The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การประชุมสัมมนาวิชาการระดับชาติและนานาชาติ ครั้งที่ 2 มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตเชียงใหม่ The 2nd International Buddhist Conference on “Buddhism and Social Responsibility in the New Normal” (BUSRIN) เรื่อง “พระพุทธศาสนากับความรับผิดชอบทางสังคมยุคชีวิตใหม่ วันที่ 19-20 เดือน กันยายน พ.ศ. 2563 เวลา 08.00-16.30 น. ณ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตเชียงใหม่ Mahachulalongkornrajavidyalaya University, Chiang Mai Campus will organize the 2nd National and International Conference (MCU. CM. 2020) “Buddhism and Social Responsibility in the New Normal (BUSRIN)”, November 19th – 20th, 2020 at Mahachulalongkornrajavidyalaya University, Chiang Mai Campus.

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by MCU Books, 2021-04-18 04:35:51

เอกสารสืบเนื่องการประชุมวิชาการพระพุทธศาสนาและศิลปวัฒนธรรมระดับชาติและนานาชาติครั้งที่ 2

การประชุมสัมมนาวิชาการระดับชาติและนานาชาติ ครั้งที่ 2 มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตเชียงใหม่ The 2nd International Buddhist Conference on “Buddhism and Social Responsibility in the New Normal” (BUSRIN) เรื่อง “พระพุทธศาสนากับความรับผิดชอบทางสังคมยุคชีวิตใหม่ วันที่ 19-20 เดือน กันยายน พ.ศ. 2563 เวลา 08.00-16.30 น. ณ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตเชียงใหม่ Mahachulalongkornrajavidyalaya University, Chiang Mai Campus will organize the 2nd National and International Conference (MCU. CM. 2020) “Buddhism and Social Responsibility in the New Normal (BUSRIN)”, November 19th – 20th, 2020 at Mahachulalongkornrajavidyalaya University, Chiang Mai Campus.

Keywords: Buddhism,Social Responsibility,New Normal

1) เตรียมไม/ไผMเอามาจักตอกเปKนชลอม โดยลักษณะของชลอมสานด/วยไม/ไผMพื้น
ก/นลMางขัดด/วยไม/ไผMแข็ง 2 ชิ้นเปKนฐานเพิ่มความแข็งแรง สานขึ้นมาจากพื้นตาหMาง
พอประมาณแล/วปลMอยชายตอกไม/ไผMให/ยาวลอยชายออกไปไมMต/องตัด (ชายตอกที่ยาวออกไป
เอาไวร/ วบเปKนกระจุกมดั แล/วห้ิวได/

2) ชลอมในพิธีทอดผ/าป0านี้มี 2 ขนาด คือ (1) ขนาดใหญMพื้นลMางกว/างประมาณ 1
เมตร สูงครึ่ง เมตร ใช/เปKนที่ใสMเครื่องประกอบผ/าป0ามากตามขนาด กำหนดเปKนกลางถวายแกM
วัดที่ทำพิธีมี 1 ชลอมตามนิยม (2) ชลอมขนาดยMอมหรือเล็กขนาดความกว/างประมาณ 1 ฟุต
หรือฟุตครึ่ง สูง 1 ฟุตครึ่ง(45 เซนติเมตร) จำนวนเทMาพระสงฆ>สามเณรภายในวัดและที่นิมนต>
มาจากวดั อ่นื ดว/ ยยง่ิ มากยง่ิ ดี โดยชลอมเล็กนี้คนท่วั ไปเตรียมมาจากบ/าน (ปYจจุบนั ชลอมเล็ก
จำนวนมากสานดว/ ยเสน/ พลาสตกิ สังเคราะห>

3) จากข/อ 1 ชลอมใหญM 1 ชลอมชMวยกันทำที่วัดแล/วเอาของประกอบผ/าป0าไปใสM
อยMางหนึ่ง ชMวยกันทำในหมูMบ/านชMวยกันใสMของแล/วแหMยกมาที่วัดอยMางหนึ่ง และจากข/อ 2
ชลอมเลก็ ทำของใครของมนั แลว/ เอามาจากหมบMู า/ นตามจำนวนพระ สวM นใหญจM ะทำมามากมาย
จนพระและสามเณรท่ชี ักชลอมจะได/รูปละ 3 ชลอมขน้ึ ไป

4) วัตถุไทยธรรมสิ่งของที่ใสMในชลอมขาดไมMได/คือ ข/าวสาร เกลือ พริก หอม
กระเทียม น้ำปลา น้ำตาลเครื่องครัวกลุMมที่ 1 ขนมกระยาสารท ขนมไทย ๆ ที่เก็บไว/ได/นาน
กลุMมที่ 2 ผลไม/พื้นบ/านของหวานตามฤดูกาลชMวงเดือน 11 – 12 มีอ/อยเปKนลำตัดเปKนทMอน ๆ
ส/มโอ ส/มซMา(พันธุ>พื้นบ/าน) กล/วยไขMกลุMมที่ 3 สบูM ยาสีฟYน ยารักษาโรคกลุMมที่ 4 และกลุMมท่ี
5 เปKนเอกลักษณ>ของผ/าป0าชลอมก็ผ/าหMมผืนยMอม ๆ หรือผ/าเช็ดตัว(ผ/าขนหนูสีเหลือง) ตาม
นิยมไมใM ช/ผ/าสบง

5) ปYจจัยหรือเงินคMาปYจจัย 4 จะไมMนิยมเสียบไม/ผ/าป0าหรือใสซองกระดาษถวาย
พระ แตจM ะ เอาปจY จัยมาหอM ท่ผี /าเชด็ ตัวเปนK ปมแล/วรัดด/วยเชือกหรือยางวงไว/ใหส/ งั เกตเห็นงMา

6) ดอกไม/ธูปเทียน ดอกไม/ประจำท/องถิ่นเชMนดอกเข็มและดอกดาวเรืองเพราะหา
ได/งMายปกY บนจุกชลอมทีร่ วบไว/ สMวนธูปเทียนต/องเอามาจดุ เวลาพระมาถึงพMุมชลอมแล/วเริ่มพธิ ี

324 การประชมุ วิชาการพระพุทธศาสนาและศิลปวฒั นธรรมระดบั ชาติและนานาชาติคร้ังที่ 2

จากรายการ 6 ข/อที่วMามานั้น ตามหลักพุทธปรัชญาเชิงวิทยาศาสตร> ภาชนะคือ
ชลอมที่ใสMสิ่งของมาจากธรรมชาติทั้งวัสดุและวิธีสานให/เปKนรูปพร/อมใสMปลMอยปลายรวบมัดหิ้ว
ถือได/ตามภูมิปYญญาท/องถิ่นงMายๆ แตMใช/ประโยชน>ได/จริงจากอดีตถึงปYจจุบัน (คศ. 2020) และ
ปYจจุบันมีการนำเอาผลิตภัณฑ>จากพลาสติกมาสานเปKนรูปชลอม แม/ชลอมที่สานด/วยไม/ไผMก็ยัง
มีอยูMและชลอมก็สื่อถึงเรื่องราวในอดีตความเปKนธรรมชาติไมMมีพิษภัย สื่อถึงอัธยาศัยใจคอผู/ใช/
สอยวMารักวัฒนธรรม สื่องานบุญผ/าป0าชลอมปSละ 1 ครั้ง และความรMวมสมัยไมMหยุดน่ิง
ผลติ ภณั ฑ>จกั สานพัฒนาไปเปนK กระเปา© ห้ิวถือตาM ง ๆ มากมาย

3. ลำดับขนั้ ตอนถวาย-ชักชลอมตามประเพณีนยิ ม
วันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 12 อันเปKนวันลอยกระทง ชาวบ/านชุมชนชาวพุทธท/องถ่ิน
ตำบลวังทอง อำเภอวังทอง จังหวัดพิษณุโลก มีวัดที่จัดงานชักชลอมเชMน วัดวังทองวราราม
วัดศรีโสภณวัดวังพรม วัดบางสะพาน และตำบลชัยนาม อำเภอวังทองเชMนกันคือวัดบึงพร/าว
วัดไชยนาม และวัดเกาะแก/วประชานุรักษ> เปKนต/น (กระทรวงศึกษาธิการ กรมการศาสนา,
2537, น.68) เปKนที่นMาสังเกตวMา 80 เปอร>เซ็นต>ของวัดที่เอMยนามมาเปKนวัดที่อยูMติดแมMน้ำลำ
คลอง หรือเปKนวัดที่มีบึงน้ำใหญMใกล/ชิด ซึ่งเหมาะกับการจัดงานรื่นเริงลอยกระทงประเพณี
ใหญMทั่วประเทศด/วย เปKนการสืบสานประเพณีเกMาแกMให/อยูMคูMทุกยุคปYจจุบันสมัย บันเทิงใจ
ด/วยงาน มหรสพพร/อมพบบุญผา/ ป0าชลอมวาM
" เทศกาลเข/า-ออกวสั สา(ฝน)ศรี สบิ เอ็ดมีแรมคำ่ เดอื นสบิ เอด็ (กาลกฐิน)
ถึงสิบห/าคำ่ เดอื นหนึง่ สองเสร็จ กระทงเจด็ ยMานน้ำลำโบราณ
ชลอมล/อมรอบครอบผา/ ป0า รัตติยา(ค่ำคนื )ห/าทุมM รุมเรงิ ล่นั
รวM มสมัยวัยรMนุ รงMุ คืนวัน บญุ สนั่นทันวดั จัดทกุ ปS ฯ"
ลำดับที่ 1 คนที่นำชลอมมาให/จับฉลากชื่อพระหรือหมายเลข จับแล/วให/นำชลอม
ไปวางตั้งตรงหลักไม/มีชื่อหรือหมายเลขเดียวกันแล/วนั่งรอ เจ/าของชลอมสามสี่เจ/าก็ให/ทำตาม
น้ี ถงึ แม/นวMาได/ชอ่ื หรือหมายเลขเดยี วกันใหว/ างชลอมแล/วรอท่ีเดียวกัน(พระ 1 รูปอาจได/หลาย
ชลอมถ/ามีเจ/าภาพมากด/วยผู/จัดจะเฉล่ียให/ได/เทMากันหรือใกล/เคียงมากที่สุด เพราะพระวัดนั้น
ด/วยพร/อมกับนิมนต>พระวัดอื่นมาชักชลอมด/วยขณะเดียวกันพระวัดเขาก็นิมนต>วัดเรา
เหมือนกัน แสดงน้ำใจไมตรีกันอยMางนี้ เพียงแตMงานชักชลอม 2 วัดนั้น ต/องจัดเวลาทำไหน
กMอนไหนหลัง สMวนใหญMเปKนวัดที่อยูMไมMไกลกันนัก) ลำดับที่ 2 เวลานี้กลางคืนไมMต่ำกวMา 3 ทุMม

การประชุมวชิ าการพระพุทธศาสนาและศลิ ปวฒั นธรรมระดับชาติและนานาชาติคร้ังท่ี 2 325

(21.00 น.) เจ/าภาพชลอมนั่งกลางสนามหญ/าลานหน/าวัดเต็มเปKนร/อย ๆ ชลอมเรียบร/อยแล/ว
ก็ให/สัญญาณระฆังนิมนต>คณะสงฆ>สามเณร ลำดับที่ 3 คณะสงฆ>ลงมาลานวัดแล/วจับฉลาก
เปKนหมายชื่อหรือเลข ได/ชื่อหรือหมายเลขแล/วให/พระแตMละรปู เดินตามหาชื่อหรือหมายเลข
ตรงตามที่ตนไดแ/ ล/วไปยนื สงบสำรวมตรงหนา/ กองผ/าป0าชลอมพรอ/ มเจ/าภาพ

ลำดับที่ 4 มัคคนายกชักชวนออกเครื่องขยายเสียงให/ทุกเจ/าภาพจุดธูปเทียนบูชา
พระรัตนตรัยโดยปYกธูปเทียนที่ชลอม กลMาวตามมัคคนายกคำบูชาพระรัตนตรัย วMา “อิมินา
สักกาเรนะ พุทธัง อะภิปูชะยามะ อิมินา สักกาเรนะ ธัมมัง อะภิปูชะยามะ อิมินา สักกาเรนะ
สังฆัง อะภิปูชะยามะ อะระหังสัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา พุทธังภะคะวันตัง อะภิวาเทมิ
สะวากขาโต ภะคะวะตาธัมโม ธัมมังนะมัสสามิ สุปะฏิปYนโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ สังฆัง
นะมาม”ิ กราบพระสามคร้งั (พระครอู รุณธรรมรงั สี (เอ่ียม สิรวิ ณฺโณ), 2534: 82)

พระหัวหน/าสงฆ>วMานะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ (3 จบ)
ชาวบ/านวMาตาม / พระหัวหน/าสงฆ>วMาไตรสะระณะคมน>วMาพุทธัง สะระณัง คัจฉามิ ธัมมัง
สะระณัง คัจฉามิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ ทุติยัมป° พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ ทุติยัมป° ธัมมังสะ
ระณังคัจฉามิ ทุติยัมป° สังฆัง สะระณังคัจฉามิ ตะติยัมป° พุทธัง สะระณังคัจฉามิ ตะติยัมป°ธัม
มงั สะระณังคจั ฉามิ ตะติยัมปส° งั ฆงั สะระณังคจั ฉามิ

(1) พุทธศาสนิกชนวMาตาม / ตMอไปพระหัวคณะสงฆ>วMา ปาณาติปาตาเวระมะณี
สิกขาปะทังสะมาทิยามิ อะทินนาทานาเวระมะณี สิกขาปะทังสะมาทิยามิ กาเมสุมิจฉาจารา
เวระมะณี สิกขาปะทังสะมาทิยามิ มุสาวาทาเวระมะณี สิกขาปะทังสะมาทิยามิ สุราเมระยะ
มัชชะปะมาทัฏฐานาเวระมะณี สิกขาปะทังสะมาทิยามิ ชาวบ/านวMาตาม / พระหัวหน/าคณะ
สงฆ> วMา อิมานิ ปYญจะสิกขาปะทานิ สีเลนะสุคะตึงยันติ สีเลนะโภคะสัมปะทา สีเลนะนิพพุตึง
ยันติ ตัสมา สีลัง วิโสธะเย ฯ

(2) มัคคนายกวMานำวMา นะโมตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ
3 จบกลMาวนำคำถวายผ/าป0าวMา อิมานิ มะยัง ภันเต ปYงสุกูละจีวะรานิ สะปริวารานิ ภิกขุสังฆัสสะ
โอโณชะยามะ สาธโุ น ภันเต ภิกขุสังโฆ อิมานิ ปYงสุกลู ะจีวะรานิ สะปะรวิ ารานิ ปะฏิคคัณหาตุ
อัมหากัง ทีฆะรัตตัง หิตายะ สุขายะ ข/าแตMพระสงฆ>ผู/เจริญข/าพเจ/า ทั้งหลายขอน/อมถวายผ/า
บังสุกุลจีวรกับทั้งบริวารเหลMานี้แกMพระภิกษุสงฆ>ขอพระภิกษุสงฆ>จงรับผ/าบังสุกุลจีวรกับทั้ง

326 การประชุมวชิ าการพระพทุ ธศาสนาและศิลปวฒั นธรรมระดับชาติและนานาชาติคร้ังที่ 2

บริวารเหลMานี้ของข/าพเจ/าทั้งหลายเพื่อประโยชน>และความสุขแกMข/าพเจ/าทั้งหลายสิ้นกาลนาน
เทอญฯ

(3) พระและสามเณรที่ยืนอยูMตMอหน/ากองผ/าป0าชลอมของตน ๆ ตั้งนะโม ฯ
3 จบ พร/อมยื่นมือจับที่ชายผ/าขนหนูเช็ดตัวที่พาดอยูMที่พุMมชลอมพิจารณาทMองวMา อิมัง
ปYงสุ กูละจีวะรัง อัสสามิกัง มัยหัง ปาปุณาติ 3 จบ (อิมัง ปงY สกุ ลู ะจวี รงั ผ/าเป´¨อนฝุ0นนี้ อัสสามิ
กงั ไมMมเี จ/าของ ปาปณุ าติ ยMอมถึง มยั หัง แกMเรา) เสรจ็ แล/วก็ดึงผา/ มาพาดบMา ทำอยMางนี้ทุกผนื
บนชลอมน้ัน ๆ

(4) พระทุกรูปพิจารณาเสร็จแล/ว พระผู/เปKนหัวหน/าคณะสงฆ>ขึ้น ยะถา วาริ
วะหา ปูรา ฯลฯ มะณิโชติ ระโส ยะถา พระทุกรูปรับพร/อมกันวMา สัพพีติโย วิวัชชันตุ ฯลฯ
อายุ วัณโณ สุขัง พะลัง ฯ สวดบทกาลทานสุตตคาถาวMา กาเลทะทันติ สะปYญญา วะทัญ`ู
ฯลฯ ปุญญานิ ปะระโลกัสมึง ปะติฎฐาโหนติ ปาณินันติ ฯ ลงท/ายวMา ภะวะตุสัพพะมังคะลัง
รักขันตุสัพพะเทวะตา สัพพะพุทธานุภาเวนะ สะทาโสตถีภะวันตุ เต ภะวะตุสัพพะมังคะลัง
รักขันตุ สัพพะเทวะตา สัพพะธัมมานุภาเวนะ สะทาโสตถี ภะวันตุ เต ภะวะตุสัพพะมังคะลัง
รกั ขนั ตุ สัพพะเทวะตา สพั พะสงั ฆานภุ าเวนะ สะทาโสตถี ภะวันตุเต ฯ

(5) มัคคนายกกลMาวนำลาพระรัตนตรัยวMา อะระหังสัมมา สัมพุทโธ ภะคะวา
พุทธงั ภะคะวันตัง อะภิวาเทมิ สะวากขาโต ภะคะวะตาธัมโม ธัมมัง นะมัสสามิ สุปะฏิปYนโน
ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ สังฆัง นะมามิ ชาวบ/านกราบ 3 หนเปKนอันเสร็จพิธีทอดและชัก
ผ/าปา0 ชลอมคนื วนั ลอยกระทง (คณาจารย>แหMงโรงพิมพ>เลยี่ งเซยี่ ง, 2536)

(6) สุดท/ายลูกศิษย>ที่ตามมาชMวยกันขนชลอมขึ้นรถไปสMงพระกลับวัดถ/าเปKนวัด
อื่น แตMถ/าเปKนวัดตัวเองเด็กวัดชMวยกันขนเข/ากุฏิ สมัยกMอนเกMาทั้งพระและลูกศิษย>ต/องใช/ไม/
หาบชลอมลัดทุงM ลัดทาM กลับวดั กันทีเดียวเพราะไมมM ีรถยนต>

(7) สMวนชลอมใหญMหรือชลอมรวมกลาง 1 ชลอมนั้น ประธานสงฆ>หรือเจ/า
อาวาสวดั นนั้ จะเปนK ผู/พจิ ารณาชกั แล/วเอาเขา/ เปKนรายได/สวM นรวมคอื วัด

ประเพณีถวายชลอมผ/าป0าจึงดูเหมือนเปKนขนบธรรมเนียมในทางการ
ประพฤติของชาวพุทธศาสนิกชนซึ่งในพื้นที่วังทองนี้ มีลักษณะทางการปฏิบัติที่เปKน
เอกลักษณเ> ฉพาะท/องถน่ิ ทน่ี าM รกั ษาเอาไวใ/ นรุMนหลังอยMางย่ิง

การประชุมวชิ าการพระพทุ ธศาสนาและศลิ ปวฒั นธรรมระดับชาตแิ ละนานาชาติครัง้ ที่ 2 327

คุณคาK แทNทจ่ี ำเปQน - คณุ คKาเทยี มทสี่ งK เสริมในกจิ กรรมชักชลอม
คณุ คาK แทNทีจ่ ำเปนQ
1) คุณคMาแท/งานถวายผ/าป0าชลอมสำหรับชาวบ/าน ถือวMาทำตามพระวินัยที่พุทธ
ศาสดาตั้งไว/เรื่องคหบดีจีวรอันหมายถึงผ/าที่มีคนศรัทธานำมาถวายแกMพระ ชMวยสMงเสริมการ
ปฏบิ ตั ติ ามวนิ ยั บญั ญตั ขิ องพระ ไมทM ำให/พระเปนK อาบตั ิในการรับผ/า คอยสอดสอM งความจำเปKน
ที่พระต/องใช/เหมาะแกMการดำรงสมณเพศแล/วเติมเต็มในสMวนที่พระขาด ถือวMาทำหน/าที่พุทธ
บริษทั 4 คอื ภกิ ษุ ภกิ ษุณี อบุ าสก อบุ าสกิ า (พระพรหมคณุ าภรณ>, 2550)
2) คุณคMาแท/การชักชลอมของคณะนักบวช จัดวMาทำตามนิสัย 4 ในข/อที่ 2 วMา
ป£สุกูลจีวรํ นิสฺสาย ปพฺพชฺชา ตตฺถ เต ยาวชีวํ อุสฺสาโห กรณีโย อติเรกลาโภ โขมํ
กปฺปา สิกํ โกเสยฺยํ กมฺพลํ สาณํ ภงฺคํ นักบวชอยูMได/เพราะผ/าที่คนทิ้งแล/ว (หรือผ/าบังสุกุล)
เปKนผ/าที่ทำมาจากวัสดุธรรมชาติเรียบงMาย ชMวยปúองกันการกิเลสสะสมอีกทางอีกอยMางหนึ่ง
นักบวชพุทธดำเนินชีพถูกต/องตรงตามวินัยนิสสัคคียปาจิตตีย>วMาด/วยเรื่องผ/าที่ 1. เพราะการ
รักษาวินัยชื่อวMาคงไว/ซึ่งระเบียบแบบแผนที่เปKนเครื่องยึดพระธรรมคำสอนให/มั่นคง ดุจราก
แกว/ ของต/นไมห/ ยั่งลึกลงยดึ ลำต/นให/แนนM มัง่ คง (พระธรรรมกติ ตวิ งศ> (ทองด)ี , 2548: 92)
คุณคKาเทียมท่ีสงK เสรมิ
1) คุณคMาเทียมตัวสMงเสริมงานชักชลอมสำหรับชาวบ/าน ถือวMาชMวงฤดูออกพรรษาไป
แล/ว 1 เดือนหมดฤดูฝนเข/าสูMฤดูหนาวอากาศเย็นจึงถือโอกาสถวายผ/าหMมกันหนาวแกMพระสงฆ>
ซึ่งผ/าเช็ดตัวมีเนื้อผ/าปุกปุยอMอนนุMมอบอุMนและมีขนาดไมMเล็กไมMใหญM ใช/เช็ดตัวก็ได/ หMมก็ได/
ปูนั่งก็ได/ มากประโยชน> อีกของกินของใช/ก็เอาข/าวผลไม/สิ่งของที่ได/จากชุมชนนั่นแหละมาใสM
ชลอม ซึ่งสื่อถึงความอุดมสมบูรณ>ตามฤดูกาลของท/องถิ่น และหลังจากเหน็ดเหนื่อยจากการ
ทำนาทำไรMเก็บเกี่ยวเสร็จแล/วก็อาศัยงานลอยกระทงเปKนฐานในการมีละครโขนหนังพักผMอน
หยอM นใจไปในตัว (พระพรหมคณุ าภรณ,> 2541)เปKนความฉลาดทางอารมณ>ที่วMาบันเทิงในบญุ
2) คุณคMาเทียมสMงเสริมการชักชลอมของนักบวชพุทธ ก็ถือวMาวัดเปKนสถานที่บริการ
และวิชาการทางศาสนาแกMคนทั่วไปทุกเพศทุกวัยไมMจำกัดวMาเปKนศาสนาอะไร วัดอยูMใกล/แหลMง
น้ำประจวบเหมาะตรงกับเทศกาลลอยกระทงตามโบราณของคนทั่วไป อีกวัดและบ/านต/อง
พึ่งพาอาศัยกันจึงจัดงานมหรสพภายในบริเวณวัด จัดให/คนเข/ามาขายของในวัดเปKนการสร/าง
รายได/แกMชุมชนสืบสานประเพณีพระชักชลอมไว/ไมMให/หมดไป อยากให/ประเพณีอยูMคูMลูกคูM

