The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by daidomon63, 2021-10-26 22:57:34

รวมระเบียบกศ

รวมระเบียบกศ

528 514

ให ผู บั ง คั บ บั ญ ช า ต ร ว จ ส อ บ แ ล ะ แ จ ง จํ า น ว น วั น ท่ี ป ฏิ บั ติ รา ช ก า รข อ งข า รา ช ก า ร
ศาลยุติธรรม ตามวรรคหน่ึง วรรคสอง และวรรคสามไปยังหนวยงานท่ีทําหนาที่เบิกจายเงิน
คาตอบแทนพิเศษ เพ่อื ประกอบการเบิกจา ยเงนิ คาตอบแทนพเิ ศษในแตละเดือน

ขอ 11 ขาราชการศาลยุติธรรมซ่ึงไดรับมอบหมายจากผูบังคับบญั ชาใหไประชมุ สัมมนา
ดูงาน หรือเขารับการอบรมตามแผนการฝกอบรมของสํานักงานศาลยุติธรรมถือเปนระยะเวลา
การปฏบิ ตั ิหนา ทร่ี าชการ

การอบรมท่ีจัดโดยหนวยงานภายนอกไมถือเปนระยะเวลาการปฏิบัติหนาท่ีราชการ
ตามระเบียบน้ี เวนแตสํานักงานศาลยุติธรรมเปนผูอนุมัติใหไปอบรมและเปนไปตามมาตรฐาน
กําหนดตําแหนง

ขอ 12 ขาราชการศาลยุติธรรมผูใดฝาฝนหรือไมปฏิบัติตามประมวลจริยธรรม
ขาราชการศาลยุติธรรม เลขาธิการสํานักงานศาลยุติธรรมอาจส่ังใหงดจายเงินคาตอบแทนพิเศษ
แกข า ราชการศาลยุติธรรมผนู ้ันเปนเวลาไมเกนิ สามเดือนนับแตวันทีม่ ีคําส่ัง

การสั่งงดจายเงินคาตอบแทนพิเศษตามวรรคหน่ึงสาํ หรับตําแหนงเลขาธิการสํานักงาน
ศาลยุติธรรม ใหประธานศาลฎีกาเปนผูมีอํานาจสั่ง โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการตุลาการ
ศาลยุตธิ รรม

ขอ 13 ขาราชการศาลยุติธรรมผูใดถูกสั่งลงโทษภาคทัณฑ ใหงดจายเงินคาตอบแทน
พิเศษแกข าราชการศาลยุติธรรมผูนั้นเปนเวลาหกเดือนนบั แตวันทมี่ ีคาํ สั่งใหล งโทษ

ขาราชการศาลยุติธรรมผูใดถูกส่ังลงโทษตัดเงินเดือนหรือลดเงินเดือน ใหงดจายเงิน
คา ตอบแทนพเิ ศษแกขาราชการศาลยุติธรรมผูน้ันเปนเวลาหนึ่งปนบั แตวันที่ถูกส่ังลงโทษ

ขอ 14 ขาราชการศาลยุติธรรมผูใดถูกส่ังพักราชการ ถูกสั่งใหออกจากราชการไวกอน
และผูทอ่ี ยูระหวางการอุทธรณคําส่ังลงโทษทางวินัยอยางรายแรง ไมมีสิทธิไดรับเงินคาตอบแทนพิเศษ
ในระหวางถูกสั่งพักราชการ ถูกส่ังใหออกจากราชการไวกอน หรือในระหวางการอุทธรณคําส่ังลงโทษ
ทางวนิ ัยอยางรายแรง

ขอ 15 ขาราชการศาลยุติธรรมผูใดไดรับเงินคาตอบแทนพิเศษไป โดยไมมีสิทธิ
ที่จะไดรับตามระเบียบน้ี ใหขาราชการศาลยุติธรรมผูนั้นคืนเงินคาตอบแทนพิเศษภายในสามสิบวัน
นับแตวันที่ไดรบั แจงถึงการไมมสี ิทธนิ ้ัน

ขอ 16 ในกรณีพนจากการเปนขาราชการศาลยุติธรรม ใหงดจายเงนิ คาตอบแทนพเิ ศษ
ต้ังแตว นั ท่ีมคี าํ ส่งั ใหข าราชการศาลยุติธรรมผนู นั้ พนจากการเปนขาราชการศาลยุตธิ รรม

ขอ 17 หลักเกณฑและวิธีปฏิบัติเกี่ยวกับการเบิกจายเงินคาตอบแทนพิเศษสําหรับ
ขาราชการศาลยุติธรรมท่ีมิไดกําหนดไวในระเบียบน้ี ใหนําหลักเกณฑและวิธีปฏิบัติเก่ียวกับการจาย

529 515
เงินเดอื นของขาราชการพลเรือน ตามพระราชกฤษฎีกาวาดวยการจายเงินเดือน เงินป บําเหน็จบํานาญ
และเงินอื่นในลักษณะเดียวกัน และระเบียบคณะกรรมการบริหารศาลยุติธรรม วาดวยการเงิน
มาใชบ ังคบั โดยอนโุ ลม

ขอ 18 เพื่อประโยชนในการนับระยะเวลาของการไดรับเงินคาตอบแทนพิเศษใหนํา
ระยะเวลาตามประกาศคณะกรรมการขาราชการศาลยุติธรรม เรื่อง การเทียบการดํารงตําแหนงตาม
พระราชบัญญัติระเบียบขาราชการพลเรอื น พ.ศ. 2535 เทากับการดํารงตําแหนงตามพระราชบัญญัติ
ระเบียบขาราชการพลเรือน พ.ศ. 2551 มานับรวมเปนระยะเวลาในการดํารงตําแหนงของขาราชการ
ศาลยตุ ธิ รรมผูนน้ั เพอื่ ใหไดร ับคาตอบแทนพิเศษตามบัญชแี นบทา ยระเบียบนี้

ขอ 19 ระเบียบตามขอ 13 ไมใหใชบังคับกับขาราชการศาลยุติธรรมท่ีถูกส่ังลงโทษ
กอ นวันท่ีระเบยี บน้มี ีผลใชบังคับ

ขอ 20 เงินคาตอบแทนพิเศษตามระเบียบน้ีใหเร่ิมจายต้ังแตวันท่ี 1 ตุลาคม 2554
เปนตน ไป

ขอ 21 ใหคณะกรรมการบริหารศาลยุติธรรมมีอํานาจตีความและวินิจฉัยปญหา
เกี่ยวกับการปฏิบตั ิตามระเบียบนี้

ขอ 22 ใหประธานกรรมการบริหารศาลยุติธรรมรักษาการตามระเบียบน้ี และใหมี
อาํ นาจออกประกาศ คําสัง่ หลักเกณฑแ ละวธิ กี ารเพือ่ ประโยชนในการปฏบิ ัติตามระเบยี บน้ี

ประกาศ ณ วันท่ี 11 สิงหาคม พ.ศ. 2554
(ลงชือ่ ) สบโชค สขุ ารมณ
(นายสบโชค สุขารมณ)
ประธานศาลฎีกา
ประธานกรรมการบริหารศาลยุตธิ รรม

การ ำด�เ ินนกาแรละทกาางรวิ ่สันกงยเลุสมกริ่ทีามร๕จุอ ิรทยธธรรณ์รมการ ้รอง ุทกข์

530 514

530 อัตรา
(บาท/เดอื น)
บัญชคี า่ ตอบแทนพิเศษของขา้ ราชการศาลยุตธิ รรม2 20,000
18,000
ประเภท ตาแหนง่ ใหไ้ ดร้ บั เมือ่ 18,000
บริหาร 16,000
อานวยการ สูง ดารงตาแหนง่ ระดับสูง 20,000
ตน้ ดารงตาแหน่งระดับต้น 18,000
วิชาการ สงู ดารงตาแหน่งอานวยการระดบั สูง 16,000
ต้น ดารงตาแหน่งอานวยการระดบั ตน้ 14,000
ทว่ั ไป ทรงคุณวฒุ ิ ดารงตาแหนง่ ระดับทรงคณุ วุฒิ 12,000
เช่ยี วชาญ ดารงตาแหน่งระดับเชยี่ วชาญ 10,000
ชานาญการพเิ ศษ
ชานาญการ ดารงตาแหน่งระดบั ชานาญการพิเศษ 8,000
ดารงตาแหน่งระดบั ชานาญการครบ 3 ปี 6,000
ปฏบิ ตั ิการ ดารงตาแหน่งระดับชานาญการ 16,000
ดารงตาแหน่งระดับปฏบิ ัตกิ ารครบ 4 ปี 14,000
อาวโุ ส ดารงตาแหนง่ ระดบั ปฏบิ ตั กิ ารครบ 2 ปี 12,000
ดารงตาแหน่งระดับปฏบิ ัตกิ าร 10,000
ชานาญงาน ดารงตาแหนง่ ระดบั อาวุโสครบ 3 ปี 8,000
ดารงตาแหนง่ ระดับอาวุโส 6,000
ปฏบิ ตั ิงาน ดารงตาแหนง่ ระดับชานาญงานครบ 3 ปี
ดารงตาแหนง่ ระดบั ชานาญงาน
ดารงตาแหนง่ ระดบั ปฏบิ ัตงิ านครบ 4 ปี
ดารงตาแหน่งระดับปฏบิ ตั งิ าน

2 บัญชีค่าตอบแทนพิเศษของข้าราชการศาลยุติธรรมแก้ไขเพ่ิมเติมโดยระเบียบคณะกรรมการบริหารศาล
ยตุ ธิ รรมว่าดว้ ยเงนิ ค่าตอบแทนพิเศษของข้าราชการศาลยุตธิ รรม (ฉบบั ท่ี 3) พ.ศ.2563 ลงวันที่ 19 สิงหาคม 2563

531 517

ระเบียบคณะกรรมการบริหารศาลยตุ ธิ รรม
วา ดวยเงนิ คาตอบแทนพเิ ศษลูกจา ง และพนกั งานราชการศาลยุติธรรม

ของสาํ นักงานศาลยุตธิ รรม
พ.ศ. 2556

โดยที่สํานักงานศาลยุติธรรมเปนหนวยธุรการของศาลยุติธรรม และมีอํานาจหนาที่ การ ำด�เ ินนกาแรละทกาางรวิ ่สันกงยเลุสมกริ่ทีามร๕จุอ ิรทยธธรรณ์รมการ ้รอง ุทกข์
เกี่ยวกับงานธุรการของศาลยุติธรรม งานสงเสริมงานตุลาการ และงานวิชาการ เพื่อสนับสนุนและ
อํานวยความสะดวกใหแกศาลยุติธรรม ลูกจางและพนักงานราชการศาลยุติธรรมเปนบุคลากรท่ีปฏิบัติหนาท่ี
สนับสนุนและอํานวยความสะดวกใหแกศาลยุติธรรม จึงสมควรกําหนดใหมีเงินคาตอบแทนพิเศษ
เพ่ือเสริมสรางแรงจูงใจในการปฏิบัติงานใหเหมาะสมกับหนาท่ีความรับผิดชอบรวมท้ังเพ่ือเปน
การสงเสรมิ และสนับสนุนใหล ูกจางปฏิบตั ิหนาท่ไี ดอ ยางมีประสทิ ธภิ าพและเกดิ ประสทิ ธผิ ลตอองคก ร

อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 17 (1) (3) และ (4) แหงพระราชบัญญัติระเบียบ
บริหารราชการศาลยุติธรรม พ.ศ. 2543 คณะกรรมการบริหารศาลยุติธรรม (ก.บ.ศ.) ออกระเบียบไว
ดังตอ ไปนี้

ขอ 1 ระเบียบนี้เรียกวา “ระเบียบคณะกรรมการบริหารศาลยุติธรรมวาดวย
เงินคาตอบแทนพิเศษลูกจาง และพนักงานราชการศาลยุติธรรมของสํานักงานศาลยุติธรรม
พ.ศ. 2556”

