The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by daidomon63, 2021-10-26 22:57:34

รวมระเบียบกศ

รวมระเบียบกศ

378 367

378

หมวด 3
การสรรหา การบรรจุ และการแตง่ ตัง้

มาตรา 52 การสรรหาเพื่อให้ได้บุคคลมาบรรจุเขา้ รับราชการเป็นข้าราชการพลเรอื นสามญั
และแต่งต้ังให้ดารงตาแหน่ง ต้องเป็นไปตามระบบคุณธรรมและคานึงถึงพฤติกรรมทางจริยธรรมของ
บุคคลดังกล่าว ตลอดจนประโยชน์ของทางราชการ ทงั้ น้ี ตามทก่ี าหนดในหมวดน้ี

มาตรา 53 การบรรจุบุคคลเข้ารับราชการเป็นข้าราชการพลเรือนสามัญเพ่ือแต่งตั้ง
ให้ดารงตาแหน่งใด ให้บรรจุและแต่งตั้งจากผู้สอบแข่งขันได้ในตาแหน่งนั้น โดยบรรจุและแต่งตั้ง
ตามลาดบั ทีใ่ นบัญชีผูส้ อบแขง่ ขนั ได้

การสอบแข่งขัน การข้นึ บัญชีผู้สอบแข่งขันได้ และรายละเอยี ดเกี่ยวกับการสอบแข่งขัน
ให้เปน็ ไปตามหลกั เกณฑ์ วธิ กี าร และเงอื่ นไขท่ี ก.พ. กาหนด

ความในวรรคหน่ึงไม่ใช้บังคับกับการบรรจุบุคคลเข้ารับราชการตามมาตรา 55 มาตรา 56
มาตรา 63 มาตรา 64 และมาตรา 65

มาตรา 54 ผู้สมัครสอบแข่งขันในตาแหน่งใด ต้องมีคุณสมบัติทั่วไปและไม่มีลักษณะ
ต้องห้าม หรือได้รับการยกเว้นในกรณีที่มีลักษณะต้องห้ามตามมาตรา 36 และต้องมีคุณสมบัติเฉพาะ
สาหรบั ตาแหน่งหรือไดร้ บั อนุมัตจิ าก ก.พ. ตามมาตรา 62 ดว้ ย

สาหรับผู้มีลักษณะต้องห้ามตามมาตรา 36 ข. (1) ให้มีสิทธิสมัครสอบแข่งขันได้แต่จะ
มีสิทธิได้รับบรรจุเป็นข้าราชการพลเรือนสามัญท่ีสอบแข่งขันได้ต่อเมื่อพ้นจากการเป็นผู้ดารงตาแหน่ง
ทางการเมืองแล้ว

มาตรา 55 ในกรณีที่มีเหตุพิเศษ ผู้บังคับบัญชาซึ่งมีอานาจสั่งบรรจุตามมาตรา 57
อาจคัดเลือกบรรจุบุคคลเข้ารับราชการและแต่งตั้งให้ดารงตาแหน่งโดยไม่ต้องดาเนินการสอบแข่งขัน
ตามมาตรา 53 ก็ได้ ทง้ั น้ี ตามหลักเกณฑ์ วิธกี าร และเงอื่ นไขท่ี ก.พ. กาหนด

มาตรา 56 กระทรวงหรือกรมใดมีเหตุผลและความจาเป็นอย่างย่ิง จะบรรจุบุคคลท่ีมี
ความรู้ความสามารถ และความชานาญงานสูง เข้ารับราชการและแต่งต้ังให้ดารงตาแหน่งประเภท
วิชาการ ระดับชานาญการ ชานาญการพิเศษ เชี่ยวชาญ หรือทรงคุณวุฒิ หรือตาแหน่งประเภททั่วไป
ระดับทักษะพิเศษก็ได้ ท้งั นี้ ตามหลกั เกณฑ์ วธิ กี าร และเงอื่ นไขที่ ก.พ. กาหนด

มาตรา 57การบรรจบุ ุคคลเข้ารับราชการเป็นขา้ ราชการพลเรือนสามญั และการแต่งตั้งให้
ดารงตาแหน่งตามมาตรา 53 มาตรา 55 มาตรา 56 มาตรา 63 มาตรา 64 มาตรา 65 และมาตรา 66
ให้ผู้มอี านาจดังตอ่ ไปน้ี เปน็ ผูส้ ง่ั บรรจแุ ละแต่งตง้ั

(1) การบรรจุและแต่งต้ังให้ดารงตาแหน่งประเภทบริหารระดับสูงตาแหน่งหัวหน้า
ส่วนราชการระดับกระทรวง หัวหน้าส่วนราชการระดับกรมที่อยู่ในบังคับบัญชาหรือรับผิดชอบ

379 การ ำด�เ ินนกาแรละทกาางรวิ ่สันกงยเลุสมกริ่ทีามร๕จุอ ิรทยธธรรณ์รมการ ้รอง ุทกข์

379 368
การปฏิบัติราชการข้ึนตรงต่อนายกรัฐมนตรีหรือต่อรัฐมนตรี แล้วแต่กรณี ให้รัฐมนตรีเจ้าสังกัดนาเสนอ
คณะรฐั มนตรีเพ่อื พิจารณาอนุมัติ เมื่อได้รับอนุมัติจากคณะรัฐมนตรีแล้ว ให้รฐั มนตรเี จ้าสังกัดเปน็ ผู้ส่ังบรรจุ
และให้นายกรัฐมนตรีนาความกราบบังคมทูลเพอื่ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ แตง่ ตง้ั

(2) การบรรจุและแต่งตั้งให้ดารงตาแหน่งประเภทบริหารระดับสูงตาแหน่งรองหัวหน้า
ส่วนราชการระดับกระทรวง หัวหน้าส่วนราชการระดับกรม รองหัวหน้าส่วนราชการระดับกรมที่อยู่ใน
บังคบั บัญชาหรอื รับผดิ ชอบการปฏิบัติราชการขน้ึ ตรงตอ่ นายกรัฐมนตรหี รอื ตอ่ รฐั มนตรี แล้วแตก่ รณี หรือ
ตาแหน่งอื่นที่ ก.พ. กาหนดเป็นตาแหน่งประเภทบริหารระดับสูง ให้ปลัดกระทรวงผู้บังคับบัญชา หรือ
หั ว ห น้ า ส่ ว น ร าช ก าร ร ะ ดั บ ก ร ม ที่ อ ยู่ ใน บั งคั บ บั ญ ช า ห รื อ รั บ ผิ ด ช อ บ ก า รป ฏิ บั ติ รา ช ก า ร ขึ้ น ต ร ง
ต่อนายกรัฐมนตรีหรือต่อรัฐมนตรี แล้วแต่กรณี เสนอรัฐมนตรีเจ้าสังกัดเพ่ือนาเสนอคณะรัฐมนตรี
พิจารณาอนุมัติ เมื่อได้รับอนุมัติจากคณะรัฐมนตรีแล้ว ให้ปลัดกระทรวงผู้บังคับบัญชา หรือหัวหน้า
ส่วนราชการระดับกรมดังกล่าวเป็นผู้สั่งบรรจุ และให้นายกรัฐมนตรีนาความกราบบังคมทูลเพื่อ
ทรงพระกรุณาโปรดเกลา้ ฯ แต่งต้ัง

(3) การบรรจุและแต่งต้ังให้ดารงตาแหน่งประเภทบริหารระดับต้น ให้ปลัดกระทรวง
ผู้บังคับบัญชา หรือหัวหน้าส่วนราชการระดับกรมที่อยู่ในบงั คบั บัญชาหรือรับผิดชอบการปฏิบตั ิราชการ
ข้ึนตรงตอ่ นายกรฐั มนตรีหรือตอ่ รัฐมนตรี แลว้ แต่กรณี เปน็ ผู้มีอานาจสั่งบรรจแุ ละแต่งตงั้

(4) การบรรจุและแต่งตั้งให้ดารงตาแหน่งประเภทอานวยการ ประเภทวิชาการ
ระดบั ปฏบิ ัติการ ชานาญการ ชานาญการพิเศษ และเช่ียวชาญ และประเภททวั่ ไปในสานักงานรัฐมนตรี
ให้รฐั มนตรีเจา้ สังกัดเปน็ ผมู้ ีอานาจส่งั บรรจุและแตง่ ต้งั

(5) การบรรจุและแต่งต้ังให้ดารงตาแหน่งประเภทอานวยการระดับสูง ให้ปลัดกระทรวง
ผบู้ ังคับบัญชา หรือหัวหน้าสว่ นราชการระดับกรมที่อยู่ในบังคับบัญชาหรือรับผิดชอบการปฏิบตั ิราชการ
ขึ้นตรงตอ่ นายกรัฐมนตรหี รอื ตอ่ รัฐมนตรี แลว้ แต่กรณี เป็นผ้มู อี านาจสง่ั บรรจแุ ละแตง่ ตงั้

(6) การบรรจุและแต่งตั้งให้ดารงตาแหน่งประเภทอานวยการระดับต้น ให้อธิบดี
ผู้บังคับบัญชาเป็นผู้มีอานาจส่ังบรรจุและแต่งต้ังเมื่อได้รับความเห็นชอบจากปลัดกระทรวง ส่วนการบรรจุ
และแต่งตัง้ ให้ดารงตาแหน่งประเภทอานวยการระดับต้นในส่วนราชการระดับกรมท่ีหัวหน้าส่วนราชการ
อยใู่ นบังคับบัญชาหรือรับผดิ ชอบการปฏิบัตริ าชการขน้ึ ตรงตอ่ นายกรฐั มนตรี หรือต่อรัฐมนตรี แลว้ แตก่ รณี
ใหอ้ ธิบดีผู้บังคับบญั ชา เปน็ ผมู้ ีอานาจสงั่ บรรจแุ ละแต่งตง้ั

(7) การบรรจุและแต่งต้ังใหด้ ารงตาแหน่งประเภทวิชาการระดับทรงคณุ วฒุ ิ ใหร้ ฐั มนตรี
เจ้าสังกัดนาเสนอคณะรัฐมนตรีเพื่อพิจารณาอนุมัติ เมื่อได้รับอนุมัติจากคณะรัฐมนตรีแล้ว ให้รัฐมนตรี
เจ้าสงั กดั เป็นผ้สู ั่งบรรจุ และให้นายกรฐั มนตรนี าความกราบบงั คมทูลเพ่อื ทรงพระกรณุ าโปรดเกลา้ ฯ แตง่ ตั้ง

(8) การบรรจแุ ละแต่งตั้งใหด้ ารงตาแหน่งประเภทวิชาการระดับเชี่ยวชาญ ให้ปลัดกระทรวง
หรือหัวหน้าส่วนราชการระดับกรมท่ีอยู่ในบังคับบัญชาหรือรับผิดชอบการปฏิบัติราชการขึ้นตรงต่อ
นายกรัฐมนตรหี รือตอ่ รฐั มนตรี แลว้ แต่กรณี เปน็ ผู้มีอานาจส่งั บรรจแุ ละแต่งตง้ั

(9) การบรรจุและแต่งตั้งให้ดารงตาแหน่งประเภทวิชาการระดับชานาญการพิเศษ
และตาแหนง่ ประเภทท่วั ไประดับทักษะพเิ ศษ ใหอ้ ธิบดีผู้บังคับบัญชา เป็นผูม้ ีอานาจส่ังบรรจแุ ละแต่งต้ัง
เม่ือได้รับความเห็นชอบจากปลัดกระทรวง ส่วนการบรรจุและแต่งต้ังให้ดารงตาแหน่งประเภทวิชาการ
ระดับชานาญการพิเศษ และตาแหน่งประเภทท่ัวไประดับทักษะพิเศษในส่วนราชการระดับกรม

380 369
ทห่ี ัวหนาสวนราชการอยูในบังคับบัญชาหรือรับผิดชอบการปฏิบัติราชการขึ้นตรงตอนายกรัฐมนตรีหรือ
ตอ รฐั มนตรี แลวแตก รณี ใหอ ธบิ ดผี ูบ งั คบั บัญชา เปนผูมอี ํานาจสงั่ บรรจแุ ละแตงตัง้

(10) การบรรจุและแตงตั้งใหดํารงตําแหนงประเภทวิชาการ ระดับปฏิบัตกิ าร ชํานาญการ
ตําแหนงประเภทท่ัวไประดับปฏิบัติงาน ชํานาญงาน และอาวุโส ใหอธิบดีผูบังคับบัญชา หรือผูซ่ึง
ไดรับมอบหมายจากอธบิ ดผี ูบังคับบัญชา เปน ผมู อี ํานาจสงั่ บรรจแุ ละแตงตง้ั

(11) การบรรจุและแตงตั้งตามมาตรา 53 และการยายตามมาตรา 63 ใหดํารงตําแหนง
ตาม (9) ซ่ึงไมใชตําแหนงประเภททั่วไประดับทักษะพิเศษ และตําแหนงตาม (10) ในราชการบริหาร
สว นภมู ภิ าค ใหผวู า ราชการจงั หวดั ผูบงั คับบัญชา เปน ผมู อี าํ นาจสง่ั บรรจแุ ละแตง ตั้ง

ในการเสนอเพ่ือแตงตั้งขาราชการพลเรือนสามัญใหดํารงตําแหนง ใหรายงานความสมควร
พรอ มทงั้ เหตผุ ล ตามหลกั เกณฑแ ละวิธกี ารท่ี ก.พ. กาํ หนดไปดวย

มาตรา 58 ขาราชการพลเรือนสามัญผูดํารงตําแหนงประเภทบริหารผูใดปฏิบัติหนาที่
เดียวติดตอกันเปนเวลาครบส่ีป ใหผูบังคับบัญชาซึ่งมีอํานาจสั่งบรรจุตามมาตรา 57 ดําเนินการใหมี
การสับเปลยี่ นหนาที่ ยาย หรือโอนไปปฏิบัติหนาที่อื่น เวนแตมีความจําเปนเพ่ือประโยชนของทางราชการ
จะขออนุมัติคณะรัฐมนตรใี หคงอยูปฏบิ ตั ิหนาทเี่ ดิมตอไปเปนเวลาไมเกินสองปก็ได ท้ังน้ี ตามหลักเกณฑ
และวธิ กี ารที่ ก.พ. กําหนด

ความในวรรคหน่ึงไมใหใชบังคับแกผูดํารงตําแหนงที่ ก.พ. กําหนดวาเปนตําแหนง
ที่มลี ักษณะงานเฉพาะอยา ง

มาตรา 59 ผูไดรับบรรจุและแตงต้ังตามมาตรา 53 วรรคหนึ่ง หรือมาตรา 55
ใหทดลองปฏิบัติหนาท่ีราชการและใหไดรับการพัฒนาเพื่อใหรูระเบียบแบบแผนของทางราชการ
และเปนขาราชการที่ดีตามทกี่ ําหนดในกฎ ก.พ.

ผูทดลองปฏิบัติหนาท่ีราชการตามวรรคหน่ึงผูใดมีผลการประเมินทดลองปฏิบัติ
หนาท่ีราชการตามท่ีกําหนดในกฎ ก.พ. ไมต่ํากวามาตรฐานที่กําหนด ใหผูบังคับบัญชาซึ่งมีอํานาจ
ส่ังบรรจุตามมาตรา 57 ส่ังใหผูนั้นรับราชการตอไป ถาผูนั้นมีผลการประเมินทดลองปฏิบัติ
หนาที่ราชการตํ่ากวามาตรฐานที่กําหนด ก็ใหสั่งใหผูน้ันออกจากราชการไดไมวาจะครบกําหนด
เวลาทดลองปฏิบัติหนาท่รี าชการแลวหรอื ไมกต็ าม

ผูใดถูกสั่งใหออกจากราชการตามวรรคสอง ใหถือเสมือนวาผูนั้นไมเคยเปน
ขาราชการพลเรือนสามัญ แตท้ังน้ี ไมกระทบกระเทือนถึงการใดที่ผูนั้นไดปฏิบัติหนาที่ราชการ หรือ
การรับเงินเดือนหรือผลประโยชนอื่นใดท่ีไดรับหรือมีสิทธิจะไดรับจากทางราชการในระหวางผูนั้นอยู
ระหวางทดลองปฏิบัติหนา ท่รี าชการ

ผู อ ยู ใน ร ะ ห ว างท ด ล อ งป ฏิ บั ติ ห น าท่ี รา ช ก ารผู ใด มี ก รณี อั น มี มู ลที่ ค วรก ล าว ห า ว า
กระทําผิดวินัย ใหผูบังคับบัญชาดาํ เนินการทางวินัยตามท่ีบัญญัติไวในหมวด 7 การดําเนินการทางวินัย และ
ถาผนู ้นั มกี รณที ่จี ะตอ งออกจากราชการตามวรรคสอง กใ็ หผ ูบ ังคบั บญั ชาดาํ เนินการตามวรรคสองไปกอ น

ความในวรรคหน่ึง วรรคสอง และวรรคสามใหใชบังคับกับขาราชการหรือพนักงาน
สว นทอ งถิ่น ซงึ่ โอนมาตามมาตรา 64 ในระหวา งทยี่ งั ทดลองปฏิบัติหนา ท่ีราชการดว ยโดยอนุโลม

381 การ ำด�เ ินนกาแรละทกาางรวิ ่สันกงยเลุสมกริ่ทีามร๕จุอ ิรทยธธรรณ์รมการ ้รอง ุทกข์

381 370
มาตรา 60 ข้าราชการพลเรือนสามัญซ่ึงอยู่ในระหว่างทดลองปฏิบัติหน้าที่ราชการผู้ใด
ถูกส่ังให้ออกจากราชการตามมาตรา 111 และต่อมาปรากฏว่าผู้น้ันมีกรณีท่ีจะต้องถูกสั่งให้ออก
จากราชการตามมาตรา 59 หรือตามมาตราอื่น ก็ให้ผู้บังคับบัญชาซึ่งมีอานาจส่ังบรรจุตามมาตรา 57
หรือผู้มีอานาจตามมาตราอื่นน้ัน แล้วแต่กรณี มีอานาจเปล่ียนแปลงคาส่ัง เป็นให้ออกจากราชการ
ตามมาตรา 59 หรือตามมาตราอ่ืนนัน้ ได้
มาตรา 61 การแต่งต้ังข้าราชการพลเรือนสามัญให้ดารงตาแหน่งในสายงาน
ท่ีไมม่ ีกาหนดไว้ในมาตรฐานกาหนดตาแหน่ง จะกระทามไิ ด้
มาตรา 62 ผู้ได้รับแต่งต้ังให้ดารงตาแหน่งข้าราชการพลเรือนสามัญตาแหน่งใด
ต้องมคี ณุ สมบัตติ รงตามคณุ สมบตั เิ ฉพาะสาหรบั ตาแหน่งน้นั ตามมาตรฐานกาหนดตาแหน่ง
ในกรณที ่ีมเี หตผุ ลและความจาเปน็ ก.พ. อาจอนมุ ตั ใิ หแ้ ต่งตั้งขา้ ราชการพลเรอื นสามญั ที่
มีคุณสมบัตติ า่ งไปจากคณุ สมบัตเิ ฉพาะสาหรบั ตาแหน่งตามมาตรฐานกาหนดตาแหน่งก็ได้
ในกรณที ่ี ก.พ. กาหนดใหป้ ริญญา ประกาศนียบตั รวชิ าชพี หรือคุณวุฒใิ ดเปน็ คุณสมบัตเิ ฉพาะ
สาหรบั ตาแหนง่ ใหห้ มายถงึ ปริญญา ประกาศนียบตั รวิชาชีพหรือคุณวฒุ ิที่ ก.พ. รับรอง
มาตรา 63 การย้าย การโอน หรือการเล่ือนข้าราชการพลเรือนสามัญไปแต่งตั้งให้
ดารงตาแหน่งข้าราชการพลเรือนสามัญในหรือต่างกระทรวงหรือกรม แล้วแต่กรณี ให้เป็นไปตามที่
กาหนดในกฎ ก.พ.
การโอนข้าราชการพลเรือนสามัญ จากกระทรวงหรือกรมหน่ึง ไปแต่งต้ังให้
ดารงตาแหน่งขา้ ราชการพลเรือนสามัญในต่างประเทศสังกัดอีกกระทรวงหรือกรมหนง่ึ เป็นการช่ัวคราว
ตามระยะเวลาท่กี าหนด ให้กระทาได้ตามหลกั เกณฑแ์ ละวิธีการที่ ก.พ. กาหนด
การย้ายหรือการโอน ข้าราชการพลเรือน สามัญ ไป แต่งตั้งให้ดารงตาแหน่งในระดับ
ทตี่ า่ กวา่ เดมิ จะกระทามไิ ด้ เวน้ แตจ่ ะไดร้ บั ความยนิ ยอมจากข้าราชการพลเรือนสามัญผู้นน้ั
ก า ร บ ร ร จุ ข้ า ร า ช ก า ร พ ล เรื อ น ส า มั ญ ท่ี ไ ด้ อ อ ก จ า ก ร า ช ก า ร ไป เน่ื อ ง จ า ก ถู ก สั่ ง ให้
ออกจากราชการเพื่อไปรับราชการทหารตามกฎหมายว่าด้วยการรับราชการทหาร หรอื ได้รับอนุมัติจาก
คณะรัฐมนตรีให้ไปปฏิบัติงานใด ๆ ซึ่งให้นับเวลาระหว่างน้ันสาหรับการคานวณบาเหน็จบานาญ
เหมือนเต็มเวลาราชการหรือออกจากราชการไปท่ีมิใช่เป็นการออกจากราชการในระหว่างทดลอง
ปฏิบัติหน้าท่ีราชการกลับเข้ารับราชการในกระทรวงหรือกรม ตลอดจนจะส่ังบรรจุและแต่งต้ั งให้
ดารงตาแหน่งประเภทใด สายงานใด ระดับใด และให้ไดร้ ับเงินเดือนเท่าใด ให้กระทาได้ตามหลักเกณฑ์
และวธิ ีการที่ ก.พ. กาหนด
เพื่อประโยชน์ในการนับเวลาราชการตามพระราชบัญญัตินี้และตามกฎหมายว่าด้วย
บาเหน็จบานาญข้าราชการ ข้าราชการพลเรือนสามัญที่ได้ออกจากราชการไป เน่ือ งจากถูกส่ังให้
ออกจากราชการเพ่ือไปรับราชการทหารตามกฎหมายว่าด้วยการรับราชการทหาร หรือได้รับอนุมัติ
จากคณะรัฐมนตรีให้ไปปฏิบัติงานใด ๆ ซึ่งให้นับเวลาระหว่างนั้นสาหรับการคานวณบาเหน็จบานาญ
เหมือนเต็มเวลาราชการ เม่ือได้รับบรรจุกลับเข้ารับราชการให้มีสิทธินับวันรับราชการก่อนถูกส่ังให้
ออกจากราชการรวมกับวันรับราชการทหารตามกฎหมายว่าด้วยการรับราชการทหาร หรือวันท่ี

382

382 371
ได้ปฏิบัติงานใด ๆ ตามที่ได้รับอนุมัติจากคณะรัฐมนตรี แล้วแต่กรณี และวันรับราชการเมื่อได้รับบรรจุ
กลับเข้ารับราชการเป็นเวลาราชการติดต่อกันเสมือนว่าผู้น้ันมิได้เคยถูกส่ังให้ออกจากราชการ สาหรับ
ผู้ซ่ึงออกจากราชการไปท่ีมิใช่เป็นการออกจากราชการในระหว่างทดลองปฏิบัติหน้าท่ีราชการซ่ึงได้รับ
บรรจุกลับเข้ารับราชการตามวรรคส่ี ให้มีสิทธินับเวลาราชการก่อนออกจากราชการเพ่ือประโยชน์
ในการนบั เวลาราชการตามพระราชบญั ญตั นิ ี้

มาตรา 64 การโอนพนักงานส่วนท้องถิ่น การโอนข้าราชการท่ีไมใ่ ช่ข้าราชการพลเรือนสามัญ
ตามพระราชบัญญัติน้ีและไม่ใช่ข้าราชการการเมือง และการโอนเจ้าหน้าท่ีของหน่วยงานอ่ืนของรัฐ
ท่ี ก.พ. กาหนด มาบรรจุเป็นข้าราชการพลเรือนสามัญ ตลอดจนจะแต่งต้ังให้ดารงตาแหน่งประเภทใด
สายงานใด ระดบั ใด และให้ไดร้ ับเงินเดือนเทา่ ใด ให้กระทาได้ตามหลักเกณฑ์และวิธีการท่ี ก.พ. กาหนด

เพ่ือประโยชน์ในการนับเวลาราชการ ให้ถือเวลาราชการหรือเวลาทางานของผู้ที่โอนมา
รับราชการตามวรรคหน่ึง เปน็ เวลาราชการของขา้ ราชการพลเรือนสามัญตามพระราชบญั ญัตินด้ี ว้ ย

มาตรา 65 พนักงานสว่ นทอ้ งถิ่นซ่ึงไมใ่ ช่ออกจากงานในระหว่างทดลองปฏิบัตงิ านหรือ
ข้าราชการท่ีไม่ใช่ข้าราชการพลเรือนสามัญตามพระราชบัญญัติน้ี และไม่ใช่ข้าราชการการเมือง
ข้าราชการวิสามัญ หรือข้าราชการซ่ึงออกจากราชการในระหว่างทดลองปฏิบัติหน้าท่ีราชการ
ผใู้ ด ออกจากงานหรือออกจากราชการไปแล้ว ถา้ สมัครเข้ารับราชการเปน็ ข้าราชการพลเรือนสามัญและ
ทางราชการต้องการจะรับผู้น้ันเข้ารับราชการให้ผู้บังคับบัญชาซ่ึงมีอานาจสั่งบรรจุตามมาตรา 57
พจิ ารณาโดยคานงึ ถึงประโยชน์ท่ีทางราชการจะไดร้ บั ท้งั นี้ จะบรรจแุ ละแตง่ ตง้ั ให้ดารงตาแหน่งประเภทใด
สายงานใด ระดับใด และให้ไดร้ บั เงินเดือนเทา่ ใดใหเ้ ป็นไปตามหลกั เกณฑ์และวธิ ีการท่ี ก.พ. กาหนด

เพื่อประโยชนใ์ นการนับเวลาราชการ ใหถ้ อื เวลาราชการหรอื เวลาทางานของผ้เู ข้ารับราชการ
ตามวรรคหนึ่งในขณะที่เป็นข้าราชการ หรือพนักงานส่วนท้องถิ่นนั้นเป็นเวลาราชการของข้าราชการ
พลเรอื นสามัญตามพระราชบญั ญัติน้ดี ว้ ย

มาตรา 66 ข้าราชการพลเรอื นสามัญผ้ใู ดไดร้ บั แต่งตงั้ ใหด้ ารงตาแหน่งตามมาตรา 62 แล้ว
หากภายหลังปรากฏว่าเป็นผมู้ คี ณุ สมบตั ไิ มต่ รงตามคณุ สมบัตเิ ฉพาะสาหรบั ตาแหนง่ น้นั ให้ผบู้ งั คบั บัญชา
ซ่ึงมีอานาจส่ังบรรจุตามมาตรา 57 แต่งต้ังผู้นั้นให้กลับไปดารงตาแหน่งตามเดิมหรือตาแหน่งอื่น
ในประเภทเดียวกันและระดับเดียวกันโดยพลัน แต่ท้ังน้ี ไม่กระทบกระเทือนถึงการใดท่ีผู้นั้น
ได้ปฏิบตั ิไปตามอานาจและหนา้ ที่ และการรบั เงินเดือนหรอื ผลประโยชน์อน่ื ใดทีไ่ ด้รับหรือมสี ทิ ธจิ ะไดร้ ับ
อยู่ก่อนได้รับคาสั่งให้กลับไปดารงตาแหน่งตามเดิมหรือตาแหน่งอ่ืนในประเภทเดียวกันและระดับ
เดยี วกัน

การรบั เงินเดือน สทิ ธแิ ละประโยชน์ของผูท้ ี่ได้รบั แตง่ ตงั้ ใหก้ ลบั ไปดารงตาแหนง่ ตามเดิม
หรือตาแหน่งอ่ืนในประเภทเดียวกันและระดับเดียวกันตามวรรคหนึ่ง ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์และ
วิธีการท่ี ก.พ. กาหนด

ในกรณีท่ีไม่สามารถแต่งต้ังให้กลับไปดารงตาแหน่งตามเดิมหรือตาแหน่งอื่นในประเภท
เดียวกนั และระดบั เดียวกนั ตามวรรคหนึ่งได้ ไมว่ ่าด้วยเหตใุ ดให้ ก.พ. พิจารณาเปน็ การเฉพาะราย

383 การ ำด�เ ินนกาแรละทกาางรวิ ่สันกงยเลุสมกริ่ทีามร๕จุอ ิรทยธธรรณ์รมการ ้รอง ุทกข์

