The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การประชุมสัมมนาวิชาการระดับชาติและนานาชาติ ครั้งที่ 2 มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตเชียงใหม่ The 2nd International Buddhist Conference on “Buddhism and Social Responsibility in the New Normal” (BUSRIN) เรื่อง “พระพุทธศาสนากับความรับผิดชอบทางสังคมยุคชีวิตใหม่ วันที่ 19-20 เดือน กันยายน พ.ศ. 2563 เวลา 08.00-16.30 น. ณ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตเชียงใหม่ Mahachulalongkornrajavidyalaya University, Chiang Mai Campus will organize the 2nd National and International Conference (MCU. CM. 2020) “Buddhism and Social Responsibility in the New Normal (BUSRIN)”, November 19th – 20th, 2020 at Mahachulalongkornrajavidyalaya University, Chiang Mai Campus.

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by MCU Books, 2021-04-18 04:35:51

เอกสารสืบเนื่องการประชุมวิชาการพระพุทธศาสนาและศิลปวัฒนธรรมระดับชาติและนานาชาติครั้งที่ 2

การประชุมสัมมนาวิชาการระดับชาติและนานาชาติ ครั้งที่ 2 มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตเชียงใหม่ The 2nd International Buddhist Conference on “Buddhism and Social Responsibility in the New Normal” (BUSRIN) เรื่อง “พระพุทธศาสนากับความรับผิดชอบทางสังคมยุคชีวิตใหม่ วันที่ 19-20 เดือน กันยายน พ.ศ. 2563 เวลา 08.00-16.30 น. ณ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตเชียงใหม่ Mahachulalongkornrajavidyalaya University, Chiang Mai Campus will organize the 2nd National and International Conference (MCU. CM. 2020) “Buddhism and Social Responsibility in the New Normal (BUSRIN)”, November 19th – 20th, 2020 at Mahachulalongkornrajavidyalaya University, Chiang Mai Campus.

Keywords: Buddhism,Social Responsibility,New Normal

การดำเนินการวจิ ัย 5 ข้นั ตอน ไดแj ก8
ขั้นตอนท่ี 1 ศึกษาวิเคราะห_แนวคิดพื้นฐานเกี่ยวกับสิทธิปฏิเสธการรักษา

กระบวนการใชjสทิ ธิปฏิเสธการรักษา จากเอกสารปฐมภมู ิ (Primary sources) และเอกสาร
ทุตยิ ภมู ิ (Secondary sources)

ขั้นตอนที่ 2 ศึกษามนุษย_และธรรมชาติของมนุษย_ หลักปาณาติบาต วิเคราะห_
เรื่องสิทธิปฏเิ สธการรกั ษาตามแนวพุทธธรรม 3 ข้ัน คือ

1. หลักปาณาติบาต อันเปlนศีลขjอที่ 1 ในศีล 5 มาเปlนเกณฑ_การตัดสินการ
กระทำของมนุษย_ในการใชjสิทธิปฏิเสธการรักษาในวาระสุดทjายของชีวิตดังมีปรากฏใน
พระไตรป£ฎกศลี 5 ประเภท คอื

1) การละปาณาตบิ าต ช่อื ว8าศลี
2) การเวjนปาณาติบาต ช่ือวา8 ศลี
3) เจตนาท่ีเปlนขjาศึกต8อปาณาติบาต ช่อื ว8าศลี
4) ความสำรวมปาณาติบาต ชือ่ ว8าศลี
5) ความไมล8 8วงละเมดิ ปาณาติบาต ชอ่ื ว8าศีล
2. หลักพรหมวหิ าร ประกอบดjวยพรหมวิหารทัง้ 4 ประการ คือ
1) เมตตา หมายถึง ความรักใคร8 ปรารถนาดีอยากใหjเขามีความสขุ
2) กรณุ า หมายถงึ ความสงสาร คิดชว8 ยใหพj นj ทกุ ข_
3) มทุ ิตา หมายถงึ ความยนิ ดี ในเมือ่ ผjอู นื่ อยดู8 มี ีสุข
4) อุเบกขา หมายถึง ความวางใจเปlนกลาง อันจะใหjดำรงอยู8ในธรรมตามที่
พิจารณาเห็นดjวยปÅญญา
3. หลักกตัญ8ูกตเวที ในความหมายทั้ง 2 ศัพท_ คือ กตัญู หมายถึง บุคคลผูj
รjคู ุณของคนอืน่ และ กตเวที หมายถึง บุคคลทต่ี อบแทนผูjมีคณุ แกต8 น
ขั้นตอนที่ 3 ศึกษาวิเคราะห_และประยุกต_หลักพุทธธรรมในทางพระพุทธศาสนา
กับประเด็นจริยธรรมสมัยใหม8ในเรื่องการละเมิดสิทธิในชีวิต กับการใชjสิทธิปฏิเสธการ
รักษาพยาบาล อันปรากฏอยู8ในสังคมไทยในปÅจจุบันในมิติต8างๆ ทั้งทางดjานสิทธิปฏิเสธการ
รักษาของผูjปÉวยสัมพันธ_กับแพทย_ ดjานสิทธิปฏิเสธการรักษาของแพทย_สัมพันธ_กับญาติ
และดาj นสทิ ธิปฏเิ สธการรักษาของผูjปÉวยสัมพนั ธก_ บั ญาติและแพทยต_ ามแนวพุทธธรรม

374 การประชุมวชิ าการพระพุทธศาสนาและศลิ ปวฒั นธรรมระดบั ชาติและนานาชาติคร้งั ที่ 2

ขั้นตอนที่ 4 รวบรวมขjอมูลมาจากการวิเคราะห_มาสรุปผลการศึกษาวิจัย
ดjานพุทธธรรมกับสิทธิปฏิเสธการรักษา วิเคราะห_ปÅญหาในสิทธิปฏิเสธการรักษาท้ัง
ตา8 งประเทศและในประเทศไทยวิเคราะห_ตามแนวทางพทุ ธธรรม

ขน้ั ตอนท่ี 5 สรุปผลการศกึ ษาวจิ ยั และรายงานขอj เสนอแนะ

การวเิ คราะหข; Fอมลู

ในการศึกษาวิเคราะห_ขjอมูลดjานการใชjสิทธิปฏิเสธการรักษาในวาระสุดทjาย
ของชีวิต ผูjวิจัยไดjทำการศึกษาวิเคราะห_และประยุกต_หลักพุทธธรรมในทางพระพุทธศาสนา
กับประเด็นจริยธรรมสมัยใหม8ในเรื่องการละเมิดสิทธิในชีวิต กับการใชjสิทธิปฏิเสธการ
รักษาพยาบาล อันปรากฏอยู8ในสังคมไทยในปÅจจุบันในมิติต8างๆ ทั้งทางดjานสิทธิปฏิเสธการ
รักษาของผูjปÉวยสัมพันธ_กับแพทย_ ดjานสิทธิปฏิเสธการรักษาของแพทย_สัมพันธ_กับญาติ
และดjานสิทธิปฏิเสธการรักษาของผูjปÉวยสัมพันธ_กับญาติและแพทย_ตามแนวพุทธธรรม 3
ขั้น คือ 1) หลักปาณาตบิ าต 2) หลักพรหมวหิ าร และ 3) หลักกตัญูกตเวที

ผลการวจิ ัย

การศึกษาวิจัยในสิทธิปฏิเสธการรักษาในวาระสุดทjายของชีวิตตามแนวพุทธ
ธรรม ไดjรับผลการวิจัย คือ สิทธิปฏิเสธการรักษาดjานผูjใชjบริการของผูjปÉวยสัมพันธ_กับ
แพทย_ มนุษย_จะดีจะชั่วก็เพราะตัวเอง การที่มนุษย_สามารถบังคับตัวเองใหjเปlนไปตามท่ี
ตjองการแสดงว8าเปlนเจjาของชีวิตตนเอง และในฐานะเจjาของชีวิตมนุษย_ย8อมมีสิทธิ์ในชีวิต
นั้น สิทธิดังกล8าวจำแนกไดjเปlนสองส8วนหลักๆ คือ สิทธิที่จะมีชีวิตอยู8 และสิทธิที่จะตาย
ดังตัวอย8างที่ปรากฏในพระวินัยแมjจะมีการเอาผิดภิกษุที่พยายามทำลายชีวิตตนเองแต8ไดj
แต8ความผิดนั้นก็เปlนเพียงอาบัติเบาที่สุดคืออาบัติทุกกฎเท8านั้น และที่ทรงเอาผิดเพราะ
สาเหตุอื่น การทำลายชีวิตตนเองจึงไม8ผิดศีลขjอปาณาติบาต ภิกษุทำลายชีวิตจึงไม8อาบัติ
ปาราชิกตามพระธรรมวินัย ในวรรณกรรมพระพุทธศาสนาพบการทำลายชีวิตเสมอ
พระพุทธองค_ทรงพบว8ามีภิกษุฆ8าตัวตายจะทรงตำหนิว8าการกระทำนี้ไม8สมควรแก8สมณะ
เพศ แต8ไม8ทรงปรับอาบัติแก8ภิกษุนั้น ผูjวิจัยเองก็มีความเห็นคลjอยตามว8า ชีวิตนี้ตjองเปlน

การประชมุ วชิ าการพระพทุ ธศาสนาและศิลปวัฒนธรรมระดับชาตแิ ละนานาชาติครง้ั ที่ 2 375

ของคนๆ นั้น เราตjองเปlนเจjาของชีวิต สามารถที่จะกำหนดชีวิตของเราเองใหjมีความสุข
หรือมีความทุกข_ไดjตามที่ตนเองปรารถนาและตjองการไดj การใชjสิทธิปฏิเสธการรักษาของ
ผูjปÉวยตามหลักเกณฑ_การพิจารณาว8าทำบาปหรือไม8นั้นอยู8ผูjปÉวยเปlนสัตว_มีชีวิต รูjว8าตนเองมี
ชีวิต มีจิตคิดจะฆ8า มีความพยายามฆ8า และเราตายดjวยความพยายามนั้น ในขjอที่กล8าวมี
จิตคิดจะฆ8า เปlนขjอสำคัญที่ผูjปÉวยไดjแสดงสิทธิปฏิเสธการรักษา เชื่อว8าทุกชีวิตมีการรักสุข
เกลียดทุกข_หรือรักในชีวิตของตนเองยิ่ง การที่ผูjปÉวยคิดจะฆ8าตนเองนั้นจึงเปlนไปไดjโดยยาก
จึงไมเ8 ขาj องคป_ ระกอบแห8งการทำปาณาตบิ าต

การใหjผูjปÉวยตายอย8างสงบในวาระสุดทjายของชีวิต วิวัฒนาการทางวิทยาศาสตร_
และเทคโนโลยีสมัยใหม8ในทางการแพทย_ซึ่งก8อใหjเกิดประสิทธิภาพในการช8วยชีวิตและยืด
ชีวิตมนุษย_มากขึ้น ความเจริญกjาวหนjาดังกล8าวก็ทำใหjชีวิตที่ถูกยืดออกไปกลายเปlนชีวิตที่
ไม8มีคุณภาพและไรjศักดิ์ศรีความเปlนมนุษย_ สรjางความทุกข_ทรมานใหjกับผูjปÉวยเปlนอย8าง
มาก ทั้งยังมีปÅญหาในเรื่องค8าใชjจ8ายที่ผูjปÉวย ญาติมิตรหรือรัฐตjองสูญเสียไปโดยไม8ก8อใหjเกิด
ประโยชน_ เมื่อการแพทย_ไม8สามารถรักษาผูjปÉวยใหjฟ†§นคืนเปlนปกติไดj การยื้อชีวิตผูjปÉวยไวjก็
ไม8ใช8ทางออกและก8อใหjเกิดปÅญหาทั้งต8อตัวผูjปÉวยและสังคมเช8นนี้ การปล8อยใหjผูjปÉวยตาย
อย8างสงบ จึงเปlนวิธีการที่นำมาใชjแกjปÅญหาในการใหjบริการดjานสาธารณสุข ซึ่งอาจถูก
พิจารณาว8าเปlนการฆ8าโดยงดเวjน หากพิจารณาประกอบกับสิทธิปฏิเสธการรักษาของผูjปÉวย
แลjว เมื่อผูjปÉวยใชjสิทธิปฏิเสธการรักษาโดยชอบ แพทย_ก็ตjองเคารพต8อสิทธิดังกล8าวและยุติ
การรักษาที่เปlนการยื้อชีวิตของผูjปÉวย การกระทำดังกล8าวของแพทย_จึงถือเปlนการรักษา
หรือการปฏิบัติหนjาที่อย8างหนึ่ง มิใช8การงดเวjนกระทำการและย8อมไม8ถือว8าเปlนการฆ8า ใน
หลักเกณฑ_นี้ผูjใหjบริการดjานสาธารณสุขย8อมไม8เขjาเกณฑ_การทำปาณาติบาตดjวยเช8นกัน
เพราะแพทย_มีหนjาที่รักษา แต8ไม8มีจิตคิดจะทำการฆ8าผูjใชjสิทธิปฏิเสธการรักษาแต8อย8างใด
ย8อมไม8เขjาในเกณฑ_การทำปาณาติบาตดjวยเช8นกัน ซึ่งในขอบเขตที่แพทย_สามารถทำไดjใน
การยุติความเจ็บปวดทุกข_ทรมานของผูjปÉวย คือ การบรรเทาความเจ็บปวดใหjแก8ผูjปÉวยดjวย
วิธีการรักษาตามมาตรฐานทางการแพทย_ เช8น การใหjมอร_ฟ•น ซึ่งแมjว8าการใหjยาเหล8านี้ใน
ปริมาณมากอาจมีผลเปlนการเร8งความตายของผูjปÉวยหรืออาจทำใหjผูjปÉวยถึงแก8ความตาย
และแพทย_สามารถคาดเห็นถึงผลดังกล8าวนั้นไดj แต8การกระทำดังกล8าวก็ไม8ถือเปlนการฆ8า
คนตายโดยเจตนา เพราะแพทย_ย8อมมีหนjาที่ในการรักษาบรรเทาความเจ็บปวดทุกข_ทรมาน

376 การประชุมวชิ าการพระพทุ ธศาสนาและศลิ ปวัฒนธรรมระดบั ชาตแิ ละนานาชาตคิ ร้งั ที่ 2

ใหjแก8ผูjปÉวยและการกระทำดังกล8าวเปlนการทำใหjร8างกายของผูjปÉวยดีขึ้น ส8วนผลขjางเคียง
หรือความเสี่ยงที่เกิดขึ้นนั้นเปlนเรื่องธรรมดาของการรักษาที่ย8อมจะเกิดขึ้นไดj แต8ผูj
ใหjบริการดjานสาธารณสุขย8อมไม8มีเจตนาที่จะทำการผูjใชjสิทธิปฏิเสธการรักษา แต8ไดjทำการ
ดแู ลแบบประคับประคองจนผjปู Éวยทแ่ี สดงเจตนาไดจj ากไป

หลักการปฏิบัติของญาติที่มีความสัมพันธ_กับผูjปÉวยและแพทย_ หนjาที่สมบูรณ_ของผูj
บริการดjานสาธารณสุขตjองประกอบดjวยความเมตตา และความกรุณาควบคู8ไปกับการ
ทำงานดjานสาธารสุขเกี่ยวกับสิทธิปฏิเสธการรักษา การที่จะทำใหjเมตตาและกรุณาเกิดขึ้น
ในจิตนั้น ตjองประกอบดjวย เมตตา ความคิดปรารถนาใหjผูjอื่นเปlนสุข คนที่มีจิตใจ
ประกอบดjวยเมตตาคิดเกื้อกูลใหjผูjอื่นมีความสุขนั้น ถึงจะประพฤติผิดพลาดต8อกันบjาง ก็ใหj
อภัยกันโดยไม8ถือโทษโกรธเคืองกัน เหมือนมารดา บิดา ผูjเป•¥ยมดjวยเมตตา ไม8ถือโทษโกรธ
เคือง หรือพยาบาทในบุตร แต8ถjาขาดเมตตาต8อกันแลjว ก็ตรงกันขjาม ส8วนกรุณา ความ
ปรารถนาดี มีความคิดใหjผูjอื่น สัตว_อื่นปราศจากทุกข_ เมื่อเห็นผูjอื่นไดjรับความทุกข_ ก็พลอย
หวั่นไหวสงสาร เปlนเหตุใหjคิดช8วยปลดเปลื้องทุกข_ภัยของกันและกันตรงกันขjามกับ วิหิงสา
ความเบียดเบียน สิ่งที่เปlนเครื่องช8วยบำบัดทุกข_บำรุงสุขแก8คนทั้งหลาย ความมีเมตตา
กรุณาแก8กันและกัน เปlนธรรมอันงามก็จริง ถึงอย8างนั้น ผูjจะแสดงควรเปlนคนฉลาดใน
อุบาย ประโยชน_จึงจะสำเร็จ มุ8งแต8จะเมตตากรุณาอย8างเดียวบางอย8างก็เกิดโทษไดj การ
แสดงเมตตากรุณาบุคคลประกอบใหjถูกที่แลjว ย8อมอำนวยผลอันดีใหjแก8ผูjประกอบและผูj
ไดรj บั ทำความปฏบิ ัตขิ องผูมj ีศีลใหjงามข้นึ

ส8วนหลักการปฏิบัติของคนในครอบครัวผูjปÉวยหรือญาติ หลักพุทธธรรมสำคัญของ
คนในครอบครับคือ ความกตัญูกตเวทีต8อผูjใชjสิทธิปฏิเสธการรักษา มีความเกื้อกูลสัมพันธ_
ซึ่งกันและในการทำหนjาที่เปlนหน8วยเล็กๆ แต8สำคัญที่สุด ทรงอานุภาพที่สุด หากบุคคลใน
แต8ละทิศปฏิบัติตนตามหนjาที่ที่มีอยู8ประจำทิศไดjอย8างสมบูรณ_แลjว ยิ่งสามารถที่จะทำใหj
สังคมส8วนใหญ8มีความเจริญรุ8งเรืองทั้งทางโลกและทางธรรมไดjอย8างฉับพลัน แต8ตjองไม8ลืมที่
จะปฏิบัติไม8กjาวล8วงชีวิตของผูjอื่นดjวย เพราะถjามีการผิดพลาดในการตัดสินใจแลjวมีความ
เสยี หายเกิดขึน้ ในทางธรรมถือเปนl กรรมหนกั ดjวย เช8น บตุ รธดิ า ตดั สนิ ใจแทนพอ8 แม8 ไมร8 ับ
การรักษาทุกประการทำใหjพ8อแม8ถึงแก8ความตาย ถือเปlนกรรมหนักในพระพุทธศาสนาคือ
บุตรธิดานั้นทำอนันตริยกรรม กรรมฆ8าพ8อฆ8าแม8 แต8ทั้งนี้ก็ตjองขึ้นอยู8กับการวินิจฉัยของ

การประชุมวชิ าการพระพทุ ธศาสนาและศลิ ปวัฒนธรรมระดับชาตแิ ละนานาชาติคร้ังที่ 2 377

แพทย_เปlนหลักดjวย และหลักควรยึดถือโดยยิ่งคือ หลักพรหมวิหารในการปฏิบัติต8อผูjใชj
สทิ ธิปฏิเสธการรกั ษาในวาระสดุ ทjายของชีวิต

อภิปรายผล

ผลการศึกษาวิจัยการใชjสิทธิปฏิเสธการรักษาในวาระสุดทjายของชีวิตตามแนว
พุทธธรรมนี้ พบว8า สิทธิในชีวิต และการยืดอายุ ตามแนวพุทธศาสนาเราคือเจjาของชีวิต
มนุษย_เปlนตัวของตัวเอง จะดีหรือชั่วก็เพราะตัวเอง การที่มนุษย_สามารถบังคับบัญชาตนเอง
ใหjเปlนไปอย8างไรก็ไดjตามที่ตjองการนี้คือการที่มนุษย_เปlนเจjาของชีวิตตนเอง ดังนั้นมนุษย_
ย8อมมีสิทธิในชีวิตนั้น สิทธิดังกล8าวนี้จึงจำแนกไดjเปlนสองส8วนหลักๆ คือ สิทธิที่จะมีชีวิตอย8ู
กับสิทธิที่จะตาย ส8วนการยืดอายุในทางพระพุทธศาสนาจะมีความหมายก็ต8อเมื่อเปlน
กิจกรรมที่ทำไปเพื่อใหjชีวิตมีโอกาสทำความดีทั้งนี้การเยี่ยวยารักษาก็รักษาไปโดยมี
จุดมุ8งหมายว8าการรักษานี้ไม8ใช8เพื่อสืบต8ออายุในทางชีวภาพ แต8เพื่อสืบต8ออายุในทางธรรม
คือ ทำใหjตนเองมีโอกาสไดjทำดียิ่งๆ ขึ้นไปอีก แต8ถjาเห็นว8าอาการเจ็บปÉวยนั้นสุดวิสัยที่จะ
เยียวยารักษา ก็ใหjมีสติ อย8าประหว่ันพรั่นพรึงต8อความตายที่จะมาถึง ไม8ตjองดิ้นรน
ขวนขวายที่จะมีชีวิต แต8ใหjอยู8ในอาการอันสงบ รอเวลาที่ความตายจะมาถึงดjวยจิตใจอัน
เปlนปกติ เพราะพุทธศาสนาสอนใหjเราระลึกถึงความตายอยู8เสมอ ชาวพุทธที่ดีตjองไม8กลัว
ตาย และยินดีท่ีจะตายเม่ือถงึ วาระแหง8 ชีวิต

