The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การประชุมสัมมนาวิชาการระดับชาติและนานาชาติ ครั้งที่ 2 มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตเชียงใหม่ The 2nd International Buddhist Conference on “Buddhism and Social Responsibility in the New Normal” (BUSRIN) เรื่อง “พระพุทธศาสนากับความรับผิดชอบทางสังคมยุคชีวิตใหม่ วันที่ 19-20 เดือน กันยายน พ.ศ. 2563 เวลา 08.00-16.30 น. ณ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตเชียงใหม่ Mahachulalongkornrajavidyalaya University, Chiang Mai Campus will organize the 2nd National and International Conference (MCU. CM. 2020) “Buddhism and Social Responsibility in the New Normal (BUSRIN)”, November 19th – 20th, 2020 at Mahachulalongkornrajavidyalaya University, Chiang Mai Campus.

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by MCU Books, 2021-04-18 04:35:51

เอกสารสืบเนื่องการประชุมวิชาการพระพุทธศาสนาและศิลปวัฒนธรรมระดับชาติและนานาชาติครั้งที่ 2

การประชุมสัมมนาวิชาการระดับชาติและนานาชาติ ครั้งที่ 2 มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตเชียงใหม่ The 2nd International Buddhist Conference on “Buddhism and Social Responsibility in the New Normal” (BUSRIN) เรื่อง “พระพุทธศาสนากับความรับผิดชอบทางสังคมยุคชีวิตใหม่ วันที่ 19-20 เดือน กันยายน พ.ศ. 2563 เวลา 08.00-16.30 น. ณ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตเชียงใหม่ Mahachulalongkornrajavidyalaya University, Chiang Mai Campus will organize the 2nd National and International Conference (MCU. CM. 2020) “Buddhism and Social Responsibility in the New Normal (BUSRIN)”, November 19th – 20th, 2020 at Mahachulalongkornrajavidyalaya University, Chiang Mai Campus.

Keywords: Buddhism,Social Responsibility,New Normal

ทวRากลับไมRมีการสำรวจหรือมีการศึกษาอยRางละเอียดในแงRพัฒนาการของรูปแบบความเชื่อ
นน่ั จึงเปNนท่ีมาของการศกึ ษาในครั้งน้ี

วัตถุประสงคC
1. เพ่ือศึกษาประวตั แิ ละพฒั นาการของหลักบHานหลกั เมอื งในภาคอีสาน
2. เพื่อศึกษากระบวนการพัฒนาชุมชนที่สัมพันธ6กันกับความเชื่อเรื่องหลักบHาน

หลักเมืองในภาคอสี าน วิธกี ารดำเนนิ การวจิ ัย
งานวิจัย “หลักบHาน หลักเมือง : กระบวนการพัฒนาชุมชนเพื่อความมั่นคง

ยั่งยืน” เปNนการศึกษาวิจัยเชิงเอกสาร และคุณภาพ (Documentary research) โดยแบRง
การดำเนนิ งานออกเปนN 2 ขนั้ ตอนดังนี้ คือ

1. ขอบเขตดาH นเอกสาร
1) เอกสารชั้นปฐมภูมิ (Primary Source) คือ พระไตรป¶ฎก ฉบับ

มหาวิทยาลัยมหา จุฬาลงกรณราชวิทยาลัย พุทธศักราช 253๙ และตําราเอกสาร งานแปล
หลกั บHานหลกั เมอื ง

2) เอกสารชั้นทุติยภูมิ (Secondary Source) คือ อรรถกถาฉบับ
มหาวิทยาลัยมหา จุฬาลงกรณราชวิทยาลัย งานวิทยานิพนธ6 เอกสารงานวิจัย ตํารา และ
บทความทางวิชาการ หนังสือ วารสาร สื่อสิ่งพิมพ6 และสิ่งพิมพ6อิเล็คทรอนิคส6ที่เผยแพรRบน
อินเตอรเ6 น็ตที่เกี่ยวขHองกับงานวจิ ัย

2. ขอบเขตดHานพื้นที่ ในการวิจัยครั้งนี้ผูHวิจัยไดHกําหนดพื้นที่ในการศึกษา แบบ
เจาะจง (Purposive Selection) ไดHแกR ชุมชนที่ตั้งของหลักบHานหลักเมืองในภาคอีสาน
โดยเลือกกลมRุ ศกึ ษาพาะ ดงั น้ี

1) ชมุ ชนบาH นดงพอง หมูR10 ตำบลศลิ า อำเภอเมอื ง จงั หวดั ขอนแกRน
2) ชุมชนบHานหนองตูม ตำบลหนองตูม อำเภอเมอื ง จังหวดั ขอนแกนR
3. ขอบเขตดHานประชากร
กลุRมประชากร หมายถึง กลุRมพระสงฆ6 ปราชญ6ทHองถิ่น ผูHนำชุมชน และ
ประชาชนในชุมชนที่อาศัยอยูRในพื้นที่ที่ตั้งของวัฒนธรรมความเชื่อเรื่องหลักบHานหลักเมือง
หรือเคยรRวมกิจกรรม ประเพณีพิธีกรรมวัฒนธรรมที่เกี่ยวกับหลักบHานหลักเมือง ในการวิจัย

524 การประชุมวิชาการพระพทุ ธศาสนาและศิลปวฒั นธรรมระดบั ชาติและนานาชาตคิ ร้ังท่ี 2

ครั้งนี้นักวิจัยไดHเลือกกลุRมตัวอยRางแบบเจาะจง (Purposive Selection) ประกอบดHวยกลRุม
บคุ คล 2 กลRมุ คอื

1) กลมRุ ผูใH หขH อH มูลหลกั หรือกลมRุ ผูHรูH (Key Informants) จำนวน 24 รปู /คน
2) กลุRมผูHใหHขHอมูลทั่วไป (General Informants) ที่เกี่ยวกับวัฒนธรรมหลัก
บHานหลกั เมือง จำนวน 6 รูป/คนnรวมทั้งสิน้ จำนวน 30 รูป/คน

ผลการวิจยั

สรปุ ผลการวจิ ัยโดยแยกตามวตั ถุประสงคไ6 ดHดงั นี้
1. กำนิดและพัฒนาการวัฒนธรรมใบเสมาหินในพระพุทธศาสนาใบเสมาหินไดHถือ
กำเนิดขึ้นในสมัยพุทธกาล เมื่อครั้งที่พระพุทธองค6ทรงไดHอนุญาตใหHสงฆ6กำหนดเขตสงฆ6ในการ
กระทำสังฆกรรมคือลงอุโบสถสวดพระปาฏิโมกข6 ภิกษุทั้งหลายผูHจะสมมติสังวาสสีมานี้ควรผูก
ขัณฑสีมากRอน เพื่อการทำสังฆกรรมทั้งหลายมีบรรพชาและอุปสมบท เปNนตHน นิมิตหรือ
เครื่องหมายที่ใชHกำหนดอาณาเขตในการทำอุโบสถกรรมจึงมีความสำคัญอยRางยิ่ง ในนิมิตทั้ง 8
ที่ทรงบัญญัติการนำแผRนหินมา เปNนนิมิตหรือเครื่องหมายแสดงอาณาเขตของโรงอุโบสถหรือแสดง
สถานที่สำหรับทำอุโบสถกรรมสวดพระปาติโมกข6จึงเกิดขึ้นมีมาตั้งแตRครั้งนั้นและเปNนที่นิยม
เรื่อยมาพัฒนาการใบเสมาหินในประเทศไทยไดHรับเอาพระพุทธศาสนาแบบเถรวาทมาแตRครั้ง
แรกเริ่มในอาณาจักรทวาราวดีเรียกวRาเถรวาทแบบมอญ (น.ณ ปากน้ำ, 2520)
ในสมัยอยุธยาและรัตนโกสินทร6ตอนตHนเรื่อยมานั้นถือวRาเปNนเถรวาทแบบขอม
สRวนทางลHานนานั้นเปNนสายมอญโดยยึดหลักเอาตัวอักษรธรรมลHานนาที่พัฒนามาจากอักษรมอญ
เปNนหลัก อิทธิพลใบเสมาหินทางพระพุทธศาสนาเหลRานี้จะสRงผลไปสูRผลงานทางศิลปกรรมในใบ
เสมาหินที่เปNนเอกลักษณ6เฉพาะของแตRละชุมชนไดHชัดเจนยิ่งขึ้น ซึ่งจะสามารถแยกแยะศิลปกรรม
และวัฒนธรรมของยุคสมัยและการผสมผสานวัฒนธรรมระหวRางกัน แตRอาจจะแตกตRางกันบHางใน
รายละเอยี ดศิลปกรรมใบเสมาหนิ พระพทุ ธศาสนาแบบเถรวาทสมัยทวารวดใี นภาคอสี าน
นอกจากจะทำหนHาที่กำหนดเขตแดนของสังฆกรรมแลHว ยังเปNนสื่อในการนำเสนอคติ
ธรรมคำสอนทางพระพุทธศาสนา ที่ภูมิป_ญญาชRางโบราณไดHแปลงออกมาจากคำสอนในคัมภีร6
แกะสลักเปNนเรื่องราวลงบนแผRนหิน เปNนผลงานพุทธศิลป™ที่สรHางขึ้นโดยไดHรับอิทธิพลรูปทรงจาก
ศิลปะในสมัยปาละ – เสนะของอินเดีย ผสมผสานกับแนวคิดการป_กแทRงหินสลักรูปเสาเสมา

การประชุมวชิ าการพระพทุ ธศาสนาและศลิ ปวฒั นธรรมระดับชาติและนานาชาติครัง้ ที่ 2 525

ธรรมจักรขนาดสูงใหญRในสมัยพระเจHาอโศกมหาราช เปNนความเชื่อที่เขHามาพรHอมการเผยแผR
พระพุทธศาสนาของคณะพระสมณทตู (น.ณ ปากน้ำ, 2520)

2. วิถีชีวิตชุมชนชาวพุทธในในเขตพน้ื ทบ่ี าH นดงพอง ตำบลศลิ าและบาH นหนองตมู ตำบล
หนองตูม อำเภอเมือง จังหวัดขอนแกRนมีพื้นที่สRวนใหญRเปNนปùาไมHและภูเขาสูง เปNนตHนกำเนิดของ
ลำน้ำสำคัญ เปNนแหลRงตHนน้ำที่ไหลหลRอเลี้ยงทำใหHเกิดความอุดมสมบูรณ6เรื่อยมาจากอดีตจนถึง
ป_จจุบัน ดHวยสภาพภูมิประเทศดังกลRาวดึงดูดใหHผูHคนเขHาจับจองพื้นที่ตั้งถิ่นฐานบHานเรือนจนเกิด
เปNนชุมชน เปNนชุมชนเกษตรกรรม สรHางวัฒนธรรมพรHอมกับประวัติศาสตร6ในหลายยุคหลายสมัย
เมืองชัยภูมิจึงเปNนเมืองโบราณในประวัติศาสตร6 จากหลักฐานกลุRมใบเสมาหิน เปNนสิ่งยืนยันไดHวRา
ชุมชนของชาวอีสานภูมิเริ่มมีการรับเอาศิลปวัฒนธรรม ประเพณีตลอดจนคติความเชื่อมาจาก
แหลRงอนื่ ผสมผสานกนั ระหวRางความเชื่อดงั้ เดมิ ของทอH งถิน่ กับหลกั ปฏิบัติทางพระพทุ ธศาสนา

ชาวบHานไดHยอมรับเอาวัฒนธรรมตRาง ๆ โดยเฉพาะวัฒนธรรมทางดHานภาษา
จากหลักฐานตัวอักษรที่จารึกบนใบเสมาหิน และการถRายทอดผRานเรื่องราวในชาดกดHวยฝ´มือการ
สลักแผRนหินสอดแทรกวรรณกรรม ศิลปกรรม วัฒนธรรมการแตRงกาย และขนบธรรมเนียม
ประเพณี ซึ่งถือเปNนเอกลักษณ6ของชาวชัยภูมิเอาไวHอีกดHวย แสดงใหHเห็นถึงการเปNนกลุRมคนที่มี
จิตใจเป¶ดกวHางในการรับวัฒนธรรมใหมRที่เขHามาแลHวแสดงออกเปNนวัฒนธรรมที่งดงามโดยใชH
ศิลปกรรมเปNนสื่อตามแบบฉบับของตนเองภาพสลักบนหลักบHาน ไดHสะทHอนภาพวิถีชีวิตของชุมชน
(สรุ พล ดำรหิ 6กลุ , 2521)

ปรากฏเปNนหลักธรรมสำหรับนำไปปฏิบัติในชีวิตของตนเอง ครอบครัว และชุมชนใหHมี
ความเสียสละตRอกันในชุมชน ใหHมีระเบียบวินัยเคารพกฎกติกาของสังคม เปNนคนมีเหตุผลยอมรับ
ฟ_งความคิดเห็นของผูHอื่น รูHจักรักษาน้ำใจหรือรูHจักพัฒนาความรูHสึกนึกคิดใหHคิดดีมีเมตตากรุณา
ตRอกันและกัน ใหHเปNนคนรูHจักแสวงหาทางที่จะทำใหHเกิดสติป_ญญาเปNนคนมีคุณธรรมประจำจิตใจ
ไมRหลงงมงานเชื่อสิ่งตRางอยRางไรHเหตุผล และใหHเปNนมีความกตัญ†ูกตเวที เปNนพุทธศาสนิกชนที่ดีมี
ศรัทธาอันมั่นคงในหลักคำสอนของพระพุทธเจHา ใหHเปNนคนมีความอดทนตRอป_ญหาและอุปสรรค
ตRาง ๆ ที่เกิดขึ้นกับชีวิต รูHจักมีสติสัมปชัญญะขRมจิตใจของตนเองไดH ไมRตกเปNนทาสของอารมณ6
ฝùายต่ำมีจิตใจที่บริสุทธิ์สะอาดงดงาม มีความเมตตากรุณาเห็นอกเห็นใจกัน และมีป_ญญารูHเทRาทัน
ในการดำเนนิ ชีวิต

526 การประชุมวิชาการพระพุทธศาสนาและศลิ ปวฒั นธรรมระดับชาตแิ ละนานาชาติคร้ังท่ี 2

3. วัฒนธรรมสัมพันธ6ระหวRางวัฒนธรรมหลักบHานหลักเมืองกับวิถีชีวิตชุมชนชาวพุทธ
ในภาคอีสานไดHสลักที่ปรากฏบนใบเสมาหินในในเขตพื้นที่บHานดงพอง ตำบลศิลาและบHานหนอง
ตูม ตำบลหนองตูม อำเภอเมือง จังหวัดขอนแกRนไดHแสดงเรื่องราวความสัมพันธ6เชื่อมโยงระหวRาง
กัน ถRายทอดวัฒนธรรมทางดHานความเชื่อ ความศรัทธา ศิลปกรรม ประเพณี พิธีกรรม ภาษา
ตัวอักษร วรรณกรรม และการแตRงกาย เปNนความสัมพันธ6ที่ใกลHชิดในระดับของเครือญาติหรือมี
อทิ ธพิ ลระหวาR งกนั ดังน้ี

1) รูปแบบของงานศิลปกรรมใบเสมาหินมีความคลHายกัน มีขนาด รูปรRาง และ
รูปทรงของใบเสมาหิน การนำเสนอภาพในลักษณะแบบเดียวกัน การจัดวางองค6ประกอบของภาพ
ที่มีความคลHายคลึงกันไมRวRาจะเปNนการจัดองค6ประกอบของภาพชาดก การตกแตRงดHวยลวดลาย
รวมถึงการเลือกวัสดุที่นำมาใชHในการแกะเปNนใบเสมาหิน คือ หินทราย แสดงถึงความศรัทธาท่ี
ถRายทอดออกมาเปNนความสวยงามที่แฝงไวHดHวยวัฒนธรรมที่มีรูปแบบเฉพาะ เกิดความสุนทรียะ
จากความงามภายนอก ในดHานของมิติ รูปทรง ลวดลาย และงามภายในที่เกิดจากความหมาย
มิติแหRงธรรม ความประทับใจ ระบบการเรียนรูH และคุณคRาซึ่งเกิดจากการตีความในใบเสมาหิน
เหลRาน้ัน (ศรีศกั ร วลั ลิโภดม, 2522)

2) หลักบHานหลักเมือง แสดงถึงความเชื่อเรื่องการทำบุญกุศลเพื่อความสุขใน
โลกหนHา เพื่อการไดHไปเกิดในยุคสมัยพระศรีอริยเมตไตรยพระพุทธเจHา นอกจากภาพสลักแลHว
อักษรท่ีจารึกบนใบเสมาหินยังมีเนื้อหาเกี่ยวกับการทำบุญกุศล ที่ประกาศ สรรเสริญบุญกุศลที่
ตนเองไดHกระทำเอาไวHแลHว ไดHแสดงถึงความเจริญทางดHานวัฒนธรรมและภูมิป_ญญาแผRเขHามาสูRใน
ชุมชน ไดHแสดงถึงความสามารถ เฉลียวฉลาดของคนในชุมชนในดHานการศึกษา การเป¶ดรับ
วัฒนธรรมจากตRางถิ่น เพราะบางชนชาติในโลกมีเฉพาะภาษาพูดแตRไมRมีรูปอักษรที่ใชHสื่อภาษาของ
ตนเปNนภาษาเขียน หรือสามารถอRานและเขียนภาษาอื่นนอกจากภาษาของตนเองไดH แสดงใหHเห็น
ถึงการเปNนกลุRมคนที่มีจิตใจเป¶ดกวHางในการรับวัฒนธรรมใหมRที่เขHามา แลHวแสดงออกเปNน
วัฒนธรรมที่งดงามโดยใชHศิลปกรรมเปNนสื่อตามแบบฉบับของตนเอง (ดนุพล ไชยสินธุ6 และรำเพย
ไชยสินธ,ุ6 2533)

3) ในชุมชนมีการสืบทอดพิธีกรรมรำผีฟTาในทุกชุมชน การรักษาโรคดHวยการ
รRายรำแสดงใหHเห็นความเชื่อเรื่องราวเกี่ยวกับการเคารพนับถือผีบรรพบุรุษ การจัดพิธีการเลี้ยงผี
บรรพบุรุษการท าบุญอุทิศ และพิธีการสรงน้ำใบเสมาหินในวันสงกรานต6ดHวย ดังนั้นจังหวัดชัยภูมิ

การประชมุ วชิ าการพระพทุ ธศาสนาและศลิ ปวัฒนธรรมระดับชาตแิ ละนานาชาตคิ รั้งท่ี 2 527

จึงเปNนดินแดนแหRงประวัติศาสตร6และความสงบสุข มีความเจริญรุRงเรืองทางดHานศิลปวัฒนธรรม
ทางพระพุทธศาสนา

อภิปรายผล

หลักบHานหลักเมือง ในเขตพื้นที่บHานดงพอง ตำบลศิลาและบHานหนองตูม ตำบลหนอง
ตูม อำเภอเมือง จังหวัดขอนแกRน ในสRวนที่แกะสลักเรื่องราวทางพระพุทธศาสนา ผูHวิจัยมีความ
คิดเห็นวRาเปNนผลงานพุทธศิลป™ที่สรHางขึ้นจากบทบัญญัติในพระวินัยเรื่องของการน าแผRนหินเปNน
นิมิตแหRงสีมา โดยไดHรับอิทธิพลรูปทรงจากศิลปะในสมัยปาละ – เสนะของอินเดีย ผสมผสานกับ
แนวคิดการป_กแทRงหินสลักรูปเสาเสมาธรรมจักรของพระเจHาอโศกมหาราช อาจจะเปNนความเชื่อท่ี
เขาH มาพรHอมการเผยแผRพระพทุ ธศาสนาของคณะพระธรรมทตู เสาศลิ าเหลRานอี้ าจจะเปนN ตนH กำเนิด
ของการวัฒนธรรมการนำแทRงหินมาเปNนนิมิตในการแสดงอาณาเขตทางพระพุทธศาสนาจน
แพรRหลาย รวมถึงเปNนแรงบันดาลใจในการเลือกวัสดุในการสรHางใบเสมาชาวเมืองชัยภูมิไดHยอมรับ
เอาวัฒนธรรมตRาง ๆ โดยเฉพาะวัฒนธรรมทางดHานภาษา จากตัวอักษรที่จารึกบนใบเสมาหิน คือ
อักษรหลังปล_ ลวะภาษาสันสกฤตทีม่ ตี Hนกำเนิดมาจากดนิ แดนพุทธภูมิ

ไดHแสดงถึงความเจริญรุRงเรืองทางดHานสติป_ญญาของกลุRมคนในชุมชนที่สามารถ
เรียนรูHจนเขียนอักษรและจารึกลงบนแผRนหินไดHและการถRายทอดผRานเรื่องราวในชาดกดHวยฝ´มือ
การสลักแผRนหิน สอดแทรกวรรณกรรม ศิลปกรรมวัฒนธรรมการแตRงกาย และขนบธรรมเนียม
ประเพณี แสดงใหHเห็นถึงการเปNนกลุRมคนที่มีจิตใจเป¶ดกวHางในการรับวัฒนธรรมใหมRที่เขHามา
แลHวแสดงออกเปNนวัฒนธรรมท่งี ดงามโดยใชHศิลปกรรมเปNนส่ือตามแบบฉบบั ของตนเอง