383 372
มาตรา 67 ผู้ได้รับบรรจุเข้ารับราชการเป็นข้าราชการพลเรือนสามัญและแต่งต้ัง
ให้ดารงตาแหน่งใดตามมาตรา 53 วรรคหน่ึง มาตรา 55 มาตรา 56 มาตรา 63 มาตรา 64 และ
มาตรา 65 หากภายหลังปรากฏว่าขาดคุณสมบัติทั่วไปหรือมีลักษณะต้องห้ามโดยไม่ได้รับการยกเว้น
ตามมาตรา 36 หรือขาดคุณสมบัติเฉพาะสาหรับตาแหน่งนั้นโดยไม่ได้รับอนุมัติจาก ก.พ.
ตามมาตรา 62 อยู่ก่อนก็ดี มีกรณีต้องหาอยู่ก่อนและภายหลังเป็นผู้ขาดคุณสมบัติเน่ืองจากกรณี
ตอ้ งหานั้นก็ดี ให้ผบู้ ังคับบัญชาซึ่งมีอานาจสั่งบรรจุตามมาตรา 57 ส่ังให้ผู้น้ันออกจากราชการโดยพลัน
แตท่ ้ังน้ี ไมก่ ระทบกระเทือนถึงการใดที่ผนู้ นั้ ได้ปฏบิ ัติไปตามอานาจและหนา้ ท่ี และการรับเงนิ เดือนหรือ
ผลประโยชน์อื่นใดที่ได้รับหรือมีสิทธิจะได้รับจากทางราชการก่อนมี คาสั่งให้ออกนั้นและ
ถา้ การเขา้ รับราชการเป็นไปโดยสุจรติ แล้วให้ถอื ว่าเป็นการสง่ั ใหอ้ อกเพ่ือรับบาเหนจ็ บานาญเหตุทดแทน
ตามกฎหมายวา่ ดว้ ยบาเหนจ็ บานาญข้าราชการ
มาตรา 68 ในกรณีท่ีตาแหน่งข้าราชการพลเรือนสามัญว่างลง หรือผู้ดารงตาแหน่ง
ไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ราชการได้ และเป็นกรณีท่ีมิได้บัญญัติไว้ในกฎหมายว่าด้วยระเบียบบริหาร
ราชการแผ่นดิน ให้ผู้บังคับบัญชาซ่ึงมีอานาจส่ังบรรจุตามมาตรา 57 มีอานาจสั่งให้ข้าราชการพลเรือน
ทเี่ หน็ สมควรรักษาการในตาแหน่งนัน้ ได้
ผู้รักษาการในตาแหน่งตามวรรคหน่ึง ให้มีอานาจหน้าท่ีตามตาแหน่งที่รักษาการนั้น
ในกรณที มี่ กี ฎหมายอืน่ กฎ ระเบียบ ขอ้ บงั คบั มติของคณะรฐั มนตรี มตคิ ณะกรรมการตามกฎหมายหรอื
คาสั่งผู้บังคับบัญชา แต่งต้ังให้ผู้ดารงตาแหน่งนั้น ๆ เป็นกรรมการ หรือให้มีอานาจหน้าท่ีอย่างใด
ก็ให้ผู้รักษาการในตาแหน่งทาหน้าที่กรรมการ หรือมีอานาจหน้าที่อย่างนั้นในระหว่างที่รักษาการ
ในตาแหน่ง แลว้ แต่กรณี
มาตรา 69 ในกรณีที่มีเหตุผลความจาเป็น ผู้บังคับบัญชาซ่ึงมีอานาจส่ังบรรจุ
ตามมาตรา 57 มีอานาจสั่งข้าราชการพลเรือนสามัญให้ประจาส่วนราชการเป็นการชั่วคราวโดยให้
พน้ จากตาแหนง่ หนา้ ทเี่ ดิมไดต้ ามทีก่ าหนดในกฎ ก.พ.
การให้ได้รับเงินเดือน การแต่งต้ัง การเลื่อนเงินเดือน การดาเนินการทางวินัย และการออก
จากราชการของขา้ ราชการพลเรือนสามัญตามวรรคหน่งึ ให้เป็นไปตามท่ีกาหนดในกฎ ก.พ.
มาตรา 70 ในกรณีที่มีเหตุผลความจาเป็น ผู้บังคับบัญชาซึ่งมีอานาจส่ังบรรจุ
ตามมาตรา 57 มีอานาจส่ังให้ข้าราชการพลเรือนสามัญพ้นจากตาแหน่งหน้าท่ีและขาดจาก
อัตราเงินเดือนในตาแหน่งเดิมโดยให้รับเงินเดือนในอัตรากาลังทดแทนโดยมีระยะเวลาตามที่ ก.พ.
กาหนดได้ ท้งั น้ี ให้เปน็ ไปตามหลักเกณฑแ์ ละวิธีการท่กี าหนดในกฎ ก.พ.
การให้พ้นจากตาแหน่ง การให้ได้รับเงินเดือน การแต่งต้ัง การเล่ือนเงินเดือน
การดาเนินการทางวนิ ัย และการออกจากราชการของข้าราชการพลเรือนสามัญตามวรรคหนึ่ง ให้เป็นไป
ตามท่กี าหนดในกฎ ก.พ.
ในกรณีท่ีหมดความจาเป็นหรือครบกาหนดระยะเวลาการใหร้ ับเงินเดอื นในอตั รากาลังทดแทน
ให้ผู้บังคับบัญ ชาซึ่งมีอานาจสั่งบรรจุตามมาตรา 57 สั่งให้ข้าราชการพลเรือนสามัญผู้น้ัน

384

384 373
พ้นจากการรับเงินเดือนในอัตรากาลังทดแทนและแต่งต้ังให้ดารงตาแหน่งตามเดิมหรือตาแหน่งอ่ืน
ในประเภทเดียวกันและระดบั เดยี วกนั

มาตรา 71 ในกรณีท่ีศาลปกครองมีคาพิพากษาถึงที่สุดส่ังให้เพิกถอนคาส่ังแต่งตั้ง
ข้าราชการพลเรือนสามัญ ให้เป็นหน้าท่ีของ ก.พ. โดยความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรีในการสั่งการ
ตามสมควรเพอ่ื เยียวยาและแกไ้ ขหรอื ดาเนินการตามท่ีเหน็ สมควรได้

หมวด 4
การเพ่มิ พูนประสิทธิภาพและ
เสรมิ สรา้ งแรงจงู ใจในการปฏบิ ัติราชการ

มาตรา 72 ให้ส่วนราชการมีหน้าที่ดาเนินการให้มีการเพิ่มพูนประสิทธิภาพและ
เสริมสร้างแรงจูงใจแก่ข้าราชการพลเรือนสามัญ เพ่ือให้ข้าราชการพลเรือนสามัญมีคุณภาพ คุณธรรม
จริยธรรม คุณภาพชีวิต มีขวัญและกาลังใจในการปฏิบัติราชการให้เกิดผลสัมฤทธ์ิต่อภารกิจของรัฐ
ทง้ั นี้ ตามหลกั เกณฑแ์ ละวิธกี ารที่ ก.พ. กาหนด

ในกรณีที่เห็นสมควร และเพื่อการประหยัด สานักงาน ก.พ. จะจัดให้มีการเพิ่มพูน
ประสิทธิภาพและเสรมิ สรา้ งแรงจงู ใจแทนส่วนราชการตามวรรคหนึง่ กไ็ ด้

มาตรา 73 ผู้บังคับบัญชาต้องปฏิบัติตนต่อผู้อยู่ใต้บังคับบัญชาอย่างมีคุณธรรมและ
เทย่ี งธรรมและเสรมิ สร้างแรงจูงใจใหผ้ ู้อยใู่ ต้บงั คับบญั ชาดารงตนเป็นข้าราชการทีด่ ี

มาตรา 74 ข้าราชการพลเรือนสามัญผู้ใดประพฤติตนอยู่ในจรรยาและระเบียบวินัย
และปฏิบัติราชการอย่างมีประสิทธิภาพและเกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ ให้ผู้บังคับบัญชาพิจารณา
เลื่อนเงินเดือนให้ตามควรแก่กรณีตามท่ีกาหนดในกฎ ก.พ. และจะให้บาเหน็จความชอบอย่างอ่ืน
ซึ่งอาจเปน็ คาชมเชย เครือ่ งเชดิ ชูเกยี รติ หรือรางวัลด้วยก็ได้

มาตรา 75 การให้ข้าราชการพลเรือนสามัญไปศึกษาเพ่ิมเติม ฝึกอบรม ดูงาน หรือ
ปฏิบัติการวจิ ยั ในประเทศหรือต่างประเทศ ใหเ้ ป็นไปตามหลกั เกณฑ์ วิธีการ และเง่ือนไขที่ ก.พ. กาหนด

มาตรา 76 ให้ผู้บังคับบัญชามีหน้าท่ีประเมินผลการปฏิบัติราชการของผู้อยู่ใต้บังคับ
บัญชาเพื่อใช้ประกอบการพิจารณาแต่งตั้ง และเล่ือนเงินเดือน ทั้งน้ี ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่ ก.พ.
กาหนด

ผลการประเมินตามวรรคหนึ่งให้นาไปใช้เพื่อประโยชน์ในการพัฒนาและเพิ่มพูน
ประสทิ ธภิ าพการปฏิบตั ริ าชการด้วย

385 การ ำด�เ ินนกาแรละทกาางรวิ ่สันกงยเลุสมกริ่ทีามร๕จุอ ิรทยธธรรณ์รมการ ้รอง ุทกข์

385 374
มาตรา 77 ข้าราชการพลเรือนสามัญผู้ใดถึงแก่ความตายเน่ืองจากการปฏิบัติหน้าที่
ราชการ ให้ผู้บังคับบัญชาพิจารณาเล่ือนเงินเดือนให้ผู้นั้นเป็นกรณีพิเศษเพ่ือประโยชน์ในการคานวณ
บาเหน็จบานาญหรอื ให้ได้รับสิทธปิ ระโยชน์อ่นื ตามระเบียบทีค่ ณะรัฐมนตรกี าหนด

หมวด 5
การรกั ษาจรรยาข้าราชการ

มาตรา 78 ข้าราชการพลเรือนสามัญต้องรักษาจรรยาข้าราชการตามท่ีส่วนราชการ
กาหนดไว้โดยมุ่งประสงค์ให้เป็นข้าราชการท่ีดี มีเกียรติและศักด์ิศรีความเป็นข้าราชการ โดยเฉพาะ
ในเรือ่ งดงั ต่อไปนี้

(1) การยึดม่นั และยนื หยดั ทาในส่งิ ท่ีถูกตอ้ ง
(2) ความซ่ือสตั ย์สุจรติ และความรับผดิ ชอบ
(3) การปฏบิ ตั หิ นา้ ทีด่ ว้ ยความโปรง่ ใสและสามารถตรวจสอบได้
(4) การปฏบิ ตั ิหน้าท่โี ดยไมเ่ ลือกปฏบิ ตั ิอยา่ งไมเ่ ป็นธรรม
(5) การมุ่งผลสมั ฤทธขิ์ องงาน
ให้ส่วนราชการกาหนดข้อบังคับว่าด้วยจรรยาข้าราชการเพื่อให้สอดคล้องกับลักษณะ
ของงานในสว่ นราชการนน้ั ตามหลักวิชาและจรรยาวชิ าชพี
ในการกาหนดข้อบังคับว่าด้วยจรรยาข้าราชการตามวรรคสอง ให้จัดให้มีการรับฟัง
ความคดิ เหน็ ของขา้ ราชการและประกาศใหป้ ระชาชนทราบดว้ ย
มาตรา 79 ข้าราชการพลเรือนสามัญผู้ใดไม่ปฏิบัติตามจรรยาข้าราชการอันมิใช่
เปน็ ความผิดวนิ ัย ให้ผบู้ ังคับบญั ชาตกั เตอื น นาไปประกอบการพิจารณาแต่งตั้งเลอื่ นเงินเดอื น หรอื สัง่ ให้
ขา้ ราชการผูน้ ั้นไดร้ บั การพฒั นา

หมวด 6
วินัยและการรกั ษาวนิ ัย

มาตรา 80 ข้าราชการพลเรือนสามัญต้องรักษาวินัยโดยกระทาการหรือไม่กระทาการ
ตามท่บี ญั ญัติไวใ้ นหมวดนโี้ ดยเคร่งครดั อยเู่ สมอ

ข้าราชการพลเรือนสามัญผู้ปฏิบัติราชการในต่างประเทศนอกจากต้องรักษาวินัยตามที่
บญั ญตั ไิ วใ้ นหมวดนแ้ี ล้ว ต้องรักษาวนิ ยั โดยกระทาการหรือไมก่ ระทาการตามท่ีกาหนดในกฎ ก.พ. ดว้ ย

มาตรา 81 ข้าราชการพลเรือนสามัญต้องสนับสนุนการปกครองระบอบประชาธิปไตย
อันมีพระมหากษัตริยท์ รงเปน็ ประมขุ ดว้ ยความบรสิ ทุ ธ์ใิ จ

386

386 375
มาตรา 82 ขา้ ราชการพลเรือนสามัญตอ้ งกระทาการอันเป็นข้อปฏบิ ตั ิดังตอ่ ไปนี้
(1) ตอ้ งปฏิบตั หิ น้าที่ราชการด้วยความซ่ือสัตย์ สุจริต และเท่ยี งธรรม
(2) ต้องปฏิบัติหน้าที่ราชการให้เป็นไปตามกฎหมาย กฎ ระเบียบของทางราชการ
มตขิ องคณะรฐั มนตรี นโยบายของรฐั บาล และปฏบิ ตั ิตามระเบยี บแบบแผนของทางราชการ
(3) ต้องปฏิบัติหน้าท่ีราชการให้เกิดผลดีหรือความก้าวหน้าแก่ราชการด้วยความต้ังใจ
อตุ สาหะ เอาใจใส่ และรักษาประโยชน์ของทางราชการ
(4) ต้องปฏบิ ัตติ ามคาสงั่ ของผูบ้ ังคับบญั ชาซง่ึ สง่ั ในหน้าท่รี าชการ โดยชอบดว้ ยกฎหมาย
และระเบียบของทางราชการ โดยไม่ขัดขืนหรือหลีกเล่ียง แต่ถ้าเห็นว่าการปฏิบัติตามคาส่ังนั้นจะทาให้
เสยี หายแก่ราชการ หรือจะเป็นการไม่รักษาประโยชน์ของทางราชการจะต้องเสนอความเหน็ เปน็ หนังสอื ทันที
เพ่ือให้ผู้บังคับบัญชาทบทวนคาส่ังนั้น และเม่ือได้เสนอความเห็นแล้ว ถ้าผู้บังคับบัญชายืนยันให้ปฏิบัติ
ตามคาสัง่ เดมิ ผู้อยใู่ ต้บังคับบญั ชาตอ้ งปฏิบตั ติ าม
(5) ตอ้ งอทุ ิศเวลาของตนให้แกร่ าชการ จะละทิ้งหรือทอดทิ้งหน้าทร่ี าชการมไิ ด้
(6) ต้องรักษาความลับของทางราชการ
(7) ต้องสุภาพเรียบร้อย รักษาความสามัคคีและต้องช่วยเหลือกันในการปฏิบัติราชการ
ระหว่างขา้ ราชการดว้ ยกนั และผูร้ ว่ มปฏบิ ตั ริ าชการ
(8) ต้องต้อนรับ ให้ความสะดวก ให้ความเป็นธรรม และให้การสงเคราะห์แก่ประชาชน
ผตู้ ิดตอ่ ราชการเกีย่ วกับหนา้ ท่ขี องตน
(9) ต้องวางตนเป็นกลางทางการเมืองในการปฏิบัติหน้าท่ีราชการและในการปฏิบัติการอื่น
ท่ีเกี่ยวข้องกับประชาชน กับจะต้องปฏิบัติตามระเบียบของทางราชการว่าด้วยมารยาททางการเมือง
ของข้าราชการดว้ ย
(10) ต้องรักษาชื่อเสียงของตน และรักษาเกียรติศักด์ิของตาแหน่งหน้าท่ีราชการ
ของตนมิให้เส่อื มเสีย
(11) กระทาการอนื่ ใดตามทีก่ าหนดในกฎ ก.พ.
มาตรา 83 ขา้ ราชการพลเรอื นสามัญต้องไม่กระทาการใดอันเปน็ ข้อหา้ ม ดงั ต่อไปน้ี
(1) ต้องไม่รายงานเท็จต่อผู้บังคับบญั ชา การรายงานโดยปกปิดข้อความซงึ่ ควรต้องแจ้ง
ถอื วา่ เปน็ การรายงานเท็จด้วย
(2) ต้องไม่ปฏิบัติราชการอันเป็นการกระทาการข้ามผู้บังคับบัญชาเหนือตน เว้นแต่
ผบู้ ังคับบัญชาเหนอื ตนขน้ึ ไปเปน็ ผู้สง่ั ให้กระทาหรือไดร้ ับอนุญาตเป็นพเิ ศษช่วั ครงั้ คราว
(3) ตอ้ งไมอ่ าศัยหรือยอมใหผ้ ู้อ่ืนอาศัยตาแหนง่ หน้าทร่ี าชการของตนหาประโยชน์ใหแ้ ก่
ตนเองหรือผอู้ นื่
(4) ตอ้ งไมป่ ระมาทเลินเล่อในหนา้ ทรี่ าชการ
(5) ต้องไม่กระทาการหรือยอมให้ผู้อ่ืนกระทาการหาผลประโยชน์อันอาจทาให้
เสยี ความเทีย่ งธรรมหรอื เส่ือมเสียเกยี รตศิ ักด์ขิ องตาแหนง่ หน้าทรี่ าชการของตน
(6) ต้องไม่เปน็ กรรมการผู้จดั การ หรอื ผู้จัดการ หรือดารงตาแหน่งอ่นื ใดทมี่ ลี ักษณะงาน
คล้ายคลึงกนั น้ันในห้างหุน้ ส่วนหรอื บรษิ ทั
(7) ต้องไม่กระทาการอยา่ งใดทเ่ี ป็นการกลนั่ แกล้ง กดขี่ หรอื ข่มเหงกันในการปฏิบตั ิราชการ

387 376 การ ำด�เ ินนกาแรละทกาางรวิ ่สันกงยเลุสมกริ่ทีามร๕จุอ ิรทยธธรรณ์รมการ ้รอง ุทกข์
(8) ตอ งไมก ระทําการอันเปนการลวงละเมดิ หรอื คกุ คามทางเพศตามที่กําหนดในกฎ ก.พ.
(9) ตอ งไมดูหมิ่น เหยยี ดหยาม กดขี่ หรอื ขมเหงประชาชนผูติดตอราชการ
(10) ไมกระทําการอื่นใดตามท่กี าํ หนดในกฎ ก.พ.
มาตรา 84 ขาราชการพลเรือนสามัญผูใ ดไมปฏิบัติตามขอปฏิบัติตามมาตรา 81 และ
มาตรา 82 หรอื ฝาฝน ขอหามตามมาตรา 83 ผนู น้ั เปนผูกระทําผดิ วินยั
มาตรา 85 การกระทําผดิ วินยั ในลกั ษณะดงั ตอ ไปน้ี เปนความผดิ วินัยอยา งรายแรง
(1) ปฏิบัติหรือละเวนการปฏิบัติหนาที่ราชการโดยมิชอบเพ่ือใหเกิดความเสียหาย
อยางรายแรงแกผหู นง่ึ ผูใด หรอื ปฏบิ ตั ิหรอื ละเวน การปฏิบัตหิ นาท่ีราชการโดยทุจรติ
(2) ละทิ้งหรือทอดทิ้งหนาที่ราชการโดยไมมีเหตุผลอันสมควรเปนเหตุใหเสียหาย
แกร าชการอยา งรายแรง
(3) ละทิ้งหนาที่ราชการติดตอในคราวเดียวกันเปนเวลาเกินสบิ หาวันโดยไมมเี หตุอันสมควร
หรอื โดยมีพฤติการณอันแสดงถึงความจงใจไมป ฏิบัติตามระเบียบของทางราชการ
(4) กระทาํ การอันไดช อื่ วาเปนผูประพฤติชว่ั อยางรา ยแรง
(5) ดหู มิน่ เหยียดหยาม กดขี่ ขมเหง หรือทาํ รา ยประชาชนผูติดตอราชการอยางรา ยแรง
(6) กระทําความผิดอาญาจนไดรับโทษจําคกุ หรือโทษที่หนักกวาโทษจําคุกโดยคําพิพากษา
ถึงที่สุดใหจําคุกหรือใหรับโทษท่ีหนักกวาโทษจําคุก เวนแตเปนโทษสําหรับความผิดท่ีไดกระทําโดย
ประมาทหรือความผดิ ลหโุ ทษ
(7) ละเวนการกระทําหรือกระทําการใด ๆ อันเปนการไมปฏิบัติตามมาตรา 82 หรือ
ฝาฝน ขอหา มตามมาตรา 83 อันเปนเหตใุ หเ สียหายแกราชการอยางรายแรง
(8) ละเวน การกระทําหรือกระทําการใด ๆ อันเปนการไมปฏิบัติตามมาตรา 80 วรรคสองและ
มาตรา 82 (11) หรือฝา ฝนขอ หา มตามมาตรา 83 (10) ทีม่ ีกฎ ก.พ. กําหนดใหเปนความผดิ วนิ ยั อยา งรายแรง
มาตรา 86 กฎ ก.พ. ตามมาตรา 80 วรรคสอง มาตรา 82 (11) มาตรา 83 (8)
และ (10) และมาตรา 85 (8) ใหใ ชส าํ หรบั การกระทําที่เกิดข้ึนภายหลังจากที่กฎ ก.พ. ดังกลาวใชบ งั คบั
มาตรา 87 ใหผูบังคบั บัญชามีหนาท่ีเสรมิ สรา งและพัฒนาใหผูอยูใตบังคับบัญชามีวินัย
และปองกันมิใหผ อู ยใู ตบังคับบัญชากระทําผิดวินยั ทัง้ นี้ ตามหลักเกณฑแ ละวธิ ีการที่ ก.พ. กําหนด
มาตรา 88 ขาราชการพลเรือนสามญั ผูใดกระทําผิดวินัย จะตองไดรับโทษทางวินัย เวนแต
มีเหตุอันควรงดโทษตามท่ีบัญญตั ไิ วใ นหมวด 7 การดาํ เนนิ การทางวินยั
โทษทางวินยั มี 5 สถาน ดังตอ ไปนี้
(1) ภาคทัณฑ
(2) ตัดเงินเดอื น
(3) ลดเงนิ เดือน
(4) ปลดออก

388

388 377
(5) ไล่ออก
มาตรา 89 การลงโทษข้าราชการพลเรือนสามัญให้ทาเป็นคาส่ัง ผู้ส่ังลงโทษ
ต้องสั่งลงโทษให้เหมาะสมกับความผิดและต้องเป็นไปด้วยความยุติธรรมแล ะโดยปราศจากอคติ
โดยในคาสัง่ ลงโทษให้แสดงว่าผถู้ ูกลงโทษกระทาผดิ วินยั ในกรณใี ดและตามมาตราใด

หมวด 7
การดาเนนิ การทางวนิ ัย

มาตรา 90 เมื่อมีการกล่าวหาหรือมีกรณีเป็นท่ีสงสัยว่าข้าราชการพลเรือนสามัญผู้ใด
กระทาผดิ วนิ ัย ให้ผู้บงั คบั บัญชามีหนา้ ท่ีตอ้ งรายงานให้ผู้บงั คับบัญชาซ่งึ มอี านาจสงั่ บรรจุตามมาตรา 57
ทราบโดยเร็ว และให้ผู้บังคบั บญั ชาซง่ึ มีอานาจส่ังบรรจุตามมาตรา 57 ดาเนินการตามพระราชบัญญัตินี้
โดยเรว็ ด้วยความยตุ ธิ รรมและโดยปราศจากอคติ

ผู้บังคับบัญชาหรือผู้บังคับบัญชาซึ่งมีอานาจส่ังบรรจุตามมาตรา 57 ผู้ใดละเลย
ไมป่ ฏิบตั ิหนา้ ทต่ี ามวรรคหนึ่ง หรือปฏิบัตหิ นา้ ที่โดยไม่สุจรติ ให้ถอื วา่ ผู้นนั้ กระทาผิดวินัย

อานาจหน้าที่ของผู้บังคับบัญชาซึ่งมีอานาจส่ังบรรจุตามมาตรา 57 ตามหมวดน้ี
ผบู้ ังคับบัญชาซ่ึงมีอานาจสั่งบรรจุตามมาตรา 57 จะมอบหมายให้ผู้บังคับบัญชาระดับต่าลงไปปฏิบัติแทน
ตามหลกั เกณฑ์ที่ ก.พ. กาหนดกไ็ ด้

มาตรา 91 เม่อื ได้รบั รายงานตามมาตรา 90 หรอื ความดังกลา่ วปรากฏต่อผู้บังคับบัญชา
ซ่งึ มีอานาจส่ังบรรจตุ ามมาตรา 57 ให้ผู้บังคับบัญชาซ่งึ มีอานาจส่ังบรรจตุ ามมาตรา 57 รีบดาเนินการ
หรือสั่งให้ดาเนินการสืบสวนหรือพิจารณาในเบื้องต้นว่ากรณีมีมูลที่ควรกล่าวหาว่าผู้น้ันกระทาผิดวินัย
หรือไม่ ถา้ เห็นว่ากรณีไม่มีมลู ทค่ี วรกล่าวหาวา่ กระทาผดิ วินัยก็ใหย้ ุติเรือ่ งได้

ในกรณีท่ีเห็นว่ามีมูลท่ีควรกล่าวหาว่าข้าราชการพลเรือนสามัญผู้ใดกระทาผิดวินัย
โดยมีพยานหลกั ฐานในเบอื้ งต้นอยแู่ ล้ว ให้ดาเนนิ การตอ่ ไปตามมาตรา 92 หรือมาตรา 93 แลว้ แต่กรณี

มาตรา 92 ในกรณีท่ีผลการสืบสวนหรือพิจารณาตามมาตรา 91 ปรากฏว่ากรณีมีมูล
ถ้าความผิดนั้นมิใช่เป็นความผิดวินัยอย่างร้ายแรง และได้แจ้งข้อกล่าวหาและสรุปพยานหลักฐาน
ให้ผู้ถูกกล่าวหาทราบ พร้อมท้ังรับฟังคาชี้แจงของผู้ถูกกล่าวหาแล้วผู้บังคับบัญชาซึ่งมีอานาจสั่งบรรจุ
ตามมาตรา 57 เห็นว่าผู้ถกู กล่าวหาได้กระทาผิดตามขอ้ กล่าวหา ใหผ้ ู้บังคบั บัญชาสั่งลงโทษตามควรแก่กรณี
โดยไม่ตัง้ คณะกรรมการสอบสวนก็ได้

ในกรณีตามวรรคหนึ่ง ถ้าผู้บังคับบัญชาซึ่งมีอานาจสั่งบรรจุตามมาตรา 57 เห็นว่า
ผู้ถูกกล่าวหาไม่ได้กระทาผดิ ตามข้อกลา่ วหา ใหผ้ ู้บงั คบั บัญชาดงั กล่าวส่งั ยุตเิ รอ่ื ง

389 การ ำด�เ ินนกาแรละทกาางรวิ ่สันกงยเลุสมกริ่ทีามร๕จุอ ิรทยธธรรณ์รมการ ้รอง ุทกข์

389 378
มาตรา 93 ในกรณีท่ีผลการสืบสวนหรือพิจารณาตามมาตรา 91 ปรากฏว่ากรณีมีมูล
อันเป็นความผิดวินัยอย่างร้ายแรง ให้ผู้บังคับบัญชาซ่ึงมีอานาจส่ังบรรจุตามมาตรา 57 แต่งต้ัง
คณะกรรมการสอบสวน ในการสอบสวนต้องแจ้งข้อกล่าวหาและสรุปพยานหลักฐานให้ผู้ถูกกล่าวหาทราบ
พร้อมทั้งรับฟังคาชี้แจงของผู้ถูกกล่าวหา เม่ือคณะกรรมการสอบสวนดาเนินการเสร็จ ให้รายงานผล
การสอบสวนและความเหน็ ตอ่ ผบู้ งั คบั บัญชาซง่ึ มีอานาจสัง่ บรรจตุ ามมาตรา 57
ถา้ ผูบ้ งั คับบัญชาซงึ่ มอี านาจสงั่ บรรจตุ ามมาตรา 57 เห็นวา่ ผ้ถู กู กล่าวหาไมไ่ ด้กระทาผิด
ตามข้อกล่าวหา ให้สั่งยุติเร่ือง แต่ถ้าเห็นว่าผู้ถูกกล่าวหาได้กระทาผิดตามข้อกล่าวหา ให้ดาเนินการต่อไป
ตามมาตรา 96 หรอื มาตรา 97 แล้วแต่กรณี
มาตรา 94 การแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวนสาหรับกรณที ี่ขา้ ราชการพลเรือนสามัญ
ตาแหน่งตา่ งกัน หรอื ตา่ งกรมหรือตา่ งกระทรวงกันถกู กลา่ วหาวา่ กระทาผดิ วนิ ัยรว่ มกันใหด้ าเนนิ การ ดังต่อไปนี้
(1) สาหรับข้าราชการพลเรือนสามัญในกรมเดียวกัน ที่อธิบดีหรือปลัดกระทรวง
ถกู กล่าวหาว่ากระทาผิดวินัยร่วมกับผู้อยู่ใต้บังคับบญั ชา ให้ปลัดกระทรวงหรือรัฐมนตรีว่าการกระทรวง
แล้วแตก่ รณี เปน็ ผูส้ ัง่ แตง่ ตง้ั คณะกรรมการสอบสวน
(2) สาหรับข้าราชการพลเรือนสามัญต่างกรมในกระทรวงเดียวกันถูกกล่าวหาว่า
กระทาผิดวินัยร่วมกัน ให้ปลัดกระทรวงเป็นผู้สั่งแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวน เว้นแต่เป็นกรณีท่ี
ปลัดกระทรวงถูกกลา่ วหารว่ มด้วย ใหร้ ัฐมนตรีวา่ การกระทรวงเป็นผูส้ งั่ แต่งต้งั คณะกรรมการสอบสวน
(3) สาหรับข้าราชการพลเรือนสามญั ต่างกระทรวงกันถูกกล่าวหาว่ากระทาผดิ วนิ ัยรว่ มกัน
ให้ผู้บังคับบัญชาซ่ึงมีอานาจสั่งบรรจุตามมาตรา 57 ร่วมกันแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวน เว้นแต่
เป็นกรณีที่มีผู้ถูกกล่าวหาดารงตาแหน่งประเภทบริหารระดับสูงร่วมด้วย ให้นายกรัฐมนตรีเป็นผู้สั่งแต่งตั้ง
คณะกรรมการสอบสวน
(4) สาหรับกรณอี ่นื ให้เป็นไปตามที่กาหนดในกฎ ก.พ.
มาตรา 95 หลักเกณฑ์ วิธีการ และระยะเวลาเกี่ยวกับการดาเนินการทางวินัย
ให้เปน็ ไปตามท่ีกาหนดในกฎ ก.พ.
ในกรณีท่ีเป็นความผิดที่ปรากฏชัดแจ้งตามท่ีกาหนดในกฎ ก.พ. จะดาเนินการทางวินัย
โดยไม่ตอ้ งสอบสวนก็ได้
มาตรา 96 ขา้ ราชการพลเรือนสามัญผู้ใดกระทาผิดวินัยอย่างไมร่ ้ายแรง ให้ผูบ้ ังคับบัญชา
ซึ่งมีอานาจสั่งบรรจุตามมาตรา 57 สั่งลงโทษภาคทัณฑ์ ตัดเงินเดือนหรือลดเงินเดือนตามควรแก่กรณี
ให้เหมาะสมกบั ความผิด
ในกรณีมีเหตุอันควรลดหย่อน จะนามาประกอบการพิจารณาลดโทษก็ได้ แต่สาหรับ
การลงโทษภาคทัณฑใ์ ห้ใช้เฉพาะกรณกี ระทาผิดวนิ ัยเลก็ น้อย
ในกรณีกระทาผิดวินัยเล็กน้อยและมีเหตุอันควรงดโทษ จะงดโทษให้โดยให้ทาทัณฑ์บน
เป็นหนังสอื หรอื วา่ กล่าวตกั เตือนกไ็ ด้
การลงโทษตามมาตราน้ี ผู้บังคับบัญชาซึ่งมีอานาจส่ังบรรจุตามมาตรา 57 จะมีอานาจ
สงั่ ลงโทษผอู้ ยใู่ ตบ้ ังคบั บญั ชาในสถานโทษและอตั ราโทษใดได้เพียงใด ใหเ้ ป็นไปตามทกี่ าหนดในกฎ ก.พ.

