184
184
185
185 181
(สาเนา)
ท่ี ศย 004/ว 105 (ป) สานกั งานศาลยตุ ธิ รรม
ถนนรัชดาภิเษก เขตจตจุ ักร
กทม. 10900
13 ตลุ าคม 2553 การเ ่ืลอนระ ัดบ ํตกาุลแมห่ีท นง๒และการประเ ิมน
เรอื่ ง การประเมนิ ผลการปฏิบัติราชการและการเล่อื นเงนิ เดอื นของขา้ ราชการศาลยุตธิ รรม
เรยี น หวั หน้าหนว่ ยงานในสงั กัดสานกั งานศาลยตุ ธิ รรม
อ้างถึง หนังสอื สานักงานศาลยุตธิ รรม ดว่ นท่สี ุด ที่ ศย 004/ว 86 ลงวันที่ 9 มีนาคม 2550
สิง่ ท่สี ง่ มาดว้ ย 1. หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินผลการปฏิบัติราชการและการเล่ือนเงินเดือนสาหรับ
ขา้ ราชการศาลยตุ ธิ รรม
2. กฎ ก.พ. วา่ ด้วยการเลอ่ื นเงินเดือน พ.ศ. 2552
ตามหนังสือท่ีอ้างถึงแจ้งแนวทางปฏิบัติการเลื่อนขั้นเงินเดือนและค่าจ้าง พร้อมส่งคู่มือ
การพจิ ารณาเลอ่ื นขน้ั เงินเดอื นและคา่ จ้าง มาเพ่ือใหห้ นว่ ยงานทราบและถือปฏิบตั ิ น้นั
คณะกรรมการข้าราชการศาลยุติธรรมในการประชุม คร้ังที่ 12/2553 เม่ือวันท่ี
23 กันยายน 2553 มีมติเห็นชอบให้กาหนดหลักเกณฑ์และวิธีการประเมินผลการปฏิบัติราชการ
ของข้าราชการศาลยุติธรรม โดยให้มีผลสาหรับรอบการประเมินตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2553 ถึง
31 มีนาคม 2554 เป็นต้นไป ส่วนรายละเอียดและวิธีการดาเนินการ สานักงานศาลยุติธรรมขอชี้แจง
รายละเอยี ดโดยสรุป ดังนี้
1. ยกเลิกแนวทางการเลื่อนเงินเดือนตามหนังสือท่ีอ้างถึงเฉพาะในส่วนของข้าราชการ
ศาลยตุ ธิ รรม กรณลี กู จ้างประจายงั ใช้แนวทางเดิม
2. ให้ผู้มีหน้าที่เก่ียวข้องกับการบริหารผลการปฏิบัติราชการและประเมินผลการ
ปฏิบัติราชการดาเนินการตามหลักเกณฑ์และวิธีการประเมินผลการปฏิบัติราชการตามท่ี ก.ศ. กาหนด
ปรากฏตามสิ่งท่ีสง่ มาด้วยลาดับท่ี 1
3. การเลื่อนเงินเดือนสาหรับรอบการประเมินตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2553 ถึงวันที่
31 มีนาคม 2554 เปน็ ตน้ ไป ให้ถอื ปฏิบัติตามกฎ ก.พ. ว่าด้วยการเลื่อนเงินเดือน พ.ศ. 2552
4. การเลอื่ นเงนิ เดอื นตามกฎ ก.พ. ฉบับดังกล่าวใหใ้ ชฐ้ านในการคานวณ และชว่ งเงนิ เดือน
สาหรบั การเล่อื นเงินเดอื นในแต่ละประเภทและระดบั ตาแหนง่ แนบทา้ ย กฎ ก.พ. น้ี
5. วงเงินงบประมาณและการบริหารวงเงินงบประมาณสาหรับการเลื่อนเงินเดือน
ในแตล่ ะรอบการประเมินผลการปฏบิ ัตริ าชการ มีดังนี้
5.1 สานักงานศาลยุติธรรมเลื่อนเงินเดือนข้าราชการศาลยุติธรรมของหน่วยงาน
ในสังกัด ครั้งท่ี 1 (1 เมษายน) และครั้งที่ 2 (1 ตุลาคม) ภายในวงเงินร้อยละ 2.95 ต่อครั้ง
จากเงนิ เดือนท่ีจา่ ยให้ข้าราชการศาลยตุ ิธรรม ณ วนั ที่ 1 มีนาคม และ 1 กันยายน ตามลาดบั โดยกันไว้
ร้อยละ 0.05 เพ่อื ใช้เปน็ กลไกในการบรหิ ารงานบุคคลของสานักงานศาลยุตธิ รรมให้บรรลผุ ลสมั ฤทธ์ิ
186
186 182
5.2 สานักงานศาลยุติธรรม แยกวงเงินการเลื่อนเงินเดือนตามข้อ 5.1 ออกเป็น
4 กลุ่ม คือ (1) กลุ่มผู้ดารงตาแหน่งประเภทบริหาร (2) กลุ่มผู้ดารงตาแหน่งประเภทอานวยการสูง
(3) กลุ่มผู้ดารงตาแหน่งประเภทอานวยการต้น และ (4) กลุ่มผู้ดารงตาแหน่งประเภทวิชาการและ
ประเภทท่ัวไป
5.3 สานักงานศาลยุติธรรมจะแจ้งวงเงินร้อยละ 2.95 ให้หน่วยงานตามข้อ 5.2
เฉพาะ (4)
5.4 วงเงินร้อยละ 2.95 ตามข้อ 5.2 (1) (2) และ(3) สานักงานศาลยุติธรรม
จะเป็นผู้บริหารวงเงิน ดังนั้น ผู้ดารงตาแหน่งประเภทอานวยการสูง อานวยการต้น ต้องแจ้งรายชื่อ
อัตราเงินเดือน คะแนนการประเมนิ ผล ไปยงั สานกั งานศาลยุตธิ รรม ตามแบบที่กาหนดในคมู่ อื (งด.4)
5.5 ให้ผู้ดารงตาแหน่งดังต่อไปน้ี เป็นผู้บริหารวงเงินการเล่ือนเงินเดือนของ
ข้าราชการศาลยุติธรรมในแต่ละกลมุ่ ตาแหน่งในแตล่ ะรอบการประเมิน
กลุ่มท่ี 1 ประธานศาลฎีกา ประธานศาลอุทธรณ์ ประธานศาลอุทธรณ์ภาค
อธิบดีผู้พิพากษาศาลชั้นต้น อธิบดีผู้พิพากษาภาค ผู้พิพากษาหัวหน้าศาล บริหารวงเงินสาหรับ
ผดู้ ารงตาแหนง่ ประเภทวิชาการและประเภทท่ัวไป
กลุ่มที่ 2 เลข าธิการสานั กงาน ศาลยุติธรรม บ ริห ารวงเงิน สาห รับ
กลุม่ ผ้ดู ารงตาแหนง่ ประเภทบรหิ าร ประเภทอานวยการสูง และประเภทอานวยการตน้
6. ผู้ที่ได้รับเงินเดือนสูงสุดหรือใกล้ถึงเงินเดือนสูงสุดของสายงานหรือระดับตาแหน่ง
ตามท่ี ก.พ. กาหนดให้ได้รับค่าตอบแทนพิเศษซ่ึงพิจารณาจากผลการปฏิบตั ิราชการ โดยคิดเป็นร้อยละ
ของฐานในการคานวณท่ีกาหนดไว้ตามช่วงเงินเดือนในแต่ละประเภทและระดับตาแหน่งแนบท้าย
กฎ ก.พ. ว่าด้วยการเล่ือนเงินเดือน พ.ศ. 2552 ส่วนการเบิกจ่ายค่าตอบแทนพิเศษให้เป็นไปตามระเบียบ
กระทรวงการคลัง ว่าด้วยการเบิกจ่ายค่าตอบแทนพิเศษของข้าราชการและลูกจ้างประจาผู้ได้รับ
เงินเดือนหรือค่าจ้างถึงข้ันสูงหรือใกล้ถึงขั้นสูงของอันดับหรือตาแหน่ง (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2551 ตามที่
ปรากฏในคู่มือ ซึ่งดาวนโ์ หลดไดท้ ี่ www.ojoc.coj.go.th“กลุม่ ประเมินฯ”
7. ในการจัดทาข้อตกลงร่วมกันเก่ียวกับการมอบหมายงาน และการประเมินผล
การปฏิบัตริ าชการ กาหนดตัวชว้ี ัดและค่าเป้าหมายระหว่างผปู้ ระเมินและผู้รบั การประเมินซ่ึงเป็นเร่อื งใหม่
ขอได้ตดิ ตามรายละเอียด ตัวอย่าง ทางเว็บไซต์และคมู่ ือ ที่จะเผยแพร่อย่างต่อเนอ่ื ง ท้งั น้ี เมื่อจดั ทาแล้วเสร็จ
ขอให้ส่งเอกสารเกี่ยวกับข้อตกลง (งด.2/2) ตัวชี้วัดและค่าเป้าหมาย (งด.2/1) ไปยังสานัก ก.ศ.
เพอ่ื เปน็ ขอ้ มลู ประกอบการพิจารณาในเร่อื งดงั กล่าวตอ่ ไป
จงึ เรียนมาเพ่อื ทราบและแจง้ ให้ผเู้ กย่ี วขอ้ งทราบและถือปฏบิ ัตโิ ดยท่วั กนั
ขอแสดงความนบั ถือ
(ลงชือ่ ) วิรัช ชนิ วนิ จิ กุล
(นายวริ ัช ชินวินจิ กุล)
เลขาธกิ ารสานักงานศาลยตุ ธิ รรม
187 การเ ่ืลอนระ ัดบ ํตกาุลแมห่ีท นง๒และการประเ ิมน
187 183
หลักเกณฑแ์ ละวธิ กี ารประเมนิ ผลการปฏบิ ตั ิราชการของขา้ ราชการศาลยตุ ธิ รรม
(ตามหนงั สือสานกั งานศาลยตุ ธิ รรม ที่ ศย 004/ว 105 (ป) ลงวนั ที่ 13 ตุลาคม 2553)
อาศยั อานาจตามระเบยี บคณะกรรมการข้าราชการศาลยุติธรรม วา่ ด้วยการบริหารงานบุคคล
ของสานักงานศาลยุติธรรม พ.ศ. 2544 ข้อ 3 ประกอบกับพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน
พ.ศ. 2551 มาตรา 76 วรรคหน่ึง และเพ่ือให้การประเมินผลการปฏิบัติราชการเป็นไปโดยโปร่งใส
เป็นธรรม และตรวจสอบได้ ก.ศ. ในการประชุมครั้งท่ี 12/2553 เมื่อวันที่ 23 กันยายน 2553
จึงกาหนดหลักเกณฑ์และวิธีการประเมนิ ผลการปฏบิ ัติราชการของขา้ ราชการศาลยตุ ธิ รรมไว้ดังตอ่ ไปนี้
ข้อ 1 หลักเกณฑ์และวธิ ีการประเมินผลการปฏิบัติราชการของข้าราชการศาลยุติธรรมนี้
ให้ใช้สาหรับการประเมินผลการปฏิบัติราชการสาหรับรอบการประเมินต้ังแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2553
ถงึ 31 มนี าคม 2554 เปน็ ตน้ ไป
ข้อ 2 ผู้ประเมินผลการปฏิบตั ริ าชการของขา้ ราชการศาลยตุ ิธรรม ไดแ้ ก่
(1) ประธานศาลฎีกา ประธานศาลอุทธรณ์ ประธานศาลอุทธรณ์ภาค
อธิบดีผู้พิพากษาศาลช้ันต้น อธิบดีผู้พิพากษาภาค ผู้พิพากษาหัวหน้าศาล สาหรับข้าราชการศาลยุติธรรม
ทอ่ี ยใู่ นบงั คับบัญชา
(2)1 เลขาธิการสานักงานศาลยุติธรรม สาหรับรองเลขาธิการสานักงาน
ศาลยุติธรรม ผู้ตรวจราชการ ผู้ช่วยเลขาธิการสานักงานศาลยุติธรรม และผู้อานวยการสานัก/กอง/
หรอื เทยี บเทา่ ท่ขี ้ึนตรงตอ่ เลขาธิการสานกั งานศาลยุตธิ รรม
(3) รองเลขาธิการสานักงานศาลยุตธิ รรม ผู้ตรวจราชการ สาหรับผู้อานวยการ
สานัก/กอง/หรอื ทเ่ี ทยี บเทา่ ตามท่ีได้รับมอบหมายจากเลขาธิการสานักงานศาลยตุ ธิ รรมใหก้ ากับดูแล
(4) ผู้อานวยการสานัก/กอง/หรือที่เทียบเท่า ท่ีสังกัดสานักงานศาลยุติธรรม
ในสว่ นกลาง สาหรบั ข้าราชการศาลยตุ ิธรรมท่ีอยู่ในบังคบั บญั ชา
(5) ผ้อู านวยการสานักศาลยตุ ธิ รรมประจาภาค ผูอ้ านวยการสานกั อานวยการ/
สานกั งานประจาศาล สาหรบั ข้าราชการศาลยุติธรรมทีอ่ ยู่ในบงั คับบญั ชา
(6) ผู้บังคับบัญชาระดับต้นตามสายการบังคับบัญชา หัวหน้ากลุ่ม/ส่วน หรือ
ตามที่ผู้บังคับบัญชาตาม (1) - (5) มอบหมายให้กากับดูแลการปฏิบัติงาน สาหรับข้าราชการ
ศาลยตุ ิธรรมที่อยูใ่ นบังคบั บัญชาแล้วแตก่ รณี
ทั้งนี้ในการประเมินผลการปฏิบัติราชการจะต้องสอดคล้องกับผลการประเมินผลงาน
ท่ีผู้พพิ ากษาซึ่งเปน็ หัวหนา้ ในศาลยตุ ิธรรมจดั ทาข้ึน
1 แกไ้ ขเพมิ่ เตมิ โดยหนงั สอื สานักงานศาลยุติธรรม ท่ี ศย 004/ว 101 (ป) ลงวนั ที่ 15 สิงหาคม 2561
188 184
ขอ 3 การประเมินผลการปฏิบัติราชการ ใหดําเนินการประเมินปละ 2 รอบ ตาม
ปง บประมาณ ดังน้ี
รอบท่ี 1 เปน การประเมินผลการปฏบิ ัติราชการระหวางวนั ที่ 1 ตลุ าคม ถึง 31 มนี าคม
รอบท่ี 2 เปนการประเมินผลการปฏิบัติราชการระหวางวันท่ี 1 เมษายน ถงึ 30 กันยายน
ขอ 4 การประเมินผลการปฏิบัตริ าชการ ใหประเมินอยางนอยสององคประกอบ ไดแก
ผลสมั ฤทธ์ิของงาน รอ ยละ 70 และพฤติกรรมการปฏิบตั ิราชการหรอื สมรรถนะ รอ ยละ 30
ผลสัมฤทธข์ิ องงาน ใหประเมนิ จากปรมิ าณผลงาน คุณภาพผลงาน ความรวดเร็ว
หรือตรงตามเวลาที่กําหนด ความประหยัดหรือความคุมคาของการใชทรพั ยากร และเปนงานลักษณะใด
ลักษณะหน่งึ หรอื ทัง้ 3 ลกั ษณะ ไดแ ก
(1) งานทีป่ รากฏในคํารับรองการปฏิบัติราชการ / แผนปฏบิ ัติราชการประจาํ ป
(2) งานตามหนา ท่ีความรับผดิ ชอบหลักที่ไมอยใู น (1)
(3) งานทไี่ ดรับมอบหมายพิเศษ ซง่ึ ไมใชง านประจํา
พฤติกรรมการปฏิบัติราชการ ใหประเมินตามสมรรถนะของขาราชการ
ศาลยตุ ธิ รรม ตามที่สาํ นักงานศาลยตุ ิธรรมกําหนด
ในกรณีท่ีเปนการประเมินผลการปฏิบัติราชการของขาราชการศาลยุตธิ รรมที่อยู
ระหวางทดลองปฏิบัตหิ นาที่ราชการ หรือมีระยะเวลาทดลองปฏิบตั ิหนาทร่ี าชการอยูใ นระหวางรอบการ
