The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การประชุมสัมมนาวิชาการระดับชาติและนานาชาติ ครั้งที่ 2 มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตเชียงใหม่ The 2nd International Buddhist Conference on “Buddhism and Social Responsibility in the New Normal” (BUSRIN) เรื่อง “พระพุทธศาสนากับความรับผิดชอบทางสังคมยุคชีวิตใหม่ วันที่ 19-20 เดือน กันยายน พ.ศ. 2563 เวลา 08.00-16.30 น. ณ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตเชียงใหม่ Mahachulalongkornrajavidyalaya University, Chiang Mai Campus will organize the 2nd National and International Conference (MCU. CM. 2020) “Buddhism and Social Responsibility in the New Normal (BUSRIN)”, November 19th – 20th, 2020 at Mahachulalongkornrajavidyalaya University, Chiang Mai Campus.

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by MCU Books, 2021-04-18 04:35:51

เอกสารสืบเนื่องการประชุมวิชาการพระพุทธศาสนาและศิลปวัฒนธรรมระดับชาติและนานาชาติครั้งที่ 2

การประชุมสัมมนาวิชาการระดับชาติและนานาชาติ ครั้งที่ 2 มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตเชียงใหม่ The 2nd International Buddhist Conference on “Buddhism and Social Responsibility in the New Normal” (BUSRIN) เรื่อง “พระพุทธศาสนากับความรับผิดชอบทางสังคมยุคชีวิตใหม่ วันที่ 19-20 เดือน กันยายน พ.ศ. 2563 เวลา 08.00-16.30 น. ณ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตเชียงใหม่ Mahachulalongkornrajavidyalaya University, Chiang Mai Campus will organize the 2nd National and International Conference (MCU. CM. 2020) “Buddhism and Social Responsibility in the New Normal (BUSRIN)”, November 19th – 20th, 2020 at Mahachulalongkornrajavidyalaya University, Chiang Mai Campus.

Keywords: Buddhism,Social Responsibility,New Normal

ระบาดของไวรัสโคโรนา (COVID-19) เปgนป{จจัยสำคัญใหjชาวไทยวนกลุJมที่เปgนแรงงานไดj
ขjามพรมแดนกลับไปสJูชุมชนเพื่อหลีกเลี่ยงการเผชิญการแพรJระบาดในไทย ขณะเดียวกัน
ชาวไทยวนบางกลมJุ ในเมอื งเมียวดีกลับอพยพเขjามาพกั อยูJกับเครอื ญาติในฝ{óงประเทศไทย

จากสิ่งที่เกิดขึ้นดังกลJาวเปgนปรากฏการณqที่สนใจ บทความชิ้นนี้จึงตั้งประเด็น
คำถามเพื่อศึกษาและนำเสนอ 4 ประเด็น คือ 1) สถานการณqและผลกระทบการแพรJ
ระบาดของไวรัสโคโรนา (COVID-19) ในชุมชนชาวไทยวน เมืองเมียวดี รัฐกะเหรี่ยง
สาธารณรัฐแหJงสหภาพเมียนมา 2) ปฏิบัติการภายในชุมชนเพื่อปnองกันการแพรJระบาด
และการปรับตัวเพื่อดำเนินวิถีชีวิตปกติสุขของผูjคนในสังคม 3) พระพุทธศาสนา ความเช่ือ
พื้นถิ่น และองคqกรจากรัฐมีบทบาทในการเยียวยาชJวยเหลือดjานความเปgนอยูJและสภาพ
จิตใจ 4) ชาวไทยวนสรjางแนวทางการดำเนินวิถีชีวิตแบบใหมJ (New Normal) จากการ
ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมภายใตjวิกฤตการณqการแพรJระบาดของไวรัสโคโรนา (COVID-19)
ทั้งนี้เพื่อทำความเขjาใจปรากฏการณqและการปnอง การปรับตัว การเยียวยาของชาวไทยวน
ใหjสอดคลjองกับสภาพบริบททางสังคมของตน โดยใชjพื้นที่ชุมชนชาวไทยวน บjานหjวยสjาน
เปgนพื้นที่หลัก เนื่องจากมีชาวไทยวนอาศัยอยJูอยJางหนาแนJน การศึกษาครั้งน้ีใชjวิธีการ
จัดเก็บขjอมูลดjวยการสัมภาษณqผูjนำชุมชนและชาวไทยวนตามกรอบประเด็นศึกษาขjางตjน
และการตดิ ตามขาJ วสารผาJ นสอื่ ออนไลนq

กรอบการศึกษา

474 การประชุมวิชาการพระพทุ ธศาสนาและศลิ ปวฒั นธรรมระดบั ชาตแิ ละนานาชาตคิ รั้งที่ 2

1. สถานการณMและผลกระทบการแพร:ระบาดของไวรสั โคโรนา (COVID-
19) ในชมุ ชนไทยวน เมืองเมยี วดี รฐั กะเหร่ยี ง สาธารณรัฐแหง: สหภาพเมียนมา

ชJวงปลายปõ พ.ศ.2562 พบผูjปùวยตjองสงสัยติดไวรัสโคโรนา (COVID-19) ท่ี
เมืองอูJฮั่น สาธารณรัฐประชนจีน จากนั้นไวรัสโคโรนา (COVID-19) เริ่มกระจายตัวแพรJ
ระบาดขยายเปgนวงกวjางไปยังนานาประเทศ ทั่วโลก วันที่ 11 มีนาคม พ.ศ.2563 องคqการ
อนามัยโลก (WHO) แถลงการณqระบุวJาไวรัสโคโรนา (COVID-19) มีการระบาดใหญJลกุ ลาม
ไปทั่วโลก ขณะเดียวกัน กระทรวงสาธารณสุข ประเทศไทย ไดjออกประกาศเมื่อ วันที่ 26
กุมภาพันธq พ.ศ.2563 (กระทรวงสาธารณสุข, 2563 : 3) ใหjโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา เปgน
โรคติดตJออันตรายตามพระราชบัญญัติโรคติดตJอ พ.ศ.2558 และมีผลบังคับใชjตั้งแตJวันที่ 1
มีนาคม พ.ศ.2563 นอกจากนั้นยังประกาศแตJงตั้งเจjาพนักงานควบคุมโรคติดตJอ ฉบับที่ 3
และ 4 พ.ศ.2563 และมีผลบังคับใชjตั้งแตJวันที่ 14 มีนาคม พ.ศ.2563 (ปรีดา แตjอารักษq,
2563 : 7) เพื่อเฝnาระวังการแพรJระบาดของโรคในทุกพื้นที่ในประเทศไทย ตJอจากนั้น
หนJวยงานภาคียุทธศาสตรqที่เกี่ยวขjองกับภาคสุขภาพสังคมไดjรJวมมือกันในแผนงานรวมพลัง
พลเมืองตื่นรูjชJวยชาติโควิด 19 เมื่อวันที่ 24 มีนาคม พ.ศ.2563 (ปรีดา แตjอารักษq, 2563 :
1-7) ระดมความคิดหามาตรการในการปnองกันสถานการณqที่เกิดขึ้น นอกจากนั้นรัฐบาล
ไทยไดjจัดตั้งศูนยqบริหารสถานการณqการแพรJระบาดของโรคติดตJอเชื้อไวรัสโคโรนา
(COVID-19) หรอื ศบค.

สถานการณqการแพรJระบาดในประเทศไทย ความหวาดกลัว ความวิตกกังวล
รวมถึงสิทธิในการเขjาถึงการตรวจสุขภาพและรักษาโรคระบาดที่ยากตJอการเขjาถึง ทำใหj
แรงงานจากพมJาเริ่มทยอยอพยพกลับมาตุภูมิ ชาวไทยวนสJวนใหญJที่เขjามาเปgนแรงงานใน
ประเทศไทยเชJนเดียวกันไดjอพยพกลับถิ่นฐานเดิมในพมJา โดยผJานดJานพรมแดนถาวร
สะพานมิตรภาพไทย-เมียนมา อำเภอแมJสอด-เมืองเมียวดี แหJงที่ 1 และ 2 กJอนการ
ประกาศปïดดJานพรมแดนระงับการเดินทางเขjาออกระหวJางประเทศ ในวันที่ 23 มีนาคม
2563 (คำสั่งจังหวัดตาก, ที่ 686/2563 : 2563) นอกจากนี้ยังพบวJามีแรงงานชาวพมJา
ตกคjางติดอยูJฝ{óงไทยจำนวนมาก และมีการลักลอบผJานทางจุดผJอนปรนการคjาและชJองทาง
ธรรมชาตจิ ดุ ตาJ งๆ ตามแนวแมJนำ้ เมย

การประชุมวชิ าการพระพทุ ธศาสนาและศลิ ปวฒั นธรรมระดบั ชาติและนานาชาติครงั้ ที่ 2 475

ในขณะที่ฟากฝ{óงประเทศพมJา สถานการณqการแพรJระบาดของไวรัสโคโรนา
(COVID-19) เริ่มระบาดในระยะแรกเริ่มตั้งแตJเดือนมีนาคม โดยกระทรวงสาธารณสุขและ
กีฬาของพมJาประกาศผูjติดเชื้อไวรัสโคโรนา (COVID-19) จำนวน 2 รายแรกของประเทศ
ในวันที่ 23 มีนาคม 2563 (Ministry of Health and Sports Myanmar, 2563) ซึ่งผูjติด
เชื้อทั้ง 2 รายเดินทางกลับมาจากประเทศสหรัฐอเมริกาและประเทศอังกฤษ จากน้ัน
ประเทศพมJาเริ่มคุมเขjมและมีมาตรการการเฝnาระวังการเขjา-ออกระหวJางประเทศ ภายหลัง
มีการแพรJระบาดระลอกที่ 2 เริ่มพบจำนวนผูjติดเชื้อไวรัสโคโรนา (COVID-19) ในเมือง
ซิตตวย รัฐยะไขJ ที่แพรJระบาดในเวลาอันส้ันอยJางรวดเร็ว กระทรวงสาธารณสุขและกีฬา
ประกาศคำสั่งฉบับที่ 97/2020 (Ministry of Health and Sports Myanmar, 2563) ลง
วันที่ 26 สิงหาคม 2563 ใชjกฏหมายที่เกี่ยวขjองควบคุมสถานการณqการแพรJระบาดภายใน
รัฐยะไขJ รวมถึงออกคำสั่งมาตรการใหjประชาชนปฏิบัติและกักตัวอยูJบjาน (Stay at home)
ซึ่งมีผลบังคับใชjตั้งแตJวันที่ 27 สิงหาคม 2563 ดjวยสถานการณqแพรJระบาดที่รวดเร็วของ
เชื้อไวรัสโคโรนา (COVID-19) ทำใหjจำนวนผูjติดเชื้อภายในประเทศมีจำนวนมากขึ้นและ
แพรJกระจายไปทั่วรัฐตJางๆ สถานการณqการแพรJระบาดของพมJาในระลอกที่ 2 ทำใหj
ประเทศไทยมีมาตรการควบคุมอยJางเขjมขjน ตรวจตราดูการลักลอบเขjา-ออกตามแนวเขต
ชายแดน ทั้งนี้ในประเทศพมJาเอง กระทรวงสาธารณสุขและกีฬาไดjกำชับดูแลสถานการณq
อยJางใกลjชิดในเขตพื้นที่แตJละรัฐ สJวนชุมชนชาวไทยวน เมืองเมียวดี แตJละชุมชน กำนัน
และผูjใหญJบjาน มีการประชุมรJวมกันเพื่อเฝnาระวังและออกมาตรการปฏิบัติอยJางเรJงดJวน
เพื่อควบคุมรับมือตJอสถานการณqการแพรJระบาดที่เกิดขึ้นเพื่อสรjางความมั่นใจในระบบการ
จดั การใหjกับประชาชน

อยJางไรก็ตาม การอพยพกลับถิ่นฐานของแรงงานชาวไทยวนในชJวงที่ประเทศ
ไทยมีมาตรการ Social Distancing ทำใหjแรงงานมีรายไดjลดลง ขณะที่คJาใชjจJายในการ
ดำรงชีพสูงขึ้น รวมถึงชาวไทยวนบางกลุJมที่ไมJมีบัตรประจำตัวประชาชน ไมJไดjรับความ
คุjมครองจากภาครัฐ เปgนป{จจัยที่ทำใหjถูกผลักดันอพยพกลับภูมิลำเนา สอดคลjองกับขjอมูล
จากเครือขJายศูนยqประสานงานเพื่อการวิจัยแรงงานแหJงจุฬาลงกรณqมหาวิทยาลัย
(CU-ColLaR) พบวJา กลุJมที่ตัดสินใจกลับจำแนกออกเปgน 3 กลุJม คือ 1) กลุJมที่จำเปgนตjอง
กลับ เปgนกลุJมที่ถูกเลิกจjางเพราะสถานประกอบการปïดถาวร และกลุJมที่ถูกเลิกจjางชั่วคราว

476 การประชุมวิชาการพระพุทธศาสนาและศิลปวัฒนธรรมระดับชาตแิ ละนานาชาติครัง้ ท่ี 2

2) กลุJมที่กลับดีกวJาไมJกลับ เปgนกลุJมที่หยุดงานเพราะสถานประกอบการปïดชั่วคราว แตJ
ตjองการกลับภูมิลำเนาเพื่อลดตjนทุน และกลับมาทำงานเมื่อสถานการณqเขjาสูJภาวะปกติ
3) กลุJมทีก่ ลับเพอื่ พักผอJ น (เสาวณี จันทะพงษq และคณะ, 2563)

อยJางไรก็ตาม ผลกระทบจากการแพรJระบาดของไวรัสโคโรนา (COVID-19) ท้ัง
ประเทศไทยและพมJา ทั้งระยะที่ 1 และ 2 ทำใหjชาวไทยวนบางกลุJมหวาดระแวงและวิตก
กงั วลตอJ สถานการณทq เี่ กิดข้ึน เน่อื งจากไดรj บั ผลกระทบท่เี กิดขึ้นหลากหลายดjาน ดงั น้ี

1. ดjานวีถีชีวิตความเปgนอยูJ จากสถานการณqแพรJระบาดที่เกิดขึ้น ทำใหjชาว
ไทยวนดำเนินชีวิตดjวยความระมัดระวัง ตjองปฏิบัติตามระเบียบมาตรการอยJางไมJคุjนชิน
เชJน การสวมหนjากาก การเวjนระยะหJางในสถานท่ีสาธารณะและสถานที่ของรัฐ การลjางมือ
ดjวยเจล เปgนตjน นอกจากนี้ชาวไทยวนบางกลุJมมีความหวาดระแวงหวาดผะวากับบุคคล
นอกพื้นท่ีที่เดินทางเขjามาภายในชุมชน และทำใหjชาวไทยวนตjองมีความระมัดระวังคน
แปลกหนjามากขึ้น รวมถึงการหลีกเลี่ยงติดตJอกับบุคคลภายนอก ทั้งนี้ยังกระทบตJอการทำ
กิจกรรมสำคัญในชุมชน ดังพบวJา ทุกปõในชJวงเทศกาลสงกรานตqปõใหมJ ชาวไทยวนจะ
เดินทางมาประกอบพิธีดำหัวปõใหมJเมือง แตJดjวยสถานการณqการแพรJระบาดที่เกิดขึ้นทำใหj
ลูกหลานเครือญาติชาวไทยวนตJางพื้นที่และแรงงานชาวไทยวนที่ทำงานในประเทศไทย
ไมJสามารถเขjารJวมพิธีกรรมสำคัญไดj ขณะเดียวกันพิธีดำหัวปõใหมJเมืองภายในชุมชนก็ไมJ
สามารถจัดงานสังสรรคqและรวมกลุJมคนจำนวนมากไดj เพราะตjองปฏิบัติตามมาตรการดjาน
สาธารณสุขอยาJ งเครJงครัด ทำใหกj ิจกรรมท่เี อื้อตJอการสานสัมพันธqยุติชว่ั คราว

2. ดjานสุขภาพ ผลกระทบจากการระบาดทำใหjผูjสูงวัยบางคนมีความเครียด
วิตกกังวลใจตJอสถานการณqที่เกิดขึ้น เนื่องจากชาวไทยวนสJวนใหญJเลือกเขjารับบริการรักษา
สุขภาพจากโรงพยาบาลอำเภอแมJสอด จังหวัดตาก ซึ่งเปgนโรงพยาบาลขนาดใหญJ มีระบบ
การรักษาที่ไดjมาตรฐาน หลังจากเกิดการแพรJระบาดทำใหjจุดผJานแดนถาวรทั้ง 2 ประเทศ
ถูกปïดชั่วคราว อีกทั้งจุดผJอนปรนตามเขตแนวชายแดนมีกำลังเจjาหนjาที่ดูแลอยJางเข็มงวด
สJงผลใหjชาวไทยวนไมJสามารถขjามดJานไปรักษาสุขภาพที่โรงพยาบาลอำเภอแมJสอดทั้งที่มี
ใบนัดและการเจ็บปùวยฉุกเฉิน ตjองเขjารับการรักษาจากหนJวยงานสาธารณสุขในทjองถ่ิน
และโรงพยาบาลเมือง เมยี วดแี ทน

การประชุมวชิ าการพระพทุ ธศาสนาและศิลปวัฒนธรรมระดับชาติและนานาชาติคร้งั ท่ี 2 477

3. ดjานแรงงาน แรงงานชาวไทยวนที่ทำงานในประเทศไทยบางสJวน และ
ทำงานในเมืองยJางกุjง บางราย เลือกที่จะเดินทางกลับถิ่นฐานเดิม เนื่องดjวยโรงงานและ
แหลJงประกอบการปïดตัวลงชั่วคราวตามมาตรการฉุกเฉินของทั้ง 2 ประเทศ ทำใหjรายไดj
จากการทำงานลดลง ประกอบกับคJาใชjจJายที่สูงขึ้น ทำใหjเกิดการเดินทางกลับมาถิ่นฐาน
เดิม นอกจากนี้สถานประกอบการในเมืองเมียวดีบางแหJงรวมถึงการคjาขายตามชายแดนไดj
ปïดตัวลงชั่วคราว สJงผลกระทบตJอการจjางงานของผูjประกอบการจนตjองยกเลิกการจjางงาน
ช่ัวคราว ทำใหjแรงงานชาวไทยวนมรี ายไดjลดลงและวJางงานจำนวนมาก

4. ดjานการศึกษา วิกฤตการณqการแพรJระบาของไวรัสโคโรนา (COVID-19)
ระลอกที่ 2 กระทรวงสาธารณสุขและกีฬาประกาศใหjสถานศึกษาทุกแหJงที่อยูJในเขตพื้นท่ี
เสี่ยงปïดชั่วคราว ทำใหjชJวงตjนเดือนกันยายน พ.ศ. 2563 โรงเรียนบjานหjวยสjาน เมืองเมีย
วดี หยุดกิจกรรมการเรียนการสอนชั่วคราวและไมJมีกำหนดเปïด หลังจากเปïดทำการเรียน
การสอนไดjประมาณ 1 เดือนที่ผJานมา ผลกระทบดังกลJาวทำใหjกิจกรรมการเรียนมีความไมJ
ตJอเนื่อง นักเรียนมีแรงจูงใจการเรียนลดลง และกระทบตJอหลักสูตรการสอนที่ตjองปรับ
เน้ือหาใหjสอดคลjองสถานการณqทเ่ี กิดข้นึ

(สัมภาษณq นายสมยศ ป{นทา บjานหjวยสjาน, นายรำพัน ป{ญญากาศ, 9 มีนาคม
2560. นายเงนิ ยอดเรือน 10 มนี าคม 2563)

2. ปฏิบัติการภายในชุมชนเพื่อปgองกันการแพร:ระบาด และการปรับตัวเพ่ือ
ดำเนินวถิ ชี วี ติ ปกติสขุ ของผiูคนในสังคม

ดjานระบาดวิทยา ตJางยอมรับวJาการตJอสูjกับการแพรJระบาดของไวรัสโคโรนามี
2 แนวทาง คือ 1) การบรรเทาความเสียหาย โดยใหjแยกกลุJมเสี่ยง เชJน แยกตัวผูjสูงอายุ
ออก หรือการกักโรค (Quarantine) ผูjปùวยหรือกลุJมเสี่ยง 2) การยับยั้งโรคโดยใชj Social
Distancing เพื่อชะลอการแพรJระบาดไมJใหjจำนวนผูjปùวยสูงจนเกินขีดความสามารถของ
ระบบสาธารณสุข (เสาวณี จันทะพงษq และคณะ, 2563) จากแนวทางดังกลJาวสามารถ
อธิบายการปอn งกนั และการปรับตัวของชาวไทยวนดงั น้ี

2.1 การปgองกัน พบวJากลุJมชาวไทยวนตั้งแตJกลุJมผูjนำชุมชน และสาธารณสุข
ประจำหมูJบjานรJวมกันทำงานอยJางแข็งขัน หลังจากไดjรับคำประกาศการแพรJระบาดของ

478 การประชมุ วิชาการพระพุทธศาสนาและศิลปวัฒนธรรมระดบั ชาตแิ ละนานาชาติครั้งที่ 2

ของไวรัสโคโรนา (COVID-19) จากกระทรวงสาธารณสุขและกีฬา ในกรณีหมูJบjานหjวยสjา
นซง่ึ เปgนชาวไทยวนกลJมุ ใหญJ พบวJามีมาตรการปnองกันการแพรJระบาดของไวรัสโคโรนJาดังน้ี

1) การตั้งดJานคัดกรองและตรวจตราผูjเดินทางผJานเขjา-ออกหมูJบjาน การ
ตรวจตราไมJจำกัดเฉพาะชาวไทยวนเทJานั้น แตJยังมีการตรวจตราบุคคลภายนอกที่เดิน
ทางผJานเขjา-ออก เชJน ชาวกะเหรี่ยง ชาวพมJา ชาวไทใหญJ ชาวปะโอ เปgนตjน การจัด
เจjาหนjาที่ประจำดJานคัดกรองมีการผลัดเปลี่ยนเวรของกลุJมผูjนำชุมชนและอาสาสมัคร
ภายในชุมชนรJวมกัน โดยมีเจjาหนjาที่สาธารณสุขหมูJบjานประจำการรJวมดjวย นอกจากนี้ยัง
มีการสแกนการเขjา-ออกและผJานหมูJบjานของแตJละคน ดjวยการตรวจวัดอุณภูมิและ
สอบถามแหลJงทมี่ า