390

390 379

มาตรา 97 ภายใต้บังคับวรรคสอง ข้าราชการพลเรือนสามัญผู้ใดกระทาผิดวินัย
อย่างร้ายแรง ให้ลงโทษปลดออกหรือไล่ออกตามความร้ายแรงแห่งกรณี ถ้ามีเหตุอันควรลดหย่อน
จะนามาประกอบการพจิ ารณาลดโทษกไ็ ด้ แตห่ ้ามมิใหล้ ดโทษลงต่ากว่าปลดออก

ในกรณที ่คี ณะกรรมการสอบสวนหรอื ผสู้ ่งั แตง่ ตัง้ คณะกรรมการสอบสวนตามมาตรา 93
วรรคหน่ึง หรือผู้มอี านาจตามมาตรา 94 เห็นว่าข้าราชการพลเรือนสามัญผู้ใดกระทาผิดวินัยอย่างร้ายแรง
ใหผ้ ้บู งั คับบัญชาซ่ึงมีอานาจสง่ั บรรจุตามมาตรา 57 ส่งเรอื่ งให้ อ.ก.พ. จังหวัด อ.ก.พ. กรม หรอื อ.ก.พ.
กระทรวง ซึ่งผู้ถูกกล่าวหาสังกัดอยู่ แล้วแต่กรณี พิจารณาเมื่อ อ.ก.พ. ดังกล่าวมีมติเป็นประการใด
ให้ผู้บังคับบัญชาซึ่งมีอานาจสั่งบรรจุตามมาตรา 57 สั่งหรือปฏิบัติให้เป็นไปตามน้ัน ทั้งน้ี ตามหลักเกณฑ์
และวิธกี ารทก่ี าหนดในกฎ ก.พ.

ในกรณีท่ีผู้บังคับบญั ชาซึ่งมีอานาจสั่งบรรจุตามมาตรา 57 ไม่ใช้อานาจตามมาตรา 93
วรรคหนึ่ง มาตรา 94 หรือมาตรานี้ ให้ผู้บังคับบัญชาตามมาตรา 57 ระดับเหนือข้ึนไปมีอานาจ
ดาเนินการตามมาตรา 93 วรรคหนง่ึ มาตรา 94 หรอื มาตรานี้ได้

ผูใ้ ดถูกลงโทษปลดออก ใหม้ สี ทิ ธิได้รับบาเหน็จบานาญเสมือนว่าผูน้ ้ันลาออกจากราชการ
มาตรา 98 ข้าราชการพลเรือนสามัญผู้ใดให้ข้อมูลต่อผู้บังคับบัญชาหรือให้ถ้อยคา
ในฐานะพยานต่อผู้มีหน้าท่ีสืบสวนสอบสวนหรือตรวจสอบตามกฎหมายหรือระเบียบของทางราชการ
อันเป็นประโยชน์และเป็นผลดียิ่งต่อทางราชการ ผู้บังคับบัญชาอาจพิจารณาให้บาเหน็จความชอบ
เป็นกรณีพเิ ศษได้
ข้าราชการพลเรือนสามัญผู้ใดอยู่ในฐานะท่ีอาจจะถูกกล่าวหาว่าร่วมกระทาผิดวินัยกับ
ขา้ ราชการอ่ืน ให้ขอ้ มลู ต่อผู้บังคับบญั ชา หรือให้ถ้อยคาต่อบุคคลหรือคณะบุคคลตามความในวรรคหน่ึง
เกยี่ วกับการกระทาผิดวนิ ัยที่ไดก้ ระทามา จนเป็นเหตใุ ห้มีการสอบสวนพจิ ารณาทางวินัยแก่ผู้เป็นตน้ เหตุ
แห่งการกระทาผิด ผู้บังคับบัญชาอาจใช้ดุลพินิจกันผู้น้ันไว้เป็นพยานหรือพิจารณาลดโทษทางวินัย
ตามควรแก่กรณีได้
ข้าราชการพลเรือนสามัญผู้ใดให้ข้อมูลหรือให้ถ้อยคาในฐานะพยานตามวรรคหน่ึงหรือ
วรรคสองอันเป็นเทจ็ ใหถ้ ือว่าผนู้ ัน้ กระทาผดิ วนิ ยั
หลักเกณฑ์และวิธีการการให้บาเหน็จความชอบ การกันเป็นพยาน การลดโทษ และ
การให้ความคุ้มครองพยาน ใหเ้ ป็นไปตามท่กี าหนดในกฎ ก.พ.
กฎ ก.พ. ว่าด้วยการคุ้มครองพยานตามวรรคส่ี จะกาหนดหลักเกณฑ์และวิธีการที่
สานักงาน ก.พ. หรือผู้บังคับบัญชาซึ่งมีอานาจสั่งบรรจุตามมาตรา 57 จะดาเนินการย้าย โอน หรือ
ดาเนินการอ่ืนใดโดยไม่ต้องได้รับความยินยอมหรือเห็นชอบจากผู้บังคับบัญชาของข้าราชการผู้น้ัน
และไมต่ อ้ งปฏิบัติตามขน้ั ตอนหรือกระบวนการตามท่ีบญั ญัติไวใ้ นพระราชบัญญัตินีก้ ไ็ ด้

391 การ ำด�เ ินนกาแรละทกาางรวิ ่สันกงยเลุสมกริ่ทีามร๕จุอ ิรทยธธรรณ์รมการ ้รอง ุทกข์

391 380
มาตรา 99 ให้กรรมการสอบสวนตามมาตรา 93 วรรคหน่ึง เป็นเจ้าพนักงาน
ตามประมวลกฎหมายอาญาและให้มีอานาจเช่นเดียวกับพนักงานสอบสวนตามประมวลกฎหมาย
วิธีพิจารณาความอาญาเพียงเท่าท่ีเก่ียวกับอานาจและหน้าท่ีของกรรมการสอบสวนและโดยเฉพาะ
ให้มีอานาจดังต่อไปนี้ดว้ ยคอื
(1) เรียกให้กระทรวง กรม ส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ หน่วยงานอื่นของรัฐ หรือห้างหุ้นส่วน
บริษัท ชี้แจงข้อเท็จจริง ส่งเอกสารและหลักฐานท่ีเก่ียวข้อง ส่งผู้แทนหรือบุคคลในสังกัดมาช้ีแจงหรือ
ให้ถอ้ ยคาเกย่ี วกับเรอื่ งทส่ี อบสวน
(2) เรียกผู้ถูกกล่าวหาหรือบุคคลใด ๆ มาชี้แจงหรือให้ถ้อยคา หรือให้ส่งเอกสารและ
หลกั ฐานเกี่ยวกับเรือ่ งที่สอบสวน
มาตรา 1003 ข้าราชการพลเรือนสามัญผู้ใดซ่ึงออกจากราชการอันมิใช่เพราะเหตุตาย
มีกรณีถูกกล่าวหาเป็นหนงั สือก่อนออกจากราชการว่า ขณะรับราชการได้กระทาการใด อนั เป็นความผิด
วินัยอย่างร้ายแรง ถ้าเป็นการกล่าวหาต่อผู้บังคับบัญชาของผู้นั้นหรือต่อผู้มีหน้าที่สืบสวนสอบสวนหรือ
ตรวจสอบตามกฎหมายหรือระเบียบของทางราชการ หรือเป็นการกล่าวหาของผู้บังคับบัญชาของผู้นั้น
หรือมีกรณีถูกฟ้องคดีอาญาหรือต้องหาคดีอาญาก่อนออกจากราชการว่า ในขณะรับราชการได้กระทา
ความผิดอาญาอันมิใช่เป็นความผิดที่ได้กระทาโดยประมาทท่ีไม่เกี่ยวกับราชการหรือความผิดลหุโทษ
ผู้มีอานาจดาเนนิ การทางวนิ ัยมอี านาจดาเนินการสืบสวนหรือพิจารณาดาเนินการทางวนิ ัย และสง่ั ลงโทษ
ตามที่บัญญัติไว้ในหมวดต่อไปได้เสมือนว่าผู้น้ันยังมิได้ออกจากราชการ แต่ต้องสั่งลงโทษภายในสามปี
นบั แตว่ นั ทีผ่ ูน้ น้ั ออกจากราชการ
กรณีตามวรรคหน่ึง ถ้าเป็นการกล่าวหา หรือฟ้องคดีอาญาหรือต้องหาคดีอาญา
หลงั จากที่ข้าราชการพลเรือนสามัญผู้ใดออกจากราชการแล้ว ให้ผู้มีอานาจดาเนินการทางวินัยมีอานาจ
ดาเนินการสืบสวนหรือพิจารณา ดาเนินการทางวินัย และส่ังลงโทษตามท่ีบัญญัติไว้ในหมวดนี้ต่อไปได้
เสมือนว่าผู้น้ันยังมิได้ออกจากราชการ โดยต้องเริ่มดาเนินการสอบสวนภายในหนึ่งปีนับแต่วันท่ีผู้นั้น
ออกจากราชการและต้องสั่งลงโทษภายในสามปีนับแต่วันท่ีผู้นั้นออกจากราชการ สาหรับกรณีท่ีเป็น
ความผิดที่ปรากฏชัดแจ้งตามมาตรา 95 วรรคสอง จะต้องส่ังลงโทษภายในสามปีนับแต่วันท่ีผู้นั้น
ออกจากราชการ
ในกรณที ศ่ี าลปกครองมคี าพิพากษาถึงท่ีสดุ ใหเ้ พกิ ถอนคาสั่งลงโทษ หรอื องคก์ รพิจารณา
อุทธรณ์คาสั่งลงโทษทางวินัยหรือองค์กรตรวจสอบรายงานการดาเนินการทางวินัยมีคาวินิจฉัยถึงที่สุด
หรือมมี ติใหเ้ พกิ ถอนคาส่ังลงโทษตามวรรคหนง่ึ หรอื วรรคสอง เพราะเหตุกระบวนการดาเนนิ การทางวนิ ัย
ไมช่ อบด้วยกฎหมาย ใหผ้ ูม้ อี านาจดาเนนิ การทางวินัยดาเนินการทางวินัยให้แลว้ เสร็จภายในสองปีนบั แต่
วันท่มี คี าพิพากษาถึงที่สดุ หรือมีคาวินจิ ฉัยถงึ ที่สดุ หรือมมี ติ แลว้ แตก่ รณี
การดาเนินการทางวินัยตามวรรคหน่ึง วรรคสอง และวรรคสาม ถ้าผลการสอบสวน
พิจารณาปรากฏวา่ ผนู้ ัน้ กระทาผิดวนิ ยั อย่างไมร่ า้ ยแรงกใ็ หง้ ดโทษ
ความในมาตรานี้มิให้ใช้บังคับแก่ข้าราชการพลเรือนสามัญซ่ึงถูกส่ังให้ออกจากราชการ
ไวก้ ่อนตามมาตรา 101

3 มาตรา 100 แกไ้ ขเพมิ่ เติมโดยพระราชบัญญัตริ ะเบียบขา้ ราชการพลเรือน (ฉบับที่ 3) พ.ศ.2562

381

392

มาตรา 100/14 ในกรณีที่คณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตแหงชาติ
หรือคณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตในภาครัฐมีมติชี้มูลความผิดขาราชการพลเรือน
สามัญผูใดซึ่งออกจากราชการแลว การดาํ เนินการทางวินัยและส่ังลงโทษแกขาราชการพลเรือนสามัญ
ผูน้ันใหเปน ไปตามหลักเกณฑและเง่ือนไขท่ีกําหนดไวในกฎหมายประกอบรฐั ธรรมนูญวาดวยการปอ งกัน
และปราบปรามการทุจริตหรือกฎหมายวาดวยมาตรการของฝายบรหิ ารในการปองกันและปราบปราม
การทจุ ริต แลว แตกรณี

การดําเนินการทางวินัยตามวรรคหน่ึง หากปรากฏวา ผูน้ันกระทาํ ผิดวินยั อยา งไมร ายแรง
ก็ใหงดโทษ

มาตรา 101 ขาราชการพลเรือนสามัญผูใดมีกรณีถูกกลาวหาวากระทําผิดวินัยอยาง
รายแรงจนถูกตั้งกรรมการสอบสวน หรือถูกฟองคดีอาญา หรือตองหาวากระทําความผิดอาญา เวนแต
เปนความผิดท่ีไดกระทําโดยประมาทหรือความผิดลหุโทษ ผูบงั คับบัญชาซึ่งมีอํานาจส่ังบรรจุตามมาตรา
57 มีอํานาจสั่งพักราชการหรือส่ังใหออกจากราชการไวกอนเพื่อรอฟงผลการสอบสวนหรือพิจารณา
หรอื ผลแหงคดไี ด

ถาภายหลังปรากฏผลการสอบสวนหรือพิจารณาวาผูนั้นมิไดกระทําผิดหรือกระทําผิด
ไมถึงกับจะถูกลงโทษปลดออกหรือไลออก และไมมีกรณีท่ีจะตองออกจากราชการดวยเหตุอื่น
ก็ใหผูมีอํานาจดงั กลา วส่งั ใหผูน้ันกลับเขาปฏบิ ัติราชการหรอื กลับเขารบั ราชการในตําแหนงตามเดิมหรือ
ตําแหนงอื่นในประเภทเดียวกันและระดับเดียวกันหรือในตําแหนงประเภทและระดับที่ ก.พ. กําหนด
ทง้ั นี้ ผูน้นั ตอ งมีคณุ สมบัตติ รงตามคณุ สมบตั ิเฉพาะสาํ หรบั ตําแหนงน้ัน

เม่ือไดมีการส่งั ใหขาราชการพลเรือนสามัญผูใดพักราชการหรือออกจากราชการไวกอน
แลวภายหลังปรากฏวาผูน้ันมีกรณีถูกกลา วหาวากระทาํ ผิดวินัยอยางรายแรงในกรณีอื่นอีกผูบังคับบัญชา
ซ่ึงมีอํานาจส่ังบรรจุตามมาตรา 57 มีอํานาจดําเนินการสืบสวนหรือพจิ ารณา และแตง ตั้งคณะกรรมการ
สอบสวนตามมาตรา 93 ตลอดจนดําเนนิ การทางวินยั ตามที่บัญญตั ไิ วในหมวดน้ีตอ ไปได

ในกรณีที่สั่งใหผูถูกสั่งใหออกจากราชการไวกอนกลับเขารับราชการ หรือส่ังใหผูถูกส่ัง
ใหออกจากราชการไวกอนออกจากราชการดวยเหตุอ่ืนท่ีมิใชเปนการลงโทษเพราะกระทําผิดวินัย
อยางรายแรงก็ใหผูน้ันมีสถานภาพเปนขาราชการพลเรือนสามัญตลอดระยะเวลาระหวางที่ถูกสั่งใหออกจาก
ราชการไวกอ นเสมอื นวาผนู ั้นเปน ผูถ กู สั่งพักราชการ

เงินเดือน เงินอ่ืนที่จายเปนรายเดือน และเงินชวยเหลืออยางอื่น และการจายเงินดังกลาว
ของผูถูกสั่งพักราชการ และผูถูกส่ังใหออกจากราชการไวกอน ใหเปนไปตามกฎหมายหรือระเบียบ
วาดว ยการนั้น

การส่ังพักราชการใหสั่งพักตลอดเวลาที่สอบสวนหรือพิจารณา เวน แตผ ูถูกส่ังพักราชการ
ผูใดไดรองทุกขตามมาตรา 122 และผูมีอํานาจพิจารณาคํารองทุกขเห็นวาสมควรสั่งใหผูน้ันกลับเขา
ปฏบิ ัติหนาทีร่ าชการกอ นการสอบสวนหรือพิจารณาเสร็จส้ินเนื่องจากพฤติการณของผูถูกส่ังพักราชการ
ไมเปนอุปสรรคตอการสอบสวนหรือพิจารณา และไมกอใหเกิดความไมสงบเรียบรอยตอไป หรือ

4 มาตรา 100/1 แกไ ขเพมิ่ เตมิ โดยพระราชบัญญัติระเบียบขาราชการพลเรือน (ฉบับท่ี 3) พ.ศ.2562

393 382 การ ำด�เ ินนกาแรละทกาางรวิ ่สันกงยเลุสมกริ่ทีามร๕จุอ ิรทยธธรรณ์รมการ ้รอง ุทกข์
เน่ืองจากการดําเนินการทางวินัยไดลวงพนหนึ่งปนับแตวันพักราชการแลวยังไมแลวเสร็จและผูถูกสั่ง
พักราชการไมมีพฤติกรรมดังกลาว ใหผูมีอํานาจสั่งพักราชการส่ังใหผูน้ันกลับเขาปฏิบัติหนาที่ราชการ
กอนการสอบสวนหรอื พจิ ารณาเสร็จส้ิน

ใหนําความในวรรคหกมาใชบ ังคับกับกรณีถูกสงั่ ใหออกจากราชการไวกอนดว ย
หลักเกณฑและวิธีการเก่ียวกับการสั่งพักราชการ การสั่งใหออกจากราชการไวกอนระยะเวลา
ใหพักราชการและใหออกจากราชการไวกอน การใหกลับเขาปฏิบัติราชการหรือกลบั เขารับราชการและ
การดาํ เนินการเพื่อใหเปนไปตามผลการสอบสวนหรอื พจิ ารณาใหเปนไปตามท่ีกําหนดในกฎ ก.พ.
มาตรา 102 การลงโทษขาราชการพลเรือนสามัญในสวนราชการที่มีกฎหมายวาดวย
วินัยขาราชการโดยเฉพาะ ในกรณีเปนความผิดวินัยอยางไมรายแรงตามพระราชบัญญัตินี้จะลงโทษ
ตามพระราชบัญญัตินีห้ รือลงทัณฑหรือลงโทษตามกฎหมายวาดวยวินัยขาราชการนั้นอยางใดอยางหนึ่ง
ตามควรแกกรณีและพฤติการณก็ได แตถาเปนกรณีกระทําผิดวินัยอยางรายแรงตามพระราชบัญญัตินี้
ไมวาจะไดลงทัณฑหรือลงโทษตามกฎหมายดังกลาวแลวหรือไม ใหผูบังคับบัญชาพิจารณาดําเนินการ
ตามที่กําหนดไวในพระราชบญั ญตั นิ ้ี
มาตรา 103 เม่ือผูบังคับบัญชาไดสั่งลงโทษตามพระราชบัญญัตินี้หรือลงทัณฑตาม
กฎหมายวาดว ยวินัยขาราชการโดยเฉพาะ หรือสั่งยตุ ิเรือ่ ง หรืองดโทษแลว ใหรายงาน อ.ก.พ. กระทรวง
ซึ่งผูถูกดําเนินการทางวินัยสังกัดอยูเพื่อพิจารณา เวนแตเปนกรณีดําเนินการทางวินัยกับขาราชการ
ตางกระทรวงกัน หรือกรณีดําเนินการทางวินัยตามมติ อ.ก.พ. กระทรวง ตามมาตรา 97 วรรคสอง
ใหรายงาน ก.พ. ทัง้ นี้ ตามระเบยี บท่ี ก.พ. กําหนด
ในกรณีท่ี อ.ก.พ. กระทรวงหรือ ก.พ. เห็นวาการดําเนินการทางวินัยเปนการไมถกู ตอง
หรือไมเหมาะสม หากมีมตเิ ปนประการใด ใหผูบังคบั บัญชาส่ังหรือปฏิบตั ิใหเปนไปตามท่ี อ.ก.พ. กระทรวง
หรอื ก.พ. มมี ติ
ในกรณตี ามวรรคสองและในการดําเนินการตามมาตรา 104 ให ก.พ. มีอาํ นาจสอบสวน
ใหมห รอื สอบสวนเพ่ิมเตมิ ไดตามหลักเกณฑแ ละวิธกี ารที่ ก.พ. กําหนดตามมาตรา 95
มาตรา 104 ในการดําเนินการของ อ.ก.พ. กระทรวงตามมาตรา 97 วรรคสอง หรือ
มาตรา 103 วรรคสอง หากผูแทน ก.พ. ซ่ึงเปนกรรมการใน อ.ก.พ. กระทรวงดังกลาวเห็นวา
การดําเนินการของผูบังคับบัญชาหรือมติ อ.ก.พ. กระทรวง เปนการไมปฏิบัติตามพระราชบัญญัตินี้หรือ
ปฏิบัติไมเหมาะสม ใหรายงาน ก.พ. เพื่อพิจารณาดําเนินการตามควรแกกรณีตอไป และเม่ือ ก.พ.
มีมติเปนประการใด ใหผูบังคับบัญชาสั่งหรือปฏิบัติใหเปนไปตามที่ ก.พ. มีมติ ท้ังน้ี เวนแตผูถูกลงโทษ
ไดอุทธรณคําส่ังลงโทษของผูบังคับบัญชาตอ ก.พ.ค. ในกรณีเชนน้ีให ก.พ. แจงมติตอ ก.พ.ค.
เพอ่ื ประกอบการพิจารณาวนิ ิจฉยั อุทธรณ
มาตรา 105 เมื่อมีกรณีเพิ่มโทษ ลดโทษ งดโทษ หรือยกโทษ ใหผูสั่งมีคําสั่งใหม และ
ในคาํ สง่ั ดังกลาวใหส ่ังยกเลิกคําสั่งลงโทษเดิม พรอ มท้งั ระบุวธิ ีการดําเนินการเก่ียวกับโทษทีไ่ ดรบั ไปแลว
ทั้งน้ี ตามทกี่ าํ หนดในกฎ ก.พ.

