The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เล่ม วิจัย ราชภัฏ ธนบุรี proceeding 2559

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Thaninrat Kritchanthat Sirivisalsuwan, 2020-02-09 02:00:01

Proceeding ราชภัฏธนบุรี ระดับชาติ

เล่ม วิจัย ราชภัฏ ธนบุรี proceeding 2559

136 เอกสารสืบเนอ่ื งจากการประชมุ วิชาการและนาํ เสนอผลงานวิจัยระดับชาติ 2559 “การวิจัยรับใช"ชุมชนสรา" งสังคมฐานความร"ู”

Abstract

The purposes of this research were to study: 1( the level of the Relationship in management's basic
education under the office of Secondary Educational Service Area I, (2 the administration legal entity School of
Basic Education, and (3the relationship between transformational leadership with management's guidance
The school 's educational entity education under the office of Secondary Educational Service Area I. Group at
least between the administrators and teachers in basic education schools under the jurisdiction of the school
district, one of 285instruments research is 5 point rating scale questionnaire approximately of 90questions the
reliability 097. Statistics used in the analysis. For the information he has frequency, percentage, average and
standard deviation of and coefficient of correlation Pearson. The hypothesis was tested using the values of
correlation.

The research results were as follows: 1) transformational leadership of school administrators under
the Office of Secondary Educational Service Area 1 overall high level in all aspects. Considering the revenue
side found the side with the average level. The side with the highest average including the influential
ideology was ranked highest, followed by the inspiring; 2) the administrative legal entity of school education
under the office of Secondary Educational Service Area I overall high level in all aspects. The side with the
highest gathers and organizes information. Followed by the planning and implementation of the plan; and 3)
the relationship between transformational leadership and management approach of the management legal
entity of school education under the office of Secondary Educational Service Area I. Positive relationships in
all aspects (r = 0.83) with statistical significance at the 0.05 level by the executive leadership changes in the
influence of ideology is associated with the gathering and organizing information. Information In the very first.
Followed by The inspiration for the planning and implementation of the plan.

Keywords: Transformational leadership of school administrators, the approach of legal entity School

ความเป`นมาและความสําคัญของปaญหา

จากการศกึ ษาภาวะผ"ูนําแนวทางใหม0ท่ีน0าสนใจ คือ การศึกษาภาวะผ"ูนําการเปล่ียนแปลง (transformational leader)
ของแบส (Bass, 1985) ซง่ึ มีแนวคิดวา0 ผ"นู ําเปVนผ"ูทจ่ี งู ใจให"บุคคลปฏิบัติงานเกินความคาดหวังตามปกติ ม0ุงไปที่ภารกิจอย0างกว"างๆ
ด"วยความสนใจท่ีเกดิ ขึ้นภายในตน มุ0งการบรรลุความต"องการในระดับสูง อย0างไรก็ตามเมื่อกระทรวงศึกษาธิการปฏิรูปการศึกษา
จึงก0อให"เกิดแรงขับเคลื่อนในการปรับเปล่ียนแนวความคิดของผู"นําการเปลี่ยนแปลงคร้ังสําคัญนี้ผู"บริหารสถานศึกษายุคใหม0
จําเปVนต"องหาจุดดุลยภาพระหว0างการบรหิ าร (managing)กับการนํา(leading) การปฏิรูปการศึกษาให"บรรลุจุดมุ0งหมายอย0างมี
ประสิทธิภาพและเปVนการปรับเปล่ียนทางการศึกษาทั้งระบบ จึงจําเปVนต"องมีการกระจายอํานาจและให"ทุกภาคส0วนเข"ามามีส0วน
ร0วมในการดําเนินการซึ่งสอดคล"องกับเจตนารมณ*ของรัฐธรรมนูญแห0งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 และเปVนไปตาม
หลักการของพระราชบัญญัติการศึกษาแห0งชาติ (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2553 ซึ่งกล0าวไว"ว0าให"มีการจัดระบบโครงสร"างกระบวนการจัด
การศกึ ษาของไทยมีเอกภาพเชงิ นโยบาย และมีความหลากหลายในทางปฏิบัติให"มีการกระจายอํานาจไปส0ูเขตพ้ืนที่การศึกษาและ
สถานศึกษา ดังปรากฏในบทบัญญัติ “มาตรา 39 ให"กระทรวงกระจายอํานาจการบริหารและการจัดการศึกษาท้ังด"านวิชาการ
งบประมาณ การบริหารงานบุคคลและการบริหารทั่วไปไปยังคณะกรรมการและสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาและสถานศึกษาใน
เขตพน้ื ที่การศึกษาโดยตรง”การกระจายอํานาจดงั กล0าวจะช0วยใหส" ถานศึกษามีความคล0องตวั มอี ิสระในการบริหารจัดการ เปVนไป

เอกสารสบื เนอ่ื งจากการประชุมวิชาการและนําเสนอผลงานวจิ ยั ระดับชาติ 2559 “การวจิ ัยรบั ใชช" มุ ชนสร"างสังคมฐานความร"ู” 137

ตามหลักการของการบริหารจัดการโดยใช"โรงเรียนเปVนฐาน (School Based Management : SBM) ซึ่งจะเปVนการสร"างรากฐาน
และความเข"มแข็งให"กับสถานศึกษาสามารถจัดการศึกษาได"อย0างมีคุณภาพได"มาตรฐานและสามารถพัฒนาอย0างต0อเนื่องจาก
แนวคิดดังกล0าว รัฐจึงกําหนดให"สถานศึกษาเปVนนิติบุคคลโดยบัญญัติในพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการ
กระทรวงศึกษาธกิ าร พ.ศ. 2546 มาตรา 35 ดังน้ี “มาตรา 35 สถานศึกษาท่ีจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานตามมาตรา 34 (2) เฉพาะท่ี
เปนV โรงเรียนมีฐานะเปVนนติ ิบุคคล” (กระทรวงศึกษาธิการ, 2546) การกระจายอํานาจการบริหารจัดการให"กับคณะกรรมการเขต
พื้นท่ีการศึกษาและสถานศึกษาในเขตพื้นท่ีการศึกษา โดยจัดองค*กรให"มีสถานะเปVนนิติบุคคลตามกฎหมายมหาชนที่จัดบริการ
สาธารณะจึงมีอิสระในการบริหารท้ังด"านทรัพยากรบุคคล และอํานาจหน"าท่ีภายใต"กรอบของกฎหมาย (กระทรวงศึกษาธิการ,
2546)การกําหนดให"สถานศึกษาเปVนนติ บิ ุคคลมีจดุ มง0ุ หมายประการสําคญั เพอื่ ให"สถานศึกษามีอิสระมีความเข"มแข็งในการบรหิ าร
การบริหารเปVนไปอย0างคล0องตัวรวดเร็วสอดคล"องกับความต"องการของผู"เรียน สถานศึกษา ชุมชน ท"องถ่ินและประเทศชาติ
สถานศึกษาจึงจําเปVนต"อง จัดระบบการบริหารงานตามแนวทางในการบริหารโรงเรียนที่มีฐานะเปVนนิติบุคคล ได"แก0 การรวบรวม
และจัดระบบข"อมูล การวางแผนและดําเนินการตามแผน การศึกษากฎหมาย กฎและระเบียบที่เกี่ยวข"องการบริหารและการ
ตัดสินใจโดยองค*คณะบุคคลและการจัดระบบบัญชี ผ"ูอํานวยการสถานศึกษาในฐานะผู"แทนนิติบุคคลของสถานศึกษาจึงต"อง
ดําเนินการใหเ" ปVนไปตามระเบียบของกระทรวงศึกษาธิการวา0 ด"วยการบริหารจัดการและขอบเขตการปฏิบัติหน"าที่ของสถานศึกษา
ขัน้ พ้ืนฐานทเ่ี ปVนนิติบคุ คลในสังกดั เขตพ้ืนที่การศึกษาพ.ศ.2546อย0างเคร0งครัดอย0างไรก็ตามผ"ูอํานวยการสถานศึกษาในฐานะผ"ูนํา
การเปลย่ี นแปลงจาํ ต"องบริหารสถานศกึ ษาอย0างมีเอกภาพและสอดคล"องกับความต"องการของผ"ูเรียน สถานศึกษา ชุมชน ท"องถิ่น
และประเทศชาติ เพื่อบรรลุจุดม0ุงหมายตามเจตนารมณ*ของการปฏิรูปการศึกษา ดังนั้นผ"วู ิจัยจึงสนใจศึกษาความสัมพันธ*ระหว0าง
ภาวะผู"นําการเปล่ียนแปลงของผ"ูบริหารกับแนวทางการบรหิ ารโรงเรียนนิติบุคคลของสถานศึกษาขั้นพ้ืนฐาน สังกดั สํานักงานเขต
พ้นื ทกี่ ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษาเขต1 ตามกรอบแนวทางการบรหิ ารโรงเรยี นท่ีมสี ถานะเปนV นติ ิบุคคลกระทรวงศึกษาธิการซ่งึ มี 5 ข"อ ว0า
มีความสัมพนั ธก* นั อยู0ในระดับใด อนั จะเปVนประโยชน*สําหรับหน0วยงานทางการศึกษาขน้ั พนื้ ฐานสังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
มัธยมศกึ ษาเขต1ได"นาํ ไปเปนV แนวทางในการสง0 เสริม สนับสนุนและพัฒนาสถานศึกษาทม่ี ฐี านะเปVนนิตบิ คุ คลทัง้ 8 แหง0 ตอ0 ไป

วตั ถปุ ระสงค-
1. เพ่ือศกึ ษาภาวะผูน" ําการเปล่ยี นแปลงของผบู" รหิ ารสถานศกึ ษา สังกดั สาํ นักงานเขตพ้นื ทีก่ ารศึกษามธั ยมศกึ ษา เขต1
2. เพอ่ื ศกึ ษาแนวทางการบรหิ ารโรงเรยี นนติ บิ ุคคลของสถานศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน สังกัดสํานักงานเขตพน้ื ทกี่ ารศกึ ษา

มัธยมศึกษา เขต1
3. เพ่อื ศกึ ษาความสมั พนั ธร* ะหวา0 งภาวะผน"ู าํ การเปลีย่ นแปลงของผ"ูบรหิ ารกบั แนวทางการบรหิ ารโรงเรยี นนิติบุคคลของ

สถานศึกษาขั้นพ้ืนฐาน สังกัดสาํ นกั งานเขตพืน้ ทก่ี ารศกึ ษามัธยมศกึ ษาเขต1

สมมตฐิ าน
1. ภาวะผนู" ําการเปลี่ยนแปลงของผบู" ริหารสถานศึกษา สงั กดั สํานกั งานเขตพน้ื ที่การศกึ ษามธั ยมศึกษา เขต อยใ0ู น 1

ระดับมาก
2. แนวทางการบรหิ ารโรงเรยี นนติ บิ ุคคลของสถานศึกษาขัน้ พน้ื ฐานสงั กดั สาํ นกั งานเขตพืน้ ท่ีการศกึ ษามัธยมศึกษา เขต 1

อยูใ0 นระดับมาก
3. ความสมั พันธร* ะหว0างภาวะผ"นู ําการเปลีย่ นแปลงของผู"บรหิ ารกับแนวทางการบรหิ ารโรงเรยี นนิตบิ คุ คลของสถานศกึ ษา

ขั้นพืน้ ฐาน สงั กัดสาํ นักงานเขตพ้นื ทกี่ ารศึกษามธั ยมศึกษา เขต มคี วามสมั พันธท* างบวกในระดับมาก อย0างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ 1
0.5 ระดับ

138 เอกสารสืบเนอ่ื งจากการประชุมวิชาการและนาํ เสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ 2559 “การวิจยั รับใชช" ุมชนสร"างสังคมฐานความรู"”

กรอบแนวคิด
ตัวแปรต"น ได"แก0 ภาวะผ"นู ําการเปลย่ี นแปลง ตามแนวคดิ ของ แบส และอโวลิโอ )Bass &Avolio,199 4 มีองค*ประกอบ(

4 ประการ ดังนี้
1. การมีอิทธิพลอย0างมีอดุ มการณ*
2. การสรา" งแรงบันดาลใจ
3.การกระตนุ" ทางปnญญา
4.การคํานึงถงึ ความเปVนปnจเจกบุคคล

ตัวแปรตาม ได"แก0 แนวทางการบริหารโรงเรียนนิติบุคคล ตามค0ูมือส0งเสริมการบริหารสถานศึกษาที่เปVนนิติบุคคล
(3---------- ,2546 ,กระทรวงศกึ ษาธกิ าร)มีองคป* ระกอบ ประการดงั น้ี 5

.1 การรวบรวมและจัดระบบขอ" มลู สารสนเทศ
2. การวางแผนและดําเนินงานตามแผน
.3 การศกึ ษากฎหมาย กฎและระเบยี บทเ่ี กย่ี วข"อง
.4 การบรหิ ารและการตัดสนิ ใจโดยองคค* ณะบคุ คล
.5 การจดั ระบบบัญชี

วธิ ีดาํ เนนิ การวิจยั

ประชากรและกลมุ ตัวอยาง
1. ประชากร
ประชากรทใ่ี ช"ในการศกึ ษาครั้งนี้ เปนV ผ"ูบรหิ ารและครูโรงเรียนนิติบุคคลของสถานศึกษาขั้นพ้ืนฐานสังกัดสํานักงานเขต

พ้ืนทีก่ ารศึกษามัธยมศกึ ษา เขต แหง0 8 จํานวน 1รวมประชากรท้งั สิ้น จาํ นวน 1,124 คน
2. กลมุ ตัวอยาง
กลุม0 ตวั อย0างที่ใชใ" นการศกึ ษาครั้งนี้ เปVนผู"บริหารและครูโรงเรียนนิติบุคคลของสถานศึกษาขั้นพ้ืนฐานสังกัดสํานักงาน

เขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต1 จํานวน 8 แห0ง โดยการกําหนดขนาดกลุ0มตัวอย0างตามตารางของเคร็จซ่ีและมอร*แกน
(Krejcie and Morgan, 1970, 608 อา" งถงึ ใน วาโร เพ็งสวสั ดิ์, 2551, ----------191) การสุ0มตัวอย0างใช"การส0มุ ตัวอยา0 งแบบแบ0งช้ัน
ชนดิ ท่ีเปVนสดั สว0 น โดยใชโ" รงเรยี นเปนV ช้ันของการสมุ0 ตัวอย0างและเทียบสัดสว0 น จาํ นวน 285 คน

เครอ่ื งมือการวิจัย
ตอนที่ 1 แบบสอบถามเกี่ยวกับสถานภาพส0วนตัวของผ"ูตอบแบบสอบถาม มีลักษณะเปVนแบบตรวจสอบรายการ

เกี่ยวกับ เพศ อายุ ตําแหนง0 หน"าที่ ระดบั การศกึ ษา และประสบการณ*ในการทํางาน
ตอนที่ แบบสอบถามเก่ียวกับภาวะผ"ูนําการเปลี่ยนแปลงของผ"ูบริหารสถานศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ตามแนวคิดของแบส 2

และอโวลโิ อ )Bass &Avolio,199 44 มจี ํานวน (0 ข"อ
ตอนที่ ริหารโรงเรียนนิติบุคคลของผ"ูบริหารสถานศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ตามเปVนแบบสอบถามเก่ียวกับแนวทางการบ 3

แนวทางการบริหารสถานศึกษาที่เปVนนิติบุคคล จํานวน50 ข"อ เพื่อสอบถามความคิดเห็นและข"อเสนอแนะเก่ียวกับแนวทางการ
บรหิ ารโรงเรียนนิตบิ ุคคลของผู"บรหิ ารสถานศึกษาแบบสอบถามตอนที่ 3 และตอนที่ 2 เปนV แบบสอบถามชนดิ มาตราส0วนประมาณ
ค0า(Rating Scale) ของลิเคริ *ท (Best & Kahn,1993) แบ0งเปนV 5 ระดบั คือ มากที่สุด มาก ปานกลาง น"อย และน"อยทส่ี ุด

เอกสารสืบเนอื่ งจากการประชมุ วิชาการและนําเสนอผลงานวจิ ยั ระดับชาติ 2559 “การวจิ ยั รับใชช" มุ ชนสรา" งสงั คมฐานความร"ู” 139

การเกบ็ รวบรวมขอมลู
11. ผูว" จิ ัยขอหนงั สอื จากโครงการบณั ฑติ ศึกษา มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏธนบุรีถึงผู"อํานวยการสถานศึกษา สังกัดสํานักงาน

เขตพ้นื ทก่ี ารศกึ ษามัธยมศึกษา เขต 1จาํ นวน 8 แห0งที่เปVนกล0มุ ตวั อยา0 ง เพ่ือขอความรว0 มมือในการเก็บรวบรวม
2. จัดส0งแบบสอบถามพร"อมหนังสือขอความร0วมมือในการเก็บรวบรวมข"อมูลไปสถานศึกษา สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่

การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 โดยวิธีการส0ุมตัวอย0างอย0างง0าย ตามขนาดของกลุ0มตัวอย0างจํานวน 285 ฉบับ และรวบรวม
แบบสอบถามกลับด"วยตนเอง ไดแ" บบสอบถามคนื จาํ นวน 285 ฉบับ

3. ตรวจสอบความสมบรู ณ*ของคําตอบในแบบสอบถามทกุ ฉบับ คดิ เปนV ร"อยละ 100
4. นําข"อมูลไปวเิ คราะห*ทางสถิตติ 0อไป
การวิเคราะหข- อมลู
1. แบบสอบถามตอนท่ี 1 วเิ คราะห*สถานภาพของผ"ูตอบแบบสอบถามโดยใช" คา0 ร"อยละ
2. การวเิ คราะหภ* าวะผ"ูนําการเปลีย่ นแปลงของผบ"ู รหิ าร จากแบบสอบถามตอนที่ 2 และตอนที่ 3 โดยใชส" ถิตคิ 0าเฉลย่ี
( x ) และค0าสว0 นเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.)
3. การวิเคราะหแ* นวทางการบริหารโรงเรียนนิตบิ คุ คลจากแบบสอบถามตอนท่ี 2 และตอนท่ี 3 โดยใชส" ถติ ิคา0 เฉลี่ย
( x ) และคา0 สว0 นเบีย่ งเบนมาตรฐาน (S.D.)
4. การวิเคราะห*หาความสัมพันธ*ระหว0างภาวะผู"นําการเปลี่ยนแปลงของผู"บริหาร (x) กับแนวทางการบริหารโรงเรียน
นิติบุคคล (y) โดยใช"ค0าสัมประสทิ ธ์ิสหสัมพันธ*ของเพียร*สัน (Pearson’s product moment correlation coefficient) และ
ทดสอบคา0 สหสัมพันธโ* ดยใชค" 0าที

สรุปผล

1. ภาวะผูน" ําการเปลี่ยนแปลงของผ"บู ริหารสถานศึกษาสังกัดสาํ นกั งานเขตพืน้ ทก่ี ารศึกษามัธยมศึกษา เขต 1
ผลการวิเคราะห* พบว0า ผ"ูบริหารและครูมีความคิดเห็นต0อภาวะผู"นําการเปลี่ยนแปลงของผู"บริหารสถานศึกษา สังกัด
สาํ นกั งานเขตพืน้ ทก่ี ารศกึ ษามัธยมศึกษา เขต 1โดยภาพรวมทุกด"านอยู0ในระดับมาก ( = 4.01, S.D.=0.82) เม่ือพิจารณาเปVนราย
ด"าน พบว0า ทุกด"านมีค0าเฉล่ียอย0ูในระดับมาก ด"านที่มีค0าเฉล่ียสูงสุด คือ การมีอิทธิพลอย0างมีอุดมการณ* ( = 4.05, S.D.=0.82)
รองลงมา คือการสร"างแรงบันดาลใจ ( =4.04, S.D.=0.76) และด"านที่มีค0าเฉล่ียตํ่าสุด คือ การกระต"ุนทางปnญญา( = 3.98,
S.D.=0.89)
2. แนวทางการบริหารโรงเรียนนิติบุคคลของสถานศึกษาสงั กัดสํานกั งานเขตพนื้ ทก่ี ารศึกษามธั ยมศกึ ษา เขต 1
ผลการวเิ คราะห* พบวา0 ผู"บริหารและครูมีความคิดเห็นต0อแนวทางการบริหารโรงเรียนนิติบุคคลของสถานศึกษาสังกัด
สํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1โดยภาพรวมทุกด"านอยู0ในระดับมาก ( =4.06, S.D.=0.67) เมื่อพิจารณาเปVนราย
ด"าน พบว0า ทุกด"านมีค0าเฉลี่ยอย0ูในระดับมาก ด"านที่มีค0าเฉล่ียสูงสุด คือ การรวบรวมและจัดระบบข"อมูลสารสนเทศ ( =4.11,
S.D.=0.63) รองลงมา คือ การวางแผนและดําเนินงานตามแผน ( =4.10, S.D.=0.75) และด"านท่ีมีค0าเฉล่ียต่ําสุด คือ การจัดระบบ
บญั ชี ( =3.98, S.D.=0.59)
3. ความสัมพันธ*ระหว0างภาวะผู"นําการเปลี่ยนแปลงกับแนวทางการบริหารโรงเรียนนิติบุคคลของสถานศึกษาสังกัด
สาํ นักงานเขตพ้นื ทก่ี ารศกึ ษามัธยมศกึ ษา เขต 1
ผลการวิเคราะห*ความสัมพันธ*ระหว0างภาวะผ"ูนําการเปล่ียนแปลงกับแนวทางการบริหารโรงเรียนนิติบุคคลของ
สถานศกึ ษาสงั กดั สํานักงานเขตพนื้ ที่การศึกษามธั ยมศึกษา เขต 1 มีความสมั พันธ*ทางบวก โดยภาพรวมทุกด"านอยู0ในระดับสูง (r =
0.83) อยา0 งมีนัยสาํ คัญทางสถิติทร่ี ะดบั .05
เมื่อพิจารณาความสัมพันธ*ระหว0างภาวะผู"นําการเปลี่ยนแปลงของผ"ูบริหาร (x) กับแนวทางการบริหารโรงเรียนนิติ
บคุ คล(y)เปVนรายดา" น พบวา0 มคี วามสมั พันธท* างบวกทัง้ 5 ด"าน ในระดับมาก อย0างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 เรียงลําดับค0า

