The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เล่ม วิจัย ราชภัฏ ธนบุรี proceeding 2559

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Thaninrat Kritchanthat Sirivisalsuwan, 2020-02-09 02:00:01

Proceeding ราชภัฏธนบุรี ระดับชาติ

เล่ม วิจัย ราชภัฏ ธนบุรี proceeding 2559

236 เอกสารสบื เน่อื งจากการประชมุ วิชาการและนาํ เสนอผลงานวิจยั ระดบั ชาติ 2559 “การวจิ ยั รับใช)ชมุ ชนสรา) งสงั คมฐานความรู)”

จากความสาํ คัญของปnญหาดังกลา8 ว ผู1วจิ ัยจงึ มคี วามสนใจในการพัฒนาระบบควบคุมห1องประชุมอัตโนมัติโดยส่ัง
การผ8านระบบอินเทอรเน็ตของสํานักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศมหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี นอกจากนี้
ผลการวจิ ยั ยงั สามารถเปน< แนวทางในการศกึ ษาวจิ ยั สาํ หรับผสู1 นใจทว่ั ไปอีกด1วย

วตั ถุประสงค

1. เพอื่ สร1างรูปแบบระบบควบคมุ ห1องประชมุ อตั โนมตั ิ โดยสัง่ การผ8านระบบอินเทอรเน็ตของสาํ นักวทิ ยบรกิ าร
และเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวทิ ยาลัยราชภฏั ธนบรุ ที มี่ ีประสทิ ธิภาพ

2. เพ่ือพฒั นาระบบส่งั การควบคุมอัตโนมัตผิ 8านระบบอนิ เทอรเนต็ ของสาํ นักวิทยบริการและเทคโนโลยี
สารสนเทศมหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ธนบุรีท่มี ปี ระสทิ ธิภาพ

3. เพ่อื ศกึ ษาความพงึ พอใจของผใ1ู ชบ1 รกิ ารระบบควบคุมหอ1 งประชมุ อัตโนมตั ิ โดยส่งั การผา8 นระบบอินเทอรเน็ต
ของสาํ นกั วิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภฏั ธนบรุ ี

กรอบแนวคิดในการวจิ ัย ตัวแปรตาม

ตวั แปรต1น 1.ประสทิ ธภิ าพของระบบควบคุมห1องประชุม
อัตโนมตั ิ โดยสั่งการผา8 นระบบอนิ เทอรเนต็ และ
ระบบควบคมุ ห1องประชุมอตั โนมตั ิ โดยสงั่ ประสทิ ธภิ าพของระบบ ส่งั การควบคุมอตั โนมตั ิ
การผา8 นระบบอินเทอรเนต็ ของสาํ นกั วิทย ผา8 นระบบอนิ เทอรเนต็ ของสํานกั วทิ ยบริการและ
บริการและเทคโนโลยสี ารสนเทศ เทคโนโลยสี ารสนเทศ มหาวิทยาลยั ราชภัฏธนบรุ ี
มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ธนบรุ ี
1.ชุดโปรแกรมควบคุมระยะไกล 2.ความพงึ พอใจของผใู1 ช1บริการระบบควบคุมห1อง
2.ชดุ ควบคมุ ระบบอตั โนมตั ิ ประชมุ อัตโนมตั ิ โดยสั่งการผ8านระบบอนิ เทอรเนต็
2.1 โปรแกรมระบบควบคมุ หอ1 งประชมุ ของสํานกั วิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
อตั โนมัติ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ธนบรุ ี
2.2 อปุ กรณระบบควบคมุ อัตโนมตั ิ
2.3 ชดุ โปรแกรมควบคมุ ระบบไฟฟา|

วธิ ดี ําเนินการวิจัย

การวิจัยในครั้งนี้ เป<นการวจิ ยั เชิงทดลอง (Experimental Research) ผ1วู จิ ยั ได1ดําเนินการวจิ ยั เพอ่ื ใหบ1 รรลุ
วัตถปุ ระสงคทตี่ ้งั ไว1 โดยผู1วจิ ยั ไดด1 าํ เนนิ การวจิ ัยและรวบรวมข1อมลู ตามขนั้ ตอนดังต8อไปน้ี

ประชากรและกลมุ ตวั อยาง

1. ประชากรประชากรท่ีใชใ1 นการวจิ ยั ในคร้งั นี้ ได1แกd8 คณาจารย บุคลากร และนกั ศกึ ษา ภาคปกติ
มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ธนบุรี ปyการศกึ ษา 2558 โดยประชากรท่เี ป<นคณาจารย จํานวน 200 คนเปน< บคุ ลากร จาํ นวน 179
คน และเปน< นกั ศกึ ษา ภาคปกติ จาํ นวน 6,866 คน รวมประชากรทง้ั สิน้ 7,245 คน

2. กลุมตวั อยางกลุม8 ตวั อย8างทใ่ี ชใ1 นการวิจยั ในครง้ั นี้ คือ คณาจารย บคุ ลากร และนกั ศกึ ษา ภาคปกติ
มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ธนบุรี ปyการศกึ ษา 2558 โดยคํานวณจํานวนกลมุ8 ตัวอย8างจากสูตรการหากลมุ8 ตัวอย8างของทาโร8

เอกสารสืบเนอ่ื งจากการประชมุ วชิ าการและนําเสนอผลงานวจิ ยั ระดบั ชาติ 2559 “การวจิ ัยรบั ใช)ชมุ ชนสร)างสังคมฐานความรู)” 237

ยามาเน8 (TarodYamane) ทําใหไ1 ดก1 ลุ8มตัวอยา8 งจาํ นวน 400 คน และใช1วิธกี ารสม8ุ กลมุ8 ตัวอย8างแบบมสี ดั ส8วน ทาํ ใหไ1 ด1
สดั ส8วนของกลมุ8 ตัวอยา8 ง ดงั นี้ คณาจารย จาํ นวน 11 คน บุคลากร จาํ นวน 10 คนและนกั ศกึ ษา จํานวน 379 คน
เครือ่ งมือทีใ่ ช)ในการวจิ ัย

1. ระบบควบคมุ ห1องประชุมอตั โนมตั ิ โดยสั่งการผา8 นระบบอนิ เทอรเนต็ ของสาํ นกั วทิ ยบรกิ ารและเทคโนโลยี
สารสนเทศ มหาวทิ ยาลัยราชภฏั ธนบรุ ี เพ่อื ใหไ1 ด1มาซ่ึงรูปแบบระบบควบคมุ ห1องประชุมอัตโนมัติ โดยสงั่ การผา8 นระบบ
อินเทอรเน็ต และพัฒนาระบบสง่ั การควบคุมอัตโนมตั ผิ า8 นระบบอินเทอรเนต็ ดังภาพ 1

ภาพ 1 รปู แบบระบบควบคมุ หอ1 งประชมุ อตั โนมัติ โดยสงั่ การผ8านระบบอินเทอรเน็ตของ
สาํ นกั วิทยบริการและเทคโนโลยสี ารสนเทศ มหาวทิ ยาลัยราชภฏั ธนบุรี
2. แบบประเมนิ คณุ ภาพและประสิทธิภาพระบบควบคมุ หอ1 งประชุมอตั โนมัตโิ ดยสัง่ การผา8 นระบบอินเทอรเนต็
ของสาํ นักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภฏั ธนบุรี
3. แบบสอบถามความความพึงพอใจในระบบควบคุมห1องประชมุ อตั โนมัติ โดยสั่งการผา8 นระบบอินเทอรเนต็
ของสาํ นกั วทิ ยบริการและเทคโนโลยสี ารสนเทศ มหาวิทยาลยั ราชภฏั ธนบรุ ี
การเกบ็ รวบรวมข)อมูล
1. ติดตั้งโปรแกรมควบคุมระยะไกลทเ่ี ครื่องคอมพวิ เตอรทีน่ าํ มาใช1ในการทดลองระบบควบคุมห1องประชุม
อตั โนมตั ิ โดยสง่ั การผา8 นระบบอินเทอรเนต็ ของสํานกั วิทยบริการและเทคโนโลยสี ารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภฏั ธนบุรี
2. ผว1ู ิจยั แนะนาํ และสาธิตการวธิ ีการใช1งานระบบควบคมุ ห1องประชมุ อตั โนมตั ิ โดยสงั่ การผ8านระบบ
อนิ เทอรเน็ตของสํานักวทิ ยบริการและเทคโนโลยสี ารสนเทศ มหาวทิ ยาลัยราชภัฏธนบรุ ี ให1กับกลุ8มตัวอย8าง
3. หลังจากท่ผี 1ูวจิ ยั ไดส1 าธติ การใชง1 านระบบควบคมุ หอ1 งประชุมอัตโนมตั ิ โดยส่งั การผา8 นระบบอินเทอรเนต็ ของ
สํานักวทิ ยบรกิ ารและเทคโนโลยสี ารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภฏั ธนบุรแี ล1วให1กลม8ุ ตัวอย8างทําแบบสอบถามความพึงพอใจ

238 เอกสารสบื เนื่องจากการประชมุ วชิ าการและนาํ เสนอผลงานวิจยั ระดบั ชาติ 2559 “การวิจยั รบั ใช)ชมุ ชนสรา) งสงั คมฐานความรู)”

ในระบบควบคุมห1องประชุมอัตโนมตั ิ โดยสัง่ การผ8านระบบอินเทอรเน็ตของสาํ นกั วิทยบริการและเทคโนโลยสี ารสนเทศ
มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ธนบุรี

4. ผู1วิจยั นาํ แบบสอบถามความพึงพอใจมาวิเคราะหดว1 ยวธิ ีทางสถติ ิ

การวิเคราะหข)อมลู
1. ศึกษาคุณภาพและประสิทธิภาพระบบควบคุมห1องประชุมอัตโนมัติ โดยส่ังการผ8านระบบอินเทอรเน็ตของ

สํานักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี โดยการหาค8าเฉลี่ย (X) และส8วนเบ่ียงเบน
มาตรฐาน (Standard Deviation = S.D.) คํานวณโดยใช1โปรแกรมสําเรจ็ รปู

2. ศึกษาความพึงพอใจในระบบควบคุมห1องประชุมอัตโนมัติ โดยสั่งการผ8านระบบอินเทอรเน็ตของสํานักวิทย
บริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรีโดยการหาค8าความถี่ (Frequency), ค8าร1อยละ
(Percentage), ค8าเฉล่ีย (X) และส8วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation = S.D.) คํานวณโดยใช1โปรแกรม
สําเร็จรปู

สรปุ ผล

1. ผลการสร1างรูปแบบระบบควบคุมห1องประชุมอัตโนมัติ โดยสั่งการผ8านระบบอินเทอรเน็ตของสํานักวิทย
บริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี พบว8าระบบควบคุมห1องประชุมอัตโนมัติผ8านระบบ
อินเทอรเน็ต สํานักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรีผ8านการประเมินประสิทธิภาพจาก
ผูเ1 ชย่ี วชาญ มีคา8 เฉล่ียเทา8 กับ 4.40 ซ่งึ มีประสิทธิภาพอยูใ8 นระดบั ดี

2. ผลการสั่งการระบบควบคมุ ห1องประชุมอตั โนมัติ โดยสั่งการผา8 นระบบอนิ เทอรเนต็ ของสาํ นกั วิทยบรกิ ารและ
เทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี พบว8าระบบสั่งการควบคุมอัตโนมัติผ8านระบบอินเทอรเน็ตสํานักวิทย
บริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี ผ8านการประเมินประสิทธิภาพจากผู1เชี่ยวชาญ มีค8าเฉล่ีย
เทา8 กับ 4.49 ซึง่ มปี ระสทิ ธิภาพอย8ใู นระดับดี

3. ผลการศกึ ษาความพงึ พอใจของผู1ตอบแบบสอบถามเรื่องระบบควบคุมห1องประชุมอัตโนมัติ โดยสั่งการผ8าน
ระบบอินเทอรเนต็ ของสาํ นักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวทิ ยาลัยราชภัฏธนบรุ ี จํานวน 400 คนสรุปไดด1 งั นี้

ตอนที่ 1 ข1อมูลทั่วไปโดยจําแนกเป<นเพศหญิง คิดเป<นร1อยละ 78.0 และเป<นเพศชาย คิดเป<นร1อยละ 22.0
แจกแจงความถ่ีช8วงอายุของกลุ8มตัวอย8างพบว8า มากท่ีสุด คือ ช8วงอายุระหว8าง 21-30 ปy คิดเป<นร1อยละ 78.80 รองลงมา
คือ ช8วงอายุน1อยกว8า 20 ปy คิดเป<นร1อยละ 18.30น1อยท่ีสุด คือ ช8วงอายุระหว8าง 41-50ปy คิดเป<นร1อยละ0.80 และช8วง
อายุระหว8าง 51-60ปy กับ ช8วงอายุมากกว8า 60 ปy ไม8มีผู1ตอบแบบสอบถาม แจกแจงสถานภาพของผู1ตอบแบบสอบถาม
เรอื่ งระบบควบคมุ หอ1 งประชมุ อัตโนมตั ิ โดยสัง่ การผ8านระบบอินเทอรเน็ตของสํานักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
มหาวิทยาลยั ราชภฏั ธนบรุ ี จากผู1ตอบแบบสอบถาม จํานวน 400 คน เป<นอาจารย จํานวน 11 คน นักศึกษา จํานวน 379
คน และบคุ ลากร จาํ นวน 10 คน พบว8า สถานภาพผต1ู อบแบบสอบถามเร่ืองระบบควบคุมห1องประชุมอัตโนมัติ โดยส่ังการ
ผ8านระบบอินเทอรเนต็ ของสํานักวทิ ยบริการและเทคโนโลยสี ารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี มากท่ีสุด คือ นักศึกษา
คดิ เปน< ร1อยละ 94.80 รองลงมา คือ อาจารย คิดเป<นรอ1 ยละ 2.8 และนอ1 ยทีส่ ดุ คือ บุคลากร คดิ เปน< ร1อยละ 2.50

ตอนท่ี 2 แบบสอบถามความพึงพอใจระบบควบคุมห1องประชมุ อตั โนมตั ิ โดยสงั่ การผ8านระบบอนิ เทอรเน็ต
ของสํานักวทิ ยบรกิ ารและเทคโนโลยสี ารสนเทศ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ธนบุรคี า8 เฉลยี่ โดยรวมเท8ากับ 4.04หมายถึง มคี วาม
พงึ พอใจอยู8ในระดบั มาก มีความพงึ พอใจมากทส่ี ุดในเรอ่ื งระบบควบคุมห1องประชมุ อตั โนมัติให1ความปลอดภยั กบั ผ1ใู ชร1 ะบบ
ซงึ่ มีคา8 เฉลย่ี เท8ากับ 4.14 รองลงมาคือเร่ืองประสิทธิภาพการทาํ งานโดยรวมของระบบ ซงึ่ มีค8าเฉลย่ี เทา8 กับ 4.06 หมายถงึ
มีความพงึ พอใจอยใ8ู นระดบั มากและมีความพึงพอใจน1อยท่สี ดุ ในเรอื่ งระบบควบคุมห1องประชุมอัตโนมตั ิมคี วามเสถยี รภาพ
ซึ่งมคี า8 เฉลย่ี เทา8 กับ 3.97หมายถงึ มคี วามพงึ พอใจอยู8ในระดบั มาก

ผลการศึกษาความพึงพอใจของผ1ูตอบแบบสอบถามในเรื่องของระบบส่ังการควบคุมอัตโนมัติผ8านระบบ
อนิ เทอรเนต็ สาํ นักวิทยบรกิ ารและเทคโนโลยสี ารสนเทศ มหาวิทยาลยั ราชภฏั ธนบรุ ีมีค8าเฉลี่ยโดยรวมเท8ากบั 3.99 หมายถึง

เอกสารสืบเน่ืองจากการประชมุ วิชาการและนําเสนอผลงานวิจัยระดบั ชาติ 2559 “การวิจยั รับใชช) ุมชนสร)างสังคมฐานความร)ู” 239

มีความพึงพอใจอยูใ8 นระดบั มากโดยมีความพึงพอใจมากที่สุดในเรื่องระบบส่ังการควบคุมอัตโนมัติสามารถใช1คอมพิวเตอร
และอุปกรณเคล่ือนท่ีควบคุมได1ความสะดวก มีค8าเฉลี่ยโดยรวมเท8ากับ 4.07 หมายถึง มีความพึงพอใจอยู8ในระดับมาก
รองลงมา คือ เร่ืองระบบสั่งการควบคุมอัตโนมัติมีการออกแบบชุดควบคุมระบบไฟฟ|าอย8างมีประสิทธิภาพ ซึ่งมีค8าเฉล่ีย
เทา8 กับ 4.03 หมายถึง มีความพึงพอใจอย8ูในระดับมาก และมีความพึงพอใจน1อยทส่ี ดุ คอื เรื่องสามารถใช1งานระบบส่ังการ
ควบคุมอตั โนมตั ผิ า8 นระบบอินเทอรเนต็ จากระยะไกล ซงึ่ มคี า8 เฉลย่ี เทา8 กบั 3.90หมายถงึ มคี วามพงึ พอใจอยู8ในระดบั มาก

ผลการศึกษาความพึงพอใจของผ1ูตอบแบบสอบถามในเร่ืองของความพึงพอใจของผู1ใช1บริการระบบควบคุม
ห1องประชุมอัตโนมัติโดยส่ังการผ8านระบบอินเทอรเน็ตสํานักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏ
ธนบุรี มีคา8 เฉลยี่ โดยรวมเท8ากบั 4.05 หมายถงึ มคี วามพงึ พอใจอยใ8ู นระดบั มาก โดยมีความพึงพอใจมากท่ีสุดในเร่ืองความ
พึงพอใจในภาพรวมของการพัฒนาระบบควบคุมห1องประชุมอตั โนมตั โิ ดยสงั่ การผ8านระบบอนิ เทอรเน็ต ซง่ึ มีค8าเฉลีย่ เทา8 กับ
4.08 หมายถึง มีความพึงพอใจอยใู8 นระดับมาก รองลงมา คือ เร่ืองระบบควบคุมห1องประชุมอัตโนมัติมีความทันสมัย ซึ่งมี
ค8าเฉล่ียเท8ากับ 4.07 หมายถึง มีความพึงพอใจอย8ูในระดับมาก และมีความพึงพอใจน1อยท่ีสุดในเร่ืองระบบควบคุมห1อง
ประชุมอัตโนมัติมีความ กับเรื่อง ระบบสั่งการควบคุมอัตโนมัติมีโปรแกรมท่ีมีฟnงกชั่นการใช1งานเหมาะสม ซ่ึงมีค8าเฉลี่ย
เทา8 กบั 4.03 หมายถงึ มคี วามพึงพอใจอย8ใู นระดบั มาก

ตอนที่ 3 ข1อเสนอแนะเพ่ิมเติมเก่ียวกับระบบควบคุมห1องประชุมอัตโนมัติ โดยสั่งการผ8านระบบ
อินเทอรเน็ต ของสํานักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี ผ1ูตอบแบบสอบถามได1ให1
ขอ1 เสนอแนะเพ่ิมเตมิ ไวว1 า8 ควรมีการพฒั นาระบบใช1เป<นแอพพลิเคชนั่

อภปิ รายผล

จากการศกึ ษาวิจยั เรื่องการพฒั นาระบบควบคุมห1องประชุมอตั โนมัติ โดยสง่ั การผา8 นระบบอนิ เทอรเนต็ ของสาํ นกั
วทิ ยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวทิ ยาลัยราชภัฏธนบุรีสามารถอภิปรายผลการวิจัยโดยแบ8งตามวัตถุประสงคได1
ดังน้ี

1. การสรา1 งรูปแบบระบบควบคุมห1องประชุมอตั โนมตั ิ โดยสัง่ การผ8านระบบอินเทอรเน็ตของสํานักวิทยบริการ
และเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรีที่มีประสิทธิภาพซึ่งผลจากการสร1างรูปแบบระบบการควบคุมห1อง
ประชุมอัตโนมัติ โดยสั่งการผ8านระบบอินเทอรเน็ตของสํานักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏ
ธนบรุ ี สามารถควบคุมอุปกรณด1วยการเปˆดปˆดจากระยะไกล โดยมีชุดส่ังการทํางาน 2 ฟnงกชั่น คือ ควบคุมแบบอัตโนมัติ
(Automation) และแบบควบคุมด1วยมือ (Manual) ติดต้ังอยู8ที่ห1องควบคุมเครื่องเสียงของห1องประชุมเฉลิมพระเกียรติ
อาคาร 2 ชน้ั 8 ภายในมหาวิทยาลยั ราชภัฏธนบรุ ี ซึง่ สอดคล1องกับงานวจิ ยั ของ สุเมธ มามาตย, สุธรี แบนประเสรฐิ , และป
พนพัทธ พิมพคต (2549) ที่ได1ศึกษาเรื่อง การพัฒนาระบบควบคุมไฟฟ|าผ8านอินเทอรเน็ต มีวัตถุประสงคเพ่ือศึกษาการ
สร1างระบบสารสนเทศสําหรับการควบคุมไฟฟ|าผ8านอินเทอรเน็ตโดยใช1ไมโครคอนโทรลเลอร PIC 16F628 เช่ือมต8อกับ
พอรตอนุกรม RS-232 ของคอมพิวเตอร ระบบควบคุมไฟฟ|าผ8านอินเทอรเน็ต พัฒนาขึ้นโดยใช1ภาษา VB.NET ในการ
พัฒนา Web Application ผลการศกึ ษาครงั้ น้เี ปน< จดุ เริม่ ตน1 ของการพฒั นาระบบซ่งึ สามารถนําไปใช1งานได1จริงและช8วยให1
กระบวนการบรหิ ารการจดั การเปน< ไปอยา8 งมีประสิทธิภาพมากขึ้น

2.การพฒั นาระบบสง่ั การควบคมุ อตั โนมัตผิ 8านระบบอินเทอรเน็ตของสาํ นกั วทิ ยบริการและเทคโนโลยสี ารสนเทศ
มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ธนบุรีท่ีมีประสิทธิภาพซ่ึงผลจากการวิจัยพบว8าสามารถควบคุมอุปกรณจากระยะไกลโดยส่ังการผ8าน
ระบบอินเทอรเนต็ ของสํานกั วิทยบรกิ ารและเทคโนโลยสี ารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี ได1ทุกสถานท่ีทั้งภายในและ
ภายนอกมหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี ทําให1เกิดความสะดวกและประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน อีกท้ังยังเป<นการนํา
เทคโนโลยมี าประยกุ ตใช1ให1เกดิ ประโยชนสงู สุด ซึ่งสอดคล1องกับงานวิจยั ของอาสาฬห สังหร8าย และธนวัฒน สร1อยสวัสดิ์
(2554)ได1ศึกษาเรือ่ ง ระบบสง่ั การควบคุมรถยนตด1วยโทรศพั ทมือถือเพอ่ื ควบคุมระบบสัญญาณกันขโมย โดยระบบจะเป<น
สื่อในการเตือนภัยระยะไกลผ8านระบบมือถือ และยังมีคุณสมบัติในการควบคุมอุปกรณต8างๆ ในรถยนต เป<นการควบคุม
ผ8านโทรศัพทมือถือ ระบบส่ังการควบคุมรถยนตด1วยโทรศัพทมือถือมีลักษณะเป<นฮาดแวร โดยภาษาแอสเซมบลีผลการ
ประเมินความเหมาะสมของระบบ และผลการศกึ ษาความพึงพอใจของผใ1ู ช1ระบบส่ังการควบคุมรถยนตด1วยโทรศัพทมือถือ
โดยใช1แบบสอบถามในการเกบ็ ข1อมลู จากผ1ูเชีย่ วชาญ 2 คน และกล8ุมตวั อย8างจาํ นวน 15 คน จากผลการวิจัยพบว8าค8าเฉลี่ย

240 เอกสารสืบเน่อื งจากการประชมุ วชิ าการและนําเสนอผลงานวจิ ยั ระดบั ชาติ 2559 “การวจิ ัยรบั ใชช) ุมชนสร)างสงั คมฐานความรู)”

ของการประเมนิ ความเหมาะสมของผ1เู ช่ียวชาญเทา8 กับ4.51 มีคา8 ส8วนเบยี่ งเบนมาตรฐานเทา8 กับ 0.44 และค8าเฉล่ียความพึง
พอใจของผ1ูใช1ระบบเท8ากับ 4.40 มีส8วนเบ่ียงเบนมาตรฐานเท8ากับ 0.49 สามารถสรุปได1ว8าระบบที่พัฒนาขึ้นเป<นที่พอใจ
ของผใ1ู ช1ระบบในระดับมาก และท่จี ะใช1งานไดอ1 ย8างมปี ระสทิ ธิภาพ

3. ความพึงพอใจของผู1ใชบ1 รกิ ารระบบควบคุมห1องประชุมอัตโนมัติ โดยส่ังการผ8านระบบอินเทอรเน็ตของสํานัก
วิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี ซ่ึงผลจากการวิจัยในคร้ังนี้ ได1ทราบถึงระดับความพึง
พอใจของอาจารย บุคลากร และนักศึกษา ท่ีเป<นกลุ8มตัวอย8าง ว8ามีความพึงพอใจเร่ืองระบบควบคุมห1องประชุมอัตโนมัติ
โดยสั่งการผ8านระบบอินเทอรเน็ตของสํานักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี มีค8าเฉลี่ย
โดยรวมอย8ูในระดับมาก สอดคล1องกับงานวิจัยของเพ็ญศิริ วงษเมธีกิตติ์ (2556) ได1ศึกษาเร่ือง การประยุกตใช1ระบบ
ควบคุมระยะไกล (SCADA) สําหรับกระบวนการผลติ น้าํ ประปา สํานักการประปาเทศบาลนครราชสีมามีวัตถุประสงคเพื่อ
การประยุกตใช1ระบบควบคุมการผลิตน้ําประปาที่ส8งข1อมูลได1รวดเร็ว แม8นยํา และถูกต1อง โดยการใช1ระบบควบคุม
ระยะไกล (SCADA) รว8 มกบั อปุ กรณควบคุมอตั โนมัติ (PLC) เป<นการบริหารจัดการระบบงานผ8านเครือข8ายระบบวงจรเช8า
(TOT Metro LAN) ผลจากการศึกษาสามารถประยุกตใช1ระบบการควบคุมการผลิตน้ําที่ใช1งานได1 มีการประเมินผลความ
พึงพอใจตอ8 ระบบการควบคุมทพ่ี ัฒนาขนึ้ จากคณะผูบ1 ริหารทง้ั สน้ิ จํานวน 15 ทา8 น พบว8า ระบบทพี่ ฒั นาข้นึ มรี ะดบั ความพึง
พอใจในการใช1งานอย8ูในระดับดี ประสิทธิภาพการใช1งานท่ีประเมินจากเวลาเฉลี่ยการรับรู1ข1อมูลได1จากระยะเวลาหน่ึง
สัปดาหเป<นการรับรู1ข1อมูลได1ทันที รวดเร็ว และถูกต1อง สําหรับผลการวิเคราะหอัตราส8วนต8อเงินลงทุนได1เท8ากับ 1.798
ที่อตั ราผลตอบแทน 8% จึงสรปุ ไดว1 า8 โครงการน้ีมีความเหมาะสมแกก8 ารลงทุน

ขอ) เสนอแนะ

ขอ) เสนอแนะสําหรับการนําไปประยกุ ตใช)
ควรมีการพัฒนาระบบใช1เป<นแอพพลิเคช่ันเพื่อความสะดวกและรวดเร็วในการใช1งาน ในการเขียนโปรแกรมท่ี

เปน< แอพพลิเคชน่ั ถา1 เป<นไปไดค1 วรมภี าพของกลอ1 งวงจรปดˆ ของห1องประชุมอยภู8 ายในแอพพลิเคชั่น
ข)อเสนอแนะสําหรับการทาํ วจิ ยั ตอไป

ควรมกี ารศกึ ษาในเรอ่ื งการประยกุ ตใชร1 ะบบควบคุมระยะไกลแบบ (SCADA) และศกึ ษาในเรื่องการพัฒนาระบบ
ใช1เป<นแอพพลิเคชั่นและในการเขียนแอพพลิเคชั่นควรมีภาพของกล1องวงจรปˆดของห1องประชุมอยู8ภายในแอพพลิเคชั่น
พรอ1 มกับศกึ ษาในเร่ืองระบบทัชสกรนี เพือ่ ประยกุ ตใช1กบั ระบบควบคมุ ระยะไกล

เอกสารอา) งอิง

เพญ็ ศิริ วงษเมธกี ิตต์ิ. (2556). การประยกุ ตใช)ระบบควบคุมระยะไกล (SCADA) สาํ หรบั กระบวนการผลิตนํ้าประปา
สํานักการประปาเทศบาลนครราชสมี า.วศิ วกรรมศาสตรมหาบัณฑติ สาขาการจดั การงาน

วิศวกรรมมหาวทิ ยาลยั สยาม.
สเุ มธ มามาตย, สุธีร แบนประเสริฐ, และปพนพทั ธ พมิ พคต. (2549). การพัฒนาระบบควบคมุ ไฟฟxาผาน

อินเทอรเนต็ . มหาวทิ ยาลยั นเรศวร.
อาสาฬห สังหร8าย และธนวฒั น สรอ1 ยสวสั ด์ิ. (2554). ระบบสั่งการควบคุมรถยนตดว) ยโทรศัพทมอื ถือเพื่อควบคมุ

ระบบสญั ญาณกันขโมย. วทิ ยาศาสตรบัณฑติ มหาวิทยาลยั ราชภัฏบา1 นสมเดจ็ เจา1 พระยา.

เอกสารสบื เน่อื งจากการประชมุ วิชาการและนําเสนอผลงานวจิ ยั ระดบั ชาติ 2559 “การวจิ ยั รบั ใช)ชมุ ชนสร)างสงั คมฐานความรู)” 241

การพฒั นาระบบสารสนเทศภูมศิ าสตรออนไลนสนับสนนุ การทองเท่ียว
เขตธนบรุ ี กรุงเทพมหานคร

Online Geographic Information System to Support Tourism
in Thonburi District, Bangkok.

เสาวนยี ปรัชญาเกรยี งไกร1 ฐศั แก1ว ศรีสด1 เอกรินทร ต้ังนิธิบญุ 1 วชิ ยั สีแกว1 1
และ ฐานันดร สําราญสุข2

Soawanee Prachayagringkai1 ,Taskeow Srisod1, Eakrin Tungnitiboon1 , Wichai Sikaew1
and Thanandron Samransuk2

บทคดั ยอ

การวิจัยคร้ังน้ีมีวัตถุประสงคเพื่อ 1) จัดทําฐานข1อมูลสถานท่ีท8องเที่ยวทางศิลปะและวัฒนธรรม และแหล8ง
สนบั สนุนการทอ8 งเทีย่ วเขตธนบุรี ในจงั หวดั กรุงเทพมหานคร 2) พัฒนาระบบสารสนเทศภูมิศาสตรออนไลนสนับสนุนการ
ท8องเท่ียวเขตธนบุรี กรุงเทพมหานคร และ 3) หาประสิทธิภาพการทํางานของระบบสารสนเทศภูมิศาสตรออนไลน
สนับสนุนการท8องเที่ยวเขตธนบุรี กรุงเทพมหานครท่ีพัฒนาข้ึนดําเนินการวิจัยโดยอาศัยข1อมูลสถานท่ี จํานวน 223 แห8ง
แบ8งเปน< สถานที่ทอ8 งเทย่ี วทางศลิ ปะและวฒั นธรรม จํานวน 198 แห8ง แหล8งสนับสนุนการท8องเที่ยว จํานวน 25 แห8ง จาก
แหลง8 ขอ1 มูลทุติยภูมิ ของสํานักงานเขตธนบุรี และจากการสัมภาษณผ1ูนํา/ตัวแทนผ1ูนําชุมชนเขตธนบุรี จํานวน 44 ชุมชน
การหาประสิทธิภาพของระบบ โดยผู1เชี่ยวชาญด1านข1อมูล ผู1เช่ียวชาญด1านเทคโนโลยีคอมพิวเตอรและเทคโนโลยีการ
ส่ือสารข1อมูล จํานวน 5 ท8าน เคร่ืองมือที่ใช1ในการวิจัยคร้ังนี้ คือ 1) สํารวจจากพ้ืนท่ีจริงเพื่อระบุตําแหน8งที่ตั้งด1วย
Application GEOCAM 2) จัดการฐานข1อมูลด1วย MySQL และพัฒนาระบบด1วยโปรแกรมภาษ PHP Sublime text2
AJAX JSON และ JavaScript 3) แบบประเมนิ ประสิทธภิ าพระบบสารสนเทศภมู ศิ าสตรออนไลนสนบั สนุนการทอ8 งเท่ียว
เขตธนบุรี กรุงเทพมหานคร สถิติที่ใช1ในการวิเคราะห ได1แก8 ค8าร1อยละ ค8าเฉลี่ย และค8าส8วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน พัฒนา
ระบบตามวงจรการพฒั นาระบบ คอื การศกึ ษารวบรวมขอ1 มลู การวิเคราะหและออกแบบระบบ การสร1างและพัฒนาระบบ
การสรา1 งเคร่อื งมือประเมนิ ประสทิ ธภิ าพของระบบ การทดสอบประสิทธิภาพของระบบ การวิเคราะหข1อมูลทางสถิติ และ
การจัดทําคมู8 อื การใช1งาน

ผลการวิจยั พบว8า 1) ฐานขอ1 มลู ประกอบด1วย ข1อมูลสถานท่ี จํานวน 285 แห8ง แบ8งเป<นข1อมูลสถานที่ท8องเที่ยว
ทางศิลปะและวัฒนธรรม จํานวน 191 แห8ง แหล8งสนับสนุนการท8องเที่ยว จํานวน 25 แห8งผลจากการสัมภาษณผ1ูนํา/
ตัวแทนผ1ูนําชุมชน พบว8าชุมชนมีการจัดงานประเพณี วัฒนธรรมพ้ืนบ1าน และเทศกาลต8าง จํานวน 69 แห8ง 2) ระบบท่ี
พัฒนาข้ึนสามารถเพิ่มพิกัดของสถานที่ ค1นหาสถานที่ และค1นหาเส1นทางการเดินทางไปสถานท่ีท8องเที่ยวทางศิลปะและ
วัฒนธรรม และแหล8งสนบั สนนุ การท8องเท่ียว และ 3) ผลการประเมนิ ประสิทธภิ าพของระบบ พบวา8 ผ1ูเช่ยี วชาญมี
ความเห็นว8าระบบมีประสทิ ธิภาพโดยรวมอยใู8 นระดบั ดี และรายดา1 นมปี ระสิทธิภาพอยใ8ู นระดบั ดที ุกดา1 น เรยี งลําดับจาก
มากไปน1อยดงั นี้ คือ การประเมินด1านความสามารถในการทํางานตามระบบของผ1ูใชง1 าน รองลงมาคอื การประเมินด1าน
ผลลพั ธทีไ่ ดจ1 ากระบบ รองลงมาคอื การประเมินด1านการใชง1 านของระบบ รองลงมาคอื การประเมนิ ดา1 นความปลอดภยั
ของระบบ และ การประเมินด1านค8ูมือการใชง1 านระบบ จึงสรุปไดว1 า8 ระบบท่ีพัฒนาสามารถนําไปใช1ประโยชนได1จรงิ และมี
ประสิทธภิ าพดี

คําสาํ คัญ: สถานที่ทอ8 งเทย่ี วทางศิลปะและวฒั นธรรม/ เขตธนบรุ ี / ระบบสารสนเทศภมู ศิ าสตร

1 อาจารยประจาํ สาขาวิชาวทิ ยาการคอมพวิ เตอร คณะวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี
2 ศูนยเทคโนโลยีทางทหาร กองทัพบก

242 เอกสารสืบเน่อื งจากการประชมุ วชิ าการและนําเสนอผลงานวิจัยระดบั ชาติ 2559 “การวจิ ัยรับใช)ชมุ ชนสรา) งสังคมฐานความร)ู”

ABSTRACT

This research aim to 1) create a database to supporting art & cultural attractions, and tourist
support units in theThonburi District, Bangkok 2) develop Online GIS to support tourism in Thonburi
District, Bangkok and 3) investigate the functional efficiency of the Online GIS to Support Tourism of
Thonburi District, Bangkok. The research examined 223 locations divided into 198 art & cultural
attractions and 25 tourist support units, according to the secondary sources from the Thonburi District
Office and interviews with 44 leaders / representatives of Thonburi District communities. The efficiency
of the system was evaluated by 5 professionals in information, computer technology and information
communication technology. The tools used in this researchwere 1) GEOCAM Application to specify
location 2) MySQL Database to manage and develop the system with programming languages: PHP
Sublime text2 AJAX JSON and JavaScript 3) a performance evaluation form for the online GIS to
support tourism in Thonburi District, Bangkok. The statistics used in the analysis were percentage,
means and standard deviation. Developing the system through the development cycle, that is data
gathering, system analysis and design, creation and development, tools creation to assess the
performance of the system, system performance test, statistical analysis, and preparation of the
instruction manual.

