The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รวมเล่มแผนการจัดการเรียนรู้ศศิธร

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by sasithorn33715, 2022-03-07 05:38:34

รวมเล่มแผนการจัดการเรียนรู้ศศิธร

รวมเล่มแผนการจัดการเรียนรู้ศศิธร

1

2

แผนการจัดการเรยี นรู้

รหสั วิชา ว32242 รายวชิ า ชีววิทยาเพ่ิมเติม 4
ระดับช้ันมธั ยมศึกษาปที ่ี 5

ภาคเรียนท่ี 2 ปกี ารศกึ ษา 2564

นางสาวศศิธร นนั ทอง
ตำแหนง่ นกั ศึกษาฝกึ ประสบการณ์วิชาชพี ครู

โรงเรียนปทมุ เทพวทิ ยาคาร อำเภอเมอื งหนองคาย จงั หวัดหนองคาย
สำนกั งานเขตพนื้ ทก่ี ารศึกษามธั ยมศึกษาหนองคาย
สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน
กระทรวงศึกษาธิการ

1

คำนำ

แผนการจัดการเรียนรู้เล่มน้ี จัดทำขึ้นเพื่อเป็นเอกสารคู่มือประกอบการจัดกิจกรรม
การเรียนรู้ รหัสวิชา ว32242 รายวิชา ชีววิทยาเพิ่มเติม ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 5 ภาคเรียนที่ 2
ปีการศึกษา 2564 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง
พ.ศ. 2560) โดยจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ จำนวน 22 แผน ในแต่ละแผนการ
จัดการเรียนรู้ ประกอบด้วย มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัด สาระสำคัญ จุดประสงค์การเรียนรู้ สาระ
การเรียนรู้ กิจกรรมการจัดการเรียนรู้ที่หลากหลาย สื่อและแหล่งการเรียนรู้ และการวัดและ
ประเมินผลการเรยี นรตู้ ามสภาพจรงิ และบันทกึ หลงั การจดั การเรียนรู้

แผนการจัดการเรียนรู้เล่มนี้สามารถนำไปใช้เป็นแนวทางสำหรับครูผู้สอนในกลุ่มสาระ
การเรยี นรู้วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี สำหรบั วางแผนการจดั การเรยี นรู้ การเตรยี มการสอน และการ
จัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล และยังช่วยยกระดับมาตรฐาน
ด้านวิชาการให้สูงขึ้นอีกด้วย ผู้จัดทำหวังเปน็ อย่างยิ่งว่าแผนการจัดการเรียนรู้เล่มนี้จะเป็นประโยชน์
ต่อการเรียนการสอนอย่างแท้จริง

ขอขอบพระคุณผู้อำนวยการโรงเรียน รองผู้อำนวยการโรงเรียน และคณะครูกลุ่มสาระ
การเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรียนปทุมเทพวิทยาคาร ทุกท่านที่ให้ความสะดวก
สนับสนนุ และให้กำลังใจในการจัดทำแผนการจัดการเรยี นรมู้ าโดยตลอด

ศศธิ ร นันทอง
10 พฤศจิกายน 2564

2

สารบญั

เรอ่ื ง หนา้

คำนำ....................................................................................................................... ........................ ก

สารบัญ............................................................................................................................................ ข

หลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พื้นฐาน พ.ศ. 2551 (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. 2560)

กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์………………........................................................ 1

โครงสรา้ งรายวิชา………………………………........................................................................................ 16

คำอธิบายรายวิชา……………………………………………………………........................................................ 17

กำหนดการสอน............................................................................................................................... 24

หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 13 ระบบย่อยอาหาร

แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 1 การยอ่ ยอาหารของจุลนิ ทรยี ์และของส่งิ มีชีวิตเซลลเ์ ดยี ว 37

แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 2 การย่อยอาหารของสัตว์ (1) 53

แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 3 การยอ่ ยอาหารของสตั ว์ (2) 67

แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 4 ปาก คอหอย และหลอดอาหาร 88

แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 5 กระเพาะอาหาร 105

แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 6 ลำไส้เล็ก 121

แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 7 ลำไส้ใหญ่ 141

หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 17 ระบบหายใจ

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 8 การแลกเปลีย่ นแกส๊ ของสัตว์ 157

แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 9 การแลกเปล่ียนแกส๊ ของสตั ว์เลี้ยงลกู ด้วยน้ำนม 179

แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 10 โครงสรา้ งในระบบหายใจของมนษุ ย์ (1) 199

แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 11 โครงสรา้ งในระบบหายใจของมนุษย์ (2) 218

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 12 กลไกการหายใจ 239

แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 13 การควบคมุ การหายใจ 259

หนว่ ยการเรียนรูท้ ่ี 15 ระบบหมุนเวียนเลอื ดและระบบน้ำเหลอื ง

แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 14 การลำเลยี งสารในร่างการของสัตว์ 277

แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 15 โครงสร้างและการทำงานของหวั ใจ 296

แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 16 หลอดเลอื ด 311

แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 17 องค์ประกอบของเลอื ด 3
แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 18 ระบบเลอื ด
แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 19 ระบบน้ำเหลือง 326
หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 16 ระบบภมู ิคุ้มกัน 342
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 20 ภมู ิคุ้มกันแบบไมจ่ ำเพาะ 359
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 21 ภมู ิคุม้ กันแบบจำเพาะ
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 22 การสร้างภูมคิ ุ้มกนั 375
แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 23 ความผดิ ปกตขิ องระบบภมู ิคุ้มกัน 394
หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี 17 ระบบขับถา่ ย 410
แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 24 การขบั ถ่ายของสิ่งมชี ีวิตเซลลเ์ ดยี ว 426
แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 25 ระบบขบั ถ่าย
แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 26 การรักษาดลุ ยภาพของรา่ งกาย 442
แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 27 โรคที่เกย่ี วข้องเก่ียวกับความผิดปกตขิ องไต 462
481
501

1

สรปุ หลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน พ.ศ. 2551 (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ.
2560) กลุม่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์

มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560)
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 กำหนดสาระการเรียนรู้ 4 สาระ
ได้แก่ สาระที่ 1 วิทยาศาสตร์ชีวภาพ สาระที่ 2 วิทยาศาสตร์กายภาพ สาระที่ 3 วิทยาศาสตร์โลก
และอวกาศ และสาระท่ี 4 เทคโนโลยี รวมท้ังยงั มสี าระเพิม่ เติมอกี 4 สาระ ได้แก่ สาระชวี วทิ ยา สาระ
เคมี สาระฟิสิกส์ และสาระโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ

องค์ประกอบของหลักสูตร ทั้งในด้านของเนื้อหา การจัดการเรียนการสอน และการวัดและ
ประเมินผลการเรียนรู้นั้นมีความสำคัญอย่างยิ่งในการวางรากฐานการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ของผู้เรียน
ในแตล่ ะระดบั ชนั้ ให้มีความต่อเน่ืองเช่ือมโยงกันต้ังแต่ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 1 จนถึงชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี
6 สำหรับกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ได้กำหนดตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางที่ผู้เรียน
จำเป็นต้องเรียนเป็นพื้นฐาน เพื่อให้สามารถนำความรู้ไปใช้ในการดำรงชีวิตหรือศึกษาต่อได้ โดยจัด
เรียงลำดับความยากง่ายของเนื้อหาในแต่ละชั้นให้มีการเชื่อมโยงความรู้กับกระบวนการเรียนรู้ และ
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนพัฒนาความคิด ทั้งความคิดเป็นเหตุเป็นผล คิด
สร้างสรรค์ คิดวิเคราะห์วิจารณ์ มีทักษะที่สำคัญทั้งทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และทักษะใน
ศตวรรษท่ี 21 ในการค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ด้วยกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ แก้ปัญหาอย่าง
เปน็ ระบบ ตดั สินใจโดยใช้ขอ้ มูลหลากหลายและประจักษ์พยานที่ตรวจสอบได้

มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.
2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 น้ี ได้ปรับปรุงเพื่อให้มีความ
สอดคลอ้ งและเช่ือมโยงกนั ภายในสาระการเรยี นรเู้ ดียวกนั และระหว่างสาระการเรียนรู้ในกลุ่มสาระ
การเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ตลอดจนการเชื่อมโยงเนื้อหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์กับคณิตศาสตร์ด้วย
นอกจากนี้ ยังได้ปรับปรุงเพื่อให้มีความทันสมัยต่อการเปลี่ยนแปลง และความเจริญก้าวหน้าของ
วิทยาการตา่ ง ๆ ทดั เทยี มกับนานาชาติ

สาระท่ี 1 วิทยาศาสตร์ สาระท่ี 2 วิทยาศาสตร์ สาระท่ี 3 วทิ ยาศาสตรโ์ ลก และ
ชวี ภาพ กายภาพ อวกาศ

กลมุ่ สาระการเรยี นรู้
วิทยาศาสตร์

สาระที่ 4 เทคโนโลยี
มาตรฐาน ว 4.1 - ว 4.2

วทิ ยาศาสตรเ์ พมิ่ เติม - สาระชีววทิ ยา - สาระเคมี - สาระฟสิ ิกส์ - สาระโลก ดาราศาสตร์

2

3

4

ผลการเรยี นรู้และสาระการเรียนรู้แกนกลาง วทิ ยาศาสตร์ *

สาระชวี วิทยา

3. เข้าใจส่วนประกอบของพืช การแลกเปลี่ยนแก๊สและคายน้ำของพืช การลำเลียงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสง การสืบพันธุ์ของพืชดอกและการเจริญเติบโต และการตอบสนองของ
พชื รวมทั้งนำความรไู้ ปใช้ประโยชน์

ชนั้ ผลการเรยี นรู้ สาระการเรียนรู้เพม่ิ เติม

ม.5 1. อธิบายเกี่ยวกับชนิดและลักษณะ • เนื้อเยื่อพืช แบ่งเป็น 2 กลุ่มใหญ่ คือ เนื้อเยื่อเจริญ

ของเนื้อเยื่อพืช และเขียนแผนผัง และเน้ือเยื่อถาวร

เพือ่ สรุปชนดิ ของเน้ือเยอ่ื พืช • เนื้อเยื่อเจริญแบ่งเป็นเนื้อเยื่อเจริญส่วนปลาย

เน้ือเย่ือเจริญ เหนือข้อ และเน้ือเยื่อเจริญด้านข้าง

• เนื้อเยื่อถาวรเปลี่ยนแปลงมาจากเนื้อเยื่อเจริญ

เนื้อเยื่อถาวรอาจแบ่งได้เป็น 3 ระบบ คือ ระบบ

เน้ือเยื่อผิว ระบบเน้ือเยื่อพ้ืน และระบบเน้ือเย่ือ ท่อ

ลำเลียง ซึ่งทำหน้าที่ต่างกัน

2. สังเกต อธิบาย และเปรียบเทียบ • ราก คือ ส่วนแกนของพืชที่โดยทั่วไปเจริญอยู่ใต้

โครงสร้างภายในของรากพืชใบเลี้ยง ระดับผิวดิน ทำหน้าที่ยึดหรือค้ำจุนให้พืช

เดี่ยวและรากพืชใบเลี้ยงคู่จากการตัด เจริญเติบโตอยู่กับที่ได้ และยังมีหน้าที่สำคัญในการ

ตามขวาง ดูดน้ำและธาตุอาหารในดิน เพื่อส่งไปยังส่วนต่าง ๆ

ของพืช

• โครงสร้างภายในของปลายรากที่ตัดตามยาว

ประกอบด้วย เนื้อเยื่อเจริญ แบ่งเป็นบริเวณต่าง ๆ

คือ บริเวณหมวกราก บริเวณเซลล์กำลังแบ่งตัว

บริเวณเซลล์ขยายตัวตามยาว และบริเวณที่เซลล์มี

การเปล่ียนแปลงไปทำหน้าท่ีเฉพาะและเจริญเติบโต

เต็มที่

• โครงสร้างภายในของรากระยะการเติบโตปฐมภูมิ

เมื่อตัดตามขวางจะเห็นโครงสร้างแบ่งเป็น 3 ชั้น

เรียงจากด้านนอกเข้าไป คือ ชั้นเอพิเดอร์มิส ชั้น

คอร์เทกซ์ และชั้นสตีล ในชั้นสตีลจะพบมัดท่อ

5

ชน้ั ผลการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้เพิ่มเตมิ

ลำเลียงที่มีลักษณะแตกต่างกันในพืชใบเลี้ยงเดี่ยว

และพืชใบเลี้ยงคู่

• โครงสร้างภายในของรากระยะการเจริญเติบโตทุติย
ม.5 ภูมิ ชั้นเอพิเดอร์มิสจะถูกแทนท่ีด้วยชั้นเพริเดิร์ม ซ่ึง

