The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หลักการบริหารธุรกิจ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Ahlam.j, 2022-07-06 03:51:25

หลักการบริหารธุรกิจ

หลักการบริหารธุรกิจ

Keywords: หลักการบริหารธุรกิจ

93

ส่วนเสียทุกภาคส่วน โดยหลักจริยธรรมที่ทุกคนในองค์การยึดถือปฏิบัติ ได้แก่ 1) ยึดมั่นในระบอบ
ประชาธปิ ไตย ด้วยการสนบั สนุนระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมขุ 2) ยึดมั่น
ในประโยชน์ของบริษัท โดยปฏิบัติหน้าที่เพื่อประโยชน์สูงสุดของบริษัท 3) ยึดมั่นในความซื่อสัตย์
สุจริต โดยไม่ยินยอมให้เกิดทุจริตขึ้นในงานที่ตนมีหน้าที่รับผิดชอบ 4) ยึดมั่นในความถูกต้อง โดยไม่
ยินยอมให้เกิดการกระทำผิดกฎหมายขึ้นในงานท่ีตนมีหน้าที่รับผิดชอบ 5) ยึดมั่นในความโปร่งใส โดย
ไม่บิดเบอื นข้อเทจ็ จริงไม่ว่าในลักษณะใดในการให้ข้อมูลข่าวสารแกผ่ ู้ร่วมงาน ประชาชน ผถู้ ือห้นุ และ
ผ้มู สี ว่ นไดส้ ่วนเสียอ่ืน ๆ (บริษทั การบนิ ไทย จำกัด (มหาชน), 2558, หนา้ 23)

บริษัทอีซ่ีบาย จำกัด (มหาชน) บริษัท ฯ กำหนดจริยธรรมทางธุรกิจ ดังนี้ 1) เรามุ่งมั่น
เป็นตัวแทนท่ีดีของผู้ถือหุ้นในการดำเนินธุรกิจ เพ่ือสร้างความพึงพอใจสูงสุดให้กับผู้ถือหุ้นและเพ่ือ
เสริมสร้างความแข็งแกร่งของกิจการ 2) เราดำเนินธุรกิจกับเจ้าหนี้และคู่ค้าใด ๆ บนพื้นฐานของความ
เป็นธรรมและซ่ือสัตย์สุจรติ 3) เรามุ่งสร้างความพึงพอใจและความมั่นใจให้กับลูกคา้ ท่ีจะได้รับบริการ
ทด่ี ีมคี ุณภาพ รวมท้ังรักษาสัมพันธภาพท่ีดี 4) เรามุ่งพัฒนา เสรมิ สร้างวัฒนธรรม และบรรยากาศการ
ทำงานท่ีดี ไม่สร้างพฤติกรรมการคุกคามทางอำนาจและคุกคามทางเพศ รวมท้ังส่งเสริมการทำงาน
เป็นทมี และให้ความเคารพต่อความเปน็ ปัจเจกชน 5) เราสนับสนุนและส่งเสริมการแขง่ ขันทางการค้า
อย่างเสรี เป็นธรรม และซ่ือสัตย์สุจริต 6) เราเป็นส่วนหนึ่งของสังคม ต้องรับผิดชอบช่วยเหลือสังคม
และสนับสนุนกจิ กรรมของท้องถ่ินที่บริษัทฯ เข้าไปดำเนินธุรกิจ 7) เราปฏิบัติตามกรอบของกฎหมาย
กฎระเบียบ และข้อบังคับอย่างเคร่งครัด 8) เราไม่ดำเนินการใด ๆ ในลักษณะที่อาจก่อให้เกิดความ
ขัดแย้งทางผลประโยชน์ของบรษิ ัทฯ 9) เราไม่แสวงหาผลประโยชน์ใหต้ นเองและผู้ที่เกี่ยวข้อง โดยนำ
ข้อมูลภายในบริษัทฯ และของลูกค้าซง่ึ มสี าระสำคญั ยังไม่ไดเ้ ปิดเผยต่อสาธารณชนไปใช้ หรือเผยแพร่
ทั้งทางตรงและทางอ้อม 10) เรามีส่วนร่วมในการต่อต้านและปกป้องการทุจริตคอรัปช่ัน โดยสร้าง
จติ สำนึกทสี่ ่งเสริมความซือ่ สัตยส์ ุจรติ และเป็นธรรมภายใต้ระบบงานท่ีเข้มแข็งและมรี ะบบการควบคุม
ภายในท่มี ปี ระสทิ ธภิ าพ (บริษทั อีซีบ่ าย จำกัด (มหาชน), 2557, หนา้ 5)

ตัวอย่างจรรยาบรรณทางธุรกิจ
บริษัทการบินไทย จำกัด (มหาชน) บริษัท ฯ กำหนดจรรยาบรรณทางธุรกิจซึ่งเป็นข้อ
พึงปฏิบัตติ ่อผมู้ สี ่วนได้เสีย ดังรายละเอยี ด (บรษิ ัทการบนิ ไทย จำกดั (มหาชน), ม.ป.ป., หน้า 4-7)
1. ข้อพึงปฏิบัตติ ่อลูกคา้

1.1 มีทัศนคติที่ดีและให้ความสําคัญต่อลูกค้าและงานบริการ ปฏิบัติต่อลูกค้าด้วย
ความเต็มใจ กระตือรือร้น ยิ้มแย้มแจ่มใส มีน้ำใจ สุภาพอ่อนโยน และรักษาความลับของลูกค้า โดย
ไม่นำไปใช้เพื่อประโยชน์ของตนเองหรือผู้อ่ืนโดยมิชอบ รวมท้ังให้เกียรติและปฏิบัติต่อลูกค้าทุกคน
อย่างเท่าเทียมกัน โดยไม่เลือกปฏิบัติต่อบุคคลหนึ่งบุคคลใดโดยเฉพาะ ท้ังน้ีเพื่อมอบบริการให้เป็นที่
ประทบั ใจทกุ ครั้งอย่างมคี ุณภาพตรงตามความคาดหมายหรือเหนือกว่าความคาดหมายของลกู คา้

1.2 ต้องศึกษาและทําความเข้าใจความต้องการของลูกค้าอย่างละเอียด และถูกต้อง
เพื่อกำหนดเป็นมาตรฐานในทุกจุดบริการ และเพื่อตอบสนองได้ตรงกับความต้องการท่ีแท้จริงของ
ลูกค้า รวมทั้งต้องสนใจใฝ่หาข้อมูลความรู้ท่ีทันสมัยอยู่เสมอ และส่ังสมประสบการณ์ในการทำงานให้มี

94

ประสิทธิภาพมากข้ึนเพ่ือสร้างสรรค์บริการใหม่ ๆ ให้ลูกค้าเกิดความประทับใจสูงสุด และกลับมาใช้
ผลติ ภัณฑแ์ ละการบริหารของบริษัทฯ อีก

1.3 สร้างสัมพันธภาพที่ดีกับลูกค้าอย่างต่อเนื่องและสม่ำเสมอ โดยให้โอกาสลูกค้ามี
ส่วนร่วมในการสร้างสรรค์งานบรกิ าร รวมท้ังจัดให้มีระบบและกระบวนการรับข้อร้องเรียนจากลูกค้า
และดำเนินการอย่างถึงท่ีสุดเพือ่ ให้ข้อร้องเรยี นได้รบั การตอบสนองอย่างรวดเรว็ เป็นทพ่ี อใจของลูกคา้

2. ข้อพงึ ปฏิบตั ิต่อคคู่ ้า เจ้าหน้ี ลูกหน้ี
2.1 ไม่รับเงิน สงิ่ ของหรือประโยชนใ์ ด ๆ ทีม่ มี ลู ค่าเกนิ กวา่ 3,000 บาท
2.2 ไมเ่ รียก รบั จา่ ย หรอื เสนอผลประโยชนใ์ ด ๆ ทไี่ ม่สจุ รติ ในการคา้
2.3 ถ้ามีข้อมูลวา่ มีการเรียก รับ จ่าย หรือเสนอผลประโยชน์ใด ๆ ท่ีไม่สุจริตเกิดข้ึน

ใหร้ ีบดำเนินการแก้ไขปัญหาตามขั้นตอนต่าง ๆ อย่างเป็นธรรม
2.4 รักษาและปฏิบัติตามเงื่อนไขของสัญญาทมี่ ีต่อคู่ค้า เจ้าหนี้ ลูกหน้ีอย่างครบถ้วน

และหากไมป่ ฏบิ ตั ติ ามเงอ่ื นไขขอ้ หน่ึงข้อใด ต้องรบี แจง้ ให้บุคคลดังกล่าวทราบและหาทางแก้ไขปัญหา
3. ขอ้ พงึ ปฏิบัตติ ่อคแู่ ข่งทางการคา้
3.1 ประพฤตปิ ฏิบัติภายใตก้ รอบการแขง่ ขันท่ดี ี
3.2 ไม่ทำลายช่ือเสียงของคู่แขง่ ขัน ด้วยการกล่าวหาในทางร้ายและปราศจากข้อมูล

ซ่ึงความจรงิ
3.3 ไมเ่ ข้าถงึ สารสนเทศท่ีเป็นความลบั ของคู่แข่งด้วยวธิ ที ่ีไม่สุจริตหรือดว้ ยวิธีการอื่น

ทีไ่ มเ่ หมาะสม
4. ขอ้ พึงปฏิบตั ิตอ่ ผ้ถู อื หุ้น
4.1 ปฏิบตั หิ นา้ ทด่ี ว้ ยความซ่ือสตั ย์ สุจรติ และเป็นธรรม โดยคำนึงถึงผู้ถือหนุ้ รายใหญ่

และรายย่อย และเพื่อผลประโยชนข์ องกลุม่ ผู้เกย่ี วข้องโดยรวม
4.2 บริหารกิจการของบริษัทฯ ให้เจริญก้าวหน้า มั่นคง และก่อให้เกิดผลตอบแทน

ท่ดี แี ก่ผูถ้ อื หนุ้
4.3 ปฏิบัติหน้าที่ด้วยความสามารถและระมัดระวัง เยี่ยงผู้มีความรู้ มีประสบการณ์

และมคี วามชำนาญ
4.4 จดั การดูแลไม่ใหท้ รัพย์สนิ ใด ๆ ของบริษทั สูญค่าหรือสญู เสียไปโดยเปล่าประโยชน์

4.5 เปิดเผยข้อมูลและสารสนเทศทงั้ ทางการเงิน และไม่ใช่ทางการเงนิ ทเ่ี กย่ี วข้องกบั
การดำเนินธรุ กิจ รวมท้ังผลประกอบการบรษิ ัทฯ ท่เี ป็นจรงิ อยา่ งครบถว้ น เพยี งพอ สม่ำเสมอ ทันเวลา
และแสดงใหเ้ ห็นถึงสถานภาพของการประกอบการและสถานภาพทางการเงนิ ท่ีแทจ้ รงิ ของบรษิ ัทฯ

5. ข้อพงึ ปฏบิ ัติต่อผู้บงั คบั บัญชา ผใู้ ต้บงั คบั บัญชา และผรู้ ่วมงาน
5.1 การรักษาจรรยาบรรณและวินัยบริษัทฯ พนักงานพึงรักษาจรรยาบรรณในการ

ปฏิบัติงานและในการประพฤติปฏิบัติทั่วไป พร้อมท้ังมีวินัย ได้แก่ การประพฤติปฏิบัติตามกฎ
ระเบียบข้อบังคบั และประเพณีอนั ดงี ามอย่างถกู ต้อง ไม่ว่าจะระบุไว้เปน็ ลายลักษณอ์ กั ษรหรอื ไมก่ ต็ าม

5.2 การปฏิบัตติ นของพนักงาน
5.2.1 ผู้บริหารและพนักงานพึงปฏิบัติต่อผู้ร่วมงานโดยให้เกียรติซึ่งกันและกัน

และเคารพในสิทธิส่วนบุคคล ตลอดจนปฏิบัติต่อกันด้วยความมีน้ำใจ ให้ความร่วมมือ ช่วยเหลือ

95

เสนอแนะความคิดเห็นและแก้ปัญหาร่วมกันในการทำงาน รวมท้ังทุ่มเทกำลังกายกำลังใจ ขยันหมั่นเพียร
เพ่อื เพมิ่ ประสิทธิภาพในการทำงาน โดยถอื ประโยชน์ของบริษัทฯ เปน็ สำคัญ

5.2.2 ผู้บริหารพึงปฏิบัติตนให้เป็นแบบอย่างท่ีดีต่อผู้ใต้บังคับบัญชา มีคุณธรรม
มีความหนักแน่น รับฟังความคิดเห็นและข้อเสนอแนะท่ีมีเหตุผลของพนักงาน หลีกเล่ียงการกระทำใด ๆ
ท่ีไม่เป็นธรรม ซ่ึงอาจมีผลกระทบต่อหน้าท่ีการงานของพนักงาน ตลอดจนการกระทำที่อาจคุกคาม และ
สร้างความกดดันต่อสภาพจิตใจของพนักงานโดยไม่จำเป็น ให้เกียรติและปฏิบัติต่อพนักงานด้วยความ
สุภาพ และเคารพในศักด์ิศรีของพนักงาน รวมท้ังส่งเสริมให้พนักงานรักษาจรรยาบรรณในการปฏิบัตงิ าน
และในการประพฤติปฏบิ ัติทว่ั ไป

5.2.3 พนักงานพึงปฏิบัติต่อผู้บังคับบัญชาด้วยความเคารพ ให้เกียรติ และสุภาพ
อ่อนน้อมทั้งกายและวาจา ปฏิบัติหน้าท่ีตามที่ได้รับมอบหมายอย่างเต็มความรู้ความสามารถ ทุ่มเท
เสียสละ อุทิศเวลา แรงกายและแรงใจในการทำงานเพ่ือให้ได้ผลงานที่มีประสิทธิภาพสูงสุด ส่งผลต่อ
ความสำเร็จขององค์การ

6. ข้อพึงปฏิบัติในการสรรหา แต่งตง้ั โยกยา้ ย และพิจารณาความดีความชอบ
6.1 ผู้ที่ได้รับมอบหมายให้เป็นผู้พิจารณาสรรหา แต่งตั้ง โยกย้าย จะต้องปฏิบัติหน้าที่

ด้วยความซ่ือสัตย์ สุจริต เป็นธรรม และปราศจากอคติ และต้องดำเนินการให้เป็นไปตามกฎระเบียบ
ข้อบังคบั ของบริษทั ฯ เก่ยี วกบั หลกั เกณฑ์การสรรหาทกุ ประการ

6.2 พนักงานท่ีมีคุณสมบัติเข้ารับการสรรหาเพ่ือการแต่งต้ัง โยกย้าย ต้องดำเนินการ
ดว้ ยความซื่อสัตย์สุจริต ละเว้นการกระทำใดๆ ท่ีไมช่ อบด้วยคุณธรรม รวมท้ังกระทำการใด ๆ โดยมิชอบ
เพือ่ ให้ไดม้ าซึง่ ตำแหน่งท่ีตนเขา้ รบั การสรรหา

6.3 ผู้บังคับบัญชาหรือผู้ได้รับมอบหมายให้พิจารณาความดีความชอบ ต้องพิจารณา
ดว้ ยความรอบคอบ สุจริตใจ และเป็นธรรมตามความเป็นจริงจากผลการปฏิบัติงาน โดยคำนึงถึงคุณภาพ
ผลงานและปริมาณงาน การรักษาวินัย ตลอดจนความรู้ความสามารถ ความเหมาะสมกับตำแหน่งหน้าที่
ความอุตสาหะในการปฏิบัติงาน และผลงานท่ีได้ปฏิบัติมาว่าเป็นไปด้วยความเรียบร้อยและเป็นผลดีต่อ
บริษทั ฯ โดยดำเนนิ การเปน็ ไปตามหลักเกณฑ์และนโยบายการพิจารณาความดคี วามชอบของบรษิ ัทฯ

7. ขอ้ พึงปฏิบัติตอ่ สังคมและสว่ นรวม
7.1 คำนงึ ถึงประโยชน์ส่วนรวมและไมก่ ระทำการใด ๆ ที่จะมผี ลเสยี หายตอ่ ชื่อเสียง

ของประเทศ ทรัพยากรธรรมชาติ สิง่ แวดล้อม และประโยชน์สาธารณะ
7.2 ให้การสนบั สนุนกจิ กรรมท่ีจะมีสว่ นสร้างสรรค์สังคม
7.3 สง่ เสรมิ และปลกู ฝงั ใหเ้ กิดจติ สำนกึ ความรับผดิ ชอบต่อสังคมในหมู่พนักงาน
7.4 ไม่กระทำการช่วยเหลอื สนับสนุน หรือยอมเป็นเคร่อื งมือท่ีทำให้เกิดการหลีกเลี่ยง

การปฏบิ ตั ติ ามกฎหมาย
7.5 ไม่นำบรษิ ัทฯ ไปสนับสนุนหรอื ฝกั ฝา่ ยทางการเมือง วางตนเป็นกลางอย่างเครง่ ครัด

8. ขอ้ พึงปฏบิ ตั ิในการรักษาทรพั ย์สนิ และการรักษาความลบั ของบริษทั ฯ
8.1 ใช้ทรัพย์สินของบริษัทฯ ให้ได้ประโยชน์อย่างเต็มที่ และดูแลมิให้เสื่อมค่าหรือ

เสียหาย และไมน่ ำไปใชเ้ พือ่ ประโยชน์ของตนเองหรือผอู้ ืน่ ไมว่ า่ โดยทางตรงหรือทางอ้อม

96

8.2 ต้องรกั ษาความลับของลูกค้า ของคคู่ ้า และของบริษัทฯ โดยไม่เปดิ เผยข้อมลู ต่อ
ผู้ไม่มีสิทธิรับรู้ตามกฎหมาย ตามระเบียบข้อบังคับ หรือตามข้อตกลงทางธุรกิจ เว้นแต่ได้รับความ
เหน็ ชอบเปน็ ลายลักษณอ์ กั ษรจากผ้มู ีอำนาจดำเนินการและหนว่ ยงานที่รบั ผดิ ชอบ

8.3 ไม่นำข้อมูลของบริษัทฯ ไปใช้เพื่อประโยชน์ของตนเองหรือผู้อื่นเพ่ือการซ้ือขาย
หลักทรพั ย์ไม่ว่าโดยทางตรงหรือทางอ้อม

8.4 ตอ้ งไม่ใชข้ ้อมูลของบริษทั ฯ ไปแสวงหาประโยชน์ใสต่ นและผทู้ ่เี กย่ี วข้อง
8.5 ต้องไม่เปิดเผยข้อมูลความลบั ท่ีไดม้ าจากการปฏิบัติหน้าท่ีหรอื การประกอบธุรกิจ
ตลอดระยะเวลาปฏิบัติงานหรือพ้นสภาพแลว้ โดยไม่ไดร้ บั อนุญาตจากบริษัทฯ
9. ความขดั แยง้ ทางผลประโยชน์
9.1 พึงหลีกเลี่ยงการกระทำใด ๆ อันเป็นการขัดผลประโยชน์ของบริษัทฯ หรือเป็น
การแสวงหาผลประโยชน์ส่วนตนไม่ว่าจะเกิดจากการติดต่อทางการค้า หรือจากการใช้โอกาสหรือ
ข้อมูลที่ได้จากการเป็นกรรมการ ผู้บริหาร พนักงาน รวมตลอดถึงการทำธุรกิจแขง่ ขันกับบริษัทฯ หรือ
การทำงานอนื่ นอกเหนือจากงานของบรษิ ัทฯ ซึ่งสง่ ผลกระทบตอ่ หนา้ ทีก่ ารงาน
9.2 พึงละเว้นการถือหุ้นในกิจการคู่แข่งทางการค้าของบริษัทฯ หากแต่ในกรณีที่ได้
ห้นุ น้นั กอ่ นเปน็ กรรมการ ผู้บริหาร พนักงาน ตอ้ งรายงานใหผ้ บู้ ังคับบญั ชาตามลำดบั ช้ันทราบ
10. สินบนและส่งิ จงู ใจ
หา้ มกรรมการ ผู้บริหาร และพนักงานที่มหี น้าที่ตัดสินใจใดๆ ได้ให้หรือยอมรับสินบน
หรือเรียกรับสินบน หรือส่ิงจูงใจในรูปใด ๆ หรือผลประโยชน์ส่วนตนอ่ืนใดโดยมิชอบด้วยกฎหมาย หรือ
ระเบียบบริษัทฯ และห้ามมอบหมายให้ผู้อื่นทำการแทนตน ยกเว้นกรณีการให้ส่ิงจูงใจแก่บริษัทฯ เพื่อ
ประโยชน์ทางการตลาด เช่น การส่งเสริมการขาย ฯลฯ
11. ของขวัญและผลประโยชน์
หา้ มมใิ ห้กรรมการ ผู้บรหิ าร และพนกั งาน รบั หรอื ขอเรี่ยไรของขวญั หรือผลประโยชน์
นอกเหนือจากสิทธิประโยชน์อ่ืนใดที่พึงจะได้รับจากบริษัทฯ เว้นแต่เป็นการรับในโอกาสหรือเทศกาล
อันเป็นประเพณีนิยม โดยให้รับได้ในมูลค่าไม่เกิน 3,000 บาท รวมทั้งไม่ไปเก่ียวข้องทางการเงินหรือ
กอ่ ภาระผูกพันทางการเงินใด ๆ กับลูกค้าหรือผู้เกย่ี วข้องทางธุรกิจ
12. การปฏบิ ตั ิตามกฎหมาย กฎ ระเบยี บข้อบังคบั และคำสั่งบริษทั ฯ
12.1 กรรมการ ผู้บริหาร และพนกั งานทุกคน ต้องประพฤตปิ ฏิบัติตามกฎหมาย กฎ
ระเบยี บขอ้ บงั คับ และคำสง่ั บริษทั ฯ อย่างเคร่งครัด รวมทั้งประพฤติปฏิบัติอยใู่ นกรอบคุณธรรมทด่ี ีงาม
12.2 บริษัทฯ ประกอบธุรกิจโดยปฏิบัติตามกฎหมาย กฎระเบียบ ข้อกำหนด และ
ข้อบังคับ ท่ีเกี่ยวข้องซ่ึงบังคับใช้ในการดำเนินธุรกรรมท้ังภายในและระหว่างประเทศในด้านการบิน
ความปลอดภยั สงิ่ แวดล้อม และตลาดหลกั ทรพั ย์
12.3 ไม่กระทำการใดๆ อันฝ่าฝืนกฎหมาย ระเบียบข้อบังคับ หรือกฎเกณฑ์ต่าง ๆ
โดยอ้างว่าเปน็ การกระทำเพ่อื เพ่ิมกำไรใหแ้ กบ่ ริษัทฯ
12.4 บริษัทฯ ดำเนินกิจการอย่างมีความโปร่งใส โดยเปิดเผยข้อมูลอย่างเพียงพอ
ตามกฎหมายและกฎระเบียบของหน่วยงานที่มีส่วนเกี่ยวข้องในการควบคุมกำกับดูแลบริษัทฯ เช่น

97

กระทรวง การคลัง ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ฯลฯ เพ่ือสร้างความไว้วางใจและเปิดโอกาสให้
ผเู้ กยี่ วขอ้ งหรือผมู้ สี ว่ นได้เสยี กับบริษัทฯ สามารถตรวจสอบได้

บริษัทอีซ่ีบาย จำกัด (มหาชน) บริษัทฯ กำหนดจรรยาบรรณทางธุรกิจของกรรมการ
บริษัทฯ และผู้บริหาร โดยมุ่งหวังให้เป็นกรอบในการปฏิบัติหน้าที่ด้วยความซ่ือสัตย์และเป็นธรรม
เพ่ือประโยชน์สูงสุดในการดำเนินธุรกิจอย่างย่ังยืน โดยคำนึงถึงผู้มีส่วนได้ส่วนเสียต่าง ๆ (บรษิ ัทอีซ่ีบาย
จำกดั (มหาชน), 2557, หน้า 8-10) ดงั มีรายละเอียดต่อไปน้ี

1. ข้อพึงปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้น ปฏิบัติหน้าท่ดี ้วยความซ่ือสัตย์สุจริต ตัดสินใจดำเนินการใด ๆ
ด้วยความบริสุทธิ์ใจและเป็นธรรมต่อผู้ถือหุ้นรายใหญ่และรายย่อย เพื่อประโยชน์สูงสุดของผู้ถือหุ้น
โดยรวม ไม่บริหารองค์การอย่างขาดความระมัดระวังหรือขาดความย้ังคิด ปฏิบัติหน้าท่ีโดยประยุกต์
ความรู้และทักษะการบริหารจัดการอย่างสุดความสามารถในทุกกรณี จัดการดูแลมิให้สินทรัพย์ใดๆ
ขององค์การเสื่อมค่าหรือสูญหายโดยมิชอบ รายงานสถานภาพขององค์การสม่ำเสมอ ครบถ้วนตาม
ความเป็นจริง แจ้งให้ผู้ถือหุ้นทุกรายทราบอย่างเท่าเทียมกันถึงแนวโน้มในอนาคตขององคก์ ารทั้งด้าน
บวกและด้านลบ ดว้ ยข้อมลู สนับสนุนทเ่ี พยี งพอ ไม่แสวงหาประโยชน์ใหต้ นเองและผู้ที่เกี่ยวข้องโดยใช้
ข้อมูลใด ๆ ขององค์การซ่ึงยังไม่ได้เปิดเผยต่อสาธารณะ และไม่เปิดเผยข้อมูลลับขององค์การต่อบุคคล
ภายนอกโดยเฉพาะคู่แขง่ ไมด่ ำเนนิ การใด ๆ ทีอ่ าจกอ่ ให้เกดิ ความขดั แยง้ ทางผลประโยชน์ตอ่ องค์การ

2. ข้อพึงปฏิบัติต่อพนักงาน ให้ผลตอบแทนท่ีเป็นธรรม ดูแลรักษาสภาพแวดล้อมในการ
ทำงานให้มีความปลอดภัยต่อชวี ิตและทรัพย์สินของพนักงานอยู่เสมอ ตลอดจนไมส่ ร้างพฤติกรรมการ
คุกคามทางอำนาจและทางเพศ ให้ความสำคัญต่อการพัฒนาความรู้และความสามารถของพนักงาน
โดยให้โอกาสอย่างทั่วถึงและสม่ำเสมอ รับฟังข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะซึ่งตั้งอยู่บนพื้นฐานความรู้
ทางวิชาชีพของพนักงาน ปฏิบัติตามกฎหมายและข้อบังคับต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับพนักงานอย่างเคร่งครัด
บริหารงานโดยหลีกเล่ียงการกระทำใด ๆ ที่ไม่เป็นธรรมซ่ึงอาจมีผลกระทบต่อความมั่นคงในหน้าท่ีการงาน
ของพนักงาน ทำความเข้าใจแก่พนักงานในเร่ืองจรรยาบรรณและบทบาทซึ่งพนักงานควรปฏิบัติ เพื่อ
สง่ เสริมใหเ้ กิดพฤติกรรมท่ีอยใู่ นกรอบของจรรยาบรรณอย่างท่วั ถึงทั้งองค์การ และเปิดโอกาสให้พนักงาน
สามารถแจง้ เรื่องการทำผิดกฎระเบียบขององค์การ รวมถึงส่งเสรมิ ให้พนกั งานเป็นคนดมี ีคุณธรรม

3. ข้อพึงปฏิบัตติ ่อลูกค้า ให้บริการอย่างมคี ุณภาพซื่อตรงและซื่อสัตย์ จัดให้มีการปรับปรุง
มาตรฐานการให้บริการอย่างต่อเน่ือง จดั ระบบเพ่ือให้ลูกค้าสามารถร้องเรียนได้ และดำเนินการอย่าง
ดที ี่สุดเพ่ือใหล้ กู ค้าได้รับการตอบสนองผลอย่างรวดเรว็ รกั ษาข้อมลู ของลกู ค้าอย่างเป็นความลับ ไมน่ ำ
ขอ้ มูลของลกู คา้ มาใชเ้ พื่อประโยชนข์ องตนเองและผูท้ เี่ ก่ยี วข้องโดยมชิ อบ

4. ขอ้ พึงปฏิบัตติ ่อเจ้าหนแี้ ละคคู่ า้ ทางธรุ กิจ ไม่เรยี กหรอื ไม่รับหรือจ่ายผลประโยชน์ใด ๆ
ทไ่ี ม่สจุ รติ ในทางธุรกิจกับคคู่ า้ ยึดมนั่ ในสญั ญาและถอื ปฏิบัติตามเง่อื นไขทม่ี ีต่อเจ้าหน้ีและคคู่ า้

5. ขอ้ พึงปฏบิ ตั ิต่อค่แู ขง่ ทางการคา้ ประพฤติปฏบิ ตั ิภายใต้กรอบกติกาของการแข่งขนั ทด่ี ี
ไม่แสวงหาข้อมูลที่เป็นความลับของคู่แข่งทางการค้าด้วยวิธีการท่ีไม่สุจริตหรือไม่เหมาะสม ไม่พยายาม
ทำลายชือ่ เสียงของคู่แข่งทางการค้าดว้ ยการกล่าวหาในทางร้ายโดยปราศจากซ่ึงข้อมูลความจริง

6. ข้อพึงปฏิบัติต่อหน่วยงานกำกับดูแลของทางราชการ ปฏิบัติและควบคุมการปฏิบัติ
อยา่ งเคร่งครัดตามเจตนารมณ์ของกฎหมายและกฎระเบียบทัง้ ภายในและภายนอก ไม่กระทำการใดท่ี

98

ช่วยเหลือ สนับสนุน หรือยอมเป็นเคร่ืองมือท่ีทำให้เกิดการหลีกเล่ียงการปฏิบัติตามกฎหมายหรือ
กฎระเบียบ ให้ความร่วมมือกบั บริษัทฯ และรายงานข้อมูลทเ่ี กยี่ วกบั การฝา่ ฝืน หรือการไมป่ ฏิบัติตาม
กฎหมายหรือกฎระเบยี บตา่ ง ๆ ของบรษิ ทั ฯ ตามขั้นตอนทก่ี ำหนด

7. ข้อพึงปฏิบัติต่อสังคมและส่ิงแวดล้อม ไม่กระทำการใด ๆ ท่ีมีผลเสียหายต่อทรัพยากร
ธรรมชาติและสภาพแวดล้อม ปลูกฝังจิตสำนึกของความรับผิดชอบต่อสังคมให้เกิดข้ึนในหมู่พนักงานทุก
ระดบั อย่างตอ่ เนื่องและจรงิ จัง ตลอดจนสนบั สนนุ ใหเ้ กดิ วัฒนธรรมการกำกับดูแลกิจการที่ดี