328 การประชมุ วิชาการพระพทุ ธศาสนาและศิลปวฒั นธรรมระดบั ชาติและนานาชาติครง้ั ที่ 2

หลานด/วยหวังปลูกฝYงความรักสามัคคีเปKนหนึ่งเดียวกัน เพราะประเพณีเปKนบMอเกิดความ
สามัคคี ๆ เปKนบMอเกิดของความรัก ๆ กMอให/เกิดความสุขสงบ ทำให/เกิดความมั่นคงของ
ประเทศชาติ ซง่ึ วัดถือวMาเปKนศูนยก> ลางหวั ใจของชุมชน

ดังนั้น คุณคMาแท/ที่เปKนหลักการของวัดและบ/านเปรียบเสมือนโครงสร/างหลักท่ี
มั่นคงดุจพื้นฐานรากของตัวบ/าน สMวนคุณคMาเทียมก็เหมือนสMวนประกอบตามมาที่ทำให/บ/าน
สมบูรณ>แบบนMาอยูMอาศัย แท/และเทียมรวมกันจึงได/เห็นได/ฟYงเปKนงานชักชลอมที่ยังจัดยังทำ
กันอยูMทุกปS สามารถอธิบายได/ด/วยตัวของมันเองวMาอดีตดำเนินมา ปYจจุบันทำอยูMในกาล
อนาคตประเพณยี งั อยูMและสอดคล/องเปนK หน่ึงเดยี วกับยคุ สมยั

จริยธรรมทNองถิ่นผาN ปVาชลอม
หลักปฏิบัติที่สามารถจับต/องได/สัมผัสได/เปKนตัวเปKนตนเปKนชิ้นเปKนอันถือวMาอยูMใน
ขMายจริยธรรม ๆ คือความชัดเจนแจ/งเรื่องของจิตที่ดูเหมือนจับต/องไมMได/ และความชัดเจนแจ/ง
ชัดทางกายกับวาจาหรือรวมวMากายอยMางเดียวก็ได/ ดังนั้น การงานทางจิตและการงานทาง
กายในเรื่องถวายและชักชลอม (สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย> (ป.อ.ปยุตโต), 2535: 65) ควร
แจกแจงให/ดัง้ น้ี
1) การงานของจิต จิตดำเนินการรักชอบพอใจเรื่องกิจกรรมชักชลอมที่สอดคล/อง
วัดบา/ นโรงเรยี นรวมเปKนชมุ ชน
2) จิตพัฒนาการกล/าแข็งขึ้น สามารถสร/างเหตุการณ>สมมติขึ้นมาในจิตได/ ทบทวน
ปรบั ปรงุ เหตกุ ารณ>สมมตใิ หด/ ีขึ้นเร่อื ย ๆ ตามสถานการณจ> ริง
3) จิตเปKนหนึ่งเดียวกับกิจกรรมชักชลอมชุมชนอยMางที่สามารถดำเนินได/ทุกรูปแบบ
ความชัดเจนของจิตทั้ง 3 ข/อนั้นสMงผลให/เกิดงานในอุดมคติ ซึ่งเสริมให/การดำเนินการจิต
สำเร็จเปKนความสุขใจสงบกว/างสบายภูมิใจกับแรงใจผลักดันเปKนวัฒนธรรมท/องถิ่นจนเห็น
ความสามัคคีในชุมชน โปรMงใจกับศาสนสถานวMาเปKนที่พึ่งทางใจของชุมชนโดยไมMมีความ
เคลือบแคลงสงสัย เข/าใจวMาศาสนสถานเปKนบ/านตัวอยMางในการอยูMอาศัยใช/ชีวิตที่สูงสMง
สามารถปรับมาใช/ให/เหมาะกับชาวบ/านได/ สMวนบ/านชุมชนก็สามารถเปKนกระจกทุกข>อริยสัจ
แกMคณะนกั บวชพุทธเพื่อศกึ ษาปฏบิ ัติเพ่ือความพน/ ทุกข>ซึง่ เราสามารถพูดส้ัน ๆ วาM

การประชมุ วชิ าการพระพทุ ธศาสนาและศิลปวัฒนธรรมระดบั ชาตแิ ละนานาชาตคิ รั้งท่ี 2 329

“ศาสนสถานเปนK ใจ กายคือบ/าน สตMู ำนานชุมชน
ร/ูเทาM ทันพฒั นาปญY ญารู/ คตสิ ูMอุดมพรหมสรรค>
วฒั นธรรมทอ/ งถ่ินสมคั คัน (สามัคคี) เธอกับฉันนั้นหน่ึงตรงึ อรุ า”
ศาสน>สมใจได/งานการนำหมูM บ/านคืออูMกายการสำราญหน/าสูMตำนานชุมชนยลเอกา
วัฒนาผ/าป0าชลอม สMวนความชัดเจนทางกายหรือคุณคMาวMาด/วยการทำกิจที่เปKนหน/าที่ คนใน
ชุมชนทั้งชาวบ/านและชาววัดทั่ว ๆ ไป เวลาจะจัดกิจกรรมอะไรมักชอบระแวงหนักเมื่อปYญหา
หนักมาอยูMตรงหน/า หรือเวลาไมMมีปYญหาก็มักปลMอยตัวประมาทอยูM ดังนั้นเหตุ 2 อยMางนี้เปKน
ตัวตนของความทุกข>คือทอดทิ้งประเพณีด/วยไมMมีแกMใจจะสานตMอ อาการท/ออยMางวMาต/องเติม
เชื้อเพลงิ แหงM การทำลงไปอกี 3 อยMางคอื
ก. ต/องเอาแรงบีบคั้นใกล/ตัวหรือความเสียหายเริ่มเกิดกับตัวมาเปKนแรงขับเคลื่อน
แตMต/องทำใจไว/บ/างวMา อาจจะได/ผลบ/างไมMได/ผลบ/าง เชMนวMา งานวันลอยกระทงปS 2020 นี้
เหลือเวลาอีก 10 วันจะถึงวันงาน จะมีชักชลอมในวัดกำแพงเงินนี้ด/วย(นามสมมติ)
ประชาชนทั่วไปและคณะสงฆ>ก็พากันมาถามรายละเอียดเกี่ยวกับงานที่ผู/ใหญMบ/านกับเจ/า
อาวาส(หัวหน/าชุมชน-หัวหน/าสงฆ>)ปรากฏวMายังไมMมีการปรึกษาหรือเตรียมงานกันเลย พอใกล/
วันงานเข/ามาวิ่งกันวุMน ผลอาจจะออกมาเปKน 2 อยMางคือ 1 ไมMได/จัดงานปลMอยเลยตามเลย-ถูก
ชาวบา/ นรุมดMายับ 2 จัดงานไปแบบติดขดั ไมMเกดิ ประโยชน>เทMาทีค่ วร
ข. งานผ/าป0าชลอมวันลอยกระทงถูกทำขึ้นเพราะความกลัววMาประเพณีดี ๆ จะขาด
สูญเหตุวMา ทางชุมชนของเราจัดมาทุกปSเปKนเวลา 69 ปSแล/วไมMเคยขาดถ/ามาขาดหายในยุคเรา
ๆตายแนM ชมุ ชนบา/ นวัดของเราก็จะขาดความสามัคคีจึงจัดงานแบบไมMมีความสุข
ค. ทำงานวันลอยกระทงมีชักชะลอมอยMางรู/ปYญหาโดยใช/ปYญญา คือจัดงานบนฐาน
ของข/อมูลงานที่เคยจัดมาเมื่อปSกMอน ๆ เอาข/อเสียมาแก/ให/ดี ข/อที่ดีมาก็ทำให/ดียิ่ง ๆ เข/ากับ
ยุคสมัย (อตีตปYญญา) จัดงานบนสาระของปYจจุบัน หยิบฉวยวัตถุดิบเรื่องราวในอดีตกับ
ปYจจุบันให/เปKนข/อมูลที่ใช/งานได/ทันทีและเผื่อข/อมูลที่จะเปKนไปได/ที่จะไปถึงด/วย(ปYจจุบัน
ปYญญา) อยMางที่ 3 เปKนอนาคตปYญญา คือทำงานด/ายความเปKนสุขด/วยการเตรียมความพร/อม
เสมอ ทำแบบกา/ วหน/าไมMกลวั แมร/ ว/ู Mาข/างหนา/ จะมีอปุ สรรครออยูM
รวมความวMา คุณคMาความดีอันเกิดงานของจิตและผลงานของกายมีความสัมพันธ>
กัน จะเรียกวMาเปKนอยMางเดียวกันก็ได/ เพราะจิตคิดบวกจัดงานเพื่อรักษาวัฒนธรรมสร/างความ

330 การประชมุ วิชาการพระพุทธศาสนาและศลิ ปวฒั นธรรมระดับชาติและนานาชาติครง้ั ท่ี 2

สามัคคีแกMชุมชนจะประคองงานของกายไปสูMความสำเร็จด/วยความสุขผMองใส และงานของ
กายน้ีจะชMวยจติ ใหม/ คี วามเพียรติดตMอกนั ไปไมMให/ผิดพลาดระหวาM งทาง

บทสรปุ

สรุปความผ/าป0าชลอม / จริยธรรมพุทธปรัชญาท/องถิ่นประเพณีของมนุษย>ในโลก
เปรียบเหมือนแมMน้ำสายใหญMที่มนุษย>อาศัยอาบดื่มกินเดินทางไมMสิ้นสุด ประเพณีของคนแตMละ
ทวีปแตMละประเทศเหมือนกับอวัยวะสMวนที่สำคัญของรMางกาย สMวนประเพณีของแตMละภาคใน
ประเทศหรือในชุมชมท/องถิ่นไมMตMางอะไรกับลมหายใจของคนในที่นั้น ๆ ถ/าชุมชนขาด
ประเพณีดีงามที่ทำสืบ ๆ กันมาเมื่อใด เมื่อนั้นชุมชนนั้นขาดใจตาย ซึ่งความตายนั้นก็คือความ
สามัคคีตาย ความภาคภูมิใจตาย อัตลักษณ>หรือเอกลักษณ>สลาย จิตวิญญาณตายจากบุญคือ
ปSติอิ่มใจสุขสงบ เปKนชุมชนที่ลMมสลายอยMางนMาเสียดาย แตMวMาชุมชนใด(วัดและบ/าน)
มขี นบธรรมเนียมวัฒนธรรมทด่ี ีสืบทอดกันมาเปนK 60 ปS 70 ปS 80 ปS 100 ปS (ศลิ ปะวฒั นธรรม
ในจังหวัดกำแพงเพชร, 2561) หรือนมนานมาจนนับปSไมMได/ ปYจจุบันปSคริสต>ศักราช 2020
ก็ยังตั้งใจรวมใจสามัคคีกันลงมือทำประเพณีดีงามนั้นอยูM มีการปลูกฝYงลูกหลานในชุมชนให/ลง
มือทำตามรักษาหวงแหนของดีนี้ไว/ไมMให/ขาด และปรับปรุงสMวนเสริมของประเพณีให/เข/ากันได/
ใช/งานได/กับยุคสมัยหรือทุกยุคทุกสมัยในขณะที่สาระสำคัญยังคงไว/มั่นใจได/เลยวMาชุมชนนั้น
(พระในวัดคนในบ/านและครูนักเรียนในโรงเรียน) จะเปKนชุมชนที่มีชีวิตชีวานMาอาศัยอยูMนMา
ทMองเที่ยว อบอวลด/วยความสุขที่เกิดจากความสามัคคี มีความภาคภูมิใจในบ/านเกิดเมือง
นอนสำนึกจริยธรรมกตัญ`ูกตเวที มีความรู/ความสามารถด/านใดก็จะรMวมแรงรMวมใจกันสาน
สร/างชีวิตครอบครัวและรวมตัวกันขับเคลื่อนชุมชนให/เดินไปข/างหน/า เพื่อความมั่นคงด/วย
ระบบเศรษฐกิจแบบพึ่งพาตนเองได/แล/วแบMงปYนกันในหมูMบ/านชุมชน เมื่อถึงคราวเทศกาลบุญ
ทานการบันเทิงตMาง ๆ ภายในชุมชน ตำบล อำเภอ จังหวัดและประเทศของเรา เราคนไทยใน
ฐานะที่มีชาติศาสนาที่ตนนับถือและสถาบันพระมหากษัตริย>อันเปKนที่เคารพรัก จะปลูกสร/าง
พัฒนาความรกั สามัคคีรกั ษาประเพณีอันดงี ามให/เหมือนกบั คณะสงฆ>และชาวบา/ นชมุ ชนตำบล
วังทองและตำบลชัยนาม อำเภอวังทอง จังหวัดพิษณุโลกยังคงทำกิจกรรมประเพณีถวาย
ชักผา/ ปา0 ชะลอมอยูMทกุ ปใS นคนื วนั ลอยกระทง

การประชุมวิชาการพระพทุ ธศาสนาและศลิ ปวัฒนธรรมระดบั ชาติและนานาชาตคิ รง้ั ที่ 2 331

บรรณานุกรม

กระทรวงศกึ ษาธิการ กรมการศาสนา. (2537). ประวัติวัดทั่วราชอาณาจักร. โรงพมิ พก> ารศาสนา.
กฤชกร เพชรนอก. (2563). ประเพณีอาเซียน. พิมพ>ครั้งที่ 1. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ>

สกายบÆุคศ> จำกดั .
พระครูอรุณธรรมรังสี (เอี่ยม สิริวณฺโณ). (2534). มนตXพิธี. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ>อักษร

สมัย (1999).
พระจลุ จอมเกล/าอยูหM ัว. (2549). พระราชพธิ ีสิบสองเดอื น. สำนักพิมพ> ไทยควอลติ ี้บÆุคส> จำกัด.
พระธรรมกติ ติวงศ> (ทองดี) ป.ธ.9 ราชบัณฑติ . (2548). พจนานุกรมเพือ่ การศกึ ษาพุทธศาสนX

ชดุ คำวดั . กรุงเทพมหานคร.
พระธรรรมกิตติวงศ> (ทองดี) ป.ธ.9. (2548). พจนานุกรมเพ่ือการศกึ ษาพุทธศาสตรXชดุ คำวดั .

กรงุ เทพมหานคร : มปพ.
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2539). พระไตรป^ฎกภาษาไทยฉบับมหาจุฬาลงกรณราช

วิทยาลยั .กรุงเทพมหานคร : โรงพมิ พ>มหาจุฬาลงกรณ>ราชวทิ ยาลยั .
สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย> (ป.อ.ปยุตโต). (2535). จากจิตวิทยาสูKจิตภาวนา พิมพ>ครั้งที่ 1.

กรุงเทพมหานคร.
สมเด็จพระมหาสมณเจา/ กรมพระยาวชิรญาณวโรรส. (2557). นวโกวาท นกั ธรรมตร,ี พิมพ>

ครง้ั ท่ี 83, กรงุ เทพมหานคร : โรงพมิ พ>มหามกฎุ ราชวิทยาลยั .
หวน หินธุพันธ>. (2552). เมืองโบราณของเรา กรณีศึกษาเมืองโบราณพิษณุโลก อุตรดิตถX

พจิ ิตร ลพบรุ ี และอKางทอง. กรุงเทพมหานคร : บันทึกสยาม.

332 การประชมุ วชิ าการพระพทุ ธศาสนาและศิลปวฒั นธรรมระดบั ชาตแิ ละนานาชาติครัง้ ท่ี 2

การเตรยี มความพรอ, มของการศึกษาไทยส7สู งั คมอนาคต

Preparation of Thai education for a future society

พระศรายทุ ธ วชริ ป/ฺโญ (ทวชิ ัย)
ละเอยี ด จงกลนี, พระฮอนดAา วาทสทโฺ ท

Phra Sarayut Wachirapanyo (Thawichai)
La-Eard Chongolnee, Phra Honda Vatasatto (Khemma)

มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลยั วทิ ยาเขตขอนแกYน
Mahachulalongkornrajavidyalaya University , Khonkaen Campus

Email: [email protected]

บทคดั ยอ9

จากมาตรฐานการศึกษาแห/งชาติ พ.ศ. 2561 มีจุดมุ/งหมายเพื่อพัฒนาผูEเรียนไปส/ู
ผลลัพธKที่พึงประสงคKของการศึกษา คือ ตEองธำรงความเปRนไทยและแข/งขันไดEในเวทีโลก
และจากสถานการณKการแพร/ระบาดของไวรัส โคโรน/า 2019 (โควดิ -19) นั้น ประเทศไทย
ไดEนำการศึกษาทางไกลหรือการเรียนในระบบออนไลนKมาทดลองใชEเพื่อการเตรียมความ
พรEอมในการจัดการเรียนการสอนของสถานศึกษา จากผลการทดลองใชEพบว/า การเรียน
ออนไลนKไม/ไดEมีประสิทธิผลการเรียนรูEอย/างที่คาดหวัง และยังไม/เหมาะสมต/อการศึกษาไทย
ในปจ^ จุบัน

อย/างไรก็ตาม การเรียนออนไลนKยังมีความจำเปRนหากทั่วโลกยังไม/สามารถผลิต
วัคซีนเพื่อตEานไวรัสโคโรน/า 2019 ไดEสำเร็จ ขณะเดียวกัน การจัดการเรียนรูEในยุค
Disruptive Innovation จำเปRนตEองใชEแนวทางการจัดการเรียนรูEที่สามารถ Disrupt
ผเูE รียนใหEมีความยึดมั่นผูกพันกับการเรียนรูE เพอื่ เตรยี มความพรอE มไปส/ูสงั คมอนาคต ดังนั้น
การเตรียมความพรEอมของการศึกษาไทยสู/สังคมอนาคต ควรจัดเตรียมความพรEอมใน 4
ดEาน คือ 1) เทคโนโลยีสารสนเทศ ไดEแก/ เครือข/ายอินเตอรKเน็ต อุปกรณKการเรียน สื่อการ
เรียนการสอน และระบบการประเมินผล 2) ผูEสอน ไดEแก/ การสรEางความผูกพันระหว/าง
ผูEสอนกับผูEเรียน สรEางพลังการเรียนรูE และสรEางความกระตือรือรEนในการเรียนรูE 3) ผูEเรียน

การประชมุ วชิ าการพระพทุ ธศาสนาและศลิ ปวฒั นธรรมระดบั ชาติและนานาชาตคิ ร้งั ท่ี 2 333

ไดEแก/ ระเบียบวินัยของผูEเรียน ทักษะพื้นฐานในการใชEคอมพิวเตอรK การตระหนักรูEถึง
ประโยชนKและโทษของการใชEเครือข/ายสื่อสาร ความกลEาที่จะแสดงความคิดเห็นอย/าง
เปpดเผย และความสามารถในการคิดวิเคราะหK สังเคราะหKในสิ่งที่เรียน 4) ผูEปกครอง ไดEแก/
อุปกรณKการเรียน สถานที่เรียน ความพรEอมในการใชEเทคโนโลยีของผูEปกครอง และความ
พรEอมดาE นอาชีพ เพือ่ ใหมE ีเวลาทจี่ ะดแู ลผเEู รยี นไดE

คำสำคญั : การเตรียมความพรอE ม, การศกึ ษาไทย, อนาคต

Abstract

According to the National Education Standards 2018, the aim is to
develop learners to achieve the desired results of education, to maintain Thai
identity and compete on the world stage and from the situation of
the epidemic of Corona virus 2019 (Covid-19) in Thailand has brought distance
education or online learning to try to prepare the school for teaching and
learning. From the trial results found that Online learning is not as effective
as expected. And is unsuitable for current Thai education.

However, online learning is still necessary if the world is still unable
to successfully produce a vaccine against Corona 2019. At the same time,
learning management in the Disruptive Innovation era requires a learning
management method that can disrupt the learners. Commitment to learning
To prepare for the future society. Therefore, the preparation of Thai
education for a future society. Should prepare the preparation in four aspects
which are 1)Information technology like internet networks School supplies
Teaching media And evaluation system. 2) The teacher is to develop a bond
between the teacher and the learner. Generate learning power and arouse
enthusiasm for learning. 3) Learners represent discipline of learners.
Fundamental skills in operating computers Recognizing the benefits and

334 การประชมุ วิชาการพระพุทธศาสนาและศลิ ปวฒั นธรรมระดับชาตแิ ละนานาชาติคร้ังท่ี 2

disadvantages of using communication networks. The courage to express
opinions openly And the ability to think critically Synthesis in learning. 4)
Parents, including educational tools, learning places, and readiness to use
technology of parents and career readiness to have time to take care of
students.

