The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เล่ม วิจัย ราชภัฏ ธนบุรี proceeding 2559

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Thaninrat Kritchanthat Sirivisalsuwan, 2020-02-09 02:00:01

Proceeding ราชภัฏธนบุรี ระดับชาติ

เล่ม วิจัย ราชภัฏ ธนบุรี proceeding 2559

36 เอกสารสืบเนอ่ื งจากการประชุมวิชาการและนําเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ 2559 “การวจิ ยั รบั ใชช" มุ ชนสรา" งสังคมฐานความร"ู”

ข้ันที่ 2 การเติมข"อมูลท่ีขาดหายไปให"สมบูรณ* (The information gap principle) เปVนกิจกรรมท่ีนักเรียนอ0านบทอ0าน
แล"วจับค0ูทําใบงาน อ0านและเขียนเติมข"อมูลที่หายไปให"สมบูรณ* โดยครูเป–ดโอกาสให"นักเรียนท่ีได"รับใบงานต0างกันได"ฟnง-พูดและ
สนทนาถาม-ตอบข"อมูลซ่ึงกันและกัน เพื่อให"ได"ข"อมูลที่ตนต"องการในข้ันนี้เปVนกิจกรรมท่ีเน"นนักเรียนเปVนศูนย*กลาง (Child
Centered) เพ่ือให"นักเรียนได"เกิดการปฏิสัมพันธ* (Interaction) ระหว0างนักเรียน ซึ่งตรงกับความเปVนจริงที่ว0าการติดต0อส่ือสาร
ระหว0างบุคคลจะเกิดข้ึนได"ก็ต0อเมื่อฝ…ายใดฝ…ายหน่ึงไม0ทราบข"อมูล ดังแนวคิดของ บราวน* (Brown, 1980) และเวอร*เดอเบอร*
(Verderber,1996) ทีม่ แี นวคดิ ท่ตี รงกนั วา0 การสื่อสารเปVนกระบวนการรับและส0งสารที่เกี่ยวกบั บุคคลอย0างน"อย 2 คน โดยเวอรเ* ดอ
เบอร* ช้ีให"เห็นว0า การสอื่ สารจะต"องประกอบดว" ย บริบท (Context) ผ"ูรบั และสง0 สาร (Participants) สาระ (Message) เครื่องมือใน
การสื่อสาร (Channels) เสยี ง (Noise) และปฏกิ ริ ิยาตอบสนอง (Feedback) สว0 นแนวคิด ของบราวน* คือ การส่ือสารจะเก่ียวข"อง
ทงั้ ด"านการฟnง การพูด การอา0 น และการเขยี น การพูดจะมคี วามหมายและก0อให"เกดิ การสื่อสารก็ตอ0 เม่ือผูร" บั มีความเขา" ใจและมีการ
ตอบสนองตอ0 การส่อื สารนั้น ๆ แสดงให"เห็นว0าการส่ือสารมีประสิทธิภาพ ดังนั้นการส่ือสารจะต"องมีความหมายท้ังต0อผู"ส0งสารและ
ผู"รับสาร เช0นเดียวกับคํากล0าวของ วิรัช คูหาวันต* (2547) ท่ีกล0าวว0า หลักการจัดกิจกรรมการส่ือสารของ คีธ จอห*นสัน (Keith
Johnson) เปVนการสื่อสารท่ีเน"นนักเรียนได"มีปฏิสัมพันธ*กับนักเรียนด"วยกันเอง (Interaction) โดยผ"ูสอนเปVนเพียงผ"ูชี้แนะแนวทาง
และเปVนผู"อํานวยความสะดวก (Teacher as a facilitator) ดูแลเก่ียวกับการใช"ภาษาของนักเรียนและแก"ไขข"อผิดพลาดเท0าท่ี
จาํ เปVนโดยต"องไม0ทําให"การสื่อสารชะงักงัน นอกจากน้ีการท่ีนักเรียนได"ทํากิจกรรมค0ูเพื่อแลกเปลี่ยนข"อมูลซึ่งกันและกัน เพื่อให"ได"
ขอ" มูลท่คี รบถว" นยังเปนV การบรู ณาการทักษะทางภาษาอังกฤษทัง้ 4 ทกั ษะ (Integrated 4 skills) คอื ทกั ษะการฟงn การพูด การอา0 นและ
การเขยี น ดงั คาํ กล0าวของ อญั ชนา ราศรี (2538) ท่ีกล0าวว0า วิธีสอนตามแนวทฤษฎีการสอนภาษาเพ่ือการสื่อสารของ คีธ จอห*นสัน
(Keith Johnson) เปVนวิธีสอนท่ีเป–ดโอกาสให"นักเรียนได"รับปnจจัยป•อน (Input) ท่ีมีความหมายเข"าใจได"แล"วผสมผสาน (Integrate)
ข"อมูลทไี่ ด"รบั เข"ากับประสบการณเ* ดมิ ของตน ซงึ่ จะเป–ดโอกาสให"นักเรียนได"ฝuกใช"ทักษะการฟnง การพูดการอ0านและการเขียน เพ่ือ
ใช"ในการสอ่ื สารกบั ผูอ" ่ืนได"ตามความคิดของตนเอง จงึ ส0งผลให"นักเรยี นมีความสามารถในการอ0าน-การเขียนหลังการทดลองสูงกว0าก0อน
การทดลอง

ข้ันท่ี 3 การต0อข"อมูลให"สมบูรณ* (The jigsaw principle) เปVนกิจกรรมท่ีนักเรียนแบ0งกลุ0ม ๆ ละ 4 คน อ0านและเขียน
เรยี งลาํ ดับเหตุการณข* องเนื้อเร่ืองให"ถูกต"อง ในขั้นน้ีนักเรียนเกิดการปฏิสัมพันธ*ระหว0างนักเรียนกับนักเรียน (Interaction)ในการ
รว0 มมือกันเรียงลําดับเหตกุ ารณข* องเนอ้ื เร่ืองโดยอาศัยประสบการณเ* ดิม (Schema) เกย่ี วกับบทอ0านทเี่ รยี นมาแลว" ในขัน้ ที่ 2 มาชว0 ย
ในการทําใบงานอา0 นและเขยี นเรียงลาํ ดบั เหตุการณ*ของเน้ือเร่ืองให"ถูกต"อง ดังคํากล0าวของ คมสันต์ิ เณรฐานันท* (2553) ที่กล0าวว0า
สกีมา คือ หนว0 ยความรู"ทง้ั หลายที่บุคคลเก็บสะสมไว"ในสมอง หน0วยความร"ูทเี่ ก่ียวขอ" งกันจะโยงใยกันเปVนเครือข0าย หากข"อมูลใหม0ท่เี ข"า
มามคี วามสมั พนั ธ*กบั ขอ" มูลเดมิ ทีม่ ีอยู0เราก็จะเข"าใจขอ" มลู ใหม0น้ันได"และจะเก็บขอ" มูลใหม0น้ันรวมไว"ในระบบ โดยเช่ือมโยงกับข"อมูล
เดิมท่มี อี ย0ู ความร"ูเดิมที่นํามาใช"ช0วยในการอา0 นเพอ่ื ความเข"าใจจะเปVนความรเ"ู ดมิ เกี่ยวกับตัวภาษา และความรเ"ู ดมิ เกี่ยวกับเรื่องที่จะ
อ0านและประสบการณ*เกี่ยวกับกระบวนการอ0านของแต0ละคน ผู"อ0านที่ใช"ความร"ูเดิมเข"ามาช0วยในการอ0านจะอ0านได"รวดเร็วกว0า
เพราะจะอ0านในลกั ษณะการทดสอบขอ" คาดเดา ไม0ใชอ0 า0 นแบบแปล เรียงลําดับคํา และให"ความสําคัญกับ ทุกคํา ทุกประโยคท่ีอ0าน
อยา0 งเทา0 เทยี มกนั ซงึ่ การทํางานกลมุ0 โดยอาศัยประสบการณ*เดิมจากการเรียนร"บู ทอ0านจะช0วยให"นักเรียนสามารถเขียนเรียงลําดับ
เหตกุ ารณข* องเน้ือเร่อื งทอ่ี 0านได"อย0างถกู ตอ" ง จงึ ทําให"นกั เรียนมีความสามารถในการอา0 น-การเขียนหลังการทดลองสงู กวา0 กอ0 นการทดลอง

ขั้นที่ 4 การพงึ่ พาอาศัยขอ" มูลซึง่ กันและกนั (The task dependency principle) เปVนกจิ กรรมที่ใหน" ักเรียนใช"ประโยชน*
จากข"อมูลท่ีเรียนมาแล"วมาทํากิจกรรม โดยนักเรียนแบ0งกลุม0 ๆ ละ 4 คน อ0านและเขียนตอบคําถามจากบทอ0าน ในขั้นน้ีทําให"
นักเรยี นมีการปฏิสัมพนั ธ* (Interaction) ระหวา0 งนักเรยี นในกลม0ุ โดยการนําความรูป" ระสบการณ*เดมิ (Schema) จากสงิ่ ที่เรียนมา
ในข้ันที่ 1-3 มาแลกเปลี่ยนเรียนร"ูเพ่ือหาคําตอบที่ถูกต"องจากเน้ือเร่ืองท่ีอ0าน ซึ่งในการทํากิจกรรมน้ีทําให"นักเรียนเกิดความคิด
สร"างสรรค*ในระหว0างการปฏิบัติงานกล0ุม ดังคํากล0าวของ จิตราวดี วันชนะ (2557) ที่กล0าวว0า ในข้ันนี้นักเรียนจะทํางานเปVนกล0ุม
ในกลุ0มจะมีนักเรียนท่ีเก0ง อ0อนและปานกลางอยู0รวมกัน เพื่อกระต"ุนให"นักเรียนเกิดความกล"าแสดงออก คิดอย0างสร"างสรรค*
นักเรียนตอ" งรว0 มกันเขียนตอบคาํ ถาม เปVนข้ันทสี่ 0งเสริมใหน" ักเรียนได"ฝกu กระบวนการคดิ อย0างเปนV ระบบ ฝกu การใชเ" หตุผล ยอมรับฟnง

เอกสารสบื เนอ่ื งจากการประชมุ วชิ าการและนําเสนอผลงานวิจยั ระดบั ชาติ 2559 “การวิจัยรบั ใช"ชมุ ชนสรา" งสงั คมฐานความรู"” 37

ความคดิ เห็นของผอู" น่ื การเปVนผ"ูนาํ และผู"ตามทีด่ ี โดยนักเรียนแตล0 ะคนจะใชท" กั ษะความรู"ของตนแลกเปล่ยี นความคิดเห็น อภิปราย
เพื่อให"ได"มาซ่ึงคําตอบของกล0ุม สร"างความมีส0วนร0วมและฝuกทักษะทางภาษาในสถานการณ*จริง (Real Situation) จึงส0งผลให"
นักเรยี นเกิดความสามารถในการอา0 น-การเขยี นหลงั การทดลองสงู กว0ากอ0 นการทดลอง

ข้ันที่ 5 การแก"ไขข"อมูลให"ถูกต"องตามเน้ือหา (The correction for content principle) เปVนกิจกรรมที่ตรวจสอบว0า
นักเรียนสามารถแลกเปล่ียนข"อมูลได"ถูกต"องหรือไม0 โดยครูให"นักเรียนแต0ละกล0ุมอ0านคําถามและคําตอบในใบงาน เพ่ือร0วมกัน
ตรวจสอบความถูกต"องของคําตอบและการใชภ" าษาอังกฤษในการส่ือสาร ถา" มีขอ" ผิดพลาดเกี่ยวกับความถูกต"องของคําตอบและการ
ใช"ภาษาอังกฤษในการส่ือสาร ครจู ะสรุปและใหค" ําแนะนําการใช"ภาษาท่ีถูกต"อง ทําให"นักเรียนสามารถใช"ภาษาได"อย0างถูกต"องตาม
โครงสรา" งทางภาษา (Language use) ซ่ึงในขั้นนเี้ ปVนการวัดและประเมินผลตามสภาพจริง (Authentic Assessment) และมุ0งเน"นการ
สอนภาษาเพือ่ สือ่ ความหมาย (Focus on Meaning) เน่ืองจากในการตรวจสอบนัน้ ไม0ใช0การตรวจแก"ไวยากรณ* ครูจะตรวจแก"ก็ต0อเมื่อ
ข"อผดิ พลาดน้ันทําให"ความหมายในการสอ่ื สารผิดไปเท0านั้น จึงทําให"นักเรียนทราบข"อบกพร0องของตนเองและมีความกระตือรือร"น
ในการทํากิจกรรมมากข้ึน ดังคํากล0าวของ เทเลอร*และบรมฟ–ท (Talor & Brumfit อ"างถึงใน อรุณี วิริยะจิตรา, 2532) ที่กล0าวว0า
การสอนภาษาเพื่อการสื่อสาร คือ การสอนท่ีเป–ดโอกาสให"นักเรียนมีปฏิสัมพันธ*โดยตรงกับภาษาที่จะเรยี น ซึ่งนักเรียนจะเรียนรู"
ภาษาดว" ยการใช"ภาษามากกวา0 การเรียนด"วยการเรยี นโครงสร"างทางภาษา โดยจะใหค" วามสําคัญกบั ความคลอ0 งแคล0วในการใช"ภาษา
(Fluency) มากกว0าความถูกต"องของภาษา (Accuracy) ซ่ึงเปVนการเรียนร"ูท่ีสอดรับกับการเรียนร"ูในศตวรรษท่ี 21 จึงส0งผลให"
นกั เรียนมีความสามารถในการอ0าน-การเขยี นหลังการทดลองสูงกวา0 ก0อนการทดลอง

ผลการวจิ ัยคร้ังนี้ สอดคล"องกับผลการวิจัยของ วิรัช คูหาวนั ต* (2547) ท่ีได"ศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการอ0านภาษาอังกฤษของ
นักศึกษาระดับปริญญาตรีป4ท่ี 1 โดยใช"กิจกรรมการสอนภาษาเพื่อการส่ือสารของ คีธ จอห*นสัน ผลการวิจัยพบว0า นักศึกษามี
ความสามารถในการอ0านภาษาอังกฤษแตกต0างจากก0อนการทดลองอย0างมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .01 และยังสอดคล"องกับ
ผลการวิจัยของ รัชนี ปลื้มมีชัย (2551) ท่ีได"ศึกษาเปรียบเทียบความเข"าใจในการอ0านและความสนใจในการเรียนภาษาอังกฤษของ
นักเรียนช้ันประถมศึกษา ป4ที่ 5 ที่ได"รับการสอนตามแนวทฤษฎีการสอนภาษาเพื่อการส่ือสารของ คีธ จอห*นสัน กับการสอนตาม
ค0มู อื ครู ผลการวจิ ยั พบว0า นักเรียนท่ีได"รับการสอนตามแนวทฤษฎีภาษาเพ่ือการสื่อสารของ คีธ จอห*นสันหลงั การทดลอง มีความ
เข"าใจในการอ0านภาษาอังกฤษสูงกว0านักเรียนที่ได"รับการสอนอ0านตามค0ูมือครู อย0างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 อีกท้ังยัง
สอดคล"องกับผลการวิจัยของ จติ รวดี วนั ชนะ (2557) ท่ีได"ศกึ ษาความสามารถในการอ0าน-เขียนและเจตคติต0อการเรียนภาษาอังกฤษ
ของนกั เรียนชัน้ ประถมศึกษาป4ที่ 4 ด"วยวิธีสอนตามแนวทฤษฎีการสอนภาษาเพื่อการสื่อสารของ คีธ จอห*นสัน ผลการวิจัยพบว0า
ความสามารถในการอ0าน-เขียนภาษาอังกฤษและเจตคติของนักเรียนท่ีได"รับการสอนตามแนวทฤษฎีภาษาเพื่อการส่ือสารของ คีธ
จอห*นสัน หลังการทดลองสูงกว0ากอ0 นการทดลองอยา0 งมนี ัยสําคญั ทางสถติ ิท่รี ะดบั .01

จากการอภิปรายผลการวิจัยดังกล0าวสามารถสรุปได"ว0า วิธีสอนตามแนวทฤษฎีการสอนภาษาเพื่อการสื่อสารของ คีธ จอห*นสัน
(Keith Johnson) เปVนวิธีสอนที่สามารถพัฒนาให"นักเรียนมีความสามารถในการอ0าน-การเขียนภาษาอังกฤษได"อย0างมีประสิทธิภาพ
นอกจากน้ียงั พบว0าการทนี่ ักเรียนไดใ" ชป" ระสบการณเ* ดมิ ทางภาษา (Schema) และการบรู ณาการทกั ษะทางภาษาท้งั 4 ทักษะ (Integrated 4
skills) ในการทํากิจกรรมทั้งชั้น กิจกรรมท้ังกล0ุม กิจกรรมค0ูและกิจกรรมรายบุคคล ทําให"นักเรียนมีความสุข สนุกสนานในการเรียน
ภาษาอังกฤษ นักเรียนจึงมีความสนใจและมีเจตคติที่ดีต0อการเรียนภาษาอังฤษ และในกระบวนการจัดการเรียนร"ูยังทําให"นักเรียนเกิด
ความคิดสรา" งสรรค* (Creative Thinking) และไม0ทงิ้ โครงสรา" งทางภาษา (Language use) ซง่ึ เปนV การใชภ" าษาองั กฤษได"อย0างถูกต"อง จึงนับ
ได"วา0 วธิ สี อนตามแนวทฤษฎีการสอนภาษาเพ่ือการส่ือสารของ คธี จอหน* สัน (Keith Johnson) เปVนวธิ สี อนภาษาเพื่อการสื่อสารอย0างแทจ" ริง

38 เอกสารสืบเนอ่ื งจากการประชุมวชิ าการและนําเสนอผลงานวจิ ัยระดบั ชาติ 2559 “การวจิ ัยรบั ใชช" มุ ชนสรา" งสงั คมฐานความร"ู”

ขอเสนอแนะ

ขอเสนอแนะสาํ หรับการนําไปประยุกต-ใช
1. การจัดการเรียนการสอนโดยใช"วิธีสอนตามแนวทฤษฎีการสอนภาษาเพื่อการส่ือสารของ คีธ จอห*นสัน (Keith

Johnson) ครูควรใช"เนื้อหาจากส่ือเอกสารจริง (Authentic material) ที่มีความยากง0ายของคําศัพท* สํานวนและโครงสร"างของ
ประโยคท่ีเหมาะสมกบั ระดับความสามารถของนักเรียนและมคี วามสอดคลอ" งกบั หลักสูตรของระดับชั้น

2. การจัดการเรียนการสอนโดยใช"วิธีสอนตามแนวทฤษฎีการสอนภาษาเพ่ือการส่ือสารของ คีธ จอห*นสัน (Keith
Johnson) ครูควรเตรียมสื่อการเรียนการสอนและใบงานต0าง ๆ ให"เพียงพอกับจํานวนนักเรียน เพ่ือให"นักเรียนได"ทํากิจกรรมท่ีมี
การบูรณาการทักษะทางภาษาท้ัง 4 ทักษะ คือ การฟnง การพูด และการอ0าน เพื่อเอื้อให"นักเรียนทุกคนได"ปฏิบัติภาระงานทาง
ภาษาอังกฤษดว" ยตนเอง

3. การจัดการเรียนการสอนโดยใช"วิธีสอนตามแนวทฤษฎีการสอนภาษาเพื่อการสื่อสารของ คีธ จอห*นสัน (Keith
Johnson) ครูควรดําเนินการสอนตามขน้ั ตอนการสอนทั้ง 5 ข้นั ตอนอยา0 งเปนV ระบบ เพ่ือให"นักเรียนได"เกดิ การบูรณาการทักษะทาง
ภาษา (integrated 4 skills) และมีปฏิสัมพันธ* (interaction) กบั เพอ่ื นท้ังงานชน้ั งานกลุ0ม งานคู0และงานเดี่ยว และในการทํางาน
กลุ0มควรจัดใหน" ักเรียนเขา" กล0ุมแบบคละความสามารถทางการเรียน โดยมีนักเรียนเกง0 ปานกลางและอ0อนกล0มุ ละเทา0 ๆ กัน เพ่ือให"
นักเรียนไดช" ว0 ยเหลอื ซ่งึ กันและกันและเรยี นรร"ู 0วมกนั อย0างมีความสขุ

4. วิธีสอนตามแนวทฤษฎีการสอนภาษาเพื่อการส่ือสารของ คธี จอห*นสัน (Keith Johnson) สามารถใช"จัดการเรียนการ
สอนไดท" ุกระดับชน้ั แต0ครคู วรศกึ ษาหลักสตู รเพอ่ื ใหส" ามารถจดั ภาระงานใหเ" หมาะสมกับระดับช้ัน จึงจะทําให"การจัดการเรียนการ
สอนมีประสิทธภิ าพ

ขอเสนอแนะสาํ หรับการวิจัยคร้งั ตอไป
1. ควรทาํ การศึกษาวิจัยโดยใชว" ิธีสอนตามแนวทฤษฎีการสอนภาษาเพ่ือการส่ือสารของ คีธ จอห*นสัน (Keith Johnson) กับตัว

แปรตามอน่ื ๆ เชน0 เจตคตแิ ละความคดิ สร"างสรรค* เปนV ต"น
2.ควรทาํ การศึกษาวิจัยเปรียบเทียบวิธีสอนตามแนวทฤษฎีการสอนภาษาเพื่อการสื่อสารของ คีธ จอห*นสัน (Keith Johnson)

กับวธิ ีสอนอืน่ ๆ เช0น วิธีสอนตามคมู0 อื ครู
3. ควรทําการศึกษาวิจัยเร่ืองความสามารถในการฟnง-การพูดภาษาอังกฤษของนักเรียน โดยใช"วิธีสอนตามแนวทฤษฎีการสอน

ภาษาเพื่อการสื่อสารของ คีธ จอห*นสัน (Keith Johnson) ในระดับชั้นมัธยมศึกษา โดยใช"เน้ือหาท่ีสัมพันธ*กับกลุ0มสาระการเรียนอ่ืน ๆ เช0น
วิทยาศาสตร* (Science) เทคโนโลยี (Technology) วิศวกรรมศาสตร* (Engineering) และคณิตศาสตร* (Mathematics) เปVนต"น เพ่ือให"การจัดเรียนรู"
สัมพนั ธก* ับกล0มุ สาระการเรียนร"ูอ่ืน ๆ

4. ควรพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช"วิธีสอนตามแนวทฤษฎีการสอนภาษาเพ่ือการสื่อสารของ คีธ จอห*นสัน
(Keith Johnson) ไปสร0ู ปู แบบดิจทิ ลั (Digital) โดยใช"เทคโนโลยีสารสนเทศ (ICT) เพอ่ื รองรบั การเรียนรใู" นศตวรรษที่ 21

เอกสารอางอิง

กระทรวงศกึ ษาธิการ. (2551). หลักสตู รแกนกลางการศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551. กรงุ เทพฯ : ผู"แต0ง.

______. (2557). แนวปฏบิ ัติตามประกาศกระทรวงศึกษาธกิ าร เรอ่ื ง นโยบายการปฏริ ูปการเรยี นการสอน

ภาษาอังกฤษ. ค"นเมือ่ ตลุ าคม 1, 2557, จาก http://English.obec.go.th/2013/ index.php/th/
2012-08-08-10-26-5/62-2014-04-24-10-26-10

เอกสารสืบเนอ่ื งจากการประชมุ วิชาการและนําเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ 2559 “การวิจัยรบั ใช"ชมุ ชนสรา" งสังคมฐานความร"ู” 39

คมสันต* เณรฐานันท*. (2553). การศกึ ษาความเขาใจและความสนใจในการอานภาษาองั กฤษของนักเรียนช้ันประถมศกึ ษา
ปท่ี 5 โรงเรียนบานหวยเชอื ก อาํ เภอกระนวน จังหวัดขอนแกน ท่ีไดรับการสอนอานตามแนวทฤษฏกี ารสอนภาษา
แบบอรรถฐาน (Genre-Based Approach) โดยใชอรรถลกั ษณะของนิทาน (Narrative Genre Features).
วทิ ยานิพนธค* รุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวชิ าการสอนภาษาองั กฤษในฐานะภาษาต0างประเทศ บณั ฑิตวทิ ยาลัย
มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏหมบู0 า" นจอมบึง.

จติ รวดี วนั ชนะ. (2557). การศกึ ษาความสามารถในการอาน-เขยี นและเจตคตติ อการเรยี นภาษาอังกฤษของนักเรียน
ชัน้ ประถมศกึ ษาปที่ 4 โรงเรยี นเทศบาล 2 (วดั ชองลม) ดวยวธิ ีสอนตามแนวทฤษฎกี ารสอนภาษาเพอื่ การส่อื สาร
ของ คีธ จอหน- สัน (Keith Johnson). วิทยานิพนธ*ครศุ าสตรมหาบณั ฑิต สาขาวชิ าการสอนภาษาอังกฤษในฐานะ
ภาษาต0างประเทศ บณั ฑติ วิทยาลยั มหาวทิ ยาลัยราชภัฏหม0ูบา" นจอมบึง.

รชั นี ปล้ืมมีชัย. (2551). การเปรยี บเทยี บความเขาใจในการอานและความสนใจในการเรียนภาษาอังกฤษของนกั เรยี น
ช้นั ประถมศกึ ษาปที่ 5 ทไี่ ดรับการสอนตามแนวทฤษฎกี ารสอนภาษาเพือ่ การสอ่ื สารของ คีธ จอห-นสัน กับการ
สอนตามคมู ือครู. วทิ ยานพิ นธ*ครศุ าสตรมหาบณั ฑติ สาขาการสอนภาษาองั กฤษในฐานะภาษาตา0 งประเทศ
บัณฑิตวทิ ยาลยั มหาวทิ ยาลัยราชภฏั หม0บู า" นจอมบึง.

โรงเรียนวดั เขาส"ม. (2556). รายงานผลการพฒั นาคุณภาพผูเรียนโรงเรยี นวัดเขาสม ปการศกึ ษา 2556. ราชบุรี : ผแ"ู ต0ง.

______. (2557). รายงานผลการพฒั นาคุณภาพผเู รยี นโรงเรยี นวดั เขาสม ปการศกึ ษา 2557. ราชบุรี : ผ"แู ตง0 .
______. (2558). รายงานผลการพฒั นาคณุ ภาพผเู รียนโรงเรยี นวดั เขาสม ปการศกึ ษา 2558. ราชบรุ ี : ผแู" ตง0 .

วิรัช คูหาวนั ต*. ( 2547). การศกึ ษาผลสมั ฤทธ์ทิ างการอานภาษาอังกฤษของนักศึกษาระดบั ปริญญาตรีปที่ 1 สถาบนั เทคโนโลยี
ราชมงคล วทิ ยาเขตพาณิชยการพระนคร โดยใชกจิ กรรมการสอนภาษาเพอ่ื
การสอื่ สารของ คธี จอห-นสัน. ปรญิ ญานพิ นธก* ารศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาเอกมัธยมศึกษา
บณั ฑิตวิทยาลัย มหาวทิ ยาลัยศรนี ครินทรวโิ รฒ.

สถาบนั ทดสอบการศึกษาแห0งชาติ (องคก* ารมหาชน). (2559). รายงานผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติขนั้ พืน้ ฐาน
(O-NET). ค"นเม่ือ มนี าคม 31, 2559, จาก http://www.onetresult.niets.or.th/
AnnouncementWeb/School/frSbjStatValueBySchool.aspx?mi=3&smi=3

สมเกียรติ อ0อนวิมล. (2554, กรกฎาคม 13). บนั ทึกอาเซียน ASEANDIARY: การใช"ภาษาองั กฤษและภาษาอน่ื ในภมู ิภาคกบั อนาคตไทย
ในอาเซยี น (1). คอลัมน* 1001 "เป–ดเสรไี อที อาเซียน”. เดลินิวส-. คน" เมื่อ ธนั วาคม 8, 2557, จาก
http://www.nstda.or.th/news/5140-20110422-it-passport

สิรวิ รรณ หลา" พันธ*. (2552). การศกึ ษาผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี นวิชาภาษาอังกฤษเพื่อการส่ือสารของนักศึกษาระบบเทยี บโอน
ความรูและประสบการณร- ะดบั ประกาศนยี บตั รวชิ าชพี ของวทิ ยาลยั การอาชีพกาญจนาภิเษกหนองจอกทเี่ รียน
โดยวิธีจดั กจิ กรรมเพ่อื การส่ือสารตามหลกั ของ Keith Johnson. ปรญิ ญานพิ นธ*ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชา
การสอนภาษาองั กฤษ บัณฑติ วทิ ยาลัย มหาวิทยาลัยรามคาํ แหง.

สุมติ รา องั วฒั นกลุ . (2540). แนวคิดและเทคนิควธิ ีการสอนภาษาองั กฤษระดับมธั ยมศกึ ษา. กรงุ เทพฯ : จุฬาลงกรณ*
มหาวิทยาลยั .

อรณุ ี วริ ิยะจิตรา. (2532). การเรยี นการสอนภาษาเพ่อื การสื่อสาร. กรงุ เทพฯ : อักษรเจริญทศั น*.
อัจฉรา วงศโ* สธร. (2538). การทดสอบและการประเมินผลการเรียนการสอนภาษาองั กฤษ. กรงุ เทพฯ : สถาบันภาษา จุฬาลงกรณ*

มหาวิทยาลัย.
อญั ชนา ราศี. (2538). การเปรยี บเทยี บความสามารถในการฟงa -การพดู ภาษาอังกฤษเพอื่ การส่อื สารดานการทองเทยี่ วและ

ความสนใจในการเรียนของนักเรยี นช้ันมธั ยมศกึ ษาปท่ี 4 ทไ่ี ดรับการสอนตามหลักการจดั กิจกรรมเพอ่ื การสอ่ื สาร
ของ คธี จอห-นสนั (Keith Johnson) และการสอนตามคูมือครู. ปริญญานิพนธก* ารศกึ ษามหาบัณฑิต สาขาวิชาเอก

40 เอกสารสบื เนอื่ งจากการประชมุ วชิ าการและนําเสนอผลงานวจิ ัยระดับชาติ 2559 “การวิจยั รับใชช" มุ ชนสรา" งสังคมฐานความร"ู”

มธั ยมศึกษา บณั ฑิตวทิ ยาลัย มหาวิทยาลัยศรนี ครินทรวโิ รฒ.
ฮาสดี ะ— ดนี ามอ (2553). การศึกษาความสารถในการฟaง-พดู ภาษาองั กฤษช้ันมธั ยมศึกษาปท่ี 1 โดยวิธกี ารสอนภาษาเพ่อื การ

สอ่ื สารตามแนวคิดของ คธี จอห-นสัน. ปรญิ ญานิพนธ*การศึกษามหาบณั ฑติ สาขาวิชาหลักสตู รและการสอน บณั ฑิต
วิทยาลยั มหาวทิ ยาลัยทักษณิ .
Brown, D. H. (1980). Principles of Language Learning and Teaching. New Jersey: Prentice Hall.
Cartmill, Vessa Annette. (2003). A Comparative Study of Two Treatment Approaches for
Improving Middle School Student Reading Comprehension. Retrieved June 10, 2015,
from http://etd.lsu.edu/docs/available/etd-0409103-111757/unrestricted/
Cartmill_thesis. pdf
Johnson, K. (1982). Communicative Syllabus Design and Methodology. Oxford: Pergamon.
Obah, T.Y. (1983). Prior Knowledge and the Quest for the New Knowledge: The Third World
Dilemma, Journal of Reading. 27, 129.
Verderber, R. F. (1996). Communicate (8th ed.). Belmont: Wadsworht.

เอกสารสืบเนอื่ งจากการประชมุ วิชาการและนาํ เสนอผลงานวิจัยระดบั ชาติ 2559 “การวจิ ยั รับใชช" มุ ชนสร"างสงั คมฐานความรู"” 41

การศึกษาความเขาใจในการอานภาษาองั กฤษของนักเรยี นช้ันประถมศึกษาปท่ี 5
โรงเรียนบานชัฎเจรญิ โดยใชวธิ ีสอนบทเรยี นสาํ เร็จรูป

ดวยอรรถลักษณะของการพรรณนา (DESCRIPTION GENRE FEATURES)
A STUDY OF ENGLISH REDING COMPREHENSION OF PHATHOM SUEKSA V STUDENTS AT BAN

CHATCHAREAN SCHOOL USING THE INSTRUCTIONAl PACKAGE PROGRAM TEACHING
METHOD BASED ON

DESCRIPTION GENRE FEATURES
ฐิตริ ัตน- นาลาด1 และ ดร. สงวนศรี โทรอค2
Thitirat Naland1 and Dr. Sanguansri Torok2

บทคดั ยอ

การวิจัยคร้ังน้ีมีวัตถุประสงค* เพื่อศกึ ษาความเข"าใจในการอ0านภาษาอังกฤษของนกั เรียนชน้ั ประถมศึกษาป4ที่ 5 โรงเรียน
บ"านชัฎเจริญ โดยใช"วิธีสอนบทเรียนสําเร็จรูป ด"วยอรรถลักษณะของการพรรณนา ก0อนการทดลองและหลังการทดลอง
กลุ0มเป•าหมาย คือ นักเรียนช้ันประถมศึกษาป4ท่ี 5 โรงเรียนบ"านชัฎเจริญ ท่ีเรียนภาษาอังกฤษ (อ 15101) ในภาคเรียนที่ 1 ป4
การศึกษา 2559 รวม 15 คน ซ่ึงไดม" าจากการเลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling) เครื่องมอื ทีใ่ ช"ในการวิจัย ได"แก0 แผนการ
จัดการเรียนรู" โดยใช"วิธีสอนบทเรียนสําเร็จรูป ด"วยอรรถลักษณะของการพรรณนา และแบบทดสอบวัดความเข"าใจในการอ0าน
ภาษาอังกฤษ สถิติทีใ่ ช"ในการวิจัย ได"แก0 ค0าเฉลี่ย ค0าเบ่ียงเบนมาตรฐานและทดสอบสมมุติฐานด"วยการทดสอบหาค0าทีแบบกล0ุม
ทไ่ี มเ0 ปนV อสิ ระตอ0 กัน

ผลการวิจยั พบว0า
ความเข"าใจในการอ0านภาษาอังกฤษของนักเรียนช้ันประถมศึกษาป4ท่ี 5 โรงเรียนบ"านชัฎเจริญ โดยใช"วิธีสอนบทเรียน
สาํ เรจ็ รูป ดว" ยอรรถลกั ษณะของการพรรณนา หลังการทดลองสงู กวา0 ก0อนการทดลอง อย0างมนี ยั สาํ คัญทางสถติ ทิ ่รี ะดบั .01

คําสาํ คญั : ความเข"าใจในการอ0านภาษาอังกฤษ วธิ ีสอนบทเรยี นสาํ เร็จรปู ด"วยอรรถลกั ษณะของการพรรณนา

1 นักศกึ ษาปริญญามหาบัณฑติ สาขาวิชาการสอนภาษาองั กฤษในฐานะภาษาตา0 งประเทศ คณะครศุ าสตร* มหาวทิ ยาลัยราชภัฏหมบู0 า" นจอมบงึ
2 อาจารยท* ีป่ รกึ ษา ดร. สาขาวิชาการสอนภาษาองั กฤษในฐานะภาษาต0างประเทศ คณะครุศาสตร* มหาวทิ ยาลัยราชภัฏหม0บู "านจอมบึง

42 เอกสารสบื เนอื่ งจากการประชุมวชิ าการและนาํ เสนอผลงานวจิ ัยระดบั ชาติ 2559 “การวิจยั รับใช"ชมุ ชนสรา" งสงั คมฐานความรู"”

Abstract

The purposes of this research was to study English reading comprehension of Prathom Sueksa V
students at Ban Chatjarean School using The Instructional Package Program Teaching Method based on
Description Genre Features before the experiment and after the experiment. The samples used in the
research were 15 Prathom Sueksa V students who studied English 1 (Eng 15101) in the first semester of the
2016 academic year at Ban Chatjarean School. They were selected by Purposive Sampling.The instruments
used in the research were lesson plans using the Instructional Package Program Teaching Method based on
Description Genre Features Statistics Used for data analysis were mean, standard deviation and t-test for
dependent samples.