ผลการศึกษาเรื่องการใชjสิทธิปฏิเสธการรักษาในวาระสุดทjายของชีวิต ทั้งในแง8
สิทธิปฏิเสธการรักษาของผูjปÉวยสัมพันธ_กับแพทย_ สิทธิปฏิเสธการรักษาของแพทย_สัมพันธ_
กับญาติ สิทธิปฏิเสธการรักษาของผูjปÉวยสัมพันธ_กับญาติและแพทย_ ที่ไดjทำการวิเคราะห_
สิทธิปฏิเสธการรักษาตามหลักพุทธธรรมในเบื้องตjนนี้ ผูjวิจัยเห็นว8า ในบางประการเห็นควร
เสนอกระทรวงสาธารณสุข ซึ่งเปlนผูjรักษาการตามพระราชบัญญัติสุขภาพแห8งชาติ พ.ศ.
2550 และคณะกรรมการสุขภาพแห8งชาติ ไดjพิจารณาและตอบขjอสงสัยเกี่ยวกับการใชj
สิทธิปฏิเสธการรักษาที่เกี่ยวขjองบางประการ เพื่อแกjปÅญหาที่อาจจะเกิดขึ้นและความ
เปlนไปไดjในการปฏิบัติตามกฎหมาย เพื่อใหjผูjประกอบวิชาชีพดjานสาธารณสุขและ
ผูjประกอบวิชาชีพเวชกรรมที่ไดjปฏิบัติตามกฎหมายพjนจากความรับผิดทั้งปวง กฎหมายท่ี
บังคับใชjแลjว ยังมีปÅญหาในการปฏิบัติหลายขั้นตอน และอาจเปlนกฎกระทรวงที่ออกเกิน

378 การประชุมวชิ าการพระพทุ ธศาสนาและศลิ ปวัฒนธรรมระดบั ชาติและนานาชาตคิ รัง้ ท่ี 2

กว8าพระราชบัญญัติสุขภาพแห8งชาติ พ.ศ. 2550 มาตรา 12 น8าจะมีการทบทวนหรือแกjไข
โดยกระทรวงสาธารณสุขเปlนผูjดำเนินการร8วมกับสำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห8งชาติ
(สช.) ในโอกาสต8อไป ควรแจjงใหjผูjเกี่ยวขjองที่ไดjรับความเดือดรjอน หรือเสียหาย หรือ
อาจจะเดือดรjอน หรือเสียหายโดยมิอาจหลีกเลี่ยงไดjจากกฎกระทรวงฉบับนี้ (ควรเปlน
ผูjแทนแพทยสภา) พิจารณาว8าจะฟµองศาลปกครอง เพื่อขอใหjศาลออกคำบังคับ โดยเพิก
ถอนกฎกระทรวงและทเุ ลา การบงั คับตามกฎกระทรวงหรือไม8

ผูjใชjสิทธิปฏิเสธการรักษา (ผูjปÉวย) ควรทำการศึกษาใหjละเอียดถี่ถjวนในหลักการ
วิธีการ และกระบวนการในการแสดงเจตนาไม8ประสงค_จะขอรับบริการดjานสาธารณสุขที่
เปlนไปเพื่อยืดการตายในวาระสุดทjายของชีวิต หรือเพื่อยุติการทรมานจากการเจ็บปÉวย
จะไดjเกิดประโยชน_ในการใชjสิทธิปฏิเสธการรักษามากยิ่งๆ ขึ้นไป และจะไดjไม8เกิดปÅญหาใน
การใชjสิทธิปฏิเสธการักษาแสดงเจตนาไม8ประสงค_จะขอรับบริการดjานสาธารณสุข ส8วนผjู
ใหjบริการดjานสาธารณสุข (แพทย_ พยาบาล) ควรทำงานอย8างซึ่งตรงต8อหนjาที่การงาน
จรรยาบรรณของตน เพราะการทำงานดjานสาธารณสุขต8อผูjแสดงสิทธิปฏิเสธการรักษาเปlน
การทำงานเกี่ยวกับการช8วยเหลือชีวิตของมนุษย_มีความเสี่ยงต8อการทำลายชีวิตของผูjอ่ืน
(การณุ ยฆาต) ควรทำเฉพาะตามทพ่ี ระราชบญั ญตั สิ ขุ ภาพแห8งชาติ พ.ศ. 2550 ตอj งคำนงึ ถงึ
หลักของเมตตาธรรม และที่สำคัญใหjคำนึงถึงกฎธรรมชาติของสิ่งต8างๆ ในไตรลักษณ_
อันเกี่ยวขjองกับการใชjสิทธิปฏิเสธการรักษาของผูjปÉวย และการใหjบริการดjานสาธารณสุข
ของผปูj ระกอบวิชาชพี ดาj นสาธารณสุขดjวย

ขFอจำกดั ในการวิจยั

1. การวิจัยในครั้งนี้เปlนการวิจัยวิเคราะห_เอกสารจึงไม8มีกลุ8มตัวอย8างใน
การศกึ ษาทดลอง

2. ไม8มีศึกษาเจาะลึกเกี่ยวกับปÅญหาอุปสรรคการใชjสิทธิปฏิเสธการรักษาตาม
พระราชบัญญัติสุขภาพแห8งชาติ พ.ศ. 2550 ทั้ง 3 ดjาน คือ ดjานการแพทย_ ผูjปÉวย และ
ญาติ

3. ไม8มีการรายงานผลเปlนสถิติของผูjใชjสิทธิปฏิเสธการรักษาในวาระสุดทjาย
ของชวี ติ

การประชมุ วิชาการพระพุทธศาสนาและศลิ ปวัฒนธรรมระดับชาตแิ ละนานาชาตคิ ร้งั ที่ 2 379

สรุป

หลักพุทธธรรมในพระพุทธศาสนาสามารถนำมาประยุกต_ใชjไดjเปlนอย8างดีใน
การใชjสิทธิปฏิเสธการรักษาในวาระสุดทjายของชีวิต การใชjสิทธิปฏิเสธการรักษาของผูjปÉวย
ตามหลกั พุทธธรรมไมถ8 ือเปนl การทำปาณาตบิ าต เพราะเกณฑ_การตดั สนิ การทำปาณาติบาต
ในพระพุทธศาสนาไม8รวมถึงการฆ8าตนเอง การใหjบริการดjานสาธารณสุขของแพทย_ ไม8เขjา
องค_ประกอบแห8งการฆ8าผูjอื่น เพราะการรับการรักษาของแพทย_ไม8ประกอบดjวยเจตนาแห8ง
การฆ8า ทั้งผูjปÉวยและแพทย_ศีลจึงไม8ขาดไม8เปlนการทำปาณาติบาต แต8ทำใหjศีลทะลุ ศีลด8าง
และศีลพรjอยไดjตามเจตนาที่กระทำ การปฏิบัติต8อผูjปÉวยของญาติ และคนในครอบครัว
ตjองประกอบดjวยความกตัญูกตเวทีในการประคับประคองผูjปÉวยในวาระสุดทjายของชีวิต
บุตรธิดาตjองไม8เปlนผูjกระทำการใดๆ ใหjบิดามารดาถึงแก8ชีวิต เช8น ป£ดเครื่องช8วยหายใจ
เปlนตjน เพราะเปlนการทำอนันตริยกรรม อันเปlนกรรมหนักในพระพุทธศาสนา ดjวยเหตุนี้
ท้ังผูjปÉวย แพทย_ และญาติผูjปÉวย ตjองประกอบดjวยหลักพรหมวิหารธรรม เมตตาต8อตนเอง
ผูjอื่น มีความปรารถนาใหjตนเองและผูjอื่นมีความสุข พjนจากทุกข_ และมีความกตัญู
กตเวทิตาคุณทั้งต8อตนเองและผูjอื่นในการใชjสิทธิปฏิเสธการรักษา การใหjบริการดjาน
สาธารณสุข และการประคบั ประคองผjปู Éวย

กรอบแนวคดิ การวิจัย

จากวัตถุประสงค_ของการวจิ ยั ดาj นสทิ ธิปฏเิ สธการรักษาดังกลา8 วในขาj งตนj
สามารถกำหนดเปนl กรอบแนวคิด (Conceptual framework) ในการดำเนนิ การวจิ ยั
ดังต8อไปนี้

380 การประชมุ วชิ าการพระพุทธศาสนาและศลิ ปวัฒนธรรมระดับชาติและนานาชาติครง้ั ที่ 2

ขFอเสนอแนะ

1. ความขัดแยjงอันเกิดจากการคิดต8างของกลุ8มแพทยสภา กลุ8มสำนักงานคณะ
กรรมสุขภาพแห8งชาติ (สช.) กลุ8มนักกฎหมายต8างๆ ตลอดถึงผูjใชjสิทธิฯ เปlนตjน ควรขจัด
ความขัดแยjงเรื่องสิทธิปฏิเสธการรักษาในวาระสุดทjายของชีวิต ทั้งดjานแนวคิด วิธีการ
ปฏิบตั ิ และหลกั ของกฎหมาย

การประชมุ วิชาการพระพทุ ธศาสนาและศลิ ปวัฒนธรรมระดบั ชาติและนานาชาตคิ ร้งั ท่ี 2 381

2. ในเรื่องการุณยฆาต สิทธิการตาย และสิทธิปฏิเสธการรักษา ควรมีการศึกษา
งานวรรณกรรมยjอนหลัง ผลงานเหล8านี้ยังไม8มีปรากฏใหjเห็น จึงควรที่จะทำการวิจัยเกี่ยวกับ
สำรวจวรรณกรรมยjอนหลงั ใหjเห็นถึงขjอดี ขjอเสยี จะไดjทำการแกไj ขปรบั ปรุงไดjตรงจุด

3. ควรทำการวิจัยเกี่ยวกับดjานคุณหรือประโยชน_ ดjานโทษหรือขjอเสีย และ
หาทางออกใหjกับสงั คมโดยใชjเกณฑ_ตัดสินความถูกผิด ดชี วั่ ควรไมค8 วร ตามหลกั อธิปไตย 3
ประการในพระพทุ ธศาสนา ไดแj ก8 อัตตาธิปไตย โลกาธิปไตย และธรรมาธปิ ไตย

บรรณานกุ รม

ป£ตพิ ร จันทรทัต ณ อยธุ ยา และคณะ. (2546). ตายอยาp งมศี กั ดศ์ิ รี มาตรา 24 ราp ง พ.ร.บ.
สุขภาพแหpงชาติ. ปรับปรุง 24 กันยายน 2545. ม.ป.ท.: สำนักงานปฏิรูป
ระบบสขุ ภาพแหง8 ชาต.ิ

เครือข8ายพุทธิกา. (2557). อาทิตย=อัสดง: เรียนรูuความตาย เพื่อเขuาใจชีวิต. ป•ที่ 6 ฉบับท่ี
22 ตลุ าคม-ธนั วาคม.

พระพรหมคุณาภรณ_ (ป.อ.ปยุตฺโต). (2553). พจนานุกรมพุทธศาสาตร= ฉบับประมวล
ธรรม. พิมพ_ครั้งที่ 19. กรุงเทพมหานคร: บริษัท เอส. อาร_. พริ้นติ้ง
แมสโปรดักส_ จำกัด.

พระมหาวันชัย ธมฺมชโย (ช8วงสำโรง). (2548). การศึกษาเชิงวิเคราะห_เรื่องความตายตาม
ทัศนะของพุทธทาสภิกขุ. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยามหาจุฬาลงกรณราช
วทิ ยาลัย.

ไพศาล ลิ้มสถิต และอภิราชย_ ขันธ_เสน. (2552). กpอนวันผลัดใบหนังสือแสดงเจตนาการ
จากไปในวาระสุดทuาย. พิมพ_ครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร: สำนักงานคณะกรรม
สุขภาพแห8งชาต.ิ

มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2535). พระไตรป£ฎกภาษาบาลี ฉบับมหาจุฬาเตป£ฏกํ
2500. กรงุ เทพมหานคร: โรงพมิ พ_มหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลัย.
. (2539). พระไตรป£ฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ_มหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลัย.

382 การประชุมวิชาการพระพทุ ธศาสนาและศิลปวัฒนธรรมระดบั ชาตแิ ละนานาชาติคร้งั ท่ี 2

ราชกิจจานุเบกษา. (2550). พระราชบัญญัติสุขภาพแหpงชาติ พ.ศ. 2550. เล8มที่ 124.
ตอนท่ี 16 ก.

วิฑูรย_ อึ้งประพันธ_. (2533). นิติเวชสาธก ฉบับกฎหมายอาญากับการแพทย=ยุคใหมp.
กรุงเทพมหานคร: หมอชาวบาj น.

สัมภาษณ_ (2545). พระไพศาล วิสาโล. เจjาอาวาสวัดปÉาสุคะโต อำเภอแกjงครjอ จังหวัด
ชยั ภมู ิ.

อำพล จินดาวัฒนะ. (2552). ปฏิเสธการรักษากับการดูแลในวาระสุดทuายของชีวิต.
นนทบุร:ี สำนักงานคณะกรรมสขุ ภาพแหง8 ชาติ.

American. (1 9 9 0 ). Patient Self Determination Act. Pub. L. No. 101-508. 4206 & 4751.
104 Stat. 1388 (codified at 42 U.S.C. 1395cc(f). 1396a(w) (1994)).

American. (1993). Uniform Health-Care Decisions Act. Approved by the American Bar
Association Kansas City Missouri. (February 7, 1994).

Denmark. (1998). on patients’ rights. Law No. 482 of 1 July (Lottidende, 1998. Part A. 2
July 1998. No. 99. Den. 99.1.

England. (2005). Mental Capacity Act. (Commencement No.1). Order 20th October 2006.
Northern Territory of Australia. (1988). Natural Death Act. Assent date 17 November

1988. Commenced 17 July 1989 (Gaz S35, 17 July 1989).
Singapore. (1996). Advance Medical Directive (AMD). comes into force today. (1997,

July 1), The Straits Times.

การประชุมวชิ าการพระพุทธศาสนาและศลิ ปวฒั นธรรมระดบั ชาตแิ ละนานาชาติครง้ั ท่ี 2 383

การบรหิ ารจัดการใหม+ ีประสิทธภิ าพในโรงเรียนพระปริยัติธรรม

Effective management of Prapariyatidhamma school

พระอธิการธีระพล บุญกลาง,
พระฮอนดา4 เข็มมา, รชั นี จรุงศิรวฒั น?

มหาวทิ ยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วทิ ยาเขตขอนแก9น
PhraAtikanTheerapol Boonklang

PhraHonda khemma, Rachanee Jaroungsirawat
Mahachulalongkornrajavidyalaya University, Khonkaen Campus, Thailand

บทคัดย<อ

การบริหารจัดการโรงเรียนพระปริยัติธรรม หรือโดยเฉพาะหน:วยงานทาง
การศึกษาและสถานศึกษานั้นปEจจัย หนึ่งที่จะทำใหIประสบความสำเร็จในการดำเนินงาน
ภายในองคMการ คือ การมีผูIบริหารที่มีความรูIความสามารถและทักษะในการบริหาร
โดยเฉพาะอย:างยิ่งการมีภาวะผูIนำของผูIบริหารที่จะสามารถนำพาองคMการใหIมีความเปQนน้ำ
หนึ่งใจเดียวกันที่ปฏิบัติงานเพื่อมุ:งไปสู:เปUาหมายที่ตั้งไวIร:วมกันไดI ซึ่งในการบริหารโรงรีย
นพระปริยัติธรรมในแต:ละแห:งก็มีการแบ:งงานบริหารออกเปQนดIานๆ โดยมีงานหลักอยู: 4
ดIาน อันประกอบดIวย 1) การบริหารงานวิชาการ 2) การบริหารงานบุคลากร 3) การ
บริหารงานงบประมาณ และ 4) การบริหารงานทั่วไปและการทำงานของผูIปฏิบัติงานใน
โรงเรียนพระปริยัติธรรมเพื่อใหIเกิดประสิทธิภาพนั้นย:อมขึ้นอยู:กับความสามารถของ
ผIูบรหิ ารดวI ย

คำสำคัญ: การบรหิ ารจัดการ, โรงเรียนพระปรยิ ตั ธิ รรม

Abstract
The administration of Phrapariyattidhamma schools or especially

academic departments and educational institutions One of the factors

384 การประชมุ วชิ าการพระพทุ ธศาสนาและศิลปวฒั นธรรมระดบั ชาตแิ ละนานาชาตคิ ร้ังที่ 2

that will make it successful in operating within the organization is
the presence of managers who have knowledge, abilities and
administrative skills, especially the leadership of the executives who can
lead the organization to It is a unity that can work towards the goals set
together, in which the administration of the Dhamma school in each
place is divided into administrative functions. There are four main tasks:
1) Academic Administration, 2) Personnel Management, 3) Budget
Management and, 4) The general administration and the work of
the personnel in the Phrapariyattidhamma School to be effective
depends on the competence of the administrators.

Keywords: management, Prapariyatidhamma School.

บทนำ

การพัฒนาโรงเรียนสู:มาตรฐานสากล โดยกำหนดกรอบเกณฑMดIานการจัด
การศึกษาเพื่อผลงานที่เปQนเลิศ ช:วยใหIมีการทำความเขIาใจและปรับใชIในวงการศึกษาเพ่ือ
ปรบั ปรุงคุณภาพของโรงเรียน โดยยดึ หลักการดำเนนิ งานเชิงระบบเพ่อื ชว: ยใหIองคMการ หรอื
โรงเรียนสรIางการเปลี่ยนแปลงอย:างเปQนระบบทั้งน้ี ผลการดำเนินงานที่เปQนเลิศ โรงเรียน
พระปริยัติธรรมแผนกสามัญศึกษา เปQนการศึกษารูปแบบหนึ่งของการศึกษาคณะสงฆM ที่รัฐ
กำหนดใหIมีขึ้นตามความประสงคMของคณะสงฆM และดำเนินการมาตั้งแต:ปt พ.ศ. 2514 เปQน
ตIนมา และเพื่อใหIมีการบริหารจัดการโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา การมี
ผูIบริหารที่มีความรูIความสามารถและทักษะในการบริหาร โดยเฉพาะอย:างยิ่งการมีภาวะ
ผูIนำของผูIบริหารที่จะสามารถนำพาองคMการใหIมีความเปQนน้ำหนึ่งใจเดียวกัน ปฏิบัติงาน
เพ่ือมุง: ไปส:ูเปUาหมายที่ต้ังไวรI :วมกันไดI

การประชุมวิชาการพระพทุ ธศาสนาและศิลปวัฒนธรรมระดับชาตแิ ละนานาชาติคร้ังท่ี 2 385

ความหมายของการบรหิ ารจดั การ
การบริหาร บางครั้งเรียกว:า การบริหารจัดการ หมายถึง การดำเนินงาน หรือ
การปฏิบัติงานใด ๆ ของหน:วยงานของรัฐ และ/หรือ เจIาหนIาที่ของรัฐ (ถIาเปQนหน:วยงาน
ภาคเอกชน หมายถึงของหน:วยงาน และ/หรือ บุคคล) ที่เกี่ยวขIองกับคน สิ่งของและ
หน:วยงาน โดยครอบคลุมเรื่องต:าง ๆ เช:น (1) การบริหารนโยบาย (Policy) (2) การบริหาร
อำนาจหนIาที่ (Authority) (3) การบริหารคุณธรรม (Morality) (4) การบริหารที่เกี่ยวขIอง
กับสังคม (Society) (5) การวางแผน (Planning) (6) การจัดองคMการ (Organizing) (7) การ
บ ร ิ ห า ร ท ร ั พ ย า ก ร ม น ุ ษ ยM (Staffing) (8) ก า ร อ ำ น ว ย ก า ร (Directing) (9) ก า ร
ประสานงาน (Coordinating) (10) การรายงาน (Reporting) และ (11) การงบประมาณ (Budgeting)
เช:นน้ี เปQนการนำ “กระบวนการบริหาร” หรือ “ปEจจัยที่มีส:วนสำคัญต:อการบริหาร”
ที่เรียกว:า แพ็มสM-โพสคอรMบ (PAMS-POSDCoRB) แต:ละตัวมาเปQนแนวทางในการใหI
ความหมาย
พรIอมกนั น้ี อาจใหIความหมายไดอI กี วา: การบริหาร หมายถงึ การดำเนนิ งาน หรอื
การปฏิบัติงานใด ๆ ของหน:วยงานของรัฐ และ/หรือ เจIาหนIาที่ของรัฐ ที่เกี่ยวขIองกับ คน
สิ่งของ และหน:วยงาน โดยครอบคลุมเรื่องต:าง ๆ เช:น (1) การบริหารคน (Man) (2) การ
บริหารเงิน (Money) (3) การบริหารวัสดุอุปกรณM (Material) (4) การบริหารงานทั่วไป
(Management) (5) การบริหารการใหIบริการประชาชน (Market) (6) การบริหาร
คุณธรรม (Morality)(7) การบริหารขIอมูลข:าวสาร (Message) (8) การบริหารเวลา
(Minute) และ (9) และการบริหารการวัดผล (Measurement) เช:นนี้ เปQนการนำ “ปEจจัย
ทม่ี ีส:วนสำคัญตอ: การบรหิ าร” ที่เรยี กว:า 9M แตล: ะตัวมาเปนQ แนวทางในการใหIความหมาย
การใหIความหมายทั้ง 2 ตัวอย:างที่ผ:านมานี้ เปQนการนำหลักวิชาการดIานการ
บริหาร คือ “กระบวนการบริหาร” และ “ปEจจัยที่มีส:วนสำคัญต:อการบริหาร” มาใชIเปQน
แนวทางหรือกรอบแนวคิดในการใหIความหมายซึ่งน:าจะมีส:วนทำใหIการใหIความหมายคำว:า
การบริหารเช:นนี้ครอบคลุมเนื้อหาสาระสำคัญที่เกี่ยวกับการบริหาร ชัดเจน เขIาใจไดIง:าย
เปQนวิชาการ และมีกรอบแนวคิดดIวย นอกจาก 2 ตัวอย:างนี้แลIว ยังอาจนำปEจจัยอื่นมาใชI
เปQนแนวทางในการใหIความหมายไดIอีก เปQนตIนว:า 3M ซึ่งประกอบดIวย การบริหารคน
(Man) การบริหารเงิน (Money) และการบริหารงานทั่วไป (Management) และ 5ป

386 การประชุมวชิ าการพระพุทธศาสนาและศิลปวฒั นธรรมระดับชาติและนานาชาตคิ รัง้ ท่ี 2

ซึ่งประกอบดIวย ประสิทธิภาพ ประสิทธิผล ประหยัด ประสานงาน และประชาสัมพันธM
(วิรัช วิรัชนิภาวรรณ, แนวคิดและความหมายของการบริหารและการบริหารจัดการ,
ออนไลน?, แหลงG ทีม่ า : http://www.wiruch.com, 16 กรกฏาคม 2563.)

