The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เล่ม วิจัย ราชภัฏ ธนบุรี proceeding 2559

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Thaninrat Kritchanthat Sirivisalsuwan, 2020-02-09 02:00:01

Proceeding ราชภัฏธนบุรี ระดับชาติ

เล่ม วิจัย ราชภัฏ ธนบุรี proceeding 2559

386 เอกสารสืบเน่ืองจากการประชมุ วิชาการและนําเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ 2559 “การวิจยั รับใช"ชุมชนสร"างสงั คมฐานความร"ู”

โดยทราบจํานวนประชากรท่แี นน1 อน คํานวณจากสูตรการคาํ นวณของYamane ที่ระดับความเช่ือมัน่ 0.95 มคี วามคลาดเคลื่อน
ในการสม1ุ ตัวอย1าง 0.50 จาํ นวนผู!ประกอบการ 303 ราย ผ!วู ิจัยจะใชข! น้ั ตอนตา1 งๆ ในการเก็บรวบรวมข!อมูลดังน้ี

1. หลังจากสร!างแบบสอบถามและผ1านการตรวจสอบจากผ!ูทรงคุณวุฒิและผ!ูเช่ียวชาญเรียบร!อยแล!วก1อนท่ีจะนําไป
เกบ็ ขอ! มูลจรงิ ผูว! ิจัยจะนาํ แบบสอบถามไปทดสอบความเชอื่ มน่ั (Reliability) ของแบบสอบถาม ด!วยการนําแบบสอบถามไปเก็บ
รวบรวมขอ! มลู จากลม1ุ ตวั อยา1 ง จาํ นวน 30 ตวั อย1าง จากนนั้ นําแบบสอบถามทไ่ี ด!มาวิเคราะห หาค1า สัมประสิทธิ์ความเช่ือมั่น
ของแบบสอบถาม (Reliability Coefficient) ดว! ยวิธีการของ Cronbach Alfa พบวา1 ไดค! า1 สมั ประสทิ ธิ์ความเชอื่ มั่น เทา1 กับ
0.91 ซง่ึ เปน3 ค1าที่สามารถยอมรบั ได! จึงนาํ แบบสอบถามน้ันไปดาํ เนนิ การเกบ็ รวบรวมข!อมูล

2. ผว!ู ิจยั ไดข! อหนงั สอื รับรองเร่ืองการขอความรว1 มมือในการตอบแบบสอบถามจากผปู! ระกอบการค!าสง1 -ค!าปลีกโดย การ
พยากรณปริมาณความต!องการสินค!าเพ่ือควบคุมสินค!าคงคลังของระบบ โลจิสติกส : กรณีศึกษาธุรกิจค!าส1ง- ค!าปลีก ในเขต
กรุงเทพมหานคร

3. เมื่อได!รับการตอบรับกลับมาแล!ว ผู!วิจัยจึงนําแบบสอบถามไปแจกให!กับผู!ประกอบการร!านค!าปลีกในเขต
กรุงเทพมหานคร และรบั แบบสอบถามกลับมาเพ่อื นํามามาวเิ คราะหข!อมูลต1อไป

ผลการวิจัย

จากการวิจัยคร้ังนี้ พบว1า การปฏิบัติงานคลังสินค!าโดยรวมมีค1าเฉลี่ย 4.06 ซึ่งอย1ูในระดับมาก เมื่อพิจารณาโดย
จําแนกตามกิจกรรมการปฏบิ ตั งิ านพบว1า กล1ุมตัวอย1างมีการปฏิบัติงานในระดับมากที่สุด จํานวน 1 กิจกรรม คือ กิจกรรมการ
รับสนิ ค!ามคี า1 เฉลีย่ เท1ากับ 4.22 และมรี ะดับการปฏบิ ตั งิ านอยู1ในระดับมาก จํานวน 5 กิจกรรม โดยเรียงลําดับค1าเฉล่ียจากมาก
ไปหาน!อยดงั น้ี กิจกรรมการระบุประเภทและการจัดกล1ุมมคี 1าเฉลย่ี เท1ากับ 4.17 กจิ กรรมการจัดเก็บสินคา! มคี า1 เฉล่ียเทา1 กับ 4.04
กิจกรรมการนําสนิ ค!าออกตามใบส่ังมีค1าเฉลี่ยเท1ากับ 4.02 กิจกรรมการตรวจนับสินค!ามีค1าเฉลี่ยท1ากับ 3.95 และกิจกรรมการ
รายงานมีค1าเฉล่ียเท1ากับ 3.94 เน่ืองจากผู!ประกอบการธุรกิจค!าปลี-ค!าส1งมีความคิดเห็นถึงกิจกรรมการรับสินค!าที่เหมาะสม
มากกวา1

1.ผลการวิเคราะห*การรบั สนิ ค"า
การปฏิบตั ิงานคลังสินค!า จาํ แนกตามกิจกรรมการรบั สินคา! พบว1า การปฏิบัติงานคลังสินค!าตามกิจกรรมการรับสินค!า
โดยรวมมีค1าเฉลยี่ เท1ากับ 4.22 ซง่ึ มีการปฏิบตั งิ านในระดบั มากที่สดุ เม่อื พิจารณาเป3นรายข!อพบวา1 กล1ุมตัวอย1างให!ความสําคัญ
กับการกําหนดวัน เวลา สถานท่ีในการรับสินค!าในระดบั มากที่สุด มีค1าเฉลี่ยเท1ากับ 4.49 รองลงมา คือการตรวจสอบความ
ถกู ตอ! งของเอกสารในการจัดส1ง มีค1าเฉล่ียเท1ากับ 4.42 และถัดมา คือ การกําหนดบุคลากรท่ีชัดเจนในการรับสินค!า มีค1าเฉลี่ย
เท1ากบั 4.30 โดยผ!ูประกอบการให!ความสาํ คัญกับการกาํ หนดวนั เวลา สถานทใี่ นการรบั สนิ ค!าในระดับมากที่สุด
2.ผลการวเิ คราะห* การระบปุ ระเภทและการจัดกลมุ'
การระบปุ ระเภทและการจัดกลุม1 เปน3 รายขอ! พบว1า การปฏิบัตงิ านคลงั สินค!าตามกจิ กรรมการระบุประเภทและการจัด
กลม1ุ โดยรวมมีคา1 เฉลีย่ เทา1 กบั 4.17 ซึง่ มกี ารปฏิบัติงานในระดบั มาก เมื่อพจิ ารณาเป3นรายข!อพบว1า กลุ1มตัวอย1างให!ความสําคัญ
กับการแยกประเภทสนิ คา! ในการจดั เก็บสินคา! ในระดบั มากท่ีสุด มีคา1 เฉลยี่ เท1ากบั 4.39 รองลงมา คอื การคาํ นึงถงึ จาํ นวน ขนาด
นํ้าหนัก ปริมาณ ในการจัดเก็บสินค!ามีค1าเฉลี่ยเท1ากับ 4.23 และถัดมา คือ มีการแยกบรรจุสินค!าให!เหมาะสมในการจัดเก็บ
สนิ คา! มีค1าเฉลยี่ เทา1 กบั 4.22 การคาํ นงึ ถงึ จาํ นวน ขนาด นํ้าหนกั ปรมิ าณ ในการจดั เก็บสนิ คา! มาก
3. ผลการวเิ คราะห* การจดั เก็บสนิ ค"า
การปฏิบตั งิ านคลังสนิ คา! จาํ แนกตามกจิ กรรมการจดั เกบ็ สินค!าพบวา1 การปฏบิ ัตงิ านคลังสินคา! ตามกิจกรรมการจดั เกบ็
สินค!าโดยรวมมีค1าเฉล่ียเท1ากับ 4.04 ซึ่งมีการปฏิบัติงานในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป3นรายข!อพบว1า กล1ุมตัวอย1างให!
ความสาํ คญั กับการกําหนดบคุ ลากรเฉพาะในการเคลื่อนย!ายสินค!าเข!าที่จัดเก็บ และการกําหนดตําแหน1งการจัดเก็บสินค!าตาม

เอกสารสืบเน่ืองจากการประชมุ วิชาการและนาํ เสนอผลงานวิจยั ระดบั ชาติ 2559 “การวิจัยรับใช"ชุมชนสร"างสงั คมฐานความร"ู” 387

ความถี่ของการเคลือ่ นย!ายสินค!าท่ีหยิบออกบ1อย และสินค!าท่ีรับเข!าบ1อย จัดเก็บไว!ในท่ีเข!าถึงง1ายในระดับมากที่สุด มีค1าเฉลี่ย

เท1ากบั 4.21 รองลงมา คอื การเตรยี มชน้ั วาง พาเลท ในการจัดเกบ็ สินค!า มีค1าเฉล่ียเท1ากับ 4.09 และรองมา คือ มีการจัดเก็บ

สนิ คา! ตามหลักการเข!าก1อน-ออกก1อน(FIFO) สําหรับสินค!าท่ีระบุอายุการเก็บรักษา มีค1าเฉลี่ยเท1ากับ 4.08 ความสําคัญกับการ

กําหนดบคุ ลากรเฉพาะในการเคลื่อนย!ายสนิ ค!าเขา! ทจี่ ดั เกบ็ มาก

4.ผลการวิเคราะหก* ารนําสนิ คา" ออกตามใบสั่ง

การนําสนิ ค!าออกตามใบสง่ั พบว1า การปฏิบตั ิงานคลงั สนิ ค!าตามกิจกรรมการนําสินค!าออกตามใบส่ังโดยรวมมีค1าเฉลี่ย
เท1ากับ 4.02 ซึ่งมีการปฏิบัติงานในระดับมากเมื่อพิจารณาเป3นรายข!อพบว1า กล1ุมตัวอย1างให!ความสําคัญกับการมีใบส่ัง
สินค!าออกที่ชัดเจน มีการลงนามผู!อนุมัติในระดับมาก มีค1าเฉลี่ยเท1ากับ4.15 รองลงมา คือ มีการตรวจสอบจํานวน ปริมาณ
ความสมบรู ณของสินคา! ก1อนนําสินคา! ออกมีคา1 เฉลีย่ เทา1 กับ 4.10 และถัดมา คือ มีบุคลากรสําหรับการนําสินค!าออกตามใบส่ังมี
คา1 เฉล่ยี เท1ากบั 4.07 ตามลาํ ดบั การมีใบส่ังสินคา! ออกท่ชี ัดเจน มกี ารลงนามผ!อู นมุ ตั ใิ นระดับมาก

5.ผลการวเิ คราะหก* ารตรวจนับสนิ คา"

การตรวจนับสินค!าพบว1า การปฏิบัติงานคลังสินคา! ตามกิจกรรมการตรวจนับสนิ คา! โดยรวมมีค1าเฉลี่ยเท1ากับ 3.95ซ่ึงมี
การปฏบิ ัตงิ านในระดบั มาก เม่อื พจิ ารณาเป3นรายข!อพบวา1 กล1มุ ตัวอยา1 งให!ความสําคัญกบั การตรวจนับสินคา! ปกตเิ ป3นประจําทกุ
เดือนในระดบั มาก มีคา1 เฉลย่ี เท1ากับ 4.04 รองลงมา คือ การปรบั ปรงุ ขอ! มลู เอกสารบนั ทกึ จาํ นวนรับเข!า-จ1ายออก (สต•อกการด)
เปน3 ปจv จุบันทันทีเม่ือมีการเคลื่อนไหวของสินค!ามีค1าเฉลี่ยเท1ากับ 4.02 และถัดมา คือ การวางแผนการตรวจนับ เช1น กําลังคน
เคร่ืองมอื วธิ ีการเดินตรวจนับมีคา1 เฉล่ยี เท1ากับ 4.00 กับการตรวจนบั สนิ ค!าปกตเิ ป3นประจาํ ทุกเดือนในระดับมาก

6. ผลการวิเคราะห*การรายงาน

การปฏบิ ตั งิ านคลงั สนิ ค!าตามกิจกรรมการรายงานโดยรวมมีคา1 เฉล่ยี เท1ากบั 3.94 ซง่ึ มีการปฏิบตั งิ านในระดบั มาก เมอ่ื

พิจารณาเป3นรายข!อพบว1า กลุ1มตัวอย1างให!ความสําคัญกบั เจ!าของกิจการรับทราบสรุปรายงานผลการปฏิบัติงานคลังสินค!าทุก

เดือนในระดับมาก มีค1าเฉลีย่ เท1ากับ 4.06รองลงมา คือ มีบุคลากรสําหรับปฏิบัติหน!าที่เก็บข!อมูลและทําสรุปรายงานผลการ

รายงานมีค1าเฉลี่ยเท1ากับ 3.99 และ ถัดมา คือ มีการวิเคราะหผลจากข!อมูลการรายงานเพ่ือปรับปรุงกระบวนการมีค1าเฉลี่ย

เทา1 กับ 3.89 ความสาํ คญั กบั เจา! ของกจิ การรบั ทราบสรปุ รายงานผลการปฏบิ ตั งิ านคลงั สนิ ค!าทกุ เดอื นในระดบั มาก

อภิปรายผล

การศึกษาเร่ืองของการบริหารคลังสินค!าของระบบโลจิสติกส สําหรับธุรกิจค!าส1ง-ค!าปลีกขนาดเล็ก ในเขต
กรุงเทพมหานคร : การวิเคราะหผลสะท!อนจากการขยายตัวของธุรกิจค!าปลีกขนาดใหญ1 พบว1าสอดคล!องกับงานวิจัย จันทิรา
ศรเี ดชภมู ชิ ัย (2550 : บทคัดยอ1 ) ไดศ! กึ ษาเร่ือง การศกึ ษาปvจจยั บางประการทมี่ ผี ลกระทบประสิทธิภาพการขนสง1 ของธรุ กิจคา!
ปลีก: กรณีศึกษาบริษทั เดอะมอลล กรปุ• จาํ กดั ได!จดั ทาํ ขึ้นเพื่อให!ผปู! ระกอบการคา! ปลกี ไดใ! ช!ผลการศึกษาเป3นข!อมูลพนื้ ฐาน
ในการพจิ ารณากาํ หนดแนวทางการเพม่ิ ประสทิ ธิภาพขนสง1 ของกิจการและเพื่อให!ผ!ูสอบและผู!ศึกษาเกี่ยวกับการขนส1งสินค!าได!
ทราบถึงประเด็นปvญหาท่ีเกิดขึ้นรวมทั้งปvจจัยบางประการที่มีผลกระทบต1อประสิทธิภาพการขนส1งของธุรกิจค!าปลีก ในเขต
กรุงเทพมหานคร

ใชก! รณขี องแผนก Power Mall บรษิ ทั เดอะมอลล กร•ปุ จาํ กดั สาขารามคาํ แหงเปน3 กรณีศึกษาไดก! าํ หนดเกณฑการ
วดั ประสทิ ธิภาพการขนส1งและกําหนดปจv จัยบางประการท่คี าดวา1 มีผลกระทบต1อประสิทธิภาพการขนส1งตามแนวคิดของทฤษฎี
เก่ียวกับการขนส1งสินคา! Logistics และทาํ การรวบรวมข!อมูลโดยใช!แบบสัมภาษณเป3นเครื่องมือในการสัมภาษณผู!บริหารการ
กระจายสินค!าท้ังหมดจํานวน3 คน สัมภาษณพนักงานปฏิบัตกิ ารดา! นการขนส1ง 3 คน หรือร!อยละ 50 และส1ุมตัวอย1างลูกค!า
เพ่ือสัมภาษณทางโทรศัพทจํานวน 30 หรือร!อยละ 7 ของลูกค!าที่มาซ้ือสินค!าในแผนกเพาเวอรมอลล และใช!บริการจัดส1ง
สนิ คา! ไปยงั ท่ีอย1ขู องตนในเขตกรงุ เทพมหานครในชว1 งเดือนมีนาคม 43 ผลจากการศึกษาพบว1าด!านประสิทธิภาพขนส1งที่ปฏิบัติ

388 เอกสารสบื เน่อื งจากการประชุมวิชาการและนาํ เสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ 2559 “การวิจยั รับใช"ชุมชนสร"างสงั คมฐานความรู"”

ได!ตามเกณฑช้ีวัดไม1ตํ่ากว1าร!อยละ 95ประกอบด!วยลูกค!าที่ได!รับสินค!าที่มีคุณภาพตามใบส่ัง ใช!งานได!ตามปกติไม1มีความ
เสยี หายบริษทั สว1 นสินค!าไดถ! ูกตอ! งตามแบบ สีและชนิดของสินค!าทสี่ ั่งซือ้ จดั ส1งได!ถูกตอ! งครบถว! นตามท่ีอย1ูในใบสั่งซื้อ ลูกค!ามี
ความพึงพอใจสงู ท่ีไมต1 !องเสยี ค1าบริการขนสง1 สนิ คา! พนักงานสามารถออกและตดิ ตง้ั สนิ คา! ใหล! ูกค!าเองทง้ั หมด โดยจินดานุช กอน
แสง (2552:บคคัดย1อ) ศึกษาเร่อื ง ผลกระทบของร!านสะดวกซื้อตอ1 รา! นค!าปลกี ในอาํ เภอแมแ1 ตง จังหวัดเชยี งใหม1 มวี ตั ถปุ ระสงค
เพือ่ ศึกษาผลกระทบของโลตัสต1อรา! นค!าปลกี ขนาดเลก็ ในอําเภอแมแ1 ตง จงั หวัดเชียงใหม1 และเพอ่ื ศึกษาแนวทางการปรับตัวของ
รา! นคา! ปลีกขนาดเล็กในอําเภอแมแ1 ตง จังหวดั เชียงใหม1

เลือกเก็บรวบรวมข!อมูลจากเจ!าของกิจการร!านค!าปลีกขนาดเล็ก/โชวห1วย จํานวน 110 ราย และทําการสัมภาษณ
ประธานเครอื ขา1 ยรา! นค!าปลกี ในอาํ เภอแม1แตง จงั หวัดเชียงใหม1 จาํ นวน 49 คน ผลการศึกษาพบว1า ต้ังแต1ที่มีโลตัสมาจัดต้ังใน
อาํ เภอแมแ1 ตง เจา! ของกจิ การค!าปลีกขนาดเลก็ ในอําเภอแม1แตง สง1 ผลใหม! ยี อดขายลดลง จํานวนลูกค!าเฉลี่ยต1อวนั ลดลง ประสบ
ปvญหาการระดมเงินทนุ ระบบเศรษฐกจิ ระดบั ชุมชนลม! สลาย สรา! งคา1 นยิ มบรโิ ภคนยิ มใหก! ับคนในพืน้ ท่แี ละผู!ผลติ รายยอ1 ยทผี่ ลิต
สนิ ค!าส1งขาย เกษตรกรรายยอ1 ยถกู แย1งชงิ ส1วนแบ1งการตลาด ผู!ประกอบการมีแนวโน!มในการดําเนินกิจการร!านค!าในอนาคตว1า
จะประกอบกิจการร!านค!าลักษณะเดิมต1อไป เร่ือยๆ โดยไม1มีการปรับปรุงหรือเปลี่ยนแปลงใดๆในร!าน และมีผู!ประกอบการ
บางสว1 นทไ่ี ดร! ับผลกระทบโดยตรงจากการขยายสาขาของร!านค!าปลีกขา! มชาติต!องทาํ การทยอยปqดกจิ การลง พ1อค!า แมค1 า! ท่ีเป3น
เกษตรกร ชาวสวน มรี ายไดน! !อยลง สว1 นงานวิจัย พงษศกั ด์ิ ปญv จพรผล (2553 : บทคดั ย1อ) วิจัยเร่ือง ทศั นคติของผ!ูบรโิ ภคท่มี ี
กิจการร!านเซเว1นอีเลฟเว1น ในเขตกรุงเทพ ผลการวิจัย พบว1า พฤติกรรมของผ!ูบริโภคท่ีอยู1ในระดับการศึกษาสูง ชอบไปใช!
บริการจากร!าน เซเวน1 อีเลฟเว1น ระหว1างเวลา 17.01 -19.00 น. สินค!าท่ีชอบซ้ือคือเคร่ืองดื่มและอาหารสําเร็จรูป การไปใช!
บรกิ าร มากทส่ี ดุ คอื เดอื นละ 2-4 คร้ัง ผบ!ู รโิ ภครู!จกั รา! นเซเว1นอีเลฟเว1น จากการแนะนาํ ของเพื่อนและคนร!ูจักเป3นส1วนใหญ1
การใช!เวลาในการเลอื กซ้ือของภายในรา! นแตล1 ะครัง้ ส1วนใหญ1ประมาณ 15 นาที ผบู! รโิ ภคจะไปใชบ! ริการจากรา! นเซเวน1 อเี ลฟเว1น
เหตุผล คือ หาเลอื กซ้อื สนิ ค!าได!สะดวกและบริการดี

ส1วนผบ!ู ริโภคทบ่ี อกวา1 จะไม1ไปใช!บริการอีก มีสัดส1วนน!อยมาก ให!เหตุผลว1ามีสินคา! ให!เลือกน!อย และราคาค1อนข!าง
แพง นอกจากน้ผี ู!บรโิ ภคยังมีความเห็นว1าร!านเซเวน1 อีเลฟเวน1 ประชาชนจะมคี วามนิยมเพ่ิมข้ึนเรื่อย ๆ ด!วยเหตุผลว1าเป3นร!าน
ทีม่ ีชื่อเสียงและทาํ เลที่ต้งั เหมาะสม ช1วงเวลาท่ใี ช!บริการน!อยทีส่ ดุ คือ 24.01-06.00 น. สนิ ค!าที่นิยมซื้อน!อยคือ เคร่ืองประดับ
และอญั มณี จํานวนคร้ังท่ีไปใช!บรกิ ารที่นอ! ยที่สุดคอื เดือนละ 1คร้ัง สื่อทีเ่ ปน3 ปvจจยั ใหผ! ู!บรโิ ภครจู! ักรา! นเซเวน1 อเี ลฟเวน1 นอ! ย
ท่สี ดุ คอื ใบปลวิ ระยะเวลาท่ใี ช!บรกิ ารตอ1 ครัง้ ทนี่ านเกิน 60 นาที มีน!อยที่สุด ปvจจัยด!านความปลอดภัยของผ!ูมาใช!บริการ
ผู!บริโภคเห็นว1ามีปvญหาน!อยมาก ในด!านความคิดเห็นของผ!ูบริโภคเกี่ยวกับปvจจัยที่มีอิทธิพลต1อการเลือกซื้อและใช!บริการร!าน
เซเว1นอีเลฟเว1น พบว1า เพศหญิงผู!มีอาชีพพนักงานหรือลูกจ!างเอกชน มีรายได! 5,000 บาท ต1อเดือนลงมา และมีวุฒิ
การศกึ ษาต่ํากวา1 ปริญญาตรี มีความเห็นว1า ปvจจัยดังกล1าวมีอิทธิพลต1อการไปซ้ือหรือไปใช!บริการอย1ูในระดับน!อย สําหรับการ
เปรียบเทียบความคดิ เห็นเกี่ยวกบั อทิ ธิพลของ ปvจจัยต1าง ๆ ท่ีมีต1อการไปใช!บริการ ระหว1างตัวแปรต1างๆ พบว1า ท่ีมีความเห็น
แตกต1างกันอย1างมีนยั สําคัญทางสถิตทิ ีร่ ะดับความเช่อื มนั่ 0.05 เกยี่ วกับพเิ ชษฐ สรรพนา (2546บทคัดย1อ) ศึกษาเร่ืองปvญหา
ระบบบริหารงานสินค!าคลังในร!านสาขากรณีศึกษาบริษัทโมบาย อีเทรดด้ิง จํากัด โดยสรุปแล!วพบว1าการปฏิบัติงานจริงของ
เจ!าหน!าท่ใี นส1วนงานทเ่ี กี่ยวข!องกับระบบบริหารงานสินค!าคงคลังในร!านสาขา มีได!ปฎิบัติงานตามข้ันตอนที่บริษัทได!กําหนดไว
ในค1มู อื การปฎิบัตงิ านคณุ ภาพ ทําใหเ! กดิ ผลกระทบและปญv หาตอ1 การดาํ เนนิ งาน ซ่งึ ได!เสนอแนวทางแก!ไขปvญหาโดยการจัดทํา
แผนการฝ„กอบรม จัดให!มีหน1วยงานกลางทําหน!าท่ีตรวจสอบ จัดให!มีแผนทบทวนวิธีปฏิบัติงานตามคู1มือคุณภาพรวมท้ังการ
ปรบั ปรงุ งานหรอื การสือ่ สารระหวา1 งส1วนงานใหด! ขี ึน้ เพ่ือใหร! ะบบบรหิ ารงานสนิ ค!าคงคลังมีประสทิ ธภิ าพ

โดย วราลี จึงสมเจนไพศาล (2554 : บทคัดย1อ) ได!ศึกษาเร่ือง การสํารวจความคิดเห็นของลูกค!าต1อการให!บริการ
ของบริษทั อีอีเอสไฟรท เซอรวสิ (ไทยแลนด) จํากัด ผลการศกึ ษาพบว1า ลกู คา! มีความคดิ เห็นตอ1 การใหบ! ริการของบริษัท ออี เี อส
ไฟรท เซอรวิส (ไทยแลนด) จํากัด ในแต1ละดา! นดังนี้ 1) ด!านการบริการของพนักงาน ในด!านต1าง ๆ ได!แก1 ความสุภาพออ1 นโยน
ในการให!บริการของพนักงาน ความสามารถในการแก!ปvญหาให!กับลูกค!าของพนักงาน ความรวดเร็วในการมารับและปล1อย
เอกสารใหก! ับลกู ค!า กริ ิยามารยาทของพนักงานทแ่ี สดงตอ1 ลกู คา! ความรวดเร็วในการดาํ เนนิ การดา! นเอกสาร ความกระตือรือล!น
ของพนกั งานทีจ่ ะใหบ! ริการลกู ค!า และความสะดวกในการติดต1อส่ือสารระหวา1 งลูกค!าและพนักงาน ท้ังหมดนี้อยู1ในระดับปาน

เอกสารสืบเนือ่ งจากการประชมุ วิชาการและนําเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ 2559 “การวจิ ัยรบั ใช"ชุมชนสร"างสังคมฐานความรู"” 389

กลาง 2) ด!านการขนสง1 ลูกคา! สว1 นใหญ1มคี วามเห็นวา1 การให!บริการของบรษิ ัทดา! นการขนส1งในส1วนท่ีเกยี่ วข!องกับความสามารถ
ของบริษัทในการจัดส1งสนิ ค!าได!ตรงตามสถานท่ีที่กําหนด การจัดส1งสินค!าได!ตรงตามกําหนดเวลา และการดูแลสินค!าในขณะ
ขนส1งมิให!เกิดความเสียหาย ทั้งหมดน้ีอย1ูในระดับปานกลาง 3) ด!านการติดต1อส่ือสาร ลูกค!าส1วนใหญ1มีความเห็นว1าการ
ใหบ! ริการของบรษิ ทั ดา! นการติดตอ1 สอ่ื สารในส1วนที่เกี่ยวข!องกับการสอบถามข!อมลู เกย่ี วกับการเปล่ียนถ1ายลําเรือ การตรวจสอบ
คา1 ใช!จา1 ยในการขนส1ง ลกั ษณะของนาํ้ เสยี งและวาจาที่ใช!ในการติดตอ1 ส่ือสารกับลูกค!า ทั้งหมดน้ีอยู1ในระดับปานกลาง 4) ด!าน
สถานท่ี ลกู ค!าส1วนใหญม1 คี วามเห็นวา1 การให!บรกิ ารของบริษัทด!านสถานที่ในส1วนที่เก่ียวข!องกับ ความสะดวกในการเดินทางมา
ใช!บริการและสถานท่ีจอดรถ การอํานวยความสะดวกในการจัดที่น่ังพักสําหรับลูกค!า ท้ังหมดนี้อยู1ในระดับปานกลาง วิจัย
ของศุภมิต โรจนศุภมิตร (2552: บทคัดย1อ) ศึกษาเรื่อง ผลกระทบทางเศรษฐกิจของธุรกิจค!าปลีกสมัยใหม1ต1อร!านค!าปลีก
ทอ! งถ่นิ ขนาดเล็กในเขตอาํ เภอเมืองน1าน โดยมีวัตถุประสงคเพอ่ื ทาการประเมินผลกระทบทางด!านเศรษฐกิจ และการดําเนินกล
ยทุ ธทางการตลาดของรา! นคา! ปลีกท!องถน่ิ ขนาดเล็ก จากการขยายตัวของธุรกิจค!าปลีกขนาดใหญ1 โดยการใช!แบบสอบถามเป3น
เคร่ืองมือในการเก็บรวบรวมจากผู!ประกอบการร!านค!าปลีกขนาดเล็กในเขตอําเภอเมือง จังหวัดน1าน จํานวน 140 รายผล
การศึกษาพบวา1 ผปู! ระกอบการร!านคา! ปลกี ทอ! งถิ่นขนาดเล็กส1วนใหญ1เป3นเพศหญิง อายเุ ฉลยี่ 48 ปn จบประถมศึกษา ขนาดของ
ร!านคา! เฉล่ีย 32 ตารางวา ตั้งติดถนนใหญ1 ระยะห1างจากห!างโลตัสไม1เกิน 6 กิโลเมตร ดําเนินการเองโดยไม1จ!างลูกจ!าง ลูกค!าท่ี
ซ้ือสินค!าเฉล่ียต1อวันประมาณ 47 คน ยอดขายต1อวันไม1เกิน 2,000 บาท ทําการขายสินค!าตามป…ายท่ีติดไว! ส1วนใหญ1ซ้ือสินค!า
จากรา! นขายสง1 ในตวั จงั หวดั นา1 น สินค!าที่ขายไดม! ากทส่ี ุด คอื อาหารแหง! และของใชป! ระจําวันผ!ูประกอบการรา! นค!าปลีกท!องถิ่น
มคี วามคดิ เหน็ วา1 เม่อื มหี !างโลตสั ซึ่งเปน3 รา! นค!าปลีกสมัยใหมเ1 กดิ ขน้ึ แลว! มีผลทาํ ใหจ! านวนลูกค!า ยอดขาย และกําไรของร!านค!า
ปลีกทอ! งถน่ิ ลดลง ถึงร!อยละ 44.3, 52.9 และ 39.3 ตามลําดบั

ขอ" เสนอแนะ

ความคิดเหน็ และขอ! เสนอแนะเกีย่ วกบั การจดั การระบบโลจสิ ตกิ สเพ่ือบริหารจดั การคลงั สินคา! สําหรับธรุ กจิ คา! สง1 -
ค!าปลีก ในเขตกรงุ เทพมหานคร

1.การศกึ ษาปvจจัยบางประการทม่ี ผี ลกระทบประสทิ ธิภาพการขนสง1 ของธรุ กจิ คา! ปลีก
2.แนวทางการเพิ่มประสทิ ธภิ าพขนสง1 ของกิจการและเพอ่ื ให!ผศู! ึกษาเกีย่ วกับการขนสง1 สินค!าไดท! ราบถงึ ประเดน็
ปvญหาทเ่ี กิดขึ้นรวม

กิตติกรรมประกาศ

งานวจิ ยั ฉบบั นี้สาํ เรจ็ ลงไดด! ว! ยความกรณุ าของบุคคลหลายท1าน ซงึ่ ผูเ! ขยี นใคร1ขอกราบขอบพระคณุ ไว! ณ ท่นี ้ี
ทา1 นประธานและคณะกรรมการผู!ทมี่ คี ณุ วฒุ ิ และผูเ! ช่ียวชาญ วิทยาลยั โลจสิ ตกิ สและซัพพลายเชน มหาวิทยาลยั ราชภัฎสวน
สนุ ันทา ทีไ่ ด!กรณุ าให!ทุนงบวิจัยและชว1 ยชแ้ี นะให!คําแนะนําทเี่ ปน3 ประโยชนหลายประการที่ทาํ ใหง! านวิจยั ฉบับนี้มคี ณุ คา1 ทาง
วิชาการมากยง่ิ ข้ึน ผวู! ิจัยขอนอ! มราํ ลกึ ถึงพระคณุ บิดา มารดา ครอู าจารยทกุ ท1าน ท่ีไดก! รุณาอบรมส่งั สอน รวมทง้ั บคุ คลใน
ครอบครัวทุกคนทอี่ ยูเ1 บอ้ื งหลังความสาํ เร็จในครงั้ น้ี

เอกสารอ"างอิง

กัลยา วานชิ ยบัญชา.(2540). การวิเคราะห*สถิติ : สถติ เิ พ่ือการตดั สินใจ. พิมพคร้งั ที่ 3 : บรษิ ัทธรรมสาร.
จันทริ า ศรีเดชภูมชิ ยั . (2550). ปจV จัยบางประการทม่ี ผี ลกระทบตอ' ประสทิ ธิภาพการขนสง' สนิ ค"าของธุรกิจค"า

ปลีกกรณศี กึ ษา: บรษิ ัทเดอะมอลล* กรุป_ จํากัด. กรงุ เทพมหานคร: ฐานข!อมูลวิทยานิพนธไทย.
จนิ ดานุช กอนแสง .(2552). ผลกระทบของร"านสะดวกซือ้ ตอ' รา" นคา" ปลีกในอาํ เภอแมแ' ตง จงั หวดั เชยี งใหม'.

390 เอกสารสบื เนื่องจากการประชุมวิชาการและนาํ เสนอผลงานวจิ ยั ระดับชาติ 2559 “การวจิ ัยรบั ใช"ชุมชนสร"างสังคมฐานความร"ู”

มหาวทิ ยาลัยเชียงใหม1. บณั ฑติ วทิ ยาลัย, มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม1. สาขาวิชาเศรษฐศาสตรการเมอื งเชยี งใหม1

: บณั ฑติ วทิ ยาลัย มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม.1

ชูเกยี รติ จากใจจน. (2546). การศกึ ษาปจV จยั ทีเ่ กยี่ วขอ" งกับการเจรญิ เตบิ โตของธรุ กิจขนาดยอ' ม.วิทยานพิ นธ
ปริญญาศิลปศาสตรมหาบณั ฑิต, มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร.

ชวการ ศรีรัตนประเสรฐิ . (2554). การศึกษาเปรียบเทยี บการจดั การคลงั สนิ ค"าโดยใชน" โยบายการจัดเกบ็ สินคา"
นโยบายการหยิบสินคา" และนโยบายการจัดเสน" ทางเดินร'วมกนั กรณศี กึ ษาบรษิ ัท สันทราย สตีล เซน็
เตอรจํากดั . วทิ ยานพิ นธปรญิ ญาบรหิ ารธรุ กจิ มหาบณั ฑติ ,มหาวิทยาลยั แม1ฟ…าหลวง.

ธานนิ ทร ศิลปจ† ารุ. (2548). การวจิ ยั และการวเิ คราะหข!อมลู ทางสถติ ดิ ว! ย SPSS. กรุงเทพฯ: วอี นิ เตอร พรน้ิ ท
ประเสริฐ ลาดสุวรรณ. (2549). การลดระยะการเคลือ่ นย"ายสินคา" ในคลังสินคา" โดยใช"ระบบการจัดเก็บแบบ

แบ'งกลมุ' สนิ คา" . วิทยานพิ นธปรญิ ญามหาบัณฑติ , มหาวทิ ยาลัยบรู พา.
พงษศกั ด์ิ เพชรสขุ ศริ ิ. (2553 ). ทศั นคตขิ องผู"บริโภคที่มผี ลตอ' กิจการรา" นเซเวน' อเี ลฟเว'นในเขต

กรงุ เทพมหานคร: วทิ ยานิพนธหลักสตู รบรหิ ารธรุ กจิ มหาบณั ฑติ มหาวิทยาลยั สยาม.

พิเชษฐ สรรพนา. (2546). ปญV หาระบบบริหารงานสินค"าคงคลงั ในร"านสาขา กรณศี ึกษา บรษิ ทั โมบาย

อเี ทรดดงิ้ จาํ กัด. คณะบัญชี มหาวทิ ยาลยั หอการคา! ไทย.

เพญ็ แข แสงแกว! .(2540).การวิจยั ทางสงั คมศาสตร*.กรงุ เทพฯ.ภาควิชาคณิตศาสตรและสถิติ คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร

ภัทราพร ภาระนาค. (2552). ผลกระทบของประสทิ ธผิ ลการประยกุ ต*ใชก" ารวัดผลการปฏิบตั ิงานแบบดุลยภาพ
ทีม่ ีต'อการเจริญเตบิ โตของธรุ กจิ SMEs ในเขตภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือตอนล'าง. วทิ ยานิพนธปริญญา
บญั ชีมหาบณั ฑิต, มหาวิทยาลยั มหาสารคาม.

ศริ ิรัตน ลาภเอกอุดม. (2548). การศึกษาปญV หาและกาํ หนดกลยทุ ธ*เพื่อเพม่ิ ประสิทธิภาพในการขนสง' สินค"า
ภายในประเทศ กรณศี ึกษา แผนก Airfreight Logistics ของบรษิ ทั A&B Logistics จํากัด.
วิทยานพิ นธปรญิ ญาบรหิ ารธุรกิจมหาบัณฑติ , มหาวิทยาลยั หอการคา! ไทย.

ศุภมิต โรจนศุภมติ ร.(2552).ผลกระทบทางเศรษฐกจิ ของธุรกจิ ค"าปลกี สมัยใหม'ต'อร"านคา" ปลกี ทอ" งถิ่นขนาดเล็กในเขตอําเภอ
เมืองน'าน. การค!นควา! แบบอสิ ระ (ศลิ ปศาสตรมหาบณั ฑิต (สาขาวิชาเศรษฐศาสตรการเมอื ง). มหาวิทยาลยั เชยี งใหม1.

