The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เล่ม วิจัย ราชภัฏ ธนบุรี proceeding 2559

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Thaninrat Kritchanthat Sirivisalsuwan, 2020-02-09 02:00:01

Proceeding ราชภัฏธนบุรี ระดับชาติ

เล่ม วิจัย ราชภัฏ ธนบุรี proceeding 2559

86 เอกสารสืบเนอ่ื งจากการประชมุ วิชาการและนาํ เสนอผลงานวจิ ัยระดับชาติ 2559 “การวิจัยรับใชช" ุมชนสรา" งสังคมฐานความร"ู”

องค*ประกอบของฐานชว0 ยเหลอื เปนV การแนะนาํ และใหค" ําปรึกษากบั ผเ"ู รียนในระบบ และในชนั้ เรียน
องค*ประกอบการสังเกตพฤติกรรม ในระหว0างท่ีผู"เรียนทํากิจกรรมทั้งในระบบ และในช้ันเรียน ผ"ูสอนจะคอยสังเกต
พฤตกิ รรมของผูเ" รียนเปนV รายบคุ คล และรายกลมุ0 โดยสังเกตพฤติกรรมอยา0 งตอ0 เนอื่ งวา0 มีการพัฒนาหรือเปล่ียนแปลงในทางท่ีดีข้ึน
หรอื ไม0 โดยใชแ" บบประเมินรูบริคส* 5 ระดบั
1.3) ขั้นประเมินผล เม่ือผู"เรียนได"เรียนร"ูร0วมกัน โดยผ"ูสอนจะสังเกตพฤติกรรมการทํางานร0วมกันของผู"เรียนภายใน
กลมุ0 และมกี ารกระต"ุนให"ผเ"ู รยี นแสดงความคิดเหน็ อยา0 งสม่ําเสมอ จนได"พัฒนาผลงานสร"างสรรค*ตามการออกแบบภายในกลุ0ม ซึ่ง
แบ0งผลการประเมนิ ดังน้ี

1.3.1) การทดสอบหลังเรียน เปนV การวดั ความรูข" องผูเ" รยี นดว" ยแบบทดสอบปรนัย 4 ตัวเลอื กทมี่ ีคณุ ภาพ โดยใช"
แบบทดสอบทม่ี คี วามตรงกบั วตั ถปุ ระสงคข* องการเรยี น

1.3.2) การประเมินผลงานสรา" งสรรค* เปนV การประเมินตามสภาพจรงิ โดยใช"แบบประเมินรูบริคส* กําหนดให"มีผู"
ประเมิน 3 ส0วนได"แก0 ผ"ูเช่ียวชาญด"านการออกแบบ ผ"ูสอน และผู"เรียนต0างกลุ0ม แล"วนําการประเมินมาหาค0าเฉลี่ยเปVนคะแนน
ผลงานของกลม0ุ โดยใชแ" บบประเมินรูบริคส* 5 ระดบั จาํ นวน 8 หวั ข"อประเมนิ โดยใช"แบบประเมินทม่ี คี ณุ ภาพของ กิตตศิ ักดิ์ วรรณ
ทอง (2556)

1.3.3) การประเมินทักษะการทํางานร0วมกัน เปVนการประเมินตามสภาพจริง โดยใช"แบบประเมินรูบริคส* 5
ระดับ จํานวน 5 ด"าน รวม 15 หัวข"อประเมิน โดยใช"แบบประเมินท่ีมีคุณภาพของ สิทธิชัย ลายเสมา (2557) ประเมินโดยผู"สอน
ผเ"ู รียนประเมินตนเอง และผู"เรียนประเมนิ เพอ่ื นในกลุ0ม

ตอนที่ 2 ผลการประเมินความเหมาะสมของรูปแบบการเรียนการสอนแบบโครงงานเปVนฐาน โดยใช"กระบวนการเรียนร"ู
แบบผสมผสานเพ่ือสง0 เสรมิ โครงงานสร"างสรรค* และทกั ษะการทาํ งานรว0 มกนั

การประเมินความเหมาะสมของรูปแบบการเรียนการสอนท่ีพัฒนาขึ้น ได"นํารูปแบบไปให"ผ"ูเชี่ยวชาญจํานวน 12 คน
ประเมินความเหมาะสมในด"านองค*ประกอบของรูปแบบ กิจกรรมการเรียนการสอน และความเหมาะสมสําหรับนําไปทดลองใช"
โดยผลการประเมินแสดงดังในตารางที่ 1-3

ตารางที่ 1 ผลการประเมนิ ความเหมาะสมของรูปแบบการเรยี นการสอนด"านองค*ประกอบของรูปแบบ

รายการประเมนิ ผลการประเมนิ ระดบั
ความเหมาะสม
1. หลักการของรปู แบบการเรยี นการสอน . X S.D.
2. คุณลกั ษะของผเ"ู รยี นทต่ี อ" งการพฒั นา มาก
3. กระบวนการเรียนการสอน 4.42 0.51
4. การวัดและประเมนิ ผล มาก
4.50 0.52
ภาพรวมการประเมินดานองค-ประกอบของรูปแบบ มาก
4.50 0.52
มากทส่ี ดุ
4.58 0.67
มาก
4.50 0.55

จากตารางที่ 1 พบว0า ในภาพรวมด"านองค*ประกอบของรูปแบบ ผู"เชี่ยวชาญเห็นว0ามีความเหมาะสมอย0ูในระดับมาก
(x̅ = 4.50, S.D. = 0.55)

เอกสารสืบเนอื่ งจากการประชุมวิชาการและนําเสนอผลงานวจิ ยั ระดับชาติ 2559 “การวจิ ัยรบั ใชช" ุมชนสร"างสังคมฐานความร"ู” 87

ตาราง 2 ผลการประเมินความเหมาะสมของรูปแบบการเรยี นการสอนด"านกจิ กรรมการเรียนการสอน

รายการประเมนิ ผลการประเมนิ ระดบั
ความเหมาะสม
1. ขั้นศกึ ษาเนื้อหา . X S.D.
2. ขัน้ สร"างความสนใจ มากทส่ี ดุ
3. ขั้นวางแผนและศึกษาข"อมลู 4.58 0.67 มาก
4. ข้นั พฒั นาโครงงาน 4.50 0.67 มาก
5. ขน้ั สรุปผลและนาํ เสนอ 4.42 0.51
6. ขน้ั ประเมินและสะทอ" นผล 4.75 0.45 มากท่ีสดุ
4.83 0.39 มากทสี่ ุด
ภาพรวมการประเมนิ ดานกิจกรรมการเรียนการสอน 4.83 0.39 มากทีส่ ดุ
4.65 0.53 มากทส่ี ดุ

จากตารางท่ี 2 พบว0า ในภาพรวมด"านกิจกรรมการเรียนการสอน ผูเ" ช่ยี วชาญเห็นว0ามีความเหมาะสมอยใ0ู นระดบั มากท่ีสุด

x( = 4.65, S.D. = 0.53)

ตารางที่ 3 ผลการประเมนิ ความเหมาะสมของรูปแบบการเรยี นการสอนดา" นความเหมาะสมสาํ หรบั นาํ ไปทดลองใช"

รายการประเมนิ ผลการประเมนิ ระดบั
ความเหมาะสม
1. รปู แบบการเรยี นการสอนทีพ่ ฒั นาขน้ึ มคี วามเหมาะสมกับการส0งเสริม . X S.D.
การพฒั นาโครงงานสร"างสรรค* มาก
4.50 0.52
2. รูปแบบการเรยี นการสอนท่ีพฒั นาขนึ้ มีความเหมาะสมกับการส0งเสริม
ทักษะการทํางานร0วมกัน 4.50 0.52 มาก

3. รปู แบบการเรยี นการสอนทีพ่ ัฒนาข้นึ มคี วามเปVนไปไดใ" นการนําไปใช" 4.58 0.67 มากท่ีสุด
4.53 0.56 มากที่สุด
ภาพรวมการประเมนิ ดานความเหมาะสมสาํ หรับนําไปทดลองใช 4.58 0.55 มากท่ีสดุ

ภาพรวมการประเมินความเหมาะสมของรูปแบบการเรียนการสอน

จากตารางท่ี 3 พบว0า ในภาพรวมด"านความเหมาะสมสําหรับนําไปทดลองใช" ผ"ูเชี่ยวชาญเห็นว0ามีความเหมาะสมอยู0ใน

xระดับมากท่ีสุด ( = 4.53, S.D. = 0.56) และในภาพรวมของการประเมินความเหมาะสมของรูปแบบการเรียนการสอนที่
xพัฒนาข้ึน มคี วามเหมาะสมอย0ใู นระดับมากทีส่ ดุ ( = 4.58, S.D. = 0.55)

88 เอกสารสบื เนอื่ งจากการประชุมวิชาการและนําเสนอผลงานวจิ ัยระดับชาติ 2559 “การวจิ ยั รบั ใช"ชุมชนสร"างสงั คมฐานความรู"”

อภปิ รายผล

จากผลการวิจัยมีประเดน็ ในการอภิปรายผลดังน้ี
1) ผลการประเมินดา" นองคป* ระกอบของรูปแบบ พบว0า มคี วามเหมาะสมอยใู0 นระดบั มาก เน่ืองจากกระบวนการออกแบบ
การสอนได"ยึดหลักการออกแบบท่ีมีความเปVนระบบตาม ADDIE Model ซ่ึงสอดคล"องกับงานวิจัยของ Nadiyah & Faaizah
(2015) ที่พบว0า หลกั การออกแบบการเรียนการสอนตาม ADDIE Model สามารถนํามาประยุกต*ใช"กับการออกแบบการเรียนการ
สอนรว0 มกนั แบบโครงงานเปนV ฐานได" สอดคล"องกบั มนต*ชัย เทียนทอง (2556) ที่กลา0 วว0า การเรียนการสอนแบบโครงงานเปVนการ
เรียนรู"ทเี่ นน" ผเ"ู รียนเกิดการเรียนรู"จากการลงมอื ปฏิบตั จิ ริง โดยการศกึ ษา ค"นคว"า ทดลอง สร"างและพัฒนาออกมาเปVนช้นิ งาน โดยมี
ผู"สอนเปVนผู"กระตุ"น แนะนํา และให"คําปรึกษา เพ่ือเสริมสร"างกระบวนการคิด การสร"างสรรค*ผลงาน และการทํางานร0วมกัน
นอกจากนีย้ งั สอดคลอ" งกบั สวุ ัฒน* นิยมไทย (2553) ที่กล0าววา0 การเรียนร"ูโดยใช"โครงงานเปนV ฐาน ผ"ูเรยี นจะได"รับประสบการณจ* าก
การฝuกปฏิบตั ิพรอ" มกับไดเ" รียนรกู" ารแก"ปญn หาในการปฏิบัติงานไปพร"อมกัน ประกอบกับการเรียนการสอนแบบผสมผสานมีการใช"
รูปแบบการเรยี นการสอนด"วยอิเล็กทรอนกิ ส* ทเ่ี ออ้ื ตอ0 การเรียนรใู" นทุกทีท่ ุกเวลา
2) ผลการประเมินด"านกิจกรรมการเรยี นการสอน พบว0า มีความเหมาะสมอยใ0ู นระดับมากท่ีสุด เน่ืองจากเปVนการจัดการ
เรยี นการสอนแบบโครงงานเปVนฐาน ประกอบด"วย 6 ขั้นตอน คือ 1) ข้ันศึกษาเน้ือหา 2) ข้ันสร"างความสนใจ 3) ข้ันวางแผนและ
ศึกษาขอ" มูล 4) ขัน้ พฒั นาโครงงาน 5) ขัน้ สรปุ ผลและนาํ เสนอ และ 6) ข้ันประเมินและสะท"อนผล โดยใช"กระบวนการเรียนรู"แบบ
ผสมผสานระหวา0 งการเรียนในช้นั เรียนและแบบออนไลน* สอดคล"องกับแนวคิดของ Bonk & Graham (2004) ท่ีกล0าวว0า กิจกรรม
การเรียนสอนแบบผสมผสานทําให"ผู"เรียนสามารถเรียนรู"ได"อย0างอิสระส0งผลให"เกิดการเรียนท่ีกระฉับกระเฉง (Active Learning)
ทําให"ผ"ูเรียนเปVนผ"ูที่มีความกระฉับกระเฉงในการเรียนร"ู (Active Learner) และสามารถลดเวลาในการเข"าช้ันเรียนได" โดยการ
จัดการเรยี นการสอนร0วมกนั แบบผสมผสานเพ่ือใหส" อดรบั กับการจัดทาํ โครงงาน เพื่อให"ผูเ" รียนได"เรยี นร"ดู "วยตนเองผา0 นกระบวนการ
กลุม0 ท้ังในชนั้ เรียนและเรยี นรู"ออนไลน* เปด– โอกาสให"ผ"ูเรียนไดแ" สดงความคิดสร"างสรรค* กล"าแสดงออก เข"าใจ กระบวนการทํางาน
กลุม0 มกี ารแลกเปล่ียนข"อมูล ช0วยเหลอื ซ0งกันและกนั เกิดปฏิสมั พนั ธส* ง0 ผลใหผ" มสมั ฤทธท์ิ างกาเรยี นสงู ขน้ึ (ศรณั ยร* ัชต* ศุภรณพ* านชิ
, 2556)

3) ผลการประเมินด"านความเหมาะสมสําหรับนําไปทดลองใช" พบว0า มีความเหมาะสมอย0ูในระดับมากท่ีสุด เนื่องจาก
รูปแบบการเรยี นการสอนแบบโครงงานเปนV ฐาน โดยใช"กระบวนการเรยี นรแ"ู บบผสมสาน มีขนั้ ตอนการจดั การ

เรียนการสอนทีเ่ หมาะสมกบั การสง0 เสรมิ การพัฒนาโครงงานสรา" งสรรค* และทักษะการทํางานร0วมกนั ทงั้ นเี้ นือ่ งจากผ"ูวิจยั ได"จัดกลุ0ม
ผ"ูเรียนตามระดับความคิดสร"างสรรค*สูง ปานกลาง และต่ํา โดยมีการเน"นให"ผ"ูเรียนได"เรียนร"ูร0วมกันอย0างอิสระ โดยมีการกําหนด
บทบาทของสมาชิกในกล0ุม ทําให"ผ"ูเรียนได"มีส0วนร0วม เกิดปฏิสัมพันธ*เชิงบวก มีบรรยากาศการเรียนที่ผ0อนคลาย ซึ่งทําให"เกิด
บรรยากาศการเรียนที่เหมาะแก0การพัฒนาผลงานท่ีสร"างสรรค*ข้ึนได" (ณรงค*พล เอ้ือไพจิตรกุล และประกอบ กรณีกิจ, 2555)
เพราะการจัดการเรียนการสอนที่สร"างบรรยายกาศที่ส0งเสริมให"ผู"เรียนได"มีอิสระทางความคิดในการทํางานหรือเลือกเนื้อหาที่
ต"องการศึกษาได"ด"วยตนเอง และได"แลกเปลี่ยนเรียนรู"กับเพ่ือนกิจกรรมการเรียนรู"ท่ีมีอยู0เดิมเปVนการท"าทายความสามารถของ
นกั เรียนในการใชค" วามคดิ เพ่อื สรา" งสรรค*ผลงานท่ีสามารถนาํ ไปใชใ" นชวี ิตจริงได" (กิตติศักด์ิ วรรณทอง, 2556) และHarrington et
al. (1987) แนะนําไว"ว0า สิ่งแวดล"อมที่สร"างเสริมความสามารถในการสร"างสรรค* ควรส0งเสริมให"นักเรียนได"ใช"ศักยภาพของตัวเอง
อย0างเต็มท่ี มีความใส0ใจและมีความสุขในงานที่ทาํ จะเปVนการส0งเสริมความคิดสร"างสรรค* แล"วยังสอดคล"องกับ สิทธิชยั ลายเสมา
(2557) พบว0า ผู"เรียนท่ีเรียนด"วยระบบการเรียนรู"ร0วมกันด"วยทีมเสมือนจริงโดยใช"กระบวนการแก"ปnญหาเชิงสร"างสรรค*ใน
สภาพแวดล"อมการเรียนแบบภควันตภาพมีคะแนนทักษะการทํางานร0วมกันอย0ูในระดับมากท่ีสุด สอดคล"องกับ ฐิติยา เนตรวงษ*
และบุญญลักษม* ตํานานจิตร (2555) ท่ีกล0าวว0าวิธีการเรียนร0วมกันแบบผสมผสานและใช"โครงงานเปVนฐาน ต0างเปVนวิธีการที่
สามารถบูรณาการร0วมกันให"ผ"ูเรียนประสบความสําเร็จในการเรียนโดยใช"กิจกรรมและกระบวนการกล0ุมตามศักยภาพของผ"ูเรียน
และเกดิ การพัฒนาตามความเหมาะสมของตนเอง มผี ลทาํ ใหผ" ู"เรยี นมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนสงู ข้ึน

เอกสารสืบเนอ่ื งจากการประชมุ วิชาการและนาํ เสนอผลงานวจิ ัยระดับชาติ 2559 “การวิจัยรับใช"ชุมชนสรา" งสงั คมฐานความรู"” 89

ขอเสนอแนะ

ขอเสนอแนะสาํ หรบั การนาํ ไปประยุกต-ใช
1. การจัดการเรียนการสอนแบบโครงงานเปVนฐาน โดยใช"กระบวนการเรียนรู"แบบผสมผสานจะต"องอาศัยเทคโนโลยี
สารสนเทศเพื่อการติดต0อส่ือสารและกระบวนการทํางานเปVนกล0ุม ความรับผิดชอบของสมาชิกในกล0ุม ดังน้ันจึงต"องเตรียมความ
พรอ" มของผูเ" รียนด"านความสามารถการใช"เทคโนโลยีสารสนเทศ ชี้แจงสร"างความเข"าใจในกระบวนการจัดการเรียนการสอน และ
เปด– โอกาสใหผ" เู" รยี นไดเ" ลอื กทําโครงงานที่ตนสนใจ อันจะส0งผลให"ผ"ูเรียนสามารถเรยี นอย0างมีความสุข และนําความร"ูท่ีได"รับไปใช"
ประโยชนใ* นชีวิตประจาํ วันได"อยา0 งเหมาะสม
2. สามารถนาํ รปู แบบการเรียนการสอนน้ีไปประยุกต*ใช"สําหรับเนื้อหาอื่นๆ ในการวางแผน กําหนดกิจกรรม เพื่อให"การ
จัดการเรยี นการสอนมีประสทิ ธิภาพ ผู"เรียนสามารถสร"างความรู"ด"วยตนเอง หรือทักษะต0างๆ เช0น ทักษะการทํางานเปVนทีม ทักษะ
การคดิ ทักษะการแก"ปnญหา เปนV ต"น
ขอเสนอแนะสาํ หรับการทําวจิ ยั ตอไป
1. ควรศกึ ษาคน" คว"าเกี่ยวกบั กระบวนการจัดการเรยี นการสอนท่สี อดแทรกคณุ ธรรม จรยิ ธรรมเพื่อเสริมสร"างทักษะต0างๆ
ในเน้ือหาอนื่ และในระดบั ช้ันอนื่ ๆ โดยใช"โครงงานคณุ ธรรมเปVนฐานและเสริมสร"างคุณธรรมจรยิ ธรรมใหแ" กผ0 ูเ" รียน
2. ควรมีการนาํ ผลการวจิ ัยในครั้งน้ีไปทดลองใช" เพอื่ ศกึ ษาผลท่ีเกดิ ขนึ้ จากการจดั การเรยี นการสอนตามรูปแบบการเรียน
การสอนที่พัฒนาข้ึน เช0น ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน ผลการประเมินโครงงานสร"างสรรค* ผลการประเมินทักษะการทํางานร0วมกัน
และความพึงพอใจในการจัดการเรยี นการสอนที่พัฒนาข้นึ

เอกสารอางองิ

กติ ติ เสือแพร มชี ยั โลหะการ และปณติ า วรรณพริ ณุ . กรอบแนวคดิ รปู แบบการจดั การเรียนรูแบบผสมผสานดวยระบบการเรียน
แบบปรับเหมาะรวมกับเครือขายสังคมออนไลน-เพื่อพัฒนาทักษะการคิด คํานวณและ ทักษะการเขียนโปรแกรม
สําหรับนกั ศึกษาสาขาวิศวกรรม. การประชุมวิชาการครุศาสตร*อุตสาหกรรม ระดับชาติ ครั้งที่ 7 วันท่ี 6 พฤศจิกายน
2557 (----------121-126).

กิตติศกั ด์ิ วรรณทอง. (2556). ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียนวทิ ยาศาสตร-สมรรถนะสมองเชิงพทุ ธิปญa ญาและผลงานสรางสรรค-ของ
นกั เรยี นที่เรยี นรดู วยการใชส่ือพหุผัสสะที่ใชความรูประสาทวิทยาศาสตร-เปน` ฐานประกอบการสอน.
วทิ ยานิพนธ*ปรชั ญาดุษฎีบัณฑติ สาขาวิชาหลกั สูตรและการเรียนการสอน บัณฑติ วิทยาลยั มหาวทิ ยาลัยขอนแก0น.

เกษมรสั ม์ิ วิวิตรกลุ เกษม. (2546). ผลของการเรยี นแบบรวมมอื บนเว็บที่มีตอการพฒั นาความคิดสรางสรรคข- อง
นักเรียนมัธยมศกึ ษาตอนปลาย แนวการเรียนโปรแกรมศิลปศกึ ษา. วิทยานิพนธ*ปรญิ ญาดุษฎีบณั ฑิต
สาขาวิชาเทคโนโลยแี ละสอื่ สารการศกึ ษา คณะครุศาสตร* จฬุ าลงกรณ*มหาวทิ ยาลยั .

ขวัญตา บญุ วาศ. การพฒั นารปู แบบการจดั การเรยี นรทู างการพยาบาลดวยการสรางความรูแบบรวมมือ. วิทยานพิ นธก* ารศึกษาดษุ ฎี
บณั ฑติ สาขาวชิ าการอุดมศึกษา มหาวิทยาลยั ศรนี ครินทรวโิ รฒ, 2547.

ฐิตยิ า เนตรวงษ* และ บญุ ญลักษม* ตาํ นานจติ ร. (2555). การเรยี นรว0 มกนั แบบผสมผสานและใชโ" ครงงานเปVนฐานท่ี
สง0 ผลตอ0 การสรา" งความร"ูและผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี น. วารสารวจิ ยั มสด สาขามนุษยศาสตร-และสงั คมศาสตร.- 8 (3), 1-11.

ณรงค*พล เออื้ ไพจติ รกลุ และประกอบ กรณกี จิ . (2555). ผลของการเรยี นร"ูรว0 มกนั บนเวบ็ ดว" ยกระดานอภิปรายโดย
ใชเ" ทคนคิ หมวกความคดิ หกใบ ในวชิ าศลิ ปะเบื้องตน" ท่ีส0งผลต0อความคดิ สร"างสรรคข* องนักศกึ ษาปรญิ ญา
บัณฑติ ทม่ี รี ะดบั ความคิดสรา" งสรรคแ* ตกตา0 งกนั . วารสารอเิ ลก็ ทรอนิกสท- างการศกึ ษา. (7)1, 284 - 298.

ทศิ นา แขมมณี. (2552). ศาสตร-การสอน: องค-ความรูเพอ่ื การจัดกระบวนการเรยี นรูท่มี ปี ระสทิ ธภิ าพ. พมิ พค* รง้ั ท่ี 10. กรงุ เทพฯ:
จุฬาลงกรณ*มหาวทิ ยาลัย.

90 เอกสารสบื เนอ่ื งจากการประชุมวิชาการและนําเสนอผลงานวิจยั ระดบั ชาติ 2559 “การวจิ ยั รับใช"ชุมชนสรา" งสังคมฐานความร"ู”

บญุ ชม ศรสี ะอาด. (2545). การวิจัยเบื้องตน. พมิ พ*ครัง้ ที่ 7. กรุงเทพฯ : พี.เอ็น. การพิมพ*.
มนตช* ยั เทียนทอง. (2554). การออกแบบและพฒั นาบทเรียนคอมพวิ เตอร-. กรงุ เทพฯ: พี ที เอ เบสท*ซพั พลาย.
…………………. (2556). นวตั กรรม: การเรยี นและการสอนดวยคอมพิวเตอร- (Innovation: Computer-based

Learning and Teaching). กรุงเทพฯ: แดเนก็ ซ* อนิ เตอร*คอร*ปอเรช่นั .
ลัดดา ศิลาน"อย และอังคณา ตุงคะสมิต. (2553). เอกสารประกอบการอบรมเร่ืองการพัฒนาการเรียนการสอนดวย

โครงงาน. คณะศกึ ษาศาสตร* มหาวทิ ยาลัยขอนแกน0 .
วิจิตร ศรีสะอ"าน. (2550). ปฏิญญาการพัฒนาคุณภาพการศึกษา. วารสารการศึกษาไทย (รายงานพิเศษ 1). 4 (39):

20-22.
ศรัณย*รัชต* ศุภรณ*พานิช. (2556). การพัฒนารูปแบบการสอนตามแนวคิดสร"างสรรค*ความร"ร0วมกับการเรียนแบบร0วมมือเพื่อส0งเสริม

ความสามารถในการเขียนภาษาอังกฤษเชิงสรา" งสรรค* สําหรับนักเรยี นชน้ั มัธยมศึกษาป4ท่ี 4. วารสารมหาวิทยาลัยราช ภัฏธนบุรี.
7(2): 32-41.
สิทธิชัย ลายเสมา. (2557). ระบบการเรียนรูรวมกันดวยทีมเสมือนจริงในสภาพแวดลอมการเรียนแบบภควันตภาพโดยใช
กระบวนการแกปญa หาเชิงสรางสรรค-เพือ่ พัฒนาความคิด สรางสรรค-และทักษะการทํางานรวมกัน. วิทยานพิ นธ* ป ริ ญ ญ า
ดษุ ฎบี ัณฑิต สาขาวชิ าเทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอื่ สารเพอื่ การศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล"าพระ
นครเหนือ.
สุวัฒน* นิยมไทย. (2554). การเรียนการสอนวิชาชีพแบบผสมผสาน โดยใช"โครงงานเปVนฐานในสถานประกอบการ:

แนวคิดใหม0ในการจัดการเรียนการสอนวิชาชีพ. วารสารการอาชีวะและเทคนิคศึกษา. 1(2), 57-64.
Bonk, C. J. & Graham, C. R. (2004). Handbook of blended learning: Global perspectives. San Francisco: Pfeiffer Publishing.

Harrington, D.M., Block, J.H. and Block, J. (1987). Testing aspects of Carl Rogers’s theory of creative
environments: child-rearing antecedents of creative potential in young adolescents. Journal of
Personality and Social Psychology, 52(4): 851-856.
Johnson, D. W., Johnson, R. T., & Holubec, E. J. (1993). Circles of learning: Cooperation in the classroom. (4th ed.).
Edina, MN: Interact Book.
Nadiyah, R. S., & Faaizah, S. (2015). The Development of Online Project Based Collaborative Learning Using ADDIE odel.
Procedia - Social and Behavioral Sciences. 195: 1803 – 1812.
Stix, A. & Hrbek, F. (2006). Teachers as Classroom Coaches. Alexandria, VA: ASCD. Chapter 11: The Nine Steps of
Project-Based Learning. Available online: http://www.ascd.org/publications/books/
106031/chapters/The_Nine_Steps_of_Project- Based_Learning.aspx
Thorne, K. (2003). Blended learning: How to integrate online and traditional learning. London: Kogan Page.

เอกสารสบื เนอื่ งจากการประชมุ วิชาการและนําเสนอผลงานวิจยั ระดบั ชาติ 2559 “การวิจยั รบั ใชช" มุ ชนสร"างสงั คมฐานความร"ู” 91

การจัดกิจกรรมการเรยี นรูดวยรูปแบบ THINK TALK TURN PLUS TEACH
FOR THAI LANGUAGE: 5T MODEL รวมกบั กระบวนการคิด GPAS

โดยใชสารานุกรมไทยฉบบั เยาวชนเป`นฐาน เพอื่ พัฒนาทักษะการคิดวเิ คราะห-
ในรายวิชาภาษาไทยของนกั เรยี นระดับประถมศึกษา

THE LEARNING ACTIVITIES CONTAINING THINK TALK TURN PLUS TEACH FOR THAI
LANGUAGE: 5T MODEL ALONG WITH THE GPAS PROCESS USING THE THAI ENCYCLOPEDIA
FOR THE YOUTH AS BASE TO IMPROVE ANALYTICAL THINKING SKILLS IN THAI LANGUAGE

SUBJECTS OF ELEMENTARY SCHOOL STUDENTS

ธนนิ ท-รฐั กฤษฎิ์ฉันทัชท- ศิริวิศาลสุวรรณ1
THANINRAT KRITCHANTHAT SIRIVISALSUWAN1

บทคัดยอ

การวจิ ยั ครั้งนเี้ ปนV การวจิ ยั เชงิ ทดลอง (Experimental Research) โดยมีวตั ถุประสงคเ* พอื่ 1) เพือ่ เปรียบเทยี บทกั ษะการ
คิดวิเคราะห*ก0อนและหลังการจัดกิจกรรมการเรียนรู"ด"วยรูปแบบ THINK TALK TURN plus TEACH for THAI LANGUAGE: 5T
Model ร0วมกับกระบวนการคิด GPAS โดยใช"สารานุกรมไทยฉบับเยาวชนเปVนฐานของนักเรียนระดับประถมศึกษา 2) เพ่ือศึกษา
ความคิดเหน็ ของนักเรยี นระดบั ประถมศึกษาที่มีต0อการจัดกิจกรรมการเรียนรู"ด"วยรูปแบบ THINK TALK TURN plus TEACH for
THAI LANGUAGE: 5T Model ร0วมกับกระบวนการคิด GPAS โดยใช"สารานุกรมไทยฉบับเยาวชนเปVนฐาน กล0ุมตัวอย0างคือ
นักเรียนระดับช้ันประถมศึกษาป4ท่ี 6 ภาคเรียนท่ี 2 ป4การศึกษา 2558 โรงเรียนอนุบาลพระสมุทรเจดีย* จังหวัดสมุทรปราการ
จํานวน 40 คน ซ่ึงได"มาด"วยวิธีวิธีสุ0มตัวอย0างแบบง0าย (Simple Random Sampling) เครื่องมือที่ใช"ในการวิจัย ประกอบด"วย
1) แผนการจัดกิจกรรมการเรียนร"ูด"วยรูปแบบ THINK TALK TURN plus TEACH for THAI LANGUAGE: 5T Model ร0วมกับ
กระบวนการคดิ GPAS โดยใชส" ารานกุ รมไทยฉบบั เยาวชนเปVนฐาน จาํ นวน 20 แผน เวลา 20 ช่วั โมง 2) แบบทดสอบทักษะการคิด
วิเคราะห*วิชาภาษาไทยของนักเรียนระดับช้ันประถมศึกษาป4ท่ี 6 จํานวน 1 ฉบับ จํานวน 30 ข"อ ท่ีมีค0าความเชื่อม่ัน 0.93 และ
3) แบบสอบถามความคิดเหน็ ของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาป4ที่ 6 ทมี่ ีต0อวชิ าภาษาไทย จาํ นวน 1 ฉบับ จํานวน 10 ข"อ ที่มีค0า
ความเชื่อมั่น 0.97 สถิติที่ใช"การวิเคราะห*ข"อมูล ได"แก0 ค0าเฉล่ีย ( X ) ค0าส0วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน ( S.D.) ค0าทดสอบทีแบบไม0เปVน
อิสระต0อกนั (t-test dependent)

1 ข"าราชการครูกลม0ุ สาระการเรยี นร"ูภาษาไทย โรงเรยี นอนบุ าลพระสมทุ รเจดีย* จังหวัดสมทุ รปราการอยา0 งมนี ยั สําคญั ทางสถติ ทิ ี่ระดับ 0.05

92 เอกสารสืบเนอื่ งจากการประชุมวชิ าการและนาํ เสนอผลงานวจิ ัยระดบั ชาติ 2559 “การวจิ ัยรับใช"ชุมชนสรา" งสงั คมฐานความรู"”

ผลการวจิ ัยพบว0า
1. คะแนนเฉลี่ยทักษะการคิดวิเคราะห*หลังการจัดกิจกรรมการเรียนรู"ด"วยรูปแบบ THINK TALK TURN plus TEACH

for THAI LANGUAGE: 5T Model รว0 มกับกระบวนการคดิ GPAS โดยใช"สารานกุ รมไทยฉบบั เยาวชนเปVนฐาน ( X = 24.88 , S.D.
= 2.87 ) สูงกวา0 ค0าเฉล่ียของคะแนนก0อนการเรียนรู" ( X =17.98, S.D. = 3.93)

2. ความคิดเห็นของนักเรียนระดับช้นั ประถมศึกษาป4ที่ 6 ท่ีมีต0อการจัดกิจกรรมการเรียนรู"ด"วยรูปแบบ THINK TALK
TURN plus TEACH for THAI LANGUAGE: 5T Model ร0วมกับกระบวนการคิด GPAS โดยใช"สารานุกรมไทยฉบับเยาวชนเปVน
ฐานพบวา0 นักเรียนมคี วามคดิ เห็นอย0ูในระดับเหน็ ด"วยมาก เมือ่ พิจารณาเปVนรายดา" นพบว0า นักเรียนมีความคิดเห็นอยู0ในระดับเห็น
ด"วยมากในทุกด"าน คือด"านบรรยากาศการจัดกิจกรรมการเรียนรู" ด"านการจัดกิจกรรมการเรียนรู" และด"านประโยชน*ที่ได"รับ
ตามลําดบั

คาํ สาํ คัญ: 5T Model กระบวนการจพี ีเอเอส สารานกุ รมไทยฉบับเยาวชน ทกั ษะการคดิ วิเคราะห*การจดั กิจกรรม

ABSTRACT

This research was A Pre – Experimental Design: The One Group Pretest – Posttest. The purposes of
this research were to: 1) to compare the Analytical Thinking skills for Thai Language before and after learning
of the students exposed to learning activities containing THINK TALK TURN plus TEACH for THAI LANGUAGE: 5T
Model along with the process GPAS by the Thai encyclopedia for the youth as base 2) to study the student’s
opinions toward THINK TALK TURN plus TEACH for THAI LANGUAGE: 5T Model along with the GPAS process
using the Thai encyclopedia for the youth as base. The samples used in the research study were 40 (sixth
grade / class 6/2) students in second semester of academic year 2015 from Anuban Prasamutjadee school,
Samut Prakan province by simple random sampling method. The research instruments used included 1)
lesson plan THINK TALK TURN plus TEACH for THAI LANGUAGE: 5T Model along with the GPAS process using
the Thai encyclopedia for the youth as base about 20 lessons plan for 20 hours 2) test of Analytical Thinking
skills from for Thai Language for sixth grade students about 30 questions with a reliability of 0.93 and 3)
opinion questionnaires towards Thai Language about 10 questions with the reliability 0.87 The statistical
analysis employed were mean, standard deviation, t-test dependent.

The results of this study revealed that:
1. Analytical Thinking skills of students exposing to learning using THINK TALK TURN plus TEACH for
THAI LANGUAGE: 5T Model along with the GPAS process using the Thai encyclopedia for the youth as base
was higher than the previous level of statistical significance .05
2. The students’ opinions toward THINK TALK TURN plus TEACH for THAI LANGUAGE: 5T Model along
with the process GPAS by the Thai encyclopedia for the youth base were at a high agreement level in all
aspects from the highest learning environment, the learning activities and the learning usefulness respectively.