383

394

มาตรา 106 ขาราชการพลเรอื นสามัญซ่ึงโอนมาตามมาตรา 64 ผูใดมกี รณีกระทําผิดวินัย
อยูกอนวันโอนมาบรรจุ ใหผูบังคับบัญชาของขาราชการพลเรือนสามัญผูน้ันดําเนินการทางวินัย
ตามหมวดน้ีโดยอนุโลม แตถาเปนเรื่องที่อยูในระหวางการสืบสวนหรือพิจารณา หรือสอบสวนของ
ผูบังคับบัญชาเดิมกอนวันโอนก็ใหสืบสวนหรือพิจารณา หรือสอบสวนตอไปจนเสร็จ แลวสงเร่ืองให
ผูบังคับบัญชาของขาราชการพลเรือนสามัญผูน้ันพิจารณาดําเนินการตอไปตามหมวดน้ีโดยอนุโลม
แตทั้งนี้ ในการสั่งลงโทษทางวินัยใหพิจารณาตามความผิดและลงโทษตามกฎหมายวาดวยระเบียบ
บรหิ ารงานบคุ คลสวนทองถิ่นหรอื กฎหมายวาดวยระเบียบขาราชการทโ่ี อนมาน้ัน แลวแตกรณี

หมวด 8
การออกจากราชการ

มาตรา 107 ขาราชการพลเรือนสามญั ออกจากราชการเมอ่ื
(1) ตาย
(2) พนจากราชการตามกฎหมายวาดวยบําเหน็จบํานาญขาราชการ
(3) ลาออกจากราชการและไดร ับอนญุ าตใหลาออกหรอื การลาออกมีผลตามมาตรา 109
(4) ถูกสั่งใหอ อกตามมาตรา 59 มาตรา 67 มาตรา 101 มาตรา 110 หรือมาตรา 111 หรอื
(5) ถกู ส่งั ลงโทษปลดออก หรอื ไลออก
วนั ออกจากราชการตาม (4) และ (5) ใหเ ปนไปตามระเบยี บที่ ก.พ. กําหนด
มาตรา 108 ขาราชการพลเรือนสามัญผูใดเม่ืออายุครบหกสบิ ปบริบูรณในสน้ิ ปงบประมาณ
และทางราชการมีความจําเปนที่จะใหรับราชการตอไปเพื่อปฏิบัติหนาท่ีในทางวิชาการหรือหนาท่ี
ท่ตี อ งใชความสามารถเฉพาะตัว ในตําแหนงตามมาตรา 46 (3) (ง) หรอื (จ) หรือ (4) (ค) หรอื (ง) จะให
รบั ราชการตอ ไปอกี ไมเ กินสิบปก ็ไดตามทกี่ ําหนดในกฎ ก.พ.
มาตรา 109 ขาราชการพลเรือนสามญั ผใู ดประสงคจ ะลาออกจากราชการใหยน่ื หนังสอื
ขอลาออกตอผูบังคับบัญชาเหนือขึ้นไปช้ันหนึ่งโดยยื่นลวงหนากอนวันขอลาออกไมนอยกวาสามสิบวัน
เพ่อื ใหผูบ งั คับบัญชาซึ่งมอี าํ นาจส่งั บรรจุตามมาตรา 57 เปนผพู ิจารณากอนวันขอลาออก
ในกรณีท่ีผูประสงคจะลาออกยื่นหนังสือขอลาออกลวงหนานอยกวาสามสิบวัน และ
ผูบังคบั บญั ชาซ่งึ มีอํานาจส่งั บรรจตุ ามมาตรา 57 เห็นวามีเหตผุ ลและความจําเปนจะอนุญาตใหลาออก
ตามวนั ที่ขอลาออกก็ได
ในกรณีท่ีผูบังคับบัญชาซ่ึงมีอํานาจสงั่ บรรจตุ ามมาตรา 57 เห็นวาจําเปนเพื่อประโยชน
แกราชการ จะยับยั้งการลาออกไวเปนเวลาไมเกินเกาสิบวันนับแตวันขอลาออกก็ได ในกรณีเชนนั้น
ถาผูขอลาออกมิไดถอนใบลาออกกอนครบกําหนดระยะเวลาการยับย้ังใหถือวาการลาออกน้ันมีผล
เม่ือครบกาํ หนดเวลาตามทไ่ี ดย บั ย้งั ไว

395 384 การ ำด�เ ินนกาแรละทกาางรวิ ่สันกงยเลุสมกริ่ทีามร๕จุอ ิรทยธธรรณ์รมการ ้รอง ุทกข์
ในกรณีท่ีผูบังคับบัญชาซึ่งมีอํานาจส่ังบรรจุตามมาตรา 57 มิไดยับย้ังตามวรรคสาม
ใหการลาออกน้นั มีผลตัง้ แตวันขอลาออก
ในกรณีท่ีขาราชการพลเรือนสามัญผูใดประสงคจะลาออกจากราชการเพื่อดํารงตําแหนง
ในองคกรอิสระตามรัฐธรรมนูญ ตําแหนงทางการเมือง หรือตําแหนงอื่นท่ี ก.พ. กําหนด หรือเพื่อสมัคร
รับเลือกตั้งเปนสมาชิกรัฐสภา สมาชิกสภาทองถิ่นหรือผูบริหารทองถ่ิน ใหย่ืนหนังสือขอลาออกตอ
ผูบังคบั บญั ชาตามวรรคหน่งึ และใหการลาออกมีผลนบั ตงั้ แตว ันที่ผนู น้ั ขอลาออก
หลักเกณฑและวิธีการเกี่ยวกับการลาออก การพิจารณาอนุญาตใหลาออกและการยับย้ัง
การลาออกจากราชการ ใหเปน ไปตามระเบียบท่ี ก.พ. กําหนด
มาตรา 110 ผูบังคับบัญชาซ่ึงมีอํานาจส่ังบรรจุตามมาตรา 57 มีอํานาจสั่งให
ขาราชการพลเรือนสามัญออกจากราชการเพื่อรับบําเหน็จบํานาญเหตุทดแทนตามกฎหมายวาดวย
บําเหน็จบํานาญขาราชการไดใ นกรณีดังตอ ไปน้ี
(1) เมื่อขาราชการพลเรือนสามัญผูใดเจ็บปวยไมอาจปฏิบัติหนาท่ีราชการของตน
ไดโดยสม่าํ เสมอ
(2) เมื่อขาราชการพลเรือนสามัญผูใดสมัครไปปฏิบัติงานใด ๆ ตามความประสงค
ของทางราชการ
(3) เมื่อขาราชการพลเรือนสามัญผูใดขาดคุณสมบัติทั่วไปตามมาตรา 36 ก. (1) หรือ
(3) หรอื มีลกั ษณะตองหามตามมาตรา 36 ข. (1) (3) (6) หรือ (7)
(4) เม่ือทางราชการเลิกหรือยุบหนวยงานหรือตําแหนงท่ีขาราชการพลเรือนสามัญ
ปฏิบัติหนาที่หรือดํารงอยู สําหรับผูที่ออกจากราชการในกรณีน้ีใหไดรับเงินชดเชยตามหลักเกณฑ
วธิ ีการ และเงอื่ นไขทกี่ ระทรวงการคลงั กําหนดดว ย
(5) เมื่อขาราชการพลเรือนสามัญผูใดไมสามารถปฏิบัติราชการใหมีประสิทธิภาพและ
เกดิ ประสทิ ธิผลในระดบั อันเปน ทพี่ อใจของทางราชการ
(6) เมื่อขา ราชการพลเรือนสามัญผูใดหยอนความสามารถในอันที่จะปฏิบัติหนาที่ราชการ
บกพรองในหนาท่ีราชการ หรือประพฤติตนไมเหมาะสมกับตําแหนงหนาท่ีราชการ ถาใหผูนั้น
รับราชการตอไปจะเปน การเสียหายแกราชการ
(7) เม่ือขา ราชการพลเรือนสามัญผูใดมีกรณีถูกสอบสวนวา กระทําผิดวินัยอยางรายแรง
ตามมาตรา 93 และผลการสอบสวนไมไดความแนชัดพอท่ีจะฟงลงโทษตามมาตรา 97 วรรคหนึ่ง
แตม มี ลทนิ หรอื มัวหมองในกรณีท่ีถกู สอบสวน ถา ใหรบั ราชการตอ ไปจะเปนการเสยี หายแกราชการ
(8) เมื่อขาราชการพลเรือนสามัญผูใดตองรบั โทษจําคุกโดยคําพิพากษาถึงท่ีสุดใหจําคุก
ในความผิดที่ไดกระทําโดยประมาทหรือความผิดลหุโทษหรือตองรับโทษจําคุกโดยคําสั่งของศาล
ซง่ึ ยังไมถ งึ กับจะตอ งถูกลงโทษปลดออกหรอื ไลออก
การส่ังใหออกจากราชการตามวรรคหนึ่งใหเปนไปตามท่ีกําหนดในกฎ ก.พ. ทั้งนี้ ใหนํา
มาตรา 97 วรรคสอง มาใชบังคบั กับการสั่งใหออกจากราชการตามกรณี (3) เฉพาะมาตรา 36 ก. (3)
กรณี (6) และกรณี (7) โดยอนโุ ลม

396 385
เม่ือผูบังคับบัญชาซ่ึงมีอํานาจส่ังบรรจุตามมาตรา 57 ส่ังใหขาราชการพลเรือนสามัญ
ผูใดออกจากราชการตามมาตราน้ีแลว ใหรายงาน อ.ก.พ. กระทรวง หรือ ก.พ. แลวแตกรณี และใหนํา
มาตรา 103 มาใชบงั คับโดยอนุโลม
มาตรา 111 เมื่อขาราชการพลเรือนสามัญผูใดไปรับราชการทหารตามกฎหมายวา ดวย
การรบั ราชการทหาร ใหผ บู ังคับบญั ชาซงึ่ มอี ํานาจสั่งบรรจตุ ามมาตรา 57 ส่งั ใหผ ูนนั้ ออกจากราชการ
ผูใดถูกสั่งใหออกจากราชการตามวรรคหนึ่ง และตอมาปรากฏวาผูน้ันมีกรณีที่จะตอง
ถูกสั่งใหออกจากราชการตามมาตราอื่นอยูกอนไปรับราชการทหาร ก็ใหผูบังคับบัญชาซึ่งมีอํานาจ
สั่งบรรจุตามมาตรา 57 มีอํานาจเปลี่ยนแปลงคําสั่งใหออกตามวรรคหนึ่งเปนใหออกจากราชการ
ตามมาตราอื่นนน้ั ได
มาตรา 112 ในกรณีท่ีผูบังคับบัญชาซึ่งมีอํานาจสั่งบรรจุตามมาตรา 57 ไมใชอํานาจ
ตามมาตรา 110 โดยไมมีเหตุอันสมควร ใหผูบังคับบัญชาซ่ึงมีอํานาจส่ังบรรจุตามมาตรา 57
ระดบั เหนือขนึ้ ไปมีอํานาจดําเนนิ การตามมาตรา 110 ได
มาตรา 113 การออกจากราชการของขาราชการพลเรือนสามัญผูดํารงตําแหนงที่
ทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ แตง ต้ัง ใหนําความกราบบังคมทูลเพือ่ มพี ระบรมราชโองการใหพนจากตําแหนง
นบั แตว ันออกจากราชการ เวนแตออกจากราชการเพราะความตายใหนําความกราบบงั คมทูลเพอื่ ทรงทราบ

หมวด 9
การอุทธรณ

มาตรา 114 ผูใดถูกสั่งลงโทษตามพระราชบัญญัติน้ีหรือถูกสั่งใหออกจากราชการ
ตามมาตรา 110 (1) (3) (5) (6) (7) และ (8) ผูน้ันมีสิทธิอุทธรณตอ ก.พ.ค. ภายในสามสิบวันนับแต
วันทราบหรอื ถอื วาทราบคําส่งั

การอุทธรณและการพิจารณาวินิจฉัยอุทธรณตามวรรคหน่ึง ใหเปนไปตามที่กําหนด
ในกฎ ก.พ.ค.

มาตรา 115 ในการพิจารณาวินจิ ฉัยอุทธรณ ก.พ.ค. จะพิจารณาวินิจฉัยเองหรือจะต้ัง
คณะกรรมการวินิจฉัยอุทธรณ เพ่ือทําหนาท่ีเปนผูพิจารณาวินิจฉัยอุทธรณก็ได ท้ังน้ี ใหเปนไปตามท่ี
กาํ หนดในกฎ ก.พ.ค.

มาตรา 116 เม่ือ ก.พ.ค. พิจารณาวินิจฉัยอุทธรณแลว ใหผูบังคับบัญชาซ่ึงมีอํานาจ
ส่ังบรรจุตามมาตรา 57 ดําเนินการใหเปนไปตามคําวินิจฉัยน้ันภายในสามสิบวันนับแตวันท่ี ก.พ.ค.
มีคาํ วนิ ิจฉยั

397 386 การ ำด�เ ินนกาแรละทกาางรวิ ่สันกงยเลุสมกริ่ทีามร๕จุอ ิรทยธธรรณ์รมการ ้รอง ุทกข์
ในกรณีที่ผูอุทธรณไมเห็นดวยกับคําวินิจฉัยอุทธรณของ ก.พ.ค. ใหฟองคดีตอ
ศาลปกครองสงู สดุ ภายในเกาสิบวนั นบั แตวนั ท่ที ราบหรอื ถือวา ทราบคําวินจิ ฉยั ของ ก.พ.ค.
ผูบังคับบัญชาผูใดไมป ฏิบัติตามวรรคหน่ึง ใหถือวาเปนการจงใจละเวนการปฏิบัติหนาท่ี
โดยมิชอบเพอ่ื ใหเกดิ ความเสยี หายแกบุคคลอ่ืน
มาตรา 117 ในการปฏิบัติหนาท่ีตามพระราชบัญญัติน้ี ใหกรรมการ ก.พ.ค. และ
กรรมการวนิ ิจฉยั อุทธรณ เปน เจา พนกั งานตามประมวลกฎหมายอาญา และใหมีอํานาจดงั ตอ ไปน้ี
(1) ส่ังใหผูบังคับบัญชาซึ่งส่ังลงโทษหรือสั่งใหออกจากราชการอันเปนเหตุใหมี
การอุทธรณ สงสาํ นวนการสอบสวนและการลงโทษให ก.พ.ค. ภายในเวลาท่ีกาํ หนด
(2) สั่งใหกระทรวง กรม สวนราชการ รัฐวิสาหกิจ และหนวยงานอ่ืนของรัฐรวมตลอดทั้ง
องคกรปกครองสวนทองถ่ินท่ีเกี่ยวของสอบสวนใหมหรือสอบสวนเพ่ิมเติมหรือสงตัวขาราชการหรือ
เจาหนาที่ในสังกัดมาใหถอยคํา ในการนี้จะกําหนดระยะเวลาในการสอบสวนใหมหรอื สอบสวนเพิ่มเติม
ไวด วยก็ได
(3) มีคําสั่งใหขาราชการ พนักงาน หรือลูกจางของกระทรวง กรม สวนราชการ รัฐวิสาหกิจ
และหนวยงานอื่นของรัฐ หรือองคกรปกครองสวนทองถิ่น หรือบุคคลใดท่ีเกี่ยวของ มาใหถอยคํา
หรอื ใหส งเอกสารหรอื หลกั ฐานที่เกี่ยวขอ ง
(4) เขาไปในอาคาร หรือสถานที่ใด ๆ ท่ีเก่ียวของกับการปฏิบัติหนาท่ีของ ก.พ.ค. ท้ังน้ี
ในระหวางพระอาทิตยข ึ้นถึงพระอาทติ ยต ก หรือในเวลาทําการของสถานที่นน้ั
(5) สอบสวนใหมหรอื สอบสวนเพ่ิมเติม
มาตรา 118 การพิจารณาวนิ ิจฉัยอุทธรณตามมาตรา 114 ใหดําเนินการใหแลวเสร็จ
ภายในหนึ่งรอยย่ีสิบวันนับแตวันที่ไดรับอุทธรณ เวนแตมีเหตุขัดของที่ทําใหการพิจารณาไมแลวเสร็จ
ภายในระยะเวลาดังกลาว ก็ใหขยายระยะเวลาไดอีกซ่ึงไมเกินสองครั้ง โดยแตละคร้ังจะตอง
ไมเ กินหกสิบวนั และใหบ ันทึกเหตขุ ดั ขอ งใหปรากฏไวดวย
มาตรา 119 ขาราชการพลเรอื นสามญั ซึ่งโอนมาตามมาตรา 64 ผใู ดถูกสั่งลงโทษทางวินัย
อยูกอนวันโอนมาบรรจุ และผูนั้นมีสิทธิอุทธรณไดตามกฎหมายวาดวยระเบียบบริหารงานบุคคล
สวนทองถิ่นหรือกฎหมายวาดวยระเบียบขา ราชการท่ีโอนมาแตยังไมไดใชสิทธิอุทธรณตามกฎหมายดังกลาว
ก็ใหผูน้ันมีสิทธิอุทธรณตามมาตรา 114 ได แตถาผูน้ันไดใชสิทธิอุทธรณตามกฎหมายวาดวยระเบียบ
บริหารงานบุคคลสวนทองถิ่นหรือกฎหมายวาดวยระเบียบขาราชการท่ีโอนมาไวแลวและในวันท่ีผูน้ัน
ไดโอนมาบรรจุเปนขาราชการพลเรือนสามัญ การพิจารณาวินิจฉัยอุทธรณยังไมแลวเสร็จ ก็ใหสงเรื่องให
ก.พ.ค. เปน ผพู จิ ารณาอุทธรณ
มาตรา 120 ในการพิจารณาวินิจฉัยอุทธรณให ก.พ.ค. มีอํานาจไมรับอุทธรณ
ยกอุทธรณ หรือมีคําวินิจฉัยใหแกไขหรือยกเลิกคําสั่งลงโทษ และใหเยียวยาความเสียหายใหผูอุทธรณ
หรอื ใหด ําเนินการอน่ื ใดเพอื่ ประโยชนแ หงความยตุ ิธรรม ตามระเบียบที่ ก.พ.ค. กาํ หนด

398 387
การวินิจฉัยใหแกไขหรือใหดําเนินการอ่ืนตามวรรคหนึ่ง ก.พ.ค. จะใหเพ่ิมโทษไมได
เวนแตเปนกรณีไดรับแจงจาก ก.พ. ตามมาตรา 104 วาสมควรเพิ่มโทษ ในกรณีเชนน้ัน ก.พ.ค.
มีอาํ นาจวินิจฉัยใหเพ่ิมโทษได
มาตรา 121 เมอื่ มกี รณดี ังตอ ไปนี้ กรรมการวนิ จิ ฉยั อุทธรณอ าจถูกคดั คานได
(1) รูเหน็ เหตกุ ารณในการกระทําผิดวินยั ทผี่ อู ุทธรณถกู ลงโทษหรือการถูกสง่ั ใหออกจากราชการ
(2) มสี ว นไดเสียในการกระทาํ ผิดวินยั ทผ่ี อู ุทธรณถ ูกลงโทษหรือการถูกส่ังใหออกจากราชการ
(3) มสี าเหตุโกรธเคืองกับผอู ทุ ธรณ
(4) เปน ผกู ลาวหา หรอื เปนหรอื เคยเปน ผูบังคบั บญั ชาผูส ง่ั ลงโทษหรอื สัง่ ใหออกจากราชการ
(5) เปนผูมีสวนเกี่ยวของกับการดําเนินการทางวินัยหรือการส่ังใหออกจากราชการ
ทผ่ี อู ทุ ธรณถ กู ลงโทษหรือถกู สั่งใหอ อกจากราชการ
(6) มีความเกี่ยวพันทางเครือญาติหรือทางการสมรสกับบุคคลตาม (1) (2) (3) หรือ (4)
อนั อาจกอ ใหเ กิดความไมเปนธรรมแกผอู ุทธรณ
กรรมการวินิจฉัยอุทธรณซึ่งมีกรณีตามวรรคหน่ึง ใหแจงตอประธาน ก.พ.ค. และถอนตัว
จากการพจิ ารณาวินจิ ฉยั อุทธรณ
การย่ืนคําคัดคาน และการพจิ ารณาคําคัดคาน ใหเ ปนไปตามท่กี ําหนดในกฎ ก.พ.ค.

หมวด 10
การรอ งทกุ ข

มาตรา 122 ขาราชการพลเรือนสามัญผูใดมีความคับของใจอันเกิดจากการปฏิบัติ
หรือไมปฏิบัติตอตนของผูบังคับบัญชา และเปนกรณีที่ไมอาจอุทธรณตามหมวด 9 การอุทธรณได
ผูนัน้ มสี ทิ ธริ อ งทกุ ขไดต ามหลกั เกณฑแ ละวิธกี ารที่กําหนดไวใ นหมวดนี้

มาตรา 123 การรองทุกขท่ีเหตุเกิดจากผูบังคับบัญชา ใหรองทุกขตอผูบังคับบัญชา
ชน้ั เหนือขนึ้ ไป ตามลาํ ดับ

การรองทุกขท่ีเหตุเกิดจากหัวหนาสวนราชการระดับกรมที่อยูในบังคับบัญชาหรือ
รับผิดชอบการปฏิบัติราชการข้ึนตรงตอนายกรฐั มนตรีหรอื ตอรัฐมนตรี ปลัดกระทรวงรัฐมนตรีเจาสงั กัด
หรอื นายกรฐั มนตรี ใหร อ งทุกขตอ ก.พ.ค.

เมื่อ ก.พ.ค. ไดพจิ ารณาวนิ จิ ฉัยเร่ืองรอ งทุกขป ระการใดแลว ใหหัวหนาสวนราชการระดบั กรม
ท่ีอยใู นบงั คับบัญชาหรือรับผิดชอบการปฏิบัติราชการขึ้นตรงตอนายกรัฐมนตรีหรือตอรัฐมนตรี ปลัดกระทรวง
รัฐมนตรเี จาสังกดั หรอื นายกรัฐมนตรี แลวแตกรณี ดาํ เนินการใหเ ปนไปตามคําวินจิ ฉยั ของ ก.พ.ค.

การรองทุกขและการพิจารณาวินิจฉัยเรื่องรองทุกขตามวรรคหนึ่งและวรรคสอง
ใหเปนไปตามท่ีกาํ หนดในกฎ ก.พ.ค.

399 388
มาตรา 124 ในการพิจารณาวนิ ิจฉัยเร่ืองรองทุกขให ก.พ.ค. มีอํานาจไมรับเรื่องรอ งทุกข
ยกคํารองทุกข หรือมีคําวินิจฉัยใหแกไขหรือยกเลิกคําสั่ง และใหเยียวยาความเสียหายใหผูรองทุกข หรือ
ใหดําเนนิ การอน่ื ใดเพ่ือประโยชนแหงความยตุ ิธรรมตามระเบียบท่ี ก.พ.ค. กาํ หนด
ในการพิจารณาวินิจฉัยเร่ืองรองทุกข ก.พ.ค. จะพิจารณาวินิจฉัยเอง หรือจะตั้งกรรมการ
ก.พ.ค. คนหน่งึ หรือจะตง้ั คณะกรรมการวินิจฉัยรอ งทุกข เพ่ือทําหนาท่ีเปนผูพิจารณาวินิจฉัยเรื่องรอ งทุกขก็ได
ท้ังนี้ ใหเปนไปตามท่ีกําหนดในกฎ ก.พ.ค. และในการปฏิบัติหนาที่ตามพระราชบัญญัติน้ี ใหกรรมการ
วินิจฉยั รอ งทกุ ขเปน เจาพนกั งานตามประมวลกฎหมายอาญา และใหม อี ํานาจตามมาตรา 117 โดยอนโุ ลม
มาตรา 125 เมือ่ มกี รณีดังตอ ไปน้ี กรรมการวินิจฉัยรอ งทกุ ขอาจถูกคัดคา นได
(1) เปนผูบังคับบัญชาผูเปนเหตุใหเกิดความคับของใจ หรือเปนผูอยูใตบังคับบญั ชาของ
ผูบงั คับบญั ชาดังกลาว
(2) มีสวนไดเ สยี ในเรอ่ื งที่รองทุกข
(3) มสี าเหตุโกรธเคอื งกับผูรอ งทกุ ข
(4) มีความเกี่ยวพันทางเครือญาติหรือทางการสมรสกับบุคคลตาม (1) (2) หรือ (3)
อนั อาจกอใหเ กิดความไมเปนธรรมแกผ รู องทุกข
กรรมการวินิจฉัยรองทุกขซ่ึงมีกรณีตามวรรคหนึ่ง ใหแจงตอประธาน ก.พ.ค. และถอนตัว
จากการพิจารณาวินิจฉยั เรอ่ื งรอ งทุกข
การยืน่ คาํ คัดคาน และการพจิ ารณาคาํ คัดคาน ใหเปนไปตามทก่ี ําหนดในกฎ ก.พ.ค.

หมวด 11
การคมุ ครองระบบคุณธรรม

มาตรา 126 ในกรณีที่ ก.พ.ค. เห็นวา กฎ ระเบยี บ หรอื คาํ ส่ังใดทีอ่ อกตามพระราชบญั ญัตินี้
และมุงหมายใหใ ชบังคับเปนการทั่วไป ไมสอดคลองกับระบบคุณธรรมตามมาตรา 42 ให ก.พ.ค. แจง ให
หนว ยงานหรอื ผูออกกฎ ระเบยี บ หรอื คาํ ส่งั ดงั กลาวทราบ เพอื่ ดําเนนิ การแกไ ข หรอื ยกเลกิ ตามควรแกกรณี

การ ำด�เ ินนกาแรละทกาางรวิ ่สันกงยเลุสมกริ่ทีามร๕จุอ ิรทยธธรรณ์รมการ ้รอง ุทกข์

400 389

ลกั ษณะ 55
ขาราชการพลเรอื นในพระองค (ยกเลิก)

มาตรา 1276 (ยกเลกิ )

บทเฉพาะกาล

มาตรา 128 ให ก.พ. อ.ก.พ. วิสามญั และ อ.ก.พ. สามญั ซึง่ ปฏิบัตหิ นาที่อยูในวันกอน
วันที่พระราชบัญญัติน้ีใชบังคับ ปฏิบัติหนาท่ีตอไปจนกวาจะไดทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ แตงต้ัง ก.พ.
หรือจนกวาจะไดแตงตั้ง อ.ก.พ. วิสามัญ หรืออนุกรรมการใน อ.ก.พ. สามัญ แลวแตกรณี
ตามพระราชบัญญัติน้ี

การดําเนินการแตงตั้ง ก.พ. ใหกระทําใหแลวเสร็จภายในหน่ึงรอยยี่สิบวันนับแต
วันทพ่ี ระราชบญั ญัตนิ ้ีใชบงั คับ

มาตรา 129 ในระหวางท่ียังมิไดดําเนินการใหมี ก.พ.ค. ให ก.พ. ทําหนาที่ ก.พ.ค.
ตามพระราชบัญญัติน้ีไปพลางกอนจนกวาจะไดทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ แตงต้ัง ก.พ.ค. ตาม
พระราชบัญญัตินี้

การดําเนินการแตงตั้ง ก.พ.ค. ใหกระทําใหแลวเสร็จภายในหนึ่งรอยแปดสิบวัน
นับแตวนั ที่พระราชบัญญัตินีใ้ ชบงั คับ

มาตรา 130 ผูใดเปนขาราชการพลเรือนสามัญ หรือขาราชการพลเรือนในพระองค
ตามพระราชบัญญัติระเบียบขาราชการพลเรือน พ.ศ. 2535 อยูในวันกอนวันที่พระราชบัญญัติน้ี
ใชบังคบั ใหผูน ั้นเปนขาราชการพลเรือนสามัญ หรือขาราชการพลเรือนในพระองคต ามพระราชบัญญัตินี้
แลว แตกรณี ตอไป

มาตรา 131 ในระหวางที่ ก.พ. ยังมิไดจัดทํามาตรฐานกําหนดตําแหนงตามมาตรา 48
บทบัญญัติในลักษณะ 4 ขาราชการพลเรือนสามัญ และลักษณะ 5 ขาราชการพลเรือนในพระองค
ยังไมใชบังคับ โดยใหนําบทบัญญั ติในลักษณะ 3 ขาราชการพลเรือนสามัญ และลักษณะ 4
ขาราชการพลเรือนในพระองค แหงพระราชบัญญัติระเบียบขาราชการพลเรือน พ.ศ. 2535
และที่แกไขเพิ่มเติม ตลอดจนบัญชีอัตราเงินเดือนขา ราชการพลเรือนและบัญชีอัตราเงนิ ประจําตําแหนง
ขาราชการพ ลเรือนท ายพ ระราชบั ญ ญั ติเงินเดือนและเงินป ระจําตําแห น ง พ .ศ. 2 5 3 8

5 ลักษณะ 5 ขาราชการพลเรือนในพระองค ยกเลิกโดยมาตรา 6 แหงพระราชบัญญัติระเบียบบรหิ าร
ราชการในพระองค พ.ศ. 2560

6 มาตรา 127 ยกเลิกโดยมาตรา 6 แหง พระราชบัญญัตริ ะเบียบบรหิ ารราชการในพระองค พ.ศ. 2560

401 390 การ ำด�เ ินนกาแรละทกาางรวิ ่สันกงยเลุสมกริ่ทีามร๕จุอ ิรทยธธรรณ์รมการ ้รอง ุทกข์
และท่ีแกไขเพ่ิมเติมมาใชบังคับแกขาราชการพลเรือนสามัญและขาราชการพลเรือนในพระองค
ไปพลางกอนจนกวา ก.พ. จะจัดทํามาตรฐานกําหนดตําแหนงเสรจ็ และจดั ตําแหนงขาราชการพลเรือนสามัญ
ของทุกสวนราชการเขาประเภทตําแหนง สายงาน และระดับตําแหนงตามมาตรฐานกําหนดตําแหนง
และประกาศใหทราบ จึงใหนําบทบัญญัติในลักษณะ 4 ขาราชการพลเรือนสามัญ และลักษณะ 5
ขาราชการพลเรือนในพระองค แหงพระราชบัญญัติน้ีมาใชบังคับต้ังแตวันที่ ก.พ. ประกาศเปนตนไป
และใหผูบังคับบัญชาส่ังแตงต้ังขาราชการใหดํารงตําแหนงใหมภายในสามสิบวันนับแตวันท่ี ก.พ.
ประกาศ

ในการจดั ตําแหนงและการแตงตั้งขาราชการพลเรือนสามัญตามวรรคหนึ่ง หากมีเหตุผล
และความจําเปน ก.พ. อาจอนุมัติใหแตงต้ังขาราชการพลเรือนสามัญผูมีคุณสมบัติตางไปจาก
คณุ สมบัตเิ ฉพาะสาํ หรับตาํ แหนงตามทก่ี ฎหมายกําหนดไวเปนการเฉพาะตวั ได

ให ก.พ. ดําเนินการประกาศตามวรรคหน่ึงใหแลวเสร็จภายในหน่ึงปนับแตวันที่
พระราชบญั ญัติน้ีใชบังคับ

มาตรา 132 ในระหวางท่ียังมิไดตราพระราชกฤษฎีกา หรือออกกฎ ก.พ. ขอบังคับ
หรือระเบียบหรือกําหนดกรณีใด เพ่อื ปฏิบัติการตามพระราชบัญญัติน้ี ใหนําพระราชกฤษฎีกา กฎ ก.พ.
ขอบังคับ หรือระเบียบหรือกรณีที่กําหนดไวแลวซ่ึงใชอยูเดิมมาใชบังคับเทาท่ีไมขัดหรือแยงกับ
พระราชบญั ญัตินี้

ในกรณที ไ่ี มอาจนําพระราชกฤษฎีกา กฎ ก.พ. ขอบังคบั หรือระเบียบหรือกรณีที่กําหนด
ไวแลว มาใชบ ังคบั ไดต ามวรรคหนึ่ง การจะดาํ เนินการประการใดใหเปนไปตามท่ี ก.พ. กาํ หนด