ขอ 2 ระเบยี บน้ีใหใ ชบังคบั ต้ังแตวันท่ี 1 มกราคม พ.ศ. 2556 เปนตน ไป
ขอ 3 ในระเบียบนี้ “ลูกจาง” หมายความวา ลูกจางประจํา ลูกจางชั่วคราว ตามระเบียบ
คณะกรรมการขาราชการศาลยุติธรรมวาดวยลูกจางของสํานักงานศาลยุติธรรม และใหหมายความรวมถึง
พนักงานราชการศาลยุติธรรมตามระเบยี บคณะกรรมการขาราชการศาลยุติธรรมวาดวยพนักงานราชการ
ศาลยุติธรรม
ขอ 4 ใหลูกจางมีสิทธิไดรับเงินคาตอบแทนพิเศษจากงบประมาณรายจายของ
สํานักงานศาลยุติธรรม โดยใหเบิกจายเงินคาตอบแทนพิเศษพรอมกับเงินคา จางของเดือนถัดไป กรณีมี
เหตจุ ําเปน สาํ นักงานศาลยตุ ิธรรมอาจกําหนดเบิกจา ยเปนอยางอ่ืนก็ได
ขอ 5 อัตราเงินคาตอบแทนพิเศษลูกจางใหเปนไปตามบัญชีแนบทายระเบียบน้ี
ทงั้ นี้ไมเกนิ วงเงินงบประมาณทไ่ี ดร ับจัดสรร
ใน ก รณี ท่ี มี เห ตุ ผ ล แ ล ะ คว า ม จํ าเป น สํ า นั ก ง าน ศ า ลยุ ติ ธ รร ม จ ะ กํ า ห น ด ให จ า ย เงิ น
คา ตอบแทนพิเศษตํ่ากวาอัตราทีก่ ําหนดไวกไ็ ด
การนับระยะเวลาการดํารงตําแหนงของลกู จางและพนักงานราชการศาลยุติธรรมเพื่อให
ไดรบั เงนิ คาตอบแทนพิเศษใหเปนไปตามหลักเกณฑที่สํานกั งานศาลยตุ ธิ รรมกาํ หนด

532 518
ขอ 6 การจายเงินคาตอบแทนพิเศษในกรณีพนจากงานหรือพนจากการเปนลูกจาง
ใหเปนไปตามหลักเกณฑด ังน้ี
(1) กรณีลูกจางประจําพนจากราชการเพราะเกษียณอายุตามระเบียบกระทรวงการคลัง
วาดวยบาํ เหนจ็ ลกู จา ง พ.ศ. 2519 ใหจ ายไดถึงวันกอนวนั เกษียณอายุ
(2) กรณีพนจากการเปนลูกจางในกรณีอื่นทุกกรณีใหงดการจายเงินคาตอบแทนพิเศษ
ต้ังแตว ันท่ีมีคําส่ังใหล ูกจางผูนน้ั พนจากการเปนลูกจางหรอื วนั ท่อี อกจากงาน หรอื นับแตว ันท่ีลกู จางผูน้ัน
ถึงแกค วามตาย
ขอ 7 การจา ยเงนิ คา ตอบแทนพิเศษใหแกล ูกจา ง ใหถือปฏิบตั ิ ดงั นี้
(1) ลกู จา งประจํา ใหจ า ยตงั้ แตวันที่ผา นการทดลองปฏบิ ัติหนาท่รี าชการ
(2) พนักงานราชการศาลยุติธรรม และลูกจางช่ัวคราว ใหจายไดตั้งแตวันท่ีปฏิบัติงาน
พนหกเดือนนบั แตวนั ท่ีสาํ นกั งานศาลยตุ ิธรรมมีคาํ ส่ังจางในปง บประมาณแรกเปนตน ไป
ขอ 8 ลูกจางท่ีจะมีสิทธิไดรับเงินคาตอบแทนพิ เศษตองผานการประเมินผล
การปฏิบัตงิ านจากผบู ังคับบัญชาในแตล ะรอบการประเมนิ ไมน อ ยกวารอ ยละเจด็ สิบ
ลูกจางประจําท่ีไมไดรับการเล่ือนข้ันคาจางกรณีหน่ึง หรือไมไดรับคาตอบแทนพิเศษ
กรณีไดรับคาจางถึงขั้นสูงของระดับตําแหนงอีกกรณีหนึ่ง ใหงดการจายเงินคาตอบแทนพิเศษในรอบ
การประเมินถัดไป เวน แต กรณบี รรจุใหม ทั้งนี้ตามกฎหมาย กฎ ระเบยี บ และหลกั เกณฑวา ดว ยการน้นั 1
พนักงานราชการศาลยุติธรรมท่ีไมไดรับการเล่ือนคาตอบแทน ใหง ดจายเงินคาตอบแทน
พิเศษในรอบการประเมินหกเดือนถัดไป เวนแต กรณีไดรับการจางใหม ทั้งน้ี ตามกฎหมาย กฎ ระเบียบ
และหลกั เกณฑวาดว ยการนนั้ 2
ขอ 9 ลูกจางผูใดมีเวลามาปฏิบัติหนาที่ไมถึงสองในสามของจํานวนวันทําการในเดือน
ใดไมมีสิทธิไดรับเงินคาตอบแทนพิเศษในเดือนนั้น ใหผูบังคับบัญชาตรวจสอบและแจงจํานวนวันท่ีปฏิบัติ
หนา ท่ีของลกู จางไปยงั หนวยงานที่เบกิ จายเงินคาตอบแทนพิเศษเพอื่ ประกอบการเบกิ จา ยในแตล ะเดือน
ขอ 10 ลูกจางผูใดขาดงาน หรอื ละท้ิงหนาที่โดยไมม ีเหตผุ ลอันสมควร หามมใิ หจ ายเงิน
คาตอบแทนพเิ ศษสาํ หรับวันทีข่ าดหรอื ละทงิ้ หนา ทร่ี าชการดงั กลา ว
กรณีที่ลูกจางหยุดหรือขาดราชการ โดยไมมีสิทธิไดรับคาจางในวันใด จะไมมีสิทธิไดรับ
เงินคา ตอบแทนพเิ ศษในวนั นนั้ ดว ย

1 ขอ 8 วรรคหน่ึง แกไขเพ่ิมเติมโดยระเบียบคณะกรรมการบริหารศาลยุติธรรม วาดวยเงินคาตอบแทนพิเศษ
ลูกจางและพนักงานราชการศาลยุตธิ รรมของสํานักงานศาลยุติธรรม (ฉบบั ท่ี 2) พ.ศ. 2561 ลงวนั ท่ี 21 กมุ ภาพันธ 2561

2 ขอ 8 วรรคสอง แกไขเพ่ิมเติมโดยระเบียบคณะกรรมการบริหารศาลยุติธรรม วาดวยเงินคาตอบแทนพิเศษ
ลูกจางและพนักงานราชการศาลยุติธรรมของสํานักงานศาลยุติธรรม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2561 ลงวันท่ี 21 กมุ ภาพนั ธ 2561

533 519 การ ำด�เ ินนกาแรละทกาางรวิ ่สันกงยเลุสมกริ่ทีามร๕จุอ ิรทยธธรรณ์รมการ ้รอง ุทกข์
กรณีมีภารกิจที่ตองอยูปฏิบัติหนาท่ีราชการเรงดวน ลูกจางผูใดไมอยูปฏิบัติหนาท่ี
ราชการเรงดว นโดยไมมีเหตุผลอันสมควร หามมิใหจายเงินคาตอบแทนพิเศษสําหรับวันที่ไมปฏิบัติหนาท่ี
ราชการดังกลาว
ขอ 11 ลูกจางผูใดถูกสัง่ พักราชการ หรือพักงาน ถูกส่ังใหออกจากราชการหรอื งานไวกอน
หรือผูท่ีอยูในระหวางอุทธรณคําส่ังลงโทษทางวินัยรายแรง ใหงดการเบิกจายเงินคาตอบแทนพิเศษ
ไวจ นกวาลูกจา งผนู ัน้ กลบั มาปฏิบตั ิราชการ หรอื ปฏบิ ัตงิ านตามปกติ
ขอ 12 ลูกจางผูใดถูกส่ังลงโทษภาคทัณฑ ใหงดจายเงินคาตอบแทนพิเศษแกลูกจางผูน้ัน
เปน เวลาหกเดอื นนับแตวนั ท่มี ีคําสง่ั ใหลงโทษ
ลูกจางผูใดถูกส่ังลงโทษตัดเงนิ เดือนหรือลดข้ันเงินเดือนใหงดจายเงินคาตอบแทนพิเศษ
แกลกู จา งผนู นั้ เปน เวลาหนง่ึ ปน บั แตวนั ที่มีคาํ ส่ังใหลงโทษ
ลูกจางผูใดฝาฝนไมปฏิบัติตามประมวลจริยธรรมขาราชการศาลยุติธรรมและลูกจาง
เลขาธิการสํานักงานศาลยุติธรรมอาจส่ังใหงดจายเงินคา ตอบแทนพิเศษแกลูกจางผูนั้นเปนเวลาไมเกิน
สามเดอื นนบั แตว ันท่มี ีคําสง่ั
ขอ 13 ลูกจางผใู ดไดรบั เงินคาตอบแทนพิเศษไปโดยไมมีสิทธิท่ีจะไดรับตามระเบียบน้ี
ใหล ูกจางผนู ั้นคืนเงนิ คา ตอบแทนพิเศษภายในสามสิบวันนับแตวันทีไ่ ดแจง ถึงการไมมสี ทิ ธนิ ้ัน
ขอ 14 หลักเกณฑแ ละวิธีปฏิบัติเก่ียวกับการเบิกจายเงินคาตอบแทนพิเศษของลูกจาง
กรณีใดมไิ ดกําหนดไวในระเบียบน้ีใหนําหลักเกณฑและวิธีปฏิบัติเก่ียวกับการจายเงินคาจางลูกจางของ
สว นราชการตามระเบยี บวาดวยการจา ยคา จางลูกจางของสวนราชการ และทแี่ กไขเพิ่มเติม และระเบียบ
คณะกรรมการบรหิ ารศาลยุติธรรมวาดวยการเงนิ มาใชบ ังคับโดยอนโุ ลม
ขอ 15 ใหคณะกรรมการบริหารศาลยุติธรรมมีอํานาจตีความและวินิจฉัยปญหา
เก่ียวกับการปฏิบัตติ ามระเบียบ
ขอ 16 ใหเลขาธิการสํานักงานศาลยุติธรรมรักษาการตามระเบียบน้ี และใหมีอํานาจ
ออกประกาศ คําสงั่ หลกั เกณฑแ ละวิธกี ารเพอื่ ประโยชนในการปฏบิ ัติตามระเบียบนี้

ประกาศ ณ วันที่ 6 มนี าคม พ.ศ. 2556
(ลงชือ่ ) ไพโรจน วายภุ าพ
(นายไพโรจน วายุภาพ)
ประธานศาลฎีกา

ประธานกรรมการบรหิ ารศาลยุตธิ รรม

534 518

534

บัญชีเงินคา่ ตอบแทนพิเศษ
ลูกจา้ ง และพนกั งานราชการศาลยตุ ธิ รรมของสานกั งานศาลยุตธิ รรม3

ระยะเวลาการดารงตาแหนง่ อัตรา
พน้ ทดลองปฏบิ ตั งิ าน (บาท/เดอื น)

หรือเม่ือพ้น 6 เดือน แลว้ แต่กรณี 5,000
ปฏบิ ัตงิ าน 5 ปขี นึ้ ไป 6,000

3 แก้ไขเพิม่ เตมิ โดยระเบียบฯ (ฉบับที่ 3) ลงวันที่ 19 สงิ หาคม พ.ศ. 2563

535 519

535

ประกาศคณะกรรมการขา้ ราชการศาลยตุ ธิ รรม
เรือ่ ง ให้ใชป้ ระมวลจรยิ ธรรมขา้ ราชการศาลยตุ ธิ รรม

โดยท่ีรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ มาตรา ๗๖ วรรคสาม การ ำด�เ ินนกาแรละทกาางรวิ ่สันกงยเลุสมกริ่ทีามร๕จุอ ิรทยธธรรณ์รมการ ้รอง ุทกข์
กาหนดใหร้ ัฐพึงจัดให้มมี าตรฐานทางจริยธรรมเพ่ือให้หน่วยงานของรัฐใชเ้ ป็นหลักในการกาหนดประมวล
จรยิ ธรรมสาหรับเจา้ หนา้ ทข่ี องรัฐในหนว่ ยงานนน้ั ๆ ซงึ่ ตอ้ งไม่ตา่ กวา่ มาตรฐานทางจรยิ ธรรมดังกลา่ วประกอบ
กับพระราชบัญญัติมาตรฐานทางจริยธรรม พ.ศ. ๒๕๖๒ซ่ึงมีผลใช้บังคับวันที่ ๑๗ เมษายน ๒๕๖๒โดย
มาตรา ๗ แห่งพระราชบัญญัติดังกล่าวกาหนดให้การจัดทาประมวลจริยธรรมในภาครัฐมีมาตรฐานทาง
จริยธรรมในระดับเดียวกัน และในการจัดทาประมวลจริยธรรมขององค์กรกลางบริหารงานบุคคลของศาล
หรือองค์กรอยั การ องค์กรกลางบริหารงานบคุ คลของหนว่ ยงานธรุ การของรฐั สภาและองค์กรอิสระใหน้ า
มาตรฐานทางจริยธรรมตามมาตรา ๕ ไปใชป้ ระกอบการพิจารณาจัดทาประมวลจริยธรรมของเจา้ หนา้ ท่ี
ของรัฐทอี่ ยู่ในความรบั ผิดชอบด้วย

