The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การประชุมสัมมนาวิชาการระดับชาติและนานาชาติ ครั้งที่ 2 มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตเชียงใหม่ The 2nd International Buddhist Conference on “Buddhism and Social Responsibility in the New Normal” (BUSRIN) เรื่อง “พระพุทธศาสนากับความรับผิดชอบทางสังคมยุคชีวิตใหม่ วันที่ 19-20 เดือน กันยายน พ.ศ. 2563 เวลา 08.00-16.30 น. ณ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตเชียงใหม่ Mahachulalongkornrajavidyalaya University, Chiang Mai Campus will organize the 2nd National and International Conference (MCU. CM. 2020) “Buddhism and Social Responsibility in the New Normal (BUSRIN)”, November 19th – 20th, 2020 at Mahachulalongkornrajavidyalaya University, Chiang Mai Campus.

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by MCU Books, 2021-04-18 04:35:51

เอกสารสืบเนื่องการประชุมวิชาการพระพุทธศาสนาและศิลปวัฒนธรรมระดับชาติและนานาชาติครั้งที่ 2

การประชุมสัมมนาวิชาการระดับชาติและนานาชาติ ครั้งที่ 2 มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตเชียงใหม่ The 2nd International Buddhist Conference on “Buddhism and Social Responsibility in the New Normal” (BUSRIN) เรื่อง “พระพุทธศาสนากับความรับผิดชอบทางสังคมยุคชีวิตใหม่ วันที่ 19-20 เดือน กันยายน พ.ศ. 2563 เวลา 08.00-16.30 น. ณ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตเชียงใหม่ Mahachulalongkornrajavidyalaya University, Chiang Mai Campus will organize the 2nd National and International Conference (MCU. CM. 2020) “Buddhism and Social Responsibility in the New Normal (BUSRIN)”, November 19th – 20th, 2020 at Mahachulalongkornrajavidyalaya University, Chiang Mai Campus.

Keywords: Buddhism,Social Responsibility,New Normal

๑๔

มหี นpาท่ี
๑. จดั เตรียมอาหาร ผลไม$ ขนม และเครื่องด่มื สำหรบั ให$บริการแกผ; เ$ู ขา$ รว; ม
การประชุมวิชาการทางพระพทุ ธศาสนาและศิลปวัฒนธรรมระดับชาติและนานาชาติ โดย
ใช$ระบบการประชมุ ออนไลนN ใหเ$ ปoนไปดว$ ยความเรยี บร$อย มปี ระสทิ ธิภาพ และบรรลุ
วตั ถุประสงคN
๒. งานอื่นๆ ท่ีได$รบั มอบหมายหรอื รอ$ งขอจากคณะกรรมการทีป่ รึกษาและ
คณะกรรมการอำนวยการ
ทงั้ น้ี ตั้งแต;บัดน้เี ปนo ต$นไป

ประกาศ ณ วันท่ี เดอื น สิงหาคม พทุ ธศักราช ๒๕๖๓

(พระวิมลมนุ ี)
รองอธกิ ารบดีวทิ ยาเขตเชียงใหม;

ปฏิบตั หิ นา$ ทีแ่ ทนอธกิ ารบดี

การประชมุ วชิ าการพระพทุ ธศาสนาและศลิ ปวัฒนธรรมระดบั ชาตแิ ละนานาชาตคิ รัง้ ที่ ๒ (51)

กำหนดการ
การประชมุ วิชาการพระพุทธศาสนาและศลิ ปวฒั นธรรมระดบั ชาติ

และนานาชาติครัง้ ท่ี ๒
เรื่อง “พระพุทธศาสนากบั ความรบั ผิดชอบทางสงั คมนววิถี”

THE 2nd NATIONAL AND INTERNATIONAL BUDDHIST CONFERENCE ON
“BUDDHISM AND SOCIAL RESPONSIBILITY IN THE NEW NORMAL”
(BUSRIN)
วันที่ ๑๙ - ๒๐ กันยายน ๒๕๖๓
ณ มหาวิทยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั วทิ ยาเขตเชียงใหมB
*********************

วันเสารทB ี่ ๑๙ กนั ยายน ๒๕๖๓ : กำหนดการประชุมวิชาการระดับนานาชาติ

ภาคเชKา: หKองประชมุ ศรปี รยิ ตั ยานุรักษB อาคารวิทยบรกิ าร ช้นั ๑

๐๘.๐๐ - ๐๘.๓๐ น. - ผ&ทู รงคณุ วุฒิ ผู&เข&าร3วมประชมุ วชิ าการ ลงทะเบยี นเข&าร3วม.
ประชุมออนไลนA

๐๘.๓๐ - ๐๙.๐๐ น. - ประธาน คณะผ&บู รหิ าร ผทู& รงคุณวฒุ ิและผเ&ู ขา& รว3 มประชุม
วิชาการ พรอ& มกนั ห&องประชุมศรีปริยตั ยานุรักษAและห&อง
ประชุมออนไลนA
- รับชมวดี ีทศั นA “พระพุทธศาสนากับความรบั ผดิ ชอบทาง
สังคมนววิถี” (Buddhism and Social Responsibility
in the New Normal)

๐๙.๐๐ – ๑๐.๐๐ น. พธิ เี ปKดการประชมุ วชิ าการพระพทุ ธศาสนาและศลิ ปวัฒนธรรม
ระดับชาติ และนานาชาติ
- พระราชปริยตั กิ วี, ศ.ดร. อธิการบดีมหาวิทยาลัยมหาจฬุ าลง
กรณราชวิทยาลยั

(52) การประชุมวชิ าการพระพทุ ธศาสนาและศิลปวฒั นธรรมระดบั ชาตแิ ละนานาชาตคิ รงั้ ที่ ๒

~๒~

ภาคบาO ย

ประธานในพธิ นี ำกลา3 วบูชาพระรัตนตรัย

- พระวมิ ลมุนี รองอธิการบดี วทิ ยาเขตเชยี งใหม3 กล3าวรายงาน
- พระราชปรยิ ัติกวี, ศ.ดร. อธิการบดมี หาวิทยาลัยมหาจุฬาลง
กรณราชวิทยาลัย กล3าวเปดK งานและปาฐกถานำการประชุม

วิชาการ ทางวิชาการระดบั ชาติและนานาชาติ

๑๐.๐๐ - ๑๐.๑๕ น. - พกั ชวB งแรก
๑๐.๑๕ - ๑๑.๓๐ น. - พระพรหมบัณฑิต, ศ.ดร. รักษาการเจา& คณะใหญ3หนกลางและ

กรรมการมหาเถร. สมาคม เจ&าอาวาสวัดประยุรวงศาวาสวรวหิ าร,

อดตี อธกิ ารบดมี หาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลยั ปาฐกถา

พเิ ศษเร่ือง “Buddhist Mission to Social Responsibility

in the New Normal” “พุทธพนั ธกิจกบั การรับผดิ ชอบทาง

สังคมนววิถ”ี

๑๑.๓๐ - ๑๒.๓๐ น. - ฉันภตั ตาหารเพล/รบั ประทานอาหารกลางวัน

พธิ ีกร: พระครูใบฎกี าทพิ ยAพนากรณA ชยาภนิ นฺโทและ ดร. พสิ ิฎฐA โคตรสโุ พธิ์
๑๓.๐๐ - ๑๔.๓๐ น. - ผทู& รงคุณวุฒติ 3างประเทศ (๔ ประเทศ) เสวนาทางวิชาการ

ระดบั นานาชาติ ณ หอ& งประชมุ ออนไลนA
เร่ือง “พระพทุ ธศาสนากบั ความรบั ผดิ ชอบทางสงั คมนว

วิถ”ี (Buddhism and Social Responsibility in the

New Normal) โดยตวั แทนประเทศอนิ เดยี จนี สงิ คโปรs

พมาB ดังน้ี

13.00 – 13.15 น. - Most.Ven.Vizaya (washangsayataw) Washang monastery,

Myanmar

13.15 – 13.30 น. - Dr. Lim Hui Ling Independent Scholar,

Singapore

การประชมุ วชิ าการพระพทุ ธศาสนาและศิลปวฒั นธรรมระดบั ชาติและนานาชาติคร้งั ท่ี ๒ (53)

~๓~

13.30 – 13.45 น. - Karma Palden Sonam Tashi Shedrubling Monastic

Seat, China

13.45 – 14.00 น. - Prof. Dr. Amarajiv Lochan, The Head of Foreign

Student Advisor,

University of Delhi,

India

14.00 – 14.15 น. - Prof. Dr. Irom Gambhir Singh Head, Department of

English and

Cultural Studies,

Manipur University,

India

* ผา3 นการถ3ายทอดสดออนไลนA ณ หอ& งประชุมศรปี รยิ ัตยารักษA อาคารวิทยบริการ ช้นั ๑

พธิ กี รเสวนา: พระครูใบฎกี าทิพยพA นากรณA ชยาภนิ นโฺ ทและ ดร. พิสิฎฐA โคตรสโุ พธิ์
๑๔.๓๐ - ๑๔.๔๕ น. - พกั การนำเสนอ
๑๔.๔๕ - ๑๗.๐๐ น. - นำเสนอบทความทางวิชาการระดับนานาชาติ ณ ห&องประชมุ

ออนไลนA โดยผูส& 3งบทความทางวชิ าการที่ผา3 นการกล่นั กรอง

จากผทู& รงคณุ วฒุ ิ จำนวน ๖ บทความ

(ทา3 นละ ๑๕ นาที)
ดำเนนิ การเสวนาโดย ๑. ดร. ส3งเสรมิ แสงทอง

๒. ผศ.ดร. สำราญ ขนั สำโรง

๑๗.๐๐ น. - พธิ ปี ดw การประชุมวชิ าการ ระดับนานาชาติ

(54) การประชุมวชิ าการพระพทุ ธศาสนาและศิลปวฒั นธรรมระดับชาติและนานาชาตคิ รั้งที่ ๒

~๔~

วนั อาทติ ยB ที่ ๒๐ กันยายน ๒๕๖๓ : กำหนดการประชมุ วิชาการระดบั ชาติ

ภาคเชาK : หKองประชุมศรีปรยิ ัตยานรุ กั ษB อาคารวิทยบริการ ชน้ั ๑

๐๘.๐๐ - ๐๘.๓๐ น. - ผทู& รงคณุ วฒุ ิ, ผเู& ขา& ร3วมประชุมวิชาการ ลงทะเบียนเข&าร3วม
ประชมุ ออนไลนA

๐๘.๓๐ - ๐๙.๐๐ น. - ประธาน คณะผ&บู ริหาร ผูท& รงคณุ วฒุ ิและผเ&ู ขา& รว3 มประชุม
วิชาการพร&อมกนั .
หอ& งประชมุ ศรปี รยิ ตั ยานุรักษAและห&องประชมุ ออนไลนA
- รบั ชมวดี ที ัศนA “พระพุทธศาสนากบั ความรบั ผิดชอบทาง

สงั คมนววิถ”ี
๐๙.๐๐ – ๑๐.๐๐ น. พธิ เี ปKดการประชมุ วิชาการพระพุทธศาสนาและศิลปวฒั นธรรม
ระดับชาติ
- พระวิมลมนุ ี รองอธิการบดี วทิ ยาเขตเชียงใหม3 นำกลา3 วคำ
บชู าพระรตั นตรัย
- พระครูสิรปิ รยิ ัตยานุศาสก,s ดร. ผช&ู 3วยอธิการบดี ฝjายวชิ าการ
กล3าวรายงาน
- พระวมิ ลมนุ ี รองอธกิ ารบดี กลา3 วต&อนรบั ผู&เข&ารว3 มประชุม
วิชาการ และเปKดงาน
๑๐.๐๐ - ๑๐.๑๕ น. - พักช3วงแรก
๑๐.๑๕-๑๑-๑๕ น. - พระเมธีวชิโรดม (ว. วชิรเมธี) อธกิ ารบดีมหาวิชชาลยั พทุ ธ
เศรษฐศาสตรA (มพศ.) ปาฐกถานำการประชมุ วชิ าการระดับชาติ

เรอื่ ง “พระพทุ ธศาสนากับความรับผดิ ชอบทางสังคมนว

วิถ”ี
๑๑.๑๕ – ๑๓.๐๐ น. - ฉนั ภัตตาหารเพล/รบั ประทานอาหารกลางวนั

การประชุมวชิ าการพระพุทธศาสนาและศิลปวฒั นธรรมระดับชาตแิ ละนานาชาตคิ รัง้ ที่ ๒ (55)

~๕~

พิธกี ร: รศ.ดร. วรวทิ ยA นิเทศศิลปk และ ดร. ประเสริฐ บุปผาสขุ
๑๓.๐๐ - ๑๔.๓๐ น. - เสวนาทางวิชาการระดับชาติ ณ ห&องประชุมศรีปริยัตยานุ
รักษA ด&วย ระบบออนไลนA เรื่อง พุทธศาสนากับการ
เยียวยาสงั คมยามวกิ ฤต โดย
-พระมหาจรรยา สทุ ธญิ าโณ, ดร. วดั พทุ ธปlญญา ประเทศ
สหรัฐอเมรกิ า

-พระครูสริ สิ ุตานยุ ตุ , ผศ.ดร., ผอ.วิทยาลัยสงฆAลำพนู /รจอ.
เมืองลำพนู

-พระครูศรสี ิทธิพมิ ล, ดร. ประธานมูลนิธิดดี ว& ยกนั วดั ศรี
บุญเรือง อ.ฝาง ชม.

ดำเนนิ การเสวนาโดย พระครูสริ ปิ รยิ ัตยานุศาสกs, ดร. ผช.
ฝjายวิชาการ

๑๔.๓๐ - ๑๔.๔๕ น. - พกั ช3วงท่ี ๒
๑๔.๔๕ - ๑๗.๐๐ น. - นำเสนอบทความทางวชิ าการระดับชาติ ณ หอ& งประชมุ

ออนไลนA โดยผ&สู ง3

บทความทางวชิ าการทผี่ า3 นการกลัน่ กรองจากผท&ู รงคณุ วฒุ ิ

ภาคบาO ย

จำนวน ๑๐ บทความ (ท3านละ ๑๐ นาที)

พธิ ีกรเสวนา : พระครสู ริ บิ รมธาตพุ ทิ กั ษ,A พระครูสุตพฒั โนดม, ผศ.ดร. ผศ.ดร.
และ ผศ.ดร. วสิ ทุ ธชิ- ยั ชยั สทิ ธิ -

๑๗.๐๐ น. - พิธีปKดการประชุมวิชาการระดบั ชาติ โดย พระวิมลมุนี รอง

อธิการบดี วทิ ยาเขตเชยี งใหม3

(56) การประชุมวิชาการพระพุทธศาสนาและศิลปวัฒนธรรมระดบั ชาตแิ ละนานาชาติครั้งที่ ๒

Program

THE 2nd NATIONAL AND INTERNATIONAL BUDDHIST

“CONFERENCE ON BUDDHISM AND SOCIAL RESPONSIBILITY

”IN THE NEW NORMAL (BUSRIN)

Date: 19th – 20th September, 2020
Venue: Mahachulalongkornrajavidyalaya, Chiangmai Campus

*********************

19th September, 2020: Schedule of Academic Sessions
(International Conference)

Morning Session: At Sripariyathiyanuruk Conference Hall,

1st Floor, IT Building

08.00 - 08.30 hours - Registration online
- Experts, Researchers and Participants enter the Conference
08.30 - 09.00 hours online room.
09.00 - 10.00 hours - Video Presentation on “Buddhism and Social Responsibility
in the New Normal”
Opening Ceremony
- The Most Ven. Prof. Dr. Phra Rajapariyatkavi,
Rector of Mahachulalongkornrajavidyalaya
University, lights candles, incense sticks and leads the Congregation
in paying homage to the Triple Gem.
- Ven. Phra Wimolmunee, Vice Rector of

การประชมุ วชิ าการพระพุทธศาสนาและศลิ ปวัฒนธรรมระดบั ชาตแิ ละนานาชาติครั้งที่ ๒ (57)

2

Mahachulalongkornrajavidyalaya University, Chiang Mai
Campus, presents a conference report to the Rector of
Mahachulalongkornrajavidyalaya
- Keynote Address by the Most Ven. Prof. Dr. Phra Rajapariyatkavi,
Rector of MCU, on “Buddhist Approaches to Social
Responsibility in the New Normal”
10.00 - 10.15 hours - Morning Break
10.15 - 11.30 hours - Keynote Address by
the Most Ven. Prof. Dr. Phra Brammabundhid,

the Ex-Rector of MCU, on “Buddhist Mission to Social
Responsibility in the New Normal”
11.30 - 12.30 hours - Luncheon

*** Moderators: PKB. Tippanagorn Laolee & Dr. Phisit Kotsupho

Afternoon Session: At Sripariyathiyanuruk Conference

Hall, 1st Floor, IT Building

13.00 – 14.30 hours - Online Conference on “Buddhism and Social
Responsibility in the New Normal”
13.00 – 13.15 hours
13.15 – 13.30 hours by four countries representatives as following;
13.30 – 13.45 hours - Most.Ven.Vizaya (washangsayataw) Washang
13.45 – 14.00 hours
monastery, Myanmar
- Dr. Lim Hui Ling, Independent Scholar, Singapore

- Karma Palden Sonam Tashi, Shedrubling Monastic Seat,

China

- Prof. Dr. Amarajiv Lochan, The Head of Foreign Student

(58) การประชมุ วิชาการพระพทุ ธศาสนาและศลิ ปวฒั นธรรมระดบั ชาติและนานาชาตคิ รั้งท่ี ๒

3

Advisor, University of Delhi, India

14.00 – 14.15 hours - Prof. Dr. Irom Gambhir Singh, Head, Department of

English and Cultural Studies, Manipur University, India

*** Moderators: PKB. Tippanagorn Laolee & Dr. Phisit Kotsupho

14.30 – 14.45 hours - Afternoon Break

14.45 – 17.00 hours - Oral Online Presentation on the following issues:

a. Buddhist Sharing Society
b. Today Society and Social Distancing living life
c. Social Distancing living life Model
d. Learning Innovation in the New Life

(15 minutes/Presenter)
*** Moderators: Assit. Prof. Dr. Samran Khansamrong , Dr. Soungserm Sangthong

17.00 hours - Closing Seminar conference

*************

การประชมุ วิชาการพระพุทธศาสนาและศิลปวัฒนธรรมระดบั ชาตแิ ละนานาชาตคิ รัง้ ท่ี ๒ (59)

4

20th September, 2020: Schedule of Academic
Sessions(National Seminar)

Morning Session: At Sripariyathiyanuruk Conference Hall,

1st Floor, IT Building

08.00-08.30 hours - Registration online
08.30-09.00 hours - Experts, Researchers and Participants enter the Conference
09.00 - 10.00 hours online room.
- Video Presentation on “Buddhism and Social Responsibility in
10:00 – 10.15 hours the New Normal”
10.15 - 11-15 hours - Opening ceremony By Ven. Phra Wimon Muni, Vice Rector of

Mahachulalongkornrajavidyalaya

University, Chiang Mai Campus, lights candles, incense sticks and

leads the Congregation in paying homage to the Triple Gem.

