330 321
(1) เปนขาราชการศาลยุติธรรมตําแหนงเจาพนักงานศาลยุติธรรม (วุฒิทางกฎหมาย)
ซึ่งผูบังคับบัญชารับรองวาไดปฏิบัติงานดานกฎหมายอยางแทจริงในหนาท่ีดังกลาวตามมาตรฐาน
ในสายงานนติ กิ ารที่ ก.ศ. กาํ หนด
(2) เปนขาราชการตําแหนงเจาหนาที่สืบสวนสอบสวน (วุฒิทางกฎหมาย) สํานักงาน
คณะกรรมการคมุ ครองผูบรโิ ภค ซ่งึ ผบู งั คับบญั ชารับรองวาไดปฏบิ ตั ิงานดานกฎหมายอยางแทจรงิ
(3) เปนอาจารยประจําคณะนิติศาสตร หรือภาควิชานิติศาสตร หรือสาขาวิชา
นิติศาสตรในมหาวิทยาลัยของรัฐ หรือสถาบันอุดมศึกษาเอกชนท่ีกระทรวงศึกษาธิการใหการรับรอง
มาตรฐานการศึกษาของหลักสูตรนิติศาสตร ซึ่งคณบดีหรือตําแหนงท่ีเทียบเทารับรองวาไดสอน
วชิ ากฎหมายตามหลักสูตรในคณะนิติศาสตร หรือภาควิชานติ ศิ าสตร หรือสาขาวชิ านิติศาสตร
(4) เปนพนักงานฝายปกครองหรือตํารวจ ซึ่งทําหนาที่พนักงานสอบสวนและ
ผบู ังคบั บญั ชารบั รองวาไดปฏิบัตงิ านในหนาทีพ่ นักงานสอบสวน
(5) เปนนายทหารซ่ึงทําหนาที่นายทหารสืบสวนสอบสวน หรือนายทหารสารวัตร
สืบสวนสอบสวน กระทรวงกลาโหม ซึ่งผูบังคับบัญชารับรองวาไดปฏิบัติงานสอบสวนคดีอาญาซึ่ง
อยใู นอํานาจของศาลทหาร
(6) เปนขาราชการตําแหนงเจาหนาที่สืบสวนสอบสวน สํานักงานคณะกรรมการ
ปองกนั และปราบปรามยาเสพติด ซงึ่ ผบู ังคับบญั ชารบั รองวา ไดปฏิบตั ิงานสอบสวนคดียาเสพติด
(7) เปนขาราชการตําแหนงเจาพนักงานปองกันและปราบปรามการทุจริตแหงชาติ
สํานักงานคณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตแหงชาติ ซึ่งผูบังคับบัญชารับรองวา
ไดปฏิบตั ิงานดา นกฎหมายอยา งแทจ ริง
(8) เปนขาราชการตําแหนงนักวิชาการตรวจเงินแผนดิน (วุฒิทางกฎหมาย) สํานักงาน
การตรวจเงินแผนดิน หรือนักวิชาการท่ีดิน (วุฒิทางกฎหมาย) กรมที่ดิน ซึ่งผูบังคับบัญชารับรองวา
ไดปฏบิ ัตงิ านดา นกฎหมายอยางแทจรงิ ในหนา ทด่ี ังกลาว ตามมาตรฐานในสายงานนติ ิการที่ ก.พ. กาํ หนด
(9) เปนเจาพนักงานการเลือกต้ัง (งานนิติการ) สํานักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ง
ซึ่งผูบังคับบัญชารับรองวาไดปฏิบัติงานดานกฎหมายอยางแทจริงในหนาที่ดังกลาวตามมาตรฐาน
ในสายงานนิตกิ ารท่ี ก.พ. กําหนด หรือเจาพนักงานการเลือกต้ัง (งานวินิจฉัยหรืองานสืบสวนสอบสวน)
หรือพนักงานสืบสวนสอบสวน สํานักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ง ซ่ึงผูบังคับบัญชารับรองวา
ไดปฏบิ ัตงิ านพิจารณาวินจิ ฉยั หรอื สอบสวน
(10) เปนขาราชการหรือลูกจางในกระทรวงยุติธรรม ทําหนาท่ีพนักงานคุมประพฤติ
ซึ่งผูบังคับบัญชารับรองวาไดปฏิบัติงานในหนาท่ีดังกลาวตามมาตรฐานในสายงานคุมประพฤติที่ ก.พ.
กาํ หนด
(11) เปนเจาหนาท่ีของรัฐ หรือลูกจางในหนวยงานของรัฐ ซ่ึงผูบังคับบัญชารับรองวา
ไดปฏิบัติงานในหนาท่ีนิติกรตามมาตรฐานในสายงานนิติการท่ี ก.พ. หรือองคกรกลางบริหารงาน
บุคคลอ่ืนกําหนด แลวแตกรณี
(12) เปนพนักงานของสถาบันการเงินท่ี ก.ศ. รับรอง ซึ่งผูบังคับบัญชารับรองวา
ไดปฏบิ ัตงิ านในหนาทนี่ ิตกิ ร
331 322 เ ิงนเ ่ิพมแลกะ คลุามตท่ีอบ๔แทน ิพเศษ
(13) เปนเจาหนาท่ีศาลรัฐธรรมนูญ (วุฒิทางกฎหมาย) สํานักงานศาลรัฐธรรมนูญ
ซ่ึงผูบังคับบัญชารับรองวาไดปฏิบัติงานดานกฎหมายอยางแทจริงในหนาท่ีดังกลาวตามมาตรฐาน
ทีส่ ํานกั งานศาลรฐั ธรรมนญู กาํ หนด
(14) เปนนักวิจัยหรือผูชวยนักวิจัย (วุฒิทางกฎหมาย) ซึ่งผูบังคับบัญชารับรองวา
ไดป ฏิบัตงิ านดานกฎหมายอยางแทจ ริง
(15) เปนตาํ รวจซ่ึงทาํ หนา ท่นี ิติกร สาํ นกั งานตาํ รวจแหงชาติ ซง่ึ ผูบ ังคบั บัญชารับรองวา
ไดปฏิบัติงานในหนาทีน่ ติ ิกรตามมาตรฐานในสายงานนิตกิ ารทส่ี ํานักงานตาํ รวจแหง ชาตกิ ําหนด
(16) เปนพนักงานคดีปกครอง (วุฒิทางก ฎหมาย) สํานักงานศาลปกครอง
ซ่ึงผูบังคับบัญชารับรองวาไดปฏิบัติงานดานกฎหมายอยางแทจริงในหนาท่ีดังกลาวตามมาตรฐาน
ทส่ี ํานักงานศาลปกครองกําหนด
(17) เปนพนักงานสอบสวนคดีพิเศษหรือเจาหนาท่ีคดีพิเศษ (วุฒิทางกฎหมาย)
กรมสอบสวนคดีพเิ ศษ ซง่ึ ผูบงั คบั บญั ชารบั รองวา ไดปฏิบัติงานดานกฎหมายอยางแทจริงในหนาทด่ี งั กลา ว
ตามมาตรฐานที่กรมสอบสวนคดพี ิเศษกําหนด
(18) เปนเจาหนาท่ีสืบสวนสอบสวน (วุฒิทางก ฎหมาย) สํานักงานปองกันและ
ปราบปรามการฟอกเงิน ซึ่งผูบังคับบัญชารับรองวาไดปฏิบัติงานสอบสวนคดีเก่ียวกับการปองกันและ
ปราบปรามการฟอกเงนิ
(19) เปน ผูป ระกอบวชิ าชีพอยางอ่นื ที่เก่ียวเน่ืองกับกฎหมายท่ีไดปฏิบัติงานดานกฎหมาย
ในลักษณะทาํ นองเดียวกันหรอื เทยี บไดก บั วิชาชพี ตาม (1) - (18) ซึง่ ก.ศ. รับรองเปน รายกรณี
ขอ 5 ปริญญาในสาขาวิชาอื่นตามขอ 3 (3) ไดแก ปริญญาในสาขาวิชาแพทยศาสตร
ทนั ตแพทยศาสตร เภสชั ศาสตร สัตวแพทยศาสตร พยาบาลศาสตร วศิ วกรรมศาสตร สถาปตยกรรมศาสตร
หรอื การบัญชี
ขอ 6 การประกอบวิชาชีพตามขอ 3 (3) ไดแก วิชาชีพเวชก รรม ทันตก รรม
เภสัชกรรม ผูประกอบการบําบัดโรคสัตว การพยาบาล วิศวกรรม สถาปตยกรรม หรือเปนผูสอบบัญชี
รับอนุญาต แลวแตกรณี ในหนวยงานของรัฐหรือเอกชน โดยจะตองมีหนังสือรับรองของผูบังคับบัญชา
มาแสดงวาไดประกอบวิชาชีพดังกลาวอยางแทจริง ในกรณีท่ีมิไดประกอบวิชาชีพดังกลาวในหนวยงาน
ของรัฐหรือเอกชน จะตองมีหนังสือรับรองตนเองมาแสดงวาไดประกอบวิชาชีพดังกลาวอยางแทจริง
และมีหลักฐานแสดงผลงานในการทาํ งาน
ขอ 7 ให ก.ศ. มีอํานาจประกาศกําหนดปริญญาและการประกอบวิชาชีพอื่น ๆ
เพม่ิ เตมิ ตามท่ีเหน็ สมควร
ขอ 8 หนงั สือรบั รองตามขอ 4 และขอ 6 ใหเ ปนไปตามที่สาํ นักงานศาลยตุ ิธรรมกาํ หนด
ขอ 9 ใหเ จาพนักงานคดมี ีสทิ ธไิ ดรบั เงนิ คาตอบแทนพเิ ศษตามหลกั เกณฑท่ี ก.ศ. กําหนด
332
332 323
ข้อ 10 ให้เลขาธกิ ารสานักงานศาลยุติธรรมรักษาการตามระเบียบนี้
ข้อ 11 ให้ ก.ศ. มีอานาจตีความและวินจิ ฉยั ปญั หาเก่ยี วกับการปฏบิ ัติตามระเบยี บน้ี
ประกาศ ณ วนั ที่ 8 พฤษภาคม พ.ศ. 2551
(ลงช่อื ) พชิ ติ คาแฝง
(นายพชิ ติ คาแฝง)
รองประธานศาลฎีกา
ประธานกรรมการข้าราชการศาลยตุ ธิ รรม
333 324
หลักเกณฑค ณะกรรมการขา ราชการศาลยตุ ธิ รรม
เรอ่ื ง เงนิ คา ตอบแทนพิเศษสาํ หรบั ตําแหนงเจา พนกั งานคดี พ.ศ. 2551
โดยท่ีเห็นสมควรกําหนดใหมีเงินคาตอบแทนพิเศษสําหรับขาราชการศาลยุติธรรม เ ิงนเ ่ิพมแลกะ คลุามตท่ีอบ๔แทน ิพเศษ
ตําแหนงเจาพนักงานคดี เนื่องจากภารกิจและหนาท่ีความรับผิดชอบตองปฏิบัติตามภารกิจ
ของศาลยตุ ธิ รรมและการปฏิบตั ิงานตองอาศัยความรคู วามเช่ยี วชาญดา นกฎหมายเฉพาะ
อาศัยอํานาจตามความในขอ 9 แหงระเบียบคณะกรรมการขาราชการศาลยุติธรรม
วาดวยการแตงต้งั เจาพนกั งานคดี พ.ศ. 2551 คณะกรรมการขาราชการศาลยุติธรรม (ก.ศ.) ออกหลักเกณฑ
ไวดงั ตอไปน้ี
ขอ 1 หลักเกณฑนี้เรียกวา “หลักเกณฑคณะกรรมการขาราชการศาลยุติธรรม
เรือ่ ง เงนิ คา ตอบแทนพิเศษสําหรับตาํ แหนง เจา พนักงานคดี พ.ศ. 2551”
ขอ 2 เจาพนักงานคดีท่ีจะมีสิทธิไดรับเงินคาตอบแทนพิเศษจะตองผานการอบรม
ตามหลักเกณฑและวิธีการที่สํานักงานศาลยุติธรรมกําหนด และจะตองปฏิบัติหนาท่ีหลักของตําแหนง
ท่ีไดรับแตง ต้ังตามทกี่ ําหนดไวใ นมาตรฐานกาํ หนดตําแหนง
ขอ 3 เจาพนักงานคดีซึ่งจะไดรับเงินคาตอบแทนพิเศษตามหลักเกณฑนี้ ตองเปน
ผูมีคุณสมบัติตรงตามคุณสมบัติเฉพาะสําหรับตําแหนงเจาพนักงานคดีระดับ 3 ถึงระดับ 8 ตามที่ ก.ศ.
กําหนดไวใ นมาตรฐานกําหนดตําแหนง โดยใหไดรับเงินคาตอบแทนพเิ ศษ ดงั นี้
(๑) เจา พนักงานคดรี ะดับ 3 จนถึง ระดบั 5 ใหไดร ับในอัตราเดอื นละ 5,000 บาท
(๒) เจา พนกั งานคดรี ะดบั 6 จนถงึ ระดับ 7 ใหไ ดรบั ในอตั ราเดอื นละ 7,000 บาท
(๓) เจา พนกั งานคดรี ะดับ 8 ใหไดร บั ในอตั ราเดอื นละ 9,000 บาท
ขอ 4 เจาพนักงานคดีผูใดปฏิบัติหนาท่ีหลักของตําแหนงท่ีไดรับแตงต้ังไมเต็มเดือน
ในเดือนใด ใหไดรับเงินคาตอบแทนพิเศษสําหรับเดือนนั้นตามสวนจํานวนวันท่ีไดดํารงตําแหนงและ
ปฏิบัติหนาท่ีหลักของตําแหนงดังกลาว ถาในเดือนใดไมไดปฏิบัติหนาท่ีหลักของตําแหนงท่ีไดรับแตงตั้ง
ไมม สี ทิ ธิไดร ับเงินคา ตอบแทนพเิ ศษสําหรับเดือนน้นั ทั้งน้ี เวนแตเปนผูไดร บั อนุญาตใหลา ดงั น้ี
(๑) ผูไดรับอนุญาตใหลาปวย ใหไดรับเงินคาตอบแทนพิเศษระหวางลาได
ในปง บประมาณหนึ่งไมเ กินหกสิบวันทาํ การ
(๒) ผูไดรับอนุญาตใหลาคลอดบุตร ใหไดรับเงินคาตอบแทนพิเศษระหวางลาได
ไมเ กินเกาสบิ วนั
(๓) ผูไดรับอนุญาตใหลากิจสวนตัว ใหไดรับเงินคาตอบแทนพิเศษระหวางลาได
ในปง บประมาณหนึ่งไมเ กนิ สีส่ ิบหาวนั ทําการ
334 325
(๔) ผูไดรับอนุญาตใหลาพักผอนประจําป ใหไดรับเงินคาตอบแทนพิเศษระหวางลา
ไดไมเกินระยะเวลาท่ีผูนั้นมีสิทธิลาผักผอนประจําป ตามท่ีกําหนดไวในระเบียบวาดวยการลาของ
ขาราชการศาลยุตธิ รรม
(๕) ผูไดรับอนุญาตใหลาอุปสมบทในพระพุทธศาสนาหรือลาไปประกอบพิธีฮัจญ
ณ เมืองเมกกะ ประเทศซาอุดิอาระเบีย และตั้งแตเริ่มรับราชการยังไมเคยอุปสมบทในพระพุทธศาสนา
หรือยังไมเคยประกอบพิธีฮัจญ ณ เมืองเมกกะ ประเทศซาอุดิอาระเบีย ใหไดรับเงินคาตอบแทนพิเศษ
ระหวางลาไดไ มเกนิ หกสบิ วนั
(๖) ผูลาไปเขารับราชการตรวจเลือกหรือเขารับการเตรียมพล ใหไดรับเงิน
คาตอบแทนพิเศษระหวางลาไดไมเกินหกสิบวัน แตถาพนระยะเวลาดังกลาวแลวผูนั้นไปรายงานตัว
เพ่ือเขาปฏิบัติหนาที่หลักของตําแหนงท่ีไดรับแตงต้ังภายในเจ็ดวัน ใหไดรับเงินคาตอบแทนพิเศษ
ในชวงระยะเวลาดงั กลา วดวย
(๗) ผไู ดร ับอนญุ าตใหล าไปศึกษา ฝก อบรม ดงู าน หรอื ปฏิบตั ิการวจิ ยั ใหไดรับเงิน
คา ตอบแทนพเิ ศษระหวา งลาไดไ มเกินหกสบิ วัน
ขอ 51 (ยกเลิก)
ขอ 6 เจาพนักงานคดีผูใดกระทําผิดวินัยอันเน่ืองมาจากการละท้ิงหนาท่ีราชการโดย
ไมม ีเหตุอนั สมควร ไมม สี ทิ ธิไดรับเงนิ คา ตอบแทนพเิ ศษสําหรบั วนั ทลี่ ะทง้ิ หนา ทีร่ าชการดังกลาว
ขอ 7 เลขาธิการสํานักงานศาลยุติธรรมอาจกําหนดรายละเอียดเพ่ิมเติมไดเทาที่ไมขัด
หรือแยง กบั หลักเกณฑน ี้
ขอ 8 ให ก.ศ. มีอาํ นาจตีความและวินจิ ฉัยปญ หาเกีย่ วกบั การปฏบิ ตั ติ ามหลกั เกณฑน ้ี
ประกาศ ณ วนั ท่ี 8 พฤษภาคม พ.ศ. 2551
(ลงชอ่ื ) พิชติ คาํ แฝง
(นายพชิ ิต คําแฝง)
รองประธานศาลฎีกา
ประธานกรรมการขาราชการศาลยุตธิ รรม
1 ขอ 5 ยกเลิกโดยหลักเกณฑคณะกรรมการขาราชการศาลยุติธรรม เร่ืองเงินคาตอบแทนพิเศษสําหรับ
ตําแหนง เจา พนักงานคดี (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2554
335
335 326
10
กำรแต่งต้ังเจำ้ พนักงำนตำรวจศำล
และค่ำตอบแทนพเิ ศษ
เ ิงนเ ่ิพมแลกะ คลุามตท่ีอบ๔แทน ิพเศษ
336
337 327
ที่ ศย 004/ว599 สํานกั งานศาลยุตธิ รรม
ถนนรัชดาภิเษก เขตจตุจกั ร
กทม. 10900
18 มิถุนายน 2562
เรื่อง หลกั เกณฑค ณะกรรมการขา ราชการศาลยตุ ธิ รรม เร่อื ง เงนิ คา ตอบแทนพิเศษสาํ หรบั ตาํ แหนง
เจา พนักงานตาํ รวจศาล พ.ศ.2562
เรยี น หวั หนา หนวยงานในสังกดั สาํ นักงานศาลยตุ ธิ รรม
สิ่งทีส่ ง มาดว ย หลักเกณฑคณะกรรมการขาราชการศาลยุติธรรม เรื่อง เงินคาตอบแทนพิเศษ
สําหรับตาํ แหนง เจาพนกั งานตาํ รวจศาล พ.ศ. 2562
(สามารถดาวนโหลดเอกสารไดท ี่ https://ojoc.coj.go.th)
ดวยคณะกรรมการขาราชการศาลยุติธรรมในการประชุมคร้ังท่ี 5/2562 เมื่อวันที่
16 พฤษภาคม 2562 ไดมีมติเห็นชอบหลักเกณฑคณะกรรมการขาราชการศาลยุติธรรม เรื่อง
เงินคาตอบแทนพิเศษสําหรับตําแหนงเจาพนักงานตํารวจศาล พ.ศ. 2562 โด ยกําหนด ใหมี
เงนิ คาตอบแทนพเิ ศษสาํ หรบั ขาราชการศาลยตุ ิธรรม ตําแหนง เจา พนักงานตาํ รวจศาล
บัดน้ี ประธานกรรมการขาราชการศาลยุติธรรมไดลงนามในหลักเกณฑดังกลาว
เรยี บรอยแลว รายละเอียดปรากฏตามส่งิ ทีส่ ง มาดว ย
จึงเรียนมาเพ่ือโปรดทราบ และขอไดโปรดแจงใหขาราชการศาลยุติธรรม ลูกจางและ
พนักงานราชการศาลยุตธิ รรม ในหนว ยงานของทานทราบ ตอไป
ขอแสดงความนับถือ เ ิงนเ ่ิพมแลกะ คลุามตท่ีอบ๔แทน ิพเศษ
(ลงชอ่ื ) สราวธุ เบญจกลุ
(นายสราวุธ เบญจกลุ )
เลขาธกิ ารสํานักงานศาลยตุ ธิ รรม
338 328
หลกั เกณฑค ณะกรรมการขา ราชการศาลยตุ ธิ รรม
เร่อื ง เงนิ คาตอบแทนพเิ ศษสําหรบั ตาํ แหนง เจาพนกั งานตํารวจศาล
พ.ศ. 2562
โดยที่เห็นสมควรกําหนดใหมีเงินคาตอบแทนพิเศษสําหรับขาราชการศาลยุติธรรม
ตําแหนงเจาพนักงานตํารวจศาล เน่ืองจากภารกิจและหนาที่ความรับผิดชอบตองปฏิบัติตามกฎหมาย
วา ดว ยเจาพนกั งานตํารวจศาล
อาศัยอํานาจตามความในขอ 9 แหงระเบียบคณะกรรมการขาราชการศาลยุติธรรม
วาดวยการแตงตั้งเจาพนักงานตํารวจศาล พ.ศ. 2562 คณะกรรมการขาราชการศาลยุติธรรม (ก.ศ.)