ประเมิน ใหประเมินผลสัมฤทธ์ิของงานและพฤติกรรมการปฏิบัติราชการ โดยมีสดั สวนคะแนนของแตละ
องคป ระกอบรอ ยละ 50
ขอ 5 ในแตละรอบการประเมิน ใหแตละหนวยงานในสังกัดสํานักงานศาลยุติธรรม
นําผลคะแนนการประเมินผลการปฏิบัติราชการมาจัดกลุมตามผลคะแนน โดยใหแบงกลุมคะแนน
ผลการประเมนิ เปน 5 ระดับ ดังนี้
ระดบั ดเี ดน คะแนนต้งั แต 90 – 100 คะแนน
ระดบั ดมี าก คะแนนต้ังแต 80 – 89.99 คะแนน
ระดบั ดี คะแนนต้งั แต 70 – 79.99 คะแนน
ระดบั พอใช คะแนนตง้ั แต 60 – 69.99 คะแนน
ระดบั ตองปรบั ปรุง คะแนนตา่ํ กวา 60 คะแนน
ขอ 6 การประเมินผลการปฏิบัติราชการตองมีความชัดเจนหรือมีหลักฐานประกอบ
การประเมนิ ผลสัมฤทธิ์ของงาน
แ บ บ ส รุ ป ก า ร ป ร ะ เมิ น ผ ล ก าร ป ฏิ บั ติ ร า ช ก า ร ข อ ง ข า ร าช ก าร ศ าล ยุ ติ ธ ร ร ม
ใหเ ปนไปตามแบบแนบทายหลักเกณฑน ี้ ซง่ึ แยกเปน 2 แบบ คอื
(๑) แบบสรุปการประเมินผลการปฏิบัติราชการของขาราชการศาลยุติธรรม
สําหรบั ตาํ แหนงประเภทบริหาร และประเภทอาํ นวยการ (แบบ งด. 1/1)
189 การเ ่ืลอนระ ัดบ ํตกาุลแมห่ีท นง๒และการประเ ิมน
189 185
(๒) แบบสรุปการประเมินผลการปฏิบัติราชการของข้าราชการศาลยุติธรรม
สาหรับตาแหน่งประเภทวิชาการ และประเภทท่วั ไป (แบบ งด.1/2)
ข้อ 7 ให้แต่ละหน่วยงานในสังกัดสานักงานศาลยุติธรรม จัดเก็บผลการประเมิน และ
หลักฐานแสดงความสาเร็จของงานและพฤติกรรมการปฏิบัติราชการ และเอกสารอ่ืนที่เกี่ยวข้องรวมไว้
กับแบบสรุปการประเมินผลการปฏิบัติราชการของข้าราชการศาลยุติธรรม (แบบ งด.1/1 – งด.1/2)
ไว้ที่หน่วยงานในแฟ้มประวัติ หรือรูปแบบอื่นตามความเหมาะสม โดยให้สามารถค้นหาได้สะดวกในกรณีที่
สานักงานศาลยุติธรรมจะใชป้ ระกอบการพิจารณา โดยใหส้ ่งเฉพาะแบบสรุปผลการจัดสรรวงเงินสาหรับ
ข้าราชการศาลยุตธิ รรม (แบบ งด.4) ไปยงั สานกั งานศาลยุติธรรม
ข้อ 8 ผลการประเมินผลการปฏิบัติราชการของข้าราชการศาลยุติธรรม สานักงาน
ศาลยุติธรรมนาไปใชป้ ระกอบการพจิ ารณาในการบรหิ ารทรัพยากรบคุ คล เช่น การแต่งต้งั การเล่ือนเงินเดอื น
การให้ออกจากราชการ การพัฒนาและเพ่ิมพูนประสิทธิภาพการปฏิบัติราชการและอาจนาไปใช้
ประกอบการตัดสินใจในการใหร้ างวัลจูงใจและคา่ ตอบแทนตา่ ง ๆ ด้วยก็ได้
ขอ้ 9 การประเมินผลการปฏิบัติราชการของข้าราชการศาลยุติธรรม ให้ดาเนินการ
ตามวิธีการ ดงั ต่อไปนี้
(1) ในแต่ละรอบการประเมินให้ผู้ประเมินและผู้รับการประเมินกาหนด
ข้อตกลงร่วมกันเกี่ยวกับการมอบหมายงานและการประเมินผลการปฏิบัติราชการ กาหนดดชั นีช้วี ดั หรือ
หลักฐานบ่งชี้ความสาเร็จของงานอย่างเป็นรูปธรรมและเหมาะสมกับลักษณะงาน สาหรับการกาหนด
ตัวชี้วัดให้พิจารณาวิธีการถ่ายทอดตัวชี้วัดจากยุทธศาสตร์ศาลยุติธรรมหรือนโยบายของผู้บังคับบัญชา
ตามลาดบั ชนั้ ลงมาเปน็ หลักกอ่ น ซึ่งหนว่ ยงานสามารถเลอื กหรือปรบั ตวั ชวี้ ัดตามท่ีสานกั งานศาลยุติธรรม
กาหนดไดต้ ามความเหมาะสม
(2) ในแต่ละรอบการประเมินให้ผู้ประเมินตามข้อ 2 ประเมินผลการปฏิบัติราชการ
ของผู้รบั การประเมินตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่ได้ประกาศไว้ และตามข้อตกลง หรือตัวชี้วดั ที่ได้ทาไว้
กบั ผ้รู บั การประเมิน
(3) ในระหว่างรอบการประเมินให้ผู้ประเมินให้คาปรึกษาแนะนาผู้รับการประเมิน
เพ่ือการปรับปรุง แก้ไข พัฒนา เพื่อนาไปสู่ผลสัมฤทธิ์ของงาน และพฤติกรรม หรือสมรรถนะ
ในการปฏิบัติราชการ และเม่ือสิ้นรอบการประเมินผู้ประเมินกับผู้รับการประเมินควรร่วมกัน
ทาการวิเคราะห์ผลสาเร็จของงาน และพฤติกรรมหรือสมรรถนะในการปฏิบัติราชการ เพ่ือหาความ
จาเปน็ ในการพฒั นาเป็นรายบคุ คลด้วย
(4) ในการประเมินผลการปฏิบัติราชการในแต่ละครั้ง ให้ผู้ประเมินแจ้ง
ผลการประเมินให้ผู้รับการประเมินทราบเป็นรายบุคคล โดยให้ผู้รับการประเมินลงลายมือช่ือรับทราบ
ผลการประเมิน กรณที ี่ผู้รับการประเมินไมย่ นิ ยอมลงลายมอื ชอื่ รบั ทราบผลการประเมนิ ใหค้ ณะกรรมการ
ก ลั่ น ก ร อ ง ผ ล ก า ร ป ร ะ เมิ น ผ ล ก า ร ป ฏิ บั ติ ร า ช ก า ร ข อ ง ข้ า ร า ช ก า ร ศ า ล ยุ ติ ธ ร ร ม ร ะ ดั บ ห น่ ว ย ง า น
ตามข้อ 10 (1) อย่างน้อยหนึ่งคนซ่ึงไม่ใช่ผู้ประเมินลงลายมอื ชื่อเป็นพยานวา่ ได้มีการแจ้งผลการประเมิน
ดงั กลา่ วแล้วดว้ ย
190
190 186
(5) ให้ผู้ประเมินประกาศรายช่ือข้าราชการศาลยุติธรรมผู้มีผลการปฏิบัติ
ราชการเฉพาะท่ีอยู่ในระดับดีเด่นและดมี ากในที่เปิดเผยให้ทราบทั่วกัน เพื่อเป็นการยกย่อง ชมเชยและ
สรา้ งแรงจงู ใจใหพ้ ฒั นาผลการปฏบิ ตั ิราชการในรอบการประเมินตอ่ ไปใหด้ ยี ่งิ ขน้ึ
(6) ให้ผู้ประเมินโดยความเห็นชอบของผู้บังคับบัญชาหรือผู้บังคับบัญชาเหนือขึ้น
ไปอีกชั้นหนึ่ง (ถ้ามี) จัดส่งผลการประเมนิ ผลการปฏบิ ัติราชการของข้าราชการศาลยุติธรรมในหน่วยงานของ
ตนตามแบบสรปุ ผลการจดั สรรวงเงนิ สาหรับขา้ ราชการศาลยุตธิ รรม (แบบ งด.4) เสนอตอ่ คณะกรรมการ
กลัน่ กรองผลการประเมนิ ผลการปฏบิ ัตริ าชการของสานักงานศาลยุตธิ รรม
ขอ้ 10 เพอื่ ใหม้ ีกลไกสนบั สนุนความโปร่งใสและเป็นธรรมในการประเมนิ ผลการปฏบิ ัติราชการ
ให้ผู้พิพากษาซึ่งเป็นหัวหน้าในศาลยุติธรรม หรือเลขาธิการสานักงานศาลยุติธรรม แล้วแต่กรณี แต่งตั้ง
คณะกรรมการกลั่นกรองผลการประเมินผลการปฏิบัติราชการของข้าราชการศาลยุติธรรม ทาหน้าท่ี
พจิ ารณาเสนอความเหน็ เกยี่ วกบั มาตรฐานและความเปน็ ธรรมของการประเมนิ ผลการปฏบิ ัติราชการของ
ขา้ ราชการศาลยตุ ิธรรมในสังกดั โดยให้มีองค์ประกอบและหนา้ ที่ ดงั น้ี
(1) คณะกรรมการกล่ันกรองผลการประเมินผลการปฏิบัติราชการของ
ข้าราชการศาลยุติธรรมระดับหน่วยงาน มีหน้าท่ีเสนอความเห็นเก่ียวกับผลการประเมินผลการปฏิบัติ
ราชการของข้าราชการศาลยุติธรรมในหน่วยงาน ประกอบด้วย ผู้อานวยการ และหัวหน้าส่วนหรือ
หวั หนา้ กลมุ่ อยา่ งน้อยส่ีคนเปน็ กรรมการ
(2)2 คณะกรรมการกลั่นกรองผลการประเมินผลการปฏิบัติราชการข อง
ขา้ ราชการศาลยุติธรรมระดับสานักงานศาลยุติธรรม มีหน้าที่เสนอความเห็นเก่ียวกับผลการประเมินผล
การปฏิบัติราชการของข้าราชการศาลยุติธรรมประเภทอานวยการ ประเภทวิชาการ และประเภททั่วไป
ทุกระดับ ประกอบด้วย รองเลขาธิการสานักงานศาลยุติธรรม ผู้ตรวจราชการสานักงานศาลยุติธ รรม
และผู้ชว่ ยเลขาธิการสานกั งานศาลยตุ ธิ รรม เปน็ กรรมการ
ข้อ 11 หลักเกณฑ์นี้ให้ใช้กับการประเมินผลการปฏิบัติราชการของผู้ดารงตาแหน่ง
ทกุ ประเภท
2 แกไ้ ขเพิ่มเติมโดยหนังสอื สานกั งานศาลยตุ ิธรรม ท่ี ศย 004/ว 101 (ป) ลงวันที่ 15 สงิ หาคม 2561
191
191 187
แบบ งด.1/1
ประเภทบริหาร และประเภทอานวยการ
แบบสรุปการประเมนิ ผลการปฏบิ ตั ริ าชการของขา้ ราชการศาลยตุ ธิ รรม การเ ่ืลอนระ ัดบ ํตกาุลแมห่ีท นง๒และการประเ ิมน
สว่ นที่ 1 : ข้อมูลของผรู้ บั การประเมิน
รอบการประเมนิ รอบท่ี 1 1 ตลุ าคม ถึง 31 มีนาคม .
รอบที่ 2 1 เมษายน ถงึ 30 กนั ยายน
ชือ่ ผู้รับการประเมนิ (นาย/นาง/นางสาว)
ตาแหนง่ ประเภทตาแหนง่
ระดบั ตาแหนง่ สังกดั
ชอ่ื ผู้ประเมนิ (นาย/นาง/นางสาว)
ตาแหนง่
คาช้ีแจง
แบบสรุปการประเมนิ ผลการปฏิบตั ริ าชการ ประกอบดว้ ย
ส่วนที่ 1: ขอ้ มูลของผ้รู ับการประเมิน เพ่ือระบุรายละเอยี ดตา่ ง ๆ ท่เี กยี่ วข้องกับตัวผู้รับการประเมิน
ส่วนท่ี 2: ผลการปฏิบัติราชการ ใช้เพ่ือกรอกค่าคะแนนการประเมินในองค์ประกอบด้านผลสัมฤทธ์ิ
ของงาน องค์ประกอบด้านพฤติกรรมการปฏิบัติราชการ ในแบบสรุปส่วนท่ี 2 น้ี ยังใช้สาหรับ
สรุปผลคะแนนการปฏบิ ตั ริ าชการรวมด้วย
สว่ นที่ 3: แผนพัฒนาการปฏิบัติราชการรายบุคคล ผู้ประเมินและผู้รับการประเมินร่วมกันจัดทา
แผนพัฒนาผลการปฏบิ ตั ิราชการ
ส่วนที่ 4: การรับทราบผลการประเมนิ ผู้รับการประเมินลงนามรับทราบผลการประเมนิ
สว่ นท่ี 5: ความเห็นของผู้บังคับบัญชาเหนือขึ้นไป ผู้บังคับบัญชาเหนือขึ้นไปกลั่นกรองผลการประเมิน
แผนพฒั นาผลการปฏบิ ัติราชการ และใหค้ วามเหน็
192
192 188
สว่ นท่ี 2 : สรุปผลการประเมนิ (นาคะแนนมาจากแบบ งด.2/1 และ งด.3)
คะแนนการประเมิน คะแนน(ก) น้าหนกั (ข) รวมคะแนน(ก)
70% X(ข)
30%
องคป์ ระกอบที่ 1 : ผลสัมฤทธขิ์ องงาน
องคป์ ระกอบท่ี 2 : พฤตกิ รรมการปฏบิ ตั ริ าชการ (สมรรถนะ) 100%
องคป์ ระกอบอนื่ (ถ้าม)ี
รวม
ระดับผลการประเมนิ (คาอธบิ ายตามหลักเกณฑ์และวธิ ีการประเมนิ ผลการปฏิบตั ริ าชการฯ ข้อ 5)
ดีเดน่ (........) ดมี าก (........) ดี (........) พอใช้ (........) ต้องปรบั ปรุง (0%)
(90-100 คะแนน) (80-89.99 คะแนน) (70-79.99 คะแนน) (60-69.99 คะแนน) (ตา่ กว่า 60 คะแนน)
ส่วนที่ 3 : แผนพัฒนาการปฏบิ ัตริ าชการรายบุคคล วิธกี ารพฒั นา ชว่ งเวลาทต่ี อ้ งการ
การพัฒนา
ความร้/ู ทักษะ/ สมรรถนะ
ทต่ี อ้ งไดร้ ับการพัฒนา
ส่วนท่ี 4 : การรับทราบผลการประเมิน ลงชอ่ื : .
ผู้รับการประเมิน : ตาแหน่ง : .
ได้รบั ทราบผลการประเมนิ และแผนพัฒนาการปฏิบัตริ าชการรายบคุ คลแลว้ วันท่ี : .
ผู้ประเมนิ : ลงชอื่ : .
ตาแหน่ง : .
ไดแ้ จ้งผลการประเมนิ และผรู้ บั การประเมนิ ไดล้ งนามรบั ทราบ วนั ท่ี : .
ไดแ้ จ้งผลการประเมินเม่อื วันที่ .
แตผ่ ู้รบั การประเมนิ ไมล่ งนามรบั ทราบ
โดยมี เปน็ พยาน
ลงช่อื : .พยาน
ตาแหนง่ : .
วนั ท่ี : .
193 189
193
ส่วนท่ี 5 : ความเหน็ ผูบ้ งั คับบัญชาเหนอื ขน้ึ ไป ลงชอ่ื : .
ผบู้ ังคบั บญั ชาเหนือข้นึ ไป : ตาแหน่ง : .
เห็นด้วยกับผลการประเมนิ วันท่ี : .
มีความเหน็ ต่าง ดังน้ี
ลงชอื่ : .
ผูบ้ งั คบั บญั ชาเหนือขน้ึ ไปอกี ชน้ั หนงึ่ (ถา้ ม)ี : ตาแหน่ง : . การเ ่ืลอนระ ัดบ ํตกาุลแมห่ีท นง๒และการประเ ิมน
เหน็ ด้วยกับผลการประเมิน วันท่ี : .