-Ven. Prakru Siripriyatayanusasaka,
Dr. Assistant of Vice-Rector Academic Affairs presents

a conference report to Chair Person.
- Ven. Phra Wimon Muni, Vice Rector of

Mahachulalongkornrajavidyalaya University,

Chiang Mai Campus, addresses welcome speech to
the participants and opens academic conference

- Morning Break
- Ven. Phra Medhi Vajirodom (W. Wajiramedhi) President of
Mahawichalai Buddhist Economics (MBE), lecturers on
“Buddhism and Social Responsibility in the New Normal”

(60) การประชุมวชิ าการพระพุทธศาสนาและศลิ ปวัฒนธรรมระดับชาติและนานาชาติคร้ังที่ ๒

5

*** Moderators: Assoc. Prof. Dr. Worawit Nithetsin, Dr. Prasert Pupphasuk
11.15 - 13.00 hours - Luncheon

Afternoon Session: At Sripariyathiyanuruk Conference

Hall, 1st Floor, IT Building

13:00 - 14:30 hours - National Academic Forum at Sripariyathiyanuruk

Conference Hall, 1st Floor, IT Building Room
with online system on “Buddhism and Social Healing

in the Crisis” by Ven. Dr. Phra Maha Chanya Suddhinano

Wat Putthapanya, USA

- Ven. Asst. Prof. Dr. Phra Khru Sirisutanuyuta, Director of

Sangha College of Lamphun

- Ven. Dr. Phra Kru Srisitthipimon, President of the Dee Duay

Khun Foundation Wat Sri Bun
Ruang, Fang District, Chiangmai Thailand
Conducted a panel discussion by:
Ven. Dr. Phra khru Siripiyatyanusasaka,
Assistant of Vice-Rector Academic Affairs

14.30 - 14.45 hours - Afternoon Break

14.45 - 17.00 hours - National academic articles presenting at online conference

rooms by academic article sender which has been scrutinized by

qualified experts of 10 articles (10 minutes each)

*** Moderated by: Ven. Asst. Prof. Dr. Phra Kru Siriboramatapitak,

Ven. Asst. Prof. Dr. Phra Kru Suttapatnodom, and
Assit. Prof. Dr. Wisuthichai Chayasithi

การประชุมวิชาการพระพทุ ธศาสนาและศิลปวัฒนธรรมระดบั ชาตแิ ละนานาชาติครงั้ ที่ ๒ (61)

6

17.00 hours - Closing Seminar of the National Academic Conference by
Ven. Phra Wimon Muni, Vice-Rector of MCU,
Chiang Mai Campus.

*************

(62) การประชมุ วชิ าการพระพุทธศาสนาและศิลปวฒั นธรรมระดบั ชาตแิ ละนานาชาตคิ รงั้ ท่ี ๒

Welcome Address
By Ven.Dr. Phrakhru Siriborommathatpitak

The director of Academic Affairs,
Mahachulalongkornrajvidyalaya university, Chiang Mai Campus.

***************
Distinguished most Venerable Professor Dr. Phra Rajapariyatkavi,
Rector of Mahachulalongkornrajavidyalaya University
Distinguished Venerables, delegates, guests, ladies and gentlemen
It is indeed an honor and privilege for me to welcome you to the
national and international conference on Buddhism, Arts & Culture. On
behalf of MCU, Chiang Mai campus, I would like to inform you all about the
theme of this seminar “Buddhism: the root of multi-cultural society
development”. The main themes of the seminar are
1. Buddhism and multicultural society
2. The King’s philosophy and development
3. Multicultural society and development
4. Political administration for peace
5. Communication and educational innovation
This seminar would not be successful without our co-organizers:
Chiang Mai University, Chiang Mai Rajabhat University, Kyoto University,
Srinakharinviroj University. TSRI, SSS, NRCT, Thai Health Promotion
Foundation, Ancient Documents Study Center, Lanna Wisdom Conservation
School, and Thai-Yuan Community, Miao-Di, Myanmar.
I sincerely hope that this seminar will enhance our academic efforts in
our important field and that we will gain a greater understanding of
Buddhism, the Root of Multi-Cultural Society Development.

Thank you very much for joining us.

การประชมุ วชิ าการพระพุทธศาสนาและศลิ ปวฒั นธรรมระดบั ชาตแิ ละนานาชาติครัง้ ท่ี ๒ (63)

Report Speech
Phrakhru Siripariyatyanusath
Assistant to the Rector for Academic Affairs,
Mahachulalongkornrajvidyalaya university, Chiang Mai Campus.
To the Most Ven. Prof. Dr. Phra Rajapariyatkavi, Rector of
Mahachulalongkornrajavidyalaya University

*************************

The Most Ven. Prof. Dr. Phra Rajapariyatkavi, Rector of
Mahachulalongkornrajavidyalaya University

I am Pra Wimolmunee, the Vice-Rector of Mahachulalongkornrajvidyalaya
University, Chiang Mai Campus. On behalf of the co-organizers,
Mahachulalongkornrajvidyalay University and all distinguished delegates, I
would like to thank for your kindness to serve as the president of the 2nd
National and International Buddhist Conference on “Buddhism and Social
Responsibility in the New Normal”. This conference aims;

1. to publicize and spread Buddhist academic works of lecturers,
researchers and students of Mahachulalongkornrajavidyalaya University and
other institutes in Thailand and other countries.

2. to build the network of cooperation and exchange the
knowledge of Buddhism, Arts and Culture with other institutes.

3. to integrate the National and International Buddhist Conference
on “Buddhism and Social Responsibility in the New Normal”. with the
related subjects in order to develop the student’s potential in organizing
national and international conference.

4. to support Mahachulalongkornrajvidyalaya University as a
National and International Center of Buddhism, Art and Culture Study.

(64) การประชุมวชิ าการพระพทุ ธศาสนาและศลิ ปวฒั นธรรมระดับชาตแิ ละนานาชาตคิ รั้งท่ี ๒

The theme of this seminar is “Buddhism and Social Responsibility in
the New Normal.” There will be also onsite and online presentation with
the following issues:

1. Buddhist Sharing Society,
2. Today Society and Social Distancing living life,
3. Social Distancing living life Model,
4. Learning Innovation in the New Life,
This is an auspicious occasion. May I be pleased to invite the Most
Venerable Professor Dr. Phra Rajapariyatkavi, to deliver a speech and pening
“The 2nd national and international Buddhist conference”.

การประชุมวิชาการพระพทุ ธศาสนาและศลิ ปวัฒนธรรมระดบั ชาตแิ ละนานาชาตคิ รงั้ ที่ ๒ (65)

Buddhist Approaches to Social Responsibility
in the New Normal

Phra Rajapariyattikavi, Prof. Dr. 1
Rector of Mahachulalongkornrajavidyalaya University

Phra Phra Vimolmuni, the Vice-Rector for MCU, Chiang Mai Campus,
Phrakhru Siripariyattayanusath, the Assistant Director to Academic
Affairs, MCU, Chiang Mai Campus,
All of the Directors of MCU, Chiang Mai Campus, and All the Staff of
the MCU, Chiang Mai Campus.
Good morning all Distinguish Buddhist Scholars, Guests, Participants
and all the Students who come to participate in the 2nd National and
International Buddhist Conference on “Buddhism and Social Responsibility in
the New Normal” today.
It is auspicious time for MCU community, especially the Chiang Mai
Campus. The MCU community in collaboration with many co-organizers,
come together and organize the 2nd National and International Buddhist
Conference.
As the Assistant Director gave the report, we have many objectives
of this conference and especially we come together to set up the platform
for all the Buddhist scholars and students to dialogue with each other to
share results of research works and also your experiences with each other,
especially the research on your experiences regarding the content to serve
the society nowadays. We all have known very well that nowadays we are

1 In 2021, His title just has been promoted in the higher position as Phra Thep
Wachara Bundhitta

(66) การประชมุ วิชาการพระพุทธศาสนาและศิลปวฒั นธรรมระดับชาตแิ ละนานาชาติคร้งั ท่ี ๒

facing the hardest in our daily routine. There are many hardest routines in our
daily routine, especially the breaking out of the virus Covid 19. There are
many economic problems in a society nowadays. So, I think it is the time for
us to come together and give some suggestion especially Buddhist
suggestions to solve the problems in our daily life.

At the beginning, thank you very much to all participants, especially
the staff of MCU, Chiang Mai Campus to come together and organized about
National and International Conference and also a many co-organizers as you
have seen the logo on the backdrop already. It regards with Buddhist
Responsibilities in The New Normal before listening to the keynote for address
by the Most Professor Dr. Phra Prombundit. I like to give some a little bit at
the beginning.

In my opinion, regarding to the Buddhist Responsibility in The New
Normal, we have to look back into the first Buddha’ words in the time of
sending the first group of the Buddhist disciples to propagate Buddhism in
Pali languages that

“Jaratha bhikhave jarikaṃ, Bahujanahitāya, Bahujanasukhāya,
Lokānukampāya Atthāya Hitāya Sukhāya”.

There are many Pali keywords in this Buddha words. It’s specially
the three keywords Atthāya, Hitāya, Sukhāya.

Atthāya means the richness.
Hitāya means prosperity.
Sukāya means happiness.
This is the three key terms in the Buddha's words said in the time of
sending the first group on Buddha’s disciples to propagate Buddhism.

การประชุมวิชาการพระพุทธศาสนาและศลิ ปวฒั นธรรมระดับชาตแิ ละนานาชาติคร้ังที่ ๒ (67)

So, whatever, we have done so far, we have to look back and focus
the result of output or result of our working in accordance with three key
terms in the Buddha's words that is Atthāya, Hitāya, Sukhāya like that.

Especially nowadays even though, we have the four-main missions
provided the education for the students doing the research work. Giving us
with the academic services conserving the Buddhist arts and culture but apart
from these, we have to expand the scope of working, epically the third
mission giving academic services. So, during study while we are studying the
matter as subject, we have to give the deeply consideration all the times that
how can we apply the subject matter for practical affair, especially for solving
the social problems and also the social development. According to
Buddhism, how to apply the theoretical concept for solving the problem and
help social development in those days in the time of the lord Buddha.

There are two doctrines for doing this job. What are the two
doctrines of doing this job? Then, we are planning to help the society. In
those days, in the time the lord buddha, we have two doctrines of doing. The
first one as we have seen and we have studied. There are many disciples of
the Buddhist monk in those days, they develop themselves. I mean that they
make themselves to qualify enough for helping a society by practicing
patience so much. They have the high spiritual quality, they have super
knowledge or Abhiññā, and some of them may have the saccular supper
knowledge. Some of them may have the supramundane supper knowledge
and whenever seen the society in the suffering of facing the problem some
people as I have faced hardest in their daily routine, in Thailand language, we
call “Don-ban-dan” or the miracle or “Riddhi” to help them.

We have seen many examples out of the story this matter such as
some group of monks separate themselves from society and staying

(68) การประชุมวิชาการพระพุทธศาสนาและศิลปวัฒนธรรมระดับชาติและนานาชาติครั้งท่ี ๒

somewhere in the quiet place. We can call in Pali language
“Nirodhasamapatti” sit in Nirodhasamapatti for 7 days. The purposes of sitting
in “Nirodhasamapatti” are two : The first one is to keep the retreat for
themselves, to take a relax and spiritual rest for themselves, this is first
purposed. The second one is for the benefit for the purpose of helping some
people who are facing the hardest in their daily routine because whenever
they come out. Those monks come out from “Nirodhasamapatti”. The
people who come to give the dāna(donation) to those monks. Whatever
those people want, their wish can accomplish whatever they wish after they
gave the dāna to those monks who just come out from “Nirodhasamapatti”.

This is the examples of helping society by miracle. This is the Method
of helping society.

The second doctrine whenever the society facing the problems, the
monks who approach to the society and lead helping the society by
themselves. They may give some consumer goods to society or set up the
occupations for the people and set up some projects or something like that.

These are the two doctrines of helping a society according to my
opinion.

In nowadays, we have to focus on how the method helping Society
by approaching to the society and lead the people to do the job, it may be
set up some projects. A part from study matter subject in the classroom, we
have to focus this matter very much, especially nowadays. Previously in
Thailand, we have many examples of the senior monk who help the society
by miracle for example Phraphommongkon, Luang Phor Khun Paritsuddho.
They help society by miracle this is example.

But nowadays I think maybe because of complicated society, we
don't have any time to cultivate our mind to be qualified enough in that

การประชมุ วชิ าการพระพทุ ธศาสนาและศิลปวฒั นธรรมระดบั ชาติและนานาชาติครั้งที่ ๒ (69)

level. So, we should approach directly to society and lead society to do the
project helping the society.

In my opinion, I would like pick up some example a few days ago, in
MCU Headquarter (Wangnoi), We just open the Center for Reconciliation or
Mediation of the Conflict of people. This Center comes from the subject
matter, we have study majoring in peace study. It likes the students who
study some subject matter majoring in some major after finishing study, they
have to set up some projects. I have some areas to practice subject matter,
we just open the Center of Conciliation for the study of a fully student who
study peace study, this is one an example.

So nowadays, a part from the subject matter, we have focused very
much on how to apply the subject matter for in to practical in fact. According
to my opinion, because of we are facing many hard hot chicks, especially, we
are facing vicissitudes or Lokadhamma very much. Therefore, some people
have severe suffer outside effect that we cannot control. So, in my opinion,
how to give social responsibility in the New Normal.

I would like to suggest three issues:
The first one is a spiritual cultivation or Cittabhāvanā,
the second one is occupation or Archeep (in Thai Language) for the
people and
the third one the health or healthy affairs for people or Sukkhapap
(Jittabhāvanā sukkhabhāva). The three main issue, we have to focus on
nowadays.
Why do I give a suggestion regarding the three main issue?
Because it is regarding to the vicissitudes or 8 Lokadhammas. These
are outside us which we cannot control. As we have study and we know very
well already all conditioned seem under the law of three characteristics. The

(70) การประชมุ วิชาการพระพทุ ธศาสนาและศิลปวัฒนธรรมระดับชาตแิ ละนานาชาตคิ ร้ังท่ี ๒

rich people, there is no guarantee or something to guarantee that they will
have been along with the richness all the time.

So, to get rich off the suffering, it may happen to us sometime.
When we have faced the lost, we have to get there highly spiritual quality.
So, we have the control our mind, so cultivation or the main mental
“Jittabhāvanā” I think very necessary and the most benefit of the mental
cultivation is part from control our mind. Inside us, we have three a main
wisdom inside here, inside a human being, we have three main wisdoms.

The first one the innate wisdom and the wisdom come with us from
the beginning when we are born. We come with the innate wisdom or a
Sajātikapaññā in Pali language already. So, inside every human being, we have
these wisdoms and nobody can have and do not have this wisdom. Everyone
has these wisdoms inside (Sajātikapaññā), come with us from the beginning.

The second one is insight wisdom or Vipassanāpaññā, we have to
develop from Sajātikapaññā.

The third one is Parihārapaññā or the wisdom for 4 minutes
ourselves. The Parihārapaññā comes from doing the job of our experiences.

These three wisdoms can present themselves outside, because of
our concentrated mind and it comes from Jittabhāvanā or meditation. So,
with MCU culture, we have experts in Jittabhāvanā or Kammatthana already.
Now we have to focus on more than the previous time to make the people
to have the mental strength. This the first benefit and the second one is to
make the mind of the people to be strong and providing the platform for
three main wisdom into inside the human beings.

I would like to pick up an example, if we don’t have strong mind,
we don’t have a spiritual strength even though we may finish M.A. degree of
Ph.D. degree, these two degrees are Parihārapaññā. We don’t have occasions

การประชมุ วชิ าการพระพุทธศาสนาและศลิ ปวฒั นธรรมระดบั ชาตแิ ละนานาชาติคร้งั ท่ี ๒ (71)

to use our knowledge from M.A. degree or Ph.D. degree, if we don’t have the
spiritual strength. We may face with the hardship, sometimes we lost control
and we lost mindfulness. So, we cannot bring out our knowledge to practical
affairs. So, I think Jittabhāvanā is very necessary, apart from Jittabhāvanā the
second one big and the occupation of the people.

A few day ago, I have seen the news in the newspaper that the
Ministry of Agriculture and Orporation are recording the people all the people
who like to join the project on some project. In Thai language may say that
“หน่ึงตำบล หนึ่งเกษตร กับ ทฤษฎใี หม]”:“One Tam Bon, One Agriculturist and the
New Theory”. This administrator is recording the people who want to join
this project. We have to be careful in doing the project like this, if they doing
the project like this without the Buddhist concept, it is very dangerous some
time, we may be successful in the beginning, but after the long time, we lost
and have already regarding this matter. So, MCU need to pick up this matter
approaching to the people who are joining the project like this and put in the
Buddhist doctrine for to be applied for running the project.

To make them get the prosperity “Atthāya Hitāya Sukhāya: for
prosperity, happiness, peacefulness”, we need to get the three things at the
same time, because some of them, may have prosperity, richness but they
may not have peacefulness and happiness. So, we have to use the Buddhist
doctrine to be applied for the project like this to get the three at the same
time; wellness, richness, peacefulness and a happiness at the same time.

The most important thing to be sustainable development is the
occupation for the people. So MCU have to focus on this matter also. The
last one health of the people I myself, I gave suggestion may be year back to
the shed quarter and 2 Campus colleges in central areas also. To provider
the study what we call alternative medicine or Thai classical a medicine. The

(72) การประชุมวิชาการพระพทุ ธศาสนาและศิลปวัฒนธรรมระดบั ชาตแิ ละนานาชาตคิ รงั้ ท่ี ๒

lower level from the bachelor degree or may certificate of successful for
giving the education regarding this matter to the monks, novices and general
people. The alternative medicine or Buddhist alternative medicine is another
way to help the people, because the content inside of this subject we have
both a spiritual subject and spiritual health and physical help at the same
time. In our Campus, we have enough area to provide some parts of the area
of medicine garden, on herbal, especially the herb for eating, the vegetable
herb also medicine herb or something whenever we can increase immunity
inside us. It is very important both spiritual immunity and physical immunity.

Especially if we have the herb and vegetable like this and increased
physical immunity inside us, so this is my idea regarding how to help society
nowadays.

So today we have the good occasion to come together and share
the idea which each other especially the idea or helping society.

As the MCU, we are expertise in social and humanity affairs. We
cannot do any other thing than this one, so we have to focus on this one.

Thank you very much for all participants especially staffs of MCU
Chiang Mai Campus and other co-organizers who come together and organize
the 2nd National and International Conference on “Buddhism and Social
Responsibility in the New Normal”.

Finally, may you all be blessed forever with happiness,
successfulness, prosperity peacefulness by the power of the Triple Gems.

Thank you very much.