จึงออกหลกั เกณฑไ วด งั ตอ ไปนี้
ขอ 1 หลักเกณฑน้ีเรียกวา “หลักเกณฑคณะกรรมการขาราชการศาลยุติธรรม
เรอ่ื ง เงนิ คา ตอบแทนพเิ ศษสําหรบั ตําแหนงเจาพนกั งานตาํ รวจศาล พ.ศ. 2562”
ขอ 2 เจาพนักงานตํารวจศาลท่ีจะมีสิทธิไดรับเงินคาตอบแทนพิเศษจะตอง
ผา นการอบรมตามหลักเกณฑและวธิ ีการท่ีสํานกั งานศาลยุตธิ รรมกําหนด และจะตอ งปฏบิ ัติหนาท่หี ลัก
ของตําแหนงท่ไี ดรับแตง ตัง้ ตามท่ีกาํ หนดไวในมาตรฐานกําหนดตําแหนง
ขอ 3 เจาพนักงานตํารวจศาลซ่ึงจะไดรับเงินคาตอบแทนพิเศษตามหลักเกณฑน้ี
ตองเปนผูมีคุณสมบัติตรงตามคุณสมบัติเฉพาะสําหรับตําแหนงเจาพนักงานตํารวจศาลตามที่ ก.ศ.
กําหนดไวในมาตรฐานกาํ หนดตําแหนง โดยใหไดร ับเงินคาตอบแทนพเิ ศษ ดังน้ี
(1) เจาพนักงานตํารวจศาลประเภททั่วไป ระดับปฏิบัติงาน ใหไดรับในอัตราเดือนละ
3,000 บาท
(2) เจาพนักงานตํารวจศาลประเภทวิชาการ ระดับปฏิบัติการ และประเภททั่วไป
ระดับชํานาญงาน ใหไดรับในอัตราเดือนละ 5,000 บาท
(3) เจาพนักงานตํารวจศาลประเภทวิชาการ ระดับชํานาญการ ใหไดรับในอัตรา
เดือนละ 7,000 บาท
(4) เจาพนักงานตํารวจศาลประเภทวิชาการ ตั้งแตระดับชํานาญการพิเศษข้ึนไป
และประเภทท่ัวไป ตัง้ แตร ะดบั อาวโุ สข้ึนไปหรอื เทียบเทา ใหไ ดร ับในอัตราเดอื นละ 9,000 บาท
(5) เจาพนักงานตํารวจศาลประเภทอํานวยการ ระดับตน ใหไดรับในอัตราเดือนละ
10,000 บาท และประเภทอํานวยการ ระดับสูง ใหไ ดร ับในอัตราเดือนละ 11,000 บาท
339 เ ิงนเ ่ิพมแลกะ คลุามตท่ีอบ๔แทน ิพเศษ
339 329
ข้อ 4 เจ้าพนักงานตารวจศาลผู้ใดปฏิบัติหน้าที่หลักของตาแหน่งท่ีได้รับแต่งต้ัง
ไม่เต็มเดือนในเดือนใด ให้ได้รับเงินค่าตอบแทนพิเศษสาหรับเดือนน้ัน ตามส่วนจานวนวัน
ที่ได้ดารงตาแหน่งและปฏิบัติหน้าท่ีหลักของตาแหน่งดังกล่าว ถ้าในเดือนใดไม่ได้ปฏิบัติหน้าท่ีหลัก
ของตาแหน่งท่ีไดร้ ับแตง่ ตัง้ ไม่มสี ทิ ธไิ ด้รบั เงนิ ค่าตอบแทนพิเศษสาหรับเดอื นน้นั ท้ังนี้ เวน้ แต่เป็นผูไ้ ด้รับ
อนุญาตใหล้ าดงั น้ี
(1) ผู้ได้รับอนุญ าตให้ลาป่วย ให้ได้รับเงินค่าตอบแทนพิเศษระหว่างลาได้
ในปีงบประมาณหน่งึ ไมเ่ กนิ หกสบิ วันทาการ
(2) ผู้ได้รับอนุญาตให้ลาคลอดบุตร ให้ได้รับเงินค่าตอบแทนพิเศษระหว่างลาได้
ไมเ่ กนิ เก้าสิบวัน
(3) ผู้ได้รับอนุญาตให้ลากิจส่วนตัว ให้ได้รับเงินค่าตอบแทนพิเศษระหว่างลาได้
ในปงี บประมาณหน่งึ ไมเ่ กินสส่ี บิ หา้ วนั ทาการ
(4) ผู้ได้รับอนุญาตให้ลาพักผ่อนประจาปี ให้ได้รับเงินค่าตอบแทนพิเศษระหว่างลาได้
ไม่เกินระยะเวลาท่ีผู้นั้นมีสิทธิลาพักผ่อนประจาปี ตามท่ีกาหนดไว้ในระเบียบว่าด้วยการลา
ของข้าราชการศาลยุติธรรม
(5) ผู้ได้รับอนุญาตให้ลาอุปสมบทในพระพุทธศาสนาหรือลาไปประกอบพิธีฮัจญ์
ณ เมืองเมกกะ ประเทศซาอุดิอาระเบีย และต้ังแต่เร่ิมรับราชการยังไม่เคยอุปสมบทในพระพุทธศาสนา
หรือยังไม่เคยประกอบพิธีฮัจญ์ ณ เมืองเมกกะ ประเทศซาอุดิอาระเบีย ให้ได้รับเงินค่าตอบแทนพิเศษ
ระหวา่ งลาไดไ้ มเ่ กินหกสบิ วนั
(6) ผู้ลาไปเข้ารับการตรวจเลือกหรือเข้ารับการเตรียมพล ให้ได้รับเงินค่าตอบแทนพิเศษ
ระหว่างลาได้ไม่เกินหกสิบวัน แต่ถ้าพ้นระยะเวลาดังกล่าวแล้ว ผู้นั้นไปรายงานตัวเพ่ือเข้าปฏิบัติหน้าท่ี
หลักของตาแหนง่ ที่ได้รบั การแตง่ ตงั้ ภายในเจด็ วนั ให้ไดร้ บั เงินคา่ ตอบแทนพิเศษในช่วงเวลาดังกล่าวดว้ ย
(7) ผู้ได้รับอนุญาตให้ลาไปศึกษา ฝึกอบรม ดูงาน หรือปฏิบัติการวิจัย ให้ได้รับ
เงินคา่ ตอบแทนพิเศษระหวา่ งลาได้ไมเ่ กินหกสบิ วนั
(8) ผ้ไู ด้รับอนุญาตให้อปุ สมบทในพระพุทธศาสนาทค่ี ณะกรรมการบริหารศาลยุตธิ รรม
มมี ตเิ ปน็ กรณีพเิ ศษ โดยไมใ่ หถ้ ือว่าเปน็ วนั ลาของข้าราชการศาลยตุ ิธรรม ให้ไดร้ ับเงินคา่ ตอบแทนพิเศษ
ระหว่างลาดังกล่าวไดไ้ มเ่ กินหกสิบวนั
(9) ผู้ได้รับอนุญาตให้ลาไปช่วยเหลือภริยาที่คลอดบุตร ให้ได้รับเงินค่าตอบแทนพิเศษ
ระหว่างลาเฉพาะวนั ลาท่มี สี ทิ ธิได้รับเงินเดอื นระหวา่ งลาตามกฎหมาย
(10) ผู้ได้รับอนุญาตให้ลาไปฟ้ืนฟูสมรรถภาพด้านอาชพี ให้ได้รับเงินค่าตอบแทนพิเศษ
ระหว่างลาไดไ้ ม่เกินหกสบิ วัน
ข้อ 5 เจ้าพนักงานตารวจศาลผู้ใดกระทาผิดวินัย อันเนื่องมาจากการละท้ิงหน้าที่
ราชการโดยไม่มีเหตุอันสมควร ไม่มีสิทธิได้รับเงินค่าตอบแทนพิเศษสาหรับวันท่ีละทิ้งหน้าท่ีราชการ
ดังกล่าว
ข้อ 6 เลขาธิการสานักงานศาลยุติธรรมอาจกาหนดรายละเอียดเพ่ิมเติมได้ เท่าท่ีไม่ขัด
หรอื แย้งกับหลกั เกณฑ์นี้
340
340 330
ข้อ 7 ให้ ก.ศ. มีอานาจตคี วามและวินจิ ฉยั ปญั หาเกย่ี วกับการปฏบิ ตั ติ ามหลักเกณฑน์ ้ี
ประกาศ ณ วนั ท่ี 14 มถิ นุ ายน พ.ศ. 2562
(ลงช่อื ) อบุ ลรัตน์ ลุยวิกภัย
(นางอบุ ลรัตน์ ลุยวิกภัย)
ประธานศาลอทุ ธรณ์
ประธานคณะกรรมการขา้ ราชการศาลยตุ ธิ รรม
341 331
ท่ี ศย 004/ว151 (ป) สาํ นักงานศาลยุตธิ รรม
ถนนรชั ดาภเิ ษก เขตจตุจกั ร
กทม. 10900
16 กรกฎาคม 2563
เร่อื ง การกําหนดตัวช้ีวัดผลสัมฤทธิ์การปฏิบัติงานเพ่ือรับเงินคาตอบแทนพิเศษสําหรับตําแหนง
เจาพนักงานตํารวจศาล
เรยี น หัวหนา หนว ยงานในสงั กดั สาํ นกั งานศาลยุติธรรม
อางถงึ หนงั สอื สาํ นักงานศาลยตุ ิธรรม ที่ ศย 004/ว 599 ลงวนั ที่ 18 มถิ ุนายน 2562
ส่งิ ที่สงมาดว ย การกําหนดตัวช้ีวัดผลสัมฤทธ์ิการปฏิบัติงานเพื่อรับเงินคาตอบแทนพิเศษสําหรับ
ตําแหนงเจาพนักงานตํารวจศาล
ตามหนังสอื ทอี่ า งถงึ สํานักงานศาลยุติธรรมไดแจงหลักเกณฑคณะกรรมการขาราชการ
ศาลยุติธรรม เรื่อง เงินคาตอบแทนพิเศษสําหรับตําแหนงเจาพนักงานตํารวจศาล พ.ศ. 2562
โดยกําหนดใหการมีสิทธิไดรับเงินคาตอบแทนพิเศษดังกลาวจะตองผานการอบรมตามหลักเกณฑและ
วิธีการท่ีสํานักงานศาลยุติธรรมกําหนด และตองปฏิบัติหนาที่หลักของตําแหนงเจาพนักงานตํารวจศาล
ท่ีไดรับแตง ตง้ั ตามมาตรฐานกําหนดตําแหนง นน้ั
โดยท่ีหลักเกณฑดังกลาว ขอ 6 กําหนดใหเลขาธิการสํานักงานศาลยุติธรรมสามารถ เ ิงนเ ่ิพมแลกะ คลุามตท่ีอบ๔แทน ิพเศษ
กําหนดรายละเอียดเพ่ิมเติมเก่ียวกับการใหไดรับเงินคาตอบแทนพิเศษสําหรับตําแหนงเจาพนักงาน
ตํารวจศาลได เพ่ือใหการปฏบิ ัติหนาที่ของผูดํารงตําแหนงเจาพนักงานตํารวจศาลตามมาตรฐานกําหนด
ตําแหนงเก่ียวกับงานติดตามจับกุมผูตองหาหรือจําเลยที่หลบหนี งานรักษาความสงบเรียบรอยและ
ความปลอดภัยของบุคคลและทรัพยสินภายในบริเวณศาล และงานอื่นท่ีเกี่ยวของ เปนไปอยาง
มีประสิทธิภาพ เกิดผลสัมฤทธิ์อยางเปนรูปธรรม จึงเห็นควรกําหนดตัวช้ีวัดผลสัมฤทธิ์การปฏิบัติงาน
เพื่อรับเงินคาตอบแทนพิเศษสําหรับตําแหนงเจาพนักงานตํารวจศาลในแตละเดือน โดยใหมีผลตั้งแต
วันที่ 1 ตลุ าคม 2563 เปนตนไป รายละเอยี ดปรากฏตามสง่ิ ทส่ี ง มาดวย
จึงเรียนมาเพ่อื ทราบและถือปฏบิ ตั ติ อไป
ขอแสงความนบั ถือ
(ลงชื่อ) สราวุธ เบญจกลุ
(นายสราวธุ เบญจกุล)
เลขาธกิ ารสาํ นกั งานศาลยตุ ธิ รรม
342 332
การกาํ หนดตัวชีว้ ัดผลสัมฤทธ์ิการปฏิบัตงิ าน
เพื่อรับคา ตอบแทนพิเศษสาํ หรับตาํ แหนงเจาพนกั งานตาํ รวจศาล
(แนบทายหนงั สือสาํ นักงานศาลยุตธิ รรมที่ ศย 004/ว151(ป) ลงวนั ที่ 16 กรกฎาคม 2563)
ดวยหลักเกณฑคณะกรรมการขาราชการศาลยุติธรรม เร่ือง เงินคาตอบแทนพิเศษ
สําหรบั ตาํ แหนงเจา พนกั งานตํารวจศาล พ.ศ.2562 ขอ 2 กาํ หนดใหเจาพนกั งานตํารวจศาลที่จะมีสิทธิ
ไดรับเงินคาตอบแทนพิเศษจะตองผานการอบรมตามหลักเกณฑและวิธีการที่สํานักงานศาลยุติธรรม
กําหนดและจะตองปฏิบัติหนาท่ีหลักของตําแหนงที่ไดรับแตงต้ังตามท่ีกําหนดไวในมาตรฐานกําหนด
ตาํ แหนง ประกอบกับขอ 6 ใหเ ลขาธิการสํานกั งานศาลยุตธิ รรมอาจกําหนดรายละเอียดเพ่ิมเติมเก่ียวกับ
การไดร ับเงนิ คาตอบแทนดงั กลา วได
เพือ่ ใหการปฏิบตั ิหนาที่ของผูด าํ รงตาํ แหนงเจา พนกั งานตาํ รวจศาลตามมาตรฐานกาํ หนด
ตําแหนงเกี่ยวกับงานติดตามจับกุมผูตองหาหรือจําเลยที่หลบหนี งานรักษาความสงบเรียบรอยและ
ความปลอดภัยของบุคคลและทรัพยสินภายในบริเวณศาล และงานอื่นที่เก่ียวของเปนไปอยางมี
ประสิทธภิ าพเกดิ ผลสมั ฤทธ์อิ ยา งเปนรปู ธรรม คณะกรรมการขาราชการศาลยตุ ิธรรม ในการประชุมคร้ังท่ี
7/2563 เมื่อวนั ท่ี 16 กรกฎาคม 2563 จงึ มมี ตริ ับทราบการกําหนดตวั ช้ีวัดผลสัมฤทธิ์การปฏิบัติงาน
เพ่อื รับเงนิ คาตอบแทนพิเศษสาํ หรับตาํ แหนง เจาพนกั งานตาํ รวจศาลในแตล ะเดือน ดงั นี้
1. เจาพนักงานตํารวจศาลท่ีมีสิทธิไดรับเงินคาตอบแทนพิเศษสําหรับตําแหนง
เจาพนักงานตํารวจศาล นอกจากจะตองผานการอบรมตามหลักเกณฑและวิธีการท่ีสํานักงานศาลยุติธรรม
กําหนดแลว จะตองปฏิบัติหนาที่ตามท่ีกําหนดไวในมาตรฐานกําหนดตําแหนง โดยมีผลสัมฤทธิ์ของงาน
ที่ปฏิบตั ิไดในแตละเดือนของงานใดงานหน่ึงหรือหลายประเภทงาน ดังตอ ไปน้ี
1.1 งานติดตามจับกุมผูตองหาหรือจําเลยที่หลบหนีตามหมายจับ สามารถ
ดําเนินการจับกุม หรือแจงใหจับ หรืออายัดตัวผูตองหาหรือจําเลย หรือแจงขอใหเพิกถอนหมายจับ
ตามระดับตําแหนง ทก่ี าํ หนด คือ
(1) ตาํ แหนง ประเภททัว่ ไป ระดบั ปฏบิ ัติงาน จํานวน 2 หมายจับ
(2) ตําแหนงประเภททั่วไป ระดับชํานาญงาน และประเภทวิชาการ
ระดบั ปฏบิ ตั ิการ จํานวน 3 หมายจบั
(3) ตําแหนง ประเภทวชิ าการ ระดับชาํ นาญการ จํานวน 4 หมายจับ
(4) ตาํ แหนง ประเภทวิชาการ ระดับชํานาญการพิเศษ และตําแหนงประเภท
ท่ัวไป ระดับอาวุโส จํานวน 4 หมายจับ สําหรับกรณีปฏิบัติการจับกุมเอง/แจงใหจับ/อายัดตัวผูตองหา
หรือจําเลย/แจงขอใหเพิกถอนหมายจับ หรือ จํานวน 8 หมายจับ สําหรับกรณีปฏิบัติการในลักษณะ
การวางแผน ส่ังการ และกํากับดูแล โดยใหถือวาการปฏิบัติงานในลักษณะการวางแผน ส่ังการ และ
กํากบั ดูแล หากสามารถตดิ ตามจับกุมไดจ าํ นวน 2 หมายจบั เทา กับการปฏิบัตจิ ับกมุ เอง 1 หมายจับ
(5) ตําแหนงประเภทอํานวยการ จํานวน 16 หมายจับ โดยปฏิบัติงาน
ในลกั ษณะการวางแผน สั่งการ และกํากับดูแล
343 333 เ ิงนเ ่ิพมแลกะ คลุามตท่ีอบ๔แทน ิพเศษ
ทั้งนี้ การปฏิบัติงานติดตามจับกุมผูตองหาหรือจําเลยตามหมายจับ หากรวม
ดําเนินการจับกุมในรูปแบบของทีมงานหรือคณะทํางาน กรณีท่ีสามารถจับผูตองหาหรือจําเลยไดให
ผูไดรบั ผลสัมฤทธิก์ ารปฏิบตั ิงานคอื ผไู ดรบั มอบหมายใหร ับผิดชอบหมายจบั น้นั
1.2 งานรักษาความปลอดภัยและคุมครองบุคคลหรือทรัพยสินของศาลยุติธรรม
และสํานักงานศาลยุติธรรมไดแก การระงับเหตุ หรือการตรวจพบการกระทําอันอาจกอใหเกิด
เหตุแหงความไมสงบภายในบริเวณศาล หรือการปราบปรามการกระทําความผิดภายในบริเวณ
ศาลยตุ ธิ รรมหรือสํานักงานศาลยุติธรรม การรวมปฏบิ ตั กิ ารพเิ ศษหรือทางยุทธวิธี การไดรบั มอบหมายให
ไปปฏิบัติงานรักษาความสงบเรียบรอย รักษาความปลอดภัยและคุมครองบุคคลหรือทรัพยสิน
โดยผูบังคับบัญชาหรือตามที่หนวยงานอื่นในสังกัดศาลยุติธรรมหรือสํานักงานศาลยุติธรรมรองขอ
เปนรายครัง้
ทั้งนี้ การปฏิบัติงานรักษาความปลอดภัยและคุมครองบุคคลหรือทรัพยสิน
ในแตละครั้งหากมีผูรวมปฏิบัติงานมากกวา 1 คน ใหแตละคนไดรับผลสัมฤทธิ์ของานทุกคน โดยใหถือ
วาการปฏิบัติงานรักษาความปลอดภัยและคุมครองบุคคลหรือทรัพยสินของศาลยุติธรรมและสํานักงาน
