The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การประชุมสัมมนาวิชาการระดับชาติและนานาชาติ ครั้งที่ 2 มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตเชียงใหม่ The 2nd International Buddhist Conference on “Buddhism and Social Responsibility in the New Normal” (BUSRIN) เรื่อง “พระพุทธศาสนากับความรับผิดชอบทางสังคมยุคชีวิตใหม่ วันที่ 19-20 เดือน กันยายน พ.ศ. 2563 เวลา 08.00-16.30 น. ณ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตเชียงใหม่ Mahachulalongkornrajavidyalaya University, Chiang Mai Campus will organize the 2nd National and International Conference (MCU. CM. 2020) “Buddhism and Social Responsibility in the New Normal (BUSRIN)”, November 19th – 20th, 2020 at Mahachulalongkornrajavidyalaya University, Chiang Mai Campus.

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by MCU Books, 2021-04-18 04:35:51

เอกสารสืบเนื่องการประชุมวิชาการพระพุทธศาสนาและศิลปวัฒนธรรมระดับชาติและนานาชาติครั้งที่ 2

การประชุมสัมมนาวิชาการระดับชาติและนานาชาติ ครั้งที่ 2 มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตเชียงใหม่ The 2nd International Buddhist Conference on “Buddhism and Social Responsibility in the New Normal” (BUSRIN) เรื่อง “พระพุทธศาสนากับความรับผิดชอบทางสังคมยุคชีวิตใหม่ วันที่ 19-20 เดือน กันยายน พ.ศ. 2563 เวลา 08.00-16.30 น. ณ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตเชียงใหม่ Mahachulalongkornrajavidyalaya University, Chiang Mai Campus will organize the 2nd National and International Conference (MCU. CM. 2020) “Buddhism and Social Responsibility in the New Normal (BUSRIN)”, November 19th – 20th, 2020 at Mahachulalongkornrajavidyalaya University, Chiang Mai Campus.

Keywords: Buddhism,Social Responsibility,New Normal

ออกแบบและใชnวิธีการเรียนรูnของตนเอง 3) เปãดโอกาสใหnผูnเรียนประเมินเพื่อพัฒนาตนเอง
4) เปãดโอกาสใหnผูnเรียนนำสิ่งที่ไดnเรียนรูnไปใชnประโยชนcตNอสNวนรวม และ 5) เปãดโอกาสใหn
ผูnเรียนสะทnอนคิดตนเอง เพื่อนำไปสูNการเรียนรูnครั้งใหมN หากผูnสอนเปãดพื้นที่การเรียนรูn
ใหกn บั ผูnเรียนไดมn ากเทาN ใด การเรียนรnูเชิงลกึ จะเกิดข้ึนไดมn ากเทNานัน้

6) ประเมินประสิทธิภาพของ Platform และวิธีการเรียนรูnที่ผูnสอนไดnใชnใน
การจัดการเรียนรูn วNาสามารถตอบสนองความตnองการของผูnเรียนไดnมากนnอยเพียงใด ซึ่งผล
การประเมินในสNวนนี้จะนำไปสูNการปรับปรุงและพัฒนาการจัดการเรียนรูnใหnผูnเรียนมีพื้นท่ี
การเรยี นรnูมากขึ้น

การออกแบบการเรียนรnูสังคมศึกษา ในยุค New normal ดังที่ไดnกลNาวมาตnอง
อาศัยป~จจัยหลายประการเกื้อหนุนกัน เชNน ความรูnและความสามารถดnานวิชาชีพครู ความรูn
ทางดnานเนื้อหาสาระ ทักษะทางดnานเทคโนโลยีของผูnสอน เปsนตnน ซึ่งอาจจะเปsน New
normalของครใู นอนาคต

4) ปจ% จัยเกื้อหนนุ ในการเรียนร6ูสงั คมศกึ ษา ในยุค New normal

การเรียนรูnในป~จจุบันมีลักษณะเปsน Hybrid Learning หรือการเรียนรูnที่ผูnเรียน
ใชnชNองทางและ Platform ที่หลากหลาย สอดคลnองกับความถนัดและความตnองการของ
ตนเอง ทั้งการเรียนรูnแบบ Online ,Onsite, On demand ดnวยเหตุนี้จึงจำเปsนตnองมีการ
จัดสิ่งแวดลnอมและป~จจัยตNาง ๆ ที่เอื้อตNอการเรียนรูnใหnผูnเรียนมีความสบายกายสบายใจ
เพื่อใหnเกิดเรียนรูnอยNางมีประสิทธิภาพและเต็มตามศักยภาพ การเรียนรูnที่มีความสบายกาย
สบายใจมีป~จจัยเกื้อหนุนไดnแกN 1) มีสภาพอากาศและสิ่งแวดลnอมที่สะอาด 2) มีสภาพ
หnองเรียนที่มั่นคงปลอดภัย 3) มีอาหารสะอาดถูกสุขลักษณะ 4) มีแหลNงการเรียนรูnท่ี
หลากหลาย 5) มีผูnสอนและเพื่อนเปsนมิตรที่ดี 6) มีการสื่อสารที่แชNมชื่นเบิกบาน และ
7) มีการเคลื่อนไหวรNางกายอยNางสมดลุ ดงั ตNอไปนี้

1) มีสภาพอากาศและสิ่งแวดลnอมที่สะอาด คือ การที่ผูnเรียนไดnปฏิบัติกิจกรรม
การเรียนรูnอยูNในสถานที่ที่มีอากาศบริสุทธิ์ มีการถNายเทอากาศที่ดี มีปริมาณออกซิเจนเพียง
พอที่จะนำเลือดไปเลี้ยงสมองไดnดี อีกทั้งมีสภาพแวดลnอมทางกายภาพที่สะอาด
ถูกสุขลกั ษณะ อกี ทง้ั ควรมกี ารจดั วางสง่ิ ของตNาง ๆ อยาN งเปนs ระเบียบ

274 การประชมุ วชิ าการพระพทุ ธศาสนาและศิลปวฒั นธรรมระดับชาตแิ ละนานาชาตคิ ร้ังท่ี 2

2) มสี ภาพหnองเรยี นที่ม่ันคงปลอดภยั คือ การทผ่ี เูn รยี นไดปn ฏิบตั ิกิจกรรมการเรยี น
รูnอยูNในหnองเรียนที่มีความมั่นคงแข็งแรง ใหnความปลอดภัยแกNรNางกาย ไดnดีไมNพังทลายไดnงNาย
หมายความรวมถึงหnองเรียนในโรงเรียนโดยทั่วไป และหnองเรียนที่บnาน ซึ่งอาจจะไมNมีลักษณะ
เปsนหnองสี่เหลี่ยมเหมือนกับที่โรงเรียน แตNอาจจะเปsนมุมใดมุมหนึ่งของบnานก็ไดn นอกจากนี้ยัง
หมายรวมถึงหอn งปฏบิ ตั ิการตNาง ๆ และหอn งเรียนตามสภาพจรงิ อีกดnวย

3) มีอาหารสะอาดถูกสุขลักษณะ คือ การที่ผูnเรียนไดnรับประทานอาหารที่
สะอาดมีคุณคNาทางโภชนาการและมีประโยชนcตNอรNางกายอยNางเพียงพอที่จะนำไปใชnเปsน
พลังงานในการคิด และการปฏิบัติกิจกรรมการเรียนรูnตNาง ๆ นอกจากนี้ ยังหมายถึงการไดn
ดื่มน้ำสะอาด ซึ่งเปsนป~จจัยสำคัญตNอการทำงานของรNางกาย อยNางไรก็ตามการดื่มน้ำจะตnอง
เหมาะสมกับความตnองการของรNายกายดnวย เพราะหากดื่มน้ำมากเกินไปจะเปsนผลเสียตNอ
ราN งกาย และไมคN วรดืม่ นำ้ อยNางรวดเร็วเพราะจะมีผลกระทบตNอการทำงานของหวั ใจ

4) มีแหลNงการเรียนรูnที่หลากหลาย คือ การที่ผูnเรียนทุกคนมีโอกาสและสามารถ
เขnาถึงแหลNงการเรียนรูnแหลNงใด ๆ ตามที่ผูnเรียนตnองการ และสามารถตอบสนองความใฝÆเรียนรnู
ของผูnเรียนไดnอยNางมีประสิทธิภาพ ชNวยทำใหnผูnเรียนไดnเรียนรูnในสิ่งที่ตnองการ ไมNวNาจะเปsน
แหลNงการเรียนรูnออนไลนcแหลNงการเรียนรูnในโรงเรียน ในชุมชน ตลอดจนแหลNงการเรียนรูnท่ี
เปsนภมู ปิ ~ญญาทnองถน่ิ

5) มีผูnสอนและเพื่อนเปsนมิตรที่ดี คือ การที่ผูnเรียนไดnปฏิบัติกิจกรรมการเรียนรูn
รNวมกับผูnสอนและเพื่อนที่มีความรัก ความสามัคคี มีความปรารถนาดีตNอกันเรียนรูnรNวมกัน
อยNางมีเปûาหมาย ชNวยเหลือเกื้อกูลกัน แบNงป~น ไมNแกNงแยNงแขNงขันกัน ผูnสอนใหnความรัก
ความเมตตาตNอผูnเรียนทุกคนเทNาเทียมกันมีความเปsนกัลยาณมิตร ตามหลักกัลยาณมิตร
ธรรม 7 ประการ ไดnแกN 1) นNารัก 2) นNาเคารพ 3) นNาเจริญใจ 4) รูnจักพูดใหnไดnผล 5) อดทน
ตNอถnอยคำ 6) แถลงเรือ่ งลึกล้ำใหเn ขnาใจงNาย และ 7) ไมชN กั นำไปในเร่ืองเสอ่ื มเสีย

6) มีการสื่อสารที่แชNมช่ืนเบิกบาน คือ การที่ผูnเรียนไดnแลกเปลี่ยนเรียนรูnรNวมกับ
บุคคลอื่นผNานการใชnภาษาสุภาพเรียบรnอย สื่อสารดnวยความเคารพและใหnเกียรติซึ่งกันและ
กัน ทั้งการใชnภาษาพูดและภาษากาย ในการสื่อสารออนไลนcการสื่อสารในโลกเสมือน
การสื่อสารใน Social media และการสื่อสารแบบ Face to Face ซึ่งวาจาที่แชNมชื่นจะ
ชNวยเสรมิ สราn งพลงั การเรยี นรnูของผเูn รยี น

การประชมุ วชิ าการพระพทุ ธศาสนาและศิลปวัฒนธรรมระดับชาติและนานาชาติครง้ั ที่ 2 275

7) มีการเคลื่อนไหวรNางกายอยNางสมดุล คือ การที่ผูnเรียนไดnปรับเปลี่ยนอิริยาบถ
ในระหวNางการปฏิบัติกิจกรรมการเรียนรูnอยNางเหมาะสม ทั้งการยืน การเดินการนั่ง ซึ่งการ
เคลื่อนไหวรNางกายอยNางสมดุลจะชNวยทำใหnผูnเรียนมีความกระตือรือรnน กระปรี้กระเปรNา
ตน่ื ตัวในการเรยี นรูn และเปsนผลดตี อN ระบบไหลเวียนโลหติ และระบบหายใจ

ป~จจัยสนับสนุนการเรียนรูnที่ทำใหnผูnเรียนเกิดความสบายกายสบายใจ ในการ
เรียนรูnที่มีลักษณะเปsน Hybrid Learning ทั้ง 7 ประการคือสิ่งที่ผูnสอนควรใหnความสำคัญ
ใหnความใสNใจ และนำไปใชnในการออกแบบกิจกรรมการเรียนรูn ภายใตnบริบทการเรียนรูnใน
ภาวะปกตใิ หมหN รือ New normal

4. การประเมินการเรียนรูสV งั คมศึกษา ใน New normal

การประเมินตนเองเพื่อพัฒนาการเรียนรูn หรือ Selfassessment for
improvement เปsนการประเมินตนเองของผูnเรียนโดยใชnวิธีการและเครื่องมือประเมินที่มี
คุณภาพ (ผูnสอนมีบทบาทอำนวยความสะดวกใหnผูnเรียนใชnวิธีการและเครื่องมือประเมิน
ตนเอง) แลnวนำผลการประเมินมาสะทnอนคิด (Reflection) และถอดบทเรียน (Lesson
Learned) และปรับปรุงและพัฒนาตนเองในดnานตNาง ๆ ทั้งดnานการรูnคิด ทักษะ
กระบวนการเรยี นรnู และคุณธรรมจรยิ ธรรม ดวn ยวธิ ีการที่สอดคลnองกบั ธรรมชาตขิ องตนเอง

การประเมินการเรียนรูnใน New normal เปลี่ยนแปลงจากการประเมินเพ่ือ
ตัดสินความรูnความสามารถของผูnเรียน (Judgement) มาเปsนการประเมินเพื่อพัฒนาการ
เรียนรูn (Assessment for learning) เนnนการใหnผูnเรียนประเมินตนเอง (Self-assessment)
มากขึน้ ซงึ่ จะชNวยสNงเสริมคณุ ลักษณะการเปsนบุคคลแหงN การเรียนรขูn องผnเู รียนในระยะยาว

Growth mindset ของการประเมินใน New normal
Growth mindset ของการประเมินใน New normal เปsนหัวใจสำคัญที่จะ
เปลี่ยนแปลงจากการประเมินเพื่อตัดสิน (Assessment for judgement) ไปสูNการประเมิน
เพ่ือพัฒนา (Assessment for improvement) ไดnประสบความสำเร็จ
การประเมินเพื่อตัดสินไดnสรnางความกดดันใหnกับผูnเรียนจากเงื่อนไขตNาง ๆ
เกี่ยวกับการประเมินเหลNานั้น และไมNสNงเสริมใหnผูnเรียนเปsนบุคคลแหNงการเรียนรูn และ
คุณลักษณะของความเปsนนวัตกร ที่ตnองมี Mindset ของการประเมินเพื่อพัฒนา มากกวNา

276 การประชุมวชิ าการพระพทุ ธศาสนาและศิลปวฒั นธรรมระดับชาติและนานาชาตคิ รั้งท่ี 2

การประเมินเพื่อตัดสิน เพราะนวัตกรตnองนำผลการประเมินไปปรับปรุงนวัตกรรมอยูN
ตลอดเวลา

ผูnสอนมีบทบาทพัฒนาผูnเรียนใหnมี Growth mindset ตNอการประเมินใน
รูปแบบใหมN ที่เนnนการประเมินตนเองแลnวนำไปสNู การสะทnอนคิดและถอดบทเรียน จนเกิด
ความรูnและป~ญญาที่จะมองเห็นวNาจะตnองเรียนรูnและปรับปรุงตนเองในสNวนใด และจะใชn

วธิ กี ารปรับปรุงอยNางไร ใหnเหมาะสมกบั ธรรมชาติของตนเอง
จุดเนnนสำคัญของการประเมินการเรียนรูnใน New normalคือ การประเมินเชิง

รุก (Active assessment) คือ ไมNตnองรอใหnผูnสอนเปsนผูnประเมิน แตNผูnเรียนประเมินตนเอง

ทันที แทนที่แบบเดิมทีเ่ ปนs การประเมินเชงิ รับ (Passive assessment) คอื ตnองรอใหผn ูnสอน
เปนs ผูnประเมิน ทำใหเn สยี โอกาสการเรียนรูโn ดยไมจN ำเปนs

การประเมินเชิงรกุ ประเมินตนเองทันที เพ่มิ โอกาสการเรียนรEู
(Active assessment) รอใหผE Eูสอนประเมิน เสยี โอกาสการเรียนรูE

การประเมนิ เชงิ รบั
(Passive assessment)

ภาพประกอบที่ 4 การประเมนิ เชิงรกุ และการประเมนิ เชิงรบั

การประชุมวชิ าการพระพุทธศาสนาและศิลปวัฒนธรรมระดับชาติและนานาชาตคิ รงั้ ที่ 2 277

Growth mindset ของการประเมินใน New normal มีความแตกตNางจาก
Mindset การประเมนิ ท่ผี Nานมาดังน้ี

Mindset การประเมินทีผ่ าg นมา Growth mindset
ของการประเมนิ ใน New normal

- การประเมินคือการพิสูจนOวQาผูEเรียนมีความรูE - การประเมินคือการตรวจสอบคุณภาพ

ความสามารถมากนอE ยเพียงใด ของผูEเรียนวQามีสิ่งใดที่ตEองปรับปรุงและ

พฒั นา

- ผลการประเมินไมสQ ามารถแกไE ขใหEดีขึน้ ไดE - สามารถแกEไขผลการประเมินไดEเม่ือ

ผูEเรยี นมศี ักยภาพทสี่ ูงข้นึ

- มุQงเนEนการประเมินแลEวนำไปเปรียบเทียบ - มุQงเนEนการประเมินแลEวนำไปตรวจสอบ

กบั คนอ่ืน ตนเอง

- ประเมินแลEวก็แลEวกัน - ประเมนิ แลวE ตอE งนำไปพัฒนา

- ประเมินไมQผQานสามารถซอQ มไดE - ประเมนิ ผQานกส็ ามารถซอQ มไดE

- ประเมนิ ครัง้ เดยี วเลิก - ประเมินไปเร่อื ย ๆ

สิ่งทnาทายความคิดที่จะนำไปสูN Growth mindset ของการประเมินใน New
normal คือ การเปãดโอกาสใหnผูnเรียนทุกคนสามารถปรับปรุงและพัฒนาตนเองจากผลการ
ประเมินที่ผNานมาไดnแบบไมNมีเงื่อนไข จนกวNาผูnเรียนบรรลุเปûาหมายของตนเอง เพราะการ
เรยี นรูnเปนs ของผูnเรยี น ไมใN ชขN องผสnู อน

ความสำคัญของการประเมินตนเองใน New normal การประเมินตนเองของ
ผูเn รียน จะเปsนวิธีการหลกั ของการประเมินการเรยี นรูnใน New normal เนอ่ื งจากการเรียนรnู
ใน New normal ผูnเรียนจะมี Platform ในการเรียนรูnที่หลากหลายมากขึ้น มีทางเลือกใน
การเรียนรูnมากขึ้น ดnวยเหตุนี้การประเมินโดยผูnสอนฝÆายเดียวจะไมNสามารถตอบสนองการ
เรียนรูnที่หลากหลายของผูnเรียนไดn และไมNมีสารสนเทศอยNางเพียงพอ ในการนำมาออกแบบ
การจัดการเรยี นรไnู ดnอยNางมปี ระสิทธภิ าพ จงึ ตอn งใชกn ารประเมนิ ตนเองของผเnู รียนเขnามาชNวย

การประเมินตนเองของผูnเรียน มีจุดเนnนคือ การใหnผูnเรียนใชnการประเมินตนเอง
เปsนกระบวนการเรียนรูnชนิดหนึ่ง (Assessment as Learning) ผูnเรียนประเมินตนเองเปsน

278 การประชมุ วิชาการพระพทุ ธศาสนาและศลิ ปวัฒนธรรมระดับชาตแิ ละนานาชาตคิ ร้งั ท่ี 2

ระยะ ๆ แลnวเรียนรูnจากผลการประเมินนั้น และแสวงหาแนวทางพัฒนาตนเองตNอไปไมNมีที่
สิ้นสดุ การประเมินตนเองมปี ระโยชนcตอN ผูnเรียนหลายประการดงั น้ี

1) การประเมนิ ตนเองชวN ยกระตนnุ คณุ ลกั ษณะการมวี ินัยในการเรียนรnูของผnเู รยี น
2) ผูnเรียนไดnเรียนรูnวิธีการประเมินตนเอง ซึ่งเปsนเครื่องมือสำคัญในการประกอบ
อาชีพและการดำรงชีวิตในอนาคตเพราะตnองใชnการประเมินเปsนเครื่องมือสำหรับการพัฒนา
อาชีพและคณุ ภาพชีวิต
3) ผูnเรียนไดnฝ∞กทักษะการสะทnอนคิดและการตั้งคำถามเกี่ยวกับการเรียนรูnของ
ตนเอง และพยายามตอบคำถามนั้นดnวยตนเองและนำไปสูNการเปลี่ยนแปลงความคิดและ
พฤตกิ รรมการเรียนรnู (Transform) ตอN ไป
4) ผูnเรียนไดnใชnผลการประเมินตนเองในการกำหนดเปûาหมายการเรียนรnู
ที่เหมาะสมกับระดับความสามารถของตนเองกำกับตนเองไปสูNเปûาหมายและพัฒนาตNอยอดไป
อยNางตอN เนอ่ื ง
5) การประเมินตนเองชNวยกระตุnนใหnผูnเรียนสะทnอนผลการเรียนรูnและทบทวนสิ่งที่
ไดnเรียนรูn สิ่งที่ทำไดnดี สิ่งที่ควรปรับปรุงกำหนดเปûาหมายและวิธีการปรับปรุงดnวยตนเอง และ
นำไปสูNการปฏิบัติในลักษณะวงจรการเรียนรูnและพัฒนา (Learning and Development
Cycle) ทเ่ี ปนs รากฐานของคุณลักษณะบุคคลแหงN การเรียนรnู
บทบาทของผูnสอนสำหรับการประเมินการเรยี นรnูใน New normal
บทบาทของผูnสอน สำหรับการประเมินการเรียนรูnใน New normal เปsนบทบาท
ที่สNงเสริมใหnผูnเรียนสามารถประเมินตนเองไดnอยNางมีคุณภาพและเกิดการเรียนรูnจากการ
ประเมนิ ดังนี้
1) สรnางบรรยากาศความไวnเนื้อเชื่อใจ (Trust) ในการประเมินตนเอง ที่ทำใหn
ผเnู รยี นรูสn กึ ปลอดภยั ที่จะประเมนิ ตนเองตามขnอมลู ท่เี ปนs จรงิ
2) กระตุnนผูnเรียนใหnเห็นคุณคNาของการประเมินตนเองในฐานะที่เปsนเครื่องมือ
สำคัญของการเรยี นรูn ทมี่ ิใชเN พยี งแคNการตัดสินผลการเรียนรูn
3) อำนวยความสะดวกดnานเครื่องมือประเมินที่ผูnเรียนอาจจะตnองใชnเปsนแนวทาง
หรือหลักเกณฑcในการประเมินตนเอง ซึ่งเครื่องมือประเมินที่มีคุณภาพ จะเปsนป~จจัยสนับสนุน
ใหผn nูเรียนสามารถสะทnอนคดิ และถอดบทเรยี นจากการประเมนิ ตนเองไดnดขี ้ึน

การประชมุ วชิ าการพระพทุ ธศาสนาและศิลปวัฒนธรรมระดบั ชาติและนานาชาติครั้งท่ี 2 279