การประชมุ วชิ าการพระพุทธศาสนาและศิลปวัฒนธรรมระดับชาตแิ ละนานาชาตคิ ร้ังที่ ๒ (73)

ปาฐกถาพเิ ศษ เรอ่ื ง

“Buddhist Mission to Social Responsibility in the New Normal”

“พทุ ธพนั ธกจิ กับการรบั ผิดชอบทางสงั คมนววถิ ี”

ศาสตราจารยU ดร. พระพรหมบณั ฑติ (ประยรู ธมฺจิตโฺ ต)

อดตี อธิการบดี / กรรมการมหาเถรสมาถม /รักษาการเขาe คณะใหญhหนกลาง

----------

ในหัวข'อที่เกี่ยวกับการประชุมสัมมนาในวันนี้ก็คือเรื่อง พุทธพันธกิจกับความ
รับผิดชอบทางสังคมนววิถี เป>นศัพทAทางวิชาการ ที่จะต'องทำความเข'าใจกันในเบื้องต'น
กFอนวFา ในพุทธพันธกิจนั้นเป>นอยFางไร พุทธพันธกิจนั้น คือ อยูFในกรอบของ Buddhist
Ethics ท่ีแปลวFา พุทธจริยธรรม หรือ พุทธจริยศาสตรA Scope ของเรื่องอยูFใน Buddhist
Ethics พุทธจริยธรรม วFาด'วยหลักแหFงความประพฤติของชาวพุทธในสถานการณA Covid-
19 ซึ่งกFอให'เกิดสังคม New Normal คือ นววิถี หรือ วิถีชีวิตใหมF พุทธจริยธรรมนั้นอยูFบน
ฐานของ Moral Obligation ขอ' ผกู มดั ทางศลี ธรรม เชFน เรามขี 'อผูกมัดทางศีลธรรมเร่ืองศีล
5 ไมFฆFาสัตวA ไมFลักทรัพยA เป>นต'น มันเป>น Vows เป>นการสมาทานของชาวพุทธ เมื่อ
สมาทานแล'วก็จะต'องมี Obligation ข'อผูกมัดที่จะต'องทำตามและถ'าเป>นข'อผูกมัดทาง
ศีลธรรมเราเรียกวFา Moral Responsibility เป>นความรับผิดชอบทางศีลธรรม เหมือนกับท่ี
เราไปฆFาสัตวAไปลักทรัพยA เราก็ผิดศีล ฆFาสัตวAเดรัจฉาน อาจจะไมFผิดกฎหมาย แตFวFาผิดศีล
นั้นเป>น Moral Obligation, Moral Responsibility คือความรับผิดชอบทางศีลธรรม แตF
ในขณะเดียวกันเราก็ต'องรับผิดชอบตFอสังคม เมื่อเราประกาศไปวFา เราจะรักษาศีล 5 ตFอ
หน'าคนมากมาย ก็เทFากับวFาสังคมก็มีสFวนกำกับในการสมาทานศีลของเรา และใน
ขณะเดียวกันศีล 5 ก็เป>นความรับผิดชอบตFอสังคม คือเราไมFเบียดเบียนคนอื่น ไมF
เบียดเบียนสัตวAอื่น ไมFลักของของคนอื่น มันเป>นความรับผิดชอบตFอสังคมที่เกิดขึ้น ฉะนั้น
พุทธจริยธรรม มันเริ่มมาจากจิตใจของเราที่ยอมรับ เขาเรียกวFา Value คือคุณคFาทาง
ศีลธรรม แล'วก็นำมาเป>นความรับผิดชอบเป>นหน'าที่ที่เราจะต'องทำ พอเป>นหน'าที่สFวนตัว
เราก็เรียกวFา ความรับผิดชอบทางศีลธรรมหรือความรับผิดชอบที่เรามีตFอสังคม แตFทีน้ี
ความรับผดิ ชอบอันนั้น มันจะแสดงออกมาเป>น Mission ทเ่ี ราเรยี กวFา Buddhist Mission

(74) การประชมุ วิชาการพระพุทธศาสนาและศิลปวัฒนธรรมระดับชาติและนานาชาติคร้งั ท่ี ๒

ก็คือเป>นพันธกิจ เป>นพันธกิจที่สังคมกำหนด เราชาวพุทธในสายตาของตFางศาสนา เขาก็
คาดหวังวFา เราจะต'องทำอยFางนั้นอยFางน้ี และอยFางเชFนพุทธศาสนาเป>นศาสนาแหFงสันติ
สนั ตภิ าพนี่กเ็ ป>นทีร่ 'ูกนั

เพราะฉะนั้น เมื่อสังคมคาดหวัง เราก็มีภาระหน'าที่ในการสร'างสันติภาพในโลก
มันเป>น Buddhist Mission คือพันธกิจของชาวพุทธ พันธกิจนี้จะเป>นแบบ Moral ก็คือ
ทางศีลธรรมก็ได' เป>นหน'าที่ทางศีลธรรมที่เราต'องออกไปดูแลสังคมก็ได' หรือเป>น Legal
Mission เป>นพันธกิจทางกฎหมาย เชFน มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ตาม
กฎหมาย ก็จะมีพันธกิจ 4 ประการ ตั้งแตFผลิตบัณฑิต จนถึงทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม ๔
ข'อนี้ เป>น Legal เพราะอยูFในกฎหมายเป>นพันธกิจท่ีหน'าที่ตามกฎหมายที่เราจะต'องทำ แตF
ในฐานะที่เราเป>นชาวพุทธ เป>นพระ การออกไปทำหน'าที่ มันก็เป>นความรับผิดชอบทาง
ศลี ธรรม ทางจรยิ ธรรมดว' ย

ฉะนั้น วันน้ี ประเด็นที่เราตั้งขึ้นมาพูดกันก็คือวFา ในทFามกลางสถานการณA Covid
– 19 มีคนเจ็บไข'ล'มตายจำนวนมาก เราคงไมFนิ่งดูดายแล'วก็เราก็ต'องออกมามีบทบาทใน
การชFวยสังคม บทบาทในการชFวยสังคมนั้นถ'าเป>นที่รับรู'กันมันก็เป>น Mission เป>น
ภาระหน'าที่ที่เราเหมือนกับบอกให'รู'กัน อยFางเชFนทางคณะสงฆAทางมหาเถรสมาคมทFานก็มี
เรื่องของการสร'างโรงทาน โรงครัว หรือในการสวดมนตAอยFางเชFนรัตนสูตร อันนี้ก็ทำกันเป>น
ประจำจนเป>น Mission statement ของทFานไป ในสFวนมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราช
วิทยาลัยจะมี Mission อะไรทำอะไรก็ในสถานการณAน้ี ใน 4 ข'อนี้ ก็ดำเนินการไป ฉะนั้น
วันนี้มันเป>นเรื่องของชาวพุทธโดยรวมที่ต'องตระหนักถึงปÉญหาที่เกิดขึ้นแล'วเราก็มาชFวยกัน
ทจ่ี ะระงบั ปญÉ หาโรคระบาดตาF ง ๆ ถ'าเป>นไปได'

พุทธจริยธรรมทางสังคม ที่พระพุทธเจ'าตรัสสอนไว'ก็คือในเรื่องที่เราพบอยูFในจูฬ
ราหุโลวาทสูตรที่แสดงในจอนี่นะฮะ แตFที่สำคัญก็คือคำวFา เนว อตฺตพฺยาพาธาย สํวตฺตติ
กับ น ปรพฺยาพาธาย สํวตฺตติ กรรมหรือ การกระทำใด ๆ ก็ตาม จะเป>นกุศล กุศลกรรมคือ
ความดี ตFอเมื่อไมFทำตนให'เดือดร'อน ไมFทำคนอื่นให'เดือดร'อน ไมFทำทั้งตนและคนอื่นให'
เดือดร'อน น่ีพระพุทธเจ'าตรัสไว'กับทFานพระราหุล เพราะฉะนั้น กุสลํ อิทํ กมฺมํ กรรมนี้เป>น
กุศล มีสุขเป>นกำไร มีสุขเป>นวิบาก เราเรียกวFาเกณฑAตัดสินความดี โดยเฉพาะความดีทาง
สังคมที่เราจะต'องปฏิบัติตFอคนอื่น คือเราไมFเบียดเบียนตน ไมFทำตFอให'เดือดร'อน แล'วก็ไมF

การประชมุ วิชาการพระพุทธศาสนาและศลิ ปวัฒนธรรมระดบั ชาติและนานาชาติครั้งท่ี ๒ (75)

ทำคนอื่นให'เดือดร'อน เพราะฉะนั้น ถ'าเราพิจารณาวFากรรมใด ยFอมไมFเป>นไปเพ่ือ
เบียดเบียนตนบ'าง ข'อที่ 1 นะ 2 ยFอมไมFเป>นไปเพื่อเบียดเบียนผู'อื่นบ'าง 3 ยFอมไมFเป>นไป
เพื่อเบียดเบียนทั้งตนเองและผู'อื่นบ'าง กรรมนั้นเป>นกุศล มีสุขเป>นกำไร มีสุขเป>นวิบาก เรา
ต'องทำเพมิ่ มากขน้ึ

ในสถานการณAนี้ การที่เราไมFรักษาตัวเอง ปลFอยให'ไปติดเชื้อ Covid - 19 เรียกวFา
ทำตนเองให'เดือดร'อนหรือเบียดเบียนตนเอง แล'วเป>นพาหะไปทำให'คนอื่นติดเชื้อจากเรา
เราก็เบียดเบียนผู'อื่น เพราะฉะนั้นเราจึงไมFเบียดเบียนตน ไมFเบียดเบียนผู'อื่น เราจะต'อง
รักษากฎกติกาของสังคมที่เป>นนววิถีเป>น New Normal เป>นวิถีชีวิตใหมF เชFนสวมหน'ากาก
อนามัย ล'างมือ รักษาระยะหFางทางสังคม อันนี้เราทำเพื่ออะไร หนึ่งไมFให'ตัวเราเองไปติด
เชื้อ Covid - 19 ปåองกันไมFให'คนอื่นไปติดเชื้อจากเราแล'วไมFไปเบียดเบียนเขา เราต'องกัน
ทั้งตนเองและผู'อื่นนี่เรียกวFา เราทำความดีเป>นกุศลกรรม เพราะไมFเป>นไปเพื่อเบียดเบียน
ตน ไมFเป>นไปเพื่อเบียดเบียนคนอื่น ไมFเป>นไปเพื่อเบียดเบียนทั้งตนและคนอื่น การรักษานว
วิถี New Normal กลายเป>นกุศลกรรม เป>นการทำความดีในพุทธจริยธรรม ในสถานการณA
น้ี เราตอ' งชFวยกันเผยแพรอF ยFางนี้

เมื่อเกณฑAในการทำความดีเป>นกุศลกรรมตามจูฬราหุโลวาทสูตรเป>นอยFางนี้แล'ว
ใครที่ไปเบียดเบียนตนให'เดือดร'อน เบียดเบียนคนอื่นให'เดือดร'อน เบียดเบียนทั้งตนและ
ผอ'ู ่ืนให'เดือดรอ' น ช่อื วFาทำอกศุ ลกรรม ส่ิงทท่ี ำน้ันไมเF ปน> ความดี เราจงึ ต'องละเว'นอยาF ไปทำ

การที่เรารักษาวิถีชีวิตใหมF New Normal ก็คือการรักษาพุทธจริยธรรมเพื่อสังคม
เราจึงมีพันธกิจ 4 ประการ ในสถานการณAนี้ เราเรียกวFา Buddhist Mission 4 ประการ
คือในพระบาลีที่ยกไว'เรียกวFา ปธาน 4 สวํ โร จ ปหานçฺจ ภาวนา อนุรกฺขนา เอเตน ปธานา
จตตฺ าโร เทสติ าทิ จ พนธฺ นุ า

ปธาน คือความเพียร 4 ประการน้ี คือ
1. สังวรปธาน เพียรระวังไมใF ห'เกดิ ความเดือดร'อน โดยเฉพาะจากโรค Covid
2. ปหานปธาน เม่ือมนั เกิดขนึ้ แลว' ต'องเพียรพยายามในการรกั ษาแก'ไข
3. ภาวนาปธาน เพยี รในการพัฒนาทำความดเี พอื่ เอาชนะโรคภัยไข'เจ็บน้ี
4. อนุรกั ขนาปธาน เพยี รรกั ษาความสำเร็จความดงี ามทท่ี ำแลว' ใหต' อF เน่ืองไป

(76) การประชุมวชิ าการพระพทุ ธศาสนาและศิลปวัฒนธรรมระดบั ชาติและนานาชาตคิ รงั้ ที่ ๒

4 ข'อนี้ พระพุทธเจ'าผู'เป>นเผFาพันธุAพระอาทิตยAทรงแสดงแล'ว ตรัสไว'ในสังวรสูตร
เพราะฉะนั้นพันธกิจของชาวพุทธที่มีตFอการการระบาดของ Covid 19 หรือการรักษานววิถี
ชีวิตใหมF จึงมี 4 อยFาง หรือเรียกวFา มี 4 ขั้นตอน ตั้งแตFสังวรปธาน สังวรปธาน ก็จะเห็นได'
วFาข'อแรก นะ เราจะต'องระมัดระวังรู'เภทภัยรู'อันตรายของ Covid - 19 ในข'อสังวรปธาน
รู'เทFาเอาไว'ปåองกัน รู'เทFาหมายถึงรู'เทFาทันพิษภัยของมัน เราจะเกิดการปåองกันได' แตFถ'าเรา
ไมรF เ'ู ทาF ทันพษิ ภยั อนั ตรายของ Covid - 19 เราจะไมFมกี ารปอå งกัน ดั่งที่ประธานาธิบดีสหรฐั
รับสารภาพมาแล'ว คือ โดนัลดA ทรัมปè เมื่อเร็ว ๆ นี้วFา ปกปêดไมFบอกอันตรายแกFประชาชน
โดยวันที่ 26 กุมภาพันธA บอกกับประชาชนชาวสหรัฐวFา Covid - 19 ก็คือ Flu ไข'หวัด
ธรรมดานี่แหละ และปìหนึ่ง ๆ วันที่ 9 มีนาคม ก็พูดซ้ำอีกวFา ปìหนึ่งๆ โดยเฉพาะปìที่แล'ว
คนอเมริกาตายจากไข'หวัดธรรมดา 37,000 คน เฉลี่ยแล'วตายด'วยไข'หวัดธรรมดาปìละ
27,000 ถึง 70,000 คน เพราะฉะน้นั ไมFมอี ะไรจะต'องเรียกวFา ปดê บ'านปêดเมอื งใหเ' ศรษฐกจิ
เสียหาย ชีวิตและเศรษฐกิจต'องดำเนินตFอไป เรื่องนี้ไมFใชFประธานาธิบดีไมFรู'วFามันมีอันตราย
เขารู' เขาสารภาพแล'ววFา เขารู'วFามันอันตรายมาก ๆ เลย แตFในฐานะผู'นำ ไมFต'องการให'
ประชาชนแตกตนื่ เมอื่ ไมใF ห'เขาแตกตื่นก็ตอ' งบอกวFา มันไมFมีอะไรหรอก ไมตF 'องกงั วลหรอก

ข'อเสียหายก็คือวFา เมื่อเราไมFรู'ขอบเขตของความเสียหาย ประชาชนก็ไมFตื่นตัว เรา
จะเห็นได'วFาคนอเมริกา อเมริกันนะไมFสวมหน'ากากอนามัย เพราะไมFคิดวFามันอันตราย
หมายถึงไมFคิดวFา โรคหรือเชื้อโรค Covid - 19 น่ีมันอันตราย พอไมFเกิดความรู'เทFาทัน การ
ปåองกันก็ไมFเกิด อันนี้ก็เรียกวFาเป>นดาบสองคม การไมFบอก อาจจะทำให'คนไมFตื่นตระหนก
แตFในขณะเดียวกันก็ประมาท ไมFมีสังวรปธาน ไมFมีการปåองกัน แล'วโรคน้ี ตอนแรก ๆ ไมFมี
ใครรู'วFามันเป>น มันสามารถที่จะติดกัน ติดตFอกันโดยผู'เป>นพาหะ คือคนติดเชื้อที่ยังไมFแสดง
อาการ เขาเรียกวFาเป>น Asymptomatic เป>นโรคที่ปåองกันยาก เพราะวFาคนเป>นแล'วบางที
ไมFรู'วFาตัวเองเป>น ไมFมีอาการเลย อาการที่เราคาดหวังและก็สFวนใหญFคนที่มีอาการก็จะไอ
เจ็บคอ จมูกไมFได'กลิ่น ลิ้นไมFลิ้มรด ปอดมีปÉญหา ถ'ามีอาการอยFางนี้เขาเรียกเป>น
Symptom มีสิทธิ์เป>น Covid - 19 แตFบางคนไมFมีอาการดังกลFาวเลย ก็เป>นแล'ว ติดเช้ือ
แล'ว มันอยูFในการฟÉกตัวอยFู แล'วก็ไปติดตFอ ไมFรักษาระยะหFางทางสังคม ไปโนFนไปน่ี มันก็
เลยแพรFเช้อื

การประชุมวิชาการพระพุทธศาสนาและศลิ ปวฒั นธรรมระดับชาติและนานาชาตคิ รั้งท่ี ๒ (77)

เหมือนกรณี คุณปåามหาภัยที่เกาหลีใต'ที่เรียกกันวFา Super spreader เกาหลีใต'
พบผู'ติดเชื้อ Corona Virus เพิ่มอยFางน'อย 48 รายงาน เมื่อวันที่ 21 กุมภาพันธA เป>นการ
เพิ่ม 2 เทFาตัวภายใน 24 ชั่วโมง คุณปåานี้ติดเชื้อแล'วก็ไปรFวมพิธีทางศาสนา ศาสนาอื่นนะ
ไมFใชFศาสนาพุทธ แล'วก็แพรFไป สมาชิกมี 2 แสนคน แกไปรFวมพิธีศาสนาเยอะ มันก็ไปกัน
ทั่วประเทศ แล'วเรียกวFา Super spreader แปลวFาผู'แพรFเชื้อที่มีผลมาก เพราะวFาเชื้อมัน
รุนแรง มันเข'มข'น คนทั่วไป หนึ่งคนจะแพรFเชื้อได' 1 ตFอ 2 คือ 2 คน แตFพวก Super
spreader บางที 40 50 60 คน จามทีเดียวไปทั่วห'องประชุมเลย อยFางน้ีคุณปåามหาภัยได'
ทำแล'ว

ในบางประเทศ ไมFตระหนักถึงพิษภัยของ Covid อยFางเมื่อวันที่ 14 เมษายนปìน้ี
นักสอนศาสนาที่เวอรAจิเนีย บอกวFาพระผู'เป>นเจ'าจะปกปåองเรา เราไมFต'องกลัวหรอก เรื่อง
Covid แตFเขาตายลงเพราะ Covid นักสอนศาสนาคนน้ี ตายไปเมื่อวันที่ 14 เมษายนที่
ผFานมา ชื่อ นีเกรน อายุ 66 ปì ประกาศเลยวFา ไมFต'องกลัว Covid ใครอยากจะมาโบสถA ให'
มาโบสถA แล'วก็แสดงให'คนเห็นวFา มากันจำนวนมาก ไมFต'องกลัวคำสั่งของผู'วFารัฐเวอรAจิเนีย
เขาประกาศในวันที่ 22 มีนาคม แล'วตFอมาในวันที่ 14 เมษายน เขาก็เสียชีวิตเพราะ Covid
- 19 โทษใครไมFได'นะ เพราะตอนเริ่มต'น เรายังไมFรู'วFา มันรุนแรง มันนFากลัวขนาดไหน โรค
นี้ แล'วก็แพรเF ชื้ออยFางไร บางทีไมFมีอาการเพราะแพรFเชื้อดังกลFาว กวFาจะตระหนักรู' กวFาจะ
ปåองกัน มันกก็ ระจายไปทวั่ โลก คนตดิ เชอ้ื กันมาก

แตFในประเทศไทย เราไมFรอให'มันรุนแรงแล'วคFอยมาตื่นตัว รู'เทFาเอาไว'ปåองกัน
รู'ทันเอาไว'แก'ไข เพราะฉะนั้น ในประเทศไทย มันถือวFาเป>นหน'าที่ของเราที่จะไมFเบียดเบียน
ตน ไมFเบียดเบียนคนอื่น เพราะฉะนั้น สิ่งแรกที่คณะสงฆAในประเทศไทยได'ทำ ก็คือ
ประกาศงดจัดงานวิสาขบูชาโลก ประกาศเมื่อวันที่ 5 มีนาคม พระพรหมบัณฑิตเป>นผ'ูลง
นามไปทั่วโลกเลย เพราะวFาเราไมFต'องการให'เกิดกรณีอยFางเกาหลีใต' มี Super spreader
คุณปåามหาภัย ถ'าเกิดเอาคนทั่วโลกมาจัดวิสาขบูชาโลกในเดือนพฤษภาคมเป>นพัน ๆ คน
เขาก็เอาเชื้อมาให'คนไทย แล'วคนไทยก็อาจจะให'เช้ือเขากลับไปยังประเทศ มันจะเกิดการ
แพรFระบาดของไวรัสโคโรนFาอยFางหลีกเลี่ยงไมFได' อยFางมากมาย ซึ่งเกิดขึ้นในหลาย ๆ
ประเทศ ในการชุมนุมทางศาสนา

