The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by daidomon63, 2021-10-26 22:57:34

รวมระเบียบกศ

รวมระเบียบกศ

478

478 464
ได้ออกคาสั่งหรือปฏิบัติตามมติดังกล่าวแล้วให้แจ้งให้ผ้อู ุทธรณ์ทราบพร้อมกับแจ้งสิทธิในการฟ้องคดีต่อ
ศาลปกครองให้ผู้อทุ ธรณท์ ราบเป็นหนงั สือโดยเร็ว

ข้อ 23 ในกรณีที่ผู้มีอานาจส่ังบรรจุมีคาส่ังตามมติ ก.ศ. ให้ผู้อุทธรณ์กลับเข้ารับราชการ
ให้นากฎหมายว่าด้วยระเบียบข้าราชการพลเรือนในส่วนท่ีเก่ียวกับการพักราชการ หรือสั่งให้ออกจาก
ราชการไว้ก่อนมาใชบ้ ังคับโดยอนโุ ลม

บทเฉพาะกาล

ข้อ 24 การอทุ ธรณ์และการพิจารณาอุทธรณ์ทไี่ ด้ดาเนินการกอ่ นวันท่ีระเบียบนใ้ี ชบ้ ังคับ
ให้ดาเนินการตามกฎหมาย พระราชกฤษฎีกา กฎ ระเบียบ และข้อบังคับที่มีอยู่ก่อนวันที่ระเบียบน้ีใช้บังคับ
เว้นแต่ ก.ศ. จะกาหนดไว้เป็นอยา่ งอ่ืน

ประกาศ ณ วนั ท่ี 23 พฤษภาคม พ.ศ. 2559
(ลงชอ่ื ) ศริ ชิ ัย วฒั นโยธนิ
(นายศิรชิ ยั วฒั นโยธนิ )
ประธานศาลอทุ ธรณ์
ประธานกรรมการขา้ ราชการศาลยตุ ธิ รรม

479 467

ระเบียบคณะกรรมการขาราชการศาลยุติธรรม
วาดวยการรอ งทุกขแ ละการพจิ ารณาเร่อื งรอ งทกุ ข

พ.ศ. 2559

อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 21 (1) และ (5) แหงพระราชบัญญัติระเบียบบริหาร
ราชการศาลยุติธรรม พ.ศ. 2543 คณะกรรมการขาราชการศาลยุติธรรม (ก.ศ.) โดยความเห็นชอบ
จากคณะกรรมการบริหารศาลยุตธิ รรม (ก.บ.ศ.) จึงออกระเบียบไว ดงั ตอไปนี้

ขอ 1 ระเบียบนี้เรียกวา “ระเบียบคณะกรรมการขาราชการศาลยุติธรรม วาดวยการ
รองทกุ ขและการพิจารณาเร่ืองรอ งทุกข พ.ศ. 2559”

การรอ งทุกข ขอ 21 ระเบยี บนีใ้ หใชบ งั คบั ตงั้ แตว ันท่ี 1 มิถนุ ายน 2559 เปนตนไป
ขอ 3 ในระเบียบน้ี
“ประธาน ก.ศ.” หมายความวา ประธานกรรมการขาราชการศาลยตุ ธิ รรม
“ก.ศ.” หมายความวา คณะกรรมการขาราชการศาลยุติธรรม
“สาํ นกั งาน” หมายความวา สาํ นกั งานศาลยุติธรรม
“สาํ นกั ก.ศ.” หมายความวา สํานกั คณะกรรมการขาราชการศาลยุติธรรม
“อ.ก.ศ. รองทุกข” หมายความวา คณะอนุกรรมการขาราชการศาลยุติธรรมเก่ียวกับ

ขอ 4 ใหประธาน ก.ศ. เปนผูรักษาการตามระเบียบนี้ และใหมีอํานาจตีความและ
วินิจฉัยปญ หาท่เี กิดข้ึนเนอ่ื งจากการใชบงั คับระเบียบน้ี

ขอ 5 การนับระยะเวลาตามระเบียบนี้ สําหรับเวลาเร่ิมตน ใหนับวันถัดจากวันแรก
แหงเวลานนั้ เปนวันเร่มิ นับระยะเวลา สวนเวลาสนิ้ สุด ถา วันสุดทายแหงระยะเวลาตรงกับวันหยุดราชการ
ใหนับวันเร่มิ เปดทาํ การใหมเปนวันสดุ ทายแหงระยะเวลา

ขอ 6 ระยะเวลาตามท่ีกําหนดไวในระเบียบฉบับนี้ เม่ือ อ.ก.ศ. รองทุกข เห็นสมควร การ ำด�เ ินนกาแรละทกาางรวิ ่สันกงยเลุสมกริ่ทีามร๕จุอ ิรทยธธรรณ์รมการ ้รอง ุทกข์
หรือเมื่อคูกรณีมีคําขอ อ.ก.ศ. รองทุกขมีอํานาจขยายหรือยนระยะเวลาไดตามความจําเปน
เพ่ือประโยชนแ หง ความยุตธิ รรม แตการขยายหรอื ยนระยะเวลาเชนวาน้ี ใหพึงทําไดตอเม่ือมีพฤติการณพิเศษ
กอนสิ้นระยะเวลานั้น เวนแตในกรณีที่มีเหตุสุดวิสัยให อ.ก.ศ. รองทุกขมีคําส่ังหรือคูกรณีย่ืนคําขอ
ภายใน 15 วนั นับแตเหตสุ ุดวิสัยนั้นสิน้ สดุ ลง

1 ราชกจิ จานเุ บกษา เลม 133/ตอนท่ี 48 ก/หนา 33/1 มถิ ุนายน 2559

480 468
ขอ 7 การสงเอกสารทางไปรษณีย ใหถือวันท่ีท่ีทําการไปรษณียตนทางออกใบรับฝาก
เปนหลักฐานการสง หรือวันที่ท่ีทําการไปรษณียตนทางประทับตรารบั ท่ีซองหนังสือเปนวนั สงหนังสือเอกสาร
ตามระเบียบน้ี

หมวด 1
องคประกอบ

ขอ 8 ใหมี อ.ก.ศ. รองทุกข ซ่งึ ก.ศ. เปนผูแ ตงตงั้ ดังน้ี
(1) ขาราชการตลุ าการเปนประธาน
(2) ขาราชการศาลยุติธรรมจํานวน 1 คน
(3) ผูแทนเลขาธิการสํานักงานศาลยุติธรรม จํานวน 1 คน
ท้ังนี้ อนกุ รรมการตาม (1) (2) และ (3) ตอ งไมเปนกรรมการขาราชการศาลยุติธรรม
ใหห ัวหนา ผรู ับผิดชอบงานดานวินัย สํานัก ก.ศ. เปนเลขานุการ และใหขาราชการศาลยุติธรรม
ซง่ึ ผูอํานวยการสาํ นกั คณะกรรมการขาราชการศาลยตุ ิธรรมมอบหมายเปนผูชวยเลขานกุ าร”

หมวด 2
หลักเกณฑแ ละการแตงตง้ั

ขอ 9 ในการลงมติแตงต้ัง อ.ก.ศ. รองทุกขจะตองไดคะแนนเสียงไมนอยกวากึ่งหน่ึง
ของจํานวนกรรมการ ก.ศ. ที่เปนองคป ระชมุ

ขอ 10 ใหผูท่ีไดรับแตงตั้งตามขอ 8 เขารับหนาท่ีนับแตวันที่ประธาน ก.ศ. ประกาศ
รายชือ่ เปน ตน ไป

ขอ 11 อ.ก.ศ. รองทุกขที่ไดรับการแตงตั้งตามขอ 8 มีวาระอยูในตําแหนง
คราวละสองป อ.ก.ศ. รอ งทุกขซ่งึ พนจากตําแหนงตามวาระอาจไดรับแตงต้ังใหมไดแตจ ะดํารงตําแหนง
เกินสองวาระติดตอกันไมได

ในกรณีท่ี อ.ก.ศ. รองทุกขพนจากตําแหนงเพราะครบวาระ ใหคงทําหนาที่ตอไปจนกวา
อ.ก.ศ. รอ งทกุ ขคณะใหมเ ขารบั หนาที่

ตาํ แหนง เม่ือ ขอ 12 นอกจาก อ.ก.ศ. รองทุกขพนจากตําแหนงตามวาระตามขอ 11 ใหพนจาก
(1) ตาย
(2) ลาออก
(3) กระทําผดิ วนิ ยั นบั แตวันท่ีมีคําสั่งลงโทษทางวนิ ยั

481 การ ำด�เ ินนกาแรละทกาางรวิ ่สันกงยเลุสมกริ่ทีามร๕จุอ ิรทยธธรรณ์รมการ ้รอง ุทกข์

481 467
(4) ถูกถอดถอนจากตาแหนง่ ตามข้อ 13
ข้อ 13 ให้ ก.ศ. มอี านาจถอดถอน อ.ก.ศ. ร้องทุกข์ ผใู้ ดผหู้ นงึ่ ออกจากตาแหนง่ ได้ในกรณี ดงั นี้
(1) มีพฤตกิ ารณไ์ มเ่ หมาะสมในการปฏิบัตหิ น้าท่ี อ.ก.ศ. รอ้ งทุกข์
(2) ปฏิบัติหน้าที่ส่อไปในทางทุจริตต่อหน้าท่ีหรือจงใจใช้อานาจหน้าที่ขัดต่อบทบัญญัติ
แห่งกฎหมายระเบียบขอ้ บังคับคุณธรรมและจรยิ ธรรม หรอื
(3) กระทาการอันมมี ูลเปน็ ความผดิ วนิ ัยถกู กล่าวหาหรอื กรณีเปน็ ทสี่ งสัยว่ากระทาผิดทางวินยั
ในการพิจารณาถอดถอนตามวรรคหนึ่งให้ผู้ท่ีถูกพิจารณาถอดถอนมีสิทธิเข้าชี้แจง
ข้อเท็จจริงต่อ ก.ศ. และมติ ก.ศ. ท่ีให้ถอดถอนผู้ใดออกจากตาแหน่งอนุกรรมการจะต้องมีคะแนนเสียง
ไม่น้อยกวา่ ก่งึ หนึง่ ของจานวน ก.ศ. ทีเ่ ปน็ องค์ประชมุ
ในระหวา่ งการพจิ ารณาถอดถอนตามวรรคสอง ผนู้ น้ั จะปฏบิ ตั หิ น้าท่ีต่อไปไม่ได้
ข้อ 14 ในการแต่งตั้ง อ.ก.ศ. รอ้ งทุกข์ แทนตาแหน่งที่วา่ งลงกอ่ นครบวาระใหน้ าความใน
ข้อ 9 และ ข้อ 10 มาใช้บังคับโดยอนุโลมและให้ผู้ซึ่งได้รับแต่งตั้งอยู่ในตาแหน่งได้เท่ากับวาระ
ทีเ่ หลืออยขู่ องผูซ้ ่งึ ตนแทน
การดารงตาแหนง่ ของ อ.ก.ศ. ร้องทุกข์ ทพี่ น้ จากตาแหน่งก่อนครบวาระหรือทด่ี ารงตาแหน่ง
แทนหากมีกาหนดเวลาไมถ่ งึ หนึง่ ปี ไม่ให้นบั เปน็ วาระการดารงตาแหน่งตามข้อ 11

หมวด 3
อานาจและหนา้ ท่ี

ข้อ 15 ให้ อ.ก.ศ. ร้องทุกข์ทาหน้าที่แทน ก.ศ. ในการพิจารณาการร้องทุกข์ของ
ข้าราชการศาลยตุ ิธรรม

ข้อ 16 การประชุม อ.ก.ศ. ร้องทุกข์ให้นาระเบียบคณะกรรมการข้าราชการศาลยุติธรรม
วา่ ด้วยการประชมุ ของคณะกรรมการขา้ ราชการศาลยุตธิ รรมมาใชบ้ งั คับโดยอนโุ ลม

ข้อ 17 เบี้ยประชุมหรืออัตราค่าตอบแทนของ อ.ก.ศ. ร้องทุกข์ให้เป็นไปตามท่ี ก.บ.ศ.
กาหนด

หมวด 4
การเสริมสรา้ งความสมานฉนั ทใ์ นองค์กร

ข้อ 18 เพื่อเสริมสร้างความเข้าใจและความสัมพันธ์อันดีระหว่างผู้บังคับบัญชา
กับผู้อยู่ใต้บังคับบัญชา เมื่อผู้อยใู่ ต้บังคับบัญชามีความคบั ข้องใจอันเกิดจากการปฏิบัตหิ รือไม่ปฏิบัติตอ่ ตน

482

482 468
ของผู้บังคับบัญชา และได้แสดงความประสงค์ที่จะปรึกษาหารือกับผู้บังคับบัญชา ให้ผู้บังคับบัญชานั้น
ให้โอกาสและรับฟังหรือสอบถามเก่ียวกับปัญหาดังกล่าว เพ่ือให้เกิดความเข้าใจและแก้ปัญหาท่ีเกิดข้ึน
ในชัน้ ตน้

ให้ผู้อยู่ใต้บังคับบัญชาปรึกษาหารือกับผู้บังคับบัญชาก่อน หากไม่ได้รับคาชี้แจงหรือได้
รับคาชแ้ี จงไมเ่ ปน็ ที่พอใจกใ็ ห้รอ้ งทุกข์ไดต้ ามหมวด 5

หมวด 5
การร้องทกุ ข์

ข้อ 19 ข้าราชการศาลยุติธรรมผู้ใดมีความคับข้องใจ อันเกิดจากการปฏิบัติหรือ
ไม่ปฏิบัติต่อตนของผู้บังคับบัญชา ผู้น้ันมีสิทธิร้องทุกข์ต่อ อ.ก.ศ. ร้องทุกข์ภายในสามสิบวันนับแต่
วนั ที่ไดท้ ราบเร่อื งราวอนั เปน็ เหตุแหง่ การร้องทุกข์

การนับระยะเวลาตามวรรคหนึ่ง มิให้นับระยะเวลาระหว่างการดาเนินการตามข้อ 18
จนถึงวนั ทผี่ ้จู ะร้องทุกขไ์ ดร้ ับทราบผลการพจิ ารณาเป็นกาหนดระยะเวลารอ้ งทกุ ข์

ข้อ 20 การปฏิบัติหรือไม่ปฏิบัติต่อตนของผู้บังคับบัญชา ซึ่งทาให้เกิดความคับข้องใจ
อันเป็นเหตุแหง่ การรอ้ งทกุ ข์น้ัน ตอ้ งมลี ักษณะอย่างหน่ึงอยา่ งใด ดังน้ี

(1) ไม่ชอบด้วยกฎหมาย ไม่ว่าจะเป็นการออกกฎ คาสั่ง หรือปฏบิ ัติหรือไมป่ ฏบิ ัติอ่ืนใด
โดยไม่มีอานาจ หรือนอกเหนืออานาจหนา้ ท่ี หรอื ไม่ถกู ต้องตามกฎหมาย หรือไม่ถกู ตอ้ งตามรูปแบบขั้นตอน
หรือวิธีการอันเป็นสาระสาคญั ท่ีกาหนดไว้สาหรับการกระทานั้น หรือโดยไม่สุจริตหรือมีลักษณะเป็นการ
เลือกปฏิบัติท่ีไม่เป็นธรรมหรือมีลักษณะเป็นการสร้างขั้นตอนโดยไม่จาเป็น หรือสร้างภาระให้เกิดข้ึน
เกินสมควร หรอื เป็นการใช้ดลุ พินจิ โดยมิชอบ

(2) ไมม่ อบหมายงานใหป้ ฏิบัติ
(3) ประวิงเวลาหรือหน่วงเหนี่ยวการดาเนินการบางเร่ือง อันเป็นเหตุให้เสียสิทธิหรือไม่ได้รับ
สิทธปิ ระโยชน์อนั พึงมีพึงไดใ้ นเวลาอนั สมควร
(4) ปฏิบัตหิ รือไม่ปฏิบัติอ่ืนใดที่ไม่เป็นไปตามหรือขดั กับระบบคุณธรรมตามมาตรา 42
แหง่ พระราชบญั ญตั ิระเบยี บข้าราชการพลเรอื น พ.ศ. 2551
ข้อ 21 ในกรณีท่ีเหตุแห่งการร้องทุกข์เกิดจากการที่ผู้บังคับบัญชามีคาส่ังเป็นหนังสือ
ต่อผรู้ อ้ งทุกข์ ใหถ้ ือวา่ วนั ท่ผี ถู้ ูกสง่ั ลงลายมือชอื่ รับทราบคาส่ังเปน็ วันทราบเรือ่ งอนั เปน็ เหตใุ หร้ อ้ งทุกข์
ในกรณีท่ีผู้ถูกสั่งไม่ยอมลงลายมือช่ือรับทราบคาส่ังและมีการแจ้งคาสั่งให้ผู้ถูกส่ังทราบ
กับมอบสาเนาคาสั่งให้ผู้ถูกสั่งแล้วทาบันทึกลงวัน เดือน ปี เวลา และสถานท่ีท่ีแจ้งและลงลายมือชื่อ
ผู้แจ้งพร้อมทั้งพยานรเู้ ห็นไวเ้ ปน็ หลักฐานแลว้ ใหถ้ อื วนั ท่แี จง้ นั้นเป็นวันทราบเรอื่ งอนั เป็นเหตุใหร้ ้องทุกข์
ในกรณีท่ีไม่อาจแจ้งให้ผู้ถูกสั่งลงลายมือช่ือรับทราบคาส่ังได้โดยตรง และได้แจ้งเป็น
หนังสือส่งสาเนาคาสั่งทางไปรษณีย์ลงทะเบียนตอบรับไปให้ผู้ถูกสั่ง ณ ท่ีอยู่ของผู้ถูกส่ังซึ่งปรากฏ
ตามหลักฐานของทางราชการ โดยส่งสาเนาคาส่ังไปให้สองฉบับเพื่อให้ผู้ถูกส่ังเก็บไว้หนึ่งฉบับและ

483 การ ำด�เ ินนกาแรละทกาางรวิ ่สันกงยเลุสมกริ่ทีามร๕จุอ ิรทยธธรรณ์รมการ ้รอง ุทกข์

483 469
ให้ผู้ถูกส่ังลงลายมือช่ือและวัน เดือน ปี ท่ีรับทราบคาสั่งส่งกลับคืนมาเพ่ือเก็บไว้เป็นหลักฐานหนึ่งฉบับ
ในกรณีเช่นน้ีเม่ือล่วงพ้นสามสิบวันนับแต่วันท่ีปรากฏในใบตอบรับทางไปรษณีย์ลงทะเบียนว่าผู้ถูกสั่ง
ได้รับเอกสารดังกล่าว หรือมีผู้รับแทนแล้ว แม้ยังไม่ได้รับสาเนาคาส่ังฉบับที่ให้ผู้ถูกสั่งลงลายมือชื่อและ
วนั เดอื น ปี ที่รบั ทราบคาสง่ั กลบั คนื มา ให้ถอื ว่าผถู้ กู สัง่ ไดท้ ราบคาส่ังแล้ว

ขอ้ 22 ในกรณีท่เี หตแุ ห่งการร้องทุกขเ์ กดิ จากการปฏิบัติหรือไม่ปฏิบัตขิ องผบู้ ังคับบัญชา
ที่ไม่มีคาสั่งเป็นหนังสือต่อผู้ร้องทุกข์โดยตรง ให้ถือวันท่ีมีหลักฐานยืนยันว่าผู้ร้องทุกข์รับทราบหรือ
ควรไดท้ ราบคาสง่ั นน้ั เปน็ วันทราบเรื่องอนั เป็นเหตใุ ห้ร้องทกุ ข์

ในกรณีท่ีเหตุแห่งการร้องทุกข์เกิดจากการปฏิบัติหรือไม่ปฏิบัติของผู้บังคับบัญชา
โดยไม่มีคาสง่ั อย่างใด ให้ถือว่าวนั ที่ผู้ร้องทุกข์ควรได้ทราบถึงการปฏิบัติหรือไม่ปฏิบัติของผู้บังคับบัญชา
ดงั กล่าวเปน็ วนั ทราบเหตแุ หง่ การร้องทุกข์

ขอ้ 23 การร้องทุกขใ์ ห้รอ้ งทุกข์ได้สาหรับตนเองเทา่ น้ันจะร้องทุกขส์ าหรับผ้อู นื่ ไม่ได้
การร้องทุกขต์ ้องทาเป็นหนังสือถึงประธาน อ.ก.ศ. ร้องทุกข์ โดยให้ใช้ถ้อยคาสุภาพและ
ต้องประกอบดว้ ยสาระสาคญั ดงั นี้
(1) ชือ่ ตาแหนง่ สงั กัด และท่ีอยู่ สาหรบั การติดตอ่ เกยี่ วกบั การรอ้ งทกุ ขข์ องผู้ร้องทกุ ข์
(2) การปฏิบัติหรือไม่ปฏบิ ัติท่ีเป็นเหตุแห่งการร้องทกุ ข์
(3) ขอ้ เท็จจรงิ หรอื ข้อกฎหมายท่ีผรู้ อ้ งทุกข์เห็นวา่ เปน็ ปัญหาของเร่ืองร้องทกุ ข์
(4) คาขอของผรู้ อ้ งทุกข์
(5) ลายมอื ช่อื ของผู้รอ้ งทกุ ข์ หรือผู้ได้รบั มอบหมายใหร้ อ้ งทุกข์แทนกรณีท่ีจาเป็นตามข้อ 24
ข้อ 24 ผู้มีสิทธิร้องทุกข์จะมอบหมายให้บุคคลอื่นร้องทุกข์แทนได้ในกรณีมีเหตุจาเป็น
อย่างหนง่ึ อย่างใด ดังตอ่ ไปน้ี
(1) เจบ็ ปว่ ยจนไม่สามารถร้องทุกข์ได้ด้วยตนเอง
(2) อยใู่ นตา่ งประเทศและคาดหมายได้ว่าไมอ่ าจร้องทุกขด์ ้วยตนเองได้ทนั ภายในเวลา
ทกี่ าหนด
(3) มเี หตจุ าเปน็ อยา่ งอื่นท่ี อ.ก.ศ.ร้องทุกข์เหน็ สมควร
การมอบหมายตามวรรคหนึ่ง จะต้องทาเป็นหนังสือลงลายมือชอื่ ผมู้ ีสทิ ธิร้องทุกข์พร้อมท้ัง
หลักฐานแสดงเหตุจาเป็น ถ้าไม่สามารถลงลายมือช่ือได้ ให้พิมพ์ลายนิ้วมือโดยมีพยานลงลายมือชื่อรับรอง
อย่างน้อยสองคน และใหม้ ีหลกั ฐานแสดงตวั ของผ้รู ับมอบหมายด้วย
ข้อ 25 การรอ้ งทกุ ข์ตามขอ้ 23 วรรคสอง ใหย้ ื่นหนังสือร้องทกุ ขพ์ ร้อมกบั สาเนารบั รอง
ถูกต้องหนึ่งฉบับที่สานัก ก.ศ. หรือส่งผ่านผู้บังคับบัญ ชาหรือผู้บังคับบัญ ชาผู้เป็นเหตุ แห่ง
การรอ้ งทกุ ขก์ ไ็ ด้ และให้ผูบ้ ังคบั บญั ชานั้นดาเนินการตามขอ้ 26 วรรคสองหรอื วรรคสามแลว้ แตก่ รณี
ในกรณีท่ีมีผู้นาหนังสือร้องทุกข์มายื่นเอง ให้ผู้รบั หนังสือออกใบรบั หนังสือ ประทับตรา
รบั หนังสือ และลงทะเบียนรับหนังสือไว้เป็นหลักฐาน ในวันที่รับหนังสือตามระเบียบว่าด้วยงานสารบรรณ
และใหถ้ ือวนั ทีร่ บั หนังสอื ตามหลกั ฐานดงั กล่าว เป็นวนั ยื่นหนงั สือรอ้ งทุกข์