ธงชัย สันติวงษ? ในปt พ.ศ. 2543 กล:าวถึงลักษณะของงานบริหารจัดการไวI 3
ดIาน คือ 1) ในดIานที่เปQนผูIนำหรือหัวหนIางาน งานบริหารจัดการ หมายถึง ภาระหนIาที่ของ
บุคคลใดบุคคลหนึ่งที่ปฏิบัติตนเปQนผูIนำภายในองคMการ 2) ในดIานของภารกิจหรือสิ่งที่ตIอง
ทำ งานบริหารจัดการ หมายถึง การจัดระเบียบทรัพยากรต:าง ๆ ในองคMการ และการ
ประสานกิจกรรมต:าง ๆ เขIาดIวยกัน 3) ในดIานของความรับผิดชอบ งานบริหารจัดการ
หมายถึง การตIองทำใหIงานต:าง ๆ สำเร็จลุล:วงไปดIวยดีดIวยการอาศัยบุคคลต:าง ๆ เขIา
ดวI ยกัน (ธงชัย สันติวงษM, องคก? ารและการบรหิ าร (พิมพคM ร้งั ท่ี 11, กรงุ เทพมหานคร : ไทย
วัฒนาพานชิ , 2543), หนIา 21-22.)

วิรัช วิรัชนิภาวรรณ ในปt พ.ศ. 2548 กล:าวไวIว:า การบริหารจัดการ (management
administration) การบริหารการพัฒนา (development administration) แมกI ระทั่งการ
บริหารการบริการ (service administration) แต:ละคำมีความหมายคลIายคลึงหรือ
ใกลIเคียงกันที่เห็นไดIอย:างชัดเจนมีอย:างนIอย 3 ส:วน คือ หนึ่ง ลIวนเปQนแนวทางหรือวิธีการ
บริหารงานภาครัฐที่หน:วยงานของรัฐ และ/หรือ เจIาหนIาที่ของรัฐ นำมาใชIในการปฏิบัติ
ราชการเพื่อช:วยเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารราชการ สอง มีกระบวนการบริหารงานที่
ประกอบดIวย 3 ขั้นตอน คือ การคิด (thinking) หรือการวางแผน (planning) การ
ดำเนินงาน (acting) และการประเมินผล (evaluating) และ สาม มีจุดหมายปลายทาง คือ
การพัฒนาประเทศไปในทิศทางที่ทำใหIประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น รวมทั้งประเทศชาติ
มีความเจริญกIาวหนIาและมั่นคงเพิ่มขึ้น สำหรับส:วนที่แตกต:างกัน คือ แต:ละคำมีจุดเนIน
ต:างกัน กล:าวคือ การบริหารจัดการเนIนเรื่องการนำแนวคิดการจัดการของภาคเอกชนเขIา
มาใชIในการบริหารราชการ เช:น การมุ:งหวังผลกำไร การแข:งขัน ความรวดเร็ว การตลาด
การประชาสัมพันธM การจูงใจดIวยค:าตอบแทน การลดขั้นตอน และการลดพิธีการ เปQนตIน
ในขณะที่การบริหารการพัฒนาใหIความสำคัญเร่ืองการบริหารรวมทั้งการพัฒนานโยบาย
แผน แผนงาน โครงการ (policy, plan, program, project) หรือกิจกรรมของหน:วยงาน
ของรัฐ ส:วนการบริหารการบริการเนIนเรื่องการอำนวยความสะดวกและการใหIบริการแก:

การประชมุ วชิ าการพระพทุ ธศาสนาและศลิ ปวฒั นธรรมระดับชาตแิ ละนานาชาติคร้งั ที่ 2 387

ประชาชน (วิรัช วิรัชนิภาวรรณ, การบริหารจัดการและการบริหารการพัฒนาขององค?กร
ตามรัฐธรรมนูญและหนGวยงานของรัฐ (กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพMนิติธรรม, 2548),
หนาI 5.)

สรุป การบริหารจัดการ หมายถึง การปฏิบัติหนIาที่ของผูIบังคับบัญชาโดยตรง
การปฏิบัติงานจึงส:งผลต:อการงานดIานอื่น ๆ ที่เกี่ยวขIองกัน การทำงานของผูIปฏิบัติงาน
เพื่อใหIเกิดประสิทธิภาพนั้น ย:อมขึ้นอยู:กับความสามารถของผูIบริหารดIวย การบริหาร
จัดการจึงเปQนการกระบวนการของกิจจะกรรมที่ต:อเนื่องกัน เพื่อใหIบรรลุวัตถุประสงคMที่
องคMกรไดตI ้ังเปาU หมายไวI อยา: งมปี ระสิทธภิ าพ

หลักการและแนวคิดเกย่ี วกบั การบริหารโรงเรยี นปรยิ ตั ิธรรม
1. ความหมายการบรหิ ารโรงเรียนพระปรยิ ตั ิธรรม
ภายหลังจากที่การศึกษาในมหาวิทยาลัยสงฆMทั้งสองแห:ง คือ มหาวิทยาลัยมหา
จุฬาลงกรณราชวิทยาลัย และมหาวิทยาลัยมหามกุฎราชวิทยาลัย ซึ่งเปîดดำเนินการมา
ตั้งแต:ปt พ.ศ. 2432 และ พ.ศ. 2489 ตามลำดับไดIเจริญกIาวหนIามากขึ้น มหาวิทยาลัยมหา
จุฬาลงกรณราชวิทยาลัย จึงไดIจัดแผนกมัธยมศึกษาขึ้นมา เรียกว:า โรงเรียนมัธยมศึกษา
กำหนดใหIมีการเรียนบาลี นักธรรม และความรูIชั้นมัธยม โดยรับผูIที่สำเร็จชั้นประถมศึกษา
ปtที่ 4 ต:อมาเมื่อโรงเรียนบาลีมัธยมศึกษานี้ ไดIแพร:ขยายออกไปยังต:างจังหวัดหลายแห:ง
จงึ มพี ระภิกษสุ ามเณรมาเรียนมากข้นึ ทางคณะสงฆMโดยองคกM ารศึกษา จึงไดกI ำหนดใหเI รยี ก
โรงเรียนประเภทนี้ใหม:ว:า โรงเรียนบาลีสามัญศึกษาสำนักเรียนวัด โดยมติคณะสังฆมนตรี
และกระทรวงศึกษาธิการ ไดIออกระเบียบกระทรวงใหIโรงเรียนบาลีวิสามัญศึกษาสำนัก
เรียนวัดนี้ เปîดทำการสอนสมทบในตัวประโยค คือ ชั้นประถมศึกษาปtที่ 6 และชั้น
มัธยมศึกษาปtที่ 3 ไดIตั้งแต: พ.ศ. 2500 เปQนตIนมา และเมื่อสอบไดIแลIวก็ยังจะไดIรับ
ประกาศนียบัตรจากกระทรวงศึกษาธิการอีกดIวย ดIวยเหตุนี้จึงทำใหIภิกษุสามเณรนิยมเรียน
กันมาก และแพร:หลายออกไปยังจังหวัดต:าง ๆ อย:างกวIางขวาง จนทำใหIทางการคณะสงฆM
เกรงว:าการศึกษาธรรมและบาลีจะเสื่อม เพราะพระภิกษุสามเณรต:างมุ:งศึกษาวิชาทางโลก
มากเกินไป เปQนเหตุใหIตIองละทิ้งการศึกษาธรรมและบาลีเสีย แต:ทางคณะสงฆMก็ยังพิจารณา
เห็นความจำเปQนของการศึกษาวิชาทางโลกอยู: ดังนั้น แม:กองธรรมสนามหลวง พระธรรม
ปEญญาบดี สมเด็จพระพุทธโฆษาจารยM (ฟñóน ชุตินฺธโร) จึงไดIตั้งคณะกรรมการปรับปรุง

388 การประชุมวิชาการพระพทุ ธศาสนาและศิลปวัฒนธรรมระดับชาตแิ ละนานาชาตคิ รัง้ ท่ี 2

การศึกษาพระปริยัติธรรม แผนกบาลี ขึ้นใหม: มีวิชาบาลี วิชาธรรม และวิชาทางโลก
เรียกว:าบาลีศึกษา สามัญศึกษา และปริทัศนMศึกษา พ.ศ. 2507 พรIอมกับไดIยกเลิกระเบียบ
ของคณะสังฆมนตรี ว:าดIวยการศึกษาของโรงเรียนบาลีวิสามัญศึกษา กำหนดใหIพระภิกษุ
สามเณรตIองเรยี นพระปริยตั ิธรรม แผนกบาลี ท่คี ณะสงฆMไดจI ดั ขนึ้ มาใหม: แตป: รากฏวา: การ
ตั้งสำนักเรียนตามแบบโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกบาลี ใหม:นี้มีนIอย นักเรียนก็นิยม
เรียนนIอยมาก เพราะพระภิกษุสามเณรส:วนใหญ:ยังพอใจที่จะเรียนโดยรับใบ
ประกาศนียบัตรจากกระทรวงศึกษาธิการ ดังนั้น นักเรียนในโรงเรียนดังกล:าว จึงพากัน
เขIาชื่อกันเปQนนักเรียนโรงเรียนราษฎรMของวัด ซึ่งตั้งขึ้นโดยระเบียบของ
กระทรวงศึกษาธิการบIาง สมัครสอบเทียบบIาง เขIาเปQนนักเรียนผูIใหญ:บIาง ทำใหIการศึกษา
ของคณะสงฆMช:วงน้ันเกิดความสบั สนเปQนอนั มาก (พระสาย แวงคำ, 2547:2-3)

กระทรวงศึกษาธิการไดIรับเรื่องจากมติของสภาผูIแทนราษฎร ใหIดำเนินการเปîด
การสอบสมทบในชั้นตัวประโยคใหIแก:พระภิกษุสามเณร แต:กรมการศาสนาร:วมกับกรมต:าง
ๆ ที่เกี่ยวขIองไดIพิจารณาลงมติเห็นร:วมกันว:าควรจะจัดต้ังโรงเรียนประเภทหนึ่ง เพื่อสนอง
ความตIองการของพระภิกษุสามเณร โดยใหIสอนวิชาธรรมและวิชาสามัญศึกษาควบคู:กันไป
มีการสอบสมทบแต:ใหIกระทรวงศึกษาธิการดำเนินการสอบเอง และโดยปรารภของสมเด็จ
พระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราชสกลมหาปริณายก (จวน อุฏฐายีมหาเถระ) ว:า
การศึกษาทางโลกเจริญกIาวหนIามากขึ้นตามความเปลี่ยนแปลงของสังคมโลก การศึกษา
พระปริยัติธรรม ก็จำเปQนตIองอนุวัต ไปตามความเปลี่ยนแปลงของสังคมโลกบIาง
จึงเห็นสมควรที่จะมีหลักสูตร ในการเรียนพระปริยัติธรรมเพิ่มเติมขึ้นอีกแผนกหน่ึง
คือหลักสูตรพระปริยัติธรรม แผนกสามัญ ไดIมีโอกาสบำเพ็ญประโยชนMไดIทั้งทางโลกและ
ทางธรรมควบคู:กันไป กระทรวงศึกษาธิการจึงไดIประกาศใชIระเบียบกระทรวงศึกษาธิการ
ว:าดIวยโรงเรยี นพระปรยิ ตั ิธรรม แผนกสามญั ขึ้นเมอ่ื วนั ที่ 20 กรกฎาคม 2514

2. ความเปนe มาและการจัดการศึกษาของโรงเรยี นพระปรยิ ัติธรรม
การศึกษาพระปริยัติธรรมแผนกสามัญศึกษาของคณะสงฆMไทยนั้นเกิดข้ึน
หลังจากโรงเรียนวิสามัญศึกษาสำนักเรียนวัดถูกยกเลิกตามมติเถรสมาคมแลIวนักเรียนท่ี
เรียนอยู:ก็ดิ้นรนหาที่เรียนใหม:ขณะนั้นมีโรงเรียนราษฎรMของวัดซึ่งตั้งขึ้นโดยระเบียบ
กระทรวงศึกษาธิการนักเรียนส:วนมากก็เขIาเรียนที่โรงเรียนราษฎรMของวัดบIาง สมัครสอบ

การประชุมวิชาการพระพทุ ธศาสนาและศิลปวฒั นธรรมระดับชาตแิ ละนานาชาติคร้งั ที่ 2 389

เทียบบIาง เขIาเปQนนักเรียนผูIใหญ:บIางในขณะเดียวกันนั้นไดIมีผูIแทนราษฎรคือ นายอุยุธ
ฝöายคุณวงศM ส.ส.มหาสารคามกับคณะยื่นเรื่องราวขอใหIพระภิกษุสามเณรและ
กระทรวงศึกษาธิการไดIส:งเรื่องมายังกรมการศาสนาซึ่งกองศาสนศึกษาเปQนเจIาหนIาที่ใน
เรื่องนี้โดยตรงไดIมีการประชุมพิจารณากันในระดับเจIาหนIาที่และผูIเกี่ยวขIองของกรมการ
ศาสนาและต:างกรมลงความเห็นว:าควรจะตั้งโรงเรียนสนองความตIองการของพระภิกษุ
สามเณรใหIไดIเรียนทั้งวิชาธรรมและวิชาสามัญควบคู:กันไปโดยไม:มีการสมทบสอบ
ใหIกระทรวงศึกษาธิการเปQนผูIสอบเองจากการประชุมระดับเจIาหนIาที่นี้ไดIเสนอกระทรวง
เห็นชอบไดIตั้งคณะกรรมการขึ้น โดยมี นายจรูญวงศM สายันหM อธิบดีกรมวิชาการในขณะน้ัน
เปQนประธานและคณะกรรมการต:างๆ ผูIแทนมหามกุฎราชวิทยาลัย ผูIแทนมหาจุฬาลงกรณ
ราชวิทยาลัยและผูIแทนกรมการศาสนา ยกร:างระเบียบหลักสูตรวิธีการวัดผลในระดับขั้นป.7,
ม.ศ.3, ม.ศ.5 และใหIชื่อโรงเรียนนี้ว:า “โรงเรียนพระปริยัติธรรมแผนกสามัญศึกษา”
(กองศาสนศึกษา, 2527: 141-152)

โรงเรียนพระปริยัติธรรมแผนกสามัญศึกษานี้ย:อมเปQนฐานรองรับการศึกษาใน
ระดับอุดมศึกษาต:อไปเปQนรายการศึกษาที่จะขึ้นสู:ระดับมหาวิทยาลัยและประกาศนียบัตรมี
ศักดิ์และสิทธิ์เช:นเดียวกับโรงเรียนในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการทุกประการจึงมีผูIนิยมต้ัง
และเรียนมากขึ้นตามลำดับ (มานพ ผลไพรินทรM, 2535) ฉะนั้นกระทรวงศึกษาธิการอาศัย
อำนาจตามประกาศคณะปฏิวัติฉบับที่ 266 ลงวันที่ 29 กันยายน พ.ศ. 2515 ไดIออก
ระเบียบกระทรวงศึกษาธิการว:าดIวยโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา พ.ศ.
2514 ขึ้นเพื่อใหIเปQนการศึกษาแบบประยุกตMเมื่อวันที่ 14 กรกฎาคม พ.ศ. 2514 ในปt พ.ศ.
2545 ฝöายการศึกษาพระปริยัติธรรมกองศาสนศึกษากรมการศาสนาไดIสำรวจจำนวน
โรงเรียนพระปริยัติธรรมแผนกสามัญศึกษาทั่วประเทศทั้งหมด 406 โรงซึ่งสามารถแบ:งตาม
ขนาดของโรงเรยี นไดดI งั น้ี (ฝöายการศึกษาพระปริยัติธรรม, 2546)

(1) โรงเรียนขนาดเล็ก (ตำ่ กวา: 200 รูป) จำนวน 282 โรงเรียน
(2) โรงเรียนขนาดกลาง (200-499รูป) จำนวน 107 โรงเรยี น
(3) โรงเรียนขนาดใหญ: (500 รูปขนึ้ ไป) จำนวน 17 โรงเรยี น
การศึกษาพระปริยัติธรรมแผนกสามัญศึกษาเปQนการจัดการศึกษาเพื่อใหI
พระภิกษุสามเณรไดIเรียนรูIตามหลักสูตรกระทรวงศึกษาธิการ (เจริญผล สุวรรณโชติ,

390 การประชุมวิชาการพระพุทธศาสนาและศลิ ปวัฒนธรรมระดบั ชาตแิ ละนานาชาตคิ รั้งที่ 2

3536) ซึ่งปEจจุบันสำนักงานพระพุทธศาสนาแห:งชาติเปQนผูIดูแลรับผิดชอบการศึกษาของ
สงฆMประเภทนี้ ภายใตIการควบคุมของสภาการศึกษาคณะสงฆMซึ่งมีสมเด็จพระสังฆราชเปQน
ประธาน และยังมีคณะกรรมการการศึกษาโรงเรียนพระปริยัติธรรมแผนกสามัญศึกษา
กลม:ุ โรงเรียนพระปรยิ ัติธรรมแผนกสามัญศึกษา มรี ายละเอียด ดังนี้

2.1 สภาการศกึ ษาสงฆ?
สภาการศึกษาของคณะสงฆMเปQนองคMกรที่จัดตั้งขึ้นตามคำสั่งของมหาเถรสมาคม
เมื่อพ.ศ. 2512 ประกอบดIวยสมเด็จพระสังฆราชทรงเปQนประธาน แม:กองบาลีและแม:กอง
ธรรมสนามหลวงเปQนรองประธาน 2 รูป นายกสภามหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
อธิการบดีสภาการศึกษามหามกุฎราชวิทยาลัย เลขาธิการมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
เลขาธิการสภาการศึกษาของคณะสงฆM และผูIทรงคุณวุฒิไม:เกิน 9 ท:าน ที่สมเด็จ
พระสังฆราชทรงแต:งตั้งตามคำกราบทูลของสภาการศึกษาของคณะสงฆMหนIาที่สำคัญของ
สภาการศึกษาของคณะสงฆMคือควบคุมและส:งเสริมการจัดการศึกษาของคณะสงฆM โดยมี
อำนาจพิจารณาใหIความเห็นชอบนโยบายงานโครงการต:างๆ นอกจากนย้ี งั มีหนIาทพ่ี ิจารณา
ใหIความเห็นชอบหลักสูตรและแบบเรียนตามโครงการศึกษาทุกระดับพิจารณาปEญหา
เกี่ยวกับการศึกษาตลอดจนพิจารณาเรื่องอื่นๆ ที่เกี่ยวกับการศึกษาตามที่มหาเถรสมาคม
มอบหมายทั้งนี้อำนาจแต:งตั้งกรรมการทำหนIาที่อย:างใดอย:างหนึ่งเกี่ยวกับการศึกษาอีก
ดIวย (กิตติ ธรี ศานต,M 2539)