KEYWORDS: 5T Model, GPAS process, Thai encyclopedia for the youth, Analytical Thinking skills

เอกสารสืบเนอื่ งจากการประชมุ วิชาการและนําเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ 2559 “การวจิ ยั รบั ใช"ชุมชนสร"างสังคมฐานความรู"” 93

ความเปน` มาและความสําคัญของปญa หา

คุณภาพของผ"ูเรียนเปVนหวั ใจสําคัญของการจัดการศกึ ษาที่ผ"ูมีส0วนเกี่ยวข"องในวงการศึกษาทุกระดับยึดถือเปVนเป•าหมาย
ของการทํางาน ซ่ึงหากภาพความคาดหวังท่แี สดงว0าผเู" รยี นมีคุณภาพของทกุ ฝ…ายตรงกนั การพฒั นาผเ"ู รียนเปนV ไปในทิศทางเดียวกัน
และมีพลังเพยี งพอทจี่ ะเปล่ียนแปลงไปส0ูคุณภาพการศึกษาท่ีพึงประสงค* (สํานักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา, 2551) คนท่ีมี
คุณภาพในยุคศตวรรษที่ 21 ต"องเปVนบุคคลที่มีความสามารถและทักษะ 3R 7C คือ การรู"หนังสือ (การอ0าน-การเขียน) การร"ูเรื่อง
จํานวน การใช"เหตุผล ทักษะการแก"ปnญหาอย0างสร"างสรรค* ทักษะการคิดอย0างมีวิจารณญาณ ทักษะการทํางานอย0างรวมพลัง
ทักษะการสือ่ สาร ทักษะการใชค" อมพวิ เตอร* ทักษะอาชพี และทกั ษะการใช"ชีวิตในวัฒนธรรมข"ามชาติ (พิมพันธ* เดชะคุปต* และพ
เยาว* ยนิ ดีสขุ , 2557; ไพฑูรย* สินลารัตน*, 2557; วิจารณ* พานิช, 2554) สามารถเรียนร"ูและพัฒนาได"ดว" ยตนเองอย0างรู"เท0าทันกับ
การเปลี่ยนแปลง มีคุณธรรมจริยธรรมและค0านยิ มอันพงึ ประสงค* ซ่งึ ส่งิ เหลา0 นี้ปรากฏในมาตรฐานการศึกษาชาติ และถือเปVนกรอบ
มาตรฐานท่ีผู"ใช"หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐานต"องพัฒนาผ"ูเรียนให"บรรลุผล รวมท้ังกรอบในการประเมินผลการจัด
การศึกษาของหนว0 ยงานตน" สงั กัดและหนว0 ยงานภายนอก

ภาพสะท"อนผลการจดั การศึกษาจากผลการประเมินของหน0วยงานต0าง ๆ มีความสอดคล"องกันคือ คุณภาพของเด็กไทย
ยังไม0น0าพอใจ ดังสรุปผลการประเมินคุณภาพการศึกษาของสํานักรับรองและประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.) ในรายงาน
ประจําป4 2557 ภาพรวมในปง4 บประมาณ พ.ศ. 2555 - 2556 พบว0าผลการประเมนิ คุณภาพภายนอกในด"านผ"ูเรียนสว0 นใหญ0ยังไม0มี
คุณภาพในมาตรฐานท่ี 4 ที่กาํ หนดว0า ผ"ูเรียนมีความสามารถคิดวิเคราะห* คิดสังเคราะห* มีวิจารณญาณ มีความคิดสร"างสรรค* คิด
ไตรต0 รองและมวี สิ ัยทัศน* ซึ่งนั่นแสดงใหเ" หน็ วา0 สภาพการพัฒนาส0งเสริมทกั ษะการคิดในโรงเรยี นยังไม0สามารถบรรลเุ ปา• หมายได" ซึ่ง
เม่อื เปรียบเทียบกับผลการประเมินในมาตรฐานอื่น ๆ ทั้ง 14 มาตรฐานพบว0ามีผลประเมินต่ําสุด ดังน้ันทักษะการคิดวิเคราะห*จึง
เปนV ทักษะท่จี าํ เปนV ทผ่ี "ูเรยี นต"องไดร" บั การเสริมสรา" งและพัฒนาอยา0 งมีประสิทธิภาพ

ทักษะการคิดจึงเปVนเครื่องมือสําคัญท่ีจะช0วยให"ผู"เรียนสามารถดําเนินชีวิตได"อย0างมีประสิทธิภาพในยุคศตวรรษที่ 21
เนอ่ื งด"วยความเจริญก"าวหนา" ทางวิทยาศาสตร*และเทคโนโลยีทีส่ 0งผลต0อสภาพสังคม ทาํ ใหส" ังคมมกี ารเปลีย่ นแปลงอย0างรวดเรว็ ทุก
คนสามารถเขา" ถึงข"อมลู ข0าวสารสารสนเทศตา0 ง ๆ ไดอ" ย0างรวดเรว็ ผา0 นสื่อทหี่ ลากหลาย บุคคลจาํ เปVนจะต"องใช"ทักษะการคิดในการ
พิจารณาข0าวสารและเรื่องราวที่เกิดขึ้นรอบตัวว0าความจริงเปVนเช0นไร อะไรควรเชื่อ ไม0ควรเช่ือส่ิงไหนที่ควรถือปฏิบัติ การคิด
วิเคราะห*เปVนพื้นฐานของทักษะการคิดข้ันสูงประเภทหนึ่งที่จะทําให"บุคคลสามารถพิจารณาอย0างมีหลักการ สามารถควบคุม
จัดการและตรวจสอบความคิดของตนเองได" รวมทง้ั สามารถตัดสินใจและแก"ปnญหาโดยใช"เหตุผลอย0างถูกต"องเหมาะสมจึงนบั ได"ว0า
เปVนทักษะสําคัญท่ีจะพัฒนาบุคคลใหส" ามารถ “คดิ เปVน ทําเปนV แก"ปnญหาเปVน” (คณะกรรมการการศึกษาแห0งชาติ, 2545) การลด
ปnญหาสังคมไปจนถึงการปฏิรูปการเมืองล"วนเปVนเรื่องท่ีต"องอาศัย “การคิด” ท้ังสิ้น ความสามารถในการคิดและทักษะการคิดมี
ความสําคญั อยา0 งย่งิ สาํ หรบั การจัดการศึกษาในปnจจุบัน เพราะความสามารถและทักษะในการคิดมีความจําเปVนสําหรับการเรียนร"ู
ตลอดชีวิต การดํารงชีวิตและการปฏิบัติงานให"บรรลุเป•าหมายและประสบผลสําเร็จโดยเฉพาะในยุคข"อมูลข0าวสารความร"ูท่ีมีการ
เปลย่ี นแปลงอย0างรวดเร็วและต0อเนื่อง ดังมีนักการศึกษาหลายท0าน กล0าวถึงความสําคัญของทักษะการคิดว0าในยุคศตวรรษท่ี 21
วา0 ทักษะที่สาํ คัญท่สี ดุ คือ ทกั ษะการคดิ ของบุคคลและทกั ษะชวี ิต (วชั รา เล0าเรียนดี, 2556; จนิ ตนา สจุ จานันท*, 2556; วโิ รจน* สาร
รัตน*, 2556; Trilling & Fadel, 2009; Singh & Raja, 1991)

การคิดวิเคราะห*เปVนการจัดการกับข"อมูลในสถานการณ* แล"วนําไปสู0การคิดระดับสูง เช0น การคิดอย0างมีวิจารณญาณ
(Critical Thinking) การคิดเพ่ือตัดสินใจ (Decision Making) การคิดแก"ปnญหา (Problem Solving) และการคิดสร"างสรรค*
(Creative Thinking) ซึ่งไดม" าจากพน้ื ฐานการคิดวเิ คราะห* (Analytical Thinking) ซึ่งสามารถสรุปเปVนความสัมพันธ*ท่ีต0อเนื่องกัน
ไดด" ังน้ี

94 เอกสารสืบเนอ่ื งจากการประชุมวชิ าการและนําเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ 2559 “การวจิ ัยรับใช"ชุมชนสร"างสังคมฐานความรู"”

การคดิ วเิ คราะห* การคิดอย0างมีวจิ ารณญาณ การคดิ ตดั สนิ ใจ

- ระบุความสาํ คัญ - ระบบขอ" มูล เลือกวิธที ี่เหมาะสมเปVน การคดิ แก"ปญn หา
- แจกแจงข"อมลู และ หลากหลาย ประโยชนใ* นการแกไ" ข การคดิ อยา0 งสรา" งสรรค*
จําแนกขอ" มลู - ทบทวนจดุ เดน0 จดุ ด"อย ปnญหาหรอื สรา" งสรรค*
- ระบคุ วามสมั พนั ธ* ของระบบขอ" มูล
และความเปนV เหตุผล - ปรับระบบโดยหา งาน
ขอ" มลู เพม่ิ

การคิดวเิ คราะห*นําไปสกู0 ารคดิ ระดับสงู (วิทย*ทชิ ยั พวงคาํ , 2551)

สภาพการจัดกิจกรรมการเรียนรู"และผลการประเมินภายนอกโดยสํานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพ
การศึกษา (สมศ.) ท่ีทําการประเมินโรงเรียนอนุบาลพระสมุทรเจดีย* จังหวัดสมุทรปราการ พบว0า ผลการประเมินตัวบ0งช้ีของ
มาตรฐานที่ 4 อย0ใู นระดับดี โดยสรุปผลการประเมนิ ผเู" รยี นบางส0วน ไมส0 ามารถตรวจสอบความถูกต"องตามหลักเกณฑ*ได"อย0างตรง
ประเด็น พบวา0 ผลการประเมินการอา0 น การคิดวิเคราะห* การเขียน ของช้ันประถมศึกษาป4ที่ 6 อย0ูในระดับดี นอกจากนี้คณะครู
กลม0ุ สาระการเรยี นรูภ" าษาไทย จาํ นวน 8 คน ไดท" าํ การสนทนากลุ0มถงึ ประเดน็ ในเร่อื ง การคิดวิเคราะห* พบว0า นักเรียนมีทักษะใน
เรื่องการคิดวิเคราะห*ระดบั ดจี งึ สมควรไดร" ับการพัฒนาให"ถงึ ระดับดเี ย่ยี มในทกั ษะดงั กลา0 วในเรื่องตา0 ง ๆ ของรายวิชาภาษาไทย จึง
มคี วามคิดเหน็ ที่สอดคล"องกนั ว0านกั เรยี นช้ันประถมศึกษาป4ที่ 6 ควรใช"สารานุกรมไทยฉบับเยาวชนเปVนฐานในการจัดกิจกรรมการ
เรียนร"ู เน่อื งจากสารานุกรมฉบบั เยาวชนมีเน้ือหาท่หี ลากหลายเหมาะกบั ชว0 งวยั ของนักเรียน

จากการประมวลศึกษาแนวคิดทฤษฎีเก่ียวกับรูปแบบวธิ ีการจัดกิจกรรมการเรียนร"ูที่ช0วยพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห*
ผ"ูวิจัยจึงนํารูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู" THINK TALK TURN plus TEACH for THAI LANGUAGE: 5T Model (ธนินท*รัฐ
กฤษฎิ์ฉันทัชท* ศิริวิศาลสุวรรณ, 2558) ร0วมกับกระบวนการคิด GPAS (สํานักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา, 2551) มาใช"
ออกแบบการจัดกระบวนการเรียนร"ใู หส" อดคล"องกบั พัฒนาการทางสตปิ ญn ญาแต0ละช0วงวัย ซึ่งจะก0อให"เกิดศักยภาพและพัฒนาการ
เรียนร"ูของมนุษย* ส0งผลไปสู0การพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห* ซ่ึงผ"ูวิจัยหวังเปVนอย0างย่ิงว0าการวิจัยในครั้งนี้จะเปVนการพัฒนา
กระบวนการจัดกิจกรรมการเรียนรู"อีกรูปแบบหนึ่งที่สามารถยกระดับมาตรฐานการศึกษาของไทยให"พัฒนาต0อไป และเอ้ือให"
สามารถเปVนแนวทางให"ผู"เกี่ยวข"องใช"เปVนข"อสนเทศในการพัฒนารูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู" เพ่ือพัฒนาทักษะการคิด
วิเคราะห*และเจตคติตอ0 การเรียนของนักเรยี นต0อไป

วตั ถุประสงค-
1. เพ่ือเปรียบเทียบทักษะการคิดวิเคราะห*ก0อนและหลังการจัดกิจกรรมการเรียนร"ูด"วยรูปแบบ THINK TALK TURN

plus TEACH for THAI LANGUAGE: 5T Model รว0 มกบั กระบวนการคิด GPAS โดยใช"สารานุกรมไทยฉบับเยาวชนเปVนฐานของ
นกั เรียนระดับประถมศกึ ษา

2. เพื่อศึกษาความคิดเห็นของนักเรียนระดับประถมศึกษาที่มีต0อการจัดกิจกรรมการเรียนร"ูด"วยรูปแบบ THINK TALK
TURN plus TEACH for THAI LANGUAGE: 5T Model ร0วมกับกระบวนการคิด GPAS โดยใช"สารานุกรมไทยฉบับเยาวชนเปVน
ฐาน

เอกสารสบื เนอ่ื งจากการประชุมวชิ าการและนาํ เสนอผลงานวจิ ัยระดับชาติ 2559 “การวิจัยรับใชช" มุ ชนสรา" งสังคมฐานความรู"” 95

กรอบแนวความคิด การจดั กจิ กรรมการเรยี นรูดวย ทักษะการคิดวิเคราะห*
รูปแบบ 5T Model วชิ าภาษาไทย
การจดั กจิ กรรมการเรียนรู
รปู แบบ 5T Model รวมกบั การจดั กิจกรรมการเรยี นรู ความคดิ เหน็ ของนกั เรียน
ดวยกระบวนการคิด GPAS ทมี่ ตี อ0 การจัดกจิ กรรมการ
1. Think เรียนรด"ู ว" ยรปู แบบ THINK
(การคิดด"วยตัวเอง) ขน้ั ตอนท่ี 1
2. Talk (ขั้นจบั ประเด็นปญn หา) TALK TURN plus
(การแลกเปลยี่ นประสบการณเ* รียนร)ู" ข้นั ตอนท่ี 2 TEACH for THAI
3. Turn (ข้ันคน" ควา" ขอ" มลู ) LANGUAGE: 5T Model
(การย"อนกลบั แหง0 มวลความร"ู) ขัน้ ตอนท่ี 3 รว0 มกับกระบวนการคดิ
4. Teach (ขั้นเพม่ิ พนู ปnญญา) GPAS โดยใชส" ารานุกรม
(การสอนของครู/เพ่อื นสอนเพ่ือน) ขั้นตอนที่ 4 ไทยฉบบั เยาวชนเปนV ฐาน
5. Thai Language (ขน้ั สนทนาแลกเปล่ยี น)
(ทกั ษะภาษาไทย ฟงn พดู อ0าน เขยี น) ขน้ั ตอนที่ 5
(ขน้ั พากเพยี รส0ขู อ" สรปุ )
การจดั กิจกรรมการเรียนรู ขั้นตอนท่ี 6
ดวยกระบวนการคิด GPAS (ขัน้ ปรบั ใชช" ีวติ จริงและอนาคต)
1. Gathering
(การรวบรวมหรอื เลือกข"อมูล) วิธีดําเนินการวิจยั
2. Processing
(การจดั กระทาํ ข"อมลู )
3. Applying
(การประยุกต*ใช"ความรู")
4. Self-regulating
(การกํากบั ตนเอง/เรียนร"ไู ด"เอง)

สารานุกรมไทยฉบบั เยาวชนเป`นฐาน

การวิจัยครั้งน้ีเปVนการวิจัยเชิงทดลอง (Experimental Research Design) แผนการวิจัยเชิงทดลองเบื้องต"น (Pre –
Experimental Design): แบบการทดลองกลุ0มเดียวโดยใช"การสอบก0อนและหลัง (The One Group Pretest – Posttest)
(Cohen, Manion and Morrison, 2000) โดยมรี ูปแบบการทดลอง ดงั น้ี

96 เอกสารสบื เนอ่ื งจากการประชุมวิชาการและนาํ เสนอผลงานวิจยั ระดบั ชาติ 2559 “การวิจัยรบั ใช"ชุมชนสรา" งสงั คมฐานความร"ู”

Experimental O1 X O2

โดย O1 หมายถงึ การทดสอบทกั ษะการคิดวิเคราะห*ภาษาไทยก0อนการจดั กิจกรรมการเรยี นร"ู
X หมายถงึ การจดั กิจกรรมการเรียนรด"ู "วยรปู แบบ THINK TALK TURN plus TEACH
for THAI LANGUAGE: 5T Model รว0 มกับกระบวนการคิด GPAS โดยใช"สารานุกรมไทย
O2 หมายถึง ฉบบั เยาวชนเปนV ฐาน
การทดสอบทักษะการคิดวิเคราะห*ภาษาไทยหลังการจัดกจิ กรรมการเรียนร"ู

ประชากรและกลมุ ตวั อยาง
1. ประชากร คือ นกั เรียนชั้นประถมศึกษาป4ที่ 6 ภาคเรียนท่ี 2 ป4การศึกษา 2558 ของโรงเรียนอนุบาลพระสมุทรเจดีย*

จังหวัดสมทุ รปราการ มีทัง้ สน้ิ 4 ห"องเรียน จาํ นวน 146 คน (สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน, 2558)
2. กลุ0มตัวอย0าง คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาป4ที่ 6/2 จํานวน 40 คน ภาคเรียนที่ 2 ป4การศึกษา 2558 ของโรงเรียน

อนุบาลพระสมุทรเจดีย* จังหวัดสมุทรปราการ ซ่ึงการได"มาของกลุ0มตัวอย0างผู"วิจัยใช"วิธีสุ0มตัวอย0างแบบง0าย (Simple Random
Sampling) (ศิรชิ ัย กาญจนวาสี, 2547) ดว" ยการจบั สลากจากจาํ นวน 4 ห"องเรียน คือ ป.6/1 ป.2/2 ป.6/3 และ ป.6/4 เน่ืองจาก
โรงเรียนมีการคละความสามารถทางการเรียนรู"ของนักเรียนทุกห"องเรียน ทั้งนี้นักเรียนทั้ง 4 ห"องเรียนนั้นจึงมีความทัดเทียมกัน
สามารถเปVนกล0มุ ตวั อย0างของประชากรไดอ" ย0างสมบรู ณ*

เครือ่ งมือการวิจัย
การวจิ ยั ครัง้ น้ี ผวู" ิจัยไดก" ําหนดเครื่องมอื ท่ีใชใ" นการวจิ ยั ดงั นี้
1. แผนการจดั กจิ กรรมการเรียนรูกลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ด"วยรูปแบบ THINK TALK TURN plus TEACH for

THAI LANGUAGE: 5T Model ร0วมกับกระบวนการคิด GPAS โดยใช"สารานุกรมไทยฉบับเยาวชนเปVนฐาน จํานวน 20 แผน

เวลา 20 ชว่ั โมง มคี า0 ดัชนคี วามสอดคล"องมีคา0 ระหว0าง 0.67 - 1.00 เฉลยี่ เท0ากับ 0.93

2. แบบทดสอบทกั ษะการคดิ วิเคราะหว- ชิ าภาษาไทย ของนกั เรยี นช้ันประถมศึกษาปท4 ี่ 6 จาํ นวน 1 ฉบับ ท้ังสิ้น 30 ข"อ

มีคา0 เฉล่ียดัชนีความสอดคล"องของแบบทดสอบทักษะการคิดวิเคราะห*วิชาภาษาไทย รายฉบับได"เท0ากับ 0.98 โดยได" ค0าอํานาจ

จําแนกอย0ูระหวา0 ง 0.48 – 0.75 ค0าความยากง0ายอยูร0 ะหว0าง 0.20 – 0.80 และมคี า0 ความเชอื่ มั่นทง้ั ฉบับ 0.93

3. แบบสอบถามความคิดเห็น ของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาป4ที่ 6 ท่ีมีต0อวิชาภาษาไทย จํานวน 1 ฉบับ จํานวน
10 ขอ" ทมี่ ีค0าความเชื่อมน่ั 0.97

การเกบ็ รวบรวมขอมลู
การวิจัยครั้งนี้ผ"ูวิจัยได"ดําเนินการเก็บรวบรวมข"อมูลกับนักเรียนช้ันประถมศึกษาป4ที่ 6 โรงเรียนอนุบาลพระสมุทรเจดีย*

จงั หวัดสมุทรปราการ ภาคเรียนท่ี 2 ป4การศกึ ษา 2558 ซ่งึ ผ"ูวิจัยไดด" าํ เนินการเกบ็ รวบรวมข"อมลู ดงั น้ี
1. วดั ผลทักษะการคิดวเิ คราะหด* "วยแบบทดสอบวชิ าภาษาไทยก0อนเรยี นกบั กล0ุมตัวอย0าง (Pre - test)
2. ผู"วิจัยดําเนินการทดลองการจัดกิจกรรมการเรียนรู"ด"วยรูปแบบ THINK TALK TURN plus TEACH for THAI

LANGUAGE: 5T Model ร0วมกับกระบวนการคิด GPAS โดยใช"สารานุกรมไทยฉบับเยาวชนเปVนฐานท่ีผ"ูวิจัยสร"างข้ึนกับกลุ0ม
ตวั อยา0 ง

3. วัดผลทักษะการคดิ วเิ คราะห*ด"วยแบบทดสอบวิชาภาษาไทยหลังเรียนกับกล0ุมตวั อย0าง (Post - test)

เอกสารสบื เนอื่ งจากการประชุมวิชาการและนาํ เสนอผลงานวิจัยระดบั ชาติ 2559 “การวิจัยรับใช"ชมุ ชนสรา" งสงั คมฐานความรู"” 97

4. สอบถามความคิดเหน็ ของนกั เรยี นระดับชัน้ ประถมศึกษาปท4 ่ี 6 ทีม่ ีตอ0 วชิ าภาษาไทยหลังเรียนกบั กลุ0มตัวอย0าง
5. นําผลทักษะการคิดวิเคราะห*วิชาภาษาไทยของกล0ุมตัวอย0างมาวิเคราะห*ผลโดยการเปรียบเทียบก0อนเรียนและหลัง
เรียน แล"วนําผลทไ่ี ด"มาวิเคราะห*โดยวธิ ีการทางสถิติตอ0 ไป

การวิเคราะหข- อมลู
การวจิ ยั คร้ังน้ี ผ"ูวิจัยไดท" าํ การวเิ คราะหข* "อมูล ดังน้ี
1. ศึกษาผลของทักษะการคิดวิเคราะห*วิชาภาษาไทยก0อนเรียนและหลังเรียนของนักเรียนท่ีได"รับการจัดกิจกรรมการ

เรยี นรู"ดว" ยรูปแบบ THINK TALK TURN plus TEACH for THAI LANGUAGE: 5T Model ร0วมกับกระบวนการคิด GPAS โดยใช"
สารานุกรมไทยฉบับเยาวชนเปVนฐาน โดยการวิเคราะห*จากค0าสถิติ ได"แก0 ค0าเฉล่ีย ส0วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค0าอํานาจจําแนก ค0า
ความยากง0าย คา0 ความเช่อื มน่ั และคา0 สถิติคา0 ทดสอบทีแบบไม0เปVนอิสระตอ0 กนั (t-test dependent)

2. ศึกษาผลการสอบถามความคิดเหน็ ของนักเรยี นระดบั ช้นั ประถมศกึ ษาป4ที่ 6 ท่มี ตี 0อวชิ าภาษาไทยหลังเรียนท่ีได"รับการ
จัดกิจกรรมการเรียนร"ูด"วยรูปแบบ THINK TALK TURN plus TEACH for THAI LANGUAGE: 5T Model ร0วมกับกระบวนการ
คิด GPAS โดยใชส" ารานกุ รมไทยฉบับเยาวชนเปนV ฐาน โดยการวเิ คราะห*จากค0าสถติ ไิ ด"แก0 คา0 เฉลย่ี และส0วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน

สรปุ ผล

จากการวิจยั เร่ือง การจัดกิจกรรมการเรียนรู"ด"วยรูปแบบ THINK TALK TURN PLUS TEACH FOR THAI LANGUAGE:
5T MODEL ร0วมกับกระบวนการคิด GPAS โดยใช"สารานุกรมไทยฉบับเยาวชนเปVนฐาน เพ่ือพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห*ใน
รายวิชาภาษาไทยของนักเรียนระดบั ประถมศึกษา หนว0 ยการเรียนรเู" รือ่ ง ชนดิ ของคํา ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาป4ท่ี 6 โรงเรียน
อนบุ าลพระสมทุ รเจดีย* จังหวดั สมทุ รปราการ ภาคเรียนที่ 2 ปก4 ารศึกษา 2558 สรุปผลการวิจยั เพือ่ ตอบวัตถุประสงคข* องการวิจัยมี
2 ขอ" ดังน้ี

1. คะแนนเฉลี่ยทักษะการคิดวิเคราะห*วิชาภาษาไทยหลงั การจัดกิจกรรมการเรียนร"ูด"วยรูปแบบ THINK TALK TURN
plus TEACH for THAI LANGUAGE: 5T Model ร0วมกับกระบวนการคิด GPAS โดยใช"สารานุกรมไทยฉบับเยาวชนเปVนฐาน ( X
= 24.88 , S.D. = 2.87 ) สูงกว0าค0าเฉล่ียของคะแนนก0อนการเรียนร"ู (X =17.98, S.D. = 3.93) อย0างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ
0.05

2. ความคิดเห็นของนักเรียนระดับช้ันประถมศึกษาป4ท่ี 6 วิชาภาษาไทยท่ีมีต0อการเรียนร"ูด"วยรูปแบบ THINK TALK
TURN plus TEACH for THAI LANGUAGE: 5T Model ร0วมกับกระบวนการคิด GPAS โดยใช"สารานุกรมไทยฉบับเยาวชนเปVน
ฐานพบวา0 นกั เรียนมีความคดิ เหน็ อยใ0ู นระดบั เห็นดว" ยมาก เม่ือพจิ ารณาเปนV รายด"านพบวา0 นักเรียนมีความคิดเห็นอย0ูในระดับเห็น
ด"วยมากในทุกด"าน คือด"านบรรยากาศการจัดกิจกรรมการเรียนรู" ด"านการจัดกิจกรรมการเรียนร"ู และด"านประโยชน*ที่ได"รับ
ตามลําดับ

อภิปรายผล

1. ทักษะการคิดวิเคราะห*วิชาภาษาไทยของนักเรียนหลังเรียนสูงกว0าก0อนเรียนแตกต0างกันอย0างมีนัยสําคัญทางสถิติที่
ระดับ .05 โดยการจัดการเรียนร"ูเพื่อพัฒนาทักษะการคิดมีความสัมพันธ*กับการเรียนร"ูด"วยกระบวนการกล0ุมซ่ึงเปVนวิธีการที่จะ
ส0งเสริมและพัฒนาคุณภาพผ"ูเรียน ถ"าหากผ"ูเรียนทุกคนเป–ดใจรับความร"ู ความคิด ความรู"สึกของผ"ูอ่ืนและมีวิธีการที่ดีในการเก็บ
เกี่ยวความรู" พลังในการเรียนรู"จากกลุ0มจะเกิดขึ้นได" (วิภา ตัณฑุลพงษ*, 2549) และกระบวนการสร"างความร"ูด"วยตนเองเช0นนี้จะ
เกิดได"ก็ต0อเม่ือครูผู"สอนจัดกิจกรรมการเรียนรู"ให"ผ"ูเรียนผ0านกระบวนการเก็บรวบรวมข"อมูลและเลือกข"อมูลสําคัญที่เกี่ยวข"องเปVน
นาํ ข"อมูลมาจดั กระทํา มาจัดข"อมูลเปVนกลุ0ม เปVนหมวดหมู0 จําแนก เพ่ือให"ได"ความรู"ตามท่ีกําหนดไว" จากนั้นนําไปใช"ในการปฏิบัติ

98 เอกสารสืบเนอ่ื งจากการประชุมวชิ าการและนาํ เสนอผลงานวจิ ยั ระดบั ชาติ 2559 “การวิจยั รับใชช" มุ ชนสร"างสังคมฐานความร"ู”

จรงิ ใชใ" นการแก"ปญn หาในสถานการณต* า0 ง ๆ ข"อสรปุ ทไ่ี ด"จากกระบวนการเหล0าน้ีทตี่ กผลึกภายในตวั ของผเู" รยี น จะกลายเปVนตัวตน
เปVนบุคลิกภาพของผเ"ู รียน เม่อื ฝuกฝนเชน0 น้ีบอ0 ยครั้งจะนําไปสูก0 ารเรียนรไ"ู ดด" ว" ยตนเอง ตลอดการเรียนร"ูตามข้ันตอนนี้ ครูผ"ูสอนต"อง
ฝกu โดยใช"คําถามกระตนุ" ใหผ" "ูเรียนไดต" รวจสอบทบทวนการคดิ พดู ทาํ เสมอ ๆ เพอ่ื ปรบั ปรงุ งานในขณะดําเนนิ งานใหด" ียิ่งขึน้ (สาํ นัก
พัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา, 2551; อัจฉรา ชีวพันธ*, 2554; สุมน อมรวิวัฒน*, 2541) ดังน้ันการจัดกิจกรรมการเรียนรู"
ดงั กลา0 วจึงสง0 ผลใหท" ักษะการคดิ วิเคราะห*วิชาภาษาไทยของนกั เรยี นหลงั เรยี นสูงกว0าก0อนเรียน

2. ความคิดเห็นของนักเรียนระดับช้ันประถมศึกษาป4ท่ี 6 วิชาภาษาไทยที่มีต0อการเรียนร"ูด"วยรูปแบบ THINK TALK
TURN plus TEACH for THAI LANGUAGE: 5T Model ร0วมกับกระบวนการคิด GPAS โดยใช"สารานุกรมไทยฉบับเยาวชนเปVน
ฐานโดยภาพรวมอยใ0ู นระดบั เห็นดว" ยมากในทกุ ด"าน ทง้ั นอ้ี าจเปVนเพราะวา0 การจัด กิจกรรมการเรยี นร"ูดังกล0าวเปนV กิจกรรมที่จดั การ
เรียนรู"ท่ีเปVนรูปธรรมชัดเจนโดยการจัดกิจกรรมการเรียนรู"นักเรียนทุกคนมีโอกาสได"มีส0วนร0วมในการทํากิจกรรมและสรุปองค*
ความรู"ด"วยตนเอง กล"าแสดงออก และกล"าเสนอความร"ูของตนให"เพื่อนในกล0ุมได"ฟnง เม่ือพิจารณารายด"านพบว0า ด"านบรรยากาศ
การจัดการเรียนร"ู นักเรียนเห็นด"วยมากในประเด็น นักเรียนมีความสนุกสนานกับการเรียนรู" ท้ังน้ีอาจเปVนเพราะเปVนการเรียนรู"ที่
ต"องอาศัยการหันหน"าเข"าหากัน มีปฏิสัมพันธ*กัน เพื่อแลกเปล่ียนความคิดเห็น ข"อมูล และการเรียนรู"ต0าง ๆ ผู"เรียนได"รับ
ประสบการณ*ตรง เปVนวิธกี ารที่เปด– โอกาสให"ผเ"ู รยี นมีส0วนรว0 มสงู ซ่ึงสอดคลอ" งกบั วรนนั ท* ภ0เู จริญ (2544) ไดก" ล0าวไว"ว0า บรรยากาศ
ในการเรยี นการสอนมคี วามสนุกสนาน มคี วามเปVนกันเองระหว0างผู"เรยี นกบั ผู"สอนทําให"นักเรียนสนใจเรียนมากยิ่งขึ้น ไม0เบื่อหน0าย
รองลงมานักเรียนเหน็ ดว" ยมากด"านการจัดกจิ กรรมการเรยี นร"ูในประเด็นนักเรยี นไดม" โี อกาสพฒั นาตนเองตามความสามารถไดแ" สดง
ความคิดเหน็ การคดิ วเิ คราะห* และฝuกให"มีการยอมรับผ"ูอ่ืนมากขึ้น ทั้งนี้อาจเนื่องมาจากผู" เรียนได"พัฒนาการทํางานเปVนกลุ0มให"มี
ประสทิ ธิภาพมากข้นึ คนอ0อนไดเ" รยี นรจ"ู ากคนทเ่ี กง0 กว0าซ่ึงจะมคี วามตัง้ ใจช0วยเหลือเพื่อน ๆ เพื่อยกระดับผลงานหรือทักษะการคิด
วิเคราะหข* องกลุ0มให"สูงข้ึน ซึ่งจะส0งผลดีต0อสมาชิกทุกคนในกลุ0ม ด"านประโยชน*ท่ีได"รับนักเรียนมีความคิดเห็นในระดับมาก โดย
นักเรียนมีความคิดเห็นว0าการจัดกิจกรรมการเรียนรู"ด"วยรูปแบบ THINK TALK TURN plus TEACH for THAI LANGUAGE: 5T
Model รว0 มกับกระบวนการคิด GPAS โดยใชส" ารานุกรมไทยฉบับเยาวชนเปVนฐานนั้นส0งเสริมให"นักเรียนมีความร"ูความเข"าใจมาก
ขึน้ สามารถตกผลึกในกระบวนการคิดวเิ คราะห*ได"ในหลากหลายขัน้ ตอนมากข้นึ

ขอเสนอแนะ

ขอเสนอแนะสาํ หรบั การนาํ ไปประยุกต-ใช
1. ครผู สู" อนในสถานศึกษาระดบั ชน้ั ท่มี บี ริบทใกล"เคยี งกันสามารถนาํ รูปแบบการจดั กิจกรรมการเรยี นรูน" ไ้ี ปประยกุ ตใ* ช"

ในการจดั กจิ กรรมการเรยี นรวู" ิชาภาษาไทยได"
2. เปVนแนวทางในการพฒั นารปู แบบการจดั กิจกรรมการเรียนรใ"ู นกล0ุมสาระการเรียนรู"อน่ื ๆ ตอ0 ไป

ขอเสนอแนะสําหรับการทาํ วจิ ัยตอไป
1. ควรทําการวิจัยเพอื่ พฒั นาทักษะดา" นการคดิ ในระดับท่สี ูงขนึ้ เช0น การคดิ อย0างมวี จิ ารณญาณ การคดิ สงั เคราะห* การ

คิดแกไ" ขปญn หา การคดิ สร"างสรรค* เปนV ต"น
2. ควรมีการวิจยั ในระเบียบวธิ วี ิทยาการวจิ ยั หลากหลายรูปแบบมากขึน้ เพ่ือให"ได"ซ่งึ ขอ" มูลของการพฒั นาสารสนเทศท่ีมี

คณุ ภาพ เช0น การวิจยั แบบวิจัยและพฒั นา การวิจัยแบบผสมผสาน เปนV ต"น

เอกสารสืบเนอ่ื งจากการประชมุ วชิ าการและนําเสนอผลงานวจิ ัยระดับชาติ 2559 “การวิจัยรบั ใชช" มุ ชนสร"างสังคมฐานความร"ู” 99

เอกสารอางอิง

คณะกรรมการการศกึ ษาแห0งชาต.ิ (2545). พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 และทแ่ี กไขเพิม่ เติม
(ฉบับท่ี2) พ.ศ 2545. กรงุ เทพฯ: พรกิ หวานกราฟฟ–ก.

จินตนา สจุ จานันท*. (2556). การศกึ ษาและการพัฒนาชมุ ชนในศตวรรษท่ี 21. กรงุ เทพฯ: โอเดยี นสโตว*.
ธนินทร* ัฐ กฤษฎฉ์ิ นั ทชั ท* ศริ ิวิศาลสวุ รรณ. (2558). การจัดกจิ กรรมการเรยี นรโู ดยใชนวตั กรรม THINK TALK

TURN plus TEACH for THAI LANGUAGE: 5T Model โดยบรู ณาการกิจกรรมรองเลนเตน
เรยี นเพ่อื พัฒนาทกั ษะการคิดวเิ คราะหแ- ละเจตคติตอวิชาภาษาไทยของนักเรียนระดบั ประถมศกึ ษา.
ระบบสารสนเทศงานวิจยั และนวัตกรรมทางการศึกษา. สืบค"นเมือ่ วนั ที่ 20 ตลุ าคม 2558, จาก
http://203.172.179.22/reis/?name=research&file=readresearch&id=39
พมิ พันธ* เดชะคุปต* และพเยาว* ยินดีสขุ . (2557). การจัดการเรยี นรูในศตวรรษที่ 21. พิมพค* รั้งที่ 1. กรงุ เทพฯ:
โรงพมิ พแ* หง0 จฬุ าลงกรณ*มหาวิทยาลยั
ไพฑรู ย* สินลารัตน*. (2557). ทักษะแหงศตวรรษที่ 21 ตองกาวใหพนกบั ดกั ของตะวันตก. กรงุ เทพฯ:
โรงพิมพแ* หง0 จุฬาลงกรณม* หาวทิ ยาลยั
วรนนั ท* ภ0ูเจรญิ . (2554). การบรหิ ารการเรยี นรูทีย่ ดึ ผเู รยี นเป`นสาํ คญั . กรงุ เทพฯ: สมาคมส0งเสรมิ เทคโนโลย.ี
วัชรา เลา0 เรยี นดี. (2556). รปู แบบและกลยุทธ-การจดั การเรียนรเู พ่อื พัฒนาทักษะการคดิ . พิมพค* รง้ั ที่ 10.
นครปฐม: โรงพมิ พม* หาวิทยาลยั ศลิ ปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจนั ทร* นครปฐม.
วจิ ารณ* พานิช. (2554). วธิ ีสรางการเรยี นรเู พอ่ื ศษิ ยใ- นศตวรรษท่ี 21. กรงุ เทพฯ: มูลนิธสิ ดศรี-สฤษดว์ิ งศ*.
วภิ า ตณั ฑุลพงษ*. (2549). เกมภาษาสอ่ื ความคิดพชิ ิตการอาน. พิมพ*ครัง้ ท่ี 1. นนทบุรี: สาํ นักพิมพ*ศูนยส* ง0 เสรมิ
วชิ าการ.
วโิ รจน* สารรตั น*. (2556). กระบวนทศั น*ใหมท0 างการศึกษา: กรณีทศั นะตอ0 การศึกษาศตวรรษที่ 21.
กรุงเทพฯ: ซีเอด็ ยเู คช่ัน.
ศิริชัย กายจนวาสี. (2547). สถติ ิประยกุ ต-สาํ หรบั การวจิ ัย. พิมพ*ครั้งท่ี 4. กรงุ เทพฯ: โรงพิมพ*แหง0 จฬุ าลงกรณ*
มหาวทิ ยาลัย.
สมุ น อมรววิ ฒั น*. (2541). ทาํ ไมตองปฏิรปู การเรยี นร:ู การปฏริ ปู การเรยี นรตู ามแนวคดิ 5 ทฤษฎ.ี
สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาเอกชน กระทรวงศึกษาธกิ าร. กรงุ เทพฯ: หจก. ไอเดยี สแควร*.
สํานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน. (2558). ระบบสารสนเทศเพอ่ื บรหิ ารการศกึ ษาของสาํ นักงานเขต
พ้นื ทีก่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาสมุทรปราการ เขต 1. สบื คน" เมือ่ วันท่ี 1 ตลุ าคม 2558, จาก
https://data.boppobec.info/emis/schooldataview_student_area.php?Area_CODE=1101
สาํ นกั พัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา. (2551). “การพัฒนาการคดิ โดยใชกระบวนการ GPAS.” พิมพค* รัง้ ท่ี 3.
กรุงเทพฯ: สํานักพฒั นานวตั กรรมการจัดการศกึ ษา กระทรวงศึกษาธิการ.
อจั ฉรา ชวี พันธ*. (2554). พฒั นาทักษะภาษา พัฒนาความคิด ดวยกิจกรรมการเลนประกอบการสอนภาษาไทย.
พมิ พค* รัง้ ท่ี 8. กรงุ เทพฯ: บริษัท ว.ี พร้นิ ท* (1991) จํากัด.
Cohen, L., Manion, L. & Morrison, K. (2000). Research methods in education. (5th ed.).