มีคอร์ก เป็นเนื้อเยื่อสำคัญ ชั้นคอร์เทกซ์อาจมีการ

เปลี่ยนแปลงเกิดเซลล์ที่ทำให้มีความแข็งแรงเพิ่มขึ้น

หรือเกิดเซลล์ที่สะสมอาหารเพิ่มขึ้นส่วนลักษณะมัด

ท่อลำเลียงจะเปลี่ยนไป เนื่องจากมีการสร้างเน้ือเย่ือ

ลำเลียงเพิ่มข้ึน

3. สังเกต อธิบาย และเปรียบเทียบ • ลำต้น คือ ส่วนแกนของพืชที่โดยทั่วไปเจริญอยู่เหนือ

โครงสร้างภายในของลำต้นพืชใบ ระดับผิวดินถัดขึ้นมาจากราก ทำหน้าที่สร้างใบและชูใบ

เลี้ยงเดี่ยวและลำต้นพืชใบเลี้ยงคู่ ลำเลียงน้ำ ธาตุอาหาร และอาหารที่พืชสร้างขึ้นสง่ ไปยัง

จากการตัดตามขวาง สว่ นต่าง ๆ

• โครงสร้างภายในของลำต้นระยะการเติบโตปฐมภูมิ

เมื่อตัดตามขวางจะเห็นโครงสร้างแบ่งเป็น 3 ชั้น เรียง

จากด้านนอกเข้าไป คือ ชั้นเอพิเดอร์มิส ชั้นคอร์เทกซ์

และชั้นสตีล ซงึ่ ชนั้ สตีลจะพบมดั ทอ่ ลำเลียงทม่ี ลี ักษณะ

แตกต่างกันในพชื ใบเลี้ยงเดย่ี ว และพืชใบเล้ียงคู่

• ลำต้นในระยะการเติบโตทุติยภูมิ จะมีเส้นรอบวง

เพิ่มขึ้น และมี โครงสร้างแตกต่างจากเดิม เนื่องจากมี

การสรา้ งเนอื้ เย่ือเพริเดิร์ม และเน้ือเย่ือท่อลำเลียงทุติย

ภมู เิ พมิ่ ขึน้

4. สังเกต และอธิบายโครงสร้างภายใน • ใบมีหนา้ ท่สี ังเคราะหด์ ้วยแสง แลกเปลี่ยนแก๊สและคาย

ของใบพชื จากการตดั ตามขวาง น้ำ ใบของพืชดอกประกอบด้วย ก้านใบ แผ่นใบ เส้น

กลางใบ และเส้นใบ พืชบางชนดิ อาจไม่มกี ้านใบ ที่โคน

ก้านใบอาจพบหรือไม่พบหูใบ

• โครงสร้างภายในของใบตัดตามขวาง ประกอบด้วย

เนื้อเยื่อ 3 กลุ่ม ได้แก่ เอพิเดอร์มิส มีโซฟิลล์ และ

เนอ้ื เยือ่ ท่อลำเลียง

6

ชั้น ผลการเรียนรู้ สาระการเรยี นรู้เพ่ิมเติม

5. สืบค้นข้อมูล สังเกต และอธิบายการ • พืชมีการแลกเปลี่ยนแก๊สและการคายน้ำผ่านทางปาก

แลกเปลี่ยนแก๊สและการคายน้ำของ ใบเป็นส่วนใหญ่ ปากใบพบได้ที่ใบและลำต้นอ่อน เมื่อ

พชื ความชื้นสัมพัทธ์ในอากาศภายนอกต่ำกว่าความชื้น

สัมพัทธ์ภายในใบพืช ทำให้น้ำภายในใบพืชระเหยเป็น

ไอออกมาทางปากใบ เรยี กวา่ การคายนำ้

• ความชื้นในอากาศ ลม อุณหภูมิ สภาพน้ำในดิน ความ

เข้มของแสง เปน็ ปัจจัยท่มี ีผลตอ่ การคายนำ้ ของพืช

6. สืบค้นข้อมูล และอธิบายกลไกการ • ในสภาวะปกติการลำเลยี งน้ำจากรากสู่ยอดของพืชอาศัย

ลำเลยี งนำ้ และธาตุอาหารของพชื แรงดึงจากการคายน้ำ ร่วมกับแรงโคฮชี นั แรงแอดฮีชัน

7. สืบค้นข้อมูล อธิบายความสำคัญของ • ในภาวะที่บรรยากาศมีความชื้นสัมพัทธ์สูงมากจนไม่

ธาตุอาหาร และยกตัวอย่างธาตุ สามารถเกิดการคายน้ำได้ตามปกติ น้ำที่เข้าไปในเซลล์

อาหารที่สำคัญที่มีผลต่ อ ก าร รากจะทำให้เกิดแรงดันเรียกว่าแรงดันราก ทำให้เกิด

เจริญเติบโตของพชื ปรากฏการณก์ ตั เตชนั

• พืชแต่ละชนิดต้องการปริมาณและชนิดของธาตุอาหาร

แตกต่างกัน สามารถนำความรู้เกี่ยวกับสมบัติของธาตุ

อาหารชนิดต่าง ๆ ที่มีผลต่อการเจริญเติบโตของพืชใน

สารละลายธาตุอาหาร เพื่อให้พืชเจริญเติบโตได้ตามที่

ต้องการ

8. อธบิ ายกลไกการลำเลยี งอาหารในพชื • อาหารที่ได้จากกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงจากแหล่ง

สร้างจะถูกเปลี่ยนแปลงเป็นซูโครส และลำเลียงผ่านทาง

ท่อโฟลเอ็ม โดยอาศัยกลไกการลำเลียงอาหารในพืชซ่ึง

เกยี่ วขอ้ งกบั แรงดันน้ำ ไปยังแหล่งรบั

9. สืบค้นข้อมูล และสรุปการศึกษาที่ • การศึกษาค้นคว้าของนักวิทยาศาสตร์ในอดีตทำให้ได้

ไ ด ้ จ า ก ก า ร ท ด ล อ ง ข อ ง ความรู้เกี่ยวกับกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงมาเป็น

นักวิทยาศาสตร์ในอดีตเกี่ยวกับ ลำดับขั้นจนได้ข้อสรุปว่า คาร์บอนไดออกไซด์ และน้ำ

กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง เป็นวัตถุดิบที่พืชใช้ในกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง

และผลผลติ ที่ได้ คือ น้ำตาล ออกซเิ จน

10. อธิบายขั้นตอนที่เ กิด ขึ้ น ใ น • กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงมี 2 ขั้นตอน คือ

กระบวนการ สังเคราะห์ด้วยแสง ปฏกิ ริ ิยาแสง และการตรึงคาร์บอนไดออกไซด์

ของพืช C3

7

ชั้น ผลการเรยี นรู้ สาระการเรียนรู้เพิ่มเตมิ

• ปฏิกิริยาแสงเป็นปฏิกิริยาที่เปลี่ยนพลังงานแสงเป็น

พลังงานเคมี โดยแสงออกซิไดซ์โมเลกุลสารสีที่ไทลา

คอยด์ของคลอโรพลาสต์ ทำให้เกิดการถ่ายทอด

อิเล็กตรอน ได้ผลิตภัณฑ์เป็น ATP และ NADPH+ H+

ในสโตรมาของคลอโรพลาสต์

• การตรึงคาร์บอนไดออกไซด์ เกิดในสโตรมา โดยใช้

RuBP และเอนไซม์รูบิสโก ได้สารที่ประกอบด้วย

คารบ์ อน 3 อะตอม คอื PGA โดยใช้ ATP และ NADPH

ที่ได้จากปฏิกิริยาแสงไปรีดิวซ์สารประกอบคาร์บอน 3

อะตอม ได้เป็นน้ำตาลที่มีคาร์บอน 3 อะตอม คือ

PGAL ซึ่งส่วนหนึ่งจะถูกนำไปสร้าง RuBP กลับคืน

เป็นวัฏจกั รโดยพชื C3 จะมกี ารตรึงคารบ์ อนไดออกไซด์
ด้วยวัฏจักรคัลวนิ เพยี งอย่างเดยี ว

1 1 . เ ป ร ี ย บ เ ท ี ย บ ก ล ไ ก ก า ร ต รึ ง • พืช C4 ตรึงคาร์บอนอนินทรีย์ 2 ครั้ง ครั้งแรก

คารบ์ อนไดออกไซด์ เกิดข้ึนที่เซลล์มีโซฟิลล์ โดย PEP และเอนไซม์ เพบ

ในพชื C3 พืช C4 และ พืช CAM คาร์บอกซิเลส ได้สารประกอบที่มีคาร์บอน 4

อะตอม คือ OAA ซึ่งจะมีการเปลี่ยนแปลงทางเคมี

ได้สารประกอบที่มีคาร์บอน 4 อะตอม คือ กรดมา

ลิก ซึ่งจะถูกลำเลียงไปจนถึงเซลล์บันเดิลชีทและ

ปล่อยคาร์บอนไดออกไซด์ในคลอโรพลาสต์เพื่อใช้

ในวัฏจักรคัลวินต่อไป

• พืช CAM มีกลไกในการตรึงคาร์บอนไดออกไซด์

คล้ายพืช C4 แต่มีการตรึงคาร์บอนอนินทรีย์ทั้ง 2
ครั้งในเซลล์เดียวกัน โดยเซลล์มีการตรึงคาร์บอนอ

นินทรีย์ครั้งแรกในเวลากลางคืนและปล่อยออกมา

ในเวลากลางวันเพื่อใช้ในวัฏจักรคัลวินต่อไป

12. สืบค้นข้อมูล อภิปราย และสรุป • ปัจจัยที่มีผลต่อการสังเคราะห์ด้วยแสง เช่นความ

ปจั จยั ความเข้มของแสง ความเข้มข้น เข้มของแสง ความเข้มข้นของคาร์บอนไดออกไซด์

ของ CO2 และอุณหภูมิ ท่ีมผี ลตอ่ การ อุณหภูมิ ปริมาณ

สังเคราะห์ด้วยแสงของพืช น้ำในดิน ธาตุอาหาร อายุใบ

8

ชั้น ผลการเรียนรู้ สาระการเรยี นรู้เพม่ิ เติม

13. อธิบายวัฏจักรชีวิตแบบสลับของพืช • พืชดอกมีวัฏจักรชีวิตแบบสลับ ประกอบด้วย ระยะ

ดอก ที่สร้างสปอร์ เรียก ระยะสปอโรไฟต์ (2n) และ

ระยะที่สร้างเซลล์สืบพันธุ์ เรียกระยะแกมีโทไฟต์

(n)

• ส่วนประกอบของดอกที่เกี่ยวข้องกับการสืบพันธุ์

โดยตรงคือชั้นเกสรเพศผู้และชั้นเกสรเพศเมียซึ่ง

จำนวนรังไข่เกี่ยวข้องกับการเจริญเป็นผลชนิดต่าง



1 4 . อธ ิ บ า ย แ ล ะเ ป ร ี ย บ เ ท ี ย บ • พืชดอกสร้างไมโครสปอร์และเมกะสปอร์ ซึ่งอาจ

กระบวนการสร้างเซลล์สืบพันธ์ุเพศผู้ สร้างในดอกเดียวกันหรือต่างดอกหรือต่างต้นกัน

และเพศเมียของพืชดอก และอธิบาย • การสร้างไมโครสปอร์ของพืชดอกเกิดขึ้นโดยไมโค

การปฏิสนธขิ องพชื ดอก รสปอร์มาเทอร์เซลล์แบ่งเซลล์แบบไมโอซิสได้ไมโค

รสปอร์ โดยไมโครสปอร์นี้แบ่งเซลล์แบบไมโทซิสได้

2 เซลล์ คือ ทิวบ์เซลล์และเจเนอเรทิฟเซลล์ เมื่อมี

การถ่ายเรณูไปตกบนยอดเกสรเพศเมีย ทิวบ์เซลล์

จะงอกหลอดเรณู และเจเนอเรทิฟเซลล์แบ่งไมโท

ซิสได้เซลล์สืบพันธ์ุ เพศผู้ 2 เซลล์

• การสร้างเมกะสปอร์เกิดขึ้นภายในออวุลในรังไข่

โดยเซลล์ที่เรียกว่า เมกะสปอร์มาเทอร์เซลล์แบ่งไม

โอซิสได้เมกะสปอร์ ซึ่งในพืชส่วนใหญ่จะเจริญ

พัฒนาต่อไปได้เพียง 1 เซลล์ ท่ีเหลืออีก 3 เซลล์จะ

ฝ่อ เมกะสปอร์จะแบ่งไมโทซิส 3 ครั้ง ได้ 8

นิวเคลียส ที่ประกอบด้วย 7 เซลล์โดยมี 1 เซลล์ ที่

ทำหน้าที่เป็นเซลล์สืบพันธุ์ เรียกเซลล์ไข่ ส่วนอีก 1

เซลล์มี 2 นิวเคลียส เรียกโพลาร์นิวคลีไอ

• การปฏิสนธิของพืชดอกเป็นการปฏิสนธิคู่ โดยคู่

หนึ่งเป็นการรวมกันของสเปิร์มเซลล์หนึ่งกับเซลล์

ไข่ได้เป็นไซโกต ซึ่งจะเจริญและพัฒนาไปเป็น

เอ็มบริโอ และอีกคู่หนึ่งเป็นการรวมกันของสเปิร์ม

อีกเซลล์หนึ่งกับโพลาร์นิวคลีไอได้เป็นเอนโดสเปิร์ม

9

ชั้น ผลการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้เพ่มิ เติม

นิวเคลียส ซึ่งจะเจริญและพัฒนาต่อไปเป็นเอนโด

สเปิร์ม

15. อธิบายการเกิดเมล็ดและการเกิดผล • ภายหลังการปฏิสนธิ ออวุลจะมีการเจริญและ

ของพืช ดอกโครงสร้างของเมล็ดและ พัฒนาไปเป็นเมล็ด และรังไข่จะมีการเจริญและ

ผลและยกตัวอย่างการใช้ประโยชน์ พัฒนาไปเป็นผล

จากโครงสร้างต่างๆ ของเมล็ดแล•ะ โครงสร้างของเมล็ดประกอบด้วย เปลือกเมล็ด

ผล เอ็มบริโอ และเอนโดสเปิร์ม โครงสร้างของผ ล

ประกอบด้วย ผนังผล และเมล็ด ซึ่งแต่ละส่วนของ

โครงสร้างจะมีประโยชน์ต่อพืชเองและต่อสิ่งมีชีวิต

อื่น



16. ทดลอง และอธิบายเกี่ยวกับปัจจัย • เมล็ดที่เจริญเต็มที่จะมีการงอกโดยมีปัจจัยต่าง ๆ ที่

