The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รวมคำพิพากษา-แผนกคดีแรงงาน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by iprd.pic, 2024-01-31 21:12:27

รวมคำพิพากษา-แผนกคดีแรงงาน

รวมคำพิพากษา-แผนกคดีแรงงาน

๓๙๐ ที่โจทกรูถึงการละเมิดและรูตัวผูพึงจะตองใชคาสินไหมทดแทนเมื่อใด อันจะทำใหฟองโจทกขาด อายุความ คดีจึงไมมีประเด็นเรื่องอายุความ สัญญาจางแรงงานระหวางโจทกกับจำเลยที่ ๑ และ ที่ ๒ ที่กำหนดวาจำเลยที่ ๑ และที่ ๒ จะไมรับจางทำงานใหแกบุคคลอื่นหรือดำเนินกิจการไมวา ดวยตนเองหรือตัวแทน หรือเขาไปมีประโยชนไดเสียในกิจการใด ๆ อันเปนการแขงขันหรือเปน การเสียหายแกกิจการของโจทก และที่กำหนดวาจำเลยที่ ๑ และที่ ๒ สัญญาวาหากพนสภาพ การเปนพนักงานโจทกไมวากรณีใด ๆ จะไมไปรวมงานกับบริษัทที่ทำธุรกิจการคาประเภทเดียวกัน หรือคูแขงทางการคาของโจทกภายในระยะเวลา ๓ ป เปนสัญญาตางตอบแทนที่รักษาสิทธิและ ประโยชนของคูกรณีที่เปนไปโดยชอบ ไมเปนการเกินสมควรหรือเอาเปรียบกันในการทำสัญญา อันจะเขาลักษณะขอสัญญาที่ไมเปนธรรมยอมมีผลบังคับได การประกอบกิจการของจำเลยที่ ๓ เปนการทำธุรกิจการคาประเภทเดียวกันหรือคูแขงทางการคา และดำเนินกิจการอันเปนการแขงขัน กับกิจการของโจทก โดยในสวนของจำเลยที่ ๔ ก็เชนเดียวกัน ดังนั้น กรณีในขณะที่เปนพนักงาน โจทก การที่จำเลยที่ ๑ เขาไปเปนกรรมการผูมีอำนาจกระทำการแทนจำเลยที่ ๓ แมตอมาจะมี การจดทะเบียนเปลี่ยนแปลงรายชื่อผูถือหุน แกไขเพิ่มเติมวัตถุประสงค รวมทั้งกรรมการผูมี อำนาจกระทำการแทนจำเลยที่ ๓ แตจำเลยที่ ๑ ก็ยังคงเปนผูบริหารและดำเนินกิจการของจำเลย ที่ ๓ จึงเปนการผิดสัญญาจางแรงงานขอที่วาจะไมดำเนินกิจการไมวาดวยตนเองหรือตัวแทน หรือเขาไปมีประโยชนไดเสียในกิจการใด ๆ อันเปนการแขงขันหรือเปนการเสียหายแกกิจการ ของโจทกและทำละเมิดตอโจทกนับตั้งแตวันที่ ๑๘ กรกฎาคม ๒๕๕๗ อันเปนวันที่จดทะเบียน ตั้งบริษัทจำเลยที่ ๓ สวนจำเลยที่ ๒ แมจะเปนเพียงผูถือหุน แตการที่เขาไปรวมในการจดทะเบียน ตั้งบริษัทจำเลยที่ ๓ ยอมเปนการผิดสัญญาจางแรงงานและทำละเมิดตอโจทกเชนเดียวกันกับ จำเลยที่ ๑ สำหรับกรณีภายใน ๓ ป หลังพนสภาพการเปนพนักงานโจทก การที่จำเลยที่ ๑ ยัง บริหารและดำเนินกิจการของจำเลยที่ ๓ จึงเปนการผิดสัญญาจางแรงงานขอที่วาหากพนสภาพ การเปนพนักงานโจทกไมวากรณีใด ๆ จะไมไปรวมงานกับบริษัทที่ทำธุรกิจการคาประเภทเดียวกัน หรือคูแขงทางการคาของโจทกภายในระยะเวลา ๓ ป และทำละเมิดตอโจทก นับแตวันที่ ๑๗ ตุลาคม ๒๕๖๐ อันเปนวันที่จำเลยที่ ๑ พนสภาพการเปนพนักงานโจทกแตในสวนนี้จำเลยที่ ๒ หาไดเกี่ยวของกับจำเลยที่ ๓ อีกตอไปไม จำเลยที่ ๒ จึงมิไดผิดสัญญาจางแรงงานและทำละเมิด ตอโจทกดังเชนจำเลยที่ ๑ นอกจากนี้ ในขณะจดทะเบียนตั้งบริษัทจำเลยที่ ๔ จำเลยที่ ๑ เปน พนักงานโจทก และเขาไปเกี่ยวของติดตอจำหนายสินคาใหจำเลยที่ ๔ แมพนสภาพการเปน พนักงานโจทกแลวภายใน ๓ ป ก็ยังคงเขาไปเกี่ยวของเชนเดิม จึงเปนการผิดสัญญาจางแรงงาน ขอที่วาจะไมดำเนินกิจการไมวาดวยตนเองหรือตัวแทน หรือเขาไปมีประโยชนไดเสียในกิจการใด ๆ


๓๙๑ อันเปนการแขงขันหรือเปนการเสียหายแกกิจการของโจทกและขอที่วาหากพนสภาพการเปน พนักงานโจทกไมวากรณีใด ๆ จะไมไปรวมงานกับบริษัทที่ทำธุรกิจการคาประเภทเดียวกันหรือ คูแขงทางการคาของโจทกภายในระยะเวลา ๓ ป และทำละเมิดตอโจทกตั้งแตวันที่ ๖ มีนาคม ๒๕๖๐ อันเปนวันที่จดทะเบียนตั้งบริษัทจำเลยที่ ๔ เมื่อจำเลยที่ ๓ และที่ ๔ มิไดเปนพนักงาน โจทก จึงไมอาจรวมผิดกับจำเลยที่ ๑ และที่ ๒ กรณีผิดสัญญาจางแรงงานได แตตองรวมรับผิด กรณีทำละเมิด โดยจำเลยที่ ๓ ตองรวมรับผิดกับจำเลยที่ ๑ และที่ ๒ ในการที่จำเลยที่ ๑ และ ที่ ๒ ทำละเมิดระหวางวันที่ ๑๘ กรกฎาคม ๒๕๕๗ ถึงวันที่ ๑ มีนาคม ๒๕๕๙ (ที่ถูก วันที่ ๒๘ พฤษภาคม ๒๕๕๙) รวมรับผิดกับจำเลยที่ ๑ ในการที่จำเลยที่ ๑ ทำละเมิดตอมาถึงวันที่ ๑๗ ตุลาคม ๒๕๖๐ หลังจากนี้การที่จำเลยที่ ๑ ยังคงทำละเมิด จำเลยที่ ๑ ตองรับผิดเพียงลำพัง สำหรับจำเลยที่ ๔ ตองรวมรับผิดกับจำเลยที่ ๑ ในการที่จำเลยที่ ๑ ทำละเมิดระหวางวันที่ ๖ มีนาคม ๒๕๖๐ ถึงวันที่ ๑๗ ตุลาคม ๒๕๖๐ แตคาเสียหายที่โจทกเรียกมามิไดกำหนดไวในสัญญา จางแรงงาน ทั้งโจทกนำสืบใหเห็นถึงความเสียหายที่แทจริงไมได ในการกำหนดคาเสียหายจึง คำนึงถึงวัตถุประสงคของขอหาม ความสำคัญในตำแหนงงานของจำเลยที่ ๑ และที่ ๒ ความเสียหายอยางอื่น และเหตุแหงการประพฤติผิดสัญญาจางแรงงานอันเปนทางไดเสียของโจทก รวมทั้งระยะเวลาและประโยชนที่จำเลยทั้งสี่ไดรับ ที่จำเลยทั้งสี่อุทธรณวา การทำละเมิดของจำเลยที่ ๓ และที่ ๔ อยูภายใตบังคับระยะเวลา ๑ ป กอนฟองคดี การที่ศาลแรงงานกลางวินิจฉัยใหจำเลยที่ ๓ และที่ ๔ รวมรับผิดกับจำเลยที่ ๑ และที่ ๒ จึงลวงเลยระยะเวลา ๑ ป กอนโจทกฟองคดี ฟองโจทกขาดอายุความนั้น เห็นวา เมื่อ ศาลแรงงานกลางวินิจฉัยวาคำใหการของจำเลยทั้งสี่เพียงแตยกขอเถียงวาโจทกไมมีสิทธิเรียก คาเสียหายในชวงเวลาใด โดยมิไดอางเรื่องที่โจทกรูถึงการละเมิดและรูตัวผูพึงจะตองใชคาสินไหม ทดแทนเมื่อใด อันจะทำใหฟองโจทกขาดอายุความคดีจึงไมมีประเด็นเรื่องอายุความแลว แมศาลแรงงานกลางจะรับฟงขอเท็จจริงและวินิจฉัยตอไปวาโจทกรูถึงการละเมิดในวันที่ ๑ ตุลาคม ๒๕๖๐ หรือหลังจากนั้น โจทกฟองคดีเมื่อวันที่ ๒๓ เมษายน ๒๕๖๑ ฟองโจทกไมขาดอายุความก็เปนการ นอกประเด็น ถือวาเปนขอที่มิไดยกขึ้นวากันมาแลวโดยชอบในศาลแรงงานกลาง ตองหามอุทธรณ ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพง มาตรา ๒๒๕ วรรคหนึ่งประกอบพระราชบัญญัติ จัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๕๔ วรรคหนึ่ง ศาลอุทธรณ คดีชำนัญพิเศษไมรับวินิจฉัย ที่จำเลยทั้งสี่อุทธรณวา ศาลแรงงานกลางฟงขอเท็จจริงวาจำเลยที่ ๑ เขาไปเกี่ยวของ ติดตอจำหนายสินคาใหจำเลยที่ ๔ โดยไมปรากฏพยานหลักฐานในสำนวนก็ดี พิจารณาพยาน


๓๙๒ หลักฐานเพียงวาจำเลยที่ ๓ จำหนายสินคาชนิดเดียวกันกับสินคาของโจทกโดยไมไดพิจารณาวา เปนการขายสินคาใหแกผูใด ทั้ง ๆ ที่จำเลยทั้งสี่นำสืบวาผูซื้อสินคาดังกลาวมิใชลูกคาของโจทก เปนการรับฟงขอเท็จจริงที่ไมครบถวนก็ดี จำเลยที่ ๒ เปนเพียงผูเริ่มกอการในการจดทะเบียน ตั้งบริษัทจำเลยที่ ๓ เทานั้น มิไดเขาไปดำเนินกิจการอันเปนการแขงขันกับกิจการของโจทก จึงมิได ผิดสัญญาจางแรงงานก็ดี คาเสียหายที่ศาลแรงงานกลางกำหนดมิใชคาเสียหายที่โจทกฟองเรียกรอง ก็ดีนั้น เห็นวา อุทธรณของจำเลยทั้งสี่ดังกลาวลวนแตเปนการโตแยงดุลพินิจในการรับฟงพยาน หลักฐานของศาลแรงงานกลางที่ฟงขอเท็จจริงและวินิจฉัยวาการประกอบกิจการของจำเลยที่ ๓ และที่ ๔ เปนการทำธุรกิจการคาประเภทเดียวกันหรือคูแขงทางการคาและดำเนินกิจการอันเปน การแขงขันกับกิจการของโจทก จำเลยที่ ๒ แมจะเปนเพียงผูถือหุน แตการที่เขาไปรวมในการ จดทะเบียนตั้งบริษัทจำเลยที่ ๓ ยอมเปนการผิดสัญญาจางแรงงานและทำละเมิดตอโจทกเชนเดียว กันกับจำเลยที่ ๑ ในการกำหนดคาเสียหายศาลแรงงานกลางคำนึงถึงวัตถุประสงคของขอหาม ความสำคัญในตำแหนงงานของจำเลยที่ ๑ และที่ ๒ ความเสียหายอยางอื่น เหตุแหงการประพฤติ ผิดสัญญาจางแรงงานอันเปนทางไดเสียของโจทก รวมทั้งระยะเวลาและประโยชนที่จำเลยทั้งสี่ ไดรับ อันเปนอุทธรณในขอเท็จจริง ซึ่งตองหามมิใหอุทธรณตามพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแรงงาน และวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๕๔ วรรคหนึ่ง ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษ ไมรับวินิจฉัยเชนเดียวกัน คดีมีปญหาวินิจฉัยตามอุทธรณของจำเลยทั้งสี่วา สัญญาจางแรงงานระหวางโจทกกับ จำเลยที่ ๑ และที่ ๒ มีผลบังคับหรือไม เพียงใด เห็นวา สัญญาจางแรงงานระหวางโจทกกับจำเลย ที่ ๑ และที่ ๒ แมจะทำขึ้นกอนวันที่พระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา ๑๔/๑ ซึ่งเพิ่มโดยพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๑ มีผลใชบังคับ แตในวันที่ โจทกฟองคดีพระราชบัญญัติดังกลาวมีผลใชบังคับแลว กรณีจึงตองบังคับตามพระราชบัญญัติ คุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา ๑๔/๑ อันเปนกฎหมายที่บัญญัติไวโดยเฉพาะ โดยหาก สัญญาจางแรงงานทำใหโจทกไดเปรียบจำเลยที่ ๑ และที่ ๒ เกินสมควรแลว ศาลมีอำนาจสั่งให สัญญานั้นมีผลบังคับเพียงเทาที่เปนธรรมและพอสมควรแกกรณี ซึ่งการที่จะถือวาเปนการไดเปรียบ จนเกินสมควรแกกรณีดังกลาว ความตองปรากฏวาโจทกมีสภาพเหนือกวาจำเลยที่ ๑ และที่ ๒ ในลักษณะไมเหมาะสมอยางยิ่ง เมื่อโจทกประกอบกิจการเปนตัวแทนนำเขาสินคาประเภทอุปกรณ นิวแมติค ไฮดรอลิค และแวคคั่มจากตางประเทศมาจำหนาย สวนจำเลยที่ ๑ และที่ ๒ มีหนาที่ ติดตอเจรจากับลูกคาของโจทกเพื่อเสนอขายสินคาตามที่ไดรับมอบหมายจากโจทก และไดความ จากคำเบิกความของนางชนิดาภา หัวหนาแผนกบุคคลของโจทกวาพนักงานขายจะตองมีความรู


๓๙๓ ความเขาใจเกี่ยวกับสินคาของโจทกตั้งแตพื้นฐานไปจนถึงระดับสูง การเขียนวงจร การแกไขปญหา หนางาน รวมทั้งความรูอื่น ๆ ที่เกี่ยวของกับการใหบริการกอนและหลังการขาย ตลอดจนขั้นตอน การขายและแนะนำสินคา โจทกจึงใชความรูเฉพาะทางของโจทกคิดคนหลักสูตร จัดทำเอกสารและ วัสดุอุปกรณการฝกอบรมเพื่อใชในการอบรมพนักงานขาย โดยจะใชระยะเวลาฝกอบรมประมาณ ๑ เดือน พนักงานขายที่ไมไดฝกอบรมโจทกจะไมใหติดตอกับลูกคา เพราะไมสามารถชี้แจงรายละเอียด สินคาหรือตอบคำถามของลูกคาไดอยางครบถวน อันจะกระทบตอการเสนอขายสินคาและชื่อเสียง ของโจทก แตหากผานการฝกอบรมแลว โจทกจะมอบหมายใหติดตอและดูแลลูกคาของโจทก โดยตรง ทำใหพนักงานขายสามารถเขาถึงขอมูลลูกคาของโจทกซึ่งเปนขอมูลเฉพาะที่เก็บรวบรวม มาจากการประกอบกิจการและเปนความลับทางการคาไดตามที่โจทกมอบหมาย การจะใหพนักงาน คนใดมาทำงานในตำแหนงพนักงานขาย โจทกจึงตองกำหนดขอหามดังกลาวไว โดยจำเลยที่ ๑ เบิกความยอมรับวาในวันที่เขาทำงานกับโจทกจำเลยที่ ๑ ไมมีลูกคาสวนตัว ลูกคาที่จำเลยที่ ๑ ดูแลบางสวนโจทกมอบหมายให บางสวนหาเพิ่มเติมแตก็ตองถือวาเปนลูกคาของโจทก จำเลย ที่ ๒ เองก็ยอมรับเชนเดียวกันวาโจทกจัดใหจำเลยที่ ๒ และพนักงานขายฝกอบรมหลายครั้ง โดยวิทยากรจากตางประเทศ ดังนี้ การที่จำเลยที่ ๑ และที่ ๒ ผานการฝกอบรมยอมทำใหมีความรู ความเขาใจเกี่ยวกับสินคาของโจทก และพรอมที่จะชี้แจงรายละเอียดสินคาหรือตอบคำถามของ ลูกคาไดอยางครบถวนซึ่งลูกคายอมเชื่อมั่นในสินคาและการบริการของโจทก สวนโจทกก็ไดรับ ประโยชนทางธุรกิจจากการประกอบกิจการ ขอตกลงที่กำหนดหามมิใหจำเลยที่ ๑ และที่ ๒ ไปรวมงานกับบริษัทที่ทำธุรกิจการคาประเภทเดียวกันหรือคูแขงทางการคาของโจทกภายใน ระยะเวลา ๓ ป หลังพนสภาพการเปนพนักงานโจทกไมวากรณีใด ๆ เปนเพียงขอจำกัดหามการ ประกอบอาชีพอันเปนการแขงขันกับโจทก ระบุจำกัดประเภทธุรกิจไวอยางชัดเจน ไมไดหาม ประกอบอาชีพอันเปนการปดกั้นทางทำมาหาไดของจำเลยที่ ๑ และที่ ๒ เด็ดขาด จำเลยที่ ๑ และ ที่ ๒ ยังสามารถประกอบอาชีพหรือทำงานในดานอื่นที่อยูนอกเหนือขอตกลงนี้ได ทั้งขอหามตาม ขอตกลงก็มีผลเพียง ๓ ป นับแตจำเลยที่ ๑ และที่ ๒ พนสภาพการเปนพนักงานโจทกเทานั้น จึงเปน สัญญาตางตอบแทนที่รักษาสิทธิและประโยชนของคูกรณีที่เปนไปโดยชอบในเชิงการประกอบธุรกิจ ไมเปนการปดทางทำมาหาไดของฝายใดโดยเด็ดขาดจนไมอาจดำรงอยูไดขอตกลงดังกลาวมิได ทำใหโจทกไดเปรียบจำเลยที่ ๑ และที่ ๒ เกินสมควร และเปนธรรมแกคูกรณีแลวมีผลบังคับได ที่ศาลแรงงานกลางพิพากษามานั้น ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษเห็นพองดวย อุทธรณของจำเลย ทั้งสี่ฟงไมขึ้น


๓๙๔ พิพากษายืน. (ไพรัช โปรงแสง - วิโรจน ตุลาพันธุ - ปณิธาน วิสุทธากร) มนุเชษฐ โรจนศิริบุตร - ยอ สุโรจน จันทรพิทักษ - ตรวจ


๓๙๕ คำพิพากษาศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษที่ ๔๕๖๖/๒๕๖๒ การทองเที่ยว แหงประเทศไทย โจทก นางสมรัก คำพุทธ ที่ ๑ กับพวก จำเลย ป.พ.พ. มาตรา ๑๓๓๖ โจทกฟองขอใหจำเลยทั้งเจ็ดสิบแปดคืนเงินคาทำงานในวันหยุด โดยอางวา การเบิกจายไมชอบดวยระเบียบโจทก จึงเปนเรื่องที่โจทกซึ่งเปนเจาของทรัพยสินฟองเรียก ทรัพยสินที่จำเลยทั้งเจ็ดสิบแปดไดรับไปโดยมิชอบและโจทกในฐานะเจาของทรัพยสิน ยอมมีสิทธิติดตามเอาคืนไดตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๓๓๖ ซึ่งไมมีกำหนดอายุความ กรณี มิใชฟองเรียกใหคืนทรัพยตามลักษณะลาภมิควรได อันจะนำอายุความตาม ป.พ.พ. มาตรา ๔๑๙ มาใชบังคับ โจทกฟองขอใหจำเลยที่ ๑ คืนเงิน ๑๑,๗๒๘ บาท จำเลยที่ ๒ คืนเงิน ๑๗,๙๒๘ บาท จำเลยที่ ๓ คืนเงิน ๑๐,๑๖๘ บาท จำเลยที่ ๔ คืนเงิน ๑๑,๑๗๖ บาท จำเลยที่ ๕ คืนเงิน ๕,๒๗๔ บาท จำเลยที่ ๖ คืนเงิน ๑๑,๖๐๓ บาท จำเลยที่ ๗ คืนเงิน ๓๘๙ บาท จำเลยที่ ๘ คืนเงิน ๑,๙๒๔ บาท จำเลยที่ ๙ คืนเงิน ๕๖๑ บาท จำเลยที่ ๑๐ คืนเงิน ๔๔๗ บาท จำเลยที่ ๑๑ คืนเงิน ๓๓๘ บาท จำเลยที่ ๑๒ คืนเงิน ๑,๖๖๖ บาท จำเลยที่ ๑๓ คืนเงิน ๑,๑๗๑ บาท จำเลยที่ ๑๔ คืนเงิน ๑๙,๕๘๒ บาท จำเลยที่ ๑๕ คืนเงิน ๕,๗๘๒ บาท จำเลยที่ ๑๖ คืนเงิน ๑๑,๓๔๘ บาท จำเลยที่ ๑๗ คืนเงิน ๔,๓๒๖ บาท จำเลยที่ ๑๘ คืนเงิน ๖,๓๕๐ บาท จำเลยที่ ๑๙ คืนเงิน ๙,๓๑๒ บาท จำเลยที่ ๒๐ คืนเงิน ๑๐,๔๐๘ บาท จำเลยที่ ๒๑ คืนเงิน ๔,๔๖๘ บาท จำเลยที่ ๒๒ คืนเงิน ๔,๐๕๘ บาท จำเลยที่ ๒๓ คืนเงิน ๕,๕๔๔ บาทจำเลยที่ ๒๔ คืนเงิน ๖๗๖ บาท จำเลยที่ ๒๕ คืนเงิน ๔,๔๒๒ บาท จำเลยที่ ๒๖ คืนเงิน ๒,๒๖๘ บาท จำเลยที่ ๒๗ คืนเงิน ๑๗,๕๙๘ บาท จำเลยที่ ๒๘ คืนเงิน ๔,๑๒๕ บาท จำเลยที่ ๒๙ คืนเงิน ๓,๔๑๐ บาท จำเลยที่ ๓๐ คืนเงิน ๑,๐๙๐ บาท จำเลยที่ ๓๑ คืนเงิน ๑,๒๑๑ บาท จำเลยที่ ๓๒ คืนเงิน ๑๑,๙๓๕ บาท จำเลยที่ ๓๓ คืนเงิน ๙,๕๗๙ บาท จำเลยที่ ๓๔ คืนเงิน ๔,๒๕๕ บาท จำเลยที่ ๓๕ คืนเงิน ๑๓,๑๖๗ บาท จำเลยที่ ๓๖ คืนเงิน ๕,๔๘๕ บาท จำเลยที่ ๓๗ คืนเงิน ๑,๖๘๓ บาท จำเลยที่ ๓๘ คืนเงิน ๕,๘๖๔ บาท