(78) การประชมุ วิชาการพระพุทธศาสนาและศิลปวฒั นธรรมระดับชาติและนานาชาตคิ รงั้ ท่ี ๒

ฉะนั้น เมื่อตระหนักถึง Social responsibility ความรับผิดชอบตFอสังคมที่ชาว
พุทธเรามีและมันเป>นหน'าที่เป>นพันธกิจของพระสงฆAในการที่จะเป>นผู'นำทางจิตใจ จึงได'ขอ
มติมหาเถรสมาคมแล'วประกาศงดกิจกรรมวิสาขบูชาโลก ประกาศไปเมื่อวันที่ 5 มีนาคม
กFอนงานจริง 2 เดือน ในขณะที่ประเทศหลายประเทศยังไมFได'รับผลกระทบจากโควิดสัก
เทFาไหรFเลย แตFคณะสงฆAไทยได'ตื่นตัว น่ีก็คือสิ่งที่เรามีความรู'สึกวFา เรามีพุทธจริยธรรมที่ให'
เราไมFเบียดเบียนตน ไมFเบียดเบียนผู'อื่น ไมFเบียดเบียนสFวนรวม และเราจะต'องประกาศ
ความรับผิดชอบตรงนี้เป>น Social responsibility และก็อยูFนิ่งไมFได' จึงมีการประกาศน้ี
ออกมา เราประกาศเมื่อวันที่ 5 มีนาคม รัฐบาลไทยเริ่มใช'พระราชกำหนดสถานการณA
ฉุกเฉิน เมื่อวันที่ 26 มีนาคม เราทำกFอน 20 วัน งดวิสาขะโลก แล'ววันที่ 2 เมษายน
ประเทศไทยจึงมีเคอรAฟêวหลังจากที่คนออกนอกกรุงเทพฯ แล'วปêดบ'านปêดเมืองนี่นะ หนีไป
อยูFตFางจังหวัด มีเคอรAฟêวแล'วก็ยังไปอีก แม'เราจะประกาศห'ามแล'วก็ตาม คนก็ยังไปจัด
ปารAตี้กันตอนนั้น เสพยAยากันบ'าง อะไรบ'าง มึนเมาเยอะ มีความรู'สึกวFา คนเหลFานี้อาจจะ
เรียกวFา Ignorant ไมFรู'เทFาทันความรุนแรงของ Covid - 19 หรือร'ู แตFวFาประมาท เพราะ
ตัวเองเป>นวัยรุFน ไมFมีอันตราย แตFขาดความรับผิดชอบตFอสังคม ไมFมี Social
responsibility วFาตัวเองกำลังจะเป>นพาหะให'คุณพFอ คุณแมF คุณปúู คุณยFาคุณตา คุณยาย
ลำบาก เพราะติดเชื้อไปจากคุณ มันจึงต'องเตือนสติคนเหลFาน้ี โดยเมื่อวันที่ 23 มีนาคม
2563 ผู'พูด ผมได'แตFงโคลงสอนใจคนที่ประมาท ชื่อวFาหยุดไวรัสมหาภัย ตอนนั้นยังไมFมี
ประกาศภาวะฉกุ เฉินด'วยซ้ำ แตเF ห็นคนประมาท เราต'องเตือนสติ ทนอยูFไมไF ด'นะ

ยามโลกเรFาร'อน เปน> ไฟ

Covid ระบาดไป ท่วั หลา'
บนั เทิงรนื่ เริงไฉน ประมาท
รีบตืน่ มชิ ักช'า หยุดเชื้อ มหาภยั

เห็นคนประมาทแล'ว เราทนไมFได' ต'องออกมาเตือน มาจาก Moral
Responsibility ความรบั ผิดชอบทางศีลธรรมทางสังคมของเรา เราจงึ มีหนา' ท่ีเป>น Mission
ที่จะต'องแสดงออกในการออกมาตักเตือน เป>นเสียงเตือนสติสังคม อันนี้พระก็ออกมาเทศนA

การประชมุ วิชาการพระพทุ ธศาสนาและศิลปวัฒนธรรมระดับชาติและนานาชาตคิ ร้งั ท่ี ๒ (79)

มาพูดกัน ในเรื่องนี้ มหาเถรสมาคมทFานก็มีความรับผิดชอบ ทFานจึงประกาศให'วัดทุกวัดท่ัว
ราชอาณาจักรไทยและวัดไทยในตFางประเทศงดกิจกรรมที่ประชาชนมารวมกลุFมกันทุก

ประเภทยกเว'นการปฏิบัติภารกิจของสงฆA ตั้งแตFวันที่ 10 เมษายน เป>นต'นไป จนกวFา
สถานการณAจะเปลี่ยนแปลง เห็นไหมวFาทางศาสนาตื่นตัวแล'วก็ออกมารับผิดชอบด'วยการ
ประกาศใหว' ดั ทุกวดั ไมรF ับประชาชนเขา' มาชมุ นุมกนั อันจะเป>นการระบาด มิฉะนั้น ศาสนาก็

จะเป>นตัวปÉญหาของสังคม เพราะกFอให'เกิดการชุมนุม กFอให'เกิดการแพรFระบาดของไวรัส
โคโรนาสายพนั ธใAุ หมF

ฉะนั้นตรงนี้เอง เราจะเห็นได'วFา สังวรปธาน เพียรพยายามปåองกันไมFให'เกิดการ

แพรFระบาดในสFวนของชาวพุทธตั้งแตFมหาเถรสมาคมจนคณะสงฆAทั่วประเทศ เราทำกัน อัน
นี้เป>นสังวรปธาน และคนไทยก็ยอมปêดประเทศระหวFางโรคภัยกับทุพภิกขภัยซึ่งมันเป>นส่ิง
มาด'วยกัน โรคภัยคือไวรัสโคโรนาสายพันธุAใหมFแล'วมันทำให'เกิดทุพภิกขภัยข'าวยากหมาก

แพง เพราะวFา ต'องปêดเมือง ปêดตลาด ปêดอะไรตFาง ๆ ธุรกิจหยุด แตFคนไทยไมFดื้อ เพราะ
ทางศาสนาเราสอนวFา ระหวFางเป>นโรคตายกับอดตายน่ี เอาอันแรก รักษาให'ได'กFอน เพราะ
ถ'ายังมีชีวิตอยFู มันสามารถที่จะกู'เศรษฐกิจให'ฟùûนขึ้นมา "อโรคยา ปรมาลาภา" ความไมFมี

โรคเป>นลาภอันประเสริฐทเ่ี ราไปงาF ย ๆ กนั เพราะฉะนน้ั เอาชีวติ ไว'กอF น เอาความไมมF ีโรคไว'
กอF น เหมอื นโคลงโลกนติ บิ อกวFา

ชา' งมา' เมียม่ิงแก'ว เงนิ ทอง
ตวั มิตายจับปอง ยอF มได'
ชีวติ สิง่ เดยี วของ หายาก

ใชปF ระทีปเทียนไต' ดับแลว' จุดคืน

ในโคลงนี้ มันเตือนสติรวมพุทธสุภาษิตด'วย ที่คนหลายคน พอเจอปÉญหาทาง
เศรษฐกิจ ฆFาตัวตาย บางทีฆFาคนในครอบครัวด'วย ทั้ง ๆ ที่เศรษฐกิจมันแก'ได' ถ'ายังมีชีวิต
อยFู วันหนึ่งมันต'องฟùûนขึ้นมาได' อยFาไปคิดสั้น อันน้ี ทางคณะสงฆAเราต'องเตือนสติคน
ทั้งหลาย เรียกวFาเราจะต'องปรับตัวในสถานการณA Covid นี้ และผFานไปด'วยกัน คนไทย
จะต'องมีกำลังใจ มีความเข'มแข็งในการปรับตัว ก็คือเปลี่ยนวิกฤตให'เป>นโอกาส วิกฤตนี้เป>น

(80) การประชมุ วชิ าการพระพทุ ธศาสนาและศิลปวฒั นธรรมระดับชาตแิ ละนานาชาติครง้ั ที่ ๒

โอกาสที่จะเราได'พัฒนาตนเอง ปรับปรุงตนเองให'เข'มแข็งยิ่งขึ้น เปลี่ยนวิกฤตเป>นโอกาส
เปลี่ยนพินาศให'เป>นพัฒนา สร'างขึ้นมาใหมFบนซากปรักหักพัง ไมFวFาจะเป>นเรื่องธุรกิจ เรื่อง
อะไรก็ตาม และเปลี่ยนปÉญหาให'เป>นบทเรียน โดยเฉพาะปÉญหาในประเทศอื่นมาเป>น
บทเรียนสอนใจในประเทศเรา เขาทำแบบนี้แล'วมันล'มเหลวปåองกัน Covid ไมFได' เราอยFา
ไปทำ เขาทำแบบนั้นแล'วปåองกันรักษาคุ'มครองคนไทยได' เราทำ ทำตาม เอามาใช' เขา
เรียกวFา เป>นการปรับกลยุทธA ปรับวิธีการ เปลี่ยนวิกฤตให'เป>นโอกาส เปลี่ยนพินาศให'เป>น
พฒั นา เปลี่ยนปญÉ หาให'เป>นบทเรยี น

จะเห็นได'วFาสถานการณAทั่วโลกตอนนี้ อยFางเมื่อวาน มีคนติดเชื้อ Covid - 19 ไป
แล'ว 30 ล'านคน แล'วใน 30 ล'านคน เสียชีวิตเกือบล'านคนแล'ว 950,000 คน ประเทศที่คน
ติดเชื้อมากที่สุด ก็คือสหรัฐ 6 ล'าน 8 แสน รองลงมาก็ในเอเชีย คือ อินเดีย 5,200,000 คน
แล'วก็บราซิล 4,400,000 อยFางนี้ไฟไหม'อยูFทั่วโลกแล'วเราจะประมาทได'อยFางไร ถ'าเราไมFมี
การล'อมรั้วบ'านคือประเทศไทยของเรา ไมFให'คนที่เป>นพาหะนี้เข'ามา และประเทศไทยก็
คFอนข'างจะล'อมรั้วได'อยFางดี จึงเป>นสาเหตุให'เรามีผู'ติดเชื้อน'อย เมื่อวานนี้ ขณะที่ทั่วโลกติด
เชอ้ื 30 ลา' น แตFประเทศไทยตดิ เชอื้ สะสม 3,400 คน รักษาหายแล'ว 3,300 คน

การรักษาหาย เรียกวFา ปหานปธาน เมื่อติดเชื้อแล'วทำยังไงที่จะให'เชื้อมันหายไป
หรืออาการตาF ง ๆ มนั หายไป เรยี กวFาการแกไ' ข การรกั ษา ท่ัวโลกกำลังหายารกั ษาซึ่งยังไมFมี
แตFก็ต'องมีวิธีการที่ชะลอ ไมFให'การระบาดแพรFหลายออกไป ประเทศไทยคFอนข'างจะ
ประสบความสำเร็จในการปåองกัน และการรักษาก็หายไปเป>นสFวนใหญF ลักษณะอาการ
ของโรคหายไป 3,400 คน รักษาได' 3,300 คน อยFางน้ี แสดงวFาเรามี ปหานปธาน ความ
เพียรในการรกั ษาอยาF งดี

แตFการรักษานั้น ต'องถือวFาให'ครบสูตร รักษาทั้งกายและใจ รักษากายก็ด'วยยา
รักษาใจก็ด'วยยาเหมือนกันเรียกวFาธรรมะโอสถ ดังที่พระพุทธเจ'าตรัสวFา ภิกษุทั้งหลาย
เพราะธรรม ๓ ประการนี้ คือ ชาติ ชรา ที่จริงก็ต'องเกิด แกF เจ็บ ตาย ก็แล'วกัน มีอยูFในโลก
ฉะนั้น พระตถาคตอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ'า จึงบังเกิดในโลก ธรรมวินัยที่พระตถาคตทรง
ประกาศไว'จึงรุFงเรืองในโลก พูดงFาย ๆ ถ'าโลกน้ี ไมFมีเกิด ไมFมีแกF ไมFมีเจ็บ ไมFมี Covid ไมFมี
คนตาย พระพุทธเจ'าก็ไมFจำเป>นจะต'องอุบัติในโลก พระธรรมก็ไมFจำเป>นจะต'องสFองแสง
รุFงโรจนAอยูFในโลก ถ'าโลกนี้ไมFมีความเจ็บปúวย หมอก็ไมFจำเป>น พยาบาลก็ไมFจำเป>น นั่นคือ

การประชุมวชิ าการพระพทุ ธศาสนาและศิลปวฒั นธรรมระดับชาตแิ ละนานาชาติครงั้ ท่ี ๒ (81)

เจ็บปวú ยทางกาย แตเF พราะโลกนยี้ งั มเี กดิ แกF เจบ็ ตาย มคี วามทุกขA พระพุทธเจ'าจงึ อบุ ัติขึ้น
พระธรรมจึงสFองแสงรงุF เรอื งในโลก

ฉะนั้น ตอนนี้มันเป>นเรื่องธรรมดาที่มีโรคระบาด พระธรรมจะต'องออกมาแสดง
คุณคFาตFอชาวโลกในฐานะเป>นความรับผิดชอบตFอสังคม เป>นความรับผิดชอบทางศีลธรรม
พระสงฆAมีธรรมะเหมือนธรรมโอสถอยูF เก็บไว'ทำไม ในเมื่อคนเขาเดือดร'อน เขาวุFนวาย เรา
ก็จะต'องเอาธรรมะมาแจก แจกดวงตาแหFงธรรมะ นั่นก็คือ ปหานปธาน ให'เขาได'ลดความ
ทุกขAลงไปบ'าง ลดละความทุกขAทรมานลงไป เราจะต'องมีธรรมโอสถแจกจFายประชาชนใน
สถานการณAที่เจ็บปúวยด'วย Covid หรอื ท่ีเครียดนะเพราะ Covid ระบาด วิ่งอยูFรอบ ๆ บา' น
เรา จะเข'ามาเมื่อไหรFก็ไมFร'ู ทั้ง ๆ ที่เราล'อมรั้วอยูF แตFก็เกิดเหตุปÉจจัยตFาง ๆ ที่ทำให'รั้วพัง
บ'าง หรอื การระบาดในประเทศบ'าง

ธรรมโอสถนั้นมีหน'าที่ทำอะไร พระพุทธเจ'าได'ตรัสสอนนกุลบิดา ในนกุลบิดาสูตร
คฤหบดีเพราะเหตุนั้นแหละทFานพึงศึกษาอยFางนี้วFา เมื่อเรามีกายกระสับกระสFายอยFู จิต
ของเราจักไมFกระสับกระสFาย คือเมื่อเจ็บปúวยทางกายก็ให'เจ็บปúวยไปเถอะ อยFาไปซ้ำเติม
ความเจ็บปúวยด'วยทุกขAทรมานทางใจ บางทีการเจ็บปúวยทางกาย ถ'าเรามีกำลังใจดี มันก็จะ
หายงFาย ทุเลางFาย แตFพอเสียกำลังใจ กินไมFได' นอนไมFหลับ เพราะเราปúวยมันจะทรุด ๆ
อยFางรวดเร็ว บางคนตอนเข'าโรงพยาบาล เดินเข'าไปตรวจ พอหมอตรวจแล'วบอกวFา ทFาน
เป>นโรคร'ายระยะสุดท'าย เดินกลับไมFได' ต'องให'คนประคองหามขึ้นรถกลับบ'าน นี่เพราะ
อะไร เพราะวFาปúวยกายแล'วยังไมFพอ ยังปúวยใจซ้ำเข'าไปอีก พระพุทธเจ'าจึงเปรียบวFา
เหมือนคนปúวยทางกายนี้โดนลูกศรท่ิมไป 1 ดอกแล'วมาตีโพยตีพายวFา ทำไมเราจะต'อง
เจ็บปúวย ทำไมเราจะต'องเป>นโรคนั้นโรคนี้ เหมือนกับเอาลูกศรดอกที่ 2 มาทิ่มแทงตัวเองซ้ำ
เข'าไปอีก ปúวยกายเป>นลูกศรดอกที่ 1 ปúวยใจ เสียสุขภาพจิต หมดกำลังใจ เป>นลูกศรดอกท่ี
2 ความจนเป>นลกู ศรดอกที่ 1 แล'วมาเสียกำลงั ใจฆาF ตวั ตายเพราะลูกศรดอกที่ 2 คือเสยี ใจ

ดังนั้น ในสรสูตร พระพุทธเจ'าจึงตรัสวFา นายขมังธนู นักยิงธนูนี่นะใช'ลูกศรยิงบุรุษ
ยิงซ้ำบุรุษนั้นด'วยลูกศรดอกที่ 2 อีก เมื่อเป>นเชFนน้ี บุรุษนั้นยFอมเสวยเวทนา ๒ ประการ
เพราะลูกศรคือเวทนาทางกาย ลูกศรที่ 1 และเวทนาทางใจคือลูกศรดอกท่ี 2 เมื่อเรา
จะต'องเจ็บปúวย จำกัดอยูFที่เจ็บปúวยกายอยFางเดียวได'ไหม ไมFต'องซ้ำด'วยเจ็บปúวยทางใจคือ

(82) การประชุมวิชาการพระพทุ ธศาสนาและศิลปวัฒนธรรมระดบั ชาติและนานาชาตคิ รั้งท่ี ๒

เวทนาทางใจ เราก็จะได'โดนทำร'ายด'วยลูกศรดอกเดียวคือทางกาย ไมFทำร'ายตนเองด'วย

ลกู ศรดอกที่ 2

ด'วยเหตุนี้เองจึงได'แตFงโคลงให'ปฏิบัติตามใน New Normal นววิถีแตFงเมื่อวันที่ 5

พฤษภาคมปìน้ี บอกวFา “ปúวยกายแตFอยFาปúวยใจ”

เจบ็ กายเพราะปúวยไข' Covid

เสมือนหน่งึ ลกู ศรพิษ ขบขยำ้

หากเสียสขุ ภาพจิต ทรุดหนกั

เจบ็ ดงั ศร 2 ซำ้ เสยี บเขา' กลางทรวง

นี่เป>นการเผยแผFธรรมะในสรสูตรวFา ปúวยเพราะโควิดด'วยลูกศรดอกที่ 1 พอแล'ว

อยFาไปซ้ำเติมตัวเองด'วยลูกศรดอกที่ 2 ด'วยความคิดที่มันเป>นพิษ จนเสียสุขภาพจิต เสีย

กำลงั ใจ เสียอะไรก็เสยี ไป แตอF ยาF เสียกำลงั ใจ หมดอะไรก็หมดได' แตอF ยาF หมดหวัง

ในสถานการณA New Normal เราต'องให'กำลังใจกัน และก็มาลองไปดูใน

ประวัติศาสตรAในประเทศไทย เคยเกิดเหตุการณAอยFางนี้เมื่อ 200 ปìกFอน 2363 ปìนี้ 2563

