากเงินที่โจทกมีสิทธิไดรับกรณีจำเลยหยุด กิจการในเดือนมิถุนายน ๒๕๖๓ จำนวน ๒๖,๘๕๐ บาท ได จำเลยจึงตองจายเงินกรณีจำเลยหยุด กิจการดังกลาวพรอมดอกเบี้ยอัตรารอยละ ๑๕ ตอป ของตนเงินดังกลาวตามพระราชบัญญัติ คุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา ๙ วรรคหนึ่ง เมื่อไมปรากฏวาโจทกไดทวงถามเงินสวนนี้ เมื่อใด จึงถือวาจำเลยผิดนัดนับแตวันฟองเปนตนไป


๒๗๗ พิพากษาแกเปนวา ใหจำเลยจายเงินที่โจทกมีสิทธิไดรับกรณีจำเลยหยุดกิจการในเดือน มิถุนายน ๒๕๖๓ จำนวน ๒๖,๘๕๐ บาท พรอมดอกเบี้ยอัตรารอยละ ๑๕ ตอป ของตนเงินดังกลาว นับแตวันฟอง (ฟองวันที่ ๒๘ สิงหาคม ๒๕๖๓) เปนตนไปจนกวาจะชำระเสร็จแกโจทก นอกจาก ที่แกใหเปนไปตามคำพิพากษาของศาลแรงงานภาค ๘. กิตติ เนตรประเสริฐชัย - ยอ วัชรินทร ฤชุโรจน - ตรวจ (ยุคนธร พาณิชปฐมพงศ - ชะรัตน สุวรรณมา - สัญชัย ลิ่มไพบูลย)


๒๗๘ คำพิพากษาศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษที่ ๑๑๗๗/๒๕๖๔ นายรุจิเรข เวียงจันดา โจทก บริษัทอิงนที จำกัด จำเลย พ.ร.บ. คุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา ๕, ๒๔ วรรคหนึ่ง พ.ร.บ. คุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา ๕ ใหนิยาม “การทำงานลวงเวลา” หมายความวา “การทำงานนอกหรือเกินเวลาทำงานปกติหรือเกินชั่วโมงทำงานในแตละวัน ที่นายจางลูกจางตกลงกันตาม มาตรา ๒๓ ในวันทำงานหรือวันหยุดแลวแตกรณี” และ มาตรา ๒๔ วรรคหนึ่ง ระบุวา “หามมิใหนายจางใหลูกจางทำงานลวงเวลาในวันทำงาน เวนแตไดรับความยินยอมจากลูกจางกอนเปนคราว ๆ ไป” ตามบทบัญญัติดังกลาว การทำงานของลูกจางที่จะเปนการทำงานลวงเวลาจึงตองเปนกรณีที่เปนความประสงค ของนายจางที่จะใหลูกจางทำงานลวงเวลา โดยลูกจางใหความยินยอมกอนเปนคราว ๆ ไป และจะตองเปนการทำงานนอกหรือเกินเวลาทำงานปกติหรือเกินชั่วโมงทำงานในแตละวัน ที่นายจางลูกจางตกลงกันตามมาตรา ๒๓ ในวันทำงานหรือวันหยุด เมื่อนายจางประสงค ใหมีการทำงานลวงเวลาในชวงระยะใดนายจางตองทำความตกลงกับลูกจางใหมีสาระ สำคัญถึงกำหนดชวงระยะการเริ่มตนและการสิ้นสุดของการทำงานลวงเวลาเสียกอน การที่นาย บ. ลูกจางจำเลยตำแหนงผูจัดการรานมีคำสั่งใหลูกจางทำงานใหแลวเสร็จโดย ไมมีการตกลงเกี่ยวกับชวงเวลาของการเริ่มตนและการสิ้นสุดของการทำงานลวงเวลาไว คำสั่งดังกลาวมีความหมายเพียงใหลูกจางทำงานในความรับผิดชอบใหแลวเสร็จเทานั้น ถือไมไดวาเปนคำสั่งใหลูกจางทำงานลวงเวลา โจทกฟอง ขอใหบังคับจำเลยจายสินจางแทนการบอกกลาวลวงหนา ๒๒,๓๖๖.๖๖๗ บาท คาชดเชย ๓๓,๐๐๐ บาท คาเสียหายจากการเลิกจางโดยไมเปนธรรม ๕๐๐,๐๐๐ บาท พรอม ดอกเบี้ยอัตรารอยละ ๗.๕ ตอป ของตนเงินแตละจำนวน และคาทำงานในวันหยุดประจำสัปดาห ๑,๓๒๔ บาท คาทำงานในวันหยุดตามประเพณี ๑๐,๒๐๕.๓๙๒ บาท คาจางสำหรับวันหยุดพักผอน ประจำป ๔,๓๐๓ บาท คาลวงเวลา ๘๒,๗๑๕.๒๕ บาท คาลวงเวลาในวันหยุดพักผอนประจำป ๓,๒๒๗.๒๕ บาท คาลวงเวลาในวันหยุดตามประเพณี ๗,๖๕๔.๐๔๔ บาท คาลวงเวลาในวันหยุด ประจำสัปดาห ๑,๙๘๖ บาท พรอมดอกเบี้ยอัตรารอยละ ๑๕ ตอปของตนเงินแตละจำนวน นับแต วันเลิกจางจนกวาจะชำระเสร็จแกโจทก


๒๗๙ จำเลยใหการ ขอใหยกฟอง ระหวางพิจารณาของศาลแรงงานกลาง จำเลยชำระคาทำงานในวันหยุดประจำสัปดาห คาทำงานในวันหยุดตามประเพณี และคาจางสำหรับวันหยุดพักผอนประจำปใหแกโจทกรวมเปนเงิน ๘,๒๕๐ บาท โจทกขอสละประเด็นขอพิพาทเกี่ยวกับคาทำงานในวันหยุดดังกลาว ศาลแรงงานกลาง พิพากษายกฟอง โจทกอุทธรณ ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษแผนกคดีแรงงานวินิจฉัยวา ศาลแรงงานกลางฟงขอเท็จจริงวา จำเลยเปนนิติบุคคลประเภทบริษัทจำกัด มีกรรมการสองคน คือ นายวิสูตร และนางสาวทิพวรรณ กรรมการคนใดคนหนึ่งลงลายมือชื่อและประทับตราสำคัญของบริษัทกระทำการผูกพันบริษัทได วันที่ ๑๖ กุมภาพันธ ๒๕๖๒ จำเลยจางโจทกเปนลูกจาง ทำหนาที่ลางอุปกรณประกอบอาหาร ที่รานคาราโอเกะ โจทกไดรับคาจางอัตราสุดทายเดือนละ ๑๑,๐๐๐ บาท โดยคิดรอบเงินเดือน