Keywords: Preparation, Thai education, Future

บทนำ

การศึกษามีการพัฒนาและเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา และการเรียนรูEดEวยตนเอง
(Self-directed Learning) เปRนวิธีแสวงหาความรูEอย/างหนึ่งที่ทำใหEผูEเรียนสามารถดำรงชีพ
อยู/ในสังคมไดEอย/างมีคุณภาพ การเรียนรูEดEวยตนเองจะทำใหEผูEเรียนซึ่งเปRนบุคคลที่กระหาย
ใคร/รูEสามารถเรียนรูEเรื่องต/าง ๆ ที่มีอยู/ไดEมาก (Knowles, 1975., อEางใน อภิชาต อนุกูลเวช
, 2551, 6) แนวคิดการศึกษาทางไกลคือการศึกษาตลอดชีวิตที่มุ/งตอบสนองใหEกับบุคคลไดE
เรียนรูEตลอดชีวิต ทั้งนี้เพราะจึงเปRนการศึกษาดEวยตนเองตามศักยภาพ โดยอิสระและถึงไดE
ว/าเปRนการจัดการศึกษาที่มีกระบวนการและกิจกรรมที่เกี่ยวกับคนตั้งแต/เกิดจนตาย
(สมประสงคK วิทยเกียรติ และคณะ, 2544, 19) การศึกษาทางไกลจึงช/วยทำใหEการศึกษา
เขาE ถงึ กลม/ุ เปíาหมายไดEกวาE งขึ้น สะดวกขึน้ (สุมาลี สังขศK รี, 2549, 1)

จากการแพร/ระบาดของไวรัสโคโลน/า 2019 (โควิท-19) รัฐบาลไดEกำหนดมาตรการเวEน
ระยะห/างทางสังคม (Social distancing) และมีคำสั่งใหEเลื่อนการเปpดภาคเรียนจากปกติไปอีก
45 วัน ความว/าอาศัยอำนาจตามระเบียบกระทรวงศึกษาธิการว/าดEวยปìการศึกษา การเปpดและ
ปpดสถานศึกษา พ.ศ. 2549 กระทรวงศึกษาธิการเห็นสมควรใหEมีการเลื่อนการเปpดภาคเรียน
ที่หนึ่ง จากวันที่ 16 พฤษภาคม พ.ศ. 2563 เปRนวันที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2563 เพื่อใหE
สอดคลEองกับสถานการณKการแพร/ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
ทั้งนี้ กระทรวงศึกษาธิการเห็นว/าหากมีการเลื่อนการเปpดภาคเรียนที่หนึ่งล/วงเลย
กำหนดเวลาดังกล/าว จะส/งผลกระทบต/อการวางแผนการเรียนการสอนในปìการศึกษา
2563 เปRนอย/างยิ่งและจะมีผลกระทบต/อไปถึงการเรียนการสอนในปìการศึกษาต/อ ๆ ไป

การประชุมวชิ าการพระพุทธศาสนาและศิลปวฒั นธรรมระดบั ชาตแิ ละนานาชาตคิ รงั้ ท่ี 2 335

ดEวย ในระหว/างที่สถานศึกษาตEองปpดเรียนดEวยเหตุพิเศษดังกล/าว หากมีความจำเปRน
ใหEส/วนราชการตEนสังกัดกำหนดแนวทางแกEป^ญหา ทั้งนี้ ใหEสถานศึกษาจัดใหEมีการเรียนการ
สอนดEวยการไม/ตEองเขEาชั้นเรียนโดยปรับการเรียนการสอนเปRนทางออนไลนK
(กระทรวงศึกษาธกิ าร, 1 กรกฎาคม 2563)

จากป^ญหาดังกล/าวขEางตEน ผูEเขียนบทความจึงมีความตEองการนำเสนอเกี่ยวกับการ
เตรียมความพรEอมของการศึกษาไทยสู/สังคมอนาคต เพื่อการสรEางแนวทางการศึกษาใหม/
อันจะเปRนองคKความรูEที่เปRนประโยชนKต/อการพัฒนาระบบการศึกษาใหEสอดคลEองกับ
มาตรฐานการศึกษาแห/งชาติ เพื่อเปRนหนทางพัฒนาประเทศใหEมีความเจริญ มั่งคั่ง และ
ยงั่ ยนื ตอ/ ไป

มาตรฐานการศึกษาของชาติ
กระทรวงศึกษาธิการโดยสำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา ไดEจัดทำมาตรฐาน
การศึกษาแห/งชาติ พ.ศ. 2561 แทนฉบับเดิม ปì พ.ศ. 2547 มีจุดมุ/งหมายเพื่อใหEสถานศึกษา
ทุกแห/งยึดเปRนแนวทางสำหรับการพัฒนาผูEเรียนไปสู/ผลลัพธKที่พึงประสงคKของการศึกษา
(Desired Outcomes of Education: DOE Thailand) ซึ่งหมายถึง คุณลักษณะของคนไทย
4.0 ที่ตอบสนองวิสัยทัศนKการพัฒนาสู/ความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน โดยคนไทย 4.0 จะตEองธำรง
ความเปนR ไทยและแข/งขันไดใE นเวทีโลก และเปนR บคุ คลท่ีมีคุณลกั ษณะ 3 ดาE น คอื
1. ผูEเรียนรูE คือ เปRนผูEมีความเพียร ใฝõเรียนรูE และมีทักษะการเรียนรูEตลอดชีวิต
เพื่อกEาวทันโลกยุคดิจิทัลและโลกในอนาคตและมีสมรรถนะ (Competency) ที่เกิดจาก
ความรูE ความรอบรูEดEานต/าง ๆ มีสุนทรียะ รักษKและประยุกตKใชEภูมิป^ญญาไทย มีทักษะชีวิต
เพื่อสรEางงานหรือสัมมาชีพบนพื้นฐานของความพอเพียง ความมั่งคงในชีวิต และคุณภาพ
ชวี ติ ทีด่ ตี /อตนเอง ครอบครัว และสงั คม
2. ผูEร/วมสรEางสรรคKนวัตกรรม เปRนผูEที่มีทักษะทางป^ญญา ทักษะศตวรรษที่ 21
ความฉลาดดิจิทัล (Digital Intelligence) ทักษะการคิดสรEางสรรคK ทักษะขEามวัฒนธรรม
สมรรถนะการบูรณาการขEามศาสตรK และมีคุณลักษณะของความเปRนผูEประกอบการ เพื่อร/วม
สราE งสรรคKและพัฒนานวัตกรรมทางเทคโนโลยหี รือสงั คม เพม่ิ โอกาสและมลู ค/าใหEกับตนเอง
และสังคม

336 การประชุมวชิ าการพระพทุ ธศาสนาและศลิ ปวฒั นธรรมระดบั ชาตแิ ละนานาชาติครง้ั ที่ 2

3. พลเมืองที่เขEมแข็ง เปRนผูEมีความรักชาติ รักทEองถิ่น รูEถูกผิด มีจิตสำนึก เปRน
พลเมืองไทยและพลโลก มีจิตอาสา มีอุดมการณKและมีส/วนร/วมในการพัฒนาชาติบน
หลักการประชาธิปไตย ความยุติธรรม ความเท/าเทียม เสมอภาค เพื่อการจัดการ
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลEอมที่ยั่งยืน และการอยู/ร/วมกันในสังคมไทยและประชาคม
โลกอยา/ งสันติ (สำนกั งานเลขาธิการสภาการศกึ ษา, 2562 : 5-7).

สรุปไดEว/า มาตรฐานการศึกษาแห/งชาติ พ.ศ. 2561 มีจุดมุ/งหมายเพื่อการพัฒนา
ผูEเรียนไปสู/ผลลัพธKที่พึงประสงคKของการศึกษา คือเปRนบุคคลที่มีคุณลักษณะ 3 ดEาน
1) ผูEเรียนรูE ตEองทันโลกยุคดิจิทัล 2) ผูEร/วมสรEางสรรคKนวัตกรรม เปRนผูEที่มีทักษะทางป^ญญา
3) พลเมอื งท่เี ขEมแข็ง เปRนผEมู ีความรกั ชาติ เปRนพลเมอื งไทยท่ดี ี

แนวคดิ เกยี่ วกบั รูปแบบของหLองเรยี นเสมือนจริง

จากแนวคิดเกี่ยวกับหEองเรียนในอนาคตของนักวิชาการในปì 1994 ซึ่งมี
ระยะเวลาผ/านมา 26 ปì โดย เพอรKริน (Perrin,1994) ผูEอำนวยการศูนยKนวัตกรรมการเรียน
อัลควิสตKของมหาวิทยาลัยแห/งรัฐแซนโฮเซ (The Alquist Center For Innovation
Learning at San Jose State University) (อาE งใน ดษุ ฎี สีวงั คำ, 2553, 12) ไดคE าดการณK
ถึงลักษณะของหEองเรียนในอนาคต (The University of the Future) ซึ่งจะเปRนรูปแบบ
ของมหาวิทยาลยั นานาชาติ คอื

1) เปRนหEองเรียนที่ไม/มีกำแพงขวางกั้น ผูEเรียนสามารถเลือกเรียนไดEและอาจารยK
ทีปรึกษาจากสถาบันอุดมศึกษาชั้นนำ หEองสมุด พิพิธภัณฑK และสถาบันทางเทคนิคต/าง ๆ
ทว่ั โลก

2) เปRนหEองเรียนที่ออกแบบสำหรับคนที่ไม/สามารถเรียนตามกรอบประเพณีใน
รูปแบบโรงเรียนใหEสามารถเรียนเวลาใดก็ไดE สถานที่ใดก็ไดE และผูEเรียนเปRนผูEกำหนด
ทางเลือก

3) เปRนหEองเรียนที่เปpดทำการตลอด 24 ชั่วโมงต/อวัน 365 วันต/อปì ซึ่งผูEเรียน
สามารถมสี ว/ นร/วมในการเรยี นแบบสด ๆ หรอื เรยี นจบหลักสตู ร

4) เปRนหอE งเรียนระหว/างชาตอิ ยา/ งแทจE ริงมวี ฒั นธรรม และภาษาทีห่ ลากหลายซงึ่
หลักสูตรตา/ ง ๆ มีแหลง/ กำเนดิ มาจากนานาประเทศ นานาวัฒนธรรม และนานาภาษา

การประชุมวิชาการพระพทุ ธศาสนาและศิลปวฒั นธรรมระดบั ชาตแิ ละนานาชาติครัง้ ท่ี 2 337

5) เปRนหEองเรียนที่ผูEเรียนเปRนผูEกำหนดแบบแผนการเรียนดEวยตนเอง บนฐานของ
ความจำเปนR ความสนใจ รปู แบบการเรียนที่ชอบ และวิธีประเมนิ ผล

6) เปRนหEองเรียนที่คอมพิวเตอรKมัลติมีเดียปฏิสัมพันธK หEองสมุดอิเล็กทรอนิกสK
และทางด/วนขEอมูลข/าวสาร มีบทบาทสำคัญในการจัดหารายวิชา และบริการที่มีการ
ปฏิสัมพันธเK ตม็ รปู แบบ

7) เปRนหEองเรียนที่จัดหลักสูตรที่เอื้อต/อความตEองการในอนาคต และเตรียม
ผูEเรียนใหEทำงานไดEอย/างแทEจริง และวางกลยุทธKสำหรับการบรรจุเขEาทำงานไวEต้ังแต/ตอน
สมคั รเรยี น

8) เปRนหEองเรียนที่ตอบสนองคนอัจฉริยะ คนสรEางสรรคK และคนที่ชอบทำงาน
ร/วมกันและแผนการเรียนการสอน เปRนแบบที่ปรับตัวกับอนาคต น/าตื่นเตEน และตรง
ประเด็นเนื้อหา

ความหมายของหAองเรยี นเสมอื นจรงิ
โรงเรียนเสมือนจริง (Virtual School) คือ การศึกษาแนวใหม/ในยุคโลกาภิวัตนKท่ี
มีลักษณะเปRน Knowledge-based Learning Organization ที่ใครก็ไดE (Anyone)
สามารถเรียนรูEจากแหล/งใดก็ไดE (Anywhere) และเวลาใดก็ไดE (Anytime)(ชนวัฒนK, 2541,
อEางใน ดุษฎี สีวงั คำ, 2553, 12-13)
มหาวิทยาลัยมิชิแกนสเทต (Michigan State University) สหรัฐอเมริกา ไดEใหE
ความหมายของหEองเรียนเสมือนจริงมิชิแกนสเทต (Michigan State Virtual University,
1998) ว/า หมายถึง หลักสูตร และรายวิชาที่สอนผ/านอินเทอรKเน็ต และเสริมดEวยส่ือ
เทคโนโลยีอื่น ๆ ที่ทำใหEหEองเรียนมิชิแกนสเตท สามารถสอนไดEโดยไม/ถูกจำกัดดEวยเวลา
และสถานที่เหมือนหEองเรียนปกติ หEองเรียนเสมือนจริงไดEรับการออกแบบ เพื่อสนองความ
ตEองการการเรียนในเวลา และสถานที่ที่สะดวกที่สุด (MSU Virtual University,1999, อEาง
ใน ดษุ ฎี สีวงั คำ, 2553, 12-13)
สรุปว/า หEองเรียนเสมือนจริง หมายถึง เปRนการศึกษาแนวใหม/ในยุคโลกาภิวัตนK
เปนR หลักสูตร และรายวชิ าท่ีสอนผา/ นอินเทอรเK นต็ และเสริมดEวยส่ือเทคโนโลยีอื่น ๆ ท่ใี ครก็
สามารถเรียนรูEไดE เรยี นรูEจากแหลง/ ใดและเวลาใดกไ็ ดE

338 การประชุมวชิ าการพระพทุ ธศาสนาและศิลปวัฒนธรรมระดับชาตแิ ละนานาชาตคิ รั้งที่ 2

หลกั การของหอA งเรียนเสมอื นจริง
1) การใหEการศึกษาที่ทันเวลาการใชEงาน (Just in Time Education) หEองเรียน
เสมือนจริงมีความคล/องตัว และเชื่อมโยงกับแหล/งขEอมูล และแหล/งวิชาการต/าง ๆ ไดEทั่ว
โลกจึงเปRนแหล/งความรูEที่ทันสมัยตลอดเวลา สามารถตอบสนองประชาชนที่ตEองการไดE
ในทนั ที
2) การเรียนเปRนการแลกเปลี่ยน (Learning is Exchange) ในหEองเรียนเสมือน
จริงจะไม/มีระบบที่มีผูEรูEทุกเรื่องคนเดียวแลEวสอนคนอื่น ๆ แต/จะเปRนลักษณะที่ทุกคนเสมอกัน
แลกเปลย่ี นความรกูE นั
3) การเรียน คือ การแลกเปลี่ยนความรูE และขEอมูลข/าวสาร ไม/ใช/การรับเพียง
อย/างเดียว หลักการนี้เปRนลักษณะของหEองเรียนเปpดที่ครู อาจารยK นักศึกษา และผูEสนใจ
สามารถพบปะแลกเปลี่ยนความรEูกันไดE
4) การจัดสภาพแวดลEอมโดยยึดผูEเรียนเปRนสำคัญ (Environment According
to User Profile) สภาพแวดลEอมทางการเรียนจะเปลี่ยนรูปไปตามลักษณะของผูEเรียน
ตั้งแต/เริ่มล็อกอิน (Log in) เขEาเรียน ผูEเรียนจะเปRนผูEกำหนดขอบข/ายความสนใจว/าจะเรียน
อะไร และในระหว/างเรียนผูEเรียนจะเปRนผูEปรับเปลี่ยนสภาพแวดลEอมการเรียนเอง โดยเปRน
ผูEเลือกเนื้อหาที่จะเรียนเลือกปรึกษาคนที่ตนเองตEองการ ซึ่งอาจเปRนผูEสอน บุคลากร หรือ
เพื่อนักศึกษาเอง ขณะที่ลงทะเบียนเรียน ผูEเรียนจะใหEชื่อ ที่อยู/ ในอีเมล คุณวุฒิในการ
ทำงาน ขอบข/ายความสนใจประสบการณKในการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เปRนตEน ซึ่งขEอมูลน้ี
จะเปRนกุญแจในการติดต/อกับผูEที่มีความสนใจและคุณลักษณะคลEายกัน (ดุษฎี สีวังคำ,
2553, 14-15)
วธิ สี อื่ สาร และรับความรAูของหAองเรียนเสมอื นจริง
หอE งเรยี นเสมอื นจริงมวี ธิ สี ือ่ สาร และคEนควEาหาความรูE 6 วิธีใหญ/ ๆ คือ
1) การสนทนาแบบออนไลนK (Online Chat)
2) สิ่งพิมพKที่พิมพKในหEองสมุดตามหลักสูตร จัดเก็บเปRนหนังสืออิเล็กทรอนิกสK
เพอื่ ใหEนกั ศึกษาคนE ควาE ไดดE วE ยตนเอง
3) ผนังข/าว (News Wall) เปRนปíายประกาศแจEงข/าวต/าง ๆ ในหEองเรียน เช/น
กำหนดการสัมมนาปฏิบตั กิ าร การประชมุ ข/าวสำหรับนักศกึ ษาใหม/ การติดต/อตา/ ง ๆ เปนR ตนE

การประชุมวิชาการพระพทุ ธศาสนาและศลิ ปวัฒนธรรมระดับชาติและนานาชาติคร้ังท่ี 2 339

4) หEองสมุด เปRนแหล/งคEนหาความรูEในทุก ๆ ดEาน โดยมีฐานขEอมูลที่เชื่อต/อ
เครือขา/ ยสารสนเทศ และขอE เขียนท่ีจดั พิมพโK ดยหEองสมดุ เอง

5) แหล/งคEนควEาเพิ่มเติม เปRนแหล/งคEนควEาที่นอกเหนือจากหEองสมุด เช/น เว็บ
ไซดKต/าง ๆ ทีเ่ ก่ยี วขอE งกับการเรยี น หรอื เปนR เว็บไซตเK พอ่ื การฝก£ ปฏบิ ตั ิจริง

6) เนื้อที่สำหรับการส/งการบEาน หรือขEอสอบบนเว็บไซตK ซึ่งเปRนส/วนตัวของ
นักศึกษาแตล/ ะคน เพอื่ ใหอE าจารยKสามารถเขEาไปตรวจสอบไดE

7) จุดแข็งและจุดอ/อนของหEองเรียนเสมือนจริง ซึ่ง เพอรKริน (Perrin, 1994 อEาง
ในดษุ ฎี สีวังคำ, 2553 หนาE 16) ไดกE ลา/ วถงึ ขอE ไดEเปรยี บของหEองเยนเสมอื นจริงในดาE นต/าง
ๆ ซึง่ มีดังนี้

(1) ดEานการจัดการเรียนการสอน จากการที่หEองเรียนเสมือนจริงจัดการ
เรียนการสอนในรูปแบบของสื่ออิเล็กทรอนิกสKผ/านเครือข/ายสารสนเทศ จึงสามารถ
เชื่อมโยงกับหEองเรียนต/าง ๆ ทั่วโลกและหEองสมุดต/าง ๆ ตลอดจนฐานขEอมูลทั่วไป ทำใหEมี
แหล/งความรูEที่ทันสมัยมากสามารถจัดหลักสูตรไดEหลายรูปแบบ เช/น นำความรEูจากแหล/ง
ต/าง ๆ มาประกอบเปRนชุดหลักสูตร โดยเชื่อมโยงใหEเรียนบางส/วนของหลักสูตรจาก
หEองเรียนต/าง ๆ และบางส/วนจากแหล/งขEอมูลต/าง ๆ จนครบหลักสูตร ซึ่งจะเปRนหลักสูตรท่ี
มีความลกึ ความกวEางและทนั สมัย

(2) ดEานสื่อการสอน มีหEองสมุดอิเล็กทรอนิกสK ประกอบดEวยสื่อตำรา
(Text) สื่อเสียง สื่อวีดิทัศนK หรือภาพยนตรK โดยเชื่อมโยงจากแหล/งต/าง ๆ ทั่วโลก สื่อตำรา
อาจอยู/ในรูปของซีดีรอม (CD ROM) หรือขEอมูลสารสนเทศที่ส/งไปทางสาย (Online)
สื่อวีดิทัศนK จะมีทั้งแบบปฏิสัมพันธKและไม/ปฏิสัมพันธK สื่อดิจิทัล ไดEแก/ คอมพิวเตอรKช/วย
สอน ไฮเปอรมK เี ดีย และมลั ตมิ เี ดีย ซึ่งอ/านสง/ ผ/านเครอื ขา/ ยอนิ เทอรKเนต็ หรือใชEซดี ีรอม

(3) ดEานการเรียนการสอน สามารถใชEการสอนแบบมัลติมีเดียดEวยการ
อภิปรายโสดผ/านโทรศัพทK หรือการสนทนาผ/านการประชุมทางคอมพิวเตอรK และกระดาน
ข/าว (Bulletin Board) การทดลองต/าง ๆ สามารถใชEการจำลองสถานการณKจริง
(Simulation) ผ/านเครือข/ายคอมพิวเตอรK หรือการใชEหEองทดลองจริงในทEองถิ่นที่นักศึกษา
เรียนไดE

340 การประชุมวชิ าการพระพทุ ธศาสนาและศลิ ปวฒั นธรรมระดับชาติและนานาชาตคิ รัง้ ที่ 2

(4) ดEานการประเมินผล มีการประเมินผลที่เหมาะกับรูปแบบการเรียนของ
นักศึกษา และวัตถุประสงคKของหลักสูตร โดยมีวิธีประเมินผลที่ใหEนักศึกษาทราบ
ความกาE วหนEาเปนR ระยะ นักศึกษาจะไดEผลการเรียน เม่อื ปฏบิ ัติไดEถงึ ระดบั ทีก่ ำหนดไวE

(5) ดEานการบริหารงาน สามารถทำผ/านเครือข/ายคอมพิวเตอรKไดEตลอด 24
ชั่วโมง ไม/ว/าจะเปRนการลงทะเบียน การสอบถามป^ญหาต/าง ๆ ฯลฯ ดEานการควบคุมใน
หEองเรียนเสมือนจริง ผูEเรียนเปRนผูEเลือกรายวิชาต/าง ๆ เลือกสถาบัน และผูEสอนเอง
หลักสูตรสามารถปรับเขEากับตารางเวลา และรูปแบบการเรียนของผูEเรียน รายวิชาต/าง ๆ
สามารถเรม่ิ เรียนหรือเลิกเรียนในเวลาใดกไ็ ดEตลอด 24 ช่ัวโมง