ศาลยุติธรรมจํานวน 2 คร้ัง เทา กบั การปฏบิ ตั งิ านติดตามจบั กมุ ผตู อ งหาหรอื จาํ เลยไดจํานวน 1 หมายจบั
1.3 งานเกี่ยวกับการวางแผน ศึกษาวิเคราะห ออกแบบ พัฒนา ดําเนินการฝกอบรม
ติดตามประเมินผล สรุปรายงานผล และงานอื่นที่เกี่ยวของกับการฝกอบรมหลักสูตรเจาพนักงานตํารวจศาล
หรือหลักสูตรเกี่ยวกับการรักษาความสงบเรียบรอย รักษาความปลอดภัยและคุมครองบุคคลหรือ
ทรัพยสิน การปราบปราม การสืบสวนสอบสวน การแสวงหาตรวจสอบขอมูลหลักฐาน และการติดตาม
จับกุมใหแกเจาพนักงานตํารวจศาลหรือบุคลากรท่ีเก่ียวของ (เฉพาะผูปฏิบัติงานในสวนฝกอบรม
เจาพนกั งานตํารวจศาล ศนู ยรักษาความปลอดภัย) ไดแ กกิจกรรมดงั ตอไปน้ี
(1) การจดั ทาํ แผนการฝก อบรม
(2) การออกแบบและเขียนโครงการหรือหลักสตู รฝกอบรม
(3) การรวบรวมขอมูลและสํารวจสถานที่ที่จะใชฝกอบรม (เฉพาะหลักสูตร
ท่ีมีการฝกปฏิบัตินอกสถานที่) หรือการประสานงานและจัดทําหนังสือถึงวิทยากรหรือหนวยงาน
ท่ีเก่ียวของกับการฝกอบรม (เฉพาะหลักสูตรท่ีมีการใชวิทยากรภายนอกหนวยงานหรือมีการฝกปฏิบัติ
นอกสถานที)่
(4) การจดั เตรยี มอุปกรณ/ สถานทเี่ อกสารหรือสารสนเทศประกอบคาํ บรรยาย
(5) การจดั ทําเอกสารการขอยมื เงนิ หรอื ขออนมุ ตั ิเบิกจายเงนิ งบประมาณฝกอบรม
(6) การจัดทาํ แบบสอบถาม/แบบสาํ รวจ/แบบทดสอบเพ่ือประเมินผลการฝก อบรม
(7) การวเิ คราะหสรุปผล และจดั ทาํ รายงานผลการฝก อบรม
(8) การศกึ ษาวเิ คราะหและจัดทําขอมลู เพ่ือปรับปรงุ /พฒั นาหลกั สูตรฝก อบรม
ท้ังน้ี ในแตละกิจกรรมใหมีผูไดรับผลสัมฤทธิ์ของงานได 1 คน กรณีเปนหลักสูตร
ท่ีมีระยะเว ลาต้ังแต 2 วันข้ึนไป หรือรวมดําเนินการในหลักสูตรตั้งแต 2 วันข้ึนไป ใหถือวา
การปฏิบัติงานจํานวน 1 กิจกรรม เทากับการปฏิบัติงานติดตามจับกุมผูตองหาหรือจําเลยไดจํานวน
1 หมายจับ กรณีหลักสูตรที่มีระยะเวลานอยกวา 2 วัน ใหนับการปฏิบัติงานจํานวน 2 กิจกรรม
เทากับการปฏิบตั ิงานตดิ ตามจบั กุมผูต อ งหาหรือจาํ เลยไดจ าํ นวน 1 หมายจับ
344
344 334
2. ให้นาบทบัญญัติเกี่ยวข้องกับข้อยกเว้นกรณีเป็นผู้ได้รับอนุญาตให้ลาและ
กรณีการปฏิบัติหน้าท่ีหลักของตาแหน่งไม่เต็มเดือนในข้อ 4 ของหลักเกณฑ์คณะกรรมการข้าราชการ
ศาลยุติธรรม เร่ือง เงินค่าตอบแทนพิเศษสาหรับตาแหน่งเจ้าพนักงานตารวจศาล พ.ศ.2562
มาใชพ้ ิจารณาประกอบด้วย
3. เจ้าพนักงานตารวจศาลท่ีปฏิบัติงานติดตามจับกุมตามหมายจับ หรืองาน
รักษาความปลอดภัยและคุ้มครองบุคคลหรือทรัพย์สินของศาลยุติธรรมและสานักงานศาลยุติธรรม หรือ
งานท่ีเก่ียวข้องกับการจัดฝึกอบรมเจ้าพนักงานตารวจศาลหรือบุคลากรท่ีเกี่ยวข้อง ที่มีผลสัมฤทธ์ิ
การปฏิบัติงานในเดือนใดไม่เป็นไปตามเป้าหมายที่กาหนดในข้อ 1 จะไม่มีสิทธิได้รับเงินค่าตอบแทนพิเศษ
สาหรับตาแหน่งเจ้าพนกั งานตารวจศาลในเดือนถัดไป เว้นแต่มีเหตจุ าเป็นตามที่กาหนดไวใ้ นข้อ 2 หรือ
กรณเี กดิ สถานการณ์ฉุกเฉินของประเทศจนเป็นอปุ สรรคตอ่ การปฏบิ ตั หิ น้าที่
4. ให้เจ้าพนักงานตารวจศาลหรือหน่วยงานท่ีบุคคลดังกล่าวสังกัดรายงานผลสัมฤทธ์ิ
การปฏบิ ัติงานรายเดอื นตามรปู แบบที่กาหนดไปยังสานักการเจา้ หน้าทภี่ ายในวันที่ 5 ของแตล่ ะเดือน
5. การกาหนดตัวชี้วัดผลสัมฤทธิ์การปฏิบัติงานเพื่อรับเงินค่าตอบแทนพิเศษสาหรับ
ตาแหนง่ เจ้าพนกั งานตารวจศาลนี้ ให้มีผลต้ังแตว่ ันท่ี 1 ตุลาคม 2563 เป็นต้นไป
345 เ ิงนเ ่ิพมแลกะ คลุามตท่ีอบ๔แทน ิพเศษ
345 335
11
เงินเพม่ิ สำหรบั ตำแหนง่ ท่มี เี หตุพิเศษ
ตำแหน่งด้ำนพสั ดุ ตำแหนง่ ดำ้ นกำรเงินและบญั ชี
และตำแหน่งด้ำนกำรตรวจสอบภำยใน
346
347
347 336
ที่ ศย 004/ว19 (ป) สานกั งานศาลยตุ ธิ รรม
ถนนรัชดาภิเษก เขตจตจุ กั ร
กทม. 10900
๔ กุมภาพนั ธ์ 2563
เร่อื ง ระเบียบคณะกรรมการข้าราชการศาลยุติธรรม ว่าด้วยเงินเพิ่มสาหรับตาแหน่งที่มีเหตุพิเศษ
ตาแหน่งด้านพัสดุ ตาแหน่งด้านการเงินและบัญชี และตาแหน่งด้านการตรวจสอบภายใน
พ.ศ.2563
เรียน หัวหนา้ หน่วยงานในสงั กัดสานกั งานศาลยตุ ธิ รรม
สิง่ ที่สง่ มาด้วย 1. ระเบียบคณะกรรมการข้าราชการศาลยุติธรรม ว่าด้วยเงินเพิ่มสาหรับตาแหน่ง
ท่ีมีเหตุพิเศษ ตาแหน่งด้านพัสดุ ตาแหน่งด้านการเงินและบัญชี และตาแหน่ง
ด้านการตรวจสอบภายใน พ.ศ.2563
2. หลักสูตรมาตรฐานวิชาชีพด้านการจัดซ้ือจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ
ดา้ นการเงินและบญั ชี และดา้ นการตรวจสอบภายใน
3. หลักเกณฑ์และวิธีการขอรับเงินเพ่ิมตามระเบียบคณะกรรมการข้าราชการ
ศาลยุติธรรม ว่าด้วยเงินเพิ่มสาหรับตาแหน่งท่ีมีเหตุพิเศษ ตาแหน่งด้านพัสดุ
ตาแหน่งด้านการเงินและบญั ชี และตาแหนง่ ดา้ นการตรวจสอบภายใน พ.ศ.2563
ด้วยคณะกรรมการข้าราชการศาลยุติธรรมได้ออกระเบียบคณะกรรมการข้าราชการ เ ิงนเ ่ิพมแลกะ คลุามตท่ีอบ๔แทน ิพเศษ
ศาลยุติธรรม ว่าด้วยเงินเพ่ิมสาหรับตาแหน่งที่มีเหตุพิเศษ ตาแหน่งด้านพัสดุ ตาแหน่งด้านการเงินและ
บัญชี และตาแหน่งด้านการตรวจสอบภายใน พ.ศ. 2563 และสานักงานศาลยุติธรรมโดยอาศัยอานาจ
ตามระเบยี บฯ ข้อ 5(2) และข้อ 10 วรรคสอง ได้กาหนดหลักสูตรมาตรฐานวิชาชีพดา้ นการจัดซอ้ื จัดจ้าง
และการบริหารพัสดุภาครัฐ ด้านการเงินและบัญชี และด้านการตรวจสอบภายใน และหลักเกณฑ์และ
วิธีการขอรับเงินเพ่ิมตามระเบียบคณะกรรมการข้าราชการศาลยุติธรรม ว่าด้วยเงินเพิ่มสาหรับตาแหน่ง
ที่มีเหตุพิเศษ ตาแหน่งด้านพัสดุ ตาแหน่งด้านการเงินและบญั ชี และตาแหนง่ ด้านการตรวจสอบภายใน
พ.ศ.2563 เพ่ือให้การดาเนินการตามระเบียบฯ ดังกล่าว เป็นไปโดยเรียบร้อยต่อไป รายละเอียด
ปรากฏตามส่งิ ท่ีสง่ มาดว้ ย
จึงเรียนมาเพ่ือโปรดทราบและแจ้งให้ผู้เก่ียวข้องทราบและถือปฏิบัติโดยทั่วกัน ทั้งน้ี
ส า ม า ร ถ ด า ว น์ โห ล ด ส่ิ ง ท่ี ส่ ง ม า ด้ ว ย ได้ ท่ี เว็ บ ไซ ต์ ส า นั ก ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร ข้ า ร า ช ก า ร ศ า ล ยุ ติ ธ ร ร ม
(www.ojoc.coj.go.th)
ขอแสดงความนบั ถอื
(ลงชื่อ) สราวุธ เบญจกุล
(นายสราวธุ เบญจกุล)
เลขาธิการสานกั งานศาลยุตธิ รรม
348
348 337
ระเบยี บคณะกรรมการขา้ ราชการศาลยุตธิ รรม
ว่าดว้ ยเงนิ เพ่ิมสาหรบั ตาแหนง่ ทีม่ เี หตพุ เิ ศษ ตาแหน่งดา้ นพสั ดุ ตาแหน่งด้านการเงินและบญั ชี
และตาแหนง่ ดา้ นการตรวจสอบภายใน
พ.ศ. 2563
โด ย ท่ี เป็ น ก า ร ส ม ค ว ร ให้ มี ร ะ เบี ย บ ว่ า ด้ ว ย เงิ น เพิ่ ม ส า ห รั บ ต า แ ห น่ ง ที่ มี เห ตุ พิ เศ ษ
ตาแหน่งดา้ นพัสดุ ตาแหนง่ ดา้ นการเงินและบัญชี และตาแหนง่ ด้านการตรวจสอบภายใน เพอื่ กาหนดหลกั เกณฑ์
วธิ กี าร เงื่อนไข และแนวทางปฏิบตั ิเกย่ี วกับการพิจารณาให้ได้รบั เงินเพิ่มเพ่อื ให้มคี วามเหมาะสม
อาศัยอานาจตามความในมาตรา 21 (6) (9) และมาตรา 24 แห่งพระราชบัญญัติ
ระเบียบบริหารราชการศาลยุติธรรม พ.ศ. 2543 คณะกรรมการข้าราชการศาลยุติธรรม (ก.ศ.)
โดยไดร้ บั ความเหน็ ชอบจากคณะกรรมการบรหิ ารศาลยตุ ธิ รรม (ก.บ.ศ.) จงึ ออกระเบยี บไว้ ดังต่อไปนี้
ขอ้ ๑ ระเบยี บน้ีเรยี กวา่ “ระเบียบคณะกรรมการข้าราชการศาลยุติธรรม วา่ ด้วยเงนิ เพ่ิม
สาหรับตาแหน่งท่ีมีเหตุพิเศษ ตาแหน่งด้านพัสดุ ตาแหน่งด้านการเงินและบัญชีและตาแหน่ง
ด้านการตรวจสอบภายใน พ.ศ. 2563”
ขอ้ ๒ ระเบยี บนี้ใหใ้ ช้บังคับต้งั แตว่ นั ถดั จากวนั ประกาศในราชกิจจานเุ บกษาเป็นต้นไป
ขอ้ 3 ในระเบยี บน้ี
“เงินเพมิ่ ” หมายความวา่ เงินเพม่ิ สาหรับตาแหนง่ ทม่ี เี หตุพิเศษตามระเบียบนี้
“ข้าราชการศาลยุติธรรม” หมายความว่า ข้าราชการศาลยุติธรรมซึ่งได้รับแต่งต้ัง
ให้ดารงตาแหน่งที่ปฏิบัติงานเกี่ยวกับการจัดซ้ือจัดจ้างหรือการบริหารพัสดุ การเงินและบัญชี หรือ
การตรวจสอบภายใน
“เหตุพิเศษ” หมายความว่า การทางานที่ต้องใช้ความรู้ ความชานาญ ประสบการณ์สูง
ซ่ึงเป็นสาขาที่ขาดแคลน หรอื มกี ารสญู เสียผูป้ ฏบิ ัติงานออกจากตาแหนง่ เปน็ จานวนมาก
“การจัดซื้อจัดจ้าง” หมายความว่า การดาเนินการเพ่ือให้ได้มาซึ่งพัสดุโดยการซื้อ
จ้าง เช่า แลกเปลยี่ น หรอื โดยนิตกิ รรมอ่นื ตามทก่ี าหนดในกฎกระทรวง
“พัสดุ” หมายความวา่ สินคา้ งานบริการ งานกอ่ สรา้ ง งานจา้ งท่ีปรึกษา และงานจ้างออกแบบ
หรอื ควบคุมงานกอ่ สร้าง รวมทั้งการดาเนินการอน่ื ตามท่ีกาหนดในกฎกระทรวง
“การบริหารพัสดุ” หมายความว่า การเก็บ การบันทึก การเบิกจ่าย การยืม
การตรวจสอบ การบารุงรักษา และการจาหนา่ ยพสั ดุ
“การเงินและบัญ ชี” หมายความว่า งานการเงิน การบัญ ชี การงบประมาณ
การใช้จา่ ยเงินงบประมาณ เงนิ ในคดี และเงนิ อื่น และการพัฒนาระบบงานคลัง
349 เ ิงนเ ่ิพมแลกะ คลุามตท่ีอบ๔แทน ิพเศษ
349 338
“การตรวจสอบภายใน” หมายความว่า การตรวจสอบ ติดตาม ประเมินผล
การใช้จ่ายเงินงบประมาณ เงินในคดี และเงินอื่น และเสนอแนะในการบริหารจัดการ การงบประมาณ
การเงิน การบญั ชี การพัสดุ ของหน่วยงานในสังกัดสานักงานศาลยตุ ิธรรม
“เงินงบประมาณ” หมายความว่า เงินงบประมาณตามกฎหมายว่าด้วยงบประมาณ
รายจ่าย กฎหมายวา่ ด้วยวิธีการงบประมาณ
“เงินในคดี” หมายความว่า เงินค่าธรรมเนียมศาล เงินค่าปรับ เงินกลาง เงินค่าปรับ
ผู้ประกัน เงินค่าส่งคาคู่ความ เงินสินบนรางวัล ค่าตอบแทน ค่าป่วยการ และเงินอื่น ๆ ท่ีเกี่ยวข้อง
กับคดีความตามระเบียบคณะกรรมการบริหารศาลยุติธรรม ว่าด้วยเงินค่าธรรมเนียมศาล ค่าปรับ
และ เงนิ กลาง รวมถึงประกาศสานักงานศาลยตุ ธิ รรมว่าดว้ ยเงินประเภทน้นั
ข้อ 4 ให้ข้าราชการศาลยุติธรรมท่ีได้รับเงินเพ่ิมเป็นรายเดือนจากเงินงบประมาณของ
สานักงานศาลยุติธรรม ทั้งนี้ ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์และเง่ือนไขท่ีกาหนดในระเบียบนี้ โดยให้ได้รับ
ตามอตั ราท่กี าหนดในบญั ชีทา้ ยระเบยี บนี้
ข้อ 5 หลักเกณฑ์และคุณสมบัติของข้าราชการศาลยุติธรรมที่จะมีสิทธิได้รับเงินเพ่ิม
ตอ้ งมคี ณุ สมบัตดิ ังต่อไปนี้
(๑) เป็นผู้ดารงตาแหน่งผู้อานวยการสานักบริหารทรัพย์สิน ตาแหน่งผู้อานวยการ
สานักการคลัง ตาแหน่งผู้อานวยการสานักตรวจสอบภายใน ตาแหน่งนักวิชาการพัสดุ ตาแหน่ง
นักวิชาการเงินและบัญชี ตาแหน่งเจ้าพนักงานการเงินและบัญชี ตาแหน่งนักวิชาการตรวจสอบภายใน
และปฏบิ ัตงิ านด้านการจัดซื้อจัดจ้างหรือการบรหิ ารพัสดุ ด้านการเงนิ และบัญชี หรอื ด้านการตรวจสอบ
ภายใน แลว้ แต่กรณี
(๒) เป็นผู้ผา่ นการอบรมหลกั สตู รมาตรฐานวชิ าชีพด้านการจัดซอ้ื จดั จ้างและการบริหาร
พัสดุภาครัฐ หรือหลักสูตรมาตรฐานวิชาชีพด้านการเงินและบัญชี หรือหลักสูตรมาตรฐานวิชาชีพ
ด้านการตรวจสอบภายในแล้วแต่กรณี ที่เลขาธิการสานักงานศาลยุติธรรมกาหนด หรือหลักสูตรอื่น
ทเี่ ทียบเท่า ซง่ึ ก.ศ. รับรอง
(3) เปน็ ผผู้ า่ นการทดลองปฏิบตั ิหน้าทีร่ าชการ
ข้อ 6 การจ่ายเงินเพ่ิมให้กับข้าราชการศาลยุติธรรมตามระเบียบน้ี ให้จ่ายได้ต้ังแต่
วันท่ีข้าราชการดังกล่าวมีคุณสมบัติครบถ้วนตามข้อ 5 ที่จะมีสิทธิได้รับเงินเพ่ิม และไม่ก่อน
วันท่รี ะเบยี บนม้ี ีผลใช้บังคบั
