The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by daidomon63, 2021-10-26 22:57:34

รวมระเบียบกศ

รวมระเบียบกศ

232 227

232

หมวด 6
การออกจากราชการ

ข้อ 57 ลูกจา้ งประจาออกจากราชการเมอื่
(1) ตาย
(2) พน้ จากราชการตามระเบยี บกระทรวงการคลงั ว่าด้วยบาเหนจ็ ลูกจ้าง
(3) ลาออกจากราชการ และไดร้ ับอนญุ าตใหล้ าออกหรือการลาออกมผี ลตามข้อ 58
(4) ถูกส่ังใหอ้ อกตามขอ้ 14 ข้อ 21 ขอ้ 55 ขอ้ 59 ข้อ 60 ขอ้ 61 ข้อ 62 หรอื ขอ้ 63 หรือ
(5) ถูกส่ังลงโทษปลดออกหรอื ไล่ออก
วันออกจากราชการตาม (4) และ (5) ให้เป็นไปตามกฎหมายวา่ ดว้ ยระเบยี บขา้ ราชการพลเรอื น
โดยอนโุ ลม
การต่อเวลาราชการให้ลูกจ้างประจาท่ีต้องออกจากราชการตาม (2) รับราชการต่อไป
จะกระทามไิ ด้
ข้อ 58 นอกจากกรณีตามวรรคห้า ลูกจ้างประจาผู้ใดประสงค์จะลาออกจากราชการ
ใหย้ ื่นหนงั สอื ขอลาออกจากราชการตอ่ ผบู้ ังคับบัญชา โดยให้ย่ืนล่วงหน้าก่อนวันที่จะขอลาออกจากราชการ
ไม่น้อยกว่าสามสิบวนั เพอื่ ให้ผูม้ ีอานาจสงั่ บรรจุตามขอ้ 13 เป็นผู้พจิ ารณาอนญุ าต
ในกรณีมีเหตุผลความจาเปน็ พิเศษ ผ้บู ังคับบัญชาจะอนญุ าตใหล้ ูกจ้างประจาซง่ึ ประสงค์
จะลาออกจากราชการยื่นหนังสอื ขอลาออกจากราชการล่วงหน้าน้อยกว่าสามสบิ วนั ก็ได้
ในกรณีท่ีผู้มีอานาจสั่งบรรจุตามข้อ 13 พิจารณาเห็นว่าจาเป็นเพื่อประโยชน์แก่ราชการ
จะยับย้ังการอนญุ าตให้ลาออกไวเ้ ป็นเวลาไม่เกนิ เก้าสบิ วันนับต้งั แต่วันขอลาออกก็ได้ แต่ตอ้ งแจ้งการยับย้ัง
การอนุญาตให้ลาออก พร้อมท้ังเหตุผลให้ผู้ขอลาออกทราบ และเม่ือครบกาหนดเวลาท่ียับยั้งแล้ว
ใหก้ ารลาออกมีผลตงั้ แตว่ ันถัดจากวันครบกาหนดเวลาทย่ี ับยงั้
ถ้าผูม้ ีอานาจสง่ั บรรจุตามขอ้ 13 ไม่ได้อนุญาตให้ลาออกตามวรรคหน่ึง และไม่ได้ยับย้ัง
การอนญุ าตใหล้ าออกตามวรรคสอง ให้การลาออกนน้ั มผี ลตง้ั แต่วันขอลาออก
ในกรณีท่ีลูกจ้างประจาผู้ใดประสงค์จะลาออกจากราชการเพื่อดารงตาแหน่งทางการเมือง
หรือเพื่อสมัครรับเลือกต้ังเป็นสมาชิกรัฐสภา สมาชิกสภาท้องถ่ิน หรือผู้บริหารท้องถิ่น ให้ยื่นหนังสือ
ขอลาออกต่อผูบ้ งั คับบญั ชาและใหก้ ารลาออกมผี ลต้ังแต่วันท่ีผ้นู น้ั ขอลาออก
หลกั เกณฑแ์ ละวิธีการเก่ียวกับการลาออก การพิจารณาอนุญาตให้ลาออกและการยบั ย้ัง
การอนุญาตให้ลาออกจากราชการ ให้เป็นไปตามที่กาหนดไว้ในกฎหมายว่าด้วยระเบียบข้าราชการพลเรือน
โดยอนุโลม
ข้อ 59 เมอ่ื ลกู จา้ งประจาผใู้ ดไปรบั ราชการทหารตามกฎหมายว่าด้วยการรับราชการทหาร
ให้ผู้มีอานาจส่งั บรรจุตามข้อ 13 ส่งั ใหผ้ นู้ นั้ ออกจากราชการ

233 228 ูลก จางและพ ันกงกา ุลนมร ่ีทาช๓การศาล ุย ิตธรรม
ลกู จางประจําผูใดถูกสั่งใหออกจากราชการตามวรรคหนึ่ง และตอมาปรากฏวา ผูน้ันมีกรณี
ทีจ่ ะตอ งถกู สั่งใหออกจากราชการตามขออน่ื อยกู อนไปรับราชการทหาร ก็ใหผูมีอาํ นาจสง่ั บรรจุตามขอ 13
มีอํานาจเปลี่ยนแปลงคาํ สง่ั ใหอ อกจากราชการตามวรรคหน่ึงเปน ใหออกจากราชการตามขออน่ื น้ันได
ขอ 60 ผูมีอํานาจส่ังบรรจุตามขอ 13 มีอํานาจส่ังใหลูกจางประจําออกจากราชการ
เพ่ือรับบําเหน็จตามระเบียบกระทรวงการคลงั วาดวยบําเหน็จลกู จางไดและการส่ังใหออกจากราชการ
เพอ่ื รบั บําเหนจ็ นอกจากใหทําไดใ นกรณีทก่ี ําหนดไวในขออื่นของระเบียบนแ้ี ลว ใหท ําไดใ นกรณใี ดกรณหี น่ึง
ดงั ตอ ไปนี้ดว ยคอื
(1) เม่ือลูกจางประจําผูใดเจ็บปวยไมอาจปฏิบัติหนาท่ีราชการของตนไดโดยสม่ําเสมอ
ถาผมู ีอาํ นาจส่ังบรรจตุ ามขอ 13 เหน็ สมควรใหอ อกจากราชการใหส งั่ ใหผนู ัน้ ออกจากราชการได
(2) เม่ือลูกจางประจําผูใดขาดคุณสมบัติตามขอ 6 (1) (4) (5) (6) (9) หรือ (10)
ใหผมู ีอาํ นาจสงั่ บรรจุตามขอ 13 สัง่ ใหผ นู ้ันออกจากราชการได
(3) เม่ือลูกจางประจําผูใดมีกรณีถูกกลาวหาหรือมีเหตุอันควรสงสัยวาเปนผูขาด
คุณสมบัติทั่วไป ตามขอ 6 (3) และผูมีอํานาจส่ังบรรจุตามขอ 13 เห็นวากรณีมีมูลก็ใหส่ังแตงตั้ง
คณะกรรมการสอบสวนโดยไมชักชาและใหนําขอ 61 มาใชบงั คับโดยอนุโลม ในกรณีที่ผูมอี ํานาจส่ังบรรจุ
ตามขอ 13 เหน็ วาผูน ัน้ เปน ผขู าดคณุ สมบตั ิทว่ั ไปตามขอ 6 (3) ก็ใหสงั่ ใหผ ูน น้ั ออกจากราชการ
(4) เม่ือทางราชการเลิกหรือยุบตําแหนงใด ใหผูมีอํานาจส่ังบรรจุตามขอ 13 สั่งให
ลกู จา งประจําผูดํารงตาํ แหนงนัน้ ออกจากราชการไดต ามหลกั เกณฑแ ละวธิ กี ารท่ีกระทรวงการคลังกําหนด หรือ
(5) เมอื่ ลกู จางประจาํ ผใู ดไมส ามารถปฏิบตั ริ าชการใหมปี ระสทิ ธิภาพและเกิดประสิทธผิ ลใน
ระดับอันเปนท่ีพอใจของทางราชการได ใหผูมีอํานาจสั่งบรรจุตามขอ 13 สั่งใหผูนั้นออกจากราชการ
ทั้งน้ี ตามหลักเกณฑแ ละวธิ ีการตามท่กี ําหนดไวในกฎหมายวาดวยระเบยี บขา ราชการพลเรอื นโดยอนุโลม
ขอ 61 เมื่อลูกจางประจําผูใดมีกรณีถูกกลาวหา หรือมีเหตุอันควรสงสัยวาหยอน
ความสามารถในอันท่ีจะปฏิบัติหนาที่ของตนบกพรองในหนาที่ราชการหรือประพฤติตนไมเหมาะสมกับ
ตําแหนงหนาท่ีราชการ และผูมีอํานาจส่ังบรรจุตามขอ 13 เห็นวากรณีมีมูล ถาใหผูนั้นปฏิบัติราชการ
ตอไปจะเปนการเสยี หายแกราชการ ก็ใหผูมอี ํานาจส่ังบรรจุตามขอ 13 แตงตั้งคณะกรรมการสอบสวน
โดยไมชักชา ในการสอบสวนน้ีจะตองแจงขอกลาวหาและสรุปพยานหลักฐานท่ีสนับสนุนขอกลาวหา
เทาที่มีใหผูถูกกลาวหาทราบ โดยจะระบุหรือไมระบุชื่อพยานก็ไดและตองใหโอกาสผูถูกกลาวหาชี้แจง
และนําสืบแกขอกลาวหาไดดวย เม่ือไดม กี ารสอบสวนแลวและผมู ีอํานาจส่ังบรรจุตามขอ 13 พิจารณา
เหน็ วาสมควรใหออกจากราชการ กใ็ หส งั่ ใหผ ูน ้นั ออกจากราชการเพ่อื รับบําเหน็จได
หลักเกณฑและวิธีการเกี่ยวกับการสอบสวนพิจารณา ใหเปนไปตามที่กําหนดไว
ในกฎหมายวา ดว ยระเบยี บขา ราชการพลเรือนโดยอนโุ ลม
ใน ก รณี ที่ เป น ก ร ณี ท่ี ป ร า ก ฏ ชั ด แ จ ง ต า ม ที่ กํ า ห น ด ไวใน ก ฎ ห ม า ย ว า ด ว ย ร ะ เบี ย บ
ขา ราชการพลเรอื น จะดาํ เนนิ การตามวรรคหนงึ่ โดยไมสอบสวนก็ได
ขอ 62 เมื่อลูกจางประจําผูใดมีกรณีถูกแตงตั้งคณะกรรมการสอบสวนตามขอ 50
และคณะกรรมการสอบสวนเหน็ วา กรณมี เี หตุอนั ควรสงสยั อยางย่งิ วา ผูน น้ั ไดกระทาํ ผิดวนิ ัยอยางรายแรง

234

234 229
แต่การสอบสวนไม่ได้ความแน่ชัดพอท่ีจะลงโทษได้ตามข้อ 52 วรรคหน่ึง แต่มีมลทินหรือมัวหมอง
ในกรณีท่ีถูกสอบสวนนั้น ซ่ึงถ้าให้ปฏิบัติราชการต่อไปจะเป็นการเสียหายแก่ราชการ ก็ให้ผู้มีอานาจ
ส่งั บรรจุตาม ข้อ 13 สัง่ ให้ผู้นน้ั ออกจากราชการเพือ่ รับบาเหนจ็ ได้

ข้อ 63 เมื่อลูกจ้างประจาผู้ใดต้องรับโทษจาคุกโดยคาส่ังศาล หรือต้องรับโทษจาคุก
โดยคาพิพากษาถึงที่สุดให้จาคุกในความผิดท่ีได้กระทาโดยประมาทหรือความผิดลหุโทษ ซึ่งยังไม่ถึงกับ
จะต้องถูกลงโทษปลดออกหรือไล่ออก ผู้มีอานาจส่ังบรรจุตามข้อ 13 จะส่ังให้ผู้น้ันออกจากราชการ
เพือ่ รบั บาเหนจ็ ก็ได้

หมวด 7
การอทุ ธรณ์

ข้อ 64 ลูกจ้างประจาผู้ใดถูกส่ังลงโทษตามระเบียบน้ี ให้ผู้น้ันมีสิทธิอุทธรณ์ได้
ภายในสามสิบวันนบั แต่วนั ทราบคาสั่งการอุทธรณแ์ ละการพจิ ารณาอทุ ธรณ์ใหเ้ ป็นไปตามหลักเกณฑแ์ ละ
วิธีการที่กระทรวงการคลังกาหนด ในกรณีที่ส่ังให้ผู้อุทธรณ์กลับเข้าปฏิบัติราชการ ให้นาข้อ 55
มาใชบ้ ังคบั โดยอนุโลม

หมวด 8
การร้องทกุ ข์

ข้อ 65 ลูกจา้ งประจาผู้ใดถูกสงั่ ใหอ้ อกจากราชการตามระเบียบนี้ดว้ ยเหตุใด ๆ ให้ผนู้ ั้น
มีสิทธิร้องทกุ ข์ได้ภายในสามสิบวันนบั แต่วนั ทราบคาส่งั

ข้อ 66 ลกู จ้างประจาผู้ใดเหน็ ว่าผ้บู ังคบั บัญชาใชอ้ านาจหน้าทีป่ ฏบิ ตั ิต่อตนโดยไม่ถกู ต้อง
หรอื ไมป่ ฏบิ ัตติ อ่ ตนให้ถูกต้องตามกฎหมาย หรือมีความคบั ขอ้ งใจอันเกิดจากการปฏิบัตขิ องผู้บังคบั บัญชาตอ่ ตน
ในกรณีตามที่กาหนดไว้ในกฎหมายว่าด้วยระเบียบข้าราชการพลเรือน ผู้นั้นอาจร้องทุกข์ต่อผู้บังคับบัญชา
เพอื่ ขอใหแ้ ก้ไขหรอื แกค้ วามคับขอ้ งใจได้ ทง้ั น้ี เวน้ แต่กรณีทม่ี ิสทิ ธอิ ทุ ธรณ์ ตามหมวด 7 ซึง่ ตอ้ งใหส้ ิทธอิ ุทธรณ์
ตามทกี่ าหนดไว้ในหมวดนั้น

ข้อ 67 การร้องทุกข์และการพิจารณาเร่ืองร้องทุกข์ ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์และ
วิธกี ารท่ีกระทรวงการคลังกาหนด

235 232 ูลก จางและพ ันกงกา ุลนมร ่ีทาช๓การศาล ุย ิตธรรม
บทเฉพาะกาล
___________
ขอ 68 ในระหวางท่ียงั มิไดก ําหนดหลกั เกณฑแ ละวิธีการเพ่ือปฏิบัตกิ ารตามระเบียบนี้
ใหนําหลักเกณฑและวิธีการท่ีกําหนดไวแลว ตามระเบียบกระทรวงการคลังวาดวยลูกจางประจําของ
สว นราชการ พ.ศ.2525 มาใชบ งั คบั โดยอนุโลม
ขอ 69 ลูกจางประจําผูใดมีกรณีกระทําผิดวินัยหรือกรณีท่ีสมควรใหออกจากราชการ
อยูกอนวันที่ระเบียบนี้ใชบังคับ ใหผูบังคับบัญชาตามระเบียบน้ีมีอํานาจส่ังลงโทษผูน้ันหรือสั่งใหผูน้ัน
ออกจากราชการ ตามระเบยี บกระทรวงการคลงั วาดวยลูกจางประจาํ ของสวนราชการทใี่ ชอ ยใู นขณะนั้น
สวนการสอบสวน การพิจารณา และการดําเนินการเพ่ือลงโทษ หรือใหออกจากราชการ ใหดําเนินการ
ตามระเบยี บนี้ เวนแต
(1) กรณีท่ีผูบังคับบัญชาไดส่ังใหสอบสวนโดยถูกตองตามระเบียบท่ีใชอยูในขณะน้ัน
ไปแลว กอนวนั ท่รี ะเบียบนใ้ี ชบังคับและยงั สอบสวนไมเสรจ็ ใหสอบสวนตามระเบียบน้นั ตอไปจนกวาจะเสรจ็
(2) กรณีท่ีไดมีการสอบสวนหรือพิจารณาโดยถูกตองตามระเบียบที่ใชอยูในขณะน้ัน
เสรจ็ ไปแลว กอ นวันท่รี ะเบยี บน้ใี ชบังคบั ใหการสอบสวนหรอื พิจารณานั้นเปน อนั ใชไ ด
ขอ 70 ลกู จางประจําผูใดถูกสั่งลงโทษ ตามระเบียบกระทรวงการคลงั วาดว ยลูกจา งประจํา
ของสว นราชการ พ.ศ.2525 ใหผูนนั้ มสี ิทธิอทุ ธรณไดตามขอ 64
ขอ 71 ลูกจางประจําผูใดถูกสั่งใหออกจากราชการ ตามระเบียบกระทรวงการคลัง
วาดวยลูกจางประจําของสวนราชการ พ.ศ.2525 กอนวันที่ระเบียบน้ีใชบ ังคับ ใหผูนั้นมีสิทธิรองทุกข
ไดต ามขอ 65

ประกาศ ณ วันที่ 25 มนี าคม พ.ศ. 2537
ไตรรงค สุวรรณคีรี

(นายไตรรงค สวุ รรณครี )ี
รฐั มนตรชี ว ยวา การฯ

ปฏิบัติราชการแทน รัฐมนตรีวา การกระทรวงการคลัง

236

237

237 231

7
พนกั งำนรำชกำรศำลยตุ ิธรรม

ลกู จา งและพนกั งกาลนมุ รทา่ีช๓การศาลยตุ ธิ รรม

238

239 234

ระเบยี บคณะกรรมการขา ราชการศาลยตุ ธิ รรม
วา ดว ยพนกั งานราชการศาลยตุ ิธรรม
พ.ศ. 2550

โดยท่ีเปนการสมควรใหมีการนําระบบพนักงานราชการมาใชในสํานักงานศาลยตุ ิธรรม ูลก จางและพ ันกงกา ุลนมร ่ีทาช๓การศาล ุย ิตธรรม
เพื่อใหระบบการบริหารงานบุคคลของสํานักงานศาลยุติธรรมมีความยืดหยุน คลองตัว สอดคลองและ
รองรับกับยุทธศาสตรศาลยุติธรรม และยุทธศาสตรการบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม อันจะทําให
การบริหารจัดการของศาลยุติธรรมและสํานักงานศาลยุติธรรมดําเนินไปอยางมีประสิทธิภาพและ
ประสทิ ธผิ ลยิ่งข้นึ

อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 21 (4) และ (8) แหงพระราชบัญญัติระเบียบ
บรหิ ารราชการศาลยตุ ธิ รรม พ.ศ. 2543 คณะกรรมการขาราชการศาลยตุ ิธรรมโดยไดรบั ความเห็นชอบ
จากคณะกรรมการบริหารศาลยตุ ิธรรมออกระเบียบไว ดังตอไปน้ี

ขอ 1 ระเบียบนี้เรียกวา “ระเบียบคณะกรรมการขาราชการศาลยุติธรรม วาดวย
พนักงานราชการศาลยุตธิ รรม พ.ศ. 2550”

ขอ 21 ระเบียบน้ีใหใชบ ังคบั ตัง้ แตวันถัดจากวันประกาศในราชกจิ จานุเบกษาเปนตน ไป
ขอ 3 ในระเบียบนี้
“พนกั งานราชการศาลยตุ ธิ รรม” หมายความวา บุคคลซงึ่ สํานักงานศาลยุติธรรมจางตาม
สญั ญาจา งโดยไดรบั คาตอบแทนจากงบประมาณของสาํ นักงานศาลยตุ ธิ รรม เพื่อเปน พนกั งานราชการของ
สาํ นกั งานศาลยุติธรรมในการปฏบิ ัตงิ านใหแกสํานักงานศาลยตุ ธิ รรม
“สญั ญาจาง” หมายความวา สัญญาจางพนกั งานราชการศาลยตุ ธิ รรมตามระเบยี บนี้
ขอ 4 บรรดากฎหมาย กฎ ระเบียบ ประกาศ ขอบังคบั คําสัง่ มติ ก.ศ. หรือมติ ก.บ.ศ.
ท่ีกําหนดใหขาราชการศาลยุติธรรมหรือลูกจางสํานักงานศาลยุติธรรมมีหนาท่ีตองปฏิบัติหรือละเวน
การปฏบิ ัติหรือเปน ขอ หามในเรอ่ื งใดใหถือวา พนกั งานราชการศาลยตุ ิธรรมมหี นา ทตี่ องปฏบิ ัติหรอื ละเวน
การปฏบิ ตั หิ รอื ตอ งหา มเชนเดยี วกบั ขาราชการศาลยุติธรรมหรือลกู จา งดว ย ท้ังน้ี เวน แตเรอ่ื งใดมีกาํ หนดไวแลว
โดยเฉพาะในระเบียบนี้หรอื ตามเงื่อนไขของสัญญาจาง หรือเปนกรณีท่ีสํานักงานศาลยุตธิ รรมประกาศ
กําหนดใหพนักงานราชการศาลยุติธรรมประเภทใด หรือตําแหนงในกลุมงานลักษณะใด ไดรับยกเวน
ไมตองปฏิบัติเชนเดียวกับขาราชการศาลยุติธรรมหรือลูกจางในบางเรื่อง เพื่อใหเหมาะสมกับสภาพ
การปฏิบัตงิ านของพนกั งานราชการศาลยุตธิ รรม