จ ริย ธ รร ม แ ล ะ จ ร รย าบ รร ณ ท า งธุ รกิ จ เป็ น เร่ื อ งท่ี มี ค ว าม ส ำคั ญ แ ล ะ จ ำ เป็ น ใน ก า ร
บริหารธุรกิจ เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปตามแบบแผนครรลองครองธรรมท่ีดีงามและเป็นท่ียอมรับ
ของสังคม หากเป็นเช่นน้ีกิจการย่อมไม่โดนเพ่งเล็งหรือหรือไม่โดนตรวจสอบและควบคุมจาก
หน่วยงานใด ไม่ถูกต่อต้านจากกลุ่มใดในสังคม แต่กลับส่งผลกระทบต่อธุรกิจในทางท่ีดี เช่น สร้าง
ความสบายใจให้แก่ผู้ประกอบการ ช่วยเสริมสร้างภาพลักษณ์ท่ีดีให้กับธุรกิจ ได้รับความเชื่อถือจาก
บุคคลภายนอก ลูกค้าเกิดความผูกพันและความประทับใจต่อธุรกิจและให้การสนับสนุนซื้อสินค้า
สมาชกิ องค์การเกดิ ความภาคภูมิใจ ผูกพัน และทุ่มเทปฏบิ ัติงานให้กับองค์การ เพมิ่ ความสามารถในการ
แข่งขัน ฯลฯ อีกท้ังการทำธุรกิจอย่างมีจริยธรรมต่อผู้มีส่วนได้เสีย ย่อมทำให้ท้ังธุรกิจและผู้มีส่วนได้
ส่วนเสียต่างได้รับประโยชน์เป็นท่ีน่าพอใจกันท้ังสองฝ่าย ท่ีสำคัญธุรกิจสามารถดำเนินงานและแสวง
กำไรได้ตอ่ ไปอยา่ งยัง่ ยนื

ความรับผิดชอบตอ่ สังคม
ความรับผิดชอบต่อสังคม (social responsibility) คือ ข้อผูกพันที่องค์การจะต้องทำให้
เกิดผลกระทบในทางบวกต่อผู้มีส่วนได้ส่วนเสียให้มากที่สุด และจะต้องมีผลกระทบทางลบให้น้อยที่สุด
ทง้ั นผี้ ู้มีส่วนได้ส่วนเสยี เช่น ลูกค้า พนักงาน ชุมชน รฐั บาล ฯลฯ (นภาพร ขนั ธนภา, 2559, หน้า 61)
หรือเป็นพันธะสัญญาท่ีแสดงออกถึงการกระทำอย่างใดอย่างหนึ่งต่อบุคคลหรือต่อสังคมเพื่อให้เกิด
ความสงบสขุ เกิดความอยูด่ ีกนิ ดี ทำให้สังคมมคี วามเปน็ อยู่ท่ดี ขี ้ึน ลดปัญหาและความวุ่นวายในสว่ นที่
เก่ียวข้องกับสังคม (อนิวัช แก้วจำนงค์, 2556, หน้า 184) หรือกล่าวได้ว่าเป็นการรับรู้ว่ากิจกรรมทาง
ธุรกิจมีผลกระทบต่อสังคม และพิจารณาถึงผลกระทบดังกล่าวเพื่อการตัดสินใจทางธุรกิจ (Pride,
Hughes & Kapoor, 2012, p.74) โดยมากในแวดวงธุรกิจใช้คำภาษาอังกฤษว่า CSR ซ่ึงมาจากคำว่า
corporate social responsibility หรือ บรรษัทบริบาล หมายถึงการดำเนินกิจกรรมภายในและ
ภายนอกองค์การ ท่ีคำนึงถึงผลกระทบต่อสังคมทั้งในองค์การและในระดับใกล้และไกล ด้วยการใช้
ทรัพยากรท่ีมีอย่ใู นองค์การหรอื ทรพั ยากรจากภายนอกองค์การ ในอนั ทจ่ี ะทำใหอ้ ยู่ร่วมกันในสงั คมได้
อย่างเป็นปกติสุข (สถาบันไทยพัฒน์ มูลนิธิบูรณะชนบทแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์, 2555)
สรุปได้ว่า ความรับผิดชอบต่อสังคม เป็นการมุ่งดำเนินธุรกิจให้เกิดผลกระทบในทางที่ดีและมีความ
หว่ งใยต่อผูม้ ีส่วนได้เสียกลมุ่ ตา่ ง ๆ ทัง้ ภายในและภายนอกองค์การ รวมท้ังสภาพแวดลอ้ ม เพ่ือการอยู่
รว่ มกนั ในสงั คมไดอ้ ยา่ งเป็นปกตสิ ขุ และนำไปสกู่ ารพฒั นาที่ยง่ั ยืน

99

จากความหมายของความรับผิดชอบต่อสังคมดังกล่าวข้างต้น เห็นได้ว่ามีความสัมพันธ์
กับจริยธรรมทางธุรกิจ กล่าวคือความรับผิดชอบต่อสังคมเป็นการแสดงให้เห็นถึงความมีจริยธรรมใน
การดำเนนิ งานทางธรุ กิจของผู้ประกอบการหรือผบู้ ริหารธรุ กิจ

ระดับความรับผดิ ชอบตอ่ สังคมของธุรกิจ
ธรุ กิจมีความรับผิดชอบตอ่ สังคมมากน้อยเพียงใด พจิ ารณาได้จากระดับความรับผิดชอบ
ต่อสงั คมซ่งึ จัดแบง่ ได้ 4 ระดบั (นภาพร ขนั ธนภา, 2559, หนา้ 61-78) ดงั มรี ายละเอียดต่อไปนี้
1. ความรับผิดชอบตามหลักเศรษฐศาสตร์ (economic responsibility) คือ การ
ดำเนินธุรกิจท่ีพยายามสร้างความม่ังค่ังและคุณค่าให้มากที่สุดเพ่ือประโยชน์แก่ผู้ส่วนได้ส่วนเสีย อาจ
กล่าวได้ว่าเป็นความพยายามในการใช้ทรัพยากรให้มีประสิทธิภาพสูงสุด เพ่ือการผลิตสินค้าและ
บริการท่ีมีคุณค่า ตลอดจนรักษาความสมดุลของความพึงพอใจของนักลงทุนหรือผู้ถือหุ้น พนักงาน
และลกู ค้า
2. ระดับความรับผิดชอบตามกฎหมาย (legal responsibility) คือ การปฏิบัติตาม
กฎหมาย หรือดำเนินงานทางธุรกิจท่ีอยู่ภายใต้ข้อบังคับของกฎหมาย เพื่อความถูกต้องเป็นที่ยอมรับ
ของสังคม และความอยู่รอดของธุรกิจ ท้ังนี้กฎหมายท่ีใช้ในธุรกิจแบ่งออกเป็น 4 ประเภทใหญ่ ๆ
ได้แก่ 1) กฎหมายควบคมุ การแข่งขัน เพ่ือให้เกดิ การแข่งขันอย่างเป็นธรรมกบั ทกุ ฝา่ ยและปอ้ งกันการ
กระทำท่ีทำให้การค้าขายหยุดชะงัก 2) กฎหมายคุ้มครองผู้บริโภค เพ่ือบังคับให้ธุรกิจแจ้งข้อมูลท่ี
ถูกต้องเก่ียวกับสินค้าและบริการ ตลอดจนปฏิบัติตามมาตรฐานความปลอดภัย 3) กฎหมายคุ้มครอง
สภาพแวดล้อม เพ่ือป้องกันและควบคุมมลพิษต่าง ๆ ท่ีจะเกิดกับสภาพแวดล้อม เช่น มลพิษทาง
อากาศ มลพิษทางน้ำ มลพิษทางเสียง มลพิษทางทัศนยี ภาพ 4) กฎหมายส่งเสริมความเทา่ เทยี มและ
ความปลอดภัย เพ่ือปกป้องสิทธิของผู้สูงอายุ สตรี คนพิการ ชนกลุ่มน้อย ตลอดจนปกป้องความ
ปลอดภัยของพนักงาน และการห้ามมใิ ห้กระทำการทแ่ี บ่งแยกเพศ เชือ้ ชาติ ศาสนา และสผี วิ
3. ระดับความรับผิดชอบตามจริยธรรม (ethical responsibility) คือ พฤติกรรม
และกิจกรรมซึ่งเป็นท่ีคาดหวังและเห็นชอบในการกระทำโดยสมาชิกขององค์การ ชุมชน และสังคม
กล่าวได้ว่าเป็นการประเมินถึงสิ่งที่ถูกท่ีควรอันพึงปฏิบัติตามหลักทางศีลธรรม เป็นความรับผิดชอบท่ี
สงู ขน้ึ จากความรับผิดชอบในแง่กฎหมาย
4. ความรับผิดชอบด้วยการคืนกำไรสู่สังคม (philanthropic responsibility) คือ
การแบ่งปันความมั่นคั่งของธุรกิจให้กับสังคมและชุมชน โดยธุรกิจสามารถทำกิจกรรมได้หลากหลาย
รูปแบบตามศักยภาพของธุรกิจ เช่น การบริจาค การอุปถัมภ์ จัดโครงการทำดีลักษณะต่างๆ เพ่ือ
ปรับปรงุ คณุ ภาพชวี ติ และใหส้ วสั ดิการแก่คนในชมุ ชน
การแสดงความรับผิดชอบต่อสังคมของธุรกิจไม่ว่ากระทำในระดับใดดังกล่าวข้างต้น
ไม่ใช่เพียงการสร้างภาพ ไม่ใช่เพียงเพ่ือประชาสัมพันธ์ทางการตลาดของธุรกิจ และอย่าไปคิดว่าเป็น
การสร้างภาระให้กับองค์การ แตเ่ ปน็ สง่ิ ท่ีต้องกระทำเพราะเป็นหนา้ ทีแ่ ละเป็นการลงทุนที่สำคัญท่ชี ว่ ย
ให้ธุรกิจสามารถฝ่าวิกฤตต่าง ๆ และเติบโตอย่างเข้มแข็งด้วยจังหวะก้าวท่ีมั่นคง ลดความเสี่ยงที่จะ
ล้มเหลวในภายภาคหน้า ท่ีสำคัญคือทำให้ธุรกิจอยู่อย่างสร้างสรรค์ อยู่อย่างมีเกียรติ และอยู่ได้อย่าง
ยั่งยืน ดังน้ันการแสดงความรับผิดชอบต่อสังคมของธุรกิจจึงมีแต่ได้กับได้ ทั้งการเพ่ิมความสามารถใน

100

การแข่งขัน สร้างมูลค่าเพิ่ม ลดความเส่ียงทางธุรกิจ เพ่ิมรายได้ เข้าถึงแหล่งทุนได้มากขึ้น ประสิทธิภาพ
สูงขึน้ สรา้ งทุนมนษุ ย์ และสร้างตราสินค้า (โสภณ พรโชคชยั , 2557, หน้า 13-19)

การดำเนนิ การดา้ นความรับผิดชอบตอ่ สังคม
การดำเนินการด้านความรับผิดชอบต่อสังคม แบ่งเป็น 2 มิติสำคัญ ได้แก่ ภายใน และ
ภายนอกองค์การ (คณะกรรมการกลุม่ ความร่วมมือทางวิชาการเพือ่ พัฒนามาตรฐานการเรียนการสอน
และการวิจยั ด้านบริหารธรุ กิจแหง่ ประเทศไทย, 2555, หน้า 20) ดังมีรายละเอยี ดตอ่ ไปนี้
1. ภายในองค์การ ดำเนินการโดยจัดการทรัพยากรมนุษย์อย่างมีความรับผิดชอบ เช่น
การให้ความสำคัญกับการเรียนรู้ตลอดชีวิต การฝึกอบรม ให้ข้อมูลท่ีโปร่งใสกับพนักงาน ให้ความ
สมดุลระหว่างงาน ชีวิตครอบครัว และการพักผ่อน ดูแลเอาใจใส่และปฏิบัติต่อพนักงานอย่างเท่าเทียม
ฯลฯ การคำนึงถึงสุขภาวะและความปลอดภัยในการทำงาน ซึ่งไม่ใช่เพียงแค่ปฏิบัติตามกฎหมายแต่มี
ความต้ังใจจริงท่ีจะดำเนินการใด ๆ เพ่ือให้พนักงานมีสุขภาพและความปลอดภัย นอกจากนี้คือการ
ดำเนินงานทางธุรกิจอย่างมีธรรมาภิบาลและมีความโปร่งใส สามารถปรับตัวต่อการเปล่ียนแปลงทาง
เศรษฐกจิ สังคม และการเมือง ที่ส่งผลกระทบต่อกิจการ ดว้ ยการหารือและการสร้างความร่วมมือกับ
ผมู้ ีสว่ นได้สว่ นเสยี ท่ีเกย่ี วข้องเพื่อรว่ มกันหาแนวทางรับมือได้อย่างมีประสิทธิภาพและย่งั ยนื ตลอดจน
จัดการทรัพยากรของกิจการให้ใช้อย่างเกิดประโยชน์สูงสุด และควบคุมดูแลไม่ให้การผลิตและการ
ดำเนินงานทางธุรกจิ ของกจิ การสง่ ผลเสียตอ่ สังคมและสิ่งแวดลอ้ ม
2. ภายนอกองค์การ ดำเนินการโดยเลือกคู่ค้าหรือหุ้นส่วนทางธุรกิจ โดยคำนึงถึงความ
รับผิดชอบต่อสังคมท่ีมีของกิจการเหล่านี้ และพยายามขยายความรับผิดชอบต่อสังคมให้ครอบคลุม
ไปยังคู่ค้าหรือหุ้นส่วนทางธุรกิจ นอกจากน้ีกจิ การตอ้ งให้ความสำคญั และตระหนักถึงความรบั ผิดชอบ
ตอ่ ผูบ้ ริโภคในทุกข้นั ตอนการผลิตจนกระท่ังส่งมอบสินค้า ตลอดจนรับผิดชอบต่อชุมชนใกล้เคยี ง เช่น
การจ้างแรงงานในชุมชน การช่วยเหลือด้านสุขภาพและสิ่งแวดล้อมของชุมชน ฯลฯ เพื่อสร้าง
ภาพลักษณ์ท่ีดีของกิจการ และเป็นการสานสัมพันธ์ระหว่างธุรกิจและชุมชน ทำให้ธุรกิจได้รับการ
ยอมรับและความรว่ มมือช่วยเหลือจากชุมชน นอกจากนี้ต้องรับผิดชอบตอ่ สังคมโดยรวม โดยการจัด
กิจกรรมรูปแบบต่าง ๆ เพ่ือช่วยแก้ไขปัญหาที่เกิดข้ึนในสังคมหรือเป็นประเด็นทางสังคมทั่วไป
ภายนอกองค์การ ท้ังท่ีไม่ได้เกี่ยวข้องหรือไม่ได้ส่งผลกระทบโดยตรงต่อการดำเนินงานของธุรกิจ
และทเ่ี กีย่ วข้องหรอื สง่ ผลกระทบโดยตรงต่อการดำเนินงานของธุรกจิ
จากรายงานการศึกษาแนวทางการพัฒนาความรับผิดชอบต่อสังคมของธุรกิจขนาดเล็ก
และขนาดกลางทางภาคเหนือ พบว่าควรดำเนินการดังต่อไปนี้ 1) สรา้ งจิตสาํ นกึ และให้ความตระหนัก
ถงึ ความสาํ คัญของการรับผิดชอบต่อสังคมของผมู้ ีส่วนได้ส่วนเสียท่ีเกย่ี วข้องทุกฝ่ายท้ังจากภายในและ
ภายนอกองค์การ 2) ให้ความตระหนักถึงคุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณ และธรรมาภิบาลที่สามารถ
เก้ือหนุนผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทุกฝ่าย โดยตั้งมั่นตามแนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 3) การมุ่งสร้าง
ความรับผิดชอบต่อสังคมควบคู่กับการดําเนินธุรกิจในทุกกระบวนการ และ 4) การประเมินกิจกรรม
ความรับผิดชอบต่อสังคม และการปรับปรุงกิจกรรมให้เข้ากับบริบทการดําเนินงานของธุรกิจ เพื่อ
ความย่งั ยืนของกจิ กรรมความรับผดิ ชอบต่อสงั คมของธุรกิจ (รัฐนนั ท์ พงศ์วิรทิ ธิ์ธร และภาคภมู ิ ภัควิวาส,
2557, หน้า 93)

101

ประโยชน์ของความรบั ผิดชอบต่อสังคมของธรุ กจิ
การดำเนินงานธุรกิจอย่างมีความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม จะทำให้ได้รับ
ผลประโยชน์ท้ังทางตรงและทางอ้อมตอบแทนกลับมาส่ธู รุ กจิ เชน่ การสรา้ งมูลคา่ เพมิ่ ให้แกธ่ รุ กจิ การ
ค้นพบนวัตกรรม การได้รับความนิยมชมชอบและความไว้วางใจที่ลูกค้ามีต่อธุรกิจ สามารถกำหนด
ตำแหน่งทางการตลาดของตราสินคา้ หรอื แบรนดไ์ ดต้ ามที่ตอ้ งการ โดยการใช้กิจกรรมความรบั ผดิ ชอบ
ต่อสังคมช่วยสนับสนุนความน่าเชื่อถือ การดึงดูดใจพนักงานที่มีความสามารถให้เข้ามาร่วมงานกับ
องค์การทำไดง้ ่ายขึ้น และต้นทุนการดำเนินงานลดลง รวมทั้งส่งเสริมช่ือเสียงและภาพลกั ษณ์ที่ดีให้แก่
ธุรกิจในมุมมองของผู้มีส่วนได้เสีย ซ่ึงสิ่งเหล่าน้ียากต่อการเลียนแบบ นอกจากนี้หากพิจารณาในส่วน
ของลกู ค้าจะทำให้ลูกคา้ เกิดความเชื่อมั่นในการใช้สินค้าและบริการของธุรกิจ ตลอดจนเกิดความภักดี
ต่อตราสินค้า สำหรับในด้านของพนักงาน เม่ือเห็นวา่ ผู้บริหารดำเนินธุรกิจอย่างมีความรับผิดชอบต่อ
สงั คม ย่อมเกิดความทุ่มเทในการปฏิบัติงาน เกิดความพึงพอใจ เกิดความผูกพัน ด้วยความภาคภูมิใจ
ในการเป็นสมาชิกขององค์การที่ดำเนินงานในทางท่ีดี (พรชัย ศักดานุวัฒน์วงศ์, 2559, หน้า 15-23;
ชนินทร์ ชุณหพันธรักษ์, 2559, 2-33) ส่ิงเหล่านี้ล้วนนำไปสู่ความสามารถทางการแข่งขันที่ดีข้ึน และ
โอกาสการไดร้ บั ผลกำไรท่ีเพิ่มข้นึ ของธรุ กจิ
จากรายงานผลการวิจัยเกี่ยวกับความรับผิดชอบต่อสังคมระบุว่า ความรับผิดชอบต่อ
สังคมของธุรกิจส่งผลต่อความพึงพอใจและความจงรักภักดีของลูกค้า (ธารณา จันตะเภา และนิเวศน์
ธรรมะ, 2557, หน้า 26; นภัทร คล้ายคลึง และเสาวนีย์ สมันต์ตรีพร, 2557, หน้า 93; Liu, Wong,
Shi, Chu & Brock, 2014, p.181) อีกท้ังการที่พนักงานรับรู้ถึงความรับผิดชอบต่อสังคมของธุรกิจมี
ความสัมพันธ์ทางบวกกับความผูกพันต่อองค์การ และความผูกพันของพนักงาน (Azim, 2016, p.207)
การนำความรับผิดชอบต่อสังคมขององค์การเข้ามาเป็นนโยบายในการปฏิบัติงาน มีส่วนช่วยในการ
กระตุน้ พฤติกรรมในเชงิ บวกให้กับพนักงาน ได้แก่ ความพึงพอใจที่มีต่อองคก์ ารและการปฏบิ ัติงาน รวม
ไปถึงความผูกพันที่มีต่อองค์การ และช่วยลดความต้ังใจที่จะลาออกจากงาน นอกจากนี้พบว่าความ
ผูกพันท่ีพนักงานมีต่อองค์การนำไปสู่การสร้างสมรรถนะท่ีดีในการปฏิบัติงานของพนักงาน ดังนั้น
องค์การควรให้ความสำคัญกับพนักงานในการมีส่วนร่วมและเป็นส่วนหนึ่งในการคิด วางแผน และ
กำหนดแนวทางการดำเนินกิจกรรมด้านความรับผิดชอบต่อสังคมร่วมกัน ปลูกฝังให้เกิดจิตสำนึกและ
เป็นค่านยิ มร่วมภายในองคก์ าร เพื่อเช่อื มโยงไปสู่แนวคิดการสร้างสรรค์คณุ ค่าร่วมกันให้สังคม (ฑัชวงษ์
จลุ สวสั ด์ิ, 2558, หน้า 251)

ตัวอย่างความรบั ผดิ ชอบตอ่ สังคมในการดำเนนิ งานทางธรุ กจิ
บริษัทการบินไทย จำกัด (มหาชน) บริษัทฯ กำหนดความรับผิดชอบต่อสังคม 8 ประเด็น
และในแต่ละประเด็นได้จัดโครงการและดำเนินกิจกรรมต่าง ๆ สรุปพอสังเขปดังนี้ 1) การประกอบ
กิจกรรมด้วยความเป็นธรรม เช่น จัดทำประมวลบรรษัทภิบาล และจริยธรรมเป็นลายลักษณ์อักษร
อย่างชัดเจนให้พนักงานทุกคนยึดถือปฏิบัติ 2) การต่อต้านทุจริตคอร์รัปช่ัน เช่น การจัดทำแผนใน
เรื่องดังกล่าวพร้อมจัดเป็นหลักสูตรอบรมให้กับพนักงานทุกระดับ การกำหนดนโยบาย whistle
blower เพ่ือให้บุคลากรช่วยกันสอดส่องชี้เบาะแสกรณีการทุจริตคอร์รัปชั่น ฯลฯ 3) การปฏิบัติต่อ
แรงงานอย่างเป็นธรรมด้วยการดูแลเรื่องผลตอบแทน สิทธิประโยชน์ ความปลอดภัย อาชีวอนามัย

102

และสภาพแวดล้อมในการทำงานเพ่ือคุณภาพชีวิตท่ีดี และการพัฒนาทักษะให้ความรู้อย่างเหมาะสม
4) การเคารพสิทธิมนุษยชน โดยดำเนินงานด้านบุคลากร เช่น การสรรหา การจ้างงาน การเลิกจ้าง
ฯลฯ อย่างไม่เลือกปฏิบัติต่อบุคคลใดบุคคลหน่ึงโดยไม่เป็นธรรม อันเน่ืองมาจากความแตกตา่ งในด้าน
เช้ือชาติ ศาสนา เพศ อายุ การศึกษา หรือเหตุผลอื่น และไม่เลือกบริการหรือทำธุรกิจกับนิติบุคคล
หรอื บุคคลจากเฉพาะบางประเทศหรอื บางสัญชาติ 5) ความรบั ผิดชอบต่อผ้บู ริโภค โดยให้ความสำคัญ
กับคุณภาพการให้บริการและความปลอดภัย เข้าร่วมเป็นสมาชิกเครือข่ายด้านความม่ันคงการบิน
การจัดโครงการ beyond compliance project เพื่อเสริมสร้างวัฒนธรรมการรักษามาตรฐานความ
ปลอดภัยให้เหนือกว่าระดับมาตรฐาน และเสริมสร้างความเชื่อม่ันท่ีดีให้แก่ลูกค้า 6) การดูแลรักษา
สิ่งแวดล้อม โดยได้วางเป้าหมายเป็นสายการบินที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมกับแนวคิดการเดินทางแบบ
รักษ์ส่ิงแวดล้อม (travel green) เช่น การลดก๊าซเรือนกระจก การบริหารเชื้อเพลิงอากาศยาน การ
ปรับปรงุ คุณภาพน้ำท้ิง ฯลฯ การร่วมอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติโดยประกาศยกเลิกการขนส่งงาช้าง
และหูฉลาม 7) การมีส่วนร่วมพัฒนาชุมชน โดยปลูกฝังจิตสำนึกท่ีดีแก่พนักงาน ผ่านโครงการจิตอาสา
ต่าง ๆ เช่น การสนับสนุนด้านการศึกษาแก่นักเรียนในโรงเรียนท่ีอยู่ห่างไกล การบริจาคเงินและสิ่งของ
ช่วยเหลือผู้ด้อยโอกาสและประสบภัย การอำนวยความสะดวกด้านเท่ียวบินในสถานการณ์ฉุกเฉิน ฯลฯ
และ 8) การมีนวัตกรรมและเผยแพร่นวัตกรรมด้าน CSR โดยปรับปรุงนวัตกรรมอย่างต่อเน่ือง เช่น
โครงการ route optimization เพื่อลดค่าใช้จ่ายของเท่ียวบิน โครงการ new potable water uplift
เพ่ือลดปริมาณการบรรทุกน้ำไปกับเคร่ืองบิน การพัฒนาแอปพลิเคชัน ฯลฯ (บริษัทการบินไทย จำกัด
(มหาชน), 2558, หนา้ 18-19)

บริษัท อีซี่ บาย จำกัด (มหาชน) ดำเนินกิจกรรมเพื่อสังคมผ่านโครงการต่าง ๆ ภายใต้
แนวความคิด อีซี่บายร่วมสร้างฝันเพ่ือคนรุ่นใหม่ เพ่ือให้สอดคล้องกับทิศทางการดำเนินธุรกิจท่ีมุ่งเน้น
การสร้างคุณภาพชีวิตท่ีดีของผู้คนในสังคมไทย รวมถึงการพัฒนาการศึกษาแก่เยาวชนไทยให้สามารถ
เจริญเตบิ โตไดอ้ ยา่ งม่ันคง โดยดำเนินกิจกรรม 5 โครงการหลัก ได้แก่ โครงการอซี ี่บายเพื่อการศึกษา
โครงการอีซี่บายเพื่อผู้ประสบภัย โครงการอีซ่ีบายเพื่อเพ่ือนมนุษย์และสิ่งแวดล้อม โครงการอีซ่ีบาย
เพื่อสังคมไทย โครงการอซี ่บี ายเพ่อื การกีฬาไทย (บรษิ ทั อีซ่ี บาย จำกดั (มหาชน), 2558)

ความรับผิดชอบต่อสังคมของธุรกิจ ไม่ใช่เป็นเพียงการบำเพ็ญประโยชน์เป็นครั้งคราว
เท่าน้ัน แต่ควรเป็นจิตสำนึกในความรับผิดชอบที่ต้องมีในทุกๆ ขั้นตอนของการดำเนินธุรกิจ จนเกิด
เป็นหน้าที่ท่ีต้องทำอย่างเป็นปกติวิสัย อันจะเกิดผลลัพธ์ท่ีดีตอ่ ธุรกิจในด้านต่าง ๆ ทั้งเรื่องความสามารถ
ทางการแข่งขัน และความม่นั คงอยา่ งย่ังยืน

103

คณุ ลกั ษณะของผปู้ ระกอบการและหนา้ ท่ีพนื้ ฐานในการบริหารธุรกจิ
การดำเนนิ งานทางธุรกิจใหป้ ระสบความสำเร็จนน้ั ผปู้ ระกอบการซ่ึงเป็นผจู้ ดั ต้ัง

ธุรกจิ และทำหน้าทีเ่ ป็นผู้บริหารธุรกจิ ดว้ ยโดยปริยาย ต้องพัฒนาและฝกึ ฝนตนให้มคี ุณลกั ษณะ
ของการเป็นผปู้ ระกอบการที่ดี ตลอดจนกำกบั และดูแลหนา้ ทง่ี านการบริหารธรุ กิจทุกหนา้ ที่ให้
ดำเนินไปอยา่ งมีประสทิ ธิภาพสูงสุด

คณุ ลักษณะของผู้ประกอบการท่ีประสบความสำเร็จ
จากการศึกษาวิจัยพบว่าผู้ประกอบการท่ีประสบความสำเร็จในการดำเนินงานทางธุรกิจ
มีคุณลักษณะสำคัญท่ีเหมือนกัน 5 ประการ หรือเรียกกันโดยทั่วไปว่า 5 Ps (Katz & Green, 2017, pp.
30-32) ดังมรี ายละเอยี ดต่อไปนี้
1. ความปรารถนาอย่างแรงกลา้ (passion) หมายถงึ การมีใจและรักหลงใหลต่อธุรกจิ
ย่อมทำให้เกดิ พลังและความรู้สึกผูกพันทจ่ี ะดำเนนิ งานทางธุรกจิ ให้เจริญก้าวหน้าต่อไป ความปรารถนา
อย่างแรงกล้าน้ีจะแสดงออกในมา 3 ลักษณะ คือ มองส่ิงที่ท้าทายของธุรกิจในทิศทางท่ีสร้างสรรค์
มคี วามมงุ่ ม่นั ทำธุรกิจ มีความรูส้ กึ ว่างานและธุรกจิ คือชีวติ จติ ใจ
2. ความอุตสาหะ (perseverance) หมายถึงมีความเพียรพยายาม แม้การทำงานต้อง
ใช้เวลานาน หรือแม้ว่าธุรกิจท่ีทำอยู่น้ันจะปรากฏผลลัพธ์ความสำเร็จหรือไม่ก็ตาม ก็ไม่ละความ
พยายามที่จะทำใหด้ ที ่ีสุด
3. มุ่งส่งเสริมและป้องกัน (promotion and prevention focus) หมายถึงมุ่งหา
แนวทางส่งเสริมหรือใฝ่หาโอกาสเพื่อให้ธุรกิจได้รับผลตอบแทนสูงสุด ขณะเดียวกันหาวิธีป้องกันเพื่อ
ไมใ่ ห้ธรุ กิจเกดิ ความสูญเสียหรือขาดทุน
4. การวางแผน (planning) หมายถึง เป็นผู้ท่ีมองอนาคต พิจารณาถึงสภาพแวดล้อม
ต่าง ๆ ทจ่ี ะกระทบตอ่ ธุรกิจ และกำหนดแนวทางในการดำเนนิ งาน
5. มีความเป็นมืออาชีพ (professionalization) หมายถึง มีความรู้ความสามารถใน
ธุรกิจที่ทำ รวมท้ังดำเนินธุรกิจอย่างมีจรรยาบรรณ ความเปน็ มืออาชีพมีความสำคัญต่อความสามารถ
ทางการแข่งขันของธุรกิจในยุคปัจจุบัน โดยผู้ประกอบการที่มีความเป็นมืออาชีพจะต้องฝึกฝนตนให้มี
ลกั ษณะเดน่ 3 ประการ คอื มีความรู้ มีทักษะในการจดั การ มีลักษณะส่วนบุคคลที่ดี (สทิ ธชิ ัย ฝรั่งทอง,
2555, หนา้ 17-22) ดงั มรี ายละเอยี ดต่อไปนี้