กรณีข้าราชการศาลยุติธรรมท่ีมีสิทธิได้รับเงินเพิ่มตามระเบียบน้ี ได้รับการเล่ือนระดับ
ของตาแหน่งและมสี ิทธิท่จี ะเขา้ รบั การอบรมในระดับของหลกั สูตรท่สี ูงขน้ึ ให้ได้รับเงินเพิ่มในอตั ราเดิมต่อไป
จนกวา่ จะผ่านการอบรมดงั กล่าว
กรณขี ้าราชการศาลยุตธิ รรมทีม่ ีสิทธไิ ดร้ ับเงนิ เพ่มิ ตามระเบยี บนี้ ยา้ ยไปดารงตาแหนง่ อน่ื
ตามที่กาหนดไว้ในข้อ 5 (1) ให้มีสิทธิได้รับเงินเพิ่มในอัตราเดิมต่อไป ท้ังนี้ จะต้องผ่านการอบรม
วิชาเฉพาะของตาแหน่งท่ีได้รับแต่งตั้งใหม่น้ันภายใน 6 เดือน นับแต่วันที่ได้รับแต่งต้ัง มิฉะน้ัน
ใหถ้ ือวา่ ขาดคณุ สมบัติทจี่ ะมีสิทธิไดร้ ับเงนิ เพิ่มสาหรับตาแหนง่ ท่ีมเี หตุพิเศษ
350
350 339
ขอ้ 7 สิทธิในการได้รับเงินเพิม่ สาหรบั ตาแหน่งท่มี เี หตุพิเศษตาแหน่งด้านพัสดุ ตาแหน่ง
ด้านการเงนิ และบัญชี หรือตาแหน่งดา้ นตรวจสอบภายใน แลว้ แตก่ รณี ส้ินสุดเมอ่ื
(๑) พ้นจากตาแหนง่ ท่มี สี ิทธไิ ดร้ บั เงนิ เพ่ิมสาหรบั ตาแหน่งทีม่ เี หตุพเิ ศษตามระเบยี บน้ี
(๒) พน้ จากการปฏิบัตหิ นา้ ท่เี กี่ยวกบั การจัดซอื้ จัดจ้างหรอื การบรหิ ารพสั ดุ การเงินและบญั ชี
หรอื การตรวจสอบภายใน
ข้อ 8 ในกรณีที่ข้าราชการศาลยุติธรรมผู้ใดปฏิบัติหน้าท่ีไม่เต็มเดือนในเดือนใด
ใหไ้ ด้รบั เงนิ เพ่มิ ในเดือนนน้ั ตามสว่ นของจานวนวนั ทไี่ ด้ดารงตาแหนง่ และปฏิบัติหนา้ ที่หลกั ของตาแหน่ง
ดังกล่าว ถ้าเดือนใดไม่ได้ปฏิบัติหน้าท่ีหลักของตาแหน่งไม่มีสิทธิได้รับเงินเพิ่มในเดือนน้ัน
ทงั้ นี้ เว้นแต่กรณีดังตอ่ ไปนี้
(๑) กรณีเจ็บป่วยอันเนื่องมาจากการปฏิบัติหน้าท่ีราชการจนเป็นเหตุให้ไม่สามารถ
ปฏิบัติงานได้และอยู่ระหว่างได้รับอนุญาตให้ลาเพ่ือรักษาตัว ให้ข้าราชการศาลยุติธรรมมีสิทธิได้รับ
เงนิ เพิ่มตามระเบยี บนใ้ี นช่วงเวลาทไี่ ดร้ บั อนญุ าตให้ลาเพอื่ รักษาตวั ดงั กล่าว ทงั้ นี้ ไม่เกนิ 180 วนั
(๒) กรณีถูกสั่งพักราชการ หรือถูกสั่งให้ออกจากราชการไว้ก่อน หรือผู้ที่อยู่ระหว่าง
การอุทธรณ์คาสั่งลงโทษทางวินัยอย่างร้ายแรง ให้งดจ่ายเงินเพิ่มนับแต่วันท่ีถูกส่ังพักราชการ หรือ
ถูกส่ังให้ออกจากราชการไว้ก่อน หรือในระหว่างการอุทธรณ์คาส่ังลงโทษทางวินัย หากต่ อมาได้รับ
อนุญาตให้กลับเข้าปฏิบัติหน้าท่ีหรือกลับเข้ารับราชการ ให้จ่ายเงินเพ่ิมตามส่วนเช่นเดียวกับการได้รับ
เงนิ เดอื นในชว่ งเวลาดงั กล่าว
(๓) การไดร้ ับเงินเพมิ่ ระหวา่ งลา
(ก) ขา้ ราชการศาลยุติธรรมทไ่ี ด้รบั อนญุ าตให้ลาปว่ ย ให้ไดร้ ับเงนิ เพิม่ ระหวา่ งลาได้
ในปงี บประมาณหนึ่งไมเ่ กิน 60 วันทาการ
(ข) ข้าราชการศาลยุติธรรมที่ได้รับอนุญาตให้ลาคลอดบุตร ให้ได้รับเงินเพ่ิมระหว่าง
ลาได้ไมเ่ กิน 90 วัน
(ค) ข้าราชการศาลยุติธรรมท่ีได้รับอนุญาตให้ลาไปช่วยเหลือภริยาท่ีคลอดบุตร
ใหไ้ ดร้ ับเงนิ เพิม่ ระหวา่ งลาเฉพาะวันลาท่มี สี ทิ ธไิ ด้รบั เงินเดอื นระหว่างลาตามกฎหมาย
(ง) ข้าราชการศาลยุติธรรมที่ได้รับอนุญาตให้ลากิจส่วนตัว ให้ได้รับเงินเพ่ิม
ระหวา่ งลาไดใ้ นปีงบประมาณหนึ่งไมเ่ กนิ 45 วนั ทาการ
(จ) ข้าราชการศาลยุติธรรมท่ีได้รับอนุญาตให้ลาพักผ่อนประจาปี ให้ได้รับเงินเพิ่ม
ระหว่างลาได้ไม่เกินระยะเวลาที่ผู้น้ันมีสิทธิลาพักผ่อนประจาปีตามท่ีกาหนดไว้ในระเบียบว่าด้วย
การลาหยุดราชการของข้าราชการฝ่ายตลุ าการศาลยุติธรรม
(ฉ) ข้าราชการศาลยุติธรรมท่ีได้รับอนุญาตให้ลาอุปสมบทในพระพุทธศาสนาหรือ
ลาไปประกอบพิธีฮัจญ์ ณ เมืองเมกกะ ประเทศซาอุดิอาระเบีย และต้ังแต่เริ่มรับราชการยังไม่เคย
อุปสมบทในพระพุทธศาสนาหรือยังไม่เคยประกอบพิธีฮัจญ์ ณ เมืองเมกกะ ประเทศซาอุดิอาระเบีย
ใหไ้ ด้รับเงนิ เพมิ่ สาหรบั ตาแหน่งทีม่ ีเหตุพิเศษระหวา่ งลาไดไ้ ม่เกิน 60 วัน
(ช) ข้าราชการศาลยุติธรรมท่ีลาไปรับการตรวจเลือกหรือเข้ารับการเตรียมพล
ให้ได้รบั เงินเพม่ิ ระหว่างลาไดไ้ ม่เกนิ 60 วนั
351 เ ิงนเ ่ิพมแลกะ คลุามตท่ีอบ๔แทน ิพเศษ
351 340
(ซ) ข้าราชการศาลยุติธรรมที่ได้รับอนุญาตให้ลาไปศึกษา ฝึกอบรม ดูงาน หรือ
ปฏบิ ัติการวิจัย ใหไ้ ด้รับเงนิ เพ่มิ ระหวา่ งลาไดไ้ ม่เกนิ 60 วนั
(ฌ) ข้าราชการศาลยุติธรรมที่ได้รับอนุญาตให้ลาอุปสมบทในพระพุทธศาสนา
ท่ีคณะรัฐมนตรีมีมติเป็นกรณีพิเศษโดยไม่ให้ถือเป็นวันลาของข้าราชการ ให้ได้รับเงินเพิ่มระหว่างลาได้
ไม่เกิน 60 วัน
(ญ) ข้าราชการศาลยุติธรรมท่ีได้รับอนุญาตให้ลาไปฟื้นฟูสมรรถภาพด้านอาชีพ
ให้ไดร้ ับเงนิ เพม่ิ ระหว่างลาไดไ้ มเ่ กนิ 60 วนั
ข้อ 9 ข้าราชการศาลยุติธรรมซ่ึงมีสิทธิได้รับเงินเพ่ิมตามระเบียบน้ีรายใดมีสิทธิได้รับ
เงนิ เพ่มิ สาหรับตาแหน่งท่ีมีเหตพุ ิเศษประเภทอ่นื อยู่ด้วยแล้ว ให้ไดร้ ับเงินเพม่ิ ตามระเบียบนี้หรอื เงนิ เพิ่ม
สาหรับตาแหน่งทม่ี ีเหตพุ เิ ศษประเภทอน่ื ที่มีอัตราสงู สดุ เพยี งตาแหนง่ เดียว
ข้อ 10 การจ่ายเงินเพ่ิมให้จ่ายเป็นรายเดือนในลักษณะจ่ายควบกับเงินเดือน และ
ห้ามมใิ ห้นาเงินเพ่ิมไปรวมกบั เงนิ เดือนเพ่ือคานวณบาเหน็จบานาญ
วิธีปฏิบัติเก่ียวกับการจ่ายเงินเพ่ิม ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์และวิธีการท่ีสานักงาน
ศาลยตุ ิธรรมกาหนด
ข้อ ๑1 ให้เลขาธิการสานักงานศาลยุติธรรมเป็นผู้รักษาการตามระเบียบนี้ และให้มี
อานาจตีความหรือวนิ จิ ฉยั ปัญหาเก่ยี วกบั การปฏิบตั ิตามระเบยี บนี้
ประกาศ ณ วนั ที่ 28 มกราคม พ.ศ. 2563
วิชยั เอ้ือองั คณากลุ
ประธานกรรมการข้าราชการศาลยตุ ธิ รรม
352
352 341
บญั ชีแนบทำ้ ย
อัตรำเงนิ เพ่มิ สำหรับตำแหนง่ ทมี่ ีเหตพุ เิ ศษ ตำแหนง่ ดำ้ นพสั ดุ ตำแหน่งด้ำนกำรเงินและบัญชี
และตำแหน่งด้ำนตรวจสอบภำยใน
ตำมควำมในระเบยี บคณะกรรมกำรข้ำรำชกำรศำลยตุ ธิ รรม วำ่ ดว้ ยเงนิ เพ่ิมสำหรบั
ตำแหน่งที่มเี หตุพิเศษ ตำแหน่งด้ำนพสั ดุ ตำแหนง่ ดำ้ นกำรเงนิ และบัญชี
และตำแหนง่ ดำ้ นตรวจสอบภำยใน พ.ศ. 2563
ลำดับ ระดบั ตำแหน่ง อัตรำเงนิ เพิ่มกรณี อัตรำเงินเพ่ิมกรณี
1. ปฏิบตั กิ าร/ปฏิบตั ิงาน ผำ่ นหลกั สูตร ผำ่ นหลักสตู ร
ระดบั ต้น ระดบั สงู
ชานาญการ/ชานาญงาน (บำท/เดอื น) (บำท/เดือน)
ชานาญการพเิ ศษ 2,000 -
3,000 -
2. หัวหน้าสว่ น/กลมุ่ งาน 4,000 -
ระดบั ชานาญการพเิ ศษ/เชี่ยวชาญ 5,000 6,000
ผู้อานวยการสานักบรหิ ารทรพั ยส์ ิน/
ผอู้ านวยการสานกั การคลงั /
ผู้อานวยการสานกั ตรวจสอบภายใน
353 เ ิงนเ ่ิพมแลกะ คลุามตท่ีอบ๔แทน ิพเศษ
353 342
หลักเกณฑแ์ ละวธิ ีกำรขอรบั เงินเพิม่ ตำมระเบยี บคณะกรรมกำรขำ้ รำชกำรศำลยตุ ธิ รรม วำ่ ด้วย
เงินเพมิ่ สำหรับตำแหนง่ ทม่ี เี หตุพเิ ศษ ตำแหน่งด้ำนพัสดุ ตำแหน่งด้ำนกำรเงินและบญั ชี และ
ตำแหนง่ ดำ้ นกำรตรวจสอบภำยใน พ.ศ.2563
(แนบทา้ ยหนังสอื สานักงานศาลยตุ ธิ รรม ที่ ศย 004/ว 19 (ป) ลงวนั ที่ 4 กมุ ภาพนั ธ์ 2563)
ตามท่ีระเบียบคณะกรรมการข้าราชการศาลยุติธรรม ว่าด้วยเงินเพ่ิมสาหรับตาแหน่ง
ท่มี ีเหตุพิเศษ ตาแหน่งด้านพัสดุ ตาแหน่งดา้ นการเงินและบัญชี และตาแหนง่ ด้านการตรวจสอบภายใน
พ.ศ. 2563 ขอ้ 10 วรรคสอง กาหนดใหว้ ิธปี ฏบิ ตั เิ กีย่ วกับการจา่ ยเงินเพม่ิ ให้เปน็ ไปตามหลกั เกณฑแ์ ละ
วิธีการที่สานักงานศาลยตุ ธิ รรมกาหนด ในการนส้ี านกั งานศาลยุตธิ รรมจึงเห็นควรกาหนดหลักเกณฑ์และ
วิธีการขอรับเงินเพ่ิมตามระเบียบคณะกรรมการข้าราชการศาลยตุ ิธรรม ว่าดว้ ยเงินเพ่ิมสาหรับตาแหน่ง
ที่มีเหตุพิเศษ ตาแหน่งด้านพสั ดุ ตาแหน่งดา้ นการเงินและบญั ชี และตาแหนง่ ด้านการตรวจสอบภายใน
พ.ศ.2563 โดยกาหนดให้ผู้มีสิทธิขอรับเงินเพิ่มและหน่วยงานการเจ้าหน้าที่ของสานักงาน
ศาลยุตธิ รรมดาเนนิ การ ดังนี้
1. ให้ผู้มีสิทธิขอรับเงินเพิ่มกรอกรายละเอียดลงในแบบฟอร์ม “แบบขอรับเงินเพ่ิม
สาหรับตาแหน่งที่มีเหตุพิเศษ ตาแหน่งด้านพัสดุ ตาแหน่งด้านการเงินและบัญชี และตาแหน่ง
ด้านการตรวจสอบภายใน” พร้อมแนบหลักฐานสาเนาวุฒบิ ตั รผ่านการอบรมหลักสตู รมาตรฐานวิชาชพี ฯ
สาเนาคาสั่งที่ดารงตาแหน่งท่ีเก่ียวข้อง และเอกสารอื่น ๆ สาหรับใช้ประกอบการพิจารณาตรวจสอบ
คุณสมบัติของผู้มีสิทธิ ย่ืนเสนอต่อหน่วยงานการเจ้าหน้าที่ผ่านหัวหน้าหน่วยงานระดับสานัก/กอง
หรือเทยี บเท่าที่สงั กัดเพ่อื พิจารณา
2. ให้หน่วยงานการเจ้าหน้าที่พิจารณาตรวจสอบเอกสารและคุณสมบัติของผู้มีสิทธิ
ขอรับเงินเพิ่ม ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์การพิจารณาตรวจสอบคุณสมบัติของบุคคลตามข้อ 5
ของระเบยี บฯ
3. กรณีท่ีเอกสารและคุณสมบัติของผู้มีสิทธิขอรับเงินเพ่ิมถูกต้อง ให้หน่วยงาน
การเจ้าหน้าท่ีจัดทาบันทึกสรุปผลการพิจารณาตรวจสอบคุณสมบัติของบุคคล และจัดทาคาส่ัง
ให้ได้รบั เงินเพม่ิ เสนอต่อเลขาธกิ ารสานกั งานศาลยตุ ิธรรมเพือ่ พจิ ารณาลงนาม
4. การจา่ ยเงินเพิ่ม ใหม้ ีผลย้อนหลังไปถึงวันท่ีผมู้ ีสิทธิขอรับเงนิ เพิ่มมีคุณสมบตั ิครบถว้ น
ตามข้อ 5 ของระเบยี บฯ แตไ่ ม่ก่อนวันทรี่ ะเบยี บฯ มผี ลบงั คับใช้
354
354 343
แบบขอรับเงินเพม่ิ สำหรับตำแหน่งทม่ี ีเหตุพเิ ศษ ตำแหน่งดำ้ นพัสดตุ ำแหนง่ ดำ้ นกำรเงินและบัญชี
และตำแหนง่ ดำ้ นตรวจสอบภำยใน
เขยี นที่
วนั ท่ี เดือน พ.ศ.
เรื่อง การขอรบั เงินเพ่ิม
เรยี น (1)
ขา้ พเจ้าช่ือ นามสกุล
อายุ ปี ตาแหน่งระดับ
ตาแหน่งเลขท่ี สังกดั ฝา่ ย/กลุม่ /ส่วน
หมายเลขโทรศัพท์ท่ีติดตอ่ ……………………………………….....….. e-mail…...................……………………………….
ข้าพเจ้ามีความประสงค์จะขอรับเงินเพิ่มสาหรับตาแหน่งที่มีเหตุพิเศษ ตาแหน่ง
[ ] ด้านพัสดุ [ ] ด้านการเงินและบัญชี [ ] ด้านตรวจสอบภายใน โดยเป็นผู้มีสิทธิและมีคุณสมบัติครบถ้วน
ที่จะได้รับเงนิ เพ่ิมฯ เป็นเงินจานวน......(๒)....... บาทตอ่ เดือน (......(๓).......) นับตั้งแตว่ ันที่......(๔)......เปน็ ตน้ ไป
โดยขา้ พเจา้ ได้แนบหลกั ฐานประกอบการขอรับเงนิ เพิ่มฯ มาด้วยแลว้ ดงั นี้
O สาเนาวฒุ บิ ัตรการอบรมหลักสูตร (5)
O สาเนาคาส่ังที่ดารงตาแหนง่ ท่ีมเี หตุพเิ ศษให้ได้รบั เงินเพ่ิมฯ
O อนื่ ๆ
ท้ังน้ี ข้าพเจ้าขอรับรองว่า ข้าพเจ้ามีสิทธิและมีคุณสมบัติครบถ้วนที่จะได้รับเงินเพิ่มสาหรับ
ตาแหน่งที่มีเหตุพิเศษ ตาแหน่ง [ ] ด้านพัสดุ [ ] ด้านการเงินและบัญชี [ ] ด้านตรวจสอบภายใน
ตามระเบียบคณะกรรมการข้าราชการศาลยุติธรรมว่าด้วยเงินเพิ่มสาหรับตาแหน่งท่ีมีเหตุพิเศษ ตาแหน่ง
ด้านพัสดุ ตาแหน่งด้านการเงินและบัญชี และตาแหน่งด้านตรวจสอบภายใน พ.ศ. ๒๕๖๓ โดยข้อมูลท่ีได้แจ้ง
ไว้ข้างต้นเป็นความจริงทุกประการ หากข้าพเจ้าแสดงข้อมูลผิดพลาดและได้รับเงินเพ่ิมฯ ไปแล้ว ข้าพเจ้ายินดี
นาเงินที่ได้รับไปส่งคืนให้แก่ทางราชการตามจานวนเงินที่ได้รับที่ผิดพลาดไป หรือให้หน่วยงานหักเงินเดือน
ตามจานวนท่สี มควรเพอ่ื ชดใช้ในกรณที มี่ ีการตรวจสอบพบในภายหลงั
ลงชือ่ ..........................................................
(.........................................................)
............/............................./...............