ต่าง ๆ ที่มีผลต่อการงอกของเมล็ด มีผลต่อการงอกของเมล็ด เช่น น้ำหรือความชื้น

สภาพพักตัวของเมล็ด และบอก ออกซิเจน อุณหภูมิ และแสง เมล็ดบางชนิด

แนวทางในการแกส้ ภาพพกั ตวั สามารถงอกได้ทันที แต่เมล็ดบางชนิดไม่สามารถ

ของเมล็ด งอกได้ทันทีเพราะอยู่ในสภาพพักตัว

• เมล็ดบางชนิดมีสภาพพักตัวเนื่องจากมีปัจจัย บาง

ประการที่มีผลยับยั้งการงอกของเมล็ดซึ่งสภาพพัก

ตัวของเมล็ดสามารถแก้ไขได้หลายวิธีตามปัจจัยที่

ยับยั้ง

17. สืบค้นข้อมูล อธิบายบทบาทและ • พืชสร้างสารควบคุมการเจริญเติบโตหลายชนิดที่

หน้าที่ของออกซิน ไซโทไคนิน จิบ ส่วนต่าง ๆ ซึ่งสารนี้เป็นสิ่งเร้าภายในที่มีผลต่อการ

เบอเรลลิน เอทิลีน และกรดแอบไซ เจริญเติบโตของพืช เช่น ออกซิน ไซโทไคนิน จิบ

ซิก และอภปิ รายเกีย่ วกบั การนำไปใช้ เบอเรลลิน เอทิลีน และกรดแอบไซซิก

ประโยชนท์ างการเกษตร • แสงสว่าง แรงโน้มถ่วงของโลก สารเคมี และน้ำ

18. สืบค้นข้อมูล ทดลอง และอภิปราย เป็นสิ่งเร้าภายนอกที่มีผลต่อการเจริญเติบโตของ

เกีย่ วกับ ส่งิ เร้าภายนอกทีม่ ผี ลต่อการ พืช

เจรญิ เติบโตของพืช • ความรู้เกี่ยวกับการตอบสนองต่อสิ่งเร้าภายในและ

สิ่งเร้าภายนอกที่มีผลต่อการเจริญเติบโตของพืช

10

ช้ัน ผลการเรยี นรู้ สาระการเรียนรู้เพมิ่ เติม
สามารถนำมาประยุกต์ใช้ควบคุมการเจริญเติบโต
ของพืช เพิ่มผลผลิต และยืดอายุผลผลิตได้

4. เข้าใจการย่อยอาหารของสัตว์และมนุษย์ การหายใจและการแลกเปลี่ยนแก๊สการลำเลียงสาร
และการหมุนเวียนเลือดภูมิคุ้มกันของร่างกาย การขับถ่าย การรับรู้และการตอบสนอง การ
เคลื่อนที่ การสืบพันธุแ์ ละการเจริญเติบโต ฮอร์โมนกับการรักษาดุลยภาพ และพฤติกรรมของ
สัตว์ รวมทั้งนำความร้ไู ปใชป้ ระโยชน์

ช้นั ผลการเรยี นรู้ สาระการเรียนรเู้ พ่มิ เติม

ม.5 1. สืบค้นข้อมูล อธิบาย เปรียบเทียบ • รา มีการปล่อยเอนไซม์ออกมาย่อยอาหารนอกเซลล์

โครงสร้างและกระบวนการย่อย ส่วนอะมีบาและพารามีเซียมมีการย่อยอาหารภายใน

อาหารของสัตว์ที่ไม่มีทางเดินอาหาร ฟูดแวคิวโอลโดยเอนไซม์ในไลโซโซม

สัตว์ที่มีทางเดินอาหารแบบไม่ • ฟองน้ำ ไม่มีทางเดินอาหารแต่จะมีเซลล์พิเศษทำ

สมบูรณ์ และสัตว์ที่มีทางเดินอาหาร หน้าท่ีจับอาหารเข้าสู่เซลล์แล้วย่อยภายในเซลล์ โดย

แบบสมบูรณ์ เอนไซม์ในไลโซโซม

2. สังเกต อธิบาย การกินอาหารของ • ไฮดราและพลานาเรีย มีทางเดินอาหารแบบไม่

ไฮดราและพลานาเรยี สมบูรณ์ จะกินอาหารและขับกากอาหารออกทาง

เดียวกัน

• ไส้เดือนดิน แมลง สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังส่วนใหญ่

และสัตว์มีกระดูกสันหลังจะมีทางเดินอาหารแบบ

สมบูรณ์

3. อธิบายเกี่ยวกับโครงสร้างหน้าที่ • การย่อยอาหารของมนุษย์ประกอบด้วย การย่อยเชิงกล

และกระบวนการย่อยอาหาร และ โดยการบดอาหารให้มีขนาดเลก็ ลง และ การยอ่ ยทางเคมี

การดูดซึมสารอาหารภายในระบบ โดยอาศัยเอนไซม์ในทางเดินอาหาร ทำให้โมเลกุลของ

ย่อยอาหารของมนุษย์ อาหารมขี นาดเล็กจนเซลล์สามารถดูดซมึ และนำไปใช้ได้

• การย่อยอาหารของมนุษย์เกิดขึ้นที่ช่องปาก กระเพาะ

อาหาร และลำไสเ้ ลก็

• สารอาหารที่ย่อยแล้ว วิตามินบางชนิด และธาตุอาหาร

จะถูกดูดซึมที่วิลลัสเข้าสู่หลอดเลือดฝอยแล้วผ่านตับ

ก่อนเข้าสหู่ ัวใจ ส่วนสารอาหารประเภทลิพิดและวิตามิน

ทลี่ ะลายในไขมันจะถูกดูดซมึ เข้าสหู่ ลอดน้ำเหลืองฝอย

11

ชน้ั ผลการเรยี นรู้ สาระการเรียนรเู้ พ่ิมเตมิ

• อาหารที่ไม่ถูกย่อยหรือย่อยไม่ได้จะเคลื่อนต่อไปยังลำไส้

ใหญ่ นำ้ ธาตุอาหาร และวติ ามนิ บางสว่ นดูดซึมเข้าสู่ผนัง

ลำไส้ใหญ่ ที่เหลือเป็นกากอาหารจะถูกกำจัดออกทาง
ม.5 ทวารหนัก

4. ส ื บ ค ้ น ข ้ อ ม ู ล อ ธ ิ บ า ย แ ล ะ • ไส้เดือนดินมีการแลกเปลี่ยนแก๊สผ่านเซลล์บริเวณ

เปรียบเทียบโครงสร้างที่ทำหน้าที่ ผวิ หนังท่ีเปียกชนื้

แลกเปลี่ยนแก๊สของฟองน้ำ ไฮดรา • แมลงมีการแลกเปลี่ยนแก๊สโดยผ่านทางท่อลมซึ่งแตก

พลานาเรีย ไส้เดือนดิน แมลง ปลา แขนงเป็นทอ่ ลมฝอย

กบ และนก • ปลาเป็นสตั วน์ ้ำมีการแลกเปล่ียนแกส๊ ที่ละลายอยู่ในน้ำ

5. สังเกต และอธบิ ายโครงสร้างของปอด ผ่านเหงือก

ในสัตวเ์ ล้ยี งลกู ดว้ ยนำ้ นม • สัตว์สะเทินน้ำสะเทินบกใช้ปอดและผิวหนังในการ

แลกเปลีย่ นแก๊ส

• สัตว์เลื้อยคลาน สัตว์ปีก และสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม

อาศัยปอดในการแลกเปล่ียนแก๊ส

6. สืบค้นข้อมูล อธิบายโครงสร้างที่ใช้ • ทางเดินหายใจของมนุษย์ประกอบด้วย ช่องจมูก โพรง

ใ น ก า ร แ ล ก เ ป ล ี ่ ย น แ ก ๊ ส แ ล ะ จมูก คอ หอย กล่องเสียง ท่อลม หลอดลม และถุงลม

กระบวนการแลกเปลี่ยนแก๊สของ ในปอด

มนุษย์ • ปอดเป็นบริเวณที่มีการแลกเปลี่ยนแก๊สระหว่างถุงลม

7. อธิบายการทำงานของปอด และ กับหลอดเลือดฝอย และบริเวณเซลล์ของเนื้อเยื่อต่าง

ทดลองวัดปริมาตรของอากาศในการ ๆ มีการแลกเปลี่ยนแก๊ส โดยการแพร่ผ่านหลอดเลือด

หายใจออกของมนุษย์ ฝอยเชน่ กัน

• การหายใจเข้าและการหายใจออกเกิดจากการ

เปลี่ยนแปลงความดันของอากาศภายในปอด โดยการ

ทำงานร่วมกันของกล้ามเนื้อกะบังลมและกล้ามเน้ือ

ระหว่างกระดูกซโ่ี ครง และควบคมุ โดยสมองส่วนพอนส์

และเมดัลลาออบลองกาตา

8 . ส ื บ ค ้ น ข ้ อ ม ู ล อ ธ ิ บ า ย แ ล ะ • สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและสัตว์ที่มีโครงสร้างร่างกายไม่

เปรียบเทียบระบบหมุนเวียนเลือด ซับซ้อนมีการลำเลียงสารต่าง ๆ โดยการแพร่ระหว่าง

แบบเปิดและระบบหมุนเวียนเลือด เซลลก์ บั สิ่งแวดล้อม

แบบปดิ

12

ช้ัน ผลการเรยี นรู้ สาระการเรยี นรเู้ พิ่มเติม

9. สังเกต และอธิบายทิศทางการไหล • สัตว์ที่มีโครงสร้างร่างกายซับซ้อนจะมีการลำเลียงสาร

ของเลือดและการเคลื่อนที่ของเซลล์ โดยระบบหมุนเวียนเลือด ซึ่งประกอบด้วย หัวใจ หลอด

เม็ดเลือดในหางปลา และสรุป เลอื ด และเลอื ด

ความสัมพันธ์ระหว่างขนาดของ • ระบบหมุนเวียนเลือดมี 2 แบบ คือ ระบบหมุนเวียน

หลอดเลือดกับความเร็วในการไหล เลอื ดแบบเปิดและระบบหมนุ เวียนเลอื ดแบบปดิ

ของเลือด • ระบบหมุนเวียนเลือดแบบเปิดพบในสัตว์จำพวกหอย

แมลง กุ้ง ส่วนระบบหมุนเวียนเลือดแบบปิดพบใน

ไสเ้ ดือนดนิ และสตั วม์ กี ระดูกสันหลงั

10. อธิบายโครงสร้างและการทำงาน • ระบบหมุนเวียนเลือดของมนุษย์ ประกอบด้วย หัวใจ

ของหัวใจและหลอดเลอื ดในมนษุ ย์ หลอดเลือด และเลือด ซึ่งเลือดไหลเวียนอยู่เฉพาะใน

11. สังเกต และอธิบายโครงสร้างหัวใจ หลอดเลอื ด

ของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม ทิศ • หัวใจมีเอเตรียมทำหน้าที่รับเลือดเข้าสู่หัวใจ และ เวนตริ