๓๙๖ จำเลยที่ ๓๙ คืนเงิน ๓,๐๑๘ บาท จำเลยที่ ๔๐ คืนเงิน ๒,๔๒๒ บาท จำเลยที่ ๔๑ คืนเงิน ๒,๑๙๔ บาท จำเลยที่ ๔๒ คืนเงิน ๒,๗๔๖ บาท จำเลยที่ ๔๓ คืนเงิน ๓,๑๒๘ บาท จำเลยที่ ๔๔ คืนเงิน ๒,๑๙๔ บาท จำเลยที่ ๔๕ คืนเงิน ๑ ,๘๗๒ บาท จำเลยที่ ๔๖ คืนเงิน ๑,๙๓๒ บาท จำเลยที่ ๔๗ คืนเงิน ๑,๗๕๘ บาท จำเลยที่ ๔๘ คืนเงิน ๒,๔๒๒ บาท จำเลยที่ ๔๙ คืนเงิน ๑,๐๒๘ บาท จำเลยที่ ๕๐ คืนเงิน ๒,๙๒๐ บาท จำเลยที่ ๕๑ คืนเงิน ๓,๗๔๔ บาท จำเลยที่ ๕๒ คืนเงิน ๕,๘๕๒ บาท จำเลยที่ ๕๓ คืนเงิน ๕,๑๖๐ บาท จำเลยที่ ๕๔ คืนเงิน ๓,๖๒๔ บาท จำเลยที่ ๕๕ คืนเงิน ๔,๑๑๖ บาท จำเลยที่ ๕๖ คืนเงิน ๑,๖๐๐ บาท จำเลยที่ ๕๗ คืนเงิน ๑,๓๕๒ บาท จำเลย ที่ ๕๘ คืนเงิน ๑,๓๕๒ บาท จำเลยที่ ๕๙ คืนเงิน ๑๐,๙๘๔ บาท จำเลยที่ ๖๐ คืนเงิน ๔,๕๓๖ บาท จำเลยที่ ๖๑ คืนเงิน ๕,๔๙๒ บาท จำเลยที่ ๖๒ คืนเงิน ๑,๖๐๐ บาท จำเลยที่ ๖๓ คืนเงิน ๖,๔๗๖ บาท จำเลยที่ ๖๔ คืนเงิน ๔,๘๔๔ บาท จำเลยที่ ๖๕ คืนเงิน ๗,๐๔๐ บาท จำเลยที่ ๖๖ คืนเงิน ๕,๓๒๔ บาท จำเลยที่ ๖๗ คืนเงิน ๔,๘๔๔ บาท จำเลยที่ ๖๘ คืนเงิน ๔,๒๕๒ บาท จำเลยที่ ๖๙ คืนเงิน ๓,๔๐๔ บาท จำเลยที่ ๗๐ คืนเงิน ๕,๖๖๔ บาท จำเลยที่ ๗๑ คืนเงิน ๕,๑๖๐ บาท จำเลยที่ ๗๒ คืนเงิน ๗,๗๐๘ บาท จำเลยที่ ๗๓ คืนเงิน ๔,๘๔๔ บาท จำเลยที่ ๗๔ คืนเงิน ๕,๓๒๔ บาท จำเลยที่ ๗๕ คืนเงิน ๕,๔๙๒ บาท จำเลยที่ ๗๖ คืนเงิน ๑,๓๕๒ บาท จำเลยที่ ๗๗ คืนเงิน ๓,๘๖๔ บาท จำเลยที่ ๗๘ คืนเงิน ๓,๖๒๔ บาท พรอมดอกเบี้ยอัตรารอยละ ๗.๕ ตอป นับแต วันฟองเปนตนไปจนกวาจะชำระเสร็จแกโจทก จำเลยที่ ๑ ถึงที่ ๒๔ ที่ ๒๖ ถึงที่ ๒๙ ที่ ๓๒ ถึงที่ ๕๕ ที่ ๕๗ ถึงที่ ๕๙ ที่ ๖๒ ถึงที่ ๖๗ ที่ ๖๙ ที่ ๗๒ ถึงที่ ๗๔ และที่ ๗๖ ถึงที่ ๗๘ ใหการและแกไขคำใหการ ขอใหยกฟอง จำเลยที่ ๕๓ ใหการและแกไขคำใหการ ขอใหยกฟอง จำเลยที่ ๖๘ ใหการขอใหยกฟอง จำเลยที่ ๗๐ ใหการขอใหยกฟอง จำเลยที่ ๗๕ ใหการขอใหยกฟอง จำเลยที่ ๓๑ ที่ ๖๑ และที่ ๗๑ ขาดนัด ระหวางการพิจารณาของศาลแรงงานกลาง โจทกขอถอนฟองจำเลยที่ ๒๕ ที่ ๓๐ ที่ ๕๖ และที่ ๖๐ ศาลแรงงานกลางอนุญาตและใหจำหนายคดีเฉพาะจำเลยที่ ๒๕ ที่ ๓๐ ที่ ๕๖ และที่ ๖๐ ออกจากสารบบความ ศาลแรงงานกลาง พิพากษายกฟอง


๓๙๗ โจทกอุทธรณ ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษแผนกคดีแรงงานวินิจฉัยวา ศาลแรงงานกลางฟงขอเท็จจริงวา โจทกมีคำสั่งใหจำเลยทั้งเจ็ดสิบแปดซึ่งเปนพนักงานและลูกจางไปปฏิบัติงานโดยมีวันหยุดครอม โดยใหจำเลยที่ ๖ ถึงที่ ๑๑ ไปทำจัดกิจกรรมและรวมประชุมแผนปฏิบัติการ ททท. ป ๒๕๕๖ ณ จังหวัดนครราชสีมา ในวันที่ ๘ ถึง ๑๓ กรกฎาคม ๒๕๕๕ ใหจำเลยที่ ๒ ถึงที่ ๕ ไปประชุมหารือ เกี่ยวกับการพัสดุแกสำนักงาน ททท. ณ จังหวัดเชียงราย ในวันที่ ๒ ถึง ๕ สิงหาคม ๒๕๕๕ ใหจำเลยที่ ๑๒ และที่ ๑๓ จัดการประชุมโครงการสัมมนาเตรียมความพรอมทองเที่ยวไทยกาวสู ประชาคมอาเซียน ณ จังหวัดกาญจนบุรี ในวันที่ ๖ ถึง ๘ กันยายน ๒๕๕๕ ใหจำเลยที่ ๑๔ ถึงที่ ๒๔ ปฏิบัติงาน ณ จังหวัดชลบุรีและพื้นที่ใกลเคียง ในวันที่ ๘ ถึง ๙ กันยายน ๒๕๕๕ ให จำเลยที่ ๒๕ และที่ ๒๖ ปฏิบัติงานเชิญสื่อมวลชนตางประเทศเยี่ยมชมโครงการพระราชดำริและ สถานที่ทองเที่ยวในกลุมตลาด Niche Market ณ กรุงเทพมหานคร จังหวัดเพชรบุรี และจังหวัด ประจวบคีรีขันธ ในวันที่ ๑๐ ถึง ๑๖ กันยายน ๒๕๕๕ ใหจำเลยที่ ๒๗ และที่ ๒๘ ไปประชุมแผน การตลาดการทองเที่ยวระดับภูมิภาค ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ป ๒๕๕๖ ณ จังหวัดนครพนม ในวันที่ ๒ ถึง ๔ มีนาคม ๒๕๕๕ ใหจำเลยที่ ๖ และที่ ๒๗ จัดการประชุม Executive Outing ณ จังหวัดประจวบคีรีขันธ ในวันที่ ๘ ถึง ๑๐ ธันวาคม ๒๕๕๕ ใหจำเลยที่ ๒๙ และที่ ๓๐ ไป ปฏิบัติงาน ณ จังหวัดสงขลา จังหวัดสตูล และจังหวัดตรัง ในวันที่ ๒๖ ถึง ๓๐ เมษายน ๒๕๕๖ ใหจำเลยที่ ๒๗ ที่ ๒๘ และที่ ๓๑ จัดประชุมแผนการตลาดการทองเที่ยวภูมิภาค ดานตลาดเอเชีย และแปซิฟคใต ป ๒๕๕๗ ณ จังหวัดเชียงใหม ในวันที่ ๒๕ ถึง ๓๑ พฤษภาคม ๒๕๕๖ ใหจำเลยที่ ๓๒ ถึงที่ ๓๗ ไปปฏิบัติงาน ณ จังหวัดราชบุรี และจังหวัดใกลเคียง ในวันที่ ๙ ถึง ๑๒ สิงหาคม ๒๕๕๖ ใหจำเลยที่ ๑๕ ที่ ๒๓ ที่ ๓๒ ที่ ๓๔ ถึงที่ ๓๖ และที่ ๓๙ ถึงที่ ๔๙ จัดประชุมฝายการเงิน ณ จังหวัดราชบุรี ในวันที่ ๑๗ ถึง ๑๘ สิงหาคม ๒๕๕๖ และใหจำเลยที่ ๑ ถึงที่ ๕ ที่ ๘ ที่ ๑๔ ที่ ๒๐ ที่ ๒๓ ที่ ๓๕ และที่ ๕๐ ถึงที่ ๗๘ ประชุมซักซอมความเขาใจเกี่ยวกับการพัสดุ มติ คณะรัฐมนตรี กฎหมาย และคำสั่งที่เกี่ยวของกับการดำเนินงานของฝายบริหารทั่วไป ณ จังหวัดชุมพร ในวันที่ ๒๐ ถึง ๒๓ กรกฎาคม ๒๕๕๖ ตอมาโจทกจายเงินคาทำงานในวันหยุดใหแกจำเลยทั้ง เจ็ดสิบแปด ปญหาที่ตองวินิจฉัยตามอุทธรณโจทกประการแรกมีวา ฟองโจทกขาดอายุความ เห็นวา คดีนี้โจทกฟองขอใหจำเลยทั้งเจ็ดสิบแปดคืนเงินคาทำงานในวันหยุดโดยอางวาการเบิกจายไมชอบ ดวยระเบียบโจทก จึงเปนเรื่องที่โจทกซึ่งเปนเจาของทรัพยสินฟองเรียกทรัพยสินที่จำเลยทั้ง เจ็ดสิบแปดไดรับไปโดยมิชอบและโจทกในฐานะเจาของทรัพยสินยอมมีสิทธิติดตามเอาคืนไดตาม


๓๙๘ ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา ๑๓๓๖ ซึ่งไมมีกำหนดอายุความ กรณีมิใชฟองเรียก ใหคืนทรัพยตามลักษณะลาภมิควรได อันจะนำอายุความตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา ๔๑๙ มาใชบังคับ ฟองโจทกจึงไมขาดอายุความ อุทธรณของโจทกฟงขึ้น ปญหาที่ตองวินิจฉัยตามอุทธรณของโจทกประการที่สองมีวา โจทกเรียกเงินคาทำงาน ในวันหยุดคืนจากจำเลยทั้งเจ็ดสิบแปดไดหรือไม เห็นวา ระเบียบการทองเที่ยวแหงประเทศไทย วาดวยการเบิกคาทำงานในวันหยุดและคาลวงเวลา พ.ศ. ๒๕๕๓ ขอ ๔ ใหนิยามของคาทำงาน ในวันหยุดไวหมายความวา เงินที่โจทกจายใหกับผูปฏิบัติงานเปนการตอบแทนการทำงานใน วันหยุด ทั้งขอ ๕ ของระเบียบดังกลาวกำหนดวา การสั่งใหผูปฏิบัติงานมาทำงานในวันหยุดหรือ ทำงานเกินเวลาทำงานปกติจะตองมีจำนวนชั่วโมงการทำงานสูงสุดไมเกินวันละ ๕ ชั่วโมง ในกรณี จำเปนตองทำงานเกิน ๕ ชั่วโมง ผูบังคับบัญชาตองเสนอขออนุมัติจากผูวาการโจทกเปนกรณี ๆ ไป แตปรากฏตามหนังสือสำนักงานการตรวจเงินแผนดิน ที่ ตผ ๐๐๒๖/๓๒๓๔ ลงวันที่ ๑๖ ตุลาคม ๒๕๕๘ แจงการตรวจสอบงบการเงินสำหรับปสิ้นสุดวันที่ ๓๐ กันยายน ๒๕๕๖ วา การเบิกคาใชจาย ในการเดินทางไปปฏิบัติราชการมีการเบิกคาทำงานในวันหยุดรวมอยูดวย และการขออนุมัติ เดินทางไปราชการโครงการตาง ๆ เปนการขออนุมัติเดินทางไปประชุม สัมมนา และสำรวจ แหลงทองเที่ยวเพื่อเพิ่มพูนความรูประสบการณ ซึ่งไมใชการทำงานตามปกติที่ปฏิบัติอยูในเวลา ปกติ ทั้งการอนุมัติจากผูมีอำนาจเปนเพียงการอนุมัติใหเดินทางไปประชุม สัมมนา และสำรวจ แหลงทองเที่ยวตามรายงานการขออนุมัติเดินทางเทานั้น ไมไดมีการขออนุญาตทำงานวันหยุด แตอยางใด แตมีการเบิกคาทำงานในวันหยุดวันละ ๘ ชั่วโมง เปนการเบิกจายเงินที่ไมถูกตอง ตามระเบียบการทองเที่ยวแหงประเทศไทยวาดวยการเบิกคาทำงานในวันหยุดและคาลวงเวลา พ.ศ. ๒๕๕๓ รวมทั้งเปนการเบิกจายที่ซ้ำซอนกับคาใชจายเดินทางไปราชการฝกอบรมการประชุม ราชการดวย ดังนั้น เมื่อจำเลยทั้งเจ็ดสิบแปดไปประชุม สัมมนา และสำรวจแหลงทองเที่ยว ซึ่งไมใช/การทำงาน...การทำงานในวันหยุดที่มีการอนุมัติถูกตองตามระเบียบและขอบังคับโจทก และโจทกจายเงินใหแกจำเลยทั้งเจ็ดสิบแปดซ้ำซอนกับคาใชจายในการสัมมนา ประชุม และสำรวจ แหลงทองเที่ยว การเบิกจายเงินดังกลาวจึงไมชอบ จำเลยทั้งเจ็ดสิบแปดตองคืนเงินที่ไดรับไป แกโจทก อุทธรณของโจทกฟงขึ้น พิพากษากลับ ใหจำเลยที่ ๑ คืนเงิน ๑๑,๗๒๘ บาท จำเลยที่ ๒ คืนเงิน ๑๗,๙๒๘ บาท จำเลยที่ ๓ คืนเงิน ๑๐,๑๖๘ บาท จำเลยที่ ๔ คืนเงิน ๑๑,๑๗๖ บาท จำเลยที่ ๕ คืนเงิน ๕,๒๗๔ บาท จำเลยที่ ๖ คืนเงิน ๑๑,๖๐๓ บาท จำเลยที่ ๗ คืนเงิน ๓๘๙ บาท จำเลยที่ ๘ คืนเงิน ๑,๙๒๔ บาท จำเลยที่ ๙ คืนเงิน ๕๖๑ บาท จำเลยที่ ๑๐ คืนเงิน ๔๔๗ บาท จำเลยที่ ๑๑ คืนเงิน ๓๓๘ บาท


๓๙๙ จำเลยที่ ๑๒ คืนเงิน ๑,๖๖๖ บาท จำเลยที่ ๑๓ คืนเงิน ๑,๑๗๑ บาท จำเลยที่ ๑๔ คืนเงิน ๑๙,๕๘๒ บาท จำเลยที่ ๑๕ คืนเงิน ๕,๗๘๒ บาท จำเลยที่ ๑๖ คืนเงิน ๑๑,๓๔๘ บาท จำเลยที่ ๑๗ คืนเงิน ๔,๓๒๖ บาท จำเลยที่ ๑๘ คืนเงิน ๖,๓๕๐ บาท จำเลยที่ ๑๙ คืนเงิน ๙,๓๑๒ บาท จำเลยที่ ๒๐ คืนเงิน ๑๐,๔๐๘ บาท จำเลยที่ ๒๑ คืนเงิน ๔,๔๖๘ บาท จำเลยที่ ๒๒ คืนเงิน ๔,๐๕๘ บาท จำเลยที่ ๒๓ คืนเงิน ๕,๕๔๔ บาท จำเลยที่ ๒๔ คืนเงิน ๖๗๖ บาท จำเลยที่ ๒๕ คืนเงิน ๔,๔๒๒ บาท จำเลยที่ ๒๖ คืนเงิน ๒,๒๖๘ บาท จำเลยที่ ๒๗ คืนเงิน ๑๗,๕๙๘ บาท จำเลยที่ ๒๘ คืนเงิน ๔,๑๒๕ บาท จำเลยที่ ๒๙ คืนเงิน ๓,๔๑๐ บาท จำเลยที่ ๓๐ คืนเงิน ๑,๐๙๐ บาท จำเลยที่ ๓๑ คืนเงิน ๑,๒๑๑ บาท จำเลยที่ ๓๒ คืนเงิน ๑๑,๙๓๕ บาท จำเลยที่ ๓๓ คืนเงิน ๙,๕๗๙ บาท จำเลยที่ ๓๔ คืนเงิน ๔,๒๕๕ บาท จำเลยที่ ๓๕ คืนเงิน ๑๓,๑๖๗ บาท จำเลยที่ ๓๖ คืนเงิน ๕,๔๘๕ บาท จำเลยที่ ๓๗ คืนเงิน ๑,๖๘๓ บาท จำเลยที่ ๓๘ คืนเงิน ๕,๘๖๔ บาท จำเลยที่ ๓๙ คืนเงิน ๓,๐๑๘ บาท จำเลยที่ ๔๐ คืนเงิน ๒,๔๒๒ บาท จำเลยที่ ๔๑ คืนเงิน ๒,๑๙๔ บาท จำเลยที่ ๔๒ คืนเงิน ๒,๗๔๖ บาท จำเลยที่ ๔๓ คืนเงิน ๓,๑๒๘ บาท จำเลยที่ ๔๔ คืนเงิน ๒,๑๙๔ บาท จำเลยที่ ๔๕ คืนเงิน ๑,๘๗๒ บาท จำเลยที่ ๔๖ คืนเงิน ๑,๙๓๒ บาท จำเลยที่ ๔๗ คืนเงิน ๑,๗๕๘ บาท จำเลยที่ ๔๘ คืนเงิน ๒,๔๒๒ บาท จำเลยที่ ๔๙ คืนเงิน ๑,๐๒๘ บาท จำเลยที่ ๕๐ คืนเงิน ๒,๙๒๐ บาท จำเลยที่ ๕๑ คืนเงิน ๓,๗๔๔ บาท จำเลยที่ ๕๒ คืนเงิน ๕,๘๕๒ บาท จำเลยที่ ๕๓ คืนเงิน ๕,๑๖๐ บาท จำเลยที่ ๕๔ คืนเงิน ๓,๖๒๔ บาท จำเลยที่ ๕๕ คืนเงิน ๔,๑๑๖ บาท จำเลยที่ ๕๖ คืนเงิน ๑,๖๐๐ บาท จำเลยที่ ๕๗ คืนเงิน ๑,๓๕๒ บาท จำเลยที่ ๕๘ คืนเงิน ๑,๓๕๒ บาท จำเลยที่ ๕๙ คืนเงิน ๑๐,๙๘๔ บาท จำเลยที่ ๖๐ คืนเงิน ๔,๕๓๖ บาท จำเลยที่ ๖๑ คืนเงิน ๕,๔๙๒ บาท จำเลยที่ ๖๒ คืนเงิน ๑,๖๐๐ บาท จำเลยที่ ๖๓ คืนเงิน ๖,๔๗๖ บาท จำเลยที่ ๖๔ คืนเงิน ๔,๘๔๔ บาท จำเลยที่ ๖๕ คืนเงิน ๗,๐๔๐ บาท จำเลยที่ ๖๖ คืนเงิน ๕,๓๒๔ บาท จำเลยที่ ๖๗ คืนเงิน ๔,๘๔๔ บาท จำเลยที่ ๖๘ คืนเงิน ๔,๒๕๒ บาท จำเลยที่ ๖๙ คืนเงิน ๓,๔๐๔ บาท จำเลยที่ ๗๐ คืนเงิน ๕,๖๖๔ บาท จำเลยที่ ๗๑ คืนเงิน ๕,๑๖๐ บาท จำเลยที่ ๗๒ คืนเงิน ๗,๗๐๘ บาท จำเลยที่ ๗๓ คืนเงิน ๔,๘๔๔ บาท จำเลยที่ ๗๔ คืนเงิน ๕,๓๒๔ บาท จำเลยที่ ๗๕ คืนเงิน ๕,๔๙๒ บาท จำเลยที่ ๗๖ คืนเงิน ๑,๓๕๒ บาท จำเลยที่ ๗๗ คืนเงิน ๓,๘๖๔ บาท และจำเลยที่ ๗๘ คืนเงิน ๓,๖๒๔ บาท พรอมดอกเบี้ยอัตรารอยละ ๗.๕ ตอป ของตนเงินดังกลาว นับแตวันฟองเปนตนไปจนกวาจะชำระเสร็จแกโจทก. ธนวรรณ นราวิริยะกุล - ยอ สุโรจน จันทรพิทักษ - ตรวจ (นงนภา จันทรศักดิ์ ลิ่มไพบูลย - เริงศักดิ์ วิริยะชัยวงศ - นาวี สกุลวงศธนา)


๔๐๐ คำพิพากษาศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษที่ ๔๕๗๐ - ๔๕๗๑/๒๕๖๒ นายอนันต กิตติธีระศานต กับพวก โจทก บริษัทไอ ซี พี ลัดดา จำกัด จำเลย พ.ร.บ. คุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา ๑๒๐ (เดิม) พ.ร.บ. จัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๘ วรรคสอง การฟองคดีแรงงานนั้น ในกรณีที่กฎหมายบัญญัติใหรองเรียนตอพนักงานเจาหนาที่ หรือปฏิบัติตามขั้นตอนและวิธีการที่กฎหมายกําหนดไว จะดําเนินการฟองคดีในศาลแรงงาน ไดตอเมื่อไดปฏิบัติตามขั้นตอนและวิธีการที่กฎหมายบัญญัติไวแลวตาม พ.ร.บ. จัดตั้ง ศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๘ วรรคสอง ดังนั้น กรณีที่ นายจางยายสถานประกอบกิจการ โดยฝาฝนมาตรา ๑๒๐ (เดิม) แหง พ.ร.บ. คุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ ลูกจางตองยื่นคํารองตอคณะกรรมการสวัสดิการแรงงานภายในกําหนดเวลา สามสิบวัน นับแตวันครบกําหนดการจายเงินดังกลาว เพื่อใหคณะกรรมการสวัสดิการ แรงงานมีคําวินิจฉัยหรือคําสั่งเสียกอน โดยไมปรากฏวา โจทกที่ ๕ และโจทกที่ ๖ ไปยื่น คํารองตอคณะกรรมการสวัสดิการแรงงานในกรณีที่จําเลยไมจายคาชดเชยพิเศษ หรือ คาชดเชยพิเศษแทนการบอกกลาวลวงหนา กอนภายในสามสิบวัน นับแตวันครบกําหนด การจายเงินดังกลาว โจทกที่ ๕ และที่ ๖ จึงมิไดปฏิบัติใหเปนไปตามขั้นตอนและวิธีการ ที่กฎหมายกําหนดไว โจทกที่ ๕ และที่ ๖ จึงไมมีสิทธินําคดีไปฟองตอศาลแรงงานได โจทกที่ ๕ และที่ ๖ ฟอง ขอใหบังคับจำเลยจายคาเสียหายจากการเลิกจางที่ไมเปนธรรม ๑๘๕,๘๙๘ บาท พรอมดอกเบี้ยอัตรารอยละ ๗.๕ ตอป คาจางคางจาย ๙,๙๓๓ บาท คาชดเชย พิเศษและดอกเบี้ยผิดนัด ๒๖๕,๗๒๙ บาท และคาชดเชยพิเศษแทนการบอกกลาวลวงหนาและ ดอกเบี้ยผิดนัด ๓๓,๒๑๖ บาท พรอมดอกเบี้ยอัตราละ ๑๕ ตอป ของตนเงินแตละจำนวนดังกลาว นับแตวันฟองเปนตนไปจนกวาจะชำระเสร็จแกโจทกที่ ๕ และจายคาเสียหายจากการเลิกจางที่ ไมเปนธรรม ๑๗๓,๐๒๔ บาท พรอมดอกเบี้ยอัตรารอยละ ๗.๕ ตอป คาจางคางจาย ๙,๒๔๕ บาท คาชดเชยพิเศษและดอกเบี้ยผิดนัด ๓๓๒,๒๖๕ บาท และคาชดเชยพิเศษแทนการบอกกลาว


๔๐๑ ลวงหนาและดอกเบี้ยผิดนัด ๓๐,๙๑๖ บาท พรอมดอกเบี้ยอัตรารอยละ ๑๕ ตอป ของตนเงิน แตละจำนวนดังกลาว นับแตวันฟองเปนตนไปจนกวาจะชำระเสร็จแกโจทกที่ ๖ จำเลยใหการ ขอใหยกฟอง ศาลแรงงานกลาง พิพากษายกฟอง โจทกที่ ๕ และที่ ๖ อุทธรณ ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษแผนกคดีแรงงานวินิจฉัยวา ศาลแรงงานกลางฟงขอเท็จจริง และปรากฏขอเท็จจริงที่คูความไมไดโตแยงกันเปนยุติวา จำเลยเปนนิติบุคคลประเภทบริษัทจำกัด เดิมใชชื่อวาบริษัทลัดดา จำกัด เมื่อวันที่ ๑๔ มกราคม ๒๕๕๓ จำเลยจางโจทกที่ ๕ เขาทำงาน ในตำแหนงเจาหนาที่ตอนรับและรับโทรศัพท ไดรับคาจางอัตราสุดทายเดือนละ ๒๘,๗๕๐ บาท และเมื่อวันที่ ๑ มีนาคม ๒๕๔๗ จำเลยจางโจทกที่ ๖ เขาทำงานเปนลูกจางในตำแหนงพนักงาน ขับรถ ไดรับคาจางอัตราสุดทายเดือนละ ๒๖,๗๕๙ บาท เดิมจำเลยมีสำนักงานตั้งอยูเลขที่ ๙๙/๒๒๐ ถนนเทศบาลสงเคราะห แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร เมื่อวันที่ ๑๒ มกราคม ๒๕๖๐ จำเลยประกาศเปลี่ยนแปลงชื่อบริษัทและที่ตั้งสำนักงานเปนเลขที่ ๔๒ อาคารสงเสริม ประกันภัย ชั้น ๕ ถนนสุรวงศ แขวงสี่พระยา เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร โจทกที่ ๕ และที่ ๖ แจงความประสงควาไมสามารถยายไปทำงานใหแกจำเลย ณ สำนักงานแหงใหมได เนื่องจากมี ผลกระทบสำคัญตอการดำรงชีวิตตามปกติทั้งการเดินทาง คาใชจาย ครอบครัว สุขภาพ และการอื่น ๆ วันที่ ๒๗ มกราคม ๒๕๖๐ จำเลยประกาศวันยายสำนักงานไปอยูที่แหงใหม โดยกำหนด วันยายคือวันที่ ๒๐ กุมภาพันธ ๒๕๖๐ ตอมาวันที่ ๑๖ กุมภาพันธ ๒๕๖๐ จำเลยประกาศแจงวา การยายสถานประกอบกิจการของจำเลยไมมีผลกระทบสำคัญตอการดำรงชีวิตตามปกติ หรือ สภาพความเปนอยูทั้งของลูกจางหรือครอบครัว กอนฟองคดีนี้โจทกที่ ๕ และที่ ๖ เคยยื่นคำรอง ตอพนักงานตรวจแรงงาน สำนักงานสวัสดิการและคุมครองแรงงานกรุงเทพมหานคร พื้นที่ ๙ ขอใหมีคำสั่งใหจำเลยจายคาชดเชย และสินจางแทนการบอกกลาวลวงหนา แตตอมาโจทกที่ ๕ และ ที่ ๖ ถอนคำรองดังกลาว แลววินิจฉัยวาการที่จำเลยยายที่ตั้งสำนักงานไปยังเลขที่ ๔๒ อาคาร สงเสริมประกันภัย ถนนสุรวงศ แขวงสี่พระยา เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร โดยใหพนักงาน ทั้งหมดยายไปทำงาน ณ สถานประกอบกิจการแหงใหมในวันที่ ๒๐ กุมภาพันธ ๒๕๖๐ โดยไมมี การทำงานที่สถานประกอบกิจการเดิมอีกตอไป จึงถือไดวาเปนการยายสถานประกอบกิจการ ไปตั้ง ณ สถานที่อื่นตามพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา ๑๒๐ (เดิม) วันที่ ๒๗ มกราคม ๒๕๖๐ จำเลยประกาศยายสถานประกอบกิจการไปสถานที่แหงใหมโดยกำหนดให วันที่ ๒๐ กุมภาพันธ ๒๕๖๐ เปนวันเริ่มตนทำงาน จึงตองถือวาจำเลยแจงยายสถานประกอบ