484

484 470
ในกรณีที่ส่งหนังสือร้องทุกข์ทางไปรษณีย์ ให้ถือวันท่ีที่ทาการไปรษณีย์ต้นทางออก
ใบรับฝากเป็นหลักฐานฝากส่งหรือวันที่ที่ทาการไปรษณีย์ต้นทางประทับตรารับที่ซองหนังสือเป็นวัน
ส่งหนังสอื ร้องทุกข์
เมื่อได้ย่ืนหรือส่งหนังสือร้องทุกข์ไว้แล้ว ผู้ร้องทุกข์จะยื่นหรือส่งหนังสือร้องทุกข์หรือ
เอกสารหลักฐานเพ่ิมเติมก่อนที่ อ.ก.ศ. ร้องทุกข์ เร่ิมพิจารณาเรื่องร้องทุกข์ก็ได้ โดยทาเป็นหนังสือ
ถึงประธาน อ.ก.ศ. ร้องทุกข์และย่ืนหนังสือท่ีสานัก ก.ศ. หรือผู้บังคับบัญชา หรือผู้บังคับบัญชา
ผเู้ ป็นเหตแุ หง่ การร้องทุกข์ ในกรณที ี่มกี ารย่ืนหรอื สง่ ตรงต่อผบู้ งั คับบัญชา ให้ผ้บู งั คับบญั ชาน้นั สง่ หนังสอื
ร้องทุกข์หรือเอกสารหลักฐานเพ่ิมเติมไปท่ีสานัก ก.ศ. ภายในสามวันทาการนับแต่วันได้รับหนังสือ
และให้สานัก ก.ศ. ดาเนินการเสนอเร่ืองให้ อ.ก.ศ. ร้องทุกข์พิจารณาภายในสิบห้าวันทาการ
นับแต่ได้รับหนังสอื ดังกลา่ ว
ข้อ 26 เม่ือได้รับหนังสือร้องทุกข์ตาม ข้อ 25 ให้ประธาน อ.ก.ศ. ร้องทุกข์ หรือ
สานักงาน แล้วแต่กรณี มีหนังสือแจ้งพร้อมท้ังส่งสาเนาหนังสือร้องทุกข์ให้ผู้บังคับบัญชาผู้เป็นเหตุ
แห่งการร้องทุกข์ทราบภายในสามวันทาการนับแต่วันได้รับหนังสือ และให้ผู้บังคับบัญชาผู้เป็นเหตุ
แหง่ การร้องทุกขน์ ้ันส่งเอกสารหลักฐานที่เกยี่ วข้อง (ถ้ามี) และคาชี้แจงของตนไปเพ่ือประกอบการพิจารณา
ภายในสบิ หา้ วนั ทาการนบั แต่วันไดร้ ับหนงั สอื
ในกรณีที่ผู้บังคับบัญชาได้รับหนังสือร้องทุกข์ ให้ผู้บังคับบัญชานั้นส่งหนังสือร้องทุกข์
พร้อมท้ังสาเนาต่อไปยังผู้บังคับบัญชาผู้เป็นเหตุแห่งการร้องทุกข์ภายในสามวันทาการนับแต่วันท่ีได้รับ
หนงั สอื ร้องทกุ ข์
เมื่อผู้บังคับบัญชาผู้เป็นเหตุแห่งการร้องทุกข์ได้รับหนังสือร้องทุกข์ ให้ผู้บังคับบัญชา
ผเู้ ปน็ เหตุแห่งการร้องทุกข์นน้ั จดั ส่งหนงั สือรอ้ งทกุ ข์พร้อมทั้งสาเนาและเอกสารหลักฐานทีเ่ กี่ยวขอ้ ง (ถ้ามี)
และคาช้ีแจงของตนไปยังประธาน อ.ก.ศ. ร้องทุกข์ภายในสิบห้าวันทาการนับแต่วันได้รับหนังสือร้องทุกข์
และให้สานักงานศาลยุติธรรมเสนอประธาน อ.ก.ศ. ร้องทุกข์ เพื่อนาเร่ืองให้ อ.ก.ศ. ร้องทุกข์ พิจารณา
ภายในสบิ ห้าวนั ทาการนับแตว่ นั ไดร้ ับหนงั สือดงั กล่าว

หมวด 6
การพิจารณาเรื่องรอ้ งทกุ ข์

ข้อ 27 ให้ อ.ก.ศ. ร้องทุกขพ์ ิจารณาวินิจฉัยเรื่องร้องทุกข์ให้แล้วเสรจ็ ภายในเก้าสิบวัน
นับแต่วันที่ได้รับ ถ้ามีความจาเป็นไม่อาจพิจารณาให้แล้วเสร็จภายในเวลาดังกล่าวได้ ให้ขยายเวลา
ได้อีกสองครั้ง ครั้งละไม่เกินสามสิบวัน โดยให้บันทึกเหตุผลความจาเป็นไว้ด้วย แต่ถ้าขยายเวลาแล้ว
ก็ยังไม่แล้วเสร็จ ให้ประธาน อ.ก.ศ. ร้องทุกข์ พิจารณากาหนดมาตรการที่จะทาให้การพิจารณา
วนิ ิจฉัยแลว้ เสร็จโดยเร็ว และบันทึกไวเ้ ปน็ หลักฐาน

485 การ ำด�เ ินนกาแรละทกาางรวิ ่สันกงยเลุสมกริ่ทีามร๕จุอ ิรทยธธรรณ์รมการ ้รอง ุทกข์

485 471
ข้อ 28 ผู้ร้องทุกข์มีสิทธิคัดค้านอนุกรรมการใน อ.ก.ศ. ร้องทุกข์โดยแสดงข้อเท็จจริง
ท่ีเป็นเหตุแห่งการคัดค้านไว้ในหนังสือร้องทุกข์ หรือแจ้งเพ่ิมเติมเป็นหนังสือ ย่ืนต่อประธาน อ.ก.ศ. ร้องทุกข์
ก่อน อ.ก.ศ. รอ้ งทกุ ข์ เริ่มพจิ ารณาเร่ืองรอ้ งทุกข์ ถา้ อนุกรรมการผู้นั้นมเี หตอุ ย่างหนง่ึ อย่างใดดังต่อไปนี้
(1) เป็นผบู้ ังคับบัญชาผเู้ ปน็ เหตุแห่งการร้องทกุ ข์
(2) มีสว่ นไดเ้ สยี ในเร่อื งทร่ี ้องทุกข์
(3) มสี าเหตุโกรธเคืองกับผู้รอ้ งทกุ ข์
(4) มคี วามเกี่ยวพันทางเครือญาติหรอื ทางการสมรสกบั บคุ คลตาม (1) (2) หรือ (3) อัน
อาจกอ่ ใหเ้ กิดความไม่เปน็ ธรรมแก่ผรู้ ้องทุกข์
เม่ือประธาน อ.ก.ศ. ร้องทุกข์ ได้รับหนังสือคัดค้าน ให้แจ้งอนุกรรมการผู้ถูกคัดค้านทราบ
ก่อนเริม่ พิจารณาเร่ืองร้องทุกข์ เพื่อพิจารณาว่าสมควรถอนตัวหรือไม่ อนุกรรมการผู้นั้นอาจขอถอนตัว
จากการพจิ ารณาเร่ืองรอ้ งทุกข์โดยได้รบั อนญุ าตจากประธาน อ.ก.ศ. ร้องทุกข์
ในกรณีที่อนุกรรมการผู้ถูกคัดค้านมิได้ขอถอนตัว ให้ อ.ก.ศ. ร้องทุกข์ พิจารณา
ข้อเท็จจริงท่ีคัดค้าน หากเห็นว่าข้อเท็จจริงนั้นน่าเช่ือถือให้แจ้งอนุกรรมการผู้น้ันทราบ และไม่ให้
ร่วมพิจารณาเร่ืองร้องทุกข์เรื่องนั้น เว้นแต่การให้อนุกรรมการผู้น้ันร่วมพิจารณาเร่ืองร้องทุกข์จะเป็น
ประโยชน์ย่งิ กว่า เพราะจะทาใหไ้ ด้ความจริงและเป็นธรรมจะอนญุ าตใหร้ ว่ มพิจารณาเร่อื งรอ้ งทุกข์ก็ได้
การที่อนุกรรมการผู้ถูกคัดค้าน ที่ถูกสั่งไม่ให้ร่วมพิจารณาเร่ืองร้องทุกข์หรือถอนตัว
เพราะมีเหตุอันอาจถูกคัดค้านนั้น ย่อมไม่กระทบถึงการกระทาใด ๆ ท่ีได้กระทาไปแล้ว แม้ว่าจะได้
ดาเนินการหลงั จากทไี่ ด้มีการยืน่ คาคดั ค้าน
ข้อ 29 การพิจารณาเรื่องรอ้ งทกุ ข์ ให้ อ.ก.ศ. ร้องทุกขพ์ จิ ารณาจากเรื่องราวการปฏบิ ตั ิ
หรือไม่ปฏบิ ัติต่อผรู้ ้องทกุ ขข์ องผบู้ งั คบั บญั ชาผู้เปน็ เหตุแหง่ การรอ้ งทกุ ข์ และให้มีอานาจ ดงั นี้
(1) ในกรณีจาเป็นและสมควร อาจขอเอกสารหรือหลักฐานท่ีเก่ียวข้องเพิ่มเติม
รวมท้ังคาช้ีแจงจากส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ หน่วยงานอ่ืนของรัฐ ห้างหุ้นส่วน บริษัทหรือบุคคลใด ๆ
เพอื่ ประกอบการพิจารณา
(2) ขอให้ผู้แทนส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ หน่วยงานอ่ืนของรัฐ ห้างหุ้นส่วน บริษัท
หรือบคุ คลใด ๆ มาให้ถอ้ ยคา หรือชแ้ี จงขอ้ เทจ็ จริงเพ่ือประกอบการพจิ ารณา
(3) สั่งให้สานักงานศาลยุติธรรม หรือหน่วยงานในสังกัดสานักงานศาลยุติธรรม
ตรวจสอบข้อเท็จจริง หรือมีคาสั่งให้ข้าราชการศาลยุติธรรม พนักงานราชการศาลยุติธรรม หรือลูกจ้าง
มาใหถ้ อ้ ยคาหรอื ส่งเอกสารหรอื หลักฐานท่เี ก่ียวข้อง
ในกรณีที่ อ.ก.ศ. ร้องทุกข์ เห็นว่าข้อเท็จจริงซ่ึงได้มาจากการแสวงหาเพ่ิมเติมตาม
(1) ถึง (3) อาจกระทบถึงสิทธิของผู้ร้องทุกข์ ให้เลขานุการ อ.ก.ศ. ร้องทุกข์ มีหนังสือแจ้งผู้ร้องทุกข์
ใหท้ ราบข้อเทจ็ จริงอย่างเพียงพอและมโี อกาสได้โต้แยง้ และแสดงพยานหลักฐานของตนภายในระยะเวลา
ท่ี อ.ก.ศ. ร้องทุกข์ กาหนด
ระยะเวลาระหวา่ งการดาเนินการดงั กลา่ วข้างต้น จนถงึ วันทเี่ ลขานกุ าร อ.ก.ศ. ร้องทุกข์
ได้รับรายงานผลการดาเนินการหรือเอกสาร หรือหลักฐาน หรือวันที่ได้มีการให้ถ้อยคา หรือช้ีแจง
ข้อเท็จจรงิ ตอ่ อ.ก.ศ. รอ้ งทุกข์ มใิ ห้นับเปน็ ระยะเวลาการพิจารณาวินจิ ฉยั เรอื่ งร้องทุกข์ตามข้อ 27

486

486 472
ขอ้ 30 เมือ่ อ.ก.ศ. รอ้ งทุกข์ ได้พจิ ารณาวนิ ิจฉัยเรือ่ งรอ้ งทกุ ข์แล้วให้มมี ติ ดงั นี้
(1) กรณีเห็นว่าการที่ผู้บังคับบัญชาใช้อานาจหน้าท่ีปฏิบัติ หรือไม่ปฏิบัติต่อผู้ร้องทุกข์
นั้นถกู ต้องตามกฎหมายแล้ว ให้มีมตยิ กคารอ้ งทกุ ข์
(2) กรณีเห็นวา่ การทผี่ ู้บังคบั บญั ชาใช้อานาจหนา้ ทป่ี ฏิบตั ิหรอื ไม่ปฏิบตั ิต่อผู้ร้องทุกข์น้ัน
ไม่ถูกต้องตามกฎหมาย ให้มีมติให้แก้ไขโดยเพิกถอน หรือยกเลกิ การปฏิบัติท่ีไมถ่ ูกต้องตามกฎหมายนั้น
หรือใหป้ ฏบิ ตั ติ ่อผ้รู อ้ งทกุ ข์ใหถ้ กู ต้องตามกฎหมาย
(3) กรณเี ห็นวา่ การทผ่ี ู้บังคบั บญั ชาใชอ้ านาจหนา้ ท่ปี ฏบิ ตั หิ รือไมป่ ฏิบัติตอ่ ผู้ร้องทุกข์น้ัน
ถูกต้องตามกฎหมายแต่บางส่วน และไม่ถูกต้องตามกฎหมายบางส่วน ให้มีมติให้แก้ไขหรือให้ปฏิบัติ
ใหถ้ กู ตอ้ งตามกฎหมาย
(4) กรณีเห็นว่าสมควรดาเนินการโดยประการอน่ื ใด เพอ่ื ใหม้ ีความถูกต้องตามกฎหมาย
และมีความเป็นธรรม หรือสมควรเยียวยาความเสียหายให้ผู้ร้องทุกข์ แม้ผู้ร้องทุกข์จะมิได้มีคาขอ
ให้มมี ตใิ หด้ าเนนิ การไดต้ ามควรแก่กรณี เพื่อประโยชน์แห่งความยุติธรรม
การพิจารณามีมติตามวรรคหน่ึง ให้บันทึกเหตุผลของการพิจารณาวินิจฉัยไว้ในรายงาน
การประชมุ ดว้ ย
ข้อ 31 ผู้ร้องทุกข์จะขอถอนเรื่องร้องทุกข์ในเวลาใด ๆ ก่อนที่ อ.ก.ศ. ร้องทุกข์
จะพิจารณาเรื่องร้องทุกข์เสร็จสิ้นก็ได้ โดยทาเป็นหนังสือถึงประธาน อ.ก.ศ. ร้องทุกข์ย่ืนต่อ
เลขานุการ อ.ก.ศ. รอ้ งทุกข์แต่ถ้าผู้รอ้ งทุกข์ถอนคาร้องทกุ ข์ด้วยวาจาใหเ้ ลขานุการ อ.ก.ศ. ร้องทุกข์บันทึกไว้
และจัดให้ผู้ร้องทุกข์ลงลายมือช่ือไว้เป็นหลักฐาน เมื่อได้ถอนเรอ่ื งร้องทุกข์แล้ว การพิจารณาเร่ืองร้องทุกข์
ให้เปน็ อนั ระงบั

หมวด 7
การดาเนนิ การตามมติ อ.ก.ศ. ร้องทุกข์

ขอ้ 32 เม่อื อ.ก.ศ. ร้องทุกข์ มมี ตใิ นเรื่องใดแล้ว ให้ประธาน อ.ก.ศ. ร้องทกุ ข์ รายงาน
ให้ ก.ศ. ทราบ และให้สานักงานดาเนินการออกคาส่ังหรือปฏิบัติตามมติของ อ.ก.ศ. ร้องทุกข์
ภายในสามสิบวนั นบั แต่วนั ไดร้ ับแจ้งมตขิ อง อ.ก.ศ. รอ้ งทุกข์ เวน้ แต่ ก.ศ. จะมีมติเป็นอย่างอ่ืน

487 473

487

บทเฉพาะกาล

ขอ้ 33 ในกรณีทข่ี ้าราชการศาลยตุ ิธรรมได้ยน่ื หรอื ส่งหนังสือรอ้ งทุกข์ต่อผูบ้ ังคบั บญั ชา
ไว้แล้ว กอ่ นวนั ท่รี ะเบยี บนใ้ี ช้บังคบั และการพจิ ารณาวนิ จิ ฉยั เรื่องรอ้ งทุกข์น้นั ยงั ไม่แล้วเสร็จให้พิจารณา
วินิจฉัยเรือ่ งร้องทกุ ขน์ นั้ ตอ่ ไปตามกฎหมาย กฎ ระเบยี บ และขอ้ บังคับที่มอี ย่กู ่อนวันท่รี ะเบยี บนีใ้ ช้บังคบั
เว้นแต่ อ.ก.ศ. รอ้ งทกุ ข์ จะกาหนดไวเ้ ป็นอย่างอื่น

ประกาศ ณ วนั ที่ 23 เดอื น พฤษภาคม พ.ศ. 2559
(ลงชอ่ื ) ศิรชิ ัย วฒั นโยธนิ
(นายศิรชิ ยั วัฒนโยธิน)
ประธานศาลอทุ ธรณ์
ประธานกรรมการขา้ ราชการศาลยตุ ธิ รรม

การ ำด�เ ินนกาแรละทกาางรวิ ่สันกงยเลุสมกริ่ทีามร๕จุอ ิรทยธธรรณ์รมการ ้รอง ุทกข์

488 476

ระเบียบคณะกรรมการขาราชการศาลยุติธรรม
วาดวยการสงเสริมจรยิ ธรรม

ขา ราชการศาลยุติธรรม ลูกจาง และพนกั งานราชการศาลยตุ ิธรรม
พ.ศ. 2557

โดยที่เปนการสมควรใหมีระเบียบคณะกรรมการขาราชการศาลยุติธรรมวาดวย
การสงเสรมิ จริยธรรมขาราชการศาลยุติธรรม ลกู จา ง และพนกั งานราชการศาลยตุ ธิ รรม พ.ศ. 2557

อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 21 (9) แหงพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการ
ศาลยุติธรรม พ.ศ. 2543 คณะกรรมการขาราชการศาลยุติธรรมโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการ
บริหารศาลยตุ ิธรรมจึงออกระเบียบไว ดงั ตอไปน้ี

ขอ 1 ระเบียบน้ีเรียกวา “ระเบียบคณะกรรมการขาราชการศาลยุติธรรมวาดวย
การสง เสรมิ จรยิ ธรรมขาราชการศาลยุตธิ รรม ลกู จาง และพนกั งานราชการศาลยุติธรรม พ.ศ. 2557”

ขอ 21 ระเบียบน้ีใหใ ชบ งั คับต้ังแตว ันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานเุ บกษาเปนตนไป
ขอ 3 ในระเบยี บน้ี
“ก.ศ.” หมายความวา คณะกรรมการขาราชการศาลยตุ ิธรรม
“ประมวลจริยธรรม” หมายความวา ประมวลจริยธรรมขาราชการศาลยุติธรรม และลูกจาง
“คณะอนุกรรมการ” หมายความวา คณะอนุกรรมการขาราชการศาลยุติธรรมวาดวย
การสง เสรมิ จริยธรรม
“ขาราชการ” หมายความวา ขาราชการศาลยุติธรรมตามกฎหมายระเบียบบริหาร
ราชการศาลยุติธรรม ลูกจาง พนักงานราชการศาลยุติธรรม และบุคลากรประเภทอ่ืนตามระเบียบ
คณะกรรมการขาราชการศาลยตุ ิธรรมหรอื ตามท่ี ก.ศ. กําหนด
ขอ 4 ใหม คี ณะอนกุ รรมการ ซ่งึ ก.ศ. เปน ผูแตง ตง้ั ประกอบดวย
(1) อนุกรรมการที่แตง ต้ังจากกรรมการขาราชการศาลยุติธรรม ตามมาตรา 18 (1) (2)
(3) (4) แหง พระราชบัญญัติระเบียบบรหิ ารราชการศาลยุติธรรม พ.ศ. 2543 ประเภทละหน่ึงคน
(2) อนกุ รรมการท่แี ตงตั้งจากขาราชการฝายตุลาการศาลยตุ ิธรรม จาํ นวน 3 คน
ใหอนุกรรมการตามวรรคหน่ึง เลือกกันเองใหอนุกรรมการผูหน่งึ ซึ่งเปนขาราชการตุลาการ
เปน ประธานอนุกรรมการ
ใหผูอํานวยการสํานักคณะกรรมการขาราชการศาลยุติธรรม เปนเลขานุการ และหัวหนากลุมวินัย
และพิทกั ษระบบคณุ ธรรม เปนผชู ว ยเลขานกุ าร

1 ราชกจิ จานุเบกษา เลม 131/ตอนที่ 58 ก/หนา 1/25 กรกฎาคม 2557

489 การ ำด�เ ินนกาแรละทกาางรวิ ่สันกงยเลุสมกริ่ทีามร๕จุอ ิรทยธธรรณ์รมการ ้รอง ุทกข์

489 475

ข้อ 5 ให้อนุกรรมการเข้ารับหนา้ ที่นบั แต่วันที่ประธานกรรมการข้าราชการศาลยุติธรรม
มคี าส่งั แต่งตง้ั

ข้อ 6 อนุกรรมการมีวาระการดารงตาแหน่งคราวละสองปี และจะดารงตาแหน่ง
ติดต่อกันเกินสองวาระมไิ ด้

อนุกรรมการซึ่งพ้นจากตาแหน่งตามวาระต้องปฏิบัติหน้าที่ต่อไปจนกว่าอนุกรรมการใหม่
เขา้ รับหน้าที่

ข้อ 7 ในกรณีท่ีต้องมีการแต่งตั้งอนุกรรมการแทนตาแหน่งที่ว่างลงก่อนครบวาระ
ให้ดาเนินการภายในสี่สิบห้าวัน และให้นาความในข้อ 4 มาใช้บังคับโดยอนุโลม และให้ผู้ซึ่งได้รับแต่งตั้ง
อยใู่ นตาแหนง่ ได้เท่ากับวาระทเี่ หลอื อยขู่ องผ้ซู ึ่งตนแทน

การดารงตาแหนง่ ของอนกุ รรมการท่พี น้ จากตาแหนง่ กอ่ นครบวาระหรอื ที่ดารงตาแหน่งแทน
หากมกี าหนดเวลาไม่ถงึ หนึ่งปีไม่ใหน้ บั เปน็ วาระการดารงตาแหน่งตามขอ้ 6 วรรคหนงึ่

ข้อ 8 ให้นาบทบัญญัติว่าด้วยการประชุมของ ก.ศ. มาใช้บังคับแก่การประชุมของ
คณะอนกุ รรมการโดยอนโุ ลม

ข้อ 9 นอกจากการพ้นจากตาแหนง่ ตามวาระตามข้อ 6 วรรคหน่งึ อนุกรรมการพน้ จาก
ตาแหน่ง เมื่อ

(1) ตาย
(2) ลาออก
(3) กระทาผิดวินัยนบั แตว่ ันทีม่ ีคาส่งั ลงโทษทางวนิ ัย
(4) กระทาการฝา่ ฝืนประมวลจรยิ ธรรมนบั แตว่ ันท่ถี ูกดาเนินการทางจรยิ ธรรม
(5) พ้นจากตาแหนง่ กรรมการข้าราชการศาลยุตธิ รรม
(6) ถกู ถอดถอนจากตาแหน่งตามข้อ 10
ในกรณีเปน็ ท่สี งสยั เกยี่ วกับการพน้ จากตาแหน่งของอนุกรรมการ ให้ ก.ศ. เป็นผูว้ นิ ิจฉัยชข้ี าด
ข้อ 10 อนุกรรมการผู้ใดมีพฤติการณ์ไม่เหมาะสมในการปฏิบัติหน้าที่ ส่อไปในทาง
ทุจริตต่อหน้าที่ ส่อว่าจงใจใช้อานาจหน้าที่ขัดต่อบทบัญญัติแห่งกฎหมาย ข้อบังคับ คุณธรรมและ
จริยธรรม หรือกระทาการอันมีมูลเป็นความผิดทางวินัย ก.ศ. อาจพิจารณาถอดถอนอนุกรรมการผู้นั้น
ออกจากตาแหน่งได้
ในระหว่างการพิจารณาถอดถอนอนุกรรมการตามวรรคหนึ่ง อนุกรรมการผู้นั้ น
จะปฏิบตั หิ น้าทไี่ มไ่ ด้
ขอ้ 11 คณะอนุกรรมการมอี านาจหน้าที่ ดงั น้ี
(1) เสนอต่อ ก.ศ. เก่ียวกับการกาหนดนโยบาย แผนงาน และมาตรการในการส่งเสริม
และสนับสนนุ ใหข้ ้าราชการมจี ริยธรรม

490

490 476
(2) กากับ ดูแล ส่งเสริม และให้คาแนะนา กาหนดแนวทาง หลักเกณฑ์และวิธีปฏิบัติ
ในการใช้บังคับประมวลจรยิ ธรรมและระเบียบนี้
(3) วินิจฉัยปัญหาอันเกิดจากการปฏิบัติตามประมวลจริยธรรมหรือกรณีอ่ืนใด เว้นแต่
คณะอนกุ รรมการเห็นวา่ เรื่องนน้ั เปน็ เรือ่ งสาคัญหรือมผี ลกระทบระหวา่ งหลายองค์กร ใหเ้ สนอ ก.ศ. พจิ ารณา
(4) ตดิ ตาม ประเมินผลการปฏิบตั ติ ามประมวลจริยธรรม และรายงานเสนอความเห็นตอ่ ก.ศ.
(5) จัดทารายงานประจาปเี สนอต่อ ก.ศ.
(6) ให้คาแนะนาแก่ข้าราชการศาลยุติธรรมที่มีข้อสังเกตในการปฏิบัติราชการ และ
ติดตามประเมนิ ผล เพ่อื รายงานต่อ ก.ศ.
(7) ปฏิบตั ิหน้าท่อี ่นื ตามท่ี ก.ศ. มอบหมาย
ข้อ 12 คณะอนุกรรมการมีอานาจแต่งต้ังบุคคลหรือคณะบุคคลเพ่ือปฏิบัติงานตามที่
คณะอนกุ รรมการมอบหมายในการดาเนนิ การตามระเบยี บนี้
ข้อ 13 ให้คณะอนุกรรมการ และบุคคลหรือคณะบุคคลที่ได้รับแต่งตั้งตามข้อ 12
ไดร้ ับเงินคา่ ตอบแทนตามระเบียบท่ีคณะกรรมการบริหารศาลยุติธรรมกาหนด
ข้อ 14 ข้าราชการต้องยึดมั่นในจริยธรรมเพ่ือนาประโยชน์ให้เกิดแก่สว่ นรวมและตนเอง
ใหผ้ บู้ ังคับบัญชาทกุ ระดับช้นั มหี น้าทป่ี ระพฤตติ นใหเ้ ปน็ แบบอยา่ งที่ดีแก่ผู้อยใู่ ตบ้ ังคับบัญชา
ควบคุมให้ผู้อยู่ใต้บังคับบัญชาปฏิบัติตามประมวลจริยธรรม สนับสนุนส่งเสริมผู้อยู่ใต้บังคับบัญชาที่มี
ความซอ่ื สตั ย์สุจริต มผี ลงานและความรคู้ วามสามารถและปฏิบัตติ ามประมวลจริยธรรม
ข้อ 15 เพื่อประโยชน์ในการส่งเสริมจริยธรรมให้ผู้บังคับบัญชามีหน้าที่ปฏิบัติตาม
ระเบียบ แนวทาง หลกั เกณฑ์ และวธิ ีปฏบิ ตั ิที่คณะอนุกรรมการกาหนด และใหม้ ีอานาจหน้าท่ีดังนี้
(1) ดาเนินการเผยแพร่ ปลูกฝัง ส่งเสริม ติดตาม สอดส่องการปฏิบัติตามประมวลจริยธรรม
โดยสม่าเสมอ รวมท้งั ประกาศยกย่องข้าราชการท่ีถอื และปฏิบตั ติ ามประมวลจริยธรรมโดยเครง่ ครัด
(2) ดูแลใหข้ ้าราชการซ่ึงปฏิบัติตามประมวลจรยิ ธรรมนี้มิให้ถูกกล่ันแกล้ง หรอื ถกู ใช้อานาจ
โดยไม่เปน็ ธรรม
ขอ้ 16 การจงใจฝ่าฝืนประมวลจริยธรรมให้ผู้บังคับบญั ชาสั่งวา่ กล่าวตกั เตือน ทาทัณฑ์บน
เป็นหนังสอื ส่งั ให้ได้รบั การพัฒนา นาไปประกอบการพิจารณาความดีความชอบหรอื นาไปประกอบการพิจารณา
เกี่ยวกับการบริหารงานบุคคลตามท่ีเห็นสมควรให้เหมาะสมกับการกระทา เพ่ือให้ผู้อยู่ใต้บังคับบัญชา
มคี วามตระหนักและยดึ มั่นในประมวลจริยธรรม
การแตง่ ตง้ั การเล่ือนเงินเดอื น การรบั เงนิ รางวัล หรือคา่ ตอบแทนพิเศษอ่ืน การย้ายหรือ
การโอนข้าราชการ ให้ผู้บังคับบัญชานาพฤติกรรมทางจริยธรรมไปประกอบการพิจารณาควบคู่กับการ
ดาเนินการตามระเบยี บ และหลักเกณฑท์ ่ี ก.ศ. กาหนดสาหรบั การน้ัน
เม่ือผู้บังคับบัญชาได้ดาเนินการทางจริยธรรมแล้ว ให้รายงานไปยังเลขาธิการสานักงาน
ศาลยุตธิ รรมเพื่อพจิ ารณาสง่ั การตามทเ่ี หน็ สมควร