The result of the research indicated that:
English reading comprehension of Prathom Sueksa V at Ban Chatjarean School using The Instructional
Package Program Teaching Method Based on Description Genre Features after the experiment was significantly
increased higher than before the experiment at the .01 level.

KEYWORDS: English reading comprehension, Package Program Teaching Method based on Description Genre
Features

ความเป`นมาและความสําคัญของปaญหา

ปnจจุบันการเรียนร"ูภาษาต0างประเทศ โดยเฉพาะอย0างยิ่งภาษาอังกฤษซ่ึงเปVนภาษาสากลภาษาหน่ึงมีความสําคัญและ
จําเปVนอย0างย่ิงในชีวติ ประจําวัน เน่ืองจากภาษาอังกฤษเปVนเครื่องมือสําคัญในการติดต0อสื่อสาร ทางด"านการศึกษา การแสวงหา
ความร"ู การประกอบอาชีพ การสร"างความเข"าใจเกยี่ วกบั วฒั นธรรม วสิ ยั ทัศน* และความหลากหลายทางวัฒนธรรมและมุมมองของ
สงั คมโลก นาํ มาซึง่ มิตรไมตรแี ละความร0วมมอื อันดกี บั ประเทศต0างๆ การเรียนร"ภู าษาตา0 งประเทศช0วยพัฒนาผ"ูเรียนใหม" คี วามเขา" ใจ
ตนเองและผู"อ่ืนดีข้ึน ทําให"สามารถเรียนรู"และเข"าใจความแตกต0างของภาษาและวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณี ความคิด
สังคม เศรษฐกิจ การเมือง และการปกครอง (กระทรวงศกึ ษาธกิ าร, 2551)

จากการศึกษาสภาพปnญหาการเรียนการสอนภาษาอังกฤษในประเทศไทยในปnจจุบันพบว0า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของ
นักเรียนท่ีผ0านมาจนถึงปnจจุบัน ยังไม0ประสบผลสําเร็จเท0าที่ควร ดังจะเห็นได"จากผลดําเนินการทดสอบโดยสถาบันทดสอบทาง
การศึกษาแห0งชาติ (สทศ.) ของนักเรียนช้ันประถมศึกษาป4ที่ 6 ป4การศึกษา 2556–2558 มีคะแนนเฉลี่ยของวิชาภาษาอังกฤษ
ระดับประเทศร"อยละ 27.50, 30.36 และ 32.88 ตามลําดับ เช0นเดียวกันกับคะแนนเฉลี่ยของวิชาภาษาอังกฤษระดับเขตพื้นท่ี
การศกึ ษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 1 รอ" ยละ 29.48, 32.66 และ 38.78 ตามลําดับ (สถาบันทดสอบการศึกษาแหง0 ชาติ (องค*การ
มหาชน), 2559) ซึ่งสอดคล"องกับผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวิชาภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาป4ที่ 5 โรงเรียนบ"านชัฎ
เจริญ ป4การศึกษา 2556-2558 มีคะแนนเฉลี่ยร"อยละ 69.63, 71.88 และ 73.78 ซ่ึงต่ํากว0าเกณฑ*ท่ีโรงเรียน ต้ังไว"คือร"อยละ 70
(โรงเรียนบา" นชฎั เจิญ, 2556-2558) จากข"อมูลดังกล0าวแสดงให"เห็นว0า นักเรียนมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวิชาภาษาอังกฤษต่ํากว0า
เกณฑ*มาตรฐาน ทั้งนี้อาจมีสาเหตุมาจากวิธีสอนของครูที่ไม0เอื้อต0อการจัดการเรียนการสอน จึงส0งผลให"ความสามารถในการอ0าน
ภาษาองั กฤษและผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นวชิ าภาษาอังกฤษของนักเรยี นตา่ํ กวา0 เกณฑ*

จากปnญหาความสามารถในการอ0านภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาป4ที่ 5 โรงเรียนบ"านชัฏเจริญ
ดังกล0าว ผู"วิจัยในฐานะผู"สอนภาษาอังกฤษชั้นประถมศึกษาป4ที่ 5 จึงได"ทําการศึกษางานวิจัยที่เกี่ยวข"องกับการสอน

เอกสารสืบเนอื่ งจากการประชุมวิชาการและนําเสนอผลงานวิจัยระดบั ชาติ 2559 “การวจิ ัยรบั ใช"ชมุ ชนสร"างสังคมฐานความร"ู” 43

ภาษาอังกฤษและพบว0าวิธีสอนภาษาอังกฤษ โดยใช"บทเรียนสาํ เร็จรูป เปVนวิธีการสอนที่มีประสิทธิภาพอีกวิธีหนึ่งที่สามารถ
ช0วยพัฒนาความสามารถในการอ0านภาษาอังกฤษของนักเรียนให"สูงขึ้นคือวิธีสอนบทเรียนสาํ เร็จรูป หมายถึง วิธีสอนโดยการ
จัดลาํ ดับความสาํ คัญของเน้ือหาในรูปหน0วยย0อย ๆ เพื่อง0ายต0อการเรียนรู" ซ่ึงผ"ูเรียนสามารถศึกษาและตรวจคําตอบได"ด"วย
ตนเองได"ทันทีว0าถูกหรือผิด โดยใช"เวลาในการเรียนรู"มากน"อยตามความสามารถของแต0ละบุคคล โดยมีแบบทดสอบก0อน
เรียนและหลังเรียนไว"ให"พร"อม ผู"เรียนอาจเรียนด"วยตนเองอาจจะเปVนรายบุคคล รายกลุ0ม สนองเด็กเรียนเร็ว ซ0อมเสริมเด็ก
เรียนช"าหรือไม0เสริมเฉพาะวัตถุประสงค*ที่เด็กขาดความรู"ความเข"าใจ แต0การเรียนนั้นผู"เรียนต"องปฏิบัติตามคําแนะนําของ
บทเรียนนั้นอย0างเคร0งครัดใน การวิจัยในครั้งนี้ผู"วิจัยได"นําเนื้อความพรรณนา วิชาภาษาอังกฤษชั้นประถมศึกษาป4ที่ 5
แล"วจัดทําเปVนบทเรียนสําเร็จรูป โดยแบ0งเนื้อหาออกเปVนส0วนย0อย ๆ เรียกว0า กรอบ ในแต0ละกรอบประกอบด"วยเนื้อหา
มีภาพประกอบ และมีคาํ ถามอยู0ท"ายกรอบ หลังจากนั้น มีเฉลยคําตอบของแต0ละกรอบอยู0ในหน"าถัดไปของทุกกรอบ การ
จัดการเรียนบทเรียนหรือกรอบ เรียงลาํ ดับจากง0ายไปหายาก นักเรียนจะต"องศึกษาไปตามลําดับของกรอบที่จัดไว" จะข"าม
กรอบใดกรอบหน่ึงมิได"ใน โดยมีขั้นตอนการสอน 5 ข้ันตามลาํ ดับ 1) ขั้นเตรียมการ มีการทดสอบก0อนเรียนแจ"งจุดประสงค*
ของการเรียน และแจกบทเรียนสําเร็จรูป คําแนะนําการใช"บทเรียนสําเร็จรูปและคําแนะนําวิธี การเรียนด"วยตนเอง
2) ข้ันนาํ เข"าส0ูบทเรียน ผู"สอนสามารถใช"วิธีการนําเข"าส0ูบทเรียนด"วยวิธีการนาํ เข"าสู0บทเรียนด"วยตนเองด"วยวิธีการ ต้ังคาํ ถาม
หรือสนทนาเกี่ยวกับเรื่องที่เรียน เพื่อเปVน การเร"าความสนใจและเปVนการเตรียมความพร"อมให"แก0นักเรียนที่จะสนใจลอง
ศึกษาบทเรียนสาํ เร็จรูปด"วยตนเอง 3) ขั้นกิจกรรมการเรียนรู" ให"นักเรียนศึกษาบทเรียนตามขั้นตอนที่กําหนดในบทเรียน
ตามคาํ สั่งหรือคาํ ช้ีแจงท่ีกาํ หนดไว"หน"าแรกของบทเรียนสําเร็จรูป ถ"านักเรียนมี ข"อสงสัยให"ซักถามผู"สอน 4) ข้ันสรุป เมื่อทุก
คนศึกษาบทเรียนสําเร็จรูปจบแล"ว นักเรียนร0วมกันสรุปบทเรียนด"วยการอภิปรายผลของการตอบคําถามในแต0ละกรอบ 5)
ขั้นประเมินผลทดสอบหลังเรียน โดยให"ผ"ูเรียนประเมินผลการเรียนด"วยตนเอง ผู"สอนประเมินผลการเรียนของผ"ูเรียน ดังเช0น
ผลงานวิจัยต0างประเทศของ กู—ด (Good, 1973) ได"ให"ความหมายของบทเรียนสําเร็จรูปว0า “เปVนบทเรียน ที่จัดอย0ูในรูปของ
หนังสือค0ูมือ หนังสือแบบเรียน หรือเคร่ืองสอน เพ่ือช0วยให"นักเรียนได"บรรลุตามระดับการกระทําที่ได"ระบุไว" มีลักษณะคือ
1) แบง0 บทเรยี นออกเปนV หนว0 ยยอ0 ย 2) ถามคาํ ถามหนึง่ คาํ ถาม หรือมากกวา0 น้ันในแต0ละหนว0 ยบทเรียน และมเี ฉลยให"รู"ว0าถกู หรอื ผดิ
3) นกั เรียน ร"ถู ึงความก"าวหนา" ของตนในแต0ละขัน้ ในบทเรียน ท้งั ในสว0 นบคุ คลในกรณีท่ที ําเด่ียวและความก"าวหน"าเปVนกลุ0มในกรณี
ท่ที าํ เปVนกลมุ0 ”นอกจากน้ียังสอดคล"องกับผลการวิจัยในประเทศของ วรรณสโรบล รุจิร*ญานันทว* (2553) ท่ีได"ทําการศึกษาความ
เขา" ใจในการอ0านภาษาอังกฤษด"วยวิธีสอนบทเรียนสําเร็จรูป ของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาป4ที่ 5 โรงเรียนเทพศริ ินทร*คลองสิบสาม
ปทุมธานี ผลการพบว0าความเข"าใจในการอ0านภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาป4ท่ี 5 โรงเรียนเทพศิรินทร*คลองสิบสาม
ปทุมธานี ท่ีได"รับการสอนด"วยวิธีการด"วยบทเรียนสําเร็จรูป หลังการทดลองสูงกว0าก0อนการทดลองอย0างมีนัยสําคัญทางสถิติ
ท่ีระดับ .01

จากความสําคัญของภาษาอังกฤษ ปnญหาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนภาษาอังกฤษและจากข"อค"นพบของผลงานวิจัยที่
เก่ยี วข"องกับวธิ ีสอนโดยใช"บทเรยี นสาํ เรจ็ รปู ผ"ูวิจัยจึงสนใจทจ่ี ะทําการศึกษาความเขา" ใจในการอา0 นภาษาองั กฤษ ด"วยอรรถลกั ษณะ
ของการพรรณนากบั นักเรียนชัน้ ประถมศึกษาป4ท่ี 5 โรงเรียนบ"านชัฏเจริญ เพ่ือแก"ปnญหาความเข"าใจในการอา0 นภาษาอังกฤษของ
นักเรยี นให"มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น

วัตถปุ ระสงค-ของการวจิ ัย
เพื่อศึกษาความเข"าใจในการอ0านภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาป4ที่ 5 โรงเรียนบ"านชัฏเจริญ โดยใช"วิธีสอน

บทเรยี นสําเร็จรูป ด"วยอรรถลักษณะของการพรรณนา กอ0 นการทดลองและหลังการทดลอง

สมมุตฐิ านในการวิจัย
ความเข"าใจในการอ0านภาษาอังกฤษของนักเรียนช้ันประถมศึกษาป4ที่ 5 โรงเรียน บ"านชัฏเจริญ โดยใช"วิธีสอนบทเรียน

สําเร็จรปู ด"วยอรรถลักษณะของการพรรณนา (Description Genre Features) หลงั การทดลองสงู กว0าก0อนการทดลอง

44 เอกสารสืบเนอ่ื งจากการประชุมวชิ าการและนําเสนอผลงานวิจยั ระดบั ชาติ 2559 “การวจิ ยั รบั ใชช" มุ ชนสรา" งสังคมฐานความรู"”

กรอบแนวความคดิ
การวจิ ัยครั้งนี้ ผว"ู จิ ัยไดศ" กึ ษาเอกสาร และงานวจิ ัยทเี่ กย่ี วขอ" งกับวธิ สี อนโดยใชบ" ทเรียนสาํ เร็จรปู ซึ่งผ"ูวิจัยยึดตามข้ันตอน

วิธีสอนโดยใช"บทเรียนสําเร็จรูปของ สุคนธ* สินธพานนท* และคณะ (2545) ซึ่งมีข้ันตอนการสอน 5 ข้ันตอนดังนี้ คือ 1) ข้ัน
เตรยี มการ 2) ขนั้ นําเขา" ส0บู ทเรยี น 3) ขนั้ กิจกรรมการเรียนร"ู 4) ข้นั สรุป 5) ขนั้ ประเมนิ ผลทดสอบหลังเรียน และศึกษาเน้ือหาของ
บทเรียนสําเร็จรูปตามเนื้อหารูปแบบอรรถลักษณะของการพรรณนาของ สงวนศรี โทรอค (2553) ประกอบด"วยอรรถลักษณะ 3
สว0 น คอื 1) บทนํา (Introduction) 2) เน้ือความ (Body) 3) บทสรุป (Conclusion) โดยศึกษาเกณฑ*ในการสร"างแบบทดสอบวัด
ความเขา" ใจในการอา0 นภาษาอังกฤษของ อจั ฉรา วงศ*โสธร (2538) ซ่ึงสามารถเขียนเปนV กรอบแนวคิดในการวจิ ยั ได"ดงั นี้

ตัวแปรตน" )Independent Variable) ตัวแปรตาม )Dependent Variable)

วธิ ีสอนบทเรียนสาํ เรจ็ รปู ความเขา" ใจในการอ0านภาษาอังกฤษ
ดว" ยอรรถลักษณะของการพรรณนา

ภาพ 1 กรอบแนวคดิ ในการวิจัย

วธิ ีดําเนนิ การวิจัย

ประชากรและกลมุ ตัวอยาง
1. ประชากร ในการวิจัยครั้งน้ี คอื นกั เรียนชนั้ ประถมศกึ ษาป4ที่ โรงเรียนบ"านชฎั เจริญท่ีกําลังเรียนวิชาภาษาอังกฤษ (อ

15101) ในภาคเรียนท่ี 1 ปก4 ารศกึ ษา 2559จํานวน 1 ห"องเรยี น รวมท้ังส้นิ 15 คน
2. กลุ0มเป•าหมาย ในการวิจัยครั้งนี้ คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาป4ท่ี โรงเรียนบ"านชัฎเจริญ ที่กําลัง 5เรียนวิชา

ภาษาอังกฤษ (15101 อ)ในภาคเรียนที่ คน 15 ห"องเรียน รวมทั้งสิ้น 1 จํานวน 2559 ป4การศึกษา 1 ซ่ึงได"มาโดยวิธีการเลือก
แบบเจาะจง ) Purposive Sampling (เนอื่ งจากเปVนจํานวนของนักเรียนชั้นประถมศึกษาป4ที่ 5 ของโรงเรียนบ"านชัฎเจริญ ซ่งึ มีเพียง
หอ" งเดยี วเท0านน้ั

เคร่อื งมือการวจิ ัย
1. เคร่ืองมือที่ใช"ในการทดลองครั้งนี้คือ แผนการจัดการเรียนร"ูของกล0ุมทดลอง ซ่ึงเปVนแผนการจัดการเรียนร"ูการอ0าน

ภาษาอังกฤษ โดยใชว" ิธีสอนบทเรยี นสําเร็จรูป ด"วยอรรถลักษณะของการพรรณนาจํานวน 16 แผน ท่ีผ"ูวิจัยสร"างข้ึนซ่ึงผา0 นการพัฒนา
และหาคณุ ภาพแลว"

2. เคร่ืองมือท่ีใช"ในการเก็บรวบรวมข"อมูล คือ แบบทดสอบวัดความเข"าใจในการอ0านภาษาอังกฤษโดยใช"วิธีสอนบทเรียน
สําเร็จรปู ดว" ยอรรถลักษณะของการพรรณนา ท่ีผว"ู ิจัยสรา" งขน้ึ ซึ่งผา0 นการพัฒนาหาคุณภาพแลว" โดยมีคา0 ความเชอื่ มัน่ ทงั้ ฉบับเท0ากบั .77
การเก็บรวบรวมขอมูล

1. ปฐมนเิ ทศนกั เรยี นเกยี่ วกับวิธกี ารเรยี น โดยใช"บทเรยี นสําเรจ็ รปู ดว" ยอรรถลักษณะของการพรรณนา เพ่อื ชแี้ จงจดุ ประสงค*การ
เรยี นการสอน ทําความเขา" ใจกับนกั เรียนถงึ การเรียน บทบาทของนักเรยี นและวิธี การวัดและประเมินผลการเรยี นรู"

2. ทําการทดสอบก0อนการทดลอง (Pre-test) โดยใชแ" บบทดสอบวดั ความเข"าใจในการอา0 นภาษาองั กฤษ จํานวน 1 ชั่วโมง
3. ดําเนินการทดลองตามแผนการจดั การเรยี นร"ู วธิ สี อนโดยใช"บทเรียนสําเร็จรูปด"วยอรรถลักษณะของการพรรณนา จํานวน 16
ช่วั โมง

เอกสารสืบเนอื่ งจากการประชุมวชิ าการและนําเสนอผลงานวิจยั ระดบั ชาติ 2559 “การวจิ ยั รับใชช" ุมชนสร"างสงั คมฐานความร"ู” 45

4. ทําการทดสอบหลังการทดลอง (Post-test) โดยใช"แบบทดสอบวัดความเข"าใจในการอ0านภาษาอังกฤษ จํานวน 1 ชั่วโมง
ฉบบั เดียวกันกับที่ใช"ในการทดสอบก0อนการทดลอง (Pre-test) จาํ นวน 1 ชวั่ โมง

5. ทําการวิเคราะห*ข"อมูลด"วยวิธีการทางสถิติเพื่อทดสอบสมมุติฐานโดยการทดสอบหาค0าทีแบบกล0ุมที่ไม0เปVนอิสระต0อกัน
(t-test for dependent samples)

การวเิ คราะห-ขอมูล
การวิเคราะห*ข"อมูลในการวิจัยครั้งน้ี ผู"วิจัยได"ทําการเปรียบเทียบความสามารถในการอ0านภาษาอังกฤษของนักเรียน

ชั้นประถมศึกษาป4ท่ี 5 โรงเรียนบ"านชัฎเจริญ โดยใช"วิธีสอนบทเรียนสําเร็จรูปด"วยอรรถลักษณะของการพรรณนา (Description
Genre Features) ก0อนการทดลองและหลังการทดลอง โดยการทดสอบหาค0าทีแบบกลุ0มท่ีไม0เปVนอิสระต0อกัน (t-test for
dependent samples) โดยใช"โปรแกรมคอมพวิ เตอร* ปรากฏผลดังตาราง 1

ตาราง 1 ผลการศึกษาความสามารถในการอ0านภาษาอังกฤษของนักเรียน ชั้นประถมศึกษาป4ท่ี 5 โรงเรียนบ"านชัฎเจริญโดยใช"วิธี

สอนบทเรยี นบทเรียนสําเร็จรูป ด"วยอรรถลักษณะของการพรรณนา (Description Genre Features) ก0อนการทดลองและ

หลังการทดลอง

ความสามารถในการอ0าน Nµ σ ∑ D ∑D2 t Sig
ภาษาองั กฤษ

ก0อนการทดลอง 15 7.42 1.25 115 927 16.50** 0.00
หลงั การทดลอง 15 15.13 1.60

**มนี ัยสาํ คญั ทางสถติ ทิ ร่ี ะดบั .01

จากตาราง 1แสดงว0า ความเข"าใจในการอ0านภาษาองั กฤษของนกั เรียนช้นั ประถมศึกษาปท4 ี่ 5 โรงเรยี นบ"านชัฎเจรญิ โดยใช"
วธิ สี อนบทเรยี นสําเรจ็ รปู ด"วยอรรถลักษณะของการพรรณนา หลังการทดลองสูงกว0าก0อนการทดลอง อย0างมีนัยสําคัญทางสถิติท่ี
ระดับ .01 ซ่งึ เปนV ไปตามสมมตฐิ านท่ตี ั้งไว"

สรุปผล

การศึกษาความสามารถในการอ0านภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาป4ท่ี 5 โรงเรียนบ"านชัฎเจริญ โดยใช"วิธีสอน
บทเรียนสําเร็จรูป ด"วยอรรถลักษณะของการพรรณนา (Description Genre Features) สามารถสรุปผลได"ดังน้ี ความสามารถในการอ0าน
ภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาป4ท่ี 5 โรงเรียนบ"านชัฎเจริญ โดยใช"วิธีสอนบทเรียนสําเร็จรูป ด"วยอรรถลักษณะของการ
พรรณนา (Description Genre Features) หลังการทดลองสูงกว0ากอ0 นการทดลองอย0างมนี ัยสาํ คญั ทางสถติ ิทีร่ ะดับ .01

อภปิ รายผลการวิจัย

การวิจัยครั้งนี้เปVนการศึกษาความสามารถในการอ0านภาษาอังกฤษของนักเรียน ชั้นประถมศึกษาป4ท่ี 5 โรงเรียนบ"าน
ชฎั เจรญิ โดยใช"วธิ สี อนบทเรียนสําเร็จรูป ด"วยอรรถลักษณะของการพรรณนา (Description Genre Features) สามารถอภิปราย
ผลได"ตามข้ันตอนการสอน 5 ขนั้ ดังนี้

ขน้ั ที่ 1 ข้นั เตรียมการ มกี ารทดสอบก0อนเรียนแจ"งจุดประสงค*ของการเรียนและแจกบทเรียนสําเร็จรูป คําแนะนําการใช"
บทเรียนสาํ เรจ็ รปู และคาํ แนะนําวิธีการเรยี นดว" ยตนเอง ดังคาํ กลา0 วของ วรรณสโรบล รุจิร*ญานันทว* (2553) ท่ีกล0าวไว"ว0า บทเรียน
สําเร็จรปู จะต"องนํามาสรา" งให"เหมาะสมกับจดุ ประสงค* ต"องกาํ หนดวัตถุประสงค*ให"ชัดเจน ต"องจัดเรียงลําดับกรอบ ผ"ูเรียนมีโอกาส
ตอบสนอง มีการเสรมิ แรงทกุ ระยะขั้นตอนที่สาํ คัญ ต"องมีข"อทดสอบก0อนเรียนหลงั เรียน มีการวัดผลท่แี นน0 อน เพื่อวดั ความกา" วหนา"

46 เอกสารสบื เนอ่ื งจากการประชมุ วิชาการและนําเสนอผลงานวิจัยระดบั ชาติ 2559 “การวิจยั รบั ใช"ชมุ ชนสรา" งสงั คมฐานความร"ู”

ในการเรียนในข้ันตอนนีน้ ักเรยี นเปVนศนู ย*กลางในการเรียนร"ู (Child Centered) เน่อื งจากนักเรียนเปVนผู"เข"าถงึ ขอ" มลู และปฏิบัติด"วยตนเอง
(Self Access) จึงทาํ ให"ความเขา" ใจในการอ0านภาษาอังกฤษของนักเรียนหลงั การทดลองสงู กว0ากอ0 นการทดลอง

ขนั้ ที่ 2 ขั้นนําเขา" สบ0ู ทเรยี น ผู"สอนสามารถใชว" ิธีการนําเข"าส0ูบทเรียนด"วยวิธีการนํา เข"าสูบ0 ทเรียนด"วยตนเองด"วยวิธีการ
ตั้งคําถามหรือสนทนาเก่ียวกับเร่ืองท่ีเรียนเพ่ือเปVนการเร"าความสนใจและเปVนการเตรียมความพร"อมให"แก0นักเรียน ที่จะสนใจลอง
ศึกษาบทเรยี นสําเร็จรูปด"วยตนเอง ดงั คํากลา0 วของสขุ ุมาล ปาสาเนย* (2554) ทก่ี ล0าวไวว" า0 องค*ประกอบของความเข"าใจในการอ0าน
นน้ั ข้ึนอย0กู ับความพร"อมหลายด"าน เช0น ด"านร0างกาย ด"านความร"ูในเรื่องภาษา ด"านความสามารถในการตีความ ด"านปnญญา ด"าน
อารมณ* ประสบการณเ* ดิมของผ"ูอ0าน (Schema) ด"านการใช"ความคิด เจตคติที่ดีต0อการอ0าน เปVนต"น ทุกด"านท่ีกล0าวมานั้นทําให"เกิด
ความเขา" ใจในการอ0าน ผู"เรียนศึกษาด"วยตนเองได"ปฏิบัติจริงทําให"ผ"ูเรียนเกิดการเรียนรู" อีกประการหน่ึงเน้ือหาท่ีผู"วิจัยนํามาสร"าง
บทเรยี นสําเร็จรปู เปVนเนอ้ื หาท่มี รี ูปแบบอรรถฐานของการพรรณนาซ่งึ มีเนื้อหาอรรถลักษณะ 3 ส0วน 1) บทนํา (Introduction) 2)
เน้ือความ (Body) 3) บทสรุป (Conclusion) ตลอดท้ังการใช"ภาษา (Language Use) จากรูปแบบอรรถลักษณะของการพรรณนา
เกยี่ วกับรปู แบบและวัตถปุ ระสงค* (Form and Purpose) การใชภ" าษา (Language Use) ท่ีนักเรียนมีประสบการณเ* ดิมมาชว0 ยใหเ" กดิ ความ
เข"าใจในการอา0 นให"ถกู ต"องและรวดเรว็ ยิ่งขน้ึ จึงทําใหค" วามเข"าใจในการอ0านภาษาองั กฤษของนักเรยี นหลังการทดลองสงู กวา0 กอ0 นการทดลอง

ข้ันที่ 3 ข้ันกิจกรรมการเรียนรู" ให"นักเรียนศึกษาบทเรียนสําเร็จรูป ด"วยอรรถลักษณะของการพรรณนา (Description
Genre Features) ตามขน้ั ตอนที่กาํ หนดในบทเรยี นตามคําสงั่ หรือคําชแี้ จงทีก่ าํ หนดไวห" น"าแรกของบทเรยี นสาํ เร็จรปู ด"วยตนเอง ถ"า
นักเรียนมีข"อสงสัยให"ซักถามครูผ"ูสอน ครูคือผ"ูอํานวยความสะดวก (Teacher as a Facilitator)ดังคํากล0าวของ ไพโรจน* เบาใจ
(2520, หน"า1) ที่กล0าวไว"ว0าบทเรียนสําเร็จรูปเปVนส่ือการสอนแบบหนึ่งซ่ึงผู"เรียนจะสามารถเรียนได"ด"วยตนเองและเรียนได"เร็วช"า
ตามความสามารถ ของแต0ละบุคคลโดยท่ีผู"เรียนไม0ต"องเสียเวลาคอยกันการเรียนผู"เรียนต"องปฏิบัติตามคําแนะนําของบทเรียน
อย0างเคร0งครดั การทน่ี กั เรียนมปี ระสบการณ*เดมิ รูปแบบและวตั ถุประสงค* (Form and Purpose) การใช"ภาษา (Language Use) จึงทําให"
ความเข"าใจในการอ0านภาษาองั กฤษของนักเรยี นหลงั การทดลองสูงกว0าก0อนการทดลอง

ขั้นที่ 4 ขั้นสรุป เม่ือทุกคนศึกษาบทเรียนสําเร็จรูปจบแล"ว นักเรียนร0วมกันสรุปบทเรียนด"วยการอภิปรายผลของการตอบ
คําถามในแต0ละกรอบจึงทําให"นักเรียนมีความเข"าใจในการอ0านภาษาอังกฤษได"ถูกต"องย่ิงขึ้น ดังคํากล0าวของ ฟุกกล"าว ทิวากร
(2552) กล0าวไว"ว0า วิธีการสอนโดยใช"บทเรียนสําเร็จรูป เปVนวิธีการเรียนการสอนสื่อจริงและเอกสารจริง (Authentic Material)
ท่ีช0วยให"ผู"เรียนได"เกิดการเรียนรู"จากประสบการณ*การเรียนท่ีกําหนดให"และเปVนไปตามจุดม0ุงหมายที่ต"องการโดยการแบ0งเนื้อหา
ออกเปVนส0วนย0อยๆ เปVนกรอบ (frame) มีการเรียงลําดับเนื้อหาจากง0ายไปหายาก แต0ละกรอบบรรจุคําอธิบายและคําถามท่ี
ตอ0 เนือ่ งกัน โดยคาํ ถามอาจเปVนลักษณะให"เติมคําถกู ผิด หรอื เลือกตอบก็ได" และเม่ือผู"เรียนเรียนจบบทเรียนสามารถตรวจสอบการ
เรยี นร"ขู องตนเองได"ทันที (immediately feedback) วา0 ผดิ หรือถูก เพราะบทเรียนจะมีแบบทดสอบทั้งแบบทดสอบก0อนการเรียน
(pretest) และแบบทดสอบหลังเรยี น (posttest) ไวใ" ห"พรอ" มและผู"เรียนสามารถใชเ" วลาในการเรียนรมู" ากน"อยตามความสามารถของ
แต0ละบุคคล และนักเรียนร0วมกันสรุปบทเรียนด"วยการอภิปรายผลของการตอบคําถามในแต0ละกรอบซึ่งสามารถตรวจคําตอบ
ด"วยตัวของนักเรียนเอง การท่ีนักเรียนได"วัดและประเมินตามสภาพจริง (Authentic Assessment) จึงทําให"ความเข"าใจในการ
อา0 นภาษาองั กฤษของนักเรยี นหลงั การทดลองสูงกว0าก0อนการทดลอง

ขั้นที่ 5 ข้ันประเมินผลทดสอบหลังเรียน โดยให"ผ"ูเรียนประเมินผลการเรียนด"วยตนเอง(Self Access) ผ"ูสอนประเมินผล
การเรยี นของผู"เรยี น ดงั คาํ กล0าวของวชั รี คําสงฆ* (2553) ทกี่ ลา0 วไว"ว0า การประเมินผลความเข"าใจในการอ0านในด"านทักษะการอ0าน
สามารถวัดและประเมินโดยให"นักเรียนอ0านและแสดงความเข"าใจ จากเร่ืองท่ีอ0าน โดยใช"ทักษะการฟnง การพูด หรือการเขียน
ประกอบสัมพันธ*กันไป การท่ีนักเรียนได"บูรณาการทักษะทางภาษาทั้ง 4 ทักษะ (Integrated 4 Skills) อ0านข"อมูลแล"วจับใจความ
สําคญั บอกรายละเอียดของเรอ่ื ง ตคี วาม เรยี งลาํ ดับเหตุการณ* สรปุ ความของบทอ0านหรอื เน้ือเร่ืองซึ่งในงานวจิ ยั น้วี ัดได"จากคะแนน
การทําแบบทดสอบวัดความเขา" ใจในการอ0านภาษาอังกฤษ จงึ ทาํ ให"ความเขา" ใจในการอ0านภาษาอังกฤษของนักเรียนหลังการทดลองสงู
กว0ากอ0 นการทดลอง

เอกสารสบื เนอื่ งจากการประชุมวชิ าการและนาํ เสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ 2559 “การวจิ ัยรบั ใช"ชุมชนสร"างสงั คมฐานความร"ู” 47

ผลการวิจัยครั้งน้ี สอดคลอ" งกบั ผลการวจิ ยั ของ วรรณสโรบล รุจริ ญ* านันทว* (2553) ท่ีได"ทําการศึกษาความเข"าใจในการอ0าน
ภาษาองั กฤษดว" ยวธิ ีการสอนด"วยบทเรยี นสําเร็จรูป ของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาป4ท่ี 5 โรงเรียนเทพศิรินทร*คลองสิบสาม ปทุมธานี
พบวา0 ความเข"าใจในการอา0 นภาษาอังกฤษ ของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาป4ที่ 5 โรงเรียนเทพศิรินทร*คลองสิบสาม ปทุมธานี ที่ได"รับ
การสอนด"วยวิธีการด"วยบทเรียนสําเร็จรูป หลังการทดลองสูงกว0าก0อนการทดลอง อย0างมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับ .01
เช0นเดยี วกนั กับผลงานวจิ ยั ของ สชุ าติ เพชรเทียนชัย (2556) ทีไ่ ด"ทาํ การศกึ ษาความเขา" ใจในการอ0านและแรงจูงใจต0อการเรียนวิชา
ภาษาอังกฤษของนักเรียนช้ันประถมศึกษาป4ท่ี 5 โรงเรียนสุริยวงศ* ด"วยวิธีสอนโดยใช"บทเรียนสําเร็จรูป พบว0า ความเข"าใจในการ
อ0านและแรงจูงใจต0อการเรียนวิชาภาษาอังกฤษของนักเรียนช้ันประถมศึกษาป4ท่ี 5 โรงเรียนสุริยวงศ* ด"วยวิธีสอนโดยใช"บทเรียน
สาํ เร็จรปู หลงั การทดลองสูงกวา0 ก0อนการทดลองอยา0 งมนี ัยสําคญั ทางสถติ ทิ ีร่ ะดับ .01

จากการอภปิ รายผลของการวจิ ัยดังกล0าวสามารถสรุปได"ว0า วิธีสอนโดยใช"บทเรียนสําเร็จรูปด"วยอรรถลักษณะของการพรรณนา
(Description Genre Features) เปVนวิธีสอนท่ีสามารถพัฒนาให"นักเรียนให"มีความสามารถในการอ0าน ภาษาอังกฤษได"อย0างมีประสิทธิภาพ
นอกจากนย้ี งั พบว0าการทีน่ ักเรียนไดใ" ช"ประสบการณ*เดิมทางภาษา (Schema) จากรูปแบบอรรถลักษณะของการพรรณนาเก่ียวกับ รูปแบบ
(Form) วัตถุประสงค* (Purpose) และการใช"ภาษา (Language Use) ทน่ี กั เรียนมีประสบการณ*เดิมมาชว0 ยใหเ" กดิ ความเขา" ใจในการอ0านให"
ถูกต"องและรวดเร็วย่ิงข้ึนและนอกจากนี้ยังพบว0านักเรียนมีความซื่อสัตย* รับผิดชอบ และเรียนร"ูการใช"ภาษาอังกฤษอย0างถูกต"องตาม
โครงสรา" งทางภาษาอีกด"วย

ขอเสนอแนะ

ขอเสนอแนะสาํ หรับการนําไปประยุกต-ใช
1. การจัดการเรียนการสอนโดยใช"วิธีสอนบทเรียนบทเรียนสําเร็จรูป ด"วยอรรถลักษณะของการพรรณนา

(DescriptionGenre Features) ครูผู"สอนต"องทําความเข"าใจกับนักเรียนให"ชัดเจน และผ"ูเรียนต"องปฏิบัติตามคําแนะนําของ
บทเรยี นน้นั อย0างเครง0 ครัดก0อนทีจ่ ะเรม่ิ บทเรยี นในแตล0 ะบท