เมื่อสมัยรัชกาลที่ 2 มีโรคหFาระบาดในประเทศไทยคืออหิวาตกโรคมาจากอินเดีย เข'าไป

ทางปìนัง แล'วก็เข'ามาที่กรุงเทพฯ มีคนตาย 30,000 คน ในสมัยนั้นกองซากศพเยอะมาก

เผากันไมFทันเลยแหละ จึงมีการนิมนตAพระสังฆราชและ๕ณะสงฆAให'แจกยาทันใจ ธรรม

โอสถ ด'วยการเจริญพระพุทธมนตAบทรัตนสูตร รัตนสูตรที่พระอานนทAเรียนจาก

พระพุทธเจ'าแล'วประพรมน้ำมนตAในเมืองไพสาลีแล'วกำจัดโรคหFาได' คือ โรคอหิวาตกโรค

รัตนสูตรนั้น พระเจ'าแผFนดินนิมนตAพระสังฆราชและพระมหาเถระเจริญรัตนสูตร สวดรัตน

สูตร และบทพุทธมนตAอื่นในพระราชพิธีอาพาธพินาศ ยิงปùนใหญF แหFพระแก'วมรกตออก

จากวัดพระแก'ว ประพรมน้ำมนตA และปรากฏวFาหลังจากพิธี 15 วัน อหิวาตกโรคก็หายไป

จากประเทศไทย เป>นเรื่องที่เคยเกิดขึ้น จะหายด'วยอะไรก็อีกเป>นเรื่องหนึ่ง แตFวFาขวัญ

กำลงั ใจคนนี้กลบั มา เป>นธรรมโอสถ ยาคอื ธรรมะ

อีกอันหนึ่งเกิดขึ้นในปì 1918 (2461 – 2463) 100 ปìที่ผFานมา สมัยรัชกาลที่ 6

โรคระบาดร'ายแรงที่สุด คนตายถึง 50 ล'านคนในสมัยสงครามโลกครั้งที่ 1 เฉพาะคนไทย

ตายไปเพราะโรคน้ี เรียกวFา ไข'หวัดใหญFสเปน ทำให'คนตาย 80,000 คน สมัยโน'นนะ สมัย

นี้ยังไมFถึงร'อยเลยใชFไหม แตFเมื่อ 100 ปìที่แล'วตายไป 80,000 คน ประเทศไทย ทั่วโลก 50

การประชุมวชิ าการพระพุทธศาสนาและศิลปวัฒนธรรมระดับชาติและนานาชาติครงั้ ที่ ๒ (83)

ล'านคน ก็ต'องมียารักษาใจเชFนเดียวกัน มีการแจกธรรมะเป>นธรรมโอสถเป>นยา และในชFวง
ไข'หวัดสเปนนี่แหละ อเมริกาก็มีคนตายเยอะ ยุโรปก็มีคนตายเยอะ เขารักษาด'วย Social
Distancing รักษาระยะหFางทางสังคม เป>นวิธีการในการที่จะปåองกันไมFให'เกิดโรคระบาด มี
การใสFหน'ากากอนามัย เขาเรียกวFา ใช'ผ'ากอซ ใสFหน'ากาก รักษาระยะหFางทางสังคม มันก็
เป>นการชFวยกันชะลอการแพรFระบาด เป>นการปåองกันที่ดีก็ทำมาแล'วเมื่อ 100 ปìที่แล'ว
New Normal ใช'ได'จริง เขาปฏิบัติกันมาแล'ว อีก 100 ปìก็ฟùûนขึ้นมาอีก และคนไทยก็ไมF
รู'สึกวFา มันแปลก เรื่องใสFหน'ากาก เราใสFตั้งแตFต'น มันยังทำให'เราปåองกันได'ดี เพราะอะไร
เพราะวFามันมีฝุúนเยอะ ไอ'ตัวที่ฝุúนละอองที่มันแพรFไปทั่วกรุงเทพฯ เราสวมหน'ากากกันตอน
นั้น สวมหน'ากากสักพักหนึ่ง Covid - 19 มันก็เข'ามา มันก็เลยกลายเป>นวิถีชีวิตที่รับได'งFาย
ในประเทศไทย

นอกจากนั้น สมเด็จพระสังฆราชก็ทรงนำเจริญพุทธมนตAเน'นรัตนสูตรทั่วประเทศ
ทำให'เกิดขวัญกำลังใจ ก็คือเจอโรคภัยก็ให'เป>นลูกศรดอกเดียวคือดอกที่ 1 อยFาให'เป>นดอก
ที่ 2 จัดงานเมื่อวันที่ 25 มีนาคมที่ผFานมา ถFายทอดทางโทรทัศนAไปทั่วประเทศ และทุกวัดก็
สวดรัตนสูตรด'วยกัน เจริญพุทธมนตAบทอื่นแล'วก็สวดรัตนสูตรก็เป>นการให'ธรรมโอสถอยFาง
หนึ่งเหมือนกัน แล'วก็มีการกลFาวนำในการถFายทอดทางโทรทัศนA โดยผู'จัดก็ขอให'เป>น
ผ'ูบรรยายนำกอF นทจ่ี ะมกี ารเจริญพุทธมนตAทวั่ ประเทศในวนั ที่ 25 มนี าคมนน้ั

ในชFวงวิกฤตที่มหาเถรสมาคมห'ามชุมนุมในวัด ทางศาสนา ห'ามประชาชนมา
ชุมนุม ทางวัดประยุรวงศาวาสก็ไมFได'หยุดในการแจกธรรมอุโบสถ ทุกวันพระก็แสดง
ธรรมะผFานสื่อเรียกวFาถFายทอดออนไลนA คนมาฟÉงในโบสถA ไมFมีหรอก มีแตFพระเณรฟÉง ผ'ูพูด
ถือโอกาสแสดงธรรมทุกวันพระผFานออนไลนAโดยเฉพาะ 15 ค่ำ ผFานออนไลนA ผFานสื่อ จน
เป>นปกติใช'โปรแกรม Zoom อยFางที่ทำวันนี้ เราก็ทำมากFอนตลอดเวลา วิกฤตเป>นโอกาส
เปลี่ยนวิกฤตเป>นโอกาส เปลี่ยนพินาศเป>นพัฒนา เปลี่ยนปÉญหาให'เป>นบทเรียน เพราะ
ผู'ติดตามนี่นะ มาวัดไมFได' เขาก็ฟÉงออนไลนA กลายเป>นวFาเทศนAทีหนึ่งไปถึงอเมริกา วัดไทย
ในอเมริกาก็เปêดฟÉง อยFางวันนี้ ตอนนี้ที่กำลังพูดอยูFนี้ ก็มีผู'ฟÉงอยูFทางบ'านทางอะไรตFาง ๆ
พรอ' มกบั ทาF นท้งั หลาย เพราะวาF เขามีผตู' ดิ ตามประจำอยูFแลว'

ในชFวงวิกฤตการปêดบ'านปêดเมือง เราใช'สื่อทางออนไลนAจนเป>นปกติแล'ว ฉะนั้นใน
ยามปúวยไข'นี้ เราก็จะต'องดูแลรักษาใจกันให'ดี ลีเน จิตฺตมฺหิ ปคฺคาโห จิตตกให'ยกจิต

(84) การประชมุ วชิ าการพระพุทธศาสนาและศลิ ปวฒั นธรรมระดบั ชาตแิ ละนานาชาตคิ รัง้ ท่ี ๒

อุทฺธตฺตสฺมึ วินิคฺคโห จิตลอยลมให'ขFมจิต โดยเฉพาะลูกศรดอกที่ 2 อยFาให'มันทิ่มแทงจิตใจ
ของคน เพราะวFาคนมันท'อในยามวิกฤติ เราต'องยกจิตเขาขึ้นมา ลีเน จิตฺตมฺหิ ปคฺคาโห จิต
ตกให'ยกจิต ธรรมะอะไรที่จะทำให'ยกจิตของคนไทยให'สู'ตFอไปผFานไปด'วยกัน พระก็ต'อง
เทศนAให'มาก ถ'ารู'วFาเขาจิตตก อยFางเชFน วิริยะสัมโพชฌงคA ในการที่จะเจริญให'มาก เพื่อยก
จิตขึ้นมา แตFทีนี้พอประเทศไทยมันผFานวิกฤตมาได' คนชักจะประมาทการAดตก อุทฺธตฺตสฺมึ
วินิคฺคโห ในกรณนี จ้ี ติ ลอยลมใหข' มF จติ เตือนคนไทยให'ไมFประมาทการAดอยFาตก กจ็ ะปåองกัน
ไมใF หม' ีการระบาดระลอกท่ี 2 ระลอกท่ี 3 ตFอไป อาศยั ธรรมะชFวยเตอื นจติ สะกดิ ใจ เชFน

ปมาโท รกฺขโต มลํ ความประมาทเป>นมลทินของผู'รักษา เราพยายามรักษาดูแล
สังวรปåองกัน ไมใF หโ' รคมันเข'ามาในประเทศ แตFเราอยFาประมาทอยFางนี้เป>นต'น เพราะฉะนั้น
จึงไมFควรประมาท การAดก็อยาF ตกในการทจี่ ะดูแลระวงั ตาF ง ๆ

สงฺเกยฺย สงฺกิตพฺพานิ นี่พุทธศาสนสุภาษิต ให'ระแวงสิ่งที่ควรระแวง รกฺเขยฺยา
นาคตํ ภยํ ปåองกันภัยที่จะมาถึง ประชุมกัน เสวนากัน ไมFใสFหน'ากากนี่ แสดงวFาเราไมFมีไมF
ปฏิบัติตามพุทธศาสนสุภาษิตนี้ ไมFระแวงในสิ่งที่ควรระแวง เราไปไว'ใจ คงไมFเป>นอะไร คง
ไมFมีเชื้อหรอก ถอดหน'ากาก ไมFล'างมือ อะไรอยFางน้ี ถือวFาไมFระแวงสิ่งที่ควรระแวง และไมF
ปåองกันเชื้อที่มันอาจจะผFานมาตรงนั้นตรงน้ี แม'กระทั่งเราเปêดประเทศรับนักทFองเที่ยว เปêด
อะไรก็ตาม รับแรงงานอะไรก็ตาม ถ'าไมFมีกระบวนการ เขาเรียกวFา Quarantine คือกักตัว
ดอู าการ 14 วนั ก็ถือวาF ประมาทเหมือนกัน

ฉะนั้นก็จะต'องเตือนกันวFา ไมFประมาทการAดอยFาตก ปมาโท รกฺขโต มลํ ความ
ประมาทเป>นมลทิน เป>นสนิมของผ'ูปåองกัน มันจะทำให'เกิดรูรั่ว เพราะความประมาทน่ี
แหละ

ทนี ม้ี าถึงข'อท่ี 3 ภาวนาปธาน ทจ่ี ะตอ' งปรับวถิ ชี วี ติ ของเราให'ชนิ ภาวนาแปลวFาทำ
ให'มีให'เป>น เราจะต'องเป>นผู'ที่ทำเรื่องตFอไปนี้อยFางเป>นปกติ ศีลแปลวFาปกติ รักษาศีลได'
ตFอเนื่อง มันก็เป>นปกติชีวิตอยFางนั้น ไมFฆFาสัตวA ไมFลักทรัพยA เราทำ New Normal ให'มัน
เป>นปกติ ในการที่จะใสFหน'ากาก รักษาระยะหFางทางสังคม ล'างมือ แล'วก็ทานอาหารก็
แยกกันทานหรือมีช'อนเป>นของตนเองอะไรตFาง ๆ อยูFบ'านหยุดเชื้อ เพื่อชาติ เพื่อความ
ปลอดภัย อะไรก็วFากันไป ถ'าหากวFาจะต'องใช'สื่อออนไลนAในการประชุมสัมมนาก็พัฒนาสื่อ
ซะ นิสิตก็เรียนจากวัดของตนเองได' มันก็จะกลายเป>นวFาเกิดวิถีชีวิตใหมFในการเรียนการ

การประชมุ วิชาการพระพทุ ธศาสนาและศลิ ปวฒั นธรรมระดับชาตแิ ละนานาชาติคร้งั ท่ี ๒ (85)

สอน วิถีชีวิตใหมFในการที่จะทำหน'าที่ของเรา อยFางวันนี้ในการประชุมสัมมนามันก็เป>น
New Normal ที่จะทำให'เราปลอดภัยจาก Covid - 19 ทำให'มันเป>นปกติ ภาวนาปธาน
เพียรทำ ทุกคนต'องทำ จนเป>นนิสัย และการที่เราทำอยFางนั้น เพราะเราต'องการไมF
เบียดเบียนตน ไมFเบียดเบียนคนอื่น และการจะไมFเบียดเบียนตน ไมFเบียดเบียนคนอื่น เรา
ต'องรักษาตนให'ปลอดภัย อตฺตานํ ภิกฺขเว รกฺขนฺโต ปรํ รกฺขติ ภิกษุทั้งหลาย ผู'รักษาตน ชื่อ
วาF รักษาคนอนื่ ปรํ รกฺขนโฺ ต อตฺตานํ รกขฺ ติ ผ'รู กั ษาคนอ่นื ชื่อวาF รกั ษาตน

อันนี้เป>น Social Ethics ก็คือจริยธรรมเพื่อสังคม ทำไมเราจะต'องรักษาตนให'
แคล'วคลาดพ'นจาก Covid - 19 เพื่อไมFทำตนเองให'เดือดร'อนประการหนึ่ง และเพื่อจะ
รักษาคนอื่นไมFให'เดือดร'อน ปåองกันคนอื่นไมFให'คนอื่นได'เดือดร'อน ผู'รักษาตน ชื่อวFารักษา
คนอื่น หนุFมสาวปåองกันตนเองใสFหน'ากากเป>นต'น เพื่อไมFให'ติดเชื้อ ที่จริงคือปåองกันตนเอง
แตFก็ทำให'คนที่บ'าน พFอแมFปูúยFาตายายปลอดจากเชื้อด'วย นี่คือรักษาตน ชื่อวFารักษาคนอื่น
บางทีเราหFวงใยคนอื่น ไมFอยากให'คนอื่นเดือดร'อน เราก็ต'องใสFหน'ากาก เพราะเพื่อรักษา
คนอ่นื ไมใF ห'ตดิ เช้อื เรากเ็ ลยพลอยปลอดภัยไปด'วย ผู'รกั ษาคนอืน่ ชอ่ื วาF รกั ษาตน

เมื่อเร็ว ๆ นี้ มีนิดาโพล ทำแบบสอบถามวFา ทำไมคนไทยจึงใสFหน'ากากอนามัย
เพราะอะไร คำตอบ 75% ของผู'ตอบบอกวFา กลัวตาย กลัวตายก็คือรักษาตน แล'วก็ทำให'
รักษาคนอื่น 10% บอกวFา เพราะกลัวสังคมรังเกียจ เขาสวมหน'ากากกันแล'วเราไมFสวม ไมF
อะไรตFางจากสังคม เขาเรียกวFารับผิดชอบตFอสังคม เหมือนกันเป>น Social sanction คน
อื่นเขาสวมกัน เราไมFสวม มันจะไปเจอเขาได'ยังไง อันน้ีประมาณ 10% อีก 10% สวม
หน'ากากเพราะวFาเขาสั่ง อยFางเชFนจะไปเข'าห'างบางห'าง เขาสั่งให'สวมก็สวม ไปช็อปปêûงเขา
ใหส' วมกส็ วม รัฐบาลให'สวมก็สวม อนั นี้เขาส่งั อยาF งนี้ เปน> ตน'

จะด'วยอะไรก็แล'วแตF ภาวนาปธาน ทำวิถีชีวิตใหมFให'มันเป>นปกติ รักษาตนชื่อวFา
รักษาคนอื่น รักษาคนอื่นก็ชื่อวFารักษาตน อันนี้ในเสทกสูตรที่พระพุทธเจ'าตรัสไว'
นอกเหนือจากการรักษาตน รักษาคนอื่นให'แคล'วคลาดปราศจากโรคภัย เราจะต'องดูแลกัน
และกันให'ปราศจากภัยอันเนื่องมาจากความยากจน ข'าวยากหมากแพง โรคภัยมักจะมาคFู
กับทุกพิกภัย เพราะโรคระบาด ปêดบ'านปêดเมือง เศรษฐกิจตกต่ำอยFางไมFเคยเป>นมากFอน
เพราะฉะนั้นทางคณะสงฆAนำโดยเจ'าประคุณสมเด็จพระสังฆราชก็จัดโรงทานชFวยเหลือใน
วัดตFาง ๆ ผเู' ดือดร'อนในระยะท่ปี ดê บา' นปêดเมอื ง ในสถานการณรA ะบาดของโรคไวรัสโค

(86) การประชมุ วชิ าการพระพทุ ธศาสนาและศิลปวัฒนธรรมระดบั ชาตแิ ละนานาชาตคิ รง้ั ท่ี ๒

โรนา ก็ให'แตFละคนได'รับการดูแลจากทางวัดตFาง ๆ ทั่วประเทศ ซึ่งก็เป>นเรื่องท่ีภาวนา
ปธาน เป>น New Normal ของพระเหมือนกัน ในขณะที่ตัวเองลำบาก เราจะจัดให'คนอ่ืน
เข'าแถวเป>นระเบียบมารับ ต'องรักษาระยะหFางทางสังคม ต'องใสFหน'ากาก จะเผลอไมFได'เลย
เพราะฉะนั้นก็แจกของอยFาง New Normal วิถีชีวิตใหมF แล'วก็จะทำให'ผFานพ'นจากโรคภัย
จากทุพภิกขภัยไปด'วยกัน การที่คนไทยออกมาชFวยเหลือกันในยามวิกฤตนั้น ถือวFาในฐานะ
ชาวพุทธ เราไมFทอดทิ้งกัน เหมือนกับช'างตกหลFม เวลาช'างตกหลFม มันขึ้นไมFได' มันยิ่งด้ิน
ยิ่งจม คนเวลามีปÉญหาชีวิตเพราะโรคภัยคือ Covid - 19 เพราะความยากจนทุพภิกขภัย
บางทีมันเข'าตาจนนะ ทำยังไงลFะ ต'องอาศัยกัลยาณมิตร อาศัยวัดชFวย อาศัยคนอื่นชFวย
เหมือนช'างตกหลFม ขึ้นได'อยFางไร ช'างตกหลFมมันจะร'องดัง ๆ ให'ควาญรู' ควาญช'างรู' อ'ุม
ช'างขึ้นไมFได' แตFเขาจะเอาเชือกมาลFามช'าง แล'วก็ที่ปลายเชือกบนบกจะมีช'างตัวใหญFกวFา
มาผูกเข'ากับขาและลำตัวของช'างบนบก ดึงช'างที่ตกหลFมขึ้นมา ในทำนองเดียวกัน คนตก
หลFมคือคนที่ติดเชื้อโควิดบ'าง หรืออดอยากยากจนเพราะ Covid บ'าง ใครที่หมอก็จะต'อง
มาชFวยคนไข' ตัวเองก็จะต'องใสF PPE ใชFไหม รักษาตนแล'วชFวยกันรักษาคนอื่น รักษาคนอ่ืน
ก็เทFากับรักษาตน ไมFงั้นหมอก็จะทำให'เชื้อมันไปติดคนอื่นเพื่อเห็นแกFคนอื่นหมอกต็ 'องใสFชุด
ปåองกันอยFางดี PPE และขณะเดียวกัน เชื้อจากคนไข'ต'องไมFไปติดหมอ ไมFงั้นหมอก็จะ
เสียชีวิตแล'วใครจะมารักษาลFะ เราก็จะต'องดูแลรักษาซึ่งกันและกัน ในเรื่องเศรษฐกิจก็
เชFนเดียวกัน เวลาที่ไมFเกิดโรคระบาด โยมก็ใสFบาตรพระ แตFพอเกิดโรคระบาดขึ้นมาญาติ
โยมลำบากพระก็จะต'องเลย้ี งดแู ลดว' ยโรงทาน เหมอื นชFวยช'างท่ีตกหลมF ข้นึ มา