สมใจ ศรวี ีระวานชิ กลุ .(2541).ระบบการควบคุมสนิ คา" คงเหลือ กรณีศกึ ษาบริษัท แอล แอล เทรดดง้ิ จํากดั (มหาชน).
วิทยานพิ นธปริญญาบริหารธรุ กจิ มหาบณั ฑติ , มหาวทิ ยาลัยหอการคา! ไทย.

สํานกั งานคณะกรรมการพฒั นาการเศรษฐกิจและสงั คมแหง1 ชาต.ิ (2554).กรงุ เทพมหานคร.สาํ นกั นายกรฐั มนตรี.
สํานักงานสถิติแหง1 ชาติ.(2558).ข"อมูลสถิตริ า" นค"าปลีก. กรงุ เทพมหานคร. กระทรวงเทคโนโลยสี ารสนเทศ.
ยทุ ธ ไกรวรรณ.(2545).พน้ื ฐานการวจิ ัย.กรงุ เทพฯ.สุวรี ิยาสาสน.
อนศุ าสตร สระทองเวียน. (2553). ธรุ กิจคา" ปลีกประเทศไทย. สาํ นกั ส1งเสริมการแขง1 ขนั การค!า.

เอกสารสบื เนอื่ งจากการประชมุ วิชาการและนําเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ 2559 “การวจิ ยั รบั ใช"ชุมชนสรา" งสังคมฐานความร"ู” 391

การจัดการโลจิสติกส*กับห'วงโซอ' ุปทานของสนิ ค"า มะม'วงปลอดภัย :
กรณีศึกษาในเขตตาํ บลคลองโยง จงั หวัดนครปฐม

Management of Logistics and supply chain of goods. Mango safety:
Case study in Klongyong Sub-district, Nakhon Pathom Province.

วริ ยิ า บญุ มาเลิศ1

Wiriya boonmalert1

บทคัดยอ'

การศึกษาวิจัยนี้มีวัตถุประสงค 1) เพื่อศึกษาความเชื่อมโยงของห1วงโซ1อุปทานระหว1างกลุ1มเกษตรกร ผู!รวบรวม
ผลผลิต ไปจนถึงผ!ูส1งออกสินค!าผลไม!มะม1วงปลอดภัยในตําบลคลองโยง อําเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม 2) เพ่ือศึกษา
ความสัมพันธในห1วงโซ1อุปทานของบริษัทผ!ูส1งออกสินค!าผลไม!มะม1วงปลอดภัยกับการจัดส1งวัตถุดิบท่ีมีคุณภาพและมีการส1ง
สินค!าใหต! รงตอ1 เวลา 3) เพอื่ ศึกษาปvญหาและอุปสรรคต1างๆและข!อเสนอแนะที่เกิดข้ึนในห1วงโซ1อุปทานของสินค!าผลไม!มะม1วง
ปลอดภัยในเขตตําบลคลองโยง อําเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม การวิจัยน้ีเป3นการวิจัยเชิงสํารวจ (Survey Research)
ศกึ ษาวิจยั กลุ1มเกษตรกรปลูกมะม1วงปลอดสารพิษ ในเขตตําบลคลองโยง จังหวัดนครปฐม โดยการแจกแบบสอบถามกับกลุ1ม
ตัวอย1างจํานวน 339 คน จากประชากร 2199 คน (ที่มา : สํานักงานเกษตร อําเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม พ.ศ.2559)
ทําการประมวลผลเพ่ือตอบคําถามในหัวข!อวิจัย ซึ่งมีจุดม1ุงหมายเพื่อศึกษาสภาพท่ัวไปของกระบวนการวางแผน กระบวนการ
ผลิตและการตลาดมะมว1 งปลอดสารพิษของจังหวัดนครปฐม

ผลการวิจัยพบว1า เกษตรกรผ!ูปลูกมะม1วงปลอดสารพิษ ด!านกระบวนการวางแผน โดยรวมพบว1า ด!านกระบวนการ
วางแผน การเพาะเมล็ดมะม1วง อยู1ในระดับมาก ( x̄ =3.61, SD= 0.84 ) ส1วนด!านการผลิตมะม1วงปลอดภัย และได!มาตรฐาน
ดา! นพ้นื ทีข่ องการปลกู มะม1วง อยใู1 นระดบั มาก ( x̄ =3.61, SD 0.81) ด!านการจดั การหว1 งโซอ1 ปุ ทานการจัดสง1 และกระจายสินค!า
อย1ูในระดับมาก ( x̄ =3.77, SD= 0.98) ด!านการจัดหา และการพยายามพ่ึงตนเอง อยู1ในระดับปานกลาง ( x̄ =3.37 , SD=
1.02) ด!านเศรษฐกิจชมุ ชนหรือเครอื ขา1 ยชุมชน ด!านการเพาะปลูกแบบพอเพียงในครอบครัว อย1ูในระดับมาก ( x̄ =3.78, SD=
0.82 )

ผลการทดสอบสมมติฐานพบว1า การจัดการโลจิสติกสกับห1วงโซ1อุปทานของสินค!าเกษตรกรมะม1วงปลอดสารพิษ ใน
เขตตาํ บลคลองโยง จังหวัดนครปฐม ต1างกัน ตรงตามสมมติฐาน และส1งผลให!เกษตรกรผู!ปลูกมะม1วงต1อการจัดการจัดการโลจิ
สตกิ สกับห1วงโซ1อปุ ทานของสินคา! เกษตรกร มะม1วงปลอดสารพิษ ต1างกันอย1างมีนยั สาํ คัญทางสถิตทิ ร่ี ะดบั 0.05

คําสําคัญ: การจัดการโลจิสตกิ ส ห1วงโซ1อุปทานของสนิ คา! มะมว1 งปลอดภัย

Abstract

This research study aims 1) to study the links of the supply chain between farmers. Collector
output To exporters of mango fruits in Klongyong Sub-district Phutthamonthon Nakhon Pathom 2) to
study the relationship in the supply chain of companies who export fruit mango safe delivery of quality

1 อาจารย สาขาวิชาการจดั การธรุ กิจคา! ปลกี มหาวทิ ยาลัยราชภัฏสวนสนุ ันทา

392 เอกสารสืบเนอ่ื งจากการประชมุ วิชาการและนาํ เสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ 2559 “การวิจัยรับใช"ชุมชนสรา" งสังคมฐานความรู"”

raw materials and delivery on time 3) to study the problems and proposals. recommendations arising in
the supply chain of fruit, mango in KhlongYong. Sub-district Phutthamonthon Nakhon Pathom, a survey
(Survey Research) research group. Mango farmers grow organic Klongyong Sub-district Nakhon Pathom
Province. Data were collected through questionnaires and samples for all surveys 2199 people from
(Source: Nakhon Pathom Provincial Agricultural Extension Office, 2559), Deal. 339 questionnaires were
processed to answer questions on the topic of research. Which aims to study the state of the planning
process. Production and marketing of organic mango fast Nakhon Pathom. The research found that more
general comment about the growers of the planning process. Found that overall The planning process
mango seeds. At a high level (x̄ = 3.61, SD= 0.84) in the production of mango and safety standards in the
area of cultivation of mangoes. At a high level (x̄ = 3.61, SD =0.81), supply chain management, shipping and
distribution. At a high level (x̄ = 3.77, SD =0.98) for the supply to be self-reliant. Is moderate (x̄ = 3.37, SD=
1.02) Economic Community or community network of self-sufficient farming family. At a high level (x̄ =
3.78, SD =0.82).

The hypothesis testing found that for the hypothesis. Research Management of logistics and
supply chain of agricultural products. Mango nontoxic District canal link Nakhon Pathom found to meet the
different hypothesis. As a result, general information about the mango growers to deal with the logistics
supply chain of agricultural products. Mango nontoxic Difference was statistically significant at the 0.05
level.

KEYSORDS: Managing logistics, Supply Chain, mango safety

ความเปTนมาและความสําคัญของปญV หา

ปvจจุบันภาวะเศรษฐกิจอย1ูในช1วงตกตํ่าไปทั่วโลก ได!ส1งผลกระทบไปยังภาคธุรกิจต1างๆท้ังระบบ ต้ังแต1ผู!ผลิตจนถึง
ผู!บริโภค แตล1 ะกระบวนการจะเหมอื นมีห1วงโซเ1 ชือ่ มติดกนั เปน3 เครอื ขา1 ย การเกดิ ผลกระทบในชว1 งใดช1วงหน่งึ ทําให!ส1งผลกระทบ
ตอ1 กันท้ังระบบ เป3นเหตุให!ภาคธรุ กิจตา1 งๆไดเ! ริม่ ค!นหาแนวคดิ ต1างๆ ทีจ่ ะมาช1วยลดผลกระทบท่เี กิดขน้ึ เพอ่ื ให!กจิ การของตนเอง
ดําเนินกิจการได!อย1างมีประสิทธิภาพมากขึ้น ท้ังหมดเหล1าน้ีทําให!เกิดแนวคิดในเรื่องของการจัดการห1วงโซ1อุปทาน (Supply
Chain Management) ขนึ้ มา (โกศล ดศี ิลธรรม, 2551)

องคกรธุรกิจในประเทศไทย ได!เริ่มศึกษาระบบการจัดการห1วงโซ1อุปทาน เพื่อจะสร!างเครือข1ายธุรกิจท่ีเกื้อหนุนกัน
โดยเน!นกระบวนการจัดการท่ีช1วยให!กิจการต1างๆ มีความสัมพันธกัน จากความเชื่อท่ีว1าไม1มีองคกรใดสามารถทําทุกอย1างให!ดี
ทัง้ หมดได! การสร!างความเชอ่ื มโยงทเี่ กดิ ขึ้นน้ไี มเ1 พยี งแต1จะชว1 ยให!กิจการเติบโต แต1ยังสามารถอยู1รอดได!ในตลาดอีกด!วย ธุรกิจ
เกีย่ วกบั สินคา! เกษตรเองจําเปน3 ต!องมกี ารจดั การห1วงโซอ1 ุปทานที่ดีเน่ืองจากเป3นสินค!าท่ีมีอายุการเก็บรักษาสั้น ดังน้ันการจัดส1ง
สนิ ค!าเกษตรไปยงั ผูร! บั สนิ คา! ปลายทางจําเปน3 จะต!องใชเ! วลาในการเดนิ ทางไมน1 าน โดยองคกรท่ีเร่ิมนําแนวคิดการจัดการห1วงโช1
อปุ ทานมาใช!จัดการไม1เพียงแต1เฉพาะองคกรธุรกิจเท1าน้ัน แต1ครอบคลุมไปท้ังสายโซ1อุปทาน เพ่ือให!องคกรและโซ1อุปทานของ
ตนเองมีประสทิ ธิภาพ ลดตน! ทุนและมีความสามารถในการแข1งขันทางธุรกิจ ซึ่งการทําให!กลยุทธหว1 งโซ1อุปทานมีประสิทธิภาพ
นั้นจะต!องคํานึงถึงปฏิสัมพันธระหว1างกันท่ีอยู1ภายในห1วงโซ1อุปทาน ซึ่งประกอบไปด!วย ผ!ูจัดส1งสินค!าหรือผ!ูรวบรวมสินค!า
(Supplier) ศูนยการผลติ (Manufacturing Centers) คลงั สนิ คา! (Warehouses) ศูนยกระจายสินค!า (Distribution Centers)
และร!านค!าปลีก (Retail Outlets) ซึ่งจะมีการไหลเวียนของวัตถุดิบสินค!าระหว1างการผลิต และสินค!าสําเร็จรูประหว1างกัน
ภายในหว1 งโซอ1 ปุ ทาน (โกศล ดศี ิลธรรม, 2551)

เอกสารสืบเนอ่ื งจากการประชมุ วิชาการและนําเสนอผลงานวิจัยระดบั ชาติ 2559 “การวิจัยรับใช"ชุมชนสร"างสงั คมฐานความร"ู” 393

การพัฒนาระบบการจัดการห1วงโซ1อุปทานและ Logistics อาหารปลอดภัย คือการบูรณาการความหลากหลายของ
กิจกรรมการผลิตตั้งแต1เกษตรกรผ!ูปลูกรายแรกจนถึงผ!ูบริโภครายสุดท!าย ซ่ึงความต!องการของผ!ูบริโภคมีความซับซ!อนและ
เครง1 ครดั ในเร่ืองมาตรฐานความปลอดภัย ทาํ ให!การทําความเข!าใจระหว1างผู!ผลิตในแต1ละห1วงโซ1อุปทานเกิดความคลาดเคลื่อน
ไมเ1 ข!าใจตรงกนั การพฒั นาความเขม! แข็งและยั่งยนื ให!กับหว1 งโซ1อุปทาน (วิทยา สหุ ฤทดาํ รง ,บุญทรัพย พานชิ การ และอธศิ านต
วายุภาพ, 2553) จึงต!องมีการสร!างมาตรฐานในการสื่อสารและเชื่อมโยงข!อมูลด!านอุปสงคให!กับผู!ผลิตทุกห1วงโซ1อุปทาน และ
พฒั นาระบบสารสนเทศที่ช1วยให!การส่ือสารมีความถูกต!องแม1นยําและรวดเร็ว ทําให!กิจกรรมในการพฒั นาการสร!างระบบการ
จดั การหว1 งโซ1อุปทานอาหารปลอดภัยแบ1งออกเป3น 3 กิจกรรมคือ การพัฒนาคณุ ภาพและคุณลกั ษณะของผลติ ภณั ฑ การพัฒนา
ระบบตลาด และการสร!างเครือขา1 ยหว1 งโซ1อปุ ทานท่ยี ั่งยืน โดยทง้ั 3 กจิ กรรมจะเน!นไปยงั อปุ สงคของสินค!าตลอดห1วงโซ1อุปทาน
ซ่งึ อาจเรยี กไดว! 1าเป3นการจดั การระบบหว1 งโซอ1 ุปสงค (Demand Chain)

ประเทศไทยเป3นประเทศท่ีมีแหล1งทรัพยากรที่สําคัญในการผลิตอาหาร เนื่องจากภูมิประเทศเหมาะในการประกอบ
อาชพี ทางการเกษตร โดยเฉพาะมะม1วงที่นํามาใชใ! นการบริโภค มีคุณภาพตามต!องการน้ันต!องผ1านกรรมวิธีการผลิตท่ีถูกต!อง
ตามหลักวิชาการ โดยเฉพาะอย1างย่ิงการปฏิบัติและการดูแลรักษา ต้ังแต1ผลิตจนกระทั่งถึงระยะเก็บเก่ียว รวมทั้งการควบคุม
ภาพทางดา! นโภชนาการและความปลอดภยั ของผบู! รโิ ภค ซงึ่ ในปจv จุบนั จะเหน็ ว1าได!มกี ารใช!สารเคมีกับผลไม!ทใี่ ชบ! ริโภคกันอย1าง
ขาดการควบคุม ทําให!ผ!ูบริโภคมีความกังวลในด!านของการปนเป‹Œอนของสารเคมีท่ีใช!ในการป…องกันพืชผักผลไม! จากแมลง
ปุ•ย และสารเร1งการเจริญเติบโต โดยถูกนํามาใช!ปราศจากการรับผิดชอบของเกษตรกร ส1งผลกระทบที่เกิดขึ้นกับผ!ูบริโภคเอง
ด!วย จึงมีมาตรการค!ุมครองผู!บริโภคมากข้ึน และในขณะเดียวกันมีกล1ุมเกษตรกรที่มีความรับผิดชอบในอาชีพของตนเองเห็น
ความสําคัญในความปลอดภัยของผ!ูบริโภค จึงทําการผลิตผลไม!ปลอดภัยขึ้น เพ่ือให!ผ!ูบริโภคได!รับประโยชนและคุณค1าในการ
บรโิ ภคผลไม!มะม1วงได!อย1างเตม็ ทีแ่ ละปลอดภัยจากสารเคมีตา1 งๆด!วย ซ่ึงทางกระทรวงเกษตรและสหกรณได!มีการกําหนดระบบ
การจัดการคุณภาพภายใต!โครงการเกษตรดีท่ีเหมาะสม (Good Agricultural Practice, GAP) ในการผลิตสินค!าที่มีคุณภาพดี
และปลอดภยั จากสารพษิ ในกล1มุ ของผลไม!เพื่อยกระดับสนิ ค!าใหม! ีมาตรฐานในการสง1 ออก

การดําเนินงานธรุ กจิ การเกษตรเปน3 การตอบสนองความตอ! งการของผู!บรโิ ภค การท่ีผบ!ู ริโภคได!รับอาหารแต1ละเมื้อใน
วนั น้ี เกิดจากการคาดคะเนและการตดั สนิ ใจในการผลติ สนิ ค!าเกษตรก1อนหน!าน้ีมาระยะหนึ่ง ระยะเวลานี้จะสั้นหรือยาว ข้ึนอยู1
กับชนดิ ของผลผลิต เช1น พวกผลไม!ใช!เวลาสั้น แต1ถ!าเป3นสัตวขนาดเล็ก เช1น สัตวปnกและสุกรก็จะใช!เวลายาวขึ้นไปอีก เป3นต!น
ประกอบกบั การเกษตรมีความแตกต1างกับในอดตี ที่ทาํ การเกษตรเป3นแบบเล้ยี งตัวเอง ทแี่ ตล1 ะครวั เรือนจะตอ! งพยายามผลิตทุก
อย1างท่ีต!องการใช!ในครอบครัว ถ!ามีเหลือจึงจะขายหรือนําไปแลกเปล่ียนกับเพ่ือนบ!านในส1วนท่ีตนผลิตไม1ได! หรือผลิตได!ไม1
เพียงพอกับความต!องการ แต1ในปvจจุบันส1วนใหญ1การเกษตรเป3นแบบการค!า ผลิตสินค!ามาเพื่อขายแล!วนํารายได!เพ่ือซ้ือสินค!า
และบริการต1างๆ ท่ีครอบครัวต!องการ การทําการเกษตรจึงจําเป3นต!องพิจารณาตลาดที่รองรับผลท่ีผลิตขึ้นมา ดังนั้น การ
ดําเนนิ งานธรุ กจิ การเกษตรผท!ู าํ ธุรกจิ ตอ! งมองภาพรวมท้งั ในด!านการผลติ และการตลาดสนิ คา! เกษตรควบคูไ1 ปด!วยกัน นนั่ คือตอ! ง
ตดิ ตามการเปล่ียนแปลงการบริโภคของผูบ! ริโภค และปรับการผลติ และการตลาดใหเ! ขา! กบั การเปลี่ยนแปลงนั้น

ในแง1ธุรกิจแสดงใหเ! หน็ ว1า สนิ ค!าเกษตรกวา1 จะผลิตมาได! เกษตรกรจะต!องลงทนุ ในด!านปจv จัยการผลิต และ กว1าสินคา!
จะถึงมือผ!ูบริโภคคนสุดท!ายจะต!องผ1านคนกลางและกระบวนการต1างๆ มากมายแล!วแต1ชนิดของสินค!าน้ันๆ หรือเรียกว1า วิถี
การตลาด (Marketing channel) คอื แสดงใหเ! ห็นว1าสินค!าจากผูผ! ลิตผา1 นคนกลางใดบ!าง ในปริมาณร!อยละเท1าใด กว1าจะถึงมือ
ผู!บริโภคหรือผ!ูใช! ซ่ึงบางชนิดออกจากไร1นาไปส1ูผ!ูขายปลีกและผู!บริโภคได!เลย บางชนิดต!องผ1านคนกลาง และเกิดการแปรรูป
หลายขัน้ ตอน ยง่ิ กวา1 น้ัน ผลผลิตบางชนิดไมไ1 ด!ผลติ เพ่อื สนองความตอ! งการของผบู! รโิ ภคในประเทศเพียงอย1างเดียว แต1ยังสนอง
ความต!องการของผ!ูบริโภคในต1างประเทศอีกด!วย เช1น ข!าว ยางพารา มันสําปะหลัง ไก1เน้ือ ก!ุงกุลาดํา ปลาทูน1ากระป•อง
หนอ1 ไมฝ! รัง่ กระเจ๊ยี บเขียว หนอ1 ไม!ไผ1ตง และขิงออ1 นดอง เปน3 ต!น (ปยq ะภรณ ทรัพยคาํ จนั ทร, 2552) ดงั นั้นจงึ มีคนกลาง ได!แก1
ผส!ู 1งออกเขา! มาเก่ียวข!องด!วย จึงเห็นได!ว1า ธุรกิจการเกษตร มีนักธุรกิจด!านการเกษตรเข!ามาเก่ียวข!องจํานวนมาก ต้ังแต1ผู!ผลิต
ผ!ูนําเข!าปvจจัยการผลิต จนถึงผู!ค!าปลีกสินค!าเกษตร และผลิตผลพลอยได!ให!กับผ!ูบริโภคภายในประทศ และผู!ส1งออกสินค!า
เกษตรและผลติ ผลพลอยไดไ! ปตา1 งประเทศ ซง่ึ ยังไม1นับรวมผท!ู ่สี นบั สนนุ ในการดําเนินธุรกจิ ของนกั ธุรกิจการเกษตร เช1น สถาบัน
การเงนิ ผูป! ระกอบการขนสง1 ผู!ประกอบการคลังสนิ ค!า หน1วยงานของรัฐและอ่ืนๆ ในการดําเนินงานธุรกิจ นักธุรกิจการเกษตร

394 เอกสารสืบเนือ่ งจากการประชุมวิชาการและนาํ เสนอผลงานวิจัยระดับชาติ 2559 “การวจิ ยั รับใช"ชุมชนสรา" งสงั คมฐานความรู"”

เองจาํ เปน3 ตอ! งทราบวา1 ลักษณะการดําเนินธรุ กิจน้ันเปน3 อย1างไรบ!าง และต!องเกีย่ วพนั กับคนอนื่ มากนอ! ยเพียงใด เพือ่ ที่จะทําให!
ธรุ กจิ นัน้ อย1รู อดและก!าวหนา! ตอ1 ไป

จากเหตผุ ลดงั กลา1 วทาํ ให!ผู!วิจัยมคี วามสนใจท่ีจะศึกษาการจัดการห1วงโซ1อุปทานของสินค!าผลไม!มะม1วง ในเขตตําบล
คลองโยง จังหวัดนครปฐม ท่เี ปน3 เครือข1ายธรุ กจิ การเกษตร ว1ามคี วามสมั พันธ ความเชือ่ มโยงกนั เพอื่ สนับสนนุ กจิ กรรมต1างๆ ให!
สามารถพัฒนาธรุ กิจใหส! ามารถแขง1 ขนั ได! และเตบิ โตและสามารถอยู1รอดในตลาดระหว1างประเทศได!

วัตถุประสงค*ของการวจิ ยั
1. เพือ่ ศกึ ษาความเชื่อมโยงของห1วงโซ1อปุ ทานระหวา1 งกล1ุมเกษตรกร ผู!รวบรวมผลผลิต ไปจนถึงผู!ส1งออกสินค!าผลไม!

มะม1วงปลอดภยั ในตําบลคลองโยง อาํ เภอพุทธมณฑล จงั หวัดนครปฐม
2. เพื่อศึกษาความสัมพันธในห1วงโซ1อุปทานของบริษัทผ!ูส1งออกสินค!าผลไม!มะม1วงปลอดภัยกับการจัดส1งวัตถุดิบที่มี

คุณภาพและมกี ารสง1 สินค!าให!ตรงตอ1 เวลา
3. เพ่ือศึกษาปvญหาและอุปสรรคที่เกิดขึ้นในห1วงโซ1อุปทานของสินค!าผลไม!มะม1วงปลอดภัยในเขตตําบลคลองโยง

อําเภอพทุ ธมณฑล จังหวดั นครปฐม

วิธีดําเนินการวิจยั

1. ประชากรและกลุ'มตัวอย'าง
กลุ1มประชากรที่ศึกษาคร้ังน้ี คือผู!ปลูกผลไม!มะม1วงปลอดสารพิษ ในเขตตําบลคลองโยง จังหวัดนครปฐม โดยมีวิธี

เลือกกลม1ุ ตัวอยา1 ง ดังน้ี
ประชากร
การวิจัยคร้ังน้ีม1ุงศึกษาเฉพาะเกษตรกรผ!ูปลูกผลไม!มะม1วงผู!รวบรวมผลผลิตท่ีเป3นหัวหน!ากลุ1มจํานวน 2 คน กล1ุม

เกษตรกรผปู! ลูกผลไมป! ลอดสารพษิ ในเขตตาํ บลคลองโยงจาํ นวนทัง้ หมด 2199 คน จากข!อมูลมาจาก (ทีม่ า : สาํ นักงานเกษตร
อาํ เภอพทุ ธมณฑล จังหวัดนครปฐม พ.ศ.2559) โดยสมุ1 ตวั อย1างเทียบประชากรตามตารางยามาเน1 ได! 339 คน

2. เครื่องมือท่ีใช"ในการวจิ ัย
1. จดั ประชมุ กล1มุ เกษตรกรผูป! ลกู มะม1วงปลอดสารพษิ และทําการสัมภาษณเชงิ ลกึ เกษตรกรตําบลคลองโยง สหกรณ

และทาํ การศกึ ษาคน! คว!าเอกสาร และงานวิจัยที่เกี่ยวข!องกับห1วงโซ1อุปทานมะม1วงในพ้ืนท่ีจังหวัดนครปฐม เพ่ือเป3นแนวทางใน
การสร!างแบบสอบถาม ศึกษาวิธีการและวิธีสร!างแบบสอบถามและเคร่ืองมือในการค!นคว!าวิจัย ข้ันตอนการเก็บผลผลิต
ตลอดจนแพ็คเกจสง1 ออกใหก! ับลูกคา! ปvญหาและอุปสรรต1างๆ และขอ! เสนอแนะ

2. สรา! งแบบสอบถามนําเสนอ และนาํ แบบสอบถามท่สี รา! งขน้ึ ให!ผู!เช่ียวชาญตรวจสอบปรบั ปรงุ แกไ! ข
3. นําแบบสอบถามทีไ่ ดป! รับปรงุ แก!ไขตามคาํ แนะนาํ ของผ!เู ช่ยี วชาญ พิจารณาตรวจสอบความเหมาะสมในประเด็นท่ี
ศกึ ษาท้ังดา! นเนือ้ หา และภาษาทใ่ี ชแ! ลว! นาํ มาปรับปรงุ ให!เหมาะสม
4. นําแบบสอบถามไปทดสอบใช! (Try-Out) กับเกษตรกรผู!ปลูกมะม1วงปลอดสารพิษ ในอําเภอสามพรานจังหวัด
นครปฐม จาํ นวน 40 ชดุ โดยสอบถามเกษตรกรจํานวน 20 ชุด เพ่ือหาความเชอื่ มนั่ (Reliability) โดยหาค1าสมั ประสิทธิ์แอลฟา
(Alpha Coefficient) ของครอนบาค (Cronbach’s) ไดค! า1 สัมประสทิ ธิ์แอลฟาเทา1 กับ 0.739 และนาํ แบบสอบถามไปทดสอบใช!
(Try -Out) กับรา! นจดุ รบั ซอื้ มะมว1 งในเขตอาํ เภอสามพราน จังหวัดนครปฐม จํานวน 20 ชุด เพื่อหาความเชื่อมั่น (Reliability)
โดยหาคา1 สมั ประสิทธ์ิแอลฟา (Alpha Coefficient) ของครอนบาค (Cronbach’s) ได!ค1าสัมประสทิ ธแ์ิ อลฟาเท1ากับ 0.754
5. การจดบันทึกผ!ูทําการศึกษาจะทําการจดบันทึกในขณะที่ทําการเก็บข!อมูลโดยการสัมภาษณทุกครั้งโดยละเอียด
เพื่อนําข!อมูลท่ีได!ไปทําการศึกษาและหาวิธีในการปรับปรุงสายสัมพันธของห1วงโซ1อุปทานระหว1างบริษัทผู!ส1งออกสินคา! ผลไม!
ปลอดภัย ผ!ูรวบรวมผลผลิต และกลม1ุ เกษตรกรผป!ู ลกู ผลไมป! ลอดภยั

เอกสารสืบเนอ่ื งจากการประชมุ วิชาการและนําเสนอผลงานวิจยั ระดบั ชาติ 2559 “การวิจัยรับใช"ชุมชนสร"างสงั คมฐานความร"ู” 395

3. การเก็บรวบรวมข"อมลู
ในการศึกษานมี้ กี ารเกบ็ รวบรวมข!อมูลเพื่อใช!ในการศกึ ษาวิจยั โดยจะแบง1 ได! 2 ประเภท คือ ขอ! มูลปฐมภมู ิ และขอ! มูล

ทุติยภูมิ โดยแตล1 ะข!อมูลมีความแตกตา1 งกันดงั นี้
1.ขอ! มลู ปฐมภูมเิ ปน3 การเก็บรวบรวมข!อมูลจากภาคสนาม จากการสังเกตพฤติกรรมและการสัมภาษณในเชิงลึก โดย

ผ!วู ิจยั จะต!องทาํ การศกึ ษาและความเข!าใจในแบบสมั ภาษณ เพ่อื นาํ ไปเป3นตัวแบบในการสัมภาษณ ซ่งึ จะต!องมคี วามเข!าใจในบท
สมั ภาษณอย1างถูกตอ! งก1อนทจี่ ะทาํ การเก็บขอ! มลู ซ่ึงการดาํ เนนิ การเก็บขอ! มูลจะดาํ เนนิ การเกบ็ ข!อมลู โดยเข!าไปในพื้นที่ และนํา
ข!อมูลมาวเิ คราะหในเชิงคณุ ภาพ

2.ข!อมูลทตุ ยิ ภมู ิ เป3นข!อมูลทีผ่ !เู ก่ียวข!องต1างๆ ได!ทาํ การเกบ็ รวบรวมและวิเคราะหผลท่ีได!ออกมาแล!ว นําไปเป3นข!อมูล
ประกอบในการวิเคราะหผลเชิงคณุ ภาพต1อไป

4. การวเิ คราะหข* "อมลู

การวิเคราะหข* "อมลู มกี ารใชส" ถติ ิ ดังน้ี

- สถิติพรรณนา (Descriptive Statistics) ข!อมูลท่ีได!จากแบบสอบถามในการศึกษาเก่ียวกับ กระบวนการวางแผน

การผลติ มะมว1 งปลอดภัยและได!มาตรฐาน การจัดการห1วงโซ1อุปทาน การจัดหาและเศรษฐกิจชุมชนหรือเครือข1ายชุมชน และ

การมลู คา1 เพิ่มจากมะม1วงในจงั หวัดนครปฐม ใช!การวเิ คราะหทางสถติ ิในรปู ของคา1 ความถี่ คา1 ร!อยละ คา1 เฉลยี่ เพอื่ อธบิ ายผลของ

ขอ! มูลโดยนําเสนอในรูปตาราง

- สถิติอนุมาน (Inference Statistics) เปน3 การวิเคราะหขอ! มูลกระบวนการวางแผน และการมลู คา1 เพิม่ จากมะมว1 งใน

จงั หวัดนครปฐม โดยใชก! ารวเิ คราะหสมการแนวโน!มและการวเิ คราะหมลู คา1 เพิม่ จากการผลิตใชก! ารวิเคราะหทางสถิติในรูปของ

ค1าความถี่ ค1ารอ! ยละ ค1าเฉลีย่ เพื่ออธิบายผลของขอ! มูลโดยนาํ เสนอในรปู ตาราง

วเิ คราะหระดับปญv หาความคดิ เห็นสาํ หรับเกษตรกรทตี่ !องการใหม! กี ารช1วยเหลือและอุปสรรคในการเพาะปลูกมะม1วง

ปลอดสารพิษแต1ละด!านและรายข!อโดยวิธีหาค1าเฉล่ีย (Mean) และค1าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) โดยนําผล

การวเิ คราะหไปเปรียบเทียบกับหลักเกณฑการแปลความหมายคา1 เฉลี่ย กําหนดช1วงวัด ดังน้ี

โดยลักษณะ ของแบบสอบถาม เป3นมาตราส1วนประมาณค1า (Rating Scale) โดยมีการกําหนดคะแนนแบ1งเป3น 5

ระดบั คือ

ระดับที่ 5 หมายถงึ มีความคิดเห็นมากทีส่ ุด

ระดับที่ 4 หมายถึง มีความคดิ เหน็ มาก

ระดับที่ 3 หมายถึง มีความคดิ เหน็ ปานกลาง

ระดบั ที่ 2 หมายถงึ มีความคิดเหน็ นอ! ย

ระดับท่ี 1 หมายถงึ มีความคิดเห็นนอ! ยท่สี ดุ

การแปลผลคะแนน ผู!วิจัยได!กําหนดเกณฑการแปลความหมายของค1าเฉล่ียของความคิดเห็นของเกษตรกรผู!ปลูก

มะม1วงปลอดสารพิษ จากแบบสอบถาม ตามเกณฑคะแนนเฉล่ียเป3น 5 ระดับ ได!แก1 มีความคิดเห็นมากท่ีสุด มีความคิดเห็น

มาก มีความคดิ เห็นปานกลาง มีความคดิ เหน็ นอ! ย และ มีความคิดเห็นนอ! ยทีส่ ุด โดยกําหนดเกณฑการแปลความหมายเพื่อจัด

ระดบั ค1าเฉล่ยี ออกเปน3 ชว1 งตามแนวคดิ ของ เบสท (Best, 1997, p. 190)

ค'าเฉลี่ย ระดบั ความตอ" งการความช'วยเหลือ

4.50-5.00 หมายถึง มคี วามคดิ เห็นระดับมากท่ีสุด

3.50-4.49 หมายถึง มีความคิดเหน็ ระดบั มาก

2.50-3.49 หมายถึง มีความคดิ เห็นระดับปานกลาง

1.50-2.49 หมายถึง มคี วามคิดเห็นระดับนอ! ย

1.00-1.49 หมายถงึ มคี วามคิดเห็นน!อยทีส่ ดุ

396 เอกสารสบื เน่ืองจากการประชมุ วิชาการและนําเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ 2559 “การวิจยั รับใช"ชุมชนสรา" งสงั คมฐานความรู"”

5. วธิ กี ารดําเนินการวิจัย และสถานท่ที าํ การทดลอง/เก็บขอ" มูล
วธิ ดี าํ เนนิ การวิจยั การสํารวจ การรวบรวมข!อมลู เปน3 ข้ันตอนทีส่ ําคญั ขัน้ ตอนหนึ่งในการวจิ ัย เกีย่ วกับปจv จยั ที่มีผลต1อ

การคดั เลอื กกลุ1มหวั หนา! ปลกู มะมว1 งปลอดภัยจากสารพิษ ข!อมูลที่มีความถูกต!องและสอดคล!องกับกลุ1มเกษตรกร ท่ีเกิดข้ึนจริง
จากการจัดการโลจิสตกิ สกับหว1 งโซอ1 ุปทานของสนิ คา! มะมว1 งปลอดภยั ในเขตอาํ เภอคลองโยง จังหวดั นครปฐม โดยตรงต1อความ

เชอ่ื มน่ั ของผลการวิจยั ในส1วนนีจ้ ะกล1าวถงึ วธิ ีการสาํ รวจและการจัดการขอ! มูลเบอื้ งต!น โดยแบง1 ขั้นตอนการดําเนินการออกเป3น
7 ข้ันตอนดว! ยกัน คอื

1) ประชมุ นกั วิจัยเพือ่ วางแผนในการดาํ เนนิ งานวิจัย

2) ศึกษาเอกสารงานวิจัยท่ีเกี่ยวข!องกบั การจัดการโลจิสติกสกับห1วงโซ1อุปทานของสินค!ามะม1วงปลอดภัยในเขตตําบล
คลองโยง อาํ เภอนครปฐม จงั หวดั นครปฐม

3) ขนั้ ตอนการออกแบบและวางแผนวธิ ีการสํารวจขอ! มูล
4) การสร!างแบบสอบถามและทดสอบแบบสอบถาม

5) ขัน้ ตอนการสาํ รวจและรวบรวมขอมลู ภาคสนาม

6) การจัดการกบั ขอ! มูลเบ้อื งต!น

7) สรปุ ผลการศกึ ษา

กรอบแนวคิดในการวิจัย

ตัวแปรอิสระ (Independent Variables) ตวั แปรตาม (Dependent Variables)

ลกั ษณะของเกษตรกร การจัดการโลจิสติกสก* ับหว' งโซอ' ปุ ทานของสินค"า
1. เพศ มะมว' งปลอดภัย
2. อายุ 1. กระบวนการวางแผน
3. สถานภาพ 2. การผลติ มะม1วงปลอดภยั และไดม! าตรฐาน
4. จํานวนสมาชกิ ในครัวเรอื น 3. การจดั การห1วงโซ1อุปทาน
5. อาชีพ 4. การจดั หา
6. ระดับรายไดข! องเกษตรกร 5. เศรษฐกิจชมุ ชนหรือเครือข1ายชมุ ชน
7. ขอ! มลู ทว่ั ไปเกีย่ วกบั เกษตรกรผปู! ลกู มะมว1 ง

การผลิตมะม'วงปลอดสารพษิ
1. ขอ! มูลท่ัวไปเกี่ยวกับเกษตรกรผปู! ลูกมะมว1 ง
2. ขอ! มูลพนั ธุมะมว1 งทใี่ ชใ! นการเพาะปลูก
3. การเตรยี มการเพาะปลกู และการดูมะม1วง
4. ปริมาณการผลิตต1อการตัดแต1ละครั้งต1อไร1
มะมว1 ง

ภาพ 1.1 กรอบแนวความคดิ ในการวิจยั แสดงความสัมพนั ธระหวา1 งตัวแปร

เอกสารสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการและนาํ เสนอผลงานวิจัยระดับชาติ 2559 “การวจิ ยั รับใช"ชุมชนสรา" งสงั คมฐานความรู"” 397