กำรกรอกแบบขอรบั เงินเพ่ิม
(๑) ใหร้ ะบุ หวั หน้าสว่ นราชการ
(๒) ให้ระบุ จานวนเงินเพม่ิ ท่ีขอรบั
(๓) ใหร้ ะบุ จานวนเงนิ เพ่ิมท่ขี อรบั เป็นตัวอกั ษร
(๔) ใหร้ ะบุ วันทผ่ี ่านการอบรมในวุฒบิ ตั ร
(5) ใหร้ ะบุ ชื่อหลกั สตู รการอบรม
หมายเหตุ ให้ใสเ่ คร่อื งหมาย ในช่อง O ทใี่ ชแ้ นบหลกั ฐานประกอบ
355 เ ิงนเ ่ิพมแลกะ คลุามตท่ีอบ๔แทน ิพเศษ
355 344
หลกั สูตรมำตรฐำนวิชำชพี ดำ้ นกำรจัดซอื้ จัดจำ้ งและกำรบริหำรพสั ดภุ ำครฐั
ด้ำนกำรเงินบัญชี และด้ำนกำรตรวจสอบภำยใน
1. หลกั กำรและเหตุผล
สืบเนื่องจากพระราชบัญญัติการจัดซ้ือจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.2560
ได้กาหนดหลักเกณฑ์มาตรฐานกลางในการดาเนินการจัดซ้ือจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐเพ่ือให้
หน่วยงานของรัฐทุกแห่งรวมถึงสานักงานศาลยุติธรรมนาไปใช้เป็นหลักปฏิบัติ มีการส่งเสริมให้
ภาคประชาชนมีส่วนรว่ มในการตรวจสอบการจดั ซอ้ื จัดจา้ งภาครฐั ซง่ึ เปน็ มาตรการหนงึ่ เพอ่ื ปอ้ งกนั ปญั หา
การทุจริตและประพฤติมิชอบในการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ ประกอบกับมาตรการอ่ืน ๆ เช่น การจัดซื้อ
จัดจ้างด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ อันเก่ียวข้องกับผู้ปฏิบัติงานด้านพัสดุของสานักงานศาลยุติธรรม
นอกจากนี้แล้วสานักงานศาลยุติธรรมยังมีสภาพปัญหาในการขาดแคลนบุค ลากรท่ีจะมาดารงตาแหน่ง
ด้านการเงินและบัญชี และตาแหน่งด้านการตรวจสอบภายใน เน่ืองจากลักษณะงานมีความยุ่งยาก
ซับซ้อน อีกทั้งบุคลากรที่จะมาดารงตาแหน่งดังกล่าวจะต้องมีความรู้ความเชี่ยวชาญเก่ียวกับ
พระราชบัญญัติวินัยการเงินการคลังของรัฐ พ.ศ.2561 ซ่ึงได้กาหนดกรอบเก่ียวกับการดาเนินงาน
ทางการคลังและงบประมาณของรัฐ การกาหนดวินัยทางการคลังด้านรายได้และรายจ่ายทั้งเงิน
งบประมาณและเงินนอกงบประมาณ การบริหารทรัพย์สินของรัฐและเงินคงคลัง และการบริหารหน้ี
สาธารณะ รวมถึงการดาเนินงานการเงินในคดี จึงเห็นควรให้ข้าราชการศาลยุติธรรมดังกล่า วได้รับ
การพฒั นาและเพ่มิ พูนทกั ษะความร้ทู ่ีต้องใช้ในการปฏิบตั ิงาน
ทง้ั นี้ ตามระเบียบคณะกรรมการข้าราชการศาลยุติธรรม ว่าด้วยเงนิ เพิ่มสาหรับตาแหน่ง
ท่ีมีเหตุพิเศษ ตาแหน่งด้านพัสดุ ตาแหน่งด้านการเงินและบัญชี และตาแหน่งด้านตรวจสอบภายใน
พ.ศ. 2563 ขอ้ 5 กาหนดใหข้ า้ ราชการศาลยตุ ิธรรมที่ดารงตาแหนง่ ผู้อานวยการสานักบรหิ ารทรัพยส์ นิ
ตาแหน่งผู้อานวยการสานักการคลัง ตาแหน่งผู้อานวยการสานักตรวจสอบภายใน ตาแหน่งนักวิชาการ
พสั ดุ ตาแหน่งนักวิชาการเงินและบัญชี ตาแหน่งเจา้ พนักงานการเงนิ และบัญชี และตาแหน่งนักวิชาการ
ตรวจสอบภายใน เป็นตาแหน่งที่มีเหตุพิเศษให้ได้รับเงินเพ่ิม โดยจะต้องผ่านการอบรมตามท่ีเลขาธิการ
สานักงานยุติธรรมกาหนด เพ่ือเป็นการสร้างขวัญกาลังใจให้แก่ข้าราชการศาลยุติธรรมที่ปฏิบัติหน้าที่
ดงั กล่าว และมงุ่ ประสงคใ์ หข้ า้ ราชการศาลยุตธิ รรมทผี่ า่ นการอบรมมคี วามรคู้ วามเข้าใจเกยี่ วกับกฎหมาย
กฎ ระเบียบ ท่ีต้องใช้ในการปฏิบัติงานมากยิ่งขึ้น รวมถึงนาความรู้ที่ได้มาปรับใช้ในการทางาน
ให้มีประสิทธภิ าพ สอดคล้อง และเหมาะกบั สภาวการณใ์ นปจั จุบนั
2. วัตถปุ ระสงค์
1) เพ่ือส่งเสริมและพัฒนาเจ้าหน้าท่ีที่ปฏิบัติงานเกี่ยวกับการจัดซ้ือ จัดจ้างและ
การบริหารพัสดุภาครัฐ การเงินและบัญชี และการตรวจสอบภายใน ให้มีความรู้ความความเข้าใจ
ด้านกฎหมาย กฎ ระเบียบ หลักเกณฑ์ และแนวทางปฏิบัติที่เก่ียวกับการดาเนินงานของสานักงาน
ศาลยุติธรรม
2) เพื่อเสริมสร้างทักษะที่จะใช้ในการปฏิบัติงานในหน้าที่ที่เก่ียวกับการจัดซื้อจัดจ้าง
และการบริหารพัสดุภาครัฐ การเงินและบัญชี และการตรวจสอบภายใน และสามารถนาความรู้ที่ได้รับ
ไปปรบั ใชห้ รือประยกุ ต์ใชใ้ นการปฏิบัติงานไดอ้ ย่างมปี ระสิทธิภาพ
356 345
3) เพื่อปลูกฝงความมีคุณธรรมและจริยธรรม คานิยม และปรัชญาของการเปน
ขาราชการศาลยุติธรรมท่ีปฏิบัติงานเกี่ยวกับการจัดซื้อจัดจางและการบริหารพัสดุภาครัฐ การเงนิ และ
บัญชี และการตรวจสอบภายในท่ีดี
๔) เพื่อเปนการสรางขวัญและกําลังใจตอเจาหนาที่ท่ีไดรับแตงตั้งใหดํารงตําแหนง
ทีป่ ฏิบัติงานเกี่ยวกับการจัดซื้อจัดจางและการบริหารพัสดุภาครัฐ การเงินและบญั ชี และการตรวจสอบภายใน
ที่ผา นการฝก อบรม ใหม ีสทิ ธิไดรับเงินเพิม่ สําหรับตําแหนงท่ีมีเหตพุ เิ ศษ
3. คณุ สมบัตขิ องผูเ ขา รับการฝก อบรม
ขาราชการศาลยุติธรรมท่ดี าํ รงตาํ แหนง ดงั นี้
1) ดํารงตําแหนงผูอํานวยการสํานักบริหารทรัพยสิน ตําแหนงผูอํานวยการสํานักการคลัง
ตําแหนงผอู าํ นวยการสาํ นักตรวจสอบภายใน
2) ดํารงตําแหนงนักวิชาการพัสดุ ตําแหนงนักวิชาการเงินและบัญชี ตําแหนง
เจา พนักงานการเงนิ และบัญชี ตําแหนงนักวชิ าการตรวจสอบภายใน
4. หลักสูตรการอบรม
การอบรมหลกั สูตรระดับตน
หลักสูตรมาตรฐานวิชาชีพดา นการจดั ซื้อจัดจางและการบริหารพัสดุภาครฐั ระดับตน
(จาํ นวน 30 ชวั่ โมง)
- อบรมหมวดวชิ าพืน้ ฐาน จาํ นวน 15 ชว่ั โมง
- อบรมหมวดวิชาเฉพาะสายงานพัสดุ จํานวน 15 ชัว่ โมง
หลกั สูตรมาตรฐานวชิ าชีพดา นการเงนิ และบญั ชรี ะดับตน (จาํ นวน 30 ช่วั โมง)
- อบรมหมวดวิชาพ้นื ฐาน จํานวน 15 ชวั่ โมง
- อบรมหมวดวชิ าเฉพาะสายงานการเงนิ และบญั ชี จํานวน 15 ชัว่ โมง
หลักสูตรมาตรฐานวิชาชพี ดา นการตรวจสอบภายในระดบั ตน (จาํ นวน 30 ชัว่ โมง)
- อบรมหมวดวิชาพ้ืนฐาน จาํ นวน 15 ชัว่ โมง
- อบรมหมวดวชิ าเฉพาะสายงานตรวจสอบภายใน จํานวน 15 ชัว่ โมง
*** ก รณี ข าราช การศ าลยุติ ธรรม ท่ี ผ าน ก ารอบ รม ห ลั กสู ต รระ ดั บ ต น
ในสายงานหนึ่งแลวตอมาไดรับแตงต้ังใหดํารงตําแหนงในสายงานอ่ืน การอบรมใหเขารับการอบรม
เฉพาะหมวดวชิ าเฉพาะในสายงานทีไ่ ดรับการแตงตั้งใหมนั้น โดยไมต อ งอบรมหมวดวชิ าพื้นฐานอีก
การอบรมหลกั สูตรระดับสงู
หลักสูตรมาตรฐานวิชาชีพดานการจดั ซ้ือจัดจางและการบริหารพัสดภุ าครฐั ระดับสูง
(จํานวน 42 ช่วั โมง)
- อบรมหมวดวิชาพื้นฐาน จาํ นวน 15 ช่วั โมง
- อบรมหมวดวิชาเฉพาะสายงานพัสดุ จาํ นวน 15 ชว่ั โมง
- อบรมหมวดวิชาเชยี่ วชาญเฉพาะสายงานพัสดุ จํานวน 12 ชัว่ โมง
หลักสูตรมาตรฐานวิชาชีพดา นการเงนิ และบญั ชรี ะดบั สงู (จํานวน 42 ชัว่ โมง)
- อบรมหมวดวิชาพื้นฐาน จาํ นวน 15 ช่วั โมง
357
357 346
- อบรมหมวดวชิ าเฉพาะสายงานการเงินและบญั ชี จานวน 15 ช่วั โมง
- อบรมหมวดวชิ าเชีย่ วชาญเฉพาะสายงานการเงินและบัญชี จานวน 12 ชั่วโมง
หลกั สูตรมำตรฐำนวิชำชีพดำ้ นกำรตรวจสอบภำยในระดับสงู (จำนวน 42 ช่ัวโมง)
- อบรมหมวดวชิ าพ้นื ฐาน จานวน 15 ชว่ั โมง
- อบรมหมวดวิชาเฉพาะสายงานตรวจสอบภายใน จานวน 15 ชั่วโมง
- อบรมหมวดวิชาเช่ียวชาญเฉพาะสายงานตรวจสอบภายใน จานวน 12 ช่วั โมง
*** กรณขี ้าราชการศาลยุติธรรมทผ่ี ่านการอบรมหลักสตู รระดับต้นในสายงานหน่ึง
แลว้ ตอ่ มาประสงคจ์ ะอบรมในหลักสตู รระดบั สงู การอบรมให้เขา้ รับการอบรมเฉพาะหมวดวิชาเชย่ี วชาญ
เฉพาะสายงาน โดยไม่ต้องอบรมหมวดวิชาพ้นื ฐานและหมวดวชิ าเฉพาะสายงานอีก
*** กรณีข้าราชการศาลยุติธรรมท่ีผ่านการอบรมหลักสูตรระดับสูงในสายงานหน่ึง
แล้วต่อมาได้รับแต่งตั้งให้ดารงตาแหน่งในสายงานอื่น การอบรมให้เข้ารับการอบรมเฉพาะหมวดวิชา
เชี่ยวชาญเฉพาะในสายงานที่ได้รับแต่งต้ังใหม่นั้น โดยไม่ต้องอบรมหมวดวิชาพ้ืนฐานและหมวดวิชา
เฉพาะสายงานอกี
รำยละเอียดแต่ละหมวดวิชำ จำนวน 15 ช่ัวโมง
หมวดวิชำพื้นฐำน
(1) พระราชบญั ญตั วิ ินยั การเงนิ การคลงั ของรัฐ พ.ศ. 2561 3 ช่วั โมง
(2) ระบบงบประมาณสานักงานศาลยุตธิ รรมและระเบยี บคณะกรรมการ 3 ชั่วโมง
บรหิ ารศาลยุติธรรมว่าด้วยการงบประมาณ พ.ศ.2544
(3) ระเบียบคณะกรรมการบรหิ ารศาลยตุ ิธรรมว่าด้วยการเงนิ พ.ศ.2545 3 ช่ัวโมง
และแก้ไขเพิ่มเตมิ
(4) พระราชบญั ญตั กิ ารจดั ซอ้ื จดั จ้างและการบรหิ ารพัสดุภาครัฐ 3 ชวั่ โมง
พ.ศ.2560 และกฎหมายลาดบั รอง
(5) การบรหิ ารความเสีย่ งและการควบคมุ ภายในของสานักงานศาลยตุ ธิ รรม 3 ชั่วโมง เ ิงนเ ่ิพมแลกะ คลุามตท่ีอบ๔แทน ิพเศษ
หมวดวชิ ำเฉพำะสำยงำนพัสดุ จำนวน 15 ช่วั โมง
(1) ระเบยี บกระทรวงการคลงั วา่ ดว้ ยการจดั ซอื้ จัดจา้ งและ 3 ช่วั โมง
การบริหารพสั ดภุ าครัฐพ.ศ. 2560
(2) ภาพรวมระบบจดั ซื้อจดั จา้ งภาครัฐด้วยวิธีอเิ ล็กทรอนิกส์ (e-GP) 3 ชั่วโมง
(3) การจดั ทาร่างขอบเขตของงานและรายละเอยี ดคณุ ลกั ษณะเฉพาะของพัสดุ 1 ชวั่ โมง
(4) การดาเนนิ การจดั หาพัสดโุ ดยวธิ ตี า่ ง ๆ 1 ชว่ั โมง
(5) การทาบนั ทึกข้อตกลงหรอื สญั ญา 1 ชว่ั โมง
(6) การบริหารสญั ญา การตรวจรบั การควบคมุ งาน 1 ช่ัวโมง
และการตรวจสอบความชารุดบกพร่อง
(7) เทคนิคการบรหิ ารพสั ดุ 1 ช่วั โมง
(8) พระราชบญั ญตั ิความรับผดิ ทางละเมดิ ของเจา้ หน้าท่ี พ.ศ.2539 1 ช่วั โมง
(9) พระราชบญั ญัตวิ ิธปี ฏิบัตริ าชการทางปกครอง พ.ศ.2539 1 ช่วั โมง
358
358 347
(10) คุณธรรมและความโปรง่ ใสในการดาเนินการจดั ซื้อจัดจา้ ง 1 ช่ัวโมง
ของหนว่ ยงานของรัฐ
(11) คุณธรรมและจริยธรรมของผปู้ ฏบิ ัตงิ านดา้ นพสั ดุ 1 ชว่ั โมง
หมวดวชิ ำเฉพำะสำยงำนกำรเงินและบัญชี จำนวน 15 ชวั่ โมง
(1) กฎหมายเกย่ี วกบั การเงนิ การคลงั ภาครัฐและการเบิกจา่ ย 2 ช่ัวโมง
(2) ระเบียบคณะกรรมการบรหิ ารศาลยตุ ธิ รรมว่าด้วย 3 ช่วั โมง
เงนิ ค่าธรรมเนียมศาล เงินค่าปรบั และเงนิ กลาง พ.ศ. 2563
และท่แี ก้ไขเพิม่ เติม
(3) การเบิกจ่ายเงนิ ในคดี และเงนิ อน่ื ทเี่ ก่ียวขอ้ งกับคดคี วาม 3 ชว่ั โมง
(4) กฎหมาย/ระเบียบเกี่ยวกับสวสั ดิการ 2 ชว่ั โมง
(5) กฎหมาย/ระเบียบเกย่ี วกบั คา่ ใชจ้ า่ ยดา้ นบคุ ลากร 2 ชว่ั โมง
(6) หลกั การพื้นฐานด้านการบญั ชี 3 ช่วั โมง
หมวดวิชำเฉพำะสำยงำนกำรตรวจสอบภำยใน จำนวน 15 ช่ัวโมง
(1) มาตรฐานการตรวจสอบภายในและจริยธรรมของผตู้ รวจสอบภายใน 3 ชั่วโมง
(2) ประเภทการตรวจสอบ 2 ชวั่ โมง
(3) การวางแผนการปฏบิ ัตงิ าน 2 ชัว่ โมง
(4) การวางแผนการตรวจสอบ 2 ช่วั โมง
(5) การประเมนิ ความเสย่ี งเพ่ือการวางแผนการตรวจสอบ 2 ชว่ั โมง
(6) เทคนิคการตรวจสอบและการเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล 2 ช่วั โมง
(7) การรายงานผลการตรวจสอบและการตดิ ตามผล 2 ชว่ั โมง
หมวดวิชำเชย่ี วชำญเฉพำะสำยงำนพสั ดุ จำนวน 12 ชั่วโมง
(1) ระเบยี บกระทรวงการคลงั วา่ ดว้ ยการปกครอง ดแู ล บารุงรกั ษา 3 ช่วั โมง
และการใชท้ ร่ี าชพัสดุ พ.ศ.2543 และทแี่ ก้ไขเพิ่มเตมิ
(2) การอทุ ธรณ์ การรอ้ งเรยี น และการทง้ิ งาน 3 ชัว่ โมง
(3) เทคนคิ การเจรจาตอ่ รอง 3 ช่วั โมง
(4) วงจรการบรหิ ารงานพสั ดุ 3 ช่วั โมง
หมวดวิชำเชยี่ วชำญเฉพำะสำยงำนกำรเงินและบัญชี จำนวน 12 ชว่ั โมง
(1) กฎหมาย/ระเบยี บความรบั ผดิ ทางละเมดิ ของเจ้าหนา้ ท่ี 3 ชั่วโมง
(2) การตรวจสอบและวิเคราะหร์ ายงานการเงนิ 3 ชว่ั โมง
(3) การตรวจสอบการปฏบิ ตั ติ ามกฎ ระเบียบ 3 ชัว่ โมง
(4) การตรวจสอบระบบการควบคมุ ภายในทางการเงนิ และบัญชี 3 ชวั่ โมง
หมวดวิชำเชยี่ วชำญเฉพำะสำยงำนกำรตรวจสอบภำยใน จำนวน 12 ช่วั โมง
(1) การตรวจสอบและวเิ คราะหร์ ายงานการเงนิ 3 ชว่ั โมง
(2) เทคนิคการใหค้ าปรกึ ษา 3 ชวั่ โมง
(3) การตรวจสอบการดาเนินงานและการตรวจสอบการปฏบิ ตั ิงาน 3 ชัว่ โมง
(4) เทคโนโลยีสารสนเทศกบั การพฒั นางานตรวจสอบภายใน 3 ช่ัวโมง
359 เ ิงนเ ่ิพมแลกะ คลุามตท่ีอบ๔แทน ิพเศษ
359 348
5. ระยะเวลำกำรฝกึ อบรม
1. หลักสูตรมาตรฐานวิชาชีพด้านการจัดซ้ือจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ
ดา้ นการเงนิ และบญั ชี และด้านการตรวจสอบภายใน ระดับต้น มีจานวนชว่ั โมงในการฝึกอบรมไม่นอ้ ยกว่า
30 ชั่วโมง
2. หลักสูตรมาตรฐานวิชาชีพด้านการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ
ด้านการเงินและบัญชี และด้านการตรวจสอบภายใน ระดับสงู มีจานวนช่วั โมงในการฝึกอบรมไมน่ ้อยกว่า
42 ชั่วโมง
6. วธิ กี ำรดำเนินกำร
การบรรยาย การอภิปราย กรณี ศึกษา ฝึกปฏิบัติ โดยวิธีการฝึกอบรมหรือโดยใช้
สอ่ื อเิ ลก็ ทรอนกิ สอ์ นื่ เช่น Streaming Video Conference หรอื บทเรยี นอเิ ล็กทรอนิกส์ (E - Learning)
7. วทิ ยำกร
ผทู้ รงคุณวฒุ ภิ ายในและภายนอกสานกั งานศาลยตุ ิธรรม
8. สถำนที่จดั ฝกึ อบรม
สถาบันพัฒนาข้าราชการฝ่ายตลุ าการศาลยตุ ิธรรมหรือตามท่ีสานักงานศาลยุติธรรมกาหนด
9. ผลทคี่ ำดวำ่ จะไดร้ ับ
ข้ า ร า ช ก า ร ศ า ล ยุ ติ ธ ร ร ม ที่ ด า ร ง ต า แ ห น่ ง ผู้ อ า น ว ย ก า ร ส า นั ก บ ริ ห า ร ท รั พ ย์ สิ น
ตาแหนง่ ผู้อานวยการสานกั การคลงั ตาแหนง่ ผู้อานวยการสานกั ตรวจสอบภายใน ตาแหน่งนักวิชาการพสั ดุ
ตาแหน่งนักวิชาการเงินและบัญชี ตาแหน่งเจ้าพนักงานการเงินและบัญชี และตาแหน่งนักวิ ชาการ
ตรวจสอบภายใน ได้รับการพั ฒ น าความรู้ ความสามารถ และทั กษะใน การปฏิบัติงาน
ให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผล มีความรู้ความความเข้าใจด้านกฎหมาย กฎ ระเบียบ หลักเกณฑ์
และแนวทางปฏิบัติท่ีเกี่ยวกับการดาเนินงานของสานักงานศาลยุติธรรม และสามารถนาความรู้ท่ีได้รับ
ไปปรบั ใช้หรือประยกุ ตใ์ ชใ้ นการปฏบิ ัติงานได้อยา่ งถกู ต้อง
10. งบประมำณ
ใชง้ บประมาณประจาของสถาบนั พัฒนาขา้ ราชการฝ่ายตุลาการศาลยุติธรรม
11. กำรประเมินผล
๑) ประเมินผลจากการเข้ารับการฝึกอบรม โดยมีเวลาในการฝึกอบรมตลอดหลักสูตร
ไม่น้อยกว่ารอ้ ยละ 85 ของระยะเวลาตามหลักสูตร
หากเป็นการฝึกอบรมรูปแบบบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ (E- Learning) ผ้เู ข้ารับการอบรม
จะต้องปฏิบัติตามหลักเกณฑ์และเงื่อนไขต่าง ๆ และให้ความร่วมมือกับกิจกรรมของหลักสูตร
รวมท้ังศึกษาบทเรียนแต่ละหน้าตามลาดับโดยต้องใช้เวลาในการศึกษาแต่ละหน้าอย่างน้อย 1 นาที
จนครบทกุ บทเรยี น จึงจะมีสิทธิทดสอบความรู้หลงั ฝึกอบรม
2) ทดสอบความรู้หลังฝึกอบรม โดยผู้เข้ารับการฝึกอบรมต้องมีคะแนนทดสอบความรู้
ไม่ต่ากวา่ รอ้ ยละ 60
ทงั้ น้ี ผูท้ ี่ไมผ่ ่านการทดสอบอาจสมัครเข้ารบั การทดสอบความรคู้ ราวต่อไปได้
360
360 349
12. ผู้รบั ผดิ ชอบกำรจดั อบรมและประเมนิ ผล
วิทยาลัยข้าราชการศาลยุตธิ รรม สถาบนั พฒั นาข้าราชการฝา่ ยตุลาการศาลยตุ ิธรรม
กลมุ่ ท่ี 5
กำรดำเนนิ กำรทำงวนิ ัย
กำรอุทธรณ์ กำรรอ้ งทุกข์ และ
กำรส่งเสริมจริยธรรม
361
361 351
12
กำรดำเนนิ กำรทำงวนิ ัยข้ำรำชกำรศำลยตุ ธิ รรม
การดำ�เนนิ กแารลทะกาางรวสินก่งยัลเสมุ กรทามิี่ร๕จอรุทยิธธรรณร์มการรอ้ งทกุ ข์
362
363 352
363
พระราชบัญญัติ
ระเบยี บข้าราชการพลเรอื น
พ.ศ. 2551
ภูมพิ ลอดลุ ยเดช ป.ร. การ ำด�เ ินนกาแรละทกาางรวิ ่สันกงยเลุสมกริ่ทีามร๕จุอ ิรทยธธรรณ์รมการ ้รอง ุทกข์
ใหไ้ ว้ ณ วันที่ 23 มกราคม พ.ศ. 2551
เปน็ ปที ี่ 63 ในรชั กาลปัจจบุ นั
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ
ให้ประกาศวา่
โดยทเ่ี ปน็ การสมควรปรบั ปรุงกฎหมายวา่ ด้วยระเบียบขา้ ราชการพลเรือน
พระราชบัญญตั ินี้มีบทบัญญตั บิ างประการเกย่ี วกับการจากดั สทิ ธิและเสรีภาพของบุคคล
ซ่ึงมาตรา 29 ประกอบกับมาตรา 31 มาตรา 33 มาตรา 43 และมาตรา 64 ของรัฐธรรมนูญ
แห่งราชอาณาจกั รไทย บญั ญัตใิ หก้ ระทาไดโ้ ดยอาศัยอานาจตามบทบัญญตั ิแห่งกฎหมาย
จึงทรงพระกรุณาโปรดเกลา้ ฯ ให้ตราพระราชบัญญัตขิ นึ้ ไวโ้ ดยคาแนะนาและยนิ ยอมของ
สภานิตบิ ัญญัติแห่งชาติ ดังต่อไปนี้
มาตรา 1 พระราชบัญญัติน้ีเรียกว่า “พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน
พ.ศ. 2551”
มาตรา 21 พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับต้ังแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา
เปน็ ตน้ ไป
มาตรา 3 ให้ยกเลิก
(1) พระราชบัญญตั ริ ะเบียบขา้ ราชการพลเรือน พ.ศ. 2535
(2) พระราชบัญญตั ริ ะเบียบขา้ ราชการพลเรอื น (ฉบบั ที่ 2) พ.ศ. 2537
(3) พระราชบญั ญัตริ ะเบยี บขา้ ราชการพลเรือน (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2538
(4) พระราชบัญญตั ิระเบียบขา้ ราชการพลเรอื น (ฉบบั ที่ 4) พ.ศ. 2544
มิให้นาคาส่ังหัวหน้าคณะปฏิรูปการปกครองแผ่นดิน ท่ี 38/2519 ลงวันท่ี
21 ตุลาคม 2519 มาใชบ้ ังคับแก่ขา้ ราชการพลเรอื น
1 ราชกิจจานุเบกษา เลม่ 125/ตอนที่ 22 ก/หน้า 1/25 มกราคม 2551
364
364 353
มาตรา 4 ในพระราชบัญญตั ิน้ี
“ข้าราชการพลเรือน” หมายความว่า บุคคลซึ่งได้รับบรรจุและแต่งตั้งตามพระราชบัญญัติน้ี
ให้รบั ราชการโดยได้รบั เงินเดอื นจากเงนิ งบประมาณในกระทรวง กรมฝ่ายพลเรอื น
“ข้าราชการฝา่ ยพลเรอื น” หมายความว่า ขา้ ราชการพลเรือน และข้าราชการอ่ืนในกระทรวง
กรมฝา่ ยพลเรอื น ตามกฎหมายวา่ ด้วยระเบียบข้าราชการประเภทนั้น
“กระทรวง” หมายความรวมถงึ สานกั นายกรฐั มนตรีและทบวง
“รัฐมนตรีเจ้าสังกัด” หมายความว่า รัฐมนตรีว่าการกระทรวง รัฐมนตรีว่าการทบวง
และหมายความรวมถึงนายกรฐั มนตรีในฐานะเป็นผู้บังคบั บญั ชาสานกั นายกรัฐมนตรี และนายกรัฐมนตรี
หรือรฐั มนตรใี นฐานะเปน็ ผู้บังคบั บญั ชาส่วนราชการที่มีฐานะเปน็ กรมและไมส่ งั กัดกระทรวง
“ปลดั กระทรวง” หมายความรวมถึงปลดั สานักนายกรฐั มนตรีและปลัดทบวง
“กรม” หมายความรวมถึงส่วนราชการทีม่ ฐี านะเป็นกรม
“อธิบดี” หมายความวา่ หวั หน้าส่วนราชการระดับกรมหรอื เทียบเทา่ กรม
“สว่ นราชการ” หมายความว่า ส่วนราชการตามกฎหมายว่าด้วยการปรับปรุงกระทรวง ทบวง
กรม และสว่ นราชการท่ีจดั ตง้ั ขน้ึ ตามกฎหมายวา่ ด้วยระเบยี บบรหิ ารราชการแผน่ ดินและมฐี านะไม่ต่ากวา่ กรม
มาตรา 5 ใหน้ ายกรฐั มนตรีรักษาการตามพระราชบัญญตั ินี้
ลกั ษณะ 1
คณะกรรมการข้าราชการพลเรือน
มาตรา 6 ให้มีคณะกรรมการข้าราชการพลเรือนคณะหน่ึง เรียกโดยย่อว่า “ก.พ.”