140 เอกสารสืบเนอ่ื งจากการประชมุ วชิ าการและนาํ เสนอผลงานวจิ ัยระดับชาติ 2559 “การวจิ ัยรับใช"ชุมชนสร"างสงั คมฐานความรู"”

ความสัมพันธ*จากมากไปหาน"อย คือ ด"านการรวบรวมและจัดระบบข"อมูลสารสนเทศ (y1) มีความสัมพันธ*ในระดับสูง (r= 0.81)
รองลงมา คอื ด"านการวางแผนและดาํ เนินงานตามแผน (y2) มคี วามสัมพันธ*ในระดับสงู (r= 0.79) ด"านการศึกษากฎหมาย กฎและ
ระเบียบที่เก่ียวขอ" งมคี วามสัมพนั ธใ* นระดับสูง (y4)(r= 0.76) ด"านการบริหารและการตัดสินใจ มีความสัมพันธ*ในระดับสูง (y3)(r=
0.75) และดา" นการจัดระบบบัญชี มีความสมั พนั ธ*ในระดับสงู (y5)(r= 0.69) ตามลาํ ดบั

เม่ือพิจารณาความสัมพันธ*ระหว0างแนวทางการบริหารโรงเรียนนิติบุคคล (y) กับภาวะผ"ูนําการเปลี่ยนแปลงของ
ผูบ" รหิ าร (x) เปนV รายดา" น พบวา0 มีความสัมพนั ธท* างบวกทงั้ 4 ด"าน ในระดบั มาก อย0างมนี ัยสําคัญทางสถิตทิ ่ีระดับ .05 เรียงลําดับ
ค0าความสมั พนั ธจ* ากมากไปหานอ" ย คือ ด"านการมีอิทธิพลอย0างมีอุดมการณ*(x1) มคี วามสัมพันธใ* นระดับสงู (r= 0.80) รองลงมา คือ
ดา" นการสรา" งแรงบันดาลใจ (x2) มีความสัมพันธ*ในระดับสูง (r= 0.78) ด"านการคํานึงถึงความเปVนปnจเจกบุคคลมีความสัมพันธ*ใน
ระดบั สูง (x4)(r= 0.76) และด"านการกระตุน" ทางปnญญามคี วามสัมพันธ*ในระดบั สูง (x3) (r= 0.69)

อภิปรายผล

1. ภาวะผูนําการเปลยี่ นแปลงของผูบริหารสถานศกึ ษาสงั กดั สาํ นกั งานเขตพน้ื ทกี่ ารศกึ ษามัธยมศกึ ษา เขต 1
ภาวะผู"นําการเปลี่ยนแปลงของผู"บริหารสถานศึกษาสังกัดสํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 1ตามความ
คิดเห็นของผ"ูบริหารและครูโดยภาพรวมทุกด"านอยู0ในระดับมาก( = 4.01, S.D.=0.82) สอดคล"องกับงานวิจัยของนงนุช กลิ่นทับ
และคณะ(2552) ซึ่งพบว0าภาวะผ"ูนําการเปลี่ยนแปลงของผู"บริหารสถานศึกษาขั้นพ้ืนฐานช0วงชั้นท่ี 3, 4 จังหวัดพิษณุโลกใน
ภาพรวมและรายด"านอย0ูในระดับมากทุกด"าน สอดคล"องกับงานวิจัยของขนิษฐา สิทธิจินดา (2552) ซ่ึงพบว0าภาวะผู"นําการ
เปลยี่ นแปลงของผู"บริหารสถานศึกษา สังกัดสํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาอุบลราชธานี โดยภาพรวมและรายด"านอยู0ในระดับมาก
สอดคล"องกบั งานวจิ ยั ของอดุ มศักด์ิ กลุ ครอง (2553) ซึ่งพบวา0 ภาวะผ"นู ําการเปลีย่ นแปลงกับความรับผดิ ชอบตอ0 สงั คมของผู"บริหาร
สถานศึกษาสังกัดสํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษานครปฐม เขต 2 โดยภาพรวม และรายด"านอย0ูในระดับมาก และสอดคล"องกับ
งานวจิ ยั ของสุชามนต* แยม" เจรญิ กจิ (2553) ซงึ่ พบว0าภาวะผู"นําการเปล่ียนแปลงของผู"บริหารสถานศึกษาที่ส0งผลต0อการมีส0วนร0วม
ของชมุ ชนในสถานศึกษาประเภทที่ 1สังกดั สํานกั งานเขตพ้นื ทกี่ ารศกึ ษาประจวบคีรีขันธ* เขต 1และเขต 2 โดยภาพรวมอย0ูในระดับ
มาก เช0นเดยี วกนั อย0างไรก็ตามเมอื่ พิจารณารายดา" น ดา" นทีม่ คี า0 เฉลีย่ สูงสุด คือ การมีอิทธิพลอย0างมีอุดมการณ* แสดงให"เห็นภาวะ
ผู"นาํ การเปลีย่ นแปลงของผ"บู ริหารโรงเรยี นนติ บิ คุ คลของสถานศึกษาสังกดั สาํ นักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 1 ว0าเปVนผู"
ที่มีค0านิยมและอุดมการณ*ของตนท่ีเข"มแข็งเปVนผู"เปล่ียนแปลงทัศนคติ ความเช่ือ แรงจูงใจ ความเชื่อมั่นซ่ึงจะนําไปสู0การ
เปล่ียนแปลงการปฏิบัติงานของครูให"เอาใจใส0ต0อการทํางานมีพฤติกรรมท่ีทําให"ผู"ร0วมงานเกิดการยอมรับ ศรัทธา เปVนผู"มี
ความสามารถในการโน"มน"าวจิตใจให"คนอื่นคล"อยตาม เพ่ือให"ผู"ตามมีความเต็มใจและกระตือรือร"นท่ีจะทํางานให"ประสบ
ความสําเร็จเปVนที่ยอมรับ ทั้งน้ีด"วยเหตุท่ีต"องผ0านการสอบคัดเลือก การฝuกอบรมเชิงปฏิบัติการ การสัมมนาอย0างเข"มแข็งเพื่อ
เพ่ิมพูนสมรรถนะ นอกจากน้ียังได"มีโอกาสศึกษาดูงานยังต0างประเทศ เพื่อพัฒนาตนเองอย0างต0อเนื่องจึงส0งผลให"ผ"ูบริหารเปVนผู"มี
ทักษะในการบริหารอย0างผ"ูนําการเปล่ียนแปลง ทําให"สามารถพัฒนาสถานศึกษามุ0งส0ูความเปVนเลิศในทุกๆ ด"าน สถานศึกษาจึงมี
ผลสัมฤทธิท์ างการเรียนอยูใ0 นลําดบั ตน" ๆ ของประเทศ สอดคล"องกับคํากล0าวของแบส (Bass) ที่ว0าผ"ูนําการเปล่ียนแปลงเปVนผู"ที่ทํา
ใหผ" "ูตามอยูเ0 หนือกวา0 ความสนใจในตนผ0านการมีอิทธิพลอย0างมอี ุดมการณ* การสร"างแรงบนั ดาลใจ การกระตุน" ทางปnญญา หรือการ
คํานงึ ถึงความเปVนปnจเจกบุคคล ผู"นําจะยกระดับวุฒิภาวะและอุดมการณ*ของผู"ตามที่เก่ียวกับผลสัมฤทธิ์ การบรรลุสัจการแห0งตน
ความเจรญิ รุ0งเรอื งของสงั คม องคก* รและผู"อ่นื นอกจากน้นั ภาวะผ"ูนาํ การเปล่ียนแปลงมีแนวโน"มจะช0วยกระตุน" ความหมายของงาน
ในชีวิตของผู"ตามให"สูงขึ้นอาจจะช้ีนําหรือเข"าไปมีส0วนร0วมในการพัฒนาความต"องการทางศีลธรรมให"สูงข้ึนด"วย สอดคล"องกับ
แนวคิดของวาณชิ ประทุมนันท*(2545) ทก่ี ลา0 ววา0 ผูบ" ริหารสถานศึกษาต"องทําหน"าที่เปVนผ"ูนํากล0าวคือต"องเปVนตัวอย0างในด"านพฤติ
กรรมและเปนV ผู"กําหนดพฤติกรรมของบุคลากรในสถานศึกษา การแสดงออกของผู"บริหารมีอิทธิพลต0อความรู"สึกนึกคิดของครูและ
นักเรยี น

เอกสารสบื เนอ่ื งจากการประชมุ วิชาการและนาํ เสนอผลงานวจิ ยั ระดับชาติ 2559 “การวจิ ัยรบั ใช"ชมุ ชนสร"างสงั คมฐานความรู"” 141

ดงั น้นั ถ"าผ"บู รหิ ารรู"จักนําความมีภาวะผู"นํามาใช"ในการทํางานให"ถูกกับสภาพของสถานศึกษาจะทําให"ผ"ูร0วมงานรู"สึกว0า
ผบ"ู ริหารมีความบริสุทธ์ิใจในการทํางานและเปVนตัวอย0างที่ดีแก0ผู"อื่นในเร่ืองต0างๆ อันจะก0อให"เกิดความศรัทธา ความสามัคคี ร0วม
มอื รว0 มใจในการทํางานซง่ึ สง0 ผลให"การดําเนนิ งานของสถานศึกษาบรรลุตามจดุ ประสงค*

2. แนวทางการบรหิ ารโรงเรยี นนติ บิ คุ คลของสถานศึกษาสงั กดั สาํ นกั งานเขตพืน้ ทีก่ ารศกึ ษามัธยมศึกษา เขต 1
แนวทางการบริหารโรงเรียนนิติบุคคลของสถานศึกษาสังกัดสํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 1ตามความ
คดิ เห็นของผบ"ู ริหารและครู โดยภาพรวมทุกด"านอยู0ในระดับมาก ( x =4.06,S.D.=0.67) เม่ือพิจารณาเปVนรายด"าน พบว0า ทุกข"อมี
ค0าเฉลี่ยอยู0ในระดับมาก เรียงลําดับจากมากไปหาน"อย คือด"านการรวบรวมและจัดระบบข"อมูลสารสนเทศ รองลงมา คือ การ
วางแผนและดําเนินงานตามแผนการบริหารและการตัดสินใจ และด"านการจัดระบบบัญชี ด"านที่มีค0าเฉลี่ยสูงสุด คือ ด"านการ
รวบรวมและจัดระบบข"อมลู สารสนเทศ แสดงให"เห็นว0าการเปVนผบู" รหิ ารโรงเรียนนติ บิ ุคคลของสถานศกึ ษาสังกัดสํานักงานเขตพื้นที่
การศึกษามธั ยมศึกษา เขต 1น้ันต"องเปVนผ"ูมีทกั ษะ ความร"ูความสามารถ สามารถรวบรวม จัดระบบและใช"ข"อมูลสารสนเทศ เพ่ือ
การบริหารและตัดสินใจได"อย0างมีประสิทธิภาพเพราะการวางแผนในสถานศึกษาโดยเฉพาะอย0างยิ่งคือแผนปฏิบัติการจะมิอาจ
ดําเนนิ การไดอ" ยา0 งมีประสิทธิภาพ หากสถานศกึ ษาไมม0 ีข"อมลู และสารสนเทศอยา0 งเพียงพอและถกู ตอ" งทนั เวลา หรือมิฉะนั้นก็จะได"
แต0แผนทีต่ ั้งอย0ูบนสามัญสํานึกหรือการ “เดา” ที่มีความเสี่ยงสูงในการท่ีจะนําแผนไปใช"ประโยชน* เพื่องานวางแผนและงานด"าน
อน่ื ๆของสถานศกึ ษาขอ" มลู บางเรือ่ งเก็บรวบรวมมาจากท่ีตา0 งๆซ่ึงยังนาํ ไปใช"งานไม0ได" เช0น การสํารวจความคิดเห็น ความคิดเห็นที่
ได"ถือว0าเปVนข"อมูลดิบ ต"องนํามาจัดให"อยู0ในรูปแบบสารสนเทศ เปVนผลลัพธ*ที่ได"จากการประมวลผลข"อมูลดังกล0าวแล"ว สามารถ
นําไปใชป" ระโยชนเ* พอ่ื ประกอบการทํางาน หรือเพ่อื ประกอบการตัดสินใจของผู"บริหารอย0างมีประสิทธิภาพ ข"อมูลของสถานศึกษา
น้นั ข้นึ อยู0กับบรบิ ทและลกั ษณะความต"องการและการเลอื กสรรใช"ข"อมูลท่ีจาํ เปVนและเปVนประโยชน*ต0อการพัฒนาการจัดการศึกษา
ของสถานศึกษา เพ่ือรวบรวมจัดเก็บและใช"สารสนเทศสนองความต"องการของหน0วยงาน ท้ังน้ีระบบสารสนเทศท่ีดีจะต"องเปVน
ตัวแทนของเหตุการณ* มีหลักฐาน มีการวิเคราะห* แปลความหมายข"อมูล มีการเสนอรายงานสรุปและการ เผยแพร0การจัดระบบ
สารสนเทศที่ดจี ะชว0 ยให"การบริหารเปVนไปอย0างมีประสิทธิภาพช0วยให"ผู"บริหารมีความร"ูท่ีถูกต"องทันสมัย ตรงกับวัตถุประสงค*และ
เรยี กใชไ" ดส" ะดวก ประโยชน*ของระบบสารสนเทศโดยท่วั ไปที่สถานศึกษามีประโยชนช* ว0 ยในการบรหิ ารงาน การตดั สินใจสัง่ การและ
การวางแผนปฏบิ ติงานในหนว0 ยงานสามารถประสานงานกับหน0วยงานต0างๆที่เก่ียวข"องท้ังระดับท่ีสูงกว0าและต่ํากว0าเพื่อให" ระบบ
สารสนเทศเปVนมาตรฐานเดียวกัน มีรายการข"อมูล มีแบบเสนอรายงานและวันสํารวจเปVนมาตรฐานเดียวกัน สามารถนํามา
เปรียบเทียบกันได"ทุกระดับ ขจัดความซํ้าซ"อนในการเก็บรวบรวมข"อมูล อีกท้ังยังเผยแพร0และประชาสัมพันธ*หน0วยงาน เช0น การ
จัดทําเอกสาร แนะนําโรงเรียน รายงานผลงานในรอบป4 ตลอดจนการบรกิ ารขอ" มูลสาํ หรับการวิจัยต0างๆ เช0น การวจิ ยั เพอื่ แกป" nญหา
ของหน0วยงาน การวจิ ัยเพ่อื หาวิธสี อนท่แี ปลกใหมเ0 พราะไมว0 0าจะเปนV การวางแผน การดําเนินงานและการประเมินผลงาน ล"วนต"อง
อาศยั ขอ" มลู ขา0 วสารประกอบการตดั สนิ ใจทง้ั สนิ้
3ความสมั พนั ธร* ะหว0างภาวะผู"นําการเปลี่ยนแปลงกับแนวทางการบรหิ ารโรงเรียนนติ ิบคุ คลของสถานศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน .
สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1ผ"ูบริหารและครูมีความคิดเห็นต0อความสัมพันธ*ระหว0างภาวะผ"ูนําการ
เปล่ยี นแปลงกบั แนวทางการบริหารโรงเรียนนิติบุคคลสถานศึกษาขนั้ พ้ืนฐานสงั กดั สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 1
พบวา0 มคี วามสมั พันธ*ทางบวกโดยภาพรวมทกุ ดา" นอยใ0ู นระดบั สงู (r = 0.83)อย0างมีนยั สาํ คญั ทางสถติ ิที่ระดับ .05และเม่ือพิจารณา
ความสัมพนั ธ*เปนV รายด"าน พบวา0 มคี วามสมั พนั ธ*ทางบวกทงั้ 5 ดา" น อยา0 งมีนียสาํ คัญทางสถิตทิ รี่ ะดบั .05 คอื ด"านการรวบรวมและ
จดั ระบบข"อมลู สารสนเทศ ด"านการวางแผนและดําเนนิ งานตามแผน ด"านการศกึ ษากฎหมาย กฎและระเบียบท่เี ก่ียวข"อง ด"านการ
บริหารและการตัดสินใจ และด"านการจัดระบบบัญชี สอดคล"องกับงานวิจัยของศิรประภา เพ็งศิริ (2555, บทคัดย0อ) พบว0า 1)
ภาวะผู"นําการเปลี่ยนแปลงของผ"ูบริหารสถานศึกษา สังกัดสํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษากําแพงเพชร เขต 2 ตาม
ความเหน็ ของผูบ" ริหารสถานศกึ ษา และครผู "สู อนในภาพรวม และรายด"านอยใู0 นระดบั มากทกุ ด"าน 2) พฤติกรรมการเปVนสมาชิกที่ดี
ขององค*การของครูผ"ูสอน สังกัดสํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษากําแพงเพชร เขต 2 ตามความเห็นของผ"ูบริหาร
สถานศึกษา และครูผู"สอน ในภาพรวม และรายด"านอยู0ในระดับมากทุกด"าน 3) ผลการศึกษาความสัมพันธ*ระหว0างภาวะผู"นําการ
เปลย่ี นแปลงของผ"บู ริหารสถานศึกษากบั พฤตกิ รรมการเปนV สมาชกิ ทีด่ ีขององคก* ารของครูผ"ูสอน สงั กดั สํานักงานเขตพนื้ ท่ีการศึกษา

142 เอกสารสบื เนอ่ื งจากการประชมุ วิชาการและนาํ เสนอผลงานวิจัยระดับชาติ 2559 “การวจิ ัยรบั ใช"ชุมชนสรา" งสงั คมฐานความร"ู”

ประถมศึกษากําแพงเพชร เขต 2 โดยภาพรวมมีความสัมพันธ*ทางบวกในระดับปานกลาง (r = 0.49) มีความสัมพันธ*กันอย0างมี
นัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .01ความสัมพันธ*ระหว0างแนวทางการบริหารโรงเรียนนิติบุคคลกับภาวะผู"นําการเปลี่ยนแปลงของ
ผ"บู ริหาร พบวา0 มีความสมั พนั ธท* างบวกทงั้ 4 ดา" น ในระดับมาก อย0างมนี ยั สําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 เรียงลําดับค0าความสัมพันธ*
จากมากไปหาน"อย คือ ด"านการมีอิทธิพลอย0างมีอุดมการณ*ดา" นการสร"างแรงบันดาลใจ ด"านการคํานึงถึงความเปVนปnจเจกบุคคล
และด"านการกระต"ุนทางปnญญา สอดคล"องกับงานวิจัยของ Collmer, Judy (1990, p 30-A) ได"ศึกษาเก่ียวกับความสัมพันธ*
ระหว0างแบบผ"ูนําของผ"ูบริหารกับความพึงพอใจในการทํางานของครูโรงเรียนประถมศึกษาตามความคิดเห็นของนักศึกษาระดับ
บัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยเท็กซัส พบว0า1) ลักษณะผ"ูนําของผ"ูบริหารโรงเรียนจะส0งผลต0อบรรยากาศและความพึงพอใจในการ
ทาํ งานของครใู นโรงเรียน 2) ความสมั พนั ธ*อนั ดีระหวา0 งผู"บรหิ ารโรงเรยี นกบั ครจู ะสง0 ผลโดยตรงต0อนักเรียนของตนเอง 3) ความพึง
พอใจของครูจะมีมากขึ้นเม่อื ผบ"ู ริหารไดเ" ป–ดเผยแบบพฤตกิ รรมผู"นําของตนเอง ตลอดจนการให"ความรัก ความอบอุ0น ยอมรับความ
คิดเห็นของครูและเปด– โอกาสให"ครูได"แสดงความรค"ู วามสามารถไดอ" ยา0 งเตม็ ที่

ขอเสนอแนะ

ขอเสนอแนะสําหรบั การนาํ ไปประยุกตใ- ช
1.ผลจากการศึกษาภาวะผู"นําการเปลี่ยนแปลงสถานศึกษา สังกัดสํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต โดย 1

0ภาพรวมทุกด"านอยู0ในระดับมาก การกระตุ"นทางปnญญามีค0าเฉล่ียตํ่าท่ีสุด ดังนั้น ผ"ูบริหารสถานศึกษาควรมีวิธีการพัฒนาการ
กระต"ุนให"ผู"ตามตระหนักถึงปnญหาต0างๆ ท่ีเกิดข้ึนในหน0วยงาน ทําให"ผ"ูตามมีความต"องการหาแนวทางใหม0ๆ มาแก"ปnญหาใน
หน0วยงาน เพือ่ หาข"อสรุปใหม0ท่ีดกี ว0าเดิมเพอื่ ทาํ ให"เกดิ ส่ิงใหม0และสร"างสรรค* มีการให"กําลังใจผู"ตามโดยให"พยายามหาแนวทางแก"
ปnญหาด"วยวิธีใหม0ๆ ผู"นํามีการกระตุ"นให"ผู"ตามแสดงความคิดและเหตุผลและไม0วิจารณ*ความคิดของผู"ตามแม"ว0ามันจะแตกต0างไป
จากความคดิ ของผู"นํา ทําให"ผู"ตามรู"สึกว0าปnญหาที่เกิดข้ึนเปVนส่ิงที่ท"าทายและเปVนโอกาสท่ีดีท่ีจะแก"ปnญหาร0วมกันโดยผู"นําจะสร"าง
ความเชอ่ื ม่นั วา0 ปญn หาทกุ อยา0 งตอ" งมีวธิ แี กไ" ข แม"บางปญn หาจะมีอปุ สรรคมากมาย ผูน" ําจะพิสูจน*ให"เห็นว0าสามารถเอาชนะอุปสรรค
ทุกอย0างได"จากความร0วมมือร0วมใจในการแก"ปnญหาของผู"ร0วมงานทุกคน ผู"ตามจะได"รับการกระตุ"นให"ต้ังคําถามต0อค0านิยมของ
ตนเอง ความเช่ือและประเพณี การกระต"นุ ทางปญn ญาเปนV สว0 นทส่ี าํ คัญของการพัฒนาความสามารถของผู"ตามในการที่จะตระหนัก
เข"าใจ และแกไ" ขปญn หาด"วยตนเองอย0างสร"างสรรค*