4) ตรวจสอบผลการประเมินตนเองของผูnเรียนแลnวใหnขnอมูลยnอนกลับเกี่ยวกับ
คุณภาพของการประเมินตนเอง ทั้งในแงNกระบวนการประเมินตนเอง ผลการประเมินตนเอง
ตลอดจนการปรับปรงุ และพฒั นาตนเองจากผลการประเมนิ

5) เปãดโอกาสใหnผูnเรียนไดnแลกเปลี่ยนเรียนรูnผลการประเมิน การสะทnอนคิดและ
ถอดบทเรยี นกับเพื่อนรNวมชั้นเรยี น เพ่ือใหผn nเู รียนไดเn รียนรูnรNวมกันมากขึน้

การประเมินการเรียนรูnใน New normal มุNงเนnนการใชnวิธีการประเมินตนเองเพื่อ
พัฒนาการเรียนรูn (Self-assessment for improvement) เพื่อพัฒนาผูnเรียนใหnมี
ความสามารถในการประเมินตนเองซึ่งเปsนจุดเนnนของการประเมินการเรียนรูnใน New
normal

ผูnสอนเปãดโอกาสใหnผูnเรียนประเมินตนเองในลักษณะของการประเมินเชิงรุก
(Active assessment) ที่เปsนการประเมินตนเองทันทีเมื่อมีการเรียนรูnเกิดขึ้น แทนที่การ
ประเมินเชิงรับ (Passive assessment) ที่ตnองรอใหnผูnสอนประเมิน ทำใหnเสียโอกาสการ
เรียนรูn บทบาทผูnสอนยังคงมีความสำคัญ โดยตnองจัดเตรียมเครื่องมือการประเมินตNาง ๆ
ที่มีคุณภาพ เพื่อใหnผูnเรียนไดnใชnในการประเมินตนเอง อีกทั้งยังตnองใหnขnอมูลยnอนกลับตNอ
คุณภาพของการประเมินตนเองของผูnเรียน เพื่อใหnผูnเรียนสามารถประเมินตนเองไดnถูกตnอง
ตามความเปนs จริงไดมn ากขน้ึ

บทสรปุ

แนวทางการจัดการเรียนรูnสังคมศึกษา ในยุค New normal คือ การออกแบบ
การเรียนรูnใหnมีความหลากหลาย ผูnเรียนทุกคนมีพื้นที่การเรียนรูnของตนเองในลักษณะ
Personalized learning ผูnสอนเปãดพื้นที่การเรียนรูnอันมีคุณคNาใหnกับผูnเรียน แทนการ
ครอบครองไวnที่ตนเองแตNเพียงผูnเดียว เปsนความปรกติใหมNที่ผูnเรียนมีชNองทางและพื้นที่ของ
การเรียนรูnที่หลากหลายมากขึ้น ใชnศักยภาพในการเรียนรูnของตนเองไดnมากขึ้นภายใตnการมี
วินัยในตนเองทำใหnผูnสอนตnองเรียนรูnและปรับตัวใหnสอดรับกับ ความเปsน New normal
ในหลาย ๆ ดnานโดยเฉพาะอยNางยิ่งการนnอมนำปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มาใชnในการ
จัดการเรียนรูnอยNางจริงจังเพื่อการพัฒนาผูnเรียนอยNางยั่งยืน ตnองอาศัยป~จจัยหลายประการ
เกื้อหนุนกัน เชNน ความรูnและความสามารถดnานวิชาชีพครู ความรูnทางดnานเนื้อหาสาระ

280 การประชมุ วิชาการพระพุทธศาสนาและศลิ ปวัฒนธรรมระดบั ชาตแิ ละนานาชาตคิ รัง้ ท่ี 2

ทักษะทางดnานเทคโนโลยีของผูnสอน สิ่งที่ผูnสอนควรใหnความสำคัญ ใหnความใสNใจ และ
นำไปใชnในการออกแบบกิจกรรมการเรียนรูn ภายใตnบริบทการเรียนรูnในภาวะปกติใหมNหรือ
New normal ควรมุNงเนnนการใชnวิธีการประเมินตนเองเพื่อพัฒนาการเรียนรูn
(Self -assessment for improvement) ผูnเขียนหวังวNาบทความนี้จะเปsนประโยชนcในการ
พัฒนาการศึกษาของประเทศไทย ใหnดียิ่งขึ้นโดยครูและผูnเรียนเขnาใจในการเปลี่ยนแปลง
บทบาทของตนเองเพื่อพัฒนากระบวนการเรียนรูnใหnบรรลุเปûาหมายของหลักสูตร
เพอ่ื สนองตอบตNอยุทธศาสตรcชาติ

บรรณานกุ รม

กระทรวงศึกษาธิการ. (1 มีนาคม 2551). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พุทธศักราช 2551. สืบคnนเมื่อวันที่ 18 สิงหาคม 2563, แหลNงที่มา
http://www.mengrai.ac.th/E-booktrain/sara.doc.

กุลวดี ทองไพบูลยc. (30 มิถุนายน 2557). เขnาใจเด็กยุคใหมNเพื่อการเลี้ยงลูกใหnดีขึ้น. สืบคnน
เมื่อ 18 สิงหาคม 2563, แหลNงที่มา https://th.theasianparent.com/เขnาใจ
เดก็ ยุคใหม-N generation-z-

เกษม วัฒนชัย. (2553). การเรียนรูnที่แทnและพอเพียง (พิมพcครั้งที่ 7).กรุงเทพมหานคร :
สำนักพมิ พมc ติชน.

พระพรหมคุณาภรณc (ป.อ.ปยุตโต). (2555). พุทธธรรมฉบับปรับขยาย (พิมพcครั้งที่ 35).
กรงุ เทพมหานคร : สำนักพมิ พผc ลธิ ัมมc.

วิชัย วงษcใหญN และ มารุต พัฒผล, (2558). จากหลักสูตรแกนกลางสูNหลักสูตรสถานศึกษา :
กระบวนทัศนcใหมกN ารพัฒนา. กรุงเทพมหานคร : จรัลสนทิ วงศกc ารพิมพc.

วรวิทยc นิเทศศิลป≤. (2560) การบูรณาการการเรียนการสอนดnวยวิธีการทำนุบำรุง
ศ ิ ล ป ว ั ฒ น ธ ร ร ม ท n อ ง ถ ิ ่ น ล n า น น า Woravit nithedsilp. An Integrated
Instruction with Art and Cultural Preservation for Lanna Community.
TCI1 วารสารวิชาการธรรมทรรศนc. 285-295

การประชุมวิชาการพระพทุ ธศาสนาและศิลปวฒั นธรรมระดับชาติและนานาชาตคิ ร้งั ท่ี 2 281

สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสรnางเสริมสุขภาพ. (2561). เทคนคิ การดื่มนำ้ เพอ่ื สุขภาพ.
สืบคนn 21 มิถนุ ายน 2563, แหลงN ท่ีมา www.thaihealth.or.th/Content/
42611-เทคนคิ การด่มื นำ้ เพอ่ื สขุ ภาพ.html

สุรพล อิสรไกรศีล. (2563). ราชบัณฑิตบัญญัติศัพทcคำวNา New normal. สืบคnนเมื่อ 18
สงิ หาคม 2563, แหลNงทมี่ า https://workpointtoday.com/-new-normal.

Sackstein, Atarr. ( 2 0 1 5 ) . Teaching Students to Self-Assess : How Do I Help
Students Reflect and Grow as Learners Alexandria, VA: ASCD

Nye, Jr. Joseph S. (2004). Soft Power: The Means to Success in World Politics.
New York : Public Affairs, 2004.

Decaroli , J. ( 1973) . “What Research Say to the Classroom Teacher : Critical
Thinking”. Social Education.

Dewey , J . (1933). How We Think. New York: Health and Company, 1933.
Dressel, P.L. ( 1957) . & Mayhew, L.B. General Education: Explorations in

Evaluation. 2nd ed.Washington, D.C.: American Council on Education.
Feely, A.J. ( 1976) . Argumentation and Debate : Rational Decision Making. 2d

ed. Belmont : Wadsworth Publishing Co., Inc.
Gagne′, R. M. ( 1 9 8 5 ) . The Conditions of Learning and Theory of Instruction.

New York: CBS College Publishing.

282 การประชมุ วชิ าการพระพทุ ธศาสนาและศลิ ปวฒั นธรรมระดบั ชาติและนานาชาติครงั้ ที่ 2

การจัดสวสั ดิการทางสังคมตามแนวพระพทุ ธศาสนาในจงั หวัดเพชรบรู ณ=
Social Welfare Management Based
on Buddhismin Phetchabun Province

พระครปู ริยตั ิพชั รธรรม
Phrakhrupariyatphatcharatham

มหาวิทยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลัย วทิ ยาลยั สงฆพ5 7อขนุ ผาเมอื ง เพชรบูรณ5
Mahachulalongkornrajavidyalaya University, Phokhunphamueang Buddhist College

Email : [email protected]

บทคัดยWอ

การศึกษาเรื่องการจัดสวัสดิการทางสังคมตามแนวพระพุทธศาสนาในจังหวัด
เพชรบูรณB มีวัตถุประสงคBเพื่อ 1) ศึกษาการจัดสวัสดิการทางสังคมตามแนว
พระพทุ ธศาสนาในจงั หวดั เพชรบรู ณB 2) พฒั นากจิ กรรมการจดั สวสั ดกิ ารทางสงั คมตามแนว
พระพุทธศาสนาของวัดในจังหวัดเพชรบูรณB 3) เสนอรูปแบบการจัดสวัสดิการทางสังคม
ตามแนวพระพุทธศาสนาของวัดในจังหวัดเพชรบูรณB การวิจัยครั้งนี้เปOนการวิจัยแบบ
ผสมผสาน ทั้งวิจัยในเชิงเอกสาร (Documentary Research) และการวิจัยเชิงคุณภาพ
(Qualitative Research) ในภาคสนาม โดยใชgวิธีเก็บรวบรวมขgอมูลทั้งในเชิงเอกสารและ
คุณภาพจาก พระไตรปjฎก เอกสาร และงานวิจัยที่เกี่ยวขgอง โดยรวบรวมขgอมูลจากการ
สัมภาษณB ซึ่งไดgทำการสัมภาษณBกลุnมเปoาหมาย 2 กลุnม ไดgแกn 1) ตัวแทนของวัดในชุมชน
2) ประชาชนในชุมชน รวมทั้งสิ้น 30 รูป/คน นำเสนอผลการศึกษาโดยใชgวิธีพรรณนา
วิเคราะหจB ากการสมั ภาษณB

ผลการศึกษา การจัดสวัสดิการสังคมตามแนวทางพระพุทธศาสนาในจังหวัด
เพชรบูรณB เปOนหนgาที่ภาครัฐโดยรnวมมือกันของวัดและชุมชนที่จะตgองทำตามหลักนโยบาย
ไดgแกn 1) การจัดการใหgสวัสดิการทางสังคมในการใหgความชnวยเหลือแกnพระสงฆBและ
ชาวบgานไดg 2) การไดgมีสnวนรnวมในการสnงเสริมใหgมีการจัดกิจกรรมทางสังคมเพื่อใหgเกิด
สวัสดิการสังคมแกnวัดและชุมชนของวัดกับชุมชนของวัดเกี่ยวกับการจัดสวัสดิการทางสังคม

การประชมุ วชิ าการพระพุทธศาสนาและศลิ ปวฒั นธรรมระดับชาติและนานาชาติครง้ั ท่ี 2 283

3) มีการพัฒนาความรnวมมือในการรnวมกลุnมการจัดกิจกรรมระหวnางวัดกับชุมชนและหนnวย
ราชการที่เขgามาชnวยเหลือและพัฒนากิจกรรมที่ทำใหgสวัสดิการสังคมเกิดขึ้นระดับจังหวัด
และองคBกรทางดgานวฒั นธรรม

ผลการศึกษา รูปแบบการมีสnวนรnวมของวัดและชุมชนในการจัดสวัสดิการทางสังคม
ไดgแกn 1) การใหgความรูgดgานสวัสดิการทางสังคมแกnพระสงฆBและชุมชนวัด 2) การจัดการทำ
กิจกรรมรnวมกันของพระสงฆBและชุมชนวัด เปOนกระบวนการใหgประชาชนเขgามามีสnวนเกี่ยวขgอง
ในการจัดการ ดำเนินงาน และพัฒนา เปOนกระบวนการที่ตnอเนื่อง การสnงเสริมการมีสnวนรnวมจึง
จำเปOนตgองใหgความสำคัญกับลำดับและขั้นตอน และความเชื่อมโยง และ 3) การสรgางเครือขnาย
การจัดกิจกรรมของการจัดสวัสดิการทางสังคม โดยการกำหนดแนวทางใหgเครือขnายวัด และ
ชุมชนทำหนgาที่อยnางมีขอบเขตที่จำกัด เครือขnายวัด เปOนเครือขnายทำ เนgนกระบวนการลงมือ
ทำงานดวg ยขอบเขต และขgอบงั คับทม่ี อี ยาn งจำกัด

คำสำคญั : การจัดสวัสดกิ าร, พัฒนากิจกรรม, รปู แบบ, พระพุทธศาสนา

Abstract

The study of social welfare management based on Buddhism in
Phetchabun Province consists of 3 objectives: 1) to study the social welfare
arrangement according to Buddhism in Phetchabun Province, 2) to develop
social welfare activities according to the Buddhism of the temple in
Phetchabun Province and 3) to propose the social welfare model in
accordance with the Buddhism concept of temples in Phetchabun Province.
This research comprises a combination of both documented and qualitative
research using document-based and quality data collection methods from
the Tripitaka and related research. The data were collected from interviews
from two groups: 1) representatives of the temple in the community and 2)
30 people in the community.

284 การประชุมวิชาการพระพทุ ธศาสนาและศิลปวฒั นธรรมระดบั ชาตแิ ละนานาชาติครงั้ ที่ 2

The results showed that the social welfare of Buddhism in
Phetchabun province was a government-run task of the temple and
the community to follow the policy, namely: 1) Managing social welfare to
provide assistance to monks and villagers, 2) to participate in the promotion
of social activities to provide social welfare activities to the temple and the
community of the temple with the temple's community concerning social
welfare and 3) the development of cooperation in the activities of the temple
and the community and the government agencies that contribute to social
welfare activities in the temple and cultural organizations.

The results of the study on the pattern of participation of temples
and communities in social welfare arrangements were as follows: 1) Social
welfare education for monks and temple communities. 2) organizing activities
together for the monks and the temple community It is a process for people
to be involved in management, operation and development as a continuous
process, promotion of participation, it is necessary to focus on sequence and
steps and connections and 3) constructing networks, organize social welfare
activities by guiding measure networks and communities to function with
limited scope, metric networks focus on action processes with limited scope
and regulations.

Keywords : Welfare arrangements, Development activities, Buddhist patterns

บทนำ

สวัสดิการทางพระพุทธศาสนานั้นเปOนสวัสดิการที่เหนือจากโลกธรรมดาสามัญ
ชนทั่วไปที่บุคคล ทั้งหลายมอบใหgกัน เจgาชายสิทธัตถะก็ไดgรับสวัสดิการเชnนเดียวกันกับ
มนุษยBทั่วไป แตnพระองคBทรงมีความประสงคBที่จะใหgมนุษยBมีสวัสดิการในการดำเนินชีวิตที่ดี
กวnาเดิม เพราะการดำเนินชีวิตตามหลักสวัสดิการของมนุษยBทั่วไป เปOนหลักสวัสดิการที่ไมn

การประชุมวชิ าการพระพุทธศาสนาและศลิ ปวฒั นธรรมระดับชาตแิ ละนานาชาตคิ รัง้ ที่ 2 285

ยั่งยืนมีการเปลี่ยนแปลงอยูnเสมอ ซึ่งประกอบดgวยสวัสดิการที่ดีถูกใจและสวัสดิการที่ไมnดีไมn
ถูกใจ เจgาชายสิทธัตถะมีความมุnงมั่นที่จะทรงคgนหาหลักสวัสดิการของมนุษยBที่เปOนหลัก
สวัสดิการที่ดีและถูกใจพรgอมกับเปOนหลักสวัสดิการที่มีความมั่นคงและยั่งยืนตลอดไป
พระองคBจึงทรงสละราชสมบัติพรgอมสวัสดิการตnาง ๆ ของพระองคBที่ควรจะไดgรับ เพื่อออก
คgนหาสวัสดิการที่ยั่งยืน ในที่สุดพระองคBก็ทรงคgนพบสวัสดิการที่ยั่งยืน กลnาวคือ พระ
นิพพาน ซึ่งเปOนสวัสดิการอันสูงสุดในพระพุทธศาสนาที่ทุกคนควรจะไดgรับดgวยการศึกษา
คgนควgาดgวยตนเองตามหลกั อตฺตา หิ อตตฺ โน นาโถ ตนเปOนพ่งึ แหงn ตนเปนO หลกั

ในสมัยพุทธกาลเหลnาพุทธบริษัทไดgมีการอุปถัมภBค้ำจุน ชnวยเหลือเกื้อกูลซึ่งกัน
และกันมาโดยตลอด ดังมีพุทธพจนBที่ปรากฏอยูnในพหุการสูตรที่บอกวnา “ภิกษุทั้งหลาย
คฤหัสถB และบรรพชิตทั้งหลาย ตnางอาศัยซึ่งกันและกัน ประพฤติพรหมจรรยB เพื่อการสลัด
โอฆะออกใหไg ดg เพอื่ ทำท่ีสดุ แหnงทกุ ขBโดยชอบ”(ข.ุ อิติ. (ไทย) 25/107 /2862)

กลnาวคือ ประชาชนทำการอุปถัมภBบำรุงพระสงฆBดgวยอามิสทานหรือปëจจัย 4 คือ
จีวร บิณฑบาต เสนาสนะ และคิลานปëจจัยเภสัชบริขาร สnวนพระสงฆBก็ใหgธรรมทานแกnประชาชน
ดวg ยการแสดงธรรมอนั งามในเบื้องตgน อันงามในทาn มกลาง และธรรมอันงามในที่สดุ

ปëจจุบันสังคมโลกมีการเปลี่ยนแปลงอยูnตลอดเวลา จึงกnอใหgเกิดปëญหาสังคม และ
ทำใหgสังคมไดgรับผลกระทบตามมาอยnางมากมาย ไมnวnาจะเปOนเรื่องปëญหาของสภาพความ
เปOนอยูn ความยากจน ปëญหาทางดgานแรงงาน ดgานเศรษฐกิจ สังคม จิตใจ วัฒนธรรม
สิ่งแวดลgอม ฯลฯ จึงทำใหgเกิดความเสี่ยงทั้งทางภาครัฐและเอกชน ดังนั้นชุมชนที่เปOนฐาน
รากของสังคมจึงไดgมีการนำเอาการจัดสวัสดิการในรูปแบบตnาง ๆ เขgามาใชgในการ
ดำเนินการ เพื่อเปOนการรักษา และดำรงไวgซึ่งความเปOนน้ำหนึ่งใจเดียวกัน ความสามัคคี
ความเปOนปïกแผnน ความเอื้ออาทร ความเกื้อกูลของผูgคนที่อาศัยอยูnรnวมกันในสังคม อีกทั้ง
ยังทำใหgครอบครัวประสบกับความสุข มีคุณภาพชีวิตที่ดี พึ่งพาตนเองไดgและสรgางความ
เขgมแข็งใหgกับชุมชน โดยไดgมีการนgอมนำเอาหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงขององคB
พระบาทสมเด็จพระเจgาอยูnหัวภูมิพลอดุลยเดชฯ ที่ไดgทรงพระราชทานใหgกับพสกนิกรของ
พระองคBซึ่งเปOนปรัชญาของการดำเนินชีวิตที่มุnงสรgางใหgเกิดความสมดุลของชีวิตและไมnใหg
ตั้งอยูnในความประมาท ทำใหgพสกนิกรไดgอาศัยอยูnรnวมกันอยnางมีความสุข อันมีกระบวนการ
ดำเนินการที่สอดคลgองกับประเพณี วัฒนธรรม ภูมิปëญญาทgองถิ่น มีการใชgหลักการทาง

286 การประชมุ วชิ าการพระพุทธศาสนาและศิลปวัฒนธรรมระดบั ชาติและนานาชาติครั้งที่ 2

ศาสนา คำนึงถึงการมีสnวนรnวมของคนในชุมชน และมีความสอดคลgองกันในเรื่องของการ
ดูแลรักษาสุขภาพทั้งทางรnางกาย จิตใจ อารมณB สังคม และสติปëญญาของมนุษยB ที่จะ
สามารถดำรงตนใหgอยูnในสงั คมไดgเปOนอยาn งดี และมคี วามสุข

จังหวัดเพชรบูรณB มีภูมิประเทศอยูnในรอยตnอของภาคเหนือตอนลnาง ภาคกลาง
ตอนบนและมีสnวนหนึ่งของภาคอีสานตะวันตก ซึ่งมีวัดที่มีประวัติความเปOนมาอยnาง
ยาวนาน และไดgมีการจัดกิจกรรมครอบคลุมทั้ง 6 ดgานตามพระราชบัญญัติคณะสงฆB พ.ศ.
2505 ไดgเปOนอยnางดีมีความตnอเนื่องและเปOนประโยชนBตnอประชาชน รวมถึงครอบครัวตnาง
ๆที่ไดgอาศัยอยูnในเขตพื้นท่ี รอบ ๆ วัด ทั้งในรูปแบบของการชnวยเหลือเกื้อกูลซึ่งกันเกิดการ
พึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกัน และวัดยังเปOนแหลnงเรียนรูgทางดgานพระพุทธศาสนา
ศิลปวัฒนธรรม และยังเปOนสถานที่ทnองเที่ยวเชิงวัฒนธรรมที่สำคัญของจังหวัดอีกดgวย
นอกจากนี้แลgวทางวัดยังไดgใหgความรnวมมือกับทั้งทางภาครัฐและเอกชนในการจัดทำ
กิจกรรมรnวมกันอยnางหลากหลาย โดยเฉพาะอยnางยิ่งวัดบางวัดในพื้นที่ของจังหวัด
เพชรบูรณB ไดgมีการจัดสวัสดิการในรูปแบบตnาง ๆใหgกับประชาชนและชุมชน เพื่อเปOนการ
สรgางหลักประกันในดgานของความมั่นคงในชีวิตของประชาชน มีความเอื้ออาทร มีการ
สงเคราะหBชวn ยเหลอื เก้ือกูลซง่ึ (พระธรรมปjฎก (ป.อ.ปยตุ โต), พจนานุกรมพุทธศาสตรB ฉบับ
ประมวลธรรม,หนkา 146.) กันและกัน ความมีน้ำใจ มีมิตรไมตรีที่ดีตnอกัน ฯลฯ สวัสดิการที่
ทางวัดไดgมีการจัดไวg เชnน การจัดสวัสดิการใหgกับผูgสูงอายุ ใหgทุนการศึกษาแกnเด็กนักเรียน
พระภิกษุ สามเณร อบรมการปฏิบัติธรรมเสริมสรgางคุณธรรมและจริยธรรมใหgกับเยาวชน
และประชาชนทั่วไป การสnงเสริมรายไดg และการสรgางอาชีพใหgกับประชาชน ดgานการทำ
ประโยชนBเพื่อสังคม เปOนตgน เปOนการชnวยเหลือเกื้อกูลซึ่งกันและกันระหวnางวัดกับชุมชน
และมีภาคสnวนตnาง ๆ ไดgเขgามามีสnวนรnวมในการจัดสวัสดิการตาn ง ๆดังกลnาวนั้นดgวยนับไดgวnา
การจัดสวัสดิการที่ทางวัดไดgจัดทำขึ้นมานั้น สามารถที่จะเปOนตัวอยnางใหgกับวัดตnาง ๆ ที่มี
ความสนใจ ในการที่จะนำไปเปOนแบบอยnางในการพัฒนา และสnงเสริมการจัดสวัสดิการ
ใหกg ับชมุ ชนนนั้ ๆ ไดg