1 ราชกจิ จานเุ บกษา เลม 124/ตอนท่ี 8 ก/หนา 7/31 มกราคม 2550

240 235
ขอ 5 ใหประธานกรรมการขาราชการศาลยุติธรรมรักษาการตามระเบียบนี้
ในกรณีท่ีมีปญหาเก่ียวกับการตีความหรือการบังคับใชระเบียบนี้ ใหประธานกรรมการ
ขาราชการศาลยตุ ธิ รรมเปน ผวู นิ ิจฉัย

หมวด 1
พนกั งานราชการศาลยุตธิ รรม

ขอ 6 พนกั งานราชการศาลยตุ ิธรรมมีสองประเภท ดังตอไปน้ี
(1) พนักงานราชการศาลยุติธรรมทั่วไป ไดแก พนักงานราชการซึ่งปฏิบัติงานใน
ลักษณะเปนงานประจําท่วั ไปของสํานกั งานศาลยตุ ธิ รรม ในดา นงานบรกิ าร งานเทคนิค งานบรหิ ารทั่วไป
งานวชิ าชพี เฉพาะ หรอื งานเชี่ยวชาญเฉพาะ
(2) พนักงานราชการศาลยุติธรรมพิเศษ ไดแก พนักงานราชการซ่ึงปฏิบัติงานใน
ลกั ษณะที่ตองใชความรหู รือความเช่ียวชาญสูงมากเปนพิเศษ เพ่ือปฏิบัติงานในเร่ืองท่มี คี วามสําคัญและ
จําเปนเฉพาะเรอื่ งของสํานักงานศาลยุตธิ รรม หรือมคี วามจาํ เปนตองใชบุคคลในลกั ษณะดงั กลา ว
ขอ 7 ในการกําหนดตําแหนงของพนักงานราชการศาลยุติธรรม ใหกําหนดโดยจําแนก
เปน กลมุ งานตามลกั ษณะงานและผลผลติ ของงาน ดงั ตอไปนี้
(1) กลมุ งานบริการ
(2) กลมุ งานเทคนิค
(3) กลุม งานบรหิ ารท่ัวไป
(4) กลุม งานวิชาชีพเฉพาะ
(5) กลุมงานเช่ียวชาญเฉพาะ
(6) กลุมงานเชีย่ วชาญพเิ ศษ
ในแตละกลุมงานตามวรรคหน่ึง คณะกรรมการขาราชการศาลยุติธรรมอาจกําหนด
ใหม กี ลมุ งานยอ ยเพอื่ ใหเ หมาะสมกับลกั ษณะงานของพนักงานราชการศาลยตุ ิธรรมได
การกําหนดใหพนักงานราชการศาลยุติธรรมประเภทใดมีตําแหนงในกลุมงานใด
และการกําหนดลักษณะงานและคุณสมบัติเฉพาะของกลุมงาน ใหเปนไปตามหลักเกณฑของ
คณะกรรมการขาราชการศาลยุติธรรม
สํานักงานศาลยตุ ิธรรมอาจกําหนดชื่อตําแหนงในกลุมงานตามความเหมาะสมกบั หนาท่ี
การปฏบิ ตั ิงานของพนักงานราชการศาลยุติธรรมท่ีจางได
ขอ 8 ผูซ่ึงจะไดรับการจางเปนพนักงานราชการศาลยุติธรรมตองมีคุณสมบัติและ
ไมม ลี กั ษณะตอ งหาม ดังตอ ไปน้ี
(1) มีสญั ชาติไทย
(2) มอี ายไุ มต าํ่ กวา สบิ แปดปบ ริบรู ณ
(3) ไมเปน บุคคลลม ละลาย

241 236 ูลก จางและพ ันกงกา ุลนมร ่ีทาช๓การศาล ุย ิตธรรม
(4) ไมเปนผูมีกายทุพพลภาพจนไมสามารถปฏิบัติหนาท่ีได ไรความสามารถ หรือ
จิตฟน เฟอนไมส มประกอบ หรอื เปน โรคตามทีก่ ําหนดไวในกฎหมายวา ดวยระเบียบขาราชการพลเรือน
(5) ไมเปนผูดํารงตําแหนงทางการเมือง กรรมการพรรคการเมือง หรือเจาหนาที่
ในพรรคการเมอื ง
(6) ไมเปนผเู คยตองรบั โทษจาํ คุกโดยคาํ พิพากษาถงึ ทสี่ ุดใหจ ําคุกเพราะกระทําความผิด
ทางอาญา เวน แตเ ปนโทษสําหรบั ความผิดท่ีไดกระทาํ โดยประมาทหรือความผดิ ลหุโทษ
(7) ไมเปนผูเคยถูกลงโทษใหออก ปลดออก หรือไลออกจากราชการ รัฐวิสาหกิจ
หรือหนว ยงานอืน่ ของรัฐ
(8) ไมเปนขาราชการ ลูกจาง หรือพนักงานเจาหนาท่ีของสวนราชการ หรอื หนวยงาน
อนื่ ของรัฐ รัฐวสิ าหกิจ หรือราชการสวนทอ งถิ่น
(9) คุณสมบัติหรือลักษณะตองหามอ่ืนตามที่สํานักงานศาลยุติธรรมกําหนดไว
ในประกาศการสรรหา หรือการเลือกสรรบุคคลเพ่ือจางเปนพนักงานราชการศาลยุติธรรม ทั้งนี้
ตอ งเปนไปเพ่อื ความจําเปน หรอื เหมาะสมกับภารกจิ ของสํานกั งานศาลยตุ ิธรรม
ความใน (1) ไมใ หใชบังคับแกพนักงานราชการชาวตา งประเทศ ซงึ่ สํานักงานศาลยตุ ิธรรม
จําเปนตองจางตามขอผูกพันหรือตามความจําเปนของภารกิจของสํานักงานศาลยุติธรรม โดยไดรับ
ความเห็นชอบจากคณะกรรมการขา ราชการศาลยุติธรรม
ในกรณีเห็นสมควรคณะกรรมการขา ราชการศาลยตุ ิธรรมอาจประกาศกําหนดคุณสมบัติ
หรือลักษณะตองหามเพ่ิมข้ึนหรือกําหนดแนวทางปฏบิ ัติของสํานักงานศาลยุติธรรมในการจางพนักงาน
ราชการศาลยตุ ิธรรม เพ่ือใหส อดคลองกับวตั ถปุ ระสงคของการกําหนดใหมีพนกั งานราชการศาลยุตธิ รรม
ตามระเบียบน้ี
ขอ 9 ใหสํานักงานศาลยุติธรรมจัดทํากรอบอัตรากําลังพนักงานราชการศาลยุติธรรม
เปนระยะส่ีป โดยใหสอดคลองกับเปาหมายของแผนการปฏิบัติราชการและแผนงบประมาณ
ตามยทุ ธศาสตรศ าลยุติธรรม
กรอบอัตรากําลังพนักงานราชการศาลยุติธรรมตามวรรคหนึ่ง ใหเปนไปตามท่ี
คณะกรรมการขาราชการศาลยตุ ิธรรมกาํ หนดโดยความเห็นชอบของประธานศาลฎีกา
ในกรณที ี่มเี หตุผลความจําเปน สํานกั งานศาลยตุ ิธรรมอาจขอใหเปลี่ยนกรอบอัตรากําลัง
พนกั งานราชการศาลยตุ ิธรรมได โดยไดรับความเห็นชอบจากคณะกรรมการขา ราชการศาลยุตธิ รรม
ขอ 10 การสรรหาและการเลือกสรรบุคคลเพื่อจางเปนพนักงานราชการศาลยุติธรรม
ใหเ ปน ไปตามหลกั เกณฑ วิธีการ และเงื่อนไขทค่ี ณะกรรมการขา ราชการศาลยตุ ธิ รรมกําหนด
ในกรณีที่สํานักงานศาลยุติธรรมจะขอยกเวนหรือเพ่ิมเติมเกี่ยวกับการสรรหาหรือ
การเลือกสรรตามที่คณะกรรมการขาราชการศาลยุติธรรมกําหนดตามวรรคหน่ึง ใหสามารถกระทําได
เทาที่จําเปนและเพ่ือประโยชนแกราชการศาลยุติธรรม โดยไดรับความเห็นชอบจากคณะกรรมการ
ขา ราชการศาลยตุ ิธรรมเปนคราว ๆ ไป

242 237
ขอ 11 การจางพนักงานราชการศาลยุติธรรมใหกระทาํ เปนสัญญาจางไมเกินคราวละส่ีป
หรือตามโครงการท่ีมีกําหนดเวลาเรม่ิ ตน และสิ้นสดุ ไว โดยอาจมกี ารตอสัญญาจางได ท้ังน้ี ตามความเหมาะสม
และความจําเปนของสาํ นกั งานศาลยุตธิ รรม
แบบสัญญาจางใหเ ปน ไปตามที่คณะกรรมการขา ราชการศาลยุติธรรมกาํ หนด
การทําสัญญาตามวรรคหนงึ่ ใหเลขาธกิ ารสาํ นักงานศาลยตุ ธิ รรมหรอื ผูซ่งึ ไดรบั มอบหมาย
จากเลขาธิการสาํ นักงานศาลยุติธรรมเปนผูลงนามในสัญญาจางกับผไู ดรับการสรรหาหรือการเลือกสรร
เปน พนักงานราชการศาลยุติธรรม
ขอ 12 การแตงกาย เครือ่ งแบบปกติ และเคร่อื งแบบพิธกี ารของพนักงานราชการศาลยุติธรรม
ใหเปนไปตามทค่ี ณะกรรมการขา ราชการศาลยตุ ธิ รรมกําหนด
ขอ 13 วันเวลาหรือวิธีการทํางานในกรณีท่ีไมตองอยูปฏิบัติงานประจําสวนราชการ
ในสังกัดสํานักงานศาลยุติธรรม ใหเปนไปตามที่สํานักงานศาลยุติธรรมกําหนด ซ่ึงอาจแตกตางกันได
ตามหนาทขี่ องพนักงานราชการศาลยตุ ธิ รรมในแตล ะตําแหนง โดยคํานงึ ถึงผลสําเรจ็ ของงาน

หมวด 2
คาตอบแทนและสทิ ธิประโยชน

ขอ 14 อัตราคาตอบแทนของพนักงานราชการศาลยุติธรรมใหเปนไปตามหลกั เกณฑ
ท่ีคณะกรรมการขา ราชการศาลยตุ ิธรรมกาํ หนด

ขอ 15 คณะกรรมการขาราชการศาลยตุ ิธรรมอาจกําหนดใหพ นักงานราชการศาลยุติธรรม
ประเภทใดหรือตาํ แหนง ในกลมุ งานใดไดร บั สิทธปิ ระโยชนอยางหน่ึงอยางใด ดังตอ ไปน้ี

(1) สทิ ธเิ ก่ียวกับการลา
(2) สิทธิในการไดรบั คา ตอบแทนระหวา งลา
(3) สิทธิในการไดร ับคา ตอบแทนการปฏิบตั ิงานนอกเวลา
(4) คาใชจา ยในการเดนิ ทาง
(5) คาเบ้ยี ประชุม
(6) สทิ ธใิ นการขอรบั เครอื่ งราชอิสริยาภรณ
(7) การไดรับรถประจาํ ตําแหนง
(8) สิทธิอ่นื ๆ ทค่ี ณะกรรมการขาราชการศาลยุติธรรมกาํ หนด
หลักเกณฑการไดรับสิทธิตามวรรคหนึ่ง ใหเปนไปตามท่ีคณะกรรมการขาราชการ
ศาลยุติธรรมกาํ หนด
ขอ 16 ใหคณะกรรมการขาราชการศาลยุติธรรมพิจารณาทบทวนอัตราคาตอบแทน
และสิทธปิ ระโยชนของพนักงานราชการศาลยุติธรรมตามขอ 14 และขอ 15 เพื่อปรับปรุงใหเหมาะสม

243 238 ูลก จางและพ ันกงกา ุลนมร ่ีทาช๓การศาล ุย ิตธรรม
เปนธรรม และมีมาตรฐาน โดยคํานึงถึงคาครองชพี ที่เปลี่ยนแปลง คาตอบแทนของภาครฐั และเอกชน
อัตราเงินเดือนของขาราชการศาลยุติธรรม กรอบเงินงบประมาณท่ีไดรับจัดสรร รวมทั้งปจจัยอ่ืน
ทเ่ี กี่ยวของตามทสี่ ํานักงานศาลยตุ ิธรรมเสนอ

ขอ 17 ใหพนักงานราชการศาลยุติธรรมไดรับสิทธิประโยชนและมีหนาท่ีตองปฏิบัติ
ตามกฎหมายวา ดว ยการประกันสงั คม

ขอ 18 สํานกั งานศาลยุติธรรมอาจกําหนดใหพนักงานราชการศาลยตุ ธิ รรมประเภทใด
หรือตําแหนงในกลุมงานใดไดรับคาตอบแทนการออกจากงานโดยไมมีความผิดได ตามหลักเกณฑที่
คณะกรรมการขาราชการศาลยุตธิ รรมกําหนด

หมวด 3
การประเมินผลการปฏบิ ัตงิ าน

ขอ 19 ในระหวา งสัญญาจาง ใหส าํ นกั งานศาลยตุ ธิ รรมจดั ใหม กี ารประเมินผลการปฏิบตั งิ าน
ของพนักงานราชการศาลยุตธิ รรม ดงั ตอไปน้ี

(1) การประเมินผลการปฏิบัติงานของพนักงานราชการศาลยุติธรรมท่ัวไป ใหกระทํา
ในกรณดี ังตอไปน้ี

(ก) การประเมินผลการปฏบิ ตั งิ านประจาํ ป
(ข) การประเมนิ ผลการปฏบิ ตั งิ านเพอ่ื ตอ สัญญาจา ง
(2) การประเมินผลการปฏิบัติงานของพนักงานราชการศาลยุติธรรมพิเศษ ใหกระทํา
ในกรณกี ารประเมนิ ผลสําเร็จของงานตามชวงเวลาท่กี ําหนดไวในสัญญาจาง
การประเมินผลการปฏิบัติงานของพนักงานราชการศาลยุติธรรมตามวรรคหน่ึง
ใหเปน ไปตามหลักเกณฑแ ละวิธีการที่คณะกรรมการขา ราชการศาลยุติธรรมกาํ หนด
ขอ 20 พนักงานราชการศาลยุติธรรมผูใดไมผานการประเมนิ ผลการปฏบิ ัติงาน ตามขอ 19
ใหถอื วา สญั ญาจา งของพนักงานราชการศาลยุติธรรมผูนั้นสนิ้ สดุ ลง โดยใหส ํานักงานศาลยุตธิ รรมแจงให
พนกั งานราชการศาลยุตธิ รรมทราบภายในเจ็ดวันนบั แตว นั ทีท่ ราบผลการประเมินผลการปฏบิ ัตงิ านของ
พนกั งานราชการศาลยตุ ธิ รรมผูนัน้
ขอ 21 ใหสํานกั งานศาลยุตธิ รรมรายงานผลการดาํ เนนิ การจางพนกั งานราชการศาลยุติธรรม
รวมทั้งปญหา อุปสรรค หรือขอเสนอแนะตอคณะกรรมการขาราชการศาลยุติธรรมภายในเดือนธันวาคมของทุกป

244 239

หมวด 4
วินัยและการรกั ษาวนิ ยั

ขอ 22 พนักงานราชการศาลยุติธรรมมีหนา ที่ตองปฏิบตั งิ านตามที่กาํ หนดในระเบยี บนี้
ตามท่ีสํานกั งานศาลยุติธรรมกําหนด และตามเงื่อนไขที่กําหนดไวในสัญญาจาง และมีหนาทต่ี อ งปฏิบัติ
ตามคําสงั่ ของผูบังคบั บญั ชาซึ่งสัง่ ในหนาท่รี าชการโดยชอบดว ยกฎหมายและระเบยี บของทางราชการ

ขอ 23 พนักงานราชการศาลยุติธรรมตองรักษาวินัยโดยเครงครัดตามที่กําหนดไว
เปน ขอ หามและขอปฏบิ ตั ทิ ีส่ าํ นักงานศาลยตุ ิธรรมกําหนด

พนักงานราชการศาลยุติธรรมผใู ดฝาฝนขอหามหรือไมปฏิบัติตามขอปฏบิ ัตติ ามวรรคหนึ่ง
พนักงานราชการศาลยุตธิ รรมผนู ัน้ เปนผกู ระทาํ ผดิ วนิ ัยจะตองไดรบั โทษทางวนิ ัย

ขอ 24 การกระทาํ ความผิดดังตอ ไปนี้ ถือวา เปนความผดิ วนิ ัยอยางรา ยแรง
(1) กระทาํ ความผดิ ฐานทจุ รติ ตอ หนาท่รี าชการ
(2) จงใจไมปฏิบัติตามกฎหมาย กฎ ระเบียบ ขอบังคับ หรือเง่ือนไขท่ีทางราชการ
กําหนดใหปฏิบตั ิจนเปนเหตใุ หทางราชการไดรบั ความเสียหายอยางรายแรง
(3) ปฏิบัติหนาที่โดยประมาทเลินเลอจนเปนเหตุใหทางราชการไดรับความเสียหายอยาง
รายแรง
(4) ไมปฏบิ ัติตามเงอื่ นไขทกี่ ําหนดในสญั ญา หรอื ขดั คําสัง่ หรอื หลีกเล่ียงไมปฏิบัติตาม
คาํ สัง่ ของผบู งั คับบญั ชาตามขอ 22 จนเปนเหตใุ หท างราชการไดรับความเสยี หายอยา งรายแรง
(5) ประมาทเลินเลอจนเปนเหตุใหทางราชการไดร บั ความเสียหายอยางรา ยแรง
(6) ละทิ้งหรือทอดท้ิงการทํางานเปนเวลาติดตอกันเกินกวาเจ็ดวัน สําหรับตําแหนงที่
สาํ นกั งานศาลยตุ ธิ รรมกําหนดวันเวลาการมาทํางาน
(7) ละทิ้งหรือทอดทิ้งการทํางานจนทําใหงานไมแลวเสร็จตามระยะเวลาท่ีกําหนด
จนเปนเหตุใหทางราชการไดรับความเสียหายอยางรายแรง สําหรับตําแหนงที่สํานักงานศาลยุติธรรม
กําหนดการทํางานตามเปาหมาย
(8) ประพฤติชั่วอยางรายแรง หรือกระทําความผิดอาญาโดยมีคําพิพากษาถึงท่ีสุด
ใหจําคุก หรอื หนักกวาโทษจําคกุ
(9) การกระทําอนื่ ใดท่สี ํานักงานศาลยตุ ิธรรมกําหนดวาเปน ความผิดวินัยอยางรา ยแรง
ขอ 25 เม่ือมีกรณีที่พนักงานราชการศาลยุติธรรมถูกกลาวหาวากระทําความผิดวินัย
อยางรายแรง ใหเลขาธิการสํานักงานศาลยุติธรรมจัดใหมีคณะกรรมการสอบสวนเพื่อดําเนินการ
สอบสวนโดยเร็ว และตองใหโอกาสพนักงานราชการศาลยุติธรรมที่ถูกกลาวหาชี้แจงและแสดง
พยานหลักฐานเพื่อใหเกิดความเปนธรรม ในกรณีที่ผลการสอบสวนปรากฏวาพนักงานราชการ
ศาลยุติธรรมผูนั้นกระทาํ ความผิดวินยั อยา งรายแรง ใหเลขาธิการสํานักงานศาลยตุ ิธรรม มีคําสั่งไลอ อก
แตถ า ไมมีมูลกระทําความผดิ ใหส่งั ยุตเิ รอ่ื ง