2.ผลจากการศกึ ษาแนวทางการบรหิ ารโรงเรียนนิติบุคคลของสถานศกึ ษา สังกัดสํานกั งานเขตพืน้ ที่การศึกษามัธยมศึกษา
เขต 1 โดยภาพรวมทุกด"านอย0ูในระดับมาก ด"านการจัดระบบบัญชี มีค0าเฉลี่ยต่ําที่สุด ดังนั้น ผ"ูบริหารสถานศึกษาควรการจัดทํา
ระบบบัญชีด"านการเงิน พัสดุและสินทรัพย*ของสถานศึกษา ได"แก0 การวิเคราะห*ข"อมูล การบันทึกข"อมูล การแยกหมวดหม0ู การ
สรุปผล การรายงาน การแปลความหมาย การจัดวางระบบควบคุมภายในการจัดทําระบบบัญชีให"ครบถ"วนถูกต"องตามระบบและ
ระเบียบของทางราชการความสาํ คัญของระบบบัญชี ข"อมลู ทางบญั ชเี ปVนเคร่ืองวัดผลการดาํ เนนิ งาน ในรอบระยะเวลาท่ผี 0านมาแล"ว
เพือ่ ทจ่ี ะใชเ" ปนV เครื่องมือของฝ…ายบริหารในด"านการควบคุมการ ดําเนินงานให"เปVนไปตามวัตถุประสงค* นําไปใช"ในการประเมินผล
ของการตัดสนใจในการบริหารว0าเปVนไปอย0างมีประสิทธิภาพเพียงใด และยังอาจใช"เปVนหลักในการวางแผนงานในอนาคตอีกด"วย
ดงั นน้ั การวางระบบบญั ชีจงึ ตอ" งพจิ ารณาใหม" ีการจัดทํารายงานทางการเงินอย0างรวดเร็ว ทันต0อ เหตุการณ* ถูกต"องเชื่อถือได" และ
ประหยัดค0าใช"จา0 ย

3. ผลจากการศึกษาความสัมพันธ*ระหว0างภาวะผ"ูนําการเปลี่ยนแปลงของผู"บริหารกับแนวทางการบริหารโรงเรียนนิติ
บุคคลของสถานศึกษาขนั้ พนื้ ฐาน สงั กัดสาํ นกั งานเขตพื้นทก่ี ารศึกษามธั ยมศึกษา เขต พบว0า 1มีความสัมพนั ธท* างบวกท้ัง ด"านใน 4
ระดับมากทั้งน้ีเนื่องจากโรงเรียนนิติบุคคลของสถานศึกษาข้ันพื้นฐาน สังกัดสํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขตมี 1
ศึกษาให"มีคุณภาพส0ูมาตรฐานสากล สามารถพัฒนาเด็กไทยให"เปVนมนุษย*ที่สมบูรณ* เปVนคนดี มีจดุ ม0งุ หมายที่สําคัญในการจัดการ

เอกสารสืบเนอ่ื งจากการประชุมวชิ าการและนาํ เสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ 2559 “การวจิ ยั รับใชช" มุ ชนสรา" งสงั คมฐานความรู"” 143

ความสามารถ และมคี วามสขุ ผ"ูบริหารสถานศึกษาจึงต"องตระหนักถึงบทบาทหน"าที่ ปฏิบัติงานตามภารกิจในการบริหารโรงเรียน
นติ ิบคุ คลของสถานศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน สงั กดั สาํ นกั งานเขตพ้ืนทกี่ ารศึกษามัธยมศึกษา เขต ใหเ" ปนV โรงเรยี นชั้นนาํ ของประเทศ 1

ขอเสนอแนะสําหรบั การทาํ วิจยั ตอไป
1. ควรศกึ ษาภาวะผ"ูนําการเปลี่ยนแปลงท่ีส0งผลต0อการพฒั นาคุณภาพการศกึ ษาของสถานศึกษาสังกัดสํานักงานเขตพื้นท่ี

การศกึ ษามัธยมศกึ ษาทกุ เขต
2. ควรศึกษาภาวะผ"ูนําการเปล่ียนแปลงของผ"ูบริหารสถานศึกษากับการบริหารองค*กรคุณภาพของสถานศึกษาสังกัด

สํานกั งานเขตพ้นื ท่กี ารศกึ ษามัธยมศึกษาทกุ เขต
3. ควรทําการวิจัยเร่ืองแนวทางการบริหารโรงเรียนนิติบุคคลท่ีส0งผลต0อการประกันคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา

สังกดั สาํ นักงานเขตพ้ืนทก่ี ารศึกษามธั ยมศึกษาทกุ เขต

เอกสารอางองิ

กระทรวงศกึ ษาธิการคู0.(2546) .มือการบรหิ ารสถานศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐานท่ีเป`นนิตบิ ุคคล. กรงุ เทพฯอ* งค* :การรับส0งสินค"าและพัสดุ
ภณั ฑ* .

ขนิษฐา สิทธจิ ินดา) .2552(. การศึกษาภาวะผนู าํ การเปล่ยี นแปลงของผบู รหิ ารสถานศกึ ษา สังกัดสํานกั งานเขตพืน้ ทกี่ ารศึกษา
อบุ ลราชธานี. วิทยานพิ นธ*ครศุ าสตรมหาบณั ฑติ .มหาวิทยาลัยราชภฏั อบุ ลราชธานี.

นงนชุ กล่ินทบั และคณะ .(2552) .ภาวะผนู ําการเปลีย่ นแปลงของผบู ริหารสถานศกึ ษาขั้นพ้นื ฐานชวงช้ันท่ี จังหวดั 4 ,3
พิษณโุ ลก.สารนพิ นธ*การศึกษามหาบัณฑิต มหาวทิ ยาลัยนเรศวร ,พษิ ณุโลก.

วาณชิ ประทุมนันท*) .2547). ภาวะผนู าํ ของผูบรหิ ารโรงเรยี นมธั ยมศึกษา ตามทัศนะของคณะกรรมการสถานศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน
สังกดั กรมสามัญศึกษา จังหวดั นครปฐม.วทิ ยานิพนธก* ารศึกษามหาบัณฑติ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร*, กรงุ เทพฯ.

วาโร เพ็งสวัสดิ์ .(2551) .วธิ ีวิทยาการวจิ ยั .นร* ยิ าสาสสุวี :กรงุ เทพฯ .
ศิรประภา เพง็ ศริ ิ .(2555) .ความสมั พนั ธร- ะหวางภาวะผูนาํ การเปลี่ยนแปลงของผบู รหิ ารสถานศึกษากับพฤติกรรมการเป`น

สมาชิกท่ีดขี ององค-การของครผู สู อน สังกดั สํานกั งานเขตพ้นื ทก่ี ารศึกษาประถมศึกษากําแพงเพชร เขต .2สารนพิ นธ*
การศกึ ษามหาบณั ฑติ มหาวิทยาลยั นเรศวร ,พษิ ณุโลก.
สชุ ามนต* แยม" เจรญิ กิจ .(2553) .ภาวะผูนําการเปล่ียนแปลงของผูบรหิ ารสถานศึกษาทส่ี งผลตอการมีสวนรวมของชุมชนใน
สถานศกึ ษาประเภทท่ี 1สังกัดสาํ นักงานเขตพืน้ ทก่ี ารศึกษาประจวบคีรขี ันธ- เขต .2 และเขต1 วทิ ยานิพนธ*ครศุ าสต
รมหาบณั ฑติ มหาวทิ ยาลัยราชภัฏเพชรบรุ ี.เพชรบรุ ี ,
อุดมศักด์ิ กลุ ครอง .(2553) .ภาวะผนู ําการเปล่ยี นแปลงกับความรับผิดชอบตอสังคมของผูบริหารสถานศึกษา. วทิ ยานิพนธ*
ศกึ ษามหาบัณฑิต มหาวิทยาลยั ศลิ ปากร.กรุงเทพฯ ,
Bass, B.M. (1985). Leadership and performance beyond expectation. New York: Free Press.
Bernard M. Bass and Bruce J. Avolio. (1994). Improving Organizational Effectiveness Through
Transformational Leadership)Thousand Oaks: Sage, 1994(4.
Best, John W. & Kahn, James V. (1993).Research in education. (7th ed). Boston: Allyn and Bacon.
Collmer, Judy. (1990). A Co-rerational Study of Principals Leadership Style and Teachers.Job
Satisfaction.Dissertation Abstracts International. 51(1): 30-A.
Krejcie, R. V., & Morgan, D.W. (1970).Determining sample size for research activities. Educational and
Psychological Measurement, 30(3), 607-610.

144 เอกสารสืบเนอื่ งจากการประชุมวิชาการและนาํ เสนอผลงานวิจัยระดับชาติ 2559 “การวจิ ัยรบั ใชช" มุ ชนสร"างสงั คมฐานความรู"”

ผลการติดตามการนําหนงั สอื เด็กประเภท Pop up
ไปใชในการจัดการเรียนการสอนของครูในจงั หวัดราชบุรี
The Usage of Pop up Book in Teaching of Teachers in Ratchaburi

จรินทร- งามแมน 1
Jarin Ngamman

บทคัดยอ

การวิจยั ครงั้ น้ีมวี ัตถุประสงค*เพื่อ 1) เพ่อื ศกึ ษาระดับของการนําหนังสือเด็กประเภท Pop up ไปใช"ในการจัดการเรียน
การสอน 2) เพ่ือศึกษาระดับการขยายผลการจัดทําหนังสือเด็กประเภท Pop up 3) เพื่อศึกษาระดับผลการนําหนังสือเด็ก
ประเภท Pop up ไปใช"ในการจดั การเรยี นการสอน

กล0ุมเป•าหมายที่ใช"ในการวิจัยครั้งนี้ คือ ครูผ"ูสอนในโรงเรียนเขตจังหวัดราชบุรี ที่สมัครใจเข"ารับการอบรมเชิง
ปฏิบัติการเร่ือง การสร"างส่ือ 3 มิติเพ่ือพัฒนาหลักสูตรท"องถิ่นตามวิถีไทย จํานวน 31 คน เครื่องมือที่ใช"ในการวิจัย คือ
แบบสอบถามเปนV แบบมาตราสว0 นประมาณคา0 5 ระดับ สถิติท่ีใช"ในการวิเคราะห*ข"อมูล ได"แก0 ค0าเฉล่ียและค0าเบี่ยงเบนมาตรฐาน
ขอ" มูลทีไ่ ด"จากข"อเสนอแนะต0าง ๆ ใชก" ารวิเคราะห*เนอื้ หา
ผลการวิจยั พบวา

1. ระดับการนําหนังสือเด็กประเภท Pop up ไปใช"ในการจัดการเรียนการสอน พบว0า ครูผู"สอนมีการนําหนังสือเด็ก
ประเภท Pop up ไปใช"ในการเรยี นการสอน โดยภาพรวมอยู0ในระดบั มาก

2. ระดับการขยายผลการจัดทําหนังสือเด็กประเภท Pop up พบว0าครูผู"สอนมีการขยายผลหนังสือเด็กประเภท Pop
up ไปใชใ" นการจดั การเรยี นการสอน โดยภาพรวมอย0ใู นระดบั มาก

3. ระดับผลการนําหนงั สือเดก็ ประเภท Pop up ไปใช"ในการจัดการเรียนการสอน ทําให"นักเรียนมีพัฒนาการในด"าน
ต0าง ๆ โดยภาพรวมอยู0ในระดับมาก

1 อาจารยป* ระจํามหาวิทยาลัยราชภฎั หม0ูบา" นจอมบงึ

เอกสารสบื เนอื่ งจากการประชุมวชิ าการและนําเสนอผลงานวิจยั ระดบั ชาติ 2559 “การวิจยั รบั ใช"ชุมชนสร"างสังคมฐานความรู"” 145

Abstract

Title : The Usage of Pop up Book in Teaching of Teachers in RatchaburiThis investigation aimed to study
three folds : 1) to measure the level of Pop books usage in teaching ; 2) to examine the expanding of using
Pop up books in teaching techniques ; and 3) to analyze the consequences from teaching with Pop up books.
The participants were 31 volunteer teachers who are teaching in Ratchaburi. They were required to attend
the seminar on producing these kinds of children books. Data was elicited from questionnaires divided to five
rating scales. The statistical methods used to analyze the data were mean and standard deviation (S.D.), and
content analysis was used for descriptive data. The findings suggested that : 1) the level of Pop up and
movable image book usage of teachers in teaching were high ; 2) the expanding of using these devices were
high, and 3) the using these kind of books increased students’ skills development.

ความเป`นมาและความสําคัญของปญa หา

ตามพระราชบัญญัตกิ ารศึกษาแห0งชาติ พ.ศ. 2542 และหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พ.ศ. 2551 ได"มุ0งเน"น
ให"ความสําคัญกับผ"ูเรียนเปVนหลัก โดยเน"นผู"เรียนเปVนศูนย*กลางการเรียนรู" ท้ังน้ีเพ่ือให"ผู"เรียนได"พัฒนาตนเองอย0างเต็มศักยภาพ
สามารถเรียนรู"ได"ด"วยตนเอง และร"ูจักแสวงหาความร"ูได"อย0างต0อเนื่องตลอดชีวิต ดังน้ันในการจัดการเรียนร"ูเพ่ือให"ผ"ูเรียนมี
คณุ ลักษณะดงั กลา0 ว จําเปนV ทค่ี รผู สู" อนจะตอ" งหาเทคนคิ วธิ กี าร รวมทั้งการเลือกสื่อมาใชใ" นการส0งเสริมให"ผู"เรียนเกดิ การเรียนร"ู เพอื่
เพิ่มประสทิ ธภิ าพในการเรยี นรข"ู องผ"ูเรยี นให"สงู ขึน้ ในระยะเวลาท่ีสนั้ กวา0 การสอนปกติ และม0ุงให"ผ"ูเรียนได"ศึกษาด"วยตนเองอย0างมี
ประสิทธิภาพ ตลอดจนสนองความแตกต0างระหวา0 งบคุ คล เพือ่ ให"ผ"เู รียนบรรลุจดุ ม0ุงหมาย การจัดการเรียนการสอนจาํ เปนV จะตอ" ง
จดั กระบวนการเรยี นการสอนให"ผูเ" รียนมคี วามร"ู ความเขา" ใจ จนบรรลจุ ุดประสงคก* ารเรียนร"ูตามเกณฑท* ีก่ าํ หนดไว"

การพัฒนาศักยภาพในการจัดกิจกรรมการเรยี นการสอนของครู มีความจําเปVนอย0างย่ิงเพราะส0งผลต0อการเรียนร"ูของ
ผเ"ู รยี น แตก0 ารพฒั นาครทู ผ่ี า0 นมา พบว0า ไมป0 ระสบความสําเร็จเท0าท่ีควร เนื่องจากการพัฒนา ไม0ตอบสนองต0อความต"องการของ
ครู การพัฒนาไมท0 ว่ั ถงึ การพัฒนาไม0ส0งผลถึงผ"เู รียน เนอ่ื งจากครูไม0ได"รบั การพัฒนาอย0างถูกต"องและเหมาะสมในการท่ีจะกระต"ุน
ให"ผู"เรยี นหนั มาสนใจในวิชาที่เรียนมากขึ้น ในปจn จุบนั ครูใชห" ลกั การบรู ณาการโดยมีการเชื่อมโยงและผสมผสานกระบวนการสอนให"
สอดคล"องกับความต"องการของผูเ" รียน โดยนาํ ความร"ูและประสบการณ*ไปใชใ" นชีวิตประจําวนั ไดอ" ย0างเหมาะสม สอื่ การสอนนับว0ามี
บทบาทท่ีสําคัญมาก ในการสื่อความหมายระหว0างครูผ"ูสอนกับนักเรียนสามารถสนับสนุนให"การเรียนการสอนมรประสิทธิภาพ
บรรลตุ ามวัตถุประสงคท* ่ตี งั้ ไว" ส่อื การสอนทุกประเภทตา0 งเอแอประโยชนต* อ0 การเรยี นการสอนทง้ั สิน้ โดยเฉพาะสอื่ การสอนประเภท
ที่สามารถรบั ร"ไู ด"ทางตา มคี วามสาํ คญั และมีอิทธพิ ลต0อการรับรแ"ู ละการเรียนรู"ของเด็กเปVนอย0างมาก การจัดกิจกรรมการเรียนการ
สอนและการเลอื กใช"สือ่ 3 มติ กิ ับวสั ดุทม่ี นี ้าํ หนกั มากกวา0 ท่ไี ร"นาํ้ หนักและสามารถนําเสนอเนื้อหาเปVนขัน้ เปVนตอน จะสามารถดงึ ดูด
เร"าใจ ซงึ่ สือ่ ชนิดน้กี ็คือ หนังสอื 3 มติ ิ (Pop up)เปนV หนงั สอื ทีม่ ีภาพยื่นออกมามีส0วนสูง ส0วนลึก ให"เห็นจริงกว0าภาพถ0าย อีกทั้งยัง
เกิดจนิ ตนาการ จากเรอื งที่อา0 นไดอ" ย0างสมจริง ทําให"ได"รายละเอยี ดจากเร่อื งทอ่ี 0านได"มากข้นึ

ดังนั้นด"วยเหตุปnจจัยข"างต"นผู"วิจัยในฐานะอาจารย*ผู"สอนสาขาวิชาชีพครู คระครุศาสตร* มหาวิทยาลัยราชภัฎหมู0บ"าน
จอมบึง จึงมีความสนใจที่จะพัฒนาครูระดับประถมศึกษา ท่ีสอนในกลุ0มสาระการเรียนร"ูภาษาไทย สังคมศึกษาศาสนาและ
วัฒนธรรมไทย โดยจะพัฒนาครูให"มีความรู"และทักษะในการผลิตสื่อพ้ืนฐานแบบง0ายๆแต0มีลักษณะพิเศษ โดยผลิตในรูปแบบ

146 เอกสารสืบเนอ่ื งจากการประชมุ วชิ าการและนําเสนอผลงานวจิ ัยระดบั ชาติ 2559 “การวิจยั รบั ใช"ชมุ ชนสรา" งสังคมฐานความรู"”

หนังสือเด็กประเภท Pop up ประกอบแบบฝuกทักษะการอ0านจับใจความและการคิดวิเคราะห*จากหนังสือเด็กเพ่ือให"ผู"เรียนได"
เรยี นรอ"ู ย0างสนุกสนาน โดยใชก" ระบวนการฝuกอบรมเชงิ ปฏบิ ตั กิ ารและ จะดําเนินการตดิ ตามผลการนาํ ความรู" ทักษะท่ีครูได"รับจาก
การเข"าร0วมอบรมไปใช"ทั้งด"านของ การนําไปใช" การขยายผลและผลของการนําไปใช" เพ่ือเพ่ิมผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนให"มี
ประสิทธภิ าพมากยิ่งขน้ึ

การติดตามโครงการก็เพ่ือให"ใช"ทรัพยากรและเวลาอย0างประหยัดหรือมีประสิทธิภาพ (Efficiency) และเอื้อต0อ
ความสําเร็จหรือบรรลุจุดประสงค*ของโครงการท่ีเปVนประสิทธิผล (Effectiveness) ด"วยการตรวจสอบ กํากับ ควบคุม หรือ
ทบทวนถงึ แผนดาํ เนนิ การ รวมทงั้ ปญn หาอุปสรรคตา0 ง ๆ เพื่อเปนV ข"อมลู ให"แกผ0 เู" กย่ี วข"องนาํ มาปรับปรุงโครงการได"ทนั ท0วงที ทัง้ นถี้ "า
พิจารณาถึงลักษณะของการติดตามซึ่งจะดําเนินการในช0วงเริ่มต"นหรือระหว0างดําเนินโครงการแล"ว จะเห็นว0าในเบอื้ งต"นจะเน"น
ประสิทธิภาพก0อน ส0วนผลที่ได"หรือจากการบรรลุวัตถุประสงค*หรือประสิทธิผลของโครงการนั้นจะเปVนเรื่องท่ีเก่ียวเน่ืองกันไปใน
อนาคตซึ่งต"องอาศยั การประเมินผลโครงการเพ่ือให"คําตอบดังกล0าว นั่นคือ การติดตามจะเน"นเร่ืองปnจจุบันและอาจเอ้ือต0อผลใน
อนาคต ซงึ่ ตอ" งใช"การประเมินนัน่ เอง ในทางปฏิบัติการตดิ ตามโครงการอาจดําเนินการในลกั ษณะผสม เช0น ตามเกณฑป* ระเดน็ สงิ่ ท่ี
ติดตาม อาจติดตามทั้งกิจกรรม ทรัพยากร งบประมาณ และผลการดําเนินงาน หรือเลือกติดตามบางสิ่งร0วมกันก็ได" หรือตาม
เกณฑ*ผ"ตู ดิ ตามของรายงานอาจรายงานท้ังวาจาและลายลักษณ*อกั ษรดว" ยก็ได" เปVนตน" ท้งั น้ีจะขน้ึ อยก0ู บั ขอ" มลู สารสนเทศทตี่ "องการ
หรือขนาดความเร0งดว0 นของโครงการ เช0น ถา" โครงการมขี นาดใหญ0กต็ อ" งติดตามหลายส่ิงทั้งกิจกรรม ทรพั ยากร งบประมาณ และ
ผลการดําเนินงาน ใช"ผ"ูติดตามท้ังผ"ูรับผิดชอบโครงการ และบุคคลภายนอก หรือถ"าเปVนโครงการเร0งด0วนอาจต"องรายงานต0อผู"มี
อํานาจสูงสุด เชน0 รฐั มนตรผี "ูรบั ผดิ ชอบหรือนายกรัฐมนตรกี ็ได" แตถ0 "าเปVนโครงการขนาดเล็ก เช0น โครงการตามเวลาหรอื เสร็จตาม
วนั ทกี่ าํ หนดหรือไม0 และรายงานต0อผ"อู าํ นวยการสถานศกึ ษาเพียงช้นั เดียวก็ได" (สภุ าพร พศิ าลบุตร, 2547)

