The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by daidomon63, 2021-10-26 22:57:34

รวมระเบียบกศ

รวมระเบียบกศ

282 275

- ตวั อยาง -
แบบสรุปผลการประเมนิ การปฏบิ ตั งิ านของพนักงานราชการทัว่ ไป4

ครง้ั ท่ี 1: วนั ท่ี 1 ตุลาคม ถึงวนั ที่ 31 มนี าคม
คร้งั ท่ี 2: วันท่ี 1 เมษายน ถึงวนั ท่ี 30 กันยายน

ช่อื ผูร ับการประเมิน วนั เร่มิ – สิน้ สดุ สญั ญาจาง
ตาํ แหนง กลมุ งาน ชอื่ งาน/โครงการ
สงั กดั อตั ราคาตอบแทน บาท / เดือน

สรุปผลการประเมนิ

ผลการประเมนิ ครง้ั ท่ี 1 ผลการประเมิน ครง้ั ที่ 2 สรุปผลการประเมินทงั้ ป

(ผลการประเมินครงั้ ท่ี 1 + ผลการประเมินคร้ังที่ 2)
2

 ดีเดน 90 - 100  ดีเดน 90 - 100  ดเี ดน 90 - 100

 ดมี าก 80 - 89  ดมี าก 80 - 89  ดมี าก 80 - 89
 ดี 70 – 79  ดี 70 – 79  ดี 70 – 79
60 – 69
 พอใช 60 – 69  พอใช 60 – 69  พอใช นอยกวา 60
 ตองปรบั ปรงุ นอยกวา 60  ตอ งปรบั ปรงุ นอ ยกวา 60  ตองปรับปรุง

ลงชือ่ (ผูรับการประเมนิ ) ลงชื่อ (ผูป ระเมิน)
( ) ( )

ตําแหนง ตําแหนง
วนั ท่ี วันท่ี

4 แบบสรุปผลการประเมินการปฏิบัติงานของพนักงานราชการทั่วไป แกไขเพ่ิมเติมโดยหลักเกณฑ
คณะกรรมการขาราชการศาลยตุ ิธรรม เร่ือง แนวทางการประเมินผลการปฏิบัตงิ านของพนักงานราชการศาลยุติธรรม (ฉบับที่
2) พ.ศ. 2561

283

283 276

- ตวั อยา่ ง -
แบบประเมนิ ผลการปฏิบตั งิ านพนกั งานราชการศาลยุตธิ รรมพิเศษ5

ชอื่ ผู้รับการประเมนิ (นาย/นาง/นางสาว ) วันสนิ้ สุดสญั ญาจา้ ง
วันเรมิ่ สญั ญาจา้ ง ชือ่ ส่วนราชการ
ชอ่ื งาน / โครงการ

ประเมินผลการปฏบิ ัตงิ าน  ประจาเดือน
 ตามความสาเรจ็ ของงาน 255075100
 อนื่ ๆ (โปรดระบ)ุ

คาแนะนาในการกรอกแบบประเมินผลการปฏบิ ตั งิ าน

ระดบั คะแนน รายละเอียด ูลก จางและพ ันกงกา ุลนมร ่ีทาช๓การศาล ุย ิตธรรม
1 ปฏิบตั หิ นา้ ทไ่ี ดต้ ่ากว่าทก่ี าหนดมาก
2 ปฏิบัตหิ น้าทีไ่ ดต้ ่ากว่าที่กาหนด
3 ปฏบิ ตั ิหนา้ ทไี่ ดต้ ามกาหนด
4 ปฏิบตั หิ น้าทีไ่ ด้ดีเกนิ กวา่ ที่กาหนด
5 ปฏบิ ัติหน้าทไ่ี ดด้ เี กนิ กวา่ ท่กี าหนดมาก

ส่วนท่ี 1 ผลการปฏบิ ตั งิ านตามเป้าหมาย

เปา้ หมาย/ ผลการดาเนินงาน ผลการประเมิน (ก) 5 น้าหนัก คะแนน (ค) =
ผลผลติ โดยยอ่ 1 2 34 (ข) (ก) x (ข)
1. 100
2. รวม

คะแนนผลการปฏิบตั งิ าน = คะแนน (ค) = 100 (ค) =
ตามเป้าหมาย 5
x 100 =

หมายเหตุ : 5 ซึ่งเปน็ ตวั หาร หมายถงึ คะแนนเตม็ ของระดับผลการประเมิน
100 ซ่ึงเป็นตัวคูณ หมายถึง การแปลงคะแนนรวมของผลการปฏิบัติ งานตามเป้าหมายให้เป็นคะแนนท่ีมี
ฐานคะแนนเตม็ เปน็ 100 คะแนน

5 แบบประเมินผลการปฏิบัติงานพนักงานราชการศาลยุติธรรมพิเศษ แก้ไขเพิ่มเติมโดยหลักเกณฑ์
คณะกรรมการขา้ ราชการศาลยตุ ิธรรม เร่ือง แนวทางการประเมินผลการปฏิบัติงานของพนักงานราชการศาลยุติธรรม (ฉบับที่
2) พ.ศ. 2561

284 277

284

ส่วนท่ี 2 คณุ ลกั ษณะในการปฏิบัติงาน

ผลการประเมิน (ก) คะแนน (ค) =
คุณลกั ษณะในการปฏิบัตงิ าน 2 34 (ก) x (ข)
1 5 น้าหนกั (ข) 100

1.

2.

รวม 100 (ค) =

คะแนนคุณลักษณะ = คะแนน (ค) = x 100 =
ในการปฏิบตั ิงาน 5

หมายเหตุ: 5 ซงึ่ เปน็ ตัวหาร หมายถงึ คะแนนเต็มของระดบั ผลการประเมิน
100 ซงึ่ เปน็ ตัวคูณ หมายถงึ การแปลงคะแนนรวมของคณุ ลกั ษณะในการปฏบิ ตั ิงานใหเ้ ปน็ คะแนน
ทมี่ ฐี านคะแนนเตม็ เปน็ 100 คะแนน

285 278

285 รวมคะแนน
(ก) X (ข)
สว่ นที่ 3 สรุปผลการประเมนิ คะแนน (ก) นา้ หนัก (ข)
80 100
องค์ประกอบการประเมนิ 20
ผลการปฏบิ ตั งิ านตามเป้าหมาย 100
คุณลักษณะในการปฏิบตั งิ าน

รวม

ระดบั ผลการประเมนิ

ดีเดน่ 90–100 คะแนน ูลก จางและพ ันกงกา ุลนมร ่ีทาช๓การศาล ุย ิตธรรม
ดีมาก 80–89 คะแนน
ดี 70–79 คะแนน
พอใช้ 60–69 คะแนน
ต้องปรบั ปรุง นอ้ ยกวา่ 60คะแนน

ความเหน็ เพมิ่ เติมของผู้ประเมิน

สว่ นที่ 4 วเิ คราะห์ผลการปฏบิ ตั งิ าน )
จุดเดน่
จดุ ดอ้ ย
ลงชือ่
(
ตาแหน่ง
วันท่ี

286 281
หลกั เกณฑค ณะกรรมการขา ราชการศาลยตุ ธิ รรม
เรือ่ ง เครอื่ งแบบปกติและเครือ่ งแบบพิธกี ารของพนกั งานราชการศาลยตุ ธิ รรม
และหลักเกณฑแ ละวิธกี ารสอบสวนวนิ ัยอยางรา ยแรงพนกั งานราชการศาลยตุ ิธรรม

โดยที่เปนการสมควรปรับปรุงการกําหนดเคร่ืองแบบปกติและเครื่องแบบพิธีการ
ของพนักงานราชการศาลยุติธรรม และกําหนดหลักเกณฑและวิธีการสอบสวนวินัยอยางรายแรง
พนักงานราชการศาลยตุ ธิ รรมเพือ่ ใหม ีความเหมาะสมและถือปฏิบตั ิตอ ไป

อาศัยอํานาจตามความในขอ 12 และขอ 25 ของระเบียบคณะกรรมการขาราชการ
ศาลยุติธรรมวาดวยพนักงานราชการศาลยุติธรรม พ.ศ. 2550 คณะกรรมการขาราชการศาลยุติธรรม
จึงกําหนดเคร่ืองแบบปกติและเครื่องแบบพิธีการของพนักงานราชการศาลยุติธรรม และหลักเกณฑ
และวิธกี ารสอบสวนวนิ ัยอยางรายแรงพนกั งานราชการศาลยตุ ิธรรมไว ดงั ตอไปน้ี

ขอ 1 หลักเกณฑน้ีเรียกวา “หลักเกณฑคณะกรรมการขาราชการศาลยุติธรรม
เร่ือง เครื่องแบบปกติ และเคร่ืองแบบพิธีการของพนักงานราชการศาลยุติธรรม และหลักเกณฑและ
วธิ กี ารสอบสวนวินยั อยา งรายแรงพนกั งานราชการศาลยตุ ิธรรม”

ขอ 2 หลกั เกณฑน้ใี หใชบังคบั ต้งั แตวันประกาศเปนตนไป
ขอ 3 ใหยกเลิกหลักเกณฑคณะกรรมการขาราชการศาลยุติธรรม เรื่อง การกําหนด
การแตงกาย เคร่ืองแบบปกติ เคร่ืองแบบพิธีการ และหลักเกณฑและวธิ ีการสอบสวนวินัยพนักงานราชการ
ศาลยุติธรรม ตามประกาศ ณ วันท่ี 5 พฤศจกิ ายน พ.ศ. 2551

หมวด 1
เคร่ืองแบบปกตแิ ละเครื่องแบบพธิ กี ารของพนกั งานราชการศาลยุตธิ รรม

ขอ 4 เครื่องแบบปกติของพนกั งานราชการศาลยุติธรรมใหใชในลักษณะอยางเดียวกัน
กบั เครือ่ งแบบปฏบิ ตั งิ านของลกู จา งประจาํ ของสํานักงานศาลยตุ ธิ รรม

อินทรธนูประดับเครื่องแบบปกติใหใชอินทรธนูออน ติดทับเส้ือเหนือบาท้ังสองขาง
จากไหลไปคอ ขนาดกวาง 4 เซนติเมตร ยาวตามความยาวของบา พื้นสีกากี ดานคอปลายมน
มแี ถบกวา ง 1 เซนติเมตร สีเหลอื งหรือสที อง ติดตามขวางอินทรธนู และมีวงกลมขนาดเสน ผาศูนยกลาง
วงใน 1 เซนติเมตร อยูเหนือแถบบน เวนระยะระหวางแถบ 6 มิลลิเมตร โดยใหแสดงเครื่องหมาย
ตาํ แหนง บนอินทรธนู ดงั น้ี

287 ูลก จางและพ ันกงกา ุลนมร ่ีทาช๓การศาล ุย ิตธรรม

287 280

(1) พนกั งานราชการศาลยุติธรรมพิเศษ มี 3 แถบ
(2) พนักงานราชการศาลยุติธรรมทว่ั ไป มี 2 แถบ
ทัง้ นี้ ตามแนบทา้ ยหลักเกณฑ์นี้
ข้อ 5 เคร่ืองแบบพิธีการของพนักงานราชการศาลยุติธรรมให้ใช้เครื่องแบบพิธีการ
ในลกั ษณะอยา่ งเดียวกนั กบั ลูกจ้างประจาของสานักงานศาลยตุ ธิ รรม
อินทรธนูประดับเครื่องแบบพิธีการให้ใช้อินทรธนูแข็ง ติดทับเสื้อเหนือบ่าทั้งสองข้าง
จากไหล่ไปคอ ขนาดกว้าง 4 เซนติเมตร ยาวตามความยาวของบ่า พ้ืนกามะหย่ีหรือสักหลาดสีดา
มีแถบสีทองกว้าง 5 มิลลิเมตร เป็นขอบ ด้านคอปลายมน ติดดุมโลหะสีทองตราครุฑพ่าห์ขนาดเล็ก
ปักด้นิ สีทองแสดงเคร่อื งหมายตาแหน่งบนอนิ ทรธนู ดงั นี้
(1) พนักงานราชการศาลยุติธรรมพิเศษ ปักดิ้นสีทองลายดอกพิกุล มีดอก 3 ดอก
ลายดอกพกิ ุลยาวไมเ่ กิน 3 ใน 4 ส่วนของอนิ ทรธนู
(2) พนักงานราชการศาลยุติธรรมท่ัวไป ปักด้ินสีทองลายดอกพิกุล มีดอก 2 ดอก
ลายดอกพกิ ลุ ยาวไม่เกนิ ครงึ่ หน่งึ ของอินทรธนู
ทงั้ น้ี ตามแบบท้ายหลกั เกณฑน์ ี้

หมวด 2
หลักเกณฑแ์ ละวิธกี ารสอบสวนวินยั อย่างร้ายแรงพนักงานราชการศาลยตุ ธิ รรม

ข้อ 6 หลักเกณฑ์และวิธีการสอบสวนวินัยอย่างร้ายแรงพนักงานราชการศาลยุติธรรม
กรณีถูกกล่าวหาว่ากระทาผิดวินัยอย่างร้ายแรงให้เป็นไปตามกฎหมายและระเบียบที่ใช้บังคับกับ
ขา้ ราชการศาลยตุ ธิ รรมโดยอนุโลม

ประกาศ ณ วนั ท่ี 26 กมุ ภาพันธ์ พ.ศ. 2557
(ลงชอ่ื ) เพลนิ จิต ตงั้ พลู สกุล
(นางสาวเพลนิ จติ ตง้ั พูลสกลุ )
รองประธานศาลฎีกา
ประธานกรรมการข้าราชการศาลยุตธิ รรม

288

กลุม่ ท่ี 4
เงนิ เพ่มิ และค่ำตอบแทนพเิ ศษ



289

289 282

8
เงินเพม่ิ สำหรบั ตำแหนง่ ทีม่ เี หตุพิเศษ

ตำแหนง่ นติ กิ ร (พ.ต.ก.)

เ ิงนเ ่ิพมแลกะ คลุามตท่ีอบ๔แทน ิพเศษ

290

291 283

ประกาศคณะกรรมการขา ราชการศาลยตุ ธิ รรม
เร่ือง การกําหนดเงนิ เพม่ิ สาํ หรับตาํ แหนงที่มเี หตพุ ิเศษ ตําแหนง นติ กิ ร

อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 21 (9) และมาตรา 24 แหงพระราชบัญญัติ เ ิงนเ ่ิพมแลกะ คลุามตท่ีอบ๔แทน ิพเศษ
ระเบียบบริหารราชการศาลยุติธรรม พ.ศ. 2543 ประกอบมาตรา 38 แหงพระราชบัญญัติ
ระเบียบขา ราชการพลเรือน พ.ศ. 2551 ระเบียบ ก.พ. วาดวยเงนิ เพิม่ สําหรับตาํ แหนง ทมี่ ีเหตุพเิ ศษของ
ขาราชการพลเรือน พ.ศ. 2552 ประกาศ ก.พ. เรื่อง กําหนดตําแหนงและเงินเพิ่มสําหรับตําแหนง
ท่ีมีเหตุพิเศษของขาราชการพลเรือน พ.ศ. 2552 และมติคณะกรรมการขาราชการศาลยุติธรรม
ครั้งที่ 16/2553 เม่ือวันที่ 23 ธันวาคม พ.ศ. 2553 ใหตําแหนงนิติกรในสํานักงานศาลยุติธรรม
ไดรับเงินเพ่ิมสําหรับตําแหนงท่ีมีเหตุพิเศษ คณะกรรมการขาราชการศาลยุติธรรม (ก.ศ.)
โดยความเห็นชอบจากคณะกรรมการบริหารศาลยุติธรรม จึงออกประกาศเกี่ยวกับการกําหนดเงินเพิ่ม
สําหรบั ตําแหนงท่ีมเี หตุพิเศษ ตําแหนง นติ กิ ร ดงั ตอ ไปนี้

ขอ 1 ประกาศน้ีเรียกวา “ประกาศคณะกรรมการขาราชการศาลยุติธรรม
เรื่อง การกาํ หนดเงินเพมิ่ สําหรับตําแหนง ที่มีเหตุพเิ ศษ ตําแหนงนิติกร”

ขอ 21 ประกาศน้ีใหใ ชบ งั คับตงั้ แตว ันถดั จากวันประกาศในราชกจิ จานเุ บกษาเปน ตน ไป
ขอ 3 ขาราชการศาลยุติธรรมผูดํารงตําแหนงประเภทวิชาการในสายงานนิติการ
ตําแหนงนิติกร ระดับปฏิบัติการ ระดับชํานาญการ ระดับชํานาญการพิเศษ และประเภทอํานวยการ
สายงานอาํ นวยการเฉพาะดาน ตาํ แหนง ผอู ํานวยการเฉพาะดา น (นติ กิ าร) ระดับตน ซ่ึงอยูในหลักเกณฑ
และเงื่อนไขดังตอไปนี้เปนผูดํารงตําแหนงท่ีมีเหตุพิเศษ ใหไดรับเงินเพ่ิมสําหรับตําแหนงที่มีเหตุพิเศษ
ซึ่งเรียกโดยยอ วา “พ.ต.ก.”
(1) ผานการอบรมหลักสูตรนักกฎหมายภาครัฐหรือหลักสูตรอื่นท่ีเทียบเทา
ซ่งึ ก.ศ. กาํ หนดหรอื รบั รอง
(2) ผานกระบวนการคัดเลอื กตามหลักเกณฑและวิธกี ารท่ี ก.ศ. กําหนด
(3) ปฏบิ ตั งิ านในหนว ยงานดังตอไปนี้

1) หนวยงานที่กําหนดในประกาศคณะกรรมการบริหารศาลยุติธรรม เรื่อง
การแบงสวนราชการภายในและกําหนดอํานาจหนาท่ีของสวนราชการในสังกัดสํานักงานศาลยุติธรรม
ซ่ึงมีอํานาจหนาท่ีเก่ียวของกับงานดานกฎหมายและหัวหนาหนวยงานดํารงตําแหนงในสายงานนิติการ
หรือ

2) หนวยงานตํ่ากวากองหรือสํานัก หรือหนวยงานเทียบเทากองหรือสํานัก
ตามการแบง งานภายในของสํานักงานศาลยุติธรรม ที่มีอํานาจหนาที่เก่ียวของกับงานดานกฎหมายหรือ
การสนับสนนุ การพิจารณาพพิ ากษาคดขี องศาล