491

491 477
เมื่อเลขาธิการสานักงานศาลยุติธรรมได้ดาเนินการทางจริยธรรมแก่ผู้จงใจฝ่าฝืน
ประมวลจริยธรรมหรือได้รับรายงานตามวรรคหน่ึง และได้พิจารณาดาเนินการตามอานาจหน้าท่ีแล้ว
ใหร้ ายงานการดาเนินการไปยงั ก.ศ.
ในกรณีท่ี ก.ศ. ได้พิจารณารายงานตามวรรคส่ีแล้วมีมติเป็นประการใด ให้เลขาธิการ
สานักงานศาลยุตธิ รรมสงั่ หรือปฏิบตั ใิ หเ้ ปน็ ไปตามนั้น
ข้อ 17 ข้าราชการที่กระทาการฝ่าฝืนประมวลจริยธรรมก่อนวันท่ีระเบียบน้ีใช้บังคับ
การจะดาเนนิ การประการใดต่อไปสาหรับการน้ันใหเ้ ป็นไปตามที่ ก.ศ. เห็นสมควร
ขอ้ 18 ใหป้ ระธานกรรมการขา้ ราชการศาลยุตธิ รรมเป็นผู้รกั ษาการตามระเบยี บน้ี และ
ให้ ก.ศ. มีอานาจตคี วามและวินิจฉัยปัญหาท่ีเกดิ ขึน้ เน่ืองจากการใชบ้ ังคับระเบียบนี้

ประกาศ ณ วนั ที่ 11 มถิ นุ ายน พ.ศ. 2557
(ลงช่ือ) เพลนิ จิต ตัง้ พลู สกุล
เพลนิ จิต ตง้ั พลู สกลุ
รองประธานศาลฎีกา

ประธานกรรมการขา้ ราชการศาลยุตธิ รรม

การ ำด�เ ินนกาแรละทกาางรวิ ่สันกงยเลุสมกริ่ทีามร๕จุอ ิรทยธธรรณ์รมการ ้รอง ุทกข์

492

492

493

493 478

15
เร่อื งอ่ืน ๆ ทเ่ี กยี่ วข้อง

การดำ�เนนิ กแารลทะกาางรวสินก่งยัลเสมุ กรทามิี่ร๕จอรุทยิธธรรณร์มการรอ้ งทกุ ข์

494

495 479

495

พระราชบัญญัติ
วธิ ีปฏบิ ัตริ าชการทางปกครอง

พ.ศ. 2539

ภูมิพลอดลุ ยเดช ป.ร. การ ำด�เ ินนกาแรละทกาางรวิ ่สันกงยเลุสมกริ่ทีามร๕จุอ ิรทยธธรรณ์รมการ ้รอง ุทกข์
ให้ไว้ ณ วันที่ 27 กนั ยายน พ.ศ. 2539

เปน็ ปที ี่ 51 ในรัชกาลปัจจบุ ัน
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ
ให้ประกาศวา่
โดยที่สมควรมีกฎหมายวา่ ดว้ ยวิธปี ฏิบัติราชการทางปกครอง
จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตราพระราชบัญญัติข้ึนไว้โดยคาแนะนาและยินยอม
ของรัฐสภา ดงั ตอ่ ไปนี้
มาตรา 1 พระราชบัญญัตินี้เรียกว่า “พระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง
พ.ศ. 2539”
มาตรา 21 พระราชบัญญัติน้ีให้ใช้บังคับเมื่อพ้นกาหนดหน่ึงร้อยแปดสิบวันนับแต่
วนั ถดั จากวนั ประกาศในราชกจิ จานุเบกษาเป็นต้นไป
มาตรา 3 วิธีปฏิบัติราชการทางปกครองตามกฎหมายต่าง ๆ ให้เป็นไปตามท่ี
กาหนดในพระราชบัญญัตินี้ เว้นแต่ในกรณีท่ีกฎหมายใดกาหนดวิธีปฏิบัติราชการทางปกครองเร่ืองใด
ไว้โดยเฉพาะและมีหลักเกณฑ์ท่ีประกันความเป็นธรรมหรือมีมาตรฐานในการปฏิบัติราชการไม่ต่ากว่า
หลกั เกณฑท์ ก่ี าหนดในพระราชบัญญตั ิน้ี
ความในวรรคหน่ึงมิให้ใช้บังคับกับขั้นตอนและระยะเวลาอุทธรณ์หรือโต้แย้งท่ี
กาหนดในกฎหมาย
มาตรา 4 พระราชบญั ญัติน้ีมใิ หใ้ ช้บังคับแก่
(1) รัฐสภาและคณะรฐั มนตรี
(2) องค์กรท่ีใชอ้ านาจตามรฐั ธรรมนญู โดยเฉพาะ
(3) การพิจารณาของนายกรัฐมนตรีหรอื รัฐมนตรใี นงานทางนโยบายโดยตรง

1 ราชกจิ จานุเบกษา เลม่ 113/ตอนที่ 60 ก/หน้า 1/14 พฤศจกิ ายน 2539

496 482
(4 ) การพิจารณ าพิพากษาคดีของศาลและการดําเนิ นงานของเจาหนาที่ใน
กระบวนการพจิ ารณาคดี การบังคบั คดี และการวางทรพั ย
(5 ) การพิ จารณ าวินิจฉัยเร่ืองรองทุ กขและการส่ังการตามกฎหมายวาดวย
คณะกรรมการกฤษฎีกา
(6) การดาํ เนนิ งานเกีย่ วกับนโยบายการตางประเทศ
(7) การดําเนินงานเก่ียวกับราชการทหารหรือเจาหนาที่ซึ่งปฏิบัติหนาที่ทางยุทธการ
รวมกับทหารในการปองกันและรักษาความมั่นคงของราชอาณาจักรจากภัยคุกคามท้ังภายนอกและ
ภายในประเทศ
(8) การดําเนนิ งานตามกระบวนการยุติธรรมทางอาญา
(9) การดําเนินกิจการขององคก ารทางศาสนา
การยกเวนไมใหนําบทบัญญัติแหงพระราชบัญญัติน้ีมาใชบังคับแกการดําเนินกิจการ
ใดหรือกับหนวยงานใดนอกจากที่กําหนดไวในวรรคหน่ึง ใหตราเปนพระราชกฤษฎีกาตามขอเสนอของ
คณะกรรมการวิธปี ฏบิ ัตริ าชการทางปกครอง
มาตรา 5 ในพระราชบญั ญตั ิน้ี
“วิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง” หมายความวา การเตรียมการและการดําเนินการ
ของเจาหนาท่ีเพื่อจัดใหมีคําสั่งทางปกครองหรือกฎ และรวมถึงการดําเนินการใด ๆ ในทางปกครอง
ตามพระราชบญั ญัตินี้
“การพิจารณาทางปกครอง” หมายความวา การเตรียมการและการดําเนินการของ
เจา หนาที่เพอื่ จัดใหมีคาํ ส่ังทางปกครอง
“คาํ สัง่ ทางปกครอง” หมายความวา
(1) การใชอํานาจตามกฎหมายของเจาหนาท่ีท่ีมีผลเปนการสรางนิติสัมพันธข้ึน
ระหวางบุคคลในอันท่ีจะกอ เปลี่ยนแปลง โอน สงวน ระงับ หรือมีผลกระทบตอสถานภาพของสิทธิ
หรือหนาท่ีของบุคคล ไมวาจะเปนการถาวรหรือชั่วคราว เชน การสั่งการ การอนุญาต การอนุมัติ
การวินจิ ฉัยอุทธรณ การรับรอง และการรับจดทะเบยี น แตไมหมายความรวมถงึ การออกกฎ
(2) การอน่ื ทีก่ ําหนดในกฎกระทรวง
“กฎ” หมายความวา พระราชกฤษฎีกา กฎกระทรวง ประกาศกระทรวง ขอบัญญัติ
ทองถิ่น ระเบียบ ขอบังคับ หรือบทบัญญัติอืน่ ที่มีผลบังคับเปนการท่ัวไป โดยไมมุงหมายใหใชบังคับแก
กรณใี ดหรอื บุคคลใดเปนการเฉพาะ
“คณะกรรมการวินิจฉัยขอพิพาท” หมายความวา คณะกรรมการที่จัดตั้งขึ้นตาม
กฎหมายท่ีมีการจดั องคก รและวธิ ีพจิ ารณาสําหรบั การวินจิ ฉัยช้ขี าดสิทธิและหนาท่ีตามกฎหมาย
“เจาหนาท่ี” หมายความวา บุคคล คณะบุคคล หรือนิติบุคคล ซ่ึงใชอํานาจหรือ
ไดร ับมอบใหใชอํานาจทางปกครองของรัฐในการดําเนินการอยางหน่ึงอยางใดตามกฎหมาย ไมว าจะเปน
การจัดต้งั ข้นึ ในระบบราชการ รฐั วสิ าหกิจหรอื กิจการอ่ืนของรฐั หรือไมก็ตาม
“คูกรณี” หมายความวา ผูย่ืนคําขอหรือผูคัดคานคําขอ ผูอยูในบังคับหรือจะอยูใน
บังคับของคําส่ังทางปกครอง และผูซึ่งไดเขามาในกระบวนการพิจารณาทางปกครองเน่ืองจากสิทธิของ
ผนู นั้ จะถกู กระทบกระเทือนจากผลของคําส่งั ทางปกครอง

497 การ ำด�เ ินนกาแรละทกาางรวิ ่สันกงยเลุสมกริ่ทีามร๕จุอ ิรทยธธรรณ์รมการ ้รอง ุทกข์

497 481
มาตรา6 ให้นายกรัฐมนตรีรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ และให้มีอานาจออก
กฎกระทรวงและประกาศ เพอื่ ปฏบิ ัติการตามพระราชบญั ญตั นิ ี้
กฎกระทรวงและประกาศน้นั เมื่อประกาศในราชกจิ จานุเบกษาแลว้ ใหใ้ ช้บังคบั ได้

หมวด 1
คณะกรรมการวิธปี ฏบิ ัตริ าชการทางปกครอง

มาตรา 7 ให้มีคณะกรรมการคณะหน่ึงเรียกว่า “คณะกรรมการวิธีปฏิบัติราชการ
ทางปกครอง” ประกอบด้วยประธานกรรมการคนหน่ึง ปลัดสานักนายกรัฐมนตรี ปลัดกระทรวงมหาดไทย
เลขาธิการคณะรัฐมนตรี เลขาธิการคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน เลขาธิการคณะกรรมการกฤษฎีกา
และผทู้ รงคุณวฒุ ิอกี ไม่นอ้ ยกว่าห้าคนแต่ไม่เกินเก้าคนเป็นกรรมการ

ให้คณะรัฐมนตรีแต่งตั้งประธานกรรมการและกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ โดยแต่งต้ังจาก
ผู้ซึ่งมีความเช่ียวชาญในทางนิติศาสตร์ รัฐประศาสนศาสตร์ รัฐศาสตร์ สังคมศาสตร์ หรือการบริหาร
ราชการแผน่ ดิน แตผ่ นู้ นั้ ตอ้ งไมเ่ ปน็ ผู้ดารงตาแหนง่ ทางการเมอื ง

ให้เลขาธกิ ารคณะกรรมการกฤษฎกี าแต่งต้ังขา้ ราชการของสานักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า
เป็นเลขานกุ ารและผ้ชู ่วยเลขานุการ

มาตรา 8 ให้กรรมการซ่ึงคณะรัฐมนตรีแต่งต้ังมีวาระดารงตาแหน่งคราวละสามปี
กรรมการซง่ึ พน้ จากตาแหนง่ อาจไดร้ บั แต่งต้ังอีกได้

ในกรณีท่ีกรรมการพ้นจากตาแหน่งตามวาระ แต่ยังมิได้แต่งต้ังกรรมการใหม่
ให้กรรมการนนั้ ปฏบิ ตั หิ นา้ ที่ไปพลางก่อนจนกวา่ จะไดแ้ ต่งตง้ั กรรมการใหม่

มาตรา 9 นอกจากการพ้นจากตาแหน่งตามวาระตามมาตรา 8 กรรมการซึ่ง
คณ ะรัฐมนตรีแต่งตั้งพ้น จากตาแห น่งเมื่อคณ ะรัฐมนตรีมี มติ ให้ออกห รือเมื่อมีเห ตุหน่ึงเหตุใดตาม
มาตรา 76

มาตรา 10 ให้สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาทาหน้าที่เป็นสานักงานเลขานุการ
ของคณะกรรมการวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง รับผิดชอบงานธุรการ งานประชุม การศึกษาหา
ข้อมลู และกจิ การตา่ ง ๆ ทเ่ี ก่ียวกับงานของคณะกรรมการวิธปี ฏิบตั ิราชการทางปกครอง

มาตรา11 คณะกรรมการวิธีปฏิบตั ริ าชการทางปกครองมอี านาจหน้าท่ี ดงั ต่อไปน้ี
(1) สอดส่องดูแลและให้คาแนะนาเก่ียวกับการดาเนินงานของเจ้าหน้าท่ีในการ
ปฏิบัตติ ามพระราชบัญญัตนิ ้ี
(2) ให้คาปรึกษาแก่เจ้าหน้าที่เก่ียวกับการปฏิบัติตามพระราชบัญญัติน้ี ตามท่ีบุคคล
ดังกล่าวร้องขอ ทัง้ นี้ ตามหลักเกณฑท์ ี่คณะกรรมการวิธีปฏบิ ตั ริ าชการทางปกครองกาหนด

498

498 482
(3) มีหนังสือเรียกให้เจ้าหน้าที่หรือบุคคลอ่ืนใดมาชี้แจงหรือแสดงความเห็น
ประกอบการพิจารณาได้
(4) เสนอแนะในการตราพระราชกฤษฎีกาและการออกกฎกระทรวงหรือประกาศ
ตามพระราชบญั ญตั นิ ี้
(5) จัดทารายงานเกี่ยวกับการปฏิบัติตามพระราชบัญญัตินี้เสนอคณะรัฐมนตรี
เป็นครัง้ คราวตามความเหมาะสมแต่อยา่ งน้อยปีละหนึ่งคร้ัง เพ่ือพัฒนาและปรับปรุงการปฏิบัติราชการ
ทางปกครองให้เป็นไปโดยมคี วามเป็นธรรมและมปี ระสิทธิภาพย่ิงขนึ้
(6) เร่อื งอ่ืนตามที่คณะรัฐมนตรีหรอื นายกรัฐมนตรีมอบหมาย

หมวด 2
คาสั่งทางปกครอง

สว่ นท่ี 1
เจา้ หนา้ ท่ี

มาตรา 12 คาส่ังทางปกครองจะตอ้ งกระทาโดยเจา้ หนา้ ทซี่ ่งึ มีอานาจหนา้ ทใี่ นเร่อื งนน้ั
มาตรา 13 เจ้าหนา้ ท่ีดงั ต่อไปนจ้ี ะทาการพิจารณาทางปกครองไม่ได้
(1) เปน็ คกู่ รณเี อง
(2) เปน็ ค่หู มนั้ หรอื คูส่ มรสของค่กู รณี
(3) เป็นญาติของคู่กรณี คือ เป็นบุพการีหรือผู้สืบสันดานไม่ว่าช้ันใด ๆ หรือเป็นพ่ีน้อง
หรอื ลูกพ่ลี ูกนอ้ งนบั ไดเ้ พยี งภายในสามช้นั หรอื เป็นญาติเกีย่ วพนั ทางแต่งงานนับได้เพียงสองชนั้
(4) เปน็ หรือเคยเปน็ ผูแ้ ทนโดยชอบธรรมหรอื ผูพ้ ทิ ักษห์ รอื ผ้แู ทนหรอื ตัวแทนของคกู่ รณี
(5) เปน็ เจ้าหนี้หรอื ลกู หน้ี หรือเป็นนายจ้างของคู่กรณี
(6) กรณีอ่ืนตามทก่ี าหนดในกฎกระทรวง
มาตรา 14 เม่ือมีกรณีตามมาตรา 13 หรือคู่กรณีคัดค้านว่าเจ้าหน้าท่ีผู้ใดเป็นบุคคล
ตามมาตรา 13 ให้เจ้าหน้าที่ผู้นั้นหยุดการพิจารณาเรื่องไว้ก่อน และแจ้งให้ผู้บังคับบัญชา
เหนอื ตนขนึ้ ไปช้นั หน่ึงทราบ เพ่อื ท่ผี ้บู งั คับบัญชาดงั กลา่ วจะไดม้ ีคาสง่ั ตอ่ ไป
การยื่นคาคัดค้าน การพิจารณาคาคัดค้าน และการสั่งให้เจ้าหน้าที่อ่ืนเข้าปฏิบัติ
หนา้ ทีแ่ ทนผทู้ ถี่ กู คดั คา้ นใหเ้ ปน็ ไปตามหลักเกณฑ์และวิธกี ารท่กี าหนดในกฎกระทรวง
มาตรา 15 เมื่อมีกรณตี ามมาตรา 13 หรือคู่กรณีคัดค้านวา่ กรรมการในคณะกรรมการที่
มีอานาจพิจารณาทางปกครองคณะใดมีลักษณะดังกล่าว ให้ประธานกรรมการเรียกประชุมคณะกรรมการ

499 การ ำด�เ ินนกาแรละทกาางรวิ ่สันกงยเลุสมกริ่ทีามร๕จุอ ิรทยธธรรณ์รมการ ้รอง ุทกข์

499 483
เพื่อพจิ ารณาเหตคุ ดั คา้ นนัน้ ในการประชมุ ดงั กลา่ วกรรมการผู้ถูกคดั คา้ นเมอื่ ไดช้ แี้ จงขอ้ เท็จจริงและตอบ
ข้อซักถามแลว้ ตอ้ งออกจากทป่ี ระชมุ

ถ้าคณะกรรมการที่มีอานาจพิจารณาทางปกครองคณะใดมีผู้ถูกคัดค้านในระหว่างท่ี
กรรมการผถู้ ูกคัดค้านตอ้ งออกจากท่ีประชมุ ใหถ้ อื วา่ คณะกรรมการคณะนัน้ ประกอบดว้ ยกรรมการทุกคนท่ี
ไมถ่ ูกคัดค้าน

ถา้ ท่ปี ระชมุ มีมติให้กรรมการผูถ้ ูกคดั ค้านปฏบิ ัติหนา้ ท่ีต่อไปด้วยคะแนนเสียงไมน่ ้อยกว่า
สองในสามของกรรมการท่ีไม่ถูกคัดค้าน ก็ให้กรรมการผู้นั้นปฏิบัติหน้าท่ีต่อไปได้ มติดังกล่าวให้กระทา
โดยวิธีลงคะแนนลบั และใหเ้ ป็นทสี่ ดุ

การย่ืนคาคัดค้านและการพิจารณาคาคัดค้านให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่
กาหนดในกฎกระทรวง

มาตรา 16 ในกรณีมีเหตุอื่นใดนอกจากที่บัญญัติไว้ในมาตรา 13 เกี่ยวกับเจ้าหน้าที่
หรือกรรมการในคณ ะกรรมการท่ีมีอานาจพิจารณ าทางป กครองซ่ึงมีสภาพ ร้ายแรงอันอาจทาให้
การพิจารณาทางปกครองไม่เป็นกลาง เจ้าหน้าที่หรือกรรมการผู้น้ันจะทาการพิจารณาทางปกครอง
ในเร่ืองน้นั ไม่ได้

ในกรณตี ามวรรคหน่งึ ให้ดาเนนิ การ ดังนี้
(1) ถ้าผู้น้ันเห็นเองว่าตนมีกรณีดังกล่าว ให้ผู้น้ันหยุดการพิจารณาเรื่องไว้ก่อนและ
แจง้ ใหผ้ บู้ งั คบั บญั ชาเหนอื ตนขนึ้ ไปชน้ั หนง่ึ หรือประธานกรรมการทราบ แล้วแตก่ รณี
(2) ถ้ามีคู่กรณีคัดค้านวา่ ผู้น้ันมีเหตุดังกล่าว หากผู้น้ันเห็นว่าตนไม่มีเหตุตามท่ีคัดค้านนั้น
ผู้นั้นจะทาการพิจารณาเรื่องต่อไปก็ได้แต่ต้องแจ้งให้ผู้บังคับบัญชาเหนือตนขึ้นไปชั้นหนึ่งหรือประธาน
กรรมการทราบ แลว้ แต่กรณี
(3) ให้ผู้บังคับบัญชาของผู้นั้นหรือคณะกรรมการที่มีอานาจพิจารณาทางปกครอง
ซ่ึงผู้น้ันเป็นกรรมการอยู่มีคาสั่งหรือมีมติโดยไม่ชักช้า แล้วแต่กรณี ว่าผู้น้ันมีอานาจในการพิจารณา
ทางปกครองในเรือ่ งน้ันหรอื ไม่
ให้นาบทบัญญตั ิมาตรา 14 วรรคสอง และมาตรา 15 วรรคสอง วรรคสาม และวรรคส่ี
มาใชบ้ งั คบั โดยอนโุ ลม
มาตรา 17 การกระทาใด ๆ ของเจ้าหน้าท่ีหรือกรรมการในคณะกรรมการท่ีมีอานาจ
พิจารณาทางปกครองที่ได้กระทาไปก่อนหยุดการพิจารณาตามมาตรา 14 และมาตรา 16 ย่อมไม่เสียไป
เว้นแต่เจ้าหน้าที่ผู้เข้าปฏิบัติหน้าที่แทนผู้ถูกคัดค้านหรือคณะกรรมการที่มีอานาจพิจารณาทางปกครอง
แลว้ แตก่ รณี จะเหน็ สมควรดาเนินการส่วนหนึง่ ส่วนใดเสยี ใหมก่ ไ็ ด้
มาตรา 18 บทบัญญัติมาตรา 13 ถึงมาตรา 16 ไม่ให้นามาใช้บังคับกับกรณีท่ีมี
ความจาเป็นเร่งด่วน หากปล่อยให้ล่าช้าไปจะเสียหายต่อประโยชน์สาธารณะหรือสิทธิของบุคคล
จะเสยี หายโดยไม่มีทางแกไ้ ขได้ หรอื ไมม่ เี จา้ หน้าที่อนื่ ปฏิบัติหน้าทแี่ ทนผนู้ ้ันได้

500

500 484
มาตรา 19 ถ้าปรากฏภายหลังว่าเจ้าหน้าท่ีหรือกรรมการในคณะกรรมการท่ีมีอานาจ
พิจารณาทางปกครองใดขาดคุณสมบัติหรือมีลักษณะต้องห้ามหรือการแต่งตั้งไม่ชอบด้วยกฎ หมาย
อันเป็นเหตุให้ผู้นั้นต้องพ้นจากตาแหน่ง การพ้นจากตาแหน่งเช่นว่านี้ไม่กระทบกระเทือนถึงการใด
ท่ผี ้นู น้ั ไดป้ ฏบิ ตั ิไปตามอานาจหนา้ ท่ี
มาตรา 20 ผู้บังคับบัญชาเหนือตนข้ึนไปชั้นหนึ่งตามมาตรา 14 และมาตรา 16
ให้หมายความรวมถงึ ผู้ซึง่ กฎหมายกาหนดใหม้ ีอานาจกากับหรอื ควบคมุ ดแู ลสาหรับกรณีของเจา้ หน้าท่ที ่ี
ไมม่ ีผ้บู ังคับบัญชาโดยตรง และนายกรฐั มนตรสี าหรบั กรณที เ่ี จ้าหน้าทผี่ ูน้ น้ั เป็นรัฐมนตรี

สว่ นที่ 2
คู่กรณี

มาตรา 21 บุคคลธรรมดา คณะบุคคล หรือนิติบุคคล อาจเป็นคู่กรณีในการพิจารณา
ทางปกครองได้ตามขอบเขตที่สิทธิของตนถูกกระทบกระเทือนหรืออาจถูกกระทบกระเทือนโดยมิอาจ
หลีกเลีย่ งได้