ทางการไหลของเลือดผ่านหัวใจของ เคิลทำหน้าที่สูบฉีดเลือดออกจากหัวใจ โดยมีลิ้นก้ัน

มนุษย์ และเขียนแผนผังสรุป การ ระหวา่ งเอเตรียมกับเวนตริเคิล และระหว่างเวนตริเคิลกับ

หมนุ เวียนเลือดของมนษุ ย์ หลอดเลอื ดท่นี ำเลือดออกจากหวั ใจ

12. สืบค้นข้อมูล ระบุความแตกต่างของ • เลือดออกจากหัวใจทางหลอดเลือดเอออตาร์อาร์เตอรี

เซลล์เม็ดเลือดแดง เซลล์เม็ดเลือด อาร์เตอริโอล หลอดเลือดฝอย เวนูล เวน และเวนาคาวา

ขาวเพลตเลต และพลาสมา แลว้ เข้าสู่หวั ใจ

13. อธิบายหมู่เลอื ดและหลักการให้และ • ขณะที่หัวใจบีบตัวสูบฉีดเลือด ทำให้เกิดความดันเลือด

รับเลือดในระบบ ABO และระบบ และชีพจร สภาพการทำงานของร่างกาย อายุ และเพศ

Rh ของมนุษย์ เป็นปัจจยั ทม่ี ผี ลต่อความดนั เลือดและชพี จร

• เลือดมนษุ ย์ประกอบด้วยเซลลเ์ ม็ดเลือดชนิดต่าง ๆ เพลต

เลต และพลาสมา ซึ่งทำหน้าที่แตกต่างกันหมู่เลือดของ

มนุษย์จำแนกตามระบบ ABO ได้เป็น เลือดหมู่ A B AB

และ O ซึ่งเรียกชื่อตามชนิดของแอนติเจนที่เยื่อหุ้มเซลล์

เมด็ เลือดแดง และจำแนกตามระบบ Rh ไดเ้ ป็น เลือดหมู่

Rh+ และ Rh- การให้และรับเลือดมีหลักว่า แอนติเจน

ของผู้ให้ต้องไม่ตรงกับแอนติบอดีของผู้รับ และการให้

และรบั เลือดท่ีเหมาะสมทส่ี ุดคือ ผู้ให้และผูร้ ับควรมีเลือด

หมตู่ รงกนั

13

ช้ัน ผลการเรียนรู้ สาระการเรียนรเู้ พม่ิ เตมิ

1 4 . อ ธ ิ บ า ย แ ล ะ ส ร ุ ป เ ก ี ่ ย ว กับ • ของเหลวที่ซึมผ่านผนังหลอดเลือดฝอยออกมาอยู่

ส ่ ว น ป ร ะ ก อ บ แ ล ะ ห น ้ า ที่ ข อ ง ระหว่างเซลล์ เรียกว่า น้ำเหลือง ทำหน้าที่หล่อเลี้ยง

น ้ ำ เ ห ล ื อ ง ร ว ม ท้ั ง โ ค ร ง ส ร ้ า ง แ ล ะ เซลล์และสามารถแพร่เข้าสู่หลอดน้ำเหลืองฝอย ซึ่ง
หน้าที่ของหลอดน้ำเหลือง และต่อม ต่อมาหลอดน้ำเหลืองฝอยจะรวมกันมีขนาดใหญ่ขึ้นและ
น้ำเหลือง เปิดเข้าสู่ระบบหมุนเวียนเลือดที่หลอดเลือดเวนใกล้
หัวใจ

• ระบบน้ำเหลืองประกอบด้วย น้ำเหลืองหลอดน้ำเหลือง

และต่อมน้ำเหลือง โดยทำหน้าที่นำน้ำเหลืองกลับเข้าสู่

ระบบหมุนเวียนเลือดต่อมน้ำเหลืองเป็นที่อยู่ของเซลล์

เม็ดเลือดขาวทำหน้าที่ทำลายสิ่งแปลกปลอมที่ลำเลียง

มากบั นำ้ เหลอื ง

1 5 . ส ื บ ค ้ น ข ้ อ ม ู ล อ ธ ิ บ า ย แ ล ะ • กลไกท่ีร่างกายต่อต้านหรือทำลายส่ิงแปลกปลอมมีอยู่ 2

เปรียบเทียบกลไกการต่อต้านหรือ แบบ คอื แบบจำเพาะและแบบไมจ่ ำเพาะ

ทำลายสิ่งแปลกปลอมแบบไม่ • ต่อมไขมัน ต่อมเหงื่อ ที่ผิวหนังช่วยป้องกันและยับยั้ง

จำเพาะและแบบจำเพาะ การเจริญของจุลินทรีย์บางชนิด และเมื่อเชื้อโรคหรือสิ่ง

1 6 . ส ื บ ค ้ น ข ้ อ ม ู ล อ ธ ิ บ า ย แ ล ะ แปลกปลอมเข้าสู่ร่างกาย เซลลเ์ ม็ดเลือดขาวชนิดนิวโทร

เปรียบเทียบการ สร้างภูมิคุ้มกันก่อ ฟิลและโมโนไซต์จะมีการต่อต้านและทำลายส่ิง

เองและภูมคิ มุ้ กันรับมา แปลกปลอมโดยกระบวนการฟาโกไซโทซิส ส่วนอีโอซิโน

17. สืบค้นข้อมูล และอธิบายเกี่ยวกับ ฟิลเกี่ยวข้องกับการทำลายปรสิต เบโซฟิลเกี่ยวข้องกับ

ความ ผิดปกติของระบบภูมิคุ้มกันท่ี ปฏิกิริยาการแพ้ ซึ่งเป็นการต่อต้านหรือทำลายส่ิง

ทำให้เกิดเอดส์ ภูมิแพ้ การสร้างภูมิ แปลกปลอมแบบไมจ่ ำเพาะ

ตา้ นทานตอ่ เน้ือเยอื่ ตนเอง • การต่อต้านหรือทำลายสิ่งแปลกปลอมแบบจำเพาะจะ

เกี่ยวข้องกับการทำงานของลิมโฟไซต์ชนิดเซลล์บีและ

เซลล์ที

• อวัยวะที่เกี่ยวข้องกับการสร้างและตอบสนองของลิมโฟ

ไซต์ประกอบด้วย ต่อมน้ำเหลือง ทอนซิล ม้าม ไทมัส

และเน้อื เย่ือน้ำเหลืองทีผ่ นังลำไส้เล็ก

• การสร้างภูมิคุ้มกันแบบจำเพาะของร่างกาย มี 2 แบบ

คอื ภมู ิคมุ้ กันก่อเองและภูมิคุ้มกันรับมา

14

ช้ัน ผลการเรยี นรู้ สาระการเรยี นรเู้ พิม่ เติม

• การได้รับวัคซีนหรือทอกซอยด์เป็นตัวอย่างของ

ภูมิคุ้มกันก่อเอง โดยการกระตุ้นให้ร่างกายสร้าง

ภูมิคุ้มกันขึ้น ด้วยวิธีการให้สารที่เป็นแอนติเจนเข้าสู่

ร่างกาย ส่วนภูมิคุ้มกันรับมาเป็นการรับแอนติบอดี

โดยตรง เชน่ การไดร้ บั ซีรมั การไดร้ ับน้ำนมแม่

• เอดส์ ภูมิแพ้ และการสร้างภูมิต้านทานต่อเนื้อเยื่อ

ตนเอง เป็นตวั อย่างของอาการท่ีเกิดจากระบบภูมิคุ้มกัน

ของรา่ งกายท่ีทำงานผดิ ปกติ

1 8 . ส ื บ ค ้ น ข ้ อ ม ู ล อ ธ ิ บ า ย แ ล ะ • อะมีบา และพารามีเซียมเป็นสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวที่

เปรียบเทียบโครงสร้างและหน้าที่ใน มีคอนแทรกไทล์แวคิวโอลทำหน้าที่ในการกำจัด

การกำจัดของเสียออกจากร่างกาย และรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุในเซลล์

ของฟองน้ำ ไฮดรา พลานาเรีย • ฟองน้ำและไฮดรามีเซลล์ส่วนใหญ่สัมผัสกับน้ำ

ไส้เดือนดิน แมลง และสัตว์มีกระดูก โดยตรง ของเสียจึงถูกกำจัดออกโดยการแพร่สู่

สนั หลงั สภาพแวดล้อม

• พลานาเรียใช้เฟลมเซลล์ซึ่งกระจายอยู่ 2 ข้าง

ตลอดความยาวของลำตัวทำหน้าที่ขับถ่ายของเสีย

• ไส้เดือนดินใช้เนฟริเดียม แมลงใช้มัลพิเกียนทิวบูล

และสัตว์มีกระดูกสันหลังใช้ไตในการขับถ่ายของ

เสีย

19. อธิบายโครงสร้างและหน้าที่ของไต • ไตเป็นอวัยวะที่ทำหน้าที่เกี่ยวกับการขับถ่ายและ

และโครงสร้างที่ใช้ลำเลียงปัสสาวะ รกั ษาดุลยภาพของน้ำและแรธ่ าตใุ นรา่ งกาย

ออกจากร่างกาย • ไตประกอบด้วยบริเวณส่วนนอก ที่เรียกว่า คอร์เท็กซ์

20. อธิบายกลไกการทำงานของหน่วยไต และบริเวณส่วนใน ที่เรียกว่า เมดัลลา และบริเวณ

ในการกำจัดของเสียออกจาก ส่วนปลายของเมดัลลาจะยื่นเข้าไปจรดกับส่วนที่เป็น

ร่างกาย และเขียนแผนผังสรุป โพรงเรียกว่า กรวยไตโดยกรวยไตจะต่อกับท่อไตซ่ึงทำ

ข้ันตอนการกำจัดของเสีย หน้าที่ลำเลียงปัสสาวะไปเก็บไว้ที่กระเพาะปัสสาวะ

ออกจากร่างกายโดยหนว่ ยไต เพ่ือขับถา่ ยออกนอกร่างกาย

21. สืบค้นข้อมูล อธบิ าย และยกตัวอย่าง • ไตแต่ละข้างของมนุษยป์ ระกอบดว้ ยหนว่ ยไต ลักษณะ

เกี่ยวกับความผิดปกติของไตอัน เป็นท่อ ปลายข้างหนึ่งเป็นรูปถ้วยเรียกว่า โบว์แมนส์

เนอื่ งมาจากโรคตา่ ง ๆ

15

ชัน้ ผลการเรียนรู้ สาระการเรยี นรเู้ พ่ิมเติม

แคปซูล ล้อมรอบกลุ่มหลอดเลือดฝอย ที่เรียกว่า โกล

เมอรลู ัส

• กลไกในการกำจัดของเสียออกจากร่างกาย

ประกอบด้วยการกรอง การดูดกลับ และการหลั่งสาร

ทเี่ กินความต้องการออกจากร่างกาย

• โรคนิ่วและโรคไตวายเป็นตัวอย่างของโรคที่เกิดจาก

ความผิดปกตขิ องไต ซง่ึ ส่งผลกระทบต่อการรักษาดุลย

ภาพของสารในร่างกาย

• นอกจากไตที่ทำหน้ารักษาดุลยภาพของน้ำแร่ธาตุ

และกรด-เบส ผิวหนัง และระบบหายใจ ยังมีส่วนช่วย

ในการรักษาดลุ ยภาพเหลา่ นี้ด้วย

* สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ, ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้
แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ัน
พนื้ ฐาน พ.ศ. 2551. (กรุงเทพมหานคร : โรงพมิ พช์ มุ นุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย, 2560

16

โครงสรา้ งรายวิชา ว32242 รายวชิ า ชีววิทยาเพ่ิมเติม 4

จำนวน 1.5 หน่วยกิต 3 คาบ/ สัปดาห์ เวลาเรียน 60 ช่วั โมง คะแนนเตม็ 100 คะแนน

หนว่ ยท่ี ชอ่ื หน่วย มาตรฐาน สาระสำคัญ/ความคดิ รวบยอด เวลา น้ำหนกั
1 การเรียนรู้ - ลกั ษณะการย่อยอาหาร (ชวั่ โมง) (คะแนน)
2 การเรยี นร/ู้
ระบบยอ่ ย ตัวชว้ี ัด 3 3
3
อาหาร - การย่อยอาหารของสตั ว์ 45
4
5 - การย่อยอาหารของมนษุ ย์ 67