2.2 สำนกั งานพระพุทธศาสนาแหงG ชาติ
สำนักงานพระพุทธศาสนาแห:งเปQนหน:วยงานที่ตั้งขึ้นใหม:ตามพระราชบัญญัติ
ปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม ปtพุทธศักราช 2545 ซึ่งมีฐานะเปQนกรมขึ้นตรงต:อ
นายกรฐั มนตรีโดยใหมI อี ำนาจหนาI ทดี่ ังตอ: ไปนี้ (สำนักงานพระพทุ ธศาสนาแหง: ชาต,ิ 2546)
(1) ดำเนินการตามกฎหมายว:าดIวยคณะสงฆM กฎหมายว:าดIวยการกำหนด
วิทยฐานะผูIสำเร็จการศึกษาวิชาการพระพุทธศาสนารวมทั้งกฎหมายและระเบียบที่
เกีย่ วขIอง
(2) รับสนองงานประสานงานและถวายการสนับสนุนกิจการของคณะสงฆMการ
บริหารการปกครอง

การประชุมวชิ าการพระพทุ ธศาสนาและศิลปวัฒนธรรมระดับชาติและนานาชาตคิ รัง้ ที่ 2 391

(3) เสนอแนวทางกำหนดนโยบายและมาตรการในการคุIมครอง
พระพทุ ธศาสนา

(4) ส:งเสริมดูแลรักษาและทำนุบำรุงศาสนสถานและศาสนวัตถุทาง
พระพุทธศาสนา

(5) ดูแลรักษาและจดั การศาสนสมบตั กิ ลางทางพระพุทธศาสนา
(6) พัฒนาพุทธมณฑลใหเI ปQนศูนยMกลางทางพระพทุ ธศาสนา
(7) ปฏิบัติงานร:วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน:วยที่เกี่ยวขIองหรือท่ี
ไดรI ับมอบหมาย
(8) ทำนบุ ำรุงสง: เสริมการพุทธศาสนศกึ ษาเพอ่ื พัฒนาความรIคู ู:คณุ ธรรม
(9) ปฏิบัติการอื่นใดตามที่กฎหมายกำหนดใหIเปQนอำนาจหนIาที่ของสำนักงาน
หรือตามที่กระทรวงหรือคณะรัฐมนตรีมอบหมาย สำหรับหน:วยงานราชการสำนักงาน
พระพุทธศาสนาแห:งชาตินั้นประกอบดIวยกองกลางกองพุทธศาสนศึกษา กองพุทธศาสน
สถาน สำนักงานพุทธมณฑล สำนกั งานศาสนสมบตั ิ สำนกั งานเลขาธกิ ารมหาเถรสมาคม
2.3 กองพทุ ธศาสนศึกษา
เปQนหน:วยงานที่สังกัดสำนักงานพระพุทธศาสนาแห:งชาติที่ทำหนIาดูแลการ
บริการงานโรงเรียนพระปริยัติธรรมแผนกสามัญศึกษาโดยตรงซึ่งมีหนIาที่ดังน้ี (สำนักงาน
พระพทุ ธศาสนาแหง: ชาต,ิ 2546)
(1) ประสานและดำเนินการเกี่ยวกับการควบคุมดูแลจัดการศึกษาวิชาการ
พระพุทธศาสนา การจัดการศึกษาโรงเรียนพระปริยัติธรรมแผนกสามัญศึกษาและ
รับผิดชอบงานการศึกษาของคณะสงฆM การศึกษาสังเคราะหMและการศึกษาอื่นๆที่เกี่ยวขIอง
กบั การศาสนา
(2) ดำเนินการเกี่ยวกับการจัดทำสื่อการเรียนการสอนดIานศาสนาวิเคราะหMทาง
วชิ าการต:างๆเกยี่ วกบั พระพทุ ธศาสนาเปQนแหล:งความรูIทีเ่ ปQนระบบและอาI งองิ ไดI
(3) สนับสนุนการพัฒนาบุคลากรในสถานศึกษาทุกระดับรวมทั้งการนิเทศ
ตดิ ตามและประเมนิ ผลการศึกษาทุกประเภท
(4) ปฏิบัติงานร:วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน:วยงานอื่นที่เกี่ยวขIอง
หรือที่ไดIรับมอบหมาย

392 การประชมุ วชิ าการพระพุทธศาสนาและศิลปวัฒนธรรมระดบั ชาติและนานาชาตคิ รัง้ ท่ี 2

2.4 คณะกรรมการการศึกษา
โรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา คณะกรรมการการศึกษาโรงเรียน
พระปริยัติธรรมแผนกสามัญศึกษาประกอบดIวยอธิบดีกรมการศาสนาเปQนประธาน ผูIแทน
กรมสามัญศึกษา ผูIแทนกรมวิชาการ ผูIแทนสำนักงานคณะกรรมการการประถมศึกษา
แห:งชาติ ผูIแทนสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาเอกชน ผูIแทนกลุ:มโรงเรียนพระปริยัติ
ธรรมแผนกสามัญศึกษาจำนวนไม:เกิน 4 ท:าน เปQนกรรมการ และผูIอำนวยการกองศาสน
ศึกษากรมการศาสนาเปQนกรรมการและเลขานุการคณะกรรมการการศึกษาโรงเรียน
พระปริยัตธิ รรมแผนกสามญั ศึกษามีอำนาจหนIาท่ีดงั นี้
(1) กำหนดหลักเกณฑกM ารจดั สรรเงินอุดหนุน
(2) กำหนดนโยบายและแผนเพอ่ื พฒั นาโรงเรยี น
(3) พิจารณาวินิจฉัยคำรIองทุกขMของผูIรับใบอนุญาต ผูIจัดการ ครูใหญ: อาจารยM
ใหญผ: ูอI ำนวยการ ครู และเจIาหนIาที่
(4) ควบคุมดูแลการจัดการศึกษาใหIมีการศึกษาพระปริยัติธรรมเปQนหลักและ
ปอU งกันมิใหมI กี ารเปลี่ยนแปลงพระธรรมวินัยใหผI ิดไปจากพระบาลีในพระไตรปîฎก
(5) ใหคI ำแนะนำสง: เสรมิ การจดั การศกึ ษา
(6) ตรวจสอบการดำเนินการของโรงเรียนพระปริยัติธรรมแผนกสามัญศึกษา
ตลอดจนหลักฐานเอกสารต:างๆ ทุกประเภทถIาปรากฏมีความบกพร:องใหIพิจารณาเสนอ
กรมการศาสนาเพื่อขอความเห็นจากประธานสภาการศึกษาของคณะสงฆMเมื่อไดIรับความ
เห็นชอบแลIวกรมการศาสนามอี ำนาจสัง่ ปดî โรงเรียนไดI
(7) วนิ ิจฉัยชีข้ าดปญE หาขอI ขัดขอI งในการปฏบิ ตั ิตามระเบยี บนี้
(8) แต:งตั้งคณะอนุกรรมการใหIปฏิบัติหนIาที่ตามที่คณะกรรมการการศึกษา
โรงเรยี นพระปริยัติธรรมแผนกสามญั ศึกษามอบหมาย (วชิ ัย ธรรมเจริญ, 2541)
2.5 กลุมG โรงเรยี นพระปริยัตธิ รรมแผนกสามัญศกึ ษา
กลุ:มโรงเรียนพระปริยัติธรรมแผนกสามัญศึกษาประกอบดIวยผูIแทนโรงเรียน
ต:างๆโรงเรียนละ 1 ท:านยกเวIนกลุ:มโรงเรียนที่มีโรงเรียนไม:เกิน 10 โรงเรียนใหIมี
คณะกรรมการบรหิ ารกล:มุ โรงเรยี นประกอบดวI ยบุคคลดงั ตอ: ไปนี้

การประชุมวิชาการพระพุทธศาสนาและศิลปวัฒนธรรมระดับชาตแิ ละนานาชาตคิ รงั้ ท่ี 2 393

(1) ผIจู ัดการโรงเรยี น
(2) ผอูI ำนวยการ/อาจารยใM หญ:/ครูใหญ:
(3) ครคู ฤหัสถMจากโรงเรียนกลม:ุ โรงเรยี นละ๑ท:าน
ใหIคณะกรรมการบริหารกลุ:มโรงเรียนเลือกประธานกรรมการและรองประธาน
กรรมการสำหรับรองประธานกรรมการกลุ:มโรงเรียนใดมีโรงเรียน 40 โรงเรียนใหIเลือกรอง
ประธานไดI๒รูปและใหIเลือกรองประธานเพิ่มขึ้นอีก 1 รูป ต:อ 20 โรงเรียนที่เพิ่มขึ้นจาก 40
โรงเรียนส:วนตำแหน:งกรรมการและเลขานุการใหIประธานกรรมการเปQนผูIเลือก การเลือก
ผูIดำรงตำแหน:งดังกล:าวใหIเลือกจากบุคคลในคณะกรรมการบริหารกลุ:มโรงเรียนเวIนแต:
ประธานกรรมการ ในการแต:งตั้งกรมการศาสนาจะแต:งตั้งเฉพาะตำแหน:งประธาน
กรรมการ ส:วนตำแหน:งอื่นใหIประธานเปQนผูIแต:งตั้งแลIวรายงานกรมการศาสนาทราบ
ผูIไดIรับเลือกใหIดำรงตำแหน:งต:างๆ ใหIอยู:ในตำแหน:งคราวละ๒ปtงบประมาณถIาผูIไดIรับเลือก
พIนจากตำแหน:งก:อนครบวาระใหIเลือกผูIดำรงตำแหน:งแทนจนครบวาระ สำหรับตำแหน:ง
ประธานกรรมการถIาวาระดำรงตำแหนง: เหลอื ไมถ: ึง 60 วันไมต: Iองเลอื กผดIู ำรงตำแหนง: แทน
3. หลกั การบริหารโรงเรยี นพระปริยัตธิ รรม
การบริหารงานของโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา มีการปฏิบัติงาน
ตามภาระงานของสถานศึกษาในระดับมัธยมศึกษา โดยจำแนกออกเปQน 4 ดIาน
ประกอบดIวย การบริหารงานวิชาการ การบริหารบุคคล การบริหารงานงบประมาณ
และการบริหารงานทั่วไป ซึ่งรายละเอียดในการบริหารในแต:ละดIานก็จะคลIายกับการ
บริหารโรงเรยี นในสงั กดั ของกระทรวงศกึ ษาธกิ ารทัง้ ภาครัฐและเอกชน ท่วั ไป

394 การประชมุ วิชาการพระพุทธศาสนาและศิลปวัฒนธรรมระดับชาตแิ ละนานาชาติครั้งท่ี 2

องคคO วามรูจ+ ากงานวิจยั

ผูIเขียนบทความ ไดIศึกษาเกี่ยวกับ การบริหารจัดการ และการบริหารโรงเรียน
พระปริยตั ธิ รรม เพอ่ื ใหเI กิดองคคM วามรูIใหม: ๆ ดังน้ี

บทสรปุ

การบริหารจัดการใหIมีประสิทธิภาพในโรงเรียนพระปริยัติธรรม หมายถึง การ
บริหารจัดการสถานศึกษาที่บุคคลต:างๆ ไดIร:วมมือกัน และดำเนินการที่เกี่ยวขIองกับ
การศึกษาเพื่อพัฒนาคนหรือสมาชิกขององคMการใหIมีคุณภาพ โดยอาศัยกระบวนการที่มี
แบบแผนอย:างเปQนระบบ มีคุณธรรม จริยธรรมควบคู:กันไปดIวย เพื่อนำองคMการกIาวส:ู
จุดมุ:งหมายหรือประความสำเร็จอย:างสูงสุด ซึ่งในการบริหารโรงรียนพระปริยัติธรรมในแต:
ละแห:งก็มีการแบ:งงานบริหารออกเปQนดIานๆ โดยมีงานหลักอยู: 4 ดIาน อันประกอบดIวย 1)
การบริหารงานวิชาการ 2) การบริหารงานบุคลากร 3) การบริหารงานงบประมาณ และ 4)
การบริหารงานทั่วไป และในแต:ละดIานก็ยังมีรายละเอียดที่ตIองพัฒนาใหIเกิดประสิทธิภาพ
จึงตIองศึกษา สภาพการดำเนินงานในปEจจุบันรวมถึงความตIองการในการพัฒนาใหIไป
สคIู วามสำเร็จและใหIการบริหารจดั การโรงเรยี นพระปริยตั ิธรรมเจริญกาI วหนIาย่งิ ๆ ข้นึ ไป

การประชุมวชิ าการพระพุทธศาสนาและศลิ ปวฒั นธรรมระดบั ชาตแิ ละนานาชาติครั้งท่ี 2 395

บรรณานกุ รม

กองศาสนศึกษา. (2527). ประวัติการศึกษาของสงฆ?. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพMการ
ศาสนา.

กิตติ ธีรศานตM. (2539). เทคนิคการบริหารโรงเรียนพระปริยัติธรรมแผนกสามัญม.ต4น-ม.
ปลาย.กรงุ เทพมหานคร : โรงพิมพกM ารศาสนา.

เจริญผล สุวรรณโชติ. (2536). การบริหารการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม
อัธยาศัย. เอกสารการสอนชุดวิชาทฤษฎีและแนวปฏิบัติในการบริหาร
การศกึ ษา. นนทบรุ ี : สาขาวิชาศึกษาศาสตรM มหาวิทยาลยั สโุ ขทยั ธรรมาธิราช.

มานพ ผลไพรินทรM. (2535). หลักการจัดการศึกษาพระปริยัติธรรม. พิมพMครั้งที่ 2.
กรงุ เทพมหานคร : โรงพิมพกM ารศาสนา.

ธงชัย สันติวงษM. (2543) . องค?การและการบริหาร. พิมพMครั้งที่ 11. กรุงเทพมหานคร :
ไทยวัฒนาพานิช.

ฝöายการศึกษาพระปริยัติธรรม. (2546). ทะเบียนโรงเรียนพระปริยัติธรรมแผนกสามัญ
ศึกษาจำนวนนักเรียนจำนวนครูจำนวนห4องเรียนประจำปkการศึกษา 2545
ครงั้ ท่ี 1.

พระสาย แวงคำ. (2547). ปnญหาการบริหารงานวิชาการ โรงเรรียนพระปริยัติธรรม.
กรุงเทพมหานคร : วัฒนาพานชิ .

วิรัช วิรัชนิภาวรรณ. (2548). การบริหารจัดการและการบริหารการพัฒนาขององค?กร
ตามรฐั ธรรมนญู และหนวG ยงานของรฐั . กรุงเทพมหานคร : สำนกั พิมพMนิติธรรม.
แนวคิดและความหมายของการบริหารและการบริหารจัดการ, ออนไลน?,
แหลงG ทีม่ า : http://www.wiruch.com, 16 กรกฏาคม 2563.

วิชัย ธรรมเจริญ. (2541). คูGมือการปฏิบัติงานโรงเรียนพระปริยัติธรรมแผนกสามัญ
ศึกษา. กรุงเทพมหานคร : โรงพมิ พกM ารศาสนา.

สำนักงานพระพุทธศาสนาแห:งชาติ. (2546). ปฏิทินการศึกษาพระปริยัติธรรมแผนก
สามัญ. ม.ป.ท.

396 การประชุมวิชาการพระพทุ ธศาสนาและศิลปวฒั นธรรมระดบั ชาติและนานาชาตคิ ร้งั ที่ 2

การตีความและถอดความรูจ0 ากบทสตู รขวัญนาคภาคอสี าน
สวู; รรณกรรมเพ่ือเยาวชน

The Interpretation and Transcription from Scramble
Naga text in northeast to literature for Young

เสพบณั ฑิต โหนง. บณั ฑติ ,
ปย1 ะวัฒน6 คงทรัพย6, นคร จนั ทราช

Sepbhunthid Nongbhunthid,
Piyawat Khongsub, Nakorn Jantharath

บทคดั ยอ@

เจตนารมณ)ของบทสูตรขวัญนาคภาคอีสาน มีวัตถุประสงค)คือ ส=งเสริมความ
กตัญ@ูกตเวทิตาคุณ การปลุกขวัญกำลังใจในการอุปสมบท ความสามัคคีของเครือญาติ
การศกึ ษาพระธรรมวินยั แสดงพระธรรม และปฏิบตั ใิ หบN รรลธุ รรมเปOนอรยิ ะสงฆ)

การถอดองค)ความรูNจากบทสูตรขวัญนาคภาคอีสาน จัดเปOนกลุ=มไดNแก= 1) กล=ุม
หลักการปฏิบัติและหลักธรรมทางพุทธศาสนา 2) กลุ=มหลักโหราศาสตร) 3) กลุ=มลัทธิความ
เชื่อดั้งเดิม และ 4) กลุ=มคำสำคัญโบราณพื้นบNาน การสรNางรูปแบบวรรณกรรมโครงสรNาง
ประกอบดNวย 1) ดNานเนื้อหา 2) ดNานตัวละคร 3) ดNานคุณธรรมจริยธรรม 4) ดNานจูงใจ
5) ดNานรูปเล=ม และการนำรูปแบบจำลองวรรณกรรมเยาวชนไปทดลองใชN พบว=า กล=ุม
ตัวอย=างมีความพึงพอใจ อยู=ในระดับมากที่สุด คะแนนที่ x̄ = 4.25 ค=าเบี่ยงเบนมาตรฐาน
S.D. = 0.771

คำสำคญั : การตีความ, การถอดองคค) วามรู,N บทสตู รขวัญนาคภาคอีสาน, วรรณกรรม

เยาวชน

การประชุมวชิ าการพระพุทธศาสนาและศิลปวฒั นธรรมระดบั ชาตแิ ละนานาชาติครงั้ ที่ 2 397

Abstract

The intention of the Kwan Nak Sutra chapter in Isaan is to promote
gratitude and gratitude, the morale of the ordination, the unity of kinship, the study
of Doctrines and Discipline, the demonstration of Dharma and practice to achieve
Dharma as a Buddhist monk.

It is a transcription of knowledge from the Isan Kwan Nak Sutra, which was
organized into groups: 1) Buddhist principles and practices, 2) astrological
principles, 3) traditional beliefs, and 4) ancient folklore. The creation of a structured
literary form consists of five elements: 1) content, 2) character, 3) moral, ethical, 4)
motivation, 5) book format, and using the youth literary model to be tested at
the highest level, score at x̄ = 4.25 standard deviation, SD = 0.771.

Keywords : Interpretation, Transcription of knowledge, Kwan Nak text in
northeast, Youth literature.

บทนำ

ประเทศไทยมีแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติมีแผนพัฒนาเด็กและ
เยาวชนครั้งแรกคือแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2525 – 2529)
ปäจจุบันแผนพัฒนาเด็กและเยาวชนแห=งชาติ พ.ศ. 2560-2564 จัดตามพระราชบัญญัติ
ส=งเสริมการพัฒนาเด็กและเยาวชนแห=งชาติพ.ศ. 2550 แนวโนNมการเปลี่ยนแปลงของสังคม
โลกที่มีผลต=อการพัฒนาเด็กและเยาวชนเช=นเปçาหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) การเขNาส=ู
ประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) รวมถึงกฎหมายนโยบายและแผนที่เกี่ยวขNอง
กับการพัฒนาเด็กและเยาวชน โดยเฉพาะอย=างยิ่งแผนยุทธศาสตร)ชาติ 20ปî (พ.ศ.2560 –
2579) ซึ่งเปOนแผนแม=บทหลักของการพัฒนาประเทศไทยใหNมีความมั่นคงมั่งคั่งและยั่งยืน
โดยมียุทธศาสตร)ที่เกี่ยวขNองกับการพัฒนาเด็กและเยาวชนคือยุทธศาสตร)ท3ี่ การพัฒนาและ
เสริมสรNางศักยภาพคนที่เนNน 1) การพัฒนาศักยภาพคนตลอดช=วงชีวิต 2) การยกระดับ
คุณภาพการศึกษาและการเรียนรูNใหNมีคุณภาพเท=าเทียมและทั่วถึง 3) การสรNางเสริมใหNคนมี

398 การประชุมวชิ าการพระพุทธศาสนาและศลิ ปวัฒนธรรมระดบั ชาติและนานาชาติครง้ั ท่ี 2

สุขภาวะที่ดีที่เหมาะสมกับแต=ละช=วงวัย 4) การสรNางความอยู=ดีมีสุขของครอบครัวไทย
วางรากฐานการพัฒนาจิตใจใหNเขNมแข็งมีคุณธรรมจริยธรรมความซื่อสัตย)สุจริตจิตสานึก
สาธารณะควบคู=ไปกับการสรNางค=านิยมหลักของไทยใหNสมาชิกในครอบครัว (สำนักงาน
คณะกรรมการพฒั นาการเศรษฐกิจและสงั คมแห=งชาตสิ ำนกั นายกรัฐมนตรี, 2559)