London: Rutledge.

Singh, Raja Roy. (1991). Education for the Twenty-First Century: Asia-Pacific Perspectives.
Bangkok: UNESCO

Trilling, Bernie and Fadel, Charles. (2009). 21st Century Skills: Learning for Life in Our Times.
San Francisco: Jossey-Bass.

100 เอกสารสบื เนอื่ งจากการประชมุ วชิ าการและนาํ เสนอผลงานวิจัยระดบั ชาติ 2559 “การวิจยั รับใช"ชมุ ชนสร"างสงั คมฐานความร"ู”

ความพงึ พอใจของผูเรียนตอการจัดการเรียนการสอนของอาจารย-
สาขาวชิ าคอมพิวเตอรธ- ุรกิจ คณะวทิ ยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภฏั ธนบุรี
Satisfaction of Students to Teachers’ Instruction in Business Computer,
Faculty of Management Science, Dhonburi Rajabhat University.

ธชั กร วงษ-คําชัย1, จีรภา ประยูรศักด์ิ2, ประทับใจ อภิสิทธิ์สุขสันติ3
Tachakorn Wongkumchai1, Jeerapa Prayoonsak2, Pratubjai Apistsuksanti3

บทคดั ยอ

การวจิ ยั ในคร้ังน้ีมีวัตถุประสงค*เพ่ือประเมินความพึงพอใจของผู"เรียนต0อการจัดการเรียนการสอนของอาจารย*สาขาวิชา
คอมพิวเตอร*ธุรกิจ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี กลุ0มตัวอย0าง คือ ผ"ูเรียนสาขาวิชาคอมพิวเตอร*ธุรกิจ
มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี ภาคปกติ ที่ลงทะเบียนเรียนในภาคการศึกษาที่ 2/2555 – 2/2558 จํานวน 570 คน ใช"วิธีส0ุมแบบ
เจาะจง เคร่ืองมือในการวจิ ยั ใชแ" บบประเมินความพงึ พอใจต0อการจัดการเรียนการสอนออนไลน* ค0าความเชอื่ มั่นเท0ากับ 0.90 สถิติ
ในการวิเคราะห*ข"อมูลใช" ค0าร"อยละ ค0าเฉลี่ย และส0วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว0าความพึงพอใจต0อกระบวนการจัดการ
เรียนการสอน โดยภาพรวมอยู0ในระดับมาก คา0 เฉลี่ย 4.24 ซึ่งผเู" รยี นพึงพอใจดา" นการแจ"งวัตถปุ ระสงค* แนวการสอนและเกณฑ*การ
วดั ผลให"ทราบอยา0 งชัดเจนมากทส่ี ดุ ค0าเฉล่ยี 4.37 และพึงพอใจน"อยทีส่ ดุ ด"านการประยุกต*เนื้อหาวิชาให"สอดคล"องกับสภาพสงั คม
และส่ิงแวดล"อมตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง และการจัดกจิ กรรมการเรียนการสอนที่หลากหลายของอาจารย* ค0าเฉล่ีย 4.11 รวมทั้ง
ไดผ" เู" รยี นเสนอให"มกี ารเพมิ่ เนอ้ื หาที่ทันสมัย และมีกจิ กรรมให"ปฎิบตั ิในแตล0 ะคาบใหม" ากขึ้น

คําสาํ คญั : การประเมินผลกระบวนการเรียนการสอน / ความพงึ พอใจของผ"ูเรยี น / คอมพิวเตอรธ* ุรกิจ

Abstract

The objectives of this research were to satisfaction of students to teachers’ instruction in Business
Computer, Faculty of Management Science, Dhonburi Rajabhat University. The 570 students of purposive
sampling in composed of regular enrolled in semester 2/2555 to 2/2558 in Business Computer of Dhonburi
Rajabhat University. The researcher used a questionnaire on the internet to observe the users’ satisfaction
with the online assessment system, the reliability at 0.90. The questionnaire was used to collect users’

1 ผชู" 0วยศาสตราจารย* สาขาคอมพิวเตอร*ธรุ กจิ คณะวิทยาการจดั การ มหาวทิ ยาลัยราชภัฏธนบุรี
2 อาจารย* สาขาคอมพิวเตอร*ธุรกิจ คณะวทิ ยาการจัดการ มหาวิทยาลยั ราชภัฏธนบุรี
3 อาจารย* สาขาคอมพวิ เตอรธ* ุรกิจ คณะวิทยาการจัดการ มหาวทิ ยาลัยราชภฏั ธนบรุ ี

เอกสารสืบเนอ่ื งจากการประชุมวิชาการและนําเสนอผลงานวิจัยระดบั ชาติ 2559 “การวจิ ัยรบั ใช"ชมุ ชนสร"างสงั คมฐานความรู"” 101

satisfaction percentage, means and standard deviation were used to analyze data. The findings satisfaction of
students to teachers’ instruction in Business Computer of Dhonburi Rajabhat University in a good level
average of 4.24, the students satisfaction in the objectives, teaching and assessment criteria to be clear in
most average of 4.37 and least satisfied in the application subject to compliance with social and
environmental conditions in accordance with the sufficiency economy. And activities, teaching a variety of
instructor average of 4.11. The students proposed adding to advanced content and the most activities
performed in each session.

KEYWORDS: Assessment teaching and learning procedure / Students satisfaction / Business Computer

ความเปน` มาและความสําคัญของปญa หา

หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาคอมพิวเตอร*ธุรกิจ พ.ศ. 2555 (ปรับปรงุ ) คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัย
ราชภฏั ธนบรุ ี เปVนหลกั สตู รท่ีมีการดําเนินการตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศกึ ษาแห0งชาติ พศ. 2552 และได"รับการรับรอง
จากสํานกั คณะกรรมการการอดุ มศกึ ษา (สกอ.) ไดเ" ปด– ทําการเรยี นการสอนตัง้ แตป0 4 2555 ซ่งึ จะครบรอบการปรบั ปรงุ หลักสูตรในป4
พ.ศ. 2560 โดยในป4 พ.ศ. 2559 สาขาวิชาคอมพิวเตอร*ธุรกิจได"ดําเนินการประชุมวางแผนในคณะกรรมการผ"ูรับผิดชอบหลักสูตร
และอาจารย*ประจําหลักสูตร เพื่อกําหนดแนวทางในการปรับปรุงหลักสูตรสําหรับป4 พ.ศ. 2560 โดยมีการแบ0งหน"าท่ีให"
คณะกรรมการประเมนิ และพฒั นาหลักสูตรสาขาคอมพวิ เตอร*ดาํ เนนิ การในการจัดทําร0างหลักสูตรใหม0โดย คณะกรรมการวิจัยและ
ประเมินหลักสตู รสาขาคอมพวิ เตอร*ดาํ เนินการทาํ วจิ ยั เพ่ือประเมินหลักสูตรป4 พ.ศ. 2555 จากผ"ูใช"บณั ฑิต ผู"เรียนปnจจุบัน ศิษย*เก0า
และอาจารย*ผ"ูสอน เพื่อนํามาประกอบการจัดทําร0างหลักสูตรให"มีความสอดคล"องกับความต"องขององค*กร และทันสมัย ในการนี้
การประเมนิ ผลกระบวนการเรยี นการสอนของอาจารย*ผูส" อนจากผเ"ู รยี นจัดเปนV กระบวนการหนึ่งของการประกันคุณภาพการศึกษา
ตามพระราชบัญญัตกิ ารศึกษาแห0งชาติ พุทธศักราช 2542 หมวด 7 “ ครู คณาจารย* และบุคลากรทางการศึกษาให"กระทรวง
สง0 เสริมให"มรี ะบบ กระบวนการผลิตและพัฒนาครู คณาจารย* และบคุ ลากรทางการศกึ ษาให"มคี ุณภาพและมาตรฐานทเ่ี หมาะสมกับ
การเปVนวิชาชีพชั้นสูง” และหมวด 4 “ มาตรา 30 ให"สถานศึกษาพัฒนากระบวนการเรียนการสอนที่มีประสิทธิภาพ รวมทั้ง
ส0งเสริมใหผ" ส"ู อนสามารถวจิ ัยเพอ่ื พัฒนาการเรยี นรูท" ี่เหมาะสมกับผู"เรียนในแต0ละระดับการศึกษา” รวมทั้งนําผลมาใช"เปVนแนวทาง
ในการพัฒนาหลักสูตร และให"อาจารย*ผู"สอนใช"ในการพัฒนารูปแบบ วิธีการ และเทคนิคการสอนต0างๆ ให"มีความหลากหลาย
เหมาะสมกบั ผเ"ู รียน เพอ่ื ชว0 ยให"ผลสัมฤทธิท์ างการเรียนมีมากยงิ่ ขน้ึ อกี ทั้งเปVนการรบั ฟงn ความคิดเห็นของผ"ูเรียนท่ีมีต0อรูปแบบและ
วธิ กี ารสอนของอาจารย*ผส"ู อน (สาขาวชิ าคอมพิวเตอร*ธุรกจิ , 2558; ธัชกร วงษ*คําชัย, 2556; มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ธนบุรี, 2553)

วัตถปุ ระสงค-
ประเมนิ ความพึงพอใจของผ"ูเรียนต0อการจัดการเรียนการสอนของอาจารย*สาขาวิชาคอมพิวเตอร*ธุรกิจคณะวิทยาการ

จัดการ มหาวทิ ยาลัยราชภฏั ธนบรุ ี

102 เอกสารสืบเนอื่ งจากการประชุมวิชาการและนําเสนอผลงานวจิ ยั ระดับชาติ 2559 “การวิจยั รับใชช" มุ ชนสรา" งสงั คมฐานความร"ู”

วิธีดําเนินการวิจยั

วธิ ีการดาํ เนนิ การวิจัย มดี ังนี้
ประชากรและกลุมตวั อยาง

1.ประชากร ผ"ูเรียนสาขาวิชาคอมพิวเตอร*ธุรกิจ ภาคปกติ มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี ท่ีลงทะเบียนเรียนในภาคเรียนที่
2/2555 – 2/2558 ทไี่ มซ0 ้าํ กนั จาํ นวน 956 คน

2.กลมุ ตัวอยาง ผ"เู รยี นสาขาวิชาคอมพวิ เตอร*ธุรกิจ ภาคปกติ มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี ท่ีลงทะเบียนเรียนในภาคเรียน
ท่ี 2/2555 – 2/2558 จํานวน 570 คน โดยเลือกจากผ"เู รียนท่ีตอบแบบประเมนิ ทีไ่ มซ0 ํ้ากันแบบเจาะจง (Purposive sampling)

เครือ่ งมอื ในการวจิ ยั

แบบสอบถามออนไลน*สําหรบั ใช"ในการประเมนิ ผลกระบวนการเรียนการสอนของอาจารย* ความเชื่อมั่นท่ี 0.90เปVนแบบ
มาตราส0วนประเมินค0า (Rating Scale) ซึ่งใหผ" "ตู อบเลอื กตอบตามความคดิ เหน็ ของตัวเอง แบ0งออกเปVน 5 ระดับ ดงั นี้

5 หมายถงึ พงึ พอใจมากทีส่ ุด
4 หมายถึง พงึ พอใจมาก
3 หมายถงึ พงึ พอใจปานกลาง
2 หมายถึง พึงพอใจนอ" ย
1 หมายถงึ พึงพอใจน"อยที่สุด

เกณฑ*การประเมนิ ระดับความต"องการ (บุญชม ศรีสะอาด และบุญส0ง นลิ แกว" , 2535)

4.50 – 5.00 หมายถึง พึงพอใจมากที่สุด

3.50 – 4.49 หมายถึง พงึ พอใจมาก

2.50–3.49 หมายถงึ พงึ พอใจปานกลาง

1.50–2.49 หมายถงึ พึงพอใจนอ" ย

1.00–1.49 หมายถงึ พงึ พอใจน"อยท่ีสดุ

การเก็บรวบรวมขอมูล
ทําหนังสือขอความอนุเคราะห*ข"อมูลผลการประเมินความพึงพอใจของผู"เรียนต0อการจัดการเรียนการสอนจากระบบ

ประเมินผลกระบวนการเรียนการสอนออนไลน*ของมหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรีในส0วนของสาขาวิชาคอมพิวเตอร*ธุรกิจต้ังแต0ป4
การศกึ ษา 2555 – 2558 โดยคณบดคี ณะวทิ ยาการจัดการ อ.ดร.ภทั รา สขุ ะสุคนธ* ลงนาม

การวิเคราะหข- อมูล
วิเคราะห*ข"อมูลจากผลการประเมินความพึงพอใจของผู"เรียนในส0วนของสาขาวิชาคอมพิวเตอร*ท่ีได"มาจากระบบ

ประเมินผลกระบวนการเรยี นการสอนออนไลนข* องมหาวิทยาลยั โดยใชค" า0 รอ" ยละ ค0าเฉล่ีย และค0าเบยี่ งเบนมาตรฐาน

เอกสารสบื เนอื่ งจากการประชมุ วชิ าการและนําเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ 2559 “การวิจัยรบั ใช"ชุมชนสร"างสังคมฐานความรู"” 103

สรปุ ผล

ผลการวิเคราะห*ความพึงพอใจของผ"ูเรียนต0อการจัดการเรียนการสอนของอาจารย*สาขาวิชาคอมพิวเตอร*ธุรกิจ
มหาวิทยาลยั ราชภัฏธนบรุ ี จากระบบประเมินผลกระบวนการเรียนการสอนออนไลน* แบ0งออกเปVน 3 ตอน ประกอบด"วย ตอนท่ี 1
ข"อมูลพื้นฐานของผ"ูเรียน ตอนท่ี 2 ความพึงพอใจต0อกระบวนการจัดการเรียนการสอน และตอนท่ี 3 ความคิดเห็นเพ่ิมเติมมีต0อ
อาจารยผ* ู"สอน โดยมกี ลุม0 ตัวอยา0 งผู"ตอบแบบสอบถามออนไลน*ท้งั หมด 570 คน จากประชากรท้ังหมด 956 คน แสดงรายละเอยี ด
ไดด" ังตารางท่ี 1 ถึง 3 ตามลาํ ดับ

ตารางที่ 1 แสดงขอ" มลู พน้ื ฐานของผเู" รียน จํานวน รอยละ (%)
ขอมูลพ้ืนฐาน

เพศ

1. ชาย 275 28.77

2. หญิง 295 30.86

รวม 570 59.62

ขอมลู พืน้ ฐาน จํานวน รอยละ (%)

ระดับช้นั ปที่ศึกษา

1. ป4ที่ 1 243 25.42

2. ป4ที่ 2 212 22.18

3. ป4ที่ 3 89 9.31

4. ป4ท่ี 4 26 2.72

รวม 570 59.62

ศนู ย-การศึกษา

1. มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ธนบุรี 434 45.40

2. มหาวทิ ยาลัยราชภัฏธนบรุ ี สมุทรปราการ 136 14.23

รวม 570 59.62

104 เอกสารสบื เนอื่ งจากการประชุมวชิ าการและนําเสนอผลงานวจิ ัยระดบั ชาติ 2559 “การวจิ ยั รบั ใชช" ุมชนสรา" งสงั คมฐานความร"ู”

เกรดเฉลย่ี (GPA)โดยประมาณ

1. ผูเ" รยี นป4 1 243 25.42

2. ตาํ่ กวา0 1.75 13 1.36

3. 1.75 - 1.99 45 4.71

4. 2.00 - 2.50 95 9.94

5. 2.51 - 3.00 110 11.51

6. มากกว0า 3.00 64 6.69

รวม 570 59.62

จากตารางที่ 1 พบว0า ผู"ตอบแบบประเมินออนไลน*มีทั้งส้ิน 570 คน จาก 956 คน คิดเปVน 59.62% เปVนเพศหญิง
30.86% และเพศชาย 28.77% ผู"ตอบแบบสอบถามส0วนใหญ0เปVนผ"ูเรียนช้ันป4ท่ี 1 (25.42%) รองลงมาคือผู"เรียนชั้นป4ท่ี 2
(22.18%) โดยแบ0งเปVนศึกษาที่ศูนย*การศกึ ษามหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ธนบุรี (45.40%) และมหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี สมุทรปราการ
(14.23%) เกรดเฉลย่ี ของผู"เรียนสว0 นใหญ0อย0ทู ่ี 2.51-3.00 (11.51%)

ตารางท่ี 2 แสดงความพงึ พอใจของผู"เรียนตอ0 กระบวนการจัดการเรยี นการสอนของอาจารย*

ลาํ ดับ รายการประเมิน คาเฉลี่ย ความพึงพอใจ

1 แจง" วตั ถปุ ระสงค* แนวการสอนและเกณฑ*การวัดผลให"ทราบอย0างชัดเจน 4.37 มาก

2 เนื้อหาท่สี อนเปนV ไปตามคําอธิบายรายวิชาในหลกั สตู รแนวการสอนและมี 4.30 มาก
ความทนั สมยั

3 ตําราหรือเอกสารประกอบการสอนสอดคล"องกับวตั ถุประสงคแ* ละมเี นื้อหา 4.26 มาก
ครบถ"วน

4 ประยกุ ตเ* นอ้ื หาวชิ าใหส" อดคลอ" งกบั สภาพสังคมและสง่ิ แวดล"อมตามแนว 4.11 มาก
เศรษฐกจิ พอเพียง

5 ผเ"ู รยี นมคี วามสขุ ในการเรยี นรายวชิ าน้ี 4.23 มาก

6 ใช"สือ่ และอุปกรณก* ารสอนท่ีเหมาะสมช0วยให"เข"าใจเน้ือหาไดด" ียง่ิ ข้ึน 4.25 มาก

เอกสารสบื เนอื่ งจากการประชมุ วชิ าการและนาํ เสนอผลงานวจิ ัยระดับชาติ 2559 “การวิจัยรบั ใช"ชุมชนสรา" งสงั คมฐานความรู"” 105

ลาํ ดบั รายการประเมิน คาเฉลีย่ ความพงึ พอใจ

7 ส0งเสริมใหม" กี ารแสดงความคิดเหน็ และวเิ คราะหป* ญn หาด"วยตนเอง 4.25 มาก

8 จัดกิจกรรมการเรียนการสอนทหี่ ลากหลาย 4.11 มาก

9 มเี ทคนิคการสอนทก่ี ระต"ุนความสนใจและกอ0 ให"เกดิ การเรียนร"ู 4.18 มาก

10 ส0งเสริมและแนะนําใหผ" "เู รยี นคน" ควา" ความร"ดู "วยตนเองเพิ่มข้นึ จากแหลง0 4.19 มาก
เรยี นรตู" 0าง

11 การสอดแทรกจริยธรรมและจรรยาบรรณในวิชาชพี 4.14 มาก

12 ประเมินพฒั นาการของผูเ" รียนเปVนระยะและหลากหลายวิธี 4.21 มาก

13 มีบุคลิกภาพเหมาะสมกับความเปนV ครูและปฏบิ ตั ิตนเปนV แบบอยา0 งทีด่ ีแก0 4.33 มาก
ผเ"ู รียน

14 กิจกรรมการเรยี นการสอนสอดคลอ" งกับจดุ ประสงค*การเรียนร"ู 4.25 มาก

15 ส0งเสริมการทํางานเปVนทมี 4.24 มาก

16 การเขา" สอนตรงเวลาและเตม็ เวลา 4.34 มาก

17 ความพงึ พอใจของผู"เรยี นทมี่ ตี อ0 กระบวนการเรยี นรูท" ไี่ ดจ" ากการเรยี นรายวิชา 4.32 มาก
นี้

4.24 มาก
รวม

จากตารางที่ 2 พบว0าความพึงพอใจของผู"เรียนต0อกระบวนการจัดการเรียนการสอนของอาจารย*สาขาวิชาคอมพิวเตอร*
ธุรกิจในภาพรวมอยู0ในระดับมาก ค0าเฉลี่ย 4.24 เมื่อวิเคราะห*เปVนรายข"อพบว0า ผ"ูตอบแบบประเมินมีความพึงพอใจในอาจารย*
ผส"ู อนมากทส่ี ดุ ในดา" นการแจ"งวัตถปุ ระสงค* แนวการสอนและเกณฑ*การวัดผลให"ทราบอยา0 งชดั เจน ค0าเฉล่ีย 4.37 การเข"าสอนตรง
เวลาและเต็มเวลา ค0าเฉล่ีย 4.34 และมีบุคลิกภาพเหมาะสมกับความเปVนครูและปฏิบัติตนเปVนแบบอย0างที่ดีแก0ผู"เรียน ค0าเฉลี่ย
4.33 ตามลําดบั และด"านอื่นๆ ที่รองลงมา คือ ตาํ ราหรอื เอกสารประกอบการสอนสอดคลอ" งกบั วัตถปุ ระสงคแ* ละมีเน้ือหาครบถ"วน
ค0าเฉลี่ย 4.26 ใช"ส่ือ อุปกรณ*การสอนท่ีเหมาะสมช0วยให"เข"าใจเนื้อหาได"ดีย่ิงข้ึน ส0งเสริมให"มีการแสดงความคิดเห็นและวิเคราะห*
ปnญหาด"วยตนเอง ค0าเฉลี่ย 4.25 มีการส0งเสริมการทํางานเปVนทีม ค0าเฉล่ีย 4.24 และผู"เรียนมีความสุขในการเรียน ค0าเฉลี่ย 4.23

106 เอกสารสบื เนอื่ งจากการประชมุ วชิ าการและนําเสนอผลงานวิจยั ระดบั ชาติ 2559 “การวิจัยรับใช"ชุมชนสร"างสงั คมฐานความร"ู”

ส0วนความพึงพอใจในด"านการประยุกต*เนอ้ื หาวิชาใหส" อดคล"องกับสภาพสงั คมและส่ิงแวดล"อมตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง และการ
จัดกจิ กรรมการเรียนการสอนท่ีหลากหลายของอาจารยพ* บว0าอยู0ในระดับน"อยทีส่ ดุ คา0 เฉลีย่ 4.11

ตารางท่ี 3 ความคิดเห็นเพมิ่ เติมทม่ี ีต0ออาจารย*ผสู" อน สิง่ ทีผ่ เู รยี นเห็นวาอาจารยค- วรพฒั นาใหดยี ง่ิ ขนึ้
สิง่ ท่ผี ูเรยี นเหน็ วาเปน` ส่งิ ท่ดี ีของอาจารย-

1. เขา" สอนตรงเวลา สอนสนุก 1. อยากให"เพิ่มเน้ือหาท่ีทันสมัยมาสอดแทรกในการสอน และ

2. มีวิธีการสอน อธิบายเน้ือหาท่ีเรียนให"เข"าใจง0าย และมี ควรมีกิจกรรมให"ผ"ูเรียนได"ฝuกฝนและปฎิบัติในแต0ละคาบให"มาก
การทบทวนใหใ" หมก0 รณีทีไ่ ม0เขา" ใจ ข้ึนและใหค" ะแนนงานที่มอบหมายมากข้นึ

3. เอาใจใส0ผู"เรียน แนะนํา บอกแนวทางให"ผ"ูเรียนร"ูจักที่จะ 2. อยากให"อาจารย*ยิ้มร0าเริง เพราะจริงจังตลอดทําให"ผู"เรียน
ทําตัวเปVนผ"ูใหญ0และรู"จักช0วยเหลือผ"ูอื่น และแทรกข"อคิด เครียดกับการเรียน

เพื่อนาํ ไปใชใ" นชีวติ ประจําวนั ได" 3. อยากให"อาจารย*พฒั นาทกั ษะการสอนใหด" ียิ่งข้ึน

จากตารางที่ 3 พบว0าผ"ูตอบแบบประเมินมีความคิดเห็นเพิ่มเติมว0าเปVนสิ่งท่ีดีของอาจารย*ผ"ูสอนในเรื่องของการเข"าสอน
ตรงเวลา สอนสนุก มีวิธีการสอนท่ีดี อธิบายเนื้อหาที่เรียนให"เข"าใจง0าย และมีการทบทวนให"ใหม0กรณีที่ไม0เข"าใจ เอาใจใส0ผู"เรียน
แนะนํา บอกแนวทางให"ผ"ูเรียนร"ูจักท่ีจะทําตัวเปVนผ"ูใหญ0และรู"จักช0วยเหลือผู"อ่ืน และแทรกข"อคิดเพื่อนําไปใช"ในชีวติ ประจําวันได"
ส0วนส่งิ ทผี่ ู"เรยี นคิดเห็นว0าอยา0 งใหอ" าจารย*ผ"สู อนพฒั นาในเร่อื งของการเพ่ิมเนือ้ หาท่ที ันสมัยมาสอดแทรกในการสอน ควรมีกิจกรรม
ให"ผูเ" รียนได"ฝuกฝนและปฎบิ ตั ิในแตล0 ะคาบให"มากขน้ึ และมีการมอบหมายงานและใหค" ะแนนให"มากขนึ้ เพือ่ ช0วยเหลือผ"เู รียน รวมไป
ถึงให"อาจารย*ยมิ้ ร0าเรงิ เพราะจรงิ จังตลอดทําให"ผ"เู รยี นเครยี ดกับการเรียน นอกจากนี้ยงั ต"องการให"อาจารยพ* ฒั นาทกั ษะการสอนให"
ดียงิ่ ข้นึ

อภิปรายผล

ความพึงพอใจของผ"ูเรียนต0อการจัดการเรียนการสอนของอาจารย*สาขาวิชาคอมพิวเตอร*ธุรกิจ คณะวิทยาการจัดการ
มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ธนบุรีของผเ"ู รียนสาขาวชิ าคอมพวิ เตอรธ* รุ กจิ ภาคปกติ ภาพรวมอยู0ในระดับมาก ค0าเฉลี่ย 4.24 ซ่ึงเปVนไปตาม
เกณฑ*มาตรฐานการประกันคุณภาพการศึกษา องค*ประกอบที่ 2 การผลิตบัณฑิต ตัวบ0งช้ีท่ี 2.6 ระบบและกลไกการจัดการเรียน
การสอนทกี่ าํ หนดใหค" วามพึงพอใจของผู"เรียนท่ีมีต0อคุณภาพการจัดการเรียนการสอนและส่ิงสนับสนุน การเรียนร"ูทุกรายวิชา ทุก
ภาคการศึกษามีระดับท่ีไม0ตาํ่ กว0า 3.51 จากระดับคะแนนเต็ม 5 (มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี, 2553) ผู"ตอบแบบประเมินมีท้งั ส้ิน
570 คน จาก 956 คน คิดเปVน 59.62% ซึ่งส0วนใหญ0เปVนเพศหญิง ท่ีกําลังศึกษาในระดับช้ันป4ท่ี 1 และ 2 และเรียนที่ศูนย*
การศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี ผ"ูเรียนมีความพึงพอใจมากที่สุดในด"านการแจ"งวัตถุประสงค* แนวการสอนและเกณฑ*การ
วัดผลให"ทราบอย0างชัดเจน การเข"าสอนท่ีตรงเวลาและเต็มเวลา และมีบุคลิกภาพเหมาะสมกับความเปVนครูและปฏิบัติตนเปVน
แบบอย0างท่ีดีแก0ผู"เรียน และด"านที่รองลงมา คือ มีตําราหรือเอกสารประกอบการสอนสอดคล"องกับวัตถุประสงค*และมีเน้ือหา
ครบถ"วน ใช"สื่อ อปุ กรณก* ารสอนที่เหมาะสมชว0 ยใหเ" ขา" ใจเน้ือหาไดด" ยี งิ่ ขน้ึ สง0 เสริมให"มีการแสดงความคิดเห็นและวิเคราะห*ปnญหา

เอกสารสืบเนอื่ งจากการประชุมวิชาการและนําเสนอผลงานวิจยั ระดบั ชาติ 2559 “การวิจัยรับใชช" ุมชนสรา" งสังคมฐานความร"ู” 107

ด"วยตนเอง ส0งเสริมการทํางานเปVนทีมและมีความสุขในการเรียน อย0างไรก็ตามผู"เรียนยังมีความพึงพอใจเกี่ยวกับการประยุกต*
เนื้อหาวิชาให"สอดคล"องกับสภาพสังคมและสิ่งแวดล"อมตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง และการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่
หลากหลายของอาจารยผ* ู"สอนในระดับท่ีนอ" ยกว0าดา" นอื่นๆ ซึ่งผ"ูวิจยั คิดเหน็ วา0 ในประเด็นนอี้ าจเกิดจากการเรยี นการสอนในรายวิชา
ของสาขาคอมพิวเตอร*ธุรกิจจําเปVนต"องใช"ทรัพยากรทางด"านเทคโนโลยีเพื่อประกอบการเรียนการสอน เช0น เครื่องคอมพิวเตอร*
โปรแกรมท่สี ําคญั สาํ หรับการเรยี นในแต0ละรายวชิ า รวมไปถงึ หนังสือหรอื สื่อการเรยี นการสอนทางคอมพิวเตอร*มีราคาแพง เปVนต"น
อีกท้ังการเรียนการสอนจําเปVนต"องอย0ูเฉพาะในห"องปฏิบัติการจึงทําให"ผ"ูเรียนมีความพึงพอใจในส0วนนี้น"อยกว0าด"านอ่ืนๆ ซ่ึงเปVน
เรื่องปกตทิ ่ีอาจจะเกิดขึ้นไดส" ําหรับสาขาวิชาอืน่ ๆ ท่ีมกี ารจดั การเรียนการสอนในลกั ษณะคล"ายกนั ส0วนความคิดเห็นของผ"ูเรียนที่มี
ตอ0 อาจารย*ผ"ูสอน เหน็ วา0 อาจารยเ* ข"าสอนตรงเวลา สอนสนกุ มวี ิธีการสอนที่ดี อธิบายเนือ้ หาที่เรยี นใหเ" ขา" ใจง0าย และมีการทบทวน
ใหใ" หม0กรณที ่ีไม0เขา" ใจ เอาใจใส0ผ"ูเรียน แนะนํา บอกแนวทางให"ผ"ูเรยี นรู"จักที่จะทาํ ตัวเปVนผ"ูใหญ0และรู"จักช0วยเหลือผ"ูอื่น และแทรก
ข"อคิดเพอ่ื นาํ ไปใช"ในชวี ติ ประจาํ วันได" และในมุมของผ"ูวจิ ยั ก็เห็นด"วยกับผเ"ู รียนที่ผูส" อนเข"าสอนตรงเวลา มีวิธีการสอนใหม0 และเอา
ใจใส0 รวมไปถึงแนะนําใหผ" เ"ู รยี นปฏบิ ตั ิตัวไปในทางทีด่ ซี งึ่ ถือเปนV ภาระหนา" ท่ขี องอาจารยผ* สู" อนทีต่ อ" งสัง่ สอนลกู ศษิ ยใ* ห"เปVนคนดีของ
สังคม ซ่ึงสอดคล"องกับ Lei Zhang (2010) ที่ศึกษาเก่ียวกับความสัมพันธ*ระหว0างครูและผ"ูเรียนของมหาวิทยาลัยในประเทศจีน
พบว0า เปVนพ้ืนฐานสําคัญสําหรับการทําทุกกิจกรรมในภาคการศึกษา ซ่ึงจะช0วยให"ผู"เรียนมีสามารถทําการศึกษาภายในระบบที่
กําหนดได"อยา0 งราบร่นื และยังกระตนุ" ให"ผ"ูเรียนเกดิ ความสนใจในเรื่องต0างๆ ท่ีทางมหาวิทยาลัยจัดข้ึนด"วย ส0วนสิ่งท่ีผ"ูเรียนอยากให"
อาจารยผ* "ูสอนพัฒนา คือ ควรมีการเพิม่ เนอ้ื หาท่ีทนั สมัยมาสอดแทรกในการสอน มีกิจกรรมให"ผู"เรียนได"ฝuกฝนและปฎิบัติในแต0ละ
คาบเรยี นใหม" ากข้ึน ซึง่ ผู"วิจัยเหน็ ด"วยกับประเด็นนีเ้ ชน0 กันเนือ่ งจากเทคโนโลยมี ีการเปลย่ี นแปลงอยา0 งรวดเร็วและการเรยี นในสาขา
คอมพิวเตอร*ธรุ กิจจําเปVนตอ" งมที กั ษะในด"านการใช"งานคอมพิวเตอร*ทงั้ ในดา" นฮารด* แวร*และซอฟตแ* วร* อาจารยผ* สู" อนจงึ จาํ เปVนต"อง
มกี ารปรบั ปรุงเนอื้ หาใหท" ันสมยั อยูเ0 สมอตามยุคสมยั พัฒนาความทางวิชาการและสอนโดยการเนน" ปฏบิ ัตเิ พ่อื ให"ผ"ูเรียนเกิดทกั ษะใน
ศาสตรท* ีเ่ รียนพรอ" มจะไปปฏบิ ัตงิ านไดใ" นอานาคต และสอดคลอ" งกับ Wen-Hwa Ko, Feng-Ming Chung (2014) ท่ีศกึ ษาเกีย่ วกบั
คุณภาพการเรียนการสอนของอาจารย*ต0อความพึงพอใจและการปฏิบัติงานวิชาการของนักศึกษาการโรงแรมในไต"หวัน พบว0า
คุณภาพการจดั การเรยี นการสอนทด่ี ีของอาจารยจ* ะส0งผลต0อการพัฒนาความรู"และความสามารถของผ"ูเรียนท้ังในด"านวิชาการและ
ทักษะได" นอกจากน้ผี ู"เรียนยงั ต"องการใหม" ีการมอบหมายงานและใหค" ะแนนให"มากข้นึ รวมไปถึงอาจารย*ควรยิ้มร0าเรงิ ในระหวา0 งทํา
การสอน เพราะจริงจังตลอดทําให"ผู"เรียนเครียดกับการเรียน นอกจากนี้ยังต"องการให"อาจารย*พัฒนาทักษะการสอนให"ดียิ่งข้ึน ซึ่ง
สอดคล"องกับ ธัชกร วงษ*คําชัย (2556) สุป–ยา ทาปทา (2546) และศิริกุล ตัณฑุลารักษ* (2545) พบว0า ผู"เรียนมีความพึงพอใจ
เก่ียวกับการแจ"งวัตถุประสงค* แนวการสอนและเกณฑ*การวัดผลให"ทราบอย0างชัดเจนของอาจารย*ผู"สอน การเข"าสอนตรงเวลา
เน้ือหาที่สอนเปVนไปตามคําอธิบายรายวิชามีแนวการสอนที่ทันสมัย มีเอกสารประกอบการสอนหรือตําราหลักที่สอดคล"องกับ
วัตถปุ ระสงค* และมีความสขุ ในการเรยี น อาจารยส* อนดี เข"าใจงา0 ย มแี บบฝuกหัด กจิ กรรมให"ทาํ ในห"องเรียน และมแี นวทางการสอน
ที่ดีเยี่ยมและหลากหลาย มีการสอดแทรกความร"ูใหม0ๆ ให"กับผ"ูเรียนอีกท้ังมีความเปVนกันเองกับผู"เรียนและเอาใจใส0ผ"ูเรียน สิ่งที่
ผเ"ู รยี นอยากให"อาจารยผ* "สู อนพฒั นาคอื อาจารยค* วรรบั ผดิ ชอบการสอนเขา" สอนใหต" รงเวลาสอนตรงกับเนือ้ หาสาระสาํ คัญของเร่ือง
นั้นๆ พร"อมยกตัวอย0างประกอบ มีสื่อการเรียนการสอนท่ีหลากหลาย และเทคนิคการสอนที่ดึงดูดใจผ"ูเรียน ไม0ควรสอนเร็ว
จนเกินไป เป–ดโอกาสให"ผ"ูเรียนได"ซักถามและลงมือปฏิบัติจริง ท้ังนี้ควรสร"างบรรยากาศในห"องเรียนให"น0าเรียนด"วยการยิ้มแย"ม
แจม0 ใส

108 เอกสารสบื เนอื่ งจากการประชมุ วิชาการและนาํ เสนอผลงานวิจัยระดับชาติ 2559 “การวิจัยรบั ใชช" ุมชนสรา" งสังคมฐานความรู"”

ขอเสนอแนะ

ขอเสนอแนะสําหรับการนาํ ไปประยกุ ต-ใช
สาขาวิชาคอมพิวเตอร*ธุรกิจ ควรมีการนําผลการวิจัยไปใช"ประโยชน*ในการปรับปรุงการจัดการเรียนการสอนให"มี

ประสิทธิภาพมากย่ิงข้ึน เช0น ประเด็นการประยุกต*เนื้อหาวิชาให"สอดคล"องกับสภาพสังคมและส่ิงแวดล"อมตามแนวเศรษฐกิจ
พอเพียง และการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่หลากหลาย รวมไปถึงนําประเด็นที่ผู"เรียนอยากให"มีการเพ่ิมเน้ือหาท่ที ันสมัยใน
การสอน มีกิจกรรมให"ผ"ูเรียนได"ฝuกฝนและปฎิบัติในแต0ละคาบเรียนให"มากขึ้น ไปประกอบการพิจารณาเพื่อเปVนแนวทางในการ
ปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตรในอนาคต เช0น การเพิ่มรายวิชาใหม0ๆ ที่ทันสมัย การออกแบบคําอธิบายรายวิชา รวมไปถึงการ
ออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอนในแต0ละรายวิชาให"มีการปฏบิ ตั ิมากข้นึ เปVนต"น

ขอเสนอแนะสาํ หรบั การทําวจิ ยั ตอไป
สาขาวิชาคอมพิวเตอร*ธุรกิจ ควรมีการประเมินผลความพึงพอใจแยกเปVนรายวิชา เพ่ือให"เห็นผลความพึงพอใจต0อการ

จดั การเรยี นการสอนในรายวิชาที่เปด– สอนไดช" ัดเจนยง่ิ ขนึ้ เพอื่ เปนV แนวทางในการจัดอาจารย*ผ"สู อนใหเ" หมาะสมกับรายวชิ า

เอกสารอางองิ

มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ธนบุรี. (2553). รายงานผลการประเมนิ คณุ ภาพการศึกษาภายใน ปการศกึ ษา 2553. กรงุ เทพฯ : เอส. พี.
เอ็น. พรน้ิ ติ้ง.