การทำสังคมสงเคราะหA สาธารณสงเคราะหA มันก็เป>นหน'าที่ของพระ ที่ระบุเอาไว'
ในพระราชบัญญัติคณะสงฆAที่แก'ไขเพิ่มเติม 2535 งานของคณะสงฆAนอกจากการปกครอง
ศึกษาเผยแผFทุกประการแล'ว ก็ยังมีศึกษาสงเคราะหAและสาธารณสงเคราะหAดูแลญาติโยม
ในยามเจ็บไข'เปน> กจิ ของสงฆอA ยาF งหนึ่ง เปน> Social Responsibility ทีเ่ ป>นความรับผิดชอบ
ทางสังคม ที่ไมFใชFเป>นแคF Moral Obligation ข'อผูกมัดทางศีลธรรม แตFยังเป>น Legal
Obligation เป>นข'อผูกมัดทางกฎหมาย ที่เขียนไว'โดยพระราชบัญญัติคณะสงฆAวFา พระต'อง
ชFวยญาติโยม พระตอ' งมโี รงครวั พระตอ' งปลกู ผัก ไมFปลูกเองกใ็ หค' นอน่ื ปลกู ดูแลซึ่งกันและ
กันเหมอื นชา' งท่อี ยFบู นบก ชวF ยชา' งท่ตี กหลFมฉะนัน้ แหละ

การประชมุ วชิ าการพระพุทธศาสนาและศลิ ปวฒั นธรรมระดับชาติและนานาชาตคิ รัง้ ที่ ๒ (87)

ฉะนั้น จึงเราจึงเห็นสิ่งที่คนชFวยเหลือกันในประเทศไทยนี้เรามีอาสาสมัคร
สาธารณสุขประจำหมูFบ'าน อสม. ที่เป>นหูเป>นตา ตรวจคนที่จะเข'าไปในหมูFบ'านหรือ
แม'กระทั่งที่ออกจากหมูFบ'านแล'วก็เป>นเหตุให'ประเทศไทย เรียกวFารักษาคุ'มครองปåองกัน
ตัวเองให'แคล'วคลาดปราศจาก Covid - 19 ได'อยFางดีจนกระทั่ง คือมีสมาชิก อสม. เป>น
อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมูFบ'านเป>นล'านคน ตอนแรกเป>นหFวงใชFไหมวFา ถ'าคนหนี
Covid - 19 จากกรุงเทพฯ ไปอยูFตFางจังหวัดอยูFน่ี ไปหลบ ๆ อยFู ไมFรู'เอาเชื้อไปแพรFอยFางไร
หลบไมFได' เพราะ อสม. นี่แหละเป>นหูเป>นตา ใครมาอยFูในหมูFบ'านต'องกักตัว 14 วันแล'ว
ครบไหม ครบ เพราะ อสม. มาตรวจทุกวนั เลย

ในขณะที่ตFางประเทศ ประเทศที่เจริญแล'ว ใครไปก็ เดี๋ยวนี้บางรัฐนี่บอกวFาให'กัก
บริเวณอยูFกับบ'านแตFไมFมีใครกัก เพราะไมFมีใคร ไมFมี อสม. ไปตรวจ เจ'าหน'าที่สาธารณสุข
เขาก็ยุFงกับเรื่องอื่นไมFมีกำลังพอ เชื้อมันก็เลยระบาดไปเรื่อย ๆ เพราะขาดกระบวนการ
อาสาสมัคร New Normal อยFางประเทศไทยซึ่งองคAการอนามัยโลกชื่นชม อสม. ที่ไปเคาะ
ประตูบ'านสู'ภัย Covid ตอนนี้ก็เห็นแล'ว คนหลบหนีเข'าประเทศจากชายแดน เพราะ
ประเทศไทย มันปลอดภัย พอเข'ามาปุØบ พวก อสม. เป>นหูเป>นตาไปแจ'งเจ'าหน'าที่เลย มีคน
หลบอยูFตรงนั้นตรงน้ี เดินเข'ามาในทุFงอยFางนั้นอยFางน้ี เจ'าหน'าที่เขาก็ไปจับ นี่เรียกวFาทุกคน
ตาF งชFวยเหลือซึง่ กนั และกนั

พอประเทศไทยใช' New Normal ผFานมาถึงจุดนี้ นิตยสารนิวยอรAกไทมA
หนังสือพิมพAนิวยอรAกไทมAก็พาดหัวบอกวFา No one Knows ไมFมีใครรู'วFาประเทศไทยทำ
อยาF งไรได'ถกู ตอ' งอยFางไร จัดการเกี่ยวกบั Covid ได'ถกู ต'อง ได'อยาF งไร ไมFมีใครร'ู แตFท่แี นF ๆ
ก็คือ But so far. Its working แตFที่แนF ๆ คือมันใช'ได' มัน Works มันปåองกัน Covid ได'
ควบคุมได'ชะงักเลย และเขาก็วิเคราะหAวFาอาจจะมาจาก 3 Factors ที่ทำให'ประเทศไทย
สามารถควบคมุ โควิดได'อยาF งดี

1. มาจากวัฒนธรรมที่เราไหว'กัน เราไมFจับมือ เราไมFกอดเหมือนบางศาสนา ทำให'
เรารกั ษาระยะหาF งทางสังคมได'เป>นปกติ

2) การสวมหน'ากากอนามัยก็เป>นปกติของคนไทย เพราะเราสวมตงั้ แตFปåองกนั ฝุนú
แล'วก็ตอF มาก็ทำเร่ืองน้ี ก็ไมใF ชเF รื่องแปลก เราก็สวมหน'ากากอนามัยลา' งมอื กันเปน> ประจำ

(88) การประชมุ วชิ าการพระพทุ ธศาสนาและศลิ ปวฒั นธรรมระดบั ชาตแิ ละนานาชาติครัง้ ท่ี ๒

3) อาจจะมาจากพนั ธกุ รรมกไ็ ด' อยาF งเชFนวาF คนไทยคนพมาF น่ีไมตF ิดเชอื้ เพราะวาF
เราแพย' ุงลาย ไข'เลือดออก แตตF อนน้ีพมาF ก็ติดแล'วเลยไมคF งไมFใชFแล'วลFะ

อสม. อีกทีเ่ ขาไมไF ด'พูด เขาพูดแคF 3 อยFาง แตFอยากจะบอกวาF ท่ีประเทศไทยผาF น
พ'นวิกฤตมาได'จนบัดนี้ต'องยกความดีให' อสม. อาสาสมคั รสาธารณสขุ ของหมFบู 'าน เปน> ลา' น
ๆ คนน่ีแหละ ที่เปน> ลกั ษณะเฉพาะซึ่งตาF งประเทศไมFร'ู แตเF รารเ'ู พราะวาF ในชวF งเกดิ Covid
ใครไปทไี่ หนก็เห็นอยูFหนา' ประตูหมบูF า' น เคยลองเดนิ ทางเขา' ไปวนั เดียว กลับไปดูเขานะ เขา
ตรวจทกุ อยFางเลยนะ ดแู ล มายังไง อะไรตาF ง ๆ แสดงใหเ' ห็นวFา อสม. น่มี บี ทบาทสำคญั
ซง่ึ มันกส็ อดคล'องกบั ประชาชนจติ อาสาพระราชทานของพระบาทสมเดจ็ พระวชิรเกล'า
เจา' อยหFู ัว รัชกาลปจÉ จบุ นั ซง่ึ ทำใหค' นมีจติ อาสาออกมาชFวยกันดูแลกนั ท้ังจิตอาสาในเรอ่ื ง
ของ อสม. จติ อาสาในเรือ่ งของแจกอาหารโรงทานโรงครวั จงึ ทำให'ประเทศไทย มคี นที่
สมคั รใจทำงานเพอื่ ประโยชนAสุขแหFงประชาชนและสงั คมโดยไมหF วังผลตอบแทนเปน> เงนิ
หรือสงิ่ อนื่ ใด น่มี อี ยูมF ากซง่ึ มนั สอดคล'องกับธรรมะในพุทธศาสนาเรียกวFาจิตอาสานี่แหละ
ท้ัง อสม. ทัง้ จิตอาสาท้งั หลาย ๆ อยFางมนั ทำให'ประเทศไทยเข'มแข็ง แลว' กป็ ลอดจากเช้อื
ท้ังหลาย

จิตอาสาจะคำนึงถึงประโยชนA 3 ประการ 1) อัตตัตถะ ทำประโยชนAตน ประโยชนA
ตนคือความมีสุขภาพดีสFวนตน 2) ปรัตถะ ประโยชนAสFวนอื่น คนอื่นมีสุขภาพดี และ 3)
อุภยัตถะ ประโยชนAสFวนรวม กลFาวอีกนัยหนึ่ง คนดีคือคนที่ทำประโยชนA 3 ประการ
ประโยชนAตน ประโยชนAทFาน ประโยชนAสFวนรวม หรือกลFาวอีกนัยหนึ่งคนดีคือคนที่ไมF
เบียดเบียนตน ไมFเบียดเบียนคนอื่น ไมFเบียดเบียนทั้งตนและคนอื่นดังที่กลFาวมาแล'ว ไมFทำ
ตนและคนอื่นให'เดือดร'อน ก็เป>นเรื่องเดียวกันนั่นแหละ เป>นกุศลกรรม เป>นความดี ท่ี
พระพุทธศาสนาไดป' ลกู ฝงÉ ไว'ในประเทศของเรา

แล'วเราก็มีจิตใจที่เป>นจิตอาสาด'วยการแสดงออกเป>นสังคหวัตถุ 4 ก็คือ ทาน โอบ
อ'อมอารี ปêยวาจา วจีไพเราะ อัตถจริยา สงเคราะหAประชาชน สมานัตตตา วางตนพอดี
เสมอต'นเสมอปลาย ไปเยี่ยมกันดูแลกันชFวยเหลือชFวยแบกชFวยหาม หรืออัตถจริยา ชFวย
แนะนำทางวิชาการ อยFางที่พูดกันนี้มันจะเป>นปêยวาจา แนะนำให'ผFาน ให'สู'กับ Covid ไป
ให'ได' มีการแจกของแจกทานทุกอยFาง จิตอาสาในสังคมไทย พาสังคมให'ผFานพ'นไปได'เป>น
ภาวนาปธาน ซึ่งธนาคารโลกเปรียบไว'วFามันคือตาขFายนิรภัยเป>น Safety Net แม'เราจะมี

การประชมุ วชิ าการพระพทุ ธศาสนาและศิลปวัฒนธรรมระดบั ชาตแิ ละนานาชาตคิ ร้งั ท่ี ๒ (89)

ภัยนะ ตกลงมาเหมือนนักกายกรรมนFะ ไมFตายนะ อยูFในที่สูง เพราะมันมีตาขFายนิรภัย
รองรับ คนแม'จะเจอ Covid ก็มีสังคม มี อสม. มีคนไทย มีจิตอาสาเป>นตาขFายนิรภัย อ'ุม
ช'างดึงช'างที่ตกหลFมขึ้นมา ไมFให'มีปÉญหาทางเศรษฐกิจทางธุรกิจมากมายเกินไป สังคมมี
น้ำใจอยFางนี้เป>น Moral Application เป>นข'อผูกมัดทางศีลธรรมและเป>น Social
responsibility เป>นความรบั ผดิ ทางสงั คม ในฐานะชาวพทุ ธเราไมFนิง่ ดดู ายกัน

เพราะฉะนั้นจะเห็นได'วFา ที่วัดประยุรวงศาวาส ก็มีการจัดโรงทานมอบของให'
ประชาชน อยFางที่เห็นในชFวงวิกฤตให'รัฐมนตรีกระทรวงวัฒนธรรมมาแจกของแกFชุมชนใน
ยFานวัดประยุรวงศาวาส นีก่ ็เป>นเรอื่ งของ Safety Net กค็ อื ตาขFายนิรภยั

ข'อสุดท'าย ที่จะพูดถึงคือ อนุรักขนาปธาน หมายถึง ความเพียรในการรักษาความ
ปลอดภัย แนFนอนวFาวัคซีน แล'วก็คือเป>นตัวภาวนาปธานและอนุรักขนาปธาน การฉีดวัคซีน
ที่กำลังจะเกิดขึ้น มันจะทำให'การติดเชื้อทุเลาลงเหมือนกัน เหมือนกับไข'หวัดทั้งธรรมดา
และทีน้ี มันจะไมFมีอันตราย เพราะวFามันจะเกิดทุกขA เรียกวFา Heard Immunity มี
ภูมิคุ'มกันของหมูF เพราะเมื่อทุกคนมีวัคซีนภูมิคุ'มกัน สมมติวFา 80% อีก 20% อาจจะใน
ประเทศนั้นในชุมชนนนั้ อกี 80% ไดว' คั ซนี แล'ว อีก 20 ไมไF ด' แตเF มอื่ คนไมเF ปน> เช้ือ มันกไ็ มF
มาถึงเรา เพราะวFา 80% ล'อมเราอยFู อันนี้เป>นอนุรักขนาปธาน มันจะทำให'เราเอาชนะ
Covid ระยะยาว ตอนนี้ทดลองในมนุษยA Phase ที่ 3 ผลยังไมFออกมาแตFหลายประเทศ
ประกาศวFาจะเสร็จภายในเดือนพฤศจิกายน เอาวัคซีนแจกไปได'ทั่วโลก ถ'ามัน Works มัน
ทำงานได' หมายถึงใช'ได' คนทั่วโลกก็อยูFอยFางปลอดปลอดภัยจาก Covid - 19 อันนี้เราหวัง
จากวัคซีนนะ เพือ่ ให'เกดิ การเอาชนะ Covid - 19 อยFางยง่ั ยนื สFวนวถิ ีชวี ิตใหมFนี้มันชว่ั คราว
เรารักษา เราคุ'มครอง เราสร'างรั้ว แตFไมFรู'จะพังทลายเมื่อไหรFบ'านเรา แตFเมื่อใดก็ตามที่มี
วัคซีน เมื่อนั้นเราก็จะปลอดภัยอยFางยั่งยืนถาวร อันนี้ก็ต'องปรับตัวกFอนจะถึงวันนั้นต'อง
รักษา New Normal วถิ ีชวี ิตใหมตF อF ไป และกม็ จี ิตอาสา มอี ะไรตอF ไป

เมื่อมีการรักษาปåองกันด'วยวัคซีนแล'ว เราจะมีหลักประกันได'อยFางไรวFา โรคภัย
แบบเดียวกัน โรคระบาดนี้ มันจะไมFกลับมาอีก จะเป>นอนุรักขนาปธาน เพียรรักษาความดี
ให'เหมือนเกลือรักษาความเค็มได'อยFางไร คือเป>น Sustainable เป>นสิ่งที่ยั่งยืน ปลอดโรค
เหลFานี้ได'อยFางไร ในเมื่อวิทยาการมันพัฒนามาขนาดน้ี มันรับประกันยาก เพราะอะไร
เพราะเชื้อโรคมีวิวัฒนาการกลายพันธุA เราเรียกวFากลายพันธAุ เมื่อมีการกลายพันธุAแล'ว เราก็

(90) การประชมุ วชิ าการพระพุทธศาสนาและศลิ ปวัฒนธรรมระดับชาตแิ ละนานาชาติครงั้ ท่ี ๒

จะต'องพัฒนาวัคซีนพัฒนายาตFอไป แตFมีวิธีหนึ่งที่จะทำให'ความปลอดภัย Sustainable
Safety ความปลอดโรคยั่งยืน คืออะไร คือการอยูFในศีลธรรม การรักษาศีล 5 มันจะทำให'
เราปลอดจากโรครา' ยทงั้ หลาย

เราลองดู HIV ที่ระบาด เป>นที่นFากลัวไปทั่วโลก มันมาจากไหนลFะ เพราะเราไมFอยูF
ในศีลในธรรม ไมFอยูFในศีล 5 ข'อแรก HIV มาจากสัตวAคือลิงที่แอฟริกา เราไปจับ ไปทำร'าย
ไปฆFาเขา ไปกินสมองเขา ไวรัส HIV มันก็โดดจากลิงมาสูFมนุษยA เพราะมนุษยAไมFมีศีลธรรม
ไปฆFาสัตวA ไปเบียดเบียนสัตวA ไปทำลายสิ่งแวดล'อม แล'วเสร็จแล'วมนุษยAก็ไมFรักษาศีลข'อท่ี
3 กาเมสุมจิ ฉาจาร มนั กล็ ำบากกนั ใหญเF ลย น่คี ือ HIV

พอมา Spanish Flu ไข'หวัดสเปนเมื่อ 100 ปìที่แล'ว ที่คนตายกันจำนวนมาก วFา
กันวFามันมาจากนก เป>นไข'หวัดที่มาจากนก เราไปอยูFใกล'นกหรือไปกินนก ไปทำอะไรก็ตาม
ผิดศีลอกี จาก Spanish Flu ไขห' วดั สเปนมันก็มา โรค SARs ระบาดเมื่อสกั สบิ กวาF ปì

เกี่ยวกับทางเดินหายใจ โรค SARs นี้ ก็วFากันวFามันก็มาจากสัตวA ระบาดในฮFองกง
ในจีน เพราะเหตุที่เราไปเกี่ยวข'อง มนุษยAไปเบียดเบียนสัตวA ในตลาดเขาขายสัตวAเป>น ๆ
ขายเนื้ออะไรก็ตาม โดยเฉพาะสัตวAเป>น ๆ เชื้อจากสัตวAก็เข'ามา เชื้อมาจากค'างคาว แล'วก็
มาที่สัตวAที่เราไปซื้อเอามากินมาอะไรตFาง ๆ แล'วก็ติดมาถึงมนุษยAก็เป>นโรคทางเดินหายใจ
ทำลายปอด เป>นโรค SARs สFวน MERS นั้นเกิดขึ้นใน Middle East เป>นตะวันออกกลาง
แถวซาอุดิอาระเบียเกี่ยวกับโรคปอดลมหายใจ เหมือนโรค SARs มาจากค'างคาวอีก แตFมัน
ไปกดั อูฐหรอื ไงก็ไมFรู'นะ จากอูฐก็เข'ามาสูFคน เปน> โรคเกย่ี วกับทางเดินหายใจทำลายปอด

Covid - 19 ก็แบบเดียวกัน เริ่มพบอยูFที่ตลาดค'าสัตวAมีชีวิต รวมถึงสัตวAทะเลด'วย
อยูFในอูFฮั่น เราไปเอาสัตวAทั้งหลายมาค'า มาฆFา อะไรตFาง ๆ แล'วก็สันนิษฐานวFามันมาจาก
ค'างคาวเชFนเดียวกัน ค'างคาวก็เข'ามาสูFสัตวA เป>นสัตวAเป>นที่เราไปทำร'ายเขา ไปจับเขามา
ขาย มันก็โดดเข'ามาที่มนุษยA ธรรมชาติลงโทษ เพราะฉะนั้น ถ'าอยากจะปåองกันให'ยั่งยืน
อนุรักขนาปธานนะ Sustainable เราก็ต'องรักษาศีล 5 โดยเฉพาะอยFาไปทำลาย
สิ่งแวดล'อมของสัตวAทั้งหลาย ปúาไม'อะไรตFาง ๆ พอค'างคาวมันไมFมีที่อยูF มันก็ไมFอยูFตามบ'าน
มาอยูตF น' ไมใ' กล' ๆ บา' นเรา เอาเชือ้ มาแพรFเรา เพราะไปทำลายส่งิ แวดล'อมของเขา เรายังไป
จับเขา ไปฆFาเขา สัตวAทั้งหลายเป>น ๆ จับเอามาขายเอามันกินนFะ เชื้อมันก็แพรFกระจาย คือ
ไวรัสแบคทเี รียตาF ง ๆ กระโดดเขา' สมFู นุษยA