5.1 มีความรู้ (knowledge) การท่ีบุคคลได้รับความรู้จากสถานศึกษาที่จบมานั้น
ยงั ไม่เพียงพอต่อการบริหารธุรกิจท่ามกลางสถานการณ์ต่าง ๆ ซ่งึ เปล่ียนแปลงอย่างรวดเรว็ ดังน้ันจึง
ต้องศึกษาหาความรู้และข้อมูลข่าวสารอยู่ตลอดเวลาจากแหล่งต่าง ๆ เช่น เข้าร่วมอบรมหรือสัมมนา
พบปะพูดคุยแลกเปล่ยี นกบั ผู้รู้ในวงการธรุ กจิ ค้นควา้ จากหนังสือ อินเทอร์เน็ต ฯลฯ เพ่ือพัฒนาตนเอง
ให้ทันยุคทนั เหตุการณ์

5.2 มีทักษะในการจัดการ (management skills) การบริหารอย่างมืออาชีพนั้น
ผู้ประกอบการต้องฝึกฝนตนให้มีทักษะในมิติต่าง ๆ ได้แก่ 1) มีวิสัยทัศน์และกลยุทธ์ (vision and
strategy) การดำเนินธุรกิจให้เกิดความได้เปรียบทางการแข่งขันอย่างเป็นรูปธรรมในระยะยาวนั้น
ต้องบูรณาการงานต่าง ๆ ของธุรกิจเข้าด้วยกัน ไม่ว่าจะเป็นการตลาด การเงิน การจัดการทรัพยากร
มนษุ ย์ ฯลฯ 2) มภี าวะผูน้ ำ (leadership) คือ สามารถส่ังการ ใหค้ ำแนะนำและนำผใู้ ต้บงั คับบญั ชาให้

104

มพี ฤติกรรมตามจุดหมายท่ีกำหนดไว้ 3) ประสานงาน (coordinate) คือทำใหก้ ารทำงานของบุคลากร
สัมพันธ์สอดคล้องกันและเป็นไปตามเป้าหมาย 4) ทำงานเป็นทีม (teamwork) การสร้างทีมงานที่ดี
ย่อมช่วยให้งานสำเร็จตามเป้าหมายอย่างมีคุณภาพและทันเวลาจากการเติมเต็มความสามารถของ
สมาชิกในทีม 5) มีทักษะการสื่อสาร (communication) คือมีศิลปะในการส่ือสารท้ังกับบุคลากร
ภายในและภายนอกธุรกิจ 6) จัดการงานงบประมาณ (budget management) คือมีความสามารถ
ในการจัดทำงบประมาณได้และบริหารให้เกิดประโยชน์สูงสุด 7) จัดการการเปลี่ยนแปลง (change
management) ท้งั จากภายในและภายนอกธุรกจิ ได้อยา่ งมีประสิทธิภาพ

5.3 มีลักษณะส่วนบุคคลที่ดี (good attributes) ประกอบด้วยองค์ประกอบ 8
ประการ ได้แก่ 1) มีความรับผิดชอบ (accountability) หมายถึง รับผิดชอบผลของการปฏิบัติงาน
ไม่ว่าจะเกิดจากการลงมือทำของตนเองหรือของผู้อ่ืนก็ตาม 2) มีจริยธรรม (ethics) คือ ประพฤติ
ปฏิบัติบนพื้นฐานของศีลธรรม 3) กล้าแสดงออกเชิงบวก (assertiveness) คือ การแสดงออกในทาง
สร้างสรรค์เพ่ือพัฒนางาน 4) ควบคุมตนเอง (self-control) โดยเฉพาะทางด้านอารมณ์เมื่อเผชิญกับ
แรงกดดันต่าง ๆ 5) มงุ่ ผลสำเรจ็ (result orientation) เน้นความสำเร็จของงานมากกว่าผลประโยชน์
ส่วนตน 6) เน้นการมีส่วนร่วม (participate) คือ เปิดโอกาสให้ผู้ใต้บังคับบัญชาได้แสดงความคิดเห็น
และนำความคิดเห็นเหล่าน้ันไปใช้ประโยชน์เพื่อปรับปรุงการทำงาน 7) มีมนุษย์สัมพันธ์ (human
relations) คือเป็นคนมีอัธยาศัยไมตรีท่ีดีกับบุคคลทั้งภายในและภายนอกองค์การ และ 8) มีความ
ยืดหยุ่นและปรับตัว (flexibility and adaptability) คือ ปรับตัวเพื่อรับการเปล่ียนแปลง เปิดรับวิธีการ
ทำงานใหม่ ๆ และสร้างความสมดุลอย่างรอบด้านในการทำงาน

นอกจากนี้ยังพบว่าผู้ประกอบการธุรกิจซ่ึงประสบความสำเร็จต้องมีความเช่ือม่ันใน
ตัวเอง กล้าตัดสินใจ กล้าเส่ียง มีความรับผิดชอบ ซ่ือสัตย์ต่อลูกค้า และมีเงินทุนจำนวนหนึ่งในการ
ประกอบการ ไม่ใช่กู้ยืมจากสถาบันการเงินเพียงอย่างเดียว (สมคิด บางโม, 2555, หน้า 4) อีกท้ังมี
ความ สามารถในการประเมินความเส่ียง คิดอย่างสร้างสรรค์ กล้าเปลี่ยนแปลง และอดทน ยึดมั่น ไม่
ย่อท้อ (กรมพัฒนาธุรกิจการค้า, 2558, หน้า 11) มีความกระตือรือร้นในการทำงาน มองการณ์ไกล มี
ความ สามารถในการคัดเลือกพนักงาน คำนึงถึงความสำเร็จของงานมากกว่าเงิน มีความสามารถในการ
แก้ไขปัญหาและตัดสินใจ มีมนุษย์สัมพันธ์และบุคลิกภาพที่ดี มีความสามารถในการติดต่อส่ือสาร มี
ความ สามารถในการจัดการ การวางแผน และมีจริยธรรม (สุดารัตน์ พิมลรัตนกานต์, 2560, หน้า 25-
26) รวมทั้งต้องมีความสามารถในการพัฒนาความสัมพันธ์กับลูกค้า ทีมงาน ผู้จัดส่งปัจจัยการผลิต
และผู้มีส่วนได้ส่วนเสียอื่น ๆ ของธุรกิจ (Burns, 2016, p.7) นอกเหนือจากน้ีความสำเร็จของธุรกิจ
ข้ึนอยู่กับคุณลักษณะของผู้ประกอบการที่มีทักษะการบริหารโดยเฉพาะความสามารถในการเปิดตัว
กิจการให้เป็นที่รู้จัก การวางแผนและต้ังเป้าหมาย การตัดสินใจ การจัดองค์การ การควบคุม
การตลาด การเงินและบัญชี การมีมนุษย์สัมพันธ์ การจัดการเพื่อการเติบโตของธุรกิจ และ
ความสามารถในการเจรจาต่อรอง (Zahra, Fakhrisadat & Narges, 2014, p. 50) จากงานวิจัย
รูปแบบการประสบความสำเร็จท่ีย่ังยืนของผู้ประกอบการรายย่อยในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ตอนบนของประเทศไทย พบว่าคุณลักษณะท่ีมีผลต่อความสำเร็จของผู้ประกอบการ คือ มีเงินทุน มี
ความร้แู ละทักษะการบริหาร มีความต้ังใจ และมีประสบการณ์ (ณัฐ อมรภิญโญ, 2556, หน้า 57) ส่วน
คุณลักษณะของผู้ประกอบการท่ีมีผลต่อการเจริญเติบโตของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมของ

105

ไทย ได้แก่ การทำงานเชิงรุก การวิเคราะห์ตลาดและคู่แข่ง (สุธีรา อะทะวงษา และสมบูรณ์วัลย์ สัต
ยารักษ์วทิ ย์, 2557, หน้า 61)

จากข้อมูลผู้ประกอบการอายุน้อยร้อยล้านอย่างเช่น คุณอิทธิพัทธ์ พีระเดชาพันธ์
ประธานเจ้าหน้าที่บริหารบริษัท เถ้าแก่น้อย ฟู๊ดแอนด์มาร์เก็ตต้ิง จำกัด (มหาชน) ระบุว่าการ
ดำเนินงานทางธุรกิจให้ประสบความสำเร็จน้ันผู้ประกอบการควรมีคุณลักษณะดังน้ี มีความเป็นมือ
อาชีพ ทำงานเป็นทุกตำแหน่ง รู้หน้าที่ มีตัวชี้วดั และมีเปา้ หมายในแต่ละหน้าที่ชัดเจน อีกท้ังพยายาม
สร้างวัฒนธรรมความเป็นเจ้าของกิจการให้กับพนักงานทุกคน คิดถึงผลประโยชน์ของลูกค้าและ
กลุ่มเป้าหมาย ให้ความสำคัญกับเรื่องต้นทุนและผลที่ได้รับ (อิทธิพัทธ์ พีระเดชาพันธ์, 8 มีนาคม
2559) เม่ือพิจารณาคุณลักษณะของแจ็ค หม่า นักธุรกิจมหาเศรษฐีอันดับหน่ึงของประเทศจีน ผู้ก่อต้ัง
Alibaba กลุ่มธุรกิจ อีคอมเมิร์ซท่ีใหญ่ท่ีสุดในโลก คุณลักษณะส่วนบุคคลท่ีทำให้การดำเนินงานทาง
ธุรกิจประสบความสำเร็จ คือ มีวิสัยทัศน์ ใจกล้า ไม่ย่อท้อต่อความล้มเหลว ทำตามฝัน ลองผิด ลอง
ถูก เป็นนักสู้ รู้จักคว้าโอกาสท่ีเข้ามาและต่อยอด (นพพร วงศ์อนันต์, 2558) แจ็ค หม่า ดำเนินงาน
ทางธุรกิจโดยเน้นการสร้างพลังการแข่งขันท่ีได้เปรียบด้วยการมีเอกลักษณ์ของตนเอง ลงมือทำก่อน
เพื่อชิงความได้เปรียบ ดำเนินงานเชิงรุก เปลี่ยนแปลงก่อนที่ความเปล่ียนแปลงจะมาถึง คิดแบบตี
ลังกาเพราะทุกอย่างเป็นไปได้ เฟ้นหาพันธมิตรทางธุรกิจที่ดี สร้างทีมงาน กลไกการทำงาน และ
วัฒนธรรมองค์การที่ดี มีคุณธรรมในการบริหารงาน และรู้จักบริหารใจพนักงาน (จางเยี่ยน, 2559,
หนา้ 184-222)

ดังน้ันผู้ประกอบการหรือผู้ทำหน้าที่ในการบริหารธุรกิจไม่ว่าจะเป็นประเภทใดหรือมี
ขนาดใดก็ตาม ต้องพัฒนาตนเองอย่เู สมอให้มคี ุณลักษณะของการเป็นผปู้ ระกอบการท่ีดีนำพาธรุ กจิ ให้อยู่
ได้อย่างมั่นคง และมีความเจริญก้าวหน้า ท่ามกลางการเปลี่ยนแปลงและความไม่แน่นอนของสภาพ
แวดล้อมในปจั จบุ ัน

หนา้ ที่พืน้ ฐานในการบริหารธรุ กจิ

ธรุ กิจในปัจจุบันมีมากมายหลายรูปแบบและปรับเปลี่ยนไปตามสภาพแวดล้อมที่เกิดขึ้น
ทั้งทางเศรษฐกิจ สังคม การเมือง เทคโนโลยี การแข่งขัน พฤติกรรมผู้บริโภค ฯลฯ แต่อย่างไรก็ดีทุก
ธุรกิจต้องดำเนินกิจกรรมหรือทำหน้าท่ีการบริหารธุรกิจ (business administration functions)
เพ่ือประสานการใช้ทรัพยากรได้อย่างมีประสิทธิภาพและเกิดผลลัพธ์ที่ดีต่อธุรกิจตามมา โดยหน้าท่ี
พื้นฐานทีส่ ำคัญในการบริหารธุรกิจ ได้แก่ การเงินและการบัญชี การผลิตและการดำเนินงาน การตลาด
การจดั การองคก์ าร และการจดั การทรัพยากรมนุษย์ สรุปได้ดังน้ี

1. การเงินและการบัญชี (finance and accounting) เงินเป็นทรัพยากรท่ีสำคัญ
ในการดำเนินงานต้ังแต่เริ่มต้นธุรกิจเพ่ือนำไปใช้จ่ายในการจัดต้ัง การก่อสร้างอาคารสถานที่ การ
จัดซ้ือวัสดุ อุปกรณ์ เคร่ืองจักร วัตถุดิบ การจ้างงาน และการดำเนินงานในด้านต่าง ๆ ของธุรกิจ
ดังน้ันการบริหารด้านการเงินของธุรกิจจึงมีความสำคัญเพ่ือให้กิจกรรมทางการเงินไม่ว่าจะเป็นการ
จัดหาเงินทุนจากแหล่งต่าง ๆ และการใช้เงินทุนทำได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม และคุ้มค่า เกิดประโยชน์
ต่อการดำเนินธุรกิจอย่างต่อเน่ืองในระยะยาว ส่วนการบัญชีเป็นกิจกรรมที่เก่ียวข้องกับการรวบรวม
รายการค้าที่เกิดข้ึน การจดบันทึก การจัดหมวดหมู่ และการสรุปข้อมูลในรูปรายงานทางการเงิน โดยมี

106

วตั ถุประสงคเ์ พือ่ นำข้อมูลเหล่านั้นมาใช้ประกอบการวางแผนและควบคมุ การดำเนินงานในดา้ นต่าง ๆ
ของธรุ กจิ

2. การผลิตและการดำเนินงาน (production and operation) คือ กิจกรรมต่าง ๆ
ทเี่ กี่ยวข้องกบั กระบวนการแปรสภาพปัจจัยการผลติ ให้เป็นสินคา้ หรอื บริการที่สร้างมูลค่าเพ่มิ หรือเกิด
คุณค่าทางเศรษฐกิจ ทั้งน้ีการผลิตสินค้าหรือบริการแต่ละชนิดย่อมใช้ปัจจัยการผลิตที่แตกต่างกันออกไป
หน้าท่ีการบริหารในด้านน้ียังรวมถึงการวางแผนทำเลที่ตั้ง การวางผังโรงงาน การวางแผนการจัดซ้ือ
การวางแผนผลิต การตรวจสอบคุณภาพสินค้า และกิจกรรมอ่ืน ๆ ท่ีเกี่ยวข้องเพื่อให้ระบบการผลิต
ของธรุ กจิ ดำเนินไปอย่างมีประสทิ ธภิ าพและประสิทธิผล

3. การตลาด (marketing) คือ กิจกรรมต่าง ๆ ท่ีเกี่ยวกับการสื่อสารถึงคุณค่าและช่วย
ให้สินค้าหรือการบริการสามารถเข้าถึง ตอบสนองความต้องการ และสร้างความพึงพอใจแก่ผู้บริโภค
จนเกิดการซื้อขายเปล่ียนแปลงความเป็นเจ้าของจากผู้ผลิตไปเป็นผู้บริโภคซ่ึงเป็นลูกค้า รวมไปถึง
กิจกรรมที่อำนวยความสะดวกในการซื้อและเคลื่อนย้ายสินค้า จะเห็นได้ว่าการตลาดเป็นหน้าท่ีซ่ึง
สำคัญต่อการสร้างรายได้และสร้างผลกำไรให้กับธุรกิจ ดังน้ันการบรหิ ารงานทางการตลาดให้ประสบ
ความสำเร็จน้ันไม่ใช่แค่การขายสินค้าให้ได้ แต่ต้องทำให้ลูกค้าเกิดความประทับใจ กลับมาซ้ือหรือใช้
ซ้ำได้ รวมถงึ พรอ้ มที่จะบอกตอ่ ประสบการณท์ ่ีดีซง่ึ ได้รับจากธรุ กิจ

4. การจัดการองค์การ (organizational management) คือ กระบวนการที่นำเอา
ทรัพยากรต่าง ๆ มาใช้อย่างมีประสิทธิภาพและบรรลุตามวัตถุประสงค์ของธุรกิจ โดยในกระบวนการ
ดงั กล่าวประกอบด้วยหน้าท่ีงานการจัดการ ได้แก่ การวางแผน (planning) การจัดองค์การ (organizing)
การนำและการจงู ใจ (leading and motivating) และการควบคุม (controlling) (Pride, Hughes &
Kapoor, 2010, p.109) กล่าวคือ ในการจัดการธุรกิจ ต้องวางแผนเพ่ือกำหนดทิศทางขององค์การ และ
การปฏิบัติเพื่อให้บรรลุตามเป้าหมาย โดยใช้ทรัพยากรท่ีมีอยอู่ ย่างจำกัดให้เกิดประโยชน์สูงสุด อีกทั้ง
ต้องจัดองค์การใหม้ ีโครงสร้างการทำงานท่เี หมาะสม สอดรับกบั แผนงานทีก่ ำหนด นอกจากน้ีผู้บริหาร
ตอ้ งสามารถนำและจูงใจใหพ้ นักงานแสดงพฤติกรรมและมีผลการปฏิบัติงานที่ดี ตลอดจนต้องควบคุม
เพื่อติดตามและตรวจสอบการดำเนินงานด้านต่าง ๆ และให้ขอ้ มูลย้อนกลับ เพ่ือนำไปวางแผนปรับปรุง
พัฒนาการดำเนินงานตอ่ ไป ดังน้ันถ้าจดั การภายในองค์การที่ดี ยอ่ มเอื้อต่อความสำเร็จในทกุ หน้าที่งาน
ของการบริหารธุรกิจและความสำเร็จขององค์การธุรกจิ ในที่สุด

5. การจัดการทรัพยากรมนุษย์ (human resource management) ทรัพยากร
มนุษย์ได้รับการยอมรับโดยท่ัวไปว่ามีค่าย่ิงและสำคัญที่สุดเหนือทรัพยากรอื่นใดของธุรกิจ เพราะ
มนุษย์เป็นผู้ขับเคล่ือนให้เกิดกิจกรรมต่าง ๆ รวมท้ังมีความคิดสร้างสรรค์ และสามารถพัฒนา
นวัตกรรมใหม่ ๆ ให้กับธุรกิจ ดังนั้นหน้าที่การจัดการทรัพยากรมนุษย์จึงมีความสำคัญที่ช่วยให้ธุรกิจ
วางแผนกำลังคนได้อย่างเหมาะสม สามารถคัดเลือกคนที่ดี มีคุณภาพ เข้ามาทำงานในทุกตำแหน่งงาน
รวมทงั้ ช่วยพัฒนาใหเ้ ป็นผู้ปฏิบัติงานที่มีสมรรถนะสูง ตลอดจนช่วยให้ธุรกจิ สามารถธำรงรักษาบุคคล
เหลา่ นนั้ ให้คงอยูแ่ ละปฏบิ ตั ิงานอย่างมีประสทิ ธิภาพเพ่ือความสำเรจ็ ของธรุ กจิ

กิจกรรมหรือหน้าท่ีการบริหารธุรกิจทั้ง 5 ประการ ได้แก่ การเงินและการบัญชี การ
ผลิตและการดำเนินงาน การตลาด การจัดการองค์การ และการจัดการทรัพยากรมนุษย์ ล้วนมี
ความสำคัญต่อการดำเนินงานของธุรกิจ ดังนั้นต้องบริหารให้กิจกรรมเหล่าน้ีเป็นไปอย่างมี

107

ประสิทธภิ าพและมีความสอดคล้องกัน เพ่ือช่วยเกื้อหนนุ ให้ธุรกิจประสบผลสำเร็จตามเป้าหมาย ท้งั นี้
กิจกรรมดงั กลา่ วข้างตน้ ได้แสดงรายละเอียดไว้ในบทท่ี 3-บทที่ 8

บทสรปุ

การดำเนินงานทางธุรกิจมีวัตถุประสงค์หลักสำคัญ ได้แก่ วัตถุประสงค์ทางเศรษฐกิจ
เพ่อื ให้ธุรกิจมีกำไร อยู่รอด และเจรญิ เติบโตต่อไป และวตั ถุประสงค์ทางสังคม ซ่ึงเป็นความม่งุ หมายที่
ทำให้เกดิ ผลลัพธ์ท่ีดีต่อผู้มีส่วนได้สว่ นเสียกับธุรกิจ อาจกล่าวได้ว่าเป็นความมุ่งหมายให้ธุรกิจดำเนนิ งาน
อย่างมีจริยธรรมและรบั ผดิ ชอบต่อสงั คม ทั้งนี้ในการดำเนินงานทางธุรกิจต้องอาศัยทรพั ยากรท่ีสำคัญ
ได้แก่ ทรัพยากรมนุษย์ ทรัพยากรทางกายภาพ ทรัพยากรสารสนเทศ และทรัพยากรทางการเงิน
สำหรับปัจจัยในการดำเนินงานทางธุรกิจประกอบด้วย คน เงิน วัสดุ เครื่องจักร การจัดการ การตลาด
ข่าวสาร ขวัญและกำลังใจ หากพิจารณาถึงระบบการดำเนินงานทางธุรกิจประกอบด้วยส่วนท่ีเชื่อมโยง
กนั ไดแ้ ก่ ปัจจัยนำเข้า กระบวนการ ปัจจยั สง่ ออก แตถ่ ้าหากวิเคราะห์ในลักษณะการดำเนนิ งานท่ตี ้อง
ควบคมุ เพ่ือการพัฒนาระบบ จะมีองค์ประกอบเพิ่มมาอีกประการ คือ ข้อมูลย้อนกลับ อย่างไรก็ดีธรุ กิจ
เป็นระบบเปดิ ดงั น้ันย่อมได้รับอทิ ธิพลทงั้ เชงิ บวกและลบจากสภาพแวดลอ้ มต่าง ๆ ภายนอกธรุ กิจ

ปัจจุบันน้ีเปน็ ยุค 4.0 การดำเนนิ งานทางธุรกิจจึงต้องทำความเข้าใจเกยี่ วกับสถานการณ์
ทางธุรกิจท่ีเกิดขึ้นไม่ว่าจะเป็น สภาพแวดล้อมท่ีมีความพลวัต สภาพการแข่งขันท่ีรุนแรง ความไม่ม่ันคง
การแพร่กระจายไปท่ัวโลก การสร้างเครือข่าย ตลาดของอุปสงค์ การเปลี่ยนผ่านสู่ดิจิทัล พฤติกรรม
ผู้บริโภคเปล่ียนแปลง วัฒนธรรมของการดำเนินธุรกิจชุดใหม่ และธุรกิจรูปแบบใหม่ นอกจากน้ีต้อง
ทำความเข้าใจเกี่ยวกับสถานการณ์ทางธรุ กิจที่เกดิ ขึ้นภายในประเทศ โดยเฉพาะการเปล่ียนแปลงทาง
เทคโนโลยี การเกิดธุรกิจรูปแบบใหม่ การเปล่ียนแปลงทางเศรษฐกิจ การเปล่ียนแปลงของผู้บริโภค การ
ขยายตัวของชุมชนเมือง นโยบายประเทศไทย 4.0 นโยบายเศรษฐกิจดิจิทัล พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
กระแสผลิตภัณฑ์ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม และกระแสการใส่ใจสุขภาพ ดังน้ันหลักการดำเนินงานทาง
ธรุ กิจจึงตอ้ งสร้างความเข้มแข็งจากภายในธรุ กิจและต้องเช่ือมโยงกับโลก ท่ีสำคัญผู้ประกอบการหรือ
ผู้บริหารควรมีหลักธรรมาภิบาลในการบรหิ าร อีกทั้งดำเนินธุรกิจอย่างยึดมั่นในจริยธรรมและมีความ
รับผิดชอบต่อสังคม ฉะน้ันการดำเนินธรุ กจิ นัน้ ผปู้ ระกอบการควรพัฒนาฝึกฝนตนให้มีคณุ ลักษณะท่ีดี
เอื้อต่อความสำเร็จ และทำหน้าที่พื้นฐานสำคัญในการบริหารธุรกิจ ได้แก่ การเงินและการบัญชี การ
ผลิตและการดำเนินงาน การตลาด การจัดการองค์การ และการจัดการทรัพยากรมนุษย์ ได้อย่างมี
ประสทิ ธิภาพ เพ่อื ความมัง่ คง ม่งั คั่ง และย่ังยืนของธุรกจิ

108

แบบฝึกหัดทา้ ยบท

1. จงอธบิ ายวตั ถปุ ระสงคข์ องการดำเนินงานทางธรุ กิจ
2. จงอธิบายทรพั ยากรในการดำเนนิ งานทางธรุ กจิ
3. จงอธิบายปจั จัยพ้นื ฐานในการดำเนนิ งานทางธรุ กิจ
4. จงอธิบายระบบการดำเนนิ งานทางธุรกิจ
5. จงยกตวั อยา่ งและอธบิ ายสถานการณท์ างธรุ กจิ ท่เี กิดข้นึ ในยุค 4.0
6. จงอธบิ ายหลักการดำเนินงานทางธุรกิจในยคุ 4.0
7. จงอธิบายหลักธรรมาภิบาลในการดำเนินงานทางธรุ กิจ
8. จงอธบิ ายเก่ียวกบั จริยธรรม จรรยาบรรณ และความรบั ผิดชอบต่อสังคมของธรุ กิจ
9. จงอธิบายคณุ ลักษณะของผ้ปู ระกอบการทีป่ ระสบความสำเร็จตามความคดิ เหน็ ของท่าน
10. จงอธิบายหน้าที่พื้นฐานในการบริหารธรุ กิจ

109

เล่าเร่ืองทางธุรกิจ

วิถธี รุ กจิ …ไมต่ นั
คุณตัน ภาสกรนที นักธุรกิจผู้ก่อต้ังบริษัท โออิชิ กรุ๊ป จำกัด (มหาชน) ต่อมาได้ขายหุ้น

ใหญ่ ให้กับบริษัท ไทยเบฟเวอร์เรจ จำกัด (มหาชน) จากนั้นได้ก่อตั้งบริษัท ไม่ตนั จำกัด ปัจจบุ ันเปล่ียน
ช่ือเป็น บริษัท อิชิตัน กรุ๊ป จำกัด ซึ่งดำเนินธุรกิจอาหารและเคร่ืองด่ืม เพราะเป็นวิชาชีพท่ีรัก เป็นภูมิ
ปัญญา เป็นงานท่ีชอบของคุณตัน จึงเป็นแรงบันดาลใจให้หวนกลับมาทำธุรกิจในแวดวงนี้อีกครั้ง โดย
ตั้งใจทำธุรกิจที่ไม่ได้มุ่งแต่เงินและกำไรสูงสุดเป็นตัวต้ัง แต่ต้องเป็นธุรกิจเพื่อภารกิจความสุขและดูแล
สงั คมด้วย ดงั น้ันเงินปันผลร้อยละ 50 ท่ีมี และท่ีภรรยาถืออยู่จำนวน 150 ล้านหนุ้ มูลค่า 300 ล้านบาท
ได้มอบให้กับมูลนิธิตันปัน ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2553 ท่ีเร่ิมกิจการ เพ่ือเป็นศูนย์รวมของการแบ่งปันสู่สังคมใน
ด้านการศึกษาและสิ่งแวดล้อม ส่ิงท่ีทำให้คุณตันมีความสุขคือการได้ช่วยเหลอื สังคม ไม่ว่าจะเป็นงานของ
มูลนิธิ การถ่ายทอดประสบการณ์สร้างแรงบันดาลใจ หรือการจัดกิจกรรมช่วยเหลือคนที่เดือดร้อน การ
ได้เห็นรอยยิ้มของคนที่ได้รับคือความสุขใจ เพราะคนเราเลือกเกิดไม่ได้แต่เราเลือกที่จะเป็นได้ และวันนี้
คุณตันก็ได้เลือกแล้วว่าจะทำอะไร หลักคิดการดำเนินงานที่คุณตันยึดถือมาตลอด คือ พระราชดำรัสของ
ในหลวงรัชกาลท่ี 9 เรื่องขาดทุนคือกำไร หมายถึงการลงทุนลงแรงบางอย่าง หากคิดในแง่ตัวเลขกำไร
ขาดทุนอาจไม่คุ้ม คุณตันเล่าว่าเมื่อสมัยขายหนังสือและเทปเพลงอยู่ในจังหวัดชลบุรี เคยให้ถุงใส่ของ
แก่ลูกค้าที่ชอบมาดูสินค้าแต่ไม่เคยซ้ือ ให้โดยไม่คิดอะไร แค่อยากจะช่วยเพราะเห็นเขาเปียกฝนและ
ถอื ของพะรุงพะรัง จากนั้นเขากลับกลายมาเป็นลูกค้าประจำ เขาบอกว่าอันที่จริงซ้ือในกรุงเทพฯ ถูกกว่า
แต่ที่ยอมจ่ายแพงก็เพราะน้ำใจจากถุงใบนั้น น่ันคือกำไรท่ีได้รับ สำหรับการใช้ชีวิตไม่ว่าจะเป็นเรื่อง
งานหรือเรื่องสว่ นตัว คุณตันบอกว่ายอมทีจ่ ะแพ้ ยอมขอโทษ ยอมง้อ ยอมถอย ยอมลด ยอมเสียเปรียบ
ยอมเสียสละ เปรียบเสมือนการเต้นรำจังหวะช่ะช่ะช่า ที่ต้องมีทั้งจังหวะก้าวและถอย จึงมองว่าชัยชนะ
ที่แทจ้ รงิ บางคร้งั ไม่ได้เรม่ิ จากการได้ แตม่ าจากการใหซ้ ่ึงเป็นส่ิงสำคัญของการทำธรุ กิจ

การทำธุรกิจคือสิ่งที่คุณตันทำเป็น อย่างเคยเปิดร้านกาแฟ ก็ชงกาแฟไม่เป็น ทำสตูดิโอ
ถ่ายภาพ ก็ถ่ายภาพไม่เป็น แต่เพราะรู้หลักการทำธุรกิจก็เลยทำได้ เหมือนดั่งที่พ่อของคุณตันสอนไว้
เป็นภาษาจีนแต้จ๋ิวว่า จิกลี่เม้ง แป๊ะล่ีทง ซ่ึงแปลเป็นไทยว่า ถ้าเข้าใจหลักการหนึ่ง อีกร้อยเร่ืองก็ไม่มี
ปัญหา ในการทำธุรกิจหลักการง่าย ๆ คือ เอาใจเขามาใส่ใจเรา ดังนั้นจึงมองความต้องการของลูกค้า
เป็นตัวต้ังมากกว่าท่ีจะมองตัวเราเป็นศูนย์กลาง ทุกครั้งที่ทำธุรกิจหรือออกสินค้าใหม่ ส่ิงที่ทำคือขยัน
ถาม ขยันสังเกต ศึกษาจนเข้าใจวัฏจักรธรุ กิจอย่างถ่องแท้ ต้องอ่านเกมให้ขาด ขอเพียงรหู้ ลักการ เรา
กส็ ามารถทำทุกอยา่ งได้ มองวา่ การทำธรุ กิจความสำเร็จไม่ได้อยู่ท่ีเริ่มต้นทีเ่ งนิ เท่าไหร่ มีเงิน หรือไม่มี
เงินไม่สำคัญเท่ากับมีปัญญา กฎของการประสบความสำเร็จในธุรกิจไม่ได้อยู่ท่ีคุณคิดได้ก่อนใคร คุณ
เริ่มทำก่อน หรือใครทำมากกว่า แต่ท้ังหมดคือการมุ่งมั่น ทำอย่างสม่ำเสมอ ไม่ยอมแพ้ หากเปรียบ
วนิ ัยการทำธุรกิจเหมือนการออมเงนิ ใส่กระปุกออมสิน ซ่ึงการออมทำให้เราสุขใจ ปลอดภยั และม่นั คง
ทั้งน้ีความเต็มของกระปุกไม่ได้วัดด้วยมูลค่าของเงินท่ีหยอดลงไป แต่อยู่ที่ความสม่ำเสมอและความ
ตั้งใจจริงต่างหาก ถ้ามีใครถามว่าทำไมธุรกิจของเขายังล้มลุกคลุกคลานอย่างไม่เป็นท่า คำตอบคือ
เพราะคุณยังทำไม่พอ ในการทำธุรกิจเป็นเรื่องปกติที่เราจะเจอกับปัญหา แต่คุณตันเชื่อเสมอว่าทุก
ปัญหามีทางออก ดังน้ันจึงต้องกล้าทีเ่ ผชญิ กับปัญหา อยา่ มองว่าเป็นอุปสรรค ใช้ปญั ญา ต้ังสติ ไม่ยอม
แพ้ แล้วรูจ้ กั ทจ่ี ดั การกบั ปัญหา จบั มันพลิกให้เปน็ โอกาส เมื่อน้ันชวี ิตธรุ กิจย่อมไม่มีทางตัน