ระบบ - ความสำคญั ของการแลกเปลี่ยนแก๊ส 33

หายใจ - การแลกเปลี่ยนแกส๊ ของสตั ว์ 33

- อวยั วะและโครงสรา้ งในระบบหายใจของมนุษย์ 33

- การแลกเปลย่ี นแกส๊ และการลำเลยี งแก๊ส 33

- การหายใจ 33

สอบกลางภาค 3 20

ระบบ - การลำเลียงสารในรา่ งกายของสตั ว์ 33

หมุนเวียน - การลำเลยี งสารในรา่ งกายของมนุษย์ 33

เลือด และ - ระบบนำ้ เหลือง 33

ระบบ

นำ้ เหลอื ง

ระบบ - กลไกลการต่อตา้ นหรือทำลายสงิ่ แปลกปลอม 32

ภมู คิ ้มุ กนั - การสรา้ งเสริมภมู คิ ุ้มกัน 32

- ความผดิ ปกติของระบบภูมิคุ้มกัน 32

ระบบ - การขับถา่ ยของสตั ว์ 32

ขับถา่ ย - การขบั ถา่ ยของมนุษยแ์ ละการทำงานของหนว่ ยไต 32

- การรักษาสมดุลน้ำ และความผิดปกตขิ องร่างกาย 43

สอบปลายภาค 3 30

รวม 60 100

17

คำอธบิ ายรายวชิ า ว32242 ชีววิทยาเพ่ิมเตมิ 4 จำนวน 1.5 หน่วยกติ

กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช้นั มัธยมศึกษาปที ่ี 5 เวลาเรยี น 60 ชวั่ โมง

*******************************************************************************************

ศึกษา โครงสร้างและกระบวนการย่อยอาหารของสัตว์ที่ไม่มีทางเดินอาหาร สัตว์ที่มีทางเดิน
อาหารแบบไม่สมบูรณ์ และสัตว์ที่มีทางเดินอาหารแบบสมบูรณ์ การกินอาหารของไฮดราและพลา
นาเรียและกระบวนการยอ่ ยอาหาร และการดูดซมึ สารอาหารภายในระบบย่อยอาหารของมนุษย์

ศึกษาโครงสร้างท่ีทำหน้าท่ีแลกเปลี่ยนแกส๊ ของฟองนำ้ ไฮดรา พลานาเรีย ไส้เดือนดิน แมลง
ปลา กบ และนก โครงสร้างของปอดในสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแกส๊
และกระบวนการแลกเปลี่ยนแก๊ส ของมนุษย์ และทดลองวัดปริมาตรของอากาศในการหายใจออก
ของมนษุ ย์

ศึกษาเปรียบเทียบระบบหมนุ เวียนเลือดแบบเปิดและระบบหมุนเวียนเลือดแบบปิด การไหล
ของเลือดและการเคลื่อนที่ของเซลล์เม็ดเลือดในหางปลาและสรุปความสัมพันธ์ระหว่างขน าดของ
หลอดเลอื ดกับความเรว็ ในการไหลของเลือด การทำงานของหวั ใจและหลอดเลือดในมนุษย์ โครงสร้าง
หวั ใจของสัตว์เลย้ี งลูกดว้ ยน้ำนม ทิศทางการไหลของเลือดผ่านหัวใจของมนุษย์ และเขียนแผนผังสรุป
การหมุนเวยี นเลือดของมนษุ ย์ ความแตกต่างของเซลลเ์ ม็ดเลอื ดแดง เซลล์เมด็ เลอื ดขาวเพลตเลต และ
พลาสมา การให้และรบั เลอื ดในระบบ ABO และระบบ Rh และหนา้ ท่ขี องนำ้ เหลือง รวมท้งั โครงสร้าง
และหน้าท่ขี องหลอดนำ้ เหลือง และตอ่ มนำ้ เหลือง

ศกึ ษากลไกการต่อต้านหรือทำลายสิ่งแปลกปลอมแบบไมจ่ ำเพาะและแบบจำเพาะ การสร้าง
ภูมิคุ้มกันก่อเองและภูมิคุ้มกันรับมา ความผิดปกติของระบบภูมิคุ้มกันที่ทำให้เกิดเอดส์ ภูมิแพ้ การ
สร้างภูมิตา้ นทานตอ่ เนื้อเยื่อตนเอง

ศึกษาโครงสร้างและหน้าที่ในการกำจัดของเสียออกจากร่างกายของฟองน้ำ ไฮดรา พลานา
เรีย ไส้เดือนดิน แมลง และสัตว์มีกระดูกสันหลัง โครงสร้างและหน้าที่ของไต และโครงสร้างที่ใช้
ลำเลียงปัสสาวะออกจากร่างกายกลไกการทำงานของหน่วยไต ในการกำจัดของเสียออกจากร่างกาย
และเขียนแผนผังสรุปขั้นตอนการกำจัดของเสียออกจากร่างกายโดยหนว่ ยไตและยกตัวอย่างเกี่ยวกับ
ความผิดปกตขิ องไตอนั เนอื่ งมาจากโรคต่าง ๆ

18

สาระการเรยี นรู้รายวชิ า ว33344 ชีววิทยา 4 จำนวน 1.5 หน่วยกติ
กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี 5 เวลาเรียน 60 ชว่ั โมง
สาระที่ 4 เข้าใจการย่อยอาหารของสัตว์และมนุษย์ การหายใจและการแลกเปลี่ยนแก๊สการลำเลียงสารและ
การหมุนเวียนเลือด ภูมิคุ้มกันของร่างกาย การขับถ่าย การรับรู้และการตอบสนอง การเคลื่อนที่ การสืบพันธ์ุ
และการเจริญเตบิ โต ฮอรโ์ มนกบั การรกั ษาดุลยภาพ และพฤตกิ รรมของสัตว์ รวมทั้งนำความรูไ้ ปใช้ประโยชน์

ชัน้ ช่อื หน่วยการ ตวั ช้ีวดั หรือ สาระสำคญั
เรียน ผลการเรียนรู้

ม. 5 ระบบย่อย 1) สบื คน้ ข้อมูล อธิบาย และ • รา มีการปลอ่ ยเอนไซม์ออกมายอ่ ยอาหารนอกเซลล์

อาหาร เปรยี บเทียบโครงสรา้ งและ ส่วนอะมบี าและพารามีเซียมมกี ารย่อยอาหารภายใน

กระบวนการย่อยอาหารของสัตวท์ ี่ไม่ ฟดู แวควิ โอลโดยเอนไซม์ในไลโซโซม

มีทางเดินอาหาร สตั ว์ทมี่ ีทางเดนิ • ฟองนำ้ ไมม่ ที างเดนิ อาหารแต่จะมีเซลล์พิเศษทำ

อาหารแบบไม่สมบูรณ์ และสัตว์ท่มี ี หนา้ ทีจ่ บั อาหารเข้าสู่เซลล์แล้วย่อยภายในเซลล์โดย

ทางเดินอาหารแบบสมบูรณ์ เอนไซม์ในไลโซโซม

2) สังเกต อธบิ าย การกินอาหารของ • ไฮดราและพลานาเรีย มีทางเดินอาหารแบบไม่

ไฮดราและพลานาเรีย สมบูรณ์ จะกนิ อาหารและขบั กากอาหารออกทาง

3) อธบิ ายเกีย่ วกบั โครงสร้าง หน้าที่ เดียวกัน

และกระบวนการย่อยอาหาร และการ • ไส้เดือนดนิ แมลง สตั ว์ไมม่ ีกระดูกสันหลังส่วนใหญ่

ดูดซึมสารอาหารภายในระบบยอ่ ย และสตั ว์มีกระดกู สันหลงั จะมีทางเดินอาหารแบบ

อาหารของมนุษย์ สมบูรณ์

• การยอ่ ยอาหารของมนษุ ย์ประกอบดว้ ย การย่อย

เชงิ กลโดยการบดอาหารใหม้ ีขนาดเล็กลง และการ

ยอ่ ยทางเคมีโดยอาศยั เอนไซม์ในทางเดินอาหาร ทำให้

โมเลกุลของอาหารมีขนาดเล็ก

จนเซลล์สามารถดูดซึมและนำไปใชไ้ ด้

• การยอ่ ยอาหารของมนุษย์เกิดขึ้นทีช่ อ่ งปากกระเพาะ

อาหาร และลำไส้เล็ก

• สารอาหารทยี่ ่อยแล้ว วติ ามินบางชนดิ และธาตุ

อาหารจะถูกดดู ซมึ ที่วลิ ลัสเข้าสหู่ ลอดเลอื ดฝอยแล้ว

ผ่านตบั ก่อนเขา้ สูห่ ัวใจ ส่วนสารอาหารประเภทลิพิด

และวติ ามนิ ทล่ี ะลายในไขมนั จะถกู ดูดซมึ เขา้ สหู่ ลอด

นำ้ เหลอื งฝอย

19

ช้ัน ชื่อหน่วยการ ตวั ชวี้ ดั หรือ สาระสำคญั
เรียน ผลการเรียนรู้

• อาหารท่ีไม่ถกู ย่อยหรือย่อยไมไ่ ดจ้ ะเคล่อื นต่อไปยัง

ลำไสใ้ หญน่ ้ำ ธาตอุ าหาร และวิตามินบางส่วนดูดซึม

เขา้ สผู่ นงั ลำไสใ้ หญท่ ี่เหลือเป็นกากอาหารจะถกู กำจดั

ออกทางทวารหนัก

ม.5 ระบบหายใจ 4) สบื ค้นข้อมูล อธบิ าย และ • ไสเ้ ดือนดนิ มีการแลกเปล่ยี นแก๊สผ่านเซลล์บรเิ วณ

เปรยี บเทียบโครงสร้างท่ีทำหนา้ ที่ ผวิ หนงั ทเ่ี ปียกชืน้

แลกเปล่ยี นแก๊สของฟองน้ำ ไฮดรา • แมลงมกี ารแลกเปลย่ี นแก๊สโดยผ่านทางท่อลมซง่ึ

พลานาเรยี ไส้เดือนดนิ แมลง ปลา กบ แตกแขนงเปน็ ท่อลมฝอย

และนก • ปลาเป็นสัตว์น้ำมกี ารแลกเปลยี่ นแกส๊ ท่ลี ะลายอยูใ่ น

5) สงั เกต และอธบิ ายโครงสร้างของ นำ้ ผ่านเหงือก

ปอดในสตั วเ์ ลีย้ งลกู ด้วยน้ำนม • สัตว์สะเทินนำ้ สะเทนิ บกใช้ปอดและผวิ หนังในการ

6) สบื คน้ ข้อมูล อธบิ ายโครงสร้างที่ใช้ แลกเปล่ยี นแก๊ส

ในการแลกเปล่ียนแกส๊ และ • สตั ว์เลื้อยคลาน สตั ว์ปกี และสตั ว์เล้ียงลูกดว้ ยน้ำนม

กระบวนการแลกเปลีย่ นแก๊สของ อาศยั ปอดในการแลกเปลย่ี นแกส๊

มนุษย์ • ทางเดนิ หายใจของมนุษย์ประกอบด้วย ช่องจมูก

7) อธิบายการทำงานของปอด และ โพรงจมกู คอหอย กล่องเสยี ง ทอ่ ลม หลอดลมและถุง

ทดลองวดั ปริมาตรของอากาศในการ ลมในปอด

หายใจออกของมนุษย์ • ปอดเป็นบรเิ วณที่มีการแลกเปลีย่ นแก๊สระหว่างถุง

ลมกบั หลอดเลือดฝอย และบรเิ วณเซลล์ของเนื้อเย่ือ

ตา่ ง ๆ มกี ารแลกเปลย่ี นแกส๊ โดยการแพร่ผ่านหลอด

เลอื ดฝอยเชน่ กัน

• การหายใจเขา้ และการหายใจออกเกดิ จากการ

เปลี่ยนแปลงความดนั ของอากาศภายในปอดโดยการ

ทำงานร่วมกนั ของกล้ามเน้ือกะบังลมและกลา้ มเน้อื

ระหว่างกระดูกซี่โครง และควบคมุ โดยสมองส่วน

พอนสแ์ ละเมดัลลาออบลองกาตา

ม.5 ระบบ 8) สืบคน้ ข้อมลู อธบิ าย และ • ส่งิ มชี วี ติ เซลล์เดียวและสัตวท์ มี่ โี ครงสรา้ งร่างกายไม่

หมนุ เวยี นเลอื ด เปรียบเทยี บระบบหมนุ เวียนเลือด ซบั ซ้อนมีการลำเลยี งสารต่าง ๆ โดยการแพรร่ ะหว่าง
เซลล์กบั ส่งิ แวดลอ้ ม

20

ช้ัน ชอ่ื หน่วยการ ตวั ชี้วดั หรือ สาระสำคัญ
เรียน ผลการเรยี นรู้

และระบบ แบบเปดิ และระบบหมุนเวยี นเลือด • สตั ว์ท่มี ีโครงสร้างรา่ งกายซับซอ้ นจะมกี ารลำเลียง