2. การจดั การเรียนการสอนโดยใช"วิธีสอนบทเรียนบทเรียนสําเร็จรูป ด"วยอรรถลักษณะของการพรรณนา (Description
Genre Features) ครูผูส" อนต"องปลกู ฝงn ใหน" ักเรยี นมวี นิ ัย และมีความรบั ผดิ ชอบ เพราะเปนV การเรียนร"ูดว" ยตัวเอง

3. การจดั การเรียนการสอนโดยใชว" ธิ สี อนบทเรียนบทเรยี นสําเร็จรปู ด"วยอรรถลักษณะ ของการพรรณนา (Description
Genre Features) ครูควรเตรียมบทเรยี นสําเรจ็ รูป ใหพ" ร"อมและดาํ เนนิ การสอนตามข้นั ตอนการสอนทั้ง 5 ข้ันตอนอยา0 งเปนV ระบบ
และควรมสี อ่ื การเรียนครบตามจํานวนนกั เรียนเพราะนกั เรยี นแต0ละคนต"องลงมือปฎิบตั ิด"วยตวั เอง

4. การจัดการเรียนการสอนโดยใช"วิธีสอนบทเรียนสําเร็จรูป ด"วยอรรถลักษณะของการพรรณนา (Description Genre
Features) ครูควรเลอื กและปรบั เนือ้ หาให"เหมาะสมกบั ระดับชั้นของนักเรยี นและตอ" งมแี ผนภูมอิ รรถลักษณะที่ชัดเจน

5. เน่ืองจากวิธีสอนโดยใช"บทเรียนสําเร็จรูป ด"วยอรรถลักษณะของการพรรณนา (Description Genre Features)
นกั เรียนจะต"องเรยี นร"ูด"วยตวั เอง จงึ ควรเปนV นกั เรยี นในระดับช้นั ที่สามารถอ0านออกเขยี นได"

ขอเสนอแนะสาํ หรบั การวิจัยครงั้ ตอไป
1. ควรทําการศึกษาตัวแปรตามที่ส0งผลต0อความสามารถในการอ0านภาษาอังกฤษของนักเรียนโดยใช"วิธีสอนบทเรียนบทเรียน

สําเร็จรูป ด"วยอรรถลักษณะของการพรรณนา (Description Genre Features) เช0น ความสนใจ และความคิดสร"างสรรค*ในการอ0าน
ภาษาอังกฤษ เปนV ตน"

2.ควรทาํ การศกึ ษาความสามารถในการอ0านภาษาอังกฤษโดยใชว" ิธีสอนบทเรียนบทเรียนสําเร็จรูป ด"วยอรรถลักษณะอ่ืน ๆ เช0น
การอธิบาย (Explanation) การเล0าเรอื่ งเล0าจากประสบการณ* (Recount) การแสดงความคิดเห็น (Exposition) การอภิปราย (Discussion)
การพูดรายงาน (Report) การเลา0 เรอ่ื งบรรยายเชิงจนิ ตนาการ (Narrative) และการสงั เกต (Observation) เปนV ต"น

48 เอกสารสบื เนอื่ งจากการประชุมวชิ าการและนําเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ 2559 “การวจิ ยั รบั ใช"ชมุ ชนสรา" งสังคมฐานความรู"”

3. ควรทําการศึกษาวิจัยเปรียบเทียบวิธีสอนโดยใช"วิธีสอนบทเรียนบทเรียนสําเร็จรูป ด"วยอรรถลักษณะของการพรรณนา
(Description Genre Features) กบั วิธีการสอนอนื่ ๆ เชน0 การสอนตามคูม0 อื ครูและการสอนแบบมุ0งประสบการณ*

4. ควรพัฒนาการเรียนการสอนบทเรยี นบทเรียนสําเรจ็ รูป ดว" ยอรรถลักษณะของการพรรณนา (Description Genre Features)
ไปสร0ู ูปแบบดจิ ทิ ลั (Digital) โดยใช"เทคโนโลยสี ารสนเทศ (ICT) เพ่อื รองรับการเรียนรู"ในศตวรรษท่ี 21

เอกสารอางอิง

กระทรวงศึกษาธกิ าร. (2551). หลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ : ผูแ" ต0ง
ไพโรจน* เบาใจ. (2520). คมู อื การเขียนบทเรยี นโปรแกรม. กรงุ เทพฯ : ภาควิชาเทคโนโลยีทางการศกึ ษา

มหาวิทยาลยั ศรนี ครนิ ทรวิโรฒประสานมติ ร.
ฟกุ กลา" ว ทิวากร. (2552). การเปรยี บเทียบความเขาใจและเจตคติท่ีมตี อการอานภาษาอังกฤษของนักเรยี น

ชน้ั มัธยมศกึ ษาปท่ี 1 โรงเรยี นวสิ ทุ ธรงั ษี สังกัดสํานักงานเขตพนื้ ทีก่ ารศกึ ษากาญจนบรุ ี เขต 1 ที่ไดรับ
การสอนโดยใชบทเรียนสาํ เรจ็ รูปกบั การสอนแบบปกติ. วทิ ยานิพนธค* รศุ าสตรมหาบณั ฑิต สาขาวชิ า
การสอนภาษาองั กฤษในฐานะภาษาตา0 งประเทศ คณะครศุ าสตร* มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั หมู0บา" นจอมบงึ .
โรงเรยี นบ"านชัฎเจรญิ (2556). รายงานผลการพฒั นาคุณภาพผูเรียนโรงเรยี นบานชฎั เจรญิ ปการศกึ ษา 2556
ราชบุรี : ผแ"ู ตง0 .
______. (2557). รายงานผลการพฒั นาคณุ ภาพผูเรยี นโรงเรยี นบานชัฎเจรญิ ปการศกึ ษา 2557.
ราชบรุ ี : ผูแ" ตง0 .
______. (2558). รายงานผลการพฒั นาคณุ ภาพผเู รียนโรงเรยี นบานชัฎเจรญิ ปการศึกษา 2558.
ราชบรุ ี : ผ"ูแตง0 .
วรรณสโรบล รจุ ริ ญ* านันทว*. (2553). การศกึ ษาความเขาใจและแรงจูงใจในการอานภาษาอังกฤษของนกั เรียน
ช้ันมัธยมศกึ ษาปที่ 5 โรงเรยี นเทพศิรนิ ทรค- ลองสบิ สามปทุมธานี สังกัดสํานกั งานเขตพืน้ ทีป่ ทมุ ธานี
เขต 2 ท่ีไดรบั การสอนดวยวธิ สี อนโดยใชบทเรียนสาํ เรจ็ รปู . วทิ ยานิพนธ*ครุศาสตรมหาบณั ฑิต
สาขาวชิ าการสอนภาษาอังกฤษในฐานะภาษาตา0 งประเทศ บณั ฑิตวทิ ยาลัย มหาวทิ ยาลัยราชภฏั
หม0บู า" นจอมบงึ .
สงวนศรี โทรอค. (2553). GUIDED WRITING: ENG 6233. ราชบรุ ี : มหาวิทยาลัยราชภฏั หมู0บ"านจอมบงึ .
สถาบนั ทดสอบการศกึ ษาแห0งชาติ (องค*การมหาชน). 2559. การรายงานผลการทดสอบทางการศกึ ษา
ระดับชาตขิ ั้นพ้นื ฐาน O-Net. คน" เมือ่ มนี าคม ,2559 ,31จากhttp://www.onetresult.niets.or.th/
AnnouncementWeb/School/frSbjStatValueBySchool.aspx?mi=3&smi=3
สุขมุ าล ปาสาเนย*. (2554). การเปรยี บเทียบความเขา" ใจและแรงจงู ใจต0อการอา0 นภาษาองั กฤษของนกั เรียนช้ันประถมศึกษาปท4 ่ี 4
โรงเรยี นวดั ช0องนนทรี สาํ นกั งานเขตยานนาวา กรงุ เทพมหานคร ทีไ่ ดร" ับ
การสอนตามแนวทฤษฎกี ารสอนภาษาแบบอรรถฐาน )Genre – Based Approach) โดยใชอรรถลกั ษะ
ของนทิ าน )Narrative Genre Features) กบั การสอนตามคมู ือครู )Teacher’s Manual). วทิ ยานพิ นธ*
ครศุ าสตรมหาบณั ฑิต สาขาวชิ าการสอนภาษาองั กฤษในฐานะภาษาตา0 งประเทศ บณั ฑติ วิทยาลัย
มหาวทิ ยาลัยราชภฏั หมบู0 า" นจอมบึง.
สคุ นธ* สินธพานนท* และคณะ) .2545). การจดั กระบวนการเรยี นรเู นนผเู รียนเปน` สําคญั ตามหลักสตู รการศกึ ษา
ข้ันพ้นื ฐาน .นนทบุรี ไทยรม0 เกล" :า.
สชุ าติ เพชรเทยี นชยั . (2556). การศกึ ษาความเขาใจในการอานและแรงจูงใจตอการเรียนวชิ าภาษาองั กฤษของ
นักเรยี นช้ันประถมศกึ ษาปท่ี 5 โรงเรียนสุริยวงศ- ดวยวธิ ีสอนโดยใชบทเรยี นสําเรจ็ รูป. วิทยานิพนธ*
ครุศาสตรมหาบณั ฑติ สาขาวชิ าการสอนภาษาองั กฤษในฐานะภาษาตา0 งประเทศ บณั ฑติ วทิ ยาลัย

เอกสารสืบเนอ่ื งจากการประชมุ วชิ าการและนาํ เสนอผลงานวจิ ัยระดับชาติ 2559 “การวจิ ยั รับใช"ชุมชนสรา" งสังคมฐานความร"ู” 49

มหาวิทยาลยั ราชภฏั หม0บู า" นจอมบึง.
อจั ฉรา วงศ*โสธร. (2538). การทดสอบและการประเมนิ ผลการเรยี นการสอนภาษาอังกฤษ. กรงุ เทพฯ : สถาบันภาษา

จุฬาลงกรณ*มหาวิทยาลัย.
Good, Carter. V. (1973). Dictionary of education. (3rd ed). New York : McGraw – Hill.

50 เอกสารสืบเนอ่ื งจากการประชมุ วิชาการและนาํ เสนอผลงานวจิ ัยระดบั ชาติ 2559 “การวจิ ยั รับใชช" มุ ชนสร"างสงั คมฐานความร"ู”

การศึกษาความสามารถในการฟงa -การพูดภาษาองั กฤษของนักเรียน
ชนั้ ประถมศึกษาปที่ 2 โรงเรียนบานหนองขาม

โดยใชวิธีสอนภาษาเพ่ือการส่ือสารดวยกจิ กรรมเพลงและเกม
A STUDY OF ENGLISH LISTENING-SPEAKING ABILITIES
OF PRATHOM SUKSA II STUDENTS AT BAN NONGKHAM SCHOOL
USING COMMUNICATIVE APPROACH THROUGH SONGS AND GAMES

ณฐั วรรณ เปลงวทิ ยา1และ ดร. สงวนศรี โทรอค2
Nuttawan Plangvithaya1 and Dr.Sanguansri Torok2

บทคัดยอ

การวิจยั คร้งั น้ีมีวัตถุประสงค*เพื่อศึกษาความสามารถในการฟnง–การพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนช้ันประถมศึกษาป4ท่ี 2
โรงเรียนบ"านหนองขาม โดยใช"วิธีสอนภาษาเพ่ือการส่ือสารด"วยกิจกรรมเพลงและเกมก0อนการทดลองและหลังการทดลอง
กล0มุ ตวั อยา0 งทใ่ี ชใ" นการวิจัย คือ นกั เรียนช้ันประถมศึกษาป4ท่ี 2 โรงเรยี นบา" นหนองขาม ที่เรยี นวิชาภาษาองั กฤษ (อ12101) ในภาค
เรียนท่ี 1 ป4การศึกษา 2559 จํานวน 12 คน ซ่ึงได"มาโดยการเลือกแบบเจาะจง เคร่ืองมือท่ีใช"ในการวิจัย ได"แก0 แผนการจัดการ
เรียนร"ูโดยใช"วิธีสอนภาษาเพื่อการส่ือสาร ด"วยกิจกรรมเพลงและเกมและแบบทดสอบวัดความสามารถด"านการฟnง–การพูด
ภาษาอังกฤษ สถิติที่ใช"ในการวิเคราะห*ข"อมูล ได"แก0 ค0าเฉลี่ย ส0วนเบ่ียงเบนมาตรฐานและการทดสอบหาค0าทีแบบกล0ุมท่ีไม0เปVน
อสิ ระต0อกัน

ผลการวิจยั พบวา0 ความสามารถในการฟงn –การพดู ภาษาองั กฤษของนักเรียน ชัน้ ประถมศึกษาป4ที่ 2 โรงเรียนบ"านหนอง
ขาม โดยใชว" ธิ ีสอนภาษาเพอ่ื การส่อื สารด"วยกิจกรรมเพลงและเกมหลังการทดลองสูงกว0าการก0อนการทดลองอย0างมีนัยสําคัญทาง
สถติ ทิ ่ีระดับ .01
คําสําคญั : ความสามารถในการฟnง–การพูดภาษาอังกฤษ การสอนภาษาเพื่อการส่อื สารดว" ยกิจกรรมเพลงและเกม

1 นกั ศึกษาปรญิ ญามหาบณั ฑิตสาขาวิชาการสอนภาษาอังกฤษในฐานะภาษาตา0 งประเทศ คณะครุศาสตร* มหาวทิ ยาลัยราชภฏั หมู0บ"านจอมบึง
2 นักศึกษาปริญญามหาบณั ฑติ สาขาวิชาการสอนภาษาองั กฤษในฐานะภาษาต0างประเทศ คณะครุศาสตร* มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั หมบู0 "านจอมบึง

เอกสารสืบเนอื่ งจากการประชุมวชิ าการและนําเสนอผลงานวจิ ยั ระดบั ชาติ 2559 “การวิจยั รบั ใชช" ุมชนสรา" งสังคมฐานความร"ู” 51

ABSTRACT

The purpose of this research was to study English listening–speaking abilities of Prathom Suksa II
students at Ban Nongkham School using Communicative Approach through songs and games before the
experiment and after the experiment. The samples used in the research were 12 Prathom Suksa II students
who studied English subject (English 12101) in the first semester of the 2016 academic year at Ban Nongkham
School. They were selected by Purposive Sampling. The instruments used in the research were lesson plans
using Communicative Approach through songs and games and the English listening–speaking abilities test.
Statistics used for data analysis were mean, standard deviation and t-test for dependent samples.

The result of the research indicated that : English listening–speaking abilities of Prathomsuksa II
students at Ban Nongkham School using Communicative Approach through songs and games after the
experiment was significantly increased higher than before the experiment at the .01 level.
Keywords : English listening–speaking abilities, Communicative Approach though songs and games

ความเปน` มาและความสําคัญของปaญหา

ภาษาอังกฤษเปVนภาษาสากลที่ใช"กันอย0างแพร0หลายและมีความสําคัญ เน่ืองจากเปVนเคร่ืองมือสําคัญท่ีใช"ในการ
ติดต0อส่ือสารระหว0างกัน ดังนั้น ผู"ท่ีมีความร"ูทางภาษาอังกฤษดีย0อมได"เปรียบกว0าผ"ูอ่ืนและจากอิทธิพลของความก"าวไกลทาง
เทคโนโลยีและการส่ือสารจึงส0งผลให"ภาษาอังกฤษมีความจําเปVนอย0างยิ่งในชีวิตประจําวันเพราะเปVนเครื่องมือในการศึกษา การ
แลกเปลีย่ นความรู" การประกอบอาชีพ ทําใหผ" "เู รยี นมคี วามเขา" ใจเก่ยี วกับ ความแตกต0างของภาษาและวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียม
ประเพณี เศรษฐกิจ สังคม การเมือง การปกครองและวิสัยทัศน*ของชุมชนโลก (กระทรวงศึกษาธิการ, 2551) ประกอบกับการท่ี
ประเทศไทยเปVนสมาชิกของประชาคมอาเซียนซ่ึงตามกฎบัตรอาเซียน ข"อ 34 บัญญัติวา0 "The working language of ASEAN
shall be English” หรือ )”รทํางานของอาเซียน คือ ภาษาอังกฤษภาษาที่ใช"ในกา“สมเกียรติ อ0อนวิมล, 2554)
กระทรวงศกึ ษาธกิ ารจงึ ตง้ั เปา• หมายคณุ ภาพผเ"ู รยี นใหน" ักเรียนทจี่ บชัน้ ประถมศกึ ษาป4ที่ 6 สามารถสื่อสารเปVนภาษาอังกฤษได" เพื่อ
รองรบั การเปนV สมาชกิ ประชาคมอาเซยี น รวมทงั้ จะต"องใชภ" าษาอังกฤษในการค"นคว"าหาความรู"จากอินเตอร*เนต็ และส่ือการเรียนร"ู
ที่มีความหลากหลายมากขึ้น ดังน้ันจึงต"องมีการเตรียมความพร"อมเพ่ือพัฒนาเด็ก เยาวชนและคนไทยให"มีคุณภาพและมี
คณุ ลักษณะ อันพงึ ประสงค*ตามท่ีสังคมคาดหวัง กระตน"ุ ให"เดก็ เหน็ ความสําคญั ของภาษาอังกฤษเพอ่ื ใช"เปนV เครอื่ งมอื สาํ คญั ในการ
แสวงหาความร"ใู นสังคมอาเซยี นและเวทโี ลกตอ0 ไป ฟาฏินา วงศ*เลขา), 2553)

จากการศึกษาสภาพปnญหาการเรียนการสอนภาษาอังกฤษของประเทศไทยในปnจจุบัน พบว0า นักเรียนไทยมี
คะแนนเฉลี่ยในวิชาภาษาอังกฤษต่ํากว0าเกณฑ*มาตรฐานท่ีต้ังไว"และจากผลคะแนนทดสอบทางการศึกษาแห0งชาติข้ันพ้ืนฐาน
(Ordinary National Education Test (O-NET)) ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาป4ที่ 6 ในช0วงป4การศึกษา 2556–2558 พบว0า
คะแนนกล0ุมสาระการเรียนร"ูภาษาต0างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) มีคะแนนเฉล่ีย คือ ร"อยละ 33.82, ร"อยละ 36.02 และร"อยละ
40.31 ตามลาํ ดบั (สถาบนั ทดสอบการศึกษาแห0งชาติ (องค*กรมหาชน), 2559) ะแนนกลุ0มสาระการเรียนร"ูภาษาต0างประเทศ วิชา
ภาษาอังกฤษ ระดบั เขตพน้ื ท่ีการศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 1 มีคะแนนเฉลี่ย คือ ร"อยละ 31.20, ร"อยละ 34.65 และร"อยละ
31.80 ตามลาํ ดับ และผลการประเมนิ ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี นวชิ าภาษาอังกฤษระดับโรงเรียนบ"านหนองขาม กลุ0มสาระการเรียนร"ู
ภาษาต0างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) มีคะแนนเฉลี่ย คือ ร"อยละ 29.63,ร"อยละ 28.40 และร"อยละ 25.93 ตามลําดับ (ฝ…ายวิชาการ
โรงเรยี นบา" นหนองขาม, 2558) ซึ่งตาํ่ กวา0 เกณฑ*มาตรฐานของโรงเรียนทต่ี ั้งไว"รอ" ยละ 70

จากความสาํ คญั ของภาษาอังกฤษและปญn หาความสามารถในการฟnง–การพูดภาษาอังกฤษของนกั เรยี นชัน้ ประถมศึกษาป4
ที่ 2 โรงเรียนบา" นหนองขาม ผูว" จิ ยั ในฐานะครูผ"สู อนภาษาอังกฤษจงึ ได"ทําการศึกษางานวิจยั ทเ่ี ก่ยี วข"องกับความสามารถในการฟnง-
การพูดภาษาอังกฤษ พบว0า วิธีสอนทีย่ ดึ นักเรียนเปVนศูนย*กลาง (Child Centered) และตรงตามแนวการสอนภาษาเพ่ือการสื่อสาร

52 เอกสารสบื เนอ่ื งจากการประชุมวชิ าการและนําเสนอผลงานวจิ ยั ระดับชาติ 2559 “การวจิ ยั รับใช"ชมุ ชนสรา" งสงั คมฐานความร"ู”

(Communicative Approach) ในปnจจบุ นั อีกวิธีหนึ่ง คือ วธิ สี อนภาษาเพ่อื การส่ือสารด"วยกิจกรรมเพลงและเกม ซ่ึงเปVนวิธีสอนท่ี
สามารถพัฒนาความสามารถในการฟnง–การพูดภาษาอังกฤษได"อย0างมีประสิทธิภาพอีกวิธีหนึ่ง วิธีสอนภาษาเพื่อการส่ือสารด"วย
กิจกรรมเพลงและเกม หมายถึง การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนท่ีมุ0งส่ือความหมายในการฟnง–การพูดภาษาอังกฤษ โดยให"
นักเรียนเปVนศูนย*กลาง มีส0วนร0วมในการเรียนการสอน ทําให"การเรียนการสอนมีความน0าสนใจ สนุกสนานเพลิดเพลิน นักเรียนมี
พฒั นาการดา" นการฟงn -การพูดภาษาองั กฤษ มพี ฒั นาการทัง้ ทางด"านรา0 งกาย อารมณ* สงั คมและสติปญn ญา โดยมขี ้ันตอนการสอน 4
ขน้ั ตอน ดังน้ี ข้ันท่ี 1 ข้ันนํา (Warm Up) ขั้นท่ี 2 ข้ันนําเสนอ (Presentation) ข้ันท่ี 3 ขั้นฝuก (Practice) และขั้นท่ี 4 ขั้นการใช"
ภาษา (Production) ดังเช0น ผลงานวิจัยของมหาวิทยาลัยดาห*กา (Dhaka University, 2009) ท่ีทําการศึกษาเรื่องการใช"เพลง
กิจกรรมประกอบจังหวะและเกมในการสอนภาษาอังกฤษของนักเรียนระดับประถมศึกษาในประเทศบังคลาเทศ พบว0า เพลง
สามารถพฒั นาการเรียนร"ูภาษาองั กฤษของนักเรียนไดอ" ยา0 งมีประสทิ ธภิ าพและยงั สามารถสรา" งแรงจงู ใจต0อการเรียน ทาํ ใหน" ักเรียน
สนใจและสนุกสนานกับการเรียนและยังพบว0าเกมช0วยพัฒนาให"นักเรียนใช"ภาษาในการส่ือสารได"เปVนอย0างดีและเปVนเคร่ืองมือใน
การสรา" งบรรยากาศในชั้นเรยี นภาษาองั กฤษเพราะนอกจากทําให"การเรียนรู"เปVนไปด"วยความสนุกสนานแล"วนักเรียนยังเต็มใจที่จะ
เข"าร0วมกจิ กรรมทาํ ใหเ" กิดพัฒนาทางด"านรา0 งกายจึงไม0เกิดการเบื่อหน0ายและเกมยังสร"างสัมพันธภาพท่ีดีท้ังระหว0างครูกับนกั เรียน
และนกั เรียนกบั นักเรียน ท้งั นีเ้ พลงและเกมยังกระต"ุนให"นักเรียนมีทักษะทางภาษาอังกฤษ ช0วยให"นักเรียนเกิดความคิดสร"างสรรค*
ทางภาษา ซึ่งจะส0งผลให"นักเรียนพัฒนาความร"ู ความสามารถอย0างเต็มศักยภาพ และสอดคล"องกับผลงานวิจัยในประเทศของ
กนั ยารตั น* เพิงสา (2553) ทไ่ี ดศ" กึ ษาความสามารถในการฟnง–พูดภาษาอังกฤษของนักเรียนช้ันประถมศึกษา ป4ที่ 1 โรงเรียนบ"าน
เบิกไพร ด"วยวิธีสอนโดยใช"กิจกรรมเพลงและเกม ผลการวิจัยพบว0า ความสามารถในการฟnง–พูดภาษาอังกฤษของนักเรียนช้ัน
ประถมศกึ ษาปท4 ่ี 1 โรงเรยี นบ"านเบกิ ไพร ด"วยวิธกี ารสอนโดยใชก" ิจกรรมเพลงและเกมหลงั การทดลองสูงกว0าก0อนการทดลองอย0าง
มีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .01 และยังพบว0า นักเรียนมีเจตคติที่ดีมากต0อการเรียนภาษาอังกฤษ นอกจากนี้ยังสอดคล"องกับ
ผลการวิจัยของวารุณี ยะปาน (2556) ที่ได"ศึกษาความสามารถในการฟnง–พูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาป4ที่ 1
โรงเรียนชุมชนบ"านบ0อ ด"วยวิธีสอนภาษาเพ่ือการส่ือสารโดยใช"เพลงและเกม ผลการวิจัยพบว0า ความสามารถในการฟnง–พูด
ภาษาองั กฤษของนกั เรียนช้ันประถมศึกษาป4ที่ 1 โรงเรียนชุมชนบ"านบ0อ ด"วยวิธีการสอนภาษาเพ่ือการส่ือสารโดยใช"เพลงและเกม
หลงั การทดลองสูงกวา0 การก0อนทดลองและยงั พบวา0 แรงจูงใจตอ0 การเรยี นภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาป4ที่ 1 หลังการ
ทดลองสงู กวา0 ก0อนการทดลองและทําให"การเรยี นบรรลุผลตามจุดมง0ุ หมาย

จากความสําคญั ของภาษาอังกฤษ ปnญหาผลสมั ฤทธิท์ างการเรยี นของนักเรยี นและขอ" ค"นพบจากผลงานวิจัยท่ีเกย่ี วข"องกบั
วิธสี อนภาษาเพอื่ การสื่อสารด"วยกิจกรรมเพลงและเกมดังกล0าว ผ"ูวิจัยจึงสนใจที่จะทําการวิจัยเพ่ือศึกษาความสามารถในการฟnง–
การพูดภาษาองั กฤษ โดยใช"วิธสี อนภาษาเพื่อการสือ่ สารด"วยกจิ กรรมเพลงและเกมกับนกั เรียนชน้ั ประถมศึกษาป4ที่ 2 โรงเรียนบ"าน
หนองขาม เพื่อพัฒนาความสามารถด"านการฟnง–การพูดภาษาอังกฤษให"มีประสิทธิภาพย่ิงขึ้นและเพ่ือเตรียมความพร"อมในการ
เรียนร"ูในศตวรรษท่ี 21

วตั ถุประสงค-
นการฟnงเพ่ือศึกษาความสามารถใ–การพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนช้ันประถมศึกษาป4ที่ 2 โรงเรียนบ"านหนองขาม

โดยใช"วิธีสอนภาษาเพื่อการสอ่ื สารดว" ยกิจกรรมเพลงและเกมก0อนการทดลองและหลังการทดลอง

สมมุตฐิ าน
ความสามารถในการฟnง–การพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนช้ันประถมศึกษาป4ท่ี 2 โรงเรียนบ"านหนองขาม โดยช"วิธีสอน

ภาษาเพ่อื การส่อื สารวยกจิ กรรมเพลงและเกม หลังการทดลองสงู กวา0 ก0อนการทดลอง

เอกสารสบื เนอ่ื งจากการประชมุ วชิ าการและนาํ เสนอผลงานวิจัยระดบั ชาติ 2559 “การวิจยั รบั ใชช" มุ ชนสร"างสังคมฐานความร"ู” 53

กรอบแนวความคิด
การวิจัยครั้งนี้ ผู"วิจัยได"ทําการศึกษาเอกสารท่ีเกี่ยวข"องกับหลักการ แนวคิด ทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวข"องกับวิธีสอน

ภาษาเพ่ือการสื่อสารด"วยกิจกรรมเพลงและเกม โดยผ"ูวิจัยได"ประยุกต*ใช"ขั้นตอนการสอนของสุมิตรา อังวัฒนกุล (2535) โดยมี
ขั้นตอนการสอน 4 ขน้ั ดังนี้ ขัน้ ท่ี 1 ขัน้ นํา (Warm Up) ขั้นท่ี 2 ข้นั นําเสนอ (Presentation) ขน้ั ที่ 3 ข้ันฝuก (Practice) และขั้นที่
4 ขัน้ การใชภ" าษา (Production) และศกึ ษาเกณฑ*ใน การสร"างแบบทดสอบวัดความสามารถในการฟnง–การพูดอังกฤษของอัจฉรา
วงศ*โสธร (2544) ซงึ่ สามารถเขยี นเปนV แผนภาพแสดงถึงกรอบแนวคดิ ที่ใช"ในการวิจัยครัง้ นี้ ดังปรากฏในภาพประกอบ 1

ตัวแปรตน (Independent Variable) ตวั แปรตาม (Dependent Variable)

วธิ สี อนภาษาเพื่อการส่อื สารด"วยกจิ กรรม ความสามารถในการฟงn –การพดู ภาษาองั กฤษ
เพลงและเกม

ภาพ 1 กรอบแนวคิดการวจิ ัย

วิธีดาํ เนินการวิจยั

ประชากรและกลมุ ตวั อยาง
ประชากร
ประชากรทีใ่ ช"ในการวิจัยครัง้ นี้เปVนนกั เรยี นชนั้ ประถมศกึ ษาปท4 ่ี 2 โรงเรียนบ"านหนองขาม ตําบลป…าหวาย อําเภอสวนผึ้ง

จงั หวัดราชบุรี ภาคเรียนท่ี 1 ปก4 ารศึกษา 2559 ที่เรยี นวิชาภาษาอังกฤษพน้ื ฐาน อ12101 จาํ นวน 1 หอ" งเรียน รวม 12 คน
กลุมเป•าหมาย
กลมุ0 เปา• หมายทใี่ ชใ" นการวิจัยครง้ั นศ้ี กึ ษาจากประชากรทงั้ หมด ซึง่ เปVนนักเรียนช้นั ประถมศกึ ษาปท4 ่ี 2 โรงเรียนบ"านหนอง

ขาม ตําบลป…าหวาย อําเภอสวนผึ้ง จังหวัดราชบุรี ภาคเรียนที่ 1 ป4การศึกษา 2559 ท่ีเรียนวิชาภาษาอังกฤษพ้ืนฐาน อ12101
จํานวน 1 หอ" งเรียน รวม 12 คน ท่ีได"มาจากการเลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling) เนื่องจากโรงเรียนบ"านหนองขาม
มีนักเรียนท่ีเรียนช้ันประถมศึกษาป4ที่ 2 เพยี ง 1 ห"องเทา0 นั้น

เครื่องมอื การวจิ ัย
1. เคร่ืองมือที่ใช"ในการทดลอง คือ แผนการจัดการเรียนร"ูภาษาอังกฤษโดยใช"วิธีสอนภาษาเพ่ือการส่ือสารด"วยกิจกรรม

เพลงและเกม จาํ นวน 16 แผน รวม 16 ชัว่ โมง ที่ผว"ู จิ ัยสร"างข้ึนซ่งึ ผ0านการพฒั นาและหาคุณภาพแลว"
2.เครื่องมือท่ีใช"ในการเกบ็ รวบรวมขอ" มลู คือ แบบวัดความสามารถในการฟnง–การพูดภาษาอังกฤษ โดยใช"วิธีสอนภาษา

เพื่อการสื่อสารด"วยกิจกรรมเพลงและเกม ผู"วิจัยสร"างขึ้นซึ่งผ0านการพัฒนาและหาคุณภาพแล"วโดยมีความเชื่อม่ัน ทงั้ ฉบับเท0ากับ
.90

การเก็บรวบรวมขอมูล
ในการวิจัยคร้ังนี้ ผ"ูวิจัยได"ดําเนินการทดลองและเก็บรวบรวมข"อมูลด"วยตนเอง โดยมีขั้นตอนในการเก็บรวบรวมข"อมูล

ดังตอ0 ไปน้ี
1. ปฐมนเิ ทศและแจง" จุดประสงค*เพอ่ื ทาํ ความเข"าใจกบั นักเรียนถงึ วิธีสอนภาษาเพื่อการส่ือสารด"วยกิจกรรมเพลงและ

เกม รวมถงึ วิธีประเมนิ ผลการเรยี น

54 เอกสารสบื เนอ่ื งจากการประชุมวชิ าการและนาํ เสนอผลงานวจิ ยั ระดับชาติ 2559 “การวจิ ัยรับใช"ชุมชนสรา" งสังคมฐานความรู"”

2. ทําการทดสอบก0อนการทดลอง (Pre–test) โดยใช"แบบทดสอบวัดความสามารถในการฟnง–การพูดภาษาอังกฤษ
เปVนเวลา 2 ช่วั โมง

3. ดําเนินการทดลองตามแผนการจัดการเรียนรู"การฟnง-การพูดภาษาอังกฤษโดยใชว" ิธีสอนภาษาเพื่อการส่ือสารด"วย
กจิ กรรมเพลงและเกม ที่ผ"ูวิจัยสรา" งข้ึนโดยใช"เวลาในการทดลอง 16 ช่ัวโมง

4. ทําการทดสอบหลังการทดลอง (Post–test) โดยใช"แบบทดสอบวัดความสามารถในการฟnง–การพูดภาษาอังกฤษ
ฉบบั เดยี วกบั ทใี่ ช"ทดสอบก0อนการทดลอง เปVนเวลา 2 ช่วั โมง

5. นําผลคะแนนที่ได"จากการประเมินผลการทดลองมาวิเคราะห*ด"วยวิธีการทางสถิติเพ่ือทดสอบสมมุติฐานโดยการ
ทดสอบหาค0าทีแบบกลมุ0 ที่ไม0เปนV อสิ ระต0อกัน (t-test for dependent samples) ด"วยโปรแกรมคอมพวิ เตอร*สําเรจ็ รูป

การวเิ คราะห-ขอมูล
ในการวิจยั ครง้ั นี้ ผ"ูวจิ ัยได"วิเคราะห*ข"อมลู โดยใช"โปรแกรมคอมพิวเตอร*สําเรจ็ รูป ดังน้ี
เปรียบเทียบความสามารถในการฟnง-การพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาป4ท่ี 2 โรงเรียนบ"านหนองขาม

โดยใช"วิธีสอนภาษาเพื่อการสื่อสารด"วยกิจกรรมเพลงและเกมก0อนการทดลองและหลังการทดลอง และทําการทดสอบสมมตฐิ าน
โดยการทดสอบหาค0าทีแบบกลมุ0 ทไี่ ม0เปนV อิสระตอ0 กัน (t-test for dependent samples) ผลปรากฏดังตาราง1

ตาราง 1 ผลการศึกษาความสามารถในการฟnง-การพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนช้ันประถมศึกษาป4ที่ 2 โรงเรียนบ"านหนองขาม
โดยวธิ สี อนภาษาเพ่อื การสือ่ สารด"วยกจิ กรรมเพลงและเกมกอ0 นการทดลองและหลังการทดลอง

ความสามารถในการฟงn -การพดู N µσ t Sig.
ภาษาอังกฤษของกลมุ0 ทดลอง 0.00
12 3.58 1.621
ก0อนการทดลอง 12 15.67 1.875 145 1,773 30.355**
หลังการทดลอง
** มนี ยั สําคญั ทางสถติ ทิ ร่ี ะดบั .01

จากตาราง 1 แสดงวา0 ความสามารถในการฟงn -การพูดภาษาองั กฤษของนักเรียนชน้ั ประถมศกึ ษาปท4 ่ี 2โรงเรียนบ"านหนอง
ขาม โดยวิธีสอนภาษาเพอ่ื การสื่อสารด"วยกิจกรรมเพลงและเกมหลงั การทดลองสูงกว0าก0อนการทดลองอย0างมีนัยสําคัญทางสถิติที่
ระดับ .01 ซึ่งเปนV ไปตามสมมตฐิ านทีต่ ้งั ไว"