๔๐๒ กิจการโดยมีผลตามกฎหมายในวันที่ ๒๗ มกราคม ๒๕๖๐ แมโจทกที่ ๕ และที่ ๖ มีหนังสือแจง ความประสงคบอกเลิกสัญญาจางกอนวันที่ ๒๗ มกราคม ๒๕๖๐ ก็ถือไดวาโจทกที่ ๕ และที่ ๖ ใชสิทธิบอกเลิกสัญญาจางภายในสามสิบวันนับแตวันที่ไดรับแจงจากนายจางตามฎหมายแลว และกรณีการเรียกคาชดเชยพิเศษ และคาชดเชยพิเศษแทนการบอกกลาวลวงหนา กฎหมาย กำหนดใหลูกจางตองยื่นคำรองตอคณะกรรมการสวัสดิการแรงงานภายในสามสิบวัน นับแตวัน ครบกำหนดการจายคาชดเชยพิเศษ หรือคาชดเชยพิเศษแทนการบอกกลาวลวงหนา เมื่อ คณะกรรมการสวัสดิการแรงงานมีคำสั่งดังกลาวแลว หากลูกจางไมพอใจจะตองอุทธรณคำสั่งดังกลาว ตอศาลภายในสามสิบวันนับแตวันที่ไดทราบคำสั่งตามพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา ๑๒๐ วรรคทาย (เดิม) ดังนั้นการที่โจทกที่ ๕ และที่ ๖ ไมไดยื่นคำรองตอคณะกรรมการ สวัสดิการแรงงานเพื่อใหพิจารณาและวินิจฉัยกรณีดังกลาวกอนภายในสามสิบวันนับแตวัน ครบกำหนดการจายคาชดเชยพิเศษดังกลาว จึงเปนการที่โจทกที่ ๕ และที่ ๖ ยังไมไดปฏิบัติตาม ขั้นตอนและวิธีการที่กฎหมายบัญญัติไว โจทกที่ ๕ และที่ ๖ จึงไมมีอำนาจฟองจำเลยใหจาย คาชดเชยพิเศษ และคาชดเชยพิเศษแทนการบอกกลาวลวงหนา เมื่อโจทกที่ ๕ และที่ ๖ มีหนังสือ บอกเลิกสัญญาจางตอจำเลยโดยความสมัครใจเมื่อวันที่ ๑๙ มกราคม ๒๕๖๐ และโจทกที่ ๕ และที่ ๖ ไมไดไปทำงานใหแกจำเลยอีกตอไป จำเลยจึงไมตองรับผิดจายคาจางระหวางวันที่ ๒๐ ถึงวันที่ ๒๘ กุมภาพันธ ๒๕๖๐ และเปนกรณีที่จำเลยไมไดเลิกจางโจทกที่ ๕ และที่ ๖ จึงไมใชเปนการ เลิกจางที่ไมเปนธรรม จำเลยจึงไมตองรับผิดชำระคาเสียหายใหแกโจทกที่ ๕ และที่ ๖ โจทกที่ ๕ และที่ ๖ อุทธรณในขอ ๒.๑ วา การยายสถานประกอบกิจการของจำเลยเปน การกระทำที่ไมสุจริตโดยจำเลยมีเจตนาที่จะเลิกจางโจทกที่ ๕ และที่ ๖ มาตั้งแตแรก จำเลยหยิบยก เรื่องการยายสถานประกอบกิจการมาเปนสาเหตุ เนื่องจากผูถือหุนกลุมใหมไดเขามาซื้อกิจการ ของจำเลยโดยผูถือหุนกลุมใหมหวังแตเพียงกลุมลูกคาของจำเลยเดิมเทานั้น มิไดตองการให ลูกจางเดิมของจำเลยยายไปทำงานดวย และสำนักงานแหงใหมก็เปนที่ตั้งของสำนักงานของ ผูถือหุนใหม เห็นวา แมโจทกที่ ๕ และที่ ๖ จะกลาวอางในคำฟองวาการกระทำของจำเลยมีเจตนา ที่จะเลิกจางโจทกที่ ๕ และที่ ๖ โดยไมชอบดวยกฎหมาย แตศาลแรงงานกลางมิไดกำหนดเปน ประเด็นขอพิพาทไวเพียงแตกำหนดประเด็นขอพิพาทวาการเลิกจางโจทกที่ ๕ และที่ ๖ เปนการ เลิกจางที่ไมเปนธรรมหรือไม และศาลแรงงานกลางไดวินิจฉัยวาโจทกที่ ๕ และที่ ๖ มีหนังสือ บอกเลิกสัญญาจางในวันที่ ๑๙ มกราคม ๒๕๖๐ โดยไมประสงคจะไปทำงานใหแกจำเลยอีกตอไป การที่โจทกที่ ๕ และที่ ๖ ไมไปทำงานใหแกจำเลยเปนความประสงคโดยสมัครใจของโจทกที่ ๕ และที่ ๖ เอง เปนเหตุใหสัญญาจางสิ้นสุดลง จำเลยไมไดเลิกจางโจทกที่ ๕ และที่ ๖ การที่โจทก


๔๐๓ ที่ ๕ และที่ ๖ อุทธรณดังกลาวขางตน จึงเปนอุทธรณในขอที่มิไดยกขึ้นวากันมาแลวโดยชอบใน ศาลแรงงานกลาง ตองหามมิใหอุทธรณตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพง มาตรา ๒๒๕ วรรคหนึ่ง ประกอบพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๕๔ วรรคหนึ่ง ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษไมรับวินิจฉัย มีปญหาที่ตองวินิจฉัยอุทธรณของโจทกที่ ๕ และที่ ๖ ในขอ ๒.๒ และขอ ๒.๓ วาโจทก ที่ ๕ และที่ ๖ มีอำนาจฟองจำเลยใหจายคาชดเชยพิเศษ และคาชดเชยพิเศษแทนการบอกกลาว ลวงหนาหรือไม โดยโจทกที่ ๕ และที่ ๖ อุทธรณวาหลังจากที่จำเลยประกาศแจงเรื่องการยาย สถานประกอบกิจการของจำเลยวาไมสงผลกระทบตอลูกจางเมื่อวันที่ ๑๖ กุมภาพันธ ๒๕๖๐ และจำเลยปฏิเสธการจายคาชดเชยพิเศษใหแกโจทกที่ ๕ และที่ ๖ โจทกที่ ๕ และที่ ๖ จึงยื่น คำรองตอพนักงานตรวจแรงงาน สำนักงานสวัสดิการและคุมครองแรงงานกรุงเทพมหานคร พื้นที่ ๙ เพื่อขอใหมีคำสั่งใหจำเลยจายคาชดเชยพิเศษ โจทกที่ ๕ และที่ ๖ มิไดมีเจตนาที่จะไม ปฏิบัติตามขั้นตอนของกฎหมายที่กำหนดวากรณีนายจางยายสถานประกอบกิจการ ลูกจางตอง ไปยื่นคำรองตอคณะกรรมการสวัสดิการแรงงานเพื่อพิจารณา แตเนื่องดวยโจทกที่ ๕ และที่ ๖ เขาใจวาสามารถไปยื่นคำรองตอพนักงานตรวจแรงงานที่สำนักงานสวัสดิการและคุมครองแรงงาน กรุงเทพมหานคร พื้นที่ ๙ เพื่อขอใหสงเรื่องเขาคณะกรรมการสวัสดิการแรงงานพิจารณาตอไปได โดยพนักงานตรวจแรงงานดังกลาวไดตรวจและรับคำรองของโจทกที่ ๕ และที่ ๖ โดยมิไดอิดเอื้อน หรือแจงใหโจทกที่ ๕ และที่ ๖ ไปยื่นคำรองตอหนวยงานอื่น แตพนักงานตรวจแรงงานมิไดดำเนิน การใด ๆ โจทกที่ ๕ และที่ ๖ จึงถอนคำรองแลวมายื่นฟองคดีตอศาลเอง เห็นวา การฟองคดี แรงงานนั้นพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๘ วรรคสอง ซึ่งแกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๐ บัญญัติวาในกรณีที่กฎหมายวาดวยการคุมครองแรงงาน กฎหมายวาดวย แรงงานสัมพันธ กฎหมายวาดวยแรงงานรัฐวิสาหกิจสัมพันธ กฎหมายวาดวยการจัดหางานและ คุมครองคนหางาน กฎหมายวาดวยการประกันสังคม หรือกฎหมายวาดวยเงินทดแทนบัญญัติให รองเรียนตอพนักงานเจาหนาที่ หรือปฏิบัติตามขั้นตอนและวิธีการที่กำหนดไว จะดำเนินการใน ศาลแรงงานไดตอเมื่อไดปฏิบัติตามขั้นตอนและวิธีการที่กฎหมายดังกลาวบัญญัติไวแลวจึงจะ ดำเนินการฟองคดีในศาลแรงงานได เห็นไดวากรณีตามมาตรา ๑๒๐ (เดิม) แหงพระราชบัญญัติ คุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ เปนกฎหมายวาดวยการคุมครองแรงงาน ซึ่งไดบัญญัติไวเปน ขั้นตอนและวิธีการใหตองยื่นคำรองตอคณะกรรมการสวัสดิการแรงงานเสียกอน เมื่อคณะกรรมการ สวัสดิการแรงงานไดมีคำวินิจฉัยตามมาตรา ๑๒๐ (เดิม) แลว นายจางหรือลูกจางที่ไมพอใจตอ


๔๐๔ คำวินิจฉัยหรือคำสั่งดังกลาวจึงจะมีสิทธินำคดีไปสูศาลแรงงานไดภายในสามสิบวันนับแตวันที่ ไดทราบคำสั่ง ดังนั้น กรณีที่นายจางยายสถานประกอบกิจการโดยฝาฝนมาตรา ๑๒๐ (เดิม) และ ลูกจางมีสิทธิไดรับคาชดเชยพิเศษหรือคาชดเชยพิเศษแทนการบอกกลาวลวงหนา แตนายจาง ไมยอมจายเงินดังกลาวใหแกลูกจาง ลูกจางจะนำคดีมาฟองตอศาลแรงงานโดยตรงเพื่อใหศาลแรงงาน บังคับนายจางใหจายเงินแกลูกจางไมได ลูกจางตองยื่นคำรองตอคณะกรรมการสวัสดิการแรงงาน ภายในกำหนดเวลาสามสิบวันนับแตวันครบกำหนดการจายเงินดังกลาวเพื่อใหคณะกรรมการ สวัสดิการแรงงานมีคำวินิจฉัยหรือคำสั่งเสียกอน หากลูกจางไมพอใจคำสั่งของคณะกรรมการ สวัสดิการแรงงานจึงจะมีสิทธินำคดีไปฟองตอศาลแรงงานได คดีนี้ศาลแรงงานกลางฟงขอเท็จจริง วากอนฟองคดี โจทกที่ ๕ และที่ ๖ เคยยื่นคำรองตอพนักงานตรวจแรงงาน สำนักงานสวัสดิการ และคุมครองแรงงานกรุงเทพมหานคร พื้นที่ ๙ ขอใหมีคำสั่งใหจำเลยจายคาชดเชย และสินจาง แทนการบอกกลาวลวงหนา ตอมาโจทกที่ ๕ และที่ ๖ ถอนคำรองดังกลาว โดยไมปรากฏวาโจทก ที่ ๕ และที่ ๖ ไดไปยื่นคำรองตอคณะกรรมการสวัสดิการแรงงานเพื่อใหพิจารณาและวินิจฉัยกรณี ที่จำเลยไมจายคาชดเชยพิเศษ หรือคาชดเชยพิเศษแทนการบอกกลาวลวงหนาตามพระราชบัญญัติ คุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา ๑๒๐ วรรคสาม (เดิม) กอนภายในสามสิบวันนับแตวันครบกำหนด จายคาชดเชยพิเศษดังกลาวตามพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ วรรคสี่ (เดิม) โจทกที่ ๕ และที่ ๖ จึงมิไดปฏิบัติใหเปนไปตามขั้นตอนและวิธีการตามพระราชบัญญัติจัดตั้ง ศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๘ วรรคสอง ดังนั้น โจทกที่ ๕ และที่ ๖ จึงไมมีสิทธินำคดีไปฟองตอศาลแรงงานได ที่ศาลแรงงานกลางพิพากษาวาโจทกที่ ๕ และที่ ๖ ไมมีอำนาจฟองจำเลยมานั้นชอบแลว ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษเห็นพองดวย อุทธรณ ของโจทกที่ ๕ และที่ ๖ ฟงไมขึ้น และเมื่อไดวินิจฉัยประเด็นเรื่องอำนาจฟองแลว ก็ไมจำตอง วินิจฉัยอุทธรณของโจทกที่ ๕ และที่ ๖ ในขออื่นอีกเพราะไมทำใหผลแหงคดีเปลี่ยนแปลงไป พิพากษายืน. (นาวี สกุลวงศธนา - เริงศักดิ์ วิริยะชัยวงศ - นงนภา จันทรศักดิ์ ลิ่มไพบูลย) มนุเชษฐ โรจนศิริบุตร - ยอ สุโรจน จันทรพิทักษ - ตรวจ


๔๐๕ คำพิพากษาศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษที่ ๖๔๒๓/๒๕๖๒ นางสาวขณิทภา เสนสี กับพวก โจทก สหกรณการเกษตรนิคมฯ เชียงพิณ จำกัด จำเลย ป.พ.พ. มาตรา ๒๔๑ ป.วิ.พ. มาตรา ๒๒๕ วรรคหนึ่ง พ.ร.บ. จัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๕๔ วรรคหนึ่ง  ประเด็นสําคัญแหงคดีเปนกรณีที่โจทกทั้งสามกระทําการทุจริตตอหนาที่ รวมกัน ทําเอกสารเท็จ ปลอมรายงานการประชุมของคณะทํางานเงินกองทุนสงเคราะหเจาหนาที่ สหกรณ และมีการฝาฝนระเบียบจําเลย วาดวยเงินกองทุนสงเคราะหเจาหนาที่สหกรณ พ.ศ. ๒๕๕๖ ขอ ๑๓ (๒) หรือไม และการที่จําเลยเลิกจางโจทกทั้งสามเปนการเลิกจางที่ ไมเปนธรรมหรือไม สวนระเบียบจําเลย วาดวยเงินกองทุนสงเคราะหเจาหนาที่สหกรณ พ.ศ. ๒๕๖๐ ที่มีการแกไขตามที่โจทกทั้งสามอุทธรณวามีผลใชบังคับไดนั้น ก็เปนเพียง การแกไขการกําหนดวงเงินของกองทุนที่จะใหกูยืมในขอ ๕ (๕) ใหมีความชัดเจนยิ่งขึ้น และเปลี่ยนแปลงคาตอบแทนจากการกูยืมเงินในขอ ๑๑ จากรอยละ ๖ ตอป เปนรอยละ ๗ ตอป ซึ่งมิไดเกี่ยวของกับประเด็นขอพิพาทแหงคดีนี้ จึงเปนอุทธรณในขอที่มิไดยกขึ้นวากัน มาแลวโดยชอบในศาลแรงงานภาค ๔ ตองหามมิใหอุทธรณตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๒๒๕ วรรคหนึ่ง ประกอบ พ.ร.บ. จัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๕๔ วรรคหนึ่ง  สิทธิยึดหนวงตาม ป.พ.พ. มาตรา ๒๔๑ หมายถึง สิทธิของผูครอบครองทรัพยสิน ของผูอื่น และมีหนี้อันเปนคุณประโยชนแกตนเกี่ยวดวยทรัพยสินซึ่งครองนั้น ผูนั้นจะ ยึดหนวงทรัพยสินนั้นไวจนกวาจะไดรับชําระหนี้ก็ได แตเมื่อศาลแรงงานภาค ๔ วินิจฉัยวา จําเลยมิไดดําเนินการใหมีหลักประกันไมเกินจํานวนมูลคาของหลักประกันตามที่กําหนด ไวในประกาศกระทรวงแรงงานดังกลาวภายในสามสิบวัน เปนการฝาฝนประกาศกระทรวง แรงงานดังกลาวตกเปนโมฆะ ตองคืนหลักประกันการทํางานหรือหลักประกันความเสียหาย ในการทํางานแกโจทกทั้งสามมาแตเริ่มแรก สวนมูลหนี้ที่โจทกทั้งสามตองชําระแกจําเลย ตามคําพิพากษาศาลแรงงานภาค ๔ เปนหนี้ที่โจทกทั้งสามกระทําการทุจริตตอหนาที่ ฝาฝน


๔๐๖ ขอบังคับเกี่ยวกับการทํางาน ระเบียบ หรือคําสั่งของจําเลย ดังนั้น มูลหนี้ที่โจทกทั้งสาม ตองชําระแกจําเลยตามคําพิพากษาดังกลาว จึงไมเปนหนี้อันเปนคุณประโยชนแกจําเลย ที่เกี่ยวดวยกับโฉนดที่ดินทั้งสามแปลงนั้นอีกตอไป จําเลยจึงไมมีสิทธิยึดหนวงที่ดิน ทั้งสามแปลงดังกลาวไว ที่ศาลแรงงานภาค ๔ พิพากษาใหจําเลยคืนโฉนดที่ดินทั้งสามแปลง ดังกลาวโดยปลอดจํานองแกโจทกทั้งสามนั้น จึงชอบแลว โจทกทั้งสามฟองและแกไขคำฟอง ขอใหบังคับจำเลยเพิกถอนคำสั่งที่ ๑/๒๕๖๑ ลงวันที่ ๑๒ มีนาคม ๒๕๖๑ ใหโจทกทั้งสามกลับเขาทำงานในตำแหนงเดิม โดยไดรับคาจางเทากับที่ไดรับ ในขณะเลิกจาง หากไมสามารถรับกลับเขาทำงานได ใหจำเลยชดใชคาเสียหายจากการเลิกจางที่ ไมเปนธรรม สินจางแทนการบอกกลาวลวงหนา คาชดเชย เงินบำเหน็จ พรอมดอกเบี้ย ตามคำขอ ทายฟองของโจทกแตละคน และใหจำเลยจดทะเบียนไถถอนจำนองและคืนตนฉบับที่ดินโฉนด เลขที่ ๑๕๔๐๐๑ เลขที่ดิน ๑๖๗ ตำบลนิคมสงเคราะห อำเภอเมืองอุดรธานี จังหวัดอุดรธานี โฉนดเลขที่ ๓๘๙๘๗ เลขที่ดิน ๓๖๐ ตำบลหนองบัว อำเภอเมืองอุดรธานี จังหวัดอุดรธานี และ โฉนดเลขที่ ๓๗๘ เลขที่ดิน ๒๗ ตำบลหมากหญา อำเภอหนองวัวซอ จังหวัดอุดรธานี แกโจทก ทั้งสามตามลำดับ จำเลยใหการและฟองแยง ขอใหยกฟองโจทกทั้งสาม และบังคับโจทกทั้งสามชดใชเงินตน พรอมดอกเบี้ยตามคำขอทายฟองแยงแกจำเลย โจทกทั้งสามใหการแกฟองแยง ขอใหยกฟองแยง ศาลแรงงานภาค ๔ พิพากษาใหโจทกที่ ๑ ชำระเงิน ๑,๒๐๙,๕๐๐ บาท โจทกที่ ๒ ชำระเงิน ๑,๐๓๗,๕๗๒ บาท และโจทกที่ ๓ ชำระเงิน ๖๒๖,๖๕๒ บาท พรอมดอกเบี้ยอัตรารอยละ ๗.๕ ตอป นับถัดจากวันฟองแยง (ฟองแยงวันที่ ๑๒ กุมภาพันธ ๒๕๖๑) เปนตนไป จนกวาจะ ชำระเสร็จแกจำเลย ใหจำเลยคืนหลักประกันการทำงานที่ดินโฉนดเลขที่ ๑๕๔๐๐๑ เลขที่ดิน ๑๖๗ ตำบลนิคมสงเคราะห อำเภอเมืองอุดรธานี จังหวัดอุดรธานี โดยปลอดจำนองและตนฉบับ โฉนดที่ดินดังกลาวแกโจทกที่ ๑ คืนหลักประกันการทำงานที่ดินโฉนดเลขที่ ๓๘๙๘๗ เลขที่ดิน ๓๖๐ ตำบลหนองบัว อำเภอเมืองอุดรธานี จังหวัดอุดรธานี โดยปลอดจำนองและตนฉบับ โฉนดที่ดิน ดังกลาวแกโจทกที่ ๒ และคืนหลักประกันการทำงานที่ดินโฉนดเลขที่ ๓๗๘ เลขที่ดิน ๒๗ ตำบลหมากหญา อำเภอหนองวัวซอ จังหวัดอุดรธานี โดยปลอดจำนองและตนฉบับโฉนดที่ดิน ดังกลาวแกโจทกที่ ๓ คำขออื่นของโจทกทั้งสามนอกจากนี้ใหยก


๔๐๗ โจทกทั้งสามและจำเลยอุทธรณ ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษแผนกคดีแรงงานวินิจฉัยวา ศาลแรงงานภาค ๔ ฟงขอเท็จจริง แลววินิจฉัยวาในการกูยืมเงินของโจทกทั้งสามใชระเบียบจำเลย วาดวยเงินกองทุนสงเคราะห เจาหนาที่สหกรณ พ.ศ. ๒๕๕๖ แตตามรายงานการประชุมคณะกรรมการเงินกองทุนสงเคราะห เจาหนาที่สหกรณ ครั้งที่ ๑/๒๕๖๐ ไมมีการประชุมกันจริง โจทกที่ ๓ เปนผูเขียนรายงานการ ประชุมดังกลาว โดยโจทกทั้งสามมีเจตนากูยืมเงินจากเงินกองทุนสงเคราะหเจาหนาที่สหกรณ ที่ไมเปนไปตามระเบียบจำเลย วาดวยเงินกองทุนสงเคราะหเจาหนาที่สหกรณ พ.ศ. ๒๕๕๖ ขอ ๑๐ (๑) (๓) ขอ ๑๓ (๒) เปนการจัดทำรายงานการประชุมอันเปนเท็จเพื่อเปนหลักฐานประกอบการ กูยืมเงินอันเปนการทุจริตตอหนาที่ทำใหระบบการเงินของจำเลยขาดสภาพคลอง ผูจัดการของ จำเลยตองไปขอใหสหกรณการเกษตรเมืองหนองหาน จำกัด นำเงินไปฝากกับจำเลย การกระทำ ของโจทกทั้งสามเปนการทำผิดระเบียบจำเลย วาดวยเจาหนาที่ และขอบังคับเกี่ยวกับการทำงาน พ.ศ. ๒๕๕๖ หมวด ๑๓ วินัยและโทษ ขอ ๕๑ (๔) (๖) ขอ ๕๓ (๔) (๕) และขอ ๕๔ (๑) (๒) จำเลย เลิกจางโจทกทั้งสามไดโดยไมตองจายคาชดเชย สินจางแทนการบอกกลาวลวงหนา เงินบำเหน็จ ไมเปนการเลิกจางที่ไมเปนธรรม ไมตองรับโจทกทั้งสามกลับเขาทำงานและชดใชคาเสียหายใด ๆ และเปนการใชสิทธิของลูกจางในการกูยืมเงินสวัสดิการโดยไมสุจริต ทำใหจำเลยขาดสภาพคลอง ในทางการเงินอันเปนการละเมิดตอจำเลย ทำใหจำเลยไดรับความเสียหาย ตองคืนเงินที่คางชำระ คืนแกจำเลยพรอมดอกเบี้ยอัตรารอยละ ๗.๕ ตอป นับแตวันที่จำเลยฟองแยงเปนตนไป แตการ ที่จำเลยรับโจทกทั้งสามเขาทำงานโดยเรียกหลักประกันการทำงานหรือประกันความเสียหายใน การทำงานจากโจทกทั้งสาม โดยใหโจทกทั้งสามนำโฉนดที่ดิน ๓ แปลงดังกลาวจดทะเบียนจำนอง วงเงินประกัน ๕๐๐,๐๐๐ บาท ๔๐๐,๐๐๐ บาท และ ๓๐๐,๐๐๐ บาท ตามลำดับ กอนประกาศใช ประกาศกระทรวงแรงงาน เรื่อง หลักเกณฑและวิธีการเรียกหรือรับหลักประกันการทำงาน หรือ หลักประกันความเสียหายในการทำงานจากลูกจาง พ.ศ. ๒๕๕๑ ซึ่งมีผลใชบังคับเมื่อวันที่ ๔ กรกฎาคม ๒๕๕๑ แตจำเลยมิไดดำเนินการใหมีหลักประกันไมเกินจำนวนมูลคาของหลักประกัน ตามที่กำหนดไวในประกาศภายในสามสิบวัน เปนการฝาฝนประกาศกระทรวงแรงงานดังกลาว ยอมตกเปนโมฆะ จำเลยตองคืนโฉนดที่ดินทั้งสามแปลงดังกลาวโดยปลอดจำนองแกโจทกทั้งสาม ที่โจทกทั้งสามอุทธรณตามขอ ๒.๓ และขอ ๒.๔ วา ศาลแรงงานภาค ๔ วินิจฉัยโดย เชื่อพยานบุคคลของจำเลย ซึ่งลวนแตเปนผูมีสวนไดเสียและอาจตองรับผิดชอบในการกูยืมเงิน ของโจทกทั้งสามก็ดี พยานบุคคลเบิกความลอย ๆ ไมมีพยานอื่นนำสืบสนับสนุนก็ดี มิไดหยิบยก พยานเอกสารและพฤติการณเกี่ยวกับการกูยืมเงินของโจทกทั้งสามขึ้นวินิจฉัยก็ดี พยานที่เกี่ยวของ