มาตรา 22 ผู้มีความสามารถกระทาการในกระบวนการพิจารณาทางปกครองได้
จะตอ้ งเป็น

(1) ผูซ้ ึง่ บรรลุนติ ิภาวะ
(2) ผู้ซ่ึงมีบทกฎหมายเฉพาะกาหนดให้มีความสามารถกระทาการในเรื่องท่ีกาหนดได้
แม้ผ้นู น้ั จะยังไม่บรรลนุ ิติภาวะหรอื ความสามารถถูกจากัดตามประมวลกฎหมายแพง่ และพาณิชย์
(3) นิติบุคคลหรือคณะบุคคลตามมาตรา 21 โดยผแู้ ทนหรอื ตวั แทน แล้วแตก่ รณี
(4) ผู้ซ่ึงมีประกาศของนายกรัฐมนตรีหรือผู้ซง่ึ นายกรฐั มนตรีมอบหมายในราชกิจจานุเบกษา
กาหนดให้มีความสามารถกระทาการในเร่ืองที่กาหนดได้ แม้ผู้นั้นจะยังไม่บรรลุนิติภาวะหรือความสามารถ
ถูกจากดั ตามประมวลกฎหมายแพง่ และพาณิชย์
มาตรา 23 ในการพิจารณาทางปกครองที่คู่กรณีต้องมาปรากฏตัวต่อหน้าเจ้าหน้าที่
คกู่ รณมี ีสิทธินาทนายความหรอื ทปี่ รึกษาของตนเข้ามาในการพจิ ารณาทางปกครองได้
การใดท่ีทนายความหรือท่ีปรึกษาได้ทาลงต่อหน้าคู่กรณีให้ถือว่าเป็นการกระทาของ
คูก่ รณี เวน้ แตค่ ่กู รณีจะได้คดั คา้ นเสียแต่ในขณะน้ัน
มาตรา 24 คู่กรณีอาจมีหนังสือแต่งตั้งให้บุคคลหนึ่งบุคคลใดซ่ึงบรรลุนิตภิ าวะกระทาการ
อยา่ งหนงึ่ อยา่ งใดตามทีก่ าหนดแทนตนในกระบวนการพิจารณาทางปกครองใด ๆ ได้ ในการน้ี เจา้ หน้าท่ี
จะดาเนินกระบวนพิจารณาทางปกครองกับตัวคู่กรณีได้เฉพาะเม่ือเป็นเร่ืองท่ีผู้น้ันมีหน้าท่ีโดยตรง
ทีจ่ ะต้องทาการนนั้ ดว้ ยตนเองและต้องแจ้งให้ผ้ไู ด้รบั การแตง่ ตั้งให้กระทาการแทนทราบดว้ ย

501 การ ำด�เ ินนกาแรละทกาางรวิ ่สันกงยเลุสมกริ่ทีามร๕จุอ ิรทยธธรรณ์รมการ ้รอง ุทกข์

501 485
หากปรากฏวา่ ผู้ได้รับการแตง่ ตงั้ ให้กระทาการแทนผใู้ ดไม่ทราบข้อเท็จจริงในเรื่องนั้นเพียงพอ
หรือมเี หตุไมค่ วรไวว้ างใจในความสามารถของบุคคลดังกลา่ วให้เจา้ หน้าทีแ่ จ้งใหค้ ู่กรณที ราบโดยไม่ชกั ช้า
การแต่งต้ังให้กระทาการแทนไม่ถือว่าสิ้นสุดลงเพราะความตายของคู่กรณีหรือการท่ี
ความสามารถหรือความเป็นผู้แทนของคู่กรณีเปลี่ยนแปลงไป เว้นแต่ผู้สืบสิทธิตามกฎหมายของคู่กรณี
หรือคกู่ รณจี ะถอนการแตง่ ตั้งดงั กล่าว
มาตรา 25 ในกรณีท่ีมีการย่ืนคาขอโดยมีผู้ลงช่ือร่วมกันเกินห้าสิบคนหรือมีคู่กรณี
เกินห้าสิบคนยื่นคาขอท่ีมีข้อความอย่างเดียวกันหรือทานองเดียวกัน ถ้าในคาขอมีการระบุให้บุคคลใด
เป็นตัวแทนของบุคคลดังกล่าวหรือมีข้อความเป็นปริยายให้เข้าใจได้เช่นนั้น ให้ถือว่าผู้ที่ถูกระบุช่ือดังกล่าว
เป็นตัวแทนรว่ มของคกู่ รณเี หลา่ นน้ั
ในกรณีท่ีมีคู่กรณีเกินห้าสิบคนย่ืนคาขอให้มีคาส่ังทางปกครองในเรื่องเดียวกัน โดยไม่มี
การกาหนดให้บุคคลใดเป็นตัวแทนร่วมของตนตามวรรคหนึ่ง ให้เจ้าหน้าที่ในเร่ืองน้ันแต่งตั้งบุคคล
ที่คู่กรณีฝ่ายข้างมากเห็นชอบเป็นตัวแทนร่วมของบุคคลดังกล่าว ในกรณีน้ีให้นามาตรา 24 วรรคสอง
และวรรคสาม มาใช้บงั คบั โดยอนุโลม
ตัวแทนร่วมตามวรรคหนงึ่ หรอื วรรคสองต้องเป็นบุคคลธรรมดา
คู่กรณีจะบอกเลิกการให้ตัวแทนร่วมดาเนินการแทนตนเม่ือใดก็ได้แต่ต้องมีหนังสือแจ้ง
ให้เจ้าหน้าที่ทราบและดาเนินการใด ๆ ในกระบวนการพิจารณาทางปกครองต่อไปด้วยตนเอง
ตวั แทนร่วมจะบอกเลิกการเป็นตัวแทนเมื่อใดก็ได้ แต่ต้องมีหนังสือแจ้งให้เจ้าหน้าท่ีทราบ
กับต้องแจ้งใหค้ ่กู รณีทกุ รายทราบด้วย

สว่ นท่ี 3
การพจิ ารณา

มาตรา 26 เอกสารท่ียื่นต่อเจ้าหน้าที่ให้จัดทาเป็นภาษาไทย ถ้าเป็นเอกสารที่ทาขึ้น
เป็นภาษาต่างประเทศ ให้คู่กรณีจัดทาคาแปลเป็นภาษาไทยท่ีมีการรับรองความถูกต้องมาให้ภายใน
ระยะเวลาท่เี จ้าหนา้ ท่กี าหนด ในกรณีนใี้ ห้ถอื ว่าเอกสารดงั กลา่ วได้ยื่นต่อเจ้าหนา้ ที่ในวนั ที่เจา้ หนา้ ทไี่ ดร้ บั
คาแปลนั้น เว้นแต่เจ้าหน้าท่ีจะยอมรับเอกสารท่ีทาข้ึนเป็นภาษาต่างประเทศ และในกรณีนี้
ให้ถอื วา่ วันทีไ่ ด้ยื่นเอกสารฉบับท่ีทาขึน้ เปน็ ภาษาตา่ งประเทศเปน็ วันท่ีเจ้าหนา้ ท่ีไดร้ บั เอกสารดงั กล่าว

การรับรองความถูกต้องของคาแปลเป็นภาษาไทยหรือการยอมรับเอกสารท่ีทาข้ึน
เปน็ ภาษาตา่ งประเทศ ให้เป็นไปตามหลกั เกณฑแ์ ละวิธีการท่กี าหนดในกฎกระทรวง

มาตรา 272 ให้เจ้าหน้าท่ีแจ้งสิทธิและหน้าที่ในกระบวนการพิจารณาทางปกครอง
ใหค้ ู่กรณีทราบตามความจาเป็นแก่กรณี

2 มาตรา 27 แกไ้ ขเพ่มิ เติมโดยพระราชบญั ญัตวิ ธิ ปี ฏบิ ตั ิราชการทางปกครอง (ฉบบั ท่ี 2) พ.ศ. 2557

502

502 486
เม่ือมผี ู้ยื่นคาขอเพื่อให้เจ้าหน้าท่ีมีคาสั่งทางปกครอง ให้เป็นหน้าท่ขี องเจ้าหน้าที่ผู้รบั คาขอ
ท่ีจะต้องดาเนนิ การตรวจสอบความถูกต้องของคาขอและความครบถ้วนของเอกสาร บรรดาที่มีกฎหมาย
หรือกฎกาหนดให้ต้องย่ืนมาพร้อมกับคาขอ หากคาขอไม่ถกู ต้อง ให้เจ้าหน้าที่ดังกล่าวแนะนาให้ผู้ยนื่ คาขอ
ดาเนินการแก้ไขเพ่ิมเติมเสียให้ถูกต้อง และหากมีเอกสารใดไม่ครบถ้วนให้แจ้งให้ผู้ยื่นคาขอทราบทันที
หรือภายในไม่เกินเจ็ดวนั นับแตว่ นั ที่ได้รบั คาขอ ในการแจ้งดังกล่าวใหเ้ จา้ หน้าท่ที าเป็นหนงั สือลงลายมือชื่อ
ของผ้รู ับคาขอและระบุรายการเอกสารท่ีไมถ่ ูกต้องหรือยงั ไมค่ รบถ้วนให้ผยู้ ื่นคาขอทราบพรอ้ มท้ังบันทึก
การแจง้ ดงั กล่าวไว้ในกระบวนพิจารณาจดั ทาคาส่ังทางปกครองนัน้ ด้วย
เม่ือผู้ย่ืนคาขอได้แก้ไขคาขอหรือจัดส่งเอกสารตามท่ีระบุในการแจ้งตามวรรคสอง
ครบถ้วนแล้วเจ้าหน้าที่จะปฏิเสธไม่ดาเนินการตามคาขอเพราะเหตุยังขาดเอกสารอีกมิได้ เว้นแต่
มีความจาเป็นเพื่อปฏิบัติให้ถูกต้องตามกฎหมายหรือกฎและได้รับความเห็นชอบจากผู้ บังคับบัญชา
เหนือตนขึ้นไปชั้นหนึ่งตามมาตรา 20 ในกรณีเช่นน้ันให้ผู้บังคับบัญชาดังกล่าวดาเนินการตรวจสอบ
ข้อเท็จจรงิ โดยพลัน หากเห็นวา่ เป็นความบกพรอ่ งของเจ้าหน้าท่ใี ห้ดาเนนิ การทางวินัยต่อไป
ผู้ย่ืน ค าข อ ต้ อ งด าเนิ น ก าร แ ก้ ไข ห รื อ ส่ งเอ ก สา ร เพิ่ ม เติ ม ต่ อ เจ้า ห น้ า ที่ ภ า ยใน เ ว ล า
ที่เจ้าหน้าที่กาหนดหรือภายในเวลาท่เี จา้ หนา้ ทอี่ นุญาตให้ขยายออกไป เมอ่ื พ้นกาหนดเวลาดังกล่าวแล้ว
หากผู้ยื่นคาขอไมแ่ กไ้ ขหรือส่งเอกสารเพิม่ เตมิ ใหค้ รบถ้วน ให้ถอื วา่ ผยู้ ื่นคาขอไมป่ ระสงคท์ จี่ ะใหเ้ จา้ หนา้ ท่ี
ดาเนินการตามคาขอต่อไป ในกรณีเช่นน้ันให้เจ้าหน้าที่ส่งเอกสารคืนให้ผู้ย่ืนคาขอพร้อมทั้ง
แจ้งสทิ ธิในการอทุ ธรณใ์ หผ้ ยู้ ื่นคาขอทราบ และบนั ทึกการดาเนินการดงั กลา่ วไว้
มาตรา 28 ในการพิจารณาทางปกครอง เจ้าหน้าท่ีอาจตรวจสอบข้อเท็จจริงได้
ตามความเหมาะสมในเร่ืองนน้ั ๆ โดยไม่ตอ้ งผกู พนั อยูก่ ับคาขอหรือพยานหลกั ฐานของคูก่ รณี
มาตรา 29 เจ้าหน้าที่ต้องพิจารณาพยานหลักฐานที่ตนเห็นว่าจาเป็นแก่การพิสูจน์
ข้อเท็จจริง ในการน้ี ให้รวมถงึ การดาเนินการดงั ต่อไปนี้
(1) แสวงหาพยานหลักฐานทกุ อย่างท่ีเก่ียวขอ้ ง
(2) รับฟังพยานหลักฐาน คาชี้แจง หรือความเห็นของคู่กรณีหรือของพยานบุคคลหรือ
พยานผู้เชี่ยวชาญที่คู่กรณีกล่าวอ้าง เว้นแต่เจ้าหน้าท่ีเห็นว่าเป็นการกล่าวอ้างที่ไม่จาเป็น ฟุ่มเฟือยหรือ
เพ่อื ประวงิ เวลา
(3) ขอขอ้ เท็จจรงิ หรอื ความเห็นจากคู่กรณี พยานบคุ คล หรอื พยานผูเ้ ชย่ี วชาญ
(4) ขอใหผ้ ้คู รอบครองเอกสารส่งเอกสารที่เกย่ี วข้อง
(5) ออกไปตรวจสถานที่
คู่กรณีต้องให้ความร่วมมือกับเจ้าหน้าท่ีในการพิสูจน์ข้อเท็จจริง และมีหน้าท่ีแจ้ง
พยานหลกั ฐานทตี่ นทราบแกเ่ จ้าหน้าท่ี
พยานหรือพยานผู้เชี่ยวชาญท่ีเจ้าหน้าที่เรียกมาให้ถ้อยคาหรือทาความเห็นมีสิทธิได้รับ
ค่าปว่ ยการตามหลกั เกณฑ์และวธิ ีการทก่ี าหนดในกฎกระทรวง
มาตรา 30 ในกรณที ่ีคาส่ังทางปกครองอาจกระทบถึงสิทธขิ องคู่กรณี เจ้าหน้าท่ีต้องให้
ค่กู รณมี โี อกาสท่ีจะไดท้ ราบข้อเทจ็ จรงิ อยา่ งเพยี งพอและมีโอกาสได้โตแ้ ยง้ และแสดงพยานหลักฐานของตน

503 การ ำด�เ ินนกาแรละทกาางรวิ ่สันกงยเลุสมกริ่ทีามร๕จุอ ิรทยธธรรณ์รมการ ้รอง ุทกข์

503 487
ความในวรรคหน่ึงมิให้นามาใช้บังคับในกรณีดังต่อไปนี้ เว้นแต่เจ้าหน้าที่จะเห็นสมควร
ปฏิบัติเป็นอย่างอนื่
(1) เม่ือมคี วามจาเป็นรบี ด่วนหากปล่อยใหเ้ นิ่นชา้ ไปจะก่อให้เกิดความเสียหายอย่างร้ายแรง
แก่ผหู้ นึ่งผใู้ ดหรือจะกระทบตอ่ ประโยชนส์ าธารณะ
(2) เมือ่ จะมีผลทาใหร้ ะยะเวลาทก่ี ฎหมายหรอื กฎกาหนดไว้ในการทาคาส่งั ทางปกครอง
ต้องล่าช้าออกไป
(3) เมือ่ เปน็ ขอ้ เทจ็ จริงท่ีคูก่ รณนี นั้ เองไดใ้ หไ้ วใ้ นคาขอ คาให้การหรือคาแถลง
(4) เมือ่ โดยสภาพเห็นไดช้ ดั ในตัวว่าการให้โอกาสดงั กล่าวไมอ่ าจกระทาได้
(5) เมอ่ื เปน็ มาตรการบงั คับทางปกครอง
(6) กรณีอ่นื ตามท่ีกาหนดในกฎกระทรวง
ห้ามมิให้เจ้าหน้าที่ให้โอกาสตามวรรคหน่ึง ถ้าจะก่อให้เกิดผลเสียหายอย่างร้ายแรงต่อ
ประโยชนส์ าธารณะ
มาตรา 31 คู่กรณีมีสิทธิขอตรวจดูเอกสารที่จาเป็นต้องรู้เพื่อการโต้แย้งหรือชแ้ี จงหรือ
ป้องกันสิทธิของตนได้ แต่ถ้ายังไม่ได้ทาคาส่ังทางปกครองในเร่ืองนั้น คู่กรณีไม่มีสิทธิขอตรวจดูเอกสาร
อนั เป็นต้นร่างคาวนิ ิจฉยั
การตรวจดูเอกสาร ค่าใช้จ่ายในการตรวจดูเอกสาร หรือการจัดทาสาเนาเอกสาร
ใหเ้ ป็นไปตามหลักเกณฑแ์ ละวธิ กี ารท่ีกาหนดในกฎกระทรวง
มาตรา 32 เจ้าหน้าที่อาจไมอ่ นุญาตให้ตรวจดเู อกสารหรือพยานหลกั ฐานได้ ถ้าเป็นกรณี
ที่ตอ้ งรักษาไว้เปน็ ความลับ
มาตรา 33 เพื่อประโยชน์ในการอานวยความสะดวกแก่ประชาชน ความประหยัดและ
ความมปี ระสทิ ธภิ าพในการดาเนนิ งานของรัฐ ให้คณะรฐั มนตรีวางระเบียบกาหนดหลักเกณฑแ์ ละวธิ กี าร
เพื่อให้เจ้าหน้าท่ีกาหนดเวลาสาหรับการพิจารณาทางปกครองข้ึนไว้ตามความเหมาะสมแก่กรณี ทั้งนี้
เทา่ ท่ีไม่ขดั หรือแย้งกบั กฎหมายหรอื กฎในเรือ่ งน้นั
ในกรณีที่การดาเนินงานในเรื่องใดจะต้องผ่านการพิจารณาของเจ้าหน้าที่มากกว่าหนึ่งราย
เจา้ หน้าที่ท่ีเกยี่ วขอ้ งมหี น้าทตี่ อ้ งประสานงานกันในการกาหนดเวลาเพอื่ การดาเนนิ งานในเรื่องนน้ั

ส่วนที่ 4
รปู แบบและผลของคาส่งั ทางปกครอง

มาตรา 34 คาสั่งทางปกครองอาจทาเป็นหนังสือหรอื วาจาหรือโดยการสอ่ื ความหมาย
ในรปู แบบอ่ืนก็ได้ แตต่ ้องมีขอ้ ความหรอื ความหมายทีช่ ัดเจนเพียงพอที่จะเข้าใจได้

504

504 488
มาตรา 35 ในกรณีท่ีคาส่ังทางปกครองเป็นคาสัง่ ด้วยวาจา ถา้ ผู้รับคาสัง่ น้ันร้องขอและ
การร้องขอไดก้ ระทาโดยมีเหตุอันสมควรภายในเจ็ดวันนับแต่วันท่ีมีคาส่ังดังกล่าว เจ้าหน้าที่ผู้ออกคาส่ัง
ตอ้ งยืนยันคาสัง่ นนั้ เป็นหนงั สือ
มาตรา 36 คาสั่งทางปกครองท่ีทาเป็นหนังสืออย่างน้อยต้องระบุ วัน เดือน และปี
ท่ที าคาสัง่ ชื่อและตาแหนง่ ของเจ้าหน้าทผ่ี ู้ทาคาส่งั พรอ้ มทั้งมีลายมือช่ือของเจ้าหน้าท่ผี ้ทู าคาส่ังน้นั
มาตรา 37 คาสั่งทางปกครองท่ีทาเป็นหนังสือและการยืนยันคาส่ังทางปกครอง
เป็นหนงั สอื ต้องจัดใหม้ เี หตผุ ลไวด้ ้วย และเหตผุ ลน้ันอยา่ งน้อยต้องประกอบดว้ ย
(1) ข้อเทจ็ จริงอนั เปน็ สาระสาคัญ
(2) ข้อกฎหมายที่อา้ งองิ
(3) ขอ้ พิจารณาและข้อสนบั สนนุ ในการใชด้ ลุ พินจิ
นายกรัฐมนตรีหรือผู้ซ่ึงนายกรัฐมนตรีมอบหมายอาจประกาศในราชกิจจานุเบกษา
กาหนดให้คาสั่งทางปกครองกรณีหน่ึงกรณีใดต้องระบุเหตุผลไว้ในคาสั่งน้ันเองหรือในเอกสารแนบท้าย
คาสงั่ น้นั กไ็ ด้
บทบญั ญัติตามวรรคหน่ึงไมใ่ ชบ้ ังคบั กบั กรณีดังตอ่ ไปนี้
(1) เป็นกรณีทม่ี ผี ลตรงตามคาขอและไมก่ ระทบสิทธแิ ละหนา้ ที่ของบคุ คลอ่ืน
(2) เหตุผลนัน้ เปน็ ทีร่ ู้กันอยแู่ ลว้ โดยไมจ่ าตอ้ งระบอุ ีก
(3) เป็นกรณีท่ตี ้องรักษาไวเ้ ปน็ ความลับตามมาตรา 32
(4) เป็นการออกคาส่ังทางปกครองด้วยวาจาหรือเป็นกรณีเร่งด่วน แต่ต้องให้เหตุผล
เป็นลายลกั ษณ์อกั ษรในเวลาอันควรหากผอู้ ยู่ในบงั คบั ของคาสัง่ นน้ั ร้องขอ
มาตรา 38 บทบัญญัติตามมาตรา 36 และมาตรา 37 วรรคหนึ่ง มิให้ใช้บังคับกับ
คาสั่งทางปกครองท่ีกาหนดในกฎกระทรวง ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเง่ือนไขที่กาหนด
ในกฎกระทรวง
มาตรา 39 การออกคาสั่งทางปกครองเจ้าหน้าท่ีอาจกาหนดเงอื่ นไขใด ๆ ได้เท่าที่จาเป็น
เพือ่ ใหบ้ รรลวุ ตั ถปุ ระสงคข์ องกฎหมาย เว้นแต่กฎหมายจะกาหนดข้อจากดั ดลุ พนิ ิจเป็นอยา่ งอ่ืน
การกาหนดเงื่อนไขตามวรรคหนึ่ง ให้หมายความรวมถึงการกาหนดเง่ือนไขในกรณี
ดังตอ่ ไปน้ี ตามความเหมาะสมแก่กรณดี ว้ ย
(1) การกาหนดใหส้ ิทธหิ รือภาระหน้าทีเ่ ริม่ มีผลหรอื สิ้นผล ณ เวลาใดเวลาหน่งึ
(2) การกาหนดให้การเริ่มมีผลหรือส้ินผลของสิทธิหรือภาระหน้าที่ต้องข้ึนอยู่กับ
เหตกุ ารณ์ในอนาคตที่ไมแ่ น่นอน
(3) ข้อสงวนสทิ ธทิ ีจ่ ะยกเลกิ คาสงั่ ทางปกครอง
(4) การกาหนดให้ผู้ได้รับประโยชน์ต้องกระทาหรืองดเว้นกระทาหรอื ต้องมีภาระหน้าที่
หรือยอมรับภาระหน้าท่ีหรือความรับผิดชอบบางประการ หรือการกาหนดข้อความในการจัดให้มี
เปล่ยี นแปลง หรือเพมิ่ ข้อกาหนดดังกลา่ ว

505 การ ำด�เ ินนกาแรละทกาางรวิ ่สันกงยเลุสมกริ่ทีามร๕จุอ ิรทยธธรรณ์รมการ ้รอง ุทกข์

505 489
มาตรา 39/13 การออกคาส่ังทางปกครองเป็นหนังสือในเร่ืองใด หากมิได้มีกฎหมาย
หรือกฎกาหนดระยะเวลาในการออกคาสั่งทางปกครองในเรื่องน้ันไว้เป็นประการอื่น ให้เจ้าหน้าท่ี
ออกคาสั่งทางปกครองนั้นให้แล้วเสร็จภายในสามสิบวันนับแต่วันท่ีเจ้าหน้าท่ีได้รับคาขอและเอกสาร
ถูกตอ้ งครบถว้ น
ใหเ้ ปน็ หน้าทขี่ องผบู้ ังคบั บญั ชาชนั้ เหนอื ขึ้นไปของเจ้าหนา้ ท่ี ทจ่ี ะกากับดูแลให้เจา้ หนา้ ที่
ดาเนินการให้เป็นไปตามวรรคหนง่ึ
มาตรา 40 คาส่ังทางปกครองท่ีอาจอุทธรณ์หรือโต้แย้งต่อไปได้ให้ระบุกรณีที่อาจ
อุทธรณ์หรือโต้แย้ง การย่ืนคาอุทธรณ์หรือคาโต้แย้ง และระยะเวลาสาหรับการอุทธรณ์หรือการโต้แย้ง
ดงั กล่าวไวด้ ว้ ย
ในกรณีท่ีมีการฝ่าฝืนบทบัญญัติตามวรรคหน่ึง ให้ระยะเวลาสาหรับการอุทธรณ์หรือ
การโต้แย้งเรมิ่ นับใหมต่ งั้ แตว่ นั ท่ีไดร้ ับแจ้งหลักเกณฑ์ตามวรรคหน่งึ แต่ถ้าไม่มีการแจ้งใหมแ่ ละระยะเวลา
ดังกลา่ วมรี ะยะเวลาสัน้ กวา่ หนงึ่ ปี ให้ขยายเปน็ หนึง่ ปีนับแต่วันทีไ่ ดร้ ับคาสัง่ ทางปกครอง
มาตรา 41 คาสั่งทางปกครองท่ีออกโดยการฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามหลักเกณฑ์
ดงั ตอ่ ไปนี้ ไมเ่ ปน็ เหตใุ ห้คาส่งั ทางปกครองนั้นไมส่ มบรู ณ์
(1) การออกคาส่งั ทางปกครองโดยยงั ไมม่ ีผู้ยน่ื คาขอในกรณีท่ีเจา้ หน้าทีจ่ ะดาเนนิ การเองไม่ได้
นอกจากจะมผี ู้ยน่ื คาขอ ถ้าต่อมาในภายหลังได้มีการยื่นคาขอเชน่ น้ันแลว้
(2) คาสั่งทางปกครองท่ีต้องจัดให้มีเหตผุ ลตามมาตรา 37 วรรคหนง่ึ ถ้าได้มกี ารจัดให้มี
เหตผุ ลดังกลา่ วในภายหลัง
(3) การรับฟังคู่กรณีที่จาเป็นต้องกระทาได้ดาเนินการมาโดยไม่สมบูรณ์ ถ้าได้มีการรับฟัง
ใหส้ มบูรณ์ในภายหลงั
(4) คาส่ังทางปกครองท่ีต้องให้เจ้าหน้าที่อ่ืนให้ความเห็นชอบก่อน ถ้าเจ้าหน้าท่ีนั้นได้
ให้ความเหน็ ชอบในภายหลัง
เม่ือมีการดาเนินการตามวรรคหนึ่ง (1) (2) (3) หรือ (4) แล้ว และเจ้าหน้าที่ผู้มีคาสั่ง
ทางปกครองประสงค์ใหผ้ ลเป็นไปตามคาส่งั เดมิ ใหเ้ จ้าหนา้ ที่ผู้นนั้ บันทกึ ขอ้ เท็จจรงิ และความประสงค์ของ
ตนไว้ในหรือแนบไว้กับคาสัง่ เดิมและต้องมหี นงั สือแจง้ ความประสงคข์ องตนใหค้ กู่ รณีทราบดว้ ย
กรณีตาม (2) (3) และ (4) จะต้องกระทาก่อนสิ้นสุดกระบวนการพิจารณาอุทธรณ์
ตามส่วนที่ 5 ของหมวดนี้ หรือตามกฎหมายเฉพาะว่าด้วยการนั้น หรือถ้าเป็นกรณีท่ีไม่ต้องมี
การอุทธรณ์ดังกล่าวก็ต้องก่อนมีการนาคาส่ังทางปกครองไปสู่การพิจารณาของผู้มีอานาจพิจารณา
วนิ ิจฉยั ความถกู ต้องของคาสั่งทางปกครองนัน้
มาตรา 42 คาสงั่ ทางปกครองให้มผี ลใช้ยันตอ่ บุคคลตั้งแต่ขณะท่ีผู้น้ันไดร้ ับแจ้งเปน็ ตน้ ไป
คาส่ังทางปกครองย่อมมีผลตราบเท่าท่ียังไม่มีการเพิกถอนหรือสิ้นผลลงโดยเง่ือนเวลา
หรือโดยเหตอุ น่ื