1 ราชกจิ จานุเบกษา เลม 128/ตอนท่ี 24 ก/หนา 6/7 เมษายน 2554

292 284
(4) ปฏิบัติหนาที่หลักของตําแหนงนิติกรท่ีไดรับแตงตั้งตาม ท่ี ก.ศ. กําหนดไว
ในมาตรฐานกําหนดตําแหนง และลักษณะงานดา นกฎหมายในสํานกั งานศาลยุติธรรม
ขอ 4 หลักเกณฑและอัตราเงินเพิ่มสําหรับตําแหนงท่ีมีเหตุพิเศษ ตําแหนงนิติกร
ใหเปน ไปตามบญั ชหี มายเลข 1 ทายประกาศน้ี
ผไู ดรับ พ.ต.ก. ทไ่ี ดร บั การเล่ือนและแตง ตง้ั ใหดํารงตําแหนงในระดับที่สูงขึ้น และมีสิทธิ
ไดรับ พ.ต.ก. ที่สูงขึ้นตามระดับตําแหนง ใหไดรับ พ.ต.ก. ในอัตราเดิมจนกวาจะผานการคัดเลือก
ตามหลักเกณฑและวิธีการคัดเลือกผูดํารงตําแหนงนิติกรใหไดรับเงินเพิ่มสําหรับตําแหนงที่มีเหตุพิเศษ
ตาํ แหนง นติ กิ ร ในอตั ราที่สูงข้นึ ตามระดบั ตําแหนง
ขอ 5 การจัดลักษณะงานดานกฎหมายในสํานักงานศาลยุติธรรมใหเปนไปตามบัญชี
หมายเลข 2 ทา ยประกาศนี้
ขอ 6 หลักเกณฑและวิธีการคัดเลือกผูดํารงตําแหนงประเภทวิชาการในสายงานนิติการ
ตําแหนงนิติกร ระดับปฏิบัติการ ระดับชํานาญการ ระดับชํานาญการพิเศษ และประเภทอํานวยการ
สายงานอํานวยการเฉพาะดาน ตําแหนงผูอํานวยการเฉพาะดาน (นิติการ) ระดับตน ใหไดรับเงินเพ่ิม
สาํ หรบั ตาํ แหนงทม่ี ีเหตพุ เิ ศษ ใหเ ปน ไปตามที่ ก.ศ. กําหนด
ขอ 7 ใหมีคณะอนุกรรมการขาราชการศาลยุติธรรมผูทรงคุณวุฒิดานกฎหมาย
ที่ ก.ศ. แตง ต้ัง รับผิดชอบในการกาํ หนดหลักเกณฑ ตวั ช้วี ดั เปาหมาย พิจารณาคุณสมบัติ และประเมิน
ความ รูความ สาม ารถของผูดํารงตําแหนงนิติกรท่ีขอรับเงินเพิ่ม สําหรับตําแหนงที่มีเหตุพิเศษ
จาํ นวนอยางนอย 3 คน ประกอบดว ย
(1) ผแู ทน ก.ศ. 1 คน
(2) ขา ราชการศาลยุตธิ รรมท่ีมีความเชี่ยวชาญดานกฎหมายซ่ึงดํารงตําแหนงไมต่ํากวา
ประเภทวชิ าการ ระดับเชย่ี วชาญ ประเภทอาํ นวยการ ระดับสูง หรือประเภทบริหาร ระดบั ตน
(3) ผูท รงคุณวฒุ ิดา นกฎหมายจากภายนอกสาํ นกั งานศาลยตุ ิธรรม
(4) หัวหนาหนว ยงานการเจาหนา ท่ีหรอื ผทู ่ไี ดร ับมอบหมายเปน เลขานุการ
โดยให ก.ศ. เลือกอนุกรรมการคนหนง่ึ ทําหนาทีเ่ ปน ประธาน
ขอ 8 ขาราชการศาลยุติธรรมผูดํารงตําแหนงประเภทวิชาการในสายงานนิติการ
ตําแหนงนิติกร ระดับปฏิบัติการ ระดับชํานาญการ ระดับชํานาญการพิเศษ และประเภทอํานวยการ
สายงานอํานวยการเฉพาะดาน ตําแหนงผูอํานวยการเฉพาะดาน (นิติการ) ระดับตน ผูใดมีสิทธิไดรับเงินเพิ่ม
สําหรับตําแหนงท่ีมีเหตุพิเศษหลายอัตรา ใหขาราชการศาลยุติธรรมผูน้ันไดรับเงินเพ่ิมสําหรับตําแหนง
ทม่ี เี หตพุ ิเศษในอัตราท่สี งู สดุ เพียงอตั ราเดยี ว

293 287 เ ิงนเ ่ิพมแลกะ คลุามตท่ีอบ๔แทน ิพเศษ
ขอ 9 ขาราชการศาลยุติธรรมผูดํารงตําแหนงประเภทวิชาการในสายงานนิติการ
ตําแหนงนิติกร ระดับปฏิบัติการ ระดับชํานาญการ ระดับชํานาญการพิเศษ และประเภทอํานวยการ
สายงานอํานวยการเฉพาะดาน ตําแหนงผูอํานวยการเฉพาะดาน (นิติการ) ระดับตน ผูใดปฏิบัติงาน
ไมเต็มเดือนในเดือนใด ใหไดรับเงินเพ่ิมสําหรับตําแหนงที่มีเหตุพิเศษสําหรับเดือนนั้นตามสวนของ
จํานวนวันที่ไดปฏิบัติหนาท่ี แตถาในเดือนใดมิไดปฏิบัติงานไมมีสิทธิไดรับเงินเพ่ิมสําหรับตําแหนง
ทีม่ เี หตพุ เิ ศษสาํ หรับเดือนน้ัน เวน แตก รณดี งั ตอไปน้ี
(1) กรณีลาปวย ใหไดรับเงินเพิ่มระหวางลาไดในปง บประมาณหนึ่งไมเกนิ หกสิบวนั ทําการ
เวนแตเปน การปวยอันเกิดจากการปฏบิ ัตหิ นา ที่ ก.ศ. อาจกําหนดใหไดร บั เงินเพมิ่ สาํ หรับตําแหนง ทีม่ เี หตพุ เิ ศษ
เกนิ หกสบิ วนั ทาํ การไดต ามควรแกกรณี
(2) กรณีลาคลอดบุตร ใหไดรับเงินเพ่ิมสําหรับตําแหนงท่ีมีเหตุพิเศษระหวางลาได
ไมเกินเกา สบิ วนั
(3) กรณีลากิจสวนตัว ใหไดรับเงินเพิ่มสําหรับตําแหนงที่มีเหตุพิเศษระหวางลาได
ในปงบประมาณหนงึ่ ไมเ กินส่ีสบิ หาวันทาํ การ แตสาํ หรบั ในปแรกทร่ี บั ราชการใหไดรับเงินเพิม่ ระหวางลาได
ในปง บประมาณนนั้ ไมเกินสิบหาวนั ทําการ
(4) กรณีลาพักผอนประจาํ ป ใหไดร บั เงินเพ่ิมสําหรบั ตาํ แหนงท่มี เี หตพุ ิเศษระหวา งลาได
ไมเ กินระยะเวลาท่ีผนู ัน้ มสี ทิ ธลิ าพกั ผอนประจาํ ปต ามท่กี าํ หนดไวใ นระเบยี บวาดว ยการลาของขาราชการ
(5) กรณีลาอุปสมบทในพระพุทธศาสนาหรือลาไปประกอบพิธีฮัจญ ณ เมืองเมกกะ
ประเทศซาอุดิอาระเบีย ซึ่งมิใชเปนการลาภายในระยะเวลาสิบสองเดือนแรกที่เขารับราชการ
และตั้งแตเริ่มรับราชการยังไมไดลาอุปสมบทในพระพุทธศาสนาหรือยังไมเคยลาประกอบพิธีฮัจญ
ใหไ ดร ับเงินเพิม่ สาํ หรบั ตาํ แหนง ท่ีมีเหตพุ ิเศษระหวา งลาไดไมเกนิ หกสิบวัน
(6) กรณีลาไปเขารับการตรวจเลือกหรือเขารับการเตรียมพล ใหไดรับเงนิ เพิ่มสาํ หรับ
ตําแหนงที่มีเหตุพิเศษระหวางลาไดไมเกินหกสิบวัน แตถาพนระยะเวลาท่ีลาดังกลาวแลว
ผูน้ันไมไ ปรายงานตัวเพ่ือเขา ปฏบิ ัติหนา ทห่ี ลกั ของตําแหนงทไี่ ดร บั แตง ตั้งภายในเจด็ วนั ใหงดจา ยเงนิ เพ่ิม
สําหรับตาํ แหนง ที่มเี หตพุ เิ ศษหลงั จากน้ันไวจนถึงวันเขาปฏบิ ัติหนา ท่ีหลัก
(7) กรณลี าไปศึกษา ฝก อบรม ดงู าน หรือปฏบิ ัตกิ ารวจิ ยั ใหไ ดร บั เงินเพ่มิ สําหรบั ตําแหนง
ท่ีมเี หตุพเิ ศษระหวางลาไดไมเกินหกสบิ วนั
(8)2 กรณีการอุปสมบทในพระพุทธศาสนาท่ีคณะกรรมการบริหารศาลยุติธรรมมีมติเปน
กรณีพิเศษโดยไมใหถือเปนวันลาของขาราชการศาลยุติธรรม ใหไดรับเงินเพ่ิมสําหรับตําแหนง
ท่มี ีเหตุพิเศษระหวางเวลาดังกลาวไดไ มเกนิ หกสบิ วัน
(9)3 กรณีลาไปชวยเหลือภรยิ าท่ีคลอดบุตร ใหไดรบั เงินเพิ่มสําหรับตําแหนงท่ีมีเหตุพิเศษ
ระหวา งลาเฉพาะวนั ลาทม่ี ีสิทธิไดร บั เงินเดอื นระหวา งลาตามกฎหมาย

2 ขอ 9 (8) เพ่ิมโดยประกาศคณะกรรมการขาราชการศาลยุติธรรม เร่ือง การกําหนดเงินเพิ่มสําหรับ
ตําแหนง ท่ีมีเหตพุ ิเศษ ตําแหนงนติ ิกร (ฉบบั ที่ 2)

3 ขอ 9 (9) เพ่ิมโดยประกาศคณะกรรมการขาราชการศาลยุติธรรม เรื่อง การกําหนดเงินเพิ่มสําหรับ
ตําแหนงทม่ี เี หตุพเิ ศษ ตําแหนง นติ กิ ร (ฉบบั ที่ 2)

294

294 286
(10)4 กรณีลาไปฟนื้ ฟูสมรรถภาพด้านอาชีพ ใหไ้ ดร้ ับเงินเพ่ิมสาหรบั ตาแหน่งท่ีมเี หตุพิเศษ
ระหวา่ งลาได้ไม่เกินหกสบิ วนั
ข้อ 10 ใหป้ ระธานกรรมการข้าราชการศาลยุตธิ รรมรักษาการตามประกาศนี้

ประกาศ ณ วนั ท่ี 10 มนี าคม พ.ศ. 2554
(ลงช่ือ) วิธวิทย์ หิรญั รจุ ิพงศ์
(นายวธิ วทิ ย์ หิรัญรุจิพงศ)์
รองประธานศาลฎกี า
ประธานกรรมการขา้ ราชการศาลยตุ ธิ รรม

4 ข้อ 9 (10) เพิ่มโดยประกาศคณะกรรมการข้าราชการศาลยุติธรรม เร่ือง การกาหนดเงินเพ่ิมสาหรับ
ตาแหน่งทมี่ เี หตพุ ิเศษ ตาแหน่งนติ กิ ร (ฉบบั ที่ 2)

295 287

295

[เอกสารแนบทา้ ย]

1. บญั ชหี มายเลข 1 บญั ชกี าหนดหลักเกณฑแ์ ละอัตราเงนิ เพ่ิมสาหรับตาแหนง่ ที่มี
เหตพุ เิ ศษ ตาแหนง่ นติ กิ ร แนบท้ายประกาศคณะกรรมการข้าราชการศาลยตุ ธิ รรม เรอ่ื ง การกาหนด
เงนิ เพิ่มสาหรบั ตาแหนง่ ทม่ี ีเหตุพิเศษ ตาแหนง่ นติ ิกร

2. บัญชีหมายเลข 2 บัญชีลักษณะงานด้านกฎหมายในสานักงานศาลยุติธรรม
แนบท้ายประกาศคณะกรรมการข้าราชการศาลยุติธรรม เร่ือง การกาหนดเงินเพ่ิมสาหรับตาแหน่ง
ทมี่ เี หตุพเิ ศษ ตาแหนง่ นิตกิ ร

เ ิงนเ ่ิพมแลกะ คลุามตท่ีอบ๔แทน ิพเศษ

288

บัญชีหมำยเลข 1
บัญชีกำหนดหลกั เกณฑแ์ ละอตั รำเงินเพมิ่ สำหรับตำแหนง่ ทีม่ เี หตุพิเศษ ตำแหน่งนิตกิ ร
แนบทำ้ ยประกำศคณะกรรมกำรขำ้ รำชกำรศำลยุติธรรม เร่อื ง กำรกำหนดเงนิ เพ่มิ สำหรบั ตำแหน่งทีม่ เี หตุพเิ ศษ ตำแหนง่ นิติกร

ตาแหนง่ ที่มีเหตุพเิ ศษ ประเภท หลักเกณฑ์ อตั ราเงินเพม่ิ
นิตกิ ร เงินเพิม่ ได้รับคาสั่งให้ปฏิบัติหน้าที่หลักในตาแหน่งนิติกรตามท่ีกาหนดไว้ในมาตรฐานกาหนดตาแหน่งในหน่วยงานตามที่กาหนดไว้ (บาท/เดือน)
พ.ต.ก. ในประกาศคณะกรรมการขา้ ราชการศาลยตุ ิธรรม ไม่นอ้ ยกวา่ ร้อยละ 80 ให้ไดร้ บั พ.ต.ก. ดงั นี้
(1) ดารงตาแหน่ง ประเภทวิชาการระดับปฏิบัติการ ตาแหน่งนิติกร ซ่ึงปฏิบัติงานด้านกฎหมายในตาแหน่งนิติกร 3,000
ไม่นอ้ ยกว่า 1 ปีย้อนหลงั สาหรบั ผู้มวี ุฒิปริญญาเอก ไมน่ อ้ ยกวา่ 2 ปีย้อนหลังสาหรบั ผมู้ วี ุฒิปริญญาโท หรือไมน่ ้อยกว่า 4 ปีย้อนหลัง 4,500 229966
สาหรบั ผ้มู ีวุฒปิ รญิ ญาตรี ใหไ้ ด้รับ พ.ต.ก. 6,000
(2) ดารงตาแหน่ง ประเภทวิชาการระดับชานาญการ ตาแหน่งนิติกร ซึ่งปฏิบัติงานด้านกฎหมายในตาแหน่งนิติกร 6,000
ไม่นอ้ ยกวา่ 2 ปียอ้ นหลงั ใหไ้ ดร้ ับ พ.ต.ก.
(3) ดารงตาแหน่ง ประเภทวิชาการระดับชานาญการพิเศษ ตาแหน่งนิติกร ซ่ึงปฏิบัติงานด้านกฎหมายในตาแหน่งนิติกร
ไม่นอ้ ยกวา่ 2 ปีย้อนหลงั ใหไ้ ดร้ ับ พ.ต.ก.
(4) ดารงตาแหน่ง ประเภทอานวยการ สายงานอานวยการเฉพาะด้าน ตาแหน่งผู้อานวยการเฉพาะด้าน (นิติการ) ระดับต้น
ซ่งึ ปฏบิ ัติงานด้านกฎหมายในตาแหนง่ นติ กิ รไมน่ ้อยกว่า 2 ปยี อ้ นหลัง ใหไ้ ด้รับ พ.ต.ก.

ใน ก ร ณี ที่ ท า งร า ช ก า ร มี ค า ส่ั ง ให้ ผู้ ด า ร ง ต า แ ห น่ ง นิ ติ ก ร ผู้ ใด ไป ป ฏิ บั ติ ห น้ า ที่ อ่ื น ห รื อ ใน ส่ ว น ร า ช ก า ร ห รื อ ห น่ ว ย งา น อ่ื น
อันเป็นเหตุใหผ้ ู้นั้นไม่อยใู่ นเกณฑท์ ่ีจะได้รบั พ.ต.ก. ตามข้อกาหนดน้ีเมอ่ื ใด ให้งดจ่าย พ.ต.ก. สาหรับผู้นั้นตง้ั แต่วนั ทไ่ี ปปฏิบตั ิหน้าที่อ่ืน
เปน็ ตน้ ไป

ในกรณีที่ผู้ดารงตาแหน่งนิติกร ซ่ึงได้รับเงินเพ่ิมสาหรับตาแหน่งที่มีเหตุพิเศษผู้ใดจะรับเงินเพิ่มในอัตราท่ีสูงข้ึน
ตามระดบั ตาแหน่งได้ต้องมีคุณสมบัติดังน้ี

(1) ต้องปฏิบัติงานดา้ นกฎหมายในส่วนราชการหรือหน่วยงานตามที่กาหนดในประกาศคณะกรรมการข้าราชการศาลยุติธรรม
ไม่น้อยกวา่ รอ้ ยละ 80 ระหว่างไดร้ บั พ.ต.ก.

(2) เป็นผ้ผู า่ นการประเมนิ คุณสมบตั ิตามหลกั เกณฑแ์ ละวิธกี ารทีก่ าหนดในหลักเกณฑค์ ณะกรรมการข้าราชการศาลยตุ ิธรรม

297

297 289

บญั ชีหมำยเลข 2
บญั ชลี กั ษณะงำนด้ำนกฎหมำยในสำนักงำนศำลยุตธิ รรม
แนบท้ำยประกำศคณะกรรมกำรข้ำรำชกำรศำลยตุ ธิ รรม เร่อื ง กำรกำหนดเงินเพิ่มสำหรับตำแหน่งทม่ี เี หตุพิเศษ

ตำแหนง่ นิติกร

ลกั ษณะงำนท่ี ลกั ษณะงำนด้ำนกฎหมำยในสำนักงำนศำลยุติธรรม เ ิงนเ ่ิพมแลกะ คลุามตท่ีอบ๔แทน ิพเศษ
1 กำรตรวจและยกร่ำงกฎหมำย
2
3 หมายถึง งานที่ผู้ปฏิบัติงานต้องศึกษา รวบรวมปัญหา อุปสรรคในการดาเนินการตามกฎหมาย
ระเบียบ ข้อบังคับ ประกาศ นามาวิเคราะห์ ตรวจ หรือยกร่างกฎหมายระดับพระราชบัญญัติ
4 พระราชกฤษฎีกา และกฎ ทีเกี่ยวข้องกับการบริหารราชการศาลยุติธรรม การพิจารณาพิพากษาคดี
การอนุญ าโต ตุ ลาการ การไกล่เกลี่ยระงับ ข้อพิ พ าทอื่น และความต กลงระห ว่างป ระเท ศ
รวมท้ังงานศึกษาวิเคราะห์ กล่ันกรอง ตรวจ หรือแก้กฎหมาย หรือกฎ เพ่ือเสนอคณะกรรมการที่มีหน้าที่
พิจารณากฎหมาย หรือกฎ หรือบุคคลท่ีมีอานาจในการเสนอกฎหมายหรือออกกฎในฐานะที่เป็นผู้ปฏิบัติ
รวมทั้งเป็นเลขานุการคณะกรรมการหรือท่ีเรียกช่ืออย่างอ่ืนซึ่งทาหน้าท่ีเช่นเดียวกับผู้ปฏิบัติงานดังกล่าว
ข้างตน้
กำรพัฒนำและวจิ ยั กฎหมำย

หมายถึง งานที่ผู้ปฏิบัติงานต้องดาเนินการค้นคว้า หาข้อมูล ศึกษา วิเคราะห์ วิจัย เปรียบเทียบ
หลักการ แนวคิด ระบบ และบทบัญญัติของกฎหมาย คาวินจิ ฉยั คณะกรรมการ วินิจฉัยชีข้ าดอานาจหน้าท่ี
ระหว่างศาล คาพิพากษาท้ังของไทยและต่างประเทศ เพ่ือพัฒนากฎหมาย การศาล วิธีพิจารณาความ
และระเบียบอื่นที่เก่ียวข้อง รวมท้ัง การไกล่เกลี่ย ประนอมข้อพิพาท การอนุญาโตตุลาการ การระงับ
ข้อพิพาททางเลือกอ่ืน และให้หมายความรวมถึง การค้นคว้า หาข้อมูล ศึกษาเพ่ือพัฒนาหลักเกณฑ์
มาตรการเก่ียวกับการดาเนินการตามคาสั่งศาล และการบังคับใช้กฎหมายและการคุ้มครองสิทธิทางกฎหมาย
ของประชาชน และความร่วมมือทางการศาลระหว่างประเทศที่อยู่ในอานาจของศาลยุติธรรมและ
สานักงานศาลยตุ ธิ รรม
กำรให้คำปรึกษำและควำมเห็นทำงกฎหมำย

หมายถึง งานที่ผู้ปฏิบัติงานต้องดาเนินการค้นคว้าทางกฎหมาย ข้อมูลทางกฎหมาย วิเคราะห์
ข้อเท็จจริง ข้อกฎหมาย เพื่อให้ความเห็นเก่ียวกับการวินิจฉัยชี้ขาดเรื่องต่าง ๆ การตรวจสานวน
การตรากฎหมายหรือกฎ การตีความกฎหมายหรือกฎ การบังคับใช้กฎหมายหรือกฎ การปรับปรุง
แก้ไขกฎหมายหรือกฎ ต่อผู้มีอานาจหน้าที่ในการตัดสินใจหรือวินิจฉัยชี้ขาดทางกฎหมาย หรือหน่วยงาน
ในสังกัดสานักงานศาลยุติธรรมหรือหน่วยงานภายนอก รวมทั้ง การตอบข้อหารือทางกฎหมายหรือกฎ
แก่ห น่วยงานในสังกัดหรื อหน่วยงาน ภ ายนอกแล ะดาเนินการ ทางกฎ หมายเกี่ยวกับ การคุ้มครองสิท ธิ
และเสรภี าพของประชาชน