การพัฒนาครูให"มีศักยภาพในการจัดกิจกรรมการเรียนรู"มีความจําเปVนอย0างย่ิง เพราะศกั ยภาพของครูส0งผลต0อการ
เรียนร"ูของผู"เรียน แต0การพัฒนาครูที่ผ0านมา พบว0า ไม0ประสบความสําเร็จเท0าท่ีควร เน่ืองจากการพัฒนาไม0ตอบสนองต0อความ
ตอ" งการของครู การพฒั นาไมท0 ว่ั ถึง การพฒั นาไมส0 ง0 ผลถึงผ"ูเรียน เนื่องจากครูไม0ได"รับการพัฒนาอย0างถูกต"องเหมาะสมในการที่
จะกระต"ุนผู"เรียนให"หันมาสนใจในวิชาท่ีเรียนมากขึ้น ในปnจจุบันครูใช"หลักการบูรณาการโดยมีการเชื่อมโยงและผสมผสาน
กระบวนการสอนให"สอดคล"องกับความต"องการของผ"ูเรียน โดยนาํ ความรู"และประสบการณไ* ปใช"ในชวี ติ ประจาํ วันได"อยา0 งเหมาะสม
(วเิ ศษ ชณิ วงศ*. 2544 : 28) สอื่ การสอนนับว0ามีบทบาทท่ีสําคัญมากในการส่ือความหมายระหว0างครูผู"สอนกับนักเรียนสามารถ
สนับสนุนให"การเรียนการสอนมีประสิทธภิ าพบรรลตุ ามวตั ถุประสงค*ทีต่ ้งั ไว" สื่อการสอนทุกประเภทต0างเอ้ือประโยชน*ต0อการเรียน
การสอนทั้งสนิ้ โดยเฉพาะสื่อการสอนประเภทที่สามารรับรไ"ู ดท" างตา มีความสําคัญและอิทธพิ ลต0อการรับรแ"ู ละการเรียนรข"ู องเดก็
เปVนอย0างมาก การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนและการเลือกใช"สื่อ 3 มิติกับวัสดุที่มีนํ้าหนักมากกว0าท่ีไร"น้ําหนัก และการ
นําเสนอเนื้อหาเปนV ขั้นเปVนตอนมากกว0าท่ีจะกลา0 วถงึ บทสรุปรวม จะมาสามารถดึงดดู เร"าใจ ซึ่งสอ่ื ชนดิ นก้ี ค็ ือ หนงั สอื 3 มติ ิ (Pop
up) เปVนหนังสือที่มีภาพย่ืนออกมามีส0วนสูง ส0วนลึก ให"เห็นจริงกว0าภาพถ0าย อีกท้ังยังเกิดจินตนาการจากเรื่องท่ีอ0านได"อย0าง
สมจรงิ ทําให"ได"รายละเอียดจากเร่ืองที่อ0านไดม" ากข้นึ (กรรณกิ า นม่ิ ราศี, 2543 ) และยังเปVนหนงั สอื ทีใ่ ชก" ระดาษที่มคี วามหนาเปVน
พิเศษ มีการนําเสนอเนือ้ หาอยา0 งเปนV ลาํ ดบั ขน้ั ในการเรยี นร"ู

ด"วยเหตุปnจจัยต0าง ๆ ข"างต"น คณะครุศาสตร* สาขาการประถมศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏหม0ูบ"านจอมบึง จึงไดจ" ัด
โครงการอบรมเชงิ ปฏิบัติการเพื่อชว0 ยพัฒนาครูระดับประถมศึกษา ท่ีสอนในกลุ0มสาระการเรียนร"ูภาษาไทย โดยจะพัฒนาครูให"มี
ความรแ"ู ละทกั ษะในการผลิตส่ือพน้ื ฐานแบบงา0 ย ๆ แตม0 ลี กั ษณะพิเศษ โดยผลติ ในรปู แบบหนังสือเด็กประเภท Pop up ประกอบการ
ฝuกทักษะการอ0านจับใจความ และการคิดวิเคราะห*จากหนังสือเด็กเพ่ือให"ผ"ูเรียนได"เรียนร"ูอย0างสนุกสนาน โดยใช"กระบวนการ

เอกสารสบื เนอื่ งจากการประชุมวิชาการและนําเสนอผลงานวจิ ัยระดับชาติ 2559 “การวจิ ยั รับใช"ชุมชนสร"างสงั คมฐานความร"ู” 147

ฝuกอบรมเชิงปฏิบัติการ และจะดําเนินการติดตามผลการนําความร"ู ทักษะท่ีครูได"รับจากการเข"าร0วมอบรมไปใช"ทั้งด"านของการ
นําไปใช" การขยายผลและผลของการนําไปใช"

วัตถุประสงค-ของการวิจัย
1. เพื่อศึกษาระดับของการนําหนังสือเดก็ ประเภท Pop up ไปใช"ในการจัดการเรียนการสอน
2. เพ่ือศึกษาระดบั การขยายผลการจัดทําหนังสอื เด็กประเภท Pop up
3. เพื่อศึกษาระดับผลการนําหนังสอื ประเภท Pop up ไปใชใ" นการจัดการเรียนการสอน

ขอบเขตของการวิจัย

กลมุ เปา• หมายทใ่ี ชในการวจิ ยั
กลุม0 เปา• หมายที่ใช"ในการวจิ ยั ครงั้ น้ี คือ ครูผูส" อนในโรงเรยี นในเขตจงั หวดั ราชบุรี เขต1 และเขต2 ท่ีสมัครใจเข"ารับการ
อบรมเชิงปฏิบตั ิการเร่ือง การจดั ทําหนังสอื เดก็ ประเภท Pop up จํานวน 31 คน
ตวั แปรท่ีศึกษา
ตัวแปรที่ศกึ ษา ไดแ" ก0
1. การนาํ หนังสอื เด็กประเภท Pop up ไปใช"ในการจดั การเรยี นการสอน
2. การขยายผลการจดั ทาํ หนังสอื เด็กประเภท Pop up
3. ผลการนําหนงั สอื เด็กประเภท Pop up ไปใชใ" นการจดั การเรียนการสอน

นยิ ามศัพท-

หนังสือเดก็ ประเภท Pop upหมายถึง ภาพยกระดบั หรือ Pop up เปVนภาพท่ีมีลักษณะเปVนสามมิติ ส0วนมากเปVนลักษณะ
ของการประดษิ ฐก* ระดาษ ดว" ยการพบั ผสมผสานกบั การตัดกระดาษประกอบกันให"เปVนภาพที่มีลักษณะมีมิติขึ้น โดยใช"เปVนส0วนของภาพ
ในหนังสือหรือบัตรอวยพร ซึ่งเมื่อเป–ดดูข"างใน ภาพสามมิติท่ีพับอย0ูก็จะผุดขึ้นมาหรือยกตั้งข้ึนอย0างฉับพลัน จัดว0าเปVนงานศิลปะ
กระดาษท่ีสร"างข้ึนเพ่ือให"ภาพมีความน0าสนใจ โดยยึดหลักการของการเลียนแบบธรรมชาติที่ทุกส่ิงทุกอย0างมีความมีมิติในตัว ภาพ
ยกระดับมกั ถกู นํามาสร"างเปนV หนงั สือสาํ หรบั เดก็ เพื่อจุดประสงค*ในการสร"างความน0าสนใจในการอ0านให"กับเด็ก ๆ ซึ่งในต0างประเทศจะ
ผลติ หนังสอื ในลกั ษณะน้ีมากมาย

การนาํ หนังสอื เดก็ ประเภท Pop up ไปใช" หมายถงึ การทค่ี รผู สู" อนสามารถนาํ หนังสอื เดก็ ไปใช"ประกอบกิจกรรมการเรียนรู"ใน
กล0ุมสาระการเรียนรู"ภาษาไทยได" รวมถงึ สามารถนาํ ไปบรู ณาการใช"กบั กลม0ุ สาระการเรียนร"ูอื่น ๆ และสามารถนําไปใช"ในการส0งเสริมการ
อา0 น การเขียน การคดิ วิเคราะหไ* ด"

การขยายผลการจัดทําหนังสือเด็กประเภท Pop up หมายถึง การท่ีครูผู"สอนสามารถแนะนํา ขยายผลการทําหนังสือเด็ก
ประเภท Pop up แกเ0 พอ่ื นครใู นโรงเรียน ตา0 งโรงเรยี นและนาํ เอกสารจากการอบรมไปเผยแพร0ได"

ผลการนาํ หนังสือเดก็ ประเภท Pop up ไปใชใ" นการจัดการเรียนการสอน หมายถึง พฤติกรรมการเรียนรู"ที่ผ"ูเรียนมีต0อหนังสือ
เด็กประเภท Pop up ซ่ึงแสดงออกโดยการแสดงความสนใจ เข"าร0วมกิจกรรมอย0างกระตือรือร"นรักการอ0าน สามารถอ0านเขียนและ
วิเคราะห*ไดด" ขี ้นึ มจี ินตนาการและความคดิ สรา" งสรรค*
ประโยชน*ทค่ี าดวา0 จะไดร" บั

ผลของการวิจัยคร้ังน้ี จะเปVนประโยชน*ต0อผ"ูท่ีเกี่ยวข"องท้ังครูผู"สอน ผ"ูบริหารโรงเรียนและผู"บริหารโครงการ ท่ีจะนําผล
จากการวิจัยไปใช"เปVนข"อมูลพื้นฐานในการส0งเสริมการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาให"มีความร"ู ความสนใจในการจัด
กจิ กรรมการเรียนการสอนที่สอดคล"องกับความแตกต0างของผเ"ู รยี นไดอ" ยา0 งมีประสิทธภิ าพ
เครื่องมือทใ่ี ชใ" นการวิจยั

148 เอกสารสืบเนอื่ งจากการประชมุ วชิ าการและนาํ เสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ 2559 “การวิจยั รับใช"ชมุ ชนสรา" งสังคมฐานความรู"”

เครื่องมือทีใ่ ช"ในการเกบ็ รวบรวมขอ" มูลเพอื่ ใชใ" นการวิจัยคร้ังน้ีมี 1 ฉบับ คือ แบบสอบถามการนําหนังสือเด็กประเภท
Pop up ไปใชก" ารขยายผลหนงั สือเดก็ ประเภท Pop up และผลการใชห" นังสือเด็กประเภท Pop up ซึ่งแบง0 เปVน 2 ตอน ได"แก0

ตอนท่ี 1 แบบสอบถามการนําไปใช" การขยายผล และผลการใช"หนังสอื เดก็ ประเภท Pop up
ตอนท่ี 2 ขอ" เสนอแนะอ่ืน ๆ
การเกบ็ รวบรวมขอ" มูล
ในการวจิ ัยครงั้ น้ี ผู"วจิ ัยมกี ารวางแผนเกีย่ วกบั วธิ กี ารดาํ เนินการเก็บรวบรวมขอ" มลู ดงั นี้
1. ผว"ู ิจัยชี้แจงวัตถปุ ระสงค*ของการวจิ ยั และวิธกี ารตอบแบบสอบถามการนาํ ไปใชก" ารขยายผลและผลการใช"หนงั สือเด็ก
ประเภท Pop up ให"กล0มุ เป•าหมายทราบและเกบ็ รวบรวมข"อมูล
2. นําแบบสอบถามท่ไี ดจ" ากกลุม0 เป•าหมายมาลงรหัส และจดั ระบบข"อมลู แล"วทําการวิเคราะห* ขอ" มลู ตอ0 ไป

การวิเคราะห-ขอมลู

การวเิ คราะห*ข"อมลู ในการวจิ ัย หลังจากผวู" ิจัยเก็บรวบรวมแบบสอบถามคืนมาครบแล"วได"ตรวจสอบความสมบูรณ*ของ
แบบสอบถาม จากนน้ั จึงนําขอ" มูลทไี่ ด"จากแบบสอบถามมาจดั ระเบียบข"อมูล และทาํ การวิเคราะห*ขอ" มูล ดังน้ี

การวิเคราะหร* ะดบั ของการนาํ หนังสอื เด็กประเภท Pop up ไปใช"ในการจัดการเรียนการสอน ระดับการขยายผลการจัดทํา
หนังสอื เดก็ ประเภท Pop up และภาพเคลอ่ื นไหว และระดับผลการนาํ หนังสอื เด็กประเภท Pop up และภาพเคลอื่ นไหว ไปใช"
ในการจดั การเรยี นการสอนโดยหาค0าเฉล่ีย ( ̅) และคา0 เบย่ี งเบนมาตรฐาน (S.D.) แล"วแปลความหมายของค0าเฉล่ีย โดยผว"ู ิจัยได"
กําหนดเกณฑ*ตามแนวคิดของเบสท* โดยถือว0าค0าเฉล่ียของคะแนนที่ได"จากแบบสอบถามอยู0ในช0วงใด แสดงว0า ระดับการนําไปใช"
การขยายผลและผลจากการใช"หนังสือเด็กประเภท Pop up อย0ูในระดับนั้น ส0วนการวิเคราะห*ข"อเสนอแนะอื่น ๆ ผู"วิจัยได"ใช"
การวเิ คราะหเ* นื้อหา (Content analysis)

ผลการวิจัย

ผลการวิจยั เร่ือง เรอื่ ง ผลการติดตามการนําหนงั สือเดก็ ประเภท Pop up ไปใช" ในการจดั การเรียนการสอน ของครูในจังหวัดราชบรุ ี
ผลปรากฏดังนี้

ครผู "สู อนมีการนาํ การขยายผลและผลการใช"หนังสือเดก็ ประเภท Pop up ไปใช"ในการจัดการเรยี นการสอนโดยภาพรวมมีค0าเฉลี่ย
อยใ0ู นระดบั มาก เมอ่ื พจิ ารณาเปนV รายด"าน พบวา0 อยู0ในระดบั มากท่สี ดุ 2 ด"าน ระดับมาก 1 ด"าน โดยเรียงลําดับจากมากไปหาน"อย ดังนี้
ดา" นผล การนําไปใช" ด"านการนําไปใช" และด"าน การขยายผล โดยมีรายละเอยี ดในแต0ละดา" นดังน้ี

1. ระดับการนาํ หนงั สือเด็กประเภท Pop up ไปใช"ในการจัดการเรียนการสอน พบว0า ครูผส"ู อนมี การนําหนังสือเด็กประเภท
Pop up ไปใชใ" นการจัดการเรียนการสอนโดยภาพรวมอย0ใู นระดับมาก เมือ่ พจิ ารณาเปนV รายขอ" พบว0า อยใ0ู นระดบั มากทสี่ ดุ จาํ นวน 4 ข"อ
และระดับมาก จํานวน 2 ข"อ โดยข"อท่ีมีค0าเฉล่ียสูงสุด คือ ข"อ 4 การนําหนังสือเด็กไปใช"ในด"านการส0งเสริมการอ0าน ส0วนข"อท่ีมีค0าเฉล่ีย
ตาํ่ สุด คือ ขอ" 6 การนําหนังสือเด็กไปใชใ" นด"านสง0 เสริมการคดิ วิเคราะห*

2. ระดับการขยายผลการจดั ทําหนงั สอื เด็กประเภท Pop up พบว0า ครูผ"สู อนมกี ารขยายผลหนงั สอื เดก็ ประเภท Pop up ไปใช"
ในการจดั การเรยี นการสอน โดยภาพรวมอยู0ในระดับมาก เม่ือพิจารณาเปVนรายข"อ พบว0า อยู0ในระดับมากท่ีสุด 1 ข"อ มาก 7 ข"อ และปาน
กลาง 1 ข"อ โดยข"อที่มีค0าเฉลีย่ สูงสุด คือ ข"อ 2 การแนะนําการทําหนังสือเด็กให"เพ่ือนครูเปVนการส0วนตัวและข"อมีค0าเฉลี่ยตํ่าสุด คือ ข"อ 2
การแนะนาํ การทาํ หนงั สอื เด็กใหเ" พอ่ื นครูเปVนการส0วนตวั และขอ" มีค0าเฉลยี่ ตา่ํ สดุ คอื ข"อ 4 การจดั อบรมการทําหนังสือเด็กให"กบั เพอื่ นครตู 0าง
โรงเรยี น

3. ระดับผลการนําหนงั สอื เดก็ ประเภท Pop up ไปใชใ" นการจัดการเรยี นการสอน พบว0า ผลของการนาํ หนงั สือเดก็ ประเภท Pop
up ไปใช"ในการจดั การเรยี นการสอน ทําให"นักเรียนมีพัฒนาการในด"านต0าง ๆ โดยภาพรวมอย0ูในระดับมากเม่ือพิจารณาเปVนรายข"อ พบว0า
อย0ูในระดบั มากทสี่ ุด 4 ข"อ มาก 1 ขอ" โดยขอ" ท่ีมคี 0าเฉล่ยี สงู สุด คือ ข"อ 1 ผ"ูเรียนให"ความสนใจและร0วมกจิ กรรมอย0างกระตอื รอื รน" และขอ" มี
คา0 เฉลย่ี ตํา่ สุด คือ ข"อ 5 ผเ"ู รียนมผี ลคะแนนจากการทดสอบระหว0างเรยี นหรือหลงั เรียนดีข้นึ

เอกสารสืบเนอื่ งจากการประชมุ วิชาการและนาํ เสนอผลงานวจิ ยั ระดบั ชาติ 2559 “การวจิ ยั รบั ใช"ชมุ ชนสรา" งสงั คมฐานความร"ู” 149

อภิปรายผล

จากผลการวิจยั สามารถอภปิ รายผลไดด" งั น้ี
1. ผลการศึกษาระดับการนําหนังสือเด็กประเภท Pop up ไปใช"ในการจัดการเรียนการสอน พบว0า ครูผ"ูสอนมีการนํา
หนังสอื เด็กประเภท Pop–up ไปใช"ในการจัดการเรียนการสอนโดยภาพรวมอย0ูในระดับมาก เนื่องจากหนังสือเด็กประเภท Pop
up เปVนส่อื ท่นี า0 สนใจและเรา" ความรูส" ึกของผู"เรยี น ทาํ ให"ผเู" รยี นเกดิ ความสนใจในขณะเดียวกัน ครูผ"ูสอนท่ีได"รับเข"ารับการอบรม
เชงิ ปฏิบตั กิ ารการจดั ทําหนงั สอื เดก็ ประเภท Pop up ก็มีความสนใจและตอ" งการผลิตส่ือประเภทน้ีเพ่ือนําไปใช"ในการจัดกิจกรรม
การเรียนการสอนใหม" ีประสทิ ธิภาพ ซ่ึงสอดคลอ" งกบั ท่ีปรียาพร วงศอ* นตุ รโรจต* (2544) กล0าววา0 การฝuกโดยปฏิบัติจริงและลงมือ
ทาํ งานโดยมีผน"ู ิเทศก*ท่มี ีความชาํ นาญเปนV ผู"ฝกu สอนพเิ ศษ ถา" ผ"ฝู uกอบรม มีความสามารถจะทําให"ผู"เข"ารบั การฝuกอบรมเปนV งานได"เร็ว
เพราะคนุ" เคยกบั สถานทแ่ี ละเริ่มเรียนวิธีทถี่ ูกต"อง ซึ่งวิธีนเ้ี ปนV วิธที น่ี ิยมมากท่สี ุดของการฝuกอบรม จะเห็นได"วา0 ครูผ"สู อนได"รบั การ
อบรมจากวิทยากรทมี่ คี วามชาํ นาญ ทําให"ครผู ูส" อนสามารถผลิตและนําสื่อที่ผลิตได"ไปใชใ" หเ" กิดประโยชน*และเหน็ ผลได"
2. ผลการศึกษาระดับการขยายผลการจัดทําหนังสือเด็กประเภท Pop up พบว0า ครูผ"ูสอนมีการขยายผลหนังสือเด็ก
ประเภท Pop up ไปใชใ" นการจัดการเรียนการสอน โดยภาพรวมอยใู0 นระดับมาก ซึ่งสอดคลอ" งกับท่ี ธีริศรา จําปาวนั (2547) ท่ีได"
ศึกษาเรื่อง การติดตามผลการอบรมครูวิทยาศาสตร* ซึ่งจัดโดยคณะศิลปะศาสตร*และ วทยาศาสตร*หาวิทยาลัยเกษตรศาสตร*
วิทยาเขตกาํ แพงแสน พบวา0 1) ดา" นผลผลติ ครจู ดั ทาํ แผน การจัดการเรียนรไ"ู ดอ" ย0างมคี ณุ ภาพในระดบั ดี ส่ืออุปกรณ*การสอนท่คี รู
ผลิตขึ้นตามแนวคิดจากการฝuกอบรมคุณภาพดี และครูสามารถทําวิจัยในชั้นเรียนท่ีมีคุณภาพดี จํานวน 10 เร่ือง และกําลัง
ดําเนินการวิจัยอย0ูอีก 3 เรื่อง 2) ด"านกระบวนการดําเนินงานของโครงการมีความเหมาะสมทั้งการจัดการบริหารโครงการและ
กระบวนการถ0ายทอดความรทู" ัง้ 3 หลกั สตู ร 3) ผู"เข"ารับการอบรมทั้ง 3 หลักสูตร ได"นําความร"ูไปใช"ในการปฏิบัติงานสอนอย0าง
ตอ0 เนอ่ื งและมีส0วนส0งเสรมิ กิจกรรมวิทยาศาสตร*แกน0 ักเรียนมากขนึ้ การที่ครมู ีความร"ู ทักษะและเจตคติที่ดีต0อ การทําหนังสือเด็ก
ประเภท Pop up ทําใหส" ามารถจัดทาํ หนังสือเดก็ เพอ่ื ใชป" ระกอบกิจกรรมการเรยี นการสอนไดท" ําให"บุคคลอื่นเห็นว0า หนังสือเด็ก
มปี ระโยชน* สามารถพัฒนาผู"เรยี นไดจ" งึ ไดม" ีการขยายผลการทาํ หนังสือเด็กและภาพเคลอ่ื นไหวออกไปมากขึน้
3. ผลการศกึ ษาระดบั ผลการนาํ หนงั สือเดก็ ประเภท Pop up ไปใชใ" นการจัดการเรียนการสอน พบว0า ผลของการนําหนังสือ
เด็กประเภท Pop up ไปใช"ในการจัดการเรียน ทําให"นักเรียนมีพัฒนาการในด"านต0าง ๆ โดยภาพรวมอย0ูในระดับมาก ซึ่ง
สอดคล"องกับท่ี สิตวรรณ โดดดารา (2545) ได"ศึกษาผลการใช"ภาพยกระดับประกอบการเล0านิทานเพื่อส0งเสริมจริยธรรมด"าน
ความเสียสละของนักเรียนชั้นประถมศึกษาป4ที่ 2 มีวัตถุประสงค*ของการวจิ ัยเพื่อสร"างภาพยกระดับประกอบการเล0านิทาน และ
ศึกษาผลการใช"ภาพยกระดับประกอบการเล0านิทานเพ่ือส0งเสริมจริยธรรมด"านความเสียสละของนักเรียนชั้นประถมศึกษาป4ที่ 2
นักเรยี นชอบ การเล0านทิ านโดยใช"ภาพยกระดบั อยใู0 นระดบั มาก นักเรยี นทไี่ ด"รบั การสอนโดยการเลา0 นิทานแบบใช"ภาพยกระดับมี
จรยิ ธรรมด"านความเสียสละภายหลงั การทดลองสงู กวา0 นกั เรยี นทีไ่ ดร" บั การสอน โดยการเล0านทิ านแบบปกติจะเห็นได"ว0านักเรียนท่ี
ได"รับการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน โดยใช"ส่ือประเภทยกระดับหรือภาพ 3 มิติ ทําให"นักเรียนมีความร"ูมีคุณลักษณะท่ีพึง
ประสงค*ตามหลักสูตรสงู ขน้ึ เนอ่ื งจากภาพยกระดบั หรอื ภาพมติ เิ ปนV สอื่ ทีส่ รา" งความเรา" ใจ สนใจให"กบั ผูเ" รยี น