จากเหตุผลดังกลnาวขgางตgน ผูgวิจัยจึงสนใจที่จะศึกษาถึงการจัดสวัสดิการสังคม
ของวัดในพื้นที่จังหวัดเพชรบูรณB โดยจะทำการศึกษาที่มุnงเนgนในทุกดgานที่ไดgมีการจัด
สวัสดกิ ารใหgกับประชาชนและชุมชนในพ้ืนที่ วาn มีรายละเอียดในการจดั สวสั ดกิ ารชุมชนเปนO

การประชุมวชิ าการพระพทุ ธศาสนาและศิลปวัฒนธรรมระดับชาติและนานาชาติครัง้ ที่ 2 287

อยnางไร ดังนั้น ผูgวิจัยมีความประสงคBที่จะนำการจัดสวัสดิการในทางพระพุทธศาสนาใน
จังหวัดเพชรบูรณBซึ่งเปOนสวัสดิการที่มีความยั่งยืนตnอตนเอง ผูgอ่ืนและสังคม ดังมี
วตั ถปุ ระสงคBดังตnอไปนี้

วัตถปุ ระสงค=

1) เพื่อศึกษาการจัดสวัสดิการทางสังคมตามแนวพระพุทธศาสนาในจังหวัด
เพชรบรู ณB

2) เพื่อพัฒนากิจกรรมการจัดสวัสดิการทางสังคมตามแนวพระพุทธศาสนาของ
วดั ในจงั หวดั เพชรบรู ณB

3) เพื่อเสนอรูปแบบการจัดสวัสดิการทางสังคมตามแนวพระพุทธศาสนาของ
วดั ในจังหวัดเพชรบูรณB

ระเบยี บวธิ ีวจิ ัย

ผgูวจิ ัยไดgทำการศึกษาในครง้ั นม้ี ีขอบเขตดงั นี้
1) ศึกษาคgนควgาปëจจัยที่เปOนสาเหตุและสภาพปëญหาที่มีผลกระทบตnอการจัด
สวัสดิการสังคมตามแนวพระพุทธศาสนาในจังหวัดเพชรบูรณBโดยทำการสัมภาษณBพระภิกษุ
อุบาสก อบุ าสกิ าในชมุ ชนในจังหวดั เพชรบรู ณB
2) ศึกษาหลักธรรมในคัมภีรBพระไตรปjฎกภาษาไทยฉบับมหาจุฬาลงกรณราช
วิทยาลัย 2539 รวมเนื้อหาในหนังสือธรรมของพระพรหมคุณาภรณB (ป.อ.ปยุตฺโต) ฉบับ
ปรับปรุงและขยายความจากหนังสือเอกสารการใหgบริการสวัสดิการสังคมสงเคราะหB
พระภิกษุ อุบาสก อุบาสิกาในชุมชนในจังหวัดเพชรบูรณB รายงานวิจัยและวิทยานิพนธBที่
เกี่ยวขgองซึ่งเปOนแนวทางการสnงเสริมการแกgไขปëญหาและการพัฒนาการคุณภาพชีวิตของ
ประชาชนใหgสามารถดำรงอยnใู นสงั คมไดอg ยาn งมีความสุข
3) ศึกษาวิเคราะหBการนำหลักธรรมที่เกี่ยวขgองไปใชgแกgไขปëญหาชีวิตและการอยูn
รnวมกนั ของประชาชนและการรจูg ักนำหลกั ธรรมไปใชgในชวี ติ ประจำวัน

288 การประชุมวิชาการพระพุทธศาสนาและศิลปวัฒนธรรมระดับชาติและนานาชาตคิ รั้งที่ 2

ขอบเขตพ้นื ท่ี
ไดgทำการรวบรวมขgอมูลจากแหลnงขgอมูลโดยตรงจังหวัดเพชรบูรณB เพื่อใหgไดg
ขgอเท็จจริงตรงตามสภาพที่เปOนอยูnในปëจจุบันโดยไดgใชgพื้นที่ในจังหวัดเพชรบูรณB 4 อำเภอ
มีอำเภอเมืองเพชรบูรณB 2 วัด คือไดgแกn วัดเทพสโมสร ตำบลทnาพล อำเภอเมือง จังหวัด
เพชรบูรณB และ วัดดงมูลเหล็ก ตำบลดงมูลเหล็ก อำเภอเมือง จังหวัดเพชรบูรณB อำเภอ
หลnมเกnา 1 วัด ไดgแกn วัดศรีฐานปjยาราม ตำบลวังบาล อำเภอหลnมเกnา จังหวัดเพชรบูรณB
อำเภอหลnมสัก 1 วัด ไดgแกn วัดศรีภูมิ ตำบลบgานติ้ว อำเภอหลnมสัก จังหวัดเพชรบูรณB
และอำเภอเขาคgอ 2 วัด ไดgแกn วัดราชพฤกษB ตำบลหนองแมnนา อำเภอเขาคgอ จังหวัด
เพชรบูรณB และวัดทุnงสมอ ตำบลทงุn สมอ อำเภอเขาคอg จังหวดั เพชรบรู ณB
ขอบเขตดFานประชากร
กลุnมตัวอยnางประชาชนมีพระภิกษุ และฆราวาส แตnละวัดจำนวน 5 รูป/คน
มีพระภิกษุ 1 รปู ฆราวาส 4 คน รวมกลnุมเปาo หมายทั้งหมด 30 รปู /คน

ผลการวจิ ัย

สรุปผลการวิจัย แนวคดิ การจดั สวสั ดกิ ารทางสังคมตามแนวพระพทุ ธศาสนาใน
จังหวัดเพชรบรู ณB
4 ประเด็น ดงั นี้

1. เปOนการจัดสวัสดิการที่ยังไมnมีรูปแบบที่ชัดเจน อาศัยหลักของคุณธรรม และ
จริยธรรมโดยเนgน ประโยชนBในดgาน 1) ประโยชนBสnวนตน 2) ประโยชนBสnวนรวมหรือเพื่อ
ผอgู ่นื และ 3) ประโยชนสB ูงสดุ เพ่ือบรรลุมรรค ผล และนิพพาน

2. หลักธรรมที่สัมพันธBกับการจัดสวัสดิการสังคมไดgแกn 1) อธิปไตย 2) พรหม
วหิ าร 4 3) อคติ 4 4) ราชธรรม 10 และ 5) วัตถใุ นการบญั ญัตพิ ระวนิ ัย 10

3. หลักการสงเคราะหBอัตถะ (ประโยชนB) มี 3 ประการ ไดgแกn (1) ทิฎฐธัมมิกัตถะ
เปOนวิธีสงเคราะหBใหgบุคคลไดgมาซึ่งปëจจัยสี่ท่ีจำเปOนตnอการดำรงชีวิตไดgอยnางพอเพียงเปOน
การ สงเคราะหBตnอปëจเจกบุคคล (2) สัมปรายิกกัตถะ เปOนวิธีการสงเคราะหBเพื่อใหgสังคมมี
ความสงบสุข เปOนการตอบสนองทางดgานสังคม เปOนการมุnงสงเคราะหBเพื่อใหgแกgปëญหา
สังคมโดย สnวนรวม และ (3) ปรมัตถะ เปOนวิธีการสงเคราะหBจิตใจเพื่อใหgบุคคลมีความ

การประชุมวิชาการพระพทุ ธศาสนาและศลิ ปวัฒนธรรมระดบั ชาตแิ ละนานาชาติครั้งท่ี 2 289

มั่นคง มีความสงบสุข เปOนการตอบสนองดgานจิตใจ วิธีนี้เปOนการดับทุกขBทางใจ และดับ
ปญë หาทางกายโดยสิน้ เชงิ

4 หลักการสงเคราะหBที่สัมพันธB กับการจัดสวัสดิการสังคมในพระพุทธศาสนา
มีอยูn 7 ประการ ไดgแกn 1) ตgองคำนึงถึงหลักเหตุผลเปOนสำคัญ พระพุทธศาสนามองวnาส่ิง
ตnาง ๆ ดำเนินไปตามเหตุปëจจัย หรือดำเนินไปอยnางมีเหตุมีผล 2) ตgองยึดหลักทางสาย
กลาง ซึ่งเปOนหลักของการแกgไข ปëญหาทางพระพุทธศาสนาที่สำคัญมาก 3) ตgองยึดหลัก
พึ่งตนเอง การแกgไขปëญหาจึงเปOนเรื่องเหตุผล มนุษยBเปOนผูgลงมือกระทำดgวยตนเอง ๔) ตgอง
เปOนไปอยnางสมดล เปOนการพัฒนาทั้งทางดgานวัตถุ และจิตใจไปพรgอมๆกัน 5) ตgองทำอยnาง
คnอยเปOนคnอยไปตามความเหมาะสม ยึดหลักทางสายกลาง ตgองทำหรือปฏิบัติอยูnอยnางเสมอ
6) ตgองสอดคลgองกับจุดมุnงหมายหลักของชีวิต คือ การดับทุกขBหรือปëญหาไดg และ 7 ตgองไมn
กnอทกุ ขใB หgกบั ทั้งของตนเองและผgูอ่นื

แนวคิดการพัฒนากิจกรรมการจัดสวัสดิการทางสังคมตามแนวพระพุทธศาสนา
ของวัดในจงั หวดั เพชรบูรณB สรปุ ไดg 3 ประเด็นดังนี้

1. ความหมายของการจัดสวัสดิการทางสังคมในปëจจุบัน หมายถึง
การจัดบริการในรูปแบบใดก็ตามที่ทำใหgคนในสังคมมีความเปOนอยูnที่ดี มีความสุข มีความ
มั่นคง มีความปลอดภัย เปOนการมองแบบองคBรวมในการดำรงชีวิต ความเปOนอยูnของคน
สิง่ มชี ีวติ อนื่ ๆ และสง่ิ แวดลอg มที่ ตอg งพึ่งพาอาศยั กัน

2. ลักษณะและรูปแบบของการจัดสวัสดิการทางสังคมในปëจจุบัน ผลการศึกษา
ไดgจำแนกลักษณะของสวัสดิการทางสังคมออก คือ 1) การเตรียมเครือขnายและใหgการ
ชnวยเหลือซึ่งกันและกัน (Mutual Support ) 2) ตอบสนองตnอปëญหา และความตgองการ
ของสังคม 3) มีเอกลักษณBของชุมชนเอง 4) เกิดจากการตรวจสอบเพื่อรับรgูปëญหา และ
รnวมกันแกgไขปëญหาวิกฤติของสมาชิกในชุมชน 5) สั่งสมประสบการณB และเปjดโอกาสใน
การรับใชgสวัสดิการสังคม สnวนรวม จากการกำหนดบทบาทของคนในชุมชนเอง 6) เกิดวิถี
การดำเนินชีวิตของสมาชิกชุมชน 7) สรgางผูgนำมีประสบการณBและมีความสามารถจาก
กระบวนการของชมุ ชน และ 8) สรgางเครือขnายของชุมชน

3 เพื่อเสนอรูปแบบการจัดสวัสดิการทางสังคมตามแนวพระพุทธศาสนาของวัด
ในจังหวัดเพชรบูรณB

290 การประชุมวชิ าการพระพทุ ธศาสนาและศิลปวัฒนธรรมระดับชาติและนานาชาติครัง้ ที่ 2

แนวคิดของการจัดสวัสดิการทางสังคมในปëจจุบัน สรุปไดgวnา การจัดสวัสดิการ
ทางสังคมขององคBกรชุมชน เปOนแนวคิดหนึ่งท่ีทำใหgคนในชุมชนไดgมีสnวยรnวมที่จะ
วางรากฐานในการ พัฒนาสังคม และชุมชนใหgเกิดมีความเขgมแข็ง มีการจัดการอยnางมี
ระบบ เกิดการจัดการที่ดีในทุก ๆ ระดับ โดยการใหgชุมชน และประชาชนมีสnวยรnวมในการ
พัฒนา และเนgนใหgเห็นถึงความสำคัญของความมั่นคงของมนุษยB ทุนทางสังคม และทุนทาง
ชุมชนการมี สnวนรnวมในการจัดสวัสดิการทางสังคม ขององคBกรชุมชน กnอใหgเกิดมีแนวคิด
พื้นฐานจากการออมทรัพยB การผลิต ความเชื่อทางดgานจิตวิญญาณ ฐานทรัพยากร และ
ฐานการพัฒนาสวัสดิการสังคม เปOนสง่ิ ที่จะชnวยทำใหgเกิดความมั่นคงของชุมชน ทำใหgชุมชน
สามารถดำรง ยืนหยัดเปOนตัวของตัวเอง ลดการพึ่งพาภายนอกนำไปสูnการพึ่งตนเองของ
ชุมชนใน มิติอื่น ๆ โดยสรุป คือ แนวคิด แนวทางการจัดสวัสดิการชุมชนไดgมีการริเริ่ม
คิดคgนรูป ตnาง ๆ อยnางหลากหลาย เปOน “สวัสดิการ” ในความหมายที่กวgางขวางครอบคลุม
ถงึ การดำรงชวี ติ ของคน ต้งั แตnเกดิ จนถงึ ตาย

หลักการและแนวคิดในการจัดสวัสดิการทางสังคมตามแนวพระพุทธศาสนาใน
จังหวัดเพชรบูรณB การศึกษาพบวnา การจัดสวัสดิการทางสังคมตามแนวพระพุทธศาสนาใน
จังหวัดเพชรบูรณB ยึดหลักการสำคัญ คือหลักการกระจายสวัสดิการ และรายไดgตnาง ๆ ของ
วัดไปยังชุมชน เพื่อใหgเกิดการพึ่งพิงอาศัยซึ่งกันและกัน เนื่องจากวัดในเพชรบูรณBจะ
สามารถดำรงอยnูไดgก็เพราะชุมชน สงั คม ดังน้ันทางวดั จึงยึดหลักการคืนสวัสดกิ าร ทีด่ กี ลบั สnู
สังคม สnวนลักษณะของการจัดสวัสดิการทางสังคมของวัดในจังหวัดเพชรบูรณB แบnงไดgเปOน
8 ดgานดังนี้ 1) ดgานการสnงเสริมอาชีพและรายไดg 2) ดgานการสnงเสริมการศึกษา 3) ดgานการ
สnงเสริมกิจกรรมสาธารณประโยชน 4) ดgานการดูแลสุขภาพ 5) ดgานการพัฒนาคุณภาพชีวิต
6) ดgานการมีสnวนรวม 7) ดาg นการพฒั นาจิตใจ และ 8) ดgาน ความพงึ พอใจ

อภิปรายผล
1) แนวคิดการมีสnวนรnวมการจัดสวัสดิการทางสังคมตามแนวพระพุทธศาสนา

ในจังหวัดเพชรบูรณB องคBกรจะตgองรวบรวมขgอมูลของปëจจัยที่เกี่ยวขgองที่เหมาะสมกับ
โครงสรgางองคBกรในการดำเนินกิจกรรมใหgมีความคลnองตัว การบริหารบุคคลยังตgองมีการ
เสาะแสวงหาเพื่อทำหนgาที่ในการดูแลปกปoององคBกร พระสังฆาธิการจะตgองมีความรูgและ

การประชมุ วชิ าการพระพทุ ธศาสนาและศลิ ปวัฒนธรรมระดับชาติและนานาชาตคิ รั้งที่ 2 291

ขgอมูลอยnางลึกซึ้ง ที่สามารถนำไปกำหนดการวินิจฉัยสั่งการที่รวดเร็วแมnนยำ และใชg
ระเบียบและระบบที่จัดวางขึ้น พระสังฆาธิการจะตgองพัฒนาระบบของจิตสำนึก
มีความรูgสึกรับผิดชอบตnอพระศาสนาสำหรับการบูรณาการหลักพุทธศาสตรB ที่พระสังฆาธิ
การมีฉันทะใสnใจในการอนุรักษBอยูnเสมอและมุnงมั่น มีวิริยะความขยันหมั่นเพียรในความ
พยายามอดทน มจี ติ ตะความตง้ั ใจ มคี วามกระตอื รอื รนg สอดขgองกับการศึกษาของพระมหา
สุชาติ สุชาโต (สนิทสนม) การประพฤติพรหมจรรยBตามหลักคำสอนพระพุทธศาสนาเปOน
การศึกษาการประพฤติพรหมจรรยBของพระภิกษุในพระพุทธศาสนาตามหลักแหnงไตรสิกขา
ไดgแกn สีลสิกขา จิตตสิกขาและปëญญาสิกขา

2) การมีสnวนรnวมของวัดและชุมชนในการจัดสวัสดิการทางสังคมตามแนว
พระพุทธศาสนาเปOนการใชgและจัดการทรัพยากรทั้งที่เปOนธรรมชาติ และที่มนุษยBสรgางขึ้น
อยnางฉลาดตลอดจนการวางแผนอยnางรอบคอบสำหรับทรัพยากรเหลnานั้น เพื่อบรรลุความ
ตgองการในอนาคตและหมายรวมถึงการปoองกัน การดูแล การรักษา เพื่อใหgคงคุณคnาไวg
จำตgองมีการกำหนดจดุ มุnงหมายในการดำเนนิ งานรวn มกัน

3) เพื่อนำเสนอรูปแบบการมีสnวนรnวมของวัดและชุมชนในการจัดสวัสดิการทาง
สังคมตามแนวพระพุทธศาสนา ตรงกับนโยบายของหนnวยงานตnาง ๆ ตgองการใหg
สถาบันการศึกษาองคBกรตnาง ๆ และชุมชนมีสnวนรnวมในการอนุรักษB ฟü†นฟู มรดกทาง
ศิลปวัฒนธรรมทgองถิ่น โดยใหgจัดกระบวนการเรียนรูgในชุมชน การเพิ่มบทบาทของวัดใน
ดgานการทnองเที่ยวที่ขาดการวางแผนอยnางระมัดระวังเปOนสnวนทำลายเอกลักษณBของวัด
สภาพความเสื่อมโทรมของศิลปะโบราณสถาน ซึ่งขาดการทำนุบำรุงอยnางถูกตgอง และ
ผลกระทบจากสภาวะเปOนพิษของสิ่งแวดลgอมเมือง รวมไปถึงสภาพความแออัดทรุดโทรม
ของชุมชนแวดลgอมวัดมีสnวนทำใหgวัดขาดความงาม บทบาทของวัดที่เคยมีตnอชุมชนใน
ลักษณะสรgางสรรคBมีความสำคัญลดนgอยลง โดยมีสถาบันอื่นมารับหนgาที่แทน สอดขgองกับ
การศึกษาของพระสมร กุสโล (พรมศรี) ปรัชญาการดำรงชีวิตตามหลักปëจจัยสี่ใน
พระพุทธศาสนาเปOนการศึกษาพรหมจรรยBที่เกี่ยวขgองกับชีวิตการครองเรือนหรือ
พรหมจรรยBสำหรับคฤหัสถB ซึ่งกลnาวในเรื่องของเมตตาและสทารสันโดษเพื่อพัฒนาสถาบัน
ครอบครัว เชnน โรงเรียน สภาสังคมสงเคราะหBและบทบาทที่เพิ่มขึ้นในปëจจุบันคือการใชgวัด
เปOนสถานท่ีจอดรถและการใหgบริการทางดgานการฌาปนกิจ จึงกลnาวไดgวnาวัดมีกิจกรรมทาง

292 การประชุมวชิ าการพระพทุ ธศาสนาและศลิ ปวัฒนธรรมระดับชาติและนานาชาตคิ รงั้ ที่ 2

เศรษฐกิจเพิ่มขึ้นและทำใหgเกิดความพรุกพรnาง สับสนภายในบริเวณวัด นอกจากนี้ความ
ประพฤติอันไมnเหมาะสมของสงฆBมีสnวนทำลายภาพพจนBที่ดีของวัดที่มีตnอประชาชน
การศึกษานี้จึงเปOนการศึกษาปëญหาของวัดและชุมชน และไดgใหgขgอเสนอแนะในการ
แกgปëญหาดังกลnาว โดยจัดระดับปëญหาเปOน 2 ระดับคือปëญหาในระดับวัดและปëญหาใน
ระดับชุมชน เสนอใหgปรับปรุงสภาพแวดลgอมทางกายภาพ โดยเนgนการมีสnวนรnวมในการจัด
สวัสดิการทางสังคมตามแนวพระพุทธศาสนาสำคัญ นอกจากนี้ยังเสนอแนะแนวทางใหg
ภาครัฐเห็นความสำคัญในการอนุรักษBมรดกของชาติ และเขgามามีสnวนชnวยสนับสนุนอยnาง
จริงจัง เพือ่ ใหgการปฏิบัตไิ ดgอยnางมีประสิทธภิ าพมากข้นึ

องค=ความรจูf ากงานวจิ ยั

งานวิจัย “การจัดสวสั ดกิ ารทางสงั คมตามแนวพระพุทธศาสนาในจังหวดั
เพชรบูรณB” ทำใหผg วูg ิจยั คgนพบองคBความรgจู ากการวิจัย การจัดสวสั ดิการทางสงั คมตามแนว
พระพุทธศาสนาในจังหวดั เพชรบรู ณB ซงึ่ อธิบายในรายละเอยี ด ดงั น้ี