3 มาตรา 39/1 เพมิ่ โดยพระราชบัญญัติวธิ ปี ฏบิ ตั ิราชการทางปกครอง (ฉบบั ท่ี 2) พ.ศ. 2557

506

506 490
เม่ือคาส่ังทางปกครองสิ้นผลลง ให้เจ้าหน้าที่มีอานาจเรียกผู้ซึ่งครอบครองเอกสารหรือ
วัตถุอื่นใดท่ีได้จัดทาข้ึนเน่ืองในการมีคาส่ังทางปกครองดังกล่าว ซึ่งมีข้อความหรือเครื่องหมายแสดงถึง
การมีอยู่ของคาสั่งทางปกครองนั้น ให้ส่งคืนส่ิงน้ันหรือให้นาสิ่งของดังกล่าวอันเป็นกรรมสิทธ์ิของผู้น้ัน
มาให้เจ้าหนา้ ท่จี ดั ทาเคร่อื งหมายแสดงการสิ้นผลของคาส่งั ทางปกครองดังกล่าวได้
มาตรา 43 คาส่ังทางปกครองท่ีมีข้อผิดพลาดเล็กน้อยหรือผิดหลงเล็กน้อยนั้น
เจ้าหน้าท่อี าจแก้ไขเพิ่มเตมิ ได้เสมอ
ในการแก้ไขเพ่ิมเติมคาสั่งทางปกครองตามวรรคหน่ึงให้แจ้งให้ผู้ที่เก่ียวข้องทราบ
ตามควรแก่กรณี ในการน้ี เจ้าหนา้ ท่อี าจเรียกให้ผูท้ ี่เกยี่ วข้องจดั สง่ คาสัง่ ทางปกครอง เอกสารหรอื วัตถุอืน่ ใด
ท่ีได้จดั ทาขึ้นเนอื่ งในการมีคาส่ังทางปกครองดังกล่าวมาเพอื่ การแก้ไขเพิ่มเตมิ ได้

ส่วนที่ 5
การอุทธรณ์คาสั่งทางปกครอง

มาตรา 44 ภายใต้บังคับมาตรา 48 ในกรณีที่คาสั่งทางปกครองใดไม่ได้ออก
โดยรัฐมนตรี และไม่มีกฎหมายกาหนดข้ันตอนอุทธรณ์ภายในฝ่ายปกครองไว้เป็นการเฉพาะ ให้คู่กรณี
อุทธรณ์คาส่ังทางปกครองนั้นโดยย่ืนต่อเจ้าหน้าท่ีผู้ทาคาส่ังทางปกครองภายในสิบห้าวันนับแต่วันท่ีตน
ไดร้ บั แจง้ คาส่งั ดังกลา่ ว

คาอทุ ธรณ์ต้องทาเป็นหนังสือโดยระบุข้อโตแ้ ย้งและข้อเท็จจริงหรือข้อกฎหมายทอี่ ้างอิง
ประกอบด้วย

การอุทธรณ์ไม่เป็นเหตุให้ทุเลาการบังคับตามคาสั่งทางปกครอง เว้นแต่จะมีการสั่งให้
ทเุ ลาการบงั คับตามมาตรา 63/2 วรรคหนง่ึ 4

มาตรา 45 ให้เจ้าหน้าท่ีตามมาตรา 44 วรรคหนึ่ง พิจารณาคาอุทธรณ์และแจ้ง
ผอู้ ทุ ธรณ์โดยไม่ชกั ชา้ แตต่ ้องไมเ่ กินสามสิบวันนบั แต่วนั ที่ได้รบั อุทธรณ์ ในกรณีทเ่ี ห็นด้วยกับคาอุทธรณ์
ไม่ว่าท้ังหมดหรือบางส่วนก็ให้ดาเนินการเปล่ียนแปลงคาส่ังทางปกครองตามความเห็นของตนภายใน
กาหนดเวลาดงั กลา่ วด้วย

ถ้าเจ้าหน้าท่ีตามมาตรา 44 วรรคหน่ึง ไม่เห็นด้วยกับคาอุทธรณ์ไม่ว่าทั้งหมดหรือ
บางส่วนก็ให้เร่งรายงานความเห็นพร้อมเหตุผลไปยังผู้มีอานาจพิจารณาคาอุทธรณ์ภายในกาหนดเวลา
ตามวรรคหนึ่ง ให้ผู้มีอานาจพิจารณาคาอุทธรณ์พิจารณาให้แล้วเสร็จภายในสามสิบวันนับแต่วันท่ีตน
ได้รับรายงาน ถ้ามีเหตุจาเป็นไม่อาจพิจารณาให้แล้วเสร็จภายในระยะเวลาดังกล่าว ให้ผู้มีอานาจ
พิจารณาอุทธรณม์ ีหนังสือแจ้งให้ผู้อุทธรณ์ทราบก่อนครบกาหนดเวลาดังกล่าว ในการนี้ ให้ขยายระยะเวลา
พจิ ารณาอุทธรณ์ออกไปได้ไมเ่ กินสามสบิ วันนับแตว่ ันท่คี รบกาหนดเวลาดงั กล่าว

4 มาตรา 44 วรรคสาม แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง (ฉบับท่ี 3) พ.ศ.
2562

507 การ ำด�เ ินนกาแรละทกาางรวิ ่สันกงยเลุสมกริ่ทีามร๕จุอ ิรทยธธรรณ์รมการ ้รอง ุทกข์

507 491
เจ้าหน้าท่ีผู้ใดจะเป็นผู้มีอานาจพิจารณาอุทธรณ์ตามวรรคสองให้เป็นไปตามท่ีกาหนด
ในกฎกระทรวง
บทบญั ญตั มิ าตรานไ้ี ม่ใชก้ บั กรณีทม่ี ีกฎหมายเฉพาะกาหนดไว้เป็นอยา่ งอ่ืน
มาตรา 46 ในการพิจารณาอุทธรณ์ ใหเ้ จ้าหน้าทพ่ี จิ ารณาทบทวนคาสง่ั ทางปกครองได้
ไม่วา่ จะเป็นปัญหาขอ้ เท็จจรงิ ขอ้ กฎหมาย หรอื ความเหมาะสมของการทาคาสัง่ ทางปกครอง และอาจมี
คาส่ังเพิกถอนคาส่ังทางปกครองเดิมหรือเปลี่ยนแปลงคาสั่งนั้นไปในทางใด ท้ังน้ี ไม่ว่าจะเป็นการเพิ่มภาระ
หรือลดภาระหรือใช้ดุลพินิจแทนในเร่ืองความเหมาะสมของการทาคาสั่งทางปกครองหรือมีข้อกาหนด
เป็นเงอื่ นไขอยา่ งไรกไ็ ด้
มาตรา 47 การใดที่กฎหมายกาหนดให้อุทธรณ์ต่อเจ้าหน้าท่ีซึ่งเป็นคณะกรรมการ
ขอบเขตการพิจารณาอุทธรณ์ให้เป็นไปตามกฎหมายว่าด้วยการน้ัน สาหรับกระบวนการพิจารณา
ให้ปฏบิ ตั ิตามบทบญั ญตั ิ หมวด 2 น้ี เทา่ ท่ีไม่ขดั หรือแย้งกับกฎหมายดังกล่าว
มาตรา 485 คาส่ังทางปกครองของบรรดาคณะกรรมการต่าง ๆ ไม่ว่าจะจัดตั้งขึ้น
ตามกฎหมายหรือไม่ ให้คู่กรณีมีสิทธิโต้แย้งต่อคณะกรรมการวินิจฉัยร้องทุกข์ตามกฎหมายว่าด้วย
คณะกรรมการกฤษฎีกาได้ทั้งในปัญหาข้อเท็จจริงและข้อกฎหมาย ภายในเก้าสิบวันนับแต่วันท่ีได้รับ
แจ้งคาส่ังน้ัน แต่ถ้าคณะกรรมการดังกล่าวเป็นคณะกรรมการวินิจฉัยข้อพิพาท สิทธิการอุทธรณ์และ
กาหนดเวลาอุทธรณ์ ให้เป็นไปตามทบี่ ญั ญัตใิ นกฎหมายวา่ ด้วยคณะกรรมการกฤษฎกี า

ส่วนท่ี 6
การเพกิ ถอนคาสง่ั ทางปกครอง

มาตรา 49 เจ้าหน้าท่ีหรือผู้บังคับบัญชาของเจ้าหน้าท่ีอาจเพิกถอนคาส่ังทางปกครองได้
ตามหลกั เกณฑ์ในมาตรา 51 มาตรา 52 และมาตรา 53 ไม่วา่ จะพน้ ขั้นตอนการกาหนดให้อุทธรณห์ รอื
ใหโ้ ตแ้ ยง้ ตามกฎหมายน้หี รอื กฎหมายอื่นมาแล้วหรอื ไม่

การเพิกถอนคาสั่งทางปกครองที่มีลักษณะเป็นการให้ประโยชน์ต้องกระทาภายใน
เก้าสิบวันนับแต่ได้รู้ถึงเหตุท่ีจะให้เพิกถอนคาสั่งทางปกครองนั้น เว้นแต่คาส่ังทางปกครองจะได้ทาขึ้น
เพราะการแสดงข้อความอันเป็นเท็จหรอื ปกปิดข้อความจริงซึ่งควรบอกให้แจ้งหรือการข่มขู่หรือการชักจูงใจ
โดยการใหท้ รพั ยส์ ินหรือประโยชน์อนื่ ใดท่ีมชิ อบดว้ ยกฎหมาย

มาตรา 50 คาส่ังทางปกครองที่ไม่ชอบด้วยกฎหมายอาจถูกเพิกถอนท้ังหมดหรือ
บางส่วน โดยจะให้มีผลยอ้ นหลังหรือไม่ย้อนหลังหรือมีผลในอนาคตไปถึงขณะใดขณะหน่ึงตามท่ีกาหนดได้

5 มาตรา 48 ยกเลิกโดยผลของมาตรา 87 เนื่องจากมีการจัดต้ังศาลปกครองแล้ว โดยพระราชบัญญัติ
จัดต้ังศาลปกครองและวธิ ีพจิ ารณาคดปี กครอง พ.ศ. 2542

508 494
แตถาคําสั่งน้ันเปนคําส่ังซ่ึงเปนการใหประโยชนแกผูรับ การเพิกถอนตองเปนไปตามบทบัญญัติ
มาตรา 51 และมาตรา 52

มาตรา 51 การเพิกถอนคําสั่งทางปกครองท่ีไมชอบดวยกฎหมายซ่ึงเปนการใหเงิน
หรือใหทรัพยสินหรือใหประโยชนท่ีอาจแบงแยกได ใหคํานึงถึงความเช่ือโดยสุจริตของผูรับประโยชน
ในความคงอยขู องคําส่งั ทางปกครองน้ันกับประโยชนสาธารณะประกอบกัน

ความเชือ่ โดยสจุ ริตตามวรรคหนึง่ จะไดรับความคมุ ครองตอเมื่อผรู ับคาํ ส่ังทางปกครองได
ใชประโยชนอันเกิดจากคําส่ังทางปกครองหรือไดดําเนินการเก่ียวกับทรัพยสินไปแลวโดยไมอาจ
แกไ ขเปล่ียนแปลงไดหรอื การเปล่ยี นแปลงจะทาํ ใหผ ูนัน้ ตอ งเสียหายเกินควรแกกรณี

ในกรณดี ังตอไปน้ี ผูรบั คําสั่งทางปกครองจะอางความเชอ่ื โดยสจุ ริตไมไ ด
(1) ผูน้ันไดแ สดงขอความอันเปนเท็จหรือปกปดขอความจริงซ่ึงควรบอกใหแจง หรือขมขู
หรอื ชักจงู ใจโดยการใหทรพั ยสินหรือใหประโยชนอ่นื ใดที่มิชอบดว ยกฎหมาย
(2) ผูนนั้ ไดใ หข อความซ่ึงไมถ ูกตอ งหรือไมครบถวนในสาระสําคญั
(3) ผูนั้นไดรูถึงความไมชอบดวยกฎหมายของคําสั่งทางปกครองในขณะไดรับคําสั่ง
ทางปกครองหรือการไมร ูนั้นเปนไปโดยความประมาทเลินเลออยางรายแรง
ในกรณีท่ีเพิกถอนโดยใหมีผลยอนหลัง การคืนเงนิ ทรัพยสินหรือประโยชนที่ผูรบั คําส่ัง
ทางปกครองไดไป ใหนําบทบัญญัติวาดวยลาภมิควรไดในประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยม าใชบังคับ
โดยอนุโลม โดยถาเม่ือใดผูรับคําส่ังทางปกครองไดร ูถึงความไมชอบดวยกฎหมายของคําส่ังทางปกครอง
หรือควรไดรูเชนนั้นหากผูนั้นมิไดประมาทเลินเลออยางรายแรงใหถือวาผูน้ันตกอยูในฐานะไมสุจริต
ตั้งแตเ วลาน้ันเปนตนไป และในกรณีตามวรรคสาม ผูน ั้นตอ งรับผิดในการคืนเงิน ทรัพยสินหรอื ประโยชน
ท่ีไดร บั ไปเตม็ จาํ นวน
มาตรา 52 คําสง่ั ทางปกครองท่ไี มชอบดวยกฎหมายและไมอยูในบังคบั ของมาตรา 51
อาจถูกเพกิ ถอนท้งั หมดหรือบางสว นได แตผูไ ดร บั ผลกระทบจากการเพิกถอนคําสั่งทางปกครองดังกลาว
มีสทิ ธิไดรับคาทดแทนความเสียหายเน่ืองจากความเชอื่ โดยสุจริตในความคงอยูของคําส่งั ทางปกครองได
และใหนําความในมาตรา 51 วรรคหน่ึง วรรคสอง และวรรคสาม มาใชบังคบั โดยอนุโลม แตตองรองขอ
คาทดแทนภายในหน่ึงรอยแปดสิบวันนับแตไ ดรับแจงใหทราบถึงการเพกิ ถอนน้ัน
คาทดแทนความเสียหายตามมาตราน้ีจะตองไมสูงกวาประโยชนท่ีผูนั้นอาจไดรับ
หากคาํ สั่งทางปกครองดังกลา วไมถ กู เพิกถอน
มาตรา 53 คําส่ังทางปกครองท่ีชอบดวยกฎหมายซ่ึงไมเปนการใหประโยชนแกผูรับ
คําส่ังทางปกครองอาจถูกเพิกถอนท้ังหมดหรือบางสวนโดยใหมีผลตั้งแตขณะท่ีเพิกถอนหรือมีผล
ในอนาคตไปถึงขณะใดขณะหนึ่งตามท่ีกําหนดได เวนแตเปนกรณีท่ีคงตองทําคําสั่งทางปกครอง
ทม่ี ีเนื้อหาทํานองเดียวกันน้ันอีก หรอื เปนกรณีที่การเพิกถอนไมอาจกระทําไดเพราะเหตอุ ื่น ท้ังนี้ ใหคํานึงถึง
ประโยชนข องบคุ คลภายนอกประกอบดวย

509 การ ำด�เ ินนกาแรละทกาางรวิ ่สันกงยเลุสมกริ่ทีามร๕จุอ ิรทยธธรรณ์รมการ ้รอง ุทกข์

509 493
คาสง่ั ทางปกครองที่ชอบด้วยกฎหมายซ่ึงเป็นการใหป้ ระโยชน์แกผ่ ู้รับคาส่ังทางปกครอง
อาจถูกเพิกถอนท้ังหมดหรือบางส่วนโดยให้มีผลต้ังแต่ขณะที่เพิกถอน หรือมีผลในอนาคตไปถึงขณะใด
ขณะหน่ึงตามทีก่ าหนดได้เฉพาะเมื่อมกี รณีดังต่อไปนี้
(1) มีกฎหมายกาหนดให้เพิกถอนได้หรือมีข้อสงวนสิทธิให้เพิกถอนได้ในคาสั่ง
ทางปกครองน้ันเอง
(2) คาสั่งทางปกครองน้ันมีข้อกาหนดให้ผู้รับประโยชน์ต้องปฏิบัติ แต่ไม่มีการปฏิบัติ
ภายในเวลาทีก่ าหนด
(3) ข้อเทจ็ จรงิ และพฤตกิ ารณ์เปล่ียนแปลงไป ซ่งึ หากมขี ้อเท็จจรงิ และพฤติการณ์เช่นนี้
ในขณะทาคาสั่งทางปกครองแล้วเจ้าหน้าท่ีคงจะไม่ทาคาส่ังทางปกครองนั้น และหากไม่เพิกถอน
จะกอ่ ให้เกดิ ความเสยี หายต่อประโยชน์สาธารณะได้
(4) บทกฎหมายเปลี่ยนแปลงไป ซึ่งหากมีบทกฎหมายเช่นน้ีในขณะทาคาส่ัง
ทางปกครองแล้วเจ้าหน้าท่ีคงจะไม่ทาคาสั่งทางปกครองนั้น แต่การเพิกถอนในกรณีนี้ให้กระทาได้เท่าที่
ผู้รับประโยชน์ยังไม่ได้ใช้ประโยชน์ หรือยังไม่ได้รับประโยชน์ตามคาส่ังทางปกครองดังกล่าว และหาก
ไม่เพิกถอนจะก่อใหเ้ กิดความเสียหายตอ่ ประโยชน์สาธารณะได้
(5) อาจเกิดความเสียหายอย่างร้ายแรงต่อประโยชน์สาธารณะหรือต่อประชาชน
อนั จาเป็นต้องป้องกันหรอื ขจัดเหตดุ งั กลา่ ว
ในกรณีที่มีการเพิกถอนคาส่ังทางปกครองเพราะเหตุตามวรรคสอง (3) (4) และ (5)
ผู้ได้รับประโยชน์มีสิทธิได้รับค่าทดแทนความเสียหายอันเกิดจากความเช่ือโดยสุจริตในความคงอยู่ของ
คาส่งั ทางปกครองได้ และใหน้ ามาตรา 52 มาใชบ้ งั คบั โดยอนโุ ลม
ค า สั่ ง ท า ง ป ก ค ร อ ง ท่ี ช อ บ ด้ ว ย ก ฎ ห ม า ย ซ่ึ ง เป็ น ก า ร ใ ห้ เงิ น ห รื อ ให้ ท รั พ ย์ สิ น ห รื อ
ให้ประโยชน์ท่ีอาจแบ่งแยกได้ อาจถูกเพิกถอนทั้งหมดหรือบางส่วนโดยให้มีผลย้อนหลังหรือไม่มีผล
ยอ้ นหลงั หรือมีผลในอนาคตไปถึงขณะใดขณะหนึ่งตามท่ีกาหนดได้ในกรณดี ังต่อไปน้ี
(1) มิได้ปฏิบัติหรือปฏิบัติล่าช้าในอันท่ีจะดาเนินการให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของ
คาสงั่ ทางปกครอง
(2) ผู้ได้รับประโยชน์มิได้ปฏิบัติหรือปฏิบัติล่าช้าในอันที่จะดาเนินการให้เป็นไป
ตามเงอื่ นไขของคาสงั่ ทางปกครอง
ทัง้ น้ี ให้นาความในมาตรา 51 มาใช้บังคบั โดยอนุโลม

สว่ นท่ี 7
การขอใหพ้ จิ ารณาใหม่

มาตรา 54 เม่ือคู่กรณีมีคาขอ เจ้าหน้าที่อาจเพิกถอนหรือแก้ไขเพิ่มเติมคาสั่งทางปกครอง
ที่พ้นกาหนดอุทธรณ์ตามสว่ นที่ 5 ไดใ้ นกรณีดงั ต่อไปนี้

(1) มีพยานหลักฐานใหม่ อันอาจทาให้ข้อเท็จจริงที่ฟังเป็นยุติแล้วน้ันเปลี่ยนแปลงไป
ในสาระสาคญั

510

510 494
(2) คู่กรณีที่แท้จริงมิได้เข้ามาในกระบวนการพิจารณาทางปกครองหรือได้เข้ามา
ในกระบวนการพิจารณาครั้งก่อนแล้วแต่ถูกตัดโอกาสโดยไม่เป็นธรรมในการมีส่วนร่วมในกระบวนการ
พิจารณาทางปกครอง
(3) เจ้าหน้าทีไ่ มม่ อี านาจทจ่ี ะทาคาสง่ั ทางปกครองในเร่ืองนน้ั
(4) ถ้าคาสั่งทางปกครองได้ออกโดยอาศัยข้อเท็จจริงหรือข้อกฎหมายใดและต่อมา
ข้อเท็จจริงหรอื ขอ้ กฎหมายนน้ั เปล่ียนแปลงไปในสาระสาคัญในทางท่ีจะเป็นประโยชนแ์ ก่คกู่ รณี
การยืน่ คาขอตามวรรคหน่ึง (1) (2) หรือ (3) ให้กระทาได้เฉพาะเมื่อคกู่ รณีไมอ่ าจทราบ
ถงึ เหตนุ ั้นในการพจิ ารณาครัง้ ทีแ่ ล้วมากอ่ นโดยไม่ใชค่ วามผิดของผนู้ ัน้
การย่ืนคาขอให้พิจารณาใหม่ต้องกระทาภายในเก้าสิบวันนับแต่ผู้นั้นได้รู้ถึงเหตุ
ซึ่งอาจขอให้พจิ ารณาใหม่ได้

ส่วนท่ี 8
การบงั คบั ทางปกครอง6

___________
มาตรา557 (ยกเลกิ )
มาตรา 568 (ยกเลกิ )
มาตรา 579 (ยกเลิก)
มาตรา 5810 (ยกเลกิ )
มาตรา 5911 (ยกเลิก)
มาตรา 6012 (ยกเลิก)
มาตรา 6113 (ยกเลิก)

6 สว่ นท่ี 8 การบังคับทางปกครอง มาตรา 55 ถึง มาตรา 63 ยกเลกิ โดยพระราชบัญญัติวิธปี ฏิบัติราชการ
ทางปกครอง (ฉบับท่ี 3) พ.ศ. 2562

7 มาตรา 55 ยกเลกิ โดยพระราชบัญญัตวิ ิธปี ฏิบตั ิราชการทางปกครอง (ฉบบั ที่ 3) พ.ศ. 2562
8 มาตรา 56 ยกเลิกโดยพระราชบญั ญตั ิวิธีปฏิบตั ิราชการทางปกครอง (ฉบบั ที่ 3) พ.ศ. 2562
9 มาตรา 57 ยกเลิกโดยพระราชบญั ญตั ิวธิ ีปฏิบัติราชการทางปกครอง (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2562
10 มาตรา 58 ยกเลกิ โดยพระราชบัญญตั วิ ธิ ปี ฏบิ ตั ิราชการทางปกครอง (ฉบับท่ี 3) พ.ศ. 2562
11 มาตรา 59 ยกเลกิ โดยพระราชบัญญัตวิ ิธปี ฏิบตั ริ าชการทางปกครอง (ฉบบั ที่ 3) พ.ศ. 2562
12 มาตรา 60 ยกเลิกโดยพระราชบญั ญัตวิ ธิ ีปฏบิ ัติราชการทางปกครอง (ฉบบั ท่ี 3) พ.ศ. 2562
13 มาตรา 61 ยกเลิกโดยพระราชบญั ญัติวธิ ปี ฏบิ ัตริ าชการทางปกครอง (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2562

511 497

มาตรา 6214 (ยกเลิก)
มาตรา 6315 (ยกเลิก)

หมวด 2/1
การบังคับทางปกครอง16

สว นท่ี 1
บทท่วั ไป

มาตรา 63/117 การบังคับทางปกครองไมใชบังคับกับหนวยงานของรัฐดวยกัน เวนแต
จะมกี ฎหมายกําหนดไวเปนอยางอื่น