๔๐๘ กับการลงนามในรายงานการประชุมไมมีน้ำหนักนาเชื่อถือ มีขอพิรุธก็ดี มิไดหยิบยกขอเท็จจริง กรณีคณะกรรมการดำเนินการ ชุดที่ ๔๐ มีมติใหแกไขระเบียบจำเลย วาดวยเงินกองทุนสงเคราะห เจาหนาที่สหกรณ พ.ศ. ๒๕๖๐ และคณะทำงานเงินกองทุนสงเคราะหเจาหนาที่สหกรณมีมติ ใหโจทกทั้งสามสามารถกูยืมเงินไดก็ดี คณะกรรมการสอบสวนทางวินัยคนหนึ่งมีสาเหตุโกรธเคือง และมีปญหาขัดแยงในการทำงานกับโจทกทั้งสาม ไมเปดโอกาสใหโจทกทั้งสามชี้แจงขอกลาวหา หรือนำพยานบุคคลและพยานเอกสารเขาชี้แจงขอกลาวหาก็ดี มิไดหยิบยกกรณีผูจัดการจำเลย ออกหลักฐานพรอมประทับตราสำคัญของจำเลย จำเลยหักเงินเดือนของโจทกทั้งสามชำระเงินกู มาตลอดทำใหพยานโจทกทั้งสามมีน้ำหนักนาเชื่อถือ ขอตอสูของจำเลยไมมีน้ำหนักนาเชื่อถือ และมีเหตุระแวงสงสัยวาพยานบุคคลของจำเลยมิไดเบิกความตามความเปนจริงก็ดี คำสั่งของ จำเลยที่ ๑๑/๒๕๖๐ ลงวันที่ ๓๑ ตุลาคม ๒๕๖๐ ที่ใหโจทกทั้งสามออกจากการเปนลูกจางเปน คำสั่งที่ไมชอบ และการที่คณะกรรมการดำเนินการของจำเลยมีมติเปลี่ยนโทษเปนไลออกตาม คำสั่งของจำเลยที่ ๑/๒๕๖๑ ลงวันที่ ๑๒ มีนาคม ๒๕๖๑ เปนการเลิกจางที่ไมเปนธรรมก็ดี พยาน หลักฐานของจำเลยยังไมพอรับฟงวาโจทกทั้งสามมีเจตนาทุจริตตอหนาที่ และจงใจไมปฏิบัติตาม ระเบียบเปนเหตุใหจำเลยขาดสภาพคลองทางการเงินทำใหจำเลยเสียหายอยางรายแรงก็ดี เห็นวา ลวนแตเปนการอุทธรณโตแยงดุลพินิจในการรับฟงพยานหลักฐานของศาลแรงงานภาค ๔ อันเปน อุทธรณในขอเท็จจริง ซึ่งตองหามมิใหอุทธรณตาม พ.ร.บ. จัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดี แรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๕๔ วรรคหนึ่ง ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษไมรับวินิจฉัย สวนที่โจทกทั้งสามอุทธรณตามขอ ๒.๑ และขอ ๒.๒ วา การที่ศาลแรงงานภาค ๔ วินิจฉัยวาระเบียบจำเลย วาดวยเงินกองทุนสงเคราะหเจาหนาที่สหกรณ พ.ศ. ๒๕๖๐ ไมมีผล ใชบังคับ โดยตองบังคับตามระเบียบจำเลย วาดวยเงินกองทุนสงเคราะหเจาหนาที่สหกรณ พ.ศ. ๒๕๕๖ นั้น ไมถูกตอง เนื่องจากมิใชเปนการแกไขขอบังคับสหกรณตามพระราชบัญญัติสหกรณ พ.ศ. ๒๕๔๒ มาตรา ๔๔ วรรคหนึ่ง ที่จะกระทำไดก็แตโดยมติที่ประชุมใหญ และตองนำขอบังคับ ที่แกไขเพิ่มเติมไปจดทะเบียนตอนายทะเบียนสหกรณภายในสามสิบวัน จำเลยสามารถออกระเบียบ วาดวยเงินกองทุนสงเคราะหเจาหนาที่สหกรณโดยชอบดวยตนเอง โดยไมตองไดรับความเห็นชอบ จากนายทะเบียนสหกรณหรือนำไปจดทะเบียนกอน ดังนั้น ระเบียบจำเลย วาดวยเงินกองทุน สงเคราะหเจาหนาที่สหกรณ พ.ศ. ๒๕๖๐ ที่มีการแกไขจึงมีผลใชบังคับได สัญญากูยืมเงินของ โจทกทั้งสามจึงมีผลผูกพันตามกฎหมาย การที่ศาลแรงงานภาค ๔ วินิจฉัยวาโจทกทั้งสามกูยืมเงิน ไมเปนไปตามระเบียบจำเลย วาดวยเงินกองทุนสงเคราะหเจาหนาที่สหกรณ พ.ศ. ๒๕๕๖ จึงเปน การไมชอบนั้น เห็นวา คดีนี้โจทกทั้งสามฟองวาจำเลยเลิกจางโจทกทั้งสามโดยไมเปนธรรม จำเลย


๔๐๙ ใหการและฟองแยงวาโจทกทั้งสามกระทำการทุจริตตอหนาที่ ฝาฝนขอบังคับเกี่ยวกับการทำงาน ระเบียบ หรือคำสั่งของจำเลย โดยรวมกันทำเอกสารเท็จ ปลอมรายงานการประชุมคณะทำงาน เงินกองทุนสงเคราะหเจาหนาที่สหกรณวามีมติอนุมัติใหโจทกทั้งสามและบุคคลอื่นรวม ๗ คน กูยืมเงิน โดยโจทกทั้งสามไมไดเสนอคำขอกูยืมเงินใหผูบังคับบัญชาชั้นตนและผูจัดการตรวจสอบ กลั่นกรองกอน หักกลบลบหนี้โดยไมผานการตรวจสอบจากผูจัดการ โจทกทั้งสามตางเปน ผูค้ำประกันกันเองทั้งที่ค้ำประกันรายอื่นมากอนแลว เปนการฝาฝนระเบียบจำเลย วาดวยเงินกองทุน สงเคราะหเจาหนาที่สหกรณ พ.ศ. ๒๕๕๖ ขอ ๑๓ (๒) ดังนั้น ประเด็นสำคัญแหงคดีจึงเปนกรณี โจทกทั้งสามกระทำการทุจริตตอหนาที่ รวมกันทำเอกสารเท็จ ปลอมรายงานการประชุมของ คณะทำงานเงินกองทุนสงเคราะหเจาหนาที่สหกรณ และมีการฝาฝนระเบียบจำเลย วาดวยเงินกองทุน สงเคราะหเจาหนาที่สหกรณ พ.ศ. ๒๕๕๖ ขอ ๑๓ (๒) หรือไม และการที่จำเลยเลิกจางโจทก ทั้งสามเปนการเลิกจางไมเปนธรรมหรือไม สวนระเบียบจำเลย วาดวยเงินกองทุนสงเคราะห เจาหนาที่สหกรณ พ.ศ. ๒๕๖๐ ที่มีการแกไขตามที่โจทกทั้งสามอุทธรณวามีผลใชบังคับไดนั้น ก็เปนเพียงการแกไขการกำหนดวงเงินของกองทุนที่จะใหกูยืมในขอ ๕ (๕) ใหมีความชัดเจนยิ่งขึ้น และเปลี่ยนแปลงคาตอบแทนจากการกูยืมเงินในขอ ๑๑ จากรอยละ ๖ ตอป เปนรอยละ ๗ ตอป ซึ่งมิไดเกี่ยวของกับประเด็นขอพิพาทแหงคดี จึงเปนอุทธรณในขอที่มิไดยกขึ้นวากันมาแลวโดยชอบ ในศาลแรงงานภาค ๔ ตองหามมิใหอุทธรณตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพง มาตรา ๒๒๕ วรรคหนึ่ง ประกอบพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๕๔ วรรคหนึ่ง ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษไมรับวินิจฉัยเชนกัน มีปญหาตองวินิจฉัยตามอุทธรณของจำเลยวา จำเลยตองคืนตนฉบับโฉนดที่ดิน ๓ แปลง ที่โจทกทั้งสามนำไปจดทะเบียนจำนองเพื่อเปนหลักประกันการทำงานหรือหลักประกันความ เสียหายในการทำงาน ใหแกโจทกทั้งสามโดยปลอดจำนองหรือไม เห็นวา สิทธิยึดหนวงตาม ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา ๒๔๑ หมายถึง สิทธิของผูครอบครองทรัพยสินของผูอื่น และมีหนี้อันเปนคุณประโยชนแกตนเกี่ยวดวยทรัพยสินซึ่งครองนั้น ผูนั้นจะยึดหนวงทรัพยสินนั้นไว จนกวาจะไดรับชำระหนี้ก็ได แตเมื่อศาลแรงงานภาค ๔ วินิจฉัยวาจำเลยมิไดดำเนินการใหมี หลักประกันไมเกินจำนวนมูลคาของหลักประกันตามที่กำหนดไวในประกาศกระทรวงแรงงาน ดังกลาวภายในสามสิบวัน เปนการฝาฝนประกาศกระทรวงแรงงานดังกลาวตกเปนโมฆะ ตองคืน หลักประกันการทำงานหรือหลักประกันความเสียหายในการทำงานแกโจทกทั้งสามมาแตเริ่มแรก สวนมูลหนี้ที่โจทกทั้งสามตองชำระแกจำเลยตามคำพิพากษาศาลแรงงานภาค ๔ เปนหนี้ที่โจทก ทั้งสามกระทำการทุจริตตอหนาที่ ฝาฝนขอบังคับเกี่ยวกับการทำงาน ระเบียบ หรือคำสั่งของจำเลย


๔๑๐ ดังนั้น มูลหนี้ที่โจทกทั้งสามตองชำระแกจำเลยตามคำพิพากษาดังกลาว จึงไมเปนหนี้อันเปน คุณประโยชนแกจำเลยที่เกี่ยวดวยกับโฉนดที่ดินทั้งสามแปลงนั้นอีกตอไป จำเลยจึงไมมีสิทธิ ยึดหนวงโฉนดที่ดินทั้งสามแปลงดังกลาวไว ที่ศาลแรงงานภาค ๔ พิพากษาใหจำเลยคืนโฉนดที่ดิน ทั้งสามแปลงดังกลาวโดยปลอดจำนองแกโจทกทั้งสามนั้น จึงชอบแลว ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษ เห็นพองดวย อุทธรณของจำเลยฟงไมขึ้น อนึ่ง ศาลแรงงานภาค ๔ วินิจฉัยขอเท็จจริงมาวาโจทกที่ ๒ คางชำระหนี้ตนเงินพรอม ดอกเบี้ยคำนวณถึงวันฟองแยงเปนเงิน ๑,๐๖๔,๑๗๙ บาท แตพิพากษาใหโจทกที่ ๒ ชำระเงิน เพียง ๑,๐๓๗,๕๗๒ บาท พรอมดอกเบี้ยอัตรารอยละ ๗.๕ ตอป นับแตวันถัดจากวันฟองแยง เปนตนไป จึงไมถูกตอง สวนโจทกที่ ๓ พิพากษาใหชำระเงิน ๖๒๖,๖๕๒ บาท ซึ่งรวมดอกเบี้ย คำนวณถึงวันฟองแยงไวแลว แตมิไดระบุใหคิดดอกเบี้ยจากตนเงิน ๖๑๐,๙๘๔ บาท จึงเปนการคิด ดอกเบี้ยซอนดอกเบี้ย ไมถูกตองเชนกัน เห็นสมควรแกไขเสียใหถูกตอง พิพากษาแกเปนวา ใหโจทกที่ ๒ ชำระเงิน ๑,๐๖๔,๑๗๙ บาท พรอมดอกเบี้ยอัตรา รอยละ ๗.๕ ตอป ของตนเงิน ๑,๐๓๗,๕๗๒ บาท และใหโจทกที่ ๓ ชำระเงิน ๖๒๖,๖๕๒ บาท พรอมดอกเบี้ยอัตรารอยละ ๗.๕ ตอป ของตนเงิน ๖๑๐,๙๘๔ บาท นับถัดจากวันฟองแยง เปนตนไปจนกวาจะชำระเสร็จแกจำเลย นอกจากที่แกใหเปนไปตามคำพิพากษาศาลแรงงานภาค ๔. (ปณิธาน วิสุทธากร - วิโรจน ตุลาพันธุ - ไพรัช โปรงแสง) มนุเชษฐ โรจนศิริบุตร - ยอ สุโรจน จันทรพิทักษ - ตรวจ


๔๑๑ คำพิพากษาศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษที่ ๖๔๕๘/๒๕๖๒ บริษัทธนาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน) โจทก นายสัมภาษณ สุวรรณพุม จำเลย ป.พ.พ. มาตรา ๑๙๓/๑๒, ๑๙๓/๒๘ วรรคสอง, ๑๙๓/๓๕ คําฟองโจทกกลาวอางวาการกระทําของจําเลยเปนการกระทําละเมิด และ ผิดสัญญาจางแรงงานดวยในคราวเดียวกัน ซึ่งการนับอายุความตองเริ่มนับแตขณะที่อาจ บังคับสิทธิเรียกรองไดเปนตนไปตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา ๑๙๓/๑๒ ซึ่งในกรณีนี้คือวันที่จําเลยกระทําละเมิดและปฏิบัติผิดสัญญาจางแรงงาน หาใชวันที่โจทก ทราบการกระทําผิดของจําเลย หรือวันที่แจงคําสั่งลงโทษทางวินัยหรือแจงใหรับผิดทางแพง ใหจําเลยทราบแตอยางใด จําเลยเปนผูจัดการสาขามีอํานาจหนาที่อนุมัติเงินกู วันที่ โจทกมีสิทธิเรียกรองคือวันที่จําเลยอนุมัติเงินกูแตละราย จําเลยอนุมัติเงินกูใหลูกคา ๗ ราย ในระหวางป ๒๕๓๙ ถึงป ๒๕๔๐ อายุความจึงตองเริ่มนับอยางชาที่สุดในวันที่ ๓๑ ธันวาคม ๒๕๔๐ เมื่อจําเลยทําหนังสือรับสภาพหนี้ไวตอโจทกในวันที่ ๒๙ กันยายน ๒๕๕๑ ภายหลังจากที่หนี้ขาดอายุความแลว จึงไมมีผลเปนหนังสือรับสภาพหนี้ แตเปนการที่ จําเลยรับสภาพความรับผิดโดยมีหลักฐานเปนหนังสือ ซึ่งโจทกตองฟองจําเลยภายใน ๒ ป นับแตวันทําหนังสือรับสภาพความรับผิดดังกลาวตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๙๓/๓๕ ประกอบ มาตรา ๑๙๓/๒๘ วรรคสอง โจทกฟองคดีนี้เมื่อวันที่ ๓๐ พฤษภาคม ๒๕๖๑ ฟองโจทก จึงขาดอายุความแลว โจทกฟอง ขอใหบังคับจำเลยชำระคาเสียหาย ๑๔,๓๘๑,๖๐๕.๑๖ บาท พรอมดอกเบี้ย อัตรารอยละ ๗.๕ ตอป ของตนเงิน ๖,๑๓๙,๘๔๒.๙๒ บาท นับถัดจากวันฟองเปนตนไปจนกวา จะชำระเสร็จแกโจทก จำเลยใหการและแกไขคำใหการขอใหยกฟอง ศาลแรงงานกลาง พิพากษาใหจำเลยชำระเงิน ๑๔,๓๘๑,๖๐๕.๑๖ บาท แกโจทกพรอม ดอกเบี้ยอัตรารอยละ ๗.๕ ตอป ของตนเงิน ๖,๑๓๙,๘๔๒.๙๒ บาท นับถัดจากวันฟอง (ฟองวันที่ ๓๐ พฤษภาคม ๒๕๖๑) เปนตนไปจนกวาจะชำระเสร็จแกโจทก


๔๑๒ จำเลยอุทธรณ ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษแผนกคดีแรงงานวินิจฉัยวา ศาลแรงงานกลางรับฟงขอเท็จจริงวา ระหวางที่จำเลยดำรงตำแหนงผูจัดการสาขาสี่แยกบานแขกในระหวางป ๒๕๓๙ ถึงป ๒๕๔๐ อนุมัติสินเชื่อโครงการที่อยูอาศัยหมูบานรสสุคนธโดยประมาทปราศจากความระมัดระวังและ ไมเปนไปตามระเบียบของโจทก เปนเหตุใหลูกคาของโครงการดังกลาว ๗ ราย มีปญหาในการผอน ชำระสินเชื่อใหแกโจทก โจทกดำเนินการฟองรอง บังคับคดี ติดตามยึดทรัพยออกขายทอดตลาด และฟองลมละลายลูกคาทั้ง ๗ ราย ครบถวนแลว ตอมาโจทกตั้งกรรมการสอบสวนการกระทำ ความผิดของจำเลย และมีคำสั่งลดเงินเดือนจำเลยรอยละ ๑๒.๕ ตามคำสั่งที่ ธ. ๗๐๓/๒๕๔๗ เรื่อง ลดเงินเดือนพนักงาน โจทกมีหนังสือแจงใหจำเลยรับผิดทางแพงชดใชความเสียหายที่เกิด จากการปฏิบัติงานผิดระเบียบคืนเงินใหแกโจทกเมื่อวันที่ ๒๘ ธันวาคม ๒๕๔๗ แตจำเลยไมได ชำระใหโจทก จำเลยอุทธรณคำสั่งดังกลาวของโจทกแตโจทกมีคำสั่งยืนโทษทางวินัยและโทษทางแพง ตามคำสั่งที่ ธ. ๗๐๓/๒๕๔๗ และหนังสือที่ วนส. ๑๔๐๕๘/๒๕๔๗ สำหรับความรับผิดทางแพงนั้น วันที่ ๒๙ กันยายน ๒๕๕๑ จำเลยทำหนังสือรับสภาพหนี้ไวตอโจทกโดยยอมรับผิดชดใชคาเสียหาย ที่เกิดจากการที่จำเลยอนุมัติสินเชื่อใหแกลูกคาโครงการหมูบานรสสุคนธจำนวน ๑๘ ราย และ พบวามีลูกหนี้มีภาระหนี้อยูกับธนาคาร ๗ ราย เปนตนเงินและดอกเบี้ย ๙,๘๘๓,๒๓๖.๗๙ บาท และดอกเบี้ยของตนเงิน ๖,๑๕๙,๗๘๐.๙๒ บาท นับแตวันที่ ๑๖ กันยายน ๒๕๕๑ เปนตนไป จนกวาจะชำระเสร็จ แลววินิจฉัยวา จำเลยมีหนาที่ตองรับผิดชดใชคาเสียหายที่คางชำระจำนวน ดังกลาวทั้งหมดคืนใหแกโจทกตามหนังสือรับสภาพหนี้ เมื่อจำเลยไมชำระหนี้ตามหนังสือ รับสภาพหนี้ดังกลาว ถือวาเปนการโตแยงสิทธิของโจทกตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพง มาตรา ๕๕ แลว โจทกยอมมีอำนาจฟองจำเลยใหรับผิดจากการกระทำละเมิดของจำเลย ที่จำเลย ตอสูวาโจทกขมขูใหจำเลยลงลายมือชื่อในหนังสือรับสภาพหนี้โดยจำเลยไมสมัครใจนั้น ไมสามารถ รับฟงได โจทกมีหนังสือแจงใหจำเลยรับผิดทางแพงชดใชความเสียหายที่เกิดจากการปฏิบัติงาน ผิดระเบียบคืนเงินใหแกโจทกเมื่อวันที่ ๒๘ ธันวาคม ๒๕๔๗ ซึ่งนับระยะเวลาตั้งแตวันที่ ๒๘ ธันวาคม ๒๕๔๗ ถึงวันที่จำเลยทำหนังสือรับสภาพหนี้เมื่อวันที่ ๒๙ กันยายน ๒๕๕๑ ถือวาจำเลย รับสภาพหนี้ภายในระยะ ๑๐ ป นับแตวันทำละเมิดตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา ๔๔๘ วรรคหนึ่ง แลว อันเปนเหตุใหอายุความสะดุดหยุดลงและเริ่มนับอายุความใหมตั้งแตวันที่ ๒๙ กันยายน ๒๕๕๑ เปนตนไป ตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา ๑๙๓/๑๔ (๑) และมาตรา ๑๙๓/๑๕ เมื่อโจทกฟองคดีนี้เมื่อวันที่ ๓๐ พฤษภาคม ๒๕๖๑ จึงยังไมพน ๑๐ ป นับแตวันที่อายุความสะดุดหยุดลง คดีของโจทกไมขาดอายุความ กรณีของจำเลยไมใชนับอายุ


๔๑๓ ความนับแตวันที่จำเลยปลอยสินเชื่อแตอยางใด และอายุความการทำหนังสือรับสภาพความรับผิด ตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา ๑๙๓/๓๕ นั้น ใชเฉพาะกับกรณีความรับผิดตาม ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา ๑๙๓/๒๗ และมาตรา ๑๙๓/๒๘ วรรคสอง มิใชนำมาใช กับการทำหนังสือรับสภาพหนี้ตอเจาหนี้ตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา ๑๙๓/๑๔ และมาตรา ๑๙๓/๑๕ แตอยางใด ปญหาตองวินิจฉัยตามอุทธรณของจำเลยมีวา คดีโจทกขาดอายุความแลวหรือไม เห็นวา เมื่อคำฟองของโจทกกลาวอางวา จำเลยเปนพนักงานของโจทกตำแหนงผูจัดการ อนุมัติปลอย สินเชื่อเพื่อที่อยูอาศัยใหแกลูกคาของโจทกโดยประมาทปราศจากความระมัดระวังเปนเหตุให โจทกไดรับความเสียหาย ๗ ราย โดยไมไดพิจารณาคุณสมบัติของลูกคาทั้งไมไดตรวจสภาพของ หลักประกัน เปนการไมตั้งใจปฏิบัติหนาที่ใหเปนไปตามระเบียบและคำสั่งของโจทก อันเปนการ กลาวอางวาการกระทำของจำเลยเปนการกระทำละเมิดและปฏิบัติผิดสัญญาจางแรงงานดวยใน คราวเดียวกัน การนับอายุความตองเริ่มนับแตขณะที่อาจบังคับสิทธิเรียกรองไดเปนตนไปตาม ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา๑๙๓/๑๒ ซึ่งวันที่โจทกมีสิทธิเรียกรองในกรณีนี้คือ วันที่จำเลยกระทำละเมิดและปฏิบัติผิดสัญญาจางแรงงาน หาใชวันที่โจทกทราบการกระทำผิด ของจำเลยหรือวันที่แจงคำสั่งลงโทษทางวินัยหรือแจงใหรับผิดทางแพงใหจำเลยทราบแตอยางใด เมื่อขอเท็จจริงฟงเปนยุติวา จำเลยเปนผูจัดการสาขาทำหนาที่อนุมัติเงินกู ซึ่งเปนขั้นตอนสุดทาย ในกระบวนการขอกูเงินโจทก วันที่โจทกมีสิทธิเรียกรองก็คือวันที่จำเลยอนุมัติเงินกูแตละราย เมื่อจำเลยอนุมัติใหลูกคา ๗ ราย กูเงินไประหวางป ๒๕๓๙ ถึงป ๒๕๔๐ อายุความจึงตองเริ่มนับ อยางชาที่สุดในวันที่ ๓๑ ธันวาคม ๒๕๔๐ เมื่อจำเลยทำหนังสือรับสภาพหนี้ไวตอโจทกในวันที่ ๒๙ กันยายน ๒๕๕๑ มีขอความวา ตามที่จำเลยในขณะดำรงตำแหนงผูจัดการสาขาสี่แยกบานแขก ปฏิบัติหนาที่ผิดระเบียบและคำสั่งของโจทก ไดรับโทษทางวินัยจากกรณีอนุมัติสินเชื่อเพื่อที่อยู อาศัยใหแกลูกหนี้รายยอยที่นางปรียา นำมาขอกูเพื่อซื้อบานในโครงการหมูบานรสสุคนธ ๑๘ ราย รวมเปนเงิน ๒๕,๗๓๐,๐๐๐ บาท หากตอไปโจทกไดรับความเสียหายใหจำเลยรับผิดในทางแพง ชดใชความเสียหายที่เกิดจากการปฏิบัติผิดระเบียบและละเมิดผิดสัญญาจางตอโจทก โดยเพียง วันที่ ๑๕ กันยายน ๒๕๕๑ มีลูกหนี้ที่ยังคงมีภาระหนี้อยูกับโจทกรวม ๗ ราย เปนตนเงินและ ดอกเบี้ย ๙,๘๘๓,๒๓๖.๗๙ บาท (คำนวณยอดหนี้คาเสียหาย) และดอกเบี้ยตามกฎหมายของ ตนเงิน ๖,๑๕๙,๗๘๐.๙๒ บาท นับแตวันที่ ๑๖ กันยายน ๒๕๕๑ เปนตนไป จนกวาจะชำระเสร็จสิ้น หนังสือรับสภาพหนี้ดังกลาวจึงจัดทำขึ้นหลังจากหนี้ขาดอายุความแลว จึงไมมีผลเปนหนังสือรับ สภาพหนี้ แตเปนการที่จำเลยรับสภาพความรับผิดโดยมีหลักฐานเปนหนังสือ ซึ่งโจทกตองฟอง