ความสัมพันธ6ของวัฒนธรรมประเพณีของบHานดงพอง ตำบลศิลาและบHานหนองตูม
ตำบลหนองตูม อำเภอเมือง จังหวัดขอนแกRน ป_จจุบันยังคงรักษาสืบทอดวัฒนธรรมของความเปNน
ชาวอีสานโดยทั่วไปในวัฒนธรรมของประเพณี 12 เดือน ที่เรียกวRา ฮีต 12 การสืบเนื่องของ
วัฒนธรรมประเพณีและพิธีกรรมแบบไมRหยุดนิ่ง มีการเปลี่ยนแปลงและคลี่คลายอยูR ลักษณะของ
วัฒนธรรมประเพณีของชาวอีสานภูมิที่ถือปฏิบัติกันมา มีความสัมพันธ6กับความศักดิ์สิทธิ์และ
ความเชื่อในสิ่งรี้ลับ ซึ่งสRวนใหญRก็มีจุดมุRงหมายและประโยชน6เพียงการสรHางเสถียรภาพทั้งทางวิถี
ชีวิตความเปNนอยูR การทำมาหากิน การใชHชีวิตตามวงจรที่สัมพันธ6กับการทำมาหากิน และเพื่อการ

528 การประชมุ วชิ าการพระพทุ ธศาสนาและศิลปวฒั นธรรมระดบั ชาตแิ ละนานาชาตคิ ร้งั ที่ 2

สืบตRอวัฒนธรรมทางพระพุทธศาสนา มีบทบาทเพื่อสรHางความสงบสุขทางจิตใจของผูHคนและอุดม
คตใิ นความผาสกุ ในสังคม

องคค@ วามรูCจากงานวจิ ัย

การวิจัยเรื่องหลักบHานหลักเมือง กระบวนการพัฒนาชุมชนใหHยั่งยืน มีประเพณี
และพิธีกรรมที่เกี่ยวกับหลักบHานหลักเมืองไดHสRงผRานความสงบสุข(Peace)ทำใหHเกิดขึ้นใน
ชุมชน ความรักใครRปรองดองกัน ผลเกิดจากความรูHที่แฝงอยูRในเสาหลักบHานหลักเมือง
ประกอบดHวย หลักพุทธปรัชญา (Philosophy) หลักพุทธจริยธรรม (Ethic) ศิลปกรรม
(Arts) วฒั นธรรม (Culture) และหลกั การบำเพ็ญบารมสี Rกู ารตรสั ร(ูH Enlightenment)

การทำความเขHาใจกบั ประเพณีอนั เก่ียวเนือ่ งกับการบชู าส่ิงศกั ดิ์สิทธ์ิ จงึ เปนN การแสดง
ใหHเห็นถึงคุณคRาความ สำคัญของเรื่องราวของหลักหินเสมา ที่แสดงถึงหลักพุทธจริยธรรมจากการ
บอกผRานภาพที่ปรากฏบนหลักหินเสมา ในสถาน ที่ตRาง ๆ ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือ แนวคิดท่ี
สอดคลHองกันกับหลักพุทธจริยธรรมในทางพระพระพุทธศาสนาก็มีปรากฏใหHเห็นไดHอยูRเสมอ ที่
แสดงถึงคุณคRาทางดHานพุทธจริยธรรมที่มีความเกี่ยวขHองทางดHานเรื่องความเชื่อในสRวนหนึ่ง หรือ
สรHางเพื่อทำกจิ กรรมพิธีกรรมในอกี วธิ หี นึ่ง

การสืบทอดหลักคำสอนวิถีชีวิตและคติความเชื่อทHองถิ่น การเชื่อมโยงแนวคิดการ
ประยุกต6ใชHหลักพุทธจริย ธรรมทางพระพุทธศาสนาในการพัฒนาความรูHและภูมิป_ญญาของ
ประชาชนในภาคตะวันออกเฉียงเหนือแนวคิดและการสืบทอดหลักคำสอนตRาง ๆวิถีชีวิตและคติ
ความเชื่อทHองถิ่นการเชื่อมโยงแนวคิด และคุณคRาความสำคัญของการประยุกต6ใชHหลักพุทธ
จริยธรรมทางพระพุทธ ศาสนาในการพัฒนาความรูHและภูมิป_ญญาของประชาชนในภาค
ตะวันออกเฉยี งเหนอื

สรปุ

การศึกษาคุณคRาใบเสมาเพื่อสรHางกระบวนการเรียนรูHดHานพุทธจริยธรรมในหลักหิน
ทวารวดีภาคตะวันออกเฉียงเหนือกระจายตัวอยูRกวHางขวางทั่วทุกลุRมน้ำ แตRความหนาแนRนของแตR
ละลุRมน้ำแตกตRางกัน โดยลุRมน้ำชีมีความหนาแนRนมากที่สุด รองลงมาคือลุRมน้ำโขงและลุRมน้ำมูลมี
ความหนาแนRนนHอยที่สุด ดังนั้นแลHวหลักหินรูปทรงแผRนแบนมีจำนวนมากที่สุด ในขณะที่ทรงแทRง

การประชมุ วิชาการพระพทุ ธศาสนาและศลิ ปวฒั นธรรมระดับชาติและนานาชาตคิ รั้งที่ 2 529

หินพบในปริมาณที่รองลงมาและแบบแผRนหินธรรมชาติพบนHอยมาก แตRทั้งหมดนี้ก็กระจายตัวไป
ทั่ว มิไดHจำกัดเฉพาะพื้นที่ใดพื้นที่หนึ่ง ทั้งนี้ลวดลายที่แพรRหลายทั่วไป ไดHแกR เสHนนูน เสHนนูนทรง
กรวย และหมHอตRอดHวยกรวย และมีลวดลายบางแบบพบไดHเฉพาะพื้นที่เล็ก ๆ บางลวดลายอาจพบ
แพรRหลายเฉพาะลุRมน้ำใดลุRมน้ำหนึ่ง แสดงใหHเห็นวRาชRางแตRละกลุRมมีเอกลักษณ6เฉพาะตน
ความเปNนทวารวดีอีสานจึงไมRไดHหมายความวRาศิลปกรรมทั่วทั้งภาคจะเปNนหนึ่งเดียวเสมอไป ซ่ึง
อาจตัง้ คำถามถึงการมีศนู ย6กลางการปกครอง หรอื ศนู ย6กลางทางวฒั นธรรมมากมายหลายแหRงก็ไดH

บรรณานกุ รม

กรมศิลปากร. (2529). จารึกหHวยมะอึก ในจารึกในประเทศไทยเลRม 1. กรุงเทพมหานคร:
กรมศลิ ปากร.

จีรพนั ธ6 สมประสงค6. (2533). ประวตั ศิ ิลปะ. กรุงเทพมหานคร: โอ.เอส.พรนิ ตง้ิ เฮาH ส6.
ชินณวุฒิ วิลยาลัย และคณะ. (2552). องค6ความรูHเรื่องใบเสมาอีสาน เลRมที่ 2 . กรุงเทพมหานคร:

สำนกั ศิลปากรที่ 9-12 .
ดนุพล ไชยสินธุ6 และรำเพย ไชยสินธุ6. (2529). ใบเสมาหินวัดพัทธสมี ารามหลักฐานทางโบราณคดีที่

สำคัญของเมืองเลย. ใน เอกสารเผยแพรRของศูนย6วัฒนธรรม จังหวัดเลย.
ศูนยว6 ฒั นธรรม จังหวัดเลย.
ดนุพล ไชยสนิ ธุ6 และรำเพย ไชยสนิ ธ6ุ. (2533). จารกึ จังหวดั เลย. เลย: รุRงแสงธุรกิจการพิมพ.6
น.ณ ปากนำ้ . (2520). ศิลปะแหRงอาณาจกั รไทยโบราณ. กรงุ เทพมหานคร: โอเดียนสโตร6.
..................... (2537). ศิลปะโบราณในสยาม รวมบทความจากวารสารเมืองโบราณป´ พ.ศ. 2517 –
1532. กรุงเทพมหานคร: ดRานสุทธาการพมิ พ.6
พระสูตรและอรรถกถา. (2525). แปล ขุททกนิกาย ชาดก เลRมที่ 3 ภาคที่ 6. กรุงเทพมหานคร:
มหามกุฏราชวทิ ยาลัย.
ไพฑรู ย6 มกี ุศล. (2528). ประวัตศิ าสตร6ไทยสมัยตHน. (พมิ พค6 รั้งที่ 3). ม.ป.ท.: ม.ป.พ.
รงRุ โรจน6 ภิรมย6อนกุ ล. (2545). ใบเสมาเร่ืองศิพิชาดก : รRองรอยพระพุทธศาสนามหายานในภาค
ตะวันออกเฉียงเหนอื ตอนบน. วารสารเมืองโบราณ, 28(3), 102-107.
วบิ ลู ย6 ลีส้ ุวรรณ. (2525). ศลิ ปะนาR รูHในสองทศวรรษ. กรงุ เทพมหานคร: พฆิ เณศ.

530 การประชมุ วชิ าการพระพุทธศาสนาและศลิ ปวัฒนธรรมระดบั ชาติและนานาชาติครัง้ ที่ 2

ศรีศักร วัลลิโภดม. (2522). "เขตสะสม" กRอนพุทธศตวรรษที่ 19 ในอีสานเหนือ. วารสารเมือง
โบราณ, 6(1), 35-36.

สุรพล ดำริห6กุล. (2521). วัฒนธรรมสมัยกRอนประวัติศาสตร6ในเขตลุRมน้ำเลยตอนตHน.
กรุงเทพมหานคร:

สชุ ีพ ปญู ญานภุ าพ.(2541). คณุ ลักษณะพิเศษแหRงพระพทุ ธศาสนา, พิมพค6 รั้งท่ี ๒,
กรุงเทพมหานคร : โรงพมิ พ6 มตชิ น.

เสรี พงศ6พิศ. (2536) “วัฒนธรรมพื้นบHานรากฐานชีวิตการพัฒนา”, ในภูมิป_ญญาชาวบHานกับการ
พฒั นาชุมชน, พมิ พ6ครงั้ ที่ 2,ม.ป.ท.

122 | Journal of Social Science and Buddhistic Anthropology Vol.5 No.2 (February
2020)

การประชุมวชิ าการพระพทุ ธศาสนาและศิลปวฒั นธรรมระดบั ชาติและนานาชาตคิ รงั้ ท่ี 2 531

ผลสัมฤทธ์ิตามรูปแบบการประยุกตห6 ลักสาราณียธรรมเพอ่ื การบรหิ ารจดั การ
แบบมีสวB นรBวมบEาน วัด โรงเรยี น (บวร) ในการเสริมสรEางความเขมE แขง็
ของชมุ ชนวดั ศรีสุพรรณ อำเภอเมือง จงั หวัดเชียงใหมB
The Outcome of Form for Applying the States of Conciliation

in Participadtory Management of Village, Monastry and School
(Boworn) to Stirenghten Srisuphan Community, Muang District,

Chiang Mai Province

ทรงศกั ด์ิ พรมดี, ชาลี ภักดี , พระครูสมหุ 9ธนโชติ เข่ือนเพชร,
ธรี ศกั ดิ์ แสนวงั ทอง, มงคลชัย สมศรี, ประดิษฐ9 เจียรกลุ ปะ,

นพณัฐ วรรณภรี 9, บุญนำ สนุ ามถาวร

Songsakdi Promdee, Chalee Phakdee , Phrakrusamu Thanachot
khuenphet ,Threerasuk Seanwangthong , Mongkolchai Somsri, Pradit Chaikulpa,

Nopphanut wanpree, Boonnum Sunamthavorn
มหาวิทยาลยั มหามกุฎราชวทิ ยาลยั วทิ ยาเขตลNานนา
Email: [email protected]

บทคัดยอB

บทความวิจัย มีวัตถุประสงค5ดังนี้ 1) เพ่ือศึกษาวิเคราะห5การประยุกต5รูปแบบ
การบริหารจัดการแบบมีสGวนรGวม (บวร) โดยใชLหลักสาราณียธรรม กับชุมชนวัดศรีสุพรรณ
2) เพ่ือพัฒนารูปแบบการประยุกต5การบริหาร โดยใชLหลักสาราณียธรรม 3) เพื่อสรLางคูGมือ
ของรูปแบบการบริหารจัดการแบบมีสวG นรGวม โดยใชLหลักสาราณยี ธรรม

ผลการวิจัย พบวPา 1) ผูLบริหารท้ัง 3 หนGวยงาน ยังไมGเนLนความสำคัญตGอขั้น
การวางแผนการมีสGวนรGวมตามหลักสาราณียธรรมเทGาที่ควร 2) แนวทางการพัฒนารูปแบบ
การประยุกต5ใชLหลักสาราณียธรรมในการบริหารในชุมชนวัดศรีสุพรรณ คือ แบGงการ
รับผิดชอบออกเปXน 2 ฝZาย คือ 1. ฝZายผLูบริหาร 2. ฝZายผLูปฏิบัติ บุคลากรภายในทั้ง 3

532 การประชมุ วชิ าการพระพุทธศาสนาและศิลปวัฒนธรรมระดบั ชาติและนานาชาติครง้ั ท่ี 2

หนGวยงานตLองบริหารจัดการแบบมีสGวนรGวม หลักธรรมมาบูรณาการณ5 เพ่ือเปXนการพัฒนา
ตนเอง และชุมชน และ 3) ผลจากการศึกษาวิเคราะห5และพัฒนารูปแบบท่ีเกิดข้ึนทำใหLมี
การนำรูปแบบไปใชL จนสามารถขยายแนวคิดไปสGูชุมชนโดยรอบ และทำใหLมีการจัดทำแผน
ชุมชนศรีสุพรรณโดยไดLแนวคิดจากการวิจัยในครั้งนี้ 4) ขLอเสนอแนะผลจากการไดLนำ
นวัตกรรมเทคโนโลยี AR กับพระอุโบสถวัดศรีสุพรรณ เพ่ือแกLปaญหาการหLามสุภาพสตีเขLา
ชมอโุ บสถ และนำมาสGูการสราL งโปรแกรมในเชิงการทGองเที่ยวเชงิ วฒั นธรรมในปจa จบุ ัน

คำสำคัญ : รปู แบบการประยกุ ตห5 ลักสาราณยี ธรรม, การบริหารจัดการแบบมสี GวนรวG ม
ประชาคม บLาน วดั โรงเรยี น (บวร), ผลสัมฤทธิ์ของการพัฒนาชุนชนโดยใชL
แผนงาน

Abstract

The research article has the following objectives: 1) to study and
analyze the application of participatory management model (Bowon) using
the Saraniyadhamma principle With the community of Wat Si Suphan 2) to
develop the form of administrative application By using the Saraniyadhamma
3) to create a manual of participatory management model By using the
Saraniyadhamma principle

The results of the research showed that 1) The three agencies did
not emphasize the importance of planning the participation of
Saraniyadhamma as much as they should Srisuphan is divided into 2
divisions: 1. Executive Department 2. Operator Department Personnel within
all 3 departments must manage participatory management. Principles to be
integrated For self and community development and 3) the results from
the study, analysis and development of the patterns that have resulted in
the use of patterns Until able to expand the concept to the surrounding

การประชมุ วิชาการพระพทุ ธศาสนาและศลิ ปวัฒนธรรมระดับชาตแิ ละนานาชาติครง้ั ที่ 2 533

community and finally of the Project for The outcome of Participatory
management model (Bowon) and to be integrated For self and community
plan development 4) Recommendations The result of the introduction of
AR technology innovation with the temple, Wat Sri Suphan In order to solve
the problem of prohibiting politeness, he visited the chapel.

Keywords: the Saraniyadhamma principle, Participatory management model
(Bowon), The outcome of community plan and development

บทนำ

ความสำคัญ: ปâพุทธศักราช 2559 เปXนปâแหGงมหามงคลเนื่องในวโรกาสครบรอบ
70 ปâ แหGงการครองราชย5 ของพระบาทสมเด็จพระเจLาอยGูหัวผูLทรงเปXนม่ิงขวัญกำลังใจของ
พระสกนิกรชาวไทยทุกหมGูเหลGาที่ไดLอยูGภายใตLพระบารมีปกเกลLาปกกระหมGอมและมีความ
สงบสุขรGมเย็นสืบมา รัฐบาลจึงมีนโยบายใหLหนGวยงานภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชา
สังคม พรLอมใจกันจัดกิจกรรมเฉลิมพระเกียรติ เพ่ือนLอมรำลึกในพระมหากรุณาธิคุณแดG
พระบาทสมเด็จพระเจLาอยGูผLูทรงคุณอันประเสริฐและมีคุณูปการตGอประเทศชาติอยGางอเนก
อนันต5 โดยมีการสGงเสริมใหLมีการนLอมนำแนวพระราชดำริ สGงเสริมการประสานความ
รGวมมือระหวGาง บLาน วัด โรงเรียน (บวร) เพื่อใหLเกิดประโยชน5สุขแกGทุกฝZาย การนำหลัก
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาพัฒนาคุณภาพชีวิตประชาชน เพ่ือสGงเสริมใหLคนไทยมี
คุณธรรม จริยธรรม มีความภาคภูมิใจในความเปXนไทย เอื้ออาทร และสมานฉันท5 สGงผลใหL
ประเทศชาติเกิดความม่ังคง มั่งค่ังอยGางย่ังยืน ในกาลนี้รัฐบาลจึงมีนโยบายเสริมสรLางสังคม
ชุมชน โดยการพัฒนาคนใหLสมบูรณ5ท้ังรGางกาย อารมณ5และสติปaญญา รวมท้ังเสริมสรLาง
สังคมใหLเปXนสังคมที่มีคุณภาพ คุณธรรม และความสมดุล พรLอมกันนี้รัฐบาลไดLขับเคล่ือน
ไปสGูนโยบายหลักและวาระเรGงดGวน ดังคำแถลงนโยบายของพลเอกประยุทธ5 จันทร5โอชา
นายกรัฐมนตรีท่ีแถลงตGอสภานิติบัญญัติแหGงชาติ (สนช) เมื่อวันศุกร5ท่ี 12 กันยายน 2557
นโยบายเรGงดGวน ขLอที่ 4 การศึกษาและเรียนรLู การทำนุบำรุงศาสนา ศิลปะและวัฒนธรรม

534 การประชุมวชิ าการพระพทุ ธศาสนาและศลิ ปวฒั นธรรมระดบั ชาติและนานาชาติครงั้ ท่ี 2

รัฐบาลจะนำการศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ความภาคภูมิใจในประวัติศาสตร5และความ
เปXนไทยมาใชLสรLางสังคมใหLเขLมแข็งอยGางมีคุณภาพและคุณธรรมควบคูGกันดังน้ี 4.7
ทะนุบำรุงและอุปถัมภ5พระพุทธศาสนาและศาสนาอื่น ๆ สนับสนุนใหLองค5กรทางศาสนามี
บทบาทสำคัญในการปลูกฝaงคุณธรรม จริยธรรม ตลอดจนพัฒนาคุณภาพชีวิตสรLางสันติสุข
และความปรองดองสมานฉันท5ในสังคมไทยอยGางย่ังยืน และมีสGวนรGวมในการพัฒนาสังคม
ตามความพรLอม ประกอบกบั สังคมไทยมีความผกู พนั ระหวาG งวดั และชุมชน

การเลือกชุมชนวัดศรีสุพรรณนั้นคณะผูLวิจัยไดLพบปaญหาของชุมชนวัดศรีสุพรรณ
จากการสัมภาษณ5พระครูพิทักษ5ศีลคุณผLูริเริ่มแนวคิดการอนุรักษ5วิถีชีวิตและภูมิปaญญา
ทLองถ่ินในชุมชน ที่มีการดำเนินงานภายใตLประณิธานและความมุGงมั่นในการอนุรักษ5ศิลปะ
ภูมิปaญญาทLองถ่ิน จนมีการจัดตั้งศูนย5ศึกษาศิลปะไทยโบราณสลGา(ชGาง) สิบหมูGลLานนาวัดศรี
สุพรรณ โดยปaญหาท่ีพบจากการใหLสัมภาษณ5พระครูพิทักษ5ศีลคุณสามารถสรุปประเด็นไดL
ดังนี้คือ 1. ปaญหาเรื่องคน ในท่ีนี้ผLูใหLสมภาษณ5 กลGาวถึงการ ฝíกฝนคนใหLมีความรLูดLานการ
ซGางจนสามารถผลิตผลงานไดLยากประกอบคนรุGนใหมGยังขาดความสนใจในงานดLานดังกลGาว
2. ปaญหาเรื่องงบประมาณ ในการทำใหLชุมชนยั่งยืนน้ันการสนับสนุนงบประมาณเปXนสGวน
สำคัญเพราะการดำเนินงานตGางๆจะตLองมีงบประมาณมาเกี่ยวขLองดงนั้นจะใหLเกิดความ
ย่ังยืนจะตLองมีงบประมาณเพียงพอ คณะผูLวิจัย จึงเห็นวGาชุมชนวัดศรีสุพรรณ อำเภอเมือง
จังหวัดเชียงใหมG ถึงแมLเปXนชุมชนตLนแบบ แตGปaญหาอุปสรรคบางอยGางอาจเปXนเงือนปมท่ี
ตLองอาศัยหลักสาราณียธรรมไปชGวยเสริมใหLเกิดความเข็มแขLง เพราะชุมชนแหGงนี้มี
ศักยภาพและเคยไดLรับรางวัลในดLานการพัฒนาชุมชนภายใตLหลักการอนุรักษ5วิถีชีวิตและ
ภูมิปaญญาทLองถ่ิน รางวัลรองชนะเลิศประเภทภูมิปaญญาแผGนภาพดุลลาย ชุมชนวัดศรี
สุพรรณ จงั หวดั เชยี งใหมG และยงั เปนX แหลงG เรียนรชLู ุมชนท่ีสำคญั ดวL ย