ดังนั้น เพ่ืออนุวัติตามมาตรา ๕ และมาตรา ๗ แห่งพระราชบัญญัติมาตรฐานทาง
จริยธรรม พ.ศ. ๒๕๖๒ จึงให้ยกเลิกประมวลจริยธรรมข้าราชการศาลยุติธรรมและลูกจ้างและประกาศใช้
ประมวลจริยธรรมข้าราชการศาลยุติธรรมฉบับน้ีแทน เพ่ือให้ประมวลจริยธรรมของข้าราชการศาล
ยุติธรรมสมบูรณ์ยิ่งขึ้นสอดคล้องต่อสภาวการณ์ปัจจุบัน และเป็นหลักให้ทุกคนยึดถือในการปฏิบัติหน้าท่ี
ราชการ ตลอดจนการดารงตนต่อไปโดยหากผู้ใดฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามประมวลจริยธรรมฉบับนี้ให้
ผู้บงั คับบญั ชาดาเนินการตามระเบียบคณะกรรมการข้าราชการศาลยุติธรรม ว่าดว้ ยการสง่ เสรมิ จริยธรรม
ข้าราชการศาลยุติธรรม ลูกจ้าง และพนักงานราชการศาลยุตธิ รรม แต่หากการฝ่าฝืนหรอื ไม่ปฏิบัตติ ามนั้น
ถงึ ขน้ั เป็นความผดิ วนิ ัยก็ใหผ้ ู้บงั คับบญั ชาดาเนนิ การทางวนิ ัยตอ่ ไปตามควรแก่กรณี

ท้ังนี้ต้ังแตบ่ ดั นีเ้ ป็นต้นไป

ประกาศ ณ วนั ที่ 22 พฤษภาคม พ.ศ.๒๕๖๒

(ลงช่อื ) อุบลรตั น์ ลยุ วกิ กยั
(นางอบุ ลรตั น์ ลยุ วกิ กยั )
ประธานศาลอุทธรณ์

ประธานกรรมการข้าราชการศาลยุตธิ รรม

536 520

ประมวลจรยิ ธรรมขาราชการศาลยุติธรรม

หมวด ๑

อดุ มการณของขาราชการศาลยตุ ิธรรม

ขอ ๑ หนาท่ีสําคัญของขาราชการศาลยุติธรรม คือ ยึดม่ันในสถาบันหลักของประเทศ
อันไดแก ชาติ ศาสนา พระมหากษัตรยิ  และการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรง
เปน ประมุขโดยปฏบิ ัตหิ นาท่ีเพื่อประชาชนดว ยความซ่อื สัตยส ุจริต มจี ิตสาํ นึกที่ดี และรับผดิ ชอบในหนาท่ี
ราชการ กลาตัดสินใจในส่งิ ที่ถูกตอ งชอบธรรมและคดิ ถึงประโยชนสวนรวมมากกวาประโยชนสว นตนดวยใจที่
มีจิตสาธารณะ ท้ังพัฒนาศักยภาพของตนเองในการปฏิบัติหนาท่ีใหทันยุคสมัยมุงผลสัมฤทธ์ิของงาน
ราชการเปนหลัก และสรางความเปนธรรมใหสังคมดวยการปฏิบัติหนาท่ีราชการอยางเปนธรรมไมเลือก
ปฏิบัติตอบุคคลดวยความแตกตางไมวาจะเปน สถานภาพ เพศ การศึกษา หรือความแตกตางอื่นใดทั้งจัก
ตองดํารงตนใหเปนแบบอยางท่ีดี และรักษาภาพลักษณของศาลยุติธรรมใหสมกับเปนองคกรที่อํานวย
ความยุตธิ รรมใหแกประชาชน

หมวด ๒
จริยธรรมเก่ยี วกับการปฏิบัตหิ นา ที่

ขอ ๒ ขาราชการศาลยุติธรรมจักตองปฏิบัติหนาที่ตามอุดมการณของขาราชการ
ศาลยุติธรรม ดวยความซ่ือสัตยสุจริต กลายืนหยัดทําในสง่ิ ท่ีถูกตอง และรับผิดชอบเมื่อเกิดขอบกพรอง
หรอื ผิดพลาดในการปฏิบัตหิ นาที่

ขอ ๓ ขาราชการศาลยุตธิ รรมจักตองรักษาความลับในการปฏิบัติหนาที่ราชการ ทั้งใน
สวนของการชวยสนับสนุนการพิจารณาคดี และการปฏิบตั ิหนาทีร่ าชการในหนาที่อื่นใด

ขอ ๔ ขาราชการศาลยุติธรรมจักตองวางตวั เปนกลางและปราศจากอคติในการปฏิบัติ
หนาที่แตงกายใหสุภาพเรียบรอ ย ใชวาจาที่สุภาพ ใหความเสมอภาคและรับฟงผูมาติดตอราชการอยาง
ตั้งใจ ทั้งจักตองปฏิบัติงานในหนาที่รับผิดชอบของตนดวยความรวดเร็วเพื่อมิใหเกิดความเสียหายหรือ
กระทบกระเทือนตอการดําเนนิ คดขี องผูมาติดตอราชการ

537 521 การ ำด�เ ินนกาแรละทกาางรวิ ่สันกงยเลุสมกริ่ทีามร๕จุอ ิรทยธธรรณ์รมการ ้รอง ุทกข์

ขอ ๕ ขาราชการศาลยุติธรรมจักตองอํานวยความสะดวก สอดสองดูแล เอาใจใส
ใหคําปรึกษาแนะนํา และใหบริการแกผูมาติดตอราชการดวยความถูกตอง รวดเร็ว เต็มความสามารถ
อยางมีอธั ยาศัยไมตรจี ิต

ขอ ๖ ขาราชการศาลยุติธรรมจักตองใหความรวมมือในการปรับปรุงพัฒนาระบบงาน
เพ่ือพัฒนาการปฏิบัติงานใหสามารถสําเร็จลุลวงไดอยางมีประสิทธิภาพ เกิดผลสัมฤทธิ์ของงาน
สอดคลอ งกับวิสยั ทัศน พันธกจิ นโยบายประธานศาลฎีกา

ขอ ๗ ขาราชการศาลยุติธรรมจักตองระมัดระวัง ไมประมาทเลินเลอ และจักตอง
ละเอยี ดรอบคอบในการปฏบิ ัติหนา ท่รี าชการ

ขอ ๘ ขาราชการศาลยุติธรรมจักตองตรงตอเวลา อุทิศเวลาของตนใหแกทางราชการ
และไมเ บียดบงั เวลาราชการเพ่ือประโยชนส วนตัว

ขอ ๙ ขาราชการศาลยุติธรรมจักตองสนับสนุนการปฏิบัติงานของผูพิพากษา และ
ปฏิบัติตามคําส่ังของผูพิพากษาในการพิจารณาคดีโดยเครงครัดละเอียดรอบคอบ อีกท้ังตองประพฤติ
ปฏิบตั ติ นใหเ หมาะสมในฐานะผมู ีหนาทีส่ นับสนุนการปฏิบตั ิงานของผพู ิพากษา

ขอ ๑๐ ขาราชการศาลยุติธรรมจักตองสามัคคี มีมนุษยสัมพันธที่ดี ใหเกียรติ เอ้ือเฟอ
เคารพสทิ ธิ และรับฟงความคิดเห็นของผูรวมปฏิบตั งิ าน

ขอ ๑๑ ขาราชการศาลยุตธิ รรมจักตอ งเคารพและปฏิบัติตามคาํ ส่ังที่ผูบังคับบัญชาส่ังใน
หนาท่ีราชการโดยชอบดวยกฎหมาย

ขอ ๑๒ ขาราชการศาลยุติธรรมจักตองเอาใจใสดูแล มนุษยสัมพันธที่ดี ใหเกียรติ
เออ้ื เฟอ เคารพสทิ ธิ รบั ฟง ความคิดเห็น และใหความอนุเคราะหผ ูใ ตบังคับบญั ชาตามควรแกกรณี

หมวด ๓
จริยธรรมเก่ียวกับการดํารงตนและครอบครัว

ขอ ๑๓ ขาราชการศาลยุติธรรมจักตองเคารพและปฏิบัติตามกฎหมายอยางเครงครัดอยู
ในกรอบของศีลธรรม และพึงดํารงตนอยางสมถะ เรียบงาย เหมาะสมกับฐานะและตําแหนงหนาที่ มี
ความสุภาพ สํารวมกิริยามารยาท และมีอัธยาศยั ยึดถือจริยธรรมและประเพณีอันดีงามของขาราชการ
ศาลยตุ ธิ รรมท้งั พึงวางตนใหเปน ท่เี ชอ่ื ถือศรัทธาของบุคคลทั่วไป

538 522

ขอ ๑๔ ขาราชการศาลยุติธรรมพึงขวนขวายหาความรูเพิ่มเติมอยูเสมอ พัฒนาตนเอง
พัฒนางาน และพัฒนาองคกรอยางตอเนื่อง ปรับปรุงตนใหดีขึ้นเปนลําดับ ท้ังในวิชาชีพและความรู
รอบตัว

ขอ ๑๕ ขาราชการศาลยุติธรรมจักตองไมกาวกายหรือแสวงหาประโยชนโดยมิชอบจาก
การปฏิบัติหนาทขี่ องผอู ่ืน และจักตอ งละเวนการแอบอางหรอื แสวงหาประโยชนโ ดยมชิ อบ

ขอ ๑๖ ขาราชการศาลยุติธรรมจักตองไมยินยอมใหบุคคลในครอบครัวกาวกายการปฏิบัติ
หนาท่ีของตนเองหรือผูอื่น และตองไมยินยอมใหบุคคลในครอบครัวหรือผูอื่นใชตําแหนงของตนแสวงหา
ประโยชนอนั มิชอบ

ขอ ๑๗ ขาราชการศาลยุตธิ รรมพึงยึดมั่นในระบบคณุ ธรรม และจักตองไมแสวงหาตําแหนง
ความดีความชอบ หรอื ประโยชนอ่ืนใด โดยมชิ อบจากผบู งั คับบัญชา หรอื บุคคลอน่ื ใด

ขอ ๑๘ ขาราชการศาลยุติธรรมจักตองระมัดระวังมใิ หการประกอบวิชาชีพ อาชีพ หรือ
การงานอื่นใดของคูสมรส ญาติสนิท หรือบุคคลในครอบครัวมีลักษณะเปนการกระทบกระเทือนตอการ
ปฏิบัติหนาที่หรือเกียรติศักด์ิของขาราชการศาลยุติธรรม โดยเฉพาะอยางย่ิงในดานความเช่ือถือศรัทธา
ในการทาํ หนาท่ีสนับสนุนการอํานวยความยุติธรรมของบุคคลท่ัวไป

ขอ ๑๙ ขาราชการศาลยุติธรรมและคูสมรสจักตองไมรับทรัพยสินหรือประโยชนใดๆ
จากบุคคลอื่นใด อันเปนการเกี่ยวเนอื่ งกับการปฏิบัติหนาท่ีของตน และจกั ตองดูแลใหบุคคลในครอบครวั
ปฏบิ ัติเชนเดยี วกันดวย

ขอ ๒๐ ขาราชการศาลยุติธรรมจักตองไมรับของขวัญของกํานัล หรือประโยชนอื่นใด
อนั มีมลู คา เกินกวาท่ีพึงใหก ันตามอัธยาศัยและประเพณีในสังคม

ขอ ๒๑ ขาราชการศาลยุติธรรมจักตองไมคบหาสมาคมหรือสนับสนุนผูประพฤติ
ผิดกฎหมาย หรือผูมีความประพฤติในทางเส่ือมเสีย อันอาจกระทบกระเทือนตอความเช่ือถือศรัทธา
ของประชาชนในการปฏบิ ัตหิ นา ท่ีของตน

539 523

หมวด ๔
จริยธรรมเกย่ี วกับกิจการอ่ืน

ขอ ๒๒ ขาราชการศาลยุติธรรมจักตองไมเปนกรรมการ ผูจัดการ ท่ีปรึกษาหรือดํารง
ตําแหนง อื่นใดในหา งหนุ สวน บรษิ ทั หา งราน หรอื ธุรกิจของเอกชน เวนแตจ ะเปนกจิ การท่ีมไิ ดแสวงหากําไร