๔๑๔ จำเลยภายใน ๒ ป นับแตวันทำหนังสือรับสภาพความรับผิดดังกลาวตามประมวลกฎหมายแพง และพาณิชย มาตรา ๑๙๓/๓๕ ประกอบมาตรา ๑๙๓/๒๘ วรรคสอง โจทกฟองคดีนี้เมื่อวันที่ ๓๐ พฤษภาคม ๒๕๖๑ ฟองโจทกจึงขาดอายุความแลว ที่ศาลแรงงานกลางวินิจฉัยวาโจทกมีหนังสือ แจงใหจำเลยรับผิดทางแพงชดใชความเสียหายที่เกิดจากการปฏิบัติงานผิดระเบียบคืนเงินใหแก โจทกจนครบถวนเมื่อวันที่ ๒๘ ธันวาคม ๒๕๔๗ ถึงวันที่จำเลยทำหนังสือรับสภาพหนี้เมื่อวันที่ ๒๙ กันยายน ๒๕๕๑ ถือวาจำเลยรับสภาพหนี้ภายในระยะเวลา ๑๐ ป นับแตวันทำละเมิดตาม ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา ๔๔๘ วรรคหนึ่ง แลว อันเปนเหตุใหอายุความสะดุด หยุดลงและเริ่มนับอายุความใหมตั้งแตวันที่ ๒๙ กันยายน ๒๕๕๑ เปนตนไปตามประมวลกฎหมาย แพงและพาณิชย มาตรา ๑๙๓/๑๔ (๑) และมาตรา ๑๙๓/๑๕ เมื่อโจทกฟองคดีนี้เมื่อวันที่ ๓๐ พฤษภาคม ๒๕๖๑ จึงยังไมพน ๑๐ ป นับแตวันที่อายุความสะดุดหยุดลง คดีของโจทกจึงไม ขาดอายุความ กรณีของจำเลยไมใชนับอายุความนับแตวันที่จำเลยปลอยสินเชื่อแตอยางใด นั้น ไมตองดวยความเห็นของศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษ อุทธรณของจำเลยประเด็นนี้ฟงขึ้น เมื่อวินิจฉัยดังนี้แลว อุทธรณของจำเลยในประเด็นอื่นจึงไมจำตองวินิจฉัยอีกตอไปเพราะไมทำให ผลของคดีเปลี่ยนแปลงไป พิพากษากลับใหยกฟองโจทก. (วิโรจน ตุลาพันธุ - ปณิธาน วิสุทธากร - ไพรัช โปรงแสง) มนุเชษฐ โรจนศิริบุตร - ยอ สุโรจน จันทรพิทักษ - ตรวจ


๔๑๕ คำพิพากษาศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษที่ ๖๕๔๑/๒๕๖๒ นายสุวัฒน พรอมเพรียง โจทก การไฟฟาสวนภูมิภาค จำเลย รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ร.บ. จัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๕๑ พ.ร.บ. ประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยการปองกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ. ๒๕๔๒ มาตรา ๙๒, ๙๓ แมตาม พ.ร.บ. ประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยการปองกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ. ๒๕๔๒ มาตรา ๙๓ บัญญัติวา เมื่อไดรับรายงานตามมาตรา ๙๒ วรรคหนึ่งและ วรรคสามแลว ใหผูบังคับบัญชาหรือผูมีอํานาจแตงตั้งถอดถอนพิจารณาลงโทษภายในสามสิบวัน นับแตวันที่ไดรับเรื่องและใหผูบังคับบัญชาหรือผูมีอํานาจแตงตั้งถอดถอนสงสําเนาคําสั่ง ลงโทษดังกลาวไปใหคณะกรรมการ ป.ป.ช. ทราบภายในสิบหาวันนับแตวันที่ไดออกคําสั่ง จําเลยในฐานะผูบังคับบัญชาของโจทกตองพิจารณาโทษทางวินัยแกโจทก โดยในการ พิจารณาโทษทางวินัยใหถือวารายงานเอกสารและความเห็นของคณะกรรมการ ป.ป.ช. เปนสํานวนการสอบสวนทางวินัยของคณะกรรมการสอบสวนวินัย ตามกฎหมายหรือ ระเบียบหรือขอบังคับวาดวยการบริหารงานบุคคลของจําเลยตามมาตรา ๙๒ และไมอาจ เปลี่ยนแปลงฐานความผิดไปจากที่คณะกรรมการ ป.ป.ช. มีมติชี้มูลความผิดดังกลาวแลว ก็ตาม แตในชั้นฟองคดีตอศาลนั้น พ.ร.บ. ประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยการปองกันและ ปราบปรามการทุจริต พ.ศ. ๒๕๔๒ มิไดบัญญัติใหศาลตองถือเอารายงานและความเห็น ของคณะกรรมการ ป.ป.ช. เปนขอเท็จจริงในสํานวนความ มติของคณะกรรมการ ป.ป.ช. มิไดเปนการใชอํานาจโดยตรงตามรัฐธรรมนูญที่เปนการวินิจฉัยชี้ขาดขององคกรตาม รัฐธรรมนูญ ศาลแรงงานกลางซึ่งเปนองคกรที่ใชอํานาจตุลาการพิจารณาพิพากษาอรรถคดี ตามรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย และ พ.ร.บ. จัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณา คดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ จึงมีอํานาจตรวจสอบความชอบดวยกฎหมายของกระบวนการ พิจารณาเพื่อมีมติของคณะกรรมการ ป.ป.ช. ที่ศาลแรงงานกลางวินิจฉัยเพียงวา การที่ จําเลยพิจารณาโทษทางวินัยของโจทกแลวลงโทษโจทกดวยการปลดออกจากงานตามคําสั่ง ของจําเลยที่ ว.๒/๒๕๖๑ เปนกรณีที่จําเลยปฏิบัติตามขั้นตอนของกฎหมาย และจําเลย


๔๑๖ ตองถือเอารายงานและความเห็นของคณะกรรมการ ป.ป.ช. เปนสํานวนการสอบสวน ทางวินัยโดยจะถือเปนอยางอื่นหาไดไม คําสั่งของจําเลยดังกลาวจึงเปนคําสั่งที่ชอบดวย กฎหมายแลว ไมมีเหตุใหเพิกถอนและไมถือวาเปนการเลิกจางโดยไมเปนธรรม โดย ศาลแรงงานกลางมิไดพิจารณาพยานหลักฐานของฝายโจทกและฝายจําเลยวามีขอเท็จจริง เปนที่ยุติตามขออางของโจทกหรือขออางของจําเลยตามรายงานและความเห็นของ คณะกรรมการ ป.ป.ช. เพื่อนํามาวินิจฉัยวาคําสั่งของจําเลยที่ ว.๒/๒๕๖๑ เปนคําสั่งที่ชอบดวย กฎหมายหรือไม และเปนการเลิกจางโดยไมเปนธรรมหรือไม ตามประเด็นขอพิพาทที่ ศาลแรงงานกลางกําหนดไว มีผลเทากับศาลแรงงานกลางยังมิไดวินิจฉัยชี้ขาดขอเท็จจริงใน ประเด็นขอพิพาท จึงเปนการไมชอบดวย พ.ร.บ. จัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดี แรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๕๑ กรณีจําตองยอนสํานวนไปใหศาลแรงงานกลางวินิจฉัย ขอเท็จจริงในประเด็นขอพิพาทดังกลาวใหถูกตองแลวพิพากษาใหม โจทกฟอง ขอใหเพิกถอนคำสั่งของจำเลยที่ ว.๒/๒๕๖๑ ลงวันที่ ๑๙ มีนาคม ๒๕๖๑ และบังคับใหจำเลยรับโจทกกลับเขาทำงานในตำแหนงเดิมหรือเทียบเทาโดยไดรับเงินเดือนและ สิทธิประโยชนตามเดิมกับคืนสิทธิและผลประโยชนที่โจทกมีสิทธิไดรับในระหวางถูกปลดออกจากงาน หากไมปฏิบัติตามขอใหจำเลยชดใชคาเสียหายและคาชดเชยแกโจทกรวม ๒๓,๗๒๘,๖๐๔ บาท จำเลยใหการ ขอใหยกฟอง ศาลแรงงานกลาง พิพากษายกฟอง โจทกอุทธรณ ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษแผนกคดีแรงงานวินิจฉัยวา ศาลแรงงานกลางฟงขอเท็จจริง แลววินิจฉัยวา โจทกเปนพนักงานจำเลย ตำแหนงสุดทายเปนรองผูจัดการการไฟฟาสวนภูมิภาค (เทคนิค) การไฟฟาสวนภูมิภาคจังหวัดกระบี่ ชั้น ๒ การไฟฟาเขต ๒ (นครศรีธรรมราช) ภาค ๔ คาจางอัตราสุดทายเดือนละ ๖๗,๔๔๔ บาท วันที่ ๓๐ กรกฎาคม ๒๕๔๖ จำเลยแจงรายชื่อโจทก เปนคณะกรรมการพิจารณาผลการประกวดราคาจางโครงการปรับปรุงภูมิทัศนถนนกันตังถึง ถนนหวยยอด ของเทศบาลนครตรัง เมื่อวันที่ ๓๐ มกราคม ๒๕๖๑ สำนักงาน ป.ป.ช. มีหนังสือดวนที่ ปช ๐๐๑๕/๓๒๓ เรื่อง ขอใหพิจารณาโทษทางวินัย โดยขอใหพิจารณาลงโทษทางวินัยแกโจทก ฐานทุจริตตอหนาที่การงาน ตามขอบังคับการไฟฟาสวนภูมิภาควาดวยระเบียบพนักงาน พ.ศ. ๒๕๑๗ ขอ ๔๑ (๓) และมีมูลความผิดทางอาญา ตอมาวันที่ ๑๙ มีนาคม ๒๕๖๑ จำเลยมีคำสั่ง


๔๑๗ การไฟฟาสวนภูมิภาคที่ ว.๒/๒๕๖๑ เรื่อง ลงโทษวินัยพนักงาน โดยลงโทษปลดโจทกออกจาก งานตามที่คณะกรรมการ ป.ป.ช. ชี้มูลความผิดทางวินัยรายแรง เมื่อจำเลยไดรับรายงานความเห็น จากคณะกรรมการ ป.ป.ช. ดังกลาว จำเลยตองปฏิบัติตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวา ดวยการปองกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ. ๒๕๔๒ มาตรา ๙๓ ที่บัญญัติใหตองพิจารณา ลงโทษโจทกภายในสามสิบวันนับแตไดรับเรื่อง และตองสงสำเนาคำสั่งลงโทษไปใหคณะกรรมการ ป.ป.ช. ทราบภายในสิบหาวันนับแตวันที่ไดออกคำสั่ง การที่จำเลยพิจารณาโทษทางวินัยของโจทก แลวลงโทษโจทกดวยการปลดออกจากงานตามคำสั่งของจำเลยที่ ว.๒/๒๕๖๑ เปนกรณีที่จำเลย ปฏิบัติตามขั้นตอนของกฎหมาย และจำเลยตองถือเอารายงานและความเห็นของคณะกรรมการ ป.ป.ช. เปนสำนวนการสอบสวนทางวินัย คำสั่งของจำเลยดังกลาวจึงเปนคำสั่งที่ชอบดวยกฎหมาย แลว ไมมีเหตุใหเพิกถอนและไมถือวาเปนการเลิกจางโดยไมเปนธรรมจำเลยจึงไมตองรับโจทก กลับเขาทำงานและไมตองชดใชคาเสียหายแกโจทก มีปญหาตองวินิจฉัยตามอุทธรณของโจทกขอ ๒.๒.๑ วา คำพิพากษาของศาลแรงงานกลาง เปนคำพิพากษาที่ชอบดวยกฎหมายหรือไม เห็นวา แมตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ วาดวยการปองกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ. ๒๕๔๒ มาตรา ๙๓ บัญญัติวา เมื่อไดรับรายงาน ตามมาตรา ๙๒ วรรคหนึ่ง และวรรคสามแลว ใหผูบังคับบัญชาหรือผูมีอำนาจแตงตั้งถอดถอน พิจารณาลงโทษภายในสามสิบวันนับแตวันที่ไดรับเรื่อง และใหผูบังคับบัญชาหรือผูมีอำนาจแตงตั้ง ถอดถอนสงสำเนาคำสั่งลงโทษดังกลาวไปใหคณะกรรมการ ป.ป.ช. ทราบภายในสิบหาวันนับแต วันที่ไดออกคำสั่ง จำเลยในฐานะผูบังคับบัญชาของโจทกตองพิจารณาโทษทางวินัยแกโจทก โดย ในการพิจารณาโทษทางวินัยใหถือวารายงานเอกสารและความเห็นของคณะกรรมการ ป.ป.ช. เปนสำนวนการสอบสวนทางวินัยของคณะกรรมการสอบสวนวินัย ตามกฎหมายหรือระเบียบหรือ ขอบังคับวาดวยการบริหารงานบุคคลของจำเลยตามมาตรา ๙๒ และไมอาจเปลี่ยนแปลงฐาน ความผิดไปจากที่คณะกรรมการ ป.ป.ช. มีมติชี้มูลความผิดดังกลาวแลวก็ตาม แตในชั้นฟองคดี ตอศาลนั้น พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยการปองกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ. ๒๕๔๒ มิไดบัญญัติใหศาลตองถือเอารายงานและความเห็นของคณะกรรมการ ป.ป.ช. เปน ขอเท็จจริงในสำนวนความ มติของคณะกรรมการ ป.ป.ช. มิไดเปนการใชอำนาจโดยตรงตาม รัฐธรรมนูญที่เปนการวินิจฉัยชี้ขาดขององคกรตามรัฐธรรมนูญ ศาลแรงงานกลางซึ่งเปนองคกร ที่ใชอำนาจตุลาการพิจารณาพิพากษาอรรถคดีตามรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย และ พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ จึงมีอำนาจตรวจสอบ ความชอบดวยกฎหมายของกระบวนการพิจารณาเพื่อมีมติของคณะกรรมการ ป.ป.ช. ที่


๔๑๘ ศาลแรงงานกลางวินิจฉัยเพียงวา การที่จำเลยพิจารณาโทษทางวินัยของโจทกแลวลงโทษโจทก ดวยการปลดออกจากงานตามคำสั่งของจำเลยที่ ว.๒/๒๕๖๑ เปนกรณีที่จำเลยปฏิบัติตามขั้นตอน ของกฎหมาย และจำเลยตองถือเอารายงานและความเห็นของคณะกรรมการ ป.ป.ช. เปนสำนวน การสอบสวนทางวินัยโดยจะถือเปนอยางอื่นหาไดไม คำสั่งของจำเลยดังกลาวจึงเปนคำสั่งที่ชอบ ดวยกฎหมายแลว ไมมีเหตุใหเพิกถอนและไมถือวาเปนการเลิกจางโดยไมเปนธรรม โดย ศาลแรงงานกลางมิไดพิจารณาพยานหลักฐานของฝายโจทกและฝายจำเลยวามีขอเท็จจริงเปนที่ยุติ ตามขออางของโจทกหรือขออางของจำเลยตามรายงานและความเห็นของคณะกรรมการ ป.ป.ช. เพื่อนำมาวินิจฉัยวาคำสั่งของจำเลยที่ ว.๒/๒๕๖๑ เปนคำสั่งที่ชอบดวยกฎหมายหรือไม และเปน การเลิกจางโดยไมเปนธรรมหรือไม ตามประเด็นขอพิพาทที่ศาลแรงงานกลางกำหนดไว มีผล เทากับศาลแรงงานกลางยังมิไดวินิจฉัยชี้ขาดขอเท็จจริงในประเด็นขอพิพาท จึงเปนการไมชอบ ดวยพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๕๑ กรณี จำตองยอนสำนวนไปใหศาลแรงงานกลางวินิจฉัยขอเท็จจริงในประเด็นขอพิพาทดังกลาวใหถูกตอง แลวพิพากษาใหม อุทธรณของโจทกฟงขึ้น กรณีไมจำตองวินิจฉัยอุทธรณขออื่นของโจทก พิพากษายกคำพิพากษาศาลแรงงานกลาง ใหศาลแรงงานกลางพิจารณาพิพากษาใหม ตามรูปคดี. (ปณิธาน วิสุทธากร - วิโรจน ตุลาพันธุ - ไพรัช โปรงแสง) ธัชวุทธิ์ พุทธิสมบัติ - ยอ สุโรจน จันทรพิทักษ - ตรวจ


๔๑๙ คำพิพากษาศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษที่ ๗๐๑๕/๒๕๖๒ บริษัทขนสง จำกัด โจทก นายวรกร หะยีมายอ จำเลย พ.ร.บ. จัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๓๓ วรรคหนึ่ง วรรคสอง, ๕๔ วรรคหนึ่ง พ.ร.บ. จัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๓๓ วรรคหนึ่ง และวรรคสอง บัญญัติวา คําฟองคดีแรงงานใหเสนอตอศาลแรงงานที่มูลคดี เกิดขึ้นในเขตศาลแรงงานนั้น ถาโจทกมีความประสงคจะยื่นคําฟองตอศาลแรงงานที่โจทก หรือจําเลยมีภูมิลําเนาอยูในเขตศาลแรงงาน เมื่อโจทกแสดงใหศาลแรงงานเห็นวาการ พิจารณาคดีในศาลแรงงานนั้น ๆ จะเปนการสะดวก ศาลแรงงานจะอนุญาตใหโจทกยื่น คําฟองตามที่ขอนั้นก็ได เพื่อประโยชนแหงมาตรานี้ ใหถือวาสถานที่ที่ลูกจางทํางานเปนที่ ที่มูลคดีเกิดขึ้น ดังนั้น สถานที่มูลคดีเกิดขึ้นจึงหมายถึงสถานที่ที่ลูกจางทํางาน คือสถานี เดินรถหนองคาย ซึ่งไมไดอยูในเขตอํานาจศาลแรงงานกลาง การที่ศาลแรงงานกลาง พิจารณาคํารองขอดําเนินคดีที่ศาลแรงงานกลางของโจทกแลวมีคําสั่งไมรับฟอง จึงเปน กรณีที่ศาลแรงงานกลางเห็นวาการพิจารณาในศาลแรงงานกลางไมเปนการสะดวก จึงไม อนุญาตใหโจทกยื่นคําฟองตามที่ขอตามบทบัญญัติของกฎหมายดังกลาว การที่โจทก อุทธรณวาจําเลยทําสัญญาจางพนักงานบริการประจํารถกับโจทก ณ สํานักงานใหญโจทก เลขที่ ๙๙๙ ถนนกําแพงเพชร ๒ แขวงจตุจักร เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร เงินที่จําเลย รับไปโดยไมมีสิทธินั้น โจทกดําเนินการโอนเขาบัญชีเงินเดือนจําเลย และมีคําสั่งไลจําเลย ออกจากงาน ณ สํานักงานใหญโจทกดังกลาว ก็เพื่อใหศาลอุทธรณคดีชํานัญพิเศษเห็นวา การพิจารณาคดีในศาลแรงงานกลางจะเปนการสะดวก อุทธรณของโจทกดังกลาวจึงเปน การอุทธรณโตแยงดุลพินิจในการพิจารณาอนุญาตของศาลแรงงานกลาง อันเปนอุทธรณ ในขอเท็จจริง ซึ่งตองหามมิใหอุทธรณตาม พ.ร.บ. จัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดี แรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๕๔ วรรคหนึ่ง โจทกฟอง ขอใหบังคับจำเลยชำระเงิน ๗,๕๖๘ บาท แกโจทก พรอมดอกเบี้ยอัตรารอยละ ๗.๕ ตอป ของตนเงิน ๗,๑๐๖ บาท นับถัดจากวันฟองเปนตนไป จนกวาจะชำระเสร็จ พรอมกับ


๔๒๐ ยื่นคำรองขออนุญาตฟองคดีตอศาลแรงงานกลาง ฉบับลงวันที่ ๒๘ มิถุนายน ๒๕๖๒ อางเหตุ เนื่องจากจำเลยทำสัญญาสมัครเขาทำงานกับโจทก ณ สำนักงานใหญโจทกเลขที่ ๙๙๙ ถนน กำแพงเพชร ๒ แขวงจตุจักร เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร และเงินที่จำเลยรับไปโดยไมมีสิทธินั้น โจทกไดดำเนินการโอนเขาบัญชีเงินเดือนจำเลย ณ สำนักงานใหญโจทกดังกลาวซึ่งเปนที่ตั้ง และ อยูในเขตอำนาจศาลแรงงานกลาง ศาลแรงงานกลางมีคำสั่งในวันเดียวกันวา มูลคดีเกิดนอกเขตศาล พยานหลักฐานตาง ๆ ไมอยูในเขตอำนาจศาลแรงงานกลาง ตามคำรองอางความสะดวกโจทกฝายเดียว ยกคำรอง โจทกอุทธรณ ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษแผนกคดีแรงงานวินิจฉัยวา แมโจทกบรรยายฟองวา จำเลย เปนลูกจางโจทก โดยเมื่อวันที่ ๓ พฤศจิกายน ๒๕๕๒ จำเลยสมัครเขาทำงานกับโจทกตำแหนง พนักงานบริการ และโจทกรับจำเลยเปนพนักงานลูกจาง โดยโจทกบรรจุจำเลยเขาปฏิบัติงาน เปนลูกจางตำแหนงพนักงานบริการ มีหนาที่ใหบริการผูโดยสารบนรถโดยสารโจทกตามที่โจทก มอบหมาย มูลเหตุคดีนี้เกิดขึ้นขณะจำเลยไดรับมอบหมายใหปฏิบัติหนาที่ตำแหนงพนักงาน บริการบนรถโดยสารโจทกในเสนทางหนองคาย - นครหลวงเวียงจันทร จำเลยกระทำการอันเปน การผิดสัญญาจางแรงงานกับโจทก โดยจำเลยละทิ้งหนาที่การงานตามที่โจทกมอบหมายไปโดย ไมมีเหตุผลอันสมควรตั้งแตวันที่ ๔ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๙ จนถึงปจจุบัน ตอมาสถานีเดินรถ หนองคายหนวยงานในสังกัดโจทกในสวนภูมิภาคซึ่งจำเลยปฏิบัติหนาที่อยูไดรายงานเหตุเรื่อง การขาดงานของจำเลยใหหนวยงานบังคับบัญชาตามสายงาน และงานวินัยของโจทกทราบ โจทก จึงมีคำสั่งที่ ก.๒๔๘/๒๕๖๑ ลงวันที่ ๑๕ สิงหาคม ๒๕๖๑ ไลจำเลยออกจากงาน กับไมใหจำเลย มีสิทธิไดรับเงินเดือนหรือคาจางรวมทั้งเงินเพิ่มอื่นใดตลอดระยะเวลาที่ไมมาปฏิบัติหนาที่ก็ตาม เห็นวา พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๓๓ วรรคหนึ่ง และวรรคสอง บัญญัติวา คำฟองคดีแรงงานใหเสนอตอศาลแรงงานที่มูลคดีเกิดขึ้นใน เขตศาลแรงงานนั้น ถาโจทกมีความประสงคจะยื่นคำฟองตอศาลแรงงานที่โจทกหรือจำเลยมี ภูมิลำเนาอยูในเขตศาลแรงงาน เมื่อโจทกแสดงใหศาลแรงงานเห็นวาการพิจารณาคดีใน ศาลแรงงานนั้น ๆ จะเปนการสะดวก ศาลแรงงานจะอนุญาตใหโจทกยื่นคำฟองตามที่ขอนั้นก็ได เพื่อประโยชนแหงมาตรานี้ ใหถือวาสถานที่ที่ลูกจางทำงานเปนที่ที่มูลคดีเกิดขึ้น ดังนั้น สถานที่มูลคดี เกิดขึ้นจึงหมายถึงสถานที่ที่ลูกจางทำงาน คือสถานีเดินรถหนองคาย ซึ่งไมไดอยูในเขตอำนาจ ศาลแรงงานกลาง การที่ศาลแรงงานกลางพิจารณาคำรองขอดำเนินคดีที่ศาลแรงงานกลางของโจทก แลวมีคำสั่งไมรับฟอง จึงเปนกรณีที่ศาลแรงงานกลางเห็นวาการพิจารณาในศาลแรงงานกลาง