น้ำเหลือง แบบปิด สารโดยระบบหมุนเวยี นเลอื ด ซ่งึ ประกอบดว้ ยหัวใจ

9) สงั เกต และอธิบายทิศทางการไหล หลอดเลือด และเลือดระบบหมุนเวยี นเลือดมี 2 แบบ

ของเลือดและการเคลอ่ื นที่ของเซลล์ คอื ระบบหมนุ เวียนเลอื ดแบบเปิดและระบบ
หมนุ เวยี นเลือดแบบปดิ
เมด็ เลอื ดในหางปลาและสรุป
ความสัมพันธ์ระหว่างขนาดของหลอด • ระบบหมนุ เวยี นเลือดแบบเปดิ พบในสัตว์จำพวกหอย
เลือดกับความเร็วในการไหลของเลือด แมลง ก้งุ ส่วนระบบหมนุ เวียนเลือดแบบปดิ พบใน
ไสเ้ ดือนดินและสัตว์มีกระดูกสันหลัง
10) อธบิ ายโครงสรา้ งและการทำงาน • ระบบหมนุ เวยี นเลือดของมนษุ ย์ ประกอบด้วยหัวใจ
ของหัวใจและหลอดเลือดในมนษุ ย์ หลอดเลอื ด และเลือด ซึ่งเลือดไหลเวยี นอยเู่ ฉพาะใน
11) สงั เกต และอธบิ ายโครงสรา้ ง หลอดเลือด

หวั ใจของสัตวเ์ ล้ียงลกู ดว้ ยนำ้ นม ทิศ • หวั ใจมีเอเตรียมทำหน้าท่รี ับเลอื ดเข้าสหู่ วั ใจ และ
ทางการไหลของเลอื ดผ่านหวั ใจของ เวนตริเคลิ ทำหนา้ ท่ีสบู ฉดี เลือดออกจากหัวใจโดยมลี ้นิ
มนษุ ย์ และเขยี นแผนผงั สรุป การ กน้ั ระหวา่ งเอเตรียมกับเวนตรเิ คลิ และระหวา่ งเวนตริ

หมุนเวียนเลือดของมนุษย์ เคลิ กบั หลอดเลือดท่ีนำเลือดออกจากหัวใจ

12) สืบค้นข้อมลู ระบุความแตกต่าง • เลือดออกจากหัวใจทางหลอดเลือดเอออตาร์อาร์เตอ

ของเซลลเ์ ม็ดเลือดแดง เซลล์เม็ด รี อารเ์ ตอริโอล หลอดเลือดฝอย เวนูล เวนและเว

เลือดขาวเพลตเลต และพลาสมา นาคาวา แลว้ เข้าสูห่ วั ใจ

13) อธิบายหมเู่ ลือดและหลักการให้ • ขณะทีห่ ัวใจบีบตัวสูบฉีดเลือด ทำให้เกดิ ความดนั

และรับเลอื ดในระบบ ABO และ เลอื ดและชีพจร สภาพการทำงานของรา่ งกาย อายุ
และเพศของมนุษย์ เปน็ ปัจจัยที่มีผลต่อความดนั เลอื ด
ระบบ Rh
และชพี จร
14) อธบิ าย และสรปุ เก่ยี วกับ
• เลอื ดมนุษย์ประกอบด้วยเซลลเ์ ม็ดเลอื ดชนดิ ตา่ ง ๆ
สว่ นประกอบและหน้าท่ีของน้ำเหลือง เพลตเลต และพลาสมา ซ่งึ ทำหนา้ ทแ่ี ตกต่างกนั
รวมทง้ั โครงสร้างและหนา้ ทข่ี อง • หมู่เลือดของมนษุ ยจ์ ำแนกตามระบบ ABO ไดเ้ ป็น
หลอดนำ้ เหลอื ง และตอ่ มน้ำเหลอื ง เลือดหมู่ A B AB และ O ซง่ึ เรยี กชื่อตามชนิดของ

แอนตเิ จนท่ีเย่ือหุ้มเซลล์เม็ดเลือดแดงและจำแนกตาม

ระบบ Rh ได้เปน็ เลือดหมู่ Rh+ และ Rh- การให้และ

รบั เลือดมีหลกั วา่ แอนติเจนของผูใ้ ห้ต้องไม่ตรงกบั

แอนติบอดขี องผู้รบั และการใหแ้ ละรับเลอื ดท่ี

เหมาะสมทส่ี ดุ คือ ผู้ใหแ้ ละผู้รับควรมเี ลือดหมตู่ รงกัน

21

ช้นั ชอ่ื หน่วยการ ตัวชว้ี ัดหรือ สาระสำคัญ
เรียน ผลการเรยี นรู้

• ของเหลวที่ซึมผา่ นผนังหลอดเลือดฝอยออกมาอยู่

ระหวา่ งเซลล์ เรยี กวา่ นำ้ เหลือง ทำหนา้ ทหี่ ล่อเลย้ี ง

เซลลแ์ ละสามารถแพรเ่ ขา้ สหู่ ลอดน้ำเหลืองฝอย ซ่งึ

ตอ่ มาหลอดนำ้ เหลืองฝอยจะรวมกนั มขี นาดใหญ่ข้นึ

และเปิดเข้าสรู่ ะบบหมนุ เวียนเลือดท่หี ลอดเลือดเวน

ใกลห้ ัวใจ

• ระบบนำ้ เหลอื งประกอบดว้ ย น้ำเหลอื งหลอดนำ้

เหลือง และต่อมน้ำเหลือง โดยทำหนา้ ทนี่ ำน้ำเหลือง

กลบั เข้าสู่ระบบหมุนเวยี นเลอื ดต่อมนำ้ เหลืองเป็นที่อยู่

ของเซลล์เม็ดเลือดขาวทำหน้าที่ทำลายสง่ิ แปลกปลอม

ที่ลำเลียงมากบั น้ำเหลือง

ม.5 ระบบภมู ิคุม้ กนั 15) สืบค้นข้อมลู อธิบาย และ • กลไกทรี่ ่างกายต่อต้านหรือทำลายสง่ิ แปลกปลอมมี

เปรียบเทยี บกลไก การต่อต้านหรือ อยู่ 2 แบบ คือ แบบจำเพาะและแบบไมจ่ ำเพาะ

ทำลายสง่ิ แปลกปลอมแบบไม่จำเพาะ • ต่อมไขมัน ต่อมเหง่ือ ท่ผี ิวหนงั ช่วยป้องกันและยบั ยง้ั

และแบบจำเพาะ การเจริญของจุลนิ ทรยี ์บางชนิด และเมื่อเชอ้ื โรคหรือ

16) สบื คน้ ข้อมูล อธบิ าย และ สิ่งแปลกปลอมเขา้ สรู่ ่างกาย เซลลเ์ มด็ เลือดขาวชนิด

เปรยี บเทยี บการสร้างภูมิคมุ้ กันก่อเอง นวิ โทรฟิลและโมโนไซตจ์ ะมีการตอ่ ตา้ นและทำลายสงิ่
แปลกปลอมโดยกระบวนการฟาโกไซโทซสิ ส่วนอโี อซิ
และภมู ิคุ้มกันรบั มา
โนฟิลเกี่ยวข้องกบั การทำลายปรสติ เบโซฟิลเก่ียวขอ้ ง
17) สบื ค้นข้อมลู และอธิบายเก่ยี วกับ กบั ปฏิกริ ิยาการแพ้ ซึ่งเปน็ การตอ่ ตา้ นหรือทำลายส่ิง
ความผดิ ปกติของระบบภูมิคุ้มกนั ท่ที ำ แปลกปลอมแบบไม่จำเพาะ

ใหเ้ กดิ เอดส์ ภมู แิ พ้ การสรา้ งภูมิ • การตอ่ ตา้ นหรือทำลายสิ่งแปลกปลอมแบบจำเพาะ
ต้านทานตอ่ เนอ้ื เยื่อตนเอง
จะเกย่ี วข้องกับการทำงานของลิมโฟไซตช์ นดิ เซลล์บี

และเซลลท์ ี

• อวยั วะทเี่ ก่ียวข้องกบั การสร้างและตอบสนองของลมิ

โฟไซต์ประกอบด้วย ต่อมน้ำเหลือง ทอนซลิ ม้าม ไทมัส

และเน้อื เย่ือนำ้ เหลืองท่ีผนังลำไส้เล็ก

• การสรา้ งภมู ิคุม้ กนั แบบจำเพาะของรา่ งกาย มี 2

แบบ คือ ภูมคิ ุ้มกันก่อเองและภูมิคมุ้ กนั รบั มา

• การได้รับวัคซีนหรือทอกซอยด์เป็นตัวอยา่ งของ

ภูมคิ ุ้มกนั กอ่ เอง โดยการกระตุ้นให้ร่างกาย สรา้ ง

22

ชัน้ ช่อื หน่วยการ ตัวชี้วัดหรือ สาระสำคญั
เรยี น ผลการเรียนรู้

ภมู คิ ุ้มกันขึน้ ดว้ ยวิธีการให้สารท่ีเป็นแอนตเิ จนเข้าสู่

รา่ งกาย สว่ นภมู ิคุ้มกนั รบั มาเป็นการรบั แอนติบอดี

โดยตรง เชน่ การได้รบั ซรี ัม การไดร้ บั

น้ำนมแม่

• เอดส์ ภมู แิ พ้ และการสร้างภมู ิตา้ นทานต่อเนอ้ื เยื่อ

ตนเอง เปน็ ตัวอย่างของอาการที่เกิดจากระบบ

ภมู คิ ุม้ กนั ของรา่ งกายที่ทำงานผิดปกติ

ม.5 ระบบขบั ถา่ ย 18) สบื คน้ ข้อมูล อธบิ าย และ • อะมบี า และพารามีเซยี มเป็นสง่ิ มชี ีวติ เซลล์เดียว

เปรยี บเทยี บโครงสร้างและหน้าท่ใี น ท่ีมคี อนแทรกไทลแ์ วควิ โอลทำหนา้ ทีใ่ นการกำจัด

การกำจัดของเสยี ออกจากร่างกาย และรักษาดลุ ยภาพของนำ้ และแรธ่ าตุในเซลล์

ของฟองน้ำ ไฮดรา พลานาเรีย • ฟองน้ำและไฮดรามีเซลลส์ ่วนใหญส่ ัมผสั กับนำ้

ไส้เดอื นดนิ แมลง และสตั ว์มีกระดูก โดยตรง ของเสยี จงึ ถูกกำจดั ออกโดยการแพรส่ ู่

สนั หลัง สภาพแวดลอ้ ม

19) อธบิ ายโครงสร้างและหน้าท่ีของ • พลานาเรยี ใชเ้ ฟลมเซลล์ซง่ึ กระจายอยู่ 2 ข้างตลอด

ไต และโครงสรา้ งทใ่ี ชล้ ำเลียง ความยาวของลำตัวทำหน้าท่ีขับถา่ ยของเสยี

ปสั สาวะออกจากรา่ งกาย • ไส้เดอื นดนิ ใชเ้ นฟรเิ ดียม แมลงใชม้ ัลพิเกียนทวิ บลู

20) อธิบายกลไกการทำงานของ และสัตวม์ ีกระดกู สันหลังใชไ้ ตในการขับถา่ ยของเสยี

หน่วยไต ในการกำจดั ของเสียออก • ไตเปน็ อวัยวะท่ีทำหน้าทเี่ กย่ี วกบั การขบั ถา่ ยและ

จากร่างกาย และเขียนแผนผังสรปุ รกั ษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุในร่างกาย

ขนั้ ตอนการกำจัดของเสยี ออกจาก • ไตประกอบดว้ ยบริเวณสว่ นนอก ที่เรยี กวา่ คอร์เทก็ ซ์

รา่ งกายโดยหน่วยไต และบรเิ วณสว่ นใน ที่เรยี กว่า เมดัลลาและบรเิ วณสว่ น

21) สืบค้นข้อมลู อธบิ าย และ ปลายของเมดัลลาจะย่ืนเข้าไปจรดกับสว่ นทเี่ ปน็ โพรง

ยกตวั อยา่ งเกย่ี วกบั ความผิดปกติของ เรียกวา่ กรวยไตโดยกรวยไตจะตอ่ กับท่อไตซงึ่ ทำ

ไตอันเนื่องมาจากโรคต่าง ๆ หนา้ ทล่ี ำเลยี งปสั สาวะไปเกบ็ ไว้ทีก่ ระเพาะปัสสาวะ

เพ่อื ขบั ถ่ายออกนอกร่างกาย

• ไตแต่ละข้างของมนุษยป์ ระกอบด้วยหน่วยไต

ลักษณะเป็นท่อ ปลายข้างหนึ่งเป็นรูปถ้วยเรียกว่า โบว์

แมนสแ์ คปซูล ลอ้ มรอบกลมุ่ หลอดเลอื ดฝอย ที่เรียกว่า

โกลเมอรูลัส

ช้ัน ชื่อหน่วยการ ตวั ชว้ี ดั หรือ 23
เรยี น ผลการเรยี นรู้
สาระสำคัญ

• กลไกในการกำจัดของเสยี ออกจากร่างกาย
ประกอบด้วยการกรอง การดูดกลับ และการหลั่งสาร
ทเี่ กนิ ความต้องการออกจากร่างกาย
• โรคนิว่ และโรคไตวายเปน็ ตัวอย่างของโรคทีเ่ กดิ จาก
ความผดิ ปกติของไต ซ่งึ ส่งผลกระทบตอ่ การรกั ษาดลุ ย
ภาพของสารในรา่ งกาย
• นอกจากไตทท่ี าหน้ารกั ษาดลุ ยภาพของน้าแรธ่ าตุ
และกรด-เบส ผวิ หนงั และระบบหายใจ ยงั มสี ว่ น
ช่วยในการรกั ษาดลุ ยภาพเหล่าน้ดี ว้ ย