110

การผ่าทางตันไดด้ ี คือ ความรู้ ซึ่งเหมือนเป็นตวั ช่วยให้เรามปี ัญญา มองว่าปัญหาต่าง ๆ
ลว้ นคอื บททดสอบฝึกเราให้รจู้ ักคิดแก้ไข โดยใช้ปัญญาทีเ่ กิดข้นึ จากความรู้ในคลังสมองของเรา ดังนั้น
จึงต้องเป็นนักเรียนรูต้ ลอดชีวิต หม่นั สะสมความรู้รอบตวั เพอื่ ทจ่ี ะนำมาใชไ้ ด้อย่างอัตโนมตั ิ ในช่วงเร่ิม
ธุรกจิ ปญั หาทีข่ บคิดคือการเฟ้นหาทมี งานรุ่นก่อตงั้ จนสามารถจัดการคดั เลอื กมาไดอ้ ย่างลงตวั แต่ละ
คนคือองค์ประกอบการทำงานที่ต้องจัดวางให้ครบและพอดีกันทุกส่วน เช่นเดียวกับคนเราที่สมประกอบ
ด้วยอวัยวะครบ 32 ประการ คนท่ีเป็นทีมงานต้องมีความเช่ือในแบบเดียวกัน ในการสรรหาคุณตันใช้คำว่า
ผ้รู ่วมก่อตง้ั ไม่ใช่การหาลูกจ้างประจำเพื่อมากินเงินเดือน จึงออกแบบโครงสร้างการแบ่งปนั ผลประโยชน์
ไม่ใช่แบบเจ้าของกับลูกจ้าง แต่ทำให้พนักงานทุกคนคือเจ้าของด้วยการจัดสรรหุ้นและแบ่งผลกำไร
รวมท้ังให้พนักงานรับรู้ว่าทำงานที่นี่อาจลำบากกว่าท่ีอื่น ได้น้อยกว่าในวันแรก ๆ ส่วนวันหน้าจะได้
มากหรือไม่ก็อยู่ท่ีทุกคนร่วมกันทำ ในเรื่องการจัดสรรผลประโยชน์ต้องทำอย่างรวดเร็วและทันใจ
เรียกว่าทฤษฎีปลาโลมา เหมือนในสวนสนุก ปลากระโดดปุ๊ปก็ให้รางวัลปั๊บ ในการมองทรัพยากร
มนุษย์ใช้หลกั การบริหารที่เรียกว่าทฤษฎีทองคำ 80: 20 คือเรามักพบพนักงานในระดบั หัวกะทิอยู่ 20
เปอรเ์ ซ็นต์ ซง่ึ ผบู้ รหิ ารตอ้ งค้นหาให้เจอและป้ันพวกเขาให้เติบโต เพราะคนกลุ่มนค้ี อื ทรพั ยากรล้ำค่าท่ี
จะสร้างความสำเร็จให้กับกิจการ หลักการอีกประการที่ใช้เสมอคือ ใช้ใจแลกใจ หากคุณต้องการอะไร
ตอ้ งใหส้ ่ิงเดยี วกนั น้นั กับคนรอบข้าง ฝึกให้เปน็ นสิ ยั ทำจากใจ เพราะถ้าไปด้วยใจ แล้วจะไปไดไ้ กล

การดำเนินธุรกจิ มาไดไ้ กลทุกวนั นี้ สำเรจ็ ได้เพราะคุณตนั มีความเชอื่ คือเชื่อวา่ ทกุ อยา่ ง
เป็นไปได้ จึงไม่เคยล็อกความคิด ติดกรงขังอยู่กับคำว่าเป็นไปไม่ได้ แต่ไม่ได้หมายความว่าทำอะไร
บุ่มบ่ามโดยไม่ล็อกความเสี่ยง การตัดสินใจทุกคร้ังเหมือนต้องใช้แว่นขยาย ส่องขยายธุรกิจท้ังหมดให้
เห็นชดั ให้รู้ถึงขนาดขั้นเลวร้ายที่สุดวา่ ผลลัพธ์จะลงเอยอย่างไร จะทำให้การตัดสินใจรอบคอบข้นึ ถ้า
คิดจะเดินหน้า เลือกที่จะมองข้ามปัญหาไว้ทีหลัง ใช้สมองไปกับการหาวิธีทำให้ประสบความสำเร็จ
มากกว่า ส่ิงสำคัญที่สุดคือมีกำลังใจและเช่ือในตัวเอง เช่ือวา่ ทำได้ ตราบใดท่ีมีความหวังและลงมือทำ
ปาฏิหาริย์จะเกิดขึ้นเสมอ อีกอย่างในการทำธุรกิจอย่าคิดติดกรอบว่าต้องรอทุกอย่างให้พร้อม ธุรกิจ
คอื การลงทุน กล้าได้กล้าเสีย เพยี งแต่ตอ้ งไม่เกินตัว และไม่จำเป็นต้องใชว้ ิธีเดียวกบั คนอืน่ ไม่ต้องเดิน
ตามรอยเท้าใครทุกก้าว บางคร้ังแค่พลิกมุมคิดก็สามารถทำเรื่องธรรมดาที่ไม่ธรรมดา เช่ือมโยงต่อ
ยอดจากสิ่งเดิมที่มีอยู่แล้ว กลายเป็นสินค้าและบริการใหม่ ๆ ที่โดนใจลูกค้าแบบ ว้าว! เดียวยังไม่พอ
ต้อง 3 ว้าว! เช่น ว้าว!แรก แพคเกจจ้ิงสวยและดูดี วา้ ว! สอง คณุ ภาพดี ว้าว! สาม ราคาถูกกว่า จงึ จะ
แข่งขนั ได้ การแข่งขันเป็นเร่อื งปกติในเกมธุรกิจ ขออยา่ วงิ่ หนี อย่ารังเกียจความพ่ายแพ้ แต่เราต้องอยู่
รว่ มกับมันให้ได้ แข่งขันเพ่ือสรา้ งสรรค์ทางเลือกทดี่ ีที่สดุ แตอ่ ย่าทำลายกัน คู่แข่งไม่ใช่คู่แค้น ให้คิดว่า
ย่ิงแข่งยิ่งโต ถ้าเราสู้เขาไม่ได้ ทางเดียวท่ีทำได้ให้เท่ากับเขาหรือมากกว่าก็คือ ทำมากกว่า 2-3 เท่า
หรืออาจมากกว่านั้น คือต้องขยันและต้องทำในส่ิงท่ีเขาไม่ทำด้วย คิดต่าง อย่ามองข้ามตลาดเล็ก ๆ
ทำธุรกิจต้องใช้ใจ เชื่อในหลักการราคาเป็นธรรม สินค้าอาจจะไม่ถูกที่สุดแต่คุณภาพเหมาะสมกับ
ราคา มองคู่ค้าเหมือนผู้ร่วมทุน ทำธุรกิจกับใครชอบที่จะกอดคอโตไปด้วยกัน มีความสำนึกและ
เกรงใจธรรมชาติ ธุรกิจเลิกใช้ทรัพยากรไม่ได้ แต่เลือกที่จะใช้ได้อย่างคุ้มค่า อีกท้ังต้องพูดจริงทำจริง
โดยเฉพาะทำดี เชือ่ มัน่ ว่าทำธรุ กจิ กับทำประโยชนเ์ พื่อสังคมไปด้วยกนั ไดแ้ ละควรเดนิ ไปด้วยกัน
“ความสำเรจ็ ไม่ได้หลน่ มาจากฟ้า แต่มลี ำดบั ข้ันตอนทตี่ ้องอาศยั ความต้ังใจ มุ่งมนั่ ทุม่ เท และอดทนรอ”
ทมี่ า (ตนั ภาสกรนที, 2554, หนา้ 11-183)

111

การเรยี นรู้ คือบันไดตอ่ ยอดสู่ความสำเร็จ
ความสำเร็จจากการพลิกฟ้ืนธุรกิจดั้งเดิมของครอบครัวซึ่งเป็นเพียงร้านขายเคร่ืองเขียน

ห้องแถว โดยทายาทรุ่นปัจจุบันอย่างคุณวรวุฒิ อุ่นใจ ซ่ึงได้นำไอเดียขายตรงผ่านแค็ตตาล็อกเพ่ือต่อ
ยอดธุรกิจ “ออฟฟิศเมท” ให้กลายเป็นอี-คอมเมิร์ซ เบอร์หน่ึงในแวดวงธุรกิจเครื่องเขียน และได้เข้า
ควบรวมกับกลุ่มบริษัทเซ็นทรัล ยกระดับธุรกิจข้ึนมามีมูลค่าหม่ืนล้านภายใต้ช่ือใหม่ ซีโอแอล จำกัด
(มหาชน) เส้นทางการเติบโตของผู้บริหารระดับสูงของธุรกิจยักษ์ใหญ่แห่งน้ี ได้กลายเป็นต้นแบบของ
นักธุรกิจที่หลายคนเฝ้าจับตา และหลาย ๆ คนอาจคิดว่าเบ้ืองหลังแห่งความสำเร็จที่มีอย่างต่อเนื่องของ
คณุ วรวฒุ ิ ต้องมคี รูฝึกฝีมือดคี อยให้คำแนะนำ แต่อันท่ีจรงิ แล้วทุกย่างก้าวในเส้นทางธุรกจิ เขาลองผิด
ลองถูกด้วยตัวเอง โดยมีความรู้เอม็ บีเอเปน็ พนื้ ฐาน และตอ่ ยอดการเรยี นรู้ตลอดเวลาในแตล่ ะชว่ งชีวิต
เพราะการเรียนรู้ที่ไม่ส้ินสุดน่ีเองท่ีเป็นปัจจัยสำคัญ ทำให้เขารู้จักคิดวิเคราะห์และแก้ปัญหาเป็นซงึ่ คือ
รากฐานของการต่อยอดธุรกิจไปสู่ความสำเร็จ

ในทัศนคติของคุณวรวุฒิ มีความเห็นว่า “ความคิดสำคัญกว่าเงินทุน” คนที่มีความคิด
แม้จะไม่มีเงนิ ทุนก็สามารถคิดหาเงินทนุ มาเริ่มต้นธุรกิจ และบริหารจัดการใหธ้ ุรกิจเติบโตย่ังยนื ได้ แต่
หากไร้ซ่ึงความคิด แม้จะมีเงินทุนก็ไม่สามารถบริหารจัดการธุรกิจให้อยู่รอดได้ ด้วยเหตุนี้เขาจึงให้
ความสำคัญกับการศกึ ษาเมอื่ เรม่ิ ต้นธรุ กิจ ด้วยเหตุผลทว่ี ่าการศึกษาสอนให้เรารู้ว่าเราไม่ร้อู ะไร ฉะน้ัน
การศึกษาไม่มวี ันจบ และเขาเองไม่เคยใช้คำวา่ จบการศึกษา คณุ วรวฒุ ิลงเรียนเอ็มบีเอเพอ่ื ให้รใู้ นเรือ่ ง
ตา่ ง ๆ ทางการบริหารธุรกจิ ซึ่งนำมาใช้ประโยชน์ในการบรหิ ารงานได้จริง จนทำใหไ้ ด้รบั ผลตอบแทน
อย่างคุ้มค่ามหาศาล อย่างไรก็ดีความคุ้มค่าน้ีไม่ได้จะเกิดข้ึนกับทุกคน ขน้ึ อยู่กับวา่ คน ๆ น้ันเรียนเป็น
หรอื ไม่ เพราะมีคนอีกมากมายที่ไม่ได้เรียนเอ็มบีเอแล้วประสบความสำเรจ็ หากถามว่าเรียนรอู้ ย่างไร
ก็เรียนรู้จากการลองผดิ ลองถกู ฉะนั้นความรู้ไมไ่ ด้จำกัดอยู่ในตำรา แต่ตำราช่วยให้กรอบของการที่เรา
จะลองผิดลองถูกแคบลง แต่ก็ไม่ได้หมายความว่าเรียนแล้วจะประกันความสำเร็จได้ หรือถ้าไม่เรียน
แล้วจะแปลว่าล้มเหลว อยู่ท่ีว่าเรียนรู้จากสิ่งที่ทำได้หรือเปล่า รู้จักประยุกต์หลักการจากท่ีเรียนหรือ
จากการอ่านตำรามาใช้จริงได้หรือไม่ รู้จักประเมินผลว่าสิ่งท่ีเราทดลองทำไปนั้นผลลัพธ์เป็นอย่างไร
ใชไ้ ดร้ ึเปล่า หากใช้ไมไ่ ดก้ ต็ ้องหาวธิ ใี หม่ ลองทำกันใหม่ แตอ่ ยา่ งนอ้ ยก็ลองอยา่ งมหี ลักคิด มหี ลกั การ

นอกจากนี้ในการบริหารธุรกิจ “ต้องแก้ปัญหาอย่างคนมีตรรกะ” คุณวรวุฒิบอกว่า
ความรู้จะทำให้เราคิดอย่างเป็นระบบ ซึ่งไม่เพียงช่วยให้เรามีแนวทางในการแก้ปัญหา แต่ยังนำไปสู่
ไอเดียในการสร้างนวัตกรรมใหม่ ๆ อันเป็นกุญแจสำคัญที่จะทำให้ธุรกิจประสบความสำเร็จ อันท่ีจริง
แล้วการเกิดปัญหาก็ไม่ได้แย่เสมอไป มีหลายครั้งท่ีปัญหาช่วยให้เราได้ต่อยอดการเรียนรู้ เวลาท่ี
ออฟฟิศเมทของเราเจอปัญหาหรือวิกฤตใดเกี่ยวกับงาน เราจะหาเคร่ืองมือหรือเทคโนโลยีเข้ามาช่วย
เสมอ แล้วกป็ รบั ปรุงแก้ไขจดุ ทีเ่ ป็นปญั หาและพัฒนาระบบงานตา่ ง ๆ จากเร่ิมแรกเรามีโปรแกรมเมอร์
แค่คนเดียว จนเด๋ียวน้ีมีเกือบร้อยคนที่เขียนและออกแบบโปรแกรมการทำงานด้วย เราไม่ซ้ือ
ซอฟต์แวร์จากที่อ่ืนเลย เรามีทีมไอทีท่ีใหญ่มาก การท่ีเราลงทุนสร้างทีมไอทีที่แข็งแกร่ง ทำให้เรา
พัฒนากระบวนการสร้างโนว์ฮาวหรือความรู้อย่างเป็นลำดับขั้นตอนในงานหน่ึง ๆ ของเราข้ึนมาเอง
เพราะไอทีจะไปสนับสนุนกระบวนการ และกระบวนการท่ีดีก็ต้องมีตรรกะท่ีดีนำมากอ่ น ออฟฟิตเมท
ของเราใช้รปู แบบนี้ในการพฒั นาการทำงาน อีกทั้งจากปัญหาท่เี จอในการทำงาน ทำใหเ้ ราเรยี นรู้ไดว้ ่า
การทำงานทุกอย่าง สุดท้ายแก่นมันอยู่ท่ีคน ระบบงานต่าง ๆ ที่สร้างข้ึนมา คุณวรวุฒิมีความเห็นว่า

112

เราไม่ใช่ทำขึ้นมาเพียงเพ่ือควบคุม แต่เป็นการสร้างปฏิสัมพันธ์กับคนมากกว่า การบริหารจัดการที่
สำคัญก็คือ การบริหารคน เราจะทำอย่างไรให้คนซึ่งเป็นพนักงานของเราเข้าใจในส่ิงที่ผู้บริหารคิด
แล้วทำยงั ไงให้เขาคิดเห็นด้วยกับสิ่งทเ่ี ราจะทำเพื่อบริษทั การจะทำให้เขาเห็นด้วยก็คอื ต้องทำให้เขา
มีจุดหมายร่วมกับเรา โดยส่วนตัวจะบอกกับพนักงานเสมอว่าเมื่อไหร่ท่ีบริษัทดีข้ึน ชีวิตพวกคุณดีข้ึน
ดว้ ยเสมอ เขาก็จะรู้สึกว่าเขาอยากจะทำให้บริษัทดีขน้ึ อย่างไรก็ดีการพดู เปน็ เรื่องง่าย ที่ยากคือทำให้
เขาเชือ่ ในส่ิงทเ่ี ราพูด ซึ่งต้องใชก้ ารกระทำพิสูจน์

หากพิจารณาถึงเส้นทางการทำงานจนผลักดันธุรกิจให้เติบโตมีมูลค่าหมื่นล้านเช่นใน
ปัจจุบันไม่ใช่เร่ืองที่ทำได้ง่ายเหมือนตอนเร่ิมต้น ระหว่างทางต้องเจอกับปัญหาที่เป็นเหมือนบท
ทดสอบอยู่ตลอดเวลา ซ่ึงทุกคร้ังท่ีเกิดปัญหา คุณวรวุฒิจะใช้หลักคิดท่ีว่า “เพราะมีสิ่งน้ี จึงมีส่ิงนั้น”
ซ่ึงเป็นการคิดแบบปฏิกิริยาลูกโซ่ ผลย่อมเกิดแต่เหตุ ก็คือหลักเหตุผลน่ันเอง อย่างไรก็ดีปัญหาบาง
เร่ือง เรากไ็ ม่สามารถแก้ไขใหล้ ุลว่ งได้ด้วยดี เกิดความล้มเหลวไปบ้าง แต่จะคิดเสมอว่าความสำเรจ็ จะ
เกดิ ข้ึนไม่ไดเ้ ลย หากเราไม่เคยผ่านชว่ งเวลาของความล้มเหลวมากอ่ น เพราะโลกนีไ้ ม่มีอะไรท่ีสมบูรณ์
แบบไปเสียทุกอย่าง แต่พอล้มเหลวแล้วทำให้เราอยากเรียนรู้ เพราะฉะน้ันถ้าถามว่าอะไรท่ีทำให้เรา
ประสบความสำเร็จ บอกเลยว่าเพราะล้มเหลวบ่อย แล้วเราเรียนรู้บ่อย และแก้ไขให้ดีขึ้นได้ แต่ถ้าเรา
ไมเ่ คยลงมอื ทำอะไรเลย กจ็ ะไมเ่ คยลม้ เหลว ถ้าไม่เคยล้มเหลว ก็จะไม่ไดเ้ รียนรู้จากความล้มเหลว น่ัน
หมายความว่าเราลม้ เหลวอยา่ งสมบรู ณ์แบบไปแลว้ คุณวรวฒุ ิบอกว่าโดยส่วนตัวรู้สึกมคี วามสุขทกุ คร้ัง
เม่ือเห็นงานที่ทำเกิดผลสำเร็จ เช่ือว่าผู้บริหารเก่ง ๆ แทบทุกคนล้วนเป็นพวกเสพติดความสำเร็จ
เช่นเดียวกัน บางคร้ังไมไ่ ด้ตอ้ งการเงินทองอะไร หากแตอ่ ยากเหน็ เพียงแค่วา่ ส่ิงทตี่ นคดิ เปน็ จรงิ ในทาง
ปฏิบัติ ตัวเขาเองได้ตง้ั เป้าหมายไว้เมื่อจะเกษียณจากงานประจำทท่ี ำอยู่ จะผันตวั เองไปทำงานโค้ชช่ิง
เพื่อช่วยให้ความรู้กับธุรกิจเอสเอ็มอีต่อไป เพราะการต้องอยู่เฉยๆ โดยไม่ทำงาน เป็นเรื่องที่น่าเครียด
เสยี ยงิ่ กว่าการเครียดกับงานท่ที ำอีก
ทมี่ า (ขวญั ตา แซเ่ ตีย, 2559, หน้า 60-62)

113

เอกสารอ้างองิ

กรชิ ชยั ขาวจอ้ ย, แก้วตา ผวิ พรรณ, ชัชากร คัชมาตย์ และบณั ฑติ า ขาวจ้อย. (2559). ปัจจัยทีม่ ีผลตอ่
ขวญั และกำลังใจในการทำงานของสมาชิกกลุ่มวิสาหกิจชมุ ชนในเขตตำบลท่าพล อำเภอ
เมอื ง จังหวดั เพชรบูรณ.์ ใน การประชมุ วิชาการระดับชาติคร้ังที่ 2 นวัตกรรมการศึกษา
เพื่อการพัฒนาท่ีย่ังยืน, วันที่ 11 พฤศจิกายน 2559 (หน้า 115-116) กรุงเทพฯ: วิทยาลัย
เทคโนโลยีสยาม.

กรมพฒั นาธรุ กจิ การคา้ . (2558). ค่มู ือเริ่มต้นธรุ กจิ อย่างมีทิศทาง. นนทบุรี: กรมพฒั นาธรุ กจิ การค้า.
กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม. (2559). ทำไมองค์กรต้องปรบั ตัวให้ทันการเปลย่ี นแปลง. [Online].

Available: https://bsc.dip.go.th/en/category/marketing2/qs-
whybusinesschange [2560, ตุลาคม 20].
กลั ยรักษ์ นยั รกั ษเ์ สรี. (2560). Gig Economy: โลกยุคใหม่ของคนทำงาน. [Online]. Available:
https://www.scbeic.com/th/detail/product/4070 [2560, ตลุ าคม 19].
กองบรหิ ารงานวจิ ัยและประกันคุณภาพการศึกษา. (2559). พมิ พเ์ ขียว Thailand 4.0 โมเดล
ขบั เคลื่อนประเทศไทยส่คู วามมัง่ คั่ง มน่ั คง และย่ังยนื . กรุงเทพฯ: สถาบันสง่ เสรมิ การ
จัดการความรูเ้ พอ่ื สงั คม.
ขวญั ตา แซเ่ ตยี . (2559). วรวฒุ ิ อุ่นใจ การเรียนรู้คือบันไดต่อยอดความสำเร็จ. K SME inspired, 4,
46-47.
คณะกรรมการกลุ่มความรว่ มมอื ทางวิชาการเพื่อพัฒนามาตรฐานการเรยี นการสอนและการวจิ ัยดา้ น
บริหารธรุ กิจแห่งประเทศไทย. (2555). แนวทางความรับผิดชอบต่อสังคมของกจิ การ.
กรุงเทพฯ: เมจกิ เพลส.
จินตนา บญุ บงการ. (2553). จรยิ ธรรมทางธรุ กจิ (พิมพค์ รั้งท่ี 12). กรงุ เทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
. (2556). สภาพแวดล้อมทางธุรกจิ . กรงุ เทพฯ: จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั .
จติ รลดา ตรสี าคร. (2559). ผลกระทบของการจดั การทรพั ยากรมนุษย์ทมี่ ตี ่อความสำเร็จของ
ผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมในกรงุ เทพมหานครและปรมิ ณฑล.
วารสารวชิ าการบรหิ ารธุรกิจ สมาคมสถาบันอดุ มศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย
ในพระราชปู ถมั ภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี, 5(2), 28-44.
จางเยย่ี น. (2559). ปรชั ญาชีวติ ของแจ็ค หม่า. แปลโดย ชาญ ธนประกอบ. กรงุ เทพฯ: โพสต์บกุ๊ ส์.
ชนนิ ทร์ ชุณหพันธรกั ษ์. (2559). ความรทู้ ว่ั ไปเก่ยี วกบั การบริหารธุรกจิ ใน ความรูเ้ บือ้ งตน้
เกี่ยวกบั การบริหาร หนว่ ยท่ี 1-7 (พมิ พค์ ร้ังท่ี 4) (หน้า 2-1-2-36). นนทบรุ :ี
มหาวทิ ยาลัยสุโขทัยธรรมาธริ าช.
ฑัชวงษ์ จลุ สวสั ดิ์. (2558). ความรับผิดชอบต่อสงั คมขององค์กรกบั ผลกระทบท่ีมตี ่อพฤติกรรม
การเปน็ สมาชิกองค์กรทด่ี ีของพนักงาน. วารสารปญั ญาภวิ ัฒน์, 7(3), 251-262.
ณฐั อมรภิญโญ. (2556). รูปแบบการประสบความสำเร็จท่ียั่งยนื ของผปู้ ระกอบการรายย่อยในภาค
ตะวนั ออกเฉียงเหนือตอนบนประเทศไทย. วารสารวชิ าการศรีประทุม ชลบุรี, 9(3), 57-66.
ตัน ภาสกรนที. (2554). วิถี (ไม่ตนั ) ฉบับตัน ภาสกรนที. กรุงเทพฯ: กรงุ เทพธุรกิจ.

114

ทยากร สวุ รรณปักษ.์ (2556). จริยธรรมทางธรุ กจิ และผลการดำเนนิ งานของวิสาหกจิ ขนาดกลางและ
ขนาดย่อมในจงั หวดั มุกดาหาร. วารสารมนษุ ยศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร,์ 4(1), 46-66.

ทพิ วรรณ ทรัพยส์ วุ รรณ จนิ ดารตั น์ ปมี ณี และการุณย์ ประทุม. (2557). ความสัมพนั ธ์ระหว่าง
จริยธรรมธุรกิจ ภาพลกั ษณ์องคก์ ร และความสำเร็จขององค์กรสำนกั งานบัญชีในเขต
ภาคกลาง. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม, 33( 2),
219-233.

ธนวุฒิ พิมพ์กิ. (2556). การเปน็ ผู้ประกอบการทางธรุ กิจ. กรงุ เทพฯ: โอเดียนสโตร์.
ธารณา จันตะเภา และนิเวศน์ ธรรมะ. (2557). อิทธิพลของการตระหนักถึงความรบั ผิดชอบต่อสงั คม

ขององค์กร ต่อความพึงพอใจและความจงรักภักดขี องลูกคา้ บรษิ ทั โทเท่ลิ แอ็คเซส็
คอมมนู เิ คชัน่ จำกัด (มหาชน) (DTAC). วารสารเผยแพร่ความรทู้ างวิชาการและงานวจิ ัย,
21(1), 26-38.
นพพร วงศ์อนันต์. (2558). คำนิยม ชวี ประวตั ิ แจ็ค หม่า นกั สู้ ผู้ยง่ิ ใหญ่ [Online]. Available:
http://www.forbesthailand.com [2560, เมษายน 26].
นภัทร คลา้ ยคลึง และเสาวนีย์ สมันต์ตรพี ร. (2557). ความรับผดิ ชอบต่อสังคมขององค์กร (CSR) และ
ความพงึ พอใจของลูกคา้ ท่ีมีผลตอ่ ความจงรกั ภกั ดใี นสายการบนิ นกแอร์. รมยสาร, 12(1),
93-101.
นภาพร ขนั ธนภา. (2559). จริยธรรมทางธุรกจิ . กรุงเทพฯ: ทอ้ ป.
นรเศรษฐ วาสะศริ ิ และณฐวัฒน์ พระงาม. (2560). การบรหิ ารจัดการทรัพยากรมนุษย์กับประสิทธิภาพ
การปฏบิ ตั งิ านของเจา้ หน้าที่ในมหาวิทยาลยั พษิ ณุโลก. วารสารการวจิ ัยกาสะลองคำ
มหาวิทยาลัยราชภัฏเชยี งราย, 11(พิเศษ), 185-195.
นฤมล สวุ ิมลเจริญ และปรารถนา ปุณณกิติเกษม. (2559). การศึกษาปัจจัยท่ีมีผลต่อความสำเร็จของ
พาณชิ ย์อเิ ล็กทรอนกิ สข์ องธุรกจิ ออนไลน์ ในกลุ่มอุตสาหกรรมลวดสลงิ . วารสารสุทธิ
ปรทิ ัศน,์ 30(95), 156-175.

นิรมล สุธรรมกจิ . (2559). สนิ คา้ สเี ขียว (green product) คืออะไร. [Online]. Available:
https://progreencenter.org/2016/02/22 [2560, สงิ หาคม 9].

บรษิ ัทการบนิ ไทย จำกดั (มหาชน). (2558). รายงานการพัฒนาอยา่ งยง่ั ยืนประจำปี 2558. กรงุ เทพฯ:
บรษิ ทั การบินไทย จำกัด (มหาชน).

. (ม.ป.ป). จรรยาบรรณการบนิ ไทย (Code of Conduct). กรงุ เทพฯ: บริษทั การบินไทย
จำกดั (มหาชน).

บริษัท อีซี่ บาย จำกัด (มหาชน). (2557). จริยธรรมและจรรยาบรรณทางธุรกจิ . กรงุ เทพฯ: บรษิ ัท
อีซ่ี บาย จำกดั (มหาชน).
. (2558). ความรับผิดชอบต่อสังคม [Online]. Available: http://www.easybuy.
co.th/th/Csr?TabID=c_1 [2560, เมษายน 28].

บญุ ฑวรรณ วิงวอน. (2556). การเป็นผ้ปู ระกอบการยุคโลกาภวิ ัตน.์ กรงุ เทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั .

115

ปธาน สวุ รรณมงคล. (2558). การบริหารงานภาครฐั กับการสร้างธรรมาภบิ าล. กรงุ เทพฯ: สถาบนั
พระปกเกลา้ .

พรชัย ศักดานวุ ัฒนว์ งศ์. (2559). จริยธรรมทางธรุ กจิ ความรับผิดชอบต่อสงั คม และธรรมาภิบาลของ
ผู้ประกอบการ ใน การสร้างธรุ กิจและการเป็นผ้ปู ระกอบการ หนว่ ยที่ 9-15 (พิมพ์ครั้งที่ 5)
(หน้า 15-1-15-46) นนทบรุ :ี มหาวิทยาลยั สโุ ขทัยธรรมาธิราช.

เพียร์ พาวเวอร.์ (2560). Digital Disruption การเปล่ยี นแปลงและการปรับตวั . [Online].
Available: https://www.peerpower.co.th/blog/invest/digital-disruption
[2560, ตุลาคม 22].