งานท่ีผู้ปฏิบัติงานต้องดาเนินการค้นคว้าทางกฎหมาย ข้อมูลทางกฎหมาย วิเคราะห์ข้อเท็จจริง
ข้อกฎหมาย ในการตรวจสานวนหรือคัดแยกสานวน เพ่ือเสนอความเห็นเกี่ยวกับการจัดประเภทคดี หรือ
เพื่อสนับสนุนการพิจารณาพิพากษาคดี การจัดทาร่างคาพิพากษาหรือคาสั่งคาร้องในศาลสูง และ
การดาเนนิ การสง่ ความเห็นระหวา่ งศาล

การให้คาปรึกษาแนะนา การคุ้มครองสิทธิประชาชนตามกฎหมาย การช่วยเหลือประชาชน
ทางด้านกฎหมายและจัดทาคาร้อง คาขอ คาแถลง คาคู่ความท่ียื่นต่อศาล การทาสัญญาค้าประกันและ
การดาเนินการอน่ื ๆ ทเ่ี กี่ยวข้องกับศาล
กำรร่ำงสัญญำและกำรบรหิ ำรสญั ญำ

หมายถึง งานท่ีผู้ปฏิบัติงานต้องดาเนินการศึกษา วิเคราะห์ รวบรวมข้อเท็จจริง เอกสาร
หลกั ฐานทีจ่ าเป็นและเก่ียวขอ้ งกบั การรา่ ง แกไ้ ข บรหิ ารนิติกรรมสญั ญา

298 292

ลกั ษณะงานที่ ลักษณะงานดา นกฎหมายในสํานกั งานศาลยุติธรรม
5 การดาํ เนินการทางวินัย

6 หมายถึง งานท่ีผูปฏิบัติงานตองดําเนินการหลายประการท่ีเกี่ยวของกับวินัย การรักษาวินัยและ
7 การดําเนินการทางวินัยของขาราชการศาลยุติธรรม ลูกจางประจํา หรือพนักงานราชการศาลยุติธรรม
8 แลวแตกรณีเชน การพิจารณาขอรองเรียน ขอกลาวหา บัตรสนเทห การต้ังเร่ืองกลาวหาการสืบสวน
การสอบสวนทางวินัย การพิจารณาความผิดและการกําหนดโทษ การสั่งพักราชการหรือการสั่ง
ใหออกจากราชการไวกอน และการลงโทษขาราชการท่ีกระทําผิดวินัย รวมท้ัง การสั่งใหขาราชการ
ท่ีหยอนความสามารถในอันที่จะปฏิบัติหนาท่ีราชการ บกพรองหรือประพฤติตนไมเหมาะสมกับ
ตําแหนงหนาท่ีราชการ หรือการส่ังใหขาราชการท่ีมีกรณีถูกสอบสวนวากระทําผิดวินัยอยางรายแรงและ
ผลการสอบสวนไมไดความแนชัดพอท่ีจะสั่งลงโทษถึงออกจากราชการแตมีมลทินหรือมัวหมองในกรณีที่
ถูกสอบสวนออกจากราชการ เปนตน เพื่อเสนอตอผูบังคับบัญชาหรือองคคณะบุคคลท่ีมีอํานาจ
ในการลงโทษหรือสง่ั ใหออกจากราชการขา ราชการผนู นั้ ตอไป

นอกจากน้ัน ผูปฏิบัติงานนี้ยังตองดําเนินการวางแผนและกําหนดโครงการพัฒนางานวินัย
การเผยแพรและใหความรูดานวนิ ัย การเสริมสรางวนิ ัย จริยธรรม และจรรยาขาราชการ ตามท่ีสํานักงาน
ศาลยุตธิ รรมกําหนด อกี ทง้ั ตอ งติดตาม ประเมินผลการดําเนินงานตามนโยบาย มาตรการในการเสรมิ สราง
และพัฒนามาตรฐานการดําเนินการทางวนิ ัยและติดตามประเมินพฤติกรรมการปฏิบัติงานของขาราชการ
ศาลยตุ ิธรรม ลูกจา งประจาํ หรอื พนักงานราชการศาลยุติธรรมภายหลังการถกู ลงโทษทางวินัยแลวแตกรณี
การดาํ เนนิ คดอี าญา คดแี พง คดีในศาลปกครอง คดใี นศาลรฐั ธรรมนญู หรือคดอี นื่

การดําเนินคดีอาญา หมายถึง งานท่ีผูปฏิบัติงานตองดําเนินการแทนรัฐและหรือหนวยงานของรัฐ
ซ่ึงเปนโจทกและจําเลยในคดีอาญา โดยเปนผูรวบรวมขอเท็จจริง ขอกฎหมาย พยานหลักฐาน
เพ่อื ดาํ เนนิ คดเี อง หรอื เพ่ือประสานงานกับพนกั งานอัยการ

สําหรับกรณีคดีแพง ตอ งไดรับมอบหมายใหมีอาํ นาจหนาท่ีในการดําเนินคดใี นศาลแทนรัฐหนวยงาน
ของรัฐ หรือเจาหนาท่ีของรัฐซึ่งเปนโจทกหรือจําเลย เน่ืองจากกระทําไปตามอํานาจหนาที่หรือเปน
ผูรวบรวมขอเท็จจริง ขอกฎหมาย พยานหลักฐาน หรือเพื่อทําคําฟอง คําใหการ คําอุทธรณหรือฎีกาเอง
หรอื เพือ่ ประสานงานกบั พนักงานอยั การหรอื ทนายความเพือ่ ดําเนินการดงั กลาว

นอกจากการดําเนินคดีแพงและคดีอาญาในศาลยุติธรรมแลว ยังหมายรวมถึงการดําเนินคดีปกครอง
ในศาลปกครอง คดีในศาลรฐั ธรรมนญู และศาลอ่ืนตามกฎหมายวธิ พี จิ ารณาความของศาลน้ัน ๆ
การพจิ ารณาและตรวจสอบคาํ อทุ ธรณห รอื คาํ โตแ ยง

หมายถึง งานท่ีผูปฏิบัติงานตองศึกษา วิเคราะห ตรวจสอบ กลั่นกรองการใหความเห็น
ในเรื่องกฎหมาย กฎ พยานหลักฐาน ขอเท็จจริงในคําอุทธรณ คํารองทุกข การขอความเปนธรรมเกี่ยวกับ
คดีที่อยูในอํานาจศาลยุติธรรม เพื่อเสนอคณะกรรมการหรือผูมีอํานาจวินิจฉัยชี้ขาดอุทธรณ คํารองทุกข หรือ
การขอความเปนธรรมนั้น รวมทั้งการศึกษา พัฒนาระบบงานอุทธรณ การกําหนดหลักเกณฑวิธีการ และ
มาตรฐานเก่ียวกับงานอุทธรณ รองทุกขขอความเปนธรรม ใหคําปรึกษา แนะนํา ตอบขอหารือปญหา
เกี่ยวกับงานดงั กลาวแกผ ูเก่ียวขอ งและประชาชนท่วั ไป
การเผยแพรความรูท างดานกฎหมาย

หมายถึง งานที่ผูปฏิบัติงานตองดําเนินการเผยแพรความรูดานกฎหมายหรือกฎ คําแนะนํา
คําพิพากษาฎีกา คําวินิจฉัยคณะกรรมการวินิจฉัยช้ีขาดอํานาจหนาท่ีระหวางศาล การไกลเกลี่ยระงับ
ขอพิพาท การอนุญาโตตุลาการ ทั้งที่บังคับใชปจจุบันหรือที่กําลังประกาศใช การนิเทศ การใหคําแนะนํา
ซึ่งรวมถึงงานการจัดประชุมสัมมนาดานกฎหมายหรือกฎ หรือการดังกลาวขางตนหรือผล
ในการปฏิบัติราชการที่มีประสิทธิภาพ การประสานงานทางราชการ และการสรางจิตสํานึก
ในการปฏิบตั ติ ามกฎหมายใหแกบคุ คลในหนวยงานและประชาชน โดยจะตองมีการจัดทาํ เอกสาร บทความ
หรือหนังสือใหความรู จัดทําฐานขอมูลทางดานกฎหมายหรือกฎใหทันสมัย รวมทั้งการเปนวิทยากร
ดานกฎหมาย

299 291

ลกั ษณะงานท่ี ลักษณะงานดานกฎหมายในสํานักงานศาลยตุ ธิ รรม
9 การบังคับคดตี ามคําพพิ ากษาหรอื คําสงั่

10 หมายถงึ งานทีผ่ ูปฏิบัติงานตองดาํ เนนิ การเก่ียวกบั การบังคับคดกี รณสี าํ นักงานศาลยุติธรรมเปน ความ
11 การบังคับคดีตามสัญญาประกัน การสืบหาหลักทรัพย การยื่นคําขอรับชําระหนี้ในค ดีลมละลาย
12 การตรวจรบั รองบญั ชีสว นเฉล่ีย การขอขยายระยะเวลาการบังคับคดี การตรวจการลมละลาย การอุทธรณ
คําสั่งเจาพนักงานพิทักษทรัพยหรือศาลลมละลาย หรือการอื่นใดในฐานะเจาหน้ีตามคําพิพากษา
ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพง เพื่อบังคับแกนายประกันท่ีผิดสัญญาประกันตอศาล
ตามที่ไดรับมอบหมายจากผูอํานวยการซึ่งเปนเจาหน้ีตามคําพิพากษา และยังใหหมายความรวมถึง
การดาํ เนินการรวบรวมและวิเคราะหขอเท็จจริง ขอกฎหมายเกี่ยวกับการบังคับคดีตามสัญญาประกันและ
การบงั คับคดตี ามคําพพิ ากษาในคดีแรงงาน
การเตรยี มระงับขอพพิ าท

หมายถึง งานท่ีผูปฏิบัติงานตองดําเนินการศึกษาวิเคราะหขอเท็จจริง ขอกฎหมาย และรวบรวม
พยานหลักฐานตาง ๆ ที่เกี่ยวของ เพ่ือนําเสนอในกระบวนการหรือข้ันตอนระงับขอพิพาทแตละวิธี
ไมวาในฐานะผูปฏิบัติงานหรือฝายเลขานุการคณะอนุญาโตตุลาการ รวมทั้งดําเนินการไกลเกลี่ยและ
ประนอมขอ พพิ าทหรือเขา รวมเปนผไู กลเกลี่ยและประนอมขอพิพาท
การดาํ เนนิ การมาตรการทางปกครอง

หมายถึง งานที่ผูปฏิบัติงานตองดําเนินการศึกษา วิเคราะหขอเท็จจริง ขอกฎหมาย พยานหลักฐาน
ในการเสนอความเห็นเกี่ยวกับความรับผิดทางละเมิดของเจาหนาท่ีหรือบุคคลภายนอก การออกคําสั่ง
ใหชําระเงินตามพระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจาหนาท่ี การดําเนินการเกี่ยวกับ
การพิจารณาทางปกครอง การออกคําสั่งทางปกครอง มาตรการบังคับทางปกครองตามพระราชบัญญัติ
วธิ ีปฏบิ ัตริ าชการทางปกครอง
งานดานกฎหมายอื่นที่ ก.ศ. รบั รอง

เ ิงนเ ่ิพมแลกะ คลุามตท่ีอบ๔แทน ิพเศษ

300 292
ประกาศคณะกรรมการขาราชการศาลยตุ ธิ รรม เรื่อง การกําหนดเงนิ เพมิ่ สําหรบั ตาํ แหนงท่ีมเี หตพุ ิเศษ
ตาํ แหนง นติ ิกร (ฉบับที่ 2)

ขอ 21 ประกาศน้ีใหใชบ ังคบั ต้ังแตวนั ถดั จากวนั ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเปนตนไป
ขอ 4 ขาราชการศาลยุติธรรมซ่ึงลาไปชวยเหลือภริยาท่ีคลอดบุตรหรือลาไปฟนฟู
สมรรถภาพดานอาชีพตั้งแตวันที่ระเบียบคณะกรรมการบริหารศาลยุติธรรมวาดวยการลาหยุดราชการ
ของขาราชการฝายตุลาการศาลยุติธรรมและลูกจางของสํานักงานศาลยุติธรรม พ.ศ. 2556 ใชบังคับ
ใหไดรับเงินเพ่ิมสําหรับตําแหนงท่ีมีเหตุพิเศษระหวางลาไดตามท่ีกําหนดไวในขอ 9 (9) หรือ (10)
แหงประกาศคณะกรรมการขาราชการศาลยุติธรรม เร่ือง การกําหนดเงินเพ่ิมสําหรับตําแหนงท่ีมี
เหตุพิเศษตําแหนงนติ กิ ร พ.ศ. 2554 ซงึ่ แกไ ขเพม่ิ เตมิ โดยประกาศน้ี แลวแตกรณี

1 ราชกิจจานุเบกษา เลม 133/ตอนท่ี 32 ก/หนา 10/20 เมษายน 2559

301 เ ิงนเ ่ิพมแลกะ คลุามตท่ีอบ๔แทน ิพเศษ

301 293
หลกั เกณฑแ์ ละวธิ กี ำรคดั เลอื กบคุ คล
ให้ไดร้ ับเงินเพิ่มสำหรับตำแหนง่ ท่มี เี หตุพิเศษ ตำแหนง่ นิติกร (พ.ต.ก.)
(ตำมหนังสือสำนักงำนศำลยุติธรรม ที่ ศย 004/ว76 (ป) ลงวันที่ 6 กรกฎำคม 2554)

เพอื่ ให้การพิจารณาคดั เลือกบุคคลให้ไดร้ ับ พ.ต.ก. ของสานักงานศาลยุติธรรมมีข้ันตอน
ทช่ี ัดเจน โปร่งใสเป็นธรรม สามารถสง่ เสริมให้เกดิ การพัฒนาและรกั ษาผูด้ ารงตาแหนง่ นติ ิกรทม่ี คี ุณภาพ
มีความรู้ ความชานาญ และประสบการณ์สูงในงานด้านกฎหมาย ก่อให้เกิดประโยชน์ต่อส่วนราชการ
โดยรวมมากยิ่งขึ้น คณะอนุกรรมการข้าราชการศาลยุติธรรมผู้ทรงคุณวุฒิด้านกฎหมาย จึงกาหนด
หลักเกณฑ์ตัวช้ีวัด เป้าหมาย การพิจารณาคุณสมบัติ คุณลักษณะ พฤติกรรมหรือสมรรถนะของบุคคล
การประเมินความรู้ความสามารถและขั้นตอนการคัดเลือกผู้ดารงตาแหน่งนิติกรที่ขอรับเงินเพ่ิมสาหรับ
ตาแหน่งทม่ี ีเหตพุ เิ ศษ ตาแหน่งนติ ิกร (พ.ต.ก.) ดังนี้

1. กำรคดั เลือกผู้ดำรงตำแหน่งนิติกร ให้ไดร้ ับเงินเพิ่มสำหรับตำแหน่งท่ีมเี หตุพิเศษ
(พ.ต.ก.) แบง่ เปน็ 2 กรณี คอื

1.1. การคัดเลือกผู้ดารงตาแหน่งนิติกร ระดับปฏิบัติการ ระดับชานาญการ และ
ระดบั ชานาญการพิเศษ ให้ได้รบั เงนิ เพ่ิมสาหรับตาแหนง่ ท่มี เี หตพุ ิเศษ (พ.ต.ก.)

1.2. การคัดเลือกผู้ดารงตาแหน่งผู้อานวยการเฉพาะด้าน (นิติการ) ระดับต้น
ให้ได้รับเงนิ เพม่ิ สาหรบั ตาแหน่งทีม่ เี หตพุ เิ ศษ (พ.ต.ก.)

2. หลกั เกณฑ์และวิธีกำรคดั เลือกบุคคล
2.1. หลักเกณฑ์และวิธีการคัดเลือกผู้ดารงตาแหน่งนิติกร ระดับปฏิบัติการ

ระดับชานาญการ และระดบั ชานาญการพเิ ศษ ใหไ้ ด้รบั เงนิ เพมิ่ สาหรับตาแหนง่ ท่ีมีเหตุพิเศษ (พ.ต.ก.)
ใหค้ ณะอนุกรรมการข้าราชการศาลยตุ ิธรรมผทู้ รงคุณวุฒิด้านกฎหมายพิจารณาคัดเลอื ก

ผดู้ ารงตาแหนง่ นติ ิกรทม่ี ีสทิ ธิได้รบั พ.ต.ก. โดยพจิ ารณาจาก 3 สว่ น คอื
(1) คุณสมบัตขิ องบคุ คล
(2) ความรู้ความสามารถของบุคคล ผ่านการประเมินจากคณะอนุกรรมการ

ข้าราชการศาลยตุ ธิ รรมผูท้ รงคณุ วฒุ ดิ า้ นกฎหมาย
(3) คุณลักษณะและพฤติกรรมของบุคคล ผ่านการประเมินตามแนวทางท่ี

คณะอนุกรรมการขา้ ราชการศาลยตุ ธิ รรมผ้ทู รงคณุ วุฒดิ า้ นกฎหมายกาหนด

302 294
2.2.หลกั เกณฑและวิธีการคัดเลอื กผดู ํารงตาํ แหนง อํานวยการเฉพาะดาน (นิติการ)
ระดบั ตน ใหไดร บั เงินเพม่ิ สําหรบั ตาํ แหนงทีม่ เี หตุพิเศษ (พ.ต.ก.)
ใหคณะอนุกรรมการขาราชการศาลยุติธรรมผูทรงคุณวุฒิดานกฎหมายพิจารณา
คดั เลือกผูดํารงตาํ แหนง ผูอาํ นวยการเฉพาะดาน (นิติการ) ระดับตน ท่ีมีสิทธิไดรับ พ.ต.ก. โดยพิจารณา
จาก 3 สวน คอื

(1) คุณสมบัติของบคุ คล
(2) ความรูความสามารถของบุคคล ผานการประเมินจากคณะอนุกรรมการ
ขา ราชการศาลยุติธรรมผูทรงคุณวฒุ ิดา นกฎหมาย
(3) คุณลักษณะและพฤติกรรมของบุคคล ผานการประเมินตามแนวทางที่
คณะอนุกรรมการขา ราชการศาลยตุ ธิ รรมผทู รงคณุ วุฒิดา นกฎหมายกาํ หนด

303 295 เ ิงนเ ่ิพมแลกะ คลุามตท่ีอบ๔แทน ิพเศษ
หลักเกณฑและวธิ กี ารคดั เลือกผูด าํ รงตาํ แหนงนติ กิ ร ระดับปฏบิ ตั ิการ ระดบั ชาํ นาญการ

และระดบั ชํานาญการพิเศษ ใหไดรับเงินเพ่ิมสําหรบั ตาํ แหนง ที่มเี หตุพเิ ศษ (พ.ต.ก.)

1. คุณสมบัติในการดํารงตําแหนง ระยะเวลาปฏิบัติงานในตําแหนง และความ
รบั ผิดชอบการปฏิบตั ิงานตาํ แหนงของผทู ีจ่ ะไดร บั การคดั เลือก

1.1 การดํารงตาํ แหนงและระยะเวลาปฏิบตั งิ านในตาํ แหนง
1) ดํารงตําแหนงประเภทวิช าการระดับปฏิบัติการ ตําแหนงนิติกร

ซ่งึ ปฏิบตั งิ านดานกฎหมายในตาํ แหนง นิติกรไมนอ ยกวา 1 ป สาํ หรบั ผูมวี ุฒิปริญญาเอก ไมน อ ยกวา 2 ป
สาํ หรับผูมวี ุฒิปริญญาโท หรือไมน อยกวา 4 ป สําหรบั ผูมวี ฒุ ปิ รญิ ญาตรี หรอื

2) ดํารงตําแหนงนิติกรชํานาญการ ซึ่งปฏิบัติงานดานกฎหมายไมนอยกวา 2 ป
หรือ

3) ดํารงตําแหนงประเภทวิชาการระดับชํานาญการพิเศษ ตําแหนงนิติกร
ซ่งึ ปฏิบัติงานดา นกฎหมายในตําแหนง นิตกิ รไมนอ ยกวา 2 ป

4) ในกรณีท่ีผูดํารงตําแหนงนิติกร ซ่ึงไดรับเงินเพิ่มสําหรับตําแหนงที่มีเหตุ
พิเศษผูใดจะไดรับเงินเพิ่มในอัตราที่สูงขึ้นตามระดับตําแหนงได ตองปฏิบัติงานดานกฎหมายใน
สวนราชการหรือหนวยงานตามท่ีกําหนดในประกาศคณะกรรมการขาราชการศาลยุติธรรม (ก.ศ.)
ไมนอยกวา รอยละ 80 ระหวางไดรบั พ.ต.ก.