วัตถปุ ระสงค6

1) เพ่ือศึกษาวิเคราะห5การประยุกต5รูปแบบการบริหารจัดการแบบมีสGวนรGวม
บLาน วัด โรงเรียน (บวร) โดยใชLหลักสาราณียธรรม ในการเสริมสรLางความเขLมแข็งใหLกับ
ชุมชนวัดศรีสพุ รรณ อำเภอเมอื ง จังหวดั เชยี งใหมG

การประชุมวิชาการพระพทุ ธศาสนาและศลิ ปวฒั นธรรมระดบั ชาติและนานาชาติครง้ั ที่ 2 535

2) เพ่ือพัฒนารูปแบบการประยุกต5การบริหารจัดการแบบมีสGวนรGวม บLาน วัด
โรงเรียน (บวร) โดยใชLหลักสาราณียธรรม ในการเสริมสรLางความเขLมแข็งใหLกับชุมชนวัดศรี
สุพรรณ อำเภอเมือง จงั หวัดเชียงใหมG

3) เพ่ือสรLางคูGมือของรูปแบบการบริหารจัดการแบบมีสGวนรGวม บLาน วัด โรงเรียน
(บวร) โดยใชLหลักสาราณียธรรม ในการเสริมสรLางความเขLมแข็งใหLกับชุมชนวัดศรีสุพรรณ
อำเภอเมอื ง จังหวดั เชยี งใหมG

ระเบียบวธิ ีวจิ ัย

ประชากรตวั อยPาง
บุคลากรท่ีเปXนผLูใหLขLอมูลสำคัญ (Key informants) จำนวน 30 รูป/คน
ดังตอG ไปน้ี
1) ประธานชุมชนวัดศรีสุพรรณ จำนวน 1 คน, 2) คณะกรรมการบริหารชุมชน
จำนวน 4 คน, 3) เจLาอาวาสวัดศรีสุพรรณ จำนวน 1 รูป, 4) คณะกรรมการวัดศรีสุพรรณ
จำนวน 4 คน, 5) ผLูอำนวยการโรงเรียนเทศบาลชุมชนวัดศรีสุพรรณ จำนวน 1 คน, 6)
คณะกรรมการบริหารโรงเรียนเทศบาลชุมชนวัดศรีสุพรรณ จำนวน 4 คน, 7) ตัวแทน
นักเรยี นโรงเรียนเทศบาลชุมชนวัดศรีสุพรรณ จำนวน 5 คน, 8) ผูLปกครองนักเรียนโรงเรยี น
เทศบาลชุมชนวัดศรีสุพรรณ จำนวน 5 คน, 9) ตัวแทนดLานการทGองเท่ียวและสถาน
ประกอบการในชุมชน จำนวน 5 คน
เค รื่อ งมื อ ก ารวิจั ย เร่ือ งน้ี เปX น ก ารวิจั ย แ บ บ R&D (Research and
Development) แบบเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) ซ่ึงเนLนการวิจัยทางเอกสาร
(Documentary Research) การสังเกตการสัมภาษณ5 และการโฟกัสกรุõป เพื่อใหLไดLขLอมูล
เชิงลึก การสนทนากลุGมในการเก็บขLอมูลเชิงคุณภาพนี้ คณะผLูวิจัยจะตLองเก็บรวบรวมขLอมูล
ครบถLวนสมบรู ณ5 ชนิดเติมเต็ม โดยมีขัน้ ตอนและระเบียบวธิ วี ิจัยดังน้ี
ข้ันที่ 1 (R1) ศึกษาสภาพปaญหาการบริหารแบบมีสGวนรGวม บLาน วัด โรงเรียน
(บวร) ของชุมชนวดั ศรีสุพรรณ อำเภอเมือง จงั หวัดเชยี งใหมG (R1: Research ครั้งที่ 1)

536 การประชมุ วิชาการพระพทุ ธศาสนาและศิลปวฒั นธรรมระดับชาติและนานาชาติครงั้ ท่ี 2

ขั้นที่ 2 (D1) พัฒนารูปแบบการประยุกต5การบริหารจัดการแบบมีสGวนรGวม บLาน
วัด โรงเรียน (บวร) โดยใชLหลักสาราณียธรรม ในการเสริมสรLางความเขLมแข็งใหLกับชุมชน
วัดศรสี พุ รรณ อำเภอเมอื ง จังหวัดเชยี งใหมG (D1: Development ครงั้ ท่ี 1)

ข้ันท่ี 2 (R2) ทดลองใชLรูปแบบที่พัฒนาข้ึน นำไปทดลองการบริหารแบบมีสGวน
รGวม บLาน วัด โรงเรียน (บวร) โดยใชLหลักสาราณียธรรม ในการเสริมสรLางความเขLมแข็ง
ใหLกับชุมชนวัดศรีสุพรรณ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหมG โดยทดลองในกลGุมเล็กๆ เพ่ือใหL
ตLนแบบทีพ่ ฒั นาข้ึนมคี วามสมบูรณ5 เหมาะสมทจ่ี ะนำไปใชL (R2: Research ครัง้ ท่ี 2)

ขั้นที่ 3 (D2) ปรับปรุงตLนแบบใหLเหมาะสม นำผลการทดลองไปสรLางคGูมือ การ
บริหารแบบมีสGวนรGวม บLาน วัด โรงเรียน (บวร) โดยใชLหลักสาราณียธรรม ในการ
เสริมสรLางความเขLมแข็งใหLกับชุมชนวัดศรีสุพรรณ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหมG (D2:
Development ครั้งท่ี 2 ผLูวิจยั จะใชใL นกรณีที่รปู แบบไมสG มบูรณ5เทาG นัน้ )

ข้ันท่ี 3 (R3) นำตLนแบบที่สมบูรณ5ไปใชLกับกลGุมตัวอยGางท่ีมีขนาดใหญGขึ้นหรือไดL
นำนวัตกรรมใหมGท่ีไดLไปทดลองใชLไดLจริง ซึ่งผLูวิจัยไดLนำนวัตกรรมเทคโนโลยี AR เขLาไปใชL
การแกLปaญหาเร่ืองประเพณีการเขLาวิหารของผูLหญิง ภายในอุโบสถเงินวัดศรีสุพรรณซึ่งเปXน
ขอL ตLองหLาม

ข้ันที่ 4 ประเมินประสิทธิผลหรือผลสัมฤทธ์ิของตLนแบบเปXนรูปแบบศรีสุพรรณ
โมเดล โดยการทดลองใชLและปรับปรุง และเผยแพรGในการสรLางตLนแบบ นักวิจัยและพัฒนา
จะตอL งตรวจสอบและปรับปรุงตLนแบบอยาG งตGอเน่อื งในลกั ษณะของ R&D ดังน้ี

ขัน้ ตอนท่ี 1 การสังเคราะห5ขอL มูลเพื่อศกึ ษาสภาพปaญหาการบริหารจัดการแบบมี
สGวนรวG ม บาL น วัด โรงเรียน (บวร) ของชุมชนวัดศรสี พุ รรณ อำเภอเมอื ง จังหวัดเชียงใหมG

(Research: R1) โดยการสังเคราะห5เอกสารและงานวิจัยที่เก่ียวขLองกับรูปแบบการ
บริหารจัดการชุมชนแบบมีสGวนรGวมโดยใชLหลักสาราณียธรรมไปปรับประยุกต5ใชLโดยมีวัด
เปXนศูนย5กลาง มีชุมชนและโรงเรียนหรือหนGวยงานราชการชGวยขับเคล่ือน การระดมความ
คิดเห็นโดยใชLวิธีการจัดสนทนากลGุม (Focus group Discussion) ประเด็นการสนทนากลGุม
แบบสัมภาษณ5เชิงลึก ประเด็นเสวนาอิงผLูเชี่ยวชาญ (Connoisseurship) แบบประเมิน

การประชุมวิชาการพระพุทธศาสนาและศลิ ปวฒั นธรรมระดับชาติและนานาชาติครั้งท่ี 2 537

ความเหมาะสมของรูปแบบการประยุกต5หลักสาราณียธรรมเพ่ือใชLในการบริหารจัดการ
วิธีการคิด วิธีการทำงาน แบบสังเกตพฤติกรรม แบบบันทึก แบบสอบถามความคิดเห็นของ
ประชาชนควรมีสGวนรGวมในชุมชนแบบ 3 ประสาน ไดLแกG บLาน วัด โรงเรียนหรือราชการ
(บวร)ในชุมชน ทั้ง 3 หนGวยงาน ไดLแกGผูLบริหาร ผLูอยGูภายใตLการปกครอง แลประชาชนควร
มีสGวนรGวมในชุมชนแบบ 3 ประสาน ไดLแกG บLาน วัด โรงเรียนหรือราชการ (บวร) ผูLมีสGวน
รGวมในชุมชนท้ังระบบ ทั้งภัตตาคาร รLานคLา และการทGองเท่ียว เปXนตLน ดLานการบริหาร
จัดการแบบมสี GวนรวG ม และการวัดและประเมนิ ผล รวมทงั้ ส้ิน 30 รูป/ คน

ขั้นตอนที่ 2 การออกแบบและพัฒนารูปแบบการประยุกต5หลักสาราณียธรรมเพื่อ
การบริหารจัดการแบบมีสGวนรGวม บLาน วัด โรงเรียน (บวร) ในการเสริมสรLางความเขLมแข็ง
ชุมชนวัดศรีสุพรรณ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหมG (Development: D1) ประกอบดLวย
การยกรGางรูปแบบการประยุกต5หลักสาราณียธรรมเพื่อการบริหารจัดการแบบมีสGวนรGวม
บLาน วัด โรงเรียน (บวร) ในการเสริมสรLางความเขLมแข็งชุมชนวัดศรีสุพรรณ อำเภอเมือง
จังหวัดเชียงใหมG โดยมีองค5ประกอบของรGางรูปแบบ 5 สGวน ภายใตLช่ือคูGมือแผนชุมชนวัดศรี
สุพรรณ ประกอบไปดLวย บทนำ วัตถุประสงค5 สGวนที่ 1 ขLอมูลท่ัวไปของชุมชน สGวนที่ 2
การวิเคราะห5ขLอมูล สGวนท่ี 3 โครงการกิจจกรรมชุมชน กระบวนการของรูปแบบ สGวนท่ี 4
การทบทวนแผนชุมชน การวัดและประเมินผล สGวนที่ 5 การประเมินสรุปผล และ
ภาคผนวก สวG นการตรวจสอบคุณภาพของรูปแบบและคGมู อื การใชLรปู แบบฯ

ดำเนนิ การ 3 วิธี คอื
วิธีที่ 1 ประชุมสัมมนาอิงผLูเช่ียวชาญ (Connoisseurship) โดยผูLเช่ียวชาญและ
ผLูทรงคุณวุฒิ จำนวน 30 คน ประกอบดLวย ผLูเชี่ยวชาญดLานวิจัย จำนวน 5 รูป/คน ดLาน
การบริหารจัดการภายในชุมชน 10 รูป/คน ดLานการการอนุรักษ5ศิลปวัฒนธรรมภายใน
ชุมชน จำนวน 5 รูป/คน ดLานการทGองเที่ยวและงานบริการในชุมชน จำนวน 5 คน และ
ดLานการวัดและประเมินผล 5 คน ทั้งนี้ การตรวจสอบคุณภาพของรูปแบบดLวยวิธีการ
ประชุมสัมมนาอิงผูLเชี่ยวชาญ (Connoisseurship) จะทำใหLผLูวิจัยไดLขLอมูลในเชิงคุณภาพที่
สำคัญนำมาปรับปรุงแกLไขเพ่ือใหLไดLรูปแบบและคGูมือการใชLรูปแบบที่มีความเหมาะสม
สอดคลLองกบั ขLอมลู ทเี่ ปนX จริง

538 การประชุมวิชาการพระพทุ ธศาสนาและศิลปวฒั นธรรมระดับชาตแิ ละนานาชาติครั้งที่ 2

วิธีท่ี 2 ประเมินความสอดคลLองระหวGางองค5ประกอบตGาง ๆ ของรูปแบบ
ดLานความเหมาะสมของรูปแบบ และดLานความเปXนไปไดLในการนำรูปแบบไปใชL ซ่ึงพบวGา
รGางรูปแบบมีความสอดคลLอง ความเหมาะสมและความเปXนไปไดLอยGูในระดับมากท่ีสุด
จากผLูเช่ียวชาญจำนวน 5 รูป/คน เพื่อพิจารณาวGา รูปแบบการประยุกต5หลักสาราณียธรรม
กับการบริหารจัดการแบบมีสGวนรGวม บLาน วัด โรงเรียน (บวร) และ คูGมือการใชLในรุปแบบ
แผนชุมชน กิจกรรมและแผน มีคุณภาพดLานความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา (Content validity)
สามารถนำไปใชใL นชมุ ชนวดั ศรีสพุ รรณและชุมชนโดยรอบอนื่ ๆ ตอG ไป

วิธีท่ี 3 ศึกษานำรGอง (Pilot study) โดยศึกษาความเปXนไปไดLของรูปแบบการ
ประยุกต5หลักสาราณียธรรมกับการบริหารจัดการแบบมีสGวนรGวม บLาน วัด โรงเรียน (บวร)
ปaญหาและอุปสรรคในระหวGางการใชLรูปแบบ โดยนำไปใชLกับกลุGมท่ีไมGใชGกลุGมเปûาหมายของ
งานวิจยั คือ ชมุ ชนวดั ศรีสุพรรณ วัดศรีสุพรรณ และโรงเรียนเทศบาลวัดศรสี ุพรรณ

ข้ันตอนที่ 3 การทดลองใชLและหาประสิทธิผลรูปแบบการประยุกต5หลักสาราณีย
ธรรมเพ่ือการบริหารจัดการแบบมีสGวนรGวม บLาน วัด โรงเรียน (บวร) ในการเสริมสรLาง
ความเขมL แข็งชุมชนวดั ศรสี พุ รรณ อำเภอเมอื ง จงั หวัดเชียงใหมG

(Research: R2) ประกอบดLวย 3.1) การนำรูปแบบฯ ไปใชL 3.2) การหา
ประสิทธิผลของรูปแบบฯ และ 3.3) การทดสอบนวัตกรรมดLานเทคโนโลยี AR/VR ที่ทำ
ข้ึนมาประยุกต5ใชL

วิธีการวิเคราะหข9 อl มูลวจิ ยั ผูวl จิ ัยไดlดำเนนิ การวิจัย R&D เปoน 4 ข้นั ตอน ดังนี้
ข้ันตอนท่ี 1 การวิเคราะห5และสังเคราะห5ขLอมูลเพื่อกำหนดรูปแบบการจัด
กระบวนการเรียนรLู (Research: R1) ประกอบดLวย 1) วิธีการสังเคราะห5ขLอมูล แบGง
ออกเปXนการศึกษาเอกสารสภาพและบริบทของชุมชนวัดศรีสุพรรณ 2) การสังเกต 3) การ
Focus group discussion 4) การ SWOT
ขั้นตอนท่ี 2 การออกแบบและพฒั นารูปแบบการจัดกระบวนการเรยี นรLู
(Development: D1) ประกอบดLวย 1) ยกรGางรูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรLู
แบGงออกเปXน การออกแบบรูปแบบ การจัดกระบวนการเรียนรLู และการออกแบบคูGมือการ
ใชLรูปแบบ 2) ตรวจสอบคุณภาพของรูปแบบ และคูGมือการใชLรูปแบบ แบGงออกเปXน

การประชุมวชิ าการพระพทุ ธศาสนาและศลิ ปวัฒนธรรมระดับชาติและนานาชาติครัง้ ที่ 2 539

วิธีดำเนินการตรวจสอบ และเคร่ืองมือท่ีใชLในการตรวจสอบและ การหาคGาคุณภาพ
3) ขนั้ ตอนการดำเนินการตรวจสอบ 4) วิธกี ารวเิ คราะหข5 อL มลู

ขั้นตอนที่ 3 การใชLและหาประสิทธิผลของรูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรูL
(Research: R2) ประกอบดLวย 1) การนำรูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรูLไปใชL
2) การประเมินประสิทธิผลของรูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรูL แบGงออกเปXน เครื่องมือ
ที่ใชLในการประเมิน ประสิทธิผลของรูปแบบและการหาคุณภาพเครื่องมือ วิธีการประเมิน
ประสิทธิผลของรูปแบบ วิธีการวิเคราะห5ขLอมูล และวิธีการปรับปรุงแกLไขรูปแบบการจัด
กระบวนการเรียนรLู

ข้ันตอนท่ี 4 การรับรองรูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรLูและขยายผล
(Development: D2) ประกอบดLวย 1) การรับรองรูปแบบการประยุกต5หลักสาราณียธรรม
ในการบริหารจัดการแบบมีสGวนรGวม บLาน วัด โรงเรียน (บวร) ของชุมชนวัดศรีสุพรรณ
และแนวทางการเผยแพรGรูปแบบสูGชุมชนอ่ืนๆ อยGางมีประสิทธิภาพโดยการจัดเสวนาและ
ประชุมกลGุมยGอย 2) การขยายผลรูปแบบการประยุกต5หลักสาราณียธรรมในการบริหาร
จัดการแบบมีสGวนรGวม บLาน วัด โรงเรียน (บวร) เคร่ืองมือท่ีใชLในการวิจัยประกอบดLวย
ประเด็นการสนทนากลุGม แบบสัมภาษณ5 เชิงลึก ประเด็นเสวนาอิงผูLเชี่ยวชาญ
(Connoisseurship) แบบประเมินความเหมาะสมของรูปแบบการประยุกต5หลักสาราณีย
ธรรมเพ่ือใชLในการบริหารจัดการ วิธีการคิด วิธีการทำงาน แบบสังเกตพฤติกรรม
แบบบันทึก แบบสอบถามความคิดเห็นของประชาชนท่ีมีสGวนรGวมในชุมชนแบบ 3 ประสาน
ไดLแกG บLาน วัด โรงเรียนหรือราชการ (บวร) ในชุมชน ท้ัง 3 หนGวยงาน ไดLแกGผLูบริหาร ผLูอยGู
ภายใตLการปกครอง และผูLมีสGวนรGวมในชุมชน ท้ังภัตตาคาร รLานคLา การทGองเท่ียว เปXนตLน
ที่มีผลตGอรูปแบบรูปแบบฯ ผLูวิจัยวิเคราะห5ขLอมูลเชิงคุณภาพโดยใชLการวิเคราะห5เน้ือหา
(content analysis) ขLอมูลเชิงคุณภาพไดLแกGการศึกษาเอกสาร การสังเกต การสนทนา
กลGุม (Focus group discussion) และการใชL SWOT Analysis) และนอกจากน้ันยังไดLใชL
ขLอมูลสถิติพ้ืนฐานไดLแกG รLอยละ (%) คGาเฉล่ีย (C ) และ สGวนเบ่ียงเบนมาตรฐาน (S.D.)
เพื่อหาความพึงพอใจในการใชLรูปแบบและคูGมือแผนชุมชนเพื่อใหLไดLขLอมูลแบบเติมเต็มใน
การวิจยั คร้ังน้ี

540 การประชมุ วชิ าการพระพุทธศาสนาและศลิ ปวัฒนธรรมระดับชาตแิ ละนานาชาตคิ ร้ังท่ี 2

ผลการวจิ ยั

ประเมินประสิทธิผลหรือผลสัมฤทธ์ิของตLนแบบเปXนรูปแบบศรีสุพรรณโมเดล
โดยการทดลองใชLและปรับปรุง และเผยแพรGในการสรLางตLนแบบ นักวิจัยและพัฒนาจะตLอง
ตรวจสอบและปรับปรุงตLนแบบอยGางตGอเน่ืองในลักษณะของ R&D พบวPา 1) จาก
การศึกษารูปแบบการประยุกต5หลักสาราณียธรรมในการบริหารจัดการแบบมีสGวนรGวม บLาน
วัด โรงเรียน (บวร) เพ่ือความเขLมแข็งในชุมชนวัดศรีสุพรรณ สภาพการบริหารการมีสGวน
รGวมริเริ่ม รGวมคิด รGวมทำ รGวมวางแผน รGวมรับผลประโยชน5 และรGวมประเมินผลสรุปผล
พบวGาผLูบริหารทั้ง 3 หนGวยงาน ยังไมGเนLนความสำคัญตGอขั้นการวางแผนการมีสGวนรGวมตาม
หลักสาราณียธรรมเทGาท่ีควร จึงไมGไดLกำหนดเปXนแผนนโยบายหลักในการกำหนดบทบาท
หนLาที่ความรับผิดชอบแบบการมีสGวนรGวมของแตGละหนGวยงานที่ชัดเจน มีเพียงแผนยGอยใน
การบูรณาการณ5ความรGวมมือท่ัวไป จึงไมGมีการติดตามประมวลผลการดำเนินงานที่ตGอเนื่อง
ในข้ันการพัฒนา มีเพียงแผนหรือนโยบายจากผูLบริหารในระดับเบ่ืองบนของแตGละ
หนGวยงาน