สรปุ ผล

การศึกษาความสามารถในการฟnง-การพูดภาษาอังกฤษของนักเรยี นชน้ั ประถมศกึ ษาป4ท่ี 2 โรงเรยี นบ"านหนองขาม โดยใช"
วิธีสอนภาษาเพ่ือการส่อื สารด"วยกิจกรรมเพลงและเกม สามารถสรุปผลได"ดังนี้ความสามารถในการฟnง-การพดู ภาษาอังกฤษของ
นักเรียนชั้นประถมศึกษาป4ที่ 2 โรงเรียนบ"านหนองขาม โดยใช"วิธีสอนภาษาเพื่อการสื่อสารด"วยกิจกรรมเพลงและเกม หลังการ
ทดลองสูงกวา0 ก0อนการทดลองอยา0 งมีนัยสาํ คญั ทางสถิติท่ีระดับ .01

อภปิ รายผล

การวิจยั ในคร้ังนเ้ี ปนV การศึกษาความสามารถในการฟงn กฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาป4ท่ีการพูดภาษาอัง-2 โรงเรียน
บ"านหนองขาม โดยใช"วิธีสอนภาษาเพอ่ื การส่ือสารด"วยกิจกรรมเพลงและเกม สามารถอภิปรายผลตามข้ันตอนการสอน 4 ขั้น ได"
ดังน้ี

เอกสารสืบเนอ่ื งจากการประชมุ วิชาการและนําเสนอผลงานวจิ ัยระดับชาติ 2559 “การวจิ ยั รับใช"ชมุ ชนสร"างสังคมฐานความร"ู” 55

ข้ันที่ 1 ขนั้ นาํ (Warm Up) เปVนขน้ั การกระต"ุนใหน" กั เรียนเกิดความพร"อมและอยากรู" อยากเรยี นในบทเรียนใหน" กั เรียนมี
ความพร"อม เกิดความสนุกสนาน มีความสนใจและกระตือรือร"น ในการเรียนรู" ซ่ึงกิจกรรมที่นํามาใช"ในขั้นตอนนี้มีหลากหลาย
ไดแ" ก0 การรอ" งเพลง การเลน0 เกม การใช"สื่อสภาพจริง (Authentic Materials) การแสดงท0าทาง เพ่ือนําเข"าสู0บทเรียนหรือทบทวน
ความรท"ู ีเ่ รียนมาแล"ว สอื่ สภาพจรงิ เปVนสงิ่ ที่นักเรียน พบเห็นในสถานการณ*จริงในชีวิตประจําวัน (Real Situation) ที่ให"นักเรียน
สามารถเข"าถึงการเรียนร"ูได"ด"วยตนเอง (Self Access) ดังคํากล0าวของ วิลคินส* (Wilkins, 1976) ที่ได"แสดงความคิดเห็นเก่ียวกับ
การนําสื่อสภาพจริงมาใช"ในการเรียนการสอนภาษาว0า เปVนเร่ืองจําเปVน เพราะเปVนโอกาสเดียวท่ีจะทําให"ผ"ูเรียนได"เห็นความ
แตกต0างระหว0างภาษาที่สมบูรณ*แบบในช้ันเรียนและภาษาท่ีเจ"าของภาษาใช"อยู0จริง เพื่อพัฒนาให"ผ"ูเรียนสามารถเข"าใจภาษาใน
ลักษณะต0าง ๆ ได" แม"ว0าเขาเองจะไม0ใช"ภาษาในลักษณะนัน้ เลยกต็ าม ส่อื สภาพจริงจงึ เปนV เคร่ืองเช่ือมช0องว0างระหว0างความร"ูในชั้น
เรยี น และความสามารถท่จี ะส่อื ภาษาในสถานการณจ* รงิ ได"อยา0 งมปี ระสิทธภิ าพ เชน0 เดียวกับคํากล0าวของจอห*นสัน (Johnson อ"าง
ถึงใน สายชล ดีประสิทธ์ิ, 2547) ท่ีกล0าวว0า สื่อสภาพจริง (Authentic Materials) เปVนเอกสารที่มีเนื้อหาที่พบในชีวิตประจําวัน
จริง ๆ ในการนําสื่อสภาพจริงมาสอนในชั้นเรียน ภาษาสามารถจะแก"ปnญหาด"านความซับซ"อนของไวยากรณ*และความหมายได"
และเชน0 เดียวกบั คํากล0าวของ สวาฟฟา (Swaffar, 1985) ไดก" ล0าวถงึ การใช" ส่ือสภาพจริงในห"องเรียนไว"ว0า เม่ือนําสื่อสภาพจริงมา
ใชใ" นชน้ั เรียนจะทําให"ชั้นเรียนเพ่ิมความหลากหลายและมีความเปVนธรรมชาติมากย่ิงข้ึน การใช"ส่ือสภาพจริงในช้ันเรียนทําให"เกิด
การขยายของคาํ ศัพท*และโครงสร"างต0าง ๆ สื่อสภาพจริงเปVนสื่อประกอบการเรียนการสอนที่ได"มาจากสื่อท่ีมีอยู0ในชวี ิตประจําวัน
สื่อสภาพจริงจึงนา0 สนใจและเปVนประโยชน* ทําใหผ" "ูเรียนเกิดความสนใจและเกดิ แรงจูงใจในการเรียนรภ"ู าษาอยา0 งมปี ระสทิ ธภิ าพ ซึ่ง
จะเป–ดโอกาสให"นักเรียนได"ฝกu ทักษะในการฟnง-การพูด เพื่อใช"ในการส่ือสาร จึงส0งผลให"นักเรียนมีความสามารถในการฟnง-การพูด
หลงั การทดลองสูงกว กอ0 นการทดลอง

ข้ันท่ี 2 ขั้นนําเสนอ (Presentation) เปVนขั้นตอนท่ีครูนําเสนอคําศัพท*และเนื้อหาเพลงใหม0 โดยใช"ส่ือสภาพ
จริง ซ่งึ เปVนเพลงท่นี กั เรยี นคน"ุ เคยกบั ทาํ นอง คาํ ศัพท* เนอื้ เพลงทาํ ให"นักเรียนสามารถฟnงและร"องเพลงได"อย0างรวดเร็ว โดยเน"นการ
สือ่ ความหมาย ดงั คาํ กลา0 วของ เดวิน (Devin, อ"างถึงใน อรัญญา เถื่อนสุริยะ 2553) ที่ได"กล0าวไว"ว0า ความรู"เดิม (Schema) ของ
ผู"อ0าน หมายถงึ ความรเ"ู กีย่ วกับสิง่ ต0าง ๆ ในโลกที่ผู"อ0านสะสมไวใ" นชวั่ ชีวติ ของตน ซึง่ ประกอบดว" ยขอ" มลู และความคดิ การรับรู" มโน
ทัศน* จินตนาการและแงค0 ดิ ตลอดจนประสบการณ*ดา" นอารมณ* ความรเู" ดมิ จะเปVนส่งิ ทแ่ี ตกต0างกันออกไปในแต0ละบุคคล ข้ึนอย0ูกับ
ประสบการณ*การเรยี นรู"ในชีวติ ของแต0ละคนและเชน0 เดียวกับคํากล0าวของ รูเมลฮาร*ท (Rumelhart, 1981) ที่กล0าวว0า ความร"ูเดิม
หมายถึง โครงข0ายความร"ูหรือข"อมูลต0าง ๆ ที่สะสมไว"ในสมองเปVนตัวแทนของมวลความร"ูและประสบการณ*ของบุคคล ท้ังใน
ลักษณะรูปธรรมและนามธรรมไม0ว0าจะเปVนแนวคิดเก่ียวกับสิ่งของ สถานการณ*ทั่วไป ความรู"ความจํา ความร"ูสึก ต0าง ๆ ทําให"
ความร"เู ดมิ เปรยี บเสมือนการสร"างเครอื ขา0 ยของการรบั รู" โดยขอ" มูลเหลา0 นจ้ี ะมกี ารเชอ่ื มโยงกนั เปนV เครือขา0 ยท่ีมรี ะบบเปVนลําดับ จะ
เห็นไดว" า0 กิจกรรมทป่ี ระกอบดว" ยการใหฟ" งn คาํ ศัพท*ใหม0 เนอื้ หาใหม0 ใหผ" ูเ" รียนพูดตามครูเปVนผู"ให"ความร"ูทางภาษาที่ถูกต"องและเปVน
แบบอยา0 งที่ถกู ตอ" งในการฟnง-การพูดเพื่อใช"ในการสื่อสาร ประสบการณห* รือความรู"เดิมจากการเรียนร"ูความหมายของคําศัพท*และ
ค"ุนเคยกบั ทํานองเพลงจงึ ส0งผลใหน" กั เรยี นมีความสามารถในการฟงn -การพูดหลงั การทดลองสูงกวา0 กอ0 นการทดลอง
ทดลอง

ข้ันที่ 3 ข้นั ฝกu (Practice) เปนV ขน้ั ท่ีนกั เรยี นฝuกใช"ภาษาท่ีเรียนมาแลว" ในข้นั นําเสนอ ซ่ึงในขั้นฝuกนี้เปนV ขั้นท่ีนักเรียนได"ฝuก
ทักษะการฟnง-การพูดทางภาษาอังกฤษเพ่ือให"ใช"ภาษาได"คล0องแคล0วด"วยการใช"สื่อสภาพจริง การร"องเพลง โดยมีการฝuกท้ังช้ัน
ฝuกเปVนกลุ0ม ฝuกเปVนค0ูหรือสุ0มรายบุคคล โดยมีครูผู"สอนเปVนผู"อํานวยความสะดวกและให"คําปรึกษา (Teacher as a facilitator)
ให"นักเรียนมีปฏสิ มั พนั ธ*ตอ0 กัน (Interaction) มีการบรู ณาการทักษะทางภาษา (Integrated skills) คอื การฟงn และการพูด นกั เรยี น
ได"ฝuกปฏิบัติกิจกรรมด"วยตนเอง โดยเน"นผ"ูเรียนเปVนศูนย*กลาง (Child centered) ซึ่งอยู0ในสถานการณ*จริงในชีวติ ประจําวัน
(Real Situation) ซ่ึงให"นักเรียนได"ฝuกอย0างอิสระ การใช"ความร"ูเดิมผสมผสานกับความรู"ใหม0จะทําให"นักเรียนเข"าใจสิ่งต0าง ๆ
ท่ีเรียนร"ูได"เร็วยิ่งข้ึน เน่ืองจากนักเรียนได"ฝuกปฏิบัติทักษะการฟnง การพดู ด"วยตนเอง ซึ่งตรงกับแนวทฤษฎกี ารสอนภาษาเพ่ือการ
สือ่ สาร (Communicative Approach) จงึ ทาํ ให"นักเรยี นมีความสามารถในการฟnง-การพูดหลังการทดลองสูงกวา0 กอ0 นการทดลอง

56 เอกสารสบื เนอื่ งจากการประชุมวชิ าการและนําเสนอผลงานวจิ ัยระดับชาติ 2559 “การวิจัยรับใชช" มุ ชนสรา" งสงั คมฐานความร"ู”

ขั้นที่ 4 ขั้นการใช"ภาษา (Production) เปVนขั้นที่นักเรียนได"นําคําหรือประโยคท่ีฝuกมาแล"วมาใช"ในสถานการณ*ต0าง ๆ
เพื่อใหเ" กดิ ความคล0องแคลว0 สนุกสนาน ในขั้นนีเ้ ปVนขั้นท่ีเน"นผ"ูเรียนเปVนศูนย*กลาง (Child centered) โดยมีครูผู"สอนเปVนผ"ูอํานวย
ความสะดวก (Teacher as a facilitator) นกั เรยี นสามารถนาํ ความรู" ทางภาษาท่ไี ด"รบั ไปใช"ในสถานการณ*หรือกิจกรรมต0าง ๆ ได"
ด"วยการร"องเพลงและเล0นเกม ซึง่ นกั เรียนสามารถส่อื สาร ในการฟnง-การพูดได"อยา0 งสนุกสนาน มพี ัฒนาการในทกั ษะการฟnง-การพดู
และมีการวัดผลและประเมินผลตามสภาพจริง (Authentic Assessment) ดังคํากล0าวของ แครซเชน (Krashen, 1983) ที่ได"ให"
ความเห็นวา0 ความสามารถในการฟnงท่ดี ีเปVนสิง่ ที่สําคัญก0อนท่จี ะสามารถพดู ได" ความสามารถในการพูดจะเกิดข้ึนได"จากการฟnงที่มี
ความหมายโดยผ0านปnจจัยป•อนทางภาษาที่เข"าใจได"โดยอาจต"องใช"สื่อการเรียนช0วยและต"องมีการซํ้าย้ําทวน การจัดกิจกรรมการ
เรียนการสอนควรเป–ดโอกาสให"ผู"เรยี นไดฝ" uกปฏบิ ตั ิการทางภาษาทา0 ทางให"มากทีส่ ดุ เท0าท่จี ะมากได" โดยใช"วิธีการต0าง ๆ ในแนวการ
สอนภาษาเพ่ือการสื่อสาร เพื่อให"นักเรียนได"ใช"ภาษาในการส่ือสารให"มากท่ีสุดและช0วยพัฒนาความคิดของนักเรียน ในการสื่อ
ความหมายไดจ" รงิ และเชน0 เดียวกับคํากล0าวของ เสาวลักษณ* รัตนวิชช* (2531) ที่กล0าวไว"ว0า การพัฒนาทักษะการฟnงและการพูด
เปVนการเริ่มให"ปnจจัยป•อนทางภาษาท่ีเปVนท่เี ขา" ใจใหแ" กผ0 ู"เรียนและสิง่ แรก ในการฝuกทกั ษะการฟงn ต0อการเลือกกิจกรรมการเรียนการ
สอนต0าง ๆ ที่เหมาะสมกับวัตถุประสงค* การพัฒนาการพูดควรฝuกอย0างเปVนข้ันตอนจากง0ายไปหายาก คือฝuกจากรูปแบบคํา
ประโยคง0าย ๆ หรือการตอบคําถามง0าย ๆ โดยการชี้นําของครูผู"สอน การจัดเน้ือหาให"ผู"เรียนได"ประสบการณ*จากการออกเสียง
คําศัพท*ควรจัดอย0างต0อเน่ืองไปกับกิจกรรมการพูด ผ"ูเรียนได"ทดลองใช"ภาษาในสถานการณ*ต0าง ๆ จากสถานการณ*จําลองหรือ
สถานการณ*จริง โดยครเู ปนV เพยี งผูแ" นะแนวทาง (Teacher as a facilitator) ดงั นัน้ การทน่ี ักเรียนได"เร่มิ เรียนภาษาอังกฤษโดยการ
ฝกu ทักษะการฟnง-การพูดภาษาองั กฤษจากเพลงช0วยให"นกั เรยี นมีความสามารถในการฟnง-การพดู หลังการทดลองสงู กว0ากอ0 นการ

จากผลการศึกษาความสามารถในการฟงn การพดู ภาษาอังกฤษของนักเรยี นชั้นประถมศกึ ษาปท4 -ี่ 2 โรงเรยี นบ"านหนองขาม
โดยใช"วิธีสอนภาษาเพือ่ การสอ่ื สารดว" ยกจิ กรรมเพลงและเกม ผวู" จิ ัยพบว0า การสอนภาษาเพือ่ การสื่อสารดว" ยกิจกรรมเพลงและเกม
สามารถพฒั นาความสามารถในการฟnง การพูดภาษาองั กฤษของนักเรียนช้ันประถมศึกษาป4ที่-2 โรงเรียนบ"านหนองขามได"อย0างมี
ประสิทธภิ าพ และนอกจากนย้ี งั พบว0าการสอนภาษาเพอ่ื การส่ือสารด"วยกิจกรรมเพลงและเกมช0วยส0งเสริมพัฒนาการของนักเรียน
ในดา" นร0างกาย อารมณ* สงั คมและสติปญn ญาและช0วยใหน" ักเรียนเกิดความคิดสร"างสรรค*และมีเจตคติท่ีดีต0อการเรียนภาษาอังกฤษ
ได"อีกด"วย ดงั เชน0 ผลงานวิจัยในตา0 งประเทศของมหาวิทยาลยั ดาห*กา (Dhaka University, 2009) ที่ทําการศึกษาเร่ืองการใช"เพลง
กิจกรรมประกอบจังหวะและเกมในการสอนภาษาอังกฤษของนักเรียนระดับประถมศึกษาในประเทศบังคลาเทศ พบว0า เพลง
สามารถพฒั นาการเรยี นรู"ภาษาของนกั เรียนได"อย0างมีประสิทธิภาพและยังสามารถสร"างแรงจูงใจต0อการเรียน ทําให"นักเรียนสนใจ
และสนกุ สนานกับการเรยี นและพบวา0 เกมชว0 ยพัฒนาให"นักเรียนใช"ภาษาในการส่ือสารได"เปVนอย0างดีและเปVนเคร่ืองมือในการสร"าง
บรรยากาศในชั้นเรียนภาษาอังกฤษเพราะนอกจากทําให"การเรียนร"ูเปVนไปด"วยความสนุกสนานแล"วนักเรียนยังเต็มใจท่ีจะเข"าร0วม
กิจกรรมทําให"เกิดพัฒนาทางด"านร0างกายจึงไม0เกิดการเบ่ือหน0ายและเกมยังสร"างสัมพันธภาพที่ดีทั้งระหว0างครูกับนักเรียนและ
นักเรียนกบั นักเรียน ทง้ั นีเ้ พลงและเกมยังกระต"ุนให"นกั เรียนมีทักษะทางภาษาอังกฤษ ช0วยให"นักเรียนเกิดความคิดสร"างสรรค*ทาง
ภาษา ซ่ึงจะสง0 ผลใหน" ักเรียนพัฒนาความร"ู ความสามารถอยา0 งเต็มศักยภาพ สอดคล"องกับผลการวิจัยของวารุณี ยะปาน (2556)
ที่ได"ศึกษาความสามารถในการฟnง–การพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนช้ันประถมศึกษาป4ที่ 1 โรงเรียนชุมชนบ"านบ0อ ด"วยวิธีสอน
ภาษาเพ่ือการส่ือสารโดยใช"เพลงและเกม ผลการวิจัยพบว0าความสามารถในการฟnง–การพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนช้ัน
ประถมศึกษาปท4 ี่ 1 โรงเรยี นชุมชนบ"านบ0อ ดว" ยวิธกี ารสอนภาษาเพื่อการสือ่ สารโดยใช"เพลงและเกมหลังการทดลองสงู กวา0 การก0อน
ทดลองและยงั พบว0าแรงจงู ใจตอ0 การเรยี นภาษาอังกฤษของนกั เรยี นชน้ั ประถมศกึ ษาป4ที่ 1 หลังการทดลองสูงกว0าก0อน การทดลอง
และสอดคลอ" งกบั ผลการวจิ ัยของสรุ ชาติ บุรณศิริ (2558) ที่ได"ทําการศึกษาความสามารถใน การฟnง-การพูดภาษาอังกฤษและเจต
คติต0อการเรียนภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาป4ท่ี 3 โรงเรียนวัดบางกระ โดยใช"วิธีสอนภาษาเพ่ือการส่ือสารด"วย
กิจกรรมเพลงและเกม ผลการวิจัย พบว0าความสามารถในการฟnง-การพูดภาษาอังกฤษและเจตคติต0อการเรียนภาษาอังกฤษของ
นกั เรยี นชั้นประถมศึกษาป4ที่ 3 โรงเรียนวัดบางกระ โดยใช"วิธีสอนภาษาเพ่ือการสื่อสารด"วยกิจกรรมเพลงและเกมหลังการทดลอง
สูงกว0าการทดลองอยา0 งมีนยั สาํ คัญทางสถติ ทิ ่รี ะดบั .01 นอกจากนีย้ ังสอดคล"องกบั ผลการวิจยั ของเดือนนภา ทองมาก (2558) ที่ได"
ทาํ การวจิ ัยความสามารถในการฟงn -การพูดภาษาองั กฤษและความสนใจต0อการเรียนภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาป4ที่

เอกสารสบื เนอื่ งจากการประชุมวชิ าการและนําเสนอผลงานวิจัยระดบั ชาติ 2559 “การวิจยั รับใชช" มุ ชนสรา" งสังคมฐานความร"ู” 57

2 โรงเรียนบ"านพุคาย โดยใช"วิธีสอนด"วยกิจกรรมเพลงและเกม ผลการศึกษาพบว0า ความสามารถในการฟnง-การพูดภาษาอังกฤษ
ของนักเรยี นชัน้ ประถมศกึ ษาป4ท่ี 2 โรงเรียนบ"านพุคาย โดยใช"วิธีสอนภาษาด"วยกิจกรรมเพลงและเกมหลังการทดลองสูงกว0าก0อน
การทดลองอยา0 งมีนยั สําคญั ทางสถิติทร่ี ะดบั .01

จากการอภิปรายผลการวิจัยดังกล0าวสามารถสรุปได"ว0า วิธีสอนภาษาเพื่อการส่ือสารด"วยกิจกรรมเพลงและเกม เปVนวิธี
สอนทีส่ ามารถพฒั นาให"นกั เรยี นมีความสามารถในการฟnง-การพูดภาษาอังกฤษสูงขึ้นได"อย0างมีประสิทธิภาพและเปVนวิธีสอนที่ช0วย
ให"นักเรียนเกิดความสนุกสนานเพลิดเพลิน ทําให"นักเรียนมีความคิดสร"างสรรค*และยังสามารถสร"างแรงจูงใจต0อการเรียนทําให"
นกั เรยี นมีเจตคติที่ดีตอ0 การเรียนภาษาองั กฤษ ชว0 ยส0งเสรมิ พฒั นาการทางดา" นรา0 งกาย อารมณ* สังคมและสตปิ ญn ญา ซึง่ ตรงกับสาระ
การเรียนร"ูแกนกลางกล0ุมสาระการเรียนร"ูภาษาต0างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน
พุทธศักราช 2551 และตรงกับแนวทฤษฎีการสอนภาษาเพื่อการสื่อสาร (Communicative Approach) ท่ีเน"นผ"ูเรียนเปVน
ศนู ยก* ลาง (Child Centered) อย0างแท"จริง

ขอเสนอแนะ

จากการวจิ ัยคร้งั น้ี ผูว" ิจยั มีข"อเสนอแนะท่ีอาจเปVนประโยชน*ตอ0 การเรียนการสอนและการวจิ ัยคร้ังตอ0 ไป ดงั นี้
ขอเสนอแนะสําหรบั การนาํ ไปประยกุ ตใ- ช

1. การสอนโดยใช"วิธีสอนภาษาเพ่ือการส่ือสารด"วยกิจกรรมเพลงและเกม ควรมีความสอดคล"องตามหลักสูตรตรงตาม
ระดับชั้น เพลงควรมีทาํ นองท่ีนักเรยี นคน"ุ เคย ได"ยินได"ฟnงในชีวิตประจําวัน (Authentic Materials) จึงจะทําให"นักเรียนจดจําและ
ร"องเพลงได"รวดเรว็ ขึ้น ควรมเี นอ้ื หาเหมาะสมกับวัยและ ความสนใจของนักเรยี น และเกมทน่ี าํ มาใช"ควรเปนV เกมทีม่ คี วามสนกุ สนาน
มีอุปกรณ*และกติกาในการเลน0 ทน่ี า0 สนใจและไม0ซับซอ" น

2. การสอนโดยใช"วิธีสอนภาษาเพ่ือการสื่อสารด"วยกิจกรรมเพลงและเกม เน้ือหาของเพลงควรให"ความรู"หลากหลาย
เก่ยี วกับสิ่งที่ใกลต" วั เชน0 จํานวนนบั สถานที่ วันท้ัง 7 ใน 1 สัปดาหห* รือบรู ณาการกับสาระการเรยี นรูอ" ่ืน

3. การสอนโดยใชว" ธิ สี อนภาษาเพื่อการสอ่ื สารด"วยกจิ กรรมเพลงและเกมน้ัน ควรมีเนื้อหาของเพลงที่นําไปส0ูกิจกรรมการ
เล0นเกม เพ่อื เปVนการทบทวนและวดั และประเมนิ ผลความสามารถทางภาษาอังกฤษทนี่ กั เรียนมีประสบการณใ* นการเรียนร"จู ากเพลง
ไปสเ0ู กม

4. การสอนโดยใช"วิธีสอนภาษาเพื่อการสื่อสารด"วยกิจกรรมเพลงและเกม ครูควรอธิบายให"นักเรียนเข"าใจกติกาของการ
เลน0 เคารพกฎเกณฑ*และความมีวนิ ยั ในขณะเลน0 เกม ครูควรดแู ลใหค" ําแนะนาํ อย0างใกล"ชดิ

ขอเสนอแนะในการวจิ ยั ครง้ั ตอไป
1. ควรทําการศึกษาการเปรยี บเทยี บวธิ สี อนภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารด"วยกิจกรรมเพลงและเกมกับวิธีสอนอื่น ๆ เช0น
วิธีสอนตามคูม0 ือครูปกติ หรอื วิธีสอนตามแนวทฤษฎีการสอนภาษาแบบอรรถฐานดว" ยอรรถลกั ษณะของนิทาน
2. ควรทําการศึกษาความสามารถในการฟnง-การพูดภาษาอังกฤษ โดยใช"วิธีสอนภาษาเพื่อการส่ือสารดว" ยกิจกรรมเพลง
และเกมกบั นักเรยี นในระดับชนั้ อื่น ๆ เชน0 ระดบั ปฐมวยั ชนั้ ประถมศึกษาป4ท่ี 1, 3, และ 4
3. ควรทําการศึกษาวิธีสอนภาษาเพือ่ การส่อื สารดว" ยกจิ กรรมเพลงและเกมกบั วชิ าภาษาไทย ภาษาจีนและภาษาญ่ปี ุน…
4. ควรทําการศึกษาและพัฒนาวิธีสอนภาษาอังกฤษด"วยทักษะการฟnง-การพูดโดยใช"เพลงและเกมในรูปของสื่ออีเลินน่ิง
)E-leaning) หรือดิจทิ ัล )Digital) เพอื่ รองรบั การเรียนรใ"ู นศตวรรษท่ี 21

58 เอกสารสืบเนอื่ งจากการประชมุ วชิ าการและนาํ เสนอผลงานวจิ ยั ระดับชาติ 2559 “การวจิ ัยรบั ใช"ชมุ ชนสรา" งสงั คมฐานความร"ู”

เอกสารอางอิง

กระทรวงศึกษาธิการ. (2551). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรงุ เทพฯ : ผู"แต0ง.
กนั ยารตั น* เพงิ สา. (2553). การศกึ ษาความสามารถในการฟงa –พดู ภาษาองั กฤษและเจตคตติ อการเรียน

ภาษาองั กฤษของนกั เรยี นช้ันประถมศกึ ษาปที่ 1 โรงเรียนบานเบกิ ไพรดวยวิธีสอนโดยกิจกรรมเพลง
และเกม. วิทยานิพนธ*ครศุ าสตรมหาบณั ฑติ สาขาการสอนภาษาองั กฤษในฐานะภาษาตา0 งประเทศ
บณั ฑติ วทิ ยาลยั มหาวิทยาลยั ราชภฏั หมบู0 า" นจอมบงึ .
เดอื นนภา ทองมาก. (2558). การศกึ ษาความสามารถในการฟaง-พดู ภาษาอังกฤษและความสนใจตอการเรยี น
ภาษาองั กฤษของนกั เรียนชน้ั ประถมศกึ ษาปท่ี 2 โรงเรียนบานพคุ ายโดยใชวธิ สี อนดวยกจิ กรรมเพลง
และเกม. วิทยานพิ นธ*ครุศาสตรมหาบัณฑติ สาขาการสอนภาษาองั กฤษในฐานะภาษาตา0 งประเทศ
บัณฑติ วิทยาลยั มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั หมู0บ"านจอมบึง.
ฟาฎนิ า วงศเ* ลขา. (2553, ธันวาคม 7). พัฒนาภาษาองั กฤษ เตรียมเด็กไทยสู0อาเซียนและเวทโี ลก. เดลนิ ิวส-. คน" เมื่อ
มีนาคม 8, 2558, จาก http://social.obec.go.th/node/89.
โรงเรียนบ"านหนองขาม. (2558). รายงานผลการพัฒนาคณุ ภาพผูเรยี นโรงเรียนบานหนองขาม ปการศึกษา
2558. ราชบุรี : ผ"แู ต0ง.
วารุณี ยะปาน. (2556). การศึกษาความสามารถดานการฟงa –พูดและแรงจงู ใจตอการเรียนภาษาองั กฤษของ
นักเรยี นช้นั ประถมศกึ ษาปท่ี 1 โรงเรยี นชุมชนบานบอ ดวยวิธีสอนภาษาเพอ่ื การส่อื สารโดยเพลงและ
เกม. วทิ ยานิพนธ*ครศุ าสตรมหาบณั ฑติ สาขาการสอนภาษาอังกฤษในฐานะภาษาตา0 งประเทศ
บัณฑิตวทิ ยาลยั มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏหมูบ0 า" นจอมบึง.
สถาบันทดสอบการศกึ ษาแหง0 ชาติ (องค*กรมหาชน), (2559). รายงานผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาติ
ข้ันพน้ื ฐาน (O-NET). สืบค"นเมอ่ื 31 มนี าคม 2559 จาก http://www.niets.or.th.
สมเกียรติ อ0อนวมิ ล. (2554, กรกฎาคม 13). ภาษาอังกฤษกบั อนาคตของไทยในอาเซียน. เดลนิ วิ ส-. ค"นเมื่อ
กมุ ภาพนั ธ* 8, 2558 จาก http://blog.eduzones.com/.
สายชล ดีประสทิ ธ์ิ. (2547). การวเิ คราะห-หนาทที่ างภาษาของสือ่ สภาพจริงตามแนวทางการสอนภาษาเพื่อ
สอ่ื สาร. วิทยานพิ นธศ* ึกษาศาสตรมหาบณั ฑติ บณั ฑติ วทิ ยาลยั มหาวทิ ยาลัยเชยี งใหม.0
สมุ ิตรา องั วฒั นกลุ . (2535). วิธีสอนภาษาองั กฤษเปน` ภาษาตางประเทศ. กรงุ เทพฯ : จุฬาลงกรณ*มหาวทิ ยาลัย.
สรุ ชาติ บรุ ณศริ .ิ (2558). การศึกษาความสามารถในการฟงa -พูดภาษาองั กฤษและเจตคติตอการเรยี นภาษาองั กฤษ
ของนกั เรยี นชนั้ ประถมศึกษาปที่ 3 โรงเรยี นวดั บางกระโดยใชวธิ สี อนภาษาเพอ่ื การสื่อสารดวยกจิ กรรม
เพลงและเกม. วทิ ยานพิ นธ*ครศุ าสตรม* หาบัณฑติ สาขาการสอนภาษาอังกฤษในฐานะภาษาตา0 งประเทศ
บณั ฑติ วิทยาลัย มหาวทิ ยาลัยราชภฏั หมบู0 "านจอมบึง.
เสาวลกั ษณ* รตั นวิชช*. (2531). เอกสารคาํ สอนหลักสตู รและการสอนภาษาอังกฤษในโรงเรียนมธั ยมศึกษา.
กรุงเทพฯ : ภาควิชาหลักสูตรและการสอน คณะศกึ ษาศาสตร* มหาวทิ ยาลยั ศรีนครินทรวโิ รฒ.
อรัญญา เถอ่ื นสรุ ิยะ. (2553). การศึกษาความสามารถในการฟงa –พดู ภาษาองั กฤษและความเชอื่ ม่นั ในตนเองใน
การฟงa ภาษาองั กฤษของเด็กปฐมวัยทไี ดรบั การสอนตามแนวทฤษฎี การสอนภาษาแบบอรรถฐานโดย
การใชอรรถลกั ษณะของการเลานทิ าน. วิทยานิพนธ*ครศุ าสตรมหาบัณฑิต สาขาการสอนภาษาอังกฤษใน
ฐานะภาษาตา0 งประเทศ บณั ฑติ วทิ ยาลัย มหาวิทยาลยั ราชภัฏหมูบ0 า" นจอมบึง.

เอกสารสืบเนอ่ื งจากการประชุมวิชาการและนาํ เสนอผลงานวิจัยระดับชาติ 2559 “การวิจัยรบั ใช"ชมุ ชนสรา" งสังคมฐานความรู"” 59

อัจฉรา วงศโ* สธร. (2544). การทดสอบและการประเมนิ ผลการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ. กรงุ เทพฯ :
จุฬาลงกรณ*มหาวิทยาลัย.

Dhaka University. (2009). Use of songs, rhymes and games in teaching English to young
learners in Bangladesh. Retrieved Febuary 27, 2015, from http://www.banglajol.info/
index/php/DUJL.

Krashen, S.D. & Terrell, T.D. (1983). Principle and practice in second language acquisition. New
Jersey: Prentice Hall.

Rumelhart, D.E. , and Norman. (1981). “Analogical Processes in Learning. In J.R.” ,
Anderson (ed.). Cognitive Skills and their Acquisition. Hillsdale, New Jersey: Erlbaum.

Swaffar, J.K. (1985). Reading Authentic texts in foreign language: A cognitive model. Modern
Language, 69, 15-34.

Wilkins, D. A. (1976). Approaches to Language Syllabus Design. London: Oxford University.

60 เอกสารสบื เนอ่ื งจากการประชุมวชิ าการและนาํ เสนอผลงานวิจัยระดับชาติ 2559 “การวิจัยรบั ใช"ชมุ ชนสรา" งสังคมฐานความรู"”

การศึกษาความสามารถในการอาน-การเขยี นภาษาอังกฤษของนักเรียน
ชน้ั ประถมศึกษาปท่ี 4 โรงเรียนบานจอมบึง (วาปพรอมประชาศึกษา)
โดยใชวิธีสอนตามแนวทฤษฎีการสอนภาษาแบบอรรถฐาน (Genre-Based Approach)

ดวยอรรถลักษณะของนทิ าน (Narrative Genre Features)
A STUDY OF ENGLISH READING-WRITING ABILITIES AND OF

PHATHOM SUKSA IV STUDENTS
AT BAN JOMBUNG (WAPEEPROMPRACHASUEKSA) SCHOOL USING

GENRE-BASED APPROACH (NARRATIVE GENRE FEATURES)

สุธาวัลย- อัตตโชติ1 และ ดร. สงวนศรี โทรอค2
Suthawan Attachot1 and Dr. Sanguansri Torok2

บทคัดยอ

การวิจัยคร้งั นี้มวี ัตถปุ ระสงคเ* พ่ือศึกษาความสามารถในการอา0 น–การเขยี นภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาป4ที่
4 โรงเรียนบ"านจอมบงึ (วาป4พร"อมประชาศึกษา) โดยใช"วิธสี อนตามแนวทฤษฎกี ารสอนภาษาแบบอรรถฐานด"วยอรรถลักษณะของ
นิทานก0อนการทดลองและหลังการทดลอง กลุ0มตัวอย0างที่ใช"ในการวิจัยคือ นักเรียนช้ันประถมศึกษาป4ที่ 4 โรงเรียนบ"านจอมบึง
(วาป4พรอ" มประชาศกึ ษา) ทเี่ รียนวิชาภาษาอังกฤษ (อ14101) ในภาคเรยี นที่ 1 ป4การศกึ ษา 2559 จํานวน 40 คน ซึง่ ได"มาโดยการ
สุ0มแบบกลุ0ม เครื่องมอื ทใี่ ช"ในการวจิ ัยไดแ" ก0 แผนการจดั การเรยี นร"ู โดยใช"วิธีสอนตามแนวทฤษฎีการสอนภาษาแบบอรรถฐานด"วย
อรรถลกั ษณะของนิทานและแบบทดสอบวัดความสามารถในการอา0 น-การเขียนภาษาอังกฤษสถิติท่ีใช"ในการวิเคราะห*ข"อมูล ได"แก0
คา0 เฉลยี่ ส0วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและการทดสอบหาค0าทแี บบกล0ุมที่ไมเ0 ปนV อิสระตอ0 กนั

ผลการวิจยั พบว0า
ความสามารถในการอ0าน-การเขียนภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาป4ที่ 4 โรงเรียนบ"านจอมบึง (วาป4พร"อม
ประชาศึกษา) โดยใช"วิธีสอนตามแนวทฤษฎกี ารสอนภาษาแบบอรรถฐาน (Genre-Based Approach) ด"วยอรรถลักษณะของ
นทิ าน (Narrative Genre Features) หลังการทดลองสงู กวา0 กอ0 นการทดลอง อย0างมีนยั สาํ คัญทางสถิตทิ รี่ ะดับ .01

คาํ สําคัญ : ความสามารถในการอา0 น-การเขยี นภาษาอังกฤษ วธิ ีสอนตามแนวทฤษฎีการสอนภาษาแบบอรรถฐาน
ด"วยอรรถลกั ษณะของนิทาน

1 นักศึกษาปรญิ ญามหาบณั ฑิตสาขาวชิ าการสอนภาษาอังกฤษในฐานะภาษาตา0 งประเทศ คณะครศุ าสตร* มหาวทิ ยาลัยราชภัฏหมูบ0 า" นจอมบึง
2 อาจารยท* ่ีปรึกษา ดร. ประจําสาขาวิชาการสอนภาษาองั กฤษในฐานะภาษาตา0 งประเทศ คณะครุศาสตร* มหาวิทยาลัยราชภัฏหม0บู "านจอมบึง

เอกสารสบื เนอื่ งจากการประชุมวิชาการและนาํ เสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ 2559 “การวจิ ัยรับใชช" มุ ชนสร"างสงั คมฐานความรู"” 61

Abstract

The purpose of this research was to study English reading-writing abilities of Prathom Sueksa IV
students at Ban Jombung (WapeePromprachaSueksa) School using Genre-Based Approach (Narrative Genre
Features) before the experiment and after the experiment. The samples used in the research were 40
Prathom Sueksa IV students who studied English 4 (Eng14101) in the first semester of the 2016 acadamic year
at Ban Jombung (WapeePromprachaSueksa) School. They were selected by Cluster Random sampling. The
instuments used in the research were lesson plans using Genre- Based Approach (Narrative Genre Features)
and English reading – writing abilities test. Statistics used for data analysis were mean, standard deviation
and t-test for dependent samples.