สรุปผล

ส'วนที่ 1 การวเิ คราะห*ข"อมลู ทวั่ ไปเกย่ี วกบั เกษตรกรผปู" ลูกมะมว' ง ผต"ู อบแบบสอบถาม
1. ขอ" มูลทัว่ ไปเกีย่ วกบั ลักษณะของเกษตรกร เพศ, อายุ
พบวา1 กล1ุมตวั อยา1 งสว1 นใหญ1 เพศหญงิ คิดเปน3 ร!อยละ 64.61และเพศชาย คิดเป3นร!อยละ 35.39 เกษตรกรโดยมีอายุ

ช1วง 51-60 ปn คิดเป3นร!อยละ 54.28 รองลงมามีอายุในช1วง 31-40 ปn คิดเป3นร!อยละ 24.78 มีอายุระหว1าง 41-50 ปn คิดเป3น
ร!อยละ 16.22 รองลงมาช1วงอายุน!อยกว1า 30 ปn คิดเป3นร!อยละ 2.95 ส1วนอายุมากกว1า 61 ปnข้ึนไป คิดเป3นร!อยละ 1.48 และ
สว1 นอื่นๆ คดิ เป3นรอ! ยละ 0.29 ตามลาํ ดับ

2. ขอ" มูลทั่วไปเก่ยี วกับลักษณะของเกษตรกร สถานภาพ
สถานภาพ พบวา1 สว1 นใหญ1 สมรส คิดเป3นรอ! ยละ 49.86 รองลงมาหมา! ย/หยา1 /แยกกันอยู1 คดิ เป3นรอ! ยละ 29.78 และ
สถานภาพโสด20.36 ตามลําดับ
3. ข"อมูลทั่วไปเกย่ี วกบั ลักษณะของเกษตรกร อาชีพ
การประกอบอาชีพทําสวนเป3นหลักโดยเฉพาะมะม1วงปลอดสารพิษ คิดเป3นร!อยละ 46.61 รองลงมาเป3นหน1วยงาน
รฐั วิสาหกจิ คิดเป3นรอ! ยละ 16.25 รองลงมาหน1วยงานเอกชน คิดเป3นร!อยละ 15.92 อาชพี รบั จ!าง คิดเปน3 ร!อยละ 10.61 อาชีพ
ค!าขาย คิดเปน3 รอ! ยละ 9.73 และอาชพี อืน่ ๆ คิดเปน3 รอ! ยละ 0.88 ตามลําดับ
4.ข"อมูลเก่ยี วกบั รายได"
รายได!ทั่วไปของเกษตรกร โดยเฉลยี่ แลว! มกี ารเพาะปลูก 4-6 ไร1 ผลผลติ /ไรโ1 ดยเฉลยี่ 300 กิโลกรัม การผลิตในแต1ละปจn ะ
อยป1ู ระมาณ 1.2-1.5 ตัน การตดั มะมว1 งในแตล1 ะคร้งั จะมรี ายได! 30,000 บาท โดยจําหน1ายถัวเฉล่ยี กิโลกรมั ละ 20 บาท

ส'วนท่ี 2 การวิเคราะหข* "อมูลการผลิตมะม'วงปลอดสารพษิ และวธิ กี ารจําหน'าย
4. ขอ" มลู ทว่ั ไปเก่ยี วกับเกษตรกรผ"ูปลูกมะม'วง
ข!อมูลทั่วไปเกี่ยวกับเกษตรกรผู!ปลูกมะม1วง จํานวนแปลง 2 แปลงจํานวน 128คน คิดเป3นร!อยละ 37.76 1แปลง

จาํ นวน 84 คน คิดเป3นรอ! ยละ 24.78 3 แปลง จํานวน 83 คน คดิ เป3นรอ! ยละ 24.48 และ 4 แปลง จาํ นวน 44 คน คิดเป3นร!อย
ละ 12.98 ตามลาํ ดบั

เน้อื ท่ีการเพาะปลูก พบวา1 มเี น้อื ที่ 4-6 ไร1 จํานวน 111 คน คิดเป3นร!อยละ 32.75 มากกว1า 10 ไร1ข้ึนไป จํานวน 81
คน คดิ เปน3 ร!อยละ 23.89 7-9 ไร1 จํานวน 64 คน คิดเป3นร!อยละ 18.89 น!อยกว1า 3 ไร1 จํานวน 60 คน คิดเป3นร!อยละ 17.70
และไมอ1 อกความคดิ เห็นคือ ไม1ตอบ จาํ นวน 23 คน คดิ เป3นร!อยละ 6.78 ตามลําดับ

แหลง1 เงินทุนที่ใชใ! นการเพาะปลูก พบว1า สหกรณการเกษตรกร จํานวน 158 คน คิดเป3นร!อยละ 46.60 แหล1งเงินกู!
สถาบันการเงิน จาํ นวน 136 คน คิดเป3นร!อยละ 40.12 และเงินตนเอง จํานวน 45 คน คดิ เป3นร!อยละ 13.28 ตามลําดบั

ข!อมูลพนั ธมุ ะมว1 งทใี่ ช!ในการเพาะปลูก สว1 นใหญน1 ําสายพนั ธมุ ะมว1 งเขียวเสวยจํานวน 120 คน คิดเป3นร!อยละ 35.39
มะม1วงขุนศรีนํ้าดอกไม! เบอร 4 จํานวน 78 คิดเป3นร!อยละ 23.01 มะม1วงเบาปvกษใต! จํานวน 77 คิดเป3นร!อยละ 22.72 และ
มะมว1 งพนั ธุมงั กรแดง จาํ นวน 64 คน คิดเป3นร!อยละ 18.88 ตามลาํ ดบั

แหล1งกิ่งพันธมะมว1 ง พบวา1 ซื้อจากฟารมข!างเคียงจาํ นวน 133 คน คิดเป3นร!อยละ 39.24 ซ้ือจากพ1อค!า 130 คน คิด
เปน3 ร!อยละ 38.35 และการเพาะก่งิ ขึ้นมาเอง จํานวน 76 คน คิดเปน3 ร!อยละ 22.41 ตามลาํ ดบั

จาํ นวนก่ิงพันธมะมว1 งต1อ 1 ไร1 พบวา1 100-200 ตนั ต1อไร1 จํานวน 115 คน คดิ เปน3 ร!อยละ 33.93 201-300 ตันต1อไร1
จํานวน 106 คน คิดเป3นร!อยละ 31.27 301-400 ตันต1อไร1 จํานวน 98 คน คิดเป3นร!อยละ 28.91 และไม1ตอบแบบสอบถาม
จํานวน 20 คน คิดเป3นรอ! ยละ 5.89 ตามลําดับ

398 เอกสารสืบเน่ืองจากการประชมุ วิชาการและนาํ เสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ 2559 “การวิจยั รบั ใช"ชุมชนสร"างสังคมฐานความร"ู”

5. การเตรยี มการเพาะปลกู และการดมู ะม'วง
การเตรียมการเพาะปลูกและการดูมะม1วง สาเหตุที่ต!องเตรียมพันธุมะม1วง ส1วนใหญ1เพื่อป…องกันโรคระบาด จํานวน
164 คน คิดเป3นร!อยละ 48.38 รองลงมา เพ่ือเร1งการเจริญเติบโต จาํ นวน 112 คน คิดเป3นร!อยละ 33.03 และเพ่ือลดปvญหา
เร่อื งพนั ธุท่ีไม1เหมาะสม จาํ นวน 63 คน คดิ เป3นร!อยละ 18.59 ตามลําดับ
วิธีการเตรียมดินก1อนเพาะปลูกมะมว1 ง พบวา1 ส1วนใหญเ1 กษตรกรปลกู ในดินเดมิ จํานวน 145 คนคิดเปน3 รอ! ยละ 42.78
รองลงมา มกี ารไถดนิ ตากก1อนแล!วยกรอ1 งใหม1 จํานวน 105 คน คิดเป3นรอ! ยละ 30.98 การขุดต1อเก1าทิ้งก1อนลงใหม1 จํานวน 64
คน คดิ เป3นร!อยละ 18.87 และไม1ตอบ จาํ นวน 25 คน คดิ เป3นรอ! ยละ 7.37 ตามลาํ ดับ
แหล1งนํ้าที่ใช!เพาะปลูก พบว1า ส1วนใหญ1แม1นํ้าลําคลองจํานวน 220 คน คิดเป3นร!อยละ 64.89 รองลงมาบ1อเก็บนํ้า
จาํ นวน 67 คน คดิ เป3นรอ! ยละ 19.77 มีการนําน้ําบาดาลจํานวน 33 คน คิดเป3นร!อยละ 9.74 และไม1ตอบ จํานวน 19 คน คิด
เปน3 รอ! ยละ 5.60 ตามลําดบั
ระยะทางจากแหล1งน้ําไปยังพ้ืนทเ่ี พาะปลูก พบสว1 นใหญ1 มากกว1า100 เมตร จํานวน 150 คน คิดเป3นร!อยละ 44.25
รองลงมาน!อยกว1า 50 เมตร จาํ นวน 116 คน คิดเปน3 ร!อยละ 34.21 และมากกวา1 100 เมตร ขึน้ ไป จํานวน 73 คน คิดเป3นร!อย
ละ 21.54 ตามลําดบั
วิธีท่ีใช!ในการส1งน้ําไปยังแปลงเพาะปลูกมะม1วง พบว1า ส1วนใหญ1 มีใช!ท1อต1อสปริงเกอรในแปลงเพาะปลูก จํานวน
178 คน คดิ เป3นรอ! ยละ 52.50 รองลงมามีการใช!สายยางจํานวน 87 คน คิดเป3นร!อยละ 25.67 มีการใช!สูบนํ้าใสแ1 ปลง จาํ นวน
68 คน คิดเป3นรอ! ยละ 20.06 และการใช!คนงานลดนาํ้ แทน จาํ นวน 6 คน คิดเปน3 ร!อยละ 1.77 ตามลําดับ
6. ปรมิ าณการผลิตต'อการตัดแต'ละครงั้ ตอ' ไรม' ะมว' ง
ปรมิ าณการผลิตตอ1 การตดั แต1ละครงั้ ตอ1 ไร1มะมว1 ง โดยเฉลย่ี แล!วจะมีผลผลิตเฉล่ีย 179.39กก. ต1อการตัดแต1ละคร้ังต1อ
1 ไร1 ซึ่งหากแยกเป3นระดับของการผลิตจะพบว1า เกษตรกรส1วนใหญ1มีผลผลิต 201-300 กก.จํานวน 125 คน คิดเป3นร!อยละ
36.87 รองลงมา 101-200 กก. จํานวน 115 คิดเปน3 รอ! ยละ 33.93 และมากกว1า 300 กก. ขึ้นไป จํานวน 99 คน คิดเป3นร!อย
ละ 29.20 ตามลาํ ดับ
7. ช'องทางในการจดั จาํ หน'ายมะมว' ง
ช1องทางในการจัดจําหน1ายมะม1วง พบว1า เกษตรกรจําหน1ายโดยขายส1งเองไปยังสหกรณเป3นหลัก คิดเป3นร!อยละ
39.53 และขายปลีกเอง โดยจะขายในตลาดสดใกลบ! !าน คดิ เป3นร!อยละ 34.21 สว1 นปริมาณที่ขายต1อครั้ง ส1วนใหญ1จะมีปริมาณ
201-300 กก. คิดเปน3 ร!อยละ 29.49 รองลงมาจะมีปริมาณ 0-100 กก. คิดเป3นร!อยละ 25.67 ส1วน 101-200 กก. คิดเป3นร!อย
ละ 25.37 ส1วนมากกวา1 301 กก.ขน้ึ ไป คดิ เป3นร!อยละ 19.47 ตามลําดับ
8. รปู แบบของการกําหนดราคาและการชําระเงนิ
รูปแบบของการกําหนดราคาและชําระเงิน พบว1า การกําหนดราคาส1วนใหญ1เป3นการตกลงราคาระหว1างผู!ซ้ือและ
ผข!ู าย คดิ เปน3 รอ! ยละ 19.47 และพ1อค!าคนกลางเปน3 ผก!ู าํ หนดราคา คิดเป3นร!อยละ13.87 ส1วนของวิธีการชาํ ระเงิน ส1วนใหญ1จะ
ชําระเปน3 เงนิ เชอ่ื คิดเปน3 ร!อยละ 19.18 และชาํ ระโดยเงินสด คดิ เป3นรอ! ยละ 19.18 ซ่ึงในการซ้ือขาย กล1ุมเกษตรกรจะมีการทํา
สญั ญาซอื้ ขายลว1 งหน!าไว!แล!ว คดิ เป3นรอ! ยละ 19.47 และไมไ1 ด!ทําสัญญาซือ้ ขายลว1 งหนา! เอาไว! คิดเปน3 ร!อยละ 14.75 ตามลําดับ

ส'วนที่ 3 การจัดการโลจิสติกสก* ับห'วงโซอ' ปุ ทานของสินค"าของเกษตรกร มะม'วงปลอดสารพิษในเขตตําบลคลอง
โยง จงั หวดั นครปฐม จาํ แนกตามด"านการจดั การห'วงโซ'อปุ ทานของสนิ ค"า โดยใชส" ถติ ิ t-test

การจัดการโลจิสติกส*กับห'วงโซ'อุปทานของสินค"าของเกษตรกร มะม'วงปลอดสารพิษ ตําบลคลองโยง จังหวัด
นครปฐม

ผลการเปรียบเทียบการจัดการโลจิสติกสกับห1วงโซ1อุปทานของสินค!าเกษตรกร มะม1วงปลอดสารพิษในเขตตําบล
คลองโยง จงั หวัดนครปฐม จําแนกตามด!านปริมาณการผลิตตอ1 การเก็บมะม1วงแต1ละครั้งในพื้นที่ 1ไร1พบว1า โดยรวมไม1แตกต1าง
กัน เมื่อพิจารณาเป3นรายด!านพบว1า ด!านข!อมูลของพันธุมะม1วงที่ใช!ในการเพาะปลูก แตกต1างกันอย1างมีนัยสําคัญทางสถิติที่
ระดับ 0.05

เอกสารสบื เน่ืองจากการประชุมวิชาการและนาํ เสนอผลงานวิจยั ระดบั ชาติ 2559 “การวจิ ัยรบั ใช"ชุมชนสร"างสังคมฐานความร"ู” 399

3.1 ดา" นกระบวนการวางแผน
ผลการเปรียบเทียบการจดั การโลจิสติกสกบั หว1 งโซอ1 ุปทานของสินค!าเกษตร มะม1วงปลอดสารพิษ ในเขตตําบลคลอง
โยง จังหวดั นครปฐม จําแนกตามกระบวนการวางแผน พบว1า โดยรวมแตกต1างกันอย1างมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ 0.05 เมื่อ
พจิ ารณาเป3นรายดา! น พบวา1 ด!านการเตรียมเมลด็ มาเพาะพันธุมะม1วง และด!านการทาบก่ิงมะม1วง แตกต1างกันอย1างมีนัยสําคัญ
ทางสถติ ิที่ระดับ 0.05
3.2 ดา" นการผลติ มะม'วงปลอดภยั และได"ตามมาตรฐาน
ผลการเปรียบเทียบการจดั การโลจิสตกิ สกบั ห1วงโซ1อุปทานของสินค!าเกษตร มะม1วงปลอดสารพิษ ในเขตตําบลคลอง
โยง จังหวดั นครปฐม จาํ แนกตาม การผลติ มะมว1 งปลอดภัยและได!มาตรฐาน พบว1า โดยรวมไม1แตกต1างกันอย1างมีนัยสําคัญทาง
สถติ ิ เมอ่ื พิจารณาเป3นรายด!าน พบว1า ทกุ ดา! นไมแ1 ตกต1างกันอยา1 งมนี ยั สําคัญทางสถติ ทิ ร่ี ะดับ 0.05
3.3 ดา" นการจดั การห'วงโซ'อปุ ทาน
ผลการเปรียบเทียบการจัดการโลจสิ ตกิ สกบั ห1วงโซ1อุปทานของสินคา! เกษตร มะม1วงปลอดสารพิษ ในเขตตําบลคลอง
โยง จังหวัดนครปฐม พบว1าโดยรวมแตกต1างกันอย1างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 เม่ือพิจารณาเป3นรายด!าน พบว1า ด!าน
การจัดส1งและกระจายสินค!า ด!านการจัดระบบคุณภาพและความปลอดภัย ด!านการจัดการสินค!าคงคลังและคลังสินค!า ด!าน
การวางแผนผลติ และดา! นการบรหิ ารตน! ทนุ แตกตา1 งกนั อยา1 งมีนยั สาํ คญั ทางสถติ ทิ ร่ี ะดับ 0.05
3.4 ด"านการจดั หา
ผลการเปรียบเทียบ การจัดการโลจิสติกสกับห1วงโซ1อุปทานของสินค!าเกษตร มะม1วงปลอดสารพิษ ในเขตอําเภอ
คลองโยง จังหวัดนครปฐม พบว1าโดยรวมแตกต1างกันอย1างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 เม่ือพิจารณาเป3นรายด!าน พบว1า
ดา! นผลผลติ ได!ในท!องถนิ่ ดา! นการพยายามพึ่งตนเองและด!านการทาํ เกษตรแบบผสมผสาน แตกตา1 งกนั อยา1 งมีนยั สาํ คญั ทางสถิติ
ทรี่ ะดับ 0.05
3.5 ดา" นเศรษฐกจิ ชมุ ชนหรือเครอื ข'ายชมุ ชน
ผลการเปรียบเทยี บ การจัดการโลจิสตกิ สกับห1วงโซอ1 ปุ ทานของสนิ ค!าเกษตร มะม1วงปลอดสารพิษ ในเขตตําบลคลอง
โยง จังหวัดนครปฐม พบว1าโดยรวมแตกต1างกันอย1างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 เม่ือพิจารณาเป3นรายด!าน พบว1า ด!าน
การผลิตได!ในท!องถิ่น ด!านการทําเกษตรแบบผสมผสาน และด!านการเพาะปลูกแบบพอเพียงในครอบครัวแตกต1างกันอย1างมี
นยั สําคญั ทางสถิตทิ ร่ี ะดับ 0.05

ผลการทดสอบสมมติฐาน
สําหรับการต้ังสมมติฐาน ในงานวิจัยเรื่อง การจัดการโลจิสติกสกับห1วงโซ1อุปทานของสินค!าเกษตร มะม1วงปลอด

สารพิษ ในเขตอาํ เภอคลองโยง จงั หวัดนครปฐม พบว1า ตรงตามสมมตฐิ าน และสง1 ผลข!อมลู ทว่ั ไปเกี่ยวกับเกษตรกรผู!ปลูกมะมว1 ง
ตอ1 การจัดการจัดการโลจิสตกิ สกบั ห1วงโซอ1 ุปทานของสนิ คา! เกษตรกร มะมว1 งปลอดสารพิษ

อภปิ รายผล

การศึกษาเร่ืองของการจัดการโลจิสติกสกับห1วงโซ1อุปทานของสินค!าเกษตรกร มะม1วงปลอดสารพิษ ในเขตตําบล
คลองโยง จังหวัดนครปฐม พบว1า ความสัมพันธระหว1างกล1ุมเกษตร ผ!ูรวบรวมผลผลิต และผู!ส1งออกมะม1วงปลอดภัย อย1ูใน
ระดับมาก(ค่าเฉลยี = 3.84) สอดคล!องกับ ศุภฤกษ ไชยพันธุ(2554) ซึ่งพบว1ากล1ุมเกษตรกรผู!ผลิตมะม1วงคุณภาพดีเพ่ือการ
ส1งออก อาํ เภอพร!าวมีการผลิตมะมว1 งโดยจะม1ุงเนน! ตลาดต1างประเทศเปน3 ส1วนมากเพราะจะไดร! าคาผลผลิตที่สูงจึงตระหนักดีว1า
การผลิตมะม1วงคุณภาพดีเพื่อการส1งออกจะต!องมีความปลอดภัยตามมาตรฐานจึงได!นําระบบการผลิตการเกษตรดีที่เหมาะสม
(GAP) มาใช!เป3นมาตรฐานในการผลิตมะม1วง โดยจะมีการส1ุมตรวจหาสารพิษตกค!างก1อนที่จะมีการส1งออกต1างประเทศ โดย
ตลาดต1างประเทศจะเป3นประเทศญี่ปุ•น มาเลเซีย สิงคโปรอินโดนีเซีย และจีนกลุ1มเกษตรกรผ!ูผลิตมะม1วงคุณภาพดีเพ่ือการ

400 เอกสารสบื เนอื่ งจากการประชมุ วิชาการและนาํ เสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ 2559 “การวิจยั รบั ใช"ชุมชนสร"างสังคมฐานความรู"”

ส1งออก จะมีการสํารวจตรวจตรามะม1วงอยูเ1 สมอ รวมไปถงึ มกี ารคัดผลผลติ ออกมาจากสวนก1อนท่ีจะนํามาจุดรับซ้ือผลผลิตและ
เพื่อเป3นการรักษาคุณภาพและมาตรฐาน กล1มุ เกษตรกรผ!ผู ลติ มะมว1 งคุณภาพดีเพ่ือการส1งออกจะมีการจัดประชุมเสวนากันเป3น
ประจาํ และทางกลม1ุ ได!มกี ารติดตอ1 ประสานงานกบั กลุม1 เกษตรกรผ!ูผลิตมะม1วงคุณภาพดีเพ่ือการส1งออกของจังหวัดอื่น ๆ เช1น
พิจิตร พิษณุโลก ฉะเชิงเทรา เพ่ือศึกษาหารือข!อแลกเปลี่ยนแนวทางการผลิตและการตลาด รวมไปถึงการเช่ือมโยงเครือข1าย
การค!าท่ที างภาครฐั เปน3 ผดู! าํ เนินการจดั ให!

ในด!านความสมั พนั ธในหว1 งโซ1อุปทานของบริษัทผส!ู ง1 ออกสินคา! มะมว1 งปลอดภัย กบั การจดั สง1 วตั ถุดิบที่มีคุณภาพ และ
ส1งสนิ ค!าให!ตรงเวลาให!ตรงเวลาอย1ูในระดับมาก(ค1าเฉลี่ย=3.64) สอดคล!อง กับ พลอยพิม ศัลยพงษ (2550) ได!ทําการศึกษา
วิจัยเพือ่ ปรบั ปรุงประสทิ ธิภาพกระบวนการผลิตโดยใช!แนวคิดของการจัดการหว1 งโซ1อุปทานสําหรับอุตสาหกรรมผลิตภัณฑจาก
ผึ้ง โดยทําการเก็บข!อมูลจากผู!จัดส1งวัตถุดิบ ผู!ผลิต และลูกค!า ด!วยการสัมภาษณเชิงลึกผ1านแนวคําถามของแนวคิด Quick
Scan ประกอบกับการสังเกตการดําเนินงาน ในส1วนของการจัดทําแบบประเมินประสิทธิภาพการดําเนินงานของผู!ผลิตได!ใช!
แนวคิดของตัวแบบอ!างอิงการดําเนินงานโซ1อุปทาน (Supply Chain Operation Reference Model: SCOR Model:
Version 6.1) ให!ไดร! ปู แบบการประเมนิ ความสามารถในการดาํ เนินงานภายใน อันประกอบด!วยการประเมินความสามารถการ
ดําเนินงานในด!านการจัดซ้ือ (Source) การผลิต (Make) การจัดส1ง (Deliver) การประกันสินค!า (Return) และการตลาด
(Marketing) จากน้ันนําแบบประเมินไปใช!ในการประเมินผลการดําเนินงานก1อนและหลังการปรับปรุงแบบการดําเนินงาน
นอกจากนี้ยังใช!การจําลองสถานการณประเมินผลการดําเนินงานหลังการปรับปรุงอีกด!วย การปรับปรุงการดําเนินงานได!ใช!
แนวคิดของ (Collaborative Planning Forecasting and Replenishment: CPFR) เข!ามาสนับสนุนการจัดการห1วงโซ1
อปุ ทานเพอ่ื เพิม่ ประสทิ ธภิ าพกระบวนการผลติ ซ่งึ มีการนําเทคนิคการพยากรณ การวางแผนความร1วมมือ และการปรับรูปแบบ
การดาํ เนินงาน เขา! มาช1วยสนับสนุนการดําเนินงานในบริษัทกรณีศึกษาจากผลการดําเนินงานพบว1า หลังจากได!ใช!แนวคิดของ
การจดั การห1วงโซ1อุปทานแลว! นั้น ทําให!ระยะเวลานําในการส1งมอบผลิตภัณฑให!ลูกค!าลดลงจาก 60 วันเหลือเพียง 28 วันและ
ผลจากการจําลองสถานการณจากการปรบั ปรงุ การดําเนนิ งานมีระยะเวลานําอยทู1 ี่ 29.45 วัน ผลิตภณั ฑที่ต!องการทําการบรรจุ
ใหมใ1 นปn พ.ศ. 2548-2549 และ 13.19% ตามลําดับ ลดลงเหลือ 0% ในการประเมินผลโดยใช!แบบประเมินท่ีพัฒนาขึ้น พบว1า
คะแนนเฉลี่ยจากการประเมินในแตล1 ะด!านเป3นดังนี้ คือ ด!านการจดั ซ้ือ กระบวนการดําเนินการแบบเดิมได!คะแนนเฉลี่ยอยู1ที่
2.40 เม่ือปรับกระบวนการได!คะแนนเฉล่ียเป3น 3.37 ด!านการผลิต กระบวนการแบบเดิมได!คะแนนเฉล่ียอยู1ที่ 1.38 เม่ือปรับ
กระบวนการได!คะแนนเฉลี่ยเป3น 2.86 ด!านการขนส1ง กระบวนการดําเนินการแบบเดิมได!คะแนนเฉล่ียอย1ูท่ี 2.30 เม่ือปรับ
กระบวนการไดค! ะแนนเฉลี่ยเป3น 2.67 ด!านการประกันสินค!า กระบวนการดําเนินการแบบเดิมได!คะแนนเฉลยี่ อย1ูที่ 1.50 เมื่อ
ปรบั กระบวนการได!คะแนนเฉลยี่ เปน3 2.10 และด!านการตลาด กระบวนการดําเนินการแบบเดิมได!คะแนนเฉลี่ยอยู1ที่ 2.78 เมื่อ
ปรับกระบวนการได!คะแนนเฉลยี่ เป3น 3.20 ตามลําดบั จึงส1งผลให!การดาํ เนนิ งานโดยรวมของบริษัทกรณีศึกษามีประสิทธิภาพดี
ข้ึนและสามารถลดระยะเวลานําส1งได!

ด!านปvญหาและอุปสรรคทเี่ กดิ ข้นึ ในห1วงโซ1อปุ ทานของสนิ ค!าจากการสมั ภาษผู!ประกอบการพบวา1 เกษตรอินทรียยังให!
ความสําคัญกับเกษตรกรผ!ูผลิตและชุมชนท!องถ่ินเกษตรอินทรียม1ุงหวังที่จะสร!างความม่ันคงในการทําการเกษตรสําหรับ
เกษตรกรตลอดจนอนรุ ักษและฟนŒ‹ ฟวู ถิ ชี วี ติ ของชมุ ชนเกษตรกรรม วถิ กี ารผลติ ของเกษตรอนิ ทรยี เปน3 วิถกี ารผลิตทเี่ กษตรกรต!อง
ออ1 นน!อมและเรียนร!ูในการดดั แปลงการผลิตของตนใหเ! ขา! กบั วิถีธรรมชาติ อาศัยกลไกธรรมชาติเพ่อื ทําการเกษตร ดังน้ันวิถีการ
ผลติ เกษตรอินทรยี จงึ เปน3 วิถีแห1งการเคารพและพ่ึงพงิ ธรรมชาติ ซ่ึงสอดคล!องกลมกลืนกับวถิ ีชีวิตของชุมชนเกษตรพ้ืนบ!านของ
สงั คมไทย แต1ในขณะเดยี วกัน เกษตรอินทรยี กไ็ ม1ได!ปฏิเสธการผลิตเพ่ือการค!า เพราะตระหนักว1าครอบครัวเกษตรกรส1วนใหญ1
จาํ เปน3 ต!องพงึ่ พาการจําหน1ายผลผลิต เพื่อ
เป3นรายไดใ! นการดาํ รงชีพ ขบวนการเกษตรอินทรียพยายามส1งเสริมการทําการตลาดผลผลิตเกษตรอินทรียท้ังในระดับท!องถิ่น
ประเทศ และระหว1างประเทศ โดยการตลาดท!องถ่ินอาจมีรูปแบบท่ีหลากหลายตามแต1เง่ือนไขทางสภาพเศรษฐกิจและสังคม
ของท!องถิ่นน้ัน เช1น ระบบชุมชนสนับสนุนการเกษตร (Community SupportAgriculture - CSA) หรือระบบอ่ืนๆ ที่มี
หลักการในลักษณะเดียวกัน ส1วนตลาดท่ีห1างไกลออกไปจากผู!ผลิต ขบวนการเกษตรอินทรียได!พยายามพัฒนามาตรฐานการ
ผลติ และระบบการตรวจสอบรับรองท่ีสร!างความมัน่ ใจให!กับผ!บู รโิ ภคได!ว1า ทกุ ข้ันตอนของการผลิต แปรรูป และการจัดการนั้น

เอกสารสบื เน่อื งจากการประชมุ วิชาการและนําเสนอผลงานวจิ ัยระดบั ชาติ 2559 “การวิจยั รบั ใช"ชุมชนสร"างสงั คมฐานความรู"” 401

เป3นการทํางานท่ีพยายามอนุรักษและฟŒ‹นฟูสิ่งแวดล!อม ตลอดจนรักษาคุณภาพของผลผลิตให!เป3นธรรมชาติเดิมมากที่สุด
(ปรชี า ปยq จันทร และคนอน่ื ๆ, 2552)

ขอ" เสนอแนะ

ข"อเสนอแนะต'อเกษตรกร
1. ส1วนที่เก่ียวข!องกับเกษตรกรควรท่ีจะให!ความรู!ในด!านการผลิต โดยเฉพาะในเร่ืองของการลดต!นทุนด!านการผลิต

เนือ่ งจากต!องมคี 1าใชจ! 1ายในการผลิตคอ1 นข!างสูง ควรท่ีจะใหค! วามรู!ในการผลติ และความปลอดภยั จากสารพิษ
2. ควรจะมกี ารส1งเสริมข้นั ตอนการเพาะปลูกมะม1วงปลอดสารพษิ กอ1 นทจี่ ะถงึ ผบ!ู รโิ ภคและการส1งออกมากข้ึน เพอ่ื ลด

ความเสีย่ ง
3. ควรมีการจัดการระบบการจดั การโลจิสติกสและห1วงโซ1อุปทานให!เกิดประสิทธิภาพมากข้นึ กวา1 เดิม
4. ควรพัฒนาด!านเทคโนโลยใี หมๆ1 มาใชใ! นการผลิตมะมว1 ง เพื่อลดต!นทุนในการผลิตและเพ่ิมปริมาณผลผลิตมะม1วงที่

ปลอดสารพษิ

ข"อเสนอแนะสาํ หรับการวจิ ยั คร้งั ต'อไป
1. ควรมกี ารขยายผลการศึกษาหว1 งโซอ1 ุปทานเพมิ่ เติมจากตลาดในประเทศไปยังตลาดต1างประเทศ
2. ควรศึกษาแนวทางในการพฒั นาความเข!มแข็งของกลมุ1 เกษตรกรใหม! ากยง่ิ ขนึ้
3. มีการศกึ ษาแนวทางอื่นๆในการเพ่ิมมูลคา1 ของการปลกู มะมว1 งปลอดสารพษิ ในอําเภอคลองโยง จงั หวัดนครปฐม
4. ควรทําการศึกษาในมิติอนื่ ๆ เช1น มติ ทิ างการเงิน การวิเคราะหผลตอบแทน เป3นต!น

กิตติกรรมประกาศ

งานวิจัยฉบับน้ีสําเร็จลงได!ด!วยความกรุณาของบุคคลหลายท1าน ซึ่ง ผ!ูเขียนใคร1ขอกราบขอบพระคุณไว! ณ ท่ีน้ี ท1าน
ประธานและคณะกรรมการผู!ทรงคุณวุฒิ และผ!ูเชี่ยวชาญวิ ทยาลัยโลจิสติกสและซัพพลายเชน มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา
ท่ีไดก! รณุ าให!ทุนงบวจิ ัยและชว1 ยช้ีแนะให!คําแนะนาํ ท่ีเปน3 ประโยชนหลายประการท่ที าํ ใหง! านวิจยั ฉบบั น้ีมีคุณคา1 ทางวิชาการมาก
ยิ่งขน้ึ

ขอขอบพระคุณ เกษตรกรและหน1วยงานท่ีเกี่ยวข!อง ปลูกมะม1วงปลอดสารพิษ กรณีศึกษาในเขตอําเภอคลองโยง
จังหวัดนครปฐม ท่ีให!ความร1วมมือในการให!ข!อมูลและรายละเอียดและท1านท่ีได!กรุณาสละเวลาในการตอบแบบสอบถามเพ่ือ
การวิจยั ในครง้ั น้ี

สุดท!ายนี้ ผ!ูวิจัยขอน!อมรําลึกถึงพระคุณบิดา มารดา ครูอาจารยทุกท1าน ท่ีไดก! รุณาอบรมส่ังสอน รวมทั้งบุคคลใน
ครอบครัวทุกคนทีอ่ ยูเ1 บ้ืองหลังความสาํ เรจ็ ในครงั้ นี้

เอกสารอ"างอิง

โกศล ดศี ิลธรรม. (2551). โลจสิ ติกส*และหว' งโซอ' ุปทานสาํ หรบั การแขง' ขันยุคใหม'. กรุงเทพฯ: ฐานบค•ุ ส.
พลอยพมิ ศัลยพงษ.(2550). การปรับปรงุ ประสทิ ธภิ าพกระบวนการผลิตโดยใชแ! นวคดิ ของการจัดการโซ1

อุปทานสาํ หรบั อตุ สาหกรรมผลิตภณั ฑจากผ้ึง .วิทยานิพนธปรญิ ญา มหาบัณฑติ สาขาวิชาวศิ วกรรม
อุตสาหกรรม มหาวิทยาลยั เชียงใหม1.
ปรีชา ปqยจนั ทร นชุ นาท จันทเตมยี เจริญ สธุ รรมชยั ณฐั ถะปราน คลา! ยประสิทธ์ิ และกนกนาถ รตั นานุพงศ.

402 เอกสารสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการและนําเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ 2559 “การวิจยั รับใช"ชุมชนสรา" งสงั คมฐานความร"ู”

(2552). การปลกู ผลไม!เกษตรอินทรยี ปญv หาและอุปสรรคกรณีศกึ ษา ในเขตพ้นื ท่ี จังหวดั ระยอง จันทบุรี
และ ตราด. วารสารรม' พฤกษ,* 27(2), 135-185.
ปqยะภรณ ทรัพยคาํ จนั ทร. (2552). ระบบการจดั การโลจสิ ตกิ ส*ของสบั ปะรดนางแลภายใตก" รอบการจัดการห'วงโซอ' ปุ ทาน.
วทิ ยานพิ นธปริญญามหาบณั ฑิต สาขาวชิ าบริหารธุรกจิ มหาวทิ ยาลยั แมฟ1 …าหลวง.
วิทยา สหุ ฤาดาํ รงค , บญุ ทรัพย พานิชการ และอธศิ านต วายุภาพ. (2553). Supply Chain Science : ศาสตร*แห'งโซ'
อปุ ทาน. กรุงเทพฯ: ไอ.อี.สแควร .
ศภุ ฤกษ ไชยพันธุ. (2554). รายงานผลการดาํ เนนิ งานสง' เสรมิ การผลิตมะมว' งนํา้ ดอกไมเ" พอ่ื การส'งออกในอาํ เภอ
พร"าวจังหวดั เชยี งใหม.' สาํ นกั งานเกษตรอาํ เภอพรา! ว จงั หวดั เชียงใหม1
สํานกั งานเกษตรอําเภอพทุ ธมณฑล. (2559). สถิติเกษตรกรผป"ู ลกู มะมว' งปลอดสารพษิ . ผ!แู ตง1
Best, J. W. (1977). Research in Education. (3rd ed.) Englewood Cliffs, New Jersey : Prentice Hall.

เอกสารสืบเนื่องจากการประชมุ วิชาการและนาํ เสนอผลงานวิจยั ระดบั ชาติ 2559 “การวจิ ัยรับใช"ชุมชนสรา" งสังคมฐานความรู"” 403

การเรียนรู"จากส่ือวทิ ยโุ ทรทัศนแ* ละการนําไปใช"ประโยชนข* องนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี
Learnnig From Television For Useful Purpose of Students Dhonburi Rajabhat University

ธนพล สมพลกรัง1
Tanapol Sompolkrang1

บทคัดยอ'

การศกึ ษาวจิ ัยครั้งนี้ มีวตั ถุประสงคเพอ่ื ศกึ ษาการเรียนรู!จากส่ือวิทยุโทรทัศนของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี
และเพื่อศึกษาการนําการเรยี นรจู! ากสือ่ วทิ ยโุ ทรทัศนของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี ไปใช!ประโยชน กลุ1มตัวอย1างท่ีใช!
ในการวิจัยคือ นักศึกษาจากคณะครุศาสตร คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตรคณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คณะวิทยาการจัดการ จํานวน 430 คน ซ่ึงได!มาโดยการส1ุม เครื่องมือที่ใช! ในการวิจัยได!แก1 แบบสอบถามและการศึกษาโดย
สนทนากลมุ1 (Focus Group) สถิตทิ ่ีใช!ในการวิจัย ไดแ! ก1 ค1าร!อยละ

ผลการวจิ ัยพบว1า นกั ศึกษาเกิดการเรยี นรจู! ากส่อื วทิ ยโุ ทรทศั นแลว! นําไปใช!ประโยชนด!านต1าง ๆ คือ ก1อให!เกิดความรู!
รอบตัว การนาํ สิง่ ทีไ่ ด!รบั ชมไปใชใ! นการดําเนนิ ชีวติ ในประจาํ วนั ด!านการศกึ ษา การวางตัวในสังคม และยังนําไปใช!ในการสร!าง
แรงบันดาลใจตามทีต่ นเองปรารถนา รวมไปถึงการคบเพอ่ื น แนวทางในการประกอบอาชพี นับวา1 นกั ศกึ ษาได!นาํ ไปใช!ประโยชน
อย1างที่เป3นท่ีนา1 พึงพอใจ
คําสําคญั : การเรียนร!จู ากสอ่ื วทิ ยุโทรทศั น พฤติกรรมการเลอื กรบั ชม การนําไปใชป! ระโยชน

Abstract

The purposes of this research were to study learning from television of students Dhonburi
Rajabhat University, and useful purposes of them.

