The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หลักการบริหารธุรกิจ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Ahlam.j, 2022-07-06 03:51:25

หลักการบริหารธุรกิจ

หลักการบริหารธุรกิจ

Keywords: หลักการบริหารธุรกิจ

143

เป็นค่าใช้จ่าย โดยถือว่าเป็นค่าใช้จ่ายท่ีกิจการได้จ่ายออกไปแล้ว อย่างไรก็ดีไม่ว่าบันทึกโดยวิธกี ารใด
หลังปรับปรงุ ทางบัญชีจะมียอดคงเหลือของบัญชีแยกประเภทที่เกยี่ วขอ้ งทกุ บัญชีเทา่ กนั

ตวั อย่างเชน่ เมื่อวนั ท่ี 1 พฤศจิกายน 25X1 กจิ การจ่ายค่าเช่าพื้นท่ีแสดงสนิ คา้ ภายใน
ห้างสรรพสนิ ค้าเปน็ เงนิ 30,000 บาท ซึง่ ทางห้างเรียกเก็บล่วงหน้า 3 เดือน อัตราเดือนละ 10,000 บาท
ของเดือนพฤศจิกายน เดือนธนั วาคม 25X1 และเดอื นมกราคม 25X2

เมื่อสิ้นงวดบัญชีในเดือนธันวาคมจึงต้องปรับปรุงบัญชี ในท่ีนี้บันทึกค่าเช่าพ้ืนที่เป็น
คา่ ใช้จ่ายจ่ายลว่ งหน้า จากขอ้ มูลข้างต้นแสดงการบันทึกรายการลงในสมุดรายวันท่ัวไป ท้ังในวันที่รับ
เงินสด และวันที่ปรับปรงุ รายการในวนั ส้ินงวด แล้วผา่ นรายการไปยังบัญชีแยกประเภท ไดด้ ังนี้

สมดุ รายวนั ท่วั ไป หนา้ บัญชี 1

วันท่ี รายการ เลขท่ีบัญชี เดบิต เครดิต
30,000 - 30,000 -
25X1 20,000 -
20,000 -
พ.ย. 1 ค่าเชา่ พน้ื ทจ่ี า่ ยลว่ งหน้า 105

เงินสด 101

จ่ายค่าเชา่ พนื้ ทล่ี ว่ งหนา้ 3 เดือน

ธ.ค.31 คา่ เช่าพ้ืนที่ 504

ค่าเชา่ พนื้ ทีจ่ า่ ยล่วงหนา้ 105

ปรบั ปรุงรายการค่าเชา่ จ่ายลว่ งหน้า

เป็นค่าใช้จ่าย 2 เดือน

หมายเหตุ เลขทบ่ี ญั ชีสมมตขิ ้ึนแต่แยกตามมาตรฐานหมวดบัญชี

การผ่านรายการไปยังบญั ชแี ยกประเภท
เงินสด
เลขทีบ่ ญั ชี 101

วนั ท่ี รายการ หนา้ เดบติ วนั ที่ รายการ หน้า เครดติ
บัญชี บัญชี

25X1 25X1
พ.ย. 1 ค่าเชา่ พน้ื ที่ รว.1 30,000 -
จ่ายล่วงหนา้

หมายเหตุ แสดงเฉพาะการบันทึกรายการค่าเช่าพน้ื ทจี่ ่ายล่วงหน้า ในบญั ชเี งนิ สด

144

วนั ท่ี รายการ คา่ เชา่ พ้ืนทจ่ี ่ายลว่ งหนา้ เลขท่ีบญั ชี 105
หนา้ เครดิต
25X1 หน้า เดบติ วันที่ รายการ บัญชี
พ.ย. 1 เงนิ สด บญั ชี
รว.1 20,000 -
25X2 25X1 ✓ 10,000 -
ม.ค. 1 ยอดยกมา รว.1 30,000 - ธ.ค.31 คา่ เชา่ พ้นื ท่ี
30,000 -
ยอดยกไป
30,000 -
✓ 10,000 -

ค่าเชา่ พืน้ ที่

วนั ท่ี รายการ หนา้ เดบติ วนั ที่ รายการ เลขที่บัญชี 504
บัญชี 25X1
20,000 - หนา้ เครดิต
25X1 20,000 - บญั ชี
ธ.ค. 31 ค่าเช่าพ้นื ที่ รว.1

จา่ ยลว่ งหน้า

-รายได้รับล่วงหน้า (unearned revenues) หมายถึงกิจการรับเงินจากลูกค้ามา
ล่วงหน้า โดยส่งมอบสินค้าหรือบริการแก่ลูกค้ายังไม่หมดในวันสิ้นงวดบัญชีปัจจุบัน ดังน้ันรายได้ท่ี
รบั มาจึงต้องบันทึกในงวดบัญชีปัจจุบันส่วนหน่ึง และอีกส่วนหน่ึงบันทึกในงวดบัญชีถัดไป การบันทึก
รายการปรับปรงุ บญั ชที ำได้ 2 วิธี คือ 1) บันทึกเป็นรายได้รบั ล่วงหน้า โดยถือว่าเป็นหน้สี ิน และ 2) บันทึก
เป็นรายได้ โดยถอื ว่าเป็นรายการรายได้ทีก่ ิจการไดร้ ับมาแลว้

ตัวอย่างเช่น เม่ือวันที่ 1 ธันวาคม 25X1 กิจการได้รับเงินสดค่าบริการล่วงหน้าก่อน
ให้บริการกับลูกค้าต่อเนื่องเป็นเวลา 3 เดือน จากเดือนธันวาคม 25X1 และเดือนมกราคม เดือน
กมุ ภาพนั ธ์ 25X2 รวมเป็นเงิน 15,000 บาท โดยคา่ บรกิ ารต่อเดือนมีมลู ค่า 5,000 บาท

เมอื่ ส้นิ งวดบัญชีในเดือนธันวาคมจึงต้องปรับปรุงบญั ชี ในทน่ี บ้ี ันทึกเงนิ ค่าบรกิ ารเป็น
รายได้รับล่วงหน้า จากข้อมูลข้างต้นแสดงการบันทึกรายการลงในสมุดรายวันทั่วไป ทั้งในวันที่รับเงิน
สด และวนั ทป่ี รับปรุงรายการในวนั สิน้ งวด แลว้ ผา่ นรายการไปยังบัญชแี ยกประเภท ได้ดงั นี้

145

สมดุ รายวันท่ัวไป หน้าบญั ชี 1

วันท่ี รายการ เลขทบี่ ญั ชี เดบติ เครดิต
15,000 - 15,000 -
25X1 5,000 -
5,000 -
ธ.ค. 1 เงินสด 101

รายได้ค่าบริการรับล่วงหน้า 207

ได้รบั ค่าบริการลว่ งหนา้ 3 เดือน

31 รายไดค้ ่าบริการรบั ล่วงหนา้ 207

รายได้คา่ บรกิ าร 401

ปรับปรงุ รายการรายไดร้ บั ล่วงหน้าเป็น

รายได้ 1 เดือน

การผา่ นรายการไปยงั บัญชีแยกประเภท
เงนิ สด

วันที่ รายการ หน้า เดบติ วันที่ รายการ เลขทบ่ี ญั ชี 101

บญั ชี หนา้ เครดิต
บญั ชี

25X1 25X1

ธ.ค. 1 รายได้ รว.1 15,000 -

ค่าบรกิ าร

รับลว่ งหนา้

หมายเหตุ แสดงเฉพาะการบันทกึ รายการรายได้ค่าบรกิ ารรบั ลว่ งหน้าในบญั ชเี งินสด

วนั ที่ รายการ รายไดค้ า่ บริการรับล่วงหน้า เลขทีบ่ ัญชี 207
หนา้ เครดติ
25X1 หนา้ เดบิต วันที่ รายการ บญั ชี
ธ.ค. 31 รายได้ บญั ชี
รว.1 15,000 -
คา่ บรกิ าร 25X1
ยอดยกไป รว.1 5,000 - ธ.ค. 1 เงนิ สด 15,000 -
✓ 10,000 -
✓ 10,000 -
15,000 - 25X2
ม.ค. 1 ยอดยกมา

146

วนั ท่ี รายการ หน้า รายได้คา่ บรกิ าร เลขทีบ่ ัญชี 401
บญั ชี หน้า เครดิต
เดบติ วนั ท่ี รายการ บัญชี
25X1
25X1 รว.1 5,000 -
ธ.ค.31 รายได้
5,000 -
คา่ บรกิ าร
รบั ล่วงหน้า

-ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย (accrued expenses) หมายถึงค่าบริการที่กิจการได้รับ
บรกิ ารแล้ว แตก่ ิจการยังไม่ได้ชำระเงินเมอื่ สิน้ งวดบัญชีปัจจุบัน ดังนั้นการปรับปรุงรายการจึงเป็นการ
รับรคู้ า่ ใช้จ่ายแม้วา่ ยงั ไม่ได้จ่ายเงนิ ออกไปกต็ าม และต้องรับรู้วา่ มหี นี้สินเกดิ ข้ึน

การบันทึกบัญชีตามหลักสมการบัญชี เมื่อมีค่าใช้จ่ายเพิ่มขึ้น จึงต้องเดบิต
คา่ ใช้จ่าย และเมือ่ มีหน้ีสินเพิ่มขึน้ ซึง่ กค็ ือรายการคา่ ใชจ้ า่ ยคา้ งจา่ ย จึงต้องเครดิตค่าใช้จา่ ยค้างจ่าย

ตัวอย่างเช่น กิจการได้รับใบแจ้งชำระค่าสาธารณูปโภคของเดือนธันวาคม 25X1
รวมเป็นเงิน 10,000 บาท เมื่อปลายเดือนธันวาคม 25X1 จนปิดบัญชีในวันส้ินเดือนยังไม่ได้ชำระ
ดังน้ันกิจการมีค่าสาธารณูปโภคในงวดบัญชีเดือนธันวาคม ที่ยังไม่ได้ชำระเงินเป็นจำนวน 10,000 บาท
ซึ่งต้องบันทกึ การรับรรู้ ายการดงั กล่าวเปน็ คา่ ใช้จ่าย ดังน้ี

สมดุ รายวันท่ัวไป หนา้ บัญชี 1

วนั ที่ รายการ เลขท่บี ัญชี เดบติ เครดิต
10,000 - 10,000 -
25X1

ธ.ค. 31 คา่ สาธารณปู โภค 507

คา่ สาธารณูปโภคค้างจ่าย 206

คา้ งชำระค่าสาธารณปู โภค

การผา่ นรายการไปยังบัญชีแยกประเภท
ค่าสาธารณปู โภค

วนั ที่ รายการ หนา้ เดบิต วันท่ี รายการ เลขทบ่ี ญั ชี 507
บญั ชี 25X1
25X1 หน้า เครดิต
ธ.ค. 31 คา่ สาธารณปู โภค รว.1 10,000 - บัญชี

ค้างจา่ ย 10,000 -

147

คา่ สาธารณปู โภคค้างจ่าย

เลขทีบ่ ัญชี 206

วนั ท่ี รายการ หน้า เดบติ วนั ท่ี รายการ หนา้ เครดติ

25X1 บญั ชี บญั ชี
ธ.ค. 31 ยอดยกไป
25X1

✓ 10,000 - ธ.ค. 31 คา่ รว.1 10,000 -
สาธารณปู โภค

10,000 - 10,000 -
25X2

ม.ค. 1 ยอดยกมา ✓ 10,000 -

ถ้าสมมุติกิจการชำระค่าสาธารณูปโภคในวันที่ 5 มกราคม 25X2 ก็จะบันทึกบัญชี

เกย่ี วกบั ค่าสาธารณูปโภคคา้ งจ่าย ดังนี้

สมดุ รายวนั ท่วั ไป หนา้ บญั ชี 1

วนั ที่ รายการ เลขที่บัญชี เดบติ เครดติ

25X2

ม.ค. 1 ค่าสาธารณปู โภคคา้ งจา่ ย 10,000 -

ค่าสาธารณูปโภค 10,000 -

กลบั รายการค่าสาธารณูปโภคคา้ งจา่ ย

5 คา่ สาธารณูปโภค 10,000 -
เงินสด 10,000 -
จา่ ยชำระคา่ สาธารณปู โภค

หมายเหตุ ไมไ่ ด้ผา่ นรายการไปยงั บัญชีแยกประเภทจึงไม่ใสเ่ ลขทบี่ ญั ชี

รายได้ค้างรับ (accrued revenues) หมายถึงรายได้ท่ีเกิดข้ึนแล้วในงวดปัจจุบัน
แต่กิจการยังไม่ได้รับเงิน ดังน้ันการปรับปรุงรายการจึงเป็นการรับรู้ว่ากิจการมีรายได้เพ่ิมขึ้นแม้ว่ายัง
ไมไ่ ดร้ บั เงินกต็ าม และรบั รู้ว่ามีสนิ ทรพั ย์เพมิ่ ขน้ึ จากรายได้คา้ งรบั

การบันทึกบัญชีตามหลักสมการบัญชี เม่ือมีรายได้เพิ่มข้ึน จึงต้องเครดิตรายได้
และเมื่อมสี นิ ทรัพย์เพิม่ ข้นึ ซงึ่ ก็คอื รายการรายไดค้ า้ งรับ จงึ ตอ้ งเดบิตรายไดค้ ้างรับ

ตัวอย่างเช่น เม่ือวันท่ี 1 กันยายน 25X1 กิจการฝากเงินออมทรัพย์พิเศษ 6 เดือน
จำนวน 1,000,000 บาท ได้รับดอกเบี้ย 2.4% ต่อปี ซ่ึงครบกำหนดได้รับดอกเบี้ยในวันท่ี 1 กุมภาพันธ์
25X2 ดังน้ันหากปิดบัญชีในเดือนธันวาคม 25X1 ซึ่งฝากเงินมาเป็นระยะเวลา 4 เดือน มีดอกเบ้ียรับ
8,000 บาท (1,000,000X2.4%X4/12) แม้ยังไม่ไดร้ ับ จงึ ต้องบนั ทึกเปน็ รายการดอกเบี้ยคา้ งรับ

148

สมุดรายวันทั่วไป หน้าบัญชี 1

วันท่ี รายการ เลขท่บี ญั ชี เดบิต เครดติ
8,000 - 8,000 -
25X1

ธ.ค. 31 ดอกเบ้ียคา้ งรบั 105

ดอกเบี้ยรับ 402

ดอกเบ้ียค้างรับ (1 ก.ย.-31 ธ.ค.)

การผ่านรายการไปยังบญั ชแี ยกประเภท

วันท่ี รายการ ดอกเบีย้ ค้างรบั เลขท่บี ญั ชี 105
หนา้ เครดิต
25X1 หนา้ เดบิต วันท่ี รายการ บัญชี
ธ.ค. 31 ดอกเบีย้ รับ บัญชี
✓ 8,000 -
25X1
รว.1 8,000 - ธ.ค. 31 ยอดยกไป

8,000 - 8,000 -
✓ 8,000 -
25X2 ยอดยกมา
ม.ค. 1

ดอกเบยี้ รับ
เลขทบ่ี ัญชี 402

วันท่ี รายการ หนา้ เดบิต วันท่ี รายการ หน้า เครดิต
บญั ชี บญั ชี

25X1 25X1
ธ.ค. 31 ดอกเบ้ีย รว.1 10,000 -
คา้ งรบั
10,000

เม่ือกิจการได้รับดอกเบ้ียรับในวันที่ 1 กุมภาพันธ์ 25X1 ซึ่งดอกเบ้ีย 6 เดือนที่ได้รับ
คอื จำนวน 12,000 บาท (1,000,000X2.4%X6/12) ก็จะบันทกึ บญั ชีดอกเบีย้ ค้างรบั ดังนี้

149

สมุดรายวนั ทัว่ ไป หน้าบญั ชี 1

วนั ท่ี รายการ เลขทีบ่ ัญชี เดบติ เครดติ
8,000 - 8,000 -
25X2 12,000 -
12,000 -
ม.ค. 1 ดอกเบ้ยี รับ

ดอกเบย้ี คา้ งรับ

กลบั รายการดอกเบย้ี คา้ งรบั

ก.พ. 1 เงินสด
ดอกเบ้ยี รบั

รบั เงนิ สดดอกเบ้ยี 6 เดือน (1ก.ย.-1

ก.พ.)

หมายเหตุ ไมไ่ ดผ้ า่ นรายการไปยังบญั ชีแยกประเภทจึงไม่ใสเ่ ลขที่บัญชี

-ค่าเส่ือมราคา (depreciation) คือค่าใช้จ่ายท่ีตัดออกจากมูลค่าของสินทรัพย์
ถาวร เน่ืองจากการเสอ่ื มสภาพ ค่าเส่ือมราคาจะบันทึกเปน็ ค่าใช้จ่ายในงบกำไรขาดทุน และการบนั ทึก
ค่าเส่ือมราคาจะบันทึกคู่กับรายการค่าเส่ือมราคาสะสม ซึ่งสะสมค่าเส่ือมราคามาจนถึงวันทำงบการเงิน
บญั ชีค่าเสื่อมราคาสะสมเป็นบัญชีท่ีปรับมูลค่าสินทรัพย์ จึงใชห้ มวดบัญชเี ลข 1 (ศศิวมิ ล มีอำพล, 2558,
หน้า 2-16) คา่ เสื่อมราคาสะสมจะไปหักมูลค่าสินทรัพย์ในงบดุลหรอื งบแสดงฐานะการเงนิ ของกิจการ
สำหรับการคำนวณค่าเสือ่ มราคานัน้ มีหลายวิธี ในท่นี ี้แสดงเฉพาะวิธีเส้นตรง ดงั นี้

ค่าเส่ือมราคาต่อปี = (ราคาสินทรพั ย์-มลู ค่าซาก)/ อายุการใชง้ าน (ปี)

ตวั อย่างเช่น กจิ การซื้อเครื่องจักรมาในราคา 30,000 บาท เม่อื วันท่ี 1 มกราคม
25X1 ประมาณอายุการใช้งาน 5 ปี และประมาณมลู ค่าซาก 5,000 บาท

คา่ เสือ่ มราคาต่อปี = (ราคาสินทรัพย์-มูลคา่ ซาก)/ อายุการใช้งาน
= (30,000-5,000)/5
= 5,000 บาท

ดังน้ันในวันปรับปรุงบัญชีส้ินงวด 31 ธันวาคม 25X1 กิจการจึงต้องบันทึกค่าเส่ือม
ราคาในสมุดรายวันท่วั ไปและผ่านบญั ชแี ยกประเภท

150

สมดุ รายวนั ทั่วไป หน้าบัญชี 1

วันท่ี รายการ เลขทบี่ ัญชี เดบิต เครดติ
5,000 - 5,000 -
25X1

ธ.ค. 31 ค่าเสอ่ื มราคา-เคร่ืองจกั ร 508

ค่าเส่ือมราคาสะสม-เครอ่ื งจักร 108

คำนวณคา่ เส่ือมราคาเครื่องจักร

การผา่ นรายการไปยงั บญั ชีแยกประเภท

ค่าเสื่อมราคา-เครอื่ งจกั ร

วนั ที่ รายการ หน้า เดบิต วันที่ รายการ เลขทีบ่ ญั ชี 508
บัญชี
25X1 หนา้ เครดติ
25X1 5,000 - บญั ชี
ธ.ค. 31 คา่ เสื่อมราคาสะสม รว.1

5,000 -

วันท่ี รายการ คา่ เสื่อมราคาสะสม-เคร่ืองจักร เลขท่บี ัญชี 108
หน้า เครดิต
25X1 หนา้ เดบิต วนั ที่ รายการ บัญชี
ธ.ค. 31 ยอดยกไป บญั ชี
รว.1 5,000 -
25X1
✓ 5,000 - ธ.ค. 31 คา่ เส่อื มราคา

5,000 - 5,000 -
25X2 ยอดยกมา ✓ 5,000 -
ม.ค. 1

-ค่าเผื่อหน้ีสงสัยจะสูญ (allowance for doubtful debt หรือ bad debts
expense) จากการที่กิจการขายสินค้าหรือบริการเป็นเงินเชื่อ แล้วลูกค้าซึ่งเป็นลูกหน้ีการค้าของ
กิจการไม่ชำระเงินตามท่ีตกลงและกิจการไม่สามารถเรียกเก็บเงินได้ ดังน้ันจึงต้องตัดออกจาก
บัญชีลูกหน้ีการค้า ทำให้ลูกหนี้การคา้ ซ่ึงเป็นสินทรพั ย์ของกิจการลดลง แต่กจิ การมีค่าใช้จ่ายเพิ่มจาก
หน้ีสูญท่ีเกิดข้ึน ทัง้ น้ีหน้ีสูญบางรายที่เกิดข้นึ ในงวดบญั ชีท่ีมีการซื้อขาย แต่บางรายทราบว่าเป็นหนี้สูญ
ในงวดบัญชีถัด ๆ ไป อย่างไรก็ดีหน้ีสูญที่เกิดข้ึนน้ันหากเกิดจากการซื้อขายในงวดบัญชีใด ก็ควรเป็น

151

คา่ ใช้จ่ายของงวดบัญชีนั้น ๆ ตามหลักการจับคู่รายได้กับค่าใช้จ่าย และหลักความระมัดระวงั ดังนั้น
วธิ ีการที่ดีเมื่อสิ้นงวดบัญชีจึงควรต้ังค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญประจำงวดบัญชีนั้น การประมาณหน้ีสงสัย
จะสูญสามารถทำโดย 1) ประมาณเป็นร้อยละจากรายได้ตลอดงวดบัญชี หรือ 2) ประมาณการเป็น
รอ้ ยละของยอดลูกหนีค้ งเหลอื ในวนั สิน้ งวดบญั ชี