The research findings were 1) the database consists of information from 285 locations divided
into 191 arts & cultural attractions, 25 tourist support units, The interview of leaders / representatives
of the communities reveals that there are 69 locations which have traditional, cultural and folk
festivals. 2) the developed system is able to add coordinates of the location, to search location and to
find directions to arts & culture attractions and tourist support units; and 3) for system efficiency, the
expert's opinion shows that the overall system performance is good. The performance of all aspects is
good; showing in descending order as follows: System efficiency for end user, system outcome,
system performance, security of the system, and instruction manual. In conclusion, the developed
system can be applied to practical use and has good performance.

Keywords: Arts & Culture Attraction, Thonburi District, Geographic Information System

ความเปน` มาและความสาํ คัญของปญb หา

การท8องเท่ียวเป<นอุตสาหกรรมท่ีนํารายได1เข1าส8ูประเทศไทย และยังช8วยพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม ตลาดการ
ท8องเที่ยวในปnจจุบันได1มีการแข8งขันอย8างรุนแรง ทําให1ประเทศไทยต1องปรับทิศทางการส8งเสริมการท8องเที่ยวโดยใช1อัต
ลักษณของประเทศ เช8น การท8องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ในระดับโลกอุตสาหกรรมการท8องเที่ยวจัดได1ว8าเป<นอุตสาหกรรมที่
ใหญท8 ี่สุด มีการจ1างงานสูงถึง 192.3 ล1านคน (World Tourism Organization, 2010) สําหรับประเทศไทยอุตสาหกรรม
การท8องเที่ยวมีความสําคัญต8อระบบเศรษฐกิจ โดยมีการจ1างงานประมาณ 1.94 ล1านคน หรือประมาณร1อยละ 5.3 ของ
อัตราการจ1างงานท้ังหมดของประเทศ การท8องเที่ยวทางเชิงวัฒนธรรม เป<นรูปแบบการท8องเท่ียวเพ่ือความสนใจพิเศษท่ี
เติบโตอย8างรวดเร็ว และมีบทบาทในอุตสาหกรรมการท8องเที่ยวโดยรวมค8อนข1างมาก เน่ืองจากนักท8องเที่ยวมักสนใจและ
ต1องการเขา1 ใจวัฒนธรรมของประเทศอื่นท่ีแตกต8างไปจากของตน โดยผ8านการชมหรือสัมผัสศิลปะ วัฒนธรรมแขนงต8างๆ
ซงึ่ หมายรวมถงึ ศลิ ปะทุกแขนง ทัง้ สถาปnตยกรรม ประติมากรรม จิตรกรรม หัตถกรรม ตลอดจนมรดกทางประวัติศาสตร
ซึ่งหมายถงึ โบราณสถาน และโบราณวัตถุ การทอ8 งเท่ียวเชิงวัฒนธรรมมีความพิเศษ ตรงที่นักท8องเที่ยวจะเน1นที่การศึกษา
หาความร1ูในพ้ืนท่ีท่ีสําคัญทางประวัติศาสตรและวัฒนธรรม สถานที่ดังกล8าวจะมีการบอกเล8าเรื่องราวในการพัฒนาทาง

เอกสารสืบเน่ืองจากการประชมุ วิชาการและนําเสนอผลงานวจิ ัยระดบั ชาติ 2559 “การวิจัยรบั ใชช) มุ ชนสร)างสงั คมฐานความร)ู” 243

สังคมและมนุษยผ8านทางประวัติศาสตรอันเป<นผลเกี่ยวเนื่องกับวัฒนธรรม องคความร1ู และการให1คุณค8าของสังคม โดย
สามารถสะท1อนใหเ1 หน็ ถงึ สภาพชีวติ ความเป<นอย8ขู องคนในแต8ละยคุ สมัยได1เป<นอยา8 งดี ไมว8 8าจะเป<นสภาพเศรษฐกิจ สังคม
หรือขนบธรรมเนียมประเพณี (กานดา แสงล้ิมสุวรรณ , 2556) กรุงเทพมหานครเป<นเมืองหลวงของไทยเป<นเมืองท่ีมี
ประชากรมากท่สี ุดของประเทศไทย มีแมน8 ้ําเจ1าพระยาไหลผา8 นและแบ8งเมืองออกเป<น 2 ฝn™ง คือ ฝ™nงพระนคร และฝn™งธนบุรี
(วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี, 2556) และยังเป<นศูนยกลางธุรกิจของประเทศ จึงมีนักท8องเท่ียวต8างชาติเดินทางมาเยือนมาก
เปน< อนั ดับหนง่ึ เมือ่ เทียบกบั ภูมภิ าคต8างๆ ท่ัวประเทศ โดยรวมตลอดทั้งปy 2554 มีนักท8องเท่ียวต8างชาติเดินทางเข1ามายัง
กรุงเทพฯ รวมทั้งสิ้น 14.9 ล1านคนเพิ่มสูงข้ึนถึงร1อยละ 31.1 จากปyก8อนหน1า (ศูนยวิจัยกสิกรไทย, 2556) ฝ™nงธนบุรี
หมายถึง พืน้ ที่ทางทศิ ตะวนั ตกของแม8น้ําเจา1 พระยา มีพ้ืนท่ปี ระมาณ 450 ตร.กม. พ้นื ทใี่ นฝn™งธนบรุ ี ประกอบด1วยเขตต8างๆ
15 เขต โดย เขตธนบุรี เป<นเขตพื้นท่ีอนุรักษเมืองกรุงเก8าธนบุรี มีแหล8งวิถีชีวิตชุมชนดั้งเดิม และแหล8งท8องเท่ียวเชิง
ประวตั ศิ าสตรและศิลปวัฒนธรรม ทีป่ ระกอบด1วย วัด โบสถ มัสยิด ท่ีทรงคุณค8าทางสถาปnตยกรรม ศิลปกรรม จิตรกรรม
และยังคงวิถีชีวิตของชุมชนนานาชาติ (จีน ฝร่ัง แขก เขมร ลาว) และขนบธรรมเนียมประเพณีด้ังเดิม (ศูนยข1อมูล
กรุงเทพมหานคร, 2556) ทรัพยากรการท8องเท่ียวของเขตธนบุรี จําแนกประเภท ได1ดังน้ี 1.แหล8งประวัติศาสตร ได1แก8
สถานท่ีที่มีความสําคัญทางประวัติศาสตร เช8น ศาสนสถาน ชุมชนโบราณ พิพิธภัณฑ 2.แหล8งศิลปวัฒนธรรม ประเพณี
กิจกรรม และวิถีชีวติ (พรศิริ กองนวล, 2555) มพี น้ื ท่ี 8,551 ตารางกโิ ลเมตร แบ8งเปน< 7 แขวง ดังนี้ 1.แขวงวดั กลั ยาณ 2.
แขวงหิรัญรูจี 3.แขวงบางยี่เรือ 4.แขวงบุคคโล 5.แขวงตลาดพลู 6.แขวงดาวคะนอง 7.แขวงสําเหร8 (สํานักบริหารการ
ทะเบยี น กรมการปกครอง, 2554)

ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร (Geographic Information System : GIS) คือ กระบวนการทํางานเก่ียวกับ
ขอ1 มูลในเชิงพื้นที่ด1วยระบบคอมพิวเตอร ที่ใช1กําหนดขอ1 มูลและสารสนเทศ ทีม่ คี วามสัมพนั ธกับตาํ แหนง8 ในเชิงพนื้ ท่ี เช8น ที่
อย8ู บา1 นเลขท่ี สมั พนั ธกับตาํ แหน8งในแผนท่ีตาํ แหนง8 เส1นรุ1ง เสน1 แวง ขอ1 มลู และแผนทีใ่ น GIS เป<นระบบขอ1 มลู สารสนเทศที่
อยู8ในรูปของตารางข1อมูล และฐานข1อมูลท่ีมีส8วนสัมพันธกับข1อมูลเชิงพ้ืนท่ี (Spatial Data) ซ่ึงรูปแบบและความสัมพันธ
ของข1อมูลเชงิ พืน้ ที่ทั้งหลาย สามารถแปลความหมายเชื่อมโยงกบั สภาพภมู ิศาสตรอ่ืนๆ สภาพท1องท่ี สภาพการทํางานของ
ระบบสัมพันธกับสัดส8วน ระยะทาง และพ้ืนท่ีจริงบนแผนท่ี ที่สามารถอ1างอิงตําแหน8งที่อยู8จริงบนพื้นโลกได1โดยอาศัย
ระบบพกิ ดั ทางภมู ิศาสตร (Geocode) ทง้ั ทางตรงและทางอ1อม (ศนู ยวิจัยภมู ิสารสนเทศเพื่อประเทศไทย, 2557) ธรุ กจิ การ
ท8องเท่ียวมีลักษณะเฉพาะท่ีต1องอาศัยการตื่นตัวอยู8ตลอดเวลา พร1อมกับการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล1อมทางธุรกิจ
ดังน้ันการจดั การทอ8 งเทีย่ วให1ไดผ1 ลดีตอ1 งอาศยั ระบบการบริการทด่ี มี ีประสทิ ธิภาพและมีความคล8องตัวสงู ระบบสารสนเทศ
ทางภูมิศาสตรจึงเป<นคําตอบที่เหมาะสมอย8างย่ิงท่ีควรจะเข1ามามีบทบาทในการอํานวยความสะดวกในการให1บริการการ
ท8องเที่ยว โดยนักท8องเท่ยี วสามารถใช1ประโยชนจากระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตรท่ีสนับสนุนการท8องเที่ยว เพื่อการวาง
แผนการเดินทาง ได1หลายทางเลือกครบวงจร สะดวก รวดเรว็ และทัว่ ถึง ความสามารถของระบบสารสนเทศภูมิศาสตรที่มี
ต8อการพัฒนาการท8องเท่ียว สามารถนํามาใช1ในการพัฒนาอุตสาหกรรมการท8องเท่ียวให1เจริญเติบโต ก8อให1เกิดการ
ท8องเที่ยวแบบย่ังยนื ในอนาคต (ภาณุ ศิรริ ักษและคณะ, 2557)

ผูว1 จิ ยั พบว8า ข1อมูลแหล8งท8องเท่ียวเขตธนบุรียังไม8มีการจัดเก็บในรูปแบบระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร (GIS :
Geographic information system) ซึ่งเป<นระบบที่สามารถวิเคราะหและแสดงผลข1อมลู เชงิ พน้ื ทีอ่ ย8างมีประสทิ ธภิ าพและ
เป<นที่ยอมรับและนํามาประยุกตใช1ในงานด1านต8างๆ ได1อย8างแพร8หลาย ผ1ูวิจัยจึงได1พัฒนาระบบสารสนเทศภูมิศาสตร
สนับสนุนการท8องเที่ยวเขตธนบุรี กรุงเทพมหานคร ผ8านระบบออนไลนโดยนําระบบสารสนเทศภูมิศาสตรมาใช1ในการ
จัดทําฐานข1อมูลสถานที่ท8องเที่ยวและข1อมูลแหล8งสนับสนุนการท8องเที่ยวเขตธนบุรี เพื่อเป<นการเผยแพร8ประชาสัมพันธ
สนับสนุนสถานท่ีท8องเที่ยวในเขตธนบุรี กรุงเทพมหานคร ที่สอดคล1องกับประเด็นยุทธศาสตรการพัฒนาการท8องเท่ียว
แผนพฒั นากรุงเทพมหานคร ระยะ 12 ปy (พ.ศ.2552-2563) (สํานักงานกรุงเทพมหานคร, 2551) และ ประเดน็ ยุทธศาสตร
การวิจัยของชาติ ฉบับท่ี 8 (พ.ศ. 2555-2559) ด1วยการวิจัยพัฒนาศักยภาพบุคคลในชุมชนเพื่อการจัดการด1านการ
ท8องเท่ียวอย8างย่ังยืน เพื่อให1ประชาชนสามารถจัดการท8องเที่ยวได1ด1วยตนเอง โดยใช1เทคโนโลยีของ Google Map API
(Google Map Application Programming Interface) ซ่ึงเป<นโปรแกรมรหัสเปˆด (Open source program) ในการ
แสดงผลขอ1 มูลเชงิ พนื้ ท่ี

244 เอกสารสืบเนอ่ื งจากการประชมุ วิชาการและนาํ เสนอผลงานวิจัยระดบั ชาติ 2559 “การวิจัยรบั ใชช) ุมชนสรา) งสงั คมฐานความร)ู”

วตั ถุประสงคของการวิจัย
1. เพ่อื จัดทาํ ฐานข1อมูลสถานที่ท8องเที่ยวทางศิลปะและวัฒนธรรม และแหล8งสนับสนุนการท8องเท่ียวเขตธนบุรี

ในจงั หวดั กรุงเทพมหานคร
2. เพอื่ พัฒนาระบบสารสนเทศภูมศิ าสตรออนไลนสนบั สนุนการทอ8 งเทีย่ วเขตธนบุรี กรงุ เทพมหานคร
3. เพ่ือหาประสิทธิภาพการทํางานของระบบสารสนเทศภูมิศาสตรออนไลนสนับสนุนการท8องเที่ยวเขตธนบุรี

กรงุ เทพมหานคร
กรอบแนวคดิ ของการวิจัย

ตัวแปรต)น ระบบสารสนเทศภมู ศิ าสตร ตวั แปรตาม
ออนไลน
1. ขอบเขตการศกึ ษา ประสิทธภิ าพของระบบสารสนเทศ
- สถานท่ีท8องเที่ยวเขตธนบุรี ระบบสารสนเทศ 1. ดา1 นความสามารถในการ
ภมู ิศาสตรออนไลน
จํานวน 7 แขวง สนบั สนุนการท8องเท่ียว ทาํ งานตามระบบของผูใ1 ช1
2. สถานทท่ี องเทย่ี วเขตธนบรุ ี (Function Test)
- แหล8งท8องเที่ยวทางศิลปะ เขตธนบุรี 2. ดา1 นการใชง1 านของโปรแกรม
(Usability Test)
และวฒั นธรรม 3. ด1านผลลพั ธที่ไดจ1 ากโปรแกรม
- แหลง8 สนับสนุนการ (Result Test)
4. ด1านความปลอดภัย
ทอ8 งเท่ยี ว (Security Test)
3. เครอ่ื งมือท่ใี ช) 5. ดา1 นค8มู อื การใชง1 าน
- MySQL (Documentation)
- PHP, Sublime text2,

HTML5, JavaScript
- AJAX, JSON
- Google Map API

4. การพัฒนาระบบ
- วฎั จกั รการพัฒนาระบบ

(SDLC)

การวิจัยคร้ังนี้มีขอบเขตการศึกษา สถานท่ีท8องเที่ยวเขตธนบุรี จํานวน 7 แขวง เพ่ือจัดทําฐานข1อมูล
ประกอบด1วย แหล8งท8องเทยี่ วทางศิลปะและวัฒนธรรม และแหล8งสนับสนุนการท8องเท่ียว ทําการพัฒนาระบบสารสนเทศ
ภมู ศิ าสตรออนไลนสนับสนุนการทอ8 งเทีย่ ว เขตธนบุรี ตามวัฏจักรการพฒั นาระบบ (SDLC) ท่ีจัดเก็บข1อมูลแหล8งท8องเที่ยว
โดยใช1เคร่ืองมือ MySQL PHP Sublime text2 HTML5 JavaScript AJAX JSON Google Map API ประเมิน
ประสิทธิภาพของระบบสารสนเทศ 5 ด1าน คือ ด1านความสามารถในการทํางานตามระบบของผ1ูใช1 ด1านการใช1งานของ
โปรแกรม ด1านผลลพั ธทไี่ ดจ1 ากโปรแกรม ดา1 นความปลอดภยั และ ด1านค8มู ือการใช1งาน

เอกสารสบื เนือ่ งจากการประชมุ วชิ าการและนําเสนอผลงานวจิ ัยระดบั ชาติ 2559 “การวจิ ัยรับใช)ชุมชนสร)างสังคมฐานความร)ู” 245

วิธดี ําเนินการวิจัย

การวิจัยในครั้งน้ี เป<นการนําระบบสารสนเทศภูมิศาสตรมาประยุกตใช1ในการจัดทําฐานข1อมูลและ การพัฒนา
ระบบสารสนเทศภูมิศาสตรออนไลนสนับสนุนการท8องเท่ียวเขตธนบุรี กรุงเทพมหานคร เพื่อสนับสนุนการเข1าถึงพ้ืนที่
ทอ8 งเที่ยว มีวิธกี ารดําเนนิ การวิจยั ตามวตั ถุประสงค โดยแบ8งเป<น 2 ส8วน ดังน้ี
สวนที่ 1การจัดทําฐานข1อมูลสถานท่ีท8องเที่ยวและแหล8งสนับสนุนการท8องเที่ยวในเขตธนบุรี กรุงเทพมหานครมี

วิธดี าํ เนินการวิจยั ตามวตั ถุประสงคเพอื่ การจัดทาํ ฐานขอ1 มลู สถานที่ทอ8 งเที่ยวทางศลิ ปะและวฒั นธรรม และแหล8งสนับสนุน

การท8องเที่ยวเขตธนบรุ ี ในจังหวัดกรงุ เทพมหานคร

ขอบเขตที่ศกึ ษา
1. แหล8งทอ8 งเทย่ี วทางศิลปวัฒนธรรม เขตธนบรุ ี กรงุ เทพมหานคร จาํ นวนท้งั หมด 198 แหง8
2. แหล8งสนบั สนนุ การทอ8 งเทีย่ วเขตธนบุรี กรุงเทพมหานคร จํานวนท้งั หมด 25 แหง8
3.ผ1ูนํา หรอื ตวั แทนชมุ ชนเขตธนบุรี กรุงเทพมหานคร จํานวน 44 ชุมชน
4. ผ1เู ช่ยี วชาญทมี่ คี วามรู1เรอ่ื งสถานที่ท8องเที่ยวเขตธนบุรี ผ1ูเชี่ยวชาญด1านเทคโนโลยีคอมพิวเตอรและเทคโนโลยี

การสอื่ สารขอ1 มูล จาํ นวน 5 ทา8 น

เคร่ืองมือทีใ่ ช)ในการรวบรวมขอ) มลู

1. ข1อมูลพิกัดของสถานที่ท8องเที่ยว และแหล8งสนับสนุนการท8องเที่ยว ทําการเก็บข1อมูลด1วย Application
GeoCam FREE บน สมารทโฟน ทใ่ี ชง1 านบนระบบปฏบิ ตั กิ าร Android

2. เรียบเรียงและรวบรวมข1อมูลท่ีจัดเก็บด1วยโปรแกรมจัดทําตารางข1อมูล (Spread sheet) เพื่อเตรียมข1อมูล
ก8อนเข1าส8ูโปรแกรมจัดการฐานข1อมูล MySQL ผ8านระบบสารสนเทศภูมิศาสตรสนับสนุนการท8องเท่ียวเขตธนบุรี
กรุงเทพมหานคร ท่ีพฒั นาขึน้

การเกบ็ รวบรวมขอ) มูล
1. เก็บรวบรวมข1อมลู เชงิ บรรยาย (ขอ1 มูลทตุ ยิ ภมู ิ)

ลาํ ดับ ช่อื ขอ) มูล ท่ีมา

1 ขอ1 มูลแหลง8 ท8องเทย่ี วทาง – คู8มอื แนะนําแหลง8 ท8องเที่ยว เขตธนบรุ ี ธนบุรไี กด
ศลิ ปะและวฒั นธรรมและ – ขอ1 มูลทั่วไปสําหรบั ผูบ1 ริหาร ฝา› ยปกครอง สํานกั งานเขตธนบุรี
แหลง8 สํานกั สนบั สนนุ การ – ข1อมูลกิจการคา1 ทีเ่ ป<นอันตรายตอ8 สุขภาพ ตามกฎหมายว8าด1วย
ทอ8 งเทีย่ ว
สาธารณสขุ สาํ นักงานเขตธนบรุ ี
2 ขอ1 มลู ประเพณชี มุ ชน และ – เว็บไซตสํานักงานเขตธนบุรี กรงุ เทพมหานคร
ผลติ ภณั ฑ OTOP ทีส่ ําคัญ – เวบ็ ไซตการรถไฟแห8งประเทศไทย
ของชุมชน – เวบ็ ไซตการรถไฟฟ|าขนสง8 มวลชนแหง8 ประเทศไทย
– เว็บไซตสภาองคกรชมุ ชน และสมชั ชา สภาองคกรชมุ ชน

กรงุ เทพมหานคร
– เวบ็ ไซต edtguide.com
– เว็บไซต วดั .ไทย
– เวบ็ ไซต charoensuk4.com

– แบบสมั ภาษณ ผ1นู าํ /ตัวแทนชุมชน ด1านศลิ ปะและวฒั นธรรมเขต
ธนบุรี เร่อื ง ศาสนา ประเพณี และวฒั นธรรมของชุมชนเขตธนบรุ ี
กรุงเทพมหานคร

246 เอกสารสบื เนื่องจากการประชมุ วชิ าการและนําเสนอผลงานวจิ ยั ระดบั ชาติ 2559 “การวิจยั รับใช)ชมุ ชนสรา) งสงั คมฐานความร)ู”

2. การเก็บรวบรวมข1อมูลเชิงพ้นื ที่ ตาํ แหน8งพิกัดสถานท่ี
2.1. การเก็บรวบรวมข1อมูลเชิงพ้ืนท่ี (ข1อมลู ทุตยิ ภูมิ) ผ8านฐานขอ1 มูลแผนทข่ี อง Google Map
2.2. การเก็บรวมรวบข1อมูลเชิงพ้ืนที่ (ข1อมูลปฐมภูมิ) ด1วยการลงสํารวจจากพื้นท่ีจริง และใช1Application

GEOCAM เพ่ือระบุตําแหน8งท่ีต้ังของสถานท่ีท8องเท่ียว และแหล8งสนับสนุนการท8องเที่ยว โดยแปลงระบบพิกัดของ
ตาํ แหน8งสถานที่ เปน< ระบบละติจดู ลองติจดู

การจดั กระทาํ ข)อมลู
เม่ือได1รายชื่อสถานท่ีท8องเท่ียว และแหล8งสนับสนุนการท8องเท่ียวแล1ว ทําการจําแนกข1อมูลสถานที่ท8องเที่ยว

(ที่เป<นข1อมูลเชิงบรรยาย) ออกด1วยการระบุหมวดหมู8ของสถานท่ี และประเภทของสถานท่ี ลงในโปรแกรมจัดทํา
ตารางขอ1 มลู (Spread sheet) หลังจากน้ันทาํ การบันทกึ พิกดั สถานทใี่ นรูปแบบละติจูด ลองตจิ ูด ทไี่ ด1จากสถานที่จริง แล1ว
นําข1อมลู เข1าสูโ8 ปรแกรมจัดการฐานขอ1 มูล MySQL เพือ่ จัดเก็บขอ1 มลู ลงไปในฐานข1อมูล

การวเิ คราะหข)อมูล
วิเคราะหข1อมูลด1วยโปรแกรมคํานวณทางสถิติ ในการแจกแจงความถี่ และหาค8าร1อยละของสถานท่ีท8องเท่ียว

และแหล8งสนับสนุนการท8องเท่ียว จําแนกตามประเภท นําเสนอข1อมูลในรูปตารางประกอบการบรรยายและแผนที่แสดง
ตําแหนง8 สถานที่
สวนที่ 2 การพัฒนาระบบสารสนเทศภูมิศาสตร มีวิธีดําเนินการวิจัยตามวัตถุประสงคเพ่ือพัฒนาระบบสารสนเทศ
ภูมิศาสตรออนไลนสนับสนุนการท8องเที่ยวเขตธนบุรี กรุงเทพมหานคร และเพื่อหาประสิทธิภาพการทํางานของระบบ
สารสนเทศภูมิศาสตรออนไลนสนับสนนุ การทอ8 งเทย่ี วเขตธนบรุ ี กรงุ เทพมหานคร

การพัฒนาระบบสารสนเทศภูมิศาสตรออนไลนมีข้ันตอน และเครื่องมือที่ใช1ในการพัฒนาระบบ ผ1ูวิจัยได1
ดําเนินการตามขั้นตอนการพัฒนาระบบ (System Development Life Cycle : SDLC) แบ8งเป<น 7 ขั้นตอน ซึ่งมี
รายละเอียดดงั น้ี

1. การศกึ ษาและรวบรวมข1อมลู โดยการศึกษาความต1องการของผ1ูใช1ระบบ การให1บริการของระบบที่ให1บริการ
แผนที่ออนไลนเพื่อการทอ8 งเท่ียว เอกสารงานวิจัยท่ีเกี่ยวข1องกับระบบที่ให1บริการ และทําการสอบถามความต1องการของ
ผู1ใช1ระบบจากนักท8องเท่ยี ว หรือบคุ คลทวั่ ไปโดยการสมั ภาษณแบบไมเ8 ป<นทางการ (Information interview)

2. การวิเคราะหและออกแบบระบบ
2.1 การออกแบบฐานข1อมูล ในระดับตรรกะหรือในระดับแนวคิด ออกแบบความสัมพันธระหว8างข1อมูลใน

ระบบโดยใช1แบบจําลองข1อมูลเชิงสัมพันธ อธิบายด1วยแผนภาพแสดงความสัมพันธระหว8างข1อมูล (E-R Diagram) แล1ว
นํามาสร1างเป<นตารางข1อมูล ใช1ทฤษฎีการ Normalization เพื่อลดความซ้ําซ1อนของข1อมูล และทําพจนานุกรมข1อมูล
(Data Dictionary)

2.2 การออกแบบระบบตามความต1องการของผู1ใช1งานเพ่ือให1ผู1ใช1สามารถใช1งานได1สะดวก โดยออกแบบ
ระบบเป<น 2 ส8วนหลัก คือ ระบบดูข1อมูลสถานที่ และระบบแผนที่ ประกอบด1วย 3 ส8วยย8อย ได1แก8 ระบบค1นหาสถานที่
ระบบค1นหาเส1นทาง และ ระบบแสดงพ้ืนที่ GIS ในส8วนประสานงานกับผ1ูใช1 (User Interface) ออกแบบโดยใช1ส8วนต8อ
ประสานกราฟˆก (GUI) ทําการกําหนดความสัมพันธของคําส่ังและการใช1งานให1สอดคล1องกับความต1องการของผ1ูใช1 ใน
ลักษณะของป›ุมกด (Button) กล8องคําสง่ั ผสม (Dropdown listbox) โดยออกแบบเป<นภาษาไทย

3. การสร1างและพัฒนาระบบ
3.1 เขียนโปรแกรมระบบโดยใช1ภาษา PHP Sublime text2 AJAX JSON และ JavaScript จัดทํา

ฐานขอ1 มลู ด1วย MySQL
3.2 ทําการทดสอบระบบ โดยการจําลองผ1ูใช1งานระบบที่เป<น admin สมาชิก และผู1ใช1งานทั่วไป เพ่ือป|อน

ขอ1 มูลเข1าส8ูระบบ ทาํ การทดสอบซํา้ หลายๆ คร้งั เพ่ือหาขอ1 ผิดพลาด แลว1 ทําการปรบั ปรงุ แก1ไข
3.3 จดั ทาํ เอกสารคู8มือการใชง1 านระบบ โดยนําเสนอขั้นตอนวิธกี ารใช1งานระบบท่พี ัฒนาขึน้
3.4 Upload ระบบขน้ึ Web Host ของสถาบันวจิ ยั และพฒั นา มหาวิทยาลัยราชภฏั ธนบุรี

4. การสรา1 งเคร่อื งมอื ประเมนิ ประสทิ ธภิ าพระบบ

เอกสารสืบเนื่องจากการประชมุ วชิ าการและนาํ เสนอผลงานวจิ ยั ระดบั ชาติ 2559 “การวิจัยรับใช)ชมุ ชนสร)างสงั คมฐานความร)ู” 247

4.1 ศึกษาหลักการ แนวคิด และทฤษฎี เก่ียวกับการพัฒนาระบบสารสนเทศจากเอกสาร หนังสือ บทความ
และ งานวิจัยที่เกี่ยวขอ1 ง เพ่อื เป<นแนวทางในการสรา1 งเครื่องมอื

4.2 ศกึ ษาวิธีการสร1างแบบสอบถามมาตราสว8 นประเมินค8า 5 ระดับ ของลเิ คริ ท
4.3 นําขอ1 มูลทีไ่ ดจ1 ากการศึกษามากําหนดโครงสรา1 งขอบเขตเน้ือหาของแบบสอบถาม
4.4 พัฒนาเคร่ืองมอื และตรวจสอบคณุ ภาพเคร่อื งมอื โดยผเ1ู ชย่ี วชาญ ด1วยการตรวจสอบความตรงตามเน้ือหา
ของเคร่ืองมอื วิจัยตามท่ีกาํ หนดไว1 และนําผลการตรวจสอบของผ1เู ชี่ยวชาญมาหาค8าดชั นีความสอดคล1องระหว8างข1อคําถาม
กบั วตั ถุประสงค (IOC : Index of Item – Objective Congruence)ทุกข1อต1องมีมากกวา8 0.50
4.5 นําแบบสอบถาม ไปทดลองใช1 (Try out) กับผใู1 ชง1 าน จํานวน 5 คน
4.6 ตรวจสอบค8าความเช่ือม่นั (Reliability) ของแบบสอบถาม โดยใช1คําส่ัง Reliability Analysis ในการหา
คา8 สัมประสทิ ธิ์แอลฟา› ด1วยโปรแกรมสาํ เร็จรปู ทางสถิติ ควรมีความเชื่อมน่ั .80
4.7 จดั ทาํ แบบสอบถามฉบับจรงิ เพ่อื ใชใ1 นการประเมินระบบ
5. การทดสอบประสิทธิภาพของระบบมีข้ันตอนการปฏิบตั ิ ดงั น้ี
5.1 นําหนังสือแต8งต้ังและเชิญให1ทําการทดสอบระบบและแจกแบบประเมินหาประสิทธิภาพของระบบ
จาํ นวน 1 ชุด ให1ประเมินระบบ
5.2 วธิ กี ารดําเนินการทดสอบระบบ ผู1เชี่ยวชาญจะเป<นผ1ูทดสอบการใช1งานในสถานที่ท่ีมีการเช่ือมต8อระบบ
เครือข8ายอินเทอรเน็ต โดยพมิ พ URL ระบบเพื่อเขา1 ทดสอบ
5.3 หากเกิดข1อผิดพลาดของระบบ และมีข1อเสนอแนะต8างๆ ในข้ันตอนการทดสอบระบบของผ1ูเชี่ยวชาญ
ผ1ูวิจัยจะนํามาแกไ1 ขปรบั ปรุงระบบให1มีประสิทธิภาพมากยง่ิ ขึน้ ในคร้ังตอ8 ไป
6. การวิเคราะหข1อมูลทางสถิติใช1สถิติเชิงพรรณนา (Descriptive Statics) ในการวัดค8ากลางของข1อมูลโดยใช1
ค8าเฉลี่ยเลขคณิต (Arithmetic Mean) หรือค8าเฉล่ีย (Mean) และ การวัดการกระจายของข1อมูลโดยใช1ส8วนเบ่ียงเบน
มาตรฐาน (Standard Deviation) รวมทั้งการประมวลผลขอ1 มลู ด1วยโปรแกรมสาํ เรจ็ รูปทางสถติ ิ
7. การจัดทําค8ูมือใช1งานเพื่อให1ผ1ูใช1งานได1อ8านก8อนปฏิบัติการจริงกับระบบโดยค8ูมือปฏิบัติงานเป<นเอกสารท่ีใช1
อธบิ ายการปฏิบัตงิ านกบั ระบบ ซง่ึ จะแนะนาํ เมนู จอภาพ ขน้ั ตอนการทาํ งานของตัวโปรแกรม พร1อมทง้ั ตัวอยา8 งประกอบ

สรปุ ผล

1. ผลการจัดทําฐานข1อมูลสถานที่ท8องเท่ียวทางศิลปะและวัฒนธรรม และแหล8งสนับสนุนการท8องเท่ียวในเขต
ธนบุรี กรงุ เทพมหานคร จากข1อมลู สถานท่ี จาํ นวน 223 แหง8 และการสมั ภาษณผ1ูนํา/ตัวแทนผู1นําชุมชนเขตธนบุรี จํานวน
44 ชมุ ชน สามารถเกบ็ รวบรวมตําแหนง8 สถานท่ี ได1ท้งั หมด 285 ตําแหนง8 นาํ มาจัดทําฐานขอ1 มลู ใหอ1 ย8ูในรปู แบบฐานข1อมูล
MySQL จัดเก็บค8าพิกดั ในรูปแบบละติจูดและลองติจดู มดี ังน้ี