The research used the questionnaires for the sampling group who are the students in Faculty of
Education, Faculty of Humanities and Sciences, Faculty of Management Sciences and Faculty of Sciences
and Technology 430 person. and ululate by the percentage

The results show that the students get learning from television and being useful for them about
general knowledge, daily lives, education, life style in the social, get the inspiration as they like, considering
to close the friends and the ways to earn a living. The conclusions are the students can get the contents
from the television to be useful for many views satisfactorily.

Keywords: Learning form television Behavior of receiving Useful for them

1 อาจารยประจาํ คณะวิทยาการจดั การ มหาวทิ ยาลัยราชภัฏธนบุรี

404 เอกสารสืบเนื่องจากการประชมุ วิชาการและนําเสนอผลงานวจิ ัยระดับชาติ 2559 “การวิจยั รับใช"ชุมชนสรา" งสังคมฐานความร"ู”

ความเปนT มาและความสําคัญของปญV หา

วิทยุโทรทัศนถือเป3นทรัพยากรที่มีค1าของชาติ และเป3นเคร่ืองมือสําคัญในการส1งเสริมให!ประชาชนสามารถเข!าถึง
ความรู!ได!ตลอดชีวิต โดยปราศจากข!อจํากัดด!านโอกาส ถ่ินที่อย1ู ฐานะทางเศรษฐกิจและสังคม พระราชบัญญัติการศึกษา
แห1งชาติพ.ศ. 2542 จึงได!กําหนดให!รัฐต!องจัดสรรคลื่นความถี่ สื่อตัวนํา และโครงสร!างพื้นฐานอ่ืนท่ีจําเป3นต1อการส1ง
วิทยุกระจายเสยี ง วิทยุโทรทัศน เพ่ือใช!ประโยชนสําหรับการศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย
เพื่อให!มีการพัฒนานโยบายการใช!วิทยุโทรทัศนให!เกิดประโยชนสูงสุดในการพัฒนาศักยภาพการเรียนร!ูตลอดชีวิตของผู!เรียน
การศึกษาในปvจจุบันมิได!กําหนดขอบเขตให!เกิดการเรียนรู! เฉพาะในห!องเรียนเท1านั้น แต1ยังมีแหล1งเรียนรู!อีกมากมายท่ีเปqด
โอกาสใหน! ักศึกษาได!เรยี นร!ู วิทยุโทรทัศนจงึ เปน3 แหล1งเรียนรู!ที่สาํ คัญ และอยู1ใกล!ตัวนักศึกษามากท่ีสุด เพราะไม1ว1านักศึกษาจะ
พกั อยท1ู ีใ่ ด บา! น หอพกั หรอื คอนโด วิทยโุ ทรทัศนกจ็ ะมอี ย1ูทุกที่ และกลายเปน3 ส่ือท่ีจาํ เป3นในการรับข1าวสาร ความร!ู และความ
บันเทิงประจาํ วัน เปน3 กิจนิสยั (สาํ นักงานเลขาธกิ ารสภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ, 2546)

ในขณะเดียวกนั หน!าท่ีในการใหค! วามรแู! ละการศึกษาเป3นบทบาทที่สําคญั ยิ่งของวิทยุโทรทัศนเนื่องจากการศึกษาเป3น
รากฐานเบ้ืองต!น ของการพัฒนาประเทศในทุก ๆ ด!าน สื่อมวลชนสามารถท่ีจะทําหน!าท่ีในการให!ความร!ูที่จําเป3นสําหรับ การ
ปรับตวั ของประชาชนใหเ! ขา! กับการพฒั นาสงั คมได! โดยการใหค! วามรแ!ู กป1 ระชาชนทง้ั ในเรอ่ื งการอ1านออกเขียนได! การปรับปรุง
การกินอย1ู และการประกอบอาชพี สอื่ มวลชนมีหน!าทใี่ นการให!ความรู!และการศกึ ษาแก1ประชาชน ท้ังทางตรงและทางอ!อม เป3น
เคร่ืองมือ ท่ีเข!ามาช1วยถ1ายทอดวิชาความร!ู เพื่อพัฒนาบุคคลท้ังในระบบโรงเรียน และนอกโรงเรียน เราสามารถได!รับความร!ู
รอบตัว ความร!ูท่มี ีประโยชนต1อการนําไปใช!ใน ชีวิตประจําวัน และการประกอบอาชีพ ตลอดจนวิทยาการใหม1 ๆ จากรายการ
วิทยุโทรทัศน โดยไม1ต!องเข!าช้ันเรียน ในขณะเดียวกันรายการวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศนก็สามารถ ทําหน!าท่ีเป3นส่ือ
หลัก หรือสื่อเสริมของการเรียนการสอนในห!องเรียนได!เช1นกัน วิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศนเป3นส่ือมวลชนท่ีมีความ
เหมาะสมแก1การให!ความรู! และการศึกษาเนื่องจากสามารถนําความร!ูและการศกึ ษาไปถึงกล1ุมเป…าหมายและประชาชนท่ัวไป ได!
อยา1 งท่ัวถงึ รวดเรว็ โดยการเสนอในรูปแบบที่น1าสนใจ เหมาะสมต1อการเรียนร!ู และรับรู!ของกลุ1มเป…าหมายที่หลากหลายทําให!
การเผยแพรค1 วามร!ูและการศกึ ษาเปน3 ไปอยา1 งมปี ระสทิ ธภิ าพมากยิง่ ข้นึ (วรพจน นวลสกุล, 2550)

จากความสําคัญดังกล1าว งานวิจัยเรื่อง การเรียนรู!จากสื่อวิทยุโทรทัศนและการนําไปใช!ประโยชนของนักศึกษา
มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบรุ ี จึงม1งุ สํารวจพฤติกรรมการรับสารจากวิทยุโทรทัศน โดยสํารวจจากปvจจัยภายนอก อาทิ ท่ีอยู1อาศัย
เครือ่ งรบั วทิ ยุโทรทศั นทส่ี ามารถรับชมได! ตามความต!องการ จาํ นวนวัน/ ชั่วโมงที่รับชมรายการต1างๆ เพื่อให!เกิดการเรียนร!ู ซ่ึง
เปน3 ปจv จยั ภายใน และความสามารถในการนาํ การเรยี นรู!น้ันไปก1อให!เกิดประโยชนในด!านความร!ูท่ีเอื้อต1อการศึกษาของตนเอง
การดํารงชวี ิตในสังคม การเสริมสร!างประสบการณและพัฒนาตนเองในด!านต1างๆให!ทันสมัย ทันเหตุการณ และเกิดการเรียนร!ู
จากสอื่ วิทยโุ ทรทัศน

วัตถปุ ระสงค*

1. เพ่ือศกึ ษาการเรียนร!จู ากส่ือวทิ ยโุ ทรทศั นของนกั ศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏธนบรุ ี
2. เพื่อศกึ ษาการนําการเรยี นรจู! ากส่อื วทิ ยโุ ทรทัศนของนกั ศึกษามหาวิทยาลยั ราชภฏั ธนบุรี ไปใชป! ระโยชน

เอกสารสบื เนือ่ งจากการประชุมวิชาการและนําเสนอผลงานวจิ ยั ระดับชาติ 2559 “การวจิ ยั รับใช"ชุมชนสรา" งสังคมฐานความร"ู” 405

วธิ ีการดําเนินการวิจัย

การวิจัยเร่ืองการเรียนร!ูจากส่ือวิทยุโทรทัศนและการนําไปใช!ประโยชนของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี มี
รายละเอียดทใ่ี ช!ในการศึกษา ดงั น้ี
รูปแบบการวิจยั

การวจิ ยั ครัง้ นี้เปน3 การวิจยั เชิงปริมาณ (Quantitative Research) ใช!รูปแบบการวิจัยเชิงสํารวจ (survey research)
โดยใช!แบบสอบถามในการเก็บข!อมลู เพยี งครง้ั เดยี ว (One – Shot Case Study)

ประชากรและกลุม' ตัวอยา' ง
1. ประชากรท่ีใช!ในการศึกษาคือ นักศึกษาระดับปริญญาตรี ภาคปกติ ตั้งแต1ชั้นปnท่ี 1-4 ของมหาวิทยาลัยราชภัฏ

ธนบุรี ทุกสาขาวิชา คือ คณะครุศาสตร คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร คณะวิทยาการจัดการ คณะวิทยาศาสตรและ
เทคโนโลยี จํานวน 4,750 คน

2. กล1มุ ตวั อย1างได!แก1 นกั ศึกษามหาวทิ ยาลัยราชภัฏธนบุรี ภาคปกติ ต้ังแตช1 ้ันปnท่ี 1- 4 มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ธนบรุ ี ทุก
สาขาและทกุ คณะ จํานวน 430 คน ซ่ึงไดม! าโดยการส1มุ อยา1 งงา1 ย โดยวิธจี ับฉลากโดยตรง เลือกในแต1ละคณะเป3นหน1วยในการ
สุม1

คณะ ประชากร กลุม1 ตัวอยา1 งที่สมุ1
ครศุ าสตร 2,249 136
มนุษยศาสตร 964 35
วทิ ยาการจัดการ 1,245 186
วทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี 492 73
4,750 430
รวม

ท่มี าขอ" มลู : สํานักส1งเสรมิ วิชาการและงานทะเบยี น มหาวิทยาลัยราชภฏั ธนบรุ ี (วนั ที่ 13 กมุ ภาพนั ธ 2557)

เครื่องมือรวบรวมข"อมลู
ระยะท่ี 1 การศึกษาโดยการใช!แบบสอบถาม ซง่ึ แบ1งออกเป3น 2 สว1 น คอื

ส1วนท่ี 1 สถานภาพของผ!ูตอบแบบสอบถาม สอบถามเร่ือง เพศ อายุ ช้ันปnที่ศึกษา คณะทีศ่ ึกษา ท่ีพักอาศัยปvจจบุ ัน
คา1 ใชจ! 1ายส1วนตวั ทีไ่ ด!รับนอกเหนอื จากผ!ปู กครอง (นอกเหนือจากคา1 ท่พี ักและการเรียน)

สว1 นที่ 2 พฤตกิ รรมการรับสารจากโทรทศั น แบ1งออกเป3น สถานที่รับชมโทรทัศน เวลาทใ่ี ช!รับชมโทรทัศนต1อสัปดาห
เวลาท่ีรับชมโทรทัศนต1อวัน สถานีโทรทัศนท่ีรับชมมากที่สุดตามลําดับ พฤติกรรมการรับชมโทรทัศน ประเภทรายการต1างๆ
เหตุผลในการรบั ชมโทรทัศน และการนาํ เนื้อหาทไ่ี ด!รบั ชมจากรายการโทรทัศนไปใช!ประโยชนในด!านต1างๆ
ระยะที่ 2 การศึกษาโดยสนทนากลม1ุ (Focus Group) จัดประชุมสนทนา นักศึกษาจากท้ัง 4 คณะๆ ละ 10-15 คน ประเด็นท่ี
ใชใ! นการสนทนากลุม1 คอื

406 เอกสารสืบเน่ืองจากการประชมุ วิชาการและนําเสนอผลงานวจิ ยั ระดับชาติ 2559 “การวิจยั รับใช"ชุมชนสรา" งสังคมฐานความรู"”

ปvจจัยภายนอก ไดแ! ก1
- สถานทร่ี ับชมโทรทศั น ทีอ่ าจมีผลตอ1 การรบั ชม
- ช1วงเวลาที่รบั ชมโทรทศั นและผลกระทบต1างๆ
- ประเภทของรายการท่ีสนใจ

ปvจจัยภายใน ได!แก1
- ความนา1 สนใจของรายการโทรทศั นประเภทตา1 งๆ
- ประโยชนทไี่ ด!รบั จากรายการโทรทศั นประเภทตา1 งๆ
- การนําไปใช!ประโยชนทีไ่ ดร! บั จากรายการโทรทศั นไปใช!ในการเรยี น การดาํ เนนิ ชีวิตในแงต1 1างๆ

การวเิ คราะหข* "อมลู
การวจิ ยั ในคร้ังน้ี ผวู! จิ ยั นําขอ! มลู จากแบบสอบถามในแต1ละขอ! ของแบบสอบถามทั้ง 2 ส1วน วัดค1าเป3นร!อยละ นําเสนอ

ในรูปแบบตารางและความเรียง และเก็บข!อมูลโดยสนทนากลุ1ม (Focus Group) เป3นการแสวงหาคุณภาพของงานวิจัยท่ี
นอกเหนือจากการใช!แบบสอบถาม โดยนําหัวข!อในแบบสอบถามมา discuss กันอีกคร้ังเพื่อให!ได!รับทราบข!อมูลท่ีแท!จริงเพิ่ม
มากขนึ้

สรปุ ผล

จากการศึกษาการเรียนร!ูจากส่ือวิทยุโทรทัศนและการนําไปใช!ประโยชนของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี
มีวัตถุประสงคเพ่ือศึกษาการเรียนร!ูจากส่ือวิทยุโทรทัศนของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรีและศึกษา การนําการเรียนร!ู
จากสือ่ วทิ ยโุ ทรทศั นของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี ไปใช!ประโยชน ผ!ูวิจัยได!ใช!แบบสอบถามเป3นเครื่องมือในการเก็บ
ข!อมูล โดยวิธีการนํากลุ1มตัวอย1างจากคณะต1างๆ ทั้ง 4 คณะ คือ คณะครุศาสตร คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร คณะ
วิทยาการจัดการ คณะวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี จํานวน 430 คน และเกบ็ แบบสอบถาม ได!นํามาแจกแจงความถี่เป3นค1าร!อย
ละ ซ่งึ สรุปผลการวิจยั เปน3 3 ส1วนดงั น้ี

ส1วนที่ 1 สถานภาพของผต!ู อบแบบสอบถาม
สว1 นที่ 2 การเปดq รับสารเพ่ือการเรียนรูจ! ากสือ่ วิทยโุ ทรทศั น
สว1 นท่ี 3 การนําไปใช!ประโยชนจากการรบั ชมวิทยุโทรทศั น

สว' นท่ี 1 สถานภาพของผ"ตู อบแบบสอบถาม
สถานภาพของผ!ูตอบแบบสอบถาม แสดงจํานวนและร!อยละ ของกลุ1มตัวอย1างที่ตอบแบบสอบถามทั้งหมด 430 คน

จําแนกตามเพศ อายุ ช้นั ปnที่ศึกษา คณะทศ่ี กึ ษา จากการศึกษาพบว1า กลม1ุ ตวั อยา1 งส1วนใหญ1เป3นเพศหญิง มจี ํานวน 276 คน คิด
เป3นรอ! ยละ 64.20 สว1 นเพศชายมจี ํานวน 154 คน คิดเปน3 ร!อยละ 35.80 และอยใู1 นช1วงอายุ 18-20 ปn จาํ นวน 307 คน คิดเป3น
ร!อยละ 71.40 และมากกวา1 20 ปn จํานวน 123 คน คดิ เป3น ร!อยละ 28.60 ชัน้ ปnทศ่ี ึกษา แบ1งเป3นปn 1 จํานวน 288 คน คิดเป3น
ร!อยละ 66.98 ช้ันปnท่ี 2 จํานวน 64 คน คิดเป3นร!อยละ 14.88 ช้ันปnที่ 3 จํานวน 78 คน คิดเป3นร!อยละ 18.14 คณะท่ีศึกษา
แบ1งเปน3 คณะครุศาสตร จํานวน 136 คน คิดเป3นร!อยละ 31.63 คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร จํานวน 35 คน คิดเป3น
ร!อยละ 8.14 คน คณะวทิ ยาการจัดการจํานวน 186 คน คิดเป3นร!อยละ 43.25 คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี จํานวน 73
คน คิดเป3นร!อยละ 16.98

เกี่ยวกบั ที่พกั อาศัยปvจจบุ นั ปรากฏว1า พกั อาศยั กับบดิ ามารดา จาํ นวน 191 คน คิดเป3นร!อยละ 44.42 พักอาศัยบ!าน
ญาติ จาํ นวน 45 คน คดิ เปน3 ร!อยละ 10.46 พักในหอพักจํานวน 153 คน คิดเป3นรอ! ยละ 35.59 พกั ในหอ! ง/ คอนโดเช1า จํานวน
37 คน คิดเปน3 ร!อยละ 8.60 นอกจากนี้มีทีพ่ ักอาศยั ในบ!านเช1า จํานวน 4 คน คิดเป3นร!อยละ 0.93 จะเห็นได!ว1า นักศึกษาพัก

เอกสารสบื เน่ืองจากการประชมุ วิชาการและนําเสนอผลงานวจิ ัยระดบั ชาติ 2559 “การวิจัยรับใช"ชุมชนสร"างสงั คมฐานความรู"” 407

บา! นบิดามารดาเป3นจํานวนสูงสุด รองลงมา ได!แก1 พักในหอพัก มีเป3นส1วนน!อย ที่พักในคอนโดเช1า หรือบ!านเช1าส1วนค1าใช!จ1าย
ส1วนตัวที่ไดร! ับจากผปู! กครอง (นอกเหนือจากคา1 ที่พักและการเรียน) ของผต!ู อบแบบสอบถาม จาํ นวนทงั้ หมด 430 คน นนั้ ได!รบั
ค1าใชจ! า1 ยนอ! ยกว1า 5,000 บาท จาํ นวน 245 คน คดิ เป3นร!อยละ 56.98 ได!รับค1าใชจ! 1าย 5,000 – 10,000 บาท จาํ นวน 159 คน
คดิ เป3นรอ! ยละ 36.98 และได!รบั คา1 ใชจ! า1 ย 10,000 บาทข้ึนไป จํานวน 26 คน คดิ เป3นรอ! ยละ 6.04

ส'วนท่ี 2 การเป|ดรับสารเพ่ือการเรยี นร"จู ากสือ่ วิทยุโทรทศั น*
นักศกึ ษาส1วนใหญ1 มีเครือ่ งรบั โทรทศั นสว1 นตัวในห!องพักของตนเองถึง 239 คน ซ่ึงเปqดโอกาสให!ชมโทรทัศนรายการ
ต1างๆ ตามท่ีตนเองต!องการรับชมได!อย1างสะดวก แต1ก็มีเป3นจํานวนไม1น!อยท่ีต!องรับชมจากเคร่ืองรับโทรทัศนในมหาวิทยาลัย
ด!วยพาํ นักในหอพกั ซึง่ อาจไมส1 ะดวกในการรับชม หรือเปน3 พอพักท่ไี ม1มเี ครือ่ งรบั โทรทัศนสว1 นรวมไวใ! ชบ! ริการ และอีกส1วนหน่ึง
ก็มกั ชมโทรทศั นทางอินเทอรเนต็ หรือโทรศพั ทมือถือ ซงึ่ เปน3 การรบั ชมรายการต1างๆ ยอ! นหลัง
การชมโทรทัศนจํานวนวันท่ีรบั ชมในแต1ละสัปดาห ผ!ูตอบแบบสอบถามกลุ1มตัวอย1าง รับชมทุกวัน จํานวน 212 คน
คิดเปน3 รอ! ยละ 49.30 รับชม5-6 วัน จาํ นวน 26 คน คดิ เปน3 ร!อยละ 6.05 รับชม 3-4 วัน จํานวน 52 คน คิดเป3นร!อยละ 12.09
รับชม 1-2 วนั จาํ นวน 34 คน คิดเปน3 รอ! ยละ 7.19 และรับชมไมแ1 น1นอน จาํ นวน 106 คน คิดเปน3 รอ! ยละ 24.65
การรับชมโทรทัศนในหน่ึงสัปดาหน้ัน รับชมทุกวันเป3นจํานวนสูงสุด รองลงมาคือ รับชมไม1แน1นอน ตามแต1สะดวก
นอกนั้นกร็ บั ชม สปั ดาหละ 5-6 วัน บา! ง 3-4 วนั และ 1-2 วัน บ!าง
ส1วนจํานวนช่ัวโมงท่ีรับชมในแต1ละวัน รับชมน!อยกว1า 2 ชั่วโมง 114 คน คิดเป3นร!อยละ 26.50 รับชม 2-3 ช่ัวโมง
จํานวน 175 คน คดิ เปน3 รอ! ยละ 40.70 รับชม 4-5 ชวั่ โมง จํานวน 102 คน คดิ เปน3 ร!อยละ 23.70 และรับชมมากกว1า 6 ช่ัวโมง
จํานวน 39 คน คิดเป3นรอ! ยละ 9.10
ค1านิยมการรับชมโทรทัศนช1องต1างๆของผู!ตอบแบบสอบถามกล1ุมตัวอย1าง ผลปรากฏว1าในช1องอันดับ 1 น้ัน
สถานโี ทรทศั นชอ1 ง 3 ได!รับความนิยมในการรับชมสูงสุด อนั ดบั 2 คือสถานโี ทรทัศนชอ1 ง 7 อันดับ 3 สถานโี ทรทศั นชอ1 ง 5 และ
9 ได!รบั ความนิยมในการรบั ชมใกลเ! คยี งกนั อนั ดบั 4 สถานีโทรทัศนชอ1 ง 11 สว1 นอันดับสุดท!าย คอื สถานโี ทรทศั นช1อง TPBS
ประเภทรายการท่ีมีผู!รับชม น้ัน รายการท่ีได!รับชมมากท่ีสุด คือ รายการละคร รองลงมาคือ รายการดนตรี/ เพลง
อันดับ 3 คือ รายการเกมโชว/ ตอบปvญหา อันดับ 4 คือ รายการนิตยสาร/วาไรตี้ อันดับ 5 คือ รายการข1าว อันดับ 6 คือ
รายการความร!ูและสารคดี อนั ดับ 7 คือ รายการถา1 ยทอดสด และอนั ดับสุดท!าย คอื รายการสนทนา เป3นรายการทไี่ มเ1 คยรับชม
มากท่ีสดุ
สว' นที่ 3 การนาํ ไปใชป" ระโยชนจ* ากการรบั ชมวทิ ยโุ ทรทัศน*
ผู!ตอบแบบสอบถามเลือก อันดับ 1 คือ เพ่ือความบันเทิง อันดับ 2 เพื่อการเรียนร!ูในสิ่งท่ีสนใจและเป3นประโยชน
อันดับ 3 เพื่อพัฒนาตนเองในด!านต1างๆ อันดับ 4 เพ่ือลดความเบ่ือและเหงา อันดับ 5 เพื่อฆ1าเวลา อันดับ 6 เพ่ือติดตาม
ความเป3นไปของสังคมของโลก อันดับ 7 เพ่ือเก็บข!อมูลไว!พูดคุยกับผ!ูอ่ืน อันดับ 8 เพ่ือให!ลืมปvญหาในชีวิตจริง และอันดับ 9
เพอ่ื เปน3 แนวในการประกอบอาชีพ
ผ!ูตอบแบบสอบถามเก่ียวกับเน้ือหาท่ีได!รับชมจากรายการโทรทัศนไปใช!ประโยชนในด!านต1างๆ อันแรกคือ ความร!ู
รอบตวั อนั ดบั 2 คอื การดําเนนิ ชีวิตประจาํ วัน อนั ดับ 3 คือ ประโยชนดา! นการศกึ ษา อนั ดบั 4 คือ สร!างแรงบันดาลใจ อันดับ
5 การวางตัวในสงั คม อันดบั 6 แนวทางในการประกอบอาชพี และอนั ดบั สดุ ทา! ย เป3นประโยชนในการคบเพือ่ น

อภิปรายผล

จากการวิจัยเรื่องการเรียนรู!จากส่ือวิทยุโทรทัศนและการนําไปใช!ประโยชนของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี

สรปุ ผลได!วา1 นกั ศกึ ษาสว1 นใหญ1พักอาศัยที่บ!านของบิดา มารดา เป3นจํานวนสูงที่สุด และมีเคร่ืองรบั โทรทัศนส1วนตัวในห!องพัก

ของตนเองเปน3 จํานวนมากที่สุด ซ่ึงเป3นการเปqดโอกาสใหส! ามารถเลือกรับชมรายการโทรทศั นที่ตนเองพึงพอใจได!อย1างสะดวก

และเปน3 อิสระ แต1ก็ยังมนี ักศึกษาบางส1วนที่ต!องรบั ชมโทรทัศนสว1 นรวมในบ!านพักของตนเอง ในหอพักท่ีพํานักอยู1 และบางส1วน

408 เอกสารสืบเน่ืองจากการประชมุ วิชาการและนําเสนอผลงานวจิ ยั ระดับชาติ 2559 “การวจิ ัยรบั ใช"ชุมชนสรา" งสังคมฐานความร"ู”

พักในหอพกั ทีไ่ ม1มีเครอ่ื งรบั โทรทศั นไว!บรกิ าร ก็ต!องรบั ชมโทรทศั นในมหาวทิ ยาลัย ซึ่งก็จะมขี !อจํากัดในการรับชมด!วยเร่ืองของ
เวลาในการรบั ชม และรายการที่พงึ พอใจจะรับชม นกั ศึกษาบางส1วนจึงมักรับชมโทรทัศนในอินเทอรเน็ตหรือโทรทัศนมือถือ ซึ่ง
กม็ ักจะเป3นการรบั ชมยอ! นหลงั

การรบั ชมโทรทัศนตลอดสัปดาหนั้น ก็มักรับชมทุกวัน เป3นจํานวนสูงท่ีสุด มิฉะน้ันก็จะรับชมแบบไม1แน1นอน ตามแต1
เวลาและโอกาสทจ่ี ะอาํ นวย ถอื ไดว! า1 นกั ศกึ ษาสว1 นใหญ1รบั ชมโทรทศั นเปน3 จาํ นวนมาก

ช1วงเวลาทรี่ ับชมในแตล1 ะวนั ส1วนใหญ1รับชมวันละ 2-3 ช่วั โมง ซงึ่ ก็เป3นเวลาหลงั เลิกเรียน ตั้งแต1ช1วงบ1ายถึงค่ํา จนจบ
รายการละครหลังขา1 ว ดว! ยผลการวจิ ัยปรากฏวา1 มกี ารรบั ชมอยา1 งสมํา่ เสมอมากท่สี ดุ แตก1 ็ยงั มบี !างท่ีรับชมมากถึงวนั ละ 6 ชั่วโมง
จากการประชุมกลมุ1 ให!ความเหน็ ว1า น1าจะเป3นชว1 งวนั หยดุ หรอื เป3นผูท! ต่ี ดิ ตามภาพยนตรตา1 งประเทศ เช1น ภาพยนตรซรี ียเกาหลี
เปน3 ต!น

ความนยิ มในการรับชมโทรทัศนช1องต1างๆ ผลปรากฏว1า สถานีโทรทัศนช1อง 3 ได!รับความนิยมเป3นอันดับท่ี 1 ด!วยมี
รายการท่ีนักศึกษาพึงพอใจมากกว1า การนําเสนอได!ตรงเวลากับความตอ! งการและดูทันสมัยกว1า รองลงมาคือ สถานีโทรทัศน
ชอ1 ง 7 ช1อง 9 ช1อง 5 ชอ1 ง 11 และช1อง TPBS ตามลําดับ แตค1 วามนิยมสถานีโทรทัศนช1อง 5 และช1อง 9 นั้นมีจํานวนใกล!เคียง
กันมาก แม!จะเป3นอันดับ 3 และ 4 และสถานีโทรทัศนทั้งสองช1องนี้ เป3นสถานีโทรทัศนที่นําเสนอความร!ู และสารคดี สลับกับ
ความบันเทิงในอัตราส1วนพอๆกัน ทําให!นักศึกษาที่สนใจรับชมด!านความร!ูและสารคดีจึงเลือกชมท้ังสองช1อง ดังกล1าว แต1
สถานีโทรทัศนชอ1 ง 11 และ TPBS ได!รับความนิยมตามลําดบั ดว! ยสาเหตุทรี่ ายการนําเสนอม1ุงเน!นความรู! และเรื่องหนักๆ เป3น
ส1วนใหญ1

ด!านรายการท่ีเลือกรับชมอย1างสมํ่าเสมอ เป3นอันดับแรก คือ รายการละคร รองลงมาคือ รายการดนตรี/ เพลง
รายการเกมโชว/ ตอบปvญหา รายการนิตยสาร/ วาไรต้ี ตามลําดับ สอดคล!องกับเหตุผลในการรับชมโทรทัศนของผ!ูตอบ
แบบสอบถามว1า เพื่อความบันเทิง เป3นอันดับที่ 1 ส1วนรายการข1าวและรายการความร!ูและสารคดี ก็ยังรับชมรองลงมา ท้ังน้ี
นกั ศึกษากย็ ังรับชมด!วยเหตผุ ลเพ่อื การเรียนรใ!ู นสิง่ ท่ีสนใจและเปน3 ประโยชน และเพอ่ื การพฒั นาตนเองในด!านต1างๆ เป3นอันดับ
2 และ 3 เป3นลําดับ นับว1านักศึกษาก็มีการเรียนร!ูและนําไปใช!ประโยชนได!ดีพอสมควร แต1นักศึกษารับชมเพื่อเป3นแนวทาง
ประกอบอาชพี เป3นอันดบั สดุ ทา! ย อาจจะเป3นด!วยรายการท่ีรับชมไมไ1 ดน! าํ เสนอตวั อย1างประกอบอาชีพมากเทา1 ท่ีควร ไม1สามารถ
นํามาประกอบการตัดสินใจเป3นแนวทางได! หรอื นาํ เสนอไม1ตรงกับความตัง้ ใจและแนวคิดทนี่ ักศึกษากําหนดไว!

ผลการวิจัยในครั้งน้ี จะเห็นได!ว1า เพศ อายุ และช้ันปnที่ศึกษาน้ัน ไม1ได!มีผลกระทบให!เกิดความแตกต1างในการรับชม
โทรทัศนแต1อย1างใด เพราะนักศึกษาอย1ูในสิ่งแวดล!อมเดียวกัน นักศึกษาได!เกิดการเรียนร!ูจากสื่อวิทยุโทรทัศนจากการรับชม
รายการประเภทตา1 งๆ และนําไปใชป! ระโยชนดา! นกอ1 ให!เกิดความรู!รอบตัว การนําส่ิงท่ีได!รับชมไปใช!ในชีวิตประจําวัน และด!าน
การศึกษา การวางตัวในสังคม และได!นําไปสร!างแรงบันดาลใจตามที่ตนเองปรารถนา รวมไปถึงการพิจารณาการคบเพ่ือน
พรอ! มทง้ั แนวทางในการประกอบอาชพี กน็ บั วา1 นักศึกษาได!นาํ ไปใชป! ระโยชนในดา! นต1างๆ ของตนเอง อย1างที่เปน3 ทน่ี า1 พงึ พอใจ

ขอ" เสนอแนะ

จากการวจิ ัยเร่ืองการเรียนรู!จากส่ือวิทยุโทรทัศนและการนําไปใช!ประโยชนของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี
มขี อ! เสนอแนะดังน้ี

1. ข"อเสนอในการนาํ ไปใช"ประโยชน*
นกั ศกึ ษาควรได!รับการช้ีนําให!รับชมโทรทัศน เพื่อนํามาใช!ประโยชนด!านการศึกษาให!มากข้ึนและอาจารยผู!สอนควร
มอบหมายงานทีต่ อ! งรบั ชมโทรทศั นในรายการที่เสรมิ สร!างองคความร!ตู า1 งๆ เพอ่ื ก1อใหเ! กดิ ประโยชนในการรบั ชม

เอกสารสืบเนอื่ งจากการประชมุ วิชาการและนําเสนอผลงานวิจยั ระดบั ชาติ 2559 “การวิจัยรับใช"ชุมชนสรา" งสงั คมฐานความร"ู” 409

2. ขอ" เสนอแนะในการศกึ ษาวิจยั
การศกึ ษาในการวิจัยครั้งตอ1 ไป น1าจะไดว! ิจัยในประเด็นตอ1 ไปนี้

2.1 ความแตกต1างทางเพศต1อการเลือกรบั ชมรายการประเภทตา1 งๆ ที่นาํ เสนอทางสอ่ื วทิ ยุโทรทศั น
2.2 เน้ือหาของรายการทีก่ 1อใหเ! กดิ ทัศนคติในดา! นต1างๆ
2.3 ความรแ!ู ละประสบการณต1างๆท่ไี ดร! ับชมจากรายการประเภทใหค! วามรแู! ละการนาํ ไปใช!

เอกสารอ"างอิง

กาญจนา แก!วเทพ. (2552). สื่อสารมวลชน ทฤษฎีและแนวทางการศึกษา. กรุงเทพฯ: คณะนิเทศศาสตร จุฬาลงกรณ
มหาวทิ ยาลยั .

ธันมาภรณ เหลยี วตระกูล (2554) การเป|ดรับการใช"ประโยชนแ* ละความพงึ พอใจตอ' การใชอ" ินเทอรเ* น็ตของผู"สงู อายุ.
เชยี งใหม:1 มหาวิทยาลยั เชียงใหม1.

เนตรนภา กองงาม (2551.) การเปด| รบั ขา' วสาร ความพงึ พอใจ และการใช"ประโยชน*จากเว็บไซต*ทมี่ ีเนือ้ หาเกย่ี วกับประเทศ
ไทยของนักท'องเทีย่ วชาวตา' งชาติในจังหวดั เชยี งใหม'. บัณฑติ วทิ ยาลยั . เชียงใหม:1 มหาวทิ ยาลัยเชยี งใหม1.

ปqยะภา วรรณสมพร. (2556.) การใช"ประโยชน*และความพึงพอใจในการใช"เฟสบุ_คของนักศึกษาระดับอุดมศึกษาในจังหวัด
เชียงใหม'. มหาวทิ ยาลยั เชียงใหม1.