ป ร ะ ก อ บ ด้ ว ย น า ย ก รั ฐ ม น ต รี ห รื อ ร อ ง น า ย ก รั ฐ ม น ต รี ท่ี น า ย ก รั ฐ ม น ต รี ม อ บ ห ม า ย เป็ น ป ร ะ ธ า น
ปลัดกระทรวงการคลัง ผู้อานวยการสานักงบประมาณ และเลขาธิการคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจ
และสังคมแห่งชาติ เป็นกรรมการโดยตาแหน่ง และกรรมการซึ่งทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งจาก
ผู้ทรงคุณวุฒิด้านการบริหารทรัพยากรบุคคล ด้านการบริหารและการจัดการ และด้านกฎหมาย
ซ่ึงมีผลงานเป็นท่ีประจักษ์ในความสามารถมาแล้ว และเป็นผู้ท่ีได้รับการสรรหาตามหลักเกณฑ์ วิธีการ
และเงื่อนไขที่กาหนดในกฎ ก.พ. จานวนไม่น้อยกว่าห้าคน แต่ไม่เกินเจ็ดคน และให้เลขาธิการ ก.พ.
เปน็ กรรมการและเลขานกุ าร
กรรมการซ่ึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งต้องไม่เป็นผู้ดารงตาแหน่งทางการเมือง
กรรมการหรือผู้ดารงตาแหน่งท่ีรับผิดชอบในการบริหารพรรคการเมืองหรือเจ้าหน้าท่ีในพรรคการเมือง
และมไิ ด้เปน็ กรรมการโดยตาแหนง่ อย่แู ล้ว
มาตรา 7 กรรมการซ่ึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งให้อยู่ในตาแหน่งได้คราวละ
สามปี ถ้าตาแหนง่ กรรมการว่างลงก่อนกาหนดและยงั มีกรรมการดงั กล่าวเหลอื อยู่อกี ไมน่ ้อยกว่าสามคน
ให้กรรมการทเี่ หลอื ปฏิบัตหิ นา้ ที่ต่อไปได้
365 การ ำด�เ ินนกาแรละทกาางรวิ ่สันกงยเลุสมกริ่ทีามร๕จุอ ิรทยธธรรณ์รมการ ้รอง ุทกข์
365 354
เม่ือตาแหน่งกรรมการว่างลงก่อนกาหนดให้ดาเนินการแต่งตั้งกรรมการแทนภายใน
กาหนดสามสิบวัน เว้นแต่วาระของกรรมการเหลือไม่ถึงหน่ึงร้อยแปดสิบวันจะไมแ่ ต่งต้ังกรรมการแทนก็ได้
ผ้ซู งึ่ ได้รับแตง่ ตั้งเป็นกรรมการแทนนัน้ ให้อย่ใู นตาแหน่งไดเ้ พยี งเท่ากาหนดเวลาของผู้ซ่งึ ตนแทน
กรรมการซง่ึ พ้นจากตาแหน่ง จะทรงพระกรณุ าโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งใหเ้ ป็นกรรมการอีกก็ได้
ในกรณีท่ีกรรมการพ้นจากตาแหน่งตามวาระ แต่ยังมิได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ
แต่งตั้งกรรมการใหม่ ให้กรรมการนัน้ ปฏิบัติหน้าท่ีต่อไปจนกว่าจะได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ แต่งตั้ง
กรรมการใหม่
มาตรา 8 ก.พ. มีอานาจหนา้ ทด่ี ังตอ่ ไปน้ี
(1) เสนอแนะและให้คาปรึกษาแก่คณะรัฐมนตรีเก่ียวกับนโยบายและยุทธศาสตร์
การบริหารทรัพยากรบุคคลภาครัฐในด้านมาตรฐานค่าตอบแทน การบริหารและการพัฒนาทรัพยากรบุคคล
รวมตลอดทงั้ การวางแผนกาลงั คนและด้านอืน่ ๆ เพ่ือใหส้ ว่ นราชการใช้เปน็ แนวทางในการดาเนนิ การ
(2) รายงานคณะรัฐมนตรีเพื่อพิจารณาปรับปรุงเงินเดือน เงินประจาตาแหน่ง เงินเพ่ิม
คา่ ครองชีพ สวสั ดิการ หรือประโยชน์เก้อื กูลอน่ื สาหรับขา้ ราชการฝา่ ยพลเรือนให้เหมาะสม
(3) กาหนดหลักเกณฑ์ วิธกี าร และมาตรฐานการบรหิ ารและพัฒนาทรัพยากรบุคคลของ
ขา้ ราชการพลเรือน เพื่อสว่ นราชการใชเ้ ป็นแนวทางในการดาเนินการ
(4) ใหค้ วามเหน็ ชอบกรอบอตั รากาลงั ของสว่ นราชการ
(5) ออกกฎ ก.พ. และระเบียบเกี่ยวกับการบริหารทรัพยากรบุคคลเพื่อปฏิบัติการตาม
พระราชบัญญัติน้ี รวมตลอดทั้งการใหค้ าแนะนาหรือวางแนวทางในการปฏบิ ตั กิ ารตามพระราชบญั ญัตินี้
กฎ ก.พ. เม่ือไดร้ ับอนมุ ตั จิ ากคณะรฐั มนตรแี ละประกาศในราชกจิ จานเุ บกษาแล้ว ใหใ้ ช้บงั คบั ได้
(6) ตีความและวินิจฉัยปัญหาที่เกิดขึ้นเน่ืองจากการใช้บังคับพระราชบัญญัติน้ี
รวมตลอดทงั้ กาหนดแนวทางปฏิบัติในกรณีทเ่ี ปน็ ปญั หา มติของ ก.พ. ตามข้อน้ี เมอื่ ได้รับความเห็นชอบ
จากคณะรฐั มนตรีแลว้ ให้ใช้บงั คับได้ตามกฎหมาย
(7) กากับ ดูแล ติดตาม ตรวจสอบและประเมินผลการบริหารทรัพยากรบุคคลของ
ข้าราชการพลเรือนในกระทรวงและกรม เพ่ือรักษาความเป็นธรรมและมาตรฐานด้านการบริหาร
ทรัพยากรบุคคล รวมทั้งตรวจสอบและติดตามการปฏิบัติตามพระราชบัญญัตินี้ ในการน้ี ให้มีอานาจ
เรียกเอกสารและหลักฐานจากส่วนราชการ หรือให้ผู้แทนส่วนราชการ ข้าราชการหรือบุคคลใด ๆ
มาชี้แจงข้อเท็จจริง และให้มีอานาจออกระเบียบให้กระทรวง และกรมรายงานเก่ียวกับการบริหาร
ทรพั ยากรบุคคลของข้าราชการพลเรือนทีอ่ ยใู่ นอานาจหนา้ ทไี่ ปยัง ก.พ.
(8) กาหนดนโยบายและออกระเบียบเกี่ยวกับทุนเล่าเรียนหลวงและทุนของรัฐบาล
ให้สอดคล้องกับนโยบายการบริหารทรัพยากรบุคคลของข้าราชการฝ่ายพลเรือน ตลอดจนจัดสรร
ผรู้ ับทนุ ทีส่ าเร็จการศึกษาแล้วเขา้ รบั ราชการในกระทรวงและกรมหรือหน่วยงานของรัฐ
(9) ออกข้อบังคับหรือระเบียบเกี่ยวกับการจัดการการศึกษาและควบคุมดูแล
และการให้ความช่วยเหลือบุคลากรภาครัฐ นักเรียนทุนเล่าเรียนหลวง นักเรียนทุนของรัฐบาล
และนักเรียนทุนส่วนตัวท่ีอยู่ในความดูแลของ ก.พ. ตลอดจนการเก็บเงินชดเชยค่าใช้จ่ายในการดูแล
จัดการการศึกษา ท้ังน้ี ให้ถือว่าเงินชดเชยค่าใช้จ่ายในการดูแลจัดการการศึกษาเป็นเงินรายรับ
366
366 355
ของส่วนราชการที่เป็นสถานอานวยบริการอันเป็นสาธารณประโยชน์ ตามความหมายในกฎหมาย
ว่าดว้ ยวิธกี ารงบประมาณ
(1 0) กาหนดหลักเกณ ฑ์และวิธีการเพื่อรับรองคุณ วุฒิ ของผู้ได้รับปริญ ญ า
ประกาศนยี บัตรวิชาชีพหรือคณุ วฒุ ิอย่างอื่น เพอื่ ประโยชนใ์ นการบรรจแุ ละแตง่ ต้ังเป็นข้าราชการพลเรอื น
และการกาหนดอัตราเงินเดือนหรือค่าตอบแทน รวมท้ังระดับตาแหน่งและประเภทตาแหน่งสาหรับ
คุณวฒุ ิดังกล่าว
(11) กาหนดอัตราค่าธรรมเนียมในการปฏิบัติการเกี่ยวกับการบริหารทรัพยากรบุคคล
ตามพระราชบัญญตั นิ ้ี
(12) พิจารณาจดั ระบบทะเบียนประวัติและแก้ไขทะเบียนประวัตเิ กีย่ วกับวนั เดอื น ปีเกิด
และการควบคมุ เกษยี ณอายุของข้าราชการพลเรือน
(13) ปฏบิ ัติหนา้ ทอี่ นื่ ตามทบี่ ัญญัตไิ วใ้ นพระราชบัญญตั ินแ้ี ละกฎหมายอืน่
การออกกฎ ก.พ. ตาม (5) ในกรณีที่เห็นสมควร ให้สานักงาน ก.พ. หารือกระทรวง
ท่ีเก่ยี วขอ้ งเพอื่ ประกอบการพิจารณาของ ก.พ. ด้วย
มาตรา 9 ในกรณีท่ี ก.พ. มีมตวิ า่ กระทรวง กรม หรอื ผู้มีหน้าที่ปฏบิ ตั ิตามพระราชบญั ญตั ินี้
ไมป่ ฏิบตั ิตามพระราชบัญญตั นิ ี้ หรือปฏิบตั ิการโดยขัดหรอื แย้งกับแนวทางตามท่ีกาหนดในพระราชบัญญัติน้ี
ให้ ก.พ. แจ้งให้กระทรวง กรม หรือผู้มีหน้าที่ปฏิบัติดังกล่าวดาเนินการแก้ไข ยกเลิก หรือยุติ
การดาเนินการดังกล่าวภายในเวลาท่ีกาหนดในกรณีที่กระทรวง กรม หรือผู้มีหน้าท่ีปฏิบัติดังกล่าว
ไม่ดาเนินการตามมติ ก.พ. ภายในเวลาที่กาหนดโดยไม่มีเหตุอันสมควร ให้ถือว่าปลัดกระทรวง อธิบดี
หรอื ผูม้ หี นา้ ท่ีปฏบิ ัตดิ ังกล่าว แล้วแตก่ รณี กระทาผิดวินัย
การดาเนินการทางวินัยตามวรรคหนึ่งและการส่ังลงโทษให้เป็นอานาจหน้าท่ีของ ก.พ.
ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเง่ือนไขทีก่ าหนดในกฎ ก.พ.
ในกรณีที่ผู้ไม่ปฏิบัติการตามมติ ก.พ. ตามวรรคหนึ่งเป็นรัฐมนตรีเจ้าสังกัด ให้ ก.พ.
รายงานนายกรฐั มนตรีเพ่ือพิจารณาสั่งการตามท่เี ห็นสมควรต่อไป
มาตรา 10 ในกรณีที่ ก.พ. เห็นว่าการบริหารทรัพยากรบุคคลในเรื่องใดที่ข้าราชการ
ฝา่ ยพลเรือนทุกประเภทหรือบางประเภทควรมีมาตรฐานหรอื หลักเกณฑเ์ ดยี วกนั ให้ ก.พ. จัดให้มกี ารประชุม
เพื่อหารือร่วมกันระหว่างผู้แทน ก.พ. ผู้แทน ก.พ.ร. และผู้แทนองค์กรกลางบริหารงานบุคคลของ
ข้าราชการฝ่ายพลเรือนประเภทตา่ ง ๆ ที่เก่ียวขอ้ ง เพื่อกาหนดมาตรฐานหรือหลักเกณฑก์ ลางการบริหาร
ทรัพยากรบุคคลในเร่ืองน้ันเสนอต่อคณะรัฐมนตรี และเม่ือคณะรัฐมนตรีให้ความเห็นชอบแล้ว
ใหใ้ ชบ้ ังคบั มาตรฐานหรอื หลักเกณฑก์ ลางดงั กล่าวกบั ขา้ ราชการฝ่ายพลเรือนทกุ ประเภทหรอื ประเภทนนั้ ๆ
แล้วแต่กรณี
ความในวรรคหน่ึงให้ใช้บังคับกับกรณีที่มีปัญหาเกี่ยวกับวิธีการบริหารทรัพยากรบุคคล
ของรัฐในเรอื่ งใดเร่ืองหน่ึงดว้ ยโดยอนุโลม
367 การ ำด�เ ินนกาแรละทกาางรวิ ่สันกงยเลุสมกริ่ทีามร๕จุอ ิรทยธธรรณ์รมการ ้รอง ุทกข์
367 356
มาตรา 11 ให้นาบทบัญญัติว่าด้วยคณะกรรมการท่ีมีอานาจดาเนินการพิจารณา
ทางปกครองตามกฎหมายว่าด้วยวิธีปฏิบัติราชการทางปกครองมาใช้บังคับแก่การประชุม ก.พ.
โดยอนโุ ลม เว้นแตก่ รณีตามมาตรา 36 วรรคสอง
มาตรา 12 ก.พ. มอี านาจแต่งต้ังคณะอนุกรรมการวิสามัญ เรยี กโดยย่อว่า “อ.ก.พ. วิสามัญ”
เพื่อทาการใด ๆ แทนได้
จานวน คุณสมบัติ หลักเกณฑแ์ ละวธิ ีการแต่งตั้ง อ.ก.พ. วิสามัญ รวมตลอดทั้งวิธีการได้มา
วาระการดารงตาแหนง่ และการพ้นจากตาแหน่งใหเ้ ปน็ ไปตามทีก่ าหนดในกฎ ก.พ.
มาตรา 13 ให้มีสานักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน เรียกโดยย่อว่า “สานักงาน ก.พ.”
โดยมีเลขาธิการ ก.พ. เป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการและบริหารราชการของสานักงาน ก.พ. ขึ้นตรงต่อ
นายกรัฐมนตรี
สานกั งาน ก.พ. มอี านาจหนา้ ทีด่ งั ต่อไปนี้
(1) เป็นเจ้าหน้าที่เกี่ยวกับการดาเนินงานในหน้าที่ของ ก.พ. และ ก.พ.ค. และ
ดาเนนิ การตามท่ี ก.พ. หรอื ก.พ.ค. มอบหมาย
(2) เสนอแนะและให้คาปรึกษาแก่กระทรวง กรม เก่ียวกับหลักเกณฑ์ วิธีการ และ
แนวทางการบรหิ ารทรพั ยากรบคุ คลภาครัฐ
(3) พัฒนา ส่งเสริม วิเคราะห์ วิจัยเกี่ยวกับนโยบาย ยุทธศาสตร์ ระบบ หลักเกณฑ์
วธิ กี าร และมาตรฐานดา้ นการบริหารทรพั ยากรบคุ คลของขา้ ราชการพลเรือน
(4) ตดิ ตามและประเมนิ ผลการบริหารทรพั ยากรบคุ คลของขา้ ราชการพลเรอื น
(5) ดาเนินการเกี่ยวกบั แผนกาลังคนของขา้ ราชการพลเรอื น
(6) เปน็ ศนู ย์กลางขอ้ มูลทรัพยากรบุคคลภาครัฐ
(7) จัดทายุทธศาสตร์ ประสานและดาเนินการเกี่ยวกับการพัฒนาทรัพยากรบุคคลของ
ข้าราชการฝา่ ยพลเรือน
(8) สง่ เสริม ประสานงาน เผยแพร่ ใหค้ าปรึกษาแนะนา และดาเนินการเก่ยี วกบั การจัด
สวสั ดิการและการเสริมสรา้ งคุณภาพชวี ิตสาหรับทรัพยากรบุคคลภาครัฐ
(9) ดาเนินการเก่ียวกับทุนเล่าเรียนหลวงและทุนของรัฐบาลตามนโยบายและระเบียบ
ของ ก.พ. ตามมาตรา 8 (8)
(10) ดาเนินการเกี่ยวกับการดูแลบุคลากรภาครัฐและนักเรียนทุนตามข้อบังคับหรือ
ระเบยี บของ ก.พ. ตามมาตรา 8 (9)
(11) ดาเนนิ การเก่ียวกับการรับรองคุณวุฒิของผ้ไู ด้รับปริญญา ประกาศนียบัตรวิชาชีพ
หรอื คณุ วฒุ ิอยา่ งอ่ืน เพอื่ ประโยชนใ์ นการบรรจแุ ละแตง่ ต้งั เป็นขา้ ราชการพลเรอื น และการกาหนดอัตรา
เงินเดอื นหรือค่าตอบแทน รวมทง้ั ระดบั ตาแหน่งและประเภทตาแหน่งสาหรับคุณวุฒิดังกลา่ ว
(12) ดาเนินการเก่ียวกับการรักษาทะเบียนประวัติและการควบคุมเกษียณอายุของ
ขา้ ราชการพลเรอื น
(13) จัดทารายงานประจาปีเก่ียวกับการบริหารทรัพยากรบุคคลในราชการพลเรือน
เสนอตอ่ ก.พ. และคณะรฐั มนตรี
368
368 357
(14) ปฏิบัติหน้าที่อ่ืนตามที่บัญญัติไว้ในพระราชบัญญัตินี้ กฎหมายอื่น หรือตามที่
คณะรัฐมนตรี นายกรฐั มนตรี หรอื ก.พ. มอบหมาย
มาตรา 14 ให้มีคณะอนุกรรมการสามัญ เรียกโดยย่อว่า “อ.ก.พ. สามัญ” เพื่อเป็น
องค์กรบริหารทรพั ยากรบคุ คลในส่วนราชการตา่ ง ๆ ดงั นี้
(1) คณะอนุกรรมการสามัญประจากระทรวง เรียกโดยย่อว่า “อ.ก.พ. กระทรวง” โดยออก
นามกระทรวง
(2) คณะอนุกรรมการสามัญประจากรม เรียกโดยย่อวา่ “อ.ก.พ. กรม” โดยออกนามกรม
(3) คณะอนกุ รรมการสามญั ประจาจังหวัด เรยี กโดยย่อวา่ “อ.ก.พ. จังหวดั ” โดยออกนามจังหวัด
(4) คณะอนกุ รรมการสามัญประจาส่วนราชการอนื่ นอกจากสว่ นราชการตาม (1) (2) และ (3)
การเรียกช่ือ องค์ประกอบ และอานาจหน้าท่ีของ อ.ก.พ. ตาม (4) ให้เป็นไปตามที่
กาหนดในกฎ ก.พ.