มีความเห็นต่าง ดงั นี้
190
แบบ งด.2/1
แบบประเมินผลสมั ฤทธขิ์ องงาน ของ นาย/นาง/นางสาว
ผลสมั ฤทธิต์ ัวชว้ี ัดผลงาน คะแนนตามระดับค่าเปา้ หมาย 5 คะแนน (ก) น้าหนกั (ข) รวมคะแนน (ค)
1234 (ค=ก×ข)
194
194
(ข)=100% (ค) =
(ค x 20) =
แปลงคะแนนรวม (ค) ข้างต้น เป็นคะแนนการประเมินผลสมั ฤทธขิ์ องงานทมี่ ีฐานคะแนนเตม็ เปน็ 100 คะแนน (โดยนา 20 มาคณู )
หมายเหตุ นาคะแนนท่ไี ด้ ไปใส่ในแบบ งด.1 องคป์ ระกอบที่ 1 ผลสัมฤทธข์ิ องงาน
ผู้รบั การประเมนิ
() ผู้ประเมิน )
(
195
195 191
แบบ งด.2/2
แบบขอ้ ตกลงการปฏิบตั งิ านเพื่อประกอบการพิจารณาประเมนิ ผลสมั ฤทธขิ์ องงาน
(ใชป้ ระกอบการกาหนดตวั ชว้ี ัดตามแบบ งด.2/1)
รอบการประเมิน รอบที่ 1 1 ตลุ าคม ถงึ 31 มีนาคม การเ ่ืลอนระ ัดบ ํตกาุลแมห่ีท นง๒และการประเ ิมน
รอบท่ี 2 1 เมษายน ถงึ 30 กนั ยายน
สว่ นท่ี 1 ข้อตกลงการปฏบิ ัตงิ าน
ขา้ พเจา้ ตาแหน่ง
สานกั /กอง/สานักอานวยการ/สานกั งาน/ศูนย์/สถาบัน
ขอเสนอข้อตกลงการปฏิบตั ิงานตามภารกจิ ที่รบั ผดิ ชอบ และหรือภารกิจท่ีไดร้ บั มอบหมายเป็น
พิเศษ ดงั น้ี
ภารกจิ ท่ี 1
เป้าหมาย
ตัวชว้ี ัด
ภารกจิ ท่ี 2
เป้าหมาย
ตวั ชวี้ ัด
ภารกิจที่ 3
เปา้ หมาย
ตวั ชวี้ ัด
(ลงชอื่ ) ผเู้ สนอ (ผรู้ ับการประเมิน)
()
วันที่ .
196 192
196
ส่วนท่ี 2 ความเห็นของผบู้ งั คับบญั ชา (ผปู้ ระเมนิ ช้นั ต้น)
เห็นชอบ
ความเห็นอื่น ๆ
(ลงชื่อ) ผู้บงั คบั บญั ชา (ผู้ประเมินชัน้ ต้น)
()
วนั ที่ .
195
แบบ งด.3
แบบประเมินพฤตกิ รรมการปฏบิ ตั ริ าชการ (สมรรถนะ)
สมรรถนะ คะแนนตามระดับคาเปา หมาย คะแนน น้าํ หนกั คะแนนรวม บนั ทึกการประเมินโดยผปู ระเมนิ แนวทางการประเมนิ พฤตกิ รรมการปฏบิ ัติราชการ
(ก) (ข) (ค) (ถามี) และในกรณพี ้นื ท่ไี มพ อให หรือสมรรถนะ
สมรรถนะหลกั 1 2 34 5
จําเปน (ค = ก x ข) บนั ทึกลงในเอกสารดานหลงั
ตอง ตอ ง พอใช ดี ดีเยี่ยม
พัฒนา พัฒนา (ค) =
อยา งยิ่ง ค x 20 =
1. การมงุ ผลสมั ฤทธ์ิ หมายเหตุ
- ในชอ งน้าํ หนกั (ข) ใหหนวยงานประเมนิ
2. จิตสาํ นกึ ในการใหบรกิ าร สมรรถนะแตละตวั โดยถว งนํ้าหนกั สมรรถนะทกุ
สมรรถนะรวมกนั แลว ใหได 100%
3. การสง่ั สมความเชี่ยวชาญในงานอาชพี
- 20 มาจาก 100 หารดวยระดับคา เปา หมาย
4. จรยิ ธรรม 5 ระดับ (100 หาร 5) 197
5. การทาํ งานเปนทมี - สมรรถนะในงานของแตละประเภทตําแหนง และ
ระดับตําแหนง ตามคมู อื สรรถนะของสาํ นกั งาน
สมรรถนะในงาน ศาลยตุ ธิ รรม
1. สภาวะผนู าํ
2. วสิ ัยทศั น
3. การวางกลยุทธ
4. ศกั ยภาพเพอื่ นาํ การเปลยี่ นแปลง
5. การควบคมุ ตนเอง
6. การใหอ าํ นาจผอู ่ืน
รวม (ข)=100%
แปลงคะแนนรวม (ค) ขา งตน เปนคะแนนการประเมนิ ผลสมั ฤทธ์ขิ องงานท่ีมฐี านคะแนนเตม็ เปน 100 คะแนน
(โดยนาํ 20 มาคูณ)
หมายเหตุ นําคะแนนท่ีได ไปใสในแบบ งด.1 องคป ระกอบท่ี 2 พฤตกิ รรมการปฏิบัติราชการ (สมรรถนะ)
การเลอ่ื นระดบั ตกาํลแมุ หทน่ี ๒ง และการประเมนิ
198
198 194
แบบ งด.1/2
ประเภทวชิ าการ และประเภทท่วั ไป
(กรณอี ยู่ระหว่างทดลองปฏิบตั ิหน้าทีร่ าชการ)
แบบสรปุ การประเมินผลการปฏิบตั ริ าชการของขา้ ราชการศาลยุติธรรม
สว่ นท่ี 1 : ขอ้ มูลของผูร้ บั การประเมนิ
รอบการประเมนิ รอบท่ี 1 1 ตลุ าคม ถึง 31 มนี าคม .
รอบที่ 2 1 เมษายน ถงึ 30 กันยายน
ชือ่ ผรู้ ับการประเมิน (นาย/นาง/นางสาว)
ตาแหนง่ ประเภทตาแหนง่
ระดบั ตาแหนง่ สงั กดั
ชื่อผปู้ ระเมนิ (นาย/นาง/นางสาว)
ตาแหนง่
คาช้แี จง
แบบสรปุ การประเมนิ ผลการปฏิบัตริ าชการ ประกอบดว้ ย
ส่วนท่ี 1: ขอ้ มลู ของผู้รับการประเมนิ เพื่อระบุรายละเอียดตา่ ง ๆ ท่ีเกยี่ วขอ้ งกับตวั ผรู้ บั การประเมิน
ส่วนท่ี 2: ผลการปฏิบัติราชการ ใช้เพื่อกรอกค่าคะแนนการประเมินในองค์ประกอบด้านผลสัมฤทธ์ิ
ของงาน องค์ประกอบด้านพฤติกรรมการปฏิบัติราชการ ในแบบสรุปส่วนท่ี 2 นี้ ยังใช้สาหรับ
สรุปผลคะแนนการปฏบิ ตั ริ าชการรวมดว้ ย
ส่วนที่ 3: แผนพัฒนาการปฏิบัติราชการรายบุคคล ผู้ประเมินและผู้รับการประเมินร่วมกันจัดทา
แผนพัฒนาผลการปฏบิ ัติราชการ
ส่วนที่ 4: การรับทราบผลการประเมิน ผ้รู ับการประเมินลงนามรับทราบผลการประเมิน
สว่ นท่ี 5: ความเห็นของผู้บังคับบัญชาเหนือข้ึนไป ผู้บังคับบัญชาเหนือข้ึนไปกล่ันกรองผลการประเมิน
แผนพัฒนาผลการปฏบิ ัติราชการ และให้ความเห็น
199
199 195
ส่วนท่ี 2 : สรุปผลการประเมิน (นาคะแนนมาจากแบบ งด.2/1 และ งด.3)
คะแนนการประเมนิ คะแนน(ก) นา้ หนกั (ข) รวมคะแนน(ก)
50% X(ข)
50%
องค์ประกอบท่ี 1 : ผลสัมฤทธิ์ของงาน การเ ่ืลอนระ ัดบ ํตกาุลแมห่ีท นง๒และการประเ ิมน
องคป์ ระกอบท่ี 2 : พฤตกิ รรมการปฏิบตั ริ าชการ (สมรรถนะ) 100%
องค์ประกอบอ่ืน (ถ้ามี)
รวม
ระดับผลการประเมนิ (คาอธิบายตามหลักเกณฑ์และวธิ กี ารประเมนิ ผลการปฏบิ ตั ริ าชการฯ ข้อ 5)
ดเี ดน่ (........) ดมี าก (........) ดี (........) พอใช้ (........) ต้องปรบั ปรุง (0%)
(90-100 คะแนน) (80-89.99 คะแนน) (70-79.99 คะแนน) (60-69.99 คะแนน) (ต่ากว่า 60 คะแนน)
สว่ นท่ี 3 : แผนพฒั นาการปฏิบัตริ าชการรายบุคคล วิธกี ารพฒั นา ชว่ งเวลาท่ตี ้องการ
การพฒั นา
ความรู้/ ทักษะ/ สมรรถนะ
ที่ต้องได้รับการพัฒนา
ส่วนท่ี 4 : การรับทราบผลการประเมิน ลงชอ่ื : .
ผรู้ ับการประเมนิ : ตาแหน่ง : .
ได้รบั ทราบผลการประเมินและแผนพัฒนาการปฏิบตั ริ าชการรายบคุ คลแลว้ วันที่ : .
ผู้ประเมนิ : ลงชอื่ : .
ตาแหนง่ : .
ได้แจ้งผลการประเมนิ และผรู้ บั การประเมนิ ไดล้ งนามรบั ทราบ วันที่ : .
ไดแ้ จง้ ผลการประเมินเมอื่ วนั ท่ี .
แต่ผู้รบั การประเมนิ ไมล่ งนามรบั ทราบ
โดยมี เป็นพยาน
ลงช่อื : .พยาน
ตาแหนง่ : .
วันที่ : .
200 196
200
ส่วนท่ี 5 : ความเหน็ ผูบ้ งั คับบัญชาเหนอื ขน้ึ ไป ลงชอ่ื : .
ผบู้ ังคบั บญั ชาเหนือข้นึ ไป : ตาแหน่ง : .
เห็นด้วยกับผลการประเมนิ วันท่ี : .
มีความเหน็ ต่าง ดังน้ี
ลงชอื่ : .
ผูบ้ งั คบั บญั ชาเหนือขน้ึ ไปอกี ชน้ั หนงึ่ (ถา้ ม)ี : ตาแหน่ง : .
เหน็ ด้วยกับผลการประเมิน วันท่ี : .
มีความเห็นต่าง ดงั นี้
220011 197
แบบ งด.1/2
ประเภทวิชาการ และประเภททัว่ ไป
แบบสรปุ การประเมินผลการปฏิบตั ิราชการของข้าราชการศาลยตุ ธิ รรม การเ ่ืลอนระ ัดบ ํตกาุลแมห่ีท นง๒และการประเ ิมน
ส่วนท่ี 1 : ขอ้ มูลของผ้รู ับการประเมนิ
รอบการประเมนิ รอบท่ี 1 1 ตุลาคม ถงึ 31 มีนาคม .
รอบท่ี 2 1 เมษายน ถึง 30 กนั ยายน
ชื่อผู้รบั การประเมนิ (นาย/นาง/นางสาว)
ตาแหนง่ ประเภทตาแหนง่
ระดบั ตาแหนง่ สังกดั
ช่อื ผู้ประเมนิ (นาย/นาง/นางสาว)
ตาแหนง่
คาช้ีแจง
แบบสรปุ การประเมินผลการปฏบิ ัตริ าชการ ประกอบดว้ ย
ส่วนท่ี 1: ข้อมูลของผู้รบั การประเมนิ เพอ่ื ระบุรายละเอยี ดต่าง ๆ ที่เก่ียวขอ้ งกับตวั ผูร้ ับการประเมนิ
สว่ นที่ 2: ผลการปฏิบัติราชการ ใช้เพ่ือกรอกค่าคะแนนการประเมินในองค์ประกอบด้านผลสัมฤทธ์ิ
ของงาน องค์ประกอบด้านพฤติกรรมการปฏิบัติราชการ ในแบบสรุปส่วนที่ 2 นี้ ยังใช้สาหรับ
สรปุ ผลคะแนนการปฏบิ ัติราชการรวมด้วย
ส่วนที่ 3: แผนพัฒนาการปฏิบัติราชการรายบุคคล ผู้ประเมินและผู้รับการประเมินร่วมกันจัดทา
แผนพฒั นาผลการปฏิบตั ริ าชการ
สว่ นที่ 4: การรบั ทราบผลการประเมนิ ผู้รบั การประเมินลงนามรับทราบผลการประเมิน
ส่วนท่ี 5: ความเห็นของผู้บังคับบัญชาเหนือข้ึนไป ผู้บังคับบัญชาเหนือข้ึนไปกล่ันกรองผลการประเมิน
แผนพัฒนาผลการปฏบิ ตั ริ าชการ และใหค้ วามเห็น
202
202 198
ส่วนที่ 2 : สรุปผลการประเมนิ (นาคะแนนมาจากแบบ งด.2/1 และ งด.3)
คะแนนการประเมิน คะแนน(ก) น้าหนกั (ข) รวมคะแนน(ก)
70% X(ข)
30%
องคป์ ระกอบที่ 1 : ผลสัมฤทธขิ์ องงาน
องค์ประกอบท่ี 2 : พฤตกิ รรมการปฏบิ ตั ริ าชการ (สมรรถนะ) 100%
องคป์ ระกอบอนื่ (ถ้าม)ี
รวม
ระดบั ผลการประเมนิ (คาอธบิ ายตามหลักเกณฑ์และวธิ ีการประเมนิ ผลการปฏิบตั ริ าชการฯ ข้อ 5)
ดีเด่น (........) ดมี าก (........) ดี (........) พอใช้ (........) ต้องปรบั ปรุง (0%)
(90-100 คะแนน) (80-89.99 คะแนน) (70-79.99 คะแนน) (60-69.99 คะแนน) (ตา่ กว่า 60 คะแนน)
ส่วนที่ 3 : แผนพัฒนาการปฏบิ ัตริ าชการรายบุคคล วิธกี ารพฒั นา ชว่ งเวลาทต่ี อ้ งการ
การพัฒนา
ความรู้/ ทกั ษะ/ สมรรถนะ
ทีต่ อ้ งไดร้ บั การพัฒนา
ส่วนท่ี 4 : การรับทราบผลการประเมิน ลงชอ่ื : .
ผู้รบั การประเมิน : ตาแหน่ง : .
ไดร้ บั ทราบผลการประเมนิ และแผนพัฒนาการปฏิบัตริ าชการรายบคุ คลแลว้ วันท่ี : .
ผู้ประเมิน : ลงชอื่ : .
ตาแหน่ง : .
ได้แจ้งผลการประเมนิ และผรู้ บั การประเมนิ ไดล้ งนามรบั ทราบ วนั ท่ี : .
ได้แจ้งผลการประเมินเม่อื วันที่ .
แต่ผรู้ บั การประเมนิ ไมล่ งนามรบั ทราบ
โดยมี เปน็ พยาน
ลงช่อื : .พยาน
ตาแหนง่ : .
วนั ท่ี : .
203 199
203 .
.
สว่ นที่ 5 : ความเหน็ ผู้บงั คับบญั ชาเหนอื ขนึ้ ไป ลงชอ่ื : .
ผู้บังคับบญั ชาเหนือขึ้นไป : ตาแหน่ง :
เหน็ ด้วยกบั ผลการประเมิน วนั ท่ี : .
มีความเหน็ ตา่ ง ดงั นี้ .
ลงชอื่ : .
ผบู้ งั คับบญั ชาเหนือขนึ้ ไปอกี ชน้ั หนึง่ (ถ้าม)ี : ตาแหน่ง : การเ ่ืลอนระ ัดบ ํตกาุลแมห่ีท นง๒และการประเ ิมน
เห็นด้วยกับผลการประเมิน วันท่ี :
มีความเห็นตา่ ง ดังนี้
200
แบบ งด.2/1
แบบประเมินผลสมั ฤทธขิ์ องงาน ของ นาย/นาง/นางสาว
ผลสมั ฤทธิต์ ัวชว้ี ัดผลงาน คะแนนตามระดับค่าเปา้ หมาย 5 คะแนน (ก) น้าหนกั (ข) รวมคะแนน (ค)
1234 (ค=ก×ข)
204
204
(ข)=100% (ค) =
(ค x 20) =
แปลงคะแนนรวม (ค) ข้างต้น เป็นคะแนนการประเมินผลสมั ฤทธขิ์ องงานทมี่ ีฐานคะแนนเตม็ เปน็ 100 คะแนน (โดยนา 20 มาคณู )
หมายเหตุ นาคะแนนท่ไี ด้ ไปใส่ในแบบ งด.1 องคป์ ระกอบที่ 1 ผลสัมฤทธข์ิ องงาน
ผู้รบั การประเมนิ
() ผู้ประเมิน )
(
205
205 201
แบบ งด.2/2
แบบขอ้ ตกลงการปฏิบตั งิ านเพ่อื ประกอบการพิจารณาประเมินผลสมั ฤทธขิ์ องงาน
(ใชป้ ระกอบการกาหนดตวั ชี้วดั ตามแบบ งด.2/1)
รอบการประเมนิ รอบที่ 1 1 ตุลาคม ถงึ 31 มนี าคม การเ ่ืลอนระ ัดบ ํตกาุลแมห่ีท นง๒และการประเ ิมน
รอบที่ 2 1 เมษายน ถึง 30 กันยายน
สว่ นท่ี 1 ข้อตกลงการปฏบิ ตั งิ าน
ข้าพเจ้า ตาแหนง่
สานกั /กอง/สานกั อานวยการ/สานักงาน/ศูนย์/สถาบัน
ขอเสนอขอ้ ตกลงการปฏิบัติงานตามภารกิจท่รี ับผดิ ชอบ และหรือภารกิจท่ไี ด้รับมอบหมายเปน็
พเิ ศษ ดงั นี้
ภารกิจที่ 1
ภารกิจท่ี 2
ภารกจิ ท่ี 3
(ลงชอื่ ) ผู้เสนอ (ผรู้ ับการประเมนิ )
()
วันท่ี .