245 240 ูลก จางและพ ันกงกา ุลนมร ่ีทาช๓การศาล ุย ิตธรรม
หลักเกณฑและวิธีการสอบสวนพนักงานราชการศาลยุติธรรม ใหเปนไปตามที่
คณะกรรมการขาราชการศาลยตุ ิธรรมกําหนด
ขอ 26 ในกรณที ่ีปรากฏวาพนักงานราชการศาลยตุ ิธรรมกระทําความผิดวินยั ไมรายแรง
ใหเลขาธกิ ารสํานกั งานศาลยุติธรรมสั่งลงโทษภาคทัณฑ ตัดเงินคา ตอบแทน หรอื ลดขั้นเงินคาตอบแทน
ตามควรแกกรณใี หเหมาะสมกับความผิด
ในการพิจารณาการกระทําความผดิ ตามวรรคหนึ่ง ใหเลขาธกิ ารสํานักงานศาลยตุ ิธรรม
พจิ ารณาสอบสวนใหไ ดความจรงิ และยตุ ธิ รรมตามวธิ ีการที่เหน็ สมควร
ขอ 26/12การอุทธรณคําส่ังลงโทษทางวินัย ใหนําระเบียบคณะกรรมการขาราชการ
ศาลยตุ ิธรรมวาดว ยการอทุ ธรณแ ละการพจิ ารณาอทุ ธรณ พ.ศ. 2559 มาใชบ งั คับโดยอนุโลม

หมวด 5
การสน้ิ สดุ สญั ญาจา ง

ขอ 27 นอกจากครบกําหนดตามสญั ญาจา ง สัญญาจางน้นั สน้ิ สุดเม่อื
(1) สิ้นปงบประมาณที่พนักงานราชการศาลยุติธรรมท่ัวไปมีอายุครบ 60 ปบริบูรณ
พนกั งานราชการศาลยุติธรรมพเิ ศษมีอายคุ รบ 65 ปบรบิ รู ณ
(2) พนกั งานราชการศาลยุติธรรมขาดคุณสมบัติหรือมีลกั ษณะตองหามตามระเบียบนี้
หรอื ตามทีส่ าํ นักงานศาลยตุ ธิ รรมกําหนด
(3) พนักงานราชการศาลยุติธรรมตาย
(4) ไมผานการประเมนิ ผลการปฏบิ ัติงานตามขอ 19
(5) พนักงานราชการศาลยุติธรรมถกู ใหออก เพราะกระทําความผดิ วินัยอยางรายแรง
(6) เหตุอ่ืนตามที่กาํ หนดไวในระเบียบนี้หรือตามขอ กําหนดของสํานักงานศาลยตุ ิธรรม
หรือตามสัญญาจา ง
ขอ 28 ในระหวางสัญญาจาง พนักงานราชการศาลยุติธรรมผูใดประสงคจะลาออก
จากการปฏิบัติงาน ใหยื่นหนังสือลาออกตอเลขาธิการสํานักงานศาลยุติธรรม ตามหลักเกณฑที่
สํานกั งานศาลยุติธรรมกาํ หนด
ขอ 29 สาํ นักงานศาลยตุ ธิ รรมอาจบอกเลกิ สญั ญาจา งกบั พนกั งานราชการศาลยุติธรรม
ผใู ดกอนครบกําหนดตามสญั ญาจางไดโ ดยไมตองบอกกลาวลวงหนา และไมเปนเหตุท่พี นักงานราชการ

2 ขอ 26/1 แกไขเพ่ิมเตมิ โดยระเบียบคณะกรรมการขาราชการศาลยุตธิ รรม วาดว ยพนักงานราชการศาล
ยุติธรรม (ฉบบั ท่ี 2) พ.ศ. 2562

246 241
ศาลยุติธรรมจะเรียกรองคาตอบแทนการเลิกจางได เวนแตคณะกรรมการขาราชการศาลยุติธรรม
จะกําหนดใหใ นกรณีใดไดร บั คาตอบแทนการออกจากงานโดยไมมคี วามผิดไว

ขอ 30 เพ่ือประโยชนแหงทางราชการ สํานักงานศาลยุติธรรมอาจส่ังใหพนักงาน
ราชการศาลยุติธรรมไปปฏิบัตงิ านนอกเหนือจากเง่ือนไขท่ีกําหนดไวในสัญญาจางได โดยไมเปนเหตุให
พนักงานราชการศาลยุติธรรมอางขอเลิกสัญญาจางหรือเรียกรองประโยชนตอบแทนใด ๆ ในการนี้
สาํ นักงานศาลยตุ ธิ รรมอาจกําหนดใหค าลวงเวลาหรอื คาตอบแทนอื่นจากการส่งั ใหปฏบิ ัตงิ านดังกลาวก็ได

ขอ 31 ในกรณีที่บุคคลใดพนจากการเปนพนักงานราชการศาลยุติธรรมแลว
หากในการปฏบิ ัตงิ านของบคุ คลนนั้ ในระหวางท่เี ปนพนักงานราชการศาลยตุ ิธรรมกอใหเกิดความเสยี หาย
แกสํานักงานศาลยตุ ิธรรม ใหบ ุคคลดงั กลา วตองรบั ผดิ ชอบในความเสียหายดงั กลา ว เวนแตความเสียหายนั้น
เกิดจากเหตสุ ดุ วิสยั ในการนส้ี ํานักงานศาลยตุ ธิ รรมอาจหักคา ตอบแทนหรือเงนิ อนื่ ใดที่บุคคลน้ันจะไดร ับ
จากสาํ นักงานศาลยตุ ธิ รรมไวเพื่อชําระคา ความเสยี หายดงั กลาวก็ได

ประกาศ ณ วันท่ี 17 มกราคม พ.ศ. 2550
นายวริ ชั ลิม้ วชิ ัย
รองประธานศาลฎกี า

ประธานกรรมการขาราชการศาลยตุ ธิ รรม

247 242

หลักเกณฑค ณะกรรมการขา ราชการศาลยุตธิ รรม
เร่ือง การกาํ หนดลกั ษณะงานและคณุ สมบัตเิ ฉพาะของกลุมงาน
และแนวทางจดั ทํากรอบอตั รากําลงั พนักงานราชการศาลยตุ ธิ รรม

เพื่อใหการกําหนดลักษณะงานและคุณสมบัติเฉพาะของกลุมงานและการจัดทํา ูลก จางและพ ันกงกา ุลนมร ่ีทาช๓การศาล ุย ิตธรรม
กรอบอัตรากําลังพนักงานราชการศาลยุติธรรมเปนระบบและมาตรฐาน สําหรับการดําเนินการ
ในกระบวนการบริหารงานบุคคลอ่ืน ๆ ท่ีเก่ียวของ ไดแก การกําหนดตําแหนง การกําหนดคาตอบแทน
และสิทธิประโยชน การสรรหาและเลือกสรร และการประเมินผลการปฏิบัติงาน รวมท้ังเปนแนวทาง
ปฏิบัติในการกําหนดช่ือตําแหนงใหสอดคลองตามความจําเปนของภารกิจและยุทธศาสตรของ
สาํ นักงานศาลยุตธิ รรม

อาศัยอํานาจตามความในขอ 7 วรรคสาม ขอ 8 วรรคสาม และขอ 9 วรรคสอง
แหงระเบียบคณะกรรมการขาราชการศาลยุติธรรม วาดวยพนักงานราชการศาลยุติธรรม พ.ศ. 2550
จึงกําหนดลักษณะงาน และแนวทางคุณสมบัติเฉพาะของกลุมงาน และการจัดทํากรอบอัตรากําลัง
พนกั งานราชการศาลยุตธิ รรม ไวด งั ตอไปนี้

ขอ 1 หลักเกณฑน้ีเรียกวา “หลักเกณฑคณะกรรมการขาราชการศาลยุติธรรม
เรื่อง การกําหนดลักษณะงานและคุณสมบัติเฉพาะของกลุมงานและแนวทางจัดทํากรอบอัตรากําลัง
พนกั งานราชการศาลยุตธิ รรม”

สว นที่ 1
การกาํ หนดลกั ษณะงาน และคณุ สมบัติเฉพาะของกลุม งาน

ขอ 2 การกําหนดตําแหนงพนักงานราชการศาลยุติธรรมใหสํานักงานศาลยุติธรรม
พิจารณากําหนดตามประเภทและลักษณะงานตามกลุมงานของพนักงานราชการศาลยุติธรรม
ซงึ่ ไมใชเ ปนงานท่สี ามารถจา งเหมาบริการไดตามหนังสือกระทรวงการคลงั ดวนท่สี ุด ท่ี กค 0526.7/ว 62
ลงวันที่ 14 พฤษภาคม 2539 และท่ี กค 0526.7/ว 71 ลงวันที่ 10 กันยายน 2542 โดยคํานึงถึง
อํานาจหนา ท่ี ภารกจิ และงบประมาณของสํานักงานศาลยุติธรรม

ขอ 3 ใหม กี ลมุ งานตามประเภทของพนักงานราชการศาลยตุ ิธรรม ดงั น้ี
(1) พนักงานราชการศาลยุติธรรมประเภททั่วไป ไดแก พนักงานราชการศาลยุติธรรม
ในกลมุ งานบรกิ าร กลุม งานเทคนคิ กลุมงานบรหิ ารทั่วไป กลมุ งานวชิ าชพี เฉพาะ และกลมุ งานเชี่ยวชาญเฉพาะ
(2) พนักงานราชการศาลยุติธรรมประเภทพิเศษ ไดแ ก พนักงานราชการศาลยุติธรรม
ในกลมุ งานเช่ยี วชาญพเิ ศษ

248 243
ขอ 4 กลุม งานบริการ มีลกั ษณะงานและคณุ สมบัติเฉพาะกลมุ งาน ดังนี้
(๑) ลกั ษณะงานของกลมุ งานบริการ เปน งานท่ีมีลักษณะดงั ตอ ไปน้ี

(ก) เปนงานปฏิบัติงานระดับตนที่ไมสลับซับซอน หรือมีการกําหนดข้ันตอน
การปฏิบัติงานไวชัดเจนและไมตองใชทักษะเฉพาะดาน ไดแก การปฏิบัติงานเกี่ยวกับงานธุรการและ
งานบริการทวั่ ไป ตลอดจนอํานวยความสะดวกตา ง ๆ ในหนว ยงานในสงั กัดสํานักงานศาลยุติธรรม

(ข) มกี ารใชเครื่องมือเคร่ืองใชต ามลักษณะงาน
(ค) มกี ารแกไขปญ หาและการตดั สนิ ใจในระดับท่ีไมยงุ ยาก
(๒) คณุ สมบตั เิ ฉพาะสาํ หรับกลุมงานบริการ กําหนดคณุ วฒุ ิดงั ตอ ไปนี้
(ก) วุฒิประกาศนียบัตรประโยคมัธยมศึกษาตอนตนสายสามัญ (ม.ศ.3) หรือ
ประกาศนียบัตรมัธยมศกึ ษาตอนตน (ม.3) หรือประกาศนียบัตรมัธยมศกึ ษาตอนปลาย (ม.6) หรือเทยี บได
ไมต ํา่ กวาน้ี หรอื
(ข) วุฒิประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) หรือประกาศนียบัตรวิชาชีพเทคนิค (ปวท.)
หรือประกาศนียบัตรวิชาชีพช้ันสูง (ปวส.) หรือเทียบไดไมต่ํากวานี้ในสาขาวิชาท่ีเหมาะสมกับลักษณะงาน
ที่ปฏิบตั ิ
ขอ 5 กลุมงานเทคนิค มลี กั ษณะงานและคณุ สมบตั ิเฉพาะของกลุม งาน ดงั นี้
(๑) ลักษณะงานของกลุม งานเทคนคิ เปนงานทม่ี ลี ักษณะดงั ตอ ไปน้ี
(ก) เปนการปฏิบัติงานโดยใชความรูความชํานาญทางเทคนิค ซึ่งตองผาน
การศึกษาในระบบการศึกษาในสาขาวิชาท่ีตรงตามลักษณะงานที่จะปฏิบัติ หรือเปนงานปฏิบัติที่ใชทักษะ
เฉพาะบุคคล ซึ่งมิไดผานการเรียนการสอนในสถาบันการศึกษาใดเปนการเฉพาะ ไดแก งานเกี่ยวกับงาน
ดา นธุรการศาลเพ่อื สนบั สนุนและอาํ นวยความสะดวกในการพจิ ารณาพพิ ากษาคดีของศาลและประชาชน
(ข) มกี ารใชเ ครอื่ งมือเครื่องใชตามลักษณะงาน
(ค) มีการแกไขปญหาและการตัดสินใจที่ตองใชความรูทางเทคนิค หรือทักษะ
เฉพาะของบุคคลในสาขาน้นั ๆ
(๒) คุณสมบัติเฉพาะสําหรับกลมุ งานเทคนิค กําหนดคณุ สมบตั ิดังตอไปน้ี
(ก) วฒุ ิประกาศนยี บัตรวิชาชีพ (ปวช.) หรอื ประกาศนียบัตรวิชาชีพเทคนิค (ปวท.)
หรอื ประกาศนียบัตรวิชาชีพช้ันสูง (ปวส.) หรือเทียบไดไมต่าํ กวานี้ในสาขาวิชาที่เหมาะสมกับลักษณะ
งานทป่ี ฏิบตั ิ หรือ
(ข) ในกรณที เ่ี ปน งานท่ีตองใชท กั ษะเฉพาะของบุคคลซ่ึงมไิ ดผานการเรยี นการสอน
ในสถาบันการศึกษาใดเปนการเฉพาะ ผูน้ันตองมีความรู ความสามารถ และทักษะในงานที่จะปฏิบัติ
ไมต ่าํ กวา 5 ป
ขอ 6 ทักษะเฉพาะบุคคลท่ีกําหนดเปนคุณสมบัติเฉพาะในขอ 5 (2) (ข) จะตองสามารถ
พิสูจนใหเห็นถึงความมีทักษะในงานน้ัน ๆ โดยมีหนังสือรบั รองการทํางานจากนายจางหรือหนวยงาน
ซ่ึงระบถุ งึ ลักษณะงานทไี่ ดป ฏบิ ัติ หรือมีการทดสอบทกั ษะเฉพาะบุคคลดว ยการทดลองปฏบิ ตั ิ

249 244 ูลก จางและพ ันกงกา ุลนมร ่ีทาช๓การศาล ุย ิตธรรม
ขอ 7 กลุมงานบริหารทวั่ ไป มลี กั ษณะงานและคุณสมบัตเิ ฉพาะของกลมุ งาน ดงั นี้
(๑) ลักษณะงานของกลุมงานบริหารทวั่ ไป เปนงานที่มลี กั ษณะดงั ตอไปนี้

(ก) เปนงานในลักษณะเชนเดียวกับที่ขาราชการศาลยุติธรรมปฏิบัติ ซ่ึงเปนภารกิจ
หลักหรือเปนงานที่มีความจําเปนเรง ดวน โดยมีระยะเวลาเริ่มตนและสิ้นสุดแนนอน ไดแก การปฏิบัติงาน
ที่เก่ียวกบั การบรหิ ารจดั การงานคดี หรืองานอํานวยการ หรอื งานวชิ าการเพ่ือสนบั สนุนการพจิ ารณาพพิ ากษา
คดขี องศาลทีต่ องใชความรูความสามารถคณุ วุฒิ หรอื

(ข) เปนงานท่ีไมใชลักษณะเชนเดียวกับที่ขาราชการศาลยุติธรรมปฏิบัติแตจําเปน
ตอ งใชความรูระดบั ปรญิ ญา

(๒) คุณสมบัติเฉพาะสําหรับกลุมงานบริหารทว่ั ไป กําหนดคณุ วุฒิไมต่ํากวาปริญญาตรี
ในสาขาวชิ าทเี่ หมาะสมกับลกั ษณะงานที่ปฏบิ ตั ิ

ขอ 8 กลุมงานวิชาชพี เฉพาะ มีลักษณะงานและคุณสมบตั ิเฉพาะของกลุมงาน ดังน้ี
(๑) ลกั ษณะงานของกลมุ งานวิชาชพี เฉพาะ เปนงานทมี่ ีลกั ษณะดงั ตอ ไปน้ี

(ก) เปนงานวิชาชีพท่ีตองปฏิบัติโดยผูสําเร็จการศึกษาในระดับปริญญาที่ไมอาจ
มอบหมายใหผูมีคุณวุฒิอยางอื่นปฏิบัติงานแทนได และเปนงานท่ีมีผลกระทบตอชีวิต รางกาย และ
ทรัพยสินของประชาชนอยางเห็นไดชัด โดยมีองคกรตามกฎหมายทําหนาทตี่ รวจสอบ กล่ันกรอง และ
รับรองการประกอบวชิ าชพี รวมทง้ั ลงโทษผกู ระทาํ ผดิ กฎหมายเกยี่ วกบั การประกอบวชิ าชีพดงั กลาว หรอื

(ข) เปนงานวิชาชีพท่ีตองปฏิบัติโดยผูสําเร็จการศึกษาในระดับปริญญาที่ไมอาจ
มอบหมายใหผูมีคุณวุฒิอยางอื่นปฏิบัติงานแทนได และเปนงานท่ีมีผลกระทบตอชีวิต รางกาย และ
ทรพั ยสินของประชาชนอยางเหน็ ไดช ดั อีกทงั้ เปนงานที่ขาดแคลนกาํ ลังคนในภาคราชการ หรือ

(ค) เปนงานวิชาชีพท่ีตองปฏิบัติโดยผูสําเร็จการศึกษาในระดับปริญญาที่ไมอาจ
มอบหมายใหผูมีคุณวุฒิอยางอ่ืนปฏิบัติงานแทนได และเปนงานทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
ที่มีลกั ษณะในเชิงวิจยั และพัฒนา และขาดแคลนกําลังคนในภาคราชการ

(๒) คณุ สมบตั ิเฉพาะสําหรบั กลมุ งานวิชาชีพเฉพาะ กําหนดคุณสมบตั ิดงั ตอไปน้ี
(ก) วฒุ ิไมต า่ํ กวา ปรญิ ญาตรีและไดรบั ใบอนุญาตประกอบวชิ าชีพเฉพาะ หรือ
(ข) วุฒิไมต่ํากวาปริญญาตรีและไดรับประกาศนียบัตรหรือหนังสือรับรองความรู

ในสาขาวชิ าชพี เฉพาะในระดับทส่ี ูงกวาปริญญาตรี หรอื
(ค) วุฒิไมต า่ํ กวา ปริญญาตรี

ขอ 9 กลุมงานเชีย่ วชาญเฉพาะ มลี กั ษณะงานและคุณสมบตั ิเฉพาะของกลมุ งาน ดังนี้
(๑) ลักษณะงานของกลุมเช่ยี วชาญเฉพาะ เปนงานที่มลี กั ษณะดังตอ ไปนี้

(ก) เปนการปฏิบัติงานท่ีอาศัยพ้ืนฐานความรู ประสบการณ การฝกฝน ทฤษฎี
หลักวิชาการที่เกี่ยวของกับงานหรือภูมิปญญาทองถ่ิน หรือเปนงานเชิงพัฒนาระบบ หรือมาตรฐาน
ของงานที่ตองใชความรูความสามารถ และประสบการณเ ช่ยี วชาญเฉพาะดา นนน้ั ๆ

(ข) มกี ารใชเครื่องมือเครือ่ งใชท ีเ่ ก่ียวขอ งในบางลกั ษณะงาน
(๒) คุณสมบตั เิ ฉพาะสําหรับกลุมงานเช่ียวชาญเฉพาะ กําหนดคณุ สมบัติดังตอ ไปน้ี