๔๒๑ ไมเปนการสะดวก จึงไมอนุญาตใหโจทกยื่นคำฟองตามที่ขอตามบทบัญญัติของกฎหมายดังกลาว การที่โจทกอุทธรณวาจำเลยทำสัญญาจางพนักงานบริการประจำรถกับโจทก ณ สำนักงานใหญ โจทกเลขที่ ๙๙๙ ถนนกำแพงเพชร ๒ แขวงจตุจักร เขตขตุจักร กรุงเทพมหานคร เงินที่จำเลยรับไป โดยไมมีสิทธินั้น โจทกดำเนินการโอนเขาบัญชีเงินเดือนจำเลย และมีคำสั่งไลจำเลยออกจากงาน ณ สำนักงานใหญโจทกดังกลาว ก็เพื่อใหศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษเห็นวาการพิจารณาคดี ในศาลแรงงานกลางจะเปนการสะดวก อุทธรณของโจทกดังกลาวจึงเปนการอุทธรณโตแยงดุลพินิจ ในการพิจารณาอนุญาตของศาลแรงงานกลาง อันเปนอุทธรณในขอเท็จจริง ซึ่งตองหามมิใหอุทธรณ ตามพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๕๔ วรรคหนึ่ง ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษไมรับวินิจฉัย พิพากษายกอุทธรณของโจทก. (กนกรดา ไกรวิชญพงศ - ธีระพล ศรีอุดมขจร - อนุวัตร ขุนทอง) มนุเชษฐ โรจนศิริบุตร - ยอ สุโรจน จันทรพิทักษ - ตรวจ


๔๒๒ คำพิพากษาศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษที่ ๗๑๐๒/๒๕๖๒ นายสิทธิชัย รอดโต โจทก การไฟฟานครหลวง กับพวก จำเลย ป.วิ.พ. มาตรา ๒๔๓ (๑)  พ.ร.บ. จัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๕๗ จากคําเบิกความของพยานจําเลยทั้งสอง ขอเท็จจริงรับฟงไดวาเหตุที่แกนเพลา หิ้วกระเชาหักนาจะเกิดจากความบกพรองในการผลิตแกไขดัดแปลงแกนเพลาหิ้วกระเชา ของจําเลยที่ ๒ โดยไมถูกตองเหมาะสม ทําใหแกนเพลาหิ้วกระเชาไมแข็งแรงเพียงพอที่จะ สามารถรับน้ำหนักกระเชาและน้ำหนักที่บรรทุกในกระเชาไดไมนอยกวา ๑๓๐ กิโลกรัม ตามสัญญาจําเลยที่ ๒ จึงตองรับผิดในความเสียหายที่เกิดขึ้นแกโจทก ดังนั้น ที่ศาลแรงงานกลางฟงขอเท็จจริงวาอุบัติเหตุที่เกิดขึ้นกับโจทก ไมไดเกิดจากความชํารุดบกพรอง ของรถกระเชาที่จําเลยที่ ๒ ผลิต หรือความประมาทเลินเลอในการผลิตของจําเลยที่ ๒ นั้น เปนการฟงขอเท็จจริงผิดไปจากพยานหลักฐานในสํานวน และเปนการวินิจฉัยคดีที่ไมชอบ ดวย พ.ร.บ. จัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ จึงใหยกคําพิพากษา ศาลแรงงานกลางในสวนนี้ โดยใหยอนสํานวนไปใหศาลแรงงานกลางฟงขอเท็จจริงใหม ในประเด็นวาจําเลยที่ ๒ ตองรวมรับผิดกับจําเลยที่ ๑ ตอโจทกหรือไม เพียงใด แลวพิพากษา ในประเด็นดังกลาวใหมตามรูปคดีตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๒๔๓ (๑) ประกอบ พ.ร.บ. จัดตั้ง ศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๕๗  จําเลยที่ ๑ เปนผูจัดการประมูลซื้อรถกระเชามาใชในกิจการของจําเลยที่ ๑ และ ตรวจรับมอบรถกระเชาจากจําเลยที่ ๒ แลว จึงเปนเจาของและผูครอบครองดูแลรถกระเชา เมื่อพนักงานของจําเลยที่ ๑ ใชรถกระเชาของจําเลยที่ ๑ ไปปฏิบัติงานของจําเลยที่ ๑ โดย โจทกขึ้นไปในกระเชาของรถกระเชาเพื่อปฏิบัติงานเปลี่ยนสายไฟฟาบนเสาไฟฟา ขณะโจทก ปฏิบัติงานแกนเพลาหิ้วกระเชาหัก เปนเหตุใหกระเชาตกลงมาพรอมโจทก ทําใหโจทก ไดรับบาดเจ็บสาหัส เมื่อรถกระเชาของจําเลยที่ ๑ มีความชํารุดบกพรองของแกนเพลาหิ้ว กระเชา แมเกิดจากจําเลยที่ ๒ ออกแบบ และผลิตแกนเพลาหิ้วกระเชาโดยไมถูกตอง เหมาะสม แตการที่โจทกไดรับบาดเจ็บสาหัสขณะทํางานใหแกจําเลยที่ ๑ อันเกิดจากความ ชํารุดบกพรองของรถกระเชาที่จําเลยที่ ๑ จัดหามาใชในการทํางานของจําเลยที่ ๑ โดย


๔๒๓ จําเลยที่ ๑ มีหนาที่ตามสัญญาจางแรงงานที่จะตองจัดหาเครื่องจักร เครื่องมือ และอุปกรณ ที่มีความปลอดภัยใหแกลูกจางใชในการทํางาน ดังนั้น เมื่อโจทกไดรับบาดเจ็บสาหัสจาก การทํางานใหแกจําเลยที่ ๑ อันเกิดจากความชํารุดบกพรองของอุปกรณรถกระเชาของ จําเลยที่ ๑ ซึ่งจําเลยที่ ๑ มีหนาที่ควบคุมดูแลใหเกิดความปลอดภัยในการทํางานตาม สัญญาจางแรงงาน จําเลยที่ ๑ จึงตองรับผิดชดใชคาเสียหายใหแกโจทก โจทกฟอง ขอใหบังคับจำเลยทั้งสองรวมกันหรือแทนกันชำระเงิน ๑๑,๒๔๔,๑๗๗.๘๓ บาท พรอมดอกเบี้ยอัตรารอยละ ๗.๕ ตอป ของตนเงิน ๑๐,๔๖๑,๗๐๐ บาท นับถัดจากวันฟอง เปนตนไปจนกวาจะชำระเสร็จแกโจทก และใหจำเลยที่ ๒ ชำระเงิน ๑๕๐,๓๒๖.๑๓ บาท พรอม ดอกเบี้ยอัตรารอยละ ๗.๕ ตอป ของตนเงิน ๑๓๙,๘๖๕ บาท นับถัดจากวันฟองเปนตนไปจนกวา จะชำระเสร็จแกโจทก จำเลยที่ ๑ ใหการ ขอใหยกฟอง จำเลยที่ ๒ ใหการ ขอใหยกฟอง ศาลแรงงานกลาง พิพากษาใหจำเลยที่ ๑ ชดใชคาเสียหาย ๒,๐๖๑,๗๐๐ บาท พรอม ดอกเบี้ยอัตรารอยละ ๗.๕ ตอป นับแตวันที่ ๖ พฤษภาคม ๒๕๖๐ เปนตนไปจนกวาจะชำระเสร็จ แกโจทก ยกฟองโจทกสำหรับจำเลยที่ ๒ จำเลยที่ ๑ อุทธรณ ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษแผนกคดีแรงงานวินิจฉัยวา ขอเท็จจริงที่คูความแถลงรับกัน และไมโตแยงกันฟงไดวา จำเลยที่ ๑ เปนนิติบุคคลตามพระราชบัญญัติการไฟฟานครหลวง พ.ศ. ๒๕๐๑ และเปนรัฐวิสาหกิจ จำเลยที่ ๒ เปนนิติบุคคลประเภทบริษัทจำกัด โจทกเปนพนักงาน ของจำเลยที่ ๑ ตำแหนงชางสายอากาศ ๔ แผนกบำรุงรักษาระบบจำหนาย กองบริการจำหนาย การไฟฟานครหลวงเขตราษฎรบูรณะ มีหนาที่ในการติดตั้งซอมแซมบำรุงรักษาระบบการจาย กระแสไฟฟา และปฏิบัติงานอื่นตามคำสั่งที่ไดรับมอบหมายจากจำเลยที่ ๑ โจทกทำงานใหแก จำเลยที่ ๑ มาตั้งแตป ๒๕๔๓ จนถึงปจจุบัน ขณะเกิดเหตุ จำเลยที่ ๑ เปนเจาของและผูครอบครอง กำกับดูแลการใชรถยนตบรรทุกติดกระเชาปลายบูมหรือปนจั่นไฮดรอลิก หรือรถกระเชา หมายเลข ทะเบียน ๕๒-๐๘๕๙ กรุงเทพมหานคร หมายเลขขางรถ ขบ. ๖๗๗ จำเลยที่ ๑ สั่งซื้อและรับมอบ รถกระเชามาจากจำเลยที่ ๒ ซึ่งเปนผูออกแบบ ผลิต และจำหนายใหแกจำเลยที่ ๑ รถกระเชาที่ สั่งซื้อจากจำเลยที่ ๒ อยูในความรับผิดชอบของฝายจัดการยานพาหนะและเครื่องมือกลซึ่งเปน


๔๒๔ แผนกหนึ่งของจำเลยที่ ๑ เมื่อวันที่ ๖ พฤษภาคม ๒๕๖๑ โจทกกับพนักงานของจำเลยที่ ๑ รวม ๔ คน ไดรับมอบหมายจากจำเลยที่ ๑ ใหเปลี่ยนสายไฟฟาจากสายเปลือยเปนสาย ASC บริเวณ ปากซอยสุขสวัสดิ์ ๑ ถนนสุขสวัสดิ์ เขตราษฎรบูรณะ กรุงเทพมหานคร โดยใชรถกระเชาซึ่งเปน รถยนตบรรทุกมีลักษณะเปนรถยกติดตั้งกลไกแขนไฮดรอลิก รถกระเชาสามารถยกระดับสูงต่ำ ไดมีเพลาเหล็กเปนตัวหิ้วกระเชาแขวนยึดเขากับสวนปลายแขนไฮดรอลิก (ปลายบูม) ควบคุม กลไกการทำงานดวยระบบไฮดรอลิกเพื่อใหพนักงานขึ้นไปปฏิบัติงานซอมแซมติดตั้งบำรุงรักษา ระบบการจายไฟฟาในที่สูงได โจทกสวมเสื้อนิรภัยที่มีตะขอเกี่ยวเขากับโครงกระเชาเพื่อปองกัน ไมใหตกหลนจากกระเชาถูกตองครบถวนตามระเบียบของจำเลยที่ ๑ เมื่อเปลี่ยนอุปกรณบนเสา ไฟฟาเสร็จเรียบรอยแกนเพลาหิ้วกระเชาที่เสียบกับหัวบูมซึ่งเปนเพลาหิ้วกระเชาที่ยึดกับหัวบูม เกิดหัก ทำใหกระเชาซึ่งมีน้ำหนักมากรวงตกลงมาพรอมกับโจทก โจทกตกกระแทกกับพื้นอยาง แรงทำใหไดรับบาดเจ็บสาหัสที่กระดูกใตหัวเขาขวา จำเลยที่ ๑ รับวาความเสียหายที่เกิดขึ้นตอ โจทกเปนความเสียหายที่เกิดในทางการที่จางระหวางที่โจทกเปนลูกจางของจำเลยที่ ๑ จำเลยที่ ๒ ปรับเปลี่ยนรูปแบบเพลาหิ้วกระเชาโดยกลึงแกนเพลาหิ้วกระเชาบางสวนใหมีขนาดเล็กลงจาก ขนาดเสนผาศูนยกลาง ๒ นิ้ว ใหเหลือเสนผาศูนยกลาง ๑ นิ้ว สวนที่มีขนาดเสนผาศูนยกลาง ๑ นิ้ว สอดเขาไปในตัวบูมของปนจั่นสวนที่มีขนาดเสนผาศูนยกลาง ๒ นิ้ว ติดกับตัวกระเชา รอยตอ ระหวางแกนเพลาที่มีเสนผาศูนยกลางทั้ง ๒ ขนาดดังกลาวเปนลักษณะตั้งฉากซึ่งเปนจุดที่หัก ของแกนเพลาหิ้วกระเชา คดีมีปญหาตองวินิจฉัยตามอุทธรณของจำเลยที่ ๑ วา ศาลแรงงานกลางฟงขอเท็จจริงวา อุบัติเหตุที่เกิดขึ้นกับโจทกไมไดเกิดจากความชำรุดบกพรองของรถกระเชาที่จำเลยที่ ๒ ผลิต หรือความประมาทเลินเลอในการผลิตของจำเลยที่ ๒ นั้น เปนการฟงขอเท็จจริงผิดไปจากพยาน หลักฐานในสำนวนหรือไม เห็นวา ขอเท็จจริงที่คูความไมโตแยงกันฟงไดวาจำเลยที่ ๒ ปรับเปลี่ยน รูปแบบเพลาหิ้วกระเชาโดยกลึงเหล็กแกนเพลาหิ้วกระเชาใหมีขนาดเล็กลงจากขนาดเสนผา ศูนยกลาง ๒ นิ้ว ใหเหลือเสนผาศูนยกลาง ๑ นิ้ว สวนที่มีขนาดเสนผาศูนยกลาง ๑ นิ้ว สอดเขา ไปในตัวบูมของปนจั่น สวนที่มีขนาดเสนผาศูนยกลาง ๒ นิ้ว ติดกับตัวกระเชา รอยตอระหวาง แกนเพลาที่มีเสนผาศูนยกลางทั้ง ๒ ขนาดดังกลาวที่เกิดจากการกลึงเปนลักษณะตั้งฉากซึ่งเปน จุดที่หักของแกนเพลาหิ้วกระเชา นายอาจณรงค พยานจำเลยที่ ๑ ตำแหนงวิศวกรเครื่องกลของ จำเลยที่ ๑ และจำเลยที่ ๑ แตงตั้งใหเปนคณะกรรมการตรวจสอบขอเท็จจริงและวิเคราะหหาสาเหตุ ที่เกิดขึ้นคดีนี้เบิกความวาจากการตรวจสอบของคณะกรรมพบวาแกนเพลาหิ้วกระเชาปกติจะมี ขนาดเสนผาศูนยกลาง ๒ นิ้ว แตมีการกลึงแกนเพลาหิ้วกระเชาใหมีขนาดทั้งแกนไมเทากัน สวนที่


๔๒๕ มีการกลึงจากขนาดเสนผาศูนยกลาง ๒ นิ้ว เหลือประมาณ ๑ นิ้ว แกนเพลาหิ้วกระเชาที่กลึงให เหลือขนาด ๑ นิ้ว สอดเขาไปตัวบูมของปนจั่น สวนที่มีขนาด ๒ นิ้ว ติดกับกระเชา โดยมีระยะหาง ระหวางกระเชากับบูมเล็กนอย จุดที่มีการหักของแกนเพลาหิ้วกระเชาคือสวนที่เปนรอยตอระหวาง แกนเพลาขนาดเสนผาศูนยกลาง ๒ นิ้ว กับเสนผาศูนยกลาง ๑ นิ้ว แกนเพลาที่มีการกลึงใหเหลือ ขนาดเสนผาศูนยกลาง ๑ นิ้ว และสอดเขาไปในบูมเปนสวนที่รับน้ำหนักของกระเชาทั้งหมดรวมทั้ง ตัวโจทก ลักษณะแกนเพลาหิ้วกระเชาเมื่อผานการกลึงแลวจุดที่เปนรอยตอระหวางแกนเพลาเสนผา ศูนยกลาง ๒ นิ้ว กับเสนผาศูนยกลาง ๑ นิ้ว เปนลักษณะตั้งฉาก เปนเหตุใหจุดที่เปนมุมฉากเปน จุดที่รับน้ำหนักโดยตรง ซึ่งตามหลักวิศวกรรมทำใหแกนเพลาหิ้วกระเชาที่มีลักษณะการกลึงดังกลาว สามารถรับน้ำหนักไดนอยลง พยานและคณะกรรมการมีความเห็นวาเหตุที่เหล็กแกนเพลาหิ้วกระเชา หักเกิดจากการกลึงแกนเพลาหิ้วกระเชาใหมีขนาดเล็กลงและลักษณะการกลึงรอยตอระหวางแกน เพลาเสนผาศูนยกลาง ๒ นิ้ว กับเสนผาศูนยกลาง ๑ นิ้ว เปนมุมฉากไมกลึงเปนมุมโคงไมถูกตอง ตามหลักวิศวกรรมทำใหไมสามารถรับน้ำหนักไดตามสัญญา จากการตรวจสอบน้ำหนักตัวโจทก และอุปกรณมีน้ำหนัก ๘๐ กิโลกรัมเศษ สวนจำเลยที่ ๒ มีนายณรงคพนธ วิศวกรของจำเลยที่ ๒ เบิกความวาพยานรวมกับคณะกรรมการตรวจสอบการผลิตของจำเลยที่ ๑ ตรวจสอบคุณภาพและ มาตรฐานรถยนตบรรทุกติดกระเชาปลายบูมหรือรถปนจั่นไฮดรอลิกที่จำเลยที่ ๑ ซื้อจากจำเลยที่ ๒ รวม ๓ ครั้ง ในครั้งที่ ๓ เมื่อวันที่ ๗ สิงหาคม ๒๕๕๙ เปนการรวมกันตรวจสอบในสวนระบบการยก ของเครนปนจั่นและการรับน้ำหนักทั้งในสวนเพลาหิ้วกระเชาที่เปนตัวรับน้ำหนักกระเชา โดยเปน การทดสอบภายใตการใชงานจริงในสวนของเพลาหิ้วกระเชาและขีดความสามารถในการรับน้ำหนัก ของเพลาหิ้วกระเชา ซึ่งตามสัญญากำหนดใหเพลาหิ้วกระเชามีขีดความสามารถในการรับน้ำหนัก กระเชาไดไมต่ำกวา ๑๓๐ กิโลกรัม จากการตรวจสอบในสวนเพลาหิ้วกระเชามีขีดความสามารถ รับน้ำหนักกระเชาไดไมนอยกวา ๑๓๐ กิโลกรัม จำเลยที่ ๒ ไดรับการติดตอจากคณะกรรมการ จำเลยที่ ๑ ใหแกไขเรื่องตัวกระเชาและอุปกรณติดกระเชา โดยขอใหลดขนาดเพลาหิ้วกระเชาจาก เดิมขนาดเสนผาศูนยกลาง ๒ นิ้ว ใหเล็กลงเปน ๑ นิ้ว อางวาเพื่อความสะดวกในการทำงานใน ที่แคบหรือพื้นที่จำกัด ภายใตเงื่อนไขการรองรับน้ำหนักไดตามสัญญา พยานจึงนำเหล็กแกนเพลา หิ้วกระเชาไปคำนวณความแข็งของเหล็กแกนเพลาหิ้วกระเชา ผลการคำนวณเหล็กแกนเพลาหิ้ว กระเชาขนาด ๑ นิ้ว ซึ่งเปนเหล็กที่มีคุณภาพตามมาตรฐานภายใตมาตรฐานเหล็กสากล AISI ๔๑๔๐ สามารถรองรับน้ำหนักกระเชาและน้ำหนักที่บรรทุกในกระเชาได ๒๔๐ กิโลกรัม สูงกวา คามาตรฐานตามที่สัญญากำหนดไวไมต่ำกวา ๑๓๐ กิโลกรัม จำเลยที่ ๒ จัดทำรายการทดลอง สวนประกอบและอุปกรณสำหรับปนจั่นชนิดเคลื่อนที่ โดยการควบคุมของวิศวกรเครื่องกลระดับ


๔๒๖ สามัญวิศวกร พรอมแนบภาพถายวิศวกรขณะทำการทดสอบในสถานการณจริงตามรายการทดสอบ สวนประกอบและอุปกรณสำหรับปนจั่นชนิดเคลื่อนที่ หลังเกิดอุบัติเหตุคดีนี้พยานนำเหล็กเพลาหิ้ว กระเชาที่มีปญหาไปตรวจสอบวิเคราะหจากบริษัทศูนยโลหะวิทยา แอลพีเอ็ม (ประเทศไทย) จำกัด เพื่อหาคาตัวเลขมาตรฐานและคาคุณภาพเหล็ก โดยนายประวีณ วิศวกรระดับสามัญวิศวกรตรวจสอบ แลวโดยวิธีคำนวณพบวาเพลาหิ้วกระเชาที่เปนเหล็กขนาด ๑ นิ้ว สามารถรองรับน้ำหนักจริงรวม น้ำหนักกระเชาไดถึง ๑๕๘ กิโลกรัม สูงกวาคามาตรฐานที่จำเลยที่ ๑ กำหนดไวในสัญญาตาม รายละเอียดการคำนวณหาคาการรับน้ำหนักเพลาเหล็กจากวิศวกรระดับสามัญ แตนายณรงคพนธ เบิกความตอบทนายจำเลยที่ ๑ วาการคำนวณหาคาการรับน้ำหนักเพลาเหล็กจากวิศวกรระดับ สามัญ เปนการคำนวณแกนเพลาหิ้วกระเชาที่หัก โดยนำเฉพาะชิ้นที่มีเสนผาศูนยกลาง ๑ นิ้ว ไปตรวจสอบเทานั้น วิธีการทดสอบคือนำเหล็กที่จะทำการตรวจไปเขาเครื่องสเปคโต ทดสอบ แรงดึงใหขาดออกจากกัน เพื่อดูคาความแข็งแรงของเหล็ก แตไมไดใชวิธีทดสอบโดยการรับน้ำหนัก เมื่อไดคาดังกลาวแลวในทางวิศวกรรมจะนำคาดังกลาวมาทำการคำนวณการรับน้ำหนักของเหล็ก ดังกลาว สำหรับเหล็กแกนเพลาหิ้วกระเชาที่มีการกลึงจากขนาดเสนผาศูนยกลาง ๒ นิ้ว ใหเหลือ ๑ นิ้ว ไมไดมีการนำไปทำการทดสอบหาคาจากเครื่องสเปคโตแตอยางใด การกลึงเหล็กแกนเพลา หิ้วกระเชาจากขนาดเสนผาศูนยกลาง ๒ นิ้ว ใหเหลือ ๑ นิ้ว ในสวนเหล็กที่มีขนาดเสนผาศูนยกลาง ๑ นิ้ว ยอมสามารถรับน้ำหนักไดนอยกวาเหล็กที่มีขนาดเสนผาศูนยกลาง ๒ นิ้ว ทั้งแทงแกนเพลา หิ้วกระเชาที่มีการกลึงในลักษณะเปนมุมฉากจะรับน้ำหนักไดนอยกวาที่มีลักษณะโคง แกนเพลา หิ้วกระเชาสวนที่หักคือจุดที่เปนรอยตอระหวางแกนเพลาขนาดเสนผาศูนยกลาง ๒ นิ้ว กับเสนผา ศูนยกลาง ๑ นิ้ว ที่มีลักษณะตั้งฉาก สวนอื่นไมมีรอยราว ซึ่งเจือสมกับที่นายอาจณรงคพยานจำเลย ที่ ๑ เบิกความวาเหตุที่เพลาหิ้วกระเชาหักเกิดจากมีการกลึงแกนเพลาหิ้วกระเชาใหมีขนาดเล็กลง และลักษณะการกลึงเปนมุมฉากไมกลึงเปนมุมโคงไมถูกตองตามหลักวิศวกรรมทำใหไมสามารถรับ น้ำหนักได เมื่อการตรวจสอบเหล็กแกนเพลาหิ้วกระเชาที่หัก จำเลยที่ ๒ นำเฉพาะเหล็กแกนเพลา หิ้วกระเชาที่หักซึ่งมีเสนผาศูนยกลาง ๑ นิ้ว ไปตรวจสอบคาความแข็งแรงของเหล็ก ไมไดใชวิธี การทดสอบโดยการรับน้ำหนัก และไมไดนำเหล็กแกนเพลาหิ้วกระเชาที่มีการกลึงบางสวนเพื่อลด ขนาดเสนผาศูนยกลางจาก ๒ นิ้ว ใหเหลือ ๑ นิ้ว และกลึงจุดที่เปนรอยตอระหวางแกนเพลาทั้ง ๒ ขนาด ดังกลาว เปนลักษณะตั้งฉากเชนเดียวกับแกนเพลาหิ้วกระเชาที่หักไปตรวจสอบความ แข็งแรงในการรับน้ำหนัก จึงไมใชการทดสอบลักษณะการออกแบบแกนเพลาหิ้วกระเชาของจำเลย ที่ ๒ และจุดที่หักของแกนเพลาหิ้วกระเชาวาสามารถรับน้ำหนักไดเทาใด ดังนั้น การตรวจสอบ เหล็กแกนเพลาหิ้วกระเชาที่หักซึ่งมีเสนผาศูนยกลาง ๑ นิ้ว ตามที่จำเลยที่ ๒ อางวาสามารถรับ