ในกรณีท่ีทางราชการมีคําส่ังใหผูดํารงตําแหนงนิติกรใดไปปฏิบัติหนาท่ีอ่ืนหรือ
ในสว นราชการหรือหนว ยงานอน่ื อันเปนเหตุใหผ นู ั้นไมอ ยูในหลกั เกณฑทีจ่ ะรบั พ.ต.ก. ตามขอกําหนดนเ้ี มอ่ื ใด
ใหงดจาย พ.ต.ก. สําหรบั ผูนั้นต้งั แตวันที่ไปปฏิบัตหิ นาทอี่ น่ื เปนตน ไป

1.2 ตองไดรับคําสั่งใหปฏิบัติหนาที่หลักในตําแหนงนิติกรตามท่ีกําหนดไวตาม
มาตรฐานกาํ หนดตําแหนง ในหนวยงานตามท่กี ําหนดไวในประกาศคณะกรรมการขาราชการศาลยตุ ธิ รรม
ไมนอ ยกวา รอยละ 80

2. หลกั เกณฑและวิธีการคัดเลือกบุคคลใหไดรับเงนิ พ.ต.ก. จําแนกเปน 2 กรณี ดงั น้ี
กรณีท่ี 1 หลักเกณฑและวิธีการคัดเลือกผูดํารงตําแหนงนิติกร ระดับปฏิบัติการ
ระดับชํานาญการ ระดับชํานาญการพิเศษ ใหไดรับเงินเพ่ิมสําหรับตําแหนงท่ีมีเหตุพิเศษ (พ.ต.ก.)
กรณีใหไ ดร บั พ.ต.ก. ครง้ั แรก

1. ผูข อรบั การคดั เลือก
เปนผูด ํารงตาํ แหนงนติ ิกรปฏิบตั กิ าร นติ ิกรชํานาญการ และนติ กิ รชาํ นาญการพเิ ศษ

2. การพจิ ารณาคดั เลือก
การคัดเลือกผูดํารงตําแหนงนิติกรใหไดรับ พ.ต.ก. พิจารณาจาก 2 สวน คือ

การตรวจคุณสมบตั ิของบคุ คล และการประเมนิ ความรคู วามสามารถ คุณลักษณะ และพฤติกรรมของบุคคล

304 296

ก) การตรวจสอบคุณสมบัติของบุคคล ใหพิจารณาตรวจสอบคุณสมบัติของ
ผูดํารงตําแ หนงนิติกรผูขอรับการคัดเลือกใหสอดคลองกับคุณสมบัติของผูมีสิทธิไดรับ พ.ต.ก.
ตามท่ีกําหนดในประกาศ ก.ศ. เร่ือง การกําหนดเงินเพิ่มสําหรับตําแหนงที่มีเหตุพิเศษ ตําแหนงนิติกร
พ.ศ. 2554 โดยพจิ ารณา 3 สวน คือ

1) การไดรับประกาศนียบัตรการอบรมหลักสูตรการพัฒนานักกฎหมาย
ภาครัฐหรอื หลักสูตรอ่นื ท่เี ทียบเทา ซึง่ ก.ศ. กําหนดหรอื รับรอง

1.1) หลักสูตรการพัฒนานักกฎหมายภาครัฐ
ผูดํารงตําแหนงนิติกรท่ีขอรับการคัดเลือกจะตองไดรับประกาศนียบัตร
การอบรมหลกั สูตรการพฒั นานกั กฎหมายภาครฐั ซ่ึงจัดโดยสาํ นักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า ดงั นี้

(1) ผูดํารงตําแหนงนิติกรปฏิบัติการ ตองไดรับประกาศนียบัตร
การอบรบหลกั สตู รการพัฒนานกั กฎหมายภาครฐั ระดบั ตน

(2) ผูดํารงตําแหนงนิติกรชํานาญการ ตองไดรับประกาศนียบัตร
การอบรมหลักสตู รการพฒั นานักกฎหมายภาครัฐ ระดับตน หรือระดบั กลาง

(3) ผูดํารงตําแหนง นิตกิ รชํานาญการพเิ ศษ ตองไดรับประกาศนียบัตร
การอบรมหลักสูตรการพัฒนานกั กฎหมายภาครฐั ระดบั กลาง

ทั้งนี้ จนกวาสํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาจะปรับปรุงโครงสราง
หลักสตู รการพัฒนานกั กฎหมายภาครัฐใหสอดคลองกับโครงสรางการจาย พ.ต.ก. ตามประกาศ ก.ศ. เร่ือง
การกาํ หนดเงนิ เพ่ิมสําหรับตาํ แหนงทีม่ เี หตพุ ิเศษ ตําแหนงนติ กิ ร พ.ศ. 2554

2) ระยะเวลาปฏบิ ัติงานดานกฎหมาย
2.1) พิจารณาจากระยะเวลาการดํารงตําแหนงนิติกรและไดรับมอบหมาย

ใหปฏิบัติงานดานกฎหมายในหนวยงานท่ีกําหนดตามประกาศ ก.ศ. เร่ือง การกําหนดเงินเพิ่มสําหรับ
ตาํ แหนง ทีม่ เี หตุพเิ ศษ ตาํ แหนง นติ ิกร

2.2) ใหนับรวมระยะเวลาการดํารงตําแหนงนิติกร ซ่ึงไดรับมอบหมายให
ปฏบิ ัตงิ านดา นกฎหมายซึ่งมีลักษณะงานตามทก่ี ําหนดในมาตรฐานกาํ หนดตาํ แหนง ในสํานักงานศาลยุตธิ รรม

2.3) ผูขอรับการคัดเลือกจะตองไดรับคําสั่งใหปฏิบัติงานดานกฎหมาย
ในหนวยงานที่กําหนดตามประกาศคณะกรรมการขาราชการศาลยุติธรรม เร่ือง การกําหนดเงินเพ่ิม
ตาํ แหนงท่มี ีเหตพุ เิ ศษ ตาํ แหนงนติ ิกร ดงั น้ี

ตําแหนง และระดบั ระยะเวลาปฏบิ ตั งิ านดานกฎหมาย
นิติกรปฏบิ ตั กิ าร
- ปริญญาตรสี าขานติ ิศาสตร ไมน อยกวา 4 ป
- ปริญญาโทสาขานติ ิศาสตร ไมนอ ยกวา 2 ป
- ปริญญาเอกสาขานติ ศิ าสตร ไมน อ ยกวา 1 ป
นติ กิ รชํานาญการ ไมนอ ยกวา 2 ป
นิตกิ รชํานาญการพิเศษ

305 297 เ ิงนเ ่ิพมแลกะ คลุามตท่ีอบ๔แทน ิพเศษ
ท้ังนี้ หากผูเขารับการคัดเลือกไดรับคําสั่งมอบหมายใหปฏิบัติราชการใน
หนวยงานอื่นซ่ึงมิใชหนวยงานที่กําหนดตามประกาศ ก.ศ. เร่ือง การกําหนดเงินเพิ่มสําหรับตําแหนง
ท่ีมีเหตุพิเศษ ตําแหนงนิติกร หรือไดรับคําส่ังมอบหมายใหปฏิบัติงานอื่นซ่ึงมิใชงานดานกฎหมาย
ตามท่กี าํ หนดในมาตรฐานกาํ หนดตําแหนง ไมใ หน บั รวมระยะเวลาการปฏบิ ัติงานในชว งนน้ั
3) สัดสว นการปฏบิ ัตงิ านดานกฎหมาย

3.1) สัดสวนการปฏิบัติงานดานกฎหมายใหพิจารณาระยะเวลาที่ใชใน
การปฏิบัตงิ านดานกฎหมายอยา งใดอยางหน่งึ หรอื หลายอยา งในลักษณะงานท่ีกําหนดตามประกาศ ก.ศ.
เร่ือง การกําหนดเงินเพ่ิมสําหรับตําแหนงที่มีเหตุพิเศษ ตําแหนงนิติกร เปนงานที่ไดรับมอบหมาย
ใหปฏิบัติจรงิ ในระหวา งทด่ี ํารงตําแหนงนติ กิ ร ซึ่งลักษณะงานดังกลาวอาจเปนงานท่ีปรากฏในคํารับรอง
การปฏิบัติราชการหรือแผนปฏิบัติราชการประจําป เปนงานตามหนาที่ความรับผิดชอบหลักของ
หนวยงานหรอื เปน งานท่ีไดร ับมอบหมายเปน พิเศษ โดยระยะเวลาการปฏบิ ัตงิ านที่จะนํามาเปน มาตรฐาน
ในการคาํ นวณนั้นตองเปนระยะเวลาทีใ่ ชใ นการปฏิบัตงิ าน ดงั น้ี

เปนงานดานกฎหมายของสํานักงานศาลยุติธรรมซึ่งมีลักษณะงานอยางใด
อยา งหนงึ่ หรือหลายอยา งใน 12 ลักษณะงาน ดงั นี้

ลักษณะงานท่ี 1: การตรวจและยกรางกฎหมาย
ลักษณะงานท่ี 2: การพัฒนาและวจิ ยั กฎหมาย
ลกั ษณะงานที่ 3: การใหคําปรกึ ษาและความเหน็ ทางกฎหมาย
ลักษณะงานท่ี 4: การรา งสัญญาและการบรหิ ารสญั ญา
ลักษณะงานท่ี 5: การดําเนนิ การทางวินัย
ลกั ษณะงานที่ 6: การดาํ เนนิ คดีอาญา คดแี พง คดใี นศาลปกครอง

คดใี นศาลรัฐธรรมนูญ หรือคดีอ่นื
ลกั ษณะงานท่ี 7: การพจิ ารณาและตรวจสอบคาํ อุทธรณห รือคําโตแยง
ลักษณะงานที่ 8: การเผยแพรค วามรทู างดา นกฎหมาย
ลักษณะงานที่ 9: การบงั คับคดตี ามคําพิพากษาหรอื คําส่ัง
ลักษณะงานท่ี 10: การเตรยี มการระงบั ขอ พพิ าท
ลักษณะงานท่ี 11: การดําเนนิ การมาตรการทางปกครอง
ลกั ษณะงานท่ี 12: งานดานกฎหมายอ่ืนที่ ก.ศ. รบั รอง
3.2) ผูขอรับการคัดเลือกจะตองมีระยะเวลาที่ใชปฏิบัติงานหลัก
ดานกฎหมายตามที่กําหนดในมาตรฐานกําหนดตําแหนงไมนอยกวารอยละ 80 ของระยะเวลาทั้งหมด
ทใ่ี ชใ นการปฏบิ ตั งิ าน

306 298
ข) การประเมินความรูความสามารถ คุณลักษณะ และพฤติกรรมของผูรับการ
คดั เลือกวา เปนนิติกรที่มีคุณภาพ ความสามารถ ทักษะ และพฤติกรรมที่เหมาะสมในการปฏิบัติงานโดย
แยกการพจิ ารณาออกเปน 2 สว น ดังนี้

1) การประเมนิ ความรู ความสามารถของบุคคล มแี นวทางการพจิ ารณา ดงั นี้
1.1) ใหผ ูขอรบั การคดั เลอื กจัดทําผลงาน/ผลสําเร็จของงานดานกฎหมาย

กฎหมายดีเดนหรือขอเสนอการปรับปรุง/พัฒนางานดานกฎหมาย พรอมท้ังเสนอความคิดเห็น
ในการปรบั ปรุง/พฒั นางานดงั กลาวใหดีขึ้น จาํ นวน 1 เรือ่ ง ความยาวของผลงานไมต่ํากวา 3 หนากระดาษ
แตไมเกนิ 5 หนากระดาษ

1.1.1) เปนผลงานหรือผลสําเร็จของงานดานกฎหมายท่ีจัดทําขึ้น
ระหวา งท่ีดํารงตําแหนงนติ ิกร และไดรับมอบหมายใหป ฏิบตั ิงานในหนว ยงานที่กาํ หนดตามประกาศ ก.ศ.
เรอื่ ง การกําหนดเงนิ เพ่ิมสําหรับตาํ แหนง ท่มี เี หตพุ ิเศษ ตาํ แหนง นติ ิกร โดยไมจ ําเปน ตองจัดทําผลงานขึ้นใหม
เพ่ือใชใ นการประเมินโดยเฉพาะ หรือเปนขอเสนอการปรับปรุงหรือพัฒนาระบบงานหรืองานดานกฎหมาย
ของหนวยงานท่ีไดจัดทําข้ึนภายหลังจากผานการอบรมหลักสูตรการพัฒนานักกฎหมายภาครัฐ หรือ
หลักสตู รอื่นท่ีเทียบเทา ซ่ึง ก.ศ. กําหนดหรือรับรองและไดม ีการนําไปปฏิบตั ิจริงแลว

1.1.2) ไมใชผลง านวิจัยหรือวิทยานิพนธท่ีเปนสวนหน่ึง ของ
การศกึ ษาเพ่ือขอรบั ปริญญาหรือประกาศนยี บตั ร หรอื เปน สว นหนึง่ ของการฝกอบรม

1.1.3) กรณีทเี่ ปน ผลงานรว มกนั ของบคุ คลหลายคน จะตองแสดงให
เห็นวาผูขอรับการคัดเลือกไดมีสวนรวมในการจัดทําผลง านในสวนใด หรือเปนสัดสวนเทาใด
และมีคํารับรองจากผูมสี ว นรวมในผลงานนน้ั และจากผูบ งั คบั บัญชา

1.1.4) ผลงานท่ีไดนําเสนอเพ่ือประเมินสําหรับเล่ือนขึ้นแตงต้ัง
ใหดํารงตําแหนงที่สูงข้ึนแลวจะนํามาเสนอขอใหพิจารณาคัดเลือกใหไดรับเงินเพ่ิมสําหรับตําแหนง
ท่มี ีเหตพุ เิ ศษอีกไมได

1.1.5) ผลงานหรือขอเสนอปรับปรุง/พัฒนางานท่ีนําเสนอดังกลาว
ตองแสดงใหเห็นถึงระดับความรู ความสามารถทางกฎหมาย ทักษะในการปรับใชและการตีความ
กฎหมาย และสมรรถนะทีจ่ าํ เปนในการปฏบิ ัติงานอยางชดั เจน

1.2) ใหพิจารณาจากระดับความรูความเขาใจ รวมไปถึง ทักษะ
ความชํานาญและประสบการณในการรางกฎหมาย การปรับใชกฎหมาย และตีความกฎหมาย
ของผูขอรับการคัดเลือกอันจะเปนประโยชนตอการปฏิบัติงานใหบรรลุผลสําเร็จตามที่ไดรับมอบหมาย
โดยมีระดับความยากท่ีแตกตางกันในแตละระดับตําแหนงตามท่ีระบุไวในมาตรฐานกําหนดตําแหนง
สายงานนิตกิ าร โดยอาจจาํ แนกเกณฑก ารพจิ ารณาออกเปน 2 กรณี ดงั นี้

307 299

กรณีที่ 1 นําเสนอ “ผลงานหรือผลสาํ เรจ็ ของงานดานกฎหมาย มีเกณฑการพิจารณา” ดงั นี้

เกณฑก ารใหค ะแนน คําอธบิ าย
ผาน ผลงานดานกฎหมายทนี่ าํ เสนอ มลี ักษณะดังน้ี
- เปน ผลงานที่มีคณุ ภาพดเี ดน และความยุงยากของงานสงู และ
- เปน ผลงานท่ีสามารถสะทอนใหเห็นถึงระดับความรู ความเขาใจ ทักษะ
ความชํานาญและประสบการณในการรางกฎหมาย การปรับใชกฎหมาย
และการตีความกฎหมายที่สูงกวาระดับมาตรฐานของแตละตําแหนง
ตามทก่ี ําหนดในมาตรฐานกาํ หนดตําแหนง และ
- เ ป น ผ ล ง า น ที่ มี ก า ร นํ า ไ ป ป ฏิ บั ติ จ ริ ง แ ล ะ ป ร ะ ส บ ผ ล สํ า เ ร็ จ
อยางมีประสิทธิภาพตามเปาหมายท่ีกําหนดและกอใหเกิดประโยชน
ทางราชการ

ไมผ าน ผลงานดา นกฎหมายที่นาํ เสนอ มีลกั ษณะดงั นี้ เ ิงนเ ่ิพมแลกะ คลุามตท่ีอบ๔แทน ิพเศษ
- ผลงานที่นําเสนอเปน ผลงานที่มคี ณุ ภาพและความยงุ ยากระดับ
ปานกลางตามมาตรฐานที่กําหนด และ/หรอื
- ไมสะทอนใหเห็นถึงระดับความรู ความเขาใจ ทักษะ ความชํานาญและ
ประสบการณในการรางกฎหมาย การปรับใชกฎหมายและการตีความ
กฎหมายที่สูงกวาระดับมาตรฐานของแตละระดับตําแหนงตามท่ีกําหนด
ในมาตรฐานกาํ หนดตําแหนง และ/หรือ
- เปนผลงานที่ไมประสบผลสําเร็จจริงตามเปาหมายที่กําหนดหรือ
ไมกอใหเ กดิ ประโยชนต อทางราชการ

สําหรับการนําเสนอผลงานท่ีมีความตอเน่ืองหรือคาบเกี่ยวกัน อาทิ ผลงานเริ่มตน
ดําเนินการในขณะดํารงตําแหนงนิติกรปฏิบัติการ ซึ่งแลวเสร็จในชวงท่ีดํารงตําแหนงนิติกรชํานาญการ
หรือผลงานเร่ิมตนในขณะดํารงตําแหนงนิติกรชํานาญการ ซ่ึงแลวเสร็จในชวงที่ดํารงตําแหนงนิติกร
ชํานาญการพิเศษ ผลงานที่ผานการพิจารณาจะตองเปนผลงานที่มีคุณภาพ มีความยุงยากของงานสูง
และเปนผลงานที่ไดนําไปปฏิบัติจริง โดยตองแสดงใหเห็นถึงความรู ทักษะ ความชํานาญและ
ประสบการณใ นงานท่ีสงู กวาระดับมาตรฐานของระดบั ตาํ แหนง ทข่ี อรบั พ.ต.ก.