มาตรา 63/218 เจาหนาท่ีผูทําคําส่ังทางปกครองมีอํานาจท่ีจะพิจารณาใชมาตรการ
บังคับทางปกครองเพื่อใหเปนไปตามคําสั่งของตนไดต ามบทบัญญัติในหมวดน้ี เวนแตจ ะมีการสั่งใหทเุ ลา
การบังคับไวกอนโดยเจาหนาท่ีผูทําคําสั่งนั้นเอง ผมู ีอํานาจพิจารณาคําอุทธรณ หรือผูมีอํานาจพิจารณา
วินิจฉยั ความถกู ตอ งของคําสัง่ ทางปกครองดังกลา ว

เจาหนาที่ตามวรรคหนึ่งจะมอบอํานาจใหเจาหนาท่ีซ่ึงอยูใตบังคับบัญชาหรือเจาหนาท่ี
อนื่ เปน ผดู าํ เนินการก็ไดต ามหลกั เกณฑและวิธกี ารท่ีกําหนดในกฎกระทรวง

ใหเจาหนาที่ตามวรรคหนึ่งหรือวรรคสองใชมาตรการบังคับทางปกครองเพียงเทาที่
จาํ เปนเพื่อใหบรรลุตามวัตถุประสงคข องคําส่ังทางปกครอง โดยกระทบกระเทือนผูอยูในบังคับของคําส่ัง
ทางปกครองนอยท่ีสุด

มาตรา 63/319 ถาบทกฎหมายใดกําหนดมาตรการบังคับทางปกครองไวโ ดยเฉพาะแลว
หากเจาหนาที่เห็นวาการใชม าตรการบังคับนน้ั จะเกิดผลนอยกวามาตรการบังคบั ตามหมวดนี้เจาหนาท่ี
จะใชมาตรการบงั คับทางปกครองตามหมวดนี้แทนก็ได

14 มาตรา 62 ยกเลิกโดยพระราชบัญญัติวิธปี ฏิบัติราชการทางปกครอง (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2562 การ ำด�เ ินนกาแรละทกาางรวิ ่สันกงยเลุสมกริ่ทีามร๕จุอ ิรทยธธรรณ์รมการ ้รอง ุทกข์
15 มาตรา 63 ยกเลิกโดยพระราชบัญญัตวิ ิธีปฏิบตั ิราชการทางปกครอง (ฉบับท่ี 3) พ.ศ. 2562
16 หมวด 2/1 การบังคับทางปกครอง มาตรา 63/1 ถึงมาตรา 63/25 เพ่มิ โดยพระราชบญั ญัตวิ ิธีปฏบิ ัติ
ราชการทางปกครอง (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2562
17 มาตรา 63/1 เพม่ิ โดยพระราชบญั ญัตวิ ิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง (ฉบับท่ี 3) พ.ศ. 2562
18 มาตรา 63/2 เพมิ่ โดยพระราชบญั ญัติวธิ ปี ฏิบตั ริ าชการทางปกครอง (ฉบบั ท่ี 3) พ.ศ. 2562
19 มาตรา 63/3 เพ่มิ โดยพระราชบัญญตั ิวิธปี ฏบิ ัตริ าชการทางปกครอง (ฉบบั ที่ 3) พ.ศ. 2562

512

512 496
มาตรา 63/420 ในการใช้มาตรการบังคับทางปกครองแก่บคุ คลใด หากบคุ คลนัน้ ถึงแก่
ความตาย ให้ดาเนินการบังคับทางปกครองต่อไปได้ ถ้าบุคคลน้ันมีทายาทผู้รับมรดกหรือผู้จัดการมรดก
ใหถ้ อื ว่าทายาทผู้รบั มรดกหรอื ผ้จู ดั การมรดกเปน็ ผู้อยใู่ นบังคบั ของมาตรการบงั คบั ทางปกครองนนั้
ในกรณีที่ผู้อย่ใู นบังคับของมาตรการบังคับทางปกครองตาย ให้แจ้งมาตรการบังคับทาง
ปกครองไปยังทายาทผู้รับมรดกหรือผู้จัดการมรดก แล้วแต่กรณี โดยให้ระยะเวลาอุทธรณ์การใช้
มาตรการบังคับทางปกครองเร่ิมนับใหม่ต้ังแต่วันที่ทายาทผู้รับมรดกหรือผู้จัดการมรดกได้รับแจ้ง
เมอ่ื ปรากฏวา่
(1) ผู้อยู่ในบังคับของมาตรการบังคับทางปกครองตายก่อนส้ินสุดระยะเวลาอุทธรณ์
การใช้มาตรการบงั คบั ทางปกครองและไม่ไดย้ น่ื อุทธรณก์ ารใช้มาตรการบังคับทางปกครอง
(2) ผู้อยู่ในบังคับของมาตรการบังคับทางปกครองตายหลังสิ้นสุดระยะเวลาอุทธรณก์ าร
ใช้มาตรการบังคับทางปกครองและไม่ได้ย่ืนอุทธรณ์การใช้มาตรการบังคับทางปกครอง เนื่องจาก
มพี ฤตกิ ารณ์ท่จี าเปน็ อันมไิ ดเ้ กดิ จากความผดิ ของผ้นู ั้น
ในกรณีที่เป็นการใช้มาตรการบังคับทางปกครองแก่นิติบุคคลใด หากนิติบุคคลน้ัน
สน้ิ สภาพ โอนกจิ การ หรือควบรวมกจิ การ ใหด้ าเนนิ การบงั คับทางปกครองตอ่ ไปได้ โดยใหแ้ จ้งมาตรการ
บังคับทางปกครองไปยังผู้ชาระบัญชี หรือนิติบุคคลที่รับโอนกิจการหรือเกิดจากการควบรวมกิจการ
แล้วแต่กรณี ท้ังนี้ โดยไม่จาต้องออกคาสั่งทางปกครองใหม่แก่บุคคลหรือนิติบุคคลดังกล่าวอีก และให้
นาหลกั เกณฑเ์ รอื่ งระยะเวลาในการอุทธรณต์ ามวรรคสองมาใช้บงั คับดว้ ยโดยอนโุ ลม
มาตรา 63/521 ในกรณีที่บทบัญญัติในหมวดนี้หรือกฎหมายอ่ืนมิได้กาหนดเป็น
อย่างอื่น ผู้อยู่ในบังคับของมาตรการบังคับทางปกครองอาจอุทธรณ์การใช้มาตรการบังคับทางปกครอง
นัน้ ได้
การอุทธรณ์การใช้มาตรการบังคับทางปกครองให้ใช้หลักเกณฑ์ และวิธีการเดียวกับ
การอุทธรณ์คาสั่งทางปกครองตามส่วนที่ 5 การอุทธรณ์คาส่ังทางปกครอง ในหมวด 2 คาสั่ง
ทางปกครอง
มาตรา 63/622 บทบัญญัติในหมวดนี้มิให้ใช้บังคับกับการบังคบั ตามคาส่ังทางปกครอง
ท่ีกาหนดให้ชาระเงินหรือให้กระทาหรือละเว้นกระทาในกรณีท่ีหน่วยงานของรัฐได้ฟ้องคดีต่อศาลและ
ศาลได้มีคาพิพากษาให้ชาระเงนิ หรือให้กระทาหรอื ละเว้นกระทาแลว้
เม่ือศาลได้รับฟ้องคดีตามวรรคหน่ึงไว้แล้ว ห้ามมิให้เจ้าหน้าที่ดาเนินการตามส่วนที่ 2
การบังคับตามคาส่ังทางปกครองท่ีกาหนดให้ชาระเงิน และส่วนที่ 3 การบังคับตามคาส่ังทางปกครอง
ที่กาหนดให้กระทาหรือละเว้นกระทา เว้นแต่จะได้มีการถอนฟ้อง หรือศาลมีคาส่ังจาหน่ายคดีจาก
สารบบความเพราะเหตุอื่น ทั้งน้ี ไม่กระทบต่อการดาเนินการตามมาตรการบังคับทางปกครอง

20 มาตรา 63/4 เพ่ิมโดยพระราชบญั ญตั ิวธิ ีปฏบิ ตั ริ าชการทางปกครอง (ฉบับท่ี 3) พ.ศ. 2562
21 มาตรา 63/5 เพิ่มโดยพระราชบญั ญตั วิ ิธีปฏบิ ัติราชการทางปกครอง (ฉบบั ท่ี 3) พ.ศ. 2562
22 มาตรา 63/6 เพิม่ โดยพระราชบญั ญัติวิธปี ฏิบตั ิราชการทางปกครอง (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2562

513 การ ำด�เ ินนกาแรละทกาางรวิ ่สันกงยเลุสมกริ่ทีามร๕จุอ ิรทยธธรรณ์รมการ ้รอง ุทกข์

513 497
ที่เจ้าหน้าที่ได้ดาเนินการไปก่อนที่ศาลได้รับฟ้องคดี และให้เจ้าหน้าที่ดาเนินการตามมาตรการบังคับ
ทางปกครองในส่วนน้นั ต่อไปจนแลว้ เสร็จ

ส่วนที่ 2
การบงั คับตามคาส่งั ทางปกครองทกี่ าหนดให้ชาระเงนิ

1. การบังคับโดยเจา้ หนา้ ทข่ี องหนว่ ยงานรฐั

มาตรา 63/723 ในกรณีท่ีเจ้าหน้าที่มีคาสั่งทางปกครองท่ีกาหนดให้ชาระเงิน ถ้าถึง
กาหนดแล้วไม่มีการชาระโดยถกู ต้องครบถ้วน ให้เจ้าหนา้ ท่ีผู้ทาคาส่ังทางปกครองมีหนงั สือเตือนให้ผูน้ ้ัน
ชาระภายในระยะเวลาท่ีกาหนดแต่ต้องไม่น้อยกว่าเจ็ดวัน ถ้าไม่มีการปฏิบัติตามคาเตือนเจ้าหน้าท่ีมี
อานาจใช้มาตรการบังคับทางปกครองโดยยึดหรืออายัดทรัพย์สินของผู้นั้นและขายทอดตลาดเพื่อชาระ
เงินใหค้ รบถว้ นได้

ในการใช้มาตรการบังคับทางปกครองตามวรรคหน่ึง ให้แต่งต้ังเจ้าพนักงานบังคับ
ทางปกครองเพ่ือดาเนนิ การยึดหรืออายัดและขายทอดตลาดทรพั ย์สนิ ตอ่ ไป

เจ้าหน้าที่ผู้ออกคาสัง่ ใช้มาตรการบังคับทางปกครอง และการแตง่ ต้ังเจ้าพนักงานบังคับ
ทางปกครอง ให้เปน็ ไปตามที่กาหนดในกฎกระทรวง

มาตรา 63/824 หน่วยงานของรัฐที่ออกคาส่ังให้ชาระเงินต้องดาเนินการยึดหรืออายัด
ทรพั ย์สินภายในสิบปีนับแต่วนั ที่คาสงั่ ทางปกครองท่กี าหนดให้ชาระเงนิ เป็นทสี่ ดุ

คาส่ังทางปกครองทีก่ าหนดใหช้ าระเงินเป็นทสี่ ดุ ในกรณดี งั ตอ่ ไปนี้
(1) ไม่มกี ารอทุ ธรณ์คาส่งั ตอ่ เจ้าหนา้ ทีฝ่ า่ ยปกครองภายในระยะเวลาอุทธรณ์
(2) เจ้าหน้าทผี่ มู้ ีอานาจพจิ ารณาอุทธรณ์มีคาวนิ จิ ฉัยยกอทุ ธรณ์ และไม่มีการฟ้องคดีต่อ
ศาลภายในระยะเวลาการฟอ้ งคดี
(3) ศาลมีคาสั่งหรอื คาพิพากษายกฟ้อง หรอื เพิกถอนคาสั่งบางส่วน และคดถี ึงท่สี ดุ แล้ว
หากหน่วยงานของรัฐที่ออกคาสั่งให้ชาระเงินได้ยึดหรืออายัดทรัพย์สินแล้ว แต่ยังไม่ได้
รับชาระเงินครบถว้ น และล่วงพน้ กาหนดเวลาตามวรรคหน่งึ จะยดึ หรืออายัดทรัพยส์ นิ เพมิ่ เติมอีกมิได้
การขายทอดตลาดหรือจาหน่ายโดยวิธีอื่นซึ่งทรัพย์สินของผู้อยู่ในบังคับของมาตรการ
บังคับทางปกครองท่ีถูกยึดหรืออายัดไว้ภายในกาหนดเวลาตามวรรคหนึ่งเพื่อชาระเงิน รวมทั้ง
ค่าธรรมเนียม ค่าตอบแทน หรอื คา่ ใชจ้ า่ ยอนื่ ในการบังคบั ทางปกครอง ให้กระทาไดแ้ ม้ลว่ งพ้นระยะเวลา
ดงั กลา่ ว

23 มาตรา 63/7 เพิ่มโดยพระราชบัญญัติวธิ ีปฏบิ ัตริ าชการทางปกครอง (ฉบบั ที่ 3) พ.ศ. 2562
24 มาตรา 63/8 เพม่ิ โดยพระราชบญั ญัติวิธีปฏบิ ัตริ าชการทางปกครอง (ฉบับท่ี 3) พ.ศ. 2562

514

514 498
มาตรา 63/925 กรณีที่มีการอุทธรณ์การใช้มาตรการบังคับทางปกครองและขอทุเลา
การบังคับตามมาตรการดังกล่าว เจ้าหน้าที่ผู้ออกคาสั่งใช้มาตรการบังคับทางปกครอง หรือผู้มีอานาจ
พิจารณาคาอุทธรณ์ อาจสงั่ ใหม้ ีการทุเลาการบงั คับทางปกครองไวก้ ่อนก็ได้ โดยมอี านาจกาหนดเงอ่ื นไข
ให้ผู้อยู่ในบงั คบั ของมาตรการบงั คบั ทางปกครองตอ้ งปฏบิ ตั ดิ ว้ ยกไ็ ด้
มาตรา 63/1026 เพ่ือประโยชน์ในการบังคับทางปกครอง ให้เจ้าหน้าท่ีผู้ออกคาสั่ง
ใชม้ าตรการบงั คบั ทางปกครองมีอานาจ
(1) มีหนังสือสอบถามสถาบันการเงิน สหกรณ์ออมทรัพย์ สหกรณ์เครดิตยูเนียน
ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย กรมที่ดิน กรมการขนส่งทางบก กรมทรัพย์สินทางปัญญา หรือ
หน่วยงานอ่ืนของรัฐที่มีหน้าท่ีควบคุมทรัพย์สินท่ีมีทะเบียน เก่ียวกับทรัพย์สินของผู้อยู่ในบังคับของ
มาตรการบงั คบั ทางปกครอง
(2) มีหนังสือขอให้นายทะเบียน พนักงานเจ้าหน้าท่ี หรอื บุคคลอน่ื ผู้มีอานาจหน้าท่ตี าม
กฎหมาย ระงับการจดทะเบยี นหรือแก้ไขเปลี่ยนแปลงทางทะเบียนทเี่ ก่ียวกบั ทรัพย์สนิ ของผู้อยู่ในบังคับ
ของมาตรการบังคับทางปกครองไว้เป็นการช่ัวคราวเท่าท่ีจาเป็นเน่ืองจากมีเหตุขัดข้องที่ทาให้ไม่อาจยึด
หรืออายัดทรัพย์สินได้ทันที และเมื่อเหตุขัดข้องสิ้นสุดลงให้แจ้งยกเลิกหนังสือดังกล่าว ท้ังน้ี ต้องปฏิบัติ
ตามหลักเกณฑ์เก่ียวกับการระงับการจดทะเบียนหรือแก้ไขเปล่ียนแปลงทางทะเบียน ตามกฎหมายว่า
ดว้ ยการนน้ั
หน่วยงานตาม (1) ท่ีให้ข้อมูลแก่เจ้าหน้าท่ีผู้ออกคาส่ังใช้มาตรการบังคับทางปกครอง
ในการดาเนินการตาม (1) ให้ถือว่าไม่เป็นความผิดตามกฎหมายว่าด้วยธุรกิจสถาบันการเงิน กฎหมาย
วา่ ด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลกั ทรัพย์ และกฎหมายอื่น
ผู้ใดไม่ปฏิบัติตามหนังสือของเจ้าหน้าที่ผู้ออกคาส่ังใช้มาตรการบังคับทางปกครอง
ตามวรรคหน่ึงโดยไม่มีเหตุผลอันสมควร ผู้นั้นมีความผิดฐานขัดคาส่ังเจ้าพนักงานตามประมวล
กฎหมายอาญา
มาตรา 63/1127 ในการสืบหาทรัพย์สินของผู้อยู่ในบังคับของมาตรการบังคับ
ทางปกครอง หน่วยงานของรัฐที่ออกคาส่ังให้ชาระเงินอาจร้องขอใหส้ านักงานอัยการสูงสุดหรอื หน่วยงาน
อื่น ดาเนินการสืบหาทรัพย์สนิ แทนได้ โดยให้หนว่ ยงานดังกลา่ วมีอานาจตามมาตรา 63/10 ด้วย
ในกรณีทห่ี น่วยงานของรฐั ท่ีออกคาสงั่ ให้ชาระเงินไม่มีเจ้าหน้าที่ในการดาเนินการสืบหา
ทรพั ย์สนิ และหากจานวนเงินทตี่ ้องชาระตามมาตรการบังคับทางปกครองนน้ั มีมลู ค่าต้งั แต่สองล้านบาท
ขึ้นไปหรือตามมูลค่าท่ีกาหนดเพิ่มขึ้นโดยกฎกระทรวง หน่วยงานของรัฐอาจมอบหมายให้เอกชนสืบหา
ทรัพยส์ นิ แทนได้
ให้เอกชนทสี่ ืบพบทรัพยส์ นิ ไดร้ ับคา่ ตอบแทนไมเ่ กนิ รอ้ ยละสองครง่ึ จากเงินหรอื ทรัพย์สนิ
ที่ได้มาจากการยึด อายัด หรือขายทอดตลาดทรัพย์สินที่สืบพบได้ ทั้งนี้ จานวนเงินค่าตอบแทนสูงสุด

25 มาตรา 63/9 เพม่ิ โดยพระราชบัญญัตวิ ธิ ปี ฏบิ ตั ิราชการทางปกครอง (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2562
26 มาตรา 63/10 เพิม่ โดยพระราชบญั ญตั ิวธิ ีปฏิบัตริ าชการทางปกครอง (ฉบบั ท่ี 3) พ.ศ. 2562
27 มาตรา 63/11 เพิ่มโดยพระราชบัญญัตวิ ิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2562

515 การ ำด�เ ินนกาแรละทกาางรวิ ่สันกงยเลุสมกริ่ทีามร๕จุอ ิรทยธธรรณ์รมการ ้รอง ุทกข์

515 499
ต้องไม่เกินหน่ึงล้านบาทต่อจานวนเงินที่ต้องชาระตามคาสั่งทางปกครองในเร่ืองน้ัน หรือตามจานวนท่ี
กาหนดเพ่ิมขน้ึ โดยกฎกระทรวง

หลักเกณฑ์และวิธีการคัดเลือกเอกชนท่ีสืบหาทรัพย์สิน การกาหนดค่าตอบแทนและ
วิธีการจ่ายคา่ ตอบแทนตามวรรคสาม ใหเ้ ปน็ ไปตามทก่ี าหนดในกฎกระทรวง

มาตรา 63/1228 ขั้นตอนและวิธีปฏิบัติเกี่ยวกับการยึด การอายัด และการขาย
ทอดตลาดทรัพย์สินให้เปน็ ไปตามที่กาหนดในกฎกระทรวง ในกรณที ่ีกฎกระทรวงไม่ได้กาหนดเร่ืองใดไว้
ใหน้ าบทบญั ญัติในประมวลกฎหมายวิธีพจิ ารณาความแพง่ มาใชบ้ ังคับโดยอนโุ ลม โดยให้ถอื ว่า

(1) เจา้ หน้ีตามคาพพิ ากษา หมายถงึ หน่วยงานของรฐั ท่อี อกคาสัง่ ใหช้ าระเงิน
(2) ลูกหน้ีตามคาพพิ ากษา หมายถึง ผอู้ ยูใ่ นบังคับของมาตรการบังคับทางปกครอง
(3) อานาจของศาลในสว่ นทเ่ี กยี่ วกบั การบงั คบั คดี เป็นอานาจของหนว่ ยงานของรฐั ท้ังน้ี
ตามท่ีกาหนดในกฎกระทรวง
(4) เจา้ พนกั งานบังคับคดี หมายถึง เจา้ พนกั งานบงั คบั ทางปกครอง
มาตรา 63/1329 การโต้แย้งหรือการใช้สิทธิทางศาลเก่ียวกับการยึด การอายัด และ
การขายทอดตลาดทรัพย์สินโดยผู้อยู่ในบังคับของมาตรการบังคับทางปกครอง รวมท้ังบุคคลภายนอก
ผมู้ สี ว่ นได้เสยี เก่ยี วกับทรัพยส์ นิ ท่ถี ูกยึดหรืออายดั ใหเ้ สนอตอ่ ศาล ดงั ต่อไปนี้
(1) ศาลแรงงาน ศาลภาษีอากร ศาลทรัพย์สินทางปัญญาและการค้าระหว่างประเทศ
ศาลเยาวชนและครอบครัว หรือศาลชานัญพิเศษอื่น แล้วแต่กรณี ซ่ึงเป็นศาลที่มีเขตอานาจในการ
พิจารณาพพิ ากษาคดีเกี่ยวกับคาสั่งทม่ี ีการบงั คับทางปกครองนนั้
(2) ศาลปกครอง สาหรบั กรณีอนื่ ที่ไม่อยู่ภายใตบ้ งั คับ (1)
มาตรา 63/1430 กรณีเจ้าหนี้ตามคาพิพากษาในคดีอ่ืนได้มีการยึดทรัพย์สินหรือ
อายัดสิทธิเรียกร้องอ่ืนใดของผู้อยู่ในบังคับของมาตรการบังคับทางปกครองเพื่อนาเงินมาชาระตาม
คาพิพากษา ให้หน่วยงานของรัฐท่ีออกคาสั่งให้ชาระเงินมีสิทธิขอเข้าเฉล่ียได้เช่นเดียวกับเจ้าหน้ี
ตามคาพิพากษา

28 มาตรา 63/12 เพมิ่ โดยพระราชบญั ญัตวิ ิธปี ฏิบตั ิราชการทางปกครอง (ฉบับท่ี 3) พ.ศ. 2562
29 มาตรา 63/13 เพ่ิมโดยพระราชบญั ญตั ิวธิ ีปฏบิ ัติราชการทางปกครอง (ฉบบั ท่ี 3) พ.ศ. 2562
30 มาตรา 63/14 เพ่ิมโดยพระราชบญั ญตั วิ ิธีปฏิบตั ริ าชการทางปกครอง (ฉบับท่ี 3) พ.ศ. 2562

516 502

2. การบังคับโดยเจาพนักงานบังคับคดี

มาตรา 63/1531 ในกรณีท่ีมีการบังคับใหชําระเงินและคําสั่งทางปกครองท่ีกําหนดให
ชําระเงินเปนที่สุดแลว หากหนวยงานของรัฐที่ออกคําสั่งใหชําระเงินประสงคใหเจาพนักงานบังคับคดี
ในสังกัดกรมบังคบั คดีดําเนนิ การบังคบั ใหเปนไปตามคําสัง่ ทางปกครองดังกลาว ใหย ่ืนคาํ ขอฝายเดียวตอ
ศาลภายในสิบปนับแตวันท่ีคําสั่งทางปกครองที่กําหนดใหชําระเงินเปนที่สุด เพ่ือใหศาลออกหมาย
บังคับคดีเพื่อบังคับใหเปนไปตามคําส่งั ทางปกครองนั้น โดยระบุจํานวนเงนิ ท่ีผูอยูในบังคับของมาตรการ
บังคับทางปกครองยังมิไดชําระตามคําสั่งทางปกครอง ทั้งน้ี ไมวาหนวยงานของรัฐยังไมไดบังคับ
ทางปกครองหรือไดดําเนินการบังคับทางปกครองแลว แตยังไมไดรับชําระเงินหรือไดรับชําระเงิน
ไมค รบถว น

เม่ือหนวยงานของรัฐยื่นคําขอตามวรรคหนึ่ง ถาศาลเห็นวาคําส่ังทางปกครองที่
กําหนดใหชําระเงินเปนท่ีสุดแลว ใหศาลออกหมายบังคับคดีต้ังเจาพนักงานบังคับคดีและแจงให
เจาพนักงานบังคับคดีทราบเพื่อดําเนินการตอไป โดยใหถือวาหนวยงานของรัฐท่ีออกคําส่ังใหชําระเงิน
เปนเจาหนี้ตามคําพิพากษา และใหถือวาผูอยูในบังคับของมาตรการบังคับทางปกครองเปนลูกหนี้
ตามคาํ พพิ ากษา

เม่ือศาลออกหมายบังคับคดีแลว ใหหนวยงานของรัฐติดตอกรมบังคับคดี พรอมทั้ง
มีหนังสือแจงใหผูอยูในบังคับของมาตรการบังคับทางปกครองทราบวาศาลไดตั้งเจาพนักงานบังคับคดี
เพื่อดําเนินการบังคบั คดีแลว

เพ่ือประโยชนในการบังคับคดีตามวรรคหน่ึง ใหถือวาศาลจังหวัด ศาลแพง ศาลแพง
กรุงเทพใต ศาลแพงธนบุรี หรือศาลแพงอ่ืนในกรุงเทพมหานคร แลวแตกรณี ที่ผูอยูในบังคับของ
มาตรการบังคับทางปกครองมภี ูมิลําเนาอยูในเขตศาล หรือท่ีทรพั ยสินท่ีถูกบังคับทางปกครองน้ัน ต้ังอยู
ในเขตศาลมีอํานาจวินิจฉัยช้ีขาด หรือทําคําสั่งในเร่ืองใด ๆ อันเก่ียวดวยการบังคับคดี และเปนศาลท่ีมี
อํานาจในการบงั คับคดี