ขาราชการศาลยุติธรรมจักตองไมประกอบอาชีพ หรือวิชาชีพ หรือกระทํากิจการใด
อนั อาจกระทบกระเทือนตอการปฏิบตั ิหนาทห่ี รือเกยี รติศกั ด์ิของขาราชการศาลยุติธรรม

ขอ ๒๓ ในกรณีจําเปนขาราชการศาลยุติธรรมอาจไดรับมอบหมายหรือแตงต้ังจาก
หนวยงานราชการ รัฐวิสาหกิจ หรือหนวยงานอื่นของรัฐใหปฏิบัติหนาที่อันเก่ียวกับหนวยงานนั้นได
แตก ารปฏิบัติหนาท่ีดังกลา วจักตองไดรับอนุญาตจากผูบังคบั บัญชาซง่ึ มอี าํ นาจแลว

ขอ ๒๔ ขาราชการศาลยุติธรรมจักตองไมกระทําการอ่ืนใดอยางทนายความ เวนแต
เปนกรณีใหคําแนะนําหรือใหความสะดวกแกประชาชนผูมาติดตอราชการ ตามอํานาจหนาท่ีของตน
หรอื เปน กรณีท่ีมกี ฎหมายกําหนดใหกระทําได

หมวด ๕

จริยธรรมของลกู จาง และพนักงานราชการศาลยุติธรรม

ขอ ๒๕ ใหนําประมวลจริยธรรมขาราชการศาลยุติธรรมน้ีมาใชบังคับแกลูกจาง และ
พนกั งานราชการศาลยุตธิ รรม ดว ยโดยอนโุ ลม

----------------------------------

การ ำด�เ ินนกาแรละทกาางรวิ ่สันกงยเลุสมกริ่ทีามร๕จุอ ิรทยธธรรณ์รมการ ้รอง ุทกข์

540 524

คาํ อธิบายประมวลจรยิ ธรรมขาราชการศาลยุติธรรม

หมวด ๑
อดุ มการณของขา ราชการศาลยตุ ิธรรม

บทบญั ญัติ
ขอ ๑ หนาที่สําคัญของขาราชการศาลยุติธรรม คือ ยึดม่ันในสถาบันหลัก

ของประเทศ อันไดแก ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย และการปกครองระบอบประชาธิปไตย
อันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุขโดยปฏิบัติหนาที่เพ่ือประชาชนดวยความซื่อสัตยสุจริต
มีจิตสํานึกท่ีดี และรับผิดชอบในหนาที่ราชการ กลาตัดสินใจในส่ิงที่ถูกตองชอบธรรมและคิดถึง
ประโยชนสวนรวมมากกวาประโยชนสวนตนดวยใจที่มีจิตสาธารณะ ท้ังพัฒนาศักยภาพของตนเอง
ในการปฏบิ ัติหนาท่ีใหทันยุคสมัย มุงผลสัมฤทธิ์ของงานราชการเปนหลัก และสรางความเปนธรรม
ใหส งั คมดวยการปฏิบัตหิ นาท่รี าชการอยา งเปนธรรมไมเลือกปฏิบตั ิตอ บคุ คลดวยความแตกตางไมวา
จะเปน สถานภาพ เพศ การศึกษา หรือความแตกตางอื่นใด ทั้งจักตองดํารงตนใหเปนแบบอยางที่ดี
และรักษาภาพลกั ษณข องศาลยตุ ิธรรมใหสมกับเปนองคกรท่ีอาํ นวยความยตุ ิธรรมใหแกประชาชน
คาํ อธิบาย1

(๑) ยึดมั่นในสถาบันหลักของประเทศ อันไดแก ชาติ ศาสนา พระมหากษัตรยิ 
และการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข

ความหมาย :ขา ราชการศาลยุติธรรมจักตองสงเสริม สนับสนุน และพิทกั ษรักษา
สถาบันหลักของประเทศอันไดแกการรักษาผลประโยชนและชื่อเสียงของประเทศชาติ การปฏิบัติตน
ตามหลักของศาสนาการเทิดทูนสถาบันพระมหากษตั ริย รวมทัง้ ไมตอตานการปกครองในระบอบ
ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข

ตัวอยางพฤติกรรม เชน ๑. แสดงออกถึงความภูมิใจในชาติ และคาํ นึงถึงผลประโยชน
ของป ระ เทศช าติเปน สําคัญ ๒ . ไมแ สดงอ อ กใน ลกั ษณ ะก ารดูห มิ่น เหยียดห ยาม ห รือ
ไมก ระทําการอันเปนการทําลายความมั่นคงของชาติ รวมทั้งไมกระทําการอันเปน การใหรายหรือ
กอใหเกิดความเส่ือมเสียตอ ภาพลักษณของประเทศ ๓. ปฏิบัติตามหลกั ศาสนาท่ีตนนับถือ และเคารพ
ในความแตกตางของการนับถือศาสนา ๔. แสดงออกถึงความเทิดทูนสถาบันพระมหากษตั ริย
๕. ปฏิบัติตามรัฐธรรมนูญและกฎหมาย ๖. ไมกระทําการอันเปนการตอตานการปกครองตามระบอบ
ประชาธปิ ไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข ๗. มีความเปนกลางทางการเมือง และไมใชอํานาจ
หนาท่ีเอื้อประโยชนตอ พรรคการเมืองใดพรรคการเมืองหน่ึงเปนการเฉพาะ

1 ศูนยส งเสริมจริยธรรม สาํ นักงาน ก.พ.

541 525 การ ำด�เ ินนกาแรละทกาางรวิ ่สันกงยเลุสมกริ่ทีามร๕จุอ ิรทยธธรรณ์รมการ ้รอง ุทกข์
(๒) ซ่ือสัตยสุจริต มีจิตสํานึกท่ีดี และรับผิดชอบตอหนาท่ี
ความหมาย : ขา ราชการศาลยุติธรรมจกั ตองปฏิบัตหิ นาที่อยางตรงไปตรงมาดวย
ความถกู ตองตามกฎหมายและตามทํานองคลองธรรม มีจติ สํานึกที่ถูกตองในการปฏิบัตหิ นาที่ โดยมี
ความสจุ ริตเปนท่ีต้ังและมคี วามพรอมที่จะรับผดิ ชอบตอ ผลของการปฏิบัติงาน
ตวั อยางพฤติกรรม เชน ๑. ปฏิบัตหิ นาที่ดว ยความซือ่ สัตยสุจรติ โดยไมแสดงออกถึง
พฤติกรรมทีม่ ีนัยเปนการแสวงหาประโยชนโดยมิชอบ ๒. ปฏิบัติหนาที่ดวยความรอบคอบ ถกู ตอง
รวดเร็ว เต็มกําลังความสามารถ และกลารับผิดชอบในความผิดพลาดที่เกิดขึ้นจากการปฏิบัติหนาที่
รวมทั้งพรอมรับการตรวจสอบ ๓. ปฏิบัติหนา ที่ดวยความรับผิดชอบตอสังคม สิ่งแวดลอม และ
คํานึงถึงหลักสากลในการปฏิบัติตามหลักสทิ ธิมนษุ ยชน การเปดเผยขอมูลขาวสารที่ถูกตอง และ
การใชเทคโนโลยีสื่อสังคมอยางเหมาะสม
(๓) กลาตัดสินใจและกระทําในสิ่งที่ถูกตองชอบธรรม
ความหมาย : ขาราชการศาลยุตธิ รรมจักตองมีความกลาในการตัดสินใจปฏิบัตหิ นาท่ี
ดวยความถูกตอ งชอบธรรม และกลา แสดงความคิดเห็นหรือคัดคานในสิ่งที่ไมถกู ตอง รวมทั้งไมย อมทํา
ในส่งิ ท่ไี มเหมาะสมเพียงเพื่อรกั ษาประโยชนหรอื สถานภาพของตนเอง
ตัวอยา งพฤติกรรม เชน ๑. กลายืนหยดั ทําในสิ่งที่ถูกตองชอบธรรม และกลาคัดคาน
ในสิ่งที่ไมถูกตองไมชอบธรรม ๒. เปดเผยการทุจริตทีพ่ บเห็นหรือรายงานการทุจริตประพฤตมิ ชิ อบ
ตอผูบังคับบัญชาหรือผูมีหนาที่รับผิดชอบโดยไมปลอยปละละเลย ๓. ใหความชวยเหลือประชาชน
ที่ถูกละเมิดหรอื ไดรบั การปฏิบัติที่ไมเปนธรรม ๔. ไมห ลีกเลี่ยงกฎหมายหรือใชช องวางทางกฎหมาย
เพ่ือเอ้ือประโยชนใหแกตนเองหรือผูอ่ืน
(๔) คิดถึงประโยชนส วนรวมมากกวาประโยชนสวนตัว และมีจิตสาธารณะ
ความหมาย : ขาราชการศาลยุติธรรมจกั ตอ งปฏบิ ัตหิ นาที่โดยคํานึงถึงประโยชน
สวนรวมอันไดแกประโยชนของประเทศชาติและประชาชนเปนที่ตั้ง มีความเสียสละ และมีจิตสาธารณะ
ในการปฏิบัติหนาที่เพื่ออํานวยประโยชนสุขแกประชาชน รวมท้ังไมกระทําการอันมีลักษณะเปนการ
แสวงหาประโยชนท ับซอ น
ตัวอยางพฤติกรรม เชน ๑. สามารถแยกเรื่องสวนตัวออกจากหนา ที่การงาน
ไมแสวงหาประโยชนโดยมชิ อบจากตําแหนง หนาที่ ๒. มีจิตสํานึกในการใชทรพั ยสนิ บุคลากร และ
เวลาของหนวยงาน ๓. ไมแสดงพฤติการณอ ันเปน การเอื้อประโยชนโดยมิชอบตอตนเองหรือพวกพอ ง
๔. ไมประกอบกิจการหรือเขาไปเกี่ยวของกบั ผลประโยชนใ นการปฏิบัติหนาที่ของตน ๕. มีจิตบริการ
ทจี่ ะปฏิบัติหนาทโ่ี ดยคาํ นึงถึงความผาสุกและประโยชนส วนรวมของประชาชน
(๕) มุงผลสัมฤทธิ์ของงาน
ความหมาย : ขา ราชการศาลยุตธิ รรมจักตองปฏิบตั ิหนาที่โดยคํานึงถึงเปา หมาย
ประโยชน และความคุมคาในการใชทรัพยากรของหนวยงาน ดว ยการมุงถึงความเปนเลิศของงาน
ตัวอยางพฤติกรรม ไดแก ๑. ปฏบิ ัติงานดวยความรับผิดชอบ เพือ่ ใหงานบรรลุ
ผลสําเร็จตามเปาหมาย ๒. ใชทรัพยากรอยางคุมคาและประหยัด ๓. ใหบริการและอํานวย

542 526
ความสะดวกแกประชาชนดว ยความรวดเร็วและเต็มใจ ๔. มุงพัฒ นาตนเองอยางตอเนื่อง
๕. รกั ษาและพัฒนามาตรฐานการทํางานที่ดี ๖. รบั ฟงความคิดเหน็ พรอมที่จะตอบชี้แจงและอธิบาย
เหตุผลใหแกผูรวมงานและผูมีสวนเก่ียวของ ๗. เช่ือมน่ั ในระบบการทํางานเปนทีม

(๖) ปฏิบัติหนาที่อยางเปนธรรม ไมเลือกปฏิบัติ
ความหมาย : ขาราชการศาลยุติธรรมจักตองปฏิบัติหนาท่ีดวยความเที่ยงธรรม
ปราศจากอคติ และไมเลอื กปฏบิ ัตโิ ดยไมเปนธรรม
ต วั อยางพ ฤติกรรม ไดแ ก ๑ . ป ฏ ิบัติตอ ป ระช าช น ดวยค วาม เที ่ยงธรรม
๒. ปฏิบัตหิ นาที่โดยปราศจากอคติ ไมนําความรูสึกสวนตัว ไดแ ก ความรัก ความโกรธ ความกลัว
ความหลงมาใชในการตัดสินใจปฏิบัติหนาที่ในเรื่องตางๆ ๓. ไมเลอื กปฏบิ ัติดวยเหตุผลของ
ความแตกตางในเรื่อง เชือ้ ชาติ ศาสนา เพศ อายุ สภาพรางกาย หรือสถานะทางเศรษฐกิจสงั คม และ
ความเช่ือทางการเมือง
(๗) ดํารงตนเปนแบบอยางทีด่ ี และรักษาภาพลักษณของทางราชการ
ความหมาย : ขา ราชการศาลยุตธิ รรมจกั ตองวางตัวเปนแบบอยางที่ดีในการปฏิบัติ
หนาที่ ในการดํารงตนและการดําเนินชีวิตดวยการรักษาเกียรติศกั ดิข์ องความเปนขาราชการและ
เจาหนาท่ีของรฐั
ตัวอยางพฤติกรรม ไดแ ก ๑. ดํารงตนเปนขาราชการท่ีดี นําพระบรมราโชวาท หลกั ปรัชญา
เศรษฐกิจพอเพียง หลักคําสอนทางศาสนา จรรยาวิชาชีพ มาใชในการดําเนินชีวิตและการปฏิบัติหนาท่ี
๒. ปฏิบัติตนเปนพลเมืองดีในระบอบประชาธิปไตย ดวยการเคารพตอกฎหมายและมีวินัย ๓. ไมกระทําการใดๆ
อันอาจนาํ ความเสอื่ มเสียมาสูทางราชการ