1.1 สถานท่ที 8องเที่ยวทางศลิ ปะและวัฒนธรรม มีจํานวน 260 แห8ง ประเภทของสถานที่ท8องเที่ยวทางศิลปะ
และวฒั นธรรมท่ีมีจํานวนมากที่สุด คือ ประเพณี วัฒนธรรมพ้ืนบ1าน เทศกาลต8างๆ จํานวน 72 แห8ง คิดเป<นร1อยละ 27.7
รองลงมาคอื ชมุ ชน จาํ นวน 44 แหง8 คิดเป<นร1อยละ 16.9 สถานศึกษา จํานวน 41 แห8ง คิดเป<นร1อยละ 15.8 วัด จํานวน
25 แห8ง คิดเปน< ร1อยละ 9.6 โบราณสถาน จาํ นวน 18 แห8ง คิดเปน< รอ1 ยละ 6.9 ผลติ ภัณฑชุมชน จํานวน 15 แห8ง คิดเป<น
ร1อยละ 5.8 โบราณวัตถุ จํานวน 13 คิดเป<นร1อยละ 5.0 ร1านอาหาร จํานวน 9 แห8ง คิดเป<นร1อยละ 3.5 ตลาดสด
จาํ นวน 6 แหง8 คดิ เป<นร1อยละ 2.3 ศาลเจ1า จํานวน 5 แห8ง คิดเป<นร1อยละ 1.9 โบสถ จํานวน 4 แห8ง คิดเป<นร1อยละ 1.5
มัสยิด และ ห1างสรรพสินค1า มีจํานวนประเภทละ 3 แห8ง คิดเป<นร1อยละ 1.2 และสถานที่ท8องเที่ยวทางศิลปะและ
วฒั นธรรมทมี่ จี ํานวนนอ1 ยที่สุด คือ พิพธิ ภัณฑ จาํ นวน 2 แหง8 คิดเปน< รอ1 ยละ 0.8

1.2 แหล8งสนับสนุนการท8องเที่ยว มีจํานวน 25 แห8ง ประเภทของแหล8งสนับสนุนการท8องเที่ยวท่ีมีจํานวน
มากที่สุด คือ สถานีตํารวจนครบาล และ โรงพยาบาล/สถานพยาบาล เท8ากันคือ จํานวน 5 แห8ง คิดเป<นร1อยละ 20.0
รองลงมาคอื สถานีรถไฟฟา| และโรงแรม มีจํานวนเท8ากันคือ 3 แห8ง คิดเป<นร1อยละ 12.0 สถานีรถไฟ ท่ีทําการไปรษณีย
และสถานีดับเพลิง มจี ํานวนเท8ากันคือ 2 แห8ง คิดเป<นร1อยละ 8.0 ประเภทแหล8งสนับสนุนการท8องเที่ยวท่ีมีน1อยท่ีสุด คือ
สาํ นกั งานเขตธนบุรี สถานธนานบุ าล และการไฟฟ|านครหลวง จํานวนเทา8 กนั คอื 1 แห8ง คิดเป<นร1อยละ 4.0

248 เอกสารสบื เน่อื งจากการประชมุ วิชาการและนําเสนอผลงานวิจยั ระดบั ชาติ 2559 “การวจิ ัยรบั ใช)ชมุ ชนสร)างสงั คมฐานความร)ู”

2. ผลการพฒั นาระบบตามวงจรการพัฒนาระบบ โดยระบบประกอบด1วย การเพิ่มพิกัดข1อมูลสถานท่ีท8องเท่ียว
การค1นหาสถานท่ีท8องเท่ียว การค1นหาเส1นทางการเดินทางไปสถานท่ีท8องเที่ยวทางศิลปะและวัฒนธรรม และแหล8ง
สนับสนุนการท8องเท่ยี วเขตธนบุรี กรุงเทพมหานคร

3. ผลการพัฒนาระบบสารสนเทศภูมิศาสตรออนไลนสนับสนุนการท8องเท่ียวเขตธนบุรี กรุงเทพมหานคร ให1
สามารถคน1 หาสถานที่แยกตามหมวดหม8ูและประเภทของสถานที่ และค1นหาเส1นทางการเดินทางจากสถานท่ีเร่ิมต1นไปยัง
สถานท่ีปลายทาง มผี ลการประเมินประสิทธภิ าพของระบบจากผเู1 ชีย่ วชาญ จํานวน 5 ท8าน ซ่งึ ผ1ูวจิ ยั ได1เลือกวิธีการประเมิน
ประสิทธิภาพตามแนวทางการวิจัยระบบสารสนเทศ ด1วยวิธีการทดสอบแบล{คบล็อก พบว8า ผ1ูเช่ียวชาญมีความเห็นว8า
ระบบมปี ระสทิ ธภิ าพอยู8ในระดับดี ด1านความสามารถในการทาํ งานตามระบบของผ1ูใช1งาน ดา1 นผลลพั ธที่ได1จากระบบ ด1าน
การใช1งานของระบบ ดา1 นความปลอดภยั ของระบบ และ ด1านค8มู อื การใช1งานระบบ

อภิปรายผล

จากการสํารวจข1อมูลสถานที่ เขตธนบุรี จํานวน 223 แห8ง และการสัมภาษณผ1ูนํา/ตัวแทนผู1นําชุมชนเขตธนบุรี
จาํ นวน 44 ชมุ ชน สามารถเก็บรวบรวมตําแหน8งสถานที่ ในเขตธนบรุ ี กรงุ เทพมหานคร ได1ทั้งหมด 285 ตําแหน8ง แบ8งเป<น
สถานทท่ี 8องเท่ยี วทางศลิ ปะและวฒั นธรรม จํานวน 260 แห8ง และแหล8งสนับสนุนการท8องเที่ยว จํานวน 25 แห8ง สามารถ
อภปิ รายผลการศึกษา ไดด1 ังนี้

1. ผลการจัดทําฐานข1อมูลสถานท่ีท8องเที่ยวทางศิลปะและวัฒนธรรม และแหล8งสนับสนุนการท8องเท่ียว เขต
ธนบุรี กรุงเทพมหานคร จัดทําข1อมูลให1อย8ูในรูปแบบฐานข1อมูล MySQL จัดเก็บพิกัดในรูปแบบละติจูดและลองติจูด เพ่ือ
นําไป mash-up ร8วมกับ Google Map จากการสํารวจสถานที่ท8องเที่ยวทางศิลปะและวัฒนธรรม จํานวน 260 แห8ง
ประเภทที่มีมากท่ีสุด คือ ประเพณี วัฒนธรรมพ้ืนบ1าน เทศกาลต8างๆ ร1อยละ 27.7 ซ่ึงได1ข1อมูลจากการสัมภาษณผู1นํา
หรือตัวแทนผู1นําชุมชน พบว8า ในเขตธนบุรีส8วนใหญ8มีการจัดงานประเพณีในวันสําคัญของชาติ และวันสําคัญทางศาสนา
ประเพณี วฒั นธรรมพื้นบา1 น เทศกาลต8างๆ ทม่ี ีจัดมากที่สดุ ในเขตธนบุรี คือ งานประเพณีสงกรานต และอื่นๆ ซ่ึงจะจัดข้ึน
ในชุมชน หรือชุมชนร8วมกับวัดในเขตชุมชน ด1วยเพราะในเขตธนบุรี ประกอบด1วยสถานท่ีที่ชุมชน ร1อยละ 16.9 และวัด
ร1อยละ 9.6 ในการเก็บข1อมูลของผู1วิจัยจากสถานท่ีจริงตามท่ีได1มีข1อมูลปรากฏใน ค8ูมือแนะนําแหล8งท8องเที่ยว เขตธนบุรี
(สํานกั งานเขตธนบุรี, 2555) จะเหน็ ได1ว8า โบราณสถาน และโบราณวตั ถุ ในเขตธนบรุ ี บางแหง8 มีสภาพทรดุ โทรม ซงึ่ หากมี
การดแู ลทดี่ จี ะเป<นแหลง8 ท8องเที่ยวทางศิลปะและวัฒนธรรมท่ีทรงคุณค8า และทํารายได1ให1กับการท8องเที่ยวในเขตธนบุรีได1
อย8างดี และจากการสํารวจสถานที่แหล8งสนับสนุนการท8องเท่ียว จํานวน 25 แห8ง ประเภทของแหล8งสนับสนุนการ
ทอ8 งเทยี่ วที่มีจํานวนมากท่ีสุด คือ สถานีตํารวจนครบาล และ โรงพยาบาล/สถานพยาบาล เท8ากันคือ จํานวน 5 แห8ง คิด
เป<นรอ1 ยละ 20.0 รองลงมาคือ สถานีรถไฟฟา| และโรงแรม มจี ํานวนเทา8 กันคอื 3 แหง8 คิดเปน< รอ1 ยละ 12.0 สถานรี ถไฟ ท่ี
ทําการไปรษณยี และสถานดี บั เพลงิ มจี าํ นวนเท8ากันคอื 2 แหง8 คิดเป<นรอ1 ยละ 8.0 ประเภทแหล8งสนับสนนุ การท8องเท่ียวที่
มีนอ1 ยทส่ี ดุ คือ สํานกั งานเขตธนบรุ ี สถานธนานบุ าล และการไฟฟา| นครหลวง จาํ นวนเท8ากนั คอื 1 แหง8 คิดเปน< ร1อยละ 4.0

2. ผลการพัฒนาระบบสารสนเทศภูมิศาสตรออนไลน โดยนํา Google Map เข1าไปเป<นองคประกอบในการ
นําเสนอข1อมูลในรูปแบบแผนท่ีบนเว็บเพจ ภาษาท่ีใช1ในการพัฒนาคือ PHP, AJAX, JavaScript, Sublime text2 ซึ่ง
ระบบท่ีพัฒนาขึ้นมีประสิทธิภาพดีจะช8วยให1ผู1ใช1มีความสะดวกมากในการค1นหาพิกัดสถานท่ี ค1นหาเส1นทางการเดินทาง
สมาชิกของระบบยังสามารถเพิ่มพิกัดสถานท่ีของตนเองได1ทําให1การเดินทางท8องเที่ยวมีความสะดวกเพิ่มขึ้น และช8วยใน
การวางแผนการเดินทางได1

3. ผลการหาประสิทธิภาพของระบบมีซึ่งผ1ูเชี่ยวชาญมีความคิดเห็นโดยรวมว8าระบบสารสนเทศภูมิศาสตร
ออนไลนสนับสนุนการท8องเที่ยวเขตธนบุรี กรุงเทพมหานคร ท่ีพัฒนาขึ้นมีประสิทธิภาพสามารถใช1งานเพ่ือการเพิ่มพิกัด
สถานที่ท8องเที่ยว ค1นหาสถานท่ีท8องเท่ียว ค1นหาเส1นทางการเดินทางท8องเท่ียว มีความเหมาะสมและเป<นประโยชนกับ
ผูใ1 ช1งานได1เป<นอย8างดี ซ่ึงสอดคล1องกบั ผลการศึกษา ของโสภิต สร1อยสอดศรี (2549) ได1ทําการศึกษาเรื่องระบบสนับสนุน
การตัดสินใจเพอ่ื การพฒั นาการทอ8 งเทย่ี วหมเู8 กาะสชี งั จังหวัดชลบุรี พบว8า โปรแกรมประยุกตสามารถเรียกค1นข1อมูล เพื่อ
ประกอบการวางแผนการท8องเที่ยวทสี่ ามารถกาํ หนดกิจกรรมให1เหมาะสมกับช8วงเวลาและระดับน้ําทะเลได1 สอดคล1องกับ

เอกสารสืบเน่อื งจากการประชมุ วชิ าการและนําเสนอผลงานวจิ ัยระดบั ชาติ 2559 “การวิจยั รบั ใช)ชมุ ชนสร)างสงั คมฐานความร)ู” 249

ผลการศกึ ษาของธารติ ศรสี มยั (2551) ได1ทาํ การศึกษาเร่ืองระบบการค1นหาเส1นทางบนเว็บ กรณีศึกษา : การท8องเท่ียวใน
พ้ืนท่ีจังหวัดขอนแก8น พบว8า ระบบสามารถสืบค1นสถานที่ต8างๆ และเส1นทางระหว8างจุด 2 จุด ได1ทั้งหมดข้ึนอยู8กับข1อมูล
พ้ืนฐานและสถานที่ที่มี ซ่ึงระบบช8วยให1การบริการข1อมูลด1านการท8องเท่ียวมีประสิทธิภาพดีย่ิงขึ้น สอดคล1องกับผล
การศึกษาของเจนสุดา พลู สมบัติ (2549) ไดท1 ําการศึกษาเรื่องการประยุกตใช1ระบบสารสนเทศภูมิศาสตรเพื่อวางแผนและ
ตัดสินใจการท8องเท่ยี วผา8 นระบบเครือ่ งข8ายคอมพวิ เตอร กรณศี กึ ษา เกาะสมุย จงั หวัดสรุ าษฎรธานี โปรแกรมประยุกตทีไ่ ด1
พัฒนาข้ึนและเผยแพร8ผ8านเครือข8ายคอมพิวเตอรน้ัน สามารถตอบสนองต8อการวางแผนการท8องเท่ียวในระดับมากและ
สามารถชว8 ยในการวางแผนและตดั สนิ ใจการทอ8 งเทยี่ วไดด1 กี วา8 ส่ือประเภทอนื่ สอดคล1องกบั ผลการศึกษาของวรรณพร รตั น
ศฤงค (2553) ไดท1 ําการศึกษาเรื่องระบบสารสนเทศภูมิศาสตรออนไลนสนับสนุนการท8องเท่ียวแหล8งผลิตอาหารปลอดภัย
และแหลง8 ท8องเท่ยี วเชิงเกษตรในจงั หวัดนครราชสีมา ระบบทไี่ ด1พัฒนาข้ึนนั้นสามารถค1นหาสถานที่และค1นหาเส1นทางการ
เดินทางจากสถานที่เร่ิมต1นไปยังสถานท่ีปลายทาง โดยผ1ูใช1จะได1รับความสะดวกในการค1นหาตําแหน8งสถานที่ และการ
คน1 หาเส1นทางการเดนิ ทางได1 ทําให1ช8วยลดภาระและเวลาในการติดต8อขอข1อมูลเพื่อการเดินทางและการท8องเท่ียวได1 และ
ช8วยในการวางแผนการเดินทางไดใ1 นระดับมากสรปุ ระบบสารสนเทศภูมิศาสตรออนไลนสนับสนุนการท8องเที่ยวเขตธนบุรี
กรุงเทพมหานคร ที่พัฒนาขึน้ สามารถใชง1 านเพือ่ การเพ่มิ พิกดั สถานท่ีทอ8 งเทีย่ ว คน1 หาสถานท่ีทอ8 งเท่ียว ค1นหาเสน1 ทางการ
เดินทางทอ8 งเท่ียว ซงึ่ ผ1ใู ชส1 ามารถเข1าถงึ ข1อมูลสถานท่ีทอ8 งเทีย่ วทางศิลปะและวัฒนธรรม และแหลง8 สนับสนุนการท8องเท่ียว
ท่ีต1องการได1อย8างเหมาะสม และมีประโยชนกับผู1ใช1งานเพ่ือการวางแผนการท8องเที่ยว และเพิ่มพิกัดสถานท่ีท8องเที่ยว
ส8วนตัว ให1สามารถค1นหาสถานที่ และเดินทางท8องเที่ยวไปยังสถานท่ีท8องเท่ียวในเขตธนบุรี กรุงเทพมหานคร ได1อย8าง
ถูกต1อง อีกทั้งยังเป<นการสนับสนุนให1มีการเข1าถึงข1อมูลสถานท่ีท8องเที่ยวในเขตธนบุรี กรุงเทพมหานคร ผ8านระบบ
คอมพวิ เตอรทเ่ี ชอื่ มตอ8 กบั ระบบเครือข8ายอินเทอรเนต็ ไดใ1 นทุกท่ี ทกุ เวลา ตรงตามความตอ1 งการของผู1ใช1งาน

ข)อเสนอแนะ

ข)อเสนอแนะสําหรบั การนาํ ไปประยกุ ตใช)
1. การพฒั นาระบบครงั้ นเี้ ป<นการนาํ เสนอข1อมูลสถานท่ีท8องเท่ียวทางศิลปะและวัฒนธรรม และแหล8งสนับสนุน

การท8องเท่ียวในรูปแบบเชิงพื้นท่ี เพ่ือใช1ในการประชาสัมพันธสถานที่ท8องเท่ียวทางระบบออนไลนบนเว็บไซตผ8านระบบ
เครือข8ายอนิ เทอรเนต็ ซึง่ มีความสะดวกในการคน1 หาข1อมูลสาํ หรับนักท8องเที่ยวที่มีความสนใจเดินทางท8องเที่ยวไปยังพื้นที่
บรกิ ารการทอ8 งเทยี่ ว ดังน้นั ทางภาครัฐและภาคเอกชนควรมีการพัฒนาด1านการปรับปรุงสถานที่ท8องเที่ยวทางศิลปะและ
วัฒนธรรมให1สวยงาม และทรงคุณค8าทางวัฒนธรรมในเขตธนบุรี เพ่ือให1นักท8องเท่ียวเกิดความประทับใจในสถานท่ี
ท8องเที่ยว และความประทับใจในการท8องเที่ยวน้ันจะส8งผลให1เขตธนบุรีเป<นท่ีกล8าวถึง และนักท8องเที่ยวให1ความสนใจใน
การเดินทางมาเท่ยี วชมศิลปะและวัฒนธรรมในเขตธนบรุ ี กรุงเทพมหานคร

2. หนว8 ยงานทงั้ ภาครฐั และภาคเอกชนที่เก่ียวขอ1 งกบั การจัดการท8องเท่ียวควรนําระบบสารสนเทศภูมิศาสตรเข1า
มาใช1ในการประชาสัมพันธ วางแผน และสนับสนุนการตัดสินใจใช1สําหรับนักท8องเท่ียวบนเครือข8ายอินเทอรเน็ต เพ่ือให1
นักท8องเท่ียวสามารถเห็นตําแหน8งสถานที่ เส1นทางการเดินทาง พร1อมทั้งรูปภาพและข1อความบรรยายรายละเอียดของ
สถานที่ ซึ่งระบบทพี่ ฒั นาข้ึนสามารถนาํ ไปประยุกตกบั แหล8งท8องเทีย่ วในพ้ืนท่ีอนื่ ๆ ได1

3. แหล8งทอ8 งเทย่ี วท่มี กี ารแสดงพกิ ดั สถานทีท่ อ8 งเท่ียวผ8านระบบสารสนเทศภูมิศาสตรท่ีพบส8วนมากมีฐานข1อมูล
มาจากฐานขอ1 มลู สถานที่ของ Google ซ่ึงมกี ารกําหนดพกิ ัดของสถานท่ที 8องเทยี่ วโดยผูใ1 ชท1 ่เี ปน< สมาชิก แต8ผู1วิจัยคน1 พบด1วย
ตนเองว8า พิกัดของสถานท่ที อ8 งเท่ียวท่ีกาํ หนดไว1บางแห8งมีการกําหนดพิกัดสถานท่ีไม8ถูกต1อง เช8น พิกัดของวิสาหกิจชุมชน
กลุ8มเจียระไนพลอย (เคร่ืองประดับเงินลงดําและทอง) ซ่ึงมีการลงข1อมูลพิกัดของสถานที่ไม8ถูกต1อง ซึ่งอาจนําทาง
นกั ทอ8 งเท่ยี วไดไ1 ม8ถกู ต1อง เป<นต1น ดังนัน้ การพัฒนาระบบสารสนเทศภูมิศาสตรออนไลนเพ่ือเก็บข1อมูลในเขตพื้นท่ีชุมชนท่ี
มีแหล8งท8องเท่ียวจํานวนมาก จะเป<นประโยชนมากในการประชาสัมพันธสถานที่ท8องเท่ียว และยังสร1างความมั่นใจให1กับ
นักท8องเท่ียวในการเดินทางมายังสถานทท่ี อ8 งเทย่ี วทีต่ อ1 งการได1

4. ระบบสารสนเทศภูมิศาสตรสนับสนุนการท8องเท่ียวเขตธนบุรี กรุงเทพมหานคร เป<นระบบท่ีให1ประโยชน ท้ัง
กับประชาชนท่ัวไป ภาครัฐ และภาคเอกชน รวมถึงประเทศชาติ ในการแนะนําด1านเส1นทางการท8องเท่ียวทางศิลปะและ
วัฒนธรรมของไทยในเขตธนบุรี กรุงเทพมหานคร ดงั นั้น จะเปน< ประโยชนเพิ่มขึ้นหากทางมหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรีมีการ

250 เอกสารสืบเน่ืองจากการประชมุ วิชาการและนาํ เสนอผลงานวิจัยระดบั ชาติ 2559 “การวจิ ยั รบั ใชช) มุ ชนสรา) งสังคมฐานความรู)”

จัดเก็บข1อมูลสถานทที่ อ8 งเทยี่ วไวใ1 นระบบ และมีการบริหารจดั การระบบใหม1 ีการนาํ เสนอข1อมูลที่เปน< ปnจจุบนั จะทาํ ใหร1 ะบบ
มกี ารใช1งานอย8างต8อเนอ่ื ง และเป<นไปตามวตั ถุประสงคของการทําวจิ ัย

ข)อเสนอแนะสาํ หรบั การทําวจิ ัยครง้ั ตอไป
1. ผลจากการประเมินประสิทธิภาพของระบบโดยผ1ูเชี่ยวชาญ พบว8า มีประสิทธิภาพในระดับดี ด1าน

ความสามารถในการทํางานตามระบบของผใ1ู ช1งาน ถ1ามีการปรับรูปแบบ Icon หรือ ปรับตําแหน8งการวาง ให1เหมาะสมกับ
การใชง1 านโดยเฉพาะป›มุ ทีค่ 1นหา (Search) และหากมีการแจ1งเตือนกรณีผ1ูใช1พิมพช่ือสถานท่ีไม8ถูกต1อง หรือสถานท่ีท่ีผ1ูใช1
คน1 หาไม8ไดอ1 ยใู8 นเขตธนบรุ ี กรุงเทพมหานครจะทําให1ผใ1ู ชไ1 ดร1 ับความสะดวกเพิ่มขึ้น และมีความเข1าในมากขึ้นในการใช1งาน
ระบบ ดา1 นการใช1งานของระบบ ถา1 มกี ารปรบั ขนาดตัวอักษรทแี่ สดงข1อมูลรายละเอยี ดของสถานที่ให1มีขนาดใหญ8ข้ึน ด1าน
ผลลพั ธที่ไดจ1 ากระบบ ถ1ามีการพัฒนาระบบใหม1 กี ารนําเสนอข1อมูลสถานที่บนแผนทีแ่ ละมีการแสดงชอ่ื ของสถานท่ีในแตล8 ะ
พกิ ัดด1วย จะทาํ ใหก1 ารแสดงผลในรูปแบบแผนทีม่ ปี ระโยชนสามารถนําไปใชง1 านไดเ1 พ่ิมมากขึน้ และควรมีการแสดงรูปภาพ
ท่หี ลากหลายและใสล8 ักษณะพเิ ศษเพิ่มเติมให1กบั รูปภาพเพื่อความหลากหลายในการแสดงผลบนระบบ และเพ่มิ ความสนใจ
ใหก1 ับผู1ท่ีเขา1 ใช1งานระบบ ด1านความปลอดภยั ถ1ามีการตดั ข1อมูลสว8 นตัวบางส8วนทีไ่ ม8จําเป<นต1องกรอก กรณีที่ผู1ใช1งานท่ัวไป
ต1องการสมัครเป<นสมาชิก เน่ืองจากข1อมูลส8วนตัว เช8น การกรอกหมายเลขบัตรประชาชน ไม8มีความจําเป<นและผู1ใช1ที่
ตอ1 งการสมัครเปน< สมาชกิ อาจไม8ได1รบั ความสะดวกในการให1ข1อมูล ด1านคู8มือการใช1งาน ผู1ใช1จะได1รับความสะดวกเพิ่มขึ้น
หากในระบบมคี มู8 ือการใชง1 านระบบแสดงในรูปแบบออนไลน

2. การพัฒนาระบบสารสนเทศภูมิศาสตรออนไลนในครั้งนี้ เพื่อจัดทําฐานข1อมูลพิกัดสถานที่ท8องเท่ียว ท่ีช8วยใน
การค1นหาสถานทีท่ 8องเที่ยว และเสน1 ทางการเดินทางท8องเทีย่ วใหก1 ับนกั ท8องเทีย่ ว ซึ่งนําข1อมูลของสถานท่ีท8องเท่ียวมาจาก
แหล8งข1อมูลทุติยภูมิ ดังน้ัน ระบบอาจมีข1อมูลสถานที่ท8องเท่ียวไม8ครบ จึงควรมีการพัฒนาต8อยอดให1มีการจัดเก็บข1อมูล
สถานทีท่ 8องเทีย่ วในเขตธนบรุ ใี หค1 รบ เพอ่ื ประโยชนต8อการประชาสมั พันธการท8องเทีย่ วในเขตธนบุรี กรุงเทพมหานคร

3. ควรมีการพัฒนาระบบสารสนเทศภูมิศาสตรออนไลน ให1สามารถเชื่อมโยงกับข1อมูลการจราจร แบบ Real
Time ซง่ึ จะทาํ ใหส1 ามารถทราบข1อมลู เพอ่ื วางแผนการเดินทางที่เหมาะสมมากขนึ้

กิตตกิ รรมประกาศ

งานวิจยั ฉบบั น้ีสําเร็จลลุ 8วงไปได1ด1วยดเี พราะไดร1 บั ความอนเุ คราะหเงินทนุ สนบั สนุนงานวจิ ัยจากมหาวิทยาลยั ราช
ภัฏธนบุรี และผู1ทรงคุณวุฒิที่กรุณาให1คําปรึกษา และเสนอแนะแนวทางในการดําเนินการวิจัย รวบรวมแก1ไข และ
ตรวจสอบข1อบกพร8องของระบบที่เป<นประโยชนมา รวมทั้งผู1วิจัยขอขอบคุณผู1นําชุมชน หรือตัวแทนผ1ูนําชุมชนที่ให1ความ
ร8วมมือในการตอบแบบสัมภาษณ ให1คําแนะนําเรื่องการเดินทางไปสถานท่ีท8องเท่ียวในชุมชน และการค1นหาสถานที่
ท8องเทย่ี วในเขตธนบรุ ีท่ีนาํ มาส8ูการจัดทําฐานขอ1 มูลสถานทท่ี 8องเทย่ี ว จนทําใหง1 านวิจัยฉบบั นส้ี าํ เร็จลุล8วงไปไดด1 ว1 ยดี

ประโยชนอนั ใด ที่เกิดจากงานวจิ ัยนี้ ย8อมเป<นผลมาจากความกรุณาดังกล8าวข1างต1น ผู1วิจัยขอขอบพระคุณมา ณ
โอกาสน้ี

เอกสารอ)างองิ

กาญจนา แสงลม้ิ สุวรรณ และคณะ. (2556). การทองเท่ียวเชิงมรดกวัฒนธรรมอยางยงั่ ยืน.
[ออนไลน]. ค1นจาก http://www.bu.ac.th/knowledgecenter/executive_journal/oct_dec_12/
pdf/aw019.pdf เขา1 ถงึ เมื่อวนั ที่ 18 ตลุ าคม 2556.

เจนสดุ า พูลสมบตั ิ. (2549). การประยุกตใช)ระบบสารสนเทศภูมิศาสตรเพ่อื วางแผนและตัดสนิ ใจการทองเท่ยี ว
ผานระบบเครอื ขายคอมพวิ เตอร กรณีศึกษา เกาะสมยุ จังหวดั สุราษฎรธานี. ปริญญานพิ นธ
วิทยาศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวิชาภมู ิศาสตร บณั ฑติ วทิ ยาลัย มหาวิทยาลยั ศรีนครินทรวิโรฒ.

ภาณุ ศิรริ ักษและคณะ. (2557). ระบบสารสนเทศภูมศิ าสตรเพอ่ื การทองเท่ยี ว. [ออนไลน].
คน1 จาก http://www.l3nr.org/posts/504167 เขา1 ถึงเมอ่ื วนั ท่ี 9 กมุ ภาพันธ 2557

เอกสารสบื เนอื่ งจากการประชมุ วชิ าการและนาํ เสนอผลงานวิจยั ระดบั ชาติ 2559 “การวจิ ัยรับใชช) ุมชนสร)างสงั คมฐานความร)ู” 251

วิกพิ ีเดีย สารานกุ รมเสรี. (2556). กรุงเทพมหานคร. [ออนไลน]. คน1 จาก http://th.wikipedia.org/
เขา1 ถึงเมอ่ื วันท่ี 15 ธันวาคม 2556.

ธาริต ศรสี มยั . (2551). ระบบการคน) หาเส)นทางบนเวบ็ กรณศี ึกษา : การทองเทย่ี วในเขตพืน้ ทจ่ี งั หวดั ขอนแกน.
รายงานการศกึ ษาคน1 คว1าอิสระการศึกษามหาบณั ฑติ สาขาวิชาเทคโนโลยสี ารสนเทศ บณั ฑติ วิทยาลยั
มหาวทิ ยาลยั ขอนแก8น.

วรรณพร รตั นศฤงค. (2555). ระบบสารสนเทศภูมศิ าสตรออนไลนเพือ่ สนบั สนุนการทองเทีย่ ว
แหลงผลิตอาหารปลอดภัยและแหลงทองเที่ยวเชิงเกษตรในจังหวัดนครราชสีมา. วิทยานิพนธวิทยาศาสตร
มหาบัณฑิต สาขาวิชาระบบสารสนเทศภูมิศาสตร บัณฑิตวทิ ยาลยั มหาวิทยาลยั ราชภัฏนครราชสมี า.

พรศิริ กองนวล และคณะ. (2555). รายงานการวิจัยการศึกษาการสงเสรมิ การทองเท่ยี วเขตธนบุรี
เขตคลองสาน กรงุ เทพมหานคร. มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ธนบุรี.

ศูนยขอ1 มูลกรุงเทพมหานคร. (2556). ท่ีตั้งและลักษณะทางภมู ิศาสตรของกรงุ เทพมหานคร. [ออนไลน]. คน1 จาก
http://203.155.220.230/info/NowBMA/frame.asp เขา1 ถึงเมอ่ื วนั ที่ 23 ธันวาคม 2556.

ศนู ยวิจัยกสกิ รไทย. (2556). ปp’56 ทองเที่ยวกรุงเทพฯ...คกึ คกั :คาดรายไดจ) ากตางชาตสิ ะพดั 3.48แสนลา) น
บาท. [ออนไลน]. ค1นจาก http://portal.settrade.com/brokerpage/IPO/
Research/upload/2000000204956/2327-p.pdf เขา1 ถงึ เมอ่ื วนั ท่ี 18 ตุลาคม 2556.

ศนู ยวจิ ัยภูมิสารสนเทศเพอ่ื ประเทศไทย. (2557). ความหมายของคาํ วา “ระบบสารสนเทศภมู ิศาสตร
(Geographic Information Systems) GIS”. [ออนไลน]. ค1นจาก http://www.gisthai.org/about-
gis/gis.html เข1าถึงเมื่อวนั ท่ี 9 กุมภาพนั ธ 2557.

สํานกั งานกรงุ เทพมหานคร. (2551). แผนพัฒนากรุงเทพมหานคร ระยะ 12 ปp (พ.ศ.2552-2563)
กรงุ เทพมหานครแหงความนาอยูยง่ั ยนื . [ออนไลน]. คน1 จาก http://203.155.220.107/dailyplans/
dailyplans/book/bmaplan12.pdf เขา1 ถงึ เม่อื วันท่ี 20 ตลุ าคม 2556.

สํานกั บริหารการทะเบียน. (2554). สถติ ิจาํ นวนประชากรและบ)านในกรงุ เทพมหานคร จาํ แนกตามแขวงและเขต.
กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย.

โสภติ สร1อยสอดศรี. (2549). ระบบสนับสนนุ การตัดสินใจเพอื่ การพัฒนาการทองเทยี่ วหมเู กาะสชี งั จังหวัดชลบรุ ี.
วิทยานพิ นธวิทยาศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวทิ ยาศาสตรสิ่งแวดล1อม บณั ฑติ วิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวทิ ยาลยั .

World Tourism Organization. (2010). Arrivals of non resident tourists/visitors,
Departures and tourism. Retrieved July 15, 2011, from http://unstats.un.org.

252 เอกสารสืบเนอื่ งจากการประชมุ วชิ าการและนาํ เสนอผลงานวจิ ัยระดบั ชาติ 2559 “การวจิ ยั รับใช)ชมุ ชนสรา) งสงั คมฐานความรู)”

การพฒั นารปู แบบการอนุรักษสง่ิ แวดล)อมของชุมชนตาํ บลทามวง อาํ เภอเสลภมู ิ จงั หวดั รอ) ยเอ็ด โดย
ใชก) ระบวนการทางสง่ิ แวดล)อมศึกษา

The Development Model of Environmental Conservation in Ban Tha Muang
Selaphum Amphore Roi Et Province by Environmental Education process.