ทุกวันที่ ๒๐ ของเดือน กำหนดจายคาจางทุกวันสิ้นเดือน ดวยการโอนเงินเขาบัญชีเงินฝาก ของโจทก จำเลยใหโจทกทำงานตั้งแตเวลา ๑๖ นาิกา ถึง ๑ นาิกา ของวันถัดไปตามขอบังคับ เกี่ยวกับการทำงานของจำเลย จำเลยประกาศวันหยุดตามประเพณีประจำป ๒๕๖๒ รวม ๑๕ วัน โจทกเคยไดรับคาตอบแทนการทำงานลวงเวลาในการทำงานเดือนธันวาคม ๒๕๖๒ และเดือน มกราคม ๒๕๖๓ ในการทำงานลวงเวลาดังกลาว นายบุญธรรมเรียกประชุมลูกจางทุกแผนกแจง ใหทราบวาใหทำงานใหเสร็จโดยจะจายคาลวงเวลาให สวนการทำงานในวันอื่น ๆ นายบุญธรรม มีคำสั่งใหทำงานใหเสร็จโดยไมไดแจงวาจะจายคาลวงเวลา ตอมาวันที่ ๑๙ มีนาคม ๒๕๖๓ จำเลย ปดกิจการชั่วคราวตามคำสั่งของทางการเนื่องจากสถานการณการระบาดของเชื้อไวรัสโควิด ๑๙ แลววินิจฉัยวา ขอบังคับเกี่ยวกับการทำงานกำหนดใหกรรมการผูจัดการหรือผูที่ไดรับมอบอำนาจ โดยแตงตั้งเปนผูมีอำนาจในการสรรหา ทดสอบ สัมภาษณ คัดเลือก บรรจุแตงตั้งใหเขาทำงาน โยกยาย เปลี่ยนแปลงหนาที่การงาน หรือใหออกจากงาน นายบุญธรรมเปนผูจัดการรานคาราโอเกะ ของจำเลย มีหนาที่ดูแลลูกจาง แนะนำการทำงาน ดูแลตอนรับลูกคา และดูแลงานการเงิน จำเลย ไมไดมอบอำนาจหรือมอบหมายใหมีอำนาจในการจางหรือเลิกจางลูกจางที่ทำงานในรานดังกลาว และทางพิจารณาก็ไมปรากฏวา จำเลยมีพฤติกรรมเชิดใหนายบุญธรรมหรือบุคคลใดมีอำนาจ เลิกจางลูกจางในราน การพิจารณาวาจางโจทกมีการเสนอใหพิจารณาตามลำดับตั้งแตหัวหนาแผนก ผูจัดการทั่วไป ฝายทรัพยากรบุคคล ฝายบริหาร และผูมีอำนาจลงลายมือชื่อเปนผูอนุมัติจาง แสดงวาจำเลยไมไดมอบหมายใหผูจัดการรานมีอำนาจพิจารณาอนุมัติจางหรือเลิกจางลูกจางที่ ทำงานอยูภายใตบังคับบัญชาของตน การพิจารณาวาจางและเลิกจางเปนไปตามขอบังคับเกี่ยวกับ


๒๘๐ การทำงานและเปนไปลำดับขั้นตอน นายบุญธรรมจึงไมมีอำนาจเลิกจางโจทกแทนจำเลยได ประกอบกับการที่โจทกไมสามารถทำงานตอไปไดเพราะจำเลยปดกิจการชั่วคราวตั้งแตวันที่ ๑๙ มีนาคม ๒๕๖๓ นั้น เนื่องจากสถานการณการแพรระบาดของโรคโควิด ๑๙ จำเลยตองหยุดกิจการ ชั่วคราวตามคำสั่งของกรุงเทพมหานคร ไมไดเกิดจากเจตนาที่จำเลยตองการเลิกจางโจทก โจทก ฟองคดีนี้เมื่อวันที่ ๒๐ เมษายน ๒๕๖๓ ขณะยื่นฟองยังไมถึงกำหนดจายคาจางในรอบวันที่ ๒๑ มีนาคม ถึงวันที่ ๒๐ เมษายน ๒๕๖๓ ซึ่งถึงกำหนดจายในวันสิ้นเดือนเมษายน ๒๕๖๓ ถือไมไดวา ขณะฟองคดีนี้จำเลยไมใหโจทกทำงานและไมจายคาจางใหแกโจทกอันจะถือวาจำเลยไดเลิกจาง โจทก โจทกจึงไมมีสิทธิไดรับคาชดเชย เมื่อจำเลยไมไดเลิกจางโจทก จำเลยจึงไมตองรับผิดชำระ คาเสียหายจากการเลิกจางโดยไมเปนธรรมและสินจางแทนการบอกกลาวลวงหนาใหแกโจทก สวนคาลวงเวลาที่โจทกอางวาจำเลยใหโจทกทำงานวันละ ๙ ชั่วโมง ที่เกินกวาเวลาทำงานตาม กฎหมาย ๑ ชั่วโมง ถือเปนชั่วโมงการทำงานลวงเวลาของเวลาพักระหวางการทำงานแตละวันนั้น เรื่องวันทำงาน เวลาทำงานปกติ และเวลาพัก กำหนดใหลูกจางที่ทำงานในชวงเวลา ๑๖ นาิกา ถึง ๑ นาิกา ของวันถัดไป มีเวลาพัก ๑ ชั่วโมง เวลาทำงานปกติตามขอบังคับเกี่ยวกับการทำงาน ของจำเลยจึงมีไมเกิน ๘ ชั่วโมงตอ ๑ วัน และโจทกไมมีพยานหลักฐานวา จำเลยมีคำสั่งใหโจทก ทำงานลวงเวลาในชวงเวลาพักระหวางการทำงานแตละวันดังกลาว โจทกจึงไมมีสิทธิไดรับ คาลวงเวลาในชวงเวลาพักระหวางการทำงานแตละวัน สำหรับคาลวงเวลาหลังเลิกงานของวันทำงาน ของวันหยุดประจำสัปดาห ของวันหยุดตามประเพณี และของวันหยุดพักผอนประจำปตามฟองนั้น งานประจำของโจทกที่ตองทำใหเสร็จในแตละวัน ไดแก การดูแลความสะอาดพื้นที่สวนตอนรับ ลูกคาและสุดทายเก็บภาชนะจานชามลางใหเสร็จสิ้น การที่โจทกมีหนาที่ตองรับผิดชอบทำงาน ประจำใหเสร็จในแตละวันแมจะเกินเวลาทำงานปกติ หากนายจางไมไดมีคำสั่งใหทำงานลวงเวลา จะถือเปนการทำงานลวงเวลาโดยปริยายไมได มิฉะนั้นยอมเปนการทำงานตามความสะดวกของ ลูกจางฝายเดียว เมื่อนายจางไมไดมีคำสั่งใหโจทกทำงานลวงเวลาในแตละวันตามที่โจทกฟอง ตองถือวาการทำงานของโจทกเปนการทำตามหนาที่ความรับผิดชอบของตนใหเสร็จสิ้น โจทก ไมมีสิทธิไดรับคาลวงเวลาหลังเลิกงานในวันทำงาน คาลวงเวลาในวันหยุดประจำสัปดาห คาลวงเวลา ในวันหยุดพักผอนประจำป และคาลวงเวลาในวันหยุดตามประเพณี ที่โจทกอุทธรณวา นายบุญธรรมผูจัดการราน มีอำนาจเลิกจางลูกจางแทนจำเลย โดยอางเหตุผลวา ผูจัดการรานสั่งใหโจทกเริ่มทำงานทันทีในวันที่โจทกสมัครงาน ผูจัดการรานสั่ง ในเอกสารพิจารณาวาจางโจทก ใหโจทกทดลองงาน ๙๐ ถึง ๑๑๙ วัน แสดงวาผูจัดการรานเปน ผูมีอำนาจจางโจทกและมีอำนาจเลิกจางโจทก สวนนายกมลที่ลงลายมือชื่อในชองผูอนุมัติวาจาง