543 527 การ ำด�เ ินนกาแรละทกาางรวิ ่สันกงยเลุสมกริ่ทีามร๕จุอ ิรทยธธรรณ์รมการ ้รอง ุทกข์

หมวด ๒
จริยธรรมเกีย่ วกบั การปฏบิ ัติหนาที่

บทบญั ญัติ
ขอ ๒ ขาราชการศาลยุติธรรมจักตองปฏิบัติหนาท่ีตามอุดมการณของขาราชการ

ศาลยุติธรรมดวยความซ่ือสัตยสุจริตกลายืนหยัดทําในส่ิงที่ถูกตอง และรับผิดชอบเมื่อเกิด
ขอบกพรอ ง หรอื ผดิ พลาดในการปฏิบัติหนาที่
คําอธบิ าย

(๑) ซอ่ื สตั ยสจุ ริต2
ความหมาย : ขาราชการศาลยุติธรรมจักตอ งปฏิบัติหนาที่อยางตรงไปตรงมา ไมคดโกง
ไมหลอกลวงปฏิบัติหนาที่ดวยความตั้งใจดี และชอบตามทํานองคลองธรรมซึ่งความซ่อื สตั ยจะเกิดข้ึนได
ตอเมื่อมีสัจจะท้ังกายวาจาใจ ใจยึดม่ันจะทําแตส่ิงท่ีชอบ ไมประสงคใ นส่ิงซ่ึงไมพึงมีพึงได อันจะนําไปสู
การทจุ รติ
(๒) การปฏิบตั ิหนา ท่ี
ความหมาย : หนาทีค่ วามรบั ผิดชอบของขา ราชการศาลยตุ ิธรรม ซง่ึ ไดแก3

๑) หนา ทซ่ี ่ึงเกดิ ขึ้นตามท่ีกฎหมายหรอื ระเบียบกาํ หนดไวโ ดยเฉพาะ
๒) หนาทีต่ ามมาตรฐานกาํ หนดตําแหนง
๓) หนาทไ่ี ดร บั มอบหมายจากผูบังคบั บญั ชา
๔) หนาท่โี ดยพฤตินัย หรอื หนา ท่ีทเ่ี กดิ จากการนําตวั เขาไปผูกพัน
ตัวอยางพฤติกรรม เชน ๑. ไมอ าศยั โอกาสที่ตนมีหนาที่แสวงหาประโยชนโ ดยมิชอบ
๒. ปฏบิ ตั หิ นาทอ่ี ยางตรงไปตรงมา ๓. ไมใ ชเวลาราชการและสถานท่ีราชการประกอบธรุ กจิ สวนตัว
บทบญั ญัติ
ขอ ๓ ขาราชการศาลยุติธรรมจักตองรักษาความลับในการปฏิบัติหนาที่ราชการ
ท้งั ในสวนการชว ยสนับสนนุ การพจิ ารณาคดี และการปฏิบัติหนา ทีร่ าชการในหนาท่ีอนื่ ใด
คาํ อธบิ าย
(๑) ความลบั
ความหมาย : เร่ืองราวท่ีไมพึงเปดเผยขาราชการศาลยุติธรรมผูใดไดทราบความลับ
ของทางราชการไมวาจะเปนการทราบมาโดยตําแหนงหนาที่ราชการของตนหรือโดยทางอ่ืนใด

2คําอธบิ ายการดําเนินการทางวินยั ของสาํ นักงาน ก.พ. และคาํ อธบิ ายประมวลจรยิ ธรรมของสาํ นัก ก.ต.
3คาํ อธบิ ายการดําเนินการทางวินยั ของสาํ นักงาน ก.พ.

544 528
และไมวาผูน้ัน จะมีหรือไมมีหนาท่ีราชการเกี่ยวกับเร่ืองนั้นก็ตามผูนั้นตองรักษาความลับน้ันไว
โดยไมเ ปดเผยใหผไู มม หี นา ทไี่ ดทราบ4โดยความลับแบง ออกเปน ๓ ประเภท ดงั นี้5

๑) ลับท่ีสุด (TOP SECRET) หมายถึง ความลับซึ่งหากเปดเผยท้ังหมดหรือ
เพียงบางสวนจะกอ ใหเกิดความเสยี หายแกร าชการอยา งรายแรงทส่ี ุด

๒) ลับมาก (SECRET) หมายถึง ความลับซึ่งหากเปดเผยท้ังหมดหรือ
เพียงบางสวนจะกอ ใหเกิดความเสยี หายแกร าชการอยางรา ยแรง

๓) ลับ (CONFIDENTIAL) หมายถึง ความลับซ่ึงหากเปดเผยทั้งหมดหรือ
เพียงบางสวนจะกอใหเกิดความเสียหายแกร าชการ

ตัวอยางพฤติกรรม เชน ๑. ไมเปดเผยผลการประเมินเกี่ยวกับการพิจารณาความดี
ความชอบกอนท่ีจะมีคําสั่งเล่อื นข้ันเงินเดือนประจําป ๒. ไมเปดเผยผลคําพิพากษาหรือคําสั่งใหคูความ
ทราบกอ นถึงเวลาทกี่ ําหนด
บทบัญญัติ

ขอ ๔ ขาราชการศาลยุติธรรมจักตองวางตัวเปนกลาง และปราศจากอคติ
ใหเหมาะสมกับตําแหนง แตงกายใหเรียบรอย ใชวาจาสุภาพใหความเสมอภาค และรับฟงความจาก
ผูมาติดตอราชการอยางต้ังใจ โดยปฏิบัติงานในหนาท่ีรับผิดชอบของตนดวยความรวดเร็วเพ่ือมิให
เกิดความเสียหายหรอื กระทบกระเทือนตอการดําเนนิ คดขี องผมู าติดตอราชการ
คําอธิบาย

(๑) วางตนเปน กลาง
ความหมาย : ขา ราชการศาลยตุ ิธรรมจักตองปฏบิ ัติตอผูติดตอราชการ และผูเกี่ยวของ
ทุกฝายเสมอเหมือนกันทุกประการ โดยไมเลือกปฏิบัติโดยไมเปนธรรมตอบุคคล ไมวาดวยเหตุความ
แตกตางในเร่ืองถ่ินกําเนดิ เช้ือชาติ ภาษา เพศ อายุ ความพิการ สภาพทางกายหรือสุขภาพ สถานะของ
บุคคล ฐานะทางเศรษฐกิจหรือสังคม ความเช่ือทางศาสนา การศึกษาอบรม หรือความคิดเห็น
ทางการเมืองอันไมขัดตอบัญญัติแหงรัฐธรรมนูญ หรือเหตุอ่ืนใดทั้งจักตองมิใหผูติดตอราชการและ
ผูเกยี่ วขอ งทุกฝา ยรสู ึกวาตนไดร ับการปฏิบตั ิทีด่ อ ยกวา บคุ คลอ่นื
ตัวอยางพฤติกรรม เชน ๑. คัดถายเอกสารใหผูมาติดตอราชการตามลําดับโดยไมเลือก
ดําเนินการใหแ กบ ุคคลที่ตนรูจักกอนผูอื่น ๒. เสนอคํารองของคูความดวยความรวดเร็วและเปนไป
ตามลาํ ดับเวลาที่มีการย่ืน

4คําอธิบายการดําเนินการทางวินยั วนิ ัยของสํานักงาน ก.พ.
5ระเบียบวา ดวยการักษาความลับของทางราชการ พ.ศ. ๒๕๔๔ ขอ ๑๒

545 529 การ ำด�เ ินนกาแรละทกาางรวิ ่สันกงยเลุสมกริ่ทีามร๕จุอ ิรทยธธรรณ์รมการ ้รอง ุทกข์

(๒) ปราศจากอคติ
ความหมาย : อคติ คือ ความลําเอียง ซึ่งมี ๔ อยาง ไดแก ๑. ฉันทาคติคือ
ความลําเอียงเพราะรักหรือชอบพอกัน ๒. โทสาคติ คือ ความลําเอียงเพราะชัง ๓. โมหาคติ คือ
ความลําเอียงเพราะเขลา หรือหลงผิด และ ๔. ภยาคติ คือ ความลําเอียงเพราะกลัวดังน้ัน ขาราชการ
ศาลยุตธิ รรมจกั ตอ งปฏบิ ัติปฏิบัตติ อผูต ดิ ตอ ราชการ และผูเกย่ี วขอ ทุกฝายอยา งปราศจากอคติ
ตัวอยางพฤติกรรม เชน ๑. ใหบริการหรือปฏิบตั หิ นาทีใ่ หแกผูมาติดตอรวดเร็ว และ
เต็มความสามารถ แมบ ุคคลดังกลาวตนเองมีความรสู กึ ไมช อบพอก็ตาม
(๓) วาจาสภุ าพ
ความหมาย : การใชวาจาสุภาพนี้ มิใชหมายความเฉพาะแตถอยคําสุภาพเทาน้ัน
หากแตหมายความรวมถึงการใชถอยคําท่ีเหมาะสมและไมกระทบกระเทียบ เปรียบเปรยรวมตลอดท้ัง
นํ้าเสยี งและทที า ซ่งึ ตองสภุ าพ นมุ นวลดวย
ตัวอยางพฤติกรรม เชน ๑. การใชวาจาที่สุภาพเรียบรอยและไมแสดงกิริยากาวราว
ตอผูบังคับบัญชา ผูรวมปฏิบัติราชการหรือประชาชนผูมาติดตอราชการไมวาสถานการณใดๆ
๒. ควบคุมอารมณ โดยไมแสดงอารมณโกรธ แสดงกิริยาไมเหมาะ หรือใชถอยที่ไมเหมาะสมกับผูรวม
ปฏบิ ัตริ าชการ หรือประชาชนผูม าติดตอ ราชการ
(๔) เสมอภาค
ความหมาย : ขาราชการศาลยตุ ิธรรมจักตองปฏิบัติตอผูติดตอราชการ และผูเก่ียวของ
ทุกฝายเทาเทียมกันทุกประการไมวาดวยเหตุความแตกตางในเร่ืองถ่ินกําเนิด เชื้อชาติ ภาษา เพศ อายุ
ความพิการ สภาพทางกายหรือสุขภาพ สถานะของบุคคล ฐานะทางเศรษฐกิจหรือสังคม ความเช่ือ
ทางศาสนา การศึกษาอบรม หรือความคิดเหตุทางการเมืองอันไมขัดตอบัญญัติแหงรัฐธรรมนูญ หรือ
เหตอุ ่ืนใด
ตัวอยางพฤติกรรม เชน ๑. ใหบริการหรอื ปฏิบัติหนาท่ีราชการแกจาํ เลยในคดดี ังเชน
ประชาชนท่ัวไป ๒. ใหบริการหรือปฏิบัติหนาท่ีแกคูความผูยากไรเชนเดียวกับคูความอ่ืนๆ

บทบัญญัติ
ขอ ๕ ขาราชการศาลยุติธรรมจักตองอํานวยความสะดวก สอดสองดูแล เอาใจใส

ใหคําปรึกษาแนะนํา และใหบริการ แกผูมาติดตอราชการอยางถูกตอง รวดเร็ว เต็มความสามารถ
อยา งมีอธั ยาศยั ไมตรจี ิต

ตัวอยางพฤติกรรม เชน ๑. ตรวจสอบเอกสารหลักฐานใหแกประชาชนผูมาติดตอ
ดวยความต้ังใจ เอาใจใส ละเอียดถี่ถวน และและคําแนะนําท่ีถูกตอง ชัดเจนเพียงพอท่ีประชาชน
ผูมาติดตอจะดําเนนิ การตอไป ๒. ขอโทษประชาชนผูมาติดตอราชการเม่ือตนเองปฏิบัตหิ นาท่ีผิดพลาด
หรอื ลาชา โดยไมด า ทอหรอื ทะเลาะกับเม่อื ไดร ับการตอ วา