308 300

กรณที ่ี 2 นาํ เสนอ “ขอเสนอการปรับปรุงหรอื พัฒนาระบบงานหรืองานดา นกฎหมายของสวนราชการ”
มีแนวทางการพิจารณา ดงั นี้

เกณฑการใหค ะแนน คาํ อธบิ าย
ผา น ขอเสนอการปรับปรุงหรือพัฒนาระบบงานดานกฎหมายท่ีนําเสนอ
มลี กั ษณะ ดังน้ี
- เปนขอเสนอที่เกิดจากการนําความรูที่ไดจากการอบรมหลักสูตร
การพัฒนานกั กฎหมายภาครัฐหรอื หลักสตู รอนื่ ทีเ่ ทียบเทาท่ี ก.ศ. กําหนด
หรือรบั รองมาประยุกตใ ชแ ละนาํ ไปปฏบิ ตั จิ รงิ และ
- เปนขอเสนอท่ีสงผลใหเกิดการปรับปรุงหรือพัฒนางานหรือระบบงาน
ดานกฎหมายของสวนราชการ เชน รางกฎหมายหรือรางกฎขอบังคับ
ที่อยูในความรับผิดชอบผานความเห็นชอบของคณะกรรมการบริหาร
ศาลยตุ ธิ รรม (ก.บ.ศ.) หรอื คณะรฐั มนตรีแลว เปนตน

ไมผ าน ขอเสนอการปรับปรุงหรือพัฒนาระบบงานหรืองานดานกฎหมาย
ทน่ี ําเสนอมลี ักษณะ ดงั นี้
- ไมไดเปนขอเสนอท่ีเกิดจากการนําเสนอความรูที่ไดรับจากการอบรม
หลักสูตรการพัฒนานักกฎหมายภาครัฐหรือหลักสูตรอ่ืนที่เทียบเทา ก.ศ.
กําหนดหรือรับรองมาประยุกตใช และ/หรือ
- เปนขอเสนอท่ีไมไดมีการนําไปปฏิบัติจริง และ/หรือไมกอใหเกิด
การพัฒนางานหรือระบบงานดานกฎหมายของสวนราชการ

1.3)1 ในการพิจารณาประเมินความรูความสามารถของบุคคล
คณะอนุกรรมการขาราชการศาลยุติธรรมผูทรงคุณวุฒิดานกฎหมายอาจมีมติใหผูขอรับการคัดเลือก
ปรับปรุงผลงานหรือจัดสงรายละเอียดเพ่ิมเติมเพื่อประกอบการพิจารณาไดไมเกิน 2 คร้ัง
หากยังไมครบถวนสมบูรณใหถือวาเปนผลงานท่ี “ไมผาน”ในกรณีท่ีคณะอนุกรรมการฯ มีมติใหปรับปรุง
ผลงานของผูข อรับการคดั เลือกรายใดโดยใหนาํ ผลงานกลับไปปรบั ปรุงใหมห รือจดั สงรายละเอียดเพิม่ เตมิ
จะตองดําเนินการใหแลวเสร็จ แลวสงผลงานท่ีปรับปรุงแลวหรือจัดสงรายละเอียดเพิ่มเติม
ใหคณะอนุกรรมการฯ พิจารณาภายใน 1 เดือน นับจากวันที่ไดรับแจงจากคณะอนุกรรมการฯ
เปน ลายลกั ษณอ กั ษร

1.4) ผูท่ีผานการประเมินจะตองไดรับการพิจารณาให “ผาน”
การประเมินความรู ความสามารถของบคุ คล

1 การพจิ ารณาคดั เลือก กรณี 1 สว น ข) 1.3) แกไขเพิม่ เตมิ โดย มติที่ประชุมคณะกรรมการขา ราชการศาล
ยุตธิ รรม ในการประชมุ ครง้ั ท่ี 2/2561 (หนงั สือสํานกั งานศาลยุตธิ รรม ท่ี ศย 004/ว 22 (ป))

309 301 เ ิงนเ ่ิพมแลกะ คลุามตท่ีอบ๔แทน ิพเศษ
2) การประเมินคุณลักษณะและพฤติกรรมที่ใชในการประเมิน มีแนวทาง
การพิจารณา ดังนี้

2.1) คณุ ลกั ษณะและพฤตกิ รรมของบคุ คล (100 คะแนน) ประเมินจาก
(1) สมรรถนะหลกั 5 สมรรถนะ
- การมุง ผลสัมฤทธ์ิ
- จติ สํานกึ ในการใหบ รกิ าร
- การสั่งสมความเชีย่ วชาญในงานอาชพี
- จริยธรรม
- การทาํ งานเปน ทีม
(2) สมรรถนะในงาน 3 สมรรถนะ (นติ ิกรศาล)
- ความเขา ใจผอู ืน่
- ความเขาใจองคก รและระบบงานราชการ
- ความถูกตองของงาน
หรือ สมรรถนะในงาน 3 สมรรถนะ (นติ ิกรสวนกลาง)
- การคดิ วเิ คราะห
- การมองภาพองครวม
- ความถูกตอ งของงาน

2.2) ใหผ ูบงั คบั บญั ชาท่ีควบคุมดูแลการปฏิบัติงานของผูขอรับการคัดเลือก
โดยตรงและผูบังคับบัญชาในระดับเหนือขึ้นไปอีก 1 (ถามี) พิจารณาประเมินคุณลักษณะและ
พฤติกรรมของบุคคล โดยเปรียบเทียบกับสมรรถนะท่ีคาดหวังสําหรับการปฏิบัติงานดานกฎหมายของ
ผูดํารงตําแหนงนิติกรแตละตําแหนงซึ่งไดกําหนดไวในมาตรฐานกําหนดตําแหนง และใหหัวหนา
หนวยงานการเจาหนาท่ีตรวจสอบการพิจารณาประเมินใหเปนตามแบบประเมินสมรรถนะ
ทค่ี ณะอนุกรรมการขา ราชการศาลยุตธิ รรมผทู รงคณุ วุฒิดา นกฎหมายกําหนด (แบบ พ.ต.ก. 1-3)

2.3) ผูขอรับการคัดเลือกท่ีผานการประเมินคุณลักษณะและพฤติกรรม
ของบคุ คลจะตองไดคะแนนตงั้ แตรอยละ 70 ขึ้นไป

3. เกณฑการคัดเลือก
การตัดสนิ วาผูขอรบั การคดั เลือกผูใดผานการคดั เลอื กและเปน ผูมีสิทธิไดรับ พ.ต.ก.
จะตองเปนผูผานการพิจารณาคุณสมบัติของผูดํารงตําแหนงนิติกร ตาม ขอ 2 ก) และตองเปน
ผผู านการประเมนิ ความรูความสามารถของบุคคลและการประเมนิ คุณลักษณะและพฤติกรรมของบุคคล
ตาม ขอ 2 ข) ตามเกณฑท กี่ าํ หนดทั้ง 2 สว น
4. แบบการพิจารณา
แบบพจิ ารณาคดั เลอื กผูดาํ รงตําแหนง นติ กิ รใหไดรบั พ.ต.ก. ประกอบดวย 3 แบบ ดังนี้
4.1 แบบ พ.ต.ก. 1-1 : แบบสรุปคุณสมบัติและผลงานของผูดํารงตําแหนงนิติกร
สําหรบั การพิจารณากาํ หนดเงนิ เพิ่มสาํ หรบั ตาํ แหนงทีม่ ีเหตพุ ิเศษ ตาํ แหนง นิตกิ ร เปนแบบฟอรมสําหรับ
ผดู ํารงตําแหนง นิติกร ประเภทวิชาการใชแสดงขอมูลท่ีเกี่ยวของเพื่อใชประกอบการพิจารณาคุณสมบัติ
ของบคุ คลเพื่อขอรับ พ.ต.ก. ประกอบดว ย 4 สวน ดังนี้

310 302
- สว นที่ 1 ขอมลู ทัว่ ไป (ขอ มลู สวนบุคคล ประวัติการศึกษา ประวัติการรับราชการ
ประวัตกิ ารฝกอบรมดงู าน การไดร บั คาํ สั่งมอบหมายใหไ ปปฏิบัติงานอนื่ )
- สวนที่ 2 ประวัติการปฏิบัติงาน (หนาที่ความรับผิดชอบของตําแหนงในปจจุบัน
และสรุปการปฏบิ ตั งิ านดา นกฎหมาย)
- สวนที่ 3 ผลงานดีเดนและขอ เสนอการพัฒนางาน (สําหรบั การขอรบั พ.ต.ก.
ครัง้ แรก)
- สว นท่ี 4 ความเห็นของผูบ งั คบั บัญชาเหนอื ขนึ้ ไป
4.2 แบบ พ.ต.ก. 1-2 : แบบการพิจารณาคัดเลือกบุคคลใหไดรับเงินเพ่ิมสําหรับ
ตําแหนงที่มีเหตุพิเศษ ตําแหนงนิติกร เปนแบบฟอรมที่ใชเปนแนวทางในการพิจารณาคุณสมบัติและ
สรุปผลการประเมินความรูและความสามารถของผูดํารงตําแหนงนิติกรท่ีขอรับ พ.ต.ก. ประกอบดวย
2 สว น ดงั น้ี
- สวนท่ี 1 การพจิ ารณาคณุ สมบตั ขิ องบคุ คล
- สวนท่ี 2 สรปุ ผลการประเมินความรแู ละความสามารถของบุคคล
4.3 แบบ พ.ต.ก. 1-3 : แบบการพิจารณาคัดเลือกบุคคลใหไดรับเงินเพ่ิมสําหรับ
ตําแหนงท่ีมีเหตุพิเศษ ตําแหนงนิติกร เปนแบบฟอรมที่ใชประเมินคุณลักษณะและพฤติกรรม (สมรรถนะ)
ของผดู ํารงตาํ แหนงนิติกรท่ขี อรบั พ.ต.ก. ประกอบดวย 4 สว น ดงั น้ี
- สวนที่ 1 ขอ มลู ของผขู อรบั การคัดเลือก
- สว นท่ี 2 คาํ ชแี้ จงในการประเมิน
- สวนที่ 3 การประเมนิ สมรรถนะ
- สวนท่ี 4 สรปุ ผลการประเมินคุณลักษณะและพฤตกิ รรม (สมรรถนะ)
กรณีท่ี 2 หลักเกณฑและวิธีกา รคัดเลือกผูดํา รงตํา แหนงนิติกรใหไดรับ พ.ต.ก.
ในอตั ราทส่ี ูงขึ้นตามระดบั ตาํ แหนง (กรณีใหไดร บั พ.ต.ก. ในอัตราทส่ี งู ขน้ึ )
การคัดเลือกผูดํา รงตํา แหนงนิติกรซึ่งไดรับ พ.ต.ก. อยูเดิมและไดรับการแตงต้ัง
ใหดํา รงตํา แหนงในระดับท่ีสูงข้ึน และจะขอรับ พ.ต.ก. ในอัตรา ที่สูงข้ึนตา มระดับตํา แหนง
ใหด าํ เนนิ การตามหลักเกณฑและวิธกี ารดงั ตอไปนี้
1. ผขู อรับการคัดเลอื ก
ไดแกผูดํารงตําแหนงนิติกรซ่ึงไดรับ พ.ต.ก. สําหรับตําแหนงปฏิบัติการหรือ
ระดับชาํ นาญการอยเู ดิมและไดรบั การแตงตั้งใหดํารงตาํ แหนง ในระดับทสี่ งู ขน้ึ แลว และจะขอรับ พ.ต.ก.
ในอัตราทสี่ งู ขึน้ ตามระดบั ตาํ แหนง ดังกลา ว
2. การพจิ ารณาคัดเลือก
พิจารณาตรวจสอบคุณสมบัติของผูขอรับการคัดเลือกวาสอดคลองกับคุณสมบัติ
ของผูมีสิทธิไดรับ พ.ต.ก. ในอัตราท่ีสูงขึ้น ตามที่กําหนดไวในประกาศ ก.ศ. เร่ือง การกําหนด
เงินเพิ่มพิเศษสําหรับตําแหนงท่ีมีเหตุพิเศษ ตําแหนงนิติกร พ.ศ. 2554 หรือไม โดยพิจารณาจาก
3 สวน คอื

311 303 เ ิงนเ ่ิพมแลกะ คลุามตท่ีอบ๔แทน ิพเศษ
1) การไดร บั ประกาศนยี บตั รการอบรมหลักสูตรนักกฎหมายภาครัฐหรือหลักสูตร
อน่ื ท่ีเทยี บเทา ซงึ่ ก.ศ. กาํ หนดหรือรบั รอง

1.1) หลกั สูตรการพัฒนานกั กฎหมายภาครัฐ
ผูดํารงตําแหนงนิติกรซ่ึงไดรับ พ.ต.ก. อยูเดิมและจะขอรับ พ.ต.ก.

ในอัตราท่สี ูงข้ึนจะตอ งไดรบั ประกาศนียบตั รการอบรมหลกั สตู รการพัฒนานกั กฎหมายภาครฐั ซ่ึงจัดโดย
สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎีกา ดังน้ี

- ผูดํารงตําแหนงนิติกรซ่ึงไดรับ พ.ต.ก. สําหรับตําแหนงนิติกร
ปฏิบัติการและไดรับแตงตั้งใหดํารงตําแหนงนิติกรชํานาญการแลว จะขอรับ พ.ต.ก. สําหรับตําแหนง
ชาํ นาญการไดตองไดร บั ประกาศนียบัตรการอบรมหลกั สตู รการพฒั นากฎหมายภาครัฐระดบั กลาง

- ผดู าํ รงตาํ แหนง นติ กิ รซง่ึ ไดรับ พ.ต.ก. สําหรับตําแหนงชํานาญการ
และไดรับแตงตั้งใหดํารงตําแหนงนิติกรชํานาญการพิเศษแลว จะขอรับ พ.ต.ก. สําหรับตําแหนง
ชาํ นาญการพิเศษตอ งไดรบั ประกาศนยี บตั รการอบรมหลักสตู รการพัฒนากฎหมายภาครฐั ระดับกลาง

ท้ังน้ี จนกวาสํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาจะปรับปรุงโครงสราง
หลักสูตรการพัฒนากฎหมายภาครัฐใหสอดคลองกับโครงสรางการจาย พ.ต.ก. ตามประกาศ ก.ศ.
เร่ือง การกาํ หนดเงินเพม่ิ สําหรับตาํ แหนงทม่ี เี หตุพิเศษ ตาํ แหนง นิตกิ ร พ.ศ. 2554

1.2) หลักสูตรอ่ืนท่ีเทียบเทาซ่ึง ก.ศ. กําหนดหรือรับรองเชนเดียวกับ
แนวทางขา งตน

2) ระยะเวลาการปฏิบัตงิ านดานกฎหมาย
พิจารณาจากระยะเวลาการดํารงตําแหนงนิติกรและไดรับมอบหมายให
ปฏิบัติงานดานกฎหมายในหนวยงานท่ีกําหนดตามประกาศ ก.ศ. เร่ือง การกําหนดเงินเพ่ิมสําหรับตําแหนง
ท่มี เี หตุพิเศษ ตาํ แหนงนติ กิ ร ไมน อยกวา 2 ป
3) สดั สวนการปฏิบตั งิ านดานกฎหมาย
พิจารณาจากระยะเวลาที่ใชในการปฏิบัติงานดานกฎหมายระหวางท่ีผูขอรับ
การคัดเลือกดํารงตําแหนงนิติกรและไดรับมอบหมายใหปฏิบัติงานดานกฎหมายในหนวยงานท่ีกําหนด
ในประกาศ ก.ศ. เร่ือง การกําหนดเงินเพ่ิมสําหรับตําแหนงท่ีมีเหตุพิเศษ ตําแหนงนิติกร ไมนอยกวารอยละ
80 ในระหวา งทีไ่ ดรับ พ.ต.ก. ในอตั ราเดมิ กอ นเล่อื นตาํ แหนง
ทั้งนี้ ใหนําแนวทางและเกณฑการพิจารณาตรวจสอบคุณสมบัติบุคคล
เพือ่ คัดเลอื กผูด าํ รงตาํ แหนง นิติกรใหไดร บั พ.ต.ก. ตามกรณที ่ี 1 มาใชโ ดยอนุโลม
3. เกณฑก ารคัดเลอื ก
การตดั สินวา ผดู าํ รงตําแหนง นิติกรผูใดผา นการคัดเลอื กและมีสิทธไิ ดร บั พ.ต.ก.
ในอัตราทสี่ ูงข้ึนตามระดับตาํ แหนง ใหถ ือเกณฑวา ตองเปน ผูผานการพจิ ารณาคณุ สมบัตติ ามขอ 2
4. แบบการพิจารณา
แบบการพิจารณาคัดเลือกผูดํารงตําแหนงนิติกรใหไดรับ พ.ต.ก. ในอัตรา
ทส่ี งู ขึ้นตามระดบั ตาํ แหนง ประกอบดวย 3 แบบ ดงั น้ี

312

312 304
1) พ.ต.ก. 1-1 : แบบสรุปคุณสมบัติและผลงานของผู้ดารงตาแหน่ง
นิตกิ รสาหรับการพิจารณากาหนดเงินเพ่ิมสาหรับตาแหน่งที่มีเหตุพิเศษ ตาแหน่งนิติกร เป็นแบบฟอร์ม
สาหรับผู้ดารงตาแหน่งนิติกรใช้แสดงข้อมูลท่ีเกี่ยวขอ้ งเพ่ือใช้ประกอบการพิจารณาคณุ สมบัตขิ องบุคคล
เพอ่ื ขอรบั พ.ต.ก. ในอตั ราทีส่ ูงขน้ึ ตามระดับตาแหน่ง ประกอบด้วย 3 สว่ น ดังน้ี

ส่วนท่ี 1 ข้อมูลท่ัวไป (ข้อมูลส่วนบุคคล ประวัติการศึกษา ประวัติ
การรับราชการ ประวตั กิ ารฝกึ อบรมดงู าน การไดร้ บั คาสัง่ มอบหมายใหไ้ ปปฏิบัตงิ านอ่ืน ประวตั ิการไดร้ บั
เงนิ เพ่ิมสาหรับตาแหนง่ ที่มเี หตุพิเศษ ตาแหน่งนิติกร)

สว่ นที่ 2 ประวตั กิ ารปฏบิ ัตงิ าน (หนา้ ท่คี วามรับผดิ ชอบของตาแหน่ง
ในปัจจุบันและสรุปผลการปฏบิ ตั งิ านด้านกฎหมาย)

สว่ นที่ 3 ความเห็นของผ้บู งั คบั บัญชาเหนือข้นึ ไป
2) แบบ พ.ต.ก. 1-2 : แบบการพิจารณาคัดเลือกบุคคลให้ได้รับเงินเพ่ิม
สาหรับตาแหน่งท่ีมีเหตุพิเศษ ตาแหน่งนิติกร เป็นแบบฟอร์มท่ีส่วนราชการใช้เป็นแนวทาง
ในการพิจารณาคุณสมบัติเบ้ืองต้นของผู้ดารงตาแหน่งนิติกรท่ีขอรับ พ.ต.ก. ในอัตราท่ีสู งข้ึน
ตามระดบั ตาแหนง่ ประกอบด้วย 2 สว่ น ดงั น้ี

สว่ นที่ 1 การพจิ ารณาคุณสมบัติของบคุ คล
สว่ นท่ี 2 สรปุ ผลการประเมนิ ความรู้และความสามารถ
3) แบบ พ.ต.ก. 1-3 : แบบการพิจารณาคัดเลือกบุคคลให้ได้รับเงินเพิ่ม
สาหรับตาแหน่งที่มีเหตุพิเศษ ตาแหน่งนิติกร เป็นแบบฟอร์มที่ใช้ประเมินคุณลักษณะและพฤติกรรม
(สมรรถนะ) ของผู้ดารงตาแหนง่ นิตกิ ร ทข่ี อรบั พ.ต.ก. ประกอบดว้ ย 4 ส่วน ดังนี้
ส่วนท่ี 1 ขอ้ มูลของผขู้ อรบั การคดั เลือก
สว่ นท่ี 2 คาชแี้ จงในการประเมิน
สว่ นที่ 3 การประเมนิ สมรรถนะ
ส่วนที่ 4 สรุปผลการประเมนิ คณุ ลักษณะและพฤติกรรม (สมรรถนะ)

313 305 เ ิงนเ ่ิพมแลกะ คลุามตท่ีอบ๔แทน ิพเศษ
หลักเกณฑแ ละวิธกี ารคดั เลอื กผูดํารงตาํ แหนง ผอู าํ นวยการเฉพาะดา น (นติ กิ าร) ระดับตน

ใหไ ดร บั เงนิ เพิ่มสาํ หรบั ตาํ แหนงทมี่ ีเหตุพิเศษ (พ.ต.ก.)