ศกั ดศ์ิ รี สบื สิงห1 กชพร นํานาผล นธิ นิ าถ อดุ มสนั ต และสุภมิ ล บุญพอก
Saksri Suebsing1 Kochaporn Numnapon Nitinard Udomsun and Supimal boonpok

บทคดั ยอ

การวิจัยมีวัตถุประสงคเพื่อ 1) เพ่ือศึกษาวิธีการและแนวทางการอนุรักษสิ่งแวดล1อม ของชุมชนตําบลท8าม8วง
อําเภอเสลภมู ิ จังหวดั ร1อยเอด็ 2) เพอื่ พฒั นารปู แบบการอนุรักษส่งิ แวดล1อม ของชมุ ชนตําบลท8าม8วง อําเภอเสลภูมิ จังหวัด
ร1อยเอ็ด โดยใช1กระบวนการทางส่ิงแวดล1อมศึกษา 3) เพื่อส8งเสริมการอนุรักษส่ิงแวดล1อมของชุมชนตําบลท8าม8วง อําเภอ
เสลภูมิ จงั หวัดรอ1 ยเอด็ ใหค1 งอยู8อยา8 งย่งั ยนื 4) รณรงคเผยแพร8ข1อมูลเรื่อง การอนุรักษสิ่งแวดล1อมของชุมชนตําบลท8าม8วง
อําเภอเสลภมู ิ จังหวัดรอ1 ยเอ็ด ให1คงอยอ8ู ยา8 งยัง่ ยืน กลมุ ตวั อยาง ระยะท่ี 1 วจิ ยั เชงิ ปริมาณ Quantitative Research โดย
ใช1แบบ Survey Research) กล8ุมตัวอย8างที่ใช1ในการศึกษาวิจัยคร้ังน้ี ได1แก8 ประชาชนท่ีอาศัยอยู8ในเขตตําบลบ1านท8าม8วง
ตําบลท8าม8วง อําเภอเสลภูมิ จังหวัดร1อยเอ็ด โดยใช1การคํานวณจากสูตรของ ยามาเน8 (Yamane, 1973) จํานวน 400 คน
ระยะที่ 2 วิจัยเชิงกึ่งทดลองแบบ Quasi - experiment Research) กล8ุมตัวอย8างที่ใช1ในการศึกษาวิจัยคร้ังน้ี ได1แก8
ประชาชนท่อี าศยั อย8ูในเขตตาํ บลบ1านท8าม8วง ตําบลท8าม8วง อําเภอเสลภูมิ จังหวัดร1อยเอ็ด จํานวน 200 คน ได1มาจากการ
เลอื กแบบเจาะจง (Purposive Sampling) เครื่องมอื ที่ใชใ1 นการวจิ ัยคร้ังนี้ ประกอบด1วย แบบสอบถาม แบบทดสอบ แบบ
ประเมิน แบบสังเกต และค8ูมือการอนุรกั ษสงิ่ แวดล1อมของชมุ ชน สถิตทิ ่ใี ช1ในการวิเคราะหข1อมูล ไดแ1 ก8 สถติ พิ นื้ ฐาน และใช1
สถติ ิ Pair t-test และใช1สถิติ One way ANOVA เพอ่ื วเิ คราะหขอ1 มูลในการวิจยั กึง่ ทดลองผลการวิจัยพบวา8

1. ประชาชนในชุมชนตาํ บลทา8 มว8 ง อาํ เภอเสลภมู ิ จงั หวัดรอ1 ยเอด็ มีวิธกี ารและแนวทางการอนุรกั ษสงิ่ แวดล1อม
อย8ใู นระดับมาก มีคา8 เฉลยี่ 3.83 ส8วนเบีย่ งเบนมาตรฐานเท8ากับ 0.69 โดยดา1 นแรงบันดาลใจในการอนุรักษสง่ิ แวดล1อมมาก
ที่สุด รองลงมาคือ ด1านสง่ิ แวดลอ1 มศกึ ษา และดา1 นพฤตกิ รรมการอนุรกั ษส่ิงแวดลอ1 ม ตามลําดับ

2. ประชาชนในชุมชนตําบลท8าม8วง อําเภอเสลภูมิ จังหวัดร1อยเอ็ด ท่ีมีเพศต8างกันมีวิธีการและแนวทางการ
อนุรักษสิ่งแวดล1อมไม8แตกต8างกันอย8างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ท้ังด1านส่ิงแวดล1อมศึกษา ด1านแรงบันดาลใจใน
การอนุรกั ษสง่ิ แวดลอ1 ม และดา1 นพฤติกรรมการอนรุ ักษสิง่ แวดล1อม

3. คะแนนเฉล่ียของความร1ูความเข1าใจเก่ียวกับพฤติกรรมการอนุรักษน้ํา พฤติกรรมการอนุรักษป›าไม1
พฤตกิ รรมการอนรุ ักษดนิ และพฤตกิ รรมการอนุรักษความหลากหลายของป›าไม1หลังจากประชุมเชิงปฏิบัติการอย8างมีส8วน
รว8 มแบบพาอกิ สูงกวา8 กอ8 นการทดลองอย8างมีนยั สําคัญทางสถติ ทิ ่รี ะดบั 0.05, 0.05, 0.05, 0.05และ 0.05 สําหรับการประเมิน
สามด1านประกอบด1วยการประเมินตนเอง การประเมินโดยเพ่ือน การประเมินโดยผู1อํานวยความสะดวก ซึ่งจากผลการ
วิเคราะหด1วยความแปรปรวนทางเดียว ในการทดสอบความแตกต8างของคะแนนเฉล่ียทั้งสามกล8ุมพบว8า ในสถานการณ
อดีตมีความแตกต8างของคะแนนเฉล่ียเกี่ยวกับการมีส8วนร8วมมีความแตกต8างกันอย8างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 จึง
ทดสอบคา8 เฉลีย่ ระหวา8 งรายคูด8 1วยเซพเฟ› พบว8า มีความแตกต8างของการประเมินโดยตนเองและการประเมินโดยผ1ูอํานวย
ความสะดวก และการประเมินโดยเพือ่ นกับการประเมินโดยผ1ูอาํ นวยความสะดวกอยา8 งนยั สาํ คญั ทางสถติ ิทีร่ ะดับ 0.05 ส8วน
ในสถานการณปจn จบุ นั พบว8าการประเมนิ จากท้งั สามดา1 นนนั้ การมสี 8วนรว8 มมีความแตกต8างกันอย8างไมม8 ีนยั สําคญั ทางสถิติท่ี
ระดับ 0.05 และในสถานการณอนาคตพบว8าการประเมินจากทั้งสามด1านนั้นการมีส8วนร8วมมีความแตกต8างกันอย8างไม8มี
นัยสําคัญทางสถติ ิทีร่ ะดับ 0.05 เช8นกนั

1 มหาวิทยาลยั ราชภัฏร1อยเอด็

เอกสารสืบเนื่องจากการประชมุ วชิ าการและนําเสนอผลงานวจิ ยั ระดบั ชาติ 2559 “การวิจยั รบั ใช)ชมุ ชนสร)างสังคมฐานความรู)” 253

สรุปผลการวิจัย การพัฒนารูปแบบการอนุรักษส่ิงแวดล1อมของประชาชนในชุมชนตําบลท8าม8วง อําเภอเสลภูมิ
จังหวัดร1อยเอ็ด จากการประชุมเชิงปฏิบัติการอย8างมีส8วนร8วมแบบพาอิก (PAIC) ทําให1ประชาชนมีพฤติกรรมและความร1ู
เกี่ยวกับการอนุรักษส่ิงแวดล1อมเพ่ิมมากข้ึน การสนทนาแลกเปลี่ยนประสบการณซ่ึงกันและกัน ทําให1ประชาชนมีความ
เข1าใจและความตระหนักเกี่ยวกับสิ่งแวดล1อมศึกษาและการอนุรักษส่ิงแวดล1อม จนได1รูปแบบท่ีดีและใช1ประโยชนใน
อนุรักษสิ่งแวดล1อมและการอนุรกั ษสิง่ แวดลอ1 มได1 จึงควรนําเอารูปแบบการพัฒนาดังกล8าวไปใช1ในพ้ืนที่อ่ืน ๆ ท่ีมีลักษณะ
คลา1 ยคลงึ กันต8อไป

คาํ สําคญั การพฒั นา /รปู แบบ /การอนุรักษส่ิงแวดลอ1 ม /ประชาชนในตําบลท8ามว8 ง จังหวดั รอ1 ยเอ็ด

ABSTRACT

The research aims to 1 ) to study how and Guidelines for Environmental Conservation to
Tumbon Thamuang Community, Selaphum District, Roi Et Province 2 ) to develop a model for
environmental conservation to Tumbon Thamuang Community, Selaphum District, Roi Et Province by
Education Environmental Process 3 ) to promote the conservation of Tumbon Thamuang Community,
Selaphum District, Roi Et to the remain sustainable 4 ) Information dissemination campaign
Environmental Conservation of Tumbon Thamuang Community, Selaphum District, Roi Et to the
remain sustainable. Phase 1 sample quantitative research using Quantitative Research Survey
Research) samples used in this study include people living in Tumbon Thamuang, Selaphum District,
Roi Et Using the formula of Yamane (Yamane, 1973) 400 persons. Phase 2 research, experimental and
Quasi - experiment Research) samples used in this study include people living in Tumbon Thamuang,
Selaphum District, Roi Et of 200 people from Purposive Sampling. The tools used in this research
consisted of questionnaires tests, assessments , observation and manual environment of the
community. The statistics used to analyze the data , including statistics and statistical Pair t-test and
One way ANOVA statistical analysis to the data in experimental research. The research found that:

1. The people living in Tumbon Thamuang, Selaphum District, Roi Et there are study
how and Guidelines for Environmental Conservation means at a high level with an average of 3.83 and
standard deviation of 0.69 with the inspiration of the environment the most, followed by the
environmental education and Behavioral environmental conservation respectively.

2. The peoples living in Tumbon Thamuang, Selaphum District, Roi Et. The sex different has a
study how and Guidelines for Environmental Conservation is not significant 0.05 by level of
Environmental Education, Inspiration for the environment, and Behavioral in environmental
conservation

2. Results of the second stage research of Quasi-Experimental Research
After PAIC process implemented, the findings revealed the mean scores of posttest of
knowledge on water conservation behavior, forest conservation behavior, soil conservation behavior,
and forest biodiversity conservation behavior were higher than with statistical significance (p<0.01,
p<0.01, p<0.01, and p<0.01). Three Dimensional Evaluations were employed for determination the
participation composed of Self-evaluation, Friend-evaluation, and Facilitator-evaluation by using One-
way ANOVA to investigate the mean scores difference of three groups. The result in past situation, the
results showed that there were differences of mean scores about participation among three
dimensional evaluations with statistical significance (p<0.01).

254 เอกสารสบื เน่ืองจากการประชมุ วิชาการและนําเสนอผลงานวิจยั ระดบั ชาติ 2559 “การวิจยั รับใชช) มุ ชนสร)างสงั คมฐานความร)ู”

Scheffe' analysis was used for each pair test, it was found that there were different between Self-
evaluation and Facilitator-evaluation, Friend-evaluation, and Facilitator-evaluation with statistical
significance (p<0.01 and p<0.01). Additionally, in present and future situation, the results showed that
there were no differences of mean scores about participation among three dimensional evaluations
with statistical significance (p>0.05, and p>0.05).

Conclusion of the research, it revealed was to develop model for Environmental
Conservation in Ban Tha Muang Selaphum Amphore Roi Et Province. Therefore, holding PAIC training
with integration those variables would make peoples to have behavior and knowledge on
environmental conservation behavior increasingly. Furthermore, with focus group discussion and
experience exchanging make them understand and realize to employ environmental education and
environmental conservation so this model should be able to use in other areas.

KEYWORDS: Development Model / Environmental Conservation/ Peoples / Tumbon ThaMuang
Roi- Et Province

ความเป`นมาและความสําคัญของปญb หา

การแกป1 ญn หาสิง่ แวดลอ1 มให1ได1ผลอย8างแท1จริงต1องอาศัยท้ังเวลาและทรัพยากร โดยจะต1องแก1ไขท่ีต1นเหตุสําคัญ
คือตัวมนุษย โดยทําให1มนุษยเข1าใจ ตระหนัก เห็นคุณค8าและลงมือแก1ปnญหาส่ิงแวดล1อมด1วยตนเองจึงจําเป<นอย8างย่ิงที่
จะต1องใช1กลยุทธทางการศึกษาโดยเฉพาะอย8างยิ่งคือการใช1กระบวนการทางสิ่งแวดล1อมศึกษา (Environmental
Education Process) มาเปน< หนทางในการสร1างความร1ู ความเขา1 ใจ สรา1 งความตระหนัก เปล่ียนค8านิยม ให1ประชาชนทุก
คน ทุกเพศทุกวัย มาร8วมมือกันมีจิตสํานึกสาธารณะท่ีจะมีความรับผิดชอบต8อปnญหาพลังงาน หรือปnญหาส่ิงแวดล1อม
ประเดน็ อ่ืนๆ อย8างเปน< ระบบด1วยการที่ใช1การศึกษาที่มีอยู8ทุกระบบท่ีมีอย8ูแล1วให1เกิดประสิทธิภาพสูงสุด ระบบการศึกษา
ดังกลา8 วคือการศกึ ษาในระบบ (Formal Education) ตัง้ แตร8 ะดับเตรยี มอนุบาล อนบุ าล ประถมศึกษา มัธยมศึกษา จนถึง
ระดับอุดมศึกษา และนอกระบบ (Non-formal Education) คือการศึกษาผู1ใหญ8ท่ีมีมานานแล1วในประเทศไทย รวมท้ัง
ระบบการศึกษาอย8างไม8เป<นทางการ (Informal Education) ด1วยการเรียนรู1ตลอดชีวิต (Lifelong Education) โดยการ
จัดการฝ…กอบรมให1มีจิตสํานึกสาธารณะท่ีจะมีส8วนร8วมในการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล1อม จึงจะสามารถ
แก1ปญn หาส่ิงแวดลอ1 มได1อยา8 งเปน< องครวม (นงนภัส คูว8 รญั ู เที่ยงกมล. 2554จ)

ความพยายามท่ีจะทําความเข1าใจในพฤติกรรมของมนุษยทําให1นักจิตวิทยาค1นคิดวิธีการรวมตลอดจน การ
พัฒนาทฤษฎีและแบบจําลองข้ึนมาเป<นจํานวนมาก ความสามารถเข1าใจถึงการเกิดของพฤติกรรมหรือการแสดงออกของ
มนุษย ที่จะนําไปส8ูการทํานายและควบคุมพฤติกรรมที่ไม8น8าปรารถนาหรือเสริมสร1างพฤติกรรมท่ีน8าปรารถนาต8างๆ ซ่ึง
การศึกษาสาเหตขุ องพฤตกิ รรมบุคคลมแี นวทางหลกั อยหู8 ลายทาง แต8แนวทางทผี่ 1ูวจิ ัยสนใจใชเ1 ปน< กรอบความคิดพื้นฐานใน
การวิจัย คือ รูปแบบทฤษฎีปฏิสัมพันธนิยม (Interactionism Model) โดยรูปแบบทฤษฎีปฏิสัมพันธนิยมนี้ เป<นทฤษฎีที่
กําลังได1รับความนิยมในสากลและในประเทศไทยเน่ืองจากช8วยทําให1นักวิจัยมีมุมมองเก่ียวกับการศึกษาสาเหตุของ
พฤตกิ รรมบคุ คลในหลายดา1 น ทงั้ สาเหตทุ างด1านจติ ใจของบคุ คล สาเหตทุ างด1านสถานการณ และสาเหตุทเ่ี ป<นอิทธิพลร8วม
หรือปฏิสัมพันธระหว8างลักษณะของจิตใจและสถานการณของผู1กระทํา (ดวงเดือน พันธุมนาวิน, 2551; อ1างอิงมาจาก
Magnusson. 1999) จากการได1ทบทวนเอกสารงานวิจัยทางพฤติกรรมศาสตร พบว8า การทําการศึกษาวิจัยถึงปnจจัยและ
สาเหตุท่ีมีผลต8อพฤติกรรมการอนุรักษธรรมชาติและส่ิงแวดล1อมท่ีสัมพันธกับปnจจัยเหตุด1านจิตลักษณะเดิม จิตลักษณะ
เก่ียวกบั สถานการณ และสง่ิ แวดล1อมปnจจุบันยังมีนอ1 ยมากทัง้ ยังไม8มกี ารศกึ ษาอยา8 งบูรณาการเป<นองครวมที่ชัดเจนในด1าน
สิง่ แวดล1อมศกึ ษา เม่ือเปรียบเทยี บกบั การศึกษาวิจยั ถึงปจn จยั และสาเหตุของพฤติกรรมในด1านอ่นื ๆ

จากความสําคัญดงั กลา8 วจงึ ทาํ ใหผ1 วู1 ิจัยมีความสนใจท่จี ะพฒั นาและหาแนวทางในการอนุรักษสิ่งแวดลอ1 มใน
ชุมชนบา1 นทา8 ม8วง ตําบลทา8 มว8 ง อําเภอเสลภมู ิ จังหวัดร1อยเอด็ ใช1กระบวนการทางสง่ิ แวดล1อมศกึ ษา ซง่ึ ผลทไี่ ดจ1 ากการ

เอกสารสืบเนื่องจากการประชมุ วชิ าการและนาํ เสนอผลงานวจิ ยั ระดบั ชาติ 2559 “การวจิ ัยรับใช)ชมุ ชนสรา) งสงั คมฐานความร)ู” 255

วจิ ยั สามารถนาํ ไปใชเ1 ปน< ข1อมูลเพอื่ ปลกู ฝงn จติ สํานกึ ให1กบั บุคลากร นกั ศึกษา และประชาชนทั่วไปเกีย่ วกบั การอนุรักษ

ส่ิงแวดล1อม และพัฒนาเป<นแนวทางในการป|องกนั แก1ไขเกยี่ วกับปญn หามลพิษทางสงิ่ แวดล1อมทีเ่ กดิ ขึ้นในปnจจุบันนี้ เพ่ือให1

สง่ิ แวดล1อมและทรพั ยากรธรรมชาติทม่ี อี ยูภ8 ายในชุมชนบา1 นท8ามว8 ง ให1สามารถคงอยูอ8 ยา8 งมีคณุ ภาพและยั่งยนื ต8อไป

วัตถปุ ระสงคของการวิจัย
1. เพอื่ ศึกษาวธิ กี ารและแนวทางการอนุรักษส่ิงแวดลอ1 ม ของชุมชนตาํ บลท8ามว8 ง อาํ เภอเสลภูมิ จังหวดั รอ1 ยเอด็
2. เพื่อพัฒนารูปแบบการอนุรักษส่ิงแวดล1อม ของชุมชนตําบลท8าม8วง อําเภอ เสลภูมิ จังหวัดร1อยเอ็ด โดยใช1

กระบวนการทางสง่ิ แวดลอ1 มศกึ ษา
3. เพื่อส8งเสริมการอนุรักษส่ิงแวดล1อม ของชุมชนตําบลท8าม8วง อําเภอ เสลภูมิ จังหวัดร1อยเอ็ด ให1คงอยู8อย8าง

ยั่งยนื
4. รณรงคเผยแพร8ขอ1 มลู เรอื่ ง การอนุรักษสง่ิ แวดลอ1 ม ของชุมชนตําบลท8ามว8 ง อําเภอเสลภูมิ จังหวัดร1อยเอ็ด ให1

คงอย8ูอย8างยง่ั ยนื

กรอบแนวคิดทใ่ี ชใ) นการวิจยั

ศึกษาการอนุรักษสิ่งแวดล1อมของประชาชนท่ีอาศัยอย8ูในเขตตําบลบ1านท8าม8วง ตําบลท8าม8วง อําเภอเสลภูมิ
จงั หวดั ร1อยเอ็ด โดยใชก1 ระบวนการทางสง่ิ แวดลอ1 มศึกษา

1. การวิจัยเชิงปริมาณระยะท่ี 1
ศึกษาการอนรุ กั ษสง่ิ แวดล1อมของประชาชนทีอ่ าศยั อยใู8 นเขตตาํ บลบา1 นทา8 ม8วง ตําบลท8าม8วง อําเภอ

เสลภูมิ จงั หวัดร1อยเอ็ด โดยใชก1 ระบวนการทางส่ิงแวดลอ1 มศกึ ษา

กระบวนการ พฤตกิ รรมการอนรุ ักษสงิ่ แวดลอ) ม
ทางสงิ่ แวดล)อมศกึ ษา - วิธีการการดแู ลรักษาส่งิ แวดล1อม
- ความร1คู วามเข1าใจเกย่ี วกับส่ิงแวดล1อม
- ความตระหนักในการอนุรักษสง่ิ แวดล1อม - แนวทางการอนุรกั ษสง่ิ แวดล1อม
- เจตคตทิ ่ดี ตี อ8 สงิ่ แวดล1อม
- กิจกรรมที่สง8 เสรมิ การอนุรกั ษ
ส่ิงแวดลอ1 ม

ภาพ 1 กรอบแนวคิดของการวิจยั ข้ันตอนที่ 1

2. การวิจยั แบบก่งึ ทดลองระยะที่ 2 (Quasi Experimental Research)
2.1 คม8ู อื การประชุมเชิงปฏิบตั ิการอยา8 งมสี ว8 นรว8 ม

- แบบสอบถาม
- แบบสังเกต
-แบบประเมิน
2.2 การประชุมเชงิ ปฏบิ ตั ิการแบบมีสว8 นร8วม

256 เอกสารสืบเน่ืองจากการประชมุ วชิ าการและนําเสนอผลงานวิจยั ระดบั ชาติ 2559 “การวจิ ยั รับใช)ชุมชนสรา) งสงั คมฐานความรู)”

ก8อนอบรม หลงั อบรม

ความร1ู

-ส่ิงแวดล1อมศกึ ษา

-การมจี ิตสาธารณะในการอนุรกั ษส่งิ แวดลอ1 ม

-การอนรุ กั ษนํ้า

ภาพ 2 กรอบแนวคิดของการวิจยั ขนั้ ตอนท่ี 2

ประชากรและกลุมตัวอยาง
1. ประชากร ประชากรทีใ่ ช1ในการศึกษาวจิ ัยครงั้ นี้ ได1แก8 ประชาชนท่อี าศัยอยใ8ู นเขตตําบลบ1านท8าม8วง ตําบลท8า

มว8 ง อาํ เภอเสลภมู ิ จงั หวดั รอ1 ยเอ็ด จาํ นวน 30,000 คน
2. กลุมตัวอยาง (ระยะที่ 1 วิจัยเชิงปริมาณ Quantitative Research โดยใช1แบบ Survey Research) กลุ8ม

ตัวอย8างที่ใช1ในการศึกษาวิจัยคร้ังนี้ ได1แก8 ประชาชนที่อาศัยอยู8ในเขตตําบลท8าม8วง ตําบลท8าม8วง อําเภอเสลภูมิ จังหวัด
รอ1 ยเอ็ด โดยใช1การคาํ นวณจากสตู รของ ยามาเน (Yamane, 1973) จํานวน 400 คน

(ระยะที่ 2 วิจัยเชิงก่ึงทดลอง แบบ Quasi-experiment Research) กลุ8มตัวอย8างที่ใช1ในการศึกษา
วิจัยครั้งน้ี ได1แก8 ประชาชนที่อาศัยอย8ูในเขตตําบลบ1านท8าม8วง ตําบลท8าม8วง อําเภอเสลภูมิ จังหวัดร1อยเอ็ด จํานวน 200
คน ได1มาจากการเลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling) โดยใช1เกณฑ คือ ประชาชนท่ีมีความสมัครใจ และมีจิตอาสา
ในการเข1าร8วมตลอดกระบวนการวจิ ยั

เครือ่ งมอื การวิจยั

เคร่ืองมือท่ใี ช1ในการวจิ ัยครง้ั นี้ ประกอบด1วย แบบสอบถาม แบบทดสอบ แบบประเมิน แบบสังเกต และคู8มอื การ
อนุรกั ษสง่ิ แวดลอ1 มของชมุ ชน

การเก็บรวบรวมขอ) มูล

ระยะที่ 1 คณะผว1ู จิ ัยดาํ เนนิ การการเกบ็ รวมรวบข1อมลู ตามขัน้ ตอน ดงั น้ี
1. ผูว1 ิจัยดําเนินการเกบ็ ขอ1 มลู กับกล8มุ ตวั อย8าง โดยนาํ แบบสอบถามไปให1ประชาชนกลุม8 ตวั อย8างตอบ

ซ่ึงใหเ1 วลาตอบแบบสอบถาม 1 สปั ดาห โดยผ1วู ิจัยและผชู1 ว8 ยวจิ ยั นัดหมายวัน เวลา รับแบบสอบถามคนื ด1วยตนเอง
2. เมอื่ ไดร1 ับแบบสอบถามคนื ทาํ การตรวจสอบความถกู ตอ1 ง สมบรู ณของแบบสอบถาม
3. นาํ ขอ1 มลู ทีไ่ ดไ1 ปวเิ คราะหขอ1 มลู ทางสถติ ิ เพอื่ ทดสอบสมมตุ ิฐาน สรุปผลและรายงานผลการวจิ ัย

ตอ8 ไป

เอกสารสบื เนอ่ื งจากการประชมุ วชิ าการและนาํ เสนอผลงานวิจยั ระดบั ชาติ 2559 “การวจิ ัยรบั ใชช) ุมชนสรา) งสังคมฐานความร)ู” 257

4. ระดมความคดิ เห็น (Focus Group) ตัวแทนของผ1ูนําชมุ ชน ประชาชนในชมุ ชนตาํ บลท8าม8วง อําเภอ
เสลภมู ิ จงั หวัดรอ1 ยเอด็ เกย่ี วกับสภาพสงิ่ แวดล1อมของชุมชน

5. สรปุ ผลการระดมความคดิ เหน็ และนําเสนอผลงานวิจัยระยะท่ี 1

ระยะท่ี 2 คณะผว1ู ิจัยดาํ เนินการการเก็บรวมรวบข1อมลู ตามขั้นตอน ดังน้ี
1. เลอื กกล8มุ ตัวอยา8 งแบบเฉพาะเจาะจง (Purposive Sampling) โดยใช1แบบสอบถามทเี่ รยี กว8าแบบ

ประเมนิ ความต1องการ (Need Assessment) เป<นแบบสอบถามเพอื่ หาผ1ูท่ียินดที ี่จะเขา1 รว8 มการวจิ ยั มีจติ ใจอุทศิ เปน<
อาสาสมัครทางส่งิ แวดล1อมศึกษา ทาํ การคดั เลอื กประชาชนท่ีมีความมนั่ ใจในตนเอง และมจี ิตอาสา จาํ นวน 100 คน จาก
ประชาชนในตาํ บลท8ามว8 ง อาํ เภอเสลภูมิ จังหวดั ร1อยเอด็

2. ทดสอบก8อนฝ…กอบรม (Pre - test) โดยทําการทดสอบกอ8 นการเขา1 รับการฝ…กอบรม จาํ นวนขอ1 สอบ
15 ขอ1 สําหรบั ประช1าชนในตําบลทา8 ม8วง อาํ เภอเสลภมู ิ จังหวดั ร1อยเอด็ แลว1 ตรวจบนั ทกึ คะแนนไวเ1 พอื่ นาํ ไปวิเคราะห
ขอ1 มูล

3. จดั การฝ…กอบรมเชิงปฏิบตั ิการอย8างมีสว8 นร8วมแบบพาอิก (PAIC) ทใ่ี ชก1 ารวิเคราะหสภาวะแวดลอ1 ม
(SWOT Analysis) มาประยกุ ต ใช1ในการประชุมเชงิ ปฏิบัตกิ ารอยา8 งมีส8วนร8วม เพื่อพัฒนานกั ศกึ ษาตามท่ผี วู1 จิ ยั สรา1 งขน้ึ ใน
การวิจยั ระยะท่ี 1 โดยสอดแทรกเนื้อหาสาระในการอนรุ กั ษสิ่งแวดลอ1 ม ไดแ1 ก8 ดนิ นาํ้ สตั วป›า อากาศ พลังงาน

4. ทําการประเมนิ แบบ 3 ด1าน
5. ทําการประเมินวทิ ยากรแบบ 4 ด1านหลงั การฝ…กอบรม วิทยากรทจี่ ะผา8 นการประเมินเปน< วิทยากรท่ี
ดมี ีคณุ ภาพ ตอ1 งมีคา8 คะแนนประเมนิ เฉลี่ยไม8นอ1 ยกวา8 รอ1 ยละ 80
5. เมื่อทําการฝ…กอบรมเสร็จแล1ว นําแบบทดสอบชุดเดยี วกันกบั ที่ทําการทดสอบก8อนฝ…กอบรมมา
ทดสอบภายหลงั การฝ…กอบรม (Post - test) และตรวจใหค1 ะแนนเพอ่ื นําไปวิเคราะหขอ1 มลู ต8อไป
6. จดั โครงการส8งเสรมิ การอนุรักษสงิ่ แวดล1อมในชุมชนเพื่อเผยแพรข8 อ1 มูลข8าวสาร

การวิเคราะหข)อมลู

สถติ ิทีใ่ ชใ1 นกาวเิ คราะหข1อมลู ไดแ1 ก8 ค8าเฉลี่ย ส8วนเบย่ี งเบนมาตรฐาน ร1อยละ t – test และ ANOVA

สรปุ ผล

1. ประชาชนในชุมชนตําบลทา8 มว8 ง อําเภอเสลภมู ิ จังหวดั ร1อยเอด็ มวี ิธีการและแนวทางการอนรุ กั ษสิ่งแวดล1อม

อย8ูในระดับมาก มีค8าเฉล่ีย 3.83 ส8วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท8ากับ 0.69 โดยด1านแรงบันดาลใจในการอนุรักษ
สิง่ แวดล1อมมากทส่ี ุด รองลงมาคอื ด1านสิ่งแวดล1อมศึกษา และดา1 นพฤตกิ รรมการอนุรักษสิง่ แวดลอ1 ม ตามลาํ ดบั

2. ประชาชนในชุมชนตําบลท8าม8วง อําเภอเสลภูมิ จังหวัดร1อยเอ็ด ที่มีเพศต8างกันมีวิธีการและแนวทางการ
อนุรักษส่ิงแวดล1อมไม8แตกต8างกันอย8างมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ 0.05 ท้ังด1านสิ่งแวดล1อมศึกษา ด1านแรงบันดาลใจใน
การอนุรกั ษสง่ิ แวดล1อม และด1านพฤตกิ รรมการอนุรักษส่ิงแวดล1อม

3. คะแนนเฉลี่ยของความร1ูความเข1าใจเก่ียวกับพฤติกรรมการอนุรักษน้ํา พฤติกรรมการอนุรักษป›าไม1
พฤติกรรมการอนรุ ักษดิน และพฤตกิ รรมการอนุรักษความหลากหลายของป›าไม1หลังจากประชุมเชิงปฏิบัติการอย8างมีส8วน
รว8 มแบบพาอกิ สูงกว8าก8อนการทดลองอย8างมีนยั สําคัญทางสถิติท่ีระดับ 0.05, 0.05, 0.05, 0.05และ 0.05 สําหรับการประเมิน
สามด1านประกอบด1วยการประเมินตนเอง การประเมินโดยเพ่ือน การประเมินโดยผู1อํานวยความสะดวก ซ่ึงจากผลการ
วิเคราะหด1วยความแปรปรวนทางเดียว ในการทดสอบความแตกต8างของคะแนนเฉลี่ยท้ังสามกลุ8มพบว8า ในสถานการณ
อดีตมีความแตกต8างของคะแนนเฉลี่ยเก่ียวกับการมีส8วนร8วมมีความแตกต8างกันอย8างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 จึง
ทดสอบค8าเฉล่ียระหว8างรายคู8ด1วยเซพเฟ› พบว8า มีความแตกต8างของการประเมินโดยตนเองและการประเมินโดยผ1ูอํานวย
ความสะดวก และการประเมนิ โดยเพื่อนกบั การประเมนิ โดยผ1อู าํ นวยความสะดวกอย8างนยั สาํ คญั ทางสถิติที่ระดับ 0.05 ส8วน

258 เอกสารสบื เนือ่ งจากการประชมุ วิชาการและนาํ เสนอผลงานวจิ ยั ระดบั ชาติ 2559 “การวจิ ัยรับใช)ชมุ ชนสรา) งสงั คมฐานความร)ู”

ในสถานการณปnจจบุ นั พบวา8 การประเมินจากท้ังสามดา1 นนัน้ การมีส8วนร8วมมีความแตกตา8 งกันอยา8 งไมม8 ีนยั สาํ คัญทางสถิติท่ี
ระดับ 0.05 และในสถานการณอนาคตพบว8าการประเมินจากท้ังสามด1านนั้นการมีส8วนร8วมมีความแตกต8างกันอย8างไม8มี
นยั สําคัญทางสถติ ิทร่ี ะดับ 0.05 เช8นกัน

สรุปผลการวจิ ัย การพฒั นารปู แบบการอนุรกั ษส่งิ แวดลอ1 มของประชาชนในชุมชนตาํ บลทา8 มว8 ง อาํ เภอ เสลภูมิ
จงั หวัดร1อยเอด็ จากการประชมุ เชงิ ปฏบิ ัติการอยา8 งมสี 8วนรว8 มแบบพาอกิ (PAIC) ทาํ ให1ประชาชนมพี ฤตกิ รรมและความร1ู
เกี่ยวกับการอนรุ ักษส่งิ แวดล1อมเพม่ิ มากขึ้น การสนทนาแลกเปลยี่ นประสบการณซ่ึงกันและกนั ทาํ ใหป1 ระชาชนมคี วาม
เขา1 ใจและความตระหนกั เกยี่ วกบั ส่ิงแวดลอ1 มศึกษาและการอนุรักษสิ่งแวดล1อม จนไดร1 ปู แบบทด่ี แี ละใช1ประโยชนใน
อนรุ ักษส่ิงแวดล1อมและการอนรุ กั ษสิ่งแวดล1อมได1 จึงควรนําเอารูปแบบการพัฒนาดงั กล8าวไปใชใ1 นพืน้ ท่ีอน่ื ๆ ท่ีมลี กั ษณะ
คลา1 ยคลึงกนั ตอ8 ไป

อภิปรายผล

1. ประชาชนในชมุ ชนตําบลท8าม8วง อําเภอเสลภูมิ จังหวัดร1อยเอ็ด มีวิธีการและแนวทางการอนุรักษส่ิงแวดล1อม
อยู8ในระดบั มาก มคี า8 เฉล่ยี 3.83 ส8วนเบย่ี งเบนมาตรฐานเท8ากบั 0.69 โดยด1านแรงบันดาลใจในการอนุรักษสิ่งแวดล1อมมาก
ที่สุด รองลงมาคือ ด1านส่ิงแวดล1อมศึกษา และด1านพฤติกรรมการอนุรักษสิ่งแวดล1อม ตามลําดับ สอดคล1องกับวันวิสา
เยือกเย็น (2555) กลมุ8 ตวั อยา8 งมคี วามร1เู กยี่ วกบั การอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล1อมอยู8ในระดับปานกลาง โดย
ประเดน็ ทมี่ ีความร1ูมากที่สุดคือ การอนรุ ักษทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดลอ1 มเปน< การรักษาทรัพยากรธรรมชาติท่ีมีอย8ูใน
ชมุ ชน เช8น แหล8งน้ํา ปา› ไม1 แรธ8 าตุ ท่ีดิน สตั วป›า ฯลฯ อย8างระมัดระวัง การปลูกป›าเพ่มิ ทําใหเ1 กิดความชุ8มช้นื ไดก1 ารทิง้ ขยะ
มูลฝอยลงแมน8 าํ้ ทําใหส1 ่งิ แวดลอ1 มถูกทําลายการปล8อยนาํ้ เสียลงสู8แมน8 ้ําลําคลองกอ8 ให1เกิดผลกระทบตอ8 สิ่งแวดล1อมในชุมชน