2) แนวทางการพัฒนารูปแบบการประยุกต5ใชLหลักสาราณียธรรมในการบริหาร
จัดการแบบมีสGวนรGวมในชุมชนวัดศรีสุพรรณ คือ ไดLมีการจัดทำแผนชุมชนแบบสGวนรGวม
(บวร) แบGงการรับผิดชอบออกเปXน 2 ฝZาย คือ 1. ฝZายผูLบริหาร ตLองเห็นถึงความสำคัญของ
การบริหารจัดการแบบมีสGวนรGวม 3 ประสาน คือ บLานชุมชน วัด โรงเรียนหรือราชการ
ดLวยการกำหนดแนวทางการปฏิบัติท่ีชัดเจนตLองถGายทอดข้ันตอนใหLบุคลากรไดLรับรูLอยGาง
ทั่วถึงและตGอเนื่อง มีการกำหนดใหLเปXนภาระงานหลักและใหLบุคลากรรับผิดชอบและปฏิบัติ
ใหLเปXนงานปกติ ไมGควรจัดเปXนงานจิตอาสา และมีการประชุมแลกเปล่ียนเรียนรLูรGวมกัน
ระหวGางบุคลากรทั้ง 3 หนGวยงานอยGางสม่ำเสมอ 2. ฝZายผLูปฏิบัติ บุคลากรภายในทั้ง 3
หนGวยงานตLองไมGมีอคติตGอแผนนโยบายหรือแนวทางปฏิบัติ ควรใหLความรGวมมือและใหL
ขLอเสนอแนะท่ีเปXนประโยชน5ตGอการปฏิบัติงาน ควรเป°ดใจ และยอมรับส่ิงใหมG
ดLวยการศึกษาเรียนรูL ทำความเขLาใจเก่ียวกับรูปแบบกระบวนการบริหารจัดการแบบมีสGวน
รGวม บLาน วัด โรงเรียน (บวร) วGาเปXนสิ่งท่ีชุมชนไดLนLอมนำเอาพระราชดำริเร่ืองเศรษฐกิจ
พอเพียงมาและหลักธรรมะมาบูรณาการณ5ใชLในการทำงาน เพื่อเปXนการพัฒนาตนเอง และ

การประชมุ วิชาการพระพุทธศาสนาและศิลปวฒั นธรรมระดบั ชาติและนานาชาตคิ รั้งที่ 2 541

ชุมชนใหLเกิดความม่ันคง มั่งคั่ง ย่ังยืน ตามนโยบายหลักของการบริหารประเทศของรัฐบาล
ตGอไป

3) ผลจากการศึกษาวิเคราะห5และพัฒนารูปแบบท่ีเกิดข้ึน ทำใหLชุมชนวัดศรี
สุพรรณไดLมีการจัดทำแผนชุมชนเปXนคูGมือการบริหารจัดการแบบมีสGวนรGวม และเริ่มมีการ
นำรูปแบบไปใชL และขยายไปสGูชุมชนโดยรอบในชุมชนวัวลาย ไดLแกG ชุมชนวัดนันทาราม
ชุมชนวัดหม่ืนสาร และชุมชนวัดศรีสุพรรณ นำมาสGูการจัดงานมหกรรมเครื่องเงิน เครื่อง
เขิน คร้ังที่ 1 ขึ้นเมื่อวันท่ี 29 ธันวาคม-1 มกราคม 2562 ที่ผGานมา สะทLอนใหLเห็นถึง
ผลสัมฤทธิ์ของการวิจัยรูปแบบการประยุกต5หลักสาราณียธรรมในการบริหารจัดการแบบมี
สGวนรGวม บLาน วัด โรงเรียนหรือราชการ (บวร) ตามรูปแบบศรีสุพรรณโมเดล ชุมชน
ตนL แบบที่แทLจรงิ

4) ขLอเสนอแนะผลจากการไดLนำนวัตกรรมเทคโนโลยีเขLามาแกLปaญหากรณี
สุภาพสตรีไมGสามารถขึ้นไปภายในพระอุโบสถเงินวัดศรีสุพรรณ ตามความเชื่อของชาว
ลLานนา โดยคณะผูLวิจัยไดLทดสอบแบบสอบถามและแบบสัมภาษณ5พรLอมท้ังขLอเสนอแนะ
ผLูใหLขLอมูลสGวนใหญGมีขLอเสนอแนะไปในทางเดียวกันวGา อยากใหLตGอยอดรูปแบบการ
ประยุกต5เอานวัตกรรมเทคโนโลยี AR น้ีไปใชLกับสถานที่อื่นๆ ไมGวGาจะเปXนโบราณสถาน
และสถานที่ตGาง ๆ ท่ีมีขLอหLามดLานวัฒนธรรมประเพณี ในลักษณะเดียวกันกับพระอุโบสถ
วัดศรีสุพรรณ เพื่อจะไดLลดชGองวGางในดLานความรูLสึกตGาง ๆ อันจะเปXนผลท่ีถูกมองยLอนมา
เปXนดLานลบ หรือทัศคติตGอการกีดกัน และประโยชน5ของเทคโนโลยีอีกดLานท่ีผูLใหLขLอมูลที่มี
อายุระหวGาง 15-30 ปâ ไดLใหLขLอเสนอแนะไปในลักษณะเดียวกันวGา นวัตกรรมเทคโนโลยีนี้
เปXนสิ่งที่ทำใหLตอบโจทย5การเขLาถึงความรูLสึกของเยาวชนรุGนใหมG กันนโยบายยุคไทยแลนด5
4.0 จึงทำใหLไดLรับประโยชน5สูงมากเยาวชนอยากเขLาวัด และควรพัฒนานวัตกรรมประเภท
นี้เยอะๆ ใหLเด็กเยาวชนไดLมีสGวนรGวมในชุมชนไดLศึกษาเรียนรูLผลกระทบของการใชL
เทคโนโลยี หากใชLไมGเปXนหรือไมGเขLาใจอยGางแทLจริงอาจเกิดปaญหา เมื่อเยาวชนเขLาใจ
อัตลักษณ5 ความเจริญของชุมชนในเชียงใหมGท่ีไดLมาจะยั่งยืน เพราะไดLบGมเพราะลูกหลานใน
ชุมชนในรูปแบบการถGายทอดภูมิปaญญาผGานงานฝâมือดLวยการทำเคร่ืองเงิน และเคร่ืองเขิน
อันเปXนอัตลักษณ5ท่ีนGาภาคภูมิใจของชุมชน และเยาวชนที่ผGานกระบวนการ DIY แลLว

542 การประชมุ วิชาการพระพุทธศาสนาและศิลปวฒั นธรรมระดับชาตแิ ละนานาชาตคิ รงั้ ที่ 2

ผลการเรียนจะดี เพราะการตอกลายเครื่องเงิน เปXนการฝíกสมาธิ และจะเปXนชุมชนตLนแบบ
ในการทำใหLเปXนที่รูLจักในระดับสากล (world class destination) และเปXนแหลGงเรียนรูLวิถี
ชุมชนทคี่ วรแกGการอนุรักษแ5 ละชวG ยกนั พัฒนาตอG ไป

อภิปรายผล
1. ความเขlมแข็งดlานการมีสPวนรPวมริเร่ิม ในการใชlรูปแบบการประยุกต9หลัก

สาราณียธรรม = เมตตากายกรรม บทบาทของประชาชนในชุมชน สGวนใหญGยังไมGเห็น
ความสำคัญของปaญหาของชุมชน และเลือกปaญหาที่ชุมชนของตนเองตLองการเพ่ือมา
กำหนดเปXนยุทธศาสตร5ในการพัฒนาทLองถิ่น รวมท้ังประชาชน ไมGสะดวกมารGวมดำเนินการ
จัดกิจกรรมที่ทางเทศบาลจัด ไมGมีเวลาวGาง มีคGาใชLจGายในการเดินทางมารGวม อีกประการ
หน่ึงประชาชน กลGุมตัวอยGางมีอาชีพหลัก เชGน รับราชการ พนักงานบริษัท หLางรLาน รวมถึง
ประกอบอาชีพดLานเกษตรกรรม และคิดวGาการบริหารงานดLานการพัฒนาเปXนหนLาที่ของ
เทศบาล ซ่ึงสอดคลLองกับแนวคิดของ เจิมศักดิ์ ปutนทอง ไดLกลGาววGา ประชาชน เองยังขาด
ความตระหนักความรูL ความเขLาใจท่ีแทLจริงในสิทธ์ิและบทบาทหนLาที่ของตนเอง และขาด
จิตสำนึก อีกทั้งประชาชน ไมGตLองการมีสGวนรGวมรับผิดชอบในการดำเนินการใด ๆ เพราะถือ
วGาเปXนหนLาที่ของรัฐ และสอดคลLองกับงานวิจัยของ ปราณี ทองขันธ9 ไดLทำการวิจัยเรื่อง
การมีสGวนรGวมของประชาชน ในการพัฒนาโครงสรLางพ้ืนฐานของเทศบาลตำบลยางเน้ิง
อำเภอสารภี จังหวัดเชียงใหมG ผลการวิจัย พบวGา ประชาชน มีบทบาทในการมีสGวนรGวม
พัฒนาโครงสรLางพ้ืนฐาน อยGูในระดับปานกลาง เพราะวGาการเขLามามีสGวนรGวมนั้นผLูนำชมุ ชน
จะเปนX ตวั แทนภาค

2. ความเขlมแขlงดlานการมีสPวนรPวมทำ รPวมคิด รPวมในการดำเนินงาน ในการ
ประยุกต9ใชlหลักสาราณียธรรม = เมตตาวจีกรรม (พูดทุกอยGางดLวยเมตตา) ในที่นี้พบวGา
ประชาชนในชุมชนสGวนใหญGไดLเขLารGวมเวทีประชาคมท้ังระดับชุมชนและระดับตำบลท่ีทาง
เทศบาลไดLจัด เพ่ือที่จะเขLารGวมเสนอปaญหาความตLองการของชุมชนตGอเวทีประชาคม
รวมทั้งไดLนำเสนอรGวมกันจัดระดับความสำคัญของโครงการตGาง ๆ ที่ชุมชนตLองการเรGงดGวน
กGอน หลัง ใหLทางเทศบาลไดLดำเนินการ ตลอดถึงไดLใหLขLอมูลเกี่ยวกับปaญหาตGาง ๆ ในชุมชน

การประชุมวชิ าการพระพุทธศาสนาและศลิ ปวัฒนธรรมระดับชาตแิ ละนานาชาติคร้งั ท่ี 2 543

แนวทางแกLไขปaญหา พรLอมทั้งไมGมีการเก็บรวบรวมขLอมูลของชุมชนเพ่ือท่ีจะใชLเปXน
หลักฐานในการวางแผนและตัดสินใจในคร้ังตGอ ๆ ไป ซึ่งสอดคลLองกับแนวคิดของ อคิน
รพีพัฒน9 ไดLกลGาววGา การมีสGวนรGวมในการคิดคLนปaญหา และสาเหตุของประชาชน
เนื่องมาจากเหตุผลพื้นฐาน คือ ชาวชนบทประสบปaญหายGอมรูLปaญหาของตนเองไดLดีที่สุด
การมีสGวนรGวมในการวางแผนดำเนินการ กิจกรรมเพื่อแกLไขปaญหาเหลGานั้น ผLูท่ีเลือก
แนวทางในการพัฒนา ควรเปXนประชาชน ในชุมชนน้ันเอง ไมGใชGบุคคลภายนอกเพื่อใหL
เหมาะสมสอดคลLองกับทรัพยากร และสอดคลLองกับงานวิจัยของ ทานตะวัน อินทร9จันทร9
ไดLทำการวิจัยเร่ือง การมีสGวนรGวมของคณะกรรมการชุมชนในการพัฒนาชุมชนยGอย ในเขต
เทศบาลเมืองลำพูน ผลการศึกษาพบวGา คณะกรรมการชุมชนมีสGวนรGวมในการตัดสินใจ
เกี่ยวกับการประชุมที่เกี่ยวขLองกับการพัฒนาชุมชน การคิดสรLางรูปแบบและวิธีการพัฒนา
เพ่ือแกLไขและลดปaญหาของชุมชน การคLนหาความตLองการของชุมชน การตัดสินใจในการ
ใชLทรัพยากรของทLองถิ่นท่ีมีอยูGอยGางจำกัดใหLเกิดประโยชน5ตGอสGวนรวม การมีสGวนรGวมของ
ประชาชน จะตLองเขLารGวมตามข้ันตอนตGาง ๆ ของการมีสGวนรGวมในการติดตามการ
ประเมินผล เพื่อคLนควLาหาขLอดีและขLอบกพรGองอันเกิดจากการดำเนินกิจกรรม ซึ่งไดLนำมา
เปXนบทเรียนในการหาทางปรับปรุง รักษาใหLดำรงอยูGอยGางสมบูรณ5และมีประโยชน5ในการ
ทำงานตGอไป

3. ความเขlมแขlงดlานการมีสPวนรPวมคิดรPวมวางแผน ในการประยุกต9ใชlหลัก
สาราณียธรรม= เมตตามโนกรรม ประชาชนในชุมชนตLองไดLรับผลประโยชน5โดยตรงและ
ยุติธรรมท่ัวถึงในการพัฒนาชุมชนประชาชนในชุมชนมีสGวนไดLรับผลประโยชน5มากนLอย
ข้ึนอยูGกับกิจกรรมที่ทำแลLวมีความคงทนถาวรหรือขนาดของกิจกรรมโครงการในสGวนท่ี
ประชาชนในชุมชนไดLรับผลประโยชน5มากนLอยเพียงใดการจัดแผนยุทธศาสตร5การพัฒนา
โดยไดLมีการดำเนินการอยGางเปXนขั้นตอนตั้งแตGการรวบรวมขLอมูลและปaญหาสำคัญ
การวิเคราะห5ศักยภาพเพ่ือประเมินสถานภาพการพัฒนาทLองถิ่นในปaจจุบัน การกำหนด
วิสัยทัศน5และภารกิจ หลักการพัฒนา มGุงเนLนย้ำทำปaญหาท่ีทLองถิ่นตLองการเรGงดGวนมา
ดำเนินการกGอน-หลัง ซึ่งสอดคลLองกับแนวคิดของ ชัชวาล ทัตศิวัช ไดLกลGาวสรุปลักษณะ
การมีสGวนรGวมของประชาชนในชุมชนในการพัฒนาชุมชนในรูปกลGุม/องค5กรชุมชนวGา

544 การประชุมวชิ าการพระพทุ ธศาสนาและศิลปวฒั นธรรมระดับชาตแิ ละนานาชาติครงั้ ที่ 2

เปXนการมีสGวนรGวมของประชาชนในชุมชนในการวางแผนการพัฒนาหลังจากไดLขLอมูล
เบ้ืองตLนของชุมชนแลLว และนำขLอมูลมาวิเคราะห5ปaญหา สาเหตุของปaญหาเรียบรLอยแลLว ก็
นำมาอภิปรายแสดงความคิดเห็นรGวมกันเพ่ือกำหนดนโยบายและวัตถุประสงค5ของโครงการ
การกำหนดวิธีการและแนวทางการดำเนินงาน ตลอดจนกำหนดทรัพยากรและแหลGง
ทรัพยากรที่จะใชL และสอดคลLองกับงานวิจัยของ เครือวัลย9 สืบอlาย ไดLวิจัยเรื่อง การมี
สGวนรGวมของประชาชนในชุมชนในการพัฒนาทLองถ่ิน : ศึกษาเฉพาะกรณีองค5การบริหาร
สGวนตำบลหนองแฝก อำเภอสารภี จังหวัดเชียงใหมG ผลวิจัยพบวGา “ประชาชนในชุมชนมี
สGวนรGวมในการพัฒนาทLองถ่ินดLานกำหนดวิสัยทัศน5และดLานตอบสนองความตLองการของ
ทLองถ่ินมีคGาเฉล่ียโดยรวมอยGูในเกณฑ5ระดับปานกลางโดยมีประชาชนในชุมชนมีความสนใจ
ไปใชLสิทธิในการเลือกต้ังผLูนำขององค5การบริหารสGวนตำบลมีสGวนรGวมในการจัดกลุGมปaญหา
หมGูบLานสนใจตรวจสอบการทุจริตประพฤติมิชอบเขLารGวมฟaงการประชุมสภาทLองถ่ินการ
จัดทำแผนพัฒนาสำหรับดLานแนวทางการพัฒนาทLองถิ่นอยูGในเกณฑ5ระดับมากโดย
ประชาชนในชุมชนเขLารGวมแสดงความคิดเห็นเปXนผูLไดLรับประโยชน5สนับสนุนรGวมสัมมนา
ติดตามประเมินผลในกิจกรรมในเร่ืองตGางเชGนการกำจัดขยะโดยรGวมแสดงความคิดเห็นและ
รGวมประชมุ กบั ชุมชนองคก5 รหนGวยงานตGางๆ

4. ความเขlมแขlงดlานการมีสPวนรPวมรับผลประโยชน9 ในการประยุกต9ใชlหลัก
สาราณียธรรม= สาธารณโภคี (แบGงปaนทุกอยGางใหLเทGากัน)โครงการที่บรรจุในแผนพัฒนา
ทLองถ่ินที่ทางเทศบาลไดLดำเนินการ เชGน การบริการเก็บขยะฟรี การบริการอินเตอร5เน็ต และ
การบริการตรวจสุขภาพประจำปâ ตามท่ีประชาชนในชุมชนไดLเสนอตGอทางเทศบาลใหL
ดำเนินการตามเทศบัญญัติของการจัดทำแผนพัฒนาทLองถ่ินไดLครบถLวน ประชาชนในชุมชน
ไดLรับผลประโยชน5โดยตรง ซึ่งสอดคลLองกับ กรมสGงเสริมการปกครองสGวนทLองถิ่น
พระราชบัญญัติสภาตำบล และองค5การบริหารสGวนตำบล พ.ศ.2537 แกLไขเพ่ิมเติม (ฉบับท่ี
5) กลGาวไวLวGา มาตรา 23 ภายใตLบังคับแหGงกฎหมาย สภาตำบลอาจดำเนินกิจการภายใน
ตำบล ดังน้ี คือ จัดใหLมีน้ำเพ่ือการอุปโภค บริโภค และการเกษตร มีและบำรุงรักษาทางน้ำ
และทางบก มีและรักษาทางระบายน้ำ และรักษาความสะอาดของถนน ทางน้ำ ทางเดิน
และท่ีสาธารณะ รวมทั้งการกำจัดมูลฝอยและส่ิงปฏิกูล คLุมครองดูแลและบำรุงรักษา

การประชมุ วิชาการพระพุทธศาสนาและศิลปวัฒนธรรมระดับชาติและนานาชาติครัง้ ท่ี 2 545

ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลLอม บำรุงและสGงเสริมการประกอบอาชีพของราษฎร และ
สGงเสริมการพัฒนาสตรี เด็ก เยาวชน ผูLสูงอายุ ผูLพิการ และสอดคลLองกับงานวิจัยของ
จีรพัฒน9 หอมสุวรรณ ไดLทำการวิจัยเรื่อง การมีสGวนรGวมของประชาชนในชุมชนในกิจกรรม
ของสภาตำบล “กรณีศึกษาตำบลในเขตจังหวัดแมGฮGองสอน” ผลการวิจัยพบวGา ประเภทของ
การมีสGวนรGวมของประชาชนในชุมชนมากท่ีสุดไดLแกG การมีสGวนรGวมรับผลประโยชน5จาก
โครงการ

สรุป

สรุปผลจากการศึกษา เอกสาร การสังเกต การสัมภาษณ5 การสนทนากลุGม (Focus
group discussion) และการวิเคราะห5จุดแข็งจุดอGอน (SWOT) รูปแบบการประยุกต5หลักสา
ราณียธรรมเพ่ือการบริหารจัดการแบบมีสGวนรGวม บLาน วัด โรงเรียน (บวร) ในการเสริมสรLาง
ความเขLมแขง็ ชุมชนวดั ศรีสุพรรณ อำเภอเมอื ง จงั หวัดเชยี งใหมG รวมแลวL สรปุ ไดวL าG

1. ความเขlมแข็งดlานการมีสPวนรPวมริเร่ิม ในการใชlรูปแบบการประยุกต9หลัก
สาราณียธรรม = เมตตากายกรรม (ทำทุกอยGางดLวยเมตตา) การมีสGวนรGวมในข้ันการริเริ่ม
การพัฒนา เปXนขั้นตอนที่ประชาชนในชุมชนเขLามามีสGวนรGวมในการคLนหาปaญหา/สาเหตุ
ของปaญหาภายในชุมชน ตลอดจนมีสGวนรGวมในการตัดสินใจกำหนดความตLองการของ
ชุมชน และจัดลำดับความสำคัญของความตLองการของชุมชน ลักษณะและสภาพท่ัวไปของ
ชมุ ชนวดั ศรสี ุพรรณ

2. ความเขlมแขlงดlานการมีสPวนรPวมทำ รPวมคิด รPวมในการดำเนินงาน ในการ
ประยุกต9ใชlหลักสาราณียธรรม = เมตตาวจีกรรม (พูดทุกอยGางดLวยเมตตา) การมีสGวน
รGวมในขั้นการมีสGวนรGวมในการพัฒนาซ่ึงเปXนขั้นตอนของการกำหนดนโยบาย วัตถุประสงค5
ของโครงการ วิธีการตลอดจนแนวทางการดำเนินงานและทรัพยากรท่ีจะใชL ลักษณะและ
สภาพท่วั ไปของชมุ ชนวัดศรสี ุพรรณ