ศิรชิ ยั กายะ และกาญจนา แก!วเทพ. (2547). แนวทางการศกึ ษาสาํ หรับส่ือมวลชน. กรงุ เทพฯ: บรษิ ัทแบรนดเอจ จํากัด.
สํานกั งานเลขาธิการสภาการศกึ ษา กระทรวงศกึ ษาธกิ าร. (2546). การประเมินประสิทธิภาพการใช"ส่ือวิทยุกระจายเสียงและ

วิทยุโทรทัศนเ* พ่ือการศึกษา. กรุงเทพฯ: หจก.ภาพพมิ พ
วรพจน นวลสกลุ . 2550. บทบาทและความสําคัญของรายการวดี ิทัศนใ* นสังคม. มหาวทิ ยาลัยอบุ ลราชธานี

410 เอกสารสืบเน่อื งจากการประชุมวิชาการและนําเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ 2559 “การวจิ ยั รบั ใช"ชุมชนสรา" งสงั คมฐานความรู"”

การเลอื กใชพ" ลังงานทดแทนทมี่ ีประสิทธภิ าพเพื่อลดต"นทุน
The use of energy efficient to reduce costs

จัตตุรงค* เพลนิ หัด1
Jutturong ploenhad1

บทคดั ยอ'

การศึกษาวิจัยน้ีมีวัตถุประสงค 1. ศึกษาองคประกอบการตัดสินใจเลือกใช!พลังงานทดแทน 2. ศึกษารูปแบบของการ
ตัดสนิ ใจเลอื กใช!พลังงานทดแทน โดยศึกษาวจิ ยั กลุ1มสําหรับกรณศี ึกษาสํานกั งานและชุมชนคลองโยง ต.คลองโยง อ.พุทธมณฑล
จ.นครปฐม: การวิเคราะหการเลอื กใช!พลังงานทดแทนทม่ี ีประสิทธภิ าพเพ่ือลดต!นทุน ซึ่งส1ุมประชากรในชุมชนจํานวน 400 คน
จาก กล1ุมตัวอย1าง 2440 คน สําหรับสํานักงานและชุมชนคลองโยง ต.คลองโยง อ.พุทธมณฑล จ.นครปฐม: ได!วิเคราะหการ
เลือกใช!เทคโนโลยีพลังงานทดแทนอย1างเป3นระบบโดยมีองคประกอบที่ซับซ!อนทั้งในส1วนที่มีความช้ืนสูง เช1น สารอินทรีย
ประเภทเศษอาหาร และส1วนท่ีมีค1าความร!อนมาก เช1นพลาสติก โฟม กระดาษ ทําให!การนําขยะชุมชนมาใช!ในการผลิต
กระแสไฟฟา… ตอ! งมีกระบวนการเพอื่ ปรับคุณภาพใหเ! หมาะสมกับวธิ กี าร เชน1 การใช!ระบบการผลิตก•าซชีวภาพสําหรับส1วนที่เป3น
เศษอาหารหรือสารอินทรียท่ีมีความช้ืนสูง หรือการใช!วิธีเผาท่ีเหมาะสําหรับขยะชุมชนส1วนท่ีมีค1าความร!อนมาก แต1การท่ีท้ัง
องคประกอบหลักทงั้ สองส1วนปะปนกนั ทําใหก! ารนําขยะชมุ ชนมาใช!ผลิตกระแสไฟฟา… จึงยงั คงเป3นเรอ่ื งท่ยี ุ1งยาก มีตน! ทนุ สูงและมี
ผลกระทบต1อสิ่งแวดล!อมมาก ดังน้ันแม!ว1าขยะชุมชนจะมีศักยภาพที่จะใช!ในการผลิตกระแสไฟฟ…าทดแทนการใช!เชื้อเพลิง
ประเภทอ่นื ๆแต1การนํามาใช!ตอ! งมีกระบวนการจัดการ วธิ หี รือเทคโนโลยีท่ีเหมาะสม การมีส1วนร1วมของประชาชน และมีความ
เป3นไปได!ทางเศรษฐศาสตรซง่ึ เป3นวัตถปุ ระสงคสําคญั ของงานวจิ ัยนอ้ี ยา1 งมีนัยสาํ คญั ทางสถิติท่รี ะดับ0.50

ผลจากการวิจัย พบว1าด!านความต!องการใช!พลังงานทดแทนความคิดเห็นโดยรวมเห็นด!วยมาก ( x̄= 4.07 ) ด!านความ
ต!องการใช!พลงั งานทดแทน มีความคิดเห็นอยู1ในระดับมาก ( x̄ = 3.80 ) ด!านการนาํ พลงั งานทดแทนมาใชม! คี วามคดิ เหน็ อย1ใู น
ระดบั มาก ( x̄ = 3.75 ) ดา! นชนดิ ของพลงั งานชวี มวลทตี่ !องการนํามาใช! มีความคิดเห็นอยใู1 นระดบั มาก ( x̄ = 3.54 ) ดา! นการ
เลือกใช!เทคโนโลยพี ลงั งานทดแทน มคี วามคิดเหน็ อยใู1 นระดับเหน็ ดว! ยปานกลาง ( x̄ = 3.41 ) พลงั งานทดแทนจงึ เปน3 ทางเลือก
หน่ึงที่ชุมชนให!ความสนใจและสนับสนุนทั้งด!านงานวิจัยและการนําร1องผลิต พลังงานทดแทนที่กล1าวถึงได!แก1 พลังงานจาก
แสงอาทิตย พลังงานลม และพลังงานชีวมวลที่ได!จากเช้ือเพลิงชีวมวลซ่ึงเป3นวัสดุเหลอื ใช!จากการเกษตร เช1น แกลบ ฟางข!าว
ชานอ!อยกากมันสําปะหลงั เศษไม! เปน3 ต!น

คาํ สาํ คัญ : พลังงานทดแทน ประสิทธิภาพ ลดต!นทุน

Abstract

This research study aims 1. The purpose of this research study, the decision to use renewable
forms of 2. The decision to use renewable energy. The research group for offices and community case
studies linking the canal. The canal links. Buddhist province Nakhon Pathom.: Analysis of the use of energy
efficiency to reduce costs. The randomized population in 400 of the samples in 2440 were for offices and

1 อาจารยประจาํ สาขาวิชาการจัดการการขนส1ง วทิ ยาลยั โลจิสตกิ สและซัพพลายเชน มหาวทิ ยาลัยราชภัฏสวนสนุ ันทา

เอกสารสบื เนอื่ งจากการประชมุ วิชาการและนาํ เสนอผลงานวจิ ัยระดับชาติ 2559 “การวิจัยรบั ใช"ชุมชนสรา" งสงั คมฐานความรู"” 411

communities canal link to. The canal linking district Buddhist Nakhon Pathom.: Analyze the use of
renewable energy technologies in a systematic manner with the complex elements in both. high humidity,
such as organic food categories. And the heating value, such as plastic foam sheet, enabling its municipal
waste used to generate electricity must have a process to adjust to fit the way such as use of biogas for a
food or substance. organic, high humidity The method is suitable for burning waste the precious heat. But
the two main components of mixed waste, enabling its use for power generation, it is still difficult. With
the high cost and environmental impact much. So even if the waste has the potential to be used in the
production of electricity using renewable fuels, but more needs to be implemented process management.
Or how the right technology Participation of citizens And there is the possibility of economics, a key
objective of this research is a significant level of 0.50

Results from research Found that the demand for renewable energy, the overall opinion that

much (x̄ = 4.07), the demand for renewable energy. Comments are at a high level (x̄ = 3.80), the

renewable energy used in many opinions (x̄ = 3.75), the type of biomass that needs to be used. Comments

are at a high level (x̄ = 3.54) for the use of renewable energy technologies. Opinions on the level with

moderate (x̄ = 3.41) renewable energy is an alternative, community interest and support research and pilot

production. Renewable mentioned include Solar energy, wind energy and biomass fuels derived from

biomass such as agricultural waste from rice husk, rice straw, sugarcane bagasse, and wood pulp.

KEYWORDS : Renewable Energy ; efficient ; Cost Reduction

ความเปTนมาและความสําคัญ

พลังงานทดแทนเป3นทางเลือกหนึ่งท่ีรัฐให!ความสนใจและสนับสนุนทั้งด!านงานวิจัยและการนําร1องผลิต พลังงาน
ทดแทนทีม่ ักกล1าวถงึ ได!แก1 พลงั งานจากแสงอาทติ ย พลงั งานลม และพลังงานชีวมวลที่ได!จากเชื้อเพลิงชีวมวลซึ่งเป3นวัสดุเหลือ
ใช!จากการเกษตร เช1น แกลบ ฟางข!าว ชานอ!อยกากมันสําปะหลัง เศษไม! เศษยางพารา และอื่นๆ เชื้อเพลิงเหล1าน้ีสามารถ
ทดแทนการนาํ เขา! เชอ้ื เพลิงฟอสซลิ ประเภทถา1 นหนิ และนา้ํ มันดบิ ได!สว1 นหน่งึ นอกจากน้ันรัฐยังได!ใหค! วามสําคัญของการใช!ขยะ
ชุมชนมาใช!เป3นเช้ือเพลิงผลิตกระแสไฟฟ…าด!วยการกําหนดนโยบายสนับสนุนหลายด!าน โดยคาดว1านอกจากจะได!รับผลในการ
ผลิตกระแสไฟฟ…าแล!ว จะสามารถลดปvญหาทเ่ี กดิ จากผลกระทบจากการจัดการขยะชมุ ชน เช1น การทิ้งและกําจัดขยะชุมชนท่ีไม1
ถูกหลักสุขาภบิ าลดว! ย อกี ท้งั ยงั คาดหวงั ว1าการผลิตกระแสไฟฟา… จากขยะชุมชนนจ้ี ะช1วยสรา! งรายไดจ! ากการจดั การขยะชมุ ชนได!
อีกทางหน่งึ ซึง่ แต1เดมิ ในการจัดการขยะชุมชนหมายถงึ คา1 ใช!จ1ายดา! นเดยี ว

เน่อื งจากสํานกั งานและชมุ ชนแตกตา1 งจากเชื้อเพลงิ ชวี มวลอ่นื ๆ โดยมีองคประกอบท่ีซับซ!อนท้ังในส1วนท่ีมีความชื้น
สงู เชน1 สารอินทรียประเภทเศษอาหาร และส1วนท่ีมีค1าความร!อนมาก เช1นพลาสตกิ โฟม กระดาษ ทาํ ใหก! ารนําขยะชุมชนมาใช!
ในการผลติ กระแสไฟฟ…าตอ! งมกี ระบวนการเพอ่ื ปรบั คุณภาพให!เหมาะสมกับวธิ ีการ เช1น การใช!ระบบการผลิตกา• ซชีวภาพสาํ หรบั
ส1วนท่ีเป3นเศษอาหารหรือสารอินทรียท่ีมคี วามช้ืนสูง หรือการใช!วธิ ีเผาที่เหมาะสําหรับขยะชุมชนส1วนที่มีค1าความร!อนมาก แต1
การทท่ี ้ังองคประกอบหลกั ทง้ั สองส1วนปะปนกันทาํ ให!การนาํ ขยะชุมชนมาใชผ! ลิตกระแสไฟฟ…าจึงยังคงเปน3 เร่ืองทีย่ ง1ุ ยาก มตี !นทนุ
สูงและมีผลกระทบต1อส่ิงแวดล!อมมาก ดังนั้นแม!ว1าขยะชุมชนจะมีศักยภาพที่จะใช!ในการผลิตกระแสไฟฟ…าทดแทนการใช!
เช้ือเพลิงประเภทอ่ืนๆแตก1 ารนํามาใช!ตอ! งมกี ระบวนการจัดการ วธิ หี รือเทคโนโลยีทเ่ี หมาะสม การมสี 1วนรว1 มของประชาชน และ
มคี วามเป3นไปไดท! างเศรษฐศาสตรซึง่ เป3นวตั ถุประสงคสําคญั ของงานวิจยั นี้

412 เอกสารสืบเนื่องจากการประชมุ วิชาการและนาํ เสนอผลงานวิจัยระดับชาติ 2559 “การวิจัยรับใช"ชุมชนสร"างสังคมฐานความร"ู”

จากการวจิ ยั พบปvญหาเกย่ี วกับพฤตกิ รรมการจัดการลดต!นทุนและการประเมินประสทิ ธิภาพการใช!พลังงานทดแทน
กรณศี ึกษาสํานักงานและชุมชนคลองโยง ต.คลองโยง อ.พทุ ธมณฑล จ.นครปฐม. ของประชากรสํานักงานและชุมชนท่ีมีต1อการ
เลอื กใช!พลงั งานทดแทน เพอื่ ใหท! ราบถึงปvญหาในด!านการนําพลังงานทดแทนมาใช! ด!านต1างๆ อันจะนําไปส1ูแนวทางการแก!ไข
และปรับปรุงประเภทพลงั งานทดแทนมาใชแ! ละตรงตอ1 ตอบความต!องการนาํ พลังงานทดแทนมาใช!ให!เหมาะสมดขี นึ้

วตั ถปุ ระสงค*ของการวิจัย

1. ศกึ ษาองคประกอบการตัดสนิ ใจเลอื กใช!พลงั งานทดแทน
2. ศึกษารูปแบบของการตัดสินใจเลอื กใช!พลงั งานทดแทน

สมมติฐานในการวิจัย

ปจv จัยสว1 นบุคคลที่ เพศ อายุ ระดับการศึกษา สถานภาพสํานักงาน และรายได!ของกิจการเฉลี่ยต1อปn แตกตา1 งกัน มี
ความคดิ เหน็ ตอ1 ชนิดและ ด!านการนาํ พลังงานทดแทนมาใช! ไม1แตกตา1 งกนั

กรอบแนวคดิ

ตัวแปรอสิ ระ( Independent Variables ) ตัวแปรตาม( Dependent Variables )

ปจV จยั ส'วนบคุ คล การเลือกใช"พลังงานทดแทนที่มี
ประสทิ ธิภาพเพื่อลดต"นทนุ
1.เพศ
2.อายุ
3.ระดบั การศกึ ษา
4.สถานภาพสํานักงาน
5.สถานภาพชมุ ชน
6.อาชพี
7.รายได!ของกจิ การเฉลี่ยต1อปn

ปจV จัยด"านสาํ นักงานและชมุ ชน
1.รูปแบบพลังงานทดแทน
2.องคประกอบพลงั งานทดแทน
3.การเลือกใชพ! ลงั งานทดแทน
4.พลังงานทดแทนในครัวเรอื น
5.เหตุผลใดจากการเลอื กใช!พลังงานทดแทน

วิธีดําเนนิ การวิจัย

การวจิ ัยในคร้งั น้ี เป3นการศึกษาระเบยี บวิธีวิจยั เชิงสํารวจ (Survey Research) โดยจะใช!แบบสอบถามเป3นเคร่ืองมือ
ดังน้ัน ในบทน้ีจึงเป3นการนําเสนอถึงวิธีการและข้ันตอนต1างๆ ในการดําเนินการวิจัย ได!แก1 การกําหนดประชากรและการสุ1ม
ตัวอย1าง การสร!างเครื่องมือท่ีใช!ในการวิจัย การเก็บรวบรวมข!อมูล การวิเคราะหข!อมูล และสถิติท่ีใช!วิเคราะหข!อมูลโดยมี
รายละเอียดดังนี้

เอกสารสบื เน่อื งจากการประชมุ วิชาการและนาํ เสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ 2559 “การวจิ ยั รบั ใช"ชุมชนสร"างสงั คมฐานความรู"” 413

1.กลม1ุ ประชากรและกลม1ุ ตัวอย1าง
2.เครื่องมอื ท่ีใชใ! นการวิจยั
3.การเกบ็ รวบรวมขอ! มลู
4.การวิเคราะหขอ! มูล
5.สถติ ทิ ี่ใช!ในการวิเคราะหขอ! มลู

1. กลุม' ประชากรและกล'ุมตัวอย'าง
กลุ1มประชากรท่ีศึกษาคร้ังน้ี คือสํานักงานและชุมชน ตําบลคลองโยง จังหวัดนครปฐม โดยมีวิธีเลือกกลุ1มตัวอย1าง

ดังน้ี

ประชากร
การวิจัยคร้ังน้ีมุ1งศึกษาเฉพาะสํานักงานและชุมชน ท่ีมีความต!องการใช!เทคโนโลยีพลังงานทดแทน โดยผ!ูวิจัยได!

กําหนดประชากรที่ใชใ! นการวิจยั เป3นสํานักงานและชมชนุ จาํ นวน 400 คน จากประชากรท้งั หมด 2440 คน

กลุ'มตวั อยา' ง

ในการกาํ หนดขนาดตวั อย1าง (Sample Size) ซ่ึงเป3นสํานักงานและชุมชนท่ีมีความต!องการใช!พลังานทดแทน โดยใช!

สตู รการคาํ นวณของ Taro Yamane ดังนี้

n= N

1+N (e)2

N คือ จาํ นวนประชากรทีศ่ ึกษาทง้ั หมด

n คอื ขนาดของตวั อยา1 ง

e คอื ความคลาดเคลื่อนทยี่ อมรบั ได! = 0.05

แทนคา1 n = 2,440 คน

1+(2,440)(0.05) 2

= 400 คน

2. เครื่องมือท่ใี ช"ในการวจิ ยั
การวิจยั ในคร้ังนี้ ผู!วิจยั ไดส! รา! งเครือ่ งมือโดยใช!แบบสอบถามความคดิ เห็น (Questionnaire) เพื่อวัดความคิดเห็นของ

กล1ุมตัวอย1าง ของสํานักงานและชุมชน ด!านการนําพลังงานทดแทนมาใช! ต1อพฤติกรรมการจัดการลดต!นทุนและการประเมิน
ประสิทธิภาพการใช!พลังงานทดแทน ซึ่งผ!ูวิจัยได!ออกแบบมาเพ่ือใช!ในการรวบรวมข!อมูล โดยเฉพาะมีข้ันตอนในการสร!าง
เครื่องมือ

2.1 ศึกษาจากเอกสาร ตําราและงานวิจยั ทเ่ี ก่ียวข!อง เพือ่ นํามาเป3นข!อมลู ประกอบการสรา! งแบบสอบถาม ผู!วิจัยได!ส1ง
แบบสอบถามไปยังกล1ุมตัวอย1างที่ได!ทําการสุ1มเอาไว!นําแบบสอบถามที่แก!ไขเรียบร!อยแล!วไปทดลองใช! (Try out) เพื่อหาค1า
ความเชอ่ื ม่ันกับกลุ1มตัวอยา1 ง

2.2 ร1างแบบสอบถามเสนอผู!ทรงคุณวุฒ เพื่อตรวจสอบแก!ไขข!อความถูกต!องให!สอดคล!องกับวัตถุประสงคและ
ขอบเขตของวิจัย เพื่อหาค1าความเชื่อมั่นกับกล1ุมตัวอย1าง จํานวน 400 คน แล!วนําคํานวณหาค1าความเช่ือม่ันโดยวิธีกา
สัมประสิทธ์ิแอลฟ•า (Alpha Coefficient) ค1าความเชื่อมั่นเท1ากับ .92 และตรวจสอบความถูกต!องและทดสอบความเข!าใจ
คาํ ถามในแบบสอบถามโดยการทดสอบความเทีย่ ง (Validity) และผลทดสอบความเชื่อม่ัน (Reliability) ของแบบสอบถามโดย

414 เอกสารสบื เนอื่ งจากการประชุมวิชาการและนําเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ 2559 “การวิจยั รับใช"ชุมชนสรา" งสงั คมฐานความร"ู”

การทดสอบถามเพอื่ นาํ ไปปรับปรุงแก!ไขก1อนท่ีจะนําไปใช!กับกลุ1มประชากรจริง จากกลุ1มตัวอย1างของพฤติกรรมการจัดการลด

ตน! ทุนและการประเมินประสทิ ธิภาพการใช!พลังงานทดแทน

2.3 สร!างขอ! คาํ ถาม โดยแบบสอบถามท่ีใช!มจี าํ นวนคําถาม ประกอบไปดว! ยส1วนต1างๆ 4 ส1วน

สว1 นท่ี 1 ขอ! มูลทั่วไปของผ!ตู อบแบบสอบถาม

สว1 นที่ 2 ผลการวเิ คราะหขอ! มูลเกย่ี วกับการเลอื กประเภทพลังงานทดแทนและการใชเ! ทคโนโลยีของ

พลงั งานทดแทนมาใชใ! นสํานักงานและชมุ ชน

สว1 นที่ 3 ความตอ! งการการนาํ พลังงานทดแทนมาใช!ในชุมชน

ส1วนท่ี 4 ปvญหาอุปสรรคและข!อเสนอแนะการวิเคราะหผลสะท!อนพฤติกรรมการจัดการลดต!นทุนและการประเมิน

ประสทิ ธิภาพการใช!พลงั งานทดแทน กรณีศกึ ษาสํานกั งานและชุมชนคลองโยง ต.คลองโยง อ.พทุ ธมณฑล จ.นครปฐม

โดยลักษณะ ของแบบสอบถาม เป3นมาตราส1วนประมาณค1า (Rating Scale) โดยมีการกําหนดคะแนนแบ1งเป3น 5

ระดบั คือ

ระดับท่ี 5หมายถึง มคี วามคิดเหน็ มากท่ีสดุ

ระดบั ท่ี 4หมายถงึ มีความคดิ เหน็ มาก

ระดับที่ 3หมายถึง มีความคิดเห็นปานกลาง

ระดับที่ 2หมายถงึ มคี วามคดิ เห็นน!อย

ระดบั ที่ 1หมายถึง มีความคิดเห็นน!อยที่สุด

การแปลผลคะแนน ผ!ูวิจัยได!กําหนดเกณฑการแปลความหมายของค1าเฉลี่ยของความคิดเห็นเก่ียวการใช!พลังงาน

ทดแทน ของผ!ูประกอบการจากแบบสอบถาม ตามเกณฑคะแนนเฉลี่ยเปน3 5 ระดับ ได!แก1 มีผลต1อการตัดสินใจ มีความคิดเห็น

มากทส่ี ุด มคี วามคิดเห็นมาก มีความคดิ เห็นปานกลาง มคี วามคิดเหน็ น!อย และ มีความคิดเห็นน!อยที่สุด โดยกําหนดเกณฑการ

แปลความหมายเพ่อื จัดระดับคา1 เฉลี่ยออกเป3นชว1 งดงั ตอ1 ไปน้ี (ธานินทร ศลิ ป†จารุ, 2553: 21)

4.50-5.00 หมายถึง มคี วามคดิ เหน็ ดว! ยระดบั มากท่สี ุด

3.50-4.49 หมายถึง มคี วามคิดเหน็ ด!วยระดบั มาก

2.50-3.49 หมายถึง มีความคดิ เหน็ ด!วยระดบั ปานกลาง

1.50-2.49 หมายถึง มีความคดิ เหน็ ดว! ยระดับน!อย

1.00-1.49 หมายถงึ ไม1มคี วามคดิ เหน็

3.การเก็บรวบรวมขอ" มูล
ผ!ูวิจัยได!ส1งแบบสอบถามที่แก!ไขเรียบร!อยแล!วไปยังกลุ1มตัวอย1างที่ได!ทําการสุ1มเอาไว! โดยวิธีการนําแบบสอบถามไป

ตามสํานกั งานทท่ี าํ การของสํานักงานและชุมชนที่ใช!การเลือกใช!เทคโนโลยีพลังงานทดแทน ที่มีสํานักงานอย1ใู นตําบลคลองโยง
จงั หวดั นครปฐม ผว!ู ิจัยได!สอบถามจํานวนของกล1ุมตวั อย1างที่มีอย1ูทั้งหมด มีจํานวนเท1าใด จึงให!แบบสอบถาม ตามจํานวนของ
กลุ1มตัวอยา1 ง เพอื่ ใหท! กุ คนได!ตอบแบบสอบถามครบทกุ คนเพ่ือใหไ! ด!คาํ ตอบของแบบสอบถามครบถ!วนสมบรู ณตามวตั ถุประสงค
ของผูว! ิจยั ได!กําหนดวันทจ่ี ะไปรบั แบบสอบถามด!วยตนเองอยา1 งชดั เจน

4. การวเิ คราะหข* "อมลู
1.ผว!ู จิ ัยจะดาํ เนนิ การตรวจความสมบูรณของแบบสอบถามและเช็คจํานวนแบบสอบถามให!ครบตามจาํ นวนที่ต!องการ
3.นําข!อมูลท่ีไดม! าลงรหสั ตามท่ีได!กาํ หนด รหสั ไว!ลว1 งหน!าสําหรับ แบบสอบถามแบบปลายปqด (Closed - Ended)
4.การประมวลผลของข!อมลู ข!อมูลทลี่ งรหัสแล!วจะนํามาบนั ทกึ โดยเครือ่ งคอมพิวเตอรเพ่อื ประมวลผลขอ! มูล

เอกสารสืบเน่อื งจากการประชมุ วิชาการและนาํ เสนอผลงานวิจยั ระดบั ชาติ 2559 “การวิจัยรับใช"ชุมชนสรา" งสังคมฐานความรู"” 415

5. สถิติท่ีใช"ในการวเิ คราะหข* อ" มลู
การวิจยั ในคร้ังนี้ ผู!วิจยั จะทําการวเิ คราะหข!อมลู โดยใชค! อมพวิ เตอรสําเรจ็ รูปในการประมวลผลข!อมูลและสถิติที่ใช!ใน

การวจิ ัย มีดังนี้
สถติ เิ ชงิ พรรณา (Descriptive Statistics) ใชส! ถติ ใิ นการวเิ คราะหขอ! มลู ดังนี้
1.ค1าความถี่ (Frequency) และค1าร!อยละ (Percentage) เพื่อใช!อธิบายลักษณะข!อมูลปvจจัยประเภทธุรกิจและ

ประเภทพลงั งานทดแทน ต1อการเลือกใชพ! ลงั งานทดแทนมาใช!
2.ค1าเฉลี่ย (Mena : x̄) และค1าส1วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation: S.D) เพื่อใช!อธิบายถึงพฤติกรรมการ

จัดการลดตน! ทุนและการประเมินประสทิ ธภิ าพการใชพ! ลังงานทดแทน
ค1าสถติ ทิ ใี่ ชก! ารทดสอบสมมติฐาน ได!แก1
1.สถิติ t-test ใช!ทดสอบความแตกต1างของค1าเฉลี่ยระหว1างกลุ1ม 2 โดยนํามาใช!ทดสอบปvจจัยส1วนบุคคลในข!อท่ี 1

วเิ คราะหตัวแปรสว1 นบุคคล โดยใช!สตู ร Independent t-testณ ระดับความเชอ่ื มนั่ ทางสถิติที่ร!อยละ 95
2.สถติ ิ F-test ใชว! เิ คราะหความแปรปรวนทางเดียว (One –way ANOVA Analysis of Variance) ใช!ทดสอบความ

แตกต1างปvจจัยส1วนบุคคลท่ีมีตัวแปรมากกว1า 2 กลุ1ม ได!แก1 ด!านพลังงานทดแทน กรณีพบความแตกต1างอย1างมีนัยสําคัญทาง
สถติ ิ ทรี่ ะดบั นัยสําคญั 0.05 หรอื ระดบั ความเชือ่ มัน่ รอ! ยละ 95 โดยใชส! ตู รตามวิธขี อง Schefft (ธานินทร ศลิ ปจ† ารุ; 2553)

สรปุ ผล

จาการวิจยั การเลือกใช!พลังงานทดแทนท่ีมีประสิทธิภาพเพ่ือลดต!นทุน ได!กําหนดกลุ1มตัวอย1างสํานักงานและ

ชมุ ชน ตําบลคลองโยง จังหวัดนครปฐมโดยเป3นการศึกษาเชิงสาํ รวจ (Survey Research) มีวัตถุประสงคเพ่ือศึกษาพฤติกรรม
การจดั การลดต!นทนุ และการประเมินประสิทธภิ าพการใช!พลังงานทดแทน ระดับความต!องการต1อการเลือกใช!พลังงานทดแทน
สํานกั งานและชุมชนทเ่ี ลอื กใชพ! ลงั งานทดแทน และเพ่ือศกึ ษาถึงปvญหาทเ่ี กิดจากประเภทพลังงานทดแทนมาใช!ให!เหมาะสมแต1
ละดา! นของสํานักงานและชมุ ชนเพอ่ื เสนอแนะแนวทางแกไ! ขปvญหาในการเลอื กใชพ! ลงั งานทดแทน

1.รูปแบบการเลือกใชพ" ลังงานทดแทน
ด!านต1างๆ พบว1า การเลือกใช!พลังงานทดแทน พบว1า ด!านความตอ! งการใช!พลังงานทดแทน ความคิดเห็นโดยรวม
เห็นดว! ยมาก ( x=̄ 4.07 ) ดา! นความตอ! งการใชพ! ลังงานทดแทน มีความคิดเห็นอย1ูในระดับมาก ( x̄ = 3.80 ) ด!านการนํา
พลงั งานทดแทนมาใช!มีความคิดเห็นอยู1ในระดับมาก ( x̄ = 3.75 ) ด!านชนิดของพลังงานชีวมวลท่ีต!องการนํามาใช! มีความ
คิดเห็นอยใ1ู นระดบั มาก ( x̄ = 3.54 ) ดา! นการเลือกใชเ! ทคโนโลยพี ลงั งานทดแทน มคี วามคิดเห็นอย1ูในระดับเห็นด!วยปานกลาง
( x̄ = 3.41 )
2.องค*ประกอบการนาํ พลังงานทดแทนมาใช"
ดา! นการนําพลังงานทดแทนมาใช! พบว1า ส1วนใหญ1มคี วามคดิ เหน็ อยูใ1 นระดับมาก พลังงานแสงอาทิตย ( x̄ =4.12 )
สว1 นพลังงานลม มคี วามคดิ เห็นอยู1ในระดบั มาก ( x̄ =3.81 ) พลังงานนํ้ามีความคิดเห็นอยู1ในระดับมาก ( x̄ =3.75 ) พลังงาน
ความรอ! นใตพ! ภิ พ มีความคิดเหน็ อยูใ1 นระดับมาก ( x̄ =3.57) พลังงานชวี มวล ( x̄ =3.30 ) ตามลําดับ
3.การเลือกใช"เทคโนโลยพี ลงั งานทดแทน
ดา! นการเลือกใชเ! ทคโนโลยีพลงั งานทดแทน พบวา1 สว1 นใหญ1เลือกใชเ! ทคโนโลยเี ตาปqงŒ อยา1 งไร!ควันประหยัดพลังงาน มี
ความคดิ เห็นอยใ1ู นระดับมาก ( x̄ =4.16) เตามหาเศรษฐ/เตาอั้งโล1มีความคิดเห็นอยู1ในระดับมาก ( x̄ =3.98) เตาแก็สชีวมวลมี
ความคิดเห็นอย1ูในระดับมาก ( x̄ =3.78) เตาเศรษฐกิจ มีความคิดเห็นอยู1ในระดับมาก ( x̄ =3.65) เตาเผาผลิตถ1าน ความ
คดิ เห็นอย1ใู นระดับมาก ( x̄ =3.51) และ เตาเผาขยะ มีความคดิ เหน็ อยใู1 นระดับปานกลาง ( x̄ =3.40) ตามลําดบั

416 เอกสารสืบเนอ่ื งจากการประชุมวิชาการและนาํ เสนอผลงานวจิ ัยระดับชาติ 2559 “การวิจัยรบั ใช"ชุมชนสรา" งสังคมฐานความรู"”

4.พลังงานทดแทนทีน่ าํ มาใชใ" นครัวเรอื น
ดา! นชนิดของพลังงานชีวมวลท่ีต!องการนาํ มาใช! พบว1า ส1วนใหญ1มีต!องการนํามาใช!วัสดุเชื้อเพลิงหาง1าย มีความคิดเห็นอยู1ใน
ระดบั มาก ( x̄ =4.12) วธิ ีการใชง! านทส่ี ะดวกมีความคิดเห็นอยู1ในระดับมาก ( x̄ =4.7) การประหยัดพลังงานมีความคิดเห็นอย1ู
ในระดับมาก ( x̄ =3.98)สามารถทําเองได! มคี วามคดิ เห็นอย1ูในระดบั มาก ( x̄ =3.73) ตามลาํ ดบั
5.เหตุผลในการเลือกใชพ" ลงั งานทดแทน
ด!านความต!องการใช!พลังงานทดแทน พบว1า สว1 นใหญม1 ีความตอ! งการด!านเกษตรกร มคี วามคิดเห็นอยู1ในระดับมาก ( x̄ =3.96)
ที่อยู1อาศัยและธุรกิจ ความคิดเห็นอย1ูในระดับมาก ( x̄ =3.54)อุตสาหกรรม ความคิดเห็นอย1ูในระดับมาก ( x̄ =3.47) การ
คมนาคมขนส1ง( x̄ =3.31) ตามลาํ ดบั

อภิปรายผล

การศึกษาเร่ืองพฤติกรรมการจัดการลดต!นทุนและการประเมินประสิทธิภาพการใช!พลังงานทดแทน กรณีศึกษา
สาํ นักงานและชุมชนคลองโยง ต.คลองโยง อ.พุทธมณฑล จ.นครปฐม. สอดคล!องกับงานวิจัย นฤมล กนกสิงห (2544: 86) ได!
ศึกษาเร่ืองผลของการจัดการด!านความต!องการไฟฟ…าใน ครัวเรือนชนบทต1อการเลือกขนาดระบบผลิตไฟฟ…าของชุมชนหรือ
หม1ูบ!านน้ันๆมาก รวมไปถึงสภาพพื้นท่ี (การ คมนาคม ปริมาณความเข!มแสงอาทิตย เป3นต!น) การตัดสินใจวา1 จะมีการจัดการ
ไฟฟ…าหรือไมข1 ้ึนอยู1 กบั ภาระการใช!ไฟฟา… ของชุมชนน้ันๆ ว1ามคี วามตอ! งการไฟฟ…าส1องสวา1 งเพียงไรโดย นันทนา คชเสนี (2547:
29-35) ได!ประเมินผลระบบผลิตไฟฟ…าด!วยเซลล แสงอาทิตยเชงิ บูรณาการ กรณีศึกษาโครงการจัดตั้งระบบในโรงเรียนตํารวจ
ตระเวนชายแดน พบวา1 โครงการนี้ก็ได!เปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตความเป3นอย1ูรวมท้ังเป3นการเพิ่มสวัสดิการให!แก1ครูทางอ!อมแม! จะ
ไมใ1 ช1เปน3 ตัวเงินก็ตาม ทัศนคตขิ องครูและสมาชกิ ในชุมชนทีร่ ับประโยชนจากโครงการนส้ี มาชกิ ส1วนใหญ1ยินดีท่ีหน1วยงานของรัฐ
ได!ให!การอนุเคราะหติดตั้งระบบผลิตไฟฟา… ด!วยเซลลแสงอาทิตยซึ่งมปี ระโยชนทงั้ ต1อการพัฒนาการเรียน การสอน ให!สามารถใช!
สือ่ ตา1 งๆ ทท่ี ันสมยั และพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ ในชมุ ชนให!ดีข้ึน การสร!างความร!ูเกี่ยวกับเรื่องอุปกรณมีความจําเป3นอย1างย่ิงในการ
ดาเนนิ การจึงตอ! งมีการใหค! วามรแ!ู ก1ผู!ทเี่ ก่ยี วข!องการศึกษานี้ไดป! ระเมินว1าโครงการนีไ้ ด!ใหป! ระโยชนในเชิงมูลค1าทางสิ่งแวดล!อม
ในแงเ1 ศรษฐกิจตามกระบวนการลดปริมาณก•าซคารบอนไดออกไซดโดยคํานวณในรูปของปริมาณคารบอนท่ีลดลงและมูลค1าที่
เกดิ ขึน้ เป3นบาท โดยประโยชนทางสง่ิ แวดลอ! มที่ประเมินไดต! ลอดระยะเวลา 30 ปn ระบบเซลลแสงอาทติ ยทีต่ ิดตั้งนี้สามารถผลิต
ไฟฟ…าไดพ! อเพียงตอ1 ความต!องการใช!งานและเพมิ่ ศกั ยภาพและคณุ ภาพการเรยี นการสอนรวมทั้งกิจกรรมท่ีเกี่ยวข!องได!อย1างมาก
อีกด!วย ส1วนงานวิจัย คงศักด ค!ุมราษี (2549:) ได!ศึกษาเร่ืองนโยบายของภาครัฐในการสนับสนุนการใช!แก•สธรรมชาติใน
ยานพาหนะในการทดแทนเชื้อเพลิงในอนาคต พบว1าการนํานโยบายไปปฏิบัติให!ประสบผลสําเร็จเป3นเรื่องจําเปน3 ในการจัดทา
แผนการท่เี หมาะสม เพอ่ื ใหส! ามารถดาํ เนินการในแตล1 ะขน้ั ตอนได!อยา1 งมีระบบและมีประสิทธิภาพ และต!องได!รับความร1วมมือ
จากทุกฝ•ายที่เกีย่ วข!องนับต้ังแตห1 น1วยงานต1างๆของภาครัฐทมี่ ีวสิ ัยทศั นเป3นแกนกลางในการดําเนินการ ตลอดทั้งผู!ประกอบการ
ตา1 งๆ รวมทั้งการมีผ!ูนําหรือองคกรนําแหล1งเงินสนับสนุนการลงทุนให!พัฒนาไปในระยะยาวเป3นส่ิงสําคัญโดย พิพัฒน นนทนา
ธรณ (2550: ข) ได!ศกึ ษา โครงการสรา! งระบบพลงั งานทางเลอื ก ทีเ่ หมาะสมสาหรับประเทศไทย เสนอแนะเชิงนโยบายสําหรับ
โครงสร!างพลังงานทางเลือกท่ีเหมาะสมกับประเทศไทย ในระยะสั้นควรกําหนดนโยบายและมาตรการที่จะรักษาผลประโยชน
ด!านส่ิงแวดล!อม โดยม1ุงเน!นไปที่มาตรการเพิ่มประสิทธิภาพการใช!พลังงาน บทบาทของสถาบันที่เก่ียวข!องกับการเพิ่ม
ประสิทธิภาพการใช!พลังงาน ข!อตกลงด!านการซื้อพลังงานและป…องกันไม1ให!มีการเลือกปฏิบัติสาหรับการเชื่อมต1อเข!ากับ
โครงข1ายของผู!ผลิตกระแสไฟฟ…าจากพลังงานทางเลือกในระยะยาว องคกรท่ีกํากับดูแลจะต!องกําหนดมาตรฐาน RPS สําหรับ
การผลิตกระแสไฟฟ…า และกําหนดการลงทุนขั้นต่ําให!แก1องคกรหรือผ!ูประกอบการด!านระบบจําหน1าย ต!องลงทุนเก่ียวกับการ
เพ่มิ ประสทิ ธิภาพดา! นพลงั งานโดยอาศยั กลไกสนบั สนนุ ในรปู แบบของกองทนุ นอกจากนี้ยังมีข!อเสนอแนะในเรือ่ งของโครงสร!าง
กิจการไฟฟ…าที่เหมาะสม นโยบายการใช!พลังงานทดแทนในการขนส1งทางบก รูปแบบการจัดการพลังงานไฟฟ…าท่ีเหมาะสมสา
หรับชุมชน การจัดหารวมถึงการจัดแบ1งพ้ืนท่ี (Zoning) เพ่ือส1งเสริมให!เกิดระบบการจัดการธุรกิจพลังงานทดแทนในระดับ

เอกสารสบื เนอ่ื งจากการประชุมวิชาการและนําเสนอผลงานวจิ ยั ระดบั ชาติ 2559 “การวจิ ยั รบั ใช"ชุมชนสรา" งสงั คมฐานความรู"” 417