24

กำหนดการสอนรายวิชา ว32242 รายวิชา ชีววิทยาเพม่ิ เตมิ 4

จำนวน 1.5 หน่วยกติ 3 คาบ/ สปั ดาห์ เวลาเรียน 60 ชัว่ โมง คะแนนเต็ม 100 คะแนน

ชน้ั มธั ยมศึกษาปีที่ 5 ภาคเรยี นท่ี 2 ปีการศึกษา 2564 กลุม่ สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

บทที่ เน้อื หา จำนวนคาบ นำ้ หนกั รูปแบบ /

คะแนน เทคนคิ /

วิธีการสอน

13 - ลักษณะการยอ่ ยอาหาร 3 3 5Es

- การย่อยอาหารของสัตว์ 4 5 5Es
- การยอ่ ยอาหารของมนุษย์ 6 5 5Es

14 - ความสำคัญของการแลกเปลยี่ นแก๊ส 3 3 5Es
- การแลกเปล่ียนแก๊สของสัตว์ 3 3 5Es
3 3 5Es
- อวยั วะและโครงสร้างในระบบหายใจของ 3 3 5Es
2 20
มนษุ ย์ 3 3 5Es
3 3 5Es
- การแลกเปลีย่ นแกส๊ และการลำเลยี งแกส๊ 3 2 5Es

- การหายใจ 3 3 5Es
3 2 5Es
15 ----------------- สอบกลางภาค ------------------- 3 3 5Es
--
3 3 5Es
- การลำเลียงสารในรา่ งกายของสัตว์ 3 3 5Es

- การลำเลยี งสารในร่างกายของมนุษย์ 4 3 5Es

16 - ระบบน้ำเหลือง 2 30

- กลไกลการต่อตา้ นหรือทำลายสิ่งแปลกปลอม
- การสรา้ งเสรมิ ภูมคิ ้มุ กัน
- ความผิดปกตขิ องระบบภมู คิ ุ้มกนั
17

- การขบั ถา่ ยของสัตว์
- การขับถ่ายของมนษุ ยแ์ ละการทำงานของ
หนว่ ยไต
- การรักษาสมดุลน้ำ และความผดิ ปกตขิ อง

ร่างกาย

25

----------------- สอบปลายภาค -------------------
--

รวม 60 100

การวิเคราะห์หน่วยการเรียนรู้รายวิชา

จำนวน 1.5 หน่วยกิต 3 คาบ/ สปั ดาห์ ชน้ั มธั ยม
กล่มุ สาระการเรียนรูว้ ิทย

ผลการเรียนรทู้ ่ีคาดหวงั ชอ่ื หน่วยการเรยี นรู้ สาระการเรียนรู้

1) สบื คน้ ข้อมลู อธบิ าย ระบบย่อยอาหาร - ลกั ษณะการ • รา มกี ารปล
และเปรยี บเทยี บ ยอ่ ยอาหาร สว่ นอะมบี าแ
โครงสรา้ งและ ฟดู แวควิ โอล
กระบวนการย่อยอาหาร
ของสัตวท์ ี่ไม่มีทางเดิน
อาหาร สตั ว์ทม่ี ที างเดิน
อาหารแบบไมส่ มบูรณ์
และสัตวท์ ่ีมีทางเดนิ
อาหารแบบสมบรู ณ์

26

ว32242 รายวิชา ชวี วิทยาเพิ่มเติม 4

มศกึ ษาปีที่ 5 ภาคเรียนท่ี 2 ปกี ารศึกษา 2564

ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

สาระสำคญั จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ จำนวนคาบ
3
ลอ่ ยเอนไซมอ์ อกมายอ่ ยอาหารนอกเซลล์
และพารามเี ซยี มมกี ารยอ่ ยอาหารภายใน
ลโดยเอนไซมใ์ นไลโซโซม

ผลการเรยี นรูท้ คี่ าดหวัง ชอ่ื หน่วยการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้

2) สังเกต อธบิ าย การ - การย่อย • ฟองนำ้ ไมม่
กนิ อาหารของไฮดรา อาหารของสตั ว์ จับอาหารเขา้
และพลานาเรยี ในไลโซโซม
• ไฮดราและพ
จะกินอาหารแ
• ไส้เดือนดิน
สัตว์มกี ระดูกส

3) อธบิ ายเกย่ี วกบั - การย่อย • การย่อยอา
โครงสรา้ ง หน้าที่ และ อาหารของ โดยการบดอา
กระบวนการย่อยอาหาร มนุษย์ โดยอาศัยเอน
และการดดู ซึม อาหารมีขนา
สารอาหารภายในระบบ • การย่อยอาห
ย่อยอาหารของมนุษย์ อาหารและลำ
• สารอาหารท
จะถกู ดดู ซมึ ท
เขา้ สูห่ วั ใจ

ละลายในไ

สาระสำคัญ จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ 27
จำนวนคาบ
มที างเดินอาหารแตจ่ ะมเี ซลลพ์ ิเศษทำหนา้ ท่ี
าสเู่ ซลลแ์ ลว้ ยอ่ ยภายในเซลลโ์ ดยเอนไซม์ 4

พลานาเรยี มีทางเดินอาหารแบบไม่สมบรู ณ์ 6
และขับกากอาหารออกทางเดยี วกนั
แมลง สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังส่วนใหญ่และ
สนั หลังจะมที างเดนิ อาหารแบบสมบรู ณ์

าหารของมนุษยป์ ระกอบด้วย การย่อยเชิงกล
าหารให้มีขนาดเล็กลง และการย่อยทางเคมี
นไซม์ในทางเดนิ อาหาร ทำใหโ้ มเลกลุ ของ
าดเล็กจนเซลล์สามารถดูดซึมและนำไปใช้ได้
หารของมนุษย์เกิดขึ้นที่ชอ่ งปากกระเพาะ
ำไสเ้ ล็ก
ทยี่ ่อยแลว้ วติ ามินบางชนิด และธาตุอาหาร
ทีว่ ลิ ลัสเข้าสู่หลอดเลือดฝอยแล้วผ่านตับก่อน

ส่วนสารอาหารประเภทลพิ ดิ และวติ ามนิ ท่ี
ไขมันจะถกู ดูดซึมเข้าส่หู ลอดนำ้ เหลืองฝอย

ผลการเรยี นรูท้ ่คี าดหวงั ชอ่ื หน่วยการเรียนรู้ สาระการเรยี นรู้

• อาหารท่ีไมถ่
ใหญน่ ำ้ ธาตอุ
ลำไส้ใหญท่ เ่ี ห
หนัก

4) สืบคน้ ข้อมลู อธบิ าย ระบบหายใจ - ความสำคัญ • ไส้เดือนดิน
และเปรยี บเทียบ
โครงสร้างทท่ี ำหนา้ ท่ี ของการ ผิวหนังทีเ่ ปียก

แลกเปลยี่ นแกส๊

สาระสำคญั จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ 28
จำนวนคาบ
ถกู ย่อยหรือย่อยไม่ได้จะเคล่อื นต่อไปยังลำไส้
อาหาร และวติ ามินบางส่วนดดู ซมึ เขา้ สผู่ นัง
หลอื เป็นกากอาหารจะถูกกำจัดออกทางทวาร

นมีการแลกเปลี่ยนแก๊สผ่านเซลล์บริเวณ 3
กชน้ื

ผลการเรียนรทู้ ่ีคาดหวงั ชื่อหน่วยการเรยี นรู้ สาระการเรยี นรู้

แลกเปลย่ี นแกส๊ ของ - การ • แมลงมีการ
ฟองน้ำ ไฮดรา พลานา
เรยี ไสเ้ ดือนดนิ แมลง แลกเปลีย่ นแกส๊ แขนงเป็นท่อล
ปลา กบ และนก
ของสตั ว์ • ปลาเป็นสัต
5) สังเกต และอธบิ าย
โครงสร้างของปอดใน ผ่านเหงอื ก
สัตว์เล้ยี งลูกด้วยน้ำนม
• สัตว์สะเทิน
6) สืบค้นข้อมลู อธบิ าย
โครงสร้างท่ีใชใ้ นการ แลกเปล่ยี นแก
แลกเปลย่ี นแกส๊ และ
กระบวนการแลกเปลย่ี น • สัตว์เลื้อยค
แกส๊ ของมนษุ ย์
อาศยั ปอดในก
7) อธบิ ายการทำงาน
ของปอด และทดลองวดั - อวัยวะและ • ทางเดินหาย

โครงสรา้ งใน จมูก คอหอย
ระบบหายใจ ปอด
ของมนุษย์ • ปอดเปน็ บร

หลอดเลือดฝ

การแลกเปลี

เชน่ กนั

- การ • การหายใ

แลกเปล่ียนแก๊ส เปลี่ยนแปลง

สาระสำคัญ จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ 29
จำนวนคาบ
รแลกเปลี่ยนแก๊สโดยผ่านทางท่อลมซึ่งแตก
ลมฝอย 3
ตว์น้ำมีการแลกเปลี่ยนแก๊สที่ละลายอยู่ในน้ำ

นน้ำสะเทินบกใช้ปอดและผิวหนังในการ 3
ก๊ส
คลาน สัตว์ปีก และสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม
การแลกเปลีย่ นแก๊ส
ยใจของมนุษย์ประกอบด้วย ช่องจมูกโพรง
ย กล่องเสียง ท่อลม หลอดลมและถุงลมใน

รเิ วณที่มีการแลกเปลยี่ นแกส๊ ระหว่างถุงลมกับ
ฝอย และบริเวณเซลล์ของเนื้อเยื่อต่าง ๆ มี
่ยนแก๊ส โดยการแพร่ผ่านหลอดเลือดฝอย

ใจเข้าและการหายใจออกเกิดจากการ 3
งความดันของอากาศภายในปอดโดยการ

ผลการเรยี นร้ทู ี่คาดหวงั ช่อื หน่วยการเรียนรู้ สาระการเรยี นรู้

ปรมิ าตรของอากาศใน และการลำเลียง ทำงานร่วมก
การหายใจออกของ แก๊ส ระหว่างกระด
มนษุ ย์ - การหายใจ และเมดัลลาอ

8) สบื คน้ ข้อมูล อธิบาย ระบบหมุนเวยี นเลือด - การลำเลียง • สิ่งมีชีวิตเซ
ซบั ซ้อนมกี าร
และเปรียบเทยี บระบบ และระบบนำ้ เหลือง สารในร่างกาย กบั ส่งิ แวดล้อม
• สัตว์ที่มีโคร
หมนุ เวียนเลือดแบบเปิด ของสัตว์ โดยระบบหม
เลอื ด และเลอื
และระบบหมุนเวยี น หมุนเวียนเลือ
ปิด
เลือดแบบปดิ • ระบบหมุน
แมลง กุ้ง ส่วน
9) สังเกต และอธบิ าย ดนิ และสัตว์ม

ทศิ ทางการไหลของ

เลือดและการเคลื่อนที่

ของเซลล์เม็ดเลอื ดใน

หางปลาและสรปุ

ความสมั พันธ์ระหวา่ ง

ขนาดของหลอดเลือด

กับความเรว็ ในการไหล

ของเลือด

สาระสำคญั จุดประสงค์การเรียนรู้ 30
จำนวนคาบ
กันของกล้ามเนื้อกะบังลมและกล้ามเนื้อ
ดูกซี่โครง และควบคุมโดยสมองส่วนพอนส์ 3
ออบลองกาตา

ซลล์เดียวและสัตว์ที่มีโครงสร้างร่างกายไม่ 3
รลำเลียงสารต่าง ๆ โดยการแพรร่ ะหวา่ งเซลล์

รงสร้างร่างกายซับซ้อนจะมีการลำเลียงสาร
มุนเวียนเลือด ซึ่งประกอบด้วยหัวใจ หลอด
อดระบบหมนุ เวยี นเลือดมี 2 แบบ คอื ระบบ
อดแบบเปิดและระบบหมุนเวียนเลือดแบบ

นเวียนเลือดแบบเปิดพบในสัตว์จำพวกหอย
นระบบหมนุ เวยี นเลอื ดแบบปดิ พบในไส้เดือน
มกี ระดกู สนั หลงั

ผลการเรียนร้ทู ่คี าดหวงั ชื่อหน่วยการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้