250 245
(ก) วุฒิไมต่ํากวาปริญญาตรีและมีประสบการณในงานที่จะปฏิบัติเปนเวลา
ไมน อ ยกวา 6 ป สําหรับวฒุ ปิ รญิ ญาตรี 4 ป สาํ หรบั วฒุ ิปริญญาโท และ 2 ป สาํ หรบั วฒุ ปิ ริญญาเอก หรอื
(ข) วฒุ ิไมต่ํากวาปรญิ ญาตรีและไดรบั ประกาศนียบัตรในสาขาที่ตรงกับความจําเปน
ของลักษณะงาน โดยจะตองมีประสบการณในงานที่จะปฏิบัติเปนเวลาไมนอยกวา 6 ป สําหรับ
วฒุ ปิ รญิ ญาตรี 4 ป สาํ หรบั วฒุ ิปริญญาโท และ 2 ป สาํ หรบั วฒุ ิปริญญาเอกหรอื
(ค) มีประสบการณในงานทจ่ี ะปฏิบัติเปน เวลาไมต ่าํ กวา 10 ป และมผี ลงานเปน ที่
ยอมรบั ในวงการน้นั
ขอ 10 ประสบการณที่กําหนดเปนคุณสมบัติเฉพาะในขอ 9 (2) (ก) (ข) และ (ค)
จะตองสามารถพิสูจนใหเห็นถึงความมีประสบการณในงานนั้น ๆ โดยมีหนังสือรับรองการทํางาน
จากนายจางหรือหนวยงานซึ่งระบุถึงลักษณะงานท่ีไดปฏิบัติ หรือมีการทดสอบความชํานาญหรือ
ความเช่ียวชาญในงานที่จะปฏิบตั อิ ยา งนอย 2 ช้นิ ทง้ั นี้ ตามที่สํานกั งานศาลยุตธิ รรมกาํ หนด
ขอ 11 กลุมงานเช่ยี วชาญพิเศษ มีลักษณะงานและคณุ สมบัติเฉพาะของกลุมงาน ดังนี้
(๑) ลกั ษณะงานของกลุมงานเชยี่ วชาญพเิ ศษ เปนงานท่มี ลี ักษณะดงั ตอไปน้ี
(ก) เปนงานท่ีตองปฏิบัติโดยบุคคลท่ีมีความรูความสามารถ ประสบการณ และ
ความเชย่ี วชาญเปนพเิ ศษในสาขาวชิ าทเ่ี กย่ี วขอ งกบั งานหรอื โครงการ ซ่ึงเปน ทย่ี อมรบั ในวงการดานนั้น ๆ และ
(ข) เปนงานหรอื โครงการทีม่ ีภารกิจหรือเปา หมายชดั เจน และมกี ําหนดระยะเวลา
ส้ินสุดแนนอน โดยไดรับอนุมัติจากเลขาธิการสํานักงานศาลยุติธรรมใหดําเนินการไดภายในวงเงิน
งบประมาณทีไ่ ดร ับจัดสรร และ
(ค) เปนงานหรือโครงการที่มีความสําคัญ เรงดวน ท่ีตองดําเนินงานใหแลวเสร็จ
โดยเรว็ และ
(ง) เปนงานหรือโครงการทไี่ มอ าจหาผปู ฏบิ ัติที่เหมาะสมในหนว ยงานได
(๒) คุณสมบัติเฉพาะสําหรับกลุมงานเชี่ยวชาญพิเศษ ใหสํานักงานศาลยุติธรรม
พิจารณากําหนดจากคุณวุฒิการศึกษา ประสบการณ และผลงานความเชี่ยวชาญตามระดับของ
ความเชยี่ วชาญพิเศษ ตามความตอ งการของงานหรือโครงการตามรายละเอยี ดทีแ่ นบทายหลักเกณฑนี้
ขอ 12 คณุ สมบตั เิ ฉพาะสําหรบั กลมุ งานทัง้ 6 กลมุ ในสวนทีเ่ กีย่ วของกบั คุณวุฒิการศกึ ษา
ตอ งเปน คณุ วฒุ ทิ ่คี ณะกรรมการขา ราชการศาลยุติธรรมพจิ ารณากาํ หนดแลว
ขอ 13 สําหรับกลุมงานท่ีไมไดกําหนดประสบการณไวเปนคุณสมบัติเฉพาะ
แตสํานักงานศาลยุติธรรมพิจารณาแลวเห็นวา ตําแหนงในกลุมงานนั้นสมควรสรรหาและเลือกสรรจาก
ผูมีประสบการณในงานที่จะปฏิบัติ สํานักงานศาลยุติธรรมอาจกําหนดเปนคุณสมบัติเฉพาะสําหรับ
ตาํ แหนงได ท้ังนี้ จะตองสามารถพิสูจนใหเห็นถงึ ความมปี ระสบการณข องบุคคลนน้ั โดยมีหนังสือรับรอง
การทํางานจากนายจา งหรือหนวยงานซ่งึ ระบุถึงลักษณะงานท่ีไดปฏบิ ัติ หรอื วิธีการอื่นใดที่เหมาะสมกับ
ลกั ษณะงานทีจ่ ะปฏิบัติ

251 246 ูลก จางและพ ันกงกา ุลนมร ่ีทาช๓การศาล ุย ิตธรรม
ขอ 14 การกําหนดคุณสมบัติเฉพาะท่ีเก่ียวกับอายุขนั้ สูงของผูสมัครเขารับการสรรหา
และเลือกสรรสําหรับกลุมงานท้ัง 6 กลุม คณะกรรมการขาราชการศาลยุติธรรมอาจกําหนดได
ตามความเหมาะสมของลกั ษณะงานและอาจพิจารณาตามแนวทาง ดังนี้
(1) ลักษณะงานท่ีตองใชความพรอมทางสมรรถภาพรางกายหรือท่ีเส่ียงอันตราย
ตรากตราํ หรอื มีผลเสยี ตอสุขภาพ อาจกําหนดใหจ างผทู มี่ ีอายไุ มเกิน 50 ป
(2) ลักษณะงานที่ตองใชความรู ความเชี่ยวชาญ และประสบการณที่สั่งสมมา
เปนเวลานาน ซึ่งไมอาจหาไดโ ดยท่ัวไปหรอื มีความขาดแคลนและเปนท่ตี องการของสํานักงานศาลยตุ ิธรรม
อาจกาํ หนดอายุขัน้ สงู เกินกวา 60 ปได

สว นที่ 2
การจัดทํากรอบอตั รากาํ ลงั พนักงานราชการศาลยุติธรรม

ขอ 15 การกําหนดจํานวนพนักงานราชการศาลยุติธรรมตามกลุมงาน ใหสํานักงาน
ศาลยุติธรรมจัดทําเปนกรอบอัตรากําลัง โดยพิจารณาถึงการใชกําลังคนในภาพรวมของสํานักงาน
ศาลยุติธรรมใหมีความเหมาะสมสอดคลองกับความจําเปนตามภารกิจและยุทธศาสตรของสํานักงาน
ศาลยุติธรรม และใหเสนอคณะกรรมการขาราชการศาลยุติธรรมกําหนดกรอบอัตรากําลัง
โดยความเหน็ ชอบของประธานศาลฎกี า

ขอ 16 ใหสํานักงานศาลยุติธรรมรายงานผลการดําเนินการบริหารงานพนักงานราชการ
ศาลยตุ ิธรรม ใหคณะกรรมการขา ราชการศาลยตุ ิธรรมทราบภายในเดือนธนั วาคมของทุกป

ประกาศ ณ วันที่ 22 มีนาคม พ.ศ. 2550
(ลงชื่อ) วริ ชั ลมิ้ วิชยั
(นายวริ ชั ล้ิมวชิ ัย)
รองประธานศาลฎีกา

ประธานกรรมการขา ราชการศาลยตุ ธิ รรม

252

252 245

คุณสมบตั ิเฉพาะสาหรบั กลมุ่ งานเช่ียวชาญพิเศษ

ระดบั เช่ยี วชาญพิเศษ วุฒิการศกึ ษา ประสบการณ์ ผลงานดา้ นทเ่ี กยี่ วข้อง
1. ระดบั สากล สาเรจ็ การศึกษาจาก เป็นทยี่ อมรับในวงการ มีผลงานท่เี กี่ยวข้องกับ
(World Class) สถาบนั การศกึ ษาชนั้ นา วิชาการในระดบั สากล งาน/โครงการในระดับ
ชาวตา่ งประเทศหรอื ของตา่ งประเทศใน ไม่นอ้ ยกวา่ 10 ปี และ สากลอยา่ งน้อย 5 ชนิ้
ชาวไทย สาขาวชิ าทเี่ กยี่ วขอ้ งกบั มคี วามเชย่ี วชาญรอบรู้
2. ระดบั ประเทศ งาน/โครงการท่ีจะ ในสาขาวชิ าอนื่ ๆ ทเี่ ปน็ มีผลงานที่เก่ียวขอ้ งกับ
ปฏิบตั ิ ประโยชนต์ อ่ งาน งาน/โครงการใน
3. ระดบั ทัว่ ไป สาเร็จการศกึ ษาจาก เปน็ ที่ยอมรับในวงการ ระดบั ประเทศอยา่ งน้อย
สถาบนั การศกึ ษาชน้ั นา วิชาการดา้ นทเี่ กย่ี วข้อง 4 ชน้ิ
ของต่างประเทศใน ในระดับไมน่ ้อยกว่า 10 มผี ลงานที่เกี่ยวขอ้ งกับ
สาขาวชิ าทเ่ี กี่ยวขอ้ งกบั ปี และมคี วามเชย่ี วชาญ งาน/โครงการใน
งาน/โครงการทีจ่ ะ รอบรใู้ นสาขาวชิ าอื่น ๆ ระดบั ประเทศอยา่ งนอ้ ย
ปฏิบตั ิ ทเี่ ป็นประโยชนต์ ่องาน 3 ชิ้น
สาเรจ็ การศกึ ษาจาก เปน็ ที่ยอมรบั ในวงการ
สถาบนั การศกึ ษาชนั้ นา ดา้ นทเี่ กย่ี วข้อง 5-10
ของตา่ งประเทศหรอื ปี
ในประเทศ ในสาขาท่ี
เกยี่ วขอ้ งกบั งาน/
โครงการที่จะปฏบิ ตั ิ

253 248 ูลก จางและพ ันกงกา ุลนมร ่ีทาช๓การศาล ุย ิตธรรม
หลักเกณฑคณะกรรมการขา ราชการศาลยตุ ธิ รรม
เรอ่ื ง หลักเกณฑ วิธีการ และเงอื่ นไขการสรรหาและการเลอื กสรร
พนกั งานราชการศาลยตุ ธิ รรม และแบบสญั ญาจา งของพนักงานราชการศาลยตุ ธิ รรม

เพื่อใหกระบวนการสรรหาและการเลือกสรรบุคคลซ่ึงมีคุณสมบัติเหมาะสมสําหรับ
ท่ีจะเขามาปฏิบัติงานเปนพนักงานราชการศาลยุติธรรมเปนไปอยางมีระบบและเกิดประสิทธิภาพ
แกงานของทางราชการ รวมทั้งการทําสัญญาจางพนักงานราชการศาลยุติธรรมท่ีมีมาตรฐาน
คณะกรรมการขาราชการศาลยุติธรรมจึงเห็นสมควรกําหนดหลักเกณฑ วิธีการและเงื่อนไขการสรรหา
และการเลอื กสรรพนกั งานราชการศาลยุตธิ รรม และแบบสัญญาจางของพนกั งานราชการศาลยตุ ธิ รรม

อาศัยอํานาตามความใน ขอ 10 วรรคหนึ่ง และขอ 11 วรรคสอง แหงระเบียบ
คณะกรรมการขา ราชการศาลยตุ ธิ รรม วา ดวยพนักงานราชการศาลยุติธรรม พ.ศ. 2550 คณะกรรมการ
ขาราชการศาลยุติธรรมจึงกําหนดหลักเกณฑ วิธีการและเง่ือนไขการสรรหาและการเลือกสรร
พนักงานราชการศาลยตุ ธิ รรมและแบบสญั ญาจา งของพนกั งานราชการศาลยตุ ิธรรม ไวดงั ตอ ไปนี้

ขอ 1 หลักเกณฑน้ีเรียกวา “หลักเกณฑคณะกรรมการขาราชการศาลยุติธรรม
เรื่อง หลักเกณฑ วิธีการและเงื่อนไขการสรรหาและการเลือกสรรพนักงานราชการศาลยุติธรรม
และแบบสญั ญาจา งของพนักงานราชการศาลยตุ ิธรรม”

ขอ 2 หลกั เกณฑน้ี
“การสรรหา” หมายความวา การเสาะแสวงหาบุคคลที่มีความรู ความสามารถและ
คุณสมบัติอื่น ๆ ท่ีจําเปนตอการปฏิบัติงานในตําแหนงที่สํานักงานศาลยุติธรรมกําหนดจํานวนหน่ึง
เพื่อทําการเลือกสรร
“การเลือกสรร” หมายความวา การพิจารณาบุคคลที่ไดทําการสรรหาทั้งหมดและ
การคัดเลอื กเพอ่ื ใหไดบุคคลทีเ่ หมาะสมท่สี ุด
“พนักงานราชการศาลยุติธรรมท่ัวไป” หมายความวา พนักงานราชการศาลยุติธรรม
ซึ่งปฏิบัติงานในกลุมงานบริการ กลุมงานเทคนิค กลุมงานบริหารทั่วไป กลุมงานวิชาชีพเฉพาะ หรือ
กลมุ งานเช่ียวชาญเฉพาะ ไดแก ปฏบิ ัติงานในลักษณะเปน งานประเภททัว่ ไปของสาํ นักงานศาลยตุ ิธรรม
“พนักงานราชการศาลยุตธิ รรมพิเศษ” หมายความวา พนักงานราชการศาลยุติธรรมในกลมุ
งานเชี่ยวชาญพิเศษ ไดแก ปฏิบัติงานในลักษณะท่ีตองใชความรูหรือความเชี่ยวชาญสูงมากเปนพิเศษ
เพ่ือปฏิบัติงานในเร่ืองท่ีมีความสําคัญและจําเปนเฉพาะเร่ืองของสํานักงานศาลยุติธรรม หรือมีความจําเปน
ตองใชบ คุ คลลกั ษณะดงั กลา ว
“คณะกรรมการ” หมายความวา คณะกรรมการดาํ เนนิ การสรรหาและเลือกสรร
ขอ 3 ใหสํานักงานศาลยุติธรรมดําเนินการสรรหาและเลือกสรรบุคคลเพื่อเปน
พนักงานราชการศาลยุติธรรม โดยยึดหลักสมรรถนะ ความเทาเทียมในโอกาส และประโยชนของ

254 249
ทางราชการเปนสาํ คัญ ดวยกระบวนการท่ไี ดม าตรฐาน ยุติธรรม และโปรงใส เพื่อรองรบั การตรวจสอบ
ตามแนวทางการบรหิ ารกิจการบานเมอื งทดี่ ี

ขอ 4 การสรรหาและเลือกสรรพนักงานราชการศาลยุติธรรมท่ัวไป ใหดําเนินการ
ตามหลักเกณฑแ ละวธิ กี ารดังน้ี

(1) ใหสํานักงานศาลยุติธรรมโดยหนวยงานการเจาหนาท่ีรวมกับผูแทนท่ีรับผิดชอบงาน
หรือโครงการของตําแหนงที่จะสรรหาและเลือกสรรจัดทําประกาศรับสมัคร ซึ่งมีรายละเอียดเกี่ยวกับ
ลักษณะงาน กลุมงานตามลักษณะงาน ช่ือตําแหนง ความรับผิดชอบของตําแหนง ระยะเวลาการจาง
คาตอบแทนท่ีจะไดรับ คุณสมบัติของผูมีสิทธิสมัคร หลักเกณฑ และวิธีการสรรหาและเลือกสรร
เกณฑการตัดสินและเง่ือนไขการจางอื่น ๆ ตลอดจนกําหนดวันและเวลาของกจิ กรรมตาง ๆ ที่เกย่ี วของ
และเสนอเลขาธิการสํานกั งานศาลยตุ ิธรรมเพ่ือประกาศใหผมู ีสิทธิสมคั รทราบ

ประกาศรับสมคั รนน้ั ใหป ด ไวใ นที่เปดเผยเปนการทัว่ ไป มรี ะยะเวลาไมน อยกวา 5 วนั ทาํ การ
กอนกําหนดวนั รับสมคั ร

(2) สาํ นักงานศาลยตุ ธิ รรมอาจกําหนดคา สมัครสอบไดตามความจาํ เปน และเหมาะสม
(3) สาํ นักงานศาลยุติธรรมอาจกําหนดระยะเวลาในการรับสมัครไดต ามความเหมาะสม
แตท ัง้ นีต้ องไมน อ ยกวา 7 วนั ทาํ การ
(4) หลักเกณฑการเลือกสรรบุคคลเพ่ือปฏิบัติงานใหยึดหลัก “สมรรถนะ” ท่ีจําเปน
ตอ งใชสาํ หรับการปฏิบตั ิงานในตําแหนงตามทส่ี ํานักงานศาลยตุ ธิ รรมกาํ หนดซ่งึ ประกอบดว ย

(ก) ความรขู องบคุ คลในเรอ่ื งตา ง ๆ ทีจ่ ําเปนตอ การปฏบิ ตั ิงาน
(ข) ความสามารถหรือทักษะเฉพาะของบุคคลในเร่ืองตาง ๆ ท่ีจําเปนตอการ
ปฏบิ ตั ิงาน และ
(ค) คณุ ลักษณะอื่น ๆ ของบคุ คลซ่งึ จําเปน หรือเหมาะสมตอการปฏบิ ตั ิงาน
(5) ใหกําหนดคะแนนเตม็ ของสมรรถนะแตล ะเรือ่ งไดตามความจําเปนและความสอดคลอง
กบั ตําแหนง งาน ทัง้ น้ี สมรรถนะท่ีจําเปนมากท่สี ดุ ควรมนี าํ้ หนักของคะแนนเต็มมากที่สดุ
(6) วิธีการประเมินสมรรถนะแตละเร่ือง ใหสํานักงานศาลยุติธรรมเปนผูกําหนด
โดยสมรรถนะเร่ืองหนึ่งสามารถประเมินไดดว ยวิธีการประเมินหลายวิธกี ารหรือสมรรถนะหลาย ๆ เร่ือง
สามารถประเมนิ ไดด ว ยวธิ ีการประเมินวิธีเดียวกันตามทเี่ ห็นวาเหมาะสม และสอดคลอ งกับการประเมิน
สมรรถนะดังกลาว ไดแก การสอบขอเขียน การทดสอบตัวอยางงาน การสัมภาษณ การทดสอบดวย
สถานการณจําลอง การตรวจสอบกับบคุ คลท่อี า งอิง หรอื อ่นื ๆ
ทัง้ น้ี ไดกําหนดแบบตัวอยา งการกําหนดและการประเมินสมรรถนะดงั เอกสารแนบทาย
หลกั เกณฑนี้
(7) สํานักงานศาลยตุ ิธรรมจะกําหนดใหมีการประเมินสมรรถนะที่มีคะแนนเต็มมากท่ีสุด
และประกาศรายชอ่ื ผูผ า นการประเมินสมรรถนะเฉพาะเรอ่ื งนั้น เพือ่ เขารับการประเมินสมรรถนะในเรอื่ ง
ท่ีเหลืออยูต อไปก็ได
(8) เกณฑการตัดสินสําหรับผูผานการประเมินสมรรถนะ ใหสํานักงานศาลยุติธรรม
กาํ หนดตามความเหมาะสมและสอดคลอ งกบั ตําแหนง งาน

255 250 ูลก จางและพ ันกงกา ุลนมร ่ีทาช๓การศาล ุย ิตธรรม
(9) ภายหลังการประกาศรับสมัครแลวใหเลขาธกิ ารสํานักงานศาลยุติธรรมหรือผไู ดรับ
มอบหมายจากเลขาธิการสํานักงานศาลยุติธรรมแตงต้ังคณะกรรมการดําเนินการสรรหาและเลือกสรร
จาํ นวนไมน อยกวา 3 คน