206 202
206
ส่วนท่ี 2 ความเห็นของผบู้ งั คับบญั ชา (ผปู้ ระเมนิ ช้นั ต้น)
เห็นชอบ
ความเห็นอื่น ๆ
(ลงชื่อ) ผู้บงั คบั บญั ชา (ผู้ประเมินชัน้ ต้น)
()
วนั ที่ .
203
แบบ งด.3
แบบประเมนิ พฤติกรรมการปฏบิ ตั ิราชการ (สมรรถนะ)
1 คะแนนตามระดับค่าเป้าหมาย 5 คะแนนรวม บนั ทึกการประเมินโดยผ้ปู ระเมิน
จาเปน็ 234 คะแนน (ค) (ถา้ มี) และในกรณพี ้นื ทไี่ ม่พอให้
ตอ้ ง
สมรรถนะ พัฒนา ตอ้ ง พอใช้ ดี ดเี ยยี่ ม (ก) น้าหนกั (ค = ก x ข) บนั ทึกลงในเอกสารดา้ นหลงั แนวทางการประเมินพฤตกิ รรมการปฏิบตั ริ าชการ
อยา่ งยง่ิ พัฒนา (ข) หรอื สมรรถนะ
สมรรถนะหลัก
1. การมุ่งผลสมั ฤทธ์ิ หมายเหตุ 207
2. จติ สานึกในการใหบ้ รกิ าร - ในช่องน้าหนกั (ข) ให้หนว่ ยงานประเมนิ
3. การสง่ั สมความเช่ยี วชาญ สมรรถนะแตล่ ะตัวโดยถว่ งน้าหนกั สมรรถนะทุก 207
สมรรถนะรวมกนั แลว้ ให้ได้ 100%
ในงานอาชพี
4. จรยิ ธรรม - 20 มาจาก 100 หารดว้ ยระดับคา่ เป้าหมาย
5. การทางานเป็นทมี 5 ระดับ (100 หาร 5)
- สมรรถนะในงานของแต่ละประเภทตาแหนง่ และ
ระดับตาแหน่งตามคมู่ อื สรรถนะของสานกั งาน
ศาลยตุ ิธรรม
รวม (ข)=100% (ค) =
ค x 20 =
แปลงคะแนนรวม (ค) ข้างตน้ เปน็ คะแนนการประเมินผลสมั ฤทธ์ขิ องงานที่มฐี านคะแนนเต็มเปน็ 100 คะแนน
(โดยนา 20 มาคณู )
หมายเหตุ นาคะแนนท่ีได้ ไปใส่ในแบบ งด.1 องค์ประกอบท่ี 2 พฤติกรรมการปฏิบัตริ าชการ (สมรรถนะ)
การเลอ่ื นระดบั ตกาํลแมุ หทน่ี ๒ง และการประเมนิ
208
208 204
ที่ ศย 004/ว 118 (ป) (สาเนา) สานักงานศาลยตุ ธิ รรม
ถนนรัชดาภเิ ษก เขตจตุจกั ร
กทม. 10900
25 พฤษภาคม 2563
เรอื่ ง แนวทางปฏิบตั เิ กี่ยวกบั การประเมินผลการทดลองปฏิบตั หิ นา้ ทีร่ าชการ
เรียน หัวหนา้ หนว่ ยงานในสังกัดสานกั งานศาลยุตธิ รรม
อา้ งถงึ หนังสือสานักงานศาลยตุ ธิ รรม ที่ ศย 004/ว 342 ลงวนั ท่ี 2 ตลุ าคม 2549
ตามหนังสือที่อ้างถึง สานักงานศาลยุติธรรมได้แจ้งแนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับ
การประเมินผลการทดลองปฏิบัติหน้าที่ราชการของข้าราชการศาลยุติธรรมและลู กจ้างประจา
ดงั ความละเอยี ดแจง้ อยู่แลว้ นั้น
เพ่ือให้การประเมินผลการทดลองปฏิบัติหน้าท่ีราชการของข้าราชการศาลยุติธรรม
สอดคล้องกับกฎ ก.พ. ว่าด้วยการทดลองปฏิบัติหน้าท่ีราชการและการพัฒนาข้าราชการท่ีอยู่ระหว่าง
ทดลองปฏิบัติหน้าที่ราชการ พ.ศ. 2553 จึงเห็นควรยกเลิกแนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับการประเมินผล
การทดลองปฏิบัติหน้าท่ีราชการของข้าราชการศาลยุติธรรมตามหนังสือท่ีอ้างถึง และให้ดาเนินการ
ประเมนิ ผลการทดลองปฏิบัติหน้าที่ราชการของข้าราชการศาลยตุ ิธรรมตามแนวทาง ดังน้ี
1. ผู้ได้รับการบรรจุและแต่งต้ังเป็นข้าราชการศาลยุติธรรมตามมาตรา 22 (3)
แห่งพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการศาลยุติธรรม พ.ศ. 2543 ให้ทดลองปฏิบัติหน้าที่ราชการ
ในตาแหนง่ ทีไ่ ดร้ ับแตง่ ตงั้ เป็นระยะเวลาหกเดอื น
ในกรณีท่ีมีความจาเป็นต้องให้ข้าราชการศาลยุติธรรมผู้ใดทดลองปฏิบัติหน้าที่ราชการ
ตอ่ ไป ผูม้ ีอานาจส่ังบรรจุอาจขยายเวลาการทดลองปฏิบัติหน้าท่ีราชการได้ไม่เกินสองคร้ัง คร้ังละไม่เกิน
สามเดือน แตเ่ มอ่ื รวมกนั แลว้ ระยะเวลาทดลองปฏบิ ตั หิ นา้ ทรี่ าชการตอ้ งไม่เกนิ หน่ึงปี
ในระหว่างการทดลองปฏิบัติหน้าที่ราชการ ให้มีการพัฒนาข้าราชการศาลยุติธรรม
เพื่อให้รู้ระเบียบแบบแผนของทางราชการและเป็นข้าราชการที่ดี โดยให้ถือว่าระยะเวลาในการพัฒนา
ดงั กล่าวเปน็ เวลาทดลองปฏบิ ัตหิ นา้ ทรี่ าชการดว้ ย
2. ให้ผู้บังคับบัญชาซ่ึงมีหน้าที่กากับดูแลการปฏิบัติงานของข้าราชการศาลยุติธรรม
ท่ีทดลองปฏิบัติหน้าที่ราชการมอบหมายงานเป็นลายลักษณ์อักษรให้ข้าราชการศาลยุติธรรมท่ีทด ลอง
ปฏิบัติหน้าที่ราชการปฏิบัติซ่ึงอย่างน้อยต้องประกอบด้วยภารกิจ งานหรือกิจกรรมของงาน และ
เป้าหมายในการปฏิบัติงาน รวมทั้งต้องชี้แจงให้ข้าราชการศาลยุติธรรมท่ีทดลองปฏิบัติหน้าท่ีราชการ
เข้าใจอย่างชัดเจนเก่ียวกับการประพฤติตน วิธีปฏิบัติงาน รายการประเมิน วิธีการประเมิน และเกณฑ์
การประเมินผลการทดลองปฏิบัติหน้าท่ีราชการ รวมทั้งผลที่จะเกิดขึ้นจากการทดลองปฏิบัติหน้าที่
ราชการดว้ ย
209 การเ ่ืลอนระ ัดบ ํตกาุลแมห่ีท นง๒และการประเ ิมน
209 205
3. ให้ผูบ้ ังคับบัญชาตามข้อ 2 ดูแลการทดลองปฏิบัติหน้าที่ราชการทาหนา้ ท่ีสอนงาน
และให้คาปรึกษาแนะนา รวมท้ังติดตามประเมินผลการทดลองปฏิบัติหน้าท่ีราชการ และจัดทาบันทึก
ผลการทดลองปฏิบัติหน้าท่ีราชการทุกสองเดือน เพื่อประกอบการประเมินผลการทดลองปฏิบัติหน้าท่ี
ราชการ
ในกรณีที่เหน็ สมควร ผบู้ ังคับบัญชาตามขอ้ 2 อาจมอบหมายให้ขา้ ราชการศาลยุติธรรม
ที่มีความรู้ความเข้าใจในระเบียบแบบแผนของทางราชการและการเป็นข้าราชการที่ดี ทาหน้าที่เป็น
ผูด้ ูแลการทดลองปฏิบัติหน้าท่ีราชการตามวรรคหน่ึงแทนได้ ในการนี้ ให้ผไู้ ด้รับมอบหมายจัดทาบันทึก
ผลการทดลองปฏบิ ตั ิหน้าทร่ี าชการตามวรรคหนง่ึ
4. ข้าราชการศาลยุติธรรมผ้ใู ดอย่รู ะหว่างทดลองปฏิบัติหนา้ ทร่ี าชการ ถ้าย้ายไปดารง
ตาแหน่งซ่ึงเป็นตาแหน่งประเภทเดียวกันและสายงานเดียวกัน ให้ทดลองปฏิบัติหน้าที่ราชการต่อไป
โดยใหน้ ับเวลาทดลองปฏบิ ตั ิหนา้ ที่ราชการต่อจากทีไ่ ดท้ ดลองปฏิบตั ิหน้าทรี่ าชการในตาแหนง่ เดมิ
ข้าราชการศาลยุติธรรมผู้ใดอยู่ในระหว่างทดลองปฏิบัติหน้าท่ีราชการ ถ้าย้ายไปดารง
ตาแหน่งซึ่งเป็นตาแหน่งประเภทเดียวกันแต่ต่างสายงาน ให้ทดลองปฏิบัติหน้าที่ราชการโดยให้เริ่ม
นับเวลาทดลองปฏิบัติหน้าท่ีราชการนับแต่วันที่ดารงตาแหน่งใหม่ แต่ถ้าเป็นตาแหน่งประเภทเดียวกัน
แม้จะต่างสายงานแต่ภารกิจ งานหรือกิจกรรมของงาน และเป้าหมายในการปฏิบัติงานของตาแหน่งใหม่นั้น
สอดคล้อง ใกล้เคียง หรือไม่แตกต่างไปจากตาแหน่งเดิม จะให้ทดลองปฏิบัติหน้าท่ีราชการต่อไปโดยให้
นับเวลาทดลองปฏิบตั ิหน้าท่ีราชการตอ่ จากที่ไดท้ ดลองปฏบิ ตั ิหน้าทีร่ าชการในตาแหน่งเดมิ กไ็ ด้
ข้าราชการศาลยุติธรรมผู้ใดอยู่ในระหว่างทดลองปฏิบัติหน้าที่ราชการ ถ้าย้ายไปดารง
ตาแหน่งซึ่งเป็นตาแหน่งคนละประเภทกับตาแหน่งเดิม ให้ทดลองปฏิบัติหน้าท่ีราชการโดยให้เริ่มนับ
เวลาทดลองปฏบิ ัติหน้าท่รี าชการนับแต่วันที่ดารงตาแหนง่ ใหม่
ข้าราชการศาลยุติธรรมผู้ใดอยู่ในระหว่างทดลองปฏิบัติหน้าท่ีราชการ และได้ออกจาก
ราชการเพื่อไปรับราชการทหารตามกฎหมายว่าด้วยการรับราชการทหาร ถา้ ไดร้ ับการบรรจุกลับเข้ารับ
ราชการตามมาตรา 63 แห่งพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2551 โดยอนุโลม
ให้ทดลองปฏิบัติหน้าท่ีราชการต่อไปโดยให้นับเวลาทดลองปฏิบัติหน้าท่ีราชการต่อจากท่ีได้ทดลอง
ปฏิบตั หิ นา้ ทีร่ าชการในตาแหน่งเดิม
5. ให้มีการประเมินผลการทดลองปฏิบัติหน้าที่ราชการของผู้ทดลองปฏิบัติหน้าที่
ราชการสองคร้งั โดยคร้ังแรกให้ประเมินเมื่อทดลองปฏิบัติหน้าท่ีราชการมาแลว้ เป็นเวลาสามเดือน และ
คร้งั ที่สองใหป้ ระเมินเม่ือทดลองปฏบิ ัติหนา้ ทร่ี าชการมาแล้วเปน็ เวลาหกเดือน
ในกรณีที่มีการขยายเวลาทดลองปฏิบัติหน้าท่ีราชการ ให้ประเมินผลการทดลองปฏิบัติ
หนา้ ท่รี าชการเมอ่ื ครบกาหนดระยะเวลาดงั กล่าวดว้ ย
6. ในระหว่างทดลองปฏบิ ัติหนา้ ท่ีราชการถา้ ผบู้ ังคับบัญชาตามขอ้ 3 ได้พิจารณาแล้ว
เห็นว่าผู้ทดลองปฏิบัติหน้าท่ีราชการผู้ใดน่าจะมีผลการทดลองปฏิบัติหน้าที่ราชการต่ากว่ามาตรฐาน
ท่ีกาหนด อาจขอให้คณะกรรมการประเมินผลการทดลองปฏิบัติหน้าท่ีราชการดาเนินการประเมินผล
210
210 206
การทดลองปฏิบัติหน้าท่ีราชการก่อนครบกาหนดเวลาประเมินท่ีกาหนดไว้ แล้วรายงานผล
การประเมินผลการทดลองปฏบิ ัติหน้าทีร่ าชการ ใหผ้ ้มู อี านาจสง่ั บรรจุพิจารณาสัง่ การตามขอ้ 10 ก็ได้
7. การประเมินผลการทดลองปฏิบัติหน้าท่ีราชการ ให้กระทาโดยผู้บังคับบัญชา
ตามข้อ 2 และคณะกรรมการประเมินผลการทดลองปฏิบัติหน้าที่ราชการตามลาดับ แล้วให้รายงาน
ผลการประเมนิ ผลการทดลองปฏบิ ัตหิ น้าทีร่ าชการต่อผูม้ อี านาจสั่งบรรจุเพือ่ พิจารณาสัง่ การตอ่ ไป
8. ให้ผู้มีอานาจสั่งบรรจุแต่งต้ังคณะกรรมการประเมินผลการทดลองปฏิบัติหน้าท่ี