แผนพฒั นาเดก็ และเยาวชนแหง= ชาติ พ.ศ. 2560 – 2564มจี ุดเนNนทีก่ ารพฒั นาเด็กและ
เยาวชนทุกกลุ=มใหNเปOนผูNที่มีความแข็งแรงสมบูรณ)ทั้งดNานร=างกายใจอารมณ)สังคมและสติปäญญา
รวมทั้งการเปOนผูNที่ตระหนักถึงถึงสิทธิบทบาทและความรับผิดชอบในหนNาที่ที่พึงตNองปฏิบัติมี
ความตื่นตัวต=อปäญหาสังคมมีความคิดสรNางสรรค)และมีส=วนร=วมในการแกNไขปäญหาของสังคม
โดยมีแนวทางในการพัฒนาคือการพัฒนาคุณภาพชีวิตทั้งดNานกายใจอารมณ)สังคมและ
สติปäญญาที่เหมาะสมตามช=วงวัยการพัฒนากลไกสภาพแวดลNอมในการดารงชีวิตของเด็กและ
เยาวชนการระดมสรรพกาลังและทรัพยากรจากทุกภาคส=วนใหNมีส=วนร=วมในการพัฒนาเด็กและ
เยาวชนและติดตามประเมินผลสรNางองค)ความรูNเกี่ยวกับการพัฒนาเด็กและเยาวชนอันจะเปOน
กรอบแนวทางในการจัดทาแผนปฏิบัติการที่เกี่ยวขNองกับการพัฒนาเด็กและเยาวชนของ
หน=วยงานที่เกี่ยวขNองและใชNเปOนกรอบแนวทางในการติดตามประเมินผลการนาแผนไปสู=การ
ปฏิบตั ิของหน=วยงานทเ่ี กย่ี วขNองตอ= ไป

พลเมืองสรNางสรรค) หมายถึง เด็กและเยาวชนที่ตระหนักถึงถึงสิทธิ (rights)
บทบาท (role) และความรับผิดชอบในหนNาที่ที่พึงตNองปฏิบัติ (responsibilities) มีความ
ตื่นตัวต=อปäญหาสังคมหรือปäญหาของชาติรูNเท=าทันต=อการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและมีส=วน
ร=วมในการแกNไขปäญหาของสังคมไดNซึ่งคุณลักษณะของพลเมืองสรNางสรรค)ควรมีศักยภาพ
ในทกุ ดาN นไดNแก=

1. ความฉลาดทางสตปิ äญญา (IQ: Intelligence Quotient)
2. ความฉลาดทางอารมณ) (EQ: Emotion Quotient)
3. ความสามารถในการแกNปญä หา (AQ: Adversity Quotient)
4. ความสามารถในการดูแลสุขภาพทั้งร=างกายและจิตใจ (HQ: Health
Quotient)
5. คุณธรรมจรยิ ธรรม (MQ: Moral Quotient)
6. ทักษะทางสังคมการใชชN ีวติ รว= มกบั ผNอู ่นื ((SQ: Social Quotient)

การประชมุ วชิ าการพระพุทธศาสนาและศิลปวฒั นธรรมระดบั ชาตแิ ละนานาชาตคิ รงั้ ที่ 2 399

7. ความฉลาดในการรเิ ร่มิ สรNางสราN ง (CQ: Creative Quotient)
8. ความฉลาดทีเ่ กิดจากการเลน= (PQ: Play Quotient)
คุณลักษณะเด็กและเยาวชนที่พึงประสงค6 (สถาบันแห=งชาติเพื่อการพัฒนาเด็ก
และครอบครวั แผนพัฒนาเดก็ และเยาวชนแห=งชาติ พ.ศ.2555-2559, 2560: ออนไลน))
พระราชบัญญัติส=งเสริมการพัฒนาเด็กและเยาวชนแห=งชาติ พ.ศ. 2550 ไดN
กำหนดคุณลักษณะเด็กและเยาวชนที่พึงประสงค) ซึ่งถือเปOนวิสัยทัศน)ที่ประเทศตNองการ
เกิดข้ึนกบั ใหNเด็กและเยาวชน ไวNดงั น้ี
1) ใหNเด็กและเยาวชนมีความผูกพันต=อครอบครัว ภาคภูมิใจในความเปOนไทย
มีวิถีชีวิตแบบประชาธิปไตย สามารถดำเนินชีวิตไดNอยา= งปลอดภัย และรูNจักเคารพสิทธิของ
ผูอN น่ื รวมท้งั กฎเกณฑ)และกติกาในสงั คม
2) ใหมN สี ขุ ภาพและพลานามยั แขง็ แรง รNจู ักปอç งกนั ตนเองจากโรคและส่งิ เสพตดิ
3) ใหมN ีวุฒิภาวะทางอารมณ)ตามสมควรแกว= ยั จริยธรรม และคณุ ธรรม
4) ใหNมีทักษะและเจตคติที่ดีต=อการทำงาน มีศักดิ์ศรีและความภาคภูมิใจในการ
ทำงานสุจรติ
5) ใหNรNจู กั คิดอย=างมีเหตุผลและมุ=งมนั่ พฒั นาตนเองอยา= งต=อเนือ่ ง
6) ใหNรูNจักช=วยเหลือผูNอื่นโดยมีจิตสำนึกในการใหNและการอาสาสมัคร รวมทั้งมี
สว= นรว= มในการ พฒั นาชุมชนและประเทศชาติ
7) ใหมN คี วามรบั ผดิ ชอบตอ= ตนเอง ตอ= ผอูN ่นื และตอ= ส=วนรวมตามสมควรแก=วยั
วรรณกรรมที่ผ=านการกลั่นกรองมาดNวยดีแลNว เพื่อพัฒนาเยาวชน เปOนหนังสือท่ี
เหมาะสมกับวัยรุ=นหรือเยาวชน ส=วนมากเปOนหนังสือแนวเสริมสรNางคุณธรรมจริยธรรม
ผ=านการคิดกลั่นกรองรNอยเรียงเปOนวรรณกรรมรุ=นใหม=เพื่อเยาวชนโดยแทN แต=เมื่อพิจารณา
แลNวยังขาดหนังสือที่เปOนบทสาระสำคัญของชีวิตช=วงเปลี่ยนถ=ายจากวัยรุ=นสู=วัยผูNใหญ=
โดยตามธรรมเนียมปฏิบัติของชาวไทยพุทธ เมื่อพิสูจน)การเปลี่ยนถ=ายชีวิตจากช=วงวัยรุ=นสู=
วัยผูNใหญ= มักยึดตามวัตรโบราณปฏิบัติคือการบอกผ=านทางการอุปสมบทเปOนภิกษุ เพื่อใหN
เขาN สวู= ัยผใูN หญอ= ยา= งมคี ณุ ธรรมจรยิ ธรรมโดยแทN

400 การประชมุ วิชาการพระพทุ ธศาสนาและศิลปวฒั นธรรมระดบั ชาติและนานาชาตคิ รงั้ ที่ 2

บทสูตรขวัญนาค ไดNขึ้นทะเบียนเปOนวรรณกรรมทNองถิ่นเมื่อพ.ศ. 2553
สาระสำคัญโดยรวมเปOนบทที่หมอขวัญรNองในประเพณีบวชนาคตามธรรมเนียมไทย เมื่อ
บุตรชายอายุครบ 20 ปî พ=อแม=จะจัดการใหNบุตรชายของตนบวชเปOนพระภิกษุใน
พระพุทธศาสนาช=วงเวลาที่นิยมบวชคือ ก=อนเทศกาลเขNาพรรษา ใชNเวลาบวชประมาณ 3
เดือน ก=อนหนNานั้น ฝùายผูNบวชจะไปหาเจNาอาวาสหรือพระผูNเปOนอุปäชฌาย) เพื่อขอใหNสอน
ท=องบทสวดขานนาค เมื่อถึงวันงาน เจNาภาพจะจัดงานสมโภช หรือที่เรียกว=า “ทำขวัญ
นาค” ก=อนบวช 1 วันในการทำขวัญนาค “ผูNบวชหรือเจNานาค” ซึ่งโกนหัวโกนคิ้ว โกน
หนวด โกนเครา ตัดเล็บเรียบรNอยแลNว จะนุ=งห=มดNวยเครื่องแต=งกายที่งดงาม นุ=งจีบดNวย
ผNานุ=งสีขาว ใส=เสื้อครุยปäกทอง สไบเฉียงทางไหล=ซNาย คาดเข็มขัดฯลฯ และไปนั่งตรงหนNา
เครื่องบายศรี หมอทำขวัญนาคจะอ=านคำทำขวัญนาคเปOนทำนองตั้งแต=บทไหวN บทชุมนุม
เทวดา บทนะโม บทไหวNครู บทคุณมารดา และบทเชิญขวัญนาค ครั้นไดNฤกษ)ดี หมอขวัญก็
จะนำนาคเขNาขบวนแห=ไปที่วัด ถNาเจNาภาพมีฐานะดีก็จะจัดขบวนแห=อย=างใหญ=โต มีเถิดเทิง
กลองยาวและการละเล=นเล็ก ๆ นNอย ๆ ร=วมขบวนแห= ส=วนนาคจะเดินไป หรือจะขี่คอคน
หรือนั่งบนสัตว)พาหนะ เช=น ชNาง มNา บทสูตรขวัญนาคโดยทั่วไป แบ=งออกเปOน บทไหวNครู
บทกำเนิดนาค บทคุณมารดา บทขนานนามนาค บทสอนนาค บทชมบายศรี และบท
อัญเชิญขวัญลักษณะเด=นของบททำขวัญนาคอยู=ที่ช=วงสรรเสริญบุญคุณมารดา ซึ่งตNอง
อดทนดูแลรักษาครรภ)ตลอดเวลาที่อุNมทNอง จนถึงเวลาคลอดลูกซึ่งเปOนช=วงวิกฤตของชีวิต
บทนี้แสดงใหNเห็นความรักของมารดาที่มีต=อบุตร หมอขวัญที่สามารถจะสรNางความสะเทือน
ใจจนทำใหNผNฟู äงรNองไหNสะอกึ สะอนื้ ตามไปดวN ย

วตั ถปุ ระสงคO

1.เพื่อศกึ ษาตีความเจตนารมณ)ของบทสูตรขวัญนาคภาคอีสาน
2. เพอ่ื ถอดองคค) วามรNูจากบทสูตรขวัญนาคภาคอีสานสวู= รรณกรรมเยาวชน
3. เพ่อื สรNางรูปแบบวรรณกรรมเยาวชนท่ีเหมาะสมกับการตีความและถอดองค)
ความรูNมาจากคติโบราณ

การประชุมวิชาการพระพทุ ธศาสนาและศลิ ปวฒั นธรรมระดับชาตแิ ละนานาชาตคิ รงั้ ท่ี 2 401

วิธีดำเนินการวิจัย

ศึกษาวิจัยแบบผสมผสาน (Mixed Method Research) ระหว=างเชิงคุณภาพ
(Qualitative research) และเชิงปริมาณ (Quantitative research) ใน 3 ลักษณะ ไดNแก=
1. การศึกษาวิจัยในเชิงเอกสาร (Documentary Research) เพื่อศึกษาแนวคิดการตีความ
และการถอดความ ศึกษาแนวคิดเกี่ยวกับวรรณกรรมเยาวชน และศึกษาขั้นตอนการสรNาง
ร ู ป แ บ บ ส ั ม ภ า ษ ณ ) ( In-Dept interview) ผ ู N ใ ห N ข N อ ม ู ล ( Kay Information) คื อ
หมอพราหมณ)สตู รขวัญและนกั เขียน นกั วชิ าการผเNู กยี่ วขNองกบั วรรณกรรมเยาวชน จากน้ัน
สรNางรูปแบบจำลองขึ้นมา หลังถอดองค)ความรูNจากบทสูตรขวัญนาคภาคอีสานแลNว
นำองค)ความรูNที่ไดNไปเขียนเปOนวรรณกรรมเยาวชน ตามรูปแบบที่สรNางไวN แลNวนำ
วรรณกรรมเยาวชนนั้นไปทดลองใชNกับกลุ=มเปçาหมาย เพื่อประเมินความพึงพอใจ ดNวยการ
ศกึ ษาวิจยั ในเชิงปรมิ าณ (Quantitative Research) จากกลุม= ตวั อย=างจำนวน 100 คน

ในการทดลองใชNรูปแบบวรรณกรรมเพื่อเยาวชนนั้น จะสอบถามระดับความพึง
พอใจ เปOนการสุ=มแบบบังเอิญ (Accidental sampling) โดยประชากรเปOนเยาวชนระดับ
การศึกษามัธยมศึกษาตอนปลาย ของโรงเรียนในภาคอีสานเจาะจงดังนี้ 1) โรงเรียนปทุม
รัตตพ) ิทยาคม อำเภอปทมุ รัตต) จังหวัดรอN ยเอ็ด 20 คน 2) โรงเรียนเบญจะมะมหาราช ถนน
สรรพสิทธิ์ ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี 20 คน 3) โรงเรียนบุรีรัมย)
พิทยาคม ถนนนิวาศ ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดบุรีรัมย) 20 คน 4) โรงเรียนพยัคฆ
ภูมิวิทยาคาร อำเภอพยัคฆภูมิพิสัย จังหวัดมหาสารคาม จำนวน 20 คน และ 5) โรงเรียน
กาฬสินธุ)พทิ ยาสรรพ) ถนนอรรถเปศล ตำบลกาฬสินธ)ุ อำเภอเมอื ง จังหวัดกาฬสนิ ธุ) จำนวน
20 คน รวมประชากรกลม=ุ ตวั อยา= งทั้งส้นิ 100 คน

ผลการวจิ ยั

ผลการวิจัยตามวัตถุประสงค)การตีความเจตนารมณ)ของบทสูตรขวัญนาคภาค
อีสาน การถอดองค)ความรูNจากบทสูตรขวัญนาคภาคอีสาน การสรNางรูปแบบวรรณกรรม
แลNวนำผลการตีความและถอดองค)ความรูNมาสู=การเขียนวรรณกรรมเยาวชน คณะผNูวิจัยไดN
ดำเนนิ การแลวN จงึ สรปุ ความตามประเด็นแห=งวัตถุประสงค)ของการวจิ ัยตามลำดับ ดังนี้

402 การประชมุ วิชาการพระพุทธศาสนาและศิลปวัฒนธรรมระดับชาตแิ ละนานาชาตคิ รงั้ ท่ี 2

1. ตีความเจตนารมณ6ของบทสูตรขวัญนาคภาคอีสาน เมื่อประมวลมารวบรวม
และเรียบเรียบใหม=สามารถเขียนเปOนโครงสรNางไดN พรรณนาตามสัดส=วนที่กำหนดไวNตาม
เนื้อหาบทสูตรขวัญ 6 ประการ ตามลำดับดงั น้ี

1) บทเผดียง
2) บทเกรนิ่ นำพธิ ี
3) บททบทวนพระคณุ ผูใN หNกำเนดิ
4) บทวตั ถุประสงคข) องการจดั งาน
5) บทสง= เสริมพลังจติ
9) บทอวยพรนาค

(1) ตีความบทเผดียง เปOนการอNางถึงวันที่เปOนมงคลประเสริฐ อันยิ่งดNวย
ชัยชนะ และขอใหNทุกท=านไดNรับชัยชนะดNวยทุกคน เปOนการกล=าวถึง นาค ครุฑ เทวดา
พระอินทร) ทNาวมหาพรหม ซึ่งทางพุทธศาสนาเชื่อว=าเปOนผูNศักดิ์สิทธิ์มีคุณ ที่คอยรักษา
คุNมครองมวลมนุษย)และขอใหNท=านทั้งหลายไดNลงมาช=วยคุNมภัย กล=าวอNางถึงดวงดาวคือดาว
พระเกตุเขNาเสวยราศี นับว=าเปOนวันที่ดีที่สุด และตอนนี้ยังมีมโหรีปîชวามาเปOนหมู=คณะพรNอม
จะบรรเลงเสริมส=ง เปOนการกล=าวอNางถึงวัน ตั้งแต=วันอาทิตย) วันจันทร) วันอังคาร วันพุธ
วนั พฤหัสบดี วนั ศกุ รแ) ละวนั เสาร) ว=าเปนO วันดที ่สี ดุ ตรงตามลัคนาและเปOนวันอุดมมงคลที่สุด

(2) ตีความบทเกริ่นนำพิธี กล=าวใหNทราบว=าวันนี้นักหนา มีการแต=ง
ประดาพาขวัญบายศรี แลNวยกตั้งไวNใหNทราบกัน กล=าวใหNทราบว=า มีใครมาร=วมงานบNาง เช=น
เจNาบNานเจNาเมือง อาจเปOนนายอำเภอ หรือ ขNาราชการที่นับถือ หรือ ครูอาจารย)ที่เปOนที่
เคารพ นอกจากนั้นผูNร=วมงาน ยังมีลุงปçา นNาอา วงศาคณาญาตินNอยใหญ= มาทั้งหมดเพื่อรวม
ใจกัน แมNญาติที่อยู=หมู=บNานอื่น ก็มาร=วมในงาน ผูNเปOนนาคจึงไดNอำลาพ=อแม= เพื่อออกบวช
อุปสมบทบำเพ็ญศีล ตามรอยพระศาสดา ดังเช=นเมื่อคราครั้งออกผนวช เพื่อเปOนพระ
ศาสดา ครานกี้ เ็ ช=นกัน นาคจะไดอN อกบวชเพื่อไปเปนO คนดี มธี รรมอนั ล้ำเลศิ

(3) ตีความบททบทวนพระคุณผู_ให_กำเนิด เปOนการกล=าวเพื่อใหNทราบว=า
กว=าลูกจะไดNเกิดมานั้นแสนลำบากมาก เมื่อทราบว=าลูกมาปฏิสนธิแลNว ของที่เคยชอบกินก็
ตNองงดเสีย ก=อนเคยเดินเร็วก็ตNองเดินชNา ยิ่งลูกเติบโตในครรภ)ขึ้นทุกวัน ก็ยิ่งตNองระวังอย=าง
มาก ตั้งแต=วันแรกจนวันสุดทNายที่ลูกอยู=ในครรภ)นั้น รวมแลNวไม=ต่ำกว=าเกNาเดือน แม=นั้นทน

การประชุมวชิ าการพระพุทธศาสนาและศิลปวฒั นธรรมระดับชาติและนานาชาติครั้งที่ 2 403

ลำบากนักหนา เมื่อคลอดออกมาแลNวผูNเปOนบิดา ก็ยิ่งชื่นชมมอบความรักใหNอย=างเต็มที่ ปูùย=า
ตายายก็ยิ่งดีใจ ยิ่งทราบว=าบุตรนั้นเปOนชายยิ่งดีใจเปOนอย=างยิ่ง เพราะจะไดNมีโอกาสบวชใน
พุทธศาสนาแทนคุณบิดามารดาค=าน้ำนม ค=าขNาวขนมที่เลี้ยงดูมาจนเติบใหญ= ใหNสติปäญญา
แขนขา ร=างกายมาทำมาหากินไดN ไม=อายใคร จากวันแรกเกิดจนถึงอายุ 20 ปîบริบูรณ)
จนไดNบวชมานี้ ทั้งพ=อและแม=เฝçาถนอมเลี้ยงดูเต็มที่ ขNาวปลาอาหารมิใหNขาดตกบกพร=อง ซ้ำ
ยังตNองสนองความทะยานอยากของบุตร เมื่อเติบโตมา ส=งเสียใหNเรียนหนังสือ สนับสนุนทุก
อย=างตามอัตภาพ เพื่อใหNลูกชายมีความเสมอภาคกับคนอื่น บทนี้กล=าวว=าเมื่อบุตรชายอายุ
ครบ 20 ปîบริบูรณ)แลNว ตามธรรมดาตNองคิดที่จะออกเรือน เมื่ออยากออกเรือนมีเมีย
ก=อนอื่นตNองนึกถึงบุญคุณผูNใหNกำเนิดก=อน และเพื่อเปOนการตอบแทนคุณในเบื้องตNน ก็ตNอง
บวชเพื่อแทนคุณ ถือว=า เปOนอุดมมงคลแก=ตนเองและแก=ผูNใหNกำเนิดดNวย จึงไดNลาบิดามารดา
ญาติมิตรสหายสายโลหิต และทุกคนต=างก็พลอยยินดี ตระเตรียมทั้งบาตร จีวร สบง เส่ือ
หมอน ร=ม เหล็กจาน เครื่องอัฐบริขารทั้งหมด ญาติพี่นNองไดNตระเตรียมมาพรNอมใหN เรียกไดN
ว=า สนับสนุนใหNบวชเพอื่ แทนคณุ อย=างเตม็ กำลัง

(4) ตีความบทวัตถุประสงค6ของการจัดงาน เปOนการกล=าวเพื่อใหNทราบ
ว=า การจัดงานครั้งนี้ มีวัตถุประสงค) คือ 1) เพื่อทำบุญบวชลูกหลานเปOนศาสนทายาท
2) เพื่อร=วมทำบุญ สำหรับญาติที่ไม=มีลูกชายจะไดNทำบุญดNวย 4) เพื่อใหNความหวังขNอที่ 1
และ 2 รวมกันแลNวผูNทำบุญจะไดNไปเกิดในศาสนาของพระศรีอาริยเมตไตยในเบื้องหนNา
5) เพื่อการประชุมรวมญาติ ๆ ที่ยNายไปอยู=ต=างบNาน 5) เพื่อส=งเสริมใหNลูกหลานตนเองไดN
เปOนหน=อเนื้อพระเจNา 7) เพื่อใหNลูกชายไดNพNนโทษเล็กนNอยเมื่ออดีต 8) เพื่อใหNลูกชายไดNรับ
ฟäงการสวดนิสัยบNาง 9) เพื่อใหNอาบัติเก=าหรือาบัติในอดีตไดNมีโอกาสชำระในชาตินี้ 10) เพ่ือ
ฝßกใหNลูกชายละความโกรธและความหลง ก=อนออกเรือน 11) เพื่อใหNลูกชายไดNมีโอกาส
ชำระตนใหNสะอาด เช=น หนี้ที่เคยมีก็ตNองชำระใหNหมดก=อนบวช เปOนตNน และ 12) เพื่อใหN
การบวชน้ันไมม= ีสิ่งใดเปOนอุปสรรคต=อพรหมจรรย)