ดgานการศึกษาแนวคิดเกี่ยวกับการจัดสวัสดิการทางสังคมตามแนว
พระพุทธศาสนาในจังหวัดเพชรบูรณB ไดgผลการศึกษา 1) ตgองมีการใหgความรูgสnงเสริมการ
คgนควgาวิจัย ควรศึกษาและเก็บรวบรวมขgอมูลภูมิปëญญาของไทยในดgานตnาง ๆ ของทgองถิ่น
จังหวัด ภูมิภาค และประเทศโดยเฉพาะอยnางยิ่งภูมิปëญญาที่เปOนภูมิปëญญาของทgองถ่ิน
มุnงศึกษาใหgรูgความเปOนมาในอดีต และสภาพการณBในปëจจุบัน กลnาวคือการขาดบุคลากรที่มี
ความรูgความสามารถที่จะเขgามาทำงานดgานการจัดสวัสดิการทางสังคมที่เกี่ยวขgองกับวัด
และชุมชนที่มีที่อยูnรอบ ๆ วัด รnวมทั้งหนnวยงานของรัฐที่มีหนgาที่รับผิดชอบโดยตรง เชnน
กรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ เปOนตgน มีบุคลากรนgอย จึงสnงผลตnอการลงมาดูแลงานและ
จัดกิจกรรมดgานสวัสดิการโดยรวม และกnอใหgเกิดปëญหาอื่น ๆ ตามมา เชnน การใหgบริการ
ดgานสังคมสงเคราะหB เปOนตgน ปëญหาที่สำคัญประการหนึ่งคือบุคลากรที่เกี่ยวขgองกับการจัด
สวัสดิการทางสังคมขาดองคBความรูgที่ถูกตgองในการจัดกิจกรรมของสวัสดิการทางสังคม
ตgองมีการจัดการสnงเสริมการการจัดกิจกรรมดgานสาธารณะสงเคราะหB โดยการปลุก
จิตสำนึกใหgคนในทgองถิ่นตระหนักถึงคุณคnาแกnนสาระและความสำคัญของภูมิปëญญา
ทgองถิ่น สnงเสริมสนับสนุนการจัดกิจกรรมตามประเพณีและวัฒนธรรมตnาง ๆ สรgางจิตสำนึก

การประชมุ วชิ าการพระพทุ ธศาสนาและศลิ ปวัฒนธรรมระดบั ชาติและนานาชาติคร้ังที่ 2 293

ของความเปOนคนทgองถิ่นนั้น ๆ ที่จะตgองรnวมกันอนุรักษBภูมิปëญญาที่เปOนเอกลักษณBของ
ทgองถิ่น รวมทั้งสนับสนุนใหgมีพิพิธภัณฑBทgองถิ่นหรือพิพิธภัณฑBชุมชนขึ้น เพื่อแสดงสภาพ
ชีวิตและความเปOนมาของชุมชน อันจะสรgางความรูgและความภูมิใจในชุมชนทgองถิ่นดgวย
2) ปëญหาดgานการจัดการงบประมาณ หรือกลnาวไดgวnา ปëญหาดgานการบริหารงบประมาณ
เปOนปëญหาที่สำคัญประการหนึ่งที่จะขับเคลื่อนงานการจัดสวัสดิการตnาง ๆ ใหgดำเนินไปไดg
การขาดงบประมาณ เนื่องจากวnาในประเทศไทยมีประชาชน กลุnมชนอยูnมากมาย การที่
หนnวยงานผูgที่มีความรับผิดชอบโดยตรงจะจัดสรรงบประมาณลงมา เพื่อใชgในการจัด
สวัสดิการทางสังคมในดgานตnาง ๆ ไดgอยnางทั่วถึง เปOนเรื่องที่เปOนไปไดgยาก ทั้งนี้ เพราะหากมี
การจัดสรรงบประมาณโดยมองไปที่ความสำคัญ ของการจัดสวัสดิการทางสังคมดgานใดดgาน
หนึ่งก็จะทำใหgอีกดgานหนึ่งเกิดความเสียใหgไดg เมื่อเปOนเชnนนี้ การจัดสวัสดิการทางสังคมนั้น
ก็อาจไดgรับการจัดสรรงบประมาณในจำนวนนgอย หรือ ไมnไดgรับการจัดสรรเลยก็เปOนไดg 3)
ตgองมีการสnงเสริมกิจกรรม การจัดสวัสดิการทางสังคม โดยการสnงเสริมและสนับสนุนใหgเกิด
เครือขnายการสืบสานและพัฒนาภูมิปëญญาของชุมชนตnาง ๆ เพื่อจัดกิจกรรมทางวัฒนธรรม
และภูมิปëญญาทgองถิ่นอยnางตnอเนื่อง และสnงเสริมการเสริมสรgางปราชญBทgองถิ่นโดยการ
สnงเสริมและสนับสนุนการพัฒนาศักยภาพของชาวบgาน ผูgดำเนินงานใหgมีโอกาสแสดง
ศักยภาพดgานภูมิปëญญา ความรูgความสามารถอยnางเต็มที่ มีการยกยnองประกาศเกียรติคุณ
ในลกั ษณะตาn ง ๆ

บทสรุป

สรุปผลการศึกษาการจัดสวัสดิการทางสังคมตามแนวพระพุทธศาสนาในจังหวัด
เพชรบูรณB จากความคิดเห็นของผgูที่มีสnวนเกี่ยวขgองกับพระสงฆBและประชาชนในชุมชนวัด
ทั้งชายและหญิงทั้ง 6 แหnง มีสาเหตุและสภาพปëญหาที่แตกตnางกันออกไปตามแนวความคิด
หลักธรรมที่นำมาใชgในการดำเนินชีวิตแตกตnางกัน การวิเคราะหBประเมินผลการนำ
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนามาใชgในการดำเนินชีวิตที่แตกตnางกันออกไปตามแนวคิดของ
พระสงฆBและประชาชนในชุมชนวัด สnวนปëญหาตnาง ๆ และอยากใหgผูgวิจัยชnวยแกgไขปëญหา
คือ ใหgชnวยแกgปëญหาทางดgานงบประมาณเพราะงบประมาณไมnมีเพียงพอสำหรับพระสงฆB

294 การประชุมวิชาการพระพทุ ธศาสนาและศลิ ปวัฒนธรรมระดบั ชาติและนานาชาติคร้งั ท่ี 2

และประชาชนในชุมชนวัดมีการทำกิจกรรมดgานสวัสดิการที่หลากหลายเพิ่มมากขึ้น
อยากใหมg พี ยาบาลเขาg มาชnวยรักษาเพ่มิ มากขึ้น ตลอดจนอยากใหgพระสงฆเB ขgามาชวn ยพฒั นา
จิตใจของผูgสูงอายุใหgมากขึ้น ทั้งหมดเปOนปëญหาและใหgชnวยแกgไขของพระภิกษุและ
ประชาชนในชุมชนวัดในจังหวัดเพชรบรู ณ

การนำไปใชFประโยชนM
1.กิจกรรมดgานการเรียนการสอนในสถาบันการศึกษา สามารถนำกระบวนการ

ศึกษาวิจัยไปประยุกตBในการเรียนการสอนรายวิชาตnาง ๆ ซึ่งเปOนการปฏิบัติเพื่อผลสูงสุด
คือเจโตวิมุติและพระนิพพาน เชnน พระพุทธศาสนากับภูมิปëญญาไทย พระพุทธศาสนากับ
การพัฒนาที่ยั่งยืน และพระพุทธศาสนากับการวิจัยชั้นสูง ทั้งในระดับปริญญาตรี ของ
มหาวทิ ยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิยาลยั วทิ ยาลยั สงฆพB อn ขุนผาเมือง เพชรบูรณB

2. กิจกรรมดgานการพัฒนาการกิจกรรม การจัดสวัสดิการทางสังคมในจังหวัด
เพชรบูรณB สามารถพัฒนาเปOนโครงการพัฒนาคุณภาพของพระภิกษุ สามเณรและอุบาสก
อุบาสิกา ประชาชนในชุมชน สามารถนำผลการวิจัยไปสะทgอนแกnองคBการบริหารสnวนตำบล
และทgองถิ่น และเทศบาล เพื่อเปOนแนวทางพัฒนาและสนับสนุนการดูแลพระสงฆB และ
ชุมชนในพื้นที่ไดg 3.กิจกรรมดgานวิชาการ มีการอบรมเชิงปฏิบัติการโครงการเกี่ยวกับ
พระสงฆB มีการพัฒนาทักษะในการวิจัยใหgกับทีมงานวิจัยในครั้งนี้ มีการศึกษารnวมกับ
หนnวยงานที่เกี่ยวขgองเพื่อรnวมวิเคราะหBและวางแผนพัฒนาการนำหลักธรรมทาง
พระพุทธศาสนามาใชgในการดำเนินชีวิตของพระสงฆB ประชาชนในชุมวัดในจังหวัด
เพชรบูรณB

ขอf เสนอแนะ

1. การศึกษาวิจัยการจัดสวัสดิการทางสังคมตามแนวพระพุทธศาสนาในจังหวัด
เพชรบูรณB ในครั้งตnอไป ควรศึกษาวิจัยเกี่ยวกับความคาดหวังของประชาชน ชุมชน และ
องคBกรที่เกี่ยวขgองกับการจัดสวัสดิการทางสังคมของวัดในจังหวัดเพชรบูรณB ที่กnอใหgเกิด
ประโยชนสB ูงสุดตnอองคBกรทกุ ภาคสวn น

การประชมุ วิชาการพระพทุ ธศาสนาและศิลปวฒั นธรรมระดบั ชาตแิ ละนานาชาติครง้ั ท่ี 2 295

2. การศึกษาวิจัยการจัดสวัสดิการที่เปOนประโยชนBตnอชุมชนของวัดในจังหวัด
เพชรบูรณBใน ครั้งตnอไป ควรที่จะศึกษาถึงปëจจัยที่มีผลตnอความสำเร็จของการจัดสวัสดิการ
ทางสังคมของวัดในจังหวัดเพชรบูรณB จากนั้นในดgานของการสnงเสริมคุณธรรม จริยธรรม
หรือการพัฒนาจิตของประชาชน ชุมชน และองคBกรท่ีมีสnวนเกี่ยวขgองกับวัด ซึ่งเปOน
สิ่งจำเปOนตnอการดำรงตนในชีวิตประจกวันวัน ควรที่จะไดgรับการศึกษาวิจัยใหgมาก เพื่อเปOน
ประโยชนใB น ดgานของการดำเนนิ ชีวิต และมคี วามเปนO อยอnู ยnางศานติสขุ

บรรณานุกรม

มหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลัย. (2539). พระไตรปฎN กภาษาไทย ฉบบั มหาจฬุ าลงกรณราช
วิทยาลยั . กรงุ เทพมหานคร : โรงพิมพBมหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลัย: กรมการ

ศาสนากระทรวงศึกษาธกิ าร.ธรรมบรรยาย. (2525). กรงุ เทพมหานคร : โรงพิมพกB ารศาสนา.
พระธรรมปjฎก(ป.อ. ปยุตฺโต). (2544). ธรรมนูญชีวิต. พิมพBครั้งที่ 3. กรุงเทพมหานคร

: โรงพิมพBการศาสนา.
________. (2532). พุทธธรรม. กรุงเทพมหานคร : โรงพมิ พมB หาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย
พระสมร กุสโล (พรมศรี). (2548). “ปรัชญาการดำรงชีวิตตามหลักปëจจัยสี่ใน

พระพุทธศาสนา” วิทยานิพนธM. ศาสนศาสตร มหาบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย :
มหาวทิ ยาลัยมหามกุฏราชวทิ ยาลัย
พระมหาสุชาติ สุชาโต (สนิทสนม). (๒๕๔๕). “การประพฤติพรหมจรรยBตามหลักคำสอน
พระพุทธศาสนา”. วิทยานิพนธMศาสนา ศาสตรมหาบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย :
มหาวิทยาลยั มหามกฏุ ราชวทิ ยาลัย,หนgา

296 การประชมุ วชิ าการพระพุทธศาสนาและศิลปวฒั นธรรมระดบั ชาตแิ ละนานาชาติคร้ังที่ 2

การมสี 'วนร'วมของวัดและชมุ ชนในการอนรุ ักษ6โบราณสถาน
พ้นื ท่ีอทุ ยานประวตั ิศาสตร6ศรีเทพ จงั หวดั เพชรบรู ณ6

The Participation of Temple and Community for Preservation
of Acient Remains of Is Thep Historical Park,
Phetchabun Province

นรุณ กุลผาย

Narun Kulpay
มหาวทิ ยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลยั วทิ ยาลยั สงฆ>พอ@ ขุนผาเมอื ง เพชรบรู ณ>
Phokhunphamueang Buddhist College, Mahachulalongkornrajavidyalaya University

Email : [email protected]

บทคดั ย'อ

การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค5 คือ 1) เพื่อศึกษาแนวคิดการมีสCวนรCวม และอนุรักษ5
โบราณสถานพื้นที่อุทยานประวัติศาสตร5ศรีเทพ จังหวัดเพชรบูรณ5 2) เพื่อศึกษาการมีสCวน
รCวมของวัดและชุมชนในการอนุรักษ5โบราณสถานพื้นที่อุทยานประวัติศาสตร5ศรีเทพ จังหวัด
เพชรบูรณ5 และ 3) เพื่อนำเสนอรูปแบบการมีสCวนรCวมของวัดและชุมชนในการจัดการพื้นท่ี
อุทยานประวัติศาสตร5ศรีเทพ จังหวัดเพชรบูรณ5 เปQนการวิจัยเชิงคุณภาพ(Qualitative
Research) โดยรวบรวมขaอมูลจากการสัมภาษณ5 ซึ่งไดaทำการสัมภาษณ5กลุCมเปdาหมาย 3
กลุCม ไดaแกC1) ตัวแทนของวัดในชุมชน 2) ผูaนำชุมชน 3) ผูaนำดaานวัฒนธรรม รวมทั้งสิ้น 31
รูป/คน นำเสนอผลการศึกษาโดยใชaวิธพี รรณนา

ผลจากการศึกษาพบวCา การอนุรักษ5โบราณสถาน เปQนหนaาที่ภาครัฐโดยรCวมมือ
กันของวัดและชุมชนที่จะตaองทำตามหลักนโยบายไดaแกC 1) การอนุรักษ5เปQนไปเพื่อการเก็บ
รกั ษาสCวนทีด่ ใี หaมากที่สุด และ มสี อดคลอa งกับของ เกCาที่เหลืออยCู 2) การอนรุ ักษส5 ิง่ กอC สราa ง
ที่ใกลaเคียงจะตaองรCวมอนุรักษ5ไปในแนวทางเดียวกันหรือใหaคงอยูCอยCางเดิมใหaมากที่สุด
3) จะตaองแนCใจแลaววCาในการอนุรักษ5นั้นมีความสำคัญมีคุณคCาอยCางแทaจริงถึงจะเริ่มลงมือ
อนุรักษ5และรCวมรับผิดชอบตัดสินใจการดำเนินการทุกครั้งเพื่อสรaางความสำนึกรักใน

การประชุมวิชาการพระพทุ ธศาสนาและศลิ ปวฒั นธรรมระดับชาตแิ ละนานาชาตคิ รงั้ ที่ 2 297

โบราณสถานของตนเองดaวยเทคนิคและวิธีการตCาง ๆ จากชCางกรมศิลปกรเปQนผูaแนะนำซึ่ง
การอนุรักษ5โบราณสถานที่กลCาวมามีความสอดคลaองถูกตaองกับตามหลักวิชาการและการ
อนุรักษท5 ี่กรมศลิ ปากรดำเนนิ การอยCู

การมีสCวนรCวมของวัดและชุมชนในการอนุรักษ5โบราณสถานพื้นที่อุทยาน
ประวัติศาสตร5ศรีเทพ จังหวัดเพชรบูรณ5 มีแนวทาง 3 แนวทาง คือ 1) แนวทางการอนุรักษ5
และพัฒนาแหลCงโบราณคดีในระดับนโยบาย ไดaแกCรัฐจะตaองเปQนผูaที่ใหaขaอมูลความรูaท่ี
เกี่ยวขaองในแหลCงโบราณคดีแกCพระสงฆ5และชาวบaาน 2) แนวทางการอนุรักษ5และพัฒนา
แหลCงโบราณคดีระดับวัดและชุมชน 3) แนวทางการอนุรักษ5และพัฒนาแหลCงโบราณคดี
ระดบั จังหวดั และองค5กรทางดาa นวัฒนธรรม

รูปแบบการมีสCวนรCวมของวัดและชุมชนในการจัดการพื้นที่อุทยานประวัติศาสตร5
ศรีเทพ ไดaแกC 1) การใหaความรูaการอนุรักษ5โบราณสถานพื้นที่อุทยานประวัติศาสตร5ศรีเทพ
2) การจัดการอนุรักษ5โบราณสถานพื้นที่อุทยานประวัติศาสตร5ศรีเทพ เปQนกระบวนการใหa
ประชาชนเขaามามีสCวนเกี่ยวขaองในการจัดการ ดำเนินงาน และพัฒนาเปQนกระบวนการท่ี
ตCอเนื่อง การสCงเสริมการมีสCวนรCวมจึงจำเปQนตaองใหaความสำคัญกับลำดับและขั้นตอน และ
ความเชื่อมโยงและ 3) การสรaางเครือขCายอนุรักษ5โบราณสถานพื้นที่อุทยานประวัติศาสตร5
ศรีเทพภาครัฐเปQนเครือขCายนำ โดยการกำหนดแนวทางใหaเครือขCายวัด และชุมชนทำหนaาท่ี
อยCางมีขอบเขตที่จำกัด เครือขCายวัด เปQนเครือขCายทำ เนaนกระบวนการลงมือทำงานดaวย
ขอบเขต และขอa บังคบั ทีม่ อี ยาC งจำกดั

คำสำคัญ : การมสี วC นรวC ม, วดั และชุมชน, การอนุรกั ษโ5 บราณสถาน

Abstract

The objectives of this research were: 1) to study the concept of
participation in and conservation of historic sites in Si Thep Historical Park,
Phetchabun Province, 2) to study the participation of temples and
communities in the conservation of historic sites in Si Thep Historical Park,
Phetchabun Province, and 3) to present a model for the participation of

298 การประชุมวชิ าการพระพทุ ธศาสนาและศิลปวัฒนธรรมระดับชาติและนานาชาตคิ รงั้ ที่ 2

temples and communities in managing the Si Thep Historical Park,
Phetchabun Province. This research is conducted by a qualitative method
which collecting data from interviews. Three target groups were interviewed:
1) representatives of the community temples, 2) community leaders,
3) a total of 31 cultural leaders/person and its results presented by
descriptive methods.

The results of the study revealed that the conservation of ancient
sites was a governmental duty through the cooperation of temples and
communities to follow the policy principles, namely 1) conservation is to
preserve the excellentest part and is consistent with the antiques that
2) Conservation of adjacent structures must be jointly conserved in the same
way or to remain as the same as possible. 3) We must make sure conservation
is of real importance, even when taking action and taking responsibility for
making decisions about every action to build a sense of love for our own
ancient sites with techniques and methods from artisans. The Fine Arts
Department is the one who recommends the conservation of
the aforementioned archaeological sites is consistent with the academic
principles and conservation that the Fine Arts Department operates.

The participation of temples and communities in the preservation
of archaeological sites in Si Thep Historical Park, Phetchabun Province consists
of 3 approaches: 1) Guidelines for conservation and development of
archaeological sites at the policy level. That is, the state must provide
information and knowledge related to archaeological sites to monks and
villagers, 2) guidelines for conservation and development of archaeological
sites at temple and community level, and 3) guidelines for conservation and
development of archaeological sites at provincial levels and cultural
organizations.

การประชมุ วชิ าการพระพทุ ธศาสนาและศลิ ปวฒั นธรรมระดับชาติและนานาชาตคิ รง้ั ที่ 2 299

The model of participation of temples and communities in
the management of Si Thep Historical Park consists of 3 steps: 1) providing
knowledge on archaeological conservation in Si Thep Historical Park,
2) Archaeological conservation management in the Si Thep Historical Park
area. It is a process for people to participate in the development, and
3) constructing a network for the conservation of historic sites in Si Thep
Historical Park.