ธชั กร วงษ*คาํ ชยั . (2556). ความพงึ พอใจของผูเรียนตอการจดั การเรียนการสอนของอาจารยม- หาวทิ ยาลยั ราชภัฏธนบรุ ี. การ
ประชมุ วชิ าการและนําเสนอผลงานวจิ ัยระดบั ชาติ 2556 “การวิจัยรบั ใช"ชมุ ชน สร"างสงั คมฐานความร”"ู . มหาวิทยาลยั
ราชภัฏธนบรุ ี. ----------101-109.

บุญชม ศรีสะอาด และ บุญส0ง นิลแก"ว. (2535). การอางอิงประชากรเม่ือใชเครื่องมือแบบมาตราสวนประมาณคากับกลุม
ตัวอยาง. วารสารการวดั ผลการศึกษา มศว มหาสารคาม. 3(1) : 22-25 กรกฎาคม 2535.

ศิริกลุ ตณั ฑุลารักษ*. (2545). รายงานการวิจยั เรื่องความคิดเห็นของผูเรียนภาคปกติเกี่ยวกับการเรียนการสอนสถาบันราชภัฏ
กาญจนบุรี ภาคเรยี นท่ี 2 ปการศกึ ษา 2544. กาญจนบรุ ี : มหาวทิ ยาลัยราชภัฏกาญจนบรุ ี.

สาขาวิชาคอมพิวเตอร*ธุรกิจ. (2558). รายงานผลการดําเนินงานการของหลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาคอมพวิ เตอร-
ธุรกจิ พ.ศ.๒๕๕๕ (ปรบั ปรงุ ). คณะวทิ ยาการจัดการ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ธนบรุ ี.

สุป–ยา ทาปทา. (2546). รายงานการวิจัยเรื่องความคิดเห็นของผูเรียนตอการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนของอาจารย-คณะ
มนุษยศาสตร-และสังคมศาสตร- สถาบันราชภัฏอุบลราชธานี ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2545. อุบลราชธานี :
มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี.

Lei Zhang. (2010). Study on the Satisfaction of the Relationship between Teachers and Students under
the Impact of Double Factors in Universities a case study of empirical survey among the
students of seven universities in China. International Journal of Psychological Studies Vol. 2, No. 1;
June 2010.

Wen-Hwa Ko and Feng-Ming Chung. (2014). Teaching Quality, Learning Satisfaction, and Academic
Performance among Hospitality Students in Taiwan. World Journal of Education Vol. 4, No. 5; 2014

เอกสารสืบเนอื่ งจากการประชุมวชิ าการและนาํ เสนอผลงานวจิ ยั ระดับชาติ 2559 “การวจิ ัยรับใช"ชุมชนสร"างสังคมฐานความร"ู” 109

การพัฒนาหลักสูตรการฝ}กอบรมคอมพิวเตอรแ- ละอนิ เทอรเ- นต็ สําหรบั ผูสูงอายุ
Development of Curriculum on Computer Training and Internet Use

for the Elderly

เอกพรรณ ธัญญาวินชิ กุล1 และ สมนึก ธัญญาวนิ ิชกุล2
AkhaphanThanyavinichakul1 and Somnuk Thanyavinichakul2

บทคดั ยอ

การวิจยั น้ีมีวัตถุประสงค* 1) เพื่อพัฒนาหลักสูตรการฝuกอบรม เร่ือง คอมพิวเตอร*และอินเทอร*เน็ตสําหรับผู"สูงอายใุ ห"มี
ประสิทธิภาพไม0ตํ่ากว0าเกณฑ* 75/75 2) เพ่ือศึกษาผลการใช"หลักสูตรการฝuกอบรม เร่ือง คอมพิวเตอร*และอินเทอร*เน็ตสําหรับ
ผู"สูงอายุ 2 ด"าน คือ ด"านความคิดเห็นของผ"ูเข"ารับการฝuกอบรม และด"านความพึงพอใจของผู"เข"ารับการฝuกอบรมท่ีมีต0อหลักสูตร
การฝกu อบรม เรอ่ื ง คอมพวิ เตอร*และอินเทอรเ* นต็ สาํ หรับผู"สงู อายุ เครอ่ื งมอื วจิ ัยท่ใี ชเ" กบ็ รวบรวมขอ" มลู ไดแ" ก0 หลกั สูตรการฝuกอบรม
เรอ่ื ง คอมพวิ เตอร*และอินเทอร*เนต็ สําหรบั ผส"ู งู อายุ แบบประเมินความเหมาะสมของหลักสูตรการฝuกอบรม แบบสังเกตทักษะการ
ปฏิบัติงานของผ"ูเข"ารับการฝuกอบรม และแบบสอบถามความคิดเห็นท่ีมีต0อการรับการฝuกอบรม กล0ุมตัวอย0างเปVนผ"ูสูงอายุที่ได"มา
จากการเลือกแบบเจาะจง จาํ นวน 30 คน ในเขตกรุงเทพมหานครทาํ การทดลองใช"หลักสูตรฝuกอบรม โดยใช"วิธีการวิจัยเชิงทดลอง
ศึกษากลมุ0 เดีย่ ว วัดเฉพาะหลงั การทดลอง (One Group Posttest Design) การวเิ คราะห*ข"อมูลใช"การหาค0าร"อยละ ค0าเฉลี่ย ส0วน
เบีย่ งเบนมาตรฐาน

ผลการวิจัยพบว0า 1) หลักสูตรการฝuกอบรม เร่ือง คอมพิวเตอร*และอินเทอร*เน็ตสําหรับผู"สูงอายุมีประสิทธิภาพ (E1/E2)
เท0ากับ 75.8/83.9 ซึ่งเปVนไปตามเกณฑ* 75/75 ท่ีกําหนดไว" 2) ผู"เข"าอบรมมีความคิดเห็นต0อหลักสูตรการฝuกอบรม ในระดับเห็น
ด"วยมากท่ีสุด และมีความพึงพอใจของผ"ูเข"ารับการอบรมต0อหลักสูตรการฝuกอบรม ในระดับพึงพอใจมากท่ีสุด หลักสูตรการ
ฝกu อบรม เร่อื ง คอมพวิ เตอร*และอินเทอร*เน็ตสําหรับผู"สูงอายุ สามารถนําไปขยายผลการจัดฝuกอบรมเพื่อตอบสนองความตอ" งการ
แกผ0 สู" ูงอายุที่ยังไมม0 คี วามรด"ู "านคอมพวิ เตอร*และอินเทอร*เน็ต ทั้งในส0วนกลางและส0วนภูมิภาค และสามารถนําไปพัฒนาต0อให"เปVน
หลกั สตู รการฝกu อบรมด"านคอมพวิ เตอร*ข้นั ก"าวหนา" สําหรบั ผ"สู ูงอายุทป่ี รารถนาพัฒนาความรูเ" ฉพาะทาง

คําสําคญั : ผ"ูสูงอายุ หลกั สตู รการฝกu อบรม หลักสูตรคอมพิวเตอร*

ABSTRACT

The objectives of the study were : 1) to develop the training program on “Computer and Internet for the
elderly” based on the efficiency criterion at 75/75, and 2) to study the learners’ opinion and satisfaction towards of
learning with the curriculum. The employed research instruments were the training curriculum on “Computer and
Internet for the elderly”, skill observation forms and the questionnaires. The sample, who were purposively selected
were 30 elderly people in Bangkok. We tested them by using One Group Post-test Design. After that, Data were
analyzed by using statistical analysis by percentage mean and standard deviation.

1 ผ"ชู ว0 ยศาสตราจารย* สาขาวชิ าวทิ ยาการคอมพวิ เตอร* คณะวิทยาศาสตร* มหาวิทยาลยั ราชภัฏจันทรเกษม
2ผชู" ว0 ยศาสตราจารย* สาขาวิชาเทคโนโลยอี เิ ลก็ ทรอนกิ ส* คณะวทิ ยาศาสตร* มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั จันทรเกษม

110 เอกสารสืบเนอ่ื งจากการประชมุ วชิ าการและนําเสนอผลงานวิจยั ระดบั ชาติ 2559 “การวจิ ยั รับใชช" มุ ชนสรา" งสงั คมฐานความร"ู”

The results of the study were as follow : 1) It was found that the efficiency of The curriculum was 75.8/83.9
which corresponded to the efficiency criterion determined at E1/E2 = 75/75 2) the learners’ opinions have been both
at the highest level of competency and the highest level of satisfaction. As a result the training curriculum should be
extended the other elderly in both central and region areas. It should also be develop to an advanced course for the
same group to upgrade their skills.

KEYWORDS: the elderly, training course, computer curriculum

ความเปน` มาและความสําคัญของปญa หา

ประเทศไทยไดก" า" วเข"าสก0ู ารเปVนสังคมผูส" ูงอายเุ ช0นเดียวกับหลายประเทศท่ีมแี นวโนม" เข"าสส0ู ังคมผส"ู งู วัย รัฐได"ตระหนักถึง
นโยบายด"านการศึกษาสําหรับผู"สูงอายุซึ่งจะช0วยให"ผ"ูสูงอายุใช"ชีวิตอย0างมีความสุข สําหรับการเข"าถึงการศึกษาตลอดชีวิตของ
ผ"ูสูงอายุ โดยการสํารวจจากมูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาผู"สูงอายุไทย ป4 2555 พบว0า ผ"ูสูงอายุระหว0างป4 60 – 64 ป4 มีความ
ต"องการใหจ" ดั บรกิ ารการศึกษาตลอดชวี ิตมากที่สุด และมีแนวโน"มลดลงเม่ืออายุเพ่ิมมากข้ึน นอกจากนี้ยังมีความต"องการรูปแบบ
การจดั การศึกษาในลกั ษณะทเ่ี ปVนการจัดอบรมระยะสนั้ มากทีส่ ุด (อารียม* ยังพงษ*, 2555) ทุกวนั น้ีผู"สูงอายุส0วนใหญ0 มีผลกระทบใน
ดา" นสงั คม ซงึ่ เปลย่ี นบทบาทจากหัวหนา" ครอบครวั เปVนผ"ูตาม การไม0ไดร" บั การยอมรับนับถือจากลูกหลานเนื่องจากเห็นว0าอายุมาก
แลว" ไม0ทันต0อเหตุการณ* ส่งิ เหลา0 นอ้ี าจเปVนเหตใุ ห"เกดิ ภาวะซมึ เศรา" (วรี ศกั ด์ิ เมืองไพศาล, 2558)ผสู" งู วยั ในบา" นมกั ถูกทอดทง้ิ ให"อย0ู
โดดเดี่ยว แพทย*จึงมักแนะนําผ"ูสูงอายุให"หากิจกรรมทําอย0างเหมาะสม เช0น การออกไปสมาคม สังสรรค* แต0การเดินทางทําได"ไม0
สะดวก หรือมปี ญn หาเร่ืองความจํา ดังนน้ั การหากจิ กรรมท่สี ามารถทําไดท" บี่ า" นจะเปนV ประโยชนแ* ละเหมาะสมกว0า ทางเลอื กหน่งึ คือ
การใช"คอมพิวเตอร*และอินเทอร*เน็ตเพ่ือความบันเทิง ผ0อนคลาย ส่ือสารข"อมูลเปVนเครื่องมือในการเชื่อมโยงให"ใกล"ชิดลูกหลาน
หรอื เพ่อื นฝงู จากการศึกษาพบวา0 ผ"ูสูงอายไุ ม0ได"ปฏิเสธเทคโนโลยคี อมพิวเตอร* ผ"ูสงู อายุมีความตั้งใจทีจ่ ะเรียนรู" หากมีการจัดอบรม
ให"อยา0 งเหมาะสม เทคโนโลยคี อมพวิ เตอรแ* ละการสื่อสารมีการพฒั นาเปด– กว"างมากขึ้น มีความสะดวกสาํ หรบั ผ"ูสงู อายุ ไม0วา0 จะเปVน
เรื่องคน" ควา" หาความรู" การหาความบนั เทงิ รวมท้งั การชว0 ยเพมิ่ โอกาสตา0 ง ๆ ให"แกผ0 ูส" ูงอายุอกี ด"วย (Norman, 2002) เมื่อผู"สูงวัยมี
ความร"ู ความเข"าใจ เกิดทกั ษะในการใช"เทคโนโลยี ก็จะทําให"สามารถพูดคยุ กับบุตรหลานเปVนภาษาเดียวกัน มีกิจกรรมร0วมกันได"
การใชง" านคอมพวิ เตอรแ* ละอนิ เทอร*เน็ตจงึ มสี ว0 นสนบั สนนุ ให"ผู"สงู อายมุ คี วามผาสกุ มีความร"ูสกึ ที่มน่ั ใจมากขึ้นจากการมปี ฏิสัมพันธ*
ระหวา0 งบุคคล ท้งั ยังชว0 ยเสริมความร"ู และสรา" งเสรมิ ประสบการณใ* นการใช"งานควบคมุ เทคโนโลยีได"อยา0 งอิสระ (Shapira,2015)

ปnญหาการใช"คอมพิวเตอร*ของผู"สูงอายุพบว0า ผ"ูสูงอายุมกั มีความกังวลว0าจะทําความเสียหายให"แก0เคร่ืองคอมพิวเตอร*
เน่ืองจากเปVนอุปกรณ*ท่มี รี าคาคอ0 นขา" งสูง (กวีพงษ* เลิศวัชรา และกาญจนศักดิ์ จารุปาณ, 2555) ทาํ ให"ผ"ูสูงอายุไม0กล"าท่ีจะใช"งาน
คอมพิวเตอร* นอกจากนี้ยังพบว0าผู"สูงอายุส0วนใหญ0ไม0มีคอมพิวเตอร*เปVนของตนเอง และยังขาดประสบการณ*การใช"งาน
คอมพิวเตอร* ขณะทผี่ "ูสูงอายกุ ลบั มคี วามต"องการฝกu อบรมดา" นคอมพิวเตอรแ* ละอินเทอร*เน็ต เพื่ออ0านข"อมูลข0าวสาร สืบค"นข"อมูล
บนอินเทอร*เนต็ โดยต"องการรับการฝuกอบรมโดยไม0เสียค0าใช"จ0าย การเดินทางสะดวก และมีวิทยากรท่ีเข"าใจข"อจํากัดของผู"สูงอายุ
(อารีย*มยงั พงษ*, 2555)

มูลนธิ ิสถาบันวิจัยและพัฒนาผสู" งู อายุไทย (2552) ไดเ" สนอแนวคดิ ไว"วา0 ประเทศไทยควรให"ความสาํ คัญกบั การเรยี นรูข" อง
ผ"ูสูงอายุ เช0นเดียวกับหลาย ๆ ประเทศ โดยควรมีการสนับสนุนให"มหาวิทยาลัย หรือสถาบันการศึกษา เป–ดหลักสูตรสําหรับ
ผสู" ูงอายุ เช0น สอนอินเทอรเ* น็ต ภาษาอังกฤษ ทักษะอาชีพตามความสนใจ การส0งเสริมการเรียนร"สู ําหรบั ชุมชน เปVนตน" ภาครัฐควร
มกี ิจกรรมบรกิ ารทางการศกึ ษา โดยใหก" ระทรวงศกึ ษาธิการ เปVนผ"รู ับผดิ ชอบ สง0 เสรมิ สนับสนนุ ให"หนว0 ยงานในสงั กัด ไดด" ําเนินการ
จัดการศึกษาให"แก0ผ"ูสูงอายุให"ให"สอดคล"องกับภารกิจหลัก การจัดทําหลักสูตรที่เก่ียวข"องกับผ"ูสูงอายุ ส0งเสริมและสนับสนุนการ
ผลิตงานวิจยั เพอื่ เพม่ิ พูนองค*ความร"ูดา" นผู"สงู อายุ

เอกสารสบื เนอื่ งจากการประชมุ วชิ าการและนาํ เสนอผลงานวิจัยระดบั ชาติ 2559 “การวจิ ัยรับใช"ชมุ ชนสรา" งสงั คมฐานความร"ู” 111

การศึกษาแนวทางการพัฒนาหลักสูตรสําหรับการฝuกอบรมความรู"ด"านคอมพิวเตอร*และอินเทอร*เน็ตให"สอดคล"องกับ
ลักษณะของผ"ูสูงอายุ เพื่อการนําหลักสูตรไปใช"อย0างกว"างขวาง ในสถาบันหรือหน0วยงานท่ีมีความพร"อม จะช0วยรองรับความ
ต"องการการฝuกอบรมของผู"สูงอายุตามแนวโน"มที่เพิ่มขึ้นโดยออกแบบให"หลักสูตรมีการเรียนรู"ไปพร"อมกับการฝuกปฏิบัติ เน"น
กิจกรรมท่ีสอดคล"องเชื่อมโยงกับประสบการณ*ชีวิต ไม0เน"นรายละเอียดปลีกย0อยที่ซับซ"อน ให"ผู"เข"าฝuกอบรมมีส0วนร0วมใน
กระบวนการทุกขั้นตอน และให"ทดลองแก"ไขปnญหาด"วยตนเอง การสร"างบรรยากาศการอบรมที่น0าร่ืนรมย* มีกิจกรรมอ่ืน ๆ
สอดแทรกระหว0างการอบรม เพื่อรองรับข"อจํากัดทางร0างกายของผู"สูงอายุ จะสามารถเปVนหนทางหนึ่งที่ช0วยส0งเสริมสนับสนุนให"
เกิดเปนV สังคมผู"สงู อายุที่มคี ณุ ภาพได"ต0อไปในอนาคต

วัตถุประสงคข- องการวิจัย
1. เพื่อพัฒนาหลักสูตรการฝuกอบรมคอมพิวเตอร*และอินเทอร*เน็ตสําหรับผู"สูงอายุให"มีประสิทธิภาพไม0ตํ่ากว0าเกณฑ*

75/75
2. เพอื่ ศึกษาผลการใชห" ลักสูตรการฝกu อบรม คอมพิวเตอร*และอินเทอร*เนต็ สาํ หรับผสู" ูงอายุ 2 ด"าน คือ ด"านความคิดเห็น

ของผ"ูเข"ารับการฝuกอบรม และด"านความพึงพอใจของผู"เข"ารับการฝuกอบรมที่มีต0อหลักสูตรการฝuกอบรมคอมพิวเตอร*และ
อินเทอรเ* น็ตสาํ หรับผูส" งู อายุ

วิธีดําเนนิ การวิจยั

ประชากรและกลมุ ตวั อยาง
1.ประชากร คอื ผู"สูงอายุทีแ่ จ"งลงช่อื สมคั รไว"กับสาขาวิชาวทิ ยาการคอมพวิ เตอร* มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษมจํานวน

47 คน
2. กลุ0มตวั อยา0 ง คอื ผสู" ูงอายุท่ีได"มาจากการเลอื กแบบเจาะจง จาํ นวน 30 คน

เครอื่ งมือการวิจยั
เครือ่ งมอื ทีใ่ ช"ในการวิจัยครั้งน้ีประกอบดว" ยเคร่อื งมอื 4 รายการ ดงั น้ี
1. หลักสตู รการฝuกอบรม เรอื่ ง คอมพิวเตอรแ* ละอนิ เทอรเ* น็ตสาํ หรับผ"ูสงู อายุ
หลกั สูตรการฝuกอบรมทพ่ี ัฒนาข้ึนประกอบดว" ย วตั ถปุ ระสงคก* ารฝกu อบรม เนื้อหาสาระ วิธีดําเนินการฝuกอบรม แผนการ

ฝuกอบรม กิจกรรมการวัดและประเมินผลการฝuกอบรม มีจํานวน 6 หน0วยการเรียนรู" ได"แก0 1) การฝuกทักษะการใช"คอมพิวเตอร*
เบ้ืองต"น 2) การใช"งานอินเทอร*เน็ต 3) การใช"งานอีเมล 4) การใช"งานเครือข0ายสังคมออนไลน*เฟซบ—ุก5) การใช"งานแท็บเล็ตพีซี
เบื้องต"น 6) การดาวน*โหลดและการใชแ" อปพลเิ คชนั บนแท็บเลต็ พีซี ใช"เวลาในการทดลองฝuกอบรม 5 วัน วันละ 6 ช่ัวโมง รวม 30
ชว่ั โมง

2. แบบประเมินความเหมาะสมของหลกั สูตรการฝuกอบรม
3. แบบสงั เกตทักษะการปฏบิ ตั ิงานของผ"เู ข"ารบั การฝกu อบรม
4. แบบสอบถามความคดิ เห็นทีม่ ีตอ0 หลกั สตู รการฝกu อบรม และความพงึ พอใจทีม่ ตี อ0 การจัดการฝกu อบรม
การรวบรวมขอมูล
1. การจัดทําหลักสูตรฝuกอบรม ดําเนินการศึกษา รวบรวมจาก ศึกษานโยบายระดับชาติ ได"แก0 แผนแม0บทเทคโนโลยี
สารสนเทศและการส่ือสาร และศึกษาแนวทางการพัฒนาหลักสูตรของทาบา โดยเพ่ิมเติมข้ันตอนให"เหมาะสมตามลักษณะ
กลุ0มเป•าหมาย ได"แก0 1) กําหนดสภาพปnญหาและความจําเปVนของหลักสูตร 2) กําหนดจุดมุ0งหมายของการฝuกอบรม 3) กําหนด
จุดมุ0งหมายเชิงพฤติกรรม 4) จัดทํากําหนดการสําหรับการฝuกอบรม 5) จัดลําดับเน้ือหาสําหรับการฝuกอบรม 6) กําหนดแนวทาง
ดําเนินการฝuกอบรมตามหลักสูตร 7) กําหนดวิธีการประเมินผู"เข"ารับการฝuกอบรม 8) ตรวจสอบความเหมาะสมของหลักสูตรโดย

112 เอกสารสืบเนอื่ งจากการประชมุ วิชาการและนาํ เสนอผลงานวจิ ัยระดบั ชาติ 2559 “การวิจัยรบั ใช"ชมุ ชนสร"างสงั คมฐานความร"ู”

ผ"ูเชี่ยวชาญ 9) การนําหลักสูตรไปใช" 10) การประเมินผลการนําไปใชข" องหลักสตู ร รวมท้ังศึกษาข"อมูลย"อนหลังเนื้อหารายละเอยี ด
การฝuกอบรมจากโครงการฝuกอบรมคอมพิวเตอร*และอินเทอร*เน็ตสําหรับผ"ูสูงอายุ รุ0น 1 - ร0ุน 5 ของสาขาวิทยาการคอมพิวเตอร*
คณะวิทยาศาสตร* มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม และดําเนินการจัดทําเปVนเล0มหลักสูตรการฝuกอบรม พร"อมท้ังเอกสาร
ประกอบการฝuกอบรม

2. ดาํ เนนิ การหาประสิทธิภาพของหลักสูตรฝuกอบรมโดยนําหลักสูตรท่ีพัฒนาขึ้นไปทําการทดลองใช"กับผ"ูสูงอายุ จํานวน
3 ครัง้ คร้ังที่ 1 เปVนการทดลองแบบหนึ่งตอ0 หนึง่ จาํ นวน 1 คน เพ่ือทดสอบหาขอ" บกพรอ0 งของหลกั สูตรฝกu อบรม โดยใช"การสังเกต
จากพฤติกรรมการรบั การอบรมและการจดบันทึกขอ" บกพร0องของหลักสูตรฝuกอบรม คร้ังท่ี 2 หาแนวโน"มของค0าประสิทธิภาพของ
หลักสูตรการฝuกอบรมโดยทดลองกลุ0มเล็ก นําหลักสูตรการฝuกอบรมท่ีได"รับการแก"ไขจากครั้งที่ 1 ใช"กับผ"ูสูงอายุจํานวน 3 คน
กําหนดให"ผ"ูเข"าอบรมทําแบบทดสอบทักษะระหว0างเรียนและแบบทดสอบทักษะท"ายบทเรียน คร้ังที่ 3 หาค0าประสิทธิภาพของ
หลกั สตู รการฝกu อบรม โดยมเี กณฑ* E1/E2 (75/75) โดยกาํ หนดใหผ" "ูสงู อายุจํานวน 10 คน ทําแบบทดสอบทักษะระหว0างเรียนและ
แบบทดสอบทกั ษะท"ายบทเรียน

3. นําหลักสตู รท่ีพฒั นาขึ้นไปให"ผูเ" ชี่ยวชาญพิจารณาประเมินความเหมาะสมของหลักสูตรฝuกอบรม โดยใช"แบบประเมิน
ความเหมาะสมของหลักสูตรการฝuกอบรมซึ่งประเมินในด"านสภาพปnญหาและความจําเปVนของหลักสูตร หลักการของหลักสูตร
จุดมุ0งหมายของหลักสูตรการฝuกอบรม แนวทางดําเนินการฝuกอบรมตามหลักสูตร กล0ุมเป•าหมาย คุณสมบัติของผู"เข"าอบรม
คุณสมบัตขิ องวิทยากร สาระการเรียนร"ูของหลกั สตู ร กิจกรรมและวธิ กี ารอบรม ส่ือการฝuกอบรม การวัดและประเมนิ ผล แผนการ
จัดกจิ กรรมฝกu อบรม และ เอกสารประกอบการอบรม

4.ดําเนนิ การการเก็บรวบรวมข"อมลู ความคิดเห็นท่มี ตี 0อหลกั สตู รการฝuกอบรม จากกลมุ0 ตัวอย0างซึ่งเปVนผู"เข"าอบรมจํานวน
30 คน โดยใชแ" บบสอบถามความคิดเหน็ ที่มตี 0อหลกั สูตรการฝกu อบรม

5. การเก็บรวบรวมข"อมลู ความพึงพอใจในการจัดการฝuกอบรม เร่ือง คอมพิวเตอร*และอินเทอร*เน็ตสําหรับผ"ูสูงอายุ จาก
กลมุ0 ตวั อย0างซ่ึงเปนV ผ"เู ขา" อบรมจาํ นวน 30 คน โดยใช"แบบสอบถามความพงึ พอใจทม่ี ตี 0อการจัดการฝuกอบรม

6. ดําเนินการเก็บขอ" มลู โดยการสงั เกตทักษะการปฏบิ ตั งิ านของผ"เู ข"ารับการฝกu อบรม ซ่ึงเปVนกลุ0มตัวอย0างจํานวน 30 คน
โดยใชแ" บบสงั เกตทักษะการปฏิบตั ิงานของผู"เขา" รับการฝuกอบรม
การวิเคราะห-ขอมลู

1. การประเมนิ ความเหมาะสมของหลกั สูตรการฝกu อบรม ใช"คา0 เฉล่ีย และค0าส0วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน
2. การวดั ทักษะการปฏิบัตงิ านของผ"ูเขา" รับการฝuกอบรม ใชค" 0าร"อยละ
3. การประเมินความคิดเห็นที่มตี 0อการรับการฝuกอบรม ใชค" า0 เฉลี่ย และค0าส0วนเบย่ี งเบนมาตรฐาน
4. การประเมินความพงึ พอใจในการฝกu อบรม ใชค" า0 เฉลยี่ และคา0 สว0 นเบี่ยงเบนมาตรฐาน

สรปุ ผล

จากผลการวิจัยพบว0า
1. ผลการศึกษาประสิทธิภาพของหลักสูตรฝuกอบรมคอมพิวเตอร*และอินเทอร*เน็ตสําหรับผู"สูงอายุ พบว0า
มปี ระสิทธภิ าพ 75.72/83.92 ซึ่งสงู กว0าเกณฑ*ท่ีกําหนด (E1/E2= 75/75) นอกจากน้หี ลักสตู รฝuกอบรมดังกล0าวได"ผ0านการประเมิน
ความเหมาะสมของหลกั สูตรโดยผเ"ู ชยี่ วชาญในระดบั ความเหมาะสมมากท่สี ุด โดยหลักสูตรฝuกอบรมดังกล0าว มหี ลกั การคือ 1) เปVน
หลักสูตรการฝuกอบรมระยะส้ัน ที่เน"นเน้ือหาสาระการเรียนรู"เก่ียวกับการพัฒนาทักษะการใช"งานคอมพิวเตอร*และอินเทอร*เน็ตที่
จําเปVนในระดับเบื้องต"น เพ่ือการเรียนรู"ด"วยตนเองในระดับต0อไป 2) เปVนหลักสูตรที่ใช"รูปแบบการเรียนร"ูสําหรับผ"ูสูงอายุ ให"
ความสําคัญกับเรื่องราวที่เฉพาะเจาะจง เน"นประโยชน*ท่ีจะนําไปใช"ได"จริงสําหรับชีวิตประจําวันตามบริบทของแต0ละบุคคล ใช"
วธิ ีการจดั กจิ กรรมการอบรมเชงิ ปฏบิ ตั ิการ ใช"แนวคดิ การเรียนร"ูแบบยดึ ผสู" ูงอายเุ ปนV หลักในการจัดกิจกรรมอบรม โดยนําเอาความ
จําเปนV ของความต"องการข"อมูลข0าวสารในชีวติ ประจําวนั และการมสี ว0 นรว0 มจากประสบการณ*ของผู"สูงอายเุ ปVนตัวกระต"นุ ให"เกิดการ
เรยี นรู" และเสริมสรา" งความเข"าใจ ใหส" ามารถนําไปประยุกต*ใช"ในการใช"ชีวิตประจําวันได" เนื้อหาการฝuกอบรมจัดแบ0งเปVน 3 ระยะ

เอกสารสบื เนอื่ งจากการประชมุ วชิ าการและนาํ เสนอผลงานวจิ ยั ระดบั ชาติ 2559 “การวจิ ัยรบั ใชช" มุ ชนสรา" งสังคมฐานความรู"” 113

ดงั นี้ ระยะที่ 1 มีเน้ือหาเกี่ยวกับ การฝuกทักษะการใช"คอมพิวเตอร*เบื้องต"น การใช"งานอินเทอร*เน็ต และการใช"งานอีเมล เปVนการ
ฝuกอบรมโดยใช"อุปกรณ*คอมพิวเตอร*พีซีแบบตั้งโต—ะ ระยะที่ 2 มีเน้ือหาเก่ียวกับ การใช"งานเครือข0ายสังคมออนไลน* เปVนการ
ฝกu อบรมโดยใชอ" ปุ กรณค* อมพิวเตอร*พีซีแบบตั้งโต—ะ ระยะที่ 3 การใช"งานแท็บเล็ตพีซีเบ้ืองต"น และการดาวน*โหลดและการใช"งาน
แอพลิเคชันบนอุปกรณ*แท็บเลต็ เปนV การฝuกอบรมโดยใชอ" ปุ กรณ*คอมพิวเตอรแ* ทบ็ เล็ตพซี ี ในแต0ละระยะสามารถจัดอบรมแยกจาก
กนั ไดต" ามเป•าหมายความรขู" องผเู" ขา" อบรม หลักสูตรฝuกอบรมคอมพิวเตอร*และอินเทอร*เน็ตสําหรับผู"สูงอายุ ประกอบด"วยกิจกรรม
ในแตล0 ะหน0วยการอบรมดงั ต0อไปน้ี 1) การช้ีแจงสาระสําคัญเก่ียวกับวัตถุประสงค*การอบรม ขอบเขตเน้ือหา วิธีการอบรม การวัด
และประเมินผล 2) การยกตัวอย0างกรณีศึกษาเพ่ือนําเข"าสู0บทเรียน 3) การบรรยาย การสาธิต และการลงมือปฏิบัติโดยใช"ใบงาน
4) การมอบหมายงานหลังจากการอบรม โดยใชแ" บบทดสอบ เพ่ือใหเ" กิดการฝuกปฏิบัติทบทวน เพื่อให"ผ"ูเข"ารับการฝuกอบรมได"สร"าง
ความค"ุนเคยจนสามารถจับหลักการและสามารถนําไปใช"ได" 5) สรุปหลักการใช"งานในแต0ละหน0วยการอบรม 6) มีการประเมิน
ตนเอง 7) การเสวนาแลกเปล่ียนประสบการณ*การลงมอื ปฏบิ ตั ิของตนเอง

2. ความคิดเห็นของผู"เข"ารับการอบรมท่ีมีต0อหลักสูตรการฝuกอบรม เรื่อง คอมพิวเตอร*และอินเทอร*เน็ตสําหรับผ"ูสูงอายุ
โดยรวมมีความคิดเห็นอย0ูในระดับเห็นด"วยมากที่สุด ผู"สูงอายุเห็นด"วยมากที่สุดกับเน้ือหา และเอกสารประกอบการอบรมมีความ
เหมาะสม

3. ความพึงพอใจของผู"เข"ารับการอบรมต0อหลักสูตรการฝuกอบรม เรื่อง คอมพิวเตอร*และอินเทอร*เน็ตสําหรับผู"สูงอายุ
โดยรวมมีความพึงพอใจในระดบั มากทส่ี ุด ผู"เขา" อบรมมคี วามพงึ พอใจ วธิ ีการฝกu อบรม เอกสารประกอบการฝกu อบรม และสื่อต0าง ๆ
อปุ กรณ*บนั ทกึ ข"อมูล มากที่สดุ

4. จากผลการสังเกตทักษะการปฏิบัติของผู"เข"ารับการฝuกอบรมหลักสูตร เร่ือง คอมพิวเตอร*และอินเทอร*เน็ตสําหรับ
ผู"สูงอายุ ในภาพรวม ผู"เข"ารับการฝuกอบรมมีทักษะการฝuกปฏิบัติในระดับผ0านเกณฑ* โดยพบว0า หน0วยท่ี 1 ทักษะการใช"
คอมพวิ เตอรเ* บ้อื งตน" มีค0าระดับคะแนนเฉลี่ยสูงท่ีสดุ รองลงมาคอื หน0วยท่ี 5 การใชง" านแท็บเล็ตพซี ี