มาตรา 15 อ.ก.พ. กระทรวง ประกอบด้วยรัฐมนตรีเจ้าสังกดั เป็นประธาน ปลัดกระทรวง
เป็นรองประธาน และผู้แทน ก.พ. ซ่ึงต้ังจากข้าราชการพลเรือนในสานักงาน ก.พ. หน่ึงคน
เป็นอนุกรรมการโดยตาแหน่ง และอนุกรรมการซง่ึ ประธาน อ.ก.พ. แตง่ ตงั้ จาก
(1) ผู้ทรงคุณวุฒิด้านการบริหารทรัพยากรบุคคล ด้านการบริหารและการจัดการ และ
ดา้ นกฎหมาย ซงึ่ มีผลงานเป็นที่ประจักษ์ในความสามารถมาแล้ว และมิได้เป็นข้าราชการในกระทรวงน้ัน
จานวนไม่เกินสามคน
(2) ข้าราชการพลเรือนผู้ดารงตาแหน่งประเภทบริหารระดับสูงในกระทรวงนั้น ซ่ึงได้
รับเลือกจากขา้ ราชการพลเรือนผูด้ ารงตาแหนง่ ดงั กล่าว จานวนไม่เกนิ ห้าคน
ให้ อ.ก.พ. นตี้ ง้ั เลขานกุ ารหน่ึงคน
มาตรา 16 อ.ก.พ. กระทรวง มีอานาจหน้าที่ดังต่อไปนี้
(1) พิจารณากาหนดนโยบาย ระบบ และระเบียบวิธีการบริหารทรัพยากรบุคคล
ในกระทรวงซงึ่ ตอ้ งสอดคล้องกับหลักเกณฑ์ วิธีการ และมาตรฐานที่ ก.พ. กาหนดตามมาตรา 8 (3)
(2) พจิ ารณาการเกลี่ยอตั รากาลังระหว่างสว่ นราชการตา่ ง ๆ ภายในกระทรวง
(3) พิจารณาเกี่ยวกับการดาเนินการทางวินัยและการสั่งให้ออกจากราชการ
ตามท่บี ญั ญตั ิไวใ้ นพระราชบัญญตั ินี้
(4) ปฏิบัติการอ่ืนตามพระราชบัญ ญั ติน้ีและช่วย ก.พ. ปฏิบัติการให้เป็นไป
ตามพระราชบัญญัตินต้ี ามที่ ก.พ. มอบหมาย
มาตรา 17 อ.ก.พ. กรม ประกอบดว้ ยอธิบดี เป็นประธาน รองอธิบดีทอี่ ธิบดีมอบหมาย
หนึง่ คน เป็นรองประธาน และอนุกรรมการซึง่ ประธาน อ.ก.พ. แต่งต้ังจาก
(1) ผู้ทรงคุณวุฒิด้านการบริหารทรัพยากรบุคคล ด้านการบริหารและการจัดการและ
ด้านกฎหมาย ซ่ึงมีผลงานเป็นท่ีประจักษ์ในความสามารถมาแล้ว และมิได้เป็นข้าราชการในกรมน้ัน
จานวนไม่เกนิ สามคน
369 การ ำด�เ ินนกาแรละทกาางรวิ ่สันกงยเลุสมกริ่ทีามร๕จุอ ิรทยธธรรณ์รมการ ้รอง ุทกข์
369 358
(2) ข้าราชการพลเรือนซ่ึงดารงตาแหน่งประเภทบริหารหรอื ประเภทอานวยการในกรมนั้น
ซงึ่ ไดร้ บั เลือกจากขา้ ราชการพลเรือนผดู้ ารงตาแหนง่ ดงั กล่าว จานวนไมเ่ กินหกคน
ให้ อ.ก.พ. นต้ี ั้งเลขานุการหนง่ึ คน
มาตรา 18 อ.ก.พ. กรม มอี านาจหน้าท่ีดงั ตอ่ ไปนี้
(1) พิจารณากาหนดนโยบาย ระบบ และระเบียบวิธกี ารบริหารทรัพยากรบุคคลในกรม
ซ่ึงต้องสอดคล้องกับหลักเกณฑ์ วิธีการ และมาตรฐานท่ี ก.พ. กาหนดตามมาตรา 8 (3) และนโยบาย
และระบบการบรหิ ารทรัพยากรบคุ คลที่ อ.ก.พ. กระทรวงกาหนดตามมาตรา 16 (1)
(2) พิจารณาการเกลี่ยอัตรากาลงั ระหว่างส่วนราชการต่าง ๆ ภายในกรม
(3) พิจารณาเกี่ยวกับการดาเนินการทางวินัยและการส่ังให้ออกจากราชการตามท่ี
บัญญตั ไิ ว้ในพระราชบญั ญตั นิ ้ี
(4) ปฏิบัติการอ่ืนตามพระราชบัญญัติน้ีและช่วย ก.พ. ปฏิบัติการให้เป็นไปตามพระราชบัญญัตินี้
ตามท่ี ก.พ. มอบหมาย
มาตรา 19 อ.ก.พ. จังหวัด ประกอบด้วยผู้ว่าราชการจังหวัด เป็นประธาน
รองผู้ว่าราชการจังหวัดท่ีผู้ว่าราชการจังหวัดมอบหมายหนึ่งคน เป็นรองประธาน และอนุกรรมการ
ซึ่งประธาน อ.ก.พ. แตง่ ตั้งจาก
(1) ผู้ทรงคุณวุฒิด้านการบริหารทรัพยากรบุคคล ด้านการบริหารและการจัดการ และ
ด้านกฎหมาย ซึ่งมีผลงานเป็นที่ประจักษ์ในความสามารถมาแล้ว และมิได้เป็นข้าราชการพลเรือน
ในจงั หวดั นั้น จานวนไม่เกินสามคน
(2) ขา้ ราชการพลเรือนซึ่งดารงตาแหน่งประเภทบริหารหรือประเภทอานวยการ ซ่งึ กระทรวง
หรือกรมแต่งตั้งไปประจาจังหวัดนั้น และได้รับเลือกจากข้าราชการพลเรือนผู้ดารงตาแหน่งดังกล่าว
จานวนไม่เกนิ หกคน ซง่ึ แตล่ ะคนต้องไม่สงั กดั กระทรวงเดยี วกัน
ให้ อ.ก.พ. น้ตี ัง้ เลขานุการหนึ่งคน
มาตรา 20 อ.ก.พ. จงั หวัด มอี านาจหนา้ ท่ดี ังต่อไปนี้
(1) พิจารณากาหนดแนวทางและวิธีการบริหารทรัพยากรบุคคล ซ่ึงต้องสอดคล้องกับ
หลักเกณฑ์ วิธีการ และมาตรฐานท่ี ก.พ. กาหนดตามมาตรา 8 (3)
(2) พิจารณาเกี่ยวกับการดาเนินการทางวินัยและการส่ังให้ออกจากราชการตามท่ี
บญั ญตั ิไว้ในพระราชบัญญตั นิ ี้
(3) ปฏิบตั ิตามที่ อ.ก.พ. กระทรวง หรอื อ.ก.พ. กรม มอบหมาย
(4) ปฏิบัติการอ่ืนตามพระราชบัญญัตินี้และช่วย ก.พ. ปฏิบัติการให้เป็นไปตาม
พระราชบญั ญัตินต้ี ามที่ ก.พ. มอบหมาย
มาตรา 2 1 หลักเกณ ฑ์และวิธีการสรรหาหรือการเลือกบุคคลเพ่ือแต่งตั้ง
เป็นอนุกรรมการตามมาตรา 15 (1) และ (2) มาตรา 17 (1) และ (2) และมาตรา 19 (1) และ (2)
วาระการดารงตาแหนง่ และจานวนขั้นต่าของอนุกรรมการดงั กลา่ ว ใหเ้ ปน็ ไปตามท่ีกาหนดในกฎ ก.พ.
370
370 359
มาตรา 22 ในกรณีท่ีกระทรวงใดมีเหตุพิเศษ ก.พ. จะอนุมัติให้มีแต่ อ.ก.พ. กระทรวง
เพ่อื ทาหน้าที่ อ.ก.พ. กรม ก็ได้
ในกรณีส่วนราชการท่ีมีฐานะเป็นกรมและไม่สังกัดกระทรวง แต่อยู่ในบังคับบัญชาของ
นายกรัฐมนตรีหรือรัฐมนตรี หรือส่วนราชการที่มีฐานะเป็นกรมและมีหัวหน้าส่วนราชการรับผิดชอบ
ในการปฏิบัติราชการข้ึนตรงต่อนายกรฐั มนตรีหรือตอ่ รัฐมนตรี ให้บรรดาอานาจหน้าที่ของ อ.ก.พ. กระทรวง
เป็นอานาจหน้าท่ีของ อ.ก.พ. กรมด้วย แต่ในการปฏิบัติหน้าที่ดังกล่าว ให้มีรัฐมนตรีเจ้าสังกัด
เป็นประธาน และอธบิ ดเี ป็นรองประธาน และผแู้ ทน ก.พ. ซง่ึ ต้งั จากขา้ ราชการพลเรอื นในสานกั งาน ก.พ.
หน่งึ คน เปน็ อนุกรรมการโดยตาแหนง่
ในกรณีสานกั งานรัฐมนตรี ให้ อ.ก.พ. กรมของสานักงานปลัดกระทรวงทาหน้าที่ อ.ก.พ. กรม
ของสานักงานรัฐมนตรี
มาตรา 23 ให้นามาตรา 11 มาใช้บังคับแก่การประชุมของ อ.ก.พ. วิสามัญ และ
อ.ก.พ. สามญั โดยอนุโลม
ลักษณะ 2
คณะกรรมการพิทักษร์ ะบบคุณธรรม
มาตรา 24 ให้มีคณะกรรมการพิทักษ์ระบบคุณธรรมคณะหนึ่ง เรียกโดยย่อว่า
“ก.พ.ค.” ประกอบดว้ ยกรรมการจานวนเจด็ คนซึง่ ทรงพระกรณุ าโปรดเกล้าฯ แต่งตง้ั ตามมาตรา 26
กรรมการ ก.พ.ค. ตอ้ งทางานเต็มเวลา
ใหเ้ ลขาธิการ ก.พ. เปน็ เลขานุการของ ก.พ.ค.
มาตรา 25 ผจู้ ะไดร้ บั การแต่งตง้ั เปน็ กรรมการ ก.พ.ค. ตอ้ งมคี ุณสมบตั ดิ งั ตอ่ ไปน้ี
(1) มีสญั ชาตไิ ทย
(2) มอี ายไุ ม่ตา่ กวา่ สสี่ ิบหา้ ปี
(3) มคี ณุ สมบัตอิ ืน่ อยา่ งหนง่ึ อยา่ งใด ดงั ต่อไปน้ี
(ก) เป็นหรือเคยเป็นกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน
คณะกรรมการข้าราชการครู คณะกรรมการข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา คณะกรรมการ
ข้าราชการพลเรือนในมหาวิทยาลัย คณะกรรมการข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา หรือ
คณะกรรมการข้าราชการตารวจ
(ข) เปน็ หรอื เคยเปน็ กรรมการกฤษฎีกา
(ค) รับราชการหรือเคยรับราชการในตาแหน่งไม่ต่ากว่าผู้พิพากษาศาลอุทธรณ์หรือ
เทียบเท่า หรอื ตลุ าการหัวหน้าคณะศาลปกครองชน้ั ตน้
(ง) รับราชการหรอื เคยรบั ราชการในตาแหน่งไมต่ ่ากวา่ อัยการพเิ ศษประจาเขตหรือ
เทียบเทา่
371 การ ำด�เ ินนกาแรละทกาางรวิ ่สันกงยเลุสมกริ่ทีามร๕จุอ ิรทยธธรรณ์รมการ ้รอง ุทกข์
371 360
(จ) รับราชการหรอื เคยรบั ราชการในตาแหนง่ ประเภทบรหิ ารระดบั สูงหรอื เทยี บเทา่
ตามที่ ก.พ. กาหนด
(ฉ) เป็นหรือเคยเป็นผู้สอนวิชาในสาขานิติศาสตร์ รัฐศาสตร์ รัฐประศาสนศาสตร์
เศรษฐศาสตร์ สังคมศาสตร์ หรือวิชาท่ีเกี่ยวกับการบริหารราชการแผ่นดินในสถาบันอุดมศึกษา
และดารงตาแหน่งหรือเคยดารงตาแหน่งไม่ต่ากว่ารองศาสตราจารย์ แต่ในกรณีท่ีดารงตาแหน่ง
รองศาสตราจารย์ตอ้ งดารงตาแหน่งหรอื เคยดารงตาแหนง่ มาแลว้ ไมน่ อ้ ยกวา่ ห้าปี
มาตรา 26 ให้มีคณะกรรมการคัดเลือกกรรมการ ก.พ.ค. ประกอบด้วยประธาน
ศาลปกครองสูงสุด เป็นประธาน รองประธานศาลฎีกาท่ีได้รับมอบหมายจากประธานศาลฎีกาหน่ึงคน
กรรมการ ก.พ. ผู้ทรงคุณวุฒิหนึ่งคนซ่ึงได้รับเลือกโดย ก.พ. และให้เลขาธิการ ก.พ. เป็นกรรมการและ
เลขานุการ
ให้คณะกรรมการคัดเลือกมีหน้าท่ีคัดเลือกบุคคลผู้มีคุณสมบัติตามมาตรา 25
จานวนเจด็ คน
ใหผ้ ไู้ ด้รับคดั เลือกตามวรรคสองประชมุ และเลือกกันเองให้คนหนง่ึ เปน็ ประธานกรรมการ
ก.พ.ค. แลว้ ใหน้ ายกรฐั มนตรนี าความกราบบังคมทลู เพือ่ ทรงพระกรุณาโปรดเกลา้ ฯ แต่งต้ัง
หลักเกณฑ์และวธิ ีการคดั เลอื กกรรมการ ก.พ.ค. ใหเ้ ปน็ ไปตามทค่ี ณะกรรมการคัดเลอื กกาหนด
มาตรา 27 กรรมการ ก.พ.ค. ตอ้ งไมม่ ีลักษณะตอ้ งห้าม ดงั ต่อไปนี้
(1) เปน็ ขา้ ราชการ
(2) เปน็ พนกั งานหรือลูกจ้างของหนว่ ยงานของรฐั หรอื บคุ คลใด
(3) เป็นผู้ดารงตาแหน่งทางการเมือง กรรมการหรือผู้ดารงตาแหน่งที่รับผิดชอบ
ในการบรหิ ารพรรคการเมอื ง สมาชกิ พรรคการเมืองหรือเจา้ หนา้ ทใ่ี นพรรคการเมอื ง
(4) เป็นกรรมการในรฐั วสิ าหกจิ
(5) เปน็ กรรมการในองค์กรกลางบริหารงานบคุ คลในหน่วยงานของรฐั
(6) ประกอบอาชีพหรือวิชาชพี อยา่ งอื่นหรอื ดารงตาแหน่งหรอื ประกอบการใด ๆ หรือเป็น
กรรมการในหนว่ ยงานของรฐั หรือเอกชน อนั ขดั ตอ่ การปฏบิ ัตหิ น้าทต่ี ามทก่ี าหนดในพระราชกฤษฎกี า
มาตรา 28 ผู้ได้รับคัดเลือกเป็นกรรมการ ก.พ.ค. ผู้ใดมีลักษณะต้องห้ามตามมาตรา 27
ผู้นั้นต้องลาออกจากการเป็นบุคคลซ่ึงมีลักษณะต้องห้ามหรือแสดงหลักฐานให้เป็นท่ีเช่ือได้ว่าตนได้เลิก
การประกอบอาชีพหรือวชิ าชีพหรือการประกอบการอนั มลี กั ษณะต้องห้ามดงั กล่าวตอ่ เลขานุการ ก.พ.ค.
ภายในสบิ หา้ วันนับแตว่ นั ทไ่ี ดร้ ับคดั เลือก
ในกรณีท่ีผู้ได้รับคัดเลือกเป็นกรรมการ ก.พ.ค. มิได้ลาออกหรือเลิกการประกอบอาชีพ
หรือวิชาชีพหรือการประกอบการดังกล่าวภายในเวลาท่ีกาหนดตามวรรคหนึ่ง ให้ถือว่าผู้น้ันมิเคย
ไดร้ ับคัดเลอื กเป็นกรรมการ ก.พ.ค. และให้ดาเนินการคดั เลอื กกรรมการ ก.พ.ค. ข้ึนใหม่
มาตรา 29 กรรมการ ก.พ.ค. มีวาระการดารงตาแหน่งหกปีนับแต่วนั ท่ีทรงพระกรุณา
โปรดเกล้าฯ แต่งต้ัง และให้ดารงตาแหนง่ ได้เพยี งวาระเดยี ว
372
372 361
ให้กรรมการ ก.พ.ค. ซึ่งพ้นจากตาแหนง่ ตามวาระ อยู่ในตาแหน่งเพ่ือปฏิบัติหน้าท่ีต่อไป
จนกวา่ จะไดท้ รงพระกรุณาโปรดเกลา้ ฯ แต่งตง้ั กรรมการ ก.พ.ค. ใหม่
มาตรา 30 นอกจากการพน้ จากตาแหน่งตามวาระ กรรมการ ก.พ.ค. พ้นจากตาแหน่งเมื่อ
(1) ตาย
(2) ลาออก
(3) มีอายคุ รบเจด็ สบิ ปบี รบิ รู ณ์
(4) ขาดคณุ สมบัตหิ รือมลี กั ษณะตอ้ งห้ามตามมาตรา 25 หรอื มาตรา 27
(5) ต้องคาพิพากษาถึงที่สุดให้จาคุก แม้จะมีการรอการลงโทษ เว้นแต่เป็นการรอการลงโทษ
ในความผดิ อนั ได้กระทาโดยประมาท ความผิดลหุโทษ หรือความผิดฐานหม่ินประมาท
(6) ไม่สามารถปฏิบัตงิ านไดเ้ ตม็ เวลาอยา่ งสม่าเสมอตามระเบียบของ ก.พ.ค.