Keywords : Participation, temples and communities, conservation of historic

sites

บทนำ

โบราณสถาน หมายถึง อาคารหรือสิ่งกCอสรaางที่มนุษย5สรaางขึ้น ที่มีความเกCาแกC
มีประวัติความเปQนมาที่เปQนประโยชน5ทางดaานศิลปะ ประวัติศาสตร5หรือโบราณคดี
นอกจากนี้ยังรวมถึงสถานที่หรือเนินดินที่มีความสำคัญทางประวัติศาสตร5หรือมีรCองรอย
กิจกรรมของมนุษย5ปรากฏอยูC เชCน วัดไชยวัฒนาราม แหCงประวัติศาสตร5ทุCงภูเขาทอง
จังหวัดพระนครศรีอยุธยา แหCงภาพเขียนสีผาแตaม จังหวัดอุบลราชธานี แหลCงโบราณคดี
บaานเชียง จังหวัดอุดรธานี อุทยานประวัติศาสตร5สุโขทัย จังหวัดสุโขทัย เปQนตaน (ภัททิรา
นวลปลอด, 2553: 123)

ในประเทศไทยมีโบราณคดี เชCน เจดียสถาน และวัตถุตCาง ๆ ซึ่งสมเด็จพระเจaา
แผCนดินและชCางผูaชำนาญศิลปศาสตร5 ไดaสรaางไวaแตCปางกCอนเปQนอันมาก โบราณสถาน
ดังกลCาวยCอมเปQนหลักฐานในพงศวดารและเปQนเครื่องมืออุปกรณ5การตรวจหาความรูa
โบราณคดีตCาง ๆ อันจะเกิดประโยชน5และเปQนเกียรติยศของบaานเมือง เพราะฉะน้ัน
ประเทศตCาง ๆ จึงถือวCาเปQนหนaาที่ของรัฐบาล จะตaองดำเนินการตรวจตรารักษา
โบราณสถานอันมีอยูCในประเทศของตน ตCางพยายามแขCงขันและสCงเสริมใหaประชาชนคนใน
ชาติของตนไดaรับการเรียนรูa ดaวยการสCงเสริมการเรียนการสอนการศึกษาคaนควaาทุกรูปแบบ
ในประเทศไทยเกิดระบบการศึกษานอกโรงเรียนเปQนมหาวิทยาลัยชาวบaาน เกิดลaานนาคดี

300 การประชุมวิชาการพระพุทธศาสนาและศลิ ปวัฒนธรรมระดับชาตแิ ละนานาชาติคร้งั ท่ี 2

ศึกษาวัดวาอาราม เขaามาเกี่ยวขaองดaานศาสนา ศิลปะและวัฒนธรรม ทำใหaวัดที่มีโบราณ
สถานที่มีความสำคัญมีชื่อเสียง จึงกลายเปQนแหลCงที่คนสนใจ เปQนเหตุใหaมีนักทCองเที่ยว
นักศึกษา ครู อาจารย5 ไดaแวะเวียนเขaาไปในวัด เพื่อศึกษาและเยี่ยมชมโบราณสถาน
ศิลปวัตถุที่สวยงามอยูCเสมอ วัดที่มีชื่อเสียงเร่ืองโบราณสถาน โบราณวัตถุ ที่สำคัญใน
ทaองถิ่นทุกแหCงถือวCาเปQนของดีของบaานเมือง ถaารูaจักจัดการดaานการบริหารยCอมจะไดaรับ
ประโยชน5มากมายนานัปประการ เชCนถaาวัดรูaจักดูแลรักษาโบราณสถานไมCใหaทรุดโทรม
กCอสรaางถาวรวัตถุอยCางเปQนระเบียบและมีศิลปะเปQนเอกลักษณ5 จัดการทำความสะอาด
บริเวณวัดสะอาดอยูCสม่ำเสมอ ปลูกตaนไมaสวยงามรCมรื่นเปQนระเบียบ จัดเจaาหนaาที่คอย
อำนวยความสะดวกตCาง ๆ แตCผูaเดินทางเขaามาในวัดก็จะเปQนการดึงดูดใหaผูaคนสนใจการ
อนุรักษ5โบราณสถานมากยิ่งขึ้น ปéจจุบันมีกองอนุรักษ5สิ่งแวดลaอมธรรมชาติและศิลปกรรม
สำนักนโยบายและแผนสิ่งแวดลaอม ทำหนaาที่ในการเสนอนโยบายและโครงการดaานการ
อนุรักษ5สิ่งแวดลaอมธรรมชาติและสิ่งแวดลaอมศิลปกรรม กำหนดแนวทางแผนปฏิบัติการ
มาตรฐานในการควบคุม ปdองกันและแกaไขปéญหาการอนุรักษ5 รวมทั้งวางแผนการอนุรักษ5
เฉพาะพน้ื ที่ (เอกสารนำชมอุทยานประวตั ศิ าสตรศ5 รีเทพ, 2559: 3)

ศรเี ทพเปQนแหลCงโบราณคดีที่สำคญั แหCงหน่งึ ในลุCมน้ำลพบรุ ี-ปëาสัก ตง้ั อยใCู นตำบล
ศรีเทพ อำเภอศรีเทพ จังหวัดเพชรบูรณ5 บริเวณดังกลCาวปรากฏรCองรอยการอยูCอาศัยของ
ผูaคนมาตั้งแตC รวม 2,000 ปìมาแลaว โดยมีการพบโครงกระดูกมนุษย5ยุคกCอนประวัติศาสตร5
ตอนปลาย ตCอเนื่องมาถึงหลักฐานในวัฒนธรรมทวารวดีและขอมโบราณตามลำดับ แลaวถูก
ทิ้งรaางไปในราวปลายพุทธศตวรรษที่ 28 – ตaนพุทธศตวรรษที่ 29 อันเปQนชCวงเวลากCอนท่ี
สุโขทัยและกรุงศรีอยุธยาจะเจริญขึ้นมาแทนที่ โดยนักโบราณคดีมีขaอสันนิษฐานวCา อาจเกิด
จากโรคระบาดรaายแรงหรือปéญหาภัยแลaง ประการใดประการหนึ่งหรือทั้งสองประการ
ไมCวCาที่นี่จะรCวงโรยลงไปดaวยสาเหตุใด แตCก็ไดaทิ้งรCองรอยความรุCงเรืองไวaมากมายใหaไดa
ศึกษาอยCางเขaมขaน เมืองโบราณแหCงนี้มีแผนผังเปQนเมืองแฝด รูปรCางคลaายสี่เหลี่ยมมุมมน
ประกอบดaวย “เมืองใน” ซึ่งถูกสรaางขึ้นกCอนและ “เมืองนอก” อันเปQนพื้นที่ซึ่งสันนิษฐาน
กันวCาถูกขยายไปทางทิศตะวันออกในภายหลัง ภายในเมืองแฝดนี้ ปรากฏซาก
สถาปéตยกรรมหลายแหงC ซ่งึ ไดรa บั การข้นึ ทะเบยี นเปQนโบราณสถานตามประกาศในราชกจิ จา
นุเบกษาเมื่อ พ.ศ. 2506 อาทิ เขาคลังใน ปรางค5ศรีเทพ ปรางค5สองพี่นaอง รวมถึง

การประชมุ วชิ าการพระพทุ ธศาสนาและศิลปวัฒนธรรมระดบั ชาตแิ ละนานาชาติครัง้ ท่ี 2 301

โบราณสถานนอกเมืองอยCางปรางค5öษีและเขาคลังนอก อันเปQนสถูปขนาดใหญCที่
สันนิษฐานวCาเปQน “มหาสถูป” ในวัฒนธรรมทวารวดีที่มีความสำคัญเคียงคูCกันกับเขาคลังใน
นอกจากนี้ยังพบโบราณวัตถุมากมายที่สรaางขึ้นเนื่องในศาสนาตCาง ๆ ซึ่งปรากฏอยูCรCวมกัน
ไมCวCาจะเปQนธรรมจักรขนาดใหญCตามความเชื่อในพุทธศาสนา รวมถึงเทวรูปและทับ
หลังจากหลักภาพเทพในศาสนาพราหมณ5-ฮินดู เชCน ประติมากรรมพระสุริยเทพ และทับ
หลับหลังภาพอุมามเหศวร เปQนตaน ที่สำคัญยังมีจารึกหลายหลักที่จดจารถaอยคำอันเนaนย้ำ
ถึงการยอมรับนับถือศาสนาในแตCละชCวงเวลา โดยมีความสอดคลaองกับวัตถุพยานอื่น ๆ ท่ี
พบในอุทยานประวัติศาสตร5ศรีเทพอีกดaวย การอนุรักษ5โบราณสถานจำเปQนตaองคำนึงถึง
หลักวิธีการ อยCางถูกวิธีอีกดaวย มิฉะนั้นความพยายามในการอนุรักษ5ก็จะเปQนการทำลาย
หากพระสงฆ5ซึ่งเปQนผูaมีบทบาทหนaาที่ในการดูแลและไมCเห็นถึงความสำคัญหรือไมCเขaาใจใน
หลักการ อาจทำใหโa บราณสถานแหCงนี้เสื่อมสภาพลงเร็วกวCาเทCาที่ควร แตCหากพระสงฆ5และ
ชุมชนใหaความสำคัญของปéญหาดังกลCาวก็จะชCวยกันรักษาและคอยใหaความรูaชี้แนะกับ
ชาวบaานใหaเห็นความสำคัญของโบราณสถาน และสรaางจิตสำนึกวCาโบราณสถานเปQนสมบัติ
สCวนรวมของชาติ ที่จะตaองชCวยกันอนุรักษ5ใหaโบราณสถานเหลCานี้มีอายุยืนยาวเพื่อใหaชนรCุน
หลังรบั รูa

จากเหตุผลที่กลCาวมาขaางตaนผูaวิจัยซึ่งเปQนผูaอยูCในพื้นที่จังหวัดเพชรบูรณ5
ไดaเล็งเห็นความสำคัญจากประเด็นดังกลCาวจึงมีความสนใจที่จะศึกษาการมีสCวนรCวมของวัด
และชุมชนในการอนุรักษ5โบราณสถานพื้นที่อุทยานประวตั ิศาสตร5ศรีเทพ จังหวัดเพชรบูรณ5
เพื่อเปQนขaอมูลเบื้องตaนในการเสริมสรaางการมีสCวนรCวมในการอนุรักษ5โบราณสถานใหa
ทรงคุณคCาและคงอยCตู ลอดไปควบคูกC ับการพัฒนาประเทศดaานอ่ืน ๆ ตอC ไป

ผลการวจิ ัย

1. แนวคิดการมีส9วนร9วม และอนุรักษ=โบราณสถานพื้นที่อุทยาน
ประวัตศิ าสตรศ= รเี ทพ จงั หวัดเพชรบรู ณ=

การอนุรักษ5โบราณสถาน ถือเปQนหนaาที่ของวัดและชุมชนที่จะตaองทำตามหลัก
พระธรรมวินัย และตามพระราชบัญญัติคณะสงฆ5 โดยแนวทางในการอนุรักษ5นั้นสามารถทำ
ไดaดaวยการดูแลรักษารวมทั้งการใหaความรูaในการอนุรักษ5โบราณสถานแกCประชาชน การใหa

302 การประชุมวชิ าการพระพุทธศาสนาและศิลปวฒั นธรรมระดบั ชาตแิ ละนานาชาติครงั้ ที่ 2

ความรCวมมือในการอนุรักษ5โบราณสถานกับหนCวยงานราชการที่เกี่ยวขaอง ปéจจุบันแนวทาง
การอนุรักษ5โบราณสถานพื้นที่อุทยานประวัติศาสตร5ศรีเทพ มีลำดับขั้นตอน คือ ขั้นท่ี 1 ใน
การอนุรักษ5โบราณสถานพื้นที่อุทยานประวัติศาสตร5ศรีเทพนั้น หากมีสิ่งใดชำรุดเสียหาย
หรือเปQนสิ่งที่ควรซCอมแซมจะตaองแจaงแกCผูaดูแลเปQนสำคัญ ขั้นท่ี 2 ในการอนุรักษ5จะตaอง
ดำรงรักษาสCวนที่ดีเดCนสำคัญ เมื่อสรaางสCวนใหมCจะตaองใหaสอดคลaองกับของเกCาใหaดีขึ้น โดย
ทางอนุรักษ5โบราณสถานพื้นที่อุทยานประวัติศาสตร5ศรีเทพ นั้นมีหลักการสำคัญที่เปQน
นโยบายวCา 1) การอนุรักษ5เปQนไปเพื่อการเก็บรักษาสCวนที่ดีใหaมากที่สุด และ มีสอดคลaอง
กับของ เกCาที่เหลืออยCู 2) การอนุรักษ5สิ่งกCอสรaางที่ใกลaเคียงจะตaองรCวมอนุรักษ5ไปใน
แนวทางเดียวกันหรือใหaคงอยูCอยCางเดิมใหaมากที่สุด 3) จะตaองแนCใจแลaววCาในการอนุรักษ5
นั้นมีความสำคัญมีคุณคCาอยCางแทaจริงถึงจะเริ่มลงมืออนุรักษ5 และรCวมรับผิดชอบตัดสินใจ
การดำเนินการทุกครั้งเพื่อสรaางความสำนึกรักในโบราณสถานของตนเองดaวยเทคนิคและ
วิธีการตCาง ๆ จากชCางกรมศิลปกรเปQนผูaแนะนำซึ่งการอนุรักษ5โบราณสถานที่กลCาวมามี
ความสอดคลอa งถูกตaองกับตามหลกั วชิ าการและการอนรุ กั ษ5ท่ีกรมศิลปากรดำเนนิ การอยูC

2. การมีส9วนร9วมของวัดและชุมชนในการอนุรักษ=โบราณสถานพื้นที่อุทยาน
ประวัติศาสตรศ= รีเทพ จงั หวัดเพชรบรู ณ=

การมีสCวนรCวมของวัดและชุมชนในการอนุรักษ5โบราณสถานพื้นที่อุทยาน
ประวัติศาสตร5ศรีเทพ จังหวัดเพชรบูรณ5 สรุปไดaวCา จากสภาพปéญหาที่เกิดขึ้นในปéจจุบันจึง
เปQนการอันสมควรที่ชาวบaานในชุมชนและหนCวยงานตCาง ๆ ที่เกี่ยวขaอง ควรตระหนักถึง
ความสำคัญและรCวมหาแนวทางในการแกaไขสภาพปéญหาที่เกิดขึ้นนี้ตCอไป ผูaวิจัยจึงแยกแนว
อนุรักษ5โบราณสถานพื้นที่อุทยานประวัติศาสตร5ศรีเทพเปQน 3 แนวทาง คือ แนวทางการ
อนุรักษ5และพัฒนาแหลCงโบราณคดีในระดับนโยบาย แนวทางการอนุรักษ5และพัฒนาแหลCง
โบราณคดีโดยการมีสCวนรCวมของชุมชน และแนวทางการอนุรักษ5และพัฒนาแหลCง
โบราณคดีขององคก5 รปกครองสCวนทaองถน่ิ

1. แนวทางการอนุรักษ5และพัฒนาแหลCงโบราณคดีในระดับนโยบาย ไดaแกC
รัฐจะตaองเปQนผูaที่ใหaขaอมูลความรูaที่เกี่ยวขaองในแหลCงโบราณคดีแกCพระสงฆ5และชาวบaาน
รัฐโดยกระทรวงการทCองเที่ยวและกีฬา ควรมีนโยบายสCงเสริมสนับสนุนใหaมีมัคคุเทศก5
ทaองถิ่นเพิ่มมากขึ้น และหนCวยงานที่เกี่ยวขaองกับการควบคุมบังคับใชaกฎหมาย ควรนำ

การประชุมวิชาการพระพุทธศาสนาและศิลปวฒั นธรรมระดบั ชาตแิ ละนานาชาติคร้งั ท่ี 2 303

กฎหมายที่เกี่ยวกับการอนุรักษ5โบราณสถานโบราณวัตถุ มาบังคับใชaอยCางเด็ดขาด ตลอดจน
ตราขอa บญั ญัติทอa งถนิ่ เพม่ิ เติมในการอนุรกั ษ5 โบราณสถานพนื้ ท่อี ทุ ยานประวตั ศิ าสตรศ5 รเี ทพ

2. แนวทางการอนุรักษ5และพัฒนาแหลCงโบราณคดีระดับวัดและชุมชน จากผล
การสำรวจที่พบภายในชุมชนหลายแหCงที่มีแหลCงโบราณคดี มีสภาพปéญหาในรูปแบบท่ี
ใกลaเคียงกัน เนื่องจากขาดความรูa ความเขaาใจเกี่ยวกับประวัติศาสตร5โบราณคดีแหCงน้ัน
ปéญหาการขาดแคลนบุคลากร ผูaนำที่จะเขaามาดูแลจากเหตุผลที่กลCาวมาในขaางตaนนั้นถือไดa
วCาเปQนปéญหาหลักสำคัญที่ทำคนใหaในชุมชนควรรCวมมือและจัดหาแนวทางที่ใชaการ
แกaปéญหารCวมกัน ควรมีการปลูกฝéงจิตสำนึกในการอนุรักษ5และจิตสาธารณะตCอการรักษา
โบราณสถานพื้นที่อุทยานประวัติศาสตร5ศรีเทพ ภายในชุมชนของคนที่อยูCใกลaกับ
โบราณสถานพื้นที่อุทยานประวัติศาสตร5ศรีเทพ สCวนใหญCมีความคิดเห็นที่ตรงกันในเรื่องท่ี
ควรใหaเด็กหรือเยาวชนเขaามามีสCวนรCวมในการอนุรักษ5เพื่อที่จะปลูกฝéงจิตสำนึกใหaกับเด็ก
หรือเยาวชนเหลCานี้มาทำการพัฒนาตCอ ๆ ไปในอนาคต ควรจะมีการจัดอบรมใหaความรูaแกC
คนในชุมชน เพื่อสCงผลที่จะชCวยในการเสริมสรaางถึงจิตสำนึกของคนในชุมชนใหaมีการ
อนุรักษ5ดูแลรักษาแหลCงโบราณคดีแหCงนี้ใหaมากขึ้นและอยูCคูCชุมชนนั้น ๆ ตCอไป มีการจัดทำ
หนังสือหรือสื่อภาพเคลื่อนไหว โดยใหaเด็กนักเรียนหรือเยาวชนที่ไดaรับการเรียนการสอน
จากโรงเรียนเขaามารCวมสรaาง เว็บบอร5ดหรือเว็บไซต5แนะนำสถานที่ทCองเที่ยวแหลCง
โบราณคดที างที่อยCูในชุมชนนั้น ๆ

ภายในชุมชนควรที่จะตaองมีการตั้งผูaนำหรือการตั้งตัวแทนขึ้นมาเพื่อเปQนผูaที่คอย
บังคับควบคุมใหaชาวชุมชนรCวมกันสอดสCองดูแลความเรียบรaอยของแหลCงโบราณคดี สิ่งที่
ผูaนำ พระสงฆ5และชาวบaานตaองทำภายในชุมชน ตaองมีรCวมกันจัดกิจกรรมหรือเพณีใน
ลักษณะเชิงทCองเที่ยวเพื่อดึงดูดใหaบุคคลทั้งในและนอกเขาa มา มีการใหaความรูaเกี่ยวแหลCง
โบราณคดี และคอยเปQนหูเปQนตา ใหaกับรัฐในการสอดสCองดูแลแหลCงโบราณคดีซึ่งเปQนมรดก
ของชาติ ที่เสมือนแหลCงเรียนรูaที่สำคัญใหaไวaชนรุCนหลังไดaศึกษา วัดและชุมชนตaองรCวมมือกัน
ทำการอนุรักษ5แหลCงโบราณคดีขั้นพื้นฐาน ซึ่งสามารถดำเนินการไดaอยCางตCอเนื่อง เพื่อหยุด
หรือบรรเทาเหตุแหCงการเสื่อมสภาพของโบราณสถาน โดยการดำเนินการนั้นไมCมีผลใหa
ลักษณะทางกายภาพของโบราณสถานเปลี่ยนแปลงไปจากเดิม เพื่อรอการดำเนินการ
อนุรกั ษข5 ัน้ สงู ทเี่ หมาะสมในลำดบั ตCอไป

304 การประชุมวชิ าการพระพุทธศาสนาและศิลปวัฒนธรรมระดบั ชาตแิ ละนานาชาติคร้งั ท่ี 2

3. แนวทางการอนุรักษ5และพัฒนาแหลCงโบราณคดีระดับจังหวัดและองค5กร
ทางดaานวัฒนธรรม จากขaอมูลซึ่งเปQนผลที่สามารถสรุปไดaจากการสัมภาษณ5ผูaมีสCวน
เกี่ยวขaองสำหรับแนวทางการอนุรักษ5และพัฒนาแหลCงโบราณคดีระดับจังหวัดและองค5กร
ทางดaานวัฒนธรรมอยCางที่ควรจะเปQน เพราะแหลCงโบราณคดีทางพระพุทธศาสนานับวCามี
ความสำคัญในการพัฒนาทaองถิ่นในหลายดaาน ตลอดจนเปQนสถานที่พักผCอนหยCอนใจที่สืบ
ทอดวัฒนธรรมและประเพณี เสริมสรaางภูมิทัศน5ใหaแกCชุมชน นอกจากนี้แหลCงโบราณคดียัง
เปQนแหลCงรวมของศิลปวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณีวิถีชีวิตที่สั่งสมสืบทอดตCอกันมา
จากชุมชนที่ตั้งถิ่นฐานมาแตCโบราณ ซึ่งสิ่งเหลCานี้นับเปQนมรดกทางวัฒนธรรมที่เปQน
เอกลกั ษณ5ของชมุ ชนนน้ั ๆ และมคี ณุ คCาอยาC งย่งิ จึงจำเปนQ ทห่ี นวC ยงานราชการระดบั จังหวดั
และองคก5 รทางดาa นวฒั นธรรมจะตอa งเขaามามีบทบาทและรบั ผดิ ชอบโดยตรง เชCนหนCวยงาน
ราชการตaองมีสCวนสนับสนุนการชCวยดูแลและเปQนหูเปQนตาใหaกับแหลCงโบราณคดีโดยรCวมมือ
และประสานงานกับสำนักศิลปากร คอยประสานกับองค5กรปกครองสCวนทaองถิ่น ซึ่งมี
ศักยภาพสามารถชCวยดูแลถากถางวัชพืชที่ปกคลุมโบราณสถานใหaสะอาด เรียบรaอยพัฒนา
ภูมิทัศน5 และอื่น ๆ ไดa ผูaวCาราชการจังหวัดและองค5กรทางดaานวัฒนธรรมระดับจังหวัดควร
กำหนดแนวทางการอนุรักษ5และพัฒนาแหลCงโบราณคดีที่อยูCในเขตพื้นที่รับผิดชอบเปQน
วิสัยทัศน5ในการอนุรักษ5และพัฒนาแหลCงโบราณคดีอยCางตCอเนื่อง เพื่อจะไดaเกิดการอนุรักษ5
และพฒั นาอยCางตอC เน่ืองและเปQนระบบตอC ไป

ฝาë ยปกครองทอa งถนิ่ และฝาë ยปกครองทอa งทค่ี วรเขาa มามีสCวนรCวมอยาC งเขม็ แขง็
และเปนQ ไปในทศิ ทางเดยี วกัน ทั้งเทศบาลหรอื องค5การบริหารสCวนตำบล ตลอดจนสภา
วัฒนธรรมตำบลและสภาวัฒนธรรมอำเภอ ควรขยายเครอื ขCายในการอนุรักษ5และพัฒนา
แหลCงโบราณคดีเพิม่ มากขึน้ และนำเครอื ขาC ยเหลาC นน้ั มารCวมในการอนุรกั ษโ5 บราณสถาน
พืน้ ที่อุทยานประวัตศิ าสตร5ศรีเทพ จงั หวดั เพชรบูรณ5 ตอC ไป โดยเฉพาะอยCางยง่ิ ควรนำ
แหลงC โบราณคดมี าเปนQ ทนุ ทางประวัติศาสตรแ5 ละวัฒนธรรมแลวa นำมารบั ใชชa ุมชนทอa งถ่นิ
โดยการพฒั นา สCงเสรมิ อาชพี เพิ่มรายไดจa ากสง่ิ ท่ีมอี ยูC

การประชุมวชิ าการพระพุทธศาสนาและศิลปวัฒนธรรมระดับชาตแิ ละนานาชาตคิ รัง้ ที่ 2 305

3. รูปแบบการมีส9วนร9วมของวัดและชุมชนในการจัดการพื้นที่อุทยาน
ประวตั ศิ าสตรศ= รเี ทพ จงั หวัดเพชรบูรณ=

จากการศึกษาการมีสCวนรCวมของวัดและชุมชนในการจัดการพื้นที่อุทยาน
ประวัติศาสตร5ศรีเทพ จังหวัดเพชรบูรณ5 ผูaวิจัยนำเสนอรูปแบบการมีสCวนรCวมของวัดและ
ชมุ ชนในการจดั การพ้นื ท่ีอทุ ยานประวัตศิ าสตร5ศรีเทพ ดงั น้ี