ขอเสนอแนะ

ขอเสนอแนะในการนําผลการวิจัยไปใช
จากผลการติดตามการนํา การขยายผล และผลการใช"หนังสือเด็กประเภท Pop up ไปใช" ในการจัดการเรียนการสอน

พบว0า ครผู ส"ู อนมีการนาํ การขยาย และผลการใชห" นงั สือเด็กประเภท Pop up ไปใชใ" นการจดั การเรียนการสอนโดยภาพรวมอยู0ใน
ระดับมาก ดงั น้นั การพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาควรใหค" วามสาํ คญั ตอ0 การฝกu อบรมเชิงปฏบิ ตั กิ ารที่จะช0วยให"ครูได"พัฒนา
ตนเองท้ังทางด"านความร"ู ทักษะความสามารถท่ีจะนาํ ไปใช" ขยายผลต0อไปได"

150 เอกสารสบื เนอื่ งจากการประชมุ วิชาการและนาํ เสนอผลงานวิจัยระดับชาติ 2559 “การวจิ ัยรบั ใช"ชมุ ชนสร"างสังคมฐานความรู"”

ขอเสนอแนะในการวจิ ัยครั้งตอไป
1. ควรศึกษาวิจัยเกยี่ วกับการพฒั นาสมรรถภาพครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษาให"สามารถจัดการเรียนการสอนได"อย0าง

มปี ระสิทธภิ าพ
2. ควรมกี ารศึกษาวจิ ัยเกี่ยวกับรปู แบบการพฒั นาครูที่เหมาะสมทจี่ ะทําให"ครมู ีความร"ู ทักษะและ เจตคติตอ0 การผลติ ส่อื

เพื่อใช"ในการจัดการเรียนการสอน

เอกสารอางองิ

กรรณกิ า นิ่มราศี. (2543). โครงการออกแบบหนังสอื ภาพประกอบสามมิติเพอ่ื เพิ่มเตมิ ความรู สํ า ห รั บ เ ด็ ก
เรื่อง “ทองแดนอยี ิปต-”. วิทยานพิ นธ*ครุศาสตรมหาบณั ฑติ สาขาศิลปศกึ ษาคณะครศุ าสตร* จฬุ าลงกรณ*
มหาวิทยาลัย.

คณติ า นิจจรสั กุล. (2534). การผลิตหนงั สือประกอบการอานและเลาเรื่องสําหรับเด็กชนิด 3 มิติกับการเรียน
การสอน. ปตn ตานี : สํานักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร.

ครี บี นู จงวุฒิเวศย*. (2540). การศกึ ษา การฝ}กอบรม และการพัฒนาทรัพยากรมนุษย-. วารสารศึกษาศาสตร*
มหาวิทยาลยั นเรศวร, 10(2), 69 - 79.

ฉลอง มาปรดี า. (2538). เทคนคิ การฝ}กอบรมและการประชุม. กรงุ เทพฯ : โอเดยี นสโตร*.
ชัย ภู0ศิรลกั ษณชยั . (2540). ปฏบิ ัตงิ านสคู วามสําเร็จดวยการติดตามและประเมนิ ผลการเถอะ วารสาร เพ่ิม

ผลผลติ . 36(7), 55 – 58.
โชคชัย อักษรนันท*. (2539). สารจากประธานสภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย ท่ีระลึกวันการศึกษานอก

โรงเรียน. กรงุ เทพฯ : ม.ป.ท.
ดนัย เทียนพุฒ. (2536). “การติดตามผลการพัฒนา” ใน เอกสารการสัมมนาเชิงปฏิบัติการเร่ืองเทคนิคและ

เครื่องมอื ในการทําแผนฝ}กอบรมบคุ ลากร. กรุงเทพฯ : ชีวิตธรุ กิจ.
ตุรงค*ฤทธิ์ สุดสงวน. (2528). หนังสือการ-ตูนประเภท พ˜อพ– อัพ สําหรับเด็ก 6 – 10 ป. กรุงเทพฯ : คณะ

มณั ฑนศลิ ปŽ มหาวิทยาลัยศลิ ปากร.
ถวลั ย* มาศจรสั . (2536). การเขียนหนังสอื สงเสริมการอานและหนงั สืออานเพม่ิ เติม. กรุงเทพฯ : เลิฟแอนด*ลิฟ

เพลส.
เทวี กนกโชติ. (2539). โครงการพัฒนากรมทด่ี นิ และเรงรดั การออกโฉนดทด่ี นิ ทัว่ ประเทศ : การนาํ เทคโนโลยีมา

ใชในการตดิ ตามและประเมินผล. กรงุ เทพฯ : กรมทดี่ ิน, กองแผนงาน.
ธเนศ ต0วนชะเอม. (2534). รายงานการวิจัยเรื่อง การตดิ ตามผลสาํ เร็จการฝก} อบรมหลักสูตร นั ก วิ จั ย ท า ง

สงั คมศาสตร- รนุ ท่ี 1 – 35. กรุงเทพฯ : ม.ป.ท.
ธญั ญา ผลอนนั ต*. (2540). การพฒั นาทรพั ยากรมนุษย-. กรุงเทพฯ : ดวงกมลสมัย.
ธรี ิศรา จาํ ปาวัน. (2547). การตดิ ตามผลการอบรมครูวิทยาศาสตร-โดยคณะศิลปะศาสตรแ- ละ วิทยาศาสตร-

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร- วิทยาเขตกําแพงแสน. วิทยานิพนธ*ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต,
มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร*.
นนทพล นิ่มสมบญุ . (2536). รายงานการวจิ ยั เรอื่ ง ระบบการตดิ ตาม และประเมนิ ผลโครงการในภาครฐั บาล.
กรงุ เทพฯ : วทิ ยาลยั ปอ• งกันราชอาณาจักร.
บุญเลิศ ไพรินทร*. (2538). เทคนิคเพ่ือการเปล่ียนแปลงความรู ทักษะ และทัศนคติ. กรุงเทพฯ :
สวสั ดิการสาํ นักงานคณะกรรมการพฒั นาขา" ราชการพลเรอื น.

เอกสารสบื เนอ่ื งจากการประชมุ วิชาการและนาํ เสนอผลงานวิจัยระดบั ชาติ 2559 “การวิจัยรบั ใช"ชมุ ชนสรา" งสังคมฐานความร"ู” 151

ปนัดดา แก"วสนั่น. (2535). การสรางการ-ตูนภาพยกระดับชนิดตั้งโต˜ะสําหรับการฝ}กทักษะการพูด
ภาษาองั กฤษ สาํ หรบั นกั เรียนช้นั มธั ยมศกึ ษาปที่ 1 โรงเรยี นสตรีวิทยา 2. วทิ ยานิพนธ* ศึกษาศาสตร
มหาบัณฑติ , มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร.*

ปรยี าพร วงศ*อนตุ รโรจน*. (2544). จิตวทิ ยาการบริหารงานบคุ คล. กรุงเทพฯ : พมิ พด* ี.
ปาน สวัสดิสาลี. (2535). การประเมินผลและตดิ ตามผลการฝ}กอบรม. กรงุ เทพฯ : สวัสดกิ าร สํ า นั ก ง า น

คณะกรรมการการพัฒนาขา" ราชการพลเรือน
พินัย คงคาเขตร. (2543). การติดตามผลผูผานการศึกษาอบรมหลักสูตรนักบริหารงานท่ีดินระดับสูงของ

กรมท่ีดนิ . วทิ ยานพิ นธศ* กึ ษาศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวทิ ยาลยั รามคําแพง.
พลศักดิ์ จิรไกรศิริ. (2553). ระเบียบวิธีวิจัยทางสังคมศาสตร- เทคนิคแผนท่ีนําทางการวิจัย. กรุงเทพฯ :

คณะรฐั ศาสตร* มหาวิทยาลยั รามคําแหง.
พิสณุ ฟองศรี. (2550). เทคนคิ วธิ ปี ระเมินโครงการ. กรงุ เทพฯ : พรอพเพอร*ตพ้ี รนิ้ ท*.
ภณิดา จนั ทรส* 0อง. (2541). การสรางหนงั สือการต- นู ภาพยกระดับท่ีมีเสยี งดนตรีประกอบเพ่ือ สรางเสริมการ

อานภาษาองั กฤษ สําหรบั นักเรยี นชัน้ ประถมศกึ ษาปที่ 6. ปริญญานิพนธ* ศกึ ษาศาสตรมหาบัณฑิต,
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร*.
ภิญญาพร นิตยะประภา. (2534). การผลติ หนงั สอื สําหรบั เดก็ . กรุงเทพฯ : โอเดยี นสโตร*.
วิริยะ สริ ิสงิ ห*. (2537). การสรางสรรคว- รรณกรรมสําหรับเดก็ และเยาวชน. กรงุ เทพฯ : สุรวี ิริยาสาส*น.
วิริยะ สริ สิ งิ ห* และคณะ. (2542). เทคนคิ การออกแบบการสรางบัตรและหนังสอื สามมติ ิ. กรงุ เทพฯ : ม.ป.ท.
วิเศษ ชณิ วงศ*. (2544). “การจดั การเรียนการสอนแบบบูรณาการ” ใน วารสารวชิ าการ. 4(10). 28.
วีรินทรอ* ัยยมิ าพันธ*. (2536). โครงการออกแบบหนงั สอื เด็กประถมประเภทสามมติ ิ เรอื่ ง ทอง เมอื งเที่ยวนคร
และพลกิ ปกเป™ดโลก. ภาควชิ านเิ ทศศิลปŽ คณะสถาปnตยกรรมศาสตร* สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล"า
เจา" คณุ ทหารลาดกระบัง.
สมคิด บางโม. (2538). เทคนิคการฝก} อบรมและการประชุม. กรุงเทพฯ : นาํ อักษรการพิมพ*.
สมชาติ กิจยรรยง และอรจรีย* ณ ตะก่ัวทุ0ง. (2539). เทคนิคการจัดฝ}กอบรมอยางมีประสิทธิภาพ.
กรงุ เทพฯ : ซเี อ็ดยเู คชน่ั .
สิตวรรณ โดดดารา. (2545). ผลการใชภาพยกระดับประกอบการเลานิทานเพื่อสงเสริมจริยธรรมดานความ
เสียสละของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปท่ี 2. วิทยานิพนธ*ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัย
รามคาํ แหง.
สันติ ป¤–นมณี. (2541). การติดตามผลผูผานการฝ}กอบรมหลักสูตร “เทคนิคการใหสินเช่ือ (ปaญหาและ
ขอบกพรองจากการวิเคราะห-สินเชื่อ)” ของธนาคารอาคารสงเคราะห-. วิทยานิพนธ*ศึกษาศาสตร
มหาบณั ฑติ , มหาวทิ ยาลัยรามคาํ แหง.
สภุ าพร พิศาลบุตร. (2547). การวางแผนและการบรหิ ารโครงการ. (พมิ พ*ครัง้ ท่ี 4). กรงุ เทพฯ : มหาวิทยาลัย
ราชภฏั สวนดุสิต.
เสกสรร ธรรมวงศ*. (2541). ความพงึ พอใจของนักเรียนผใู หญที่มีตอการใหบริการดานการเรยี นการสอน สาย
สามัญระดับประถมศึกษา : ศึกษากรณีโรงเรียนผูใหญสตรีบางเขน ทัณฑสถานหญิงกลาง. วิทยานิพนธ*
พัฒนบริหารศาสตรมหาบัณฑติ , สถาบนั บณั ฑติ พัฒนบรหิ ารศาสตร*.
เสถียร เวียงดอนก0อ. (2546). การติดตามโครงการฝ}กอบรมครูผูสอนวิชาพุทธศาสนาในสถานศึกษาจังหวัด
รอยเอด็ . ปรญิ ญานิพนธก* ารศกึ ษามหาบณั ฑิต : มหาวทิ ยาลัยมหาสารคาม.
อนุรกั ษ* จัน่ สัญจยั . (2530). โครงการออกแบบสมดุ ภาพ 3 มติ ิ เร่ืองรามเกยี รติ์ สาํ หรบั เยาวชนไทย. ภ า ค วิ ช า
นิเทศศลิ ปŽ คณะสถาปnตยกรรมศาสตร* สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล"า เจ"าคณุ ทหารลาดกระบัง.

152 เอกสารสบื เนอ่ื งจากการประชุมวชิ าการและนาํ เสนอผลงานวจิ ัยระดับชาติ 2559 “การวจิ ัยรบั ใชช" มุ ชนสรา" งสังคมฐานความร"ู”

อินทิรา วงศ*เบี้ยสัจจ*. (2540). การติดตามผลการฝ}กอบรมครูการศึกษาพิเศษของสํานักงานคณะกรรมการ
ประถมศึกษาแหงชาติ. ปรญิ ญานิพนธ*การศกึ ษามหาบณั ฑติ , มหาวทิ ยาลยั ศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร.

Bohning, G., and M. Radcncich. (1984). Action books : Pages for Learning and Laughter. Young
Children. 44 : 62 – 66.

McGcc, L.M., and R. Charlesworth, (1984). Book with moveables : More than just Novelties.
Reading Teacher. 37 (May) : 854.

Yokooyama, Tadashi. (1989). The best of 3D books.Yokohama :Rikuyo.

เอกสารสืบเนอื่ งจากการประชุมวิชาการและนําเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ 2559 “การวจิ ยั รับใช"ชุมชนสร"างสงั คมฐานความร"ู” 153

การบริหารมหาวทิ ยาลัยราชภัฏเพอื่ เสริมเสรางความเปน` พลเมืองของนักศึกษา
Rajabhat University Management to Enhance the Citizenship of University Students

ภัสยกร เลาสวัสดิกุล1
Phatsayakorn Laosawatdikul1

บทคดั ยอ

วัตถุประสงค*ของการวิจัยคร้ังนี้เพ่ือศึกษาสภาพปnจจุบันและสภาพที่พึงประสงค*ของการบริหารมหาวิทยาลัยราชภัฏ
เพอ่ื เสริมสร"างความเปVนพลเมอื งของนกั ศึกษา ประชากรและกล0มุ ตัวอยา0 งไดแ" ก0 มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั จาํ นวน 38 แห0ง เครอื่ งมือทใ่ี ช"
ในการวิจยั ไดแ" ก0 แบบสอบถามสภาพปnจจุบันและสภาพท่ีพึงประสงค*ของการบริหารมหาวิทยาลัยราชภัฏเพื่อเสรมิ สร"างความเปVน
พลเมืองของนกั ศึกษา สถิตทิ ใ่ี ช"ในการวเิ คราะห*ข"อมลู คอื ค0าความถี่ ร"อยละ ค0าเฉลี่ยและค0าสว0 นเบี่ยงเบนมาตรฐาน

ผลการวิจัยพบว0า (1) สภาพปnจจุบันของการบริหารมหาวิทยาลัยราชภัฏเพ่ือเสริมสร"างความเปVนพลเมืองของนักศึกษา
จากการวิเคราะห*สภาพแวดล"อมภายในในภาพรวมอย0ูในระดับปานกลาง (x= 2.95,s.d.= .68)เม่ือพิจารณารายด"านพบว0าด"านมี
ความรอบรูใ" นประชาธิปไตย มีค0าเฉล่ียสภาพปnจจุบันสูงที่สุด(x= 3.00,s.d.= .72)ส0วนสภาพปnจจุบันของการบริหารมหาวิทยาลัย
ราชภัฏเพื่อเสริมสร"างความเปVนพลเมืองของนักศึกษา จากการวิเคราะห*สภาพแวดล"อมภายนอกพบว0าในภาพรวมอยู0ในระดับ
ปานกลาง (x= 3.01,s.d.= .64) เมื่อพิจารณารายด"าน พบว0า ดา" นเทคโนโลยี มคี 0าเฉลี่ยสภาพปnจจุบันสูงท่ีสุด(x= 3.28,s.d.= .69)
และ (2) สภาพทีพ่ ึงประสงค*ของการบริหารมหาวิทยาลัยราชภัฏเพื่อเสริมสร"างความเปVนพลเมืองของนักศึกษา จากการวิเคราะห*
สภาพแวดล"อมภายใน พบว0า ในภาพรวมอยู0ในระดับมาก(x= 4.40,s.d.= .65)เมื่อพิจารณารายด"าน พบว0า การบริหาร
มหาวทิ ยาลัยราชภฏั เพือ่ เสริมสร"างความเปนV พลเมอื งของนักศึกษาด"านมีความรอบรู"ในประชาธิปไตยมีค0าเฉล่ียสภาพท่ีพึงประสงค*
สูงท่ีสุด(x= 4.43,s.d.= .64)ส0วนสภาพที่พึงประสงคข* องการบริหารมหาวิทยาลัยราชภัฏเพ่ือเสริมสร"างความเปVนพลเมืองของ
นักศึกษาจากการวิเคราะห*สภาพแวดล"อมภายนอก พบว0า โดยภาพรวมอย0ูในระดับมากท่ีสุด (x= 4.50,s.d.= .56) เม่ือพิจารณา
รายดา" น พบว0า ด"านเทคโนโลยี มีคา0 เฉลีย่ สภาพที่พงึ ประสงค*สูงท่ีสดุ (x= 4.56,s.d.= .57)

คําสาํ คญั : ความเปนV พลเมือง การบรหิ ารมหาวทิ ยาลัยราชภัฏ

Abstract

The objective of this research was to study the current and desirable states of Rajabhat university
management to enhance the citizenship of university students. The data were analyzed by frequency,
percentage, meanand standard deviation.The research results showed that 1) In general, the current state of
Rajabhat University management to enhance the citizenship of university students from internal environment
was performed at the middle level(x= 2.95,s.d.= .68). While considering each aspect, democratic knowledge
had the highest average (x= 3.00,s.d.= .72).In general, the current state of Rajabhat University management to
enhance the citizenship of university students from external environment was performed at the middle level
(x=3.01,s.d.= .64). While considering each aspect, technology had the highest average (x= 3.28,s.d.=.69).2) In

1 หัวหน"าสาขาจิตวทิ ยาและการแนะแนวคณะครุศาสตร* มหาวทิ ยาลัยราชภัฏเทพสตรี

154 เอกสารสืบเนอื่ งจากการประชมุ วิชาการและนาํ เสนอผลงานวิจัยระดบั ชาติ 2559 “การวิจยั รบั ใชช" ุมชนสร"างสงั คมฐานความร"ู”

general, the desirable state of Rajabhat University management to enhance the citizenship of university
students from internal environment was performed at the high level (x= 4.40,s.d.=.65) . While considering
each aspect, democratic knowledge had the highest average (x= 4.43,s.d.=.64).In general, the desirable state
of Rajabhat University management to enhance the citizenship of university students from external
environment was generally performed at the middle level (x=4.50,s.d.=.56) . While considering each aspect,
technology had the highest average (x= 4.56,s.d.=.57).