สวนที่ 1 : คุณสมบัตขิ องบคุ คล
ผดู ํารงตาํ แหนงผอู ํานวยการเฉพาะดา น (นติ ิการ) ระดบั ตน ท่ีขอรับการคัดเลอื กใหไดรับ
พ.ต.ก. ตอ งมีคณุ สมบตั ขิ องบุคคลครบถวนตามหลกั เกณฑทีก่ าํ หนด ดังน้ี

1.1 การไดรับประกาศนียบัตรการอบรมหลักสูตรการพัฒนานักกฎหมายภาครัฐ
หรือหลักสตู รอน่ื ที่เทยี บเทาซึ่ง ก.ศ. กาํ หนดหรอื รบั รอง

1.1.1 ไดรบั ประกาศนยี บัตรการอบรมหลกั สูตรการพฒั นานกั กฎหมายภาครฐั
ระดับกลาง หรือระดับชาํ นาญการขน้ึ ไป

1.1.2 ไดรับประกาศนียบัตรการอบรมหลักสูตรที่เทียบเทาหลักสูตร
การพฒั นานกั กฎหมายภาครฐั ระดับกลาง หรอื ระดบั ชํานาญการขน้ึ ไป ซึง่ ก.ศ. กําหนดหรอื รบั รอง

1.2 ระยะเวลาปฏบิ ัตงิ านดา นกฎหมาย
1.2.1 ผดู าํ รงตาํ แหนง ผอู ํานวยการเฉพาะดา น (นิติการ) ระดับตน ที่จะขอรับ

การคัดเลือกใหไดรับ พ.ต.ก. ตองมีประสบการณการปฏิบัติงานในตําแหนงนิติกรชํานาญการหรือ
ตําแหนงนิติกรชํานาญการพิเศษ หรือตําแหนงผูอํานวยการเฉพาะดาน (นิติการ) ระดับตน
ซ่ึงไดรบั มอบหมายใหป ฏิบตั งิ านดานกฎหมายในหนวยงานท่กี าํ หนดตามประกาศ ก.ศ. เร่ือง การกําหนด
เงินเพม่ิ สําหรบั ตําแหนงทมี่ ีเหตพุ เิ ศษ ตําแหนง นิติกร รวมกันเปนระยะเวลาไมน อ ยกวา 2 ป

ท้ังนี้ หากผูขอรับการคัดเลือกไดรับคําส่ังมอบหมายใหปฏิบัติงานอยางอ่ืนซึ่งไมใช
งานดานกฎหมายในชวงเวลาใด ไมใหนําระยะเวลาการปฏิบัติงานในชวงนั้นมานับรวมเปนระยะเวลา
ปฏิบัติงานดา นกฎหมายเพือ่ ใชเปน คณุ สมบัติของบคุ คลในการขอรับ พ.ต.ก.

1.2.2 สัดสว นการปฏิบัติงานดา นกฎหมาย
ผูขอรับการคัดเลือกตองมีสัดสวนการปฏิบัติงานดานกฎหมายในหนวยงาน
ที่กําหนดตามประกาศ ก.ศ. เร่ือง การกําหนดเงินเพิ่มสําหรับตําแหนงท่ีมีเหตุพิเศษ ตําแหนงนิติกร
ไมน อ ยกวารอยละ 80 ของระยะเวลาทงั้ หมดทีใ่ ชใ นการปฏบิ ตั งิ าน โดยมีแนวทางการพิจารณา ดังน้ี

(1) พิจารณาจากระยะเวลาท่ีใชในการปฏิบัติงานดานกฎหมายระหวางท่ี
ผูขอรับการคัดเลือกปฏิบัติงานในตําแหนงนิติกรชํานาญการหรือตําแหนงนิติกรชํานาญการพิเศษ
หรือตาํ แหนงผูอํานวยการเฉพาะดา น (นติ ิการ) ระดับตน ซ่ึงไดรับมอบหมายใหปฏิบัติงานดานกฎหมาย
ในหนวยงานที่กําหนดตามประกาศ ก.ศ. เรื่อง การกําหนดเงินเพิ่มสําหรับตําแหนงท่ีมีเหตุพิเศษ
ตําแหนงนิตกิ ร ดงั นี้

เปนงานดานกฎหมายของสํานักงานศาลยุติธรรมซ่ึงมีลักษณะงานอยางใด
อยางหน่ึงหรือหลายอยางใน 12 ลักษณะงาน ซึ่งเปนงานที่ตองใชความรูทักษะและความชํานาญงาน
ในวชิ าชีพกฎหมายในระดบั สูง ดังนี้

314 306
ลกั ษณะงานที่ 1 : การตรวจและยกรางกฎหมาย
ลกั ษณะงานท่ี 2 : การพัฒนาและวจิ ัยกฎหมาย
ลักษณะงานท่ี 3 : การใหคําปรกึ ษาและความเห็นทางกฎหมาย
ลักษณะงานที่ 4 : การรา งสัญญาและการบริหารสญั ญา
ลกั ษณะงานท่ี 5 : การดาํ เนนิ การทางวินยั
ลกั ษณะงานที่ 6 : การดําเนินคดีอาญา คดีแพง คดีในศาลปกครอง

คดใี นศาลรัฐธรรมนญู หรอื คดอี น่ื
ลักษณะงานที่ 7 : การพิจารณาและตรวจสอบคาํ อทุ ธรณหรือโตแยง
ลักษณะงานท่ี 8 : การเผยแพรค วามรูท างดา นกฎหมาย
ลกั ษณะงานท่ี 9 : การบังคับคดีตามคาํ พพิ ากษาหรือคําสง่ั
ลกั ษณะงานท่ี 10 :การเตรียมการระงบั ขอ พิพาท
ลักษณะงานที่ 11 :การดําเนนิ การมาตรการทางปกครอง
ลกั ษณะงานที่ 12 :งานดานกฎหมายอน่ื ที่ ก.ศ. รับรอง
เปนงานดานกฎหมายท่ีผูขอรับการคัดเลือกไดรับมอบหมายใหปฏิบัติจริง
โดยงานดังกลาวอาจเปนงานดานกฎหมายท่ีปรากฏในคํารับรองการปฏิบัติราชการหรือแผนปฏิบัติ
ราชการประจําปของหนวยงาน ซ่ึงเปนงานดานกฎหมายตามหนาที่ความรับผิดชอบหลักของหนวยงาน
หรือสว นราชการหรอื เปนงานดานกฎหมายทไ่ี ดร ับมอบหมายพิเศษ
(2) ในกรณีท่ีผูขอรับการคัดเลือกไดรับมอบหมายใหปฏิบัติงานดาน
กฎหมายไมตอเน่ืองกัน ระยะเวลาการปฏิบัติงานดานกฎหมายในแตละชวงเวลาจะตองมีสัดสวนการ
ปฏิบตั งิ านดานกฎหมายไมน อ ยกวารอ ยละ 80
สว นท่ี 2 : การประเมนิ ความรคู วามสามารถของบคุ คล
ผูดํารงตําแหนงนิติกรที่จะขอรับการคัดเลือกใหไดรับ พ.ต.ก. ตองผานการประเมิน
ความรคู วามสามารถ ดงั น้ี
2.1 ใหผูขอรับการคัดเลือกนําเสนอผลงานที่มีคุณภาพและเปนท่ียอมรับในวงการ
วิชาชีพกฎหมาย หรือขอเสนอการปรับปรุงหรือพัฒนางานดานกฎหมาย พรอมทั้งเสนอความคิดเห็น
ในการปรับปรุง/พัฒนางานดังกลาวใหดียิ่งขึ้น จํานวนอยางนอย 1 เรื่อง ความยาวของผลงาน
อยางนอ ย 3 หนากระดาษแตไมเกิน 5 หนา กระดาษ โดยมเี งอ่ื นไข ดังนี้
2 .1 . 1 กร ณีผูข อ รั บ กา ร คั ด เ ลือกนํ าเ สน อผลง าน ห รื อผลสํ าเ ร็ จ
ของงานดา นกฎหมาย ผลงานทีน่ าํ มาใชประกอบการประเมินตองมีลักษณะ ดังตอไปน้ี
(1) เปนผลงานหรือผลสําเร็จของงานดานกฎหมายซ่ึงมีคุณภาพ
และเปนที่ยอมรับในวงการวิชาชีพกฎหมาย และไดรับมอบหมายใหปฏิบัติในขณะท่ีดํารงตําแหนง
ผูอํานวยการเฉพาะดาน (นิติการ) ระดับตน โดยผลงานหรือผลสําเร็จของงานดานกฎหมายดังกลาว
ตองมีลักษณะงานอยางใดอยางหน่ึงหรือหลายอยางใน 12 ลักษณะงานดานกฎหมายในสํานักงาน
ศาลยุติธรรม และตองนําเสนอความคดิ เหน็ การปรับปรุง/พฒั นางานดงั กลาวใหดีข้นึ ดว ย
(2) ไมใชผลงานวิจัยหรือวิทยานิพนธที่เปนสวนหน่ึงของการศึกษาเพื่อ
ขอรับปริญญาหรอื ประกาศนยี บัตร หรือเปนสว นหนึง่ ของการฝกอบรม

315 307 เ ิงนเ ่ิพมแลกะ คลุามตท่ีอบ๔แทน ิพเศษ
(3) ผลงานที่นํามาประเมนิ จะตองมีเอกสารหรือหลักฐานท่ีสามารถแสดง
ไดวาเปนผลงานที่แทจริงของผูขอรับการคดั เลือก กรณีที่เปนผลงานรวมกันของบุคคลหลายคนจะตอง
แสดงใหเ ห็นวาผูข อรับการคัดเลือกมีสว นรวมในการจัดทําผลงานในสวนใดทเ่ี ปนสาระสาํ คัญของผลงาน
มีสัดสว นเทาใด และตอ งมีคาํ รบั รองจากผูบังคบั บญั ชาวาเปน ผลงานของผูขอรบั การคดั เลอื กจรงิ
(4) ผลงานท่ีไดนํามาใชในการประเมินเพื่อเล่ือนขึ้นแตงต้ังใหดํารงตําแหนง
ในระดับท่ีสงู ข้ึน หรอื ไดนํามาใชประเมินในกรณีอื่น ๆ แลว ไมใหนํามาใชในการขอรับการคัดเลือกเพื่อรับ
พ.ต.ก. อีก
2.1.2 กรณีผูขอรับการคัดเลือกนําเสนอขอเสนอกาปรับปรุงและพัฒนางาน
ดานกฎหมายตองเปนขอเสนอการปรับปรุงและพัฒนางานดานกฎหมายท่ีอยูในความรับผิดชอบของ
หนวยงานหรอื สวนราชการซงึ่ ไดจัดทําข้ึนภายหลังจากผานการอบรมหลักสตู รการพัฒนานักกฎหมายภาครฐั
หรือหลกั สูตรอ่ืนที่เทยี บเทาซง่ึ ก.ศ. กําหนดหรอื รับรอง โดยมีเน้ือหาหลกั สอดคลองกับหลักการบริหาร
กิจการบานเมืองที่ดีและไดนํามาปฏิบัติจริงในขณะท่ีดํารงตําแหนงผูอํานวยการเฉพาะดาน (นิติการ)
ระดับตน แลว
2.2. ผลงานหรือขอเสนอการปรับปรุงและพัฒนางานดานกฎหมายของผูขอรับ
การคัดเลือกใหเสนอตอ “คณะอนุกรรมการขาราชการศาลยุติธรรมผูทรงคุณวุฒิดานกฎหมาย”
ซง่ึ แตง ต้ังโดย ก.ศ. ทําหนาท่ปี ระเมินผลงานของผูดํารงตาํ แหนงผอู าํ นวยการเฉพาะดาน (นิตกิ าร) ระดับตน
ตามลักษณะงานดานกฎหมายในสํานักงานศาลยตุ ิธรรม โดยผลงานหรือขอเสนอการปรับปรุงและพัฒนางาน
ดา นกฎหมายที่ผานการพจิ ารณาจะตองเปน ผลงานทมี่ ีคุณภาพ และเปนประโยชนตอทางราชการในวงกวา ง
2.2.1 เกณฑการพิจารณาแบงเปน 2 ระดับ คือ “ผานการประเมิน” และ
“ไมผานการประเมิน” ใหพิจารณาจากระดับความรูความเขาใจ รวมไปถึงทักษะ ความชํานาญและ
ประสบการณในการรางกฎหมาย การปรับใชกฎหมายและตีความกฎหมายของผูขอรับการคัดเลือก
อันจะเปนประโยชนตอการปฏิบัติงานใหบรรลุผลสําเร็จตามท่ีไดรับมอบหมาย โดยมีระดับความยาก
ทแ่ี ตกตา งกันในแตล ะระดับตําแหนง ตามทร่ี ะบุไวในมาตรฐานกําหนดตําแหนง สายงานนติ ิการโดยอาจจําแนก
เกณฑก ารพิจารณาออกเปน 2 กรณี ดังนี้

316

316 308

กรณที ่ี 1 นาเสนอ “ผลงานหรือผลสาเร็จของงานดา้ นกฎหมาย” มีเกณฑก์ ารพิจารณา ดังน้ี

เกณฑ์การใหค้ ะแนน คาอธบิ าย

ผ่าน ผลงานดา้ นกฎหมายทนี่ าเสนอ มีลักษณะดังน้ี
- เปน็ ผลงานทม่ี คี ณุ ภาพงานดเี ด่นและความยุง่ ยากของงานสงู และ
- เป็นผลงานท่ีสามารถสะท้อนให้เห็นถึงระดับความรู้ ความเข้าใจ ทักษะ
ความชานาญและประสบการณ์ในการรา่ งกฎหมาย การปรบั ใช้กฎหมายและ
การตคี วามกฎหมายท่ีสงู กวา่ ระดบั มาตรฐานของแตล่ ะตาแหน่งตามทกี่ าหนด
ในมาตรฐานกาหนดตาแหนง่ และ
- เป็นผลงานท่ีมีการนาไปปฏิบัติจริงและประสบผลสาเร็จอย่างมีประสิทธิภาพ
ตามเป้าหมายทกี่ าหนดและก่อให้เกดิ ประโยชน์ทางราชการ

ไมผ่ ่าน ผลงานดา้ นกฎหมายทน่ี าเสนอ มลี กั ษณะดงั นี้
- ผลงานท่ีนาเสนอเป็นผลงานท่ีมีคุณภาพและความยุ่งยากระดับปานกลาง
ตามมาตรฐานที่กาหนด และ/หรือ
- ไม่สะท้อนให้เห็นถึงระดับความรู้ ความเข้าใจ ทักษะ ความชานาญและ
ประสบการณ์ในการร่างกฎหมาย การปรับใช้กฎหมายและการตีความ
กฎหมายท่ีสูงกว่าระดับมาตรฐานของแต่ละระดับตาแหน่งตามที่กาหนดใน
มาตรฐานกาหนดตาแหนง่ และ/หรอื
- เป็นผลงานท่ีไม่ประสบผลสาเร็จจริงตามเป้าหมายท่ีกาหนดหรือ
ไม่กอ่ ใหเ้ กิดประโยชนต์ ่อทางราชการ

317 309

กรณที ่ี 2 นําเสนอ “ขอ เสนอการปรับปรงุ หรือพัฒนาระบบงานหรืองานดา นกฎหมายของหนว ยงานหรือ
สว นราชการ” มีเกณฑการพจิ ารณา ดงั นี้

เกณฑก ารใหค ะแนน คาํ อธบิ าย
ผา น ขอเสนอการปรับปรุงหรือพัฒนาระบบงานหรืองานดานกฎหมายท่ีนําเสนอ
มีลกั ษณะดังน้ี
- เปนขอเสนอทเี่ กดิ จากการนําความรูท่ีไดจากการอบรมหลักสูตรการพัฒนา
นักกฎหมายภาครัฐหรือหลักสูตรอ่ืนท่ีเทียบเทาท่ี ก.ศ. กําหนดหรือรับรอง
มาประยุกตใชและนําไปปฏบิ ัติจรงิ และ
- เปนขอเสนอที่สงผลใหเกิดการปรับปรุงหรือพัฒนางานหรือระบบงานดาน
กฎหมายของสวนราชการ เชน รางกฎหมายหรือรางกฎขอบังคับที่อยูใน
ความรับผิดชอบผานคณะกรรมการบริหารศาลยุติธรรม (ก.บ.ศ.) หรือ
คณะรฐั มนตรีแลว เปน ตน

ไมผา น ขอเสนอการปรับปรุงหรือพัฒนาระบบงานหรืองานดานกฎหมายท่ีนําเสนอ เ ิงนเ ่ิพมแลกะ คลุามตท่ีอบ๔แทน ิพเศษ
มีลกั ษณะดังน้ี
- ไมไ ดเปนขอเสนอทเี่ กิดจากการนําเสนอความรูท่ีไดจากการอบรมหลักสูตร
การพัฒนานักกฎหมายภาครัฐหรือหลักสูตรอ่ืนที่เทียบเทาที่ ก.ศ. กําหนด
หรือรับรองมาประยกุ ตใช และ/หรอื
- เปนขอ เสนอทีไ่ มไดม ีการนาํ ไปปฏบิ ตั ิจริง และ/หรือไมกอใหเกิดการพัฒนา
งานหรอื ระบบงานดานกฎหมายของสวนราชการ

2.2.2 ในการพิจารณาประเมินความรูความสามารถของบุคคล
คณะอนุกรรมการขาราชการศาลยุติธรรมผูทรงคุณวุฒิดานกฎหมายอาจมีมติใหผูขอรับการคัดเลือก
ปรับปรุงผลงานหรือจัดสงรายละเอียดเพ่ิมเติมเพ่ือประกอบการพิจารณาได ในกรณีที่คณะอนุกรรมการฯ
มี ม ติ ใ ห ป รั บ ป รุ ง ผ ล ง า น ข อ ง ผู ข อ รั บ ก า ร คั ด เ ลื อ ก ร า ย ใ ด นํ า ผ ล ง า น ก ลั บ ไ ป ป รั บ ป รุ ง ใ ห ม ห รื อ
จัดสงรายละเอียดเพ่ิมเติม จะตองดําเนินการใหแลวเสร็จ แลวสงผลงานที่ปรับปรุงแลวหรือ
จัดสงรายละเอียดเพ่ิมเติมใหคณะอนุกรรมการฯ พิจารณาภายใน 1 เดือน นับจากวันท่ีไดรับแจง
จากคณะอนกุ รรมการฯ เปน ลายลกั ษณอ ักษร

2.2.3 ผทู ผี่ านการประเมินจะตอ งไดร ับการพิจารณาให “ผา น” การประเมินความรู
ความสามารถของบคุ คล

318 310
สว นท่ี 3 : การประเมินคณุ ลกั ษณะและพฤตกิ รรมของบุคคล
การประเมินคณุ ลักษณะและพฤติกรรมท่ใี ชใ นการประเมิน มแี นวทางการพิจารณา ดังนี้

3.1 คุณลกั ษณะและพฤตกิ รรมของบคุ คล (100 คะแนน) ประเมนิ จาก
(1) สมรรถนะหลัก 5 สมรรถนะ
- การมงุ ผลสัมฤทธ์ิ
- จติ สาํ นกึ ในการใหบ ริการ
- การสงั่ สมความเชย่ี วชาญในงานอาชพี
- จริยธรรม
- การทํางานเปนทมี
(2) สมรรถนะในงาน 3 สมรรถนะ (นติ ิกรศาล)
- ความเขาใจผอู น่ื
- ความเขาใจองคกรและระบบราชการ
- ความถูกตอ งของงาน
หรอื สมรรถนะในงาน 3 สมรรถนะ (นติ กิ รสวนกลาง)
- การคดิ วเิ คราะห
- การมองภาพองครวม
- ความถกู ตองของงาน

3.2 ใหคณะอนุกรรมการขาราชการศาลยุติธรรมผูทรงคุณวุฒิดานกฎหมาย
พิจารณาประเมินคุณลักษณะและพฤติกรรมของบุคคล โดยเปรียบเทียบกับคุณลักษณะเชิงพฤติกรรม
(สมรรถนะ) ท่ีคาดหวังสําหรับการปฏิบัติงานดานกฎหมายของผูดํารงตําแหนงผูอํานวยการเฉพาะดาน
(นิ ติ กา ร ) ซ่ึ ง ไ ด กํ าห น ด ไ ว ใ น ม าต ร ฐ า น กํ าห น ด ตํ าแ ห น ง ข อง ข า ร า ชกา ร ศ าลยุ ติ ธ ร ร ม
ตามแบบประเมนิ สมรรถนะท่คี ณะอนกุ รรมการขา ราชการศาลยตุ ิธรรมผทู รงคณุ วฒุ ดิ า นกฎหมายกาํ หนด
(แบบ พ.ต.ก. 2-3)