1. การอนุรักษ5โบราณสถานที่จะประสบความสำเร็จไดaดีนั้น ควรเริ่มตaนการใหa
ความรูaที่การปลูกฝéงคนรุCนใหมCใหaมีความรักในศิลปวัฒนธรรม และประเพณีของชาติ ทั้งนี้
ผูaวิจัยมองวCา การปลูกฝéงใหaประชาชนมีความรักศิลปวัฒนธรรม ประเพณีของทaองถิ่นเปQน
แรงจูงใจสำคัญที่สามารถนำมาใชaในการอนุรักษ5โบราณสถาน เพราะจะทำใหaทุกภาคสCวน
โดยเฉพาะประชานไดaเขaามีบทบาทในการดำเนินการอนุรักษ5โบราณสถาน มาตรการสรaาง
แรงจูงใจ นี้ในหลายประเทศไดaนำมาใชaสนับสนุนใหaภาคเอกชนไดaเขaามามีสCวนรCวมในการ
อนุรักษ5โบราณสถาน ผูaวิจัยมองวCา ในอุทยานประวัติศาสตร5ศรีเทพ ซึ่งมีโบราณสถานอยูC
มากมาย หนCวยงานของรัฐ ยังไมCเคยมีการกำหนดมาตรการสรaางจูงใจในลักษณะของการใหa
ความชCวยเหลือ แกCประชาชนผูaอยูCในเขตพื้นที่โบราณสถานซึ่งอาจถูกโยกยaายออกจากเขต
พื้นที่โบราณสถานดaวยขaอบังคับทางกฎหมาย หรือการสนับสนุนเงินงบประมาณแกC
ประชาชนผูaมีที่ดินซึ่งมีโบราณสถานอยูCในที่ดินของตน หรือวัดที่มีโบราณสถานอยูCในเขต
พื้นที่ของวัด โดยผูaเปQนเจaาของหรือครอบครองโบราณสถานจะตaองเปQนผูaจัดหางบประมาณ
คCาใชaจาC ย ในการบูรณะซอC มแซมโบราณสถานนน้ั ๆ ดaวยตนเอง

ทั้งนี้เพราะหนCวยงานของรัฐมักอaางอยูCเสมอวCามิใชCหนaาที่ของรัฐที่จะตaองใหaเงิน
ชCวยเหลือแกCภาคเอกชนในการซCอมแซมและดูแลรักษาอาคารหรือสิ่งกCอสรaางที่เปQน
กรรมสิทธิ์ของเอกชน แตCหากวCาโบราณสถานนั้น ๆ มีคุณคCาในเชิงมดกทางวัฒนธรรม หรือ
มีคุณคCาในทางประวัติศาสตร5คือเปQนโบราณสถานแลaว ถือวCาสิ่งกCอสรaางนั้นมิใชCสมบัติเฉพาะ
ของเจaาของเทCานั้น แตCเปQนสมบัติของมนุษยชาติดaวย ดังนั้น เจaาของโบราณสถานจึงไมC
สมควรที่จะตaองรับผิดชอบภาระในการซCอมแซมและบำรุงรักษาโบราณสถานนั้นแตCเพียงผูa
เดียว แตCหนCวยงานของรัฐจะตaองยื่นมือเขaามาชCวยเหลือหรือสนับสนุนงบประมาณในการ
ซCอมแซม ดังนั้น การใหaความรูaเพื่อการสรaางแรงจูงใจใหaประชาชนไดaเห็นวCาโบราณสถานนั้น
ไมCวCาจะอยูCในเขตกรรมสิทธิ์ของตนก็ตาม แตCคุณคCาประวัติศาสตร5 หรือคุณคCาทางมรดก

306 การประชมุ วชิ าการพระพทุ ธศาสนาและศลิ ปวฒั นธรรมระดับชาตแิ ละนานาชาตคิ รง้ั ที่ 2

วัฒนธรรมมิไดaจำกัดอยูCเฉพาะของบุคคลใดบุคคลหนึ่งเทCานั้น แตCมันเปQนสมบัติของคน
รCวมกันเมื่อเปQนสมบัติของสCวนรวม คนอื่นก็มิสิทธิ์ในการที่จะปกปdองดูแลรักษา หรือ
แมaกระทั่งสิทธิ์ในการที่จะไดaรับ ผลประโยชน5จากโบราณสถานนั้น ๆ ดaวย โดยเฉพาะผูaนำ
ชุมชนนั้นมีสCวนสำคัญมากในการสCงเสริมการอนุรักษ5โบราณสถาน ควรใหaผูaนำชุมชนหรือ
ประชาชนมีความรูa มีความรักในแหลCงโบราณสถานสCงเสริมใหaประชาชนมีความเขaาใจ
เหมือนกับในตCางประเทศเชCนแหลCงโบราณสถานตCาง ๆ เหมือนกับประเทศตCาง ๆ ทางยุโรป
ซึ่งสCงเสริมใหaประชาชนเขaาใจความสำคัญของศิลปะตCาง ๆ ในปéจจุบันประเทศไทยเพิ่งจะมี
การสCงเสริมใหaประชาชนรักศิลปะแหลCง โบราณสถาน ตCาง ๆ ดังนั้นบทบาทของผูaนำชุมชน
และสมาชิกในชุมชนที่มีตCอการอนุรักษ5โบราณสถานคือการสCงเสริมองค5ความรูaที่ถูกตaอง
ใหaกับชุมชน เชCน การอนุรักษ5ตaองไมCเปลี่ยนแปลงองค5ประกอบของวัสดุที่ใชaในการซCอมแซม
แหลCงโบราณสถานนั้น ควรใชaวัสดุแบบเดิมใหaมากที่สุดจึงจะเปQนการอนุรักษ5ที่แทaจริง และ
ควรสCงเสริมการสรaางอาคารตCาง ๆ ในปéจจุบันที่จะพัฒนาไปสูCการเปQนโบราณสถานเปQน
แหลCงศึกษาประวัติศาสตร5 และชาติพันธ5ของบรรพบุรุษในคนรุCนใหมCยุคปéจจุบัน มากกวCาท่ี
จะไปทุCมเทอนุรักษ5แหลCงโบราณสถานในอดีตซึ่งไมCคุaมคCา รัฐควรสCงเสริมการศึกษาดaานการ
อนุรักษ5ประเพณี วัฒนธรรม การอนุรักษ5 การรักษาแหลCงโบราณสถานใหaแกCประชาชน
ดังนั้นการที่ประชาชนไมCมีสCวนรCวมในการทะนุบำรุงรักษาแหลCงโบราณสถานจึงไมCใชC
ความผิดของประชาชน

2. การมีสCวนรCวมเปQนกระบวนการใหaประชาชนเขaามามีสCวนเกี่ยวขaองในการ
จัดการ ดำเนินงาน และพัฒนาเปQนกระบวนการที่ตCอเนื่อง การสCงเสริมการมีสCวนรCวมจึง
จำเปQนตaองใหaความสำคัญกับลำดับและขั้นตอน และความเชื่อมโยง การจัดการที่ตaอง
ดำเนินการไปตามลำดับหรือขั้นตอนจากระดับหนึ่งไปสูCอีกระดับหนึ่งโดยตaองสรaางความ
พรaอมดaานตCาง ๆ อยCางเหมาะสม การที่ประชาชน ชุมชน สามารถเขaาไปมีสCวนในการ
จัดการในการกำหนดนโยบายพัฒนาทaองถิ่น และมีสCวนรCวมในการรับประโยชน5จากการ
จัดการรวมทั้งมีสCวนในการควบคุมประเมินผลโครงการตCาง ๆ ของทaองถิ่น การมีสCวนรCวมใน
ลักษณะที่เปQนกระบวนการของการพัฒนาโดยใหaประชาชนมีสCวนรCวม ในการจัดการตั้งแตC
เริ่มตaนจนกระทั่งสิ้นสุด เห็นไดaวCาแนวคิดและวิธีปฏิบัติในการจัดการทรัพยากรทาง
โบราณคดีในประเทศไทยดังกลCาวจะดูเหมือนวCาเปQนแบบแผนการจัดการที่ยังใหa

การประชุมวิชาการพระพุทธศาสนาและศลิ ปวฒั นธรรมระดับชาตแิ ละนานาชาติครง้ั ท่ี 2 307

ความสำคัญตCอการอนุรักษ5สงวนทรัพยากรเอาไวaมิใหaเสียหายหรือสูญหายไปแตCก็มีการ
ประยุกต5ใชaประโยชน5ของโบราณสถานและแหลCงโบราณคดีในการพัฒนาดaานเศรษฐกิจผCาน
อุตสาหกรรมการทCองเที่ยวมากขึ้นซึ่งเปQนการเปลี่ยนแปลงแบบแผนในการจัดการอยCาง
รวดเร็วแตCแทaจริงแลaวสCวนที่ยังไมCมีการเปลี่ยนแปลงเลยในระยะหลายสิบปìที่ผCานมาก็คือยัง
เปQนการจัดการแบบรวมศูนย5โดยหนCวยราชการสCวนกลางที่มีอำนาจตามกฎหมายที่ไมCไดaใหa
ความสำคัญกับการมีสCวนรCวมของหนCวยงานอื่นองค5กรปกครองสCวนทaองถิ่นและประชาชนที่
อาศยั อยูCในพื้นที่ที่โบราณสถานหรอื แหลงC โบราณคดีน้นั ตง้ั อยCูมากนกั

3. การสรaางเครือขCายอนุรักษ5โบราณสถานพื้นที่อุทยานประวัติศาสตร5ศรีเทพ
ภาครัฐเปQนเครือขCายนำ โดยการกำหนดแนวทางใหaเครือขCายวัด และชุมชนทำหนaาที่อยCางมี
ขอบเขตที่จำกัด เครือขCายวัด เปQนเครือขCายทำ เนaนกระบวนการลงมือทำงานดaวยขอบเขต
และขaอบังคับที่มีอยCางจำกัด สCวนเครือขCายภาครัฐเปQนเครือขCายสนับสนุนการการมีสCวนรCวม
ของวัดและชุมชนในการอนุรักษ5โบราณสถานพื้นที่อุทยานประวัติศาสตร5ศรีเทพ จังหวัด
เพชรบูรณ5 ตามบทบาทแตCละดaาน เชCนบทบาทดaานวัฒนธรรม บทบาทดaานวิชาการ ในแตC
ละดaานนั้นเปQนบทบาทปกติแตCมีความเกี่ยวขaองที่ตaองทำงานรCวมกันกับภาครัฐ คือ บางสCวน
อาจจะตaองขออนุญาตจากทางภาครัฐในการที่จะทำหนaาที่ของตนใหaลุลCวงไปดaวยดี แมaวCา
เมื่อบทบาทเหลCานี้คือวิถีชีวิตปกติแตCเมื่อมีกฎ ขaอบังคับยCอมทำใหaงานและบทบาทนั้นลCาชaา
ลง บางสCวนก็ตaองการกำลงั เสริมจากภาคประชาสังคม

องค6ความรูkจากงานวจิ ัย

งานวิจัย “การมีสCวนรCวมของวัดและชุมชนในการอนุรักษ5โบราณสถานพื้นที่อุทยาน
ประวัตศิ าสตรศ5 รเี ทพ จังหวัดเพชรบรู ณ5 ซ่งึ อธบิ ายในรายละเอียด ดังนี้

1) ตaองมีการใหaความรูaสCงเสริมการคaนควaาวิจัย ควรศึกษาและเก็บรวบรวมขaอมูลภูมิ
ปéญญาของไทยในดaานตCาง ๆ ของทaองถิ่นจังหวัด ภูมิภาค และประเทศโดยเฉพาะอยCางยิ่งภูมิ
ปญé ญาท่เี ปQนภูมปิ éญญาของทaองถ่ิน

308 การประชมุ วิชาการพระพุทธศาสนาและศลิ ปวฒั นธรรมระดับชาติและนานาชาติครง้ั ท่ี 2

2) ปéญหาดaานการจัดการงบประมาณ หรือกลCาวไดaวCา ปéญหาดaานการบริหาร
งบประมาณ เปQนปéญหาที่สำคัญประการหนึ่งที่จะขับเคลื่อนงานอนุรักษ5โบราณสถานในที่ตCาง ๆ
ใหaดำเนนิ ไปไดa

3) ตaองมีการสCงเสริมกิจกรรม โดยการสCงเสริมและสนับสนุนใหaเกิดเครือขCายการสืบ
สานและพัฒนาภูมิปéญญาของชุมชนตCาง ๆ เพื่อจัดกิจกรรมทางวัฒนธรรมและภูมิปéญญา
ทอa งถ่ินอยาC งตอC เนอ่ื ง

การประสานความร+วมมอื แบบเครือข+ายการจัดการ
- ภาครัฐ, วดั , ชมุ ชน

การมีส+วนรว+ มของวัดและชมุ ชนในการอนรุ ักษโ? บราณสถานพ้นื ที่
อุทยานประวัติศาสตร?ศรีเทพ จงั หวดั เพชรบรู ณ?

1. การมสี ว@ นรว@ มของวัดและชุมชน
2. การกาหนดบทบาทหนjาที่ของคณะทางานเครือข@าย
3. แนวทางการทางานของเครอื ข@าย

รปู แบบการมีสว+ นร+วมของวัดและชมุ ชนในการจัดการพื้นท่อี ุทยาน
ประวัตศิ าสตร?ศรีเทพ จังหวดั เพชรบูรณ?

1) การใหjความร,jู 2) การจัดการ, 3) การสรjางเครอื ขา@ ย

อภปิ รายผล

1) แนวคิดการมีสCวนรCวม และอนุรักษ5โบราณสถานพื้นที่อุทยานประวัติศาสตร5
ศรีเทพ จังหวัดเพชรบูรณ5 องค5กรจะตaองรวบรวมขaอมูลของปéจจัยที่เกี่ยวขaองที่เหมาะสมกับ
โครงสรaางองค5กรในการดำเนินกิจกรรมใหaมีความคลCองตัว การบริหารบุคคลพบวCา การ
เสาะแสวงหาเพื่อทำหนaาที่ในการดูแลปกปdองการอำนวยการพบวาC พระสังฆาธิการจะตaองมี
ความรูaและขaอมูลอยCางลึกซึ้ง ที่สามารถนำไปกำหนดการวินิจฉัยสั่งการที่รวดเร็วแมCนยำ

การประชุมวชิ าการพระพทุ ธศาสนาและศลิ ปวัฒนธรรมระดับชาตแิ ละนานาชาติครงั้ ท่ี 2 309

และการควบคุมพบวCา การใชaระเบียบและระบบที่จัดวางขึ้น พระสังฆาธิการจะตaองพัฒนา
ระบบของจิตสำนึก มีความรูaสึกรับผิดชอบตCอพระศาสนาสำหรับการบูรณาการหลักพุทธ
สอดคลaองกับงานวิจัยของ พระครูวัชรสวรรณาทร ธมฺมโชโต (ลูกชุบ เกตุเขียว) ศึกษาเรื่อง
“การประยุกต5ใชaอิทธิบาทธรรมเพื่อสCงเสริมกลยุทธ5การอนุรักษ5โบราณสถานของ
พระสังฆาธิการในเขตปกครองคณะสงฆ5ภาค 15” ที่จะตaองทำใหaพระสังฆาธิการมีฉันทะใสC
ใจในการอนุรักษ5อยูCเสมอและมุCงมั่น มีวิริยะความขยันหมั่นเพียรในการอนุรักษ5โบราณสถาน
ความพยายามอดทน มีจิตตะความตั้งใจในการอนุรักษ5โบราณสถาน มีความกระตือรือรaน
พระสังฆาธิการจะตaองมีความรูaและขaอมูลอยCางลึกซึ้งที่สามารถนำไปกำหนดการวินิจฉัยสั่ง
การที่รวดเร็วแมCนยำ และการควบคุม พบวCา การใชaระเบียบและระบบที่จัดวางขึ้น
พระสังฆาธิการจะตaองพัฒนาระบบของจิตสำนึก มีความรับผิดชอบตCอพระศาสนา สำหรับ
การบูรณาการหลักพุทธธรรมจะตaองทำใหaพระสังฆาธิการมีฉันทะใสCใจในการอนุรักษ5อยูC
เสมอและมุCงมั่น มีวิริยะความขยันหมั่นเพียรในการอนุรักษ5โบราณสถาน ความพยายามอดทน มี
จิตตะความตั้งจิตในการอนุรักษ5โบราณสถาน มีความกระตือรือรaนและมีวิมังสาใชaสติปéญญา
พิจารณาใครCครวญตรอบสอบหาสาเหตุเพื่อแกaไขปรับปรุงใหaดีขึ้น (พระครูวัชรสุวรรณาทร
ธมมฺ โชโต (ลูกชบุ ), 2558 บทคัดยCอ).

2) การมีสCวนรCวมของวัดและชุมชนในการอนุรักษ5โบราณสถานพื้นที่อุทยาน
ประวัติศาสตร5ศรีเทพ จังหวัดเพชรบูรณ5 เปQนการใชaและจัดการทรัพยากรทั้งที่เปQนธรรมชาติ
และที่มนุษย5สรaางขึ้นอยCางฉลาดตลอดจนการวางแผนอยCางรอบคอบสำหรับทรัพยากร
เหลCานั้น เพื่อบรรลุความตaองการในอนาคตและหมายรวมถึงการปdองกัน การดูแล
การรักษา เพื่อใหaคงคุณคCาไวa การสงวน และการปฏิสังขรณ5และการบูรณะดaวย การสงวน
รักษา การดูแลรักษาไวaตามสภาพเดิมเทCาท่ีเปQนอยูC และปdองกันมิใหaเสียหายตCอไป ความมCุง
หมายในการอนุรักษ5โบราณสถาน โบราณวัตถุ และศิลปวัตถุ จำเปQนตaองมีการพิจารณาเชิง
แนวคิด เพราะความคิดจะเปQนแกนนำไปสูCการปฏิบัติเทคนิควิธีที่เหมาะสม การอนุรักษ5
โบราณสถาน โบราณวัตถุ และศิลปวัตถุใหaไดaนั้น จำตaองมีการกำหนดจุดมุCงหมายในการ
ดำเนินงานรCวมกัน คือ 1) การอนุรักษ5เปQนการสงวนไวaซึ่งงานสถาปéตยกรรมที่มีคุณคCาอยCาง
มาก เปQนมรดกทางวัฒนธรรมของชาติ 2) งานสถาปéตยกรรมเกCาแกCบางชิ้น เปQนสิงท่ี
บรรพบุรุษไดaกCอสรaางไวaเพื่อเปQนอนุสรณ5แหCงคุณงามความดีของบรรพบุรุษ เราก็จะตaอง

310 การประชุมวชิ าการพระพุทธศาสนาและศลิ ปวัฒนธรรมระดับชาติและนานาชาติครั้งที่ 2

อนุรักษ5ไวaเปQนตaน สCวนมรดกทางวัฒนธรรมแบCงออกเปQน 2 ลักษณะ ไดaแกC 1) วัฒนธรรม
ทางจิตใจ ไดaแกC มรดกทางวัฒนธรรมที่ตกทอดมา ที่เปQนนามธรรมซึ่งแสดงออกใหaเห็นผCาน
ทางดaานจริยธรรม คCานิยม ปรัชญา ประเพณีตCาง ของสังคม 2) มรดกทางวัตถุไดaแกC
ผลผลิตที่มนุษย5ไดaสรaางขึ้นใหaเห็นเปQนรูปธรรม เชCน โบราณสถาน โบราณวัตถุศิลปวัตถุ
สอดคลaองกับงานวิจัยของ ธานินทร5 ไชยเยชน5 และคณะ ไดaทำการวิจัยเรื่อง “การทำนุ
บำรุงศาสนสถานและโบราณสถาน : อำนาจและวิธีการ” ผลการวิจัยพบวCา ศาสนสถาน
และโบราณสถานมีทั้งที่เปQนโบราณสถานรaางและเปQนท่ีเปQนปéจจุบันยังใชaงานอยูC สCวนที่มัก
เกิดปéญหาการดูแลรักษา คือโบราณสถานที่เปQนศาสนสถานที่ยังใชaงานกับโบราณสถานที่
รaางที่ตั้งอยูCในเขตศาสนสถานที่ยังใชaงานอยCู ผูaดูแลโบราณสถานคือ กรมศิลปากรสCวน
ศาสนสถานซึ่งสCวนใหญC คือ วัดในพุทธศาสนานั้นปéจจุบันผูaดูแลคือ สำนักงาน
พระพุทธศาสนาแหCงชาติ การทำนุบำรุงโบราณสถาน และศาสนสถานโดยรวมแลaวไมCเกิด
เปQนปéญหามากนัก เพราะทั้ง 2 หนCวยงานมีอำนาจหนaาที่ ความรับผิดชอบแตกตCางกัน
ตCางหนCวยก็มีพระราชบัญญัติ หรือระเบียบตCางกัน สCวนทีมีปéญหาคือ ความขัดแยaงเรื่องของ
การพัฒนา กับการอนุรักษ5ที่ไมCเปQนไปในทิศทางเดียวกัน ทำใหaเกิดความไมCเหมาะสมตCอ
ศาสนา การทำลายโบราณสถาน (ธานินทร5 ไชยเยชน5 และคณะ, 2550: บทคัดยCอ)
และหลกั ฐานทางประวตั ิศาสตรท5 ง่ั โดยรเูa ทาC ไมถC ึงการณ5 และบางคร้ังก็เกิดข้นึ โดยเจตนาการ
ทำนุบำรุงรักษาในสCวนของกรมศิลปากรมีปéญหาเรื่องการขาดกำลังคนทางดaานการอนุรักษ5
ตามหลัดวิชาการ และขาดงบประมาณ และที่เปQนปéญหามากและหลายฝëายไดaตั้งขaอสังเกต
คือ เรื่องความเหมาะสมและความถูกตaองตามหลักวิชาการ สCวนปéญหาของทางวัด คือความ
ตaองการใชaโบราณสถานและพื้นที่ในการพัฒนาวัด ทั้งเพื่อการใชaสอยและเพื่อการหาปéจจัย
ในการทำนุบำรุงวัด และสCวนหนึ่งยังอาจเปQนปéจจัยในเชิงพุทธพานิชย5 และสอดคลaองกับ
งานวิจัยของ สุณีย5 บริสุทธ์ิ ไดaศึกษาวิจัยเรื่อง “การสCงเสริมความตระหนักของชุมชนเชียง
แสนตCอคุณคCาดaานโบราณสถานเมืองเชียงแสน” ผลการวิจัยพบวCา 1) กลุCมตัวอยCางมีความ
เขaาใจลึกซึ้งถึงคุณคCาของโบราณสถานเมืองเชียงแสนวCาเปQนแหลCงโบราณคดีครั้งสมัยกCอน
ประวัติศาสตร5 และสมัยประวัติศาสตร5 มีการรวมตัวกัน จัดกิจกรรมอนุรักษ5โบราณสถาน
และเล็งเห็นแนวทางการจัดกิจกรรมเพื่อเสริมสรaางรายไดaแกCชุมชน โดยยึดแนวทางการ
ธำรงรักษาไวaซึ่งสิ่งมีคCาทางประวัติศาสตร5อยCางยั่งยืน 2) อำเภอเชียงแสนตั้งอยูCในจุด

การประชมุ วิชาการพระพุทธศาสนาและศิลปวฒั นธรรมระดับชาติและนานาชาติครั้งที่ 2 311

ยุทธศาสตร5ทำการทCองเที่ยวชื่อวCาสามเหลี่ยมมรกตโดยมีเสaนทาง R3A เชื่อมระหวCางไทย
ลาว เมียนมาร5 ที่ไดaดำเนินไปการมากแลaว และกำลังเปQนรูปธรรมในเร็ววัน มีแมCน้ำโขงเปQน
ทางสัญจรหลักไปสูCเมืองสำคัญของประเทศเพื่อนบaาน 3) ผูaนำชุมชนและประชาชนสามารถ
รวมตัวกันจัดกิจกรรมที่กCอใหaเกิดการสรaางคุณคCาของโบราณสถาน เชCน กิจกรรม walk
Rally ไหวaศาล 9 โบราณสถาน งานบวงสรวงเจaาพCอประตูปëาสัก และเจaาแมCนางเซิ้ง 4)
รวบรวมเกี่ยวกับขนบธรรมเนียมประเพณี วัฒนธรรม ศิลปะ ความเชื่อ พิธีธรรมกลุCมปéญญา
ที่เปQนอัตลักษณ5 และเอกลักษณ5ของเชียงแสนสมัยกCอนที่สูญหายไป และที่ยังคงอยูCจาก
ผูaสูงอายุ 5) กลุCมเชียงแสนการทCองเที่ยวสามารถเปQนแกนนำในการจัดนำเที่ยวและมีรายไดa
จากการทCองเท่ียว (สุณีย5 บริสทุ ธ์ิ, 2552: 57).