(6) ดEานการบริการ และสิ่งอำนวยความสะดวกต/าง ๆ หEองเรียนเสมือนจริง
ไม/ตEองจ/ายค/าก/อสรEางหEองเรียน หEองปฏิบัติการ หรืออาคารต/าง ๆ ไม/ตEองจ/ายค/าซ/อมแซม
ดูแลรักษาอาคาร กิจกรรมการเรียนการสอน การใหEคำปรึกษารายบุคคล การสอนเสริม
(Tutoring) การพบที่ปรึกษา (Mentoring) และการใหEบริการอื่น ๆ สามารถทำไดEทาง
เครือข/ายสารสนเทศ โดยใชEโทรศัพทK หรือเทคโนโลยีคมนาคมอื่น ๆ

ส/วนขEอจำกัดของหEองเรียนเสมือนจริง คือ ในดEานสังคม และนันทนาการ
(Social/Recreation) ถึงแมEนักศึกษาหEองเรียนเสมือนจริง จะสามารถติดต/อสื่อสารกัน
ผ/านทางอินเตอรKเน็ตในรูปสนทนา (Chat) เปRนรายบุคคล และการประชุมทางคอมพิวเตอรK
(Computer Conference) ซึ่งสามารถทำงานร/วมกันเปRนกลุ/มไดE แต/ก็ไม/เปRนธรรมชาติ
เหมือนกับสังคมจรงิ (ดุษฎี สีวงั คำ, 2553, 16-17)

แนวคิดเกย่ี วกบั การเรยี นการสอนทางไกล
การเรียนการสอนทางไกลมีพัฒนาการอย/างต/อเนื่องตามความกEาวหนEาของ
เทคโนโลยมี านานกวา/ ศตวรรษ ในการเรียนการสอนทางไกลกเ็ ช/นเดยี วกนั สามารถแบ/งช/วง
ของการเปลย่ี นแปลงไดE 3 ยุค (Moore, 1996 อEางใน ดษุ ฎี สวี ังคำ, 2553, 22)
1) ยุคที่ 1 ยุคที่มีกิจกรรมการเรียนการสอนผ/านส่ือสิ่งพิมพK การติดต/อสื่อสาร
ผา/ นระบบไปรษณียK เปนR การเรยี นรดEู วE ยตนเอง
2) ยุคที่ 2 ยุคของการถ/ายทอดบทเรียนผ/านวิทยุ โทรทัศนK และเทปเสียง โดยใชE
รว/ มกบั สื่อส่งิ พิมพK และมรี ะบบการประชุมทางไกล

การประชมุ วชิ าการพระพุทธศาสนาและศิลปวัฒนธรรมระดับชาตแิ ละนานาชาตคิ รั้งท่ี 2 341

3) ยุคที่ 3 ยุคเครือข/าย และสื่อประสม ไดEถ/ายทอดผ/านโทรทัศนK หรือวีดิทัศนK
โดยมีปฏสิ ัมพนั ธKผา/ นโทรศัพทK ดาวเทยี ม เคเบลิ หรือ ISDN

4) ยุคแห/งการเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีสารสนเทศ เขEามามีบทบาทในการเรียน
การสอนทางไกล มีการใชEเครือข/ายคอมพิวเตอรKในการสื่อสาร และสื่อประสบบน
คอมพวิ เตอรK

จากลำดับที่ใชEในการเรียนทางไกล แสดงใหEเห็นว/ามีการใชEสื่อตามลำดับของการ
พัฒนาการของเทคโนโลยีสื่อการเรียนการสอน (Instructional) ทางไกลถือว/าเปRนสิ่งที่มี
บทบาทสำคัญอย/างมาก เพราะผูEเรียนจะตEองศึกษาผ/านสื่อการเรียนทางไกลจะมี
ประสิทธิภาพหรือไม/ขึ้นอยู/กับคุณภาพของสื่อเหล/านั้น(กิตติพงษK, 2541 อEางใน ดุษฎี
สีวงั คำ, 2553: 23)

ขั้นตอนการดำเนนิ งานของระบบการเรยี นการสอนทางไกล มี 9 ข้นั ตอน ดงั นี้
1) การศึกษาและวิเคราะหKความตEองการทางการศึกษา ในการเปpดสอนหลักสูตร
หรือโปรแกรมต/าง ๆ ของสถาบันที่จัดการศึกษาทางไกล จะเริ่มตEนดEวยการศึกษาและ
วิเคราะหKความตEองการทางการศึกษา โดยนำเอาความตEองการของสังคมตลอดจน
สภาพแวดลEอมที่เกี่ยวขEองมาพิจารณา เพื่อทำใหEสามารถทราบไดEอย/างแทEจริงและชัดเจน
กว/า การศึกษาที่จะจัดขึ้นนั้นสามารถตอบสนองและตรงกับความตEองการของผูEเรียนหรือไม/
และตัวผEเู รยี นมีความมุง/ หวงั จะไดEรับความรูปE ระสบการณKดEานใด
2) กำหนดวัตถุประสงคKของการศึกษา วัตถุประสงคKของการศึกษาในที่นี้
มีความหมายรวมถึง วัตถุประสงคKของหลักสูตรหรือโครงการการศึกษา ซึ่งไดEมากจากการ
ตีความผลที่ไดEรับจากการศึกษาและวิเคราะหK ตลอดจนการสำรวจความตEองการทางการ
ศกึ ษา
3) การพัฒนาหลักสูตร ในขั้นนี้สถาบันการศึกษาทางไกลจะดำเนินการ โดยการ
แต/งตั้งคณะกรรมการพัฒนาหลักสูตรขึ้น ซึ่งจะประกอบดEวยผูEเชี่ยวชาญทางดEานต/าง ๆ
ท้งั ผเEู ชี่ยวชาญเนอ้ื หา ผเูE ชี่ยวชาญหลักสูตร ผเEู ช่ียวชาญสื่อ
4) การพิจารณาสื่อที่เหมาะสมสำหรับการศึกษาทางไกล สื่อการสอนทางไกลท่ี
กำหนดขึ้น ใชEสื่อหลายชนิด โดยที่สื่อแต/ละชนิดจะมีวิธีการนำเสนอแตกต/างกัน ทั้งน้ี
เพ่อื เปนR การสนบั สนนุ หรอื เสริมการเรยี นรูEเพื่อทำใหEเกิดความชัดเจนสมบูรณKขึ้น

342 การประชุมวิชาการพระพทุ ธศาสนาและศลิ ปวัฒนธรรมระดับชาติและนานาชาติครงั้ ท่ี 2

5) การวางแผนและพัฒนาสื่อการเรียนการสอน ในขั้นนี้สถาบันการศึกษาจะ
แต/งตั้งคณะกรรมการพัฒนาสื่อการเรียนการสอนขึ้น คณะกรรมการนี้จะทำหนEาที่วางแผน
และพัฒนาสื่อการสอน ในลักษณะของการเสนอรายละเอียดของเนื้อหาสาระที่ตEองการใหE
ผูEเรียนเกิดความรูE โดยเนื้อหาสาระที่เสนอนั้นจะตEองสอดคลEองกับหลักสูตร ธรรมชาติของ
ผูEเรียน และเนื้อหาสาระปรัชญา แนวคิด และจุดมุ/งหมายของการเรียนรูEในวิชาการดEานน้ัน
ๆ พรEอมทั้งการกำหนดวัตถุประสงคKและวิธีการนำเสนอเนื้อหาสาระของสื่อ แต/ละชนิดที่จะ
ใชใE นการจดั การเรียนการสอนดวE ย

6) การผลิตสื่อการศึกษาเมื่อไดEรับการวางแผนละพัฒนาสื่อการเรียนการสอน
เรียบรEอยแลEว หน/วยงานในสถาบันการศึกษาที่จัดตั้งขึ้นเพื่อสนับสนุนการศึกษาทางไกล
ก็จะรับเอาแผนและเนอื้ หาสาระท่ไี ดEรบั การกำหนดขึน้ เปRนสอ่ื แตล/ ะประเภทไปดำเนนิ งาน

7) การทดสอบระบบและสื่อการศึกษาที่ไดEจัดทำขึ้น ทางสถาบันการศึกษาไดEใหE
ความสำคัญต/อการทดสอบสื่อการเรียนการสอนมาก กล/าวคือ เมื่อมีการพัฒนาสื่อการสอน
ทุกประเภทแลEว ก็จะผลิตเปRนชุดจำลองเพื่อนำไปทดลองใชEกับผูEเรียนจำนวนนEอยก/อน ทั้งนี้
เพ่อื ใหEเกิดความมนั่ ใจในมาตรฐานและคุณภาพของการศึกษา

8) การนำระบบการสอนและสื่อการศึกษาไปใชE เมื่อมีการทดลองและปรับปรุง
การสอนและสื่อการศึกษาจนบรรลุผลดังประสงคKแลEว สถาบันการศึกษาก็จะนำสื่อสารการ
สอนที่ไดEปรบั ปรงุ แลEวไปใชจE ัดการสอนจรงิ โดยการเปดp รับนกั ศึกษาเขEาเรียนจรงิ ตอ/ ไป

9) การติดตามและประเมินผลการศึกษา การติดตาม และประเมินผลการศึกษา
จะจัดทำใน 2 กรณี คือ

(1) กรณีแรกเปRนการประเมินผลการศึกษา เพื่อดูความกEาวหนEาและสัมฤทธ์ิ
ผลทางการเรียนของผูเE รยี น การประเมินผลการเรยี นอาจทำเพยี งครง้ั เดยี วดวE ยการสอบ

(2) กรณีที่สองเปRนการประเมินระบบการศึกษา เพื่อที่จะทำใหEทราบว/าการ
ดำเนินการจัดการศึกษาของสถานศึกษาตามที่จัดทำอยู/นั้นไดEบรรลุผลตามวัตถุประสงคKที่ไดE
กำหนดไวหE รือไม/(ดุษฎี สีวงั คำ, 2553, 24-25)

สรุปไดEว/า การเรียนการสอนทางไกลมีพัฒนาการใน 4 ยุค คือยุคที่มีกิจกรรมการ
เรียนการสอนผ/านสื่อสิ่งพิมพK ยุคของการถ/ายทอดบทเรียนผ/านวิทยุ โทรทัศนK และ
เทปเสียง ยุคเครือข/าย และสื่อประสม และยุคการเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีสารสนเทศ การ

การประชมุ วชิ าการพระพุทธศาสนาและศิลปวฒั นธรรมระดบั ชาติและนานาชาติครัง้ ที่ 2 343

สอนทางไกลมีขั้นตอนการดำเนินงาน ตามลำดับคือ วิเคราะหKความตEองการทางการศึกษา
กำหนดวัตถุประสงคK พัฒนาหลักสูตร พิจารณาสื่อที่เหมาะสมสำหรับการศึกษาทางไกล
วางแผนและพัฒนาสื่อการเรียนการสอน ผลิตสื่อการศึกษา ทดสอบระบบและสื่อการศึกษา
นำระบบการสอนและสอ่ื การศกึ ษาไปใชE และตดิ ตามและประเมนิ ผลการศกึ ษา

บทวิเคราะห^การทดสอบการศึกษาทางไกล
จากสถานการณKการแพร/ระบาดของไวรัส โคโรน/า 2019 (โควิท-19) ทำใหEประเทศ
ไทยไดEนำการศึกษาทางไกลหรือการเรียนในระบบออนไลนKมาทดลองใชE ซึ่งจากการ
สังเกตการณKของ ศาสตราจารยK ดร.พิริยะ ผลพิรุฬหK ผูEอำนวยการ ศูนยKศึกษาพัฒนาการ
เศรษฐกิจ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตรK (นิดEา) และศาสตราจารยK ดร. ป^งปอนดK
รักอำนวยกิจ วิทยาลัยประชากรศาสตรK จุฬาลงกรณKมหาวิทยาลัย (โพสตKทูเดยK, 28 เมษายน
2563). ไดEสรุปผลของการเรียนระบบออนไลนKจากการเฝíาดูและประเมินการเรียนออนไลนK
ในชว/ งระยะเวลา 6 สัปดาหวK /า
1) การเรียนออนไลนKเปRนเรื่องการปรับตัวของครูและนักเรียนครั้งใหญ/ ทั้งดEาน
การใชEโปรแกรม การปฏิบัติตามตารางเรียน และการใชEเวลากับหนEาจอเกิน 6-7 ชั่วโมง
ทำใหสE ายตาลาE
2) การเรียนออนไลนKเปRนเรื่อง “น/าเบื่อและเครียด” สำหรับทุกคน เพราะตEองทำ
ตามตารางการเรียน มีเวลาตามคาบเรียน มีเวลาพักเบรกที่เด็กไม/ไดEพักจริงเพราะตEองตาม
งานที่ทำไม/เสร็จ จนเกิดความเครียด การคาดหวังใหEเด็กเล็กมีวินัย ดูนา´ิกาเปRน ทำงานส/ง
ตามตารางเปRนเรื่องที่เปRนไปแทบไม/ไดE ไม/รวมกับที่พ/อแม/บางคนตEองเสียเวลามากไปกับการ
ช/วยเหลือลูกเรื่องการเรียน ทั้งยังตEองเตรียมอาหารใหEลูก 3 มื้อทุกวัน และอีก 2 เบรกตาม
ตารางโรงเรียน พอ/ แม/อกี หลายคนไม/สามารถสอนงานลูกไดE
3) การเรียนออนไลนKเปRนเรื่องของความพรEอมของครู เปRนการวางแผนของครูท่ี
จะนำบทเรียนมาประยุกตKใหEสามารถเรียนโดยที่ไม/มีปฏิสัมพันธK 1 ต/อ 1 ไดE ครูตEองสรรหา
บทเรียน คลิป เอกสารการสอนที่เหมือนในหEองเรียน หาอุปกรณKจริง ทดลองจริงใหEดู และ
ตEองหาบทเรียนเพิ่มเติมสำหรับเรื่องที่ทดแทนดEวยการทำงานหนEาคอม ฯ ไม/ไดE ครูตEอง
พรEอมมาก ๆ

344 การประชมุ วิชาการพระพทุ ธศาสนาและศลิ ปวฒั นธรรมระดบั ชาติและนานาชาติครง้ั ที่ 2

4) การเรียนออนไลนKเปRนเรื่องของความพรEอมของเด็ก ความพรEอมของเด็กในที่นี้
คือ ความมีวนิ ัย ความพรอE มดาE นไอที ความกลEาแสดงออกและโตEตอบในการถามคำถาม

5) การเรียนออนไลนKไม/ไดEมีประสิทธิผลการเรียนรูEอย/างที่เคยคาดหวัง
(Over-rated)

6) จากการประเมินประสิทธิผลของการเรียนออนไลนKในระดับประถมจะอย/ู
ประมาณรอE ย 25-30 และรEอยละ 30-40 ในเด็กโต ในขณะท่ีนกั เรยี นใหคE ะแนนตนเองเพยี ง
แค/รEอยละ 10-20 เท/านั้น สาเหตุหลัก ๆ ก็คือ การเรียนรูEที่ดีในวัยน้ี เปRนการเรียนเชิงคิด
วเิ คราะหK เชงิ สราE งสรรคK และเชิงปฏิสัมพนั ธK ซึง่ การเรียนออนไลนKทำไดนE อE ยมาก

7) การเรียนออนไลนKไม/เหมาะกับเด็กทุกคน สำหรับเดก็ บางคนที่วินัยสูงและเปRน
กลุ/มที่เก็บตัวก็ไม/น/ากังวล แต/เด็กบางคนที่ตEองการสังคม มีความสุขกับการพบเพื่อนและครู
จะเปRนเดก็ ที่ไดEรับผลกระทบในเชิงลบ

8) การเรียนออนไลนKเปRนแค/ Second-best ไม/ใช/ First-best ประสบการณK 6
สัปดาหKสอนว/า ตราบใดที่โครงสรEางและปรัชญาการเรียนรูEของสังคมยังไม/นิ่ง การเรียน
ออนไลนKไม/สามารถเปRน first-best ในประชากรเฉลี่ยไดEเลย ซึ่งหมายความว/า การเรียน
ออนไลนKเปนR เพยี งเครอื่ งมือรองไม/ใชเ/ ครอื่ งมือหลักท่ีครจู ะใชEในการศกึ ษา

9) การเรียนออนไลนKใหEไดEผลเปRนเรื่องของการปรับปรัชญาการสอนท่ี
กระทรวงศึกษาธิการตEองคิดหนัก จากปรัชญาการสอนของไทยเคยเปRนแบบ Traditional
หรือแบบอนุรักษKนิยม ที่ผูEสอนเปRนใหญ/ในปฏิสัมพันธKของการเรียนรูEและมีการเนEน
ผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาที่คะแนน หากใชEปรัชญาการเรียนออนไลนKแบบอนุรักษKนิยม
การเรียนการสอนจะง/ายมากสำหรับผูEสอน แต/จะเปRนความน/าเบื่อและความเครียดสำหรับ
เด็กและผูEปกครอง เพราะหนEาที่ของคนจัดทำระบบออนไลนKก็จะเปRนเพียงแค/การหาครูดี ๆ
มาสรEางสื่อการเรียน และใหEนักเรียนเปpดคลิปดูตามตารางเรียน สั่งการบEาน และสอบ
(ออนไลนK) หากจะทำเรื่องนี้เปRนการเฉพาะหนEา ก็คงไม/ตEองเตรียมการอะไรมากไปกว/าน้ี
มากนัก ยกเวEนการจดั หา Facility ใหเE กดิ การเรียนออนไลนKไดEเทา/ น้ัน

การประชมุ วชิ าการพระพุทธศาสนาและศิลปวัฒนธรรมระดับชาติและนานาชาติครง้ั ที่ 2 345

องคคQ วามรใLู หม9

จากผลสรุปและขEอเสนอแนะของบทความวิชาการนี้ ผูEเขียนสรEางเปRนกรอบ

ขององคคK วามรEูใหม/ ตามแผนภาพดังน้ี

การเตรียม จดั เตรียมความพรอ. มของ “เทคโนโลยีสารสนเทศ”
ความพรอ, ม 1) เครอื ข>ายอนิ เตอรเ@ น็ตจัดให.ทวั่ ถงึ ครอบคลมุ ทกุ กลม>ุ และใชฟ. รีเพอ่ื
ของการศกึ ษา
การศึกษา
ไทยส7สู ังคม 2) อปุ กรณ@การเรยี นออนไลน@ อาทิ คอมพิวเตอร@ แท็บเล็ต
3) ส่อื การเรียนการสอน ท่ีสรา. งสรรค@ ทันสมยั สร.างความสนใจแกผ.ูเรียน
อนาคต 4) ระบบการประเมนิ ผล ทม่ี ีความเทย่ี งตรง ยตุ ธิ รรม

จัดเตรยี มความพรอ. มของ “ผ.ูสอน”
1) การสร.างความผูกพันระหว>างผสู. อนกับผู.เรยี น ให.เกิดความไวว. างใจ
2) สร.างพลังการเรียนร.ู กระตุ.นความสามารถ
3) สรา. งความกระตือรือร.นในการเรียนร.ู สรา. ง สร.างแรงบนั ดาลใจ

จัดเตรียมความพร.อมของ “ผเู. รียน”
1) ระเบียบวนิ ยั ของผเ.ู รยี น
2) ทักษะพ้นื ฐานในการใชค. อมพวิ เตอร@
3) การตระหนักรู.ถงึ ประโยชนแ@ ละโทษของการใช.เครอื ขา> ยสอ่ื สาร
4) ความกลา. ทจี่ ะแสดงความคิดเห็นอย>างเปZดเผย กล.าคิด กลา. ถาม
5) ความสามารถในการคดิ วเิ คราะห@ สงั เคราะหใ@ นส่ิงทีเ่ รยี น

จดั เตรียมความพรอ. มของ “ผป.ู กครอง”
1) อุปกรณ@การเรยี น อาทิ คอมพิวเตอร@ แท็บเลต็ หรอื สมาร@ทโฟน

และระบบเครอื ข>ายอินเตอร@เน็ต
2) สถานที่เรียน ทมี่ คี วามเงยี บ สงบ ไมพ> ลก>ุ พล>าน มีอากาศไม>รอ. นอบ

อา. ว เพื่อให.ผูเ. รียนมีสมาธใิ นการเรยี น
3) ความพรอ. มในการใช.เทคโนโลยีของผู.ปกครอง เพ่ือให.คำแนะนำแก>

ผ.ูเรียนทเี่ ป]นเด็กเล็ก
4) ความพรอ. มดา. นอาชพี เพ่อื ใหม. ีเวลาท่จี ะดแู ลผ.เู รยี นได. อาจ

พิจารณาการทำงานท่ีบ.านในกรณีท่ีสามารถกระทำไดอ. าจพจิ ารณา
การทำงานทีบ่ า. นในกรณที ่ีสามารถกระทำได.