3.3 ผูขอรับการคัดเลือกที่ผานการประเมินคุณลักษณะและพฤติกรรมของบุคคล
จะตอ งไดค ะแนนตง้ั แตร อ ยละ 70 ขึน้ ไป

หลกั เกณฑแ ละวธิ ีการพิจารณาคัดเลอื ก
ผูดาํ รงตาํ แหนง ผูอํานวยการเฉพาะดา น (นติ ิการ) ระดับตน ที่ผานการพิจารณาคัดเลือก
ใหไดรบั พ.ต.ก. จะตอ งมีคุณสมบตั ิของบคุ คลครบถวน ผา นการประเมินความรูความสามารถของบุคคล
และการประเมนิ คณุ ลกั ษณะและพฤตกิ รรมของบุคคลตามเกณฑท ีก่ าํ หนดท้งั 3 สว น

319 311 เ ิงนเ ่ิพมแลกะ คลุามตท่ีอบ๔แทน ิพเศษ
แบบการพจิ ารณา
แบบการพิจารณาคัดเลือกผูดํารงตําแหนงผูอํานวยการเฉพาะดาน (นิติการ) ระดับตน
ใหไ ดรับ พ.ต.ก. ประกอบดวย 3 แบบ ดังนี้

1. แบบ พ.ต.ก. 2-1 : แบบสรุปคุณสมบัติและผลงานของผูดํารงตําแหนง
ผูอํานวยการเฉพาะดาน (นิติการ) ระดับตน สําหรับการพิจารณากําหนดเงินเพ่ิมสําหรับตําแหนง
ทีม่ เี หตพุ ิเศษตําแหนงนิติกร เปนแบบฟอรมสําหรับใชแสดงขอมูลสวนบุคคลและสรุปผลการปฏิบัติงาน
ประกอบดวย 4 สวน ดงั นี้

สวนที่ 1 ขอ มลู ทั่วไป (ขอมูลสว นบุคคล ประวัติการศกึ ษา ประวัติการรับราชการ
ประวัติการฝกอบรมดูงาน การไดรับคําส่ังมอบหมายใหไปปฏิบัติงานอื่น และประวัติการไดรับเงินเพ่ิม
สาํ หรับตําแหนง ท่ีมีเหตพุ ิเศษ ตําแหนงนิติกร)

สวนที่ 2 ประ วัติการปฏิบัติงาน (หนาท่ีความรับผิดชอบของตําแหนง
ในปจจุบันและสรุปผลการปฏิบัติงานดา นกฎหมาย)

สวนท่ี 3 ผลงาน/ผลสําเร็จของงานท่ีมีคุณภาพและเปนที่ยอมรับหรือขอเสนอ
การปรับปรงุ และพฒั นางานดานกฎหมาย

สว นท่ี 4 ความเหน็ ของผูบงั คบั บัญชาทก่ี าํ กับดแู ลการปฏบิ ตั งิ าน
2. แบบ พ.ต.ก. 2-2 : แบบการพิจารณาคัดเลือกบุคคลใหไดรับเงินเพ่ิมสําหรับ
ตําแหนงท่ีมีเหตุพิเศษ ตําแหนงผูอํานวยการเฉพาะดาน (นิติการ) เปนแบบฟอรมสําหรับใชตรวจสอบ
คณุ สมบัตขิ องบุคคล และสรปุ ผลการประเมนิ ความรูและความสามารถของผูดํารงตําแหนงผูอํานวยการ
เฉพาะดาน (นิตกิ าร) ระดับตน เพอื่ ใหไดรับ พ.ต.ก. ประกอบดวย 2 สวน ดังน้ี

สว นท่ี 1 การตรวจสอบคุณสมบตั ขิ องบคุ คล
สวนท่ี 2 สรปุ ผลการประเมินความรแู ละความสามารถของบคุ คล
3. แบบ พ.ต.ก. 2-3 : แบบการพิจารณาคัดเลือกบุคคลใหไดรับเงินเพ่ิมสําหรับ
ตําแหนงท่ีมีเหตุพิเศษ ตําแหนงผูอํานวยการเฉพาะดาน (นิติการ) เปนแบบฟอรมท่ีใชประเมิน
คณุ ลักษณะและพฤตกิ รรม (สมรรถนะ) ของผูดํารงตําแหนงผูอํานวยการเฉพาะดาน (นิติการ) ระดับตน
ท่ีขอรบั พ.ต.ก. ประกอบดว ย 4 สวน ดังน้ี
สวนที่ 1 ขอ มูลของผขู อรับการคัดเลือก
สว นท่ี 2 คาํ ช้แี จงในการประเมนิ
สว นที่ 3 การประเมินสมรรถนะ
สวนท่ี 4 สรปุ ผลการประเมนิ คุณลกั ษณะและพฤติกรรม (สมรรถนะ)

320 312

ขน้ั ตอนการคัดเลือกบุคคลใหไ ดร ับเงนิ เพ่ิม
สาํ หรับตาํ แหนงที่มีเหตุพิเศษ ตําแหนงนิติกร (พ.ต.ก)

1. ข้ันตอนการคัดเลือกผูดํารงตําแหนงนิติกร ระดับปฏิบัติการ ระดับชํานาญการ
และระดับชํานาญการพิเศษ ใหไ ดรับเงินเพม่ิ สาํ หรบั ตําแหนงทมี่ ีเหตพุ ิเศษ (พ.ต.ก.)

ข้ันตอนที่ 1 สํานักงานศาลยุติธรรมพิจารณาคัดเลือกผูดํารงตําแ หนงนิติกร
เขารับการฝกอบรมตามหลักสูตรนักกฎหมายภาครัฐหรือหลักสูตรอ่ืนซ่ึง ก.ศ. กําหนดหรือรับรอง
เพ่ือพฒั นาความรู ทกั ษะ และประสบการณใ นงานดานกฎหมาย

ข้ันตอนท่ี 2 สํานักงานศาลยุติธรรมประกาศแจงใหนิติกรผูมีคุณสมบัติครบถวน
ตามทก่ี ําหนดในประกาศคณะกรรมการขา ราชการศาลยุติธรรม (ก.ศ.) เรื่อง การกําหนดเงินเพ่ิมสําหรับ
ตําแหนงท่ีมีเหตุพิเศษ ตําแหนงนิติกร พ.ศ. 2544 ท่ีผานการอบรมหลักสูตรนักกฎหมายภาครัฐหรือ
หลักสูตรอ่ืนซ่ึง ก.ศ. กําหนดหรือรับรอง ย่ืนแ บบการพิจารณาคัดเลือกผูดํารงตําแ หนงนิติกร
ระดับปฏิบัติการ ระดับชํานาญการ และระดับชํานาญการพิเศษ ใหไดรับเงินเพ่ิมสําหรับตําแหนง
ที่มเี หตพุ ิเศษ (พ.ต.ก.) ซ่งึ ประกอบดว ย แบบ พ.ต.ก. 1-1 แบบ พ.ต.ก. 1-2 และแบบ พ.ต.ก. 1-3 ดังนี้

1. แบบ พ.ต.ก. 1-1 : แบบสรุปคุณสมบัติและผลงานของผูดํารงตําแหนงนิติกร
สาํ หรบั การพจิ ารณากําหนดเงนิ เพ่มิ สําหรบั ตาํ แหนงที่มีเหตพุ เิ ศษ ตาํ แหนง นติ ิกร เปนแบบฟอรมสําหรับ
ผขู อรบั การคัดเลือกใชแ สดงขอมลู สว นบคุ คลและสรปุ ผลการปฏิบัตงิ าน

2. แบบ พ.ต.ก. 1-2 : แบบการพิจารณาคัดเลือกผูดํารงตําแหนงนิติกรใหไดรับ
เงินเพ่ิมสําหรับตําแหนงที่มีเหตุพิเศษ ตําแหนงนิติกร เปนแบบฟอรมสําหรับการใชพิจารณาตรวจสอบ
คุณสมบัตขิ องบคุ คล และสรุกผลการประเมนิ ความรูความสามารถของผูด าํ รงตาํ แหนงนิตกิ รทข่ี อรับ พ.ต.ก.

3. แบบ พ.ต.ก. 1-3 : แบบการพิจารณาคัดเลือกผูดํารงตําแหนงนิติกรใหไดรับ
เงนิ เพ่มิ สําหรับตําแหนงที่มีเหตุพิเศษ ตําแหนงนิติกร เปนแบบฟอรมสําหรับการใชประเมินคุณลักษณะ
และพฤติกรรม (สมรรถนะ) ของผูด ํารงตําแหนง นิตกิ รท่ีขอรับ พ.ต.ก.

ทั้งนี้ ใหผูขอรับการคัดเลือกจัดสงสําเนาประกาศนียบัตรการอบรมหลักสูตรการพัฒนา
นักกฎหมายภาครัฐ หรือหลักสูตรอื่นที่เทียบเทาซึ่ง ก.ศ. กําหนดหรือรับรอง รวมถึงเอกสารอื่น
ท่ีเกี่ยวของ (ถามี) อาทิ รายละเอียดของผลงาน หรือรายละเอียดประกอบการจัดทําขอเสนอ
การปรับปรงุ และพฒั นางานดา นกฎหมาย พรอมแบบ พ.ต.ก. 1-1 แบบ พ.ต.ก. 1-2 และแบบ พ.ต.ก. 1-3
แ ละใ หหน วยง านก ารเ จาหน าท่ีต รวจ สอบ คุณส มบัติข องผู ขอรั บกา รคัด เลือก ตาม หลัก เกณ ฑแ ล ะ
วิธกี ารทคี่ ณะอนกุ รรมการขาราชการศาลยตุ ิธรรมผูทรงคุณวุฒิดา นกฎหมายกําหนด (ตามแบบ พ.ต.ก. 1-2
สวนท่ี 1)

321 313 เ ิงนเ ่ิพมแลกะ คลุามตท่ีอบ๔แทน ิพเศษ
ขั้นตอนท่ี 3 สําหรับกรณีการคัดเลือกผูดํารงตําแหนงนิติกรใหไดรับ พ.ต.ก. ครั้งแรก
สํานักงานศาลยตุ ิธรรมตองดําเนินการประเมินความรูความสามารถ คุณลกั ษณะ และพฤตกิ รรมของบุคคล ดังน้ี
1. การประเมนิ ความรูความสามารถของบคุ คล

1.1 ใหหัวหนาหนวยงานการเจาหนาที่หรือผูที่ไดรับมอบหมายในฐานะ
ฝา ยเลขานุการนําผลงาน/ผลสาํ เรจ็ ของงานดานกฎหมาย หรือขอ เสนอการปรับปรุง/พัฒนางานดานกฎหมาย
ของผูขอรับการคัดเลือกเสนอตอคณะอนุกรรมการขาราชการศาลยุติธรรมผูทรงคุณวุฒิดานกฎหมาย
เพ่ือพิจารณาประเมินความรูความสามารถของบุคคลตามแนวทางท่ีคณะอนุกรรมการขาราชการ
ศาลยตุ ิธรรมผูทรงคุณวฒุ ิดา นกฎหมายกาํ หนด

1.2 ในการพิจารณาประเมินความรูความสามรถของบุคคล คณะอนุกรรมการ
ขาราชการศาลยุติธรรมผูทรงคุณวุฒิดานกฎหมายอาจมีมติใหผูขอรับการคัดเลือกปรับปรุงผลงานหรือ
จัดสงรายละเอียดเพิ่มเติมเพ่อื ประกอบการพิจารณาได ในกรณีที่คณะอนุกรรมการฯ มีมติใหปรับปรุงผลงาน
ของผูขอรับการคัดเลือกรายใดนําผลงานกลับไปปรับปรุงใหมหรือจัดสงรายละเอียดเพ่ิมเติม
จะตองดําเนินการใหแลวเสร็จ แลวสงผลงานที่ปรับปรุงแลวหรือจัดสงรายละเอียดเพ่ิมเติม
ใหคณะอนุกรรมการฯ พิจารณาภายใน 1 เดือน นับจากวันท่ีไดรับแจงจากคณะอนุกรรมการฯ
เปนลายลกั ษณอกั ษร

1.3 เมื่อคณะอนุกรรมการขาราชการศาลยุติธรรมผูทรงคุณวุฒิดานกฎหมาย
มีมติใหผลงาน “ผาน” การประเมินความรูความสามารถของบุคคลแลว ใหสํานักงานศาลยุติธรรม
นาํ ผลการพจิ ารณาเสนอตอ ก.ศ. พจิ ารณาคัดเลือกบุคคลใหไดร ับ พ.ต.ก. ตอ ไป

ในกรณีท่ีคณะอนุกรรมการขาราชการศาลยุติธรรมผูทรงคุณวุฒิดานกฎหมาย
มีมติใหผลงานของผรู ับการคดั เลอื ก “ไมผาน” การประเมนิ ใหผ ูบ งั คับบัญชาแจงผลการประเมินดังกลาว
แกผ ขู อรับการคดั เลือกเพือ่ ทราบ และดําเนินการปรับปรุงแกไ ขหรือพฒั นาตนเองใหเ หมาะสมตอ ไป

1.4 ใหหนวยงานการเจาหนาท่ีในฐานะฝายเลขานุการจัดทํารายงานการประชุม
บันทึกความเห็น ขอสังเกต และมติของคณะอนุกรรมการขาราชการศาลยุติธรรมผูทรงคุณวุฒิ
ดานกฎหมายไวเ ปนลายลกั ษณอ ักษร

2. การประเมินคณุ ลกั ษณะและพฤติกรรมของบุคคล
2.1 ใหผูบังคับบัญชาของผูขอรับการคัดเลือก ไดแก ผูบังคับบัญชาที่ควบคุมดูแล

การปฏิบัติงานของผูรับการประเมินโดยตรงและผูบังคับบัญชาในระดับเหนือขึ้นไปอีก 1 ระดับ (ถามี)
เปนผูประเมินคุณลักษณะและพฤติกรรม (สมรรถนะ) ของผูขอรับการคัดเลือกตามแนวทางและวิธีการ
ทค่ี ณะอนุกรรมการขาราชการศาลยตุ ธิ รรมผทู รงคุณวฒุ ดิ านกฎหมายกาํ หนด (ตามแบบ พ.ต.ก. 1-3)

2.2 ใหหนวยงานการเจาหนาที่ตรวจสอบผลการประเมินตามแนวทางหลักเกณฑ
ท่ีคณะอนุกรรมการขาราชการศาลยุติธรรมผูทรงคุณวุฒิดานกฎหมาย ในกรณีท่ีพบวาผูขอรับ
การคัดเลือกไมผานการประเมินคุณลักษณะและพฤติกรรม ใหผูบังคับบัญชาของผูขอรับการคัดเลือก
แจง ผลการประเมินดังกลา วแกผูขอรับการคัดเลือกเพ่ือจะไดดําเนินการแกไขปรับปรุงและพัฒนาตนเอง
ใหเ หมาะสมตอไป

322 314
ข้ันตอนท่ี 4 สํานักงานศาลยุติธรรมจะตองจัดทําสรุปผลการพิจารณาคัดเลือกบุคคล
ใหไดรับ พ.ต.ก. ท้ังในสวนการพิจารณาคุณสมบัติของบุคคลและสวนการประเมินความรูความสามารถ
คุณลักษณะและพฤติกรรมของบุคคล สําหรับกรณีการพิจารณาคัดเลือกผูดํารงตําแหนงนิติกรใหไดรับ
พ.ต.ก. ครั้งแรก และในสวนการพิจารณาคุณสมบัติของบุคคลสําหรับกรณีการพิจารณาคัดเลือก
ผูดํารงตําแหนงนิติกรใหไดรับ พ.ต.ก. อัตราที่สูงเพิ่มขึ้นตามระดับตําแหนง (ตามแบบ พ.ต.ก. 1-2)
พรอ มระบุเหตผุ ล แลว เสนอ ก.ศ. พิจารณาคัดเลอื กบคุ คลใหไ ดรบั พ.ต.ก.
ข้ันตอนที่ 5 ใหสํานกั งานศาลยุติธรรมมีคําส่ังใหผูดํารงตําแหนงนิติกรท่ี “ผานการคัดเลือก”
ไดร ับ พ.ต.ก. ในแตละระดับตําแหนง โดยใหมีผลยอนหลังไปไมกอนวันที่สํานักงานศาลยุติธรรมไดรับแบบ
สรุปคุณสมบัติและผลงานของผูดํารงตําแหนงนิติกร (แบบ พ.ต.ก. 1-1) ซึ่งมีรายละเอียดครบถวน
สมบูรณ โดยไมมีการแกไขเ พ่ิมเ ติมรายละเ อียดในสวนที่เ ปนสาระสําคัญ และไมกอนวันท่ี
ผขู อรับการคดั เลอื กมีคณุ สมบตั ขิ องบุคคลครบถว นตามหลักเกณฑท่กี าํ หนด
ทั้งน้ี ใหสํานักงานศาลยุติธรรมหรือหนวยงานมอบหมายงานดานกฎหมายท่ีมีความสําคัญ
และสงผลกระทบตอการดําเนินงานของหนวยงานหรือสวนราชการใหผูดํารงตําแหนงนิติกรท่ี “ผาน”
การคัดเลือกใหไดรับ พ.ต.ก. แลวรับผิดชอบ สําหรับผูขอรับการคัดเลือกท่ี “ไมผาน” การคัดเลือก
ใหส ว นราชการหรือหนว ยงานแจง ผูข อรับการคัดเลอื กเพื่อทราบ และดําเนินการปรับปรุงหรือพัฒนางาน
ใหมคี ณุ ภาพดยี ่งิ ขนึ้
2. ขั้นตอนการคัดเลือกผูดํารงตําแหนงผูอํานวยการเฉพาะดาน (นิติการ) ระดับตน
ใหไ ดร ับเงนิ เพิม่ สําหรับตําแหนง ทมี่ เี หตพุ เิ ศษ (พ.ต.ก.)
ขั้นตอนท่ี 1 สํานักงานศาลยุติธรรมพิจารณาคัดเลือกผูดํารงตําแหนงนิติกรเขารับ
การฝกอบรมหลักสูตรนักกฎหมายภาครฐั หรอื หลักสูตรอื่นซ่ึง ก.ศ. กําหนดหรือรับรองเพ่ือพัฒนาความรู
ทกั ษะและประสบการณใ นงานดานกฎหมาย
ข้ันตอนท่ี 2 สํานักงานศาลยุติธรรมประกาศหลักเกณฑและวิธีการคัดเลือกบุคคล
ใหไดรับเงิน พ.ต.ก. ของสํานักงานศาลยุติธรรมใหขาราชการทราบ และใหผูดํารงตําแหนงนิติกร
ที่มีคณุ สมบัตขิ องบคุ คลครบถวนตามหลักเกณฑทคี่ ณะอนกุ รรมการขาราชการศาลยุติธรรมผูทรงคุณวุฒิ
ดา นกฎหมายกําหนดยน่ื แบบการพิจารณาคัดเลือกผูดาํ รงตําแหนง ผูอ าํ นวยการเฉพาะดาน (นิติการ) ระดับตน
ใหไดร บั พ.ต.ก. ซึ่งประกอบดวย แบบ พ.ต.ก 2-1 แบบ พ.ต.ก. 2-2 และ แบบ พ.ต.ก. 2-3 ดงั น้ี

1. แบบ พ.ต.ก. 2-1 : แบบสรุปคุณสมบัติและผลงานของผูดํารงตําแหนง
ผูอาํ นวยการเฉพาะดาน (นติ กิ าร) ระดบั ตน สาํ หรบั การพจิ ารณากาํ หนดเงนิ เพ่ิมสาํ หรบั ตําแหนงท่ีมีเหตุพิเศษ
ตําแหนงนิติกร เ ปนแบบฟอรมสําหรับผูขอรับการคัดเ ลือกใชแสดงขอมูลสวนบุคคลและ
สรุปผลการปฏิบัติงาน