10) อธบิ ายโครงสร้าง - การลำเลียง • ระบบหมุน
และการทำงานของ สารในรา่ งกาย หลอดเลือด
หวั ใจและหลอดเลอื ดใน ของมนษุ ย์ หลอดเลือด
มนุษย์ • หวั ใจมเี อเตร
11) สังเกต และอธบิ าย เคิลทำหน้าท
โครงสร้างหัวใจของสัตว์ ระหว่างเอเตร
เลย้ี งลกู ดว้ ยนำ้ นม ทศิ หลอดเลือดทน่ี
ทางการไหลของเลอื ด • เลือดออกจ
ผา่ นหัวใจของมนุษย์ อาร์เตอริโอล
และเขยี นแผนผังสรุป แล้วเขา้ สูห่ ัวใจ
การหมุนเวยี นเลอื ดของ • ขณะที่หัวใจ
มนษุ ย์ และชีพจร ส
12) สืบค้นข้อมูล ระบุ ของมนุษย์ เป
ความแตกต่างของเซลล์ • เลือดมนุษย
เมด็ เลอื ดแดง เซลลเ์ มด็ เพลตเลต และ
เลอื ดขาวเพลตเลต และ • หมู่เลือดขอ
พลาสมา หมู่ A B AB แ
เยื่อหุ้มเซลล์เ

สาระสำคัญ จดุ ประสงค์การเรียนรู้ 31
จำนวนคาบ
นเวียนเลือดของมนุษย์ ประกอบด้วยหัวใจ
และเลือด ซึ่งเลือดไหลเวียนอยู่เฉพาะใน 3

รียมทำหนา้ ทร่ี บั เลือดเข้าสู่หัวใจ และ เวนตริ
ที่สูบฉีดเลือดออกจากหัวใจโดยมีลิ้นกั้น
รียมกับเวนตริเคิล และระหว่างเวนตรเิ คลิ กบั
นำเลือดออกจากหวั ใจ
จากหัวใจทางหลอดเลือดเอออตาร์อาร์เตอรี
ล หลอดเลือดฝอย เวนูล เวนและเวนาคาวา

จบีบตัวสูบฉีดเลือด ทำให้เกิดความดันเลือด
สภาพการทำงานของร่างกาย อายุ และเพศ
ปน็ ปจั จัยที่มีผลต่อความดนั เลือดและชพี จร
ย์ประกอบด้วยเซลล์เม็ดเลือดชนิดต่าง ๆ
ะพลาสมา ซ่งึ ทำหน้าท่ีแตกต่างกัน
องมนุษย์จำแนกตามระบบ ABO ได้เป็นเลือด
และ O ซึ่งเรียกชื่อตามชนิดของแอนติเจนท่ี
เม็ดเลือดแดงและจำแนกตามระบบ Rh ได้

ผลการเรยี นรู้ท่คี าดหวัง ช่อื หน่วยการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้

13) อธบิ ายหมูเ่ ลือดและ เปน็ เลอื ดหม
หลักการใหแ้ ละรับเลอื ด แอนติเจนของ
ในระบบ ABO และ การใหแ้ ละรบั
ระบบ Rh เลอื ดหม่ตู รงก
• ของเหลวท
14) อธบิ าย และสรุป - ระบบ ระหว่างเซลล
นำ้ เหลอื ง และสามารถแ
เก่ยี วกบั ส่วนประกอบ น้ำเหลืองฝอ
ระบบหมนุ เวยี
และหน้าที่ของนำ้ เหลือง • ระบบน้ำเห
และต่อมน้ำเห
รวมทงั้ โครงสร้างและ ระบบหมนุ เวยี
เลือดขาวทำห
หนา้ ทขี่ องหลอด นำ้ เหลอื ง

นำ้ เหลือง และต่อม

น้ำเหลอื ง

15) สบื คน้ ข้อมูล ระบบภมู ิคุ้มกัน - กลไกลการ • กลไกทรี่ า่ งก
ตอ่ ตา้ นหรอื แบบ คอื แบบ
อธบิ าย และ

สาระสำคัญ จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ 32
จำนวนคาบ
มู่ Rh+ และ Rh- การให้และรบั เลือดมีหลักว่า
งผู้ให้ต้องไม่ตรงกับแอนติบอดีของผู้รับ และ 3
บเลือดทีเ่ หมาะสมทีส่ ุดคือ ผใู้ หแ้ ละผู้รับควรมี
กัน
ที่ซึมผ่านผนังหลอดเลือดฝอยออกมาอยู่
ล์ เรียกว่า น้ำเหลือง ทำหน้าที่หลอ่ เลี้ยงเซลล์
แพรเ่ ข้าสู่หลอดน้ำเหลืองฝอย ซง่ึ ตอ่ มาหลอด
อยจะรวมกันมีขนาดใหญ่ขึ้นและเปิดเข้าสู่
ยนเลอื ดที่หลอดเลอื ดเวนใกล้หัวใจ
หลืองประกอบด้วย น้ำเหลืองหลอดน้ำเหลือง
หลือง โดยทำหน้าที่นำน้ำเหลืองกลับเข้าสู่
ยนเลอื ดต่อมน้ำเหลืองเป็นที่อยู่ของเซลล์เม็ด
หน้าที่ทำลายสิ่งแปลกปลอมที่ลำเลียงมากับ

กายต่อต้านหรือทำลายส่ิงแปลกปลอมมีอยู่ 2 3
บจำเพาะและแบบไม่จำเพาะ

ผลการเรียนรทู้ ่คี าดหวัง ช่อื หน่วยการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้

เปรียบเทยี บกลไก การ ทำลายสิ่ง • ต่อมไขมัน
ตอ่ ต้านหรือทำลายสิ่ง แปลกปลอม การเจริญของ
แปลกปลอมแบบไม่
จำเพาะและแบบ แปลกปลอมเ
จำเพาะ ฟิลและโมโ
แปลกปลอมโ
16) สืบค้นข้อมูล ฟิลเกี่ยวข้อง
อธิบาย และ ปฏิกิริยากา
เปรียบเทียบการสรา้ ง แปลกปลอมแ
ภมู ิคมุ้ กันก่อเองและ - การสรา้ งเสริม • การต่อต้าน
ภมู ิค้มุ กันรับมา ภูมคิ ุ้มกัน เกี่ยวข้องกับ
เซลล์ที
• อวัยวะที่เกี่ย
ไซต์ประกอบด
เนือ้ เยอ่ื น้ำเหล
• การสร้างภูม
คอื ภูมิคุ้มกัน
• การได้รับ
ภูมคิ มุ้ กนั ก่อเอ

สาระสำคัญ จดุ ประสงค์การเรียนรู้ 33
จำนวนคาบ
ต่อมเหง่ือ ที่ผิวหนังช่วยป้องกันและยับยั้ง
งจุลินทรีย์บางชนิด และเมื่อเชื้อโรคหรือสิ่ง 3
เข้าสู่ร่างกาย เซลล์เม็ดเลือดขาวชนิดนิวโทร
โ น ไ ซ ต ์ จ ะ ม ี ก า ร ต ่ อ ต ้ า น แ ล ะ ท ำ ล า ย ส่ิ ง
โดยกระบวนการฟาโกไซโทซิส ส่วนอีโอซิโน
งกับการทำลายปรสิต เบโซฟิลเกี่ยวข้องกับ
ารแพ้ ซึ่งเป็นการต่อต้านหรือทำลายสิ่ง
แบบไมจ่ ำเพาะ
นหรือทำลายสิ่งแปลกปลอมแบบจำเพาะจะ
บการทำงานของลิมโฟไซต์ชนิดเซลล์บีและ

ยวข้องกับการสร้างและตอบสนองของลิมโฟ
ด้วย ต่อมน้ำเหลือง ทอนซิลม้าม ไทมัส และ
ลืองทผ่ี นังลำไสเ้ ล็ก
มิคุ้มกันแบบจำเพาะของร่างกาย มี 2 แบบ
นก่อเองและภูมิคุม้ กันรบั มา
วัคซีนหรือทอกซอยด์เป็นตัวอย่างของ
อง โดยการกระตนุ้ ใหร้ ่างกาย สร้างภูมคิ ้มุ กัน

ผลการเรยี นรทู้ คี่ าดหวัง ชื่อหน่วยการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้

17) สืบค้นข้อมลู และ - ความผดิ ปกติ ขึ้น ด้วยวิธีกา
อธิบายเกีย่ วกับความ ของระบบ ภูมิคุ้มกันรับม
ผดิ ปกตขิ องระบบ ภมู คิ ุ้มกัน ได้รบั ซรี ัม กา
ภมู ิคุม้ กนั ท่ีทำให้เกิด • เอดส์ ภูมิแ
เอดส์ ภมู ิแพ้ การสรา้ ง ตนเอง เป็นต
ภมู ติ า้ นทานต่อเนือ้ เยื่อ ของร่างกายท
ตนเอง

18) สืบค้นข้อมลู - การขบั ถ่าย • อะมีบา และ
อธิบาย และ ของสัตว์ ที่มคี อนแทรก
เปรียบเทียบโครงสรา้ ง และรกั ษาดลุ ย
และหนา้ ทใี่ นการกำจดั • ฟองน้ำและ
ของเสยี ออกจากรา่ งกาย ของเสยี จงึ ถูก
ของฟองนำ้ ไฮดรา พลา • พลานาเรีย
นาเรีย ไส้เดอื นดิน ความยาวของ

สาระสำคญั จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ 34
จำนวนคาบ
ารให้สารที่เป็นแอนติเจนเข้าสู่ร่างกาย ส่วน
มาเป็นการรับแอนติบอดีโดยตรง เช่น การ 3
ารได้รบั น้ำนมแม่
แพ้ และการสร้างภูมิต้านทานต่อเนื้อเย่ือ
ตัวอย่างของอาการที่เกิดจากระบบภูมิคุ้มกัน
ทที่ ำงานผิดปกติ

ะพารามีเซยี มเป็นสิ่งมชี วี ิตเซลลเ์ ดยี ว 3
กไทลแ์ วควิ โอลทำหน้าท่ใี นการกำจดั
ยภาพของนำ้ และแรธ่ าตใุ นเซลล์
ะไฮดรามีเซลล์ส่วนใหญ่สัมผัสกับน้ำโดยตรง
กกำจดั ออกโดยการแพรส่ สู่ ภาพแวดลอ้ ม
ยใช้เฟลมเซลล์ซึ่งกระจายอยู่ 2 ข้างตลอด
งลำตัวทำหน้าที่ขบั ถ่ายของเสยี

ผลการเรยี นรทู้ ่ีคาดหวงั ชอ่ื หน่วยการเรยี นรู้ สาระการเรียนรู้

แมลง และสัตวม์ ีกระดูก • ไส้เดือนดิน
สันหลงั สัตวม์ กี ระดกู ส

19) อธบิ ายโครงสรา้ ง - การขบั ถา่ ย • ไตเป็นอวัยว
และหน้าทข่ี องไต และ ของมนุษย์และ ดุลยภาพของน
โครงสร้างทใี่ ช้ลำเลียง การทำงานของ • ไตประกอบ
ปสั สาวะออกจาก หนว่ ยไต และบริเวณส
รา่ งกาย ปลายของเม
เรียกว่า กรวย
ลำเลียงปัสสา
ออกนอกรา่ งก
• ไตแต่ละข้า
เป็นท่อ ปลา
แคปซูล ล้อม
เมอรลู สั
• กลไกในการ
การกรอง กา
ตอ้ งการออกจ

สาระสำคัญ จดุ ประสงค์การเรียนรู้ 35
จำนวนคาบ
นใช้เนฟริเดียม แมลงใช้มัลพิเกียนทิวบูลและ
สนั หลงั ใช้ไตในการขบั ถ่ายของเสีย 3

วะที่ทำหน้าที่เกี่ยวกับการขับถ่ายและรักษา
นำ้ และแรธ่ าตุในรา่ งกาย
บด้วยบริเวณส่วนนอก ที่เรียกว่าคอร์เท็กซ์
ส่วนใน ที่เรียกว่า เมดัลลาและบริเวณส่วน
ดัลลาจะยื่นเข้าไปจรดกับส่วนที่เป็นโพรง
ยไตโดยกรวยไตจะต่อกับท่อไตซึ่งทำหน้าที่
าวะไปเก็บไว้ที่กระเพาะปัสสาวะเพื่อขับถ่าย
กาย
างของมนุษย์ประกอบด้วยหน่วยไตลักษณะ
ายข้างหนึ่งเป็นรูปถ้วยเรียกว่า โบว์แมนส์
มรอบกลุ่มหลอดเลือดฝอย ที่เรียกว่า โกล

รกำจัดของเสียออกจากรา่ งกายประกอบดว้ ย
ารดูดกลับ และการหลั่งสารที่เกินความ
จากร่างกาย


Click to View FlipBook Version