546 530

บทบญั ญัติ
ขอ ๖ ขาราชการศาลยุติธรรมจักตองใหความรวมมือในการปรับปรุงพัฒนาระบบ

เพ่ือพัฒนาระบบงานใหสามารถปฏิบัติภารกิจสําเร็จลุลวงไดอยางมีประสิทธิภาพ เกิดผลสัมฤทธิ์
ของงาน มีความสอดคลอ งกับวิสัยทัศน พันธกิจ และคานยิ มของศาลยุติธรรม

ตัวอยางพฤติกรรม เชน ๑. ควบคุมดูแลและวางระบบการทํางานของผูใตบ ังคบั บัญชาใหมี
ประสิทธิภาพเพ่ือมิไดง านราชการลาชาหรือผิดพลาด ๒. นําเทคโนโลยีสารสนเทศเขามาใชใ นการปฏิบัติ
หนา ทีร่ าชการเพื่อใหเ กิดความสะดวกรวดเร็วและถกู ตอ งครบถว น

บทบัญญัติ
ขอ ๗ ขาราชการศาลยุติธรรมจักตองระมัดระวัง ไมประมาทเลินเลอ และละเอียด

รอบคอบในการปฏิบัติหนาที่ราชการ

คําอธิบาย
(๑) ไมประมาทเลินเลอ
ความหมาย : ขาราชการศาลยุติธรรมจักตองปฏิบัติหนาที่ดวยความละเอียดรอบคอบ

ระมัดระวังตรวจสอบปฏิบัติหนาท่ีใหครบถวนตามขนั้ ตอนอยูเสมอและไมพลั้งเผลอหลงลืมในการปฏิบัติ
หนา ทรี่ าชการหรอื ในเรื่องอ่ืนท่ีเกย่ี วขอ งกับหนาที่ราชการ

ตัวอยางพฤติกรรม เชน ๑. ขับรถยนตของทางราชการดวยความระมัดระวังตองไมใช
ความเร็วสูงเกินสมควรและแซงหนารถคันอ่ืนดวยความระมัดระวัง ๒. ขณะปฏิบัติหนาท่ีอยูเวรประจํา
สํานักงานหม่ันดูแลเอาใจใส ตรวจตราสถานที่โดยละเอียดเพื่อมิใหเกิดเหตุใดๆ ที่อาจเปนอันตราย
ตอสํานักงาน ๓. ตรวจสอบจัดการพิมพประกาศหนงั สือพิมพอยูเสมอเพื่อใหการดําเนินการของคดีครบถวน
ถูกตองและไมตกคางลาชา ๔. ผูปฏิบัติงานอุทธรณ – ฎีกา ตรวจสอบสํานวนท่ีอยูในความครอบครองของ
ตนเองอยางสมํ่าเสมอวาไดดําเนินการสงศาลสูงแลวหรือไม มีสํานวนที่ตกหลน หรือมีสํานวนท่ีอยูใน
ความครอบครองของตนเองเปนเวลานานแลวยังมิไดสงศาลสูงเพราะเหตุใดเพ่ือจะไดดําเนินการติดตอ
ตามและสงสํานวนตอ ไป ๕. ไมท งิ้ สาํ นวนคดีหรอื เอกสารในไวโ ดยไมม ผี ูใดดูแลหรอื ปราศจากการปองกันใดๆ

บทบัญญัติ
ขอ ๘ ขาราชการศาลยุติธรรมจักตองตรงตอเวลา อุทิศเวลาใหแกทางราชการและ

ไมเบียดบงั เวลาราชการเพื่อประโยชนสวนตัว

547 531 การ ำด�เ ินนกาแรละทกาางรวิ ่สันกงยเลุสมกริ่ทีามร๕จุอ ิรทยธธรรณ์รมการ ้รอง ุทกข์

คาํ อธบิ าย
(๑) อทุ ิศเวลาของตนใหแกร าชการ
ความหมาย : ขาราชการศาลยุติธรรมจักตองอุทิศหรือสละเวลาปฏิบัติราชการตามท่ี

ทางราชการตองการรวมท้ังเวลานอกเหนือจากเวลาปฏิบัติราชการตามปกติในกรณีท่ีทางราชการ
มงี านเรงดว นทจี่ ําเปน จะตองใชผ ูปฏิบัติงานนอกเวลา

ตัวอยางพฤติกรรม เชน ๑. ตองปฏิบัติงานในเวลาราชการใหเต็มความสามารถ
๒. เมื่อมีงานดวนหรืองานท่ีมีความสําคัญซ่ึงจะตองปฏิบัตินอกเวลาราชการตองอยูปฏิบัติราชการ
ดังกลาวอยางเต็มความสามารถ ๓. ตองดําเนินการท่ีเกี่ยวของกับหนาท่ีของตนใหกับผูมาติดตอใหแลว
เสร็จแมเวลาจะลวงเลยเวลาราชการไปบางก็ตามเวนแต มีเหตุผลอันสมควรหรือมีเหตุจําเปนที่ไมสามารถ
อยูปฏิบัติหนาท่ีได ๔. ไมใชเวลาราชการในการประกอบธุรกิจสวนตัว เชน ขายสินคา ประกันภัย หรือ
กิจการอื่นๆ ทัง้ ท่ีตนเองยังมีงานราชการท่ีตอ งปฏิบตั อิ ยู

บทบญั ญัติ
ขอ ๙ ขาราชการศาลยุติธรรมจักตองสนับสนุนการปฏิบัติงานของผูพิพากษา

และปฏิบัติตามคําสั่งของผูพิพากษาในการพิจารณาคดีโดยเครงครัดละเอียดรอบคอบ อีกท้ัง
ใหประพฤติปฏิบตั ติ นใหเหมาะสมในฐานะผูใหการสนบั สนนุ การปฏิบัติงานของผูพิพากษา

ตัวอยางพฤติกรรม เชน ๑. ตรวจสอบคําสั่งศาลและออกหมายตามคําส่ังทันที
โดยเฉพาะอยางยิ่งหมายในคดีอาญาที่มีผลตอสิทธิเสรีภาพ หรือมีผลบังคับตามคําสั่งพิพากษา เชน
หมายกักขัง หมายจับ หมายปลอย ๒. ตรวจสอบการปลอยชั่วคราว รวมท้ังหลักประกันหรือการคืน
หลักประกันใหถูกตองครบถวน โดยจะสามารถคืนหรือกระทําการใดๆ กับหลักประกันไดก็เม่ือศาล
มคี าํ สั่งแลว เทานน้ั ๓. จัดทําคาํ พิพากษาดว ยความรวดเร็ว

บทบัญญัติ
ขอ ๑๐ ขาราชการศาลยุติธรรมจักตองสามัคคี มีมนุษยสัมพันธที่ดี ใหเกียรติ

เอ้อื เฟอ เคารพสทิ ธิ รบั ฟงความคดิ เห็นของผูรว มงาน

คาํ อธิบาย
(๑) สามัคคี
ความหมาย : ขาราชการศาลยุติธรรมจกั ตองรกั ใครกลมเกลียว และชวยเหลอื กันในการ

ปฏิบตั ิหนา ท่รี าชการ ทง้ั จะตองรบั ฟง ความคดิ เห็นและเคารพการตดั สนิ ใจของผรู ว มปฏิบัตงิ าน
ตัวอยางพฤติกรรม เชน ๑. ไมโตเถียงกันกับผูรวมปฏิบัติราชการดวยถอยคํารุนแรง

หรอื กอเหตุทะเลาะววิ าทกันระหวางผูรวมปฏิบัติราชการ ๒. ชว ยเหลืองานของผูรว มปฏิบัติราชการเทาที่
จะสามารถใหความชว ยเหลอื ได หากงานของตนเองเสร็จสิ้นแลว ๓. รบั ฟงความคิดเห็นในการปฏิบัตงิ าน
ของผูรว มปฏิบตั งิ านแมผ นู ้ันจะมีความเหน็ ตา งจากตนเอง

548 532

บทบญั ญัติ
ขอ ๑๑ ขาราชการศาลยุติธรรมจักเคารพ และปฏิบัติตามคําสั่งท่ีผูบังคับบัญชา

สัง่ ในหนาท่ีราชการโดยชอบดวยกฎหมาย

คาํ อธิบาย
(๑) ปฏิบัติตามคําส่ังทีผ่ ูบังคับบัญชาส่ังในหนาที่ราชการโดยชอบดว ยกฎหมาย
ความหมาย : ขาราชการศาลยุติธรรมจักตองปฏิบัติหนาท่ีราชการตามคําส่ังของ

ผูบังคับบญั ชาท่ีเปน การส่ังในหนาท่ีราชการและชอบดวยกฎหมาย
ตัวอยางพฤติกรรม เชน ๑. ปฏิบัติหนาที่ที่ไดรับมอบหมายจากผูบ ังคับบัญชา

อยางเต็มความสามารถ ๒. ใหความรวมมือเมื่อไดรับแตงตั้งใหไดร ับหนาที่พิเศษ 3. ตั้งใจปฏิบัติหนาท่ี
ราชการแมเ ปนเวลานอกราชการเมื่อผูบังคบั บัญชามีคําสั่ง ๔. เขารวมการประชุมเพื่อใหขอมูล
เม่อื ผูบ ังคบั บญั ชามีคาํ สัง่ แมตนเองจะมไิ ดมหี นา ทโ่ี ดยตรงก็ตาม

บทบญั ญัติ ขอ ๑๒ ขาราชการศาลยุติธรรมจักตองเอาใจใสดูแล มนุษยสัมพันธท่ีดี ใหเกียรติ
เออื้ เฟอ

คาํ อธิบาย
(๑) มนษุ ยสมั พนั ธท่ีดี
ความหมาย : ขาราชการศาลยุติธรรมจักตองมีไมตรีตอผูรวมปฏิบัติงานและประชาชน

ผูมาติดตอราชการทั้งจักตองใหการชวยเหลือในเรื่องตางๆ แกผูรวมปฏิบัติงานและประชาชนผูมาติดตอ
ราชการตามควรแกกรณี

ตัวอยางพฤติกรรม เชน ๑. ใหคําแนะนําตอประชาชนผูมาติดตอราชการในหนาท่ี
ราชการของตนเองอยางชัดเจนถูกตอง ครบถวน และเพียงพอที่ประชาชนผูมาติดตอราชการ
จะดําเนินการตอไปได ๒. ใหการตอนรับประชาชนผูมาติดตอราชการดวยความยิ้มแยม ใหคําปรึกษา
หรือคําแนะนําแกประชาชนเทาที่จะสามารถกระทําได แมจ ะประชาชนจะมิไดมาติดตอเกี่ยวของกับงาน
ในหนา ท่ีของตนกต็ าม

549 533 การ ำด�เ ินนกาแรละทกาางรวิ ่สันกงยเลุสมกริ่ทีามร๕จุอ ิรทยธธรรณ์รมการ ้รอง ุทกข์

หมวด ๓
จริยธรรมเก่ียวกบั การดํารงตนและครอบครัว

บทบญั ญัติ
ขอ ๑๓ ขา ราชการศาลยตุ ิธรรมจักตองเคารพและปฏิบัติตามกฎหมายอยางเครงครดั

อยูในกรอบของศีลธรรม และพึงดํารงตนอยางสมถะ เรียบงาย เหมาะสมกับฐานะและตําแหนงหนา ที่
มีความสุภาพ สํารวมกิริยามารยาท และมีอัธยาศัยยึดถือจริยธรรมและประเพณีอันดีงามของ
ขาราชการศาลยุติธรรม ท้ังพึงวางตนใหเ ปนทเ่ี ช่ือถอื ศรัทธาของบุคคลทั่วไป
คําอธิบาย