3. ความเขlมแขlงดlานการมีสPวนรPวมคิดรPวมวางแผน ในการประยุกต9ใชlหลัก
สาราณียธรรม= เมตตามโนกรรม (คิดทุกอยGางดLวยเมตตา) การมีสGวนรGวมในข้ันตอนการ
วางแผนการดำเนินการพัฒนา เปXนสGวนท่ีประชาชนในชุมชนมีสGวนรGวมในการสรLาง

546 การประชุมวิชาการพระพุทธศาสนาและศิลปวฒั นธรรมระดับชาตแิ ละนานาชาติครงั้ ท่ี 2

ประโยชน5ใหLกับชุมชน โดยไดLรับการสนับสนุนดLานงบประมาณ เทคโนโลยี ฯลฯ จาก
องค5กรภาคีพัฒนา ลักษณะและสภาพทวั่ ไปของชุมชนวดั ศรีสพุ รรณ

4. ความเขlมแขlงดlานการมีสPวนรPวมรับผลประโยชน9 ในการประยุกต9ใชlหลัก
สาราณียธรรม= สาธารณโภคี (แบGงปaนทุกอยGางใหLเทGากัน) การมีสGวนรGวมในข้ันตอนรับ
ผลประโยชน5จากการพัฒนา ซ่ึงเปXนท้ังการไดLรับผลประโยชน5ทางดLานวัตถุและทางดLาน
จติ ใจ ลกั ษณะและสภาพท่ัวไปของชุมชนวดั ศรีสพุ รรณ

5. ความเขlมแขlงดlานการมีสPวนรPวมประเมินผล ในการประยุกต9ใชlหลักสา
ราณียธรม = ทิฎฐิสามัญญตา (มิแนวคิดอันเปXนแนวเดียวกัน) การมีสGวนรGวมในขั้นการ
ประเมินผลการพัฒนา เปXนการประเมินวGา การที่ประชาชนในชุมชนเขLารGวมพัฒนา
ไดLดำเนินการสำเร็จตามวัตถุประสงค5เพียงใด และหากมีปaญหาหรืออุปสรรคจะแกLไข
อยGางไร เพ่ือใหLเกิดการพัฒนาแบบมีสGวนรGวมที่แทLจริง ตามลักษณะและสภาพทั่วไปของ
ชมุ ชนวดั ศรีสพุ รรณ

6. ความเขlมแขlงดlานการมีสPวนรPวมประเมินสรุปผล ประยุกต9ใชlหลักสาราณีย
ธรรม = สีลสามัญญตา (ซ่ือสัตย5เสมอกันดLวยศีล) การมีสGวนรGวมในขั้นประเมินสรุปผลการ
พัฒนา เปXนการประเมินวGา การท่ีประชาชนในชุมชนเขLารGวมพัฒนา ไดLดำเนินการสำเร็จ
ตามวัตถุประสงค5เพียงใด การประเมินอาจจะประเมินแบบยGอย หรือลักษณะเฉพาะและ
สภาพทวั่ ไปของชุมชนวดั ศรีสุพรรณ

ขlอเสนอแนะ
ผลจากการตอบคำถามแบบปลายเป°ดเกี่ยวกับปaญหาและขLอเสนอแนะของบทบาท
พระสงฆ5กับการพัฒนาสังคมในจังหวัดเชียงใหมGจากผูLตอบแบบสอบถามทั้งหมด 76 รูป
ผตูL อบแบบสอบถามแบบปลายเปด° จำนวน 60 รูป โดยมีผล 3 อนั ดบั แรกดังนี้
อันดับ 1 คือ การสGงเสริมดLานงบประมาณในการทำกิจกรรมทั้ง 3 ดLาน คือ ดLาน
ศกึ ษาสงเคราะห5 ดLานเผยแผG และดLานสาธารณะสงเคราะห5
อันดับ 2 คือ การใหLมีหนGวยราชการมาสนับสนุนกิจกรรมของแตGละดLาน โดยแยก
แตGละดLานดังน้ี ดLานการศึกษาควรมีหนGวยงานราชการทางการศึกษามาสนับสนุน ดLาน

การประชุมวิชาการพระพทุ ธศาสนาและศิลปวฒั นธรรมระดับชาตแิ ละนานาชาติครั้งท่ี 2 547

สาธารณะสงเคราะห5ควรมีหนGวยงานดLานสังคมสงเคราะห5มาสนับสนุนและหนGวยงานดLาน
การเผยแผGควรจะมหี นวG ยงานของราชการมาสนับสนุนเชนG กนั

อันดับ 3 คือ การสนับสนุนใหLเลือกบุคคลท่ีเหมาะสมกับงาน เชGน การศึกษาตLองมี
ความรูLดLานการศึกษา ดLานสาธารณะสงเคราะห5ควรมีความรLูดLานสังคมสงเคราะห5และดLาน
การเผยแผคG วรมีความรดLู าL นการเผยแผG

จ า ก ขL อ คL น พ บ ก า ร ท ำ วิ จั ย แ ล ะ ก า ร อ ภิ ป ร า ย ผ ล แ ลL ว ท ำ ใหL ค ณ ะ ผูL วิ จั ย ท ำ ใหL มี
ขLอเสนอแนะ เปนX 2 แนวทางดงั น้ี

ขlอเสนอแนะเชิงนโยบาย
ซึ่งไดLขLอมูลจากเคร่ืองมือวิจัย ตามขLอเสนอแนะของผูLตอบแบบสอบถาม และนำมา
อภิปรายผลทำใหLมขี อL เสนอแนะในเชิงนโยบายดังน้ี
1. การทำกิจกรรมของพระสงฆ5ท้ัง 3 ดLาน คือ ดLานการศึกษาสงเคราะห5
ดLานสาธารณะสงเคราะห5และดLานการเผยแผGควรไดLรับการสนับสนุนดLานงบประมาณจาก
ทางราชการ เพื่อใหกL ารทำกจิ ทงั้ สามดLานบรรลผุ ลมากขึ้น
2. การทำกิจกรรมของพระสงฆ5ทั้ง 3 ดLาน คือ ดLานการศึกษาสงเคราะห5
ดLานสาธารณะสงเคราะห5และดLานการเผยแผG ควรไดLรับการสนับสนุนจากหนGวยงานที่มี
หนาL ที่ตรงกบั บทบาททง้ั 3 ดLานของพระสงฆ5
3. การทำกิจกรรมของพระสงฆ5ทั้ง 3 ดLาน คือ ดLานการศึกษาสงเคราะห5
ดLานสาธารณะสงเคราะห5และดLานการเผยแผG ควรมีการคัดเลือกพระสงฆ5ท่ีมีความรูLหรือ
ไดLรับการอบรมตรงกับสายงานจะทำใหLมีการทำงานที่มีประสทิ ธภิ าพ

548 การประชุมวชิ าการพระพทุ ธศาสนาและศิลปวัฒนธรรมระดบั ชาติและนานาชาติคร้ังท่ี 2

บรรณานุกรม

กนกพร ปานธูป. (2551). บทบาทของวัดในการงานอนุรักษ5ส่ิงแวดลLอม: ศึกษาเฉพาะกรณี
วัดนางสาว อำเภอกระทุGมแบน จังหวัดสมุทรสาคร. วิทยานิพนธ9ศาสนศาสตร9
มหาบัณฑิต. สาขาวิชาพุทธศาสน5ศึกษา. บัณฑิตวิทยาลัย: มหามกุฏราช
วทิ ยาลัย.

พระครูปภากรพุทธิศาสน5 ปภากโร (ศรีสุวรรณ5). (2558). บทบาทพระสงฆ5กับการพัฒนา
ทLองถิ่น: ศึกษาเฉพาะกรณี เทศบาลตำบลในเขตเมือง จังหวัดลำพูน.
วิทยานิพนธ9รัฐศาตรมหาบัณฑิต. สาขาวิชารัฐศาสตร5การปกครอง. บัณฑิต
วิทยาลัย: มหามกุฏราชวทิ ยาลยั .

พระครูวินัยธรสุทธินันท5 ส™ฺญโต(ธิจา). (2553). บทบาทพระสงฆ5ในการบริหารพัฒนา
ทLองถ่ิน: ศึกษาเฉพาะกรณีอำเภอสารภี จังหวัดเชียงใหมG. วิทยานิพนธ9ศาสนศา
สตรมหาบณั ฑติ . บัณฑิตวทิ ยาลัย: มหาวิทยาลัยมหามกฏุ ราชวิทยาลยั .

พระครูสุจิณธรรมนิวิฐ (สมจิตร อธิป™ฺโญ). 2554. บทบาทพระสงฆ5ในการพัฒนาคุณภาพ
ชีวิตของชุมชน: กรณีศึกษาคณะสงฆ5อำเภอลอง จังหวัดแพรP. วิทยานิพนธ9พุทธ
ศาสตรมหาบัณฑิต. บัณทิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราช
วทิ ยาลยั .

พระมหาวิเศษ เสาะพบดี และคณะ. (2556). บทบาทของพระธรรมจาริกในการเผยแผG
พระพุทธศาสนาแกGคนไทยภูเขา. รายงานวิจัย. มหาวิทยาลัยมหามกุฏราช
วิทยาลยั

พระมหาอนุชิต อนุจารี (ถนัดเล่ือย). (2556). การพัฒนาสังคมตามหลักสาราณียธรรมของ
องค5การบริหารสGวนตำบลแขL อำเภออุทุมพรพิสัย จังหวัดศรีสะเกษ.
วิทยานิพนธ9พุทธศาสตร. มหาบัณฑิต: สาขาวิชาการพัฒนาสังคม บัณฑิต
วทิ ยาลยั มหาวทิ ยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลัย

การประชุมวิชาการพระพทุ ธศาสนาและศลิ ปวฒั นธรรมระดับชาตแิ ละนานาชาติครง้ั ท่ี 2 549

พระมหาอนุชา สิริวณฺโณ (พละกุล). (2556). การศึกษาพระสงฆ5กับการพัฒนาทLองถิ่น:
กรณีศึกษาวัดเทพปูรณาราม ตำบลทGาพระ อำเภอเมือง จังหวัดขอนแกGน.
วิทยานิพนธ9ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย สถาบันบัณฑิตพัฒน
บรหิ ารศาสตร5.

พระสมพาน พุทฺธสโร (สันวิราช). (2556). บทบาทการพัฒนาวัดของศรีปริยัตยาภรณ5 (กลีบ
วรป™ฺโญ) วัดพัฒนาราม ตำบลตลาด อำเภอเมือง จังหวัดสุราษฎร5ธานี.
วิทยานิพนธ9ศาสนศาสตรมหา. บัณฑิต สาขาวิชาสังคมวิทยา: มหาวิทยาลัย
มหามกุฏราชวิทยาลยั

พระสุดใจ ธมฺมโชโต (เนาวพันธ5). (2551). บทบาทของพระราชธรรมสุธี (สมปอง ป™ฺญาทโี ป) ที่
มีตGอการพัฒนาสังคม. วิทยานิพนธ9ศาสนศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาสังคม
วิทยา มหาวิทยาลัย:มหามกุฏราชวิทยาลัย

รชั นกี ร เศรษโฐ. (2528). สงั คมวิทยาชนบท. กรุงเทพมหานคร : ไทยวัฒนาพานิช.
อภิชัย พันธเสน. (2539). พัฒนาชนบทไทย : สมุทัยและมรรคตอนที่ 3 ความหวัง

ทางออกและทางเลกิ ใหม.P กรุงเทพมหานคร : มูลนิธภิ มู ิปaญญา

550 การประชุมวชิ าการพระพทุ ธศาสนาและศลิ ปวัฒนธรรมระดับชาตแิ ละนานาชาติคร้งั ท่ี 2

การสำรวจความต+องการการเรียนรู+ภาษาอังกฤษ
สำหรบั ชมุ ชนทอ= งเที่ยว OTOP นวตั วถิ ี ในจงั หวัดเชียงราย

A Survey on the Needs of English Skills Development for OTOP
Tourism Communities in Chiangrai Province

เดชา ตาละนึก,
พระครูใบฏกี าทพิ พนากรณ8 ชยาภินนั โท, พระครปู ลดั ณัฐพล ประชุณหะ

Decha Talanuek,
Phrakrubaideeka Thippanakorn Chayabhinundho, Phrakrupralad Natthaphon Candiko

มหาวิทยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลยั วทิ ยาเขตเชยี งใหมN
Mahachulalongkornrajavidyalaya University Chiang Mai Campus

นฤภรณ8 วรายุทธโยติกลุ

Narueporn Warayutkotikul
โรงเรยี นหนองมะจับ สำนักงานเขตพ้นื ทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาเชียงใหมN เขต 2
Nongmachap School, Chiang Mai Primary Educational Service Area Office 2

บทคดั ยEอ

การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค6เพื่อ สำรวจความต=องการพัฒนาทักษะ
ภาษาอังกฤษสำหรับชุมชนทFองเที่ยว OTOP นวัตวิถีในจังหวัดเชียงราย การวิจัยครั้งนี้เปLน
การวิจัยเชิงปริมาณ โดยใช=แบบสอบถามในการเก็บข=อมูลบุคลากรด=านการทFองเที่ยวใน
ชุมชนทFองเที่ยว OTOP นวัติวิถี จังหวัดเชียงราย จำนวน 100 คน โดยการสุFมแบบเจาะจง
ใช=โปรแกรมสถิติสำเร็จรูปในการวิเคราะห6ข=อมูลคFาเฉลี่ยร=อยละและสFวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
ผลการวิจัยพบวFาบุคลากรด=านการทFองเที่ยวในชุมชนทFองเที่ยว OTOP นวัติวิถี จังหวัด
เชียงราย มีความต=องการพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษในหลายด=าน เชFน การทักทาย การนำ
ชมแหลFงทFองเที่ยวภายในชุมชน การนำเสนอผลิตภัณฑ6ชุมชน การดูแลนักทFองเที่ยวขณะ
เข=าพักโฮมสเตย6 และ การกลFาวอำลาและเชิญชวนให=กลับมาเที่ยวซ้ำ โดยมีข=อเสนอให=มี
การจัดทำคูFมือการเรียนรู=ภาษาอังกฤษด=วยตนเองสำหรับชุมชนทFองเที่ยว OTOP นวัตวิถี

การประชุมวิชาการพระพุทธศาสนาและศิลปวฒั นธรรมระดบั ชาติและนานาชาติคร้ังท่ี 2 551

เพื่อพัฒนาตนเองและสามารถนำไปใช=สื่อสารเพื่อสร=างความประทับใจให=นักทFองเที่ยว และ
สFงผลตอF การกลับมาเท่ียวซ้ำของนกั ทอF งเท่ียว

คำสำคัญ : ภาษาองั กฤษเพ่ือการสอ่ื สาร, ชมุ ชนทFองเทยี่ ว, OTOP

Abstract

This research aims to explore the needs of English skills
development for OTOP tourism communities in Chiangrai province. This is
a quantitative research using a survey to collect data from 100 tourism
personnel of OTOP tourism communities in Chiangrai province. Means and
standard deviations were used to analyze the data. The results show that
there are many aspects that tourists in the tourism community need to
improve their English skills, such as greetings and greetings, tourist attractions
within the community, introduction of community products, tourist
attractions, and bidding farewell in order to attract tourists for revisiting. There
is a suggestion to develop English skills self-study manual in order to create
satisfaction to tourists that aims to their revisit.

Keywords: English Communication, Tourism Community, OTOP

บทนำ

การทFองเที่ยวถือวFาเปLนอุตสาหกรรมขนาดใหญFของประเทศไทย ดังจะเห็นได=
จากสถิติด=านการทFองเที่ยว ป~ 2562 สำรวจโดยกระทรวงการทFองเที่ยวและกีฬา (2563) ได=
รายงานสถิตินักทFองเที่ยวชาวตFางชาติที่เดินทางเข=าประเทศไทยป~ 2562 พบวFามี
นักทFองเที่ยวชาวตFางชาติ เดินทางมาเยือน มากกวFา 39 ล=านคนตFอป~ มีรายได=เข=าประเทศ
มากกวFา 3.06 ล=านล=านบาท และคาดวFาจะเพิ่มมากขึ้นในป~ 2563 อีกทั้งการทFองเที่ยวยัง
ติดอันดับ 1 ใน 10 สถานที่ทFองเที่ยวชั้นนำของโลก ซึ่งนับวFาเปLนธุรกิจที่สร=างเศรษฐกิจของ

552 การประชมุ วชิ าการพระพทุ ธศาสนาและศิลปวัฒนธรรมระดับชาติและนานาชาตคิ รงั้ ท่ี 2

ประเทศให=เติมโตก=าวหน=าได=อยFางยั่งยืน นอกจากนี้ ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN
Economic Community: AEC) ได=มอบหมายให=ประเทศไทยเปLนผู=ประสานงานหลักสาขา
การทอF งเที่ยว ในป~ 2558 (กรมเจรจาการค=าระหวFางประเทศ,2556)

ด=วยเหตุผลนี้ รัฐบาลจึงได=สFงเสริมนโยบายการทFองเที่ยวเมืองรอง 55 เมือง และมี
แนวคิดสFงเสริมการทFองเที่ยวแอFงเล็ก(การทFองเที่ยวชุมชน) เพื่อให=นักทFองเที่ยวได=กระจาย
ไปเที่ยวในแอFงเล็ก (หมูFบ=าน/ชุมชน) มากขึ้น ซึ่งเปLนการกระจายรายได=สูFเศรษฐกิจฐานราก
(กรมพัฒนาชุมชน, 2561, น.1) จึงกFอให=เกิด แผนยุทธศาสตร6การทFองเที่ยวโดยชุมชนอยFาง
ยั่งยืน พ.ศ. 2559-2563 (CBT Thailand) จัดทำขึ้นโดยคณะอนุกรรมการการทFองเที่ยว
โดยชุมชน ภายใต=คณะกรรมการนโยบายการทFองเที่ยวแหFงชาติ (ท.ท.ช.) ซึ่งผFานความ
เห็นชอบจากคณะรัฐมนตรีแล=ว เมื่อวันที่ 31 มกราคม 2560 โดยมีกระทรวงการทFองเที่ยว
และกีฬาเปLนประธานและองค6การบริหารการพัฒนาพื้นที่พิเศษเพื่อการทFองเที่ยวอยFาง
ยั่งยืน (องค6การมหาชน) หรือ อพท. เปLนฝëายเลขานุการเพื่อประสานการทำงานกับภาคีทุก
ภาคสFวนท่ีเกี่ยวข=องในการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร6การทFองเที่ยวโดยชุมชนดังกลFาวจึงถือ
เปLนแผนยุทธศาสตร6การทFองเที่ยวฉบับแรกของประเทศไทยที่มุFงเน=นการพัฒนาในระดับ
ชุมชนเปLนหลักเพื่อให=เกิดการกระจายประโยชน6จากการทFองเที่ยวไปสูFเศรษฐกิจฐานราก
อยFางแท=จริง โดยมีวิสัยทัศน6วFา “การทFองเที่ยวโดยชุมชนของไทยพัฒนาสูFสากลอยFางมี
เอกภาพบนฐานการรักษาและจัดการทรัพยากรชุมชนอยFางยั่งยืนสูFชุมชนแหFง
ความสุข”(TAT REVIEW,2561)

ภาคเหนือตอนบนมีศักยภาพด=านการทFองเที่ยวเนื่องจากมีความได=เปรียบของ
ธรรมชาติ เชFน ภูเขาที่ สวยงามและสลับซับซ=อน วัฒนธรรมล=านนา ความเกFาแกFทาง
ประวัติศาสตร6กระจายทั่วไป ซึ่งดึงดูดให= นักทFองเที่ยวหลั่งไหลเข=ามาเยี่ยมเยือนภาคเหนือ
อยFางตFอเนื่อง ประกอบกับความพร=อมทางด=านโครงสร=าง พื้นฐานและสิ่งอำนวยความ
สะดวก นอกจากนี้ที่ตั้งของภาคเหนือสามารถเชื่อมโยงการคมนาคมกับประเทศ เพื่อนบ=าน
พร=อมที่จะเปLนศูนย6กลางการทFองเที่ยวของอนุภูมิภาคประเทศลุFมแมFน้ำโขงได= จังหวัด
เชียงใหมF เปLนศูนย6กลางการทFองเที่ยวภาคเหนือ เปLนจุดเชื่อมตFอไปยังจังหวัดอื่นๆ ใน
ภาคเหนือตอนบน และสามารถเชื่อมตFอไปยังหลวงพระบาง ของ สปป. ลาว พื้นท่ี
ทFองเที่ยว 4 สFวน หลักคือ 1) แหลFงทFองเที่ยวในตัวเมือง จุดเดFนคือวัดพระธาตุดอยสุเทพ

การประชุมวชิ าการพระพทุ ธศาสนาและศลิ ปวัฒนธรรมระดับชาตแิ ละนานาชาติครัง้ ท่ี 2 553