346 การประชุมวิชาการพระพทุ ธศาสนาและศลิ ปวฒั นธรรมระดับชาตแิ ละนานาชาติครั้งท่ี 2

สรุป

จากมาตรฐานการศึกษาแห/งชาติ พ.ศ. 2561 มีจุดมุ/งหมายเพื่อใหEสถานศึกษาทุก
แห/งยึดเปRนแนวทางสำหรับการพัฒนาผูEเรียนไปสู/ผลลัพธKที่พึงประสงคKของการศึกษา โดยคน
ไทย 4.0 จะตEองธำรงความเปRนไทยและแข/งขันไดEในเวทีโลก และเปRนบุคคลที่มีคุณลักษณะ 3
ดEาน คือ 1) ผูEเรียนรูE คือ เปRนผูEมีความเพียร ใฝõเรียนรูE กEาวทันโลกยุคดิจิทัลและโลกในอนาคต
และมีสมรรถนะ (Competency) ที่เกิดจากความรูE ความรอบรูEดEานต/าง ๆ 2) ผูEร/วมสรEางสรรคK
นวัตกรรม เปRนผูEที่มีทักษะทางป^ญญา ทักษะศตวรรษที่ 21 ความฉลาดดิจิทัล (Digital
Intelligence) ทักษะการคิดสรEางสรรคK ทักษะขEามวัฒนธรรม สมรรถนะการบูรณาการขEาม
ศาสตรK และ3) พลเมืองที่เขEมแข็ง เปRนผูEมีความรักชาติ รักทEองถิ่น รูEถูกผิด มีจิตสำนึก
เปนR พลเมอื งไทยและพลโลก

จากสถานการณKการแพร/ระบาดของไวรัส โคโรน/า 2019 (โควิท-19) ทำใหEประเทศ
ไทยไดEนำการศึกษาทางไกลหรือการเรียนในระบบออนไลนKมาทดลองใชEเพื่อการเตรียมความ
พรEอมในการจัดการเรียนการสอนของสถานศึกษา จากผลการทดลองใชEยังพบป^ญหาในหลาย
ดEาน กล/าวคือ ตEองมีการปรับตัวครั้งใหญ/ระหว/างผูEเรียนและผูEสอน การเรียนเกิดความเบื่อ
หน/ายเมื่อมีการเรียนในหลายชั่วโมงต/อวัน ความพรEอมของผูEสอนและผูEเรียนเปRนสิ่งสำคัญ
ต/อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน อาทิ ระบบการเรียนที่น/าเบื่อ ทั้งผูEเรียน ผูEสอน ทำใหEการเรียน
ออนไลนKไม/ไดEมีประสิทธิผลการเรียนรูEอย/างที่คาดหวัง การเรียนออนไลนKไม/เหมาะกับเด็กท่ี
ตEองการสังคม การเรียนออนไลนKจึงเปRนเพียงเครื่องมือรองไม/ใช/เครื่องมือหลักที่ครูจะใชEใน
การศึกษา อีกทั้ง การสอนที่ผ/านมามุ/งเนEนใหEเด็กไดEคะแนนสูง การเรียนออนไลนKจึงไม/
เหมาะสมตอ/ การศกึ ษาไทยในปจ^ จุบนั

อย/างไรก็ตาม ในมุมมองของผูEเขียนบทความวิชาการมองว/า การเรียนออนไลนK
ยังมีความจำเปRนหากทั่วโลกยังไม/สามารถผลิตวัคซีนเพื่อตEานไวรัสโคโรน/า 2019 ไดEสำเร็จ
ขณะเดียวกัน การจัดการเรียนรูEในยุค Disruptive Innovation จำเปRนตEองใชEแนวทางการ
จัดการเรียนรูEที่สามารถ Disrupt ผูEเรียนใหEมีความยึดมั่นผูกพันกับการเรียนรูE เพื่อเตรียม
ความพรอE มไปส/สู ังคมอนาคต

ดังนั้น การเตรียมความพรEอมของการศึกษาไทยสู/สังคมอนาคต ผูEเขียนแบ/งเปRน
ความพรอE ม 4 ดEาน คอื

การประชุมวิชาการพระพทุ ธศาสนาและศลิ ปวฒั นธรรมระดับชาติและนานาชาติครง้ั ที่ 2 347

1) ดEานเทคโนโลยีสารสนเทศ อย/างที่ทราบว/า การเรียนระบบออนไลนKไดEนั้น
จำเปRนตEองใชEเทคโนโลยีสารสนเทศ อาทิ เครื่องคอมพิวเตอรK อุปกรณKรอบขEาง รวมท้ัง
อุปกรณKสื่อสารสำหรับเชื่อมโยงคอมพิวเตอรKเขEาเปRนเครือข/าย เช/น เครื่องพิมพK เครือข/าย
คอมพิวเตอรKในการสื่อสาร และสื่อประสบบนคอมพิวเตอรK มัลติมีเดียต/าง ๆ สำหรับ
ประเทศไทยนั้น ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศยังไม/ครอบคลุมกับผูEเรียนทุกกลุ/ม ไม/ว/าจะเปRน
เครื่องคอมพิวเตอรK แท็บเล็ต สมารKทโฟน และเครือข/ายอินเตอรKเน็ตยังมีไม/ทั่วถึงในทุกจุด
ของสถานศึกษา ซึ่งหากกำหนดใหEมีการเรียนออนไลนKในอนาคต สิ่งที่รัฐบาลตEองตระหนัก
ถึงและตEองวางแนวทางรากฐานของเทคโนโลยีคือ

(1) เครือข/ายอินเตอรKเน็ตตEองจัดใหEทั่วถึงและมีควรเปRนการใชEงาน
อินเตอรKเน็ตเพือ่ การศกึ ษาฟรี

(2) อุปกรณKการเรียนออนไลนK เช/น คอมพิวเตอรK แท็บเล็ต รัฐตEองมีนโยบาย
จัดสรรอุปกรณKต/าง ๆ ที่ตEองใชEในการเรียนระบบออนไลนKใหEแก/ผูEเรียนที่มีฐานยากจน
กลุม/ ที่ผูEปกครองไม/สามารถจัดสรรใหไE ดE อาจเปRนลักษณะของการยมื เรยี น

(3) สื่อการเรียนการสอน สื่อมัติมีเดีย รัฐตEองจัดทำใหEตรงกับวัตถุประสงคK
ตรงตามหลักสูตรการเรียนการสอน และตEองเปRนสื่อที่สรEางสรรคK สามารถดึงดูดความสนใจ
แก/ผูEเรียน ทำใหEผูEเรียนรักที่จะเรียน และเรียนอย/างสนุก สื่อการเรียนควรจัดทำใหE
หลากหลาย เพื่อใหEผูEเรียนสามารถเลือกว/าจะใชEสื่อใดที่เหมาะสมกับการเรียนของตนเอง
เพราะผูEเรียนจะตEองศึกษาผ/านสื่อการเรียนทางไกล และการเรียนจะมีประสิทธิภาพหรือไม/
นน้ั ขึน้ อยูก/ ับคณุ ภาพของส่ือเหล/านั้น

(4) ระบบการประเมินผล ในทุกการเรียนตEองมีการวัดผลการเรียนตาม
หลักสูตรเพื่อการปรับระดับชั้นเรียน ดังนั้น ระบบการประเมินผลจึงเปRนสิ่งที่ไม/สามารถจะ
ขาดไดE ผูEจัดระบบการเรียนทางไกลตEองจัดสรรระบบการประเมินผลที่เที่ยงตรง เพื่อมิใหE
ผเูE รยี นสญู เสียประโยชนจK ากการประมวลผลการเรียน

2) ดEานผูEสอน ซึ่งในระดับการจัดการเรียนการสอนที่ผ/านตEองอาศัยผูEสอน
เปRนหลักหรือใชEความเปRนใหญ/ตามปรัชญาอนุรักษKนิยม แต/ในระบบออนไลนKแลEว ผูEสอน
จะตEองเพิ่มทักษะของตนเองใหEมากขึ้นกว/าเดิม ทั้งนี้ จากสภาพการณKของเทคโนโลยีท่ี
ผูEเรียนสามารถเขEาถึงและเรียนรูEดEวยตนเองไดE ทำใหEเกิดพัฒนาการที่ผูEสอนหากไม/มีการ

348 การประชมุ วชิ าการพระพทุ ธศาสนาและศิลปวฒั นธรรมระดับชาติและนานาชาติครั้งที่ 2

พัฒนาตนเองใหEมีความรูEมากพอจะไม/สามารถใหEคำแนะนำและไม/สามารถตอบโจทยKความ
ตEองการของผูEเรียนไดE หรือแมEแต/ผูEสอนที่ตEองออกแบบสื่อการเรียน สื่อวีดิทัศนKเอง
ตEองสรEางสรรคKนวัตกรรมการเรียนการสอนใหEดึงดูดความสนใจแก/ผูEเรียนไดE เพราะผูEสอนใชE
วิธีการสอนแบบดั้งเดิมจะไม/ไดEรับความสนใจจากผูEเรียนอีกต/อไป ดังนั้น ผูEสอนตEองมี
บทบาทการพัฒนาผเูE รียนใน 3 ดEาน คอื

(1) ดEานการสรEางความผูกพันระหว/างผูEสอนกับผูEเรียน ใหEเกิดความไวEวางใจ
เกดิ การมสี ว/ นรวมในกิจกรรม

(2) ดEานสรEางพลังการเรียนรูE คือการกระตุEนความสามารถ ความเปRนตัวตน
ของผEูเรียนออกมาใหEไดEมากท่สี ดุ

(3) สรEางความกระตอื รอื รนE ในการเรยี นรEู สรEางความต่ืนเตนE ทาE ทาย สรEางแรง
บันดาลใจ และกำหนดเปาí หมายความสำเร็จท่ีชัดเจน

3) ดEานผูEเรียน ผูEเรียนในระบบออนไลนKตEองใชEความมีวินัยเปRนอย/างสูงในการ
เรียน ดังนั้น ความพรEอมของผูEเรียนที่ควรจะมีคือ การรักษาระเบียบวินัยของตนเอง ปฏิบัติ
ตามตารางเรียน มีความรูEพื้นฐานดEานไอที มีความกลEาแสดงออกและโตEตอบในการถาม
คำถามกับผูEสอนหรือผูEที่มีความรูE กำหนดเปíาหมายความสำเร็จที่ตนเองตEองการใหEเด/นชัด
เพื่อสรEางแรงกระตุEนของผูEเรียนใหEเกิดความอยากที่จะเรียนรูE ดังนั้น การเตรียมความพรEอม
ของผEเู รียนจงึ ตอE งเรม่ิ ส/งเสรมิ ใหผE ูเE รยี นมีคุณลักษณะคอื

(1) ระเบียบวินัยของผูEเรียน สามารถควบคุมใหEตนเองเรียนตามตารางเรียนไดE
และมคี วามรับผิดชอบต/อการส/งงานตามคำสั่งทีผ่ สEู อนมอบหมายใหE

(2) มที กั ษะพน้ื ฐานในการใชคE อมพิวเตอรK
(3) มกี ารตระหนักรูEถงึ ประโยชนKและโทษของการใชEเครอื ขา/ ยสื่อสาร
(4) มคี วามกลEาทจ่ี ะแสดงความคดิ เหน็ อย/างเปpดเผย กลาE คิด กลEาถาม
(5) มคี วามสามารถในการคดิ วเิ คราะหK สังเคราะหใK นส่ิงท่ีเรยี น
4) ดEานผูEปกครอง การเรียนในระบบออนไลนKนั้น แมEว/าผูEเรียนจะอยู/ส/วนใดของ
โลกก็สามารถที่จะเรียนไดE แต/หากว/าการระบาดของไวรัสโคโรน/า 2019 ยังไม/คลี่คลาย
จึงเปRนเหตุว/า ผูEเรียนไม/สามารถเคลื่อนยEายตัวเองไปยังสถานที่ต/าง ๆ ไดE สถานที่เรียนจึง
ควรเปRนพื้นที่ส/วนตัวที่ปลอดภัย หรือ เปRนที่พักอาศัยของผูEเรียนเอง ดังนั้น สิ่งที่ผูEปกครอง

การประชุมวิชาการพระพุทธศาสนาและศลิ ปวัฒนธรรมระดบั ชาตแิ ละนานาชาติครงั้ ท่ี 2 349

ตEองเตรียมความพรEอมเพื่อใหEการเรียนของผูEเรียนเกิดความสะดวกในดEานอุปกรณKการเรียน
ความสงบใหEมสี มาธใิ นการเรยี น ผูปE กครองจงึ ควรเตรยี มความพรอE ม ดงั น้ี

(1) จัดเตรียมอุปกรณKเพื่อใชEในการเรียนระบบออนไลนK แมEว/าภาครัฐอาจมี
นโยบายที่จะจัดสรรใหEแต/อาจจะไม/ครอบคลุมแก/ผูEเรียนทุกคน ในผูEปกครองที่มี
ความสามารถที่จะจัดสรรอุปกรณKการเรียนใหEแก/ผูEเรียนไดE ควรวางแผนที่จะจัดหา
คอมพิวเตอรK แท็บเล็ต หรือสมารKทโฟน ใหEแก/ผูEเรียน พรEอมกับระบบเครือข/ายที่มีความเร็ว
และมคี วามเสถียรของคล่นื เพอื่ การเรียนที่ไม/สะดุดระหว/างเรยี น

(2) จัดเตรียมสถานที่เรียน ที่มีความเงียบ สงบ ไม/พลุ/กพล/าน มีอากาศไม/รEอน
อบอาE ว เพ่อื ใหผE เูE รียนมสี มาธใิ นการเรียน

(3) จัดเตรียมความพรEอมในการใชEเทคโนโลยี ผูEปกครองควรเตรียมความพรEอม
ดาE นการใชเE ทคโนโลยขี องตนเองเพ่อื ใหEคำแนะนำแกผ/ เEู รยี นไดE กรณที ่ีผูEเรียนเปRนเดก็ เล็ก

(4) จัดเตรียมความพรEอมดEานอาชีพ เพื่อใหEมีเวลาที่จะดูแลผูEเรียนไดE
อาจพิจารณาการทำงานทีบ่ าE นในกรณที ี่สามารถกระทำไดE

บรรณานกุ รม

กระทรวงศึกษาธิการ. (1 กรกฎาคม 2563). ครม.รับทราบเลื่อนเป0ดภาคเรียน. [ออนไลนK].
แหล/งทมี่ า : https://www.moe.go.th. [6 กรกฎาคม 2563].

โพสตทK เู ดยK. “ทนั เศรษฐกจิ ”. (28 เมษายน 2563). หนังสือพมิ พ: โพสต:ทเู ดย:. [ออนไลน]K .
แหล/งท่ีมา : https://www.posttoday.com/finance-stock/columnist/621935[6
กรกฎาคม 2563].

สมประสงคK วิทยเกียรติ, ประยูร ศรีประสาธนK, นฤมล ตันธรรุเศรษฐK และอัมพร อุรัชวา
มาศ. (2544). การศึกษาทางไกลในระดับอุดมศึกษาของไทย. นนทบุรี:
มหาวทิ ยาลยั สโุ ขทยั ธรรมาธริ าช.

สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2562). มาตรฐานการศึกษาของชิต พ.ศ. 2561.
กรุงเทพมหานคร: 21 เซน็ จรู ี จำกัด.

สมุ าลี สงั ขKศรี. (2549). การศกึ ษาทางไกล. นนทบรุ :ี มหาวทิ ยาลัยสโุ ขทยั ธรรมาธริ าช.

350 การประชุมวิชาการพระพุทธศาสนาและศิลปวฒั นธรรมระดับชาติและนานาชาตคิ ร้ังที่ 2

อภิชาต อนุกูลเวช. (2551). “การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนฝ£กปฏิบัติทางเทคนิคบน
เครือข/ายอินเตอรKเน็ตสำหรับนักเรียนอาชีวศึกษา”. ปริญญานิพนธ:ปริญญา
การศึกษาดุษฎีบัณฑิต. สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา. บัณฑิตวิทยาลัย:
มหาวิทยาลัยศรนี ครนิ ทรวโิ รฒ.

Knowles, Malcolm. S. (1975). Self-Directed Learning. A Guide for Learners
and Teachers. New York: Association Press.

การประชุมวชิ าการพระพทุ ธศาสนาและศิลปวฒั นธรรมระดับชาติและนานาชาติคร้ังที่ 2 351

บทวิเคราะห+การปรบั ตวั ของการศึกษาไทยในวกิ ฤติโควดิ -19

Analysis of adaptation of Thai education in the Covid-19 crisis

พระโฆษิต โฆสิตธมฺโม (บำรุงแจม5 ),
ละเอยี ด จงกลน,ี พระฮอนดAา วาทสทโฺ ท
Phra khosit khosittadhammo (bamrungchaem)
La-Eard Chongolnee, Phra Honda Vatasatto (Khemma)
มหาวทิ ยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั วิทยาเขตขอนแกนU
Mahachulalongkornrajavidyalaya University, Khonkaen Campus

Email: [email protected]

บทคดั ยอ?

จากวิกฤติโควิด-19 ไดfสUงผลตUอระบบการศึกษาของทุกประเทศทั่วโลก รวมทั้ง
ประเทศไทย รัฐบาลไดfใชfมาตรการรักษาระยะหUาง (social distancing) เพื่อปuองกันการ
แพรUกระจายเชื้อโรค กระทรวงศึกษาธิการจึงมีคำสั่งใหfเลื่อนการเปyดภาคเรียนไป 45 วัน
โดยการจัดระบบการเรยี นแบบระยะไกล คอื การเรียนระบบออนไลน} ผUานการสอนทางไกล
ใชfทีวีดิจิตอล และ DLTV เปÄนหลัก โดยแบUงเปÄน 4 ระยะ คือ 1. การเตรียมความพรfอม
2. การทดลองจัดการเรียนการสอนทางไกล 3. การจัดการเรียนการสอน ตามสถานการณ}ท่ี
1 กรณีการแพรUระบาดของโควิท-19 ยังไมUคลี่คลาย สถานการณ}ที่ 2 กรณีการแพรUระบาด
ของโควิท-19 คลี่คลาย จะจัดการเรียนการสอนปกติในโรงเรียน โดยใหfเวfนระยะหUางทาง
สงั คม (Social Distancing)

จากการทดลองจัดการเรียนการสอนแบบออนไลน}ในระยะที่ 2 สามารถวิเคราะห}
ขfอดี-ขfอเสียไดf ขfอดี คือ ผูfเรียนสามารถเรียนไดfอยUางตUอเนื่อง ปuองกันการแพรUกระจายของ
เชื้อไวรัส สามารถทบทวนบทเรียนซ้ำไดf ลดเวลาและคUาใชfจUายในการเดินทาง เพิ่ม
ความสามารถของผเูf รียนในการใชอf นิ เทอรเ} นต็ และ มีชUองทางสื่อสารที่หลากหลาย
ขณะเดียวกัน พบขfอเสีย คือ ผูfเรียนบางสUวนยังขาดความพรfอมดfานอุปกรณ}การเรียน อาทิ
คอมพิวเตอร} แท็บเล็ต สมาร}ทโฟน และอินเตอร}เน็ต ขาดสถานที่เงียบสงบ และการเรียน

352 การประชมุ วิชาการพระพทุ ธศาสนาและศลิ ปวฒั นธรรมระดบั ชาตแิ ละนานาชาติครัง้ ที่ 2

ในแบบการสื่อสารทางเดียวจะทำใหfไมUสามารถสอบถามผูfสอนไดf อีกทั้ง ยังเปÄนการเพ่ิม
ภาระคUาใชfจUายและผลักภาระในการดูแลผูfเรียนใหfกับผูfปกครองเพิ่มขึ้น ดังนั้น ผูfที่มีสUวน
เกี่ยวขfองในการจัดการเรียนสอนตfองคำนึงถึงการเรียนโดยใชfสื่อออนไลน}ที่มีประสิทธิภาพ
เหมาะสมกบั สภาพแวดลfอมและสภาพปญâ หาของแตUละโรงเรียนเปÄนสำคัญ

คำสำคัญ : วิกฤติโควดิ -19 , เรียนออนไลน}

Abstract

From the crisis of the Covid-19, it has affected the education system
of every country around the world Including Thailand. The government has
implemented social distancing measures to prevent the spread of germs.
The Ministry of Education has ordered to postpone the 45-day semester by
establishing a remote learning system, which is online learning.Through
distance teaching mainly use digital TV and DLTV, divided into four phases
1. Preparation 2. Experimental teaching and learning distance 3.Teaching and
learning According to situation 1, in the case of the outbreak of Covid-19.Still
not resolved the situation 2, in the case of the outbreak of the Covid-19, will
solve the normal teaching in schools By allowing social distancing.

From the experiment of teaching and learning online in Phase 2, able
to analyze the advantages - disadvantages. The advantage is students can
learn continuously, prevents the spread of the virus, able to review lessons
reduce travel time and costs Increase students' ability to use the internet and
have a variety of communication channels. Simultaneously, the disadvantage
remains some students lack the readiness of educational equipment like
computers, tablets, smart phones and the internet. Lack of peaceful place
and learning in one way communication will be unable to ask the teacher
and will increase the burden of expenses and push the burden of taking care

การประชมุ วชิ าการพระพทุ ธศาสนาและศิลปวฒั นธรรมระดบั ชาตแิ ละนานาชาตคิ ร้ังท่ี 2 353

of the students to the parents. Therefore, those involved in teaching and
learning must consider learning using effective online media, suitable for the
environment and the problems of each school is important.