การบันทึกหน้ีสงสัยจะสญู ซ่ึงเป็นคา่ ใช้จ่ายจะบนั ทึกคู่กับรายการค่าเผื่อหนีส้ งสยั จะสูญ
ซง่ึ เป็นบัญชที ีป่ รับมูลค่าลกู หน้ี จงึ ใช้หมวดบญั ชีเลข 1

ตัวอย่างเชน่ ส้ินเดอื นธันวาคม 25X1 กิจการมรี ายได้ 100,000 บาท จากประสบการณ์
การขายที่ผ่านมาและการเรียกเก็บหนี้ กิจการจึงประมาณค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ 1% ของรายได้
ดังน้ันในงวดบัญชีน้ีต้องตั้งค่าเผ่ือหนี้สงสัยจะสูญ (100,000X1%) = 1,000 บาท การบันทึกรายการ
เพ่ือปรบั ปรุงบัญชีเป็นดังน้ี

สมดุ รายวันท่ัวไป หนา้ บญั ชี 1

วันท่ี รายการ เลขทบ่ี ัญชี เดบิต เครดติ
1,000 - 1,000 -
25X1

ธ.ค. 31 หนี้สงสัยจะสูญ 510

ค่าเผื่อหน้ีสงสัยจะสูญ 110

ปรบั ปรงุ ค่าเผื่อหน้ีสงสยั จะสญู

การผ่านรายการไปยงั บญั ชีแยกประเภท

วันท่ี รายการ หน้สี งสยั จะสญู
เลขทีบ่ ัญชี 510
25X1
ธ.ค. 31 คา่ เผื่อหนสี้ งสัย หน้า เดบติ วันท่ี รายการ หนา้ เครดิต
บัญชี บัญชี
จะสญู
25X1
รว.1 1,000 -

1,000 -

152

วันที่ รายการ คา่ เผ่ือหนี้สงสัยจะสูญ เลขท่บี ญั ชี 110
หน้า เครดิต
25X1 หน้า เดบติ วนั ท่ี รายการ บัญชี
ธ.ค. 31 ยอดยกไป บญั ชี
รว.1 1,000 -
25X1
✓ 1,000 - ธ.ค. 31 หนี้สงสัยจะ 1,000 -
✓ 1,000 -
สูญ
1,000 -

25X2 ยอดยกมา
ม.ค. 1

-วัสดุส้ินเปลืองใช้ไป (supplies used) คือสินทรัพย์ซึ่งใช้แล้วหมดไป จัดอยู่ใน
กลุ่มสินทรัพย์หมุนเวียนของกิจการ การเบิกใช้วัสดุส้ินเปลืองในแต่ละรอบบัญชีจะเกิดข้ึนบ่อยและแต่
ละครั้งอาจมีมูลค่าไม่มาก จึงมักทำทะเบียนควบคุมการเบิกใช้ และปรับปรุงบัญชีวัสดุสิ้นเปลือง ในวัน
สิ้นงวด โดยตัดรายการวัสดุส้ินเปลืองที่ใช้ไปในการดำเนินงานออกเป็นค่าใช้จ่าย ส่วนจำนวนวัสดุ
ส้ินเปลืองท่ีเหลือซึ่งยังไม่ได้ใช้ประโยชน์แสดงในบัญชีวัสดุสิ้นเปลืองซึ่งเป็นสินทรัพย์เพื่อนำไปใช้
ประโยชน์ในงวดบัญชีถัดไป ท้ังน้ีการบันทึกบัญชีเมื่อซื้อวัสดุสิ้นเปลืองมาทำได้ 2 วิธี คือ 1) บันทึก
เปน็ สินทรพั ย์ และ 2) บันทกึ เปน็ ค่าใชจ้ ่าย

การคำนวณวัสดุสิน้ เปลอื งใช้ไป = วสั ดสุ ิ้นเปลอื ง + ซ้ือวัสดสุ ้ินเปลือง - วัสดสุ นิ้ เปลือง
ตน้ งวดยกมา ระหว่างงวด ตรวจนับปลายงวด

ตัวอย่างเช่น กิจการมีวัสดุสำนักงานคงเหลือต้นงวดเดือนมกราคม 25X1 จำนวน

2,000 บาทระหว่างงวดบัญชีในวันท่ี 15 ตุลาคม ซื้อวัสดุสำนักงานมาใช้ในกิจการ เป็นจำนวนเงิน

10,000 บาท และในวันสิ้นงวดตรวจนับคงเหลือตีราคาได้ 4,000 บาท จากข้อมูลน้ีแสดงว่าวัสดุ

สำนกั งานใช้ไปเท่ากับ 8,000 บาท

ในทน่ี ้ีแสดงการบันทึกรายการเพอ่ื ปรบั ปรงุ บัญชี ดว้ ยการบันทึกวัสดุสำนักงาน ซง่ึ ซอ้ื

มาเปน็ สนิ ทรัพย์

สมุดรายวันทว่ั ไป หนา้ บญั ชี 1

วนั ที่ รายการ เลขทบ่ี ญั ชี เดบิต เครดติ

25X1

ธ.ค. 15 วัสดสุ ำนกั งาน 103 10,000 -

เงนิ สด 101 10,000 -

ซอ้ื วัสดสุ ำนกั งาน

ธ.ค. 31 วัสดุสำนกั งานใช้ไป 507 8,000 -

วัสดสุ ำนักงาน 103 8,000 -

ปรับปรงุ วสั ดสุ ำนกั งาน

153

การผา่ นรายการไปยงั บัญชแี ยกประเภท
เงินสด
เลขทบี่ ัญชี 101

วนั ท่ี รายการ หน้า เดบิต วนั ท่ี รายการ หน้า เครดติ
บัญชี บญั ชี

25X1 25X1
ต.ค. 15 วัสดสุ ำนักงาน รว.1 10,000 -

หมายเหตุ แสดงเฉพาะการบันทกึ รายการวสั ดุสำนักงาน

วัสดุสำนักงาน

เลขที่บญั ชี 103

วนั ท่ี รายการ หน้า เดบิต วันที่ รายการ หน้า เครดติ

25X1 บัญชี บญั ชี
ม.ค. 1 ยอดยกมา
ต.ค.15 เงนิ สด 25X1

25X2 ยอดยกมา รว.1 2,000 - ธ.ค. 31 วสั ดสุ ำนักงาน รว.1 8,000 -
ม.ค. 1 ใชไ้ ป
รว.1 10,000 -
ยอดยกไป ✓
4,000 -

12,000 - 12,000 -

✓ 4,000 -

วันที่ รายการ วัสดสุ ำนกั งานใช้ไป เลขทีบ่ ัญชี 507

25X1 หนา้ เดบติ วนั ท่ี รายการ หนา้ เครดติ
ธ.ค. 31 วสั ดุสำนกั งาน บัญชี บญั ชี

รว.1 8,000 -

8,000 -

154

จากตัวอย่างร้านเอบริการ ซึ่งได้ทำงบทดลองไปแล้วข้างต้น มีรายการปรับปรุงบัญชี
ในวนั สนิ้ งวด 31 ธันวาคม 25XX ดงั น้ี

1. วัสดุสิ้นเปลืองมียอดด้านเดบิต 30,000 บาท เมื่อตรวจนับปลายงวดคงเหลือ 8,000
บาท ดงั นัน้ วสั ดสุ ้นิ เปลืองใช้ไปเทา่ กบั 22,000 บาท

2. ค่าสาธารณูปโภคมีเพิ่มอีก 1 รายการ ซึ่งไม่ได้บันทึกบัญชีและยังไม่ได้ชำระเงิน
จำนวน 1,000 บาท

3. ค่าเผ่อื หนี้สงสยั จะสูญ 5% ของยอดลกู หน้ีการคา้ 5,000 บาท คิดเป็น 250 บาท
4. กิจการซ้ืออุปกรณ์ในราคา 30,000 บาท เมื่อวันท่ี 5 ธันวาคม 25XX ประมาณ
อายุการใช้งาน 5 ปี และประมาณมูลค่าซาก 5,000 บาท (1 ปี = 360 วัน) ดังนั้นค่าเสื่อมราคา-
อปุ กรณ์ (30,000-5,000)/5 = 5,000X270/360 = 3,750 บาท

การบนั ทกึ รายการปรบั ปรงุ ในสมุดรายวนั ทั่วไป ณ วันที่ 31 ธนั วาคม 25XX เป็นดงั น้ี

สมดุ รายวันทัว่ ไป หน้าบญั ชี 1

วนั ที่ รายการ เลขท่ี เดบิต เครดิต
22,000 - 22,000 -
บัญชี 1,000 - 1,000 -

25XX วสั ดสุ น้ิ เปลอื งใชไ้ ป 504 250 - 250 -
3,750 - 3,750 -
ธ.ค.31 วัสดุสนิ้ เปลอื ง 103

ปรับปรงุ วสั ดุสิน้ เปลืองใชไ้ ป

คา่ สาธารณปู โภค 503

คา่ สาธารณปู โภคค้างจา่ ย 202

คา้ งชำระค่าสาธารณปู โภค

หน้ีสงสัยจะสญู 505

ค่าเผ่อื หนสี้ งสยั จะสญู 105

ตงั้ ค่าเผ่อื หนีส้ งสยั จะสญู 5% ของยอดลูกหนี้

คา่ เสือ่ มราคา-อุปกรณ์ 506

คา่ เสอ่ื มราคาสะสม-อุปกรณ์ 106

คำนวณค่าเสื่อมราคาอุปกรณ์

155

ผ่านรายการปรับปรุงไปยังบัญชีแยกประเภทจะเป็นดังน้ี

วัสดสุ ้นิ เปลือง

เลขที่บญั ชี 103

วนั ที่ รายการ หน้า เดบิต วันท่ี รายการ หนา้ เครดิต

บญั ชี บัญชี

25XX 25XX

ธ.ค. 10 เจา้ หนี้ รว.1 20,000 - ธ.ค.31 วสั ดุสิน้ เปลือง รว.1 22,000 -

การคา้ ใชไ้ ป

11 เงินสด 10,000 - ยอดยกไป ✓ 8,000 -

30,000 - 30,000 -

25X1 ยอดยกมา ✓ 8,000 -

ม.ค. 1

วัสดุส้ินเปลืองใช้ไป

วันที่ รายการ หน้า เดบิต วนั ท่ี รายการ เลขทบี่ ญั ชี 504
บัญชี 25XX
25XX หน้า เครดิต
ธ.ค. 31 วัสดสุ ิ้นเปลือง รว.1 22,000 - บญั ชี
22,000 -

วันที่ รายการ ค่าสาธารณูปโภค รายการ เลขทบ่ี ัญชี 503

25XX หน้า เดบติ วนั ท่ี หน้า เครดิต
ธ.ค. 28 เงินสด บญั ชี บัญชี
ธ.ค. 31 คา่ สาธารณปู โภค
25XX
ค้างจา่ ย รว.1 3,000 -
รว.1 1,000 -

4,000 -

156

คา่ สาธารณูปโภคคา้ งจา่ ย

เลขที่บญั ชี 202

วนั ที่ รายการ หน้า เดบิต วนั ที่ รายการ หน้า เครดติ

25XX บัญชี บัญชี
ธ.ค. 31 ยอดยกไป
25XX

✓ 1,000 - ธ.ค. 31 ค่าสาธารณปู โภค รว.1 1,000 -

1,000 - 1,000 -
25X1 ยอดยกมา ✓ 1,000 -

ม.ค. 1

หนส้ี งสัยจะสญู รายการ เลขทบี่ ัญชี 505

วันท่ี รายการ หนา้ เดบติ วันท่ี หน้า เครดิต
บญั ชี บัญชี

25XX 25XX
ธ.ค.31 คา่ เผอ่ื หนี้สงสยั จะสญู รว.1 250 -

250 -

วนั ท่ี รายการ ค่าเผอ่ื หน้สี งสัยจะสญู เลขทบ่ี ัญชี 105
หนา้ เครดติ
25XX หน้า เดบติ วันที่ รายการ บญั ชี
ธ.ค. 31 ยอดยกไป บัญชี
รว.1 250 -
25XX 250 -
✓ 250 - ธ.ค.31 หน้ีสงสยั จะสญู
✓ 250 -
250 -
25X1 ยอดยกมา
ม.ค. 1

157

วนั ที่ รายการ ค่าเสอ่ื มราคา-อปุ กรณ์ รายการ เลขทบี่ ญั ชี 506

25XX หนา้ เดบิต วันท่ี หนา้ เครดิต
ธ.ค. 31 คา่ เส่ือมราคา บญั ชี บัญชี

สะสม-อุปกรณ์ 25XX
รว.1 3,750 -

-
3,750 -

วันที่ รายการ คา่ เสือ่ มราคาสะสม-อปุ กรณ์ เลขทบี่ ัญชี 106
หน้า เครดติ
25XX หนา้ เดบติ วนั ที่ รายการ บญั ชี
ธ.ค. 31 ยอดยกไป บัญชี
รว.1 3,750 -
25XX
✓ 3,750 - ธ.ค. 31 ค่าเสอ่ื มราคา- 3,750 -
✓ 3,750 -
อปุ กรณ์
3,750 -

25X1 ยอดยกมา
ม.ค. 1

5. การจัดทำงบทดลองหลังการปรับปรุง (preparing an adjusted trial balance)
รายการซ่ึงต้องปรับปรุงบัญชีเมื่อสิ้นงวด เม่ือบันทึกลงในสมุดรายวันทั่วไปและผ่านรายการไปยังบัญชี
แยกประเภท ย่อมทำให้รายการเหล่าน้ันมียอดดุลที่เปลี่ยนไป ดังนั้นเพ่ือความถูกต้องในการจัดทำงบ
การเงินต่อไป จึงควรทำงบทดลองใหม่อีกคร้ังหลังปรับปรุง ซ่ึงเรียกว่างบทดลองหลังรายการ
ปรบั ปรุง (adjusted trial balance)

จากตัวอย่างร้านเอบริการ แสดงงบทดลองหลังการปรับปรุงเปรียบเทียบกับก่อน
การปรบั ปรุงไดด้ งั น้ี

158

รา้ นเอบริการ
งบทดลอง
วนั ที่ 31 ธนั วาคม 25XX

ช่ือบญั ชี เลขที่ กอ่ นปรับปรุง หลังปรับปรุง
บญั ชี เดบิต เครดิต เดบิต เครดิต
เงนิ สด 101 127,250 127,250
ลูกหนี้การค้า 102 5,000
วัสดุสิ้นเปลือง 103 30,000 5,000
อุปกรณ์ 104 30,000 8,000
คา่ เผ่ือหนสี้ งสัยจะสูญ 105 30,000
คา่ เสื่อมราคาสะสม-อุปกรณ์ 106
เจา้ หน้ีการคา้ 201 20,000 250
คา่ สาธารณูปโภคค้างจ่าย 202 3,750
ทุน-นายเอ 301 100,000 20,000
ถอนใชส้ ว่ นตวั 302 1,000 1,000
รายได้คา่ บริการ 401 118,250 100,000
ค่าเช่าร้าน 501 10,000 1,000
คา่ สาธารณูปโภค 502 3,000 118,250
เงนิ เดือนพนักงาน 503 32,000 10,000
วัสดุส้นิ เปลืองใช้ไป 504 4,000
หน้สี งสัยจะสูญ 505 32,000
ค่าเส่ือมราคา-อุปกรณ์ 506 22,000
250
238,250 238,250 3,750

243,250 243,250

ข้อมูลในงบทดลองหลังรายการปรับปรุงจะนำไปใช้ในการทำงบการเงินของ
กิจการ แต่ถ้าหากกิจการใดท่ีมีจำนวนบัญชีและรายการปรับปรุงจำนวนมาก นักบัญชีมักใช้กระดาษ
ทำการ (work sheet) มาเป็นเครื่องมือช่วยให้การบันทึกรายการปรับปรุงและจัดทำงบการเงินสะดวก
มากขึ้น (ศศิวิมล มีอำพล, 2558, หน้า 5-1) ข้อมูลในกระดาษทำการจะมีรายการส่วนท่ีสรุปออกมา
เป็นงบการเงนิ เพ่อื รายงาน และอีกส่วนที่ไมไ่ ดเ้ ป็นงบการเงินจะปิดบัญชี

159

6. การปิดบัญชี (closing the accounts) การวัดผลการดำเนินงานสำหรับงวด
บัญชีหนึ่ง ๆ ว่ากำไรหรอื ขาดทุนอยา่ งไร ซ่ึงจะเกี่ยวข้องกบั บัญชีประเภทรายได้และค่าใช้จ่าย กจิ การ
ต้องปิดบัญชีดังกล่าวซ่ึงจัดว่าเป็นบัญชีชั่วคราว (temporary accounts) ให้ยอดคงเหลือเท่ากับศูนย์
(zero balance) ในวันส้ินงวด ซึ่งต่างจากบัญชีถาวร (permanent accounts) ได้แก่ บัญชีประเภท
สินทรัพย์ หนี้สิน และส่วนของเจ้าของหรอื ทุน ท่ีไม่ต้องโอนปิดเข้าบัญชีใด การปิดบัญชีประกอบด้วย
4 ข้ันตอนหลัก ได้แก่ ปิดบัญชีช่ัวคราวในสมุดรายวันท่ัวไป ผ่านรายการไปยังบัญชีแยกประเภท ปิด
บัญชีแยกประเภทต่าง ๆ และจัดทำงบทดลองหลังปิดบัญชี (เบญจมาศ อภิสิทธ์ิภิญโญ, 2557, หน้า
119-120) ดงั รายละเอียดตอ่ ไปน้ี

6.1 ปิดบญั ชชี ว่ั คราวในสมดุ รายวนั ทวั่ ไป
6.1.1 กิจการในรูปแบบเจ้าของคนเดียว ในการปิดบัญชีจะโอนบัญชีประเภท

รายได้เข้าบัญชีกำไรขาดทุนหรือบัญชีสรุปยอดรายได้ค่าใช้จ่าย (เดบิตรายได้ต่าง ๆ และเครดิตกำไร
ขาดทุน) โอนบัญชีประเภทค่าใช้จ่ายเข้าบัญชีกำไรขาดทุน (เดบิตกำไรขาดทุน และเครดิตค่าใช้จ่าย
ต่างๆ) โอนบัญชีกำไรขาดทุนเข้าบัญชีทุน หากกิจการมีกำไรหรือรายได้มากกว่าค่าใชจ้ ่าย (เดบิตกำไร
ขาดทุน เครดิตทุน) แต่ถ้ากิจการขาดทุนหรือมีค่าใช้จ่ายมากกว่ารายได้ (เดบิตทุน เครดิตกำไร
ขาดทนุ ) และโอนปิดบัญชถี อนใชส้ ว่ นตัวเขา้ บัญชีทนุ (เดบิตทนุ เครดิตถอนใชส้ ่วนตวั )

6.1.2 กิจการในรูปแบบห้างหุ้นส่วน การบันทึกบัญชีเหมือนกับกิจการเจ้าของ
คนเดียว ในการปิดบัญชีต่างกันตรงท่ีส่วนของเจ้าของ การลงทุน และการถอนใช้ส่วนตัว จะแยกเป็น
ของหุ้นส่วนแต่ละคน กำไรสุทธิหรือขาดทุนสุทธิในแต่ละงวดบัญชีจะถูกโอนปิดไปเข้าบัญชีของหุ้นส่วน
แต่ละคนตามข้อตกลงของผู้เป็นหุ้นส่วน (อำนาจ รัตนสุวรรณ และอรรถพล ตริตานนนท์, 2560, หน้า
95)

6.1.3 กิจการในรูปแบบบริษัท ในการปิดบัญชีจะคล้ายกับการปิดบัญชีของ
กิจการเจ้าของคนเดียว โดยโอนบัญชีประเภทรายได้เข้าบัญชีกำไรขาดทุนหรือบัญชีสรุปยอดรายได้
ค่าใช้จ่าย โอนบัญชีประเภทค่าใช้จ่ายเข้าบัญชีกำไรขาดทุน แต่ต่างตรงท่ีโอนบัญชีกำไรขาดทุนเข้า
บัญชีกำไรสะสม และโอนปิดบัญชีเงินปันผลจ่าย (ถ้ามี) ไปยังบัญชีกำไรสะสม (วัฒนา ศิวะเกื้อ, ดุษฎี
สงวนชาติ และนันทพร พทิ ยะ, 2556, หนา้ 124)

6.2 ผา่ นรายการไปยงั บญั ชีแยกประเภท
6.3 ปิดบัญชีแยกประเภทตา่ ง ๆ
6.4 จัดทำงบทดลองหลังปิดบัญชีเพื่อพสิ ูจน์ความถูกต้องของการปิดบัญชีโดยยอด
คงเหลือดา้ นเดบติ ต้องเท่ากับด้านเครดติ หรอื สินทรัพยเ์ ทา่ กบั หน้สี ินบวกกบั ส่วนของเจา้ ของ

160

ตวั อยา่ งการปดิ บัญชใี นสมดุ รายวันทัว่ ไปของร้านเอบริการ ณ วนั ท่ี 31 ธนั วาคม 25XX