(ก) เลขาธกิ ารสํานกั งานศาลยุตธิ รรมหรอื ผูไดร บั มอบหมายเปนประธาน
(ข) ผูแทนท่ีรับผิดชอบงานหรือโครงการของตําแหนงท่ีจะสรรหาและเลือกสรร
เปนกรรมการ
(ค) บคุ ลากรจากหนว ยงานการเจา หนาทเ่ี ปน กรรมการและเลขานกุ าร
ในการเลอื กสรรตําแหนง ที่เลขาธิการสํานักงานศาลยตุ ธิ รรมเห็นสมควรใหมผี ูทรงคณุ วุฒิ
หรอื ผูมีประสบการณในงานที่เกี่ยวของกับตําแหนงน้ัน ทั้งจากภายในหรือภายนอกสํานักงานศาลยุติธรรม
รวมเปนคณะกรรมการ ใหเลขาธิการสํานักงานศาลยุติธรรมแตงตั้งผูทรงคุณวุฒิหรือผูมีประสบการณ
ที่เกยี่ วขอ งกับตาํ แหนง นน้ั เปนคณะกรรมการดวย
คณะกรรมการมีอํานาจหนาที่ในการดาํ เนินการสรรหาและเลือกสรรตามหลักเกณฑแ ละ
วธิ กี ารตามทกี่ ําหนดในประกาศรับสมคั รภายใตหลกั การตามขอ 3
ขอ 51 เม่ือคณะกรรมการไดดําเนินการสรรหาและเลือกสรรพนักงานราชการ
ศาลยุติธรรมทั่วไปเสร็จส้ินแลว ใหรายงานผลการดําเนินการตอเลขาธิการสํานักงานศาลยุติธรรม
เพื่อประกาศบญั ชีรายชือ่ ผผู านการเลือกสรรและดําเนนิ การจดั จา งตอ ไป
ใหสํานกั งานศาลยุติธรรมประกาศบัญชีรายช่ือผูผานการเลือกสรร โดยกําหนดใหบัญชี
มอี ายุตามทเ่ี หน็ สมควร แตท ้งั นตี้ องไมเ กนิ กวา 2 ป
ในกรณีที่มีผูผานการเลือกสรรมากกวาจํานวนอัตราวาง และภายหลังมีอัตราวาง
ในงานลักษณะเดียวกันหรือคลายคลึงกัน ซ่ึงสํานักงานศาลยุติธรรมพิจารณาแลวเห็นวาสามารถใช
บุคคลท่ีมีสมรรถนะในเร่ืองเดียวกันได เลขาธิการสํานักงานศาลยุติธรรมก็อาจพิจารณาจัดจางผูผาน
การเลือกสรรจากบญั ชีรายชอ่ื ผูผา นการเลือกสรรทย่ี งั ไมห มดอายกุ ไ็ ด
ขอ 6 การสรรหาและเลือกสรรพนักงานราชการศาลยุติธรรมพิเศษ ใหดําเนินการ
ตามหลักเกณฑและวธิ กี าร ดงั นี้
(1) ใหเ ลขาธกิ ารสํานักงานศาลยุติธรรมและผูร ับผิดชอบงานหรอื โครงการของตําแหนง
ท่ีจะสรรหาและเลือกสรรกําหนดขอบขายงานของตําแหนง ชื่อตําแหนง คุณสมบัติของตําแหนง
ระยะเวลาการจาง คา ตอบแทนท่ีจะไดร บั และเงื่อนไขการจางอ่ืน ๆ ที่เกย่ี วขอ ง ตลอดจนแสดงแหลง ขอมูล
ท่ีจะสรรหาและเลือกสรร ไดแก สถาบันการเงิน องคกรระหวางประเทศ สมาคมอาชีพ สถานทูต
ศูนยที่ปรึกษากระทรวงการคลัง สวนราชการหรือรัฐวิสาหกิจตาง ๆ ที่เคยจางบุคคลในงานประเภทเดียวกัน
หรอื แหลงขอ มูลอืน่ ๆ ตามท่ีเห็นสมควร

1 ขอ 5 แกไขเพมิ่ เตมิ โดยหลักเกณฑค ณะกรรมการขา ราชการศาลยตุ ธิ รรม เร่อื ง หลักเกณฑ วธิ กี ารและ
เงอ่ื นไขการสรรหาและการเลือกสรรพนกั งานราชการศาลยตุ ธิ รรมและแบบสญั ญาจาง (ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2564

256 251
(2) เลขาธิการสํานักงานศาลยุติธรรมหรือคณะกรรมการท่ีเลขาธิการสํานักงาน
ศาลยุติธรรมแตงต้ัง และผูรับผิดชอบงานหรือโครงการ ดําเนินการสรรหารายชื่อผูท่ีมีความเหมาะสม
จากแหลงขอมูลท่ีกําหนด และเลอื กสรรพนักงานราชการศาลยุติธรรมพิเศษจากรายช่ือดังกลา วภายใต
หลักการในขอ 3
ขอ 7 เมื่อสํานักงานศาลยุติธรรมไดชื่อผูผานการสรรหาและเลือกสรรเปนพนักงาน
ราชการศาลยุตธิ รรมพิเศษแลว ใหเ ลขาธกิ ารสํานกั งานศาลยตุ ธิ รรมดาํ เนินการจดั จางผูนน้ั ตอไป
ขอ 8 ผูไดรับการสรรหาและเลือกสรรใหเปนพนักงานราชการศาลยุติธรรมจะตองทํา
สญั ญาจางตามแบบท่ีคณะกรรมการขาราชการศาลยุตธิ รรมกําหนดทายหลักเกณฑน ้ี
ขอ 9 เลขาธกิ ารสํานักงานศาลยุติธรรมอาจกําหนดรายละเอียดเพ่ิมเติมไดเทาท่ีไมขัด
หรอื แยงกับหลักเกณฑนี้

ประกาศ ณ วนั ท่ี 22 มีนาคม พ.ศ. 2550
(ลงช่ือ) วิรชั ลิม้ วชิ ยั
(นายวริ ชั ลิม้ วชิ ัย)
รองประธานศาลฎกี า

ประธานกรรรมการขาราชการศาลยตุ ธิ รรม

257

257 250

ตัวอยา่ ง
การกาหนดและการประเมินสมรรถนะ
ลักษณะ

๑. ดาเนินการประชาสัมพันธใ์ นรปู แบบต่าง ๆ เพื่อเผยแพรค่ วามรู้
ความเขา้ ใจเก่ยี วกบั การดาเนนิ โครงการ
ของหนว่ ยงาน

๒. ตดิ ตามขา่ วสารทเ่ี ก่ยี วข้องกบั โครงการ
ของหน่วยงานระยะเวลาการจา้ ง 6 เดือน
กลุ่มงาน กล่มุ งานบรหิ ารทัว่ ไป
ตาแหนง่ เจา้ หนา้ ทป่ี ระชาสมั พนั ธ์
สมรรถนะ คะแนนเตม็ และวิธกี ารประเมินสมรรถนะ

สมรรถนะ คะแนนเตม็ วธิ กี ำรประเมนิ ูลก จางและพ ันกงกา ุลนมร ่ีทาช๓การศาล ุย ิตธรรม
ความรู้
ความรู้เกย่ี วกบั การประชาสมั พนั ธ์ 80 การสอบขอ้ เขยี น/การสอบสัมภาษณ์
ความสามารถหรอื ทกั ษะเฉพาะ
ความสามารถในการใชเ้ ครือ่ งคอมพวิ เตอร์ 60 การทดสอบตัวอยา่ งงาน
ความสามารถในการส่ือสาร 80 การสอบขอ้ เขียนและการสอบสัมภาษณ์
คณุ สมบตั สิ ่วนบุคคลอนื่
การทางานเปน็ ทมี 40 ทดสอบด้านสถานการณจ์ าลอง
มนษุ ย์สัมพนั ธ์ 40 การสอบสัมภาษณ์ การตรวจสอบกบั บคุ คล

การคดิ ริเรมิ่ สรา้ งสรรค์ อา้ งอิง/การทดสอบด้วยสถานการณจ์ าลอง
100 การทดสอบตวั อยา่ งงาน/การสอบ

สัมภาษณ์/การทดสอบดว้ ยสถานการณ์
จาลอง
500

258

258 251

สญั ญาเลขที่ /

สัญญำจ้ำงพนักงำนรำชกำรกำรศำลยตุ ธิ รรม
สำนกั งำนศำลยตุ ธิ รรม

เม่อื วนั ที่ สัญญาจ้างพนกั งานราชการศาลยุตธิ รรมฉบบั นี้ ทาขึ้น ณ
ระหว่าง สานักงานศาลยตุ ธิ รรมโดย
ตาแหน่ง ผแู้ ทน/ผูร้ บั มอบอานาจตามคาสั่งสานักงานศาลยุตธิ รรมที่ /
ลงวันท่ี ซึง่ ต่อไปในสัญญานีเ้ รียกว่า “สานกั งานศาลยุติธรรม”ฝ่ายหนึ่ง กบั
นาย/นาง/นางสาว อายุ ปี หมายเลขประจาตัวของผ้ถู ือบตั ร
ประจาตัวประชาชน อยู่บา้ นเลขที่ ถนน ซอย
แขวง/ตาบล เขต/อาเภอ จังหวดั
รหัสไปรษณยี ์ โทรศัพท์ ซึ่งต่อไปในสญั ญานเ้ี รยี กวา่ “พนักงานราชการศาลยตุ ิธรรม”
อีกฝา่ ยหน่งึ ทั้งสองฝ่ายตา่ งไดต้ กลงรว่ มกนั ทาสญั ญาจ้างไว้ตอ่ กัน ดงั ต่อไปน้ี

ขอ้ 1 สานกั งานศาลยุติธรรมตกลงจ้าง และพนักงานราชการศาลยุติธรรมตกลงรับจ้าง
ทางานให้แก่สานักงานศาลยตุ ธิ รรม โดยเป็นพนักงานราชการศาลยุติธรรมดังต่อไปนี้

 พนกั งานราชการศาลยุตธิ รรมพิเศษ
ลกั ษณะงาน

 พนกั งานราชการศาลยุตธิ รรมทวั่ ไป
กลุ่มงาน
ตาแหนง่

ข้อ 2 พนักงานราชการศาลยุติธรรมมีหน้าที่รับผิดชอบภาระงานตามรายละเอียดท่ี
สานักงานศาลยุติธรรมกาหนดไว้ในเอกสารแนบท้ายสัญญาจ้างผนวก ก และผนวก ข ท้ังน้ีให้ถือว่า
เอกสารแนบท้ายสัญญาจ้างดังกล่าวเป็นส่วนหนึ่งของสญั ญาจ้างน้ี ในกรณีที่มีปัญหาว่างานใดเปน็ หน้าที่
การงานตามสัญญาจ้างนี้หรือไม่ หรือกรณีท่ีมีข้อสงสัยเกี่ยวกับข้อความของสัญญาจ้างหรือข้อความใน
เอกสารแนบท้ายสัญญาจ้าง ให้สานักงานศาลยุติธรรมเป็นผู้วินิจฉัย และพนักงานราชการศาลยุติธรรม
จะตอ้ งปฏิบตั ิตามคาวินิจฉัยน้นั

ข้อ 3 สานกั งานศาลยตุ ิธรรมตกลงจา้ งพนักงานราชการศาลยตุ ิธรรมมีกาหนด ปี เดอื น
เรม่ิ ตัง้ แต่วนั ที่ เดอื น พ.ศ. และสนิ้ สุดในวันที่ เดอื น พ.ศ.
กาหนดระยะเวลาการมาปฏิบัติงานที่ สานกั งานศาลยตุ ิธรรมให้เป็นไปตามรายละเอียด
แนบท้ายสญั ญาจา้ ง และให้ถอื ว่าเอกสารแนบท้ายสัญญาจ้างดงั กลา่ วเปน็ ส่วนหนึ่งของสัญญาจ้าง

259 ูลก จางและพ ันกงกา ุลนมร ่ีทาช๓การศาล ุย ิตธรรม

259 252
ข้อ 4 สานักงานศาลยุติธรรมตกลงจ่าย และพนักงานราชการศาลยุติธรรมตกลงรับ
ค่าตอบแทน ดงั นี้

ทั้งนี้ พนักงานราชการศาลยุติธรรมต้องเป็นผู้รับผิดชอบในการเสียภาษีเงินได้ โดย
สานักงานศาลยตุ ธิ รรมจะเป็นผหู้ ักไว้ ณ ทจี่ ่าย

ข้อ 5 พนักงานราชการศาลยุติธรรมอาจได้รับสิทธิประโยชน์อ่ืน ตามระเบียบ
คณะกรรมการข้าราชการศาลยุติธรรม ว่าด้วยพนักงานราชการศาลยุติธรรม พ.ศ. 2550 หรือตามที่
คณะกรรมการขา้ ราชการศาลยตุ ธิ รรม หรือสานกั งานศาลยตุ ิธรรมกาหนด

ข้อ 6 สานกั งานศาลยุติธรรมจะทาการประเมินผลการปฏิบัติงานของพนกั งานราชการ
ศาลยตุ ธิ รรมตามหลกั เกณฑ์ และวิธีการท่ี คณะกรรมการขา้ ราชการศาลยุตธิ รรมกาหนด

ผลการประเมนิ ตามวรรคหน่งึ เปน็ ประการใด ให้ถือเปน็ ทสี่ ดุ
ข้อ 7 สญั ญานส้ี ้นิ สุดลงเม่ือเข้ากรณใี ดกรณีหนึง่ ดังต่อไปนี้
(1) เข้ากรณีใดกรณีหนึ่งตามท่ีกาหนดใน ข้อ 27 ของระเบียบคณะกรรมการ
ข้าราชการศาลยตุ ิธรรม วา่ ดว้ ยพนักงานราชการศาลยตุ ิธรรม พ.ศ.2550
(2) พนักงานราชการศาลยุติธรรมลาออกจากการปฏิบัติงาน ตามข้อ 28 ของระเบียบ
คณะกรรมการขา้ ราชการศาลยุตธิ รรมวา่ ด้วยพนักงานราชการศาลยตุ ธิ รรม พ.ศ. 2550
(3) มีการเลิกสัญญาจ้างตามข้อ 29 ของระเบียบคณะกรรมการข้าราชการศาลยตุ ิธรรม
ว่าดว้ ยพนกั งานราชการศาลยตุ ธิ รรม พ.ศ. 2550
(4) เหตอุ ื่น ๆ ดงั ตอ่ ไปน้ี

(5) เหตอุ น่ื ๆ ตามที่สานกั งานศาลยุตธิ รรมประกาศกาหนด
ข้อ 8 พนักงานราชการศาลยุติธรรมมีหน้าท่ีต้องรักษาวินัย และยอมรับการลงโทษ
ทางวินัยตามที่กาหนดในระเบียบคณะกรรมการข้าราชการศาลยุติธรรม ว่าด้วยพนักงานราชการ
ศาลยุตธิ รรม พ.ศ. 2550 และหรอื ที่สานกั งานศาลยุตธิ รรมประกาศกาหนด
ข้อ 9 ในกรณีพนักงานราชการศาลยุติธรรมละท้ิงงานก่อนครบกาหนดเวลาตามข้อ 1
หรือปฏิบัติงานใด ๆ จนเป็นเหตุให้เกิดความเสียหายแก่สานักงานศาลยุติธรรมในระหว่างอายุสัญญา
พนักงานราชการศาลยุติธรรมยินยอมชดใช้ค่าเสียหายให้กับสานักงานศาลยุติธรรมทุกประการภายใน
กาหนดเวลาท่ีสานักงานศาลยุติธรรมเรียกร้องให้ชดใช้และยินยอมให้ สานักงานศาลยุติธรรมหักค่าจ้าง
หรือเงินอื่นใดท่ีพนักงานราชการศาลยุติธรรมมีสิทธิได้รับจากสานักงานศาลยุติธรรมเป็นการชดใช้
ค่าเสยี หายได้ เวน้ แต่ความเสียหายนนั้ เกิดจากเหตุสุดวสิ ยั

260 255

ขอ 10 พนักงานราชการศาลยุติธรรมจะตองปฏิบัติตามระเบียบคณะกรรมการ
ขา ราชการศาลยุติธรรมวาดว ยพนักงานราชการศาลยุติธรรม พ.ศ. 2550 ประกาศหรอื มติของคณะกรรมการ
ขา ราชการศาลยุตธิ รรม ประกาศหรือคาํ สงั่ ของสํานักงานศาลยุตธิ รรมที่ออกตามระเบียบคณะกรรมการ
ขา ราชการศาลยุติธรรมวาดว ยพนกั งานราชการศาลยตุ ิธรรม พ.ศ. 2550

ขอ 11 พนักงานราชการศาลยุติธรรมจะตองประพฤติและปฏิบัติตามกฎหมาย
ระเบียบ ขอบังคับ และคําสั่งของทางราชการ ทั้งที่ไดออกใชบังคับแกพนักงานราชการศาลยุติธรรม
อยูแลวกอนวันท่ีลงนามในสัญญาจางนี้และที่จะออกใชบังคับตอไปในภายหลัง โดยพนักงานราชการ
ศาลยตุ ิธรรมยินยอมใหถ ือวา กฎหมาย ระเบียบ หรอื คําสั่งตาง ๆ ดงั กลาวเปน สว นหน่ึงของสญั ญาจา งน้ี

ขอ 12 พนักงานราชการศาลยุติธรรมตองปฏิบัติงานใหสํานักงานศาลยุติธรรมตามท่ี
ไดรับมอบหมายดวยความซื่อสัตย สุจริต และต้ังใจปฏิบัติงานอยางเต็มกําลังความสามารถของตน
โดยแสวงหาความรูและทักษะเพ่ิมเติมหรือกระทําการใด ๆ เพ่ือใหผลงานในหนาที่มีคุณภาพดีขึ้น
ท้ังน้ี ตองรักษาผลประโยชนและชื่อเสียงของทางราชการ และไมเปดเผยความลับหรือขอมูลของ
ทางราชการใหผหู น่งึ ผใู ดทราบโดยมิไดรับอนุญาตจากผูรับผิดชอบงานนนั้ ๆ

ขอ 13 ในระหวางอายุสัญญาจางน้ีหากพนักงานราชการศาลยุติธรรมปฏิบัติงาน
ตามสัญญาจางแลวกอใหเกิดผลงานสรางสรรคขึ้นใหม ใหลิขสิทธิ์ของผลงานดังกลาวเปนกรรมสิทธ์ิ
ของสํานกั งานศาลยตุ ธิ รรม

ขอ 14 พนักงานราชการศาลยุติธรรมจะตองรับผิดตอการละเมิดบทบัญญัติแหง
กฎหมายหรือสิทธิใด ๆ ในสิทธิบัตร หรือลิขสิทธ์ิของบุคคลที่สาม ซึ่งพนักงานราชการศาลยุติธรรม
นาํ มาใชใ นการปฏบิ ตั ิตามสญั ญานี้

ขอ 15 สทิ ธิ หนาที่ และความรบั ผิดของพนกั งานราชการศาลยตุ ิธรรมนอกเหนือจากที่
กาํ หนดไวในสัญญาจา งนี้ ใหเ ปน ไปตามกฎหมาย ระเบยี บ ขอ บังคับ ที่ทางราชการกําหนดไว

สัญญาน้ีทําข้ึนสองฉบับมีขอความถูกตองตรงกัน คูสัญญาอาน ตรวจสอบ และเขาใจ
ขอความในสัญญาโดยละเอียดแลว จึงลงลายมือช่ือไวเปนหลักฐานตอหนาพยาน ณ วัน เดือน ป
ดังกลา วขา งตน และตา งฝา ยตา งเกบ็ รักษาไวฝ า ยละฉบับ

ลงชอื่ ............................................................
(....................................................................)
เลขาธกิ ารสํานกั งานศาลยตุ ธิ รรม /ผูไดร บั มอบหมาย
ลงช่ือ...........................................................
(..................................................................)

พนกั งานราชการศาลยุติธรรม
ลงช่ือ...........................................................
(..................................................................)

พยาน

261 254

261

เอกสำรแนบทำ้ ยสัญญำจ้ำง
ผนวก ก.