3) เพื่อนำเสนอรูปแบบการมีสCวนรCวมของวัดและชุมชนในการจัดการพื้นท่ี
อุทยานประวัติศาสตร5ศรีเทพ จังหวัดเพชรบูรณ5 ตรงกับนโยบายของหนCวยงานตCาง ๆ
ตaองการใหaสถาบันการศึกษาองค5กรตCาง ๆ และชุมชนมีสCวนรCวมในการอนุรักษ5 ฟ£§นฟู มรดก
ทางศิลปวัฒนธรรมทaองถิ่น โดยใหaจัดกระบวนการเรียนรูaในชุมชน สCวนนักเรียนและบุคคล
ที่เกี่ยวขaองมีความตaองการในการพัฒนาหลักสูตรทaองถิ่นเรื่องการอนุรักษ5โบราณสถาน
โบราณวัตถุตCาง ๆ สอดคลaองกับงานวิจัยของมยุรี สุภังคนาช ไดaศึกษาวิจัยเรื่อง “การศึกษา
เพื่อเสนอแนวทางการอนุรักษ5วัดในชุมชนริมคลองอaอม จังหวัดนนทบุรี” พบวCา
ความสำคัญของโบราณสถานที่ทำการศึกษาอยูCในระดับที่คCอนขaางมากและสCวนใหญCไดaรับ
การปฏิสังขรณ5แลaว แตCคนในชุมชนเองไมCไดaมีบทบาทหรือมีสCวนรCวมในการกำหนดแนว
ทางการอนุรักษ5โบราณสถานของตนเอง รวมไปถึงการที่ชุมชนสCวนใหญCยังไมCตระหนักใน
การเปQนเจaาของ ดังน้ัน จึงเสนอแนะใหaแนวทางสำหรับการอนุรักษ5โบราณถานนั้น ควรใหa
ความสำคัญกับคนในชุมชนดaวย เพื่อเปQนการสรaางจิตสำนึกสรaางความสามารถเบื้องตaนใน
การดูแลรักษากายภาพของโบราณสถานและการเป•ดโอกาสใหaคนในชุมชน ไดaเขaามามีสCวน
รCวมกำหนดแนวทางการอนุรักษ5โบราณสถานในระดับชุมชนของตนเอง (มยุรี สุภังคนาช,
2554: 117) และศิวาภรณ5 รัตนพันธ5 ไดaศึกษาวิจัยเรื่อง “การศึกษาเพื่อเสนอแนะแนว
ทางการพัฒนาและอนุรักษ5วัดในกรุงเทพมหานคร” จากการศึกษาพบวCาวัดใน
กรุงเทพมหานครประสบปéญหาการถูกทำลายสภาพภูมิทัศน5 อันเนื่องมาจากกิจกรรมการใชa
ที่ดินในบริเวณวัดที่มีลักษณะไมCเหมาะสม ทำใหaขาดความสงบและขัดตCอบทบาทในการ

312 การประชุมวิชาการพระพทุ ธศาสนาและศลิ ปวฒั นธรรมระดับชาติและนานาชาตคิ รงั้ ท่ี 2

เปQนศาสนสถาน การเพิ่มบทบาทของวัดในดaานการทCองเที่ยวที่ขาดการวางแผนอยCาง
ระมัดระวังเปQนสCวยทำลายเอกลักษณ5ของวัด สภาพความเสื่อมโทรมของศิลปโบราณสถาน
ซึ่งขาดการทำนุบำรุงอยCางถูกตaอง และผลกระทบจากสภาวะเปQนพิษของสิ่งแวดลaอมเมือง
รวมไปถึงสภาพความแออัดทรุดโทรมของชุมชนแวดลaอมวัดมีสCวนทำใหaวัดขาดความงาม
บทบาทของวัดที่เคยมีตCอชุมชนในลักษณะสรaางสรรค5มีความสำคัญลดนaอยลง โดยมีสถาบัน
อื่นมารับหนaาที่แทน เชCน โรงเรียน สภาสังคมสงเคราะห5และบทบาทที่เพิ่มขึ้นในปéจจุบันคือ
การใชaวัดเปQนสถานที่จอดรถและการใหaบริการทางดaานการฌาปนกิจ จึงกลCาวไดaวCาวัดมี
กิจกรรมทางเศรษฐกิจเพิ่มขึ้นและทำใหaเกิดความพรุกพรCาน สับสนภายในบริเวณวัด
นอกจากนี้ความประพฤติอันไมCเหมาะสมของสงฆ5มีสCวนทำลายภาพพจน5ที่ดีของวัดที่มีตCอ
ประชาชน การศึกษานี้จึงเปQนการศึกษาปéญหาของวัดและชุมชน และไดaใหaขaอเสนอแนะใน
การแกaปéญหาดังกลCาว โดยจัดระดับปéญหาเปQน 2 ระดับคือปéญหาในระดับวัดและปéญหาใน
ระดับชุมชน เสนอใหaปรับปรุงสภาพแวดลaอมทางกายภาพ โดยเนaนการอนุรักษ5สภาพ
โบราณสถานสำคัญ และเสนอใหaมีกิจกรรมเพิ่มเติมทางศิลปวัฒนธรรมไปถึงการพัฒนา
ชุมชน เพิ่งสCงเสริมความสัมพันธ5ระหวCางวัดและชุมชน นอกจากนี้ยังเสนอแนะแนวทางใหa
ภาครัฐเห็นความสำคัญในการอนุรักษ5มรดกของชาติ และเขaามามีสCวนชCวยสนับสนุนอยCาง
จริงจงั เพอื่ ใหกa ารปฏบิ ัตไิ ดอa ยCางมีประสิทธิภาพมากขึ้น (ศวิ าภรณ5 รตั นพันธ,5 2545: 107)

สรปุ

สรุปผลการศึกษาแนวคิดการมีสCวนรCวมของวัดและชุมชนในการอนุรักษ5
โบราณสถานพื้นที่อุทยานประวัติศาสตร5ศรีเทพ จังหวัดเพชรบูรณ5 จากความคิดเห็นของ
ผูaตอบแบบสอบถามซึ่งประกอบดaวยผูaนำทางดaานศาสนา ผูaนำชุมชนและผูaนำดaาน
วัฒนธรรมและสิ่งแวดลaอม แนวคิดในการอนุรักษ5 ถือเปQนหนaาที่ของวัดและชุมชนที่จะตaอง
ทำตามหลักพระธรรมวินัย และตามพระราชบัญญัติคณะสงฆ5 โดยแนวทางในการอนุรักษ5
นั้นสามารถทำไดaดaวยการดูแลรักษาโบราณสถานกับหนCวยงานราชการที่เกี่ยวขaอง
จากสภาพปéญหาที่เกิดขึ้นในปéจจุบันจึงเปQนกาลอันสมควรที่ชาวบaานและชุมชนและ
หนCวยงานตCาง ๆ ที่เกี่ยวขaอง ควรตระหนักถึงความสำคัญและรCวมหาแนวทางในการแกaไข
สภาพปéญหาที่เกิดขึ้น สCวนรูปแบบการมีสCวนรCวมนั้นวัดและชุมชนควรใหaความรCวมมือกัน

การประชุมวิชาการพระพุทธศาสนาและศลิ ปวัฒนธรรมระดับชาติและนานาชาตคิ รงั้ ที่ 2 313

อยCางสมัครสามัคคีในการอนุรักษ5โบราณสถานในพื้นที่อุทยานประวัติศาสตร5ศรีเทพแหCงนี้
เพื่อใหaการอนุรักษ5ไดaผลดีนั้นประชาชนจะตaองเขaามาดีสCวนเกี่ยวขaองในการจัดการ
ดำเนินงานและพัฒนาเปQนกระบวนการที่ตCอเนื่อง และการสรaางเครือขCายในการอนุรักษ5
โบราณสถาน รัฐควรกำหนดแนวทางใหaเครือขCายวัด ชุมชนทำหนaาที่อยCางมีขอบเขต สCวน
เครอื ขCายภาครฐั เปนQ เครอื ขาC ยสนบั สนนุ การมสี วC นรวC ม

ขอk เสนอแนะ

เพื่อใหaเกิดประโยชน5สูงสุดสำหรับการมีสCวนรCวมของวัดและชุมชนในการ
อนุรักษ5โบราณสถานพื้นที่อุทยานประวัติศาสตร5ศรีเทพ จังหวัดเพชรบูรณ5และสังคมโดย
สCวนรวม สำหรับการนำขaอมูลที่ไดaจากการศึกษาวิจัยไปประยุกต5ใชa คณะผูaวิจัยจึงแบCง
ขอa เสนอแนะออกเปนQ 2 สCวน คือ

1. ขอS เสนอแนะในการนำผลการวิจยั ไปปฏบิ ตั ิสำหรับผเSู ก่ียวขSอง
สCวนแรก เปQนขaอเสนอแนะในเชิงนโยบายสำหรับหนCวยงานหรือการสนับสนุน
จากภายนอกชุมชน ซึ่งเปQนหนCวยงานภาครัฐที่มีสCวนเกี่ยวขaอง ซึ่งมีความจำเปQนที่หนCวยงาน
ของรัฐที่เกี่ยวขaองจะตaองสนับสนุนและเปQนผูaที่ใหaขaอมูลความรูaที่เกี่ยวขaองกับแหลCง
โบราณคดีทางพระพุทธศาสนา ประวัติศาสตร5 พุทธศิลป® และกฎหมายที่เกี่ยวขaองแกC
ชาวบaาน มีการผสานงานกับหนCวยงานหลายฝëายและทุกครั้งที่จัดอบรม เป•ดโอกาสใหa
ชาวบaานแสดงความคิดเห็นเพื่อใหaรัฐมีสCวนรCวมเพื่อหาทางออกใหaกับประชาชน มีการจัดสิ่ง
อำนวยความสะดวกและสาธารณูปโภคตCาง ๆ ใหaทั่วถึง เชCน ถนนหนทาง แสงสวCาง ปdาย
ขaอมูล ปdายบอกทาง การซCอมบำรุงหรือบูรณะ เปQนตaน ควรมีการจัดทุนหมุนเวียนที่เกิดจาก
ภาครัฐและเอกชนที่เขaามาชCวยเหลือ ในการถวายพระสงฆ5สามเณรหรือจaางชาวบaานเขaามา
ดูแลความสะอาด รักษาความปลอดภัยใหaแกCนักทCองเที่ยวตามแหลCงโบราณคดี และ
สนับสนุนงบในการจัดอบรมยุวมัคคุเทศก5 หรือสนับสนุนเงินทุนในการวิจัยเพื่อการพัฒนาท่ี
ยั่งยืนแกCชุมชน ขอความรCวมมือกับมัคคุเทศก5ทaองถิ่นที่นำนักทCองเที่ยวมาเที่ยวชมโดยใหa
อธิบายความรูaและความสำคัญของโบราณสถานพื้นที่อุทยานประวัติศาสตร5ศรีเทพอยCาง
ครบถaวนเพื่อแสดงใหaเห็นถึงความสำคัญทางประวัติศาสตร5และพุทธศิลป®ของแหลCง
โบราณคดีทางพระพุทธศาสนาท่ีมีตCอทaองถิ่น และที่สำคัญคือ กระทรวงศึกษาธิการควร

314 การประชุมวิชาการพระพุทธศาสนาและศิลปวัฒนธรรมระดบั ชาติและนานาชาตคิ ร้งั ที่ 2

สCงเสริมใหaสถาบันการศึกษาในชุมชนจัดทำหลักสูตรประวัติศาสตร5ทaองถิ่น เพื่อใหaความรaู
และปลูกฝéงจิตสำนึกใหaกับนักเรียน อันจะนำไปสูCการเรียนรูa และการอนุรักษ5และพัฒนา
อยCางย่งั ยืนไดaในอนาคต

สCวนที่สอง เปQนขaอเสนอแนะสำหรับชุมชน ที่ควรมีการปลูกฝéงจิตสำนึกในการ
อนุรักษ5โบราณสถานพื้นที่อุทยานประวัติศาสตร5ศรีเทพ ใหaกับประชาชน เด็กหรือเยาวชน
มีสCวนรCวมในการการอนุรักษ5และพัฒนาโบราณสถานพื้นที่อุทยานประวัติศาสตร5ศรีเทพ ใหa
เปQนแหลCงเรียนรูaและแหลCงทCองเที่ยวมีการจัดอบรมใหaความรูaแกCคนในชุมชน เพื่อการ
เสริมสรaางความรูaความเขaาใจทางดaานประวัติศาสตร5พุทธศิลป® วัฒนธรรมและสรaางจิตสำนึก
ในการอนุรักษ5แหลCงโบราณคดีหรือแหลCงศิลปกรรม มีการจัดประชาสัมพันธ5การทCองเที่ยว
อยCางจริงจัง จัดสภาพภูมิทัศน5รอบ ๆ แหลCงโบราณคดีใหaเหมาะสม มีการจัดทำหนังสือหรือ
สื่อภาพเคลื่อนไหว รวมทั้งเว็บไซต5แนะนำสถานที่ทCองเที่ยวในบริเวณใกลaเคียง ผูaนำชุมชน
เองตaองเปQนผูaนำในการอนุรักษ5และพัฒนาโบราณสถานพื้นที่อุทยานประวัติศาสตร5ศรีเทพ
ใหaความรูaชาวบaานในการคอยสอดสCองดูแลชCวยเจaาหนaาท่ี และจัดกิจกรรมในลักษณะการ
ทอC งเทย่ี วและพฒั นาโบราณสถานโดยชมุ ชนรCวมมอื กัน

สCวนที่สาม เปQนขaอเสนอแนะสำหรับองค5กรปกครองสCวนทaองถิ่น ซึ่งควรรCวมมือ
และประสานงานกับกรมศิลปากร ในการเฝdาระวังการบุกรุกและทำลายแหลCงโบราณคดี
ชCวยดูแลถากถางวัชพืชที่ปกคลุมแหลCงโบราณคดีหรือแหลCงศิลปกรรมใหaสะอาด เรียบรaอย
และพัฒนาภูมิทัศน5 กำหนดวิสัยทัศน5ในโบราณสถานพื้นที่อุทยานประวัติศาสตร5ศรีเทพ
อยCางชัดเจนเปQนไปในทิศทางเดียวกัน ควรดำเนินการขยายเครือขCายในการเรียนรaู
ประวัติศาสตร5 พุทธศิลป® และการอนุรักษ5และพัฒนาแหลCงโบราณคดีเพิ่มมากขึ้น และนำ
เครือขCายนั้นมารCวมมือกันในการอนุรักษ5และพัฒนาแหลCงโบราณคดีในทaองถิ่นนำมาเปQนทุน
ทางประวัติศาสตร5และวัฒนธรรม เพื่อมารับใชaชุมชนทaองถิ่น โดยการพัฒนา สCงเสริมอาชีพ
เพม่ิ รายไดaจากส่งิ ท่ีมีอยตูC อC ไป

ขSอเสนอแนะในการทำวิจัยครั้งตอ9 ไป
ในการศึกษาวิจัยตามโครงการวิจัยเรื่อง “การมีสCวนรCวมของวัดและชุมชนในการ
อนุรักษ5โบราณสถานพื้นที่อุทยานประวัติศาสตร5ศรีเทพ จังหวัดเพชรบูรณ5” ไดaสรุปแนวการ
มีสCวนรCวมของวัดและชุมชนในการอนุรักษ5โบราณสถานพื้นที่อุทยานประวัติศาสตร5ศรีเทพ

การประชมุ วิชาการพระพุทธศาสนาและศิลปวัฒนธรรมระดบั ชาตแิ ละนานาชาติคร้ังท่ี 2 315

จังหวัดเพชรบูรณ5 ทั้งจากการสัมภาษณ5และการประชุมเชิงปฏิบัติการ และการสรaาง
เครือขCายวัดและชุมชนในการอนุรักษ5โบราณสถานพื้นที่อุทยานประวัติศาสตร5ศรีเทพ
จังหวัดเพชรบูรณ5นั้น ชุมชนมีความตaองการที่จะใหaมีปลูกฝéงจิตสำนึกในการอนุรักษ5แหลCง
โบราณคดใี หกa บั ประชาชน พระสงฆส5 ามเณร เด็กหรือเยาวชนใหaมีสCวนรCวมในการมีสCวนรCวม
ของวัดและชุมชนในการอนุรักษ5โบราณสถานพื้นที่อุทยานประวัติศาสตร5ศรีเทพ จังหวัด
เพชรบูรณ5ใหaเปQนแหลCงเรียนรูaและแหลCงทCองเที่ยว และการจัดอบรมใหaความรูaแกCคนใน
ชุมชน เพื่อการเสริมสรaางความรูaความเขaาใจทางดaานประวัติศาสตร5และสรaางจิตสำนึกใน
การอนุรักษ5แหลCงโบราณคดี สCวนแนวทางการมีสCวนรCวมของวัดและชุมชนในการอนุรักษ5
โบราณสถานพื้นที่อุทยานประวัติศาสตร5ศรีเทพ จังหวัดเพชรบูรณ5ในเชิงนโยบายและการ
สนับสนุนจากภายนอก ผลการวิจัยพบวCา หนCวยงานภาครัฐที่เกี่ยวขaองควรสนับสนุน
งบประมาณในการจัดอบรมยุวมัคคุเทศก5 หรือสนับสนุนเงินทุนในการวิจัยเพื่อการพัฒนาที่
ยั่งยืนแกCชุมชน และสถาบันการศึกษาในชุมชนควรจัดทำหลักสูตรประวัติศาสตร5ทaองถ่ิน
หรือกิจกรรมเสริมหลักสูตรที่เกี่ยวขaองกับแหลCงโบราณคดี พระพุทธศาสนา ประวัติศาสตร5
และพุทธศิลป®ในทaองถิ่น เพื่อใหaความรูaและปลูกฝéงจิตสำนึกใหaกับนักเรียน ซึ่งสมควรที่จะ
ไดaรับการศึกษาวิจัยตCอยอดองค5ความรูaและแนวทางการอนุรักษ5พัฒนาที่ไดaจากการวิจัยใน
โครงการที่ผCานมาเพื่อใหaเกิดประโยชน5ในเชิงรูปธรรมหรือในเชิงปฏิบัติอยCางสูงสุดแกCชุมชน
ทaองถ่ินและประเทศชาติ

ดังนั้น คณะผูaวิจัยจึงมีขaอเสนอแนะควรมีการศึกษาวิจัยเกี่ยวขaองกับการนำองค5
ความรูaและการมีสCวนรCวมของวัดและชุมชนในการอนุรักษ5โบราณสถานพื้นที่อุทยาน
ประวัติศาสตร5ศรีเทพ จังหวัดเพชรบูรณ5เชิงบูรณาการที่ไดaในเชิงปฏิบัติการมากยิ่งขึ้น โดย
ใหaเขaาถึงชุมชนและกลุCมเปdาหมายที่เปQนกำลังสำคัญของสังคมทaองถิ่นตCอไป นั่นก็คือ
เยาวชน และควรตCอยอกการศึกษาพัฒนาการทางประวัติศาสตร5และพุทธศิลป®ของแหลCง
โบราณคดีทางพระพุทธศาสนามาเชื่อมกับการศึกษาพัฒนาการทางประวัติศาสตร5ทaองถ่ิน
ของชุมชนรอบ ๆ แหลCงโบราณคดี ซึ่งจะทำใหaเยาวชนอยากเรียนรูaและเขaาใจความเปQนมา
ของทaองถ่นิ ตนเองไดaมากย่ิงขึ้น

ดaวยเหตุน้ี หากมีการศึกษาวิจัยตCอไป ควรเปQนการศึกษาวิจัยที่เห็นความสำคัญ
และความจำ เปQนอยCางเรCงดCวนในการศึกษาและปลูกฝéงจิตสำ นึกในการตระหนักรูaเกี่ยวกับ

316 การประชมุ วิชาการพระพทุ ธศาสนาและศลิ ปวฒั นธรรมระดบั ชาติและนานาชาตคิ รั้งที่ 2

การเรียนรูaประวัติศาสตร5 พุทธศิลป® และการอนุรักษ5แหลCงโบราณคดีทางพระพุทธศาสนา
กCอนที่แหลCงโบราณคดีเหลCานี้จะถูกทำลายโดยการกระทำของประชาชนที่ปราศจากความรaู
ความเขaาใจ โดยดำเนินการศึกษารวบรวมองค5ความรูaเกี่ยวกับชุมชนโบราณและแหลCง
โบราณคดี เพื่อประยุกต5ใชaเสริมหลักสูตรการเรียนการสอนในสถานศึกษา สำหรับนักเรียน
นักศกึ ษา เยาวชน ตลอดจนประชาชนในทอa งถ่ินและนกั ทอC งเท่ียว ไดเa กดิ ความรูaความเขaาใจ
และความภาคภูมิใจ นำไปสูCความรCวมมือรCวมใจที่ลุCมลึกในการดูแลและอนุรักษ5แหลCง
โบราณคดี แหลCงเรียนรูaทางประวัติศาสตร5 พุทธศิลป®วัฒนธรรมและภูมิปéญญาทaองถ่ิน
ตลอดจนมรดกทางวัฒนธรรมที่บCงบอกถึงความเจริญรุCงเรืองของทaองถิ่น อันจะเปQน
ประโยชน5ตCอการพฒั นาดาa นตCาง ๆ สืบตCอไป

บรรณานกุ รม

ธานินทร5 ไชยเยชน5 และคณะ. (2550). “โครงการโบราณคดีบนพื้นที่สูงในอำเภอปางมะผaา
จังหวัดแมCฮCองสอนระยะที่สอง”. รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ=. สำนักงาน
กองทุนสนบั สนุนการวิจัย (สกว.).