2) การประกาศแจjงเตือนใหjเฝnาระวังสถานการณqการแพรJระบาด เกิดขึ้น
ในชJวงระยะแรกของการระบาดของไวรัสโคโรนJาในพมJา กลุJมผูjนำชุมชนและสาธารณสุข
ประจำหมูJบjานไดjใชjเครื่องกระจายเสียงประกาศแจjงเตือน นอกจากนั้นยังใชjรถกระจาย
เสียงเดินทางไปประกาศเปgนขบวนรอบหมูJบjานทุกวัน เพื่อแจjงเตือนและขอความรJวมมือ
ปฏบิ ัติตามมาตรการของกระทรวงสาธารณสุข

3) การจัดเตรียมสถานที่กักตัว ชาวไทยวนบางสJวนเขjามาทำงานในไทย
และกระจายตัวอยูJกลุJมจังหวัดภาคกลาง เมื่อมีสถานการณqการแพรรJ ะบาดไวรัสโคโรนาและ
การประกาศใชj พรก.ฉุกเฉิน ในประเทศไทย ทำใหjสถานที่ประกอบการ โรงงานปïดตัวลง
ชั่วคราว กอปรกับความหวาดกลัวตJอสถานการณqที่เกิดขึ้น ทำใหjชาวไทยวนบางสJวนเลือก
ที่จะเดินทางกลับมายังถิ่นฐานเดิมของตน โดยมีการเดินทางขjามดJานพรมแดนถาวรอำเภอ
แมJสอด-เมียวดี และชาวไทยวนอีกกลุJมหนึ่งเดินทางกลับจากเมืองยJางกุjงและรัฐตJางๆ
ภายในประเทศซึ่งเปgนเขตพื้นที่เสี่ยงกลับมา ขณะเดียวกันภายในชุมชนไดjมีมาตรการรับมือ
กลุJมคนดังกลJาวดjวยการเตรียมสถานที่กักตัว โดยใหjกลุJมคนที่เดินทางกลับจากประเทศไทย
มารายงานตัวตJอเจjาหนjาที่ เพื่อทำการกักตัวจำนวน 21 วัน ในกรณีที่มีผูjหลีกเลี่ยงการกัก
ตัวหรือไมJไดjแจjงเจjาหนjาที่ภายในชุมชนทราบหลังกลับจากประเทศไทย เจjาหนjาท่ี
สาธารณสุขและผูjนำชุมชนจะติดตามไปตรวจดูอาการและกักตัวบุคคลนั้นทันทีพรjอมกับกัก
ตัวทุกคนในครอบครัว กลJาวเฉาะหมูJบjานหjวยสjานไดjใชjลานขJวงพระธาตุศรีมงคล วัดศรีบุญ
เรือง หมูJที่ 3 เปgนสถานที่กักตัว โดยมีการแบJงโซนระหวJางเจjาหนjาที่และผูjถูกกักตัว รวมถึง

การประชุมวชิ าการพระพทุ ธศาสนาและศลิ ปวัฒนธรรมระดบั ชาตแิ ละนานาชาตคิ รัง้ ที่ 2 479

มีการใชjเชือกฟางแบJงล¶อคหjองใหjผูjกักตัวแตJละคนไดjพักผJอน และมีเจjาหนjาที่คอยตรวจวัด
อุณภูมิและติดตามดูพฤติกรรมอาการอยJางใกลjชิดทุกวัน เมื่อครบจำนวนวันของการกักตัว
แลjวทางสาธารณสุขหมูJบjานจะมีใบรับรองผJานการกักตัวตามมาตรการเฝnาระวังการติดเชื้อ
ไวรัสโคโรนา

4) การปïดเสjนทางการสัญจรบางแหJงภายในหมูJบjานเพื่อจำกัดเสjนทางใหj
สะดวกตJอการตรวจคัดกรอง โดยหมูJบjานหjวยสjาน หมูJ 4 ชุมชนวัดปùาเลไลยqไดjปïดชJอง
ทางเขjาหมูJบjานทั้งหมดใหjเหลือเสjนทางหลัก เทJานั้น โดยนำไมjไผJขนาดใหญJพาดขวาง
ทางเขjาหมูJบjาน และติดปnายแจjงเตือนหjามใชjเสjนทางนี้ในการเดินทางเขjา-ออกโดยไมJไดjรับ
อนุญาต เพื่อเฝnาระวังการสัญจรของบุคคลภายนอกที่เดินทางเขjาหมูJบjาน สกัดกั้นไมJใหjคน
ในชมุ ชนมกี ารติดตJอกับบคุ คลภายนอกซึ่งมคี วามเสยี่ งการตดิ เช้อื

5) การพJนยาฆJาเชื้อ เจjาหนjาที่สาธารณสุขประจำชุมชน กลุJมผูjนำชุมชน
และอาสาสมัครภายในหมูJบjานไดjรJวมมือกันจัดเตรียมรถบรรทุกน้ำพJนยาฆJาเชื้อตามจุดที่มี
ผคูj นพบปะและรวมตวั กัน เชนJ ตลาด ราj นคjา ศาลาประจำหมูบJ jาน โรงเรียน วดั เปgนตjน

2.2 การปรับตัว ในทJามกลางวิกฤตการณqการแพรJระบาด ทำใหjชาวไทยวนมี
การปรับตัวรูปแบบวิถีชีวิตที่ปรับเปลี่ยนแตกตJางไปจากเดิมอยJางระมัดระวัง ตั้งแตJสภาพ
การเปgนอยูJ การปnองกันตนเอง การติดตJอสื่อสาร การมีปฏิสัมพันธqกับผูjอื่น การทำกิจกรรม
รJวมทางสังคม เปgนตjน ทั้งนี้มาตรการจากกระทรวงสาธารณสุขและกีฬาที่กำชับอยJาง
ใกลjชิด ทำใหjวัฒนธรรมการดำเนินชีวิตที่เคยชินเปลี่ยนไป จารีตประเพณีในชุมชนมีการ
ผJอนปรนและปรับเปลี่ยนใหjสอดคลjองกับสถานการณq ดังนั้นการปรับตัวของชุมชนไทยวน
บาj นหวj ยสjานในสถานการณแq พรรJ ะบาดมีลกั ษณะดงั นี้

1) การเวjนระยะทางสังคม (Social Distancing) เปgนหนึ่งในมาตรการท่ี
ชุมชนชาวไทยวนนำมาปฏิบัติและปรับใชj เมื่อเกิดการรวมกันของผูjคนรวมถึงการบริหาร
จัดการหลีกเลี่ยงการรวมตัวของคนของในชุมชน ซึ่งแตJเดิมชาวไทยวนมักรวมตัวทำกิจกรรม
เปgนกลุJม จากสถานการณqดังกลJาวทำใหjเกิดการปรับพฤติกรรมการรวมกลุJม โดยเนjนการเวjน
ระยะหาJ งทางกายภาพ ท้ังนพ้ี บวJามกี ิจกรรมตาJ งๆ ทยี่ ดึ หลกั การของการเวjนระยะหJางดังนี้

480 การประชมุ วชิ าการพระพุทธศาสนาและศลิ ปวัฒนธรรมระดบั ชาติและนานาชาตคิ รง้ั ท่ี 2

1.1) การประชุม เมื่อมีกิจกรรมประชุมใหญJ ณ ศาลารJวมน้ำใจบjาน
หjวยสjาน มีการจัดเตรียมสถานที่ใหjโปรJงโลJง จัดเกjาอี้สำหรับผูjเขjารJวมประชุมใหjมีระยะหJาง
6 ฟตุ ทกุ หมJูบjานสJงตวั แทนเขาj รJวมประชุม ลดการพบปะแบบสมั ผสั ใกลjชิดของผูคj น

1.2) กิจกรรมทางพระพุทธศาสนา มีการจัดพื้นที่ใหjผูjเขjารJวมทำบุญในวัน
พระ น่งั เวjนระยะหJางกัน 6 ฟุต หลีกเลยี่ งการนง่ั เปนg กลJุมและการตั้งวงสนทนาใกลjชิด

1.3) การจัดการหjองเรียน หลังจากกระทรวงสาธารณสุขและกีฬาผJอน
ปรนใหjสามารถจัดกิจกรรมการเรียนการสอนภายในโรงเรียนไดj สาธารณสุขภายในชุมชน
และคณะครูไดjรJวมกันจัดโต¶ะเกjาอี้ภายในหjองเรียนใหjมีระยะหJางเพิ่มมากขึ้นเพื่อใหjนักเรียน
นั่ง รวมถึงการจัดกิจกรรมกลางแจjงหลีกเลี่ยงการสัมผัสใกลjชิดและทำกิจกรรมกลุJมอัน
กJอใหjเกิดการสัมผัสใกลjชิดกัน ทั้งนี้หลังจากเกิดการระบาดระลอกที่ 2 ชJวงตjนเดือน
กันยายน กระทรวงสาธารณสุขและกีฬาไดjประกาศปïดสถานศึกษาชั่วคราว ทำใหjโรงเรียน
บjานหวj ยสาj นปดï ทำการเรียนการสอนชัว่ คราวไปดวj ย

2) การสวมหนjากากอนามัยหรือใสJผjาปïดจมูกอนามัย เปgนมาตรการจากทาง
กระทรวงสาธารณสุขและกีฬา มีผลบังคับใหjใชjการสวมหนjากากหรือใชjผjาปïดจมูกเวลา
เดินทางไปในสถานที่ที่มีคนแนJนหนาพลุกพลJาน ทำใหjชาวไทยวนใชjผjาปïดจมูกเมื่อเดินทาง
ออกจากบjาน จากการสัมภาษณqจะเห็นไดjวJา แมjการใชjผjาปïดจมูกจะทำใหjการหายใจ
ลำบากในกลุJมผูjสูงวัย ทวJาในชJวงสถานการณqที่สุJมเสี่ยงเชJนนี้ ผูjสูงอายุกลับเลือกใชjผjาปïด
จมูกเพื่อปnองกันตนเอง นอกจากนี้ภายในชุมชนมีการรณรงคqการสวมหนjากากอนามัยหรือ
ใสJผjาปïดจมูกดjวยการประชาสัมพันธqผJานเครื่องกระจายเสียงและปnายประชาสัมพันธqใหj
ความรูjอยJางตJอเนื่อง (สัมภาษณq นายสมยศ ป{นทา บjานหjวยสjาน, นายรำพัน ป{ญญากาศ,
9 มีนาคม 2560. นายเงนิ ยอดเรอื น 10 มีนาคม 2563)

3) การปฏิบัติตนเขjารับการคัดกรองตามสถานที่สำคัญภายในหมูJบjาน เมื่อมี
การทำกิจกรรมรJวมทางสังคมตามสถานที่ตJางๆ ภายในชุมชน เชJน การทำบุญวันพระ
งานศพ เปgนตjน จะมีเจjาหนjาท่ีสาธารณสุขประจำชุมชนและผูjนำชุมชนจัดเตรียมจุดคัดกรอง
ประจำประตูทางเขjาวัดหรือบริเวณงาน โดยชาวไทยวนจะใหjความรJวมมือและปฏิบัติตนตาม
คำแนะนำอยJางเครJงครัด ทั้งการลงชื่อ การวัดอุณหภูมิ การยืนหรือนั่งที่เวjนระยะหJางกัน และ
การลาj งมอื ดวj ยนำ้ ยาฆาJ เช้ือโรค สบJู และเจลลาj งมือ ตามจดุ ทีไ่ ดจj ัดเตรยี มไวj

การประชุมวิชาการพระพทุ ธศาสนาและศลิ ปวัฒนธรรมระดบั ชาตแิ ละนานาชาติครั้งท่ี 2 481

4) การปรับเปลี่ยนรูปแบบประเพณีพิธีกรรมและกิจกรรมสำคัญภายใน
ชุมชน การแพรJระบาดของไวรัสโคโรนา (COVID-19) ในระยะแรกของพมJาอยูJในชJวงเดือน
มีนาคม-เมษายน ทำใหjประเพณีพิธีกรรมบางอยJางตjองงดจัดกิจกรรมหรือเลื่อนออกไป
นอกจากจะเปgนกิจกรรมสำคัญตjองแจjงตJอเจjาหนjาที่รัฐและขออนุญาตใหjผูjเขjารJวมงานไมJ
เกิน 30 คน อยJางไรก็ตามประเพณีพิธีกรรมบางอยJางมีการรวบรัด กระชับขั้นตอนมากขึ้น
ดังเชJนประเพณีปอยขjาวสังฆqเพื่อทำบุญอุทิศใหjแกJผูjลJวงลับ แตJเดิมประเพณีดังกลJาวมี
ผูjเขjารJวมจำนวนมาก มีการจัดสังสรรคq จัดเวทีแสดงความบันเทิง พรjอมกับเชิญเครือญาติ
ทั้งในและนอกชุมชนมารJวมงาน ซึ่งใชjระยะเวลาจัดงาน 2 วัน คือวันดาหรือวันจัดเตรียม
สิ่งของสำหรับถวายทาน และวันประกอบพิธีถวายทาน นอกจากนี้ยังนิมนตqพระสงฆqภายใน
ชุมชนมารับไทยทานเพื่ออุทิศถวายใหjแกJผูjลJวงลับ หลังจากเกิดสถานการณqการแพรJระบาด
ของโคโรนJาไวรัสภายในประเทศขึ้น ทำใหjเกิดการปรับเปลี่ยนการจัดพิธีกรรมโดยเนjน
องคqประกอบและลำดับขั้นตอนสำคัญในพิธีกรรม คือการจัดเตรียมเครื่องไทยทานตามคติ
ทjองถิ่น และเชิญเฉพาะเครือญาติที่อยJูบjานใกลjเรือนเคียงเทJานั้น แตJบางครอบครัวไดjงด
การจดั กิจกรรมทำบญุ ดงั กลาJ วโดยเลื่อนจัดในปถõ ัดไปแทน

ดังนั้น แรกเริ่มการปรับตัวในวิกฤตการณqการแพรJระบาดของไวรัสโคโรนา
(COVID-19) ที่กำลังปะทุภายในประเทศ ความหวาดกลัวตJอภัยที่เกิดขึ้นประกอบกับ
มาตรการจากรัฐที่บังคับ ทำใหjชาวไทยวนไดปj รับตัวการใชjชีวิตรูปแบบใหมJที่มวี ิธีการปฏิบัติ
อยJางเครJงครัด เสมือนเปgนเครื่องมือปnองกันภัยคุกคามทางสุขภาพอยJางรูjเทJาทัน คลาย
ความรูjสึกเชิงลบทางใจ และสามารถใชjชีวิตไดjอยJางปกติสุขในสถานการณqวิกฤตินี้ไดjเปgน
อยาJ งดี

3) พระพุทธศาสนา ความเชื่อพื้นถิ่น และองคMกรจากรัฐมีบทบาทในการ
เยยี วยาชว: ยเหลอื ดาi นความเปนm อยแู: ละสภาพจติ ใจ

3.1 บทบาทพระพุทธศาสนา และความเชื่อพื้นถิ่น ชาวไทยวนเมืองเมียวดี
นับถือพระพุทธศาสนาเปgนหลัก แตJทวJามีลักษณะการนับถือแบบจารีตลjานนาที่มีลักษณะ
แตกตJางไปจากชาติพันธุqอื่นในพื้นที่ กลJาวคือการใหjความสำคัญกับประเพณีพิธีกรรมแบบ
ชาวลjานนา ภาคเหนือของประเทศไทย ซึ่งมีลักษณะสอดคลjองกับระบบความเชื่อเดิมที่มี
การสืบทอดมาจากบรรพบุรุษชาวลjานนา อยJางไรก็ตามเมื่อเกิดการแพรJระบาดของไวรัสโค

482 การประชุมวชิ าการพระพุทธศาสนาและศลิ ปวัฒนธรรมระดับชาตแิ ละนานาชาตคิ รงั้ ท่ี 2

โรนา (COVID-19) พระสงฆqในฐานะผูjนำทางจิตวิญญาณมีบทบาทสำคัญตJอการสงเคราะหq
สรjางขวัญกำลังใจ และเยียวยาสภาพจิตใจ ทั้งนี้สื่อพิธีกรรมทางความเชื่อเปgนหนึ่งใน
เครื่องมือท่ีชJวยสรjางภูมิคjุมกันทางจิตใจและหลอมรวมพลังความเปgนป®กแผJนตJอการเผชิญ
ป{ญหา เอมิล เดอไคมq นักสังคมวิทยา มองวJาพิธีกรรมเสมือนอัตลักษณqรJวมทางสังคม และ
สื่อพิธีกรรมประกอบการเสนอเนื้อสาสqน (cognitive aspect) และพลังทางอารมณq
(emotive aspect) (อภิญญา เฟ©óองฟูสกุล, 2561 : 26-27) เชJนเดียวกับกรณีของชาวไทย
วน เมืองเมียวดี ไดjใชjสื่อพิธีกรรมความเชื่อทางพระพุทธศาสนาเพื่อเยียวยาทางจิตใจ
ดังพบวJาในชJวงแรกของการแพรJระบาดของไวรัสโคโรนา (COVID-19) มีการประกอบ
พิธีกรรมป{ดเปùาโรคภัยขจัดสิ่งอัปมงคลตามความเชื่อแบบพุทธศาสนาทjองถิ่น เพ่ือตJอรอง
กับอำนาจเหนือธรรมชาติ เชJน การประกอบพิธีกรรมสJงเคราะหq พิธีกรรมสวดเบิก เปgนตjน
พิธีกรรมดังกลJาวมีพระสงฆqเปgนผjูประกอบพิธีกรรม เชื่อวJาสามารถขจัดป{ดเปùาภัยที่เกิดจาก
การแพรJระบาดของโรคไวรัสโคโรนา (COVID-19) ใหjสูญไปจากชุมชน อันเปgนการเยียวยา
จิตใจ สรjางความเชื่อมั่น และสJงเสริมการใชjชีวิตอยJางมีสติ ทั้งนี้เมื่อดูรายละเอียดของตัว
พิธีกรรมดังกลJาวแลjวจะเห็นถึงพลังทางความเชื่อที่มีสJวนสำคัญตJอการเยียวยาจิตใจของ
ชาวไทยวนในสถานการณทq วี่ กิ ฤตนิ ้ี

พิธีกรรมสวดเบิก เปgนพิธีกรรมที่ชุมชนไทยวนนิยมจัดในชJวงสงกรานตq
โดยนมิ นตqพระสงฆq 5 รูป สวดบทพุทธมนตรq Jายเปนg ทJวงทำนองลาj นนา บริเวณถนนทางสาม
แพรJงในชุมชน เชื่อวJาจักขจัดป{ดเคราะหqเภทภัยหรือสิ่งอัปมงคลใหjหJางหายไปจากชุมชน
แตJกระนั้นการประกอบพิธีกรรมสวดเบิกไดjถูกหยิบยกขึ้นมาอีกครั้งสำหรับตJอรองกับภัย
คุกคามของการแพรJระบาดไวรัสโคโรนา (COVID-19) โดยทางชุมชนประกอบดjวย
พระสงฆq ผูjใหญJบjาน และปราชญqชุมชน ตJางรJวมกันปรึกษาหาวิธีการคุjมกันภัยคุกคามที่จับ
ตjองไมJไดj ดjวยการประกอบพิธีกรรมสวดเบิกตามถนนทางสามแพรJงที่เปgนจุดสัญจรสำคัญ
เครื่องประกอบพิธีกรรม ไดjแกJ ขันครู บาตรน้ำมนตq ทราย เฉลว (ตาแหลว) และดjาย
สายสิญจนq เมื่อพระสงฆqสวดเบิกแลjวประพรมน้ำมนตqและผูกขjอมือ ชาวบjานนำเฉลวไปผูก
ติดกับดjานบนของประตูทางเขjาบjานหรือประตูเรือน และนำทรายไปโปรยรอบบริเวณบjาน
ทั้งนั้นเมื่อวิเคราะหqเนื้อสาสนq (cognitive aspect) จะเห็นไดjวJา บทสวดพุทธมนตqเปgน
ใจความสำคัญ และแงJมุมของพลังทางอารมณq (emotive aspect) ตัวพิธีกรรมเปgนสื่อ

การประชุมวชิ าการพระพทุ ธศาสนาและศิลปวัฒนธรรมระดบั ชาติและนานาชาติครง้ั ท่ี 2 483

สัญลักษณqที่มีความหมายสรjางความรูjสึกปลอดภัย การปกปnองคุjมครองดjวยบรรยากาศของ
พิธีกรรมศักดิ์สิทธิ์ แมjในการประกอบพิธีกรรมในบริบทสงั คมสมัยใหมJอาจดูเปgนสิ่งที่ลjาสมัย
ไมJสอดคลjองกับความรูjสมัยใหมJ แตJทวJาในสถานการณqที่สุJมเสี่ยงและเต็มไปดjวยความ
หวาดกลัว พระสงฆqและชาวบjานเลือกที่จะใชjพิธีกรรมอันเปgนภูมิป{ญญาบรรพชนและเปgน
สื่อที่จับตjองไดjชJวยผJอนคลายความวิตกกังวลใหjเบาบางลง สอดคลjองกับแนวคิดบทบาท
หนjาที่ของสื่อพิธีกรรม (กาญจนา แกjวเทพ, 2560 : 299-303) ที่ระบุวJาพิธีกรรมมีหนjาที่
สรjางความอบอุJนทางจิตใจ อีกทั้งยังทำหนjาที่ปลอบขวัญคลายความวิตกกังวลดังเชJนกรณี
พธิ ีสวดเบิกดังกลาJ ว