๒๘๑ เมื่อวันที่ ๒๕ กุมภาพันธ ๒๕๖๒ หลังจากที่โจทกเขาทำงานแลวถึง ๙ วัน จึงเปนการลงลายมือชื่อ เพื่อรับทราบการใชอำนาจของผูจัดการรานในการอนุมัติจางโจทกเทานั้น เมื่อนายบุญธรรม ไลโจทกออกจากงานแลว และจำเลยยังมีพฤติการณหลายประการที่ชี้ใหเห็นวาไมจายคาจางให แกโจทก จำเลยจึงเลิกจางโจทกแลว เห็นวา เปนการโตเถียงดุลพินิจในการรับฟงพยานหลักฐาน ของศาลแรงงานกลางที่รับฟงขอเท็จจริงวา จำเลยไมไดมอบหมายใหนายบุญธรรมผูจัดการราน มีอำนาจพิจารณาอนุมัติจางหรือเลิกจางลูกจาง และจำเลยไมมีพฤติกรรมเชิดใหนายบุญธรรมมี อำนาจเลิกจางลูกจางในราน โจทกไมสามารถทำงานตอไปไดเพราะจำเลยปดกิจการชั่วคราว ตั้งแตวันที่ ๑๙ มีนาคม ๒๕๖๓ นั้น เนื่องจากสถานการณการแพรระบาดของโรคโควิด ๑๙ จำเลย ตองหยุดกิจการชั่วคราวตามคำสั่งของกรุงเทพมหานคร ไมไดเกิดจากเจตนาที่จำเลยตองการ เลิกจางโจทก โจทกฟองคดีนี้เมื่อวันที่ ๒๐ เมษายน ๒๕๖๓ ขณะยื่นฟองยังไมถึงกำหนดจายคาจาง ในรอบวันที่ ๒๑ มีนาคม ถึงวันที่ ๒๐ เมษายน ๒๕๖๓ ซึ่งถึงกำหนดจายในวันสิ้นเดือนเมษายน ๒๕๖๓ ถือไมไดวา ขณะฟองคดีนี้จำเลยไมใหโจทกทำงานและไมจายคาจางใหแกโจทก จำเลย ไมไดเลิกจางโจทก เพื่อใหศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษฟงขอเท็จจริงดังที่โจทกอุทธรณใหแตกตาง ไปจากที่ศาลแรงงานกลางรับฟงมา อันเปนอุทธรณในขอเท็จจริง ซึ่งตองหามมิใหอุทธรณตาม พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๕๔ วรรคหนึ่ง ศาลอุทธรณคดีชํานัญพิเศษไมรับวินิจฉัย มีปญหาตองวินิจฉัยตามอุทธรณของโจทกวา จำเลยตองชำระคาลวงเวลาในวันทำงาน คาลวงเวลาในวันหยุดประจำสัปดาห คาลวงเวลาในวันหยุดตามประเพณี และคาลวงเวลาใน วันหยุดพักผอนประจำป พรอมดอกเบี้ยใหแกโจทกหรือไม เห็นวา ศาลแรงงานกลางฟงขอเท็จจริงวา โจทกเคยไดรับคาลวงเวลาในการทำงานเดือนธันวาคม ๒๕๖๒ และมกราคม ๒๕๖๓ การทำงาน ลวงเวลาดังกลาวนายบุญธรรมไดเรียกประชุมลูกจางทุกแผนกแจงใหทราบวาใหทำงานใหเสร็จ โดยจะจายคาลวงเวลาให การทำงานในวันอื่น ๆ นายบุญธรรมมีคำสั่งใหลูกจางทำงานใหเสร็จโดย ไมไดแจงวาจะจายคาลวงเวลา และโดยที่พระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา ๕ ใหนิยามของ “การทำงานลวงเวลา” หมายความวา “การทำงานนอกหรือเกินเวลาทำงานปกติหรือ เกินชั่วโมงทำงานในแตละวันที่นายจางลูกจางตกลงกันตาม มาตรา ๒๓ ในวันทำงานหรือวันหยุด แลวแตกรณี” และมาตรา ๒๔ วรรคหนึ่ง ระบุวา “หามมิใหนายจางใหลูกจางทำงานลวงเวลาใน วันทำงาน เวนแตไดรับความยินยอมจากลูกจางกอนเปนคราว ๆ ไป” ตามบทบัญญัติดังกลาว การทำงานของลูกจางที่จะเปนการทำงานลวงเวลาจึงตองเปนกรณีที่เปนความประสงคของ นายจางที่จะใหลูกจางทำงานลวงเวลา โดยลูกจางใหความยินยอมกอนเปนคราว ๆ ไป และจะตอง


๒๘๒ เปนการทำงานนอกหรือเกินเวลาทำงานปกติหรือเกินชั่วโมงทำงานในแตละวันที่นายจางลูกจาง ตกลงกันตามมาตรา ๒๓ ในวันทำงานหรือวันหยุด เมื่อนายจางประสงคใหมีการงานลวงเวลาใน ชวงระยะใดนายจางตองทำความตกลงกับลูกจางใหมีสาระสำคัญถึงกำหนดชวงระยะการเริ่มตน และการสิ้นสุดของการทำงานลวงเวลาเสียกอน การที่นายบุญธรรมมีคำสั่งใหทำงานใหแลวเสร็จ โดยไมมีการตกลงเกี่ยวกับชวงเวลาของการเริ่มตนและการสิ้นสุดของการทำงานลวงเวลาไว คำสั่ง ดังกลาวมีความหมายเพียงใหลูกจางทำงานในความรับผิดชอบใหแลวเสร็จเทานั้น ถือไมไดวา เปนคำสั่งใหลูกจางทำงานลวงเวลา จำเลยจึงไมตองชำระคาลวงเวลาในวันทำงาน