2. ประชาชนในชุมชนตําบลท8าม8วง อําเภอเสลภูมิ จังหวัดร1อยเอ็ด ท่ีมีเพศต8างกันมีวิธีการและแนวทางการ
อนุรักษส่ิงแวดล1อมไม8แตกต8างกันอย8างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ทั้งด1านส่ิงแวดล1อมศึกษา ด1านแรงบันดาลใจใน
การอนุรักษสิ่งแวดล1อม และด1านพฤติกรรมการอนุรักษสิ่งแวดล1อม สอดคล1องกับวันวิสา เยือกเย็น (2555) เพศส8งผลต8อ
การมสี ว8 นร8วมในการอนรุ กั ษทรัพยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดล1อมด1านการร8วมดําเนินกิจกรรมและด1านการรับผลประโยชน
อย8างมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 สอดคล1องกับแนวคิดของ Cohen & Uphoff (1980 อ1างถึงใน สุทธิชัย เทียนโพธิ์,
2549, หน1า 28) ท่ีกล8าวว8า ปnจจัยท่ีมีส8วนเก่ียวข1องกับการมีส8วนร8วม ได1แก8 อายุ เพศ สถานภาพในครอบครัว ระดับ
การศึกษาสถานภาพทางสังคม อาชีพ รายได1และทรัพยสิน ระยะเวลาในท1องถิ่น พ้ืนที่ดินถือครอง มีผลต8อความร1ูความ
เข1าใจตลอดจนความร1ูสึกนึกคิดของบุคคลหรือกล8ุม อันจะส8งผลต8อการมีส8วนร8วมของคนกล8ุมนั้นในการดําเนินกิจกรรม
รว8 มกัน

3. คะแนนเฉลีย่ ของความร1คู วามเขา1 ใจเกยี่ วกับพฤติกรรมการอนุรักษส่ิงแวดล1อมของประชาชนในชุมชนตําบล
ท8าม8วง อําเภอเสลภูมิ จังหวัดร1อยเอ็ด หลังจากประชุมเชิงปฏิบัติการอย8างมีส8วนร8วมสูงกว8าก8อนการทดลองอย8างมี
นยั สําคญั ทางสถติ ิทีร่ ะดบั 0.05 สาํ หรับการประเมนิ สามด1านประกอบด1วยการประเมินตนเอง การประเมินโดยเพื่อน การ
ประเมินโดยผอู1 ํานวยความสะดวก ซง่ึ จากผลการวเิ คราะหด1วยความแปรปรวนทางเดียว ในการทดสอบความแตกต8างของ
คะแนนเฉลี่ยทง้ั สามกลมุ8 พบว8า ในสถานการณอดีตมีความแตกต8างของคะแนนเฉลย่ี เกีย่ วกับการมีส8วนร8วมมีความแตกต8าง
กันอย8างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 จึงทดสอบค8าเฉล่ียระหว8างรายค8ูด1วยเซพเฟ› พบว8า มีความแตกต8างของการ
ประเมินโดยตนเองและการประเมนิ โดยผ1ูอาํ นวยความสะดวก และการประเมนิ โดยเพอ่ื นกับการประเมนิ โดยผ1อู าํ นวยความ
สะดวกอย8างนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ 0.05 ส8วนในสถานการณปnจจุบันพบว8าการประเมินจากท้ังสามด1านน้ันการมีส8วน
ร8วมมีความแตกต8างกันอย8างไมม8 ีนัยสําคญั ทางสถิติท่ีระดับ 0.05 และในสถานการณอนาคตพบว8าการประเมินจากท้ังสาม
ดา1 นน้ันการมีส8วนร8วมมีความแตกต8างกันอย8างไม8มีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ 0.05 เช8นกัน ซ่ึงสอดคล1องกับดวงมสร กอง
กูลและคณะ ได1ศึกษาเร่ืองการพฒั นาเครือข8ายแกนนําสิ่งแวดล1อมศึกษาด1วยกระบวนการพาอิกที่พบว8า หลังการอบรมท้ัง
3 รอบ นกั เรยี นช้ันมัธยมศกึ ษาตอนต1น มคี ะแนนเฉล่ยี ความรคู1 วามเข1าใจในเร่ืองสิ่งแวดล1อมศึกษา การจัดการสิ่งแวดล1อม
จิตสาธารณะ และมพี ฤตกิ รรมการอนุรกั ษสง่ิ แวดลอ1 มสงู กวา8 ก8อนอบรมอย8างมีนัยสําคญั ทางสถิติท่รี ะดับ 0.01 (Gonggool,
et al. 2012a) รวมทั้งยังสอดคล1องกับการศึกษาของนงนภัส เที่ยงกมล (Thiengkamol. 2012b) ท่ีพบว8าหลังจากการ
อบรมด1วยการประชมุ เชงิ ปฏิบตั ิการอย8างมสี ว8 นร8วมแบบพาอกิ คะแนนหลังอบรมไมว8 8าจะเป<นการพฒั นารูปแบบการจดั การ

เอกสารสบื เนือ่ งจากการประชมุ วชิ าการและนาํ เสนอผลงานวจิ ยั ระดบั ชาติ 2559 “การวจิ ัยรบั ใช)ชุมชนสรา) งสังคมฐานความร)ู” 259

ความมั่นคงทางพลังงาน รูปแบบการจัดการความม่ันคงทางอาหาร รูปแบบการพัฒนาอาสาสมัครนักส่ิงแวดล1อมศึกษา
อีกท้ังยังสอดคลอ1 งกบั ผลงานวิจัยของภาษิต ชนะบญุ (2550) ได1ศึกษาการพฒั นารปู แบบการจัดฝ…กอบรมส่ิงแวดล1อมศึกษา
เร่อื งการจัดการน้ําเสียชุมชน สําหรบั คณะกรรมการชุมชน ในเขตเทศบาลนครขอนแกน8 ท่ีมรี ปู แบบการของการจดั กิจกรรม
ฝ…กอบรม ท่ีใช1การศึกษาดูงาน การบรรยาย กิจกรรมกลุ8มสัมพันธ การสาธิต การทดลองปฏิบัติ การจัดนิทรรศการและ
ห8ุนจําลอง การใช1สื่อภาพยนตร วีดีทัศน สไลด แผ8นใส และการอภิปรายกลุ8ม เม่ือทําการวัดผลสัมฤทธ์ิของความรู1 ความ
เข1าใจ เปรียบเทียบก8อนและหลังการฝ…กบอบรม ผลการวิจัยพบว8า หลังจากเสร็จส้ินการเข1ารับการฝ…กอบรมแล1ว
คณะกรรมการชุมชนมีความรูเ1 พิ่มขนึ้ อย8างมีนัยสําคญั ทางสถิติที่ระดบั 0.05

ขอ) เสนอแนะ

1. ควรมีการปลูกฝnงจิตสํานึกแก8เยาวชนในท1องถ่ิน ให1มีความรู1สึกรักหวงแหน ทรัพยากร ธรรมชาติและ
สิ่งแวดล1อม โดยหน8วยงานของรัฐโดยเฉพาะโรงเรียนต1องให1ความรู1เกี่ยวกับความสําคัญของทรัพยากรธรรมชาติและ
ส่ิงแวดล1อมว8ามีความสาํ คญั ตอ8 การดารงชีวิตของมนุษย ซงึ่ มนุษยจะตอ1 งร1ูจกั อนุรกั ษใหค1 งอยู8ไวต1 ลอดไป

2. ควรส8งเสริมให1เกิดการมีส8วนร8วมของประชาชนในการวางแผนพัฒนาท1องถ่ินทุกๆ ด1าน เพราะการพัฒนาจะ
ประสบผลสําเรจ็ ได1ขน้ึ อยก8ู บั ความร8วมมอื ร8วมใจของประชาชน

3. ควรมีการทาํ การวิจัยในการพัฒนาศกั ยภาพทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดลอ1 มในชมุ ชนอ่นื โดยการมสี 8วน
ร8วมของชุมชน

เอกสารอา) งองิ

ดวงเดอื น พนั ธมุ นาวนิ . (2551). จติ วิทยาจริยธรรมและจิตวทิ ยาภาษา. กรุงเทพมหานคร : ไทยวฒั นาพานชิ .
นงนภัส คูว8 รัญ ู เที่ยงกมล. (2554). การวจิ ยั เชงิ บรู ณาการแบบองครวม (Holistically Integrative

Research). พิมพคร้งั ท่ี 2. กรุงเทพฯ : จฬุ าลงกรณมหาวิทยาลยั .
ภาษิต ชนะบญุ (2550) การพัฒนารูปแบบการจัดฝกƒ อบรมส่งิ แวดล)อมศึกษา เร่อื งการจดั การน้ําเสียชุมชน สาํ หรบั

คณะกรรมการชมุ ชน ในเขตเทศบาลนครขอนแกน.
วนั วสิ า เยอื กเย็น. (2555). การมสี วนรวมของประชาชนในการอนรุ กั ษทรัพยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดลอ) ม ในเขต

เทศบาลเมืองหวั หิน อําเภอหวั หิน จงั หวดั ประจวบครี ขี ันธ. ศลิ ปศาสตรมหาบณั ฑติ สาขาวชิ าสังคมวิทยา
ประยุกต มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร.
สทุ ธชิ ยั เทยี นโพธ.์ิ (2549). การมสี วนรวมของประชาชนในโครงการชมุ ชนเขม) แข็ง: ศึกษากรณีสถานีตํารวจภธู ร
ตําบลปากคลองรงั สติ จังหวัดปทมุ ธาน.ี วทิ ยานิพนธสงั คมวิทยามหาบัณฑติ สาขาวิชาสังคมวิทยา, บัณฑิต
วิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลยั .
Gonggool, D., Thiengkamol, N., & Thiengkamol, C. (2012a). Development of Environmental Education
Volunteer Network through PAIC Process. European Journal of Social Sciences, 32 (1):136-
149.
Thiengkamol, N. (2012b). Development of Food Security Management for Undergraduate Student
Mahasarakham University. European Journal of Social Sciences, 27 (2):246-252.

260 เอกสารสืบเน่อื งจากการประชมุ วชิ าการและนาํ เสนอผลงานวจิ ัยระดบั ชาติ 2559 “การวิจัยรับใชช) ุมชนสร)างสังคมฐานความร)ู”

การเรียนรูส) ังคมคารบอนตํ่าผานส่อื อนิ โฟกราฟฟกt : กรณศี กึ ษา คณะสถาปbตยกรรมศาสตรและการ
ออกแบบ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลรัตนโกสินทร ศาลายา

Low-carbon societylearning by infographic media :Case study of Faculty of
Architecture and Design,Rajamangala University of Technology Rattanakosin, Salaya.

ฉันทมน โพธพิ ิทกั ษ1
Chantamon Potipituk1

บทคดั ยอ

สังคมคารบอนตํ่า (Low Carbon Society) เป<นแนวคิดให1มนุษยปรับเปลี่ยนในพฤติกรรม โดยมีวัตถุประสงค
เพื่อ ลดปริมาณก{าซเรือนกระจกให1อย8ูในระดับท่ีสภาพแวดล1อมสามารถสร1างความสมดุลได1ในตัวเองและสามารถลดการ
เกดิ การเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศลงได1

คณะสถาปตn ยกรรมศาสตรและการออกแบบมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร ได1ตระหนักถึงการ
ลดกา{ ซเรอื นกระจก จึงได1มีการประชาสัมพันธและส8งเสริมให1บุคลากร อาจารย เจ1าหน1าท่ี ตลอดจนนักศึกษา ได1เข1าใจถึง
ปnญหาและหันมาปรบั เปลีย่ นพฤติกรรมเพอื่ ช8วยลดปรมิ าณกา{ ซเรอื นกระจก โดยได1ใช1ส่อื นาํ เสนอแบบอินโฟกราฟˆก เพ่ือให1
บุคคลเหล8านี้ได1เข1าใจโดยง8ายและเกิดการตะหนักถึงปnญหาและความสําคัญของสิ่งแวดล1อม วัตถุประสงคของการวิจัย
เพื่อให1บุคลากร อาจารย เจ1าหน1าท่ี ตลอดจนนักศึกษา ของคณะสถาปnตยกรรมศาสตรและการออกแบบ มหาวิทยาลัย
เทคโนโลยีราชมงคลรตั นโกสินทร ศาลายา มคี วามรู1ความเข1าใจในแนวคดิ “ชมุ ชนสงั คมคารบอนตา่ํ ” อยา8 งถูกต1อง

งานวิจัยคร้ังน้ีเป<นการวิจัย กึ่งทดลอง (Quasi-Experimental Research) โดยได1ทําการทดสอบกล8ุมตัวอย8าง
200 คนจากจํานวนประชากร 400 คนโดยการทดสอบก8อนและหลังการเรียนร1ู เพ่ือวัดผลการเรียนรู1สังคมคารบอนต่ําของ
นักศึกษาและบุคลากรของคณะสถาปnตยกรรมศาสตรและการออกแบบ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร
ศาลายาการวเิ คราะหขอ1 มลู ใชว1 ิธกี ารทางสถิติt-test เพ่ือวดั ผลและประเมินผลกอ8 นและหลังการรับชมสือ่ อนิ โฟกราฟˆก วา8 มี
ความร1เู พม่ิ ข้ึนมากน1อยเพียงใด

ผลการวิจยั พบวา8 การเรยี นร1ูสงั คมคารบอนตํ่าผา8 นอนิ โฟกราฟกˆ ทําให1เกดิ ประสิทธภิ าพ การเรยี นเพิ่มข้นึ จากเดิม
ในระดับดมี ากจาก รอ1 ยละ 2 เปน< รอ1 ยละ 41 ในระดบั ดนี ้นั ผลการเรียนรูเ1 พ่มิ ข้นึ จากร1อยละ 12 เป<นร1อยละ 45.50 เพิ่มขึ้น
เป<นร1อยละ 33.5 ซ่ึงประชากรสว8 นใหญ8 มีความร1เู พ่ิมขน้ึ ในระดับดี

ในภาพรวม ประชากรสว8 นใหญพ8 ึงพอใจในการเรยี นร1ูชุมชนสังคมคารบอนต่ําโดยมีค8าเฉล่ีย 4.19 ซึ่งอยู8ในเกณฑ
ที่มรี ะดบั ความพงึ พอใจมาก นั่นแสดงใหเ1 หน็ วา8 ในการใช1สอ่ื อินโฟกราฟˆกในการอธบิ ายและให1ความรู1เร่ืองสังคมคารบอนต่ํา
มีความสําคัญมากต8อความเข1าใจของกลม8ุ ตัวอย8างแตล8 ะกล8มุ
คาํ สําคญั : สังคมคารบอนตาํ่ อินโฟกราฟˆก ส่ิงแวดลอ1 ม

ABSTRACT
Low Carbon Society is the concept for adaptation of human behavior. Its purposes are to
reduce the amount of greenhouse gases in the environment by balancing in themselves and also to
reduce the climate change effect.
Faculty of Architecture and Design,Rajamangala University of Technology Rattanakosin realizes
in reduction of greenhouse effect by promoting and encouraging all faculties, staffs and students to

1สาขาวชิ าเทคโนโลยสี ถาปตn ยกรรม คณะสถาปnตยกรรมศาสตรและการออกแบบ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลรตั นโกสนิ ทร

เอกสารสืบเนือ่ งจากการประชมุ วิชาการและนําเสนอผลงานวจิ ยั ระดบั ชาติ 2559 “การวจิ ัยรับใช)ชมุ ชนสรา) งสังคมฐานความรู)” 261

understand the problems of greenhouse effect and in addition to adapt their behaviors in order for
greenhouse effect reducing by easy info graphic presentation and realizing the environmental
problems and the importance of the environment also.Research objective is for faculties, staffs and
the students of Faculty of Architecture and Design, Rajamangala University of Technology Rattanakosin
to understand the concept of low carbon society properly.

This is an experimental research (Quasi-Experimental Research) .This study was tested by 200
samples from the number of population was 400. This study was tested before and after learning by
using t-test statistical methods to measure and evaluate the results before and after learning with the
infographic media of low carbon society, before learning was better than after learning or not.

The research found that learning in a low carbon society through efficient Infographics that
increased from 2 percent to 41 percent and was defined as a very good level of understanding and
the result found from 12 percent to 45.50 percent and was defined as a good level of understanding.

The overall study presented that most samplings satisfied in low carbon society through
efficient Infographics on the average, 4.19. That was the very good level of satisfaction, this indicated
that using infographic media to explain and educate about low-carbon society is very essential for the
sample group of the study.

Keywords : Low-carbon society,Infographic, Environment

ความเปน` มาและความสาํ คัญของปbญหา

ปรากฏการณก{าซเรือนกระจกในปnจจุบันปล8อยออกมาโดยกิจกรรมและพฤติกรรมของมนุษย ซ่ึงเป<นหนึ่งจาก
สาเหตุหลักของการเปลีย่ นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ (Climatic change) (Smith, 2006). วิธีการหน่ึงท่ีถูกกล8าวถึงในการลด
ปรากฏการณก{าซเรือนกระจก คือ สังคมคารบอนตํ่า (Low Carbon Society) ซ่ึงเป<นแนวคิดให1มนุษยปรับเปล่ียนใน
พฤติกรรม โดยมีวัตถุประสงค คือ ลดปริมาณก{าซเรือนกระจกให1อย8ูในระดบั ท่ีสภาพแวดล1อมสามารถสรา1 งความสมดุลยได1
ในตัวเอง และจะสามารถลดการเกิดการเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศลงได1 (MOEJ, 2007) โดยการจัดการสิ่งแวดล1อม
เมืองเป<นแนวทางในการบูรณาการนโยบายต8างๆเพ่ือให1ประชาชนตระหนักและหันมาปรับเปลี่ยนพฤติกรรม โดยเริ่มต1น
จากการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในชุมชน หน8วยย8อยซ่ึงจะส8งผลต8อไปยงั สังคมหนว8 ยใหญไ8 ด1

สําหรับประเทศไทย ซ่ึงเป<นประเทศท่ีมีการเปลี่ยนแปลงในด1านการพัฒนาอย8างรวดเร็ว (อูริช ซาเกา, 2556)
เชน8 เดียวกบั การเกิดปรากฏการณกา{ ซเรือนกระจก ซ่ึงประเทศไทยเรามีการพัฒนาท้งั ในภาคอุตสาหกรรมและระบบบเมือง
จนกลายเป<น 1 ใน 25 ประเทศท่ีปล8อยปริมาณก{าซเรือนกระจกสูงติดอันดับโลกเลยที่เดียว (NESDB, 2009) รัฐบาลก็ได1
ตระหนักและมอบหมายให1กระทรวงต8างๆรณรงคโดยมีนโยบาย รวมถึง โครงการนําร8องต8างๆมากมาย เช8น ในปy พ.ศ.
2545 ประเทศไทยได1ให1สัตยาบันกับสหประชาชาติใน สนธิสัญญา Climate Change Kyoto ว8าจะตระหนักและจะ
รับผิดชอบโดยการร8วมรณรงคในการลดปรากฏการณก{าซเรือนกระจก ให1ได1 15-40 % ภายในปy พ.ศ. 2563 โดยรัฐบาล
ไทยได1มนี โยบายประชาสัมพันธ ถึงความร1คู วามเช1าใจ และรณรงคให1ประชาชนตระหนักถึง ปnญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพ
ภูมิอากาศ และ สภาพแวดล1อม โดยรัฐบาลได1กําหนดนโยบายแห8งชาติในการจัดการการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
(NESDB, 2012)

แต8ถึงกระนั้น ประชาชนคนไทยก็ยังคงไม8ตระหนัก และละเลยในแนวทางการจัดการส่ิงแวดล1อมเมืองในการ
ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อลดปริมาณก{าซเรือนกระจก (กัณฑรีย บุญประกอบ, 2556 )หากการส8งเสริมและมีการ
ประชาสัมพนั ธให1ประชาชน ตระหนักและใส8ใจในพฤติกรรม ลักษณะการดํารงชีวิต ให1สอดคล1องกับการลดปรากฏการณ
ก{าซเรือนกระจกจึงเปน< สงิ่ สําคญั และควรกระทําอย8างเร8งด8วน เพื่อเป<นการส8งเสริมนโยบายที่พัฒนาต8อคุณภาพชีวิต และ
ส่ิงแวดล1อมไปพร1อมๆกัน หากประชาชนมีความตระหนักและเข1าใจในทางการจัดการส่ิงแวดล1อมเมืองในการปรับเปล่ียน

262 เอกสารสืบเนื่องจากการประชมุ วิชาการและนาํ เสนอผลงานวจิ ยั ระดบั ชาติ 2559 “การวจิ ยั รบั ใชช) ุมชนสร)างสังคมฐานความรู)”

พฤตกิ รรมเพื่อลดปริมาณก{าซเรือนกระจกแล1ว สิ่งที่ตามมาคือ คุณภาพชีวิตท่ีดีข้ึน สิ่งแวดล1อมดีสามารถลดต1นทุนการใช1
พลังงานและทรัพยากรท่ีไม8จาํ เปน< ลงได1 (Amin, 2009)

คณะสถาปตn ยกรรมศาสตรและการออกแบบ มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร ได1ตระหนักและให1
ความสําคัญในแนวทางการจัดการสิ่งแวดล1อม ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพ่ือลดปริมาณก{าซเรือนกระจก แต8จากการ
สอบถาม พบว8า ร1อยละ 78 ของผ1ูตอบแบบสอบถาม (จากจํานวนผ1ูตอบแบบสอบถาม 120 คน ) ไม8ทราบถึงนิยาม
“ชมุ ชนคารบอนตํ่า” อกี ทงั้ พฤติกรรมการทาํ งานของบุคลากรเจ1าหน1าท่ี พฤติกรรมการเรียนของนักศึกษา และพฤติกรรม
การสอนของบุคลากรอาจารย มิได1ให1ความสําคัญถึงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมดังกล8าว ดังนั้นแนวทางในการ
ประชาสัมพันธและส8งเสริม ให1บุคลากร อาจารย เจ1าหน1าที่ ตลอดจนนักศึกษา มีส8วนร8วมในการตระหนักถึงปnญหาการ
เปลย่ี นแปลงสภาพภูมิอากาศ และ สภาพแวดล1อม รวมถึงใส8ใจและหันมาปรับเปล่ียนพฤติกรรมเพื่อลดปริมาณก{าซเรือน
กระจก จึงมีความสําคัญย่ิง และควรกระทําในลําดับแรกๆ เพื่อให1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร เป<น
มหาวทิ ยาลัยแห8งคารบอนตํา่ การประชาสมั พนั ธ ให1อาจารย เจ1าหน1าที่ ตลอดจนนักศกึ ษา ของคณะสถาปnตยกรรมศาสตร
และการออกแบบ เขา1 ใจและตระหนักถงึ ปญn หา หนั มาใส8ใจในการปรบั เปล่ยี นพฤตกิ รรมเพอ่ื ลดปริมาณกา{ ซเรือนกระจก จึง
มีความสําคัญ โดยเฉพาะอย8างยิ่ง การประชาสัมพันธดังกล8าว ต1องมีรูปแบบที่เข1าใจง8าย ทันสมัย และน8าสนใจ เพื่อให1
บุคลากร อาจารย เจ1าหนา1 ท่ี ตลอดจนนักศึกษา สามารถเขา1 ถงึ เนอื้ หาและแนวคิดของ “ชุมชนคารบอนตาํ่ ” ได1 ซึ่งแนวทาง
หน่ึงท่ีสามารถดึงดูดความสนใจ รวมถึงถ8ายทอดให1บุคลากร อาจารย เจ1าหน1าท่ี ตลอดจนนักศึกษา เข1าใจได1โดยง8าย คือ
ส่ือนาํ เสนอแบบอินโฟกราฟฟกˆ (ชินกฤต อดุ มลาภไพศาล, 2557)

ดังน้ัน การเรียนรู1สังคมคารบอนต่ําด1วยส่ืออินโฟกราฟฟˆก : กรณีศึกษา คณะสถาปnตยกรรมศาสตรและการ
ออกแบบ มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลรตั นโกสนิ ทร ศาลายา จงึ เปน< การส8งเสรมิ ให1ชุมชนเกดิ การเรยี นรู1 โดยเฉพาะใน
ชุมชนมหาวทิ ยาลยั ทมี่ 8ุงเน1นไปท่ีการพัฒนาอย8างยั่งยืน เกิดความสมดุลในด1านส่ิงแวดล1อม สังคมและทางเศรษฐกิจ ซึ่งจะ
สามารถปรับเปล่ียนพฤติกรรมของบุคลากร อาจารย เจ1าหน1าที่ ตลอดจนนักศึกษา ให1ตระหนักในสิ่งแวดล1อม รวมถึงยัง
สามารถนาํ ความรู1สังคมคารบอนตํา่ ด1วยส่อื อินโฟกราฟฟˆกไปพฒั นา ประยกุ ตใช1 รวมถึงปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในสังคมของ
หนว8 ยย8อย เช8น บา1 น และส8งผล นําไปประยุกตในสงั คมหนว8 ยใหญอ8 น่ื ๆ เช8น สงั คมชุมชน ตอ8 ไปได1

วัตถปุ ระสงคของการวจิ ยั

เพื่อให1บุคลากร อาจารย เจ1าหน1าท่ี ตลอดจนนักศึกษา ของคณะสถาปnตยกรรมศาสตรและการออกแบบ
มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลรัตนโกสินทร ศาลายา มีความร1ูความเข1าใจในแนวคิด “ชุมชนสังคมคารบอนต่ํา” อย8าง
ถกู ตอ1 ง

สมมุติฐานของงานวจิ ัย

1. การใชส1 ื่อการเรยี นรส1ู งั คมคารบอนตาํ่ ดว1 ยแบบอินโฟกราฟˆกจะสามารถสง8 ผลสมั ฤทธ์ิทาง การเรียนรู1ให1เข1าใจ
ถึง “สงั คมคารบอนตาํ่ ” เพ่ิมมากขึ้น

วธิ ดี ําเนินการวจิ ัย

งานวิจัยครั้งน้ีเป<นการวิจัย ก่ึงทดลอง (Quasi-Experimental Research) โดยได1ทําการทดสอบกลุ8มประชากร
ตัวอย8างโดยการทดสอบก8อนและหลังการเรียนร1ูเพ่ือวัดผลการเรียนร1ูสังคมคารบอนต่ําของนักศึกษาและบุคลากรของคณะ
สถาปnตยกรรมศาสตรและการออกแบบ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรตั นโกสินทร ศาลายาโดยประชากรท่ีใช1ในงานวิจัย
ในคร้ังนี้คือ นักศึกษา และบุคลากรของ คณะสถาปnตยกรรมศาสตรและการออกแบบ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล
รัตนโกสินทร ศาลายา จํานวน 200 คน ซึ่งมาจากจํานวนประชากร400 คน (e= .05)ซึ่งจะได1กลุ8มตัวอย8าง เป<นอาจารย

เอกสารสืบเน่ืองจากการประชมุ วิชาการและนําเสนอผลงานวิจัยระดบั ชาติ 2559 “การวิจัยรบั ใชช) ุมชนสร)างสงั คมฐานความร)ู” 263

จาํ นวน 50 คน บุคลากรฝ›ายสนับสนุนจํานวน 10 คน และนักศึกษา จํานวน 140 คน โดยเครื่องมือที่ใช1ในการวิจัยคร้ังน้ีเป<น
แบบสอบถามและสอ่ื Graphic info สาํ หรบั การเรียนรูส1 ังคมคารบอนตา่ํ

การดําเนินงานวิจัยในคร้ังนี้ ศึกษาค1นคว1าข1อมูลท่ีเก่ียวข1องกับการเรียนรู1สังคมคารบอนตํ่า ได1แก8 หนังสือ
บทความ แนวคิด และงานวิจัยท่ีผ8านมาและศึกษาวิธีการเรียนรู1 จัดทํา Graphic info ที่ให1ความรู1เกี่ยวข1องกับสังคมคารบอน
ต่ํา และจดั ทาํ แบบทดสอบก8อนเรียนและหลงั เรียนเพอื่ นําไปทดสอบกลุ8มประชากรตัวอย8าง ให1ประชากรตัวอย8างได1ทดลองได1
ลองทาํ แบบทดสอบความเข1าใจในเรอ่ื งสงั คมคารบอนตาํ่ (Pretest) หลังจากทําแบบทดสอบ ทางผวู1 จิ ัยจะให1กลุ8มประชากร ได1
เรียนร1ูสังคมคารบอนต่ําจาก Graphic info และหลังจากนั้น ให1กล8ุมประชากรตัวอย8างทําแบบทดสอบ (Posttest) เพ่ือวัด
ความเข1าใจหลงั การเรยี นรู1

การวเิ คราะหขอ1 มลู แบ8งการวเิ คราะหข1อมูลเปน< 3 สว8 น คอื การวิเคราะหข1อมูลทั่วไปของกล8ุมประชากรตัวอย8าง
การวิเคราะหการเรียนรส1ู ังคมคารบอนต่ํา และการวิเคราะหความพึงพอใจการเรยี นรู1สงั คมคารบอนต่ํา

ในส8วนที่ 1 ของแบบสอบถาม ได1ใช1โปรแกรมคอมพิวเตอรเป<นเครื่องมือใช1วิเคราะห ซึ่งวิเคราะห ด1วยวิธีการ
สถิติเชิงพรรณนา (Descriptive Research) เป<นการวิเคราะหข1อมูลทั่วไปของ กลุ8มตัวอย8าง ใน คณะสถาปnตยกรรมศาสตร
และการออกแบบ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลรัตนโกสินทร ศาลายา โดยแสดงการวัดผลในรูปค8ากลางได1แก8 จํานวน
ร1อยละ เปน< ตน1

ส8วนที่ 2 วิเคราะหข1อมูลจากแบบทดสอบ t-test เพื่อศึกษาถึงการเรียนร1ูสังคมคารบอนต่ําใน คณะ
สถาปตn ยกรรมศาสตรและการออกแบบ มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร ศาลายา โดยแสดงการวัดผลในรูปค8า

กลาง ได1แก8 จํานวน ร1อยละ ค8าเฉลี่ยเลขคณิต (X) และส8วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน (S.D.) ของคะแนนท่ีได1 จากการทํา
แบบทดสอบและใช1สถติ เิ ชงิ อนมุ าน เปน< การวิเคราะหข1อมูลเพอื่ ทดสอบสมมติฐานของการวิจยั ไดแ1 ก8

1. สถติ ิทดสอบที (t-test) ในการทดสอบความแตกตา8 งของค8าเฉล่ยี ผลการเรยี นรู1สงั คมคารบอนตํา่ จาก
แบบสอบถาม ทัง้ ก8อนและหลงั เรยี น (Pretest-posttest)

2. นําเสนอแผนภูมิแสดงพัฒนาการของการเรียนรสู1 ังคมคารบอนต่ําของ กล8ุมประชากร ตัวอย8าง ด1วย
คะแนนก8อนและหลังเรยี น

ผลการวจิ ัย

จากกลม8ุ ตวั อย8างทศ่ี กึ ษา จํานวน 200 คน ผลการวเิ คราะหแบง8 ออกเปน< สองสว8 นดังนี้
1. ผลการวิเคราะหข1อมูลเชิงพรรณนา กลุ8มประชากรท่ีตอบแบบสอบถามส8วนใหญ8เป<นเพศหญิง จํานวน 113

คน คิดเปน< รอ1 ยละ 56.50 และเป<นเพศชาย 87 คน คดิ เปน< รอ1 ยละ 43.50 (ตามตารางท่ี 1)

ตาราง 1 ตารางแสดงจํานวนและคา8 ร1อยละของข1อมูลทั่วไปของเพศประชากรผ1ูตอบแบบสอบถาม

เพศของผตู1 อบแบบสอบถาม หน8วย จาํ นวน ร1อยละ
เพศชาย คน 87 43.5
เพศหญิง คน 113 56.5
รวม คน 200 100

2. ผลการวเิ คราะหขอ1 มลู เชงิ อนมุ านเพ่ือทดสอบสมมติฐาน
ผลการทดสอบความรูค1 วามเขา1 ใจในเร่ืองชมุ ชนสังคมคารบอนตาํ่ ของอาจารย คณะสถาปตn ยกรรมศาสตรและการ
ออกแบบพบว8าก8อนเรยี น ข1อท่ี 1 ตอบถกู นอ1 ยท่ีสุด จํานวน 10 คน คดิ เป<นร1อยละ 20 ของประชากรอาจารยทั้งหมด และ
ข1อท่ี 6 ประชากรอาจารยตอบถูกมากที่สุดจํานวน 42 คน คิดเป<นร1อยละ 84 และจากตารางข1างต1น พบว8าคะแนนท่ี
ประชากรทาํ ได1นอ1 ยทีส่ ุดอยทู8 ี่ 3 คะแนน จาํ นวน 1 คน และคะแนนสูงสุดอย8ูที่10คะแนน จํานวน 2 คน และหลังเรียน ข1อ

264 เอกสารสืบเนื่องจากการประชมุ วิชาการและนําเสนอผลงานวิจยั ระดบั ชาติ 2559 “การวิจัยรับใช)ชุมชนสรา) งสังคมฐานความร)ู”

ที่ 2 และ ข1อ 5 ตอบถูกนอ1 ยทสี่ ดุ จาํ นวน 46 คน คิดเป<นรอ1 ยละ 92 ของประชากรอาจารยทัง้ หมด และขอ1 ที่ 3 6 8 9 และ
10 ประชากรอาจารยตอบถูกมากท่ีสดุ จํานวน 50 คน คดิ เปน< ร1อยละ 100 และจากตารางข1างต1น พบว8าคะแนนทีป่ ระชากร
ทําได1น1อยที่สดุ อยูท8 ี่ 7 คะแนน จาํ นวน 2 คน และคะแนนสูงสดุ อย8ูท่ี10คะแนน จํานวน 44 คน

ประชากรกล8ุมอาจารยส8วนใหญ8กอนเรียนมีความร1ูในระดับปานกลางจํานวน 24 คน คิดเป<นร1อยละ 48 ของ
ประชากรทงั้ หมด รองลงมามีความรกู1 อ8 นเรียนในระดบั ดี ร1อยละ 22 และระดับนอ1 ยร1อยละ 22และจากการประเมินความรู1
หลงั เรยี นร1ูจากอินโฟกราฟˆกพบว8าประชากรมีคะแนนเพ่ิมขึ้นจากหลัง เรียนในระดับดีมากจาก 4 คนเป<น 45 คน คิดเป<น
รอ1 ยละ 90 ของประชากร ซ่งึ เพ่ิมจากเดมิ รอ1 ยละ 82 (แผนภูมิที่ 1)

ภาพ 1 แสดงจาํ นวนกล8ุมตัวอยา8 งอาจารย ท่ีมีความร1คู วามเข1าใจเก่ียวกับการเรียนรู1สังคมคารบอนต่ํา ผ8าน
สอื่ อินโฟกราฟˆก กอ8 นและหลงั เรียนรส1ู ่อื อินโฟกราฟฟกˆ

ส8วนพนักงานส8วนใหญ8กอนเรียนมีความรู1อย8ูในระดับน1อย คิดเป<นร1อยละ 50 เมื่อมีการประเมินหลังการเรียนร1ู
ชมุ ชนสงั คมคารบอนต่ําจากอินโฟกราฟกˆ พบว8า ประชากรสว8 นใหญ8มีการเรียนร1อู ยใู8 นระดับดี รอ1 ยละ 50 และรองลงมาอยู8
ในระดบั ดมี ากร1อยละ 40

นักศึกษาส8วนใหญ8กอนเรยี นมีความร1อู ยูใ8 นระดบั นอ1 ย คิดเปน< ร1อยละ 97 เม่อื มีการประเมินหลังการเรียนร1ูชุมชน
สังคมคารบอนตํ่าจากอินโฟกราฟˆก พบว8านักศึกษาส8วนใหญ8มีการเรียนร1ูอยู8ในระดับดี ร1อยละ57.86 และรองลงมาอย8ูใน
ระดบั ดมี ากรอ1 ยละ 23.57

การเรียนรู1สังคมคารบอนตํ่าผ8านอินโฟกราฟˆกทําให1เกิดประสิทธิภาพ การเรียนเพ่ิมข้ึน จากเดิมในระดับดีมาก
จาก ร1อยละ 2 เป<นร1อยละ 41 เพ่ิมขึ้นจากเดิมร1อยละ 39 ในระดับดีน้ันผลการเรียนร1ูเพ่ิมขึ้นจากร1อยละ 12 เป<นร1อยละ
45.50 เพิม่ ข้ึนเป<นรอ1 ยละ 33.5 ซึ่งประชากรสว8 นใหญ8 มคี วามรเู1 พ่มิ ข้นึ ในระดับดี

เอกสารสบื เนอื่ งจากการประชมุ วิชาการและนาํ เสนอผลงานวจิ ยั ระดบั ชาติ 2559 “การวิจัยรับใชช) ุมชนสร)างสังคมฐานความรู)” 265

จากตารางแสดงถึงคา8 เฉลี่ยของคะแนนกอ8 นเรียนและหลังเรยี น พบว8ากลุ8มอาจารย กอ8 นเรียนมีคะแนนเฉลี่ยอย8ูท่ี
5.86 คะแนน ค8าความแปรปรวน 2.735 ค8าส8วนเบ่ียงเบนมาตรฐานอยู8ท่ี 1.65 และหลังเรียน 9.74 คะแนน ค8าความ
แปรปรวน 0.564 ค8าส8วนเบี่ยงเบนมาตรฐานอยู8ที่ 0.75 กลุ8มพนักงาน ก8อนเรียนมีคะแนนเฉลี่ยอยู8ท่ี 3.20 คะแนน ค8า
ความแปรปรวน 1.733 คา8 สว8 นเบย่ี งเบนมาตรฐานอย8ูท่ี 1.32 และหลังเรียน 8 คะแนน ค8าความแปรปรวน 1.111 ค8าส8วน
เบ่ียงเบนมาตรฐานอยู8ที่ 1.05 และกล8ุมนักศึกษา ก8อนเรียนมีคะแนนเฉลี่ยอยู8ที่ 4.32 คะแนน ค8าความแปรปรวน 1.903
คา8 ส8วนเบีย่ งเบนมาตรฐานอยู8ท่ี 1.38 และหลงั เรยี น 7.74 คะแนนค8าความแปรปรวน 1.502 ค8าส8วนเบี่ยงเบนมาตรฐานอยู8
ที่ 1.23

ตาราง 2 ตารางแสดงค8าความสัมพันธคะแนนก8อนเรียนและหลังเรียนรู1ชุมชนสังคมคารบอนตํ่า ของประชากร คณะ
สถาปตn ยกรรมศาสตร และการออกแบบ

ประชากร ค8าเฉลี่ย คา8 แปรปรวน SD

อาจารย 50 คน กอ8 นเรยี น 5.86 2.735 1.65
หลังเรียน 9.74 0.564 0.75

พนกั งาน 10คน ก8อนเรียน 3.20 1.733 1.32
หลงั เรยี น 8.00 1.111 1.05

นกั ศึกษา 140 คน กอ8 นเรยี น 4.32 1.903 1.38
หลังเรยี น 7.74 1.502 1.23

ตาราง 3 ตารางแสดงค8าความสัมพันธของคะแนนก8อนเรยี นและหลงั เรียน

จํานวน correlation sig.