Keywords: The crisis of Covid-19, Online learning

บทนำ

บทความวิชาการนี้ ผูfเขียนมีวัตถุประสงค}เพื่อนำเสนอบทวิเคราะห}การปรับตัว
ของการศึกษาไทยในวิกฤติโควิด-19 หลังจากที่องค}การอนามัยโรคประกาศใหfโรคโควิด-19
เปÄนโรคระบาดรfายแรง เนื่องจากการแพรUระบาดที่กระจายไปในหลายประเทศทั่วโลกแลfว
นั้น หนึ่งในวิธีการรับมือกับการระบาดคือ Social distance หรือการเพิ่มระยะหUางระหวUาง
กันในสังคม เพื่อปuองกันการระบาดจากคนสูUคน ซึ่งมาตรการ Social distance นี้ไดfสUงผล
อยUางมหาศาลกับทุกวงการทุกภาคสUวน (กันต} เอี่ยมอินทรา, 23 มีนาคม 2563) ชUวงการ
ระบาดของเชื้อไวรัส โควิด-19 หลายประเทศไดfใชfวิธีการสอนทางไกล ไมUวUาจะเปÄนการสอน
ออนไลน}ผUาน Massive Open Online Courseware (MOOC) หรือแอปพลิเคชันที่ชUวยใหf
ครูสอนในหfองเรียนเสมือน (Virtual Classroom) หรือใชfการถUายทอดการสอนผUาน
สัญญาณโทรทัศน} เพื่อใหfเด็กเรียนตUอที่บfานไดfขณะปyดโรงเรียน แตUการใชfวิธดี ังกลUาวทำใหf
เด็กบางกลุUมโดยเฉพาะเด็กในครอบครัวที่มีฐานะยากจนเสียเปรียบ เพราะไมUมีอุปกรณ}
ดิจิทัลที่บfาน นอกจากนี้ ในการเรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน เด็กจำเปÄนตfองไดfรับการ
เอาใจใสU การเรียนที่บfานจึงเปÄนการผลักภาระใหfผูfปกครอง อาจทำใหfเหลื่อมล้ำทางการ
ศึกษาเพิ่มมากขึ้นหากผูfปกครองไมUมีความพรfอมในการชUวยเหลือบุตรหลานของตนในการ
เรียน(พงศท} ัศ วนิชานันท}, ออนไลน,} 2563)

ดfวยสถานการณ}การแพรUระบาดเชื้อไวรัส โควิด-19 ดังกลUาว กระทรวงศึกษาธิการ
จึงจำเปนÄ ตfองวางแนวทางการจัดการเรยี นการสอนภายใตสf ถานการณว} กิ ฤตโควิด-19 ในทุก
ระดับชั้นและทุกประเภท ทั้งการศึกษาขั้นพื้นฐาน อาชีวศึกษา การศึกษาเอกชน การศึกษา
นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย การศึกษาสำหรับผูfพิการและผูfดfอยโอกาส รวมท้ัง
การเตรียมความพรfอมทักษะที่สำคัญในชUวงปyดเทอมใหfแกUผูfเรียน(บัลลังก} โรหิตเสถียร, 8

354 การประชุมวชิ าการพระพุทธศาสนาและศลิ ปวฒั นธรรมระดับชาติและนานาชาตคิ ร้งั ท่ี 2

พฤษภาคม 2563) โดยกระทรวงศึกษาธิการกำหนดใหfสถานศึกษาจัดใหมf กี ารเรียนการสอน
ดfวยการไมUตfองเขfาชั้นเรียนโดยปรับการเรียนการสอนเปÄนทางออนไลน}(กระทรวงศึกษาธิการ
, 1 กรกฎาคม 2563) อยUางไรก็ตาม การจัดการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการตfองเปÄนตาม
มาตรฐานการศึกษาแหUงชาติ โดยมีจุดมุUงหมายเพื่อพัฒนาผูfเรียนไปสูUผลลัพธ}ที่พึงประสงค}ของ
การศึกษา ซึ่งหมายถึง คุณลักษณะของคนไทย 4.0 ที่ตอบสนองวิสัยทัศน}การพัฒนาสูUความ
มั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน โดยคนไทย 4.0 จะตfองธำรงความเปÄนไทยและแขUงขันไดfในเวทีโลก และ
เปÄนบุคคลที่มีคุณลักษณะ 3 ดfาน คือ ดfานผูfเรียนรูf เปÄนผูfมีความเพียร ใฝùเรียนรูf และมีทักษะ
การเรียนรูfตลอดชีวิตเพื่อกfาวทันโลกยุคดิจิทัลและโลกในอนาคต ดfานผูfรUวมสรfางสรรค}
นวัตกรรม เปÄนผูfที่มีทักษะทางปâญญา ทักษะศตวรรษที่ 21 ความฉลาดดิจิทัล และดfานพลเมือง
ที่เขfมแข็ง เปÄนผูfมีความรักชาติ รักทfองถิ่น รูfถูกผิด มีจิตสำนึก เปÄนพลเมืองไทยและพลโลก มี
จิตอาสา (สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา, 2562, หนfา 5-7). ดังนั้น การศึกษาไทยใน
วิกฤติโควิด-19 จึงตfองมีการปรับตัวอยUางเรUงดUวน เพ่ือพัฒนาการศึกษาไมUใหfผูfเรียนไดfรับ
ผลกระทบ ผูfเขียนบทความวิชาการจึงขอเสนอบทวิเคราะห}การปรับตัวของการศึกษาไทย
ในวิกฤตโิ ควิด-19 เพ่อื ประโยชน}ตอU การจัดการศึกษาของประเทศไทยตUอไป

ผลกระทบจากโควิด-19 ตอ5 ภาคการศกึ ษา
จากบทวิเคราะห}ผลกระทบจากโควิด-19 ตUอภาคการศึกษาของ กันต} เอี่ยม
อินทรา (23 มีนาคม 2563, หนังสือพิมพ} กรุงเทพธุรกิจ) วUา หลังจากที่องค}การอนามัยโรค
ประกาศใหfโรคโควิด-19 เปÄนโรคระบาดรfายแรง เนื่องจากการแพรUระบาดที่กระจายไปใน
หลายประเทศทั่วโลกแลfวนั้น หนึ่งในวิธีการรับมือกับการระบาดคือ Social distance หรือ
การเพิ่มระยะหUางระหวUางกันในสังคม เพื่อปuองกันการระบาดจากคนสูUคน ซึ่งมาตรการ
Social distance นี้ไดfสUงผลอยUางมหาศาลกับทุกวงการทุกภาคสUวน ในวงการการศึกษาทั้ง
ในไทยและตUางประเทศ มีการนำระบบการเรียนการสอนออนไลน}เขfามาปรับใชf เพื่อ
ดำเนินการเรียนการสอนตUอไปภายใตfวิกฤติโรคระบาดนี้ ทั้งการสอนสดที่นักเรียนนิสิต
นักศึกษาสามารถมีปฏิสัมพันธ}กับผูfสอนไดfทันที คือเห็นหนfาตา โตfตอบสอบถามพูดคุยกัน
ไดf และการสอนแบบวิดีโอที่ผูfสอนสามารถอัดลUวงหนfาและผูfเรียนสามารถมาติดตาม
ภายหลงั สำหรับผูfทีม่ ีขfอจำกัดเรือ่ งการเรียนการสอนออนไลนแ} บบสด

การประชุมวชิ าการพระพทุ ธศาสนาและศลิ ปวฒั นธรรมระดับชาติและนานาชาตคิ รั้งที่ 2 355

พงศ}ทัศ วนิชานันท} จากสถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย (ทีดีอาร}ไอ)
(ออนไลน}, 2563) ไดfเผยแพรUบทความของการระบาดของเชื้อไวรัส โควิด-19 วUาสUงผลตUอ
ระบบการศึกษาเปÄนอยUางมาก ตั้งแตUเชื้อไวรัสเริ่มระบาดในประเทศจีนปลายป†ที่แลfวจนถึง
ปâจจุบัน UNESCO รายงานวUารัฐบาล 191 ประเทศทั่วโลก ประกาศปyดสถานศึกษาท้ัง
ประเทศ มีผูfเรียนไดfรับผลกระทบกวUา 1.5 พันลfานคน (มากกวUารfอยละ 90 ของผูfเรียน
ทั้งหมด) สำหรับประเทศไทยสถานการณ}การระบาดเกิดขึ้นในชUวงสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน
ปyดภาคเรยี น โดยในชUวงตfนเดือนเมษายน คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบใหfเลื่อนวันเปyดเทอม
ภาคเรียนที่ 1 ไปเปÄนวันที่ 1 กรกฎาคม 2563 ไทยจึงมีโอกาสทบทวนบทเรียนจาก
ตUางประเทศเพื่อเตรียมตัวใหfพรfอมในการจัดการเรียนการสอนรูปแบบใหมUที่สอดรับกับ
มาตรการปuองกันการระบาด พรfอมกับเตรียมมาตรการตUาง ๆ เพื่อปuองกันไมUใหfผูfเรียนไดfรับ
ผลกระทบจากรูปแบบการเรียนที่เปลี่ยนไป สิ่งแรกที่รัฐตfองตัดสินใจ คือ การเปyด-ปyด
โรงเรียน แตUผลของการปyดโรงเรียนอาจไดfไมUคุfมเสีย ซึ่งมาตรการเรUงดUวนที่รัฐบาลหลาย
ประเทศใชfเพื่อปuองกันการแพรUกระจายของเชื้อไวรัสคือ มาตรการกึ่งปyดเมือง (Semi-
lockdown) และมาตรการเวfนระยะหUางทางสังคม (Social Distancing) โรงเรียนจึง
จำเปÄนตfองถูกปyดไปดfวยเพื่อลดชUองทางการแพรUเชื้อไวรัส อยUางไรก็ ตามงานวิจัยศึกษาผล
ของการปyดโรงเรียนในประเทศจีน ฮUองกง และสิงคโปร} ประกอบกับบทเรียนในอดีตจาก
สถานการณ}แพรUระบาดของเชื้อไวรัส SARs บUงชี้วUา การปyดโรงเรียนอยUางเดียวสUงผลนfอย
มากตอU การลดจำนวนของผfูติดเช้ือ เมอื่ เทียบกับมาตรการอ่ืน

ดร. เสาวรัจ รัตนคำฟู ไดfเผยแพรUบทความผUานสถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนา
ประเทศไทย (ทีดีอาร}ไอ) (15 เมษายน 2563) ในหัวขfอ “วิกฤตโควิด-19 รัฐตfองเรUงลด
ชUองวUางดิจิทัล เพื่อความเทUาเทียมในหfองเรียนออนไลน}”วUา สถานการณ}ที่โควิด-19 แพรU
ระบาด รฐั บาลหลายประเทศท่วั โลก รวมทง้ั ประเทศไทยใชfมาตรการ “กง่ึ ปyดเมือง” (semi-
lockdown) และมาตรการรักษาระยะหUาง (social distancing) เพื่อยับยั้งการแพรUระบาด
ของไวรัสโควิด-19 ซึ่งสUงผลตUอการปyดสถานที่สาธารณะ รวมทั้งมหาวิทยาลัย เพื่อหลีกเลี่ยง
การรวมตัวกันของกลุUมคนจำนวนมาก มหาวิทยาลัยตUางหันมาใชfการเรียนการสอนออนไลน}
เพือ่ ใหfนกั ศึกษาสามารถเรยี นไดfแมตf fองอยบูU fาน

356 การประชุมวชิ าการพระพุทธศาสนาและศิลปวัฒนธรรมระดับชาติและนานาชาตคิ ร้ังที่ 2

อยUางไรก็ตาม การเปลี่ยนผUานใหfนักศึกษามาเรียนออนไลน}ไมUใชUเรื่องงUายใน
ประเทศไทย เพราะยังมีนักศึกษาจำนวนมากที่ยังเขfาไมUถึงคอมพิวเตอร} ในที่นี้หมายรวมถึง
คอมพิวเตอร}แบบตั้งโตßะและพกพา และแท็บเล็ต และอินเทอร}เน็ตสำหรับใชfเรียนออนไลน}
ที่บfาน ซึ่งมักจะมาจากครอบครัวที่มีรายไดfนfอย และเปÄนกลุUมที่ไดfรับผลกระทบอยUางรุนแรง
จากการเปลี่ยนการเรียนในหfองเรียนมาเปÄนแบบออนไลน} ในขณะที่จะเปÄนกลุUมที่นUาจะ
ไดรf ับประโยชนม} ากทส่ี ดุ จากการพฒั นาทุนมนุษย}

สรุปวUา จากวิกฤติโควิด-19 ไดfสUงผลตUอระบบการศึกษาเปÄนอยUางมาก UNESCO
รายงานวUารัฐบาล 191 ประเทศทั่วโลก ประกาศปyดสถานศึกษาทั้งประเทศ มีผูfเรียนไดfรับ
ผลกระทบกวาU 1.5 พันลfานคน (มากกวาU รอf ยละ 90 ของผfเู รียนทั้งหมด) ซง่ึ ประเทศไทยเอง
ไดfใชfวิธีการรับมือกับการระบาดดfวยมาตรการกึ่งปyดเมือง (Semi-lockdown) และ
มาตรการเวfนระยะหUางทางสังคม (Social Distancing) โรงเรียนจึงจำเปÄนตfองถูกปyดไป
ดfวยเพื่อลดชUองทางการแพรUเชื้อไวรัสจากคนสูUคน จึงมีการนำระบบการเรียนการสอน
ออนไลน}มาใชf ซึ่งผลกระทบจากโควิท-19 สUงผลใหfระบบการศึกษามีการเปลี่ยนแปลงใน
หลายดfาน อาทิ ระบบการเก็บคะแนนและตัดเกรดจำเปÄนตfองมีการเปลี่ยนแปลง การเลื่อน
การสอบหรือเปลี่ยนการสอบเปÄนระบบออนไลน}เพื่อลดความเสี่ยงในการชุมนุม การเลื่อน
รับปริญญา การเลื่อนการเดินทาง โรงเรียนกวดวิชาและโรงเรียนเสริมทักษะประเภทตUาง ๆ
นั้นถูกประกาศปyดโดยรัฐ และรัฐบาลไดfเลื่อนวันเปyดเทอมภาคเรียนที่ 1 ไปเปÄนวันที่ 1
กรกฎาคม 2563

จากสถานการณ}ปyดโรงเรียนดังกลUาวไดfสUงผลใหfนักเรียนสUวนใหญUเสียโอกาสใน
การเรียนรูfเพราะยังมีนักเรียนจำนวนมากที่ยังเขfาไมUถึงคอมพิวเตอร} และอินเทอร}เน็ต
สำหรับใชfเรียนออนไลน}ที่บfาน โดยเฉพาะนักเรียนในครอบครัวที่มีฐานะยากจน เนื่องจาก
ไมUมีรายไดfมากพอที่จะนำมาใชfสนับสนุนการเรียนของบุตรหลานเพิ่มเติม การปyดโรงเรียน
จึงอาจเปÄนการผลักใหfนักเรียนกลุUมที่ยากจน เขfาไมUถึงการเรียนในระบบออนไลน}หลุดออก
จากระบบการศกึ ษา

การประชุมวชิ าการพระพุทธศาสนาและศิลปวัฒนธรรมระดับชาติและนานาชาติครัง้ ที่ 2 357

การปรบั ตัวแบบ New Normal ของการศกึ ษาไทย

พงศ}ทัศ วนิชานันท} จากสถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย (ทีดีอาร}ไอ)
(ออนไลน}, 2563) กลUาววUา ชUวงการระบาดของเชื้อไวรัส โควิด-19 หลายประเทศใชfวิธีการ
สอนทางไกล ไมUวUาจะเปÄนการสอนออนไลน}ผUาน Massive Open Online Courseware
(MOOC) หรือแอปพลเิ คชันที่ชวU ยใหfครูสอนในหfองเรยี นเสมือน (Virtual Classroom) หรอื
ใชfการถUายทอดการสอนผUานสัญญาณโทรทัศน} เพื่อใหfเด็กเรียนตUอที่บfานไดfขณะปyด
โรงเรียน แตUการใชfวิธีดังกลUาวทำใหfเด็กบางกลุUมโดยเฉพาะเด็กในครอบครัวที่มีฐานะ
ยากจนเสียเปรียบ เพราะไมUมีอุปกรณ}ดิจิทัลที่บfาน นอกจากนี้ ในการเรียนระดับการศึกษา
ขั้นพื้นฐาน เด็กจำเปÄนตfองไดfรับการเอาใจใสU การเรียนที่บfานจึงเปÄนการผลักภาระใหf
ผูfปกครอง อาจทำใหfเหลื่อมล้ำทางการศึกษาเพิ่มมากขึ้นหากผูfปกครองไมUมีความพรfอมใน
การชUวยเหลือบุตรหลานของตนในการเรียน สำหรับประเทศไทยยังมีขfอจำกัดในการเรียน
ทางไกลคUอนขfางสูง ขfอมูลของสหภาพโทรคมนาคมระหวUางประเทศ (ITU) บUงชี้วUา สัดสUวน
ของครัวเรือนที่มีคอมพิวเตอร}คUอนขfางต่ำเมื่อเปรียบเทียบกับคUาเฉลี่ยของประเทศพัฒนา
แลfว นอกจากนี้ การสำรวจของสำนักงานสถิติแหUงชาติยังสะทfอนใหfเห็นความเหลื่อมล้ำสูง
ในการเขfาถึงอุปกรณ}ดิจิทัล โดยเฉพาะครัวเรือนที่มีฐานะยากจน และครัวเรือนภาค
ตะวันออกเฉียงเหนือ ยิ่งไปกวUานั้น ยังมีนักเรียนกวUา แปดหมื่นคน อยูUในพื้นที่ที่ไฟฟuาเขfาไมU
ถึง ดังนั้น รัฐบาลตfองสำรวจความพรfอมของครัวเรือนเด็ก และมีมาตรการที่หลากหลาย
เพื่อเตรียมความพรfอมในการเขfาถึงการเรียนทางไกลของเด็กที่มีสภาพความขาดแคลน
แตกตาU งกัน

ดร.เสาวรัจ รัตนคำฟู (15 เมษายน 2563) ไดfกลUาววUา จากขfอมูลของสหภาพ
โทรคมนาคมระหวUางประเทศ (ITU) พบวUา ปâญหาของครัวเรือนในประเทศไทยที่ใหญUกวUา
การเขfาถึงอินเทอร}เน็ตจากที่บfานคือ การไมUมีคอมพิวเตอร}ใชfที่บfาน หากเปรียบเทียบกับ
ประเทศตUาง ๆ ทั่วโลก ประเทศไทยมีสัดสUวนครัวเรือนท่ีมีคอมพิวเตอร}เพียงรfอยละ 21
ซึ่งต่ำกวUาคUาเฉลี่ยของทั่วโลกที่รfอยละ 49 และคUาเฉลี่ยของประเทศกำลังพัฒนาที่รfอยละ
38 ขณะที่ประเทศไทยมีสัดสUวนครัวเรือนที่มีอินเทอร}เน็ตที่บfานรfอยละ 68 ซึ่งสูงกวUา
คUาเฉลี่ยของทั่วโลกที่รfอยละ 55 และคUาเฉลี่ยของประเทศกำลังพัฒนาที่รfอยละ 44 ในป†
2561 การเขfาถึงคอมพิวเตอร}ของครัวเรือนยิ่งยากมากขึ้นหากเปÄนครัวเรือนที่มีฐานะ

358 การประชมุ วชิ าการพระพทุ ธศาสนาและศิลปวฒั นธรรมระดบั ชาติและนานาชาตคิ รงั้ ท่ี 2

ยากจน จากขfอมูลของสำนักงานสถิติแหUงชาติ พบวUา ในป† 2560 ในประเทศไทย ครัวเรือน
ที่มีรายไดfเฉลี่ยตUอป†นfอยกวUา 2 แสนบาทมีคอมพิวเตอร}เชื่อมตUออินเทอร}เน็ตเพียงรfอยละ 3
ของครัวเรือนทั้งหมด ขณะที่ครัวเรือนที่มีรายไดfเฉลี่ยตUอป† 2 แสนบาทขึ้นไปมีคอมพิวเตอร}
ที่เชื่อมตUออินเทอร}เน็ตรfอยละ 19 ของครัวเรือนทั้งหมด และหากจำแนกตามภูมิภาคพบวUา
กรุงเทพมหานครมีสัดสUวนครัวเรือนที่มคี อมพิวเตอร}สูงถึงรfอยละ 42 ของครัวเรือนทั้งหมด
ซึ่งอยูUในระดับที่สูงกวUาในภาคอื่น ๆ มากกวUาเทUาตัว กลUาวคือ ครัวเรือนที่มีคอมพิวเตอร}มี
สัดสUวนรfอยละ 21 ในภาคกลาง รfอยละ 19 ในภาคเหนือ รfอยละ 17 ในภาคใตf และรfอย
ละ 14 ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เมื่อสถานการณ}การแพรUระบาดของโควิด-19 ทำใหf
การเรียนในมหาวิทยาลัยเปลี่ยนเปÄนออนไลน} ชUองวUางทางดิจิทัลนี้จะสUงผลกระทบอยUาง
มากตUอการเขfาถึงการศึกษาของนักศึกษาที่ไมUมีคอมพิวเตอร}และอินเทอร}เน็ตที่บfาน
การเปลี่ยนจากการเรียนในหfองเรียนเปÄนการเรียนออนไลน}จะทำใหfนักศึกษาจำนวนมาก
โดยเฉพาะทีม่ าจากครอบครวั ที่ยากจนถูกท้ิงไวfขfางหลงั

สรุปวUา จากผลกระทบของวิกฤติโควิด-19 ผูfเชี่ยวชาญดานการศึกษาไดfแสดง
ทัศนะตUอการปรับตัวแบบ New Normal ของการศึกษาไทยวUา หลายประเทศไดfเปลี่ยน
ระบบการศึกษาเปÄนการสอนออนไลน} ใชfวิธีการสอนทางไกล หรือแอปพลิเคชันที่ชUวยใหfครู
สอนในหfองเรียนเสมือน หรือใชfการถUายทอดการสอนผUานสัญญาณโทรทัศน} เพื่อใหfเด็ก
เรียนตUอที่บfานไดfขณะปyดโรงเรียน และเพื่อปuองกันไมUใหfเด็กที่ไมUมีความพรfอมเสียโอกาส
ขณะเดียวกัน ประเทศไทยยังมีขfอจำกัดในการเรียนทางไกลคUอนขfางสูง สัดสUวนของ
ครัวเรือนที่มีคอมพิวเตอร}คUอนขfางต่ำเมื่อเปรียบเทียบกับคUาเฉลี่ยของประเทศพัฒนาแลfว
และยังมีนักเรียนกวUาแปดหมื่นคน อยูUในพื้นที่ที่ไฟฟuาเขfาไมUถึง การเขfาถึงคอมพิวเตอร}ของ
ครัวเรือนยิ่งยากมากขึ้นหากเปÄนครัวเรือนที่มีฐานะยากจน อยUางไรก็ตาม การเรียนระดับ
การศึกษาขั้นพื้นฐาน เด็กจำเปÄนตfองไดfรับการเอาใจใสU การเรียนที่บfานจึงเปÄนการผลัก
ภาระใหfผูfปกครอง อาจทำใหfเหลื่อมล้ำทางการศึกษาเพิ่มมากขึ้นหากผูfปกครองไมUมีความ
พรอf มในการชUวยเหลอื บตุ รหลานของตนในการเรียน ดังนน้ั รัฐบาลไทยควรมีมาตรการเปyด-
ปyดโรงเรียนใหfสอดรับกับความรุนแรงของการระบาดของโรค มีความยืดหยุUนในแตUละพื้นท่ี
และใชมf าตรการดาf นอื่นควบคใUู นกรณีเปyดโรงเรียน

การประชุมวิชาการพระพุทธศาสนาและศลิ ปวฒั นธรรมระดบั ชาติและนานาชาติคร้งั ท่ี 2 359