สมดุ รายวันทว่ั ไป หนา้ บัญชี 3

วันท่ี รายการ เลขท่บี ญั ชี เดบติ เครดติ

25XX รายได้คา่ บริการ 401 11,8250 -
ธ.ค. 31

กำไรขาดทนุ 303 118,250 -

โอนปิดบญั ชรี ายได้ไปบัญชกี ำไรขาดทุน

กำไรขาดทุน 303 72,000 -

ค่าเชา่ ร้าน 501 10,000 -

คา่ สาธารณปู โภค 502 4,000 -

เงนิ เดอื นพนักงาน 503 32,000 -

วัสดุสนิ้ เปลืองใช้ไป 504 22,000 -

หน้ีสงสยั จะสูญ 505 250 -

ค่าเสอ่ื มราคา-อุปกรณ์ 506 3,750 -

โอนปดิ บญั ชีคา่ ใชจ้ า่ ยไปบัญชีกำไรขาดทนุ

กำไรขาดทนุ 303 46,250 -

ทนุ -นายเอ 301 46,250 -

โอนปดิ บญั ชีกำไรขาดทุนไปยังบัญชีทนุ

ทนุ -นายเอ 301 1,000 -

ถอนใชส้ ว่ นตวั 302 1,000 -

โอนปิดบัญชีถอนใชส้ ว่ นตวั ไปยงั บญั ชที ุน

การผ่านรายการไปยังบัญชีแยกประเภท ในที่แสดงเฉพาะบัญชีทุนของนายเอ ซึ่งบัญชี
กำไรขาดทนุ และบัญชถี อนใชส้ ่วนตัว ไดโ้ อนไปปดิ บัญชีที่บญั ชีทนุ

ทุน-นายเอ

วนั ที่ รายการ หนา้ เดบติ วนั ที่ รายการ เลขทบ่ี ัญชี 301
บัญชี หนา้ เครดิต
25XX 25XX บัญชี
ธ.ค. 30 ถอนใช้ 1,000 - ธ.ค. 1 เงนิ สด
ธ.ค. 31 กำไรขาดทนุ รว.1 100,000 -
สว่ นตวั ✓ 145,250 - 46,250 -
ธ.ค.31 ยอดยกไป 146,250 - 25X1 ยอดยกมา
ม.ค.1 146,250 -
✓ 145,250 -

161

หลังจากผ่านรายการไปยงั บัญชีแยกประเภท ทุกรายการเป็นทเี่ รียบร้อย จะนำยอด

คงเหลอื ของบญั ชแี ยกประเภทมาจดั ทำงบทดลองหลงั รายการปิดบัญชี

ดังน้ันงบทดลองหลังรายการปิดบัญชีของร้านเอบริการ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 25XX

แสดงได้ดังนี้

ร้านเอบริการ

งบทดลองหลังรายการปิดบญั ชี

วนั ที่ 31 ธันวาคม 25XX

ช่อื บัญชี เลขทบ่ี ัญชี เดบิต เครดติ

เงนิ สด 101 127,250 250
ลกู หน้ีการค้า 102 5,000 3,750
วสั ดุสนิ้ เปลือง 103 8,000 20,000
อุปกรณ์ 104 30,000 1,000
คา่ เผ่ือหนส้ี งสัยจะสูญ 105 145,250
ค่าเสื่อมราคาสะสม-อุปกรณ์ 106 170,250 170,250
เจา้ หนี้การค้า 201
คา่ สาธารณูปโภคคา้ งจ่าย 202
ทนุ -นายเอ 301

7. การจัดทำงบการเงิน (preparing financial statements) กิจการที่มีจำนวนบัญชีและ
รายการปรับปรุงไม่มาก ข้อมูลจากงบทดลองหลังรายการปรับปรุงสามารถนำมาทำงบการเงินของกิจการ แต่
สำหรับกิจการท่ีมีจำนวนบัญชีและรายการปรับปรุงจำนวนมาก มักใช้กระดาษทำการมาเป็นเครื่องมือช่วย
บันทึกรายการปรับปรุงและจัดทำงบการเงิน ดงั น้ันสามารถนำข้อมูลท่ีแสดงงบการเงินในกระดาษทำการ มาใช้
รายงานงบการเงินของกิจการได้เลย งบการเงินถือว่าเป็นเป็นเคร่ืองชี้วัดความสามารถในการบริหารงาน
ของผู้ประกอบการหรือผู้บริหารของธุรกิจ รวมท้ังเป็นรายงานทางการเงินที่เป็นประโยชน์ในการ
ตัดสินใจทางเศรษฐกิจของผู้ใช้งบการเงินไม่ว่าจะเป็นผู้ประกอบการ ผู้บริหาร นักลงทุน ฯลฯ งบ
การเงนิ ซึ่งอธิบายในที่นี้ได้แก่ งบกำไรขาดทุน และงบแสดงฐานะการเงนิ หรืองบดลุ

7.1 งบ ก ำไรข าด ทุ น (profit and loss statement or income statement or
statement of income and expense) เป็นการแสดงผลการดำเนินงานของธุรกิจในช่วงเวลาหนึ่ง เช่น
เดือน ไตรมาส ปี ทำให้เห็นถึงรายได้และค่าใช้จ่ายจากทำธุรกิจ (Price, Haddock & Farina, 2012, p.34)
กล่าวได้ว่าเป็นรายงานการบัญชีซึ่งแสดงผลการดำเนินงานในรอบระยะเวลาหน่ึงของธุรกจิ ว่ามีกำไรหรือ
ขาดทนุ เท่าใด งบกำไรขาดทุนประกอบด้วย 2 รายการหลกั คอื รายได้ และ คา่ ใชจ้ ่าย

การจดั ทำงบกำไรขาดทนุ สามารถทำได้ 2 รปู แบบ คือ แบบบัญชี (account
form) หรือวา่ การเขยี นรายการแบบตวั T ซ่งึ แบง่ การเขียนเปน็ 2 ดา้ น คือ ดา้ นเดบติ ทางซ้ายมอื เพื่อ
บันทึกรายการเกยี่ วกบั ค่าใช้จ่าย และด้านเครดิตทางขวามือเพ่ือบันทึกรายการเกี่ยวกับรายได้ ส่วนอกี

162

รปู แบบคือ แบบรายงาน (report form) การจัดทำเป็นลักษณะเขียนไลบ่ รรทดั ลงมาต่อเนื่องกัน
ตั้งแต่รายได้ รายจ่าย กำไรสุทธิหรือขาดทนุ สทุ ธิ อย่างไรกด็ ไี ม่ว่าจดั ทำในรปู แบบใดต้องเร่ิมตน้ ดว้ ย
การเขียนหัวงบให้ถูกต้องสมบูรณ์ ประกอบดว้ ยชื่อกิจการ บรรทัดถดั มาช่ืองบกำไรขาดทนุ และระบุรอบ
ระยะเวลาทจี่ ดั ทำงบ หรือจะเขยี นชอ่ื งบและรอบระยะเวลาจัดทำงบอยู่คนละบรรทดั ก็ได้

ตวั อย่างการจัดทำงบกำไรขาดทนุ แบบบัญชี
จากตัวอย่างของร้านเอบริการ ซึ่งได้ทำงบทดลองหลังรายการปรับปรุง เมื่อนำ
ขอ้ มูลมาจัดทำงบกำไรขาดทนุ แบบบัญชี แสดงไดด้ งั นี้

รา้ นเอบริการ
งบกำไรขาดทนุ
สำหรับงวด 1 ปี สิน้ สดุ วนั ท่ี 31 ธันวาคม 25XX

เงินเดือนพนักงาน 32,000 - รายได้คา่ บริการ 118,250 -
ค่าเช่ารา้ น 10,000 - 118,250 -
คา่ สาธารณูปโภค 4,000 -
วัสดสุ ิน้ เปลอื งใช้ไป 22,000 -
หน้ีสงสยั จะสูญ
คา่ เสื่อมราคา-อปุ กรณ์ 250 -
กำไรสุทธิ 3,750 -
46,250

118,250 -

ถ้าหากขาดทุนสทุ ธใิ หน้ ำไปใส่ด้านตรงข้าม ดังตวั อย่าง

รา้ นกอขอคอ
งบกำไรขาดทนุ
สำหรับงวด 1 ปี สนิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 25XX

เงนิ เดือนพนกั งาน 30,000 - รายไดค้ ่าบริการ 70,000 -
ค่าเชา่ สำนกั งาน 10,000 - ขาดทนุ สุทธิ 5,000 -
คา่ โฆษณา 5,000 -
คา่ สาธารณปู โภค 10,000 - 75,000 -
วัสดสุ ิ้นเปลอื งใช้ไป 20,000 -

75,000 -

163

ตวั อย่างการจดั ทำงบกำไรขาดทนุ แบบรายงาน
จากตัวอย่างของร้านเอบริการ เม่ือนำข้อมูลจากงบทดลองหลังรายการปรับปรุง
มาจัดทำงบกำไรขาดทนุ แบบรายงาน แสดงไดด้ ังน้ี

ร้านเอบริการ
งบกำไรขาดทนุ
สำหรับงวด 1 ปี สน้ิ สดุ วนั ท่ี 31 ธันวาคม 25XX

รายได้ 32,000 บาท
รายไดค้ า่ บริการ 10,000 118,250
4,000
หกั คา่ ใชจ้ า่ ยในการดำเนินงาน 22,000 72,000
เงนิ เดอื นพนกั งาน 46,250
คา่ เชา่ ร้าน 250
คา่ สาธารณูปโภค 3,750
วัสดุส้ินเปลืองใชไ้ ป
หนี้สงสยั จะสูญ
ค่าเส่ือมราคา-อุปกรณ์

กำไรสุทธิ

7.2 งบแสดงฐานะการเงิน (the statement of financial position) หรืองบดุล
(balance sheet) คือ รายงานที่แสดงฐานะการเงินของกิจการ ณ วันใดวันหน่ึง โดยมีองค์ประกอบท่ี
เกี่ยวข้องโดยตรงกับการวัดฐานะการเงิน คือ สินทรัพย์ หนี้สิน และส่วนของเจ้าของ (ปาริชาติ มณีมัย,
2553, หน้า 2) หรือเป็นการแสดงสินทรัพย์ หน้ีสิน และส่วนของเจ้าของในรูปรายงานทางการเงิน
(Price, Haddock & Farina, 2012, p.27) หรือหมายถึงรายงานทางการเงินซึ่งแสดงฐานะการเงิน
ของธุรกิจในห้วงเวลาหนึ่ง โดยมีสมการบัญชีหลักเป็นพื้นฐานในการจัดทำงบ (Nickels, McHugh &
McHugh, 2012, pp. 464-465) กล่าวได้ว่างบแสดงฐานะการเงิน คือรายงานทางการเงินซึ่งแสดงถึง
รายละเอียดของสินทรพั ย์ หน้ีสนิ ทนุ หรือส่วนของเจา้ ของ ตามสมการบัญชีหลกั คอื สินทรพั ย์ = หนีส้ ิน
+ ทนุ

งบแสดงฐานะการเงินสามารถจัดทำได้ 2 รูปแบบ ได้แก่ แบบบัญชี (accounting
form) โดยแสดงสินทรัพย์ไว้ทางด้านซ้ายมือ ส่วนทางด้านขวามือแสดงหน้ีสิน และส่วนของเจ้าของ
อีกรูปแบบคือ แบบรายงาน (report form) โดยเรียงข้อมูลในแนวต้ังตามลำดับดังนี้ สินทรัพย์
หนี้สิน ส่วนของเจ้าของ ท้ังน้ีไม่วา่ จัดทำในรูปแบบใดเริ่มต้นด้วยการเขียนหัวงบให้ถูกต้องสมบูรณ์ ซึ่ง
ประกอบด้วยช่อื กิจการ ชอ่ื งบ และรอบระยะเวลาทีจ่ ัดทำงบ

164

ตวั อยา่ งการจัดทำงบแสดงฐานะการเงนิ แบบบญั ชี

จากตัวอย่างของร้านเอบรกิ าร เม่ือนำข้อมลู จากงบทดลองหลังรายการปรบั ปรุง

และข้อมูลกำไรสุทธิจากงบกำไรขาดทนุ ซึ่งได้แสดงไวข้ ้างตน้ มาจัดทำงบแสดงฐานะการเงินแบบบัญชี

แสดงไดด้ ังน้ี

รา้ นเอบริการ

งบแสดงฐานะการเงิน

ณ วนั ท่ี 31 ธันวาคม 25XX

บาท

สินทรพั ย์ หนส้ี ินและสว่ นของเจา้ ของ

สนิ ทรพั ยห์ มนุ เวยี น หนส้ี นิ หมนุ เวียน

เงนิ สด 127,250 เจ้าหนีก้ ารคา้ 20,000

ลูกหน้ีการค้า 5,000 คา่ สาธารณปู โภคค้างจา่ ย 1,000

หัก ค่าเผ่ือหนี้สงสัยจะสูญ 250 4,750 รวมหนีส้ นิ 21,000

วัสดุส้นิ เปลอื ง 8,000 140,000 ส่วนของเจา้ ของ

สินทรพั ย์ไม่หมุนเวียน ทุน-นายเอ 100,000

อุปกรณ์ 30,000

หกั คา่ เสอ่ื มราคาสะสม-อปุ กรณ์ 3,750 26,250 บวก กำไรสทุ ธิ 46,250

รวม 146,250

หกั ถอนใช้ส่วนตัว 1,000

รวมส่วนของเจ้าของ 145,250

รวมสนิ ทรัพย์ 166,250 รวมหน้สี ินและสว่ นของเจา้ ของ 166,250

จากตัวอย่างงบแสดงฐานะการเงินของกิจการเจ้าของคนเดียว ในส่วนทุนหรือ
ส่วนของเจา้ ของ ประกอบดว้ ยบัญชที ุน (capital account) จากการบันทึกรายการเงินลงทนุ การเพ่ิม
ทุนหรือการถอนทุนของเจ้าของ และผลการดำเนินงานเม่ือสิ้นสุดงวดบัญชี กล่าวคือหากกิจการได้
กำไรจะทำให้ทุนเพ่ิมขึ้น แต่ถ้าหากขาดทุนก็จะทำให้ทุนลดลง นอกจากน้ีมาจากรายการถอนใช้
ส่วนตัวของเจ้าของกิจการ เม่ือส้ินงวดบัญชีจะโอนปิดบัญชีถอนใช้ส่วนตัวไปบัญชีทุน มีผลทำให้บัญชี
ทุนหรอื ส่วนของเจา้ ของลดลง

165

ตัวอย่างการจัดทำงบแสดงฐานะการเงินแบบรายงาน
จากตัวอยา่ งของร้านเอบริการ เมื่อนำข้อมลู จากงบทดลองหลงั รายการปรบั ปรุง
มาจดั ทำงบแสดงฐานะการเงนิ แบบรายงาน แสดงได้ดังนี้

รา้ นเอบรกิ าร

งบแสดงฐานะการเงนิ

ณ วนั ท่ี 31 ธันวาคม 25XX

บาท

สนิ ทรัพย์

สินทรัพยห์ มนุ เวยี น

เงินสด 127,250

ลกู หน้ีการคา้ 5,000

หกั ค่าเผ่ือหน้สี งสัยจะสญู 250 4,750

วัสดสุ นิ้ เปลือง 8,000 140,000

สินทรพั ยไ์ ม่หมุนเวียน

อปุ กรณ์ 30,000

หกั ค่าเส่ือมราคาสะสม-อุปกรณ์ 3,750 26,250

รวมสินทรัพย์ 166,250

หนสี้ นิ และสว่ นของเจ้าของ

หนี้สนิ หมนุ เวียน

เจ้าหนีก้ ารค้า 20,000

ค่าสาธารณูปโภคคา้ งจ่าย 1,000

รวมหนีส้ นิ 21,000

ส่วนของเจ้าของ

ทนุ -นายเอ 100,000

บวก กำไรสทุ ธิประจำงวด 46,250

รวม 146,250

หกั ถอนใชส้ ว่ นตวั 1,000

รวมส่วนของเจา้ ของ 145,250

รวมหนส้ี ินและส่วนของเจ้าของ 166,250

จากท่ีกล่าวมาข้างต้นแสดงให้เห็นถึงการจัดทำบัญชีตามวงจรบัญชี โดยเร่ิมต้นจากการ
วิเคราะห์และการบันทึกรายการค้าในสมุดรายวันท่ัวไป การผ่านรายการไปยังบัญชีแยกประเภท การ
จดั ทำงบทดลอง การบันทกึ รายการปรับปรุงในสมุดรายวันท่ัวไปแล้วผา่ นรายการไปยังบัญชีแยกประเภท
การจัดทำงบทดลองหลังการปรับปรุง การปิดบัญชีและจัดทำงบทดลองหลังปิดบัญชี และการทำงบ

166

การเงิน โดยยกตัวอย่างเฉพาะกิจการที่มีรูปแบบเจ้าของคนเดียว ประเภทธุรกิจการบริการ แต่ท้ังนี้
กิจการท่ีมีรูปแบบองค์การธุรกิจแบบห้างหุ้นส่วน และรูปแบบบริษัท รวมถึงกิจการซ่ึงประกอบธุรกิจ
ประเภทอื่น ได้แก่ การซ้ือขายสินค้า และการผลิตสินค้า ต่างมีกระบวนการหลักในการจัดทำบัญชี
ดังกล่าวข้างต้นเหมือนกัน เพียงแต่มีรายละเอียดรายการที่แตกต่างกัน ดังน้ันเพ่ือให้เห็นผลลัพธ์
สุดท้ายของวงจรการบัญชีคือ งบการเงินโดยเฉพาะงบกำไรขาดทุน และงบแสดงฐานะการเงิน ซ่ึง
ผู้ใช้งานงบการเงินสามารถนำไปใช้ประโยชน์ตามวัตถุประสงค์ท่ีต้องการ เช่น เพ่ือประเมินความสามารถ
ในการบริหารกิจการของผู้บริหาร เพ่ือทราบถึงผลการดำเนินงานของกิจการ ฐานะทางการเงินของ
กิจการ เพ่ือการวางแผนและควบคุมทางการเงิน ฯลฯ จึงแสดงตัวอย่างงบการเงินโดยเฉพาะงบกำไร
ขาดทุน และงบแสดงฐานะการเงินแบบรายงานของกิจการรูปแบบห้างหุ้นส่วน และรูปแบบบริษัท
รวมถึงกิจการซงึ่ ประกอบธุรกิจประเภทอื่น ไดแ้ ก่ การซื้อขายสินค้า และการผลิตสินค้า มาเป็นแนวทาง
เพ่ือการศกึ ษาดังนี้

ตัวอย่างงบกำไรขาดทุนและงบแสดงฐานะการเงินของกิจการที่มีรูปแบบ

หา้ งหนุ้ ส่วน

ห้างหุ้นส่วนจำกดั เอกโทตรีบริการ

งบกำไรขาดทนุ

สำหรับงวด 1 ปี สนิ้ สดุ วนั ท่ี 31 ธนั วาคม 25XX

บาท

รายได้คา่ บริการ 1,909,000

หัก ต้นทนุ การให้บริการ: เงินเดอื นพนักงาน 950,000

กำไรขน้ั ตน้ 959,000

บวก รายไดอ้ นื่ : ดอกเบี้ยรับ 50,000

กำไรกอ่ นหักค่าใช้จ่าย 1,009,000

หกั ค่าใชจ้ า่ ยในการบรหิ าร

คา่ เชา่ สำนักงาน 240,000

ค่าสาธารณปู โภค 48,000

วัสดุสำนักงานใช้ไป 16,000

คา่ พาหนะ 65,000

คา่ โฆษณา 36,000

หน้สี งสยั จะสูญ 1,000

ค่าเสอ่ื มราคา-อปุ กรณ์ 3,000

รวมคา่ ใชจ้ า่ ย 409,000

กำไรกอ่ นหักภาษี 600,000

หัก ภาษเี งินได้ 15% 90,000

กำไรสทุ ธิ 510,000

167

จากงบกำไรขาดทุนของห้างหุ้นส่วนจำกัดเอกโทตรีบริการ เป็นตัวอย่างการ

จัดทำงบกำไรขาดทุนแบบหลายชั้น (multiple step) ซง่ึ จะเห็นว่ามีความแตกต่างจากตัวอย่างก่อน

หน้านี้ท่ีจัดทำงบกำไรขาดทุนแบบชั้นเดียว (single step) คือแสดงรายได้ท้ังหมด และแสดงค่าใช้จ่าย

ทั้งหมด แล้วนำมาหักลบกันเพื่อสรุปกำไรสุทธิหรือขาดทุนสุทธิ แต่การจัดทำงบกำไรขาดทุนแบบ

หลายชั้นจะแสดงให้เห็นกำไรหรือขาดทุนที่เกิดข้ึนจากรายการที่สร้างรายได้หรอื เป็นค่าใช้จา่ ย แยกเป็น

สว่ น ๆ อย่างละเอยี ด ซึ่งช่วยให้ผใู้ ชง้ บการเงนิ ประเมนิ ความสามารถในการทำกำไรของกจิ การไดด้ ีขึน้