The result of the research indicated that: English reading – writing abilities of Prathom Sueksa IV
students at Ban Jombung (WapeePromprachaSueksa) School using Genre-Based Approach (Narrative Genre
Features) after the experiment was significantly increased higher than before the experiment at the .01
level.

Keywords : English reading-writing abilities, Genre-Based Approach (Narrative Genre Features)

ความเป`นมาและความสําคัญของปญa หา

ปnจจุบันภาษาอังกฤษได"รับการยอมรับว0าเปVนภาษาสากล (International Language) และเปVนเคร่ืองมือในการ
ติดต0อส่ือสารกับประชาคมโลกต0อการแสวงหาความรู" การประกอบอาชีพและการศึกษาต0อในระดับสงู ข้ึน ในฐานะที่ประเทศไทย
เปVนสมาชิกของประชาคมอาเซียน ซึ่งเปVนการรวมตัวกันเปVนภาคีเครือข0ายและมีเป•าหมายหลักท่ีสําคัญคือ การเสริมสร"างความ
ร0วมมือและการสร"างความเขม" แขง็ ทางดา" นเศรษฐกจิ สงั คมและวัฒนธรรม รวมทง้ั ความร0วมมือในการพัฒนาความสามารถในการใช"
ภาษาอังกฤษซึ่งใช"เปVนภาษากลางในการสื่อสารของประชาคมอาเซียนตามท่ี กฎบัตรอาเซียนข"อ 34 บัญญัติว0า “The working
language of ASEAN shall be English” “ภาษาท่ีใช"ในการทํางานของอาเซียน คือ ภาษาอังกฤษ” ดังน้ันภาษาอังกฤษจึงเปVน
เคร่ืองมืออันดบั หน่ึงสาํ หรับพลเมอื งอาเซยี น ในการส่ือสารสรา" งความสัมพันธส* 0ูภมู ภิ าคอาเซียน (สมเกียรติ อ0อนวิมล, 2554) ดังนั้น
ในการเตรียมความพร"อมของผ"ูเรียนให"สามารถเติบโตและเปVนพลเมืองที่พร"อมในการดํารงชีวิตและการทํางานในสังคมท่ี
เปล่ียนแปลงไปนัน้ จึงจาํ เปนV ท่ีจะต"องมุ0งเน"นในด"านการปรับเปลี่ยนรูปแบบการเรียน การสอน และการอบรม โดยส0วนหน่ึงก็คือ
ทําใหท" ้ังผู"สอนและผู"เรียนเกิดความเข"าใจถึงความสําคัญของการปรับเปล่ียนวิธีการสอนและการเรียนรู" ให"ตอบสนองกับสังคมท่ี
เปล่ยี นแปลงไปและรูปแบบการเรียนรใ"ู นศตวรรษท่ี 21 (ถนอมพร เลาหจรัสแสง, 2556)

แมว" 0าการเรยี นการสอนภาษาอังกฤษในปจn จุบนั เปVนการสอนตามแนวทฤษฎีการสอนภาษาเพื่อการส่ือสาร แต0ผลสัมฤทธิ์
ทางการเรียนภาษาอังกฤษของนักเรียนยังอย0ูในระดับตํ่ากว0าเกณฑ*มาตรฐานดังจะเห็นได"จากผลการประเมินการทดสอบทาง
การศกึ ษาแหง0 ชาตขิ ั้นพื้นฐาน (O-net) ที่ดาํ เนินการทดสอบโดยสถาบนั ทดสอบการศกึ ษาแห0งชาติ (สทศ.) ในรายวิชาภาษาอังกฤษ
ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาป4ท่ี 6 ป4การศึกษา 2556-2558 มีคะแนนเฉล่ียระดับประเทศร"อยละ 36.99,33.82 และ 36.02
ตามลําดับ (สถาบันทดสอบการศึกษาแห0งชาติ (องค*การมหาชน), 2559) สอดคล"องกับผลการสอบทางการศึกษาแห0งชาติขั้น
พ้ืนฐาน (O-net) ระดับเขตพ้ืนที่การศึกษา มีคะแนนเฉล่ียร"อยละ 37.12,34.03 และ 30.94 ตามลําดับ สอดคล"องกับผลสัมฤทธ์ิ
ทางการเรียนวิชาภาษาอังกฤษระดับช้ันประถมศึกษาป4ที่ 4 โรงเรียนบ"านจอมบึง (วาป4พร"อมประชาศึกษา) ป4การศึกษา 2555-
2557 มคี ะแนนเฉล่ียร"อยละ25.13, 26.39 และ 30.63 ตามลําดับ ซ่ึงตํา่ กวา0 เกณฑ*ท่ีโรงเรียนตั้งไว"คือ ร"อยละ 70 (โรงเรียนบ"าน
จอมบงึ (วาป4พร"อมประชาศกึ ษา) ,2557) จากข"อมลู ดงั กลา0 วแสดงให"เห็นวา0 นกั เรียนส0วนใหญ0ไม0เห็นความสําคัญของภาษาอังกฤษ
อีกทั้งยังขาดทักษะความเข"าใจในการอ0านและการเขียนภาษาอังกฤษ ท้ังนี้อาจเปVนผลมาจากวิธีสอนของครูท่ีเปVนการสอนแบบ

62 เอกสารสืบเนอื่ งจากการประชมุ วชิ าการและนําเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ 2559 “การวจิ ยั รับใช"ชุมชนสร"างสงั คมฐานความร"ู”

แปลและการท0องจํากฎเกณฑ*ไวยากรณ*จึงไม0เอื้อต0อการสอนภาษาเพ่ือการส่ือสารทําให"นักเรียนขาดความสนใจต0อการเรียน
ภาษาอังกฤษ เพราะคิดว0ายาก ไม0ใช0ภาษาของตนเอง และไม0ได"นําไปใช"ในชีวิตประจําวัน จึงทําให"ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวิชา
ภาษาอังกฤษต่ํากวา0 เกณฑ*

จากปnญหาความสามารถในการอ0าน-การเขียนภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาป4ท่ี 4 โรงเรียนบา" นจอมบึง
(วาปพ4 รอ" มประชาศึกษา) ผู"วจิ ัยในฐานะครผู "ูสอนภาษาองั กฤษจงึ ทําการศกึ ษาเอกสารและงานวจิ ัยที่เกย่ี วขอ" งกบั การจัดการเรียนร"ู
ภาษาอังกฤษพบวา0 วิธสี อนทย่ี ึดนักเรียนเปVนศูนย*กลาง(Learner-Centered) และสอดคล"องกับแนวทฤษฎีการสอนภาษาเพื่อการ
สื่อสาร (Communitive Approach) อีกวิธีหน่ึง คือ วิธีสอนตามแนวตามแนวทฤษฎีการสอนภาษาแบบอรรถฐานด"วยอรรถ
ลักษณะของนิทาน วิธีสอนตามแนวตามแนวทฤษฎีการสอนภาษาแบบอรรถฐานด"วยอรรถลักษณะของนิทานหมายถึง วิธีสอน
ภาษาอังกฤษดว" ยวิธกี ารจัดกิจกรรมการเรยี นการสอนทยี่ ดึ หลักการพฒั นาจากแนวภาษาศาสตร*เชิงระบบของเอ็ม เอ เค ฮอลลิเดย*
(M.A.K Halliday อ"างถึงใน เสาวลกั ษณ* รตั นวิชช*, 2531) ซึ่งเปVนผู"เชี่ยวชาญด"านภาษาศาสตร* ดังน้ีคือ นิทานคือเรื่องสมมติท่ีผู"
แต0งแต0งขึ้นโดยมีวัตถุประสงค*ท่ีจะเล0าเร่ืองในอดีตเพื่อให"คติสอนใจ นิทานมีองค*ประกอบ 4 ส0วนคือ 1) ชื่อเร่ือง (Title) 2) ฉาก
(Orientation) ซึ่งประกอบด"วย เวลาตัวประกอบและสถานท่ี 3) ลําดับเหตุการณ* ปมปnญหาและการแก"ไขปnญหา (Event,
Complication and Resolution) 4) คติธรรมสอนใจ (Moral) โดยมีข้ันตอนการสอน 5 ขั้น ตามลําดับ ดังน้ี ขั้นท่ี 1) แจ"ง
จดุ ประสงค*ของการอ0านเขียนนิทาน ขั้นท่ี 2) เสนอคําศัพท*ใหม0และการให"รูปแบบเพื่อให"ผ"ูเรียนได"เรียนร"ูและเข"าใจอรรถลักษณะ
ของภาษาจากเนือ้ เรื่องที่อา0 น ข้ันที่ 3) การแสดงบทบาทสมมตุ ิ ข้ันที่ 4) การทํางานกล0ุม ขนั้ ท่ี 5) การทํางานเดีย่ ว (สงวนศรี โท
รอค, (2547) ดังเช0นผลงานวิจัยในต0างประเทศของเชคเตอร*และ สเชคเตอร* (Shecter & Schecter, 1987) ที่ได"ศึกษา
ความสามารถทางการอา0 นและการเขียนตามแนวทฤษฎีการสอนภาษาแบบอรรถฐานของนักเรียนในเมือง ซึ่งต0างวัฒนธรรมใน
ห"องเรียนเดยี วกนั จาํ นวน 30 คน ในระดับเกรด 5 ผลการวจิ ยั พบวา0 ปริบททน่ี ํามาใช"นนั้ ช0วยทาํ ใหน" ักเรียนมคี วามเข"าใจภาษาและ
การใช"ภาษาได"เปVนอย0างดีย่ิง เช0นเดียวกับผลงานวิจัยของ ฮีแลนด* (Hyland, 1990) ท่ีได"ทําการวิจัยศึกษาผลของการสอน
คําอธิบายอรรถลักษณ*ทมี่ ีผลต0อการเขียนเรียงความภาษาอังกฤษ เชิงโต"แย"ง (Argumentative essay) พร"อมท้ังนําเสนอรูปแบบ
ภาษาของการเรยี งความภาษาอังกฤษลกั ษณะนี้ ซึง่ ปรากฏวา0 มีประโยชนม* ากและส0งผลตอ0 คณุ ภาพของงานเขียน ซึ่งสอดคล"องกับ
ผลงานวจิ ัยในประเทศไทยของสงวนศรี โทรอค (2547) ทีไ่ ด"ศึกษาเปรยี บเทียบความเข"าใจในการอ0านภาษาอังกฤษและเจตคติของ
นักเรียนมัธยมศึกษาป4ที่ 1 ท่ีได"รับการสอนอ0านด"วยวิธีสอนตามแนวทฤษฎีการสอนภาษาแบบอรรถฐานโดยใช"อรรถลักษณะของ
นิทาน การรายงานข0าวจากหนังสอื พิมพ*และการอธบิ าย กบั การสอนตามคู0มือครู ผลการวิจัยพบว0านักเรียนท่ีได"รับการสอนด"วยวิธี
สอนตามแนวทฤษฎีการสอนภาษาแบบอรรถฐานมีความเข"าใจในการอ0านภาษาอังกฤษและเจตคติหลังการทดลองสูงกว0าการสอน
อา0 นตามคู0มือครู และยงั ได"เสนอแนะตอ0 การวจิ ยั ในครง้ั ต0อไปวา0 ผู"วจิ ยั ควรเลือกอรรถลกั ษณะแต0ละชนิดใหเ" หมาะสมกับหลักสูตรใน
แต0ละระดับช้ัน นอกจากน้ยี งั สอดคลอ" งกับผลงานวจิ ัยของ สขุ ุมาล ปาสาเนย* (2554) ท่ีได"ทําการศกึ ษาเปรียบเทยี บความเขา" ใจและ
แรงจูงใจต0อการอ0านภาษาอังกฤษของนักเรียนช้ันประถมศึกษาป4ท่ี 4 โรงเรียนวัดช0องนนทรี สํานักงานเขตยานนาวา
กรงุ เทพมหานคร ทไี่ ดร" ับการสอนตามแนวทฤษฎีการสอนภาษาแบบอรรถฐานโดยใชอ" รรถลกั ษะของนทิ าน ผลการวิจัยพบว0าความ
เข"าใจและแรงจูงใจต0อการอ0านภาษาอังกฤษของนักเรียนช้ันประถมศึกษาป4ท่ี 4 โรงเรียนวัดช0องนนทรี สํานักงานเขตยานนาวา
กรุงเทพมหานคร ทีไ่ ดร" บั การสอนตามแนวทฤษฎีการสอนภาษาแบบอรรถฐาน โดยใช"อรรถลักษะของนิทานสูงกว0านักเรียนทไี่ ด"รับ
การสอนตามคู0มือครูและยังได"เสนอแนะว0าควรนําวิธีสอนตามแนวทฤษฎีการสอนภาษาแบบอรรถฐานไปทําการวิจัยเพ่ือพัฒนา
ทกั ษะภาษาดา" นอน่ื ๆ ต0อไปท้ังในด"านการฟงn -การพดู และการเขยี น

จากความสําคัญของภาษาอังกฤษ ปnญหาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนภาษาอังกฤษและจาก ข"อค"นพบของผลงานวิจัยที่
เก่ียวข"องกับวิธีสอนตามแนวทฤษฎีการสอนภาษาแบบอรรถฐานด"วยอรรถลักษณะของนิทานและข"อเสนอแนะดังกล0าว ผู"วิจัยจึง
สนใจท่ีจะนําวิธีสอนตามแนวทฤษฎีการสอนภาษาแบบอรรถฐานด"วยอรรถลักษณะของนิทานมาทําการทดลองกับนักเรียนช้ัน
ประถมศึกษาปท4 ี่ 4 โรงเรียนบ"านจอมบึง (วาปพ4 รอ" มประชาศกึ ษา) ตําบลจอมบึง อําเภอจอมบึง จังหวัดราชบุรี เพื่อแก"ปnญหา
และพัฒนาความสามารถในการอ0าน–การเขียนภาษาอังกฤษของนักเรียนให"มีประสิทธิภาพย่ิงข้ึนและเพื่อรองรับการเรียนรู"ใน
ศตวรรษท่ี 21

เอกสารสบื เนอื่ งจากการประชมุ วิชาการและนําเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ 2559 “การวิจยั รบั ใชช" มุ ชนสร"างสงั คมฐานความรู"” 63

วัตถุประสงค-ของการวิจัย
เพ่ือศึกษาความสามารถในการอา0 น–การเขียนภาษาอังกฤษของนักเรียนชน้ั ประถมศึกษาป4ที่ 4 โรงเรียนบา" นจอมบงึ (วาป4

พร"อมประชาศึกษา) โดยใช"วิธีสอนตามแนวทฤษฎีการสอนภาษาแบบอรรถฐาน (Genre-Based Approach) ด"วยอรรถลักษณะของ
นทิ าน (Narrative Genre Features) กอ0 นการทดลองและหลงั การทดลอง
สมมติฐานในการวิจัย

ความสามารถในการอ0าน-การเขียนภาษาอังกฤษของนักเรียนช้ันประถมศึกษาป4ที่ 4 โรงเรียนบ"านจอมบึง (วาป4พร"อมประชา
ศึกษา) โดยใช"วิธีสอนตามแนวทฤษฎีการสอนภาษาแบบอรรถฐาน (Genre Based Approach) ด"วยอรรถลักษณะของนิทาน (Narrative
Genre Features) หลังการทดลองสงู กว0าก0อนการทดลอง
กรอบแนวคิดในการวจิ ยั

การวิจัยคร้ังนี้ ผ"ูวิจัยได"ศึกษาเอกสารที่เก่ียวกับหลักการ แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่เก่ียวข"องกับวิธีสอนตามแนว
ทฤษฎกี ารสอนภาษาแบบอรรถฐานด"วยอรรถลักษณะของนทิ านท่ียดึ หลกั การพฒั นาจากแนวภาษาศาสตร*เชิงระบบของเอ็ม เอ เค
ฮอลลิเดย* (M.A.K. Halliday อ"างถึงใน เสาวลักษณ* รัตนวิชช*, 2531) ซ่ึงเปVนผ"ูเช่ียวชาญด"านภาษาศาสตร* ผ"ูวิจัยประยุกต*ใช"
รปู แบบการสอนของสงวนศรี โทรอคโดยมีขน้ั ตอนการสอน 5 ข้นั ดงั นี้ คอื 1) แจ"งจดุ ประสงค* 2) เสนอคําศัพทใ* หมแ0 ละให"รูปแบบ
ตามอรรถลักษณะของนิทาน 3) การแสดงบทบาทสมมุติ 4) การทํางานกล0ุม 5) การทํางานเดี่ยว และศึกษาเกณฑ*ในการสร"าง
แบบทดสอบวัดความสามารถในการอ0าน-การเขียนภาษาอังกฤษของอัจฉรา วงศ*โสธร (2538) สามารถสรุปออกมาเปVนกรอบ
แนวคดิ ในการวิจยั ไดด" งั นี้

64 เอกสารสืบเนอื่ งจากการประชมุ วชิ าการและนําเสนอผลงานวจิ ัยระดบั ชาติ 2559 “การวจิ ยั รบั ใช"ชุมชนสร"างสังคมฐานความรู"”

ตัวแปรตน" (Independent Variable) ตัวแปรตาม (Dependent Variable)

วิธีสอนตามแนวทฤษฎกี ารสอนภาษาแบบ ความสามารถในการอ0าน-การเขยี น
อรรถฐาน (Genre Based Approach) ภาษาอังกฤษ
ด"วยอรรถลักษณะของนทิ าน (Narrative
Genre Features)

ภาพ 1 กรอบแนวคดิ ในการวิจัย

วิธีดาํ เนนิ การวิจยั

ประชากรและกลมุ ตัวอยาง
ประชากร ทีใ่ ช"ในการวิจัยครัง้ นี้ เปVนนักเรียนช้ันประถมศึกษาป4ที่ 4

โรงเรยี นบ"านจอมบงึ (วาปพ4 ร"อมประชาศึกษา) ท่ีเรียนวิชาภาษาอังกฤษ (อ14101) ในภาคเรียนที่ 1 ป4การศึกษา 2559 จํานวน 4
หอ" งเรยี น ห"องละ 40 คน รวม 160 คน

1. กลุมตวั อยาง ในการวจิ ัยคร้ังนีเ้ ปVนนกั เรียนชั้นประศกึ ษาปท4 ่ี 4 โรงเรียนบ"าน
จอมบึง (วาปพ4 รอ" มประชาศึกษา) ที่เรียนวิชาภาษาอังกฤษ (อ14101) ในภาคเรียนท่ี 1 ป4การศึกษา 2559 จํานวน 40 คน ซ่ึงได"มาจาก
การสุ0มแบบกลุ0ม (Cluster Random Sampling) โดยใช"ห"องเรียนเปVนหน0วยสุ0ม เนื่องจากโรงเรียนนี้จัดนักเรียนเข"าชั้นเรียนโดยคละ
ความสามารถทางการเรยี น ซ่งึ มีนักเรียนเก0ง ปานกลางและออ0 น หอ" งละ 40 คน เท0าๆกัน

เคร่ืองมือทใ่ี ชในการวิจัย
1. เครื่องมือที่ใชในการทดลอง คือ แผนการจัดการเรียนรู"ของกลุ0มทดลองซ่ึงเปVนแผนการจัดการเรียนร"ูการอ0าน-การ

เขียนภาษาอังกฤษ โดยใช"วิธีสอนตามแนวทฤษฎีการสอนภาษาแบบอรรถฐาน (Genre – Based Approach) ด"วยอรรถลักษณะ
ของนิทาน (Narrative Genre Features) จํานวน 16 แผน ท่ีผ"วู ิจยั สรา" งขนึ้ ซ่ึงผา0 นการพฒั นาและหาคุณภาพแล"ว

2. เคร่ืองมือท่ีใชในการเก็บรวบรวมขอมูล ได"แก0 แบบทดสอบวัดความสามารถในการอ0าน-การเขียนภาษาอังกฤษ
โดยใช"วธิ สี อนตามแนวทฤษฎีการสอนภาษาแบบอรรถฐาน (Genre – Based Approach) ด"วยอรรถลักษณะของนทิ าน (Narrative
Genre Features) ทผ่ี ูว" ิจยั สร"างขึ้น ซ่ึงผา0 นการพัฒนาและหาคณุ ภาพแล"ว โดยมคี า0 ความเช่ือม่ัน (reliability) ท้งั ฉบับเทา0 กับ 0.85

การเกบ็ รวบรวมขอมลู
การวจิ ยั ครั้งนี้ผู"วจิ ัยมีการเก็บรวบรวมข"อมูลดงั นี้
1. ปฐมนิเทศนักเรียนเก่ียวกับวิธีการเรียน จุดประสงค*การเรียนร"ูและการประเมินผล โดยใช"วิธีสอนตามแนวทฤษฎีการ

สอนภาษาแบบอรรถฐาน (Genre – Based Approach) ด"วยอรรถลักษณะของนิทาน (Narrative Genre Features)
2. ทําการทดสอบก0อนการทดลอง (Pre-test) ด"วยแบบทดสอบวัดความสามารถในการอ0าน-การเขียนภาษาอังกฤษ

จาํ นวน 1 ช่วั โมง

เอกสารสืบเนอื่ งจากการประชมุ วิชาการและนําเสนอผลงานวจิ ัยระดบั ชาติ 2559 “การวจิ ยั รับใชช" มุ ชนสร"างสงั คมฐานความร"ู” 65

3. ดําเนินการทดลองตามแผนการจัดการเรียนรู"โดยใช"วิธีสอนตามแนวทฤษฎีการสอนภาษาแบบอรรถฐาน (Genre –
Based Approach) ดว" ยอรรถลักษณะของนทิ าน (Narrative Genre Features) จํานวน 16 ช่ัวโมง

4. ทาํ การทดสอบหลังการทดลอง (Post-test) โดยใช"แบบทดสอบวัดความสามารถในการอา0 น-การเขียนภาษาอังกฤษ
ฉบับเดยี วกนั กับทใ่ี ช"ในการทดสอบก0อนการทดลอง (Pre-test) จาํ นวน 1 ชัว่ โมง

5. ทําการวิเคราะห*ข"อมูลด"วยวิธีการทางสถิติเพื่อทดสอบสมมุติฐาน โดยการทดสอบหาค0าทีแบบกลุ0มทีไมเ0 ปVนอิสระต0อ
กนั (t-test for dependent samples)

การวิเคราะหข- อมลู
การวเิ คราะหข* อ" มูลในการวิจัยครั้งน้ี ผู"วิจัยได"ทําการเปรียบเทียบความสามารถในการอ0าน-การเขียนภาษาอังกฤษของ

นักเรียนชั้นประถมศึกษาป4ท่ี 4 โรงเรียนบ"านจอมบึง (วาป4พร"อมประชาศึกษา) โดยใช"วิธีสอนตามแนวทฤษฎีการสอนภาษาแบบ
อรรถฐาน (Genre – Based Approach) ด"วยอรรถลักษณะของนิทาน (Narrative Genre Features) ก0อนการทดลองและหลัง
การทดลองและการทําการทดสอบสมมติฐาน โดยการทดสอบหาค0าทีแบบกล0ุมท่ีไม0เปVนอิสระต0อกัน (t-test for dependent
samples) ปรากฏผลดงั ตาราง 1

ตาราง 1 ผลการศึกษาความสามารถในการอ0าน - การเขยี นภาษาอังกฤษของนักเรียนช้ันประถมศกึ ษาป4ที่ 4 โรงเรยี น
บ"านจอมบึง(วาปพ4 รอ" มประชาศึกษา) โดยใช"วิธีสอนตามแนวทฤษฎกี ารสอนภาษาแบบอรรถฐาน (Genre –
Based Approach) ด"วยอรรถลักษณะของนิทาน (Narrative Genre Features) ก0อนการทดลองและหลังการทดลอง
ผลปรากฏดังตาราง 1

ความสามารถในการอ0าน-เขียน n X S ∑D ∑D2 t Sig.
ภาษาอังกฤษ

ก0อนการทดลอง 40 5.18 2.39 208 1162 22.91 0.00
หลังการทดลอง 40 10.38 2.69

**มีนยั สําคญั ทางสถติ ทิ ี่ระดับ .01

จากตาราง 1 แสดงว0าความสามารถในการอ0าน-การเขียนภาษาอังกฤษของนักเรียนช้ันประถมศึกษาป4ที่ 4 โรงเรียนบ"าน

จอมบึง (วาป4พร"อมประชาศึกษา) โดยใช"วิธีสอนตามแนวทฤษฎีการสอนภาษาแบบอรรถฐาน (Genre-Based Approach) ด"วยอรรถ

ลักษณะของนิทาน (Narrative Genre Features) หลังการทดลองสูงกว0าก0อนการทดลองอย0างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ.01

ซ่งึ เปVนไปตามสมมตฐิ านทตี่ ้งั ไว"

สรุปผล

การศึกษาความสามารถในการอ0าน-การเขียนภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาป4 ท่ี 4 โรงเรียนบ"านจอมบึง
(วาป4พร"อมประชาศึกษา) โดยใช"วิธีสอนตามแนวทฤษฎีการสอนภาษาแบบอรรถฐาน (Genre-Based Approach) ด"วยอรรถ
ลักษณะของนิทาน (Genre Features) สามารถสรุปผลได"ดังน้ี ความสามารถในการอ0าน-การเขียนภาษาอังกฤษของนักเรียนช้ัน
ประถมศึกษาป4ที่ 4 โรงเรียนบ"านจอมบึง (วาป4พร"อมประชาศึกษา) โดยใช"วิธีสอนตามแนวทฤษฎีการสอนภาษาแบบอรรถฐาน
(Genre- Based Approach) ด"วยอรรถลักษณะของนิทาน ( Genre Features) หลังการทดลองสูงกว0าก0อนการทดลองอย0างมี
นยั สําคัญทางสถติ ทิ ่ีระดับ .01

66 เอกสารสบื เนอื่ งจากการประชมุ วชิ าการและนาํ เสนอผลงานวจิ ัยระดบั ชาติ 2559 “การวจิ ัยรบั ใชช" มุ ชนสรา" งสังคมฐานความร"ู”

อภปิ รายผลการวิจัย

การวจิ ัยคร้งั น้เี ปนV การศกึ ษาความสามารถในการอา0 น-การเขียนภาษาองั กฤษของนักเรยี นชนั้ ประถมศึกษาป4ท่ี 4 โรงเรียน
บ"านจอมบึง (วาป4พร"อมประชาศึกษา) โดยใช"วิธีสอนตามแนวทฤษฎีการสอนภาษาแบบอรรถฐาน (Genre-Based Approach)
ด"วยอรรถลักษณะของนิทาน (Narrative Genre Features) ก0อนการทดลองและหลังการทดลองผลการวิจัยพบว0า สามารถ
อภปิ รายผลตามขนั้ ตอนการสอน 5 ข้ัน ดงั นี้

ขน้ั ท่ี 1 แจ"งจุดประสงค*ของการอ0าน-เขียนนิทาน เพื่อให"นักเรียนเข"าใจวัตถุประสงค*ของผ"ูเขียนว0านิทานเปVนเร่ืองเล0าใน
อดีตท่ีใหค" ติสอนใจ เม่ือนกั เรยี นร"วู ัตถปุ ระสงค*แลว" นกั เรยี นจะเขา" ใจความหมายคําศพั ท*มากขน้ึ สามารถตอบคาํ ถามจากเรื่องที่อ0าน
เรียงลําดบั เหตุการณ*ได"ถูกตอ" งตามอรรถลักษณะของนิทาน และบอกคุณธรรมหรอื คติสอนใจจากเรอ่ื งทอ่ี 0านได" ดงั คาํ กล0าวของอมร
เอ่ียมตาล (2556) ได"กลา0 วไว"ว0า การอา0 นนั้นเก่ียวข"องกับกระบวนการท่ีค0อนข"างสลับซับซ"อนพอสมควร ต"องใช"ทักษะของสมองใน
การตคี วาม สายตาในการมองเหน็ หรือรบั ร"ูจาก การสัมผสั ตอ" งใช"ความรแู" ละประสบการณเ* ดมิ (Schema) ในการแปลความหมาย
หรือการใช"ทักษะการเดาอย0างมีหลักการที่เช่ือถือได" ย่ิงไปกว0าน้ันผู"รับสารหรือผู"อ0านต"องรู"วัตถุประสงค* (Purpose) ของผ"ูส0งสาร
หรือผู"เขียน ตลอดจนต"องมีความละเอียดอ0อนมากพอที่จะสามารถทําความเข"าใจในสารหรือข"อความท่ีกําลังอ0านได"เปVนอย0างดี
ดังน้ันการที่นักเรียนรูจ" ดุ ประสงค*ขน้ั ตอนการสอนจงึ ส0งผลใหค" วามสามารถในการอา0 น-การเขียนของนกั เรยี นหลงั การทดลองสูงกว0า
กอ0 นการทดลอง

ขั้นท่ี 2 เสนอคําศัพท*ใหม0และให"รูปแบบตามอรรถลักษณะของนิทาน เปVนขั้นตอนที่ครูเสนอคําศัพท*เพื่อส่ือความหมาย
แล"วจึงนําเสนอแผนภูมิอรรถลักษณะของนิทานประกอบเนื้อเร่ืองเปVนส0วนๆไป เพื่อให"นักเรียนเข"าใจองค*ประกอบและเน้ือเรื่อง
อย0างรวดเร็ว เพราะนักเรียนใช"ประสบการณเ* ดิม (Schema) จากรูปแบบ (Form) อรรถลักษณะของนิทาน วัตถุประสงค*ของ
นทิ าน (Purpose) และการใช"ภาษา (Language Use) โดยครูชูภาพในนทิ านประกอบการอา0 นนทิ านตามอรรถลักษณะ ในข้ันตอน
นท้ี ําใหน" กั เรยี นเขา" ใจองค*ประกอบของนทิ านไดช" ัดเจนยง่ิ ข้นึ และสามารถนําไปอา0 น-เขียนหาคาํ ตอบได"อย0างรวดเร็วและถูกตอ" ง ดัง
คํากล0าวของ วิภา จนั ทร*อนิ ทร* (2558) ท่ีกล0าวว0า ความเข"าใจในการอ0านเปVนกระบวนการปฏิสัมพันธร* ะหว0างผู"อ0านกับผู"เขียน ซึ่ง
ความเข"าใจในการอ0าน คือการสื่อสารระหว0างผ"ูอ0านกับผู"เขียนที่เกิดจากการรับเอาความหมายของส่ิงท่ีอ0านได"โดยเช่ือมโยงกับ
ความร"ูและประสบการณ*เดิม เพ่ือที่จะทําความเข"าใจความหมายของคําศัพท* จับใจความสําคัญ ตีความหมาย แปลความหมาย
เรยี งลําดับ ตลอดจนการขยายความ สรปุ ความและแสดงความคดิ เห็นเก่ยี วกับเรื่องท่อี 0านโดยทผ่ี อู" า0 นสามารถเข"าใจถึงวัตถุประสงค*
ของผู"เขียนไดต" รงกนั จงึ จะทาํ ใหเ" กิดความเขา" ใจในการอ0านการเขียนมากย่ิงข้ึน จึงส0งผลให"ความสามารถในการอ0าน-การเขียนของ
นักเรยี นหลังการการทดลองสงู กวา0 กอ0 นการทดลอง

ขั้นท่ี 3 การแสดงบทบาทสมมติ ในขั้นตอนนี้นักเรียนจะได"มีโอกาสส่ือความหมายของคําศัพท* จากการแสดงท0าทาง
ประกอบ ได"แสดงความคิดเหน็ จากเร่อื งท่อี า0 นเปนV ภาษาของตนเอง สามารถนําไปประยุกต*ใช"ในสถานการณ*จริง (Real Situation)
และยังเปVนการบูรณาการทักษะทั้ง 4 ทักษะ (Integrated 4 skills) คือการฟnง-การพูด การอ0านและการเขียนของนักเรียนให"ดี
ย่ิงขึ้น ดังคํากล0าวของออลไรท* (Allwright, 1980) และ บราวน* (Brown, 1980) ท่ีได"กล0าวไว"อย0างสอดคล"องกันว0า การสอน
ภาษาเพื่อการสอ่ื สารไมเ0 พียงแต0จะอธิบายการใช"กฎเกณฑไ* วยากรณ*หรือโครงสร"างทางภาษาเท0าน้ันหากจุดม0ุงหมายสําคัญของการ
สอนภาษาเพื่อการส่ือสารคอื การท่ผี "เู รยี นใชภ" าษาในการสอื่ สารไดจ" ริงทง้ั ทักษะการฟงn การอ0านและการเขียน ดังน้ันการให"นักเรียน
แสดงบทบาทสมมติสามารถช0วยพัฒนาความสามารถในการอ0าน-การเขียนของนกั เรียนหลังการการทดลองสงู กวา0 ก0อนการทดลอง