มาตรา 133 ขาราชการพลเรือนผูใดมีกรณีกระทําผิดวินัยหรือกรณีที่สมควร
ใหออกจากราชการอยูกอนวันท่ีบทบัญญัติในลักษณะ 4 ขาราชการพลเรือนสามัญ และลักษณะ 5
ขาราชการพลเรือนในพระองค แหงพระราชบัญญัตินี้ใชบังคับ ใหผูบังคับบัญชาตามพระราชบัญญัติน้ี
มีอํานาจสั่งลงโทษผูน้ันหรอื ส่ังใหผูนั้นออกจากราชการตามกฎหมายวาดวยระเบียบขาราชการพลเรือน
ท่ีใชอยูในขณะน้ัน สวนการสอบสวน การพิจารณา และการดําเนินการเพ่ือลงโทษหรือใหออกจากราชการ
ใหดาํ เนินการตามพระราชบัญญตั ิน้ี เวน แต

(1) กรณีท่ีผูบังคับบัญชาไดสงั่ ใหสอบสวนโดยถูกตองตามกฎหมายท่ีใชอยูในขณะน้ันไปแลว
กอนวันที่บทบัญญัติในลักษณะ 4 ขาราชการพลเรือนสามัญ และลักษณะ 5 ขาราชการพลเรือน
ในพระองค แหงพระราชบัญญัตินี้ใชบังคับ และยังสอบสวนไมเสร็จก็ใหสอบสวนตามกฎหมายน้ันตอไป
จนกวา จะแลวเสรจ็

(2) ในกรณีที่ไดมีการสอบสวนหรอื พิจารณาโดยถูกตอ งตามกฎหมายที่ใชอยูในขณะน้ัน
เสร็จไปแลวกอนวันที่บทบัญญัติในลักษณะ 4 ขาราชการพลเรือนสามัญ และลักษณะ 5 ขาราชการ
พลเรือนในพระองค แหงพระราชบัญญัติน้ีใชบังคับ ใหการสอบสวนหรือพิจารณา แลวแตกรณีนั้น
เปน อนั ใชไ ด

(3) กรณีท่ีไดมีการรายงานหรือสง เร่ือง หรือนําสํานวนเสนอ หรือสงให อ.ก.พ. สามัญใด
พิจารณาโดยถูกตองตามกฎหมายที่ใชอยูในขณะนั้น และ อ.ก.พ. สามัญพิจารณาเร่ืองน้ันยังไมเสร็จ
ก็ให อ.ก.พ. สามญั พิจารณาตามกฎหมายน้ันตอไปจนกวาจะแลวเสรจ็

402 391

มาตรา 134 ขาราชการพลเรือนซ่ึงโอนมาจากพนักงานสวนทองถิ่นหรือขาราชการ
ประเภทอื่นกอนวันท่ีบทบัญญัติในลักษณะ 4 ขาราชการพลเรอื นสามัญ และลักษณะ 5 ขาราชการพลเรือน
ในพระองค แหงพระราชบัญญัติน้ีใชบังคับ ผูใดมีกรณีกระทําผิดวินัยหรือกรณีท่ีสมควรใหออกจากงาน
หรือใหออกจากราชการตามกฎหมายวาดวยระเบียบบริหารงานบุคคลสวนทองถิ่นหรือกฎหมายวาดวย
ระเบียบขาราชการนั้นอยูกอนวันท่ีบทบัญญัติในลักษณะ 4 ขาราชการพลเรือนสามัญ และลักษณะ 5
ขาราชการพลเรือนในพระองค แหงพระราชบัญญัติน้ีใชบังคับ ใหผูบังคับบัญชาตามพระราชบัญญัตินี้
มอี ํานาจดําเนินการทางวินัยแกผูนั้น หรอื ดําเนินการสั่งใหผูนั้นออกจากราชการได ทั้งนี้ ใหนํามาตรา 106
มาใชบังคบั โดยอนโุ ลม

มาตรา 135 ผูใดถูกสั่งลงโทษหรือถูกสั่งใหออกจากราชการตามพระราชบัญญัติ
ระเบียบขาราชการพลเรอื น พ.ศ. 2535 ถายังมิไดยื่นอทุ ธรณห รือรองทุกขตามพระราชบัญญัตดิ ังกลาว
และยังไมพนกําหนดเวลาอุทธรณหรือรอ งทกุ ขในวันที่บทบัญญัติในลักษณะ 4 ขาราชการพลเรือนสามัญ
และลกั ษณะ 5 ขาราชการพลเรือนในพระองค แหงพระราชบัญญัติน้ีใชบังคับ ใหมีสิทธิอุทธรณหรือรองทุกข
ตามพระราชบัญญตั ิน้ีไดภายในสามสิบวันนับแตวันที่บทบัญญัติในลักษณะ 4 ขาราชการพลเรือนสามัญ
และลกั ษณะ 5 ขาราชการพลเรือนในพระองค แหงพระราชบญั ญตั นิ ้ใี ชบงั คบั

มาตรา 136 เรื่องอุทธรณและเร่ืองรองทุกขตามพระราชบัญญัติระเบียบขาราชการ
พลเรือน พ.ศ. 2535 ท่ีไดยื่นไวกอนวันท่ีบทบัญญัติในลักษณะ 4 ขาราชการพลเรือนสามัญ และ
ลักษณะ 5 ขาราชการพลเรือนในพระองค แหงพระราชบญั ญัตินี้ใชบงั คับและอยูในอํานาจการพิจารณา
ของ อ.ก.พ. สามัญ หรอื ก.พ. ให อ.ก.พ. สามญั หรอื ก.พ. แลว แตก รณี พิจารณาตอไปจนกวาจะแลวเสรจ็

เร่ืองอุทธรณ และเร่ืองรองทุกขตามพระราชบัญญั ติระเบียบขาราชการพลเรือน
พ.ศ. 2535 ท่ีไดย่ืนตอ อ.ก.พ. สามัญ หรือ ก.พ. ในวันหรือหลังวันท่ีบทบัญญัติในลักษณะ 4
ขาราชการพลเรือนสามัญและลักษณะ 5 ขาราชการพลเรือนในพระองค แหงพระราชบัญญัติน้ีใชบังคับ
และเปนกรณีท่ีมีการลงโทษหรือสั่งการไวกอนวันที่บทบัญญัติในลักษณะ 4 ขาราชการพลเรือนสามัญ
และลักษณะ 5 ขาราชการพลเรือนในพระองค แหงพระราชบัญญัติน้ีใชบังคับ ให ก.พ.ค. เปนผูพิจารณา
ดําเนินการตอไป

มาตรา 137 การใดท่ีอยูระหวางดําเนินการหรือเคยดําเนินการไดตามพระราชบัญญัติ
ระเบียบขาราชการพลเรือน พ.ศ. 2535 และมิไดบัญญัติไวในพระราชบัญญัตินี้หรือมีกรณีท่ีไมอาจ
ดําเนินการตามพระราชบัญญัตินี้ การดําเนินการตอไปในเรื่องน้ันจะสมควรดําเนินการประการใด
ใหเปน ไปตามที่ ก.พ. กําหนด

มาตรา 138 การปรับเงินเดือนและเงินประจําตําแหนงของขาราชการพลเรือนสามัญ
เขาตามบญั ชีทายพระราชบัญญตั ิน้ี ใหเปนไปตามหลกั เกณฑแ ละวิธีการที่คณะรฐั มนตรีกําหนด

เพื่อประโยชนในการดําเนินการตามวรรคหนึ่ง ขาราชการพลเรือนสามัญท่ีไดรับเงินเดอื น
ยังไมถึงขั้นต่ําของระดับตามบัญชีทายพระราชบัญญัติน้ีใหไดรับเงินเดือนไมตํ่ากวาข้ันตํ่าชั่วคราว

403 392
ตามบัญชีทายตามพระราชบัญญัตินี้ และใหไดรับการปรับเงินเดือนจนไดรับเงินเดือนในข้ันตํ่าของ
ระดบั ตามบญั ชที า ยพระราชบญั ญัตนิ ้ี ตามหลักเกณฑแ ละวธิ ีการท่ีคณะรัฐมนตรีกําหนด

มาตรา 139 ในกรณีท่ีกฎหมายวาดวยระเบียบขาราชการประเภทตา ง ๆ กําหนดใหนํา
กฎหมายวา ดวยระเบียบขาราชการพลเรือนในสวนที่เกี่ยวของกับขาราชการพลเรอื นสามัญมาใชบังคับ
หรือใชบังคับโดยอนุโลม ใหยังคงนําพระราชบัญญัติระเบียบขาราชการพลเรือน พ.ศ. 2535 และ
ท่ีแกไขเพิ่มเติม มาใชบังคับหรือใชบังคับโดยอนุโลมตอไป การใหนําพระราชบัญญัติน้ีไปใชบังคับกับ
ขาราชการประเภทดงั กลาวท้ังหมดหรือบางสวน ใหกระทําไดโดยมติขององคกรกลางบริหารงานบุคคล
หรอื องคก รที่ทําหนา ที่องคก รกลางบรหิ ารงานบุคคลของขาราชการประเภทนั้น ๆ โดยความเห็นชอบของ
คณะรัฐมนตรี

ผรู ับสนองพระบรมราชโองการ
พลเอก สรุ ยุทธ จลุ านนท
นายกรฐั มนตรี

การ ำด�เ ินนกาแรละทกาางรวิ ่สันกงยเลุสมกริ่ทีามร๕จุอ ิรทยธธรรณ์รมการ ้รอง ุทกข์

404 393

บญั ชีเงนิ เดือนข้นั ตํา่ ขน้ั สงู ของขาราชการพลเรอื นสามัญ7
ตําแหนง ประเภทบรหิ าร

บาท บาท

ขัน้ สงู 74,320 76,800
ขน้ั ต่าํ 51,140 56,380
ข้นั ตาํ่ ชว่ั คราว 24,400 29,980
ระดบั
ตน สงู

บัญชีเงินเดือนขน้ั ตาํ่ ข้ันสงู ของขาราชการพลเรอื นสามญั
ตําแหนง ประเภทอาํ นวยการ

บาท บาท

ขั้นสูง 59,500 70,360
ขน้ั ตาํ่ 26,660 32,850
ข้นั ตํ่าชั่วคราว 19,860 24,400
ระดบั ตน สูง

บญั ชีเงินเดอื นข้นั ตํ่าขัน้ สงู ของขาราชการพลเรอื นสามญั
ตาํ แหนง ประเภทวชิ าการ

บาท บาท บาท บาท บาท
76,800
ขั้นสงู 26,900 43,600 58,390 69,040 43,810
ขนั้ ตํา่ 8,340 15,050 22,140 31,400 29,980
ขั้นตาํ่ ชว่ั คราว 7,140 13,160 19,860 24,400
ระดบั ปฏิบัตกิ าร ชํานาญการ ชาํ นาญการ เช่ยี วชาญ ทรงคณุ วุฒิ
พิเศษ

บญั ชีเงินเดือนขน้ั ต่ําข้ันสูงของขาราชการพลเรอื นสามญั
ตาํ แหนง ประเภททัว่ ไป

บาท บาท บาท บาท

ขน้ั สงู 21,010 38,750 54,820 69,040
ข้นั ตํา่ 4,870 10,190 15,410 48,220
ระดบั ปฏบิ ตั งิ าน ชาํ นาญงาน อาวโุ ส ทักษะพิเศษ

7 บัญชีเงินเดือนขั้นต่ําข้ันสูงของขาราชการพลเรือนสามัญ แกไขเพ่ิมเติมโดยพระราชบัญญัติระเบียบ
ขา ราชการพลเรอื น (ฉบบั ท่ี 2) พ.ศ. 2558

405 394

ตารางบญั ชอี ตั ราเงินประจําตาํ แหนงของขา ราชการพลเรอื นสามญั

1. ประเภทบริหาร

ระดบั อัตรา (บาท/เดือน)
ระดบั สงู 21,000
ระดบั ตน 14,500
10,000

2. ประเภทอํานวยการ

ระดบั อัตรา (บาท/เดอื น)
ระดบั สงู 10,000
ระดบั ตน 5,600

3. ประเภทวชิ าการ

ระดบั อตั รา (บาท/เดือน)
ทรงคณุ วุฒิ 15,600
เชี่ยวชาญ 13,000
ชาํ นาญการพิเศษ 9,900
ชํานาญการ 5,600
3,500

4. ประเภททว่ั ไป การ ำด�เ ินนกาแรละทกาางรวิ ่สันกงยเลุสมกริ่ทีามร๕จุอ ิรทยธธรรณ์รมการ ้รอง ุทกข์

ระดบั อัตรา (บาท/เดอื น)
ทักษะพิเศษ 9,900

406 395
หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใชพระราชบัญญัติฉบับน้ี คือ เน่ืองจากพระราชบัญญัติระเบียบ
บริหารราชการแผนดิน (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2545 บัญญัติใหดําเนินการปรับปรุงกฎหมายวาดวยระเบียบ
ขาราชการพลเรือน เพื่อกําหนดภารกิจของคณะกรรมการขาราชการพลเรือน และสํานกั งานคณะกรรมการ
ขาราชการพลเรือนใหเหมาะสม ประกอบกับพระราชบัญญัติระเบียบขาราชการพลเรือน พ.ศ. 2535
ไดใ ชบังคับมานาน บทบัญญัติบางประการไมสอดคลองกับพัฒนาการดานการบริหารราชการท่ีเปล่ียนไป
ดังน้ัน เพ่ือกําหนดภารกิจของคณะกรรมการขาราชการพลเรอื นและสํานักงานคณะกรรมการขาราชการ
พลเรือนใหเหมาะสม และเพื่อใหการบรหิ ารทรพั ยากรบุคคลภาครัฐสอดคลองกับทิศทางการบรหิ ารราชการ
สมควรปรบั ปรงุ กฎหมายดังกลาว โดยปรับบทบาทของคณะกรรมการขาราชการพลเรอื น จากเดิมที่เปนท้ัง
ผูจัดการงานบุคคลของฝายบริหาร ผพู ิทักษร ะบบคุณธรรม และผจู ัดโครงสรางสวนราชการ ใหเปนเพียง
ผูจัดการงานบุคคลของฝายบริหาร โดยมิใหซํ้าซอนกับบทบาทของคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ
สวนบทบาทในการพิทักษระบบคุณธรรมใหเปนของคณะกรรมการพิทักษระบบคุณธรรม ปรับบทบาท
ของสํานักงานคณะกรรมการขาราชการพลเรือนจากเดิมที่เปนเจาหนาท่ีเกี่ยวกับการดําเนินงานของ
คณะกรรมการขา ราชการพลเรือน ใหเปนเจา หนาที่เกี่ยวกับการดําเนินงานของคณะกรรมการขาราชการ
พลเรือนและคณะกรรมการพิทักษระบบคุณธรรม และมิใหซํา้ ซอนกับบทบาทของสํานักงานคณะกรรมการ
พัฒนาระบบราชการ ปรับปรุงระบบตําแหนงของขาราชการพลเรอื นสามัญใหจําแนกตามกลุมลักษณะงาน
ตลอดจนกระจายอํานาจการบริหารทรัพยากรบุคคลภาครัฐใหสวนราชการเจาสังกัดดําเนินการมากข้ึน
จึงจําเปนตองตราพระราชบัญญัติ
พระราชบัญญตั ิระเบยี บขาราชการพลเรอื น (ฉบบั ท่ี 2) พ.ศ. 25588

มาตรา 2 พระราชบญั ญัตนิ ี้ใหใชบังคับต้ังแตวนั ที่ 1 ธันวาคม พ.ศ. 2557 เปนตน ไป
มาตรา 5 ในวาระเร่ิมแรก ใหปรับเงินเดือนของขาราชการพลเรือนสามัญท่ีไดรับอยูเดิม
เขา สูอัตราในบัญชีทายพระราชบัญญัตินี้
ใหขาราชการพลเรือนสามัญผูดํารงตําแหนงประเภทวิชาการระดับปฏิบัติการและ
ระดับชํานาญการและผูดํารงตําแหนงประเภทท่ัวไประดับปฏิบัติงานและระดับชํานาญงานไดรับเงินเดือน
ในอัตราที่สูงกวาอัตราที่ไดรับอยูเดิมตามบัญชีทายพระราชบัญญัตินี้อีกรอยละสี่ของเงินเดือนท่ีไดรับอยู
ในกรณีที่การปรับเงินเดือนดังกลาวทําใหมีเศษไมถึงสิบบาทใหปรับตัวเลขเงินเดือนดังกลาวเพิ่มข้ึนเปน
สิบบาท
มาตรา 6 ใหน ายกรฐั มนตรรี ักษาการตามพระราชบัญญัตนิ ้ี
หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใชพระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ โดยที่เปนการสมควรปรับอัตรา
เงินเดือนของขาราชการพลเรือนสามัญใหเหมาะสมเปนธรรมและไดม าตรฐาน โดยคาํ นึงถึงคาครองชีพท่ี
เปลี่ยนแปลงไป คาตอบแทนในภาคเอกชน ฐานะการคลังของประเทศ ความแตกตา งระหวางรายไดของ

8 ราชกจิ จานุเบกษา เลม 132/ตอนที่ 43 ก/หนา 1/21 พฤษภาคม 2558

407 396 การ ำด�เ ินนกาแรละทกาางรวิ ่สันกงยเลุสมกริ่ทีามร๕จุอ ิรทยธธรรณ์รมการ ้รอง ุทกข์
ขาราชการระดับตาง ๆ ในประเภทเดียวกันและตางประเภทกัน และปจจัยอื่นท่ีจําเปนสมควร
ปรับบัญชีเงินเดือนขั้นตํ่าข้ันสูงของขาราชการพลเรือนสามัญใหเหมาะสมยิ่งข้ึน และกําหนดมาตรการ
เยียวยาใหขาราชการพลเรือนสามัญไดรับเงินเดือนหรือเงินประจําตําแหนงท่ีเหมาะสมและเปนธรรม
ตามสมควรแหงกรณี ตามหลกั เกณฑและวธิ ีการทค่ี ณะรัฐมนตรกี ําหนดจึงจาํ เปนตอ งตราพระราชบญั ญตั นิ ี้
พระราชบญั ญัติระเบียบขาราชการพลเรือน (ฉบับท่ี 3) พ.ศ. 25629

มาตรา 2 พระราชบัญญัตินี้ใหใชบังคับตั้งแตวันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา
เปน ตน ไป
หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใชพ ระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ โดยที่ปจจุบันปรากฏปญหาความไมสอดคลอง
กั น ร ะ ห ว าง บ ท บั ญ ญั ติ ข อ ง ก ฎ ห ม าย ว าด ว ย ก าร ดํ า เนิ น ก าร ท าง วิ นั ย ข อ งข าร า ช ก าร ฝ า ย พ ล เรื อ น
ประเภทตาง ๆ สง ผลใหเ กิดความไมเ ปน ธรรมและไมเสมอภาคในการดําเนินการทางวินัยแกขาราชการซ่งึ
ออกจากราชการไปแลว นอกจากน้ียังมีปญหาความแตกตา งระหวา งกฎหมายวาดวยการดาํ เนินการทาง
วินัยของขาราชการพลเรือนกับกฎหมายขององคกรตรวจสอบการทุจริต ซึ่งทําใหการดําเนินการ
ทางวินัยเพ่ือพิจารณาลงโทษแกขาราชการท่ีถูกองคกรตรวจสอบการทุจริตช้ีมูลความผิดหลังออกจาก
ราชการไปแลว ในบางกรณีไมอาจดําเนินการตามฐานความผิดที่ช้ีมูลได ดังนั้น สมควรใหการดําเนินการ
ทางวินัยแกผูซ่งึ ออกจากราชการเปน มาตรฐานเดียวกันและสอดคลองกับกฎหมายขององคกรตรวจสอบ
การทุจริต อันจะเปนกลไกหน่ึงที่ทําใหการปองกันและปราบปรามการทุจริตสัมฤทธ์ิผลมากย่ิงขึ้น
จึงจําเปน ตองตราพระราชบัญญัติน้ี

9 ราชกจิ จานุเบกษา เลม 136/ตอนที่ 43 ก/หนา 1/5 เมษายน 2562

408 397

408

กฎ ก.พ.
ว่าดว้ ยการกระทาการอนั เปน็ การลว่ งละเมดิ หรอื คกุ คามทางเพศ

พ.ศ. 2553

อาศัยอานาจตามความในมาตรา 8 (5) และมาตรา 83 (8) แห่งพระราชบัญญัติ
ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2551 อันเป็นกฎหมายที่มีบทบัญญัติบางประการเกี่ยวกับการจากัด
สทิ ธิและเสรีภาพของบุคคล ซึ่งมาตรา 29 ประกอบกบั มาตรา 31 มาตรา 33 มาตรา 43 และมาตรา 64
ของรฐั ธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจกั รไทยบญั ญัติใหก้ ระทาได้ โดยอาศัยอานาจตามบทบัญญตั แิ ห่งกฎหมาย
ก.พ. โดยอนุมัติคณะรฐั มนตรี จงึ ออกกฎ ก.พ. ไว้ ดงั ต่อไปน้ี

ข้อ 11 กฎ ก.พ. นี้ให้ใชบ้ ังคับตง้ั แตว่ ันถดั จากวนั ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเปน็ ตน้ ไป
ข้อ 2 ข้าราชการพลเรือนสามัญผู้ใดกระทาการประการใดประการหนึ่งดังต่อไปนี้
ตอ่ ข้าราชการด้วยกัน หรือผู้ร่วมปฏิบัติราชการ ไม่ว่าจะเกิดข้ึนในหรอื นอกสถานท่ีราชการโดยผู้ถูกกระทา
มิได้ยินยอมต่อการกระทาน้ัน หรือทาให้ผู้ถูกกระทาเดือดร้อนราคาญ ถือว่าเป็นการกระทาอันเป็นการ
ลว่ งละเมดิ หรือคกุ คามทางเพศ ตามมาตรา 83 (8)
(1) กระทาการด้วยการสัมผสั ทางกายท่ีมลี ักษณะสอ่ ไปในทางเพศ เช่น การจูบ การโอบกอด
การจบั อวัยวะส่วนใดสว่ นหนึง่ เป็นตน้
(2) กระทาการด้วยวาจาท่ีส่อไปในทางเพศ เช่น วิพากษ์วิจารณ์ร่างกาย พูดหยอกล้อ
พดู หยาบคาย เปน็ ตน้
(3) กระทาการด้วยอากัปกิริยาท่ีส่อไปในทางเพศ เช่น การใช้สายตาลวนลาม
การทาสญั ญาณหรอื สัญลกั ษณใ์ ด ๆ เป็นต้น
(4) การแสดงหรือส่ือสารด้วยวิธีการใด ๆ ท่ีส่อไปในทางเพศ เช่น แสดงรูปลามกอนาจาร
สง่ จดหมาย ข้อความ หรอื การส่ือสารรูปแบบอืน่ เป็นต้น
(5) การแสดงพฤติกรรมอ่ืนใดท่ีส่อไปในทางเพศ ซ่ึงผู้ถูกกระทา ไม่พึงประสงค์หรือ
เดอื ดรอ้ นราคาญ

ให้ไว้ ณ วันที่ 27 กนั ยายน พ.ศ. 2553
อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ
นายกรฐั มนตรี
ประธาน ก.พ.

1 ราชกจิ จานุเบกษา เล่ม 127/ตอนที่ 59 ก/หน้า 14/28 กันยายน 2553

409

409 398
หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้กฎ ก.พ. ฉบับนี้ คือ โดยท่ีมาตรา 83 (8) แห่งพระราชบัญญัติ
ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2551 บัญญัติว่าข้าราชการพลเรือนสามัญต้องไม่กระทาการใด
อันเป็นการล่วงละเมิดหรือคุกคามทางเพศตามที่กาหนดใน กฎ ก.พ. สมควรกาหนดหลักเกณฑ์
การกระทาการอันเปน็ การล่วงละเมิดหรือคกุ คามทางเพศ จึงจาเปน็ ต้องออกกฎ ก.พ. น้ี

การ ำด�เ ินนกาแรละทกาางรวิ ่สันกงยเลุสมกริ่ทีามร๕จุอ ิรทยธธรรณ์รมการ ้รอง ุทกข์

410 399

410

กฎ ก.พ.
ว่าดว้ ยการดาเนนิ การทางวนิ ยั

พ.ศ. 2556

อาศยั อานาจตามความในมาตรา 8 (5) มาตรา 94 มาตรา 95 มาตรา 96 มาตรา 97
มาตรา 101 และมาตรา 105 แห่งพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2551 อันเป็น
กฎหมายที่มีบทบัญญัติบางประการเก่ียวกับการจากัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคล ซึ่งมาตรา 29
ประกอบกบั มาตรา 31 มาตรา 33 มาตรา 43 และมาตรา 64 ของรฐั ธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
บญั ญัติให้กระทาได้โดยอาศัยอานาจตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย ก.พ. โดยอนุมัติคณะรัฐมนตรี จึงออก
กฎ ก.พ. ไว้ ดงั ต่อไปนี้

ข้อ 11 กฎ ก.พ. นี้ให้ใช้บังคับเมื่อพ้นกาหนดหกสิบวันนับแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษา
เปน็ ต้นไป

หมวด 1
การดาเนนิ การเมอ่ื มีการกลา่ วหาหรอื มีกรณเี ปน็ ที่สงสัยว่ามีการกระทาผดิ วินยั

ข้อ 2 เมื่อมีการกล่าวหาหรือมีกรณีเป็นที่สงสัยวา่ ข้าราชการพลเรือนสามญั ผู้ใดกระทา
ผดิ วินยั ผบู้ ังคับบญั ชาของผู้นน้ั มหี นา้ ทตี่ อ้ งรายงานตามลาดบั ชั้นให้ผ้บู งั คบั บญั ชาซ่ึงมีอานาจส่ังบรรจุตาม
มาตรา 57 ทราบโดยเรว็ โดยทาเปน็ หนังสอื ซงึ่ อยา่ งน้อยต้องมีสาระสาคญั ดงั ต่อไปน้ี

(1) ชอื่ ผู้กล่าวหา (ถ้าม)ี
(2) ชอื่ และตาแหนง่ ของผู้ถูกกล่าวหา
(3) ข้อเทจ็ จรงิ หรือพฤติการณ์แหง่ การกระทาที่กลา่ วหาหรอื เปน็ ท่สี งสยั ว่ากระทาผดิ วนิ ัย
(4) พยานหลกั ฐานทเี่ กีย่ วขอ้ งเทา่ ทีม่ ี
ขอ้ 3 การกล่าวหาท่ีจะดาเนินการตามกฎ ก.พ. นี้ ถ้าเป็นการกล่าวหาเป็นหนังสือให้มี
รายละเอียดดงั ต่อไปนี้
(1) ระบชุ อื่ ของผกู้ ล่าวหา และลงลายมือชอ่ื ผูก้ ลา่ วหา
(2) ระบุชอ่ื หรือตาแหน่งของผถู้ กู กล่าวหา หรือขอ้ เทจ็ จริงท่เี พียงพอให้ทราบวา่ เปน็ การ
กลา่ วหาขา้ ราชการพลเรอื นสามัญผใู้ ด
(3) ระบุข้อเทจ็ จริงและพฤตกิ ารณ์แหง่ การกระทาที่มีการกล่าวหาเพียงพอทจ่ี ะเข้าใจได้
หรือแสดงพยานหลกั ฐานเพียงพอทีจ่ ะสืบสวนสอบสวนตอ่ ไปได้

1 ราชกจิ จานเุ บกษา เล่ม 130/ตอนท่ี 126 ก/หน้า 11/27 ธนั วาคม 2556

411 การ ำด�เ ินนกาแรละทกาางรวิ ่สันกงยเลุสมกริ่ทีามร๕จุอ ิรทยธธรรณ์รมการ ้รอง ุทกข์

411 400
ในกรณีที่เป็นการกล่าวหาด้วยวาจา ให้ผู้บังคับบัญชาผู้ได้รับฟังการกล่าวหาจัดให้มี
การทาบนั ทกึ คากล่าวหาทม่ี ีรายละเอียดตามวรรคหน่ึง และให้ผกู้ ลา่ วหาลงลายมือช่อื ไว้เปน็ หลักฐาน
ข้อ 4 กรณีเป็นท่ีสงสัยว่าข้าราชการพลเรือนสามัญผู้ใดกระทาผิดวินัยที่จะดาเนินการ
ตามกฎ ก.พ. นี้ อาจมลี ักษณะดังน้ี
(1) มีการกล่าวหาที่ไม่ได้ระบุช่ือผู้กล่าวหา ไม่ได้ลงลายมือช่ือผู้กล่าวหา แต่ระบุชื่อ
หรือตาแหน่งของผู้ถูกกล่าวหา หรือข้อเท็จจริงท่ีปรากฏนั้นเพียงพอที่จะทราบว่ากล่าวหาข้าราชการ
พลเรือนสามัญผใู้ ดและขอ้ เทจ็ จรงิ หรือพฤติการณน์ ัน้ เพียงพอทจ่ี ะสบื สวนสอบสวนต่อไปได้ หรือ
(2) มีข้อเท็จจริงหรือพฤติการณ์ปรากฏต่อผู้บังคับบัญชาอันเป็นท่ีสงสัยว่าข้าราชการ
พลเรือนสามญั ผู้ใดกระทาผิดวินยั โดยมพี ยานหลกั ฐานเพยี งพอที่จะสืบสวนสอบสวนต่อไปได้