(๑) พึงดํารงตนอยางสมถะ เรียบงาย เหมาะสมกับฐานะและตําแหนง หนา ที่
ความหมาย : ขาราชการศาลยุติธรรมจักตองครองตนแบบไมฟุงเฟอ ฟุมเฟอย หรหู รา
หรอื โออ วด มีความเปนอยูอยางเรียบงาย เหมาะสมกับฐานะและตาํ แหนงหนาท่ีของตนเอง
ตัวอยางพฤติกรรม เชน ๑. ใชจ ายในชวี ติ ใหพอเพียงแกฐ านะ ๒. ไมมหี นี้สนิ รุงรัง
(๒) สภุ าพสํารวมกิริยามารยาท มีอัธยาศยั
ความหมาย : ขาราชการศาลยุติธรรมพึงแตงกายสุภาพตามสมัยนิยม และถูกตองตาม
กาลเทศะ สวนเร่ืองการมีอัธยาศัยตอบุคคลท่ัวไปน้ัน และพึงแสดงความมีนํ้าใจ แสดงความออนโยน
ตามควรแกฐานะของตนกับของบุคคลอื่น และไมวากรณีจะเปนประการใดก็ตามจะตองไมขมผูอื่น
วาตนเองเหนือกวา
ตัวอยา งพฤตกิ รรม เชน ๑. แสดงนาํ้ ใจตอผูรวมงานหรือผูมาติดตอราชการตามกําลัง
ของตน ๒. ใหความชวยเหลือแกผูอื่นซึ่งอยูในเดือดรอ นตามควรแกกรณี ๓. ไมใชถอยคําดูหม่ินเหยียดหยาม
ผูอ น่ื วาตนเองมสี ถานะเหนือกวา
บทบญั ญัติ
ขอ ๑๔ ขาราชการศาลยุติธรรมพึงขวนขวายหาความรูเพ่ิมเติมอยูเสมอ พัฒนา
ตนเอง พัฒนางาน และพัฒนาองคกรอยางตอเน่ือง ปรับปรงุ ตนใหดีขึ้นเปนลําดับ ทั้งในวิชาชีพและ
ความรรู อบตวั
คาํ อธบิ าย
(๑) พึงขวนขวายหาความรูเพ่ิมเติมอยูเสมอ พัฒนาตนเอง พัฒนางาน และพัฒนา
องคก รอยางตอ เนอ่ื ง
ความหมาย : ขาราชการศาลยุติธรรมจักตองใชความรูความสามารถของตนเอง
อยางถูกตองเหมาะสมและเกิดประโยชนสงู สดุ ตองานราชการดงั น้ัน ขาราชการศาลยตุ ิธรรมพึงเสรมิ สรา ง
ศักยภาพของตนเองดวยการขวนขวายหาความรูและเพิ่มพูนประสบการณอยูเสมอเพื่อจะไดนําความรู
ไปใชป ระโยชนแกการปฏิบัติราชการในทสี่ ุด

550 534

ตัวอยางพฤติกรรม เชน ๑. การเขาฝกอบรมในหลักสตู รตางๆ ที่หนวยงานจดั ให
ดวยความตัง้ ใจและนําความรูทีไ่ ดมาพัฒนางานของตนเอง ๒ .ศึกษาหาความรูเพิ่มเติมจากแหลงตางๆ
เชน การศึกษาตอในสถาบันศึกษา หรือการศกึ ษาดานอื่นๆ เพื่อเพ่มิ พูนความรูของตนอยูเสมอ
บทบญั ญัติ

ขอ ๑๕ ขาราชการศาลยุติธรรมจักตองไมกาวกายหรือแสวงหาประโยชนโดยมชิ อบ
จากการปฏิบัติหนาที่ของผูอ ่นื และจกั ตอ งละเวน การแอบอางหรือแสวงหาประโยชนโ ดยมิชอบ
คําอธบิ าย

(๑) จกั ตองไมก า วกา ย
ความหมาย : ขาราชการศาลยุติธรรมจักตองไมแทรกแซงหนา ที่ของผูอ่ืนเพ่ือใหตนเอง
หรอื ผอู ื่นไดมาซึง่ ประโยชนทไ่ี มควรได
(๒) แสวงหาประโยชนโ ดยมิชอบ
ความหมาย : ขาราชการศาลยุติธรรมจักตองไมกระทําการใดที่ทําใหตนไดมาประโยชน
มาโดยไมชอบดวยกฎหมายหรือประโยชนที่ตนเองมิควรไดซ่ึงประโยชนนั้นมิไดหมายถึงเพียงเฉพาะ
ตัวเงนิ เทา นั้น อาจเปนในรูปแบบทรัพยส นิ หรือสิทธิพเิ ศษอ่ืนๆ ดว ย
ตัวอยางพฤติกรรม เชน ๑. ไมแอบอางความเปนขา ราชการศาลยุติธรรมวาจะสามารถ
ชวยเหลือหรือใหความสะดวกแกคูความได โดยไมเปนตามระเบียบหรือไมถูกตองดวยกฎหมาย
๒. ไมอาศัยความสนิทสนมกับผูรวมปฏิบัติราชการขอใหอํานวยความสะดวกแกญาติ หรือบุคคลท่ี
ตนเองรจู ัก
บทบญั ญัติ
ขอ ๑๖ ขาราชการศาลยุติธรรมจักตองไมยินยอมใหบุคคลในครอบครัวกาวกาย
การปฏิบัติหนาที่ของตนเองหรือผูอื่น และตองไมยินยอมใหบุคคลในครอบครัวหรือผูอ่ืนใชตําแหนง
ของตนแสวงหาประโยชนอันมิชอบ
คาํ อธบิ าย
(๑) ไมย ินยอมใหบุคคลในครอบครัวกาวกาย
ความหมาย : ขาราชการศาลยุติธรรมจักตองวางตนเปนกลางในการปฏิบัติหนาท่ีและ
ตองแยกเร่ืองครอบครัวออกจากหนาที่การงานของตนโดยเด็ดขาด ซ่ึงเร่ืองนี้เปนเรื่องสําคัญท่ีอาจทําให
เส่ือมเสียท้ังความยุติธรรมในคดีและความเช่ือถือศรัทธาในตัวขาราชการศาลยุติธรรมของบุคคลทั่วไป
ตัวอยางพฤติกรรม เชน ๑. จะตองปฏิบัติหนาท่ีราชการดวยความเสมอภาคเทาเทียมกัน
ไมวาผูที่มาติตตอราชการจะเปน บุคคลในครอบครัวหรือคนรูจักของตนเองก็ตาม ๒. จะตองระมัดระวัง
ใหบ คุ คลในครอบครวั ของตนเองนําความเปนขาราชการศาลยตุ ิธรรมของตนเองไปหาประโยชน

551 535 การ ำด�เ ินนกาแรละทกาางรวิ ่สันกงยเลุสมกริ่ทีามร๕จุอ ิรทยธธรรณ์รมการ ้รอง ุทกข์

บทบญั ญัติ
ขอ ๑๗ ขาราชการศาลยุติธรรมพึงยึดมั่นในระบบคุณธรรม และจักตองไมแสวงหา

ตาํ แหนง ความดคี วามชอบ หรือประโยชนอน่ื ใด โดยมิชอบจากผบู ังคับบัญชา หรือบคุ คลอ่นื ใด
คําอธบิ าย

ความหมาย ขาราชการศาลยุติธรรมจักตองไมแสวงหาโอกาสในการเลื่อนขั้น ไดรับ
บําเหนจ็ ความชอบ หรอื คาตอบแทนอื่นใด โดยมิชอบจากผูบ งั คับบัญชาหรอื บคุ คลอ่ืน

ตัวอยางพฤตกิ รรม เชน ๑. จะตองไมอาศัยความสนิทสนมกับผูบังคับบัญชาในการ
ประเมินเลื่อนข้ันเงินเดือนหรือคาตอบแทนอื่นๆ ๒. จะตองไมอาศัยความสนิทสมกับผูบังคับบัญชา
เพ่ือชวยเหลือบุคคลอื่นโดยไมชอบดวยกฎหมาย หรือกระทําการอ่ืนใดท่ีไมเปนไปตามท่ีกฎหมาย
และระเบยี บกําหนด
บทบัญญัติ

ขอ ๑๘ ขาราชการศาลยุติธรรมจักตองระมัดระวังมิใหการประกอบวิชาชีพ อาชีพ
หรือการงานอ่ืนใดของคูสมรส ญาติสนิท หรอื บุคคลในครอบครัวมีลักษณะเปนการกระทบกระเทือน
ตอการปฏิบัติหนาที่หรือเกียรติศักด์ิของขาราชการศาลยุติธรรม โดยเฉพาะอยางยิ่งในดาน
ความเชอื่ ถือศรัทธาในการทาํ หนา ท่ีสนบั สนุนการอํานวยความยุตธิ รรมของบคุ คลทั่วไป
คําอธบิ าย

(๑) บุคคลในครอบครัว
ความหมาย : บุคคลในครอบครัวรวมถึง บุพการี ผูสืบสันดาน ญาติ หรือบุคคลที่ไมใช
ญาตแิ ตมาอาศยั อยูรว มครวั เรือนกับขาราชการศาลยุติธรรม
ตัวอยางพฤติกรรม เชน ๑. ผูปฏิบัติหนาท่ีเกี่ยวกับคํารองขอปลอยช่ัวคราวจําเลย
ไมควรท่ีจะมีคูสมรสเปนนายประกันในศาลเดียวกัน ๒. ผูปฏบิ ัติหนาท่ีตรวจรบั การจางไมควรใหคูสมรส
ญาตสิ นิท หรอื บุคคลในครอบครัวเขามารบั เหมากอ สรางตอ เติมอาคารศาล
บทบญั ญัติ
ขอ ๑๙ ขาราชการศาลยุติธรรมและคูสมรสจักตองไมร ับทรัพยสินหรอื ประโยชนใดๆ
จากบุคคลอ่ืนใด อันเปนการเก่ียวเน่ืองกับการปฏิบัติหนาที่ของตน และจักตองดูแลใหบุคคล
ในครอบครวั ปฏิบตั ิเชนเดยี วกันดวย
คําอธบิ าย
ความหมาย : ขาราชการศาลยุติธรรมจักตองไมขอหรือรบั ทรัพยส นิ หรอื ประโยชนอ่ืนใด
จากหนวยงานภายนอก หรือบุคคลอื่นในการปฏิบัติหนาที่ราชการของตนโดยมิชอบ นอกจากนี้แลว
ยังตอ งดแู ลมิใหบุคคลในครอบครัวของตนเองรบั ทรพั ยสนิ หรอื ประโยชนอ่ืนใดเชน วาน้ันดว ยเชนกัน เพ่ือมิให
เกิดขอ ระแวงสงสัยในการปฏบิ ัตหิ นาที่ราชการซึง่ อาจสงผลทาํ ใหเส่อื มเสียตอ ช่อื เสยี งของศาลยุตธิ รรมได

552 536
บทบัญญัติ

ขอ ๒๐ ขาราชการศาลยุติธรรมจักตองไมรับของขวัญของกํานัล หรือประโยชนอื่นใด
อนั มีมลู คาเกินกวาท่ีพึงใหก นั ตามอัธยาศัยและประเพณีในสงั คม
คําอธิบาย

ความหมาย : ขาราชการศาลยุติธรรมนั้นสามารถรับของขวัญของกํานัลอ่ืนใด
ท่ีไมเกี่ยวกับการปฏิบัติหนาท่ีราชการของตนได แตตองเปนไปดวยความพอดีพอเหมาะพอควรและ
โดยชอบดว ยกฎหมาย

ซ่ึงคําวา “โดยชอบดว ยกฎหมาย” นั้น คณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจรติ
แหงชาติ (ป.ป.ช.) ไดมีประกาศเกี่ยวกับการรับทรัพยสินหรือประโยชนอ่ืนใดโดยธรรมจรรยาของ
เจาหนาทรี่ ฐั พ.ศ. ๒๕๔๓ ซึง่ กาํ หนดหลกั เกณฑไวดงั น้ี

๑) รับจากญาตทิ ่ใี หโดยเสนห า ตามจํานวนทเี่ หมาะสมตามฐานานรุ ปู
๒) รับจากบุคคลอื่นท่ีไมใชญาติ ซึง่ มีราคาหรือมูลคาในการรับจากแตละบุคคล
แตละโอกาสไมเ กนิ ๓,๐๐๐ บาท
๓) การใหท่ีเปนการใหในลักษณะใหกับบุคคลท่ัวไป เชน มูลนิธิแหงหนึ่ง
แจกซองรางวัลใหก ับประชาชนท่ัวไป โดยไมไ ดเลือกใหเ ฉพาะเจาหนา ท่ขี องรฐั หรือผูใดผหู นึ่ง
๔) หากจําเปนตองรับทรัพยสินหรือประโยชนอ่ืนใดที่มีมูลคาเกิน ๓,๐๐๐ บาท
เพ่ือตองรกั ษาไวซง่ึ มิตรภาพหรอื ความสมั พันธอันดี (ทีไ่ มเกี่ยวกับการผลประโยชนตา งตอบแทน) จะตอ ง
รายงานผูบังคับบัญชาตามลําดับชั้นทันที เพื่อใหผูบังคับบัญชาพิจารณาวินิจฉัยวามีเหตุผล
ความเหมาะสม ความจําเปนท่ีเจาหนาท่ีของรัฐผูน้ันจะรับทรัพยสินหรือประโยชนอื่นใดไวเปนสิทธิของ
ตนเองหรือไม หากผูบังคับบัญชาเห็นวาไมควรรบั ไวก ็ใหรีบคืนทันที แตหากไมสามารถคืนไดก็ใหสงมอบ
ทรัพยส ินหรอื ประโยชนดังกลาวใหเปนสิทธิของหนวยงาน
บทบัญญัติ
ขอ ๒๑ ขาราชการศาลยุติธรรมจักตองไมคบหาสมาคมหรือสนับสนุนผูประพฤติ
ผิดกฎหมาย หรือผูมีความประพฤติในทางเสื่อมเสีย อันอาจกระทบกระเทือนตอความเชื่อถือศรัทธา
ของประชาชนในการปฏิบัติหนาที่ของตน