คาลวงเวลาใน วันหยุดประจำสัปดาห คาลวงเวลาในวันหยุดตามประเพณี และคาลวงเวลาในวันหยุดพักผอน ประจำป พรอมดอกเบี้ยใหแกโจทก ที่ศาลแรงงานกลางวินิจฉัยวา จำเลยไมไดมีคำสั่งใหโจทก ทำงานลวงเวลาในแตละวันตามฟอง การที่โจทกมีหนาที่ตองรับผิดชอบทำงานประจำใหเสร็จใน แตละวันแมจะเกินเวลาทำงานปกติ ตองถือวาการทำงานของโจทกเปนการทำตามหนาที่ความ รับผิดชอบของตนใหเสร็จสิ้น โจทกไมมีสิทธิไดรับคาลวงเวลาหลังเลิกงานในวันทำงาน คาลวงเวลา ในวันหยุดประจำสัปดาห คาลวงเวลาในวันหยุดพักผอนประจำป และคาลวงเวลาในวันหยุด ตามประเพณีนั้นชอบแลว ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษเห็นพองดวย อุทธรณของโจทกฟงไมขึ้น พิพากษายืน. (สิริพร เปรมาสวัสดิ์ สุรมณี - ธีระพล ศรีอุดมขจร - อนุวัตร ขุนทอง) วิฑูรย ตรีสุนทรรัตน - ยอ วัชรินทร ฤชุโรจน - ตรวจ


๒๘๓ คำพิพากษาศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษที่ ๑๕๙๓/๒๕๖๔ นางสาวกิจติมา มั่นคง โจทก บริษัท ๘ โอเวอร ๘ ดีเวลลอปเมนทส จำกัด จำเลย ป.พ.พ. มาตรา ๘ พ.ร.บ. คุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา ๗๕, ๑๑๘ วรรคสอง พ.ร.บ. คุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มิไดบัญญัติความหมายของเหตุสุดวิสัยไว โดยเฉพาะ จึงตองถือตามความหมายที่บัญญัติไวใน ป.พ.พ. มาตรา ๘ การที่ผูวาราชการจังหวัดภูเก็ต มีคำสั่งปดโรงแรมทุกประเภทตั้งแตวันที่ ๔ เมษายน ๒๕๖๓ โรงแรมของจำเลย จึงถูกปดกิจการอันเปนเหตุที่ไมอาจปองกันได ถือวาเปนเหตุสุดวิสัย แตเมื่อมีคำสั่ง ผอนคลายการบังคับการปดสถานที่และมาตรการควบคุมการแพรระบาดของโรคติดเชื้อ ไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ ตั้งแตวันที่ ๑ มิถุนายน ๒๕๖๓ เหตุขัดขวางในการที่จำเลยจะเปดโรงแรม จึงหมดสิ้นไปแลว แตการที่นักทองเที่ยวตางชาติซึ่งเปนลูกคาหลักไมอาจเดินทางเขา ประเทศไทยได ประกอบกับสถานการณการระบาดของโรคดังกลาวยังคงมีอยู ยอมสง ผลกระทบตอกิจการของจำเลยถือไดวาเปนความจำเปนในอันที่จะหยุดกิจการเปนการ ชั่วคราว แตกิจการโรงแรมของจำเลยมิไดรับเฉพาะนักทองเที่ยวตางชาติเทานั้น การที่ จำเลยหยุดกิจการเปนการชั่วคราวตั้งแตวันที่ ๑ มิถุนายน ๒๕๖๓ จึงมิใชเนื่องจากมีเหตุ สุดวิสัย จำเลยตองจายเงินใหแกโจทกไมนอยกวารอยละ ๗๕ ของคาจางในวันทำงานที่ โจทกไดรับกอนจำเลยหยุดกิจการตลอดระยะเวลาที่จำเลยไมไดใหโจทกทำงานตาม พ.ร.บ. คุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา ๗๕ แตระยะเวลาในการแกไขเหตุแหงความจำเปน ตองมีกำหนดเวลาที่แนนอนติดตอกันอยางพอสมควรดวย ซึ่งการเลิกจางตาม พ.ร.บ. คุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา ๑๑๘ วรรคสอง เปนการตัดความสัมพันธระหวาง นายจางและลูกจางโดยเด็ดขาดและไมจายคาจางใหดวย การที่จำเลยยังคงปดกิจการ โรงแรมตอไปนั้น เมื่อวันที่ ๑๓ กรกฎาคม ๒๕๖๓ โจทกสอบถามจำเลยวาจะเปดโรงแรม ใหโจทกเขาทำงานไดเมื่อใด แมจำเลยแจงตอบโจทกวาจะเปดโรงแรมในวันที่ ๑ พฤศจิกายน ๒๕๖๓ แตเมื่อพิจารณาจดหมายอิเล็กทรอนิกสที่จำเลยแจงตอบโจทกจะเห็นไดวาวันที่จำเลย จะเปดทำการนั้น ขึ้นอยูกับการเปดทาอากาศยานนานาชาติตามการคาดการณของ จำเลยและการทองเที่ยวอันเปนเปาหมายหลักที่จะทำใหพนักงานมีงานที่จะกลับมาทำ


๒๘๔ ประกอบกับวันที่ ๒ ธันวาคม ๒๕๖๓ ผูจัดการทั่วไปของจำเลยมาเบิกความที่ศาลวา จำเลยยังไมไดเปดกิจการโรงแรม อีกทั้งตามอุทธรณและคำแกอุทธรณที่จำเลยและโจทก ยื่นตอศาลเมื่อวันที่ ๓๐ เมษายน ๒๕๖๔ และวันที่ ๑๘ พฤษภาคม ๒๕๖๔ ยังแสดงให เห็นอยางชัดแจงวา จำเลยก็ยังไมไดเปดกิจการโรงแรม และไมจายคาจางหรือแสดง ความประสงคที่จะจายเงินใหแกโจทกไมนอยกวารอยละ ๗๕ ตามมาตรา ๗๕ วรรคหนึ่ง แตอยางใด ดังนั้นที่จำเลยแจงตอบโจทกวาจะเปดโรงแรมในวันที่ ๑ พฤศจิกายน ๒๕๖๓ จึงมิใชกำหนดเวลาที่แนนอน และไมเปนที่แนชัดวาจำเลยจะกลับมาเปดดำเนินกิจการไดอีก เมื่อใด การที่จำเลยหยุดกิจการติดตอกันมาตั้งแตวันที่ ๑ มิถุนายน ๒๕๖๓ เปนตนมา จึงมิใชเปนการหยุดกิจการชั่วคราวตามความหมายแหง พ.