ถนนคนเดิน ไนท6บาซาร6 ถนนวัวลาย 2) แหลFง ทFองเที่ยวทางทิศเหนือ ประกอบด=วยปาง
ช=าง น้ำตกแมFสา สวนกล=วยไม= ถ้ำเชียงดาว 3) แหลFงทFองเที่ยวทาง ทิศตะวันออก
เปLนแหลFงซื้อสินค=าที่ระลึก เชFน รFมบFอสร=าง เรื่องเงิน ผ=าไหม อัญมณี เครื่องหนัง 4) แหลFง
ทFองเที่ยวทางทิศใต= เปLนแหลFงทFองเที่ยวธรรมชาติ ได=แกF ดอยอินทนนท6 น้ำตกแมFกลาง
น้ำตกแมFยะ นอกจากนี้สามารถซื้อของที่ระลึก เชFน ผ=าฝöายทอมือจอมทอง ผ=าฝöายตีนจกแมF
แจมF ไม=แกะสลักบ=านถวาย

การเตรียมความพร=อมในการพัฒนาบุคลากรด=านการทFองเที่ยวชุมชนจึงมีความ
จำเปLนในการพัฒนาทั้งด=านทักษะการทำงานและความสารมารถด=านการสื่อสารกับ
ชาวตFางชาติ โดยเฉพาะอยFางยิ่งความสามารถทางด=านภาษาอังกฤษที่มีบทบาทมากในการ
สื่อสารเนื่องจากเปLนภาษาสากล (international language) ที่ทั่วโลกใช=ในการสื่อสารใช=
ภาษาอังกฤษถึง 1.2 ถึง 1.5 พันล=านคนจาก 75 ประเทศทั่วโลก นอกจากนี้การเปúดเสรี
อาเซียนในป~ 2558 นั้น ได=ย้ำความสำคัญของภาษาอังกฤษเนื่องจากภาษาอังกฤษได=รับการ
ประกาศในกฎบัตรอาเซียน (ASEAN Charter) ข=อ 34 ให=เปLนภาษาทำงาน (working
language) ของประชาชนในกลุFมประเทศอาเซียน (ปวันรัตน6 นิกรกิตติโกศล,2559: 111)
ด=วยเหตุนี้ จึงที่จะต=องเรFงพัฒนาทักษะในการพูดภาษาอังกฤษให=สามารถสื่อสารได=อยFางมี
ประสิทธิภาพ ซึ่งผู=จะพูดภาษาอังกฤษได= ต=องมีองค6ประกอบ 4 อยFาง คือ (1) รู=ด=าน
ไวยากรณ6หรือโครงสร=าง (2) รู=ด=านสังคม เชFน การใช=คำการสร=างประโยคได=เหมาะสม (3)
รู=ในการใช=โครงสร=างภาษาเพื่อสื่อความหมายด=านการพูดและเขียน (4) รู=ในการใช=กลวิธีใน
การสื่อสาร และต=องใชค= วามพยายามที่จะเรียนรู=ฝûกฝนการพดู อยาF งตFอเน่ือง

จากข=อมูลข=างต=น ทางคณะผู=เขียนจึงอยากรวบรวมและเรียบเรียงองค6ความรู=
หลักการ แนวคิด และทฤษฎี เพื่อพัฒนาคูFมือการเรียนรู=ภาษาอังกฤษด=วยตนเองเพื่อการ
บริการสำหรับชุมชนทFองเที่ยว โดยบทความวิชาการนี้เปLนสFวนหนึ่งของงานวิจัย เรื่อง
การบูรณาการการเรียนรู=ภาษาอังกฤษด=วยตนเองกับการทำงานเพื่อการบริการการ
ทFองเที่ยวชุมชน ภายใต=โครงการชุมชนทFองเที่ยว OTOP นวัตวิถี ในจังหวัดเชียงราย เพ่ือ
เปLนแนวทางตอF การพฒั นาชุมชนทอF งเท่ยี วตอF ไป

554 การประชุมวิชาการพระพุทธศาสนาและศิลปวฒั นธรรมระดบั ชาตแิ ละนานาชาติคร้งั ที่ 2

วัตถุประสงคกV ารวจิ ยั

เพื่อสำรวจความต=องการพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษสำหรับชุมชนทFองเที่ยว OTOP
นวัตวถิ ีในจังหวัดเชียงราย

ระเบยี บวธิ ีวจิ ยั

1. การวิจัยนี้เปLนการวิจัยเชิงกึ่งทดลอง (Quasi-experimental Research)
โดยมีวิธีการดำเนินการดังนี้ 1. กลุFมตัวอยFางที่ใช=ในการวิจัย ได=แกF บุคลากรด=านการ
ทFองเทยี่ วในชุมชนทอF งเทยี่ ว OTOP นวัตวถิ ใี น
จังหวัดเชียงราย จำนวน 100 คน โดยผู=วิจัยได=ใช=วิธีเลือกแบบเจาะจง (Purposive
Sampling)

2. เครื่องมือที่ใช=ในการวิจัย คือ แบบสอบถามในการเก็บข=อมูลบุคลากรด=าน
การทFองเที่ยวในชุมชนทFองเที่ยว OTOP นวัตวิถีในจังหวัดเชียงราย โดยลักษณะคำถามเปLน
แบบวัดประเมินคFา (Rating Scale) โดยมีการตรวสอบความเชื่อมั่นและความเที่ยงตรงของ
แบบสอบถามด=วยคFาสัมประสิทธิ์แอลฟา (Cornbrash’s Alpha Coefficient) ซึ่งผลที่ได=
ของคFา Alpha อยFูที่ 0.718 ถือเปLนคFาที่สามารถนำแบบสอบถามไปใชไ= ดจ= ริง

3. วิธีการเก็บรวบรวมข=อมูล ผู=วิจัยได=ดำเนินการติดตFอทำหนังสือขอความ
อนุเคราะห6ในการเก็บรวบรวม ข=อมูลเพื่อการวิจัยจากวิทยาลัยสงฆ6 เชียงใหมF มหาวิทยาลัย
มหาจุฬาลง กรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตเชียงใหมF ถึงผู=นำชุมชนทFองเที่ยว OTOP นวัตวิถี
ในจังหวัดเชียงราย เพื่อ ขอรวบรวมข=อมูลจาก กลุFมตัวอยFาง จากนั้น ผู=วิจัยจัดเตรียม
แบบสอบถาม และดำเนินการเก็บรวบรวมข=อมูลด=วย ตนเอง หลังจากเก็บรวบรวมข=อมูล
แลว= นำมาตรวจสอบความถกู ต=องและนำมาวเิ คราะห6 ขอ= มู ลโดยใช=โปร แกรม สำเร็จรูป

4. การวิเคราะห6ข=อมูล ผู=วิจัยใช=สถิติเชิงพรรณนา ได=แกF คFาความถี่ คFาร=อยละ
คาF เฉลยี่ และสFวนเบย่ี งเบนมาตรฐาน

การประชมุ วชิ าการพระพุทธศาสนาและศลิ ปวฒั นธรรมระดบั ชาตแิ ละนานาชาติคร้ังที่ 2 555

กรอบแนวคิดการวจิ ยั

ผลการวจิ ยั

ผลการวจิ ยั ที่ได=จากแบบสอบถามสามารถสรุปได=ดงั นี้

ตอนท่ี 1 ขJอมลู ทั่วไปเกี่ยวกับผตูJ อบแบบสอบถาม
ตารางท่ี 1 เพศ

เพศ จำนวน รอJ ยละ

ชาย 21 21.00

หญิง 79 79.00

รวม 100 100.00

จากตารางที่ 1 เพศ พบวFาผู=ตอบแบบสอบถามสFวนใหญFเปLนเพศหญิง จำนวน

79 คน คิดเปนL รอ= ยละ 79.00 และเพศชายมจี ำนวน 21 คน คดิ เปLนรอ= ยละ 21.00

556 การประชุมวิชาการพระพุทธศาสนาและศิลปวฒั นธรรมระดับชาติและนานาชาตคิ รั้งที่ 2

ตารางที่ 2 อายุ

อายุ จำนวน รอJ ยละ อนั ดบั

นอ= ยกวFา 20 ป~ 5 55

20-30 ป~ 17 17 4

31-40 ป~ 38 38 1

41-50 ป~ 21 21 2

มากกวาF 50 ป~ 19 19 3

รวม 100 100.00

จากตารางที่ 2 อายุ พบวFาผู=ตอบแบบสอบถามที่อยูFในกลุFมมากที่สุดร=อย 38 มี

อายุ 31-40 ป~ รองลงมาร=อยละ 21 มีอายุ 41-50 ป~ นอกนั้นจะมีกระจายกันอยูFในกลFุม

อื่นๆ เชFน มากกวFา 50 ป~ , 20-30 ป~ และ นอ= ยกวาF 20 ป~

ตารางท่ี 3 การศกึ ษา

เพศ จำนวน รอJ ยละ

ตำ่ กวFาปริญญาตรี 83 83.00

ปริญญาตรี 17 17.00

รวม 100 100.00

จากตารางที่ 3 การศึกษา พบวFาผู=ตอบแบบสอบถามสFวนใหญFมีการศึกษาต่ำ

กวFาระดับปริญญาตรี จำนวน 83 คน คิดเปLนร=อยละ 83 และ ร=อยละ 17 มีการศึกษาระดับ

ปริญญาตรี

ตารางที่ 4 อาชีพ

เพศ จำนวน รอJ ยละ อนั ดับ

นกั เรียน/นกั ศกึ ษา 3 3.00 4

ขา= ราชการ 7 7.00 3

พนักงานรฐั 11 11.00 2

เกษตรกร 79 79.00 1

รวม 100 100.00

การประชมุ วิชาการพระพุทธศาสนาและศิลปวัฒนธรรมระดบั ชาติและนานาชาตคิ ร้ังที่ 2 557

จากตารางที่ 4 อาชีพ พบวFาผู=ตอบแบบสอบถามสFวนใหญFมีอาชีพเกษตรกร
ร=อยละ 79 ซึ่งถือวFาเปLนอาชีพหลักของประชากรในท=องถิ่น รองลงมาประกอบอาชีพ
พนกั งานของรฐั คิดเปนL ร=อยละ 11 และ ข=าราชการ นกั เรียน นกั ศกึ ษา ตามลำดบั

ตารางท่ี 5 หนJาทใ่ี นชมุ ชนทอZ งเทยี่ ว OTOP นวตั วิถี

เพศ จำนวน รJอยละ อันดบั

กลFมุ ทอF งเท่ียว 31 31.00 2

กลุมF ผลิตภณั ฑ6ชุมชน 50 50.00 1

กลุFมโฮมสเตย6 19 19.00 3

รวม 100 100.00

จากตารางที่ 4 อาชีพ พบวFาผู=ตอบแบบสอบถามสFวนใหญFในชุมชนทFองเที่ยว

OTOP นวัตวิถีมีหน=าที่เกี่ยวกับกลุFมผลิตภัณฑ6ชุมชน คิดเปLนร=อยละ 50 รองลงมามีหน=า

ด=านการทFองเที่ยวในชุมชน คิดเปLนร=อยละ 31 และกลุFมผู=ประกอบการโฮมสเตย6 คิดเปLน

รอ= ยละ 19

ตอนท่ี 2 ความตอJ งการพัฒนาทกั ษะการสือ่ สารภาษาอังกฤษ

ตารางท่ี 6 ความตอ= งการพฒั นาทักษะการส่อื สารภาษาองั กฤษ

หวั ขอ= " S.D. อนั ดับ
.439 1
1. การนำเสนอแหลงF ทFองเทีย่ วภายในชมุ ชน 4.78 .500 2
.514 4
2. การนำเสนอสนิ คา= หตั ถกรรมของชมุ ชน 4.75 .509 3
.525 5
3. การนำเสนอประวัตศิ าสตร6ของชุมชน 4.72 8
1.024
4. การนำเสนออาหารและของวFางของชุมชน 4.73 4
.514
5. การนำเสนอศิลปะและวฒั นธรรมของชุมชน 4.69

6. การชFวยเหลอื นกั ทอF งเทย่ี วขณะเกดิ เหตุตาF ง 4.20


7. การดแู ละนักทFองเที่ยวขณะเข=าพักโฮมสเตย6 4.72

558 การประชมุ วิชาการพระพทุ ธศาสนาและศิลปวฒั นธรรมระดับชาตแิ ละนานาชาติครั้งที่ 2

8. การเสนอขายและการตอF รองราคาสนิ คา= 4.63 .597 6
และบรกิ ารตาF ง ๆภายในชมุ ขน

9. การสื่อสารเพ่อื ให=บริการดา= นความปลอดภัย 4.41 .975 7
ภายในชมุ ชน

10. การบริการขนสงF สาธารณะภายในชุมชน 4.72 .494 4

จากการสำรวจความต=องการพัฒนาทักษาภาษาอังกฤษของชุมชนทFองเที่ยว

OTOP แสดงให=เห็นวFา ชุมชนมีความต=องการพัฒนาทักษะการสื่อสารภาษาอังกฤษในทุก

ประเด็นในระดับมากที่สุด มีคFาความนFาเชื่อถือของข=อมูล (Cronbach’s Alpha) = .718

โดยสามารถเรียงลำดับคFาเฉลี่ยจากมากที่สุดได=ดังนี้ การนำเสนอแหลFงทFองเที่ยวภายใน

ชุมชน การนำเสนอสินค=าหัตถกรรมของชุมชน การนำเสนออาหารและของวFางของชุมชน

การนำเสนอประวัติศาสตร6ของชุมชน การดูแลนักทFองเที่ยวขณะเข=าพักโฮมสเตย6 การ

บริการขนสFงสาธารณะ การนำเสนอศิลปะและวัฒนธรรมของชุมชน การเสนอขายและการ

ตFอรองราคาสินค=าและบริการตFาง ๆภายในชุมชน การสื่อสารเพื่อให=บริการด=านความ

ปลอดภยั ภายในชุมชน และการชวF ยเหลือนกั ทอF งเทย่ี วขณะเกิดเหตุตFาง ๆ

องคคV วามรูbจากงานวิจยั

ผลจากการดำเนนิ งานวจิ ยั ครัง้ น้ี สามารถสรุปองค6ความรวู= ิจัยทไ่ี ด=รับ ดังตFอไปนี้
การสำรวจความต=องการในการพัฒนาทักษะการสื่อสารภาษาอังกฤษสำหรับบุคลากร
ทFองเที่ยว OTOP นวัตวิถี ในจังหวัดเชียงราย ทำให=เกิดการสร=างชุดสื่อการเรียนรู=ด=วย
ตนเองที่เกิดจากความต=องการของชุมชนทFองเที่ยว โดยสื่อดังกลFาวได=รับการออกแบบข้ึน
จากการศึกษาบริบทชุมชนเฉพาะ ทำใหช= มุ ชนเรียนรูไ= ด=อยFางรวมเร็วและมีประสิทธิภาพ ทำ
ให=เกดิ การพัฒนาในดา= นทต่ี รงกบั ความต=องการของตนเอง

ผลการวจิ ยั

จากการดำเนินการวิจัย มีการลงพื้นที่เพื่อศึกษาเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณถึงบริบท
ชุมชน ข=อมูลทั่วไปและสำรวจความต=องการพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษสำหรับชุมชนทFองเที่ยว
OTOP นวัตวถิ ีได=ดังนี้

การประชุมวิชาการพระพุทธศาสนาและศลิ ปวัฒนธรรมระดบั ชาตแิ ละนานาชาตคิ ร้ังที่ 2 559

บุคลากรชุมชนทFองเที่ยว OTOP นวัตวิถีมีความจำเปLนในการใช=ภาษาอังกฤษ
เพื่อการสื่อสารในการทำงาน สFวนใหญFของผู=ตอบแบบสอบถามเปLนเพศหญิงที่มีอายุ 31-40
ป~ และมีการศึกษาระดับต่ำกวFาปริญญาตรี และประกอบอาชีพเกษตรกรเปLนสFวนใหญ¶และ
มีหน=าที่ในชุมชนทFองเที่ยว OTOP นวัตวิถี ที่เกี่ยวกับผลิตภัณฑ6ในชุมชน ซึ่งมีลักษณะการ
ทำงานที่ต=องพบปะชาวตFางชาติเปLนประจำและมีความจำเปLนที่ต=องสื่อสารด=วย
ภาษาอังกฤษ เพราะการฟßงเปLนทักษะแรกที่คนได=รับรู=และเปLนทักษะพื้นฐานที่จะนำไปสFู
การเรียนรู=ทักษะและภาษาในชีวิตด=านอื่น ๆ ชีวิตประจำวันของคนเรา ใช=ทักษะการฟßง
มากกวFาทักษะอื่น ทักษะการฟßงจึงเปLนสิ่งที่สำคัญ สามารถพัฒนาขึ้นได= ถ=าได=รบั การฝûกผล
เปLนอยFางดี ทั้งนี้ทักษะทางการฟßงท่ีบุคลากรด=านการทFองเที่ยวต=องการพัฒนามากที่สุด คือ
การฟßงเพื่อพักผFอน เชFนการฟßงเพลงสากล การดูภาพยนตร6 การฟßงรายการขFาว
ภาษาอังกฤษ การฟßงการบรรยายทางวิชาการภาษาอังกฤษ การฟßงสุนทรพจน6ภาษาอังกฤษ
การฟßงการนำเสนอภาษาอังกฤษ สอดคล=องกับงานวิจัยของ ของฐิตารีย6 จันทรวัทน6และ
สุทัศน6 เทียมกรกุล,(2552, บทคัดยFอ) ที่ศึกษาความต=องการและเจตคติในการใช=
ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารของนักศึกษาอาชีวศึกษาพิษณุโลก และเปรียบเทียบความ
ต=องการในการใช=ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารระหวFางนักศึกษาและเปรียบเทียบความ
ต=องการในการใช=ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารระหวFางนักศึกษาระดับประกาศนียบัตร
บัณฑิตวิชาชีพและนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรบัณฑิตวิชาชีพชั้นสูง จำนวน 171คน
พบวFา ความต=องการในการใช=ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารของนักศึกษาอาชีวศึกษา
พิษณุโลก ในทักษะดา= นการฟßงอยใูF นระดับมาก

รูปแบบและสำนวนภาษาอังกฤษที่นักทFองเที่ยวชาว ตFางประเทศใช=บFอยเมื่อมา
ทFองเที่ยวในประเทศไทยเปLนรูปแบบภาษางFาย สั้น กระชับ และไมFเปLนทางการ ทั้งนี้ อาจเปLน
เพราะนักทFองเที่ยวสื่อสารด=วยการพูด ที่ต=องการความเข=าใจอยFางรวดเร็ว และได=รับคำตอบ
ในทันที ซึ่งการเลือกวิธีการสื่อสารด=านการพูดนี้ สอดคล=องกับแนวคิดของร็อบบินและคูลตาร6
(Robbins and Coultar, 1996) ที่กลFาวถึงวิธีการติดตFอสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ อาจทำได=หลาย
วิธี หนึ่งในนั้นคือ การติดตFอสื่อสารด=วย คำพูด เพราะมีข=อดีคือรวดเร็ว ได=ข=อมูลย=อนกลับทันที
และยังสอดคล=องกับบราวน6 (Brown, 2014) ที่เห็นด=วย วFาการปรับปรุงประสิทธิภาพการสื่อสาร
นั้นอาจทำได=โดยการใช=ภาษาที่งFายตFอความเข=าใจ ไมFซับซ=อน ในด=านการอบรมนั้น จะเห็นได=วFาผ=ู

560 การประชุมวิชาการพระพทุ ธศาสนาและศลิ ปวฒั นธรรมระดบั ชาติและนานาชาตคิ รั้งท่ี 2

เข=าอบรมซึ่งเปLนคนในชุมชน จะทำความเข=าใจกับบทเรียนได=ดีเมื่อสิ่งที่เรียน เปLนสิ่งที่ตนเองมี
ความรู=ภูมิหลังอยFางดี ดังนั้นเพื่อเปLนการชFวยเหลือ สFงเสริม ให=ผู=คนในชุมชนได= ศึกษา
ภาษาอังกฤษอยFางมีความหมาย เข=าใจงFาย นำไปใช=ได=จริง การออกแบบชุดฝûกอบรมสำหรับชุมชน
จึงควร สะท=อนบริบทของชุมชนหรือสังคมนั้นๆ เพราะนอกจากจะทำให=เรียนอยFางมีความหมาย
แล=ว ยังเปLนการชFวย ประชาสัมพันธ6ชุมชนของตนเอง ให=เปLนที่รู=จักมากขึ้น สร=างความประทับใจ
และสร=างชื่อเสียง ดึงดูดให= นักทFองเที่ยวเข=ามาเยี่ยมชมชุมชนมากขึ้น อันจะสFงผลให=ชุมชน
เข=มแข็งและมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นตามลำดับ สอดคล=องกับที่องค6การการทFองเที่ยวแหFงโลก (WTO,
2004 อ=างถึงในไพศาล กาญจนวงศ6, 2551)ที่พยายามสFงเสริมให=มีการทFองเที่ยวอยFางยั่งยืน เพื่อให=
ได=เกิดการจ=างงานและสร=างรายได=ให=กับชุมชนท=องถิ่น รวมไปถึง การมีสFวนชFวยลดความยากจนใน
ท=องถิ่นด=วย การออกแบบกิจกรรมการฝûกทักษะภาษา ควรให=เปLนกิจกรรมเพื่อการสื่อสารและการ
ปฏิบัติงาน (Tasks) โดยเน=นกิจกรรมหรือสร=างสถานการณ6จำลองที่ผู=เข=าอบรม พบเจอใน
ชีวิตประจำวันหรือเมื่อต=อง สื่อสารกับนักทFองเที่ยว โดยกำหนดรูปแบบสำนวนภาษาและคำศัพท6
ที่ควรรู=ให=ฝûกออกเสียง พูดซ=า ๆ ให= ถูกต=องและคลFองแคลFว แสดงอารมณ6ความรู=สึกเสมือนจริง
เพื่อที่เมื่อทำกิจกรรมเพื่อการสื่อสาร เชFน กิจกรรม คูF กิจกรรมกลุFม บทบาทสมมุติ หรือ
สถานการณ6จำลอง ผู=เข=าอบรมจะได=ทำกิจกรรมได=โดยไมFสะดุด ซึ่งสอดคล=องกับริชาร6ด (Richards,
2006) วิลลิส (Willis, 1996) และ เอลลิส (Ellis, 2007)ที่กลFาวถึงวิธีการสอน ภาษาเพื่อการสื่อสาร
ที่ต=องเน=นให=ปฏิบัติจริง เน=นภาษาที่ใช=ในการสื่อสารจริง ให=โอกาสผู=เรียนได=พัฒนาทั้ง ความคลFอง
(Fluency) และความถูกต=อง (Accuracy) ของภาษา และกิจกรรมที่จะให=ผู=เรียนทำนั้นมีความ
เช่ือมโยงกับทีใ่ ช=จรงิ

ขbอเสนอแนะ

สมาชิกในชุมชนทFองเที่ยว OTOP ต=องการให=หนFวยงานที่เกี่ยวข=องสFงเสริมและอบรม
ทักษะการสื่อสารภาษาอังกฤษที่เข=าใจงFาย และเน=นการนำไปใช=จริง โดยอาจละในเรื่องของ
ไวยากรณ6ที่ทำให=ผู=เริ่มต=นเรียนภาษาอังกฤษเกิดความท=อใจ ต=องการเน=นการฟßงและพูดมากกวFา
การอFานและเขียน รวมถึงต=องการให=มีการพัฒนาแบบเรียนภาษาอังกฤษด=วยตนเองสำหรับใช=
ฝûกฝนเพื่อเตรียมตัวต=อนรับนักทFองเที่ยวชาวตFางชาติ และสามารถสอนตFอให=สมาชิกที่ไมFสามารถ
อFานภาษาองั กฤษหรือภาษาไทยได=

การประชุมวชิ าการพระพุทธศาสนาและศลิ ปวฒั นธรรมระดับชาตแิ ละนานาชาตคิ ร้ังที่ 2 561

บรรณานุกรม

กรมการพัฒนาชุมชน. (2561). แนวทางการดำเนินงานโครงการชุมชนทZองเที่ยว OTOP
นวัตวถิ ี. กรงุ เทพมหานคร : กรมการพฒั นาชมุ ชน.