อภิปรายผล

1. การพัฒนาหลักสตู รการฝกu อบรม เรือ่ ง คอมพวิ เตอรแ* ละอนิ เทอร*เนต็ สําหรบั ผูส" ูงอายุ มีกระบวนการการสรา" งโดยผ0าน
การประเมินความเหมาะสมของหลักสูตรการฝuกอบรมจากผู"เชี่ยวชาญ มีความสอดคล"องทุกประเด็น รวมทั้งนําหลักสูตรการ
ฝกu อบรมดงั กล0าวไปทดสอบประสทิ ธภิ าพตามขัน้ ตอนซึ่งในแต0ละขนั้ ตอนมกี ารปรบั ปรุงแกไ" ขขอ" บกพรอ0 ง จนกระทงั่ ได"ประสทิ ธภิ าพ
เปนV ไปตามวัตถุประสงค* แสดงว0าหลักสูตรดังกล0าวสามารถนําไปใช"ได" ท่ีเปVนเช0นนี้เน่ืองจากผู"วิจัยได"ดําเนินการสร"างหลักสูตรการ
ฝuกอบรมตามแนวคิดของทาบา (บุญเลี้ยง ทุมทอง,2553) ซ่ึงมีขั้นตอนโดยสรุปคือ การวิเคราะห*ปnญหา ความต"องการ และความ
จําเปVนของผู"เข"าเรียนมาเปVนหลักในการพิจารณา คัดเลือกเนื้อหาท่ีจะนํามาใช"ในการอบรม จัดลําดับเนื้อหาโดยพิจารณาความ
เหมาะสมท่จี ะให"ผ"ูเรยี นได"รบั ความรู" กอ0 นหรือหลงั และการประเมินผล เพอื่ วัดความสําเรจ็ ในการพัฒนาหลักสตู ร นอกจากนี้ยังได"
ศึกษา สังเคราะห*ข"อมูลจากเอกสาร วรรณกรรม งานวิจัยที่เก่ียวข"อง ทั้งทางด"านหลักสูตร ด"านผู"สูงอายุ และด"านการนําเน้ือหา
เทคโนโลยีสารสนเทศมาใชอ" ย0างเหมาะสม ประกอบกบั การรายงานผลการจดั กิจกรรมโครงการคอมพวิ เตอรส* ําหรบั ผู"สงู อายุ รุน0 ที่ 1
- ร0นุ ท่ี 5 จึงทําใหไ" ด"หลกั สตู รการฝuกอบรมทม่ี คี วามเหมาะสม สามารถนาํ ไปใชใ" นการฝกu อบรมได"จรงิ

2. ผลการใช"หลกั สูตร
2.1 จากการวิเคราะห*ความคิดเหน็ ต0อหลกั สตู รการฝuกอบรม เรอ่ื ง คอมพวิ เตอรแ* ละอนิ เทอร*เน็ตสําหรับผส"ู งู อายุ ตาม

ความคดิ เห็นของผ"ูเขา" รับการอบรม พบวา0 หลักสตู รดังกล0าวน้มี เี นอื้ หาท่ีมคี วามเหมาะสมกับผ"สู ูงอายุ มีการจดั ลําดบั อยา0 งเหมาะสม
และผู"เข"าอบรมยังเห็นด"วยว0า สามารถนําความร"ูไปใช"ในชีวิตประจําวันได" ซ่ึงหลักสูตรการฝuกอบรม เร่ือง คอมพิวเตอร*และ
อนิ เทอร*เน็ตสําหรับผู"สูงอายุนี้ กําหนดโครงสร"างของหลักสูตรเปVน 3 ระยะ รวม 30 ช่ัวโมง ในระยะที่ 1 มีการเช่ือมโยงเข"าส0ูการ
ค"นหาข"อมูลที่ต"องการตามประสบการณ*และความสนใจของแต0ละคน การเป–ดเพลง การดูหนังท่ีช่ืนชอบ จากเว็บไซต*ผู"ให"บริการ
การสอ่ื สารด"วยจดหมายอเิ ล็กทรอนกิ ส* ต0อเน่อื งมาระยะท่ี 2 เปนV เนอ้ื หาการส่ือสารในเครือข0ายสังคม เห็นสถานะความเปVนไปของ

114 เอกสารสบื เนอ่ื งจากการประชุมวชิ าการและนําเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ 2559 “การวจิ ยั รับใชช" ุมชนสร"างสงั คมฐานความรู"”

คนในครอบครวั และเพอื่ นฝงู ส0วนระยะท่ี 3 เปVนการเช่ือมโยงเข"าสโู0 ปรแกรมส่ือสารไลน* เพ่อื การสื่อสารแบบทันใจ และเปVนท่ีนิยม
ในปnจจุบนั สอดคล"องกับขอ" สรปุ ของคณะกรรมการจัดการความร"ูเพอื่ การบริการทางวิชาการแก0สังคม (2553) ซึ่งระบุว0า ผู"ใหญ0มุ0ง
การเรียนรู"จากชีวิตประจําวนั การจัดหลักสูตรสาํ หรบั ผใ"ู หญค0 วรอาศัยสถานการณต* 0าง ๆ รอบตัวเขา ทั้งยังสอดคล"องกับ อารีย*มยัง
พงษ* (2555) ท่ีพบว0า ผ"ูสูงอายุส0วนใหญ0มีความต"องการต0อประเด็นเหล0านี้ในระดับมาก ได"แก0 การฝuกอบรมหลักสูตรการใช"
คอมพิวเตอรแ* ละอินเทอรเ* นต็ เบ้อื งตน" การสืบคน" ขอ" มูลบนอนิ เทอรเ* น็ต และสอดคลอ" งกับ สพุ ัตราคชาทอง (2545) ท่ีได"ศึกษาไว"ว0า
ผ"ูสูงอายุกล0ุม OPPY Club นิยมใช"อินเทอร*เน็ตเพ่ือความบันเทิงมากทสี่ ุด รองลงมาได"แก0เพ่ือเพิ่มพูนความรู" เพื่อติดต0อส่ือสาร
กจิ กรรมท่ีใช"บนอินเทอรเ* นต็ คือการค"นหาข"อมลู ไปรษณยี อ* ิเล็กทรอนิกส* และตดิ ตอ0 ขา0 วสาร นอกจากนี้ ผู"เข"าอบรมยังเหน็ ด"วยกับ
กิจกรรมภาคปฏิบัติและกิจกรรมสันทนาการระหว0างการอบรมมากท่ีสุด หลักสูตรดังกล0าวได"ออกแบบให"มีกิจกรรมสันทนาการ
สอดแทรกระหวา0 งช0วงเวลาทเ่ี หมาะสม ได"แก0 การเลน0 เกมแลกทอ่ี ยู0อีเมล ทาํ ใหต" อ" งลุกจากท่นี ัง่ ไปหาผู"เขา" อบรมท0านอ่ืน ๆ การเล0น
เกมตอบคําถามง0าย ๆ หรอื อาศัยช0วงทเี่ ปVนการฝuกปฏบิ ัตดิ ูหนังฟnงเพลง เชิญให"ผ"ูเข"าอบรมได"มาร"องเพลง เต"นลีลาศ ซ่ึงได"รับความ
ร0วมมือเปVนอย0างดี และเกิดความสนุกสนาน ซ่ึงสอดคล"องกับงานวิจัยของ ศิริวรรณ อนันต*โท (2552) ว0า การเรียนร"ูในการใช"
เทคโนโลยีของผ"สู ูงอายุอาจเปVนการเรียนร"ูท้งั แบบเปVนทางการและไมเ0 ปVนทางการ และควรเปนV การผสมผสานระหวา0 งการเรยี น การ
ให"ข"อมูล การส่ือสารในโลกแห0งความเปVนจริงและโลกเสมือน ซึ่งผสมผสานด"วยความสนุกสนานและความบันเทิง ซึ่งวิธีการนี้
สามารถนําไปใชไ" ดก" บั กล0มุ ผส"ู งู อายทุ กุ ระดับสงั คมและเศรษฐกจิ

2.2 ผ"ูเขา" รบั การอบรมมคี วามพงึ พอใจของตอ0 หลักสูตรการฝuกอบรม เรื่อง คอมพิวเตอรแ* ละอินเทอร*เน็ตสําหรับผู"สูงอายุ
ในระดับมากท่สี ุด โดยเฉพาะท่ีวธิ ีการฝuกอบรม เอกสารประกอบการฝuกอบรม และส่ือต0าง ๆ อุปกรณ*บันทึกข"อมูล ทั้งน้ีเปVนผลมา
จากหลักสูตรการฝuกอบรมดังกล0าวตรงกับความต"องการของผู"เข"าอบรม ซ่ึงได"เก็บข"อมูลจากรายงานผลการจัดกิจกรรมโครงการ
คอมพิวเตอร*สําหรับผู"สูงอายุ จํานวน 5 ร0ุน โดยหลักสูตรดังกล0าวมีการจัดลําดับเนื้อหาโดยเรมิ่ จากการฝuกทักษะพ้ืนฐานการใช"
คอมพวิ เตอรซ* ่ึงใช"เวลาค0อนขา" งมาก เน่ืองจากผูเ" ข"าอบรมเปนV ผ"สู ูงอายุและไม0คุน" เคย การพิจารณาให"เวลาการฝuกทักษะส0วนน้ีจะทํา
ให"ผ"เู ข"าอบรมมคี วามมน่ั ใจวา0 ตนเองก็สามารถใช"งานได"เชน0 เดยี วกบั วัยอ่ืน ทําให"สามารถปฏิบัติตามเน้ือหาการฝuกอบรมได"ทัน และ
สร"างทัศนคติเชิงบวก เห็นพัฒนาการของตนเอง เช0น การฝuกควบคุมการใช"เมาส* ฝuกใช"แป•นพิมพ* ฝuกเป–ดป–ดโปรแกรมท่ีต"องการ
และทักษะพ้ืนฐานอื่น ๆ เม่ือมีทักษะเหล0าน้ีเปVนพ้ืนฐาน การเรียนร"ูในระดับต0อไปจะมีความราบร่ืน เนื้อหาในลําดับถัดมา ได"แก0
การใช"งานอินเทอร*เน็ต ต0อด"วยการใช"งานอีเมล มีความต0อเน่ืองเชอ่ื มโยงไปส0ูการนําไปใช"งานจริง และการปฏิบัติด"วยตนเองและ
เหน็ ผลจริง สร"างความสนใจได"เปVนอย0างดี การอบรมเน"นเฉพาะเน้ือหาหลัก ๆ ท่ีจําเปVนต"องทราบ และเม่ือผ"ูเข"าอบรมเร่ิมมีความ
ชํานาญ วิทยากรอาจอธิบายรายละเอียดปลีกยอ0 ยเพ่ิมเติมได"ตามความพร"อมของผู"เข"าอบรมแต0ละคน สอดคล"องกับพิษณุพงษ* จิ
ระโภคานนท* (2553) พบว0า ผสู" งู อายุมคี วามต"องการคุณลกั ษณะของผ"สู อนท่มี คี วามรู" ความเขา" ใจ และความอดทนตอ0 ผส"ู ูงอายุ เปนV
ปnจจัยเอ้ือต0อการเรียนคอมพิวเตอร* ส0วนหลักสูตรท่ีง0ายท่ีมีส0วนเปVนปnจจัยเอ้ือต0อการเรียนคอมพิวเตอร*ของผ"ูสูงอายุเปVนอย0างย่ิง
นอกจากวธิ กี ารฝกu อบรมทม่ี ีความเหมาะสมกบั ผ"ูสงู อายแุ ลว" ยังได"จดั ทําเอกสารประกอบการอบรมท่ีมีลําดับเนื้อหาตามกําหนดการ
ทีว่ างแผนไว"อย0างครบถ"วน ทําให"ในระหว0างการอบรม ผ"ูเข"าอบรมสามารถติดตามเน้ือหาการสอนได"โดยไม0จําเปVนต"องจดเพิ่มเติม
และรสู" ึกมั่นใจมากข้ึนวา0 หากตามไมท0 ันจะสามารถตดิ ตามจากเอกสารได" และสามารถทบทวนซ้าํ ได"เทา0 ทตี่ "องการตามข้ันตอนที่ระบุ
ไวใ" นเอกสารประกอบการอบรม

ขอเสนอแนะ

ขอเสนอแนะสําหรบั การนําไปประยกุ ตใ- ช
หน0วยงานท่มี คี วามพร"อมในด"านสถานทจ่ี ัดฝกu อบรมและบคุ ลากร เช0น สถานศึกษา ศนู ย*ดจิ ิทลั ชุมชนท่ัวประเทศ สามารถ

นาํ หลกั สูตรฝuกอบรมไปใช"กับผสู" ูงอายใุ นสว0 นกลางและสว0 นภูมภิ าคทข่ี าดโอกาสในการเรยี นร"ู และเข"าถึงเทคโนโลยี เพ่ือเปVนการให"
ความรูแ" ก0ผู"สงู อายุท่ีตอ" งการเข"าใจสถานการณค* วามเปVนไปของโลกปจn จุบนั และเปนV ประโยชน*สําหรับการเฝ•าระวัง ดูแลบุตรหลาน
ที่ขาดวุฒิภาวะในการใชเ" ทคโนโลยี

เอกสารสืบเนอื่ งจากการประชมุ วิชาการและนาํ เสนอผลงานวิจัยระดบั ชาติ 2559 “การวิจัยรับใช"ชุมชนสร"างสงั คมฐานความรู"” 115

ขอเสนอแนะสําหรับการทาํ วจิ ยั ตอไป
1.ควรมีการพัฒนาหลักสูตรการอบรมคอมพิวเตอร*และอินเทอร*เน็ตให"เปVนข้ันก"าวหน"าเฉพาะทางสําหรับผ"ูสูงอายุ เช0น

หลกั สูตรสาํ หรบั ผ"สู งู อายทุ ่ตี อ" งการใชง" านดา" นการเงนิ การลงทนุ หลักสูตรการใชเ" คร่อื งมอื สําหรับด"านการศึกษา หลักสูตรสําหรับการ
จดั การความร"ู เปนV ต"น

2. ควรมีการพัฒนาหลักสูตรระยะสั้นแบบบูรณาการความรู"หลายด"านสําหรับผ"ูสูงอายุ เช0น ความรู"ทางคอมพิวเตอร*และ
อินเทอรเ* น็ต ความรทู" างโภชนาการ ความรกู" ารออกกาํ ลังกายที่เหมาะสมสําหรับผ"ูสูงอายุ เพ่ือให"เกิดกิจกรรมท่ีหลากหลาย และเปVน
ประโยชน*สําหรบั การนําไปใชใ" นชวี ติ ประจาํ วัน

เอกสารอางองิ

กวีพงษ* เลิศวชั รา และกาญจนศกั ดิ์ จารุปาณ. (2555). การศกึ ษาปญa หาการเรียนรเู ทคโนโลยขี องผูสูงอายุ. รายงานการวจิ ยั .
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร*.

คณะกรรมการจัดการความรู"เพอื่ การบรกิ ารทางวิชาการแก0สังคม.(2553). การจดั การความรู (Knowledge Management :
KM) เร่ือง การจัดฝ}กอบรมเพ่อื บริการทางวิชาการแกสงั คม.กรงุ เทพฯ: มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร*.

บญุ เลี้ยง ทมุ ทอง. (2553). การพฒั นาหลักสูตร. พมิ พ*ครงั้ ที่ 2. กรงุ เทพฯ : จฬุ าลงกรณม* หาวทิ ยาลยั .
พษิ ณพุ งษ* จริ ะโภคานนท*. (2553). ความคดิ เห็นและความตองการของผูสูงอายตุ อการเรียนคอมพวิ เตอร- : กรณีศกึ ษาสมาชกิ

ชมรมผูสงู อายุเขตบางขุนเทยี น กรุงเทพมหานคร.(สารนิพนธ*ปรญิ ญาสังคมสังเคราะหศ* าสตรมหาบัณฑิต). กรงุ เทพฯ:
มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร*.
มลู นธิ สิ ถาบันวจิ ยั และพัฒนาผสู" ูงอายไุ ทย. (2552). รายงานประจําปสถานการณผ- ูสงู อายุไทย พ.ศ.2552.กรุงเทพฯ:ทีควิ พี.
วรี ศกั ดิ์ เมอื งไพศาล.(ม.ป.ป.).โรคซึมเศรา.สืบคน" เมือ่ วันท่ี 2 ตลุ าคม 2558. http://www.si.mahidol.ac.th/project/
geriatrics/knowledge_article/knowledge_healthy_7_009.html
ศิรวิ รรณ อนันตโ* ท. (2552). ชองวางทางดิจิตัลในการใชอนิ เทอรเ- น็ตของผสู ูงอายุ. กรุงเทพฯ:มหาวิทยาลัยสโุ ขทยั ธรรมาธริ าช.
สพุ ตั ราคชาทอง (2545). การใชอนิ เทอร-เน็ตของผูสงู อายุ : กรณศี กึ ษาสมาชกิ กลุม OPPY Club. (วทิ ยานิพนธ*ปริญญาศิลปศา
สตรมหาบณั ฑติ ). กรงุ เทพฯ: มหาวทิ ยาลัยรามคําแหง.
อารยี ม* ยงั พงษ*. (2555). สภาพและความตองการการฝ}กอบรมดาน ICT ของผูสงู อายใุ นเขตกรุงเทพมหานคร.ในJournal of
Community Development Research 2013 (น.108-119).กรงุ เทพฯ: มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคล
พระนคร.
Norman, A.,Gregor, ----------,& Newell, A.F.(2002). Older People and Information Technology are Ideal
Partners. Scotland : University of Dundee. Retrieved October 15, 2015,
from http://staff.computing.dundee.ac.uk/nalm/AlmetalUDITpaper.pdf
Shapira, N., Barak, A., &Gal, I. (2007).Promoting older adults' well-being through Internet training and
use.Retrieved August 1, 2015, from http://www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/17882585

116 เอกสารสบื เนอ่ื งจากการประชุมวิชาการและนําเสนอผลงานวจิ ัยระดบั ชาติ 2559 “การวิจยั รบั ใช"ชมุ ชนสรา" งสงั คมฐานความร"ู”

การสรางบทเรียนออนไลน-วิชาการเขียนโปรแกรมบนอินเทอร-เนต็ สําหรับนักศึกษาสาขาวชิ าคอมพิวเตอร-
ศึกษา คณะครุศาสตร- มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบรุ ี

Creating e-learning lesson of the subject of Writing Program on the internet for the
students major in Computer Education, Faculty of Education, Rajabhat Dhonburi

University

วรรณนภา โพธ์ิผลิ1
Wannapa phopli1

บทคดั ยอ

การวิจัยครั้งน้ีมีจุดม0ุงหมาย 1) เพ่ือสรา" งบทเรียนออนไลน*วิชาการเขียนโปรแกรมบนอินเทอร*เน็ต สําหรับนักศึกษา
สาขาวชิ าคอมพวิ เตอรศ* ึกษา คณะครุศาสตร* มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรีที่มีประสิทธิภาพตามเกณฑ*ที่กําหนด 2) เพ่ือเปรียบเทียบ
ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนักศกึ ษา ทเี่ รียนดว" ยบทเรยี นออนไลนก* ับนกั ศกึ ษาท่ีเรียนในชั้นเรียนปกติ 3) เพื่อศึกษาความพึงพอใจ
ของนักศกึ ษาทมี่ ีตอ0 การเรียนด"วยบทเรียนออนไลน* วชิ าการเขียนโปรแกรมบนอินเทอร*เน็ต กล0ุมตัวอย0างท่ีใช"ในการวิจัยท้ัง 2 กลุ0ม
คือนกั ศกึ ษาสาขาวชิ าคอมพวิ เตอร* คณะครุศาสตร* มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ธนบรุ ี จํานวน 50 คน ซ่งึ ไดม" าด"วยวธิ กี ารเลอื กแบบเจาะจง
เครื่องมือท่ีใช"ในการวิจัยได"แก0 บทเรียนออนไลน*วิชาการเขียนโปรแกรมบนอินเทอร*เน็ต แบบประเมินคุณภาพบทเรียนออนไลน*
แบบประเมนิ ความพงึ พอใจ และแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียน สถิติทีใ่ ชใ" นการวเิ คราะห* ได"แก0 ค0าเฉล่ียเลขคณิต ค0าสถิติ
เพื่อทดสอบสมมตฐิ าน t-test for Independent sample

ผลการทดลอง 1) ไดบ" ทเรียนออนไลนท* ่มี ีประสทิ ธิภาพตามเกณฑ* คือ 84.90/82.38 2) ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของ
นกั ศกึ ษาทเ่ี รียนดว" ยบทเรียนออนไลนก* บั นกั ศกึ ษาที่เรียนดว" ยการเรียนในชนั้ เรียนปกติแตกต0างกันอยา0 งมนี ัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ
.05 3) ความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีต0อการเรียนด"วยบทเรียนออนไลน*วิชาการเขียนโปรแกรมบนอินเทอร*เน็ต มีความพึงพอใจ
โดยรวมในระดับพึงพอใจมากท่สี ดุ โดยมรี ะดับคะแนนเฉลย่ี ที่ 4.58

คําสาํ คญั : บทเรียนออนไลน*

ABSTRACT

The objectives of this research were 1) to create e-learning lesson of the subject of Writing Program
on the Internet for the students major in Computer Education, Faculty of Education, Rajabhat Dhonburi
University that had efficiency as requirement 2) to compare the achievement of learners who learnt with e-
learning lesson and learners who learnt in normal classes, and 3) to study the satisfaction of learners towards
learning by e-learning lesson on the subject of Writing Program on the Internet. There were 2 sample groups
of total 50 students from specific sampling method of students major in Computer Education, Faculty of
Education, Rajabhat Dhonburi University. The research tools were e-learning lesson of the subject of Writing
Program on the Internet, quality evaluation form for e-learning lesson, satisfaction evaluation form, and the
test for learning assessment. The statistics used for analysis were average and t-test for independent sample.

1 อาจารย* คณะคุรุศาสตร* มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบรุ ี

เอกสารสืบเนอ่ื งจากการประชุมวิชาการและนําเสนอผลงานวจิ ัยระดบั ชาติ 2559 “การวิจัยรับใช"ชุมชนสร"างสังคมฐานความร"ู” 117

The results of this experiment were 1) an e-learning lesson that had efficiency according to the
requirement, 84.90/82.38 2) the achievement of learners who learned by e-learning lesson and the learners
who learnt in normal class were different from each other .05 statistical significantly, and 3) the satisfaction of
learners towards e-learning lesson of the subject of Writing Program on the Internet was in level of the most
satisfaction with the average score at 4.58.

KEYWORD: e-learning

ความเป`นมาและความสําคัญของปaญหา

บทเรยี นออนไลนห* รอื การใช"เวบ็ เพ่ือการเรียนการสอน เปVนการนําเอาคุณสมบัติของอินเทอร*เน็ตมาออกแบบเพื่อใช"ใน
การศกึ ษา การจัดการเรียนโดยใช"บทเรียนออนไลน*น้ันมีช่ือเรียกในภาษาอังกฤษหลายคํา เช0น Web-Based Instruction, Web-
Based Learning, Web-Based Instruction ฯ ซึ่งสามารถนําเสนอเน้ือหาบทเรียนในรูปแบบของส่ือการเรียนการสอนแบบ
มลั ตมิ ีเดียที่ม0งุ เน"นใหน" ักศกึ ษาสามารถทาํ ความเขา" ใจในเนื้อหาได"ตามความสามารถของตน สามารถทบทวนบทเรียนได"ตามความ
ต"องการของนักศึกษา และยงั สามารถสรา" งบทเรียนในการโตต" อบกบั นกั ศึกษา ในลกั ษณะของการเสรมิ แรงตามทฤษฎีการเสริมแรง
ของ B.F Skinner ซ่ึงกล0าวไว"ว0า “ผลของส่ิงเร"าจะเปVนตัวช้ีบอกว0าการเรียนรู"จะเกิดขึ้นหรือไม0” หรืออาจกล0าวได"ว0า เม่ือใดท่ี
นักศึกษามีการตอบสนองต0อสิ่งเร"า ก็จะทําให"นักศึกษาน้ันเกิดการเรียนรู"ขึ้นได" นอกจากนี้ยังได"อธิบายเกี่ยวกับทักษะท่ีซับซ"อน
สามารถแตกแยกยอ0 ยออกเปVนกล0มุ พฤติกรรมอยา0 งงา0 ยได" และพฤตกิ รรมแต0ละอยา0 งสามารถเรียนไดท" ลี ะพฤตกิ รรมด"วยการจัดให"มี
การเสรมิ แรงทนั ทีเมอื่ มกี ารตอบสนองตอ0 นกั ศึกษา (พีระนุช คงทน, 2551)

จากประสบการณ*ในการสอนรายวิชาการเขียนโปรแกรมบนอินเทอร*เน็ตของนักศึกษาสาขาวิชาคอมพิวเตอร*ศึกษา
คณะครุศาสตร* มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี พบว0าปnญหาสําคัญที่ทําให"การเรียนการสอนในชั้นเรียนปกติไม0สามารถบรรลุ
วัตถุประสงค*ตามท่ีกําหนดไว"คือ ความแตกต0างระหว0างนักศึกษา ท้ังในเร่ืองของความสามารถในการเรียนร"ู ความสนใจของ
นักศึกษา นอกจากนี้ระยะเวลาในการจัดการเรียนการสอนมีจํากัด โดยนักศึกษาท่ีมีความแตกต0างกันจะใช"เวลาในการเรียนรู"ท่ี
ต0างกนั ซ่งึ การเรยี นในรายวชิ านี้ นอกจากนกั ศึกษาต"องเรียนร"ูในหลกั การหรือทฤษฎแี ลว" ยงั จาํ เปนV ตอ" งเรียนรโ"ู ดยการฝuกปฏิบัติ ซ่ึง
นกั ศกึ ษาท่ีมีการเรียนร"ูที่ช"ากว0าจําเปVนต"องใช"ระยะเวลานานกว0านักศึกษาที่เรียนรู"ได"เร็ว และสุดท"ายในเร่ืองของการมีปฏิสัมพันธ*
ระหวา0 งผส"ู อนกับนักศึกษา จากการเรียนการสอนพบว0านักศึกษาบางคนถึงแม"จะไม0เข"าใจหรือไม0สามารถฝuกปฏิบัติได" ก็ยังไม0กล"า
ซักถามอาจารย*ผู"สอนโดยตรง ซึ่งเมื่อนักศึกษาไม0กล"าซักถามจึงไม0เข"าใจในเนื้อหา อีกท้ังนักศึกษาในชั้นเรียนมีจํานวนมากการ
ซกั ถามปnญหาจากการฝกu ปฏิบตั จิ งึ ไม0สามารถแก"ปnญหาหรอื ตอบข"อซกั ถามให"กับนักศึกษาไดอ" ยา0 งทั่วถงึ โดยจากการศกึ ษาเอกสาร
งานวิจัย พบว0าได"มีผ"ูนําเอารูปแบบการเรียนการสอนในลักษณะของบทเรียนออนไลน*เข"ามาทดลองกับนักศึกษาเพ่ือศึกษา
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษาและความพึงพอใจของนักศึกษาอย0ูหลายท0าน โดยหลังจากการใช"ลักษณะของการจัดการ
เรยี นรูด" "วยวิธีดังกลา0 ว พบวา0 นกั ศึกษามีผลสัมฤทธ์ิหลังเรียนดขี ้ึน และมคี วามพงึ พอใจตอ0 การจดั การเรียนร"ใู นลกั ษณะน้ี

ดังนั้นจากการศึกษาและจากปnญหาที่ผ"ูวิจัยได"พบจากการจัดการเรียนการสอน ผู"วิจัยจึงเห็นว0า หากได"มีการสร"าง
บทเรียนออนไลนเ* พื่อใชเ" ปนV ส่อื ในการจัดการเรียนการสอนขึ้น จะสามารถช0วยแกป" ญn หาจากส่งิ ทีเ่ กิดขึ้นในช้ันเรยี นแบบปกติได" จึงมี
ความสนใจในการสร"างบทเรียนออนไลน* วิชาการเขียนโปรแกรมบนอินเทอร*เน็ต เพ่ือใช"เปVนส่ือการเรียนการสอน ให"นักศึกษา
สามารถเรยี นรไู" ด"ตามความสนใจและความต"องการของตนเอง ซ่ึงจะช0วยทําให"นักศึกษามีประสิทธิภาพและส0งผลดีต0อคุณภาพของ
นักศกึ ษาของมหาวิทยาลยั ราชภัฏธนบรุ ี

118 เอกสารสบื เนอื่ งจากการประชมุ วิชาการและนาํ เสนอผลงานวจิ ยั ระดบั ชาติ 2559 “การวจิ ยั รบั ใช"ชมุ ชนสรา" งสังคมฐานความร"ู”

วัตถุประสงค-ของการวจิ ัย

1. เพื่อสร"างบทเรียนออนไลน*วิชาการเขียนโปรแกรมบนอินเทอร*เน็ต สําหรับนักศึกษาสาขาวิชาคอมพิวเตอร*ศึกษา
คณะครุศาสตร* มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏธนบรุ ที ่ีมปี ระสทิ ธิภาพตามเกณฑท* ี่กาํ หนด

2. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษา ที่เรียนด"วยบทเรียนออนไลน*กับนักศึกษาท่ีเรยี นในช้ันเรียน
ปกติ

3. เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักศกึ ษาที่มีตอ0 การเรยี นดว" ยบทเรียนออนไลน* วชิ าการเขียนโปรแกรมบนอินเทอร*เน็ต

กรอบแนวคดิ ในการวิจยั 1. ผลสัมฤทธท์ิ างการเรียน
2. ความพงึ พอใจของนกั ศกึ ษา
การสอนโดยใช"บทเรียนออนไลน*วชิ าการ
เขยี นโปรแกรมบนอนิ เทอรเ* น็ต เรอื่ ง
1. ความรู"เกย่ี วกับเวบ็
2. ความรู"เบอ้ื งต"นเก่ยี วกบั PHP
3. ชนดิ ขอ" มูลและตัวแปร
4. ตวั ดําเนนิ การและการส0งขอ" มลู แบบ GET
และ POST
5. ฟอร*มรับส0งขอ" มูล
6. การสรา" งชดุ คาํ สง่ั เพ่อื การตดิ ตอ0
ฐานขอ" มลู
7. การเขยี นคําสง่ั เพ่อื ควบคมุ ทิศทางการ
ทาํ งานดว" ยการกาํ หนดเงอ่ื นไข
8. การทาํ งานแบบวนรอบ

วธิ ีการดําเนนิ การวิจัย

การวิจัยการสร"างบทเรียนออนไลน*รายวิชาการเขียนโปรแกรมบนอินเทอร*เน็ต สําหรับนักศึกษาสาขาวิชาคอมพิวเตอร*
ศกึ ษา คณะครศุ าสตร* มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี ไดด" ําเนนิ การศกึ ษาค"นควา" ตามลาํ ดบั ขน้ั ตอนดังนี้

ประชากรและกลุมตัวอยาง
ประชากรและกล0มุ ตวั อย0างทใ่ี ชใ" นการวิจยั แบ0งออกเปVน 2 ส0วนดังนี้
1. ประชากรท่ีใช"ในการวิจัย
ประชากรที่ใช"ในการศึกษาวิจัยคร้ังนี้ คือนักศึกษาช้ันป4ที่ 3 สาขาวิชาคอมพิวเตอร*ศึกษา คณะครุศาสตร*

มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรีที่ลงทะเบียนเรียนในรายวิชาการเขียนโปรแกรมบนอินเทอร*เน็ตในภาคเรียนท่ี 2 ป4การศึกษา 2556
จํานวน 3 หอ" งเรียน รวม 82 คน

เอกสารสืบเนอ่ื งจากการประชมุ วชิ าการและนาํ เสนอผลงานวจิ ยั ระดบั ชาติ 2559 “การวิจัยรบั ใชช" มุ ชนสรา" งสังคมฐานความรู"” 119

2. กลุ0มตัวอยา0 งท่ใี ชใ" นการวิจยั
กล0ุมตัวอย0างที่ใช"ในการวิจัยครั้งนี้คือ นักศึกษาช้ันป4ท่ี 3 สาขาวิชาคอมพิวเตอร*ศึกษา คณะครุศาสตร* มหาวิทยาลัย
ราชภัฏธนบุรี ท่ีลงทะเบียนเรียนในภาคเรียนที่ 2 ป4การศึกษา 2556 ซึ่งได"มาจากวิธีการเลือกแบบเจาะจง ซึ่งเปVนกล0ุมทดลอง
เปรยี บเทยี บผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียนท่ีเรียนดว" ยบทเรียนออนไลนก* บั การเรียนในช้ันเรียนปกติ จาํ นวน 2 ห"อง รวม 50 คน

เคร่อื งมอื ท่ีใชในการวิจัย
เครอื่ งมือท่ใี ช"ในการวจิ ยั คร้งั นปี้ ระกอบไปด"วย
1. บทเรียนออนไลน*วิชาการเขยี นโปรแกรมบนอนิ เทอร*เนต็
2. แบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี น วิชาการเขยี นโปรแกรมบนอนิ เทอรเ* น็ต
3. แบบประเมนิ คุณภาพบทเรยี นออนไลน*
4. แบบสอบถามความพงึ พอใจของนกั ศึกษาทีม่ ีตอ0 บทเรยี นออนไลน* วชิ าการเขยี นโปรแกรมบนอินเทอร*เนต็

การเก็บรวบรวมขอมลู
1. การเก็บรวบรวมข"อมูลได"การดําเนินการเพื่อหาประสิทธิภาพบทเรียนออนไลน*โดยผ"ูวิจัยดําเนินการทดลองกับ

นักศึกษาชั้นป4ท่ี 3 สาขาวิชาคอมพิวเตอร*ศึกษา คณะครุศาสตร* มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี 1 ห"องเรียน จํานวน 21 คน โดยได"
ดาํ เนนิ การตามขั้นตอนดงั น้ี

1.1 อธบิ ายวิธกี ารเรยี นรูแ" ละวตั ถปุ ระสงค*ในการเรียนให"แก0นักศกึ ษาทราบ
1.2 ให"นักศึกษาเรียนด"วยบทเรียนออนไลน* โดยแต0ละเร่ืองกําหนดการเรียนรู"เปVนเวลา 4 คาบ เม่ือนักศึกษา
เรียนจากบทเรยี นออนไลน*แล"วจะต"องทําแบบฝuกหดั ทา" ยบทเรียนทกุ เรอ่ื ง
1.3 เมอ่ื นักเรียนเรยี นครบทุกเร่อื งแล"วทาํ แบบทดสอบวัดผลสมั ฤทธิท์ างการเรยี น
1.4 นาํ ผลลัพธ*ที่ได"จาก ข"อ 1.2 และ ข"อ 1.3 ไปวเิ คราะหเ* พอ่ื ตรวจสอบสมมุติฐานต0อไป
2. การเกบ็ รวบรวมข"อมูลเพ่อื เปรยี บเทยี บผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี น ไดด" าํ เนนิ การดังนี้
2.1 จัดเตรียมสถานท่ี โดยการทดลองสําหรับนักศึกษาที่ใช"วิธเี รียนด"วยบทเรียนออนไลน* ต"องมีการจัดเตรียม
อุปกรณ*เพิ่มเติมเพ่ืออํานวยความสะดวกต0อการเรียน ได"แก0 หูฟnงสําหรับนักศึกษาแต0ละราย รวมถึงอุปกรณ*คอมพิวเตอร*จะต"อง
สามารถรองรบั บทเรียนออนไลนท* ีผ่ ู"วจิ ัยไดท" าํ การสร"างไว"
2.2 ดาํ เนนิ การเรียนทง้ั 2 กลมุ0 ซงึ่ แตล0 ะกล0มุ มีวธิ กี ารเรยี นดงั นี้

2.2.1 กล0ุมทดลอง เรียนจากบทเรียนออนไลน*ท่ีผู"วิจัยได"สร"างไว" โดยกําหนดให"นักศึกษา เรียนรู"ตาม
ความสามารถของตนเอง เร่อื งละ 4 คาบเรียน โดยตอ" งฝuกปฏิบตั ทิ ุกครง้ั และส0งผลการฝuกปฏิบัติหลังจากหมดคาบเรียน ทําแบบนี้
ทุกคร้ังจนครบทุกเรื่อง เม่ือเรียนจนครบทุกเรื่องแล"ว ให"นักศึกษาตอบแบบสอบถามความพึงพอใจ และทดสอบเพ่ือวัดผลสัมฤทธ์ิ
ทางการ

2.2.2 กลม0ุ ควบคุม เรยี นด"วยวิธีการเรียนการสอนแบบปกติในชั้นเรียน โดยอาจารยผ* ูส" อน โดยนักศึกษาต"อง
ฝuกปฏิบัติและส0งผลการฝuกปฏิบัติทุกครั้ง ทําแบบน้ีจนครบทุกเรื่อง เม่ือเรียนจบทุกเครื่องแล"ว นักศึกษาทําแบบทดสอบเพื่อวัด
ผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียนโดยใช"แบบทดสอบชดุ เดยี วกันกบั กล0ุมทดลองทเ่ี รยี นด"วยบทเรียนออนไลน*

การวิเคราะห-ขอมูล
การวิเคราะห*ข"อมูลคร้ังนี้เปVนการวิเคราะห*ข"อมูลเชิงปริมาณ โดยผ"ูวิจัยได"ใช"วิธีการทางสถิติเพื่อการวิเคราะห*หา