หมวด 2
การสบื สวนหรอื พจิ ารณาในเบอื้ งต้น

ข้อ 5 เมื่อได้รับรายงานตามข้อ 2 หรือความปรากฏต่อผู้บังคับบัญชาซึ่งมีอานาจ
สั่งบรรจุตามมาตรา 57 ว่ามีการกล่าวหาหรือมีกรณีเป็นท่ีสงสัยว่าข้าราชการพลเรือนสามัญผู้ใด
กระทาผิดวนิ ยั ใหด้ าเนนิ การอยา่ งใดอย่างหนึ่งดังต่อไปน้ีโดยเรว็

(1) พจิ ารณาในเบ้ืองต้นว่ากรณมี ีมูลทีค่ วรกลา่ วหาว่าผนู้ น้ั กระทาผิดวินยั หรือไม่
(2) ดาเนินการสืบสวนหรือส่ังให้ดาเนินการสืบสวน และพิจารณาว่ากรณีมีมูลท่ีควร
กล่าวหาว่าผู้น้ันกระทาผิดวินัยหรือไม่ ในการน้ี ผู้บังคับบัญชาซึ่งมีอานาจสั่งบรรจุตามมาตรา 57
อาจสืบสวนเองหรือให้ข้าราชการพลเรือนสามัญหรือเจ้าหน้าท่ีของรฐั ที่เกย่ี วข้องดาเนินการสืบสวนแล้ว
รายงานมาเพือ่ ประกอบการพิจารณากไ็ ด้
ในกรณีที่เห็นวา่ มีมลู ที่ควรกล่าวหาวา่ ข้าราชการพลเรือนสามัญผู้ใดกระทาผิดวินัย หรือ
เปน็ กรณที ี่มีพยานหลักฐานในเบ้ืองตน้ อยแู่ ล้วและเห็นวา่ มีมูลที่ควรกล่าวหาวา่ ข้าราชการพลเรือนสามัญ
ผใู้ ดกระทาผิดวินัยใหด้ าเนินการตามข้อ 6 ตอ่ ไป
ข้อ 6 ในกรณีที่ผู้บังคับบัญชาซึ่งมอี านาจสั่งบรรจุตามมาตรา 57 พิจารณาเห็นว่ากรณี
มีมูลท่ีควรกล่าวหาว่าข้าราชการพลเรือนสามัญผู้ใดกระทาผิดวินัยอย่างไม่ร้ายแรง ให้ดาเนินการต่อไป
ตามหมวด 3 ถา้ พิจารณาเหน็ ว่ากรณีมีมูลทค่ี วรกล่าวหาว่าข้าราชการพลเรือนสามัญผูใ้ ดกระทาผิดวินัย
อย่างร้ายแรง ให้ดาเนินการต่อไปตามหมวด 4 แต่ถ้าพิจารณาเห็นว่ากรณีไม่มีมูลท่ีควรกล่าวหาว่า
ขา้ ราชการพลเรอื นสามญั ผ้ใู ดกระทาผดิ วนิ ยั ใหย้ ตุ ิเร่อื ง
ขอ้ 7 กรณที ี่ถอื ว่าไมม่ ีมูลท่ีควรกล่าวหาว่าขา้ ราชการพลเรอื นสามญั ผู้ใดกระทาผิดวินัย
และผบู้ งั คับบัญชาซ่งึ มอี านาจสง่ั บรรจุตามมาตรา 57 สงั่ ใหย้ ุติเรือ่ งได้ อาจเปน็ กรณดี ังตอ่ ไปน้ี
(1) ข้อเท็จจริงหรือพฤติการณ์แวดล้อมและพยานหลักฐานไม่เพียงพอให้ทราบว่า
ขา้ ราชการพลเรอื นสามัญผใู้ ดเปน็ ผู้กระทาผิดวินยั

412

412 401
(2) ข้อเท็จจริงหรือพฤติการณ์แวดล้อมและพยานหลักฐานไม่เพียงพอที่จะทาให้
เขา้ ใจไดว้ า่ มีการกระทาผดิ วินยั หรือไม่เพยี งพอทีจ่ ะดาเนินการสืบสวนสอบสวนตอ่ ไปได้
(3) พฤตกิ ารณ์แหง่ การกระทานนั้ ไม่เป็นความผดิ ทางวินยั

หมวด 3
การดาเนนิ การในกรณมี มี ูลท่คี วรกลา่ วหาวา่ กระทาผดิ วนิ ยั อย่างไม่ร้ายแรง

ข้อ 8 ในกรณีท่ีผลการสืบสวนหรือพิจารณาตามข้อ 5 และข้อ 6 ปรากฏว่ากรณีมีมูล
ที่ควรกล่าวหาว่าข้าราชการพลเรือนสามัญผู้ใดกระทาผิดวินัยอย่างไม่ร้ายแรง ให้ผู้บังคับบัญชาซ่ึงมี
อานาจสั่งบรรจุตามมาตรา 57 ดาเนินการต่อไปตามหมวดน้ี โดยไม่ตั้งคณะกรรมการสอบสวนก็ได้
แตถ่ ้าไดแ้ ตง่ ตงั้ คณะกรรมการสอบสวนแลว้ ตอ้ งดาเนนิ การตามขอ้ 12 ข้อ 13 และข้อ 14 จนแล้วเสร็จ

ข้อ 9 ในกรณีที่ผู้บังคับบัญชาซึ่งมีอานาจสั่งบรรจุตามมาตรา 57 ดาเนินการทางวินัย
โดยไมต่ งั้ คณะกรรมการสอบสวน ต้องดาเนินการตามหมวดนใ้ี ห้แลว้ เสรจ็ โดยเร็ว ท้ังน้ีตอ้ งไม่เกินสี่สิบหา้ วัน
นับแต่วันที่พิจารณาเห็นว่ากรณีมีมูลที่ควรกล่าวหาว่ากระทาผิดวินัยอย่างไม่ร้ายแรง ในกรณีที่ไม่สามารถ
ดาเนินการให้แล้วเสร็จภายในเวลาดังกล่าว ให้ผู้บังคับบัญชาซ่ึงมีอานาจส่ังบรรจุตามมาตรา 57
ขยายเวลาได้ตามความจาเปน็ โดยแสดงเหตผุ ลความจาเป็นไว้ดว้ ย

ข้อ 10 ในการดาเนินการตามข้อ 9 ต้องแจ้งข้อกล่าวหาและสรุปพยานหลักฐาน
ที่สนับสนุนข้อกล่าวหาเป็นหนังสือให้ผู้ถูกกล่าวหาทราบ และต้องให้โอกาสผู้ถูกกล่าวหาได้ช้ีแจง
แก้ข้อกลา่ วหาภายในระยะเวลาที่กาหนด

ในกรณีท่ีผู้ถูกกล่าวหาไม่ชี้แจงแก้ข้อกล่าวหาภายในเวลาท่ีกาหนด ให้ถือว่าผู้ถูกกล่าวหา
ไมป่ ระสงคจ์ ะชแี้ จงแก้ขอ้ กล่าวหา

ข้อ 11 เม่ือผู้บังคับบัญชาซึ่งมีอานาจส่ังบรรจุตามมาตรา 57 ได้ดาเนินการตาม
ขอ้ 10 แลว้ ใหพ้ จิ ารณาส่ังหรือดาเนนิ การดังต่อไปน้ี

(1) ในกรณีที่เห็นว่าผู้ถูกกล่าวหาไม่ได้กระทาผิดวินัยตามข้อกล่าวหา ให้สั่งยุติเร่ือง
ตามมาตรา 92 วรรคสอง โดยทาเปน็ คาสัง่ ตามขอ้ 66

(2) ในกรณีท่ีเห็นว่าผู้ถูกกล่าวหากระทาผิดวินัยอย่างไม่รา้ ยแรง ให้ส่งั ลงโทษภาคทัณฑ์
ตดั เงนิ เดือน หรือลดเงินเดอื น ตามควรแก่กรณีให้เหมาะสมกบั ความผดิ ตามมาตรา 96 และท่กี าหนดไว้
ในข้อ 67 โดยทาเป็นคาสงั่ ตามข้อ 69

(3) ในกรณีที่เห็นว่าผู้ถูกกล่าวหากระทาผิดวินัยเล็กน้อย และมีเหตุอันควรงดโทษ
จะงดโทษให้โดยให้ทาทัณฑ์บนเป็นหนังสือหรือว่ากล่าวตักเตือนตามมาตรา 96 ก็ได้ โดยทาเป็นคาส่ัง
งดโทษตามข้อ 71

(4) ในกรณีท่ีเห็นว่าผู้ถูกกล่าวหากระทาผิดวินัยอย่างร้ายแรง ให้ดาเนินการตาม
หมวด 4 ต่อไป

413 การ ำด�เ ินนกาแรละทกาางรวิ ่สันกงยเลุสมกริ่ทีามร๕จุอ ิรทยธธรรณ์รมการ ้รอง ุทกข์

413 402

ข้อ 12 ในกรณีที่ผู้มีอานาจสั่งบรรจุตามมาตรา 57 ดาเนินการทางวินัยโดยแต่งต้ัง
คณะกรรมการสอบสวน การแตง่ ต้ังคณะกรรมการสอบสวน และการคดั คา้ นกรรมการสอบสวน ให้นาข้อ
18 วรรคหน่ึง วรรคสอง วรรคสี่ ข้อ 19 ข้อ 20 ข้อ 21 ข้อ 22 ข้อ 23 ข้อ 24 และข้อ 25
มาใช้บงั คบั โดยอนโุ ลม

ในกรณีท่ีข้าราชการพลเรือนสามัญตาแหน่งต่างกัน หรือต่างกรม หรือต่างกระทรวงกัน
ถูกกล่าวหาว่ากระทาผิดวินัยร่วมกัน การแต่งต้ังคณะกรรมการสอบสวนตามวรรคหนึ่งให้เป็นไปตาม
มาตรา 94 และท่ีกาหนดในขอ้ 16 และขอ้ 17

ข้อ 13 คณะกรรมการสอบสวนตามข้อ 12 ต้องดาเนนิ การสอบสวน รวบรวมข้อเท็จจริง
ข้อกฎหมาย และพยานหลักฐานที่เกี่ยวข้อง แจ้งข้อกล่าวหาและสรุปพยานหลักฐานให้ผู้ถูกกล่าวหาทราบ
รับฟงั คาชีแ้ จงของผูถ้ ูกกล่าวหา แล้วเกบ็ รวบรวมไว้ในสานวนการสอบสวน และทารายงานการสอบสวน
พร้อมความเห็นเสนอผู้สั่งแต่งต้ังคณะกรรมการสอบสวน ท้ังน้ี ต้องให้แล้วเสร็จภายในหกสิบวันนับแต่
วันทีป่ ระธานกรรมการรบั ทราบคาสั่ง

ในกรณีที่คณะกรรมการสอบสวนมีเหตุผลและความจาเป็นไม่อาจดาเนินการให้แล้วเสร็จ
ภายในกาหนดเวลาตามวรรคหน่ึง ให้ประธานกรรมการรายงานต่อผู้สั่งแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวน
เพ่ือขอขยายเวลาตามความจาเป็น ในการน้ี ผู้ส่ังแต่งต้ังคณะกรรมการสอบสวนจะขยายเวลาให้ตามที่
เห็นสมควรโดยต้องแสดงเหตุผลไว้ด้วย หรือจะส่ังให้คณะกรรมการสอบสวนยุติการดาเนินการแล้ว
พจิ ารณาสั่งหรือดาเนนิ การตามขอ้ 11 ต่อไปกไ็ ด้

ในกรณที ี่ผู้ถูกกล่าวหาไม่มาใหถ้ ้อยคาช้ีแจงแก้ขอ้ กล่าวหาหรอื ไม่ยื่นคาช้ีแจงแก้ข้อกล่าวหา
ภายในเวลาที่คณะกรรมการสอบสวนกาหนด ให้ถือว่าผู้ถูกกล่าวหาไม่ประสงค์จะช้ีแจงแก้ข้อกล่าวหา
เว้นแต่คณะกรรมการสอบสวนจะเห็นควรดาเนินการเป็นอยา่ งอ่ืนเพ่อื ประโยชน์แหง่ ความเป็นธรรม

ข้อ 14 เม่ือผู้ส่ังแต่งต้ังคณะกรรมการสอบสวนได้รับรายงานการสอบสวนและสานวน
การสอบสวนตามข้อ 13 แล้ว ให้พิจารณาส่ังหรือดาเนินการตามข้อ 11 หรือส่ังหรือดาเนินการ
ดังตอ่ ไปนี้

(1) ในกรณีที่เห็นว่าควรรวบรวมข้อเท็จจริงหรือพยานหลักฐานเพิ่มเติม ให้กาหนด
ประเด็นหรอื ขอ้ สาคญั ทต่ี ้องการใหค้ ณะกรรมการสอบสวนทาการสอบสวนเพิม่ เตมิ

(2) ในกรณีท่ีเห็นว่าการดาเนินการใดไม่ถูกต้อง ให้ส่ังให้คณะกรรมการสอบสวน
ดาเนนิ การให้ถูกต้องโดยเร็ว

414 403

หมวด 4
การดําเนนิ การในกรณีมีมูลที่ควรกลาวหาวากระทาํ ผิดวินัยอยางรายแรง

ขอ 15 ในกรณีที่ผลการสืบสวนหรือพิจารณาตามขอ 5 และขอ 6 ปรากฏวากรณี
มีมูลที่ควรกลาวหาวาขาราชการพลเรือนสามัญผูใดกระทําผิดวินัยอยางรายแรง ใหผูบังคับบัญชาซ่ึงมี
อํานาจส่ังบรรจุตามมาตรา 57 หรือผูมีอํานาจตามมาตรา 94 แลวแตกรณี แตงต้ังคณะกรรมการ
สอบสวนเพ่ือดาํ เนนิ การสอบสวนตอไป

ในก รณี ท่ี เป นก ารดํ าเนิ นการตอ เนื่อ งจาก การดําเนิน การตาม ขอ 1 1 (4 )
ใหผูบังคับบัญชาซ่ึงมีอํานาจสั่งบรรจุตามมาตรา 57 หรือผูมีอํานาจตามมาตรา 94 แลวแตกรณี
แตงตั้งคณะกรรมการสอบสวนข้ึนใหมเพ่ือดําเนินการตอไปตามหมวดนี้ สวนขอเท็จจริงและ
พยานหลักฐานในสํานวนการสอบสวนตามขอ 13 จะนํามาใชในการสอบสวนน้ีหรือไมเพียงใด
ใหอยใู นดุลพนิ จิ ของคณะกรรมการสอบสวน

ขอ 16 การแตงต้ังคณะกรรมการสอบสวนกรณีท่ีขาราชการพลเรือนสามัญตําแหนง
ตางกันหรือตางกรม หรือตางกระทรวงกัน ถูกกลาวหาวากระทําผิดวินัยรวมกัน สําหรับกรณีอื่น
ตามมาตรา 94 (4) ใหดําเนนิ การ ดังตอ ไปน้ี

(1) กรณีท่ีขาราชการพลเรือนสามัญในกรมเดยี วกันถูกกลาวหาวากระทําผิดวินัยรวมกัน
ถาผูบังคับบัญชาซึ่งมีอํานาจส่ังบรรจุตามมาตรา 57 ของขาราชการดังกลาวตางกัน ใหอธิบดีหรือ
ผูบังคับบัญชาซ่ึงมีอํานาจส่ังบรรจุท่ีมีตําแหนงเหนือกวาเปนผูส่ังแตงต้ังคณะกรรมการสอบสวน
แลว แตกรณี

(2) กรณีที่ขา ราชการพลเรือนสามัญในสํานักงานรัฐมนตรี หรือสวนราชการท่ีไมมีฐานะ
เปนกรมแตมีหัวหนาสวนราชการเปนอธิบดีหรือตําแหนงท่ีเรียกชื่ออยางอ่ืนที่มีฐานะเปนอธิบดี
ถูกกลาวหาวากระทําผิดวินัยรวมกับขาราชการพลเรือนสามัญในสวนราชการอ่ืน ใหผูบังคับบัญชา
ซ่ึงมีอํานาจส่ังบรรจุตามมาตรา 57 รวมกันแตงต้ังคณะกรรมการสอบสวน เวนแตเปนกรณีท่ีมี
ผูดํารงตําแหนงประเภทบริหารระดับสูงถูกกลาวหาวากระทําผิดวินัยรวมดวย ใหนายกรัฐมนตรีเปน
ผูสงั่ แตง ต้ังคณะกรรมการสอบสวน

(3) กรณีที่ขาราชการพลเรือนสามัญในสว นราชการที่มีฐานะเปนกรมและไมสังกัดกระทรวง
แตอยูในบังคับบัญชาของนายกรัฐมนตรีหรือรัฐมนตรีหรือในสวนราชการที่มีหัวหนาสวนราชการ
รับผิดชอบในการปฏิบัตริ าชการข้ึนตรงตอนายกรฐั มนตรีหรือตอรัฐมนตรี ถูกกลาวหาวากระทําผิดวินัย
รว มกับขาราชการพลเรือนสามัญในสวนราชการอื่น ใหผูบังคับบัญชาซ่งึ มีอํานาจส่ังบรรจุตามมาตรา 57
รวมกันแตงต้ังคณะกรรมการสอบสวน เวนแตเปนกรณีที่มีผูดํารงตําแหนงประเภทบริหารระดับสูง
ถูกกลา วหาวากระทําผิดวินัยรวมดวย ใหน ายกรัฐมนตรเี ปน ผูส ่ังแตงตั้งคณะกรรมการสอบสวน

(4) กรณีที่ขาราชการพลเรือนสามัญในราชการบริหารสวนภูมิภาคจังหวัดเดียวกัน
แตอยูตางกรมหรือตางกระทรวงกัน ถูกกลาวหาวากระทําผิดวินัยรวมกัน ถาผูถูกกลาวหาทุกคน
ดํารงตําแหนงท่ีผูวาราชการจังหวัดเปนผูบังคับบัญชาซ่ึงมีอํานาจสั่งบรรจุตามมาตรา 57 (11)
ใหผ วู า ราชการจงั หวัดเปนผสู ่งั แตงตงั้ คณะกรรมการสอบสวน

415 การ ำด�เ ินนกาแรละทกาางรวิ ่สันกงยเลุสมกริ่ทีามร๕จุอ ิรทยธธรรณ์รมการ ้รอง ุทกข์

415 404
ข้อ 17 ในกรณีร่วมกันแต่งต้ังคณะกรรมการสอบสวน ให้ผู้มีอานาจสั่งแต่งตั้ง
คณะกรรมการสอบสวนของแต่ละส่วนราชการทาความตกลงกันเพ่ือกาหนดตัวบุคคลเป็นกรรมการ
สอบสวน แลว้ ใหแ้ ต่ละส่วนราชการมีคาส่ังแต่งตั้งบุคคลนน้ั เปน็ คณะกรรมการสอบสวน
ข้อ 18 การแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวน ให้แต่งตั้งจากข้าราชการพลเรือนสามัญ
ประกอบด้วยประธานกรรมการคนหนึ่ง และกรรมการอ่ืนอีกอย่างน้อยสองคน โดยให้กรรมการคนหน่ึง
เป็นเลขานุการในกรณีที่มีเหตุผลความจาเป็นจะแต่งต้ังประธานกรรมการและกรรมการจากข้าราชการ
ฝา่ ยพลเรือนซ่ึงมิใชข่ ้าราชการการเมอื งก็ได้
ในขณะท่ีมีการแต่งต้ังคณะกรรมการสอบสวน ประธานกรรมการต้องดารงตาแหน่ง
ตามที่ ก.พ. กาหนด
กรรมการสอบสวนอยา่ งน้อยหนึ่งคนต้องเป็นผู้ดารงตาแหน่งนิตกิ ร หรอื ผู้ได้รับปริญญา
ทางกฎหมายหรือผู้ได้รับการฝึกอบรมตามหลักสูตรการดาเนินการทางวินัย หรือผู้มีประสบการณ์
ด้านการดาเนนิ การทางวนิ ยั
เพื่อประโยชน์ในการสอบสวนจะให้มีผู้ช่วยเลขานุการที่แต่งตง้ั จากข้าราชการฝ่ายพลเรือน
ซงึ่ มใิ ช่ข้าราชการการเมืองหรือแตง่ ตงั้ จากพนักงานราชการหรอื ลกู จ้างประจาด้วยก็ได้ และให้นาขอ้ 20
ข้อ 22 ข้อ 23 ขอ้ 24 ขอ้ 25 และขอ้ 33 มาใชบ้ งั คบั กบั ผชู้ ่วยเลขานุการโดยอนุโลม
ข้อ 19 คาสั่งแต่งต้ังคณะกรรมการสอบสวนให้ระบุชื่อและตาแหน่งของผู้ถูกกล่าวหา
เร่ืองท่ีกล่าวหาช่ือของประธานกรรมการ และกรรมการ ทั้งนี้ ตามแบบที่สานักงาน ก.พ. กาหนด
ในกรณีทมี่ กี ารแตง่ ตัง้ ผูช้ ว่ ยเลขานุการ ใหร้ ะบชุ อ่ื ผู้ชว่ ยเลขานุการไว้ในคาสั่งนัน้ ด้วย
ข้อ 20 ในกรณีท่ีมีการเปลีย่ นแปลงกรรมการสอบสวน ให้ดาเนินการโดยทาเป็นคาส่ัง
ตามแบบที่สานกั งาน ก.พ. กาหนด และใหแ้ จง้ ใหผ้ ถู้ กู กล่าวหาทราบตอ่ ไป
การเปลี่ยนแปลงกรรมการสอบสวนตามวรรคหนึ่ง ไมก่ ระทบกระเทอื นถึงการสอบสวนที่
ไดด้ าเนนิ การไปแล้ว
ข้อ 21 เมื่อได้มีคาส่ังแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวนแลว้ ให้ผสู้ ่ังแต่งตัง้ คณะกรรมการ
สอบสวนดาเนินการดงั ตอ่ ไปน้ี
(1) แจ้งให้ผู้ถูกกล่าวหาทราบคาส่ังโดยเร็ว และให้ผู้ถูกกล่าวหาลงลายมือชื่อและ
วันท่ีรับทราบไว้เป็นหลักฐาน ในการนี้ ให้แจ้งตาแหน่งของประธานกรรมการ กรรมการ และ
ผู้ช่วยเลขานุการ (ถ้ามี) รวมทั้งสิทธิที่จะคัดค้านกรรมการสอบสวนไปพรอ้ มกัน และให้มอบสาเนาคาส่ัง
ใหผ้ ถู้ ูกกล่าวหาไว้หนงึ่ ฉบับดว้ ยในกรณีท่ีผู้ถูกกล่าวหาไม่ยอมลงลายมือชือ่ รับทราบคาส่ัง ถ้าได้ทาบันทึก
ลงวันท่ีและสถานที่ท่ีแจ้งและลงลายมือช่ือผู้แจ้ง พร้อมท้ังพยานรู้เห็นไว้เป็นหลักฐานแล้ว ให้ถือวันท่ี
แจ้งนัน้ เปน็ วันรับทราบ
การแจ้งตามวรรคหนึ่ง ให้แจ้งให้ผู้ถูกกล่าวหาทราบโดยตรงก่อน แต่ถ้าไม่อาจแจ้ง
ให้ทราบโดยตรงได้หรือมีเหตุจาเป็นอื่น ให้แจ้งเป็นหนังสือส่งทางไปรษณีย์ลงทะเบียนตอบรับไปให้
ผู้ถูกกล่าวหา ณ ท่ีอยู่ซึ่งปรากฏตามหลักฐานของทางราชการ ในกรณีเช่นน้ี ให้ถือว่าผู้ถูกกล่าวหา

416

416 405
ได้รับแจ้งเม่ือครบกาหนดเจ็ดวันนับแต่วันส่งสาหรับกรณีส่งในประเทศ หรือเมื่อครบสิบห้าวันนับแต่
วันส่งสาหรับกรณสี ง่ ไปยงั ตา่ งประเทศ

(2) ส่งสาเนาคาสั่งแต่งต้ังคณะกรรมการสอบสวนพร้อมทั้งเอกสารหลักฐานที่เกี่ยวข้อง
กับเร่ืองที่กล่าวหาให้ประธานกรรมการโดยเร็ว แล้วให้ประธานกรรมการลงลายมือช่ือและวันเดือนปี
ที่ได้รับแล้วเก็บรวมไว้ในสานวนการสอบสวน และส่งสาเนาคาส่ังแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวน
ใหก้ รรมการทราบเป็นรายบคุ คล

(3) ส่งหลักฐานการรับทราบหรือถือว่าทราบคาสั่งของผู้ถูกกล่าวหาไปให้ประธานกรรมการ
เพื่อเก็บรวมไว้ในสานวนการสอบสวน

ข้อ 22 เมื่อมกี รณดี ังต่อไปน้ี กรรมการสอบสวนอาจถกู คดั ค้านได้
(1) เป็นผู้กลา่ วหาตามข้อ 3
(2) เป็นคหู่ มน้ั หรอื ค่สู มรสของผ้กู ลา่ วหาตามขอ้ 3
(3) เป็นญาติของผู้กล่าวหาตามข้อ 3 คือ เป็นบุพการีหรือผู้สืบสันดานไม่ว่าชั้นใด ๆ
หรอื เปน็ พ่ีน้องหรือลกู พี่ลูกนอ้ งนบั ไดเ้ พยี งสามชน้ั หรือเปน็ ญาติเกี่ยวพันทางการสมรสนับได้เพยี งสองชัน้
(4) เป็นผู้มสี าเหตโุ กรธเคืองกับผู้ถูกกลา่ วหาหรอื กับคู่หม้นั หรอื คู่สมรสของผู้ถกู กล่าวหา
(5) เปน็ ผมู้ ีประโยชน์ได้เสยี ในเรือ่ งทสี่ อบสวน
(6) เปน็ ผู้รู้เห็นเหตุการณ์ในขณะกระทาผดิ ตามเร่ืองท่กี ลา่ วหา
(7) เป็นผู้ที่มีเหตุอ่ืนซึ่งมีสภาพร้ายแรงอันอาจทาให้การสอบสวนไม่เป็นกลางหรือ
เสยี ความเปน็ ธรรม
ข้อ 23 การคัดค้านกรรมการสอบสวนต้องทาเป็นหนังสือยื่นต่อผู้ส่ังแต่งตั้ง
คณะกรรมการสอบสวนภายใน เจ็ดวัน นับแต่วันทราบห รือถือว่าทราบ คาส่ังแต่งต้ังคณ ะกรรมการ
สอบสวนหรือนับแต่วันที่ทราบว่ามีกรณีตามข้อ 22 โดยหนังสือคัดค้านต้องแสดงข้อเท็จจริงหรือ
พฤตกิ ารณท์ ่ีเป็นเหตแุ หง่ การคดั คา้ นตามที่กาหนดไวใ้ นข้อ 22
ในกรณีท่ีผู้ส่ังแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวนเห็นว่าการคัดค้านเป็นไปตามเง่ือนไข
ที่กาหนดตามวรรคหนึ่ง ให้สง่ สาเนาหนงั สือคดั ค้านไปให้ประธานกรรมการเพื่อทราบและเกบ็ รวบรวมไว้
ในสานวนการสอบสวน รวมทั้งแจ้งให้ผู้ถูกคัดค้านทราบ และต้องให้โอกาสผู้ถูกคัดค้านได้ช้ีแจง
เป็นหนังสือต่อผู้ส่ังแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวนภายในเจ็ดวันนับแต่วันท่ีผู้ถูกคัดค้านได้ลงลายมือชื่อ
และวันท่ีท่ีได้รับแจ้งไว้เป็นหลักฐาน ในการนี้ ผู้ถูกคัดค้านต้องหยุดปฏิบัติหน้าที่กรรมการสอบสวน
ตั้งแต่วันที่ได้รับแจ้งนั้นแต่ถ้าเห็นว่าการคัดค้านไม่เป็นไปตามเงื่อนไขท่ีกาหนดให้ผู้ส่ังแต่งต้ัง
คณะกรรมการสอบสวนสั่งไม่รบั คาคดั คา้ นนน้ั และแจง้ ใหผ้ ู้คัดคา้ นทราบ
ข้อ 24 เม่ือได้ดาเนินการตามข้อ 23 แล้ว ให้ผู้สั่งแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวน
พิจารณาสง่ั การอยา่ งใดอยา่ งหนง่ึ ดังตอ่ ไปน้ี
(1) ในกรณีท่ีเห็นว่าคาคัดค้านรับฟังได้ ให้ส่ังให้ผู้ถูกคัดค้านพ้นจากหน้าที่ในการเป็น
กรรมการสอบสวนในกรณีท่ีเห็นสมควรจะแต่งต้ังผู้อ่ืนให้เป็นกรรมการสอบสวนแทนผู้ถูกคัดค้านก็ได้