ไพโรจน์ ไววานิชกิจ. (2560). พันธกจิ สำคญั ขององค์กรยุคดิจทิ ัล. วารสารวชิ าการ กสทช., 572-592.
มนสิชา อนิ ทจักร และอภญิ ญา ศักดาศโิ รรัตน์. (2557). การจดั การทรพั ยากรมนุษย: การสรา้ งเครือข่าย

เพอ่ื ความสาํ เรจ็ ทางธุรกิจ. วารสารวชิ าการมหาวิทยาลยั ฟาร์อีสเทอรน์ , 8(2), 7-11.
มาร์เกต็ ติ้งอปู๊ . (2559, มนี าคม 21). มาดู 7 ธรุ กิจที่เกิด Digital Disrupted ในยุคปจั จุบัน และวธิ ี

รบั มอื ใน มารเ์ กต็ ติ้งอปู๊ [Online]. Avaliable: https://www.marketingoops.com/
news/tech-update/startups/7-business-digital-disrupted/ [2560, ตลุ าคม 19].
รฐั นนั ท์ พงศ์วริ ทิ ธธ์ิ ร และภาคภมู ิ ภคั วิวาส. (2557). แนวทางการพฒั นาความรับผดิ ชอบต่อสงั คม
ของธรุ กจิ ขนาดกลางและขนาดเล็กในเขตภาคเหนือในประเทศไทย. วารสารวชิ าการ
มหาวิทยาลัยฟารอ์ สี เทอร์น, 8(1), 93-103.
วรรณี งามขจรกลุ กจิ . (2559). การเขา้ ใจและเข้าถึงผู้บริโภคยคุ 4.0 เพ่ือความสำเร็จของแบรนด์. ใน
รายงานสบื เนอื่ งการประชมุ วชิ าการระดับชาติและนานาชาติ มหาวิทยาลัยศรปี ระทุม
คร้ังที่ 11, วนั ที่ 21 ธันวาคม 2559 (หน้า 1251-1256) กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศรีประทุม.
วันเพญ็ ผลิศร. (2559). การบรหิ ารวิทยาเขตอัจฉริยะด้วยอินเทอรเ์ นต็ สำหรับสรรพสงิ่ . วารสารการ
อาชวี ะและเทคนคิ ศกึ ษา, 6(11), 39-51.
วไิ ลพร ทวีลาภพันทอง และศรัณย์ ชูเกียรติ. (2559). SMAC: กลุ่มเทคโนโลยสี ารสนเทศท่มี ีอิทธพิ ลต่อ
ธุรกจิ (ตอนที่ 1) [Online]. Available: https://account.cbs.chula.ac.th/
2016/10/19/ [2560, เมษายน 24].
ศศิธร ทิพโชติ และมนู ลีนะวงศ์. (2557). จรยิ ธรรมในองค์กร และการรบั รู้วัฒนธรรมองคก์ ร ท่มี ผี ล
ตอ่ ความผูกพันต่อองค์กรของพนักงานบริษัทเอกชนในกรงุ เทพมหานคร. สทุ ธปิ รทิ ัศน์,
28(88), 345-361.
ศนู ยว์ จิ ยั กสกิ รไทย. (2560). เกาะกระแสสนิ ค้าสุขภาพ สร้างโอกาสธุรกิจ. K SME analysis ธนาคาร
กสกิ รไทย, 6, 1-9.
เศรษฐพงษ์ มะลสิ วุ รรณ. (2560). Digital Transformation. กรงุ เทพฯ: คณะกรรมการกิจการกระจาย
เสียง กจิ การโทรทศั น์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ.
สถาบนั ไทยพัฒน์ มูลนธิ ิบรู ณะชนบทแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์. (2555). ซีเอสอาร์คือ
อะไร [Online]. Available: http://www.thaicsr.com/2006/03/blog-post_
20.html [2560, เมษายน 28].

116

สมคดิ บางโม. (2555). การเป็นผู้ประกอบการ (พมิ พ์คร้ังท่ี 5). กรงุ เทพฯ: เอสเค บุ๊คส์.
. (2558). องค์การและการจดั การ (พมิ พ์คร้ังท่ี 7). กรงุ เทพฯ: วทิ ยพัฒน์.

สมศกั ด์ิ ประเสริฐสุข. (2554). จิตวทิ ยาการจัดการองค์การอตุ สาหกรรม. กรุงเทพฯ:
โอ. เอส. พร้นิ ติง้ เฮาส์.

สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาต.ิ (2560). เอกสารประกอบการ
บรรยาย ภาครัฐดจิ ทิ ัลเพื่ออนาคตประเทศไทย (digital government) “Open and
Connected Government”. กรงุ เทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการพฒั นาการ
เศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาติ.

สำนักงานคณะกรรมการพฒั นาระบบราชการ. (2555). หลกั ธรรมาภิบาลของการบรหิ ารกิจการ
บ้านเมืองทีด่ ี. กรงุ เทพฯ: คณะรัฐมนตรีและราชกจิ จานเุ บกษา.

สำนกั งานพัฒนาธรุ กรรมทางอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ (องค์การมหาชน). (2560). รายงานผลการสำรวจมูลคา่
พาณชิ ย์อิเล็กทรอนกิ ส์ในประเทศไทย ปี 2560 Value of e-Commerce Survey in
Thailand 2017. กรงุ เทพฯ: สำนักงานพฒั นาธุรกรรมทางอเิ ล็กทรอนิกส์ (องค์การ
มหาชน).

สทิ ธชิ ัย ฝร่งั ทอง. (2555). กลยุทธ์ธุรกจิ พชิ ิตอาเซียน. กรุงเทพฯ: เอ๊กซเปอร์เนท็ .
สดุ ารตั น์ พมิ ลรตั นกานต์. (2560). การเปน็ ผปู้ ระกอบการ. กรุงเทพฯ: ซีเอด็ ยเู คช่นั .
สุธีรา อะทะวงษา และสมบรู ณว์ ลั ย์ สตั ยารกั ษ์วทิ ย์. (2557). คุณลกั ษณะของการเป็นผปู้ ระกอบการ

และลักษณะของสถานประกอบการทม่ี ผี ลต่อการเจรญิ เตบิ โตของวสิ าหกิจขนาดกลาง
และขนาดย่อมของประเทศไทย. วารสารสทุ ธิปรทิ ศั น์, 28(85), 61-79.
สวุ ทิ ย์ เมษนิ ทรยี ์. (2559, พฤษภาคม, 2). ไขรหสั "ประเทศไทย 4.0" สร้างเศรษฐกจิ ใหม่ ก้าวขา้ ม
กับดักรายได้ปานกลาง ใน ไทยรัฐ [Online]. Available: https://www.thairath.co.th/
content/613903 [2560, พฤษภาคม 1].
. (2560, กันยายน, 7). Thailand SDGs Forum 2017 สวุ ิทย์ เมษินทรีย์ ชู 3 โมเดล
เศรษฐกิจใหม่ ฟื้นสมดุลประเทศ พร้อมปักหมดุ ไทยบนแผนท่ี SDGs ภายใต้ปรชั ญา
เศรษฐกิจพอเพียง ใน ไทยพับลกิ ้า [Online]. Available: https//thaipublica.org./
2017/09/. thailand-sdgs-forum-2017-3-suvit/ [2560, กันยายน 15].
เสนาะ ติเยาว์. (2558). จริยธรรมทางธรุ กิจ. กรงุ เทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
เสรี วงษม์ ณฑา และชุษณะ เตชคณา. (2560). การตลาด 4.0 ในบริบทประเทศไทย 4.0. วารสาร
เศรษฐศาสตรแ์ ละนโยบายสาธารณะ, 8(15), 1-16.
โสภณ พรโชคชัย. (2557). CSR ทีแ่ ท้ (พมิ พค์ ร้ังที่ 6). กรุงเทพฯ: มูลนิธปิ ระเมนิ คา่ ทรัพย์สินแห่ง
ประเทศ.
หรรษมน เพ็งหมาน. (2559). จริยธรรมทางธรุ กจิ เพื่อความยั่งยนื ของธรุ กิจค้าปลีก. Veridian E-
Journal, Silpakorn University ฉบับภาษาไทย สาขามนุษยศาสตรส์ ังคมศาสตร์
และศิลปะ, 9(1), 815-828.
อนิวชั แก้วจำนงค์. (2556). จริยธรรมทางธรุ กิจ (พิมพ์คร้ังท่ี 2). สงขลา: นำศิลป์โฆษณา.

117

อรกาญจน์ ฉีดเสน และอดลุ นาคะโร. (2557). ปัจจยั ทีส่ ่งผลต่อขวัญและกำลังในในการปฏิบตั ิงาน
ของพนักงานครู สังกัดเทศบาลนครภูเกต็ . วารสารวชิ าการมหาวทิ ยาลัยราชภฏั ภูเกต็ ,
10(1), 96-115.

อทิ ธิพัทธ์ พีระเดชาพนั ธ์. (2559, มนี าคม, 8). คำต่อคำ ต๊อบ-เถา้ แกน่ ้อย เปดิ กึ๋นธุรกจิ วัยรนุ่ พันล้าน
สูว่ ันหม่นื ล้าน ใน ไทยรฐั [Online]. Available: https://www.thairath.co.th/
content/583310 [2560, เมษายน 29].

เอกฉัตร บ่ายคล้อย และประสงค์ ประณีตพลกรัง. (2560). ความเสย่ี งและความมน่ั คงปลอดภยั
สารสนเทศในระบบประมวลผลแบบคลาวด์. วารสารสหศาสตร์ศรปี ทมุ ชลบรุ ี, 3(2),
22-29.

เอาเวอร์กรนี ฟิช. (2560). Digital transformation คืออะไร ใชท้ ำอะไรได้บ้างในโลกธรุ กิจ. [Online].
Available: https://blog.ourgreenfish.com/th/what-is-digital-transformation-
business-world [2560, ตุลาคม 18].

Arunchand. C. H. & Ramanathan, H. N. (2013). Organizational Culture and Employee
Morale: A Public Sector Enterprise Experience. Journal of Strategic
Human Resource Management, New Delhi, 2(1), 1-8.

Azim, M. T. (2016). Corporate Social Responsibility and Employee Behavior: Mediating
Role of Organizational Commitment. Review of Business Management,
Sao Paulo, 18(60), 207-225.

Burns, P. (2016). Entrepreneurship and Small Business (4 th ed.). NY: Palgrave
Macmillan.

Chen, Y., Wang, Y., Nevo, S., Jin, J., Wang, L. & Chow, W. S. (2014). IT Capability and
Organizational Performance: The Roles of Business Process Agility and
Environmental Factors. European Journal of Information Systems, 23(3),
326-342.

Jasra, J. M., Khan, M. A., Hunjra, A. I., Rehman, R. A. & I-Azam, R. (2011). Determinants
of Business Success of Small and Medium Enterprises. International Journal
of Business and Social Science, 2 (20), 274-280.

Katz, J. A. & Green, R. P. (2014). Entrepreneurial Small Business (4 th ed.). NY:
McGraw-Hill.

Liu, M. T., Wong, I. A., Shi, G., Chu, R. & Brock, J. L. (2014). The Impact of Corporate
Social Responsibility (CSR) Performance and Perceived Brand quality on
Customer-Based Brand Preference. Journal of Services Marketing, 28(3),
181-194.

Mariotti, S. & Glackin, C. (2014). Entrepreneurship: Starting and Operating a Small
Business (3 rd ed.). Harlow, Essex: Pearson.

118

Pride, W. M., Hughes, R. J. & Kapoor, J. R. (2012). Business (11th ed.). OH: South-
Western.

Wirtz, B. W. (2016). Business Model Management: Design Process Instruments
(2 nd ed.). Speyer: German University of Administrative Science Speyer.

Shaban, O. S., Al-Zubi, Z., Ali. N. & Alqotaish, A. (2017). The Effect of Low Morale and
Motivation on Employees’Productivity & Competitiveness in Jordanian
Industrial Companies. International Business Research, 10(7), 1-7.

Zahra, A., Fakhrisadat. N. & Narges, I. (2014). Explaining the Role of Managerial Skills of
Entrepreneurship in Business Success. International Journal of Management
Sciences, 4(1), 42-52.

119

บทท่ี 3
การบญั ชี
(Accounting)

การประกอบธุรกิจไม่ว่าจะเป็นธุรกิจขนาดใดหรือประเภทใดก็ตาม ย่อมเกิดเหตุการณ์
และรายการต่าง ๆ ในการดำเนินงานท่ีเก่ียวข้องกับการเงินของกิจการ เช่น รายได้ ค่าใช้จ่าย ลูกหน้ี
การค้า เจ้าหนี้การค้า ฯลฯ ดังนั้นเพ่ือให้ธุรกิจมีข้อมูลประวัติรายการทางการค้าท่ีเกิดขึ้นอย่างเป็นระบบ
และช่วยเตือนความจำกับบางรายการที่ธุรกิจยังคงมีภาระผูกพันทางการเงิน ผู้ทำหน้าท่ีบริหารธุรกิจ
จงึ ต้องให้ความสำคัญและจัดให้มีกิจกรรมทางการบัญชี เพ่ือรวบรวมเอกสารหลักฐานทางการค้าและ
จดบันทึกรายการทางการค้าอย่างต่อเนื่องเป็นลำดับ แยกหมวดหมู่รายการ และสรุปผลเม่ือส้ินสุด
ระยะเวลาหนึ่ง รวมไปถึงการเลือกเทคโนโลยีมาใช้ในการบัญชีเพ่ือความสะดวกรวดเร็วและถูกต้อง
แม่นยำ ย่อมทำให้กิจการมีข้อมูลและสารสนเทศท่ีช่วยประเมินได้ว่าการดำเนินงานประสบกับความ
สำเร็จหรือไม่อยา่ งไร เสมือนฉายภาพความสามารถและความเข้มแขง็ ของกจิ การ อนั เป็นประโยชน์ต่อ
การวางแผน และการตดั สินใจทางธุรกิจในอนาคต อกี ท้ังยงั เป็นขอ้ มูลที่เออื้ ประโยชน์ต่อผ้มู ีส่วนไดเ้ สีย
กับธรุ กิจ เชน่ ผูถ้ อื หนุ้ ผูใ้ ห้ก้ยู ืมเงิน ภาครฐั นักลงทุน ฯลฯ

หนา้ ท่ใี นการจัดทำบญั ชีของธรุ กจิ

การประกอบธุรกิจไม่ว่าจะมีรูปแบบองค์การธุรกิจในแบบเจ้าของคนเดียว ห้างหุ้นส่วน
หรอื บริษัท ควรจัดทำบัญชีเพ่ือให้รู้ผลการดำเนินงานของธุรกิจ อย่างไรก็ดีตามพระราชบัญญัติการบัญชี
พ.ศ. 2543 ได้กำหนดรายละเอียดการจัดทำบัญชีของธุรกิจ โดยสรุปสาระสำคัญดังนี้ (พระราชบัญญัติ
การบญั ชี พ.ศ. 2543, 2543, หน้า 3-6)

ผู้มีหน้าท่จี ดั ทำบัญชี
องค์การธุรกจิ รูปแบบต่าง ๆ ซง่ึ ต้องทำหน้าท่ีจดั ทำบัญชี แบ่งเปน็ 3 กลมุ่ ดังนี้
กลุ่มท่ี 1 ได้แก่ 1) ห้างหุ้นส่วนจดทะเบียน 2) บริษัทจำกัด 3) บริษัทมหาชนจำกัด ซ่ึง
จัดตั้งข้ึนตามกฎหมายไทย โดยให้เร่ิมทำบัญชีนับต้ังแต่วันท่ีได้รับการจดทะเบียนเป็นนิติบุคคลตาม
กฎหมาย 4) นิติบุคคลที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายต่างประเทศซ่ึงประกอบธุรกิจในประเทศไทย ให้ทำบัญชี
ตั้งแต่ในวันท่ีเร่ิมต้นประกอบธุรกิจในประเทศไทย และ 5) กิจการร่วมค้าตามประมวลรัษฎากร (ช่ือ
กฎหมายภาษอี ากรฉบบั หน่งึ ) ให้ทำบญั ชีตั้งแต่วันที่ได้เรม่ิ ตน้ ประกอบธรุ กจิ
กลุ่มท่ี 2 ได้แก่ สถานที่ประกอบธุรกิจเป็นประจำ หากผู้มีหน้าท่ีจัดทำบัญชีในกลุ่มท่ี 1
ประกอบธุรกิจเป็นประจำในสถานที่หลายแห่งแยกจากกัน ให้ผู้มีหน้าท่ีรับผดิ ชอบในการจัดการธุรกิจ
ในสถานท่ีประกอบธุรกจิ นัน้ เป็นผู้มหี นา้ ทจ่ี ัดทำบัญชีด้วย โดยเรมิ่ ทำบญั ชนี บั แต่วนั เรมิ่ ตน้ ประกอบการ
กลุ่มที่ 3 ได้แก่ บุคคลธรรมดา และห้างหุ้นส่วนท่ีมิได้จดทะเบียน ซึ่งประกอบธุรกิจใน
ประเทศไทย เป็นผู้มีหน้าท่ีจัดทำบัญชี ทั้งน้ีตามประกาศกระทรวงพาณิชย์ เร่ืองกำหนดให้บุคคล
ธรรมดาหรือห้างหุ้นส่วนมิได้จดทะเบียนเป็นผู้จัดทำบัญชี พ.ศ. 2544 ได้แก่ 1) บุคคลธรรมดาหรือ
หา้ งหุ้นส่วนที่มิได้จดทะเบียนซง่ึ ประกอบธุรกิจเป็นผู้ผลติ ผู้จำหนา่ ย ผู้มีไวเ้ พื่อจำหนา่ ย ผูน้ ำเขา้ มาใน

120

ราชอาณาจักร หรือผสู้ ่งออกไปนอกราชอาณาจักร สำหรับสนิ ค้าประเภทแถบเสียงเพลง แถบวดี ีทัศน์
และแผ่นซีดี 2) บุคคลธรรมดาหรือห้างหุ้นส่วนที่มิได้จดทะเบียนซึ่งประกอบธุรกิจโรงงานแปรสภาพ
แกะสลัก และหัตถกรรมจากงาช้าง การค้าปลีกและค้าส่งงาช้างและผลิตภัณฑ์จากงาช้าง (ประกาศ
กระทรวงพาณชิ ย์, 2544, หน้า 8)

หน้าท่ขี องผจู้ ัดทำบัญชี
ตามพระราชบัญญัติการบัญชี พ.ศ. 2543 ระบุหน้าที่ของผู้จัดทำบัญชี สรุปโดยสังเขป
ดงั นี้
1. ในการจัดทำบญั ชี ผู้มีหน้าที่จัดทำบัญชีต้องส่งมอบเอกสารประกอบการลงบญั ชีให้แก่
ผู้ทำบัญชีซ่ึงเป็นผู้มีคุณสมบัติตามท่ีกำหนด เว้นแต่ผู้มีหน้าที่จัดทำบัญชีซ่ึงเป็นบุคคลธรรมดาจะเป็น
ผทู้ ำบัญชีสำหรับกิจการของตนเองก็ได้ เพื่อให้บัญชที ี่จัดทำข้ึนสามารถแสดงผลการดำเนินงาน ฐานะ
การเงิน หรือการเปลย่ี นแปลงฐานะการเงินทเี่ ปน็ อยตู่ ามความเปน็ จรงิ และตามมาตรฐานการบัญชี
2. ผมู้ ีหนา้ ท่ีจดั ทำบญั ชซี ึง่ เป็นนิติบุคคลทจี่ ดั ตัง้ ขึน้ ตามกฎหมายไทย นิติบคุ คลทจี่ ัดตั้งขึน้
ตามกฎหมายต่างประเทศทป่ี ระกอบธรุ กิจในประเทศไทย และกิจการร่วมค้าตามประมวลรัษฎากร ซ่ึง
มที นุ จดทะเบยี นเกิน 5 ล้านบาท หรือสินทรัพยร์ วมเกิน 30 ล้านบาท หรือรายได้รวมเกนิ 30 ลา้ นบาท
ให้จดั ทำงบการเงินตามแบบท่ีกรมพัฒนาธรุ กจิ การค้ากำหนด รวมท้ังต้องได้รับการตรวจสอบและแสดง
ความเห็นจากผ้สู อบบัญชรี ับอนญุ าต ในปัจจบุ ันผู้มีหนา้ ทจ่ี ัดทำบัญชีใหย้ นื่ งบการเงินแบบอิเลก็ ทรอนิกส์
ไม่ต้องยื่นงบการเงินดว้ ยตนเองหรือนำส่งทางไปรษณยี ์
3. ผู้มีหน้าที่จัดทำบัญชีซ่ึงเป็นนิติบุคคลที่จัดต้ังข้ึนตามกฎหมายต่างประเทศที่ประกอบ
ธุรกิจในประเทศไทย กจิ การรว่ มค้าตามประมวลรัษฎากร และห้างหุ้นส่วนจดทะเบียน ต้องย่ืนงบการเงิน
ตอ่ กรมพัฒนาธุรกิจการค้าภายใน 5 เดอื น นับแต่วันปดิ บัญชี แต่ผ้มู ีหน้าที่จัดทำบัญชีซ่งึ เปน็ บริษัทจำกัด
บริษัทมหาชนจำกัด ที่จัดต้ังข้ึนตามกฎหมายไทย ต้องย่ืนงบการเงินต่อกรมพัฒนาธุรกิจการค้าภายใน
1 เดือน นับแต่วันท่ีงบการเงินนั้นได้รับอนุมัติในที่ประชุมใหญ่ สำหรับบุคคลธรรมดาและห้างหุ้นส่วนที่
มไิ ดจ้ ดทะเบียนซ่ึงประกอบธุรกจิ ในประเทศไทย ไม่ตอ้ งจดั ทำงบการเงิน
4. ผู้มีหน้าท่ีจัดทำบัญชีต้องเก็บรักษาบัญชีและเอกสารที่ต้องใช้ประกอบการลงบัญชีไว้
ณ สถานท่ีทำการ เว้นแต่ได้รับอนุญาตจากสารวัตรใหญ่บัญชี (อธิบดี) หรือสารวัตรบัญชี (ผู้ซึ่งอธิบดี
มอบหมาย) โดยเก็บรกั ษาไม่น้อยกวา่ 5 ปี นับแต่วนั ปิดบัญชี
5. เม่ือบัญชีหรือเอกสารที่ต้องใช้ประกอบการลงบัญชสี ูญหายหรือเสียหาย ต้องแจ้งต่อ
สารวตั รใหญบ่ ญั ชหี รอื สารวตั รบัญชภี ายใน 15 วัน นบั แต่วนั ท่ีทราบการสูญหายหรือเสยี หายนน้ั
6. เม่ือเลิกประกอบธุรกิจโดยมิได้ชำระบัญชี ให้ส่งมอบบัญชีและเอกสารที่ต้องใช้ประกอบ
การลงบัญชีแกส่ ารวตั รใหญบ่ ัญชีหรอื สารวัตรบญั ชภี ายใน 90 วัน นบั แต่วันเลิกประกอบธรุ กจิ
ผู้ฝ่าฝืนหรอื ไมป่ ฏบิ ตั ติ ามต้องได้รับโทษตามบทกำหนดโทษท่รี ะบุ

ผูท้ ำบัญชี
ผู้รับผิดชอบในการทำบัญชีของธุรกิจอาจอยู่ในฐานะพนักงานของผู้มีหน้าที่จัดทำบัญชี
หรืออาจเปน็ บุคคลภายนอก โดยมคี ณุ สมบัติตามทก่ี ฎหมายกำหนดดังต่อไปน้ี

121

1. มภี ูมิลำเนาหรือถ่ินท่ีอยู่ในราชอาณาจักร
2. มีความรู้ภาษาไทยเพียงพอทจ่ี ะทำหนา้ ที่เป็นผู้ทำบญั ชไี ด้
3. ไม่เคยต้องโทษโดยคำพิพากษาถึงที่สุดให้จำคุก เนื่องจากได้กระทำความผิดตาม
กฎหมายว่าด้วยการบัญชี หรือกฎหมายว่าด้วยผู้สอบบัญชี หรือกฎหมายว่าด้วยวิชาชีพบัญชี เว้นแต่
พ้นระยะเวลาทถ่ี กู ลงโทษมาแล้วเปน็ เวลาไม่นอ้ ยกวา่ 3ปี
4. มคี ณุ วุฒิ ดงั ต่อไปนี้

4.1 ผู้ทำบัญชีของห้างหุ้นส่วนจดทะเบียนและบริษัทจำกัดท่ีจัดต้ังข้นึ ตามกฎหมายไทย
ซึ่ง ณ วันปิดบัญชีในรอบปีบัญชีที่ผ่านมา มีทุนจดทะเบียนไม่เกิน 5 ล้านบาท มีสินทรัพย์รวมไม่เกิน
30 ล้านบาท และมีรายได้รวมไม่เกิน 30 ล้านบาท ต้องมีคุณวุฒิไม่ต่ำกว่าอนุปริญญาหรือประกาศนียบัตร
วิชาชีพช้ันสูง (ปวส.) ทางการบัญชีหรือเทียบเท่าจากสถาบันการศึกษา ซ่ึงทบวงมหาวิทยาลัยหรือ
คณะกรรมการข้าราชการพลเรอื น (ก.พ.) หรอื กระทรวงศึกษาธิการ เทียบว่าไมต่ ่ำกวา่ อนุปรญิ ญาหรือ
ประกาศนียบตั รวิชาชพี ช้ันสูง (ปวส.) ทางการบญั ชี

4.2 ผู้ทำบัญชีต้องมีคุณวุฒิไม่ต่ำกว่าปริญญาตรีทางการบัญชีหรือเทียบเท่า จาก
สถาบันการศึกษาซ่ึงทบวงมหาวิทยาลัย หรือคณะกรรมการข้าราชการ พลเรือน (ก.พ.) หรือ
กระทรวงศึกษาธิการเทยี บว่าไม่ต่ำกว่าปริญญาตรีทางการบัญชี หากเป็นผู้ทำบัญชขี องผู้มีหน้าทจี่ ัดทำ
บัญชดี งั ตอ่ ไปนี้

-ห้างห้นุ สว่ นจดทะเบยี นและบริษัทจำกัดท่จี ัดตั้งขึ้นตามกฎหมายไทย ซ่ึง ณ วัน
ปดิ บญั ชใี นรอบปีบัญชีทผี่ า่ นมามีทุนจดทะเบยี น หรอื สนิ ทรัพย์รวม หรอื รายไดร้ วมรายการใดรายการ
หน่ึงเกนิ กวา่ ที่กำหนดไวใ้ น 4.1

-บริษทั มหาชนจำกัดที่จดั ตั้งขึ้นตามกฎหมายไทย
-นิติบุคคลที่ตั้งข้นึ ตามกฎหมายต่างประเทศทป่ี ระกอบธรุ กิจในประเทศไทย
-กจิ การร่วมค้าตามประมวลรษั ฎากร
-ผปู้ ระกอบธรุ กจิ ธนาคาร เงนิ ทนุ หลักทรัพย์ เครดิตฟองซิเอร์ ประกนั ชวี ติ และ
ประกันวินาศภัย
-ผู้ประกอบธุรกจิ ซึ่งได้รับการส่งเสรมิ การลงทุนตามกฎหมายว่าดว้ ยการส่งเสริม
การลงทุน

ชนิดของบัญชี ระยะเวลาการทำบัญชี และการปิดบญั ชี
ธุรกิจต้องจัดทำบัญชีชนิดต่าง ๆ ตามระยะเวลาการทำบัญชี และการปิดบัญชี ดังมี
รายละเอียดต่อไปนี้ (ประกาศกรมทะเบยี นการค้า, 2544, หน้า 21-27)
1. นิติบุคคลที่จัดต้ังขึ้นตามกฎหมายไทย นิติบุคคลที่จัดตั้งขึ้นตามกฎหมายต่างประเทศที่
ประกอบธุรกจิ ในประเทศไทย และกจิ การรว่ มค้าตามประมวลรัษฎากร ต้องจัดทำบัญชีต่อไปน้ี

- บัญชีรายวัน ประกอบด้วย บัญชีเงินสด บัญชีธนาคาร แยกเป็นแต่ละเลขที่บัญชี
ธนาคาร บัญชีรายวันซ้อื บัญชรี ายวันขาย บัญชีรายวนั ทวั่ ไป

- บัญชีแยกประเภท ประกอบด้วย บัญชีแยกประเภทสินทรัพย์ หนี้สินและทุน บัญชี
แยกประเภทรายไดแ้ ละคา่ ใช้จ่าย บญั ชีแยกประเภทลูกหนี้ บัญชแี ยกประเภทเจา้ หน้ี

122

- บัญชีสินคา้
- บัญชีรายวนั บญั ชีแยกประเภทอ่ืน และบัญชีแยกประเภทย่อยตามความจำเปน็ แก่
การทำบญั ชีของธรุ กจิ
การลงรายการในบัญชีรายวันให้แล้วเสร็จภายใน 15 วัน นับแต่วันท่ีรายการนั้นเกิดข้ึน
ส่วนบัญชีแยกประเภท ต้องผ่านรายการจากบัญชีรายวันภายใน 15 วัน นับแต่วันส้ินเดือนของเดือนที่
รายการนัน้ เกิดขน้ึ
2. บุคคลธรรมดา ห้างหุ้นส่วนท่ีมิได้จดทะเบียน ซึ่งประกอบธุรกิจในประเทศไทยให้จัดทำ
บัญชีสินคา้ เท่าน้ัน โดยให้แลว้ เสรจ็ ภายใน 15 วัน นบั แต่วันสนิ้ เดือนของเดือนท่รี ายการนนั้ เกิดขน้ึ
การปิดบัญชีครั้งแรกภายใน 12 เดือน นับแต่วันเริ่มทำบัญชี และปิดบัญชีทุกรอบ 12 เดือน
นบั แตว่ นั ปิดบญั ชคี รั้งก่อน ท้ังนีส้ ถานทปี่ ระกอบธุรกิจเป็นประจำใหป้ ดิ บัญชีพรอ้ มกบั สำนักงานใหญ่
น อ ก เห นื อ จ า ก บั ญ ชี ท่ี ต้ อ ง จั ด ท ำ ต า ม ก ฎ ห ม า ย ว่ า ด้ ว ย ก า ร บั ญ ชี ดั ง ก ล่ า ว ข้ า ง ต้ น
ผู้ประกอบการบางประเภทไม่ว่าจะมีรูปแบบองค์การธุรกิจแบบบุคคลธรรมดา ห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล
บริษทั หรือนิติบุคคลอ่ืนใด มีหน้าที่จัดทำบัญชพี ิเศษและรายงานตามประมวลรัษฎากร ยกตัวอย่างเช่น
ผู้ประกอบการที่ไม่ได้จดทะเบียนภาษีมูลค่าเพ่ิมต้องจัดทำรายงานเงินสดรับจ่าย ผู้ประกอบการซึ่งจด
ทะเบียนภาษีมลู ค่าเพิ่มต้องจัดทำรายงานภาษีซื้อ ภาษีขาย บญั ชีพิเศษเฉพาะกจิ การ ฯลฯ (กองบริหาร
ภาษธี ุรกิจขนาดกลางและขนาดเล็ก, 2559)
ดังนั้นองค์การธุรกิจท่ีมีรูปแบบและประเภทกิจการตามท่ีได้ระบุในพระราชบัญญัติการ
บญั ชี พ.ศ. 2543 ตอ้ งจดั ทำบัญชีตามท่ีกำหนด รวมทัง้ ต้องจัดทำบัญชพี ิเศษและรายงานตามประมวล
รัษฎากร แต่สำหรับธุรกิจเจ้าของคนเดียวและห้างหุ้นส่วนสามัญไม่จดทะเบียน ซ่ึงไม่เข้าข่ายการ
ประกอบการตามพระราชบญั ญัติดงั กลา่ วไมต่ ้องจัดทำบัญชี แต่ตอ้ งจัดทำบัญชีพิเศษและรายงานตาม
ประมวลรัษฎากร อย่างไรก็ดีแม้กฎหมายยกเว้นการจัดทำบัญชีเพ่ือรับการตรวจสอบจากภาครัฐ
สำหรับบางรูปแบบองค์การธุรกิจ แต่ธุรกิจควรดำเนินการจัดทำบัญชีข้ึนเป็นการภายใน เพ่ือให้รู้
สถานะทางการเงินและเพ่ือควบคมุ ทางการเงินอันจะเปน็ ประโยชนต์ อ่ ธุรกิจเอง