หา้ งหุ้นสว่ นจำกดั เอกโทตรีบรกิ าร

งบแสดงฐานะการเงนิ

ณ วันท่ี 31 ธนั วาคม 25XX

สินทรัพย์

สนิ ทรัพย์หมุนเวียน

เงินสดและเงินฝากธนาคาร 602,000

ลูกหนี้การคา้ 100,000

หัก คา่ เผือ่ หน้ีสงสัยจะสูญ 1,000 90,000

วัสดุสำนักงาน 34,000

ต๋ัวเงินรบั 110,000

สินทรพั ย์ไม่หมนุ เวียน

อปุ กรณ์ 50,000

หกั ค่าเสื่อมราคาสะสม-อุปกรณ์ 6,000 44,000

รวมสินทรพั ย์ 880,000

หน้ีสนิ และส่วนของผเู้ ป็นห้นุ ส่วน

หนส้ี ินหมนุ เวียน

เจา้ หนีก้ ารค้า 19,000

ค่าสาธารณูปโภคคา้ งจา่ ย 1,000 20,000

หน้สี นิ ระยะยาว

เงินกู้ระยะยาว 200,000

รวมหนีส้ ิน 220,000

ส่วนของผูเ้ ป็นหุ้นส่วน

ทนุ -นายเอก 50,000

ทนุ -นายโท 50,000

ทุน-นายตรี 50,000

กระแสทนุ -นายเอก 170,000

กระแสทุน-นายโท 170,000

กระแสทนุ -นายตรี 170,000

รวมสว่ นของผเู้ ปน็ หุ้นสว่ น 660,000

รวมหนีส้ นิ และผ้เู ป็นหนุ้ ส่วน 880,000

168

หมายเหตุ –จากงบกำไรขาดทุนของห้างห้นุ สว่ นจำกดั เอกโทตรีบริการ ซ่ึงแสดง
กำไร 510,000 บาท หากแบ่งกำไรให้ผเู้ ป็นหุ้นส่วนทั้ง 3 คนเท่า ๆ กัน ผเู้ ป็นหนุ้ สว่ นแต่ละคนจะไดร้ ับ
สว่ นแบง่ คนละ 170,000 บาท ซึ่งนำไปเพ่มิ ในบญั ชีกระแสทนุ ของหนุ้ สว่ นแต่ละคน

-ข้อมูลรายการอ่ืน ๆ ที่แสดงในงบได้สมมุติข้ึน เพื่อให้เห็นภาพงบ
แสดงฐานะการเงนิ ของกิจการรูปแบบห้างหนุ้ สว่ น

งบแสดงฐานะการเงินของกิจการในรูปแบบห้างหุ้นส่วน ในส่วนของเจ้าของจะ
เรยี กว่าส่วนของผู้เปน็ หุ้นสว่ น ทง้ั นี้หากการบนั ทึกบัญชีของกิจการใช้ระบบตน้ ทุนคงท่ี บญั ชีสว่ นของผู้
เป็นหุ้นส่วนจะประกอบด้วยบัญชีทุน (capital account) ซึ่งบันทึกรายการท่ีทำให้เกิดการเปล่ียนแปลง
ของเงนิ ทุน เช่น รายการลงทุนคร้ังแรกของผู้เป็นหุ้นส่วน การเพิ่มทุนและการถอนทุน ฯลฯ นอกจากนี้
คือบัญชีเดินสะพัด หรือบัญชีกระแสทุน (current account) หมายถึง บัญชีที่ใช้บันทึกรายการที่
เกี่ยวกับผู้เป็นหุ้นส่วนแต่ละคนนอกเหนือจากเงินทุนที่นำมาลงหุ้น เช่น การแบ่งผลกำไรหรือขาดทุน
การถอนใชส้ ่วนตัว ฯลฯ โดยในที่นี้จะไมแ่ สดงการบันทึกรายการดังกล่าวในสมุดรายวันท่ัวไปและการ
ผา่ นรายการบัญชีแยกประเภทในวนั ส้นิ งวดบัญชี แต่แสดงเฉพาะงบการเงนิ

ตัวอย่างงบกำไรขาดทุนและงบแสดงฐานะการเงินของกิจการที่มีรูปแบบ
บริษทั

การจัดทำงบกำไรขาดทุนของบริษัทซึ่งเป็นตัวอย่างต่อไปน้ี ในส่วนของ
ค่าใช้จ่ายในการดำเนินงานต่าง ๆ จะใส่เฉพาะยอดสรุป ส่วนรายละเอียดจะแสดงไว้ในงบประกอบ
ทง้ั นีก้ ิจการท่ีมรี ูปแบบองค์การธุรกจิ แบบอืน่ สามารถจดั ทำงบกำไรขาดทนุ ในลกั ษณะนไ้ี ด้เชน่ กัน

บริษัทเปน็ หน่งึ บรกิ าร จำกัด
งบกำไรขาดทนุ

ประจำปี ส้ินสุดวนั ที่ 31 ธันวาคม 25XX

บาท

รายได้ 1,576,000
รายไดค้ ่าบริการ 96,000 1,672,000
รายได้ค่าเช่า
848,000 872,000
ค่าใชจ้ า่ ย 24,000 800,000
คา่ ใช้จา่ ยในการดำเนินงาน (ดงู บประกอบ)
ดอกเบย้ี จ่าย

กำไรสทุ ธิ

169

บรษิ ทั เป็นหนึ่งบรกิ าร จำกัด บาท
งบประกอบ: ค่าใชจ้ า่ ยในการดำเนินงาน 360,000
ประจำปี สนิ้ สดุ วนั ท่ี 31 ธนั วาคม 25XX 120,000
96,000
เงินเดอื นพนักงาน 24,000
ค่าเช่าสำนกั งาน 132,000
ค่าสาธารณูปโภค 80,000
วัสดุสำนกั งานใช้ไป 17,000
คา่ เบ้ียประกันภยั
คา่ โฆษณา 4,000
คา่ ใชจ้ ่ายเบด็ เตลด็ 10,000
คา่ รบั รอง 5,000
หนส้ี งสัยจะสญู 848,000
ค่าเสอ่ื มราคา-อปุ กรณ์
รวม

กิจการที่มีรูปแบบบริษัท ในวันสน้ิ งวดบญั ชีเม่ือทราบผลการดำเนินงานไม่ว่าจะเป็นกำไร

สุทธิหรือขาดทุนสุทธิ จะโอนไปยังบัญชีกำไรสะสม หากในปีใดกรรมการบริษัทพิจารณานำกำไรมา

จ่ายปันผลให้แก่ผู้ถือหุ้น จะต้องจัดสรรกำไรสะสมซึ่งแบ่งเป็น 2 ส่วน ได้แก่ การจัดสรรเป็นเงินปันผล

และการจัดสรรเป็นเงินสำรองต่าง ๆ ได้แก่ การจัดสรรตามกฎหมาย ซึ่งอย่างน้อย 5% ของกำไรสุทธิ

ประจำปี การจัดสรรตามข้อผูกพันกับเจ้าหนี้หรือข้อบังคับอื่น และการจัดสรรตามนโยบายของ

ผบู้ ริหาร (วฒั นา ศิวะเกื้อ, ดษุ ฎี สงวนชาติ และนันทพร พทิ ยะ, 2556, หนา้ 247-248) งบกำไรสะสม

(retained earnings statement) ของบริษัท นำไปใช้ประโยชน์สำหรับรายงานให้ผู้ถือหุ้นได้ทราบถึง

การเปลี่ยนแปลงยอดกำไรสะสมของกจิ การ ดงั ตัวอย่างงบกำไรสะสมของบริษัทเป็นหน่งึ บรกิ าร จำกัด

ซงึ่ ไดจ้ ัดทำงบกำไรขาดทนุ มาแล้วกอ่ นหนา้

บรษิ ทั เปน็ หน่งึ บรกิ าร จำกดั

งบกำไรสะสม

ประจำปี สน้ิ สุดวนั ท่ี 31 ธันวาคม 25XX

บาท

กำไรสะสมต้นปี 295,000

กำไรสุทธิประจำปี 800,000 1,095,000

เสนอจัดสรรประจำปี

สำรองตามกฎหมาย 50,000

สำรองเพ่อื ปรบั ปรุงสำนักงาน 45,000

เงนิ ปนั ผล 400,000 495,000
กำไรสะสมทย่ี งั ไม่ไดจ้ ดั สรร 600,000

170

จากการจัดสรรกำไรสะสมเป็นเงนิ ปันผล และการจัดสรรเป็นเงินสำรองตา่ ง ๆ ของตวั อย่าง

บริษทั เปน็ หน่ึงบริการ จำกัด เม่ือจดั ทำงบแสดงฐานะการเงินแสดงดงั น้ี

บริษัทเปน็ หน่ึงบริการ จำกัด

งบแสดงฐานะการเงนิ

ณ วันท่ี 31 ธนั วาคม 25XX

บาท

สนิ ทรัพย์

สนิ ทรัพยห์ มนุ เวยี น

เงินสดและเงินฝากธนาคาร 1,976,000

ลกู หน้ีการค้า 100,000

หัก คา่ เผ่อื หนสี้ งสยั จะสญู 10,000 90,000

วัสดุสำนักงาน 52,000

ดอกเบย้ี คา้ งรับ 12,000

สินทรพั ยไ์ ม่หมนุ เวียน

อปุ กรณ์ 45,000

หัก ค่าเสื่อมราคาสะสม-อุปกรณ์ 10,000 35,000

รวมสินทรพั ย์ 2,165,000

หน้ีสนิ และส่วนของผู้ถือหุ้น

หนสี้ นิ หมนุ เวียน

เจ้าหนกี้ ารค้า 50,000

เงนิ ปันผลจ่าย 400,000

รวมหนส้ี นิ 450,000

สว่ นของผถู้ ือหนุ้

ทุนเรือนหนุ้

ทนุ จดทะเบยี น 1,000,000

หุ้นสามัญ 10,000 หุ้น มลู ค่าห้นุ 100 บาท

ทุนที่ออกและเรยี กชำระแลว้

หนุ้ สามญั 10,000 หนุ้ มลู คา่ หนุ้ 100 บาท 1,000,000

สว่ นเกนิ มูลคา่ หุ้น 20,000

กำไรสะสม

จัดสรรแลว้

สำรองตามกฎหมาย 50,000

สำรองเพอ่ื ปรับปรงุ สำนักงาน 45,000 95,000

ยงั ไม่ไดจ้ ัดสรร 600,000 695,000

รวมส่วนของผูถ้ อื หนุ้ 1,715,000

รวมหน้ีสินและส่วนของผู้ถือหุ้น 2,165,000

171

หมายเหตุ-ส่วนของทุนสำหรับกิจการรปู แบบบริษัทจะใช้คำว่า ส่วนของผู้ถือหุ้น

-ขอ้ มูลรายการสนิ ทรัพย์ และหนี้สินหมุนเวยี นในส่วนของเจ้าหน้ีการค้า

ของบริษัทเป็นหนึ่งบริการ จำกัด ซึ่งแสดงในงบได้สมมุติข้ึนเพ่ิมเติม เพื่อให้เห็นภาพงบแสดงฐานะ

การเงนิ ของกิจการรูปแบบบริษัท

ตวั อยา่ งงบกำไรขาดทนุ และงบแสดงฐานะการเงนิ ของกจิ การประเภทซอื้ ขายสนิ ค้า

กจิ การซอ้ื ขายสนิ คา้ มีวงจรการบัญชเี ชน่ เดียวกบั ธุรกิจบริการ โดยมีรายไดห้ ลัก

ของกิจการซ้ือขายสินค้าคือ รายได้จากค่าขายสินค้า ส่วนค่าใช้จ่ายหลักคือต้นทุนขายสินค้าที่มีเพื่อ

ขายคือ สินค้าคงเหลือ (inventory) ซึ่งเป็นสินทรัพย์ของกิจการ ท้ังนี้การซื้อและการขายสินค้าของ

กจิ การอาจเป็นเงินสดหรอื เงนิ เชอ่ื กไ็ ด้

ตัวอย่างต่อไปน้ีแสดงเฉพาะผลลัพธ์สุดท้ายของวงจรบัญชีในแต่ละงวดบัญชีคือ

งบการเงินโดยเฉพาะงบกำไรขาดทุน และงบแสดงฐานะการเงิน ในลักษณะการจดั ทำงบแบบรายงาน

เพอื่ ใหเ้ ห็นภาพรายการค้าของกจิ การซื้อขายสินค้า

บรษิ ทั ที่หนง่ึ เครอ่ื งเขียน จำกัด

งบกำไรขาดทนุ

ประจำงวด 6 เดือน สนิ้ สดุ วันท่ี 31 ธนั วาคม 25XX

บาท

ขาย 924,000

หกั สินคา้ รับคนื และสว่ นลด 4,000

ส่วนลดจา่ ย 8,000 12,000

ขายสุทธิ 912,000

หัก ตน้ ทนุ ขาย 408,000

กำไรขั้นตน้ 504,000

หัก ค่าใชจ้ า่ ยในการดำเนินงาน

ค่าใชจ้ ่ายในการขาย

เงินเดอื นพนกั งานขาย 180,000

คา่ ขนสง่ 6,000

ค่าโฆษณา 12,000 198,000

คา่ ใชจ้ ่ายในการบริหาร

เงนิ เดอื นพนกั งานสำนักงาน 144,000

วสั ดุสำนักงานสิ้นเปลอื งใชไ้ ป 15,000

หนสี้ งสัยจะสญู 4,000

คา่ เส่อื มราคา-อปุ กรณ์ 3,000

คา่ เส่ือมราคา-อาคาร 20,000 186,000 384,000

กำไรสุทธิ 120,000

172

หมายเหตุ การบันทึกบัญชีสินค้าคงเหลือเป็นแบบส้ินงวด คือบันทึกเมื่อตรวจ
นบั สินค้าคงเหลือในวันส้ินงวดบญั ชีและคำนวณต้นทนุ ขาย

การคำนวณตน้ ทุนขายเปน็ ดงั นี้
ต้นทนุ ขาย = ต้นทนุ สนิ คา้ + ตน้ ทุนสินค้า - ตน้ ทุนสินคา้

คงเหลอื ตน้ งวด ซอ้ื ระหวา่ งงวด คงเหลือปลายงวด
ตน้ ทุนสินคา้ ซ้ือระหว่างงวด = ซือ้ สทุ ธิ + คา่ ขนสง่ สนิ คา้ ท่ีซ้ือ

บรษิ ทั ที่หนึ่งเครอ่ื งเขียน จำกัด บาท
งบกำไรสะสม 380,000
120,000
ประจำงวด 6 เดอื น ส้ินสุดวันท่ี 31 ธนั วาคม 25XX 500,000

กำไรสะสมตน้ งวด 0
บวก กำไรสทุ ธปิ ระจำงวด 500,000

หกั เงินปนั ผลจา่ ย
กำไรสะสมปลายงวด

บรษิ ัทที่หนึ่งเคร่อื งเขียน จำกัด

งบแสดงฐานะการเงนิ

ประจำงวด 6 เดอื น ณ วนั ท่ี 31 ธนั วาคม 25XX

บาท

สินทรพั ย์

สนิ ทรพั ยห์ มุนเวียน

เงินสดและเงินฝากธนาคาร 693,000

ลูกหน้ีการค้า 14,000

หกั คา่ เผอ่ื หน้สี งสัยจะสูญ 4,000 10,000

สินค้าคงเหลือ 80,000

วัสดุสำนักงาน 10,000 793,000

สนิ ทรัพย์ไม่หมุนเวียน

อปุ กรณ์ 60,000

หกั ค่าเสือ่ มราคาสะสม-อุปกรณ์ 3,000 57,000

อาคาร 820,000

หกั คา่ เส่อื มราคาสะสม-อาคาร 20,000 800,000 857,000

รวมสนิ ทรัพย์ 1,650,000

173

หนส้ี ินและสว่ นของผู้ถือหุน้

หน้ีสินหมุนเวียน

เจ้าหนี้การคา้ 50,000

ส่วนของผถู้ ือหุ้น

ทุนเรือนหุน้ -หุ้นสามญั (10,000 หนุ้ ) 1,000,000

สว่ นเกนิ มูลคา่ หุน้ -ห้นุ สามัญ 100,000

กำไรสะสมปลายงวด 500,000 1,600,000

รวมหนีส้ ินและสว่ นของผถู้ ือหุ้น 1,650,000

ตวั อยา่ งงบกำไรขาดทนุ และงบแสดงฐานะการเงินของกจิ การประเภทการผลติ
การจัดทำงบของกิจการประเภทการผลิตจะมีความซับซ้อนและยุ่งยากกว่ากิจการ
ประเภทซอื้ ขายสนิ ค้าในหลาย ๆ สว่ น เชน่ การหาต้นทุนการขายสินค้าสำเร็จรูป ไมส่ ามารถนำราคาซื้อ
วตั ถุดิบมาเป็นต้นทุนขายได้ทันทีเหมือนอยา่ งกจิ การซื้อขายสินค้า แต่ต้องคำนวณหาต้นทุนการผลิตจาก
ทุกขั้นตอนของกระบวนการผลิตต้ังแต่การจัดหาวัตถุดิบเข้าสู่กระบวนการผลิตจนได้สินค้าสำเร็จรูป
หรือมูลค่าสินค้าคงเหลือก็ไม่ใช่เพียงเฉพาะสินค้าสำเร็จรูปท่ีเหลืออยู่ แต่ยังรวมไปถึงวัตถุดิบ และ
ช้ินงานระหว่างผลิตด้วย ฯลฯ ดังนั้นก่อนแสดงตัวอย่างงบการเงินของกิจการประเภทการผลิต จึงขอ
อธิบายรายการท่ตี อ้ งบนั ทึกบัญชซี ง่ึ ต่างจากกิจการประเภทอ่ืน ดงั นี้

1. ต้นทุนการผลิต (manufacturing cost) คือ ต้นทุนที่เกี่ยวข้องกับการผลิต
ท้ังหมด จนกระทั่งผลิตเสร็จเป็นสินค้าสำเร็จรูป หรือเรียกว่าเป็นต้นทุนผลิตภัณฑ์ (product cost)
ประกอบด้วย วัตถุดิบทางตรง แรงงานทางตรง และค่าใช้จ่ายการผลิต (ศศิวิมล มีอำพล, 2558, หน้า
7-2) ดังรายละเอียด

1.1 วัตถุดิบทางตรง (directed material/DM) คอื วัตถดุ ิบที่นำมาใชเ้ ป็น
ส่วนประกอบหรอื นำมาแปรสภาพให้เกดิ เป็นสินค้าสำเรจ็ รูปเพอ่ื จำหน่าย โดยสามารถระบุจำนวนเงินท่ี
ชัดเจนได้ เช่น แป้งสาลีเป็นวัตถุดิบทางตรงของการผลิตขนมปัง กระดาษเป็นวัตถุดิบทางตรงของการ
ผลิตหนังสือ ฯลฯ แต่ถา้ เป็นวัตถุดิบที่เป็นส่วนประกอบจำนวนน้อยในกระบวนการผลิต และมตี ้นทุนไม่สูง
จะถกู จดั เป็นวตั ถุดบิ ทางอ้อม

1.2 แรงงานทางตรง (direct labor/ DL) คือ ค่าแรงของพนักงานที่ทำ
หน้าท่ีในกระบวนการผลิต เช่น ค่าแรงของพนักงานอบขนมปัง ของกิจการผลิตขนมปัง ค่าแรงของ
พนักงานจัดหน้าเรียงพิมพ์หนังสือ ของกิจการผลิตหนังสือ ฯลฯ แต่ถ้าค่าแรงแม่บ้านทำความสะอาด
โรงงาน พนักงานรกั ษาความปลอดภัยประจำโรงงาน ถอื เป็นคา่ แรงทางอ้อม

1.3 ค่าใช้จ่ายการผลิต (manufacturing overhead/OH) หรือเรียกว่า
โสหุ้ยการผลิต คือ ค่าใช้จ่ายที่กิจการจ่ายในกระบวนการผลิตนอกเหนือจากวัตถุดิบทางตรง และ
แรงงานทางตรง เช่น วัตถุดิบทางอ้อม ค่าแรงทางอ้อม คา่ เส่ือมราคาเคร่ืองจักร ค่าเช้ือเพลงิ ในการผลิต
คา่ ไฟฟ้าโรงงาน ค่าลิขสิทธิ์การผลติ สนิ ค้า ฯลฯ

174

2. สินค้าคงเหลือ (inventory) กิจการประเภทอุตสาหกรรมมีสินค้าคงเหลือ
3 ประเภท ได้แก่ วัตถุดิบคงเหลือ งานระหว่างทำคงเหลือ และสินค้าสำเร็จรูปคงเหลือ (ดวงสมร
อรพินท์, กชกร เฉลิมกาญจนา, แพร กีระสุนทรพงษ์, ปริญดา มณีโรจน์ และสมพงษ์ พรอุปถัมภ์, 2557,
หน้า169-170) ดงั รายละเอียด

2.1 วัตถุดิบคงเหลือ (raw materials inventory) คือวัตถุดิบการผลิตที่
ซ้ือไว้และใช้ไม่หมดในการผลิต จึงกลายเป็นวัตถุดิบคงเหลือปลายงวดเม่ือส้ินงวดบัญชี และจะเป็น
วัตถดุ บิ ตน้ งวดของรอบบัญชีถัดไป

2.2 งานระหว่างทำคงเหลือ (work in process inventory) คือ ผลิตภัณฑ์
ทย่ี ังผลิตไมเ่ สร็จ หรอื ค้างอยูใ่ นกระบวนการผลติ ในวันสน้ิ งวดบญั ชี

2.3 สินค้าสำเร็จรูปคงเหลือ (finished goods inventory) คือ ผลิตภัณฑ์
ที่ผ่านกระบวนการผลิตจนเสร็จส้ินและพร้อมขาย หากในวันส้ินงวดขายไม่หมด จะกลายเป็นสินค้า
คงเหลอื สำเร็จรปู ปลายงวดซึ่งบนั ทึกในบัญชสี ินค้าสำเร็จรูป และจะเป็นสินค้าคงเหลือต้นงวดของรอบ
บญั ชีถดั ไป