เม่ือมีกรณีตามวรรคหน่ึง ให้กรรมการ ก.พ.ค. เท่าท่ีเหลืออยู่ปฏิบัติหน้าที่ต่อไปได้ และ
ให้ถือว่า ก.พ.ค. ประกอบด้วยกรรมการ ก.พ.ค. เท่าที่เหลืออยู่ เว้นแต่มีกรรมการ ก.พ.ค. เหลืออยู่
ไม่ถึงห้าคน
เมื่อมีกรณีตามวรรคหน่ึงหรือกรณีที่กรรมการ ก.พ.ค. พ้นจากตาแหน่งตามวาระ
ให้คณะกรรมการคัดเลือกดาเนินการคัดเลือกกรรมการ ก.พ.ค. แทนกรรมการ ก.พ.ค. ซ่ึงพ้นจาก
ตาแหน่งโดยเรว็
มาตรา 31 ก.พ.ค. มอี านาจหนา้ ท่ดี งั ตอ่ ไปน้ี
(1) เสนอแนะต่อ ก.พ. หรือองค์กรกลางบริหารงานบุคคลอ่ืน เพื่อให้ ก.พ. หรือ
องค์กรกลางบริหารงานบุคคลอื่น ดาเนินการจัดให้มีหรือปรับปรุงนโยบายการบริหารทรัพยากรบุคคล
ในส่วนที่เก่ยี วกบั การพิทกั ษ์ระบบคุณธรรม
(2) พิจารณาวินจิ ฉยั อุทธรณ์ตามมาตรา 114
(3) พจิ ารณาวินิจฉยั เรือ่ งรอ้ งทุกขต์ ามมาตรา 123
(4) พิจารณาเร่ืองการค้มุ ครองระบบคณุ ธรรมตามมาตรา 126
(5) ออกกฎ ก.พ.ค. ระเบียบ หลักเกณฑ์ และวิธีการเพื่อปฏิบัติการตามพระราชบัญญัติน้ี
กฎ ก.พ.ค. เมื่อประกาศในราชกจิ จานเุ บกษาแล้ว ใหใ้ ชบ้ งั คับได้
(6) แต่งตั้งบุคคลซึ่งมีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้ามตามที่ ก.พ.ค. กาหนด
เพื่อเป็นกรรมการวนิ จิ ฉัยอทุ ธรณ์หรอื เปน็ กรรมการวนิ ิจฉยั ร้องทกุ ข์
มาตรา 32 ให้กรรมการ ก.พ.ค. กรรมการวินิจฉัยอุทธรณ์ และกรรมการวินิจฉัยร้องทุกข์
ได้รับเงินประจาตาแหน่งและประโยชน์ตอบแทนอย่างอ่ืนตามท่ีกาหนดในพระราชกฤษฎีกา และให้มีสิทธิ
ได้รับคา่ ใชจ้ า่ ยในการเดินทางตามพระราชกฤษฎกี าว่าด้วยค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการเช่นเดียวกับ
ผดู้ ารงตาแหน่งประเภทบรหิ ารระดับสูง
มาตรา 33 การประชุมของคณะกรรมการ ก.พ.ค. กรรมการวินิจฉัยอุทธรณ์ และ
กรรมการวินจิ ฉยั รอ้ งทุกข์ ให้เป็นไปตามระเบยี บท่ี ก.พ.ค. กาหนด
373 362
373
ลกั ษณะ 3
บททัว่ ไป
มาตรา 34 การจัดระเบียบขา้ ราชการพลเรอื นตอ้ งเป็นไปเพื่อผลสมั ฤทธิ์ตอ่ ภารกิจของรัฐ การ ำด�เ ินนกาแรละทกาางรวิ ่สันกงยเลุสมกริ่ทีามร๕จุอ ิรทยธธรรณ์รมการ ้รอง ุทกข์
ความมีประสิทธิภาพ และความคุ้มค่า โดยให้ข้าราชการปฏิบัติราชการอย่างมีคุณภาพ คุณธรรม และ
มีคณุ ภาพชวี ติ ทีด่ ี
มาตรา 35 ข้าราชการพลเรอื นมี 2 ประเภท คอื
(1) ข้าราชการพลเรือนสามัญ ไดแ้ ก่ ขา้ ราชการพลเรอื นซงึ่ รับราชการโดยได้รับบรรจุแต่งตั้ง
ตามท่ีบัญญตั ิไวใ้ นลกั ษณะ 4 ขา้ ราชการพลเรอื นสามัญ
(2) ข้าราชการพลเรือนในพระองค์ ได้แก่ ข้าราชการพลเรือนซ่ึงรับราชการโดยได้รับ
บรรจุแต่งต้ังให้ดารงตาแหน่งในพระองคพ์ ระมหากษัตริย์ตามทีก่ าหนดในพระราชกฤษฎกี า
มาตรา 36 ผทู้ ี่จะเข้ารบั ราชการเปน็ ข้าราชการพลเรือนต้องมคี ณุ สมบตั ิท่ัวไป และไม่มี
ลกั ษณะต้องห้ามดงั ต่อไปน้ี
ก. คุณสมบัตทิ ัว่ ไป
(1) มสี ญั ชาตไิ ทย
(2) มีอายุไม่ต่ากว่าสิบแปดปี
(3) เป็นผู้เลื่อมใสในการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์
ทรงเปน็ ประมขุ ดว้ ยความบรสิ ทุ ธิ์ใจ
ข. ลักษณะต้องหา้ ม
(1) เปน็ ผู้ดารงตาแหนง่ ทางการเมือง
(2) เป็นคนไร้ความสามารถ คนเสมือนไร้ความสามารถ คนวิกลจรติ หรอื จิตฟั่นเฟือน
ไม่สมประกอบ หรือเป็นโรคตามทีก่ าหนดในกฎ ก.พ.
(3) เป็นผู้อยู่ในระหว่างถูกสั่งพักราชการหรือถูกส่ังให้ออกจากราชการไว้ก่อน
ตามพระราชบัญญัตนิ ห้ี รือตามกฎหมายอ่ืน
(4) เป็นผบู้ กพรอ่ งในศีลธรรมอันดจี นเปน็ ที่รังเกยี จของสังคม
(5) เป็นกรรมการหรือผู้ดารงตาแหน่งที่รับผิดชอบในการบริหารพรรคการเมือง
หรือเจา้ หน้าท่ใี นพรรคการเมือง
(6) เป็นบคุ คลลม้ ละลาย
(7) เป็นผู้เคยต้องรับโทษจาคุกโดยคาพพิ ากษาถึงท่ีสุดใหจ้ าคุกเพราะกระทาความผิด
ทางอาญา เว้นแตเ่ ปน็ โทษสาหรบั ความผิดทีไ่ ด้กระทาโดยประมาทหรือความผิดลหโุ ทษ
(8) เป็นผู้เคยถูกลงโทษให้ออก ปลดออก หรือไล่ออกจากรัฐวิสาหกิจ หรือ
หน่วยงานอ่ืนของรัฐ
(9 ) เป็น ผู้เคยถูกลงโท ษ ให้ ออก ห รือป ลด ออก เพ ราะกระท าผิดวินั ย
ตามพระราชบญั ญัตินห้ี รือตามกฎหมายอน่ื
374 363
(10) เปนผูเคยถูกลงโทษไลออก เพราะกระทําผิดวินัยตามพระราชบัญญัตินี้ หรือ
ตามกฎหมายอ่ืน
(11) เปนผูเคยกระทําการทุจริตในการสอบเขารับราชการ หรือเขาปฏิบัติงาน
ในหนว ยงานของรัฐ
ผูท่ีจะเขารับราชการเปนขาราชการพลเรือนซ่ึงมีลักษณะตองหามตาม ข. (4) (6) (7)
(8) (9) (10) หรือ (11) ก.พ. อาจพิจารณายกเวนใหเขารับราชการได แตถาเปนกรณีมีลักษณะตองหาม
ตาม (8) หรอื (9) ผนู ัน้ ตองออกจากงานหรอื ออกจากราชการไปเกินสองปแลว และในกรณีมีลกั ษณะตอ งหาม
ตาม (10) ผูนน้ั ตองออกจากงานหรอื ออกจากราชการไปเกินสามปแลว และตองมิใชเปนกรณีออกจากงาน
หรือออกจากราชการเพราะทุจริตตอหนาที่ มติของ ก.พ. ในการยกเวนดังกลาวตองไดคะแนนเสียง
ไมน อ ยกวา สี่ในหา ของจํานวนกรรมการที่มาประชุม การลงมตใิ หกระทาํ โดยลบั
การขอยกเวนตามวรรคสอง ใหเ ปน ไปตามระเบียบที่ ก.พ. กําหนด
ในกรณีตามวรรคสอง ก.พ. จะยกเวนใหเปนการเฉพาะราย หรือจะประกาศยกเวน
ใหเปนการทั่วไปก็ได
มาตรา 37 การจายเงนิ เดือนและเงินประจําตาํ แหนงใหขาราชการพลเรือนใหเปนไปตาม
ระเบยี บท่ี ก.พ. กําหนดโดยความเหน็ ชอบของกระทรวงการคลัง
มาตรา 38 ขาราชการพลเรือนอาจไดรับเงินเพิ่มสําหรับตําแหนงที่ประจําอยู
ในตางประเทศ ตําแหนงในบางทองท่ี ตําแหนงในบางสายงาน หรือตําแหนงท่ีมีเหตุพิเศษตามระเบียบ
ท่ี ก.พ. กําหนดโดยความเหน็ ชอบของกระทรวงการคลัง
ข า ร า ช ก า ร พ ล เรือ น อ า จ ไ ด รั บ เงิน เพ่ิ ม ค า ค ร อ ง ชี พ ชั่ ว ค ร า ว ต า ม ภ า ว ะ เศ ร ษ ฐ กิ จ
ตามหลกั เกณฑแ ละวิธกี ารทคี่ ณะรัฐมนตรกี าํ หนด
ในการเสนอแนะตอคณะรัฐมนตรีเพื่อดําเนินการตามวรรคสอง ให ก.พ. เสนอแนะ
สาํ หรบั ขาราชการประเภทอืน่ ในคราวเดยี วกันดว ย
มาตรา 39 วันเวลาทาํ งาน วันหยุดราชการตามประเพณี วันหยุดราชการประจาํ ป และ
การลาหยดุ ราชการของขา ราชการพลเรอื น ใหเปน ไปตามท่ีคณะรัฐมนตรกี ําหนด
มาตรา 40 เคร่ืองแบบของขาราชการพลเรือนและระเบียบการแตงเครื่องแบบ
ใหเ ปน ไปตามกฎหมายหรือระเบียบวา ดวยการนนั้
มาตรา 41 บาํ เหน็จบํานาญขา ราชการพลเรอื นใหเปน ไปตามกฎหมายวาดว ยการน้ัน
375 364
ลกั ษณะ 4
ขาราชการพลเรอื นสามัญ
หมวด 1
การจัดระเบียบขาราชการพลเรือนสามัญ
มาตรา 42 การจัดระเบียบขาราชการพลเรือนสามัญตามพระราชบัญญัติน้ี
ใหคาํ นึงถึงระบบคุณธรรมดังตอ ไปน้ี
(1) การรับบุคคลเพื่อบรรจุเขารับราชการและแตงตั้งใหดํารงตําแหนงตองคํานึงถึง
ความรคู วามสามารถของบคุ คล ความเสมอภาค ความเปน ธรรม และประโยชนข องทางราชการ
(2) การบริหารทรัพยากรบุคคล ตองคํานึงถึงผลสัมฤทธิ์และประสิทธิภาพขององคกร
และลกั ษณะของงาน โดยไมเ ลอื กปฏิบตั อิ ยา งไมเ ปนธรรม
(3) การพิจารณาความดีความชอบ การเล่ือนตําแหนง และการใหประโยชนอ่ืน
แกขาราชการตองเปนไปอยางเปนธรรมโดยพิจารณาจากผลงาน ศักยภาพ และความประพฤติ และ
จะนําความคดิ เห็นทางการเมืองหรือสงั กดั พรรคการเมืองมาประกอบการพิจารณามไิ ด
(4) การดําเนนิ การทางวินัย ตอ งเปนไปดวยความยุติธรรมและโดยปราศจากอคติ
(5) การบริหารทรัพยากรบุคคลตองมคี วามเปนกลางทางการเมือง
มาตรา 43 ขาราชการพลเรือนสามัญมีเสรีภาพในการรวมกลุมตามท่ีบัญญัติไว
ในรัฐธรรมนูญ แตท้ังน้ีตองไมกระทบประสิทธิภาพในการบริหารราชการแผนดินและความตอเน่ือง
ในการจัดทาํ บรกิ ารสาธารณะ และตองไมม วี ัตถปุ ระสงคท างการเมอื ง
หลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไขในการรวมกลุมตามวรรคหน่ึง ใหเปนไปตามที่กําหนด
ในพระราชกฤษฎกี า
หมวด 2
การกาํ หนดตําแหนง และการใหไ ดรับเงนิ เดอื นและเงินประจาํ ตาํ แหนง
มาตรา 44 นอกจากตําแหนงที่กําหนดในกฎหมายวาดว ยระเบียบบรหิ ารราชการแผนดินแลว การ ำด�เ ินนกาแรละทกาางรวิ ่สันกงยเลุสมกริ่ทีามร๕จุอ ิรทยธธรรณ์รมการ ้รอง ุทกข์
อ.ก.พ. กระทรวงอาจกาํ หนดตําแหนงที่มีช่อื อยา งอ่ืนเพื่อประโยชนในการบรหิ ารงาน และแจง ให ก.พ. ทราบดวย
มาตรา 45 ตําแหนงขา ราชการพลเรอื นสามญั มี 4 ประเภท ดังตอไปน้ี
(1) ตําแหนงประเภทบริหาร ไดแก ตําแหนงหัวหนาสวนราชการและรองหัวหนา
สว นราชการระดับกระทรวง กรม และตําแหนงอืน่ ที่ ก.พ. กําหนดเปน ตาํ แหนง ประเภทบรหิ าร
376
376 365
(2) ตาแหน่งประเภทอานวยการ ได้แก่ ตาแหน่งหัวหน้าสว่ นราชการท่ตี ่ากว่าระดับกรม
และตาแหน่งอืน่ ที่ ก.พ. กาหนดเป็นตาแหนง่ ประเภทอานวยการ
(3) ตาแหน่งประเภทวิชาการ ได้แก่ ตาแหน่งที่จาเป็นต้องใช้ผู้สาเร็จการศึกษา
ระดบั ปรญิ ญา ตามท่ี ก.พ. กาหนดเพ่ือปฏบิ ัตงิ านในหนา้ ท่ขี องตาแหน่งนั้น
(4) ตาแหน่งประเภทท่ัวไป ได้แก่ ตาแหน่งท่ีไม่ใช่ตาแหน่งประเภทบริหาร ตาแหน่ง
ประเภทอานวยการ และตาแหน่งประเภทวชิ าการ ทง้ั น้ี ตามที่ ก.พ. กาหนด
มาตรา 46 ระดบั ตาแหน่งข้าราชการพลเรือนสามญั มีดังต่อไปน้ี
(1) ตาแหน่งประเภทบรหิ าร มีระดบั ดังตอ่ ไปนี้
(ก) ระดบั ต้น
(ข) ระดับสงู
(2) ตาแหนง่ ประเภทอานวยการ มีระดับดงั ต่อไปนี้
(ก) ระดบั ต้น
(ข) ระดบั สูง
(3) ตาแหน่งประเภทวิชาการ มรี ะดบั ดงั ตอ่ ไปนี้
(ก) ระดบั ปฏบิ ัตกิ าร
(ข) ระดับชานาญการ
(ค) ระดบั ชานาญการพเิ ศษ
(ง) ระดับเชี่ยวชาญ
(จ) ระดบั ทรงคุณวุฒิ
(4) ตาแหน่งประเภทท่ัวไป มีระดบั ดังต่อไปนี้
(ก) ระดบั ปฏบิ ตั งิ าน
(ข) ระดับชานาญงาน
(ค) ระดับอาวโุ ส
(ง) ระดับทักษะพิเศษ
การจดั ประเภทตาแหน่งและระดบั ตาแหน่ง ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ทก่ี าหนดในกฎ ก.พ.
มาตรา 47 ตาแหน่งข้าราชการพลเรือนสามัญจะมีในส่วนราชการใด จานวนเท่าใด
และเป็นตาแหน่งประเภทใด สายงานใด ระดับใด ให้เป็นไปตามที่ อ.ก.พ. กระทรวงกาหนด โดยต้อง
คานึงถึงประสิทธิภาพ ประสิทธิผล ความไม่ซ้าซ้อนและประหยัดเป็นหลัก ทั้งน้ี ตามหลักเกณฑ์และ
เงอ่ื นไขที่ ก.พ. กาหนด และตอ้ งเป็นไปตามมาตรฐานกาหนดตาแหนง่ ตามมาตรา 48
มาตรา 48 ให้ ก.พ. จัดทามาตรฐานกาหนดตาแหน่ง โดยจาแนกตาแหน่งเป็นประเภทและ
สายงานตามลกั ษณะงาน และจดั ตาแหน่งในประเภทเดียวกันและสายงานเดยี วกันทค่ี ุณภาพของงานเท่ากัน
โดยประมาณเป็นระดับเดยี วกนั ทั้งนี้ โดยคานึงถึงลักษณะหน้าที่ความรับผิดชอบและคุณภาพของงาน
ในมาตรฐานกาหนดตาแหน่งให้ระบุช่ือตาแหน่งในสายงาน หน้าที่ความรับผิดชอบหลัก
และคุณสมบัติเฉพาะสาหรบั ตาแหน่งไวด้ ว้ ย
377 การ ำด�เ ินนกาแรละทกาางรวิ ่สันกงยเลุสมกริ่ทีามร๕จุอ ิรทยธธรรณ์รมการ ้รอง ุทกข์
377 366
มาตรา 49 ภายใต้บังคับกฎหมายว่าด้วยระเบียบบริหารราชการแผ่นดินตาแหน่งใด
บังคับบัญชาข้าราชการพลเรือนในส่วนราชการหรือหน่วยงานใด ในฐานะใดให้เป็นไปตามท่ีผู้บังคับบัญชา
ซง่ึ มอี านาจสั่งบรรจุตามมาตรา 57 กาหนด โดยทาเป็นหนังสือตามหลักเกณฑ์ที่ ก.พ. กาหนด
มาตรา 50 ให้ข้าราชการพลเรือนสามัญได้รับเงินเดือนตามตาแหน่งในแต่ละประเภท
ตามท่ีกาหนดไว้ในบญั ชีเงินเดอื นขั้นต่าข้นั สงู ของข้าราชการพลเรือนสามัญทา้ ยพระราชบญั ญัตนิ ี้
ผู้ดารงตาแหน่งประเภทใด สายงานใด ระดับใด จะได้รับเงินเดือนเท่าใดตามบัญชีเงินเดือน
ข้ันต่าขน้ั สงู ของข้าราชการพลเรือนสามญั ให้เป็นไปตามที่กาหนดในกฎ ก.พ.
ขา้ ราชการพลเรือนสามัญอาจได้รับเงินประจาตาแหน่งตามบัญชีอัตราเงินประจาตาแหน่ง
ของข้าราชการพลเรอื นสามญั ท้ายพระราชบญั ญตั ิน้ีตามหลักเกณฑ์และเงือ่ นไขท่ี ก.พ. กาหนด
ผู้ดารงตาแหน่งประเภทใด สายงานใด ระดับใด จะได้รับเงินประจาตาแหน่งตามบัญชี
อัตราเงินประจาตาแหน่งของข้าราชการพลเรือนสามัญท้ายพระราชบัญญัติน้ีในอัตราใด ให้เป็นไป
ตามทีก่ าหนดในกฎ ก.พ.
เงินประจาตาแหน่งตามมาตรานี้ ไม่ถือเป็นเงินเดือนเพื่อเป็นเกณฑ์ในการคานวณ
บาเหน็จบานาญตามกฎหมายวา่ ดว้ ยบาเหน็จบานาญขา้ ราชการ
มาตรา 50/12 ในกรณีท่ีมีเหตุผลและความจาเป็น เพ่ือเป็นการเยียวยาให้ข้าราชการ
พลเรือนสามัญได้รับเงินเดือนหรือเงินประจาตาแหน่งที่เหมาะสมและเป็นธรรม ก.พ. อาจกาหนด
ให้ ข้ า ร า ช ก า ร พ ล เรื อ น ส า มั ญ ไ ด้ รั บ ก า ร เยี ย ว ย า โด ย ให้ ได้ รั บ เงิ น เดื อ น ห รื อ เงิ น ป ร ะ จ า ต า แ ห น่ ง
ตามท่เี ห็นสมควรเปน็ กรณี ๆ ไปกไ็ ด้ ท้งั น้ี ใหเ้ ปน็ ไปตามหลกั เกณฑ์และวธิ ีการทคี่ ณะรัฐมนตรีกาหนด
มาตรา 51 คณะรัฐมนตรีจะพิจารณาปรับเงินเดือนขั้นต่าขั้นสูงหรือเงินประจาตาแหน่ง
ของข้าราชการพลเรือนสามัญให้เหมาะสมยิ่งขึ้นตามความจาเป็นก็ได้ โดยหากเป็นการปรับเงินเดือน
ข้ันต่าข้ันสูง หรือเงินประจาตาแหน่งเพ่ิมไม่เกินร้อยละสิบของเงินเดือน หรือเงินประจาตาแหน่ง
ที่ใช้บังคับอยู่ ให้กระทาได้โดยตราเป็นพระราชกฤษฎีกา และให้ถือว่าเงินเดือนข้ันต่าข้ันสูง และเงินประจา
ตาแหน่งท้ายพระราชกฤษฎีกาดังกล่าว เป็นเงินเดือนขั้นต่าขั้นสูง และเงินประจาตาแหน่งท้าย
พระราชบญั ญัติน้ี
เมื่อมีการปรับเงินเดือนหรือเงินประจาตาแหน่งตามวรรคหน่ึง การปรับเงินเดือนหรือ
เงินประจาตาแหน่งของข้าราชการพลเรือนสามัญท่ีได้รับอยู่เดิมเข้าสู่อัตราในบัญชีท่ีได้รับการปรับใหม่
ให้เป็นไปตามหลกั เกณฑแ์ ละวธิ กี ารทีค่ ณะรัฐมนตรกี าหนด
2 มาตรา 50/1 เพม่ิ โดยพระราชบัญญัตริ ะเบียบข้าราชการพลเรือน (ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2558