Pretest-posttest 200 0.85 0

จากตารางท่ี 3 พบว8าค8าสหสัมพันธระหว8างคะแนนทดสอบก8อนเรียนและหลังเรียน ของประชากรตัวอย8างท่ี
ได1รับการทดสอบ จํานวน 200 คน อย8ูท่ี 0.85 หรือร1อยละ 85 ซึ่งแปลความหมายได1ว8า มีความสัมพันธกันในระดับสูง
(Hinkle D.E.:1998)

ส8วนวเิ คราะห T-test มีค8าสมมติฐาน H0 คะแนนกอ8 นเรยี นและหลงั เรียนไมต8 8างกัน
H1 คะแนนหลังเรียนสงู กว8าคะแนนก8อนเรยี น

ตาราง 4 ตารางแสดงคา8 T-Test

อาจารย จาํ นวน correlation sig. T-stat T-critical (2-tail)
เจ1าหนา1 ท่ี 50 0.07 0.05 20.89 2.31
นักศึกษา 10 0.94 0.05 32.5 2.01
140 0.18 0.05 20.37 2.00

คา8 t-stat ของอาจารยมคี 8า 20.89 ค8า T-critical มคี 8า 2.31คา8 t-stat ของเจา1 หนา1 ทม่ี คี 8า 32.5 คา8 T-critical มี
คา8 2.01และค8า t-stat ของนักศกึ ษามีค8า 20.37 คา8 T-critical มคี า8 2.00

266 เอกสารสืบเนื่องจากการประชมุ วชิ าการและนําเสนอผลงานวจิ ยั ระดบั ชาติ 2559 “การวิจัยรับใช)ชมุ ชนสร)างสงั คมฐานความรู)”

จากตารางแสดงถึงค8า T-stat ที่ได1ค8ามากกว8า t-critical แสดงว8าปฏิเสธ Null Hypothesis (H0) และยอมรับ
Alternative Hypothesis (H1) ซง่ึ แสดงวา8 การเรยี นร1สู ังคมคารบอนต่าํ ผา8 นอนิ โฟกราฟˆกมีการเรยี นร1ูที่สูงข้นึ จากเดมิ

เมื่อทางผวู1 จิ ัยได1จัดทําการประเมินการเรียนรู1สังคมคารบอนต่ําผ8านสื่ออินโฟกราฟˆก ไปแล1วอีกเครื่องมือหน่ึงคือ
การวดั ผลความพึงพอใจของกลุ8มประชากรโดยแสดงผลแจกแจงค8าเฉลย่ี คา8 เบ่ียงเบนมาตรฐานดังตารางต8อไปนี้
ตาราง 5 ตารางแสดงผลระดับความพึงพอใจของกลม8ุ ตัวอยา8 งประชากร

อันดบั สํารวจความพึงพอใจ นอ1 ย ทีส่ ดุ X SD แปลผล
นอ1 ย

ปาน กลาง
มาก

มาก ที่สดุ

54321

1 หลังจากเรยี นรู1ท8านรจ1ู กั สังคม คารบอนต่าํ 90 65 37 8 0 4.19 0.33 มาก
มากน1อยเพียงใด

2 ทา8 นคดิ ว8าการประชาสมั พนั ธ ใหท1 ราบถงึ สงั คม 0 4.18 0.33 มาก
คารบอนตาํ่ มคี วามจําเปน< มานอ1 ยเพยี งใด 75 100 10 15

3 ท8านคดิ ว8าส่อื ประชาสมั พนั ธ จากกราฟˆก 61 120 14 5 0 4.19 0.33 มาก
และอนิเมชนั่ มีประสิทธิภาพมากที่สุด

4 ท8านพึงพอใจในกราฟกˆ และอนเิ มช่ัน 61 100 34 5 0 4.09 0.32 มาก
เพียงใด

5 ท8านพึงพอใจองคกรมสี ว8 นร8วม ในการเป<น 87 90 18 5 0 4.30 0.34 มากท่สี ุด
สงั คมคารบอนตา่ํ

รวม 374 475 113 38 0 4.19 0.33 มาก

ค8าเฉล่ยี ที่วดั ได1 ระดบั ความพงึ พอใจ
4.21-5.00 มากทสี่ ุด
3.41-4.20 มาก
2.61-3.40 ปานกลาง
1.81-2.60 นอ1 ย
1.00-1.80 นอ1 ยท่ีสุด

จากตารางท่ี 5 ประชากรส8วนใหญ8พึงพอใจในการเรียนร1ูชุมชนสังคมคารบอนตํ่าโดยมีค8าเฉล่ีย 4.19 ซ่ึงอยู8ใน
เกณฑที่มีระดับความพึงพอใจมาก น่ันแสดงให1เห็นว8าในการใช1ส่ืออินโฟกราฟˆกในการอธิบายและให1ความรู1เรื่องสังคม
คารบอนตาํ่ มคี วามสําคญั มากตอ8 ความเขา1 ใจของกลุม8 ตวั อย8างแต8ละกลุม8

สรปุ และอภปิ รายผล

ผลวิเคราะหข1อมูลเชิงพรรณนา กลุ8มประชากรท่ีตอบแบบสอบถามส8วนใหญ8เป<นเพศหญิง จํานวน 113 คน
คดิ เปน< ร1อยละ 56.50 และเป<นเพศชาย 87 คน คิดเป<นร1อยละ 43.50 และกลุ8มคนท่ีตอบแบบสอบถามเป<นนักศึกษาส8วน

เอกสารสบื เนอื่ งจากการประชมุ วิชาการและนําเสนอผลงานวจิ ัยระดบั ชาติ 2559 “การวจิ ัยรบั ใชช) มุ ชนสรา) งสงั คมฐานความร)ู” 267

ใหญ8 จาํ นวน 140 คน คดิ เปน< ร1อยละ 70 ของประชากรท้ังหมด รองลงมาเปน< อาจารยประจําคณะ จํานวน 50 คน คิดเป<น
รอ1 ยละ 25 ของประชากรท้งั หมด และเจา1 หนา1 ท่คี ณะจํานวน 10 คน คดิ เป<นร1อยละ 5 ของประชากรทั้งหมด

ผลการทดสอบความรู1ความเข1าใจในเรื่องชุมชนสังคมคารบอนตํ่าของประชากรใน คณะสถาปnตยกรรมศาสตร
และการออกแบบ พบวา8 การเรียนรสู1 ังคมคารบอนต่าํ ผ8านอนิ โฟกราฟกˆ ทาํ ให1เกดิ ประสทิ ธิภาพ การเรียนเพ่ิมขึ้น จากเดิมใน
ระดับดีมากจาก ร1อยละ 2 เป<นร1อยละ 41เพ่ิมขึ้นจากเดิมร1อยละ 39 ในระดับดีนั้นผลการเรียนร1ูเพ่ิมข้ึนจากร1อยละ 12
เป<นร1อยละ 45.50 เพิ่มขึ้นเป<นร1อยละ 33.5 ซึ่งประชากรส8วนใหญ8 มีความรู1เพ่ิมข้ึนในระดับดี จากตารางแสดงถึงการ
เรยี นร1ูท่เี พมิ่ ขนึ้ รอ1 ยละ 72.50 เม่ือวัดผลจาก T-test แล1วน้ัน พบว8า T-stat ที่ได1ค8ามากกว8า t-critical แสดงว8าเราปฏิเสธ
Null Hypothesis (H0) และยอมรับ Alternative Hypothesis (H1) ซึ่งแสดงว8าการเรียนรู1สังคมคารบอนต่ําผ8านอินโฟ
กราฟกˆ มีการเรยี นรูท1 ีส่ ูงขึน้ จากเดมิ

การวดั ผล ความพึงพอใจหลงั เรียนร1ูสงั คมคารบอนต่าํ ผ8านส่ืออินโฟกราฟˆก ของประชากรใน คณะสถาปnตยกรรม
ศาสตรและการออกแบบ จะเห็นได1ว8า ประชากรส8วนใหญ8พึงพอใจในการเรียนรู1ชุมชนสังคมคารบอนตํ่าผ8านสื่ออินโฟ
กราฟˆก มคี า8 เฉลย่ี ถึง 4.19 ซง่ึ อยใู8 นเกณฑท่มี ีความพึงพอใจในระดบั มาก

จะเห็นได1ว8า ระดับการเรียนรู1ในสังคมคารบอนตํ่า มีความสัมพันธกับระดับการศึกษาเช8นเดียวกัน ในกลุ8มของ
อาจารยที่มีระดับการศึกษาท่ีสูงกว8าปริญญาตรี จะมีการเรียนร1ูและสามารถเข1าใจในสังคมคารบอนตํ่าได1ดีกว8าในกล8ุม
นกั ศกึ ษา ซง่ึ แสดงใหเ1 หน็ ว8า ระดับการศึกษา ย8อมส8งผลต8อการปรับตัวส8ูสังคมคารบอนต่ํารวมถึงมีความสามารถในการหา
ความร1ูเพมิ่ เติมมากกวา8 กลม8ุ ตัวอย8างท่มี ีระดบั การศึกษาทต่ี ํา่ กว8า ซ่งึ สอดคล1องกบั การศึกษาของลดั ดา วรี ะเบญจพล (2555)
เรื่องการปรับตัวสู8สังคมคารบอนตํ่า ภาคการใช1พลังงานของประชาชนในกรุงเทพมหานคร ซึ่งได1กล8าวว8า หากบุคคล
ประชาชนไดร1 บั การขัดเกลา เรยี นร1ู จะสามารถสง8 เสรมิ ให1มีพฤติกรรมที่เหมาะสม และตระหนกั ตอ8 สิ่งแวดล1อมได1

นอกจากน้ี การตระหนักและใสใ8 จในสิง่ แวดล1อม เปน< เร่ืองทีต่ 1องปลกู จิตสํานกึ โดยเร่ิมจากหน8วยเล็กๆคือ ตนเอง
และเริ่มสู8ครอบครัว สังคม ชุมชน ซึ่งจําเป<นจะต1องปลูกฝnง ต้ังแต8การเรียนในระดับหลักสูตร โดยเริ่มตั้งแต8การเรียนร1ูใน
โรงเรียนระดับเล็ก เช8น โรงเรียน อนุบาล เพื่อช8วยปลูกจิตสํานึกให1รักษส่ิงแวดล1อม เช8นเดียวกับ การศึกษาของ
ChantamonPotipituk andArivaSugandiPermana (2014) ที่กล8าวถงึ การปลกู จติ สาํ นึกเพ่อื ใหป1 ระชาชนตระหนักและ
ใสใ8 จในสิง่ แวดลอ1 ม จําเปน< ต1องปลกู ฝnง และผนวกเข1าเป<นสว8 นหนึง่ ในหลักสตู รของการศึกษา

จากผลของการวิจัยคร้ังน้ีทําให1ทราบถึงการเรียนรู1สังคมคารบอนต่ําผ8านอินโฟกราฟˆกน้ันทําให1เกิดการเรียนร1ูท่ี
เกดิ ประสทิ ธผิ ลเพ่มิ ขึน้ เช8นเดยี วกับการศกึ ษาของ ชินกฤต อดุ มลาภไพศาล (2014) ท่ีแสดงให1เห็นถึงความสําคัญของการ
นําเสนอสอื่ อนิ โฟกราฟฟกˆ สามารถส8งเสรมิ ความเข1าใจของประชาชนที่เพ่มิ ขึ้น เนอ่ื งจากความเข1าใจง8ายจากกราฟกˆ และอนิ
เมช่ันทาํ ใหเ1 ขา1 ใจถึงชุมชนสังคมคารบอนตาํ่ ไดง1 า8 ย ดังน้ันส่อื อินโฟกราฟˆกจึงมีประโยชนในแง8ของการนําเสนอข1อมูลเพ่ือให1
ผ1ูอน่ื ไดเ1 ขา1 ใจถึงความหมายและความสําคัญของชมุ ชนสงั คมคารบอนตาํ่

ข)อเสนอแนะ

จากงานวิจยั ช้ินนี้ซ่ึงได1ทดสอบกลุ8มคนเพียงแค8อาจารย พนักงาน นักศึกษา คณะสถาปnตยกรรมศาสตรและการ
ออกแบบของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร ศาลายา ซึ่งถือว8ายังเป<นกลุ8มทดสอบท่ีมีขนาดเล็กและยังไม8
สามารถตีความในภาพรวมได1ว8ากลุ8มคนอ่ืนๆ มีความเข1าใจมากน1อยเพียงในในเร่ืองของชุมชนสังคมคารบอนต่ํา ดังน้ันใน
การศกึ ษาข้นั ตอ8 ไป ควรจะตอ1 งมกี ารทดสอบกับกลม8ุ คนหลายๆกล8มุ เพ่อื ทดสอบความเขา1 ใจของบคุ คลอื่นๆนอกจากบุคคล
ในคณะสถาปnตยกรรมศาสตรและการออกแบบของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร ศาลายา และมองใน
ภาพรวมไดช1 ัดเจนมากยงิ่ ขึน้ และสามารถนาํ มาปรับปรงุ ส่ืออินโฟกราฟˆกให1มีคณุ ภาพและเข1าใจไดง1 8ายมากข้ึน

268 เอกสารสบื เนื่องจากการประชมุ วชิ าการและนาํ เสนอผลงานวิจัยระดบั ชาติ 2559 “การวิจัยรบั ใช)ชุมชนสร)างสังคมฐานความรู)”

กติ ติกรรมประกาศ

ผวู1 จิ ยั ขอขอบพระคุณ มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร ท่ีให1การสนับสนุนงบประมาณการวิจัยใน
ครัง้ น้ี

เอกสารอ)างอิง

กัณฑรยี บญุ ประกอบ. (2556).ความพร)อมการปรับตัว ท่ีไทยยงั ทําไมได) ในทศิ ทางขับเคล่อื นการเปล่ียนแปลงสังคมสู
การจัดการทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดล)อมอยางย่ังยนื . สมั มนาวชิ าการ20 ปy TEI กับทศวรรษข1างหน1า.

จรญั จนั ทลักขณา. (2549). สถติ กิ ารวเิ คราะหและการวางแผนงานวิจยั . กรงุ เทพฯ : สาํ นักพมิ พ
มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร.

ชชั วาลย ศลิ ปกิจ. (2551). สถติ เิ บ้อื งต)น (Basic statistics). คน1 เมอื่ 4 มกราคม 2559, จาก
http://med.mahidol.ac.th/psych/sites/default/files/public/pdf/Conference/Research_conferen
ce/57/Basic%20Statistics.pdf .

ชนิ กฤต อดุ มลาภไพศาล. (2014). การสื่อสารเชงิ อินโฟกราฟกt ในขาวหนงั สอื พิมพธุรกจิ . The 6th NPRU National
Academic Conference 2014. NakhonPathomRajabhat University, May 30-31, 2014.

ลดั ดา วรี ะเบญจพล. (2555). การปรับตัวสสู งั คมคารบอนตาํ่ ภาคการใช)พลงั งานของประชาชนในกรงุ เทพมหานคร.
วิทยานพิ นธปริญญามหาบณั ฑติ สถาบันบัณฑติ พฒั นบริหารศาสตร.

อรู ิช ซาเกา. (2556).สภาวะเศรษฐกจิ โลก: ผลกระทบตอประเทศไทย. ค1นเม่ือ 23สิงหาคม 2559, จาก
http://www.worldbank.org/th/news/speech/2013/11/11/global-economic-outlook-
implications-for-thailand.

Amin, A.T.M. N. (2009).Reducing Emissions from Private Cars:Incentive measures for behavioural
change. Prepared for Economics and Trade Branch, Division of Technology, Industry and
Economics, United Nations Environment Programme, 31(4) :127-139.

MOEJ (Ministry of the Environment). (2007).Building a low carbon society. Japan :Ministry of the
Environment,2007.

National Economic and Social Development Board. (2012).Clean technology fund investment plan
for Thailand.Retrieved January 3, 2016, from
http://www.nesdb.go.th/Portals/0/home/interest/09/Final_Draft_CTF_InvestmentPlan_Oct09.p
df.

Potipituk, C. and Permana, A. S. (2014).Barriers to the Implementation of Environmental Management
Measures in the Operation of ShopHouse Enterprises in Bangkok Metropolitan
Area.International Journal of Built Environment and Sustainability, 1(1) :1-8.

Smith, D.M. (2006). Just one planet: poverty. Justice and climate change. 2nded. England :Ashford.

เอกสารสบื เน่อื งจากการประชมุ วชิ าการและนาํ เสนอผลงานวจิ ัยระดบั ชาติ 2559 “การวิจัยรบั ใชช) ุมชนสรา) งสังคมฐานความรู)” 269

การวิเคราะหปbจจัยที่เหมาะสมในกระบวนการผลิต กรณีศึกษาโรงงานผลติ ผลติ ภณั ฑยาง
Analysis of Factors in the Production Process. A Case Study Rubber Manufacturing

นิธิเดช คหู าทองสัมฤทธิ์1
Nitidech Koohatongsumrit1

บทคดั ยอ

การวิจัยในครั้งน้ีต1องการศึกษาปnจจัยที่เหมาะสมในกระบวนการผลิตผลิตภัณฑยางร8ุน NBR#65 โดยมีโรงงาน
กรณีศึกษาคือ โรงงาน เค. เอช. ออโต1พารท ซ่ึงเป<นโรงงานที่รับผลิตช้ินส8วนอะไหล8ยางตามแบบเป<นผลิตภัณฑประสบ
ปญn หาเร่ืองการผลติ ผลิตภณั ฑท่ไี มเ8 ปน< ไปตามขอ1 กาํ หนด ผ1ูวิจัยจึงเลือกผลิตภัณฑท่ีมีปรมิ าณการผลิตสงู สุดมาทําการศึกษา
ได1แก8 ผลติ ภณั ฑยางร8ุน NBR#65 ท่ีมีค8าความแขง็ มาตรฐานเทา8 กบั 65 ชอรเอ และทาํ การเกบ็ รวบรวมขอ1 มูลผลิตภณั ฑทีไ่ ม8
ผ8านขอ1 กําหนดชว8 งเดอื นตุลาคม 2557 ถงึ เดือนธนั วาคม 2557 และวิเคราะหดว1 ยแผนภาพพาเรโตพบวา8 สาเหตุท่ีผลติ ภัณฑ
ที่ไม8เป<นไปตามข1อกําหนดมีสาเหตุหลักมาจากค8าความแข็งของผลิตภัณฑไม8ได1ตามมาตรฐานคิดเป<น 56% ของจํานวน
ผลิตภณั ฑท่ไี ม8ผา8 นข1อกําหนดทั้งหมด จากนั้นใช1แผนภาพก1างปลาในการวิเคราะหสาเหตุปnญหาพบว8าสาเหตุหลักเกิดจาก
ขัน้ ตอนการผสมยางและสารเคมีทีไ่ ม8ได1สัดส8วนตามมาตรฐาน จากการศกึ ษาขนั้ ตอนการผลติ พบว8าสารเคมีท่ีใช1ในการผสม
ยางร8ุน NBR#65 ท้ังหมดที่ปริมาณการผลิต 5 กิโลกรัม ได1แก8 สารกันเสื่อมที่ 0.11-0.12 กรัม, แคลเซียมคารบอเนต 29-30
กรมั , คารบอนแบลก 0.35-0.50 กรัม, นํา้ มันยาง 10-12 กรัมและกํามะถัน 4.9-5.2 กรัม ผู1วิจัยได1เลือกใช1วิธีการออกแบบ
การทดลอง (Design of Experiment) แบบแฟกทอเรียล 2k (2k Factorial Design) ในการทดลองและแก1ไขปnญหาใน
ขา1 งตน1 ซง่ึ เปน< วธิ กี ารออกแบบการทดลองทีเ่ หมาะสมกับการทดลองหลายปnจจัยที่แต8ละปnจจยั มี 2 ระดับ โดยทาํ การทดลอง
ที่ 2 ซํ้าในแต8ละระดบั ของปจn จัยผลการวิจัยพบว8าปnจจยั ทง้ั 5 ปnจจัยมีผลต8อค8าความแข็งของผลิตภณั ฑยางอย8างมีนัยสําคัญ
และสภาวะทเ่ี หมาะสม หรือระดบั ปจn จยั ทีเ่ หมาะสมทีจ่ ะทําใหผ1 ลติ ภัณฑยางรุ8น NBR#65 ให1มคี า8 ความแข็งเท8ากับ 65 ชอร
เอ คือ สารกนั เสื่อมทีร่ ะดับ 0.11 กรัม,แคลเซยี มคารบอเนตทีร่ ะดบั 30 กรมั , คารบอนแบลกทีร่ ะดบั 0.36 กรมั , นํา้ มันยาง
ทร่ี ะดับ 12 กรัมและกํามะถันทรี่ ะดบั 5.2 กรมั ตามลาํ ดบั

คาํ สําคัญ : การออกแบบการทดลอง ผลิตภัณฑยาง การลดจาํ นวนผลติ ภัณฑไมผ8 า8 นขอ1 กาํ หนด การเพม่ิ ประสทิ ธภิ าพ

ABSTRACT

The objective of this research is find optimal conditions of factor in NBR#65 production
process, A case study is K.H. Auto Parts Manufacturing. It had over defect in production process. The
researcher chose rubber product version NBR#65, the standard hardness is 65 shore A. The defective
production data of NBR#65 were collected from October 2557 to December 2557 and analyzed with
pareto-chart, the result showed main problem is the hardness of a product does not meet the
standardsat 56% of all defects.Fish-bone diagram was selected for analyzed and showed the causes of
defect were mixture process. A base on study found chemicals ingredient for rubber product version
NBR#65 (at 5-kilogram production rate) are antioxidant at 0.11-0.12 grams, calcium carbonate at 29-30
grams, Carbon black at 0.35-0.50 grams, rubber oil at 10-12 grams and Sulphur at 4.9-5.2 grams. This
study employs2k Factorial Design with 2 replicate for running the experiments.The result of the
experiment that all factors (Chemicals ingredient) affect the hardness of rubber product. Optimal

1 สาขาวชิ าการจัดการอตุ สาหกรรม คณะวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี มหาวิทยาลยั ราชภฏั ธนบรุ ี

270 เอกสารสบื เนื่องจากการประชมุ วิชาการและนําเสนอผลงานวิจยั ระดบั ชาติ 2559 “การวิจัยรับใช)ชุมชนสรา) งสงั คมฐานความร)ู”

condition for rubber product version NBR#65 of 65 shore A is antioxidant at 0.11 grams, calcium
carbonate at 30 grams, Carbon black at 0.36 grams, rubber oil at 12 grams and Sulphur at 5.2 grams
Respectively.

KEYWORDS : Design of Experiment, Rubber products, Defect reduction, Productivity Improvement

ความเป`นมาและความสําคัญของปbญหา

จากสภาพเศรษฐกจิ ในปnจจุบันพบว8าอตุ สาหกรรมผลิตภัณฑยางมีการแข8งขันกนั สูง ทาํ ใหผ1 ู1ประกอบการและผูท1 ี่
เกย่ี วข1องกบั อุตสาหกรรมดังกล8าวจาํ เป<นทีจ่ ะต1องปรับตัวเพ่ือรองรับการเปลี่ยนแปลงและสภาวะการแข8งขันท่ีเพ่ิมมากขึ้น
ในการท่ีจะผลิตผลิตภัณฑให1มีต1นทุนต8อหน8วยตํ่าท่ีสุดและยังคงรักษาคุณภาพของผลิตภัณฑไว1ให1เป<นไปตามมาตรฐาน มี
ความเหมาะสมกบั การใชง1 านและเป<นท่ีพอใจของผบ1ู ริโภค จากเหตุผลดังกล8าวสง8 ผลให1ผป1ู ระกอบการจําเปน< ตอ1 งสร1างความ
ได1เปรียบกว8าผู1ผลิตรายอ่ืนและเพ่ิมความสามารถทางการแข8งขัน ซ่ึงการผลิตผลิตภัณฑให1เป<นไปตามข1อกําหนดนับเป<น
วิธกี ารหนึง่ ท่ชี 8วยลดต1นทนุ และเพมิ่ ความสามารถทางการแข8งขันได1

โรงงาน เค. เอช. ออโตพ1 ารท ตง้ั อยู8 อ.กระทม8ุ แบน จ.สมทุ รสาคร มผี ลติ ภณั ฑหลกั ไดแ1 กช8 ้ินส8วนอะไหล8ยางตาม
แบบเปน< ผลิตภัณฑหลักของโรงงาน ทางผู1บริหารโรงงานมีนโยบายในการลดต1นทุนการผลิต ลดเวลาการทํางาน และเพ่ิม
กําลังการผลิต แต8จากการศึกษาสภาพปnจจุบันของโรงงานในเบ้ืองต1นพบว8าโรงงานกรณีศึกษาพบกับปnญหาเรื่องการผลิต
ผลิตภัณฑท่ีไม8เป<นไปตามข1อกําหนด ผู1วิจัยจึงเลือกผลิตภัณฑที่มีปริมาณการผลิตสูงสุดมาทําการศึกษา ได1แก8 ผลิตภัณฑ
ยางรนุ8 NBR#65ซ่ึงเป<นผลิตภัณฑส8วนหน่ึงในระบบลูกยางเบรคท่ีทําหน1าท่ีสําหรับปn¢มสูบฉีดน้ํามันของระบบเบรครถยนต
โดยผลิตภัณฑยางรุ8น NBR#65 จะมีค8าความแข็งมาตรฐานเท8ากับ 65 ชอรเอ (Shore-A) มีหน1าท่ีสําหรับกันน้ํามันของ
ระบบเบรครถยนตเพ่ือไม8ให1นํ้ามันไปอุดตันระบบเบรค จากน้ันทําการเก็บรวบรวมข1อมูลผลิตภัณฑยางร8ุน NBR#65ท่ีไม8
ผ8านขอ1 กําหนดชว8 งเดอื นตุลาคม 2557 ถึงเดือนธนั วาคม 2557 และวิเคราะหด1วยแผนภาพพาเรโตพบวา8 สาเหตุท่ีผลติ ภณั ฑ
ไม8เป<นไปตามข1อกําหนดมีสาเหตุหลักมาจากค8าความแข็งของผลิตภัณฑไม8ได1ตามมาตรฐานคิดเป<น 56% ของจํานวน
ผลิตภัณฑท่ีไม8ผ8านข1อกําหนดทั้งหมดผู1วิจัยจึงได1ทําการสัมภาษณหัวหน1าคนงานและผ1ูที่เก่ียวข1องกับการผลิตพบว8าการท่ี
ผลิตภัณฑมคี า8 ความแขง็ ไม8ได1ตามมาตรฐานน้ันเกิดจากข้ันตอนการผสมยางและสารเคมีท่ีไม8ได1สัดส8วนตามมาตรฐานจาก
ปnญหาที่กล8าวในข1างต1นผู1วิจัยได1เลือกใช1การออกแบบการทดลอง (Design of Experiment) แบบแฟกทอเรียล 2k (ชาญ
ณรงคและรพี, 2556) ซึ่งเป<นวธิ กี ารออกแบบที่เหมาะสมกับการทดลองหลายปจn จัยแต8ละปจn จัยมี 2 ระดบั และเหมาะสมกับ
การหาสภาวะที่เหมาะสมของระดับปจn จยั ท่ีตอ1 งการ ท้ังน้ีเพ่ือลดจํานวนผลิตภัณฑไม8ผ8านข1อกําหนดและเพิ่มประสิทธิภาพ
ของกระบวนการผลติ ใหม1 ีประสิทธิภาพมากย่งิ ข้นึ

วตั ถุประสงค
เพื่อศึกษาระดับปnจจัยท่ีเหมาะสมในกระบวนการผลติ ผลิตภณั ฑยางรน8ุ NBR#65

ขอบเขตการวจิ ยั

1. งานวิจัยนี้ใช1วิธีการออกแบบแผนการทดลองแบบแฟกทอเรียล 2kโดยการทําซ้ํา 2 คร้ัง รวมจํานวนทั้งส้ิน
64 การทดลองในการหาปnจจยั ทีเ่ หมาะสมในกระบวนการผลิตผลิตภัณฑยาง โดยระดับปnจจัยท่ีทําการทดลองเป<นไปอย8าง
ส8ุม

2. งานวิจัยนท้ี ําการศึกษาเฉพาะสายการผลติ ผลติ ภัณฑยางรุน8 NBR#65 เท8าน้ัน

เอกสารสบื เนื่องจากการประชมุ วิชาการและนาํ เสนอผลงานวิจยั ระดบั ชาติ 2559 “การวิจยั รบั ใช)ชมุ ชนสร)างสงั คมฐานความรู)” 271

วิธีดาํ เนินการวจิ ยั

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงคต1องการหาปnจจัยท่ีเหมาะสมในกระบวนการผลิตผลิตภัณฑยางร8ุน NBR#65 โดยได1
กําหนดวธิ ีการดําเนนิ การวจิ ยั มีรายละเอยี ดดังนี้

1. ศึกษาสภาพปnญหาเบ้ืองต1นของโรงงานกรณีศึกษาจากการศึกษาสภาพปnญหาเบื้องต1นของโรงงาน
กรณีศึกษาพบว8า โรงงานกรณีศึกษาเกิดปnญหาในเร่ืองการผลิตผลิตภัณฑท่ีไม8เป<นไปตามข1อกําหนด และพบว8าลักษณะ
ข1อบกพรอ8 งท่ีทาํ ให1ผลิตภัณฑไม8เป<นไปตามข1อกําหนดน้ันเกิดมาจากสาเหตุท่ีมากท่ีสุดคือค8าความแข็งไม8ได1ตามมาตรฐาน
โดยคิดเป<น 56% ของจํานวนผลิตภัณฑท่ีไม8ผ8านข1อกําหนดทั้งหมด สําหรับผลิตภัณฑยางรุ8น NBR#65 มีกระบวนการใน
การผลิตทั้งส้ิน 8 ขั้นตอน เริ่มต้ังแต8การเลือกชนิดและน้ําหนักของยางที่ต1องการผลิต เตรียมวัตถุดิบตามสัดส8วน ผสม
วัตถุดิบด1วยเคร่อื งผสม รีดวตั ถุดบิ ดว1 ยเครอ่ื งรีดใหเ1 ป<นแผ8น นําวตั ถดุ บิ มาตัดเปน< ชิน้ ตามแม8พิมพ ตัดแต8งชิ้นงาน และบรรจุ
ลงหบี หอ8 แสดงขน้ั ตอนการผลติ ผลิตภณั ฑยางรุ8น NBR#65 ดงั ภาพที่ 1