การบันทึกบัญชีสินค้าคงเหลือของกิจการประเภทการผลิตทำได้ 2 วิธี
เช่นเดียวกับกิจการประเภทซ้ือขายสินค้า คือ วิธีการบันทึกบัญชีสินค้าเม่ือสิ้นงวด ซงึ่ จะตรวจนับและ
ตีราคาสินค้าคงเหลือในวันส้ินงวด และคำนวณหาต้นทุนสินค้าที่ขาย ส่วนอีกวิธีคือ การบันทึกบัญชี
สินค้าแบบต่อเนื่อง คือ บันทึกสินค้าและต้นทุนสินค้าทุกคร้ังท่ีขาย ซึ่งเหมาะกับกิจการท่ีมีรายการ
สินคา้ ไมม่ ากและมรี าคาขายหรอื ตน้ ทนุ ต่อหน่วยค่อนข้างสูง

การบญั ชีของกจิ การประเภทการผลติ มีวงจรการบญั ชใี นแต่ละงวดบัญชเี หมอื น
กิจการประเภทบรกิ าร และกิจการซ้ือขายสินค้า ตั้งแต่การวิเคราะห์และการบันทึกรายการคา้ ในสมุด
รายวันทั่วไป การผ่านรายการไปยังบัญชีแยกประเภท การจัดทำงบทดลอง การบันทึกรายการ
ปรับปรุงในสมุดรายวันทั่วไปแล้วผ่านรายการไปยังบัญชีแยกประเภท การจัดทำงบทดลองหลังการ
ปรับปรุง การปิดบัญชแี ละจัดทำงบทดลองหลังปิดบัญชี และการทำงบการเงิน เพียงแต่มีรายการคา้ ท่ี
แตกต่างกัน และจัดทำงบการเงินเพิ่มเข้ามาอีกงบ เพ่ือใช้ประกอบงบกำไรขาดทุน คืองบต้นทุนการ
ผลิต (statement of cost of goods manufactured) สำหรับคำนวณหาต้นทุนการผลิตสินค้า
สำเร็จรูปของแต่ละงวดบัญชี โดยจัดทำก่อนงบกำไรขาดทุน ท้ังนี้ในงบต้นทุนการผลิต ต้องแสดง
วัตถุดิบท่ีใช้ไปในการผลิต ค่าแรงงานทางตรง และค่าใช้จ่ายในการผลิต เพื่อให้ทราบต้นทุนผลิต
ระหว่างงวด แลว้ นำมาบวกกบั สนิ คา้ ระหว่างผลิตต้นงวด และหักสนิ ค้าระหว่างผลติ ปลายงวดออก ซึ่ง
จะทำให้ทราบต้นทนุ สนิ ค้าสำเร็จรปู ของกิจการ

ในที่น้ีแสดงเฉพาะผลลัพธ์สุดท้ายของการปฏิบัติการทางการบัญชีในแต่ละงวด
บัญชี คืองบทางการเงิน ดังตัวอย่าง งบต้นทุนการผลิต งบกำไรขาดทุน และงบแสดงฐานทางการเงิน
ของกิจการประเภทผลิตท่ีมีรูปแบบองค์การธุรกิจแบบบริษัท โดยแสดงการจัดทำงบการเงินแบบ
รายงาน

175

บรษิ ัทนัมเบอร์วันการผลิต จำกัด

งบตน้ ทุนการผลิต

สำหรับปสี น้ิ สดุ วันท่ี 31 ธนั วาคม 25XX

บาท

วัตถุดิบทางตรง

วัตถุดิบคงเหลอื ตน้ งวด 500,000

ซ้ือวัตถดุ ิบ 1,000,000

บวก ค่าขนสง่ วตั ถุดบิ 40,000

1,040,000

หัก สง่ คนื วตั ถดุ ิบ 20,000

ซ้อื วตั ถดุ ิบท้ังสิ้น 1,020,000

วตั ถดุ บิ ที่มีเพื่อใช้ในการผลิต 1,520,000

หกั วัตถดิบคงเหลือปลายงวด 420,000

วัตถดุ บิ ทใี่ ช้ในการผลติ 1,100,000
950,000
ค่าแรงงานทางตรง
560,000
คา่ ใชจ้ ่ายในการผลติ 2,610,000

ค่าแรงงานทางอ้อม 120,000 190,000
2,800,000
คา่ สาธารณูปโภคโรงงาน 150,000
300,000
คา่ วัสดโุ รงงาน 80,000 2,500,000

ค่าใชจ้ า่ ยเบ็ดเตลด็ โรงงาน 25,000

ค่าประกันภยั โรงงาน 35,000

ค่าเสอื่ มราคา-เครื่องจักร 50,000

คา่ เส่อื มราคา-อาคารโรงงาน 100,000

ต้นทนุ ผลติ ระหวา่ งงวด

บวก สนิ คา้ ระหว่างผลติ ตน้ งวด

หัก สนิ คา้ ระหวา่ งผลิตปลายงวด
ต้นทนุ สินค้าสำเร็จรปู

ข้อมูลต้นทุนสินค้าสำเร็จรูป จะนำไปอยู่ในส่วนของต้นทุนขายในงบกำไรขาดทุน
ของกิจการ ซ่ึงต้นทุนขายของกิจการประเภทการผลิตประกอบด้วย สินค้าสำเร็จรูปต้นงวด บวกกับ
ตน้ ทุนสินค้าสำเร็จรปู และหักด้วยสินค้าสำเร็จรูปปลายงวด ส่วนรายได้และค่าใช้จา่ ยอ่ืน ๆ เช่นเดียว
กับกิจการประเภทการบริการ และกิจการประเภทการซือ้ ขาย

176

บริษัทนมั เบอร์วนั การผลติ จำกัด
งบกำไรขาดทนุ

สำหรับปสี ิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 25XX

บาท

ขาย 40,000 4,050,000
หัก สนิ คา้ รับคนื และส่วนลด 10,000 50,000

สว่ นลดจา่ ย 100,000 4,000,000
ขายสทุ ธิ 2,500,000
ตน้ ทนุ ขาย 2,600,000 2,000,000
2,000,000
สินค้าสำเรจ็ รูปตน้ งวด 600,000
บวก ตน้ ทุนผลิตสนิ ค้าสำเรจ็ รปู 800,000
สนิ คา้ สำเรจ็ รปู ท่มี ไี ว้เพ่ือขาย 250,000 450,000 120,0000
หักสนิ คา้ สำเร็จรูปปลายงวด 150,000 350,000
กำไรขัน้ ต้น 50,000
คา่ ใชจ้ า่ ยในการดำเนินงาน
คา่ ใชจ้ ่ายในการขาย 290,000
เงนิ เดือนพนักงานขาย 10,000
ค่าขนส่งสนิ คา้ 45,000
ค่าโฆษณา 5,000
คา่ ใชจ้ ่ายในการบริหาร
เงนิ เดือนพนักงานสำนักงาน
หนี้สงสยั จะสูญ
ค่าวัสดุสำนักงาน
ค่าเส่อื มราคา-เครื่องใช้สำนกั งาน
กำไรสทุ ธิ

บรษิ ัทนมั เบอรว์ ันการผลติ จำกัด

งบกำไรสะสม

สำหรับปี สน้ิ สุดวันท่ี 31 ธนั วาคม 25XX

บาท

กำไรสะสมต้นงวด 600,000

บวก กำไรสุทธิประจำงวด 1,200,000

1,800,000

หัก เงินปนั ผลจา่ ย 0

กำไรสะสมปลายงวด 1,800,000

177

บรษิ ทั นมั เบอรว์ ันการผลิต จำกัด

งบแสดงฐานะการเงิน

ณ วนั ท่ี 31 ธันวาคม 25XX

บาท

สินทรพั ย์

สนิ ทรัพยห์ มนุ เวยี น

เงินสดและเงินฝากธนาคาร

ลูกหน้ีการคา้ 90,000

หัก ค่าเผ่ือหน้ีสงสัยจะสูญ 10,000 80,000

สินค้าคงเหลือ

สนิ ค้าสำเรจ็ รูป 600,000

สนิ ค้าระหว่างผลิต 300,000

วตั ถุดิบ 420,000 1,320,000

วัสดุโรงงาน 20,000

วัสดสุ ำนักงาน 10,000

ค่าเบี้ยประกนั ภัยโรงงานจา่ ยลว่ งหน้า 15,000 1,445,000

สนิ ทรพั ยไ์ ม่หมนุ เวียน

ทีด่ นิ 1,000,000

อาคารโรงงาน 2,000,000

หัก คา่ เส่ือมราคาสะสม-อาคารโรงงาน 100,000 1,900,000

เครื่องจักร 500,000

หกั ค่าเสือ่ มราคาสะสม-เคร่ืองจักร 50,000 450,000

อปุ กรณ์ 60,000

หัก ค่าเส่อื มราคาสะสม-อปุ กรณ์ 5,000 55,000 3,405,000

รวมสินทรพั ย์ 4,850,000

หนีส้ ินและส่วนของผถู้ ือหุ้น

หน้ีสินหมุนเวียน

เจา้ หนกี้ ารคา้ 50,000

ส่วนของผู้ถือหุ้น

ทนุ เรือนห้นุ

ทนุ จดทะเบยี น

หุ้นสามัญ 300,000 ห้นุ มลู คา่ ห้นุ 10 บาท 3,000,000

ทนุ ทอี่ อกและเรยี กชำระแลว้

ห้นุ สามญั 300,000 หุ้น มลู คา่ หนุ้ 10 บาท 3,000,000

กำไรสะสม 1,800,000 4,800,000

รวมหน้ีสนิ และสว่ นของผู้ถือหุ้น 4,850,000

178

โดยสรุป การจัดทำบัญชีตามวงจรการบญั ชี หรือลำดับข้ันตอนทางการบัญชีในแต่ละงวด
บัญชี เริ่มต้นด้วยการวิเคราะห์และการบันทึกรายการค้าในสมุดรายวันทั่วไป การผ่านรายการไปยัง
บัญชีแยกประเภท การจัดทำงบทดลอง การบันทึกรายการปรับปรุงในสมุดรายวันท่ัวไปแล้วผ่าน
รายการไปยังบัญชีแยกประเภท การจัดทำงบทดลองหลังการปรับปรุง การปิดบัญชีโดยการบันทึก
รายการปิดบัญชีในสมุดรายวันและผ่านรายการบัญชีไปยังบัญชีแยกประเภท รวมทั้งจัดทำงบทดลอง
หลังการปิดบัญชี ขั้นตอนสุดท้ายการจัดทำงบการเงิน ซ่ึงเป็นการสรุปผลและรายงานทางการเงิน
เพ่ือประโยชน์ในการตัดสินใจทางธรุ กิจต่อไป อย่างไรก็ดีคุณภาพของรายงานทางการเงินคือสิ่งสำคัญ
มีรายงานการศึกษาซึ่งระบุว่าคุณภาพรายงานทางการเงินด้านความเก่ียวข้องกับการตัดสินใจ ด้าน
ความเชื่อถือได้ ด้านการเปรียบเทียบกันได้ มีความสัมพันธ์และส่งผลกระทบต่อประสิทธิภาพการ
ตัดสินใจของธุรกจิ (ปิยมาศ เหลือล้น, กญั ญมน วทิ ยาภูมิ และวราพร เปรมพาณิชยน์ ุกูล, 2556, หน้า
78) นอกจากนี้ยังพบว่า ความน่าเชื่อถือของรายงานการเงินด้านกระบวนการจัดทำและด้านรูปแบบ
การนำเสนอ มีความสัมพันธ์และส่งผลกระทบเชิงบวกกับภาพพจน์องค์การโดยรวม (วราพร บุญร่วม,
ณฐั วุฒิ ตนั ติเศรษฐ และวราพร เปรมพาณชิ ยน์ ุกลู , 2557, หนา้ 76)

เทคโนโลยีกับการบญั ชี
ในโลกยคุ ดจิ ิทลั 4.0 ทเ่ี ทคโนโลยีมคี วามเจริญก้าวหน้าอย่างรวดเร็วและเขา้ มามบี ทบาท
ต่อการใช้ชีวิตของผู้คนและการดำเนินงานขององค์การภาคส่วนต่าง ๆ ในสังคม ประกอบกับการใช้
งานคอมพิวเตอร์ ไม่วา่ จะเป็นแบบเดสก์ท็อปคอมพิวเตอร์ท่ีตัง้ โต๊ะ หรือเปน็ แบบที่พกพาเคล่ือนยา้ ยได้
อย่างโน้ตบุ๊ก แท็บเล็ต โมบายดีไวซ์ เช่น สมาร์ทโฟน เป็นไปอย่างกว้างขวาง ทำให้ในภาคธุรกิจหลาย
กจิ การได้นำเทคโนโลยีใหม่ ๆ มาใช้เพิม่ ประสิทธิภาพกระบวนการทำงานในด้านต่าง ๆ ของธุรกิจมากข้ึน
รวมทั้งงานทางด้านการบัญชีเช่นกัน ยิ่งในองค์การธุรกิจท่ีมีรายการค้าหรือมีรายการทางบัญชีเป็น
จำนวนมาก ย่อมต้องอาศัยเทคโนโลยีเข้ามาช่วยจัดการระบบข้อมูลทางการบัญชีให้เกิดความถูกต้อง
แม่นยำ ทุ่นแรงของบุคลากร ทุ่นเวลาการทำงานให้รวดเร็วและสะดวกมากข้ึน รวมทั้งได้สารสนเทศ
ทางการบัญชีในรูปแบบต่าง ๆ ท่ีตรงกับการใช้ประโยชน์และทันเวลาท่ีต้องการ ท้ังนี้ผลผลิตที่เป็น
เปา้ หมายหลักของการนำเทคโนโลยีมาใช้ในงานทางการบัญชีของธุรกิจเห็นจะเปน็ สารสนเทศทางการ
บัญชีท่ีมีคุณภาพท้ังในเร่ืองความถูกต้อง ทันสมัย และทันเวลาท่ีต้องการใช้งานเพื่อประโยชน์ในการ
ตดั สินใจทางธุรกิจ

เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสำคัญท่มี ีบทบาทเออ้ื ประโยชนต์ อ่ งานด้านการบัญชคี ือ เทคโนโลยสี ารสนเทศ
(information technology: IT) ซึ่งเป็นการประยุกต์ใช้ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ตั้งแต่การรวบรวม
และตรวจสอบข้อมูล การประมวลผลข้อมูลให้กลายเป็นสารสนเทศ และการดูแลสารสนเทศเพ่ือการ
ใช้งาน (บญุ ยืน ตันเย่ียน, 2555, หน้า 1-5) เทคโนโลยสี ารสนเทศ ยังหมายถึงอุปกรณ์หรือเคร่ืองมือท่ี
เกีย่ วข้องกับการรวบรวม ประมวล เก็บรกั ษา และเผยแพร่ข้อมลู และสารสนเทศ โดยรวมท้งั ฮาร์ดแวร์
ซอฟต์แวร์ ฐานข้อมูล และการสื่อสารโทรคมนาคม (ฝ่ายวิชาการสูตรไพศาล, หน้า 1) กล่าวได้ว่า
เทคโนโลยีสารสนเทศ เป็นการผนวกเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีการส่อื สารโทรคมนาคมเข้า

179

ด้วยกัน เพื่อใช้ในกระบวนการจัดหา จัดเก็บ สร้าง และเผยแพร่สารสนเทศในรูปต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็น
เสียง ภาพ ข้อความ ตวั อกั ษร และตัวเลข ได้อยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพในความถกู ต้อง แม่นยำ และรวดเร็ว
ตอ่ การนำไปใช้ประโยชน์ (กมลทิพย์ คำใจ, 2556, หน้า 20) สรุปได้ว่าเทคโนโลยีสารสนเทศ คือ การ
ประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ส่ือสารโทรคมนาคม เพื่อค้นหา รวบรวม ประมวลผลข้อมูลให้
กลายเป็นสารสนเทศ จดั เก็บและเผยแพรข่ ้อมูลและสารสนเทศเพ่อื การใช้งาน

ท้ังนี้ข้อมูล (data) หมายถึง ข้อเท็จจริงท่ีเกิดขึ้นในรูปแบบต่าง ๆ เช่น ตัวเลข ตัวอักษร
ภาพ เสียง ฯลฯ ส่วนสารสนเทศ (information) หมายถึงข้อมูล ต่างๆ ที่ได้ผ่านการวิเคราะห์หรือ
ประมวลผลเพอ่ื นำมาใชป้ ระโยชน์ตามต้องการ

องค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศมีองค์ประกอบที่สำคัญ 2 ส่วนหลัก ได้แก่ เทคโนโลยคี อมพิวเตอร์
และเทคโนโลยีสอ่ื สารโทรคมนาคม (บุญยืน ตันเย่ียน, 2555, หน้า 1-9-1-13; กมลทิพย์ คำใจ, 2556,
หนา้ 22-28) ดงั มีรายละเอยี ดตอ่ ไปนี้
1. เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ (computer technology) หรือมกั เรียกโดยทัว่ กนั ส้นั ๆ ว่า
คอมพิวเตอร์ ซึ่งเป็นอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ท่ีมีลักษณะการทำงานในแบบอัตโนมัติ โดยรับข้อมูลเข้า
ประมวลผล แสดงผลลัพธ์ และการจัดเก็บคำส่ังหรือโปรแกรม คอมพิวเตอร์นั้นประกอบด้วยอุปกรณ์
ต่าง ๆ ต่อเชื่อมกัน สามารถมองเห็นและจับต้องได้ เรียกว่า ฮาร์ดแวร์ (hardware) ซึ่งต้องทำงาน
ร่วมกับซอฟต์แวร์ (software) ซ่ึงเป็นชุดคำส่ังหรือโปรแกรมที่สั่งให้คอมพิวเตอร์ทำงานตามต้องการ

ฮาร์ดแวร์ มีองค์ประกอบยอ่ ย 5 สว่ น ได้แก่ 1) อปุ กรณ์รับข้อมูล ทำหน้าทีร่ ับข้อมูล
เขา้ สู่คอมพิวเตอร์ เช่น คยี ์บอร์ด เมาส์ จอภาพสัมผัส เครื่องอ่านรหสั แทง่ หรือบาร์โคด ฯลฯ 2) หนว่ ย
ประมวลผลกลาง ทำหน้าที่ประมวลผลและควบคุมระบบต่างๆ ของคอมพิวเตอร์ 3) หน่วยความจำหลัก
มีหน้าท่ีเก็บข้อมูลและคำสั่งในการประมวลผล 4) อุปกรณ์ส่งข้อมูล ทำหน้าท่ีแสดงข้อมูลที่ผ่านการ
ประมวลผลตามทโ่ี ปรแกรมกำหนด เช่น จอภาพ เครอ่ื งพิมพ์ ฯลฯ และ 5) หน่วยเก็บข้อมูลสำรอง ทำ
หน้าท่ีจัดเกบ็ ข้อมูลถาวรหรือลบท้งิ เมือ่ เลกิ ใช้งาน เช่น แฟลชไดรฟ์ ฮารด์ สิ ก์ ซีดี ดีวีดี ฯลฯ รวมไปถึง
หน่วยเก็บสำรองบนคลาวด์ (cloud storage) อยา่ ง Google Drive Apple iCloud ฯลฯ

ซอฟต์แวร์ แบ่งออกเปน็ 2 ประเภท คอื 1) ซอฟตแ์ วรร์ ะบบ มีหนา้ ท่ีควบคุมอุปกรณ์
ต่าง ๆ ภายในระบบคอมพิวเตอร์ และ 2) ซอฟต์แวร์ประยุกต์หรือซอฟต์แวร์แอปพลิเคชันซ่ึงมักเรียก
ว่าแอปพลิเคชัน หรือ แอป คือ โปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่พัฒนาขึ้นเพ่ือจำหน่ายให้แก่ผู้ใช้สามารถใช้
งานไดโ้ ดยตรง แบง่ ออกเปน็ ซอฟตแ์ วร์ทีใ่ ช้งานท่วั ไป และซอฟตแ์ วร์ทใี่ ช้งานเฉพาะดา้ น

2. เทคโนโลยีส่ือสารโทรคมนาคม (telecommunication technology) ใช้ในการ
ติดต่อสื่อสาร รบั ส่งข้อมูลหรือสารสนเทศจากทไี่ กล ๆ ระหว่างคอมพวิ เตอร์หรืออปุ กรณ์สื่อสาร ทำให้
การเผยแพร่ข้อมูลหรือสารสนเทศไปยังผู้ใช้แหล่งต่าง ๆ ทำได้อย่างสะดวกรวดเร็ว รวมทั้งมีความ
ถกู ตอ้ ง ครบถ้วนและทันเวลา ทัง้ น้ีเทคโนโลยีส่ือสารโทรคมนาคมมีทั้งชนดิ มีสายและไร้สาย เช่น ระบบ
โทรศัพท์ โมเด็ม วทิ ยกุ ระจายเสียง ฯลฯ โดยมสี ่วนประกอบสำคัญท่ีเป็นกลไกหลกั ในการทำงาน ดังน้ี
1) แหลง่ ต้นทาง หมายถึงอปุ กรณ์ซึ่งทำหน้าท่ีจัดส่งข้อมูล เช่น คอมพิวเตอร์ โทรศัพท์ ฯลฯ 2) สื่อกลาง

180

การรับส่งข้อมูลซึ่งอาจจะเป็นแบบมีสายหรือไร้สาย 3) ส่วนรับข้อมูล คืออุปกรณ์ซึ่งทำหน้าท่ีรับข้อมูล
จากแหล่งต้นทาง เชน่ คอมพวิ เตอร์ โทรศัพท์ วิทยุ ฯลฯ