การประชมุ วิชาการพระพุทธศาสนาและศลิ ปวัฒนธรรมระดับชาตแิ ละนานาชาติครงั้ ที่ ๒ (91)

ถ'าเราไมFหยุดตรงน้ี ไมFรักษาศีลให'มันเป>น Normal ศีลแปลวFาปกติ ในโลกก็จะไมF
วFางจาก Covid ที่กลายพันธAุ เดี๋ยวก็ไข'หวัดโน'นกลายพันธุA ไข'หวัดนี้กลายพันธุA เพราะเราไป
เบียดเบียนสัตวA ทำลายสิ่งแวดล'อม ฉะนั้นเพื่อจะให'เกิดความยั่งยืนในการที่โลกใบนี้จะ
ปลอดจากพวกไวรัสกลายพนั ธุA แบคทเี รียกลายพันธุA เรากอ็ ยFาไปทำลายสิ่งแวดลอ' ม

พระพุทธเจ'าตรัสวFา ยสฺส รุกฺขสฺส ฉายาย นิสีเทยฺย สเยยฺย วา บุคคลนั่งหรือนอน
อยูFใต'รFมเงาของต'นไม'ใด อยFาไปหักรานกิ่งของต'นไม'นั้น ใครทำเชFนนั้นชื่อวFาประทุษร'าย
มิตร พืชและสัตวAเป>นมิตรของมนุษยA เพราะให'ประโยชนAแกFมนุษยA มิตรคือผู'ทำประโยชนA
ปúาก็ให'แหลFงน้ำ ให'ออกซิเจน ให'อะไรตFาง ๆ เราไปทำร'ายเขา เพราะไปเบียดเบียน
ธรรมชาตสิ ่งิ แวดล'อม ธรรมชาติมันกต็ ีกลบั มาลงโทษมนุษยA เปน> เชื้อโรคอะไรตาF ง ๆ ฝากไว'
ด'วยพุทธภาษิตในธรรมบท เพื่อให'เกิดความปลอดภัยจากโรคร'ายอยFางยั่งยืนก็คือ ไมใF หส' ง่ิ ท่ี
กลายพันธุA กระโดดจากสัตวAสูFมนุษยA เราต'องปฏิบัติตามพุทธพจนAนี้ สพฺเพ ตสนฺติ ทนฺตสฺส
สพฺเพสํ ชีวิตํ ปêยํ เป>นต'น แปลวFา ภิกษุ หมายถึงฆราวาสด'วยนะ ผู'เห็นภัยในวัฏฏสงสาร ทำ
ตนให'เป>นอุปมาวFา อตฺตานํ อุปมํ กตฺวา ทำตนให'เป>นอุปมาวFา สัตวAทั้งปวงยFอมสะดุ'งตFอ
อาชญา ชีวิตเป>นที่รักของสัตวAทั้งปวงแล'วไมFพึงฆFาเอง ไมFพึงใช'ให'ผู'อื่นฆFา ไมFเบียดเบียนเอง
ไมFใชFให'คนอื่นเบียดเบียน ไมFทำตนให'เดือดร'อน ไมFทำผู'อื่นให'เดือดร'อน ไมFทำทั้งตนและ
ผอ'ู ืน่ ใหเ' ดอื ดรอ' น ชอื่ วาF มีพุทธจริยธรรม แล'วความปลอดภัยจากโรคกลายพนั ธุAก็จะยั่งยืน

โรคของมนุษยAสFวนใหญF ยารักษาได' แตFที่กระโดดมาจากสัตวAสFูมนุษยAเรายังไมFชิน
มันก็ต'องใช'เวลา กวFาจะเจอวัคซีนสำหรับ Covid - 19 ใช'เวลาพอสมควรทางที่ดีก็จะต'องมี
วัคซีนในจิต วคั ซนี ทางธรรม ไมFให'ไปขอ' งแวะ ไปเบียดเบียนธรรมชาติ เบียดเบียนสตั วA เราก็
จะอยูF มนุษยชาติจะดี ตFางคนตFางอยูFกับสัตวAทั้งหลาย โรคไวรัสจากสัตวAก็จะไมFโดนเข'ามา
เพราะมนุษยAไมFไปเบียดเบียนสัตวA ไมFไปทำลายธรรมชาติสิ่งแวดล'อม การรักษาความ
ปลอดภัยใหแ' คล'วคลาดปราศจากโรคภยั ท่ีมาจากสตั วAท่กี ลายพนั ธAุกจ็ ะเปน> ไปอยFางยัง่ ยนื ..

เพราะฉะนั้น ปธาน 4 สังวรปธาน เพียรระวังไมFให'ติดเชื้อ ไมFให'โรคมันระบาด
ตFอไปหรือเฉพาะในสังคมไทยก็ได' หรือสงั คมชาวพทุ ธทั้งหลาย ใหม' ีสงั วรปธาน ปหานปธาน
เมื่อเป>นแล'วก็จะต'องมีการลดละรักษา มียารักษา ก็รักษาไปตามอาการอยFางที่เรารักษา
หายไป 3,000 กวFาคน ในประเทศไทย ทั่วโลกเราก็รักษาหาย อันน้ีคือ ปหานปธาน รักษา
กายยังไมFพอต'องรักษาใจด'วยนะ ปúวยกายแตFอยFาปúวยใจให'จิตตก ให'ยกจิต จิตลอยลมให'

(92) การประชมุ วชิ าการพระพุทธศาสนาและศลิ ปวฒั นธรรมระดับชาติและนานาชาตคิ รง้ั ท่ี ๒

ขFมจิต และข'อที่ 3 ภาวนาปธาน กำหนดวิธีปฏิบัติพัฒนาวิถีชีวิตใหมF ให'มันสอดคล'องกับ
สถานการณAการแพรFระบาด สวมหน'ากาก ล'างมือ รักษาระยะหFางทางสังคม เป>นต'น อยFาง
ที่เราทำการประชมุ วันน้ี ให'มันเป>นวิถีชีวิตใหมFแล'วทำอยFางนี้ไปจนกวFาเขาจะมีวัคซีน วัคซีน
รักษาและปอå งกนั ไขห' วดั Covid - 19 แล'วข'อท่ี 4 คืออนรุ ักขนาปธาน เม่อื มวี คั ซนี แล'ว การ
ปåองกันดูแลมันก็จะยั่งยืน ขณะเดียวกัน อนาคตก็อยFาให'มันกลับมาอีก อยFาให'โรคใหมFเกิด
อีก เพราะเราไมFไปฆFาสัตวAปúา ไมFเอาสัตวAปúามาขาย ไมFไปทำลายสิ่งแวดล'อม อยูFรFวมกัน
อยFางสันติ ไมFเบียดเบียนตน ไมFเบียดเบียนคนอื่นสัตวAอื่น ไมFเบียดเบียนทั้งตนทั้งคนและ
สตั วAอนื่ นเ่ี ปน> พทุ ธจริยธรรมเพ่อื สังคม

เมื่อเรามีพุทธจริยธรรม เราก็มีข'อผูกมัดทางศีลธรรมให'ต'องปฏิบัติ เมื่อมีข'อผูกมัด
เราก็จะต'องมีความรับผิดชอบทางศีลธรรมตFอสังคม และความรับผิดชอบนั้นแสดงออกใน
องคAกร อยFางชาวพุทธทั้งหลาย พุทธบริษัทแสดงออกให'ชัดเจน ก็เป>น Buddhist Mission
เป>นพนั ธกจิ ของชาวพทุ ธ เพือ่ ใหผ' Fานวิกฤต Covid - 19 ไปด'วยกนั

ก็ขอมีสFวนรFวม โดยฝากข'อคิดความเห็นในเวลาอันพอสมควรในการสัมมนาครั้งน้ี
ขออำนาจคุณพระศรีรัตนตรัยและบุญกุศลที่เกิดจากการเผยแผFธรรมะเป>นธรรมทานน้ี จง
มารวมกันเป>นตบะ เดชะ พลวะปÉจจัย อำนวยพรให'ทุกทFานมีความสุขความเจริญยิ่ง ๆ ขึ้น
ไป โดยปราศจากทุกขAโศกโรคโควิดภัยและอุปÉทวันตรายทั้งปวง ประสงคAจำนงหมายสิ่งใดก็
ขอใหพ' ลนั สำเร็จ สมมโนรสมงFุ มาดปรารถนาทกุ ประการ เทอญ.

การประชุมวิชาการพระพุทธศาสนาและศลิ ปวฒั นธรรมระดบั ชาติและนานาชาติคร้งั ที่ ๒ (93)

“พระพทุ ธศาสนากับความรบั ผิดชอบทางสังคมนววถิ ”ี

พระเมธวี ชโิ รดม (ว.วชริ เมธ)ี อธิการบดีมหาวชิ ชาลยั พุทธเศรษฐศาสตร@ (มพศ.)
ปาฐกถานำการประชมุ วชิ าการระดบั ชาติ

ภาคนำเสนอผHานส่อื วดี ที ัศน@
สถานการณ(แพร+ระบาด Covid – 19 มีประชาชนได=รับผลกระทบมากมายแทบ
ทุกสาขาอาชีพ บางคนทนความยากลำบากไม+ไหว จนคิดสั้นอยากทำร=ายตัวเอง เพื่อหนี
ปRญหาไปให=พ=น ๆ สำหรับใครก็ตามที่กำลังตกที่นั่งลำบากเช+นนั้น อาตมาภาพขอให=กำลังใจ
ดังตอ+ ไปนี้
1) ภาวนาคาถาปYองกันโรคคิดสั้นว+า ใด ๆ ในโลกล=วนอนิจจัง หรือภาวนาเป[น
ภาษาบาลีว+า โควิตัง อนิจจัง โควิดก็เป[นอนิจจัง มันเกิดขึ้นในเบื้องต=น ดำรงอยู+ชั่วคราวใน
ท+ามกลาง และเด๋ยี วมันกจ็ ะดบั ไปในท่ีสดุ
2) บอกกับตัวเองว+า วิกฤตเกิดขึ้นมา ไม+ใช+เพื่อให=เรายอมจำนน แต+เกิดขึ้นมาเพ่ือ
พฒั นาใหเ= ราเข=มแขง็ ยง่ิ กวา+ เดมิ
3) เตือนตัวเองว+า เราไม+ได=เจอปRญหาหนักหนาสาหัสอยู+คนเดียวในโลก แต+แท=ท่ี
จริงนั้นยังมีคนที่เจอปRญหาเช+นเดียวกันกับเราอีกมากมาย ในเมื่อคนอื่นเขายังทนอยู+ทนส=ู
กันมาได= ทำไมคนอย+างเราจะไม+ทนอยู+และทนสู=ต+อไปให=ได=ล+ะ เขาก็คน เราก็คน หากเขาส=ู
ได= เราก็ต=องสู=ได= เช+นเดยี วกนั
4) สอนตัวเองว+า เรากำลังอยู+ในช+วงเวลาวิกฤต ดังนั้นต=องใช=ชีวิตอย+างมีสติ ต=อง
จมใหล= ง ถอยให=เป[น เยน็ ให=ได= ใชจ= า+ ยอยา+ งประหยดั และพึ่งตนเองกอ+ นจะคิดพึ่งพาคนอน่ื
5) จงอย+าหมดศรัทธาในความเมตตาการุณของเพื่อนมนุษย( เพราะไม+ว+าชีวิตจะ
ยากลำบากสักแค+ไหนก็ตาม ถึงอย+างไรโลกนี้ก็ยังมีคนที่เปhiยมไปด=วยเมตตาธรรม อยู+ทุกแห+ง
ทุกหน คนที่เปhiยมไปด=วยเมตตาธรรมเหล+านี้แหละ คงจะไม+มีใครปล+อยให=เราต=องลำบาก
ยากเข็ญอย+างแน+นอน โดยเฉพาะสังคมไทยเราอยู+กันมาด=วยการให= วิกฤตแค+ไหน เราก็จะ
ผา+ นมาได= เพราะเรายังใหก= นั อย+ู
เพราะฉะนั้นวิกฤตคราวนี้ก็เช+นกัน เราคนไทยก็จะผ+านไปได=อย+างแน+นอน ย้ำอีก
ครั้งหนึ่งว+า ชีวิตเป[นสิ่งล้ำค+า กว+าจะได=ชีวิตมาก็แสนยาก ดังนั้นไม+ว+าจะทุกข(หนักหนาสาหัส

(94) การประชมุ วชิ าการพระพทุ ธศาสนาและศิลปวัฒนธรรมระดับชาตแิ ละนานาชาติครัง้ ที่ ๒

แค+ไหน ก็จงอย+าทำร=ายตัวเอง อย+าคิดสั้น ตัดช+องน=อยแต+พอตัว เมื่อความทุกข(เกิดขึ้นมา
จงให=กำลังใจตัวเอง เหมือนอย+างที่นักปราชญ(คนหนึ่งได=กล+าวเตือนเอาไว=ว+า วันนี้อาจหนัก
หนา พร+งุ นแ้ี สนสาหัส แตถ+ ึงอย+างไร วนั มะรืนจะตอ= งสวยงาม

การดำรงอย*ูของสังฆะก็เพือ่ มอบธรรมะให:แก*สงั คม
ท+ามกลางสถานการณ(ไวรัส Covid - 19 ลุกลามไปทั่วโลก ทำให=ประชาคมโลก
ต=องปรับรูปแบบในการดำรงชีวิต เพื่อให=สอดคล=องกับความอยู+รอดปลอดภัย ท+ามกลาง
สถานการณ(ที่ยังวิกฤตอยู+ พระสงฆ(ทุกรูปก็เป[นส+วนหนึ่งของประชาคมโลก และแน+นอนว+าก็
หลีกไม+พ=นจากไวรัส Covid - 19 เช+นเดียวกัน ฉะนั้นในฐานะที่พระสงฆ(เป[นส+วนหนึ่งของ
สังคมและต=องอยู+ในสังคมก็จำเป[นจะต=องปรับปรุงวิถีชีวิตให=สอดคล=องกับ New Normal
หรือระเบียบวิถีชีวิตใหม+เพื่อที่จะได=อยู+ร+วมกับประชาคมโลกอย+างปลอดภัย พระสงฆ(จะ
ปรับปรุงรูปแบบการดำรงชีวิตอย+างไรให=ปลอดภัย ทั้งแก+ตัวเองและแก+ชาวบ=านซึ่งต=องมี
ปฏิสัมพนั ธ(กันอย+ูตลอดเวลา ในทศั นะของอาตมาภาพขอแนะนำวธิ ีปฏบิ ตั ิตนของพระสงฆ(
ทา+ มกลางสถานการณ( Covid - 19 ดงั ต+อไปน้ี
1) ติดตามสถานการณ(อย+างใกล=ชิด เพื่อจะได=รู=เท+ารู=ทัน แล=ววางเนื้อวางตัวให=
ถูกต=อง สอดคล=องกับสถานการณ(และปฏิบัติตามมาตรการต+าง ๆ ที่รัฐบาลมีออกมาอย+าง
ถูกตอ= งและอยา+ งเหมาะสม
2) เว=นระยะห+างทางสังคมไม+ว+าจะเป[นการทำวัตรสวดมนต( การขบฉันหรือการ
บิณฑบาต รวมทั้งการปฏิสัมพันธ(กับพุทธบริษัทญาติโยมต=องมีระยะห+างทางสังคมอย+าง
น=อย ๆ ก็นั่งห+างกัน ยืนห+างกันสัก 2 เมตร ตามมาตรการที่ทางรัฐบาลหรือกระทรวง
สาธารณสขุ ใหค= ำแนะนำออกมา
3) หากจำเป[นจะต=องปฏิสัมพันธ( ควรจะสวมหน=ากากเพื่อความปลอดภัยเสมอ
เปน[ การดแู ลตวั เองและดแู ลคนที่อยขู+ =างหน=า ใหแ= คลว= คลาดปลอดภัยไปพร=อม ๆ กัน
4) หากจำเป[นจะต=องไปบิณฑบาต ก็ควรระมัดระวังด=วยการสวมหน=ากากอย+ู
ตลอดเวลาทีอ่ อกจาริกภกิ ขาจารในยามเช=า
5) ขอแนะนำให=ออกไปช+วยเหลือเกื้อกูลพุทธบริษัทญาติโยมเท+าที่เราจะสามารถ
ทำได= ทั้งนี้พึงตระหนักอยู+เสมอว+า ชีวิตของพระสงฆ(นั้นสืบเนื่องกับวิถีชีวิตของพุทธบริษัท
ญาตโิ ยม พูดส้นั ๆ วา+ เราดำรงอยไู+ ดก= ็เพราะพทุ ธบรษิ ทั ญาตโิ ยมนัน่ เองให=ความอนุเคราะห(

การประชุมวชิ าการพระพุทธศาสนาและศิลปวัฒนธรรมระดับชาติและนานาชาติคร้ังท่ี ๒ (95)

เพราะฉะนั้นในยามที่ชาวโลกมีปRญหาตกอยู+ท+ามกลางวิกฤตเราต=องอย+านิ่งดูดาย
ถามตัวเองเสมอว+า เราจะช+วยเหลือเกื้อกูลญาติโยมได= โดยประการใดบ=าง แล=วหาโอกาส
หาวิธีการอนุเคราะห(พุทธบริษัทญาติโยม ตามแต+ศักยภาพของตัวเองจะพึงทำได= เหมือนคำ
กล+าวที่ว+าการดำรงอยู+ของสังฆะ ก็เพื่อมอบธรรมะให=แก+สังคมถ=าทำได=อย+างนี้ ตัวพระสงฆ(
เองก็อยู+รอดปลอดภัย ไปเกี่ยวข=องกับใคร ๆ คนเหล+านั้นก็สวัสดีมีชัย ปลอดภัยทั้งตัวเอง
ปลอดภยั ทงั้ คนอนื่ การดแู ลตัวเองกเ็ ท+ากับเป[นการดแู ลคนอื่นไปพร=อม ๆ กัน

ภาคการบรรยายสด
ขอถวายความเคารพ พระเดชพระคุณ ท+านเจ=าคุณหลวงพ+อ ผู=เป[นรองอธิการบดี
ผู=ช+วยอธิการบดี พระมหาเถรานุเถระ ครูบาอาจารย( นักวิชาการ พระนักศึกษา นิสิตทุก
ทา+ นทกุ คน ท่ีเข=ารว+ มสมั มนาเชงิ วชิ าการระดับชาติในเช=าวนั น้ี
เมื่อวานกระผม/อาตมาภาพมีโอกาสได=ร+วมชมในพิธีเปyด ได=ฟRงสัมโมทนียพจน(
ของท+านเจ=าคุณอธิการบดีแล=วก็จับประเด็นได= ว+าพระพุทธศาสนากับความรับผิดชอบต+อ
สังคมนั้น ก็ไม+ใช+เรื่องใหม+จะว+าไปก็เป[นเรื่องเก+าและเป[นจุดประสงค(หลักของการมี
พระพุทธศาสนาอยู+ในโลกเลยก็ว+าได= เพราะว+าท+านเจ=าคุณอาจารย(อธิการบดีได=ปรารภถึง
แนวคิดที่มาของ Corporate Social responsibility ในเชิงพระพุทธศาสนา ท+านก็บอกว+า
ความรับผิดชอบต+อสังคมนั้น ไม+ต=องไปหาที่ไหนไกลหรอก กลับมาที่พระพุทธพจน(เมื่อแรก
ส+งพระธรรมทูตออกไปเผยแผ+พระพุทธศาสนา ในพรรษาที่ 1 ที่ตรัสเอาไว=ว+า จารตฺถ ภิกฺข
เว จาริกํ เป[นต=น อันแปลความได=ว+า ภิกษุทั้งหลาย เธอทั้งหลายจงจาริกไป เพื่อประโยชน(
เพื่อความสุข ของมหาชนคนหมู+มาก และเพื่ออนุเคราะห(ชาวโลก อันนี้กล+าวอย+างรวบรัด
อยากจะชี้ชวนให=ดูแนวคิดพระพุทธศาสนาต+อมิติทางสังคม ที่อยู+ในพระพุทธพจน( เมื่อแรก
ส+งพระธรรมทูตไปประกาศพระศาสนา นั่นก็คือข=อความที่ว+า ภิกษุทั้งหลาย เธอทั้งหลาย
จงจาริกไป พหุชนหิตาย พหุชนสุขาย โลกานุกมฺปาย เพื่อประโยชน(ของคนหมู+มาก เพื่อ
ความสุขของคนหมู+มาก พหุชนหิตาย เพื่อประโยชน(ของคนหมู+มาก พหุชนสุขาย เพื่อ
ความสุขของคนหม+ูมาก
จรงิ ๆ แค+ 2 คำน้ี กช็ ีใ้ หเ= ห็นมติ ิทางสังคมที่ชดั เจนมากละ พหุชนะ ปRจจุบันนค้ี ำน้ี
ก็คือมหาชน หรือให=ชัดกว+านั้นคำนี้ก็คือ มวลมนุษย( หรือมนุษยชาติ Human Beings,
Humanity ก็ได= สองคำนี้ชัดเจนมากละ ว+าพระพุทธศาสนานั้น มีวัตถุประสงค(ในการดำรง