คุณภาพของเครื่องมือที่ใช"ในการวิจัย อาทิเช0น การหาค0าความยากง0าย และค0าอํานาจจําแนกของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิ
ทางการเรียนโดยใช"เทคนิค 27% ของจุง เตห* ฟาน การหาค0าความเชื่อม่ันของแบบทดสอบ การหาประสิทธิภาพของบทเรียน

120 เอกสารสบื เนอ่ื งจากการประชุมวิชาการและนําเสนอผลงานวจิ ยั ระดับชาติ 2559 “การวิจัยรับใช"ชมุ ชนสร"างสังคมฐานความรู"”

ออนไลน* E1/E2 นอกจากนี้ ยังใช"สถิติท่ีในการวิเคราะห*ข"อมูล เช0น การหาค0าเฉลี่ย การหาค0าเบีย่ งเบนมาตรฐาน และการคํานวณ
คา0 สถิติเพือ่ ทดสอบสมมตฐิ านโดยใชส" ถิติ t-test independent sample

สรุปผล

1. ได"บทเรียนออนไลน*วิชาการเขียนโปรแกรมบนอินเทอร*เน็ต สําหรับนักศึกษาสาขาวิชาคอมพิวเตอร*ศึกษา คณะครุ
ศาสตร* มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี โดยบทเรียนประกอบไปด"วยเนื้อหาจํานวน 8 เรื่องได"แก0 1) ความรู"เก่ียวกับเว็บ 2) ความร"ู
เบื้องต"นเกีย่ วกับ PHP 3) ชนดิ ขอ" มลู และตวั แปร 4) ตวั ดําเนินการและการสง0 ข"อมูลแบบ GET และ POST 5) ฟอร*มรับส0งข"อมูล 6)
การสรา" งชดุ คําสง่ั เพอ่ื การตดิ ตอ0 ฐานข"อมลู 7) การเขียนคาํ ส่งั เพ่ือควบคมุ ทิศทางการทํางานด"วยการกําหนดเงื่อนไข 8) การทํางาน
แบบวนรอบ โดยในแต0ละเร่อื งประกอบไปด"วย วิดีโอบันทึกการสอน เอกสารประกอบการสอนและแบบฝuกหัดท"ายบทเรียน และ
หากนักศึกษามีขอ" ซกั ถามสามารถติดต0อกบั อาจารย*ผส"ู อนได" ท้งั จากการพดู คุยโดยอาศัยการพูดคยุ ผา0 นเว็บไซต* Facebook และส0ง
e-mail

2. คุณภาพประสทิ ธิภาพของบทเรยี นออนไลน*
2.1 คุณภาพของบทเรียนออนไลน*วิชาการเขียนโปรแกรมบนอินเทอร*เน็ต สําหรับนักศึกษาสาขาวิชา

คอมพวิ เตอร*ศกึ ษา คณะครศุ าสตร* มหาวิทยาลยั ราชภฏั ธนบรุ ีมคี ณุ ภาพดี
2.2 ประสทิ ธิภาพของบทเรียนออนไลน* มปี ระสิทธิภาพ 84.9/82.38 ซ่ึงเปVนไปตามเกณฑ*ทก่ี าํ หนดไว"

3. ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียนพบวา0 นกั ศกึ ษากล0มุ ทดลองคอื นกั ศกึ ษาท่ีเรียนด"วยบทเรียนออนไลน*กับนักศึกษากล0ุมควบคุม
คอื นกั ศกึ ษาทีเ่ รยี นในชน้ั เรียนปกติมีผลสัมฤทธิท์ างการเรียนท่แี ตกตา0 งกันอยา0 งมนี ัยสาํ คัญทางสถิตทิ รี่ ะดับ .05 โดยนกั ศกึ ษาท่เี รียน
ดว" ยบทเรยี นออนไลนม* ผี ลสัมฤทธ์ิทางการเรียนเฉลี่ยสูงกว0านกั ศึกษาทใ่ี นชนั้ เรียนปกติ

4. นักศึกษามีความพึงพอใจโดยมีค0าเฉลี่ยความพึงพอใจของนักศึกษาต0อบทเรียนออนไลน*ท่ีผ"ูวิจัยสร"างขึ้นอยู0ในระดับ
ความพึงพอใจมากท่ีสุด โดยนักศกึ ษามีความพึงพอใจตอ0 บทเรยี นออนไลน*ในภาพรวมมคี า0 เฉลย่ี ความพงึ พอใจมากท่สี ดุ มาเปนV อนั ดับ
แรก รองลงมาคือ บทเรียนออนไลน*สามารถทบทวนได" ความสะดวกในการใช"บทเรียนออนไลน*และตอบสนองต0อการเรียนร"ู
รายบุคคลมีค0าเฉลีย่ ความพงึ ใจเรียงตามลําดบั ส0วนความพึงพอใจต0อบทเรียนออนไลนท* ี่ชว0 ยกระตน"ุ ความสนใจต0อการเรียนมีลําดับ
ความพึงพอใจในลาํ ดับสุดท"ายซ่ึงอย0ูในระดับความพงึ พอใจมาก

อภิปรายผล

งานวิจัยนี้ได"ดําเนินการอย0างเปVนระบบและได"ทําการเก็บรวบรวมข"อมูล เพ่ือนํามาหาประสิทธิภาพ ซ่ึงผลของการหา
ประสทิ ธภิ าพเปนV ไปตามสมมุติฐานทผ่ี วู" ิจัยตัง้ ไว" ซึ่งผลของการวิเคราะหป* ระสทิ ธภิ าพของบทเรียนออนไลนส* ามารถอธบิ ายได"ดงั นี้

1. บทเรียนออนไลน*วิชาการเขียนโปรแกรมบนอินเทอร*เน็ต สําหรับนักศึกษาสาขาวิชาคอมพิวเตอร*ศึกษา คณะครุ
ศาสตร* มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี ท่ีผู"วิจัยสร"างข้ึนมีประสิทธิภาพตามเกณฑ*ท่ีผ"ูวิจัยกําหนดคือ 80/80 โดยมีประสิทธิภาพ
84.90/82.38 ท้งั น้เี นอื่ งจากผ"วู จิ ยั ได"ทาํ การศึกษาแนวคดิ และทฤษฎี จากเอกสารตา0 งๆท่ีเก่ียวขอ" ง ท้งั จากเอกสารวิชาการ บทความ
และงานวิจัยต0างๆที่เก่ียวขอ" งกับวิธีการสร"างบทเรียนออนไลน*ให"มีประสิทธิภาพ อกี ท้ังได"ทําการสร"างบทเรียนออนไลน*อย0างเปVน
ขั้นตอนตามทฤษฎที ี่ได"เรียนร"ู และไดร" บั คําแนะนาํ จากผู"เชี่ยวชาญและผู"ทรงคุณวุฒิในการสร"างบทเรียนให"มีประสิทธิภาพ ซ่ึงก0อน
การสร"างบทเรยี นออนไลน*ผว"ู ิจยั ได"ทาํ การวิเคราะหเ* นอื้ หาของบทเรยี นให"ครอบคลมุ ตามคาํ อธิบายรายวชิ า และไดน" ําเนอื้ หาท่ีได"มา
ทาํ การออกแบบกจิ กรรมทจ่ี ะใหน" กั ศกึ ษาได"ฝกu ปฏบิ ัตใิ นแตล0 ะเรือ่ ง โดยในแต0เรื่องประกอบไปดว" ยเอกสารประกอบการเรียน วิดีโอ
บันทึกการเรียนการสอน รวมท้ังแบบฝuกหัดท่ีนักศึกษาสามารถทบทวนหลังจากได"เรียนรู"จากบทเรียนท่ีผ"ูวิจัยสร"างข้ึน ซ่ึงในการ
สรา" งบทเรียนออนไลน*นนั้ เปVนไปตามที่ ทกั ษณิ า สวนานนท* ไดก" ล0าวถึงลกั ษณะสําคญั ของบทเรียนออนไลนไ* ว"ว0าบทเรียนออนไลน*ท่ี
ดีจะต"องเริม่ จากสงิ่ ที่รู"ไปสูส0 ิง่ ทไ่ี มร0 ู" โดยเริม่ จากสงิ่ ท่ีนกั ศึกษารูอ" ย0แู ล"วไปถงึ เรื่องใหม0ๆ ทน่ี กั ศกึ ษายงั ไมร0 ู" ในระหว0างการเรียนจะตอ" ง

เอกสารสืบเนอื่ งจากการประชุมวิชาการและนาํ เสนอผลงานวิจัยระดบั ชาติ 2559 “การวิจยั รับใชช" มุ ชนสร"างสงั คมฐานความร"ู” 121

ให"นักศึกษาแต0ละคนมีส0วนในการทาํ กจิ กรรมตามไปดว" ย เช0น ตอบคําถาม ทาํ แบบทดสอบ ไม0ใช0คิดตามอย0างเดียวเพราะจะทํา
ใหเ" บื่อหน0าย การเลอื กคาํ ตอบทผี่ ิด อาจทําใหก" ลับไปทบทวนกรอบของแบบเรียนเกา0 หรอื ได"เปVนกรอบใหม0ที่อธิบายถึงความเข"าใจ
ผดิ หรอื ความผิดพลาดทเ่ี กดิ ข้ึน หรอื ถ"าเปนV คาํ ตอบทถี่ ูกต"องนักศึกษาควรไดร" ับผลปอ• นกลับที่ดี ทําให"นักศึกษามีความสนุกสนานไป
ด"วย คาํ ตอบท่ถี กู มกั ได"รับคําชมเชยทําให"มีกําลังใจ ส0วนคําตอบที่ผิดบางทีอาจถูกตําหนิซ่ึงก็จะไม0มีใครได"ยิน ทําใหร" ู"สึกอับอาย
หรอื หมดกําลังใจ การเรียนดว" ยวิธนี ้ที าํ ให"นักศึกษาเรยี นได"ตามความสามารถของตนเอง จะใช"เวลาในการทบทวนบทเรียนหรือคิด
คาํ ตอบนานเท0าไรกไ็ ด" นักศึกษาจะไมร0 "ูสกึ กดดัน ดว" ยกาํ หนดเวลาที่จะตอ" งรอเพอ่ื นหรอื ตามเพอ่ื นให"ทัน การเรยี นในลกั ษณะนี้ เปนV
การเรยี นโดยเนน" ท่ีความถนดั ของแต0ละบุคคลแต0ละคนจะมคี วามถนัดตา0 งกัน แม"แต0ในวชิ าเดยี วกนั การเรียนบทเรียนแตล0 ะบทก็จะ
ใช" เวลาไม0เท0ากัน และหากนักศึกษามีข"อสงสัยจากกการเรียนก็สามารถพดู คุยซักถามข"อสงสัยกับผ"ูวิจัย รวมทั้งเพ่ือนนักศึกษาได"
ผ0าน เว็บไซต* www.facebook.com ซ่ึงเปVนเว็บไซต*ที่นักศึกษานิยมใช"ในปnจจุบันในการติดต0อพูดคุยระหว0างกัน ผู"วิจัยได"นําข"อดี
ของความนิยมในปจn จุบันมาใช"เปVนช0องทางหน่ึงในการติดต0อส่ือสารระหว0างผู"วิจัยกับนักศึกษา ซึ่งช0วยทําให"นักศึกษาที่อาจไม0กล"า
ซักถามผ"ูวิจัยโดยตรงกับการสอนแบบปกติกล"าซักถามเกี่ยวกับข"อสงสัยมากข้ึน ซ่ึงเปVนไปตามแนวคิดท่ี ถนอมพร เลาหจรัสแสง
(2544 : 87-94) ได"กล0าวไว"ถึงข"อดีของการเรียนการสอนบนเว็บไว"ข"อหนึ่งว0าการสอนบนเว็บจะช0วยสนับสนุนการเรียนร"ูท่ี
กระตอื รือร"น ท้งั น้เี น่ืองจากคุณลักษณะของเว็บท่เี ออ้ื อาํ นวยให"เกดิ การศึกษาในลกั ษณะท่ีนักศึกษาถกู กระต"ุนให"แสดงความคิดเห็น
ได"อย0ูตลอดเวลาโดยไม0จําเปVนต"องเป–ดเผยตัวตนที่แท"จริง ตัวอย0างเช0น การให"นักศึกษาร0วมมือกันในการทํากิจกรรมต0างๆ บน
เครือข0าย การที่ให"นักศึกษาได"มีโอกาสแสดงความคิดเห็นและแสดงไว"บนเว็บบอร*ด หรือการให"นักศึกษามีโอกาสเข"ามาพบปะกับ
นกั ศึกษาคนอืน่ ๆ อาจารย*หรอื ผเ"ู ชย่ี วชาญในเวลาเดยี วกันทีหอ" งสนทนา

นอกจากนี้การเรียนด"วยบทเรียนออนไลน*ที่ผู"วิจัยสร"างข้ึนนั้นนักศึกษาสามารถเรยี นร"ูได"ตามความสามารถของตนเอง
โดยในสว0 นทเ่ี ปVนวดิ ีโอบนั ทกึ การสอนนน้ั นักศกึ ษาสามารถเลอื กศกึ ษาในสว0 นที่ต"องการซํ้าไปมาได" รวมถึงสามารถหยุดวิดีโอบันทึก
การสอนชัว่ คราวเพื่อจดบันทกึ สรา" งความเขา" ใจตอ0 เนือ้ หา โดยเฉพาะในส0วนท่เี ปVนวดิ โี อตวั อยา0 งการฝกu ปฏิบตั ิการเขียนโปรแกรมซ่ึง
นกั ศึกษามที กั ษะที่แตกตา0 งกนั ซง่ึ ปnญหาทพ่ี บกบั การเรียนการสอนในห"องเรียนปกติก็คือนกั ศกึ ษามคี วามแตกตา0 งกันทางด"านทักษะ
ทาํ ใหน" กั ศกึ ษาบางคนเรยี นไมท0 ันเพ่ือนหรอื ไม0สามารถฝuกปฏิบัติได"ตามเวลาท่ีกาํ หนด เช0นทกั ษะการพิมพ*ภาษาอังกฤษ เปVนต"น ทํา
ให"ทง้ั ผวู" ิจยั และนกั ศกึ ษาตอ" งใช"เวลาในการฝกu ปฏิบตั ิอย0างมากกว0าท่ีนักศึกษาทุกคนจะสามารถฝuกปฏิบัติได"ตามจุดม0ุงหวังของการ
เรียนการสอน นอกจากน้ยี ังเกดิ ความเบ่ือหนา0 ยสาํ หรบั นกั ศกึ ษาท่สี ามารถเรยี นรไ"ู ด"เร็วอีกด"วย ซึ่งเม่ือมีการนําบทเรียนออนไลน*มา
ใช"ทําให"ปnญหาในการฝuกปฏิบัติลดน"อยลงอย0างมากและนักศึกษาที่เรียนด"วยบทเรียนออนไลน*มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงกว0า
นักศึกษาท่เี รียนด"วยวิธีการเรียนในชัน้ เรียนปกติ ซึ่งสอดคล"องตามหลักทฤษฎคี วามแตกตา0 งระหวา0 งบุคคลและเปนV จัดการเรียนการ
สอนตามพระราชบญั ญัตกิ ารศึกษาแหง0 ชาตปิ 4 พ.ศ.2542 มาตราที่ 24 การจัดกระบวนการเรียนรู" ให"สถานศึกษาและหน0วยงานที่
เกี่ยวข"องดําเนินการ ดังต0อไปน้ี (1) จัดเนื้อหาสาระและกิจกรรมให"สอดคล"องกับความสนใจและความถนัดของนักศึกษา โดย
คํานึงถึงความแตกต0างระหว0างบุคคล โดยประสิทธิภาพของบทเรียนออนไลน*ท่ีผ"ูวิจัยได"สร"างขึ้นสอดคล"องกับงานวิจัยของอรอุษา
อทุ ยั (2551) ท่ไี ด"ทําการศึกษาวจิ ัย เรอื่ งการศึกษาความพึงพอใจในการใช"บทเรยี น Online สําหรับนกั เรยี นช้นั มัธยมศกึ ษาตอนต"น
โรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัย โดยกล0าวไว"ในงานวิจัยว0า นักศึกษาที่เรียนด"วยบทเรียนออนไลน* สามารถเลือกสื่อการเรียนการสอนได"
ตามความถนัดและความสนใจ ทั้งในรูปแบบ ของตัวอักษร รูปภาพ ภาพสร"างสรรค*จําลอง (animations) สถานการณ*จําลอง
(simulations) เสียงและภาพเคลื่อนไหว (audio and video sequences) ด"วยเหตุนี้ การเรียนร"ูผ0านบทเรียนออนไลน*ทําให"
ประสิทธภิ าพการเรียนรข"ู องนักศึกษาเพิ่มขึ้นถึงร"อยละ 30 มากกว0าการเรียนรู"โดย การฟnง การบรรยายในห"องเรียน หรือจากการ
อา0 นหนังสอื และทาํ ให"นักศึกษา สามารถเรยี นรไู" ดร" วดเรว็ ขึน้ ถงึ รอ" ยละ 60 ของการเรยี นรแู" บบด้ังเดมิ

2. จากการศึกษาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนักศึกษาที่เรียนโดยใช"บทเรียนออนไลน*กับนักศึกษาในชั้นเรียนปกติ
แตกต0างกันอย0างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยนักศึกษาที่เรียนด"วยบทเรียนออนไลน*มีผลการเรียนเฉล่ียสูงกว0านักศึกษาที่
เรียนในชั้นเรียนปกติ ซ่ึงสอดคล"องกับงานวิจัยของ นัทลียา กํานล (2551) ที่เปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนจากการใช"
บทเรยี นคอมพิวเตอร*กับการสอนปกติของนักเรียนช0วงชั้นที่ 2 กล0ุมสาระการเรยี นรภู" าษาไทย เร่อื งชนิดของคาํ ในภาษาไทย ซ่ึงจาก
การวิจัยพบว0า ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนกั เรียนที่ไดร" ับการสอนโดยใช"บทเรยี นคอมพิวเตอร*การสอนตามปกติแตกต0างกันอย0าง

122 เอกสารสบื เนอ่ื งจากการประชมุ วชิ าการและนําเสนอผลงานวจิ ยั ระดบั ชาติ 2559 “การวจิ ยั รบั ใชช" ุมชนสร"างสังคมฐานความร"ู”

มนี ยั สาํ คญั ทางสถิติท่ีระดับ .01 และงานวิจัยของแวววลี สิริวรจรรยาดี ท่ีทําการศึกษางานวิจัยเร่ือง การพัฒนาบทเรียนออนไลน*
เรอ่ื งการเขยี นเวบ็ ไซต*ด"วยโปรแกรม Microsoft FrontPage 2003 โดยมีจดุ มง0ุ หมายเพอื่ 1) พัฒนาบทเรียนออนไลน*เร่อื งการเขยี น
เว็บไซต*ด"วยโปรแกรม Microsoft FrontPage 2003 ให"มีประสิทธิภาพตามเกณฑ* 80% ผลการวิจัยพบว0า บทเรียนออนไลน*ท่ี
ผู"วิจัยสร"างข้ึนมีประสิทธิภาพตามเกณฑ*ท่ีกําหนด 2) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนก0อนเรียนและหลังเรียน
ผลการวจิ ัยพบวา0 นักเรยี นที่เรยี นโดยใช"บทเรียนออนไลนม* ีผลสัมฤทธทิ์ างการเรียนหลงั เรียนสูงกว0าก0อนเรียน อย0างมีนัยสําคัญทาง
สถติ ทิ ีร่ ะดบั .01 3) ศกึ ษาความคดิ เห็นของนกั เรียนที่มตี อ0 การเรียนทีใ่ ชบ" ทเรียนออนไลน* ผลการวิจัยพบว0า นกั เรียนมีความคิดเห็น
ที่ดีต0อการจัดการเรียนการสอนโดยใช"บทเรียนออนไลน*ในระดับเห็นด"วยมากถึงในระดับเห็นด"วยอย0างย่ิงและมีความคิดเห็นโดย
เฉลยี่ อย0ใู นระดบั เห็นดว" ยมาก อาจเนอื่ งมากจาก

2.1 บทเรียนออนไลน*ท่ีผ"ูวิจัยสร"างข้ึนมีลักษณะเปVนสื่อประสม (Multimedia) ซึ่งช0วยสร"างความน0าสนใจต0อ
การเรียนรู"มากกว0าการเรียนด"วยวิธกี ารบรรยาย นอกจากน้บี ทเรียนออนไลน*ยังสามารถตอบสนองต0อความแตกต0างระหว0างบุคคล
ได"ดีกว0าการบรรยายในชั้นเรยี นปกติ โดยเฉพาะในส0วนของการฝกu ปฏบิ ตั ทิ ่นี กั ศกึ ษาสามารถหยดุ วิดโี อตวั อย0างการฝuกปฏิบัติเพื่อฝuก
ปฏิบัตติ ามไดต" ามความสามารถของนักศึกษาแตล0 ะคน ซง่ึ แตกตา0 งจากการเรียนในชัน้ เรียนปกติท่ีในการฝuกปฏิบัติน้ันนักศึกษาต"อง
ฝกu ปฏบิ ัติตามความเขา" ใจของตนเองท่ีได"รับการฟงn บรรยายไปแลว" จึงเกิดปnญหา เช0น การไม0สามารถจดจําคาํ สั่งต0างๆได" เปVนต"น ซ่ึง
เปนV ไปตามหลกั การจดั การเรยี นรู"ท่เี น"นนักศึกษาเปVนสําคัญ ทีก่ ล0าวไวว" 0า การจดั การเรยี นรู"ท่ีเน"นนักศึกษาเปVนสําคัญนั้นต"องจัดการ
เรยี นรูโ" ดยให"นักศกึ ษาสร"างองค*ความรดู" "วยตนเอง โดยการศกึ ษาค"นคว"า ทดลอง แลกเปลี่ยนเรียนรแ"ู ละลงมอื ปฏบิ ัติจริงด"วยตนเอง
นอกจากน้ียังต"องมีการจัดกิจกรรมการเรียนรู"ท่ีหลากหลาย เหมาะสมกับความสามารถและศักยภาพของนักศึกษา เน"นความ
แตกตา0 งระหว0างบุคคลและตอบสนองความตอ" งการของนกั ศึกษา (มหาวิทยาลัยราชภฎั วไลอลงกรณ* ในพระบรมราชปู ถมั ภ*, 2553)

2.2 การเพ่ิมส0วนสนับสนุนการเรียนของนักศึกษา เช0น การเพิ่มช0องทางการติดต0อสื่อสารระหว0างผ"ูสอนกับ
นักศึกษาโดยใช"ประโยชน*จากเว็บไซต* www.facebook.com ซ่ึงทําให"นักศึกษากับผ"ูสอน หรือนักศึกษากับนักศึกษาสามารถ
ติดต0อกันได"ง0ายขึ้น นักศึกษาสามารถซักถามข"อสงสัยจากการเรียนได"ตลอดเวลาทั้งจากการฝากข"อความ หรือการสนทนาแบบ
ทนั ทีทันใด (real-time) ทําให"เมอ่ื นักศึกษากลา" ทจี่ ะซกั ถามขอ" สงสัยต0างๆมากขึ้น นอกจากน้ีบทเรียนออนไลน*ยังมีแบบฝuกหัดท"าย
บทเรียนท่ีให"นักศึกษาสามารถทบทวนความรู"และได"ทราบผลตอบกลับทันทีว0าท่ีตนเองตอบคําถามนั้นถูกหรือผิด ซึ่งเปVนไปตาม
หลักการจัดการเรียนรู"ผ0านเว็บโดยการจัดการเรียนร"ูผ0านเว็บมีลักษณะการจัดสภาพการจัดการเรียนร"ูที่แตกต0างจากการจัดการ
เรียนรใู" นชน้ั เรยี นปกติ นักศกึ ษาจะเรยี นผา0 นจอคอมพิวเตอร*ท่ีเช่ือมโยงกับเครือข0าย โดยนักศึกษาแต0ละคนที่เปVนสมาชิกเครือข0าย
อนิ เทอร*เน็ต สามารถเข"าส0ูระบบเครอื ข0ายเพ่อื ศกึ ษาบทเรยี นจากทีใ่ ดก็ได" และนักศกึ ษาแต0ละคนยังสามารถติดต0อส่ือสารกับผู"สอน
หรือนักศึกษาคนอ่ืนๆ ได"ทันทีทันใดเหมือนกับได"เผชิญหน"ากันจริง (มหาวิทยาลัยราชภัฎวไลอลงกรณ* ในพระบรมราชูปถัมภ*,
2553) จากเหตุผลดังกล0าวจึงทําให"นักศึกษาท่ีเรียนด"วยบทเรียนออนไลน*ที่ผู"วิจัยสร"างขึ้นมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนแตกต0างกับ
นกั ศกึ ษาทีเ่ รยี นในชน้ั เรยี นปกตซิ ่ึงนกั ศกึ ษาท่ีเรียนด"วยบทเรยี นออนไลนม* ีผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี นสงู กว0านักศึกษาท่เี รียนดว" ยวธิ กี าร
เรียนในชั้นเรยี นปกติ

3. การประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาต0อบทเรียนออนไลน* พบว0าค0าเฉลี่ยความพึงพอใจของนักศึกษาต0อบทเรียน
ออนไลนท* ่ีผวู" จิ ยั สรา" งข้ึนอยใู0 นระดับความพงึ พอใจมากที่สดุ โดยนกั ศกึ ษามคี วามพงึ พอใจต0อบทเรยี นออนไลน*ในภาพรวมมีค0าเฉล่ีย
ความพึงพอใจมากที่สุดมาเปVนอันดับแรก รองลงมาคือ บทเรียนออนไลน*สามารถทบทวนได" ความสะดวกในการใช"บทเรียน
ออนไลนแ* ละตอบสนองต0อการเรียนรร"ู ายบุคคลมีค0าเฉล่ียความพึงใจเรียงตามลําดับ ส0วนความพึงพอใจต0อบทเรยี นออนไลน*ที่ช0วย
กระต"ุนความสนใจต0อการเรียนมีลําดบั ความพงึ พอใจในลําดบั สดุ ท"ายซึ่งอยูใ0 นระดบั ความพงึ พอใจมาก ท้งั นอ้ี าจเนอื่ งมาจาก

3.1 นกั ศกึ ษาเปVนนกั ศึกษาที่ไม0เคยเรียนในลกั ษณะน้ีมาก0อน เปVนลักษณะการเรียนที่แปลกใหม0ทําให"นักศึกษา
เกิดความสนใจอยากร"ูอยากเรียน นอกจากนี้ยังใช"ประโยชน*จากเว็บไซต*ในลักษณะ Social media ซึ่งกําลังเปVนท่ีนิยมในปnจจุบัน
เข"ามาช0วยในการติดต0อส่ือสารระหว0างผู"สอนและนกั ศึกษาทําให"สามารถติดต0อกันได"สะดวก เม่ือนักศึกษามีข"อซักถามก็สามารถ
ซักถามกับผ"ูสอนได"โดยตรงและสามารถพูดคุยซักถามกันได"ตลอดเวลาอีกด"วย ซึ่งสอดคล"องกับแนวคิดของ กิดานันท* มลิทอง
(2548) ที่ได"กล0าวถึงข"อดีของการนําเอาเทคโนโลยีทางคอมพิวเตอร*และเครือข0ายอินเทอร*เน็ตมาใช"ในการเรียนการสอนไว"ดังนี้

เอกสารสืบเนอื่ งจากการประชมุ วิชาการและนําเสนอผลงานวจิ ัยระดับชาติ 2559 “การวิจัยรับใช"ชมุ ชนสร"างสังคมฐานความรู"” 123

คอมพวิ เตอร*ชว0 ยเพม่ิ แรงจงู ใจในการเรียนร"ูใหแ" ก0นักศึกษา เนื่องจากการเรียนด"วยคอมพิวเตอร*เปVนประสบการณ*ที่แปลกและใหม0
การใช"สี ภาพลายเสน" ทีแ่ ลดูคลา" ยเคลือ่ นไหว ตลอดจนเสียงดนตรี จะเปนV การเพิ่มความเหมือนจริงและเร"าใจนักศึกษาให"เกิดความ
อยากร"ูทําแบบฝกu หดั หรือทาํ กจิ กรรมต0างๆ

3.2 บทเรียนออนไลนท* ีผ่ "วู ิจัยสร"างขึ้นสามารถตอบสนองต0อความแตกต0างระหว0างนักศึกษาได" ซึ่งนักศึกษาแต0
ละคนมีพื้นฐานที่แตกต0างกัน ท้ังในด"านทักษะการเรียนร"ูช"าเร็วที่แตกต0างกัน ความร"ูเดิมท่ีแตกต0างกัน โดยเปVนไปตาม
พระราชบัญญัติการศึกษาแห0งชาตปิ 4 พ.ศ.2542 มาตรา 22 กล0าววา0 การจดั การศกึ ษาต"องยึดหลักว0านักศกึ ษาทกุ คนมีความสามารถ
เรียนรูแ" ละพัฒนาตนเองได" และถอื วา0 นกั ศึกษามคี วามสาํ คัญทสี่ ดุ กระบวนการจดั การศกึ ษาตอ" งสง0 เสรมิ ให"นักศึกษาสามารถพัฒนา
ตามธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ ดังน้ันในการสร"างบทเรียนออนไลน*ที่สามารถทําให"นักศึกษาเรียนได"ตามความสามารถของ
ตนเองจงึ เปนV ทพี่ งึ พอใจของนกั ศกึ ษา ซงึ่ สอดคล"องกับงานวิจยั ของผู"วจิ ยั หลายๆท0านท่ีได"ทําการวิจัยเก่ียวกับการเรียนการสอนโดย
ใช"บทเรียนออนไลนห* รอื e-learning หรอื บทเรียนคอมพวิ เตอร*ตา0 งๆ ผลการวิเคราะห*ในความพงึ พอใจของนกั ศกึ ษาต0อบทเรียนจะ
พบวา0 นักศกึ ษาส0วนใหญ0มคี วามพงึ พอใจตอ0 การเรียนด"วยบทเรียนในลักษณะแบบน้ี เช0น งานวิจัยของสุบิน ยมบ"านกวย ได"ทําวิจัย
เกี่ยวกับการพัฒนาบทเรียน e-learning แบบปฏิสัมพันธ* เร่ืองความน0าจะเปVน สําหรับนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาป4ที่ 3 โดยในส0วน
ของการวิเคราะหค* วามพึงพอใจของนกั ศกึ ษาผลปรากฏวา0 ความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีต0อบทเรียน e-learning แบบปฏิสัมพันธ*
เรือ่ งความน0าจะเปVนโดยรวมและในรายด"านได"แก0 ดา" นวิธกี ารเรียนการสอน ด"านการใช"คอมพิวเตอร*ในการเรียน ด"านการนําเสนอ
เน้ือหา และด"านแบบฝกu หดั และบททดสอบอยู0ในระดับความพึงพอใจมาก หรอื กีรติ ชยะกุลคีรี (2556) งานวิจัยเร่ือง การศึกษาผล
การเรียนร"แู ละความพงึ พอใจของนักศกึ ษาผา0 นระบบ e-learning ในรายวชิ า EEG456 การปอ• งกนั ระบบไฟฟ•ากําลังและรีเลย* โดย
ในส0วนของผลการวจิ ัยพบวา0 นักศึกษาส0วนใหญ0มีความพึงพอใจในภาพรวมในระดบั สูงท้ังในการจัดการเรยี นการสอนที่ใช"ระบบ e-
learning และใช" weblog และอัจฉราวดี ศรยี ะศักด์ิและคณะ (2554) งานวิจัยเรื่องการทดสอบประสิทธิภาพของบทเรียน
คอมพิวเตอรบ* นเครือข0ายอินเทอร*เนต็ เรอ่ื งอทุ กเศยี ร(Hydrocephalus) สําหรับนกั ศกึ ษาพยาบาลศาสตรช* ้ันป4ที่ 3 โดยเปรียบเทียบ
ผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี นและความพงึ พอใจของนักศึกษาทีเ่ รยี นด"วยบทเรยี นทพ่ี ฒั นาข้นึ กบั นักศกึ ษาท่ีเรยี นโดยจัดการเรียนการสอน
แบบปกติ ผลการวิจัยพบว0า ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนักศึกษาท่ีเรียนด"วยบทเรียนท่ีสร"างข้ึนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงกว0า
นักศึกษาท่ีเรียนโดยการจัดการเรียนการสอนแบบปกติ อย0างมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .001 ความพึงพอใจของนักศึกษาท่ีใช"
บทเรียนที่สร"างข้ึนมีความพึงพอใจในภาพรวมอย0ูในระดับมาก โดยบทเรียนน้ีสามารถนํามาใช"ในการจัดการเรียนการสอนเพ่ือให"
นักศึกษามคี วามเข"าใจต0อบทเรยี นที่ดขี ึ้นได"

ขอเสนอแนะ

1. การใช"บทเรียนออนไลน*ในการจัดการเรียนการสอนนั้นเพื่อให"เกิดประสิทธิภาพสูงสุดต0อนักศึกษา ผู"สอนจึงควรจัด
สภาพการเรยี นรู"ท่ีเอ้ือตอ0 การใชบ" ทเรยี นออนไลน* เช0น ห"องเรียนท่มี อี ุปกรณพ* รอ" มใชง" าน โปรแกรมคอมพิวเตอร*ทีร่ องรับการทาํ งาน
กับบทเรียนคอมพวิ เตอร* รวมทงั้ อปุ กรณ*อนื่ ๆ เช0น หฟู งn เปนV ต"น

2. เนื่องจากการเรยี นโดยใช"บทเรยี นออนไลน*เปVนลกั ษณะการเรยี นร"ูด"วยตนเอง ดังนั้น เพ่ือเปVนการช0วยให"นักศึกษาไม0
ขาดการปฏสิ มั พนั ธร* ะหวา0 งนกั ศึกษาหรือกับผู"สอน จึงควรมีการสอดแทรกกิจกรรมท่ีจะทําให"นักศึกษากับนักศึกษา หรือนักศึกษา
กบั ผสู" อนมีปฏิสัมพันธซ* ึ่งกันและกัน

3. การสร"างบทเรียนออนไลน*นีเ้ ปนV การสร"างบทเรียนในรายวชิ าท่ีมีทง้ั ทฤษฎแี ละปฏบิ ัติ ซึง่ สามารถใช"บทเรยี นออนไลน*
ในการเรยี นการสอนได" แตล0 ักษณะของเน้ือหาวิชาในบางรายวชิ ากม็ เี พียงทฤษฎีเทา0 นั้น ดงั นน้ั จึงควรมีการศกึ ษาเปรียบเทียบความ
เหมาะสมของการใชบ" ทเรียนออนไลนห* รอื e-learning กบั รายวชิ าที่มีเนื้อหาในลักษณะท่ีต0างกันว0าควรใช"รูปแบบในลักษณะใดจึง
จะเหมาะสมกับลกั ษณะเน้ือหานน้ั ๆ

124 เอกสารสบื เนอื่ งจากการประชุมวชิ าการและนําเสนอผลงานวิจัยระดบั ชาติ 2559 “การวิจัยรับใชช" มุ ชนสร"างสังคมฐานความรู"”

เอกสารอางองิ

กิดานันท* มลิทอง. (2548). เทคโนโลยีการศึกษาและการสือ่ สารเพ่อื การศกึ ษา. พมิ พ*ครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร:
จฬุ าลงกรณ*มหาวทิ ยาลยั

กรี ติ ชยะกุลครี ี. (2556). การศึกษาผลการเรียนรแู ละความพงึ พอใจของนักศึกษาผานระบบ e-Learning ใน
รายวิชา EEG456 การป•องกันระบบไฟฟา• กาํ ลังและรเี ลย-. สืบค"นเมอื่ 18 ธนั วาคม 2556, จาก
http://www.spu.ac.th/tlc/files/2014/02/55_06.pdf

ถนอมพร เลาหจรสั แสง. (2544). การสอนบนเวบ็ (Web-Based Instruction) นวัตกรรมเพอ่ื คุณภาพการเรียน
การสอน. วารสารศกึ ษาศาสตร-สาร. 28: 87-94.

ทักษณิ า สวนานนท*. (2556). ทฤษฎที เ่ี กยี่ วของกับการออกแบบบทเรียน e-Learning. สบื คน" เมอ่ื วันที่ 10
กันยายน 2556, จาก http://www.bmamedia.in.th/index.php?option=com_content
&task=view&id=509&Itemid=51

นทั ลยี า กาํ นล. (2551). การเปรยี บเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจากการใชบทเรยี นคอมพวิ เตอร-กับการสอน
ปกตขิ องนกั เรียนชวงชนั้ ท่ี 2 กลมุ สาระการเรียนรภู าษาไทย เรอื่ งชนิดของคําในภาษาไทย. ปรญิ ญา
การศึกษามหาบัณฑติ สาขาวชิ าเทคโนโลยกี ารศกึ ษา มหาวทิ ยาลยั ศรีนครนิ ทรวโิ รฒ.