ขั้นท่ี 4 การทํางานกล0มุ มีวัตถุประสงค*เพ่ือให"นกั เรยี นไดใ" ชค" วามร"ูเดมิ (schema) และทบทวนความเข"าใจเก่ียวกับอรรถ
ลักษณะของนิทาน โดยใหน" ักเรียนอ0านและเขียนถาม-ตอบ (Wh-questions) ตามลาํ ดับเหตกุ ารณ*ของเรอื่ งทฟี่ nงตามอรรถลักษณะ
ของนิทานซึ่งนักเรียนต"องคดิ วเิ คราะหเ* ปVน นอกจากนี้นักเรยี นยงั ไดม" ีโอกาสฟงn พูดแสดงความคิดเห็นจากเร่ืองที่อ0านด"วย กิจกรรม
ในข้นั ตอนน้เี ปนV การเปด– โอกาสใหน" กั เรียนได"ทาํ กจิ กรรมรว0 มกนั และบรู ณาการทัง้ 4 ทกั ษะ ช0วยเหลือซ่ึงกันและกนั ทําให"นักเรยี นได"
มีปฏิสัมพันธ*กัน (interaction) โดยครูเปVนเพียงผ"ูอํานวยความสะดวกเท0าน้ัน (Teacher as a facilitator) และคํากล0าวของ สิริ
รัตน* เรือนนุช (2551) ทีก่ ล0าวว0าหลักการสําคัญของการจัดการเรียนการสอนภาษาเพือ่ การส่อื สารนั้น เนน" ท่กี ารพัฒนานักเรียนให"
มีความสามารถในการใช"ภาษาตามสถานการณ*ต0าง ๆ ในชีวิตประจําวัน (Real Situation) และการทํางานได"ถูกต"องเหมาะสม

เอกสารสืบเนอื่ งจากการประชมุ วชิ าการและนาํ เสนอผลงานวจิ ัยระดับชาติ 2559 “การวิจยั รับใช"ชมุ ชนสร"างสงั คมฐานความร"ู” 67

ผสู" อนควรจดั กิจกรรมให"สัมพันธ*กันซึ่งจะทําให"นักเรียนได"ฝuกใช"ภาษาตามสถานการณ*จริง การให"ผู"เรียนได"มีโอกาสปฏิสัมพันธ*กัน
เปVนการฝuกการใช"ภาษา อันเปVนการพัฒนาความสามารถทางภาษาของนักเรียนอย0างสร"างสรรค*ภายในกล0ุมอย0างหลากหลาย
(Creative Thinking) ดังนั้นการทํางานกลุม0 จึงส0งผลให"ความสามารถในการอา0 น-การเขียนของนกั เรียนหลังการทดลองสูงกว0าก0อน
การทดลอง

ขนั้ ที่ 5 การทํางานเดย่ี ว นกั เรยี นทาํ งานเดี่ยวโดยอา0 นเนื้อเร่ืองแล"วเขยี นบอกคติสอนใจจากเรื่องทีอ่ 0าน เพื่อให"นักเรียน
ได"แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเร่ืองที่อ0านได" ขั้นตอนนี้เปVนการเสริมสร"างความคิดสร"างสรรค* นักเรียนสามารถคิดวิเคราะห*เปVน
ถงึ คุณธรรม จริยธรรมตามวัตถุประสงค*ของเร่ืองท่ีอ0านได" ดังคํากล0าวของ สุขุมาล ปาสาเนย* (2554) ท่ีกล0าวได"ว0า การอ0านเปVน
กระบวนทางการด"านสติปnญญาเปVนกระบวนการท่ีต"องใช"ทักษะในการตีความ การขยายความ การแปลความหมายการวิเคราะห*
และสรุปความในเรือ่ งท่อี า0 นเปนV ปฏิสมั พนั ธร* ะหว0างผูเ" ขยี นทีใ่ ชภ" าษาสื่อสารกับผ"อู า0 นความสามารถในการสร"างความเข"าใจในเร่ืองที่
อ0านโดยผ0านกระบวนการคดิ วิเคราะห* กระบวนการเรยี นร"แู ละประสบการณ*เดิมของผอ"ู า0 นชว0 ยให"สามารถเข"าใจและสรปุ เรือ่ งทอี่ า0 น
ได" เพราะมีรูปแบบอรรถลักษณะของนิทานเปVนองค*ประกอบที่ 4 ท่ีระบุคติธรรม (Moral) ซ่ึงเปVนการเรียนร"ูภาษาและวัฒนธรรม
(Language and Culture) ท่ีชัดเจนจึงส0งผลให"ความเข"าใจในการอ0านภาษาอังกฤษของนักเรียนมีประสิทธิภาพมากย่ิงขึ้น
นอกจากนนั้ ผูว" จิ ัยยังพบวา0 นกั เรียนเหน็ คณุ คา0 และประโยชน*ของการเรียนภาษาอังกฤษ ดังคํากล0าวของ สุขุมาล ปาสาเนย* (2554)
ทีก่ ล0าวไว"ว0า กระบวนการทางจิตใจ อนั เกิดจากวิธีการสอนของครูท่ีกระต"ุนให"ผเู" รียนเกิดการเรยี นร"ู ผเู" รียนเหน็ คุณค0าและประโยชน*
ของการอ0านภาษาอังกฤษแล"ว แสดงว0าการจัดกระบวนการเรียนรู"น้ัน ประสบความสําเร็จ จึงส0งผลให"แรงจูงใจต0อการเรียน
ภาษาอังกฤษของนักเรียนหลังการทดลองสงู กวา0 กอ0 นการทดลอง

ผลการวิจัยครั้งนี้ สอดคล"องกับผลงานวิจัยของ สงวนศรี โทรอค (2547) ท่ีได"ศึกษาเปรียบเทียบความเข"าใจในการอ0าน
ภาษาอังกฤษและเจตคตขิ องนกั เรยี นมัธยมศึกษาป4ที่ 1 ที่ได"รับการสอนอ0านด"วยการสอนแบบอรรถฐานด"วยอรรถลักษณะการเล0า
นิทาน การเสนอข0าวจากหนังสือพิมพ*และการอธิบาย และการสอนตามคู0มือครู ผลการวิจัยพบว0านักเรียนท่ีได"รับการสอนแบบ
อรรถฐานมีความเขา" ใจในการอ0านภาษาอังกฤษและเจตคติสูงกว0า การสอนอ0านตามค0ูมือครู อย0างมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับ.01
สอดคลอ" งกบั ผลงานวจิ ยั ของชนญั ชิดา เสมสีสม (2556) ท่ีได"รับการศึกษาความสามารถในการอ0านภาษาอังกฤษและแรงจูงใจต0อ
การอ0านภาษาองั กฤษของนักเรยี นชั้นประถมศึกษาป4ที่3 โรงเรียนเรอื งวิทย*พระหฤทัยดว" ยวธิ สี อนตามแนวทฤษฎกี ารสอนภาษาแบบ
อรรถฐานโดยใช"อรรถลกั ษณะของนทิ านหลงั การทดลองสงู กวา0 กอ0 นการทดลองอย0างมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .01 นอกจากนี้ยัง
สอดคล"องกับงานวิจัยของอรุณ ศิริผล (2557) ที่ได"รับการศึกษาความสามารถในการอ0าน–เขียนและความสนใจต0อการเรียน
ภาษาอังกฤษของนกั เรยี นชนั้ ประถมศึกษาป4ท่ี 4 โรงเรยี นบา" นบงึ ด"วยวิธีสอนตามแนวทฤษฎีการสอนภาษาแบบอรรถฐาน(Genre-
Based Approach)โดยใชอ" รรถลักษณะของนทิ าน(Narrative Genre Features) หลังการทดลองสูงกว0าก0อนการทดลองอย0างมี
นัยสําคัญทางสถิติที่ ระดับ .01 เช0นเดียวกับผลงานวิจัยของ มุกธิดา สุดสาคร(2558) ที่ได"รับการศึกษาความเข"าใจในการอ0าน
ภาษาอังกฤษและแรงจูงใจต0อการเรยี นภาษาองั กฤษของนกั เรียนชั้นประถมศกึ ษาป4ที่ 4 โรงเรียนอนุบาลจอมบึง โดยใชว" ิธสี อนตาม
แนวทฤษฎีการสอนภาษาแบบอรรถฐาน (Genre-Based Approach) ด"วยอรรถลักษณะของนิทาน (Narrative Genre Features)
หลงั การทดลองสงู กวา0 การทดลองอยา0 งมีนัยสาํ คญั ทางสถติ ทิ ี่ระดบั .01

จากผลการอภิปรายผลพบว0า วิธีสอนตามแนวทฤษฎีการสอนภาษาแบบอรรถฐาน (Genre Based Approach)
ดว" ยอรรถลักษณะของนิทาน (Narrative Genre Features) พัฒนาความสามารถในการอ0าน-การเขียนภาษาอังกฤษของนักเรียน
ชั้นประถมศึกษาป4ท่ี 4 โรงเรียนบ"านจอมบึง (วาป4พร"อมประชาศึกษา) ให"มีประสิทธิภาพ เพราะเปVนวิธีสอนท่ีมีรูปแบบ (Form)
มวี ตั ถปุ ระสงค* (Purpose) และมกี ารใชภ" าษา (Language Use) ในการอ0านเขียนนิทานอยา0 งชดั เจน เม่อื นักเรยี นเข"าใจรูปแบบและ
วัตถุประสงค*ของนิทานแล"ว นักเรียนสามารถเขียนวิเคราะห*บอกองค*ประกอบอรรถลักษณะของนิทานได" ทําให"หาคําตอบได"ง0าย
และถกู ตอ" งยง่ิ ขึ้น จึงสามารถพฒั นาความสามารถในการอ0าน-การเขียนภาษาองั กฤษของนักเรียนได"อย0างมปี ระสิทธิภาพ และผู"วิจัย
ยงั พบวา0 เปนV วิธสี อนภาษาเพือ่ การส่อื สารท่ที าํ ใหน" กั เรยี นคิดวิเคราะห*เปนV และมีความสามารถในการใชภ" าษาอังกฤษได"อย0างถูกต"อง
ตามโครงสรา" งภาษา

68 เอกสารสืบเนอื่ งจากการประชมุ วิชาการและนาํ เสนอผลงานวจิ ัยระดับชาติ 2559 “การวจิ ัยรบั ใช"ชมุ ชนสร"างสงั คมฐานความรู"”

ขอเสนอแนะ

ขอเสนอแนะสาํ หรับการนําไปประยุกตใ- ช
1. การจดั การเรียนการสอนโดยใช"วธิ ีสอนตามแนวทฤษฎกี ารสอนภาษาแบบอรรถฐาน (Genre-Based Approach) ด"วย

อรรถลักษณะของนิทาน (Narrative Genre Features) ครูต"องคํานึงถึงส่ือเอกสารจริง (Authentic Material) ท่ีตรงกับในความ
สนใจของนักเรยี น

2. การจดั การเรียนการสอนโดยใช"วธิ สี อนตามแนวทฤษฎกี ารสอนภาษาแบบอรรถฐาน (Genre-Based Approach) ด"วย
อรรถลักษณะของนิทาน (Narrative Genre Features) ครูควรให"นักเรียนได"มีส0วนร0วมในการเลือกเนื้อหาท่ีนักเรียนสนใจและ
อยากเรียนร"ู จึงจะทําใหน" ักเรยี นเกิดแรงจูงใจในการเรียน เหน็ ประโยชน*ของการเรียนภาษาอังกฤษมากขึ้น

3. การจัดการเรียนการสอนใชว" ิธีสอนตามแนวทฤษฎีการสอนภาษาแบบอรรถฐาน (Genre-Based Approach) ด"วย
อรรถลักษณะของนิทาน (Narrative Genre Features) ครูควรเตรียมแผนภูมิอรรถลักษณะของนิทานและแผนภูมิเน้ือเร่ืองเพื่อ
ประกอบการนาํ เสนออรรถลักษณะเพ่อื เปนV การนาํ เสนอรูปแบบอยา0 งชดั เจน

ขอเสนอแนะเพอ่ื งานวิจยั คร้ังตอไป
1. ควรทําการวิจัยและศึกษาเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนภาษาอังกฤษโดยใช"วิธีสอนตามแนวทฤษฎีการสอน

ภาษาแบบอรรถฐาน (Genre-Based Approach) ด"วยอรรถลกั ษณะของนทิ าน (Narrative Genre Features) กบั วิธกี ารสอนอืน่ ๆ
เช0น การสอนโดยใช"บทเรยี นสําเร็จรปู และการสอนตามคู0มือครู

2. ควรทําการศึกษาโดยใช"วิธีสอนตามแนวทฤษฎีการสอนภาษาแบบอรรถฐาน (Genre-Based Approach) ด"วยอรรถ
ลกั ษณะของนทิ าน (Narrative Genre Features) กับตัวแปรตามตวั อ่นื ๆ เชน0 ความคิดสรา" งสรรค* การคดิ วเิ คราะห* และเจตคติ

3. ควรทําการวิจัยโดยใช"วิธีสอนตามแนวทฤษฎีการสอนภาษาแบบอรรถฐาน (Genre-Based Approach) ด"วยอรรถ
ลักษณะของนิทาน (Narrative Genre Features) ไปพฒั นาทกั ษะทางภาษาทักษะอ่ืนๆ เชน0 การฟnง การพูด และการเขียน

4. ควรทาํ การวจิ ยั และศึกษาผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี นภาษาอังกฤษโดยใช"วิธีสอนตามแนวทฤษฎีการสอนภาษาแบบอรรถ
ฐาน (Genre-Based Approach) ด"วยอรรถลักษณะของนิทาน (Narrative Genre Features) กับภาษาอื่นๆ เช0น ภาษาไทย
ภาษาลาว ภาษาเวยี ดนามและภาษาพม0า เปนV ตน"

5. ควรทําการวิจัยโดยใช"วิธีสอนตามแนวทฤษฎีการสอนภาษาแบบอรรถฐาน (Genre-Based Approach) ด"วยอรรถ
ลักษณะของนิทาน (Narrative Genre Features) โดยพัฒนาไปส0ูการเรียนร"ูในรูปแบบของ e-learning บทเรียนสําเร็จรูปและ
ดจิ ติ อล(Digital) เพอื่ ให"ผเ"ู รียนสามารถเรียนร"ูได"ด"วยตนเองและรองรบั การเรียนร"ใู นศตวรรษที่ 21

เอกสารอางองิ

กระทรวงศกึ ษาธกิ าร.(2551). หลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พืน้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551. กรุงเทพฯ : ชุมนมุ สหกรณก* ารเกษตร
แหง0 ประเทศไทย.

ชนัญชดิ า เสมสสี ม. (2556). การศึกษาความสามารถในการอานภาษาอังกฤษและแรงจูงใจตอการอานภาษาอังกฤษ
ของนกั เรยี นช้นั ประถมศึกษาปท่ี 3 โรงเรยี นเรอื งวิทยพ- ระหฤทัยดวยวิธีสอนตามแนวทฤษฎีการสอนภาษาแบบอรรถ
ฐานโดยใชอรรถลักษณะของนิทาน.วิทยานิพนธ*ครุศาสตร*มหาบัณฑิต สาขาวิชาการสอนภาษาอังกฤษ ในฐานะ
ภาษาต0างประเทศ บัณฑิตวทิ ยาลัย มหาวทิ ยาลัยราชภัฏหมบู0 า" นจอมบงึ .

ถนอมพร เลาหจรสั แสง.( 2556). ทักษะแหงศตวรรษท่ี 21. เชียงใหม: มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม0.
วิภา จันทรอ* นิ ทร*. (2558). การศกึ ษาความสามารถในการอาน-เขยี นภาษาอังกฤษและเจตคตติ อการเรียน

ภาษาอังกฤษของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปที่ 4 โรงเรียนศรยี าภยั โดยวิธีสอนตามแนวทฤษฎีการสอน

เอกสารสบื เนอื่ งจากการประชุมวชิ าการและนําเสนอผลงานวจิ ัยระดบั ชาติ 2559 “การวจิ ยั รับใชช" มุ ชนสรา" งสงั คมฐานความร"ู” 69

ภาษาแบบอรรถฐาน (Genre-Based Approach) ด"วยอรรถลักษณะของวิธกี าร (Procedure Genre
Features).วิทยานพิ นธ*ครุศาสตรมหาบณั ฑติ สาขาการสอนภาษาอังกฤษในฐานะภาษาต0างประเทศ
บณั ฑติ วทิ ยาลยั มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั หม0ูบ"านจอมบงึ .
พวงรัตน* ทวีรัตน*. (2543). วิธีการวิจัยทางพฤติกรรมศาสตร-และสังคมศาสตร-. พิมพ*คร้ังที่ 8. กรุงเทพฯ : สํานักทดสอบทาง
การศกึ ษาและจติ วทิ ยา มหาวทิ ยาลยั ศรีนครินทรวโิ รฒ ประสานมติ ร.
มุกธิดา สุดสาคร (2558). การศึกษาความเขาใจในการอานภาษาองั กฤษและแรงจงู ใจตอการเรียนภาษาองั กฤษของ
นักเรียนช้นั ประถมศกึ ษาปที่ 4 โรงเรยี นอนบุ าลจอมบึง โดยใชวิธีสอนตามแนวทฤษฎีการสอนภาษาแบบ
อรรถฐาน (Genre-Based Approach) ดวยอรรถลักษณะของนิทาน (Narrative Genre Features).วิทยานิพนธ*
ครศุ าสตรมหาบัณฑติ สาขาการสอนภาษาองั กฤษในฐานะภาษาต0างประเทศ. บณั ฑิตวทิ ยาลัย
มหาวทิ ยาลัยราชภัฏหมูบ0 "านจอมบึง.
โรงเรยี นบ"านจอมบงึ (วาป4พรอ" มประชาศึกษา). (2558). ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนรายวชิ าภาษาองั กฤษ. กลุม0 สาระการ
เรียนรู"ภาษาตา0 งประเทศ .ราชบุรี : โรงเรียนบา" นจอมบงึ (วาปพ4 รอ" มประชาศกึ ษา).สงวนศรี โทรอค. (2547). การ
เปรียบเทียบความเขาใจในการอานและเจตคติในการเรียนวิชาภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 ท่ี
ไดรับการสอนดวยวธิ ีการสอนตามแนวทฤษฎกี ารสอนภาษาแบบอรรถฐานกับการสอนแบบเดมิ . ป ริ ญ ญ า ป รั ช ญ า
ดุษฎบี ัณฑิต ปร.ด. (สาขาวิชาสงั คมศาสตรแ* ละการศกึ ษา). ออสเตรเลีย: มหาวทิ ยาลยั อดี ิธ โคเวน.
สถาบนั ทดสอบทางการศึกษาแห0งชาติ (องคก* ารมหาชน). (2558). รายงานผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติข้นั
พนื้ ฐาน(O-Net).
สมเกยี รติ อ0อนวิมล. (2554,13กรกฎาคม). บันทึกอาเซียน ASEAN DIARY : การใชภาษาอังกฤษและภาษาอนื่ ใน
ภมู ภิ าคกบั อนาคตไทยในอาเซยี น(1). คอลมั น*1001 "เปด– เสรไี อที อาเซยี น" เดลินวิ ส*. คน" เมื่อตลุ าคม23,2555,
จาก http://www.nstda.or.th/news/5140-20110422-it-passport.
เสาวลกั ษณ* รตั นวชิ ช*. (2534). การพัฒนาการสอนภาษาไทยแบบมุงประสบการณภ- าษา เลม 2. กรุงเทพฯ : ภาควชิ า หลักสูตร
และการสอน คณะศึกษาศาสตร* มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวโิ รฒ.
สริ ิรตั น* เรือนนุช. (2551). การศึกษาความสามารถและแรงจงู ใจในการเรียนภาษาองั กฤษของเด็กปฐมวยั โรงเรียน
บานรางอีเมย โดยวธิ ีการสอนดวย การจัดกิจกรรมการสอนภาษาเพื่อการสอ่ื สารโดยใชเพลง.วิทยานิพนธ*
ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการสอนภาษาอังกฤษในฐานะภาษาต0างประเทศ คณะครุศาสตร* มหาวิทยาลัยราชภัฏ
หมูบ0 "านจอมบึง.
สุขุมาล ปาสาเนย*. (2554). การเปรียบเทียบความเขาใจและแรงจูงใจตอการอานภาษาองั กฤษของนกั เรียนช้นั
ประถมศึกษาปที่ 4 โรงเรียนวัดชองนนทรี สํานักงานเขตยานนาวา กรุงเทพมหานคร ท่ีไดรับการสอนตามแนว
ทฤษฎีการสอนภาษาแบบอรรถฐาน (Genre-Based Approach) โดยใชอรรถลักษะของนิทาน (Narrative Genre
Feature) กับการสอนตามคูมือครู (Teacher’s Manual). วิทยานิพนธ* ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการสอน
ภาษาอังกฤษในฐานะภาษาตา0 งประเทศ บณั ฑิตวิทยาลยั มหาวิทยาลยั ราชภัฏหมบ0ู "านจอมบงึ .
อมร เอีย่ มตาล. (2555). การศึกษาความสามารถในการอานภาษาอังกฤษและเจตคตติ อการเรียนวิชาภาษาองั กฤษ
ของนักศึกษาช้ันปŠท่ี 1 สาขาวิชานิเทศศาสตร-มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทาดวยวิธีสอนตามแนวทฤษฎีการสอน
ภาษาแบบอรรถฐาน (Genre-Based Approach) โดยใชอรรถลักษณะของขาวหนังสือพิมพ- (News Report
Genre Features). วิทยานิพนธ* ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการสอนภาษาอังกฤษในฐานะภาษาต0างประเทศ.
ราชบรุ ี : บัณฑิตวทิ ยาลยั มหาวิทยาลยั ราชภฏั หมูบ0 "านจอมบงึ ราชบุรี.
อรณุ ศิรผิ ล (2557). การศกึ ษาความสามารถในการอาน-เขยี นและความสนใจตอการเรยี นภาษาอังกฤษของนกั เรียน
ชัน้ ประถมศกึ ษาปที 4 โดยใชวธิ ีสอนตามแนวทฤษฎกี ารสอนภาษาแบบอรรถฐานดวยอรรถลกั ษณะของ
นทิ าน.วิทยานพิ นธค* รศุ าสตรมหาบัณฑติ สาขาการสอนภาษาอังกฤษในฐานะภาษาต0างประเทศ).บณั ฑิต
วทิ ยาลัย มหาวิทยาลยั ราชภัฏหม0บู "านจอมบงึ .
อจั ฉรา วงศโ* สธร. (2538). การทดสอบและการประเมินผลการเรยี นการสอนภาษาอังกฤษ. กรงุ เทพฯ :
สถาบนั ภาษา จฬุ าลงกรณ*มหาวทิ ยาลยั .

70 เอกสารสืบเนอื่ งจากการประชมุ วชิ าการและนําเสนอผลงานวจิ ยั ระดับชาติ 2559 “การวจิ ัยรบั ใชช" มุ ชนสร"างสงั คมฐานความรู"”

Allwright, R. (1980). Discourse analyses in second language. London: Longman.
Brown, D. H. (1980). Principal of language learning and teaching. New Jersey: Prentice Hall.
Hyland, K. (1990). Effects of genre description in argumentative essay. Research in the Teaching of

England, 23(3), 23-24.
Shecter, M. & Schecter, S. R. (1987). Children’s acquisition of library genre. Science fiction versus

fantasy. Toronto: Ontrario Institute for Studies in Education.

เอกสารสืบเนอ่ื งจากการประชุมวิชาการและนําเสนอผลงานวจิ ยั ระดับชาติ 2559 “การวจิ ัยรับใช"ชมุ ชนสรา" งสงั คมฐานความร"ู” 71

การศกึ ษาความสามารถในการฟaง-การพูดภาษาอังกฤษของนักเรยี นชน้ั ประถมศึกษาปที่ 1
โรงเรยี นวดั ศรัทธาราษฎร- โดยใชวธิ ีสอนภาษาเพอื่ การสื่อสารดวยกิจกรรมเพลงและเกม

A STUDY OF ENGLISH LISTENING - SPEAKING ABILITIES OF PRATHOM
SUEKSA I STUDENTS AT WAT SATTHARAT SCHOOL USING
COMMUNICATIVE APPROACH THROUGH SONGS AND GAMES

ปฐa นธ- ินันต- เพชรรัตน-1และ ดร. สงวนศรี โทรอค2
Patthinan Patchrat1 and Dr. Sanguansri Torok2

บทคัดยอ

การวิจัยครั้งน้ีมีวัตถุประสงค*เพื่อศึกษาความสามารถในการฟnง-การพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาป4ท่ี 1
โรงเรียนวัดศรัทธาราษฎร* โดยใช"วิธีสอนภาษาเพ่ือการส่ือสารด"วยกิจกรรมเพลงและเกม กลุ0มตัวอย0างท่ีใช"ในการวิจัยคร้ังนี้เปVน
นกั เรยี นช้นั ประถมศกึ ษาป4ท่ี 1 โรงเรยี นวัดศรทั ธาราษฎร* ท่ีเรียนวิชาภาษาอังกฤษ (อ11101) ในภาคเรียนที่ 1 ป4การศึกษา 2559
จํานวน 20 คน ซึ่งได"มาโดยการเลอื กแบบเจาะจง (Purposive Sampling) เครือ่ งมือท่ีใช"ในการวิจัย ได"แก0 แผนการจัดการเรียนร"ู
โดยใช"วิธีสอนภาษาเพ่ือการส่ือสารด"วยกิจกรรมเพลงและเกมและแบบทดสอบวัดความสามารถในการฟnง-การพูด ภาษาอังกฤษ
สถิติที่ใชใ" นการวิเคราะหข* "อมลู ได"แก0 ค0าเฉลี่ย ค0าเบี่ยงเบนมาตรฐานและทดสอบสมมติฐานด"วยการทดสอบหาค0าทีแบบกล0ุมที่ไม0
เปVนอิสระต0อกัน

ผลการวิจัยพบว0าความสามารถในการฟnง-การพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาป4ที่ 1 โรงเรียนวัดศรัทธา
ราษฎร* โดยใชว" ธิ ีสอนภาษาเพือ่ การสอ่ื สารดว" ยกิจกรรมเพลงและเกม หลังการทดลองสูงกวา0 ก0อนการทดลอง อย0างมีนัยสําคัญทาง
สถิติท่รี ะดับ .01

คําสําคัญ: ความสามารถในการฟงn -การพดู ภาษาองั กฤษ การสอนภาษาเพ่อื การส่ือสารด"วยกจิ กรรมเพลงและเกม

Abstract

The purpose of this research was to study English listening-speaking abilities of Prathom Sueksa I
students at Wat Sattharat School using Communicative Approach through songs and games. The samples
used in the research were 20 Prathom Sueksa I students who studied English I (Eng11101) in the first semester
of the 2016 academic year at Wat Sattharat School. They were selected by purposive sampling. The
instruments used in the research were lesson plans using Communicative Approach through songs and games
and English listening-speaking abilities test.
Statistics used for data analysis were mean, standard deviation and t-test for dependent samples.

1 นักศกึ ษามหาบัณฑติ สาขาวิชาการสอนภาษาอังกฤษในฐานะภาษาต0างประเทศ คณะครุศาสตร* มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏหม0ูบา" นจอมบึง
2 อาจารย*ท่ีปรึกษา ดร. สาขาวิชาการสอนภาษาองั กฤษในฐานะภาษาต0างประเทศ คณะครุศาสตร* มหาวิทยาลยั ราชภัฏหมูบ0 า" นจอมบงึ

72 เอกสารสบื เนอ่ื งจากการประชุมวิชาการและนาํ เสนอผลงานวิจัยระดับชาติ 2559 “การวจิ ัยรบั ใช"ชุมชนสร"างสังคมฐานความรู"”

The result of the research indicated that: English listening-speaking abilities of Prathom Sueksa I
students at Wat Sattharat School using Communicative Approach through songs and games after the
experiment was significantly increased higher than before the experiment at the .01 level of significantly.

KEYWORDS: English listening-speaking abilities, Communicative Approach though songs and games

ความเปน` มาและความสําคัญของปญa หา

ในสังคมปnจจุบันภาษาอังกฤษเปVนภาษาสากลที่ใช"กันท่ัวโลก ดังน้ันภาษาอังกฤษจึงมีบทบาทสําคัญต0อ การดําเนินชีวิต
เพราะภาษาไม0เพียงแต0เปVนเครื่องมือในการศึกษาค"นคว"าหาข"อมูลท่ีต"องการ และเพ่ือประกอบอาชีพเท0าน้ัน ยังสามารถใช"เปVน
เครื่องมือในการติดต0อส่ือสาร การใช"อินเตอร*เน็ต การดูภาพยนตร* การดูทีวี การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร* และหนังสือค0ูมือ
ทางดา" นวชิ าการต0าง ๆ ล"วนเปVนภาษาอังกฤษ ส0วนใหญ0ด"วยเหตุนี้กระทรวงศึกษาธิการจึงกําหนดหลักสูตรให"ภาษาอังกฤษเปVน 1
ใน 8 กล0ุมสาระการเรียนรู"วิชาพ้ืนฐานที่นักเรียนทุกคนต"องเรียนรู" ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐานพุทธศักราช 2551
(กระทรวงศึกษาธิการ, 2551) ซ่ึงให"ความสําคัญในการสอนภาษาอังกฤษเพ่ือการสื่อสาร (Communicative Approach) โดยเน"น
ให"นักเรียนเปVนศูนย*กลาง (Child Centered) และบูรณาการทักษะทางภาษาอังกฤษท้ัง4ด"าน (Integrated 4 Skills) ได"แก0 ด"าน
การฟงn การพูด การอา0 น การเขียน ไปพร"อม ๆ กันเพ่อื ให"นักเรียนสามารถนําความรู"ไปใช"ประโยชนไ* ด"จริงในชีวิตประจําวัน (Real
Situation)

แม"ว0าการเรยี นการสอนภาษาอังกฤษในปจn จบุ นั เปVนการสอนตามแนวทฤษฎีการสอนภาษาเพื่อการส่ือสาร แต0ผลสัมฤทธิ์
ทางการเรยี นภาษาองั กฤษของนักเรียนอย0ูในระดับต่ํากว0าเกณฑ*มาตราฐานดังจะเห็นได"จากผลการทดสอบทางการศึกษาแห0งชาติ
ขน้ั พ้นื ฐานของนกั เรียนชน้ั ประถมศกึ ษาปท4 ี่ 6 ปก4 ารศกึ ษา 2556–2558 มคี ะแนนเฉลีย่ ของวิชาภาษาอังกฤษระดับประเทศร"อยละ
33.82, 36.02 และ 40.31 ตามลําดับ สอดคล"องกับคะแนนเฉล่ียของวิชาภาษาอังกฤษระดับเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษา
ราชบรุ ี เขต 2 ร"อยละ 29.48 32.66 และ 38.78 ตามลาํ ดบั (สถาบันทดสอบการศึกษาแห0งชาติ (องค*การมหาชน), 2559) และยัง
สอดคล"องกบั ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียนวิชาภาษาอังกฤษของนกั เรียนชั้นประถมศึกษาป4ท่ี 1 โรงเรียนวัดศรัทธาราษฎร* 1ป4ท่ีผ0านมา
ตํ่ากวา0 เกณฑม* าตรฐานทโี่ รงเรยี นกาํ หนด คอื มีคา0 เฉลย่ี ของคะแนนผลสัมฤทธร์ิ "อยละ 70 ขน้ึ ไป ซ่ึงปรากฏว0าผลสมั ฤทธข์ิ องนักเรียน
ช้ันประถมศึกษาป4ที่ 6 ป4การศึกษา 2556 มีคะแนนเฉลี่ยคิดเปVนร"อยละ 36.99 ป4การศึกษา2557 มีคะแนนเฉล่ียคิดเปVนร"อยละ
57.52 และปก4 ารศกึ ษา 2558 มีคะแนนเฉลี่ยคิดเปนV รอ" ยละ 55.60 (โรงเรยี นวดั ศรทั ธาราษฎร* 2558) นอกจากนี้ยังพบว0า นกั เรียน
ไม0ตง้ั ใจเรียนมคี วามประหม0าทีจ่ ะพูดภาษาองั กฤษ

จากปnญหาความสามารถในการฟnง-การพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปท4 ่ี 1 โรงเรยี นวดั ศรทั ธาราษฎร*
ผู"วิจัยจงึ ไดท" าํ การศึกษาเอกสารและงานวจิ ัยทเ่ี กย่ี วข"องกับการจัดการเรียนการสอนภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารและพบว0า วิธีการสอน
ภาษาเพ่อื การส่อื สาร โดยใช"วิธีสอนภาษาเพ่ือการสื่อสารด"วยกิจกรรมเพลงและเกม เปนV อีกวิธีหน่ึงที่จะช0วยให"นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์
ทางการฟnงการพดู ภาษาอังกฤษได"อย0างมีประสิทธิภาพ วธิ ีการสอนภาษาเพอื่ การสอื่ สารโดยใช"กิจกรรมเพลงและเกม เปVนการสอน
โดยนาํ เอาเพลงและเกม มาใช"ในการจดั กิจกรรมการเรียนการสอนภาษาองั กฤษเพ่ือใช"ในการส่อื ความหมาย ทาํ ให"กิจกรรมการเรยี น
การสอนน0าสนใจและบรรลุเป•าหมายท่ีต"องการโดยมีข้ันตอนในการสอน 4 ข้ันดังน้ี 1) ขั้นเตรียมความพร"อม (Warm-up) 2) ขั้น
นําเสนอ Presentation) 3) ข้ันฝuก (Practice) 4) ขั้นนําไปใช" (Production) (นันทมน โค"ทส*,2558) ซ่ึงสอดคล"องกรมวิชาการ
(2539) ที่กล0าวว0าการสอนโดยใชเ" พลงชว0 ยสร"างบรรยากาศในการเรียน ทาํ ใหน" กั เรียนสนกุ สนาน มีความสุข และยังทําให"เกิดความ
ภาคภูมิใจในตนเอง ที่สามารถร"องเพลงได" ดังนั้นในการสอนด"วยเพลง จึงเปVนการปลูกฝnงให"นักเรียน มีเจตคติท่ีดีต0อการเรียน
ภาษาอังกฤษ และส0งเสริมให"ผลการเรียนดีข้ึนการสอนโดยใช"เกมทําให"ผ"ูเรียนเกิดความ สนุกสนาน ร0าเริง ผ0อนคลาย ความตึง

เอกสารสืบเนอื่ งจากการประชุมวชิ าการและนาํ เสนอผลงานวจิ ัยระดับชาติ 2559 “การวิจยั รบั ใชช" ุมชนสรา" งสังคมฐานความร"ู” 73