กรมเจรจาการค=าระหวFางประเทศ. (2556). โอกาสทางการตลาดทZองเที่ยวไทยบนความ
ทาJ ทายกับการกาJ วสูZ AEC. TAT Tourism Journal, 10(2), 30-39.

ปวันรัตน6 นิกรกิตติโกศล. (2559). การพัฒนานวัตกรรมการสื่อสารภาษาอังกฤษ สำหรับ
ผู=ประกอบการร=านขายของที่ระลึก ร=านอาหารและเครื่องดื่มที่เกาะเกร็ดจังหวัด
นนทบุร.ี กรุงเทพมหานคร: วารสารสมาคมนักวจิ ัย.

ฐิตารีย6 จนั ทรวทั น6และสทุ ศั น6 เทียมกีรกลุ .(2552). ความตอ3 งการและเจตคตใิ นการใชภ3 าษาองั กฤษ
เพื่อการ สอื่ สารของนกั ศกึ ษาอาชวี ศึกษาพิษณโุ ลก. การศึกษาคน= ควา= ด=วยตนเอง
ศกึ ษาศาสตร6มหาบัณฑติ สาขาภาษาอังกฤษ ,มหาวทิ ยาลัยนเรศวร

ไพศาล กาญจนวงศ6. (2551). ความหมายและความสำคัญของการทFองเที่ยว. สืบค=น 16
พ ฤ ศ จ ิ ก า ย น 2563, จ า ก http://lms.mju.ac.th/ courses/631/locker/
contentTAT REVIEW MAGAZINE. (2561). การทFองเทยี่ วโดยชมุ ชนอยาF งย่งั ยนื .

เรียกใชเ= ม่อื 6 พฤษภาคม 2563 จากhttps://www.tatreviewmagazine.com/article/comm
unity-based-tourism/

Brown, B. (2014). What Is Effective Communication? Retrieved December 9 ,
2020. from http://www.livestrong.com/article/69309- effective-
communication/

Ellis, R. (2007). TBL: Task- Based Learning Slide share. Retrieved January 6, 2015 from
www.slideshare.net/tortadericota/tbl-1

Robbins, S.P & Coultar, M. (1996). Management (5th ed). New Jersey: Prentice-Hall.
Richards, J.C. ( 2006). Communicative language teaching today. Cambridge:

Cambridge University Press.
Willis, D., & Willis, J. (1996). Consciousness-raising activities. In D. Willis & J.

Willis (Eds.) Challenge and change in language teaching (pp. 63-76).
Oxford: Macmillan Heinemann.

562 การประชุมวชิ าการพระพุทธศาสนาและศลิ ปวัฒนธรรมระดับชาตแิ ละนานาชาตคิ รั้งที่ 2

การพฒั นาพฤติกรรมสุขภาพของนักเรียนชาวไทยภูเขา
บ<านรักไทย อำเภอเมืองแมฮ@ อ@ งสอน

Development Health Behavior of Hill Tribe Students at
Banrakthai School, Mueang Mae Hong Son District

ธัญธรณร' ัศม' รชตวฒั น'

Thanyathonrat Rachatawat
คณะศึกษาศาสตร8 มหาวทิ ยาลัยเชียงใหมF
Faculty of Education Chiang mai University

บทคัดยCอ

การวิจัยครั้งนี้เป0นการวิจัยเชิงปฏิบัติการ มีวัตถุประสงค;เพื่อศึกษากระบวนการมี
สCวนรCวม เพื่อพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพวิธีการแกJไขพฤติกรรมสุขภาพและภาวะสุขภาพของ
นักเรียน ชาวไทยภูเขาในโรงเรียนบJานรักไทย อำเภอเมือง จังหวัดแมCฮCองสอน ผูJวิจัยไดJใชJ
กระบวนการมีสCวนรCวม โดยคัดเลือกพื้นที่แบบเจาะจง กลุCมเปVาหมายในการวิจัย คือ
นักเรียนชาวไทยภูเขาโรงเรียนบJานรักไทย จำนวน 50 คน ที่คัดเลือกจากครอบครัวที่มี
ฐานะยากจนและเป0นผูJปกครองนักเรียนชCวงชั้นที่1 และชCวงชั้นที่ 2 เครื่องมือที่ใชJในการ
วิจัยคือการสังเกตแบบไมCมีสCวนรCวม การสัมภาษณ;อยCางไมCเป0นทางการ การสนทนากลCุม
แบบประเมินพฤติกรรมสุขภาพ และ วิเคราะห;ขJอมูลเชิงปริมาณโดยหาคCา รJอยละ คำเฉลี่ย
และสCวนเบี่ยงบนมาตรฐาน สCวนขJอมูลเชิงคุณภาพ นำขJอมูลดังกลCาวมาจัดหมวดหมCู
ตีความหมาย และนำเสนอโดยการบรรยายเชื่อมโยงตามกรอบแนวคิดผลการวิจัยพบวCา
นักเรียนมีภาวะสุขภาพโดยรวมอยูCในระดับต่ำ โดยมีคะแนนต่ำกวCา 69 คะแนน
กระบวนการมีสCวนรCวมของผูJเกี่ยวขJองในการแกJป`ญหาและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพของ
นักเรียนไดJแกCโรงพยาบาลสCงเสริมสุขภาพประจำตำบลมีสCวนรCวมจัดระบบขJอมูลดJาน
สุขภาพนักเรียน พัฒนาสุขภาพอนามัย ตรวจสุขภาพ ฉีดวัคซีน อบรมทันตสุขภาพ เป0น
วิทยากรและแหลCงเรียนรูJเกี่ยวกับสุขภาพบันทึกการเฝVาระวังการเจริญเติบโต บันทึกสภาวะ
ชCองปากและ งานเฝVาระวังทันตสุขภาพ ผูJปกครองมีสCวนรCวมในการกำกับดูแลพฤติกรรม

การประชมุ วชิ าการพระพทุ ธศาสนาและศลิ ปวัฒนธรรมระดบั ชาติและนานาชาติคร้งั ท่ี 2 563

สุขภาพสุขภาพของนักเรียนครูมีการจัดระบบขJอมูลดJานพฤติกรรมสุขภาพ จัดทำหลักสูตร
และหนCวยการเรียนรูJ นักเรียนมีสCวนรCวมการเฝVาระวังปVองกันและสCงเสริมพฤติกรรมสุขภาพ
นักเรียน เชCน ตรวจความสะอาดรCางกาย เล็บ ผม ฟ`น เหา และรCวมกิจกรรมอบรมพัฒนา
ผูJเรียน ดJานทันตสุขภาพ สCวนวิธีการแกJไขป`ญหาพฤติกรรมสุขภาพของนักเรียนไดJใชJวงจร
ในการพัฒนา โดยการวิเคราะห;ป`จจัยที่เกี่ยวขJองกับป`ญหาพฤติกรรมสุขภาพ และการปรับ
ทัศนคติอยาC งตCอเน่อื ง มาเป0นแนวทางในการแกJไขที่สำคัญ

คำสำคัญ : พฤติกรรมสขุ ภาพ, นกั เรยี นชาวไทย

Abstract

The purposes of this research was to examine the processing of
health development participate and the health conditions of Rakthai school
students, Muang district, Maehongson province. The researcher chose
the participating process with the specific area and the samplewas selected
from Pratom1 - 6 of Rakthai school approximate 5 0 students whose have
problems about poor family, their parents are uneducated or divorced
parents. Collecting data by non-participating observation, Interview, focus
group and health assessment form. Analyzing Quantitative data by
percentage, mean and standard deviation. Qualitative data by classification,
interpretation and presentation of the narrative by linking concepts.The
research found that Students overall health condition is low a score below
6 9 . The involvement of stakeholders Including Health Promoting hospital
Engaging students organize health data, Health check-ups, vaccinations. As a
lecturer and learning health media. The surveillance growing record and
record oral, dental conditions and dental health surveillance. Parent
involvement Behavioral Health to supervise student. Teachers involvement
with the behavioral health data, curriculum and learning health education

564 การประชุมวิชาการพระพุทธศาสนาและศลิ ปวฒั นธรรมระดบั ชาติและนานาชาตคิ รงั้ ที่ 2

units Students are Surveillance, prevention and promotion of health
behaviors, such as monitoring the student body, hair, nails, clean teeth, lice
and activities for student development. The way to change behavioral health
of students was used in the development cycle such as analyzing the factors
associated with behavioral health problems and attitude change as a
guideline to resolve the matter.

Keyword : Health Behavior , Hill Tribe Students

บทนำ

ระบบบริการสาธารณสุขไทย ในป`จจุบันถึงแมJจะประสบผลสำเร็จในการขยาย
ความ ครอบคลุมของสถานบริการสาธารณสุขโดยมีโครงการสรJางหนCวยบริการ ตั้งแตC
ปฐมภูมิ ทุติยภูมิและตติยภูมิ กระจายครอบคลุมทุกจังหวัด และมีการจัดหลักประกัน
สุขภาพถJวนหนJา ใหJแกCประชาชนไท โดยมีเปVาหมายหลักเพื่อใหJเกิดความเป0นธรรมในการ
เขJาถึงบริการสาธารณสุขที่จำเป0นอยCางไรก็ดี ยังพบวCาความไมCเป0นธรรมในการเขJาถึงบริการ
สาธารณสุข ยังคงคำรงอยูCอันเนื่องมาจากการขาดความเป0นธรรมในการกระจายของ
บุคลากรสาธารณสุข การกระจายเทคโนโลยีทางการแพทย; รวมถึงการกระจายของ
โรงพยาบาล ตติยภูมิขั้นสูง ที่มีกระจุกตัวบางพื้นที่ เชCนกรุงเทพมหานคร ในขณะที่บางเขต
พื้นที่ไมCมีบริการดังกลCาว เชCน จังหวัดแมCฮCองสอนที่ทางผูJวิจัยเป0นขJาราชการอยูCในพื้นท่ี
การบริการที่จำเป0นสำหรับป`ญหาสุขภาพใหมC เชCน บริการระยะกลางและบริการระยะยาว
สำหรับผูJสูงอายุที่อยูCในวัยพึ่งพิง ผูJมีภาวะทุพลภาพ หรือพิการ ทั้งในชุมชนและในสถาบัน
ยังไมCไดJรับการพัฒนาเทCาที่ควร บริการฟéèนฟูสมรรถภาพทางกาย ทั้งชั่วคราวและถาวร
เกือบทั้งหมดจำกัดอยูCในโรงพยาบาลใหญC ซึ่งเป0นขJอจำกัดในการเขJาถึงบริการสำหรับผูJปêวย
ทีม่ ีภาวะทพุ ลภาพ โดยเฉพาะสำหรบั ผชJู วC ยที่อยCูในชนบท ระบบบรกิ ารปฐมภมู ขิ าดคุณภาพ
และ ไมCเขJมแข็ง แมJวCาจะมีแนวคิดในการผลักดันใหJเกิดบริการปฐมภูมิซึ่งครอบคลุมบริการ
สาธารณสุขมูลฐานดJวย สถานบริการปฐมภูมิของรัฐ ซึ่งสCวนใหญCอยูCในสังกัดกระทรวง
สาธารณสุขมีบุคลากรไมCเพียงพอ ประชาชนยังไมCเขJาใจและขาดความเชื่อมั่นตCอระบบ

การประชมุ วชิ าการพระพทุ ธศาสนาและศิลปวัฒนธรรมระดับชาติและนานาชาติครั้งท่ี 2 565

บริการปฐมภูมิ ศักยภาพของบุคลากรยังมีจำกัดในการจัดการป`ญหาสุขภาพที่เปลี่ยนแปลง
ไป มีความซับซJอนมากขึ้นและตJองการความรวC มมือจากภาคสCวนอ่นื และชมุ ชน

การสCงเสริมสุขภาพในสถานศึกษาเป0นนโยบายหนึ่งที่อยูCในแผนพัฒนาสุขภาพ
แหCงชาติตั้งแตCฉบับที่ 1 จนป`จจุบันถึงฉบับที่ 11 พ.ศ. 2555 ถึง 2559 โรงเรียนบJานรักไทย
ตำบลหมอกจำแปëอำเภอเมือง จังหวัดแมCฮCองสอน ทำการสอนระดับชั้นอนุบาลจนถึง
ประถมศึกษาปíที่ 6 มีนักเรียนทั้งหมด 152 คน จากผลสำรวจภาวะสุขภาพของนักเรียน
โรงเรียนบJานรักไทยพบวCามีพฤติกรรมที่ไมCเหมาะสมในการดูแลสุขภาพของตนเอง เชCน
ไมCชอบอาบน้ำมีกลิ่นตัวแรง ไวJเล็บยาว ไมCดูแลผมทำใหJมีเหา ไมCแปรงฟ`นหลังรับประทาน
อาหาร ทำใหJเป0นป`ญหาเป0นที่นCารังเกียจแกCสังคม เพราะโรงเรียนบJานรักไทยตั้งอยูCใน
หมูCบJานรักไทยซึ่งเป0นแหลCงทCองเที่ยวอันขึ้นชื่อของจังหวัดแมCฮCองสอน จากการเยี่ยมบJาน
ของนักเรียนพบวCาผูJปกครองของนักเรียนบางคนไมCรูJหนังสือบางครอบครัวมีฐานะยากจน
ผูJปกครองบางครอบครัวไมCมีเวลาเอาใจใสCบุตรหลานเพราะตJองทำงานจึงฝากบุตร หลานไวJ
กับญาติหรือผูJสูงอายุใหJดูแลบุตร หลานแทน ดัวยเหตุนี้ทำใหJนักเรียนบางสCวนประสบ
ป`ญหาการเจ็บปêวยเนื่องจากมีพฤติกรรมไมCเหมาะสม (งานอนามัยโรงเรียนบJานรักไทย,
2557) นักเรียนบางคนเป0นหวัดเรื่อรัง นักเรียนหญิงชายเป0นเหาและมีกลิ่นตัว นักเรียนเป0น
โรคผิวหนงั ฟ`นเหลือง ฟ`นผุ

ผูJวิจัยในฐานะเป0นครูที่ไดJรับมอบหมายคูแลงานอนามัยโรงเรียนและสอนในวิชา
สุขศึกษา มีหนJาที่สCงเสริมสุขภาพใหJกับนักเรียนไดJเล็งเห็นป`ญหาของกลุCมนักเรียนที่มี
พฤติกรรมไมCเหมาะสมในฐานะครูที่หCวงลูกศิษย;และชื่อเสียงของโรงเรียนจึงไมCสามารถ
มองขJามป`ญหาทางคJนพฤติกรรมสุขภาพของนักเรียนกลุCมนี้ไปไดJ จึงมีความสนใจที่
ทำการศึกษาการสCงเสริมสุขภาพโดยใชJการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีสCวนรCวมมาใชJในการ
วิจัยในครั้งนี้โดยผูJวิจัยและภาคีเครือขCายเขJามามีสCวนรCวมในการสCงเสริมสุขภาพรCวมกัน
ภาคีเครือขCาย หมายถึง กลุCมบุคคล องค;กรท่ีมีเปVาหมายรCวมกัน มารวมตัวกันดJวยความ
สมัครใจ เพื่อทำกิจกรรมใหJบรรลุเปVาหมาย ในการรCวมคิดรCวมวางแผน รCวมทำ รCวม
ประเมินผลของการมีสCวนรCวม โดยมีความสัมพันธ;แนวราบ มีความเสมอภาค และเรียนรJู
รCวมกันอยCางตCอเนื่อง (จีรวิทย; มั่นคงวัฒนะ, 2556) ภาคีเครือขCายในการวิจัยครั้งน้ี
ประกอบดJวยครู โรงพยาบาลสCงเสริมสุขภาพ และผูJปกครอง รCวมกิจกรรมการแลกเปลี่ยน

566 การประชุมวิชาการพระพทุ ธศาสนาและศลิ ปวัฒนธรรมระดบั ชาติและนานาชาตคิ รัง้ ท่ี 2

ความเรียนรูJและแสดงความคิดเห็นโดยผCานกระบวนการมีสCวนรCวม ในการรับรูJสาเหตุ และ
ป`ญหาที่เกิดขึ้น จนนำไปสูCการรCวมกันวิเคราะห;สาเหตุและป`ญหารCวมกันและนำมาวางแผน
กิจกรรมเพ่ือนำไปแกJป`ญหาทางดJานพฤติกรรมสุขภาพของนักเรียนและนำผลของการมี
สCวนรCวมที่ไดJมาจัดเป0นกิจกรรมสCงเสริมสุขภาพใหJกับนักเรียนที่มีพฤติกรรมสุขภาพไมC
เหมาะสม เพื่อใหJนักเรียนและผูJปกครองเกิดความรูJ ความตระหนักและนำไปความรูJที่ไดJ
จากกิจกรรมสงC เสริมสุขภาพไปใชJใหJเกิดประโยชน;ตอC ไป

วัตถุประสงคQ

เพื่อพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพของนักเรียนชาวไทยภูเขา บJานรักไทย อำเภอเมือง
แมCฮอC งสอน โดยมวี ัตถปุ ระสงค;ยCอยดังน้ี

1) เพื่อศึกษาบริบทของหมูCบJานรักไทย อำเภอเมืองแมCฮCองสอน จังหวัด
แมฮC อC งสอน

2) เพื่อศึกษาภาวะสุขภาพของนักเรียนชาวไทยภูเขาในโรงเรียนบJานรักไทย
อำเภอเมอื ง จังหวัดแมฮC Cองสอน

3) เพื่อศึกษากระบวนการมีสCวนรCวมเพื่อพัฒนาสุขภาพของนักเรียนชาวไทย
ภเู ขาในโรงเรียนบาJ นรกั ไทย อำเภอเมอื ง จงั หวัดแมฮC อC งสอน

4) เพื่อหาวิธีการในการแกJไขป`ญหาพฤติกรรมสุขภาพของนักเรียนอยCางเป0น
รปู ธรรม

วิธกี ารดำเนนิ การวจิ ยั

การศกึ ษาวจิ ัยนี้ มขี ้ันตอนการดำเนินการวิจัยดังน้ี
1) รปู แบบการศึกษา
การวิจัยครั้งนี้เป0นการวิจัยเชิงปฏิบัติการ (Action Research) ประกอบการ
สัมภาษณ;เชิงลึกจากผูJเชี่ยวชาญเฉพาะดJาน และเก็บรวบรวมขJอมูลจากประชากรที่ใชJใน
การศึกษาวิจัย คือ นักเรียนชาวไทยภูเขาในโรงเรียนบJาน รักไทยระดับชั้นประถมศึกษาปíท่ี
1 -6 ปíการศึกษา 2558 มาประกอบการวเิ คราะห;ขอJ มูลวจิ ัย