(5) ตีความบทส.งเสริมพลังจิต เปOนการกล=าวเพื่ออNางเอาวุฒิธรรม ทั้ง 4
ที่ชาวโลกนิยม คือ อายุ วรรณะ สุขะ และพละ รวมถึงปฏิภาณ และอธิปไตยใหNเสด็จมา
รักษานาค แลNวก็เรียกขวัญใหNมาสู=กายของนาค บทนี้กล=าวอัญเชิญขวัญทั้งหมดใหNมารวม
กันที่นาค ไม=ว=าขวัญหรือจิตใจจะเคยไปเล=นในเมืองนาค หรือสระอโนดาต หรือแม=น้ำยมนา

404 การประชมุ วชิ าการพระพุทธศาสนาและศิลปวัฒนธรรมระดับชาตแิ ละนานาชาติครั้งท่ี 2

หรือ ไปแอบย=องสาวที่ไหน ก็ใหNรีบกลับมาโดยเร็ว บทนี้กล=าวถึงขวัญเคยไปพักคNางคืนขNาง
แรมที่ไกลใกลN ในมหาสมุทร หรือแม=น้ำใดก็ขอใหNรีบกลับอยู=ในเนื้อในตัว อย=าปล=อยใหNพ=อ
แม=รอนาน บทนี้เปOนบทเตือนขวัญ อย=าไปทำอย=างนั้น อย=าไปทำอย=างนี้ อย=าไปเดินเล=น
หรือหลงใหลในปùาใหญ= อย=ามัวเพลินกับการชมนกชมไมNสัตว)ปùานานาชนิดจนไม=กลับเขNาใน
ตัว บทนี้บอกใหNทราบว=า ขวัญตNองรีบมาเพื่อเตรียมตัวบวช เปOนการสรNางเสริมกำลังใจ
ใหNภาคภูมิใจในการเขNาบวชเปOนสงฆ) นุ=งห=มผNากาสายะ ใหNขวัญรีบมาอยู=ในครองธรรม จำศีล
จะไดNกินขNาวในบาตร ไดNนั่งอาสนะสงฆ) ไดNลงอุโบสถ ฝßกละความโกรธ และไดNเทศนาแสดง
ธรรม เปOนสมภาร เปOนอาจารย)ของคนอื่น ไดNสวดปาติโมกข) ถือว=าเปOนการกล=าวอNางเอาสิ่งดี
เลิศ มาสรNางเสริมกำลังใจใหNขวัญรีบมาเขNาร=างกาย บทนี้เปOนการสรุป เรียกพรอันประเสริฐ
คือ อายุ วรรณะ สุขะ พละ ใหNเจNานาคมีอายุยืน มีผิวพรรณงดงาม หากไดNเทศน)แลNวผูNคน
ตา= งกราบไหวN มีชอ่ื เสยี งเรยี งนาม ชนะหม=ูมาร กระท่ังละกเิ ลสไดจN นถงึ พระนิพพาน

(6) ตีความบทอวยพรนาค บทนี้เปOนการอำนวยพรใหNกับนาคผูNจะบวชไดN
เจริญในพระศาสนา ใหNไดNท=องพระบาลี ใหNฝูงชนไดNชื่นชม มีความรูNเหนือมนุษย)และเทวดา
ไดNสืบสรNางธุระ 2 ประการ คือ คันถธุระ กับวิปäสสนาธุระ บทนี้อำนวยพรใหNไดNเรียน
กรรมฐาน ศึกษาพระธรรมครบ 84,000 พระธรรมขันธ) ใหNสมองมีปฏิภาณเร็วไว บทน้ี
อำนวยพรดNวยพระบาลี ขอใหNมีชัยชนะ ชัยมงคล ไดNเปOนพระสงฆ)มียศ กิตติศักดิ์เกริกกNอง
มีความเปนO พระอรหนั ตเ) ปนO ทีต่ ้งั จนถึงพระนพิ พาน

เจตนารมณ6ของบทสตู รขวญั นาค
เมื่อศึกษาการตีความตามหลักของคัมภีร)ทางศาสนาแลNว พบว=า เจตนารมณ)ของ
บทสูตรขวัญนาคภาคอีสานน้ัน มีเจตนาเปOนคำสั่งสอนและคำอวยพร คือ มีลักษณะเปOนท้ัง
คำสง่ั ทงั้ คำสอนและคำอำนวยพรใหกN บั ผูNเปOนนาค โดยเจตนารมณ)นั้นแบง= ออกเปOนสองภาค
ไดแN ก= 1) ภาคคฤหัสถ) และ 2) ภาคบรรพชติ ดงั นี้
ภาคคฤหสั ถ6
บทสูตรขวัญนาคภาคอีสานมีจุดเนNนหรือมีเจตนารมณ)ในการสอนสั่ง หรืออบรม
บ=มนิสัยผูNที่จะเปลี่ยนผ=านจากความเปOนคฤหัสถ)ไปสู=ความเปOนบรรพชิต โดยมีหลักการสอน
เชงิ คุณธรรมตามหลักธรรมะแหง= องคส) มเดจ็ พระผูNมพี ระภาคเจาN ดังนี้

การประชมุ วิชาการพระพทุ ธศาสนาและศิลปวัฒนธรรมระดบั ชาติและนานาชาติคร้งั ท่ี 2 405

1) เนน_ ความกตัญfกู ตเวทติ าคณุ
บทสูตรขวัญนาคกล=าวถึงนาคตอนที่ยังอยู=ในครรภ)มารดา เพื่อใหNทราบว=าการ
เจริญเติบโตในครรภ)คนอื่นนั้นนับเปOนบุญคุณอันใหญ=หลวง ควรต=อการตอบแทนบุญคุณ
อย=างหาที่สุดไม=ไดN เมื่อพNนออกจากครรภ)มารดาแลNว บิดามารดาตNองลำบากหาปäจจัย 4 คือ
อาหาร เครื่องนุ=งห=ม ที่อยู=อาศยั และยารักษาโรค มาเกื้อหนุนสนับสนุนใหNนาคนั้นไดNเติบโต
มาอย=างภาคภูมิใจไดN และเมื่อเจริญวัยเต็ม 20 ปî บริบูรณ)แลNว สิ่งหนึ่งที่ผูNใหNกำเนิด
ปรารถนาที่สุด ก็คือ ใหNบุตรชายไดNอุปสมบทในพระบวรพุทธศาสนา เพื่อพ=อแม=จะไดNอาศัย
ชายผาN เหลืองขน้ึ สวรรค)บNาง
2) เน_นการปลุกขวญั ใหก_ ำลงั ใจในการอุปสมบท
ในบทสูตรขวัญนาคภาคอีสาน ในภาคที่เปOนคฤหัสถ)อีกส=วนหนึ่ง เนNนการปลุก
ขวัญ เสริมสรNางความกลNาหาญ เด็ดเดี่ยวในการเขNาอุปสมบท เพราะการบวชเปOนกิจที่
กระทำไดNยากอย=างยิ่ง โดยเนื้อหาสาระเปOนการสรNางขวัญกำลังใจอย=างหาที่สุดไม=ไดN เพราะ
ผูNที่จะเขNาอุปสมบทบางครั้งมีกิเลสมารเขNาแทรก ทำใหNมีห=วง บางคนห=วงทรัพย) ห=วงงาน
ห=วงพ=อแม= ห=วงคนรัก ฯลฯ ดังนั้น บทสูตรขวัญนาคจึงเนNนในการปลุกประโลมระดมขวัญ
(จติ ) ใหNมคี วามแข็งแกรง= กลNาหาญ ท่ีจะเขาN อุปสมบทใหNไดN
3) เน_นความสามคั คขี องเครอื ญาติ
บทสูตรขวัญนาคภาคอีสาน เมื่อจะทำพิธีตNองมีการรวมญาติพี่นNอง มานั่งลNอม
เปOนเหมือนการรวมพลังของเครือญาติ เพื่อใหNเกิดความสามัคคีธรรม มีการร=วมกิจกรรม
เดียวกัน ประเพณีเดียวกัน เหตุการณ)เดียวกัน ความเปOนเชื้อชาติญาติสายโลหิตจึงเหนียว
แน=น ก=อใหNเกิดพลานุภาพแห=งความสามัคคี จึงไดNประโยชน)มากในการจัดกิจกรรมใหNสำเร็จ
บรรลุเปาç ประสงค) คอื การส=งบตุ รเขาN เปนO เนื้อนาบุญของพระศาสนาตอ= ไป
ภาคบรรพชิต
บทสูตรขวัญนาคภาคอีสานที่กล=าวถึงภาคบรรพชิตนั้น มีเจตนารมณ)เนNนหลัก ๆ
อยู= 3 ประการ ไดNแก=
1) เนน_ การศกึ ษาพระธรรมวนิ ัย
ในบทสูตรขวัญมีการกล=าวถึงการศึกษาธุระ 2 อย=างในพระพุทธศาสนา คือ
คันถะธุระ และวิปäสสนาธุระ อธิบายว=า คันถะธุระนั้นคือ การศึกษาพระไตรป®ฎกทั้ง 3 ป®ฎก

406 การประชมุ วิชาการพระพทุ ธศาสนาและศลิ ปวฒั นธรรมระดบั ชาตแิ ละนานาชาตคิ ร้งั ท่ี 2

ไดNแก= พระวินัยป®ฎก พระสุตตันตป®ฎก และพระอภิธรรมป®ฎก ส=วนการศึกษาวิปäสสนาธุระ
นั้น คือ การปฏิบัติวิปäสสนากรรมฐาน อันมีสมถะกรรมฐานเปOนมูลฐาน แลNวยกขึ้นส=ู

วิปäสสนา เพือ่ เหน็ แจงN ไตรลกั ษณแ) ละบรรลธุ รรมขน้ั สูงสดุ
2) เน_นแสดงพระธรรมตามทปี่ ฏิบตั ิ
ในบทสูตรขวัญนาคภาคอีสานกล=าวถึงการมีความหวังว=านาคผูNที่จะอุปสมบทนั้น

ตอN งไดNศกึ ษาพระธรรมวนิ ยั แลNวยังไม=พอ ตNองถา= ยทอดพระธรรมไดNดNวย ดงั คำที่ว=า “ใหNไดNนั่ง
แท=นแกNวเปOนเอกสังโฆ” หมายความว=า “ขอใหNไดNขึ้นธรรมาสน)แสดงธรรมะเปOนภิกษุ
ชั้นหนึ่งในหมู=สงฆ)” แสดงใหNเห็นว=าบทสูตรขวัญนาคภาคอีสานนั้น มีความมุ=งหวังหรือเนNน

ไปท่ีการใหนN าคผNูจะอปุ สมบทน้ัน สามารถถา= ยทอดพระธรรมไดNดวN ยในอนาคต
3) เน_นการบรรลุธรรมเปนj อรยิ ะสงฆ6
ในบทสูตรขวัญนาคภาคอีสานกล=าวถึงความหวังใหNนาคปฏิบัติธรรมจนบรรลุเปOน

อริยะสงฆ) ดังคำว=า “จบในหNองกัมมัฏฐาน มีอรหันต)เปOนเคNา เขNาสู=นิรพาน ก็ขNาเทอญ”
หมายความว=า บทสูตรขวัญนาคนี้มีจุดประสงค)หรือเจตนารมณ)ใหNนาคผูNจะเขNาอุปสมบทนั้น
ไดคN ุณธรรมอันวิเศษคอื พระนพิ พาน ซ่ึงเปนO ยอดแหง= การอุปสมบทเปนO บรรพชติ

เมื่อกล=าวโดยสรุป เจตนารมณ)ของบทสูตรขวัญนาคภาคอีสานนั้น สามารถ
จำแนกเปOนรปู ภาพไดN ดงั นี้

เจตนารมณ)ของบท
สูตรขวัญนาค

ภาคคฤหัสถ* ภาคบรรพชติ
กตัญ9ู ปรยิ ตั ิ

สร;างขวัญ ปฏบิ ตั ิ

สามัคคี ปฏเิ วธ

การถอดองค6ความรู_จากบทสูตรขวญั นาคภาคอสี าน

การประชมุ วิชาการพระพุทธศาสนาและศลิ ปวัฒนธรรมระดับชาติและนานาชาตคิ รั้งท่ี 2 407

คณะผูNวิจัยถอดองค)ความรูNจากบทสูตรขวัญนาคภาคอีสาน จากถNอยคำที่เปOนคำ
สำคัญ (Keyword) ในบทสูตรขวัญนาคภาคอีสาน เปOนภาษาทNองถิ่นและภาษาบาลี ขยาย
คำอรรถาธิบายเพื่อใหNเขNาใจ ซ่ึง จดั เปนO กลม=ุ ไดดN ังนี้

1) กลม=ุ หลักการปฏิบตั ิและหลักธรรมทางพุทธศาสนา
2) กล=มุ หลักโหราศาสตร)
3) กลมุ= ลทั ธคิ วามเชื่อดัง้ เดมิ (ลัทธิผี/พราหมณ))
4) กลุม= คำสำคัญโบราณพืน้ บาN น

(1) กลุ=มหลักการปฏิบัติและหลักธรรมทางพุทธศาสนา บทสูตรขวัญนาค
ปรากฏคำสำคญั ทางพทุ ธศาสนา ท้งั หลักการปฏบิ ัติและหลักธรรม ไดNแก=

หลักปฏิบตั ิ หลักธรรม

คำสำคญั ความหมาย คำสำคญั ความหมาย

ธุระ 2 ประการ คนั ถธรุ ะ วปิ Gสสนาธรุ ะ ทกุ ขK ความไมNสบายกายและใจ

กรรมฐาน อารมณกK รรมฐาน 40 เจตนK เจตนาเจตสิกที่ประกอบจติ

ศลี สิกขาบท 227 ขอ` พระธรรมขันธK จำนวนหัวข`อหลกั ธรรม

นสิ ยั หลักเบ้ืองต`นของภิกษุ 4 ข`อ พระบาลี คำสอนของพระพุทธเจ`า

ปาฏโิ มกขK หลักการชนั้ สูงของพุทธศาสนา พรหมจรรยK คำสอนของพระพทุ ธเจา`

อปุ GชฌายK ผู`ทำหนา` ที่ให`โอวาท ปฏภิ าณ เชาวนKปGญญา ความฉลาด

สทั ธิวหิ ารกิ

สมภาร ผท`ู ำหนา` ทีเ่ ปrนเจ`าอาวาส อธปิ ไตย ความมีอำนาจเปนr ใหญN
วฒุ ธิ รรม ธรรมทีท่ ำใหเ` จรญิ กา` วหนา`
อฐั บรขิ าร เครอื่ งบรขิ าร 8 อยNาง กิเลส ส่งิ จรมาทำใหจ` ติ เศรา` หมอง

ฯลฯ

(2) กลุ=มหลักโหราศาสตร) ในบทสูตรขวัญนาคภาคอีสาน พบคำสำคัญท่ี
เปนO หลักการทางโหราศาสตร) คือ อินทภาส ตรยี างค) นวางค) ฤกษ) ราศี ลัคนา อมุตโชค

408 การประชมุ วิชาการพระพทุ ธศาสนาและศิลปวฒั นธรรมระดบั ชาตแิ ละนานาชาติครัง้ ที่ 2

คำศพั ท) คำสำคัญกล9มุ หลกั โหราศาสตร)
อินทภาส ความหมาย
ตรียางคK คมั ภีรอK นิ ทภาส-บาทจันทรK เปนr ตำราโหราศาสตรไK ทยโบราณท่ีทNานโหราจารยK
สมยั กอN นใชพ` ยากรณดK วงพชิ ัยสงครามและได`สืบทอดมาจนถงึ ปGจจุบัน
นวางคK
ตรียางคK บาลวี Nา ติ + องคฺ แปลวาN ประกอบดว` ยองคK 3 เขียนแบบสันสกฤต
ฤกษK เปนr ตรยี + อังศะ แปลวNา แบงN เปนr 3 สNวน หมายถึง 3 ภาคสวN นขององศา
ปฐมตรียางคK คือ 1 - 10 องศา
ราศี ทุตยิ ตรยี างคK คอื 11 - 20 องศา
ตตยิ ตรยี างคK คือ 21 - 30 องศา
ลัคนา
อมุตโชค นวางศK บาลีวาN นว + องฺค แปลวาN ประกอบดว` ยองคK 9 เขียนแบบสันสกฤต
เปนr นว + อังศะ แปลวาN แบNงเปrน 9 สวN น หมายถงึ มที ้งั หมด 9 ลกู แตNละลูกมี
3 องศา 20 ลิปดา มชี อื่ เรียกตามลำดับเลข คอื ปฐมนวางศK ทุติยนวางศK ตติยน
วางศK จตั ถุ นวางศK ปญG จมนวางศK ฉฐั มนวางศK สตั มนวางศK อัฐมนวางศK นวมน
วางศK

เวลา, โอกาส, ยาม, กาล, คราว หรือเวลาที่กำหนดพอดี หรือ คราวหรือเวลาท่ี
เหมาะสมเปrนชัยมงคล (พจนานุกรม ฉบับเฉลิมพระเกียรติ พ.ศ.2530, 2532)
เหมาะสมได`วNาเปrนเวลาราศีที่ดีสูงสุด ซึ่งฤกษK หรือเวลา ที่กลNาวมานี้ เปrนฤกษK
หรือเวลาที่ดีที่สุดในราศีนักษัตร ซึ่งในการอุปสมบทนี้ นNาจะเปrนสมโณฤกษK
เปrน 1 ใน 9 ฤกษK

จักรราศี ภาษาองั กฤษวNา Zodiac มาจากภาษากรกี ζῳδιακός หมายถงึ
“สัตวK” เปนr แถบสมมติบนทอ` งฟาà ทม่ี ขี อบเขตประมาณ 8 องศา คอN นไปทาง
เหนือและใต`ของแนวเสน` ทางที่ดวงอาทิตยปK รากฏเคลอ่ื นผNานสุรยิ วิถี ซึ่ง
ครอบคลุมแนวเสน` ทางปรากฏของดวงอาทิตยดK วงจันทรKและดาวเคราะหใK น
ระบบสรุ ยิ จักรวาล

ตำแหนNงของขอบฟàาดา` นทศิ ตะวันออก ซ่ึงในทางโหราศาสตรถK ือวNาเปนr จดุ
กำเนดิ ของบุคคลหรอื เหตุ การณใK ด ๆ ลคั นาในทางโหราศาสตรตK ะวนั ตกจะ
เขยี นแทนด`วย สวN นทางโหราศาสตรKไทย เขียนดว` ย ล, ลั หรอื ส ก
วนั อมุตตโชคโบราณให`โฉลกไว`ดงั นี้ อาทติ ยK 8 จันทรK 3 องั คาร 9 พธุ 2
พฤหัสบดี 4 ศกุ รK 1 และ เสารK 5 จะทำการใด ๆ ถา` ตกอุตตมโชคถือวNาเปrนวนั ดี
วันเลิศ วันประเสรฐิ มาก

การประชุมวิชาการพระพทุ ธศาสนาและศิลปวัฒนธรรมระดับชาตแิ ละนานาชาตคิ ร้งั ที่ 2 409

(3) กลุ=มลัทธิความเชื่อดั้งเดิม (ลัทธิผี/พราหมณ)) ในบทสูตรขวัญนาคภาค
อีสาน พบคำสำคัญทเ่ี ปนO หลกั ทางลัทธิดัง้ เดิม คอื ขวัญ พาขวญั บาศรี

คำศพั ท) คำสำคัญลาวอีสานโบราณ
ขวัญ ความหมาย

พาขวัญ+บาศรี/ เปrนนาม (พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2542, 2546: 169)
บายศรี หมายถึง ผมหรือขนที่ขึ้นเวียนเปrนก`นหอย; มิ่งมงคล, สิริ, ความดี,เชNน ขวัญ
ข`าว ขวัญเรือน; อีกประการหนึ่งเชื่อวNาเปrนสิ่งที่ไมNมีตัวตน มีอยูNประจำชีวิตของ
คนตัง้ แตเN กดิ มา ถา` ขวญั อยูกN บั ตัวก็เปrนสริ ิมงคล เปrนสุขสบายจติ ใจม่ันคง ถ`าคน
ตกใจหรือเสยี ขวญั ขวัญก็ออกจากรNางไป

เครื่องเชญิ ขวัญ เครื่องรับขวญั (พจนานุกรม ฉบบั เฉลมิ พระเกยี รติ พ.ศ.2530,
2532: 303) คำวาN “บายศร”ี นน้ี าN จะมาจากภาษาเขมร คอื คำวNา บาย + ศรี
ขา` ว (สกุ ) ทเี่ ปrนมงคลข`าวนี้จะ เปนr สNวนประกอบของการจดั พานบายศรี จะ
ขาดไมไN ด` การจดั พาขวญั น้ี ปกตติ `องจัดด`วยพาน ทองเหลือง