ชุมชนและการจัดการพลงั งานชมุ ชนดว! ยพลงั งานหมุนเวียนโดยในรายงานฉบับน้ยี งั ไดน! ําเสนอรูปแบบขององคกรมหาชนทจ่ี ะทาํ
หนา! ที่ดูแล ประสานงาน จดั หากองทุนและให!ความรู!ความเข!าใจกบั คนในชุมชนเพอื่ ให!การจัดการพลงั งานชมุ ชนสามารถเกิดข้ึน
ได!จริงและมีความย่ังยืน เกี่ยวข!องกับ ยรรยงศ อัมพวา (2550:) ได!ทําการวิจัยเร่ืองยุทธศาสตรการพลังงานแห1งชาติเพ่ือการ
พัฒนา อย1างยั่งยืนของประเทศไทยการแก!ไขปvญหาพลังงานโดยการกําหนดเป3นยุทธศาสตรของประเทศน้ัน แนวทางท่ีเป3น
นโยบายและยทุ ธศาสตรท่ีมีการกําหนดขึน้ โดยกระทรวงพลงั งาน อันเปน3 ยุทธศาสตรของกระทรวงพลังงาน ได!รับการยอมรับว1า
เป3นแนวทางท่ีมีความเหมาะสม และมีทศิ ทางทีถ่ ูกตอ! งในการแก!ไขปvญหาพลังงานของประเทศ ปvญหาส1วนหนึ่งมาจากการขาด
การมสี 1วนรว1 มของประชาชนในการกาํ หนดนโยบายพลังงานท่ีเป3นท่ียอมรับได! ซึ่งพบว1า ประชาชนมีการรับร!ูต1อปvญหาพลังงาน
ค1อนข!างน!อยในขณะท่ีรับรู!ปvญหาผลกระทบที่เกิดข้ึนจากปvญหาพลังงานค1อนข!างมาก เนื่องจากมีผลกระทบต1อรายได!และ
รายจ1ายของตนเอง การเข!ามามีส1วนร1วมของประชาชนมักจะเป3นการให!ความร1วมมือในเรื่องการประหยัดพลังงาน และมีส1วน
ร1วมในเชงิ ลบคือการคัดค!านการดาเนนิ โครงการด!านพลังงานทมี่ ผี ลกระทบต1อส่งิ แวดลอ! มและวถิ ีชวี ิต
จากการวิเคราะหปรากฏการณและตคี วามจากข!อมลู ทศี่ กึ ษา ประกอบกับแนวคดิ ในการดําเนินกระบวนการพฒั นาอย1างยั่งยืนที่
มองว1าการมีส1วนร1วมของประชาชนเป3นกลไกสําคัญของการพัฒนาท่ียั่งยืนนาไปส1ูข!อเสนอว1า กระบวนการมีส1วนร1วมของ
ประชาชนเป3นข!อต1อสาํ คญั ของความสาํ เรจ็ ในการดาเนินนโยบายด!านพลังงานของประเทศ และเป3นเคร่ืองมือหรือกลไกในการ
ประสานและบูรณาการยุทธศาสตรอ่ืน ๆ ให!เดินหน!าไปสู1ความสําเร็จได! ยุทธศาสตรการมีส1วนร1วมของประชาชนจึงมี
ความสําคัญต1อการพัฒนาด!านพลังงานของประเทศให!มีความยั่งยืนสืบไป โดยมีการวิจัย ศิวพงศ จารัสพันธุ (2550: 53)
ได!ศึกษาแนวทางในการพัฒนาเทคโนโลยอี ยา1 งงา1 ย ท่ีเหมาะสมกบั การดารงชีวิตของชุมชนในชนบท โดยมีพ้ืนท่ีศึกษาท่ี บ!านบุ1ง
แก!ว ต.บุ1งแก!ว อ.โนนสะอาด จ.อุดรธานี เร่ิมศึกษาบริบทชุมชนเพ่ือให!เห็นศักยภาพของชุมชนและวัตถุดิบท่ีสามารถนามาใช!
ประโยชนเป3นเชื้อเพลิงและอุปกรณในการผลิตพลังงานเพ่ือนามาใช!ทดแทนพลังงานจากน!ามันที่มีราคาสูงข้ึนอย1างรวดเร็วใน
ปvจจุบนั ไดเ! สนอแนวคิดว1าพลังงานทางเลือกควรเป3นพลังงานที่เป3นมิตรต1อส่ิงแวดล!อมและข้ึนอยู1กับทรัพยากรที่มีอย1ูในชุมชน
โดยสํารวจทรัพยากรท่ีมีอยู1ในท!องถิ่น ผลผลิตทางการเกษตรและวัสดุเหลือใช!และภูมิปvญญาท!องถิ่นมาใช!ประโยชนแทนการ
ปล1อยทรพั ยากรเหลา1 นั้นทิ้งให!สูญเสียไปโดยเปล1าประโยชน การจัดการพลังงานในชุมชนควรดําเนินการแบบมีส1วนร1วม มีการ
ประสานงานกันกับหน1วยงานในทอ! งถ่ิน มีการพฒั นาทรัพยากรมนษุ ยเพ่ือเสรมิ สรา! งปvญญาเพือ่ การแก!ไขปvญหาและการตัดสินใจ
ในอนาคต สํานักนโยบายและยุทธศาสตร กระทรวงพลังงาน (2551: 22-27) ได!มอบหมายให! สถาบันชุมชนท!องถิ่นพัฒนา
และมหาวทิ ยาลยั ราชภฎั สวนดุสิต ประเมินผลการจดั ทาํ แผนพลังงานชุมชนเสนอเปน3 บทเรียนโครงการจัดทาํ แผนพลังงานชุมชน
พบว1าบทเรียนเกี่ยวกับวัฒนธรรมท!องถิ่นของการทําแผนพลังงานชุมชน ว1าในการจัดทําแผนพลังงานชุมชนยังคงมีปvญหา
กระบวนการใหค! วามรก!ู ารจัดกจิ กรรมเสรมิ สรา! ง ส1งเสริม การใช!พลังงาน ทดแทน การอนุรักษพลังงาน และจัดการพลังงานไม1
สอดคล!องกับวิถชี มุ ชน การเลอื กใช!เทคโนโลยยี งั ไม1สอดคลอ! งกบั ศักยภาพของคนในชุมชน เม่ือมกี ารชารุดของอปุ กรณ ชุมชนไม1
สามารถแกไ! ข ปรับปรงุ ได! การจัดการพลังงานยงั ขาดการแก!ปvญหาทเ่ี หมาะสมกับวิถีวฒั นธรรม ภูมิปvญญาของชุมชน ทําให!การ
ขยายผลดา! นเทคโนโลยมี ขี !อจากดั สว1 นวสิ าขา ภูจ1 ินดา (2552) ได!ศึกษาเรื่องการประยกุ ตหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในการ
จัดการพลังงานในระดับชุมชน ผลการศึกษาพบว1าหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสามารถนามาประยุกตใช!ในการจัด
การพลังงานได!เป3นอย1างดี โดยเฉพาะอย1างย่ิงในระดับชุมชนเพราะเป3นหน1วย เล็กท่ีสามารถบริหารจัดการได!ง1าย และทาง
ภาครฐั เองกไ็ ด!มกี ารสนับสนุนนโยบายและแผนในการ จัดการพลังงานชมุ ชนอยแู1 ลว! รวมท้ังสนับสนุนการผลิตพลังงานใช!เองใน
ระดบั ชุมชนและใน ภาคอุตสาหกรรมทง้ั ดา! นเทคโนโลยี อุปกรณ บคุ ลากรและงบประมาณ และมกี ารรับซื้อพลังงานที่ ผลิตจาก
พลงั งานหมุนเวียนในราคาท่ีเพิ่มข้ึนหลักท่ีสําคัญของการประยุกตใช!หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในการจัดการพลังงาน
ของประเทศ คือ การลดการพึ่งพาพลังงานจากต1างประเทศ โดยการผลิตพลังงานใช!เองและใช!ทรัพยากรธรรมชาติที่มีอย1ูใน
ประเทศใหเ! กิดประโยชนสูงสดุ และใชอ! ยา1 งคม!ุ คา1 รจู! ักเลือกใช!ใหเ! หมาะสมกับสถานการณและสภาพแวดล!อมของท!องถิ่น การหา
แหล1งพลังงานให!มีความหลากหลาย เพ่ือลดการพ่ึงพลังงานจากแหล1งเดียว และเพื่อแก!ปvญหาปริมาณพลังงานสํารองจาพวก
พลังงานฟอสซิลท่ีลดลง การสร!างการมีส1วนร1วมและความตระหนักของประชาชนในการจัดการพลังงาน การพ่ึงแรงงานแทน
การใช!เทคโนโลยีซึ่งเป3นการสร!างงานให!กับชุมชนก็เป3นการน!อมนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกตใช! และ
งานวิจัยของกาญจนา ทองทั่ว (2545) ได!ทาการศึกษา การจัดการป•าด!วยวิถีชุมชน กรณีศึกษา บ!านเตยงาม ตําบลน!าสวย

418 เอกสารสบื เน่ืองจากการประชุมวิชาการและนําเสนอผลงานวจิ ยั ระดับชาติ 2559 “การวิจยั รบั ใช"ชุมชนสรา" งสงั คมฐานความร"ู”

อําเภอเขื่องใน จังหวัดอุบลราชธานี พบว1ากระบวนการจัดการทรัพยากรป•าของชาวบ!าน มีมิติทางด!านสังคมวัฒนธรรมท่ี
ก1อให!เกิดการยอมรับมากกว1าการใช!กฎระเบียบของทางราชการสอดคล!องกับการพัฒนาที่ยั่งยืนท่ีจะต!องระดมพลังชุมชน ภูมิ
ปญv ญาทอ! งถ่ินเปน3 พน้ื ฐานของการพฒั นา จากการอภิปรายผลมคี วามเห็นสอดคลอ! งตอ1 ผลการวิจยั อยา1 งเห็นไดช! ัดว1าการเลือกใช!
พลังงานทดแทนต!องมอี งคประกอบและรูปแบบในการเลอื กใชพ! ลงั งานทดแทนอยา1 งเป3นระบบเพือ่ ใหเ! กิดประสิทธภิ าพต1อการใช!
อยา1 งถาวร

ขอ" เสนอแนะ

ขอ" เสนอแนะสําหรบั การทาํ วิจยั ครัง้ ต'อไป
1.ควรให!มีการวจิ ัยการศึกษาและสนับสนนุ การเผยแพร1ความรู!ด!านพลงั งาน
2.ควรให!การศึกษาวิจยั และพัฒนารูปแบบและองคประกอบการนาํ เทคโนโลยีในการใชพ! ลงั งานทดแทนในทอ! งถนิ่ ให!มี

ประสทิ ธิภาพสงู ขึน้
3.ควรให!มีการศึกษาวิจัยและพัฒนาร1วมกับชุมชนเรื่องระบบการบริหารจัดการพลังงานทดแทนในชุมชนให!ได!

มาตรฐานและมีประสิทธิภาพสิทธภิ าพ

เอกสารอ"างอิง

กาญจนา ทองท่วั (2545). บา" นดอนยงู : พลังเยาวชนเพ่ือการเปลีย่ นแปลงสังคม บทเรยี นและประสบการณ* กรณศี กึ ษา
ปกป•อง คุ"มครองสิทธเิ ด็กท่ีบ"านดอนยงู ' ตาํ บลมะขามใหญ' อาํ เภอเมอื ง จังหวัด อบุ ลราชธานี / กาญจนา ทองท่วั ;
กรุงเทพฯ : โครงการพัฒนาเครือขา1 ยภาคประชาสงั คมในการส1งเสริมและคม!ุ ครองสทิ ธมิ นษุ ยชนเพื่อสุขภาวะของ
บคุ คล และชมุ ชน.

คงศักด์ิ คุ!มราษี. ( 2549). นโยบายของภาครัฐในการสนับสนุนการใช"ก_าซธรรมชาติในยานพาหนะ เพื่อทดแทนน้ํามัน
เชือ้ เพลิงในอนาคต. ภาคนพิ นธคณะพัฒนาสังคมและสงิ่ แวดล!อม สถาบันบัณฑติ พัฒน บริหารศาสตร.

นฤมล กนกสิงห (2544). ผลของการจัดการดา" นความตอ" งการไฟฟ•าในครวั เรือนชนบทตอ' การเลือกขนาดระบบ ผลิตไฟฟ•า.
เชียงใหม1 บัณฑติ วิทยาลัย มหาวทิ ยาลยั เชียงใหม1.

นันทนา คชเสนี (2547).การจัดการสิ่งแวดล"อม ทรัพยากร และการพัฒนาท่ีย่ังยืนกรุงเทพมหานคร :จุฬาลงกรณ
มหาวิทยาลัย. 333.7215 จ37น.

ยรรยงค อัมพวา. (2550). ยุทธศาสตร*การพลังงานแห'งชาติเพ่ือการพัฒนาอย'างยั่งยืน ของประเทศไทย. กรุงเทพฯ:
สาํ นักงานเลขาธกิ ารวุฒิสภา.

ศิวพงศ จํารัสพนั ธุ (2550). การพฒั นาโจทยว* จิ ัยและข"อเสนอโครงการวิจัยเร่อื งพลงั งาน ทางเลือกเพอื่ การพงึ่ พาตนเองใน
ชุมชน. มหาวทิ ยาลัยราชภฏั อดุ รธานี.

วิสาขา ภจ1ู นิ ดา. (2552). การประยุกตหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งในการจัดการพลงั งานในระดับชุมชน. วารสารการ
จดั การสิ่งแวดล"อม. 5 (กรกฎาคม-ธนั วาคม): 26-48.

นภทั ร วัจนเทพินทร ISBN : 9789743897528 การผลติ ไฟฟ•า โรงไฟฟา• และพลงั งานทดแทน
มูลนิธพิ ลังงานเพ่ือสงิ่ แวดลอ" ม เทคโนโลยีการผลติ พลังงานจากเชื้อเพลิงชวี มวลและก_าซชวี ภาพ

ปqยสวัสดิ์ อัมระนันทร. อดีตรัฐมนตรีว1าการกระทรวงพลังงาน (ตุลาคม 2549 - กุมภาพันธ 2551) ด"านพลังงานของไทย
โดยเฉพาะการพฒั นาและเติบโตของพลังงานหมนุ เวียนในช'วงกว'าทศวรรษทผ่ี า' นมา

เอกสารสบื เนื่องจากการประชมุ วิชาการและนาํ เสนอผลงานวจิ ยั ระดบั ชาติ 2559 “การวจิ ัยรับใช"ชุมชนสรา" งสงั คมฐานความรู"” 419

การวเิ คราะหอ* งคป* ระกอบคุณลักษณะมาตรฐานการเปนT อุตสาหกรรมเชิงนเิ วศ
ในนคิ มอุตสาหกรรมบางปู จังหวดั สมทุ รปราการ

A Exploratory Factors Analysis of Eco- Industry Estate
in Bangpoo Estate Samutprakarn Province.

ธชั กร ภทั รพนั ปƒ1
Thatchakorn Phattaraphanpee1

บทคัดย'อ

การวิจยั นมี้ ีวัตถปุ ระสงคเพอื่ ศึกษาระดับคุณลักษณะมาตรฐานการเปน3 อุตสาหกรรมเชงิ นิเวศในนิคมอุตสาหกรรมบาง
ปู จังหวัดสมุทรปราการ รวมถึงวิเคราะหองคประกอบโดยการศึกษาเชิงสํารวจองคประกอบคุณลักษณะมาตรฐานการเป3น
อตุ สาหกรรมเชิงนเิ วศ ในนคิ มอุตสาหกรรมบางปู จังหวัดสมุทรปราการ กลม1ุ ตัวอยา1 งที่ใช!ในการวิจัยคือ พนกั งานท่ีปฏิบัตงิ านใน
โรงงานนิคมอตุ สาหกรรมบางปู จํานวน 1,200 ราย จากโรงงานอุตสาหกรรม จํานวน 420 โรงงาน เครื่องมือที่ใช!ในการวิจัยใน
การเก็บข!อมูลเป3นแบบสอบถาม จํานวน 60 ข!อ แบบมาตรประมาณค1า 5 ระดับ วัดค1าความเชื่อม่ันของเคร่ืองมือ .984 การ
วิเคราะหข!อมูลโดยการใช! ความถี่ ร!อยละ ค1าเฉลี่ย ส1วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะหองคประกอบเชิงสํารวจ
(Exploratory Factor Analysis: EFA) โดยวิธีแกนหมุน (Rotation Method: Varimax with Kaiser Normalization)
เพอ่ื เพ่มิ หรือลดกลุม1 ตวั ชว้ี ัดหรอื ตัวแปร

ผลการวจิ ัยพบวา1 ระดับคุณลักษณะมาตรฐานการเป3นอตุ สาหกรรมเชงิ นิเวศโดยภาพรวม อยู1ในระดับมาก ( X =3.75)
เม่อื พิจารณาคา1 เฉลี่ยเรียงจากมากไปหาน!อยเป3นรายมิติพบว1า อยู1ในระดับมากทุกมิติ คือ มิติทางกายภาพ ( X =3.83) มิติทาง
ส่ิงแวดลอ! ม ( X =3.78) มิติทางเศรษฐกิจ ( X =3.73) มิติทางสังคม ( X =3.71) และมิติทางการบริหารจัดการ ( X =3.71) และ
องคประกอบ เชิงสํารวจคณุ ลักษณะมาตรฐานการเป3นอุตสาหกรรมเชงิ นเิ วศ พบว1า มจี ํานวน 45 ตวั ชว้ี ัด เรยี งลาํ ดบั ความสาํ คญั
ขององคประกอบจากมากไปหาน!อย ได!แก1 องคประกอบที่ 1 มิติทางส่ิงแวดล!อม 16 ตัวชี้วัด องคประกอบที่ 2 มิติทางการ
บริหารจัดการ 9 ตัวช้ีวัด องคประกอบท่ี 3 มิติทางเศรษฐกิจ 9 ตัวชี้วัด องคประกอบท่ี 4 มิติทางกายภาพ 6 ตัวช้ีวัด และ
องคประกอบท่ี 5 มิตทิ างสังคม 5 ตวั ชี้วัด

คาํ สําคญั : การวิเคราะหองคประกอบ อุตสาหกรรมเชิงนเิ วศ นคิ มอุตสาหกรรมบางปู

ABSTRACT

The research aimed to study the standard features of the eco-industry and exploratory factor
analysis of eco-industry estate in Bangpoo Estate inSumutprakarn province. The1,200 samples from 420 factories

1 อาจารย สาขาการจดั การ มหาวทิ ยาลัยราขภัฏธนบุรี

420 เอกสารสบื เนื่องจากการประชมุ วิชาการและนําเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ 2559 “การวิจัยรบั ใช"ชุมชนสรา" งสงั คมฐานความรู"”

wereusedinthisresearch.The questionnairewerearesearchtoolsanddatacollectionwas60questionnaireswith5levelsofratingscale,
quality measurement tools that reliability .984.The data analysis were frequency, percentage, mean, standard
deviation and theexploratoryfactoranalysis(EFA)withtherotationmethod:.

The research results were found that the standard features of the eco-industry overall at high
level X = 3.75. When considered dimension by dimension overall at high level for high to low, were the
physical dimension X =3.83 the environmental dimension X =3.78 the economic dimension X =3.73 the
social dimension X =3.71 and the administrative dimension X =3.71.The exploratory research factors found
that total 45 indicators range from significant factor for maximum to minimum, were 16 indicators of the
environmental dimension 9 indicators of the administrative dimension 9 indicators of the economic
dimension 6 indicators of the physical dimension and 5 indicators of the social dimension.

KEYWORDS: FactorsAnalysisEco- Industry, Bangpoo Estate

ความเปนT มาและความสําคัญของปVญหา

การพัฒนาประเทศท่ีผ1านมานานาชาติวัดผลความสําเร็จของการเติบโตทางเศรษฐกิจด!วยผลิตภัณฑมวลรวม
ภายในประเทศ หรือ จดี พี ี (Gross Domestic Product: GDP) การพัฒนาภาคอุตสาหกรรมเป3นปvจจัยหน่ึงท่ีสําคัญในการชี้วัด
ความมงั่ ค่งั ของแตล1 ะประเทศ ส1งผลทาํ ให!เกิดการพัฒนาเทคโนโลยแี ละลงทุนในภาคอุตสาหกรรมเพ่ิมมากขึน้ แต1การเติบโตของ
เศรษฐกิจและการเพ่ิมจํานวนมากข้ึนของโรงงานอุตสาหกรรมดังกล1าวน้ันไม1สามารถสะท!อนผลการพัฒนา และความเป3นอย1ูดี
ของสังคมโลกได!อย1างแท!จริง เน่ืองจากโรงงานอุตสาหกรรมเพิ่มขึ้นมากเพียงใด การปล1อยกากของเสียของเหลือจากกิจกรรม
ทางการผลติ เขา! ส1สู ภาพส่งิ แวดล!อมทางธรรมชาติมากขน้ึ เช1นกันทําให!เกิดการเส่ือมสภาพของภูมิทัศนระบบนิเวศ และส1งผลให!
เกดิ ความเปลย่ี นแปลงของสภาพแวดลอ! ม เกดิ ภัยพิบัติทางธรรมชาติที่ทวีความรุนแรงและซับซ!อนมากขึ้น เช1น การเกิดภาวะ
โลกร!อน (Global Warming) ปรากฏการณก•าซเรือนกระจก (Green House Gases) อันเกิดจากปริมาณก•าช
คารบอนไดออกไซดข้ึนสูช1 นั้ บรรยากาศในปรมิ าณมากโดยส1วนใหญม1 าจากภาคอุตสาหกรรม

ปn 2540 การประชุมใหญ1ของสหประชาชาติว1าด!วยส่ิงแวดล!อมและการพัฒนาได!ประชุมเพื่อแก!ไขปvญหาการ
เปลย่ี นแปลงของสภาพภูมอิ ากาศทป่ี ล1อยก•าซเรอื นกระจกของมนษุ ยและการรกั ษาระดบั ความเขม! ขน! ของก•าซเรือนกระจกให!อย1ู
ในระดบั ทปี่ ลอดภัย นาํ ไปสกู1 ารรว1 มลงนามในอนสุ ัญญาพิธีสารเกียวโตของกล1มุ สมาชิกจาํ นวน 186 ประเทศ ประกอบด!วย กลุ1ม
ประเทศอุตสาหกรรมหรือประเทศท่ีพัฒนาแล!วจาํ นวน 41 ประเทศและกลุ1มประเทศกําลังพัฒนา 145 ประเทศ (รวมประเทศ
ไทยด!วย) พิธีสารนี้มีผลบังคับใช!แล!วต้ังแต1วันท่ี 16 กุมภาพันธ 2548 โดยกลุ1มประเทศอุตสาหกรรมหรือประเทศท่ีพัฒนาแล!ว
จะต!องลดการปลอ1 ยกา• ซคารบอนไดออกไซดใหอ! ยูใ1 นระดับที่ต่าํ กวา1 ปริมาณการปล1อยกา• ซเรอื นกระจกในปn ค.ศ. 1990 โดยเฉลีย่
รอ! ยละ 5 เป3นอย1างนอ! ยใหไ! ด!ในปn 2555 และตอ! งลดก•าซเรอื นกระจกให!ได!ร!อยละ 75 ในปn 2593 (สํานักงานนโยบายและแผน
ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดลอ! ม, 2556)

สาํ หรับประเทศไทยปvญหาสง่ิ แวดล!อมที่เกิดขึ้นจากการขยายตัวของภาคอุตสาหกรรม กําลังเป3นประเด็นท่ีสังคมไทย
เร่มิ ตระหนกั ถึงผลกระทบมากขนึ้ และหากไมไ1 ดร! บั การแกไ! ขอย1างเรง1 ดว1 นอาจกระทบต1อภาวการณลงทุนในอนาคตของประเทศ
ไทย เพราะการพัฒนาอุตสาหกรรมทผี่ า1 นมาจะมุ1งเน!นผลกาํ ไรที่เกิดจากการผลิตในจํานวนมากเป3นหลัก ทําให!เกิดการขยายตัว

เอกสารสบื เนอ่ื งจากการประชุมวิชาการและนาํ เสนอผลงานวจิ ัยระดับชาติ 2559 “การวจิ ัยรับใช"ชุมชนสร"างสงั คมฐานความร"ู” 421

ของอุตสาหกรรมอย1างรวดเร็ว เกิดการรวมกลุ1มโรงงานอุตสาหกรรมเป3นนิคมอุตสาหกรรม เป3นสวนอุตสาหกรรมหรือเขต
อตุ สาหกรรมโดยมีวัตถุประสงคเพื่อลดต!นทุนการผลิตจากการใช!สาธารณูปโภคร1วมกันแต1ผลกระทบท่ีตามมาของการรวมกลุ1ม
คือ การเกิดแหล1งรวมปลดปล1อยมลพิษทําให!สภาพแวดล!อมเส่ือมโทรมและคุณภาพชีวิตของชุมชน เช1น การขาดแคลนน้ําใช!
ปvญหามลพิษทางอากาศ การส1งกล่ินเน1าเสียของน้ํา การเพิ่มข้ึนของขยะอุตสาหกรรม เป3นสาเหตุเกิดการฟ…องเรียกค1าเสียหาย
และการฟ…องร!องเพื่อให!ระงับการดําเนินกิจกรรมของโรงงานระหว1างชุมชนที่ได!รับผลกระทบกับเจ!าของสถานประกอบการ
โรงงานท่เี ปน3 ปvญหาจํานวนมาก (สถาบนั สง่ิ แวดลอ! มอุตสาหกรรม สภาอุตสาหกรรมแห1งประเทศไทย, 2556)

จากปvญหาดังกล1าวหน1วยงานภาครัฐโดยสํานักงานพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห1งชาติตระหนักในผลกระทบท่ีจะ
เกดิ ขึน้ ไดก! ําหนดยยุ ทุ ธศาสตรการพฒั นาประเทศตามแผน พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห1งชาติ ฉบับที่ 11 (พ.ศ. 2555-2559)
ได!กําหนดแนวทางในยุทธศาสตรท่ี 6 การปรับโครงสร!างเศรษฐกิจสู1การเติบโตอย1างมีคุณภาพและยั่งยืนในส1วนการพัฒนา
เมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศและฟŒ‹นฟูส่ิงแวดล!อมในพื้นท่ีอุตสาหกรรมหลักของประเทศอย1างต1อเนื่อง โดยการสร!างความ
ตระหนกั ถงึ การอย1ูร1วมกันของอุตสาหกรรมและชุมชน และส1งเสริมให!ภาคเอกชน ชุมชน สถาบันการศึกษาและภาครัฐร1วมกัน
พัฒนา ตง้ั แต1การกาํ หนดกรอบแนวทางการพัฒนา มาตรฐานขององคประกอบทีจ่ ําเป3นของอตุ สาหกรรมเชงิ นิเวศ ซ่ึงหน1วยงาน
ท่ีเป3นภาระหลักของภาคอุตสาหกรรมคือการนิคมอุตสาหกรรมแห1งประเทศไทย(กนอ.) และกรมโรงงานอตุ สาหกรรม (กรอ.)
ที่กํากับโรงงานท่ัวประเทศจึงเล็งเห็นความสําคัญต1อการยกระดับเมืองให!ก!าวสู1เมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศเพ่ือนําไปสู1การอย1ู
รว1 มกนั ของชุมชน อุตสาหกรรมและส่ิงแวดลอ! มอย1างสมดุล

จังหวัดสมุทรปราการ นับว1าเป3นจังหวัดที่มีจํานวนโรงงานอุตสาหกรรมหนาแนน1 มากที่สุดจังหวัดหนึ่ง ประกอบด!วย
นิคมอุตสาหกรรมบางพลี จํานวน 180 โรงงาน นิคมอุตสาหกรรมบางปู จํานวน 420 โรงงาน และสถานประกอบการโรงงาน
นอกเขตนิคมอุตสาหกรรมท้ัง 2 แห1ง จํานวน 7,615 โรงงาน รวมสถานประกอบการโรงงานอุตสาหกรรมรวมทัง้ หมด 8,215
โรงงาน (ศูนยสารสนเทศสํานักงานอุตสาหกรรมจังหวัดสมุทรปราการ กรมโรงงานอุตสาหกรรม, 2558) ซ่ึงกระแสการเข!าสู1
อุตสาหกรรมเชิงนิเวศเป3นส1วนหนึง่ ท่ีทําให!ผ!ูประกอบการโรงงานอุตสาหกรรมต!องตระหนักมากข้ึนเกี่ยวกับผลกระทบต1อการ
ดําเนนิ กจิ กรรมทางเศรษฐกจิ การนําโรงงานเขา! สสู1 งั คมอตุ สาหกรรมเชิงนิเวศเพ่ือสร!างความได!เปรียบ การลดปvญหาข!อขัดแย!ง
กับชุมชนอันเกิดจากการร!องเรียน การสร!างความมั่นคงในกิจการ การอย1ูร1วมกันของสถานประกอบการโรงงานกับชุมชนเป3น
ส1วนสําคัญในการสร!างความย่ังยืนในธุรกิจ การนําการบริบท การบริหารจัดการเชิงนิเวศเข!าส1ูในแผนงานพัฒนาองคกรของ
โรงงานเปน3 สว1 นท่ีจําเปน3 ประกอบกับการพฒั นาและสง1 เสริมของหน1วยงานภาครัฐท่ีเก่ียวข!องเปน3 การเพ่ิมความได!เปรียบในการ
แข1งขนั ผูป! ระกอบการโรงงานตอ! งมีความรแู! ละความเขา! ใจในหลกั การแนวคดิ ภายใต!ข!อกําหนดและตัวชวี้ ัดการเปน3 อตุ สาหกรรม
เชิงนิเวศ

ดงั น้ันในการศึกษาครง้ั น้ีผูว! จิ ยั จึงม1ุงศึกษาวิเคราะหระดับคณุ ลักษณะมาตรฐานการเป3นอุตสาหกรรม เชงิ นเิ วศใน 5
มิติดังกล1าว อีกท้ังม1ุงวิเคราะหตัวชี้วัดหรือตัวแปรตามองคประกอบเชิงสํารวจเกี่ยวกับคุณลักษณะมาตรฐานในการเป3น
อตุ สาหกรรมเชิงนิเวศท่ีได!นิยามศัพทตามมติ ิ คือ มิติทางกายภาพ มิติทางเศรษฐกิจ มิติทางส่ิงแวดล!อม มิติทางสังคม และมิติ
ทางการบรหิ ารจดั การ

422 เอกสารสบื เนอื่ งจากการประชุมวิชาการและนาํ เสนอผลงานวจิ ัยระดับชาติ 2559 “การวจิ ัยรับใช"ชุมชนสร"างสงั คมฐานความร"ู”

วัตถปุ ระสงค*
1. เพื่อศึกษาระดับคุณลักษณะมาตรฐานการเป3นอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ ในนิคมอุตสาหกรรมบางปู จังหวัด

สมทุ รปราการ
2. เพ่ือศึกษาวิเคราะหองคประกอบเชิงสํารวจคุณลักษณะมาตรฐานในการเป3นอุตสาหกรรมเชิงนิเวศในนิคม

อุตสาหกรรมบางปู

กรอบแนวคิดในการศึกษาการวิจัยน้ี ผู!วิจัยสรุปขอบเขตเนอ้ื หาตัวช้ีวัด ในการวเิ คราะหองคประกอบตามข!อกําหนด
คุณลักษณะมาตรฐานและเกณฑตัวชี้วัดการเป3นเมืองอุตสาหกรรม เชิงนิเวศของ การนิคมอุตสาหกรรมแห1งประเทศไทย
(กนอ.) ตามภาพ ดังน้ี

มติ ิทางกายภาพ

ตวั ชว้ี ดั หรอื ตัวแปร

มติ ิทาง ตวั ชวี้ ดั หรอื ตัวแปร
เศรษฐกิจ

คุณลกั ษณะมาตรฐาน มติ ิทาง ตวั ช้วี ดั หรือตวั แปร
การเปนT อุตสาหกรรม ส่งิ แวดล!อม ตัวชวี้ ดั หรือตัวแปร

เชงิ นเิ วศ มติ ิทาง
สงั คม

มภิตาพิทากงรบอรบหิ แานรวคิดในการศึกษาวจิ ตยั วั ช้วี ัดหรือตวั แปร
จดั การ

วธิ ีดําเนินการวิจยั

ผ!วู ิจยั ไดน! ําเสนอเก่ยี วกบั วิธกี ารศกึ ษาโดยกาํ หนดหัวข!อวิธีการศกึ ษาประกอบด!วย (1) ประชากรและกลุ1มตัวอย1าง (2)
เครื่องมือท่ีใช!ในการวิจัย (3) การเก็บรวมรวมข!อมูล (4) การวิเคราะหข!อมูล และ (5) สถิติท่ีใช!ในการวิเคราะหข!อมูล ตาม
รายละเอยี ดตามลาํ ดบั ดงั นี้

เอกสารสืบเน่ืองจากการประชุมวิชาการและนาํ เสนอผลงานวิจัยระดบั ชาติ 2559 “การวิจยั รับใช"ชุมชนสร"างสังคมฐานความรู"” 423

ประชากรและกลมุ' ตวั อย'าง
ประชากร (Population)
ประชากรท่ีใช!ในการศึกษาครั้งน้ี คือ พนักงานท่ีปฏิบัติงานในโรงงานอุตสาหกรรมนิคมอุตสาหกรรมบางปู จังหวัด

สมุทรปราการ จํานวนโรงงาน 420 โรงงาน จํานวน 58,680 ราย โดยแบ1งตามประเภทอุตสาหกรรม ประกอบด!วย (1) ปุ•ย สี
เคมีภัณฑ 99 โรงงาน จํานวน 14,083 ราย (2) เหล็กและผลิตภัณฑโลหะ 68 โรงงาน จํานวน 9,389 ราย (3) สิ่งทอ เส!นใย
เครื่องหนัง เครื่องแต1งกาย 38 โรงงาน จํานวน 5,281 ราย (4) ยาง พลาสตกิ หนังเทียม 30 โรงงาน จํานวน 4,108 ราย (5)
ไฟฟ…า อิเล็กทรอนิกส เคร่ืองมือวิทยาศาสตร 50 โรงงาน จํานวน 7,042 (6) ยานยนต และขนส1ง 14 โรงงาน จํานวน 1,760
ราย (7) กระดาษ ส่ิงพิมพ อาหาร 88 โรงงาน จํานวน 12,323 ราย (8) คลังสินค!า ให!เช1าอาคารโรงงาน 33 โรงงาน จํานวน
4,694 ราย (สํานักงานนคิ มอตุ สาหกรรม บางปู, 2555)

กลุ'มตัวอย'าง (Sampling)
กล1ุมตัวอย1างท่ีใช!ในการวิจัยครั้งนี้ คือ พนักงานที่ปฏิบัติงานในโรงงานอุตสาหกรรมนิคมอุตสาหกรรมบางปู จังหวัด
สมทุ รปราการ จาํ นวน 420 โรงงาน ผ!ูวิจัยใช!วิธีการสุ1มตัวอย1างแบบแบ1งสัดส1วน (Proportional Random Sampling) โดยใช!
ประเภทอุตสาหกรรมเป3นตัวแบ1งชั้น ได!กลุ1มตัวอย1าง (1) ป•ุย สี เคมีภัณฑ จํานวน 288 ราย (2) เหล็กและผลิตภัณฑโลหะ
จาํ นวน 192 ราย (3) สงิ่ ทอ เส!นใย เครื่องหนัง เครอ่ื งแต1งกาย จาํ นวน 108 ราย (4) ยาง พลาสตกิ หนงั เทียมจํานวน 84 ราย
(5) ไฟฟ…า อิเล็กทรอนิกส เคร่ืองมือวิทยาศาสตรจํานวน 144 ราย (6) ยานยนต และขนส1งจํานวน 36 ราย (7) กระดาษ
สง่ิ พิมพ อาหาร และอ่ืน ๆจาํ นวน 252 ราย (8) คลังสนิ คา! ใหเ! ช1าอาคารโรงงาน จาํ นวน 96 ราย ซึง่ จะได!จาํ นวนกล1ุมตัวอยา1 งท่ี
เป3นพนักงาน จํานวน 1,200 ราย ได!จากการกําหนดกล1ุมตัวอย1าง 20 เท1าของตัวชี้วัด หรือ 20 ราย ต1อการประมาณคา1 หน่ึง
พารามิเตอร เหมือนเช1นการศึกษาของ วิภา บําเรอจิต, (2542) และเมธินี หน1อคํา, (2556) โดยตัวชี้วัดตามขอบเขตเนื้อหาใน
การวิเคราะหองคประกอบ จํานวน 60 ตวั ชี้วัดหรือตัวแปร เท1ากับ 60 x 20 = 1,200 ราย

เคร่อื งมือท่ีใช"ในการวิจยั
เคร่อื งมือทีใ่ ช!ในการวจิ ัย เป3นแบบสอบถามคณุ ลักษณะมาตรฐานการเป3นอุตสาหกรรมเชิงนิเวศมีลักษณะเป3นมาตรา

ประมาณค1า 5 ระดับของลิเคิรท (Likert) จํานวนทั้งหมด 60 ข!อ โดยข!อคําถามเกี่ยวกับระดับปฏิบัติการต1อองคประกอบ
คณุ ลักษณะมาตรฐานการเป3นอุตสาหกรรม เชิงนิเวศ ท่ีครอบคลุมมติ ิท้ัง 5 มิติ ได!แก1 (1) มิติทางกายภาพ จํานวน 10 ข!อ (2)
มิติทางเศรษฐกจิ จาํ นวน 10 ข!อ (3) มิตทิ างสิ่งแวดลอ! ม จํานวน 21 ข!อ (4) มิตทิ างสังคม จํานวน 9 ข!อ และ (5) มิติทางการ
บริหารจดั การ จาํ นวน 10 ข!อ

การหาคุณภาพเครือ่ งมอื
การหาคุณภาพเครื่องมือด!วยการหาความเที่ยงตรง หาความเชื่อมั่นของแบบวัดการวัดระดับปฏิบัติการตาม

คุณลักษณะมาตรฐานการเป3นอุตสาหกรรมเชิงนเิ วศ และ การวิเคราะหเพ่ือสํารวจองคประกอบคุณลักษณะมาตรฐานการเป3น
อุตสาหกรรมเชงิ นเิ วศในนคิ มอตุ สาหกรรมบางปู จังหวัดสมทุ รปราการ โดยมีข้นั ตอน ดังนี้