เครยี ด ได"ฝuกการเคลื่อนไหวร0างกาย การสอนโดยการใช"เกม จึงช0วยให"ผ"ูเรียน มีสุขภาพกาย และสุขภาพจิตใจดี ซ่ึงสอดคล"องกับ
ผลงานวจิ ัยต0างประเทศของ ฟ–นลินสนั (Finlinson, 1997) ไดศ" กึ ษาเรือ่ งเกมทาํ ใหเ" กดิ ความรว0 มมือเปVนการพัฒนาลักษณะนิสัยของ
เด็กในการเข"าสังคมได"ทดลองกับเด็กผ"ูชายและเด็กผู"หญิง จํานวน 20 คน อายุประมาณ 4 ขวบสรุปว0าหลังจากการใช"เกมความ
รว0 มมอื แล"วลักษณะการเขา" สังคมในดา" นบวกสูงขึ้น และนักวจิ ยั ในประเทศไทยของ รําไพ โพธจ์ิ ิต (2549) ท่ไี ดศ" กึ ษาการใชเ" กมและ
กจิ กรรมทางภาษาเพื่อการส่ือสารเพ่ือพัฒนาความสามารถด"านการพูดภาษาอังกฤษ ของนักเรียนช้ันประถมศึกษาป4ที่ 5 โรงเรียน
วดั ดสิ หงสาราม พบว0านักเรยี นมีความสามารถด"านการพดู เพม่ิ ขึ้นอย0างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 นอกจากน้ียังสอดคล"องกับ
ผลการวิจัยของ กันยารัตน* เพิงสา (2553) ที่ได"ศึกษาความสามารถในการฟnง-การพูดภาษาอังกฤษ และ เจตคติต0อการเรียน
ภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาป4ที่ 1 โรงเรียนบ"านเบิกไพรด"วยวิธีการสอนโดยใช"กิจกรรมเพลงและเกมพบว0า
ความสามารถในการฟnง-การพูดภาษาอังกฤษนักเรียนชั้นประถมศึกษาป4ที่ 1 โรงเรียนบ"านเบิกไพรด"วยวิธีการสอนโดยใช"กิจกรรม
เพลงและเกมหลงั การทดลองสูงกว0าก0อน การทดลองอยา0 งมนี ัยสําคญั ทางสถิตทิ ่ีระดบั .01และเจตคติต0อการเรียนภาษาอังกฤษของ
นักเรยี นช้นั ประถมศึกษาป4ที่ 1 โรงเรียนบ"านเบกิ ไพรดว" ยวิธกี ารสอนทาํ กจิ กรรมเพลง และเกมหลังการทดลอง นักเรียนมีเจตคติที่ดี
มาก ต0อการเรียนภาษาองั กฤษ และ สอดคล"อง กบั ผลงานวจิ ัย ของ จนั ทมิ า แหวนเพ็ชร (2556) ที่ไดท" าํ การศกึ ษาความสามารถในการฟงn –
การพูดภาษาองั กฤษและแรงจูงใจต0อการเรียนภาษาอังกฤษของนักเรียนช้ันประถมศึกษาป4ท่ี 2 โรงเรียนวัดด0านทับตะโก โดยใช"วิธี
สอนดว" ยกิจกรรมเพลงและเกมหลังการทดลองสงู กวา0 ก0อนการทดลองอย0างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และยังสอดคล"องกับผลงานวิจัย
ของ วารณุ ี ยะปาน (2556) ที่ไดท" าํ การศกึ ษาความสามารถด"านการฟงn –การพดู และแรงจูงใจต0อการเรียนภาษาอังกฤษของนักเรียน
ช้นั ประถมศกึ ษาป4ที่ 1 โรงเรียนชมุ ชนบ"านบ0อด"วยวธิ ีสอนภาษาเพอ่ื การสอื่ สารโดยใช"กจิ กรรมเพลงและเกมจากผลการทดลองพบว0า
ความสามารถดา" นการฟnง–การพูดและแรงจูงใจตอ0 การเรียนภาษาอังกฤษของนักเรียนชนั้ ประถมศกึ ษาป4ที่ 1 โรงเรยี นชุมชนบ"านบ0อ
ด"วยวิธีสอนภาษาเพ่ือการสื่อสารโดยใช"เพลงและเกมหลังการทดลองสูงกว0าก0อนการทดลองอย0างมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .01
นัน้ คอื การจัดการเรียนร"ูด"วยวิธีสอนภาษาเพื่อการสื่อสารโดยใช"เพลงและเกมทําให"นักเรียนชั้นประถมศึกษาป4ท่ี 1 โรงเรียนชุมชน
บ"านบ0อมีความสามารถด"านการฟnงภาษาอังกฤษสูงข้ึน และเช0นเดียวกันกับผลงานวิจัยของ นันทมน โค"ทส* ( 2558) ท่ีได"
ทําการศึกษาความสามารถในการฟnง-พูดภาษาอังกฤษและความสนใจต0อการเรียนภาษาอังกฤษของนักเรียนระดับอนุบาลชั้นป4ที่ 2
โรงเรียนดรุณาราชบุรีวิเทศศึกษา โดยใช"วิธีสอนภาษาตามแนวทฤษฎีการสอนภาษาเพื่อการส่ือสารด"วยกิจกรรมเพลงและเกม
ผลการวจิ ยั พบวา0 ความสามารถในการฟnง-พดู ภาษาองั กฤษของนกั เรยี นหลังการทดลองสงู กวา0 ก0อนการทดลองอยา0 งมีนยั สําคญั ทางสถิติ
ที่ระดับ .01

จากความสาํ คัญของภาษาองั กฤษปญn หาผลสัมฤทธทิ์ างการเรียนภาษาอังกฤษและจากขอ" ค"นพบผลการวิจัย โดยใช"วิธสี อน
ภาษาเพอ่ื การส่อื สารดว" ยกจิ กรรมเพลงและเกมดงั กลา0 ว ผู"วจิ ัยในฐานะครูผ"ูสอนภาษาอังกฤษ จึงสนใจท่ีจะใช"วิธีสอนภาษาเพ่อื การ
ส่อื สารดว" ยกจิ กรรมเพลงและเกมมาทําการวิจยั เพ่ือศึกษาความสามารถในการฟnง–การพดู ภาษาอังกฤษกับนกั เรยี นชั้นประถมศึกษา
ป4ท่ี1โรงเรียนวัดศรัทธาราษฎร* จังหวัดราชบุรี เพ่ือพัฒนาความสามารถในการฟnง–การพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนให"มี
ประสิทธภิ าพย่ิงขนึ้

วัตถุประสงคข- องการวจิ ยั
เพื่อศึกษาความสามารถในการฟnง-การพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาป4ที่ 1 โรงเรียนโรงเรียนวัดศรัทธา

ราษฎร* โดยใช"วิธีสอนภาษาเพอ่ื การสอื่ สารด"วยกิจกรรมเพลงและเกมก0อน การทดลองและหลังการทดลอง

74 เอกสารสบื เนอื่ งจากการประชมุ วชิ าการและนําเสนอผลงานวจิ ัยระดับชาติ 2559 “การวิจัยรับใช"ชุมชนสรา" งสงั คมฐานความร"ู”

สมมตุ ฐิ านในการวจิ ัย
ความสามารถในการฟnง - การพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาป4ท่ี 1 โรงเรียนวัดศรัทธาราษฎร* โดยใช"วิธี

สอนภาษาเพ่ือการส่อื สารดว" ยกิจกรรมเพลงและเกมหลงั การทดลองสูงกวา0 กอ0 นการทดลอง

กรอบแนวความคิด
การวิจัยครั้งน้ีผู"วิจัย ได"ศึกษาหลักการแนวคิด ทฤษฏีจากเอกสารและศึกษาผลงานวิจัยที่เกี่ยวข"องกับวิธีสอนโดยใช"กิจกรรม

เพลงและเกมตามขั้นตอนการสอนของ สุมิตรา อังวัฒนกุล (อ"างถึงใน นันทมน โค"ทส*,) โดยมีขั้นตอนการสอน 4 ข้ัน ดังนี้
1) ขั้นเตรียมความพร"อม (Warm-up) 2) ข้ันนําเสนอ (Presentation) 3) ขั้นฝuก (Practice) 4) ข้ันนําไปใช" (Production)
แบบทดสอบวดั ความสามารถในการฟnง–การพูดของอัจฉรา วงศโ* สธร (2538) ซ่ึงสามารถสรุปออกมาเปVนกรอบแนวคิดในการวิจัย
ดังนี้

ตวั แปรตน" (Independent Variable) ตวั แปรตาม (Dependent Variable)

วธิ สี อนภาษาเพ่อื การสื่อสาร ความสามารถในการฟงn -การพูด
ด"วยกจิ กรรมเพลงและเกม ภาษาอังกฤษ

ภาพ 1 กรอบแนวคดิ ในการวจิ ยั

วิธีดําเนินการวิจัย

ประชากรและกลมุ ตวั อยาง
1. ประชากร ในการวิจัยคร้ังน้ีเปVนนักเรียนช้ันประถมศึกษาป4ที่1โรงเรียนวัดศรัทธาราษฎร*ที่กําลังเรียนวิชาภาษาอังกฤษ

(อ 11101) ในภาคเรียนที่1 ปก4 ารศึกษา2559 จํานวน 1 ห"องเรยี น รวมท้ังสิ้น 20 คน
2. กลุมเป•าหมาย ในการวิจัยครั้งนี้ศึกษาจากประชากรทั้งหมดที่เปVนนักเรียนชั้นประถมศึกษาป4ท่ี 1 โรงเรียน

วดั ศรทั ธาราษฎร* ท่กี ําลงั เรียนวิชาภาษาองั กฤษ (อ 11101) ในภาคเรียนท่ี 1 ปก4 ารศกึ ษา 2559 จํานวน 1 ห"องเรียน รวมท้ังส้ิน 20 คน
ซ่ึงไดม" าโดยวธิ ีการเลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling) เนอ่ื งจากเปVนจํานวนของนกั เรยี นชั้นประถมศึกษาป4ที่ 1 ของโรงเรียนวัด
ศรทั ธาราษฎร*ซึ่งมเี พยี งห"องเดียวเท0าน้นั

เคร่ืองมอื การวจิ ยั
1. เครื่องมือท่ีใช"ในการทดลอง คือ แผนการจัดการเรียนรู"โดยใช"วิธีสอนภาษาเพ่ือ การสื่อสาร จํานวน 16 แผน ท่ีผู"วิจัย

สรา" งขน้ึ ซง่ึ ผา0 นการพัฒนาและหาคุณภาพแลว"
2. เคร่ืองมือที่ใช"ในการเก็บรวบรวมข"อมูล คือ แบบทดสอบวัดความสามารถในการฟnง-การพูดภาษาอังกฤษโดยใช"วิธีสอน

ภาษาเพอ่ื การสือ่ สารดว" ยกจิ กรรมเพลงและเกม ที่ผ"ูวิจัยสรา" งขนึ้ ซึ่งผ0านการพัฒนาหาคุณภาพแล"วโดยมีค0าความเชื่อม่ัน ท้ังฉบับเทา0 กับ
.86

เอกสารสืบเนอื่ งจากการประชมุ วิชาการและนาํ เสนอผลงานวจิ ัยระดับชาติ 2559 “การวิจัยรับใชช" มุ ชนสรา" งสังคมฐานความร"ู” 75

การเก็บรวบรวมขอมลู
1. ปฐมนเิ ทศนกั เรยี นเกี่ยวกบั วธิ ีการเรยี น จุดประสงค*การเรียนรู"และการวัดผลประเมินผลโดยใช"วิธีสอนภาษาเพื่อการสอ่ื สาร

ดว" ยกิจกรรมเพลงและเกม
2. ทําการทดสอบก0อนการทดลอง (Pre-test) โดยใชแ" บบทดสอบวัดความสามารถในการฟnง-การพูดภาษาอังกฤษ จํานวน 2 ชัว่ โมง
3. ดําเนินการทดลองตามแผนการจัดการเรียนร"ูการฟnง-การพูดภาษาอังกฤษ โดยใช"วิธีสอนภาษาเพ่อื การสื่อสารด"วยจกรรม

เพลงและเกม จาํ นวน 16 ชว่ั โมง
4. ทาํ การทดสอบหลงั การทดลอง (Post-test) โดยใชแ" บบทดสอบวดั ความสามารถในการฟnง-การพูดภาษาอังกฤษ ฉบับเดียวกัน

กับท่ีใช"ในการทดสอบกอ0 นการทดลอง (Pre-test) จํานวน 2 ชว่ั โมง
5. ทําการวิเคราะห*ข"อมูลด"วยวิธีการทางสถิติเพื่อทดสอบสมมุติฐานโดยการทดสอบหาค0าทีแบบกลุ0มที่ไม0เปVนอิสระต0อกัน

(t-test for dependent samples)

การวิเคราะห-ขอมลู
การวิเคราะห*ข"อมูลในการวิจัยคร้ังน้ีผู"วิจัยได"ทําการเปรยี บเทียบความสามารถในการฟnง-การพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนช้ัน

ประถมศึกษาปท4 ่ี 1 โรงเรยี นวดั ศรัทธาราษฎร* โดยใช"วธิ ีสอนภาษาเพ่อื การสื่อสารด"วยกิจกรรมเพลงและเกม กอ0 นการทดลองและหลัง
การทดลอง โดยการทดสอบหาค0าทีแบบกล0ุม ที่ไม0เปVนอสิ ระ ต0อกัน (t-test for dependent samples) โดยใช"โปรแกรมคอมพิวเตอร*สําเร็จรูป
ปรากฏผลดังตาราง 1

ตาราง 1 ผลการศึกษาความสามารถในการฟnง-การพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาป4ที่ 1 โรงเรียน
วดั ศรทั ธาราษฎร* โดยใช"วิธสี อนภาษาเพ่อื การสื่อสารด"วยกจิ กรรมเพลงและเกม ก0อนการทดลองและหลงั การทดลอง

ความสามารถในการฟงn -การพูด N µ σ ∑D ∑D2 t Sig
ภาษาองั กฤษ 15.03** 0.00
20 7.00 1.08 168 1,530
ก0อนการทดลอง 20 15.40 2.70
หลงั การทดลอง

**มีนัยสําคัญทางสถติ ทิ ีร่ ะดบั .01

จากตาราง 1 แสดงว0า ความสามารถในการฟnง-การพูดภาษาอังกฤษของนักเรียน ช้ันประถมศึกษาป4ที่ 1 โรงเรียนวัดศรทั ธา
ราษฎร* โดยใช"วิธีสอนภาษาเพือ่ การส่อื สารดว" ยกจิ กรรมเพลงและเกม หลงั การทดลองสูงกว0าก0อนการทดลองอย0างมีนัยสาํ คัญทางสถิติ
ทร่ี ะดับ .01 ซึง่ เปVนไปตามสมมติฐานทไ่ี ดต" ง้ั ไว"

สรุปผล

การศึกษาความสามารถในการฟงn การพดู ภาษาองั กฤษของนกั เรียนช้ันประถมศึกษาป4ท่ี1 โรงเรยี นวัดศรัทธาราษฎร*โดยใช"วิธี
สอนภาษาเพ่อื การสอื่ สารด"วยกจิ กรรมเพลงและเกม สามารถสรุปผลไดด" ังนี้ ความสามารถในการฟงn - การพูดภาษาอังกฤษของนักเรียน
ชัน้ ประถมศึกษาปท4 ่ี1โรงเรยี นวัดศรัทธาราษฎร*โดยใช"วิธีสอนภาษาเพ่ือการสื่อสารดว" ยกิจกรรมเพลงและเกมหลังการทดลองสูงกว0า
ก0อนการทดลอง อยา0 งมีนยั สําคัญทางสถติ ิ ทีร่ ะดบั .01

76 เอกสารสบื เนอื่ งจากการประชุมวชิ าการและนาํ เสนอผลงานวิจยั ระดบั ชาติ 2559 “การวิจยั รบั ใชช" ุมชนสร"างสงั คมฐานความร"ู”

อภิปรายผลการวิจัย

การวิจัยครั้งน้ีเปVนการศึกษาความสามารถในการฟnง-การพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนช้ันประถมศึกษาป4ที่ 1 โรงเรียน
วัดศรัทธาราษฎร* โดยใช"วิธีสอนภาษาเพื่อการส่ือสารด"วยกิจกรรมเพลงและเกม ก0อนการทดลองและหลังการทดลอง สามารถ
อภปิ รายผลตามขน้ั ตอนการสอนได"ดงั น้ี

ขนั้ ท่ี 1 ข้ันเตรยี มความพรอ" ม (Warm-up) ครูนําเข"าส0ูบทเรียนเพอ่ื ใหน" ักเรียนเกดิ ความสนใจในบทเรียนเปVนการทบทวน
เนือ้ หาท่ีเรยี นมาแล"วประสบการณ*เดิม (Schema) หรือเปVนการนําเข"าส0ูการทํากิจกรรมโดยครูอาจใช"วิธีสนทนา ร"องเพลง และใช"
วัสดุอุปกรณ*ต0างๆ เช0น รูปภาพส่ือเอกสารจริง (Authentic materials) เพ่ือกระต"ุนให"นักเรียนต่ืนตัวมีความกระตือรือร"นสนใจ
อยากเรียนร"ู ดังคํากล0าว สุมนา พานิช (2531) และนิตยา สุวรรณศรี (2542) ท่ีกล0าวว0าการสอนโดยใช"เพลงภาษาอังกฤษทําให"
นักเรียนร"ูว0าบทเรียนมีความหมาย น0าสนใจและสนุก นอกจากน้ีการสอนภาษาเพื่อการส่ือสารโดยใช"กิจกรรมเพลงยังส0งเสริม
พัฒนาการด"านสุขภาพ ของนกั เรียนเพราะมีโอกาสทําท0าประกอบและเคลื่อนไหวไปตามเนื้อเพลง พัฒนาอารมณ* ขณะที่นกั เรียน
เข"าร0วมกิจกรรม ท่ีเกี่ยวกับเพลง มีจิตใจร0าเริงแจ0มใส มีความสนุกสนาน คลายความตึงเครียด และนักเรียนท่ี ข้ีอายมีโอกาสได"
แสดงออก พฒั นาดา" นสงั คม เพลงเปVนส่ืออย0างหน่ึงซ่ึงสามารถชักจูงให"นักเรียน และครูมีความสนิทสนมกันมากข้ึน และเพลงบาง
เพลงต"องทําท0าทางร0วมกันทําให"นักเรียนใกล"ชิดกันอีกด"วย พัฒนาสติปnญญา เพลงช0วยให"นักเรียนมีความรู" ความเข"าใจ จดจํา
เร่ืองราวตา0 ง ๆ และช0วยพัฒนาทักษะความสามารถด"านต0าง ๆ คือ พัฒนาด"านภาษากล0าวคือ เมื่อนักเรียนฟnงเพลงแล"วทําท0าทาง
ประกอบเนื้อเพลง ทําให"ทราบว0านักเรียนเข"าใจความหมายในเน้ือเพลงหรือไม0จากท0าทางที่นักเรียนแสดง เปVนข้ันที่ครูผู"สอนนํา
เนือ้ หาใหมจ0 ึงสง0 ผลให"ความสามารถในการฟnง-การพูดภาษาอังกฤษของนกั เรียนหลงั การทดลองสงู กว0าก0อนการทดลอง

ข้ันที่ 2 ข้ันนําเสนอ (Presentation) เปVนการกระต"ุนให"นักเรียนเกิดความพร"อมและอยากรู" อยากเรียนในบทเรียนใหม0
เนื้อหาจะเชอ่ื มโยงไปสส0ู าระสาํ คญั ของบทเรยี น ให"นักเรยี นมีความพร"อมเกดิ ความสนุกสนาน มีความสนใจและกระตือรือร"นในการ
เรียนร"ู กิจกรรมที่นาํ มาใช"ในขั้นตอนน้มี หี ลากหลายคือการร"องเพลง การใช"อุปกรณ* รูปภาพ ส่ือจริง การแสดงท0าทาง เพ่ือนําเข"าส0ู
บทเรียนหรือทบทวนความรู"ทเ่ี รยี นมาแล"วประสบการณ*เดมิ (Schema)ในขั้นนีเ้ พลงท่ีครูนํามาใช"เปVนเพลงที่นักเรียนมีความค"ุนเคย
กบั ทาํ นอง ซงึ่ เปVนประสบการณ*เดิม ดังเชน0 คาํ กลา0 ว โอบาห* (Obah, 1983) ที่ได"แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับความสําคัญของสกีมาว0า การ
สรา" งความเข"าใจในการฟงn เปนV การสรา" งความร"ูใหม0โดยอาศัยประสบการณ*หรือความรู"เดิมที่มีอยู0เปVนพื้นฐานจากการเข"าใจความหมายของ
คําศัพท* ถ"าปราศจากพนื้ ความร"ูเดมิ เกย่ี วกับสิง่ ท่ีฟงn แล"ว การเรียนรู"สง่ิ ใหม0จะเตม็ ไปด"วยความยากลําบาก จะเหน็ ได"ว0าความรู"เดิมจากการรู"
คําศัพทแ* ละความหมายของคําศพั ท*ชว0 ยให"นักเรยี นมีความสามารถในการฟnง-การพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนหลังการทดลองสูงกว0า
ก0อนการทดลอง

ข้ันท่ี 3 ขั้นฝuก (Practice) เปVนข้ันที่นักเรียนฝuกใช"ภาษาที่เรียนมาแล"วในขั้นนําเสนอในข้ันฝuกน้ีเปVนขั้นที่นักเรียนได"ฝuก
ทกั ษะทางภาษาเพ่ือให"ใช"ภาษาได"คล0องแคลว0 ด"วยการร"องเพลง เลน0 เกม การแสดงทา0 ทางประกอบ ใชร" ูปภาพ สอื่ จรงิ โดยมีทัง้ การ
ฝกu ทงั้ ชน้ั ฝกu เปนV กลุ0ม ฝuกเปVนคห0ู รือ สม0ุ รายบคุ คลโดยมีครูเปนV ผู"อํานวยความสะดวก เพอื่ ให"นักเรยี นไดฝ" uกอยา0 งอิสระ การทนี่ ักเรยี น
ไดป" ฏิบตั จิ ริงคือการที่นักเรียนเปVนศนู ยก* ลาง (Child Centered ) ดังเชน0 คาํ กลา0 วของ รอส (Rost, 1991) กล0าวว0า ควรใหน" ักเรียน
มีการปฏสิ ัมพันธ* เนน" ให"รคู" วามหมาย เรียนรเ"ู นอ้ื หาน้ัน ๆ ทํางานจากประสบการณ*กิจกรรมที่สามารถเข"าใจ เน"นความถูกต"องของ
เสียงและรูปแบบของคํา จึงส0งผลให"ความสามารถในการฟnง-การพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนหลังการทดลองสูงกว0าก0อนการ
ทดลอง

ขัน้ ที่ 4 ขั้นการใช"ภาษา (Production) เปVนขัน้ ท่ีนักเรยี นนาํ คาํ หรือประโยคทฝี่ กu มาแล"วมาใช"ในสถานการณ*ต0างๆ เพื่อให"
เกิดความคล0องแคล0วสนุกสนานในขั้นนี้ เปVนขั้นท่ีเน"นนักเรียนเปVนสําคัญครูผู"สอนเปVนผ"ูคอยให"ความช0วยเหลือ (Teacher as a
facilitator) ให"นักเรียนสามารถนําความรู"ทางภาษาท่ีได"รับไปใช"ในสถานการณ*หรือกิจกรรมต0าง ๆ ได"ด"วยการร"องเพลง การเล0น
เกม การแสดงทา0 ทางประกอบ การนาํ เสนอผลงาน ทาํ แบบฝuกหดั ในขั้นนน้ี กั เรยี นได"ปฏบิ ัตจิ รงิ ( Self Access ) ดงั เชน0 คํากล0าวของ
สุมนา พานิช (2531) กล0าวว0า การนําเพลงเข"ามาประกอบการสอนเด็กวัยต0าง ๆ น้ัน จะพบว0ามีการนําไปใช"กับเด็กเล็กมากทส่ี ุด
เน่ืองจากเด็กวัยนี้ชอบความสนุกสนาน เปVนวัยท่ีชอบเรียนรู"ชอบเคลื่อนไหวร0างกาย จึงส0งผลให"ความสามารถในการฟnง-การพูด
ภาษาองั กฤษของนกั เรยี นหลังการทดลองสงู กวา0 ก0อนการทดลอง

เอกสารสืบเนอื่ งจากการประชุมวชิ าการและนําเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ 2559 “การวจิ ยั รบั ใช"ชมุ ชนสร"างสงั คมฐานความรู"” 77

ผลการวิจยั คร้ังนี้ สอดคล"องกับผลงานวิจัยของ อัมพรรณี สาลีวรรณ* (2547) ทีไ่ ด"ศึกษาการพัฒนาการความสามารถใน
การเรียนภาษาอังกฤษโดยใช"เพลง พบว0านักเรียนมีพัฒนาการและความสามารถในการเรียนภาษาอังกฤษ อยู0ในระดับดี ร"อยละ
80.37 ของจํานวนนักเรียนทั้งหมดและยัง สอดคล"องกับผลงานวิจัยของ สุจิตรา สุขกมล (2548) ท่ีได"ทําการศึกษาผลการจัด
กิจกรรมเสริมประสบการณ*โดยใช"เพลงที่มีต0อความสามารถด"านการฟnง และการพูดของนักเรียนช้ันอนุบาลป4ที่ 2 ผลการศึกษา
พบวา0 การจัดกจิ กรรมเสริมประสบการณ* โดยใช"เพลงหลังการทดลองสูงกว0าก0อนการทดลองอย0างมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .01
ผลงานวิจัยของ จนั ทิมา แหวนเพช็ ร (2556) ท่ีไดท" ําการศึกษาความสามารถในการฟnง-พูดภาษาอังกฤษและแรงจูงใจต0อการเรียน
ภาษาองั กฤษของนกั เรียน ชน้ั ประถมศกึ ษาปท4 ี่ 2 โรงเรียนวัดดา0 นทบั ตะโก ดว" ยวธิ สี อนโดยใชก" ิจกรรมเพลงและเกมหลงั การทดลอง
สูงกว0าก0อนการทดลองอย0างมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .01 และยงั สอดคล"องกับ ผลงานวิจัย ของ นันทมน โค"ทส* ( 2558-6 )
ทีไ่ ดท" ําการศึกษาความสามารถในการฟnง-พูดภาษาอังกฤษและความสนใจต0อการเรียนภาษาอังกฤษของนักเรยี นระดับอนุบาลชั้นป4ท่ี 2
โรงเรียนดรุณาราชบุรีวิเทศศึกษาโดยใช"วิธีสอนภาษาตามแนวทฤษฎีการสอนภาษาเพื่อการสื่อสารด"วยกิจกรรมเพลงและเกม
ผลการวิจัยพบว0าความสามารถในการฟnง-พูดภาษาองั กฤษของนักเรียนหลังการทดลองสงู กว0ากอ0 นการทดลองอยา0 งมนี ยั สาํ คญั ทางสถิติ
ทีร่ ะดบั .01

จากการอภิปรายผลการวิจยั ดังกล0าวสรุปได"ว0า วิธีสอนภาษาเพื่อการส่ือสารด"วยกิจกรรมเพลงและเกม เปVนวิธีสอน ที่สามารถ
พฒั นาใหน" กั เรยี นมีความสามารถในการฟงn -การพดู ภาษาองั กฤษได"อย0างมีประสทิ ธิภาพ นอกจากนี้ผว"ู จิ ัยยังพบว0าวิธีการสอนภาษาเพื่อการ
ส่ือสารโดยใช"วิธีสอนภาษาเพ่ือการส่ือสารด"วยกิจกรรมเพลงและเกม นักเรียนเกิดการพัฒนาการทางด"านร0างกาย อารมณ* สังคมและ
สติปญn ญา ทาํ ให"นักเรียนมีความสนุกสนาน ผ0อนคลาย นักเรียนมีความสนใจ มีเจตคติที่ดีต0อการเรียนภาษาอังกฤษ นักเรียนเกิดความคิด
สรา" งสรรค*

ขอเสนอแนะ

ขอเสนอแนะสาํ หรับการนําไปประยุกตใ- ช
1. การสอนภาษาอังกฤษโดยใช"วิธสี อนภาษาเพ่อื การส่อื สารดว" ยกิจกรรมเพลงและเกมเพลงท่ีนํามาใช"สอนควรสอดคล"อง

ตามหลกั สตู รตรงตามระดับช้ัน ควรเปนV เพลงทีม่ ีเนอื้ ร"องสั้นๆ เข"าใจงา0 ย สนุกสนาน เหมาะสมกับวัยและความสนใจของนักเรียนที่
เปVนส่ิงแวดล"อมในสถานการณ*จริง (Real Situation) ครูควรนําส่ือท่ีหลากหลายและเปVนสื่อเอกสารจริง (Authentic materials)
เขา" มาสอน

2. การสอนภาษาอังกฤษโดยใช"วิธสี อนภาษาเพ่ือการส่ือสารด"วยกิจกรรมเพลงและเกมการแสดงท0าทางประกอบคําศัพท*
ในเพลงท่ีใช"สอนภาษาอังกฤษ ควรสื่อความหมายตรงกับ เนื้อเพลง จึงจะมีความหมายสําหรับนักเรียนในชีวิตจริง (Focus on
meaning) เพราะนักเรียนต"องการใช"ภาษาในการสอ่ื สารอย0างมีความหมายและควรคาํ นึงถึงเวลา สถานที่ ที่ใช"ต"องสะดวกและ
พอเหมาะ ครตู "องดูแลอยา0 งใกลช" ิด เพราะอาจสง0 เสยี งดังรบกวนหอ" งอืน่

3. การสอนภาษาอังกฤษโดยใช"วิธีสอนภาษาเพ่ือการส่ือสารด"วยกิจกรรมเพลงและเกมเน้ือเพลงต"องสอดคล"องกับเกม
รูปแบบแต0ละกิจกรรมท่ีให"นักเรียนปฏิบัติ ซ่ึงเปVนภาระงาน (Task work) และการจัดการชั้นเรียน (Classroom management)
ตอ" งมีการวางแผนจดั การชัน้ เรียนทช่ี ดั เจน สอดคล"องกับจดุ ประสงค*การเรยี นร"ู และเพอ่ื ให"นักเรียนได"เกิดการบูรณาการทักษะทาง
ภาษาการฟงn -การพดู (Integrated skills) โดยการปฏิสัมพันธ* (Interaction) กบั เพ่ือนทั้งงานชั้นงานกลุม0 งานคแู0 ละงานเด่ยี ว

4. การสอนภาษาอังกฤษโดยใช"วธิ สี อนภาษาเพือ่ การส่อื สารดว" ยกจิ กรรมเพลงและเกมเพลงควรมที าํ นองที่ผเู" รยี นคนุ" เคย
เพอื่ ง0ายต0อการฟงn -การพูดและรอ" งเพลง เชน0 เพลง Colors Song ใชท" ํานองหนมู าลี

78 เอกสารสืบเนอ่ื งจากการประชมุ วชิ าการและนาํ เสนอผลงานวจิ ัยระดบั ชาติ 2559 “การวจิ ัยรบั ใช"ชุมชนสรา" งสังคมฐานความรู"”

ขอเสนอแนะสําหรับการวิจัยครั้งตอไป
1. ควรทําการศึกษาความสามารถในการฟnง-การพูดภาษาองั กฤษด"วยวธิ สี อนภาษาองั กฤษเพอ่ื การสอื่ สาร โดยใช"กิจกรรม

เพลงและเกม กับนักเรยี นระดบั ช้ันอ่นื ๆ เช0น ระดบั ประถมศึกษาตอนปลาย และมัธยมศกึ ษาตอนต"น
2.ควรทาํ การศกึ ษาเปรยี บเทียบวิธสี อนภาษาองั กฤษเพ่อื การสือ่ สารโดยใช"กจิ กรรมเพลงและเกมกับวิธีการสอนอ่นื ๆ เช0น

การสอนตามแนวทฤษฎีการสอนภาษาแบบอรรถฐานโดยใช"อรรถลักษณะของนทิ านและการสอนตามคู0มือครู
3 .ควรทาํ การศึกษาการสอนภาษาอังกฤษเพ่อื การส่อื สารโดยใชก" ิจกรรมเพลงและเกม โดยใชเ" นือ้ หาสัมพันธ*กบั กลุ0มสาระ

การเรยี นร"ูอนื่ ๆ เชน0 วชิ าคณติ ศาสตร*และวิชาศิลปศึกษาเพื่อสง0 เสรมิ กระบวนการคิดวเิ คราะห*และความคิดสร"างสรรค*
4. ควรพฒั นาการเรยี นการสอนโดยใชว" ิธีสอนภาษาเพอื่ การสอื่ สารดว" ยกิจกรรมเพลงและเกมไปส0ูรูปแบบดิจิทัล (Digital)

โดยใชเ" ทคโนโลยีสารสนเทศ ( ICT) เพ่ือรองรบั การเรียนรใู" นศตวรรษท่ี 21

เอกสารอางอิง

กรมวิชาการ. (2551). หลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551. กรงุ เทพฯ :ผ"แู ตง0 .
เกวรินทร* สุขเกตุ. (2550). การใชกิจกรรมเพลงเพอื่ สงเสรมิ ความสามารถทางการพดู ภาษาอังกฤษความรู

คําศพั ท-ของนักเรียนชวงชัน้ ท่ี 1 วิทยานพิ นธ*ศกึ ษาศาสตรมหาบญั ฑติ บัณฑิตวทิ ยาลยั
มหาวิทยาลยั เชียงใหม0.
จันทิมา แหวนเพ็ชร. (2556). การศึกษาความสามารถดานการฟงa -พดู ภาษาอังกฤษและแรงจงู ใจตอการเรียน
ภาษาอังกฤษของนักเรยี นชั้นประถมศกึ ษาปท่ี 2 โรงเรยี นวัดดานทับตะโกดวยวธิ สี อนโดยใชภาษาเพ่อื
การสอ่ื สารโดยใชกจิ กรรมเพลงและเกม. วิทยานพิ นธค* รศุ าสตรม* หาบัณฑติ สาขาวิชาการสอน
ภาษาอังกฤษในฐานะภาษาตา0 งประเทศ บัณฑติ วิทยาลัย มหาวทิ ยาลัยราชภัฏหมู0บา" นจอมบงึ .
พวงรัตน* ทวรี ตั น*.(2543). วธิ กี ารวิจัยทางพฤติกรรมศาสตร-และสังคมศาสตร-. พมิ พค* ร้ังที่ 7 กรงุ เทพฯ : สํานัก
ทดสอบทางการศกึ ษาและจติ วทิ ยา มหาวทิ ยาลยั ศรนี ครินทรวิโรฒประสานมิตร.
โรงเรยี นวดั ศรทั ธาราษฎร*. (2556). หลกั สตู รการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐานพทุ ธศักราช 2551 กลุมสาระการเรยี นรู
ภาษาตางประเทศประถมศึกษา โรงเรยี นวดั ศรทั ธาราษฎร- จงั หวัดราชบุร.ี ราชบรุ ี : ผแู ตง
. (2556). รายงานผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี น นักเรียนชน้ั ประถมศกึ ษาปที่ 1 โรงเรยี นวัดศรัทธาราษฎร-
ประจําปการศกึ ษา 2555. ราชบุรี : ผแู ตง
. (2557). รายงานผลสัมฤทธิท์ างการเรยี น นกั เรียนช้ันประถมศึกษาปที่ 1 โรงเรยี นวัดศรทั ธาราษฎร-
ประจาํ ปการศกึ ษา 2555. ราชบุรี : ผแู ตง
. (2558). รายงานผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี น นักเรยี นชน้ั ประถมศกึ ษาปที่ 1 โรงเรียนวดั ศรทั ธาราษฎร-
ประจาํ ปการศกึ ษา 2555. ราชบรุ ี : ผแู ตง
นันทมน โค"ทส.* (2558 ). ความสามารถดานการฟงa -พูดภาษาองั กฤษและความสนใจตอการเรยี นภาษาอังกฤษ
ของนกั เรียนระดับชนั้ อนุบาลชัน้ ปที่ 2 โรงเรยี นดรณุ าราชบรุ ีวเิ ทศศึกษาโดยใชวธิ สี อนตามแนวทฤษฎี
การสอนภาษาเพ่อื การสือ่ สาร ดวยกิจกรรมเพลง และเกม. วิทยานิพนธ* สาขาการสอนภาษาอังกฤษใน
ฐานะ ภาษาตา0 งประเทศ. บณั ฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลยั ราชภฏั หมูบ0 า" นจอมบงึ .
ลว" น สายยศและ องั คณา สายยศ.(2538). เทคนิคการวจิ ัยทางการศกึ ษา (พมิ พ*ครง้ั ท่ี 5).กรงุ เทพฯ :มหาวิทยาลยั
ศรนี ครนิ ทรวิโรฒ.
สริ ริ ัตน* เรือนนุช. (2551). การศกึ ษาความสามารถและแรงจงู ใจในการเรยี นภาษาอังกฤษของเด็กปฐมวัย
โรงเรียนบานรางอีเมย โดยวธิ ีการสอนดวยการจัดกิจกรรมการสอนภาษาเพอ่ื การส่ือสารโดยใชเพลง.
วิทยานพิ นธ* สาขาการสอนภาษาองั กฤษในฐานะภาษาตา0 งประเทศ. บณั ฑติ วิทยาลยั มหาวทิ ยาลัยราชภฏั
หม0บู า" นจอมบงึ .