ภาพ 1 ขัน้ ตอนการผลติ ผลติ ภณั ฑยางรนุ8 NBR#65
2. วิเคราะหหาสาเหตขุ องปญn หาผ1ูวิจัยได1ทําการวิเคราะหหาสาเหตุของปnญหาดังกล8าว (ผลิตภัณฑท่ีค8าความ
แขง็ ไม8ได1ตามมาตรฐาน) โดยนาํ แผนผงั กา1 งปลา (สมเกยี รติและวัลภา, 2554) มาเป<นเครื่องมือในการวิเคราะหแสดงดงั ภาพ
ท่ี 1 โดยการระดมสมองร8วมกับผท1ู ีร่ ับผดิ ชอบในกระบวนการผลติ ผลติ ภณั ฑยางร8นุ NBR#65 พบวา8 สาเหตยุ อ8 ยของปnญหาที่
เกิดจากสาเหตุหลกั ทั้งหมด 4 สาเหตุ ไดแ1 ก8 คน เครอ่ื งจกั ร วธิ ีการ และวัตถุดบิ แสดงดังภาพที่ 2จากน้ันทําการประชุมกับ
ผู1บริหารของทางโรงงานพบว8าต1องการแก1ไขปnญหาจากสาเหตุที่มาจากวิธีการทํางานมากท่ีสุด เน่ืองจากวิธีการท่ีใช1ใน
ปnจจุบันเกิดจากการใช1ประสบการณและความค1ุนเคยในการผสมยางและสารเคมีเข1าด1วยกัน โดยเฉพาะการผสมปริมาณ
สารเคมียงั ใช1การกะปริมาณสารเคมเี ป<นช8วง ๆ ในการผสมกับยางธรรมชาติ ฉะนั้นงานวิจัยน้ีผู1วิจัยจึงต1องการศึกษาเพื่อหา
ปnจจยั หรอื ระดับของสดั ส8วนสารเคมตี 8าง ๆ ทีเ่ หมาะสมในกระบวนการผลิตน้ี โดยประยกุ ตใช1หลกั การออกแบบการทดลอง
เชิงแฟกทอเรียลแบบ 2k ซง่ึ เปน< วธิ ีการออกแบบที่เหมาะสมกบั การทดลองหลายปจn จัยแตล8 ะปnจจัยมี 2 ระดบั และเหมาะสม
กับการหาสภาวะที่เหมาะสมของระดับปnจจัยท่ีต1องการ

272 เอกสารสืบเนือ่ งจากการประชมุ วิชาการและนําเสนอผลงานวิจยั ระดบั ชาติ 2559 “การวจิ ัยรับใชช) มุ ชนสรา) งสงั คมฐานความร)ู”

ภาพ 2 การวเิ คราะหสาเหตุปญn หาการผลติ ผลติ ภณั ฑท่ีคา8 ความแขง็ ไม8ไดต1 ามมาตรฐาน

3. กาํ หนดระดบั ปnจจัยในการทดลองปจn จัยท่ีทําการผลิตผลิตภัณฑยางรุ8น NBR#65 แต8ละปnจจัยประกอบด1วย
2 ระดบั ระดับของปnจจัยแตล8 ะตวั จะอยู8ที่ “ตา่ํ ” และ “สูง” ผูว1 จิ ัยทาํ การสมั ภาษณผ1ทู ่เี กย่ี วข1องกับกระบวนการผลิต พบวา8
ผลิตภัณฑยางรุ8น NBR#65 มีรายละเอียดสัดส8วนส8วนเคมี หรือปnจจัยท่ีใช1ผสมกับยางธรรมชาติท่ีปริมาณการผลิต 5
กิโลกรัมดังตารางท่ี 1

ตาราง 1 ปจn จยั และระดบั ปnจจัยทใี่ ชใ1 นการทดลองแบบ 2k (หนว8 ย : กรมั )

ปจb จยั สญั ลักษณ ระดบั ของปbจจัย
ตาํ่ สูง
สารกนั เสอื่ ม Anti 0.11 0.12
แคลเซยี มคารบอเนต Calc 29 30
Carb 0.35 0.50
คารบอนแบลก Rubb 10 12
นา้ํ มันยาง Sulp 4.90 5.2
กํามะถนั

4. การกาํ หนดรูปแบบการทดลองการกาํ หนดรปู แบบการทดลองผ1ูวิจัยได1ใช1การออกแบบการทดลองเชิงแฟก
ทอเรียลแบบสองระดับ (2k Factorial Design) และกําหนดให1มีการทดลองซํ้าทั้งหมด 2 ในแต8ละการทดลอง ฉะนั้นการ
ทดลองในงานวิจัยน้ีจึงเกิดขึ้นท้ังหมด 64 คร้ัง การทดลอง โดยลําดับของการทดลองจะถูกจัดให1อย8ูในรูปแบบการส8ุม
(Random) และระดับของปnจจัยทงั้ 5 ปnจจัย จากนั้นทําการวิเคราะหตามลําดับขั้นของการทดลอง (Run Order) จากนั้น
ทําการผลิตผลติ ภัณฑและทําการวดั ค8าความแข็งของผลิตภัณฑ (Response) ทาํ เช8นนจี้ นครบทง้ั 64 การทดลอง

5. กําหนดวิธีการเก็บรวบรวมข1อมูลสําหรับการเก็บรวบรวมข1อมูลนั้นผู1วิจัยจะใช1เคร่ืองวัดความแข็งยาง
แบบชอรเอ (Shore-A Durometer) ทําการวดั ค8าความแขง็ ของผลิตภัณฑยางรุ8น NBR#65 ที่ได1จากการทดลองตามระดับ
ของปจn จัย

6. วเิ คราะหข1อมลู และหาปnจจยั ที่เหมาะสมของกระบวนการผลติ สาํ หรบั งานวิจยั นี้การวิเคราะหขอ1 มูลและการ
ปจn จยั ทเ่ี หมาะสมของกระบวนการผลติ น้นั จะใชโ1 ปรแกรมสําเรจ็ รปู ทางสถติ ิเข1ามาช8วย ได1แก8 โปรแกรมมินิแท็บ (Minitab)
มรี ายละเอียดดังน้ี

6.1 การวิเคราะหปจn จยั ท่ีมีอิทธพิ ลตอ8 ค8าความแขง็ ของผลิตภณั ฑยาง สาํ หรับการวเิ คราะหปจn จัยท่มี ีอิทธพิ ล
ต8อคา8 ความแขง็ ของผลิตภณั ฑยางนั้นจะพิจารณาท่ีค8าความน8าจะเป<นของการทดสอบ (P-Value) ของท้ังอิทธิพลที่มาจาก

เอกสารสบื เนือ่ งจากการประชมุ วชิ าการและนาํ เสนอผลงานวิจัยระดบั ชาติ 2559 “การวจิ ยั รับใช)ชมุ ชนสรา) งสังคมฐานความร)ู” 273

ปnจจัยหลกั และอิทธพิ ลท่ีมาจากปจn จัยรว8 ม โดยพิจารณาการมีอิทธิพลของปnจจัยหลักและปnจจัยร8วมหากค8า P-Value น1อย
กวา8 ระดบั นัยสําคัญ (Significant) ทรี่ ะดับ 0.05 และอทิ ธิพลหลักของปnจจัยใด ๆ มีค8า P-Value มากกว8าระดับนัยสําคัญก็
จะตดั ทิง้ ออกจากการทดสอบแล1วทําการวเิ คราะหผลอีกคร้งั (ปารเมศ, 2545) และสุดทา1 ยทําการทดสอบความถูกต1องของ
ตวั แบบ (Model Adequacy Checking)

6.2 การหาปnจจัยที่เหมาะสมของกระบวนการผลิต สําหรับการหาปnจจัยที่เหมาะสมของกระบวนการผลิต
น้ัน ผู1วิจัยได1เลือกใช1คําส่ัง Response Optimizer ในโปรแกรม Minitab เพ่ือหาระดับปnจจัยที่เหมาะสมในการผลิต
ผลติ ภณั ฑยางรุ8น NBR#65 โดยผวู1 จิ ยั ไดเ1 ลอื กค8าเป|าหมายหรือคา8 ที่ตอ1 งการทรี่ ะดบั 65 ตามมาตรฐานความแขง็ ของยาง

สรปุ ผล

ผลการวิเคราะหปnจจัยท่ีมีผลต8อค8าความแข็งของผลิตภัณฑยางการวิเคราะหปnจจัยที่มีผลต8อค8าความแข็งของ
ผลติ ภณั ฑยาง ในขนั้ ตอนนหี้ ลังจากผว1ู จิ ัยไดก1 าํ หนดวิธกี ารเกบ็ รวบรวมข1อมลู และรูปแบบการทดลองแล1วผู1วิจัยได1นําข1อมูล
ทเี่ กบ็ รวบรวมได1มาวเิ คราะหผลโดยใชโ1 รปรแกมสาํ เรจ็ รูปทางสถิตวิ 8ามีปจn จยั ใดบ1างที่สง8 ผลตอ8 ค8าความแขง็ ของยาง จึงได1ทํา
การวิเคราะหความแปรปรวน (Analysis of Variance : ANOVA) เพ่ือทดสอบสมมติฐานที่ผ1ูวิจัยได1กําหนดไว1 ท่ีระดับ
นัยสําคัญ 0.05 แสดงดังตารางที่ 2 โดยพบว8าท่ีระดับนัยสําคัญ 0.05 ในส8วนของปnจจัยหลัก (Main Effect) ทั้งห1าปnจจัย
ประกอบด1วย สารกันเสื่อม แคลเซียมคารบอเนต คารบอนแบลกน้ํามันยางและกํามะถัน มีอิทธิพลต8อค8าความแข็งของ
ผลิตภัณฑยางอย8างมีนัยสําคัญ หรืออธิบายได1ว8าหากระดับของปnจจัยท้ัง 5 ในข1างต1นมีการเปลี่ยนแปลง หรือขาดการ
ควบคุมจะส8งผลใหค1 า8 ความแขง็ ของผลติ ภณั ฑเกิดการเปลย่ี นแปลง พิจารณาจากคา8 P-Value ของการทดสอบที่ได1นั้นมีค8า
นอ1 ยกว8า 0.05 (P-Value <0.05) เชน8 ปจn จัยสารกนั เส่ือม (Anti) มีค8า P-Value เท8ากบั 0.044 หมายความว8าสารกันเส่ือม
มีผลต8อค8าความแข็งของผลิตภัณฑอย8างมีนัยสําคัญ ส8วนอิทธิพลร8วม (Interaction) ระหว8างสองปnจจัย สามปnจจัย และ
อิทธิพลร8วมระหว8างสี่ปnจจัยจะใช1หลักการพิจารณาเช8นเดียวกัน จากน้ันผ1ูวิจัยจึงได1ทําการตัดอิทธิพลร8วมท่ีไม8มีผลต8อค8า
ความแข็งของผลิตภัณฑยางท้งิ และทําการวิเคราะหความแปรปรวนอกี ครัง้ ผลการวิเคราะหความแปรปรวนหลังตัดปจn จยั ที่
ไม8มีอทิ ธิพลต8อคา8 ความแข็งของผลิตภณั ฑยางรุ8น NBR#65 แสดงดังตารางท่ี 3 โดยภายหลังการวิเคราะหความแปรปรวนที่
ตดั ปจn จัยที่ไมม8 ีอทิ ธพิ ลต8อค8าความแขง็ ของผลติ ภณั ฑยางออกแล1วพบว8าภายหลงั จากการตดั ปจn จยั ทีไ่ ม8มอี ิทธพิ ลออกไปแล1ว
ปnจจัยสารกันเสื่อมมีค8า P-Value มากกว8า 0.05 แต8ไม8สามารถตัดปnจจัยนี้ออกจากการทดลองได1 เนื่องจากปnจจัยสารกัน
เสื่อมยังมีอิทธิพลร8วมกับปnจจัยอื่น ๆ อีก ทั้งน้ีจากผลการวิเคราะหความแปรปรวนท่ีตัดปnจจัยยังพบว8ามีค8าสัมประสิทธิ์
สหสัมพันธ (Correlation) อยทู ่ี 95.75% เปอรเซนต แสดงวา8 ผลลพั ธท่ไี ดม1 ีความน8าเชื่อถอื อย8ใู นระดบั สงู

274 เอกสารสืบเนอ่ื งจากการประชมุ วชิ าการและนําเสนอผลงานวิจัยระดบั ชาติ 2559 “การวิจัยรับใช)ชมุ ชนสร)างสังคมฐานความรู)”

ตาราง 2 ผลการวเิ คราะหความแปรปรวน

Source DF Seq SS Adj SS Adj MS FP

Main Effects 5 88.977 88.9772 17.7954 95.33 0.000

Anti 1 0.819 0.8192 0.8192 4.39 0.044

Calc 1 3.900 3.9002 3.9002 20.89 0.000

Carb 1 1.056 1.0555 1.0555 5.65 0.024

Rubb 1 6.375 6.3750 6.3750 34.15 0.000

Sulp 1 76.827 76.8272 76.8272 411.55 0.000

2-Way Interactions 10 27.596 27.5956 2.7596 14.78 0.000

Anti*Calc 1 0.429 0.4292 0.4292 2.30 0.139

Anti*Carb 1 5.142 5.1421 5.1421 27.55 0.000

Anti*Rubb 1 0.722 0.7223 0.7223 3.87 0.058

Anti*Sulp 1 0.378 0.3784 0.3784 2.03 0.164

Calc*Carb 1 1.830 1.8296 1.8296 9.80 0.004

Calc*Rubb 1 3.168 3.1680 3.1680 16.97 0.000

Calc*Sulp 1 7.813 7.8127 7.8127 41.85 0.000

Carb*Rubb 1 3.812 3.8118 3.8118 20.42 0.000

Carb*Sulp 1 1.645 1.6451 1.6451 8.81 0.006

Rubb*Sulp 1 2.657 2.6565 2.6565 14.23 0.001

3-Way Interactions 10 81.424 81.4238 8.1424 43.62 0.000

Anti*Calc*Carb 1 2.318 2.3184 2.3184 12.42 0.001

Anti*Calc*Rubb 1 0.689 0.6887 0.6887 3.69 0.064

Anti*Calc*Sulp 1 0.640 0.6402 0.6402 3.43 0.073

Anti*Carb*Rubb 1 2.333 2.3329 2.3329 12.50 0.001

Anti*Carb*Sulp 1 5.210 5.2103 5.2103 27.91 0.000

Anti*Rubb*Sulp 1 0.302 0.3024 0.3024 1.62 0.212

Calc*Carb*Rubb 1 22.635 22.6349 22.6349 121.25 0.000

Calc*Carb*Sulp 1 15.542 15.5424 15.5424 83.26 0.000

Calc*Rubb*Sulp 1 11.972 11.9724 11.9724 64.13 0.000

Carb*Rubb*Sulp 1 19.781 19.7813 19.7813 105.97 0.000

4-Way Interactions 5 10.739 10.7385 2.1477 11.50 0.000

Anti*Calc*Carb*Rubb 1 5.347 5.3471 5.3471 28.64 0.000

Anti*Calc*Carb*Sulp 1 3.931 3.9308 3.9308 21.06 0.000

Anti*Calc*Rubb*Sulp 1 0.038 0.0380 0.0380 0.20 0.655

Anti*Carb*Rubb*Sulp 1 1.351 1.3511 1.3511 7.24 0.011

Calc*Carb*Rubb*Sulp 1 0.071 0.0715 0.0715 0.38 0.540

5-Way Interactions 1 2.568 2.5676 2.5676 13.75 0.001

Anti*Calc*Carb*Rubb*Sulp 1 2.568 2.5676 2.5676 13.75 0.001

Residual Error 32 5.974 5.9736 0.1867

Pure Error 32 5.974 5.9736 0.1867

Total 63 217.276

S = 0.432061 PRESS = 23.8946
R-Sq = 97.25% R-Sq(pred) = 89.00% R-Sq(adj) = 94.59%

การตรวจสอบรูปแบบความถูกต1องของการทดลอง (Model Adequacy Checking) (ปณิธาน และ วิภาวี,
2556) โดยการนาํ คา8 ส8วนตกค1าง (Residual) หรือทีเ่ รียกว8า ค8าผลต8างระหว8างค8าเฉลี่ยกับค8าสังเกตท่ีได1จากการทดลองมา
ทําการวิเคราะหเพ่ือเป<นการตรวจสอบความถูกต1อง และความเหมาะสมของข1อมูลท่ีได1จากการทดลอง ประกอบไปด1วย
สมมติฐานทั้งหมด 3 ข1อ ได1แก8 การตรวจสอบค8าส8วนตกค1างมีการกระจายแบบปกติ (Normally Distributed) การ
ตรวจสอบความเสถยี รความแปรปรวนของค8าสว8 นตกค1าง (Variance Stability) และการตรวจสอบความเป<นอิสระของค8า
ส8วนตกค1าง (Independent) ผลการตรวจสอบรูปแบบความถกู ต1องของการทดลองแสดงดงั ภาพที่ 3

เอกสารสืบเนอื่ งจากการประชมุ วิชาการและนาํ เสนอผลงานวิจยั ระดบั ชาติ 2559 “การวิจยั รบั ใชช) ุมชนสรา) งสังคมฐานความรู)” 275

ตาราง 3 ผลการวิเคราะหความแปรปรวนหลงั ตดั ปnจจยั ท่ไี มม8 อี ทิ ธิพลออกไป

Source DF Seq SS Adj SS Adj MS FP

Main Effects 5 88.977 88.9772 17.7954 77.00 0.000

Anti 1 0.819 0.8192 0.8192 3.54 0.067

Calc 1 3.900 3.9002 3.9002 16.88 0.000

Carb 1 1.056 1.0555 1.0555 4.57 0.039

Rubb 1 6.375 6.3750 6.3750 27.58 0.000

Sulp 1 76.827 76.8272 76.8272 332.43 0.000

2-Way Interactions 7 26.066 26.0657 3.7237 16.11 0.000

Anti*Carb 1 5.142 5.1421 5.1421 22.25 0.000

Calc*Carb 1 1.830 1.8296 1.8296 7.92 0.008

Calc*Rubb 1 3.168 3.1680 3.1680 13.71 0.001

Calc*Sulp 1 7.813 7.8127 7.8127 33.81 0.000

Carb*Rubb 1 3.812 3.8118 3.8118 16.49 0.000

Carb*Sulp 1 1.645 1.6451 1.6451 7.12 0.011

Rubb*Sulp 1 2.657 2.6565 2.6565 11.49 0.002

3-Way Interactions 7 79.793 79.7926 11.3989 49.32 0.000

Anti*Calc*Carb 1 2.318 2.3184 2.3184 10.03 0.003

Anti*Carb*Rubb 1 2.333 2.3329 2.3329 10.09 0.003

Anti*Carb*Sulp 1 5.210 5.2103 5.2103 22.55 0.000

Calc*Carb*Rubb 1 22.635 22.6349 22.6349 97.94 0.000

Calc*Carb*Sulp 1 15.542 15.5424 15.5424 67.25 0.000

Calc*Rubb*Sulp 1 11.972 11.9724 11.9724 51.80 0.000

Carb*Rubb*Sulp 1 19.781 19.7813 19.7813 85.59 0.000

4-Way Interactions 3 10.629 10.6290 3.5430 15.33 0.000

Anti*Calc*Carb*Rubb 1 5.347 5.3471 5.3471 23.14 0.000

Anti*Calc*Carb*Sulp 1 3.931 3.9308 3.9308 17.01 0.000

Anti*Carb*Rubb*Sulp 1 1.351 1.3511 1.3511 5.85 0.020

5-Way Interactions 1 2.568 2.5676 2.5676 11.11 0.002

Anti*Calc*Carb*Rubb*Sulp 1 2.568 2.5676 2.5676 11.11 0.002

Residual Error 40 9.244 9.2442 0.2311

Lack of Fit 8 3.271 3.2706 0.4088 2.19 0.055

Pure Error 32 5.974 5.9736 0.1867

Total 63 217.276

S = 0.480735 PRESS = 23.6652
R-Sq = 95.75% R-Sq(pred) = 89.11% R-Sq(adj) = 93.30%

ภาพ 3 ผลการตรวจสอบรปู แบบความถูกต1องของการทดลอง

276 เอกสารสืบเนือ่ งจากการประชมุ วิชาการและนาํ เสนอผลงานวิจัยระดบั ชาติ 2559 “การวิจัยรับใชช) ุมชนสร)างสังคมฐานความรู)”

จากภาพที่ 3 สามารถสรุปได1ว8าค8าส8วนตกค1างมีลักษณะเป<นเส1นตรง จึงสามารถประมาณได1ว8าได1ว8าข1อมูลนํามา
ทําการทดลองมีการกระจายตวั สอดคลอ1 งกบั การแจกแจงแบบปกติ ค8าส8วนตกค1างมคี วามเสถียรและมีแนวโน1มการกระจาย
ตัวแบบส8ุมและไม8มีรูปแบบท่ีมีลักษณะเป<นแบบลําโพง จึงสรุปได1ว8าข1อมูล มีความเสถียรของความแปรปรวน และการ
กระจายตัวของค8าส8วนตกค1างไม8มีรูปแบบที่แน8นอน (Randomize) และไม8มีแนวโน1ม (Trend) ฉะน้ันผู1วิจัยจึงสรุปได1ว8า
ข1อมูลมคี วามเป<นอสิ ระต8อกัน

ระดบั ปจn จัยทเ่ี หมาะสมจากการทดลองผว1ู จิ ยั ได1เลือกใช1คําสั่ง Response Optimizer ในโปรแกรม Minitab (สิริ
ชัยและอรรถกร, 2555) เพื่อหาระดับปnจจัยท่ีเหมาะสมในการผลิตผลิตภัณฑยางร8ุน NBR#65 โดยผู1วิจัยได1เลือกค8า
เปา| หมายหรือค8าทต่ี 1องการท่รี ะดบั 65 ชอรเอ ตามมาตรฐานความแขง็ ของยาง และกําหนดชว8 งการวิเคราะห (Lower and
Upper Specification Limit) ที่ 1 ชอรเอ ดงั นั้นเมอ่ื กาํ หนดค8าเปา| หมายท่ี 65 ชอรเอ ช8วงของการวเิ คราะหจะอยู8ที่ 66 -
64 ชอรเอ ซึ่งผลที่ได1จากการวิเคราะหหาสภาวะการทํางานที่เหมาะสมหรือปnจจัยที่เหมาะสมของกระบวนการผลิต
ผลติ ภัณฑยางรุ8น NBR#65 แสดงดงั ภาพท่ี 4

ภาพ 4 ปจn จยั ที่เหมาะสมในกระบวนการผลติ ผลิตภณั ฑยางรน8ุ NBR#65
จากภาพที่ 4 พบว8าต1องกําหนดค8าของระดับปnจจัยสารกันเส่ือมเท8ากับ 0.11 กรัม ปnจจัยแคลเซียมคารบอเนต
เทา8 กบั 29.98 กรมั แต8ในทางปฏบิ ัติเพ่ือความสะดวกในการทดลองผู1วิจัยได1ปรับให1ปnจจัยแคลเซียมคารบอเนตมีค8าเท8ากับ
30 กรัม ซึ่งเป<นค8าท่ีใกล1เคียงกับค8าที่ได1จากผลลัพธในภาพท่ี 4 ปnจจัยคารบอนแบลกเท8ากับ 0.36 กรัม ปnจจัยนํ้ามันยาง
เท8ากบั 12 กรมั และปnจจัยกํามะถันเท8ากับ 5.2 กรมั จึงจะทําให1คา8 ความแขง็ ของผลิตภัณฑยางรน8ุ NBR#65 มคี า8 เทา8 กบั 65
ชอรเอ ตามทีต่ อ1 งการมากทีส่ ุด

อภปิ รายผล

ผูว1 จิ ยั ได1ศกึ ษาสภาวะการทํางานท่ีเหมาะสมของกระบวนการผลิตผลิตภัณฑยางรุ8น NBR#65 โดยกําหนดระดับ
ของสารเคมี หรือปnจจัยที่เหมาะสมท่ีใช1ในการผสมสารเคมีเพ่ือให1ผลิตภัณฑได1ค8าความแข็งเท8ากับ 65 ชอรเอ โดยจะต1อง
กําหนดระดับของสารเคมีที่ใช1ผสมกับยางธรรมชาติที่ปริมาณการผลิต 5 กิโลกรัมดังน้ี สารกันเส่ือมท่ีระดับ 0.11 กรัม
แคลเซยี มคารบอเนตท่ีระดับ 30 กรัม คารบอนแบลกที่ระดับ 0.36 กรัม นํ้ามันยางท่ีระดับ 12 กรัมและกํามะถันที่ระดับ

เอกสารสืบเน่อื งจากการประชมุ วิชาการและนาํ เสนอผลงานวิจยั ระดบั ชาติ 2559 “การวจิ ัยรับใชช) มุ ชนสรา) งสงั คมฐานความร)ู” 277

5.2 กรัม ตามลําดับ สุดท1ายนําผลการหาระดับปnจจัยท่ีเหมาะสมในข1างต1นไปปรับใช1กับกระบวนการผลิตและทําการเก็บ
รวบรวมข1อมูลผลิตภัณฑยางรุ8น NBR#65 ท่ีไม8ผ8านข1อกําหนดช8วงเดือนเมษายน 2558 ถึงเดือนมิถุนายน 2558 พบว8า
ผลิตภณั ฑทไ่ี ม8ผา8 นขอ1 กําหนดเนือ่ งมาจากค8าความแข็งไม8ไดม1 าตรฐานลดลงจากเดิม 56% เหลือเพียง 18% ทั้งนี้การที่ยังมี
ผลิตภัณฑทไี่ มผ8 า8 นข1อกําหนดอย8อู าจจะเกดิ จากสาเหตุอน่ื ๆ เชน8 เคร่อื งจักร คนงาน หรือวัตถุดิบท่ีใช1ในการผลิต ซ่ึงจะทํา
การแก1ไขต8อไป

ขอ) เสนอแนะ

ขอ) เสนอแนะสาํ หรับการนาํ ไปใช)

โรงงานที่มีลักษณะกระบวนการผลิตคล1ายคลึงกับโรงงานกรณีศึกษา สามารถนําหลักการแก1ปnญหาดังกล8าวไป
ประยุกตใชไ1 ด1 แตอ8 าจต1องมีการเปล่ียนปnจจัยและระดับของปnจจัยท่ีใช1ในการศึกษาเพื่อให1เหมาะกับกระบวนการผลิตของ
โรงงาน หรืออาจจะมีการปรับเปลี่ยนวิธีการในการวิเคราะหข1อมูลในเชิงการออกแบบการทดลองเป<นวิธีการอื่น ๆ ให1
เหมาะสมกับกระบวนการผลติ ของโรงงานได1

ขอ) เสนอแนะสาํ หรับการทาํ วจิ ัย

สําหรบั งานวิจัยมีวัตถุประสงคต1องการหาปnจจัยที่เหมาะสมสําหรับกระบวนการผลิตผลิตภัณฑยางร8ุน NBR#65
เพอื่ ทาํ การลดของเสียจากกระบวนการผลติ ภัณฑ ซ่งึ จากข1อมูลทีร่ วบรวมไดน1 ้นั พบว8าเป<นปnญหาท่ีเกิดจากค8าความแข็งของ
ผลิตภัณฑไม8ได1ตามมาตรฐาน และยังมาจากสาเหตอุ ื่น ๆ อกี หลายสาเหตุดังนน้ั ในการทําวจิ ัยครัง้ ต8อไปควรจะทําการศกึ ษา
ถงึ สาเหตุอนื่ ๆ ท่ยี งั ส8งผลใหเ1 กดิ ของเสยี ในกระบวนการผลติ อกี ด1วย

เอกสารอา) งอิง

สิริชัย สุรัตนชัยการและอรรถกร เก8งพล. (2555). การประยุกตใช1การออกแบบการทดลองทางวิศวกรรมในการเพิ่ม
ประสิทธิภาพเครื่องบรรจุยานํ้า.การประชุมวิชาการขายงานวิศวกรรมอุตสาหการ. 2555 (1): หน1า 818-
821.

สมเกยี รติ ตง้ั จิตสิตเจริญและวัลภา เตชะสขุ . (2554). การปรับปรุงกระบวนการข้ึนรูปในอุตสาหกรรมเซมิคอนดักเตอรช
นดิ มีขา. วารสารวิชาการพระจอมเกลา) พระนครเหนือ. ปทy ี่ 21 (1): หนา1 88-98.

ปารเมศ ชุติมา. (2545). การออกแบบการทดลองทางวิศวกรรม (พิมพคร้ังที่ 1). กรุงเทพฯ: สํานักพิมพแห8ง
จุฬาลงกรณมหาวทิ ยาลยั .

ชาญณรงค อินทรชู และระพี กาญจนะ. (2556). การลดของเสยี ในกระบวนการขนึ้ รูปด1วยความร1อนถาดบรรจุฮารดดิสก
2.5” โดยการประยกุ ตการออกแบบการทดลอง.วารสารวิศวกรรมศาสตร ราชมงคลธัญบุรี.ปyท่ี 11 (2): หน1า
37-47.

ปณิธาน อินทรติยะและ วิภาวี ธรรมาภรณพิลาศ. (2556). การลดต1นทุนกระดาษทําผิวกล8องโดยการปรับปรุงคุณภาพ
เยือ่ เศษกระดาษพมิ พเขยี น. วารสารวศิ วกรรมศาตร. ปyที่ 4(3): หน1า 1-14.

278 เอกสารสืบเนือ่ งจากการประชมุ วิชาการและนําเสนอผลงานวจิ ยั ระดบั ชาติ 2559 “การวจิ ัยรับใชช) มุ ชนสรา) งสงั คมฐานความรู)”

การศกึ ษาและพฒั นาเวบ็ ไซตแนะนําอาหารสาํ หรบั ผู)ป‰วยโรคความดนั โลหติ สูง
กรณีศกึ ษา อาหารพน้ื บา) นในอําเภอเมอื งเพชรบุรี

กนกรตั น จิรสจั จานุกูล1 และอารี นอ) ยสําราญ1
Kanokrat Jirasajanukul1 and Aree Noisumran1

บทคดั ยอ

การวิจัยน้มี วี ตั ถปุ ระสงคเพื่อ 1) เพื่อพัฒนาเว็บไซตแนะนําอาหารสําหรับผู1ป›วยความดันโลหิตสูง2)เพ่ือประเมิน
คณุ ภาพของเว็บไซตแนะนาํ อาหารสาํ หรับผ1ูป›วยความดันโลหิตสูงโดยแนะนําอาหารจากอาหารพ้ืนบ1านในเขตอําเภอเมือง
เพชรบุรีวิธกี ารดาํ เนินการวจิ ัยแบ8งออกเป<น 3 ระยะ คอื ระยะที่ 1 การศกึ ษาและสํารวจข1อมูลอาหาร ระยะท่ี 2ออกแบบ
และพัฒนาเว็บไซตแนะนําอาหารสําหรับผ1ูป›วยความดันโลหิตสูง และระยะท่ี 3 ประเมินคุณภาพของเว็บไซตแนะนํา
อาหารสําหรับผ1ูป›วยความดันโลหิตสูง โดยกล8ุมเป|าหมายในการศึกษาคร้ังนี้ คือ ผ1ูเชี่ยวชาญเพื่อตรวจประเมินคุณภาพ
เว็บไซต เลือกแบบเจาะจง 3 ด1านประกอบด1วย ด1านเทคโนโลยีสารสนเทศ ด1านอาหารและโภชนาการ ด1านสุขภาพและ
ผ1ูสูงอายุ ด1านละ 3 ท8าน รวมท้ังหมด 9 ท8าน เคร่ืองมือท่ีใช1คือ แบบประเมิน รวมถึง CMS Joomla เป<นเครื่องมือในการ
พัฒนาเว็บไซต วิเคราะหข1อมูลโดยใช1สถิติค8าเฉลี่ย และส8วนเบ่ียงเบนมาตรฐานซ่ึงจากผลการประเมินคุณภาพพบว8า
คณุ ภาพของเวบ็ ไซตแนะนาํ อาหารสาํ หรับผูป1 ว› ยความดนั โลหติ สูง มคี ณุ ภาพโดยรวมอยูใ8 นเกณฑดี ( X =4.12, S.D.=0.51)

คาํ สําคัญ: เว็บไซต, ความดนั โลหิตสูง, อาหารพ้ืนบ1านอําเภอเมืองเพชรบรุ ี

Abstract

The objectives of this research were 1) to develop website of a foods for hypertension
patients2) to evaluate the quality of the website. Research methodology were divided into three
stages 1) surveya foods for hypertension patients 2) design and develop website and 3) evaluate the
quality by experts. The Sample group studies used in this study was 9 experts in information
technology, food and nutrition, healthy and elderly people.Instruments used were a questionnaire,
CMS Joomla as tool in website develop and the statistics used in analyzing the data were mean and
standard deviation. The research finds that the overall was appropriateness in a good level. ( X =4.12,
S.D.=0.51)

Keyword: Website, Hypertension, local food in Muang Phetchaburi

ความเป`นมาและความสาํ คัญของปญb หา

ปnจจุบันประเทศไทยกําลังเผชิญปnญหากลุ8มโรคไม8ติดต8อเร้ือรังโดยเฉพาะอย8างยิ่งโรคหัวใจและหลอดเลือด
โรคเบาหวานและภาวะความดันโลหิตสูง อันเป<นผลมาจากพฤติกรรมการดําเนินชีวิตประจําวัน ได1แก8 พฤติกรรม
การบริโภคอาหารที่ไม8เหมาะสม การไม8ออกกําลังกาย การด่ืมสุรา การสูบบุหร่ี และความเครียด แต8ปnจจัยที่สําคัญท่ีสุด
คือ พฤตกิ รรมการบริโภคอาหารท่ีไม8เหมาะสม กอ8 ให1เกิดโรคความดันโลหิตสูงอย8างชัดเจน ซ่ึงโรคความดันโลหิตสูง ส8งผล
กระทบทั้งด1านร8างกาย จิตใจ เศรษฐกิจ และสังคม เน่ืองจากโรคความดันโลหิตสูง เป<นปnจจัยเสี่ยงสําคัญของโรคหลอด

1 คณะวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั เพชรบุรี

เอกสารสบื เนื่องจากการประชมุ วิชาการและนาํ เสนอผลงานวิจยั ระดบั ชาติ 2559 “การวจิ ัยรับใช)ชมุ ชนสรา) งสังคมฐานความร)ู” 279