(96) การประชมุ วิชาการพระพุทธศาสนาและศิลปวฒั นธรรมระดับชาติและนานาชาติครั้งท่ี ๒

อยู+ในโลกชัดเจนมากว+า เพื่อยังประโยชน(แก+มหาชน แก+มวลมนุษยชาติ แต+พระพุทธเจ=ายัง
เติมมาอีกคำหนึ่ง โลกานุกมฺปาย เพื่ออนุเคราะห(ประชาคมโลก โลกานุกมฺปาย เพ่ือ
อนุเคราะห(ชาวโลก เพื่ออนุเคราะห(ประชาคมโลก 2 คำนี้นะ เป[นถ=อยคำ เป[นคำสำคัญท่ี
ฉายใหเ= หน็ ถึงมติ ทิ างสงั คมของพระพุทธศาสนาทช่ี ัดเจนมาก

เพราะฉะนั้น เมื่อเราพูดถึงพระพุทธศาสนากับความรับผิดชอบต+อสังคม หลาย
คนอาจจะสงสัยว+า คำน้ี ในมิติพระพุทธศาสนามีหรือไม+ ถ=าเราจะตอบให=กระชับให=เด็ดขาด
ลงไป ก็ยกพระพุทธวจนะตรงนี้มายืนยันได=เลยว+า พระพุทธพจน(ตรงนี้ สะท=อนให=เห็นมิติ
ทางสังคมของพระพุทธศาสนาที่ชัดเจนและเห็นชัดมาก เรียกว+าไม+ต=องเถียงกันเลยทีเดียว
ว+าพุทธศาสนาน้นั มมี ติ ิทางสังคมหรอื ไม+

ทีนี้ก็จะเอาหลักฐานเชิงวิชาการมากกว+านั้น เราย=อนกลับไปนิดหนึ่ง เมื่อแรก
เจ=าชายสิทธัตถะเสด็จออกมหาภิเนษกรม หรือ เสด็จออกผนวช แรงจูงใจสำคัญของ
พระองค(ท+านคืออะไร แรงจูงใจสำคัญของพระองค(ท+านคือ อยากจะแก=ปRญหาสังคม
พระองค(ไปเห็นปRญหาของสังคมหลาย ๆ ปRญหาเลย คนเจ็บ แต+พระองค(ไม+เห็นคนเจ็บ คน
เจบ็ คืออะไร ถ=าเรามองเผนิ ๆ กเ็ หน็ เทวทตู 4 คนแก+ คนเจ็บ คนตาย และสมณะ เราก็เห็น
แค+นี้ แต+เราลองมองความหมายระหว+างบรรทัด อะไรคือ Between the Line ของเทวทูต
ทัง้ 4

คนเจ็บคือปRญหาด=านสาธารณสุขมูลฐานในแคว=นของพระองค( คนเจ็บสะท=อนว+า
ปRญหาด=านสาธารณสุขในยุคของเรายังไม+ดีพอ จึงมีคนเจ็บคนปåวยเยอะแยะมากมายที่ไม+ได=
ไปโรงพยาบาล หรือไปโรงพยาบาลก็เตียงคนไข=ไม+พอ ไม+งั้นหน=ากากก็ไม+พอ เจอไวรัสใหญ+
ๆ มานี่ ในยุคพุทธกาลก็มีห+าลงละ เราเรียกว+าอหิวาตกโรค ในยุคพุทธกาลก็มีห+าลงคล=าย ๆ
โควิดอย+างนี้เกิดขึ้นละ ฉะนั้นในยุคนั้นการที่ไปเห็นคนเจ็บก็คือคนปåวย สะท=อนถึงปRญหา
สาธารณสขุ ข้นั มลู ฐานทย่ี งั ดไี มพ+ อ

คนแก+ก็คือการดูแลผู=สูงอายุ เหมือนตอนนี้ทั้งโลกกำลังเข=าสู+สังคมผู=สูงอายุ
ผู=สูงอายุอาจจะถูกทอดทิ้ง สังคมอาจจะไม+อบอุ+น ถ=าค+าครองชีพ การดูแลผู=สูงอายุอาจจะ
ยังดไี มพ+ อ นีค่ อื ความหมายระหวา+ งบรรทัดของคนเจบ็ คนแก+

การประชมุ วชิ าการพระพุทธศาสนาและศลิ ปวฒั นธรรมระดบั ชาตแิ ละนานาชาติครง้ั ที่ ๒ (97)

ต+อไปคนตาย ก็สะท=อนให=เห็นถึงทุกข(หนักหนาสาหัสทส่ี ุดของผู=คนในยุคสมัยของ
พระองค(หรือพระองค(คงจะมองทั้งโลกแบบว+า นี่มันเป[นปRญหาที่แก=ยังไงก็แก=ไม+ได= ไหน ๆ
ทกุ คนเกดิ มาแล=วจะอยอู+ ยา+ งไรใหอ= ยอ+ู ย+างเปน[ ไทย แลว= จะตายอยา+ งสนั ติ

พระองค(ก็คงจะครุ+นคิดหนักเลยว+า ปRญหาของสังคมที่เจออยู+ทุกวันนี้ มันหนัก
หนาสาหัสมาก แล=วคนแก+คนเจ็บคนตาย สะท=อนปRญหาพื้นฐานของสังคมไม+ว+าจะเป[น
ปRญหาเรื่องสาธารณสุข ปRญหาด=านเศรษฐกิจ ปRญหาเรื่องนโยบายของภาครัฐ ปRญหาเรื่อง
การศึกษาของชาติ มันรวมกันไปทุก ๆ ปRญหา ถ=าเราไม+มองให=ลึกซึ้งอย+างนี้ เราก็จะเห็นว+า
แรงจูงใจที่จะทำให=พระองค(เสด็จออกผนวชนั้น มันเบาหวิวเลย เวลาที่เราอ+านพุทธประวัติ
เด็กเยาวชนคนรุ+นใหม+ที่เรียนมาอย+างตะวันตก เขามักจะตั้งข=อสงสัยเสมอว+า อะไรกันแค+
ออกจากวัง เจอคนแก+ คนเจ็บ คนตาย สมณะ แคน+ ี้อยากออกบวชละ มันเป[นเหตุผลที่เบา
หวิว เราลองสวมวิญญาณของพระองค(ท+าน ย=อนกลับไปในยุคของพระองค(ว+า พระองค(คง
เห็นปRญหามากมายกว+านั้น ลึกซึ้งมากกว+านั้น บวกกับพระอุปนิสัยของพระองค(ที่เป[นคน
ช+างคิด พระองค(จึงพยายามที่จะหาทางออกจากปRญหานี้ แล=วก็ไปเจอกับสมณะ แล=วก็เห็น
ความสงบสุขสดชื่นในหัวใจของสมณะ พระองค(ก็คงจะได=คำตอบว+า การอยู+ท+ามกลางโลกท่ี
วุ+นวายนี่ไม+มีทางเลยที่จะแก=ปRญหาสังคมได= เหมือนกับที่พระองค(ออกผนวช พระองค(ก็ตรัส
ว+า ฆราวาโส อาพทฺโธ ฆราวาส วิถีชีวิตแบบโลกียวิสัย วิถีชีวิตแบบคฤหัสถ(เต็มไปด=วย
ปRญหารุงรังพันแข=งพันขา จะหาวันเวลาปลอดโปร+งหัวใจ มาคิดแก=ปRญหาสังคมมันเป[นไป
ไมไ+ ด= เพราะฉะนน้ั พระองค(ก็เลยตดั สนิ พระทยั ออกผนวก อนั นเี้ ปน[ หลักฐานประการที่ 2 ท่ี
ยืนยันว+าพระพุทธศาสนากับมิติทางสังคมนั้นแยกกันไม+ออก แล=วการที่พระองค(ตัดสิน
พระทัยออกผนวชนั้นน+ะ ก็เพราะอยากจะแกป= ญR หาสังคม พดู ส้ัน ๆ อยากจะรว+ มรบั ผิดชอบ
สังคม น่ีมีความชัดเจนมาก

เหตุผลประการที่ 3 พุทธศาสนากับมิติทางสังคม เวลาที่พระองค(บอกให=พระสงฆ(
ร=อยกรองพระธรรมวินัยอย+างปรารภในสังคีติสูตรที่ตรัสว+า ขอให=เธอทั้งหลายมาร+วมกันร=อย
กรองพระธรรมวินัยให=เป[นระบบระเบียบ ทั้งนี้ก็เพื่อที่ว+า เมื่อพระธรรมวินัยนั้นมีความเป[น
ระบบระเบียบ ธรรมวินัยนั้นก็จะเป[นไปเพื่อประโยชน( เพื่อความสุขของมหาชน ของมนุษย(
และเทวดา อันนี้ก็ชัดเจนมากกว+าความดำรงอยู+ของพระธรรมวินัยเพื่อประโยชน(และ
ความสขุ ของสงั คมต+อไป

(98) การประชุมวิชาการพระพทุ ธศาสนาและศิลปวัฒนธรรมระดับชาตแิ ละนานาชาติคร้ังท่ี ๒

หลักคำสอนของพระองค(เอง ตลอดถึงจริยวัตรส+วนพระองค( ชัดเจนมากกว+า
พระองค(ก็ดี สังฆะก็ดี ดำรงอยู+เพื่อประโยชน(ของสังคม เพราะเราดูจริยวัตรของพระพุทธ
องค( 5 ประการเรียกว+าพุทธกจิ 5 ประการ ตอนเชา= กบ็ ณิ ฑบาต เยน็ ไม+ขาดแสดงธรรม สอน
พระเวลาคำ่ กลางคืนรำ่ ตอบปญR หา รง+ุ สางพินิจสัตว(นานา นี้คือเบญจกิจจา องค(พระศาสดา
ทรงกระทำ พุทธกิจ 5 ประการเป[นเรื่องเพื่อสังคมทั้งหมดเลย พระองค(นั้นบรรลุประโยชน(
ตนแล=ว ชีวิต วันเวลา สติปRญญาที่เหลือ ทำเพื่อรับผิดชอบต+อสังคม อย+างที่นักปราชญ(ท+าน
หนึ่งกล+าวว+า บุคคลนิพพานทำการทั่วโลก บรรลุประโยชน(ตนแล=ววันเวลาที่เหลือเพื่อโลก
ล=วน ๆ นชี่ ดั เจนมาก

มิติทางสังคมโดยดูจากพุทธจริยา ก็คือตื่นเช=าก็บิณฑบาต เย็นไม+ขาดแสดงธรรม
สอนพระเวลาค่ำ กลางคืนพร่ำตอบปRญหา รุ+งสางพินิจสัตว(นานา นี้คือเบญจกิจจา องค(พระ
ศาสดาทรงกระทำ ไม+มีเรื่องส+วนตัวอยู+ในธุรกิจเลย ทั้งหมดเพื่อมหาชน เพื่อโลก เพื่อมนุษย(
และเทวดา อยากจะชี้ชวนให=คิดตรงนี้นิดหนึ่ง เมื่อเราพูดถึงคำว+ามิติทางสังคมของพุทธ
ศาสนา คำว+าสังคมของพระองค(ท+านนั้น ไม+ใช+แค+สังคมมนุษย( คำว+า พหุชน หิตาย พหุชน สุ
ขาย ที่ถูกคุมด=วยคำว+า โลกานุกมฺปาย มันไม+ได=มีนัยแค+ว+าเพื่อคนเท+านั้น แต+ถ=าเราอาจจะได=
ยินเสมอว+า เทวมนุสฺสานํ คำว+าเพื่อสังคมของพระองค(นั้น เทวดาด=วยมนุษย(ด=วย สรรพสัตว(
ทั้งหลายด=วย รวมทั้งหมดเลยทีเดียว หรือให=ตรงกว+านั้น สิ่งแวดล=อมทั้งหมดก็อยู+ใน
ความหมายของคำวา+ ความรับผดิ ชอบต+อสังคมของพระพทุ ธศาสนาด=วย

ฉะนั้นเมื่อพูดถึงพระพุทธศาสนากับความรับผิดชอบกับสังคม ไม+ได=หมายความ
ตื้น ๆ ว+า รับผิดชอบต+อสังคมมนุษย(เท+านั้น หากแต+หมายรวมถึงรับผิดชอบต+อสังคมของคน
ของสัตว( ของสิ่งแวดล=อม รวมทั้งของโลกใบนี้ด=วย หรือยิ่งไปกว+านั้นหมายรวมไปถึง
สิ่งมีชีวิตที่มองไม+เห็นด=วยตา แต+เราเชื่อว+าเขามีอยู+ ซึ่งขอ= ความเช+นนี้เราจะได=เห็นอยู+เสมอ
ในคัมภีร(พระไตรปyฎก ฉะนั้นมิติทางสังคมของพระพุทธศาสนานั้นจึงกว=างใหญ+ไพศาล
เหลอื เกิน

เหตุผลต+อไปที่บอกว+าพุทธศาสนาในมิติทางสังคมที่ชัดเจนมาก นั่นก็คือ หลัก
ประโยชน( 3 พระพุทธองค(บอกว+าชีวิตที่ดีนั้นต=องบรรลุประโยชน( 3 ขั้น หรือชีวิตที่ดีต=อง
บำเพ็ญกรณี 3 ขั้น 1) ประโยชน(ตน อตฺตตฺถ 2) ประโยชน(ท+าน ปรตฺถ และ 3) ประโยชน(
โลก อุภยตฺถ

การประชมุ วชิ าการพระพทุ ธศาสนาและศลิ ปวัฒนธรรมระดับชาตแิ ละนานาชาตคิ รง้ั ท่ี ๒ (99)

ประโยชน(ตน ประโยชน(ท+าน ประโยชน(โลก หลักประโยชน( 3 นั้นชัดเจนมาก
ชีวิตที่ดีต=องบำเพ็ญกรณีให=ครบประโยชน( 3 ขั้น ประโยชน(ตน ประโยชน(ท+าน ประโยชน(
โลก ใครบำเพ็ญกรณีครบ 3 ขั้น คนนั้นรับผิดชอบต+อตนเอง รับผิดชอบต+อคนใกล=ชิด และ
รบั ผิดชอบต+อสงั คมคือโลก อันนี้กเ็ ปน[ หน=าท่ีทช่ี ัดเจนมาก

นอกจากน้ันก็สามารถสืบย=อนไปถึงพุทธจริยาที่พระองค(ทรงบำเพ็ญจริยาใน
ฐานะที่พระองค(เป[นศาสดา พระองค(เป[นพระประยูรญาติ หรือพระองค(เป[นผู=นำของ
ชาวโลกคอื เป[นโลกนาถะ อนั นี้เรยี กวา+ จริยา 3 กเ็ อาเรือ่ งจริยา 3 มาพิจารณาร+วมกไ็ ด=

ทั้งหมดที่กล+าวมาเราจะเห็นชัดเจนว+าคือคำสอน คือภูมิหลังทางประวัติศาสตร(
และภูมิหลังทางธรรมะ ภูมิหลังทางพุทธจริยาที่ชี้ให=เห็นว+า พระพุทธศาสนานั้นไม+เคย
ละเลยภาคสงั คม เพราะฉะนัน้ ถ=าเราจะหาความหมาย หาบทบาท หาหลกั ทศิ ทีเ่ ปน[ รอ+ งรอย
ของคำว+า พระพุทธศาสนากับความรับผิดชอบต+อสังคม ก็พูดได=อย+างตรงไปตรงมาว+า
แนวคิดนี้มีอยู+อย+างอุดมสมบูรณ(ในพระพุทธศาสนาของเราเลยทีเดียว พูดสั้น ๆ ว+าไม+ต=อง
สงสัยว+าพระพุทธศาสนากับความรับผิดชอบต+อสังคมนั้น เป[นสิ่งที่มีอยู+หรือไม+ คำตอบก็คือ
เป[นสิ่งท่มี ีอยูแ+ ลว= และมีอย+จู รงิ ๆ ที่สำคัญ ทีส่ ำคัญทสี่ ุด มปี ระโยชน(จริง ๆ ด=วย

นอกจากคำว+า พระพุทธศาสนากับความรับผิดชอบต+อสังคมแล=ว มันมีคำหน่ึง
อยากมาแบ+งปRนพวกเรา เมื่อโลกเข=าสู+ปh 2000 เข=าสู+ยุคสหัสวรรษใหม+ ในปh 2000 องค(ดา
ไลลามะผู=นำทางจิตวิญญาณของโลก ได=นำเสนอเรื่องความรับผิดชอบต+อโลก ซึ่งเป[น
แนวคิดใหม+ในโลกตะวันตกก็จะเสนอแนวคิดเรื่อง Corporate Social responsibility
ความรับผิดชอบต+อสังคมของภาคธุรกิจ องค(ดาไลลามะผู=นำทางจิตวิญญาณของพุทธและ
ของโลกมองว+า แค+นั้นไม+พอ เราจะเรียกร=องให=ธุรกิจมารับผิดชอบต+อสังคมแค+นั้นไม+พอ
โลกต=องการมากกว+านั้น นั่นคืออะไร นั่นคือความรับผิดชอบต+อโลกของเราทุกคนร+วมกัน
พระองค(ท+านทรงใช=คำว+า Global Responsibility แปลว+าความรับผิดชอบต+อโลกของเรา
ทุกคนแล=วพระองค(ก็เสนอว+า เราทุกคนนี่แหละในฐานะที่เป[นสมาชิกของโลกใบน้ี เราทุก
คนมภี าระรว+ มกนั ทจ่ี ะต=องนำพาโลกของเราไปสู+สันติภาพและสันติสุข โดยทไ่ี ม+ต=องรอให=เรา
แต+ละคนนั้นเป[นคนสำคัญขึ้นมาเสียก+อน เราทุกคน คนเล็กคนน=อยสามารถรับผิดชอบต+อสังคม
ต+อโลกของเราได= พระองค(ทา+ นตรสั พระวจนะไว= สำคัญมาก ๆ เลยซ่ึงกระผมเองชอบมาก

(100) การประชมุ วิชาการพระพุทธศาสนาและศลิ ปวฒั นธรรมระดบั ชาตแิ ละนานาชาตคิ ร้งั ที่ ๒


Click to View FlipBook Version