การจัดการศึกษาไทยในวกิ ฤตโิ ควิด-19 ของกระทรวงศกึ ษาธิการ
จากการแถลงขUาวของกระทรวงศึกษาธิการ ในวันที่ 9 พฤษภาคม 2563 ณ ศูนย}
บริหารสถานการณ}การแพรUระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2010 (โควิด-19) (ศบค.)
โดย นางรักขณา ตัณฑวุฑโฒ รองปลัดกระทรวงศึกษาธิการ และรองโฆษก
กระทรวงศึกษาธิการ (บัลลังก} โรหิตเสถียร, 8 พฤษภาคม 2563) กลUาววUา จากการท่ี
ประชุมคณะรัฐมนตรี เมื่อวันอังคารที่ 7 เมษายน 2563 มีมติรับทราบการเลื่อนเปyดเทอม
จากวันที่ 16 พฤษภาคม เปÄนวันที่ 1 กรกฎาคม 2563 กระทรวงศึกษาธิการ (ศธ.) เขfาใจดีถึง
ความกังวลและขfอสงสัยของทุกทUานตUอการเลื่อนเปyดเทอมและการจัดการเรียนการสอน
ที่อาจสUงผลกระทบในหลายดfาน ทั้งตUอตัวเด็ก ผูfปกครอง ไปจนถึงครูและโรงเรียน เพราะ
ภายใตfสถานการณ}โควิด-19 ที่ไมUมีใครเคยพบเจอมากUอน จึงจำเปÄนตfองวางแนวทางการ
จัดการเรียนการสอนภายใตfสถานการณ}วิกฤตโควิด-19 ในทุกระดับชั้นและทุกประเภท
ทั้งการศึกษาขั้นพื้นฐาน อาชีวศึกษา การศึกษาเอกชน การศึกษานอกระบบและการศึกษา
ตามอัธยาศัย การศึกษาสำหรับผูfพิการและผูfดfอยโอกาส รวมทั้งการเตรียมความพรfอม
ทักษะที่สำคัญในชUวงปyดเทอมใหfแกUผูfเรียน คือ ภาษาอังกฤษ และการใชfเทคโนโลยีดิจิทัล
เชนU โคfดดงิ้
อยUางไรก็ตาม กระทรวงศึกษาธิการไดfออกแบบการเรียนการสอนในชUวง COVID-
19 โดยมีรายละเอยี ดในภาพรวม ดงั น้ี
1) รูปแบบการเรียนการสอนออกแบบใหfสอดคลfองกับความปลอดภัยของพื้นท่ี
โดยมีการเรียนรูfแบบ onsite ในพื้นที่ที่มีความปลอดภัยสามารถไปโรงเรียนไดf ขณะที่พื้นท่ี
ไมUปลอดภัยจะมีการเรียนรูfหลักผUานทางการ on-air ของมูลนิธิการศึกษาทางไกลผUาน
ดาวเทยี ม ในพระบรมราชูปถัมภ} และมีการเรียนรูเf สรมิ ผาU นระบบ online
2) นโยบายหลักที่นำมาใชf คือ เพิ่มเวลาพัก ลดการประเมินและงดกิจกรรมตUาง
ๆ ท่ีไมUจำเปÄน โดยเนfนเรียนเฉพาะวิชากลุUมสาระหลัก เพื่อใหfนักเรียนผUอนคลายลง
ซึ่งนักเรียนมีเวลาพักในภาคเรียนที่ 1/2563 จำนวน 17 วัน และในภาคเรียนที่ 2/2563
จำนวน 37 วัน รวมทั้งสิ้น 54 วัน ฉะนั้นภาคเรียนที่ 1/2563 เรียนตั้งแตU 1 กรกฎาคม-13
พฤศจิกายน 2563 เปÄนเวลา 93 วัน แลfวปyดภาคเรียน 17 วัน สUวนภาคเรียนที่ 2/2563
เรียนตั้งแตU 1 ธันวาคม 2563-9 เมษายน 2564 เปÄนเวลา 88 วัน แลfวปyดภาคเรียน 37 วัน

360 การประชมุ วิชาการพระพทุ ธศาสนาและศิลปวัฒนธรรมระดับชาตแิ ละนานาชาติคร้งั ท่ี 2

ตั้งแตUวันที่ 10 เมษายน 2564 ซึ่งจะมีเวลาเรียนรวมทั้งสิ้น 181 วัน สUวนเวลาที่ขาดหายไป
19 วัน จาก 200 วัน ใหfแตUละโรงเรียนสอนชดเชย ดังนั้น การเปyดเทอมป†การศึกษาหนfา
จะกลบั มาปกตใิ นวนั จันทร}ท่ี 17 พฤษภาคม 2564

3) การเตรียมพรfอมในดfานระบบการเรียนรูfทางไกลและระบบออนไลน} จะเร่ิม
ทดสอบตั้งแตUวันที่ 18 พฤษภาคมนี้เปÄนตfนไป เพื่อเตรียมความพรfอมใหfมากที่สุด ในกรณีที่
วนั ที่ 1 กรกฎาคมนี้ ไมสU ามารถเปyดเทอมท่โี รงเรยี นไดf

4) ศธ.จะเปÄนผูfสนับสนุนการเรียนการสอนทางไกล ในสัดสUวนรfอยละ 80 เพื่อใหf
ทุกคนสามารถเขfาถึงการเรียนขั้นพื้นฐานไดf อีกรfอยละ 20 หรือมากกวUา ใหfทางโรงเรียน
และคุณครใู นแตUละพ้นื ท่ีพจิ ารณาออกแบบตามความเหมาะสม

5) การเรียนผUานการสอนทางไกล จะใชfทีวีดิจิตอล และ DLTV เปÄนหลัก ซึ่งไดfรับ
การอนุเคราะห}สื่อจากมูลนิธิการศึกษาทางไกลผUานดาวเทียม ในพระบรมราชูปถัมภ} โดยมี
ดิจิทัลแพลตฟอร}มของกระทรวงศึกษาธิการ หรือ DEEP และการเรียนการสอนแบบโตfตอบ
ออนไลนเ} ปÄนส่อื เสริม

แนวทางจัดการเรียนการสอนของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
(สพฐ.) ไดfมีการกำหนดแนวทางการจัดการเรียนการสอนระบบทางไกล โดยแบUงเปÄน 4
ระยะ คอื

ระยะที่ 1 การเตรียมความพรfอม (7 เมษายน – 17 พฤษภาคม 2563) สำรวจ
ความพรfอมในดfานอุปกรณ}การเขfาถึงอินเทอร}เน็ต ของนักเรียน ผูfปกครอง ครู และระบบ
การบริหารจัดการการเรียนการสอน รวมถึงขออนุมัติใชfชUองรายการโทรทัศน}ในระบบดิจิทัล
จากสำนักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน} และกิจการโทรคมนาคม
แหUงชาติ (กสทช.) เพื่อจัดการเรียนการสอนตั้งแตUระดับปฐมวัยถึงระดับมัธยมศึกษาตอน
ปลาย พรfอมขออนุมัติเผยแพรUการเรียนการสอนจากหfองเรียนตfนทาง ในระดับปฐมวัยถึง
ระดับมัธยมศึกษาตอนตfน ของสถานีวิทยุโทรทัศน}การศึกษาทางไกลผUานดาวเทียม (DLTV)
จากมูลนิธิการศึกษาทางไกลผUานดาวเทียม ในพระบรมราชูปถัมภ} จัดทำสื่อวีดิทัศน}การ
สอน โดยครูตfนแบบ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย จำนวน 8 กลุUมสาระการเรียนรูf และ
รวบรวมสื่อการเรียนรูfออนไลน}ใน OBEC Content Center ชุดโปรแกรมและแพลตฟอร}ม
การเรียนรูfครบวงจรของกระทรวงศึกษาธิการ เชUน Tutor ติวฟรี.com, e-Book เปÄนตfน

การประชุมวิชาการพระพุทธศาสนาและศลิ ปวัฒนธรรมระดบั ชาตแิ ละนานาชาตคิ รัง้ ท่ี 2 361

รวมถึงเตรียมโครงสรfางพื้นฐานดfานระบบเครือขUาย เพื่อรองรับการใหfบริการ แพลตฟอร}ม
การเรียนรใfู หเf ชอื่ มโยงกบั ระบบ Digital e-Learning ของกระทรวงศกึ ษาธิการ

ระยะที่ 2 การทดลองจัดการเรียนการสอนทางไกล (18 พฤษภาคม – 30
มิถุนายน 2563) จะทดลองจัดการเรียนการสอนทางไกล ในระดับปฐมวัยถึงระดับ
มัธยมศึกษาตอนตfน ผUานชUองรายการโทรทัศน}ในระบบดิจิทัล โดยการเผยแพรUสัญญาณจาก
มูลนิธิการศึกษาทางไกลผUานดาวเทียม ในพระบรมราชูปถัมภ} (DLTV) ในระดับปฐมวัยเนfน
กิจกรรมเตรียมความพรfอมเด็ก และระดับประถมศึกษาถึงระดับมัธยมศึกษาตอนตfน
จำนวน 8 กลุUมสาระการเรียนรูf และในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ผUานชUองรายการ
โทรทัศน}ในระบบดิจิทัลและระบบออนไลน}โดยครูตfนแบบ ดfวยเครื่องมือการเรียนรูfตาม
ความเหมาะสมและบริบทของสถานศึกษา รวมทั้งเปyดศูนย}รับฟâงความคิดเห็นการเรียนการ
สอนทางไกล จากผูfปกครอง ประชาชน และผูfเกี่ยวขfอง เพื่อเปÄนแนวทางการปรับปรุงและ
พัฒนา และประชาสัมพันธ} สรfางการรับรูf ความเขfาใจ แนะนำชUองทางการเรียนทางไกล
ใหfกบั ผfปู กครองและผfเู กี่ยวขfอง

ระยะที่ 3 การจัดการเรียนการสอน (1 กรกฎาคม 2563 – 30 เมษายน 2564)
ไดวf างแผนไวfสำหรบั 2 สถานการณ} น่ันคือ สถานการณ}ที่ 1 กรณที ่สี ถานการณ}การแพรรU ะบาด
ของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (Covid-19) ยังไมคU ลคี่ ลาย จะจดั การเรยี นการสอนระดบั ปฐมวยั
ถึงระดับมัธยมศึกษาตอนตfน ดfวยระบบทางไกลผUาน DLTV และระดับมัธยมศึกษาตอน
ปลาย ดfวยวีดิทัศน}การสอนโดยครูตfนแบบ และระบบออนไลน}ดfวยเครื่องมือการเรียนรูfตาม
ความเหมาะสมและบริบทของสถานศึกษา และสถานการณ}ที่ 2 กรณีที่สถานการณ}การ
แพรUระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (Covid–19) คลี่คลาย จะจัดการเรียนการ
สอนปกติในโรงเรียน โดยใหfเวfนระยะหUางทางสังคม (Social Distancing) และมีแผน
เตรียมการเพื่อรองรับสถานการณ}ฉุกเฉินตUาง ๆ โดยจะตfองไดfรับการอนุมัติจาก
คณะกรรมการศกึ ษาธกิ ารจงั หวัด ซึ่งมีผวูf าU ราชการจังหวดั เปÄนประธาน

ระยะที่ 4 การทดสอบและการศึกษาตUอ (1 เมษายน – 15 พฤษภาคม 2564)
จะประสานงานกับหนUวยงานที่เกี่ยวขfองกับการทดสอบและคัดเลือกเขfาศึกษาตUอ นั่นคือ
กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร} วิจัยและนวัตกรรม เกี่ยวกับระบบคัดเลือกเขfาศึกษา
ในสถาบันอุดมศึกษา (TCAS GAT PAT) และสถาบันทดสอบทางการศึกษาแหUงชาติ

362 การประชุมวชิ าการพระพุทธศาสนาและศิลปวฒั นธรรมระดบั ชาติและนานาชาตคิ ร้งั ที่ 2

เกี่ยวกับการทดสอบ O-net ชั้นประถมศึกษาป†ที่ 6 ชั้นมัธยมศึกษาป†ที่ 3 และชั้น
มัธยมศกึ ษาป†ที่ 6

สรุปวUา จากผลกระทบของสถานการณ}การแพรUระบาดของไวรัสโคโรนา 2019
กระทรวงศึกษาธิการ ไดfจัดใหfมีการจัดการเรียนการสอนอยUางมีประสิทธิภาพสูงสุด โดย
คำนึงถึงความปลอดภัยสูงสุดของทุกคน ใหfนักเรียนทุกคนสามารถเขfาถึงการเรียนการสอน
ไดf และปรับปฏิทินการศึกษาของไทย ใหfเอื้อตUอการ “เรียนเพื่อรfู” ของเด็กมากขึ้น โดยจะ
มีรูปแบบการเรียนการสอนออกแบบใหfสอดคลfองกับความปลอดภัยของพื้นท่ี มีการ
เตรียมพรfอมในดfานระบบการเรียนรูfทางไกลและระบบออนไลน} ผUานการสอนทางไกล
จะใชทf ีวีดิจิตอล และ DLTV เปนÄ หลัก โดยแบงU เปนÄ 4 ระยะ

องค+ความรูใC หมD

จากการศึกษาแนวคดิ ของบทความวิชาการ ผูfเขยี นสรุปเปÄนองค}ความรfใู หมU ดังนี้

การประชมุ วชิ าการพระพุทธศาสนาและศิลปวฒั นธรรมระดบั ชาตแิ ละนานาชาตคิ ร้งั ที่ 2 363

สรุป

จากวิกฤติโควิด-19 ไดfสUงผลตUอระบบการศึกษาเปÄนอยUางมาก ประเทศทั่วโลกตUาง
ประกาศปyดสถานศึกษาทั้งประเทศ ประเทศไทยเองไดfรับผลกระทบเชUนกัน จากมาตรการ
“กึ่งปyดเมือง” (semi-lockdown) และมาตรการรักษาระยะหUาง (social distancing)
โรงเรยี นทว่ั ประเทศจึงถกู ปดy เพือ่ ลดชอU งทางการแพรเU ชอ้ื ไวรัสจากคนสคUู น

การศึกษาของไทยในวิกฤติโควิท-19 นั้น ไดfมีคำสั่งจากกระทรวงศึกษาธิการใหf
เลื่อนเปyดเทอมจากเดิมตfองเปyดวันที่ 16 พฤษภาคม เลื่อนเปÄนวันที่ 1 กรกฎาคม 2563 ซึ่ง
เปÄนการเลื่อนจากการเปดy เทอมในเวลาปกตไิ ป 45 วนั และการหยดุ เรยี นในชวU งระหวาU ง 45
วันนี้จะสUงผลใหfนักเรียนสUวนใหญUเสียโอกาสในการเรียนรูf ทางกระทรวงศึกษาธิการไดf
ปรับตัวดfานการจัดการเรียนการสอน จากแบบปกติเปÄนแบบ New normal เพื่อใหf
สอดคลfองกบั สถานการณ}ความรุนแรงของโรคระบาด

การเรียนแบบ New normal ในชUวงแรก จะเปÄนการเรียนแบบระยะไกล คือการ
เรียนระบบออนไลน} ผUานการสอนทางไกล จะใชfทีวีดิจิตอล และ DLTV เปÄนหลัก โดย
แบUงเปÄน 4 ระยะ คอื

ระยะที่ 1 การเตรียมความพรfอม เปÄนการสำรวจความพรfอมในดfานอุปกรณ}การ
เขfาถึงอินเทอร}เน็ต ของนักเรียน ผูfปกครอง ครู และระบบการบริหารจัดการการเรียนการ
สอนตั้งแตUระดับปฐมวัยถึงระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย สอนผUานสถานีวิทยุโทรทัศน}การศึกษา
ทางไกลผUานดาวเทียม (DLTV)

ระยะที่ 2 การทดลองจัดการเรียนการสอนทางไกล ในระดับปฐมวัยถึงระดับ
มัธยมศกึ ษาตอนตนf ผาU นชUองรายการโทรทศั น}ในระบบดจิ ิทัล

ระยะที่ 3 การจัดการเรียนการสอน วางแผนไวfสำหรับ 2 สถานการณ} คือ
สถานการณ}ที่ 1 กรณีที่สถานการณ}การแพรUระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (Covid-19)
ยังไมUคลี่คลาย จะจัดการเรียนการสอนระดับปฐมวัยถึงระดับมัธยมศึกษาตอนตfน ดfวย
ระบบทางไกลผUาน DLTV และระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ดfวยวีดิทัศน}การสอนโดยครู
ตfนแบบ และระบบออนไลน} สถานการณ}ที่ 2 กรณีที่สถานการณ}การแพรUระบาดของโรคติด
เชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (Covid–19) คลี่คลาย จะจัดการเรียนการสอนปกติในโรงเรียน โดย
ใหfเวfนระยะหUางทางสังคม (Social Distancing)

364 การประชุมวชิ าการพระพทุ ธศาสนาและศลิ ปวฒั นธรรมระดบั ชาติและนานาชาตคิ รง้ั ท่ี 2

ระยะที่ 4 การทดสอบและการศึกษาตUอ จะประสานงานกับหนUวยงานที่เกี่ยวขfอง
กบั การทดสอบและคดั เลือกเขาf ศกึ ษาตอU

อยUางไรก็ตาม จากแนวคิดการเรียนระบบออนไลน}ที่ไดfมีการทดลองจัดการเรียน
การสอนทางไกล ระหวUางวันที่18 พฤษภาคม – 30 มิถุนายน 2563 นั้น ผูfเขียนวิเคราะห}
ผลดี ผลเสยี ตอU ผfทู ่มี สี วU นเกย่ี วขอf งทง้ั นักเรียน ครู และผปูf กครอง ดงั นี้

ขAอดี ของการจัดการเรยี นการสอนในระบบออนไลน}
1) ผูเf รียน ไดเf รยี นอยาU งตอU เน่อื ง ไมขU าดชUวง ไดรf ับความรตfู ามโปรแกรมการเรยี น
2) การเรียนในระบบออนไลน} ซึ่งเปÄนไปตามหลัก Social Distancing คือ การท่ี
นักเรยี น เรียนหนังสอื อยUูที่บfานนน้ั จะชวU ยปuองกันการตดิ เช้ือและการแพรUระบาดของโควดิ -
19 ไดf
3) การเรียนออนไลน}จะสามารถยfอนกลับไปฟâงเนื้อหาที่เรียน เพื่อการทบทวน
บทเรยี นอกี คร้ัง
4) ชUวยลดเวลาในการเดินทางไปยังสถาบันการศึกษา ทั้งของผูfสอน ผูfเรียนและ
ผูfปกครอง
5) ชUวยลดภาระคาU ใชจf าU ยในการเดินทางท้ังของผูสf อน ผเfู รียน และผปfู กครอง
6) ผูfเรียนไดfเพิ่มประสิทธิภาพในการใชfอินเทอร}เน็ต คfนควfาหาขfอมูลเพิ่มเติม
และเพิ่มความสามารถในการใชเf ทคโนโลยมี ากขนึ้
7) มชี Uองทางส่อื สารระหวUางผูสf อน และผfเู รียนไดfสะดวก
ขอA เสยี ของการจัดการเรยี นการสอนในระบบออนไลน}
1) ผูfเรียนบางสUวนขาดความพรfอมของอุปกรณ}ที่ใชfในการเรียน อาทิ
คอมพิวเตอร}แบบตั้งโตßะและพกพา แท็ปเล็ต สมาร}ทโพน ทำใหfไมUสามารถเขfาสูUการเรียน
ระบบออนไลน}ไดf
2) ผูfเรียนบางสUวนขาดความพรfอมในดfานอินเตอร}เน็ต ในพื้นที่ที่หUางไกลจาก
เมอื ง ยังไมมU อี ินเตอรเ} น็ตใชf
3) ผูfเรียนบางสUวนขาดความพรfอมในดfานไฟฟuา จากกรณีที่พบวUา มีนักเรียนอยUู
ในพ้ืนทท่ี ยี่ งั ไมUมไี ฟฟuาใชจf ำนวน 80,000 คน

การประชุมวิชาการพระพทุ ธศาสนาและศิลปวฒั นธรรมระดับชาติและนานาชาติครั้งที่ 2 365

4) การเขfาถึงอุปกรณ}เรียนออนไลน} เชUน สัญญาณอินเทอร}เน็ตมีอยUางจำกัด
ทำใหfสัญญาณทั้งของผูfสอนและผูfเรียนติดขัด หรือหลุดบUอย ทำใหfผูfเรียนขาดสมาธิในการ
เรยี น

5) ผfูเรยี นบางสUวนขาดสถานทเ่ี งียบสงบสำหรับใชfเพื่อการเรยี น
6) การจัดหาอุปกรณ}การเรียน อาทิ คอมพิวเตอร}แบบตั้งโตßะและพกพา แท็ปเล็ต
สมาร}ทโพน เปÄนการเพม่ิ ภาระคาU ใชfจUายของผfูปกครองทม่ี ากขน้ึ
7) การสอนที่เปÄนการสื่อสารทางเดียว อาจทำใหfเกิดความผิดพลาดในการรับรูf
ของผูเf รยี น
8) ผูfเรียนไมUสามารถไตรUตรองความถูกตfองของขfอมูล จากการเขfาถึงขfอมูลที่ไมU
นUาเช่อื ถือ
9) ในครัวเรือนที่มีจำนวนผูfเรียนหลายคน ทำใหfเกิดขfอจำกัดของอุปกรณ}การ
เรยี นท่ไี มUเพยี งพอ
10) ขีดความสามารถในการใชfระบบออนไลน}ในชUวงชั้นปฐมวัยอาจเกิด
ขfอผดิ พลาดไดfงาU ย จำเปนÄ ตfองไดfรบั คำแนะนำจากผปfู กครอง
11.) ในครัวเรือนที่ผูfปกครองไมUมีความรูfดfานเทคโนโลยีจะไมUสามารถใหfคำแนะนำแกU
ผfูเรียนไดf
12) การเรียนในระบบออนไลน}เปÄนการผลักภาระในการดูแลผูfเรียนจากผูfสอน
เปÄนผปูf กครอง ซง่ึ ในครวั เรอื นทีผ่ ูfปกครองตfองประกอบอาชีพจะเกิดปâญหา

ขXอเสนอแนะ

จากขfอดีขfอเสียดังกลUาว ผูfเขียนบทความวิชาการมีขfอคิดเห็นเพิ่มเติมวUา แมfวUา
โรงเรียนจะไดfเปyดการเรียนการสอนตามปกติแลfว ตั้งแตUวันที่ 1 กรกฎาคม 2563 เปÄนตfน
มา แตUหากวUาสถานการณ}การแพรUระบาดของไวรัสโคโรนา 2019 ไดfกลับมาระบาดอีก
ระลอก การเรียนการสอนในระบบออนไลน}จะถูกนำกลับมาใชfงานอีกครั้ง ดังนั้น ผูfที่มีสUวน
เกี่ยวขfองตfองคำนึงถึงการเรียนโดยใชfสื่อออนไลน}ท่ีมีประสิทธิภาพ เหมาะสมกับ
สภาพแวดลอf มและสภาพปâญหาของแตUละโรงเรยี นเปÄนสำคญั

366 การประชมุ วชิ าการพระพทุ ธศาสนาและศิลปวัฒนธรรมระดับชาติและนานาชาติคร้ังที่ 2

การนำเสนอบทความวิชาการในครั้งตUอไป ผูfเขียนจะนำเสนอบทวิเคราะห}ถึงผล
การติดตามการแกfไขปâญหาการจัดการเรียนการสอนของกระทรวงศึกษาธิการ เพื่อเปÄน
มุมมองทจ่ี ะสะทfอนถึงระบบการบริหารจัดการการศึกษาตUอไป

บรรณานกุ รม

กันต} เอี่ยมอินทรา. (23 มีนาคม 2563). “ผลกระทบจากโควิด-19 ตUอภาคการศึกษา”
บ ท ค ว า ม ใ น หน ั งส ื อพ ิ มพ 1 กร ุ งเทพธ ุ รก ิ จ. [ออนไลน} ]. แหล U งท ี ่ มา:
https://www.bangkokbiznews.com/ news/detail/872053[4 ก ร ก ฎ า ค ม
2563].