ความรู้พ้นื ฐานเกย่ี วกบั การบญั ชี

ผู้ทำหน้าท่ีบริหารธุรกิจควรมีความรู้พ้ืนฐานเก่ียวกับการบัญชี ไม่ว่าการทำความเข้าใจ
ความหมายของการบัญชีซึ่งไม่ใช่แค่เพียงการทำบัญชี วัตถุประสงค์ของการจัดทำบัญชีของธุรกิจ
บุคคลทไี่ ด้รับประโยชน์จากการจัดทำบัญชี กระบวนการบญั ชี และหลักการพ้ืนฐานทางการบัญชี ดงั มี
รายละเอียดต่อไปนี้

ความหมายของการบญั ชี
นักวิชาการหลายท่าน ได้ให้ความหมายของคำว่าการบัญชีเพื่อให้มีความเหมาะสมท่ีสุด
ดังเช่น การบัญชี (accounting) เป็นกระบวนในการเก็บรวบรวมข้อมูล จดบันทึก วิเคราะห์ และ
นำเสนอขอ้ มูลการดำเนินงานของธุรกิจ (ฉัตยาพร เสมอใจ, 2558, หน้า 422) การบัญชีเป็นการให้ข้อ
สารสนเทศทางการเงินเก่ียวกับธุรกิจจากกระบวนการบันทึก จัดหมวดหมู่ สรุป ตีความ และส่ือสารไปยัง
เจ้าของ ผู้บริหาร และผู้เก่ียวข้องอ่ืนซึ่งสนใจ (Price, Haddock & Farina, 2012, p.4) หรือหมายถึง
การเกบ็ รวบรวม การวิเคราะห์และจดบันทึก การจำแนกและจัดประเภทรายการค้าออกเป็นหมวดหมู่

123

รวมท้ังสรปุ ผลรายการ และเหตุการณ์ทางการเงินที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจอย่างมีหลักเกณฑ์ เพ่ือจัดทำเป็น
รายงานทางการเงินโดยแสดงขอ้ มลู เกี่ยวกับฐานะทางการเงนิ ผลการดำเนินงานและการเปล่ียนแปลง
ฐานะทางการเงินของกิจการในรูปหน่วยเงินตรา เสนอต่อผู้ใช้งบการเงินทุกประเภทท้ังภายในและ
ภายนอกกิจการเพื่อประโยชน์ในการนำข้อมูลเหล่านั้นไปใช้ในการตัดสินใจทางเศรษฐกิจ (ปาริชาติ
มณีมัย, 2553, หน้า 2) กล่าวได้ว่าการบัญชีเป็นงานท่ีเก่ียวข้องกับการเก็บรวบรวม บันทึก จำแนก
นำผลสรุปมาจัดรูปแบบและนำเสนอในรูปงบการเงินเพ่ือประโยชน์ต่อผู้ใช้งบการเงิน และยังครอบคลุม
ถึงการอ่านและแปลความหมายของงบการเงิน (พัชราณี อุตมวุฒิกำจร, 2555, หน้า 2) การบัญชียัง
หมายถึง กระบวนการหรอื ขั้นตอนของการจัดทำงบการเงนิ โดยจดบนั ทึกเหตกุ ารณ์ทางเศรษฐกิจของ
กิจการที่สามารถระบุค่าเป็นหน่วยเงินตราได้ และนำมาจัดหมวดหมู่ สรุปผลลัพธ์ขั้นสุดท้ายเป็นงบ
การเงนิ และยังรวมถึงการวิเคราะหแ์ ละแปลความหมายของขอ้ มูลในงบการเงิน เพื่อประโยชน์ตอ่ การ
ตัดสินใจด้านต่าง ๆ ให้แก่บุคคลหรือหน่วยงานอื่นซึ่งให้ความสนใจกิจกรรมของกิจการ (เบญจมาศ
อภิสิทธิ์ภิญโญ, 2556, หน้า 10) การบัญชีจึงเป็นศิลปะของการเก็บรวบรวม บันทึก จำแนก และสรุป
ข้อมูลเก่ียวกับเหตุการณ์ทางเศรษฐกิจในรูปตัวเงิน และให้ผลลัพธ์คือข้อมูลทางการเงินซึ่งเป็นประโยชน์
กับบุคคลหลายฝ่ายและผู้สนใจในกิจกรรมของกิจการ (กานต์นภัส บุญลึก, 2554, หน้า 12) นอกจากนี้
สภาวชิ าชีพบัญชีในพระบรมราชูปถมั ภ์ ได้ให้คำจำกัดความของการบญั ชี คือศิลปะในการเกบ็ รวบรวม
บันทึก จำแนก และทำสรุปข้อมูลอันเก่ียวกับเหตุการณ์ทางเศรษฐกิจในรูปตัวเงิน ผลงานขั้นสุดท้าย
ของการบัญชีก็คือการให้ข้อมูลทางการเงิน ซึ่งเป็นประโยชน์แก่บุคคลหลายฝ่ายและผู้สนใจในกิจกรรม
ของกจิ การ (สนุ า สุทธเิ กียรติ และอจั ฉรา ชวี ะตระกลู กจิ , 2559, หน้า 6-5)

จากความหมายการบัญชีดังกล่าวข้างต้นสรุปได้ว่า การบัญชีเป็นกระบวนการในการ
รวบรวมข้อมูล บันทึก จำแนกหมวดหมู่รายการทางการค้า และสรุปผลข้อมูลในรูปงบการเงนิ รวมไปถึง
การวิเคราะห์และตีความหมายขอ้ มูลทางเงินของธุรกิจ จึงเห็นได้วา่ การบัญชีไม่ใชเ่ พียงแค่การทำบัญชี
(bookkeeping) คือการลงบันทึกรายการประจำวันและรวบรวมเอกสารหลักฐานต่าง ๆ ท่ีเกี่ยวข้อง
ของผู้ทำบัญชี (bookkeeper) เท่านั้น แต่ยังได้ผลสรุปของงบการเงินที่ผ่านการวิเคราะห์และตีความ
ของผู้ปฏิบัติงานด้านบัญชีที่เรียกว่านักบัญชี (accountant) เพ่ือเป็นสารสนเทศท่ีนำไปใช้ประกอบการ
พจิ ารณาตดั สนิ ใจในการดำเนนิ งานสำหรบั ผ้บู รหิ ารธรุ กิจไดอ้ ย่างถกู ต้องเหมาะสม

วตั ถุประสงค์ของการจดั ทำบญั ชี
ในการจัดทำบัญชีของกจิ การต่าง ๆ มีวตั ถุประสงค์หลกั ที่สำคญั ดังน้ี
1. เพ่อื ปฏิบัติตามข้อบงั คับของกฎหมาย และรายงานต่อหน่วยงานภายนอกทีเ่ ก่ียวข้อง
2. เพ่ือบนั ทกึ รายการคา้ ของกจิ การตามลำดับที่เกิดขน้ึ อย่างมีระเบียบแบบแผน และเก็บ
ไว้เปน็ หลกั ฐานสำหรับอ้างองิ
3. เพื่อให้ข้อมูลเกี่ยวกับผลการดำเนินงานของกิจการว่ามีกำไร หรือขาดทุนใน
จำนวนเทา่ ใดในรอบระยะเวลาหนึ่งทกี่ ำหนด
4. เพ่ือให้ข้อมูลเก่ียวกับฐานะทางการเงินของกิจการว่ามีสินทรัพย์ หนี้สิน และส่วนของ
เจา้ ของเปน็ อย่างไรในรอบระยะเวลาหนง่ึ ท่กี ำหนด
5. เพื่อควบคมุ ดูแลสนิ ทรพั ยข์ องกิจการไมใ่ หส้ ญู หายและคงอยตู่ ามยอดคงเหลือในบัญชี

124

6. เพ่ือให้ขอ้ มูลทางการเงินที่เป็นประโยชน์ต่อการตัดสินใจในด้านตา่ ง ๆ เช่น การวางแผน
การควบคุม การลงทุน การให้สินเช่ือ ฯลฯ ตามแต่วัตถุประสงค์ท่ีต้องการของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียกับ
กิจการ เชน่ ผู้บรหิ าร ผูล้ งทุน เจ้าหน้ี ผู้ถือห้นุ สถาบนั การเงนิ หนว่ ยงานภาครฐั ทีเ่ กย่ี วข้อง ฯลฯ

บุคคลทไ่ี ดร้ บั ประโยชนจ์ ากการจดั ทำบัญชี
จากท่ีกล่าวข้างต้นว่าการจัดทำบัญชีให้ข้อมูลที่เป็นประโยชน์แก่ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียกับ
กิจการ และสามารถนำข้อมลู ไปใชต้ ามวตั ถุประสงคท์ ต่ี ้องการ โดยผู้มสี ว่ นได้สว่ นเสียหลกั ๆ มีดงั นี้
1. ผู้บริหาร (executive) ในกรณีท่ีกิจการมีขนาดเล็กไม่ว่าจะมีรูปแบบองค์การธุรกิจ
แบบเจ้าของคนเดียว ห้างหุ้นส่วน บริษัท ผู้บริหารจะหมายถึงเจ้าของทุนผู้ริเร่ิมกิจการหรือ
ผูป้ ระกอบการท่ตี ้องทำหน้าที่ในการบรหิ ารธุรกิจ แต่ในกิจการขนาดใหญ่จะหมายรวมถึงผ้ทู ่ีได้รับการ
ว่าจ้างให้มาบริหารธุรกิจด้วย บุคคลเหล่านี้ใช้ประโยชน์จากการจัดทำบัญชีซึ่งแสดงให้เห็นถึงผลการ
ดำเนินงาน และฐานะทางการเงินของกิจการ ไปประกอบการวางแผนและควบคุมการดำเนินงาน
ตลอดจนตดั สินใจเก่ียวกับการดำรงอยู่ของกิจการ หรอื การยตุ ิกิจการ
2. ผถู้ ือหุ้น (stockholder) คือผู้ซงึ่ นำเงนิ มาลงทุนกับกิจการย่อมต้องการทราบผลการ
ดำเนนิ งานวา่ มกี ำไรหรอื ขาดทุนหรอื ไมอ่ ย่างไร มฐี านะการเงินท้งั ในสว่ นสินทรพั ย์ หนส้ี นิ และส่วนของ
เจ้าของเป็นเช่นไร ซ่ึงทำให้พอท่ีจะประเมินความเส่ียงและผลตอบแทนท่ีจะได้รับจากการลงทุนกับ
กิจการ รวมทั้งตัดสินใจต่อได้ว่าควรถือหุ้นของกิจการต่อไป หรือควรเพ่ิมการลงทุน หรือควรยกเลิก
การลงทนุ
3. พนักงาน (employee) พนักงานย่อมต้องการทราบผลการดำเนินงานของกิจการท่ีตน
ปฏิบัติงาน เพ่ือประเมินถึงความม่ันคงในงานต่อไปในอนาคต รวมท้ังคาดการณ์ถึงผลตอบแทนจากการ
ทำงานทจ่ี ะได้รับในรูปแบบต่าง ๆ เช่น โบนัส เงนิ เพมิ่ พิเศษ ฯลฯ
4. นักลงทุน (investor) ซึ่งเปน็ ผสู้ นใจนำเงนิ มาลงทุนกับกิจการต่าง ๆ ท่ีคาดวา่ จะได้รับ
ผลตอบแทนกลบั มาคุ้มคา่ การลงทุน ดังน้นั นกั ลงทนุ ย่อมต้องการข้อมูลทางการเงินซงึ่ มาจากการจัดทำ
บญั ชี โดยเฉพาะในเร่ืองผลการดำเนนิ งาน และสถานะทางการเงินท่ผี า่ นมาของกิจการ เพ่ือประกอบการ
ตดั สนิ ใจวา่ ควรจะลงทุนกับกจิ การหรือไม่
5. เจ้าหนี้ (creditor) หมายถึงแหล่งเงินกู้ต่างๆ ท่ีให้กิจการกู้เงินหรือให้สินเชอื่ รวมไปถึง
เจ้าหนี้ทางการค้าซึ่งขายสินค้าหรือให้บริการเป็นเงินเชื่อหรือให้เครดิตแก่กิจการ ย่อมต้องการทราบ
ผลการดำเนินงานของกิจการ เพ่อื ประเมินความสามารถในการชำระหน้ตี ามท่กี ำหนด และการตัดสินใจ
ใหส้ ินเชอื่ ต่อไป นอกจากน้ีคอื บคุ คลหรือกลุ่มบุคคลท่ีกำลังตัดสนิ ใจให้สนิ เชื่อแก่กจิ การ เมื่อมีข้อมลู ทาง
บัญชีเก่ียวกับผลการดำเนินงานและฐานะทางการเงิน ย่อมเอื้อประโยชน์ต่อการพิจารณาตัดสินใจว่า
ควรให้สนิ เชื่อแก่กจิ การหรือไม่
6. หน่วยงานภาครัฐ (government agency) หมายถึง หน่วยงานของทางราชการท่ี
เกี่ยวข้องกับธุรกิจ ย่อมต้องการทราบผลการดำเนินงานของกิจการท่ีได้มาจากการจัดทำบัญชี เพ่ือ
ประเมินการปฏิบัติต่อกิจการในลักษณะต่างๆ เช่น การจัดเก็บภาษี การควบคุมความถูกต้องในการ
จัดทำบัญชีของธุรกจิ ฯลฯ รวมไปถงึ เพอื่ กำหนดแนวนโยบายตา่ ง ๆ ในการสง่ เสริมสนับสนนุ ธรุ กจิ

125

กระบวนการบญั ชี
กระบวนการบัญชี (accounting process) การจัดทำบัญชีมีกระบวนการที่ต่อเนื่อง
สัมพันธ์กันอย่างเป็นระบบ หากผิดพลาดในข้ันตอนใดก็ส่งผลกระทบไปยังข้ันตอนต่อไป โดยมี
กระบวนการ 4 ขั้นตอน ได้แก่ การจดบันทึก การจัดหมวดหมู่ การสรุปผล การวิเคราะห์และการ
ตีความหมาย (เบญจมาศ อภสิ ิทธิ์ภิญโญ, 2556, หนา้ 10-11) ดงั รายละเอียดต่อไปนี้
1. การบันทึก (recording) เป็นการบันทึกรายการค้าแต่ละรายการที่เกิดข้ึนในช่วงเวลา
เป็นต้นว่ารายรับ รายจ่าย การซ้ือ การขาย ฯลฯ บันทึกเรียงลำดับก่อนหลังการเกิดรายการ พร้อมระบุ
มูลคา่ ทางการเงินและคำบรรยายรายการโดยสรุปลงในสมุดรายวนั ทัว่ ไป (general journal)
2. การจัดหมวดหมู่ (classifying) หลังจากบันทึกรายการค้าในสมุดรายวันท่ัวไปแล้ว
ต้องแยกประเภทรายการชนิดเดียวกันให้อยู่ด้วยกันทำโดยผ่านรายการต่าง ๆ จากสมุดรายวันไปยัง
บัญชีแยกประเภท (ledger) ซงึ่ เป็นบัญชีย่อยของแตล่ ะรายการ
3. การสรุปผล (summarizing) เม่ือส้ินระยะเวลาหน่ึงตามท่ีต้องการต้องประมวลผล
การบันทึกรายการตามหมวดหมู่ท่ีเกดิ ข้ึนในรอบระยะเวลานั้น ๆ และรายงานสรุปผลขอ้ มูลทางการเงิน
ของธุรกิจในรูปงบการเงิน (financial statement) ซ่ึงงบการเงินท่ีสำคัญของธุรกิจ ได้แก่ งบกำไร
ขาดทุน (profit and loss statement or earnings statement) งบดุล (balance sheet) หรืองบ
แสดงสถานะทางการเงนิ (statement of financial position)
4. การวิเคราะห์และการตีความหมาย (analysis and interpreting) จากรายงาน
งบการเงินท่ีจัดทำขึ้นต้องนำผลที่ปรากฏมาตีความ เปรียบเทียบกับรอบระยะเวลาที่ผ่านมา เพื่อ
ผูบ้ ริหารนำไปใช้ประกอบการพิจารณาตัดสนิ ใจทางธรุ กจิ ได้อย่างถูกต้อง
จากความหมายของการบัญชีจึงเป็นที่มาของกระบวนการทางการบัญชีซ่ึงครอบคลุม
ต้ังแต่การจดบันทึก การจัดหมวดหมู่ การสรุปผลข้อมูลทางการเงิน รวมถึงการวิเคราะห์และการ
ตีความหมายรายงานทางการเงินเพ่ือประโยชน์ในการวางแผนและควบคุมการดำเนินงานทางธุรกิจ
และเพื่อรายงานตอ่ หน่วยงานภายนอกที่เกี่ยวขอ้ ง ตลอดจนผูส้ นใจในกิจกรรมของกิจการ

หลักการพ้ืนฐานทางการบญั ชี
หลักการพ้ืนฐานที่สำคัญของการบัญชีท่ีควรศึกษาและทำความเข้าใจ เพื่อดำเนินการ
ทางบัญชีได้อย่างถูกต้อง ได้แก่ กรอบแนวคิดของการบัญชี แม่บทการบัญชี และมาตรฐานการบัญชี
(สนุ า สทุ ธเิ กียรติ และอัจฉรา ชวี ะตระกูลกิจ, 2559, หน้า 6-9-6-11) ดงั มรี ายละเอียดต่อไปนี้
1. กรอบแนวคิดของการบัญชี (conceptual framework for accounting) คือ
ข้อตกลงที่นักบัญชีต้องทำความเข้าใจในเบื้องต้นให้ตรงกัน เพ่ือจัดทำบัญชีได้อย่างถูกต้องในเรื่อง
ตอ่ ไปน้ี

1.1 ความเป็นหน่วยของกิจการ (business entity) หมายความว่ากิจการต้อง
แยกเป็นหน่วยงานท่ีเป็นอิสระจากเจ้าของผู้ที่นำเงินมาลงทุนในกิจการน้ัน ดังน้ันการบัญชีจึงเป็นการ
รวบรวมขอ้ มูล บนั ทึก จำแนกหมวดหมทู่ างการค้าของกิจการมิใชข่ องเจ้าของ แลว้ สรุปผลข้อมลู ในรูป
งบการเงินท่ีแสดงผลการดำเนินงานของกิจการ นอกจากนี้หากผู้ประกอบการมีหลายกจิ การซ่ึงเปน็ คนละ

126

ประเภทกันก็ต้องบันทึกบัญชีแยกกันในแต่ละกิจการ และแยกออกจากส่วนของผู้ประกอบการด้วย
โดยไม่นำรายไดแ้ ละคา่ ใช้จ่ายส่วนตัวหรือของครอบครัวมาปนกับของกจิ การ

1.2 การใช้หนว่ ยเงินตรา (monetary unit) การบัญชีตอ้ งนำเสนอข้อมูลที่มีความ
ชัดเจนในลักษณะตัวเลข ไม่สามารถนำเสนอข้อมูลในลักษณะพรรณนา ดังนั้นการบันทึกรายการใน
บัญชีจึงต้องใช้หน่วยเงินตราท่ีเหมือนกัน เพ่ือให้เหตุการณ์ทางการเงินวัดมูลค่าออกมาได้ อันจะเป็น
ข้อมูลทเี่ ป็นประโยชนแ์ ก่ผู้เกย่ี วขอ้ งทจี่ ะนำไปใช้ในการตัดสินใจตามวัตถุประสงคท์ ี่ต้องการ

1.3 หลักการจับคู่ (matching principle) เป็นการจับคู่ระหว่างรายได้และค่าใช้จ่าย
กล่าวคือค่าใช้จ่ายรายการใดที่ก่อให้เกิดรายได้ในงวดบัญชีหน่ึงก็ต้องไปเปรียบเทียบกับรายได้ในงวด
เดียวกัน เน่ืองจากการคำนวณว่ากิจการมีกำไรสุทธิหรือขาดทุนสุทธิเท่าใด เกิดข้ึนจากการนำค่าใช้จ่าย
ทงั้ หมดไปหกั ออกจากรายไดท้ งั้ หมด ทัง้ นี้ค่าใช้จา่ ยแบง่ ออกเป็น 2 ประเภท คือ 1) ค่าใช้จ่ายทีม่ ีความ
สัมพันธ์โดยตรงกับรายได้ หรือต้นทุนสินค้า และ 2) ค่าใช้จ่ายสำหรับงวด เป็นค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นตาม
งวดเวลา (อำนาจ รตั นสวุ รรณ และอรรถพล ตริตานนท์, 2560, หน้า 7) ตัวอย่างเช่น ขายสินค้าไป 1 ช้ิน
ราคา 10,000 บาท ต้นทุนสินค้า 8,000 บาท จะเห็นได้ว่ากิจการมีรายได้เกิดขึ้นทันที 10,000 บาท
และมีค่าใช้จ่ายที่สัมพันธ์กับรายได้เกิดขึ้น 8,000 บาท ในขณะเดียวกันกิจการมีค่าใช้จ่ายอื่นตามงวด
เวลา เช่น ค่าเช่ารา้ น เงนิ เดอื นพนกั งาน คา่ สาธารณูปโภคค่าเบี้ยประกันภัย ฯลฯ

1.4 หลักเกณฑ์คงค้าง (accrual basis) หลักเกณฑ์นี้ใช้ในการพิจารณาการบันทึก
รายได้และคา่ ใช้จ่ายให้อยู่ในงวดเวลาเดียวกัน โดยคำนึงถึงรายได้ที่พงึ ได้รับและค่าใช้จ่ายท่ีพงึ จ่าย โดย
ไม่คำนึงว่ารายการเหล่านั้นกิจการได้รับเงินสดหรือจ่ายเงินสดไปแล้วหรือยัง เพ่ือให้การแสดงผลการ
ดำเนินงานของแต่ละงวดเวลาเป็นไปอย่างเหมาะสม ตัวอย่างเช่นกิจการได้รับใบแจ้งค่าโทรศัพท์ของ
เดือนมกราคม ในวันที่ 27 มกราคม 25XX จำนวน 7,000 บาท แต่กิจการได้ชำระเงนิ ในวันที่ 7 กุมภาพันธ์
ในปีเดียวกัน ดังน้ันต้องแสดงค่าโทรศัพท์เปน็ ค่าใช้จ่ายของเดือนมกราคม เพราะได้ใช้โทรศัพท์ไปแม้ว่า
ไม่ได้จ่ายเงินก็ตาม ส่วนในเดือนกุมภาพันธ์แม้ว่าได้จ่ายเงินออกไป 7,000 บาท เรียกว่ารายจ่ายที่จ่าย
ออกไปใหก้ บั เจ้าหนค้ี ่าโทรศัพท์ ไม่ถอื วา่ เป็นคา่ ใชจ้ ่ายของเดือนกุมภาพนั ธ์

1.5 การดำเนินงานอย่างต่อเน่ือง (going concern) ในทางบัญชีถือว่ากิจการที่
จัดต้ังขึ้นโดยทั่วไปแล้วย่อมต้องการดำรงอยู่อย่างต่อเนื่องไปตลอด เพื่อให้บรรลุตามวัตถุประสงค์การ
ดำเนินงานท่ีต้องการ และไม่ล้มเลิกกจิ การโดยงา่ ย ดังนั้นงบการเงินที่จัดทำขึ้นจึงอยู่ภายใต้ข้อสมมตฐิ าน
ดงั กล่าว ตัวอย่างเช่น กิจการซ้ืออาคารพาณิชยเ์ พ่อื เปดิ รา้ นเม่ือ 3 ปที ี่แลว้ ในราคา 5 ลา้ นบาท แม้ว่าใน
ปปี จั จุบันราคาอาคารพาณิชย์จะข้ึนเป็น 6 ล้านบาท แต่ในการจดั ทำงบการเงินยงั คงแสดงราคาเดมิ ของ
สินทรัพย์คือ 5 ล้านบาท แต่อย่างไรก็ดีถ้าหากมีเจตนาจะล้มเลิกกิจการหรือลดขนาดกิจการอย่างมี
นัยสำคัญแล้วน้ัน งบการเงินต้องทำขึ้นโดยใช้เกณฑ์อ่ืน และต้องเปิดเผยหลักเกณฑ์ที่ใช้ในงบการเงินน้ัน
(กานต์นภัส บุญลึก, 2554, หน้า 15) อย่างในกรณีตัวอย่างข้างต้นหากเลิกกิจการ ต้องแสดง
ราคาอาคารพาณิชย์ในราคาตลาดปจั จุบนั จงึ เห็นได้ว่าเกณฑ์การจัดทำงบการเงินเปลี่ยนแปลงไป

1.6 งวดบัญชี (accounting period) แนวความคิดเร่ืองงวดบัญชีสืบเนื่องมาจาก
การดำเนินงานที่ต่อเน่ืองจึงทำให้นักบัญชีต้องจัดทำงบการเงิน เพื่อรายงานฐานะการเงินและผลการ
ดำเนนิ งานของกิจการในชว่ งเวลาต่าง ๆ เช่น รายเดือน รายไตรมาส รายปี

127

นอกจากน้ีมีหลักการเพ่ิมเติม คือ หลักความสม่ำเสมอ หลักการเปิดเผยข้อมูลอย่าง
เพียงพอ หลักสาระสำคัญ และหลักความระมัดระวัง (อำนาจ รัตนสุวรรณ และอรรถพล ตริตานนท์,
2560, หน้า 7)

1.7 หลักความสม่ำเสมอ (consistency principle) หากการจัดทำบัญชีของ
กจิ การได้เลือกวิธีการทางบัญชีแบบใดแลว้ ควรใช้วิธีการน้ันอย่างสม่ำเสมอ เพราะสามารถที่จะนำไปใช้
ประโยชน์ในการเปรียบเทียบงบการเงินของแต่ละงวดบัญชีได้อย่างถูกต้องเน่ืองจากอยู่บนพื้นฐาน
วิธีการบญั ชเี ดียวกนั

1.8 หลักการเปิดเผยข้อมูลอย่างเพียงพอ (full disclosure principle) ข้อมูลที่
แสดงในงบการเงินควรเปิดเผยข้อมูลอย่างเพียงพอ เพ่ือป้องกันการเข้าใจผิดที่อาจเกิดข้ึนของผู้ใช้งบ
การเงิน ท้ังนี้ข้อมูลที่เปิดเผยแสดงไว้ในหมายเหตุประกอบงบ เช่น อาคารพาณิชย์ได้แสดงตามราคา
ทนุ เดมิ เงินสดหมายถงึ เงนิ สดในมอื และรายการเงนิ สดระหว่างเรียกเก็บ ฯลฯ

1.9 หลักสาระสำคัญ (materiality principle) การระบุว่ารายการทางบัญชีใดมี
สาระสำคญั มกั ใชจ้ ำนวนเงนิ ของรายการนน้ั เทยี บกับยอดขายหรอื ยอดรวมของสินทรัพย์ แลว้ กำหนด
เป็นร้อยละ เช่น กำหนดว่าหากรายการใดเมื่อเทียบกับยอดขายหรือยอดรวมของสินทรัพย์มีค่าต้ังแต่
ร้อยละ 1 ขึ้นไป ถือว่ารายการนั้นมีสาระสำคัญ ฯลฯ ตัวอย่างเช่น กิจการได้ซ้ือเคร่ืองจักรมาในราคา
500,000 บาท และคาดว่าใช้งานเพียง 5 ปี เมื่อนำราคาเคร่ืองจักรไปเทียบกับยอดสินทรัพย์รวมของ
กิจการซึ่งมีมูลค่ารวม 50,000,000 บาท คำนวณได้ร้อยละ 1 ดังนั้นเครื่องจักรจึงเป็นรายการที่มีสาระ
สำคัญ ตามหลักบัญชีจึงต้องเฉลี่ยรายจ่ายค่าเคร่ืองจักร 500,000 บาทในปีที่ 1-5 ปีละ 100,000 บาท
แต่ถ้ากิจการซ้ือเครื่องเย็บเอกสารไว้ใช้ในสำนักงานในราคา 500 บาท และคาดว่าจะใช้งานได้ 5 ปี จะ
เห็นว่าราคาเคร่ืองเย็บเอกสาร 500 บาท เป็นจำนวนเงินท่ีน้อยมากเม่ือเทียบกับมูลค่าสินทรัพย์ เคร่ือง
เย็บเอกสารจึงเป็นรายการท่ีไม่ได้มีสาระสำคัญ กิจการสามารถบันทึกค่าใช้จ่ายนี้ทั้งจำนวนในปีท่ี 1
เพยี งปีเดียวกไ็ ด้ เพราะด้วยจำนวนเงินทีน่ ้อยจงึ ไมม่ ผี ลกระทบตอ่ งบการเงินในปีที่ 2-5

1.10 หลักความระมัดระวัง (conservatism principle) การบันทึกรายการใด
ทางการบัญชีต้องคำนึงถึงความระมัดระวังเพื่อไม่ให้แสดงสินทรัพย์หรือรายได้สูงเกินไป หรือแสดง
หน้ีสินและค่าใช้จ่ายต่ำเกินไป แต่ใช้ดุลยพินิจประมาณการจำนวนเงินของแต่ละรายการได้อย่าง
เหมาะสมหากมีเหตุความไม่แน่นอนเกิดขึ้น เช่น มีลูกหน้ีการค้า 50,000 บาท แต่พิจารณาแล้วน่าจะ
เก็บหนี้ได้เพียง 45,000 บาท แสดงว่ากิจการต้องบันทึกลูกหนี้การค้า 45,000 บาท และอีก 5,000 บาท
ท่เี กบ็ ไมไ่ ดต้ ้องบนั ทึกเป็นคา่ ใช้จา่ ย