3.2 บทบาทองคMกรจากรัฐบาลพม:า กระทรวงสาธารณสุขและกีฬาใหj
ความสำคัญและติดตามสถานการณqที่เกิดขึ้นภายในประเทศอยJางใกลjชิด มีการกระจายขJาว
และใหjความรูjในมาตรการการปnองกันผJานทางระบบสื่อออนไลนq ทั้งนี้พมJามีประชากรแตJ
ละรัฐหลากหลายชาติพันธุq ประกอบกับถิ่นฐานและภูมิประเทศแตJละพื้นที่แตกตJางกัน
ทำใหjการกระจายขjอมูลขJาวสาร มาตรการเยียวยาชJวยเหลือ และสิทธิเขjารับการรักษา
ระหวJางชุมชนเขตเมืองกับชุมชนชนบทมีความลJาชjา ขาดแคลนอุปกรณqการแพทยqสำหรับ
ปnองกัน สJวนชุมชนไทยวนซึ่งตั้งอยูJเขตชายแดนไทย-พมJา ไดjรับการชJวยเหลือจากรัฐบาล
พมJา ประกอบดjวย 1) รัฐจัดสรรงบประมาณเยียวยาครอบครัวที่มีรายไดjนjอยแลjวไดjรับ
ผลกระทบจากสถานการณqการแพรJระบาดของไวรัสโคโรนา (COVID-19) ครอบครัวละ
30,000 จ¶าด 2) รัฐสนับสนุนอุปกรณqการแพทยqเบื้องตjนใหjกับสาธารณสุขประจำชุมชน
เชนJ หนาj กากอนามยั เจลลjางมอื นำ้ ยาฆJาเช้ือ เปนg ตjน

4. แนวทางการดำเนินวิถีชีวิตแบบใหม: (New Normal) จากการ
ปรบั เปลยี่ นพฤติกรรมภายใตiวกิ ฤตการณกM ารแพร:ระบาดของไวรัสโคโรนา (COVID-19)

1. การปฏิบัติตามแนวทางการเวjนระยะหJางทางสังคม Social Distancing ใหj
เขjมงวดมากขึ้น โดยเวjนระยะหJางทางกายภาพ เมื่อมีความจำเปgนในการรวมกลุJมทำ
กิจกรรมทางสังคม สรjางความตระหนักรูjและความเขjาใจปฏิบัติการอยJางเขjมงวดและถูกวิธี
เพื่อยับยงั้ การแพรJระบาดของไวรสั โคโรนา (COVID-19) ในระลอกท่ี 2

2. ผูjนำชุมชน ตัวแทนชาวบjาน และสาธารณสุข รJวมกันประชุมหารือเรื่อง
สถานการณqการแพรJระบาดของไวรัสโคโรนา (COVID-19) อยJางตJอเนื่อง สัปดาหqละ 2-3

484 การประชุมวิชาการพระพุทธศาสนาและศลิ ปวัฒนธรรมระดับชาติและนานาชาติคร้งั ท่ี 2

ครั้ง เพื่อรายงานสถานการณqภายในชุมชน พรjอมกับติดตามและเฝnาระวังการอพยพ
หลบหนีขjามพรมแดนของแรงงานชาวไทยวน กะเหรี่ยง พมJา อยJางใกลjชิด รวมถึงเขjารับฟ{ง
มาตรการสำคัญจากกระทรวงสาธารณสุขและกีฬา และรJวมกันระดมความคิดจัดการป{ญหา
และควบคุมปnองกนั ภายในชุมชน

3. การจัดตั้งกลุJมจิตอาสาชาวไทยวนภายในชุมชน เพื่อเตรียมความพรjอม
รับมือเฝnาระวังสถานการณqการแพรJระบาดของไวรัสโคโรนา (COVID-19) ดjวยการสอดสJอง
ดูแลการเดินทางเขjามาในชุมชนของบุคคลภายนอก กลุJมจิตอาสาผลัดเปลี่ยนเวรประจำ
ดJานในหมูJบjานเพื่อคัดกรอง และจัดชุดปฏิบัติการประจำจุดคัดกรองสถานท่ีท่ีมีกิจกรรม
ภายในชุมชน รวมถึงการออกตรวจสอบสถานที่ตJางๆ วJามีการปฏิบัติตามมาตรการปnองกัน
ตามที่กระทรวงสาธารณสุขและกีฬากำหนดหรือไมJ นอกจากนั้นยังแนะนำวิธีการปฏิบัติที่
ถูกตjอง สรjางความตระหนักรูjตJอภัยของไวรัสโคโรนา (COVID-19) และสังเกตตรวจสอบผjูท่ี
มีอาการเจ็บปùวย พรjอมกับประสานงานกับสาธารณสุขประจำชุมชนเพื่ออำนวยความ
สะดวกแกJผูjปùวยและผูjไดรj ับผลกระทบของการแพรJระบาดทันที

4. การใชjสื่อรณรงคqการปฏิบัติตนใหjถูกตjอง โดยจำแนก 2 ประเภทคือ 1) ส่ือ
ออนไลนq โดยกลุJมผูjนำชุมชน ชาวบjาน และสาธารณสุขประจำชุมชน ใชjชJองทางเครือขJาย
ออนไลนq เชJน Facebook Line เปgนตjน กระจายขjอมูลขJาวสถานการณqของไวรัสโคโรนา
(COVID-19) และมาตรการการปฏิบัติที่ถูกตjอง จากเพจกระทรวงสาธารณสุขและกีฬา
และเพจที่เกี่ยวขjอง เพื่อรับรูj ทำความเขjาใจ และเฝnาระวังสถานการณqอยJางใกลjชิด 2) ส่ือ
ปnายรณรงคqใหjความรูjและการปฏิบัติตนอยJางถูกวิธี เชJน ปnายรณรงคqการเวjนระยะหJางทาง
สังคมในสถานที่สำคัญ ปnายบังคับการสวมหนjากากอนามัยเมื่อเขjาตลาดหรือในสถานที่ที่มี
ผูjคนรวมตวั กนั แนนJ หนา เปนg ตjน

5. การรวบรัดขั้นตอนการประกอบพิธีกรรมทางศาสนาใหjสอดคลjองกับ
สถานการณq เชJน พิธฌี าปนกจิ ศพ การทำบุญข้นึ บjานใหมJ การแตงJ งาน เปgนตjน

6. ลดชอJ งทางการตดิ ตJอแบบเผชญิ หนjา ใชชj Jองทางส่ือสารทางออนไลนqแทน
7. สJงเสริมใหjวัดภายในชุมชนเปgนสถานที่ตjนแบบในการปฏิบัติตามมาตรการ
ปnองการแพรJระบาดอยJางถูกวิธีและเครJงครัด ตั้งแตJการเตรียมจุดคัดกรองประจำทางเขjาวัด

การประชมุ วิชาการพระพุทธศาสนาและศิลปวฒั นธรรมระดับชาติและนานาชาติครง้ั ที่ 2 485

จุดลjางมือ การยืนและนั่งที่เวjนระยะหJางในชJวงเวลาประกอบพิธีทางศาสนา เพื่อใหjเกิดการ
กระทำซ้ำแลวj ปรบั เปล่ยี นพฤติกรรมท่ีไมJคนุj ชินใหjเคยชินตอJ ไป

สรปุ

บทความนี้ไดjนำเสนอภาพรวมสถานการณqการแพรรJ ะบาดและการปอn งกันไวรสั
โคโรนา (COVID-19) ของชาวไทยวน เมืองเมียวดี รัฐกะเหรี่ยง สาธารณรัฐแหJงสหภาพ
เมียนมา ในสถานการณqป{จจุบันที่ปรากฏแสดงขึ้น ปรากฏการณqดังกลJาวเปgนบททดสอบ
สำคัญตJอการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของชาวไทยวน เมื่อเกิดวิกฤตการณqขึ้นชาวไทยวนเลือก
ที่จะปฏิบัติปnองกันรักษาตนเอง ดjวยการออบแบบแนวทางการปฏิบัติตนใหjสอดคลjองกับ
สภาพแวดลjอมบริบททางสังคมของตน โดยปฏิบัติตามมาตรการจากกระทรวงสาธารณสุข
และกีฬาของประเทศเมียนมา และชุมชนเลือกสรรวิธีการปฏิบัติเองดjวยการใชjองคqความรูj
ภูมิป{ญญาและวัฒนธรรมสำหรับควบคุม ยับยั้งและสกดั กั้นจัดการการแพรJระบาดของไวรัส
โคโรนา (COVID-19) ดjวยการทำงานอยJางแข็งขันของผูjนำชุมชนและสาธารณสุขประจำ
หมูJบjาน การรJวมมือจากชาวบjาน รวมทั้งพระสงฆqทำหนjาท่ีสงเคราะหqฟ©≠นฟูเยียวยาสภาพ
จิตใจใหjมีภูมิคุjมกันและความปกติสุข ดังนั้น การขับเคลื่อนแบบองคาพยพไดjสรjางพลังทาง
สังคมของชาวไทยวนตJอวกิ ฤตการณใq นครง้ั น้ี

บรรณานกุ รม

กระทรวงสาธารณสุข. (2563). แนวทางปฏิบัติดjานสาธารณสุข เพื่อการจัดการภาวะระบาดของ
โรคโควิด-19 ในขjอกำหนดออกตามความในมาตรา 9 แหJงพระราชกำหนดการบริหาร
ราชการในสถานการณqฉุกเฉนิ พ.ศ.2548 (ฉบบั ที่1). (ม.ป.ท.)

กาญจนา แกjวเทพ. (2560). เครื่องมือทำงานวัฒนธรรมชุมชนและสื่อพิธีกรรมศึกษา.
พมิ พqคร้งั ที่ 2. กรุงเทพฯ : ศูนยมq านษุ ยวิทยาสริ นิ ธร (องคqการมหาชน).

คำสั่งจังหวัดตาก ที่ 686/2563. (2563). เรื่อง การระงับการเดินทางเขjา-ออกของบุคคล
ยานพาหนะ ส่งิ ของ ณ จุดผาJ นแดนถาวร จดุ ผJอนปรนการคาj และชJองทางอน่ื ๆ

486 การประชุมวชิ าการพระพุทธศาสนาและศิลปวัฒนธรรมระดับชาตแิ ละนานาชาติคร้ังที่ 2

ตลอดแนวชายแดนจังหวัดตากเปgนการชั่วคราว. สืบคjน 5 กันยายน 2563,
http://bpp3nas.myqnapcloud.com:81/qr/ upload/630710020626.pdf.
จักรกริช สังขมณี. (2551). พรมแดนศึกษา และมานุษยวิทยาชายแดน : การเปïดพื้นที่สรjาง
เขตแดน และการขjามพรมแดนของความรj.ู สงั คมศาสตร,q 20(2), 218.
นายเงิน ยอดเรือน, บjานหjวยสjาน หมูJ 4 เมืองเมียวดี รัฐกะเหรี่ยง สาธารณรัฐแหJงสหภาพ
เมยี นมา, 10 มนี าคม 2563
นายรำพนั ปญ{ ญากาศ ผใูj หญJบาj นหมูJ 4 บาj นหวj ยสjาน เมอื งเมยี วดี รฐั กะเหรย่ี ง สาธารณรัฐ
แหJงสหภาพเมยี นมา, 9 มีนาคม 2560.
นายสมยศ ป{นทา กำนันบjานหjวยสjาน เมืองเมียวดี รัฐกะเหรี่ยง สาธารณรัฐแหJงสหภาพ
เมยี นมา, 9 มีนาคม 2560.
ปรีดา แตjอารักษq. )2563). แนวทางจัดวงปรึกษาการือรวมพลังพลเมืองตื่นรูj ชJวยชาติสูjภัย
โควิด-19 ระยะฟ©≠นฟูคุณภาพชีวิต. นนทบุรี : สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพ
แหงJ ชาติ (สช.).
พระนคร ป{ญญาวชิโรและคณะ. 2562. การธำรงอัตลักษณqทางวัฒนธรรมของชาวไทยวน
เมืองเมียวดี รัฐกะเหรี่ยง สาธารณรัฐแหJงสหภาพเมียนมา. รายงานวิจัย. กรม
สJงเสรมิ วัฒนธรรม.
พนั ธชq ัย รตั นสวุ รรณ. (2561). ตำราระบาดวิทยา. สำนกั วชิ าแพทยศาสตรq มหาวิทยาลยั วลยั ลกั ษณ.q
เสาวณี จันทะพงษq และคณะ. (2563). COVID-19: Social Distancing และคลื่นอพยพ
ของประชากรจากมิติสังคมวิทยา : พลังไทย “อยูJบjาน หยุดเชื้อ เพื้อชาติ”.
สืบคjน 9 กันยายน 2563, https:// www.bot.or.th/Thai/ResearchAndPublications/
articles/Pages/Article_31Mar2020.asp
อภิญญา เฟ©óองฟูสกุล. (2561). อัตลักษณM : การทบทวนทฤษฎีและกรอบแนวคิด. พิมพq
ครั้งที่ 2. เชียงใหมJ : ภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา คณะสังคมศาสตรq
มหาวิทยาลัยเชียงใหมJ.

การประชุมวิชาการพระพุทธศาสนาและศิลปวฒั นธรรมระดับชาติและนานาชาติคร้งั ที่ 2 487

Ministry of Health and Sports, Myanmar. ( 2 5 6 3 ) . COVID- 1 9
ေရာဂါေစာင*့် ကပ်*ကည့်./မ/1င2 ပ့် တ်သက်၍ သတငး် ထ8တ်ြပနြ် ခငး် . สืบคjน 5
กันยายน 2563, จากhttp://www.informationcommittee.gov.mm/covid-
1 9 myanmar/ ministry- health - and- sport/ covid- 1 9 - reaag-
ceaangkpknnyrumunngpttskr-sttngthuttpnkhng-23-3-2020-1145.

Ministry of Health and Sports, Myanmar. ( 2 5 6 3 )

ကျန်းမာေရး12င့်အားကစား၀န်?ကီးဌာနက အမိန်အ့ မ2တ်၊ ၉၇ /၂၀၂၀ အား

ယေနရ့ က်စွဲြဖင့် ထ8တ်ြပန် ြပည်ေထာငစ် 8သမKတြမနမ် ာန. สืบคjน 5 กันยายน
2 5 6 3 , http: / / www. informationcommittee . gov. mm/ covid-
19myanmar/ ministry- health- and- sports/ knmaarenngaaakcaa0
nkiitthaank-aminamtt-97-2020-aaa -ynerkcaiphng-thuttpn.

488 การประชมุ วชิ าการพระพุทธศาสนาและศิลปวัฒนธรรมระดบั ชาตแิ ละนานาชาตคิ รั้งที่ 2



หลกั พทุ ธศาสนากับการแก้ไขปัญหาความรนุ แรงในเดก็ เยาวชน

The Buddhist Doctrine for the Solution of Juvenile Violence

วรี ธรรม ปญั จขนั ท,์
ประเสรฐิ บปุ ผาสกุ

Weeratham Phunjakhan, Prasert Buppasuk

มหาวิทยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลัย วิทยาเขตเชยี งใหม่
Mahachulalongkornrajavidyalaya University Chiang Mai Campus

Email: [email protected]

บทคัดยอ่

จากสถานการณ์ความรุนแรงในเด็กและเยาวชนที่พบเห็นได้จากแหล่งข้อมูล
ข่าวสาร สื่อออนไลน์ในปัจจุบัน คือหนึ่งในส่ิงที่ย้ำเตือนให้สามารถตระหนักได้ว่า ณ
ปัจจุบันปัญหาความรุนแรงที่เกิดขึ้นในเด็กและเยาวชนกำลังทวีความรุนแรงมากขึ้น และ
เกิดขึ้นบ่อยครั้ง (ทั้งความรุนแรงที่เกิดขึ้นกับเด็ก หรือเป็นความรุนแรงที่เด็กเป็นผู้กระทำ)
ซึ่งปัญหานั้นจะก่อให้เกิดผลกระทบแก่สังคมในวงกว้าง โดยแนวทางในการแก้ไขปัญหาเรา
สามารถที่จะนำหลักคำสอนทางพุทธศาสนาที่มีอยู่มากมายมาใช้ในการระงับและจัดการกับ
ปัญหาความรุนแรงในเด็กและเยาวชนนี้ได้ เนื่องจากศาสนาพุทธนั้นมีหลักคำสอนที่มีความ
สอดคล้องและเหมาะสมกับบริบทของประเทศไทย ด้วยความที่ศาสนาพุทธเป็นศาสนาที่
ดำรงอยู่คู่กับประเทศไทยมาอย่างยาวนาน และเพื่อให้หลักคำสอนนั้นมีความเหมาะสมกับ
สถานการณ์ความเป็นปัจจุบันและเหมาะสมกับเด็กและเยาวชน ที่จะสามารถทำความ
เข้าใจในหลักคำสอนนั้นได้ จึงจำเป็นที่จะต้องมีการประยุกต์หลักธรรมให้มีความเหมาะสม
กับยคุ สมัย และสามารถนำไปใช้ไดจ้ ริง เหมาะสม และมปี ระสิทธผิ ล

คำสำคัญ : ความรนุ แรงในเด็กและเยาวชน, การแกไ้ ขปัญหา, หลกั พระพทุ ธศาสนา

การประชมุ วชิ าการพระพทุ ธศาสนาและศลิ ปวฒั นธรรมระดบั ชาตแิ ละนานาชาตคิ รงั้ ที่ 2 489



Abstract

Violence situation in children and youth that we can see from
the news or online social. Is reminds us to be aware in increasingly of
the violence, and frequent occurrence. (Including violence against children or
from children.) Violence in children and youth has made the big impact on
society. Buddhist principles can be used to suspend and manage violence
problem in children and youth. Many Buddhist principles are consistent and
contextual with Thai country, and exist with Thailand for a long time. For
suitability of Buddhist principles for nowadays and easy to understanding of
children. Principles must be contemporary with present, have able to use
and have real effective.

Keywords: Violence in Children and Youth, Solution, Buddhist Principles

บทนำ

ปัญหาความรุนแรงของเยาวชนเกิดจากหลายสาเหตุ ซึ่งมักพบว่า การเลี้ยงดูของ
พ่อแม่ การแข่งขันสูงทางด้านการศึกษา การมุ่งเน้นด้านรายได้ ด้านเศรษฐกิจและค่านิยมที่
เปลี่ยนไปทำให้เกิดปัญหาความรุนแรงในสังคมไทย ซึ่งเด็กแต่ละคนมีพื้นฐานทางอารมณ์ท่ี
แตกต่างกัน เด็กบางคนอารมณ์ดี สนุกสนาน ร่าเริงด้วยตัวพื้นฐานของเขาเอง เด็กบางคน
หงุดหงิดง่าย ไม่ว่าจะเกิดจากยีนของเขา หรืออาจจะเกี่ยวข้องกับการพัฒนาสมองของเด็ก
ตั้งแต่อยู่ในครรภ์ เพราะคุณแม่ที่มีความเครียดระหว่างตั้งครรภ์ ส่งผลให้ลูกที่เกิดมามี
อารมณ์หงุดหงิดง่าย ทำให้เป็นพิษต่อเซลล์ประสาทและเซลล์สมองไม่ปกติ ควบคุมอารมณ์
ไม่ค่อยได้ นอกจากนี้ แม่ที่มีภาวะแทรกซ้อนอย่างเช่น ภาวะแท้งคุกคาม มีเลือดออก ครรภ์
เป็นพิษ คลอดเด็กก่อนกำหนด หรือแม่ที่สูบบุหรี่ ดื่มเหล้านั้น มีผลต่อการพัฒนาสมองของ
ทารกในครรภ์ทำให้เดก็ เป็นโรคสมาธิสัน้ และมีความสามารถในการควบคุมตนเองบกพร่อง

490 การประชุมวชิ าการพระพุทธศาสนาและศิลปวฒั นธรรมระดับชาตแิ ละนานาชาติครง้ั ท่ี 2



ปัญหาสังคมในปัจจุบัน หากมองในแง่ของการแก้ไขปัญหา ก็คงจะมีผู้ใหญ่ ผู้มี
อำนาจในการแก้ไข รวมไปถึงหน่วยงานหรือองค์กรที่ทำหน้าที่แก้ไขเป็นจำนวนมากอยู่แล้ว
แต่หากมองปัญหาสังคมที่เกิดขึ้นให้ลงลึกไปอีกนั้น เราจะพบว่า การแก้ไขปัญหาอาจเป็น
การปรับเปลี่ยนเพียงชั่วครั้งชั่วคราว หรือเป็นการแก้ไขที่ปลายเหตุมากกว่า ในกลุ่มเด็กและ
วัยรุ่น ซึ่งเป็นสังคมส่วนใหญ่ในปัจจุบันที่ต้องการการดูแลและเข้าใจมากที่สุด กลับเป็นกลุ่ม
ที่พบปัญหาและแก้ไขปัญหาได้ยากที่สุด โดยเฉพาะ “ปัญหาความรุนแรง” ท่เี กิดขึน้ ปัญหา
ท่มี าพรอ้ มกบั การแกไ้ ข ปญั หาท่ีมาพรอ้ มกับความคาดหวังของพอ่ แม่รวมท้ังคนในสังคม