Keywords :Citizenship,Rajabhat University Management

ความเป`นมาและความสําคัญของปญa หา

สถาบันอุดมศึกษามีบทบาทโดยตรงต0อการพัฒนาทรัพยากรมนุษย*ม0ุงพัฒนาความเจริญงอกงามทางสติปnญญาและ
ความคดิ มง0ุ สร"างคนในระดบั วชิ าชีพชน้ั สงู อนั จะนาํ ไปสคู0 วามก"าวหนา" ทางวชิ าการดังนัน้ การศึกษาในระดบั อดุ มศกึ ษาจงึ มสี 0วนสาํ คญั
ในการพัฒนาประเทศเปVนอย0างมาก(อมรวิชช* นาครธรรพ, 2540)สถาบันอุดมศึกษาจึงเปVนแหล0งสร"างองค*ความร"ูและทรัพยากร
มนุษย*ท่ีสําคัญของสังคมเปVนการพัฒนาคนในทุกด"านให"เต็มศักยภาพผ"ูท่ีได"รับการศึกษาจึงได"รับการพัฒนาให"เปVนคนดีคนเก0งมี
ความสขุ ดังนั้นการเตรียมนักศึกษาเพือ่ ให"สามารถมีส0วนรว0 มในสงั คมประชาธปิ ไตยได"อย0างมวี ุฒภิ าวะมกั จะ ถูกกล0าวถึงในฐานะเปVน
จุดม0ุงหมายหลักของการจัดการศึกษาในระดับอุดมศึกษาเสมอมาโดยเฉพาะคนอเมริกันส0วนใหญ0เชื่อว0างานหลักของการจัด
การศึกษาในระดับอดุ มศึกษาได"แก0การพัฒนาพลเมอื งให"เปVนผ"ูมีส0วนร0วมที่สําคัญในสังคมประชาธิปไตย (Harvey & Immerwahr,
1995)ซ่ึงสอดคล"องกับ วรากรณ* สามโกเศศ (2554) ท่ีกล0าวว0า มหาวิทยาลัยจะต"องสอนนักศึกษา พัฒนาบัณฑิตให"มีความเปVน
พลเมืองโลกโดยมีคุณลักษณะของความเปVนพลเมืองของประเทศ ควบคู0ไปกับความร"ูสึกห0วงใย ผูกพันต0อเพื่อนมนุษย*และโลก
มคี วามรับผดิ ชอบ รวมทงั้ มสี ว0 นรว0 มในการสรา" งสรรค*โลก

แต0ในปจn จบุ ันสถาบันอุดมศึกษายังไม0สามารถตอบสนองความต"องการของสังคมและการพัฒนาขีดความสามารถในการ
แข0งขันของประเทศได"โดยเฉพาะผลผลิตหน่ึงของสถาบันอุดมศึกษาคือบัณฑิตที่มีคุณภาพมีความเปVนพลเมืองที่เปVนกําลังสําคัญใน
การพฒั นาประเทศบัณฑิตไทยท่วั ไปยงั มคี วามรู"ความสามารถในการคดิ และทักษะไม0เพยี งพอตอ0 การพฒั นาตนเองและหน0วยงานทํา
ใหม" ีขดี ความสามารถในการแข0งขนั ที่ต่าํ เม่ือเปรยี บเทยี บกบั ตา0 งประเทศ โดยเฉพาะในเรื่องของความเปVนพลเมอื งซ่ึงเปVนจุดเริ่มตน"
ของการพัฒนา ซ่ึงถ"าหากสถาบันอุดมศึกษามีศักยภาพในการบริหารและจัดการศึกษาที่ช0วยให"เกิดการเรียนร"ูท่ีสามารถพัฒนา
บณั ฑติ ท่ีมคี ณุ ภาพและตามคุณลักษณะทพ่ี งึ ประสงคเ* พ่อื สรา" งบณั ฑิตทม่ี ีสมรรถนะสงู (Competency) มที ักษะในการคิดวิเคราะห*
(Critical Thinking)มีจริยธรรม (Ethics) มีความเห็นอกเห็นใจ (Compassion) เปVนพลเมืองท่ีมีความรับผิดชอบต0อสังคม (Civic
Engagement) นาํ ไปส0กู ารสรา" งสังคมพลเมอื ง (Civil society)

การศึกษาเพ่ือสรา" งความเปVนพลเมอื ง (Civic Education) จะเปVนการจัดการศกึ ษาที่สาํ คญั ในการสรา" งผ"เู ปVนกําลังสําคัญ
ของเมือง ในอนั ท่ี จะสบื ทอดวัฒนธรรม ความเปนV พลเมอื งทดี่ ขี องชาติ ก0อเกิดการสืบสานอุดมการณแ* ละความเปVนพลเมืองท่ีมีพลัง
ความคดิ พลงั ความรกั และพลงั ความสามคั คี อย0รู 0วมกันบนพ้ืนฐานของการเคารพกตกิ าของสงั คม เคารพผู"อ่นื และเคารพหลักการ
ของการปกครองตามระบอบประชาธปิ ไตยอันมีพระมหากษตั รยิ *ทรงเปนV ประมุข(นวรตั น* รามสูตร และบลั ลังก* โรหิตเสถียร, 2554)
การศกึ ษาเพือ่ สร"างพลเมอื งน้ันคอื การสร"างสังคมพลเมือง(Civil society) การศึกษา ถือ เปVนกระบวนการเรียนร"ูที่ม0ุงหวังให"มนุษย*
เกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมไปในทิศทางที่มีคุณค0าท่ีพึงประสงค*ของความเปVนมนุษย*และของสังคมและด"วยการศึกษายังเปVน
เครือ่ งมือในการกล0อมเกลาทางการเมืองอีกด"วย ระบบการเมือง การปกครองต"องการการคํ้าจุนจากสมาชกิ ในสังคมหรือพลเมือง
ซงึ่ พวกเขาจําเปVนตอ" งได"รับ การบ0มเพาะความคิด วธิ ปี ฏิบตั ิใหส" อดคล"องกับระบบการปกครองนัน้ ดว" ย การศึกษาทีม่ คี วามหมาย จึง
ควรเปVนการศึกษาท่ีทําให"มนุษย*แต0ละคนสามารถที่จะเข"าใจเชื่อมโยงตัวตนเข"ากับสิ่งแวดล"อมไม0วา0 จะเปVนการเมือง ระบอบการ

เอกสารสืบเนอื่ งจากการประชุมวชิ าการและนําเสนอผลงานวจิ ัยระดับชาติ 2559 “การวจิ ัยรับใช"ชมุ ชนสรา" งสงั คมฐานความร"ู” 155

ปกครอง สงั คมท่เี ปล่ยี นแปลงตลอดเวลาและความเปVนไปของโลก (ทิพย*พาพร ตันติสุนทร, 2554) ซ่ึงสอดคล"องกับปริญญา เทวา
นฤมิตรกุล (2551)ท่กี ลา0 ววา0 การให"การศกึ ษาทางการเมืองหรอื การพัฒนาพลเมือง (Civic Education) ไม0ใช0เปVนแค0เรื่องการเมือง
เท0านนั้ เพราะในระบอบประชาธปิ ไตยเมอ่ื คนมีสทิ ธิเสรภี าพ ทกุ คนต"องเคารพสทิ ธิเสรภี าพของผอ"ู น่ื ดงั น้ันในระบอบประชาธิปไตย
ทุกคนตอ" งเคารพสทิ ธเิ สรภี าพของกันและกนั เรือ่ งของความเปVนพลเมืองจึงมีมติ ิกวา" งกวา0 เรอื่ งของการเมือง แต0คือพื้นฐานของชีวิต
และการดาํ รงชวี ติ ในระบอบประชาธปิ ไตย

มหาวิทยาลัยราชภัฏเปVนสถาบันอุดมศึกษาที่มีภารกิจตามพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยราชภัฏพ.ศ. 2547 กล0าวคือมี
ภารกจิ หลกั ในการผลิตบณั ฑติ วจิ ยั บรกิ ารวิชาการและทํานบุ าํ รุงศลิ ปะและวัฒนธรรมการทจี่ ะใหก" ารดําเนินการตามภารกิจดังกล0าว
เปVนไปอย0างมีทิศทางเกิดประสิทธิผลและมีประสิทธิภาพนั้นหากมหาวิทยาลัยมีแผนยุทธศาสตร*ที่เหมาะสมมีพ้ืนฐานจากการ
วิเคราะห*สถานการณ*ที่ถูกต"องร"ูจุดอ0อนจุดแข็งขององค*กรสามารถประเมินโอกาสและภัยคุกคามท่ีองค*กรเผชิญหน"าได"อย0าง
เหมาะสมและถูกต"องก็จะเปVนเครื่องมือที่สําคัญอันจะช0วยให"การดําเนินภารกิจของมหาวิทยาลัยบรรลุเป•าหมายได"เปVนอย0างดี ซึ่ง
การทจ่ี ะผลติ บัณฑติ ใหเ" ปนV พลเมอื งดีมีคณุ ธรรมจริยธรรมเปนV ท่ยี อมรบั ของสงั คมได"นัน้ จาํ เปนV อยา0 งยิง่ ที่จะต"องมีแนวทางเชิงรุกที่มี
ความชดั เจนในการผลิตบณั ฑิตให"มคี ุณลกั ษณะดงั กลา0 วอย0างเปนV รูปธรรม

จากความสาํ คัญดังกล0าวจะเห็นไดว" า0 สถาบันอดุ มศึกษาเปVนแหล0งสร"างองคค* วามรู"และทรัพยากรมนุษย*ท่ีสําคัญของสังคม
เปVนสถาบันหลักในการทจ่ี ะสง0 เสรมิ เพ่ือให"เกดิ คุณลักษณะของความเปVนพลเมืองทม่ี ีคุณภาพด"วยรูปแบบของการจัดการศึกษาเพื่อ
สร"างความเปVนพลเมืองแต0จากการศึกษาเอกสารและงานวิจัยท่ีเก่ียวข"อง พบว0ามหาวิทยาลัยราชภัฏซึ่งเปVนสถาบันอุดมศึกษาใน
สังกัดของรัฐท่ียังมีการผลิตบัณฑิตให"มีคุณลักษณะของความเปVนพลเมืองและการสร"างความเปVนพลเมืองของนักศึกษาไม0มาก
เท0าทค่ี วร ด"วยเหตุผลดังกล0าว ผูว" จิ ยั จงึ สนใจศกึ ษาในเร่ืองการบริหารมหาวทิ ยาลัยราชภัฏเพือ่ สรา" งความเปVนพลเมืองของนักศกึ ษา
มหาวิทยาลัยราชภัฏ ทั้งน้ีเพื่อให"ทราบถึงสภาพปnจจุบันและสภาพท่ีพึงประสงค*ของการบริหารมหาวิทยาลัยราชภัฏในการพัฒนา
นกั ศกึ ษาให"มคี วามเปนV พลเมอื งตลอดและสามารถนําองค*ความร"ูทางด"านบริหารการศึกษาซึ่งจะช0วยส0งเสริมให"มีพลังขับเคลื่อนใน
การท่ีจะพัฒนาบณั ฑิตทมี่ คี ณุ ลักษณะทพ่ี งึ ประสงคอ* อกไปเปนV พลเมืองทีด่ ีของประเทศและของโลกตอ0 ไป

วตั ถุประสงค-
1. เพ่ือศกึ ษาสภาพปจn จบุ ันของการบรหิ ารมหาวทิ ยาลัยราชภัฏเพ่อื เสริมสรา" งความเปVนพลเมืองของนักศกึ ษา
2. เพื่อศกึ ษาสภาพที่พึงประสงคข* องการบรหิ ารมหาวิทยาลัยราชภัฏเพื่อเสรมิ สร"างความเปนV พลเมืองของนักศกึ ษา

156 เอกสารสืบเนอื่ งจากการประชมุ วชิ าการและนําเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ 2559 “การวจิ ัยรับใช"ชุมชนสร"างสังคมฐานความรู"”

กรอบแนวความคิด

การบริหารมหาวทิ ยาลัยราชภัฏ ความเปน` พลเมอื ง (Citizenship)
ใชก" ารสงั เคราะหแ* นวคดิ กระบวนการบริหารจาก Fayol ใช"การสังเคราะห*แนวคดิ ความเปนV พลเมอื งจาก
(1916),Gulick (1936), Sears (1950), Campbell and
others (1968) , Deming (1993) ประกอบดว" ย Cogan (1997), Smith (2005),Doganay (2012),Thai
1. การวางแผน (Planning) Civic education (2012), ปรญิ ญา (2552),ทพิ พาพร
2. การนําแผนไปปฏบิ ตั ิ (Implementation) (2554), สาํ นักงานเลขาธกิ ารสภาการศึกษา (2556) สรปุ
3. การประเมนิ ผล (Evaluation) เปVน 3 คณุ ลักษณะดงั น้ี
1. ความรอบรใู" นประชาธิปไตย
การสรางความเป`นพลเมอื ง 2. ทกั ษะทางประชาธปิ ไตย
ใช"แนวคดิ การจดั การศกึ ษาเพ่อื สรา" งความเปนV 3. การมีสว0 นร0วมในประชาธิปไตย

พลเมืองของ Smith (2005), ปรญิ ญา (2552)
Citizenship Foundation (2006 )และสํานกั งาน
เลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา (2554) สรปุ เปนV 5 วธิ ีการ
ดงั น้ี
1. จดั วชิ าพลเมืองศกึ ษาในหมวดวชิ าศกึ ษาทัว่ ไป
2. จัดการเรียนรูด" ว" ยการบริการสงั คม
3. จดั การเรยี นรด"ู ว" ยการคิดเชงิ วิเคราะห*วจิ ารณ*
4. จัดการเรียนรด"ู "วยประสบการณ*ระดบั นานาชาติ

และความหลากหลายทางวฒั นธรรม
5. จัดการเรียนร"โู ดยใช"โครงการเปนV ฐาน

การบรหิ ารมหาวทิ ยาลยั ราชภฏั เพื่อเสริมสรางความเป`นพลเมืองของนักศึกษา

เอกสารสบื เนอ่ื งจากการประชุมวชิ าการและนาํ เสนอผลงานวจิ ยั ระดับชาติ 2559 “การวจิ ยั รับใช"ชุมชนสร"างสังคมฐานความรู"” 157

วิธีดาํ เนินการวิจัย

ประชากรและกลมุ ตัวอยาง
ประชากรที่ใช"ในการวิจัยครั้งน้ี ได"แก0 มหาวิทยาลัยราชภัฏ ในป4การศึกษา 2558 จํานวน 38แห0ง (สํานักงาน

คณะกรรมการการอุดมศึกษา, 2558) โดยผู"วจิ ัยกําหนดผู"ให"ข"อมูล ได"แก0 อธิการบดี จํานวน 1 คน รองอธิการบดีฝ…ายวิชาการ
จํานวน 1 คน รองคณบดีฝา… ยกิจการนกั ศึกษาจาํ นวน 1 คน และคณบดี จํานวน 2คนได"มาจากการเลอื กอย0างเจาะจง

เครอื่ งมือการวิจยั
เครื่องมือท่ีใช"ในการวิจัย คือแบบสอบถามความคิดเห็นเก่ียวกับสภาพปnจจุบันและสภาพที่พึงประสงค*ของการบริหาร

มหาวิทยาลัยราชภัฏเพอ่ื เสริมสร"างความเปVนพลเมืองของนกั ศกึ ษาในการวิจัย จํานวน 1 ฉบับ ประกอบด"วย ความคิดเห็นเก่ียวกับ
สภาพปnจจุบันและสภาพท่ีพึงประสงค*ของการบริหารมหาวิทยาลัยราชภัฏเพื่อเสริมสร"างความเปVนพลเมืองของนักศึกษา สําหรับ
เกบ็ ข"อมลู จากอธิการบดี รองอธกิ ารบดีฝ…ายวิชาการ รองคณบดีฝ…ายกิจการนักศึกษา และคณบดีโดยมีประเด็นคําถามในเครื่องมือ
แบ0งเปนV 2 ตอน ดงั นี้

ตอนที่ 1 ข"อมูลทั่วไปของผู"ตอบแบบสอบถาม โดยใช"แบบตรวจสอบรายการ (Checklist) ประกอบด"วย
ตาํ แหน0ง เพศ อายุ ระดบั การศกึ ษา ระยะเวลาในการทาํ งาน

ตอนท่ี 2 สอบถามสภาพปnจจุบันและสภาพที่พึงประสงค*ของการบริหารมหาวิทยาลัยราชภัฏเพื่อเสริมสร"าง
ความเปนV พลเมืองของนักศึกษาโดยใชแ" บบสอบถามแบบมาตราสว0 นประมาณค0า (Rating scale) 5 ระดบั

ผ"วู ิจัยนําแบบสอบถามที่ผ0านการตรวจสอบความตรงด"านเนื้อหาไปทดลองใช"กับอธิการบดี รองอธิการบดีฝ…าย
วิชาการ รองอธิการบดีฝ…ายกิจการนักศึกษา และคณบดี ท่ีไม0ใช0กล0ุมตัวอย0าง รวมทั้งสิ้น 30 คน นําข"อมูลที่ได"มาวิเคราะห*หาค0า
ความเทยี่ งโดยใช"สูตรสมั ประสิทธแิ์ อลฟา… ของครอนบาค (Cronbach’s Alpha Coefficient) ได"ค0าความเช่อื มน่ั 0.992

การเก็บรวบรวมขอมูล
ผู"วจิ ยั นําหนังสือขอความรว0 มมือในการเก็บรวบรวมขอ" มูล ถึงอธิการบดีมหาวทิ ยาลยั 38 แห0งโดยผู"วิจัยใชก" ารส0งและ

การรับทางไปรษณยี *

การวิเคราะหข- อมูล
การวเิ คราะหข* "อมลู แบบสอบถาม
ตอนท่ี 1 วิเคราะห*สถานภาพผต"ู อบแบบสอบถาม โดยใชส" ถิติเชงิ พรรณนาเพ่ือแจกแจงความถแ่ี ละหาค0าร"อยละ
ตอนที่ 2 วิเคราะห*สภาพปnจจุบันและสภาพที่พึงประสงค*ของการบริหารมหาวิทยาลัยราชภัฏเพื่อเสริมสร"างความ

เปVนพลเมืองของนักศึกษา โดยใช"โปรแกรมสําเร็จรูป SPSS for Windows หาค0าเฉล่ีย และส0วนเบ่ียงเบนมาตรฐานโดยวิเคราะห*
ภาพรวมและวิเคราะห*แยกสภาพแวดลอ" มภายในและวิเคราะหส* ภาพแวดล"อมภายนอก

สรปุ ผล

จํานวนและร"อยละของแบบสอบถามที่ได"รับคืนโดยรวม คิดเปVนร"อยละ 89.47ผ"ูตอบแบบสอบถามมีจํานวน 78คน เปVน
อธิการบดีจาํ นวน 10คน รองอธกิ ารบดฝี …ายวิชาการ จํานวน 11คน รองอธกิ ารบดีฝ…ายกิจการนักศึกษา จํานวน 11 คน และคณบดี
จาํ นวน 33คน เปนV เพศชาย 57 คนเปนV เพศหญิง 21 คนมอี ายุ 56 ป4ข้นึ ไป มากทีสุด มีจาํ นวน 29คน คิดเปนV ร"อยละ 37.2รองลงมา
คือ อายุ 51-55 ป4 , 41-45 ป4 , 46-50 ป4 และไม0เกิน 40 ป4 ตามลําดับ มีระยะเวลาในการทํางานมากกว0า 30 ป4ขึ้นไปมากท่ีสุด
จํานวน 33คน คดิ เปVนร"อยละ 42.3รองลงมาคอื 11-20 ป4 21-30 ป4 และไมเ0 กิน 10ป4 ตามลาํ ดับ

158 เอกสารสืบเนอ่ื งจากการประชุมวชิ าการและนําเสนอผลงานวจิ ยั ระดบั ชาติ 2559 “การวจิ ยั รบั ใช"ชมุ ชนสร"างสังคมฐานความรู"”

1) สภาพปnจจุบันของการบริหารมหาวิทยาลัยราชภัฏเพื่อเสริมสร"างความเปVนพลเมืองของนักศึกษาจากการวิเคราะห*
สภาพแวดล"อมภายใน พบว0า ในภาพรวมอยู0ในระดับปานกลาง(x= 2.95,s.d.= .68) เม่ือพิจารณารายด"าน พบว0าการบริหาร
มหาวิทยาลัยราชภฏั เพอ่ื เสรมิ สร"างความเปนV พลเมอื งของนกั ศึกษาด"านความรอบร"ูในประชาธิปไตยมีค0าเฉลี่ยสภาพปnจจุบันสูงที่สุด
(x= 3.00,s.d.= .72) รองลงมาคือ ด"านการมีสว0 นร0วมในประชาธิปไตย (x= 2.94,s.d.= .70) และด"านทักษะทางประชาธิปไตย
(x= 2.94,s.d.= .72) ตามลาํ ดับ

สว0 นสภาพปจn จบุ ันของการบริหารมหาวิทยาลัยราชภัฏเพ่ือเสริมสรา" งความเปVนพลเมืองของนักศึกษา จากการวเิ คราะห*
สภาพแวดล"อมภายนอก พบว0า ในภาพรวมอย0ูในระดับโดยภาพรวมอย0ูในระดับปานกลาง(x= 3.01,s.d.= .64) เมื่อพิจารณาราย
ด"าน พบว0า ด"านเทคโนโลยี มีค0าเฉลี่ยสภาพปnจจุบันสูงที่สุด(x= 3.28,s.d.= .69) รองลงมาคือด"านการเมืองและนโยบายของ
รฐั บาล มีค0าเฉลยี่ สภาพปnจจุบนั (x= 2.95,s.d.= .77) ดา" นเศรษฐกิจมคี า0 เฉล่ยี สภาพปจn จบุ นั (x= 2.91,s.d.= .68) และด"านสังคม มี
ค0าเฉล่ียสภาพปจn จุบนั ตํา่ ท่สี ุด (x= 2.89,s.d.= .79)