๔๒๗ น้ำหนักไดมากกวา ๑๓๐ กิโลกรัม จึงไมใชขอที่จะนำมารับฟงไดวาเหล็กแกนเพลาหิ้วกระเชาที่มี การกลึงบางสวนเพื่อลดขนาดเสนผาศูนยกลางจาก ๒ นิ้ว ใหเหลือ ๑ นิ้ว ทำใหเกิดรอยตอระหวาง แกนเพลาขนาดเสนผาศูนยกลาง ๒ นิ้ว กับขนาด ๑ นิ้ว เปนลักษณะตั้งฉากจะสามารถรับน้ำหนัก กระเชาและน้ำหนักบรรทุกในกระเชาไดถึง ๑๓๐ กิโลกรัม เมื่อจุดที่หักของแกนเพลาหิ้วกระเชา คือจุดที่เปนรอยตอระหวางแกนเพลาขนาดเสนผาศูนยกลาง ๒ นิ้ว กับเสนผาศูนยกลาง ๑ นิ้ว ที่มีการกลึงเปนลักษณะตั้งฉาก โดยพยานจำเลยที่ ๑ และที่ ๒ ดังกลาวตางเบิกความวาการกลึง แกนเพลาหิ้วกระเชาใหมีขนาดเล็กลงจากขนาดเสนผาศูนยกลาง ๒ นิ้ว ใหเหลือ ๑ นิ้ว และจุดที่ เปนรอยตอระหวางแกนเพลาที่มีเสนผาศูนยกลางขนาด ๒ นิ้ว กับขนาด ๑ นิ้ว เปนลักษณะตั้งฉาก ทำใหรับน้ำหนักไดนอยลง สวนโจทกเบิกความตอบทนายความจำเลยที่ ๑ วา โจทกขึ้นรถกระเชา คันเกิดเหตุโดยใชกระเชาในการปฏิบัติงานเปนครั้งแรกในวันเกิดเหตุน้ำหนักตัวโจทกและอุปกรณ อื่นรวมกันประมาณ ๘๐ กิโลกรัมเศษ กอนหนานี้รถกระเชาดังกลาวใชปนจั่นยกหมอแปลงไฟฟา ขึ้นที่สูงโดยไมไดใชกระเชาในการทำงาน เมื่อไมปรากฏวาพนักงานของจำเลยที่ ๑ ใชรถกระเชา และกระเชาในการทำงานผิดปกติเกินมาตรฐานในการใชงาน หรือไมดูแลบำรุงรักษารถกระเชา และกระเชาใหถูกตอง แมนายณรงคพนธ และนายสรรชัย พยานจำเลยที่ ๒ เบิกความวารวมกับ คณะกรรมการตรวจการผลิตของจำเลยที่ ๑ ตรวจการผลิตในครั้งที่ ๓ เมื่อวันที่ ๗ สิงหาคม ๒๕๕๙ (ที่ถูก วันที่ ๗ ตุลาคม ๒๕๕๙) ตามหนังสือนัดตรวจการผลิตครั้งที่ ๓ ซึ่งเปนการตรวจสอบใน สวนของระบบการยกเครนปนจั่นและการรับน้ำหนักทั้งในสวนเพลาหิ้วกระเชาที่เปนตัวรับน้ำหนัก กระเชา โดยเปนการทดสอบภายใตการใชงานจริง ปรากฏวาเพลาหิ้วกระเชามีขีดความสามารถ รับน้ำหนักกระเชาและน้ำหนักรวมไดไมนอยกวา ๑๓๐ กิโลกรัม และนายศิริชัย ประธาน คณะกรรมการตรวจการผลิตของจำเลยที่ ๑ เบิกความวาการตรวจการผลิตครั้งที่ ๓ เปนการตรวจสอบ การใชงานจริงมีการยกน้ำหนักทดสอบกระเชาในการใชงาน แตนายณรงคพนธและนายสรรชัย เบิกความวากอนสงมอบรถกระเชาใหแกจำเลยที่ ๑ มีการนัดหมายทดสอบการใชงานเครนในวันที่ ๒๐ ตุลาคม ๒๕๕๙ คณะกรรมการตรวจการผลิตของจำเลยที่ ๑ เขารวมตรวจสอบ โดยจำเลยที่ ๒ ไดรับการติดตอจากคณะกรรมการตรวจการผลิตของจำเลยที่ ๑ เรื่องตัวกระเชาและอุปกรณติด กระเชา ขอใหลดขนาดเพลาหิ้วกระเชาจากขนาดเสนผาศูนยกลาง ๒ นิ้ว เปน ๑ นิ้ว ภายใตเงื่อนไข การรองรับน้ำหนักไดตามสัญญา เพื่อความสะดวกในการใชงานของพนักงานจำเลยที่ ๑ แสดงวา การทดสอบความสามารถในการยกน้ำหนักของเพลาหิ้วกระเชาและการใชงานกระเชาซึ่งตองรับ น้ำหนักไดไมนอยกวา ๑๓๐ กิโลกรัม เปนการทดสอบกอนที่จะมีการแกไขเปลี่ยนแปลงลดขนาด แกนเพลาหิ้วกระเชาจากขนาดเสนผาศูนยกลาง ๒ นิ้ว เปน ๑ นิ้ว ขอเท็จจริงจึงรับฟงไดวาเหตุ


๔๒๘ ที่แกนเพลาหิ้วกระเชาหักนาจะเกิดจากความบกพรองในการผลิตแกไขดัดแปลงแกนเพลาหิ้ว กระเชาของจำเลยที่ ๒ โดยไมถูกตองเหมาะสม ทำใหแกนเพลาหิ้วกระเชาไมแข็งแรงเพียงพอที่ จะสามารถรับน้ำหนักกระเชาและน้ำหนักที่บรรทุกในกระเชาไดไมนอยกวา ๑๓๐ กิโลกรัม ตาม สัญญา จำเลยที่ ๒ จึงตองรับผิดในความเสียหายที่เกิดขึ้นแกโจทก ดังนั้น ที่ศาลแรงงานกลาง ฟงขอเท็จจริงวาอุบัติเหตุที่เกิดขึ้นกับโจทกไมไดเกิดจากความชำรุดบกพรองของรถกระเชาที่ จำเลยที่ ๒ ผลิต หรือความประมาทเลินเลอในการผลิตของจำเลยที่ ๒ นั้น เปนการฟงขอเท็จจริง ผิดไปจากพยานหลักฐานในสำนวน และเปนการวินิจฉัยคดีที่ไมชอบดวยพระราชบัญญัติจัดตั้ง ศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ จึงใหยกคำพิพากษาศาลแรงงานกลางใน สวนนี้ โดยใหยอนสำนวนไปใหศาลแรงงานกลางฟงขอเท็จจริงใหมในประเด็นวาจำเลยที่ ๒ ตอง รวมรับผิดกับจำเลยที่ ๑ ตอโจทกหรือไม เพียงใด แลวพิพากษาในประเด็นดังกลาวใหมตามรูปคดี ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพง มาตรา ๒๔๓ (๑) ประกอบพระราชบัญญัติจัดตั้ง ศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๕๗ อุทธรณของจำเลยที่ ๑ ขอนี้ฟงขึ้น สำหรับอุทธรณของจำเลยที่ ๑ ที่อางวาเหตุที่เหล็กแกนเพลาหิ้วกระเชาหักเนื่องจาก จำเลยที่ ๒ ออกแบบและผลิตแกนเพลาหิ้วกระเชาดวยความประมาทเลินเลอทำใหไมสามารถ รองรับน้ำหนักไดตามสัญญา จำเลยที่ ๑ ไมตองรับผิดตอโจทก ขอใหยกฟองโจทกสำหรับจำเลย ที่ ๑ นั้น เห็นวา จำเลยที่ ๑ เปนผูจัดการประมูลซื้อรถกระเชามาใชในกิจการของจำเลยที่ ๑ และ ตรวจรับมอบรถกระเชาจากจำเลยที่ ๒ แลว จำเลยที่ ๑ จึงเปนเจาของและผูครอบครองดูแล รถกระเชา เมื่อพนักงานของจำเลยที่ ๑ ใชรถกระเชาของจำเลยที่ ๑ ไปปฏิบัติงานของจำเลยที่ ๑ โดยโจทกขึ้นไปในกระเชาของรถกระเชาเพื่อปฏิบัติงานเปลี่ยนสายไฟฟาบนเสาไฟฟา ขณะโจทก ปฏิบัติงานแกนเพลาหิ้วกระเชาหัก เปนเหตุใหกระเชาตกลงมาพรอมโจทก ทำใหโจทกไดรับบาดเจ็บ สาหัส เมื่อรถกระเชาของจำเลยที่ ๑ มีความชำรุดบกพรองของแกนเพลาหิ้วกระเชา แมเกิดจาก จำเลยที่ ๒ ออกแบบและผลิตแกนเพลาหิ้วกระเชาโดยไมถูกตองเหมาะสม แตการที่โจทกไดรับ บาดเจ็บสาหัสขณะทำงานใหแกจำเลยที่ ๑ อันเกิดจากความชำรุดบกพรองของรถกระเชาที่จำเลย ที่ ๑ จัดหามาใชในการทำงานของจำเลยที่ ๑ โดยจำเลยที่ ๑ มีหนาที่ตามสัญญาจางแรงงานที่จะ ตองจัดหาเครื่องจักร เครื่องมือ และอุปกรณที่มีความปลอดภัยใหแกลูกจางใชในการทำงาน ดังนั้น เมื่อโจทกไดรับบาดเจ็บสาหัสจากการทำงานใหแกจำเลยที่ ๑ อันเกิดจากความชำรุดบกพรองของ อุปกรณรถกระเชาของจำเลยที่ ๑ ซึ่งจำเลยที่ ๑ มีหนาที่ควบคุมดูแลใหเกิดความปลอดภัยในการ ทำงานตามสัญญาจางแรงงาน จำเลยที่ ๑ จึงตองรับผิดชดใชคาเสียหายใหแกโจทก อุทธรณของ จำเลยที่ ๑ ขอนี้ฟงไมขึ้น


๔๒๙ พิพากษาแกเปนวา ใหยกคำพิพากษาศาลแรงงานกลางที่ยกฟองโจทกสำหรับจำเลย ที่ ๒ ใหยอนสำนวนไปใหศาลแรงงานกลางรับฟงขอเท็จจริงใหมในประเด็นวา จำเลยที่ ๒ ตอง รวมรับผิดกับจำเลยที่ ๑ ตอโจทกหรือไม เพียงใด แลวพิพากษาในประเด็นดังกลาวใหมตามรูปคดี นอกจากที่แกใหเปนไปตามคำพิพากษาศาลแรงงานกลาง. (ชาตรี หาญไพโรจน - สัญชัย ลิ่มไพบูลย - ยุคนธร พาณิชปฐมพงศ) มนุเชษฐ โรจนศิริบุตร - ยอ สุโรจน จันทรพิทักษ - ตรวจ


๔๓๐ คำพิพากษาศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษที่ ๗๑๙๒/๒๕๖๒ นายบุญมี สุขสมธรรม โจทก การรถไฟ แหงประเทศไทย จำเลย ป.วิ.พ. มาตรา ๑๔๘  ฟองโจทกในคดีกอนและคดีนี้มีเนื้อหาตรงกันวาจําเลยเลิกจางโจทกอางเหตุที่ โจทกทุจริตตอหนาที่ และประพฤติชั่วอยางรายแรงกรณีการจัดซื้อไมหมอนรองรางรถไฟ แมฟองโจทกคดีนี้กลาวอางเหตุเพิ่มเติมวาศาลฎีกาในสวนคดีอาญาพิพากษาวาโจทกไมได ทุจริตตอหนาที่เพื่อใหปรากฏในคดีนี้วาโจทกไมไดทุจริตตอหนาที่และไมไดประพฤติชั่ว อยางรายแรงเพื่อมีเหตุที่จะใหเพิกถอนคําสั่งของจําเลยที่ไลโจทกออก แตประเด็นคดีนี้มี ประเด็นที่ตองวินิจฉัยโดยอาศัยเหตุอยางเดียวกันกับในคดีกอน ซึ่งไดวากลาวกันมาแลว คือโจทกกระทําผิดฐานทุจริตตอหนาที่อันเปนเหตุใหจําเลยเลิกจางโจทกหรือไม ฟองโจทก คดีนี้ที่อางเหตุตาง ๆ เพิ่มก็ไมทําใหมีประเด็นหรือเปลี่ยนแปลงไปแตอยางใด และการที่ จะวินิจฉัยใหโจทกมีสิทธิตาง ๆ กลับคืนมาไดหรือไมนั้น จะตองวินิจฉัยในประเด็นวาโจทก กระทําทุจริตตอหนาที่และประพฤติชั่วอยางรายแรงหรือไม ซึ่งจะตองวินิจฉัยโดยอาศัย เหตุอยางเดียวกัน ฟองโจทกคดีนี้จึงเปนฟองซ้ำกับคดีกอน ตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๑๔๘ ประกอบ พ.ร.บ. จัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๓๑ การพิจารณาวาพนักงานหรือลูกจางของจําเลยกระทําผิดระเบียบหรือฝาฝนขอบังคับ ตองดําเนินการตามมาตรการทางการปกครองกับการบังคับบัญชาและตามที่ระเบียบหรือ ขอบังคับของจําเลยกําหนดไว อันเปนคนละมาตรฐานกันกับการพิจารณาวาโจทกกระทํา ความผิดทางอาญาซึ่งตองพิจารณาใหปราศจากขอสงสัยใด ๆ จึงจะสามารถลงโทษโจทก ทางอาญาได เมื่อคดีนี้โจทกเปนพนักงานฟองจําเลยผูเปนนายจาง ขอใหเพิกถอนคําสั่ง ที่ไลโจทกออกจากงานฐานทุจริตและเรียกเงินเดือนระหวางถูกสั่งใหพักงาน เงินสงเคราะห รายเดือน เงินเพื่อตอบแทนความชอบ และเงินคาจางสําหรับวันหยุดพักผอนประจําป อันเปนการฟองบังคับตามสิทธิเรียกรองในมูลหนี้ที่เกิดจากการผิดสัญญาจางแรงงาน แมโจทกถูกดําเนินคดีอาญาในความผิดฐานทุจริตตอหนาที่ซึ่งเปนขอหาเดียวกันกับที่ จําเลยอางเปนเหตุในการมีคําสั่งใหโจทกออกจากงาน ก็ไมทําใหคดีนี้กลายเปนคดีแพง ที่เกี่ยวเนื่องกับคดีอาญาไปได ศาลแรงงานกลางไมจําตองถือตามขอเท็จจริงที่ปรากฏใน


๔๓๑ คําพิพากษาฎีกาสวนคดีอาญา คําพิพากษาของศาลฎีกาดังกลาวจึงไมลบลางความผิด ทางวินัยของโจทกที่จําเลยไดสั่งลงโทษไปแลว โจทกฟองและแกไขคำฟอง ขอใหบังคับจำเลยเพิกถอนมติที่ประชุมผูอำนวยการฝาย และหัวหนาสำนักงานครั้งที่ ๔/๒๕๕๓ เมื่อวันที่ ๙ เมษายน ๒๕๕๓ เรื่อง พิจารณาผลการสอบสวน กรณีการทุจริตในการซื้อไมหมอนรองรางรถไฟ เพิกถอนคำสั่งของจำเลย เลขที่ บภบ.๓๒/๒๕๕๓ เรื่อง ลงโทษไลโจทกออกจากงานฐานทุจริตตอหนาที่และประพฤติชั่วอยางรายแรง และจายเงินเดือน ตั้งแตวันที่ ๑ กรกฎาคม ๒๕๔๖ ถึงวันที่ ๓๐ กันยายน ๒๕๕๗ อันเปนวันที่โจทกเกษียณอายุ จากการทำงาน เปนเงิน ๕,๖๑๕,๕๕๐ บาท เงินสงเคราะหรายเดือน (บำนาญ) นับแตวันที่ ๑ ตุลาคม ๒๕๕๗ จนถึงวันฟองเปนเงิน ๒,๒๗๖,๑๘๘.๘๐ บาท เงินเพื่อตอบแทนความชอบใน การทำงานเปนจำนวนเทากับคาจางอัตราสุดทาย ๓๐๐ วัน เปนเงิน ๕๗๘,๓๐๐ บาท และคาวันหยุด พักผอนตามประเพณี (ที่ถูกคือ คาจางสำหรับวันหยุดพักผอนประจำป) ๒๓๒,๗๓๒.๘๕ บาท พรอมดอกเบี้ยอัตรารอยละ ๑๕ ตอป ของตนเงินแตละจำนวน นับแตวันที่โจทกมีสิทธิไดรับเงิน แตละจำนวนดังกลาวเปนตนไปจนกวาจะชำระเสร็จแกโจทก จำเลยใหการ ขอใหยกฟอง ศาลแรงงานกลาง พิพากษายกฟอง โจทกอุทธรณ ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษแผนกคดีแรงงานวินิจฉัยวา ศาลแรงงานกลางฟงขอเท็จจริง เปนยุติและปรากฏขอเท็จจริงที่คูความไมโตแยงกันวา จำเลยเปนนิติบุคคลตามพระราชบัญญัติ การรถไฟแหงประเทศไทย พ.ศ. ๒๔๙๔ เมื่อวันที่ ๗ เมษายน ๒๕๑๔ โจทกเขาทำงานกับจำเลย ตำแหนงสุดทายเปนหัวหนาแผนกบริหารงานทั่วไป ฝายบริหารทรัพยสิน ไดรับคาจางอัตราสุดทาย เดือนละ ๒๒,๓๒๐ บาท วันที่ ๙ เมษายน ๒๕๕๓ มีการประชุมผูอำนวยการฝายและหัวหนา สำนักงาน ครั้งที่ ๔/๒๕๕๓ เพื่อพิจารณาผลการสอบสวนกรณีมีพนักงานของจำเลยถูกกลาวหา วาทุจริตตอหนาที่และประพฤติชั่วอยางรายแรงในการจัดซื้อไมหมอนรองรางรถไฟ และไดมีคำสั่ง ของจำเลย เลขที่ บภบ.๓๒/๒๕๕๓ เรื่อง ลงโทษไลโจทกออกจากงานฐานทุจริตตอหนาที่และ ประพฤติชั่วอยางรายแรง โจทกเคยฟองจำเลยตอศาลแรงงานกลางโดยเปนจำเลยที่ ๑ ในคดี หมายเลขดำที่ ๔๖๑๖/๒๕๕๓ คดีหมายเลขแดงที่ ๒๗๗๒/๒๕๕๔ วาจำเลยทั้งสองเลิกจางโจทก โดยไมไดบอกกลาวลวงหนา โจทกถูกเลิกจางโดยไมมีความผิดและเกิดจากการที่จำเลยทั้งสอง


๔๓๒ รวมกันกลั่นแกลง ไมใหความเปนธรรมแกโจทกในการพิจารณาสอบสวนตามระเบียบ เปนการ เลิกจางที่ไมเปนธรรม ขอใหบังคับจำเลยทั้งสองจายสินจางแทนการบอกกลาวลวงหนา คาชดเชย เงินเดือน คาจางสำหรับวันหยุดพักผอนประจำป เงินบำเหน็จตามระเบียบขอบังคับเกี่ยวกับการ ทำงานของจำเลยที่ ๑ สิทธิที่จะไดรับใบเบิกทางเชิงบำเหน็จฐานทำงานมานานชั้นที่ ๑ คาเสียหาย ที่โจทกไมไดทำงาน และคาเสียหายจากการเลิกจางที่ไมเปนธรรม ซึ่งศาลแรงงานกลางพิพากษา ยกฟองโจทก โจทกอุทธรณตอศาลฎีกา ศาลฎีกาแผนกคดีแรงงานพิพากษายกอุทธรณโจทก เนื่องจากเปนอุทธรณในขอเท็จจริง แลววินิจฉัยวา ฟองโจทกคดีนี้เปนฟองซ้ำกับคดีหมายเลขดำ ที่ ๔๖๑๖/๒๕๕๓ คดีหมายเลขแดงที่ ๒๗๗๒/๒๕๕๔ ของศาลแรงงานกลาง คดีมีปญหาที่ตองวินิจฉัยตามอุทธรณของโจทกวา ฟองโจทกคดีนี้เปนฟองซ้ำกับคดี หมายเลขดำที่ ๔๖๑๖/๒๕๕๓ คดีหมายเลขแดงที่ ๒๗๗๒/๒๕๕๔ ของศาลแรงงานกลางหรือไม เห็นวา คดีเดิมคือคดีหมายเลขดำที่ ๔๖๑๖/๒๕๕๓ คดีหมายเลขแดงที่ ๒๗๗๒/๒๕๕๔ โจทก ฟองวาจำเลยแตงตั้งกรรมการสอบสวนโจทกกรณีการจัดซื้อไมหมอนรองรางรถไฟและตอมา จำเลยมีคำสั่งที่ บภบ.๓๒/๒๕๕๓ ไลโจทกออกจากงานฐานทุจริตตอหนาที่และประพฤติชั่วอยาง รายแรง โดยโจทกไมมีความผิด สวนคดีนี้โจทกฟองจำเลยวาจำเลยไลโจทกออกอันมีมูลเหตุ สืบเนื่องจากกรณีทุจริตการจัดซื้อไมหมอนรองรางรถไฟโดยโจทกไมไดกระทำผิด อางวาศาลฎีกา ในสวนคดีอาญาไดพิพากษาวาโจทกไมมีความผิดในขอหาทุจริตตอหนาที่ และขอใหเพิกถอน คำสั่งที่จำเลยไลโจทกออก และฟองเรียกคืนสิทธิการเปนพนักงาน คืนเงินเดือนและสิทธิในการ รับเงินสงเคราะห ใหจำเลยจายเงินเพื่อตอบแทนความชอบในการทำงาน และคาจางสำหรับ วันหยุดพักผอนประจำป ซึ่งตามคำฟองของโจทกในคดีกอนและคดีนี้มีเนื้อหาตรงกันวาจำเลย เลิกจางโจทกอางเหตุที่โจทกทุจริตตอหนาที่และประพฤติชั่วอยางรายแรง แตฟองของโจทกในคดีนี้ กลาวอางเหตุเพิ่มเติมวาศาลฎีกาในสวนคดีอาญาพิพากษาวาโจทกไมไดทุจริตตอหนาที่เพื่อให ปรากฏในคดีนี้วาโจทกไมไดทุจริตตอหนาที่และไมไดประพฤติชั่วอยางรายแรงเพื่อมีเหตุที่จะให เพิกถอนคำสั่งของจำเลยที่ไลโจทกออกนั่นเอง ดังนั้น ประเด็นคดีนี้จึงมีประเด็นที่ตองวินิจฉัย โดยอาศัยเหตุอยางเดียวกันกับในคดีกอน ซึ่งไดวากลาวกันมาแลวคือโจทกกระทำผิดฐานทุจริตตอ หนาที่อันเปนเหตุใหจำเลยเลิกจางโจทกหรือไม ฟองของโจทกคดีนี้ที่อางเหตุตาง ๆ เพิ่มก็ไมทำ ใหมีประเด็นหรือเปลี่ยนแปลงไปแตอยางใด และการที่จะวินิจฉัยใหโจทกมีสิทธิตาง ๆ กลับคืนมาได หรือไมนั้น จะตองวินิจฉัยในประเด็นวาโจทกกระทำทุจริตตอหนาที่และประพฤติชั่วอยางรายแรง หรือไม ซึ่งจะตองวินิจฉัยโดยอาศัยเหตุอยางเดียวกัน ฟองโจทกคดีนี้จึงเปนฟองซ้ำกับคดีหมายเลขดำ ที่ ๔๖๑๖/๒๕๕๓ คดีหมายเลขแดงที่ ๒๗๗๒/๒๕๕๔ ของศาลแรงงานกลาง ตามประมวล


๔๓๓ กฎหมายวิธีพิจารณาความแพง มาตรา ๑๔๘ ประกอบพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแรงงานและ วิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๓๑ นอกจากนี้ แมคดีนี้โจทกจะอางคำพิพากษา ของศาลฎีกาที่พิพากษาในสวนคดีอาญาวาโจทกไมไดทุจริตตอหนาที่ แตการพิจารณาคดีอาญา ดังกลาวเปนการดำเนินการทางอาญา ซึ่งตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญากำหนด ใหตองพิสูจนความผิดของโจทกใหปราศจากขอสงสัยวาโจทกเปนผูกระทำความผิดหรือไม ซึ่งจะ แตกตางจากการสอบสวนดำเนินการทางวินัยแกโจทกในฐานะที่โจทกเปนพนักงานหรือลูกจาง ของจำเลยที่กระทำการที่สอวามีความผิดทางวินัย ซึ่งถือวาเปนการดำเนินการทางมาตรการทาง การปกครองและการบังคับบัญชาเพื่อใหพนักงานหรือลูกจางของจำเลยปฏิบัติหนาที่ใหอยูภายใต ระเบียบขอบังคับของจำเลย การพิจารณาวาพนักงานหรือลูกจางของจำเลยกระทำผิดระเบียบหรือ ฝาฝนขอบังคับก็ตองดำเนินการตามที่ระเบียบหรือขอบังคับกำหนดไว ซึ่งเปนคนละมาตรฐานกัน กับการพิจารณาวาโจทกกระทำความผิดทางอาญาซึ่งตองพิจารณาใหปราศจากขอสงสัยใด ๆ จึงจะสามารถลงโทษโจทกทางอาญาได อีกทั้งคดีนี้โจทกเปนพนักงานฟองจำเลยผูเปนนายจาง ขอใหเพิกถอนคำสั่งที่ไลโจทกออกจากงานฐานทุจริต และเรียกเงินเดือนระหวางถูกสั่งใหพักงาน เงินสงเคราะหรายเดือน เงินเพื่อตอบแทนความชอบ และคาจางสำหรับวันหยุดพักผอนประจำป อันเปนการฟองบังคับตามสิทธิเรียกรองในมูลหนี้ที่เกิดจากการผิดสัญญาจางแรงงาน แมโจทก ถูกดำเนินคดีอาญาในความผิดฐานทุจริตตอหนาที่ซึ่งเปนขอหาเดียวกันกับที่จำเลยอางเปน เหตุในการมีคำสั่งใหโจทกออกจากงานก็ไมทำใหคดีนี้ซึ่งโจทกฟองจำเลยขอใหเพิกถอนคำสั่งที่ไล โจทกออกจากงานและเรียกเงินตาง ๆ จากจำเลยกลายเปนคดีแพงที่เกี่ยวเนื่องกับคดีอาญาไปได ศาลแรงงานกลางมีอำนาจรับฟงขอเท็จจริงวาโจทกกระทำความผิดฐานทุจริตตอหนาที่และประพฤติ ชั่วอยางรายแรง อันเปนการฝาฝนระเบียบขอบังคับเกี่ยวกับการทำงานอยางรายแรงและทุจริต ตอหนาที่ ไมจำตองถือตามขอเท็จจริงที่ปรากฏในคำพิพากษาฎีกาที่ ๖๐๘๖-๖๐๘๗/๒๕๖๐ ดังที่ โจทกอุทธรณ คำพิพากษาของศาลฎีกาดังกลาวจึงไมลบลางความผิดทางวินัยของโจทกที่จำเลย ไดสั่งลงโทษไปแลว ที่ศาลแรงงานกลางพิพากษามานั้น ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษเห็นพองดวย อุทธรณของโจทกฟงไมขึ้น และกรณีไมจำตองวินิจฉัยอุทธรณขออื่นของโจทกอีกเพราะไมทำให ผลของคดีเปลี่ยนแปลง