ราชการ ประกอบดว้ ย ประธานกรรมการ และกรรมการอีกจานวนสองคน โดยต้องแตง่ ตัง้ จากขา้ ราชการ
ที่เกย่ี วขอ้ งกบั งานท่ีผ้ทู ดลองปฏบิ ัติหนา้ ทร่ี าชการไดร้ ับมอบหมายตามข้อ 2
9. การประเมินผลการทดลองปฏิบัติหน้าที่ราชการให้ประเมินจากผลสัมฤทธิ์ของ
การทดลองปฏิบัติหน้าที่ราชการ และพฤติกรรมของผู้ทดลองปฏิบัติหน้าที่ราชการ โดยให้นาบันทึก
ผลการทดลองปฏบิ ัติหนา้ ทรี่ าชการตามข้อ 3 มาประกอบการประเมินดว้ ย
สานักงานศาลยุติธรรมจะกาหนดรายละเอียดของก ารประเมินผลการทดลอง
ปฏิบตั ิหน้าที่ราชการโดยในส่วนของผลสัมฤทธ์ขิ องการทดลองปฏิบัติหน้าท่ีราชการอย่างน้อยกาหนดให้
ประกอบด้วยความสามารถในการเรียนรู้งาน ความสามารถในการปรับใช้ความรู้กับงานในหน้าที่ และ
ความสาเร็จของงานท่ีได้รับมอบหมาย และในส่วนของพฤติกรรมของผู้ทดลองปฏิบัติหน้าท่ีราชการ
อยา่ งน้อยกาหนดให้ประกอบดว้ ย ความประพฤติ ความมคี ุณธรรม จรยิ ธรรม และการรักษาวนิ ยั
คะแนนการประเมนิ ผลสัมฤทธ์ิของการทดลองปฏิบัตหิ น้าท่ีราชการ และพฤติกรรมของ
ผู้ทดลองปฏิบัติหน้าท่ีราชการให้มีสัดส่วนเท่ากัน และผู้ทดลองปฏิบัติหน้าท่ีราชการต้องได้คะแนน
ในแต่ละส่วนไม่น้อยกว่าร้อยละหกสิบ จึงจะถือว่าผ่านการประเมินผลการทดลองปฏิบัติหน้าท่ีราชการ
ตามมาตรฐานทกี่ าหนด
10. เมื่อได้รับรายงานผลการประเมินผลการทดลองปฏิบัติหน้าท่ีราชการแล้ว
ใหผ้ มู้ อี านาจส่งั บรรจดุ าเนนิ การดงั นี้
(1) ในกรณีที่ผลการประเมินไม่ต่ากว่ามาตรฐานท่ีกาหนด ให้มีคาสั่งให้ผู้ทดลองปฏิบัติ
หน้าที่ราชการน้ันรบั ราชการตอ่ ไป แลว้ แจ้งใหผ้ นู้ ัน้ ทราบ
(2) ในกรณีท่ีผลการประเมินต่ากว่ามาตรฐานท่ีกาหนด แต่ผู้มีอานาจส่ังบรรจุเห็นควร
ขยายเวลาทดลองปฏิบัติหน้าที่ราชการ ให้ส่ังขยายเวลาทดลองปฏิบัติหน้าที่ราชการออกไปได้ตามที่
เห็นสมควร แต่เมื่อรวมกันแล้วต้องไม่เกินหน่ึงปีตามข้อ 1 วรรคสอง ในการน้ีให้แสดงเหตุผลหรือ
ความเห็นไว้ด้วย แล้วแจ้งให้ผู้ทดลองปฏิบัติหน้าท่ีราชการและผู้เก่ียวข้องทราบเพื่อดาเนินการต่อไป
ตามแนวทางปฏบิ ัตนิ ้ี
(3) ในกรณที ป่ี ระเมินผลการทดลองปฏิบัตหิ น้าท่ีราชการกอ่ นครบกาหนดเวลาประเมิน
และปรากฏว่าผลการประเมนิ ต่ากว่ามาตรฐานที่กาหนด แต่ผู้มีอานาจส่ังบรรจุเห็นควรให้ทดลองปฏิบัติ
หน้าท่ีราชการต่อไป ให้สั่งให้ทดลองปฏิบัติหน้าท่ีราชการต่อไป ในการน้ีให้แสดงเหตุผลหรือความเห็น
ไว้ด้วยแล้วแจ้งให้ผู้ทดลองปฏิบัติหน้าที่ราชการและผู้เก่ียวข้องทราบเพื่อดาเนินการต่อไปตามแนวทาง
ปฏิบตั นิ ้ี
211 การเ ่ืลอนระ ัดบ ํตกาุลแมห่ีท นง๒และการประเ ิมน
211 207
(4) ในกรณีท่ีผลการประเมินต่ากว่ามาตรฐานท่ีกาหนด และผู้มีอานาจสั่งบรรจุเห็นว่า
ไม่ควรให้ทดลองปฏิบัติหน้าที่ราชการต่อไปหรือไม่ควรขยายเวลาทดลองปฏิบัติหน้าที่ราชการให้มีคาส่ัง
ให้ผู้นั้นออกจากราชการภายในห้าวันทาการ นับแต่วันที่ได้รับรายงาน แล้วแจ้งให้ผู้น้ันทราบ ในการนี้
ผู้มีอานาจสั่งบรรจุอาจส่ังให้ผู้น้ันออกจากราชการได้โดยไม่จาเป็นต้องรอให้ครบกาหนดเวลาทดลอง
ปฏิบัตหิ นา้ ทร่ี าชการ
อนึ่ง ขา้ ราชการศาลยตุ ิธรรมผู้ใดอย่ใู นระหวา่ งทดลองปฏิบัติหน้าท่รี าชการตามแนวทาง
ปฏิบัติในหนังสือสานักงานศาลยุติธรรม ท่ี ศย 004/ว 342 ลงวันที่ 2 ตุลาคม 2549 ให้ใช้แนวทาง
ปฏบิ ัตดิ ังกล่าวตอ่ ไปจนกวา่ จะแลว้ เสร็จ
จงึ เรยี นมาเพอ่ื โปรดทราบและถอื ปฏบิ ัติตอ่ ไป
ขอแสดงความนบั ถอื
(ลงชอื่ ) สราวธุ เบญจกุล
(นายสราวุธ เบญจกลุ )
เลขาธกิ ารสานกั งานศาลยตุ ธิ รรม
212
กลุ่มท่ี 3
ลูกจำ้ งและ
พนกั งำนรำชกำรศำลยตุ ิธรรม
213
213 209
6
ลกู จำ้ งของสำนกั งำนศำลยตุ ธิ รรม
ลกู จา งและพนกั งกาลนมุ รทา่ีช๓การศาลยตุ ธิ รรม
214
215 210
215
ระเบียบคณะกรรมการขา้ ราชการศาลยุตธิ รรม
ว่าดว้ ยลูกจ้างของสานกั งานศาลยตุ ธิ รรม
พ.ศ. 2544
อาศัยอานาจตามความในมาตรา 21 (8) แห่งพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการ ูลก จางและพ ันกงกา ุลนมร ่ีทาช๓การศาล ุย ิตธรรม
ศาลยุติธรรม พ.ศ. 2543 คณะกรรมการข้าราชการศาลยุติธรรม (ก.ศ.) โดยได้รับความเห็นชอบ
จากคณะกรรมการบริหารศาลยุตธิ รรม (ก.บ.ศ.) ออกระเบียบไว้ ดังตอ่ ไปนี้
ขอ้ 1 ระเบียบนี้เรียกว่า “ระเบียบคณะกรรมการข้าราชการศาลยุติธรรม ว่าด้วยลูกจ้าง
ของสานักงานศาลยุตธิ รรม พ.ศ. 2544”
ข้อ 21 ระเบยี บนใ้ี ห้ใช้บงั คบั ตง้ั แต่วันถัดจากวันประกาศในราชกจิ จานุเบกษาเป็นต้นไป
ข้อ 3 ในระเบียบน้ี “ลูกจา้ ง” หมายความว่า
(1) ลกู จ้างประจาและลูกจ้างช่วั คราวที่สานกั งานศาลยุตธิ รรมจา้ งตามระเบียบ
กระทรวงการคลงั ระเบียบอ่ืนและมตคิ ณะรฐั มนตรีในสว่ นท่ีใชบ้ งั คับแกล่ กู จ้างของส่วนราชการ
(2) บุคคลทีส่ านกั งานศาลยตุ ิธรรมจา้ งให้ปฏิบัติราชการแทนตามสัญญาจ้าง
ขอ้ 4 สานักงานศาลยุติธรรมอาจจ้างลูกจ้างให้ปฏิบัตริ าชการตามจานวนท่ีเห็นสมควร
แต่ต้องไมเ่ กินจานวนและตาแหน่งท่ีคณะกรรมการข้าราชการศาลยตุ ิธรรม (ก.ศ.) กาหนด
ขอ้ 5 ให้นาระเบียบกระทรวงการคลัง ระเบียบอ่ืนและมติคณะรัฐมนตรีในส่วน
ที่ใช้บังคับแก่ลูกจ้างประจาและลูกจ้างช่ัวคราวของส่วนราชการมาใช้บังคับแก่ลูกจ้างประจาและ
ลูกจ้างชั่วคราวของสานักงานศาลยุติธรรมโดยอนุโลม ในกรณีท่ีระเบียบหรือมติคณะรัฐมนตรีใด
กาหนดให้คณะรัฐมนตรี กระทรวงการคลังหรือกรมบัญชีกลาง แล้วแต่กรณี เป็นผู้มีอานาจตกลงเห็นชอบ
อนุมัติ ช้ีขาดหรือวินิจฉัยให้คณะกรรมการข้าราชการศาลยุติธรรม (ก.ศ.) เป็นผู้ใช้อานาจดังกล่าวแทน
เทา่ ทีส่ ภาพของเร่ืองจะเปิดชอ่ งใหก้ ระทาได้
ในส่วนที่เก่ียวกับบัญชีถือจ่ายค่าจ้างหรือบัญชีการจ้าง ให้สานักงานศาลยุติธรรม
เปน็ ผตู้ รวจสอบและยืนยนั ให้สานกั งบประมาณและกรมบัญชกี ลางทราบ เพื่อประโยชน์ในการเตรียมการ
จดั ทาและเบิกจ่ายงบประมาณท่พี งึ ได้รบั เช่นเดียวกับลกู จ้างของส่วนราชการอนื่
ขอ้ 6 เพื่อประโยชน์ในการรับบาเหน็จของลูกจ้างประจาของสานักงานศาลยุติธรรม
ตามระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยบาเหน็จลูกจ้างให้ถือเวลาราชการของผู้ที่โอนมาเป็นลูกจ้างของ
1 ราชกจิ จานุเบกษา เล่ม 118/ตอนท่ี 75 ก/หน้า 36/5 กันยายน 2544
216
216 211
สานักงานศาลยุตธิ รรมในขณะที่เปน็ ลูกจา้ งของสว่ นราชการอื่น เปน็ เวลาราชการของสานกั งานศาลยุตธิ รรม
ตามระเบยี บน้ี
ข้อ 7 ให้สานักงานศาลยุติธรรมเป็นผู้ทาสัญญาจ้างปฏิบัติงานสาหรับบุคคล ตามสัญญา
จ้างเป็นรายปี และอย่างนอ้ ยต้องมขี ้อกาหนด ดงั ตอ่ ไปน้ี
(1) ขอบเขตและลักษณะการปฏบิ ตั ิงาน
(2) อัตราค่าจา้ ง วันจ่ายค่าจา้ ง การเล่อื นขนั้ ค่าจา้ งและเงนิ ตอบแทนการปฏบิ ัติงาน
นอกเวลาทางานปกติ
(3) ระยะเวลาการจ้าง
(4) กาหนดวันเวลาทางานปกติ วันหยุดราชการตามประเพณี วันหยุดราชการ
ประจาปี รวมทง้ั การลาหยุดในกรณีต่าง ๆ
(5) วนิ ยั และการรักษาวินัย
(6) การสนิ้ สุดแหง่ สัญญา
(7) สวสั ดกิ ารและการสงเคราะห์อ่นื
ข้อ 8 อัตราค่าจ้างสาหรับบุคคลตามสัญญาจา้ งใหเ้ ป็นไปตามบญั ชที ้ายระเบยี บนี้
การจ้างบุคคลตามสัญญาจ้างให้จ้างในอัตราค่าจ้างข้ันต่าของบัญชีอัตราค่าจ้าง แต่หาก
สานักงานศาลยุติธรรมเห็นสมควรให้จ้างในอัตราค่าจ้างที่สูงกว่าอัตราค่าจ้างขั้นต่า ก็อาจกระทาได้
โดยให้คานึงถึงคุณวุฒิและประสบการณ์ท่ีเก่ียวกับตาแหน่งงาน แต่ต้องได้รับความเห็นชอบจาก
คณะกรรมการขา้ ราชการศาลยุติธรรม (ก.ศ.) ก่อน
ในกรณีท่ีมีความจาเป็นและเป็นการจ้างผู้มีความสามารถและประสบการณ์เป็น
กรณีพิเศษอย่างย่ิง ซ่ึงบุคคลดังกล่าวเป็นผู้สมควรได้รับอัตราค่าจ้างสูงกว่าอัตราท่ีกาหนดในบัญชี
อั ต รา ค่ าจ้ า งก็ อ าจ ก ร ะ ท า ได้ โด ย ให้ ส านั ก งา น ศ าล ยุ ติ ธ รร ม เ ส น อ ชื่ อ บุ ค ค ล แ ล ะ ต าแ ห น่ งที่ ข อ จ้ า ง
อัตราค่าจ้างที่เห็นสมควร ระยะเวลาการจ้างและรายละเอียดอ่ืนท่ีเป็นประโยชน์พร้อมท้ังแสดงเหตุผล
และความจาเป็นโดยละเอียดแก่คณะกรรมการข้าราชการศาลยุติธรรม (ก.ศ.) เพื่อพิจารณาเห็นชอบ
ท้ังนี้ การเห็นชอบให้จ้างบคุ คลดงั กลา่ ว ตอ้ งได้รบั คะแนนเสยี งคณะกรรมการข้าราชการศาลยตุ ิธรรม (ก.ศ.)