(4) กลุ=มคำสำคัญโบราณพื้นบNาน ในบทสูตรขวัญนาคภาคอีสาน พบคำสำคัญ
พ้ืนบาN น คอื

คำศพั ท) คำสำคญั ลาวอสี านโบราณ
โตก ความหมาย
โฮม ภาชนะใสสN ำรับกับขา` ว หรอื ข`าวตอก ดอกไม`
เตา` รวมกนั เขา`
นาค ลอ` ม รวบรวม
เฮยี น ผู`จะต`องการท่ีจะอุปสมบทเปrนพระ
เฮอื เรยี น ศึกษา
ถ`วน เรอื
ถ่ี จำนวนเตม็ เชนN ท่ี 1 ที่ 2 เหมอื นการนบั แบบปูรณสงั ขยา
แกนN คำสอน ใกล`ชิด ไมNหาN งเหิน
สะออน จดุ สำคญั ของคำสอน
อศั จรรยใK จ

410 การประชุมวิชาการพระพุทธศาสนาและศิลปวัฒนธรรมระดบั ชาติและนานาชาตคิ รัง้ ท่ี 2

คำศพั ท) คำสำคญั ลาวอสี านโบราณ
สอนลอน ความหมาย
ลอื ชา สภาพเชNนนัน้
จอมธรรม เกรกิ เกยี รติ เกรียงไกร
ถกื หนวN ย
คำ พระพุทธเจา` ธัมมราชา
ตรงประเดน็

ทอง

การสร_างรูปแบบวรรณกรรม
เมื่อศึกษาคNนควNาขNอมูลจากตำราเอกสารวิชาการที่เกี่ยวขNองแลNว เก็บขNอมูลจาก

การสัมภาษณ) คณะผูNวิจัยสรุปขNอมูลที่นำมาสรNางรูปแบบของวรรณกรรมเยาวชนตามกรอบ

ที่สราN งไวN 5 ดNาน ดงั นี้

รูปแบบการจัดสรรพื้นที่ของวรรณกรรมเยาวชนในอนาคตควรมีแนวโนNม ม=ุง
ประเด็นไปที่ดNานคุณธรรมจริยธรรม เพื่อหวังบ=มเพาะหลักดNานคุณธรรมใหNกับเยาวชนตั้งแต=
เยาว)วัย โดยคำนึงถึงการดำเนินชีวิตในวันขNางหนNานั้น สังคมตNองการบุคลากรที่มีคุณธรรม
จริยธรรมเปOนอย=างยิ่ง แนวคิดของรูปแบบวรรณกรรมเยาวชนนี้ จึงเพียรเพ=งพินิจพิจารณา
ใหNเกิดการบ=มเพาะคุณธรรมจริยธรรมเปOนปฐมของการสรNางรูปแบบ จะเห็นไดNว=าแต=ละดNาน

การประชมุ วชิ าการพระพทุ ธศาสนาและศลิ ปวฒั นธรรมระดบั ชาติและนานาชาตคิ ร้ังท่ี 2 411

นั้นมุ=งประเด็นไปหาคุณธรรมจริยธรรมอย=างชัดเจน คณะผูNวิจัยจึงนำเสนอขNอมูลใน
ภาคขยายความ ดังนี้

1) ด_านเน้ือหา
1.1) ไม=ควรซบั ซอN นซอ= นเงอื่ น
1.2) ไม=ควรมีเนื้อหาสอื่ สารออกไปทางอนาจาร
1.3) ไม=ควรมคี ำหยาบโลนในเน้อื หา
1.4) ไม=ควรมีเลห= เ) หลยี่ มหรือกลโกงของตวั ราN ย
1.5) ไมค= วรมปี ญä หาทแ่ี กไN มไ= ดใN นเน้อื หา
1.6) ไม=ควรมเี นือ้ หาท่เี ศราN หรอื โศกาดูรเกินไป
1.7) ควรสราN งเนือ้ หาใหสN นกุ สนานน=าติดตาม
1.8) ควรใหNธรรมชาตหิ รือสัตว)ราN ยเปOนตัวปญä หาทีต่ NองแกไN ข
1.9) ควรใหNตัวละครเอกเปOนผูNแกNไขปäญหานั้นเอง หรือมี พ=อแม= ครู

อาจารย) หรือนักบวชชว= ยแกN
2) ดา_ นตวั ละคร
2.1) ตัวละครควรมีเยาวชน หรือเด็กเปOนตัวนำเรื่อง เพื่อสรNางความเปOน

เพ่อื นใหNกับผูอN =านท่ีเปนO เยาวชน
2.2) ตวั ละครท่ีเด็กนับถือคอื ผใูN หญ=ท่ีทรงภมู ิความรูN
2.3) ผูNเปOนแรงบันดาลใจที่ดีของเด็ก คือ พ=อ แม= ตัวละครที่เปOนพ=อแม=ควร

มใี นเน้ือหาดNวย
2.4) ตัวละครทีเ่ ปOนตวั โกงท่ีเปOนมนษุ ยไ) มค= วรมีในเน้ือหา
2.5) ตัวละครที่เปOนตัวโกงหรือตัวรNาย ควรเปOนธรรมชาติ หรือสัตว)รNาย

ทเ่ี ปOนอปุ สรรคตอ= ตวั เอก
2.6) ปäญหาที่ตัวละครเด็กตNองกNาวผ=าน ไม=ควรโหดรNายจนตNองมีการตาย

หรือสญู เสียอวยั วะใด ๆ
2.7) ปäญหาที่ตัวละครเด็กตNองพบเจอนั้น ตNองถูกกNาวผ=านไดNอย=าง

สรNางสรรค)

412 การประชมุ วชิ าการพระพทุ ธศาสนาและศิลปวฒั นธรรมระดับชาติและนานาชาตคิ รัง้ ท่ี 2

2.8) ผูNช=วยในการกNาวผ=านปäญหาควรเปOน ตัวละครที่เด็กศรัทธา เช=น
พอ= แม= อาจารย) ครู หรือ นกั บวช

2.9) ไม=ควรมีตวั ละครมากจนเกนิ ไป ประมาณ 4-5 คน พอดี
3) ดา_ นคณุ ธรรมจรยิ ธรรม

3.1) ควรแทรกเบญจศีลเบญจธรรมเขNาไปในเนอื้ หา
3.2) ควรมีเนื้อหาดNานสุจริตมากกว=าทุจริต หรือถNามีเนื้อหาทุจริต ตNองใหN
เหน็ ผลลพั ธข) องทุจรติ ปรากฏในเล=มเพื่อไม=เปOนการยยุ งใหเN อาเยยี่ งอยา= ง
3.3) ควรนำเสนอเนื้อหาทปี่ ระกอบดวN ยความมจี ริยธรรมสาธารณะ
3.4) ควรมีเนื้อหาที่ประกอบดNวยความมีเมตตากรุณา สื่อใหNเห็น
แบบอยา= งท่ดี งี าม
3.5) ควรมีหลักการพื้นฐานของการมีเพื่อนในวัยเยาว) เช=น การไวNใจเพื่อน
การคบคนดี การไม=คบคนเลว เปนO ตนN
3.6) ควรมเี นอ้ื หาทแ่ี ฝงดNวยคติธรรมคำคมของนักปราชญไ) วNในเลม=
4) ด_านแรงจงู ใจ
4.1) เนอ้ื หาควรสราN งแรงบันดาลใจใหผN อNู า= น เชน= การอยากรอูN ยากเห็น
4.2) เนอ้ื หาควรมีหลกั การหรือศรัทธาในเรื่องใดเร่ืองหนงึ่ เพอื่ สราN งแรงจูงใจ
4.3) เน้ือหาควรวางบทพูดเพ่ือสราN งสรรค)จรรโลงมากกว=าใหรN Nายปาç ยสี
4.4) เน้ือหาควรมีบททแ่ี สดงถึงความรกั ความเอ็นดู เอ้ือเฟ™´ออาทรใหNกันและกัน
5) ด_านรปู เลม.
5.1) รูปเลม= ไมค= วรหนาเกนิ ไป ประมาณ 50 หนาN
5.2) ขนาดกวNาง ควรเปOนกระดาษ A5
5.3) ควรมีรูปวาดหรอื รูปถ=าย เปนO ตวั สราN งความน=าสนใจของรูปเล=ม
5.4) ภาษาทใี่ ชNเขยี น ควรเปนO ภาษาพูดมากกว=าภาษาเขียน

อภปิ รายผล

คณะผูNวิจัยพบว=า การตีความและถอดความรูNจากคำสำคัญของบทสูตรขวัญนาคภาค
อีสานนี้ แลNวนำองค)ความรูNที่ไดNไปเขียนเปOนวรรณกรรมเยาวชน เพื่อใหNเยาวชนไดNศึกษาหาความรูN

การประชมุ วิชาการพระพทุ ธศาสนาและศิลปวฒั นธรรมระดบั ชาตแิ ละนานาชาติครง้ั ท่ี 2 413

ใหม= ๆ นั้น ยังมีนNอยมากในประเทศไทย เห็นไดNจากการคNนควNาหางานวิจัยที่เกี่ยวขNองกับเรื่องการ
ตีความ บทลำนำ โคลง ฉันท)หรือบทวรรณกรรมของปราชญ)โบราณนี้ ค=อนขNางจะหาไดNยากคงจะมี
พอไดNศกึ ษาอยูบ= าN ง ผลการศึกษาเยาวชนในยุคปจä จุบนั น้ี คอ= นขNางอา= นหนงั สือนNอย

การนำองค)ความรูNที่ถอดมาจากคำสำคัญของบทสูตรขวัญนาค มาเขียนเปOน
วรรณกรรม เชิงส=งเสริมการเรียนรูNดNานคุณธรรมจริยธรรม สอดคลNองกับงานวิจัยของ
นวลจันทร) ชาญวิวัฒนา (นวลจันทร) ชาญวิวัฒนา, 2550) การศึกษาเนื้อหาและแนวคิด
ของวรรณกรรมเยาวชนประเภท บันเทิงคดี ในปî พ.ศ. 2547. ตรงเนื้อหาเกี่ยวกับประเพณี
วัฒนธรรมของชนบท ซึ่งนวลจันทร) พบว=าแนวคิดหลักของวรรณกรรมเยาวชนนั้น ตNอง
เนNนไปที่แนวคิดหลัก 4 ประเด็น อันไดNแก= แนวคิดดNานคุณธรรม แนวคิดดNานอนุรักษ)
ธรรมชาติและสิ่งแวดลNอม แนวคิดดNานอนุรักษ)ประเพณีวัฒนธรรม และแนวคิดดNาน
สงครามและ สันติภาพ แนวคิดที่พบมากที่สุดคือแนวคดดNานคุณธรรม ซึ่งไดNแก= ความ
เมตตา กรุณา ความกลNาหาญ และเสียสละ ความกตัญ@ู และความสามัคคี เปOนตNน ซ่ึง
แนวคิดเหล=านี้คณะผูNวิจัยไดNนำมาตีกรอบในการสรNางรูปแบบจำลองเพื่อนำไปใชNประโยชน)
ในการเขียนวรรณกรรมเยาวชน และแนวคิดของคณะผูNวิจัย ก็สอดคลNองกับงานวิจัยของ
กุณฑิกา ชาพิมล และคณะ (กุณฑิกา ชาพิมล และคณะ: 2559) ที่ศึกษาวิจัยเรื่อง
องค)ประกอบของวรรณกรรมเยาวชนประเภทบันเทิงคดีที่ไดNรับรางวัลชนะเลิศรางวัล
หนังสือดีเด=นของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานรางวัลแว=นแกNว และรางวัล
นายอินทร)อะวอร)ด ระหว=างปîพุทธศักราช 2546-2555 ซึ่งกุณฑิกา และคณะพบว=า ลักษณะ
ของวรรณกรรมเยาวชนโดยส=วนใหญ=มักมีโครงเรื่องที่ไม=ซับซNอน นิยมตัวละครแบบสมจริง
สรNางบทสนทนาเพื่อการดำเนินเรื่อง มักนำเสนอแก=นเรื่องโดยการกระทำของตัวละคร
เนNนการสรNางฉากแบบสมจริง และนยิ มการสราN งมุมมองการเลา= เร่อื งโดยบรุ ษุ ที่หน่ึง

ทั้งนี้คณะผูNวิจัยนำองค)ความรูNที่ถอดจากบทสูตรขวัญนาคภาคอีสาน เขียนลง
วรรณกรรมแลNวนำส=งใหNกลุ=มตัวอย=างจำนวน 100 ชุด เพื่อใหNประเมินความพึงพอใจในรูป
แบบจำลองที่คณะผูNวิจัยไดNสรNางขึ้น พบว=า ดNานการนำเสนอเนื้อหาสาระของวรรณกรรม
เยาวชน ตามรูปแบบการจำลองสรNางรูปแบบการเขียนวรรณกรรม พบว=ากลุ=มตัวอย=างมี
ความพึงพอใจ อยู=ในระดับมากที่สุด คะแนนที่ x̄ = 4.25 ค=าเบี่ยงเบนมาตรฐาน S.D. =
0.771

414 การประชุมวชิ าการพระพุทธศาสนาและศลิ ปวัฒนธรรมระดับชาติและนานาชาติคร้ังที่ 2

ดังนั้นรูปแบบการเขียนวรรณกรรมเยาวชนที่สรNางจำลองขึ้นมานี้ มีระดับความพึง
พอใจของเยาวชนอยใู= นระดบั คะแนนทีม่ ีนัยสำคญั ทางสถติ ิ

ข_อเสนอแนะ

การศึกษาวิจัยเรื่องการตีความและถอดความรูNบทสูตรขวัญนาคภาคอีสานส=ู
วรรณกรรมเยาวชน เมื่อขณะทำการศึกษาคNนควNา พบว=ามีขNอควรเสนอแนะอยู= 2 ลักษณะ
คอื 1) เชิงนโยบาย และ 2) เชิงศึกษาวิจยั คร้งั ตอ= ไป

1) เชิงนโยบาย
ภาครัฐควรใหNความสนใจสรNางกรอบแนวคิดทฤษฎีในการใหNนักวรรณกรรม
ไดNสรNางสรรค)วรรณกรรมเพื่อเยาวชนใหNมากกว=าปäจจุบัน อย=าปล=อยปละละเลยเรื่องเช=นน้ี
ใหNเอกชนไดNกอบโกยผลประโยชน)จากงานวรรณกรรมที่ไม=สรNางสรรค)ส=งเสริมเชิงคุณธรรม
จริยธรรม ภาครัฐควรมีนโยบายวรรณกรรมเพื่อเยาวชนในวัยเรียน เช=น หนังสืออ=านเล=น
หนังสือฆ=าเวลา และควรส=งเสริมใหNเยาวชนมีเวลาอ=านหนังสือนอกเวลาเรียนใหNมากข้ึน
กวา= เดมิ อาจส=งผา= นโครงการหรือนโยบายไปทางผมNู สี =วนเกีย่ วขอN งกับการศึกษาของประเทศ
2) เชิงศกึ ษาวิจัยครัง้ ตอ. ไป
ควรส=งเสริมงานวิจัยตีความถอดความรูNจากนิทานปรัมปรา กาพย) บทสวด บทสูตร
บทโองการ กลอน บทร=าย ลิลิต วรรณคดี ฯลฯ ที่เปOนบทประพันธ)ของบรรพชน ที่สืบทอด
กันมาแต=โบราณกาลใหNมากขึ้น ซึ่งบทลำนำเหล=านั้นเปOนรากเหงNาของจิตวิญญาณของคนใน
ประเทศ

การประชุมวิชาการพระพทุ ธศาสนาและศิลปวฒั นธรรมระดบั ชาติและนานาชาตคิ รง้ั ท่ี 2 415

บรรณานกุ รม

กุณฑิกา ชาพิมล และคณะ. (2559). องค)ประกอบของวรรณกรรมเยาวชนประเภทบันเทิงคดีท่ี
ไดNรับรางวัลชนะเลิศรางวัลหนังสือดีเด=นของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ัน
พื้นฐานรางวัลแว=นแกNว และรางวัลนายอินทร)อะวอร)ด ระหว=างปîพุทธศักราช 2546-
2555.วารสารมนุษยศาสตร6สงั คมศาสตร6 มหาวทิ ยาลยั ทกั ษิณ, 10(2)

นวลจันทร) ชาญวิวัฒนา. (2550). การศึกษาเนื้อหาและแนวคิดของวรรณกรรมเยาวชน
ประเภท บันเทิงคดี ในปî พ.ศ. 2547. สารนิพนธ6 การศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต
(ภาษาไทย). บณั ฑิตวิทยาลยั : มหาวทิ ยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

พจนานุกรม ฉบับเฉลิมพระเกียรติ พ.ศ.2530. (2532). กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ)วัฒนา
พานิช สำราญราษฎร)

พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2542. (2546). กรุงเทพมหนคร: บริษัท น=าน
มีบ¨ุคส)พบั ลเิ คช่ันสจ) ำกัด พิมพท) ี่ ศริ ิวฒั นาอินเตอร)พรนิ้ ท) บางนา

ราชบัณฑิตยสถาน. (2552). พจนานุกรมศัพท6ศาสนาสากล ฉบับราชบัณฑิตยสถาน,
พมิ พค) ร้ังท่ี 3. กรุงเทพมหนคร

ราชบัณฑิตยสถาน.พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2554. (2556).
กรุงเทพมหานคร: พิมพลกั ษณ.)

สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห=งชาติสำนักนายกรัฐมนตรี.
(2559). แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห.งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560–
2564).ราชกิจจานเุ บกษา.

416 การประชมุ วิชาการพระพทุ ธศาสนาและศิลปวฒั นธรรมระดับชาติและนานาชาตคิ รัง้ ท่ี 2

การจดั การศึกษาตลอดชวี ติ ของกล4มุ ชาตพิ นั ธุ9
ในเขตภาคเหนอื ตอนลา4 ง

Lifelong Education Management Of Ethnic
Group In Lower North

พระศรสี วรรค* อมรธมฺโม (กำรสิ ุ),
ลำยอง สำเรจ็ ด,ี นางชูศรี เกดิ ศลิ ปC

Phra Srisawan Amarathammo (Kamrisu),
Lamyong Samretdee, Chusee Girdsin
มหาวทิ ยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วทิ ยาลัยสงฆพN ทุ ธชนิ ราช
Mahachulalongkornrajavidyalaya University, Buddhachinaraj Buddhist College

บทคดั ย@อ

การดำเนินวิจัยในครั้งนี้ มีวัตถุประสงค: 1) เพื่อศึกษาการเรียนรูEตลอดชีวิตของ
กลุIมชาติพันธุ:ในเขตภาคเหนือตอนลIาง 2) เพื่อศึกษาการจัดการเรียนรูEของกลุIมชาติ
พันธุ:ในเขตภาคเหนือตอนลIาง 3) เพื่อบูรณาการภูมิปQญญากับการศึกษาตลอดชีวิต
เปSนการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยการวิเคราะห:เอกสารดEวยการวิเคราะห:เนื้อหา (Content
Analysis) และการสัมภาษณ:แบบเจาะลึก (Depth Interview) โดยการสนทนากลุIม
(Focus Group) ผลการวิจัยพบวIา

1) ผลการศึกษาการเรียนรูEตลอดชีวิตของกลุIมชาติพันธุ:ในเขตภาคเหนือ
ตอนลIาง ประกอบดEวยการเรียนรูE 5 ดEาน คือ (1) ดEานความเชื่อ (2) ดEานพิธีกรรม (3)
ดEานประเพณี (4) ดEานการทอผEาและการแตIงกาย (5) ดEานบEานเรือนที่อยูIอาศัย การ
จัดการเรียนรูEในลกษณะทั้ง 5 ดEาน เปSนปQจจัยในการเรียนรูEภูมิปQญญา และอนุรักษ:
ดำรงความเปSนอัตลักษณ:ของกลุIมชาติพันธ:ุไดEอยIางเหนียวแนIน

2) การจัดการเรียนรูEของกลุIมชาติพันธุ:ในเขตภาคเหนือตอนลIาง มีการ
จัดการเรียนรูEแบIงออกเปSน 4 ลักษณะ คือ (1) จัดตั้งเปSนศูนย:การเรียนรูEวัฒนธรรม (2)

การประชมุ วชิ าการพระพุทธศาสนาและศิลปวัฒนธรรมระดับชาติและนานาชาติครง้ั ที่ 2 417

จัดตั้งเปSนชมรมของกลุIมชาติพันธุ: (3) จัดการเรียนรูEเปSนหลักสูตรทEองถิ่น (4) การ
จัดการเรียนรูEตามภูมิปQญญาคติธรรมความเชื่อ