ความหมายของคำวา่ “รุนแรง” ตามหลกั พุทธศาสนา
ความรุนแรง หมายถึง การประทุษร้ายทางร่างกาย วาจา และจิตใจ ทั้งที่เกิดแก่
ตนเองและผู้อื่น ที่ผลนั้นคือความทุกข์และความเดือดร้อน ซึ่งตามความหมายในพุทธ
ปรัชญาที่ปรากฏอยู่ในพจนานุกรมพุทธศาสน์ก็จะมีคำอยู่หลายคำที่สามารถนำมาใช้แทน
ความหมายของความรุนแรงนี้ได้ เช่น โกรธ ที่หมายถึง ความโกรธ การแสดงกิริยาที่เห็น
เป็นความโกรธ ภาวะที่โกรธ โทสะ ความดุร้าย ความเกรี้ยวกราด, อุปหานะ หมายถึง
ความผูกโกรธ กิริยาที่ผูกโกรธ การไม่หยุดโกรธ หรือการดำรงซึ่งความโกรธนั้นไว้, พยาปาท
หมายถึง ความคิดร้าย ความคิดมุ่งทำลาย ทำร้ายผู้อื่น ไปจนถึงการทำร้ายตนเอง ซึ่งจาก
อำนาจของความพยาบาท, ปโทส หมายถึง ความประทุษร้าย ความโกรธ ความขัดเคือง
ความประสงค์รา้ ยโทษ ความผดิ หรือความเสยี หาย, วหิ ิงสา หมายถึง การเบียดเบีย การทำ
รา้ ย เป็นต้น พจนานุกรมพุทธศาสน์, (2539)
ระดับของความรนุ แรงตามหลกั พทุ ธศาสนา
ความรุนแรงตามความหมายของพุทธศาสนาจะมีการแบ่งระดับความหนักเบาที่
ต่างกัน โดยอาศัยหลักของพระธรรมและวินัยเป็นเกณฑ์ในการตัดสินความรุนแรงโดยแบ่ง
ออกเปน็ 3 ระดบั
1. ความรุนแรงอย่างเบาท่แี กไ้ ขได้ (สเตกิจฉา)
2. ความรุนแรงระดบั กลางทีแ่ ก้ไขได้แตม่ เี งอ่ื นไข (สเตกจิ ฉา) และ
3. ความรุนแรงระดบั ร้ายแรงท่ีแกไ้ ขไมไ่ ด้ (อเตกจิ ฉา)

การประชมุ วิชาการพระพทุ ธศาสนาและศิลปวัฒนธรรมระดับชาติและนานาชาตคิ รัง้ ท่ี 2 491



สถานการณ์และปัญหาทเ่ี กิดขนึ้ ในเยาวชนประเทศไทย
สถานการณ์เด็กและเยาวชนในประเทศไทยที่ประเทศกำลังเผชิญ มีปัญหาที่เกิดข้ึน
ในแต่ละด้านซึ่งจะมีความเชื่อมโยงกันจนส่งผลให้เกิดเป็นความรุนแรงในเด็กและเยาวชน
ตอ่ ไป ดังน้ี
1. การมเี พศสัมพนั ธ์กอ่ นวยั อันควร
2. การยอมรบั การคอรัปชัน
3. ความเชอ่ื ในวตั ถนุ ยิ ม
4. ระดับของสติปัญญาของเยาวชนไทยที่ต่ำกว่ามาตรฐานและขาดทักษะในการ
ดำเนนิ และ
5. การใช้ความรนุ แรงของเด็กและเยาวชน
พระมหาประเสริฐ อคฺคเตโช และคณะ (2559) ได้ทำการศึกษาถึงแนวทางการ
ประยุกต์หลักสันติธรรมเพื่อเสริมสร้างความสันติสุขของเยาวชนในโรงเรียน: กรณีศึกษา
โรงเรียนราชมนตรี (ปลื้ม-เชื่อมนุกูล) ทำให้พบว่าสภาพปัญหาความรุนแรงของสถานศึกษา
ในปัจจุบันนี้มีแนวโน้มว่าจะทวีความรุนแรงมากขึ้นเรื่อย ๆ ที่ไม่ใช่เพียงความรุนแรงท่ี
เกิดขึ้นภายในครอบครัว หากแต่ยังขยายไปสู่โรงเรียน จากเหตุที่มีเด็กและเยาวชนก่อคดี
มากขึ้นจากเหตุของพฤติกรรมการเลียนแบบความรุนแรง โดยปัญหาเหล่านี้เกิดขึ้นจาก
พัฒนาการทางอารมณ์ของวัยรุ่น ตัวอย่างพฤติกรรมของพ่อและแม่ที่ชอบใช้ความรุนแรง
ครูอาจารย์ที่ใช้อารมณ์ในการสอน มีวาจาที่รุนแรง และตัดสินปัญหาด้วยการใช้กำลัง เกมส์
ออนไลน์ที่มีเนื้อหาของความรุนแรง การชักจูงจากแฟชั่นค่านิยม ไปจนถึงการที่เด็กและ
เยาวชนนั้นห่างเหินจากคุณธรรมและจริยธรรม ด้วยเพราะสังคมในปัจจุบันเป็นสังคมที่เห็น
คณุ คา่ และใหค้ วามนิยมในวตั ถมุ ากกว่าจติ ใจ
ผลกระทบทเ่ี กิดจากความรุนแรง
พระสรวิชญ์ อภิปญฺโญ (2553) ได้กล่าวถึงผลการวิจัยที่ชี้ให้เห็นภาพรวมของ
ผลกระทบต่อวิถีชีวิตของวัยรุ่น อันเนื่องมาจากค่านิยมการบริโภคสื่อ หรือการใช้เทคโนโลยี
ของวัยรุ่นไทยในชีวิตประจำวัน ซึ่งคือสิ่งที่นำไปสู่การเกิดปัญหาความรุนแรงในเด็กและ
เยาวชนซงึ่ ก่อให้เกิดผลกระทบของความรุนแรงทเ่ี กดิ ตอ่ บุคคล ครอบครวั และสังคม ดังน้ี

492 การประชมุ วิชาการพระพุทธศาสนาและศิลปวฒั นธรรมระดบั ชาตแิ ละนานาชาตคิ รง้ั ที่ 2



1. ผลกระทบต่อบุคคล เด็กและเยาวชนถูกทำร้ายร่างกายทำให้เกิดการบาดเจ็บ
พกิ าร หรอื อาจร้ายถึงขนั้ เสยี ชวี ิตได้

2. ผลกระทบต่อครอบครัว ปัญหาความรุนแรงในเด็กและเยาวชนก่อให้เกิด
ผลกระทบแก่ครอบครัวของเด็กซึ่งอาจทำให้ครอบครัวเกิดความแตกแยก คนในครอบครัวมี
ปัญหาเร่ืองความสัมพันธภ์ ายใน

3. ผลกระทบต่อสังคม ทำให้สังคมเดือดร้อน เกิดความหวาดระแวง ขาดความสงบ
สุข ประเทศขาดความมนั่ คงและความปลอดภยั

หลักธรรมในพระพุทธศาสนาท่ีนำมาใช้เพอื่ การแก้ไขปัญหา
การนำหลักธรรมที่นำมาใช้ในการแก้ปัญหาในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถรวาท
มาเป็นเครื่องมือในการดำเนินการ โดยเริ่มที่บุคคลแต่ละคนจะต้องลงมือปฏิบัติ
กระบวนการที่ดำเนินไปภายในตัวบุคคล กระบวนการพัฒนาจะเริ่มต้นและดำเนินไปได้
ต้องอาศัยความติดต่อเกี่ยวข้องกับสภาพแวดล้อมและอิทธิพลจากภายนอกเป็นแรงผลักดัน
หรือเป็นปัจจัยก่อตัว มีจุดเริ่มต้นจากแหล่งภายนอกสู่ภายในตน เป็นการระมัดระวังความ
ประพฤติทางกาย วาจา และใจ
การแก้ไขปัญหาทุกอย่าง ควรเริ่มต้นจากการมีสติพิจารณาแก้ไขปัญหา เพื่อหยุด
การแสดงพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสมเหล่านั้นได้ อย่างเช่น การแก้ไขปัญหาการมีเพศสัมพันธ์
ก่อนวัยอันควร หลักธรรมเบื้องต้นซึ่งวัยรุ่น สามารถยึดเป็นทางออกและนำมาปฏิบัติตาม
โดยให้สอดคล้องไปกับวิถีชีวิต และเหมาะกับบทบาทหน้าที่ คือ หลักธรรมทาง
พระพุทธศาสนาที่วัยรุ่นควรนำมาใช้ป้องกันและแก้ปัญหาการ ตั้งครรภ์ในวัยรุ่น คือ หลัก
อิทธิบาท 4, หลักอบายมุขและวัฒนมุข, หลักมิตรแท้ – มิตรเทียม, หลักทิศ 6, อินทรีย์ 6
และอนิ ทรยี สงั วร
หลักการคิดที่ว่าการที่จะบรรลุถึง ความสำเร็จและงอกงาม และบรรลุถึงจุดสูงสุด
ในการพัฒนาตนเองและในการแก้ไขปัญหาต้อง คำนึงถึงเหตุปัจจัย 2 ประการคือเหตุปัจจัย
ภายใน และเหตุปัจจัยภายนอก ปัจจัยภายในได้แก่ โยนิโสมนสิการ คือการคิดหรือ
ไตร่ตรองอย่างแยบคายรอบด้าน และปัจจัยภายนอก ได้แก่ ปรโตโฆษะ หรือกัลยาณมิตร
ซึ่งหมายถึงมิตรที่ดีสังคมที่ดีตลอดจนสิ่งแวดล้อมที่ดี การนำหลักธรรมที่เกี่ยวข้องมา

การประชุมวชิ าการพระพทุ ธศาสนาและศิลปวัฒนธรรมระดบั ชาตแิ ละนานาชาติครงั้ ที่ 2 493



ประยุกต์ใช้จึงต้องมีศิลปะในการใช้ มีอุบายและรู้จักไตร่ตรองนำ หัวข้อธรรมที่เหมาะสม
ใกลเ้ คยี งกับปัญหาท่สี ุด การแกป้ ัญหาจึงจะบรรลุเปา้ หมายตามทีต่ ง้ั ไว้

วิธกี ารระงับความรนุ แรงตามหลกั พระพุทธศาสนา
วิธีการระงับความรุนแรงตามหลักพุทธศาสนามีอยู่ด้วยกันหลากหลายวิธี ซึ่งหน่ึง
ในนั้นก็คือวิธีระงับความรุนแรงด้วยสาราณียธรรม หมายถึงธรรมที่เป็นเหตุให้ระลึกถึงกัน
ถ้าทุกคนใช้สาราณียธรรมกันแล้วก็จะสามารถก่อให้เกิดความผาสุขในสังคมและสามารถ
ระงับความรนุ แรงได้ โดยสาราณียธรรมมีอยู่ 6 ประการ คอื
1. การเข้าไปตั้งเมตตากายกรรมต่อกัน ทั้งต่อหน้าและลับหลัง นั่นคือการมีน้ำใจ
ชว่ ยเหลือกนั ทางกาย ทง้ั ต่อหนา้ และลบั หลัง
2. การเข้าไปตั้งเมตตาวจีกรรมต่อกัน ทั้งต่อหน้าและลับหลัง การพูดถึงผู้อื่นใน
ดา้ นดที ้งั ตอ่ หน้าและลบั หลัง
3. การเข้าไปตั้งเมตตามโนกรรมต่อกัน หมายถึงให้นึกถึงผู้อื่นในด้านดี
คิดชว่ ยเหลอื ผูอ้ น่ื สงเคราะหผ์ อู้ ่ืนทั้งตอ่ หนา้ และลบั หลัง เป็นการแสดงความรักกนั ทางใจ
4. แบง่ ปนั ลาภทีไ่ ด้มาโดยชอบธรรมแก่ผู้อยู่ร่วมกนั
5. เป็นผู้มศี ีลบริสุทธ์ิ
6. มที ฏิ ฐิ คือความเหน็ เสมอกนั
ตามหลักการระงับความรุนแรงด้วยวิธีสาราณียธรรม คือการระงับความรุนแรง
ด้วยการไม่ทำให้เกิดความรุนแรงขึ้น ซึ่งถือเป็นการระงับเหตุก่อนจะเกิด จึงถือเป็นหลักท่ี
สามารถนำไปใช้ระงับความรนุ แรงทไี่ ดผ้ ลและสามารถนำไปใชป้ ฏิบัตไิ ด้จรงิ
แนวทางการประยุกต์ใช้หลักธรรมทางศาสนาเพอื่ การแก้ไขปัญหาความรุนแรง
ในเด็กเยาวชน
จากการที่สังคมได้สะท้อนให้เห็นปัญหาของวัยรุ่นไม่ว่าจะเป็นเรื่องของพฤติกรรมที่
ไม่พึงประสงค์ เช่น ปัญหาความรุนแรงในเด็กและเยาวชน ปัญหาติดยาเสพติด การมี
พฤติกรรมทางเพศไม่เหมาะสม และการมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควร เป็นต้น ในภาพรวม
ของสาเหตุก็คือหลักการดำเนินชีวิตด้านคุณธรรม จริยธรรมที่เสื่อมลง กลายเป็นปัญหา
สำคัญของสังคม การปลูกฝังให้วัยรุ่นมีจริยธรรมประจำใจในการดำเนินชีวิตจึงเป็นเรื่อง

494 การประชุมวิชาการพระพุทธศาสนาและศลิ ปวัฒนธรรมระดบั ชาติและนานาชาติครัง้ ท่ี 2



จำเป็น ครอบครัวเป็นสถาบันที่มีความสำคัญที่จะขัดเกลาวัยรุ่น พระมหาบุญเพียร ปุญญวิริโย
(แกว้ นอ้ ย) (2539)

ท่านพุทธทาส กล่าวว่า การที่เด็กและเยาวชนจะสามารถละซึ่งความเลว ความชั่ว
และอบายมุขต่าง ๆ ได้ ถ้ามีผู้ใหญ่ที่รู้จักเอาธรรมะหรือคำสอนในพุทธศาสนาในส่วนของผู้
ครองเรือน หรือผู้ที่ดำรงชีวิตอยู่ในสังคมทั่วไปมาประยุกต์ใช้สอนให้กับเด็ก ก็จะทำให้เด็กมี
สติรู้ว่าอะไรควรไม่ควร แต่ผู้ใหญ่มักมองว่าธรรมะขั้นสูงเอามาใช้กับเด็กไม่ได้ ในความเป็น
จริงธรรมะอันประเสริฐของพระพุทธเจ้าเอามาใช้กับเด็กได้ทุกระดับ เมื่อเด็กเข้าใจก็จะละ
ในสิ่งที่ครูสอนให้ ละไม่ทำในสิ่งที่พ่อแม่ไม่ต้องการให้ทำ แต่เด็กต้องเข้าใจธรรมะนั้นอย่าง
แท้จริง

โดยหลักธรรมซึ่งได้กล่าวมาทั้งหมด เมื่อนำมาประยุกต์ใช้ตามสาเหตุของปัญหาที่มี
เหตุมาจาก ตัวของเด็กและเยาวชนเอง จากครอบครัว และจากสังคมสิ่งแวดล้อม
อาจจำเป็นที่จะต้องมีการปรับคำสอนในหลักธรรม ให้เป็นภาษาที่เด็กสามารถฟังแล้วเกิด
ความเข้าใจได้ง่าย ซึ่งอาจปรับให้อยู่ในรูปของ สุภาษิต คำคม หรือสำนวนที่เด็กคุ้นหู
คุ้นเคย เพื่อลดช่องว่างในการสื่อสารที่ก่อให้เกิดความไม่เข้าใจ โดยผู้ที่ช่วยแก้ปัญหาในเรื่อง
นี้จะต้องมีความเข้าใจในหลักธรรมเป็นอย่างดี เพื่อไม่ให้คำสอนตามหลักธรรมนั้นเกิดความ
ผิดเพี้ยน แล้วยังเป็นการช่วยให้สามารถหาคำสอนที่มีความเหมาะสมกับกลุ่มของเด็ก มี
ความเหมาะกับยุคสมัยและความเป็นปัจจุบัน จากหลักธรรมต่าง ๆ ที่ได้กล่าวทั้งหมด ถ้า
หากเยาวชน วัยรุ่น และผู้ที่เกี่ยวข้องพยายามทำความเข้าใจ และประยุกต์ใช้ได้เก่ง หรือมี
เทคนิคกลยุทธ์ต่าง ๆ จนสามารถนำเอาคำสอนและหลักธรรมสร้างออกมาเป็นรูปแบบการ
ปฏิบัติที่สามารถเข้าถึงเด็กและเยาวชนได้ ก็จะสามารถป้องกันการเกิดปัญหาความรุนแรง
และปัญหาที่จะส่งผลกระทบต่อตัวบุคคลและสังคมได้ และเมื่อเด็กและเยาวชนเหล่านั้นได้
เติบโตขึ้นเป็นผู้ใหญ่ก็จะเป็นคนที่มีคุณภาพของสังคมและเป็นกำลังสำคัญในการพัฒนา
ประเทศใหม้ ีเจริญรงุ่ เรืองสบื ตอ่ ไป

การประชมุ วิชาการพระพุทธศาสนาและศลิ ปวัฒนธรรมระดับชาตแิ ละนานาชาติครัง้ ที่ 2 495



สรุป

พฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์ที่เกิดขึ้นในเด็กและเยาวชน อย่างเช่นปัญหาความ
รนุ แรงหรือปัญหาอ่ืน ทส่ี ่งผลกระทบกบั สังคมในวงกวา้ ง โดยมสี าเหตุของปญั หาทีเ่ กิดข้นึ ได้
จากตัวเด็กเอง การเลี้ยงดูของครอบครัว ไปจนถึงจากผลกระทบจากปัญหาสังคม แนวทาง
หนึ่งที่สามารถนำมาใช้ในการระงับและจัดการปัญหาความรุนแรงนี้คือการใช้หลักธรรมใน
พระพุทธศาสนา ที่มีจำนวนหลักธรรมคำสอนอยู่มากมาย และเพื่อให้การนำหลักธรรมทาง
พระพุทธศาสนาสามารถแก้ไขปัญหาความรุนแรงอย่างได้ผล จึงควรที่จะมีการประยุกต์
หลักธรรมให้มีความเหมาะสมกับความเป็นปัจจุบัน และเพื่อให้ประชาชนทั้งเด็กและผู้ใหญ่
สามารถเขา้ ใจและนำไปปฏบิ ัติตามไดโ้ ดยง่าย

บรรณานกุ รม

จิรเดช เกตุประยูร. (2556). วิธีระงับความรุนแรงตามแนวคิดในทางพุทธศาสนาเถรวาท.
วิทยานิพนธ์ศาสนศาสตรมหาบัณฑิต (พุทธศาสนาและปรัชญา). มหาวิทยาลัย
มหามกฏุ ราชวทิ ยาลัย.

ชวลี ไชยีระพันธ์. (2522). อหิงสาในความคิดของมหาตมะ คานธี. วิทยานิพนธ์ปริญญา
อักษรศาสตร

มหาบัณฑิต. บัณฑิตวทิ ยาลัย : จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ชัยวัฒน์ สถาอานันท์. (2533). ท้าทายทางเลือก : ความรุนแรงและการไม่ใช้ความรุนแรง.

กรงุ เทพฯ : ศนู ยข์ า่ วสารสันตภิ าพ.
นิธิ เอียวศรีวงศ์. (2550). ความขัดแย้งและความรุนแรง. มติชนสุดสัปดาห์, 27 (1403) :

25 – 26.
พระธรรมปฏิ ก. (2539). พจนานกุ รมพทุ ธศาสตร์ ฉบบั ประมวลศัพท.์ พิมพค์ รัง้ ท่ี 3
พระมหาบุญเพียร ปุญญวิริโย (แก้วน้อย). (2539). แนวคิดและวิธีการขัดเกลาทางสังคมใน

สถาบัน ครอบครัวตามแนวพระพุทธศาสนา, วิทยานิพนธ์พุทธศาสตร
มหาบณั ฑิต. บัณฑติ วทิ ยาลัย : มหาวิทยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลัย

496 การประชมุ วชิ าการพระพุทธศาสนาและศิลปวฒั นธรรมระดับชาติและนานาชาตคิ ร้ังที่ 2



พระมหาประเสริฐ อคฺคเตโช และคณะ. (2559). แนวทางการประยุกต์หลักสันติธรรมเพื่อ
เสริมสร้างความสันติสุขของเยาวชนในโรงเรียน: กรณีศึกษาโรงเรียนราช
มนตรี (ปลื้ม-เชื่อมนุกูล). วิทยานิพนธ์พุทธศาสตรมหาบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย
: มหาวทิ ยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั .

พระสรวิชญ์ อภิปญฺโญ. (2553). การสร้างและพัฒนารูปแบบการลดพฤติกรรมความ
รุนแรงของวัยรุ่นตามแนวทางพระพุทธศาสนา. วิทยานิพนธ์บัณฑิตวิทยาลัย :
มหาวิทยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย.

พทุ ธทาสภิกข.ุ (2555). ลูกเทวดา. พมิ พค์ ร้งั ท่ี 1. กรงุ เทพฯ : หจก.ดีจา มีเดีย. หนา้ 8 -20.

การประชมุ วชิ าการพระพุทธศาสนาและศลิ ปวฒั นธรรมระดบั ชาตแิ ละนานาชาติคร้ังที่ 2 497

หลกั พทุ ธเศรษฐศาสตรก์ บั การพฒั นาเศรษฐกิจไทย ยุค 4.0
Buddhist economics, According to the principles of Buddhist
economics and The concept of economic empowerment of the

Thai economy in the 4.0

พระครูธรรมธรชยั วชิ ติ ชยาภินนฺโท,
ทิพาภรณ์ เยสุวรรณ

Phrakhrudhamathorn Chaiwichit Chayabhinundho,
Thippaporn Yesuwan

มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลยั วิทยาเขตเชยี งใหม่
Mahachulalongkornrajavidyalaya University Chiang Mai Campus

Email: [email protected]

บทคัดยอ่

กระบวนทัศน์ของการพัฒนาเศรษฐกิจไทยยุค 4.0 เป็นการวางรากฐานพัฒนา
ประเทศในระยะยาวด้วยนวัตกรรม เทคโนโลยี และการจัดการ เพื่อให้พ้นกับดักสาม
ประการได้แก่ กับดักรายได้ปานกลาง, กับดักความเหลื่อมล้ำ และกับดักความไม่สมดุลใน
การพัฒนา ซึ่งเป็นวิสัยทัศน์ของรัฐบาลที่ยังอิงอยู่กับระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยมเป็นส่วน
ใหญ่ เช่น การผลิต การบริโภค และการกระจายผลผลิต ต้องมีปริมาณสูงเพื่อรายได้ที่สูงข้ึน
ซึ่งอาจจะทำให้คนไทยมีค่านิยมฟุ่มเฟือยได้ หากรัฐบาลมีวิสัยทัศน์ตามหลักพุทธ
เศรษฐศาสตร์ เศรษฐกิจจะเกิดสมดุล ฉะนั้น รัฐจึงควรดำเนินเศรษฐกิจตามหลักพุทธ
เศรษฐศาสตร์ เช่น ยึดหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง, ปรับระบบกลไกการทำงาน และ
บทบาทของหน่วยงานภาครัฐ, พัฒนาศักยภาพของคนไทย เป็นต้น หากรัฐมีความจริงใจใช้
หลักพุทธเศรษฐศาสตร์ เศรษฐกิจไทยยุค 4.0 ก็จะก้าวไปสู่ความ มั่งคั่ง มั่นคง ยั่งยืน อย่าง
สมดุลมากข้ึน

คำสำคญั : พทุ ธเศรษฐศาสตร์, เศรษฐกจิ ไทย

498 การประชุมวชิ าการพระพุทธศาสนาและศิลปวฒั นธรรมระดับชาตแิ ละนานาชาติครงั้ ท่ี 2

Abstract

The paradigm of Thai economic development 4 . 0 era. 5t is
the foundation for long term development in the country with technological,
innovation and management. To escape from the three traps, These include:
Middle 5ncome Trap, 5nequality Trap and 5mbalance Trap. 5t is
a government vision that is still based on the capitalist economy. Such as,
production, consumption and distribution must be high, for higher income.
may be that Thai people are extravagant. 5f the government has a vision
based on Buddhist economics, the economy is balanced. Therefore, the
government should run the economy be based on Buddhist economics. Such
as, The philosophy of sufficiency economy. Adjust the working and role of
government system and potential development of Thai people. etc. the
government is sincere, use the Buddhist economics. The Thai economy in the
4.0 era will go on to wealthy, stable, sustainable and more balanced.