2) สภาพท่ีพึงประสงค*ของการบริหารสถาบันอุดมศึกษาเพ่ือสร"างความเปVนพลเมืองของนักศึกษา จากการวิเคราะห*
สภาพแวดล"อมภายใน พบว0า ในภาพรวมอย0ูในระดับมาก(x= 4.40,s.d.= .65)เม่ือพิจารณารายด"าน พบว0า การบริหาร
มหาวิทยาลัยราชภฏั เพื่อเสรมิ สรา" งความเปนV พลเมอื งของนกั ศึกษาดา" นความรอบร"ูในประชาธปิ ไตย มคี 0าเฉลย่ี สภาพทพ่ี งึ ประสงค*สูง
ที่สดุ (x= 4.43,s.d.= .64) รองลงมาคอื ดา" นการมีสว0 นร0วมในประชาธปิ ไตย (x= 4.40,s.d.= .69)และด"านทกั ษะทางประชาธิปไตย
(x= 4.39,s.d.= .67)ตามลําดบั

ส0วนสภาพท่ีพึงประสงค*ของการบริหารสถาบันอุดมศึกษาเพื่อสร"างความเปVนพลเมืองของนักศึกษาจากการวิเคราะห*
สภาพแวดล"อมภายนอก พบว0า โดยภาพรวมอย0ูในระดับมากที่สุด (x= 4.50,s.d.= .56) เมื่อพิจารณารายด"าน พบว0า ด"าน
เทคโนโลยี มคี า0 เฉล่ยี สภาพทพ่ี งึ ประสงคส* ูงทส่ี ดุ (x= 4.56,s.d.= .57) รองลงมาคือดา" นการเมืองและนโยบายของรัฐบาล มีค0าเฉล่ีย
สภาพปnจจบุ ัน(x= 4.51,s.d.= .58) ด"านสังคมมีค0าเฉลี่ยสภาพปnจจุบัน(x= 4.48,s.d.= .62) และด"านเศรษฐกิจ มีค0าเฉลี่ยสภาพท่ี
พึงประสงคต* า่ํ ทีส่ ดุ (x= 4.45,s.d.= .61)

อภิปรายผล

ผลการวิจยั สภาพปnจจบุ นั ของการบรหิ ารมหาวิทยาลัยราชภัฏเพ่ือเสริมสร"างความเปVนพลเมืองของนักศึกษาในภาพรวม
อยใู0 นระดับปานกลาง ทั้งด"านมีความรอบรูใ" นประชาธปิ ไตย ดา" นมีทกั ษะทางประชาธิปไตยและด"านการมีส0วนร0วมในประชาธิปไตย
เมื่อพิจารณาค0าเฉลี่ยเปVน รายด"าน พบว0า ด"านมีความรอบรู"ในประชาธิปไตย มีค0าเฉล่ียสูงสุดซึ่งจะเห็นได"ว0า ปnจจุบนั การบริหาร
มหาวิทยาลัยราชภัฏน้ันมีการบริหารและส0งเสริมเพ่ือให"นักศึกษาได"มีการพัฒนาคุณลักษณะความเปVนพลเมืองในด"านความรู"
เกย่ี วกับความเปVนพลเมอื งในระบอบประชาธิปไตยมากที่สุดซงึ่ สอดคล"องกับคณะอนกุ รรมการการปฏริ ปู การศกึ ษาในทศวรรษทส่ี อง
ด"านพัฒนาการศึกษาเพ่ือสร"างความเปVนพลเมืองดีได"เสนอยุทธศาสตร*พัฒนาการศึกษาเพื่อสร"างความเปVนพลเมืองพ.ศ. 2553 -
2561 (คณะอนุกรรมการนโยบายปฏริ ูปการศกึ ษาในทศวรรษที่สอง ด"านพัฒนาการศึกษาเพ่ือสร"างความเปVนพลเมืองดี, 2554) ได"
กําหนดแนวทางในการการศึกษาเพื่อความเปVนพลเมืองในวิทยาลัยและมหาวิทยาลัยโดยสถาบันการศึกษาในระดับอุดมศึกษา
ส0งเสริมหรือกําหนดให"มีวิชาพลเมืองในหลักสูตร “วิชาศึกษาท่ัวไป” (General Education) ซ่ึงนักศึกษาทุกคนต"องเรียนโดยอาจ
เปVนวิชาเฉพาะขึ้นมาใหม0หรือปรับวิชาที่มีอยู0แล"วให"เปVนวิชาพลเมืองเพ่ือสร"างนักศึกษาให"เปVนพลเมืองนอกจากน้ีThai Civic
education (2012) ได"กล0าวว0าบุคคลในระบอบประชาธิปไตยจําเปVนต"องมีความร"ูความเข"าใจทางการเมืองท่ีเพียงพอต0อการเปVน
พลเมอื งในระบอบประชาธิปไตยด"วย ดังนั้นสถาบันอุดมศึกษาจึงมีการบริหารที่ส0งเสริมให"นักศึกษามีความรู" ความเขา" ใจ เก่ียวกับ
ความเปVนพลเมอื งในระบอบประชาธิปไตยซึง่ สอดคลอ" งกบั นโยบายของรฐั ทีม่ กี ารสนับสนนุ การพฒั นาความเปVนพลเมือง
ผลการวิจัย สภาพปnจจุบนั ของสภาพแวดล"อมภายนอกทเี่ กี่ยวข"องกบั การบรหิ ารมหาวทิ ยาลยั ราชภฏั เพ่ือเสริมสร"างความเปVนพลเมือง
ของนักศึกษา พบว0า ด"านเทคโนโลยี มีค0าเฉล่ียสภาพปnจจุบันสูงที่สุด แสดงให"เห็นว0า เทคโนโลยีมีความสําคัญต0อการบริหาร

เอกสารสบื เนอื่ งจากการประชมุ วิชาการและนาํ เสนอผลงานวจิ ัยระดับชาติ 2559 “การวจิ ยั รบั ใช"ชมุ ชนสร"างสงั คมฐานความร"ู” 159

มหาวิทยาลัยราชภัฏในการเสริมสร"างความเปVนพลเมืองของนักศึกษาและมหาวิทยาลัยราชภัฏได"พยายามนําเทคโนโลยีหรือสื่อ
ต0างๆมาใชใ" นการพัฒนาและสง0 เสรมิ การบริหารการผลิตบณั ฑิตอย0างต0อเน่ืองอันจะมีส0วนช0วยให"การพัฒนานักศึกษาให"มึความรู" มี
ทกั ษะ และมสี 0วนร0วมในประชาธิปไตยมีประสิทธิภาพและมีประสิทธิผลมากย่ิงข้ึน ซึ่งสอดคล"องกับงานวิจัยของ ณัฐนันท*ศิริเจริญ
(2555) ทไ่ี ดศ" ึกษาการใชส" ือ่ บรู ณาการเพือ่ สร"างความเปนV พลเมอื งกบั อนาคตประชาธปิ ไตยไทยการใชส" อื่ ด"วยกระบวนการบรู ณาการ
นนั้ จะเปVนเครื่องมือชว0 ยเสริมสร"างความชดั เจนในการสร"างองค*ความรู"ด"านความเปVนพลเมืององค*ความร"ูด"านการเมืองการปกครอง
และระบบระเบียบของการมสี ว0 นรว0 มทางประชาธปิ ไตยอย0างถกู ตอ" งและเหมาะสมการใชก" ลยุทธแ* ละวธิ ีการสื่อสารเพอ่ื ให"บรรลุตาม
เปา• หมายในการสรา" งความเปนV พลเมอื ง

ผลการวิจยั สภาพทพ่ี ึงประสงคข* องการบริหารมหาวทิ ยาลัยราชภัฏเพื่อเสรมิ สร"างความเปนV พลเมืองของนักศึกษาอยู0ใน
ระดับมาก ท้ังด"านมีความรอบร"ูในประชาธิปไตย ด"านทักษะทางประชาธิปไตยและด"านการมีส0วนร0วมในประชาธิปไตย และเม่ือ
พิจารณาค0าเฉล่ียเปVนรายด"าน พบว0า ด"านความรอบร"ูในประชาธิปไตย มีค0าเฉล่ียสภาพท่ีพึงประสงค*สูงท่ีสุด ซ่ึงจะเห็นได"ว0า
มหาวิทยาลัยยังคงให"ความสําคัญกับการบริหารงานท้ังทางด"านวิชาการและด"านกิจการนักศึกษาเพื่อให"นักศึกษามีความรอบรู"ใน
ประชาธิปไตย ซ่ึงสอดคล"องกับ Thai Civic Education (2556)ได"กําหนดกรอบแนวคิดการศึกษาเพื่อสร"างความเปVนพลเมืองใน
ระบอบประชาธปิ ไตย ว0าควรมุ0งเน"นการทําให"ผ"ูเรียนมีความร"ูความเข"าใจพ้ืนฐานทางการเมือง (Policy literacy) ที่ถูกต"องเพื่อแก"
มโนทัศน*ทางการเมอื งทค่ี ลาดเคลื่อน (Political Misconception) เน"นการทําให"ผูเ" รียนคิดอยา0 งมีวจิ ารณญาณ (Critical Thinking)
เพ่ือให"เกิดการเรียนร"ูที่มีความหมายยั่งยืน ด"วยการจัดการเรียนรู"ที่ส0งเสริมให"ผ"ูเรียนคิดอย0างมีวิจารณญาณ ทั้งคิดวิเคราะห*
สังเคราะห* คิดสืบสาวหาสาเหตุปnจจัย คิดแก"ปnญหา คิดสร"างสรรค* คิดเปรียบเทียบคิดประเมินค0า ซ่ีงจะมีส0วนช0วยให"นักศึกษามี
ความรอบรูใ" นประชาธปิ ไตยอยา0 งถกู ต"องมากยงิ่ ข้นึ
ผลการวิจัย สภาพที่พึงประสงค*ของสภาพแวดล"อมภายนอกท่ีเก่ียวข"องกับการสร"างความเปVนพลเมืองของนักศึกษา พบว0า ด"านสภาพ
เทคโนโลยี มีค0าเฉลี่ยสภาพท่ีพึงประสงค*สูงที่สุดซ่ึงจะเห็นได"ว0ามหาวิทยาลัยราชภัฏยังคงมีความต"องการและตระหนักถึง
ความสําคัญของเทคโนโลยีในการท่ีจะส0งเสริมให"การบริหารมหาวิทยาลัยเพ่ือเสริมสร"างความเปVนพลเมืองของนักศึกษาให"ประสบ
ความสําเร็จ ซ่งึ สอดคล"องกบั แนวคดิ ของ Smith(2005) ท่ีได"ระบถุ ึงกลยทุ ธใ* นการจดั การศึกษาเพ่อื ทจ่ี ะพฒั นาลักษณะของพลเมือง
ไว"ว0าควรส0งเสริมให"มีสร"างหลักสูตรโดยใช"เทคโนโลยีสารสนเทศเปVนพื้นฐานและมุ0งเน"นในการพัฒนาศักยภาพของผ"ูเรียนที่จะ
วิเคราะห*ประเมินข"อมูลจากส่ือพ้ืนฐานของสังคมนอกจากนี้ Print (2012) ได"ระบุว0าหลักสูตรเกีย่ วกับความเปVนพลเมืองควรมี
จดุ มง0ุ หมายในการส0งเสริมความเปVนพลเมืองที่ต่ืนร"ู(Active Citizen) ด"วยความสํานึกการยอมรับผลกระทบจากสื่อและเทคโนโลยี
ทางการส่ือสาร

ขอเสนอแนะ

ผบ"ู รหิ ารมหาวิทยาลัยราชภฏั ควรสนบั สนุนการใชส" ่อื เทคโนโลยที มี่ ีความทนั สมยั มาใช"ในการเสริมสร"างความเปVนพลเมือง
ใหแ" ก0นกั ศึกษาเน่ืองจากผลการวิจยั พบว0า สภาพเทคโนโลยีเปVนโอกาสของการบริหารมหาวิทยาลัยราชภัฏในการเสริมสร"างความ
เปนV พลเมืองของนักศึกษา ดังน้ัน ผู"บริหารมหาวิทยาลัยจึงควรนําโอกาสด"านสภาพเทคโนโลยีมาพัฒนาเพื่อให"นักศึกษาให"มีความ
เปVนพลเมือง เช0น การนําเทคโนโลยีที่ทันสมัยมาใช"ในการสนับสนุนการเรียนการสอน สนับสนุนงบประมาณในการพัฒนาสื่อการ
เรียนร"ูทางด"านความเปVนพลเมือง การจัดทําส่ือรณรงค*เกี่ยวกับความเปVนพลเมืองตลอดจนการใช"เทคโนโลยีในการจัดต้ัง ชมรม
ชุมนมุ ภาคพลเมอื งในมหาวิทยาลัย

นอกจากน้ีควรมีการศึกษาวิจัยเก่ียวกับกลยุทธ*การบริหารมหาวิทยาลัยราชภัฏเพ่ือเสริมสร"างความเปVนพลเมืองของ
นักศึกษาท้ังน้ีเพ่ือใหม" หาวิทยาลัยราชภัฏได"องค*ความร"ูทางด"านบริหารการศึกษาซ่ึงจะช0วยส0งเสริมให"มีพลังขับเคลื่อนในการที่จะ
พัฒนาบัณฑติ ที่มีคณุ ลักษณะทีพ่ งึ ประสงคส* อดคล"องกบั การเปลย่ี นแปลงทางสังคมตอ0 ไป

160 เอกสารสบื เนอ่ื งจากการประชมุ วิชาการและนําเสนอผลงานวิจัยระดบั ชาติ 2559 “การวิจัยรบั ใชช" ุมชนสรา" งสงั คมฐานความร"ู”

เอกสารอางอิง

คณะอนุกรรมการนโยบายปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สอง ด"านพัฒนาการศึกษาเพื่อสร"างความเปVนพลเมืองดี. (2554).
ยุทธศาสตร-พัฒนาการศึกษาเพื่อสรางความเป`นพลเมือง พ.ศ. 2553-2561. กรุงเทพ: สํานักนโยบายด"านพัฒนา
คณุ ภาพและมาตรฐานการศกึ ษา สํานกั งานเลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา กระทรวงศึกษาธิการ.

ณัฐนันท* ศิริเจริญ. (2555). การใช"ส่ือบูรณาการเพื่อสร"างความเปVนพลเมืองกบั อนาคตประชาธิปไตยไทย.วารสาร Veridian E-
Journal, SU มหาวทิ ยาลัยศิลปากร, 5(1).

ทพิ ย*พาพร ตันตสิ นุ ทร. 2554. การศึกษาเพอ่ื สรางพลเมือง. กรงุ เทพ: พี.เพรส จํากัด.
นวรัตน* รามสูต และ บลั ลังก* โรหติ เสถยี ร. 2554.ขาวสํานักงานรัฐมนตรี 148/2554 รวมพลังสรางความเป`นพลเมอื ง.

[ออนไลน*]. แหลง0 ทม่ี า: http://www.moe.go.th/websm/2011/apr/148.html. [31 กรกฎาคม 2554].
ปรญิ ญา เทวานฤมติ รกุล. 2551. การพฒั นาพลเมืองในฐานะองคป- ระกอบสําคัญของการมีสวนรวม. การให"การศกึ ษาทางการ

เมืองเพ่ือพฒั นาพลเมือง.กรงุ เทพ ฯ : มลู นิธิฟรดี รคิ เอแบรท* .
วรากรณ* สามโกเศศ. 2554.การศกึ ษาเพอ่ื สรางความเปน` พลเมอื ง.[ออนไลน*]. แหลง0 ทม่ี า:

http://www.varakorn.com/page.php?id=27. [31 กรกฎาคม 2554].
สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา. (2553). สถาบันอุดมศึกษาไทย. กรุงเทพฯ: กรุงเทพฯ : สํานักงาน คณะกรรมการการ

อดุ มศกึ ษา.
สํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2554). นโยบายหลักเพื่อขับเคล่ือนการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สอง(พ.ศ.2554 -

2561). กรุงเทพ: สํานกั งานเลขาธิการสภาการศกึ ษา กระทรวงศึกษาธิการ.
อมรวชิ ชน* าครธรรพ. 2540. ในกระแสแหงคณุ ภาพ.กรงุ เทพฯ: พี.พี. พร้นิ ต้ิง.
Ahmet, D. (2012). A curriculum framework for active democratic citizenship education Schools, Curriculum and

Civic Education for Building Democratic Citizens. Netherlands: Sense Publishers.
Campbell, Ronald F. and others. (1968). Introduction to Educational Administration. 3rd ed. Boston,

Massachusetts: Allyn and Bacon.
Cogan, J. J. (1997). Multidimentional Citizenship: Educational Policy. for the Twenty-first Century. University of

Nebraska Omaha: The Citizenship Education Policy Study Project Researchers.
Citizenship Foundation. (2006). Making Sense of Citizenship. A continuting Professional Development

handbook. London: Hodder Murray.
Deming, W.E. (1993). The New Economics. Cambridge, MA: MIT Press.
Fayol, H. [Online]. (1916). Five Functions of Management.Available from: http://www.provenmodels.com/3

[2011,August 7].
Gulick L. andkUrwick L. (1936).Paper on the Science of Administration, Notes on the Theory of

Organization.New York: Institute of Public Administration.
Harvey, J. and Immerwahr, J. 1995a. The fragile coalition: Public support for higher education in the 1990s.

Technical report, American Council on Education,Washington, DC.
Print, M. (2012). Developing Political Citizens in Australia Citizenship and the future of Thai

democracy.Thirteenth annual King Prajadhipok Institute Congress: King Prajadhipok Institute.
Sears, J.B. (1950).The Nature of the Administrative Process. New York: McGraw Hill.

เอกสารสืบเนอ่ื งจากการประชุมวชิ าการและนําเสนอผลงานวจิ ัยระดับชาติ 2559 “การวจิ ยั รบั ใช"ชุมชนสรา" งสงั คมฐานความร"ู” 161

Smith, A. (2005). Civic and Citizenship Education in contested divided societies. University of Ulster
Ireland.:Unesco Chair.

Thai Civic Education. (2556). กรอบแนวคดิ หลักสตู รการศกึ ษาเพอ่ื สรางความเป`นพลเมืองในระบอบประชาธิปไตยของไทย
= Conceptual framework for Thai democratic citizenship education curriculum. กรุงเทพฯ มูลนิธิฟรีดิช
เอแบร*ท และสํานักวิชาการและมาตรฐานดารศึกษา สํานักงานคณะกรรมการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน: กรุงเทพฯ มูลนิธิฟรีดิช เอ
แบร*ท และสาํ นักวิชาการและมาตรฐานดารศึกษา สํานักงานคณะกรรมการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน.

162 เอกสารสืบเนอ่ื งจากการประชุมวิชาการและนาํ เสนอผลงานวจิ ัยระดับชาติ 2559 “การวิจัยรบั ใชช" ุมชนสร"างสังคมฐานความรู"”

การบริหารโรงเรียนเพื่อพฒั นาทักษะของเด็กไทยในประชาคมอาเซยี น
SCHOOL MANAGEMENTTO ENHANCE SKILLS OF THAI CHILDREN IN THE ASEAN COMMUNITY

ภารุจีร- เจริญเผา1 และ ภัสยกร เลาสวัสดิกุล2
Parujee Charoenphao1 and Phatsayakorn Laosawatdikul2

บทคดั ยอ

วตั ถปุ ระสงคข* องการวจิ ยั คร้ังน้ีเพอ่ื ศกึ ษาสภาพปnจจุบันและสภาพทพ่ี ึงประสงค*ของการบริหารโรงเรียนเพ่ือพัฒนาทักษะ
ของเด็กไทยในประชาคมอาเซียนประชากรและกลุ0มตวั อย0างไดแ" ก0 โรงเรียนประถมศึกษา สังกัดสํานักงานคณะกรรมการการศึกษา
ขัน้ พืน้ ฐาน ในป4การศึกษา 2556 จํานวน 28,566 โรงเรยี น (สํานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐาน, 2556)เครื่องมือทใ่ี ช"ในการ
วจิ ัย ได"แก0 แบบสอบถามสภาพปจn จุบันและสภาพท่ีพึงประสงค*ของการบริหารโรงเรียนเพ่ือพัฒนาทักษะของเด็กไทยในประชาคม
อาเซียน สถิติทใ่ี ชใ" นการวิเคราะห*ข"อมลู คือ คา0 ความถี่ ร"อยละ คา0 เฉลย่ี และค0าสว0 นเบีย่ งเบนมาตรฐาน

ผลการวิจยั พบว0า (1) สภาพปnจจุบันของการบริหารโรงเรียนเพื่อพัฒนาทักษะของเด็กไทยในประชาคมอาเซียนจากการ
วิเคราะห*สภาพแวดลอ" มภายใน พบว0า ในภาพรวมอยู0ในระดับมาก (x= 3.82, s.d.= .48) เม่ือพจิ ารณารายดา" น พบว0า ดา" นทักษะ
ในการใชเ" ทคโนโลยีสารสนเทศอย0างสร"างสรรค* มคี า0 เฉลี่ยสภาพปnจจุบันสูงทส่ี ดุ (x=3.812, S.D = .52) ส0วนสภาพปnจจุบันของการ
บริหารโรงเรียนเพอ่ื พัฒนาทกั ษะของเด็กไทยในประชาคมอาเซยี นจากการวิเคราะห*สภาพแวดลอ" มภายนอก พบว0า โดยภาพรวมอย0ู
ในระดับปานกลาง (x= 3.498, S.D = .56) เมื่อพิจารณารายด"าน พบว0า ดานสภาพเทคโนโลยี มีค0าเฉลี่ยสภาพปnจจุบันสูงที่สุด
(x=3.493, S.D = .56) และ(2) สภาพทีพ่ ึงประสงคข* องการบรหิ ารโรงเรียนเพือ่ พัฒนาทกั ษะของเด็กไทยในประชาคมอาเซียนจาก
การวิเคราะห*สภาพแวดล"อมภายใน พบว0า ในภาพรวมอยู0ในระดับมากท่ีสุด (x= 4.749, S.D = .38) และเม่ือพิจารณา
องค*ประกอบย0อย พบว0า ด"านทักษะในการใช"เทคโนโลยีสารสนเทศอย0างสร"างสรรค* มีค0าเฉลี่ยสภาพท่ีพึงประสงค*สูงสูงท่ีสุด
(x=4.692, S.D = .40) ส0วนสภาพที่พึงประสงค*ของการบริหารโรงเรียนเพ่ือพัฒนาทักษะของเด็กไทยในประชาคมอาเซียนจาก
การวิเคราะห*สภาพแวดล"อมภายนอก พบว0า โดยภาพรวมอย0ูในระดับมากที่สุด (x= 4.741, S.D = .45) เมื่อพิจารณารายด"าน
พบวา0 ดานสภาพเทคโนโลยี มีค0าเฉล่ียสภาพท่ีพงึ ประสงค*สูงทสี่ ุด (x=4.661, S.D = .45)
คําสาํ คญั : ทกั ษะของเดก็ ไทยในประชาคมอาเซียน, การบรหิ ารโรงเรยี น

Abstract

The objective of this research was to study the current and desirable states of school management
to enhance skills of Thai children in the ASEAN community. The data were analyzed by frequency,
percentage, mean and standard deviation.The research results showed that 1) In general, the current state of
of school management to enhance the skills of Thai children in the ASEAN community from internal

1 อาจารย*ประจาํ สาขาบรหิ ารการศกึ ษาคณะครุศาสตรอ* ตุ สาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบรุ ี
2 หัวหนา" สาขาจติ วิทยาและการแนะแนวคณะครศุ าสตร* มหาวิทยาลัยราชภฏั เทพสตรี

เอกสารสบื เนอ่ื งจากการประชุมวิชาการและนาํ เสนอผลงานวจิ ยั ระดับชาติ 2559 “การวจิ ัยรับใชช" ุมชนสรา" งสงั คมฐานความร"ู” 163

environment was performed at the high level (x= 3.82, s.d.= .48) . While considering each aspect, creative
technology had the highest average (x=3.812, S.D = .52).In general, the current state of School management
to enhance the skills of Thai children in the ASEAN community from external environment was performed at
the middle level (x= 3.498, S.D = .56). While considering each aspect, technology had the highest average
(x=3.493, S.D = .56).2) In general, the disirable state of school management to enhance skills of Thai children
in the ASEAN community from internal environment was performed at the high level (x= 4.749, S.D = .38).
While considering each aspect, creative technology had the highest average (x=4.692, S.D = .40).In general,
the desirable state of school management to enhance skills of Thai children in the ASEAN community from
external environment was performed at the highest level (x= 4.741, S.D = .45) . While considering each
aspect, technology had the highest average (x=4.661, S.D = .45).