417 406 การ ำด�เ ินนกาแรละทกาางรวิ ่สันกงยเลุสมกริ่ทีามร๕จุอ ิรทยธธรรณ์รมการ ้รอง ุทกข์
แตถ ากรรมการสอบสวนทเ่ี หลอื อยูมีจํานวนนอยกวา สามคนใหแ ตง ต้ังผูอ นื่ ใหเ ปนกรรมการสอบสวนแทน
ผูถกู คดั คาน และใหน ําขอ 20 มาใชบังคบั โดยอนโุ ลม

(2) ในกรณีท่ีเห็นวาคําคัดคานไมอาจรับฟงได ใหส่ังยกคําคัดคาน และมีหนังสือแจงให
ผูค ดั คา น ผถู กู คดั คาน และประธานกรรมการทราบโดยเรว็ คาํ สัง่ ยกคําคดั คานใหเปนทสี่ ดุ

ผูสั่งแตงต้ังคณะกรรมการสอบสวนตองพิจารณาและส่ังการตามวรรคหน่ึงใหแลวเสร็จ
ภายในสิบหาวันนับแตวันท่ีไดรับคําคัดคาน ถาไมไดส่ังภายในกําหนดเวลาดังกลาว ใหผูถูกคัดคานน้ัน
พนจากการเปน กรรมการสอบสวนนับแตวนั พนกําหนดเวลาดังกลาว และใหด าํ เนินการตาม (1) ตอ ไป

ขอ 25 ในกรณีที่กรรมการสอบสวนผูใดเห็นวาตนมีกรณีตามขอ 22 ใหผูนั้นแจงให
ผูส่ังแตงต้ังคณะกรรมการสอบสวนทราบ และใหผูสั่งแตงตั้งคณะกรรมการสอบสวนพิจารณาสั่งการ
ตามขอ 24 โดยอนุโลมตอไป

ขอ 26 คณะกรรมการสอบสวนมีหนาที่สอบสวนและพิจารณาตามหลักเกณฑ วิธีการ
และระยะเวลาท่ีกําหนดในกฎ ก.พ. น้ี เพื่อแสวงหาความจริงในเรื่องท่ีกลาวหาและดูแลใหบังเกิด
ความยุติธรรมตลอดกระบวนการสอบสวน ในการนี้ ใหคณะกรรมการสอบสวนรวบรวมประวัติและ
ความประพฤติของผถู กู กลาวหาทเ่ี กี่ยวของกับเรอื่ งทก่ี ลา วหาเทาท่ีจาํ เปนเพื่อประกอบการพิจารณา และ
จัดทาํ บันทกึ ประจาํ วนั ที่มีการสอบสวนไวทกุ ครั้งดวย

ในการสอบสวนและพิจารณาหามมิใหมีบุคคลอื่นอยูหรือรวมดวย เวนแตเปน
การสอบปากคาํ ตามขอ 32 หรอื เปน กรณที ี่กฎ ก.พ. น้ี กําหนดไวเ ปนอยางอนื่

ขอ 27 ใหประธานกรรมการจัดใหมีการประชุมคณะกรรมการสอบสวนคร้ังแรก
ภายในเจ็ดวันนับแตวันที่ประธานกรรมการรับเรื่องตามขอ 21 (2) และ (3) ในกรณีที่ไมอาจจดั ประชุม
ไดภายในกําหนดใหรายงานเหตุผลและความจําเปนใหผ ูสง่ั แตงต้งั คณะกรรมการสอบสวนทราบ

ในการประชุมคณะกรรมการสอบสวนตามวรรคหน่ึง ใหค ณะกรรมการสอบสวนกําหนด
ประเดน็ และวางแนวทางการสอบสวนและการรวบรวมพยานหลกั ฐาน

ขอ 28 เมื่อไดวางแนวทางการสอบสวนและการรวบรวมพยานหลักฐานตามขอ 27
แลวใหค ณะกรรมการสอบสวนดําเนินการดังตอไปนี้

(1) รวบรวมขอ เทจ็ จริง ขอกฎหมาย และพยานหลักฐานที่เกีย่ วขอ ง
(2) แจง ขอ กลา วหาและสรุปพยานหลักฐานทส่ี นับสนุนขอ กลาวหาใหผูถูกกลาวหาทราบ
(3) ใหโ อกาสผถู กู กลาวหาไดช แี้ จงแสดงพยานหลกั ฐานเพือ่ แกข อกลา วหา
(4) พิจารณาทาํ ความเห็นเกย่ี วกับเรอ่ื งที่สอบสวน
(5) ทํารายงานการสอบสวนพรอ มความเหน็ เสนอตอผูส ง่ั แตงต้ังคณะกรรมการสอบสวน
ขอ 29 ใหคณะกรรมการสอบสวนรวบรวมพยานหลักฐานท้ังปวงที่เห็นวาเปนประโยชน
แกการสอบสวนโดยไมร ับฟง แตเพยี งขอ อา งหรือพยานหลกั ฐานของผูก ลา วหาหรือผูถูกกลาวหาเทา น้ัน

418 407
ในกรณที ่ีปรากฏวามขี อเท็จจริงใดท่กี ลาวอางหรือพาดพิงถึงบุคคล เอกสาร หรือวัตถุใด
ที่จะเปนประโยชนแกการสอบสวน ใหคณะกรรมการสอบสวนทําการสอบสวนและรวบรวมพยานหลกั ฐาน
นั้นไวใ หค รบถวน ถา ไมอาจเขาถึงหรอื ไดม าซ่ึงพยานหลักฐานดงั กลา ว ใหบนั ทกึ เหตุน้ันไวดวย
ขอ 30 ในการสอบปากคําผูถูกกลาวหาหรือพยานใหสอบปากคําคราวละหนึ่งคน
และในการสอบปากคําพยาน ตองแจงใหพยานทราบวากรรมการสอบสวนมีฐานะเปนเจาพนักงาน
ตามประมวลกฎหมายอาญา การใหถ อยคาํ อนั เปน เท็จอาจเปนความผิดตามกฎหมาย
การสอบปากคําตามวรรคหน่ึง ตองมีกรรมการสอบสวนไมนอยกวากึ่งหนึ่งของจํานวน
กรรมการสอบสวนทัง้ หมดจึงจะทําการสอบปากคําได แตในกรณีทกี่ ึ่งหนึ่งของจํานวนกรรมการสอบสวน
ทง้ั หมดมมี ากกวาสามคน จะใหกรรมการสอบสวนไมน อยกวาสามคนทําการสอบปากคาํ ก็ได
ขอ 31 การสอบปากคําตามขอ 30 ตองมีการบันทึกถอยคําของผูใหถอยคําตาม
แบบที่สํานักงาน ก.พ. กําหนด แลวอานใหผูใหถอยคําฟงหรือใหผูใหถอยคําอานเองก็ได แลวให
ผูใหถอยคําผูบันทึกถอยคํา และกรรมการสอบสวนซ่ึงอยูรวมในการสอบปากคําลงลายมือชื่อใน
บันทึกถอยคําน้ันไวเปนหลักฐาน ในกรณีท่ีบันทึกถอยคําใดมีหลายหนา ใหผูใหถอยคําและกรรม
การสอบสวนซึง่ อยรู วมในการสอบปากคาํ หนึ่งคนลงลายมอื ชอ่ื กาํ กับไวในบนั ทกึ ถอยคําทกุ หนา
ในการบันทึกถอยคํา หามมิใหขูด ลบ หรือบันทึกขอความทับขอความท่ีไดบันทึกไว
ในบันทึกถอยคําแลว ถาจะตองแกไขหรือเพ่ิมเติมขอความท่ีบันทึกไว ใหใชวิธีขีดฆาขอความเดิม
และเพ่ิมเติมขอความใหมดวยวิธีตกเติม แลวใหผูใหถอยคําและกรรมการสอบสวนซ่ึงอยูรวม
ในการสอบปากคาํ หนึง่ คนลงลายมือชือ่ กํากับไวตรงที่มกี ารแกไขเพิ่มเติมนัน้ ทุกแหง
ในกรณีท่ีผูใหถอยคําไมยอมลงลายมือช่ือ ใหบันทึกเหตุที่ไมลงลายมือช่ือน้ันไว
ในบนั ทกึ ถอยคาํ ดวย
ในกรณี ท่ีผูใหถอยคําไมสามารถลงลายมือช่ือได ใหดําเนินการตามมาตรา 9
แหงประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย
ขอ 32 ในการสอบปากคํา หามมิใหบุคคลอื่นอยูในที่สอบปากคํา เวนแตเปนบุคคล
ซึ่งกรรมการสอบสวนท่ีทําการสอบปากคําอนุญาตใหอยูในท่ีสอบสวนเพ่ือประโยชนในการสอบสวน
หรือเปนทนายความหรือที่ปรกึ ษาของผูถูกกลาวหาตามจํานวนท่ีกรรมการสอบสวนท่ีทําการสอบปากคํา
เห็นสมควรใหเขามาในการสอบปากคาํ ผูถ กู กลา วหา
ขอ 33 หามมิใหกรรมการสอบสวนทําหรือจัดใหทําการใด ๆ ซ่ึงเปนการใหคําม่ัน
สัญญาขูเข็ญ หลอกลวง บังคับ หรอื กระทําโดยมิชอบไมวาดวยประการใด เพ่ือจูงใจใหผูถูกกลาวหาหรือ
พยานใหถ อ ยคาํ อยางใด
ขอ 34 การนําเอกสารหรือวัตถุมาใชเปนพยานหลักฐานในสํานวนการสอบสวน
ใหค ณะกรรมการสอบสวนจัดใหมกี ารบันทึกไวดวยวาไดมาอยางไร จากผใู ด และเมอื่ ใด

419 การ ำด�เ ินนกาแรละทกาางรวิ ่สันกงยเลุสมกริ่ทีามร๕จุอ ิรทยธธรรณ์รมการ ้รอง ุทกข์

419 408
เอกสารที่ใช้เป็นพยานหลักฐานในสานวนการสอบสวนให้ใช้ต้นฉบับ แต่ถ้าไม่อาจ
นาตน้ ฉบับมาไดจ้ ะใช้สาเนาทกี่ รรมการสอบสวนหรือผู้มหี นา้ ทร่ี ับผิดชอบรับรองว่าเปน็ สาเนาถูกตอ้ งกไ็ ด้
ใน ก ร ณี ท่ี ไม่ ส าม าร ถ ห าต้ น ฉ บั บ เอ ก สาร ได้ เพ ราะ สูญ ห ายห รื อถู ก ท า ล ายห รือ โด ย
เหตุประการอืน่ คณะกรรมการสอบสวนจะสบื จากสาเนาเอกสารหรือพยานบุคคลแทนกไ็ ด้
ข้อ 35 ในกรณีท่ีคณะกรรมการสอบสวนเรียกบุคคลใดมาเป็นพยานเพ่ือชี้แจงหรือ
ให้ถ้อยคาตามวนั เวลา และสถานท่ีท่กี าหนดแล้ว แต่บคุ คลน้ันไม่มาหรือมาแต่ไม่ชี้แจงหรือไมใ่ ห้ถ้อยคา
หรือในกรณีท่ีคณะกรรมการสอบสวนไม่อาจเรียกบุคคลใดมาช้ีแจงหรอื ให้ถ้อยคาได้ภายในเวลาอันควร
คณะกรรมการสอบสวนจะไม่สอบสวนบุคคลน้ันก็ได้ แต่ต้องบันทึกเหตุน้ันไว้ในบันทึกประจาวันท่ีมี
การสอบสวน และในรายงานการสอบสวนดว้ ย
ข้อ 36 ในกรณีที่คณะกรรมการสอบสวนเห็นว่าการสอบสวนพยานบุคคลใดหรือ
การรวบรวมพยานเอกสารหรือวัตถุใดจะทาให้การสอบสวนล่าช้าโดยไม่จาเป็น หรือพยานหลักฐานนั้น
มิใช่สาระสาคัญจะงดสอบสวนหรือไม่รวบรวมพยานหลักฐานน้ันก็ได้ แต่ต้องบันทึกเหตุนั้นไว้ใน
บนั ทกึ ประจาวันทม่ี กี ารสอบสวน และในรายงานการสอบสวนดว้ ย
ขอ้ 37 ในกรณีทีจ่ ะต้องสอบปากคาพยานหรือรวบรวมพยานหลักฐานซ่ึงอยู่ต่างท้องท่ี
ประธานกรรมการจะรายงานต่อผู้ส่ังแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวนเพื่อขอให้มอบหมายให้หัวหน้าส่วน
ราชการหรือหัวหน้าหน่วยงานในท้องที่นั้นท่ีเป็นข้าราชการฝ่ายพลเรือนสอบปากคาพยานหรือรวบรวม
พยานหลักฐานแทนก็ได้ โดยกาหนดประเด็นหรือข้อสาคัญที่จะต้องสอบสวนไปให้ กรณีเช่นน้ี ถ้าผู้สั่ง
แต่งต้ังคณะกรรมการสอบสวนเห็นควรจะมอบหมายให้หัวหน้าส่วนราชการหรือหัวหน้าหน่วยงานนั้น
ดาเนินการตามที่คณะกรรมการสอบสวนรอ้ งขอกไ็ ด้
ในการสอบปากคาพยานและรวบรวมพยานหลักฐานตามวรรคหน่ึง ให้หัวหน้าส่วน
ราชการหรือหัวหน้าหน่วยงานท่ีได้รับมอบหมายเลือกข้าราชการฝ่ายพลเรือนท่ีเห็นสมควรอย่างน้อย
อีกสองคนมาร่วมเป็นคณะทาการสอบสวน และให้คณะทาการสอบสวนมีอานาจหน้าท่ีเช่นเดียวกับ
คณะกรรมการสอบสวนตามกฎ ก.พ. น้ี
ข้อ 38 เม่ือคณะกรรมการสอบสวนได้รวบรวมข้อเท็จจริง ข้อกฎหมาย และ
พยานหลักฐานท่ีเกี่ยวข้อง ตามข้อ 28 (1) แล้ว ให้มีการประชุมคณะกรรมการสอบสวนเพ่ือพิจารณา
ทาความเห็นวา่ ผูถ้ กู กลา่ วหากระทาผิดวินยั ในเรอ่ื งท่สี อบสวนหรอื ไม่ ถา้ คณะกรรมการสอบสวนพจิ ารณา
เห็นว่าผู้ถูกกล่าวหาไม่ได้กระทาผิดวินัยในเรื่องที่สอบสวน ให้รายงานผลการสอบสวนพร้อมความเห็น
เสนอตอ่ ผสู้ ัง่ แตง่ ต้ังคณะกรรมการสอบสวน แตถ่ า้ คณะกรรมการสอบสวนเหน็ ว่าข้อเทจ็ จริง ข้อกฎหมาย
รวมทงั้ พยานหลักฐานท่รี วบรวมไดเ้ พยี งพอท่ีจะรับฟงั ไดว้ า่ ผู้ถูกกลา่ วหากระทาผิดวนิ ยั ในเรือ่ งท่ีสอบสวน
ให้แจ้งข้อกลา่ วหาและสรปุ พยานหลักฐานทส่ี นับสนุนข้อกลา่ วหาใหผ้ ูถ้ ูกกล่าวหาทราบ
การประชุมตามวรรคหนึ่ง ต้องมีกรรมการสอบสวนมาประชุมไม่น้อยกว่าสามคนและ
ไมน่ ้อยกว่ากึ่งหนง่ึ ของจานวนกรรมการสอบสวนทัง้ หมด

420 409
ขอ 39 ในกรณีท่ีมีคําพิพากษาถึงท่ีสุดวาผูถูกกลาวหาไดกระทําผิดหรือตองรับผิด
ในคดีเกี่ยวกับเร่ืองที่สอบสวน ถาคณะกรรมการสอบสวนเห็นวาขอเท็จจริงท่ีปรากฏตามคําพิพากษา
ถงึ ทีส่ ดุ น้ันไดความประจักษชัดอยูแลววาผถู ูกกลาวหากระทําผดิ ตามขอ กลาวหา คณะกรรมการสอบสวน
จะนําเอาคําพิพากษาถึงท่ีสุดนั้นมาใชเปนพยานหลักฐานท่ีสนับสนุนขอกลาวหาโดยไมตองรวบรวม
พ ย า น ห ลั ก ฐ า น อ่ื น ก็ ไ ด แ ต ต อ ง แ จ ง ข อ ก ล า ว ห า แ ล ะ ส รุ ป ข อ เท็ จ จ ริ ง ท่ี ป ร า ก ฏ ต า ม คํ า พิ พ า ก ษ า
ทถี่ ึงที่สดุ นัน้ เพ่อื ใชเปนสรุปพยานหลกั ฐานทีส่ นับสนุนขอกลา วหาใหผูถูกกลา วหาทราบดวย
ขอ 40 การแจงขอกลาวหาและสรุปพยานหลกั ฐานท่ีสนับสนุนขอกลาวหา ใหทําเปนบันทึก
ระบุขอเท็จจริงและพฤติการณของผูถูกกลา วหาวาไดกระทําการใด เมอื่ ใด อยางไร เปนความผิดวินยั ในกรณีใด
และสรปุ พยานหลกั ฐานท่ีสนบั สนนุ ขอกลาวหา โดยจะระบุช่ือพยานดวยหรือไมก็ได รวมท้ังแจงใหทราบสิทธิ
ของผูถูกกลาวหาท่จี ะใหถ อยคําหรอื ย่ืนคําชแ้ี จงแกข อกลาวหาเปนหนังสอื สิทธิที่จะแสดงพยานหลักฐาน
หรอื จะอางพยานหลกั ฐานเพอ่ื ขอใหเรยี กพยานหลกั ฐานนน้ั มาได แลว แจง ใหผถู ูกกลา วหาทราบ
บันทึกตามวรรคหนึ่ง ใหทําตามแบบที่สํานักงาน ก.พ. กําหนด โดยใหทําเปนสองฉบับ
มขี อ ความตรงกนั ใหประธานกรรมการและกรรมการอกี อยางนอยหน่ึงคนลงลายมอื ชอื่ ในบันทกึ น้ันดว ย
ขอ 41 เมื่อไดจัดทําบันทึกตามขอ 40 แลว ใหคณะกรรมการสอบสวนมีหนังสือเรียก
ผูถูกกลาวหามาพบตามวัน เวลา และสถานที่ที่คณะกรรมการสอบสวนกําหนด เพื่อแจงขอกลาวหาและ
สรุปพยานหลกั ฐานท่สี นับสนุนขอกลา วหาใหผ ูถกู กลา วหาทราบ
เมื่อผูถูกกลาวหาไดมาพบคณะกรรมการสอบสวนแลว ใหคณะกรรมการสอบสวนแจง
ขอกลาวหาพรอ มท้ังอธิบายขอกลาวหาและสรุปพยานหลักฐานที่สนับสนุนขอกลาวหาใหผูถูกกลาวหาทราบ
และใหผูถูกกลาวหารับทราบขอกลาวหาโดยลงลายมือชื่อพรอมทั้งวันเดือนปในบันทึกน้ัน แลวมอบ
บันทกึ น้นั ใหผถู กู กลาวหาหนงึ่ ฉบบั และอีกฉบบั หน่ึงเกบ็ ไวใ นสํานวนการสอบสวน
ใ น ก ร ณี ท่ี ผู ถู ก ก ล า วห า ไม ย อ ม ล ง ล าย มื อ ช่ื อ ใน บั น ทึ ก เพื่ อ รั บ ท ร า บ ข อ ก ล า ว ห า
ใหคณะกรรมการสอบสวนบันทึกขอ เท็จจริงและพฤติการณดงั กลา วไวในบันทึกนั้น ในกรณีเชนนี้ ใหถือวา
ผูถูกกลาวหาไดรับทราบขอกลาวหาและสรุปพยานหลักฐานตั้งแตวันที่มาพบคณะกรรมการสอบสวนแลว
และใหมอบบันทึกน้ันใหผูถูกกลาวหาหน่ึงฉบับ และอีกฉบับหน่ึงเก็บไวในสํานวนการสอบสวน
แตถาผูถูกกลาวหาไมยอมรับบันทึกดังกลาว ใหสงบันทึกน้ันทางไปรษณียลงทะเบียนตอบรับไปให
ผถู กู กลา วหา ณ ท่ีอยูซึง่ ปรากฏตามหลักฐานของทางราชการ
ขอ 42 เม่ือไดแจงขอกลาวหาและผูถูกกลาวหาไดรับทราบตามขอ 41 แลว
ใหคณะกรรมการสอบสวนแจงกําหนดวนั เวลา สถานท่ี และวิธีการทีจ่ ะใหผูถกู กลาวหาชี้แจงแกขอ กลา วหา
ในวันที่มาพบคณะกรรมการสอบสวน หรือแจงเปนหนังสือสงทางไปรษณียลงทะเบียนตอบรับไปให
ผถู กู กลาวหา ณ ท่อี ยูซึ่งปรากฏตามหลกั ฐานของทางราชการก็ได
ในกรณีแจงเปนหนังสือสงทางไปรษณียลงทะเบียนตอบรับ ใหถือวาผูถูกกลาวหา
ไดรับทราบต้ังแตว ันท่ีครบกําหนดสบิ หาวนั นับแตวันที่ไดสงหนังสอื ดังกลาวทางไปรษณีย

421 410 การ ำด�เ ินนกาแรละทกาางรวิ ่สันกงยเลุสมกริ่ทีามร๕จุอ ิรทยธธรรณ์รมการ ้รอง ุทกข์

ขอ 43 ในกรณีท่ีผูถูกกลาวหาไมมาพบตามท่ีกําหนดในขอ 41 ใหสงบันทึกตามขอ 40
จํานวนหน่ึงฉบับทางไปรษณียลงทะเบียนตอบรับไปใหผูถูกกลาวหา ณ ที่อยูซึ่งปรากฏตามหลกั ฐานของ
ทางราชการ ในกรณีเชนนี้ ใหถือวาผูถูกกลาวหาไดรับทราบขอกลาวหาตั้งแตวันทค่ี รบกําหนดสิบหาวัน
นบั แตว ันทไี่ ดส งบนั ทกึ ดงั กลาวทางไปรษณยี 

คณะกรรมการสอบสวนจะสงหนังสือกําหนดวัน เวลา สถานท่ี และวิธีการที่จะให
ผูถูกกลาวหาชี้แจงแกขอกลาวหาและช้ีแจงวาไดก ระทําผิดตามขอกลาวหาหรือไม อยางไร เพราะเหตุใด
ไปพรอมกบั บนั ทึกแจงขอกลาวหาตามวรรคหน่ึงกไ็ ด

ขอ 44 ในกรณีท่ีผูถูกกลาวหาไมอาจช้ีแจงแกขอกลาวหาไดต ามวัน เวลา สถานท่แี ละวิธีการ
ท่ีกําหนดตามขอ 42 หรือขอ 43 โดยไดอางเหตุผลหรือความจําเปน หรือในกรณีท่ีคณะกรรมการสอบสวน
เห็นวา มีเหตจุ ําเปน จะกาํ หนดวัน เวลา สถานท่ี หรอื วิธกี ารเสียใหมเพือ่ ประโยชนแหงความเปนธรรมกไ็ ด

ขอ 45 ในการสอบสวนใหคณะกรรมการสอบสวนถามผูถูกกลาวหาดวยวาไดกระทําผิด
ตามขอกลาวหาหรือไม อยางไร เพราะเหตใุ ด

คณะกรรมการสอบสวนจะดําเนินการตามวรรคหนึ่งไปในคราวเดียวกันกับท่ีไดดําเนินการ
ตามขอ 41 ก็ได

ขอ 46 ในกรณีท่ผี ถู ูกกลาวหารับสารภาพวาไดกระทาํ ผิดตามขอกลาวหาใด ใหคณะกรรมการ
สอบสวนบันทึกการรบั สารภาพตามขอกลาวหาน้ันไวเปนหนังสือ ในกรณีเชนนี้ คณะกรรมการสอบสวน
จะไมทําการสอบสวนในขอ กลาวหาน้นั ก็ได แลว ดาํ เนินการในสวนที่เกี่ยวของตอ ไป

ขอ 47 ในกรณีที่ผูถูกกลาวหาไมมาใหถอยคําชี้แจงแกขอกลาวหาหรือไมย่ืนคําช้ีแจง
แกขอกลาวหาเปนหนังสือภายในเวลาท่ีกําหนดตามขอ 42 และขอ 43 ใหถือวาผูถูกกลาวหา
ไมประสงคจะชี้แจงแกขอกลาวหา เวนแตคณะกรรมการสอบสวนจะเห็นควรดําเนินการเปนอยางอ่ืน
เพอื่ ประโยชนแ หงความเปนธรรม

ขอ 48 ในกรณที ่ีปรากฏพยานหลักฐานเพิม่ เติมหลังจากที่คณะกรรมการสอบสวนไดแจง
ขอกลาวหาและสรปุ พยานหลักฐานท่ีสนับสนุนขอ กลาวหาในเรื่องท่ีสอบสวนแลว ถาคณะกรรมการสอบสวน
เห็นวาพยานหลักฐานท่ีเพิ่มเติมนั้นมีน้ําหนักสนับสนุนขอกลาวหา ใหแจงสรุปพยานหลักฐานเพิ่มเติมนั้น
ใหผูถกู กลาวหาทราบ แตถ าเห็นวาพยานหลักฐานเพิ่มเติมน้ันมีผลทําใหข อกลาวหาในเร่ืองที่สอบสวนน้ัน
เปลี่ยนแปลงไปหรือตองเพิ่มขอกลาวหา ใหกําหนดขอกลาวหาใหมหรือกําหนดขอกลาวหาเพิ่มเติมแลว
แจงขอกลาวหาและสรุปพยานหลักฐานที่สนับสนุนขอกลาวหานั้นใหผูถูกกลาวหาทราบ ท้ังน้ี ใหนําความ
ในขอ 40 ขอ 41 ขอ 42 ขอ 43 ขอ 44 และขอ 47 มาใชบ ังคบั โดยอนุโลม

ขอ 49 ในการสอบสวน ถาคณะกรรมการสอบสวนเห็นวามีพยานหลักฐานท่ีควรกลาวหา
วาผูถูกกลาวหากระทําผิดวนิ ัยในเรื่องอ่ืนดวย ใหป ระธานกรรมการรายงานตอผูส่งั แตง ตัง้ คณะกรรมการ
สอบสวนโดยเรว็