323 315 เ ิงนเ ่ิพมแลกะ คลุามตท่ีอบ๔แทน ิพเศษ
2. แบบ พ.ต.ก. 2-2 : แบบการพิจารณาคัดเลือกบุคคลใหไดรับเงินเพิ่มสําหรับ
ตําแหนงท่ีมีเหตุพิเศษ ตําแหนงผูอํานวยการเฉพาะดาน (นิติการ) สําหรับการพิจารณากําหนดเงินเพิ่ม
สําหรับตําแหนงท่ีมีเหตุพิเศษ ตําแหนงนิติกร เปนแบบฟอรมสําหรับใชตรวจสอบคุณสมบัติของบุคคล
และสรปุ ผลการประเมนิ คุณลกั ษณะและพฤติกรรมของผดู ํารงตาํ แหนงผูอ ํานวยการเฉพาะดาน (นิติการ)
ระดบั ตน
3. แบบ พ.ต.ก. 2-3 : แบบการพิจารณาคัดเลือกบุคคลใหไดรับเงินเพิ่มสําหรับ
ตําแหนงท่ีมีเหตุพิเศษ ตําแหนงผูอํานวยการเฉพาะดาน (นิติการ) สําหรับการพิจารณากําหนดเงินเพิ่ม
สําหรับตําแหนงท่ีมีเหตุพิเศษ ตําแหนงนิติกร เปนแบบฟอรมสําหรับใชประเมินคุณลักษณะและ
พฤตกิ รรม (สมรรถนะ) ของผดู ํารงตาํ แหนงผูอํานวยการเฉพาะดา น (นิตกิ าร) ระดบั ตน
ข้ันตอนที่ 3 การประเมนิ ความรคู วามสามารถ คุณลักษณะ และพฤตกิ รรมของบคุ คล
1. การประเมนิ คุณลกั ษณะและพฤตกิ รรมของบุคคล
ใหคณะอนุกรรมการขาราชการศาลยุติธรรมผูทรงคุณวุฒิดานกฎหมายพิจารณา
ประเมนิ คณุ ลกั ษณะและพฤติกรรมของบคุ คล โดยเปรยี บเทยี บกับคุณลักษณะเชิงพฤตกิ รรม (สมรรถนะ)
ที่คาดหวังสําหรับการปฏิบัติงานดานกฎหมายของผูดํารงตําแหนงผูอํานวยการเฉพาะดาน (นิติการ)
ซ่ึงไดกําหนดไวในมาตรฐานกําหนดตําแหนงของขาราชการศาลยุติธรรมตามแบบประเมินสมรรถนะ
ทีค่ ณะอนกุ รรมการขาราชการศาลยตุ ธิ รรมผูทรงคณุ วุฒิดา นกฎหมายกาํ หนด (ตามแบบ พ.ต.ก. 2-3)
2. การประเมินความรคู วามสามารถของบคุ คล

2.1 ใหหัวหนาหนวยงานการเจาหนาที่หรือผูท่ีไดรับมอบหมายในฐานะ
ฝายเลขานุการนําผลงาน/ผลสําเร็จของงานดานกฎหมาย หรือขอเสนอการปรับปรุง/พัฒนางาน
ดานกฎหมายของผูขอรับการคัดเลือกเสนอตอคณะอนุกรรมการขาราชการศาลยุติธรรมผูทรงคุณวุฒิ
ดานกฎหมาย เพ่ือพิจารณาประเมินความรูความสามารถของบุคคลตามแนวทางท่ีคณะอนุกรรมการ
ขา ราชการศาลยตุ ิธรรมผทู รงคณุ วุฒิดา นกฎหมายกําหนด

2.2 ในการพิจารณาประเมินความรูความสามารถของบุคคลคณะอนกุ รรมการ
ขาราชการศาลยุติธรรมผูทรงคุณวุฒิดานกฎหมายอาจมีมติใหผูขอรับการคัดเลือกปรับปรุงผลงานหรือ
จัดสง รายละเอยี ดเพิ่มเตมิ เพ่อื ประกอบการพิจารณาได ในกรณีท่ีคณะอนุกรรมการฯ มีมติใหปรับปรุงผลงาน
ของผูขอรับการคัดเลือกรายใดนําผลงานกลับไปปรับปรุงใหมหรือจัดสงรายละเอียดเพิ่มเติม
จะตองดําเนินการใหแลวเสร็จ แลวสงผลงานที่ปรับปรุงแลวหรือจัดสงรายละเอียดเพ่ิมเติม
ใหคณะอนุกรรมการฯ พิจารณาภายใน 1 เดือน นับจากวันท่ีไดรับแจงจากคณะอนุกรรมการฯ
เปน ลายลกั ษณอักษร

2.3 เมื่อคณะอนุกรรมการขาราชการศาลยุติธรรมผูทรงคุณวุฒิดานกฎหมาย
มีมติใหผลงาน “ผาน” การประเมินความรูความสามารถของบุคคลแลว ใหสํานักงานศาลยุติธรรม
นาํ ผลการพจิ ารณาเสนอตอ ก.ศ. พจิ ารณาคัดเลอื กบคุ คลใหไดรบั พ.ต.ก. ตอ ไป

ในกรณีท่ีคณะอนุกรรมการขาราชการศาลยุติธรรมผูทรงคุณวุฒิดานกฎหมาย
มีมติใหผลงานของผูขอรับการคัดเลือก “ไมผาน” การประเมิน ใหผูบังคับบัญชาแจงผลการประเมิน
ดังกลาวแกผูขอรับการคัดเลือกเพ่ือทราบ และดําเนินการปรับปรุงแกไขหรือพัฒนาตนเองใหเหมาะสม
ตอ ไป

324 316
2.4 ใหหนวยงานการเจาหนาที่ในฐานะฝายเลขานุการจัดทํารายงานการประชุม
บันทึกความเห็น ขอสังเกต และมติของคณะอนุกรรมการขา ราชการศาลยุติธรรมผูทรงคุณวุฒิดานกฎหมาย
ไวเ ปนลายลกั ษณอกั ษร
ขัน้ ตอนท่ี 4 สาํ นักงานศาลยุตธิ รรมจะตองจัดทาํ สรปุ ผลการพิจารณาคัดเลือกบุคคล
ใหไดรับ พ.ต.ก ทั้งในสวนการพิจารณาคุณสมบัติของบุคคลและสวนการประเมินความรูความสามารถ
คุณลักษณะ และพฤติกรรมของบุคคล พรอมระบุเหตุผลแลวเสนอ ก.ศ. พิจารณาคัดเลือกผูดํารง
ตาํ แหนงผอู าํ นวยการเฉพาะดาน (นิติการ) ระดบั ตน ใหไดรับ พ.ต.ก.
ขั้นตอนท่ี 5 ใหสํานักงานศาลยุติธรรมมีคําส่ังใหผูดํารงตําแหนงผูอํานวยการเฉพาะ
ดา น (นติ กิ าร) ระดบั ตน ที่ผา นการคดั เลอื กใหไ ดรบั พ.ต.ก. โดยใหมีผลยอนหลังไปไมกอ นวันท่ีสาํ นักงาน
ศาลยุติธรรมไดรับแบบสรุปคุณสมบัติและผลงานของผูดํารงตําแหนงผูอํานวยการเฉพาะดาน (นิติการ)
ระดบั ตน สาํ หรบั การพจิ ารณากาํ หนดเงินเพิม่ สาํ หรบั ตําแหนง ท่มี เี หตุพิเศษ ตาํ แหนงนิตกิ ร (แบบ พ.ต.ก. 2-1)
ซ่ึงมีรายละเอียด ครบถวนสมบูรณโด ยไมมีการแกไขเพ่ิมเติมรายละเอียด ในสวนที่เปนสาระสําคัญ
และไมก อนวันท่ีผูขอรบั การคัดเลือกมีคุณสมบตั ิครบถว นตามหลักเกณฑท่ีกาํ หนด

325 317 เ ิงนเ ่ิพมแลกะ คลุามตท่ีอบ๔แทน ิพเศษ
แบบพิจารณาคดั เลอื กบคุ คลใหไ ดรบั เงินเพ่ิมสาํ หรับตาํ แหนงท่มี ีเหตพุ ิเศษ ตําแหนงนิติกร

1. แบบการพิจารณาคดั เลอื กผดู าํ รงตําแหนงนิติกรระดบั ปฏบิ ตั กิ าร ระดับชํานาญการ
และระดับชํานาญการพิเศษ ใหไดรับเงินเพ่ิมสําหรับตําแหนงท่ีมีเหตุพิเศษ (พ.ต.ก.) ประกอบดวย
แบบ พ.ต.ก. 1-1 แบบ พ.ต.ก. 1-2 และแบบ พ.ต.ก. 1-3 ดังนี้

1) แบบ พ.ต.ก. 1-1 : แบบสรุปคุณสมบัติและผลงานของผูดํารงตําแหนงนิติกร
สาํ หรบั การพจิ ารณาใหไ ดรบั เงินเพ่ิมสาํ หรบั ตาํ แหนง ทม่ี เี หตพุ ิเศษ ตาํ แหนงนิติกร เปน แบบฟอรม สําหรบั
ใชแสดงขอมลู สว นบุคคลและสรปุ ผลการปฏิบตั ิงาน ประกอบดว ย 4 สวน ดังนี้

สว นท่ี 1 ขอ มลู ทวั่ ไป (ขอ มลู สวนบคุ คล ประวตั กิ ารศึกษา ประวัติการรับราชการ
ประวตั ิการฝกอบรมดงู าน การไดร บั คําสั่งมอบหมายใหไ ปปฏบิ ตั งิ านอ่ืน)

สวนท่ี 2 ประวัติการปฏิบัติงาน (หนาท่ีความรับผิดชอบของตําแหนงใน
ปจจุบันและสรปุ ผลการปฏบิ ตั ิงานดา นกฎหมาย)

สวนที่ 3 ผลงาน/ผลสําเร็จของงานหรือขอเสนอการปรับปรุงและพัฒนางาน
ดา นกฎหมาย (สําหรับการขอรบั พ.ต.ก. คร้ังแรก)

สวนที่ 4 ความเห็นของผูบงั คับบญั ชาเหนอื ขึน้ ไป
2) แบบ พ.ต.ก 1-2 : แบบการพิจารณาคัดเลือกผูดํารงตําแหนงนิติกรใหไดรับ
เงินเพ่ิมสําหรับตําแหนงที่มีเหตุพิเศษ ตําแหนงนิติกร เปนแบบฟอรมสําหรับสํานักงานศาลยุติธรรม
ใชต รวจสอบคณุ สมบัตขิ องบคุ คลและสรุปผลการประเมินความรคู วามสามารถ ประกอบดว ย 2 สวน ดังน้ี

สว นที่ 1 การตรวจสอบคณุ สมบตั ขิ องบุคคล
สวนที่ 2 สรปุ ผลการประเมินความรคู วามสามารถของบุคคล
3) แบบ พ.ต.ก. 1-3 : แบบการพิจารณาคัดเลือกบุคคลใหไดรับเงินเพิ่มสําหรับ
ตาํ แหนง ทีม่ ีเหตพุ ิเศษ ตําแหนงนติ กิ ร เปน แบบฟอรมทใ่ี ชป ระเมินคุณลกั ษณะและพฤติกรรม (สมรรถนะ)
ของผดู าํ รงตาํ แหนงนติ ิกรที่ขอรับ พ.ต.ก. ประกอบดว ย 4 สว น ดงั น้ี
สวนที่ 1 ขอมูลของผูขอรับการคดั เลือก
สว นท่ี 2 คาํ ชีแ้ จงในการประเมิน
สว นท่ี 3 การประเมนิ สมรรถนะ
สว นท่ี 4 สรปุ ผลการประเมินคุณลกั ษณะและพฤติกรรม (สมรรถนะ)
หมายเหตุ แบบ พ.ต.ก. 1-3 (แบบประเมินสมรรถนะ) มีท้ังหมด 6 แบบ โดยแบง
ตามสมรรถนะท่ีคาดหวงั ของตาํ แหนงนติ กิ รแตละระดับ ดังนี้
- แบบ พ.ต.ก. 1-3 (นติ กิ รระดบั ปฏิบตั ิการ – นติ ิกรศาล)
- แบบ พ.ต.ก. 1-3 (นติ กิ รระดบั ชํานาญการ – นติ ิกรศาล)
- แบบ พ.ต.ก. 1-3 (นิตกิ รระดบั ชํานาญการพเิ ศษ – นิตกิ รศาล)
- แบบ พ.ต.ก. 1-3 (นิติกรระดับปฏิบัติการ – นิติกรสวนกลาง)
- แบบ พ.ต.ก. 1-3 (นติ กิ รระดบั ชาํ นาญการ – นติ กิ รสวนกลาง)
- แบบ พ.ต.ก. 1-3 (นติ กิ รระดบั ชาํ นาญการพเิ ศษ – นิติกรสวนกลาง)

326 318
2. แบบการพิจารณาคัดเลือกผูดํารงตําแหนงเฉพาะดาน (นิติการ) ระดับตน ใหไดรับ
พ.ต.ก. ประกอบดวยแบบ พ.ต.ก. 2-1 แบบ พ.ต.ก. 2-2 และแบบ พ.ต.ก. 2-3 ดังน้ี

1) แบบ พ.ต.ก. 2-1 : แบบสรุปคุณสมบัติและผลงานของผูดํารงตําแหนง
ผูอํานวยการเฉพาะดาน (นิติการ) ระดับตน สําหรับการพิจารณาใหไดรับเงินเพ่ิมสําหรับตําแหนง
ทม่ี เี หตพุ ิเศษ ตาํ แหนง นิติกร เปนแบบฟอรมสําหรับใชแ สดงขอมูลสวนบุคคลและสรุปผลการปฏิบัติงาน
ประกอบดวย 4 สวน

สวนท่ี 1 ขอมลู ทว่ั ไป (ขอ มูลสว นบุคคล ประวตั กิ ารศกึ ษา ประวัติการรับราชการ
ประวัติการฝกอบรมดูงาน การไดรับคําสั่งมอบหมายใหไปปฏิบัติงานอ่ืน และประวัติการไดรับเงินเพ่ิม
สาํ หรบั ตาํ แหนงท่มี ีเหตุพิเศษ ตําแหนง นิตกิ ร)

สวนท่ี 2 ประวัติการปฏิบัติงาน (หนาท่ีความรับผิดชอบของตําแหนง
ในปจจบุ ันและสรปุ ผลการปฏบิ ตั ิงานดานกฎหมาย)

สว นท่ี 3 ผลงาน/ผลสาํ เร็จของงานท่ีมีคุณภาพและเปนที่ยอมรับหรือขอเสนอ
การปรบั ปรงุ และพัฒนางานดา นกฎหมาย

สว นท่ี 4 ความเห็นของผูบงั คบั บญั ชาท่กี ํากับดูแลการปฏบิ ัติงาน
2) แบบ พ.ต.ก. 2-2 : แบบการพิจารณาคัดเลือกบุคคลใหไดรับเงินเพ่ิมสําหรับ
ตําแหนงท่ีมีเหตุพิเศษ ตําแหนงผูอํานวยการเฉพาะดาน (นิติการ) เปนแบบฟอรมสําหรับใชตรวจสอบ
คุณสมบัติของบุคคล และสรุปผลการประเมินความรู ความสามารถของผูดํารงตําแหนงผูอํานวยการ
เฉพาะดา น (นิติการ) เพ่ือใหไ ดรบั พ.ต.ก. ประกอบดวย 2 สวน ดงั น้ี

สว นที่ 1 การตรวจสอบคณุ สมบัตขิ องบคุ คล
สว นท่ี 2 สรุปผลการประเมนิ ความรูค วามสามารถของบุคคล
3) แบบ พ.ต.ก. 2-3 : แบบการพิจารณาคัดเลือกบุคคลใหไดรับเงินเพ่ิมสําหรับ
ตําแหนงที่มีเหตุพิเศษ ตําแหนงผูอํานวยการเฉพาะดาน (นิติการ) เปนแบบฟอรมที่ใชประเมิน
คุณลักษณะและพฤติกรรม (สมรรถนะ) ของผูอํานวยการเฉพาะดาน (นิติการ) ท่ีขอรับ พ.ต.ก.
ประกอบดว ย 4 สว น ดังนี้
สวนท่ี 1 ขอมลู ของผูขอรับการคัดเลือก
สวนที่ 2 คําช้แี จงในการประเมิน
สวนที่ 3 การประเมนิ สมรรถนะ
สวนที่ 4 สรุปผลการประเมินคณุ ลักษณะและพฤตกิ รรม (สมรรถนะ)

327

327 319

9
กำรแต่งต้งั เจ้ำพนักงำนคดี และค่ำตอบแทนพเิ ศษ

เ ิงนเ ่ิพมแลกะ คลุามตท่ีอบ๔แทน ิพเศษ

328

329 320

ระเบยี บคณะกรรมการขาราชการศาลยุตธิ รรม
วา ดว ยการแตง ต้งั เจา พนักงานคดี
พ.ศ. 2551

อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 5 วรรคสอง แหงพระราชบัญญัติวิธีพิจารณา เ ิงนเ ่ิพมแลกะ คลุามตท่ีอบ๔แทน ิพเศษ
คดผี ูบรโิ ภค พ.ศ. 2551 และมาตรา 21 (1) (6) และ (9) แหงพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการ
ศาลยุติธรรม พ.ศ. 2543 คณะกรรมการขาราชการศาลยุติธรรม (ก.ศ.) โดยไดรับความเห็นชอบจาก
คณะกรรมการบรหิ ารศาลยตุ ธิ รรม (ก.บ.ศ.) ออกระเบียบไว ดงั ตอไปนี้

ขอ 1 ระเบียบนี้เรียกวา “ระเบียบคณะกรรมการขาราชการศาลยุติธรรม วาดวย
การแตงตง้ั เจาพนกั งานคดี พ.ศ. 2551”

ขอ 21 ระเบียบนใี้ หใชบงั คับตัง้ แตว นั ถดั จากวันประกาศในราชกจิ จานเุ บกษาเปนตน ไป
ขอ 2/12 เจาพนักงานคดี หมายความวา บุคคลหรือขาราชการศาลยุติธรรมซ่ึงไดรับ
แตงตั้งจากเลขาธิการสํานักงานศาลยุตธรรมใหดํารงตําแหนงเจาพนักงานคดีตามพระราชบัญญัติ
วิธีพิจารณาคดีผูบริโภค พ.ศ. 2551 หรือตําแหนงเจาพนักงานคดีตามพระราชบัญญัติวิธีพิจารณา
คดีทุจริตและประพฤติมิชอบ พ.ศ. 2559 หรือเจาพนักงานคดีแบบกลุมตามประมวลกฎหมาย
วิธีพิจารณาความแพง
ขอ 3 ใหเลขาธิการสํานักงานศาลยุติธรรมมีอํานาจพิจารณาแตงตั้งเจาพนักงานคดี
ซึง่ ตอ งมีคุณสมบตั อิ ยา งหน่ึงอยางใด ดังตอไปนี้
(1) สาํ เร็จการศึกษาระดบั ปริญญาโททางกฎหมายหรือปรญิ ญาเอกทางกฎหมาย
(2) สําเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีทางกฎหมาย เปนสามัญสมาชิกแหงเนติบัณฑิตยสภา
และไดประกอบวิชาชีพทางกฎหมายตามท่ี ก.ศ. กาํ หนดเปนเวลาไมนอยกวาหน่ึงป
(3) สําเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีทางกฎหมายและปริญญาในสาขาวิชาอื่นท่ี ก.ศ.
กําหนดซึง่ ไมต่ํากวาปริญญาตรี และไดประกอบวชิ าชีพอนื่ ตามที่ ก.ศ. กาํ หนดเปนเวลาไมน อยกวาสปี่ 
ขอ 4 การประกอบวชิ าชพี ทางกฎหมายตามขอ 3 (2) ไดแก เปน เจาพนักงานพิทักษทรัพย
เจาพนักงานบังคับคดี พนักงานอัยการ นายทหารเหลาพระธรรมนูญ ทนายความหรือเปนผูประกอบ
วชิ าชพี อยางอนื่ ท่เี กยี่ วเน่ืองกบั กฎหมาย ไดแก

1 ราชกิจจานุเบกษา เลม 125/ตอนท่ี 70 ก/หนา 14/23 พฤษภาคม 2551
2 ขอ 2/1 เพ่ิมโดยระเบียบคณะกรรมการขาราชการศาลยุติธรรม วาดวยการแตงต้ังเจาพนักงานคดี
(ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2560


Click to View FlipBook Version