หน้าท่คี วามรบั ผิดชอบของพนักงานราชการศาลยตุ ิธรรม
๑. พนักงานราชการศาลยุติธรรมพิเศษ (ให้ระบุขอบเขตของลักษณะการปฏิบัติงานระยะเวลา
ผลผลติ หรอื วิธกี ารปฏิบตั งิ านกรณอี ืน่ ทแี่ สดงให้เหน็ ผลสาเรจ็ ของงาน)

๒. พนกั งานราชการศาลยุตธิ รรมท่วั ไป (ใหร้ ะบุหนา้ ทค่ี วามรบั ผดิ ชอบหรอื ผลผลิตตามระยะเวลา) ูลก จางและพ ันกงกา ุลนมร ่ีทาช๓การศาล ุย ิตธรรม

หมายเหตุ :1. ในกรณีที่สานักงานศาลยุติธรรมไดก้ าหนดรายละเอียดมาตรฐานท่วั ไปของงานในตาแหน่ง
ใดไว้แล้ว อาจกาหนดหน้าท่ีความรับผิดชอบของพนักงานราชการศาลยุติธรรมให้ปฏิบัติตามที่กรม/
สานักงานศาลยตุ ิธรรมกาหนดไว้ สาหรบั ตาแหนง่ น้ันก็ได้

2. ในกรณีจาเป็นเพื่อประโยชน์ของทางราชการสานักงานศาลยุติธรรมอาจมีคาส่ังมอบหมายงาน
ให้พนกั งานราชการศาลยุติธรรมปฏบิ ตั ิเป็นพเิ ศษนอกเหนือจากขอบเขตหน้าท่ีความรบั ผดิ ชอบทก่ี าหนดไว้ได้
โดยไมต่ ้องแกไ้ ขสัญญา และพนกั งานราชการศาลยุตธิ รรมยินยอมปฏบิ ตั ติ ามคาส่งั ของสานกั งานศาลยตุ ธิ รรม
โดยถอื เปน็ การกาหนดหนา้ ท่คี วามรับผิดชอบตามสัญญาน้ี

262 255

262

เอกสำรแนบท้ำยสัญญำจำ้ ง
ผนวก ข.

กาหนดระยะเวลาการมาปฏิบตั หิ นา้ ท่ี
๑. พนกั งานราชการศาลยุติธรรมพเิ ศษ
ปฏบิ ตั งิ านตามเวลาการปฏบิ ตั ริ าชการปกติ
 ปฏิบตั งิ านตามระยะเวลาดังนี้

 ปฏบิ ตั ิงานตามผลผลติ ของงานดงั นี้

 อื่น ๆ

๒. พนักงานราชการศาลยตุ ิธรรมทวั่ ไป
ปฏิบัติงานตามเวลาการปฏบิ ัตริ าชการปกติ
 ปฏบิ ตั ิงานตามระยะเวลาดงั นี้

 ปฏิบตั งิ านตามผลผลติ ของงานดงั นี้

 อน่ื ๆ

หมายเหตุ : ในกรณีท่ีมีความจาเป็นเพื่อประโยชน์ของทางราชการ สานักงานศาลยุติธรรมอาจมีคาส่ัง
เปลี่ยนแปลงระยะเวลาการมาปฏิบัตหิ นา้ ทหี่ รือมีคาสั่งให้ปฏิบตั ิหนา้ ทเี่ ปน็ อยา่ งอ่นื ได้ โดยไม่ต้องแกไ้ ขสัญญา
และพนกั งานราชการศาลยุตธิ รรมยินยอมปฏิบตั ติ ามคาส่งั ของสานักงานศาลยตุ ิธรรม โดยถือเป็นการกาหนด
ระยะเวลาการมาปฏิบตั งิ านตามสญั ญาน้ี

263 256

หลกั เกณฑคณะกรรมการขา ราชการศาลยุตธิ รรม
เร่อื ง คา ตอบแทนและสทิ ธปิ ระโยชนข องพนกั งานราชการศาลยุตธิ รรม

เพ่ือใหการกําหนดคาตอบแทนตามลักษณะงานและผลผลิตของงานและสิทธิประโยชน ูลก จางและพ ันกงกา ุลนมร ่ีทาช๓การศาล ุย ิตธรรม
ของพนักงานราชการศาลยุติธรรมเปน ไปอยา งมีความเหมาะสมสอดคลอ งกับขนาดของงานขดี สมรรถนะ
และการประเมนิ ผลการปฏิบตั งิ านของพนักงานราชการศาลยตุ ธิ รรม คณะกรรมการขาราชการศาลยตุ ิธรรม
จงึ เหน็ ควรกําหนดคาตอบแทนและสทิ ธิประโยชนข องพนักงานราชการศาลยตุ ิธรรม

อาศัยอํานาจตามความในขอ 14 และขอ 15 แหงระเบียบคณะกรรมการขาราชการ
ศาลยุติธรรม วา ดวยพนักงานราชการศาลยุติธรรม พ.ศ. 2550 จึงกําหนดคาตอบแทนและสิทธปิ ระโยชน
ของพนกั งานราชการศาลยตุ ธิ รรมไวด งั ตอ ไปนี้

ขอ 1 หลักเกณฑน้ีเรียกวา “หลักเกณฑคณะกรรมการขาราชการศาลยุติธรรม
เร่อื ง คาตอบแทนและสิทธิประโยชนของพนกั งานราชการศาลยตุ ิธรรม”

ขอ 2 ในหลักเกณฑน้ี
“พนักงานราชการ” หมายความวา พนักงานราชการศาลยุติธรรมตามระเบียบ
คณะกรรมการขาราชการศาลยตุ ธิ รรมวา ดวยพนกั งานราชการศาลยตุ ธิ รรม พ.ศ. 2550
“คาตอบแทน” หมายความวา เงินเดือนซ่ึงจายใหแกพนักงานราชการศาลยุติธรรม
ในการปฏิบตั งิ านใหแ กสํานักงานศาลยตุ ธิ รรม ตามอัตราทก่ี ําหนดในหลกั เกณฑน้ี
“คาตอบแทนพิเศษ” หมายถึง เงินที่จายเพ่ิมใหแกพนักงานราชการศาลยุติธรรม
เมื่อมีผลการประเมินการปฏบิ ตั งิ าน คุณภาพงานและปรมิ าณงานในระดบั ดเี ดน
ขอ 3 หลกั การกําหนดคา ตอบแทนของพนักงานราชการศาลยตุ ิธรรม
(๑) หลักคุณภาพ เพื่อใหเกิดบุคลากรท่ีมีความรู ความสามารถ และมีประสบการณ
เขามาปฏิบัตงิ านภายใตร ะบบสญั ญาจาง
(๒) หลักความยุตธิ รรม เพอื่ ใหเกิดความเสมอภาคในโอกาส ไมเหลอ่ื มลาํ้ และไมเ ลือกปฏบิ ัติ
(๓) หลักการจูงใจ การจายคาตอบแทน และสิทธิประโยชนใหเพียงพอ โดยคํานึงถึง
คา ครองชีพที่เปลี่ยนแปลง คาตอบแทนในภาคเอกชน อัตราเงินเดือนขาราชการพลเรือนและฐานะการคลัง
ของประเทศ
(๔) หลักความสามารถ อตั ราคา ตอบแทนจะจายตามความรูความสามารถขดี สมรรถนะ
และผลงานตามการประเมินผลการปฏบิ ัติงาน
ขอ 4 อัตราคาตอบแทนพนักงานราชการศาลยุติธรรมใหเปนไปตามบัญชีแนบทาย
หลักเกณฑน ้ี

264

264 257
ข้อ 5 ให้พนักงานราชการศาลยุติธรรมได้รับอัตราค่าตอบแทนตามบัญชีกลุ่มงาน
ดังต่อไปน้ี
(๑) กลุม่ งานบริการ ให้ใชบ้ ัญชอี ตั ราค่าตอบแทนเป็นแบบขน้ั

(ก) ผู้ได้รับวุฒิประกาศนียบัตรประโยชน์มัธยมศึกษาตอนต้นสายสามัญ (ม.ศ.3)
หรือประกาศนียบัตรมัธยมศึกษาตอนตน้ (ม.3) หรือประกาศนียบัตรมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.6) หรือ
เทียบไดไ้ ม่ตา่ กว่าน้ี ใหไ้ ด้รับอัตราค่าตอบแทนขัน้ ต่าของบัญชี

(ข) ผู้ได้รับวุฒิประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ให้ได้รับอัตราค่าตอบแทนขั้นที่ 4
ของบัญชี

(ค) ผู้ได้รับวุฒิประกาศนียบัตรวิชาชีพเทคนิค (ปวท.) ให้ได้รับอัตราค่าตอบแทน
ขั้นท่ี 6 ของบัญชี

(ง) ผู้ได้รับวุฒิประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) หรือเทียบได้ไม่ต่ากว่าน้ีให้
ได้รับอตั ราคา่ ตอบแทนข้ันท่ี 8 ของบัญชี

(๒) กลมุ่ งานเทคนิค ให้ใช้บัญชอี ตั ราคา่ ตอบแทนเป็นแบบข้นั
(ก) ผู้ได้รับวุฒิประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) หรือในกรณีที่เป็นงานที่ต้องใช้

ทักษะเฉพาะของบุคคลซึ่งมิได้ผ่านการเรียนการสอนในสถาบันการศึกษาใดเป็นการเฉพาะจะต้องมี
ความรคู้ วามสามารถ และทักษะในงานที่ปฏิบัติไมต่ ่ากวา่ 5 ปี ให้ได้รบั อัตราค่าตอบแทนขัน้ ต่าของบัญชี

(ข) ผู้ได้รับวุฒิประกาศนียบัตรเทคนิค (ปวท.) ให้ได้รับอัตราค่าตอบแทนข้ันที่ 3
ของบญั ชี

(ค) ผู้ได้รับวุฒิประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) หรือเทียบได้ไม่ต่ากว่านี้
ใหไ้ ด้รับอตั ราค่าตอบแทนขัน้ ที่ 5 ของบัญชี

(๓) กลุม่ งานบริหารทัว่ ไป ใหใ้ ชบ้ ัญชอี ัตราค่าตอบแทนแบบชว่ ง
(ก) ผู้ได้รับวุฒิปริญญาตรีทั่วไปหลักสูตร 4 ปี ให้ได้รับอัตราค่าตอบแทนอัตรา

ตา่ สุดของบญั ชี
(ข) ผไู้ ด้รับวุฒิปริญญาตรีหลักสูตร 5 ปี ให้ได้รับอัตราค่าตอบแทนเพิ่มขึ้นร้อยละ

5 ในแต่ละช่วง จานวน 2 ชว่ ง จากอัตราต่าสุดของบญั ชี
(ค) ผู้ได้รับวุฒิปริญญาโทหรือเทียบได้ไม่ต่ากว่าน้ี ให้ได้รับอัตราค่าตอบแทน

เพ่มิ ขึ้นรอ้ ยละ 5 ในแต่ละชว่ ง จานวน 4 ชว่ ง จากอัตราต่าสดุ ของบญั ชี
(ง) ผู้ได้รับวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบได้ไม่ต่ากว่าน้ี ให้ได้รับอัตราค่าตอบแทน

เพมิ่ ข้นึ ร้อยละ 5 ในแต่ละช่วง จานวน 10 ช่วง จากอตั ราตา่ สุดของบัญชี
(๔) กลุ่มงานวิชาชพี เฉพาะ ใหใ้ ชบ้ ญั ชีอัตราค่าตอบแทนเปน็ แบบชว่ ง
(ก) ผู้ได้รับวุฒิปริญญาตรีหลักสูตรไม่น้อยกว่า 4 ปี ให้ได้รับอัตราค่าตอบแทน

ข้นั ตา่ ของบัญชี
(ข) ผู้ได้รับวุฒิปริญญาตรีหลักสูตร 5 ปี ให้ได้รับอัตราค่าตอบแทนเพ่ิมขึ้น

รอ้ ยละ 5 ในแต่ละช่วง จานวน 2 ช่วง จากอตั ราต่าสดุ ของบญั ชี
(ค) ผู้ได้รับวุฒิปริญญาโทหรือเทียบได้ไม่ต่ากว่าน้ี ให้ได้รับอัตราค่าตอบแทน

เพิ่มข้นึ ร้อยละ 5 ในแตล่ ะชว่ ง จานวน 4 ชว่ ง จากอัตราต่าสดุ ของบญั ชี

265 258 ูลก จางและพ ันกงกา ุลนมร ่ีทาช๓การศาล ุย ิตธรรม
(ง) ผูไดร ับวุฒิไมต า่ํ กวาปรญิ ญาตรี และไดรับใบอนญุ าตประกอบวิชาชีพเวชกรรม
ใหไดร บั อัตราคาตอบแทนเพม่ิ ขึ้นรอ ยละ 5 ในแตละชว ง จาํ นวน 5 ชว ง จากอัตราต่ําสดุ ของบัญชี
(จ) ผูท่ีไดร ับวฒุ ิปริญญาเอกหรือเทียบเทาไมต่ํากวาน้ี หรือปริญญาตรี และไดรับ
วุฒบิ ัตรแสดงความรู ความชาํ นาญในการประกอบวิชาชพี เวชกรรม หรอื อนุมตั ิบัตรแสดงความรู ความชํานาญ
ในการประกอบวชิ าชีพเวชกรรมใหไดรับอัตราคาตอบแทนเพิ่มข้ึนรอยละ 5 ในแตละชวงจํานวน 10 ชวง
จากอัตราต่าํ สุดของบญั ชี
(๕) กลมุ งานเชยี่ วชาญเฉพาะใหใ ชบ ญั ชอี ัตราคา ตอบแทนแบบชว ง
(ก) ผูไดรับวุฒิไมต่ํากวาปริญญาตรี และมีประสบการณตรงตามลักษณะงาน
ซ่ึงลักษณะงานดังกลาว จําเปนตองใชผูมีประสบการณไมตํ่ากวา 6 ป สําหรับวุฒิปริญญาตรี 4 ป
สําหรบั วฒุ ปิ รญิ ญาโท 2 ป สาํ หรับวฒุ ิปริญญาเอกตามลาํ ดบั หรือ
(ข) ผูมีประสบการณในงานที่จะปฏิบัติเปนเวลาไมต่ํากวา 10 ป และมีผลงาน
เปนท่ยี อมรบั ในวงการ
ทัง้ นี้ ใหไดร ับอัตราคา ตอบแทนอัตราตํา่ สุดของบญั ชี
(๖) กลุมงานเชี่ยวชาญพิเศษใหไดรับอัตราคาตอบแทน โดยพิจารณาจากคุณวุฒิ
การศึกษาประสบการณ และผลงานความเชี่ยวชาญพิเศษ ตามความตองการของงานหรือโครงการ
ตามอัตราบัญชีแนบทายหลกั เกณฑน้ี
ใน ก ร ณี ท่ี จ ะ ให ได รับ อั ต ร า ค า ต อ บ แ ท น แ ต ก ต า งไ ป จ า ก ท่ี กํ า ห น ด ใน ห ลั ก เก ณ ฑ น้ี
ใหสํานักงานศาลยุติธรรมเสนอคณะกรรมการขาราชการศาลยุติธรรมพิจารณา
ขอ 6 ผูไดรับการวาจางเปนพนักงานราชการศาลยุติธรรมซึ่งมีประสบการณตรงตาม
ความตองการตามลักษณะงานในตําแหนงที่ไดรับการจาง ใหไ ดรบั การปรบั อตั ราคาตอบแทนเพม่ิ ขึ้น ดังนี้
(๑) กลุมงานบริการและกลมุ เทคนคิ ท่ีมีวฒุ กิ ารศกึ ษา ใหไ ดร ับอัตราคา ตอบแทนเพ่ิมข้ึน
1 ขัน้ ตอทกุ ประสบการณ 2 ป แตใ หไดรับอัตราคาตอบแทนเพ่ิมขึน้ สูงสุดไมเกิน 5 ขนั้
(๒) กลมุ งานบรหิ ารท่ัวไปและกลมุ งานวชิ าชีพเฉพาะ ใหไ ดร บั อตั ราคาตอบแทนเพ่ิมขึ้น
รอยละ 5 ตอป ตอ ทกุ ประสบการณ 2 ป แตใหไ ดรับอัตราคาตอบแทนเพมิ่ ขนึ้ สูงสดุ ไมเกนิ 5 ชว ง
ขอ 71 หลักเกณฑการเล่ือนคาตอบแทนประจําป ใหพนักงานราชการศาลยุติธรรม
ไดร ับการพจิ ารณาเลื่อนคา ตอบแทนตามผลการประเมนิ การปฏิบตั งิ าน ดงั น้ี
(1) ตอ งมรี ะยะเวลาในการปฏบิ ัตงิ านในรอบปง บประมาณทแี่ ลวมาไมนอยกวา 8 เดอื น
เพ่ือจูงใจใหพนักงานราชการศาลยุติธรรมท่ีปฏิบัติงานของตนไดอยางมีประสิทธิภาพและประสทิ ธิผลดี
ในวนั ที่ 1 ตลุ าคม ของทกุ ป
(2) พิจารณาเล่ือนคาตอบแทนพนักงานราชการศาลยุติธรรมท่ีมีผลการปฏิบัติงาน
ไมต ่ํากวาระดบั ดี ไดไ มเ กนิ อัตรารอยละ 6 ของฐานคาตอบแทน ตามผลการปฏบิ ตั ิงาน

1 ขอ 7 แกไขเพิ่มเติมโดยหลักเกณฑคณะกรรมการขาราชการศาลยุติธรรม เรื่อง คาตอบแทนและสิทธิ
ประโยชนข องพนกั งานราชการศาลยุติธรรม (ฉบบั ที่ 3) พ.ศ. 2561

266 259
ท้ังนี้ ควบคุมวงเงินงบประมาณการเลื่อนคาตอบแทนในวงเงินไมเกินรอยละ 4 ของ
อตั ราคาตอบแทนพนักงานราชการศาลยตุ ธิ รรม ณ วนั ที่ 1 กันยายน
ขอ7/12 ใหผูพิพากษาซ่ึงเปนหัวหนาในศาลยุติธรรมหรือเลขาธิการสํานักงาน
ศาลยุติธรรมแลวแตกรณี เปนผูบริหารวงเงินการเล่ือนคาตอบแทนประจําปใหพนักงานราชการ
ศาลยุติธรรมตามหลกั เกณฑในขอ 7
ขอ 8 ในกรณีท่ีมีการคํานวณเพิ่มปรับอัตราคาตอบแทนเล่ือนข้ันคาตอบแทนหรือ
กาํ หนดคา ตอบแทนพเิ ศษ หากคํานวณแลว มเี ศษไมถงึ 10 บาท ใหปรบั เพ่ิมข้ึนเปน 10 บาท
ขอ 9 ใหสํานักงานศาลยุติธรรมจัดทําคําสั่งเล่ือนขั้นคาตอบแทนและการไดรับ
คา ตอบแทนพิเศษของพนกั งานราชการศาลยุติธรรมตามการประเมินผลการปฏิบตั ิงานในขอ 7
ขอ 10 พนักงานราชการศาลยตุ ิธรรมในกลมุ งานใดผานการประเมินผลการปฏบิ ัติงาน
เพ่ือตอสัญญาจางได ใหพนักงานราชการศาลยุติธรรมผูนั้นไดรับการพิจารณาเลื่อนขั้นคาตอบแทน
ในกลุม งานน้นั ตามผลการประเมินการปฏบิ ตั งิ านตามหลกั การในขอ 7 ได
ขอ 11 ใหพ นกั งานราชการศาลยตุ ธิ รรมกลมุ งานวิชาชีพเฉพาะและกลุม งานเช่ยี วชาญเฉพาะ
มีสิทธิไดรับคาตอบแทนวิชาชีพ คาตอบแทนสําหรับตําแหนงท่ีมีเหตุพิเศษและคาตอบแทนอื่น ๆ
ท่ีปฏิบัติงานหรือมีลักษณะงานเชนเดียวกับขาราชการพลเรือนท่ีไดรับคาตอบแทนดังกลาว ท้ังนี้
สํานักงานศาลยุติธรรมจะตองแจงใหคณะกรรมการขาราชการศาลยุติธรรมทราบภายใน 30 วัน
วาพนักงานราชการศาลยตุ ิธรรมตาํ แหนง ใดบา งทีไ่ ดร บั คา ตอบแทน หากคณะกรรมการขาราชการศาลยตุ ิธรรม
มิไดแ จง การแกไ ข ใหสาํ นกั งานศาลยุติธรรมสามารถดาํ เนินการในเร่ืองดงั กลาวไดต อไป
ขอ 12 ใหพนักงานราชการศาลยุติธรรมไดรับสิทธิประโยชนตามระเบียบคณะกรรมการ
ขา ราชการศาลยตุ ิธรรม วาดวยพนักงานราชการศาลยุติธรรม พ.ศ. 2550 ตามที่คณะกรรมการขาราชการ
ศาลยุติธรรมกําหนด เวนแตการลาไปศึกษา ฝกอบรม ดูงาน หรือปฏิบัติงานวิจัย การลาไปปฏิบัติงาน
ในองคการระหวา งประเทศ และการลาตดิ ตามคูสมรส