ข้ันแรกหาความเท่ียงตรง (Validity) ในการหาความเที่ยงตรงของแบบวัดที่ใช!ในการวิจัยคร้ังน้ีเป3นการหาความ
เท่ียงตรงตามเนื้อหา Content Validity) โดยผ!ูวิจัยได!สร!างข!อคําถามตามองคประกอบคุณลักษณะมาตรฐานการเป3น
อุตสาหกรรมเชิงนิเวศ 5 มิติ คือ (1) มิติทางกายภาพ จํานวน 3 ด!าน (2) มิติทางเศรษฐกิจ จํานวน 3 ด!าน (3) มิติทาง
ส่ิงแวดลอ! ม จํานวน 9 ด!าน (4) มติ ทิ างสังคม จาํ นวน 2 ดา! น และ (5) มติ ทิ างการบริหารจัดการ จาํ นวน 5 ด!าน หลังจากน้ันนํา
ข!อคาํ ถามท่ีสร!างขึ้นให!ผูท! รงคณุ วุฒพิ ิจารณาว1าเนือ้ หาครอบคลมุ ตามองคประกอบแต1ละด!านหรือไม1 แลว! นาํ มาปรบั ปรุงแก!ไข

424 เอกสารสบื เน่ืองจากการประชุมวิชาการและนาํ เสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ 2559 “การวจิ ยั รบั ใช"ชุมชนสร"างสงั คมฐานความรู"”

ข้ันท่ีสองทําการ Pre-test โดยการนําแบบสอบถามท่ีผ1านการตรวจสอบจากผ!ูทรงคุณวุฒิไปหาค1าความเชื่อมั่น
(Reliability) กบั พนกั งานทป่ี ฏบิ ตั งิ านในโรงงานนิคมอตุ สาหกรรมบางปู ทไ่ี ม1ได!รับการสุ1มมาเป3นตัวอย1าง จํานวน 30 ราย เพื่อ
การทดสอบคุณภาพการวดั เครอ่ื งมอื วิจยั

หลังจากเก็บข!อมูล จํานวน 30 ราย ทําการวิเคราะห ค1าความเชื่อมั่น ผลการวิเคราะหคุณภาพเคร่ืองมือพบว1า มีค1า
ความเชือ่ มนั่ ทั้งฉบบั เท1ากบั .984

ข้นั ท่ีสาม การใช!สถติ วิ เิ คราะหขอ! มลู ได!แก1 การวเิ คราะหองคประกอบเชิงสํารวจ (Exploratory Factor analysis:
EFA) สกดั ปvจจัยด!วยวิธวี ิเคราะหส1วนหลักสําคัญ (Principal Component Analysis หรือ PCA) และหมุนแกนแบบแวริแม็กซ
เพ่ือให!ได!ตัวแปรข!อคําถามทเี่ หมาะสม จําแนกจัดเรียงตัวชี้วัดหรือตัวแปรใหม1 ตามองคประกอบคุณลักษณะมาตรฐานการเป3น
เมืองอุตสาหกรรมเชงิ นิเวศ ภายใตเ! งื่อนไขตวั ช้ีวัดหรือตวั แปรทกุ ตวั ต!องมีความเป3นอิสระต1อกัน ผลการสกัดกล1ุมตัวช้ีวัดหรอื ตัว
แปรโดยมีความเป3นอสิ ระตอ1 กนั โดยกาํ หนดคา1 Factor Loading ที่ .40 จาก 60 ตัวชวี้ ดั

การเก็บรวบรวมข"อมลู
การศึกษาวจิ ัยน้ี เป3นการศกึ ษาวิจยั เชงิ ปรมิ าณ (Quantitative Research) ผว!ู จิ ยั ไดร! วบรวมข!อมูล ดงั น้ี
ข้ันท่ี 1 การเก็บรวบรวมข!อมูลเชิงปริมาณ ด!วยการนําแบบสอบถามไปแจกให!กับกล1ุมตัวอย1างกรอกข!อมูล จํานวน

1,200 ฉบบั แลว! รบั คืนดว! ยตนเองไดแ! บบสอบถามคืนมาจํานวน 1,200 ฉบับ คิดเปน3 รอ! ยละ 100.00
ข้ันที่ 2 ตรวจสอบความสมบูรณในการตอบแบบสอบถามเพื่อการนําข!อมูลส1ูการวิเคราะหผล แปลผล และสรุปผล

การศึกษา

การวิเคราะหข* "อมูล
การวเิ คราะหข!อมูลโดยใช!โปรแกรมคอมพวิ เตอรสาํ เร็จรูปสาํ หรบั การวเิ คราะหขอ! มูลทางสงั คมศาสตร รายละเอียด ดงั น้ี
ข้ันแรก วิเคราะหข!อมูลของผ!ูตอบแบบสอบถาม ได!แก1 เพศ ตําแหน1งงาน และกลุ1มประเภทอุตสาหกรรม โดยใช!สถิติ

พ้ืนฐานคา1 ความถ่ี รอ! ยละ
ข้นั ทสี่ อง วเิ คราะหคะแนนต1อองคประกอบคุณลกั ษณะมาตรฐานการเปน3 อุตสาหกรรมเชิงนิเวศ ใน 5 มิติ ได!แก1 มิติทาง

กายภาพ มิตทิ างเศรษฐกจิ มติ ิทางสง่ิ แวดลอ! ม มิตทิ างสังคม และมิติทางการบรหิ ารจดั การ โดยใชส! ถติ ิพืน้ ฐาน หาค1าเฉล่ีย ส1วน
เบ่ยี งเบนมาตรฐาน ซึง่ เปน3 แบบมาตราส1วนประมาณคา1 (Rating Scale) ใชว! ธิ กี ารหาค1าเฉลี่ย (Mean: X ) และค1าส1วนเบ่ียงเบน
มาตรฐาน (Standard Deviation: S.D.) และ กําหนดระดับคะแนนปฏิบตั กิ าร ได!แก1 ระดับคะแนน 5 หมายถึง มากทีส่ ดุ ระดบั
คะแนน 4 หมายถงึ มาก ระดบั คะแนน 3 หมายถงึ ปานกลาง ระดบั คะแนน 2 หมายถึง น!อย ระดบั คะแนน 1 หมายถงึ น!อย
ที่สุด

ขั้นท่ีสาม การวิเคราะหองคประกอบ (Factor Analysis) เป3นการวิเคราะหสกัดตัวช้ีวัดตามองคประกอบของคณุ ลกั ษณะ
มาตรฐานการเป3นอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ โดยใช!เทคนิคการวิเคราะหองคประกอบเชิงสํารวจ (Exploratory Factor Analysis:
EFA) วิธีแบบหมุนแกน (Rotation Method: Varimax with Kaiser Normalization) ทําการสกัดองคประกอบ ด!วยวิธี
วเิ คราะหส1วนหลักสาํ คัญ (Principal Component Method) และหมุนแกนแบบแวริแมก็ ซ เพอื่ ลดหรือลดกลมุ1 ตวั ช้วี ดั

เอกสารสบื เนื่องจากการประชุมวิชาการและนําเสนอผลงานวจิ ัยระดับชาติ 2559 “การวจิ ยั รบั ใช"ชุมชนสร"างสังคมฐานความร"ู” 425

สรปุ ผล

การนําเสนอในส1วนนี้ประกอบด!วย (1) การสรุป (2) การอภิปรายผล และ (3) ข!อเสนอแนะ รายละเอียดนําเสนอ
ตามลําดับ ดงั น้ี

การสรุป
กําหนดประเด็นในการสรุป ประกอบด!วย (1) สรุประดับคุณลักษณะมาตรฐานการเป3นอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ

(2) สรปุ องคประกอบคุณลักษณะมาตรฐานในการเป3นอตุ สาหกรรมเชิงนเิ วศ รายละเอยี ดนําเสนอตามลําดับ ดังน้ี
ขอ" มูลของผ"ตู อบแบบสอบถาม
สรุปข!อมูลของผู!ตอบแบบสอบถามส1วนใหญ1 เป3นเพศชาย จํานวน 622 ราย คิดเป3นร!อยละ 58.80 มีตําแหน1งเป3น

พนักงานโรงงาน จํานวน 750 ราย คดิ เป3นร!อยละ 62.50 รองลงมาเจา! หนา! ทสี่ ง่ิ แวดล!อมและชวี อนามยั จํานวน 98 ราย คิดเปน3
รอ! ยละ 6.90 เป3นกล1มุ อตุ สาหกรรมประเภทสิง่ ทอ เสน! ใย เคร่อื งหนงั เครือ่ งแต1งกาย จํานวน 233 ราย คิดเป3นร!อยละ 19.40
รองลงมาประเภทกระดาษ ส่งิ พิมพ อาหาร จาํ นวน 232 ราย คดิ เป3นร!อยละ 19.30

การวิเคราะหค* ุณลักษณะมาตรฐานการเปนT อุตสาหกรรมเชงิ นเิ วศ
1. ระดับตอ1 องคประกอบคณุ ลักษณะมาตรฐานการเปน3 อุตสาหกรรมเชงิ นิเวศ

ระดบั ตอ1 องคประกอบคณุ ลกั ษณะมาตรฐานการเป3นอุตสาหกรรมเชิงนิเวศโดยภาพรวมอยู1ในระดับมาก X = 3.75
SD = .714 เม่ือพิจารณาค1าเฉล่ียเป3นรายมิติ พบว1า มิติทางกายภาพมากท่ีสุด มีค1า X = 3.83 SD = .703 รองลงมามิติทาง
สง่ิ แวดลอ! ม มคี า1 X = 3.78 SD = .658 มติ ิทางเศรษฐกิจมีค1า X = 3.73 SD = .718 และน!อยที่สุดมิติทางสังคม เท1ากับ มิติ
ทางการบรหิ ารมีค1า X = 3.71 SD = .742 และ .747 ตามลาํ ดับ

เม่อื พิจารณาค1าเฉลีย่ เป3นรายขอ! ระดบั ต1อองคประกอบคณุ ลักษณะมาตรฐานการเปน3 อุตสาหกรรมเชงิ นิเวศ ดังน้ี
มติ ิทางกายภาพ พบวา1 การออกแบบดแู ลพื้นที่ตรงตามกฎหมายทางดา! นการมพี ้ืนท่สี เี ขยี ว(พนั ธไม!ต1างๆ) รวมถึงแผน
ติดตามดูแลความเป3นระเบียบเรียบร!อยของพ้ืนที่มากท่ีสุด มีค1า X = 3.94 SD = .879 รองลงมา การพัฒนาระบบขนส1งท่ีมี
ประสทิ ธภิ าพปลอดภัยเป3นมิตรกับสิ่งแวดล!อม (ขนส1งสีเขียวและโลจิสติกสสีเขียว) มีค1า X = 3.92 SD = .879 และน!อยที่สุด
การมอี าคารควบคมุ พลงั งาน หรืออนุรักษพลังงาน หรืออาคารสีเขียว มีค1า X = 3.73 SD = .934
มิติทางสงิ่ แวดลอ" ม พบว1า การจัดการใชพ! ลังงานโดยคาํ นึงถงึ แหลง1 ทม่ี าและความเพียงพอมากทสี่ ุด มีค1า X =3.84 SD
= .845 รองลงมาการเกบ็ ข!อมูลและวเิ คราะหประสิทธิภาพการใช!พลังงานของผลิตภัณฑหลักของโรงงาน มีค1า X =3.83 SD =
.846 และน!อยทีส่ ดุ การมีกจิ กรรมเพื่อลดปริมาณการปล1อยก•าซเรือนกระจก มีคา1 X เท1ากับ 3.71 SD = .920
มิติทางเศรษฐกิจ พบว1า การจัดทําข!อมูลการเพิ่มของรายได!และการลดลงของค1าใช!จ1ายจากการบริหารจัดการแบบ
พึง่ พาและเกื้อกูลตอ1 กันของอตุ สาหกรรม เชน1 การนําของเสียไปจําหน1ายให!กับโรงงานอ่ืนหรือการใช!เสียกลับมาใช!ใหม1 เป3นต!น
มากท่ีสุดมีค1า X = 3.82 SD = .863 รองลงมาการจัดทําข!อมูลสถิติมูลค1ายอดขายกับจํานวนแรงงานเพ่ือกําหนดอัตราส1วนที่
สะทอ! นถึงประสิทธิภาพการผลิตมีค1า X =3.79 SD = .852 และน!อยที่สุด การสนับสนุนทางการตลาดแกค1 นในชุมชน เช1น รับ
ซ้ือสนิ คา! และบริการจากกลมุ1 อาชีพทีโ่ รงงานฝ„กอบรม พฒั นาหลักสูตรอาชพี อยา1 งย่ังยนื เปน3 ต!นมีคา1 X = 3.68 SD = .940
มิติทางสังคม พบว1า การมีส1วนร1วมในการพัฒนาชุมชนตามบริบทของโรงงานมากที่สุดมีค1า X =3.75 SD = .938
รองลงมา การมกี ิจกรรมส1งเสรมิ สขุ ภาพพนักงาน มคี 1า X =3.74 SD=.898 และนอ! ยท่ีสดุ การจดั ต้งั เครอื ขา1 ยภาครี ะหวา1 งชมุ ชน
โรงงานและองคการปกครองสว1 นท!องถ่ินและจัดทําระบบที่เปqดให!เครือข1ายมีส1วนร1วมแสดงข!อเท็จจริงมีค1า X = 3.68 SD =
.954
มติ ทิ างบริหารจัดการ พบว1า โรงงานได!รบั การรบั รอง การจัดการสิ่งแวดลอ! ม (ISO 14001) การจัดการด!านพลงั งาน
(ISO 50001) หรือ ด!านอาชีวอนามัย (TIS/OHSAS 18001) มากที่สุด มีค1า X = 3.74 SD = .967 รองลงมา การจัดทําระบบ
ประเมินผลการดําเนินงานเป3นรายงานประจําปnมีค1า X = 3.74 SD = .868 และ น!อยท่ีสุด การจัดทําแผนบริหารจัดการธุรกิจ
ต1อเนอื่ งภายใต!ภาวะวกิ ฤติ มีค1า X = 3.67 SD = .924

426 เอกสารสืบเน่อื งจากการประชุมวิชาการและนําเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ 2559 “การวจิ ัยรับใช"ชุมชนสรา" งสงั คมฐานความรู"”

2. การวเิ คราะหองคประกอบเชิงสํารวจคณุ ลกั ษณะมาตรฐานในการเปน3 อุตสาหกรรมเชิงนิเวศ ได!แก1
องคประกอบเชิงสํารวจคุณลักษณะมาตรฐานการเป3นอุตสาหกรรมเชิงนิเวศในนิคมอุตสาหกรรมบางปู พบว1า
ตัวช้ีวัดที่เก่ียวข!องกับคุณลักษณะมาตรฐานการเป3นอุตสาหกรรมเชิงนิเวศจัดเป3นองคประกอบ ได! 5 องคประกอบ จํานวน
ทั้งหมด 45 ตัวช้ีวัดเม่ือพิจารณาเป3นรายองคประกอบ พบว1า องคประกอบที่ 1 มิติทางสิ่งแวดล!อม พบ 16 ตัวช้ีวัด
องคประกอบท่ี 2 มิติทางการบริหารจัดการ พบ 9 ตัวช้ีวัด องคประกอบที่ 3 มิติทางเศรษฐกิจ พบ จํานวน 9 ตัวช้ีวัด
องคประกอบที่ 4 มิติทางกายภาพ พบ 6 ตัวช้วี ดั และ องคประกอบท่ี 5 มิติทางสงั คม พบ 5 ตวั ชว้ี ัด

การอภิปรายผล

การอภิปรายระดบั คณุ ลักษณะมาตรฐานการเปTนอุตสาหกรรมเชิงนเิ วศ
ระดับคุณลักษณะมาตรฐานการเป3นอุตสาหกรรมเชิงนิเวศในนิคมอุตสาหกรรมบางปู ในภาพรวมอย1ูในระดับมากทุกมิติ
X = 3.75 SD = .714 จากขอ! ค!นพบดังกลา1 วอธบิ ายได!วา1 ผป!ู ระกอบการโรงงานอุตสาหกรรมเห็นความสําคัญในการปฏิบัติเพื่อ
นําไปส1ูการเป3นอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ ซ่ึงสอดคล!องกับแนวคิดการพัฒนาเมืองที่ยั่งยืนประกอบด!วย มิติทางกายภาพ มิติทาง
ส่ิงแวดล!อม มิติทางเศรษฐกิจ มิติทางการบริหารจัดการและ มิติทางสังคม สร!างความสมดุลด!านเศรษฐกิจ สิ่งแวดล!อม และ
สงั คมตามขอ! กําหนดคุณลักษณะการเปน3 อตุ สาหกรรมเชงิ นเิ วศ และสอดคลอ! งกับผลการวิจัยของ รตั ติยา ทองสุข. (2555) เรื่อง
นโยบายการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ: กรณีศึกษาพื้นที่มาบตาพุด จังหวัดระยองมี ผลการวิจัยสรุปได!ว1า การพัฒนา
เมอื งอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ ประกอบด!วย (1) มิติกายภาพ (2) มิติเศรษฐกิจ (3) มิติส่ิงแวดล!อม (4) มิติสังคม และ (5) มิติการ
บริหารจัดการ เพ่ือใหเ! กดิ การพัฒนาอุตสาหกรรม ชุมชนและสิ่งแวดลอ! มสามารถ อย1รู ว1 มกันไดอ! ยา1 งยงั่ ยนื
สาํ หรับระดับคณุ ลกั ษณะมาตรฐานการเปน3 อตุ สาหกรรมเชงิ นิเวศในนิคมอุตสาหกรรมบางปู พิจารณาค1าเฉล่ียเป3นรายมิติ
พบว1า มิติทางกายภาพอยู1ในระดับมากท่ีสุด มีค1า X = 3.83 SD = .703 ซ่ึงอาจอธิบายได!ว1า นิคมอุตสาหกรรมบางปูตั้งอยู1ใน
จังหวดั สมทุ รปราการเปน3 เมอื งอตุ สาหกรรมท่ีรายรอบด!วยชุมชน และ มปี ระชากรอย1อู ย1างหนาแน1น ดังนัน้ การใหค! วามสาํ คัญใน
เชงิ กายภาพอย1ใู นระดบั มากทีส่ ุดเกี่ยวกับสดั ส1วนและจัดสรรพ้ืนทีค่ วรมีความเหมาะสมเพ่ือไมใ1 ห!เกิดผลกระทบจากกิจกรรมของ
อุตสาหกรรมไปสู1ชมุ ชน และสอดคล!องกบั ผลการวจิ ัยของ สมชัย ม!ุยจีน (2557) เรื่องแนวทางการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิง
นิเวศในพ้ืนท่ีเทศบาลเมืองมาบตาพุด ผลการศึกษาพบว1า การพัฒนาโครงสร!างพื้นฐานของเมืองมาบตาพุด ต!องอาศัยแนวคิด
การพฒั นาเมืองอุตสาหกรรมเชงิ นิเวศในพ้ืนท่ีเป3นการวางแนวทางการป…องกันและลดผลกระทบด!านสิ่งแวดล!อม รวมไปถึงการ
สร!างความเชือ่ มโยงทางดา! นสงั คม และ เศรษฐกจิ และการมสี 1วนร1วมของภาคส1วนต1างๆ ในพืน้ ที่ อยา1 งแทจ! ริง โดยมเี ป…าหมายส1ู
การเป3นเมืองอตุ สาหกรรมเชงิ นิเวศและนําไปส1ูแนวทางของการพัฒนาอย1างยัง่ ยืนได!
ในส1วนระดับปฏิบัติการรองลงมา คือ มิติทางสิ่งแวดล!อม มีค1า X = 3.78 SD = .658 ซ่ึงอธิบายได!ว1าปvญหา
สิ่งแวดล!อมท่ีเกิดข้ึนจากกิจกรรมการผลิตของโรงงานอุตสาหกรรมย1อมส1งผลกระทบต1อความย่ังยืนของอุตสาหกรรม การ
กาํ หนดแนวทางและการปฏิบัตเิ พ่ือรักษาสง่ิ แวดลอ! มจงึ มีความจําเป3นอย1างยิ่งทโี่ รงงานอตุ สาหกรรมตอ! งตระหนกั และปฏบิ ตั ติ าม
มาตรฐานการจดั การสิง่ แวดลอ! มสากลนอกเหนอื จากระดบั ปฏบิ ัติการในมิตทิ างกายภาพ ซึง่ สอดคลอ! งกับแนวคดิ การพัฒนานคิ ม
อุตสาหกรรมเชงิ นิเวศของต1างประเทศท่ใี ห!ความสําคญั ต1อการพัฒนาทางสาธารณูปโภคและสาธารณูปการท่ีมีสัดส1วนเหมาะสม
รวมจัดการปvญหาส่ิงแวดล!อมท้ังด!านทรัพยากร และด!านพลังงานอันเกิดจากการขยายตัวทางเศรษฐกิจ การปรับนโยบายการ
ผลิตของภาคอุตสาหกรรมท่สี รา! งสรรคตอ1 ส่ิงแวดลอ! มใหม! กี ารใชแ! ละการลดการใช!ทรัพยากรท่ีมีอยู1จํากัดให!เกิดประโยชนสูงสุด
และสอดคลอ! งผลการวิจยั วรารตั น ทองเต็มถึง (2556) เร่ือง การรับร!ูและความต!องการขององคกรชุมชนต1อการพัฒนาสู1เมือง

เอกสารสืบเนอื่ งจากการประชุมวิชาการและนาํ เสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ 2559 “การวจิ ยั รับใช"ชุมชนสรา" งสังคมฐานความร"ู” 427

อุตสาหกรรมเชิงนิเวศกรณีศึกษา นิคมอุตสาหกรรมสมุทรสาคร ผลการศึกษาพบว1า ชาวบ!านในชุมชนมีความร!ูความเข!าใจ
เกี่ยวกับอตุ สาหกรรมเชิงนิเวศโดยสามารถให!ความหมายของอุตสาหกรรมเชิงนิเวศว1าเป3นการดําเนินการผลิตที่ให!ความสําคัญ
ต1อส่ิงแวดลอ! ม

การอภปิ รายองค*ประกอบเชิงสาํ รวจคณุ ลกั ษณะมาตรฐานการเปTนอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ
องคประกอบคณุ ลักษณะมาตรฐานการเป3นอตุ สาหกรรมเชิงนเิ วศในนิคมอตุ สาหกรรมบางปู พบว1า ตัวชีว้ ัดที่เกี่ยวข!อง
กับคณุ ลักษณะมาตรฐานการเปน3 อตุ สาหกรรมเชิงนเิ วศจัดเปน3 องคประกอบ ได! 5 องคประกอบ จํานวนท้งั หมด 45 ตัวชว้ี ัด เมื่อ
พิจารณาเป3นรายองคประกอบ พบว1า องคประกอบที่ 1 มิติทางส่ิงแวดล!อม พบ 16 ตัวชี้วัด องคประกอบที่ 2 มิติทางการ
บริหารจัดการ พบ 9 ตัวชี้วัด องคประกอบที่ 3 มิติทางเศรษฐกิจ พบ 9 ตัวช้ีวัด องคประกอบท่ี 4 มิติทางกายภาพ พบ 6
ตวั ชวี้ ดั และ องคประกอบท่ี 5 มิติทางสงั คม พบ 5 ตัวชีว้ ดั

อธิบายได!ว1า จากผลการวิเคราะหคุณลักษณะมาตรฐานการเป3นอุตสาหกรรมเชิงนิเวศในนิคมอุตสาหกรรมบางปู
จดั เปน3 องคประกอบได! 5 องคประกอบใน 5 มติ ปิ ระกอบดว! ย มิตทิ างสิ่งแวดล!อม มิติทางการบริหารจัดการ มิติทางเศรษฐกิจ
มติ ทิ างกายภาพ และ มิตทิ างสงั คมซ่ึงสอดคล!องกบั ข!อกําหนดคุณลักษณะมาตรฐานเกณฑช้ีวัดหรือตัวชี้วัด 5 มิติ ของการนิคม
อุตสาหกรรมแห1งประเทศไทยและผลการศกึ ษาไมส1 อดคลอ! งกับผลการวจิ ัยของ วรารตั น ทองเต็มถึง (2556) เรื่อง การรับรู!และ
ความตอ! งการขององคกรชุมชนต1อการพัฒนาส1เู มืองอตุ สาหกรรมเชงิ นเิ วศกรณีศกึ ษานคิ มอตุ สาหกรรมสมุทรสาคร ผลการศึกษา
ประกอบไปดว! ยการรบั รูข! องชาวบา! นในชมุ ชนให!ความสาํ คญั ในมติ เิ พ่ือการพัฒนาในองคประกอบตวั ช้ีวัด 4 มติ ิ คอื มิติกายภาพ
มติ สิ ิง่ แวดลอ! ม มิติสังคม และมิตบิ ริหารจัดการซ่ึงขาดองคประกอบมติ ทิ างเศรษฐกิจอาจเป3นเพราะการเข!าใจในตัวช้ีวดั หรอื ตวั
แปรในมติ ิทางเศรษฐกจิ ที่ความชัดเจนและเปน3 รูปธรรม

สาํ หรับองคประกอบมิตสิ ิ่งแวดลอ! มท่ีมีตวั ช้ีวัดหรือตัวแปร มากถึง 16 ตัวชี้วัด มากกว1ามิติอื่นๆ นั้นแสดงถึงการให!
ความสําคัญต1อสง่ิ แวดล!อมอันเกดิ จากการดาํ เนินกจิ กรรมของโรงงานอุตสาหกรรมในนิคมอุตสาหกรรมบางปูที่ก1อให!เกิดปvญหา
สิ่งแวดล!อม โดยคาดว1าปญv หาสิ่งแวดล!อมมีความสําคัญในอันดับแรกในการแก!ไขและการกระทําตามข!อกําหนดคุณลักษณะ
มาตรฐานเพอื่ นาํ ไปส1กู ารเป3นอตุ สาหกรรมเชิงนิเวศ สําหรบั ระดบั ความสําคญั เปน3 อนั ดับสอง คือองคประกอบมติ ทิ างการบริหาร
จดั การและองคประกอบมิตทิ างเศรษฐกิจ มีตัวช้วี ดั 9 ตัวช้วี ัด ท้งั 2 มิติ คาดวา1 เปน3 การให!ความสําคัญในการบริหารจัดการและ
การมุ1งเน!นความคุ!มค1าคุ!มทุนด!วยการดําเนินกิจกรรมการผลิตอย1างมีประสิทธิภาพและมีประสิทธิผล มีความรับผิดขอบในการ
ประกอบอุตสาหกรรมโดยมีความเชื่อว1า การบริหารจัดการที่ดีและการใช!วัตถุดิบอย1างค!ุมค1าค!ุมทุน ย1อมส1งผลต1อการเป3น
อุตสาหกรรมเชิงนิเวศ

ในส1วนผลการวิเคราะหองคประกอบคุณลักษณะมาตรฐานการเป3นอุตสาหกรรมเชิงนิเวศในภาพรวมที่มีความ
ต1างกนั ระหวา1 งตัวช้ีวัด จํานวนท้ังหมด 45 ตัวชี้วัดกับ ตัวช้ีวัดเดิม จํานวน 60 ตัวชี้วัดซ่ึงเป3นการลดตัวช้ีวัดเดิมอาจเป3นเพราะ
ตัวชี้วัดบางตัวมีอิสระหรือซ้ําซ!อนกันอยู1ในตัวเดียวกัน ซ่ึงผลดังกล1าวเป3นประโยชนต1อการพัฒนาเกณฑตัวช้ีวัดของการนิคม
อตุ สาหกรรมแห1งประเทศไทยในการเช่ือมโยงความชัดเจนและการปฏิบตั ติ ามเกณฑชวี้ ัดตอ1 การเปน3 อุตสาหกรรมเชิงนิเวศ

428 เอกสารสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการและนําเสนอผลงานวจิ ัยระดับชาติ 2559 “การวิจยั รับใช"ชุมชนสรา" งสังคมฐานความร"ู”

ข"อเสนอแนะ

ข"อเสนอแนะในการนาํ ไปใชป" ระโยชน*
ประการท่ี 1 องคประกอบเชิงสาํ รวจคณุ ลักษณะมาตรฐานการเป3นอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ ในนิคมอุตสาหกรรมบางปู
ในกลมุ1 รวม พบ 45 ตัวชีว้ ดั ดงั น้ัน โรงงานอุตสาหกรรม หรอื นิคมอตุ สาหกรรมบางปู ควรพิจารณาตัวบ1งช้ีทั้ง 45 ตัวชี้วัด โดย
กําหนดเป3นแผนกลยทุ ธเพือ่ การดําเนินงานให!มากย่งิ ขนึ้
ประการท่ี 2 ควรเสรมิ สรา! งความรคู! วามเข!าใจเก่ยี วกับคณุ ลักษณะมาตรฐานการเป3นอุตสาหกรรมเชิงนิเวศให!มีความ
เข!มแข็ง ผ1านทางส่ือสารออนไลน หรือโซเชียลมีเดีย เพ่ือให!ครอบคลุมในการเข!าข!อมูลถึงอย1างกว!างขวาง โดยมีผู!รับข1าวสาร
ได!แก1 ผ!ูบริหาร พนักงานท่ีปฏิบัติหน!าที่ ชุมชน รวมถึงผ!ูมีส1วนได!เสีย และหน1วยงานท่ีมีส1วนเก่ียวข!องและสนับสนุนใน
ภาคอตุ สาหกรรม
ประการท่ี 3 ควรมีการพฒั นาตามตวั ช้ีวัดหรือตัวแปร ในแต1ละมิตทิ ่มี คี วามสําคัญต1อการเป3นอุตสาหกรรมเชิงนิเวศใน
กลม1ุ รวม ได!แก1 องคประกอบที่ 1 มิตทิ างส่ิงแวดล!อม พบ จํานวน 16 ตัวช้ีวัด องคประกอบที่ 2 มิติทางการบริหารจัดการ พบ
จํานวน 9 ตัวชว้ี ัด องคประกอบท่ี 3 มิติทางเศรษฐกิจ พบ จาํ นวน 9 ตัวชี้วัด องคประกอบที่ 4 มิติทางกายภาพ พบ จํานวน 6
ตวั ช้วี ัด และ องคประกอบท่ี 5 มิตทิ างสังคม พบ จาํ นวน 5 ตวั ชวี้ ดั
ประการที่ 4 การกําหนดแนวทางเสริมสร!างในมิติทางสิ่งแวดล!อม ได!แก1 1) การจัดการใช!พลังงานโดยคํานึงถึง
แหลง1 ทีม่ าและความเพียงพอ 2) การเก็บข!อมูลและวิเคราะหประสิทธิภาพการ ใช!พลังงานของผลิตภัณฑหลักของโรงงาน และ
3) การมีกจิ กรรมเพ่อื ลดปรมิ าณการปลอ1 ยกา• ซเรือนกระจก เป3นต!น
ประการท่ี 5 การกําหนดแนวทางเสริมสร!างในมิติทางการบริหาร ได!แก1 1)โรงงานได!รับการรับรอง การจัดการ
ส่ิงแวดล!อม (ISO 14001) 2) การจัดการด!านพลังงาน (ISO 50001) หรือ ด!านอาชีวอนามัย (TIS/OHSAS 18001) และ 3)
การจัดทําระบบประเมินผลการดําเนินงานเป3นรายงานประจําปn และการจัดทําแผนบริหารจัดการธุรกิจต1อเนื่องภายใต!ภาวะ
วกิ ฤติ เปน3 ตน!
ประการท่ี 6 การกําหนดแนวทางเสรมิ สรา! งในมิติทางเศรษฐกิจ ไดแ! ก1 1) การจัดทาํ ข!อมูลการเพิ่มของรายได!และการ
ลดลงของค1าใช!จา1 ยจากการบรหิ ารจัดการแบบพ่ึงพาและเกื้อกูลต1อกัน ของอุตสาหกรรม เช1น การนําของเสียไปจําหน1ายให!กับ
โรงงานอ่นื หรอื การใชเ! สยี กลบั มาใชใ! หม1 เปน3 ต!น 2) การจัดทําขอ! มูลสถิติมลู ค1ายอดขายกับจํานวนแรงงานเพือ่ กําหนดอัตราส1วน
ท่ีสะท!อนถึงประสิทธิภาพการผลิต และ 3) การสนับสนุนทางการตลาดแก1คนในชุมชน เช1น รับซื้อสินค!าและบริการจากกล1ุม
อาชพี ทโี่ รงงานฝก„ อบรม พฒั นาหลักสตู รอาชพี อยา1 งยง่ั ยืน เป3นตน!
ประการท่ี 7 การกําหนดแนวทางเสริมสร!างในมิติทางกายภาพ ได!แก1 1) การออกแบบดูแลพ้ืนท่ีตรงตามกฎหมาย
ทางดา! นการมีพืน้ ที่สเี ขยี ว(พนั ธไม!ตา1 งๆ) รวมถึงแผนติดตามดูแลความเป3นระเบยี บเรยี บรอ! ยของพื้นท่ี 2) การพฒั นาระบบขนส1ง
ทีม่ ีประสทิ ธภิ าพปลอดภยั เปน3 มติ รกบั สิ่งแวดล!อม (ขนส1งสเี ขียวและโลจสิ ตกิ สสีเขียว) และ 3) การมอี าคารควบคุมพลังงาน หรอื
อนุรกั ษพลงั งาน หรอื อาคารสเี ขยี ว เปน3 ตน!
ประการที่ 8 การกําหนดแนวทางเสริมสร!างในมิติทางสังคม ได!แก1 1) การมีส1วนร1วมในการพัฒนาชุมชนตามบริบท
ของโรงงาน 2) การมีกิจกรรมส1งเสริมสุขภาพพนักงาน และ 3) การจัดตั้งเครือข1ายภาคีระหว1างชุมชนโรงงานและองคการ
ปกครองส1วนทอ! งถิน่ และจัดทําระบบทีเ่ ปดq ให!เครอื ข1ายมีสว1 นรว1 มแสดงขอ! เท็จจริง เปน3 ตน!

ขอ" เสนอแนะสําหรับการศึกษาวจิ ยั ครงั้ ต'อไป
ประการท่ี 1 ควรมีการศึกษาวิเคราะหแบบ Multiple Group เปรียบเทียบตัวแปรสังเกตได! ท้ัง 60 ตัวบ1งช้ี โดยทํา
การวิเคราะหข!อมูลในโปรแกรม Mplus เพ่ือศึกษาองคประกอบเชิงยืนยันอันดับสองระหว1างกลุ1มเปรียบเทียบกัน จะทําให!ผล
ของการศกึ ษาวจิ ัยมคี วามเที่ยงตรงมากย่งิ ขึน้

เอกสารสบื เนือ่ งจากการประชมุ วิชาการและนาํ เสนอผลงานวจิ ัยระดบั ชาติ 2559 “การวจิ ยั รบั ใช"ชุมชนสร"างสังคมฐานความรู"” 429

ประการที่ 2 ควรมกี ารศึกษาเกบ็ ข!อมลู กบั กล1ุมตวั อย1างทีม่ ขี นาดมากขึ้น โดยศึกษานิคมอุตสาหกรรมท่ีจัดตั้งในแต1ละ
ภาคท่ัวประเทศ ซึ่งจะทําให!มองเห็นภาพรวมและบริบทของคุณลักษณะมาตรฐานการเป3นอุตสาหกรรมเชิงนิเวศใน
ระดบั ประเทศอย1างชดั เจน

ประการที่ 3 ควรมีการศึกษาเกบ็ ข!อมูลกับกลุม1 ตวั อยา1 งทีม่ สี 1วนเกย่ี วข!องในกล1ุมต1างๆ เพื่อใหเ! กิดผลการศกึ ษาเพื่อการ
สงั เคราะหออกมาเปน3 รปู ธรรมนําไปส1ูการปฏบิ ตั อิ ยา1 งชัดเจน

เอกสารอ"างองิ

วรารตั น ทองเต็มถึง. (2556). การรับร"ูและความตอ" งการขององค*กรชุมชนต'อการพัฒนาส'เู มือง
อุตสาหกรรมเชิงนิเวศ กรณีศึกษานิคมอุตสาหกรรมสมุทรสาคร.วิทยานิพนธปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต
มหาวิทยาลัยศลิ ปากร.

ศนู ยสารสนเทศโรงงานอุตสาหกรรม กรมโรงงานอุตสาหกรรม. (2556). ข"อมูลโรงงานจังหวัดสมุทรปราการ.
สืบค!นเมื่อวันท่ี4 มกราคม 2557จาก http:// www. diw.go.th/results1.asp? pageno=
1&provname=สมุทรปราการ.

สมชยั มย!ุ จีน. (2557). แนวทางการพัฒนาเมอื งอุตสาหกรรมเชงิ นเิ วศในพนื้ ทีเ่ ทศบาลเมืองมาบตาพุด.
วิทยานิพนธปรญิ ญาวิทยาศาสตรมหาบณั ฑติ สถาบนั บัณฑิตพัฒนะบริหารศาสตร.

สถาบนั สงิ่ แวดลอมอุตสาหกรรม สภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย. (2556). คมู ือเกณฑโรงงานอุตสาหกรรมเชงิ
นิเวศ (Eco Factory). สบื คนเมอ่ื วันท่ี 21 พฤศจกิ ายน 2557 จาก http:// www.iei.or.th/ ns-

news_event_read-dir-Mw=-con_id-NDky.htm.

รัตติยา ทองสขุ . (2555). นโยบายการพฒั นาเมอื งอุตสาหกรรมเชงิ นเิ วศ: กรณีศกึ ษาการพัฒนา
เมืองอุตสาหกรรมเชงิ นเิ วศกรณีศกึ ษาพืน้ ท่มี าบตาพุด จงั หวัดระยอง. วิทยานิพนธปรญิ ญารัฐศาสตร
มหาบัณฑิต มหาวทิ ยาลัยรามคําแหง.

สํานักงานนิคมอุตสาหกรรมรมบางปู . (2555). รายชอ่ื ผูป" ระกอบการในนคิ มอตุ สาหกรรมบางปู.เอกสารรายช่อื
ผู!ประกอบการในนิคมอุตสาหกรรมบางปู : สาํ นกั งานนคิ มอตุ สาหกรรมบางปู.