ร.บ. คุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา ๗๕ นอกจากนี้จำเลยยังประสบภาวะขาดทุนตั้งแตป ๒๕๕๙ ถึงป ๒๕๖๑ อยางหนักมากกวาทุนจดทะเบียนถึง ๒ เทาเศษ อันอาจเปนเหตุที่ทำใหจำเลยไมสามารถ ดำเนินกิจการตอไปได และเปนผลใหโจทกไมไดทำงาน พฤติการณทั้งหมดแสดงใหเห็นวา จำเลยไมประสงคจะใหโจทกทำงานอีกตอไป อันเปนการตัดความสัมพันธระหวางนายจาง และลูกจางโดยเด็ดขาดและไมจายคาจางใหแกโจทกโดยไมมีเหตุอันจะอางได กรณีจึงถือวา เปนการเลิกจางตาม พ.ร.บ.คุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา ๑๑๘ วรรคสอง แลว โจทกฟอง ขอใหบังคับจำเลยจายสินจางแทนการบอกกลาวลวงหนา ๑๒๓,๓๖๐ บาท คาบริการ ๑๐,๐๐๐ บาท คาชดเชย ๔๖๒,๖๐๐ บาท คาจางสำหรับวันหยุดพักผอนประจำป ๑๗,๙๙๐ บาท คาจางสำหรับวันหยุดตามประเพณี ๒๓,๑๓๐ บาท คาทำงานในวันหยุด ๕,๑๔๐ บาท และคาจาง ๓๕,๙๘๐ บาท พรอมดอกเบี้ยอัตรารอยละ ๑๕ ตอป ของตนเงินแตละจำนวน ดังกลาวนับแตวันฟองเปนตนไปจนกวาจะชำระเสร็จ และคาเสียหายจากการเลิกจางไมเปนธรรม ๒๓๑,๓๐๐ บาท พรอมดอกเบี้ยอัตรารอยละ ๗.๕ ตอปของตนเงินดังกลาวนับแตวันฟองเปนตนไป จนกวาจะชำระเสร็จแกโจทก จำเลยใหการ ขอใหยกฟอง ศาลแรงงานภาค ๘ พิพากษาใหจำเลยจายคาจางคางชำระ ๗๒,๑๐๐ บาท สินจางแทน การบอกกลาวลวงหนา ๗๒,๑๐๐ บาท และคาชดเชย ๔๓๒,๖๐๐ บาท พรอมดอกเบี้ยอัตรารอยละ ๑๕ ตอป ของตนเงิน ๕๐๔,๗๐๐ บาท และดอกเบี้ยอัตรารอยละ ๗.๕ ตอป ของตนเงิน ๗๒,๑๐๐ บาท นับแตวันฟอง (ฟองวันที่ ๑๓ สิงหาคม ๒๕๖๓) เปนตนไปจนกวาจะชำระเสร็จแกโจทก คำขออื่น นอกจากนี้ใหยก


๒๘๕ จำเลยอุทธรณ ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษแผนกคดีแรงงานวินิจฉัยวา ศาลแรงงานภาค ๘ ฟงขอเท็จจริงวา จำเลยเปนนิติบุคคลประเภทบริษัทจำกัด ประกอบกิจการโรงแรม เมื่อวันที่ ๑๕ ธันวาคม ๒๕๕๙ จำเลยจางโจทกเขาทำงานเปนลูกจางตำแหนงหัวหนาแมบาน ไดรับคาจางอัตราสุดทายเดือนละ ๗๒,๑๐๐ บาท กำหนดจายคาจางทุกวันสิ้นเดือน ระหวางการทำงานมีการระบาดของโรคติดเชื้อ ไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ จำเลยประกาศหยุดกิจการเปนการชั่วคราวตั้งแตวันที่ ๒๗ มีนาคม ๒๕๖๓ ตอมาวันที่ ๒ เมษายน ๒๕๖๓ ผูวาราชการจังหวัดภูเก็ตมีคำสั่งใหปดโรงแรมที่ไดรับใบอนุญาต ประกอบธุรกิจโรงแรมทุกประเภทตั้งแตวันที่ ๔ เมษายน ๒๕๖๓ และมีคำสั่งผอนคลาย การบังคับการปดสถานที่และมาตรการควบคุมการแพรระบาดของโรคติดตออันตราย ตั้งแตวันที่ ๑ มิถุนายน ๒๕๖๓ แตจำเลยยังคงหยุดกิจการตอไป เมื่อวันที่ ๑๙ มิถุนายน ๒๕๖๓ จำเลย ประกาศใหโจทกรับขอเสนอระหวางการลาโดยไมรับคาจางหรือยอมรับเงื่อนไขการเลิกจาง โดยปราศจากขอเรียกรองคาชดเชยเพื่อใหไปรับประโยชนทดแทนกรณีวางงานรอยละ ๗๐ จากสำนักงานประกันสังคม โจทกไมรับขอเสนอทั้งสองขอดังกลาว เมื่อวันที่ ๑๓ กรกฎาคม ๒๕๖๓ โจทกสอบถามจำเลยวาจะเปดโรงแรมใหโจทกเขาทำงานไดเมื่อใด วันที่ ๑๔ กรกฎาคม ๒๕๖๓ จำเลยแจงโจทกวาจะเปดโรงแรมในวันที่ ๑ พฤศจิกายน ๒๕๖๓ เมื่อถึงสิ้นเดือนกรกฎาคม ๒๕๖๓ จำเลยไมจายคาจางใหโจทก จำเลยประสบภาวะขาดทุนตั้งแตป ๒๕๕๙ ถึงป ๒๕๖๑ เปนเงิน ๑๘๓,๕๒๐,๓๕๘ บาท ๑๖๗,๒๔๒,๔๑๓ บาท และ ๒๙๙,๕๒๗,๗๑๑ บาท ตามลำดับ โจทกมี สิทธิหยุดพักผอนประจำป ๒๕๖๓ ไมเต็มป และไมปรากฏวาจำเลยใหโจทกทำงานในวันหยุดตาม ประเพณี แลววินิจฉัยวา ฟองโจทกเกี่ยวกับคาจางสำหรับวันหยุดพักผอนประจำปและคาจาง สำหรับวันหยุดตามประเพณีไมเคลือบคลุม แตฟองเกี่ยวกับคาทำงานในวันหยุดเคลือบคลุม การที่ ผูวาราชการจังหวัดภูเก็ตมีคำสั่งปดโรงแรมทำใหจำเลยไมอาจเปดโรงแรมไดเพราะเหตุสุดวิสัย แตเมื่อมีคำสั่งผอนคลายสถานการณใหเปดกิจการไดตั้งแตวันที่ ๑ มิถุนายน ๒๕๖๓ เหตุสุดวิสัย จึงหมดไปแลว จำเลยสามารถเปดโรงแรมไดตั้งแตวันดังกลาว แตจำเลยเลือกที่จะหยุดกิจการ ตอไปจนถึงปจจุบัน ไมวาจะเปนเพราะเหตุที่จำเลยขาดทุนหรืออากาศยานพาณิชยไมอาจทำการ บินเขาประเทศไทยไดก็ไมใชเหตุสุดวิสัย เนื่องจากเหตุดังกลาวหมดไปแลว การที่โจทกไมไดทำงาน ตั้งแตวันที่ ๑ กรกฎาคม ๒๕๖๓ เนื่องจากจำเลยหยุดกิจการ และเมื่อถึงสิ้นเดือนกรกฎาคม ๒๕๖๓ จำเลยไมจายคาจางให จึงไมมีงานใหทำหรือเพราะเหตุใด ยอมอยูในความที่วาเปนกรณีที่ลูกจาง ไมไดทำงานและไมไดรับคาจางเพราะเหตุที่นายจางไมสามารถดำเนินกิจการตอไปได ถือวา นายจางเลิกจางลูกจาง ไมจำตองคำนึงถึงวาในภายหนานายจางจะมีงานใหลูกจางทำหรือไม