2 ขอ 7/1 แกไขเพิ่มเติมโดยหลกั เกณฑคณะกรรมการขาราชการศาลยุติธรรม เร่ือง คาตอบแทนและสิทธิ
ประโยชนข องพนกั งานราชการศาลยตุ ธิ รรม (ฉบบั ท่ี 3) พ.ศ. 2561

267 ูลก จางและพ ันกงกา ุลนมร ่ีทาช๓การศาล ุย ิตธรรม

267 260
ข้อ 133 พนักงานราชการศาลยตุ ธิ รรมมีสิทธิการลาในประเภทตา่ ง ๆ ดังต่อไปนี้
(1) การลาป่วย มีสิทธิลาป่วยได้เท่าท่ีป่วยจริง การลาป่วยต้ังแต่ 3 วันข้ึนไป ผู้มีอานาจ
อนุญาตอาจส่ังให้มีใบรับรองแพทย์จากสถานพยาบาลท่ีทางราชการรับรองประกอบการลาหรือประกอบการ
พิจารณาอนญุ าตก็ได้
(2) การลาคลอดบุตร มีสทิ ธิลาคลอดบตุ รได้ 90 วนั
(3) การลากจิ สว่ นตัว มีสิทธิลากิจสว่ นตัวได้ปลี ะไม่เกนิ 10 วัน
(4) การลาพักผ่อน มีสิทธิลาพักผ่อนปีละ 10 วันทาการ สาหรับในปีแรกท่ีได้รับ
การจ้างเป็นพนักงานราชการศาลยุติธรรมยังไม่ครบ 6 เดือน ไม่มีสิทธิลาพักผ่อน เว้นแต่พนักงานราชการ
ศาลยตุ ิธรรมทมี่ สี ญั ญาจ้างตอ่ เนื่องกันในสว่ นราชการเดิมรวมกันมาแล้วไม่นอ้ ยกว่า 6 เดอื น
พนักงานราชการศาลยุติธรรมผู้ใดท่ีทางานครบ 1 ปีข้ึนไป และในปีที่ผ่านมาพนักงาน
ราชการศาลยุติธรรมผู้น้ันมิได้ลาพักผ่อนประจาปี หรือลาพักผ่อนประจาปีแล้วไม่ครบ 10 วันทาการ
ให้สามารถนาวันลาพักผ่อนที่เหลือซ่ึงยังไม่ได้ลามาสะสมได้ แต่วันลาพักผ่อนที่นามาสะสมต้องไม่เกิน
5 วันทาการ โดยเม่ือรวมกับวันลาพกั ผ่อนในปปี ัจจุบันแลว้ จะต้องไมเ่ กนิ 15 วันทาการ
(5) การลาเพ่ือรับราชการทหารในการเรียกพลเพื่อตรวจสอบ เพ่ือฝึกวิชาทหาร เขา้ รับ
การระดมพล หรือเพือ่ ทดลองความพรงั่ พรอ้ มตามกฎหมายว่าดว้ ยการรับราชการทหาร ท้ังนี้ เมอื่ พน้ จาก
การเขา้ รบั การตรวจเลือกหรือเตรยี มพล ให้รายงานตัวกลับเขา้ ปฏิบัตงิ านภายใน 7 วัน
(6) การลาเพื่อไปอุปสมบท หรือประกอบพิธีฮัจญ์ พนักงานราชการศาลยุติธรรม
ท่ีได้รับการจ้างต่อเน่ืองไม่น้อยกว่า 4 ปี มีสิทธิลาเพื่อไปอุปสมบท หรือประกอบพิธีฮัจญ์ได้จานวน 1 คร้ัง
ตลอดช่วงเวลาของการมีสถานภาพเป็นพนักงานราชการศาลยุติธรรม โดยการลาอุปสมบทมีสิทธิลาได้
ไม่เกิน 120 วัน และการลาไปประกอบพิธีฮัจญ์มีสิทธิลาได้ไม่เกิน 120 วัน ตามระยะเวลาท่ีใช้ในการ
ประกอบศาสนกิจตามหลักการของศาสนาอิสลาม ทั้งนี้ ให้ผู้บังคับบัญชาพิจารณาอนุมัติการลาดังกล่าว
ตามความเหมาะสม เพอื่ ไมใ่ หเ้ กิดความเสยี หายแกร่ าชการ
ขอ้ 144 พนกั งานราชการศาลยตุ ธิ รรมมีสทิ ธิไดร้ บั ค่าตอบแทนระหว่างลา ดงั น้ี
(๑) ลาป่วย ให้ไดร้ บั คา่ ตอบแทนระหว่างลาไดป้ หี นึง่ ไม่เกนิ 30 วัน ส่วนทีเ่ กนิ 30 วัน
มีสิทธิได้รับเงินทดแทนการขาดรายได้จากกองทุนประกันสังคม ทั้งน้ี ตามหลักเกณฑ์และเงื่อนไข
ตามกฎหมายวา่ ด้วยประกนั สงั คม
(๒) การลาคลอดบุตร ให้ได้รับค่าตอบแทนระหว่างลาได้ไม่เกิน 45 วัน และมีสิทธิ
ได้รับเงินสงเคราะห์การหยุดงานเพื่อการคลอดบุตรจากกองทุนประกันสังคม ท้ังน้ี ตามหลักเกณฑ์และ
เงอ่ื นไขตามกฎหมายว่าดว้ ยประกันสงั คม
(๓) ลากจิ ส่วนตัว ให้ไดร้ บั ค่าตอบแทนระหวา่ งลาได้ปีหนึง่ ไมเ่ กนิ 10 วนั

3 ข้อ 13 แก้ไขเพ่ิมเติมโดยหลักเกณฑ์คณะกรรมการข้าราชการศาลยุติธรรม เรื่อง ค่าตอบแทนและสิทธิ
ประโยชนข์ องพนักงานราชการศาลยตุ ธิ รรม (ฉบับท่ี 3) พ.ศ. 2561

4 ข้อ 14 แก้ไขเพ่ิมเติมโดยหลักเกณฑ์คณะกรรมการข้าราชการศาลยุติธรรม เรื่อง ค่าตอบแทนและสิทธิ
ประโยชนข์ องพนกั งานราชการศาลยุติธรรม (ฉบบั ที่ 3) พ.ศ. 2561

268 263
(๔) การลาพักผอนประจําป ใหไดรับคาตอบแทนระหวางลาไดไมเกินระยะเวลาที่
กําหนดในขอ 13 (4)
(๕) การลาเพือ่ รับราชการทหารในการเรียกพลเพอื่ ตรวจสอบ เพ่อื ฝก วิชาทหาร เขา รับ
การระดมพล หรอื เพ่อื ทดลองความพรงั่ พรอม ใหไดร ับคาตอบแทนระหวา งลาไดปหนึ่งไมเ กนิ 60 วัน
(๖) การลาเพื่อไปอุปสมบท ใหไดรับคาตอบแทนระหวา งลาไดไมเกิน 120 วัน และ
การลาไปประกอบพธิ ีฮจั ญ ใหไ ดร ับคาตอบแทนระหวา งลาไดไมเกนิ 120 วัน
ในกรณีท่ีพนักงานราชการเขาทํางานไมถึง 1 ป ใหทอนสิทธิที่จะไดรับคาตอบแทน
การลากิจสวนตวั และการลาพกั ผอ นลงตามสว นของจํานวนวันท่ีจาง
ขอ 15 ใหพ นักงานราชการศาลยุติธรรมไดรบั สิทธปิ ระโยชนอ ่นื ๆ ดงั น้ี
(1) คาตอบแทนการปฏิบัตงิ านนอกเวลาราชการ
พนักงานราชการศาลยุติธรรมท่ีไดรับอนุมัติใหอยูปฏิบัติงานนอกเวลาราชการปกติหรือ
อยูปฏิบัติงานในวันหยุดสุดสัปดาห หรือในวันหยุดพิเศษ ใหมีสิทธิไดรับคาตอบแทนการปฏิบัติงาน
นอกเวลาราชการตามท่ีคณะกรรมการบริหารศาลยุตธิ รรมหรอื คณะกรรมการขาราชการศาลยุตธิ รรมกําหนด
(2) คา ใชจายในการเดนิ ทางไปราชการ
พนักงานราชการศาลยุติธรรมท่ีไดรับคําสั่งจากผูมีอํานาจอนุญาตใหเดินทางไปปฏิบัติ
หนาท่ีราชการมีสิทธิเบิกคาใชจายในการเดินทางไปราชการตามท่ีคณะกรรมการบริหารศาลยุติธรรมหรือ
คณะกรรมการขา ราชการศาลยุตธิ รรมกําหนด
(3) คาเบี้ยประชุม
พนักงานราชการศาลยุติธรรมท่ีไดรับแตงตั้งเปนกรรมการหรืออนุกรรมการหรือ
เลขานกุ ารและผชู วยเลขานุการในคณะกรรมการหรือคณะอนุกรรมการแลวแตกรณี มีสิทธิไดร บั คา เบย้ี ประชุม
ตามที่คณะกรรมการบริหารศาลยุตธิ รรมหรอื คณะกรรมการขาราชการศาลยุติธรรมกําหนด
(4) คาใชจา ยในการฝกอบรม
กรณที ีส่ ํานักงานศาลยตุ ธิ รรมมีความประสงคทีจ่ ะใหพ นกั งานราชการศาลยตุ ธิ รรมเขา รบั
การฝกอบรม สัมมนาทางวิชาการ เพ่ือพัฒนาหรือเพ่ิมประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานในหนาท่ี
ท่ีไดรับมอบหมาย ใหมีสิทธิเบิกคาใชจายในการฝกอบรมตามที่คณะกรรมการบรหิ ารศาลยุติธรรมหรือ
คณะกรรมการขาราชการศาลยุตธิ รรมกําหนด
(5) คาตอบแทนการออกจากราชการโดยไมม ีความผิด
ในกรณที ส่ี าํ นกั งานศาลยตุ ธิ รรมบอกเลกิ สญั ญาจา งกับพนักงานราชการศาลยตุ ิธรรมผใู ด
กอ นครบกาํ หนดเวลาจางโดยมใิ ชความผิดของพนักงานราชการศาลยุติธรรมดงั กลา ว ใหพ นกั งานราชการ
ศาลยุตธิ รรมผนู ั้นไดรบั คาตอบแทนการออกจากราชการโดยไมมีความผดิ ดังน้ี

(ก) พนักงานราชการศาลยุติธรรมที่ปฏิบัติงานติดตอกันครบ 4 เดือน แตไมครบ 1 ป
ใหจ า ยคา ตอบแทนเทากบั อัตราคาตอบแทนทไี่ ดรบั อยูกอ นวนั ออกจากราชการ

(ข) พนักงานราชการศาลยตุ ิธรรมท่ีปฏบิ ัติงานติดตอกันครบ 1 ป แตไมครบ 3 ป
ใหจา ยคา ตอบแทนจํานวนสามเทาของอตั ราคาตอบแทนทไ่ี ดรบั อยกู อนวนั ออกจากราชการ

(ค) พนักงานราชการศาลยตุ ิธรรมที่ปฏบิ ัติงานติดตอกันครบ 3 ป แตไมครบ 6 ป
ใหจา ยคา ตอบแทนจํานวนหกเทาของอัตราคา ตอบแทนทีไ่ ดรับอยกู อ นวนั ออกจากราชการ

269 264 ูลก จางและพ ันกงกา ุลนมร ่ีทาช๓การศาล ุย ิตธรรม
(ง) พนักงานราชการศาลยุติธรรมท่ีปฏิบัติงานติดตอกันครบ 6 ป แตไมครบ
10 ป ใหจา ยคา ตอบแทนจาํ นวนแปดเทา ของอตั ราคา ตอบแทนท่ไี ดร ับอยูกอนวนั ออกจากราชการ
(จ) พนักงานราชการศาลยตุ ิธรรมท่ีปฏิบัติงานติดตอกันครบ 10 ปขึ้นไป ใหจาย
คาตอบแทนจํานวนสิบเทา ของอัตราคาตอบแทนทไี่ ดรบั อยูกอนวนั ออกจากราชการ
ขอ 16 ใหพนักงานราชการศาลยุตธิ รรมไดรับคา ตอบแทนออกจากราชการโดยไมมีความผิดได
ตามหลักเกณฑท ีค่ ณะกรรมการขาราชการศาลยตุ ธิ รรมการกําหนดตามบญั ชแี นบทายหลกั เกณฑน ี้
ขอ 17 5 ใหพ นักงานราชการศาลยตุ ธิ รรมไดร ับเงนิ ชว ยคา ครองชีพพิเศษของพนักงานราชการ
ตามหลักเกณฑที่กระทรวงการคลงั กาํ หนด
ขอ 186 ใหพนกั งานราชการศาลยตุ ิธรรมทม่ี ีการจางกอนวนั ที่ 1 ตลุ าคม 2550 มีสทิ ธิ
ไดรับเงินชวยคาครองชีพพิเศษของพนักงานราชการตามหลักเกณฑที่กระทรวงการคลังกําหนด ซ่ึงใชบังคับ
ในขณะนน้ั ตง้ั แตวันท่ีมกี ารจา งพนกั งานราชการศาลยุติธรรมผนู น้ั จนถึงวนั ที่ 30 กันยายน 2550

ประกาศ ณ วนั ท่ี 22 มีนาคม พ.ศ. 2550
(ลงชอ่ื ) วริ ัช ลม้ิ วชิ ยั
(นายวริ ชั ลิ้มวชิ ัย)
รองประธานศาลฎีกา

ประธานกรรมการขาราชการศาลยตุ ธิ รรม

5 ขอ 17 แกไ ขเพ่ิมเติมโดยหลักเกณฑคณะกรรมการขาราชการศาลยุติธรรม เร่ือง คาตอบแทน และสิทธิ
ประโยชนของพนักงานราชการศาลยตุ ิธรรม (ฉบับที่ 2)

6 ขอ 18 แกไขเพิ่มเติมโดยหลักเกณฑคณะกรรมการขาราชการศาลยุติธรรม เร่ือง คาตอบแทน และสิทธิ
ประโยชนของพนกั งานราชการศาลยตุ ธิ รรม (ฉบับท่ี 2)

270

270 263
บญั ชีอตั ราคา่ ตอบแทนทา้ ยหลกั เกณฑ์คณะกรรมการขา้ ราชการศาลยตุ ธิ รรม
เรอ่ื ง คา่ ตอบแทนและสทิ ธปิ ระโยชนข์ องพนกั งานราชการ (ฉบบั ท่ี 3) พ.ศ. 2561

บัญชกี ลมุ่ งานบรกิ าร
อัตรา บาท/เดอื น
ขั้นสงู 20,210
ขัน้ ตา่ 6,410

บัญชีกลมุ่ งานเทคนิค
อตั รา บาท/เดือน

ก. กลุ่มงานเทคนิคทว่ั ไป
ข้ันสงู 24,930
ข้นั ตา่ 7,370

ข. กลมุ่ งานเทคนคิ พเิ ศษ
ขั้นสูง 59,790
ขน้ั ต่า 12,850

บัญชกี ลมุ่ งานบรหิ ารทั่วไป
อตั รา บาท/เดือน
ขัน้ สูง 34,700
ขนั้ ต่า 10,010

บญั ชีกลมุ่ งานวชิ าชพี เฉพาะ
อตั รา บาท/เดือน
ขั้นสูง 44,550
ขน้ั ต่า 10,850

บัญชกี ลมุ่ งานเชี่ยวชาญเฉพาะ
อตั รา บาท/เดอื น
ขน้ั สงู 68,350
ขัน้ ตา่ 37,680

ประเภททปี่ รกึ ษา บญั ชีกลมุ่ งานเช่ยี วชาญพเิ ศษ บาท/เดือน

1. ระดบั สากล ไมเ่ กนิ 218,400
2. ระดบั ประเทศ ไมเ่ กนิ 163,800
3. ระดบั ทว่ั ไป ไมเ่ กนิ 109,200

271

271 264
บัญชกี าหนดอตั ราค่าตอบแทนของผู้ไดร้ ับปรญิ ญา ประกาศนยี บัตรวชิ าชีพ ท่ี ก.พ. รับรองคุณวฒุ แิ ลว้
หรือผู้มที กั ษะประสบการณข์ องพนกั งานราชการ ท้ายหลกั เกณฑค์ ณะกรรมการข้าราชการศาลยุตธิ รรม

เรื่อง ค่าตอบแทนและสทิ ธปิ ระโยชนข์ องพนกั งานราชการ (ฉบบั ท่ี 3) พ.ศ. 2561

ลาดับ คณุ วฒุ ิที่ ก.พ. รับรองแลว้ อัตราคา่ ตอบแทนแรกบรรจุ
1 ปรญิ ญาเอก หรอื เทยี บเทา่ กลมุ่ งาน บาท
2 ปริญญาเอก หรอื เทียบเทา่ วิชาชีพเฉพาะ 27,300
3 ปรญิ ญาโททม่ี ีหลกั สตู รกาหนดเวลาศกึ ษา บรหิ ารทั่วไป 25,200
ไม่น้อยกว่า 2 ปี ตอ่ จากวฒุ ปิ รญิ ญาตรี วิชาชพี เฉพาะ 24,070
เฉพาะทกี่ าหนดในขอ้ 6
4 ปริญญาโททวั่ ไป หรอื เทยี บเท่า วิชาชพี เฉพาะ 22,750 ูลก จางและพ ันกงกา ุลนมร ่ีทาช๓การศาล ุย ิตธรรม
5 ปริญญาโททวั่ ไป หรือเทียบเท่า บริหารท่ัวไป 21,000
6 ปริญญาตรีทม่ี หี ลักสตู รกาหนดระยะเวลา วชิ าชีพเฉพาะ 20,540
การศกึ ษาไม่นอ้ ยกว่า 5 ปี ต่อจากวุฒิ
ประกาศนยี บตั รมธั ยมศึกษาตอนปลาย วิชาชีพเฉพาะ 19,500
เฉพาะปริญญาท่ี ก.พ. กาหนดใหไ้ ดร้ ับเงินเดือน
ตามหลกั สตู ร 5 ปี บรหิ ารทว่ั ไป 18,000
7 ปริญญาตรีที่มหี ลักสตู รกาหนดระยะเวลา
การศกึ ษาไมน่ ้อยกว่า 4 ปี ตอ่ จากวุฒิ
ประกาศนยี บตั รมธั ยมศึกษาตอนปลาย
หรอื เทียบเทา่
8 ปริญญาตรที ม่ี หี ลักสตู รกาหนดระยะเวลา
การศกึ ษาไมน่ อ้ ยกว่า 4 ปี ตอ่ จากวฒุ ิ
ประกาศนียบตั รมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย
หรอื เทยี บเทา่

272 265

272 อตั ราค่าตอบแทนแรกบรรจุ
กลุ่มงาน บาท
ลาดบั คณุ วฒุ ิท่ี ก.พ. รบั รองแลว้ เทคนิคพิเศษ 23,110
9  ไมต่ า่ กวา่ ปรญิ ญาตรี และมปี ระสบการณ์ใน
งานทปี่ ฏบิ ัตมิ าแลว้ ไมน่ อ้ ยกวา่ 8 ปี หรอื บรกิ าร/เทคนิค 13,800
 ประกาศนียบัตรวิชาชพี ชน้ั สงู (ปวส.) หรอื
อนุปรญิ ญาหลกั สตู ร 3 ปี ตอ่ จาประกาศนยี บตั ร บริการ/เทคนคิ 13,010
ประโยคมธั ยมศึกษาตอนปลายหรอื เทยี บเท่า
และมปี ระสบการณ์ในงานทป่ี ฏิบตั ิมาแลว้
ไม่น้อยกว่า 10 ปี หรือ
 ประกาศนยี บัตรวชิ าชีพเทคนคิ (ปวท.) หรือ
อนปุ รญิ ญาหลักสตู ร 2 ปี ตอ่ จาประกาศนียบตั ร
ประโยคมธั ยมศึกษาตอนปลายหรอื เทยี บเท่า
และมปี ระสบการณ์ในงานทป่ี ฏบิ ัตมิ าแลว้
ไมน่ ้อยกวา่ 11 ปี หรอื
 ประกาศนยี บตั รวิชาชพี (ปวช.) และมี
ประสบการณใ์ นงานท่ปี ฏิบตั มิ าแลว้
ไมน่ อ้ ยกว่า 12 ปี
10 ประกาศนยี บัตรวชิ าชีพชน้ั สงู (ปวส.) หรือ
อนปุ รญิ ญาหรอื ประกาศนียบตั รของสว่ นราชการ
ต่าง ๆ ทม่ี ีหลกั สูตรกาหนดระยะเวลาศกึ ษาไว้
ไม่นอ้ ยกวา่ 3 ปี ต่อจากวฒุ ปิ ระกาศนยี บัตร
มัธยมศกึ ษาตอนปลาย
11 ประกาศนียบตั รวิชาชีพเทคนคิ (ปวท.)
ประกาศนียบตั รวิชาการศกึ ษาชั้นสงู (ป.กศ.สงู )
และอนปุ รญิ ญา หรอื ประกาศนยี บตั รของ
สว่ นราชการตา่ ง ๆ ทมี่ ีหลกั สูตรกาหนด
ระยะเวลาการศกึ ษาไมน่ ้อยกว่า 2 ปี ตอ่ จากวฒุ ิ
ประกาศนียบตั รมธั ยมศึกษาตอนปลาย หรือ
ไม่น้อยกวา่ 4 ปี ตอ่ จากวฒุ ปิ ระกาศนียบตั ร
มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ หรอื เทยี บเท่า