422 411
เม่ือไดรับรายงานตามวรรคหนึ่งแลว ใหผูสั่งแตงตั้งคณะกรรมการสอบสวนพิจารณา
ดาํ เนินการ ดงั ตอ ไปน้ี
(1) ถาเห็นวากรณีไมมีมูลท่ีควรกลาวหาวากระทําผิดวินัยในเรื่องอ่ืนดวย ใหยุติไมตอง
ดาํ เนนิ การทางวนิ ยั สําหรับเรอ่ื งอื่นน้นั
(2) ถาเห็นวากรณีมีมูลที่ควรกลาวหาวากระทําผิดวินัยในเร่ืองอ่ืนดวย ใหดําเนินการ
ทางวินัยในเรื่องอื่นน้ันดวยตามกฎ ก.พ. นี้ ในกรณีท่ีการกระทําผิดวินัยในเร่อื งอื่นน้ันเปนการกระทําผิด
วินัยอยางรายแรง จะแตงต้ังใหคณะกรรมการสอบสวนคณะเดิมหรือจะแตงตั้งคณะกรรมการสอบสวน
คณะใหมดาํ เนนิ การสอบสวนและพิจารณาในเร่ืองอื่นนั้นก็ได
ขอ 50 ในกรณีที่การสอบสวนพาดพิงไปถึงขาราชการพลเรือนผูอื่น ถาคณะกรรมการ
สอบสวนพิจารณาเห็นวา ผูนั้นมีสวนรวมกระทําการในเร่อื งท่ีสอบสวนนั้นดวย ใหค ณะกรรมการสอบสวน
รายงานตอผสู ง่ั แตงตั้งคณะกรรมการสอบสวนโดยเร็วเพ่อื พจิ ารณาดําเนินการตามกฎ ก.พ. นี้ ตอไป
ในกรณีที่การสอบสวนพาดพิงไปถึงเจาหนา ที่ของรัฐอื่นหรือบุคคลอื่น ถาคณะกรรมการ
สอบสวนพิจารณาเหน็ วา ผูนนั้ มีสวนรวมกระทําการในเร่ืองท่สี อบสวนนั้นดวย ใหค ณะกรรมการสอบสวน
รายงานตอผูสง่ั แตงต้ังคณะกรรมการสอบสวนโดยเร็วเพอื่ พจิ ารณาตามทเี่ ห็นสมควรตอ ไป
ขอ 51 ในกรณีท่ีผูส่ังแตงต้ังคณะกรรมการสอบสวนเห็นวา กรณีมีมูลท่ีควรกลาวหาวา
ขาราชการพลเรือนผูอ่ืนรวมกระทําผิดวินัยอยางรายแรงในเร่ืองที่สอบสวนตามขอ 50 วรรคหนึ่ง
ใหสงั่ แตงต้ังคณะกรรมการสอบสวนเพื่อทําการสอบสวนผูนั้น โดยจะแตง ต้ังใหคณะกรรมการสอบสวนคณะ
เดิมหรือจะแตงตั้งคณะกรรมการสอบสวนคณะใหมด ําเนินการสอบสวนและพจิ ารณาก็ได แตถาเปนกรณี
ที่มีผลทําใหผูบังคับบัญชาซึ่งมีอํานาจสั่งบรรจุตามมาตรา 57 เปลี่ยนไป ใหสงเร่ืองไปยังผูบังคับบัญชา
ซึ่งมีอํานาจส่งั บรรจุตามมาตรา 57 หรือผมู ีอํานาจตามมาตรา 94 แลวแตกรณี ของขาราชการพลเรือนผูนั้น
เพอ่ื ดําเนนิ การตอ ไป
พยานหลักฐานที่ไดจากการสอบสวนในเรื่องที่สอบสวนเดิม คณะกรรมการสอบสวน
จะใชป ระกอบการพิจารณาดําเนินการทางวินัยแกบุคคลตามวรรคหน่ึงไดตอ เม่ือไดแจงใหผูน้ันทราบและ
ใหโ อกาสผูน ้นั ไดใชส ทิ ธิตามกฎ ก.พ. นแี้ ลว
ขอ 52 เมื่อคณะกรรมการสอบสวนไดแจงขอกลาวหาและสรุปพยานหลักฐานที่
สนับสนนุ ขอ กลาวหาใหผ ถู กู กลาวหาทราบ ไดใหโอกาสผถู ูกกลา วหาชี้แจงแกขอ กลาวหา และไดร วบรวม
พยานหลักฐานเพียงพอที่จะพิจารณาไดแลว ใหคณะกรรมการสอบสวนประชุมเพื่อพิจารณา
ทาํ ความเห็นเกีย่ วกับเรอื่ งที่สอบสวน
ในการพิจารณาทําความเห็นตามวรรคหนึ่ง คณะกรรมการสอบสวนตองพิจารณา
ทั้งขอเท็จจริง ขอกฎหมาย และพิจารณามีมติในเร่ืองที่สอบสวนใหครบทุกขอกลาวหาและทุกประเด็น
วาผูถูกกลาวหากระทําผิดวินัยในเรื่องท่ีสอบสวนหรือไม ถาเห็นวาผูถูกกลาวหาไดกระทําผิดวินัย
ตองพิจารณาใหไดความดวยวาเปนความผิดวินัยกรณีใด ตามมาตราใด ควรไดรับโทษสถานใด และ
มเี หตุอันควรลดหยอ นหรือไม เพยี งใด

423 414 การ ำด�เ ินนกาแรละทกาางรวิ ่สันกงยเลุสมกริ่ทีามร๕จุอ ิรทยธธรรณ์รมการ ้รอง ุทกข์
ในกรณีท่ีคณะกรรมการสอบสวนเห็นวาผลการสอบสวนยังไมไดความแนชัดพอที่จะลงโทษ
เพราะกระทําผิดวินัยอยางรายแรง แตเห็นวาผูถูกกลาวหาหยอนความสามารถในอันท่ีจะปฏิบัติหนาที่
ราชการบกพรองในหนาที่ราชการ ประพฤติตนไมเหมาะสมกับตําแหนงหนาท่ีราชการ หรือมีมลทิน
หรือมัวหมองในกรณีที่ถูกสอบสวน ถาใหผูน้ันรับราชการตอไปจะเปนการเสียหายแกราชการ
ตามมาตรา 110 (6) หรอื (7) แลว แตกรณี กใ็ หท าํ ความเห็นเสนอไวในรายงานการสอบสวนดวย
การประชุมเพื่อพิจารณาทําความเห็นตามขอน้ี ตองมีกรรมการสอบสวนมาประชุม
ไมน อ ยกวา สามคนและไมนอยกวาก่งึ หนึ่งของจํานวนกรรมการสอบสวนทั้งหมด
ขอ 53 เม่ือคณะกรรมการสอบสวนไดดําเนินการตามขอ 52 แลว ใหจัดทํารายงาน
การสอบสวนเสนอตอผสู ั่งแตงตัง้ คณะกรรมการสอบสวนตามแบบที่สํานักงาน ก.พ. กําหนด โดยใหเสนอ
ไปพรอ มสํานวนการสอบสวน
รายงานการสอบสวนตามวรรคหนึ่ง อยางนอยตองประกอบดวยเร่ืองที่สอบสวน
ขอเท็จจริงและขอกฎหมายท่ีเก่ียวของ ขอกลาวหา พยานหลักฐานท่ีสนับสนุนหรือหักลางขอกลาวหา
ประเด็นที่ตองพิจารณาความเห็นของคณะกรรมการสอบสวนตามขอ 52 วรรคสอง และวรรคสาม และ
ลายมือชื่อกรรมการสอบสวนทุกคน รวมท้ังใหประธานกรรมการลงลายมือช่ือกํากับไวในรายงาน
การสอบสวนหนาอ่ืนดวยทุกหนาในกรณีท่ีกรรมการสอบสวนคนใดมีเหตุจําเปนไมอาจลงลายมือชื่อได
ใหประธานกรรมการสอบสวนบันทึกเหตุจําเปนดังกลาวไวดวย และในกรณีที่กรรมการสอบสวนผูใด
มีความเห็นแยง ใหแสดงช่ือและสรุปความเห็นแยงของผูน้ันไวในรายงานการสอบสวนดวย ในการนี้
ผูมีความเห็นแยงนั้นจะทําบันทึกรายละเอียดความเห็นแยงและลงลายมือช่ือของตนแนบไวกับรายงาน
การสอบสวนดว ยก็ได
ขอ 54 ใหคณะกรรมการสอบสวนดําเนนิ การสอบสวนและจัดทํารายงานการสอบสวน
พรอมท้ังสํานวนการสอบสวนเสนอตอผูสั่งแตงต้งั คณะกรรมการสอบสวนใหแลวเสร็จภายในหนึ่งรอยย่ีสบิ วัน
นบั แตวนั ท่ีมีการประชุมคณะกรรมการสอบสวนคร้งั แรกตามขอ 27
ในกรณีท่ีคณะกรรมการสอบสวนมีเหตุผลและความจําเปนไมอาจดําเนินการใหแลวเสร็จได
ภายในกําหนดเวลาตามวรรคหนึ่ง ใหประธานกรรมการรายงานตอผูส่ังแตงตั้งคณะกรรมการสอบสวน
เพื่อขอขยายเวลาสอบสวนตามความจําเปน และใหผูสง่ั แตงต้ังคณะกรรมการสอบสวนพิจารณาขยายเวลา
ไดครงั้ ละไมเกินหกสิบวัน ในกรณีท่ีไดมีการขยายเวลาจนทาํ ใหการสอบสวนดําเนนิ การเกินหนึ่งรอยแปดสิบวนั
นับแตวันท่ีมีการประชุมคณะกรรมการสอบสวนครั้งแรกตามขอ 27 ใหผูส่ังแตงต้ังคณะกรรมการสอบสวน
รายงาน อ.ก.พ. กระทรวงทีผ่ ูถูกกลาวหาสังกัดอยูทราบ เพ่อื ตดิ ตามเรงรดั ใหดําเนนิ การใหแลว เสรจ็ โดยเร็วตอไป
ขอ 55 เม่ือผูส่ังแตงตั้งคณะกรรมการสอบสวนไดรบั รายงานการสอบสวนและสํานวน
การสอบสวนแลว ใหพิจารณาตรวจสอบความถูกตองของการสอบสวน ถาเห็นวาการสอบสวนถูกตอง
ครบถวนแลว ใหผูส่ังแตงต้ังคณะกรรมการสอบสวนดําเนินการตามขอ 56 แตถาเห็นวาการสอบสวน
ยงั ไมถ กู ตอ งหรือไมค รบถวน ก็ใหส่ังหรือดาํ เนินการดังตอไปนี้
(1) ในกรณีท่ีเห็นวายังไมมีการแจงขอกลาวหาหรือการแจงขอกลาวหายังไมครบถวน
ใหส ่ังใหค ณะกรรมการสอบสวนดาํ เนินการแจง ขอ กลา วหาหรือแจงขอ กลาวหาใหครบถว นโดยเรว็

424 415
(2) ในกรณีท่ีเห็นวาควรรวบรวมขอเท็จจริงหรือพยานหลักฐานเพ่ิมเติม ใหกําหนดประเด็น
หรอื ขอสําคัญท่ีตองการใหคณะกรรมการสอบสวนทําการสอบสวนเพิม่ เติมโดยไมต อ งทําความเห็น
(3) ในกรณีท่ีเห็นวาการดําเนินการใดไมถูกตอง ใหส่ังใหคณะกรรมการสอบสวน
ดาํ เนนิ การใหถ กู ตอ งโดยเร็ว
ขอ 56 เมื่อผูส่ังแตง ตง้ั คณะกรรมการสอบสวนเห็นวาการสอบสวนถูกตอ งครบถวนแลว
ใหพ จิ ารณามีความเห็นเพ่ือส่ังหรอื ดําเนนิ การ ดงั ตอไปนี้
(1) ในกรณีที่คณะกรรมการสอบสวนเห็นวาผูถูกกลาวหาไมไดกระทําผิดวินัย หรือ
กระทําผดิ วินัยอยางไมรายแรง ถาผูส่ังแตงตั้งคณะกรรมการสอบสวนเห็นวาผูถูกกลาวหากระทําผิดวินัย
อยางไมรายแรงหรือไมไดกระทําผิดวินัย ใหผูสั่งแตงต้ังคณะกรรมการสอบสวนพิจารณาดําเนินการ
ตามอํานาจหนา ท่ีตอไปแตถาเห็นวาผถู ูกกลาวหากระทําผดิ วินยั อยางรายแรงกใ็ หดาํ เนนิ การตาม (2)
(2) ในกรณีท่ีคณะกรรมการสอบสวนเห็นวาผูถูกกลาวหากระทําผิดวินัยอยางรายแรง
ใหผูสั่งแตงตั้งคณะกรรมการสอบสวนพิจารณาวาผูถูกกลาวหากระทําผิดวินัยอยางรายแรงหรือไม
และไมวาผูสัง่ แตงตั้งคณะกรรมการสอบสวนจะเห็นดวยกับความเห็นของคณะกรรมการสอบสวนหรือ
ไมก ็ตามใหผ ูบงั คบั บญั ชาซ่งึ มีอํานาจส่ังบรรจุตามมาตรา 57 สงเรอื่ งให อ.ก.พ. จงั หวัด อ.ก.พ. กรม หรือ
อ.ก.พ. กระทรวง ซ่งึ ผูถกู กลาวหาสังกัดอยตู ามท่กี ําหนดในขอ 58 แลว แตก รณี เพื่อพิจารณาตอ ไป
(3) ในกรณีที่คณะกรรมการสอบสวนเห็นวาผลการสอบสวนยังไมไดความแนชัดพอ
ท่ีจะลงโทษเพราะกระทําผิดวินัยอยางรายแรง แตเห็นวาผูถูกกลาวหาหยอนความสามารถในอันท่ีจะ
ปฏิบัตหิ นาทรี่ าชการ บกพรองในหนาท่ีราชการ ประพฤติตนไมเหมาะสมกับตําแหนง หนา ที่ราชการ หรือ
มีมลทินหรือมัวหมองในกรณีที่ถูกสอบสวน ถาใหผูน้ันรับราชการตอไปจะเปนการเสียหายแกราชการ
ถาผูส่ังแตงต้ังคณะกรรมการสอบสวนเห็นดวยกับความเห็นของคณะกรรมการสอบสวนใหพิจารณา
ดําเนินการตามมาตรา 110 (6) หรือ (7) ตอไป แตถาเห็นวาผูถูกกลาวหาไมไดกระทําผิดวินัย หรือ
กระทําผิดวินัยอยางไมรายแรง ใหพิจารณาดําเนินการตามอํานาจหนาท่ีตอไป และถาเห็นวาผูถูกกลาวหา
กระทาํ ผดิ วินัยอยางรายแรงกใ็ หด ําเนินการตาม (2)
ขอ 57 ในกรณีที่มีการยาย การโอน หรือการเล่ือนผูถูกกลาวหา อันมีผลทําให
ผูมีอํานาจส่ังแตงตั้งคณะกรรมการสอบสวนเปล่ียนไป ใหคณะกรรมการสอบสวนที่ไดแตงต้ังไวแลวน้ัน
ดําเนินการตอไปจนเสร็จ และทํารายงานการสอบสวนเสนอไปพรอมกับสํานวนการสอบสวนตอ
ผูบังคับบัญชาเดิมที่เปนผูสั่งแตงต้ังคณะกรรมการสอบสวนตรวจสอบความถูกตองของการดําเนินการ
เพ่ือสงไปยังผูบังคับบัญชาใหมท่ีเปน ผซู ึง่ มีอํานาจสงั่ บรรจุตามมาตรา 57 หรือผูมอี าํ นาจตามมาตรา 94
พิจารณาส่ังหรือดําเนินการตามขอ 55 ตอไป และถาในระหวางการสอบสวนมีกรณีท่ีผูสั่งแตงต้ัง
คณะกรรมการสอบสวนตองส่ังการอยางใดเพ่ือใหการสอบสวนน้ันดําเนินการตอไปได ใหผูบังคับบัญชา
เดิมสงเรอ่ื งใหผูบังคับบัญชาใหมซ่ึงเปนผูมีอํานาจพจิ ารณาตอไป
ในกรณีที่ผูบังคับบัญชาใหมซ่ึงมีอํานาจสั่งบรรจุตามมาตรา 57 หรือผูมีอํานาจตาม
มาตรา 94 ตามวรรคหน่ึง เห็นสมควรใหดําเนินการตามขอ 55 จะส่ังใหคณะกรรมการสอบสวน
คณะเดิมดําเนินการหรือในกรณีท่ีเห็นเปนการสมควร จะแตงต้ังคณะกรรมการสอบสวนขึ้นใหม
เพ่อื ดําเนนิ การก็ได โดยใหนาํ ขอ 18 และขอ 19 มาใชบังคบั

425 416 การ ำด�เ ินนกาแรละทกาางรวิ ่สันกงยเลุสมกริ่ทีามร๕จุอ ิรทยธธรรณ์รมการ ้รอง ุทกข์
ขอ 58 การสงเร่ืองให อ.ก.พ. จังหวัด อ.ก.พ. กรม หรือ อ.ก.พ. กระทรวง พิจารณา
ตามขอ 56 (2) ใหด ําเนนิ การดงั ตอ ไปน้ี
(1) ในกรณีท่ีผูวาราชการจังหวัดเปนผูสั่งแตงตั้งคณะกรรมการสอบสวน ใหสงเรื่องให
อ.ก.พ. จงั หวดั ซึ่งผถู ูกกลา วหาสงั กัดอยู เปนผูพ ิจารณา
(2) ในกรณีที่อธิบดี ปลัดกระทรวงในฐานะอธิบดี หรือหัวหนาสวนราชการระดับกรม
ท่ีอยูในบังคับบัญชาหรือรับผิดชอบการปฏิบัติราชการข้ึนตรงตอนายกรัฐมนตรีหรือตอรัฐมนตรีซ่ึงเปน
ผูบังคับบัญชา ซ่ึงมีอํานาจส่ังบรรจุตามมาตรา 57 (6) (9) หรือ (10) เปน ผูส่ังแตงต้งั คณะกรรมการสอบสวน
ใหส งเรือ่ งให อ.ก.พ. กรม ซึ่งผูถูกกลา วหาสงั กัดอยู เปน ผพู จิ ารณา
(3) ในกรณีท่ีนายกรัฐมนตรี รฐั มนตรเี จาสังกัด ปลัดกระทรวงสําหรับกรณอี ่นื นอกจากท่ี
กําหนดไวใน (2) หรือหัวหนาสวนราชการระดับกรมท่ีอยูในบังคับบัญชาหรือรับผิดชอบการปฏิบัตริ าชการ
ข้ึนตรงตอนายกรัฐมนตรีหรือตอรัฐมนตรีซ่ึงเปนผูบังคับบัญชาซึ่งมีอํานาจส่ังบรรจุตามมาตรา 57 (2)
(3) (5) หรือ (8) เปนผูส่ังแตงตั้งคณะกรรมการสอบสวน ใหสงเร่ืองให อ.ก.พ. กระทรวง ซ่ึงผูถูกกลาวหา
สงั กดั อยู เปนผพู ิจารณา
ในกรณีที่มีการยาย การโอน หรือการเล่ือนผูถูกกลาวหาอันมีผลให อ.ก.พ. จังหวัด
อ.ก.พ. กรม หรือ อ.ก.พ. กระทรวง ซ่ึงผูถูกกลาวหาสังกัดอยูเปล่ียนแปลงไป ใหสงเรื่องให อ.ก.พ. จังหวัด
อ.ก.พ. กรม หรือ อ.ก.พ. กระทรวง ซง่ึ ผูถูกกลา วหาสงั กดั อยหู ลังจากการยาย การโอน หรอื การเลื่อนน้ัน
เปน ผูพิจารณา
ขอ 59 เม่อื ไดรับเร่ืองตามขอ 58 แลว อ.ก.พ. จังหวัด อ.ก.พ. กรม หรอื อ.ก.พ. กระทรวง
แลวแตกรณี อาจพจิ ารณามีมตอิ ยางใดอยางหนึง่ ดงั ตอ ไปน้ี
(1) ในกรณีที่เห็นวาผูถูกกลาวหากระทําผิดวินัยอยางรายแรง ใหมีมติวาเปนความผิด
วนิ ัยอยางรายแรงกรณีใด ตามมาตราใด และใหลงโทษสถานใด เพราะเหตุใด โดยจะตองมีขอเทจ็ จริงอัน
เปน สาระสาํ คญั ดวยวามกี ารกระทาํ อยางใด
(2) ในกรณีทีเ่ หน็ วาผูถูกกลาวหากระทําผดิ วินัยอยางไมรายแรง ใหม ีมติวาเปนความผิดวินัย
อยางไมรายแรงกรณีใด ตามมาตราใด และใหลงโทษสถานโทษใดและอัตราโทษใด เพราะเหตุใด หรือ
ถาเห็นวาเปนความผิดวินัยเล็กนอยและมีเหตุอันควรงดโทษ จะมีมติงดโทษ โดยใหทําทัณฑบน
เปนหนังสือหรือวากลาวตักเตือนก็ได ทั้งน้ี จะตองมีขอเท็จจริงอันเปนสาระสําคัญดวยวามีการกระทํา
อยางใด
(3) ในกรณีท่ีเห็นวายังไมไดความแนชัดพอที่จะลงโทษกรณีกระทําผิดวนิ ัยอยางรายแรง
ถา มีขอเท็จจริงอันเปนกรณีท่ีสมควรใหออกจากราชการตามมาตรา 110 (6) หรือ (7) ใหมีมติใหผูน้ัน
ออกจากราชการ โดยจะตองมีขอเท็จจริงอันเปนสาระสําคัญดวยวามีการกระทําอยางใด มกี รณีที่สมควร
ใหอ อกจากราชการเพราะเหตใุ ด ตามมาตราใด และถาใหรบั ราชการตอไปจะเปน การเสียหายแกร าชการอยางใด
(4) ในกรณีท่เี ห็นวาการกระทําของผถู ูกกลาวหาไมเปนความผิดวินยั ใหมีมติใหสั่งยุติเร่อื ง
หรอื ถาเหน็ วาผูถ ูกกลา วหากระทําผิดวินยั แตเปนกรณีท่ไี มอาจลงโทษได ใหมีมตใิ หง ดโทษ
(5) ในกรณีทเี่ ห็นวาขอเท็จจรงิ ยังไมเพียงพอหรอื การดาํ เนินการใดยังไมถ ูกตองครบถวน
ใหมีมตใิ หส อบสวนเพมิ่ เตมิ แกไข หรือดาํ เนนิ การใหถูกตองตามควรแกก รณี

426 417
ขอ 60 ในกรณีท่ีปรากฏวาการแตงตั้งคณะกรรมการสอบสวนไมถูกตองตามขอ 18
ใหการสอบสวนทั้งหมดเสียไป และใหผูบังคับบัญชาซึ่งมอี ํานาจส่งั บรรจุตามมาตรา 57 หรือผูมีอํานาจ
ตามมาตรา 94 แลว แตกรณี แตงตงั้ คณะกรรมการสอบสวนเพอื่ ดาํ เนนิ การสอบสวนใหมใหถกู ตอง
ขอ 61 ในกรณีท่ีปรากฏวาการดําเนินการใดไมถูกตองตามกฎ ก.พ. นี้ ใหเฉพาะการ
ดําเนินการนั้นเสียไป และถาการดําเนินการนั้นเปนสาระสําคัญที่ตองดําเนินการหรือหากไมดําเนินการ
จะทําใหเ สียความเปน ธรรม ใหแ กไขหรือดาํ เนนิ การนั้นเสยี ใหมใ หถูกตองโดยเร็ว
ขอ 62 ในกรณีท่ีผูถูกกลาวหาผูใดตายในระหวางการสอบสวน ใหการดําเนินการ
ทางวินัยแกผูน้ันเปนอันยุติ แตใหคณะกรรมการสอบสวนและผูส่ังแตงตั้งคณะกรรมการสอบสวน
ดํ าเนิ น ก า ร ร ว บ ร ว ม ข อ เท็ จ จ ริ ง แ ล ะ พ ย าน ห ลั ก ฐ า น ที่ เก่ี ย ว ข อ ง ต อ ไ ป เท าท่ี ส าม า ร ถ จ ะ ก ร ะ ทํ า ไ ด
แลวทําความเห็นเสนอตอกระทรวงเจาสังกัดเพื่อพิจารณาดําเนินการตามกฎหมายวาดวยบําเหน็จ
บํานาญขา ราชการหรอื กฎหมายวาดวยกองทนุ บําเหน็จบํานาญขา ราชการ แลว แตก รณี
ขอ 63 ใหนําบทบัญญัติวาดวยคณะกรรมการท่ีมีอํานาจดําเนนิ การพิจารณาทางปกครอง
ตามกฎหมายวาดว ยวธิ ีปฏบิ ตั ริ าชการทางปกครองมาใชบ ังคับแกการประชมุ ของคณะกรรมการสอบสวน
โดยอนโุ ลม เวนแตองคประชมุ กรรมการสอบสวนตามขอ 38 และขอ 52

หมวด 5
กรณีความผดิ ที่ปรากฏชดั แจง

ขอ 64 ขาราชการพลเรือนสามัญผูใดกระทําผิดวินัยอยางไมรา ยแรง และไดรับสารภาพ
เปนหนงั สอื ตอผูบังคับบัญชา หรือไดใหถอยคํารับสารภาพและไดมีการบันทึกถอยคํารับสารภาพเปนหนังสือ
หรือมีหนังสือรับสารภาพตอผูมีหนาท่ีสืบสวนสอบสวนหรือคณะกรรมการสอบสวนตามกฎ ก.พ. นี้
ถือเปนกรณีความผิดท่ีปรากฏชัดแจง ผูบังคับบัญชาซ่ึงมีอํานาจสั่งบรรจุตามมาตรา 57 จะพิจารณา
ดาํ เนินการทางวินัยโดยไมต อ งสอบสวนหรืองดการสอบสวนก็ได

ขอ 65 ขาราชการพลเรือนสามัญผูใดกระทําผิดวินัยอยางรายแรงในกรณีดังตอไปนี้
ถือเปนกรณีความผิดที่ปรากฏชัดแจง ผบู ังคับบัญชาซงึ่ มอี ํานาจสั่งบรรจุตามมาตรา 57 หรือผูมีอํานาจ
ตามมาตรา 94 แลว แตกรณี จะดาํ เนินการทางวินัยโดยไมตอ งสอบสวนหรอื งดการสอบสวนก็ได

(1) ละท้ิงหนาท่ีราชการติดตอในคราวเดียวกันเปนเวลาเกินกวาสิบหาวัน โดยไมกลับมา
ปฏิบัติหนาท่ีราชการอีกเลย และผูบังคับบัญชาซ่ึงมีอํานาจส่ังบรรจุตามมาตรา 57 ไดดําเนินการหรือ
สั่งใหดําเนินการสืบสวนแลวเห็นวาไมมีเหตุผลอันสมควร หรือมีพฤติการณอันแสดงถึงความจงใจ
ไมป ฏิบัตติ ามระเบียบของทางราชการ

427 418 การ ำด�เ ินนกาแรละทกาางรวิ ่สันกงยเลุสมกริ่ทีามร๕จุอ ิรทยธธรรณ์รมการ ้รอง ุทกข์
(2) กระทําความผดิ อาญาจนไดรับโทษจําคุกหรือโทษท่ีหนักกวาโทษจําคุกโดยคําพิพากษา
ถึงที่สุดใหจําคกุ หรือใหรับโทษท่ีหนักกวา จําคุก เวนแตเ ปนโทษสําหรับความผิดที่ไดกระทําโดยประมาท
หรอื ความผิดลหุโทษ
(3) กระทําผิดวินัยอยางรายแรงและไดรับสารภาพเปนหนังสือตอผูบังคับบัญชา หรือ
ไดใหถอยคํารับสารภาพและไดมีการบันทึกถอยคํารบั สารภาพเปนหนังสือหรือมีหนังสือรับสารภาพตอ
ผมู หี นาที่สบื สวนสอบสวนหรอื คณะกรรมการสอบสวนตามกฎ ก.พ. น้ี

หมวด 6
การสงั่ ยตุ เิ รื่อง ลงโทษ หรอื งดโทษ

ขอ 66 การส่ังยุติเรื่องตามมาตรา 92 วรรคสอง มาตรา 93 วรรคสอง หรือมาตรา 97
วรรคสอง ใหทําเปนคําสั่ง ระบุช่ือและตาํ แหนงของผถู ูกกลาวหา เรื่องท่ีถูกกลาวหาและผลการพิจารณา ท้ังนี้
ตามแบบทส่ี าํ นกั งาน ก.พ. กําหนด และใหล งลายมอื ช่ือและตาํ แหนงของผูสง่ั และวนั เดอื นปทอี่ อกคําส่งั ไวดวย

ขอ 67 โทษสําหรับกรณีที่ขาราชการพลเรือนสามัญกระทําผิดวินัยอยางไมรายแรง
ตามมาตรา 96 ที่ผบู ังคบั บญั ชาซ่ึงมอี ํานาจสั่งบรรจตุ ามมาตรา 57 มอี ํานาจส่งั ลงโทษได มดี ังตอ ไปนี้

(1) ภาคทัณฑ
(2) ตัดเงินเดือนไดคร้ังหนึง่ ในอัตรารอยละ 2 หรือรอ ยละ 4 ของเงนิ เดือนที่ผูน้ันไดรับ
ในวันทมี่ คี ําส่ังลงโทษเปนเวลาหน่ึงเดือน สองเดือน หรือสามเดอื น
(3) ลดเงินเดอื นไดครั้งหน่ึงในอัตรารอยละ 2 หรือรอยละ 4 ของเงินเดือนที่ผูน้ันไดรับ
ในวันที่มคี ําสั่งลงโทษ
การส่ังลงโทษตัดเงินเดือนหรือลดเงินเดือน ถาจํานวนเงินที่จะตองตัดหรือลดมีเศษ
ไมถ งึ สบิ บาทใหป ดเศษทิง้
ขอ 68 โทษสําหรับกรณีที่ขาราชการพลเรือนสามัญกระทําผิดวินัยอยางรายแรง
ตามมาตรา 97 ท่ีผูบังคับบัญชาซ่ึงมีอํานาจสั่งบรรจุตามมาตรา 57 มีอํานาจส่ังลงโทษได
มีดงั ตอไปนี้
(1) ปลดออก
(2) ไลอ อก
ขอ 69 การสั่งลงโทษภาคทัณฑ ตัดเงินเดือน ลดเงินเดือน ปลดออก หรือไลออก
ใหทําเปนคําส่ังระบุช่ือและตําแหนงของผถู ูกลงโทษ แสดงขอเท็จจริงอันเปนสาระสําคัญวาผูถูกลงโทษ
กระทําผิดวินัยอยางไมรายแรงหรืออยางรายแรงในกรณีใด ตามมาตราใด พรอมท้ังสิทธิในการอุทธรณ
และระยะเวลาในการอุทธรณตามมาตรา 114 ไวในคําส่ังน้ันดวย ทงั้ น้ี ตามแบบท่ีสํานักงาน ก.พ. กําหนด
และใหลงลายมือช่ือและตาํ แหนงของผสู ั่ง และวนั เดือนปทอี่ อกคาํ ส่งั ไวดวย


Click to View FlipBook Version