๒๘๖ การที่จำเลยไมใหโจทกทำงานและไมจายคาจางใหดังกลาว จึงเปนการเลิกจางโจทกในวันที่ ๓๑ กรกฎาคม ๒๕๖๓ โจทกมีอำนาจฟอง และมีสิทธิไดรับเงินที่ควรจะไดตามกฎหมาย จำเลยจะอาง วาไมตองจายเงินตามกฎหมายใหโจทกเนื่องจากมีเหตุสุดวิสัยไมได จำเลยเลิกจางโดยโจทกไมมี ความผิดและไมไดบอกกลาวลวงหนา จำเลยตองจายสินจางแทนการบอกกลาวลวงหนา ๗๒,๑๐๐ บาท และคาจางเดือนกรกฎาคม ๒๕๖๓ จำนวน ๗๒,๑๐๐ บาท ใหแกโจทก ซึ่งแมจะแตกตางไป จากคำฟองและคำขอทายคำฟอง แตเพื่อความเปนธรรมแกคูความศาลแรงงานภาค ๘ มีอำนาจ พิพากษาใหไดแมจะเกินคำขอ และนับแตวันเขาทำงานจนถึงวันเลิกจาง โจทกทำงานติดตอกัน ครบ ๓ ป แตไมครบ ๖ ป จึงมีสิทธิไดรับคาชดเชย ๑๘๐ วัน เปนเงิน ๔๓๒,๖๐๐ บาท โดยจำเลย ตองเสียดอกเบี้ยในสวนคาจางและคาชดเชยอัตรารอยละ ๑๕ ตอป สินจางแทนการบอกกลาว ลวงหนาอัตรารอยละ ๗.๕ ตอป โจทกไมบรรยายฟองและนำพยานเขาไตสวนใหปรากฏวาโจทก มีสิทธิหยุดพักผอนประจำปปละกี่วัน ใชไปแลวกี่วันหรือยังไมไดใชเลย จึงไมอาจคำนวณคาจาง สำหรับวันหยุดพักผอนประจำปตามสวนที่โจทกพึงมีสิทธิไดรับกอนถูกเลิกจางได สวนคาจาง สำหรับวันหยุดตามประเพณีนั้น หากมีวันหยุดตามประเพณีโจทกยอมไดคาจางในแตละเดือน ที่มีวันหยุดตามประเพณีอยูแลว เมื่อไมปรากฏวาจำเลยใหโจทกทำงานในวันหยุดตามประเพณี โจทกจึงไมมีสิทธิไดรับคาจางสำหรับวันหยุดตามประเพณีป ๒๕๖๓ ที่โจทกฟองคดีนี้ยอมคาดเห็น ไดวาจำเลยตองประสบภาวะขาดทุน เนื่องจากมีการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ ทำใหลูกคาที่จะมาพักในโรงแรมของจำเลยลดลงอยางมากซึ่งเปนขอเท็จจริงที่รูกันอยูทั่วไป การที่ จำเลยเลิกจางโจทกเพราะงานที่ทำมีนอยลงอยางมาก ทั้งเปนไปเพื่อพยุงกิจการและความอยูรอด ของจำเลย ถือวามีเหตุอันสมควร ไมเปนการเลิกจางที่ไมเปนธรรม ที่จำเลยอุทธรณวา ศาลแรงงานภาค ๘ มิไดพิจารณาและวินิจฉัยพยานหลักฐานที่จำเลย นำสืบอยางละเอียดถี่ถวน ซึ่งพยานหลักฐานที่จำเลยนำสืบฟงไดวาจำเลยจำเปนตองหยุดกิจการ เปนการชั่วคราวเนื่องจากมีเหตุสุดวิสัย จำเลยมิไดเลิกจางโจทก คำพิพากษาศาลแรงงานภาค ๘ จึงมิไดแสดงขอเท็จจริงที่ฟงไดโดยสรุป และคำวินิจฉัยในประเด็นแหงคดีพรอมดวยเหตุผลแหง คำวินิจฉัย ไมชอบดวยกระบวนพิจารณาในการรับฟงพยานหลักฐาน เปนคำพิพากษาที่ไมชอบ ดวยพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๕๑ นั้น เห็นวา อุทธรณของจำเลยแทจริงแลวเปนการโตแยงดุลพินิจของศาลแรงงานภาค ๘ ซึ่งฟงขอเท็จจริงวา การที่ผูวาราชการจังหวัดภูเก็ตมีคำสั่งผอนคลายการบังคับการปดสถานที่และมาตรการควบคุม การแพรระบาดของโรคติดตออันตราย ตั้งแตวันที่ ๑ มิถุนายน ๒๕๖๓ เหตุสุดวิสัยจึงหมด ไปแลว แตจำเลยยังคงหยุดกิจการตอไป เมื่อถึงสิ้นเดือนกรกฎาคม ๒๕๖๓ จำเลยไมจายคาจาง


๒๘๗ ใหโจทก ไมวาจะเปนเพราะเหตุที่จำเลยขาดทุนหรืออากาศยานพาณิชยไมอาจทำการบินเขา ประเทศไทยไดก็ไมใชเหตุสุดวิสัย จึงเปนการที่จำเลยเลิกจางโจทกในวันที่ ๓๑ กรกฎาคม ๒๕๖๓ อุทธรณของจำเลยเปนอุทธรณในขอเท็จจริงเพื่อนำไปสูขอกฎหมาย ถือวาเปนอุทธรณในขอเท็จจริง ซึ่งตองหามมิใหอุทธรณตามพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๕๔ วรรคหนึ่ง ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษไมรับวินิจฉัย คดีมีปญหาตองวินิจฉัยตามอุทธรณของจำเลยในประการแรกวา คำพิพากษาศาลแรงงานภาค ๘ ชอบดวยกฎหมายหรือไม เห็นวา การที่ศาลแรงงานภาค ๘ วินิจฉัยวาจำเลยเลิกจางโจทก ศาลแรงงานภาค ๘ ไดพิจารณาสถานการณการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ คำสั่ง ผูวาราชการจังหวัดภูเก็ตที่ออกมาเพื่อบริหารสถานการณดังกลาว ทางเลือกของจำเลยในการ ประกอบกิจการ ขอเสนอของจำเลย ขอปฏิเสธของโจทก ความประสงคของโจทกที่ตองการจะกลับ เขาทำงาน การตอบรับของจำเลยตอความประสงคของโจทก นักทองเที่ยว และผลประกอบการ ของจำเลย โดยมีเหตุผลประกอบ เพื่อกำหนดใหเปนธรรมแกคูความทั้งสองฝาย มิไดวินิจฉัยลอย ๆ จึงเปนกรณีที่ศาลแรงงานภาค ๘ คำนึงถึงฐานะแหงกิจการของจำเลย ตลอดจนสภาพทางเศรษฐกิจ และสังคมโดยทั่วไป ความเดือดรอนของลูกจาง สิทธิและประโยชนอื่นใดที่ลูกจางอาจไดมาจาก สภาพการทำงานและสังคมในปจจุบัน คำพิพากษาศาลแรงงานภาค ๘ ชอบดวยพระราชบัญญัติ จัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๔๘ แลว อุทธรณของจำเลย ขอนี้ฟงไมขึ้น คดีมีปญหาตองวินิจฉัยตามอุทธรณของจำเลยตอไปวา การหยุดกิจการเปนการชั่วคราว ของจำเลยเปนการหยุดกิจการเนื่องจากมีเหตุสุดวิสัยหรือไม จำเลยตองจายคาจางเดือนกรกฎาคม ๒๕๖๓ หรือไม เพียงใด และจำเลยเลิกจางโจทกหรือไม เห็นวา พระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา ๗๕ มิไดบัญญัติความหมายของเหตุสุดวิสัยไวโดยเฉพาะ จึงตองถือตาม ความหมายที่บัญญัติไวในประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา ๘ การที่ผูวาราชการจังหวัดภูเก็ต มีคำสั่งปดโรงแรมที่ไดรับใบอนุญาตประกอบธุรกิจโรงแรมทุกประเภทตั้งแตวันที่ ๔ เมษายน ๒๕๖๓ โรงแรมของจำเลยจึงถูกปดกิจการ ทำใหจำเลยจำเปนตองหยุดกิจการตามคำสั่ง ผูวาราชการจังหวัดภูเก็ต อันเปนเหตุที่ไมอาจปองกันได ถือวาเปนเหตุสุดวิสัยตามประมวลกฎหมาย แพงและพาณิชย มาตรา ๘ แตเมื่อผูวาราชการจังหวัดภูเก็ตมีคำสั่งผอนคลายการบังคับการปด สถานที่และมาตรการควบคุมการแพรระบาดของโรคติดตออันตราย ตั้งแตวันที่ ๑ มิถุนายน ๒๕๖๓ เหตุขัดขวางในการที่จำเลยจะเปดโรงแรมจึงหมดสิ้นไปแลว อยางไรก็ดี การที่นักทองเที่ยวตางชาติ ซึ่งเปนลูกคาหลักไมอาจเดินทางเขาประเทศไทยได ประกอบกับสถานการณการระบาดของ


๒๘๘ โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ ยังคงมีอยู กรณียอมสงผลกระทบตอกิจการของจำเลยถือไดวา เปนความจำเปนในอันที่จะหยุดกิจการเปนการชั่วคราว แตกิจการโรงแรมของจำเลยมิไดรับเฉพาะ นักทองเที่ยวตางชาติเทานั้น เหตุนี้แมจะไมมีนักทองเที่ยวตางชาติเดินทางเขาประเทศไทย การที่ จำเลยหยุดกิจการเปนการชั่วคราวตั้งแตวันที่ ๑ มิถุนายน ๒๕๖๓ จึงมิใชเนื่องจากมีเหตุสุดวิสัย จำเลยตองจายเงินใหแกโจทกไมนอยกวารอยละ ๗๕ ของคาจางในวันทำงานที่โจทกไดรับกอน จำเลยหยุดกิจการตลอดระยะเวลาที่จำเลยไมไดใหโจทกทำงาน ณ สถานที่จายเงินตามมาตรา ๕๕ และภายในกำหนดเวลาการจายเงินตามมาตรา ๗๐ (๑) ทั้งนี้ตามพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา ๗๕ แตระยะเวลาในการแกไขเหตุแหงความจำเปนตองมีกำหนดเวลาที่ แนนอนติดตอกันอยางพอสมควรดวย อยางไรก็ตาม หลังจากผูวาราชการจังหวัดภูเก็ตมีคำสั่ง ผอนคลายการบังคับการปดสถานที่และมาตรการควบคุมการแพรระบาดของโรคติดตออันตราย ตั้งแตวันที่ ๑ มิถุนายน ๒๕๖๓ แลว จำเลยยังคงปดกิจการโรงแรมตอไปนั้นถือเปนการเลิกจาง โจทกแลวหรือไม เห็นวา การเลิกจางตามพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา ๑๑๘ วรรคสอง บัญญัติวา “การเลิกจางตามมาตรานี้หมายความวา การกระทำใดที่นายจาง ไมใหลูกจางทำงานตอไปและไมจายคาจางให ไมวาจะเปนเพราะเหตุสิ้นสุดสัญญาจางหรือเหตุอื่นใด และหมายความรวมถึงกรณีที่ลูกจางไมไดทำงานและไมไดรับคาจางเพราะเหตุที่นายจางไมสามารถ ดำเนินกิจการตอไป” อันเปนการตัดความสัมพันธระหวางนายจางและลูกจางโดยเด็ดขาดและ ไมจายคาจางใหดวย ซึ่งศาลแรงงานภาค ๘ ฟงขอเท็จจริงมาวา เมื่อวันที่ ๑๓ กรกฎาคม ๒๕๖๓ โจทกสอบถามจำเลยวาจะเปดโรงแรมใหโจทกเขาทำงานไดเมื่อใด แมจำเลยแจงตอบโจทกวาจะ เปดโรงแรมในวันที่ ๑ พฤศจิกายน ๒๕๖๓ แตเมื่อพิจารณาจดหมายอิเล็กทรอนิกสที่จำเลยแจง ตอบโจทกดังกลาว