553 537 การ ำด�เ ินนกาแรละทกาางรวิ ่สันกงยเลุสมกริ่ทีามร๕จุอ ิรทยธธรรณ์รมการ ้รอง ุทกข์

หมวด ๔
จริยธรรมเก่ยี วกบั กิจการอ่ืน

บทบัญญัติ
ขอ ๒๒ ขาราชการศาลยุติธรรมจักตองไมเปนกรรมการ ผูจัดการ ท่ีปรึกษา

หรอื ดํารงตําแหนงอ่ืนใดในหา งหนุ สวน บรษิ ทั หางราน หรือธุรกิจของเอกชน เวนแตจะเปนกิจการที่มิได
แสวงหากาํ ไร

ขาราชการศาลยุติธรรมจักตองไมประกอบอาชีพ หรือวิชาชีพ หรือกระทํากิจการใด
อนั อาจกระทบกระเทือนตอการปฏิบัติหนา ท่ี หรือเกยี รตศิ ักด์ิของขาราชการศาลยุติธรรม
คําอธบิ าย

(๑) ไมเปนกรรมการ ผูจัดการ ที่ปรึกษา หรือดํารงตําแหนงอ่ืนใดในหางหุนสวน
บริษัท หางรา น หรือธรุ กจิ ของเอกชน

ความหมาย : ขาราชการศาลยุติธรรมอาจเปนผูถือหุน หรือซ้ือหุนของในกิจการของ
เอกชนไดตามสมควร แตไมอาจเขาไปดํารงตําแหนงเปนกรรมการ ผูจัดการ ที่ปรึกษา หรือตําแหนงอ่ืนใด
ในธุรกิจของเอกชน เนื่องจากตําแหนงดังกลาวอางทําใหตองเขาจัดการงานหรือนําเวลาของราชการ
ไปใชได ทั้งยังอาจมีบางกรณีท่ีเอกชนซ่ึงตนเองเขาไปดํารงตาํ แหนงจะตองเขามาสูการพิจารณาคดีของศาล
ซ่ึงอาจทําใหคคู วามฝายตรงขามมีความเคลอื บแคลงสงสยั ในการปฏิบัติหนาที่ได

(๒) ไมประกอบอาชีพ หรอื วิชาชีพ หรือกระทํากิจการใด อนั อาจกระทบกระเทือนตอ
การปฏบิ ตั ิหนาท่ี หรือเกยี รตศิ ักดิ์

ความหมาย : ขาราชการศาลยุติธรรมอาจมีอาชีพเสริมหรือประกอบอาชีพอ่ืนเพ่ือเพิ่ม
รายไดในการดาํ รงชีพไดตามสมควร แตทั้งน้ีจะตองไมกระทบกระเทือนตอการปฏิบัตหิ นาท่ีหรือศักดิ์ศรี
ของขาราชการศาลยุติธรรม

ตัวอยางพฤตกิ รรม เชน ๑. ไมนาํ สนิ คามาจําหนายในเวลาราชการ ทง้ั ท่ีตนเองยังมีงาน
ทตี่ องปฏบิ ตั ิอยู ๒. ไมป ระกอบอาชพี ทเี่ ก่ยี วของกับการประกันตัวผตู องหาหรือจําเลยในคดี
บทบัญญัติ

ขอ ๒๓ ในกรณีจําเปนขาราชการศาลยุติธรรมอาจไดรับมอบหมายหรือแตงตั้ง
จากหนวยงานราชการ รัฐวิสาหกิจ หรือหนวยงานอื่นของรัฐใหปฏิบัติหนาที่อันเกี่ยวกับหนวยงาน
นน้ั ได แตก ารปฏบิ ตั หิ นา ทด่ี ังกลา วจักตองไดรับอนุญาตจากผูบงั คับบัญชาซ่ึงมีอํานาจแลว

554 538
บทบัญญัติ

ขอ ๒๔ ขาราชการศาลยุติธรรมจักตองไมกระทําการอ่ืนใดอยางทนายความ เวนแต
เปนกรณีใหคําแนะนําหรือใหความสะดวกแกประชาชนผูมาติดตอราชการ ตามอํานาจหนาที่ของตน
หรือเปนกรณีท่ีมกี ฎหมายกาํ หนดใหก ระทําได
คําอธบิ าย

ความหมาย : ขาราชการศาลยุติธรรมอาจชวยเหลือหรือใหบริการประชาชนในการ
เขียนคํารอง คําขอ หรือใหคําแนะนําใดๆ เกี่ยวกับการติดตอราชการไดตามสมควร หรือตามอํานาจ
หนาที่ที่ตนสามารถกระทําได แตทั้งนี้จะตองไมเรียกเงินหรือประโยชนอื่นใดในการกระทําดังกลาว
จากคูความ ทง้ั จะตองไมช ้นี ําผลแหง คดีหรือผลคาํ ช้ีขาดของศาลเพอ่ื ใหประชาชนหลงเชื่อดว ย

ตั ว อ ย า งพ ฤ ติ ก รร ม เช น ๑ . ไม รั บ เขี ย น คํ า อุ ท ธรณ ให แ ก คู ค วาม ใน ค ดี
๒. ไมร บั เปนตัวแทนในการย่ืนคํารอ งใดๆ ซ่งึ เปนเรือ่ งทีค่ ูความจะตอ งมาย่ืนตอ ศาลเอง

หมวด ๕
จริยธรรมของลกู จาง และพนกั งานราชการศาลยตุ ธิ รรม
บทบัญญัติ
ขอ ๒๕ ใหนําประมวลจริยธรรมขาราชการศาลยุติธรรมนี้มาใชบังคบั แกลูกจาง และ
พนักงานราชการศาลยุติธรรม ดวยโดยอนโุ ลม

555

555 539

(สาเนา)

ที่ ศย 004/ว 164 สานกั งานศาลยตุ ธิ รรม
ถนนรัชดาภิเษก เขตจตจุ กั ร
กทม. 10900
2 พฤษภาคม 2550
เรอ่ื ง การรายงานขา้ ราชการศาลยตุ ธิ รรมเปน็ ความ
เรียน หวั หนา้ หนว่ ยงานในสังกดั สานักงานศาลยตุ ธิ รรม
ดว้ ยในการรายงานข้าราชการศาลยุตธิ รรมเปน็ ความ ได้มีระเบยี บปฏบิ ัติในเรื่องดังกล่าว
ตามหนงั สอื กระทรวงยตุ ิธรรม ท่ี 8/2482 ลงวันที่ 10 พฤษภาคม 2482
โดยท่เี ปน็ การสมควรให้ยกเลิกหนงั สือกระทรวงยตุ ธิ รรมดังกลา่ ว และได้วางระเบียบปฏิบัติ
เกี่ยวกับการรายงานกรณีข้าราชการศาลยุติธรรมเป็นความไว้ ดังต่อไปน้ี
1. เม่ือข้าราชการศาลยุติธรรมเป็นโจทก์ หรือผเู้ สียหาย หรือจาเลยในคดีอาญา คดีแพ่ง
หรอื คดีปกครอง ให้ข้าราชการศาลยุตธิ รรมนั้นรายงานไปให้สานักงานศาลยุตธิ รรมทราบอยา่ งช้าภายใน
กาหนด 15 วนั นบั แตว่ นั ฟ้องหรือทราบว่าถูกฟ้อง
2. เมื่อคดีเสร็จส้ินในช้ันศาลใด ให้ข้าราชการศาลยุติธรรมท่ีเป็นความและผู้มีหน้าท่ี
รับผิดชอบในงานของข้าราชการศาลยุตธิ รรมรายงานผลคดใี ห้สานักงานศาลยตุ ิธรรมทราบในโอกาสแรก
พรอ้ มท้ังแนบสาเนาคาพพิ ากษาหรอื คาสงั่ ไปด้วย
3. ให้นาหลักเกณฑ์ในข้อ 1 และข้อ 2 มาใช้กับกรณีข้าราชการศาลยุติธรรมตกเป็น
ผู้ตอ้ งหาในคดอี าญา หรอื คดแี พ่ง โดยอนุโลม
อนึ่ง ในกรณีข้าราชการศาลยุติธรรมตกเป็นจาเลยเน่ืองมาจากการปฏิบัติหน้าท่ี
ใหร้ ายงานไปยังสานักงานศาลยตุ ธิ รรมเพอ่ื พิจารณาใหค้ วามช่วยเหลอื ด้านคดคี วามต่าง ๆ แก่ข้าราชการ
ศาลยุตธิ รรมที่เป็นความ นั้น
จึงเรียนมาเพื่อทราบและถือปฏิบัติ

ขอแสดงความนับถือ การ ำด�เ ินนกาแรละทกาางรวิ ่สันกงยเลุสมกริ่ทีามร๕จุอ ิรทยธธรรณ์รมการ ้รอง ุทกข์
(ลงชอ่ื ) สราวุธ เบญจกลุ

(นายสราวุธ เบญจกุล)
รองเลขาธกิ าร ปฏบิ ัตริ าชการแทน
เลขาธิการสานักงานศาลยตุ ธิ รรม

556

556

คณะผ้จู ัดทำ

ทป่ี รกึ ษำ

นายนติ ธิ ร วงศ์ยนื ผูพ้ ิพากษาหวั หน้าศาลประจาสานักประธานศาลฎกี า
นายภพ เอครพานชิ รองเลขาธกิ ารสานกั งานศาลยตุ ธิ รรม
นายชยั รตั น์ วงศว์ รี ธร ผ้พู พิ ากษาศาลเยาวชนและครอบครัวจงั หวดั นนทบรุ ี
นางศศปิ ระภา กลน่ิ อยู่ ชว่ ยราชการผู้พพิ ากษาศาลช้นั ตน้ ประจาสานกั ประธานศาลฎีกา
ผอู้ านวยการสานักคณะกรรมการข้าราชการศาลยตุ ิธรรม

รวบรวมและจดั พิมพต์ ้นฉบับ

นายวฒุ พิ งศ์ วฒุ ิ นติ ิกรชานาญการพเิ ศษ
นางสาวลดั ดาวณั ย์ ยันต์ศรตี ระกลู นติ กิ รชานาญการพเิ ศษ
นางสาวธญั วรรณ ศรพี มุ่ นิตกิ รชานาญการ
นายอภินนั ท์ อุทยั รตั นเ์ จรญิ นิตกิ รปฏิบตั ิการ
นายปรนิ ทร์ สุจริตกลุ นติ ิกรปฏิบตั ิการ
นางสาวบุษราภา แสงสที อง เจา้ พนกั งานธุรการ

557 การประ ุชมและกก ุลามร ่ีทบ ิร๑หารงาน ุบคคล

557

สานกั คณะกรรมการขา้ ราชการศาลยตุ ิธรรม
Office of the Commission for Judicial Service
สานกั งานศาลยุตธิ รรม อาคารศาลอาญา ชัน้ 3 ถนนรัชดาภิเษก
แขวงจอมพล เขตจตจุ ักร กรงุ เทพมหานคร 10900

ติดตอ่ สอบถำมข้อมลู โทรศัพท์ โทรสำร
ผอู้ านวยการสานัก ก.ศ. 0 2512 8160 0 2512 8165
สว่ นกฎหมาย ระเบยี บ อทุ ธรณ์และร้องทกุ ข์ 0 2512 8161 ตอ่ 1379 02512 8165
สว่ นวนิ ยั และพิทักษร์ ะบบ คณุ ธรรม 0 2541 2348 ต่อ 1172 0 2512 8165
สว่ นอตั รากาลงั และคา่ ตอบแทน 0 2512 8161 ต่อ 1379 0 2512 8165
ส่วนชว่ ยอานวยการ 0 2512 8161 ต่อ 1379 0 2512 8165
ส่วนเลขานกุ าร 0 2512 8370 ต่อ 1175 0 2512 8165
สว่ นวชิ าการ 0 2512 8375 ตอ่ 1255 0 2512 8165

558


Click to View FlipBook Version