สํานกั งานนโยบายและแผนพลังงาน กระทรวงพลงั งาน. (2556). โครงการศกึ ษาเพอ่ื จดั ทาํ แผนและนโยบาย15 ปƒ
ด"านการลดการปลอ' ยก_าซเรือนกระจกจากภาคพลังงานของประเทศไทย. สบื คน! เมื่อวันที่ 24 มีนาคม
2558 จาก http://www.eppo.go.th/ccep/thailand_ 2- 2.html

สุชาติ ประสิทธ์ิรัฐสนิ ธุ.(2548). เทคนคิ การวเิ คราะห*ตวั แปรหลายตวั สาํ หรบั การวจิ ัยทางสงั คมศาสตร* และ
พฤติกรรมศาสตร. กรงุ เทพมหานคร: สามลดา.

อุษณิ วิโรจน . (2554). Eco-City กรณีศกึ ษาอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ เพอ่ื การพัฒนาท่ียั่งยืน. สํานกั นโยบาย
อตุ สาหกรรมมหาภาค สํานกั งานเศรษฐกิจอตุ สาหกรรม.

แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมแหง1 ชาติ ฉบบั ท่ี 11 (2555 – 2559). การปรบั โครงสร"างทาง
เศรษฐกิจ สู'การเตบิ โตอย'างมคี ณุ ภาพและยงั่ ยนื . ยุทธศาสตรที่ 6 (1). ข!อ (5.1.4): กรุงเทพมหานคร

Likert, Rensis. And Likert, Jane. (1976). New Way Management Conflict. New York:
McGraw-Hill.

430 เอกสารสบื เนื่องจากการประชมุ วิชาการและนําเสนอผลงานวจิ ยั ระดับชาติ 2559 “การวจิ ยั รบั ใช"ชุมชนสร"างสงั คมฐานความรู"”

ความสัมพนั ธ*ระหว'างคุณภาพของระบบสารสนเทศทางการบัญชีกบั ผลการดําเนินงาน
ของบริษทั ในกลุ'มอุตสาหกรรมเทคโนโลยที ีจ่ ดทะเบียนในตลาดหลักทรพั ยแ* หง' ประเทศไทย Relationship
Between Quality of Accounting Information Technology System and Operating Result of
Technology Industry Group in the Listed Companies of The Stock Exchange of Thailand

ชัยสรรค* รังคะภูติ1 วชั ธนพงศ* ยอดราช2 และเจษฎา ใหมต' าจักร*3
Wattanapong Yodrach1 Chaison Rangkaputi2 And chessadar Maitajak3

บทคัดยอ'

วัตถปุ ระสงคของการศึกษาในครัง้ นี้ 1) เพ่ือศกึ ษาคณุ ภาพของระบบสารสนเทศทางการบัญชี ผลการดําเนินงาน และ
ความสัมพันธระหว1างคุณภาพของระบบสารสนเทศทางการบัญชี และ 2) ผลการดําเนินงานของบริษัทในกล1ุมอุตสาหกรรม
เทคโนโลยีท่ีจดทะเบยี นในตลาดหลักทรัพยแห1งประเทศไทย โดยประชากรทใี่ ชใ! นการเก็บรวบรวมขอ! มูลจากผู!บรหิ ารของบริษัท
ในกล1ุมอุตสาหกรรมเทคโนโลยีที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแห1งประเทศไทย ซ่ึงกําหนดให!ผ!ูบริหารด!านบัญชี และฝ•าย
การเงนิ เป3นผตู! อบแบบสอบถาม บรษิ ัทละ 2 ราย จํานวน 41 บริษทั รวมเปน3 จาํ นวน 82 ราย และรวบรวมขอ! มลู งบการเงนิ จาก
รายงานประจําปnของตลาดหลักทรัพยแห1งประเทศไทย การวิเคราะหข!อมูลดําเนินการโดยใช!สถิติพรรณนาได!แก1 การแจกแจง
ความถี่ และร!อยละ เพือ่ อธบิ ายถงึ ลักษณะของตวั แปรตา1 งๆ ในการทดสอบสมมติฐานใช!สถิติอนุมาน ได!แก1 การวิเคราะหความ
ถดถอยพหุคูณ ระหว1างตัวแปรอิสระและตัวแปรตาม ผลการวิจัยพบว1าความสัมพันธระหว1างคุณภาพของระบบสารสนเทศ
ทางการบัญชี ได!แก1 ความสมบูรณของระบบสารสนเทศทางการบัญชี ความถูกต!องและเช่ือถือได!ของข!อมูล ความถ่ีในการ
รายงานผล การใช!ประโยชนในการตัดสินใจ และความยืดหยุน1 ในการใช!งานและปรับปรุงเปล่ียนแปลง มีความสัมพันธเชิงบวก
ต1อผลการดําเนินงานของบริษัทในกล1ุมอุตสาหกรรมเทคโนโลยีท่ีจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแห1งประเทศไทยอย1างมี
นัยสําคัญทางสถิติ

คาํ สําคัญ: คณุ ภาพ ระบบสารสนเทศทางการบญั ชี ผลการดําเนนิ งาน

ABSTRACT

The objective of this study were to know quality accounting of information technology, operating
result, and correlation between quality accounting of information technology and operating result of
technology industry group in the listed companies of the stock exchange of Thailand. Forty-one companies
of technology industry group from the listed companies of the stock exchange of Thailand were
population. Data were collected from 82 directors of accounting, 2 persons per company, by using
questionnaire and financial statements data from the stock exchange of Thailand. Descriptive statistic,
frequency and percentage, was used for data description. Multiple regression analysis was used for
hypothesis testing and interpretation. The results found that quality of accounting information technology

1 สาขาบัญชี คณะบัญชี มหาวทิ ยาลัยศรีปทมุ
2 สาขาบัญชี คณะบญั ชี มหาวทิ ยาลยั ศรีปทุม
3 สาขาบญั ชี คณะบญั ชี มหาวิทยาลัยศรีปทุม

เอกสารสืบเน่ืองจากการประชุมวิชาการและนาํ เสนอผลงานวจิ ัยระดบั ชาติ 2559 “การวิจัยรับใช"ชุมชนสรา" งสังคมฐานความร"ู” 431

which were the completeness of accounting information technology, accuracy and reliability of data,
frequency of reporting, decision making used, and flexibility to use and data updating, has significant
positive correlation with operating result of technology industry group in the listed companies of the stock
exchange of Thailand.

KEYWORDS: quality, accounting information technology, operating

ความเปTนมาและความสําคัญของปญV หา

สารสนเทศทางการบญั ชพี ัฒนาข้ึนเพอื่ ทาํ หนา! ที่หลกั ในการบนั ทึก ประมวลผล และจดั ทาํ สารสนเทศทางบัญชี ให!เป3น
สารสนเทศที่มปี ระโยชนในการตดั สินใจต1อผูใ! ชร! ะบบสารสนเทศทางการบญั ชมี คี วามสาํ คัญตอ1 การดาํ เนินธรุ กิจในการเก็บบันทึก
รายการที่เกิดข้ึนของธุรกิจ ประมวลผลข!อมูลให!ได!สารสนเทศที่มีประโยชนต1อการวางแผน การสั่งการและการควบคุม และ
ควบคมุ สนิ ทรพั ยของธุรกจิ ให!ม่ันใจว1า ขอ! มูลทไี่ ดม! าน้นั ถกู ตอ! งและเชอ่ื ถือได! รายการบัญชีทเ่ี กดิ ขึน้ จากการดาํ เนนิ งานของธุรกิจ
ไดแ! ก1 วงจรที่เก่ียวข!องกบั การจดั ซ้ือ การชําระหนี้ วงจรการผลิต วงจรเงินเดือน ค1าตอบแทนของพนักงาน การรับเงิน และการ
จดั หาเงิน การชาํ ระเงินก!ู การจ1ายเงนิ ปvนผลให!แก1ผถู! อื หุน! ระบบสารสนเทศทางบญั ชี มีประโยชนแกผ1 ใู! ช!ในการให!ขอ! มลู เพอ่ื การ
ปฏิบัติงานประจําวัน เพื่อการตัดสินใจวางแผน และควบคุมให!เป3นไปตามนโยบายของบริษัทและตามทีก่ ฎหมายกําหนด การ
จดั ทาํ ระบบสารสนเทศทางการบัญชี มีผ!ทู ี่เก่ียวข!องผ!ูจัดทําบัญชี ผู!ตรวจ ผ!ูพัฒนาระบบ ซึ่งในอดีตการบริหารธุรกิจจะประสบ
ความสําเรจ็ หรือไมจ1 ะข้นึ อย1ูกับตวั บุคคลเป3นสําคญั กล1าวคือถา! คนใดสามารถวางแผนไดด! ี ควบคุมงานได!ดี กจ็ ะทาํ ใหก! ารบริหาร
กิจการนน้ั สมั ฤทธผิ์ ลได! แตใ1 นปvจจุบันเม่อื ธรุ กิจมีการแข1งขันมากขึน้ ประกอบกับเทคโนโลยีทางคอมพิวเตอรได!มีการพัฒนามาก
ข้ึน คุณภาพของการบริหารและความอย1ูรอดขององคน้ันจึงขึ้นกับระบบมากกวา1 ตัวบุคคล ดังนั้นการบริหารสมัยใหม1 จะให!
ความสาํ คัญกับระบบข!อมูล และระบบสารสนเทศมากขึ้น เพราะหากกิจการใดมีระบบสารสนเทศท่ีดีกว1าก็จะทําให!สามารถให!
ข!อมลู ในการตัดสินใจทีร่ วดเรว็ ถูกต!อง

ระบบสารสนเทศทางการบัญชีแบบเดิมเน!นการบันทึกรายการบัญชีเพื่อประโยชนในการจัดทํารายงานการเงินและ
แสดงผลการดําเนนิ งานทผ่ี า1 นมามากกว1าการจัดเก็บข!อมูลเพ่ือใช!ในการตัดสินใจ และเม่ือธุรกิจมีหลายระบบ เช1น ข!อมูลลูกค!า
ในระบบขาย หรือข!อมูลด!านผู!ขายในระบบซื้อ ข!อมูลสินค!าในระบบผลิต ทําให!องคกรต!องพัฒนาระบบสารสนเทศอ่ืน ๆ
เพิ่มเติมเพื่อรวบรวม ประมวลผลรายการต1าง ๆ แยกต1างหากจากระบบสารสนเทศทางการบัญชี จึงอาจก1อให!เกิดปvญหาด!าน
ข!อมูลท่ีมีจํานวนมาก เกิดการซํ้าซ!อนของข!อมูล ย่ิงไปกว1านั้นยังเป3นการยากที่จะนําข!อมูลทุกระบบมาใช!อย1างมีประสิทธิภาพ
ระบบสารสนเทศทางการบัญชีจึงมีความจําเป3นต!องจัดเก็บข!อมูลท่ีเป3นรายการทางการเงินและรายการท่ีไม1ใช1ทางการเงินท่ีมี
ความเก่ียวข!องกับกิจกรรมต1าง ๆ ขององคกรเข!าด!วยกัน เช1น การรวบรวมข!อมูลการปฏิบัติงานและหน!าที่งานทางการตลาด
ทรัพยากรบุคคล และการผลิต เข!ากับข!อมูลทางการบัญชีและการเงิน ดังน้ันจึงได!มีการพัฒนาระบบการวางแผนทรัพยากร
องคกร เพ่ือแก!ไขปvญหาของระบบสารสนเทศทางการบัญชีในอดีตให!สามารถใช!ประโยชนจากการใช!ข!อมูลร1วมกันได!อย1างมี
คุณภาพ (พลพธู ปnยวรรณ และกัญนิภัทธ์ิ นิธิโรจนธนัท : 2559) จะเห็นได!ว1า การทํางานระหว1างเทคโนโลยีสารสนเทศกับ
ระบบสารสนเทศทางการบัญชีน้ันไม1สามารถแยกออกจากกันได!แต1กลับต!องทํางานร1วมกันเพ่ือจัดเตรียมสารสนเทศให!ธุรกิจ
อย1างมีคณุ ภาพ ในการดาํ เนนิ ธรุ กจิ ของกล1ุมอุตสาหรรมเทคโนโลยีกเ็ ชน1 เดยี วกันเนอ่ื งจากแนวโน!มอุตสาหกรรมเทคโนโลยีมีการ
เติบโตสูงขึ้น และเป3นปvจจัยที่ทุกหน1วยงานจําเป3นต!องมีและพัฒนาเพื่อสร!างการแข1งขันเชิงเปรียบเทียบ ส1งผลให!ตลาดมีการ
ขยายตัวสูง การก!าวเข!าสู1ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนส1งผลให!เกิดการปรับตัวของภาคธุรกิจ เพื่อให!สามารถแข1งขันได!ใน
ตลาดโลก จึงจาํ เปน3 ต!องสร!างความพร!อมของระบบสารสนเทศของหน1วยงานเพื่อรองรับ โดยในช1วงทศวรรษน้ีเป3นช1วงท่ีมีการ
เปลี่ยนแนวเทคโนโลยีในการทําธุรกรรมทําให!ตลาดเกิดความต!องการระบบสารสนเทศแบบใหม1อย1างมาก การนําระบบ
สารสนเทศทางการบัญชีเข!ามาใช!ในองคกรของกลุ1มธุรกิจดังกล1าวจึงมีความสําคัญอย1างย่ิงเพื่ออํานวยความสะดวกให!กับ
พนักงานและเป3นเครอื่ งมือชว1 ยในการตัดสนิ ใจให!กับผ!บู ริหารในการดําเนนิ ธุรกจิ ในภาวะเศรษฐกิจปจv จุบัน องคกรจึงควรจัดสรร

432 เอกสารสืบเน่ืองจากการประชมุ วิชาการและนําเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ 2559 “การวจิ ัยรบั ใช"ชุมชนสร"างสังคมฐานความรู"”

งบประมาณดา! นเทคโนโลยีใหเ! พียง เพ่อื ช1วยเพมิ่ ประสิทธิภาพในการทํางาน การดําเนินธุรกิจได! การประมาณผลตอบแทนจาก
การลงทนุ การคาํ นวณการประหยัดในคา1 ใช!จ1ายต1างๆ นอกจากน้ันยงั ไดร! ับประโยชนในรปู แบบอืน่ ๆ เชน1 การบริการลกู คา! ทีด่ ีข้ึน
ประสิทธิภาพในการทํางานที่มีมากข้ึน ความพึงพอใจของลูกค!า และอ่ืนๆ อีกมากมายในหลากหลายกรณีที่สิ่งเหล1าน้ี เป3น
ประโยชนอย1างมากต1อองคกรในอนาคตที่มีการแข1งขันสูง หลายๆ ยังให!ความสําคัญกับระบบสารสนเทศทางการบัญชีอย1ูใน
ระดบั นอ! ยอาจเปน3 เพราะวา1 ในการนาํ ระบบสารสนเทศทางการบัญชีเข!ามาปรบั ใช!ในระยะแรกตอ! งลงทุนสูงทงั้ ในด!านระบบท่ีจะ
นํามาใช!และผ!ูใช!ระบบก็ต!องได!รับการอบรมพัฒนา และอีกหลายๆ องคกรท่ีได!นําระบบสารสนเทศทางการบัญชีมาปรับใช!
แลว! แตไ1 ม1สามารถตอบสนองความต!องการใหก! บั ผบู! ริหารทัง้ หมดทําใหผ! วู! จิ ัยมีความสนใจท่ีจะทําการศึกษาถึงความสัมพันธของ
คุณภาพของระบบสารสนเทศทางการบัญชี ในด!านคุณภาพของระบบสารสนเทศทางการบัญชี ความสมบูรณของระบบ
สารสนเทศทางการบญั ชี ความถกู ต!องและเชอ่ื ถือไดข! องข!อมลู ความถใ่ี นการรายงานผล การใชป! ระโยชนในการตัดสินใจ ความ
ยืดหยุ1นในการใช!งานและปรับปรุงส1งกระทบต1อผลการดําเนินงานของบริษัทในกลุ1มอุตสาหกรรมเทคโนโลยีที่จดทะเบียนใน
ตลาดหลักทรัพยแห1งประเทศไทยอย1างไร เพื่อจะได!เป3นแนวทางผู!บริหารควรส1งเสริม ปรับปรุง และพัฒนาความร!ูด!านระบบ
สารสนเทศทางการบญั ชี เพ่ือใหท! นั ต1อการเปล่ยี นแปลงตามสภาพเศรษฐกจิ ในปจv จุบนั

วตั ถุประสงค*

1. เพื่อศึกษาคุณภาพของระบบสารสนเทศทางการบัญชี และผลการดําเนินงานของบริษัทในกลุ1มอุตสาหกรรม
เทคโนโลยที ่จี ดทะเบียนในตลาดหลกั ทรพั ยแห1งประเทศไทย

2. เพื่อศกึ ษาความสัมพนั ธระหว1างคณุ ภาพของระบบสารสนเทศทางการบญั ชีกับผลการดําเนินงานของบริษัทในกล1ุม
อตุ สาหกรรมเทคโนโลยที ี่จดทะเบยี นในตลาดหลกั ทรพั ยแหง1 ประเทศไทย

สมมตฐิ านของการวจิ ยั

การศกึ ษาคุณภาพของระบบสารสนเทศทางการบญั ชี และผลการดาํ เนนิ งานของบรษิ ัทในกลม1ุ อตุ สาหกรรมเทคโนโลยี
ทจ่ี ดทะเบียนในตลาดหลกั ทรัพยแห1งประเทศไทย ผู!วิจัยได!ต้ังสมมติฐานในภาพรวมไว!ว1าคุณภาพของระบบสารสนเทศทางการ
บัญชี ท้งั ด!านความสมบูรณของระบบสารสนเทศทางการบัญชี ความถูกต!องและเช่ือถือได!ของข!อมูล ความถี่ในการรายงานผล
การใชป! ระโยชนในการตัดสนิ ใจ และความยืดหย1นุ ในการใชง! านและปรับปรุง มีความสมั พันธกบั ผลการดําเนินงานของบริษัทใน
กลม1ุ อตุ สาหกรรมเทคโนโลยที ี่จดทะเบียนในตลาดหลกั ทรัพยแห1งประเทศไทยในทิศทางเดียวกัน

นิยามศพั ท*เฉพาะ

คณุ ภาพของระบบสารสนเทศทางการบัญชี หมายถึง ความสมบูรณของระบบสารสนเทศทางการบัญชี ความถูกต!อง
และเชื่อถอื ไดข! องขอ! มลู ความถใ่ี นการรายงานผลที่จะนําไปใช!ประกอบดารตัดสินใจที่ได!จากรายงาน และความยดื หย1ุนในการ
ปรับปรงุ และพัฒนาระบบสารสนเทศทางการบญั ชี

ผลการดําเนินงาน หมายถึง ผลการดําเนินงานของบริษัทในกลุ1มอุตสาหกรรมเทคโนโลยีท่ีจดทะเบียนในตลาด
หลกั ทรพั ยแห1งประเทศไทย ซง่ึ ในงานวิจัยเลม1 นหี้ มายถงึ อัตรากาํ ไรสทุ ธิ กับอตั รากําไรขั้นตน!

กรอบแนวความคิด

การวิจยั เรือ่ งความสัมพนั ธระหวา1 งคณุ ภาพของระบบสารสนเทศทางการบัญชีกับผลการดําเนินงานของบริษัทในกล1ุม
อุตสาหกรรมเทคโนโลยที ่จี ดทะเบยี นในตลาดหลกั ทรัพยแหง1 ประเทศไทย จากการทบทวนแนวคดิ ทฤษฎแี ละงานวจิ ยั ทเ่ี ก่ยี วขอ! ง
พบว1า ผลงานวจิ ัยของศรณั ยา เชยสุวรรณ (2552) และย่ิงลักษณ เขมโชติกูร (2554) มคี วามเกี่ยวข!องและเหมาะสมทจ่ี ะนาํ มา

เอกสารสืบเน่ืองจากการประชมุ วิชาการและนําเสนอผลงานวจิ ัยระดบั ชาติ 2559 “การวจิ ยั รับใช"ชุมชนสร"างสังคมฐานความรู"” 433

ศึกษาต1อยอดเพอื่ สร!างองคความรใ!ู หมใ1 ห!กับวงการศึกษา โดยผูว! ิจยั ได!ปรับปรุงกรอบแนวความคดิ และแบบสอบถามบางส1วนให!
เหมาะสมกบั การวิจยั ในคร้งั นี้ ซึ่งผูว! จิ ัยไดก! าํ หนดกรอบแนวความคิด ดังนี้

ตวั แปรอิสระ ตวั แปรตาม

คุณภาพของระบบสารสนเทศทางการบัญชี ผลการดาํ เนนิ งาน
1. ความสมบูรณของระบบสารสนเทศทางการบัญชี 1. อัตรากําไรสทุ ธิ
2. ความถูกต!องและเชอ่ื ถอื ได!ของข!อมลู
3. ความถี่ในการรายงานผล 2. อัตรากาํ ไรขน้ั ตน!
4. การใช!ประโยชนในการตดั สนิ ใจ

5. ความยดื หย1นุ ในการใชง! านและปรบั ปรงุ

ภาพ 1 กรอบแนวความคดิ คณุ ภาพของระบบสารสนเทศทางการบญั ชีกับผลการดําเนินงาน

ทฤษฎีและงานวิจัยที่เก่ยี วขอ" ง

ในส1วนของการทบทวนแนวคิดทฤษฎีเพอ่ื ให!คลอบคลมุ การวิจัย ผว!ู ิจยั ไดแ! บ1งเปน3 3 หัวข!อ ประกอบด!วย
1. ระบบสารสนเทศทางการบัญชี หมายถึง ระบบสารสนเทศทางการบัญชีเป3นระบบหนึ่ง ซึ่งทําหน!าท่ีในการเก็บ
รวบรวมและทําการประมวลผลข!อมูลทางการเงินหรือข!อมูลที่เป3นเหตุการณเชิงเศรษฐกิจ เพ่ือจัดทําให!อย1ูในรูปแบบของ
สารสนเทศทางการบญั ชี ซ่ึงหมายถงึ รายงานทางการเงินและรายงานประเภทต1างๆที่เกี่ยวข!อง เช1น งบแสองฐานะทางการเงิน
งบกําไรขาดทุน งบกระแสเงินสด งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส1วนของผู!ถือห!ุน เป3นต!น เพื่อให!กับผู!ท่ีสนใจข!อมูลทางกเศรษฐกิจ
ของกิจการนําไปใช!ประโยชนในการตัดสินใจเชิงเศรษฐกิจต1อไปในอนาคต (นพฤทธ์ิ คงรุ1งโชค ,2549 หน!า 75) ระบบ
สารสนเทศทางการบัญชี (Accounting Information Systems) หมายถึง ระบบท่ีพัฒนาขึ้นมาในกิจการ โดยมีการใช!
ทรัพยากรบุคคล คอมพิวเตอร และอุปกรณรอบข!าง เช1น จอภาพและเครื่องพิมพ เพื่อทําหน!าท่ีหลักในการบันทึกข!อมูล
ประมวลผล และจัดทําสารสนเทศทางการบญั ชี ให!แกผ1 !ูใช!ภายนอกของกจิ การ ในระบบสารเทศทางการบัญชีนอ้ี าจใช!คนจัดเก็บ
ข!อมูล ประมวลผล และจัดทําสารสนเทศทางการบัญชีโดยไม1ใช!คอมพิวเตอร และอุปกรณรอบข!างเป3นเคร่ืองมือช1วยอํานวย
ความสะดวก
2. แนวคดิ เกีย่ วกับการวดั ผลการดําเนนิ งานทางดา! นการเงนิ ของ อาํ นาจ ธีระวานชิ (2544, หน!า 67) กล1าวว1า ผลการ
ดําเนนิ งานทางด!านการเงนิ ขององคกร เปน3 ผลลพั ธอันสืบเน่ืองมาจากกลยทุ ธและการดําเนินงาน ดังนั้นผลลัพธทางการเงินควร
จะเป3นดัชนีวัดความสําเร็จท้ังในปvจจุบันและแสดงถึงแนวโน!มในอนาคตด!วย ซ่ึงปvจจัยที่ใช!วัดความสําเร็จทางการเงินแบ1ง
ออกเปน3 3 ปจv จยั ด!วยกนั คือการเตบิ โตของรายรบั การลดตน! ทุน และการใช!ประโยชนจากสินทรพั ย
3. งานวจิ ยั ทเ่ี กีย่ วขอ! ง ดงั นี้
นรีลักษณ ชุติมาสกุล (2553) ระบบสารสนเทศทางการบัญชีสําหรับวงจรรายได! โดยใช!โปรแกรมสําเร็จรูปทางการ
บัญชี ACCPAC: บริษทั กรณศี กึ ษา ผลการศึกษาพบว1า บริษัทกรณีศึกษาได!มีการใช!งานระบบสารสนเทศทางการบัญชีสําหรับ
วงจรรายได!หลายระบบ และการปฏิบัติงานในระบบยังคงบันทึกข!อมูลด!วยมือ ทําให!เกิดความซํ้าซ!อนในการทํางาน การ
ปฏิบัติงานเป3นไปอย1างล1าช!า และการจัดทํารายงานมีโอกาสเกิดข!อผิดพลาดได!ง1าย จึงได!เสนอแนะให!นําระบบสารสนเทศ
ทางการบัญชสี าํ หรับวงจรรายได! โดยใชโ! ปรแกรมสาํ เรจ็ รปู ทางการบัญชี ACCPAC มาประยุกตใช!กับบริษัทในส1วนของกิจกรรม

434 เอกสารสืบเน่ืองจากการประชุมวิชาการและนาํ เสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ 2559 “การวจิ ัยรับใช"ชุมชนสร"างสังคมฐานความร"ู”

เรียกเก็บเงินและกิจกรรมรับเงิน ทําให!การปฏิบัติงานสําหรับวงจรรายได!เสร็จส้ินภายในระบบเดียว ซึ่งช1วยลดขั้นตอนการ
ทํางาน และการปฏิบัตงิ านเปน3 ไปอยา1 งมีประสทิ ธภิ าพเพ่ิมมากข้นึ รวมทง้ั ได!จดั ทาํ คู1มือการบนั ทึกขอ! มูลสารสนเทศทางการบญั ชี
สําหรับวงจรรายได!ในโปรแกรมสําเร็จรูปทางการบัญชี ACCPAC เพ่ือให!การปฏิบัติงานของพนักงานมีประสิทธิภาพมากย่ิงขึ้น
และบริษัทไดข! อ! มูลท่ีมคี ณุ ภาพและสามารถใช!ในการจัดทํารายงานตามความต!องการของผ!ูบริหาร รวมท้ังผ!ูบริหารสามารถนํา
ข!อมูลสารสนเทศทางการบัญชีไปใช!ในการวางแผน การตดั สินใจ และการควบคมุ ไดอ! ยา1 งมปี ระสทิ ธภิ าพ

นฤมล พรหมจักร (2557) ปvจจัยท่ีมีผลต1อประสิทธิภาพการใช!ระบบสารสนเทศทางการบัญชีเพ่ือการวางแผน
ทรัพยากรของบรษิ ทั ในนิคมอุตสาหกรรมภาคเหนือ จังหวัดลําพูน ผลการวิจัยพบว1า ปvจจัยท่ีมีผลต1อประสิทธิภาพการใช!ระบบ
สารสนเทศทางการบัญชีเพ่ือการวางแผนทรัพยากร ซึ่งพบว1าผ!ูตอบแบบสอบถามมีความเห็นต1อปvจจัยด!านคุณภาพของระบบ
สารสนเทศในระดับสงู สุด ในเร่อื งการท่รี ะบบ ERP สามารถแสดงรูปแบบทสี่ ามารถเปรียบเทยี บกันได! ดังนัน้ หากกจิ การเล็งเห็น
ถงึ ความสําคญั ของปจv จัยดงั กลา1 ว ดงั น้นั ผ!ศู กึ ษาจงึ มคี วามเห็นว1า การพัฒนาในด!านคุณภาพของระบบสารสนเทศมีความสําคัญ
ตอ1 ประสทิ ธภิ าพการใชง! าน ซง่ึ สง1 ผลโดยตรงตอ1 คุณภาพข!อมลู สารสนเทศท่ีได!จากระบบเพ่ือใช!ในการบริหารทรัพยากรขององค
ตอ1 ไป

ยงิ่ ลกั ษณ เขมโชติกูร (2552) ไดศ! ึกษาเรอ่ื ง ผลกระทบของแนวทางการใช!ระบบสารสนเทศทางการบญั ชีทีม่ ตี อ1 ผลการ
ดําเนินงานของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย1อมในอําเภอเมืองเชียงใหม1 ผลการศึกษา พบว1ากลุ1มที่มีแนวทางการใช!ระบบ
สารสนเทศทางการบัญชีทีด่ ีจะมีผลการดาํ เนนิ งานทด่ี กี วา1 กลม1ุ ที่มีแนวทางการใช!ระบบสารสนเทศที่น!อยกว1า ซ่ึงค1าเฉลี่ยของผล
การดําเนินงานจะดีขึ้น ถ!ามีการจัดการแนวทางการใช!ระบบสารสนเทศทางการบัญชีท่ีดี ดังน้ันผ!ูประกอบการวิสาหกิจขนาด
กลางและขนาดย1อมควรให!ความสําคัญในการวิเคราะหความต!องการใช!ระบบสารสนเทศทางการบัญชี เพ่ือจะได!จัดการ
ความสามารถในการประมวลผลสารสนเทศทางการบญั ชใี ห!สอดคลอ! งกบั ความต!องการใช!ระบบสารสนเทศทางการบัญชี อันจะ
ส1งผลให!การดาํ เนินงานดีข้ึน

วชั ธนพงศ ยอดราช (2557) ได!วจิ ัยเร่อื ง ประสิทธิผลของระบบสารสนเทศทางการบัญชีท่ีมีต1อผลการดําเนินงานของ
บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแห1งประเทศไทย ผลการวิจัยพบว1า ประสิทธิผลของระบบสารสนเทศทางการบัญชี ซ่ึง
จําแนกตามขนาดขององคกร กล1ุมอุตสาหกรรม ระยะเวลาท่ีเปqดดําเนินการท่ีแตกต1างกัน จะมีความถ่ีในการรายงานผล
ความสามารถในการพยากรณการเสนอแนวทางการตัดสินใจ การรับข!อมูลโดยอัตโนมัติ ความยืดหย1ุนของระบบสารสนเทศ
ทางการบญั ชี การตัดสินใจของผบ!ู รหิ าร การจดั การข!อมูลทางบัญชี และความพงึ พอใจของผใู! ชป! ระโยชนจากรายงานของระบบ
สารสนเทศทางการบญั ชีสง1 ผลิตตอ1 การดําเนินงานของบริษทั จดทะเบียนในตลาดหลกั ทรัพยแห1งประเทศไทยทงั้ ทเ่ี ปน3 ตัวเงนิ และ
ที่ไม1เป3นตัวเงิน ทั้งน้ีเน่ืองจากระบบสารสนเทศทางการบัญชีนอกจากจะช1วยให!การดําเนินงานมีประสิทธิภาพต1อองคกร
โดยทวั่ ไปแล!ว การใช!ระบบสารสนเทศทางการบัญชที เ่ี หมาะสมกบั ขนาดธุรกิจยงั ช1วยใหเ! กดิ ผลในเชงิ บวกในธุรกิจอีกด!วย ขนาด
ธุรกิจย่งิ มีขนาดใหญข1 น้ึ ก็ยง่ิ ได!รับประโยชน

วธิ ีดําเนนิ การวิจยั

การวิจัยความสัมพันธระหว1างคุณภาพของระบบสารสนเทศทางการบัญชีกับผลการดําเนินงานของบริษัทในกลุ1ม
อุตสาหกรรมเทคโนโลยีทจ่ี ดทะเบยี นในตลาดหลักทรพั ยแหง1 ประเทศไทยเป3นการวิจัยเชิงสํารวจ ซ่ึงผ!ูวิจัยได!กําหนดวิธีการวิจัย
ไว!ดงั น้ี
ประชากร

การวิจัยความสัมพันธระหว1างคุณภาพของระบบสารสนเทศทางการบัญชีกับผลการดําเนินงานของบริษัทในกลุ1ม
อตุ สาหกรรมเทคโนโลยที จ่ี ดทะเบียนในตลาดหลกั ทรัพยแห1งประเทศไทย จะศึกษาจากบริษัทในกล1ุมอุตสาหกรรมเทคโนโลยีท่ี
จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแห1งประเทศไทย จํานวน 41 บริษัท โดยให!ผู!บริหารฝ•ายบัญชี และฝ•ายการเงินเป3นผู!ตอบ
แบบสอบถามบรษิ ัทละ 2 ชดุ จะไดข! อ! มลู ทง้ั หมด จาํ นวน 82 ชดุ

เอกสารสืบเนอ่ื งจากการประชมุ วิชาการและนําเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ 2559 “การวิจยั รบั ใช"ชุมชนสรา" งสงั คมฐานความรู"” 435

เคร่ืองมือการวิจัย
เครื่องมือท่ีใช!ในการวิจัยในคร้ังนี้เป3นแบบสอบถามซึ่งพัฒนาเครื่องมือมาจากแนวคิดทฤษฏีที่เก่ียวข!องท่ีเก่ียวกับ

คุณภาพของระบบสารสนเทศทางการบัญชกี ับผลการดาํ เนินงานของบริษทั ในกล1มุ อุตสาหกรรมเทคโนโลยที จ่ี ดทะเบียนในตลาด
หลกั ทรัพยแหง1 ประเทศไทย ซ่ึงจะแบง1 เครื่องมือเป3น 2 ส1วน ดงั น้ี

1. แบบสอบถามปลายปqดในส1วนของคุณภาพของระบบสารสนเทศทางการบัญชี เป3นแบบประเมินค1า Likert Scale
ให!ค1าคะแนนตามความสําคัญของตัวแปรในลักษณะท่ีเรียกว1า Weight Rating จํานวน 5 ระดับ คือ 5 หมายถึง มากท่ีสุด 4
หมายถึง มาก 3 หมายถึง ปานกลาง 2 หมายถึง น!อย และ 1 หมายถึง น!อยท่ีสุด มีค1าความเที่ยงเท1ากับ 0.85 ซึ่งจําแนก
ออกเปน3 5 ด!าน ดังน้ี

1.1 ความสมบรู ณของระบบสารสนเทศทางการบญั ชี
1.2 ความถกู ตอ! งและเชือ่ ถอื ไดข! องข!อมลู
1.3 ความถี่ในการรายงานผล
1.4 การใช!ประโยชนในการตดั สินใจ
1.5 ความยดื หยน1ุ ในการใชง! านและปรบั ปรงุ
2. แบบเกบ็ ขอ! มลู จากงบการเงินของผลการดําเนินงาน ซง่ึ จะเก็บจากค1าเฉลี่ยของอัตรากาํ ไรสุทธิ ปn 2554-2558 และ
คา1 เฉลี่ยของอตั รากาํ ไรขัน้ ต!น ปn 2554-2558

การเก็บรวบรวมขอ" มลู
การเกบ็ รวบรวมข!อมูลผ!วู จิ ัยกําหนดใหเ! กบ็ ข!อมูลจากแบบสอบถามในสว1 นของคุณภาพระบบสารสนเทศทางการ

บัญชโี ดยเจาะจง โดยมีวิธกี ารและข้ันตอนในการรวบรวมข!อมูล ดงั ต1อไปนี้
1. จดั เตรียมแบบสอบถามและทาํ การสง1 แบบสอบถามให!ผ!บู ริหารทางด!านบญั ชีเปน3 ผ!ตู อบแบบสอบถาม จาํ นวน

41 บรษิ ทั ซง่ึ กําหนดให!จัดทําแบบสอบถามบรษิ ัทละ 2 ชดุ
2. นําแบบสอบถามทไี่ ด!รับกลับคืนมาทําการตรวจสอบความครบถ!วนสมบูรณของข!อมูล โดยแบบสอบถามที่มี

ขอ! มูลไมค1 รบถ!วนสมบูรณจะดําเนนิ การโทรศัพทไปสอบถามใหมอ1 กี ครง้ั
3. ในส1วนของข!อมูลผลการดําเนินงานจะจัดเก็บจาก www.setsmart.com ข!อมูลระหว1างปn 2554-2558

จํานวน 5 ปn

สถติ ิท่ีใชก" ารวิเคราะห*ข"อมลู
ผ!ูวิจัยนําข!อมูลที่เก็บรวบรวมจากกลุ1มตัวอย1างมาวิเคราะหข!อมูล เพื่อทําการวิเคราะหตัวแปรอิสระกล1ุมใดสามารถ

อธบิ ายการผันแปรของตวั แปรตามได!มากกว1า และตวั แปรอิสระตัวใดมผี ลต1อตวั แปรตามอยา1 งมีนัยสําคัญทางสถิติ โดยใชเ! ทคนิค
การวเิ คราะหทางสถติ ิสาํ หรบั การทดสอบสมมตฐิ าน ดังต1อไปนี้

1. ข!อมูลเกี่ยวกับระดับคุณภาพของระบบสารสนเทศทางการบัญชีกับผลการดําเนินงานของบริษัทในกล1ุม
อุตสาหกรรมเทคโนโลยีท่ีจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแห1งประเทศไทย วิเคราะหขอ! มูลโดยการหาค1าเฉล่ีย (Mean) และค1า
สว1 นเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation)

2. การกําหนดเกณฑการจัดระดบั ของค1าเฉลย่ี เพื่อนํามาแปลความหมายของข!อมูลโดยใช!เกณฑการวัดระดับคุณภาพ
ของระบบสารสนเทศทางบัญชีจะกําหนดเกณฑคะแนนดังนี้


Click to View FlipBook Version