จะเห็นไดวาวันที่จำเลยจะทำการเปดโรงแรมดังกลาวนั้น ขึ้นอยูกับการเปด ทาอากาศยานนานาชาติตามการคาดการณของจำเลยและการทองเที่ยวอันเปนเปาหมายหลักที่ จะทำใหพนักงานมีงานที่จะกลับมาทำ ไดความวาวันที่ ๒ ธันวาคม ๒๕๖๓ ที่ผูจัดการทั่วไปของ จำเลยมาใหถอยคำตอศาลแรงงานภาค ๘ วาจำเลยยังไมไดเปดกิจการโรงแรม อีกทั้งตามอุทธรณ และคำแกอุทธรณที่จำเลยและโจทกยื่นตอศาลแรงงานภาค ๘ เมื่อวันที่ ๓๐ เมษายน ๒๕๖๔ และวันที่ ๑๘ พฤษภาคม ๒๕๖๔ ตามลำดับ ยังแสดงใหเห็นอยางชัดแจงวา จำเลยก็ยังไมไดเปด กิจการโรงแรม และไมจายคาจางหรือแสดงความประสงคที่จะจายเงินใหแกโจทกไมนอยกวารอยละ ๗๕ ตามมาตรา ๗๕ วรรคหนึ่ง แตอยางใด ดังนั้นที่จำเลยแจงตอบโจทกวาจะเปดโรงแรมในวันที่ ๑ พฤศจิกายน ๒๕๖๓ จึงมิใชกำหนดเวลาที่แนนอน และไมเปนที่แนชัดวาจำเลยจะกลับมาเปด ดำเนินกิจการไดอีกเมื่อใด การที่จำเลยหยุดกิจการติดตอกันมาตั้งแตวันที่ ๑ มิถุนายน ๒๕๖๓


๒๘๙ ซึ่งเปนวันที่ผูวาราชการจังหวัดภูเก็ตมีคำสั่งผอนคลายการบังคับการปดสถานที่และมาตรการ ควบคุมการแพรระบาดของโรคติดตออันตรายเปนตนมา จึงมิใชเปนการหยุดกิจการชั่วคราวตาม ความหมายแหงพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา ๗๕ วรรคหนึ่ง นอกจากนี้ ไดความจากเอกสารที่จำเลยสอบถามพนักงานในแผนกของโจทก โดยใหเลือกเพียง ๒ ขอวา หยุดงานโดยไมจายคาจางหรือใหจำเลยออกจดหมายเลิกจางโดยปราศจากการเรียกรองคาชดเชย เพื่อใหไปรับประโยชนทดแทนกรณีวางงานรอยละ ๗๐ จากสำนักงานประกันสังคม อันแสดงถึง ความไมสามารถที่จะจายคาจางใหแกโจทกได ประกอบกับศาลแรงงานภาค ๘ รับฟงขอเท็จจริง มาดวยวา จำเลยประสบภาวะขาดทุนมาตั้งแตป ๒๕๕๙ ถึงป ๒๕๖๑ เปนเงิน ๑๘๓,๕๒๐,๓๕๘ บาท ๑๖๗,๒๔๒,๔๑๓ บาท และ ๒๙๙,๕๒๗,๗๑๑ บาท ตามลำดับ เปนการขาดทุนติดตอกัน ๓ ป เปนเงินรวม ๖๕๐,๒๙๐,๔๘๒ บาท คิดเปน ๒ เทาเศษของทุนจดทะเบียน ๒๙๑ ลานบาท อันอาจเปนเหตุที่ทำใหจำเลยไมสามารถดำเนินกิจการตอไปได และเปนผลใหโจทกไมไดทำงาน พฤติการณทั้งหมดดังกลาวแสดงใหเห็นวา จำเลยไมประสงคจะใหโจทกทำงานอีกตอไป อันเปน การตัดความสัมพันธระหวางนายจางและลูกจางโดยเด็ดขาดและไมจายคาจางใหแกโจทก โดยไมมีเหตุอันจะอางได กรณีจึงเปนการเลิกจางตามพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา ๑๑๘ วรรคสอง แลว ที่ศาลแรงงานภาค ๘ พิพากษามานั้น ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษ เห็นพองดวย อุทธรณของจำเลยขอนี้ฟงไมขึ้น คดีมีปญหาตองวินิจฉัยตามอุทธรณของจำเลยในประการสุดทายวา โจทกมีสิทธิไดรับ สินจางแทนการบอกกลาวลวงหนาและคาชดเชยพรอมดอกเบี้ยหรือไม และมีปญหาตองวินิจฉัย ตามคำแกอุทธรณของโจทกวา จำเลยตองเสียดอกเบี้ยของสินจางแทนการบอกกลาวลวงหนาให แกโจทกอัตราใด เห็นวา เมื่อไดวินิจฉัยมาขางตนแลววาจำเลยเลิกจางโจทก และศาลแรงงานภาค ๘ ฟงขอเท็จจริงวา จำเลยเลิกจางโดยโจทกไมมีความผิดและไมไดบอกกลาวลวงหนา โจทกจึงมี สิทธิไดรับสินจางแทนการบอกกลาวลวงหนาและคาชดเชยพรอมดอกเบี้ย ที่ศาลแรงงานภาค ๘ พิพากษามานั้น ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษเห็นพองดวย อุทธรณของจำเลยฟงไมขึ้น สำหรับ ดอกเบี้ยของสินจางแทนการบอกกลาวลวงหนา พระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน (ฉบับที่ ๗) พ.ศ. ๒๕๖๒ มาตรา ๙ วรรคหนึ่ง บัญญัติไวโดยเฉพาะกำหนดใหนายจางที่ไมจายเงินกรณีนายจาง บอกเลิกสัญญาจางโดยไมบอกกลาวลวงหนาตองเสียดอกเบี้ยใหแกลูกจางในระหวางเวลาผิดนัด รอยละ ๑๕ ตอป เมื่อจำเลยเลิกจางโจทกภายหลังจากที่พระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน (ฉบับที่ ๗) พ.ศ. ๒๕๖๒ มาตรา ๙ วรรคหนึ่ง ใชบังคับแลว จำเลยจึงตองเสียดอกเบี้ยของสินจางแทนการบอกกลาว ลวงหนาใหแกโจทกอัตรารอยละ ๑๕ ตอป หาใชอัตรารอยละ ๗.๕ ตอป ดังที่ศาลแรงงานภาค ๘ พิพากษามาไม ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษเห็นสมควรแกไขในสวนนี้ใหถูกตอง


Click to View FlipBook Version