พีระนชุ คงทน. (2551). การเปรยี บเทียบผลการเรียนรูโดยการใชบทเรยี นออนไลน- 3 รปู แบบสาํ หรับนกั เรียน
ชวงชัน้ ท่ี3 ทม่ี ีรูปแบบการคิดตางกัน 2 รปู แบบ. ปรญิ ญาการศึกษามหาบณั ฑติ สาขาวิชาเทคโนโลยี
การศึกษา มหาวทิ ยาลัยศรนี ครนิ ทรวิโรฒ.

แวววลี สริ จิ รรยาดี. (2556). การพฒั นาบทเรยี นออนไลนเ- รอ่ื งการเขยี นเวบ็ ไซตด- วยโปรแกรม Microsoft
FrontPage 2003. สบื ค"นเมอ่ื วนั ท่ี 7 ตุลาคม 2556, จาก http://www.sahavicha.com/?name=
media&file=readmedia&id=35

มหาวิทยาลยั ราชภฏั วไลยอลงกรณ* ในพระบรมราชูปถัมภ*. (2553). คูมอื การจดั ระบบการเรยี นการสอนที่ยึด
นักศกึ ษาเปน` ศูนย-กลางการเรยี นรู. กรงุ เทพมหานคร: โรงพมิ พเ* ทียนวัฒนาพรน้ิ ทต* ้ิง.

สุบิน ยมบา" นกวย. (2550). การพัฒนาบทเรียน e-Learning แบบปฏิสัมพนั ธ-เรือ่ ง ความนาจะเป`นสาํ หรบั
นกั เรียนช้นั มัธยมศึกษาปที่ 3. ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการมธั ยมศึกษา มหาวทิ ยาลัย
ศรีนครินทรวโิ รฒ.

อรอุษา อทุ ยั . (2551). การศกึ ษาความพึงพอใจในการใชบทเรยี น Online สาํ หรับนักเรียนชัน้ มธั ยมศึกษา
ตอนตน โรงเรียนสตรีศรีสุริโยทยั . ปริญญาครศุ าสตรบณั ฑิต ฝuกประสบการณ*วชิ าชพี ครู จุฬาลงกรณ*
มหาวิทยาลยั .

อจั ฉราวดี ศรียะศักดิแ์ ละคณะ. (2554). การทดสอบประสิทธภิ าพของบทเรียนคอมพวิ เตอรบ* นเครือขา0 ย
อนิ เทอรเ* นต็ เรื่องอทุ กเศยี ร(Hydrocephalus) สาํ หรับนกั ศึกษาพยาบาลชั้นปท4 ี่ 3. วารสาร
มหาวิทยาลัยนราธวิ าสราชนครนิ ทร- 3(1): 91-103.

เอกสารสบื เนอื่ งจากการประชุมวชิ าการและนาํ เสนอผลงานวิจยั ระดบั ชาติ 2559 “การวจิ ยั รับใชช" มุ ชนสรา" งสงั คมฐานความรู"” 125

ความสมั พนั ธ-ระหวางปaจจยั การบรหิ ารกับการบรหิ ารงานระบบการดูแลชวยเหลือนักเรียน
ของผูบริหารสถานศึกษาสังกัดสํานักงานเขตพน้ื ท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต1

Relationship Between Educational Factors and School on Student Assistant System of the
School Administrators under the Office of Secondary Educational Service Area I

พนั ทิพย- โขมะนาม1 และ สนุ ันทา แกวสขุ 2

บทคดั ยอ

การวิจัยครัง้ นีม้ วี ัตถปุ ระสงคเ* พือ่ ศึกษา 1) ปnจจัยการบริหารของผู"บริหารสถานศึกษาสังกัดสํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา
มัธยมศึกษา เขต 1 2) การบรหิ ารงานระบบการดูแลชว0 ยเหลือนักเรยี นของผูบ" ริหารสถานศึกษา สังกดั สํานกั งานเขตพื้นทกี่ ารศึกษา
มัธยมศึกษา เขต 1 และ 3) ความสมั พนั ธ*ระหวา0 งปnจจัยการบริหารของผ"บู รหิ ารกับการบริหารงานระบบการดแู ลช0วยเหลือนักเรียน
ของผ"ูบริหารสถานศกึ ษาสงั กัดสาํ นกั งานเขตพนื้ ทกี่ ารศกึ ษามัธยมศึกษาเขต 1 กล0ุมตัวอย0างท่ีใช"ในการวิจัย ได"แก0 ผู"บริหารและครู
ในสถานศึกษาสงั กดั สาํ นกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 จํานวน 361 คน เคร่ืองมือท่ีใช"ในการวิจัยเปVนแบบสอบถาม
มาตราส0วนประมาณค0า 5 ระดบั จาํ นวน 90 ข"อ ค0าความเช่ือมน่ั 0.97 สถติ ิท่ีใชใ" นการวิเคราะหข* อ" มลู ได"แก0 ค0าความถี่ ค0าร"อยละ
ค0าเฉลีย่ สว0 นเบ่ยี งเบนมาตรฐาน และคา0 สมั ประสทิ ธิ์สหสัมพันธ*ของเพยี รส* ัน และทดสอบสมมติฐานของสหสัมพันธโ* ดยใช" ค0าที

ผลการวิจยั พบวา0 1) ปจn จยั การบรหิ ารของผ"ูบรหิ ารสถานศึกษาสงั กัดสํานกั งานเขตพ้ืนท่กี ารศกึ ษามัธยมศึกษาเขต 1 โดย
ภาพรวมอยใู0 นระดบั มากทกุ ด"าน เมอื่ พจิ ารณาเปนV รายด"าน พบว0า ทกุ ด"านมีค0าเฉล่ียอยูใ0 นระดบั มาก ดา" นทมี่ ีคา0 เฉลย่ี สงู สุด คือ ด"าน
ลักษณะขององค*การ รองลงมา คือ ด"านสภาพแวดล"อม 2) การบริหารงานระบบการดูแลช0วยเหลือนักเรียนของผ"ูบริหาร
สถานศึกษา สงั กัดสาํ นักงานเขตพืน้ ที่การศกึ ษามธั ยมศึกษา เขต 1 โดยภาพรวมอยูใ0 นระดบั มากทกุ ด"าน เมอื่ พิจารณาเปVนรายด"าน
พบว0า ทุกด"านมีค0าเฉล่ียอย0ูในระดับมาก ด"านที่มีค0าเฉล่ียสูงสุด คือ การรู"จักนักเรียนเปVนรายบุคคล รองลงมา คือ การคัดกรอง
นักเรียน 3) ความสัมพันธ*ระหว0างปnจจัยการบริหารกับการบริหารงานระบบการดูแลช0วยเหลือนักเรียนของผู"บริหารสถานศึกษา
สงั กดั สํานักงานเขตพน้ื ที่การศึกษามัธยมศกึ ษา เขต 1 มีความสัมพนั ธ*ทางบวกในระดับมาก (r = 0.82) อย0างมีนัยสําคัญทางสถิติที่
ระดับ 0.05 โดยปnจจัยการบริหารของผู"บริหารด"านลักษณะขององค*การมีความสัมพันธ*กับการรู"จักนักเรียนเปVนรายบุคคลอย0ูใน
ระดับมาก เปVนอันดับแรก รองลงมาได"แก0 ดา" นสภาพแวดล"อมกับการคัดกรองนกั เรียน

คาํ สาํ คัญ: ปnจจยั การบริหาร การบรหิ ารงานระบบการดูแลช0วยเหลอื นกั เรียน

Abstract

The purposes of this research were to study: 1(the management of school Administrators under the
Office of Secondary Educational Service Area I, 2 (Management of assistant system of the students of the
school administrators, and (3 the relationship between educational factors and school on student assistant
system of the school Administrators under the office of Secondary Educational Service Area I. The sample

1 นักศกึ ษาครุศาสตรมหาบณั ฑติ สาขาวชิ าการบริหารการศึกษา มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ธนบุรี
2 อาจารย*ทป่ี รึกษา สาขาวชิ าการบริหารการศึกษา คณะครศุ าสตร* มหาวิทยาลัยราชภฏั ธนบรุ ี

126 เอกสารสืบเนอื่ งจากการประชุมวชิ าการและนาํ เสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ 2559 “การวจิ ัยรับใช"ชมุ ชนสรา" งสงั คมฐานความร"ู”

Administrators and teachers in schools. Office of Educational Service Area School District, one of 361
instruments research is 5 point rating scale questionnaire approximately of 90questions the reliability 0.97
statistics used in the analysis. For the information he has frequency, percentage, average and standard
deviation of and coefficient of correlation Pearson. The hypothesis was tested using the values of correlation.

The research results were as follows: 1) the management of schools under the Office of Secondary
Educational Service Area Office 1overall level Considering the revenue side found0 the side with the average
level. The side with the highest average is the nature of the organization, followed by the environment; (2
management system to help take care of the education of students. Secondary Educational Service Area
Office, Area 1overall level considering the revenue side found0 the side with the average level. The side with
the highest average was knowing know students individually, followed by the screening of students; and (3the
relationship between the administration and the management system overseeing the student's school
administrators. Office of Educational Service Area School District 1had a positive correlation levels (r= (0.82with
statistical significance at the 0.05level by the administration of the management style of the organization's
relationship with the hole well. Individual student at a high level. First Followed by Environmental screening
to students.

KEYWORDS: Management Factors, on Student Assistant System

ความเปน` มาและความสําคัญของปaญหา

การจดั การศกึ ษาในสถานศึกษาสังกดั สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน มีบุคคลที่ทําหน"าท่ีในการบริหารจัด
การศึกษา คือ ผ"ูบริหารโรงเรียน โดยมีตําแหน0งต้ังแต0 ครูใหญ0 อาจารย*ใหญ0และผู"อํานวยการโรงเรียนตามลําดับ ส0วนบุคลากรท่ี
ปฏิบัติหน"าที่เก่ียวกับการเรียนการสอน คือครูสายผ"ูสอนและครูจ"างสอนการดําเนินงานต0างๆของโรงเรียนจะบรรลุวัตถุประสงค*
ตามทกี่ าํ หนดไว"อยา0 งมีประสทิ ธภิ าพได"ต"องเกดิ จากความร0วมมือระหวา0 งผู"บรหิ ารโรงเรียนและครูเปVนสาํ คัญ ผู"บรหิ ารโรงเรียนถือว0า
เปVนผู"ท่ีบทบาทสําคัญในอันที่จะบริหารโรงเรียนไปสู0การพัฒนาอย0างต0อเน่ืองโดยคํานึงถึงปnจจัยต0างๆในการบริหารงานเพ่ือให"
ผู"ใตบ" งั คบั บญั ชาสามารถปฏิบตั งิ านไดอ" ยา0 งมีคณุ ภาพ อนั ไดแ" ก0 ปnจจัยการบริหารตามแนวคิดของสเตียร* (Steers, 1977, ----------
39-136) ซ่งึ มี 4 ดา" นได"แก0 1) ปnจจัยดา" นลักษณะขององคก* าร เปVนลักษณะโครงสร"างขององคก* าร ประกอบด"วยการกระจายอํานาจ
ความเปVนทางการช0วงการบังคับบัญชา และบทบาทของเทคโนโลยี 2) ปnจจัยด"านสภาพแวดล"อมเปVนปnจจัยซึ่งประกอบด"วย
สภาพแวดลอ" มภายนอกโรงเรยี นเปVนสภาพปญn หาภายในครอบครัวของนักเรยี น สภาพปญn หาของชุมชน 3) ปnจจัยด"านลักษณะของ
บุคลากรเปVนลักษณะของบุคลากรในองค*การที่มีพฤติกรรมซ่ึงมีอิทธิพลต0อการปฏิบัติงานอื่นจะนําไปสู0ความสําเร็จหรือความล"
มเหลวขององค*การ 4) ปnจจัยด"านนโยบายการบริหารและการปฏิบัติเปVนความร0วมมือกันกําหนดนโยบาย วิสัยทัศน* ปรัชญา พันธ
กิจและเป•าหมายของโรงเรยี นไปส0เู ป•าหมายทเี่ กีย่ วขอ" งกบั การบริหารงานระบบการดูแลช0วยเหลือนักเรียนตามความเหมาะสมการ
กําหนดนโยบายของสํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาที่มีความชัดเจนเก่ียวกับการบริหารงานระบบการดูแลช0วยเหลือนักเรียนเม่ือ
ผ"บู ริหารตระหนกั ถึงปnจจยั การบรหิ ารดงั กลา0 วขา" งต"นกจ็ ะสามารถบรหิ ารงานในโรงเรียนใหม" ปี ระสิทธิภาพได"โดยง0าย

ในปnจจุบันโลกยุคโลกาภิวัตน*ข"อมูลข0าวสารการแพร0กระจายอย0างไร"พรหมแดนความเจริญด"านเทคโนโลยีสารสนเทศ
ภาวะวิกฤตทางเศรษฐกจิ ของโลกความผันผวนทางการเมอื งและสถานการณ*ทางสงั คมได"เปลย่ี นแปลงอยา0 งรวดเรว็ และสลับซบั ซอ" น
ยิ่งขน้ึ สงิ่ เหลา0 น้ีเปVนมูลเหตสุ ําคัญท่ีทําให"ประเทศต0างๆทั่วโลกรวมทั้งประเทศไทยต0างได"รับผลกระทบจากการเปล่ียนแปลงนี้อย0าง
หลีกเล่ียงไม0ได"ปรากฏการณ*ดังกล0าวได"แทรกซึมสู0วิถีชีวิตขนบธรรมเนียมประเพณีและวัฒนธรรมของคนไทยทุกรูปแบบทําให"คน
ไทยโดยเฉพาะเด็กและเยาวชนต"องเผชิญกับสภาวะการเปลี่ยนแปลงอย0างรวดเร็วรุนแรงและมีความหลากหลายอย0างน0าเปVนห0วง

เอกสารสบื เนอื่ งจากการประชมุ วชิ าการและนาํ เสนอผลงานวจิ ัยระดับชาติ 2559 “การวิจยั รบั ใชช" ุมชนสร"างสังคมฐานความรู"” 127

และด"วยสถานการณ*ปnจจุบันสภาพแวดล"อมความคาดหวังของผู"ปกครองกับตัวเด็กสิ่งยั่วยุตัวแบบท่ีไม0เหมาะสมก0อให"เกิดปnญหา
ต0างๆต0อเดก็ และเยาวชนไดอ" ยา0 งมากมาย (กรมสุขภาพจิต, 2545, ----------1) การพัฒนานักเรียนให"เปVนบุคคลที่มีคุณภาพทั้งด"าน
ร0างกายจิตใจสติปnญญาความสามารถ มีคุณธรรมจริยธรรมและมีวิถีชีวิตท่ีเปVนสุขตามที่สังคมมุ0งหวังโดยผ0านกระบวนการทาง
การศึกษานนั้ นอกจากดําเนินการด"วยการสง0 เสรมิ สนับสนุนนักเรียนแล"วการป•องกันและการแก"ปnญหาต0างๆท่ีเกิดกับนักเรียนก็เปVน
สิ่งสําคัญรัฐบาลเห็นถึงความสําคัญของปnญหาที่เกิดข้ึนกับเด็กและเยาวชนจึงมีนโยบายให"กระทรวงศึกษาธิการโดยสํานักงาน
คณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐานกําหนดนโยบายให"สถานศึกษาทุกแห0งดําเนินงานจัดระบบดูแลช0วยเหลือนักเรียนอย0างมี
ประสิทธิภาพเพื่อให"นักเรียนทุกคนได"รับการดูแลช0วยเหลือจากครูประจําชั้นและกําหนดมาตรฐานการสนับสนุนส0งเสริมศักยภาพ
นกั เรยี นเน"นกจิ กรรมสง0 เสรมิ พัฒนาป•องกันและแก"ไขปnญหาและคุ"มครองสิทธิเด็กโดยมีผ"ูปกครอง ชุมชน หน0วยงาน และองค*กรท่ี
เกยี่ วข"องเขา" มามสี ว0 นรว0 ม สรา" งความเขม" แขง็ ให"โรงเรยี นมมี าตรฐานในการจัดระบบดูแลช0วยเหลอื นกั เรยี นจัดกจิ กรรมสง0 เสรมิ ความ
ปลอดภัยด"านสิ่งแวดล"อมทางกายภาพทางสังคมสิทธิเด็กตลอดจนป•องกันแก"ไขปnญหาต0างๆของนักเรียนเช0นปnญหาสารเสพติด
ปnญหาพฤติกรรมทางเพศโดยประสานความร0วมมือกับผู"ปกครองและองค*กรในท"องถิ่นสร"างเครือข0ายแลกเปลี่ยนเรียนรู"เชื่อมโยง
ความร"ูสารสนเทศ (สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน, 2547)โดยมุ0งหวังว0าครูทุกคนสามารถให"ความดูแลช0วยเหลือ
นักเรียนได" ท้ังด"านการส0งเสริมในส0วนทดี่ ีของนักเรียน ด"านการป•องกันมิให"ปnญหาเกิดขึ้นหรือลุกลามมากข้ึนโดยเฉพาะเด็กกลุ0ม
เสยี่ ง และสามารถแกไ" ขปnญหานักเรยี นในเบือ้ งตน" ได" ทั้งนี้ให"มีการทาํ งานอย0างเปVนระบบและตรวจสอบได" (วนิดา ชนนิ ทร*ยทุ ธวงศ*,
อุษา พ่งึ ธรรม, ประวิตเอราวรรณ และขจติ รตั น* ปูนพนั ธ*ฉุ าย, 2546) ตลอดจนมแี นวดําเนินงานในการปรับเปล่ียนบทบาทและเจต
คตขิ องผูบ" ริหารและครูอาจารยใ* ห"ส0งเสริมดแู ล พฒั นานกั เรียนท้งั รา0 งกาย จิตใจ สติปnญญา อารมณ* และสังคม วางระบบที่จะสร"าง
ความมั่นใจว0า นักเรียนทุกคนมคี รูอาจารยอ* ยา0 งนอ" ยหนึ่งคนท่จี ะคอยดแู ลทุกขส* ขุ อย0างใกลช" ดิ และต0อเน่ือง สนับสนุนให"ครูอาจารย*
มคี วามสมั พันธใ* กลช" ิดกับผู"ปกครองเพื่อใหบ" "านโรงเรียนและชมุ ชนเชื่อมประสานและรวมกลุ0มกนั เปนV เครือข0ายช0วยกันเฝ•าระวังดูแล
ช0วยเหลือนักเรียนและประสานสัมพันธ*ระหว0างนักเรียน ชุมชนและผู"ชํานาญการในสาขาต0างๆ เพ่ือให"มีการส0งต0อและรับช0วงการ
แกไ" ขส0งเสรมิ พฒั นานักเรียนและเยาวชนในรปู แบบสหวิทยาการ (สาํ นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐาน, 2547 ก)

ดังนั้นผ"ูวิจัยจึงสนใจศึกษาความสัมพันธ*ระหว0างปnจจัยการบริหารกับการบริหารงานระบบการดูแลช0วยเหลือนักเรียน
ของผ"ูบริหารสถานศึกษา สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 เพื่อเปVนประโยชน*ต0อผู"บริหารสถานศึกษาและ
นาํ ไปพัฒนาระบบการดแู ลช0วยเหลอื นกั เรยี นในสถานศึกษาให"มีประสทิ ธิภาพต0อไป

วัตถุประสงค-
1. เพ่อื ศกึ ษาปnจจัยการบริหารของผบ"ู รหิ ารสถานศกึ ษาสงั กดั สาํ นักงานเขตพน้ื ท่ีการศกึ ษามธั ยมศกึ ษาเขต1
2. เพอ่ื ศกึ ษาการบรหิ ารงานระบบการดแู ลชว0 ยเหลือนักเรียนของผูบ" ริหารสถานศึกษา สังกดั สํานกั งานเขตพนื้ ท่ีการศึกษา

มัธยมศึกษา เขต 1
3. เพ่ือศึกษาความสัมพนั ธ*ระหวา0 งปจn จยั การบรหิ ารกบั การบริหารงานระบบการดูแลชว0 ยเหลอื นักเรยี นของผ"บู รหิ าร

สถานศึกษา สังกดั สํานักงานเขตพนื้ ท่กี ารศกึ ษามัธยมศึกษา เขต 1

สมมติฐาน
1. ปจn จัยการบรหิ ารของผ"บู รหิ ารสถานศึกษาสังกัดสํานักงานเขตพ้นื ที่การศึกษามธั ยมศกึ ษา เขต อยใู0 นระดบั มาก1
2. การบริหารงานระบบการดแู ลช0วยเหลือนักเรียนของผบ"ู รหิ ารสถานศกึ ษา สงั กดั สาํ นักงานเขตพ้นื ที่การศึกษา

มธั ยมศึกษา เขต อยู 1ใ0 นระดบั มาก
3. ความสัมพันธร* ะหว0างปจn จยั การบรหิ ารกับการบริหารงานระบบการดแู ลช0วยเหลอื นักเรยี นของผ"บู รหิ ารสถานศึกษา

สงั กัดสาํ นกั งานเขตพื้นทกี่ ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษา เขต 0.05 มคี วามสมั พนั ธ*ทางบวกในระดบั มาก อย0างมนี ยั สาํ คญั ทางสถติ ทิ ่รี ะดบั 1

128 เอกสารสบื เนอื่ งจากการประชมุ วชิ าการและนําเสนอผลงานวิจัยระดบั ชาติ 2559 “การวิจัยรับใชช" ุมชนสร"างสังคมฐานความรู"”

กรอบแนวคดิ
ตัวแปรต"น ได"แก0 ปnจจัยการบรหิ ารตามแนวคดิ ของสเตยี ร* )Steers, 1977) มี 4 ดา" นดงั น้ี
1.ดา" นลักษณะขององค*การ
2. ด"านสภาพแวดลอ" ม
3. ดา" นลกั ษณะของบุคลากร
4. นโยบายการบรหิ ารและการปฏบิ ตั ิ

ตัวแปรตามได"แก0 การบรหิ ารงานระบบการดแู ลชว0 ยเหลอื นกั เรยี น ตามแนวคดิ ของสํานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษา
ขน้ั พื้นฐาน (2547 ประกอบดว" ย 5 กจิ กรรม ดงั น้ี

1. การรูจ" ักนักเรยี นเปVนรายบุคคล
2. การคัดกรองนักเรยี น
3. การส0งเสริม พฒั นานักเรยี น
4. การป•องกันและแกไ" ข"ปญn หา
5. การสง0 ต0อ

วธิ ีดาํ เนินการวิจัย

ประชากรและกลุมตัวอยาง
1. ประชากร
ประชากรที่ใช"ในการศึกษาคร้ังนี้ เปVนผู"บริหารและครูในสถานศึกษาขั้นพ้ืนฐานสังกัดสํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา

มัธยมศกึ ษาเขต 1 ป4การศกึ ษา 2558 ท้ัง 67 แหง0 จาํ นวน 5,876 คน
2. กลุมตัวอยาง
กลม0ุ ตัวอยา0 งทใ่ี ชใ" นการศกึ ษาครัง้ นี้ ได"จากกล0มุ ประชากร โดยกําหนดขนาดของกลุ0มตวั อยา0 งตามตารางของเคร็จซแี่ ละ

มอร*แกน (Krejcie& Morgan, 1970) อ"างถงึ ในวาโรเพง็ สวสั ด์ิ, (2551) เทียบสดั สว0 นประชากรแล"วสุม0 อยา0 งงา0 ย ได"กลม0ุ ตวั อยา0 งเปVน
ผ"ูบริหารและครูในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดสํานักงานเขตพ้ืนที่การศกึ ษามัธยมศึกษา เขต 1 ป4การศึกษา 2558 จํานวน 361
คน

เคร่อื งมอื การวิจัย
ตอนท่ี 1 แบบสอบถามเก่ียวกับสถานภาพส0วนตัวของผ"ูตอบแบบสอบถาม มีลักษณะเปVนแบบตรวจสอบรายการ

เก่ียวกบั เพศ อายุ ตาํ แหน0งหน"าท่ี ระดับการศกึ ษา และประสบการณ*ในการทํางาน
ตอนท่ี แบบสอบถามเกี่ยวกับปnจจัยการบริหารของผ"ูบริหารสถานศึกษา สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา 2

มัธยมศึกษา เขต ข"อ 40 มีจํานวน1
ตอนที่ 3 เปVนแบบสอบถามเก่ยี วกับการบริหารงานระบบการดแู ลช0วยเหลือนักเรียนของผู"บริหารสถานศึกษา สังกดั สํานักงานเขต
พื้นท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 มีจํานวน 50 ข"อแบบสอบถามตอนที่ 2 และตอนท่ี 3 เปVนแบบสอบถามชนิดมาตราส0วน
ประมาณคา0 (Rating Scale) ของลิเคริ ท* (Best & Kahn,1993) แบ0งเปVน 5 ระดบั คอื มากท่ีสุด มาก ปานกลาง นอ" ย และน"อยทส่ี ุด

เอกสารสบื เนอ่ื งจากการประชมุ วิชาการและนาํ เสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ 2559 “การวิจยั รับใชช" ุมชนสร"างสังคมฐานความรู"” 129

การเก็บรวบรวมขอมลู
1. ผ"ูวิจัยขอหนังสือจากโครงการบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรีถึงผ"ูอํานวยการสถานศึกษา สังกัดสํานักงาน

เขตพื้นท่กี ารศึกษามธั ยมศกึ ษา เขต 1ทเ่ี ปนV กลมุ0 ตัวอย0าง เพ่อื ขอความร0วมมือในการเกบ็ ขอ" มลู
2. จดั ส0งแบบสอบถามพร"อมหนังสือขอความร0วมมือในการเก็บรวบรวมข"อมูลไปสถานศึกษา สังกัดสํานักงานเขตพ้ืนที่

การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 โดยวิธีการส0ุมตัวอย0างอย0างง0าย ตามขนาดของกล0ุมตัวอย0างจํานวน 361 ฉบับ และรวบรวม
แบบสอบถามกลับดว" ยตนเอง ไดแ" บบสอบถามคนื จาํ นวน 361 ฉบบั

3. ตรวจสอบความสมบรู ณข* องคาํ ตอบในแบบสอบถามทุกฉบับ คิดเปVนรอ" ยละ 100
4. นาํ ขอ" มูลไปวิเคราะห*ทางสถิตติ 0อไป

การวิเคราะห-ขอมลู
1. แบบสอบถามตอนท่ี 1 วิเคราะหส* ถานภาพของผ"ูตอบแบบสอบถามโดยใช" คา0 รอ" ยละ
2. การวิเคราะหภ* าวะผ"ูนําการเปล่ียนแปลงของผ"ูบรหิ าร จากแบบสอบถามตอนท่ี 2 และตอนที่ 3 โดยใช"สถติ ิค0าเฉลยี่

( x ) และคา0 ส0วนเบยี่ งเบนมาตรฐาน (S.D.)
3. การวเิ คราะห*แนวทางการบรหิ ารโรงเรยี นนติ ิบคุ คลจากแบบสอบถามตอนที่ 2 และตอนท่ี 3 โดยใชส" ถิติค0าเฉลีย่

( x ) และคา0 ส0วนเบยี่ งเบนมาตรฐาน (S.D.)
4. การวิเคราะหห* าความสัมพันธ*ระหว0างภาวะผ"ูนําการเปลี่ยนแปลงของผู"บริหาร (x) กับแนวทางการบริหารโรงเรียน

นิติบุคคล (y) โดยใช"ค0าสัมประสทิ ธิ์สหสัมพันธ*ของเพียร*สัน (Pearson’s product moment correlation coefficient) และ
ทดสอบคา0 สหสมั พันธโ* ดยใช"คา0 ที

สรุปผล

1. ปnจจัยการบรหิ ารของผู"บรหิ ารสถานศกึ ษา สังกดั สํานักงานเขตพื้นท่กี ารศึกษามัธยมศึกษา เขต 1
ผลการวเิ คราะห*ขอ" มูล พบว0า ผ"บู รหิ ารสถานศกึ ษาและครมู ีความคดิ เห็นต0อปnจจยั การบรหิ ารของผ"ูบรหิ ารสถานศึกษา
สงั กดั สาํ นักงานเขตพื้นที่การศึกษามธั ยมศกึ ษา เขต 1 โดยรวมทกุ ดา" นอยใู0 นระดับมาก ( = 4.07, S.D.=0.57) เมือ่ พจิ ารณาเปV
นรายด"าน พบว0า ทุกด"านมีค0าเฉล่ียอยูใ0 นระดบั มาก ด"านทม่ี คี า0 เฉลี่ยสงู สดุ คือ ดา" นลกั ษณะขององคก* าร ( = 4.17,S.D.=0.58)
รองลงมา คอื ดา" นสภาพ แวดล"อม ( = 4.14,S.D.=0.59) และดา" นที่มคี 0าเฉลี่ยต่าํ สุด คอื ด"านลักษณะของบุคลากร ( = 3.95,
S.D.=0.79)
2. การบรหิ ารงานระบบการดแู ลช0วยเหลอื นักเรียนของผบ"ู รหิ ารสถานศกึ ษา สังกดั สาํ นักงานเขตพ้ืนทก่ี ารศกึ ษา
มธั ยมศกึ ษา เขต 1
พบว0า ผู"บริหารสถานศกึ ษาและครูมคี วามคดิ เห็นต0อการบริหารงานระบบการดแู ลชว0 ยเหลอื นกั เรยี นของผบู" รหิ าร
สถานศึกษา สงั กดั สํานักงานเขตพนื้ ที่การศึกษามธั ยมศึกษา เขต 1โดยภาพรวมทกุ ด"านอยใ0ู นระดบั มาก ( = 3.96, S.D.=0.71) เม่ือ
พจิ ารณาเปนV รายดา" น พบวา0 ทุกดา" นมีค0าเฉล่ียอยใ0ู นระดับมาก ด"านท่ีมคี 0าเฉลีย่ สงู สุด คอื การรจ"ู กั นักเรียนเปนV รายบุคคล (
=4.04,S.D.=0.66) รองลงมา คือ การคัดกรองนกั เรียน ( =4.02,S.D.=0.67) และด"านทม่ี คี 0าเฉลีย่ ต่ําสดุ คอื การส0งต0อ ( =3.82,
S.D.=0.79)
3. ความสมั พันธ*ระหว0างปnจจัยการบริหารกบั การบรหิ ารงานระบบการดแู ลชว0 ยเหลอื นกั เรียนของผูบ" รหิ ารสถานศึกษา
สังกดั สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 1
ผลการวเิ คราะห*ความสมั พันธร* ะหว0างปจn จยั การบรหิ ารกบั การบรหิ ารงานระบบการดูแลชว0 ยเหลอื นกั เรยี นของผ"ูบรหิ าร
สถานศกึ ษา สงั กดั สาํ นกั งานเขตพนื้ ทกี่ ารศึกษามธั ยมศกึ ษา เขต 1มคี วามสัมพนั ธท* างบวกในระดับสูง อยา0 งมนี ัยสําคญั ทางสถติ ิที่

130 เอกสารสืบเนอ่ื งจากการประชุมวิชาการและนําเสนอผลงานวจิ ัยระดับชาติ 2559 “การวิจัยรบั ใชช" ุมชนสรา" งสังคมฐานความรู"”

ระดบั .05 เรยี งลาํ ดบั คา0 ความสัมพนั ธ*แต0ละค0จู ากมากไปหาน"อย คอื การรจ"ู ักนกั เรียนเปVนรายบุคคล(r=0.80) การคดั กรองนกั เรยี น
(r=0.78)การป•องกนั และแก"ไขปญn หา (r =0.77) การสง0 เสริมพฒั นานักเรียน(r=0.76) และการส0งตอ0 (r=0.72) ตามลาํ ดบั และ
ความสัมพนั ธร* ะหว0างการบรหิ ารงานระบบการดแู ลชว0 ยเหลือนักเรียนของผูบ" รหิ ารสถานศกึ ษากับปnจจยั การบริหาร พบวา0 มี
ความสัมพนั ธ*ทางบวกระดบั สูง อยา0 งมีนัยสําคญั ทางสถิติทีร่ ะดบั .05 เรียงลําดบั ค0าความสมั พันธ*แต0ละค0จู ากมาก ไปหานอ" ย คือ
ด"านลักษณะขององคก* าร (r=0.79) ดา" นสภาพแวดล"อม (r=0.78) ด"านนโยบายการบริหารและการปฏบิ ตั ิ(r =0.77) และดา" น
ลักษณะของบคุ ลากร (r =0.75) ตามลาํ ดบั

อภปิ รายผล

1. ปจa จยั การบรหิ ารของผบู ริหารสถานศกึ ษา สงั กดั สาํ นักงานเขตพ้นื ท่กี ารศกึ ษามัธยมศกึ ษา เขต 1
ปnจจยั การบริหารของผ"ูบริหารสถานศึกษาสังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต ตามความคิดเห็น1

0บริหารและครูโดยภาพรวม พบวของผู"า ทุกด"านอยู0ในระดับมาก เมื่อพิจารณาในแต0ละด"าน พบว0า ทุกด"านอยู0ในระดับมาก
เชน0 เดียวกนั โดยด"านที่มคี 0าเฉล่ียสงู สดุ คอื ด"านลกั ษณะขององคก* าร รองลงมา คอื ดา" นสภาพแวดล"อมและปnจจัยที่มีค0าเฉลี่ยตา่ํ สุด
คือ ด"านลักษณะของบุคลากร ตามลําดับท้ังน้ีเปVนเพราะสถานศึกษาสังกัดสํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต มีปnจจัย1
การบรหิ ารแต0ละดา" นเปVนเคร่ืองมอื สาํ คญั ในการบริหารองค*การให"มีประสิทธิภาพและประสิทธผิ ล ปnจจัยด"านลักษณะขององค*การ
โดยภาพรวมจึงอยู0ในระดับมากทุกข"อข"อท่ีมีค0าเฉล่ียสูงสุดคือ ด"านความสามารถและความชํานาญเฉพาะทาง เพราะผู"บริหาร
สง0 เสริมและพัฒนาความรู" ความสามารถและความชํานาญการของผ"ูใต"บังคับบัญชา มอบหมายงานให"บุคลากรปฏิบตั ิตามความรู"
ความสามารถและความชาํ นาญอีกทงั้ มีการพฒั นาบคุ ลากรใหม" ีความรค"ู วามสามารดา" นเทคโนโลยเี พ่อื นํามาใช"ปฏบิ ตั งิ าน สอดคล"อง
กับ งานวิจยั ของประภัสรา เทพศาสตรา 2553),บทคัดย0อซงึ่ พบว0าปnจจยั การบริหารท่ีส0งผลต0อการบริหารงานโดยใช"โรงเรียนเปVน (
ฐานของผ"ูบริหารโรงเรียน สังกัดโรงเรียนเทศบาล จังหวัดระยองโดยภาพรวมและรายด"านอยู0ในระดับมาก และสอดคล"องกับ
งานวิจัยของปญn ญา แจม0 กงั วาล 2554),บทคัดย0อซึ่งพบว0าความสัมพันธ*ระหว0างปnจจัยการบริหารกับการบริหารงานวิชาการของ (
โดยร 2ผู"บริหารสถานศึกษา สังกัดสํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาชลบุรี เขตวมอย0ูในระดับมาก และปnจจัยการบริหารกับการ
บริหารงานวชิ าการของผ"ูบริหาร สงั กัดสํานกั งานเขตพื้นที่การศกึ ษาชลบุรี เขตมีความสัมพนั ธ*ทางบวกและสอดคล"องกับงานวิจัย 2
2554) ของภาวิณี เรืองศรี,บทคัดย0อซ่ึงพบว0าปnจจัยการบริหารท่ีส0งผลต0อความพึงพอใจในการทํางานของบุคลา (กรสถาบัน พล
ศึกษา สงั กดั ภาคกลาง กระทรวงการท0องเท่ยี วและกีฬา โดยรวมอย0ใู นระดบั มาก ได"แก0ปจn จยั ลักษณะขององค*กร

2. การบริหารงานระบบการดูแลชวยเหลือนักเรียนของผูบริหารสถานศึกษา สังกัดสํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา
มัธยมศกึ ษา เขต 1