เทคโนโลยีสารสนเทศกับการบัญชี
การนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้กับการบัญชีของธุรกิจขึ้นอยู่กับความต้องการและ
ความเหมาะสมของแต่ละกิจการ หากกิจการขนาดเล็กที่มีรายการบัญชีแต่ละวันไม่มากและมีผู้ใช้งาน
น้อย สามารถจัดหาคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลไม่ก่ีเครื่องก็เพียงพอ จัดเก็บข้อมูลในแบบแฟ้มข้อมูล ใช้
ระบบปฏิบัติการ เช่น DOS Windows ฯลฯ ใช้โปรแกรมสำเร็จรูปทางการบัญชีท่ีมีขนาดเล็ก แต่ถ้า
ธุรกิจขนาดใหญ่ มีรายการบัญชีจำนวนมาก มีผู้ใช้งานหลายคน ต้องจัดหาคอมพิวเตอร์หลายเครื่อง
เช่ือมโยงกันเป็นเครือข่าย ใช้วิธีการเก็บข้อมูลแบบฐานข้อมูล ใช้ระบบปฏิบัติการ เช่น Linux OS/2
ฯลฯ เลอื กใช้โปรแกรมสำเร็จรูปทางการบัญชีที่มีประสิทธภิ าพสูงข้ึน ซง่ึ สามารถใช้งานร่วมกันระหวา่ ง
ผูใ้ ช้หลายคน (อำนาจ รัตนสุวรรณ และอรรถพล ตริตานนท์, 2560, หน้า 200; พลพธู ปยี วรรณ และ
กัญนิภัทธ์ิ นิโรจนธ์ นทั , 2557, หนา้ 200)
เทคโนโลยีสารสนเทศในสว่ นของซอฟต์แวร์ทางการบัญชี สามารถใช้วิธีพัฒนาขึ้นเองใน
ลักษณะเฉพาะสำหรับกิจการ หรือจัดหาจากแหล่งภายนอกซ่ึงเป็นลักษณะโปรแกรมสำเร็จรูป ทั้งนี้
ปัจจยั ที่ควรพิจารณาในการจดั หาโปรแกรมสำเรจ็ รูปทางการบัญชี ไดแ้ ก่ ความสามารถในการนำเสนอ
หลักฐานทางการบัญชี ความสามารถและความยืดหยุ่นในการแก้ไข ความสามารถในการนำเสนอ
งบการเงินและรายงานทางการบัญชีอ่ืน ๆ ความสามารถในการประกอบธุรกรรมบนเว็บและการ
พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ การควบคุมภายใน เทคโนโลยีท่ีต้องใช้สนับสนุนโปรแกรม ความง่ายในการ
ติดต้ังและการใช้งาน ความสามารถขยายตัวเพ่ือรองรับการเติบโตของกิจการ ราคาผลิตภัณฑ์ คุณภาพ
และความเชื่อถือได้ของผู้ขายหรือผู้ให้บริการ (พลพธู ปียวรรณ และกัญนิภัทธ์ิ นิโรจน์ธนัท, 2557,
หน้า 189-190) รวมไปถึงความสามารถในการทำงานข้ามแพลตฟอร์ม เช่น เดสก์ทอปคอมพิวเตอร์
แล็ปท๊อปคอมพิวเตอร์ แท็บเล็ตคอมพิวเตอร์ โมบายดีไวซ์อย่างสมาร์ทโฟน ฯลฯ ซอฟต์แวร์ประยุกต์
ประเภทใช้งานทั่วไปที่นิยมใช้กันอย่างแพร่หลายในทางการบัญชี คือโปรแกรมสำเร็จรูปประเภทตาราง
งาน (spread sheet) เช่น Microsoft Excel Google Sheets ฯลฯ ส่วนซอฟแวร์ท่ีใช้งานเฉพาะ
ดา้ นสำหรับงานบัญชี สามารถบันทึก ประมวลผล และเสนอรายงานเก่ียวกับรายการค้าท่ีเกิดขึ้น โดย
เร่ิมตั้งแต่การลงบัญชีในสมุดรายวันท่ัวไป การผ่านรายการไปสมุดบัญชีแยกประเภท และสรุปผล
รายการค้าออกมาในรูปของงบการเงิน เช่น Express QuickBooks FreshBooks ฯลฯ นอกจากน้ีใน
ปัจจุบันโปรแกรมทางการบัญชีมักเป็นส่วนหนึ่งของโปรแกรมประเภท ERP ซึ่งเกี่ยวกับการวางแผน
ทรัพยากรทางธุรกิจขององค์การโดยรวม (enterprise resource planning) โดยเช่ือมโยงสารสนเทศ
ท้ังหมดขององค์การเข้าด้วยกัน ตัวอย่างของโปรแกรมประเภทน้ี เช่น SAP R/3 Oracle Crystal
Formula ฯลฯ (กมลทพิ ย์ คำใจ, 2556, หน้า 150)
ในยุคดิจิทัล 4.0 เทคโนโลยีสารสนเทศที่กล่าวถึงกันมากและสามารถใช้ในงานทางการ
บญั ชีคอื คลาวด์คอมพิวตงิ้ (cloud computing) หรอื การประมวลกลุ่มเมฆ ซึ่งเปน็ เทคโนโลยีสารสนเทศ
ที่ทำงานบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต รองรับการจัดเก็บข้อมูลได้อย่างมหาศาลและเรียกใช้งานได้อย่าง
สะดวกรวดเร็ว รองรับการทำงานของผู้ใช้งานได้ทุกที่ ทุกเวลา ผ่านอุปกรณ์ต่างๆ เช่น โน้ตบุ๊ก แท็บเล็ต

181

สมารท์ โฟน ฯลฯ รองรับการดำเนนิ งานทุกระบบปฏิบัตกิ าร โดยกิจการสามารถเช่าใชส้ ่วนต่าง ๆ ผ่าน
ผู้ให้บริการ ทั้งในส่วนฮาร์ดแวร์ เช่น พ้ืนท่ีเก็บข้อมูลทางการบัญชี ส่วนแพลตฟอร์มเพ่ือการพัฒนา
ซอฟต์แวร์ และแอปพลิเคชันสำหรับงานบัญชี และสว่ นซอฟตแ์ วร์ เช่น โปรแกรมสำเรจ็ รูปพ้ืนฐานซึ่ง
สามารถนำมาประยุกต์ในงานบัญชี โปรแกรมสำเร็จรูปเฉพาะทางการบัญชี ฯลฯ ซ่ึงใช้งานง่ายและ
ไม่ต้องติดตั้งโปรแกรมลงในคอมพิวเตอร์ แต่ใช้งานออนไลน์เพียงเช่ือมต่อการอินเทอร์เน็ต การใช้
บริการคลาวด์คอมพิวต้งิ ทำใหก้ ิจการลดคา่ ใช้จ่ายในการลงทุนทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ โดยเสีย
ค่าใช้จ่ายเท่าท่ีใช้งาน อีกทั้งความปลอดภัยของข้อมูลค่อนข้างสูงและเรียกใช้งานได้ทุกที่ทุกเวลาหาก
เชื่อมต่อกับอินเทอร์เน็ต นอกจากนี้คลาวด์คอมพิวต้ิง ยังช่วยเพ่ิมความสามารถในการประมวลผล โดย
การใช้กลุ่มของคอมพิวเตอร์บนอินเทอร์เน็ตช่วยประมวลผล จากเดิมท่ีต้องประมวลผลโดยใช้ทรัพยากร
คอมพวิ เตอร์ขององค์การธรุ กิจเทา่ น้ัน (มฑุปายาส ทองมาก, 2559, หน้า 24)

เทคโนโลยีสารสนเทศมีความสำคัญต่อการบัญชี เพราะช่วยจัดเก็บข้อมูลได้ในปริมาณ
มาก อีกท้ังจัดเก็บและประมวลผลได้อย่างรวดเร็ว มีความแม่นยำ สามารถสรา้ งผลลพั ธไ์ ด้หลากหลาย
รูปแบบตามความต้องการ ตลอดจนสามารถส่งสารสนเทศ ข้อมูล หรือผลลัพธท์ ่ีไดจ้ ากท่ีหน่ึงไปยังอีก
ท่ีหน่ึงได้อย่างรวดเร็ว กล่าวได้ว่าเทคโนโลยีสารสนเทศส่งผลทางบวกต่อระบบบัญชีทั้งในเชิงปริมาณ
และเชิงคุณภาพ เพราะช่วยในการปรับปรงุ ระบบการบัญชีให้ความเหมาะสมกับการใช้งาน เพ่ิมความ
ถกู ตอ้ งแม่นยำ เพ่ิมความเร็ว ประหยัดเวลาและเงิน ลดการใช้กระดาษซ่ึงช่วยรักษาส่งิ แวดลอ้ มไปในตัว
ทีส่ ำคัญให้รายงานทางการเงนิ ท่ีมปี ระสทิ ธิภาพ เอ้อื ประโยชนต์ อ่ การตัดสินใจของผู้บรหิ ารได้ดขี ึ้นและ
รวดเร็วข้ึน (Hesam, 2017, p. 1-3; Moghaddam, Baygi, Rahmani & Vahediyan, 2012, p.1344)
นอกจากเทคโนโลยีสารสนเทศชว่ ยเพ่ิมความเรว็ และความแม่นยำในการคำนวณทางการบัญชี ยังช่วย
ให้การจัดเก็บข้อมูลและสารสนเทศทางการบัญชีมีความปลอดภัยมากย่ิงข้ึน (Lim, 2013, p.93) จึง
เห็นได้ว่าเทคโนโลยีสารสนเทศเป็นส่ิงที่ช่วยสร้างมูลค่าให้กับสารสนเทศเพ่ือนำไปใช้ประโยชน์ทาง
ธุรกจิ ดงั น้ันการเลือกใชเ้ ทคโลยสี ารสนเทศท่ีเหมาะสม การกำหนดนโยบายดา้ นเทคโนโลยสี ารสนเทศ
ขององค์การ รวมท้ังการตัดสินใจเก่ียวกับงบประมาณในเร่ืองน้ีเป็นสิ่งสำคัญยิ่งในงานทางด้านบัญชี
รวมท้ังงานในสว่ นอืน่ ของการบรหิ ารธรุ กิจ

ระบบสารสนเทศทางการบญั ชี
คำว่า“ระบบสารสนเทศ” กับคำว่า “เทคโนโลยีสารสนเทศ” มักถูกนำมาใช้แทนกัน
(ศรัณย์ ชูกียรติ, หน้า 1-19) กล่าวกันว่าระบบสารสนเทศในปัจจุบันไม่สามารถถูกแยกออกจาก
เทคโนโลยีสารสนเทศได้ สำหรับระบบสารสนเทศทางการบัญชีถือว่าเป็นส่วนประกอบที่เป็นรากฐาน
สำคัญของระบบสารสนเทศรวมทัง้ องค์การ และเป็นฐานของระบบสารสนเทศอ่ืนขององค์การ (พลพธู
ปียวรรณ และกัญนิภัทธ์ิ นิโรจน์ธนัท, 2557, หน้า 24) ระบบสารสนเทศทางการบัญชี (accounting
information system: AIS) คือกลุ่มขององค์ประกอบซึ่งทำหน้าท่ีเก็บรวบรวม บันทึก และจัดเก็บ
เหตกุ ารณ์ทางธรุ กิจ รายการคา้ ตา่ ง ๆ และสรุปผลในรปู งบการเงิน ประมวลผลข้อมูลทางธรุ กิจใหเ้ ป็น
สารสนเทศที่เป็นประโยชน์ต่อการตัดสินใจของฝ่ายบริหารเพื่อให้การวางแผนงานมีประสิทธภิ าพมาก
ยิ่งข้ึน ตลอดจนควบคุมเพื่อให้สารสนเทศมีความถูกต้องน่าเช่ือถือ มีความพร้อมใช้ และปกป้องให้
สินทรัพย์นี้ขององค์การมีความปลอดภัย (บุญยืน ตันเยี่ยน, 2555, หน้า 1-38) หรือกล่าวได้ว่าระบบ

182

สารสนเทศทางการบัญชี เป็นระบบสารสนเทศขององค์การที่ทำหน้าที่เก็บรวบรวม และประมวลผล
ข้อมูลทั้งข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับเงินตราและข้อมูลที่ไม่เกี่ยวข้องกับเงินตรา จากระบบงานย่อยต่าง ๆ
ขององค์การ และสื่อสารข้อมูลหรือข้อสารสนเทศที่รวบรวมได้ไปยังผู้ใช้ทุกคน (กมลทิพย์ คำใจ, 2556,
หน้า 20) โดยองค์ประกอบพ้ืนฐานของระบบสารสนเทศทางการบัญชี ได้แก่ 1) คน (people) เพ่ือออกแบบ
รวบรวม และเก็บรักษาข้อมูล วิเคราะห์และตัดสินใจผ่านการควบคุมอุปกรณ์ไอทีและแอปพลิเคชัน
ต่าง ๆ 2) ข้อมูล (data) ควรตระหนักถึงความถูกต้อง ความทันเวลา และความสามารถตรวจสอบได้
3) นโยบายการทำงาน (policies) เกี่ยวกับหลักการดำเนินงาน การกำหนดสิทธ์ิผู้ใช้งาน และการ
กำหนดสิทธิ์การทำงาน 4) อุปกรณ์ทางไอที (hardware) เช่น เครื่องแม่ข่าย เคร่ืองสำรองข้อมูล
ระบบเครือข่ายเน็ตเวิร์ค 5) โปรแกรมหรือแอปพลิเคชันในการรวบรวมข้อมูลและการวิเคราะห์ข้อมูล
(software and applications) และ 6) ระบบการติดต่อส่ือสารเช่ือมต่อกัน (communication
networks) เพื่อตดิ ต่อส่ือสารข้อมูลระหว่างคน อุปกรณ์ แอปพลิเคชัน (มนตรี วบิ ลู ยรตั น์, 2558, หนา้ 37)

สารสนเทศทางการบัญชี (accounting information) เป็นข้อมูลทางการบัญชีที่ผ่าน
กระบวนการประมวลผลด้วยวิธีการต่าง ๆ และนำเสนอในรูปแบบที่มีความหมาย เหมาะสมกับความ
ตอ้ งการใช้ รวมทง้ั บนั ทึกไวอ้ ย่างเป็นระบบเพื่อนำไปใชง้ านต่อไป สว่ นขอ้ มูลทางการบญั ชี (accounting
data) เป็นข้อเท็จจริงหรือเหตุการณ์ทางการค้าท่ีได้จากการรวบรวม บันทึก จำแนกหมวดหมู่รายการค้า
หรอื รายการทางการเงนิ ตา่ ง ๆ ของกิจการ ซึ่งข้อมลู ทางการบัญชีท่ีมีความถูกตอ้ งครบถว้ น ย่อมส่งผล
ต่อคุณภาพของสารสนเทศทางการบัญชี โดยสารสนเทศท่ีดีควรมีคุณลักษณะสำคัญได้แก่ 1) มีความ
เกี่ยวข้องหรือมีสาระสำคัญ (relevant) สัมพันธ์กับเรื่องท่ีจะนำสารสนเทศมาใช้ประโยช์เพื่อช่วยลด
ความไม่แน่นอนและเพ่ิมความม่ันใจในการตัดสนิ ใจของผู้ใช้งานสารสนเทศไดเ้ ป็นอย่างดี 2) เชื่อถือได้
(reliable) คือแสดงกิจกรรมทางธุรกจิ อยา่ งถกู ต้องตรงไปตรงมา ปราศจากขอ้ ผิดพลาดหรือความอคติ
3) ครบถ้วน (complete) คือไม่ขาดตกบกพร่องหรือละเลยส่วนสำคัญของกิจกรรมทางธรุ กิจ 4) ทันเวลา
(timely) คือนำมาใช้ในการตัดสินใจได้อย่างทันท่วงที 5) เข้าใจง่าย (simple format) คือนำเสนอ
หรือส่ือสารออกมาในรูปแบบท่ีง่ายต่อการทำความเข้าใจและนำไปใช้ประโยชน์ได้ 6) พิสูจน์ได้
(verifiable) คือตรวจสอบย้อนกลับไปยังแหล่งที่มาได้ และหากให้ผู้ใช้แต่ละคนท่ีมีความรู้เหมือนกัน
ประมวลผลข้อมูลชุดเดียวกัน ควรได้ผลท่ีตรงกัน 7) เข้าถึงได้ (accessible) คือ พร้อมใช้งานตามท่ี
ผูใ้ ช้ต้องการ และ 8) คุ้มทุน (cost effective) คือสารสนเทศท่ีได้มาน้ันมีความคุ้มค่าการลงทุนที่เสียไป
เช่น เงนิ เวลา แรงกาย ฯลฯ (ศรัณย์ ชูเกียรติ, 2557, หนา้ 1-7-1-8; พลพธู ปียวรรณ และกัญนิภัทธ์ิ
นโิ รจน์ธนัท, 2557, หน้า 10)

ประเภทของระบบสารสนเทศทางการบัญชี
ระบบสารสารสนเทศทางการบัญชีจะเก่ียวข้องกับวงจรการบัญชีต้ังแต่การเก็บรวบรวม
บนั ทกึ รายการค้า สรปุ ผลจัดทำงบการเงิน รวมท้ังประมวลผลข้อมลู เพ่ือนำเสนอสารสนเทศทางการเงิน
และสารสนเทศอื่นท่ีเก่ียวข้องให้ผู้ใช้งานได้นำไปใช้ประกอบการตัดสินใจตามวัตถุประสงค์ท่ีต้องการ
ตลอดจนมีกระบวนการควบคุมท่ีดีเพ่ือรักษาข้อมูลและสารสนเทศทางการบัญชี การจัดแบ่งระบบ
สารสนเทศทางการบัญชีใช้เกณฑ์การจัดแบง่ ได้หลายแบบ ได้แก่ แบง่ ตามวงจรธุรกิจ แบง่ ตามแนวคิด
ห่วงโซ่คุณคา่ และแบง่ ตามผใู้ ช้งาน (บุญยนื ตนั เย่ยี น, 2555, หนา้ 1-38-1-40) ดังรายละเอียดตอ่ ไปน้ี

183

1.ระบบสารสนเทศทางการบัญชีตามวงจรธุรกิจ เป็นการจัดแบ่งตามหมวดหมู่ราย
การคา้ ของธรุ กจิ โดยทั่วไป จัดแบ่งออกเปน็ 4 ระบบย่อย ไดแ้ ก่

1.1 วงจรรายได้ (revenue cycle) เช่น ระบบการขาย ระบบการจัดส่งสินค้า ระบบ
การแจ้งหนี้และการเรียกเก็บเงิน ระบบการควบคุมลูกหนี้ ระบบเงินสดรับชำระหนี้ค่าสินค้าหรือ
บรกิ าร ฯลฯ

1.2 วงจรค่าใช้จ่าย (expense cycle) เช่น ระบบการจัดซ้ือ ระบบเจ้าหน้ี ระบบเงิน
สดจา่ ย ฯลฯ

1.3 วงจรการผลิต (production cycle) หรือวงจรแปรสภาพ (conversion cycle)
เช่น ระบบการควบคมุ สนิ คา้ คงคลัง ระบบการผลติ ระบบเงินเดอื นและคา่ แรง ฯลฯ

1.4 วงจรการบริหาร (administrative cycle) เช่น ระบบบัญชีแยกประเภททั่วไป
ระบบควบคุมเงนิ สดรบั และเงินสดจา่ ย ระบบการจดั การสนิ ทรพั ย์ ฯลฯ

2. ระบบสารสนเทศทางการบัญชีตามแนวคิดห่วงโซ่คุณค่า ประกอบด้วยความสัมพันธ์
ของงาน 9 กจิ กรรมซึ่งแยกเปน็ 2 กลุ่มคอื กลมุ่ กจิ กรรมหลัก และกลมุ่ กิจกรรมสนับสนนุ

2.1 กลุ่มกิจกรรมหลัก (main activities) ประกอบด้วย กิจกรรมการขนส่งขาเข้า
กิจกรรมการดำเนนิ งาน การจัดสง่ สนิ คา้ ขาออก กิจกรรมการตลาดและการขาย กจิ กรรมการบรกิ าร

2.2 กลุ่มกิจกรรมสนับสนุน (support activities) ประกอบด้วย กิจกรรมเก่ียวกับ
โครงสร้างพ้ืนฐานของธุรกจิ กิจกรรมการบริหารทรัพยากรมนุษย์ กิจกรรมการพัฒนาเทคโนโลยี และ
กิจกรรมการจัดซ้อื จดั หา

3. ระบบสารสนเทศทางการบัญชีตามกล่มุ ผู้ใชง้ าน เนื่องจากมีกลุ่มผู้ใช้งานสารสนเทศ
ทางการบัญชีของกิจการ 2 กลุ่ม คือ กลุ่มภายในองค์การ และกลุ่มภายนอกองค์การ โดยแต่ละกลุ่ม
ตอ้ งการใชส้ ารสนเทศเพือ่ ประโยชน์ทีต่ ่างกนั จึงจัดแบ่งได้ 2 ระบบ ไดแ้ ก่

3.1 ระบบสารสนเทศทางบัญชีการเงิน (financial accounting information systems)
ซ่ึงออกแบบมาสำหรับกลุ่มผู้ใช้งานภายนอกองค์การ เช่น นักลงทุน หน่วยงานราชการท่ีเก่ียวข้องกับ
ธุรกิจ ฯลฯ เนน้ การเตรยี มสารสนเทศทางบัญชีของกจิ การภายใตม้ าตรฐานบัญชี