กรณีคาํ ขอซ่ึงอาจย่ืนตอศาลไดมากกวาหนงึ่ ศาล ไมวาจะเปนเพราะภูมลิ ําเนาของผูอยูใน
บังคับของมาตรการบังคับทางปกครองก็ดี เพราะทต่ี ั้งของทรัพยสินที่ถูกบังคับทางปกครองกด็ ีหรอื เพราะ
มีผูอยูในบังคับของมาตรการบังคับทางปกครองหลายคนในมูลหนี้ที่เก่ียวของกันก็ดี จะยื่นคําขอตอ
ศาลใดศาลหนึง่ เชน วานั้นก็ได

หนวยงานของรัฐตามมาตรานี้ หมายความวา กระทรวง ทบวง กรม หรือสวนราชการ
ที่เรียกช่ืออยางอ่ืนและมีฐานะเปนกรม ราชการสวนภูมิภาค ราชการสวนทองถ่ิน และหนวยงานอ่ืน
ของรฐั ตามทีก่ ําหนดในกฎกระทรวง

มาตรา 63/1632 ในกรณีที่คําส่ังทางปกครองท่ีกําหนดใหชําระเงินเปนท่ีสุดแลว และ
ตอมาผูอยูในบังคับของคําส่ังทางปกครองขอใหพิจารณาคําสั่งทางปกครองท่ีเปนที่สุดแลวนั้นใหม

31 มาตรา 63/15 เพ่ิมโดยพระราชบัญญัติวธิ ีปฏิบตั ริ าชการทางปกครอง (ฉบบั ที่ 3) พ.ศ. 2562
32 มาตรา 63/16 เพิ่มโดยพระราชบัญญตั ิวิธปี ฏิบตั ริ าชการทางปกครอง (ฉบบั ท่ี 3) พ.ศ. 2562

517 การ ำด�เ ินนกาแรละทกาางรวิ ่สันกงยเลุสมกริ่ทีามร๕จุอ ิรทยธธรรณ์รมการ ้รอง ุทกข์

517 501
หรือฟ้องคดีต่อศาลเพื่อให้พิจารณาเก่ียวกับคาสั่งทางปกครองที่เป็นท่ีสุดแล้วนั้นใหม่ หรือขอให้ศาล
พิจารณาคดีใหม่และหน่วยงานของรัฐท่ีออกคาส่ังให้ชาระเงินหรือศาลมีคาส่ังให้รับคาขอหรือได้รับ
คาฟอ้ งไวพ้ ิจารณา ผ้อู ยู่ในบังคับของคาสงั่ ทางปกครองอาจย่ืนคาร้องต่อศาลท่มี ีอานาจในการออกหมาย
บังคับคดีตามมาตรา 63/15 เพื่อขอให้ส่ังงดการบังคับคดีไว้ก่อน หากศาลพิจารณาคาร้องแล้วมีคาสั่ง
ให้งดการบังคับคดี ให้ศาลส่งคาส่ังนั้นไปให้เจ้าพนักงานบังคับคดีทราบ และให้เจ้าพนักงานบังคับคดี
งดการบังคับคดีไว้ภายในระยะเวลาหรือเง่ือนไขตามเวลาที่ศาลกาหนด รวมทั้งส่งคาบอกกล่าว
งดการบังคับคดีให้หน่วยงานของรัฐท่ีออกคาส่ังให้ชาระเงินและบุคคลภายนอกผู้มีส่วนได้เสียทราบ
โดยไม่ชักช้า

ถ้าหน่วยงานของรัฐที่ออกคาส่ังให้ชาระเงินยื่นคาร้องว่าอาจได้รับความเสียหาย จาก
การย่ืนคาร้องตามวรรคหน่ึงและมีพยานหลักฐานเบ้ืองต้นแสดงว่าคาร้องน้ันไม่มีมูลและย่ืนเข้ามา
เพื่อประวิงการบังคับคดี ศาลมีอานาจสั่งให้ผู้อยู่ในบังคับของคาสั่งทางปกครองวางเงินหรือหาประกัน
ตามท่ีศาลเห็นสมควรภายในระยะเวลาท่ีศาลจะกาหนด เพื่อเป็นประกันการชาระค่าสินไหมทดแทน
แก่หน่วยงานของรัฐสาหรับความเสียหายท่ีอาจได้รับเนื่องจากเหตุเน่ินช้าในการบังคับคดีอัน เกิดจาก
การยื่นคาร้องนั้น หรือกาหนดวิธีการชั่วคราวเพื่อคุ้มครองอย่างใด ๆ ตามที่เห็นสมควรก็ได้ ถ้าผู้อยู่ใน
บังคับของคาส่ังทางปกครองไมป่ ฏบิ ตั ติ ามคาสั่งศาล ให้ศาลสั่งใหด้ าเนินการบังคับคดีต่อไป

ในกรณีตามวรรคหน่ึง หากหน่วยงานของรัฐที่ออกคาส่ังให้ชาระเงินหรือศาลท่ีมี
เขตอานาจในการพิจารณาพิพากษาคดีเก่ียวกับคาสั่งทางปกครองท่ีกาหนดให้ชาระเงิน ได้มีคาส่ังให้
ทบทวนคาสั่งทางปกครองท่ีเป็นที่สุดน้ันใหม่ ให้หน่วยงานของรัฐที่ออกคาส่ังให้ชาระเงินย่ืนคาร้อง
ต่อศาลที่มีอานาจออกหมายบังคับคดีตามมาตรา 63/15 เพ่ือเพิกถอนการบังคับคดีท่ีได้ดาเนินการ
ไปแล้ว ในกรณีท่ศี าลเหน็ วา่ เปน็ การพ้นวิสัยทจ่ี ะใหค้ ู่ความกลบั สู่ฐานะเดมิ หรือเม่ือศาลเห็นว่าไม่จาเป็น
ท่ีจะบังคับให้เป็นไปตามหมายบังคับคดีต่อไป เพื่อประโยชน์แก่คู่ความหรือบุคคลภายนอก ให้ศาล
มีอานาจสง่ั อยา่ งใด ๆ ตามที่เหน็ สมควร และแจง้ ให้เจา้ พนักงานบังคบั คดที ราบ

มาตรา 63/1733 เพ่ือประโยชน์ในการบังคับคดี ให้นาความในมาตรา 63/10 และ
มาตรา 63/11 มาใช้บังคับกบั การสบื หาทรพั ย์สนิ ของผูอ้ ยู่ในบังคับของมาตรการบังคับทางปกครองด้วย

มาตรา 63/1834 หน่วยงานของรัฐทอ่ี อกคาสั่งใหช้ าระเงินต้องดาเนนิ การสืบทรพั ย์แลว้
แจ้งให้เจ้าพนักงานบังคับคดีทราบพร้อมเอกสารหลักฐานที่เก่ียวข้องเพ่ือให้เจ้าพนักงานบังคับคดี
ดาเนินการเพื่อให้มีการยึดหรืออายัดทรัพย์สินภายในสิบปีนับแต่วันท่ี คาส่ังทางปกครองที่กาหนดให้
ชาระเงนิ เป็นท่สี ุด และใหน้ าความในมาตรา 63/8 วรรคสามและวรรคสี่ มาใชบ้ งั คบั โดยอนโุ ลม

มิให้นาระยะเวลาระหว่างการงดการบังคับคดีตามคาส่ังศาลตามมาตรา 63/16
วรรคหนึ่ง มานบั รวมในระยะเวลาสบิ ปตี ามวรรคหนงึ่

33 มาตรา 63/17 เพ่ิมโดยพระราชบญั ญตั วิ ธิ ปี ฏิบตั ริ าชการทางปกครอง (ฉบับท่ี 3) พ.ศ. 2562
34 มาตรา 63/18 เพิม่ โดยพระราชบญั ญตั วิ ธิ ปี ฏิบตั ริ าชการทางปกครอง (ฉบบั ที่ 3) พ.ศ. 2562

518

518 502
มาตรา 63/1935 เม่ือศาลออกหมายบังคับคดีและแต่งตั้งเจ้าพนักงานบังคับคดีแล้ว
การดาเนินการบังคับคดีให้เป็นไปตามคาสั่งทางปกครองท่ีกาหนดให้ชาระเงิน ให้เป็นไปตามประมวล
กฎหมายวธิ ีพจิ ารณาความแพง่

ส่วนที่ 3
การบงั คบั ตามคาส่ังทางปกครองทกี่ าหนดให้กระทาหรอื ละเวน้ การกระทา

มาตรา 63/2036 ในส่วนน้ี
“ค่าปรับบังคับการ” หมายความว่า ค่าปรับที่เจ้าหน้าท่ีสั่งให้ผู้ท่ีฝ่าฝืนหรอื ไม่ปฏิบัติตาม
คาส่ังทางปกครองท่ีกาหนดให้กระทาหรือละเว้นกระทา ชาระเป็นรายวันไปจนกว่าจะยุติการฝ่าฝืนคาส่ัง
หรือได้มีการปฏบิ ัติตามคาสง่ั แล้ว ไมว่ า่ จะเปน็ ค่าปรบั ท่กี าหนดโดยพระราชบญั ญตั นิ ีห้ รอื โดยกฎหมายอ่ืน
มาตรา 63/2137คาสั่งทางปกครองที่กาหนดให้กระทาหรือละเว้นกระทา ถ้าผู้อยู่
ในบังคับของคาส่ังทางปกครองฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตาม เจ้าหน้าที่อาจใช้มาตรการบังคับทางปกครอง
อยา่ งหน่งึ อย่างใดดังต่อไปน้ี
(1) เจ้าหน้าท่ีเข้าดาเนินการด้วยตนเองหรือมอบหมายให้บุคคลอ่ืนกระทาการแทน
โดยผูอ้ ยู่ในบังคบั ของคาสั่งทางปกครองจะต้องชดใช้ค่าใช้จ่ายและเงินเพิ่มรายวนั ในอตั ราร้อยละยี่สบิ ห้า
ต่อปขี องคา่ ใช้จ่ายดงั กลา่ วแก่หนว่ ยงานของรฐั ที่เจา้ หนา้ ที่นนั้ สงั กัด
(2) ให้มีการชาระค่าปรับบังคับการตามจานวนที่สมควรแก่เหตุแต่ต้องไม่เกิน
ห้าหม่นื บาทตอ่ วัน
เจ้าหน้าท่ีระดับใดมีอานาจกาหนดค่าปรับบังคับการจานวนเท่าใด สาหรับในกรณีใด
ให้เป็นไปตามที่กาหนดในกฎกระทรวง
ในกรณีที่มีความจาเป็นที่จะต้องบังคับการโดยเร่งด่วนเพื่อป้องกันมิให้มีการกระทาที่
ขัดต่อกฎหมายท่ีมีโทษทางอาญาหรือมิให้เกิดความเสียหายต่อประโยชน์สาธารณะ เจ้าหน้าที่อาจใช้
มาตรการบังคับทางปกครองโดยไม่ต้องออกคาสั่งทางปกครองท่ีกาหนดให้กระทาหรือละเว้นกระทา
กอ่ นกไ็ ด้ แตท่ ง้ั น้ี ต้องกระทาโดยสมควรแก่เหตุและภายในขอบเขตอานาจหน้าที่ของตน
มาตรา 63/2238 ก่อนใช้มาตรการบังคับทางปกครองตามมาตรา 63/21 เจ้าหน้าท่ี
จะต้องมีคาเตือนเป็นหนังสือให้มีการกระทาหรือละเว้นกระทาตามคาสั่งทางปกครองภายในระยะเวลา
ท่กี าหนดตามสมควรแก่กรณี คาเตือนดังกล่าวจะกาหนดไปพร้อมกบั คาสงั่ ทางปกครองกไ็ ด้
คาเตือนนนั้ จะตอ้ งระบุ

35 มาตรา 63/19 เพ่มิ โดยพระราชบัญญตั ิวธิ ปี ฏิบัตริ าชการทางปกครอง (ฉบบั ท่ี 3) พ.ศ. 2562
36 มาตรา 63/20 เพมิ่ โดยพระราชบญั ญัติวิธปี ฏบิ ตั ริ าชการทางปกครอง (ฉบับท่ี 3) พ.ศ. 2562
37 มาตรา 63/21 เพม่ิ โดยพระราชบัญญตั วิ ธิ ปี ฏบิ ัตริ าชการทางปกครอง (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2562
38 มาตรา 63/22 เพิ่มโดยพระราชบัญญตั ิวธิ ปี ฏบิ ตั ิราชการทางปกครอง (ฉบบั ท่ี 3) พ.ศ. 2562

519 การ ำด�เ ินนกาแรละทกาางรวิ ่สันกงยเลุสมกริ่ทีามร๕จุอ ิรทยธธรรณ์รมการ ้รอง ุทกข์

519 503
(1) มาตรการบังคับทางปกครองท่ีจะใช้ให้ชัดแจ้ง แต่จะกาหนดมากกว่าหนึ่งมาตรการ
ในคราวเดียวกนั ไม่ได้
(2) ค่าใช้จ่ายและเงินเพ่ิมรายวันในการที่เจ้าหน้าที่เข้าดาเนินการด้วยตนเองหรือ
มอบหมายใหบ้ คุ คลอื่นกระทาการแทน หรือจานวนคา่ ปรบั บังคับการ แล้วแต่กรณี
การกาหนดค่าใช้จ่ายในคาเตือน ไม่เป็นการตัดสิทธิท่ีจะเรียกค่าใช้จ่ายเพ่ิมข้ึน
หากจะตอ้ งเสียคา่ ใช้จา่ ยจริงมากกว่าที่ได้กาหนดไว้
มาตรา 63/2339 เจ้าหน้าท่ีจะต้องใช้มาตรการบังคับทางปกครองตามท่ีกาหนดไว้
ในคาเตือนตามมาตรา 63/22 การเปล่ียนแปลงมาตรการจะกระทาได้ก็ต่อเมื่อปรากฏว่ามาตรการ
ที่กาหนดไวไ้ ม่บรรลุตามวัตถุประสงค์
ถ้าผู้อยู่ในบงั คบั ของคาส่ังทางปกครองต่อสู้ขัดขวางการบังคับทางปกครอง เจา้ หน้าที่อาจ
ใช้กาลังเขา้ ดาเนนิ การเพ่อื ให้เปน็ ไปตามมาตรการบังคบั ทางปกครองได้ แต่ตอ้ งกระทาโดยสมควรแกเ่ หตุ
ในการใช้มาตรการบังคับทางปกครองตามวรรคหน่ึงหรือวรรคสอง เจ้าหน้าท่ีอาจแจ้ง
ขอความชว่ ยเหลือจากเจา้ พนกั งานตารวจได้
มาตรา 63/2440 ในกรณไี ม่มีการชาระค่าปรบั บงั คบั การ ค่าใช้จ่าย หรือเงนิ เพ่มิ รายวนั
โดยถกู ตอ้ งครบถว้ น ให้เจ้าหนา้ ท่ดี าเนินการบังคับทางปกครองตามสว่ นท่ี 2 ต่อไป
มาตรา 63/2541 การฟ้องคดีโตแ้ ย้งการบังคับทางปกครองตามส่วนนี้ ให้เสนอต่อศาล
ทมี่ ีเขตอานาจในการพจิ ารณาพพิ ากษาคดีเก่ยี วกบั คาสงั่ ที่มีการบังคับทางปกครองนั้น

หมวด 3
ระยะเวลาและอายุความ

มาตรา 64 กาหนดเวลาเปน็ วนั สัปดาห์ เดอื น หรอื ปีนัน้ มิใหน้ ับวันแรกแห่งระยะเวลา
นนั้ รวมเขา้ ดว้ ย เวน้ แตจ่ ะไดเ้ ร่ิมการในวันนั้นหรือมีการกาหนดไว้เปน็ อยา่ งอื่นโดยเจา้ หน้าที่

ในกรณีท่ีเจ้าหน้าที่มีหน้าท่ีต้องกระทาการอย่างหน่ึงอย่างใดภายในระยะเวลาท่ีกาหนด
ให้นบั วันส้ินสดุ ของระยะเวลานัน้ รวมเข้าดว้ ยแมว้ า่ วันสดุ ทา้ ยเปน็ วนั หยดุ ทาการงานสาหรบั เจา้ หน้าท่ี

ในกรณีท่ีบุคคลใดต้องทาการอย่างหนึ่งอย่างใดภายในระยะเวลาท่ีกาหนดโดยกฎหมาย
หรือโดยคาส่ังของเจ้าหน้าที่ ถ้าวันสุดท้ายเป็นวันหยุดทาการงานสาหรับเจ้าหน้าที่หรือวันหยุด
ตามประเพณีของบุคคลผู้รบั คาส่ัง ให้ถือวา่ ระยะเวลานั้นส้ินสุดในวนั ทางานท่ีถัดจากวันหยดุ น้ัน เว้นแต่
กฎหมายหรอื เจ้าหน้าทที่ ่ีมีคาส่งั จะกาหนดไวเ้ ปน็ อยา่ งอน่ื

39 มาตรา 63/23 เพ่ิมโดยพระราชบัญญตั ิวิธปี ฏบิ ตั ิราชการทางปกครอง (ฉบบั ท่ี 3) พ.ศ. 2562
40 มาตรา 63/24 เพิม่ โดยพระราชบญั ญตั วิ ธิ ีปฏบิ ัติราชการทางปกครอง (ฉบบั ท่ี 3) พ.ศ. 2562
41 มาตรา 63/25 เพิ่มโดยพระราชบญั ญัตวิ ธิ ีปฏิบตั ิราชการทางปกครอง (ฉบบั ที่ 3) พ.ศ. 2562

506

520

มาตรา 65 ระยะเวลาที่กําหนดไวในคําส่ังของเจาหนาท่ีอาจมีการขยายอีกได และ
ถา ระยะเวลาน้ันไดส ้ินสุดลงแลวเจาหนาท่ีอาจขยายโดยกําหนดใหมีผลยอนหลังไดเชนกันถาการส้ินสุด
ตามระยะเวลาเดิมจะกอใหเ กิดความไมเ ปนธรรมที่จะใหส ิ้นสดุ ลงตามนั้น

มาตรา 66 ในกรณที ี่ผใู ดไมอ าจกระทําการอยางหน่ึงอยางใดภายในระยะเวลาที่กาํ หนด
ไวในกฎหมายไดเพราะมีพฤติการณท่ีจําเปนอันมิไดเกิดข้ึนจากความผิดของผูนั้น ถาผูนั้นมีคําขอ
เจาหนาที่อาจขยายระยะเวลาและดําเนินการสวนหน่ึงสวนใดท่ีลวงมาแลวเสียใหมก็ได ทั้งน้ี ตองยื่น
คําขอภายในสบิ หาวันนับแตพฤตกิ ารณเ ชน วา น้นั ไดสน้ิ สดุ ลง

ม าต รา 6 7 เมื่ อ มี ก ารอุ ทธรณ ต ามบ ทบั ญ ญั ติใน ส วน ท่ี 5 ข อ งห มวด 2
แหงพระราชบัญญัติน้ี หรือการยื่นคาํ ขอตอคณะกรรมการวินิจฉัยขอพิพาทหรือคณะกรรมการวินิจฉัย
รองทุกขตามกฎหมายวาดวยคณะกรรมการกฤษฎีกาเพื่อใหวินิจฉัยช้ีขาดแลว ใหอายุความสะดดุ หยุดอยู
ไมนับในระหวางนั้นจนกวาการพิจารณาจะถึงท่ีสุดหรือเสร็จไปโดยประการอื่น แตถาเสร็จไปเพราะเหตุ
ถอนคาํ ขอหรอื ทิ้งคําขอใหถอื วาอายุความเรียกรองของผูยื่นคําขอไมเคยมกี ารสะดดุ หยดุ อยูเลย

หมวด 4
การแจง

มาตรา 68 บทบัญญัติในหมวดนี้มิใหใชบังคับกับการแจง ซ่ึงไมอาจกระทําโดยวาจาหรือ
เปน หนังสือไดห รอื มกี ฎหมายกําหนดวิธีการแจงไวเ ปนอยางอนื่

ในกรณีคําส่ังทางปกครองที่แสดงใหทราบโดยการส่ือความหมายในรูปแบบอ่ืนตามที่
กาํ หนดในกฎกระทรวง ใหม ผี ลเมอื่ ไดแ จง

มาตรา 69 การแจงคําส่ังทางปกครอง การนัดพิจารณา หรือการอยางอื่นที่เจาหนาท่ี
ตองแจงใหผูท่ีเก่ียวของทราบอาจกระทําดวยวาจาก็ได แตถาผูน้ันประสงคจะใหกระทําเปนหนังสือ
ก็ใหแจง เปนหนังสอื

การแจงเปนหนังสือใหสงหนังสือแจงตอผูน้ัน หรือถาไดสงไปยังภูมิลําเนาของผูนั้น
ก็ใหถือวา ไดร ับแจง ตง้ั แตในขณะท่ไี ปถงึ

ในการดําเนินการเร่ืองใดท่ีมีการใหที่อยูไวกับเจาหนาที่ไวแลว การแจงไปยังที่อยูดังกลาว
ใหถ ือวาเปน การแจงไปยังภมู ิลาํ เนาของผนู น้ั แลว

มาตรา 70 การแจงเปนหนังสือโดยวิธีใหบุคคลนําไปสง ถาผูรับไมยอมรับหรือ
ถา ขณะนําไปสงไมพบผูรับ และหากไดสงใหกับบุคคลใดซ่ึงบรรลุนิติภาวะท่ีอยูหรือทํางานในสถานที่นั้น
หรือในกรณีที่ผูนนั้ ไมย อมรบั หากไดวางหนังสือน้ันหรือปดหนงั สอื น้นั ไวในที่ซ่ึงเห็นไดงาย ณ สถานท่ีน้ัน
ตอหนา เจา พนักงานตามท่กี าํ หนดในกฎกระทรวงทีไ่ ปเปนพยานก็ใหถือวาไดรับแจงแลว

521 507 การ ำด�เ ินนกาแรละทกาางรวิ ่สันกงยเลุสมกริ่ทีามร๕จุอ ิรทยธธรรณ์รมการ ้รอง ุทกข์
มาตรา 71 การแจงโดยวิธีสงทางไปรษณียตอบรับใหถือวาไดร ับแจงเมื่อครบกําหนด
เจ็ดวันนับแตวันสงสําหรับกรณีภายในประเทศ หรือเม่ือครบกําหนดสิบหาวันนับแตวันสงสําหรับกรณี
สงไปยังตา งประเทศ เวน แตจ ะมกี ารพสิ จู นไ ดวาไมมีการไดรับหรือไดรบั กอนหรอื หลงั จากวันน้ัน
มาตรา 72 ในกรณีที่มีผูรบั เกินหาสิบคนเจาหนาที่จะแจงใหทราบต้ังแตเร่ิมดําเนินการ
ในเร่ืองน้ันวาการแจงตอบุคคลเหลาน้ันจะกระทําโดยวิธีปดประกาศไว ณ ที่ทําการของเจาหนาท่ีและ
ที่วาการอําเภอท่ีผูรับมีภูมิลําเนาก็ได ในกรณีนี้ใหถือวาไดรับแจงเม่ือลวงพนระยะเวลาสิบหาวัน
นับแตวนั ท่ไี ดแ จงโดยวิธีดงั กลาว
มาตรา 73 ในกรณีที่ไมรูตัวผูรับหรือรูตัวแตไมรูภูมิลําเนาหรือรูตัวและภูมิลําเนา
แตมีผูรับเกินหนึ่งรอยคน การแจงเปนหนังสือจะกระทําโดยการประกาศในหนังสือพิมพซ่ึงแพรหลาย
ในทองถ่นิ นัน้ กไ็ ด ในกรณีน้ีใหถือวา ไดรบั แจงเมอื่ ลว งพน ระยะเวลาสบิ หา วันนับแตวันที่ไดแจงโดยวธิ ดี ังกลา ว
มาตรา 74 ในกรณีมีเหตุจําเปนเรงดวนการแจงคําส่ังทางปกครองจะใชวิธีสงทาง
เครอื่ งโทรสารก็ได แตตอ งมีหลักฐานการไดสง จากหนว ยงานผูจัดบรกิ ารโทรคมนาคมท่ีเปนส่ือในการสง
โทรสารนั้น และตองจัดสงคําสั่งทางปกครองตัวจริงโดยวิธีใดวิธีหนึ่งตามหมวดนี้ใหแกผูรับในทันที
ท่ีอาจกระทําได ในกรณีนี้ใหถือวาผูรับไดรับแจงคําสั่งทางปกครองเปนหนังสือตามวัน เวลา ที่ปรากฏ
ในหลักฐานของหนวยงานผูจัดบรกิ ารโทรคมนาคมดังกลาว เวนแตจะมีการพิสูจนไดวาไมมีการไดร ับหรือ
ไดรับกอนหรอื หลังจากนน้ั

หมวด 5
คณะกรรมการที่มีอาํ นาจดาํ เนินการพจิ ารณาทางปกครอง

มาตรา 75 การแตงตง้ั กรรมการในลกั ษณะท่ีเปนผูทรงคุณวฒุ ใิ หแตงต้งั โดยระบุตัวบุคคล
มาตรา 76 นอกจากพนจากตําแหนงตามวาระ กรรมการพนจากตําแหนงเม่ือ
(1) ตาย
(2) ลาออก
(3) เปนบคุ คลลม ละลาย
(4) เปนคนไรค วามสามารถหรือคนเสมอื นไรความสามารถ
(5) ไดรับโทษจําคุกโดยคําพิพากษาถึงที่สุดใหจําคุก เวนแตเปนความผิดลหุโทษหรือ
ความผดิ อันไดกระทาํ โดยประมาท
(6) มเี หตุตองพนจากตาํ แหนงกอ นครบวาระตามกฎหมายวาดว ยการน้ัน