เอกสารสืบเนอ่ื งจากการประชุมวิชาการและนําเสนอผลงานวจิ ัยระดบั ชาติ 2559 “การวิจัยรับใชช" มุ ชนสร"างสงั คมฐานความร"ู” 79

สุมิตรา อังวฒั นกุล. (2540). แนวคดิ และเทคนิควิธีการสอนภาษาอังกฤษระดบั มัธยมศกึ ษา. กรงุ เทพฯ :
จฬุ าลงกรณ*มหาวิทยาลยั .

สุมนา พานิช. (2531). การเตรียมความพรอมเดก็ เล็ก. ราชบุรี : โรงเรียนชมุ ชนเมืองราชบรุ ี.
สุจรติ เพยี รชอบ. (2531). การพฒั นาการสอนภาษาไทย. กรงุ เทพฯ : คณะศกึ ษาศาสตร* จฬุ าลงกรณ*

มหาวิทยาลัย.
สถาบนั ทดสอบการศึกษาแหง0 ชาติ (งคก* ารมหาชนอ). 2559. การรายงานผลการทดสอบทางการศกึ ษา

ระดบั ชาติข้ันพืน้ ฐาน )O-Net(. คน" เม่ือ มนี าคม ,2559 ,31จาก
http://www.onetresult.niets.or.th/
AnnouncementWeb/School/frSbjStatValueBySchool.aspx?mi=3&smi=3
สํานักงานคณะกรรมการการพฒั นาการเศรษฐกจิ และสังคมแหง0 ชาติ สํานกั นายกรฐั มนตรี. (2554). แผนพัฒนา
เศรษฐกจิ และสงั คมแหงชาตฉิ บับทีส่ บิ เอ็ด พ.ศ.2555-2559. ค"นเม่ือ กมุ ภาพนั ธ* 29, 2555,จาก
http://www.nesdb.go.th/Portals/0/news/plan/p11/ plan11.pdf
สมเกยี ร สมเกยี รติ อ0อนวมิ ล. (2554, 13 กรกฎาคม). บันทกึ อาเซียน ASEAN DIARY : การใชภาษาองั กฤษและภาษาอ่ืน
ในภูมิภาคกบั อนาคตไทยในอาเซียน (1). คอลมั น*1001 "เป–ดเสรีไอทีอาเซียน" หนังสือพิมพ*เดลินิวส*.
ค"นเม่ือ ตุลาคม 23, 2555,แหล0งที่มาhttp://www.nstda.or.th/news/5140-20110422-it-
passport
อัมพรรณี สาลีวรรณ*. (2547). การศกึ ษาพฒั นาความสามารถในการเรียนภาษาองั กฤษของเด็กปฐมวัยโดยใช
เพลงและเกม. วิทยานพิ นธ* สาขาการสอนภาษาอังกฤษในฐานะภาษาต0างประเทศ. บณั ฑติ วทิ ยาลัย
มหาวทิ ยาลัยราชภฏั หมบ0ู า" นจอมบงึ .
อัจฉรา วงศโ* สธร. (2538). การทดสอบและการประเมินผลการเรยี นการสอนภาษาอังกฤษ. กรุงเทพฯ : สถาบนั ภาษา
จุฬาลงกรณ*มหาวิทยาลัย.
Finlinson, Abbie Reynolds. (1997). “Cooperative Games : Promoting Prosocial Behaviors
in Children,”. MAL. 35/06 : 1582.
Wruck-Nelson, Ann Catherine. (1993, July). “An Investigation into the Development of Oral
English in Concept Formation through the Use of Group Games in the
Bilingual Classroom,” Dissertation Abstracts International. 54 (1) : 82.

80 เอกสารสืบเนอื่ งจากการประชมุ วิชาการและนาํ เสนอผลงานวจิ ยั ระดบั ชาติ 2559 “การวิจัยรบั ใช"ชุมชนสร"างสงั คมฐานความร"ู”

การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนแบบโครงงานเป`นฐาน โดยใชกระบวนการเรียนรู
แบบผสมผสาน เพ่ือสงเสริมโครงงานสรางสรรค- และทกั ษะการทํางานรวมกนั
ของนักศึกษาระดับปริญญาตรี

The Development of Project-based Learning Model using Blended Learning
to Enhance Creative Projects and Collaborative Skills of Undergraduate Students

ศิริพล แสนบุญสง1และ มนต-ชยั เทียนทอง2
Siripon Saenboonsong1 and Monchai Teantong2

บทคัดยอ

การวจิ ยั นมี้ ีวตั ถุประสงค*เพื่อ 1) พัฒนารูปแบบการเรียนการสอนแบบโครงงานเปVนฐาน โดยใช"กระบวนการเรียนร"ูแบบ
ผสมผสาน เพ่ือส0งเสรมิ โครงงานสร"างสรรค* และทกั ษะการทาํ งานร0วมกัน 2) ประเมินความเหมาะสมของรูปแบบการเรียนการสอน
แบบโครงงานเปVนฐาน โดยใช"กระบวนการเรียนร"ูแบบผสมผสานท่ีพัฒนาขึ้น โดยมีข้ันตอนการวิจัยแบ0งออกเปVน 2 ข้ันตอนคือ
การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนแบบโครงงานเปVนฐาน โดยใช"กระบวนการเรียนร"ูแบบผสมผสาน และการประเมินความ
เหมาะสมของรูปแบบการเรยี นการสอนแบบโครงงานเปVนฐาน โดยใช"กระบวนการเรียนร"ูแบบผสมผสานท่ีพัฒนาข้ึน กลุ0มตัวอย0าง
เปVนผูเ" ชย่ี วชาญดา" นการออกแบบการเรยี นการสอน ดา" นการจัดการเรยี นการสอนแบบโครงงานเปVนฐาน และด"านการจัดการเรียน
การสอนแบบผสมผสาน จํานวน 12 คน ได"จากการคดั เลือกแบบเจาะจงตามเกณฑท* ี่กาํ หนด วิเคราะหข* อ" มูลด"วยค0าเฉล่ีย และส0วน
เบยี่ งเบนมาตรฐาน

ผลการวิจัยพบว0า รูปแบบการเรียนการสอนแบบโครงงานเปVนฐาน โดยใช"กระบวนการเรียนรู"แบบผสมผสาน
ประกอบด"วย 3 ขนั้ ตอน คือ 1) ขน้ั เตรียมการ 2) ขัน้ การเรยี นการสอน และ 3) ขั้นประเมินผล ในขั้นการเรียนการสอนใช"รูปแบบ
การสอนแบบโครงงานเปVนฐาน ร0วมกับกระบวนการเรียนรู"แบบผสมผสาน ประกอบด"วย 6 ขั้นตอน คือ 1) ขั้นศึกษาเน้ือหา
2) ข้ันสร"างความสนใจ 3) ข้ันวางแผนและศึกษาข"อมูล 4) ขั้นพัฒนาโครงงาน 5) ขั้นสรุปผลและนําเสนอ และ 6) ขั้นประเมินและ
สะทอ" นผล และผลการประเมนิ ความเหมาะสมของรูปแบบการเรียนการสอนแบบโครงงานเปVนฐาน โดยใช"กระบวนการเรยี นร"ูแบบ
ผสมผสานทพี่ ฒั นาขน้ึ มีความเหมาะสมโดยรวมอยใู0 นระดับมากท่ีสดุ (x̅ = 4.58, S.D. = 0.55)

คาํ สาํ คญั : การเรยี นการสอนแบบโครงงานเปVนฐาน กระบวนการเรยี นรแู" บบผสมผสาน โครงงานสร"างสรรค*
ทกั ษะการทํางานรว0 มกัน

1 อาจารยส* าขาวิชาคอมพวิ เตอร*ศึกษา คณะครุศาสตร* มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา
2 รองศาสตราจารย* ดร. ภาควชิ าคอมพิวเตอร*ศกึ ษา คณะครุศาสตรอ* ุตสาหกรรม มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยพี ระจอมเกล"าพระนครเหนือ

เอกสารสืบเนอื่ งจากการประชุมวิชาการและนาํ เสนอผลงานวิจัยระดบั ชาติ 2559 “การวจิ ยั รับใชช" ุมชนสร"างสังคมฐานความร"ู” 81

ABSTRACT

The purposes of this research study were 1) to develop a Project-based Learning Model using
Blended Learning to Enhance Creative Projects and Collaborative Skills (PjBBL model) 2) to evaluate a PjBBL
model. The research procedures were divided into two phases. The first phase was to develop PjBBL model,
and the second phase was to evaluate a U-CCPS model. The sample group in this study consisted of 12
experts in instructional design, teaching of project-based learning, and teaching of blended learning using
purposive sampling. Data were analyzed by arithmetic mean and standard deviation.

The research findings indicated that: The PjBBL model consisted of three components as follows:
1) preparation, 2) learning process, and 3) evaluation. The teaching method consisted of six steps as follows:
1) learning content, 2) motivation, 3) planning and searching, 4) development, 5) conclusion and presentation,
and 6) evaluation and reflection. The experts agreed that a PjBBL Model was appropriateness at an excellent
level. (x̅ = 4.58, S.D. = 0.55)

KEYWORDS: Project-based Learning, Blended Learning, Creative Projects, Collaborative Skills

ความเป`นมาและความสําคัญของปaญหา

สถานการณ*ในศตวรรษท่ี 21 เปVนห"วงเวลาท่ีมนุษย*กําลังเผชิญหน"ากับการเปลี่ยนแปลงจากกระแสโลกาภิวัฒน*อย0าง
รวดเร็วส0งผลกระทบต0อทุกภาคส0วนและคุณภาพการจดั การศึกษาจึงเปVนเครื่องมือสําคัญในการพัฒนาคุณภาพคน และนําคนไปส0ู
การพัฒนาสงั คมและสร"างสรรคส* งั คมเพ่ือพฒั นาชาติ (วจิ ิตร ศรีสะอ"าน, 2550)ซ่งึ แนวคิดทฤษฎีท่มี คี วามเหมาะสมกับการเรียนการ
สอนผ"ูเรยี นระดับอดุ มศึกษาตามกรอบมาตรฐานท่ีคาดหวงั อาทิ แนวคดิ การเรยี นรต"ู ามทฤษฎกี ารสร"างสรรคค* วามร"ู (Constructivism)
และแนวการเรยี นรแ"ู บบรว0 มมือ (Cooperative Learning) ที่นับว0าเปVนแนวคดิ ทม่ี ีผลงานวิจยั เปVนทยี่ อมรับวา0 มีความสําคญั ต0อการพัฒนา
รูปแบบการเรียนการสอนอย0างมากในยุคปnจจุบัน โดยเปVนการเรียนร"ูท่ีแบ0งผู"เรียนออกเปVนกล0ุมย0อยๆ ผ"ูเรียนทํางานร0วมกัน
ช0วยเหลือกันและกันในการแสวงหาความรทู" ี่เปVนประโยชน*ต0อตนเองและกล0ุมเปVนการส0งเสริมความร0วมมือกันในกล0ุมสมาชิกและ
สร"างปฏิสัมพนั ธก* นั ระหว0างผู"เรยี น โดยมเี ปา• หมายคอื ความสาํ เร็จของสมาชิกทุกคน (Johnson and Johnson, 1993; ขวัญตา บุญวาศ,
2547)

การจัดการเรียนร"ูโดยใช"โครงการหรือโครงงานเปVนฐาน (Project-based Learning) เปVนการเรียนร"ูในรูปแบบกล0ุมท่ีนัก
การศึกษาหลายท0านให"การยอมรับ ครูผู"สอนทุกระดับการศึกษาทั้งระดับประถมศึกษา มัธยมศึกษา และอุดมศึกษา ควรนําไปใช"
เปVนกิจกรรมการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาความสามารถของผู"เรียน โดยการค"นหาความรู"ด"วยตนเองดว" ยการทําโครงการ (ลัดดา
ศลิ าน"อย และองั คณา ตุงคะสมิต, 2553) เป–ดโอกาสให"ผู"เรียนเรียนรเ"ู รื่องใดเรื่องหน่ึงตามความสนใจอย0างล0ุมลึกผ0านกระบวนการ
สําคัญ ได"แก0การแก"ปnญหาและการตัดสินใจ โดยมีครูเปVนผ"ูคอยช0วยเหลือให"คําแนะนํา ผ0านกระบวนการกล0ุม ส0งเสริมให"ผ"ูจักวาง
แผนการทาํ งานอยา0 งเปนV ระบบ มีขน้ั ตอน และได"เรียนรู"วิธีการแก"ปnญหาต0างๆ ตลอดจนได"ฝuกฝนการวิเคราะห*และประเมินตนเอง
โดยทผ่ี ลของโครงงานทเี่ กดิ ข้นึ อาจจะนาํ ไปใชง" านไดจ" รงิ ทําใหเ" กิดผลการเรียนรู"อยา0 งเปVนรูปธรรม (มนต*ชยั เทยี นทอง, 2556)

82 เอกสารสบื เนอื่ งจากการประชมุ วิชาการและนาํ เสนอผลงานวิจัยระดับชาติ 2559 “การวจิ ัยรบั ใช"ชมุ ชนสร"างสังคมฐานความรู"”

การจัดการเรียนแบบผสมผสาน เปVนการจัดการเรียนทจี่ ะนาํ ขอ" ดีของแตล0 ะรปู แบบมาใช"แก"ปnญหาในชั้นเรียน เปVนการใช"
จดุ เดน0 แต0ละแบบมาเสริมกบั จดุ ด"อยของแบบอ่นื ๆ นอกจากน้ันการเรียนแบบผสมผสานเปVนรูปแบบที่บูรณาการแบบออนไลน*และ
แบบเผชิญหน"าเข"าด"วยกัน คุณสมบัติของการเรียนรู"แบบนี้คือ ผู"เรียนมีปฎิสัมพันธ*และร0วมมือกันท่ีลึกซึ้งขึ้นโดยการนําเทคโนโลยี
เขา" มาชว0 ย (กติ ติ เสอื แพร และคณะ, 2557) ผ0านกระบวนการกล0มุ ท้ังในห"องเรียนปกตแิ ละการเรียนโดยอาศยั เทคโนโลยสี ารสนเทศ
ผ"ูเรียนสามารถแลกเปลี่ยนประสบการณ*จากการเรียนรู"ผ0านกล0ุมต0างๆ ผ0านการสนทนา สามารถสร"างความเข"าใจเกิดการเรียนร"ู
เพิ่มข้นึ ทาํ ให"ผู"เรยี นสามารถสร"างสรรค*ความรข"ู ้นึ มาใหม0ดว" ยตนเอง

การเรียนร0วมกนั แบบโครงงานเปVนฐานโดยใช"การจัดการเรียนแบบผสมผสานจึงเปVนรูปแบบการเรียนการสอนท่ีเน"นการ
สบื เสาะหาความร"ูทใ่ี ช"ทฤษฎีการสรา" งความรูด" "วยตนเอง ซงึ่ ผ"ูเรียนจะตอ" งสืบคน" เสาะหาสํารวจตรวจสอบ ค"นคว"าด"วยวิธีการต0างๆ
แลว" พัฒนาผลิตภณั ฑ* (ขวญั ตา บุญวาศ, 2547) โดยส0งเสริมให"ผู"เรียนมีทักษะการคิดสร"างสรรค*และพัฒนานวัตกรรม หากผู"เรียนมี
โอกาสสร"างความคดิ และนําความคิดของตนเองไปสรา" งผลงาน เม่ือผู"เรียนสร"างสิ่งใดสิ่งหนง่ึ ข้นึ มาก็หมายถึงการสร"างความร"ูข้นึ ใน
ตัวเอง ความรู"ที่ผ"ูเรียนสร"างขึ้นในตนเองจะมีความหมายต0อผู"เรียนจะอย0ูคงทน ผ"ูเรียนจะไม0ลืมง0ายและสามารถถ0ายทอดให"ผู"อื่น
เขา" ใจความคิดของตนเองได"ดี ตามทฤษฎสี รา" งความรูด" ว" ยตัวเองโดยการสรา" งชนิ้ งาน (Constructionism) ของ Papert (ทศิ นา แขมมณี,
2552)

ดังนั้นการจัดการเรียนการสอนแบบโครงงานเปVนฐาน โดยใช"กระบวนการเรียนร"ูแบบผสมผสาน ส0งเสริมให"ผู"เรียนมี
ความสามารถในการสร"างความรูแ" บบร0วมมือกนั เปนV ทมี จงึ นับวา0 เปนV สิง่ สําคัญเพื่อแกป" ญn หาการจัดการเรียนการสอน ซงึ่ การจดั การ
เรียนการสอนควรมีลักษณะท่ีเน"นการส0งเสริมกระบวนคิดอย0างสร"างสรรค* สามารถประยุกต*ความร"ูเปVนผลงานหรือโครงงานที่
สรา" งสรรคไ* ด" ผวู" ิจัยจงึ สนใจพฒั นารปู แบบการเรียนการสอน อนั จะนาํ ไปสูแ0 นวทางการจัดการเรยี นรอู" ยา0 งมปี ระสิทธิภาพต0อไป

วัตถุประสงค-
1. เพ่ือพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนแบบโครงงานเปVนฐาน โดยใช"กระบวนการเรียนรู"แบบผสมผสาน เพื่อส0งเสริม

โครงงานสรา" งสรรค* และทกั ษะการทํางานรว0 มกนั ของนกั ศกึ ษาระดบั ปริญญาตรี

2. เพื่อประเมินความเหมาะสมของรูปแบบการเรียนการสอนแบบโครงงานเปVนฐาน โดยใช"กระบวนการเรียนร"ูแบบ
ผสมผสาน เพ่ือสง0 เสริมโครงงานสรา" งสรรค* และทกั ษะการทํางานร0วมกันของนักศึกษาระดบั ปริญญาตรที พี่ ฒั นาขึ้น

วิธีดําเนินการวิจัย

การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนแบบโครงงานเปVนฐาน โดยใช"กระบวนการเรียนรู"แบบผสมผสานเพ่ือส0งเสริม
โครงงานสร"างสรรค* และทักษะการทาํ งานร0วมกันของนักศึกษาระดบั ปริญญาตรี มวี ธิ กี ารดาํ เนินงานตามรายละเอียด ดงั น้ี

ประชากรและกลมุ ตวั อยาง
1. ประชากร คือ ผเ"ู ชยี่ วชาญดา" นการออกแบบการเรยี นการสอน ดา" นการเรียนแบบโครงงานเปนV ฐาน และดา" นการเรียน

แบบผสมผสาน
2. กลุมตัวอยาง คือ ผู"เชี่ยวชาญด"านการออกแบบการเรียนการสอน จํานวน 4 คน ด"านการจัดการเรียนการสอนแบบ

โครงงานเปVนฐาน จํานวน 4 คน และด"านการจดั การเรียนการสอนแบบผสมผสาน จํานวน 4 คน จาํ นวนรวมทงั้ หมด 12 คน ได"จาก
การเลือกแบบเจาะจงตามเกณฑท* ่กี าํ หนด โดยมีคุณสมบัติ คือ มีคุณวุฒิการศึกษาระดับปริญญาเอก หรือมีประสบการณ*การสอน
หรือการวจิ ัยในด"านที่เก่ียวขอ" งไม0น"อยกว0า 5 ป4

เอกสารสืบเนอื่ งจากการประชมุ วชิ าการและนาํ เสนอผลงานวิจยั ระดบั ชาติ 2559 “การวจิ ัยรบั ใช"ชุมชนสรา" งสังคมฐานความรู"” 83

เคร่ืองมอื การวิจยั
เคร่อื งท่ีใชใ" นการวิจัยครัง้ น้ี ได"แก0
1. รูปแบบการเรียนการสอนแบบโครงงานเปVนฐาน โดยใช"กระบวนการเรียนร"ูแบบผสมผสานเพ่ือส0งเสริมโครงงาน

สรา" งสรรค* และทกั ษะการทาํ งานรว0 มกนั ของนักศกึ ษาระดบั ปริญญาตรี
2. แบบประเมินความเหมาะสมของรูปแบบการเรียนการสอนแบบโครงงานเปVนฐาน โดยใช"กระบวนการเรียนรู"แบบ

ผสมผสานเพ่อื สง0 เสริมโครงงานสรา" งสรรค* และทักษะการทํางานร0วมกันของนกั ศึกษาระดบั ปริญญาตรีท่ีพัฒนาขึ้น ผู"วิจัยได"ใช"แบบ
ประเมินความเหมาะสมของ สิทธิชัย สายเสมา (2557) ท่ีมีคณุ ภาพมาปรบั ขอ" คาํ ถามบางหัวข"อให"สอดคลอ" งกบั งานวิจยั ในครงั้ นี้

การเก็บรวบรวมขอมลู

ผว"ู จิ ัยไดแ" บ0งการดําเนินงานเก็บรวบรวมข"อมลู ออกเปVน 2 ขน้ั ตอน ดงั น้ี
ขั้นตอนที่ 1 การพัฒนารปู แบบการเรียนการสอนแบบโครงงานเปVนฐาน โดยใช"กระบวนการเรียนร"ูแบบผสมผสานเพื่อ
ส0งเสริมโครงงานสร"างสรรค* และทักษะการทํางานร0วมกันของนักศึกษาระดับปริญญาตรี มีข้ันตอนการพัฒนาที่มีความเปVนระบบตาม
ADDIE Model (มนต*ชยั เทียนทอง, 2554) ดังนี้
1) ขน้ั การวเิ คราะห* (Analysis) การศกึ ษา วิเคราะห* และสังเคราะห*เอกสารและงานวจิ ัยท่ีเก่ยี วข"อง เก่ียวกับองค*ประกอบ
ของรปู แบบการเรียนการสอนแบบโครงงานเปVนฐาน และการเรียนการสอนแบบผสมผสาน เพ่ือนําไปกําหนดเปVนกรอบแนวคิดใน
การพฒั นารูปแบบการเรียนการสอน
2) ขั้นการออกแบบ (Design) ออกแบบกรอบแนวคิดการเรียนการสอนแบบโครงงานเปVนฐาน และการเรียนแบบ
ผสมผสาน ประกอบด"วย 2.1) หลักการของรปู แบบการเรยี นการสอน 2.2) คณุ ลักษะของผ"ูเรียนทต่ี "องการพฒั นา 2.3) กระบวนการ
เรียนการสอน และ 2.4) การวัดและประเมนิ ผล
3) ขัน้ การพัฒนา (Development) พัฒนารปู แบบการเรยี นร"รู 0วมกนั นําข"อมูลท่ไี ด"จากการศกึ ษามาพัฒนารูปแบบการเรียน
การสอนแบบโครงงานเปVนฐาน โดยใช"กระบวนการเรียนร"ูแบบผสมผสาน ประกอบด"วย 3 องค*ประกอบ คือ 3.1) ขั้นเตรียมการ
3.2) ขน้ั การเรียนการสอน และ 3.3) ขน้ั ประเมนิ ผล
4) ข้ันการนําไปทดลองใช" (Implement) นาํ รูปแบบการเรยี นการเรยี นการสนอที่พัฒนาขน้ึ เสนออาจารยท* ่ีปรกึ ษาพจิ ารณา
รปู แบบและขั้นตอนของกิจกรรม และปรับปรุงแก"ไขตามข"อเสนอแนะ และสร"างเคร่ืองมือที่ใช"ในการประเมินความเหมาะสมของ
รูปแบบการเรยี นการสอนท่พี ฒั นาขึ้น
5) ข้ันการประเมินผล (Evaluation) นํารูปแบบการเรียนการสอนที่พัฒนาขึ้น เสนอผ"ูเชี่ยวชาญท่มี ีความเชี่ยวชาญด"าน
การออกแบบการเรียนการสอน ด"านการเรียนแบบโครงงานเปVนฐาน และดา" นการเรยี นแบบผสมผสาน พิจารณาโดยการสัมภาษณ*
แบบมโี ครงสรา" ง (Structured Interview) และใชแ" บบประเมินความเหมาะสม เปVนแบบมาตราส0วนประมาณค0า 5 ระดับ เพื่อหา
คา0 ความเหมาะสมของรูปแบบการเรียนการสอนทพ่ี ฒั นาขึ้น
ขัน้ ตอนท่ี 2 การประเมินความเหมาะสมของรปู แบบการเรียนการสอนแบบโครงงานเปVนฐาน โดยใช"กระบวนการเรียนรู"
แบบผสมผสานเพ่ือสง0 เสรมิ โครงงานสรา" งสรรค* และทกั ษะการทาํ งานรว0 มกันของนักศกึ ษาระดับปริญญาตรี มขี ้ันตอนดงั นี้
1) นํารูปแบบการเรียนการสอนท่ีพัฒนาขึ้นเสนอผู"เชี่ยวชาญด"านการออกแบบการเรียนการสอน ด"านการจัดการเรียน
การสอนแบบโครงงานเปVนฐาน และด"านการจัดการเรียนการสอนแบบผสมผสาน จํานวนท้ังหมด 12 คน พิจารณาและประเมิน
ความเหมาะสมของรูปแบบการเรียนการสอน
2) ปรบั ปรงุ รปู แบบการเรยี นการสอน ตามข"อเสนอแนะของผเ"ู ชยี่ วชาญ
3) นาํ เสนอรูปแบบการเรยี นรู"ร0วมกันท่ีพัฒนาข้ึนในรูปแบบแผนภาพประกอบความเรยี ง
การวเิ คราะห-ขอมูล

84 เอกสารสบื เนอ่ื งจากการประชุมวชิ าการและนาํ เสนอผลงานวจิ ัยระดบั ชาติ 2559 “การวิจยั รบั ใช"ชุมชนสรา" งสังคมฐานความร"ู”

การวเิ คราะห*ข"อมลู จากแบบประเมนิ ความเหมาะสมของรูปแบบการเรยี นการสอน โดยกาํ หนดค0าคะแนนเปVนมาตราส0วน

xประมาณค0า (Rating Scale) เปVน 5 ระดับ โดยหาค0าเฉล่ีย (Mean: ) และค0าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation: S.D.) ของ

ความคิดเห็น การพจิ ารณาคา0 ของความคิดเหน็ จะเปรียบเทียบกับเกณฑ*การแปลความหมายของค0าเฉล่ีย (บุญชม ศรสี ะอาด, 2545)
ดังน้ี

คา0 เฉลย่ี เทา0 กับ 4.51 – 5.00 หมายความวา0 มคี วามเหมาะสมมากทีส่ ดุ
คา0 เฉล่ยี เทา0 กับ 3.51 – 4.50 หมายความวา0 มีความเหมาะสมมาก
ค0าเฉลี่ยเทา0 กบั 2.51 – 3.50 หมายความวา0 มีความเหมาะสมปานกลาง
คา0 เฉล่ียเท0ากบั 1.51 – 2.50 หมายความว0า มีความเหมาะสมน"อย
คา0 เฉลย่ี เท0ากบั 1.01 – 1.50 หมายความวา0 มีความเหมาะสมน"อยที่สดุ

สรปุ ผล

การวจิ ยั ครงั้ นี้นําเสนอผลการวจิ ยั แบง0 ออกเปนV 2 ตอน ดังนี้
ตอนที่ 1 รปู แบบการเรยี นการสอนแบบโครงงานเปVนฐาน โดยใชก" ระบวนการเรยี นรู"แบบผสมผสานเพื่อส0งเสริมโครงงาน
สร"างสรรค* และทกั ษะการทาํ งานรว0 มกนั ประกอบด"วย
1) รูปแบบการเรียนการสอนท่ีพัฒนาขึ้น ประกอบด"วย 3 องค*ประกอบ คือ 1.1) ขั้นเตรียมการ 1.2)
ข้ันการเรียนการสอน และ 1.3) ขนั้ ประเมินผล ดังแสดงในรปู ที่ 1

ขัน้ เตรียมการ ขน้ั การเรียนการสอน ขัน้ ประเมนิ ผล

ปฐมนเิ ทศ F2F F2F F2F Online Online Online ขัน้ ศึกษาเนื้อหา ทฤษฎี ผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี น
ลงทะเบยี นในระบบ ปฏบิ ตั ิ โครงงานสรางสรรค-

ข้นั สรางความสนใจ

สอบกอนเรียน ขน้ั วางแผนและศกึ ษาขอมลู ทักษะการทํางานรวมกัน

วดั ระดบั ความคดิ สรางสรรค- ขนั้ พัฒนาโครงงาน Face-to-Face

จดั กลุมผเู รียน ขนั้ สรปุ ผลและนาํ เสนอ
ข้ันประเมนิ และสะทอนผล
Face-to-Face

การควบคมุ ฐานชวยเหลือ สงั เกตพฤติกรรม

Face-to-Face / Online

ภาพ 1 รูปแบบการเรยี นการสอนแบบโครงงานเปVนฐาน โดยใช"กระบวนการเรยี นรแ"ู บบผสมผสานเพอื่ สง0 เสริม
โครงงานสรา" งสรรค* และทักษะการทํางานร0วมกัน

เอกสารสืบเนอื่ งจากการประชุมวชิ าการและนาํ เสนอผลงานวจิ ยั ระดบั ชาติ 2559 “การวิจัยรบั ใช"ชมุ ชนสร"างสังคมฐานความร"ู” 85

1.1) ขัน้ เตรียมการ เปVนองค*ประกอบในขั้นเตรียมความพร"อมของผ"ูเรียน โดยจดั กจิ กรรมในชนั้ เรยี นแบบเผชิญ--------
--(Face-to-Face) มขี นั้ ตอนย0อยดงั น้ี

1.1.1) การปฐมนิเทศ เปVนการอธิบายให"ผ"ูเรียนทราบรายละเอียดของการเรียนการสอน สังเขปเนื้อหาวิชา วัน
เวลาการเรยี น การประเมนิ ผลการเรียน และวธิ ีการเรยี นร"ูบนเครอื ขา0 ยอนิ เทอร*เน็ต รวมทั้งสรา" งทัศนคตทิ ด่ี ีระหว0างผูส" อนกบั ผเู" รียน

1.1.2) ลงทะเบียนเรียนในระบบ เปVนการแนะนําวิธีการเข"าเรียนในระบบเครือข0าย ทดลองใช"เครื่องมือต0างๆ
หากพบข"อสงสัยสามารถสอบถามกบั ผสู" อนได"

1.1.3) การทดสอบก0อนเรียน เปVนการวัดความร"ูของผู"เรียนด"วยแบบทดสอบปรนัย 4 ตัวเลือกท่ีมีคุณภาพ
เพือ่ ให"ผ"เู รยี นได"เห็นโครงสรา" งเน้ือหาทจี่ ะเรยี นและทราบความสามารถของตนเอง

1.1.4) การทดสอบวัดความคิดสร"างสรรค*ก0อนเรียน เปVนการวัดระดับความคิดสร"างสรรค*ของผ"ูเรียนก0อนเรียน
โดยใช"แบบวัดความคดิ สรา" งสรรคข* องทอร*แรนซ*ท่ีมคี ณุ ภาพโดยอาศัยรปู ภาพ แบบ ก. ซง่ึ แปลโดยผ"ูเช่ียวชาญ (เกษมรัสม์ิ วิวิตรกุล
เกษม, 2546) โดยแต0ละกจิ กรรมตรวจใหค" ะแนน 4 ด"าน คือความคิดคิดริเรมิ่ ความคิดคล0องแคล0ว ความคิดยืดหยุ0น และความคิด
ละเอียดลออ ประกอบด"วยจํานวน 3 ชุด คือ การวาดภาพ (Picture Construction) การวาดภาพให"สมบูรณ* (Picture
Completion) และการใชเ" สน" (Parallel Line)

1.1.5) การจัดกลุม0 ผู"เรยี นตามผลการวัดความคิดสร"างสรรค* โดยเรียงลําดับคะแนนความคิดสร"างสรรค*สูง ปาน
กลาง ต่ํา และจัดกล0ุม ๆ ละ 4 คน ให"ผ"ูเรียนคละระดับความคิดสร"างสรรค*ในอัตราส0วน 1:2:1 (ณรงค*พล เอื้อไพจิตรกุล และ
ประกอบ กรณีกิจ, 2555)

1.2) ขัน้ การเรียนการสอน เปนV องค*ประกอบของการเรียนการสอนแบบโครงงานเปVนฐาน โดยใช"กระบวนการเรียนร"ู
แบบผสมผสาน แบ0งออกเปVน 6 ขั้นตอน ดังนี้ (Thorne, 2003; Bonk & Graham, 2004; Stix & Hrbek, 2006; มนต*ชัย เทียน
ทอง, 2556)

1.2.1) ขั้นศึกษาเน้ือหา เปVนขั้นตอนทใ่ี ห"ผู"เรียนทําการศึกษาเนื้อหาภาคทฤษฎี และภาคปฏิบัติตามท่ีผ"ูสอน
กําหนดจากส่ือมลั ตมิ เี ดียโดยการเรยี นด"วยตนเองผา0 นระบบเครอื ขา0 ยอินเทอรเ* น็ต

1.2.2) ขั้นสรา" งความสนใจ ผส"ู อนนําเสนอโจทยป* ญn หาในลักษณะโจทยป* ลายเป–ด เพื่อใหผ" ู"เรียนมสี 0วนร0วมในการ
กําหนดโจทย* ร0วมกันอภิปรายหาข"อมูลภายในกลม0ุ ผ0านระบบเครอื ข0ายอินเทอร*เนต็

1.2.3) ขัน้ วางแผนและศกึ ษาขอ" มลู ผู"เรียนในกลม0ุ รว0 มกันวางแผนการดําเนนิ งานตามหวั ข"อทไี่ ดร" ับ โดยวิเคราะห*
โจทย*ทางการออกแบบ (Design Brief) จากนน้ั ออกแบบมาเปนV แผนภาพ (Mood Board) ผา0 นระบบเครือข0ายอินเทอร*เนต็

1.2.4) ข้ันพัฒนาโครงงานผู"เรียนสร"างช้ินงานตามแบบร0างท่ีได"ออกแบบไว" ให"มีความสมบูรณ*
มีความชดั เจนและโดดเดน0 ตามลกั ษณะความเปVนตัวตนของสมาชิกในกล0มุ โดยทํากจิ กรรมในช้นั เรยี น

1.2.5) ข้ันสรุปผลและนําเสนอ ผู"เรียนรวบรวมข"อเสนอแนะจากผ"ูสอน และข"อเสนอแนะจากสมาชิกในกล0ุม
มาร0วมกันหาข"อสรุปในการปรับปรุงแก"ไขช้ินงานให"เปVนฉันทามติของกล0ุม เพื่อนําเสนอโครงงานให"กับผู"เรียน ผู"สอน หรือผู"ที่
เก่ยี วข"องได"ประเมนิ ผลในขนั้ ต0อไป

1.2.6) ขั้นประเมินและสะท"อนผล เปVนขั้นตอนของการประเมินผลงานของผู"เรียนจากการนําเสนอผลงานหน"า
ชั้นเรียน โดยผสู" อน ผ"ูเชี่ยวชาญ และเพ่ือนร0วมชั้นเรียนร0วมกันซักถามและเปลี่ยนความคิดเห็น รวมทั้งสะท"อนผลการทําโครงงาน
เพื่อนาํ ไปปรบั ปรงุ แก"ไขโครงงานในโอกาสตอ0 ไปให"ดมี ากย่ิงขึน้ ตอ0 ไป

องค*ประกอบของการควบคมุ การเรยี นการสอนมีข้นั ตอนผ0านระบบการเรียนร"ภู ายใตก" ารควบคุมของระบบที่ผ"สู อนได"
กําหนดข้ึน ซึ่งกระบวนการควบคุมจะควบคมุ การจัดการเรียนการสอน ประกอบด"วยการควบคุมติดตามการเรียนของผู"เรียน และ
การกําหนดระยะเวลาในการสง0 ผลงาน


Click to View FlipBook Version