Keyword : Buddhist economics, Thai economy

บทนำ

ประเทศไทยมีการปรับโมเดลเศรษฐกิจเริ่มจากโมเดล 1.0 ที่เน้นภาคการเกษตร
เป็นหลัก แล้วพัฒนาไปสู่โมเดล 2.0 ที่เน้นอุตสาหกรรมเบา และก้าวสู่โมเดล 3.0 ที่เน้น
อุตสาหกรรมหนัก และการส่งออก ซึ่งโมเดล 3.0 นี้ทําให้ประเทศไทยเผชิญกับดักรายได้
ปานกลาง(Middle 5ncome Trap) กับดักความเหลื่อมล้ำ (5nequality Trap) และ
กับดักความไม่สมดุลในการพัฒนา(5mbalance Trap) ดังนั้น เพื่อแก้ไขปัญหาดังกล่าว
รัฐบาลจึงก้าวสู่โมเดล 4.0 เพื่อการมีรายได้ที่สูง มีความมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน โดยการ
สร้างความเข้มแข็งจากภายใน ควบคู่การเชื่อมโยงกับประชาคมโลก โดยการขับเคลื่อนด้วย
นวัตกรรม(Value Based Economy) (สวุ ิทย์ เมษินทรยี ,์ 2559)

การประชุมวชิ าการพระพุทธศาสนาและศิลปวฒั นธรรมระดบั ชาตแิ ละนานาชาติครั้งท่ี 2 499

ระบบเศรษฐกิจส่วนใหญ่จึงไม่สอดคล้องกับความเป็นจริงของธรรมชาติ เพราะเน้น
สนองตัณหาของคนมากกว่าละตัณหา แต่พุทธเศรษฐศาสตร์จะสอดคล้องกับเศรษฐกิจทั้ง
ระบบสัมพันธ์กับการดำรงชีวิตของมนุษย์ จึงเป็นการสมควรที่จะนำหลักพุทธเศรษฐศาสตร์
มาเป็นองค์ประกอบในการขับเคลื่อนระบบเศรษฐกิจในปัจจุบัน ทั้งนี้ ในเนื้อหาบางส่วนมี
การนำเอาหลักพุทธเศรษฐศาสตร์มาเป็นองค์ประกอบของโมเดลการขับเคลื่อน เช่น
หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เป็นต้น แต่รัฐจะมีความจริงใจนำหลักพุทธเศรษฐศาสตร์มา
ใชห้ รือไม่ เป็นเร่ืองทช่ี าวไทยควรต้องพจิ ารณาใหด้ ี

1. แนวคดิ หลักพทุ ธเศรษฐศาสตร์

พระพุทธศาสนามีข้อมูลความรู้ด้านศาสตร์ต่างๆโดยเฉพาะด้านเศรษฐศาสตร์ที่ให้
ความกระจ่างในการดําเนินชีวิตอย่างมีคุณภาพ ที่น่าจะเป็นทางเลือกให้กับสังคมไทยที่
กาํ ลังเปน็ อยู่ ดังน้ี

1.1. ความหมายของพุทธเศรษฐศาสตร์

พระธรรมปิฎก (ป.อ. ปยุตฺโต, 2540) กล่าวว่า เศรษฐศาสตร์แนวพุทธนั้นต้อง
สอดคล้องกับกระบวนการแห่งเหตุปัจจัยอย่างครบวงจร สัมพันธ์ด้วยดีกับองค์ประกอบทุก
อย่างในระบบการดํารงอยู่ของมนุษย์ ฉะนั้น พฤติกรรมทางเศรษฐกิจของมนุษย์จะต้อง
เป็นไปในทางที่ไม่เบียดเบียนตน คือ ไม่ทําให้เสียคุณภาพชีวิตของตนเอง และไม่
เบียดเบียนผู้อื่น คือ ไมก่ ่อความเดอื ดร้อนแก่สงั คม และไมท่ ําใหเ้ สยี คุณภาพของ

อภิชัย พันธเสน, (2547) ได้กล่าวว่า พุทธเศรษฐศาสตร์ หมายถึง การนําเอาคํา
สอนของพระพุทธเจ้า มาประยุกต์เข้ากับแนวคิดในวิชาเศรษฐศาสตร์ที่พัฒนามาจากอารย
ธรรมตะวันตก โดยสรุปก็คือ วิชาที่ว่าด้วยการดําเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจที่จะทําให้
ปัจเจกบุคคล และสังคมบรรลุซึ่งศานติสุข จากการมีชีวิตอยู่ในโลกวัตถุภายใต้เงื่อนไขของ
การมที รัพยากรที่จาํ กัด

จากการให้ความหมายของนักวิชาการข้างต้นสรุปได้ว่า พุทธเศรษฐศาสตร์ คือ
วิชาทีศ่ กึ ษาเก่ียวกบั พฤติกรรมการดาํ เนนิ ธุรกจิ ของมนุษยใ์ นการผลิต บรโิ ภค และ จ่ายแจก
ใชส้ อยส่ิงของตา่ ง ๆ ทม่ี ีอย่จู ํากดั เพอ่ื สนองความตอ้ งการอยา่ งมีคุณภาพ

500 การประชมุ วิชาการพระพุทธศาสนาและศลิ ปวฒั นธรรมระดบั ชาตแิ ละนานาชาตคิ ร้งั ที่ 2

1.2. แนวคิดการผลติ ตามหลักพุทธเศรษฐศาสตร์

(พระธรรมปิฎก ป.อ.ปยุตฺโต, 2540) ได้กล่าวว่า ในทางเศรษฐศาสตร์การผลิต
เราคิดว่าเราทำอะไรให้เกิดใหม่ แต่แท้จริงนั้นมันเป็นการแปรสภาพ คือแปรสภาพอย่าง
หนึ่งไปเป็นอย่างหนึ่ง จากวัตถุหนึ่งไปเป็นวัตถุอีกอย่างหนึ่ง การแปรสภาพนี้เป็นการทําให้
เกิดสภาพใหม่โดยไม่ทําลายสภาพเก่า เพราะฉะนั้น ในการผลิตนั้นตามปกติจะมีการ
ทําลายด้วยเสมอไป ผู้ผลิตควรนําหลักพุทธธรรมมาเป็นแนวทางการผลิต หลักธรรมท่ี
นํามาใช้อาจได้แก่ หลักสัมมาอาชีวะ คือ ประกอบธุรกิจที่ให้คุณแก่มนุษย์ เลือกเอา
ทรัพยากรมาใช้อย่างระมัดระวัง ไม่ใช้ในปริมาณมากเกินไป จนทําลายสภาพแวดล้อมให้
เสียความสมดุล

ดังนั้น พุทธเศรษฐศาสตร์การผลิตจะเน้นปัญญา ซึ่งเกิดจากความเข้าใจความ
เป็นจริงตามธรรมชาติ ไม่เน้นประโยชน์ส่วนตน ปัญญาเป็นวิถีแห่งการผลิต ดังนั้นปัญญา
เป็นปัจจัยการผลิตที่สำคัญ ซึ่งจะเน้นการผลิตที่เหมาะสมไม่ทำลายสิ่งแวดล้อม ฉะนั้น
จุดยืนของพุทธเศรษฐศาสตร์จะเน้นปัญญาเป็นปัจจัยการผลิตหลัก อาจกล่าวได้ว่าพุทธ
เศรษฐศาสตรเ์ ป็นระบบ ปญั ญานยิ ม มใิ ช่ ระบบทุนนยิ ม ที่เน้น ทุน เปน็ ปจั จยั การผลิตหลกั

1.3 แนวคดิ การบริโภคตามหลักพทุ ธเศรษฐศาสตร์

หลักการบริโภคตามนัยของพระพุทธศาสนา ท่านให้พิจารณาในเบื้องหน้าใน
กาลปัจจุบันเท่านั้น มิใช่ในกาลข้างหน้า ปรัชญาในการบริโภคใช้สอยปัจจัยสี่ของภิกษุ
เรียกว่าความสันโดษ 3 คือยินดีตามที่พึงได้ ยินดีตามกำลัง และยินดีตามสมควร
(พระไตรปฎิ กภาษาไทย เลม่ ที่ 1 ขอ้ 253)

การบริโภคตามความหมายของเศรษฐศาสตร์ตะวันตก หมายถึง การใช้
สินค้า และบริการบําบัดความต้องการ ซึ่งทําให้เกิดความพอใจสูงสุด แต่ในความหมาย
ของพระพุทธศาสนา หมายถึง การใช้สินค้าและบริการเพื่อบําบัดความต้องการ ซึ่งทําให้
ได้รับความพอใจโดยมีคุณภาพชีวิตเกิดขึ้น เพราะตามหลักพระพุทธศาสนา การบริโภค
จะต้องประกอบด้วยเหตุผล เพื่อให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น (พระธรรมปิฎก ป.อ. ปยุตตฺโต,
2540)

พระพุทธศาสนาไม่เห็นด้วยกับการกินแบบสังคมทุนนิยม แต่เน้นปฏิบัติที่
พอเหมาะพอดี โดยพิจารณาจากทางเลือกหลายๆทางที่สามารถ เป็นไปได้มาประยุกต์กับ

การประชุมวชิ าการพระพุทธศาสนาและศิลปวฒั นธรรมระดบั ชาติและนานาชาติคร้งั ท่ี 2 501

การกิน เพราะการกินในระดับสังคมก็อาจเป็นสิ่งช่วยเกื้อกูลการกินในระดับบุคคลให้ดําเนิน
ตามนัยพทุ ธธรรมได้ (สมภาร พรมทา, 2546)

สรุปได้ว่า พุทธเศรษฐศาสตร์เน้นการบริโภคตามหลักทางสายกลาง บริโภค
โดยใช้ปัญญาไม่เบียดเบียนตนเอง ผู้อื่น และสิ่งแวดล้อม เป็นการบริโภคเพื่อมีคุณภาพชีวิต
ที่ดี ฉะนั้น การบริโภคในพระพุทธศาสนาจะต้องบริโภคด้วยหลักโยนิโสมนสิการ คือ
พจิ ารณาให้ถ่ีถ้วนแลว้ จงึ บรโิ ภคใชส้ อย

1.4. แนวคิดการกระจายผลผลติ ตามหลักพุทธเศรษฐศาสตร์

ในกามโภคีสูตร กล่าวว่า บุคคลได้ปัจจัยมาโดยชอบธรรมและไม่ชอบธรรมคร้ัน
แสวงหาได้แล้ว มีทั้งไม่เลี้ยงตนให้เป็นสุข ไม่แจกจ่าย ไม่กระทำบุญ และเลี้ยงตนให้สุข
แจกจ่ายทำบุญ แต่เป็นผู้กำหนัด หมกมุ่น จดจ่อ ไม่เห็นโทษ ไม่มีปญั ญาเป็นเครื่องสลัดออก
บริโภคโภคทรัพย์นั้น และบางบุคคล เป็นผู้ไม่กำหนัด ไม่หมกมุ่นไม่จดจ่อ เห็นโทษ มีปัญญา
เป็นเคร่ืองสลดั ออก บรโิ ภคโภคทรพั ย์นน้ั (พระไตรปิฎกภาษาไทย เล่ม 24 ขอ้ 91 : 153)

จึงกล่าวได้ว่า พุทธเศรษฐศาสตร์เน้นการกระจายผลผลิตด้วยความ
เอื้อเฟื้อเผ่ือแผ่แบ่งปันช่วยเหลือกัน ไม่ยึดผลประโยชน์ส่วนตน ทุกคนในสังคมต้องอยู่
ร่วมกันอย่างมีความสุขไม่เบียดเบียนตัวเองผู้อื่น และสิ่งแวดล้อม การกระจายผลผลิตจึงไม่
จำเป็นต้องขึ้นอยู่กับความสามารถในการผลิต แต่ทุกคนควรได้รับตามความจำเป็นอย่าง
ทั่วถงึ และยุติธรรม

2. แนวคิดหลกั เศรษฐกิจไทยยุค 4.0

สุวิทย์ เมษินทรีย์, (2559) ได้กล่าวเกี่ยวกับ ความหมาย ลักษณะ และการ
ขบั เคลอ่ื นเศรษฐกิจไทยยคุ 4.0 ไว้ดงั นี้

2.1 ความหมายของเศรษฐกจิ ไทยยุค 4.0

เศรษฐกิจไทยยุค 4.0 หมายถึง โมเดลการขับเคลื่อนเศรษฐกิจด้วยนวัตกรรม
เพื่อนำประเทศไทยไปสู่ความมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน โมเดลเศรษฐกิจไทยในช่วงที่ผ่านมา
คือ โมเดลประเทศไทย 1.0 ที่เน้นเกษตรกรรมและหัตถกรรม โมเดลประเทศไทย2.0 เน้น
อุตสาหกรรมเบา โมเดลประเทศไทย 3.0 เน้นอุตสาหกรรมที่มีความสลับซับซ้อนมากยิ่งข้ึน
การเผชิญกับ 3 กับดัก คือ กับดักรายได้ปานกลาง กับดับความเหลื่อมล้ำ และกับดักความ
ไม่สมดุล ดังนั้น จุดประสงค์ของโมเดล 4.0 จึงเป็นการกำจัด 3 กับดักดังกล่าว โดยการ

502 การประชมุ วิชาการพระพุทธศาสนาและศิลปวฒั นธรรมระดบั ชาตแิ ละนานาชาติคร้ังที่ 2

สร้างความเข้มแข็งจากภายใน(Strength from Within) และ เชื่อมโยงประชาคมโลก
(Connect to the World) ทั้งหมดนี้ใช้แนวทางในการพัฒนาคือ สานพลังประชารัฐผนึก
กำลงั กนั ขับเคล่ือน ดงั น้ี

กลุ่มที่ 1 การยกระดับนวัตกรรมผลิตภัณฑ์, การปรับแก้กฎหมายและกลไก
ภาครัฐ, พัฒนาคลัสเตอร์ ภาคอุตสาหกรรมแห่งอนาคต, การดึงดูดการลงทุน และการ
พัฒนาโครงสรา้ งพ้ืนฐาน

กลุ่มที่ 2 การพัฒนาการเกษตรสมัยใหม่, การพัฒนาเศรษฐกิจฐานราก และ
ประชารฐั

กลุ่มที่ 3 การส่งเสริมการท่องเที่ยว, การสร้างรายได้, และการกระตุ้นการใช้
จา่ ยภาครัฐ

กลุ่มที่ 4 การศึกษาพื้นฐาน, พัฒนาผู้นำโรงเรียนประชารัฐ, รวมทั้งการ
ยกระดับคณุ ภาพวชิ าชพี

กลุ่มที่ 5 การส่งเสริมการส่งออก, การลงทุนในต่างประเทศ, การส่งเสริมกลุ่ม
วสิ าหกจิ และผ้ปู ระกอบการใหม่(Start Up)

2.2 ลักษณะของเศรษฐกิจไทยยุค 4.0

1. เปลี่ยนให้มีรายได้สูงขึ้น จากที่เคยทำมากๆ แต่ได้น้อย ให้เป็นทำน้อยๆได้
มาก ภายใน 3-5 ปีข้างหน้า โดยการขับเคลื่อนเศรษฐกิจด้วยนวัตกรรม (Value Based
Economy)

2. เปลี่ยนจากการขับเคลื่อนประเทศด้วยภาคอุตสาหกรรม ไปสู่การ
ขบั เคลื่อนดว้ ยเทคโนโลยี

3. เปลี่ยนจากการเน้นภาคการผลิตสินค้า ไปสู่การเน้นภาคบริการมากข้ึน
ตัวอย่างเช่น เปลี่ยนจากการเกษตรแบบดั้งเดิมไปสู่การเกษตรสมัยใหม่(Smart Farming)
และเกษตรกรเป็นผู้ประกอบการ (Entrepreneur)

4. เปลี่ยนจากผู้ประกอบการขนาดกลางและขนาดย่อม(SMEs) ที่รัฐต้องให้
ความช่วยเหลืออยู่ตลอดเวลา ไปสู่การเป็นผู้ประกอบการสมัยใหม่(Smart Enterprises)
และ ทำให้ผูป้ ระกอบการใหมๆ่ (Start ups) มศี ักยภาพสูงขึ้น

การประชมุ วิชาการพระพุทธศาสนาและศลิ ปวัฒนธรรมระดับชาติและนานาชาตคิ รง้ั ท่ี 2 503

5. เปลี่ยนจากสินค้าและบริการ(Traditional Services) ที่มีการสร้างมูลค่า
คอ่ นขา้ งตำ่ ไปสู่การสร้างสนิ ค้าและบริการทีม่ ีมูลคา่ สูง(High Value Services)

6. เปลย่ี นจากแรงงานทกั ษะตำ่ ไปสแู่ รงงานทีม่ คี วามรู้ทกั ษะสูง

2.3 การขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทยยคุ 4.0

จากลักษณะของของเศรษฐกิจไทยยุค 4.0 ข้างต้น รัฐจึงคิดค้นกลไกขับเคลื่อน
(Engines of Growth) ของเศรษฐกิจไทยยคุ 4.0 ชดุ ใหม่ 3 กลไก ดังน้ี

1. กลไกขับเคลื่อนผ่านการสร้างและยกระดับผลิตภาพ (Productive
Growth Engine) เป้าหมายสำคัญเพื่อปรับเปลี่ยนประเทศไทยสู่ประเทศที่มีรายได้สูง(High
5ncome Country) กลไกดังกล่าวประกอบไปด้วย การสร้างเครือข่ายความร่วมมือใน
รูปแบบประชารัฐ การบริหารจัดการสมัยใหม่ และการสร้างคลัสเตอร์ทางด้านเทคโนโลยี
การพัฒนาขีดความสามารถด้านการวิจัยและพัฒนา การพัฒนาโมเดลธุรกิจที่ขับเคลื่อน
ด้วยนวัตกรรม กิจการร่วมทุนรัฐและเอกชนในโครงการขนาดใหญ่ รวมถึงการบ่มเพาะ
ธรุ กิจดา้ นเทคโนโลยี เปน็ ต้น เพอ่ื แก้กบั ดกั รายได้ปานกลาง

2. กลไกขับเคลื่อนที่คนส่วนใหญ่มีส่วนร่วมอย่างเท่าเทียมและทั่วถึง
(5nclusive Growth Engine) เป็นการกระจายรายได้ โอกาส และความมั่งคั่งให้เกิดขึ้น
กลไกนี้ประกอบด้วย การสร้างคลัสเตอร์เศรษฐกิจระดับกลุ่มจังหวัด การพัฒนาเศรษฐกิจ
ระดับฐานรากในชุมชน การส่งเสริมวิสาหกิจเพื่อสังคม การสร้างสภาพแวดล้อมที่
เอื้ออำนวยต่อการทำธุรกิจ การส่งเสริมและสนับสนุนให้วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม
ให้เข้มแข็ง การจ่ายภาษีให้แก่ผู้ที่มีรายได้ต่ำกว่าเกณฑ์ที่กำหนดแบบมีเงื่อนไข (Negative
5ncome Tax) เพ่ือแก้ไขกบั ดักความเหลอ่ื มลำ้ ทีเ่ กดิ ข้ึนในปจั จุบัน

3. กลไกการขับเคลื่อนที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน (Green Growth
Engine) การสร้างความมั่งคั่งของไทยในอนาคต เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม กลไกนี้
ประกอบด้วย การมุ่งเน้นการใช้พลังงานทดแทน การปรับแนวคิดจากเดิมที่คำนึงถึงความ
ได้เปรียบเรื่องต้นทุน (Cost Advantage) เป็นหลัก มาสู่การคำนึงถึงประโยชน์ที่ได้จากการ
ลดความสูญเสียที่เกิดขึ้นทั้งระบบ (Lost Advantage) หัวใจสำคัญอยู่ที่การพัฒนา
กระบวนการผลิตให้ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมน้อยที่สุด เพื่อตอบโจทย์กับดักความไม่
สมดลุ ของการพัฒนาระหว่างคนกบั สภาพแวดล้อม

504 การประชุมวชิ าการพระพทุ ธศาสนาและศลิ ปวัฒนธรรมระดับชาตแิ ละนานาชาตคิ ร้ังที่ 2