3.2 ระบบสารสนเทศทางการบัญชีบริหาร (managerial accounting information
systems) เน้นการจัดเตรียมสารสนเทศโดยเฉพาะการบริหารต้นทุนแก่ผู้ใช้งานภายในองค์การ เพ่ือ
ประโยชนต์ ่อการวางแผนและการตดั สนิ ใจทางธรุ กิจตอ่ ไป

ประโยชนข์ องระบบสารสนเทศทางการบัญชี
จากข้อมูลข้างต้นเกี่ยวกับรายละเอียดงานของระบบสารสนเทศทางการบัญชี ดังน้ันถ้า
หากออกแบบและวางระบบสารสนเทศทางการบญั ชขี ององค์การเป็นอย่างดี ย่อมกอ่ ใหเ้ กิดประโยชน์ดังนี้
1. ช่วยให้งานด้านการบัญชีโดยเฉพาะข้อมลู ท่ีเป็นตวั เลขที่มอี ยู่เป็นจำนวนมากของกิจการ
ถูกรวบรวมได้อย่างรวดเรว็ ขึ้น การวเิ คราะห์และประมวลผลมีความถกู ต้องแมน่ ยำขนึ้ สามารถรายงานผล
หรือนำเสนอสารสนเทศในรปู แบบทต่ี อ้ งการและทนั เวลา
2. ชว่ ยให้ขอ้ สารสนเทศทีเ่ ป็นประโยชน์ต่อส่วนงานอ่ืน เช่น สารสนเทศเกีย่ วกบั ปริมาณ
และต้นทุนสินค้าคงคลัง ย่อมเอื้อให้งานด้านการผลิตเป็นไปได้อย่างต่อเน่ืองและช่วยลดต้นทุนการ

184

ผลิต ข้อสารสนเทศเกี่ยวกับสินค้าคงคลัง หรือต้นทุนกิจกรรมการส่งเสริมการขาย ย่อมเอ้ือประโยชน์
ต่องานดา้ นการตลาด ฯลฯ

3. ชว่ ยเพ่ิมประสิทธิภาพในการควบคุมภายใน ปอ้ งกันการรว่ั ไหลทางการเงิน และแสดง
ฐานะการเงิน รวมถงึ รายงานทางการเงินอ่นื ๆ ท่มี คี วามถูกต้องและเช่อื ถอื ได้ ยอ่ มเป็นประโยชน์ตอ่ การ
วางแผนการดำเนนิ งานและเอือ้ ตอ่ การเตบิ โตของกจิ การ

4. ช่วยจัดเตรียมสารสนเทศท่ีมีความสำคัญ และนำมาใช้ประโยชน์ในการปฏิบัติงาน
ประจำวันที่เกี่ยวข้องกับรายการทางบัญชี การตัดสินใจวางแผนและควบคุมการดำเนินงานของ
ผู้บริหารได้เป็นอย่างดี ตลอดจนรายงานทางการเงนิ พื้นฐานตามกฎหมายทกี่ ำหนดซง่ึ จะเป็นโยชน์ต่อ
ผมู้ ีส่วนได้เสียกบั องค์การธรุ กจิ

นอกจากน้ีมีรายงานวิจัยซ่ึงระบุว่าระบบสารสนเทศทางการบัญชี มีอิทธิพลต่อการลด
ต้นทุนขององค์การ (Hla & Teru, 2015, p.976) และการเพิ่มประสิทธิผลการดำเนินงานขององค์การ
(Nwinee, Akpos, Vincent, & Ibinabo, 2016, p.974; Nabizadeh & Omrani, 2014, p.1)

แนวโน้มเทคโนโลยีท่ีมบี ทบาทตอ่ การบัญชี
เทคโนโลยีท่ีมีแนวโน้มเข้ามีบทบาทมากข้ึน และอำนวยประโยชน์ต่อการบัญชีของธุรกิจ
แม้แต่กิจกรรมประจำวันในการจัดทำบัญชี ได้แก่ คลาวน์ ความปลอดภัยของข้อมูล ระบบอัตโนมัติ
เครอ่ื งมอื โอซอี าร์ และบล็อกเชน (Tucker, 2017) ดงั มีรายละเอียดต่อไปน้ี
1. คลาวด์ (the cloud) ซึ่งหมายถึงโมเดลรูปแบบใหม่ของเทคโนโลยีสารสนเทศใน
การใช้งานบนอินเทอร์เน็ต ปัจจุบันมีผู้ใหบ้ ริการคลาวดม์ ากมายหลายรูปแบบ ทำให้การใช้คลาวด์เพ่ือ
งานทางการบญั ชีเร่ิมมีมากขนึ้ และจะยังคงขยายตวั ต่อไป เน่ืองจากกิจการได้รับประโยชนด์ ้านตน้ ทนุ ท่ี
ลดลง แต่มีโครงสร้างพ้ืนฐานด้านไอทีที่งา่ ยขึ้นโดยไม่ต้องลงทุนและดูแลรักษา เพียงเช่าใช้บริการจาก
ผู้ให้บริการคลาวน์ นอกจากน้ันทรัพยากรของคลาวน์สำหรับการประมวลผลมีพร้อมใช้งานได้ทันที
เข้าถึงได้ง่ายทุกท่ีทุกเวลา และได้หลายช่องทางจากอุปกรณ์ท่ีสามารถเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต ทำให้มี
ความสะดวกคล่องตัวในการทำงาน รวมท้ังรองรับการขยายตัวหากปริมาณงานของกิจการเพ่ิมมากขึ้น
อีกทั้งมีทางเลือกหลายแบบในแพลตฟอร์มคลาวด์ ทั้งคลาวด์แบบสาธารณะ (public cloud) คลาวด์
ส่วนตัว (private cloud) และคลาวด์แบบผสม (hybrid cloud) ซ่ึงเป็นการรวมกันของแพลตฟอร์ม
คลาวด์สาธารณะและคลาวด์ส่วนตัว โดยให้บริการตามการใช้งานหลัก ๆ ได้แก่ infrastructure as a
service (IaaS) ซ่ึงเปน็ การใหบ้ ริการโครงสร้างพ้ืนฐานเหมอื นกับคอมพิวเตอร์ และระบบจัดเก็บข้อมูล
platform as a service (PaaS) เป็นการให้บริการเกี่ยวกับแพลตฟอร์มต่างๆ software as a
service (SaaS) เป็นการใชง้ านทางด้านซอฟต์แวร์ ซ่งึ มีซอฟตแ์ วร์เฉพาะทางบญั ชี
2. ความปลอดภัยของข้อมูล (data security) งานทางด้านการบัญชีย่อมมีข้อมูลที่
เป็นความลับของธุรกิจ ดังนั้นการเก็บรักษาและการปรับปรุงข้ันตอนการรักษาความปลอดภัยข้อมูล
เป็นสิ่งสำคัญ ผู้บริหารจึงต้องพิจารณาถึงมาตรการและการใช้เทคโนโลยีในการเก็บรกั ษาข้อมูลสำคัญ
ให้ปลอดภยั และป้องกันการสูญหายเพอ่ื ความมัน่ คงขององค์การ ท้งั น้ีการดำเนินการข้ันพื้นฐานในการ
รกั ษาความปลอดภัย เชน่ การจำกัดการเขา้ ถึงเฉพาะบคุ คลที่ไดร้ ับอนุญาตโดยการใช้อปุ กรณ์อา่ นรหัส

185

ทางชวี ภาพ การใช้ระบบไฟรว์ อลล์ (firewall) เพอ่ื รกั ษาความปลอดภยั ของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ การ
เขา้ รหัสขอ้ มลู การสำเนาขอ้ มูลเก็บไว้ในท่ตี ่าง ๆ ฯลฯ

3. ระบบอัตโนมัติ (automation) การรวบรวมข้อมลู การบันทึก และการประมวลผล
ข้อมลู ทางบัญชีด้วยระบบอัตโนมตั ิ เนอื่ งมาจากความก้าวหน้าของปญั ญาประดิษฐ์หรือเอไอ (artificial
intelligent: AI) รวมท้ังอินเทอร์เน็ตในทุกสิ่ง (internet of things: IoT) เมื่ออุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์
ต่างๆ ถูกเชื่อมโยงในเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ซึ่งทำให้นักบัญชีเห็นข้อมูลทางการเงินและกิจกรรม
ทางการเงินมากข้ึนผ่านการเช่ือมต่อข้อมูล เช่น กระบวนการสั่งซ้ือสินค้าบนคลาวด์ การจัดการสินค้า
คงคลัง ฯลฯ นำไปสู่การบันทึกและจัดทำบัญชีโดยอัตโนมัติซ่ึงช่วยเพิ่มประสิทธิภาพและคุณภาพงาน
ทางบัญชี ทำให้นักบัญชีสามารถให้คำแนะนำทางธุรกิจแก่ผู้บริหารได้ดีข้ึน อย่างไรก็ดีแม้ว่าทุกวันนี้
AI มีแอปพลิเคชันทค่ี ่อนข้างจำกัดในสาขาการบัญชี แตจ่ ะเปล่ียนแปลงเพ่ิมมากข้ึนในไมช่ ้าน้ี และงาน
ทางการบัญชีจะถูกโอนย้ายไปให้ระบบเหล่าน้ีทำงานแทน เน่ืองจากความมีประสิทธิภาพของ AI ท่ี
เหนือกว่าคนและประหยดั ตน้ ทุนในระยะยาวไดม้ ากกวา่

4. เครื่องมือโอซีอาร์ (optical character recognition (OCR) tools) คือการแปลง
ไฟล์ภาพเอกสารให้เป็นไฟล์ข้อความโดยอัตโนมัติ โดยในปัจจุบันพัฒนาเป็นรูปแบบของแอปพลิเคชัน
ซ่ึงเช่ือมต่อกับโปรแกรมบัญชีของธุรกิจ ผู้ใช้งานสามารถใช้แอปพลิเคชัน OCR ผ่านสมาร์ทโฟนโดย
สแกนหรือถ่ายรูปภาพใบเสร็จรับเงินแล้วอัปโหลดไปยังโปรแกรมบัญชีของกิจการก็จะบันทึกบัญชีได้
โดยอตั โนมัติ ซ่ึงช่วยลดความผิดพลาดในการบันทึกบัญชี ได้ข้อมูลแบบเรียลไทม์ ไม่ต้องเสียเวลาพิมพ์
ขอ้ มูล ตลอดจนช่วยให้การค้นหาและตรวจสอบขอ้ มลู ทำไดอ้ ย่างรวดเรว็

5. บล็อกเชน (blockchain) คือเทคโนโลยีที่จัดเก็บข้อมูลในแบบแบ่งปันฐานข้อมูล
ร่วมกันและทำธุรกรรมทางการเงินได้โดยไม่ต้องผ่านคนกลาง บล็อกเชนจึงช่วยให้องค์การที่เป็นคู่ค้า
สามารถแบ่งปันฐานข้อมูลการบัญชี คือจากเดิมต่างฝ่ายต่างบันทึกบัญชีซึ่งเป็นธุรกรรมเดียวกัน แต่
เม่ือใช้บล็อกเชนจะทำให้ท้ังสององค์การสามารถบันทึกบัญชีไปพร้อมกัน ฝ่ายหน่ึงบันทึกรายการขาย
อีกฝ่ายบันทึกรายการซื้อ แสดงจำนวนสินค้าออกของฝ่ายหนึ่ง ในจำนวนท่ีเท่ากันกับท่ีอีกฝ่ายหนึ่งรับ
และแบ่งปันฐานข้อมูลบัญชีแยกประเภทท่ีมีรายการค้าเกี่ยวข้องระหว่างกันได้ ทำให้ช่วยลด
ข้อผิดพลาดในการบันทึกบัญชี และลดพฤติกรรมการฉ้อโกง เนื่องจากข้อมูลท่ีบันทึกแล้วไม่สามารถ
แก้ไขได้ และผู้ใช้งานเห็นข้อมูลชุดเดียวกัน นอกจากนี้ยังช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการตรวจสอบข้อมูล
เกยี่ วกบั งบการเงนิ ของกจิ การของผู้ตรวจสอบบญั ชี

เทคโนโลยีท่ีกล่าวมานี้ยังคงพัฒนาก้าวหน้าไปอย่างต่อเน่ือง ซ่ึงเอื้อประโยชน์ต่อการ
บัญชีของกิจการอย่างมาก แต่อย่างไรก็ดีการเลือกนำมาประยุกต์ใช้กับกิจการก็ต้องพิจารณาถึงความ
เหมาะสมกับบริบทการดำเนนิ งานทางธรุ กิจ รวมไปถึงความคุ้มค่าท่ีจะไดร้ ับเมื่อเทียบกับกับค่าใชจ้ ่าย
ท่ีกจิ การตอ้ งเสียไปกบั การลงทนุ ในดา้ นเทคโนโลยี

186

บทสรุป

องค์การธุรกิจรูปแบบต่าง ๆ มีหน้าที่จัดทำบัญชีแต่จะแตกต่างกันไปในรายละเอียดซ่ึง
ระบุไว้ตามพระราชบัญญัติการบัญชี พ.ศ. 2543 แม้บางประเภทธุรกิจท่ีไม่เข้าข่ายจัดทำบัญชีตาม
กฎหมายแต่ธุรกิจควรดำเนินการจัดทำบัญชีข้ึนเป็นการภายใน เพ่ือให้รู้สถานะทางการเงินและเพ่ือ
ควบคุมทางการเงินอันจะเป็นประโยชน์ต่อธุรกิจเอง การบัญชีเป็นกระบวนการรวบรวมข้อมูล บันทึก
จำแนกหมวดหมู่ทางการค้า และสรุปผลในรูปงบการเงิน จึงเห็นได้ว่าการบัญชีไม่ใช่เพียงแค่การทำ
บัญชี แต่ยังได้ผลสรุปของงบการเงินเพ่ือเป็นสารสนเทศท่นี ำไปใช้ประกอบการพิจารณาตัดสนิ ใจในการ
ดำเนินงานสำหรับผู้บริหารได้อย่างถูกต้องเหมาะสม รวมถึงผู้มีส่วนได้ส่วนเสียกับกิจการ เช่น ผู้ลงทุน
เจ้าหนี้ ผู้ถือหุ้น สถาบันการเงิน หน่วยงานภาครัฐที่เกี่ยวข้อง ฯลฯ หลักการพ้ืนฐานทางการบัญชีที่
สำคัญเพ่ือดำเนินการทางบัญชีได้อย่างถูกต้อง ได้แก่ กรอบแนวคิดของการบัญชี แม่บทการบญั ชี และ
มาตรฐานการบญั ชี

ในการจัดทำบัญชีมีสมการบัญชีหลัก คือ สินทรัพย์เท่ากับหน้ีสินบวกด้วยส่วนของ
เจ้าของ โดยมีหมวดรายการทางบัญชี 5หมวด ได้แก่ 1) สินทรัพย์ คือ ทรัพยากรท่ีมีมูลค่าซ่ึงกิจการ
เป็นเจ้าของและนำไปใช้ประโยชน์ในการดำเนินธุรกิจ แบ่งเป็นสินทรัพย์หมุนเวียน และสินทรัพย์ไม่
หมุนเวียน 2) หน้ีสิน ซงึ่ เป็นภาระผูกพันท่ีกิจการต้องชำระคืนในอนาคตตามที่ตกลงให้แก่บุคคล กลุ่ม
บุคคล หรือองค์การท่ีเก่ียวข้องต่อการดำเนินงานของกิจการ หน้ีสินแบ่งออกเป็น 2 ประเภท ได้แก่
หนี้สินหมุนเวียน และหนี้สินระยะยาว 3) ส่วนของเจ้าของหรือทุน ซึ่งเป็นส่วนคงเหลือในสินทรัพย์
หลังหักหน้ีสินของกิจการ องค์การธุรกิจแบบห้างหุ้นส่วน จะเรียกส่วนของเจ้าของว่าส่วนของผู้เป็น
หุ้นส่วน แต่ถ้าองค์การธุรกิจแบบบริษัทจะเรียกส่วนของเจ้าของว่า ส่วนของผู้ถือหุ้น 4) รายได้ คือ
รายรับที่ได้มาจากการดำเนินกิจกรรมท่ีทำให้เกิดการเพิ่มข้ึนของประโยชน์ทางเศรษฐกิจแก่กิจการ
และทำใหส้ ่วนของเจ้าของเพ่ิมขึ้นนอกเหนือจากเงนิ ทุน 5) ค่าใช้จ่าย คอื จำนวนเงินท่ีกจิ การต้องจ่าย
ออกไปเพ่ือประโยชน์ในการดำเนินงานหรือนำไปใช้เพื่อก่อให้เกิดรายได้ ส่งผลให้ส่วนของเจ้าของ
ลดลง แต่ไม่รวมกับการแบ่งสันปันส่วนให้กับเจ้าของ ในการจัดทำบัญชีตามวงจรการบัญชีหรือลำดับ
ขั้นตอนการบัญชีในแต่ละงวดบัญชี เริ่มต้นด้วยการวิเคราะห์และการบันทึกรายการค้าในสมุดรายวัน
ท่ัวไป การผ่านรายการไปยังบัญชีแยกประเภท การจัดทำงบทดลอง การบันทึกรายการปรับปรุงใน
สมุดรายวันทั่วไปแล้วผ่านรายการไปยังบัญชีแยกประเภท การจัดทำงบทดลองหลังการปรับปรุง การ
ปดิ บญั ชี และการทำงบการเงิน

ปัจจุบันการบัญชีได้อาศัยเทคโนโลยีเข้ามาช่วยจัดการระบบข้อมูลทางการบัญชีให้เกิด
ความถูกต้องแม่นยำ ทุ่นแรงของบุคลากร ทนุ่ เวลาการทำงานให้รวดเรว็ และสะดวกมากขึ้น รวมทั้งได้
สารสนเทศทางการบัญชีในรูปแบบต่าง ๆ ทีต่ รงกับการใช้ประโยชนแ์ ละทันเวลาที่ต้องการ เทคโนโลยี
สำคัญที่มีบทบาทเอื้อประโยชน์ต่องานด้านการบัญชีคือ เทคโนโลยีสารสนเทศ ซึ่งมีองค์ประกอบท่ี
สำคัญ 2 ส่วนหลักท่ีผสมผสานกัน ได้แก่ เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสื่อสารโทรคมนาคม
ทั้งนี้การนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้กับการบัญชีของธุรกิจขึ้นอยู่กับความต้องการและความ
เหมาะสมของแต่ละกิจการ เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นสิ่งที่ช่วยสร้างมูลค่าให้กับสารสนเทศเพ่ือ
นำไปใช้ประโยชน์ทางธุรกิจ สำหรับสารสนเทศทางการบัญชี เป็นข้อมูลทางการบัญชีที่ผ่าน
กระบวนการประมวลผลด้วยวธิ ีการต่าง ๆ และนำเสนอในรูปแบบที่มีความหมาย เหมาะสมกับความ

187

ต้องการใช้ รวมทั้งบันทึกไว้อย่างเป็นระบบเพ่ือนำไปใช้งานต่อไป หากกิจการมีระบบสารสนเทศที่ดี
ย่อมได้สารสนเทศทางการบัญชีท่ีมีคุณภาพและประโยชน์แก่ธุรกิจ การจัดแบ่งระบบสารสนเทศ
ทางการบัญชีใช้เกณฑ์การจัดแบ่งได้หลายแบบ ได้แก่ แบ่งตามวงจรธุรกิจ แบ่งตามแนวคิดห่วงโซ่
คุณค่า และแบ่งตามผู้ใช้งาน ในปัจจุบันเทคโนโลยีท่ีมีแนวโน้มเข้ามีบทบาทมากข้ึน และอำนวย
ประโยชน์ต่อการบัญชีของธุรกิจ ได้แก่ คลาวน์ ระบบความปลอดภัยของข้อมูล ระบบอัตโนมัติ
เคร่ืองมือโอซอี าร์ และบล็อกเชน โดยผู้บริหารสามารถเลอื กนำมาประยกุ ต์ใช้ให้เหมาะสมกบั องค์การ
แตต่ อ้ งพิจารณาถึงคา่ ใช้จ่ายและความคุ้มคา่ ของผลประโยชน์ที่จะไดร้ ับ

188

แบบฝึกหดั ทา้ ยบท

1. จงอธบิ ายความหมายของการบญั ชี
2. จงอธบิ ายกระบวนการของการบัญชี
3. จงเขียนสมการบญั ชี
4. จงอธิบายหมวดบัญชีท้งั 5 หมวด
5. จงอธบิ ายรายละเอียดเกยี่ วกับสว่ นของเจ้าของสำหรับกิจการเจ้าของคนเดียว หา้ งห้นุ ส่วน และ
บริษทั
6. จงอธบิ ายการจัดทำบัญชีตามวงจรการบญั ชี ของกจิ การประเภทบรกิ าร ประเภทซ้ือขาย และ
ประเภทการผลติ
7. รายการคา้ ทเ่ี กดิ ข้นึ ประจำวนั ของรา้ นม่ังคงั่ บริการในการเปิดบรกิ ารเดือนแรกในเดือนธนั วาคม
25XX มดี งั น้ี