2. แม่บทการบัญชี (accounting framework) เป็นแนวคิดข้ันพื้นฐานสำหรับการ
จัดทำและนำเสนอข้อมูลเกี่ยวกับการจดบันทึก การทำบัญชี และการจัดทำงบการเงิน รวมท้ังเป็น
เกณฑ์ในการกำหนดมาตรฐานและการปฏิบัติทางการบัญชีในแต่ละเรื่อง ตลอดจนเป็นกรอบที่ใช้ใน
การอ้างอิงการแก้ปัญหาทางการบัญชีในกรณีที่ไม่มีมาตรฐานการบัญชีสำหรับเรื่องน้ัน ๆ ท้ังน้ีแม่บท
การบัญชีมีเน้ือหาครอบคลุมวัตถุประสงค์ของงบการเงิน การรับรู้องค์ประกอบของงบการเงิน การวัด
มูลค่าองค์ประกอบของงบการเงิน และแนวคิดเกี่ยวกับทุนและการรักษาระดับทุน จึงเห็นได้ว่าแมบ่ ท
ก า ร บั ญ ชี ช่ ว ย เส ริ ม ส ร้ า ง ค ว า ม เชื่ อ ม่ั น ต่ อ ผู้ ใช้ ข้ อ มู ล ท า ง ก า ร บั ญ ชี ทั้ ง ที่ เป็ น บุ ค ค ล ห รื อ ก ลุ่ ม
บุคคลภายนอกกิจการและภายในกิจการ เสมือนหน่ึงช่วยยืนยันว่างบการเงินที่จัดทำน้ันแสดงข้อมูล

128

อย่างถกู ต้องในสาระสำคญั ตามหลกั การบัญชีทร่ี ับรองหรอื อยู่ภายใต้กรอบเดยี วกัน และสามารถนำมา
เปรียบเทยี บกันได้

3. มาตรฐานการบัญชี (accounting standards) หมายถึงแนวทางที่นักบัญชียึดถือ
เป็นหลักปฏิบัติในการรวบรวม จดบันทึก จำแนก สรุปผลและรายงานเหตุการณ์ที่เก่ียวกับการเงิน
หรือเป็นข้อตกลงเกี่ยวกับวิธีการปฏิบัติทางการบัญชี อันเป็นผลมาจากการวิจัยเพ่ือให้สอดคล้องกับ
การเปล่ียนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคม หรือกล่าวได้ว่ามาตรฐานการบัญชี คือหลักการบัญชีที่
รับรองทั่วไปท่ีทำให้กิจการมีหลักปฏิบัติไปในทางเดียวกัน ทำให้ผู้ใช้ข้อมูลทางการเงินเข้าใจตรงกัน
และสามารถนำงบการเงินที่จัดทำตามมาตรฐานไปเปรียบเทียบกันได้ โดยทั่วไปแล้วเรื่องที่กำหนดใน
มาตรฐานการบัญชีมีดังนี้ 1) การเลือกรายการทางการเงินเพื่อบันทึกบัญชี หรือรับรู้เป็นสินทรัพย์
หนี้สิน ส่วนของเจ้าของ รายได้ และคา่ ใช้จ่าย 2) การกำหนดมลู ค่ารายการทางการเงนิ เพื่อจดบันทึกว่า
จะใช้ราคาอะไร เช่น ราคาทุนเดิม มูลค่าปัจจุบัน ฯลฯ และ 3) การนำเสนอรายงานทางการเงิน และ
การเปดิ เผยข้อมูลในงบการเงนิ

จึงเห็นได้ว่าการบัญชีเป็นกระบวนการท่ีมีหลักการตั้งแต่การรวบรวมข้อมูล บันทึก
จำแนกหมวดหมู่ทางการค้า และสรุปผลข้อมูลในรูปงบการเงิน รวมไปถึงการวิเคราะห์และ
ตีความหมายข้อมูลทางการเงินของธุรกิจ เพื่อให้เกิดประโยชน์ตามวัตถุประสงค์ที่ต้องการของผู้ใช้
ข้อมูลทางการบญั ชีทัง้ ทเ่ี ปน็ บคุ คลภายในและภายนอกกจิ การ

สมการบญั ชแี ละหมวดรายการทางบญั ชี

การจัดทำบัญชีได้อย่างถูกต้องตามกระบวนการบัญชี ในเบ้ืองต้นต้องทำความเข้าใจ
เกี่ยวกบั สมการบัญชแี ละหมวดรายการทางการบญั ชี ดังมรี ายละเอยี ดต่อไปนี้

สมการบญั ชี
สมการบัญชี (accounting equation) คือ การแสดงความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรทาง
บัญชี ได้แก่ สนิ ทรพั ย์ หนส้ี นิ และสว่ นของเจ้าของหรอื ทนุ

สินทรพั ย์ = หน้สี นิ + สว่ นของเจ้าของ (ทุน)
assets = liabilities + owner’s equity

A =L +O

สมการขา้ งตน้ จะแสดงความสมดลุ กันอย่เู สมอ ตวั อย่างเช่น รา้ นเอบีซี มีสนิ ทรัพยจ์ ำนวน
500,000 บาท เป็นสว่ นของเจา้ ของ 300,000 บาท ยอ่ มแสดงว่าร้านเอบีซี มีหนี้สนิ 200,000 บาท

หากกจิ การใดไมม่ ีหนสี้ ิน สมการบญั ชีเปน็ ดังน้ี
สินทรพั ย์ = ส่วนของเจ้าของ (ทนุ )

129

ในการดำเนินกิจการน้ันรายได้มีส่วนทำให้ทุนเพ่ิม ส่วนค่าใช้จ่ายทำให้ทุนลด ดังนั้นจึง

เพิม่ เติมรายการดังกลา่ วในสมการดังนี้

สินทรพั ย์ = หนสี้ นิ + สว่ นของเจา้ ของ + รายได้ - คา่ ใช้จ่าย

สนิ ทรพั ย์ + ค่าใช้จา่ ย = หนส้ี ิน + ส่วนของเจ้าของ + รายได้

หมวดรายการทางบญั ชี
หมวดรายการทางบัญชีหรือตัวแปรในสมการบัญชี โดยรายละเอียดในแต่ละหมวดหรือ
แตล่ ะตวั แปรทางบญั ชี มดี งั ตอ่ ไปน้ี
1. สินทรัพย์ (assets) คือ ทรัพยากรหรือส่ิงที่มีมูลค่าวัดเป็นตัวเงินได้ และกิจการเป็น
เจ้าของ โดยหมายรวมถึงส่ิงท่ีมีตัวตน เช่น เงินสด อุปกรณ์ เคร่ืองจักร ฯลฯ และส่ิงไม่มีตัวตน เช่น
ลิขสิทธ์ิ สิทธิบัตร ฯลฯ ทรัพยากรเหล่านั้นเป็นประโยชน์ต่อการดำเนินงานของกิจการ (ปาริชาติ มณีมัย,
2553, หน้า 23) สินทรัพย์ ยังหมายถึงสิ่งของต่าง ๆ ท่ีกิจการเป็นเจ้าของโดยมีสิทธินำไปใช้ให้เกิด
ประโยชน์ในลักษณะอย่างใดอย่างหน่ึง (เบญจมาศ อภิสิทธิภ์ ิญโญ, 2557, หน้า 16) กล่าวได้วา่ สินทรัพย์
เป็นทรัพยากรที่มีอยู่ในความควบคุมของกิจการ ทรัพยากรดังกล่าวเป็นผลของเหตุการณ์ในอดีตซึ่งกิจการ
คาดว่าจะได้รับประโยชน์เชิงเศรษฐกิจจากทรัพยากรนั้นในอนาคต โดยประโยชน์เชิงเศรษฐกิจ หมายถึง
ศกั ยภาพของสินทรัพยใ์ นการกอ่ ใหเ้ กดิ กระแสเงนิ สดและรายการเทยี บเทา่ เงินสดแกก่ จิ การทัง้ ทางตรง
และทางอ้อม โดยปกติแล้วกิจการจะได้รับประโยชน์เชิงเศรษฐกิจในอนาคตจากสินทรัพย์ในลักษณะ
ต่าง ๆ เช่น นำสินทรัพย์มาใช้ในการผลิตสินค้าหรือบริการ นำสินทรัพย์ไปแลกกับสินทรัพย์อื่น นำ
สินทรัพย์ไปชำระหนี้สิน นำสินทรัพย์ไปแบ่งปันส่วนทุนให้เจ้าของ (วัฒนา ศิวะเกื้อ, ดุษฎี สงวนชาติ
และนันทพร พิทยะ, 2559, หน้า 17) โดยสรปุ สินทรัพย์คือ ทรัพยากรที่มีมูลค่าซึ่งกิจการเป็นเจ้าของ
และนำไปใช้ประโยชน์ในการดำเนินธุรกิจ ทรัพยากรดังกล่าวอาจมีตัวตนจับต้องได้ (tangible) หรือ
ไมม่ ีตัวตนจับต้องไม่ได้ (intangible) กไ็ ด้

สินทรัพย์ในทางบัญชี แบ่งออกเป็น 2 ประเภทใหญ่ ๆ ได้แก่ สินทรัพย์หมุนเวียน
และสินทรัพย์ไม่หมุนเวยี น ดังรายละเอียดตอ่ ไปนี้

1.1 สินทรัพย์หมุนเวียน (current assets) หมายถึง สินทรัพย์ท่ีกิจการมีไว้ใช้ใน
การหมุนเวียนของเงินทุนปกติ โดยสินทรัพย์ท่ีจัดว่าเป็นสินทรัพย์หมุนเวียนตามมาตรฐานการบัญชี
ต้องเข้าเง่ือนไขข้อหนึ่งข้อใดดังนี้ 1) คาดว่าจะได้รับประโยชน์หรือตั้งใจจะขายหรือใช้ภายในรอบ
ระยะเวลาดำเนนิ งานตามปกติของกิจการ 2) ถอื ไว้โดยมวี ัตถุประสงค์เบ้ืองตน้ คือมีไวเ้ พ่ือค้า 3) คาดว่า
จะได้รับประโยชน์ภายในเวลา 12 เดือน นับจากรอบระยะเวลารายงาน 4) เป็นเงินสดหรือรายการ
เทียบเท่าเงินสดซ่ึงไม่มีข้อจำกดั ในการแลกเปลีย่ น หรือการใช้ชำระหน้ีสินภายในระยะเวลาอย่างน้อย
12 เดือน นับจากรอบระยะเวลารายงาน ท้ังน้ีคำวา่ รอบระยะเวลาการดำเนินงานตามปกติของกิจการ
หมายถึงระยะเวลาท่ีเริ่มต้ังแต่ได้สินทรัพย์มาเพ่ือใช้ในการดำเนินงาน จนกระท่ังได้รับเงินสดหรือ
รายการเทียบเทา่ เงินสด โดยถา้ ไมส่ ามารถระบุรอบระยะเวลาการดำเนินงานได้ชัดเจนใหใ้ ชร้ ะยะเวลา
12 เดือน (ศศิวมิ ล มีอำพล, 2558, หนา้ 4) กล่าวได้ว่าสนิ ทรัพย์หมุนเวยี น คือ เงินสดและสินทรพั ย์อื่น
ที่เปล่ียนเป็นเงินสดได้ง่ายหรือคาดว่าจะได้รับประโยชน์ในรอบระยะเวลาการดำเนินงานปกติคือ
ภายใน 1 ปี ในการจัดทำบัญชีหากรายการสินทรัพย์หมุนเวียนใดท่ีมีสภาพคล่องใกล้เคียงกับเงินสด

130

หรือเปล่ียนสภาพเป็นเงินสดได้เร็ว ให้แสดงไว้ก่อนสินทรัพย์ท่ีเปล่ียนสภาพเป็นเงินสดช้ากว่า
สินทรพั ยห์ มุนเวียนโดยทัว่ ไปมดี งั น้ี

1.1.1 เงนิ สด (cash) หมายถึงเงินสดในมือและเงินสดท่ีกิจการฝากไว้กับธนาคาร
นอกจากนี้ยังหมายรวมถึงเอกสารทางการเงินอื่น เช่น เช็ค ดราฟต์ธนาคารหรือต๋ัวแลกเงิน ฯลฯ ที่ถึง
กำหนดหรือสามารถขึน้ เงินสดที่ธนาคาร แต่กจิ การยงั ไม่ได้ดำเนนิ การ

1.1.2 เงินลงทุนระยะสั้น (short-term investment) หมายถึงหลักทรัพย์
ในความต้องการของตลาดทีก่ ิจการนำเงนิ ไปลงทนุ เพอื่ หวังผลตอบแทนภายในระยะเวลา 1 ปี เช่น ซื้อ
ตั๋วเงินคลงั ท่ีออกโดยรัฐบาล รับซอื้ ลดเชค็ ฯลฯ

1.1.3 ลูกหน้ีการค้า (account receivable) หมายถงึ จำนวนเงินท่ีลูกคา้ ค้าง
ชำระค่าสินค้าหรือบริการของกิจการ หรือการท่ีกิจการให้สินเชื่อหรือให้เครดิตแก่ลูกค้าโดยให้สินค้า
หรอื ใหบ้ รกิ ารไปกอ่ นและใหล้ ูกค้าชำระเงินภายหลงั ตามเวลาที่กำหนด

1.1.4 ต๋ัวเงินรับ (notes receivable) หมายถึง เอกสารสัญญาท่ีเป็นหลักฐาน
การชำระเงนิ ให้แก่กิจการตามระยะเวลาทีก่ ำหนดจากลกู หนี้ โดยต๋ัวเงินรับอาจเป็นลักษณะต๋ัวสญั ญา
ใช้เงนิ หรอื ตว๋ั แลกเงิน หรอื เปน็ เช็คที่ลงวันทลี่ ว่ งหนา้

1.1.5 เงินให้กยู้ ืมระยะสั้น (short-term loan) หมายถึง เงินที่กิจการให้ผู้อื่น
กยู้ ืมไปโดยไม่เกีย่ วข้องกบั การดำเนินงานตามปกติ และมกี ำหนดชำระคืนภายใน 1 ปี

1.1.6 สินค้าคงเหลือ (inventories) หมายถึง วัตถุดิบ สินค้าระหว่างผลิต
สนิ ค้าสำเร็จรปู รวมถึงวัสดุ ชิ้นส่วน อะไหล่ ที่กจิ การมีไว้เพื่อจำหน่าย หรือเพื่อใช้ในการผลิต หรือเพื่อ
ใช้ในการบรกิ ารของกจิ การ

1.1.7 รายได้ค้างรับ (accrued revenue) หมายถึง รายได้ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้น
แต่กิจการยังไมไ่ ดร้ ับเงินในวันสิ้นงวดบัญชี โดยอาจเป็นรายได้จากการดำเนินงานตามปกติของกิจการ
และรายไดอ้ น่ื ๆ ที่ไมเ่ กย่ี วข้องกับการดำเนินงานของกิจการ เชน่ ดอกเบี้ยคา้ งรบั

1.1.8 ค่าใช้จ่ายจ่ายล่วงหน้า (prepaid expense) หมายถึง จำนวนเงินท่ี
กิจการจา่ ยไปก่อนเพื่อได้รับประโยชนใ์ นอนาคต เช่น ค่าเช่าสำนักงานจ่ายล่วงหน้า ค่าเบี้ยประกันภัย
จา่ ยลว่ งหนา้ ฯลฯ

1.1.9 วสั ดุ (supplies) หรือวัสดสุ ้ินเปลือง หมายถึงวัสดุท่ีใชใ้ นสำนักงานหรอื
ในการดำเนินงานโดยมลี กั ษณะใชแ้ ลว้ หมดไป เชน่ เคร่ืองเขียน หมกึ เคร่ืองพิมพ์ ฯลฯ

1.2 สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน (non-current assets) หมายถึง สินทรัพย์ท่ีมีตัวตน
หรือไม่มีตัวตนซึ่งแปรสภาพเป็นเงินสดได้ยาก มีอายุการใช้งานหรือกิจการคาดว่าจะได้รับประโยชน์
จากสินทรัพยน์ ั้นเกินกวา่ 1 ปี สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนประกอบดว้ ยรายการตอ่ ไปนี้

1.2.1 เงินลงทุนระยะยาว (long-term investments) คือ การลงทุนของ
ธรุ กิจเพือ่ ให้ได้รับผลตอบแทนประจำหรือได้รับประโยชน์จากมลู ค่าที่เพิ่มข้ึน โดยมรี ะยะเวลามากกว่า
1 ปี เช่น การซื้อหุ้นของบริษัทอ่ืนในลักษณะของหุ้นสามัญ (common stock) หุ้นบุริมสิทธิ (preferred
stock) หุ้นกู้ (cooperate bond) การซื้อหุ้นกู้ของภาครัฐท่ีเรียกว่าพันธบัตรรัฐบาล (government
bond) ฯลฯ รวมไปถึงการซ้ือสินทรัพย์เพ่ือการลงทุน เช่น ซ้ือที่ดิน ซื้ออาคาร เพื่อให้ผู้อ่ืนเช่าและ

131

กิจการมีรายได้ค่าเช่า ฯลฯ และการให้ผู้อ่ืนกู้เงินในระยะยาว (long-term loan) ซ่ึงมีอายุเกิน 1 ปี
เพื่อหวงั ผลตอบแทนคอื ดอกเบี้ย

1.2.2 สนิ ทรพั ยถ์ าวร (fixed assets) คอื สินทรัพย์ท่ีมีตวั ตนซง่ึ ธรุ กจิ มีไว้เพอื่
ใช้ประโยชน์ในการดำเนินงาน ได้แก่ ที่ดิน (land) อาคาร (building) ซ่ึงหมายถึงสิ่งปลูกสร้างต่าง ๆ
ท่ีใช้ในการดำเนินงานของกิจการ และอุปกรณ์ (equipment) ซ่ึงหมายถึง เครื่องมือ เคร่ืองจักรต่างๆ
ทีใ่ ช้ในการผลิตหรือการให้บรกิ าร และเคร่ืองใช้ภายในสำนักงานไม่ว่าจะเป็นอุปกรณ์ร้านค้า เช่น ชั้นวาง
สินค้า ตู้โชว์สินค้า ฯลฯ อุปกรณ์สำนักงาน เช่น เครื่องคอมพิวเตอร์ เครื่องปร้ินเตอร์ ฯลฯ และอุปกรณ์
ในการขนสง่ เช่น รถเข็น รถกระบะ รถยกของ ฯลฯ

1.2.3 สินทรพั ย์ที่ไมม่ ีตัวตน (intangible assets) คือ สินทรัพย์ที่ไม่มีรูปร่าง
ทางกายภาพ ไม่สามารถสัมผัสได้ แต่มีคุณค่าต่อการดำเนินงานของธุรกิจ หรือธุรกิจอาจเป็นเจ้าของ
ตามกฎหมาย เช่น ลิขสิทธิ์ (copyright) สิทธิบัตร (patent) เคร่ืองหมายการค้า (trade mark) ค่า
ความนยิ ม (goodwill) สัมปทาน (concession) ทั้งสัญญาท่ีรัฐให้สิทธกิ ับเอกชน และการให้สิทธิของ
ผู้เป็นเจ้าของธุรกิจแก่ธุรกิจอื่นที่เรียกว่า franchise ฯลฯ ในบางตำราจัดสินทรัพย์ที่ไม่ตัวตนไว้ใน
หมวดสินทรัพย์อ่นื ๆ (other assets)

1.2.4 สินทรัพย์อื่น ๆ (other assets) หมายถึงสินทรัพย์ท่ีใช้ประโยชน์ใน
การดำเนินงานนอกเหนอื จากท่กี ล่าวมาขา้ งต้น เช่น ค่าเช่าสำนักงานจา่ ยลว่ งหน้าท่ีเกิน 1 ปี คา่ ใช้จา่ ย
ในการจดั ตั้งกิจการ ฯลฯ

2. หนสี้ ิน (liabilities) หมายถึงสทิ ธิเรียกร้องของบุคคลอน่ื ๆ ทีม่ ีต่อสินทรัพย์ซง่ึ กิจการ
มีอยู่ (เบญจมาศ อภสิ ิทธิ์ภิญโญ, 2557, หน้า 16) กล่าวได้ว่าเปน็ ภาระผูกพันที่กิจการต้องจา่ ยชำระคืน
ในอนาคตตามที่ตกลงให้แก่บุคคล กลุ่มบุคคล หรือองค์การท่ีเก่ียวข้องต่อการดำเนินงานของกิจการ
ท้ังนหี้ นส้ี ินแบง่ ออกเป็น 2 ประเภท ดงั นี้

2.1 หน้ีสินหมุนเวียน (current liabilities) คือ ภาระผูกพันที่กิจการต้องชดใช้
หรือชำระคืนภายใน 1 ปี ดังมรี ายละเอียดตอ่ ไปน้ี

2.1.1 เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกู้ยืมจากธนาคาร (bank overdraft and
loans from banks) โดยเงินเบิกเกินบัญชี หมายถึง เงินที่กิจการเบิกเกินจากเงินในบัญชีกระแส
รายวัน เพื่อใช้จ่ายในการดำเนินงานแต่ละวันโดยใช้จ่ายผ่านเช็ค ส่วนเงินกู้ยืมจากธนาคาร หมายถึง
ภาระผกู พันภายใน 1 ปี ทีก่ ิจการตอ้ งจ่ายแก่ธนาคารตามสัญญาการกู้เงินที่ไดร้ ะบุ

2.1.2 เจ้าหน้กี ารคา้ (accounts payable) หมายถึงภาระผูกพันที่กิจการตอ้ ง
ชดใช้ให้กับบุคคล กลมุ่ บคุ คล หรอื องค์การ จากท่ีกิจการไดซ้ อ้ื สนิ คา้ หรือใช้บรกิ ารเปน็ เงนิ เชอื่

2.1.3 ต๋ัวเงินจ่าย (note payable) เป็นเอกสารท่ีกิจการสญั ญาหรือรับรองว่า
จะจ่ายเงินตามท่ีได้ระบุรายละเอียดในหน้าตั๋วเงินให้กับบุคคล กลุ่มบุคคล หรือองค์การ โดยตั๋วเงิน
อาจเปน็ ลกั ษณะตั๋วสัญญาใช้เงนิ หรือต๋ัวแลกเงนิ ก็ได้ ตั๋วเงินน้อี าจเป็นเอกสารเพ่ือรับรองการกู้เงนิ หรือ
การซือ้ สินคา้ ของกจิ การกไ็ ด้

2.1.4 รายได้รับล่วงหน้า (deferred revenue) หมายถึงเงินที่กิจการได้รับ
จากลูกคา้ มาก่อนที่จะจัดส่งสินค้าหรอื ให้บรกิ ารแก่ลูกคา้ ทำให้กิจการเป็นหน้ีลูกค้าและมีภาระผูกพัน
ทีต่ อ้ งชดใช้ดว้ ยสนิ ค้าหรอื ใหบ้ รกิ ารใหแ้ ก่ลูกค้า

132

2.1.5 ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย (accrued expenses) หมายถึง ค่าใช้จ่ายต่าง ๆ ที่
ถงึ กำหนดต้องจ่าย แต่กิจการยังไม่ได้จ่ายเมื่อส้ินงวดบัญชี เช่น เงินเดือนค้างจ่าย ค่าแรงค้างจ่าย เงิน
ปนั ผลค้างจ่าย ดอกเบีย้ คา้ งจ่าย ฯลฯ

2.1.6 เจ้าหน้ีอ่ืน (other payable) หมายถึง เจ้าหน้ีอ่ืนท่ีไม่ใช่เจ้าหนี้การค้า
หรือเจา้ หน้ที ีเ่ ป็นธนาคาร ซ่ึงเกิดจากการที่กจิ การได้กูย้ ืมเงนิ หรือสนิ ทรัพย์

2.2 หนี้สินระยะยาว (long-term liabilities) คือ ภาระผูกพันท่ีกิจการต้องชดใช้
หรอื ชำระคืนเกนิ กวา่ 1 ปี ดงั มรี ายละเอยี ดตอ่ ไปน้ี

2.2.1 หุ้นกู้ (bonds payable) การท่ีกิจการออกขายหุ้นกู้แก่บุคคลภายนอก
เพ่ือระดมเงินทุนมาใช้ประโยชน์ในการดำเนินงานของกิจการ โดยมีระยะเวลาไถ่ถอนเกินกว่า 1 ปี
ทงั้ นี้กิจการที่ออกหุ้นก้ไู ด้นั้นจะต้องมีรูปแบบองค์การธุรกจิ ในลกั ษณะบรษิ ัทมหาชนจำกดั หรือบริษัท
จำกัด ที่ได้รับการยกเว้นหรือปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ เง่ือนไข และวิธีการท่ีคณะกรรมการกำกับตลาด
ทุนประกาศ

2.2.2 เงินกู้ระยะยาว (long-term loan) การที่กิจการกู้ยืมเงินจากบุคคล
กลุ่มบุคคล หรือองค์การอ่ืนภายนอก โดยมีระยะเวลาใช้คืนเกิน 1 ปี ทั้งน้ีการกู้ระยะยาวอาจเป็นใน
ลักษณะที่ไม่ต้องจำนอง คือ ไม่ต้องนำสินทรัพย์ของกิจการไปจำนองเพื่อค้ำประกันเงินท่ีกู้มา หรือใน
แบบเงินกู้ระยะยาวทม่ี ีการจำนอง (mortgage loan)

3. ส่วนของเจ้าของ (owner’s equity) หรือทุน หมายถึง จำนวนเงินที่เจ้าของจะ
ไดร้ บั หากขายกิจการทัง้ หมดและชำระหนี้สินแลว้ (ฉตั ยาพร เสมอใจ, 2558, หนา้ 429) หรือสนิ ทรพั ย์
ใด ๆ ท่ีเหลือหลังจากการจ่ายชำระหน้ีสินเรียบร้อยแล้ว (เบญจมาศ อภิสิทธ์ิภิญโญ, 2557, หน้า 16)
หรือทุนที่เจ้าของกิจการนำมาลงทุน (กานต์นภัส บุญลึก, 2554, หน้า 35) กล่าวได้ว่าส่วนของเจ้าของ
เป็นส่วนคงเหลือในสินทรัพย์หลงั หกั หนสี้ ินของกิจการ ดังตัวอยา่ ง

ตัวอย่างท่ี 1 ร้านเอบริการ ซึ่งมีนายเอ เป็นเจ้าของ มีสินทรัพย์ต่าง ๆ ดังน้ี เงินสด
30,000 บาท ลกู หน้ีการคา้ 10,000 บาท อปุ กรณ์ 10,000 บาท ท่ีดิน 2,000,000 บาท อาคาร
1,000,000 บาท รวมสนิ ทรัพย์ทงั้ สนิ้ 3,050,000 บาท

ถ้าร้านเอบริการ ไม่มีหนี้สิน ดังน้ัน ส่วนของเจ้าของเท่ากับมูลค่า
สินทรัพย์คือ 3,050,000 บาท ตามสมการบญั ชี สินทรัพย์ = หนีส้ ิน + ส่วนของเจา้ ของ

แต่ถ้าหากร้านเอบริการมีหนี้สินจำนวน 50,000 บาท ดังนั้นส่วนของ
เจ้าของหรือทุนนายเอ เท่ากับ 3,000,000 ซ่ึงได้มาจาก สินทรัพย์ 3,050,000 หักออกด้วยหน้ีสิน
50,000 บาท

ตัวอยา่ งท่ี 2 ห้างหุน้ ส่วนจำกัด เอบซี ี ซ่งึ มีนายเอ นายบี และนายซี เป็นหุ้นสว่ นที่ลง
จำนวนเงนิ เท่ากนั โดยมีสนิ ทรัพยต์ า่ ง ๆ รวม 1,050,000 บาท และกิจการไมม่ หี นสี้ ิน

ดงั นั้นส่วนของเจา้ ของหรือท่ีเรยี กส่วนของผู้เปน็ หุน้ สว่ น สำหรับองคก์ าร
ธุรกิจรูปแบบห้างหุ้นส่วน จึงประกอบด้วย ทุนนายเอ 350,000 บาท ทุนนายบี 350,000 บาท และ
ทุนนายซี 350,000 บาท ได้มาจากสินทรัพย์ 1,050,000 บาท หารด้วยจำนวนหุ้นส่วนคือ 3 คน

133

เพราะแต่ละคนนำเงินมาลงทุนร่วมกันในจำนวนที่เท่ากนั แต่ถ้าหากกิจการมีหนี้สินก็นำไปหักลบออก
จากสินทรัพย์ ที่เหลอื กจ็ ะเปน็ สว่ นของผู้เป็นหนุ้ ส่วนตามสัดส่วนที่ได้นำเงินมาลงทุน

อย่างไรก็ดีส่วนของเจ้าของหรือทุนจะมีช่ือเรียก มีสว่ นประกอบ และมีการคำนวณที่
แตกต่างกันออกไปเมอื่ ดำเนนิ กจิ การ ซง่ึ ขนึ้ กับรูปแบบการจดั ตง้ั องคก์ ารธุรกจิ ดังนี้

เจ้าของคนเดียว ในส่วนของเจ้าของประกอบด้วยเงินทุนเริ่มแรก (capital) ถอนใช้
ส่วนตัว (withdrawal) กำไรหรือขาดทุน (profit or loss) ท้ังนี้ในกรณีถอนทุน และเกิดการขาดทุน
ตอ้ งนำไปหักออกจากสว่ นของเจ้าของ

ห้างหุ้นสว่ น ในส่วนของเจ้าของหรือเรยี กวา่ สว่ นของผู้เปน็ หุ้นส่วน (partner’s equity)
จะประกอบดว้ ยผลรวมทุนของผู้เป็นหุน้ ส่วนแต่ละคน โดยทุนคำนวณจากเงินลงทุน เงินถอนทุน และ
ส่วนแบง่ ผลกำไรหรือขาดทนุ ของผูเ้ ปน็ หุน้ สว่ นแต่ละคน

บรษิ ัท กิจการในรูปแบบองค์การธุรกิจนี้จะเรยี กสว่ นของเจ้าของว่า ส่วนของผถู้ ือหุ้น
เพราะผ้ทู ี่ลงทุนเรียกผู้ถือหุ้น ซงึ่ จะไดร้ บั ผลตอบแทนในรปู เงินปันผลซ่ึงแบง่ มาจากส่วนของกำไรสะสม
โดยบริษัทจะจ่ายเงินปันผลเมื่อได้รับอนุมัติจากที่ประชุมผู้ถือหุ้น ซ่ึงในส่วนของผู้ถือหุ้นประกอบด้วย
1) ทุนเรือนหุ้น (capital stock) หมายถึง เงินทุนของบริษัทที่ได้จดทะเบียนและเรียกชำระเรียบร้อย
แล้ว 2) ส่วนเกินมูลค่าหุ้น (additional paid-in capital) หากราคาหุ้นที่บริษัทขายได้สูงกว่ามูลค่า
ห้นุ ที่ตราไว้ และ3) กำไรสะสม (retained earnings หรือ accumulated income) คือ กำไรทเี่ หลือ
ตั้งแต่เร่ิมจัดต้ังบริษัทเป็นต้นมาจนถึงทุกสิ้นงวดบัญชี แต่ถ้าหากบริษัทขาดทุนก็จะเป็นขาดทุนสะสม
(deficit) โดยกำไรสะสมแบ่งเป็นส่วนแรก คือกำไรสะสมท่ีจัดสรรแล้ว (appropriated retained
earnings) ได้แก่ เงินสำรองตามกฎหมาย คือเงินท่ีกันไว้ก่อนจ่ายปันผล และเงินสำรองอื่นตามมติที่
ประชุมผู้ถือหุ้น ส่วนท่ีสองคือ กำไรสะสมยังไม่ไดจ้ ัดสรร (unappropriated retained earnings) ซ่ึง
เปน็ สว่ นท่ีคงเหลือหลงั จัดสรร