ไม่น้อยกวา่ สองในสาม
ขอ้ 9 เม่ือสิ้นสุดสัญญาจ้างแต่ละปี และสานักงานศาลยุติธรรมโดยได้รับรายงานจาก
หน่วยงานที่บุคคลตามสัญญาจ้างสังกัดอยู่พิจารณาแล้วเห็นว่าบุคคลตามสัญญาจ้างผู้ใดปฏิบัติงาน
ตามหน้าที่ได้ผลดี มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลอันก่อให้เกิดประโยชน์และผลดีต่อทางราชการและ
สงั คมเป็นที่ประจักษ์และสมควรจ้างลูกจ้างผู้นี้ต่อไปอีก จะเพิ่มคา่ จ้างแก่บุคคลดังกล่าวได้ตามท่ีกาหนด
ในบญั ชอี ัตราค่าจ้างทา้ ยระเบียบนปี้ ีละขนั้
ข้อ 10 ให้คณะกรรมการข้าราชการศาลยุติธรรม (ก.ศ.) มีอานาจกากับ ติดตามและ
วินิจฉัยปญั หาในการปฏบิ ตั ิตามระเบียบน้ี
217
217 212
ขอ้ 11 ให้เลขาธิการสานักงานศาลยุติธรรมเป็นผู้รักษาการตามระเบียบน้ี และให้มี
อานาจออกประกาศ คาส่ัง หลักเกณฑแ์ ละวิธีการเพอื่ ประโยชน์ในการปฏิบัตติ ามระเบียบนี้
ประกาศ ณ วนั ท่ี 30 พฤษภาคม พ.ศ. 2544
(ลงชอ่ื ) สนั ติ ทักราล
(นายสนั ติ ทกั ราล)
รองประธานศาลฎกี า
ประธานกรรมการข้าราชการศาลยุตธิ รรม
ูลก จางและพ ันกงกา ุลนมร ่ีทาช๓การศาล ุย ิตธรรม
218 213
218
บญั ชอี ตั ราคา่ จ้างบุคคลตามสัญญาจ้างของสานกั งานศาลยตุ ธิ รรม
สาหรบั ตาแหนง่ ท่ใี ชว้ ุฒติ า่ กว่าปริญญาตรี
ข้ัน อตั ราคา่ จา้ งตอ่ เดอื น (บาท)
1 5,000
2 5,900
3 6,250
4 6,600
5 7,000
6 7,320
7 7,880
8 8,360
9 8,870
10 9,400
11 10,000
12 10,600
219 214
219 ูลก จางและพ ันกงกา ุลนมร ่ีทาช๓การศาล ุย ิตธรรม
บญั ชีอตั ราค่าจา้ งบคุ คลตามสญั ญาจ้างของสานกั งานศาลยตุ ิธรรม
สาหรบั ตาแหน่งทีใ่ ชว้ ฒุ ปิ รญิ ญาตรี
ขั้น อตั ราคา่ จา้ งตอ่ เดอื น (บาท)
1 7,500
2 8,850
3 9,330
4 9,880
5 10,360
6 11,090
7 11,770
8 12,490
9 13,250
10 14,060
11 14,920
12 15,830
13 16,800
14 17,820
15 18,900
16 20,100
220 215
220
บัญชีอตั ราคา่ จ้างบคุ คลตามสญั ญาจา้ งของสานกั งานศาลยุตธิ รรม
สาหรบั ตาแหน่งท่ใี ชว้ ุฒิสงู กวา่ ปรญิ ญาตรี
ข้ัน อัตราคา่ จ้างต่อเดือน (บาท)
1 9,300
2 11,000
3 11,600
4 12,300
5 13,000
6 13,800
7 14,600
8 15,500
9 16,500
10 17,500
11 18,500
12 19,700
13 20,900
14 22,100
15 23,500
16 25,000
221 218
ระเบียบกระทรวงการคลงั
วา ดว ยลูกจางประจําของสวนราชการ
พ.ศ. 2537
โดยทีเ่ ปน การสมควรปรับปรงุ ระเบียบกระทรวงการคลังวา ดว ยลกู จางประจําของสวนราชการ ูลก จางและพ ันกงกา ุลนมร ่ีทาช๓การศาล ุย ิตธรรม
ใหเ หมาะสมยงิ่ ข้นึ กระทรวงการคลังดว ยความเห็นชอบของคณะรฐั มนตรจี งึ วางระเบยี บไว ดังตอ ไปนี้
ขอ 1 ระเบียบนเ้ี รียกวา "ระเบยี บกระทรวงการคลงั วาดว ยลูกจางประจําของสว นราชการ
พ.ศ. 2537"
ขอ 2 ระเบยี บนใ้ี หใ ชบ ังคบั ตงั แตว ันท่ี 1 เมษายน 2537 เปนตน ไป
ขอ 3 ใหยกเลกิ
(1) ระเบยี บกระทรวงการคลังวา ดว ยลูกจางประจาํ ของสว นราชการ พ.ศ.2525
(2) ระเบยี บกระทรวงการคลงั วาดว ยลูกจางประจาํ ของสวนราชการ (ฉบบั ที่ 2) พ.ศ.2535
บรรดาระเบียบ ขอ บังคบั มตคิ ณะรฐั มนตรี คาํ ส่งั หรือขอ ตกลงอนื่ ใดในสวนที่มกี าํ หนดไวแ ลว
ในระเบียบน้ี หรอื ซึง่ ขดั หรือแยง กบั ระเบียบน้ี ใหใชระเบยี บนีแ้ ทน
ขอ 4 ระเบียบน้ีใหใชบังคับแกลูกจางประจําของสวนราชการที่ไดรับคาจางจาก
เงินงบประมาณรายจาย
ขอ 5 ใหปลดั กระทรวงการคลงั รกั ษาการตามระเบยี บนี้
หมวด 1
บททว่ั ไป
ขอ 6 ผทู ีจ่ ะเขา รบั ราชการเปน ลกู จางประจําตอ งมคี ุณสมบัตทิ ว่ั ไป ดงั ตอไปนี้
(1) มีสญั ชาติไทย
(2) มีอายุไมต่าํ กวา สบิ แปดป
(3) เปนผูเล่ือมใสในการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย
ทรงเปนประมขุ ตามรฐั ธรรมนญู แหง ราชอาณาจักรไทยดวยความบริสุทธใ์ิ จ
(4) ไมเปนผูดํารงตําแหนงกํานัน แพทยประจําตําบล สารวัตรกํานัน ผูใหญบาน และ
ผชู วยผใู หญบ าน
(5) ไมเปนผดู ํารงตําแหนงขา ราชการการเมือง
(6) ไมเปนผูมีกายทุพพลภาพจนไมสามารถปฏิบัติหนาที่ได ไรความสามารถ หรือ
จติ ฟน เฟอ นไมสมประกอบ หรอื เปนโรคตามที่กาํ หนดในกฎหมายวา ดวยระเบยี บขาราชการพลเรอื น
222
222 217
(7) ไม่เป็นผู้อยู่ในระหว่างถูกสั่งพักราชการหรือถูกสั่งให้ออกจากราชการไว้ก่อน
ตามระเบียบกระทรวง การคลงั วา่ ดว้ ยลูกจา้ งประจาของส่วนราชการหรอื ตามกฎหมายอ่ืน
(8) ไมเ่ ปน็ ผบู้ กพรอ่ งในศีลธรรมอนั ดีจนเป็นที่รงั เกยี จของสงั คม
(9) ไม่เป็นกรรมการพรรคการเมอื งหรอื เจ้าหน้าทใ่ี นพรรคการเมือง
(10) ไม่เป็นบคุ คลลม้ ละลาย
(11) ไม่เป็นผู้เคยต้องรับโทษจาคุกโดยคาพิพากษาถึงที่สุดให้จาคุก เพราะกระทา
ความผิดทางอาญา เวน้ แตเ่ ป็นโทษสาหรับความผิดทไ่ี ดก้ ระทาโดยประมาทหรือความผิดลหุโทษ
(12) ไม่เป็นผู้เคยถูกลงโทษให้ออก ปลดออก หรือไล่ออกจากรัฐวิสาหกิจ หรือ
หนว่ ยงานอน่ื ของรฐั
(13) ไม่เป็นผู้เคยถูกลงโทษให้ออกหรือปลดออก เพราะกระทาผิดวินัยตามระเบียบ
กระทรวงการคลัง ว่าดว้ ยลูกจ้างประจาของสว่ นราชการหรือตามกฎหมายอ่นื
(14) ไม่เป็นผู้เคยถูกลงโทษไล่ออก เพราะกระทาผิดวินัยตามระเบียบกระทรวงการคลัง
ว่าด้วยลกู จา้ งประจาของสว่ นราชการหรือตามกฎหมายอ่นื
(15) ไมเ่ ป็นผเู้ คยกระทาการทุจรติ ในการสอบเข้ารับราชการ
ผทู้ ี่จะเข้ารับราชการเป็นลูกจ้างประจาซงึ่ ขาดคุณสมบัติตาม (8) (10) (11) หรือ (15)
กระทรวงการคลัง อาจพิจารณายกเว้นให้เข้ารับราชการได้ ส่วนผู้ที่ขาดคุณสมบัติตาม (12) หรอื (13)
ถ้าผู้น้ันได้ออกจากงานหรือออกจากราชการไปเกินสองปีแล้ว หรือผู้ที่ขาดคุณสมบัติตาม (14)
ถ้าผู้นั้นได้ออกจากงานหรือออกจากราชการไปเกินสามปีแล้ว และมิใช่เป็นกรณีออกจากงานหรือ
ออกจากราชการเพราะกระทาผิดในกรณีทุจริตต่อหน้าท่ี กระทรวงการคลังอาจพิจารณายกเว้น
ใหเ้ ข้ารับราชการได้
การขอยกเวน้ และการพจิ ารณายกเวน้ ในกรณที ขี่ าดคณุ สมบตั ิท่ัวไป ใหเ้ ป็นไปตามหลกั เกณฑ์
ทก่ี ระทรวงการคลังกาหนด
ผู้ท่ีเป็นลูกจ้างประจาต้องมีคุณสมบัติท่ัวไปตามวรรคหน่ึงตลอดเวลาท่ีรับราชการ
เว้นแต่คณุ สมบตั ิตาม (7) หรอื ได้รับการยกเวน้ ในกรณีทข่ี าดคุณสมบตั ิตามวรรคสอง
ขอ้ 7 คณุ สมบัตเิ ฉพาะสาหรับตาแหน่งของลูกจ้างประจาให้เป็นไปตามที่กระทรวงการคลัง
กาหนด
ในกรณีที่มีเหตุผลและความจาเป็นเพื่อประโยชน์แก่ราชการ กระทรวงการคลังอาจอนุมัติ
ให้แตง่ ต้งั ลูกจา้ งประจาท่ีมคี ณุ สมบตั ติ า่ งไปจากคณุ สมบตั เิ ฉพาะสาหรบั ตาแหน่งตามทกี่ าหนดไว้ก็ได้
ขอ้ 8 อัตราค่าจา้ งลูกจา้ งประจาให้เป็นไปตามท่กี ระทรวงการคลังกาหนด
ข้อ 9 วันเวลาทางาน วันหยุดราชการตามประเพณี วันหยุดราชการประจาปีของลูกจ้างประจา
ให้เป็นไปตามท่ีคณะรัฐมนตรีกาหนดสาหรับข้าราชการพลเรือน
การลาหยุดราชการของลูกจ้างประจา ให้นาระเบียบว่าด้วยการลาของข้าราชการ
มาใชบ้ งั คบั โดยอนโุ ลม
223 220 ูลก จางและพ ันกงกา ุลนมร ่ีทาช๓การศาล ุย ิตธรรม
ขอ 10 สวนราชการใดมีความจําเปนไมอาจปฏิบัติตามที่กําหนดไวในระเบียบนี้
ใหข อทาํ ความตกลงกบั กระทรวงการคลงั เปนราย ๆ ไป
หมวด 2
การบรรจแุ ละแตงตง้ั
ขอ 11 การบรรจุบคุ คลเขา รับราชการเปนลกู จางประจาํ เพอ่ื แตงตั้งใหดํารงตาํ แหนงใด
ใหบรรจุและแตงต้ังจากผูสอบคัดเลือกไดหรือผูไดรับคัดเลือกในตําแหนงน้ัน โดยบรรจุและแตงต้ัง
ตามลําดับท่ีในบัญชีผูสอบคัดเลือกไดหรือผูไดรับคัดเลือก เวนแตการบรรจุบุคคลเขารับราชการเปน
ลูกจา งประจําตามขอ 19 และขอ 20
หลักสูตร วธิ ีการสอบคัดเลือกหรอื คัดเลือก และวิธีดําเนินการเกีย่ วกับการสอบคัดเลือก
หรือคัดเลือก ตลอดจนเกณฑการตัดสิน การขึ้นบัญชี และการยกเลิกบัญชีผูสอบคัดเลือกไดหรือ
ผูไ ดร ับคดั เลอื ก ใหเ ปนไปตามหลกั เกณฑแ ละวธิ ีการที่กระทรวงการคลังกาํ หนด
ขอ 12 ผูสอบคัดเลือกไดหรือผูไดรับคัดเลือกซ่ึงอยูในลําดับท่ีท่ีจะไดรับบรรจุและ
แตงตัง้ ใหด ํารงตําแหนงใด ถาปรากฏวาขาดคุณสมบัติท่วั ไป โดยไมไ ดรับการยกเวน จากกระทรวงการคลัง
หรอื ขาดคุณสมบัติเฉพาะสาํ หรับตําแหนงโดยไมไดรับอนุมัติจากกระทรวงการคลังอยูกอนหรือภายหลงั
การสอบคัดเลอื ก หรือคดั เลอื กจะบรรจแุ ละแตง ต้ังใหดํารงตําแหนงนน้ั ไมไ ด
ขอ 13 การบรรจุบคุ คลเขารับราชการเปนลกู จางประจาํ และการแตง ตั้งใหดํารงตําแหนง
ใหป ลดั กระทรวงการคลัง อธิบดี หรอื ผูดํารงตําแหนง เทียบเทา ซ่งึ เปนผูบ งั คบั บัญชา หรอื ผูไดรับมอบหมาย
เปน ผมู อี าํ นาจสง่ั บรรจุและแตง ตั้ง
ขอ 14 ผูไดรับบรรจุเขารับราชการเปนลูกจางประจําและแตงต้ังใหดํารงตําแหนง
ตามขอ 11 วรรคหน่ึง ใหทดลองปฏิบัติหนาที่ราชการในตาํ แหนง ท่ไี ดรับบรรจุเปนเวลาไมตํ่ากวาหกเดือน
แตไ มเกินหนึ่งปนบั แตวนั เขาปฏบิ ัตหิ นาที่ราชการเปนตนไป โดยอยูในความดูแลของผบู ังคับบัญชาหรือ
ผทู ่ไี ดร บั มอบหมาย
การประเมินผลการทดลองปฏิบัติหนาที่ราชการ ใหเปนไปตามหลักเกณฑและวิธีการ
ท่ีกระทรวงการคลัง กําหนดการประเมินผลการทดลองปฏิบัติหนาที่ราชการใหผูมีอํานาจส่ังบรรจุ
ตามขอ 13 พิจารณาวา ผูนั้นมีความเหมาะสมท่ีจะใหรับราชการตอไปหรือไม ถาผูมีอํานาจส่ังบรรจุ
ตามขอ 13 เห็นวาผูน้ันมีผลการประเมินตํ่ากวามาตรฐานท่ีกําหนดไมควรใหรับราชการตอไป
กใ็ หสั่งใหผ ูน้ันออกจากราชการได ไมว าจะครบกําหนดเวลาทดลองปฏิบตั ิหนาท่ีราชการแลว หรือไมกต็ าม
ถาพนกําหนดเวลาทดลองปฏบิ ัติหนาท่ีราชการดงั กลา วแลว และผูมอี ํานาจส่งั บรรจุตามขอ 13 เห็นวา
ควรใหผูนนั้ รับราชการตอ ไป กใ็ หส ง่ั ใหผ นู น้ั รบั ราชการตอไป
ลูกจางประจําซ่ึงอยูในระหวางทดลองปฏิบัติหนาที่ราชการผูใด ไดรับแตงตั้ง
ใหดาํ รงตาํ แหนงอน่ื ใหเ ริ่มทดลองปฏบิ ตั ิหนา ท่รี าชการใหม
224 221
ลูกจางประจําซ่ึงอยใู นระหวา งทดลองปฏิบัติหนา ทร่ี าชการผใู ด ถูกสงั่ ใหออกจากราชการ
ตามขอ 59 และตอมาปรากฏวาผูนั้นมีกรณีที่จะตองถูกสั่งใหออกจากราชการตามวรรคสาม
หรือตามขออื่น ใหผูมีอํานาจสั่งบรรจุตามขอ 13 มีอํานาจเปลี่ยนแปลงคําสั่งใหออกตามขอ 59
เปนใหออกจากราชการตามวรรคสามหรือตามขออน่ื นน้ั ได
ลูกจางประจําผอู ยูในระหวางทดลองปฏิบัติหนาท่ีราชการผใู ด มกี รณีอันมีมูลวา กระทํา
ผิดวินัย ใหผูบังคับบัญชาดําเนินการทางวินัยตามท่ีกําหนดไวในหมวด 5 และถาผูน้ันมีกรณี
ท่จี ะตอ งออกจากราชการตามวรรคสาม ก็ใหผบู งั คับบัญชาดาํ เนินตามวรรคสามไปกอ น
ลูกจางประจําผูใดถูกสั่งใหออกจากราชการตามวรรคสามหรือวรรคหา ใหถือเสมือนวา
ผูนั้นไมเคยเปน ลกู จางประจาํ แตทั้งน้ี ไมก ระทบกระเทอื นถึงการปฏบิ ัติหนา ที่ราชการหรือการรบั คาจา ง
หรือผลประโยชนอ่ืนใดที่ไดรับ หรือมีสิทธิที่จะรับจากทางราชการในระหวางท่ีผูนั้นอยูระหวางทดลอง
ปฏบิ ตั ิหนา ทร่ี าชการ