273 266

273 อตั ราค่าตอบแทนแรกบรรจุ
กลุม่ งาน บาท
ลาดบั คุณวฒุ ิที่ ก.พ. รับรองแลว้ บรกิ าร/เทคนิค 11,280
12 ประกาศนียบตั รวิชาชพี (ปวช.) หรือ

ประกาศนียบตั รทีม่ หี ลักสตู รกาหนดระยะเวลา
ศกึ ษาไมน่ ้อยกวา่ 1 ปี ต่อจากวฒุ ิ
ประกาศนียบตั รมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย หรอื
ไมน่ อ้ ยกวา่ 3 ปี ต่อจากวฒุ ปิ ระกาศนียบตั ร
มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ หรือเทยี บเท่ากรณีกลุ่มงาน
เทคนคิ ที่ต้องใช้ทักษะเฉพาะของบุคคลซึง่ มิได้
ผา่ นการเรียนการสอนในสถาบันการศกึ ษาใด
เป็นการเฉพาะ จะต้องมคี วามร้คู วามสามารถ
และทกั ษะในงานท่ีจะปฏิบตั ทิ ไี่ มต่ ่ากว่า 5 ปี
ให้ไดร้ ับคา่ ตอบแทน

ูลก จางและพ ันกงกา ุลนมร ่ีทาช๓การศาล ุย ิตธรรม

274 267

274

หลกั เกณฑ์คณะกรรมการขา้ ราชการศาลยตุ ธิ รรม
เรื่อง แนวทางการประเมนิ ผลการปฏิบตั ิงานของพนกั งานราชการศาลยตุ ธิ รรม

เพ่ือให้การประเมินผลการปฏิบัติงานของพนักงานราชการศาลยุติธรรมมีประสิทธิภาพ
โปรง่ ใส เป็นธรรม และมมี าตรฐานเปน็ ไปในแนวทางเดียวกนั

อาศัยอานาจตามความใน ข้อ 19 วรรคสอง ของระเบียบคณะกรรมการข้าราชการ
ศาลยุติธรรม ว่าด้วยพนักงานราชการศาลยุติธรรม พ.ศ. 2550 คณะกรรมการข้าราชการศาลยุติธรรม
จึงเหน็ ควรกาหนดแนวทางการประเมินผลการปฏบิ ตั งิ านพนกั งานราชการศาลยุติธรรมไวด้ ังต่อไปน้ี

ข้อ 1 หลักเกณฑ์น้ีเรียกว่า “หลักเกณฑ์คณะกรรมการข้าราชการศาลยุติธรรม เรื่อง
แนวทางการประเมนิ ผลการปฏิบัติงานของพนักงานราชการศาลยุตธิ รรม”

ข้อ 2 การประเมินผลการปฏิบัติงานของพนักงานราชการศาลยุติธรรม ต้องเป็นไป
เพือ่ ประโยชน์ในการทส่ี านกั งานศาลยุติธรรมจะใช้เป็นเครอ่ื งมือในการบริหารพนักงานราชการศาลยุติธรรม
และนาผลการประเมนิ ไปใช้เปน็ ขอ้ มลู ประกอบการพจิ ารณาในเร่ืองต่าง ๆ แล้วแต่กรณีดังนี้

(1) การเล่อื นคา่ ตอบแทน
(2) การเลิกจา้ ง
(3) การต่อสัญญาจ้าง
(4) อน่ื ๆ
ขอ้ 3 การประเมินผลการปฏิบตั ิงานของพนักงานราชการศาลยุติธรรม มี 2 ประเภท ดงั นี้
(1) การประเมินผลการปฏิบัติงานของพนกั งานราชการศาลยุตธิ รรมทวั่ ไป
(2) การประเมินผลการปฏบิ ัติงานของพนักงานราชการศาลยุติธรรมพเิ ศษ
ข้อ 4 ให้สานักงานศาลยุติธรรมกาหนดหลักเกณฑ์และวิธีการประเมินผลการปฏิบัติงาน
ภายใต้หลักการท่ีจะประเมินผลการปฏิบัติงานบนพื้นฐานของผลสาเร็จและผลสัมฤทธ์ิของงาน
โดยสานกั งานศาลยตุ ธิ รรมกาหนดตวั ช้ีวดั ผลการปฏบิ ัตงิ านท่มี ีความชดั เจน
ข้อ 51 การประเมินผลการปฏิบัติงานของพนักงานราชการศาลยุติธรรมท่ัวไป ให้ประเมิน
จากผลงานและคุณสมบัติในการปฏิบัติงานดังต่อไปน้ี โดยกาหนดให้มีสัดส่วนของผลงานไม่น้อยกว่า
รอ้ ยละ 70

1 ข้อ 5 แกไ้ ขเพิม่ เติมโดยหลักเกณฑ์คณะกรรมการขา้ ราชการศาลยุติธรรม เรื่อง แนวทางการประเมินผล
การปฏบิ ัติงานของพนกั งานราชการศาลยตุ ิธรรม (ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2561

275 270

(ก) การประเมินผลงานใหพ จิ ารณาจากองคประกอบ ดังนี้
๑. ปรมิ าณงาน
๒. คุณภาพงาน
๓. ความรวดเร็วหรอื ความตรงตอเวลา
๔. การใชทรัพยากรอยา งคมุ คา

(ข) การประเมินคุณลักษณะในการปฏิบัติงาน สํานักงานศาลยุติธรรมอาจกําหนด
คุณลักษณะทจี่ ําเปนตอการปฏิบัติงานไดตามความเหมาะสมของลักษณะภารกิจและสภาพการปฏิบัติงาน
ของพนกั งานราชการศาลยตุ ิธรรมในตาํ แหนงตา ง ๆ

ในแตละรอบการประเมิน ใหหนว ยงานนําผลคะแนนการประเมนิ ผลการปฏิบตั ิงานของ
พนักงานราชการศาลยตุ ธิ รรมมาจัดกลุม ตามผลคะแนนเปน 5 ระดับ คือ ดีเดน ดีมาก ดี พอใช ตองปรับปรุง
โดยกาํ หนดชวงคะแนนประเมนิ ของแตล ะระดับผลการประเมนิ ดังน้ี

ดีเดน 90 – 100 คะแนน ูลก จางและพ ันกงกา ุลนมร ่ีทาช๓การศาล ุย ิตธรรม
ดีมาก 80 – 89 คะแนน
ดี 70 – 79 คะแนน
พอใช 60 – 69 คะแนน
ตอ งปรบั ปรุง นอ ยกวา 60 คะแนน

แบบประเมนิ ผลการปฏบิ ัตงิ านของพนกั งานราชการศาลยตุ ิธรรมท่วั ไป สํานกั งานศาลยตุ ิธรรม
อาจพจิ ารณาใชต ามแบบแนบทา ยหลักเกณฑน หี้ รือปรับใชต ามความเหมาะสมของลกั ษณะงานกไ็ ด

ขอ 6 ใหผูบังคับบัญชาซงึ่ เปนผปู ระเมินแจงใหผูรับการประเมินทราบถงึ เปาหมายของ
การปฏิบัติงานตามตําแหนงและงานที่รับผิดชอบ ทั้งนี้ ใหสอดคลองกับขอกําหนดการจางที่กําหนด
ในสัญญาจาง

ขอ 7 ใหมีการประเมินผลการปฏิบัติงานของพนักงานราชการศาลยุติธรรมท่ัวไป
ปละ 2 ครง้ั ตามปงบประมาณ คอื

ครง้ั ท่ี 1 ประเมนิ ผลในชว งการปฏิบัตงิ านระหวางวันท่ี 1 ตุลาคม ถึง 31 มนี าคม
คร้งั ท่ี 2 ประเมินผลในชวงการปฏิบตั ิงานระหวางวนั ท่ี 1 เมษายน ถงึ 30 กันยายน

ขอ 82 เพื่อใหมีกลไกสนับสนุนความโปรงใสและเปนธรรมในการประเมินผลการปฏบิ ัตงิ าน
ใหหัวหนา หนวยงานหรือเลขาธิการสาํ นักงานศาลยุติธรรมแลวแตกรณี แตงต้ังคณะกรรมการกลัน่ กรอง
การประเมนิ ผลการปฏิบัติงานของพนกั งานราชการศาลยุติธรรม ทําหนา ทพ่ี ิจารณาเสนอความเห็นเก่ียวกับ
มาตรฐานและความเปนธรรมของการประเมินผลการปฏบิ ัติงานของพนักงานราชการศาลยตุ ิธรรมในสังกัด
โดยใหมีองคประกอบและหนาท่ี ดงั นี้

2 ขอ 8 แกไ ขเพ่ิมเติมโดยหลกั เกณฑคณะกรรมการขา ราชการศาลยุติธรรม เรื่อง แนวทางการประเมินผล
การปฏบิ ัตงิ านของพนักงานราชการศาลยุตธิ รรม (ฉบบั ท่ี 2) พ.ศ. 2561

276 269
(๑) คณะกรรมการกล่ันกรองการประเมินผลการปฏิบัติงานของพนักงานราชการ
ศาลยุติธรรมระดับหนวยงาน มีหนาที่เสนอความเห็นเกี่ยวกับผลการประเมินผลการปฏิบัติงานของ
พนกั งานราชการศาลยตุ ิธรรมในหนวยงาน ประกอบดว ยผูอํานวยการและหัวหนาสวนหรือหัวหนากลมุ
อยา งนอ ยสค่ี นเปน กรรมการ
(๒) คณะกรรมการกล่ันกรองการประเมินผลการปฏิบัติงานของพนักงานราชการ
ศาลยุติธรรมระดับสํานักงานศาลยุติธรรม มีหนาที่เสนอความเห็นเกี่ยวกับผลการประเมินผล
การปฏิบัติงานของพนักงานราชการศาลยุติธรรมตอเลขาธิการสํานักงานศาลยุติธรรม ประกอบดวย
รองเลขาธิการสํานักงานศาลยุติธรรม ผูตรวจราชการสํานักงานศาลยุติธรรม และผูชวยเลขาธิการ
สํานักงานศาลยุติธรรมเปน กรรมการ
ขอ 9 เมื่อเสร็จสน้ิ การประเมนิ ผลการปฏบิ ตั ิงานแตล ะครง้ั ใหผูบังคบั บญั ชาซึ่งเปน ผปู ระเมิน
แจงผลการประเมินใหพนักงานราชการศาลยุติธรรมทั่วไป ผูรบั การประเมินทราบและใหคําปรึกษาแนะนํา
แกพ นกั งานราชการศาลยตุ ธิ รรมทว่ั ไป เพื่อแกไขปรบั ปรุงการปฏบิ ัตงิ านใหด ีย่งิ ขึ้น
ขอ 10 พนักงานราชการศาลยุติธรรมทั่วไปผูใดซ่ึงผูบังคับบัญชาไดประเมินผลการ
ปฏบิ ตั งิ านแลว มีคา เฉลี่ยของผลการประเมินติดตอกัน 2 คร้งั ตํ่ากวา ระดับดี ใหผูบังคบั บัญชาทําความเห็น
เสนอเลขาธกิ ารสาํ นกั งานศาลยุติธรรมเพอ่ื พจิ ารณาสง่ั เลิกจางตอ ไป
ขอ 11 กรณีที่จะมีการตอสัญญาจาง ใหนําผลการประเมินผลการปฏิบัติงานมา
ประกอบการพิจารณาในการตอสัญญาจาง โดยผูที่ไดรับการพิจารณาใหตอสัญญาจางจะตองมีผล
การประเมินผลการปฏิบัตงิ านเฉล่ียยอนหลงั ไมเกิน 4 ป ไมต่าํ กวาระดับดี ท้งั นี้ ใหผบู ังคับบัญชาทําความเห็น
เสนอเลขาธิการสาํ นักงานศาลยุติธรรมพิจารณาส่งั จา งตอ ไป
ขอ 12 การประเมินผลการปฏิบัติงานของพนักงานราชการศาลยุติธรรมพิเศษ
ใหก ําหนดหลักเกณฑและวธิ กี ารประเมินผลการปฏิบตั งิ านตามแนวทางดงั ตอไปนี้
(๑) ใหเลขาธิการสํานักงานศาลยุติธรรมและผูรับผดิ ชอบ/โครงการรวมกันประเมินผล
การปฏบิ ัตงิ านของพนกั งานราชการศาลยตุ ธิ รรมพิเศษ
(๒) การประเมินผลการปฏิบัติงานของพนักงานราชการศาลยุติธรรมพิเศษ
ใหประเมนิ จากผลการปฏบิ ัติงานตามเปาหมายและคุณลกั ษณะการปฏบิ ัติงาน โดยสอดรับกับขอ ตกลง/
เงอื่ นไขในสญั ญาจาง ทง้ั น้ี โดยกําหนดใหมีสัดสวนของผลงานไมนอ ยกวา รอยละ 80
(๓) ใหสํานักงานศาลยุติธรรมกําหนดระยะเวลาในการประเมินผลการปฏิบัติงานของ
พนักงานราชการศาลยุติธรรมพิเศษเปนรายเดือนหรือเปนระยะเม่ืองาน/โครงการไดดําเนินการสําเรจ็ ไปแลว
รอยละ 25 รอยละ 50 รอยละ 75 และรอยละ 100 หรืออ่ืน ๆ โดยเทียบเคียงกับเปาหมายของ
งาน/โครงการ

277

277 270
ข้อ 13 ให้สานักงานศาลยุติธรรมวางระบบการจัดเก็บผลการประเมิน เพื่อนาไปใช้
ตามวตั ถุประสงคท์ ี่กาหนดไว้ในขอ้ 2

ประกาศ ณ วนั ท่ี 22 มนี าคม พ.ศ. 2550
(ลงช่ือ) วิรชั ลมิ้ วิชยั
(นายวริ ชั ลิ้มวชิ ยั )
รองประธานศาลฎกี า

ประธานกรรมการข้าราชการศาลยุตธิ รรม

ูลก จางและพ ันกงกา ุลนมร ่ีทาช๓การศาล ุย ิตธรรม

227788 271

- ตวั อย่าง -
แบบประเมนิ ผลการปฏิบตั งิ านพนกั งานราชการศาลยุติธรรมทวั่ ไป3

ช่อื ผู้รบั การประเมิน วนั เร่มิ – สิ้นสดุ สัญญาจา้ ง
ตาแหน่ง กลุม่ งาน ชือ่ งาน/โครงการ
สงั กัด อัตราคา่ ตอบแทน บาท / เดอื น
ประเมนิ ผลการปฏบิ ัติงาน
ครั้งที่ 1 ระหวา่ งวันท่ี ถงึ วนั ที่
ครงั้ ท่ี 2 ระหว่างวนั ที่ ถึงวนั ที่

คาแนะนาในการกรอกแบบประเมินผลการปฏบิ ัติงาน

ระดบั คะแนน รายละเอียด
1 ปฏิบตั หิ น้าทไี่ ดต้ ่ากวา่ ทก่ี าหนดมาก
2 ปฏิบตั หิ น้าทไี่ ดต้ ่ากว่าทกี่ าหนด
3 ปฏิบัตหิ นา้ ทไ่ี ดต้ ามกาหนด
4 ปฏิบัตหิ นา้ ทไ่ี ดด้ เี กินกวา่ ทกี่ าหนด
5 ปฏบิ ัตหิ น้าทไี่ ดด้ ีเกินกวา่ ทกี่ าหนดมาก

ส่วนท่ี 1 ผลงาน

หนา้ ท่ีความ เป้าหมาย/ ผลการประเมนิ (ก) นา้ หนกั คะแนน (ค) =
รับผิดชอบ ผลผลติ 1 2 345 (ข) (ก) x (ข)
1. 100
2. รวม

100 (ค) =

คะแนนผลงาน = คะแนน (ค) = x 100 =
5
หมายเหตุ : 5 ซง่ึ เป็นตวั หาร หมายถึง คะแนนเต็มของผลการประเมิน
100 ซึง่ เป็นตัวคูณ หมายถงึ การแปลงคะแนนรวมของผลงานใหเ้ ปน็ คะแนนที่มีฐานคะแนนเต็มเป็น 100 คะแนน

3 แบบประเมินผลการปฏิบัติงานพนักงานราชการศาลยุติธรรมทั่วไป แก้ไขเพิ่มเติมโดยหลักเกณฑ์
คณะกรรมการขา้ ราชการศาลยุติธรรม เรื่อง แนวทางการประเมินผลการปฏิบัติงานของพนักงานราชการศาลยุติธรรม (ฉบับที่
2) พ.ศ. 2561

279 279 272

สว่ นท่ี 2 คุณลักษณะในการปฏบิ ัตงิ าน

คณุ ลกั ษณะในการปฏิบัติงาน ผลการประเมนิ (ก) คะแนน (ค) =
2 34 (ก) x (ข)
1. 1 5 นา้ หนกั (ข) 100
2.

คะแนนคณุ ลกั ษณะ = รวม = 100 (ค) = ูลก จางและพ ันกงกา ุลนมร ่ีทาช๓การศาล ุย ิตธรรม
ในการปฏบิ ตั ิงาน
คะแนน (ค) x 100 =
5

หมายเหตุ : 5 ซ่ึงเปน็ ตัวหาร หมายถึง คะแนนเตม็ ของผลการประเมนิ
100 ซงึ่ เป็นตัวคูณ หมายถึง การแปลงคะแนนรวมของผลงานให้เป็นคะแนนท่ีมฐี านคะแนนเต็มเป็น 100 คะแนน

280 275

สวนท่ี 3 สรปุ ผลการประเมนิ คะแนน (ก) นํา้ หนกั (ข) รวมคะแนน (ก) X (ข)
องคประกอบการประเมนิ 70 100
30
ผลงาน 100
คณุ ลกั ษณะในการปฏิบตั ิงาน

รวม

ระดบั ผลการประเมิน

ดเี ดน 90 – 100 คะแนน
ดมี าก 80 – 89 คะแนน
ดี 70 – 79 คะแนน
พอใช 60 – 69 คะแนน
ตองปรับปรงุ นอ ยกวา 60 คะแนน

ความเหน็ ของผูประเมนิ เก่ยี วกับผลงานและคณุ ลักษณะในการปฏิบตั ิงานของผูรับการประเมิน

ลงชือ่ )
(

ตําแหนง
วันท่ี

ไดรบั แจง ผลการประเมนิ แลว เมอ่ื วันท่ี

ลงชือ่ (ผูรบั การประเมิน)
( )

ตําแหนง
วันท่ี

281 274

281

ในกรณีผ้รู บั การประเมินไมย่ อมลงนาม ใหผ้ ้แู จง้ บันทึกไว้เป็นหลกั ฐาน
ความเหน็ ของผปู้ ระเมินเหนือข้ึนไป

เหน็ ดว้ ยกับการประเมินขา้ งตน้
มีความเหน็ แตกต่างจากการประเมินข้างตน้ ดงั นี้

ชอื่ )
(
ูลก จางและพ ันกงกา ุลนมร ่ีทาช๓การศาล ุย ิตธรรม
ตาแหน่ง
วนั ท่ี

ความเหน็ ของผ้บู ังคบั บัญชาเหนอื ขึน้ ไปอีกชัน้ หนึ่ง (ถ้ามี)
เหน็ ดว้ ยกบั การประเมนิ ขา้ งตน้
มคี วามเห็นแตกตา่ งจากการประเมนิ ข้างต้น ดังน้ี

ชอื่ )
(

ตาแหน่ง
วันที่


Click to View FlipBook Version