บัลลังก} โรหิตเสถียร. (8 พฤษภาคม 2563). การเตรียมความพร<อมของกระทรวงศึกษาธิการ
ก B อ น เ ป D ด ภ า ค เ ร ี ย น 1 ก ร ก ฎ า ค ม 2563. [อ อ น ไ ล น} ]. แ ห ล U ง ท ี ่ ม า :
https://moe360.blog/[5 กรกฎาคม 2563].

พงศ}ทัศ วนิชานันท}. (1 พฤษภาคม 2563). การศึกษาพื้นฐานในยุค โควิด-19: จะเปDด-ปDด
โรงเรียนอยBางไร?. [ออนไลน}]. แหลUงที่มา: https://tdri.or.th/2020/05/basic-
education-in-covid-1 9 - crisis-reopening-school-after-lockdown/[ 5
กรกฎาคม 2563].

สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2562). มาตรฐานการศึกษาของชิต พ.ศ. 2561.
กรงุ เทพมหานคร: 21 เซน็ จูรี จำกัด.

เสาวรัจ รัตนคำฟ.ู (15 เมษายน 2563). วิกฤตโควิด-19 รัฐต<องเรBงลดชBองวBางดิจิทัล เพื่อความ
เ ท B า เ ท ี ย ม ใ น ห < อ ง เ ร ี ย น อ อ น ไ ล น1 . [อ อ น ไ ล น} ]. แ ห ล U ง ท ี ่ ม า :
https://tdri.or.th/2020/04/digital-divide-online-educationinequalities/
[5 กรกฎาคม 2563].

การประชุมวชิ าการพระพุทธศาสนาและศลิ ปวัฒนธรรมระดบั ชาติและนานาชาตคิ รัง้ ที่ 2 367

พระพทุ ธศาสนากับสิทธิปฏเิ สธการรักษาในวาระสุดทา6 ยของชีวติ
Buddhism and the Right to Refuse Medical
Treatment at the End of Life

พระครปู ลัดณัฐพล จนฺทโิ ก,
พระบญุ ทรง ปุ8ญฺ ธโร, สมบรู ณ= ตาสนธิ
Phrakhrupalad Natthaphon Candiko,
Phraboonsong Punnadharo, Somboon Tasonthi
มหาวิทยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลยั วทิ ยาเขตเชียงใหม8
Mahachulalongkornrajavidyalaya University, Chiang Mai Campus

Email: [email protected]

บทคัดยอ'

บทความนี้มีวัตถุประสงค_ คือ เพื่อศึกษาสิทธิปฏิเสธการรักษาในวาระสุดทjาย
ของชีวิตตามแนวพุทธธรรม วัสดุและวิธีการ การวิจัยนี้เปlนการวิจัยเชิงเอกสาร
(Documentary research) โดยใชjวิธีการแบบพรรณนา (Descriptive) และมีลักษณะเปlน
พุทธธรรมประยุกต_ซึ่งผูjวิจัยไดjจัดขั้นตอนแห8งการดำเนินการวิจัย 5 ข้ันตอน ไดjแก8
1) ศึกษาวิเคราะห_แนวคิดพื้นฐานเกี่ยวกับสิทธิปฏิเสธการรักษา กระบวนการใชjสิทธิปฏิเสธ
การรักษา จากเอกสารปฐมภูมิ (Primary sources) และเอกสารทุติยภูมิ (Secondary
sources) 2) ศึกษามนุษย_และธรรมชาติของมนุษย_ หลักปาณาติบาต วิเคราะห_เรื่องสิทธิ
ปฏิเสธการรักษาตามแนวพุทธธรรม 3 ขั้นในหลักปาณาติบาต พรหมวิหาร และกตัญู
กตเวที 3) ศึกษาวิเคราะห_และประยุกต_หลักพุทธธรรมในทางพระพุทธศาสนา กับประเด็น
จริยธรรมสมัยใหม8ในเรื่องการละเมิดสิทธิในชีวิต กับการใชjสิทธิปฏิเสธการรักษาพยาบาล
อันปรากฏอยู8ในสังคมไทยในปÅจจุบันในมิติต8างๆ ทั้งทางดjานสิทธิปฏิเสธการรักษาของ
ผูjปÉวยสัมพันธ_กับแพทย_ ดjานสิทธิปฏิเสธการรักษาของแพทย_สัมพันธ_กับญาติ และดjานสิทธิ
ปฏิเสธการรักษาของผูjปÉวยสัมพันธ_กับญาติและแพทย_ตามแนวพุทธธรรม 4) รวบรวมขjอมูล
มาจากการวิเคราะห_มาสรุปผลการศึกษาวิจัย ดjานพุทธธรรมกับสิทธิปฏิเสธการรักษา

368 การประชมุ วิชาการพระพุทธศาสนาและศลิ ปวฒั นธรรมระดับชาติและนานาชาตคิ รั้งที่ 2

วิเคราะห_ปÅญหาในสิทธิปฏิเสธการรักษาทั้งต8างประเทศและในประเทศไทยวิเคราะห_ตาม
แนวทางพุทธธรรม และ 5) สรุปผลการศกึ ษาวิจัย และรายงานขjอเสนอแนะ

ผลการศึกษา พบว8าการใชjสิทธิปฏิเสธการรักษาในวาระสุดทjายของผูjปÉวย ตาม
หลักพุทธธรรมไม8ถือเปlนการทำปาณาติบาต ส8วนการใหjบริการดjานสาธารณสุขของแพทย_
ไม8เขjาองค_ประกอบแห8งการฆ8าผูjอื่น ทั้งผูjปÉวยและแพทย_ศีลจึงไม8ขาดไม8เปlนการทำ
ปาณาติบาต แต8ทำใหjศีลทะลุ ศีลด8าง และศีลพรjอยไดjตามเจตนาที่กระทำ ทง้ั ผูjปÉวย แพทย_
และญาติผูjปÉวย ตjองประกอบดjวยหลักพรหมวิหารธรรม และมีความกตัญูกตเวทิตาคุณ
ทั้งต8อตนเองและผูjอื่นในการใชjสิทธิปฏิเสธการรักษา การใหjบริการดjานสาธารณสุข และ
การประคับประคองผูjปÉวย สรุปผล การใชjสิทธิปฏิเสธการรักษาในวาระสุดทjายของชีวิตตาม
หลักพุทธธรรม ทำใหjรูjหลักความถูกผิด และรูjหลักการปฏิบัติต8อกันในการใชjสิทธิปฏิเสธ
การรกั ษาฯ

คำสำคัญ พระพุทธศาสนา, สิทธิปฏิเสธการรักษา, วาระสดุ ทาj ยของชีวติ

Abstract

This study to study the right to refuse the medical treatment at
the end of life-based on the Buddhist Doctrines Method: This research was
conducted by the Documentary Research method and described by
the applied Buddhist Doctrines. The research was divided into 5 stages viz.
1) to analyze the basic concepts and its process about the right to refuse
the medical treatment from the primary and second documents,
2) to investigate the nature of man, the concept of Pânâtipâta or taking life,
and analyze the right to refuse the medical treatment based on three
Buddhist Doctrines - the concept of Pânâtipâta or taking life, Brahmavihâra or
sublime states of mind and Kataññûkatavedî or grateful person, 3) to analyze
and apply the Buddhist Doctrines on the human right and the right to refuse
medical treatment in Thailand. The right to refuse medical treatment was

การประชุมวชิ าการพระพทุ ธศาสนาและศิลปวัฒนธรรมระดับชาตแิ ละนานาชาตคิ รง้ั ที่ 2 369

concerned with the right of the patient, physician and relatives in line with
the concept of Buddhist medical care. 4) The data collected were analyzed
and summarized on the Buddhist Doctrines and the right to refuse treatment.
In addition, the problems of the right to refuse medical treatment in Thailand
and overseas were analyzed and 5) the results of research and
recommendations.

Results: According to the right to refuse medical treatment in the
last of the patient based on the Buddhist Doctrines, it is not considered as
the Pânâtipâta or taking life both in the Buddhist principle and medical care.
And it does not appear the element of killing others in medical service.
Therefore, the patient and physicians are not considered as the one who
commits of killing life. In addition, in the treatment to patients and their
relations should develop the doctrine of Brahmavihâra or the Four Divine
States of Mind and learn to be the grateful person to oneself and other.
Conclusion: The right to refuse medical treatment at the end of life-based on
the Buddhist Doctrines, it provides the principle of right and wrong actions
and realizes the right to refuse medical treatment.

Keywords: Buddhism, the right to refuse medical treatment, at the end of life

บทนำ

สิทธิปฏิเสธการรักษา หรือ การแสดงเจตนาไม8ขอรับบริการสาธารณสุขครั้ง
พุทธกาลไดjมีเรื่องราวการใชjสิทธิปฏิเสธการรักษาพยาบาลขึ้น คือ พระฉันนะเถระไดjลjม
ปÉวยรับทุกขเวทนากลjาแข็ง หนัก กำเริบ ไม8ทุเลา ไม8อยากมีชีวิตอยู8ต8อไปไดjปฏิเสธการ
รักษาพยาบาลจากพระสารีบุตรแลjวฆ8าตัวตาย (ม.อุ. (บาลี) 14/389–394/335–340) พระ
วักกลิเถระไดjลjมปÉวยลงรักษาไม8หาย มีเวทนาแรงกลjา มีแต8กำเริบขึ้น ไม8ทุเลาลง ปฏิเสธ
การรักษาแลjวฆ8าตัวตาย (สํ.ข. (ไทย) 17/87/157–163) ในกรณีของท8านพุทธทาสภิกขุ

370 การประชมุ วิชาการพระพทุ ธศาสนาและศิลปวัฒนธรรมระดับชาติและนานาชาติครง้ั ที่ 2

(พระมหาวันชัย ธมฺมชโย (ช8วงสำโรง), 2548: 60-62) ไดjสั่งกับลูกศิษย_ไวjว8า เมื่อท8านปÉวย
หนักไม8ใหjใชjเทคโนโลยีที่จะช8วยชีวิตท8านไวjอย8างผิดธรรมชาติ เมื่อท8านจะมรณภาพ ขออย8า
ใหjมีเครื่องช8วยชีวิตใดๆ ติดตัวท8าน ขอมรณภาพอย8างสงบ อย8างมีสติ ดังที่ท8านพุทธทาส
ภิกขุไดjกล8าวไวjว8า ถjาเราฝ†นความตายในวาระสุดทjายของชีวิตก็เสมือนว8า เรายอมรับ “ตาย
ดี ตายเปlน” ใหjเปlน “ตายลำบาก ตายทรมาน และตายโหง (ป£ติพร จันทรทัต ณ อยุธยา
และคณะ, 2546: 64) และในกรณีของหลวงพอ8 คำเขียน สุวณฺโณ ปฏิเสธการรักษาเพราะไม8
ตjองการยื้อชีวิตดjวยการใหjปŧมหัวใจ สอดท8อช8วยหายใจ และผ8าตัดใหญ8อีก เนื่องจากเคย
ผ8าตัดใหญ8มาแลjวครั้งหนึ่งในชีวิต ขอเพียงแค8รักษาไปตามอาการ ไม8อยากยืดการตายใน
วาระสุดทjายของชีวิต และมีความปรารถนาว8าไม8อยากอยู8เกินอายุพระพุทธเจjา ในวาระ
สุดทjายท8านไดjเขียนจดหมายบอกกับศิษย_ทั้งหลายว8า “พวกเรา ขอใหjหลวงพ8อ ตาย”แลjว
ท8านก็ไดjเผชิญความตายอย8างสงบเมื่อยามถึงกาลมรณา โดยมีอายุ 78 ป• (เครือข8ายพุทธิกา,
2557: 6-16)

ปÅจจุบันวิวัฒนาการดjานเครื่องมือการแพทย_พยาบาล มีความเจริญกjาวหนjาไป
อย8างรวดเร็ว ความกjาวหนjาทางวิทยาศาสตร_และเทคโนโลยีมีผลอย8างยิ่งใหjงานดjาน
เวชกรรมของแพทย_พยาบาลประสบผลสำเร็จเกิดประโยชน_อย8างยิ่งต8อผูjปÉวยสามารถ
ดำรงชีวิตไดjอย8างปกติสุข สรjางประโยชน_แก8สงั คมไดjอย8างมากมาย แต8ความกjาวหนjาทาง
วิทยาศาสตร_และเทคโนโลยีทางการแพทย_ก็มีโทษดjวยเช8นกันถjาไม8สามารถทำใหjผูjปÉวยไดj
ฟ†§นคืนสู8ความเปlนปกติ ผูjปÉวยตjองอยู8อย8างไรjความสามารถดjวยกระบวนการช8วยยืดชีวิต
ของแพทย_ (Life sustaining procedure) (วิฑูรย์ อึ้งประพันธ์, 2533: 22) จนถึงแก8ความ
ตายในที่สุด ปÅจจุบันนี้จึงมีบุคคลหลายกลุ8มเช8น นักนิติศาสตร_ แพทย_ และดjานศาสนา
เปlนตjน ไดjคิดหาวิธีหรือทางออกร8วมกันใหjไดjพบกับคำว8า “ตายดี”(อำพล จินดาวัฒนะ,
2552: 21) เปlนการตายที่ปลอดจากทุกข_ทรมานที่สามารถหลีกเลี่ยงไดjของผูjปÉวย ญาติ
และผูjใหjการรักษา และโดยทั่วไปควรเปlนไปตามความประสงค_ของผูjปÉวยและญาติ จาก
ความตjองการที่จะตายดี หรือการตายอย8างสงบเปlนการตายที่ไม8ตjองทุกข_ทรมานจากการ

การประชมุ วชิ าการพระพทุ ธศาสนาและศลิ ปวัฒนธรรมระดบั ชาติและนานาชาตคิ รง้ั ท่ี 2 371

รักษาพยาบาลในวาระสุดทjายของชีวิต จึงไดjเกิดคำศัพท_ทางกฎหมายขึ้นใหม8ที่ว8า “สิทธิ

ปฏเิ สธการรกั ษา” (Right to refuse treatment) ( ราชกจิ จาเบกษา, 2550: 4)

ในต8างประเทศ เช8น ในประเทศสหรัฐอเมริกา ไดjขึ้นชื่อว8ามีความกjาวหนjาทาง
วิทยาศาสตร_และเทคโนโลยีไดjเนjนเรื่องการรักษาพยาบาลเปlนอย8างมาก จนทำใหjค8า
รักษาพยาบาลในระยะใกลjสุดทjายของชีวิตสูงอย8างมหาศาล แต8คุณภาพชีวิตกลับไม8ไดjดีขึ้น
ตามไปดjวย รวมทั้งสิทธิดjานศาสนาคริสต_ นิกายคริสเตียนไซแอนด_ ใหjพระเจjารักษาเท8าน้ัน
ไม8ตjองพึ่งพาดjานสาธารณสุขและนิกายพยานพระยะโฮวา ปฏิเสธการกินเลือดสัตว_จึงมีการ
ปฏิเสธรับผลิตภัณฑ_จากเลือดทุกชนิด9 จากเหตุผลคือ อยู8เพื่ออะไรเมื่อตjองตายอย8างโดด
เดี่ยว ค8ารักษาพยาบาลที่สูงผนวกกับสิทธิในชีวิตดjานศาสนาของคนแต8ละคนจึงเปlนที่มา
แห8งการทำหนังสือแสดงเจตนา (Living Will) อันเปlนพินัยกรรมชีวิตที่จะปฏิเสธการรักษา
ไวjล8วงหนjาก8อนถึงวาระสุดทjายของชีวิต การทำพินัยกรรมชีวิตในสังคมอเมริกาจึงเปlนเรื่อง
ปกติธรรมดาของสังคมที่ตjองเผชิญปÅญหาและไดjเรียนรูjมาก8อนประเทศอื่นๆ รวมทั้ง
ประเทศไทย (ไพศาล ลิ้มสถิต และอภิราชย_ ขันธ_เสน, 2552: 62-71) กฎหมายหลาย
ประเทศ เช8น ประเทศสหรัฐอเมริกา มีกฎหมายแม8แบบชื่อ “Patient Self-
Determination Act” (1990) (American, 1990: 751, 104) “Uniform Health-Care
Decisions Act” (1993) (American, 1993: (February 7, 1994) และมีกฎหมายของมล
รัฐต8างๆ ประเทศออสเตรเลียมีกฎหมายในทุกมลรัฐ เช8น มลรัฐ Northern Territory
“Natural Death Act” (1988) (Northern Territory of Australia, (17 July 1989)
ประเทศอังกฤษมีกฎหมาย “Mental Capacity Act 2005” (England, (October 2006)
ประเทศสิงคโปร_มีกฎหมาย “Advance Medical Directive Act” (1996) ฉบับปรับปรุง
1997 (Singapore, 1996) และประเทศเดนมาร_กมีกฎหมายสิทธิผูjปÉวย (on patients’
rights) “Law No. 482 of 1 July 1998” (Denmark, 1998: 2883-2888) เปlนตjน

ในประเทศไทยไดjรับอิทธิพลจากต8างประเทศ มีความพยายามที่จะรักษาสิทธิ
ของทุกคนไวj เพื่อใหjแพทย_และทีมดูแลผูjปÉวยตัดสินใจไดjง8ายขึ้นว8าควรทำหรือไม8 ควรทำ
อะไรกับผูjปÉวยเมื่อผูjปÉวยไดjรับการวินิจฉัยแลjวว8าไม8มีทางรักษาใหjหายและอยู8ในวาระ
สุดทjายของชีวิตแลjวมีแรงผลักดันจากหลายกลุ8มองค_กรใหjมีกฎหมายรองรับในเรื่องสิทธิ

372 การประชมุ วชิ าการพระพุทธศาสนาและศิลปวฒั นธรรมระดบั ชาตแิ ละนานาชาติครั้งท่ี 2

ปฏิเสธการรักษาจากเหตุผล 3 ประการ ในการสรjางกฎกระทรวงขึ้น คือ (1) ช8วยใหjผูjปÉวยท่ี
สิ้นหวัง พjนจากความทุกข_ทรมาน (2) เปlนการแบ8งเบาภาระเรื่องค8าใชjจ8ายในการ
รักษาพยาบาลของญาติ (3) การเลือกที่จะตาย หรือมีชีวิตอยู8นั้น เปlนสิทธิเสรีภาพส8วน
บุคคล จึงไดjปรากฏพระราชบัญญัติสุขภาพแห8งชาติ พ.ศ. 2550 มาตรา 12 (ราชกิจจา
นุเบกษา, 2550) ขน้ึ

ในดjานพระพุทธศาสนา พระไพศาล วิสาโล ไดjอธิบายว8า พระพุทธศาสนาไม8ปฏิเสธ
หรือต8อตjานเรื่องสิทธิปฏิเสธการรักษาถjาทำอย8างถูกตjองในวาระสุดทjายของชีวิต เพราะ
พระพุทธศาสนาเนjนที่การกระทำของมนุษย_ตลอดถึงกรรมใกลjตายจิตสุดทjายใหjเปlนฝÉายกุศล
รวมถึงการตายอย8างสมบูรณ_คือ การตายจากความยึดติดในตัวตน (พระไพศาล วิสาโล,
สัมภาษณ_ 24 สิงหาคม 2545) แต8ก็เปlนเบื้องตjนที่ผูjวิจัยไดjยกมาแสดงเท8านั้น ในสังคมไทย
จึงเกิดการโตjแยjงอย8างกวjางขวาง เปlนปÅญหาสำคัญของพุทธธรรมที่จะใหjขjอมูลและใหj
เกณฑ_ตัดสินปÅญหาและหาทางออกในเรื่อง “สิทธิปฏิเสธการรักษา” ตามกฎกระทรวง
มาตรา 12 แห8งพระราชบัญญัติสุขภาพแห8งชาติ พ.ศ. 2550 ว8า หลักแห8งความประพฤติ
ดังกล8าวถูกหรือผิด อะไรควรทำอะไรควรเวนj อะไรดอี ะไรชว่ั และเสนอทางออกใหกj บั สงั คม
ผูjวิจัยจึงมีความสนใจศึกษาวิเคราะห_ในเรื่องสิทธิปฏิเสธการรักษาในวาระสุดทjายของชีวิต
ตามแนวพุทธธรรมเพราะเปlนที่สนใจของผูjวิจัย และบุคคลในสังคม ทั้งทางดjานสิทธิปฏิเสธ
การรักษาของผูjปÉวยที่สัมพันธ_แพทย_ ทางการใหjบริการดjานสาธารณสุขของแพทย_ที่มีความ
มีความสัมพันธ_กับญาติ และทางดjานของผูjปÉวยที่มีความสัมพันธ_กับญาติของผูjปÉวยและ
แพทย_ โดยการวิเคราะห_สิทธิปฏิเสธการรักษาตามแนวพทุ ธธรรม

วัตถปุ ระสงค;

เพอ่ื ศึกษาสทิ ธปิ ฏิเสธการรักษาในวาระสุดทาj ยของชวี ิตตามแนวพทุ ธธรรม

ระเบียบวิธีวจิ ัย

การวิจัยนี้เปlนการวิจัยเชิงเอกสาร (Documentary research) โดยใชjวิธีการแบบ
พรรณนา (Descriptive) และมลี ักษณะเปlนพทุ ธธรรมประยุกต_ซ่ึงผวูj จิ ัยไดjจดั ขน้ั ตอนแหง8

การประชมุ วชิ าการพระพุทธศาสนาและศิลปวัฒนธรรมระดบั ชาตแิ ละนานาชาติครัง้ ที่ 2 373


Click to View FlipBook Version