4. รายได้ (revenues) หมายถึง จำนวนเงินที่กิจการหามาได้ หรือคาดว่าจะได้รับจาก
คา่ สินค้าหรือบรกิ ารที่ได้จัดหาให้แก่ลูกค้า (เบญจมาศ อภิสิทธ์ิภิญโญ, 2557, หน้า 30) หรอื ผลตอบแทน
ทก่ี ิจการไดร้ ับจากการประกอบการกอ่ นหักค่าใช้จ่ายใด ๆ (วัฒนา ศวิ ะเก้ือ, ดษุ ฎี สงวนชาติ และนันทพร
พิทยะ, 2556, หน้า 36) นอกจากนี้รายได้ยังหมายถึง การเพิ่มข้ึนของประโยชน์เชิงเศรษฐกิจในรอบ
ระยะเวลาบัญชีในรูปของกระแสเขา้ หรือการเพมิ่ ข้ึนของสินทรัพย์ หรือการลดลงของหนส้ี ิน รายได้จะ
ทำให้ส่วนของเจ้าของเพ่ิมข้ึน แต่จะไม่รวมเงินทุนท่ีได้รับจากเจ้าของ ทั้งนี้รายการใดจัดว่าเป็นรายได้
ต้องเป็นไปตามเกณฑ์ข้อหน่ึงข้อใดต่อไปนี้ 1) ประโยชน์เชิงเศรษฐกิจเพ่ิมขึ้น 2) กระแสเข้าหรือการ
เพ่ิมค่าของสินทรัพย์ 3) การลดลงของหนี้สิน และ 4) ส่งผลให้ส่วนของเจ้าของเพ่ิมข้ึน โดยไม่รวม
เงินทุนที่ได้รับจากผู้เป็นเจ้าของ (ศศิวิมล มีอำพล, 2558, หน้า 2-12) กล่าวได้ว่ารายได้เป็นรายรับท่ี
กิจการได้มาจากการดำเนินกิจกรรมที่ทำให้เกิดการเพ่ิมข้ึนของประโยชน์ทางเศรษฐกิจแก่กจิ การ และ
ทำใหส้ ่วนของเจา้ ของเพ่ิมขน้ึ นอกเหนือจากเงนิ ทนุ ของผเู้ ป็นเจา้ ของ

รายได้แบ่งออกเป็น 2 ประเภท ได้แก่ รายได้ทางตรงหรือรายได้จากการดำเนินงาน
และรายได้ทางอ้อมหรือรายได้อื่น ๆ

134

4.1 รายได้ทางตรง (direct revenues) หรือรายได้จากการดำเนินงาน (operating
revenues) หมายถึง รายได้ที่มาจากการขายสินค้า สิทธิ หรือบริการ ซึ่งเกิดข้ึนจากการดำเนินการค้า
โดยปกตขิ องกิจการ

4.2 รายได้อื่น ๆ (other revenues) หมายถึง รายได้ท่ีมาจากกิจกรรมอ่ืน ๆ ซ่ึง
ไม่ใช่กิจกรรมหลักหรือการค้าปกติของกิจการ เช่น ดอกเบ้ียรับของกิจการจากการซ้ือหุ้นกู้ ดอกเบ้ีย
เงนิ ฝากธนาคาร ค่าเช่าอาคารพาณชิ ย์ (หากกิจการไม่ได้ประกอบธรุ กิจให้เชา่ อสังหารมิ ทรัพย)์ ฯลฯ

5. ค่าใช้จ่าย (expenses) หมายถึง จำนวนเงินที่กิจการได้จ่ายไป เพ่ือการจัดหาสินค้า
หรือการบริการให้แก่ลูกค้า หรือจะต้องจ่ายในอนาคตเพื่อเป็นการชำระค่าบริการท่ีได้ใช้บริการของ
บุคคลอื่นไปแล้ว (เบญจมาศ อภิสิทธิ์ภิญโญ, 2557, หน้า 30) หรือต้นทุนของสินค้าหรือบริการที่กิจการ
ต้องจ่ายไปเพื่อก่อให้เกิดรายได้ระหว่างงวดเวลาหนึ่ง หรือต้นทุนที่นำมาหักออกจากรายได้ในรอบ
ระยะเวลาการดำเนินงานหนงึ่ ๆ (วฒั นา ศวิ ะเก้ือ, ดุษฎี สงวนชาติ และนันทพร พิทยะ, 2556, หน้า 36)
ทง้ั น้รี ายการใดจัดว่าเป็นค่าใช้จ่ายนั้นต้องเป็นไปตามเกณฑ์ขอ้ หนงึ่ ข้อใดต่อไปนี้ 1) ประโยชน์เชิงเศรษฐกิจ
ลดลง 2) กระแสออกหรือการลดค่าของสินทรัพย์ 3) การเพ่ิมข้ึนของหน้ีสิน และ4) ส่งผลให้ส่วนของ
เจ้าของลดลงโดยไม่รวมการแบ่งปันส่วนท่ีให้กับผู้เป็นเจ้าของ (ศศิวิมล มีอำพล, 2558, หน้า 2-13)
ดังน้ันกล่าวได้ว่าคา่ ใชจ้ ่าย คือ จำนวนเงนิ ทก่ี ิจการต้องจา่ ยออกไปเพื่อประโยชน์ในการดำเนินงานหรือ
นำไปใช้เพื่อก่อให้เกิดรายได้ ส่งผลให้ส่วนของเจ้าของลดลงแต่ไม่รวมกับการแบ่งสันปันส่วนให้กับ
เจา้ ของ

ค่าใช้จ่ายแบ่งออกเป็น 5 ประเภทหลัก ได้แก่ ต้นทุนขายหรือต้นทุนการให้บริการ
ค่าใช้จ่ายในการขาย ค่าใช้จ่ายในการบริหาร ค่าใช้จ่ายอ่ืน และต้นทุนทางการเงิน (ศศิวิมล มีอำพล,
2558, หนา้ 2-14) ดงั มรี ายละเอียดตอ่ ไปน้ี

5.1 ต้นทุนขายหรือต้นทุนการให้บริการ (cost of sales and cost of services)
หมายถึง ต้นทุนของสินค้าหรือต้นทุนในการบริการที่ต้องจ่ายออกไป เพื่อให้มีสินค้าพร้อมขาย หรือ
พร้อมบรกิ ารเพื่อก่อให้เกิดรายได้แก่กจิ การ

5.2 ค่าใช้จ่ายในการขาย (selling expenses) หมายถึง ค่าใช้จ่ายท่ีเกิดข้ึนจากการ
ขายหรือให้บริการ เชน่ เงนิ เดือนพนักงานขายหรือพนักงานให้บริการ คา่ ขนส่งสนิ ค้า ฯลฯ

5.3 ค่าใช้จ่ายในการบริหาร (administrative expenses) เป็นค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้น
ในการบริหารกิจการโดยรวม เช่น ค่าเช่าสำนกั งาน ค่าสาธารณปู โภค เงนิ เดอื นผู้บริหาร ฯลฯ

ทัง้ น้คี ่าใชจ้ ่ายในการขายและค่าใช้จา่ ยในการบริหาร มักเรียกรวมกนั ว่าคา่ ใชจ้ า่ ยในการ
ดำเนินงาน

5.4 ค่าใช้จ่ายอื่น (other expenses) หมายถึง ค่าใช้จ่ายที่ไม่ได้เกิดขึ้นจากการ
ดำเนินการค้าโดยปกติของกิจการ เช่น ขาดทุนจากการขายที่ดิน ขาดทนุ จากราคาหนุ้ ทซ่ี ้ือไว้ลดลง ฯลฯ

5.5 ต้นทุนทางการเงิน (finance costs) หมายถึงค่าใช้จ่ายที่เกิดข้ึนจากการหา
เงนิ ทนุ ของกจิ การ เช่น ค่าธรรมเนียมของทางธนาคาร คา่ ดอกเบย้ี เงนิ กู้ ฯลฯ

โดยสรุปสมการบัญชแี สดงความสมั พนั ธ์ระหว่างตัวแปรทางบญั ชี ได้แก่ สนิ ทรพั ย์ หน้ีสิน
และส่วนของเจ้าของ โดยสินทรัพยต์ ้องเท่ากับผลรวมของหน้ีสินและสว่ นของเจ้าของ นอกจากนี้ในการ

135

ดำเนินธุรกิจย่อมทำให้เกิดรายได้ และค่าใช้จ่าย จึงทำให้หมวดรายการทางการบัญชี ประกอบด้วย
สินทรัพย์ หน้ีสนิ สว่ นของเจ้าของ รายได้ และคา่ ใช้จ่าย

การจดั ทำบญั ชีตามวงจรการบัญชี

การจัดทำบัญชีตามวงจรการบัญชี หรือลำดับข้ันตอนทางการบัญชีในแต่ละงวดบัญชี

เริ่มต้นด้วยการวิเคราะห์และการบันทึกรายการค้าในสมุดรายวันทั่วไป การผ่านรายการไปยังบัญชี

แยกประเภท การจัดทำงบทดลอง การบันทึกรายการปรับปรุงในสมดุ รายวนั ท่ัวไปแล้วผ่านรายการไป

ยังบัญชีแยกประเภท การจัดทำงบทดลองหลังการปรับปรุง การปิดบัญชี และการทำงบการเงิน ดัง

รายละเอยี ดต่อไปน้ี

1. การบันทึกรายการค้าท่ีเกิดข้ึนประจำวันในสมุดรายวันท่ัวไป (journalizing) เป็นการ

บนั ทกึ รายการคา้ ท่วั ไปทุกเรื่องลงในสมุดรายวนั ท่ัวไป (general journal)

จากสมการบญั ชี สนิ ทรพั ย์ + ค่าใช้จ่าย = หน้ีสนิ + สว่ นของเจ้าของ + รายได้

ในการลงบัญชีต้องเกิดสมดุลของรายการทางบัญชีท่ีเรียกว่าระบบบัญชีคู่ เช่น หากกิจการซ้ือสินค้า

ด้วยเงินสด แสดงว่ากิจการมีสินค้าซ่ึงเป็นสินทรัพย์เพ่ิมเข้ามา แต่ในขณะเดียวกันเงินสดซึ่งเป็น

สินทรัพย์ของกิจการก็ลดลงเช่นกัน อีกท้ังต้องลงรายการตามหลักการสากลคือ การเดบิต (debit)

และเครดิต (credit) คือทุกคร้ังท่ีมีการเดบิต ก็ต้องมีการเครดิต โดยมีหลักการท่ีนำไปใช้ในสมการ

บญั ชีข้างตน้ คือ หากสินทรัพย์หรือคา่ ใช้จ่ายเพิ่มข้ึนคือเดบิต ถ้าลดลงคือเครดิต แต่ถ้าหากหน้ีสินหรือ

สว่ นของเจ้าของหรอื รายไดเ้ พม่ิ ข้นึ คือเครดติ ถา้ ลดลงคอื เดบิต สรุปไดด้ งั นี้

สินทรพั ย์ + คา่ ใชจ้ า่ ย = หนส้ี นิ + ส่วนของเจา้ ของ + รายได้

(เพิม่ ขน้ึ เดบิต ลดลง เครดิต) (เพิ่มข้นึ เครดิต ลดลง เดบติ )

ตวั อยา่ งการบนั ทกึ รายการค้าทเี่ กดิ ขึน้ ประจำวนั ในสมดุ รายวนั ทว่ั ไป
ร้านเอบริการ ซง่ึ เป็นกจิ การเจ้าของคนเดียว มรี ายการคา้ ในเดือนธันวาคม 25XX ดังน้ี
1. วนั ท่ี 1 ธนั วาคม นายเอนำเงนิ มาลงทนุ ในธุรกจิ 100,000 บาท
2. วันท่ี 2 ธนั วาคม จา่ ยค่าเช่ารา้ นประจำเดือน 10,000 บาท
3. วันท่ี 5 ธนั วาคม ซอ้ื อปุ กรณ์คือเครื่องถา่ ยเอกสารเป็นเงินสด 30,000 บาท
4. วนั ท่ี 10 ธนั วาคม ซอ้ื วัสดุสิ้นเปลืองในการถา่ ยเอกสารเป็นเงนิ เช่ือ 20,000 บาท
5. วันท่ี 11 ธันวาคม ซอ้ื วัสดุส้ินเปลอื งในการถา่ ยเอกสารเปน็ เงนิ สด 10,000 บาท
6. วนั ท่ี 17 ธันวาคม ลูกค้าชำระคา่ บริการเป็นเงนิ สด 73,250 บาท
7 วันที่ 19 ธนั วาคม ลูกคา้ ค้างชำระค่าบริการ 45,000 บาท
8. วันท่ี 28 ธันวาคม จา่ ยคา่ สาธารณูปโภค 3,000 บาท
9. วนั ที่ 29 ธันวาคม นำเงินสดของรา้ น 1,000 บาท ไปจ่ายคา่ รกั ษาพยาบาล
10. วันท่ี 30 ธันวาคม จา่ ยเงินเดือนพนักงาน 32,000 บาท
11. วนั ท่ี 30 ธนั วาคม ลกู ค้าท่ีค้างชำระในวันท่ี 19 ธนั วาคม นำเงินมาจา่ ย 40,000 บาท

136

สมุดรายวันทั่วไป หนา้ บญั ชี 1

วนั ท่ี รายการ เลขท่ีบญั ชี เดบิต เครดติ
100,000 - 100,000 -
25XX 10,000 - 10,000 -
30,000 - 30,000 -
ธ.ค. 1 เงนิ สด 101 20,000 - 20,000 -
10,000 - 10,000 -
ทุน-นายเอ 301 73,250 - 73,250 -
45,000 - 45,000 -
นายเอนำเงินมาลงทุน
3,000 - 3,000 -
2 คา่ เช่า 501 1,000 - 1,000 -
32,000 - 32,000 -
เงินสด 101 40,000 - 40,000 -

จ่ายคา่ เช่ารา้ นประจำเดือน

5 อุปกรณ์ 104

เงินสด 101

จา่ ยคา่ เครื่องถ่ายเอกสารเปน็ เงนิ สด

10 วัสดสุ น้ิ เปลอื ง 103

เจา้ หน้ีการคา้ 201

ซอ้ื วสั ดุในการถ่ายเอกสารเป็นเงินเชื่อ

11 วสั ดสุ ้ินเปลือง 103

เงนิ สด 101

ซอ้ื วสั ดุในการถ่ายเอกสารเป็นเงินสด

17 เงินสด 101

รายได้คา่ บรกิ าร 401

ลกู ค้าชำระค่าบรกิ ารเปน็ เงินสด

19 ลกู หนี้การคา้ 102

รายไดค้ ่าบรกิ าร 401

ลูกคา้ คา้ งชำระค่าบรกิ าร

28 ค่าสาธารณูปโภค 502

เงินสด 101

จ่ายคา่ สาธารณูปโภค

29 ถอนใช้ส่วนตัว 302

เงินสด 101

นำเงินของรา้ นไปจา่ ยค่ารกั ษาพยาบาล

30 เงินเดือนพนกั งาน 503

เงนิ สด 101

จา่ ยเงนิ เดือนพนกั งาน

30 เงินสด 101

ลกู หนี้การคา้ 102

ลกู หนีน้ ำเงินสดมาชำระคา่ บริการ

137

หมายเหตุ กำหนดเลขบัญชีขึ้นต้นตามมาตรฐานหมวดบัญชี คือ

หมวด 1 สินทรพั ย์ เลขท่บี ญั ชี คอื 1

หมวด 2 หนีส้ ิน เลขที่บญั ชี คือ 2

หมวด 3 สว่ นของเจ้าของ เลขที่บัญชี คือ 3

หมวด 4 รายได้ เลขทบี่ ญั ชี คอื 4

หมวด 5 คา่ ใช้จ่าย เลขที่บัญชี คอื 5

โดยกำหนดผังบัญชี (chart of accounts) ซ่ึงเป็นรายชือ่ บัญชที ้ังหมดที่ใช้ในการบนั ทึก

บัญชี ของรา้ นเอบรกิ าร ดังน้ี

สินทรัพย์ หน้สี ิน ส่วนของเจา้ ของ

เลขทีบ่ ญั ชี ช่ือบญั ชี เลขทบี่ ัญชี ช่ือบัญชี เลขท่ีบัญชี ชอื่ บญั ชี

101 เงินสด 201 เจ้าหนีก้ ารค้า 301 ทนุ -นายเอ

102 ลกู หนี้การคา้ 302 ถอนใช้สว่ นตัว

103 วสั ดสุ ิ้นเปลือง

104 อปุ กรณ์

รายได้ ค่าใช้จา่ ย
เลขที่บัญชี ช่ือบญั ชี เลขที่บญั ชี ชอื่ บญั ชี
401 รายได้ค่าบริการ
501 ค่าเช่ารา้ น
502 ค่าสาธารณปู โภค
503 เงนิ เดือนพนักงาน

อย่างไรก็ดีธรุ กจิ ซ่ึงมีรายการค้าจำนวนมาก อาจแยกรายการค้าท่ีเกิดขึ้นออกเป็นเร่อื ง ๆ
และบันทึกลงในสมุดรายวันเฉพาะ (special journal) ได้แก่ สมุดรายวันรับเงิน (cash received journal)
บันทึกเฉพาะรายการรับเงิน สมุดรายวันจ่ายเงิน (cash payment journal) บันทึกเฉพาะรายการ
จ่ายเงิน สมุดรายวันซ้ือ (purchase journal) บันทึกเฉพาะรายการซ้ือสินค้าเป็นเงินเช่ือ สมุดรายวันขาย
(sale journal) บันทึกเฉพาะรายการขายสินค้าเป็นเงินเช่ือ สมุดรายวันส่งคืนสินค้า (purchase
returns & allowances journal) บันทึกเฉพาะรายการส่งคืนสินค้าที่ซื้อเป็นเงินเช่ือ และสมุดรายวันรับ
คืนสินค้า (sale returns & allowances journal) บันทึกเฉพาะรายการรับคืนสินค้าท่ีขายเป็นเงินเชื่อ
ส่วนสมุดรายวันท่ัวไปของธุรกิจท่ีแยกบันทึกรายการลงในสมุดรายวันเฉพาะ มีไว้สำหรับบันทึกรายการค้า
อนื่ ๆ ทีไ่ ม่สามารถบันทึกในสมุดรายวนั เฉพาะเลม่ ใดเล่มหน่ึงได้

2. การผ่านรายการไปยังบัญชีแยกประเภท (posting) เมื่อบันทึกรายการในสมุดรายวัน
ทั่วไป หลังจากนั้นต้องผ่านรายการไปยังสมุดบัญชีแยกประเภท โดยระบุว่าเป็นบัญชีแยกประเภท
รายการใด เลขท่ีบัญชีอะไรซึ่งต้องตรงกับที่เขียนระบุไว้ในสมุดรายวันท่ัวไป เช่น บัญชีแยกประเภท
เงินสด เลขท่ีบญั ชี 101 หากผ่านบญั ชีจากสมุดรายวันทว่ั ไปมายังบัญชแี ยกประเภทเงินสด หมายความว่า
รวบรวมทุกรายการค้าที่เก่ียวกับเงินสดในสมุดรายวันท่ัวไป มาใส่ในบัญชีแยกประเภทเงินสด หาก

138

รายการใดในสมุดรายวันท่ัวไปทำให้เงินสดเพิ่มหรือเดบิตเงินสด ก็กรอกรายละเอียดรายการดังกล่าว
ทางด้านเดบิต ในทางกลับกันหากรายการใดในสมุดรายวันทั่วไปทำให้เงินสดลดหรือเครดิตเงินสด
ก็กรอกรายละเอียดรายการน้ันทางด้านเครดิต การผ่านบัญชีจากสมุดรายวันทั่วไปมายังบัญชีแยก
ประเภทก็เพื่อจัดรายการเป็นหมวดหมู่ สะดวกตอ่ การตรวจสอบยอดคงเหลอื และจัดทำงบการเงนิ

ตัวอยา่ งการผ่านรายการจากสมดุ รายวันทวั่ ไปมายังบญั ชีแยกประเภท

การผ่านรายการจากสมุดรายวันทัว่ ไปของรา้ นเอบริการ ไปยังบัญชแี ยกประเภท ดังนี้

เงินสด

เลขทบ่ี ัญชี 101

วันที่ รายการ หนา้ เดบติ วนั ที่ รายการ หนา้ เครดติ

บัญชี บญั ชี

25XX 25XX

ธ.ค. 1 ทนุ -นายเอ รว.1 100,000 - ธ.ค. 2 ค่าเช่า รว.1 10,000 -

17 รายได้ รว.1 73,250 - 5 อุปกรณ์ รว.1 30,000 -
คา่ บริการ

30 ลกู หน้ี รว.1 40,000 - 11 วัสดุส้นิ เปลือง รว.1 10,000 -

การคา้

28 ค่า รว.1 3,000 -

สาธารณปู โภค

29 ถอนใชส้ ว่ นตัว รว.1 1,000 -

30 เงนิ เดือน รว.1 32,000 -

พนักงาน

ยอดยกไป ✓ 127,250 -

213,250 - 213,250 -

พ.ค. 1 ยอดยกมา ✓ 127,250 -

วนั ที่ รายการ ลูกหน้กี ารค้า เลขทบ่ี ญั ชี 102
หน้า เครดติ
25XX หน้า เดบิต วนั ท่ี รายการ บญั ชี
ธ.ค. รายได้ บญั ชี
19 ค่าบริการ รว.1 40,000 -
25XX ✓ 5,000 -
พ.ค. 1 ยอดยกมา รว.1 45,000 - ธ.ค. เงนิ สด
45,000 -
30 ยอดยกไป
45,000 -
✓ 5,000 -

139

วนั ท่ี รายการ วสั ดสุ ้ินเปลือง เลขทบ่ี ัญชี 103
หน้า เครดิต
25XX หนา้ เดบติ วันที่ รายการ บัญชี
ธ.ค. 10 เจ้าหน้ี บัญชี
✓ 30,000 -
การคา้ 25XX
11 เงินสด รว.1 20,000 - ธ.ค. ยอดยกไป 30,000 -

พ.ค. 1 ยอดยกมา 30
10,000 -
30,000 -
✓ 30,000 -

วันท่ี รายการ อุปกรณ์ เลขท่บี ัญชี 104
25XX หน้า เครดิต
ธ.ค. 5 เงินสด หน้า เดบติ วันที่ รายการ บญั ชี
บัญชี
พ.ค. 1 ยอดยกมา ✓ 30,000 -
25XX
รว.1 30,000 - ธ.ค. ยอดยกไป 30,000 -

30
30,000 -
✓ 30,000 -

เจา้ หนกี้ ารค้า

เลขที่บญั ชี 201

วนั ที่ รายการ หน้า เดบิต วันที่ รายการ หนา้ เครดิต

บัญชี บัญชี

25XX 25XX

ธ.ค. ยอดยกไป ✓ 20,000 - ธ.ค. 10 วสั ดสุ นิ้ เปลือง รว.1 20,000 -

30

20,000 - 20,000 -

พ.ค. 1 ยอดยกมา ✓ 20,000 -

140

วนั ที่ รายการ หนา้ ทนุ -นายเอ เลขท่บี ัญชี 301
บัญชี หน้า เครดติ
เดบติ วันที่ รายการ บัญชี
25XX
25XX รว.1 100,000 -
ธ.ค. 1 เงนิ สด
100,000 -

วนั ท่ี รายการ หนา้ ถอนใช้สว่ นตัว รายการ เลขท่บี ัญชี 302
บญั ชี
25XX เดบิต วนั ท่ี หน้า เครดติ
ธ.ค. 29 เงนิ สด รว.1 บญั ชี
25XX
1,000 -

1,000 -

วนั ที่ รายการ หน้า รายได้ค่าบริการ เลขทบ่ี ญั ชี 401
บัญชี หน้า เครดิต
เดบติ วันท่ี รายการ บญั ชี
25XX
25XX รว.1 73,250 -
ธ.ค. 17 เงินสด รว.1 45,000 -
ธ.ค. 19 ลกู หนี้
118,250 -
การค้า

141

คา่ เช่า
เลขท่ีบัญชี 501

วนั ที่ รายการ หน้า เดบติ วนั ที่ รายการ หนา้ เครดติ
บัญชี บญั ชี

25XX 25XX
ธ.ค. 2 เงนิ สด รว.1 10,000 -

10,000 -

คา่ สาธารณปู โภค
เลขทบี่ ัญชี 502

วันที่ รายการ หนา้ เดบติ วันที่ รายการ หน้า เครดติ
บญั ชี บัญชี

25XX 25XX
ธ.ค. 28 เงนิ สด รว.1 3,000 -

3,000 -

เงนิ เดือนพนักงาน

วนั ท่ี รายการ หน้า เดบติ วันท่ี รายการ เลขทบ่ี ัญชี 503
บญั ชี
25XX หนา้ เครดติ
ธ.ค. 30 เงินสด บญั ชี

รว.1 32,000 -

32,000 -

3. การจัดทำงบทดลอง (preparing a trial balance) เมื่อจัดทำบัญชีแยกประเภท
จนครบระยะเวลาตามงวดบัญชี จากนั้นสรุปยอดต่าง ๆ ในบัญชีแยกประเภทมาทำงบทดลอง (trial
balance) โดยแยกยอดด้านเดบิตกับด้านเครดิต ท้ังน้ีผลรวมของแต่ละด้านจะต้องเท่ากัน อน่ึง งบ
ทดลองไม่ใช่งบการเงิน แต่เป็นงบสำหรับตรวจสอบว่าการบันทึกบัญชีต้ังแต่รายวันทั่วไปจนการผ่าน
บญั ชมี ายังบัญชีแยกประเภททำได้อย่างถูกต้องหรือไม่ (Price, Haddock & Farina, 2012, p.69) ดัง
ตวั อยา่ งงบทดลองของร้านเอบริการ

142

ช่ือบญั ชี รา้ นเอบริการ - เครดิต
งบทดลอง -
เงินสด วันท่ี 30 ธันวาคม 25XX - 20,000 -
ลูกหนี้การค้า - 100,000 -
วสั ดุส้ินเปลือง เลขทบ่ี ัญชี เดบิต 118,250 -
อปุ กรณ์ -
เจา้ หน้ีการค้า 101 127,250 238,250 -
ทุน-นายเอ 102 5,000 -
ถอนใช้สว่ นตัว 103 30,000 -
รายได้คา่ บริการ 104 30,000 -
ค่าเช่า 201 -
คา่ สาธารณูปโภค 301
เงนิ เดือนพนักงาน 302 1,000
401
501 10,000
502 3,000
503 32,000

238,250

4. การบันทึกรายการปรับปรุงในสมุดรายวันท่ัวไปแล้วผ่านรายการไปยังบัญชีแยก
ประเภท (journalizing and posting adjusting entries)

งบทดลองดังแสดงข้างต้นคือ งบทดลองก่อนรายการปรับปรุงซ่ึงยังไม่สามารถนำมา
จัดทำงบกำไรขาดทุนและงบดุลหรืองบแสดงฐานะการเงินได้ จำเป็นต้องปรับปรุงทางบัญชีก่อน
เนอื่ งจากบางรายการไดเ้ ปลย่ี นแปลงจากการดำเนินงานทางธุรกจิ เชน่ จากตวั อยา่ งร้านเอบริการ วัสดุ
ส้ินเปลืองท่ีใช้ในการถ่ายเอกสารจำนวนเงิน 30,000 บาท ที่ปรากฏในงบทดลอง เป็นยอดที่ซื้อมาใช้
แต่เม่อื ดำเนินงานทางธรุ กิจได้นำไปใช้ถ่ายเอกสารบริการลูกค้าแล้วบางสว่ น ดังนั้นตอ้ งบันทึกส่วนทีใ่ ชไ้ ป
เปน็ ค่าใช้จา่ ย จึงต้องหักออกจากบัญชีวัสดุสิ้นเปลอื ง อกี ทัง้ อปุ กรณ์ ได้แก่เครอ่ื งถา่ ยเอกสาร เมื่อใชไ้ ป
ย่อมตอ้ งมีการเสือ่ มค่าลง จงึ จำเป็นต้องปรับปรงุ บัญชเี ชน่ กนั

รายการปรับปรุง (adjusting entries) หมายถึง รายการท่ีต้องแก้ไขยอดรายได้
และค่าใช้จ่ายให้เป็นไปตามเกณฑ์คงค้าง (accrual basis) ในวันสิ้นงวดบัญชี การปรับปรุงบัญชีจะ
บันทึกรายการที่ปรับปรุงในสมุดรายวันทั่วไปและผ่านรายการไปยังบัญชีแยกประเภท ทั้งน้ีรายการ
ปรับปรงุ ณ วนั สิ้นงวด มรี ายการหลัก ได้แก่ ค่าใชจ้ ่ายจ่ายล่วงหนา้ รายไดร้ ับลว่ งหน้า ค่าใช้จา่ ยคา้ งจ่าย
รายได้ค้างรับ ค่าเส่ือมราคา ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ และวัสดุสิ้นเปลืองใช้ไป (วัฒนา ศิวะเกื้อ, ดุษฎี
สงวนชาติ และนนั ทพร พิทยะ, 2556, หนา้ 80) ดังรายละเอยี ดตอ่ ไปนี้

-ค่าใช้จ่ายจ่ายล่วงหน้า (prepaid expenses) หมายถึงค่าสินค้าหรือบริการท่ี
กิจการจ่ายไปแล้ว แต่ได้รับสินคา้ หรอื บริการนั้น ๆ บางส่วน ดงั น้ันค่าใช้จา่ ยท่ีจ่ายไปและใช้ประโยชน์แล้ว
จะบันทึกในงวดบญั ชีปัจจุบันส่วนหน่ึง และอกี ส่วนหนง่ึ จะบันทึกในงวดบัญชีถัดไป การบนั ทึกรายการ
ปรับปรุงบัญชีทำได้ 2 วิธี คือ 1) บันทึกเป็นค่าใช้จ่ายจ่ายล่วงหน้า โดยถือว่าเป็นสินทรัพย์ และ 2) บันทึก


Click to View FlipBook Version