3) ผลการบูรณาการภูมปQญญากับการศึกษาตลอดชีวิต ในสถานการณ:ที่โลก
กำลังเปลี่ยนแปลงอยากรวดเร็ว แตIกลุIมชาติพันธุ:เล็ก ๆ ก็ยังคงสืบทอดภูมิปQญญา
ความเปSนมา ทั้งวัฒนธรรมประเพณีและภาษาไวEอยIางเหนียวแนIน แมEวIาการเรียนการ
สอนจะพัฒนามาไปสูIศตวรรษที่ 21 แลEวก็ตาม ผลการศึกษาพบวIา การศึกษาตลอด
ชีวิตเปSนการศึกษาที่บุคคลไดEรับตลอดชีวิตตั้งแตIเกิด จากการลงพื้นที่สำรวจ และเก็บ
ขEอมูลทำใหEไดEพบวIา กลุIมชาติพันธ:มีกิจกรรมเกี่ยวกับวัฒนธรรมประเพณี ซึ่งเปSนสิ่ง
ปลูกฝQงใหEไดEเรียนรูEแบบบูรณาการ ตามทฤษฎีหลักการจัดการเรียนรูEแบบบูรณาการ
คือ (1) ตEองมีจุดมุIงหมายท่ีแนIนอนวIา ตEองการใหEผูEเรียนเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมอยIางไร
(2) ในการสอนแตIละครั้ง ตEองพยายามสอดแทรกคุณสมบัติที่ตEองการเนEนในตัวผูEเรียน
(3) บูรณาการความรูEใหEสอดคลEองกับความเปSนจริงในชีวิตประจำวัน (4) จัดโอกาสใหE
ผูEเรียนไดEรูEจักสังเกต วิเคราะห: วิจารณ: และอภิปรายถกเถียงดEวยเหตุและผล (5) เรEา
ความสนใจแกIผEูเรียน

คำสำคัญ: การศึกษา, การจัดการศึกษา, การศึกษาตลอดชีวิต, กลIุมชาติพันธุ:,
ภาคเหนือตอนลIาง

Abstract

This action research was aimed at studying 1) To study lifelong learning
of ethnic groups in the lower northern regions 2) To study learning management
of ethnic groups in the lower northern regions 3) to integrate wisdom with life-
long education. It is a qualitative research. The document was analyzed by
content analysis and in-depth interview (Focus Group)

1) results of study and lifelong learning of ethnic groups in the lower
northern region It consists of learning in 5 areas: (1) belief (2) ritual (3) tradition (4)

418 การประชมุ วิชาการพระพทุ ธศาสนาและศลิ ปวัฒนธรรมระดับชาติและนานาชาติครง้ั ที่ 2

weaving and dress (5) home, study, residence Learning management in all 5
aspects is a factor in learning wisdom. And preserve the identity of the ethnic group
firmly

2) Learning management of ethnic groups in the lower northern region
There are four types of learning management: (1) Establishing a cultural learning
center (2) Establishing an ethnic group club (3) Arranging learning as a local
curriculum (4) organizing learning based on wisdom, moral Belief

3) The results of integrating wisdom with life-long education in a situation
where the world is changing like fast but a small ethnic group still has a strong
inheritance of wisdom, history, culture, tradition and language. Although teaching
and learning has evolved into the 21st century, the study found that Lifelong
education is the education that individuals have throughout their lives since birth.
From going into the survey area, and collecting data resulting in finding that the
ethnic group has activities related to cultural traditions. Which is a cultivation of
integrated learning According to the theory of integrated learning management
principles: (1) must have a certain objective that How do you want the students
to change their behavior? (2) in each teaching time Must try to insert the desired
qualities to emphasize in the learner. (3) integrate knowledge in line with reality in
daily life (4) provide opportunities for learners to observe, analyze, criticize and
debate with reasons and results (5) stimulate the interest of learners

Keywords: Education, Education Management, Lifelong Education, Ethnic Group,
Lower North

การประชุมวชิ าการพระพทุ ธศาสนาและศิลปวัฒนธรรมระดบั ชาติและนานาชาตคิ ร้ังที่ 2 419

การศึกษาวจิ ยั เรือ่ งนี้ เกิดข้นึ จากการทผ่ี Eูวจิ ัยไดEสอนในรายวชิ าคติชนวิทยา
มโี อกาสไดEลงพื้นที่สัมภาษณแ: ละเรยี นรEูวถิ ชี ีวิตวฒั นธรรมประเพณี การวิจยั ในครง้ั นเ้ี ปSนการ
วิจยั กลIมุ ชาติพันธ:ุทีม่ คี วามเช่ือมั่นและเครงI ครดั ในวฒั นธรรมสงู จึงมักจะถูกกลาI วถงึ วIาเปSน
กลIุมชาตพิ ันธ:ุทีร่ ักษาประเพณี และวฒั นธรรมของตนเองไดอE ยาI งเหนยี วแนนI ในปQจจบุ นั น้ี
โลกไดEมีการเปลี่ยนแปลงในดEานตาI ง ๆ ไปอยIางรวดเรว็ มาก ท้ังภาคเศรษฐกิจ การเมอื ง การ
ปกครอง สงั คมและวัฒนธรรม โดยเฉพาะอิทธิพลของกระแสโลกาภิวัตน: ความทนั สมยั
ความกEาวหนEาทางวิทยาศาสตร:และเทคโนโลยี ไดEเขาE มามอี ทิ ธพิ ล มีอำนาจครอบงำมนุษย:
มากข้ึน สงI ผลกระทบตอI สงั คมและวฒั นธรรม ทำใหEวฒั นธรรมไทพวน ไทยวน และไทดำ
หลายอยIางเปล่ยี นไป ผEวู จิ ยั จึงไดEศึกษาในเร่ืองของการจดั การศกึ ษาของกลุมI ชาตพิ ันธุ: โดยมี
การกำหนดวัตถุประสงค:ของการวิจยั คอื 1) เพอ่ื ศึกษาการเรียนรตEู ลอดชีวติ ของกลุIมชาติ
พันธุใ: นเขตภาคเหนอื ตอนลาI ง 2) เพือ่ ศึกษาการจดั การเรียนรขูE องกลมIุ ชาตพิ นั ธุ:ในเขต
ภาคเหนือตอนลาI ง 3) เพือ่ บรู ณาการภูมปิ ญQ ญากบั การศกึ ษาตลอดชวี ิต

เครื่องมอื และวิธกี ารศกึ ษา
เครื่องมือที่ใชE คือ 1. โครงสรEางขอบขIายบทสัมภาษณ:การจัดประชุมกลุIมยIอย
(Focus group) 2. เอกสารบันทึกการสังเกต การสังเกตพฤติกรรมและการแสดงออกของ
ฝëายตIาง ๆ ที่จะทำควบคูIกับการสัมภาษณ:ผูEทรงคุณวุฒิ ผูEมีบทบาทเกี่ยวขEองกับการศึกษา
ของกลุIมชาติพันธุ: 3. ขEอบันทึกการสัมภาษณ:เชิงลึก (In–depth Interviews) สำหรับครู
ผูEนำชุมชนและ ปราชญ:ทEองถิ่น 4. การสังเกตการใชEเทคนิค SWOT และภาพถIายเพื่อศึกษา
เสEนทางการศึกษา และแนวทางการเสริมสรEางกระบวนการศึกษาโดยมุIงเนEนการเชื่อมโยง
ความรูE อัตลักษณ: รูปแบบ เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม 5.แบบประเมินการวิเคราะห:
เปรียบเทียบดEานอัตลักษณ: รูปแบบ กระบวนการของการศึกษาของกลุIมชาติพันธุ: ทั้งน้ี
ตลอดการวิจัยจะใชEเครื่องมืออุปกรณ:เพื่อการบันทึกขEอมูล ประกอบดEวย การบันทึก
ภาคสนามโดยอุปกรณ:ที่เกี่ยวขEอ เชIน เครื่องบันทึกเสียง กลEองบันทึกภาพเคลื่อนไหวและ
กลEองถIายรูป เปSนตEน ขั้นตอนในการเก็บขEอมูล ขั้นตอนที่ 1 ศึกษาขEอมูลพื้นฐาน การดำรง
อยูIของกลุIมชาติพันธุ:ในเขตภาคเหนือตอนลIาง ศึกษาประวัติความเปSนมาของชาติพันธ:ุ
ศึกษาวัฒนธรรม ทฤษฎีการจัดการศึกษาและคติชนวิทยา ขั้นตอนที่ 2 ศึกษากระบวนการ
ในการจัดการเรียนรูE การบูรณาการการถIายทอดภูมิปQญญาของกลุIมชาติพันธุ:ในเชิงอนุรัก

420 การประชุมวชิ าการพระพทุ ธศาสนาและศิลปวัฒนธรรมระดับชาติและนานาชาตคิ รั้งท่ี 2

วัฒนธรรมความเปSนอัตลักษณ:ของตนเอง ขั้นตอนที่ 3 ลงพื้นที่ในการปฏิบัติการจัดเวที
เสวนาสัมภาษณ: ขั้นตอนที่ 4 สรุปและวิเคราะห:ขEอมูลคุณภาพใชEวิธีวิเคราะห:ขEอมูลเชิง
เน้ือหา (Content analysis)

กลุIมเปñาหมายในเขตภาคเหนือตอนลIาง ซึ่งเปSนกลุIมชาติพันธุ: 30 คน เพื่อใหEเห็น
ความคลาE ยคลงึ และความแตกตIางทั้งในดาE นระบบ การบรหิ ารจัดการ แผนการศึกษา ระดับ
การศึกษา โดยแบIงกลุIมชาติพันธุ: 3 กลุIม ๆ ละ 10 คน ไดEแกI กลุIมไทพวน บEานหาดเสี้ยว
อำเภอศรีสัชนาลัย จังหวัดสุโขทัย กลุIมไทยวน ตำบลสมอแข อำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก
กลุIมไทดำ บEานยางแขวนอูI บEานบึงคัด อำเภอบางระกำ จังหวัดพิษณุโลก โดยไดEกำหนด
ผูEนำชุมชนและปราชญ:ชาวบEาน กลุIมละ 10 คน คือ กลุIมไทยพวน บEานหาดเสี้ยว 10 คน
กลุIมไทยวน ตำบลสมอแข 10 คน และกลุIมไทดำ อำเภอบางระกำ 10 คน รวมทั้งหมด 30
คน ใชวE ิธเี ลอื กกลุIมเปาñ หมายแบบเจาะจง (Purposive sampling)

ผลการวจิ ยั
ผลการศึกาพบวIา การเรียนรูEตลอดชีวิตของกลุIมชาติพันธุ:ในเขตภาคเหนือ

ตอนลIาง มีบริบทที่คลEายคลึงกัน บริบทดEานชุมชน ไทพวนบEานหาดเสี้ยว ตำบลหาดเสี้ยว
แบIงเขตการปกครอง ออกเปSน 4 หมูIบEาน คือ หมูIที่ 1 บEานหาดเสี้ยว (บEานเตôอ) หมูIที่ 2
บEานหาดเสี้ยว (บEานกลางและบEานเหนือ) หมูIที่ 3 บEานหาดสูง หมูIที่ 4 บEานใหมI (บEาน
เหมIอ) ปQจจุบันเปSนเทศบาลตำบลหาดเสี้ยว ตั้งอยูIทางทิศเหนือของอำเภอสวรรคโลก
จังหวัดสุโขทัย ตามถนนสวรรคโลก - ศรีสัชนาลัย ระยะหIางจากจังหวัดสุโขทัย ประมาณ
67 กิโลเมตรและหIางจากกรุงเทฯ ประมาณ 540 กิโลเมตร ไทยวนสมอแข ที่ตั้ง ตำบล
สมอแข อำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลกหมูIบEานชาวไท-ยวน ในตำบลสมอแข มี 4
หมูIบEาน คือ หมูIที่ 2 บEานลาดบัวขาว หมูIที 3 บEานดงประโดก หมูIที่ 4 บEานสมอแข หมูIท่ี
8 บEานกรมธรรม: ลักษณะทางเศรษฐกิจ อาชีพที่มันคงและนิยมทำกันสIวนใหญIคือ การทำ
นา รูEจักทำการทดน้ำเขEานาไดEดีและลงทุนนEอย ถัดจากการทำนา คือการทำไรI ซึ่งเปSนการ
เปลืองแรงและตEองแผEวถางปëาโคIนตEนไมEทุกปû เพราะทำปûเดียวก็ทิ้ง มีการปลูกฝñาย พริก
ยาสูบ ถั่ว คราม และผักที่เหมาะสมกับฤดูฝน การเลี้ยงสัตว:ขนาด จำนวนพอเลี้ยง
ครอบครัว ไมIเลี้ยงกันเปSนจำนวนมากหรือเลี้ยงเปSนอาชีพ ลักษณะทางสังคม ระบบ

การประชุมวิชาการพระพทุ ธศาสนาและศลิ ปวัฒนธรรมระดบั ชาตแิ ละนานาชาตคิ รั้งที่ 2 421

ครอบครัวของชาวไทยวนเมื่อแตIงงานแลEวฝëายชายจะตEองไปอาศัยอยูIที่บEานของฝëายหญิง
และจะตEองทำนาใหE พIอตา แมIยาย 1 – 2 ปû จึงจะขอแยกไปปลูกบEานเรือนอยูIตIางหากไดE
ไทดำบEานยางแขวนอูI ความเปSนมามีถิ่นฐานเดิมอยIูในแควEนสิบสองจุไท ดังกลIาวไวEใน
พงศาวดารเมืองไลวIา “ เมืองที่พวกผูEไทดำอยูIนั้น คือเมืองแถงหนึ่ง เมืองควายหนึ่ง เมืองตุง
หนึ่ง เมืองมIวยหนึ่ง เมืองลาหนึ่ง เมืองโมะหนึ่ง เมืองหวัดหนึ่ง เมืองซางหนึ่ง รวมเปSน 8
เมือง เมืองผูEไทขาว 4 เมือง ผูEไทดำ 8 เมืองเปSน 12 เมือง จึงเรียกวIาเมืองสิบสองผูEไท
แตIบัดนี้เรียก สิบสองจุไท ”เขตสิบสองจุไท บริเวณลุIมแมIน้ำดำและแมIน้ำแดง ในเวียดนาม
ภาคเหนือ ซึ่งเปSนถิ่นที่อยูIของ ไทดำ ไทแดง และไทขาว เมื่อฝรั่งเศสเขEาปกครองเวียดนาม
ไดEเรียกชนเผIาที่อาศัยอยูIลุIมแมIน้ำดำวIา ไทดำ ที่เรียกวIาไทดำ เพราะชนดังกลIาวนิยมสวม
เสื้อผEาสีดำซึ่งยEอมดEวยตEนหEอมหรือคราม แตกตIางกับชนเผIาที่อยูIใกลEเคียงเชIน ไทขาวที่นิยม
แตIงกายดEวยผEาสีขาว และไทแดงที่ชอบใชEผEาสีแดงขลิบตกแตIงชายเสื้อ ชาวไทยดำอยูIที่
เมืองแถงหรือแถน แตIเดิมเปSนเมืองใหญIของแควEนสิบสองจุไท ปQจจุบันคือจังหวัดเดียน
เบียนฟู อยูIทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือของประเทศเวียดนาม มีอาณาเขตติดตIอกับประเทศ
ลาว (แควEนลEานชEาง) ทิศเหนือติดกับตอนใตEของประเทศจีน ที่ตั้งของชาวไทดำบEานยาง
แขวนอูI ตั้งอยูIหมูIที่ 6 ตำบลบางระกำ อำเภอบางระกำ จังหวัดพิษณุโลก มีศูนย:การเรยี นรูE
วัฒนธรรมของไทดำ

การจัดการเรียนรูEมีการจัดการเรียนรูEตามระบบของราชการตามปกติควบคูIกับ
การเรียนรูEทางวัฒนธรรมและภูมิปQญญาของตน มีเทคนิคและวิธีการในการถIายทอด
โดยเฉพาะภูมิปQญญาดEานภาษาและการแตIงกาย แตIละชนเผIามีอัตลักษณ:เปSนของตนเอง
และมีรูปแบบในการจัดการศึกษาที่แตกตIางกันออกไป แตIมีอยIางหนึ่งที่แตIละกลุIมชาติพันธ:ุ
สนับสนุนและใหEคงอยูI ก็คือศูนย:การเรียนรูEของกลุIมชาติพันธุ: ซึ่งนอกจากจะเปSนการเรียนรEู
ของคนในชุมชนแลEว ก็ยังสIงเสริมใหEแกIผูEที่สนใจเขEาไปศึกษาไดEดEวย และการจัดการศึกษา
ของกลุIมชาติพันธุ:นั้น มีการบูรณาการกับวิธีชีวิต จึงเหมาะแกIบริบทชมชน และมีความเปSน
เอกลักษณ:เปSนของ ๆ ตน ชIวยกันรักษาและหวงแหนเปSนสมบัติของกลุIมชาติพันธุ:แมEจะมี
การเปลีย่ นแปลงไปตามสถานการณ:โลกอยIูบEางกต็ าม

422 การประชุมวชิ าการพระพุทธศาสนาและศลิ ปวัฒนธรรมระดับชาตแิ ละนานาชาตคิ ร้งั ท่ี 2

ผลการจัดการศึกษาของกลุIมชาติพันธุ:ในเขตภาคเหนือตอนลIาง การจัดการ
ศึกษาใหEสมาชิกในกลุIมชาติพันธุ: เปSนการเรียนรูEแบบบูรณาการ โดยอาศัยหลักของความ
เช่ือ วัฒนธรรมประเพณี

1) ดEานความเชื่อ กลุIมชาติพันธุ:มีความเชื่อเกี่ยวกับเรื่องตIาง ๆ อยIางไทพวนบEาน
ใดก็ตามที่ลูกชายเมื่ออายุยังไมIครบ 20 ปûจะใหEบวชเปSนเณรจะบวชกี่วันก็ไดEเมื่อเณรสึก
ออกมาจะไดEรับคำนำหนEา เรียกวIา “เซียง” คงมาจากคำวIา “เซียน” หมายถึงผูEรูEหรือ
ผูEสำเร็จ เด็กที่บวชเปSนสามเณรจะไดEศึกษาพระธรรมวินัย ขEอปฏิบัติ การครองตนใน
ระหวIางเปSนสามาเณรไดEร่ำเรียนเขียนอIานจากเจEาหัว (พระภิกษุ) รูEอะไรบEางพอสมควร
มีพฤติกรรมสำรวม มีความเปSนระเบียบเรียบรEอย มีความฉลาดขึ้นกวIากIอนบวช ดังนั้น เม่ือ
สึกออกมาผูEเฒIาผูEแกIจะยกยIองวIาเปSนผูEสำเร็จผIานการศึกษาเลIาเรียน จึงใหEคำนำ หนEาวIา
“เซียง” เมื่ออายุครบ 20 ปûขึ้นไปพIอแมIจะเตรียมอุปสมบทใหEเปSนภิกษุการเตรียมอุปสมบท
เครื่องบวชหรืองเครื่องอัฏฐบริขารเหมือนกับการอุปสมบททั่วไป เมื่อถึงเวลาตามกำหนด
อุปสมบทก็จะโกนผมใหEผูEเฒIาผูEแกI พIอแมI ญาติพี่นEองชIวยกันโกนผม เมื่อเสร็จเรียบรEอยแลEว
ก็ชIวยกันอาบน้ำนาคที่จะบวช ทาดEวยแปñงผสมขมิ้นทาตามตัวและทาศีรษะจนสีนาคออกสี
เหลืองดูสวยงาม จากนั้นก็จะแตIงตัวนาค นุIงผEาขาว สวมเสื้อขาวและสไบเฉียงดEวยผEาสีขาว
แสดงถึงความบริสุทธิ์หมดจดจากราคีตIาง ๆ เตรียมทำขวัญนาคตIอไปการบวชเณรและบวช
พระของชาวไทยพวนนิยมสูIขวัญทั้งสิ้น ทั้งนี้เพื่อเปSนขEอเตือนใจใหEขEอคิดขEอปฏิบัติตลอดจน
ระลึกถึงบุญคุณของผูEมีพระคุณ เปSนการอวยชัยใหEพรแกIนาคและอีกประการหนึ่งก็เปSน
โอกาสใหEญาติพี่นEองไดEมีโอกาสรIวมในการทำขวัญทำใหEพIอแมIเกิดความป£ติในผลบุญกุศลท่ี
มีโอกาสไดEบวชลูกชายกIอนที่จะแหIไปบวชที่วัด นอกจากจะนับถือและยึดมันในพุทธ
ศาสนาแลEว ชาวพวนยังมีประเพณี อันเอกลักษณ: ของตนมาแตIโบราณและยังเครIงครัดตIอ
ขนบธรรมเรียมประเพณีของตนมาก ซึ่งไดEปฏิบัติตาม แบบอยางบรรพบุรุษในรอบปûหน่ึง
ประเพณีของชาวพวนยังยึดถือและปฏิบัติกันถึงแมEบEางประเพณีก็ไดEยกเลิกและบาง
ประเพณีไดEทำแบบไมIตIอเนื่อง หรือกระทาเปSนครั้งคราวบางประเพณีก็มีการปฏิบัติกันเพียง
บางจังหวัดเทIานั้น ไทยวนการตั้งชื่อเด็ก พIอแมIอาจตั้งชื่อเองหรือใหEญาติผูEใหญIใหEพระตั้งใหE
ก็ไดE ชื่อคนยวนแตIกIอนจะมีพยางค:สั้น ๆ และมีเสียงเปSนสำเนียงยวน แตIปQจจุบันนี้นิยมตั้ง
ชื่อบุตรหลายของตนดEวยคำบาลีสันสกฤตที่ไพเราะ โดยยึดคัมภีร:มหาทักษาเปSนหลักผูE

การประชุมวชิ าการพระพุทธศาสนาและศิลปวัฒนธรรมระดับชาติและนานาชาติครง้ั ที่ 2 423


Click to View FlipBook Version