จะเห็นได้ว่าแนวคิดของเศรษฐกิจไทยยุค 4.0 จะพุ่งไปที่การเพิ่มรายได้สูง
ซึ่งประเทศไทยเผชิญกับ 3 กับดัก คือ กับดักรายได้ปานกลาง กับดับความเหลื่อมล้ำ และ
กับดักความไม่สมดุล ดังนั้น จุดประสงค์ของโมเดล 4.0 จึงเป็นการกำจัด 3 กับดัก
ดังกล่าว รัฐจึงกระตุ้นเร่งให้ผลิตและบริโภคสินค้า ฉะนั้น จึงควรนำหลักพุทธเศรษฐศาสตร์
มาใชใ้ นการดำเนนิ เศรษฐกจิ เพ่ือใหส้ ามารถดำเนินเศรษฐกิจไดอ้ ยา่ งสมดุล

3. แนวคดิ เศรษฐกิจไทยยุค 4.0 ผา่ นมมุ มองของพทุ ธเศรษฐศาสตร์

หากพิจารณาแนวคิดเศรษฐกิจไทยยุค 4.0 ผ่านมุมมองของหลักพุทธ
เศรษฐศาสตร์ ในด้านที่เกี่ยวกับทฤษฎีการผลิต การบริโภค และการกระจายผลผลิต
สามารถอธิบายไดด้ งั น้ี

3.1. การผลิตของเศรษฐกิจไทยยุค 4.0 ผ่านมุมมองพุทธ
เศรษฐศาสตร์

จากการผนึกกำลังขับเคลื่อนเศรษฐกิจโดยประชารัฐกลุ่มต่างๆ ในข้อ 2.1
ข้างต้น สามารถแยกกลุ่มที่เกี่ยวข้องกับการผลิต คือ กลุ่มที่ 1 ที่ว่าด้วยการยกระดับ
นวัตกรรม, การผลิต, การปรับแก้กฎหมายและกลไกภาครัฐ, พัฒนาคลัสเตอร์
ภาคอุตสาหกรรมแห่งอนาคต, การดึงดูดการลงทุน, และการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน
และกลุ่มที่ 2 ที่ว่าด้วยการพัฒนาการเกษตรสมัยใหม่, การพัฒนาเศรษฐกิจฐานราก และ
ประชารัฐ

เมื่อพิจารณาแล้วแนวคิดก็ยังอิงทฤษฎีการผลิตของเศรษฐศาสตร์กระแสหลัก
ที่เน้นการผลิตให้มีประสิทธิภาพสูงสุด โดยใช้ทรัพยากรน้อยที่สุดเพื่อให้ได้ผลผลิตมากที่สุด
และมีทุนเป็นปัจจัยการผลิตที่สำคัญ แต่ก็มีการปรับแนวคิดจากทุนนิยมมาเป็นพุทธ
เศรษฐศาสตร์ ดังที่แสดงในหัวข้อ 2.3 เรื่องกลไกขับเคลื่อนเศรษฐกิจยุค 4.0 ข้อย่อยที่ 3
ที่ว่า จะคำนึงถึงความได้เปรียบเรื่องต้นทุน (Cost Advantage) เป็นหลัก มาสู่การคำนึงถึง
ประโยชน์ที่ได้จากการลดความสูญเสียที่เกิดขึ้นทั้งระบบ(Lost Advantage) ซึ่งตรงกับหลัก
พุทธเศรษฐศาสตร์ที่ว่าต้องคำนึงถึงทุกระบบของการดำเนินชีวิต แต่ไม่ได้กล่าวถึงการผลิต
ในมิติ พฤติกรรม ความดีความชั่ว เป็นต้น ซึ่งพุทธเศรษฐศาสตร์ถือว่าสิ่งเหล่านี้เป็นการ
ผลิตทางเศรษฐกิจด้วย เช่น ความก้าวร้าวส่งผลให้เกิดทุกข์ ความเมตตาส่งผลให้เกิดสุข
เป็นต้น สิง่ เหลา่ นี้มมี ลู ค่าทางเศรษฐกจิ ทัง้ น้ัน

การประชุมวชิ าการพระพทุ ธศาสนาและศิลปวฒั นธรรมระดบั ชาตแิ ละนานาชาตคิ รั้งที่ 2 505

3.2. การบริโภคของเศรษฐกิจไทยยุค 4.0 ผ่านมุมมองพุทธ
เศรษฐศาสตร์

จากการผนึกกำลังขับเคลื่อนเศรษฐกิจโดยประชารัฐกลุ่มต่างๆ ในข้อ 2.1
ข้างต้น สามารถแยกกลุ่มที่เกี่ยวข้องกับการบริโภค คือ กลุ่มที่ 3 ที่ว่าด้วยการส่งเสริม การ
ท่องเที่ยวและไมล์ การสร้างรายได้ และการกระตุ้นการใช้จ่ายภาครัฐ และ กลุ่มที่ 4 ที่ว่า
ด้วยการศึกษาพื้นฐานและ พัฒนาผู้นำโรงเรียนประชารัฐ รวมทั้งการยกระดับคุณภาพ
วชิ าชพี

เมื่อพิจารณาแนวคิดก็ยังอิงทฤษฎีการบริโภคตามเศรษฐศาสตร์กระแสหลัก
ที่มุ่งเป้าไปยังการมีรายได้สูง ดังที่กล่าวไว้ในหัวข้อ 2.3 เรื่องกลไกขับเคลื่อนเศรษฐกิจยุค
4.0 ข้อย่อยที่ 1ที่ว่า เป้าหมายสำคัญเพื่อปรับเปลี่ยนประเทศไทยสู่ประเทศที่มีรายได้สูง
(High 5ncome Country) โดยไม่ได้กล่าวถึง การบริโภคเพื่อสร้างคุณภาพชีวิตเลย แต่ยึด
หลักการบริโภคเพื่อให้ได้ความพึงพอใจสูงสุด ซึ่งไม่ตรงกับหลักพุทธเศรษฐศาสตร์ ที่ว่า
บริโภคเพื่อให้ได้รับความพึงพอใจ และเกดิ คณุ ภาพชวี ติ ท่ดี ี

3.3. การกระจายผลผลิตของเศรษฐกิจไทยยุค4.0 ผ่านมุมมอง
พุทธเศรษฐศาสตร์

จากการผนึกกำลังขับเคลื่อนเศรษฐกิจโดยประชารัฐกลุ่มต่างๆ ในข้อ 2.1
ข้างต้น สามารถแยกกลุ่มที่เกี่ยวข้องกับการกระจายผลผลิต คือ กลุ่มที่ 5 ที่ว่าด้วยการ
ส่งเสริมการส่งออก, การลงทุนในต่างประเทศ, การส่งเสริมกลุ่มวิสาหกิจขนาดกลางและ
ขนาดย่อม และผู้ประกอบการใหม่ (Start Up) ซึ่งแต่ละกลุ่มกำลังวางระบบและกำหนด
แนวทางในการขับเคลอื่ นนโยบายอย่างเข้มข้น

เมื่อพิจารณาแนวคิดก็ยังอิงทฤษฎีการกระจายการผลิตของเศรษฐศาสตร์
กระแสหลัก ซึ่งขึ้นอยู่กับความสามารถในการกระจายผลผลิตเพื่อสร้างรายได้ แต่มีการปรับ
แนวคิดจากเศรษฐศาสตร์กระแสหลักมาเป็นหลักพุทธศาสตร์ ดังที่กล่าวไว้ในหัวข้อง 2.3
เรื่องกลไกขับเคลื่อนเศรษฐกิจยุค4.0 ข้อย่อยที่ 2ท่วี า่ คนส่วนใหญ่มีส่วนร่วมอย่างเท่าเทียม
และทั่วถึง เป็นการกระจายรายได้ โอกาส และความมั่งคั่งให้เกิดขึ้น ซึ่งตรงกับกลักพุทธ
เศรษฐศาสตร์ ท่ีเนน้ การเอื้อเฟ้ือเผอ่ื แผ่แบง่ ปนั ช่วยเหลือกนั ไมย่ ึดผลประโยชน์ส่วนตน

506 การประชุมวิชาการพระพุทธศาสนาและศลิ ปวัฒนธรรมระดบั ชาติและนานาชาติคร้งั ท่ี 2

จากการพิจารณาแนวคิดเศรษฐกิจไทยยุค 4.0 ผ่านมุมมองของพุทธเศรษฐศาสตร์
ทำใหเ้ กิดแนวคิดในการขับเคลอ่ื นเศรษฐกิจตอ่ ไป

4. แนวคิดการขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทยในยุค 4.0 ตามหลักพุทธ
เศรษฐศาสตร์

ภาพรวมของพุทธเศรษฐศาสตร์จะเน้นการบริโภคด้วยปัญญา และบริโภคเท่าท่ี
จำเป็น แต่ภาพรวมของเศรษฐกิจไทยยุค 4.0 จะพุ่งไปที่การเพิ่มรายได้ของประชากร
ฉะนั้น การขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทยยุค 4.0 จึงจำเป็นต้องนำหลักพุทธเศรษฐศาสตร์มาปรับ
ใช้ ดังนี้

4.1. ยดึ หลักปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง

แนวคิดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ประกอบด้วย 3 ห่วง 2 เงื่อนไข ได้แก่
ความพอประมาณ ความมีเหตุผล การมีภูมิคุ้มกัน และอยู่ภายใต้เงื่อนไขความรู้และ
คุณธรรม ซึ่งได้แก่ ห่วงที่ 1 ความพอประมาณ คือ ยึดหลักทางสายกลางและความไม่โลภ
ห่วงที่ 2 ความมีเหตุผล คือ คำนึงถึงผลที่จะเกิดขึ้นอย่างรอบคอบ ห่วงที่ 3 การมีภูมิคุ้มกัน
ที่ดี คือ การเตรียมพร้อมรับการเปลี่ยนแปลงทางด้วยความไม่ประมาท และต้องมี 2
เงื่อนไข ได้แก่ เงื่อนไขความรู้ คือ ความรอบรู้เกี่ยวกับวิชาการต่างๆที่เกี่ยวข้อง และเงื่อนไข
คุณธรรม คอื มีความซอื่ สัตยส์ ุจริต ไม่โลภ มีความสามคั คี มคี วามอดทน

หากนำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้อย่างจริงจัง ไม่เพียงแต่จะทำให้
เศรษฐกิจเติบโตสูงเท่านั้น แต่ยังทำให้เกิดผลดีต่อระบบเศรษฐกิจหลายประการ เช่น
ประการที่ 1 ทำให้เศรษฐกิจมีเสถียรภาพ เพราะรู้จักพอประมาณ และมีภูมิคุ้มกัน เพื่อ
รองรับความผันผวนที่อาจจะเกิดขึ้น ประการที่ 2 ทำให้การกระจายผลประโยชน์อย่าง
ทั่วถึง เพราะให้ความสำคัญกับการมีส่วนร่วมของประชาชนกลุ่มต่างๆ ประการที่ 3 ทำให้
การพฒั นามคี วามย่ังยืน เพราะอาศัยหลักค่อยเปน็ ค่อยไป ไม่ใช่กา้ วกระโดด

ดังนั้น ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงอันเป็นภาคปฏิบัติของพุทธเศรษฐศาสตร์
สามารถนำมาประยุกต์ใช้ได้จริง เพราะเป็นไปตามหลักทางสายกลาง และไม่มีความโลภจน
เบยี ดเบยี นผอู้ ่ืนและสงิ่ แวดลอ้ ม ท้งั นเ้ี พ่อื ลดความเสี่ยงทอ่ี าจเกิดข้ึนของระบบเศรษฐกิจ

การประชุมวิชาการพระพุทธศาสนาและศิลปวัฒนธรรมระดบั ชาตแิ ละนานาชาติครัง้ ท่ี 2 507

4.2. ปรับระบบกลไกการทำงาน และบทบาทของหน่วยงานภาครัฐ

การปรับกลไกการทำงาน และ ปรับบทบาทหน่วยงานภาครัฐ ก็เพื่อช่วยให้
เศรษฐกจิ เดนิ หน้าได้อยา่ งราบร่ืน ซึ่งไดแ้ ก่

1. การปรับปรุงกฎหมายให้สอดคล้องกับสภาพปัจจุบัน อาทิ กฎหมายกำกับ
ดูแลบริการข้ามพรมแดนผ่านเทคโนโลยีสมัยใหม่ เป็นต้น ให้มีความทันสมัยสอดคล้องกับ
บริบทของเศรษฐกิจและสังคมที่เปลี่ยนแปลง โดยสามารถเอื้อให้ประชาชน และธุรกิจ
สามารถปรับตวั ได้อย่ารวดเร็ว

2. การปรับกลไกการทำงานของภาครัฐให้โปร่งใส เชน่ นโยบายเปิดเผยข้อมูล
ข่าวสารของทางราชการ การเปิดเผยการจัดซื้อจัดจ้างของหน่วยงานราชการและ
รัฐวสิ าหกิจ เปน็ ต้น ท้งั น้เี พอื่ ให้เกดิ การตรวจสอบจากภาคประชาชนได้งา่ ย

3. การปรับบทบาทของภาครัฐให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น เรื่องใดที่เอกชนทำ
ได้ดีแล้วรัฐไม่ควรไปแทรกแซงหรือทำแข่ง เช่น การปฏิรูปรัฐวิสาหกิจ เป็นต้น ภาครัฐมี
บทบาทเปน็ ผคู้ วบคุมกฎกตกิ าเทา่ น้นั

4.3. พฒั นาศกั ยภาพของคนไทย

แนวความคิดในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทยยุค 4.0 เป็นสิ่งดี แต่หากคนไทย
ไม่มีศักยภาพที่จะทำตามแนวคิดนั้น ก็ไม่ทำให้เศรษฐกิจดีขึ้นได้ ฉะนั้น การพัฒนาคนใน
ชาติจงึ ตอ้ งพัฒนาด้านตา่ งๆ ดงั นี้

1.พัฒนาความรู้และทักษะสำคัญของชีวิต ปัญหาการขาดทักษะของแรงงาน
ไทย เพราะคนไทยไม่ชอบที่จะติดตามความรู้ความก้าวหน้าของโลก ทักษะในการเรียนรู้
ด้วยตนเองจึงไม่ดี เมื่อขาดการเรียนรู้ตลอดชีวิตจึงขาดศักยภาพ ทำให้ไม่ประสบ
ความสําเร็จในการขบั เคลอ่ื นเศรษฐกจิ

2.พัฒนาการทำงานร่วมกับผู้อื่น การแบ่งงานกันทำตามความชำนาญของแต่
ละกลุ่มการผลิต แล้วเอาชิ้นส่วนมาประกอบเข้าด้วยกัน อาจมีผลทำให้มนุษย์เป็นส่วนหน่ึง
ของเครื่องจักรทำให้เกิดความทุกข์ จึงต้องทำงานเป็นทีม เพราะจะเปิดโอกาสให้มนุษย์ได้
พัฒนาตนเอง ขจดั อตั ตา จนทำงานร่วมกับผอู้ ืน่ ได้อย่างมสี ขุ

3. พัฒนาคุณธรรม เข็มทิศของการขับเคลื่อนเศรษฐกิจคือคุณธรรม ความ
เมตตา จะช่วยให้เราก้าวข้ามอุปสรรคได้ ฉะนั้น การบรรจุเรื่องคุณธรรมในหลักสูตร

508 การประชมุ วชิ าการพระพุทธศาสนาและศลิ ปวัฒนธรรมระดับชาติและนานาชาตคิ รัง้ ท่ี 2

การศึกษาย่อมเป็นการปลูกฝังเยาวชนเห็นคุณค่าของความดี อันจะเป็นภูมิคุ้มกันให้เรา
สามารถขบั เคลื่อนเศรษฐกิจยุค 4.0 ไดอ้ ย่างราบร่ืน

จะเห็นว่าเศรษฐกิจเป็นเรื่องของการดำรงชีวิต แต่ละชีวิตจะต้องพึ่งพาอาศัยกัน
และกัน ฉะนั้น สิ่งมีชีวิตในโลกจึงต้องงดเว้นจากการเบียดเบียนซึ่งกันและกัน แบ่งปันความรู้
ไม่เห็นแก่ได้จนมองข้ามศีลธรรม โดยทั่วไปหากพูดถึงเศรษฐกิจเรามักจะมองแต่ด้านวัตถุของ
การผลิตอย่างเดียว ที่จริงแล้วจริยธรรมก็จัดเป็นหน่วยการผลิตเหมือนกัน เพราะความดีชั่ว
หรือสภาพจิตใจทเี่ ป็นไปต่าง ๆ ยอ่ มมผี ลกระทบตอ่ เศรษฐกิจเปน็ อยา่ งมาก

สรปุ

พทุ ธเศรษฐศาสตร์ คือ วชิ าท่ศี ึกษาเกยี่ วกบั พฤตกิ รรมการดําเนนิ ธรุ กิจของมนุษย์
ใน การผลิต การบริโภค และการแจกจ่ายใช้สอยสิ่งของต่างๆ ที่มีอยู่จํากัดเพื่อสนองความ
ต้องการของมนุษย์ให้เกิดคุณภาพชีวิต ฉะนั้น จุดยืนของการผลิตตามหลักพุทธ
เศรษฐศาสตร์ คือ ทำอย่างไรจงึ จะใช้ทรพั ยากรน้อยทสี่ ดุ ใหม้ คี ณุ ค่ามากท่ีสุด มขี องเสียน้อย
ที่สุด การผลิตแบบพุทธเศรษฐศาสตร์จะไม่มีของเสียเกิดขึ้นในกระบวนการผลิต ดังเช่นท่ี
พระพุทธเจ้านำเอาผ้าจีวรที่ไม่ใช่แล้วมาทำอาสนะ พออาสนะขาดก็นำมาทำผ้าถูพื้น ผ้าถู
พื้นผุก็สับทำปุ๋ย เป็นต้น ส่วนการบริโภคนั้น พุทธเศรษฐศาสตร์จะถือหลักสันโดษ คือ
บริโภคเพื่อต้องการคุณภาพของชีวิตเท่านั้น ไม่ใช่เพื่อสนองกิเลสตัณหา และการกระจาย
ผลผลติ แบบพทุ ธต้องมีความท่ัวถึงอยา่ งเปน็ ธรรม

การที่ระบบเศรษฐกิจยุค 4.0 เร้าความต้องการให้คนผลิตมาก บริโภคให้มาก
กระจายผลผลิตให้มาก เพื่อจะมีรายได้สูง จึงต้องดำเนินการอย่างรอบคอบค่อยเป็นค่อยไป
โดยนำหลักพุทธเศรษฐศาสตร์มาปรับใช้ หากพิจารณาการขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทยยุค 4.0
ผ่านมุมมองของพุทธเศรษฐศาสตร์แล้วจะเห็นว่า ได้นำหลักพุทธเศรษฐศาสตร์มาใช้ใน
ระดับที่น่าพอใจ เช่น การคำนึงถึงสภาพแวดล้อม การมีส่วนร่วมของประชาชน เป็นต้น
แต่ส่วนใหญ่ก็ยังอิงอยู่กับหลักเศรษฐศาสตร์ทั่วไป ที่เน้นมูลค่าทางเศรษฐกิจเป็นสำคัญ
ซึ่งอาจทำให้คนไทยมีค่านิยมฟุ้งเฟ้อ ทุจริต กู้หนี้ยืมสิน ก็เป็นได้ ถ้าคนไทยมีความสันโดษ
เป็นฐาน คือมีพอเพียง มีการออม เพื่อเอาเงินที่ออมไว้มาลงทุนเพื่อการผลิต การบริโภค

การประชมุ วิชาการพระพทุ ธศาสนาและศลิ ปวัฒนธรรมระดับชาติและนานาชาติครง้ั ท่ี 2 509

เป็นต้น ก็จะทำให้เศรษฐกิจมีความมั่นคงยั่งยืนได้ ทั้งนี้ การขับเคลื่อนเศรษฐกิจต้องอิงหลัก
พทุ ธเศรษฐศาสตร์ ได้แก่

1. ยึดหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ซึ่งจะทำให้เกิดผลดีหลายประการ เช่น
ทำให้เศรษฐกิจมีเสถียรภาพ เพราะมีความพอประมาณ และมีภูมิคุ้มกัน, ทำให้การกระจาย
ผลประโยชน์อย่างทั่วถึง เพราะให้ความสำคัญกับการมีส่วนร่วมของประชาชน, ทำให้การ
พฒั นามคี วามย่งั ยืน เพราะอาศัยหลกั ค่อยเปน็ คอ่ ยไป

2. ปรับระบบกลไกการทำงาน และบทบาทของหน่วยงานภาครัฐ เพื่อช่วยให้
เศรษฐกิจเดินหน้าได้อย่างราบรื่น ซึ่งได้แก่ การปรับปรุงกฎหมายให้ทันสมัย, ปรับกลไกการ
ทำงานของภาครฐั ใหโ้ ปร่งใส, ปรับบทบาทของภาครฐั ใหม้ ปี ระสทิ ธิภาพ เปน็ ตน้

3. พัฒนาศักยภาพของคนไทย เช่น พัฒนาความรู้และทักษะสำคัญของชีวิต,
พฒั นาการทำงานรว่ มกับผอู้ นื่ , พัฒนาคุณธรรม เป็นต้น

แนวคิดการขับเคลื่อนเศรษฐกิจยุคไทย 4.0 อาจมีข้อเสียอยู่บ้าง เพราะอิงกับ
ระบบทุนนิยมมากเกินไป อันอาจจะเกิดผลเสียตามมาหากทำการไม่รอบคอบ รัฐจึงต้องมี
ความจริงใจใช้หลักพุทธเศรษฐศาสตร์ เพื่อลดการพึ่งพาทุนนิยมสมัยใหม่ ฉะน้ัน
การขับเคลื่อนประเทศไทย 4.0 ไปสู่ความมั่งคั่งอย่างมั่นคงและยั่งยืน รัฐบาลต้องกล้าที่จะ
นำหลกั พทุ ธเศรษฐศาสตร์มาใช้ เพื่อความสมดลุ ของระบบเศรษฐกิจ

บรรณานุกรม

พระธรรมปิฎก(ป.อ. ปยุตตฺโต). (2540). เศรษฐศาสตร์แนวพุทธ. พิมพ์ครั้งท่ี 6.
กรุงเทพมหานคร : สหธรรมกิ .

มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2539). พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราช
วิทยาลัย. กรงุ เทพมหานคร : โรงพมิ พ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

สมภาร พรมทา. (2546). กิน : มุมมองของพระพทุ ธศาสนา, วารสารพุทธศาสนศึกษาจุฬา
ลงกรณมหาวิทยาลยั 10.(3): 63.

อภิชัย พันธเสน. (2547). พุทธเศรษฐศาสตร์ วิวัฒนาการ ทฤษฎี และการประยุกต์กับ
เศรษฐศาสตรส์ าขาต่างๆ, พิมพ์คร้งั ท่ี 3. กรุงเทพมหานคร : อมรนิ ทร์.

510 การประชุมวชิ าการพระพทุ ธศาสนาและศลิ ปวฒั นธรรมระดบั ชาติและนานาชาติครัง้ ท่ี 2

การจัดการเรยี นรู้ตามหลักอรยิ สจั 4 กบั การศึกษาในศตวรรษที่ 21

Learning by four Noble Truths of education in the 21st century

พระครูศรปี รยิ ตั ยารกั ษ์,
พระมหาไชยวัฒน์ ชยวฑุ ฺโฒ

Phrakhru Sripariyathayaruk,
Phramaha Chaiwat Chayawutho
มหาวิทยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลยั วทิ ยาเขตเชียงใหม่
Mahachulalongkornrajavidyalaya University Chiang Mai Campus

บทคัดย่อ

การจัดการเรียนรู้ตามหลักอริยสัจ 4 กับการศึกษาในศตวรรษที่ 21 มีประเด็นนำเสนอ
ดังนี้ 1) การจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 2) การจัดการเรียนรู้ตามหลักอริยสัจ 4 3) การจัดการ
เรียนรู้ตามหลกั อรยิ สัจ 4 ในศตวรรษที่ 21

จากผลการศึกษาพบว่า การจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 เป็นไปเพื่อพัฒนา
ผู้เรียนให้เกิดทักษะการเรียนรู้ขั้นที่สูงขึ้น ได้แก่ การประเมินค่า ใช้ความรู้อย่างสร้างสรรค์
เรียนรู้เพื่อเตรียมตัวไปใช้ในชีวิตจริง เป็นต้น เน้นการศึกษาตลอดชีวิต ด้วยวิธีการสอนที่มี
ความยืดหย่นุ มกี ารกระตุ้นและจูงใจให้ผ้เู รียนมีความเป็นคนเจ้าคิดเจ้าปัญญา

ซึ่งมีความสอดคล้องกับการจัดการเรียนรู้ตามหลักอริยสัจ 4 เพราะเป็นการ
จัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้เกิดการคิดวิเคราะห์ในการแก้ปัญหา โดยผู้สอนกำหนดและ
นำเสนอปัญหาอย่างละเอียด วิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหาและตั้งสมมุติฐานพิจารณาด้วย
ตนเองว่าสาเหตุของปัญหาที่ยกขึ้นมาดำเนินการอย่างไร เพื่อแก้ปัญหาที่ผ่านการทดลอง
และเก็บข้อมูล เมื่อได้ข้อมูลก็นำมาวิเคราะห์ข้อมูลและสรุปผล นำไปสู่ความรู้ใหม่และ
หนทางในการแก้ไขปัญหา ซึ่งมีทั้งหมด 4 ขั้นตอน ได้แก่ 1) ขั้นกำหนดปัญหา (ทุกข์) 2)
ขั้นตั้งสมมติฐาน (สมุทัย) 3) ขั้นทดลองและเก็บข้อมูล (นิโรธ) 4) ขั้นวิเคราะห์ข้อมูลและ
สรปุ ผล (มรรค) เปน็ ต้น

การประชุมวชิ าการพระพุทธศาสนาและศิลปวัฒนธรรมระดับชาตแิ ละนานาชาติครง้ั ท่ี 2 511

การจัดการเรียนรู้ตามหลักอริยสัจ 4 ในศตวรรษที่ 21 จะเป็นการจัดการเรียนรู้
โดยการนำทักษะที่ควรพัฒนาในศตวรรษที่ 21 มากำหนดลงในทุกๆ ขั้นตอน โดยมีทักษะที่
อยู่ในขั้นตอนการสอน ดังนี้ 1) ขั้นกำหนดปัญหา (ทุกข์) คือ การอ่าน (Reading) คำนึง
ความแตกต่างของวัฒนธรรม (Cross-Cultural Understanding) มีทักษะในการคิดวิเคราะห์
และแก้ไขปัญหาได้ (Critical Thinking and Problem Solving) 2) ขั้นตั้งสมมติฐาน (สมุทัย)
คือ มีภาวะผู้นำ (Collaboration Teamwork and Leadership) ที่ทุกคนสามารถแสดง
ความคิดเห็นได้อย่างอิสระ (Creativity and Innovation) 3) ขั้นทดลองและเก็บข้อมูล (นิโรธ)
คือ การบันทึก ((W)Riting: เขียนได้) และหาข้อมูลจากคอมพิวเตอร์ วิเคราะห์แหล่งข้อมูล
จริงเท็จอย่างไร (Computing and ICT Literacy) สามารถคำนวณ ((A)Rithmatic) นำมาสู่การ
วิเคราะห์ที่มีกระบวนการสื่อสารอย่าง มีประสิทธิภาพ (Communication Information and
Media Literacy: มีทักษะในการสื่อสาร และรู้เท่าทันสื่อ) 4) ขั้นวิเคราะห์ข้อมูลและสรุปผล
(มรรค) คือ ทักษะการเรียนรู้ในการดำรงชีวิต (Career and Learning Skills: มีทักษะทาง
อาชีพ และกระบวนการเรียนรู้ต่าง ๆ) (Compassion: มีคุณธรรม มีเมตตากรุณา มีระเบียบ
วินยั )

คำสำคญั : การจัดการเรยี นรู้, อรยิ สัจ 4, ศตวรรษท่ี 21

Abstract

Knowledge Management along with the Four Noble Truths and
the 21st Century education has the following points: 1) the 21st century
learning management; 2) knowledge management along with the Four Noble
Truths; and 3) knowledge management along with the Four Noble Truths in
the 21st century

The results showed that 21st century learning management is designed to
develop learners’ higher-level learning skills such as assessment, use creative
knowledge, learn to apply in daily life etc. It focuses on lifelong education with flexible
teaching methods. It motivates learners to be wise.

512 การประชมุ วชิ าการพระพุทธศาสนาและศลิ ปวฒั นธรรมระดบั ชาติและนานาชาตคิ ร้ังที่ 2

This is consistent with the knowledge management in accordance with
the Four Noble Truths, because it is a learning management to develop
students to analyze the problem. Here, the instructor defines and presents
the problem in detail and analyze the cause of the problem and hypothesize
that the cause of the problem to solve it. After collecting the information,
analyze and conclude the result and it leads to the new knowledge and ways
in solving problems. There are 4 procedures, namely, 1) Problem (Dukkha), 2)
Hypothesize (Samudhaya), 3) experiment and collect data (Nirodha), and 4)
analyze and conclude (Makha) etc.

Knowledge management along with the Four Noble Truths in the 21st
century is a learning process that brings together the 21st century skills to be
developed at every step with the skills in the instructional process as follows:
1) Problem (Dukkha); reading, cross-cultural understanding, critical thinking
and problem solving, 2) Hypothesize (Samudhaya); collaboration teamwork
and leadership, creativity and innovation, 3) experiment and collect data
(Nirodha); writing, computing and ICT literacy, Arithmatic, communication
information and Media literacy, and 4) analyze and conclude (Makha); career and
learning skills and compassion.

Keywords: Knowledge Management, Four Noble Truths, 21st century

บทนำ

ในยุคสมัยแห่งแหล่งข้อมูลที่มอี ยู่มากมาย สามารถเข้าถึงได้ง่ายและการเรียนการ
สอนที่อยู่ภายในตำราเริ่มหายไป ปัญหาแห่งการจัดการเรียนรู้จึงมีผลกระทบกับครูและ
ผู้เรียน เพื่อให้เกิดแนวทางการปฏิบัติที่สอดคล้องกับการศึกษาในศตวรรษที่ 21 ที่เน้นการ
จัดการเรียนรู้เพื่อสร้างทักษะการคิด การทำงาน และการปฏิสัมพันธ์ โดยเฉพาะวิธีในการ
ตัดสินใจและรับข้อมูลต่าง ๆ จากสื่อดิจิตอล และปัญหาต่อการดำรงชีวิต ซึ่งเป็นสิ่งที่ทำให้

การประชุมวิชาการพระพทุ ธศาสนาและศิลปวัฒนธรรมระดบั ชาติและนานาชาตคิ รงั้ ท่ี 2 513

เกิดการเรียนจากอุปสรรคและหาแนวทางในการแก้ไขด้วยตนเอง ด้วยเหตุนี้ผู้เขียนจึงนำ
หลกั อรยิ สจั 4 มาปรบั ใหเ้ ป็นแนวทางเพือ่ การแก้ปญั หาและแนวทางแหง่ การเรียนรู้ต่อไป

การจัดการเรยี นรใู้ นศตวรรษที่ 21 (สถาบนั วิจัยการเรียนรู้, 2561, หนา้ 150)
การเรียนรู้เป็นกระบวนการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นได้จากประสบการณ์ทั้งทางตรง
(จากการพบเห็นหรือค้นพบด้วยตนเองจากสถานการณ์จริง) และทางอ้อม (จากตำรา
และการสอนจากครู) ทั้งที่เกิดจากความบังเอิญ และจงใจ ซึ่งในปัจจุบัน (ศตวรรษที่ 21) ความรู้
มีอยู่มากมายที่ทุกคนสามารถเข้าถึงได้ง่ายมากกว่าแต่ก่อนที่อะไร ๆ ก็ต้องรอแต่ครูเป็นผู้สอน
และบอกกล่าว แต่นั้นก็ไม่ใช่ว่าจะดีที่สุดเพราะหากบุคคลขาดทักษะการเรียนรู้และการคิด
วิเคราะห์ถึงเหตุและผลที่ตามมาก็ไม่ต่างอะไรกับเครื่องจักรที่รอแต่จะให้มีคนงานป้อนคำสั่ง
การจัดการเรียนรู้จำเป็นตอ้ งใหค้ รอบคลุมทั้ง 3 ด้าน ได้แก่ (บลูม (Bloom) อ้างใน ลักขณา
สิริวัฒน์, 2557, หน้า 152) ได้แก่ 1. ด้านพุทธิพิสัย (Cognitive Domain) 2. ด้านเจตพิสัย
(Affective Domain) 3. ดา้ นทักษะพสิ ัย (Psychomotor Domain)
โดยเน้นทักษะการเรียนรู้ขั้นที่สูงขึ้น (higher order learning skills) อาทิเช่น
ทักษะการนำเอาความรู้ใหม่ไปใช้อย่างสร้างสรรค์ (ability to use new knowledge in a
creative way) ซึ่งในปัจจุบันจะพบปรากฏการณ์ใหม่ที่แตกต่างไปในการศึกษา เช่น การ
เรียนการสอนที่ช่วยให้นักเรียนได้เตรียมตัวเพื่อใช้ชีวิตในโลกที่เป็นจริง (life in the real
world) เน้นการศึกษาตลอดชีวิต (lifelong learning) ด้วยวิธีการสอนที่มีความยืดหยุ่น
(flexible in how we teach) มีการกระตุ้นและจูงใจให้ผู้เรียนมีความเป็นคนเจ้าคิดเจ้า
ปัญญา (resourceful) ที่ยังคงแสวงหาการเรียนรู้แม้จะจบการศึกษาออกไป (สถาบันวิจัยการ
เรยี นรู้, 2561, หน้า 154)
ลักษณะของหลักสูตรในศตวรรษที่ 21 จะเป็นหลักสูตรที่เน้นคุณลักษณะเชิงวิพากษ์
(critical attributes) เชิงสหวิทยาการ (interdisciplinary) ยึดโครงงานเป็นฐาน (project-
based) และขับเคลื่อนด้วยการวิจัย (research-driven) เชื่อมโยงท้องถิ่นชุมชนเข้ากับภาค
ประเทศ และโลก ในบางโอกาสนักเรียนสามารถร่วมมือ (collaboration) กับโครงงานต่าง
ๆ ได้ทว่ั โลก
ดังนั้น การให้การศึกษาสำหรับศตวรรษที่ 21 ต้องเปลี่ยนแปลงทัศนะ
(perspectives) จากกระบวนทัศน์แบบดั้งเดิม (tradition paradigm) ไปสู่กระบวนทัศน์

514 การประชุมวิชาการพระพทุ ธศาสนาและศลิ ปวฒั นธรรมระดบั ชาติและนานาชาติคร้งั ที่ 2

ใหม่ (new paradigm) ที่ให้โลกของนักเรียนและโลกความเป็นจริงเป็นศูนย์กลางของ
กระบวนการเรียนรู้ เป็นการเรียนรู้ที่ไปไกลกว่าการได้รับความรู้แบบง่าย ๆ ไปสู่การเน้น
พัฒนาทักษะและทัศนคติ และเหนืออื่นใด คือ ความสามารถใช้ความรู้อย่างสร้างสรรค์
(the ability to handle knowledge effectively in order to use it creatively)

การจดั การเรียนรู,ตามหลกั อริยสัจ 4
อริยสัจ 4 เป7นหลักคำสอนหนึ่งของพระโคตมพุทธเจ,า ที่แปลวFา ความจริงอัน
ประเสริฐ เป7นหลักธรรมทางพระพุทธศาสนาที่พระพุทธองคIทรงตรัสรู,ด,วยพระองคIเอง
ซึ่งเป7นแนวทางที่วFาด,วยการออกจากทุกขI หรือสภาพที่ทนได,ยากรวมทั้งปOญหาของชีวิตใน
ทุกกรณี มีจำนวน 4 ข,อ ได,แกF ทุกขI สมุทัย นิโรธ และมรรค อยFางไรก็ตาม ในพระไตรปUฎก
ภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ได,กลFาวถึงอริยสัจ 4 ในเรื่องสัจจะดังนี้
(มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย, 2539, หนา, 85-87)
ทุกขI คือ ชาติเป7นทุกขI ชราเป7นทุกขI มรณะเป7นทุกขI โสกะ ปริเทวะ ทุกขโทมนัส
อุปายาสเป7นทุกขI การประสบกับอารมณIอันไมFเป7นที่รักเป7นทุกขI ความพลัดพรากจาก
อารมณIอันเป7นที่รักเป7นทุกขI การไมFได,สิ่งที่ต,องการเป7นทุกขI วFาโดยยFอ อุปาทานขันธIทั้ง 5
เป7นตวั ทุกขI นี้เรยี กวาF ทกุ ขI
ทุกข์ คือ สภาวะที่ทนได้ยาก เป็นสิ่งที่ทุกคนต้องพบเจอในชั่วอายุของตน หาก
มองถึงสิ่งที่ต้องประสบพบเจอในการดำรงชีวิตของมนุษย์ นั้นก็คือปัญหา ดังนั้น ผู้เขียนจึง
มองว่าในขั้นตอนการจัดการเรียนรู้ขั้นแรกจะต้องเป็นการสร้างหรือกำหนดปัญหาให้ผู้เรียน
เกิดความสงสัยก่อน โดยครูต้องทำความเข้าใจกับผู้เรียนให้เป็นไปในทำนองเดียวกัน
(ขั้นกำหนดปญั หา)
ทุกขสมุทัย คือ ตัณหาอันทำให้เกิดอีก ประกอบด้วยความเพลิดเพลินและความ
กำหนดมีปกติให้เพลิดเพลินในอารมณ์นั้น ๆ ได้แก่ กามตัณหา (ความทะยานอยากในกาม)
ภวตัณหา (ความทะยานอยากเป็นนั่นเป็นนี่) วิภาวตัณหา (ความทะยานอยากไม่เป็นนั่น
เป็นน)ี่ นี้เรยี กวา่ ทกุ ขสมทุ ัย
เมื่อเด็กเกิดความสงสัยในปัญหาที่กำหนดจากขั้นตอนแรก (ทุกข์) ครูผู้สอนต้อง
ใช้หลักการกระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดความอยากและสงสัย โดยการให้เด็กระดมความคิดกัน

การประชุมวิชาการพระพุทธศาสนาและศิลปวฒั นธรรมระดบั ชาตแิ ละนานาชาติครั้งที่ 2 515

หลังจากนั้นร่วมกันกำหนดประเด็นที่ผู้เรียนทุกคนต้องไปศึกษาร่วมกันเพื่อหาคำตอบนั้น
โดยการตั้งสมมตฐิ านน้นั เอง (ขั้นสมมติฐาน)

ทุกขนิโรธ คือ ความดับตัณหาไม่เหลือวิราคะ ความสละ ความสละคืน ความพ้น
ความไม่อาลยั ในตณั หา น้ีเรยี กว่าทุกขนโิ รธ

ในส่วนของนิโรธเป็นขั้นดับทุกข์เป็นการหาหนทางเพื่อแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น โดย
ผ่านการทดลองและหาแหล่งข้อมูลเพื่อมาอ้างอิงและสร้างองค์ความรู้หรือแนวทาง
แก้ปัญหาร่วมกนั ภายในช้นั เรยี น (ขน้ั ทดลอง)

ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา คือ อริยมรรคมีองค์ 8 ได้แก่ สัมมาทิฎฐิ, สัมมาสังกัปปะ,
สัมมาวาจา, สัมมากัมมันตะ, สัมมาอาชีวะ, สัมมาวายามะ, สัมมาสติ, สัมมาสมาธิ,
นีเ้ รียกวา่ ทุกขนโิ รธคามินีปฏปิ ทา

หลังจากที่ผู้เรียนทดลองเรียบร้อยแล้วครูมีหน้าที่กระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดการระดม
ความคิดและการสรุปองค์ความรู้ที่ได้จากการทดลองในขั้นนิโรธ มาเป็นแนวทางการ
แก้ปญั หาใหม่และใชไ้ ดจ้ ริงนน้ั คือ ขนั้ สรุปผลและอภปิ ราย

จากความหมายดังกล่าว เมื่อนำมาวิเคราะห์ในแต่ละองค์ประกอบของอริยสัจ 4
ก็จะเห็นได้ว่าหลักธรรมของพระพุทธองค์เป็นหลักธรรมที่สามารถประยุกต์ใช้ได้ทุกอย่างใน
กิจกรรมการดำเนินชีวิตของมนุษย์ แม้กระทั้งสามารถประยกุ ต์เป็นรูปแบบการสอนได้ ซึ่งมี
4 ขั้นตอนได้แก่ ข้ันกำหนดปญั หา (ทกุ ข)์ ขน้ั สมมติฐาน (สมทุ ัย) ข้นั ทดลอง (นิโรธ) และขั้น
สรุปและอภิปรายผล (มรรค) ซึ่งจะสอดคล้องกับรูปแบบการสอนตามหลักอริยสัจ 4 ของ
สาโรช บัวศรี (สาโรช บัวศรี อ้างอิงใน พรศรี อุ่นตุ้ม, 2558, หน้า 175) ท่ีได้เสนอแนะ
กระบวนการแกป้ ญั หาในการเรียนการสอน ดังน้ี

1. ข้ันกำหนดปญั หา (ขั้นทกุ ข์) คือ การระบุปญั หาท่ตี ้องการแก้ไข
2. ขั้นตั้งสมมติฐาน (ขั้นสมุทัย) คือ การวิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหาและต้ัง
สมมตุ ฐิ าน
3. ขั้นทดลองและเก็บข้อมูล (ขั้นนิโรธ) คือ การกำหนดวัตถุประสงค์และวิธีการ
ทดลอง
4. ข้นั วิเคราะหข์ ้อมลู และสรปุ ผล (ขนั้ มรรค) คอื การนำขอ้ มูลมาวิเคราะห์และ

516 การประชมุ วชิ าการพระพุทธศาสนาและศิลปวฒั นธรรมระดบั ชาตแิ ละนานาชาติครัง้ ท่ี 2

การจัดการเรียนร,ูตามหลกั อรยิ สจั 4 ในศตวรรษที่ 21
การจัดการเรียนรู,ตามหลักอริยสัจ 4 ในศตวรรษที่ 21 เพื่อเป7นการพัฒนาผู,เรียน
ให,เกิดทักษะในการดำรงชีวิตต,องเป7นรูปแบบที่มีความทันสมัยและสอดคล,องกับเงื่อนไขใน
การเรียน 3R8C ที่ครูผู,สอนต,องเตรียมให,กับผู,เรียน ซึ่งสรุปเป7นรูปแบบในการจัดการเรียนรู,
ได,ดังน้ี
1. ขัน้ กำหนดปญO หา (ขน้ั ทุกขI) คอื การระบปุ ญO หาท่ตี ,องการแก,ไข
ผู,สอนกำหนดและนำเสนอปOญหาอยFางละเอียด โดยให,ผู,เรียนได,ศึกษาด,วยตนเอง
ผFานการอFาน (Reading) พยายามให,ผู,เรียนทำความเข,าใจตFอปOญหานั้นตรงกัน และความ
แตกตFางของวัฒนธรรม (Cross-Cultural Understanding) และพยายามเร,าความรู,สึกให,
ผู,เรียนเกิดความตระหนักวFาสิ่งที่ผู,สอนนำเสนอนั้นเป7นปOญหาของทุกคน ๆ มีสFวนเกี่ยวข,อง
กับปOญหานั้น มีทักษะในการคิดวิเคราะหI และแก,ไขปOญหาได, (Critical Thinking and
Problem Solving)
2. ขั้นตั้งสมมติฐาน (ขั้นสมุทัย) คือ การวิเคราะหIหาสาเหตุของปOญหาและตั้งสมมุติฐาน
โดยผู,เรียนแบFงกลุFมทำงานและให,ความรFวมมือในการทำงานเป7นทีมและมีภาวะผู,นำ
(Collaboration Teamwork and Leadership) ซึ่งทุกคนสามารถแสดงความคิดเห็นได,
อยาF งอิสระ (Creativity and Innovation)
3. ขั้นทดลองและเก็บข,อมูล (ขั้นนิโรธ) คือ การกำหนดวัตถุประสงคIและวิธีการ
ทดลองเพื่อพิสูจนIสมมุติฐานและเก็บรวบรวมข,อมูล ผFานการบันทึก ((W)Riting: เขียนได,)
และหาข,อมูลจากคอมพิวเตอรI วิเคราะหIแหลFงข,อมูล จริงเท็จได, (Computing and ICT
Literacy) คำนวณได, ((A)Rithmatic) นำมาสูFการวิเคราะหIที่มีกระบวนการสื่อสารอยFางมี
ประสิทธิภาพ (Communication Information and Media Literacy: มีทักษะในการ
ส่ือสาร และรเ,ู ทาF ทนั สอ่ื )
4. ขั้นวิเคราะหIข,อมูลและสรุปผล (ขั้นมรรค) คือ การนำข,อมูลมาวิเคราะหIและ
สรุปชFวยให,ผู,เรียนเกิดความเข,าใจและสรุปได,วFาในบรรดาการทดลองหรือการกระทำด,วย
ตนเองหลาย ๆ อยFาง สามารถตFอยอดจากการแก,ปOญหาไมFได, บางอยFางก็แก,ปOญหาได,ชัดเจน
จนเกิดการเรียนรู,ในการดำรงชีวิต (Career and Learning Skills: มีทักษะทางอาชีพ และ
กระบวนการเรียนรู,ตFาง ๆ) สรุปวิธีแก,ปOญหาได,แล,วให,ผู,เรียนชFวยกันกำหนดแนวทางในการ