เลือดสมอง กล1ามเน้ือหัวใจตายเหตุขาดเลือด หัวใจวาย หลอดเลือดโป›งพอง โรคของหลอดเลือดส8วนปลาย และเป<น
สาเหตุของโรคไตเรอ้ื รงั ซ่ึงแผนพฒั นาเศรษฐกจิ ฉบบั ท่ี 11 ยทุ ธศาสตรการพัฒนาคนสู8สงั คมแหง8 การเรียนร1ูตลอดชีวิตอย8าง
ยัง่ ยนื จงึ ให1ความสําคัญกับการส8งเสรมิ การลดปจn จยั เส่ยี งด1านสขุ ภาพอยา8 งเปน< องครวม โดยสรา1 งเสริมสุขภาวะคนไทยให1มี
ความสมบรู ณแข็งแรงทั้งร8างกายและจิตใจ พฒั นาความรแู1 ละทักษะในการดูแลสุขภาพของตนเอง ครอบครัว ชุมชน สร1าง
การมีส8วนร8วมในการพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต8อสุขภาพควบค8ูกับการพัฒนาระบบบริการสาธารณสุขให1มีคุณภาพ
(แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห8งชาติฉบับที่ 11, 2554:14) ดังนั้นกระทรวงสาธารณสุขจึงมีการดําเนินงานสร1างเสริม
สขุ ภาพและปอ| งกนั โรคระดบั ชาติ อกี ทง้ั ยังการดําเนินการด1านความปลอดภัยอาหารและโภชนาการ เพื่อให1ภาระโรคจาก
อาหารและโภชนาการของคนไทยลดลง ส8งผลให1มีชีวิตอย8ูในสังคมได1อย8างมีความสุข และยังช8วยลดภาระค8าใช1จ8ายในการ
รกั ษาพยาบาลของประชาชนและภาครัฐอีกด1วย

โดยจากข1อมลู สถติ ิสาเหตกุ ารปว› ยของผปู1 ว› ยท่เี ขา1 รับการรักษาในโรงพยาบาลพระจอมเกล1า จังหวัดเพชรบุรีในปy
พ.ศ. 2553 ถึงปy พ.ศ. 2555 พบว8า สาเหตุการป›วยสามอันดับแรกคือ ความดันโลหิตสูง เบาหวาน และโรคหัวใจ
ตามลาํ ดับ โดยจาํ นวนของผปู1 ›วยในและผู1ป›วยนอกท่ีมีสาเหตกุ ารป›วยเป<นโรคความดันโลหิตสูง ในปy พ.ศ. 2553 มีจํานวน
40,387 คน ปy พ.ศ. 2554 มีจํานวน 40,908 คน และ ปy พ.ศ. 2555 มีจํานวน 41,719 คน (สถิติสาเหตุการป›วยของ
ผ1ปู ว› ยในและผ1ปู ว› ยนอกท่ีเข1ารบั การรักษาในโรงพยาบาลพระจอมเกล1า จงั หวดั เพชรบรุ ี, 2556) จากขอ1 มูลทางสถติ แิ สดงให1
เห็นว8า โรคความดันโลหิตสูงเป<นโรคท่ีมีผ1ูป›วยมากท่ีสุดและมีแนวโน1มเพ่ิมข้ึน ทั้งในประเทศรวมทั้งเขตพ้ืนที่อําเภอเมือง
เพชรบรุ ี ซง่ึ จากปญn หาหลกั ที่ผ1ปู ว› ยโรคความดันโลหิตสูงไม8สามารถควบคุมภาวะของโรคได1คือเร่ืองการบริโภคอาหาร (ปธิ
ตา สรุ ยิ ะ,2553) เพราะการบริโภคอาหารมีผลโดยตรงต8อระดับความดันโลหิต แสดงให1เห็นว8า หากมีการปรับเปลี่ยนวิถี
ชีวิตและพฤติกรรมการบริโภคอาหารจะสามารถช8วยควบคุมและลดระดับความดันเลือด อีกท้ังยังลดความเสี่ยงจาก
ภาวะแทรกซ1อนต8างๆ ได1 (สุริยนต โคตรชมภู, 2553 และสไบทิพย เชื้อเอี่ยม, 2554) ท้ังนี้ในการให1บริการข1อมูลข8าวสาร
อนั เป<นประโยชนตอ8 กล8มุ ผป1ู ›วยนัน้ สามารถทําไดห1 ลากหลายชอ8 งทาง ซึ่งในยคุ สงั คมปnจจบุ ันนน้ั อนิ เทอรเน็ตเปน< อีกชอ8 งทาง
หนงึ่ ทไี่ ดร1 บั ความนิยมในการสบื ค1นเพ่อื หาข1อมลู จากรายงานผลการสํารวจพฤติกรรมผใ1ู ช1งานอนิ เทอรเนต็ ในประเทศไทยปy
2557 และ 2558 พบว8า มีการใช1อนิ เทอรเน็ตเพ่ือการค1นหาข1อมูลสูงเป<นอันดับสองของการใช1งานนอกจากน้ีงานวิจัยของ
วรรณรัตน รัตนวรางค (2558) ได1ศึกษาพฤติกรรมการใช1อินเทอรเน็ตเพ่ือหาข1อมูลสุขภาพของผู1สูงอายุในเขต
กรุงเทพมหานคร ซึ่งพบว8า ผู1สูงอายุใช1อินเทอรเน็ตในการค1นหาข1อมูลสุขภาพเร่ืองความรู1ท่ัวไปเก่ียวกับโรคและอาการ
เจบ็ ปว› ยมากที่สุด

ด1วยเหตุนี้ คณะผู1วิจัยจึงมุ8งที่จะศึกษาและพัฒนาเว็บไซตแนะนําอาหารสําหรับผู1ป›วยโรคความดันโลหิตสูง โดย
แนะนําอาหารจากอาหารพื้นบา1 นในเขตอาํ เภอเมอื งเพชรบุรี เพื่อเปน< แหลง8 ขอ1 มูลอนั เปน< ประโยชนต8อผ1ูป›วยในการเลือกรบ
ริโภคอาหารท่ีเหมาะสมเพ่ือช8วยควบคุมระดับความดันโลหิตและลดภาวะแทรกซ1อนของโรคความดันโลหิตสูง และเพ่ือ
ตอบสนอง

วัตถปุ ระสงคของการวิจัย

1. เพ่อื พัฒนาเว็บไซตแนะนําอาหารสาํ หรับผูป1 ว› ยความดนั โลหิตสงู
2. เพ่ือประเมนิ คุณภาพของเว็บไซตแนะนาํ อาหารสาํ หรบั ผู1ปว› ยความดนั โลหติ สูง

วธิ ดี ําเนนิ การวิจยั

1. ประชากรและกลมุ ตัวอยาง
ประชากร คอื ผเ1ู ช่ียวชาญที่มีความรูค1 วามเขา1 ใจ มปี ระสบการณทาํ งานทีเ่ กีย่ วขอ1 งด1านเทคโนโลยีสารสนเทศ

ด1านอาหารและโภชนาการ ด1านสขุ ภาพและผ1สู ูงอายุ
สําหรับกล8ุมตัวอย8าง คือผู1เช่ียวชาญตรวจประเมินคุณภาพเว็บไซต โดยการเลือกแบบเจาะจง จํานวน 9

ท8าน แบ8งเป<น 3 ด1านด1านละ 3 ท8าน ซึ่งเป<นผู1ท่ีมีความรู1ความเข1าใจ มีประสบการณทํางานและงานวิจัยท่ีเกี่ยวข1อง
ประกอบดว1 ย ด1านเทคโนโลยสี ารสนเทศ ด1านอาหารและโภชนาการ ด1านสุขภาพและผ1ูสูงอายุ

2. ขอบเขตของการวิจัย
ข1อมูลอาหารที่นําเสนอในเว็บไซตนี้ คืออาหารพ้ืนบ1านในเขตอําเภอเมืองจังหวัดเพชรบุรีท่ีได1จาก

การปรับสตู รอาหารเพ่ือใหม1 คี วามเหมาะสมกับผป1ู ว› ยความดนั โลหติ สงู เทา8 น้ัน

280 เอกสารสืบเนื่องจากการประชมุ วชิ าการและนาํ เสนอผลงานวจิ ยั ระดบั ชาติ 2559 “การวิจัยรบั ใชช) ุมชนสร)างสังคมฐานความรู)”

3. ตวั แปรในการวจิ ยั
ตัวแปรอสิ ระ คอื เวบ็ ไซตแนะนําอาหารสาํ หรับผู1ปว› ยโรคความดันโลหติ สงู
ตัวแปรตาม คือ คณุ ภาพของเว็บไซต

4. การดําเนินการวจิ ัย
งานวิจยั น้ีเปน< การวจิ ัยและพัฒนา โดยแบง8 การดําเนินการออกเปน< 3 ระยะ ดังน้ี
ระยะท่ี 1 การศึกษาและสํารวจขอ1 มลู อาหาร
ในลําดับแรกดําเนินการด1วยการศึกษาและสํารวจข1อมูลอาหารพื้นบ1านในเขตอําเภอเมือง จังหวัดเพชรบุรี

จากนั้นนําข1อมูลอาหารทีไ่ ด1จากการศกึ ษาสาํ รวจมาคดั เลือกรายการอาหาร ดสู 8วนประกอบ วัตถดุ บิ ที่นาํ มาประกอบอาหาร
แล1วดาํ เนินการปรับสตู รอาหารโดยผู1เชย่ี วชาญดา1 นอาหารและโภชนาการ เลอื กใชแ1 ละลดเครือ่ งปรงุ ปรับลดโซเดยี มซึ่งมีผล
ต8อค8าระดบั ความดัน เพอื่ ใหม1 คี วามเหมาะสมกับผู1ป›วยความดนั โลหติ สูง

ระยะท่ี 2ออกแบบและพฒั นาเว็บไซตแนะนาํ อาหารสําหรบั ผู1ป›วยความดนั โลหิตสูง
นําข1อมูลอาหารที่ได1จากระยะท่ี 1 มาจัดทําเป<นเว็บไซตแนะนําอาหารสําหรับผู1ป›วยโรคความดันโลหิตสูง
จากอาหารพื้นบ1านในอําเภอเมอื งเพชรบุรโี ดยผู1วิจัยไดศ1 ึกษาและออกแบบระบบดังข้ันตอนต8อไปน้ี
การออกแบบโครงสร)างเวบ็ ไซต

เว็บไซต

เมนูหลกั อาหารพนื้ เมอื ง
เพชรบุรี

ความหมายของ การรกั ษาโรค อาหารของผู้ป่ วย อาหารจานเดยี ว อาหารแกง ต้ม ขนมหวานแหละ
ความดนั โลหติ สงู ความดนั โลหติ สงู ความดนั โลหติ สูง ผดั เครอ่ื งดม่ื

ภาพ 1 แสดงโครงสร1างหลกั ของเวบ็ ไซต

การพฒั นาเว็บไซต
พัฒนาเว็บไซตแนะนําอาหารสําหรับผู1ป›วยความดันโลหิตสูงโดยใช1เครื่องมือ CMS Joomla ใน

การพัฒนา สามารถเข1าถึงเว็บไซตได1ที่ www.kanokrat.com/hypertension ซ่ึงดําเนินการพัฒนาตามการออกแบบ
โครงสร1างเวบ็ ไซตแสดงตวั อยา8 งหนา1 เวบ็ ไซตไดด1 ังภาพที่ 2

ภาพ 2 ตวั อย8างหน1าเวบ็ ไซตแนะนาํ อาหารสาํ หรับผ1ูป›วยความดนั โลหติ สูง

เอกสารสบื เนอื่ งจากการประชมุ วชิ าการและนาํ เสนอผลงานวิจัยระดบั ชาติ 2559 “การวิจยั รับใชช) ุมชนสรา) งสังคมฐานความรู)” 281

ทดสอบการใชง) าน

หลังจากการพัฒนาเว็บไซต ได1ดําเนินการทดสอบการใช1งานท้ังในส8วนของการเชื่อมโยงและ

การแสดงผลข1อมูล

ระยะท่ี 3 ประเมนิ คณุ ภาพของเวบ็ ไซตแนะนาํ อาหารสาํ หรับผู1ปว› ยความดันโลหิตสูง

ประเมนิ คณุ ภาพโดยผู1เชี่ยวชาญด1านเทคโนโลยีสารสนเทศ ด1านอหาหารและโภชนาการ ด1านสุขภาพ

และผ1ูสูงอายุ จาํ นวน 9 ทา8 น ไดจ1 ากการเลอื กแบบเจาะจง โดยเป<นผู1มีประสบการณและผลงานวิชาการในด1านท่ีเกี่ยวข1อง

เคร่ืองมือท่ีใช1ในการประเมิน คือ แบบประเมินคุณภาพของเว็บไซต ประกอบด1วย 3 ด1าน คือ ด1านความสวยงาม ด1าน

เน้ือหา และด1านคุณภาพภาษาและเสียงซึ่งแบบประเมินเป<นแบบมาตราส8วนประมาณค8า (Rating Scale) ตามวิธีของ

ลเิ คริ ท (Likert Scale) โดยใหเ1 กณฑระดบั 5 คะแนน คอื

คา8 นํา้ หนกั ระดับคณุ ภาพ

5 ดีมาก

4 ดี

3 ปานกลาง

2 พอใช1

1 ควรปรบั ปรุง
มีกาํ หนดเกณฑการแปลความหมายเพอื่ จดั ระดบั คะแนนเฉลย่ี ของผป1ู ระเมิน กาํ หนดเปน< ช8วงคะแนน
ดงั ต8อไปนี้
คะแนนเฉลย่ี ระดับคณุ ภาพ
4.50-5.00 ดีมาก
3.50-4.49 ดี
2.50-3.49 ปานกลาง
1.50-2.49 พอใช1
1.00-1.49 ควรปรับปรุง

5. การวิเคราะหผล
วเิ คราะหผลการประเมินคณุ ภาพของเว็บไซต โดยใช1สถติ ิเชิงพรรณาได1แก8 ค8าเฉลยี่ เลขคณติ และส8วนเบยี่ งเบน
มาตรฐาน

ผลการวิจยั

จากผลการตรวจประเมินคุณภาพเครื่องมือโดยผ1ูทรงคุณวุฒิ ทั้ง 3 ด1าน โดยผลประเมินแบ8งออกเป<น 3 ด1าน
ประกอบดว1 ย ดา1 นความสวยงาม ด1านเนื้อหา ดา1 นภาพ ภาษาและเสยี ง โดยสามารถแสดงผลการวเิ คราะหได1ดังตาราง 1
ตาราง 1 แสดงผลการตรวจประเมินคุณภาพเครอ่ื งมอื โดยผ1ทู รงคณุ วุฒิ

ด)าน ดา) นอาหาร ดา) นสุขภาพ รวม ระดับ
เทคโนโลยี และ และผสู) งู อายุ คณุ ภาพ
ประเดน็ สารสนเทศ โภชนาการ

ด)านความสวยงาม X S.D. X S.D. X S.D. X S.D.

การออกแบบมีความสวยงาม 4.67 0.58 4.33 0.58 4.33 0.58 4.44 0.53 ดี
สีสนั ดูแลว1 ดงึ ดดู ความสนใจ 4.67 0.58 4.33 0.58 4.33 0.58 4.44 0.53 ดี
รปู แบบของการนาํ เสนอมคี วามประทับใจ 4.67 0.58 4.33 0.58 4.00 1.00 4.33 0.71 ดี
ตวั อกั ษรอา8 นงา8 ย 4.33 0.58 4.33 0.58 3.33 0.58 4.00 0.71 ดี

282 เอกสารสืบเนอ่ื งจากการประชมุ วิชาการและนําเสนอผลงานวจิ ยั ระดบั ชาติ 2559 “การวิจยั รบั ใชช) มุ ชนสรา) งสังคมฐานความรู)”

ประเดน็ ด)าน ดา) นอาหาร ด)านสุขภาพ รวม ระดบั
ดา) นเนอื้ หา เทคโนโลยี และ และผส)ู งู อายุ X S.D. คณุ ภาพ
การจัดลาํ ดบั ขัน้ ตอนมคี วามถูกตอ1 ง สารสนเทศ X S.D.
ปรมิ าณของเนอื้ หาในแตล8 ะหนา1 มคี วาม X S.D. โภชนาการ
เหมาะสม X S.D.
ให1รายละเอียดของถอ1 ยคาํ ที่ชดั เจน
เนอ้ื หาเหมาะสมกับผใ1ู ช1 4.33 0.58 4.33 0.58 3.67 0.58 4.11 0.6 ดี
ดา) นภาพ ภาษาและเสียง 4.33 1.15 4.33 0.58 4.00 0.00 4.22 0.6 ดี
ขนาดของภาพทีใ่ ชป1 ระกอบมคี วาม
เหมาะสม 4.33 0.58 4.00 0.00 2.67 0.58 3.67 0.87 ดี
ภาษาทใี่ ช1สอื่ ได1ชัดเจน 4.67 0.58 4.00 0.00 3.00 1.00 3.89 0.92 ดี
เสียงท่ีใช1มีความดงึ ดดู
เนือ้ หาเหมาะสมกับผู1ใช1 4.67 0.58 4.33 0.58 4.00 1.00 4.33 0.71 ดี
Clip VDO ดูแลว1 สามารถทาํ ตามได1
4.33 0.58 4.33 0.58 3.67 0.58 4.11 0.60 ดี
4.00 1.00 4.33 0.58 3.67 1.53 4.00 1.0 ดี
4.33 0.58 4.00 0.00 3.67 0.58 4.00 0.5 ดี
4.00 0.00 4.00 0.00 4.33 0.58 4.11 0.33 ดี
ดี
รวม 4.12 0.51

จากผลการตรวจประเมนิ ทม่ี รี ะดบั ค8าเฉล่ยี รวมสงู สุด 3 อันดับแรก คือ การออกแบบมีความสวยงาม และสีสันดู
แล1วดึงดูดความสนใจ ( X =4.44,S.D.=0.53) ซึ่งอย8ูในเกณฑดี รองลงมาคือ รูปแบบของการนําเสนอมีความประทับใจ
และขนาดของภาพท่ีใช1ประกอบมีความเหมาะสม ( X =4.33, S.D.= 0.71) อย8ูในเกณฑดี อันดับสุดท1าย ปริมาณของ
เนื้อหาในแต8ละหนา1 มีความเหมาะสม ( X =4.22, S.D.=0.60) อยใ8ู นเกณฑดี

อภิปรายผล

การศึกษาและพัฒนาเว็บไซตแนะนําอาหารสําหรับผู1ป›วยโรคความดันโลหิตสูง กรณีศึกษาอาหารพ้ืนบ1านใน
อําเภอเมืองเพชรบุรี อภิปรายผลตามวตั ถุประสงคได1ดังน้ี

1. เพ่ือพัฒนาเว็บไซตแนะนําอาหารสําหรับผู1ป›วยความดันโลหิตสูงในการดําเนินการวิจัยคร้ังน้ีข1อมูลภายใน
เว็บไซตไม8ไดน1 ําเสนอแต8เพียงข1อมูลอาหาร ยังมีการนําเสนอข1อมูลความร1ูท่ัวไปเก่ียวกับโรคความดันโลหิตสูงอีกด1วย เพื่อ
ตอบสนองความต1องการของผใ1ู ช1งาน หรอื ผ1ปู ›วยความดนั โลหติ สูง ในการสืบค1นหรือค1นหาข1อมูล โดยข1อมูลภายในเว็บไซต
แนะนําอาหารสาํ หรับผู1ปว› ยความดนั โลหิตสูงจงึ ประกอบดว1 ย ความหมายของความดนั โลหติ สูงการรกั ษาโรคความดันโลหติ
สงู อาหารของผปู1 ว› ยความดนั โลหิตสงู ซ่งึ เปน< ขอ1 มลู ความรท1ู ั่วไปเก่ยี วกับโรค และข1อมลู สว8 นของอาหารพ้ืนเมืองเพชรบุรีโดย
แยกหมวดหมูเ8 ปน< อาหารจานเดียวอาหารแกง ต1ม ผัดขนมหวานแหละเครื่องดื่ม ซึ่งสอดคลอ1 งกับงานวจิ ัยของ ปธิตา สรุ ิยะ
(2553) ซงึ่ จากผลการวจิ ยั พบว8า ผ1ทู ่ไี ม8เคยรบั ร1ูเรอื่ งอาหารโรคความดันโลหิตน้ันมีความร1ูทางโภชนาการไม8ดี มากกว8า ผ1ูท่ี
เคยได1รบั ความร1ูเร่อื งอาหารโรคความดนั โลหิต ซึ่งนอกจากจะสง8 ผลใหม1 กี ารปฏิบตั ติ นในการบรโิ ภคอาหารไมด8 ีแลว1 ยังส8งผล
ภาวะสขุ ภาพโดยรวมไมด8 ีขน้ึ อีกทัง้ งานวิจยั ของ สิรลิ กั ษณ พงษสวัสด์ิ (2551) ศึกษาเรื่องการใช1ยาและการบริโภคอาหาร
ของผป1ู ว› ยโรคความดนั โลหิตสูง กล8าววา8 ควรส8งเสรมิ ใหผ1 ู1ปว› ยบริโภคอาหารไดอ1 ยา8 งถูกตอ1 งและเหมาะสม เนอ่ื งจากมีผลต8อ
ระดับความดันโลหิต งานวิจัยของ อภิญญา ชนะศึก (2551) ท่ีพบว8า การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหารของ
ผป1ู ›วยความดันโลหติ สงู ชว8 ยใหผ1 ู1ปว› ยมรี ะดบั ความดนั โลหติ ลดลง

2. เพื่อประเมินคุณภาพของเว็บไซตแนะนําอาหารสําหรับผ1ูป›วยความดันโลหิตสูงผลการประเมินคุณภาพของ
เว็บไซตโดยผูเ1 ช่ยี วชาญพบว8า การออกแบบมคี วามสวยงาม และสีสันดูแล1วดึงดูดความสนใจมีระดับคะแนนคุณภาพสูงสุด
เป<นอนั ดับแรก สอดคล1องกับงานวจิ ยั ของชรนิ ทรญา กลา1 แขง็ (2557)ที่กล8าววา8 การพัฒนาเว็บไซตควรมีการควบคุมโทนสี
และเลือกใช1สีที่สวยงาม สบายตานอกจากนี้ผลการประเมินในส8วนของรูปแบบของการนําเสนอมีความประทับใจ และ

เอกสารสืบเนือ่ งจากการประชมุ วิชาการและนําเสนอผลงานวจิ ัยระดบั ชาติ 2559 “การวิจยั รับใช)ชุมชนสร)างสังคมฐานความรู)” 283

ขนาดของภาพที่ใช1ประกอบมีความเหมาะสมน้ันมีคะแนนคุณภาพสูงสุดเป<นอันดับสอง เนื่องจากเว็บไซตน้ีได1พัฒนา
ออกแบบโดยคํานึงถึงวัตถุประสงค ซ่ึงสอดคล1องกับงานวิจัยของ เอก บํารุงศรี (2549) และพัชญสิตา ฉํ่ามาก(2551)ที่
กล8าววา8 การพัฒนาเวบ็ จงึ ควรคาํ นงึ ในเร่อื งการออกแบบใหต1 รงตามวตั ถปุ ระสงคที่กําหนดไว1เพราะหากทําไปโดยปราศจาก
การออกแบบหรอื การนําเสนอทดี่ แี ลว1 ผช1ู มอาจจะไมส8 นใจและใสใ8 จทจี่ ะเขา1 มาชมทาํ ใหก1 ารนาํ เสนอครง้ั นน้ั สูญเปล8าได1

จากผลการศกึ ษาวจิ ัยในครง้ั น้ชี ีใ้ ห1เห็นว8า การพฒั นาเว็บไซตแนะนําอาหารสําหรับผ1ูป›วยความดันโลหิตสูงใน
งานวิจัยน้ีเป<นประโยชนต8อผ1ูป›วยความดันโลหิตสูงเป<นอย8างย่ิง ซ่ึงจะช8วยส8งผลให1ผู1ป›วยมีระดับความดันโลหิตลดลง โดย
เวบ็ ไซตมคี วามสวยงาม สสี นั ดงึ ดดู ความสนใจ อกี ท้ังรูปแบบของการนาํ เสนอมคี วามประทับใจ แต8อยา8 งไรก็ตามประเด็นใน
ส8วนของ การใหร1 ายละเอียดของถอ1 ยคําทช่ี ัดเจน เนื้อหาความเหมาะสมกับผู1ใช1นั้นยังควรต1องมีการปรับปรุงแก1ไขซ่ึงได1รับ
ขอ1 เสนอแนะจากผูเ1 ช่ยี วชาญให1งดใช1ภาษาอังกฤษเน่ืองจากผู1ปว› ยซึง่ โดยสว8 นมากเป<นผส1ู ูงอายอุ าจไม8เข1าใจ อีกทั้งขนาดของ
ตวั อักษรน้ันเล็กเกินไปสาํ หรบั ผ1สู งู อายุดงั นัน้ ในส8วนของการพัฒนาต8อไปในการศึกษาวิจัยนี้คือการปรับปรุงพัฒนาเว็บไซต
ตามข1อเสนอแนะของผเู1 ช่ียวชาญ แล1วจึงนําไปทดลองกับกล8มุ ตัวอยา8 งซง่ึ เปน< ผ1ปู ว› ยความดนั โลหติ สงู ตอ8 ไป

กิตติกรรมประกาศ

งานวิจัยน้ีดําเนินการโดยได1รับทุนสนับสนุนการวิจัยจากสถาบันวิจัยและส8งเสริมศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัย
ราชภัฏเพชรบุรี ขอขอบพระคุณผู1ทรงคุณวุฒิและผ1ูเชี่ยวชาญทุกท8านสําหรับข1อเสนอแนะอันเป<นประโยชนอย8างย่ิงและ
ขอขอบคุณโรงพยาบาลพระจอมเกลา1 จงั หวัดเพชรบรุ ี สําหรบั ความอนเุ คราะหในการศกึ ษาวิจยั น้ี

เอกสารอา) งองิ

กรอบยทุ ธศาสตรดา1 นความปลอดภัยอาหารและโภชนาการเพ่ือความม่นั คงทางอาหารดา1 นสาธารณสุข ปงy บประมาณ พ.ศ.
2555- 2559

กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่อื สาร. รายงานผลการสาํ รวจพฤติกรรมผู1ใช1อนิ เทอรน็ตในประเทศไทย ปy 2557
กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่อื สาร. รายงานผลการสาํ รวจพฤติกรรมผ1ใู ช1อนิ เทอรน็ตในประเทศไทย ปy 2558
ชรินทรญา กล1าแข็ง (2557) การพัฒนาเว็บไซตศูนยกลางข1อมูลสารสนเทศ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏ

เลย. วารสารมนุษยศาสตรและสงั คมศาสตร มหาวทิ ยาลัยมหาสารคาม 10(พเิ ศษ) 139-150.
ปธิตา สุริยะ (2553). ความรู)ทางโภชนาการและการบริโภคอาหารของผู)ป‰วยโรคความดันโลหิตสูง โรงพยาบาลศูนย

เชียงรายประชานเุ คราะห. วิทยานิพนธปรญิ ญามหาบณั ฑิต, สาขาโภชนศาสตรศกึ ษา, มหาวิทยาลัยเชียงใหม8.
พัชญสิตา ฉ่ํามาก (2551). การออกแบบเว็บเพจเพ่ือการสงเสริมอาหารไทย. วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต, สาขา

เทคโนโลยกี ารศกึ ษา, มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร.
วรรณรัตน รัตนวรางค (2558) พฤติกรรมการใช1อินเทอรเน็ตเพ่ือหาข1อมูลสุขภาพของผู1สูงอายุในเขตกรุงเทพมหานคร.

วารสารพฤติกรรมศาสตรเพื่อการพฒั นา. 7(1) 169-185.
สไบทิพย เช้ือเอี่ยม (2554). ผลของโปรแกรมสงเสริมพฤติกรรมการบริโภคอาหารตอพฤติกรรมการบริโภคอาหาร

เฉพาะโรคและระดับความดนั โลหิตในผูส) งู อายโุ รคความดันโลหิตสงู ชนิดไมทราบสาเหตุ, วิทยานิพนธปริญญา
มหาบณั ฑติ , สาขาการพยาบาลผส1ู งู อายุ, มหาวิทยาลยั บรู พา.
สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห8งชาติ. (2540). แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห8งชาติฉบับท่ี 11
พ.ศ. 2555-2559.
สิริลักษณ พงษสวัสด์ิ (2551). การใช)ยาและการบริโภคอาหารของผ)ูป‰วยโรคความดันโลหิตสูง. วิทยานิพนธปริญญา
มหาบณั ฑติ , สาขาวิชาโภชนศาสตรศึกษา.มหาวิทยาลยั เชียงใหม8.
สุรยิ นต โคตรชมภู (2553). การจดั การเพอ่ื ปรับเปลีย่ นพฤตกิ รรมการควบคุมความดันโลหิต ในผ)ูป‰วยโรคความดันโลหิต
สงู ชนิดไมทราบสาเหตุอําเภอคลองหลวง จังหวดั ปทุมธานี. วิทยานพิ นธปริญญามหาบัณฑิต, สาขาการจัดการ
ระบบสขุ ภาพ, มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

284 เอกสารสบื เนอ่ื งจากการประชมุ วิชาการและนําเสนอผลงานวจิ ยั ระดบั ชาติ 2559 “การวจิ ยั รบั ใชช) มุ ชนสร)างสังคมฐานความร)ู”

อภิชาติ เจริญยทุ ธ (2552). ประสทิ ธิผลของโปรแกรมสงเสรมิ สุขภาพสําหรับผูส) ูงอายุ โรคความดันโลหติ สงู .วทิ ยานิพนธ
ปรญิ ญามหาบณั ฑติ , สาขาการพัฒนาสุขภาพชมุ ชน, มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครราชสีมา.

อภญิ ญา ชนะศกึ (2551). ผลของโปรแกรมการปรบั เปลี่ยนพฤติกรรมการบรโิ ภคอาหารตอความดนั โลหิตของผูป) ‰วยโรค
ความดันโลหิตสงู . วิทยานิพนธปรญิ ญามหาบณั ฑิต, สาขาการพยาบาลผูใ1 หญ8, มหาวทิ ยาลยั รังสิต.

เอนก บํารุงศรี (2549) การพัฒนารูปแบบเว็บไซตมหาวิทยาลัย กรณีศึกษาเว็บไซตภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร
มหาวิทยาลัยสยาม. วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต, สาขาคอมพิวเตอรและเทคโนโลยีสารสนเทศ,
มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีพระจอมเกลา1 ธนบุรี.

เอกสารสบื เนือ่ งจากการประชมุ วิชาการและนําเสนอผลงานวจิ ยั ระดบั ชาติ 2559 “การวิจยั รับใชช) มุ ชนสรา) งสงั คมฐานความร)ู” 285

การสรา) งและหาประสิทธิภาพวงจรบคั คอนเวอรเตอร ขนาดกาํ ลงั 50 วัตตแบบตัวเหนย่ี วนาํ ขดลวด
เดยี วและแบบ 2 ขดลวด กรณศี กึ ษาตัวเหนีย่ วนํา ในเครอ่ื งรับโทรทศั นสี ขนาด 14 นวิ้

Construction and Efficiency of a Buck Converter with a Single and Double Inductive
Coils for 50 W ; Case Study Inductive Coil of 14 Inch Color Television

สถาพร จํารัสเลศิ ลกั ษณ1
Sataporn Chamruslertlux1

บทคัดยอ

งานวิจยั นม้ี ีวตั ถปุ ระสงคเพือ่ สร1างและหาประสิทธิภาพวงจรบัค คอนเวอรเตอรแบบตัวเหนี่ยวนําขดลวดเดียว
และแบบ 2 ขดลวด ขนาดกําลัง 50 วัตต ให1แรงดันไฟเอาตพุตคงท่ี 100 โวลต และทําการเปรียบเทียบผลกับการจําลอง
ดว1 ยโปรแกรมสําเร็จรูป โดยวงจรบัค คอนเวอรเตอรท้ังสองรูปแบบใช1ตัวเก็บประจุและตัวต1านทานทํางานร8วมกับขดลวด
เสริมป|อนกลับแบบบวกในการกําเนิดความถ่ีอิสระด1วยตนเอง ทําการสวิตชด1วยเพาเวอรมอสเฟตใน วงจรบัค คอนเวอร
เตอรขดลวดเดียวและแบบ 2 ขดลวดสวิตชด1วยเพาเวอรทรานซิสเตอร โดยมีวงจรเออรเร8อรแอมป£ทําหน1าที่ควบคุม
แรงดนั ไฟทางเอาตพุตใหค1 งที่ 100 โวลต

ผลการวจิ ัยทดสอบแรงดันไฟกระแสสลับขนาด 220 โวลต 50 เฮิรตซ เมื่อใส8ชุดควบคุมแรงดันไฟคงท่ี พบว8า
วงจรบัค คอนเวอรเตอรแบบตัวเหนี่ยวนําขดลวดเดียวและแบบ 2 ขดลวด ให1แรงดันไฟเอาตพุตคลาดเคล่ือน 0.40
เปอรเซน็ ต และ 0.16 เปอรเซ็นต ตามลําดับ ส8วนผลการเปรียบเทยี บรูปคล่ืนแรงดันและกระแสทต่ี วั ขดลวดเหนย่ี วนําของ
วงจรบคั คอนเวอรเตอรแบบ 2 ขดลวดจากวงจรใช1งานจรงิ มลี ักษณะสอดคลอ1 งกันกับผลการจาํ ลองด1วยโปรแกรมสําเรจ็ รูป
เชน8 เดยี วกบั รปู คลนื่ แรงดันที่ตัวเหนี่ยวนําของวงจรบัค คอนเวอรเตอรแบบขดลวดเดียว แต8รูปคลืน่ ของกระแสไมส8 อดคล1อง
กันกับผลการจําลองด1วยโปรแกรม ขณะท่ีประสิทธิภาพของวงจรบัค คอนเวอรเตอรแบบตัวเหน่ียวนําขดลวดเดียวเฉลี่ย
เทา8 กับ 90.04 เปอรเซ็นต และ 89.66 เปอรเซน็ ต สําหรบั วงจรบัค คอนเวอรเตอรแบบ 2 ขดลวด

คาํ สําคญั : ตวั เหนย่ี วนาํ แบบขดลวดเดียว ตัวเหนยี่ วนําแบบสองขดลวด บัค คอนเวอรเตอร

ABSTRACT

This research has an objective to construct and to determine efficiency of the 50 W, 100 V DC
output buck converters with single and double inductive coils. The experimental results obtained from
the converter prototypes were compared with the simulation results. These two buck converters
consisted of a capacitor, a resistor and an additional inductor which generated self-switching
frequency. The buck converter with a single inductive coil was switched by a power MOSFET, while
one with two inductive coils by a power transistor. An Error-Amp circuit was used to control DC voltage
output to be constant at 100 V.

1 สาขาวชิ าเทคโนโลยีอตุ สาหกรรม คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี มหาวทิ ยาลัยราชภฏั ธนบรุ ี


Click to View FlipBook Version