การบริหารงานระบบการดูแลช0วยเหลือนักเรียนของผู"บริหารสถานศึกษา สังกัดสํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา
มธั ยมศึกษา เขต โ0 ดยภาพรวมทกุ ด"านอยู ความคดิ เห็นของผูบ" ริหารและครู1ในระดับมาก เม่ือพจิ ารณาเปVนรายด"าน พบว0า ทุกด"าน
มีค0าเฉลยี่ อยู0ในระดับมาก ดา" นท่ีมคี า0 เฉลย่ี สูงสุด คอื การรูจ" ักนกั เรยี นเปVนรายบคุ คล รองลงมาคือ การคัดกรองนักเรียน การป•องกัน
และแก"ไขปญn หา การส0งเสริมพัฒนานักเรียนและด"านที่มีค0าเฉล่ียต่ําสุดคือ การส0งต0อ ท้ังน้ีเนื่องจากประกาศกระทรวงศึกษาธิการ
เรอ่ื งการแบ0งส0วนราชการภายในสาํ นักงานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษามธั ยมศึกษา ลงวนั ที่ 2553 .ศ.กันยายน พ 13 ข"อ ให"สํานักงานเขต 3
ยว0าดว" ยระเบียบบริหารราชการมีอํานาจหนา" ทีด่ าํ เนนิ การใหเ" ปVนไปตามอํานาจหนา" ทข่ี องสาํ นักงานเขตพนื้ ที่การศกึ ษาตามกฎหมา
กระทรวงศึกษาธกิ าร และมอี าํ นาจหนา" ที่การบริหารงานระบบการดแู ลช0วยเหลือนกั เรยี นของผูบ" ริหารสถานศึกษา สังกัดสํานักงาน
เขตพื้นท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต (8 ข"อ) โดยให"กลุ0มส0งเสรมิ การจดั การศึกษามีอํานาจหน"าท่ี 1ในการประสานการป•องกันและ
แก"ไขปnญหาการใช"สารเสพติด และส0งเสริมป•องกัน แก"ไข และคุ"มครองความประพฤตินักเรียนและนักศึกษารวมทั้งระบบดูแล
ชว0 ยเหลือนกั เรยี น อกี ท้งั สํานักงานเขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษามัธยมศกึ ษา เขต ไดม" กี ารกาํ หนดแนวทางในการจดั การศกึ ษาไว"อยา0 งชัดเจน1
รียนกลุม0 เสีย่ งไดร" บั การดแู ลจากระบบดแู ลช0วยเหลือนักเรียนอย0างเปVนระบบ ดังนน้ั ผ"ูบริหารคือ ผเ"ู 10 โดยมเี ป•าหมายสาํ คัญข"อที่

เอกสารสบื เนอื่ งจากการประชุมวชิ าการและนําเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ 2559 “การวจิ ัยรบั ใช"ชมุ ชนสรา" งสงั คมฐานความร"ู” 131

สถานศึกษาจึงกาํ หนดใหม" กี ระบวนการดําเนนิ งานดแู ลช0วยเหลอื นักเรียนอย0างเปVนระบบโดยมีครูท่ีปรึกษาเปVนบุคลากรหลักในการ
ดําเนินงาน เพ่ือร"ูจกั นกั เรียนเปVนรายบคุ คล โดยใชว" ิธีการประชุมผู"ปกครองภาคเรียนละ คร้ัง การสังเกตพฤติกรรมนักเรียน การ 1
)จัดทาํ ระเบยี นสะสม การใช"แบบประเมนิ นักเรยี นรายบุคคลSDQตลอดจนการเยยี่ มบา" นนกั เรียน การปฎิบัต(ิงานอย0างเปVนระบบนี้
ทาํ ใหค" รไู ดข" อ" มูลเชิงประจักษท* ไ่ี ม0ใช0การคาดการณ*จากความรส"ู กึ หรอื การมองเห็นภาพนกั เรียนเพียงด"านเดยี ว อันเปVนประโยชน*ต0อ
การให"การส0งเสริมพัฒนาและการป•องกันปnญหาแก"ไขปnญหา ส0งผลให"การบริหารงานดําเนินไปอย0างมีประสิทธิภาพบรรลุตาม
เป•าหมายท่สี าํ นกั งานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษามัธยมศึกษา เขต กาํ หนดสอดคลอ" งกับงานวจิ ยั ของปย– ะพร ปอ• มเกษตร*1(2550บทคัดยอ0 ,)
ได"ศึกษาโมเดลเชิงสาเหตุของประสิทธิผลระบบดูแลช0วยเหลือนักเรียนของโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสํานักงานคณะกรรมการ
การศึกษาข้ันพ้ืนฐานผลการวิจัย พบว0า ประสิทธิผลระบบดูแลช0วยเหลือนักเรียนของโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสํานักงาน
คณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐานในภาพรวมอย0ูในระดับสูงและสอดคล"องกับงานวิจัยของประดับ บุญธรรม (255,1บทคัดย0อ)
ศึกษาระบบดูแลช0วยเหลือนักเรียนเพ่ือพัฒนาผ"ูเรียนของโรงเรียนท่ีมีการปฏิบัติที่ดีพหุกรณีศ:กึ ษา ผลการวิจัยพบว0า (1ควรมีการ
วางแผนการดาํ เนินงานกอ0 นเปด– ภาคเรยี น เพอื่ ใหม" ีความพร"อมในทุกดา" น การจดั ครูรบั ผิดชอบในด"านต0างๆของระบบทั้งทีมนํา ทีม
ประสาน และทีมทําให"ชัดเจนเพื่อการเตรียมการของแต0ละฝ…าย 2การดําเนินงาน พบว0าครูประจําช้ันจะพบกับอุปสรรคในการ(
ดาํ เนนิ งานมากทส่ี ุด เพราะครปู ระจาํ ชัน้ ต"องมีความรแ"ู ละความเขา" ใจมคี วามเสียสละในการดําเนินงานอยา0 งมาก ควรมีการชีแ้ จงทํา
ความเขา" ใจใหก" ับครูและบคุ ลาการทีเ่ กี่ยวข"อง การให"กําลังใจจากผู"บริหาร การสร"างความสามัคคีในการทํางานเพื่อให"งานประสบ
กับความสําเร็จ 3งบประมาณเปVนปnจจั(ยหน่ึงที่สําคัญสําหรับการดําเนินงาน ควรมีการวางแผนจัดสรรงบประมาณท่ีเอ้ือต0อการ
ดําเนินงานให"สําเร็จ 4เปVนผู"ส0วนสําคัญท่ีจะทําให"การดําเนินงานประสบความสําเร็จ โรงเรียนควรจัดกิจกรรมเพื่อให"ผ"ูปกครอง(
ผป"ู กครองมีความตระหนักในความสําคัญของการให"ความร0วมมือ และแจ"งผลการดําเนินงานให"ผู"ปกครองทราบว0าบุตรหลานของ
ตนเองจัดอย0ูในกลุ0มใด เพ่ือให"ผู"ปกครองเข"าใจสภาพปnญหาที่แท"จริงและให"ความร0วมมือในการแก"ปnญหาได"ดีขึ้น 5หน0วยงานที่ (
เกย่ี วข"อง ควรมกี ารดําเนินงานให"โรงเรยี นรายงานผลการดาํ เนนิ งานเพื่อทราบถึงปญn หาที่โรงเรียนประสบอยู0 การหาทางแก"ปnญหา
และการสนบั สนนุ ผเ"ู รียนให"ตรงตามความต"องการของโรงเรียนและผู"เรียน และควรมีการจัดบุคลากรท่ีเก่ียวข"องกับการดําเนินงาน
เช0น เจ"าหน"าที่กรมสุขภาพจิต เจ"าหน"าที่พยาบาล นักจิตวิทยาประจําที่โรงเรียนหรือติดตามดูแลโรงเรียนอย0างสมํ่าเสมอต0อไป
สอดคล"องกับงานวิจัยของธงชาติ วงษ*สวรรค* (255,3บทคัดย0อ) ได"ศึกษาการพัฒนาระบบการดูแลช0วยเหลือนักเรียนในโรงเรียน
มัธยมศึกษาโดยใชก" ารวจิ ัยเชงิ ปฏิบัติการแบบมีส0วนร0วมผลการวิจัยพบว0า ปnจจัยท่ีมีส0วนสําคัญท่ีส0งผลให"การพัฒนาระบบการดูแล
ช0วยเหลือนักเรียนประสบความสําเร็จ คือ ผ"ูนําการเปลี่ยนแปลง นั่นคือ ผ"ูบริหารต"องเปVนผู"ที่เห็นความสําคัญให"การสนับสนุนใน
ทกุ ๆ ด"านในการขบั เคลื่อนการเปล่ียนแปลงตา0 งๆ ในโรงเรียน และเนอ่ื งจากระยะแรกของการดาํ เนนิ การจะพบว0า ผ"เู กีย่ วขอ" งท่เี ปVน
คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพ้ืนฐาน นักเรียน และผู"ปกครอง ไม0กล"าแสดงออก จึงต"องมีการเสริมแรงในการแสดงความคิดเห็น
ท้ังนี้เพราะผู"บริหารได"มีการพัฒนาครูในสถานศึกษาเพ่ือให"กระมีความร"ูความสามารถในการจัดการระบบการดูแลช0วยเหลือ
นกั เรียนไดอ" ยา0 งรอบด"านครบทง้ั กิจกรรมโดยด"านการร"จู ักนักเรียนเปVนรายบุคคลเพ่ือให"ครูได"รับข"อมูลจริงอย 50างละเอียดในการ
พัฒนา สง0 เสรมิ และการใหค" วามช0วยเหลอื พร"อมทง้ั จดั ระบบการคดั กรองนักเรียนอยา0 งถูกตอ" งตามหลักเกณฑท* ีส่ ถานศกึ ษากําหนด
ตลอดจนการส0งเสริมพัฒนานักเรยี นตามศักยภาพและความสนใจเปVนรายบคุ คลสามารถจดั กจิ กรรมให"สอดคลอ" งกบั ความสนใจและ
สภาพปnญหา โรงเรียนในสงั กัดสํานกั งานเขตพนื้ ท่ีการศกึ ษามธั ยมศึกษา เขต สามารถพฒั นาครทู ี่ปรกึ ษาให"มคี วามร"ู มีทักษะและ 1
คําปรึกษาแก0นักเรียนโดยไม0พึ่งพาครูแนะแนว และการส0งต0อสถานศึกษาได"มีการกํากับติดตามผลการให"ความเทคนิคในการให"
ช0วยเหลือนักเรียนอย0างต0อเนื่อง ผู"บริหารมีวิธีการจูงใจให"นักเรียนยินดีเข"าร0วมกิจกรรมการส0งต0อเพื่อรับการช0วยเหลืออย0างเปVน
กระบวนการจากผู"เชี่ยวชาญ เนื่องจากสถานศึกษาสังกัดสํานักงานเขตพ้ืนทีก่ ารศึกษามัธยมศึกษา เขต ส0วนใหญ0เปVนโรงเรียน 1
ขนาดใหญ0และใหญพ0 ิเศษจงึ มงี บประมาณและบคุ ลากรเพยี งพอในการดาํ เนนิ การจัดระบบการดแู ลชว0 ยเหลือนักเรยี นตามมาตรฐาน
การศึกษาทีส่ ํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พ้นื ฐานกําหนด

เม่ือพิจารณาด"านการส0งต0อนักเรียนซ่ึงผลการวิจัยพบว0า เปVนด"านท่ีมีค0าเฉล่ียตํ่าสุดในระดับมากเม่ือพิจารณาพบ
ประเดน็ ท่ีน0าสนใจคอื สถานศึกษามีการติดตามผลการช0วยเหลือนักเรียนของครูท่ีปรึกษาอย0างสมํ่าเสมอ ผ"ูบริหารจัดให"มีกิจกรรม
อยา0 งตอ0 เนอ่ื งเพอ่ื ส0งเสรมิ พัฒนานักเรยี นทีไ่ ด"รับการสง0 ต0อ สง0 เสรมิ ให"ครูดําเนนิ การแก"ปญn หาเบอ้ื งต"นดว" ยตนเองก0อนหากไมส0 ามารถ

132 เอกสารสืบเนอื่ งจากการประชุมวชิ าการและนําเสนอผลงานวจิ ยั ระดบั ชาติ 2559 “การวิจัยรบั ใชช" ุมชนสรา" งสังคมฐานความร"ู”

แก"ปnญหาได"จึงดําเนินการส0งต0อนักเรียน และผู"บริหารใช"วิธีการจูงใจให"นักเรียนยอมรับในการส0งต0อเพ่ือขอรับการช0วยเหลือ ทั้งน้ี
เน่ืองจากการบรหิ ารงานระบบการดูแลชว0 ยเหลอื นักเรยี นของผู"บริหารสถานศึกษา สังกัดสํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษา
เขต 1ดาํ เนินการส่ือสารกับนักเรียนและผ"ูปกครองให"เข"าใจเหตุผลของการส0งต0อนักเรียน จึงสามารถสร"างเครือข0ายความร0วมมือ
ระหว0างสถานศึกษากับชุมชนได" เพ่ือขจัดปnญหาอุปสรรคอันเกิดจากการประสานงานกันระหว0างสถานศึกษากับผู"ปกครอง ดังนั้น
ผ"ูบริหารควรส0งเสริมให"ผ"ูที่เก่ียวข"องทั้งหน0วยงานภายในและภายนอกสถานศึกษามีความร"ูความเข"าใจในบทบาทหน"าที่ใน
กระบวนการระบบการดูแลชว0 ยเหลือนักเรยี น เพ่ือให"เกดิ แนวทางในการแกไ" ขปญn หาทถี่ ูกต"อง เกิดความร0วมมอื ระหวา0 งสถานศึกษา
ผ"ูปกครอง ชุมชน ในการแกไ" ขปญn หาร0วมกนั

3. ความสัมพันธ-ระหวางปaจจัยการบริหารกับการบริหารงานระบบการดูแลชวยเหลือนักเรียนของผูบริหาร
สถานศึกษา สังกัดสาํ นักงานเขตพ้ืนทีก่ ารศึกษามธั ยมศกึ ษา เขต 1

ความสัมพันธร* ะหวา0 งปnจจยั การบริหารของผ"ูบริหารสถานศกึ ษาสงั กัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต
โดยภาพรวมอยู0 1ในระดับมาก อย0างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ05.โดยความสัมพันธ*ระหว0างปnจจัยการบริหารของผ"ูบริหาร
สถานศึกษาโดยรวมกับการบริหารงานระบบการดูแลช0วยเหลือนักเรียนของผู"บริหารสถานศึกษา รายด"านพบว0า มีความสัมพันธ*
ทางบวกในระดับมากท้ัง 5 กิจกรรม อย0างมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ05.ซึ่งสอดคล"องกับงานวิจัยของแดน ศรีชนะวัฒน*
ไดศ" ึกษาปจn จัยการบรหิ ารทีส่ ง0 ผลตอ0 ประสิทธิภาพการดําเนินงานระบบดูแลช0วยเหลือนักเรียนของสถานศึกษาข้ัน(บทคดั ย0อ,2555)
พบว0าปnจจัยการบริหารง 1 งเทรา เขตพ้ืนฐาน สังกัดสํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา ประถมศึกษาฉะเชิานระบบดูแลช0วยเหลือ
นักเรียนของสถานศึกษา มีความสัมพันธ*ทางบวกกับประสิทธิภาพการดําเนินงานระบบดูแลช0วยเหลือนักเรียนของสถานศึกษา
อย0างมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ01.ทั้งนี้เพราะปnจจัยการบริหารของผ"ูบริหารสถานศึกษาสังกัดสํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา
มัธยมศึกษาเขต โด 1ยเฉพาะด"านลักษณะขององค*การ จะส0งผลให"โรงเรียนประสบผลสําเร็จสามารถเพ่ิมประสิทธิภาพในการใช"
ทรพั ยากรและบคุ ลากร และความเปนV มอื อาชพี ให"แก0ผ"ูบริหารโรงเรยี นสร"างความสัมพันธ*ท่ีดีกับชุมชนในการร0วมกันจัดและพัฒนา
การศึกษาโดยการกําหนดบทบาทการมสี 0วนรว0 มกับผ"ูปกครอง ชุมชน องค*กรภาครัฐและเอกชนในการจัดและพัฒนาการศึกษาโดย
ให"มีส0วนร0วมในการกําหนดนโยบาย วางแผนดําเนินงานและประเมินคุณภาพการจัดการศึกษาของโรงเรียน การมีส0วนร0วมของ
ชุมชนจะนําไปสู0การเพิ่มผลสัมฤทธ์ิ และสร"างคุณลักษณะท่ีพึงประสงค*ให"แก0ผ"ูเรียนแล"วการบริหารจะประสบผลสําเร็จบรรลุ
วตั ถุประสงค*ตามท่ีสถานศึกษาต้งั ไว" สอดคลอ" งกับแนวคดิ ของฟาโยล )Fayol’s Principles of Managementอ"างถึงใน เฉลิมชยั ,
หาญกล"า, 2546) ท่กี ลา0 วว0า ผู"บรหิ ารจะต"องใหค" นในองคก* รเหน็ แกป0 ระโยชน*ของส0วนรวมในความเปVนจริงนั้นต"องยอมรับว0าบุคคล
น้ันมพี ื้นฐานที่แตกต0างกนั การเข"ามาทาํ งานก็มีทั้งแสวงหาประโยชนม* ากบา" งน"อยบ"างแต0ผู"บริหารจะต"องมีวิธีการจัดการให"กลุ0มคน
เหล0าน้ีคล"อยตามสู0ระบบการทํางานขององค*กรเปVนหลักมีหลากหลายวิธีการนับต้ังแต0ให"คนในองค*กรเห็นความสําคัญของการ
ปฏบิ ัติงาน การชกั จงู ดว" ยรางวัล หรือแม"กระท่ังการกาํ หนดบทลงโทษหากมกี ารประพฤตมิ ิชอบต0อองค*กร และผูบ" รหิ ารจะต"องสร"าง
ความรักในหมูค0 ณะ การสรา" งความรักในหมูค0 ณะคือการสรา" งความสามัคคี การสร"างขวัญและกาํ ลงั ใจให"เกดิ ขนึ้ ในการทาํ งานเมอื่ แต0
ละฝ…ายน้ันมีการทํางานที่เปVนอันหนึ่งอันเดียวกันถึงจะขัดแย"งกันแต0ก็เพื่อให"งานน้ันออกมาดีท่ีสุดก็จะส0งผลดีต0อองค*กรในข"อนี้
ผู"บริหารนั้นจะต"องใช"ความสามารถและความจริงใจ มีจิตใจท่ีเมตตากรุณาต0อผู"เปVนลูกน"องจึงจะทําให"เกิดความรักสามัคคีในหมู0
คณะ

เมือ่ พิจารณาความสัมพันธ*ระหว0างการบริหารงานระบบการดแู ลช0วยเหลือนกั เรยี นของผ"ูบรหิ ารสถานศกึ ษาโดยรวมกบั
ปจn จยั การบรหิ ารผ"ูบริหารสถานศกึ ษาผู"บริหารสถานศึกษารายด"าน พบว0ามีความสัมพนั ธ*ทางบวกในระดับมาก ทั้ง ด"าน อย0างมี 4
05. นยั สาํ คัญทางสถติ ทิ รี่ ะดบั ซ่ึงสอดคล"องกับงานวิจัยของป–ยะพร ป•อมเกษตร* (2550)ได"ศึกษาโมเดลเชิงสาเหตุของประสิทธิผล
ระบบดแู ลช0วยเหลือนักเรยี นของโรงเรยี นมัธยมศกึ ษา สังกดั สํานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานผลการวิจัยพบว0าตัวแปร
ทุกตวั มีความสมั พนั ธก* นั อย0างมีนยั สาํ คญั ทางสถติ ทิ ่ีระดบั .01 โดยตวั แปรทกุ คม0ู คี วามสมั พันธ*ในทศิ ทางเดียวกันคือ ทางบวก ทําให"
ประสิทธิผลระบบดูแลช0วยเหลือนักเรียนของโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐานในภาพ
รวมอยู0ในระดับสูง และสอดคล"องกับแนวคิดของวนิดา ชนินทยุทธวงศ*, อุษา พ่ึงธรรม, ประวิตเอราวรรณ* และขจิตรัตน* ปูนพันธ*ุ
ฉาย (2546) ท่ีกล0าวว0าการพัฒนานักเรียนให"นักเรียนเปVนบุคคลที่มีคุณภาพท้ังด"านร0างกาย จิตใจ สติปnญญา ความสามารถ มี

เอกสารสืบเนอื่ งจากการประชุมวิชาการและนําเสนอผลงานวจิ ัยระดับชาติ 2559 “การวจิ ยั รับใช"ชุมชนสร"างสังคมฐานความร"ู” 133

คณุ ธรรม จรยธรรม และมีวิถชี ีวติ ทเ่ี ปนV สขุ ตามทส่ี ังคมมุง0 หวังไวโ" ดยผา0 นกระบวนการทางการศึกษาน้ัน นอกจากจะดําเนินการด"วย
การส0งเสรมิ สนบั สนนุ นกั เรียนแลว" การป•องกนั และการช0วยเหลือแก"ปnญหาต0างๆ ท่ีเกิดขึ้นกับนักเรียนก็เปVนส่ิงสําคัญประการหน่ึง
ของการพัฒนา เน่ืองจากสภาพสังคมทเ่ี ปลย่ี นแปลงไปอย0างมากทั้งด"านการส่ือสารเทคโนโลยีต0างๆซ่ึงนอกจากจะส0งผลกระทบต0อ
ผ"ูคนในเชิงบวกแล"วในเชิงลบก็มีปรากฏเช0นกันเปVนต"นว0า ปnญหาเศรษฐกิจ การระบาดของสารเสพติดการแข0งขันในรูปแบบต0างๆ
และปnญหาครอบครัวซึ่งก0อให"เกิดความทุกข* ความวิตกกังวล ความเครียดมีการปรับตัวท่ีไม0เหมาะสมหรืออื่นๆที่เปVนผลเสียต0อ
สุขภาพจิตและสุขภาพกายของทุกคนท่ีเกี่ยวข"อง ดังนั้นภาพความสําเร็จท่ีเกิดจากการพัฒนานักเรียนให"เปVนไปตามมุ0งหวังนั้นจึง
ตอ" งอาศยั ความรว0 มมอื จากผู"เกีย่ วข"องทุกฝา… ยทกุ คนโดยเฉพาะบุคลากรครูทุกคนในโรงเรียนซึ่งมีครูที่ปรึกษาเปVนหลักสําคัญในการ
ดาํ เนินการต0างๆ เพ่อื การดแู ลชว0 ยเหลอื นกั เรยี นอย0างใกลช" ิดดว" ยความรักและความเมตตาตอ0 ศิษยแ* ละภาคภูมิใจในบทบาทที่มีส0วน
สาํ คญั ต0อการพัฒนาคณุ ภาพชวี ติ ของเยาวชนให"เตบิ โตงอกงามเปนV บคุ คลท่ีมีคณุ คา0 ของสงั คมต0อไป

ขอเสนอแนะ

ขอเสนอแนะสําหรับการนําไปประยุกตใ- ช
1.ผลจากการศกึ ษาปจn จยั การบรหิ ารสถานศกึ ษา สังกดั สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต โดยภาพรวมทุก 1

0ด"านอยู0ในระดับมาก ปnจจัยด"านลักษณะของบุคลากร มีค0าเฉล่ียตํ่าท่ีสุด ดังนั้น ผู"บริหารสถานศึกษาควรหาวิธีการกระต"ุนให"
ผู"ใต"บังคับบัญชาความผูกพันต0อองค*การ และเต็มใจที่จะทุ0มเทพลังในการทํางานเพื่อองค*การจะได"บรรลุเป•าหมาย และการ
ปฏบิ ตั งิ านที่ดีนน้ั มคี วามสาํ คัญอยา0 งย่งิ เพราะถา" ปราศจากการทาํ งานท่ดี แี ลว" การบรรลุถึงเป•าหมายขององค*การและความสําเร็จย0
อมเปนV ไปไดย" าก

2.ผลจากการศึกษาการบริหารจัดการระบบการดูแลช0วยเหลือนักเรียนของผ"ูบริหารสถานศึกษาสังกัดสํานักงานเขต
พ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต โดยภาพรวมทุกด"านอยู0ในระดับมาก 1ด"านการส0งต0อมีค0าเฉล่ียต่ําที่สุด ดังนั้น ผ"ูบริหาร
สถานศึกษาควรส0งเสริมให"ครูมีการติดตามผล อย0างต0อเนื่องขณะที่นักเรียนอย0ูในการดูแลชว0 ยเหลือนักเรยี นของผู"เช่ียวชาญ ด"าน
การส0งต0อมีค0าเฉล่ียต่ําที่สุด ดังน้ันผ"ูบริหารควรมีการแต0งตั้งครูท่ีมีความรู"ความสามารถและเชี่ยวชาญเฉพาะด"านมาดําเนินการใน
การแกไ" ขปnญหาเพอื่ รบั การส0งตอ0 ทัง้ ภายในและภายนอก มกี ารประเมินผล สรุปผลเพอ่ื จดั ทาํ รายงานตอ0 ไป

3. ความสมั พนั ธร* ะหว0างปnจจัยการบริหารกบั การบริหารงานระบบการดแู ลชว0 ยเหลือนักเรียนของผู"บริหารสถานศึกษา
สังกัดสาํ นักงานเขตพน้ื ทกี่ ารศึกษามธั ยมศึกษา เขต มสัมพนั ธ*กันทางบวก ผ"บู รหิ ารจึงตอ" งคงระดับมาตรฐานของปnจจัยการมีควา 1
บริหารกับการบริหารงานระบบการดูแลช0วยเหลือนักเรียนไว"ให"อย0ูในระดับมากทุกด"าน และควรศึกษารูปแบบปnจัจยการบริหาร
แบบอนื่ ๆ เพ่ือพัฒนาคณุ ภาพการบรหิ ารสถานศกึ ษาอยู0เสมอ

ขอเสนอแนะสําหรับการทําวจิ ัยตอไป
1. ควรศกึ ษาปจn จยั การบริหารทีส่ ง0 ผลตอ0 ความสําเรจ็ ในการพฒั นาการบริหารงานระบบการดแู ลชว0 ยเหลือนักเรียนของ

ผู"บริหารสถานศกึ ษาสงั กดั สาํ นกั งานเขตพื้นท่กี ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษา เขต 1
2. ควรทําการวิจัยเร่ืองรูปแบบบริหารจัดการระบบการดูแลช0วยเหลือนักเรียนท่ีส0งผลต0อการประกันคุณภาพการศึกษา

ของผ"บู ริหารสถานศกึ ษา สังกัดสํานักงานเขตพ้นื ท่กี ารศกึ ษามธั ยมศึกษา เขต 1
3. ควรมีการวจิ ยั เพื่อศึกษาปจn จยั การบริหารกบั การบริหารงานระบบการดแู ลชว0 ยเหลือนักเรียนของผู"บริหารสถานศึกษา

สังกัดสาํ นักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามัธยมศกึ ษา เขต 1 โดยศกึ ษาวิจยั เชงิ คุณภาพเพอ่ื ใหไ" ดข" "อมูลเกย่ี วกับปnจจัยตา0 งๆ เชิงลึก

134 เอกสารสบื เนอ่ื งจากการประชุมวิชาการและนาํ เสนอผลงานวิจยั ระดบั ชาติ 2559 “การวจิ ัยรับใช"ชุมชนสร"างสงั คมฐานความรู"”

เอกสารอางองิ

กระทรวงศึกษาธิการ.(2546). พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พุทธศักราช 2542 แกไขเพ่ิมเติม(ฉบับท่ี 2) พุทธศักราช
2545. กรุงเทพฯ:ครุ สุ ภา.

กรมสุขภาพจติ .(2545 .(คมู อื ครทู ปี่ รกึ ษาระบบการดแู ลชวยเหลอื นกั เรียน. กรุงเทพฯ—ยูเรนัสอมิ เมจกรุ :ป.
เฉลิมชยั หาญกลา" 2546).). พฒั นาการของทฤษฏกี ารบริหาร. ลพบุรี: คณะครศุ าสตร*สถาบนั ราชภฏั เทพสตรี.
แดน ศรีชนะวัฒน* .(2555) .ปจa จัยการบรหิ ารท่สี งผลตอประสทิ ธิภาพการดําเนนิ งานระบบดแู ลชวยเหลอื นกั เรยี นของ

สถานศึกษาข้ันพืน้ ฐาน สังกัดสาํ นักงานเขตพนื้ ที่การศกึ ษาประถมศึกษาฉะเชงิ เทรา เขต .1วิทยานิพนธ*ครุศาสตรม
หาบัณฑติ มหาวทิ ยาลัยราชภฏั ราชนครินทร*.
ธงชาติ วงษส* วรรค*) .2553 .(การพัฒนาระบบการดูแลชวยเหลือนักเรียนในโรงเรยี นมัธยมศึกษาโดยใชการวิจยั เชงิ ปฏบิ ัติการ
แบบมสี วนรวม.วิทยานิพนธ*ครศุ าสตรดษุ ฎีบัณฑติ จฬุ าลงกรณม* หาวทิ ยาลัย.
ภาวิณี เรอื งศรี .(2554) .ปจa จยั การบริหารทส่ี งผลตอความพึงพอใจในการทาํ งานของบุคลากรสถาบนั พลศกึ ษา สังกัดภาค
กลาง กระทรวงการทองเท่ยี วและกฬี าวทิ ยานพิ นธ* .ครุศาสตรมหาบณั ฑิตมหาวทิ ยาลัยราชภฏั ราชนครินทร*.
ประดบั บญุ ธรรม) .2551 .(ระบบดแู ลชวยเหลือนักเรยี นเพ่ือพฒั นาผเู รยี นของโรงเรียนทมี่ กี ารปฏิบตั ทิ ี่ดี .พหุกรณี :วทิ ยานิพนธ*
ครศุ าสตรมหาบณั ฑิต จุฬาลงกรณม* หาวทิ ยาลยั .
ประภัสรา เทพศาสตรา .(2553) .ปจa จัยการบรหิ ารทส่ี งผลตอการบริหารงานโดยใชโรงเรียนเปน` ฐานของผูบริหารโรงเรียนสงั กัด
โรงเรยี นเทศบาล จงั หวัดระยอง. วิทยานิพนธ*ครศุ าสตรมหาบัณฑติ มหาวิทยาลยั ราชภฏั ราชนครนิ ทร*.
ปnญญา แจ0มกงั วาลความสัมพนั ธร- ะหวางปaจจยั การบ .(2554) .รหิ ารกบั การบริหารงานวิชาการของผูบริหารสถานศึกษา สงั กดั
สํานกั งานเขตพ้นื ทีก่ ารศกึ ษาชลบุรี เขต.2วทิ ยานิพนธ*ครุศาสตรมหาบัณฑติ มหาวิทยาลยั ราชภัฏราชนครินทร*.
ปย– ะพร ปอ• มเกษตร* ) .255 .(0โมเดลเชงิ สาเหตุของประสทิ ธผิ ลระบบดูแลชวยเหลอื นักเรยี นของโรงเรียนมัธยมศกึ ษา สงั กดั
สาํ นักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐาน.วทิ ยานพิ นธ*ครุศาสตรมหาบัณฑติ จุฬาลงกรณม* หาวทิ ยาลยั .
วนดิ า ชนินทร*ยุทธวงศ* และคณะ .(2546) .คมู อื การบรหิ ารระบบการดแู ลชวยเหลอื นกั เรยี นชวงช้ันที่ .2-1สํานักบรหิ ารระบบ
บรกิ ารสขุ ภาพจิต. กระทรวงสาธารณสขุ .
วาโร เพง็ สวัสด์ิ .(2551) .วธิ ีวิทยาการวจิ ัย.นส* วุ ีรยิ าสาส :กรงุ เทพฯ .
สํานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน .(2547 ก.(การดําเนินงานระบบการดูแลชวยเหลอื นักเรยี นในสถานศึกษาสาํ หรับ
สาํ นักงานเขตพน้ื ทกี่ ารศึกษาและสถานศึกษาสังกดั สํานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน. กรงุ เทพฯ*องค :
การรับส0งสินคา" และพสั ดภุ ณั ฑ* .
Best.Jhon W.& Kahn J. (1993).Research in education.)Third Edition .(Engle Wood Cliffs, New Jersy: Pren Tice
Hall.
Krejcie, R. V., & Morgan, D. W. (1970). Determining sample size for research activities.
Educational and Psychological Measurement, 30(3) 607-608
Steers, Richard M. (1977).Organizational Effectiveness: A Behavioral View. Santa
Monica, California: Good Year.

เอกสารสบื เนอื่ งจากการประชมุ วชิ าการและนําเสนอผลงานวจิ ยั ระดบั ชาติ 2559 “การวจิ ัยรับใชช" มุ ชนสรา" งสังคมฐานความรู"” 135

ความสัมพันธร- ะหวางภาวะผูนําการเปล่ียนแปลงของผูบริหารกับแนวทางการบรหิ ารโรงเรยี นนติ บิ ุคคล
ของสถานศกึ ษาขั้นพื้นฐานสงั กัดสํานกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษามธั ยมศึกษา เขต1

The Relationship Between Transformational Leadership of School Administrators and the
Approach of School Management Entity of Basic Education under the Office of Secondary

Educational Service Area I

อุทรณ- โขมะนาม1 และ สุนนั ทา แกวสขุ 2

บทคัดยอ

การวจิ ยั ครง้ั นม้ี ีวัตถุประสงคเ* พ่อื ศึกษา 1) ภาวะผู"นําการเปลี่ยนแปลงของผ"ูบรหิ ารสถานศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน สังกดั สํานกั งาน
เขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 2) แนวทางการบริหารโรงเรียนนิติบุคคลของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน 3) ความสัมพันธ*
ระหวา0 งภาวะผู"นําการเปลี่ยนแปลงของผ"ูบรหิ ารกับแนวทางการบริหารโรงเรยี นนติ ิบุคคลของสถานศึกษา สังกัดสํานักงานเขตพ้ืนท่ี
การศึกษามธั ยมศึกษา เขต 1 กล0มุ ตวั อยา0 งทใ่ี ชใ" นการวจิ ัย ไดแ" ก0 ผ"บู ริหารและครใู นสถานศึกษาขนั้ พนื้ ฐาน สังกัดสํานักงานเขตพ้ืนท่ี
การศึกษามธั ยมศึกษา เขต 1 จํานวน 285 คน เครือ่ งมอื ท่ใี ชใ" นการวิจยั เปนV แบบสอบถาม มาตราสว0 นประมาณคา0 5 ระดับ จาํ นวน
90 ข"อค0าความเช่ือม่ัน 0.97 สถิติที่ใช"ในการวิเคราะห*ข"อมูล ได"แก0 ค0าความถี่ ค0าร"อยละ ค0าเฉล่ีย ส0วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค0
าสมั ประสทิ ธิส์ หสมั พันธ*ของเพยี ร*สนั และทดสอบสมมตฐิ านของสหสัมพนั ธ*โดยใช"คา0 ที

ผลการวิจัยพบว0า 1) ภาวะผูน" าํ การเปล่ยี นแปลงของผู"บริหารสถานศึกษาสังกัดสํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามัธยมศึกษา
เขต 1 โดยภาพรวมทุกด"านอย0ูในระดับมาก เม่ือพิจารณาเปVนรายด"าน พบว0า มีค0าเฉลี่ยอย0ูในระดับมากทุกด"าน ด"านที่มีค0าเฉลี่ย
สูงสุด ได"แก0 ด"านการมีอิทธิพลอย0างมีอุดมการณ* รองลงมาคือ ด"านการสร"างแรงบันดาลใจ 2) แนวทางการบริหารโรงเรียนนิติ
บุคคลของสถานศึกษา สงั กดั สํานกั งานเขตพนื้ ทีก่ ารศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 ในภาพรวมอยู0ในระดับมากทุกด"าน ด"านที่มีค0าเฉล่ีย
สูงสดุ ได"แก0 การรวบรวมและจัดระบบข"อมูลสารสนเทศรองลงมา คือ ด"านการวางแผนและดําเนินงานตามแผน 3) ความสัมพันธ*
ระหว0างภาวะผู"นําการเปลี่ยนแปลงของผ"บู ริหารกับแนวทางการบรหิ ารโรงเรยี นนติ บิ คุ คลของสถานศึกษา สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่
การศกึ ษามัธยมศึกษา เขต 1 ความสัมพันธ*เชิงบวกอย0ูในระดับมากทุกด"าน (r = 0.83) อย0างมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ 0.05
โดยผู"บรหิ าร ใช"ภาวะผ"ูนําการเปล่ียนแปลง ด"านการมีอิทธิพลอย0างมีอุดมการณ*มีความสัมพันธ*กับด"านการรวบรวมและจัดระบบ
ข"อมูลสารสนเทศ อย0ูในระดับมากเปVนอนั ดับแรก รองลงมา ได"แก0 ด"านการสร"างแรงบนั ดาลใจกบั ด"านการวางแผนและดําเนินงาน
ตามแผน

คําสาํ คัญ: ภาวะผู"นาํ การเปล่ยี นแปลง แนวทางการบริหารโรงเรยี นนิติบุคคล

1 นกั ศกึ ษาครศุ าสตรมหาบณั ฑติ สาขาวิชาการบรหิ ารการศึกษา มหาวทิ ยาลัยราชภฏั ธนบุรี
2 อาจารย*ท่ีปรกึ ษา สาขาวิชาการบรหิ ารการศกึ ษา คณะครศุ าสตร* มหาวทิ ยาลัยราชภัฏธนบรุ ี


Click to View FlipBook Version