การประชุมวชิ าการพระพทุ ธศาสนาและศิลปวัฒนธรรมระดบั ชาติและนานาชาตคิ รง้ั ท่ี 2 517

ปฏิบัติและลงมือปฏิบัติตามแนวทางนั้นโดยทั่วกัน โดยไมFขัดตFอหลักกฎหมายและคุณธรรม
จริยธรรม (Compassion: มีคณุ ธรรม มีเมตตากรณุ า มรี ะเบียบวินยั )

จากขั้นตอนการจัดการเรียนรู้ข้างต้นที่ผู้เขียนประยุกต์หลักอริยสัจ 4 เข้ากับ
ทักษะที่ผู้เรียนควรมีในศตวรรษที่ 21 จะเห็นได้ว่า กระบวนการจัดการเรียนรู้ดังกล่าวมี
ความชัดเจนมากขึ้น และสอดคล้องตามความต้องการที่จะพัฒนาผู้เรียนให้เกิดทักษะ
3R8C ที่สำคัญในการดำรงชีวติ อยใู่ นโลกแหง่ ยคุ เทคโนโลยีอนั ล้ำยุคนี้

สรุป

หลักธรรมของพระพุทธองค์ถึงแม้จะเกิดขึ้นมานานนับ 1,000 ปี แต่สิ่งที่พระองค์
ทรงตรัสรู้ก็สามารถนำมาใช้ได้ไม่ว่าจะเป็นยุคสมัยใด หลักอริยสัจ 4 ก็เช่นเดียวกันที่มีความ
พิเศษอยู่ในตัวเอง ผู้เขียนจึงได้นำเสนอทัศนคติของตนเองผ่านงานเขียนชิ้นนี้ โดยการนำ
รูปแบบการสอนตามหลักอริยสัจ 4 เดิมมาประยุกต์เข้ากับทักษะที่ควรพัฒนาในศตวรรษที่
21 3R8C ที่มี 4 ขั้นตอนดังเดิมแต่เพิ่มทักษะที่ควรพัฒนาเข้าไปในขั้นตอนการสอนต่าง ๆ
เพ่ือให้เกิดความทันสมัยและตอบโจทยก์ บั ยุคแห่งเทคโนโลยอี ย่างแท้จรงิ

518 การประชมุ วิชาการพระพทุ ธศาสนาและศิลปวัฒนธรรมระดบั ชาตแิ ละนานาชาติครง้ั ที่ 2

หลักบ&านหลกั เมือง กระบวนการพัฒนาชมุ ชนให&ย่งั ยืน
Lakban Lakmuaeng : Process Community
Development For Sustletabiliyy

พระมหาประทีป ส,ญฺ โม,
พระมหาสำรอง ส,ญฺ โต

PhramhaPraTeep Sannamo,
PhramhaSamrong Sannato
มหาวทิ ยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลัย วทิ ยาเขตขอนแกGน
Mahachulalongkornrajavidyalaya University, Khonkaen Campus, Thailand
E-mail : [email protected]

บทคดั ยอ(

การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค6 2 ประการคือ 1) เพื่อศึกษาประวัติและพัฒนาการของ
หลักบHานหลักเมืองในภาคอีสาน 2) เพื่อศึกษากระบวนการพัฒนาชุมชนที่สัมพันธ6กันกับความเชื่อ
เรื่องหลักบHานหลักเมืองในภาคอีสาน เปNนการวิจัยเชิงคุณภาพ เก็บรวบรวมและวิเคราะห6ขHอมูล
จากการสังเกตอยRางมีสRวนรRวมและสัมภาษณ6เชิงลึก แบบมีโครงสรHางจากประชากรกลุRมเปTาหมาย
นักวิชาการทางพระพุทธศาสนา 30 รูป / คน ของพื้นที่ใชHในการศึกษาและนำเสนอผลการศึกษาใน
แบบพรรณนาเชงิ วิเคราะห6

ผลการวิจัยพบวRา : หลักบHานสรHางขึ้นจากบทบัญญัติทางพระพุทธศาสนาในพระวินัย
เรื่องของการนำแผRนหินเปNนนิมิต ไดHรับอิทธิพลรูปทรงจากศิลปะในสมัยปาละ – เสนะของอินเดีย
พัฒนามาจากนวคิดการป_กแทRงหินสลักรูปเสาเสมาธรรมจักรในสมัยพระเจHาอโศกมหาราช เริ่มตHน
ขึ้นในอาณาจักรทวาราวดี สุโขทัย อยุธยา และรัตนโกสินทร6เรื่อยมา มีการผสมผสานปรับปรุงกัน
เร่ือยมา กRอนพศ. 2463 จนถงึ พ.ศ. 2500

หลักบHาน ในพื้นที่ภาคอีสาน มีพัฒนาการดHานคติ แนวคิด สูRรูปแบบศิลปกรรมที่มี
ความสัมพันธ6กับผูHคน โดยเปNนหมุดหมายในการตั้งบHานและเปNนศูนย6รวมจิตใจของชาวบHานซึ่งมี
ความสัมพันธ6กับพื้นที่ใจกลางของบHานที่มีสิ่งศักดิ์สิทธิ์ เวลาตRอมาชาวบHานไดHนHาความเชื่อศรัทธา

การประชมุ วิชาการพระพทุ ธศาสนาและศลิ ปวฒั นธรรมระดับชาติและนานาชาตคิ ร้ังท่ี 2 519

ทางพุทธศาสนามาเพิ่มความศักดิ์สิทธิ์ใหHกับหลักบHานอีกดHวย นอกจากนี้หลักบHานในเขตพื้นที่วิจัย
ยังมีความหลากหลายทั้งทางดHานวัสดุและรูปแบบศิลปะ ซึ่งพบในเขตพื้นที่บHานดงพอง ตำบลศิลา
และบHานหนองตมู ตำบลหนองตมู อำเภอเมือง จงั หวดั ขอนแกนR

หลักเมือง ในพื้นที่ภาคอีสาน มีพัฒนาการดHานคติ แนวคิด สูRรูปแบบศิลปกรรมที่มี
ความสัมพันธ6กับผูHคน โดยเปNนศูนย6รวมจิตใจของผูHคนในระดับเมือง และมีพัฒนาการทางแนวคิด
มาจากหลักบHาน ตลอดจนมีการพัฒนาแนวคิดในการใชHวัสดุประเภท“ไมHมงคล”ที่มีชื่อและ
ความหมายสัมพันธ6กับ“เมือง”เพื่อใหHเปNนหมุดหมายหลักเมอื ง ซึ่งปรากฏการตั้งเสาไมHหลักเมือง
ซึ่งพบในเขตพื้นที่บHานดงพอง ตำบลศิลาและบHานหนองตูม ตำบลหนองตูม อำเภอเมือง จังหวัด
ขอนแกนR

คำสำคญั : หลกั บHานหลกั เมอื ง กระบวนการพัฒนาชุมชน, ความยั่งยนื

Abstract

The aims of this research were: 1) to study the origin and
developmentof the culture of Sema stones in Buddhism; 2) to study
the lifestyle in Buddhistcommunity in Chaiyaphum province; 3) to study
the cultural relation betweenthe Sema stones and the community lifestyle
of Buddhists in Northeast. This qualitative research wasconducted by
collecting the data bymeans of the participatory observation and the
structured in-depth interview ofthe samples within the studied area before
the obtained data were presented bythe descriptive analysis.

The research results revealed that the Sema stones were created
fromthe Buddhist provisions in the discipline (vinaya) of using the stone sheet
as theboundary markers of the Uposatha. It is influenced by the art from the
Pala-Senperiods of India, combined with the concept of embroidery of
the stone carvedin the shape of Sema Dharma Wheel in the reign of Ashoka
the Great bybringing the stories in Buddhism to be created and presented as

520 การประชุมวิชาการพระพุทธศาสนาและศิลปวฒั นธรรมระดับชาติและนานาชาติคร้งั ท่ี 2

a carvingpicture combined with the invention of various patterns. Then, it was
developedas a unique stone leaf shape in Dvaravati, Sukhothai, Ayutthaya
andRattanakosin kingdoms. There is also a combination of improvement in
bothMon culture and Khmer culture and it eventually becomes evidence
thatrecorded the history, art, dress, language, literature, traditions and
civilization ofTheravada Buddhism in the community.

Keywords : Lakban Lakmuaeng, Process Community Development, Sustle Tabiliyy

บทนำ

หลังจากพระสัมมาสัมพุทธเจHาเสด็จดับขันธปรินิพพานแลHว เมื่อประมาณ พ.ศ.
236 พระพทุ ธศาสนาเขาH มาสูดR นิ แดนทเ่ี ปNนประเทศไทยในป_จจบุ ัน สมยั เดยี วกนั กับประเทศ
ศรีลังกา ดHวยการสRงพระสมณทูตไปเผยแผRพระพุทธศาสนาในประเทศตRางๆ ๙ สาย โดย
การอุปถัมภ6ของพระเจHาอโศกมหาราช กษัตริย6อินเดีย ในขณะน้ันประเทศไทยรวมอยูRใน
ดินแดนที่เรียกวRาสุวรรณภูมิ ซึ่งมีขอบเขตกวHางขวาง มีประเทศรวมกันอยูRในดินแดนสRวนนี้
ทั้ง 7 ประเทศในป_จจุบัน ไดHแกR ไทย พมRา ศรีลังกา ญวน กัมพูชา ลาว มาเลเซีย
ซึ่งสันนิษฐานวRามีใจกลางอยูRที่จังหวัดนครปฐมของไทย เนื่องจากไดHพบโบราณวัตถุที่สำคัญ
เชRนพระปฐมเจดีย6 และรูปธรรมจักรกวางหมอบเปNนหลักฐานสำคัญแตRพมRาก็สันนิษฐานวRามี
ในกลางอยูRที่เมืองสะเทิมภาคใตHของพมRา พระพุทธ ศาสนาเขHามาสูRสุวรรณภูมิในยุคนี้
นำโดยพระโสณะและพระอุตตระ พระเถระชาวอินเดีย เดินทางมาเผยแผRพุทธศาสนาใน
แถบนี้ จนเจริญรุRงเรืองมาตามลำดับ โดยพิจารณาจากโบราณสถานและโบราณวัตถุตRาง ๆ
เชRน พระปฐมเจดีย6ศลิ ารูปพระธรรมจกั ร เปนN ตHน

สิ่งศักดิ์สิทธิ์ในป_จจุบันที่สะทHอนใหHเห็นถึงการรวมตัวระหวRางความเชื่อฟöõนถิ่นและ
ตัวศาสนาคือเสาหลักเมือง ซึ่งถือไดHวRาเปNนสิ่งสิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่มีอำนาจอยูRเหนือจิตใจของผูHคน
สRวนใหญRในประเทศทั่วทุกจังหวัดของประเทศไทยในป_จจุบันนี้ลHวนแลHวแตRมีเสาหลักประจำ
เมืองอันเนื่องมาจากความเชื่อฟöõนฐานของกลุRมคน ความศรัทธานับถือ และสRวนหนึ่งเปNนผล
ของนัยยะแฝงทางอำนาจรัฐทั้งสิ้นแตRไมRวRาดHวยเหตุผลใดก็ตาม ภาพลักษณ6ของเสาหลัก

การประชุมวชิ าการพระพทุ ธศาสนาและศลิ ปวฒั นธรรมระดับชาติและนานาชาติครง้ั ที่ 2 521

เมืองในป_จจุบันยRอมปรากฏออกมาใหHเห็นมากกวRาเปNนเพียงแตRเสาประจำเมืองตHนหนึ่งท่ี
เปNนศูนย6กลางความสิ่งศักดิ์สิทธิ์และแสดงถึงความมั่นคงของเมือง แตRความสำคัญใน
ป_จจุบันยRอมมีมากกวRาบทบาทหนHาที่หลัก โดยมีความสำคัญประหนึ่งพระพุทธรูปทีเปNนท่ี
พึ่งทางจิตใจของประชาชน อันเนื่องจากการรวมความเชื่อทาง ศาสนาเขHากับความสิ่ง
ศักดิ์สิทธิ์ในตัวเสาหลักหลักเมืองนั่นเองการกRอกำเนิดความเชื่อของเสาหลักเมืองดังเชRนที่
อยใูR นปจ_ จบุ ันน้ี (สชุ พี ปูญญานภุ าพ,2541)

ภาคอีสานเปNนชุมชนเกษตรกรรม ที่สืบทอดมรดกจากบรรพชนมาอยRางตRอเนื่อง
ยาวนาน โดยผูกพันกับธรรมชาติปùาวัฒนธรรมชุมชนอยRางเนHนเฟTน ไดHรับการสั่งสมแนวคิด
ภูมิป_ญญา ปลูกศรัทธา คติ ความเชื่อจนเปNนแบบแผนการดำรงชีวิตที่มีคุณคRา อันแสดงใหH
เห็นถึงความเฉลียวฉลาดของทรพั ยากรบุคคลและสังคมพืน้ ถิ่น

สังคมอีสานเครRงครัดในรูปแบบของประเพณี พิธีกรรม เชื่อถือในเรื่อง บาป-บุญ
คุณ-โทษ ขวัญ-วิญญาณ เทวดาอารักษ6 ตลอดจนผีสางนางไมHอยRางจริงจัง โดยมีการเซRน
สรวงบัดพลีตามฤดูกาลพรHอมกันนี้ กังปฏิบัติภารกิจทางศาสนาดHวยความมั่นคงตามคRานิยม
ของชุมชน เพื่อสรHางขวัญและกำลังใจ หรือแกHไขป_ญหาชีวิตที่พึงมี อันจะเปNนประหนึ่ง
ภูมิคุHมกันภัยพิบัติทั้งหลายทั้งปวงมิใหHมากล้ำกรายตน หรือครอบครัวตลอดจนทุกชีวิตใน
ชุมชน นอกจากนี้ยังไดHแสดงถึงความกตัญ†ูเชิดชูคุณความดีของบรรพชนผูHกลายเปNนผีไป
แลHวอีกดHวย (เสรี พงศ6พิศ,2536)

คติความเชื่อเรื่อง “ผี” นั้นชาวอีสานเชื่อกันวRา ผีมีอยูRสองกลุRมใหญR กลุRมหนึ่งเปNน
ผีประเภทแผRคุณความดี ชRวยคุHมครองปกปTองภัยพิบัติทั้งปวงที่จะมากล้ำกราย ตลอดจน
ดูแลรักษาชุมชนใหHเกิดสันติสุข ขณะเดียวกันก็อาจบันดาลใหHเกิดความเดือดรHอนยุRงยากไดH
หากผูHใดลRวงละเมิดขาดความเคารพยำเกรง หรือมีพฤติกรรมอันไมRพึงปรารถนาของชุมชน
กลุRมผีดังกลRาวมีผีเจHา ผีนาย ผีบHาน ผีเรือน ผีเจHาที่ ผีปูùยRา ผีปูùตา ผีตายาย ผีมเหสักข6
หลักเมือง ผีฟTา ผีแถน ผีมด ผีหมอ ผีเจHาปูùหลุบตา หรือผีที่ชาวบHานนับถือเฉพาะถิ่นซึ่งมีชื่อ
เรียกแตกตRางกันออกไป เปNนตHน สRวนผีอีกกลุRมหนึ่งเปNนผีรHายที่คอยมุRงทำลายลHาง
เบียดเบียน กRอความวุRนวายสับสนใหHเกิดโทษภัยอยูRเนืองๆ เชRน ผีปอบ ผีเปรต ผีแมHเลHง ผี
หRา เปNนตนH (วบิ ลู ย6 ลสี้ วุ รรณ, 2525)

522 การประชุมวิชาการพระพทุ ธศาสนาและศิลปวฒั นธรรมระดับชาติและนานาชาติครงั้ ท่ี 2

ผูHนำชุมชนชาวอีสานไดHกRอตั้งชุมชนขึ้นมา ณ บริเวณใดก็ตามยRอมจะตHองสรHาง
บHานเรือน โรง หอ หรือศาล (ตูบ) ไวHเปNนที่พำนักอาศัยของกลุRมผีประเภทที่ใหHคุณไวHเสมอ
ณ บริเวณใกลHเคียง เพื่อเปNนที่พึ่งพิงสำหรับบูชาเซRนสรวงสังเวยเปNนที่ยึดเหนี่ยวทางใจความ
เช่ือดงั กลRาวเปNนความเชอ่ื ท่ีมีอยกRู RอนในทอH งถน่ิ กอR นท่ใี นดินแดนเอเชียตะวันออกเฉียงใตHจะ
รับความเชื่อทางศาสนาจากประเทศอินเดียเขHามาสูRภูมิภาค ยRอมแนRนอนวRาเมื่อตัวสาสนาไดH
เขHามามีอิทธิพลตRอกลุRมคนดั้งเดิม ความเชื่อที่มีอยูRเดิมนั้นยRอมเปลี่ยนแปลงไป หากแตRมีการ
ผสมผสานความเชื่อดั้งเดิมใหHเขHากับตัวศาสนาที่ปรากฏนั้นๆ ศาสนาแรกที่มีความเกี่ยวขHอง
กับการนับถือเสาหลักเมืองคือศาสนาพราหมณ6 ศาสนาพราหมณ6มีคติเชื่อในเรื่องเขาพระ
สุเมรุรวมทั้งเสาแกนคั่นระหวRางสวรรค6กับโลกมนุษย6เรียกวRา ขัมภะ ความเชื่อเนื่องใน
ศาสนาพราหมณ6นี้เองไดHสRงตRอแนRวคิด หลักปรัชญา และระบบสัญลักษณ6ใหHกับศาสนาใน
เวลาตRอมา เมื่อศาสนาทั้งสองเขHาสูRดินแดนเอเชียตะวันออกเฉียงใตH ยRอมทำใหHคิดทาง
ศาสนาตRางๆ เจริญรุRงเรืองขึ้นบนวัฒนธรรมเดิมที่มีอยูRกRอนหนHา ในกรณีการสรHางเสากลาง
ชุมชนไดHถูกยกระดับขึ้นเปNนเสาหลักประจำหมูRบHาน และเสาหลักเมือง (ดนุพล ไชยสินธุ6
และรำเพย ไชยสนิ ธ6ุ, 2529)

หลักบHาน หลักเมือง จึงเปNนศูนย6กลางในการประกอบพิธีทางพระพุทธศาสนา
เชนR มขี อH หาH มและขHอปฏบิ ตั ิทชี่ มุ ชนไดทH ำกติการRวมกัน เชRนในวนั พระหาH มฆาR สตั ว6 หHามยิงปöน
ในหมูRบHาน เปNนตHนมีกิจกรรมทำรRวมกันในงานบุญฮีต 12 คลอง 14 จึงทำใหHชุมชนนั้นอยRู
รRวมกันอยRางมีความสุข และมีความความเชื่อเรื่องศูนย6กลางจักรวาล เสาหลักเมืองจึงมี
ความหมายมากกวRาเสาศักดิ์สิทธิ์กลางเมืองแตRยกระดับขึ้นประหนึ่งวRาเปNนศูนย6กลาง
จักรวาลและเมืองนั้นคือเขาพระสุเมรุ พิธีกรรมทั้งหมดถูกผสมรวมกันอยRางสอดคลHอง และ
พัฒนาความเชื่อดั่งเดิมของฟöõนถิ่นนั้นที่มีความสำคัญขึ้นและมีอิทธิพลตRอรัฐประเทศในที่สุด
(ไพฑูรย6 มีกุศล, 2528)

ผูHวิจัยจึงสนใจการนับถือเสาหลักเมืองในป_จจุบันนี้มีมิติเชื่อมโยงกับความเชื่อเรื่อง
เสาหลักเมืองบHานของกลุRมคนพื้นถิ่นที่มีอยูRดั่งเดิม กRอนจะมีการรับเอาวัฒนธรรมทาง
ศาสนาพราหมณ6 และศาสนาพุทธที่มีตHนกำเนิดจากดินแดนชมพูทวีปเขHามายังภูมิภาค
ความเชื่อดั่งเดิมและความเชื่อทางศาสนานี้มีการประยุกต6ใชHรRวมกันและมีอิทธิพลตRอจิตใจ
ของคนในชุมชนป_จจุบันอยRางยิ่งแมHวRา ความเชื่อดังกลRาวกลายเปNนสิ่งสำคัญหนึ่งในสังคมแตR

การประชุมวชิ าการพระพุทธศาสนาและศิลปวฒั นธรรมระดบั ชาตแิ ละนานาชาตคิ รั้งท่ี 2 523


Click to View FlipBook Version