วนั ที่ 1 นายม่ังค่งั นำเงนิ มาลงทุนในธุรกิจ 200,000 บาท
วนั ที่ 2 จา่ ยค่าเชา่ ร้าน 20,000 บาท
วนั ที่ 5 ซื้ออุปกรณเ์ ปน็ เงินสด 40,000 บาท
วันท่ี 10 ซื้อวสั ดุสน้ิ เปลอื งเป็นเงนิ เชอ่ื 60,000 บาท
วันที่ 15 ซอ้ื วัสดสุ ้ินเปลอื งเป็นเงินสด 10,000 บาท
วนั ท่ี 16 ลกู ค้าชำระค่าบรกิ ารเปน็ เงินสด 30,000 บาท
วันที่ 20 ลกู คา้ ค้างชำระค่าบริการ 20,000 บาท
วนั ที่ 22 ลกู ค้าค้างชำระค่าบริการ 5,000 บาท
วันท่ี 25 จ่ายค่าสาธารณูปโภค 6,000 บาท
วันท่ี 28 นำเงนิ สดของร้าน 1,000 บาท ไปใช้จ่ายส่วนตวั
วันท่ี 30 จ่ายเงินเดือนพนกั งาน 35,000 บาท
วันท่ี 30 ลกู ค้าที่ค้างชำระคา่ บริการนำเงินสดมาจ่าย 20,000 บาท
หากมีรายการปรับปรุงในวนั สิ้นงวด 31 ธนั วาคม 25XX ดงั น้ี
1. วัสดุสิ้นเปลอื งซึ่งบันทกึ เป็นสนิ ทรัพย์คงเหลือเม่ือตรวจนบั ปลายงวด 10,000 บาท
2. ค่าเผ่อื หน้ีสงสัยจะสูญ 5% ของยอดลกู หนี้การค้า
3. ค่าเสื่อมราคาอุปกรณต์ ่อเดือนคดิ เป็น 1% ของราคาซ้ือ
จากข้อมูลรายการค้าขา้ งตน้
7.1 จงบันทกึ รายการคา้ ข้างตน้ ในสมดุ รายวนั ท่วั ไป
7.2 จงผา่ นรายการค้าไปในบญั ชีแยกประเภท
7.3 จงจดั ทำงบทดลองหลังรายการปรับปรงุ
7.4 จงจัดทำงบกำไรขาดทุน
7.5 จงจดั ทำงบแสดงฐานะการเงิน

189

8. จากการวเิ คราะหร์ ายการค้าในเดือนธนั วาคม 25XX และยอดคงเหลือในบัญชสี ินทรัพย์ หนี้สิน

และทนุ ณ วันท่ี 31 ธันวาคม 25XX ของบรษิ ัท มดี ี จำกดั ดังนี้

บาท

รายไดค้ า่ บริการ 181,000

เงินเดือนพนกั งานขาย 40,000

เงนิ เดอื นพนกั งานสำนกั งาน 75,000

คา่ โฆษณา 2,000

ลิขสิทธ์ิ 20,000

เงนิ สด 27,000

รายไดค้ ่าบริการรบั ลว่ งหนา้ 3,000

คา่ ภาษี 4,500

ทุน-ห้นุ สามัญ 100,000

เคร่ืองจักร 12,000

คา่ ขนส่ง 5,000

ลูกหน้ีการค้า 13,000

วัสดุสนิ เปลอื งสำนกั งานใช้ไป 2,000

เจ้าหนี้การคา้ 17,000

สินค้าคงเหลอื 10,000

กำไรสะสม (1 ธันวาคม 25XX) 20,000

คา่ เบยี้ ประกนั ภัยจา่ ยลว่ งหน้า 10,000

ดอกเบีย้ คา้ งจ่าย 2,000

อาคาร 100,000

คา่ สาธารณปู โภค 2,500

8.1 จงทำงบกำไรขาดทุน ประจำงวด 1 เดือน เพียงวนั ท่ี 31 ธันวาคม 25XX
8.2 จงทำงบกำไรสะสม ประจำงวด 1 เดือน เพยี งวนั ท่ี 31 ธันวาคม 25XX
8.3 จงทำงบแสดงฐานะการเงิน ณ วันที่ 31 ธนั วาคม 25XX

9. จงอธิบายเกย่ี วกับระบบสารสนเทศทางการบัญชี
10. จงอธบิ ายเกีย่ วกับเทคโนยีสารสนเทศ และการนำมาใช้ประโยชนท์ างการบญั ชี

190

เล่าเรอ่ื งทางธรุ กจิ

ซอี ีโอ-ประธาน โตชบิ า ลาออก ยอมรับแต่งกำไรบริษทั นานหลายปี
บริษัท โตชิบา ซ่ึงมีธุรกิจหลากหลายต้ังแต่เคร่ืองใช้ไฟฟ้าจนถึงโรงงานไฟฟ้านิวเคลียร์

ออกแถลงการณ์เมื่อวันอังคารท่ี 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2558 ถึงการประกาศลาออกจากตำแหน่งของ
นายฮิซาโอะ ทานากะ ประธานและหัวหน้าคณะเจ้าหน้าที่บริหาร (ซีอีโอ) ของบริษัท หลังเกิดเรื่อง
อื้อฉาวเกี่ยวกับการแต่งบัญชีผลกำไรของบริษัทให้สูงเกินจริง จากผลการสืบสวนของคณะกรรมการ
อิสระที่โตชิบาแต่งต้ังพบว่า บริษัทเปิดเผยผลกำไรเกินจริงถึง 1.2 พันล้านดอลลาร์ ซ่ึงการรายงาน
กำไรผิดปกติเริ่มข้ึนหลังจากเกิดวิกฤติทางการเงินเมื่อ 7 ปีก่อน หมายความว่า โตชิบาต้องเริ่มแต่ง
บญั ชีกำไรระหว่างเดือนธันวาคม พ.ศ. 2551 ถึงเดอื นมีนาคม พ.ศ. 2557 คณะกรรมการอิสระยังระบุ
ด้วยว่า ภายในบริษัทโตชิบามีธรรมเนียมปฏิบัติที่พนักงานและเจ้าหน้าท่ีไม่สามารถขัดคำสั่งของผู้มี
ตำแหน่งสูงกว่าได้ และเม่ือคณะผู้บริหารระดับสูงสั่งการมา ประธานฝ่าย ผู้จัดการในสายงาน และ
พนักงานท่ีตำแหน่งต่ำกว่าก็ต้องจัดการทำบัญชีท่ีไม่ถูกต้องเพื่อให้ได้ตามเป้าหมายของผู้บริหาร
ระดับสูง หลังเรื่องการแต่งบัญชีของโตชิบาถูกเปิดเผยออกมา นายทาโร อาโสะ รัฐมนตรีว่าการ
กระทรวงการคลังแห่งญ่ีปุ่น ก็ได้ออกมาแสดงความเสียใจโดยระบุว่า ความผิดปกติในการจัดทำบัญชี
ของโตชิบาเป็นเร่ืองที่น่าเสียใจอย่างยิ่ง และกรณีนี้เป็นบ่อนทำลายความเชื่อม่ันของการกำกับดูแล
กิจการในญ่ีปุ่น ท่ีพยายามจะฟ้ืนความเชื่อมั่นของนักลงทุนต่างชาติกลับมา หลังเกิดกรณีบริษัท
โอลิมปัส ผู้ผลิตกล้องถ่ายภาพและเครื่องมือแพทย์รายใหญ่ของญ่ีปุ่น ที่ปกปิดยอดขาดทุนถึง 1.7
พันลา้ นดอลลารส์ หรฐั เมื่อปี พ.ศ. 2554
ทม่ี า (ไทยรฐั ออนไลน์, 21 กรกฎาคม 2558)

การล้มละลายของ Enron
Enron เป็นบริษัทพลังงานสัญชาติอเมริกันขนาดใหญ่ซึ่งก่อต้ังข้ึนเม่ือปี พ.ศ. 2528 มี

รายได้เพ่ิม 750% ระหว่างปี พ.ศ. 2539-2543 และมียอดขายถึง 3 ล้านล้านบาท ในปี พ.ศ. 2543
โดยเฉล่ียแล้วเติบโตปีละ 65% เมื่อเทียบกบั ค่าเฉลี่ยของอุตสาหกรรมทีโ่ ตเพยี งแค่ 2-3% ต่อปี รายได้
ของ Enron มากที่สุดติดอันดับ 6 ในบริษัทใหญ่ที่สุดของโลก อันท่ีจริง Enron ไม่ได้เป็นเจ้าของ
สินทรัพย์พลังงานเอง แต่เป็นเพียงนายหน้าซ้ือขายพลังงาน ในการรายงานบัญชี Enron ควรจะ
รายงานรายได้เพียงแค่ค่าธรรมเนียมในการซ้ือขาย แต่ Enron กลับเลือกที่จะใช้มูลค่าทรัพย์สิน
ทง้ั หมดที่ซ้ือขายแสดงเป็นรายได้ และใช้วธิ ีการทางบัญชีที่รับรรู้ ายได้ก่อน แต่อนั ที่จริงแล้วยังไม่มีเงินสด
เข้ามา สุดท้ายเมอ่ื เร่ืองความไมโ่ ปร่งใสได้เปิดเผยออกมา จงึ ถกู ทางการตรวจสอบ และตอ่ มาบริษทั ถูก
ลดเครดิตลงทำให้ไม่มีใครกล้าให้บริษัทกู้เงิน บริษัทจึงขาดสภาพคล่องในการดำเนินธุรกิจ และ
ล้มละลายในปลายปี พ.ศ. 2544 ซึ่งเป็นครั้งท่ีใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์ของอเมริกา และมีพนักงาน
หลายหม่ืนคนต้องตกงาน จากราคาหุ้น Enron ที่เคยสูงสุดถึง 90.75 ดอลลาร์สหรัฐ ลดพรวดลงมา
เป็น 0.61 ดอลลาร์สหรัฐ ในวันสุดท้ายของการซื้อขาย อีกทั้งทำให้บริษัทตรวจสอบบัญชีที่ช่ือ
Accounting Firm ซึ่งมีชื่อเสียงในระดับแนวหน้า ถูกถอนใบอนุญาตตรวจสอบบัญชี เพราะให้ความ
ช่วยเหลือแก่ Enron ในการตกแตง่ บัญชี สร้างรายได้ และกำไรปลอม และยงั ปกปิดหนสี้ ินอกี ดว้ ย
ทีม่ า (ลงทนุ แมน, 13 มนี าคม 2560)

191

เรื่องเลา่ ความถกู ต้อง ระบบบญั ชีเดยี วให้อะไรกับธุรกิจ
ผู้ประกอบธุรกิจเอสเอ็มอีที่จดทะเบียนบริษัท ห้างหุ้นนิติบุคคล หลายแห่งมักมีหลาย

บญั ชี อาจเพ่ือให้มีตัวเลขในบัญชีสวยๆ ไว้ย่ืนขอสินเช่ือได้ง่ายขึ้น หรือเพ่ือให้จ่ายภาษีน้อยลง รัฐบาล
จงึ ออกกฎหมายท่ีสนับสนุนการทำบัญชีเดียว (one account) เพื่อช่วยให้การทำบัญชีมีความถูกต้อง
โปร่งใส สอดคล้องกับสภาพกิจการที่แท้จริง ตง้ั ตน้ นับหน่ึงใหม่ต้งั แต่รอบบัญชีปี พ.ศ. 2559 และต้ังแต่
วันท่ี 1 มกราคม พ.ศ. 2562 เป็นต้นไป ผู้ประกอบการต้องใช้หลักฐานบัญชีและงบการเงินของบริษัท
หรือหา้ งหนุ้ ส่วนนติ บิ ุคคลซง่ึ ย่นื แก่ทางสรรพากรมาประกอบการขอสนิ เชอ่ื จากสถาบันการเงนิ อีกดว้ ย

คุณสว่าง อรุณรัตนวงศ์ กรรมการผู้จัดการบริษัท แซนนิต้า อินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด
ผู้ผลิตผ้าอนามัยและนำเข้าสินค้าของใช้ส่วนบุคคล เล่าว่าธุรกิจยึดหลักธรรมาภิบาลและมีส่วนร่วม
พัฒนาสังคม โดยเฉพาะการจัดทำบัญชีชุดเดียวซึ่งมีจุดเด่นตรงที่ช่วยป้องกันการทุจริต และมีความ
โปร่งใส ทำให้การทำงานของเราง่าย ชัด ป้องกันการสับสนผิดพลาด ลดต้นทุนด้านแรงงาน และด้าน
ของพ้นื ท่ีในการจัดการ เพราะการทำบัญชีชุดเดียว ก็ไม่จำเป็นต้องมีสต๊อกเก็บไว้ 2 ที่ ไมต่ ้องใช้พนักงาน
2 กลุ่ม เกิดประโยชน์อีกอย่าง คือเราสามารถนำมาใช้วเิ คราะห์งบการเงิน และวิเคราะหป์ ระสทิ ธิภาพ
ทางธุรกิจได้อย่างถูกต้องแม่นยำ ทำให้เรามีเครดิต มีภาพลักษณ์ที่ดี หากพิจารณาเรื่องการประหยัด
ภาษอี ย่างถูกต้องตามกฎหมาย อันทจ่ี ริงแล้วมวี ิธกี ารอืน่ อกี มากท่ีจะใช้โดยไมต่ อ้ งทำหลายบญั ชี

คุณสมิต ทวีเลิศนิธิ กรรมการผู้จดั การบริษทั นิธิฟ้ดู ส์ จำกัด ผู้ผลติ สินค้าแปรรูปทางการ
เกษตร เล่าว่าถ้าทำหลายบัญชี ก็รู้อยู่คนเดียว ฉะนั้นการพูดคุยอะไรกับใครก็มีแต่ความลับตลอด แต่
การทำบัญชีเดียวอย่างท่ีเราทำอยู่จะเป็นภาพแห่งความจริง จะทำกิจการ จะขยายงาน จะให้ทีมงานได้
ช่วยคิด ช่วยเรามองไปที่เป้าหมายมีความชัดเจนมากกว่า ยังทำให้เห็นกำไรขาดทุนของกิจการ หรือ
กำไรขาดทุนของแต่ละผลิตภัณฑ์ได้ เพราะว่าตัวเลขมันไม่หลอกใคร ส่วนการทำหลายบัญชีนั้นใน
ระยะส้ันอาจเห็นภาพของการประหยัดภาษี แต่ว่ามันทำใหเ้ สียโอกาสอยา่ งมากในระยะยาว เพราะไม่
เห็นภาพกำไรขาดทุนท่ีชัดเจนในการบริหารธุรกิจ ไม่สามารถใช้ทีมงานเดียวกันให้มองภาพเพ่ือการ
ขับเคล่ือนไปข้างหน้า แต่ถ้าเรามีภาพเดียวกัน การเติบโตไปข้างหน้าอย่างแข็งแรงก็จะเกิดได้ง่ายขึ้น
เพราะการเรมิ่ จากพ้นื ฐานท่ีถูกตอ้ งจะทำให้กิจการเตบิ โตอย่างมั่นคงและยง่ั ยืน

คุณฉกาจ แสนจนั กรรมการผู้จดั การ บริษัทลีดเวย์ เฮฟวี่ แมชชนี เนอรร์ ี่ จำกัด ตวั แทน
จำหน่ายรถขุดไฮดรอลกิ รถปูยางผิวถนน ย่ีห้อ Sumitomo เลา่ วา่ การทำธรุ กจิ นั้นเราให้ความสำคัญ
ในทุกๆ เรื่อง ท้ังเร่ืองมาตรฐานของผลิตภัณฑ์และการบริการหลังการขาย รวมถึงเรื่องการบริหาร
จัดการภายในธุรกิจ โดยเฉพาะเรื่องบัญชีซ่ึงเราทำบัญชีชุดเดียว ทำให้บริหารงานได้ง่าย และคุยกับ
สถาบันการเงินได้อย่างสบายใจ โดยท่ีไม่ต้องพูดมาก เพราะเขาเห็นเครดิตเราดีอยู่แล้ว ซึ่งแม้การทำ
หลายบัญชีจะทำให้เราจ่ายภาษีน้อยลง แต่มันก็ทำให้ประโยชน์ท่ีเราจะได้รับน้อยลงไปด้วย การทำ
บัญชีชุดเดียวมันอาจจะยุ่งยากในช่วงแรก ๆ เพราะจะมีการบันทึก ข้อมูลอะไรต่อมิอะไรเต็มไปหมด
ซ่ึงต้องใช้เวลา แต่เม่ือข้ันตอนตรงน้ีเสร็จสมบูรณ์ก็จะไม่มีอะไรที่ยุ่งยากอีกแล้ว กลับง่ายขึ้น อีกทั้งทำให้
เรามองเห็นตัวเลขชัดเจนข้ึน บริหารจัดการก็ง่ายข้ึน ได้รับการยอมรับในทางธุรกิจ และเป็นที่เชื่อถือ
ของคู่ค้า ทำให้ติดต่อการค้าได้มากข้ึนและมีการเติบโตท่ีสูงข้ึน ที่สำคัญถือเป็นความซ่ือสัตย์ที่เรามีต่อ
ตวั เองและประเทศ เพราะถา้ แม้แตภ่ าษอี ากรคณุ ยงั ไม่ซอ่ื สตั ย์ แล้วคุณจะไปซ่ือสตั ย์กับใครได้
ที่มา (พิชชานันท์ สโุ กมล, 2559, 35-42)

192

เอกสารอ้างองิ

กมลทิพย์ คำใจ. (2556). ระบบสารสนเทศทางการบัญชี. เชยี งใหม่: มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏเชยี งใหม่.
กองบรหิ ารภาษธี รุ กจิ ขนาดกลางและขนาดเล็ก. (2559). รูปแบบบัญชีและรายงาน [Online].

Available: http://www.rd.go.th/publish/38052.0.html [2560, มิถนุ ายน 7].
กานต์นภสั บญุ ลึก. (2554). บัญชีเบอ้ื งต้น 1. กรงุ เทพฯ: ซีเอด็ ยเู คชั่น.
ฉตั ยาพร เสมอใจ. (2558). การจัดการธุรกิจขนาดย่อม. กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชัน่ .
ดวงสมร อรพนิ ท,์ กชกร เฉลิมกาญจนา, แพร กรี ะสุนทรพงษ์, ปริญดา มณีโรจน์ และสมพงษ์

พรอุปถัมภ์. (2557). การบญั ชกี ารเงนิ (พิมพ์ครัง้ ท่ี 10). กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลยั .
ไทยรัฐออนไลน์. (2558, กรกฎาคม 21). ซีอีโอ-ประธานโตชิบาลาออก ยอมรบั แต่งกำไรบริษัทนาน
หลายปี ใน ไทยรฐั ออนไลน์ [Online]. Available: https://www.thairath.co.th/
content/513235 [2560, มิถนุ ายน 10].
บุญยนื ตนั เยยี่ น. (2555). เทคโนโลยสี ารสนเทศและระบบสารสนเทศทางการบญั ชี ใน เทคโนโลยี
สารสนเทศสำหรบั การบัญชีการเงนิ และการบัญชีเพ่ือการจัดการ หนว่ ยที่ 1-7
(หน้า 1-1-1-49). นนทบรุ :ี มหาวทิ ยาลยั สุโขทัยธรรมาธิราช.
เบญจมาศ อภสิ ิทธิ์ภิญโญ. (2556). หลักการบัญชี. กรุงเทพฯ: ซเี อ็ดยูเคช่ัน.
. (2557). สนกุ รู้บญั ชเี รมิ่ ต้นจากศนู ย์. นครราชสมี า: แพนด้าเลิรน์ นง่ิ บคุ๊ .
ประกาศกระทรวงพาณิชย์. (2544). ราชกิจจานุเบกษา, 118 (ตอนพเิ ศษ 14 ง), 8.
ประกาศกรมทะเบียนการค้า. (2544). ราชกจิ จานเุ บกษา, 118 (ตอนพิเศษ 58 ง), 21-27.
ปิยมาศ เหลอื ลน้ , กญั ญมน วิทยาภูมิ และวราพร เปรมพาณิชย์นกุ ลู . (2556). ผลกระทบของคณุ ภาพ
รายงานทางการเงินท่ีมตี ่อประสทิ ธภิ าพการตัดสนิ ใจของธรุ กิจ SMEs ในจงั หวัดสรุ นิ ทร์.
วารสารการบญั ชีและการจดั การ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 5(4), 78-87.
ปารชิ าติ มณมี ยั . (2553). หลักการบญั ชขี นั้ ต้น. กรงุ เทพฯ: โอเดยี นสโตร์.
ฝา่ ยวิชาการสูตรไพศาล. (2555). ติวสอบวชิ าเทคโนโลยีสารสนเทศเบื้องตน้ เนื้อหาพร้อมแนวข้อสอบ.
กรงุ เทพฯ: สตู รไพศาล.
พระราชบญั ญตั ิการบญั ชี พ.ศ. 2543. (2543). ราชกจิ จานเุ บกษา, 117 (ตอนที่ 41 ก), 1-11.
พลพธู ปียวรรณ และกัญนิภัทธ์ิ นโิ รจนธ์ นทั . (2557). ระบบสารสนเทศทางการบญั ชี (พิมพค์ รงั้ ที่ 3).
กรุงเทพฯ: วิทยพฒั น์.
พชั ราณี อตุ มวฒุ ิกำจร. (2555). หลักการบญั ชี. กรุงเทพฯ: เสมาธรรม.
พิชชานันท์ สุโกมล. (2559). เร่ืองควรรขู้ องเอสเอ็มอี กบั การทำบัญชีชดุ เดยี ว. K SME inspired, 1,
35-42.
มฑุปายาส ทองมาก. (2559). ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ การจดั การความท้าทายในยุคดิจทิ ัล.
ปทมุ ธานี: มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์.
มนตรี วบิ ลู ยรตั น์. (2558). ระบบสารสนเทศเพ่ือการจัดการ. กรุงเทพฯ: พิมพ์ดกี ารพมิ พ์.


Click to View FlipBook Version