๔๓๔ พิพากษายืน. กรรณิกา อัศวเมธา - ยอ ฤทธิรงค สมอุดร - ตรวจ (นาวี สกุลวงศธนา - สุรพงษ ชิดเชื้อ - นงนภา จันทรศักดิ์ ลิ่มไพบูลย)


๔๓๕ คำพิพากษาศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษที่ ๗๒๘๙ - ๗๓๘๘/๒๕๖๒ นายบุญชวย ตอกำไร กับพวก โจทก นายวินิจฉัย ประศาสนวินิจฉัย ในฐานะพนักงานตรวจแรงงาน กับพวก จำเลย พ.ร.บ. คุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา ๕, ๑๑๘ วรรคสอง พ.ร.บ. ลมละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓ มาตรา ๒๒, ๒๔ คําสั่งพิทักษทรัพยเด็ดขาดจําเลยที่ ๒ ผูเปนลูกหนี้มีผลทําใหลูกหนี้ไมสามารถ กระทําการใด ๆ เกี่ยวกับทรัพยสินหรือกิจการของตน ตองใหเจาพนักงานพิทักษทรัพย เปนผูจัดการหรือกระทําการแทนตาม พ.ร.บ. ลมละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓ มาตรา ๒๒ และมาตรา ๒๔ เจาพนักงานพิทักษทรัพยจึงมีฐานะเปนนายจางตาม พ.ร.บ. คุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา ๕ และหามีผลทําใหความสัมพันธระหวางจําเลยที่ ๒ ผูเปนนายจางกับโจทก ทั้งหนึ่งรอยผูเปนลูกจางสิ้นสุดหรือระงับไปดวยไม การกระทําของจําเลยที่ ๒ กอนถูก พิทักษทรัพยเด็ดขาดทั้งการนําที่ดินซึ่งเปนที่ตั้งของโรงงาน ตัวอาคารโรงงาน และเครื่องจักร ออกใหบุคคลอื่นเชา หรือการแจงกับบรรดาลูกจางใหไปสมัครงานใหม ก็ลวนเกิดขึ้นกอน ที่เจาพนักงานพิทักษทรัพยจะเขามารวบรวมทรัพยสินของจําเลยที่ ๒ สวนการกระทําของ จําเลยที่ ๒ ภายหลังจากที่ศาลมีคําสั่งพิทักษทรัพยเด็ดขาด ไมวาการไปแจงตอสํานักงาน ประกันสังคมเกี่ยวกับการสิ้นสุดความเปนผูประกันตนกับลูกจางทั้งหมดก็หาไดเกิดจาก การกระทําหรือโดยความรูเห็นยินยอมของเจาพนักงานพิทักษทรัพยไม รวมตลอดถึงการ ที่โจทกทั้งหนึ่งรอยไปสมัครงานกับบริษัท บ. จํากัด นายจางคนใหมโดยความสมัครใจเอง จึงไมมีการกระทําของเจาพนักงานพิทักษทรัพยในประการอื่นใดที่ไมใหโจทกทั้งหนึ่งรอย ทํางานตอไปและไมจายคาจางให อันจะถือวาเปนการเลิกจางตาม พ.ร.บ. คุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา ๑๑๘ วรรคสอง เมื่อจําเลยที่ ๒ ไมไดเลิกจางโจทกทั้งหนึ่งรอยแลว โจทกทั้งหนึ่งรอยจึงไมมีสิทธิไดรับคาชดเชย คาจางแทนการบอกกลาวลวงหนา และคาจาง สําหรับวันหยุดพักผอนประจําป


๔๓๖ โจทกทั้งหนึ่งรอยสำนวนฟอง ขอใหศาลเพิกถอนคำสั่งดังกลาวและขอใหบังคับจำเลย ที่ ๒ จายคาชดเชย คาจางแทนการบอกกลาวลวงหนา และคาจางสำหรับวันหยุดพักผอนประจำป พรอมดอกเบี้ยตามคำขอทายคำฟองของโจทกแตละคน จำเลยที่ ๑ ทั้งหนึ่งรอยสำนวนใหการ ขอใหยกฟอง จำเลยที่ ๒ ทั้งหนึ่งรอยสำนวนใหการ ขอใหยกฟอง ศาลแรงงานภาค ๑ พิพากษาใหเพิกถอนคำสั่งของจำเลยที่ ๑ ที่ ๑/๒๕๖๑ ลงวันที่ ๑๒ มีนาคม ๒๕๖๑ และใหจำเลยที่ ๒ จายคาชดเชยแกโจทกที่ ๑ จำนวน ๒๐๑,๔๐๐ บาท คาจาง สำหรับวันหยุดพักผอนประจำป ๔,๐๒๘ บาท จายคาชดเชยแกโจทกที่ ๒ จำนวน ๑๘๙,๖๐๐ บาท คาจางสำหรับวันหยุดพักผอนประจำป ๒,๑๑๔.๖๗ บาท จายคาชดเชยแกโจทกที่ ๓ จำนวน ๑๕๓,๒๕๐ บาท คาจางสำหรับวันหยุดพักผอนประจำป ๑,๕๓๒.๕๐ บาท จายคาชดเชยแกโจทก ที่ ๔ จำนวน ๑๔๐,๘๐๐ บาท คาจางสำหรับวันหยุดพักผอนประจำป ๒,๓๔๖.๖๗ บาท จาย คาชดเชยแกโจทกที่ ๕ จำนวน ๑๓๖,๘๕๐ บาท คาจางสำหรับวันหยุดพักผอนประจำป ๑,๘๒๔.๖๗ บาท จายคาชดเชยแกโจทกที่ ๖ จำนวน ๑๑๐,๐๐๐ บาท คาจางสำหรับวันหยุดพักผอนประจำป ๑,๑๐๐ บาท จายคาชดเชยแกโจทกที่ ๗ จำนวน ๑๙๒,๕๕๐ บาท คาจางสำหรับวันหยุดพักผอน ประจำป ๑,๙๒๕.๕๐ บาท จายคาชดเชยแกโจทกที่ ๘ จำนวน ๑๐๓,๐๐๐ บาท คาจางสำหรับ วันหยุดพักผอนประจำป ๑,๓๗๓.๓๓ บาท จายคาชดเชยแกโจทกที่ ๙ จำนวน ๕๘,๔๔๐ บาท คาจางสำหรับวันหยุดพักผอนประจำป ๙๗๔ บาท จายคาชดเชยแกโจทกที่ ๑๐ จำนวน ๙๕,๐๐๐ บาท คาจางสำหรับวันหยุดพักผอนประจำป ๑,๔๒๕ บาท จายคาชดเชยแกโจทกที่ ๑๑ จำนวน ๑๐๑,๓๐๐ บาท คาจางสำหรับวันหยุดพักผอนประจำป ๑,๑๘๑.๘๓ บาท จายคาชดเชยแกโจทก ที่ ๑๒ จำนวน ๙๑,๕๐๐ บาท จายคาชดเชยแกโจทกที่ ๑๓ จำนวน ๗๓,๒๐๐ บาท คาจางสำหรับ วันหยุดพักผอนประจำป ๑๕๒.๕๐ บาท จายคาจางสำหรับวันหยุดพักผอนประจำปแกโจทกที่ ๑๔ จำนวน ๑,๘๓๐ บาท จายคาจางสำหรับวันหยุดพักผอนประจำปแกโจทกที่ ๑๕ จำนวน ๑,๘๓๐ บาท จายคาชดเชยแกโจทกที่ ๑๖ จำนวน ๒๗,๔๕๐ บาท คาจางสำหรับวันหยุดพักผอนประจำป ๔๕๗.๕๐ บาท จายคาชดเชยแกโจทกที่ ๑๗ จำนวน ๙๑,๕๐๐ บาท คาจางสำหรับวันหยุดพักผอน ประจำป ๑,๒๒๐ บาท จายคาชดเชยแกโจทกที่ ๑๘ จำนวน ๒๗,๔๕๐ บาท คาจางสำหรับวันหยุด พักผอนประจำป ๑,๕๒๕ บาท จายคาชดเชยแกโจทกที่ ๑๙ จำนวน ๒๗,๕๔๐ บาท คาจางสำหรับ วันหยุดพักผอนประจำป ๑,๓๗๒.๕๐ บาท จายคาชดเชยแกโจทกที่ ๒๐ จำนวน ๙๑,๕๐๐ บาท คาจางสำหรับวันหยุดพักผอนประจำป ๔๕๗.๕๐ บาท จายคาชดเชยแกโจทกที่ ๒๑ จำนวน ๙๑,๕๐๐ บาท คาจางสำหรับวันหยุดพักผอนประจำป ๙๑๕ บาท จายคาชดเชยแกโจทกที่ ๒๒


๔๓๗ จำนวน ๙๑,๕๐๐ บาท จายคาชดเชยแกโจทกที่ ๒๓ จำนวน ๗๓,๒๐๐ บาท คาจางสำหรับวันหยุด พักผอนประจำป ๑,๒๒๐ บาท จายคาชดเชยแกโจทกที่ ๒๔ จำนวน ๙๑,๕๐๐ บาท คาจางสำหรับ วันหยุดพักผอนประจำป ๑,๒๒๐ บาท จายคาชดเชยแกโจทกที่ ๒๕ จำนวน ๒๗,๔๕๐ บาท คาจางสำหรับวันหยุดพักผอนประจำป ๗๖๒.๕๐ บาท จายคาชดเชยแกโจทกที่ ๒๖ จำนวน ๙๑,๕๐๐ บาท คาจางสำหรับวันหยุดพักผอนประจำป ๓๐๕ บาท จายคาชดเชยแกโจทกที่ ๒๗ จำนวน ๙๑,๕๐๐ บาท คาจางสำหรับวันหยุดพักผอนประจำป ๑,๒๒๐ บาท จายคาชดเชยแก โจทกที่ ๒๘ จำนวน ๕๔,๙๐๐ บาท คาจางสำหรับวันหยุดพักผอนประจำป ๙๑๕ บาท จายคา ชดเชยแกโจทกที่ ๒๙ จำนวน ๕๔,๙๐๐ บาท จายคาชดเชยแกโจทกที่ ๓๐ จำนวน ๕๔,๙๐๐ บาท คาจางสำหรับวันหยุดพักผอนประจำป ๑,๕๒๕ บาท จายคาชดเชยแกโจทกที่ ๓๑ จำนวน ๗๓,๒๐๐ บาท คาจางสำหรับวันหยุดพักผอนประจำป ๗๖๒.๕๐ บาท จายคาชดเชยแกโจทกที่ ๓๒ จำนวน ๙๑,๕๐๐ บาท คาจางสำหรับวันหยุดพักผอนประจำป ๑,๕๒๕ บาท จายคาชดเชยแกโจทกที่ ๓๓ จำนวน ๕๔,๙๐๐ บาท คาจางสำหรับวันหยุดพักผอนประจำป ๖๑๐ บาท จายคาชดเชยแกโจทก ที่ ๓๔ จำนวน ๙๑,๕๐๐ บาท คาจางสำหรับวันหยุดพักผอนประจำป ๑,๕๒๕ บาท จายคาชดเชย แกโจทกที่ ๓๕ จำนวน ๒๗,๔๕๐ บาท คาจางสำหรับวันหยุดพักผอนประจำป ๑,๕๒๕ บาท จาย คาชดเชยแกโจทกที่ ๓๗ จำนวน ๒๗,๔๕๐ บาท คาจางสำหรับวันหยุดพักผอนประจำป ๑,๘๓๐ บาท จายคาชดเชยแกโจทกที่ ๓๘ จำนวน ๒๗,๔๕๐ บาท คาจางสำหรับวันหยุดพักผอนประจำป ๑๕๒.๕๐ บาท จายคาชดเชยแกโจทกที่ ๓๙ จำนวน ๗๓,๒๐๐ บาท คาจางสำหรับวันหยุดพักผอน ประจำป ๙๑๕ บาท จายคาชดเชยแกโจทกที่ ๔๐ จำนวน ๙๑,๕๐๐ บาท คาจางสำหรับวันหยุด พักผอนประจำป ๑,๐๖๗.๕๐ บาท จายคาชดเชยแกโจทกที่ ๔๑ จำนวน ๒๗,๔๕๐ บาท คาจาง สำหรับวันหยุดพักผอนประจำป ๓๐๕ บาท จายคาชดเชยแกโจทกที่ ๔๒ จำนวน ๙,๑๕๐ บาท จายคาชดเชยแกโจทกที่ ๔๓ จำนวน ๙,๑๕๐ บาท จายคาชดเชยแกโจทกที่ ๔๔ จำนวน ๙,๑๕๐ บาท จายคาชดเชยแกโจทกที่ ๔๕ จำนวน ๒๗,๔๕๐ บาท คาจางสำหรับวันหยุดพักผอนประจำป ๑,๒๒๐ บาท จายคาชดเชยแกโจทกที่ ๔๖ จำนวน ๒๗,๔๕๐ บาท คาจางสำหรับวันหยุดพักผอน ประจำป ๑,๒๒๐ บาท จายคาชดเชยแกโจทกที่ ๔๗ จำนวน ๕๔,๙๐๐ บาท คาจางสำหรับวันหยุด พักผอนประจำป ๖๑๐ บาท จายคาชดเชยแกโจทกที่ ๔๘ จำนวน ๙,๑๕๐ บาท จายคาชดเชย แกโจทกที่ ๔๙ จำนวน ๙,๑๕๐ บาท จายคาชดเชยแกโจทกที่ ๕๐ จำนวน ๙๑,๕๐๐ บาท คาจาง สำหรับวันหยุดพักผอนประจำป ๙๑๕ บาท จายคาชดเชยแกโจทกที่ ๕๑ จำนวน ๙๑,๕๐๐ บาท คาจางสำหรับวันหยุดพักผอนประจำป ๑,๓๗๒.๕๐ บาท จายคาชดเชยแกโจทกที่ ๕๒ จำนวน ๙,๑๕๐ บาท จายคาชดเชยแกโจทกที่ ๕๓ จำนวน ๙,๑๕๐ บาท จายคาชดเชยแกโจทกที่ ๕๔


๔๓๘ จำนวน ๙๑,๕๐๐ บาท คาจางสำหรับวันหยุดพักผอนประจำป ๑,๐๖๗.๕๐ บาท จายคาชดเชย แกโจทกที่ ๕๕ จำนวน ๙,๑๕๐ บาท จายคาชดเชยแกโจทกที่ ๕๖ จำนวน ๕๔,๙๐๐ บาท จายคา ชดเชยแกโจทกที่ ๕๗ จำนวน ๗๓,๒๐๐ บาท คาจางสำหรับวันหยุดพักผอนประจำป ๑,๕๒๕ บาท จายคาชดเชยแกโจทกที่ ๕๘ จำนวน ๕๔,๙๐๐ บาท คาจางสำหรับวันหยุดพักผอนประจำป ๓๐๕ บาท จายคาชดเชยแกโจทกที่ ๕๙ จำนวน ๗๓,๒๐๐ บาท คาจางสำหรับวันหยุดพักผอนประจำป ๑,๐๖๗.๕๐ บาท จายคาชดเชยแกโจทกที่ ๖๐ จำนวน ๒๗,๔๕๐ บาท คาจางสำหรับวันหยุด พักผอนประจำป ๑,๒๒๐ บาท จายคาชดเชยแกโจทกที่ ๖๑ จำนวน ๕๔,๙๐๐ บาท จายคาชดเชย แกโจทกที่ ๖๒ จำนวน ๗๓,๒๐๐ บาท คาจางสำหรับวันหยุดพักผอนประจำป ๑๕๒.๕๐ บาท จายคาชดเชยแกโจทกที่ ๖๓ จำนวน ๕๔,๙๐๐ บาท คาจางสำหรับวันหยุดพักผอนประจำป ๑,๒๒๐ บาท จายคาชดเชยแกโจทกที่ ๖๔ จำนวน ๒๗,๔๕๐ บาท คาจางสำหรับวันหยุดพักผอน ประจำป ๙๑๕ บาท จายคาชดเชยแกโจทกที่ ๖๕ จำนวน ๒๗,๔๕๐ บาท คาจางสำหรับวันหยุด พักผอนประจำป ๙๑๕ บาท จายคาชดเชยแกโจทกที่ ๖๖ จำนวน ๒๗,๔๕๐ บาท คาจางสำหรับ วันหยุดพักผอนประจำป ๑,๒๒๐ บาท จายคาชดเชยแกโจทกที่ ๖๗ จำนวน ๙๑,๕๐๐ บาท คาจาง สำหรับวันหยุดพักผอนประจำป ๑,๕๒๕ บาท จายคาชดเชยแกโจทกที่ ๖๘ จำนวน ๒๗,๔๕๐ บาท คาจางสำหรับวันหยุดพักผอนประจำป ๑,๒๒๐ บาท จายคาชดเชยแกโจทกที่ ๖๙ จำนวน ๒๗,๔๕๐ บาท คาจางสำหรับวันหยุดพักผอนประจำป ๑,๒๒๐ บาท จายคาชดเชยแกโจทกที่ ๗๐ จำนวน ๗๓,๒๐๐ บาท คาจางสำหรับวันหยุดพักผอนประจำป ๑,๒๒๐ บาท จายคาชดเชยแกโจทกที่ ๗๑ จำนวน ๕๔,๙๐๐ บาท คาจางสำหรับวันหยุดพักผอนประจำป ๑,๒๒๐ บาท จายคาชดเชยแก โจทกที่ ๗๒ จำนวน ๕๔,๙๐๐ บาท คาจางสำหรับวันหยุดพักผอนประจำป ๑,๒๒๐ บาท จายคา ชดเชยแกโจทกที่ ๗๓ จำนวน ๙๑,๕๐๐ บาท คาจางสำหรับวันหยุดพักผอนประจำป ๑,๒๒๐ บาท จายคาชดเชยแกโจทกที่ ๗๔ จำนวน ๙,๑๕๐ บาท จายคาชดเชยแกโจทกที่ ๗๕ จำนวน ๕๔,๙๐๐ บาท คาจางสำหรับวันหยุดพักผอนประจำป ๓๐๕ บาท จายคาชดเชยแกโจทกที่ ๗๖ จำนวน ๙,๑๕๐ บาท จายคาชดเชยแกโจทกที่ ๗๗ จำนวน ๙,๑๕๐ บาท จายคาชดเชยแกโจทกที่ ๗๘ จำนวน ๙๑,๕๐๐ บาท คาจางสำหรับวันหยุดพักผอนประจำป ๙๑๕ บาท จายคาชดเชยแกโจทก ที่ ๗๙ จำนวน ๕๔,๙๐๐ บาท คาจางสำหรับวันหยุดพักผอนประจำป ๑,๐๖๗.๕๐ บาท จายคา ชดเชยแกโจทกที่ ๘๐ จำนวน ๗๓,๒๐๐ บาท คาจางสำหรับวันหยุดพักผอนประจำป ๙๑๕ บาท จายคาชดเชยแกโจทกที่ ๘๑ จำนวน ๕๔,๙๐๐ บาท คาจางสำหรับวันหยุดพักผอนประจำป ๖๑๐ บาท จายคาชดเชยแกโจทกที่ ๘๒ จำนวน ๙๑,๕๐๐ บาท คาจางสำหรับวันหยุดพักผอนประจำป ๙๑๕ บาท จายคาชดเชยแกโจทกที่ ๘๓ จำนวน ๙๑,๕๐๐ บาท คาจางสำหรับวันหยุดพักผอน


๔๓๙ ประจำป ๑,๕๒๕ บาท จายคาชดเชยแกโจทกที่ ๘๔ จำนวน ๗๓,๒๐๐ บาท คาจางสำหรับวันหยุด พักผอนประจำป ๓๐๕ บาท จายคาชดเชยแกโจทกที่ ๘๕ จำนวน ๒๗,๔๕๐ บาท คาจางสำหรับ วันหยุดพักผอนประจำป ๙๑๕ บาท จายคาชดเชยแกโจทกที่ ๘๖ จำนวน ๙๑,๕๐๐ บาท คาจาง สำหรับวันหยุดพักผอนประจำป ๑,๒๒๐ บาท จายคาชดเชยแกโจทกที่ ๘๗ จำนวน ๗๓,๒๐๐ บาท คาจางสำหรับวันหยุดพักผอนประจำป ๖๑๐ บาท จายคาชดเชยแกโจทกที่ ๘๘ จำนวน ๙๑,๕๐๐ บาท คาจางสำหรับวันหยุดพักผอนประจำป ๑,๕๒๕ บาท จายคาชดเชยแกโจทกที่ ๘๙ จำนวน ๕๔,๙๐๐ บาท คาจางสำหรับวันหยุดพักผอนประจำป ๑๕๒.๕๐ บาท จายคาชดเชยแกโจทกที่ ๙๐ จำนวน ๙๑,๕๐๐ บาท คาจางสำหรับวันหยุดพักผอนประจำป ๓๐๕ บาท จายคาชดเชยแกโจทก ที่ ๙๑ จำนวน ๒๗,๔๕๐ บาท คาจางสำหรับวันหยุดพักผอนประจำป ๑๕๒.๕๐ บาท จายคาชดเชย แกโจทกที่ ๙๒ จำนวน ๙๑,๕๐๐ บาท คาจางสำหรับวันหยุดพักผอนประจำป ๑๕๒.๕๐ บาท จายคาชดเชยแกโจทกที่ ๙๓ จำนวน ๕๔,๙๐๐ บาท คาจางสำหรับวันหยุดพักผอนประจำป ๓๐๕ บาท จายคาชดเชยแกโจทกที่ ๙๔ จำนวน ๙๑,๕๐๐ บาท จายคาชดเชยแกโจทกที่ ๙๕ จำนวน ๗๓,๒๐๐ บาท คาจางสำหรับวันหยุดพักผอนประจำป ๙๑๕ บาท จายคาชดเชยแกโจทกที่ ๙๖ จำนวน ๙๑,๕๐๐ บาท คาจางสำหรับวันหยุดพักผอนประจำป ๑,๕๒๕ บาท จายคาชดเชยแก โจทกที่ ๙๗ จำนวน ๗๓,๒๐๐ บาท คาจางสำหรับวันหยุดพักผอนประจำป ๑,๕๒๕ บาท จายคา ชดเชยแกโจทกที่ ๙๘ จำนวน ๒๗,๔๕๐ บาท คาจางสำหรับวันหยุดพักผอนประจำป ๖๑๐ บาท จายคาชดเชยแกโจทกที่ ๙๙ จำนวน ๒๗,๔๕๐ บาท คาจางสำหรับวันหยุดพักผอนประจำป ๖๑๐ บาท จายคาชดเชยแกโจทกที่ ๑๐๐ จำนวน ๒๗,๔๕๐ บาท คาจางสำหรับวันหยุดพักผอนประจำป ๓๐๕ บาท พรอมดอกเบี้ยอัตรารอยละ ๑๕ ตอปของตนเงินดังกลาว และใหจำเลยที่ ๒ จายคาจาง แทนการบอกกลาวลวงหนาแกโจทกที่ ๑ จำนวน ๒๐,๑๔๐ บาท แกโจทกที่ ๒ จำนวน ๑๕,๘๖๐ บาท แกโจทกที่ ๓ จำนวน ๑๕,๓๒๕ บาท แกโจทกที่ ๔ จำนวน ๑๔,๐๘๐ บาท แกโจทกที่ ๕ จำนวน ๑๓,๖๘๕ บาท แกโจทกที่ ๖ จำนวน ๑๑,๐๐๐ บาท แกโจทกที่ ๗ จำนวน ๑๙,๒๕๕ บาท แกโจทกที่ ๘ จำนวน ๑๐,๓๐๐ บาท แกโจทกที่ ๙ จำนวน ๙,๗๔๐ บาท แกโจทกที่ ๑๐ จำนวน ๙,๕๐๐ บาท แกโจทกที่ ๑๑ จำนวน ๑๐,๑๓๐ บาท และแกโจทกที่ ๑๒ ถึงที่ ๑๐๐ จำนวนคนละ ๗,๙๓๐ บาท พรอมดอกเบี้ยอัตรารอยละ ๗.๕ ตอป ของตนเงินดังกลาวนับแตวันฟอง (ฟองวันที่ ๑๗ เมษายน ๒๕๖๑) เปนตนไปจนกวาจะชำระเสร็จ จำเลยทั้งสองทั้งหนึ่งรอยสำนวนอุทธรณ ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษแผนกคดีแรงงานวินิจฉัยวา ศาลแรงงานภาค ๑ ฟงขอเท็จจริง วา โจทกทั้งหนึ่งรอยเปนลูกจางของจำเลยที่ ๒ มีตำแหนงหนาที่และอัตราคาจางเปนไปตามคำฟอง


Click to View FlipBook Version