พระครูวชั รสุวรรณาทร ธมฺมโชโต (ลกู ชบุ ). “การประยกุ ตใ5 ชอa ิทธบิ าทธรรมเพ่ือสงC เสรมิ กลยทุ ธ5การ
อนุรักษ5โบราณสถานของพระสังฆาธิการสนเขตปกครองคณะสงฆ5ภาค 15(2558).

วิทยานิพนธ=พุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยมหาจุฬา
ลงกรณราชวิทยาลยั .
ภัททิรา นวลปลอด. (2553). การอนุรักษ=สิ่งแวดลSอมทางโบราณสถานโบราณวัตถุ :
กรณีศึกษาความคิดเห็นของเยาวชนในจังหวัดปราจีนบุรี. กรุงเทพมหานคร :
มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร5.
มยุรี สุภังคนาช. (2545). “การศึกษาเพื่อเสนอแนวทางการอนุรักษ5วัดในชุมชนริมคลอง
อaอม จังหวัดนนทบุรี”. วิทยานิพนธ=สถาป\ตยกรรมศาสตรมหาบัณฑิต. บัณฑิต
วทิ ยาลยั : มหาวิทยาลัยศิลปากร.
ศิวาภรณ5 รัตนพันธ5. “การศึกษาเพื่อเสนอแนวแนวทางการพัฒนาและอนุรักษ5วัดใน
กรุงเทพมหานคร”.

การประชมุ วชิ าการพระพุทธศาสนาและศลิ ปวฒั นธรรมระดบั ชาติและนานาชาตคิ รั้งท่ี 2 317

พุทธปรัชญาท+องถิ่น : ผ+าปา5 ชลอมประเพณชี ุมชนวงั ทอง
จงั หวดั พิษณโุ ลก

Local Buddhist Tradition : Chaloem Chom Chom Tradition,
Wang Thong , Phitsanulok

ชยั รตั น' ทองสขุ ,
พระสันตท' ัศน' คมฺภีรป8ฺโญ (สินสมบตั )ิ

Chairat Thong-suke,
Phra Santas Kamprepunyo
มหาวิทยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลยั วทิ ยาสงฆพ5 ุทธชินราช Mahachulalongko
rnrajavidyalaya University, Phuttha Chinarat Buddhist College, Thailand.
E-mail: [email protected]

บทคัดย]อ

ประเพณีการถวายผ/าป0าชลอมของชาวบ/านและการชักชลอมของคณะสงฆ>
ในเขตอำเภอวังทองจังหวัดพิษณุโลกเปKนประเพณีที่มีอัตตลักษณ>เปKนเอกลักษณ>ที่นMาศึกษา
ติดตาม เพราะมีความเปKนมาไมMต่ำกวMา 70 ปS กำหนดคืนวันลอยกระทงของทุกปSเปKนวัน
ทอดครัง้ เดียว สง่ิ ของท่เี อามาใสใM นชลอมทำบุญเปKนผลผลิตของท/องถน่ิ ใช/ผ/าขนหนหู รือผ/า
หMมตัวเช็ดหน/าขนาดยMอมแทนผ/าสบงจีวรมัดปYจจัยคือเงินเปKนปมไว/กับผ/านั้นแทนการใสMซอง
ขาว และทเี่ ปKนอัตตลกั ษณ>คือชลอมที่สานดว/ ยไม/ไผM

ชะลอม เปKนภาชนะสำคัญแหMงกองผ/าป0าที่ผMานกาลเวลามาอยูMรMวมสมัยและมี
พัฒนารMวมไปกับเส/นตอกพลาสติกที่ยังใช/กันอยูMโดยรูปแบบของ “ชลอม” หรือมันอาจะถูก
ประยุกต>ไปเปKนรูปรMางใกล/เคียงกัน และที่สำคัญคือ “ชะลอม” ยังสื่อความหมายของความ
รักธรรมชาติ, ความหมายเชิงจริยธรรม เชMน ความกตัญ`ูกตเวทีและความสามัคคีของคน
ในชุมชน ซึ่งแสดงออกมาในรูปแบบของวัดและชุมชนรวมถึงโรงเรียนที่มาจัดงาน “ผ/าป0า
ชะลอม” ในวนั ลอยกระทงได/ตง้ั แตอM ดีตจนถึงปจY จบุ ัน

318 การประชุมวชิ าการพระพทุ ธศาสนาและศิลปวัฒนธรรมระดับชาติและนานาชาติครัง้ ท่ี 2

คำสำคัญ : จริยธรรม, พุทธปรชั ญา, ประเพณีชมุ ชน

Abstract

It is the Forest-Robe Presentation Ceremony of the villagers and
the reception of the Sangha cloth of the Sangha in Wang Thong District,
Phitsanulok Province. It is a tradition with a unique identity that worth for
study because it has a history of not less than 70 years. The ceremony will
be held on for the night of Loi Krathong every year; various items that were
put in the Chalom to make merit represent local products. Alternatively, they
used a small face towel or blanket instead of the robe and tied the knot of
money to the cloth instead of envelopes, and the identity was round bamboo
basket or Chalom.

Chalom is an important container of the Forest-Robe Presentation
Ceremony that has passed through the times and has been developed in
conjunction with the plastic punch lines that are nevertheless used in the
form of "chalom" or it may be requested to a similar shape. And most
importantly, "Chalom" also conveys the meaning of love for nature, ethical
meaning such as gratitude and unity of the people in the community
expressed in the form of temples and communities, including schools that
host the event "Chalom Forest-Robe Presentation Ceremony" on Loi Krathong
day from the past to the present.

Keywords : Ethics, Buddhist philosophy, community tradition

การประชุมวชิ าการพระพุทธศาสนาและศลิ ปวฒั นธรรมระดับชาตแิ ละนานาชาติคร้งั ท่ี 2 319

บทนำ

การดำเนินชีวิตของมนุษย>ทุกหมูMเหลMาเผMาพันธุ>บนโลกมักควบคูMไปกับแนวคิดประจำ
จิตที่ถูกถMายทอดมาจากบรรพบุรุษเปKนความอบอุMนใจขาดเสียมิได/ เพราะถ/าขาดแนวคิดลงมือ
ทำที่พMอแมMปู0ยMาตายายเคยทำให/ดูแล/วไซร/ ก็จะขาดความมั่นใจที่เปKนตัวนำจนเปKนความ
กระวนกระวายใจอยูMไมMเปKนสุข คนแถบเอเชียก็เหมือนกันในชีวิตมีพิธีรีตองมากมายที่ต/องทำ
ตามคนเกMากMอน อธิบายให/ตัวเองเข/าใจไมMได/วMาทำไมต/องทำ ถ/าไมMทำแล/วจะเกิดอะไรขึ้น รู/อยMู
แกMใจวMา ถ/าไมMทำตามประเพณีแล/วไมMสบายใจและอยูMไมMเปKนสุข ซึ่งความผMอนคลายเบาสบาย
หลังทำตามคนโบราณแล/วนMาจะเปKนคำตอบที่สมเหตุสมผลกับการเหนื่อยทำได/กระมัง ดังน้ัน
สญั ญาณไมMมีคำตอบแตเM ปนK สุขคงเปKนปรชั ญาการใชช/ วี ติ ไดอ/ ยาM งหน่ึง

สิ่งมีชีวิตที่มีสองขาสองมือหนึ่งหัวตัวเปKนคนแถว ๆ อาเซียนมีลาว กัมพูชา
เมียนมMาร> เวียดนามและไทยคงไมMต/องพูดถึง เรื่องพิธีเจ/ากี้เจ/าการ เพราะถนัดอยูMแล/วกับ
ขนบธรรมเนียมที่สืบตMอ ๆกันมาจะมองไปความเปKนคนเจ/าคิดชMางทำตามแบบแผนไมMได/เกิด
กับคนแถบนี้งMาย ๆ หรือไมMได/ลงทุนอะไรเลยก็ทำกันมา(กฤชกร เพชรนอก, 2563, น.71) แตM
จินตนาการที่ล้ำเลิศเรื่องความสุขความเจริญแกMชีวิตและครอบครัวตMางหากที่กระทุ/งกระแทก
ให/ทำคือมีความหวังที่เปKนทางบวกทางรุMงเรืองจึงลงมือทำ บวกกับแนวปฏิบัติตนละชั่วแล/วหัน
มาทำดีทางคำสอนของทMานผู/ร/ูตื่นเบิกบานด/วยแล/วสำเร็จเปKนแบบแผนการดำเนินชีวิต
(พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกล/าเจา/ อยหูM วั , 2549, น.56) วMา

"สองรอ/ ยหกสิบห/าหรอื หกสิบหกวัน ชิงชนั มหาชาติถวายผ/าพรรษา
เดือนสามแสดงปาตโิ มกขธรรมา ตรษุ าสงกรานต>หวาM นพืชวิสาขะ
สลากภัตรฉลองเทียนวรรษา พรุณหนา/ ฝนฟúาบชู าเทวะ
บาตรน้ำผึ้งซงึ้ หวานตักพระ วถิ ี ณ ทอ/ งถิ่นวฒั นา ฯ"
ดังนั้น บุคคลที่ฝากชีวิตไว/กับธรรมชาติดิน น้ำ ลม ไฟที่บริสุทธิ์ตามสภาพวัตถุที่
เปKนไปตามกฎธรรมดา ๆ เปKนไปได/ที่จะเกิดแนวคิดเหนือคำบรรยายแล/วสะสมก/าวหน/าไป
พร/อม ๆ กับเผMาพันธุ>ของพวกตน เอาความสุขสงบรMมเย็นเรียบงMายของเผMาตัวแจกจMายเปKน
คำตอบแกมM นุษย>ในปYจจุบัน

320 การประชุมวิชาการพระพุทธศาสนาและศลิ ปวฒั นธรรมระดับชาติและนานาชาติครัง้ ที่ 2

1. พุทธปรัชญาผ+าปา5 ชลอม

ตามข/อห/ามของทาM นผูร/ ู/ต่ืนจากความสงสัยเมอื่ 2,600 ปS หา/ มนกั บวชรับผ/าจีวรหรือ
ผ/านุMงหMมด/วยคิดปúองกันวิธีการสะสมที่เปKนภาระ บรรดาคนชาวบ/านทั่วไปมีความปรารถนาดี
อยากถวายผ/าให/การสนับสนุนนักบวชที่มีผ/าเกMาก็ด/วยความเชื่อมั่นในข/อวัตรปฏิบัติ สMวนข/อ
อนุญาตของพุทธศาสดาคือเมื่อนักบวชมีความจำเปKนต/องการผ/านุMงหMมต/องแสวงหาผ/าที่คนเขา
ทิ้งแล/วไมMต/องการแล/ว นั่นหมายถึง ผ/าบังสุกุล เมื่อผ/าบังสุกุลเปKนของที่คนทั่วไปทิ้งไมMมีใคร
ต/องการ กลับเปKนเปúาหมายของนักบวชพุทธ และเปúาหมายนั้นเปKนสิ่งที่องค>ศาสดายกเปKน
จุดเดMนจนเปKนแรงกระตุ/นอันรุนแรงอยMางมากแกMนักบวชเหลMานั้น กลายเปKนวMาความประสงค>
ของนกั บวชมมี าก สวM นผา/ ทค่ี นทง้ิ แลว/ เปนK ผา/ บงั สกุ ลุ นน้ั มีนอ/ ยมาก เพราะยคุ นน้ั ผ/าเปนK ของหา
ยาก ไมมM ีใครท้ิงงMาย ๆ แม/จะเปนK ของเกMากต็ าม

จากเหตุผลมีข/อห/ามที่มองเรื่องอนาคตหรือปYจจัยภายนอกที่จะชักใบให/เรือเสียแตM
ชMองทางออกคือของบริสุทธิ์จะทำให/จิตบริสุทธิ์ วิธีการที่ทำได/อันนอกกรอบก็คือคนธรรมดา
ทั่วไปจะมอบผ/าแกMนักบวชพุทธต/องหาวิธี ซึ่งวิธีนั้นต/องไมMขัดกับข/อห/ามหลักการและไมMทำให/
นักบวชพุทธต/องความผิดทางออกที่เกิดจากจินตนาการคิดบวกของคนก็คือผ/าป0านั่นเองหรือ
ผา/ บังสุกุล (พระธรรมกติ ตวิ งศ> (ทองดี), 2548, น.83)

1) พุทธศาสดาห/ามนักบวชของตนขอจีวรผ/านุMงผ/าหMมจากคนทั่วไปและห/ามรับ
สิ่งของที่ไมMสมควรแกMสมณะหลายอยMางนี้เปKนตัวผลทางปรัชญาที่อาจจะมาจากการรับสะสม
จนเปKนกิเลสสะสมท่เี ปนK เหตุ

2) พุทธศาสดาเป°ดชMองเรื่องขอจากคนที่เปKนญาติหรือคนออกปากวMาจะให/ได/
ท่ีเปKนข/อแม/เหตผุ ลวMาสามารถรับผา/ ได/ใน (มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลัย, 2554)

3) พุทธศาสดาเปด° ชอM งวMานักบวชขอไดเ/ มื่อจีวรหายหรือขาดทำลาย

4) และที่โดดเดMนเรื่องนี้คือ พระพุทธศาสดาเป°ดชMองทางให/ใช/ผ/าบังสุกุล หรือหาผ/า
ที่คนเขาทิ้งแล/วตามป0าเขากองขยะมาเย็บเปKนผ/านุMงหMม ท้ังยังให/คะแนนนักบวชในเรื่องนุMงหMม
ผ/าบงั สกุ ลุ วาM ยอดเย่ียมด/วยการถือธุดงค> (ป£สกุ ลู ิกา)

การประชมุ วิชาการพระพทุ ธศาสนาและศิลปวฒั นธรรมระดับชาตแิ ละนานาชาตคิ รงั้ ท่ี 2 321

จากข/อที่ 1 ทำให/มองได/วMา การสะสมผ/าสิ่งของไมMเหมาะแกMนักบวชและไมMให/เปKน
คนข้ขี อโดยอาศัยภาพนกั บวชมาเปนK การหากิน

จากข/อที่ 2 มองได/วMา ถ/าถึงขั้นจำเปKนต/องขอให/ขอคนที่เขาเข/าใจนักบวชรูปนั้นท้ัง
เตม็ ใจจะใหข/ อดว/ ย (สมเด็จพระมหาสมณเจา/ กรมพระยาวชิรญาณวโรรส, 2557: 63)

จากข/อที่ 3 นักบวชจำเปKนต/องขอเพราะไมMมีแม/กระทั้งผ/าติดตัวด/วยถูกขโมยไป
อยMางน้ีคนที่เขาจะให/จะเหน็ ใจสงสาร

จากข/อที่ 4 พุทธศาสดาเป°ดโอกาสให/นักบวชที่ดีใช/ชีวิตงMายขึ้น ถือวMาเปKนการให/
กำลังใจกันและมองในเชิงพุทธศาสดามีวิสัยทัศน>กว/างและไกลวMา จะชMวยแบMงเบาภาระของ
นักบวชในอนาคตทั้งยังใจกว/างเป°ดโอกาสให/คนธรรมดาทั่วไปที่คิดบวกมีสMวนรMวมในกิจกรรม
ของนักบวช

หลักการของพุทธศาสดานั้น ถือวMาเปKนการปúองกันและการรับสิ่งดี ๆ เข/ามาใน
สมาคมนักบวชของตน ทำให/สถานการณ>ที่ดูคับขันผMอนคลายอยMางนMาเข/ามาบวชศึกษายิ่งขึ้น
ซึ่งบMงถึงสภาพจิตภายในวMาศาสดาและเหลMาผู/ทำตามศาสดานั้นมีความรู/ตามกฎของธรรมชาติ
สะอาดสดใสเผื่อแผMแกMสัตว>และมนุษย>ทั่วไปในโลกที่สัมผัสด/วยตาหูจมูกลิ้นกายใจและโลกที่ไมM
สามารถสัมผัสดว/ ยองคป> ระกอบของกายคนธรรมดา ๆ

ดังนั้นวิธีการทอดผ/าป0าตามความเชื่อของพุทธชนจึงนบั ได/วMา สืบทอดมาจากการใช/
ชีวิตของนักบวชพุทธจากวิสัยทัศน>ของพุทธศาสดา จากคัมภีร>วินัยพุทธ จากการเผยแผMศาสนา
จากการติดตMอของผู/คนในทวีปเอเชียและอาเซียน จากประเทศเพื่อนบ/าน และในประเทศไทย
เองที่รับทอดมาจากเมืองสุโขทัย อยุธยา ธนบุรี กรุงเทพ ความเปKนชาติ พระราชาครอง
แผMนดินบรรพบุรุษพุทธศาสนา สูMความเลื่อมใสศรัทธาหมั่นบำรุงพระศาสนาศึกษาปฏิบัติและ
ความรักสมัครสมานเปKนน้ำหนึ่งใจเดียวกันในชุมชนหมูMบ/านครอบครัว กMอเกิดและดำเนินไป
เปKนวิถีชีวิตคือการทอดผ/าป0าชลอมสำหรับชาวบ/านพร/อมการชักชลอมของนักบวชพุทธในวัด
เขตตำบลวังทอง อำเภอวังทอง จังหวัดพิษณุโลก (หวน หินธุพันธ>, 2542: 113) ในค่ำคืนวัน
ลอยกระทง วันพระข้ึน 15 คำ่ เดือน 12 ของทกุ ปS

322 การประชมุ วิชาการพระพทุ ธศาสนาและศลิ ปวัฒนธรรมระดับชาตแิ ละนานาชาตคิ รั้งที่ 2

2. พธิ ีการจดั งานชกั ผ+าป5าชลอม

การครองชีพของชาวบวชและการดำเนินชีพของชาวบ/านตามที่ตาเปลMา ๆ มองเห็น
มันเหมือนเส/นขีดยาว 2 เส/นลากคูMขนานกันไป ดูเหมือนควรคูMกันไป ถึงแม/นวMามีความหMางอยMู
ตรงกลาง แตMมองให/ลึกตามจริงชาววัดกับชาวเรือนเปKนเส/นตรงเส/นเดียวกัน เพราะเหตุใด
เพราะเหตุวMานักบวชกMอนก็เคยเปKนชาวบ/าน เมื่อถือเพศบวชแล/วอยูMในศาสนสถานแล/ว ในใจ
ก็ยังมีภาพการใช/ชีวิตแบบชาวบ/านอยูM รู/ความทุกข>ยากของชาวบ/านอยูM อีกทั้งญาติสายโลหิต
ก็ตัดไมMขาด ยังอาศัยปYจจัย 4 กับชาวบ/านอยูM บวกกับที่ตั้งวัดอยูMในอ/อมกอดชุมชน จะวMาถึง
ชาวบ/านสายสัมพันธ>ไมMตMางกันมาก ที่โดดเดMนทางจิตคือเรื่องบุญกุศล ทาน ศีล ภาวนา นี่ถือ
วMาเปKนญาติธรรมอยMางลึกซึ้งแบบตัดไมMได/ขายไมMขาด เพราะนึกอยูMเสมอวMาวัดและคณะนักบวช
เปKนนาสวนไรMที่มีธาตุความดีงามสมบูรณ>พร/อม เหมาะสมกับการไถปลูกดำหวMานวัตถุทานเพื่อ
ผลผลติ อนั นMาปรารถนา

อยMางกลMาวมา ในทางเหตุผลมีเส/นอยูMเพียงเส/นเดียวเทMานั้นด/วยเหตุแยกกันไมMออก
เพราะการอิงอาศัยกันตามหลักปฏิจจสมุปบาทเปKนหลัก นึกแล/วนMากลัวถ/าวัดแยกแตกจาก
ชาวบ/านยางเหนียวคือปูนคอยดึงดูดประสานให/อิฐหินดินติดกันเปKนก/อนสามารถตั้งอยูMอยMาง
แข็งแรงได/ฉันใด วัด และบา/ นชุมชนสามัคคีกันได/ก็ด/วยความเสียสละ(ทาน)ความประพฤติดีมี
วินัย(ศีล)ฝ•กใจให/เขม/ แข็งเพ่ือตอM ส/ูกบั คิดชัว่ (ภาวนา)เปนK ยางเหนียวประสานสมั พนั ธไ> วฉ/ นั นนั้

เมื่อค/นพบวMา ทาน ศีล ภาวนา เปKนบMอเกิดความสามัคคี ๆ เปKนแรงขับเคลื่อนให/
เกิดขนบธรรมเนียม วัฒนธรรม ประเพณีแล/ว การทอดผ/าป0าชลอมของชาวบ/านกับการชัก
ชลอมของนักบวชพุทธจึงเกิดขึ้น ด/วยหลังจากคณะนักบวชพุทธศาสนาอยูMประจำที่ไมMย/ายท่ี
อยูMครบ 3 เดือนแล/วในวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 11 ตMอจากนั้นรุMงขึ้นเปKนวันแรม 1 ค่ำ เดือน 11
จนถึงวันขึ้น 15 ค่ำเดือน 12 (รวมเวลา 1 เดือน) ชาวพุทธชนจะนำผ/ากฐินไปทอดตาม
วัดตMาง ๆ ขณะเดียวกันคณะนัก บวชพุทธก็รับการถวายผ/ากฐิน ด/วยวMากิจกรรมกฐินเปKน
กฎเกณฑ>มีระเบียบบังคับของพุทธศาสดา (วิ.ม. (ไทย) 5/97/109) อีกอยMางหนึ่ง กิจกรรม
ทอดกฐินจะมีสิ่งที่ตามมาในปYจจุบันคือ สิ่งของที่เปKนบริวารกฐินซึ่งหมายถึงผ/าป0าหรือผ/าป0า
หางกฐิน ดังนั้น การทอดผ/ากฐินเปKนรากฐานของการทอดผ/าป0า และการทอผ/าป0าเปKนแรง
ขับเคลื่อนให/เกิดการทอดผ/าป0าชลอมตอนกลางคืนในวัดของวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน12 ประเพณี
ทอ/ งถิน่ ในเขตตำบลวังทองตามข้ันตอนตอM ไปนี้

การประชมุ วิชาการพระพุทธศาสนาและศิลปวัฒนธรรมระดบั ชาติและนานาชาติคร้งั ที่ 2 323


Click to View FlipBook Version