การประชมุ วชิ าการพระพทุ ธศาสนาและศลิ ปวฒั นธรรมระดับชาติและนานาชาติคร้ังที่ 2 567

2) ประชากรและกลมุS ตวั อยSาง
ก. ประชากรในงานวิจัยนี้ คือ นักเรียนชาวไทยภูเขาในโรงเรียนบJานรักไทย
อำเภอเมือง จงั หวัดแมฮC Cองสอน ในระดบั ชน้ั ประถมศกึ ษาปíที่1-6 จำนวน 152 คน
ข. กลุSมตัวอยSางเนื่องจากการวิจัยฉบับนี้มีขJอจำกัดในคนกลุCมตัวอยCางจึงใชJวิธี
เลอื กแบบเจาะจง(Purposive sampling) โดยมีคณุ สมบตั ิดงั น้ี

(1) เป0นนักเรียนที่มีป`ญหาเกี่ยวกับภาวะสุขภาพตามระเบียบรายงานบันทึก
การตรวจสุขภาพของโรงเรยี นต่ำกวาC รJอยละ 60

(2) นักเรียนที่มีฐานะยากจน และผูJปกครองมีการศึกษานJอย อาศัยอยูCกับป-ูê
ยาC ,ตา-ยาย

จากคุณสมบัติของกลุCมตัวอยCาง ทำใหJมีขJอจำกัดในการไดJมาซึ่งกลุCมตัวอยCางที่อยCู
ในเกณฑจ; ำนวนไมCมากนกั ดงั น้ันผวJู ิจยั จงึ ใชJกลมุC ตัวอยCาง จำนวน 50 คน

3) วธิ ีการเก็บรวบรวมขอY มูล
ในการวิจัยครั้งนี้ เป0นการวิจัยเชิงปฏิบัติการ เพื่อใหJไดJผลการวิจัยเป0นไปตาม
วตั ถปุ ระสงค; ผวJู จิ ัยไดJสรJางเครอื่ งมอื ประกอบการวิจยั และหาคณุ ภาพของเครอ่ื งมอื คอื
ขั้นที่1 การศึกษาบริบทของชาวไทยภูเขาบJานรักไทย และนำแบบสัมภาษณ;ใหJ
ผูJวิจัยใหJผูJเซี่ยวชาญ จำนวน 3ทCาน ตรวจสอบความเที่ยงตรงเชิง เนื้อหา และความ
สอดคลอJ งกันของเนอ้ื หา ภาษาที่ใชJ แลวJ ผวJู ิจยั นำมาปรบั ปรงุ แกไJ ข
ขั้นตอนท่ี2 การศึกษาภาวะสุขภาพของนักเรียนชาวไทยภูเขาในโรงเรียนบJานรัก
ไทย โดยผูJวิจัยไดJใชJแบบประเมินภาวะสุขภาพมาตรฐาน ไดJมาจากโรงพยาบาลสCงเสริม
สุขภาพ ซึ่งทางกระทรวงสาชารณสุขรCวมกับกระทรวงศึกษาธิการดำเนินการใชJใน
สถานศึกษาทวั่ ประเทศ
ขั้นตอนที่ 3 กระบวนการมีสCวนรCวมเพื่อพัฒนาสุขภาพของนักเรียนชาวไทยภูเขา
ใน โรงเรียนบJานรักไทย ผูJวิจัยไดJสรJางกิจกรรม 3 กิจกรมหลักเพื่อใชJในการทำกิจกรรมกลุCม
สัมพันธ; 8 สัปดาห; สรJางแบบบันทึกกิจกรรมกลุCมสัมพันธ;ในแตCละกิจกรรม และแตCละหัวขJอ
สรJางแบบสังเกตพฤติกรรมการมีสCวนรCวมและแบบบันทึกการเยี่ยมบJานนักเรียนที่เป0นกลุCม
ตัวอยCาง ผูJวิจัยใหJผูJเชี่ยวชาญ จำนวน 3 ทCาน ตรวจสอบความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา และ

568 การประชุมวชิ าการพระพุทธศาสนาและศลิ ปวฒั นธรรมระดับชาติและนานาชาตคิ รั้งท่ี 2

ความสอดคลJองกันของเนื้อหา ภาษาที่ใชJ แลJวผูJวิจัยนำมาปรับปรุงแกJไข ใหJถูกตJองตาม
วัตถุประสงค;ของการวจิ ัย

การนำเครื่องมอื ออกใชเJ พือ่ เกบ็ รวบรวมขอJ มลู แบงC ออกเปน0 4 ขัน้ ตอน ดังน้ี
ขน้ั ตอนที่ 1 การศกึ ษาบริบทของชาวไทยภูเขาบาJ นรักไทย โดยใชJเครื่องมอื คอื

ก. แบบสัมภาษณ;บริบทชาวไทยภูเขาบJานรักไทย อำเภอเมือง จังหวัด
แมCฮCองสอน โดยการสัมภาษณ;ผูJใหญCบJาน อาสาสมัครสาธารณสุขหมูCบJาน
ผอJู ำนวยการโรงเรยี น

ข. แบบประเมินภาวะสุขภาพของนักเรียนประจำปí จากการประเมินรCวมกัน
ระหวาC งครูและเจJาหนJาทส่ี าธารณสุข

ขั้นตอนที่ 2 การศึกษาภาวะสุขภาพของนักเรียนชาวไทยภูขาในโรงเรียนบJานรัก
ไทย โดยใชเJ ครอื่ งมอื คือ ก . แบบประเมนิ ภาวะสุขภาพของนกั เรียนชาวไทยภูเขาบาJ นรักไทย

ขัน้ ตอนที่ 3 กระบวนการมสี วC นรCวมเพ่ือพัฒนาสุขภาพของนกั เรียนชาวไทยภูเขา
ในโรงเรยี นบJานรักไทย และ ไดกJ ำหนดการเก็บรวบรวมขJอมูลตามลำดบั
ทำการนัดวัน เวลา และสถานที่กับผูJใหJขJอมูลสำคัญ (Key Informants) เพื่อ
สัมภาษณ;ตามที่กำหนดไวJ ลงพื้นที่การเก็บรวบรวมขJอมูลจากการเครื่องมือการวิจัย
ดำเนินการสัมภาษณ;ตามวัน เวลา และสถานที่ที่กำหนดนัดไวJจนครบทุกประเด็น โดยขอ
อนุญาตใชJวิธีการจดบันทึกและการบันทึกเสียงประกอบการสัมภาษณ; รวบรวมขJอมูล
เอกสาร หลักฐานทสี่ ำคญั อยCางเป0นระบบมขี ั้นตอนการทำงานดังน้ี

1) นำแบบสัมภาษณ;ที่ไดJรับการแกJไขจากผูJเชี่ยวชาญ มาสัมภาษณ;ผูJใหญCบJาน
อาสาสมัครสาธารณสุขหมูCบJาน ผูJอำนวยการโรงเรียน ในเรื่องบริบทของหมูCบJานไทยรักไทย
อำเภอ เมืองแมCฮอC งสอน จังหวดั แมฮC Cองสอน

2) ผูJวิจัยทำหนังสือถึงผูJอำนวยการโรงเรียนบJานรักไทย อำเภอเมือง จังหวัด
แมCฮCองสอนเพือ่ ขออนุญาตเกบ็ ขอJ มลู และใชJสถานที่ในการทำกจิ กรรม

3) เลือกกลุCมตัวอยCางที่ทำการศึกษา ใชJวิธีเลือกแบบเจาะจง (Purposive
sampling) กลCมุ นักเรยี น จำนวน 50 คน

การประชมุ วชิ าการพระพุทธศาสนาและศิลปวัฒนธรรมระดับชาติและนานาชาตคิ ร้งั ที่ 2 569

4) ทำหนังสือตอบรับถึงผูJปกครองนักเรียน เพื่อขอความรCวมมือในการรCวม
กิจกรรม

5) ดำเนินกิจกรรมสCงเสริมสุขภาพ โคยใชJกระบวนการมีสCวนรCวมของครู
นกั เรยี นและผูJปกครอง จำนวน 8 สปั ดาห;

6) ทำการเยี่ยมบJานนักเรยี นท่ีเป0นกลCมุ ตวั อยาC งท้งั หมด
ข้นั ตอนที่ 4 วิธีการแกไJ ขป`ญหาพฤติกรรมสุขภาพของนักเรียนอยCางเป0นรปู ธรรม
นำผลที่ไดJจากการทำกิจกรรมกลุCมสัมพันธ;ในการสรุปป`ญหาและวิธีการแกJไข การเยี่ยมบJาน
กลุCมตัวอยCาง การสรุปผลภาวะสุขภาพดJานอนามัยสCวนบุคคล การสังเกตพฤติกรรม
ทางดาJ นสขุ ภาพของนกั เรียนท่เี ป0นกลCุมตัวอยCาง

4) การวิเคราะหข' Yอมลู
(1) ขJอมูลเชิงปริมาณ ไดJแกC ขJอมูลพื้นฐานของนักเรียนและผูJปกครอง

ขJอมูลพฤติกรรมสุขภาพของนักเรียน โดยหาคCา รJอยละ คCาเฉลี่ยและสCวนเบี่ยงเบน
มาตรฐาน

(2) ขJอมูลเชิงคุณภาพวิเคราะห;ขJอมูลที่ไดJจาก การสังเกตแบบไมCมีสCวน
รCวม การจดบันทึกปรากฏการณ; การประชุมเชิงปฏิบัติการแบบมีสCวนรCวม การสนทนากลุCม
เมื่อนำมาตรวจสอบขJอมูลแลJวซึ่งนำขJอมูลดังกลCาวมาจัดหมวดหมูC ดีความหมาย และ
นำเสนอโดยการบรรยายเชื่อมโยงตามกรอบแนวคิดในการวิจัยนำขJอมูลทั้งหมดมาทำการ
ประมวลผล เรียบเรียง วิเคราะห; และสรุปผล เพื่อเขียนงานวิจัยตามวัตถุประสงค;ที่ตJองการ
ทราบและเสนอแนะแนวทางการวิจยั ตCอไป

570 การประชมุ วชิ าการพระพุทธศาสนาและศิลปวฒั นธรรมระดบั ชาติและนานาชาติครั้งท่ี 2

กรอบแนวความคดิ ของโครงการวิจัย

นักเรยี นไทยภเู ขาบา[ นรักไทย อายุ เพศ การศึกษา

กระบวนการพฒั นาสุขภาพอนามัยของนกั เรยี นชาวไทยภเู ขาในโรงเรยี นบ[านรักไทย
การศกึ ษาวิเคราะห8ปญb หาสขุ ภาพการวางแผนการจัดทำโครงการและนำโครงการไปปฏิบตั ิ

การติดตามประเมนิ ผล

นกั เรียนชาวไทยภเู ขาบ[านรักไทย

1. เกดิ การยอมรบั และเขา[ ใจในปbญหาสุขภาพของตนเอง
2. ตัดสินใจท่จี ะเปลยี่ นแปลงตัวเองเพอ่ื ให[มสี ุขภาพท่ดี ขี ึ้น

3. มคี วามมนั่ ใจในตนเองมากข้ึน

นักเรยี นชาวไทยภูเขาบา[ นรกั ไทยมพี ัฒนาการตนเองไปสกูF ารมีสุขภาพของตนเอง
อยาF งเหมาะสมอยาF งยงั่ ยนื

ผลการวจิ ยั

จากการศึกษาวจิ ัยสามารถแบงC ผลการวิจัยออกเปน0 4 ตอน ดังนี้
1) ขอY มูลคนY บรบิ ทของหมSบู าY นรักไทย อำเภอเมอื ง จังหวัดแมฮS Sองสอน
บริบทของหมูCบJานรักไทยเป0นการนำเสนอขJอมูลโดยทั่วไปของหมูCบJานรักไทย
ตั้งอยูCที่หมูC 6 ตำบลหมอกจำแปê อำเภอเมือง จังหวัดแมCฮCองสอน แตCเดิม กCอนที่จะมาเป0น
หมูCบJานรักไทย มีประวัติชุมชนคือเคยเป0นหมูCบJานของอดีตทหารจีนคณะชาติกองพล 93
(กõกมินตั๋ง) เขJามาหลบลี้ภัยทางการเมืองบริเวณแนวชายแดนไทย ลักษณะที่ตั้งทาง
ภูมิศาสตร;และมีลักษณะภูมิประเทศมีเนื้อที่ 3,500 ไรC สูงจากระดับน้ำทะเล 1895 เมตร

การประชุมวิชาการพระพทุ ธศาสนาและศลิ ปวัฒนธรรมระดับชาติและนานาชาติคร้ังท่ี 2 571

เป0นหมูCบJานที่อยูCหCางจากอำเภอเมืองจังหวัดแมCฮCองสอน 45 กิโลเมตร ตามเสJนทางหลวง
แผCนดินหมายเลข 1095 (แมCฮCองสอน-ปาย) เป0นปêาหญJาคาสลับกับปêาไมJเบญจพรรณปก
คลุมยอดเขาสูง ลักษณะทางภูมิอากาศ ตั้งอยูCในเขตภูมิประเทศที่หนาวจัดในฤดูหนาว
ฤดูรJอนจะมีลมพัดตลอดทั้งฤดูและหนาวเย็นในตอนกลางคืน ฤดูฝนจะมีฝนตกชุก เชิงเขา
อากาศแปรปรวน มีลมพัดผCานตลอดปí เศรษฐกิจชาวบJานสCวนใหญCมีฐานะยากจน รายไดJ
เกิดการประกอบอาชีพเกษตรกรรมคือ การปลูกชา ปลูกขJาว โดยอาศัยพื้นที่ใกลJลำหJวยท่ี
อุดมสมบูรณ; สCวนรายไดJจากการทCองเที่ยวเชิงนิเวศน; เป0นรายไดJสำหรับชาวบJานบางกลCุม
เทCานั้น สภาพทางสังคมมีความสัมพันธ;ระหวCางชาวบJานดJวยกันในลักษณะเครือญาติ พึ่งพา
อาศัยกัน และชาวบJานสCวนใหญCใชJภาษาจีนในการสื่อสาร มีวัฒนธรรมดJานภาษาเขียนเป0น
ของตนเองการศึกษามีหนCวยงานที่ใหJการศึกษา1หนCวยงาน ไดJแกC โรงเรียนบJานรักไทยเป0น
โรงเรียนที่จัดการศึกษาในระดับชCวงช้ันปฐมวัยและระดับประถมศึกษา ป`จจุบันมีนักเรียน
152 คน มีครูผูJสอน จำนวน 12 คน ศาสนาและความเชื่อมีการนับถือศาสนาอยูC 2 ศาสนา
ไดJแกC นับถือศาสนาคริสต;และศาสนาพุทธ และชาวบJานที่เป0นชนชาติจีนมีความเชื่อเกี่ยวกับ
พิธกี รรมตาC งๆ ตามธรรมเนียมจีนไดJแกC วนั ไหวJพระจนั ทร; เช็งเมJงและตรุษจีน เปน0 ตนJ

2) ภาวะสุขภาพของนักเรียนชาวไทยภูเขาในโรงเรียนบYานรักไทย อำเภอเมือง
จังหวัดแมSฮSองสอน ผลการวิจัยพบวSานักเรียน มีภาวะสุขภาพโดยรวมอยูCในระดับต่ำ โดย
มีคะแนนต่ำกวCา 69 คะแนน นักเรียนจะตJองมีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของตนเองเพื่อใหJ
มสี ภุ าพทดี่ ี ไมCสCงผลกระทบตอC การเรียนและอนาคตในภายหนJาไดJ

3) กระบวนการมีสSวนรSวมของผูYเกี่ยวขYองในการแกYปeญหาและพัฒนาพฤติกรรม
สุขภาพนักเรียนโรงพยาบาลสSงเสริมสุขภาพประจำตำบล (รพ.สต.) หมอกจำแปg(บYาน
รักไทย) รCวมกันวางแผนจัดระบบขJอมูลดJานสุขภาพนักเรียน เชCน ขJอมูลการชั่งน้ำหนัก-
สCวนสูง ขJอมูลภาวะทุพโภชนาการ ขJอมูลการขาดสารอาหาร วางแผนกำหนดแผนงาน
โครงการพัฒนาสุขภาพอนามัยนักเรียนประจำปí เชCน การจัดอบรมทันตสุขภาพนักเรียน
(ทันตนJอย) โครงการควบคุมและปVองกันโรคโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็กจัดกิจกรรม
ตรวจสุขภาพอนามัยนักเรียนโดยรวมอยCางนJอย 2 ครั้งปí เทอมละ1ครั้ง เชCน ตรวจความ
สะอาดรCางกาย (เล็บ ผม เหา กลาก เกลื้อน) ตรวจสายตา ตรวจการไดJยินตรวจฟ`น ตรวจ
โลหิต ฯลฯ เป0นตJนจัดกิจกรรมฉีดวัคซีนปVองกันคอตีบ ไอกรนจัดอบรมทันตสุขภาพนักเรียน

572 การประชมุ วชิ าการพระพทุ ธศาสนาและศิลปวฒั นธรรมระดับชาตแิ ละนานาชาตคิ รั้งท่ี 2

(ทนั ตนอJ ย) จัดอบรม อย.นJอย เป0นวิทยากรและแหลงC เรยี นรJเู กย่ี วกับสุขภาพนักเรียน เชนC โรค
มือ เทJา ปากเปéüอยโรคไขJเลือดออก และการบันทึกการเฝVาระวังการเจริญเติบโตของนักเรียน
บันทกึ สภาวะผาC นชอC งปากของนักเรยี น งานเฝาV ระวงั ทนั ตสุขภาพ (แบบทส. 003/มส.)

ผูJปกครองนักเรียน มีกิจกรรมประชุมผูJปกครองนักเรียนเพื่อรายงานผลดJาน
พฤติกรรมสุขภาพนักเรียน งานอนามัยโรงเรียน ป`ญหา อุปสรรคการดำเนินงานในรอบปíท่ี
ผCานมา ชี้แจงแผนงาน โครงการดJานพฤติกรรมสุขภาพของนักเรียน เพื่อขอความรCวมมือ
ผูJปกครองในการเฝVาระวัง ปVองกันและสCงเสริมพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพของนักเรียนอยCาง
ตCอเนื่องจัดประชุมผูJปกครองนักเรียนอยCางนJอยภาคเรียนละ 1ครั้ง เพื่อประสานความ
รCวมมือและดำเนินกิจกรรมดJานสุขภาพอนามัยนักเรียนรายงานผลการพัฒนาพฤติกรรม
สุขภาพนักเรียน ป`ญหา อุปสรรคและขJอเสนอแนะเพื่อการพัฒนาที่มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้นผล
จากการประสานงานรCวมมือกับผูJปกครองนักเรียน ทำใหJการดำเนินงานแกJป`ญหาและพัฒนา
พฤติกรรมสุขภาพนักเรียน เป0นระบบและมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น เกิดกระบวนการที่มีสCวนรCวม
และทส่ี ำคญั ทำใหJพฤติกรรมสุขภาพของนักเรียนโรงเรียนบาJ นรักไทยมีแนวโนมJ ดีขนึ้

คณะครูและนักเรียนนำเสนอรายงานผลการดำเนินงานโครงการ / แผนงานดJาน
สุขภาพอนามัยนักเรียน ป`ญหาและอุปสรรค ในรอบปíที่ผCานมา รCวมกันวางแผนจัดระบบ
ขJอมูลสารสนเทศดJานพฤติกรรมสุขภาพอนามัยของนักเรียน เชCนขJอมูลสารสนเทศภาวะ
ทุพโภชนาการของนกั เรียน ภาวการณ;ขาดสารอาหาร ภาวะทันตสขุ ภาพ ประชุมปฏบิ ัติการ
กำหนดแผนงาน/ โครงการและกิจกรรมการเฝVาระวัง ปVองกันแกJไขป`ญหาและพัฒนา
พฤติกรรมสุขภาพอนามัยนักเรียนประจำปí ประสานงานและขอความรCวมมือครูประจำชั้น/
ดรูประจำรายวิชา เฝVาระวังปVองกัน แกJไขป`ญหา สCงเสริมและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ
นกั เรียน เชนC การตรวจสขุ ภาพอนามยั ความสะอาดรCางกาย เล็บ ผม ฟน` เหา พรJอมบนั ทกึ
ผลและรายงานผลสุขภาพอนามัยของนักเรียนรายบุดดลและรายชั้นเรียน ตามแบบบันทึก
สุขภาพ (สส. 3) จัดทำหลักสูตรและหนCวยการเรียนรูJ เพื่อแกJป`ญหา สCงเสริมและพัฒนา
สุขภาพอนามัยของนักเรียน เชCน รายวิชาสุขศึกษาและพลศึกษา หนCวยตัวเรา หนCวยกินดีมี
สขุ สรปุ ผลการดำเนนิ งานดJานงานอนามัยโรงเรยี น

นักเรียนแตCละชั้นแบCงกลุCมนักเรียนเป0นกลุCมๆ ละ 4-6 คนแตCละกลุCมเลือก
ประธาน เลขานุการและสมาชิก ประธานแตCละกลุCมตรวจสุขภาพอนามัย สมาชิกในกลCุม

การประชมุ วชิ าการพระพทุ ธศาสนาและศลิ ปวัฒนธรรมระดบั ชาตแิ ละนานาชาติครั้งท่ี 2 573


Click to View FlipBook Version