522

522 506
มาตรา 77 ในกรณีท่ีกรรมการพ้นจากตาแหน่งก่อนวาระ ผู้มีอานาจแต่งตัง้ อาจแต่งตั้ง
ผู้อื่นเป็นกรรมการแทนได้ และให้ผู้ท่ีได้รับแต่งต้ังให้ดารงตาแหน่งแทนอยู่ในตาแหน่งเท่ากับวาระ
ที่เหลืออยขู่ องผซู้ ่งึ ตนแทน
ในกรณีท่ีมีการแต่งต้ังกรรมการเพ่ิมข้ึนในระหว่างท่ีกรรมการซ่ึงแต่งตั้งไว้แล้วยังมี
วาระอยู่ในตาแหน่ง ให้ผู้ท่ีได้รับแต่งต้ังให้เป็นกรรมการเพ่ิมขึ้นอยู่ในตาแหน่งเท่ากับวาระที่เหลืออยู่
ของกรรมการทไี่ ดร้ ับแตง่ ตั้งไวแ้ ลว้
มาตรา 78 ภายใต้บังคับมาตรา 76 การให้กรรมการในคณะกรรมการวินิจฉัย
ขอ้ พพิ าทพ้นจากตาแหนง่ ก่อนครบวาระจะกระทามไิ ด้ เว้นแต่กรณีมเี หตบุ กพรอ่ งอยา่ งย่ิงต่อหนา้ ท่ีหรือมี
ความประพฤติเสื่อมเสียอยา่ งร้ายแรง
มาตรา 79 ภายใต้บังคับมาตรา 15 วรรคสอง การประชุมของคณะกรรมการต้องมี
กรรมการมาประชุมอย่างน้อยก่ึงหน่ึงจึงจะเป็นองค์ประชุม เว้นแต่บทบัญญัติแห่งกฎหมายหรือกฎ
หรอื คาสั่งทีจ่ ัดให้มีคณะกรรมการชดุ นั้นจะกาหนดไวเ้ ปน็ อย่างอ่นื
ในกรณีมีกรรมการครบท่ีจะเป็นองค์ประชุมได้ แต่การพิจารณาเรื่องใดถ้าต้องเลื่อนมา
เพราะไม่ครบองค์ประชุม ถ้าเป็นการประชุมของคณะกรรมการซึ่งมิใช่คณะกรรมการวินิจฉัยข้อพิพาท
หากได้มีการนัดประชุมเรือ่ งน้ันอกี ภายในสิบส่ีวันนับแตว่ นั นดั ประชุมที่เล่อื นมา และการประชมุ ครัง้ หลงั นี้มี
กรรมการมาประชุมไม่น้อยกว่าหนึ่งในสามของจานวนกรรมการทั้งหมด ให้ถือว่าเป็นองค์ประชุม
แต่ทง้ั นต้ี อ้ งระบคุ วามประสงค์ใหเ้ กดิ ผลตามบทบญั ญตั นิ ไ้ี ว้ในหนงั สอื นัดประชมุ ด้วย
มาตรา 80 การประชุมให้เป็นไปตามระเบียบการท่ีคณะกรรมการกาหนด
การนัดประชุมต้องทาเป็นหนังสือและแจ้งให้กรรมการทุกคนทราบล่วงหน้าไม่น้อยกว่า
สามวนั เว้นแตก่ รรมการน้นั จะได้ทราบการบอกนัดในที่ประชุมแล้ว กรณีดงั กล่าวนีจ้ ะทาหนังสอื แจ้งนัด
เฉพาะกรรมการทไ่ี ม่ไดม้ าประชมุ กไ็ ด้
บทบัญญตั ิในวรรคสองมิให้นามาใช้บังคับในกรณีมีเหตุจาเป็นเรง่ ดว่ นซึง่ ประธานกรรมการ
จะนัดประชมุ เปน็ อยา่ งอื่นกไ็ ด้
มาตรา 81 ประธานกรรมการมีอานาจหน้าท่ีดาเนินการประชุม และเพ่ือรักษา
ความเรียบรอ้ ยในการประชมุ ใหป้ ระธานมีอานาจออกคาส่ังใด ๆ ตามความจาเปน็ ได้
ถ้าประธานกรรมการไม่อยู่ในท่ีประชุมหรือไม่สามารถปฏิบัติหน้าท่ีได้ให้รองประธาน
กรรมการทาหน้าท่ีแทน ถ้าไม่มีรองประธานกรรมการหรือมีแต่ไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้ ให้กรรมการ
ท่มี าประชุมเลอื กกรรมการคนหนง่ึ ข้ึนทาหนา้ ทีแ่ ทน
ในกรณที ี่ประธานกรรมการมีหน้าท่ีตอ้ งดาเนนิ การใด ๆ นอกจากการดาเนินการประชุม
ใหน้ าความในวรรคสองมาใชบ้ ังคับโดยอนโุ ลม
มาตรา 82 การลงมตขิ องทป่ี ระชมุ ใหถ้ อื เสยี งขา้ งมาก

523 การ ำด�เ ินนกาแรละทกาางรวิ ่สันกงยเลุสมกริ่ทีามร๕จุอ ิรทยธธรรณ์รมการ ้รอง ุทกข์

523 507
กรรมการคนหน่ึงให้มีหน่ึงเสียงในการลงคะแนน ถ้าคะแนนเสียงเท่ากันให้ประธาน
ในท่ปี ระชุมออกเสยี งเพ่ิมข้นึ อกี เสียงหนงึ่ เปน็ เสียงชี้ขาด
เรอื่ งใดถ้าไมม่ ีผคู้ ดั คา้ น ใหป้ ระธานถามที่ประชุมวา่ มผี ูเ้ หน็ เป็นอย่างอน่ื หรอื ไม่ เมื่อไมม่ ผี ู้
เห็นเปน็ อยา่ งอืน่ ใหถ้ ือว่าทปี่ ระชุมลงมติเหน็ ชอบในเรอื่ งนนั้
มาตรา 83 ในการประชมุ ต้องมรี ายงานการประชมุ เปน็ หนังสือ
ถา้ มีความเห็นแยง้ ให้บันทึกความเห็นแยง้ พรอ้ มทงั้ เหตุผลไว้ในรายงานการประชุม และ
ถ้ากรรมการฝา่ ยข้างน้อยเสนอความเหน็ แย้งเปน็ หนังสอื ก็ให้บันทึกความเหน็ แย้งนนั้ ไว้ดว้ ย
มาตรา 84 คาวินิจฉัยของคณะกรรมการวนิ จิ ฉยั ข้อพพิ าทตอ้ งมีลายมือชื่อของกรรมการ
ทวี่ นิ จิ ฉยั เรอื่ งน้นั
ถ้ากรรมการคนใดมคี วามเหน็ แยง้ ใหม้ สี ทิ ธทิ าความเหน็ แยง้ ของตนรวมไวใ้ นคาวินจิ ฉัยได้

บทเฉพาะกาล
___________
มาตรา 85 ให้ถือว่าระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการปฏิบัติราชการเพ่ือ
ประชาชนของหน่วยงานของรัฐ พ.ศ. 2532 เป็นระเบียบท่ีคณะรัฐมนตรีวางขึ้นตามมาตรา 33 แห่ง
พระราชบญั ญัติน้ี
มาตรา 86 บรรดาคาขอเพื่อให้มีคาสั่งทางปกครองท่ีเจ้าหน้าท่ีได้รับไว้ก่อนท่ี
พระราชบญั ญัติน้ีใชบ้ ังคบั ให้เจ้าหน้าท่ีทาการพิจารณาคาขอดังกลา่ วตามหลกั เกณฑ์ที่กฎหมายหรือกฎ
สาหรับเร่ืองน้ันได้กาหนดไว้
มาตรา 87 เม่ือได้มีการจัดต้ังศาลปกครองข้ึนแล้ว บทบัญญัติมาตรา 48 ให้เป็นอัน
ยกเลิก

ผู้รบั สนองพระบรมราชโองการ
บรรหาร ศิลปอาชา
นายกรฐั มนตรี

524 510
หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใชพระราชบัญญัติฉบับน้ี คือ โดยท่ีการดําเนินงานทางปกครอง
ในปจจุบันยังไมมีหลักเกณฑและข้ันตอนที่เหมาะสม จึงสมควรกําหนดหลักเกณฑและข้ันตอนตาง ๆ
สํ า ห รับ ก า ร ดํ า เนิ น งา น ท า ง ป ก ค ร อ งข้ึ น เพื่ อ ให ก า ร ดํ า เนิ น ง า น เป น ไ ป โด ย ถู ก ต อ งต า ม ก ฎ ห ม า ย
มปี ระสิทธิภาพในการใชบ ังคับกฎหมายใหสามารถรักษาประโยชนสาธารณะได และอํานวยความเปนธรรม
แกประชาชน อีกทั้งยังเปนการปองกันการทุจริตและประพฤติมิชอบในวงราชการ จึงจําเปนตอง
ตราพระราชบัญญตั ิน้ี
พระราชบัญญตั ิวิธปี ฏบิ ัติราชการทางปกครอง (ฉบบั ที่ 2) พ.ศ. 255742

มาตรา 2 พระราชบัญญัติน้ใี หใชบ ังคบั ตั้งแตวันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา
เปน ตนไป
หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใชพระราชบัญญัติฉบับน้ี คือ โดยท่ีเปนการสมควรแกไขเพ่ิมเติม
กฎหมายวาดวยวิธีปฏิบัติราชการทางปกครองเพ่ือกําหนดหลักเกณฑในการจัดทําคําสั่งทางปกครองใหมี
ประสิทธิภาพ เพ่ือรักษาประโยชนสาธารณะและอํานวยความเปนธรรมแกประชาชน อีกทั้งยังเปนการ
ปอ งกันการทจุ รติ และประพฤตมิ ชิ อบในวงราชการ จึงจาํ เปนตองตราพระราชบัญญตั นิ ้ี
พระราชบญั ญัตวิ ธิ ปี ฏิบัตริ าชการทางปกครอง (ฉบับท่ี 3) พ.ศ. 256243

มาตรา 2 พระราชบัญญัตนิ ้ีใหใชบังคบั ต้ังแตว ันถัดจากวนั ประกาศในราชกิจจานุเบกษา
เปนตนไป เวนแตบทบัญญัติมาตรา 63/15 มาตรา 63/16 มาตรา 63/17 มาตรา 63/18 และ
มาตรา 63/19 ใหใชบังคับเมื่อพนกําหนดหนึ่งรอยแปดสิบวันนับแตวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา
เปนตนไป

มาตรา 6 ในกรณีที่คําส่ังทางปกครองที่กําหนดใหชําระเงินใดเปนท่ีสุดแลวเปนเวลา
เกินหนึ่งปในวันท่ีพระราชบัญญัติน้ีใชบังคับ ใหหนวยงานของรัฐท่ีออกคําส่ังน้ันดําเนินการบังคับ
ทางปกครองตามพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539 ซ่ึงแกไขเพิ่มเติม
โดยพระราชบัญญัติน้ีตอไป โดยจะดําเนินการตามมาตรา 63/15 ไดตอเม่ือเปนคําส่ังทางปกครอง
ทีก่ ําหนดใหช ําระเงินซ่งึ มีลักษณะตามท่ีกาํ หนดในกฎกระทรวง

มาตรา 7 บรรดาคดีเก่ียวกับการโตแยงการใชมาตรการบังคับทางปกครองซึ่งคาง
พิจารณาอยูในศาลใดในวันที่พระราชบัญญัตินี้ใชบังคับ ใหศาลน้ันดําเนินกระบวนพิจารณาและมี
คาํ พิพากษาตอไปจนคดีนั้นถึงทีส่ ุด

42 ราชกจิ จานุเบกษา เลม 131/ตอนท่ี 89 ก/หนา 1/30 ธันวาคม 2557
43 ราชกิจจานุเบกษา เลม 136/ตอนที่ 69 ก/หนา 115/27 พฤษภาคม 2562

525 การ ำด�เ ินนกาแรละทกาางรวิ ่สันกงยเลุสมกริ่ทีามร๕จุอ ิรทยธธรรณ์รมการ ้รอง ุทกข์

525 509
มาตรา 8 ให้กรมบังคับคดี สานักงาน ก.พ.ร. สานักงาน ก.พ. สานักงบประมาณ
และหน่วยงานอื่นท่ีเกี่ยวข้องร่วมกันจัดทาโครงสร้างกรมบังคับคดี กรอบอัตรากาลังข้าราชการและ
พนักงานราชการ และกาหนดงบประมาณ รวมทั้งการดาเนินการอื่นใดอันจาเป็น เพื่อรองรับ
การดาเนินการตามอานาจหน้าที่ของกรมบังคับคดีตามพระราชบัญญัติน้ีภายในหกสิบวันนับแต่วันที่
พระราชบญั ญตั นิ ีใ้ ชบ้ งั คับ
มาตรา 9 บรรดากฎหรือคาสั่งใด ๆ ที่ได้ออกโดยอาศัยอานาจตามความใน
พระราชบัญญัติวธิ ีปฏิบัตริ าชการทางปกครอง พ.ศ. 2539 ท่ีใช้บงั คบั อยใู่ นวันก่อนวันที่พระราชบัญญัติ
น้ีใช้บังคับ ให้ยังคงใช้บังคับต่อไปได้เพียงเท่าท่ีไม่ขัดหรือแย้งกับพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการ
ทางปกครอง พ.ศ. 2539 ซึ่งแก้ไขเพ่ิมเติมโดยพระราชบัญญัติน้ี จนกว่าจะมีกฎหรือคาสั่งใด ๆ ที่ออก
ตามพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539 ซึ่งแก้ไขเพ่ิมเติมโดยพระราชบัญญัตินี้
ใช้บังคับ
การดาเนินการออกกฎตามวรรคหน่ึงให้ดาเนินการให้แล้วเสร็จภายในหนึ่งร้อย
แปดสิบวนั นับแต่วันท่ีพระราชบัญญัตนิ ้ีใช้บงั คบั หากไม่สามารถดาเนนิ การได้ ให้นายกรฐั มนตรรี ายงาน
เหตุผลทีไ่ ม่อาจดาเนนิ การได้ตอ่ คณะรัฐมนตรที ทราบ
มาตรา 10 ให้นายกรัฐมนตรีรักษาการตามพระราชบัญญัติน้ี
หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ โดยที่ปัจจุบันบทบัญญัติเก่ียวกับ
การบังคับทางปกครองตามกฎหมายว่าด้วยวิธีปฏิบัติราชการทางปกครองยังไม่มีประสิทธิภาพ
ในการบังคับใช้ โดยเฉพาะการบังคับตามคาสั่งทางปกครองท่ีกาหนดให้ชาระเงิน ซึ่งกฎหมายว่าด้วยวิธี
ปฏิบัติราชการทางปกครองกาหนดให้นาวิธีการยึด การอายัด และการขายทอดตลาดทรัพย์สินตาม
ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาใช้บังคับโดยอนุโลม จึงไม่มีรายละเอียดวิธีปฏิบัติและ
ระยะเวลาในการบังคับทางปกครองที่ชัดเจน ซ่ึงก่อให้เกิดความไม่เป็นธรรมแก่ผู้อยู่ในบังคับของ
มาตรการบังคับทางปกครอง ประกอบกับเจ้าหน้าท่ีของหน่วยงานของรัฐส่วนใหญ่ไม่มีความเช่ียวชาญ
ในการยึด การอายัด และการขายทอดตลาดทรัพย์สิน อีกทั้งไมม่ บี ทบัญญตั ิที่ใหอ้ านาจแกเ่ จ้าหนา้ ที่
ในการสืบทรัพย์สินและมอบหมายให้หน่วยงานอ่ืนหรือเอกชนดาเนินการแทนได้ ส่งผลให้ไม่สามารถ
บังคับตามคาส่ังทางปกครองที่กาหนดให้ชาระเงินได้อย่างมีประสิทธิภาพและรัฐต้องสูญเสียรายได้
ในท่ีสุด ดังน้ัน สมควรปรับปรุงหลักเกณฑ์ในการบังคับทางปกครองเพ่ือให้ชัดเจน มีประสิทธิภาพ
และเป็นธรรมยิ่งขึน้ จึงจาเป็นตอ้ งตราพระราชบัญญัติน้ี

526 512

ระเบียบคณะกรรมการบริหารศาลยตุ ธิ รรม
วา ดว ยเงินคาตอบแทนพิเศษของขาราชการศาลยตุ ิธรรม

พ.ศ. 2554

โดยทีศ่ าลยุติธรรมเปนผใู ชอํานาจตุลาการในพระปรมาภิไธยพระมหากษตั ริย ซึ่งมอี ิสระ
ในการพิจารณาพิพากษาอรรถคดีใหเปนไปโดยถูกตอง รวดเร็ว และเปนธรรมตามรัฐธรรมนูญและ
กฎหมาย สํานักงานศาลยุติธรรมเปนหนวยงานธุรการของศาลยุติธรรมที่เปนอิสระในการบริหารงาน
บุคคล การงบประมาณ และการดําเนินการอื่น โดยมีอํานาจหนาที่เกี่ยวกบั งานธุรการของศาลยุติธรรม
งานสงเสรมิ งานตุลาการ และงานวิชาการ ทัง้ นี้ เพ่อื สนับสนนุ และอํานวยความสะดวกใหแกศาลยุติธรรม
รวมทั้งเสริมสรางใหการพิจารณาพิพากษาคดีเปนไปโดยสะดวก รวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ ดังน้ัน
เพ่ือเปนการสงเสริมและสนบั สนนุ ใหข าราชการศาลยุติธรรมสามารถปฏิบตั ิหนาท่ีไดอยา งมปี ระสทิ ธิภาพ
ปราศจากอคติหรือส่ิงจูงใจจากปจจัยภายนอก รวมทั้งรักษาความลับของทางราชการ และสํานวนคดี
โดยอาศัยความซ่ือสัตย สุจริต และยุติธรรมเชนเดียวกับผูพิพากษา จึงเห็นสมควรกําหนดใหมีเงิน
คาตอบแทนพเิ ศษใหแกข า ราชการศาลยุติธรรมเพ่อื ใหเหมาะสมกับภารกิจขององคก ร

อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 17 (1) (3) และ (4) แหงพระราชบัญญัติระเบียบ
บริหารราชการศาลยุติธรรม พ.ศ. 2543 คณะกรรมการบริหารศาลยุติธรรม (ก.บ.ศ.) ออกระเบียบไว
ดังตอไปนี้

ขอ 1 ระเบียบน้ีเรียกวา “ระเบียบคณะกรรมการบริหารศาลยุติธรรม วาดวย
เงนิ คา ตอบแทนพิเศษของขาราชการศาลยตุ ิธรรม พ.ศ. 2554”

ขอ 2 ระเบยี บนใ้ี หใ ชบังคบั ตั้งแตว ันประกาศเปนตน ไป
ขอ 3 บรรดาระเบยี บ ขอบังคับ ประกาศคาํ ส่ัง มตคิ ณะรัฐมนตรี หรือมติคณะกรรมการ
บรหิ ารศาลยตุ ิธรรม ซง่ึ ขดั หรอื แยงกับระเบียบน้ี ใหใชร ะเบยี บนแ้ี ทน
ขอ 4 ใหขาราชการศาลยุติธรรมไดรับเงินคาตอบแทนพิเศษเปนรายเดือนจาก
เงินงบประมาณรายจายของสํานกั งานศาลยุติธรรมตามหลักเกณฑและวธิ กี ารที่กําหนดในระเบียบนี้
ขอ 5 อัตราเงนิ คาตอบแทนพิเศษของขาราชการศาลยุติธรรมประเภทและระดับตาง ๆ
ใหเปนไปตามบญั ชีแนบทา ยระเบยี บน้ี
ขอ 6 ขาราชการศาลยุติธรรมที่จะไดรับเงินคาตอบแทนพิเศษกรณีบรรจุใหม ใหไดรับ
เงินคาตอบแทนพิเศษตง้ั แตวันท่ีพนทดลองปฏิบัติหนาท่ีราชการ สําหรบั กรณีขอกลบั เขารับราชการใหม
ใหไ ดร ับเงนิ คาตอบแทนพิเศษต้งั แตว ันที่เริ่มเขาปฏิบัติหนาท่ีราชการ

527 513 การ ำด�เ ินนกาแรละทกาางรวิ ่สันกงยเลุสมกริ่ทีามร๕จุอ ิรทยธธรรณ์รมการ ้รอง ุทกข์
ขอ 7 ขาราชการศาลยุติธรรมท่ีจะไดรับเงินคาตอบแทนพิเศษจะตองผานการพัฒนา
ศักยภาพบุคคลในการปฏิบัติงานหรือผานการทดสอบในการปฏิบัติงาน และผานการประเมินผล
การปฏบิ ัติงานจากผบู ังคับบญั ชาตามหลักเกณฑที่สํานกั งานศาลยตุ ธิ รรมกําหนด
ขาราชการศาลยุติธรรมท่ีไดรับเงินคาตอบแทนพิเศษจะตองไดรับการประเมินผล
การปฏิบัติงานทุกปตามวรรคหนึ่ง ผูใดไมผานการประเมินผลการปฏิบัติงานดังกลาว ใหงดเบิกจายเงิน
คาตอบแทนพเิ ศษจนกวาขาราชการศาลยุตธิ รรมผนู น้ั จะผานการประเมินผลการปฏบิ ัตงิ าน
ขาราชการศาลยุติธรรมผูใดไมไดรับการเลื่อนเงินเดือนกรณีหน่ึง หรือไมไดรับ
คาตอบแทนพิเศษกรณีไดรับเงินเดือนถึงขั้นสูงของระดับตําแหนงอีกกรณีหน่ึง ใหงดการจายเงิน
คาตอบแทนพิเศษในรอบการประเมินถัดไป เวนแตกรณีบรรจุเขารับราชการใหมหรือกลับเขารับราชการใหม
และกรณีไดรับอนญุ าตใหไปศึกษา ฝกอบรม ดูงาน หรือปฏบิ ตั ิการวิจัยในประเทศหรือตา งประเทศ ท้ังน้ี
ตามกฎหมาย กฎ ระเบียบ และหลกั เกณฑว า ดวยการน้ัน1
ขอ 8 ในกรณีที่กําหนดใหตําแหนงระดับใดไดรับคาตอบแทนพิเศษหลายอัตรา
ในระดับเดียวกัน เม่ือผูดํารงตําแหนงนั้นดํารงตําแหนงโดยมีระยะเวลาครบถวนตามบัญชีแนบทาย
ระเบียบน้ี และผานการประเมินผลการปฏิบัติงานจากผูบังคับบัญชาแลว ใหมีสิทธิไดรับคาตอบแทน
พิเศษในอัตราทสี่ ูงขน้ึ นับแตว ันท่ีดํารงตําแหนงโดยมีระยะเวลาครบถวน
ขอ 9 ขาราชการศาลยุติธรรมท่ีดํารงตําแหนงประเภทท่ัวไปท่ีไดรับแตงต้ังใหดํารง
ตาํ แหนง ประเภทวชิ าการ ใหไดร บั คา ตอบแทนพิเศษตามหลักเกณฑดงั น้ี
กรณีขาราชการศาลยุติธรรมที่ดํารงตําแหนงประเภททั่วไป ระดับปฏิบัติงาน ท่ีไดรับ
แตงต้ังใหดํารงตําแหนงประเภทวิชาการ ระดับปฏิบัตกิ าร ใหไดรับเงนิ คาตอบแทนพิเศษในอัตราที่ไดรับ
อยูเดมิ ขณะที่ดาํ รงตาํ แหนงประเภททว่ั ไป
กรณีขาราชการศาลยุติธรรมท่ีดํารงตําแหนงประเภททั่วไป ระดับชํานาญงาน ท่ีไดรับ
แตงต้ังใหดํารงตําแหนงประเภทวิชาการ ระดับปฏิบัตกิ าร ใหไดรับเงนิ คาตอบแทนพิเศษในอัตราที่ไดรับ
อยูเดิมขณะดํารงตําแหนงประเภทท่ัวไป และไมเกินอัตราสูงสุดของตําแหนงประเภทวิชาการ
ระดบั ปฏิบัติการ
ขอ 10 ขาราชการศาลยุติธรรมผูใดมีระยะเวลาปฏิบัติหนาที่ราชการไมถึงสองในสาม
ของจาํ นวนวันทําการในเดอื นใด ไมม ีสทิ ธิไดรบั เงินคาตอบแทนพิเศษสาํ หรบั เดอื นน้ัน
ขา ราชการศาลยุตธิ รรมผใู ดขาดราชการโดยไมมีเหตผุ ลอันควร หรือละทิ้งหนาที่ราชการ
ในเดือนใด หา มมิใหจ า ยเงินคาตอบแทนพิเศษสําหรับวนั ทข่ี าดราชการหรือละทิ้งหนาทีร่ าชการดังกลาว
กรณีมีภารกิจท่ีตองอยูปฏิบัติหนาท่ีราชการเรงดวน ขาราชการศาลยุติธรรมผูใด
ไมอยูปฏิบัติหนาท่ีตามคําสั่งของผูบังคับบัญชา โดยไมมีเหตุผลอันสมควร หามมิใหจายเงินคาตอบแทน
พเิ ศษสําหรับวันทีไ่ มอ ยูปฏิบตั ิหนา ทีร่ าชการดังกลาว

1 ขอ 7 วรรคสาม แกไขเพ่ิมเติมโดยระเบียบคณะกรรมการบริหารศาลยุติธรรมวาดวยเงินคาตอบแทน
พิเศษของขา ราชการศาลยุติธรรม (ฉบบั ท่ี 2)พ.ศ.2561 ลงวันท่ี 21 กุมภาพันธ 2561


Click to View FlipBook Version