ขอ 15 ลกู จางประจําตาํ แหนงใดจะบังคบั บัญชาลกู จางประจําในหนวยงานใด ในฐานะใด
ใหเปนไปตามท่ีผูมอี าํ นาจส่ังบรรจตุ ามขอ 13 มอบหมาย
ขอ 16 การโอนลูกจางประจาํ ไปแตง ตั้งใหด าํ รงตาํ แหนงลูกจางประจําในตา งกระทรวง
ทบวง กรม อาจทําไดเมื่อผูมีอํานาจสัง่ บรรจุตามขอ 13 ท้งั สองฝา ย ไดตกลงยนิ ยอมในการโอนนั้นแลว
โดยใหแตงตั้งใหดํารงตําแหนงในระดับและรับคาจางท่ีไมสูงกวาเดิม ทั้งน้ี ตามหลักเกณฑและวิธีการ
ที่กระทรวงการคลังกาํ หนด
ขอ 17 การแตงตั้งลูกจางประจําผูดํารงตําแหนงใดไปดํารงตําแหนงใหมในกรมหรือ
สว นราชการท่ีมฐี านะเปนกรมเดียวกนั ใหเปนไปตามหลักเกณฑแ ละวธิ กี ารที่กระทรวงการคลังกําหนด
ขอ 18 ลูกจางประจําผูใดไดรับแตงต้ังใหดํารงตําแหนงตามขอ 16 หรือขอ 17
หากภายหลังปรากฏวา เปนผูม ีคุณสมบัติไมต รงตามคณุ สมบตั ิเฉพาะสําหรับตําแหนงนั้น โดยไมไดร ับอนุมัติ
จากกระทรวงการคลงั อยกู อน ใหผ ูมีอํานาจส่ังบรรจุ ตามขอ 13 แตงตั้งใหผนู ัน้ กลบั ไปดาํ รงตาํ แหนง เดมิ
หรอื ตําแหนงอื่นโดยพลัน แตท้ังนไ้ี มกระทบกระเทือนถึงการใดที่ผูนน้ั ไดป ฏิบัติไปตามอํานาจและหนาที่
และการรับคาจางหรือผลประโยชนอ่ืนใดที่ไดรับหรือมีสิทธจิ ะไดรับจากทางราชการ ในระหวางที่ไดรับ
แตง ตงั้ ใหด าํ รงตําแหนง ท่ผี นู นั้ มีคุณสมบัตไิ มตรงตามคุณสมบัตเิ ฉพาะสาํ หรับตําแหนง
ลกู จางประจําผูใดไดรับแตงต้ังใหกลบั ไปดาํ รงตําแหนงเดิม หรือตาํ แหนง อน่ื ตามวรรคหนึ่ง
ใหไ ดรบั คาจา งตามทจ่ี ะพึงไดรับตามสภาพเดิม และใหถ ือวาผูนั้นไมมสี ถานภาพอยา งใดในการทจี่ ะไดร ับ
แตง ตง้ั ใหดาํ รงตําแหนง ทต่ี นมคี ณุ สมบัติไมตรงตามคณุ สมบัตเิ ฉพาะสําหรับตาํ แหนง น้นั
ขอ 19 ลูกจางประจําผูใดถูกสั่งใหออกจากราชการเพ่ือไปรับราชการทหาร
ตามกฎหมายวาดวยการรับราชการทหาร เม่ือผูน้ันพนจากราชการทหารโดยมิไดกระทําการใด ๆ
ในระหวางรบั ราชการทหารอันเสยี หายแกร าชการอยา งรายแรง หรอื ไดช ่ือวา เปน ผูป ระพฤตชิ ่วั อยา งรายแรง
และผูน้ันไมเปนผูขาดคุณสมบัติตามขอ 6 และไมไดเปนผูถูกเปล่ียนแปลงคําสั่งตามขอ 59 เปนให
225 220 ูลก จางและพ ันกงกา ุลนมร ่ีทาช๓การศาล ุย ิตธรรม
ออกจากราชการตามขออื่น หากประสงคจะเขารับราชการเปนลูกจางประจําในสวนราชการเดิม
ภายในกําหนดหนึ่งรอยแปดสิบวันนับแตวันพนจากราชการทหาร ใหผูมีอํานาจสั่งบรรจุตามขอ 13
สงั่ บรรจุและแตง ตง้ั ใหดาํ รงตาํ แหนง และรบั คา จางตามหลักเกณฑแ ละวิธีการท่ีกระทรวงการคลงั กาํ หนด
ลูกจางประจําผูไดรับบรรจุเขารับราชการตามวรรคหน่ึง ใหมีสิทธินับวันรับราชการ
กอนถูกสงั่ ใหอ อกจากราชการ รวมกบั วันรบั ราชการทหารตามกฎหมายวา ดวยการรับราชการทหาร และ
วันรับราชการเม่ือไดรับบรรจุกลับเขารับราชการเปนเวลาราชการติดตอกันเสมือนวาผนู ัน้ มิไดเคยถูกสงั่
ใหออกจากราชการ เวนแตลูกจางประจําผูนั้นไดขอรบั บําเหน็จภายหลังจากที่ถกู สั่งใหออกจากราชการ
เพอ่ื ไปรับราชการทหาร
ขอ 20 ลูกจางประจําผูใดออกจากราชการไปแลว และไมใ ชเปนกรณอี อกจากราชการ
ในระหวางทดลองปฏิบัติหนาที่ราชการ ถาสมัครเขารับราชการและทางราชการตองการจะรับผูน้ัน
เขารับราชการ ใหผูมีอํานาจส่ังบรรจุตามขอ 13 ส่ังบรรจุและแตงต้ังใหดํารงตําแหนงและรับคาจาง
ตามหลักเกณฑแ ละวิธกี ารทีก่ ระทรวงการคลังกําหนดได
ขอ 21 ผูไดรับการบรรจุและแตงต้ังเขารับราชการเปนลูกจางประจําตําแหนงใด
หากภายหลังปรากฏวาขาดคุณสมบัติท่ัวไปตามที่กําหนดไวในขอ 6 โดยไมไดรับการยกเวน
จากกระทรวงการคลังหรือขาดคุณสมบัติเฉพาะสําหรับตําแหนง ตามท่ีกาํ หนดไวใ นขอ 7 โดยไมไ ดรบั อนุมัติ
จากกระทรวงการคลังอยูกอนหรือมีกรณีตองหาอยูก อนและภายหลังเปนผูข าดคณุ สมบัติเน่ืองจากกรณีที่
ตองหาน้ันใหผูมีอํานาจสั่งบรรจุตามขอ 13 ส่ังใหผูน้ันออกจากราชการโดยพลัน แตทั้งน้ีไม
กระทบกระเทอื นถึงการใดท่ีผนู ั้นไดปฏบิ ตั ไิ ปตามอํานาจและหนาท่ี และการรับคา จา งหรอื ผลประโยชนอน่ื
ใดท่ีไดร บั หรือมีสิทธิจะไดรับจากทางราชการกอนมีคําสัง่ ใหออกน้ัน และถาการเขารับราชการเปนไปโดยสุจริต
แลว ใหถ ือวา เปนการสั่งใหออกเพื่อรบั บําเหนจ็ ได
หมวด 3
การเพิ่มพูนประสทิ ธภิ าพและเสริมสรางแรงจงู ใจในการปฏบิ ัติราชการ
ขอ 22 ลูกจางประจาํ ผูใดปฏิบัตติ นเหมาะสมกับการเปนลูกจา งประจํา และปฏบิ ัตริ าชการ
มีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผลในระดับอันเปนที่พึงพอใจของทางราชการ ถือวาผูน้ันมีความชอบ
จะไดร ับบาํ เหน็จความชอบซ่ึงอาจเปนคําชมเชย เคร่ืองเชิดชูเกียรติ รางวัล หรือการไดเล่ือนขั้นคาจาง
ตามควรแกกรณี
ขอ 23 การเล่ือนขั้นคา จางลูกจางประจํา ใหผูบ ังคบั บัญชาพิจารณาโดยคาํ นึงถึงคุณภาพ
และปริมาณงาน ประสทิ ธิภาพและประสทิ ธิผลของงานที่ไดปฏิบัตมิ า ความสามารถและความอุตสาหะ
ในการปฏิบัติงาน ตลอดจนการรักษาวินัยและการปฏิบัติตนเหมาะสมกับการเปนลูกจางประจํา ทั้งน้ี
ตามหลกั และวิธีการทก่ี ระทรวงการคลังกาํ หนด
226 221
การเลื่อนขั้นคาจางลูกจางประจําที่อยูในหลักเกณฑตามวรรคหนึ่ง ใหอยูในดุลพินิจ
ของผบู ังคับบัญชาท่ีจะพิจารณา
ในกรณีทไี่ มเ ลอ่ื นข้นั คาจา งประจาํ ปใ หลูกจา งประจําผใู ดใหผบู ังคับบัญชาแจง ใหผูนนั้ ทราบ
พรอ มทง้ั เหตผุ ลทีไ่ มเ ลือ่ นขน้ั คาจา งให
ขอ 24 การเลื่อนข้ันคาจางลูกจางประจํา ใหดําเนินการตามขอ 23 และใหผมู ีอํานาจ
ส่งั บรรจตุ ามขอ 13 เปน ผูส่ังเลื่อน
ขอ 25 การเลอ่ื นขน้ั คาจางใหแกลกู จางประจําซ่ึงถึงแกความตาย เนื่องจากการปฏิบัติ
หนาท่ีราชการเปนกรณีพิเศษเพื่อประโยชนในการคํานวณบําเหน็จบํานาญ ใหเปนไปตามหลักเกณฑ
และวธิ ีการที่กระทรวงการคลังกําหนด
ขอ 26 ใหผูบังคับบัญชามีหนาที่พัฒนาลูกจางประจําผูอยูใตบังคับบัญชา เพ่ือใหรู
ระเบียบแบบแผนของทางราชการ หลักและวิธีปฏิบัติราชการ บทบาทและหนาท่ีของลูกจางประจํา
แนวทางปฏิบัติตนเพ่ือเปนลูกจางประจําที่ดี และเพ่ือเพิ่มพูนความรู ทักษะ ทัศนคติที่ดี คุณธรรม
และจรยิ ธรรม อันจะทาํ ใหลูกจา งประจาํ ผอู ยใู ตบ ังคับบญั ชาปฏิบัตหิ นาท่ีราชการไดอ ยา งมปี ระสทิ ธภิ าพ
ขอ 27 ใหผูบังคับบัญชามีหนาท่ีประเมินผลการปฏิบัติราชการของลูกจางประจํา
ผอู ยใู ตบังคับบัญชา เพ่อื ใชป ระกอบการพจิ ารณาแตงต้ัง เลื่อนขัน้ คา จาง พัฒนาลูกจางประจํา และเพิม่ พูน
ประสิทธิภาพในการปฏิบัตริ าชการ และมหี นาที่เสริมสรางแรงจูงใจใหลกู จางประจําผอู ยูใ ตบังคับบัญชา
ปฏบิ ตั ติ นเหมาะสมกับการเปน ลกู จางประจาํ และปฏิบัตริ าชการมีประสิทธภิ าพและเกิดประสทิ ธผิ ล
หมวด 4
วนิ ยั และการรกั ษาวนิ ัย
ขอ 28 ลูกจา งประจําตอ งรักษาวินัยโดยเครงครดั อยูเ สมอ
ลูกจางประจําผูใดฝาฝนขอหามหรือไมปฏิบัติตามขอกําหนดทางวินัยตามท่ีกําหนดไว
ในหมวดน้ี ผนู น้ั เปนผูกระทาํ ผดิ วินัย จะตองไดร บั โทษทางวินัย เวน แตมเี หตอุ ันควรงดโทษตามท่ีกําหนดไว
ในหมวด 5
ขอ 29 ลูกจางประจําตองสนับสนุนการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย
ทรงเปนประมขุ ตามรฐั ธรรมนญู แหง ราชอาณาจักรไทยดวยความบรสิ ุทธิ์ใจ
ขอ 30 ลกู จางประจําตองปฏิบตั หิ นา ทรี่ าชการดว ยความซือ่ สัตยส จุ ริตและเท่ียงธรรม
หามมใิ หอาศัยหรือยอมใหผูอื่นอาศัยอํานาจหนาท่รี าชการของตน ไมวาจะโดยทางตรง
หรอื ทางออ มหาประโยชนใ หแ กตนเองหรือผอู นื่
227 ูลก จางและพ ันกงกา ุลนมร ่ีทาช๓การศาล ุย ิตธรรม
227 222
การปฏิบัติหรือละเว้นการปฏิบัติหน้าท่ีราชการโดยมิชอบ เพ่ือให้ตนเองหรือผู้อ่ืน
ได้ประโยชน์ทม่ี ิควรได้ เป็นการทุจริตตอ่ หนา้ ที่ราชการและเป็นความผดิ วินัยอยา่ งรา้ ยแรง
ข้อ 31 ลูกจ้างประจาต้องตั้งใจปฏิบัติหน้าที่ราชการให้เกิดผลดีหรือความก้าวหน้า
แกร่ าชการ
ข้อ 32 ลูกจา้ งประจาตอ้ งปฏบิ ตั ิหน้าทรี่ าชการดว้ ยความอตุ สาหะ เอาใจใส่ ระมดั ระวงั
รักษาประโยชนข์ องทางราชการ และตอ้ งไม่ประมาทเลนิ เล่อในหน้าทร่ี าชการ
การประมาทเลินเล่อในหน้าท่ีราชการ อันเป็นเหตุให้เสียหายแก่ราชการอย่างร้ายแรง
เปน็ ความผดิ วนิ ัยอย่างร้ายแรง
ข้อ 33 ลูกจ้างประจาต้องปฏิบัติหน้าที่ราชการให้เป็นไปตามกฎหมาย ระเบียบของ
ทางราชการ มติคณะรฐั มนตรี และนโยบายของรฐั บาลโดยไม่ใหเ้ สียหายแกร่ าชการ
การปฏิบัติหน้าท่ีราชการโดยจงใจไม่ปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบของทางราชการ
มตคิ ณะรัฐมนตรี หรือนโยบายของรฐั บาล อันเปน็ เหตใุ ห้เสียหายแกร่ าชการอยา่ งร้ายแรง เป็นความผิดวินัย
อยา่ งร้ายแรง
ข้อ 34 ลูกจ้างประจาต้องถือเป็นหน้าที่พิเศษที่จะสนใจ และรับทราบเหตุการณ์
เคลือ่ นไหว อนั อาจเปน็ ภยนั ตรายต่อประเทศชาติ และตอ้ งปอ้ งกันภยนั ตรายซ่งึ จะบังเกิดแกป่ ระเทศชาติ
จนเตม็ ความสามารถ
ข้อ 35 ลูกจา้ งประจาตอ้ งรกั ษาความลับของทางราชการ
การเปิดเผยความลับของทางราชการ อันเป็นเหตุให้เสียหายแก่ราชการอย่างร้ายแรง
เปน็ ความผิดวนิ ยั อย่างรา้ ยแรง
ข้อ 36 ลูกจ้างประจาต้องปฏิบัติตามคาส่ังของผู้บังคับบัญชาซ่ึงสั่งในหน้าท่ีราชการ
โดยชอบด้วยกฎหมายและระเบียบของทางราชการโดยไม่ขัดขืนหรือหลีกเลี่ยง แต่ถ้าเห็นว่าการปฏิบัติ
ตามคาสั่งน้ันจะทาให้เสียหายแก่ราชการ หรือจะเป็นการไม่รักษาประโยชน์ของทางราชการจะเสนอ
ความเห็นเป็นหนังสือทันที เพ่ือให้ผู้บังคับบัญชาทบทวนคาสั่งนั้นก็ได้ และเมื่อได้เสนอความเห็นแล้ว
ถา้ ผบู้ งั คับบัญชายืนยนั ให้ปฏบิ ัตหิ น้าทีต่ ามคาสงั่ เดิม ลูกจา้ งประจาผ้อู ยใู่ ต้บังคับบญั ชาต้องปฏิบตั ิตาม
การขัดคาส่ัง หรอื หลีกเลย่ี ง ไมป่ ฏบิ ัตติ ามคาสง่ั ของผู้บังคบั บญั ชาซง่ึ สั่งในหนา้ ทรี่ าชการ
โดยชอบด้วย กฎหมายและระเบียบของทางราชการ อันเป็นเหตุให้เสียหายแก่ราชการอย่างร้ายแรง
เป็นความผิดวินยั อยา่ งร้ายแรง
ขอ้ 37 ลกู จา้ งประจาตอ้ งปฏิบัติราชการโดยมิใหเ้ ป็นการกระทาการข้ามผบู้ ังคบั บัญชา
เหนือตน เว้นแต่ผู้บงั คับบญั ชาเหนอื ข้นึ ไปเป็นผูส้ ั่งให้กระทาหรอื ไดร้ บั อนุญาตเป็นพเิ ศษชั่วคร้งั คราว
228 223
ขอ 38 ลกู จา งประจําตองไมร ายงานเทจ็ ตอ ผบู ังคับบญั ชา การรายงานโดยปกปด ขอความ
ซึง่ ควรตองแจงถอื วาเปน การรายงานเทจ็ ดวย
การรายงานเท็จตอผูบังคับบัญชา อันเปนเหตุใหเสียหายแกราชการอยางรายแรง
เปน ความผิดวินัยอยางรา ยแรง
ขอ 39 ลูกจางประจําตองถือและปฏิบัติตามระเบียบ และแบบธรรมเนียมของ
ทางราชการและใหนําจรรยาบรรณของขาราชการพลเรือนท่ีกําหนดไว ตามกฎหมายวาดวยระเบียบ
ขาราชการพลเรอื นมาใชบ ังคับแกล กู จา งประจาํ โดยอนุโลม
ขอ 40 ลูกจางประจําตองอุทิศเวลาของตนใหแกราชการ จะละทิ้งหรือทอดท้ิง
หนาที่ราชการมิได การละท้ิงหรือทอดทิ้งหนาที่ราชการโดยไมมีเหตุผลอันสมควร เปนเหตุใหเสียหาย
แกราชการอยางรายแรง หรือละท้ิงหนาที่ราชการติดตอในคราวเดียวกันเปนเวลาเกินกวาสิบหาวัน
โดยไมมีเหตุผลอันสมควร หรือโดยมีพฤติการณอันแสดงถึงความจงใจไมปฏิบัติตามระเบียบของ
ทางราชการ เปนความผิดวินยั อยางรายแรง
ขอ 41 ลูกจางประจําตองสุภาพเรียบรอย รักษาความสามัคคี และไมกระทําการอยางใด
ท่ีเปนการกลั่นแกลง และตองชวยเหลือกันในการปฏิบัติราชการระหวางลูกจางประจําดวยกันและ
ผูรว มปฏบิ ตั ริ าชการ
ขอ 42 ลูกจางประจําตองตอนรับ ใหความสะดวก ใหความเปนธรรมและใหการ
สงเคราะหแ กป ระชาชนผตู ิดตอราชการเกีย่ วกับหนาทีข่ องตนโดยไมชักชา และดว ยความสภุ าพเรียบรอ ย
หา มมใิ หด ูหมิ่น เหยยี ดหยาม กดขี่ หรือขมเหงประชาชนผตู ิดตอราชการ
การดูหมิ่น เหยียดหยาม กดขี่ หรือขมเหงประชาชนผูติดตอราชการอยางรายแรง
เปน ความผิดวินยั อยางรายแรง
ขอ 43 ลูกจางประจําตองไมกระทําการหรือยอมใหผูอ่ืนกระทําการหาผลประโยชน
อันอาจทําใหเสียความเที่ยงธรรม หรือเสอื่ มเสียเกียรตศิ กั ด์ขิ องตําแหนง หนา ทรี่ าชการของตน
ขอ 44 ลูกจางประจําตองไมเปนกรรมการผจู ัดการหรือผูจัดการหรือดํารงตําแหนงอื่นใด
ทม่ี ีลกั ษณะงานคลา ยคลงึ กันนนั้ ในหา งหุน สว นหรอื บรษิ ทั
ขอ 45 ลูกจางประจําตองวางตนเปนกลางทางการเมืองในการปฏิบัติหนาท่ีราชการ
และในการปฏิบัติการอ่ืนทเ่ี ก่ียวขอ งกับประชาชน กับจะตองปฏบิ ัตติ ามระเบียบของทางราชการวาดวย
มารยาททางการเมืองของขา ราชการดวยโดยอนุโลม
ขอ 46 ลูกจางประจําตองรักษาชื่อเสียงของตน และรักษาเกียรติศักด์ิของตําแหนง
หนา ที่ราชการของตนมิใหเ ส่ือมเสยี โดยไมประทําการใด ๆ อนั ไดชอื่ วา เปนผูประพฤติช่ัว
229 ูลก จางและพ ันกงกา ุลนมร ่ีทาช๓การศาล ุย ิตธรรม
229 224
การกระทาความผิดอาญาจนไดร้ บั โทษจาคกุ หรือโทษท่ีหนกั กว่าจาคุกโดยคาพพิ ากษาถึงทสี่ ุด
ให้จาคุกหรือได้รับโทษท่ีหนักกว่าจาคุก เว้นแต่เป็นโทษสาหรับความผิดท่ีได้กระทาโดยประมาท หรือ
ความผดิ ลหุโทษ หรือกระทาการอ่นื ใดอนั ได้ชื่อว่าเป็นผู้ประพฤติช่วั อยา่ งร้ายแรง เปน็ ความผิดวินยั อย่างร้ายแรง
ข้อ 47 ให้ผู้บังคับบญั ชามีหน้าที่เสริมสรา้ งและพัฒนาให้ลกู จ้างประจาผู้อย่ใู ต้บังคบั บญั ชา
มีวินัยและป้องกันมิให้ลูกจ้างประจาผู้อยู่ใต้บังคับบัญชากระทาผิดวินัย และดาเนินการทางวินัย
แก่ลกู จา้ งประจาผูอ้ ยูใ่ ต้บังคับบัญชาซ่ึงมกี รณอี นั มีมลู ว่ากระทาผิดวนิ ยั
การเสริมสร้างและพฒั นาใหล้ กู จ้างประจาผู้อย่ใู ต้บังคบั บัญชามวี นิ ยั ใหก้ ระทาโดยการปฏบิ ัตติ น
เปน็ แบบอยา่ งที่ดี การฝึกอบรม การสร้างขวัญและกาลังใจ การจูงใจหรือการอน่ื ใดในอันท่ีจะเสรมิ สรา้ ง
และพฒั นาทศั นคติ จิตสานึก และพฤติกรรมของลูกจ้างประจาผูอ้ ยู่ใต้บังคับบญั ชาใหเ้ ป็นไปในทางทีม่ ีวนิ ยั
การป้องกันมิใหล้ ูกจ้างประจาผูอ้ ยู่ใต้บงั คับบัญชากระทาผิดวินัย ให้กระทาโดยการเอาใจใส่
สงั เกตการณ์ และขจดั เหตทุ ี่อาจก่อให้เกดิ การกระทาผิดวินยั ในเร่ืองอันอยใู่ นวิสยั ท่จี ะดาเนินการป้องกัน
ตามควรแก่กรณไี ด้
เมื่อมีการกล่าวหาโดยปรากฏตัวผู้กล่าวหา หรือมีกรณีเป็นท่ีสงสัยว่าลูกจ้างประจาผู้ใด
กระทาผดิ วินัยโดยยงั ไม่มีพยานหลักฐาน ใหผ้ ู้บังคับบญั ชารีบดาเนินการสืบสวนหรือพิจารณาในเบื้องต้น
วา่ มมี ลู หรอื ไม่ ถ้าเหน็ ว่ากรณไี ม่มีมูลก็ใหย้ ตุ เิ รือ่ งได้ ถา้ เหน็ ว่ากรณมี ีมลู ก็ใหด้ าเนนิ การทางวนิ ัยทนั ที
ผู้บงั คับบัญชาผ้ใู ดละเลยไม่ปฏบิ ตั ิหนา้ ท่ตี ามหมวดนีห้ รอื ปฏิบัตหิ นา้ ท่ดี ังกลา่ วโดยไม่สจุ ริต
ใหถ้ อื ว่าผู้นนั้ กระทาผิดวนิ ยั
ข้อ 48 โทษทางวนิ ัยมี 5 สถาน คอื
(1) ภาคทณั ฑ์
(2) ตัดค่าจา้ ง
(3) ลดขั้นคา่ จ้าง
(4) ปลดออก
(5) ไล่ออก
ขอ้ 49 การลงโทษลูกจ้างประจาใหท้ าเป็นคาสงั่ ผูส้ ่ังลงโทษต้องสงั่ ลงโทษใหเ้ หมาะสม
กับความผิดและมิให้เป็นไปโดยความพยาบาท โดยอคติ หรือโดยโสทะจริต หรือลงโทษผู้ไม่มีความผิด
ในคาสั่งลงโทษให้แสดงว่า ผถู้ กู ลงโทษได้กระทาผิดวินยั ในการกรณีใดตามข้อใด
หมวด 5
การดาเนนิ การทางวนิ ยั
ข้อ 50 การดาเนินการทางวินัยแก่ลูกจ้างประจาซ่ึงมีกรณีอันมีมูลว่ากระทาผิดวินัย
ใหส้ อบสวนเพื่อให้ไดค้ วามจรงิ และยุติธรรมโดยไม่ชักช้า
230 225
การดําเนินการตามวรรคหนึ่ง ถาเปนกรณีกลาวหาวากระทําผิดวินัยอยางไมรายแรง
ใหดําเนินการตามวธิ กี ารที่ผูบ ังคับบัญชาเห็นสมควร ถาเปนกรณีกลาวหาวากระทาํ ผิดวินยั อยางรา ยแรง
ใหแตงตั้งคณะกรรมการขึ้นทําการสอบสวน และในการสอบสวนน้ีตองแจงขอกลาวหาและ
สรุปพยานหลักฐานทส่ี นับสนุนขอ กลา วหาเทาทีม่ ี ใหผ ูถกู กลาวหาทราบโดยจะระบุหรือไมร ะบุพยานก็ได
ทั้งนี้ เพื่อใหผูถูกกลาวหาช้ีแจงและนําสืบแกขอกลาวหาเมื่อดําเนินการแลวถาฟงไดวาผูถูกกลาวหา
ไดกระทําผิดวินัยก็ใหดําเนินการตามขอ 51 หรือขอ 52 แลวแตกรณี ถายังฟงไมไดวาผูถูกกลาวหา
กระทาํ ผิดวนิ ัยจงึ จะยุติเรอ่ื งได
การแตงตั้งคณะกรรมการสอบสวนตามวรรคสอง ใหผูมีอํานาจส่ังบรรจุตามขอ 13
เปน ผสู ่ังแตงตงั้ หลกั เกณฑและวธิ กี ารเกย่ี วกับการสอบสวนพิจารณา เพือ่ ใหไ ดค วามจรงิ และยุตธิ รรมและ
อํานาจและหนาท่ีของคณะกรรมการสอบสวนใหเปนไปตามท่ีกําหนดไวในกฎหมายวาดวยระเบียบ
ขา ราชการพลเรือนโดยอนโุ ลม
ขอ 51 ลูกจางประจําผูใดกระทําผิดวินัยอยางไมรายแรง ใหผูบังคับบัญชาส่ังลงโทษ
ภาคทัณฑ ตัดคาจาง หรอื ลดคาจางตามควรแกกรณี ใหเหมาะสมกับความผิด ถามีเหตุอันควรลดหยอน
จะนํามาประกอบการพิจารณาลดโทษก็ได แตส าํ หรับการลงโทษภาคทัณฑ ใหใชเ ฉพาะกรณีกระทําผิดวนิ ยั
เล็กนอย หรือมีเหตุอันควรลดหยอน ซึง่ ยังไมถ ึงกับจะตองถูกลงโทษตัดคาจาง ถาผบู ังคับบัญชาเห็นวา
ผูนน้ั ควรจะตอ งไดรบั โทษสงู กวาที่ตนมีอํานาจสง่ั ลงโทษ ใหรายงานตอ ผูบงั คับบญั ชาของผูนน้ั ที่มอี ํานาจ
เพ่อื ใหพจิ ารณาดําเนินการเพอ่ื ลงโทษตามควรแกกรณี
ในกรณีกระทาํ ผิดวนิ ัยเลก็ นอยและมเี หตุผลอันควรงดโทษ จะงดโทษใหโดยวากลาวตกั เตือน
หรอื ใหท ําทณั ฑบนเปน หนังสือไวกอ นก็ได
การลงโทษตามขอ น้ี ผูบงั คับบัญชาใดจะมอี าํ นาจสง่ั ลงโทษลกู จา งประจําผอู ยูใ ตบ งั คบั บญั ชา
ในสถานโทษและอตั ราโทษใดไดเพียงใด ใหเปน ไปตามที่กระทรวงการคลังกําหนด
ขอ 52 ลูกจางประจําผูใดกระทําผิดวินัยอยางรายแรง ใหผูมีอํานาจส่ังบรรจุตามขอ 13
สัง่ ลงโทษปลดออกหรือไลอ อกตามความรา ยแรงแหง กรณี ในกรณที สี่ ่งั ลงโทษไลออก ถา มเี หตอุ ันควรลดหยอ น
จะนาํ มาประกอบการพจิ ารณาลดโทษกไ็ ด แตห ามมิใหล ดโทษต่าํ กวา ปลดออก
ผูถูกส่ังลงโทษปลดออกตามวรรคหน่ึง ใหมีสิทธิไดรับบําเหน็จเสมือนวาผูนั้นลาออก
จากราชการ
ขอ 53 ลูกจา งประจาํ ผูใดกระทาํ ผดิ วนิ ยั อยา งรายแรง และเปน กรณคี วามผิดที่ปรากฏชดั แจง
ตามที่กําหนดในกฎหมายวาดวยระเบียบขาราชการพลเรือน ผูมีอํานาจส่ังบรรจุตามขอ 13 จะดําเนินการ
ตามขอ 52 โดยไมส อบสวนก็ได
ขอ 54 ลูกจางประจาํ ผใู ดมีกรณีถูกกลาวหาวา กระทําหรอื ละเวนกระทาํ การใดทพ่ี งึ เหน็ ไดว า
เปน ความผดิ วนิ ัยอยางรายแรง และเปนการกลาวหาเปนหนังสือตอผูบ ังคับบัญชาของผนู นั้ หรือตอ ผมู ีหนาท่ี
สบื สวนสอบสวนหรอื ตรวจสอบตามกฎหมายหรอื ระเบียบของทางราชการ หรอื เปน การกลาวหาเปนหนังสือ
โดยผูบังคับบัญชาของผูนั้น หรือมีกรณีถูกฟองคดีอาญา หรือตองหาวากระทําความผิดอาญา เวนแต
231 226 ูลก จางและพ ันกงกา ุลนมร ่ีทาช๓การศาล ุย ิตธรรม
ความผิดท่ีไดกระทําโดยประมาทท่ีไมเกี่ยวกบั ราชการหรือความผิดลหุโทษ แมภ ายหลงั ผูนัน้ จะออกจาก
ราชการไปแลว เวนแตออกจากราชการเพราะตาย ผูมีอํานาจส่ังบรรจุตามขอ 13 มีอํานาจดําเนินการ
สืบสวนหรือพิจารณาตามขอ 50 และดําเนินการทางวินัยตามที่กําหนดไวในหมวดนี้ตอไปไดเสมือนวา
ผูน้ันยังมิไดออกจากราชการ เวนแตกรณีที่ผลการสอบสวนพิจารณาปรากฏวาผูน้ันกระทําผิดวินัย
ท่จี ะตองลงโทษภาคทัณฑ ตัดคา จา ง หรือลดข้นั คาจาง ก็ใหง ดโทษเสียได
ขอ 55 ลูกจางประจําผูใดมีกรณีถูกกลาวหาวากระทําผิดวินัยอยา งรา ยแรง จนถูกตั้ง
คณะกรรมการสอบสวน หรอื ถกู ฟองคดีอาญา หรอื ตองหาวากระทําความผิดอาญา เวน แตเ ปน ความผิด
ท่ีไดกระทําโดยประมาทหรือความผิดลหุโทษ ผูมีอํานาจส่ังบรรจุตามขอ 13 มีอํานาจส่ังพักราชการ
หรือสั่งใหออกจากราชการไวกอน เพ่ือรอฟงผลการสอบสวนพิจารณาได แตถาภายหลังปรากฏ
ผลการสอบสวนพิจารณาวาผูนั้นมิไดกระทําผิดหรือกระทําผิดไมถึงกับจะตองถูกลงโทษปลดออกหรือ
ไลออก และไมมีกรณีที่จะตองออกจากราชการดวยเหตุอื่น ก็ใหผูมีอํานาจส่ังบรรจุตามขอ 13
ส่ังใหผูน้ันกลับเขารับราชการในตําแหนงเดิมหรือตําแหนงท่ีไมสูงกวาเดิมที่ผูน้ันมีคุณสมบัติตรงตาม
คุณสมบตั ิเฉพาะสําหรับตําแหนง นน้ั
เมอื่ ไดมีการส่งั ใหลูกจางประจาํ ผใู ดพกั ราชการหรอื ออกจากราชการไวกอนตามวรรคหน่งึ แลว
ภายหลังปรากฏวาผูนั้นมีกรณถี ูกกลา วหาวากระทําผิดวินยั อยางรายแรงในกรณีอื่นอีก ผูมีอํานาจสัง่ บรรจุ
ตามขอ 13 มีอาํ นาจดําเนินการสืบสวนหรอื ดําเนินการทางวินยั ตามท่กี ําหนดไวในระเบยี บน้ี
ในกรณที ส่ี ่งั ใหผ ูถูกส่ังใหออกจากราชการไวก อนกลบั เขารับราชการ หรือสั่งใหผถู ูกสัง่ ให
ออกจากราชการไวกอนออกจากราชการดวยเหตุอื่นท่ีมิใชเปนการลงโทษเพราะกระทําผิดวินัยอยา งรายแรง
ก็ใหผูน้ันมีสถานภาพเปนลูกจางประจําตลอดระยะเวลาระหวางวันท่ีถูกสั่งใหออกจากราชการไวกอน
เสมอื นวา ผูน้นั เปนผถู ูกสงั่ พักราชการ
คาจาง เงนิ อื่นท่ีจายเปนรายเดือนและเงินชวยเหลืออยางอ่ืน และการจายเงินดังกลาว
ของผูถกู ส่ังพกั ราชการและผถู กู สงั่ ใหออกจากราชการไวก อน ใหเปน ไปตามกฎหมายหรอื ระเบียบวา ดวยการนน้ั
สําหรับผูถูกส่ังใหออกจากราชการไวกอนถาไมมีกฎหมายหรือระเบียบดังกลาว ใหถือเสมือนวาผูนั้น
เปนผถู ูกส่งั พกั ราชการ
หลกั เกณฑและวิธกี ารเก่ียวกบั การส่ังพักราชการ การส่งั ใหอ อกจากราชการไวก อน ระยะเวลา
ใหพักราชการและใหออกจากราชการไวกอน และการดาํ เนินการเพ่ือใหเปนไปตามผลการสอบสวนพิจารณา
ใหเปนไปตามทก่ี ําหนดไวในกฎหมายวา ดว ยระเบียบขา ราชการพลเรอื นโดยอนุโลม
ขอ 56 การลงโทษลกู จางประจาํ ในสวนราชการที่มกี ฎหมาย ระเบียบ หรอื ขอบังคบั วา ดวย
วนิ ยั โดยเฉพาะ จะลงโทษตามระเบียบนี้ หรือลงทณั ฑ หรอื ลงโทษตามกฎหมาย หรือระเบียบ หรอื ขอบังคับ
วาดวยวนิ ัยนนั้ อยา งใดอยา งหนงึ่ ตามควรแกก รณแี ละพฤติการณก ็ได แตถาเปน การกระทาํ ผดิ วนิ ัยอยา งรายแรง
ตามระเบียบน้ี กใ็ หผูมีอํานาจสง่ั บรรจุตามขอ 13 พิจารณาดาํ เนินการตามทก่ี ําหนดไวใ นระเบยี บน้ี