Keywords :skills of Thai children in the ASEAN , School management

ความเปน` มาและความสําคัญของการวิจัย

การตื่นตัวต0อการเข"าสู0ประชาคมอาเซียนในป4 2558 ประเทศไทยได"มีการเตรียมความพร"อมทั้งด"านเศรษฐกิจ สังคม
การเมือง โดยเฉพาะทางด"านการศึกษาท่ีนโยบายด"านการศึกษาของรัฐบาลเม่ือวันท่ี 26 สิงหาคม 2554 ได"มีการเตรียมแนวทาง
ความพร"อมทางด"านการศึกษาเพื่อรองรับกับการก"าวสู0ความเปVนประชาคมอาเซียนในหลายรูปแบบในอนาคต โดยเน"นการเร0งรัด
การพัฒนาคุณภาพการศึกษาประกอบไปด"วย การยกระดับองค*ความรู"ให"ได"มาตรฐานสากลท้ังความรู"ที่เปVนสากลและภูมิปnญญา
ทอ" งถ่นิ สง0 เสริมการอา0 นพร"อมท้ังส0งเสริมการเรียนการสอนภาษาต0างประเทศ และภาษาถิ่น จัดใหม" รี ะบบการจดั การความรู" ปฏิรปู
หลักสตู รการศึกษาทกุ ระดับให"รองรับกับการเปลี่ยนแปลงของโลกและทัดเทียมกับมาตรฐานสากลบนความเปVนท"องถิ่นและความ
เปVนไทย สอดคล"องกับการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษท่ีสอง (พ.ศ.2552-2561) ท่ีต"องการให"ภายในป4 พ.ศ.2561 มีการปฏิรูป
การศึกษาและการเรียนรอ"ู ยา0 งเปนV ระบบ โดยเปา• หมายส0วนหนึ่งทส่ี าํ คัญคือคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาและเรียนรู"ของคนไทย
ภายใตร" ะบบบริหารจดั การท่มี ีประสิทธิภาพ และจากแผนการศึกษาแห0งชาติ ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2552 – 2559 ซ่ึงเปVนแผนระยะ
ยาวภายใตบ" ทบัญญัตติ ขิ องพระราชบญั ญัติการศกึ ษาแหง0 ชาติ ที่ได"กาํ หนดวัตถปุ ระสงค*ในการพัฒนาคุณภาพทางการศึกษา การ
จัดการเรยี นรอู" ย0างท่วั ถึง การปลกู ฝงn คณุ ธรรม จรยิ ธรรม และยึดหลักศีลธรรม การสร"างค0านิยมท่ีดี มีจิตสาธารณะต0อชุมชน และ
สังคม การสร"างโอกาสในการเรยี นร"ู โดยการจัดการศึกษาของประเทศ จะต"องผลิตประชากรท่ีมีคุณภาพ ท่ีมีความร"ูและทักษะท่ี
แข0งขันกับประเทศอื่นๆในอาเซียน และนานาชาติ (สาํ นักปลัดกระทรวงศึกษาธิการ 2555)

กระทรวงศกึ ษาธิการได"มีการดาํ เนนิ นโยบายเพอ่ื เตรยี มความพรอ" มในดา" นการศึกษาตามปฏิญญาอาเซียนด"านการศึกษา
ของประเทศไทย เพื่อให"เปVนไปตามข"อตกลงตามกรอบอาเซียนซ่ึงปรากฏในแผนงานการจัดตั้งประชาคมสังคมและวัฒนธรรม
อาเซียน (A Blueprint for ASEAN Socio-Cultural Community) ท่ีระบุไว"ว0าภายในป4 พ.ศ. 2558 ประชาชนอาเซียนจะต"อง
ได"รับการศึกษาอย0างทั่วถึงและมีคุณภาพเปVนผ"ูท่ีมีความรู" ทักษะต0างๆท่ีจําเปVนในการเปVนพลเมืองอาเซียน(กรมอาเซียน,2552)
จึงได"มกี ารพัฒนานักเรยี นเพ่ือให"มีความพร"อมต0อการเข"าส0ูประชาคมอาเซียน และปลูกฝnงให"เด็กไทยมีทักษะต0างๆที่จําเปVนต0อการ
เปนV อาเซียนตั้งแต0วัยเยาว* เด็กสามารถพัฒนาตนเองอยา0 งเตม็ ศักยภาพ ได"รบั การศึกษาท่คี รอบคลุม มีการจัดการเรียนรูแ" ละการจัด
กิจกรรมในโรงเรยี นท่ีสร"างองค*ความรู"เกี่ยวกับประชาคมอาเซียน เพ่ือพัฒนาศักยภาพของผ"ูเรียนให"มีความพร"อมต0อการก"าวเข"าส0ู
ประชาคมอาเซียนอยา0 งแท"จริง

164 เอกสารสบื เนอื่ งจากการประชมุ วชิ าการและนาํ เสนอผลงานวจิ ยั ระดับชาติ 2559 “การวิจยั รับใช"ชุมชนสร"างสังคมฐานความรู"”

การเตรียมความพร"อมในทางด"านทักษะการสื่อสาร 2 ภาษาขึ้นไป การใช"เทคโนโลยีที่สร"างสรรค* การทํางานร0วมกับ
ผู"อ่ืน และแก"ปญn หาแบบสนั ติ และทกั ษะการพฒั นาตน ในการมีส0วนร0วมแลกเปลี่ยนเรียนร"ู มีความคิดสร"างสรรค*เชิงบวก มีภาวะ
ผ"ูนํา เพ่ือเข"าสู0ประชาคมอาเซียน เปVนเรื่องท่ีมีความสําคัญที่จําเปVนต"องรีบพัฒนาอย0างเร0งด0วน และผ"ูที่มีส0วนรับผิดชอบในการ
พัฒนาและจัดการศึกษาทุกระดับ และควรจัดการศกึ ษาทมี่ 0ุงเนน" ให"เด็กไทยมีทักษะท่ีดี มีศักยภาพ และมีทักษะท่ีพร"อมต0อการเปVน
พลเมอื งอาเซยี นอย0างสมบรู ณ* และทัดเทยี มประเทศอน่ื ๆในประชาคมอาเซยี น

ดังน้นั การวิจัยเรื่อง “การบริหารโรงเรียนเพ่ือพัฒนาทักษะของเด็กไทยในประชาคมอาเซียน” คร้ังนี้จะช0วยให"วิชาชีพ
ด"านการบริหารสถานศึกษามีความเข"มแข็งข้ึน เพราะองค*ความร"ูใหม0ท่ีได"สามารถนําไปใช"ประโยชน*สําหรับผ"ูบริหารในระดับ
นโยบาย ผ"ูบรหิ ารสถานศกึ ษา และผู"มีสว0 นเกย่ี วข"องเพื่อกาํ หนดแนวทางการพฒั นาโรงเรยี นให"สามารถนําวธิ กี าร แนวทางปฏิบตั ิ ใน
การบริหารโรงเรียนเพ่ือพัฒนาคุณลักษณะของเด็กไทยในประชาคมอาเซียน ซึ่งเปVนส0วนหนึ่งของการพัฒนาระบบการศึกษาของ
ประเทศได"อย0างย่ังยนื ต0อไป

ผ"ูวิจัยจึงสนใจที่จะศึกษา“การบริหารโรงเรียนเพื่อพัฒนาทักษะของเด็กไทยในประชาคมอาเซียน” โดยมุ0งหวังว0า
ผลการวิจัยครั้งนี้จะเปVนแนวทางสําคัญในการจัดการศึกษา และเพ่ือให"เด็กไทยมีคุณภาพ มีศักยภาพในการเปVนพลเมืองของ
ประชาคมอาเซียนในอนาคตต0อไป

วตั ถปุ ระสงค-ของการวิจัย

เพ่ือศกึ ษาสภาพปnจจบุ นั และสภาพท่พี ึงประสงคข* องการบริหารโรงเรียนเพื่อพัฒนาทักษะของเดก็ ไทยในประชาคม
อาเซยี น

กรอบแนวคดิ ในการวจิ ยั

การศึกษาในครั้งนี้ได"ศึกษาโดยนําแนวคิดที่เก่ียวข"องกับทักษะของเด็กไทยในประชาคมอาเซียนมาวิเคราะห* สังเคราะห*
เพอื่ นาํ มาจัดทํากรอบแนวคดิ ในการวิจัย โดยมีรายละเอียดดงั นี้

1. กรอบแนวคิดการบรหิ ารโรงเรียน โดยใชก" ระบวนการบริหารของ Fayol (1916), Gulick and Urwick (1936) และ
Deming (1993)โดยนาํ หลักการบรหิ ารทง้ั 3 กระบวนการนีม้ าศึกษา วเิ คราะห*สงั เคราะห*เพ่ือนาํ มากําหนดเปนV กรอบแนวคดิ ในการ
บริหารโรงเรยี น ประกอบด"วย 3 ข้นั ตอน ดงั น้ี

1.1 การวางแผน (Planning)
1.2 การนําแผนไปปฏบิ ตั ิ (Implementation)
1.3 การประเมินผล (Evaluation)
2. กรอบทักษะของเด็กไทยในประชาคมอาเซียน โดยศึกษาจากแนวคิดท่ีเก่ียวข"องในการพัฒนาทักษะของเด็ก ใน
อาเซียน และตา0 งประเทศ ที่มีการนําเสนอแนวคิด ทกั ษะของเด็กท่มี ีรูปแบบ ตัวบง0 ช้ี หรือเกณฑ*ตา0 งๆ ดังนี้
2.1 แนวคดิ การพฒั นาคณุ ลักษณะของเด็กในประเทศไทย

2.1.1 แผนการศึกษาแห0งชาติฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2545-2559 ของ สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาแห0งชาติ
(2545)

2.1.2 คุณลกั ษณะท่ีพงึ ประสงค*ในหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน พ.ศ. 2551 ของกระทรวงศกึ ษาธิการ (2552)

2.1.3 แนวคดิ คณุ ลกั ษณะทีพ่ ึงประสงค*ของคนไทยในอนาคต (เกรียงศกั ดิ์ เจรญิ วงศศ* กั ดิ์ และคณะ 2547)

2.1.4 แนวคดิ การจัดการเรยี นรเ"ู พอ่ื พฒั นาผเ"ู รยี นใหเ" ปVนพลเมืองดี ของ ศกั ดช์ิ ัย นิรัญทวี (2548)

เอกสารสืบเนอื่ งจากการประชมุ วชิ าการและนาํ เสนอผลงานวิจัยระดับชาติ 2559 “การวจิ ัยรบั ใชช" ุมชนสรา" งสังคมฐานความรู"” 165

2.1.5 แนวคิดคณุ ลกั ษณะทดี่ ีของเด็กและเยาวชนไทย ของ สวุ มิ ล วอ0 งวาณิช (2550)
2.2 แนวคดิ การพฒั นาคณุ ลกั ษณะของเดก็ ในต0างประเทศ

2.2.1 แนวคดิ คุณลกั ษณะทด่ี ี ของ Nick Tate (2005)
2.2.2 แนวคิดคณุ ลกั ษณะท่เี ข"มแขง็ สาํ หรับเยาวชนไปส0กู ารเตมิ ชวี ิตให"สมบูรณ*ของLickona and Davidson (2005)
2.3 แนวคิดการพฒั นาคณุ ลักษณะของเด็กไทยในอาเซยี น

2.3.1 แนวคดิ คณุ ลักษณะของเดก็ ไทยในประชาคมอาเซียนของ สาํ นักงานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พื้นฐาน (2553)
2.3.2 แนวคิดคุณลักษณะของพลเมืองอาเซียนตามกฎบัตรอาเซียนตามโครงการประชุมวิชาการระดับชาติและ

นานาชาติ ครั้งที่ 3 ของแพรภทั ร ยอดแกว" (2556)
จากการศึกษาแนวคิดคุณลักษณะของเด็กไทยในประชาคมอาเซียน โดยนํามาวิเคราะห* สังเคราะห* เพื่อกําหนดกรอบ

แนวคิดทจ่ี ะทาํ การศกึ ษาวิจยั ครง้ั น้ี โดยไดส" งั เคราะหแ* นวคิดทักษะของเดก็ ไทยในประชาคมอาเซยี น ดังน้ี

ดานทกั ษะ
ทักษะพ้นื ฐาน
- สอื่ สาร 2 ภาษาขน้ึ ไป (สือ่ สารได"อยา0 งน"อย 2 ภาษา (ภาษาองั กฤษ และภาษาเพอื่ นบ"าน)
- ใชเ" ทคโนโลยีทส่ี รา" งสรรค* (ทกั ษะในการใช"เทคโนโลยสี ารสนเทศอยา0 งสร"างสรรค)*
- ทํางานร0วมกับผ"อู นื่ และแกป" nญหาแบบสนั ติ (ทกั ษะความสามารถในการทํางานร0วมกับผู"อนื่ และแกป" nญหา

อย0างสนั ตวิ ธิ )ี
ทกั ษะการพัฒนาตน
- มกี ารแลกเปลี่ยนเรยี นรู" (การมสี ว0 นร0วมในการแสดงความคดิ เห็นแลกเปลย่ี นเรียนร)ู"
- มคี วามคิดสร"างสรรคเ* ชงิ บวก (การคิดวิเคราะห*อยา0 งมเี หตผุ ลมวี ธิ ีคดิ อย0างสรา" งสรรคเ* ชงิ บวก )
- มีภาวะผนู" าํ (มภี าวะผ"นู าํ และลงมือทาํ เพ่ือการเปลีย่ นแปลง)

166 เอกสารสืบเนอื่ งจากการประชมุ วชิ าการและนําเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ 2559 “การวิจัยรับใชช" ุมชนสร"างสงั คมฐานความร"ู”

ภาพ 1 กรอบแนวคิดการวจิ ัยการบริหารโรงเรยี นเพอื่ พฒั นาทักษะของเด็กไทยในประชาคมอาเซยี น

การบริหารโรงเรยี น ทักษะของเด็กไทยในประชาคมอาเซยี น
โดยนําแนวคิดกระบวนการบริหารมาวิเคราะห* ทกั ษะ/กระบวนการ
และสงั เคราะห*ได"ดงั น้ี
1. ทกั ษะพ้นื ฐาน
PIE - สอื่ สาร 2 ภาษาข้นึ ไป
- Planning - ใชเ" ทคโนโลยีที่สร"างสรรค*
- Implementation - การทาํ งานรว0 มกับผ"ูอืน่ และ
- Evaluation
แกป" ญn หาแบบสันติ
Fayol (1916), Gulick&Urwick (1936), 2. ทกั ษะการพัฒนาตน
Deming (1993) - มสี ว0 นร0วมแลกเปลี่ยนเรยี นร"ู
- มีความคิดสร"างสรรคเ* ชิงบวก
- มภี าวะผน"ู าํ

สพฐ ( 2554), แผนการศกึ ษาแหง0 ชาติ (2545-
2559), คณุ ลกั ษณะทีด่ ีของคนไทยด"านลักษณะ
ชวี ิต (2546), ดร. เกรยี งศักด์ิ เจรญิ วงศ*ศกั ด์ิ
(2547) , Nick Tate (2005) , Lickona และ
Davidson(2005)(2556)

การบรหิ ารโรงเรยี นเพื่อพัฒนาทกั ษะของเด็กไทยในประชาคมอาเซยี น

เอกสารสบื เน่อื งจากการประชมุ วิชาการและนาํ เสนอผลงานวจิ ยั ระดบั ชาติ 2559 “การวจิ ยั รบั ใชชุมชนสรางสังคมฐานความรู” 167

วธิ ีดําเนนิ การวิจัย

ประชากรและกลมุ ตวั อยาง
1) ประชากรที่ใช"ในการวิจัยครั้งน้ี ได"แก0 โรงเรียนประถมศึกษา สังกัดสํานักงานคณะกรรมการ

การศึกษาข้นั พื้นฐาน ในปก4 ารศกึ ษา 2556 จาํ นวน 28,566 โรงเรียน (สาํ นักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน, 2556)
2) กลุ0มตัวอย0างที่ใช"ในการวิจัยคร้ังนี้ ได"แก0 โรงเรียนประถมศึกษา สังกัดสํานักงานคณะกรรมการ

การศึกษาข้ันพ้ืนฐาน จํานวน 395 โรงเรียน โดยผ"ูวิจัยกําหนดผู"ให"ข"อมูลเปVนผ"ูปฏิบัติงานที่เก่ียวข"องกับการบริหารงาน
วชิ าการในโรงเรยี นประถมศกึ ษา 4 กลม0ุ คอื ผ"ูบริหารโรงเรียนโรงเรยี นละ 1 คน หัวหนา" กลม0ุ งานวชิ าการโรงเรียนละ 1 คน
หวั หน"ากลม0ุ สาระการเรยี นรู" โรงเรยี นละ 1 คน และครูผู"สอนโรงเรยี นละ 2 คน

เคร่อื งมอื การวจิ ัย
เครอ่ื งมอื ทใ่ี ชใ" นการวิจัย ได"แก0 แบบสอบถามความคดิ เหน็ เกีย่ วกบั สภาพปnจจบุ ันและสภาพที่พงึ ประสงค*ของการ

บริหารโรงเรยี นเพือ่ พฒั นาทักษะของเด็กไทยในประชาคมอาเซียนในการวิจัย จํานวน 1 ฉบับ ประกอบด"วย ความคิดเห็น
เก่ียวกับสภาพปจn จุบันและสภาพท่ีพึงประสงค*ของการบริหารโรงเรียนเพ่ือพัฒนาทักษะของเด็กไทยในประชาคมอาเซียน
สําหรับเก็บข"อมูลจาก ผ"ูบริหารโรงเรียนโรงเรียนหัวหน"ากลุ0มงานวิชาการโรงเรียน หัวหน"ากล0ุมสาระการเรียนร"ู โรงเรียน
และครูผูส" อนโรงเรียนโดยมีประเด็นคําถามในเครอ่ื งมอื แบ0งเปนV 2 ตอน ดังน้ี

ตอนท่ี 1 ข"อมูลท่ัวไปของผ"ูตอบแบบสอบถาม โดยใช"แบบตรวจสอบรายการ (Checklist)
ประกอบด"วย ตาํ แหนง0 เพศ อายุ ระดับการศกึ ษา ระยะเวลาในการทาํ งาน

ตอนที่ 2 สอบถามสภาพปnจจุบันและสภาพที่พึงประสงค*ของผู"บริหารโรงเรียนโรงเรียนละ 1 คน
หวั หนา" กลม0ุ งานวิชาการโรงเรียนละ 1 คน หัวหน"ากลุ0มสาระการเรียนร"ู โรงเรยี นละ 1 คน และครูผู"สอนโรงเรียนละ 1 คน
โดยใชแ" บบสอบถามแบบมาตราสว0 นประมาณค0า (Rating scale) 5 ระดับ

ผู"วิจัยนําแบบสอบถามที่ผ0านการตรวจสอบความตรงด"านเน้ือหาไปทดลองใช"กับผู"บริหารโรงเรียน
โรงเรียนหวั หนา" กลุ0มงานวชิ าการโรงเรียน หวั หนา" กล0ุมสาระการเรยี นรู" โรงเรยี น และครผู ส"ู อนโรงเรยี นที่ไม0ใช0กล0ุมตัวอย0าง
รวมทั้งสิ้น 30 คน นําข"อมูลที่ได"มาวิเคราะห*หาค0าความเท่ียงโดยใช"สูตรสัมประสิทธ์ิแอลฟ…าของครอนบาค (Cronbach’s
Alpha Coefficient) ไดค" า0 ความเช่อื ม่ัน 0.984

การเกบ็ รวบรวมขอมลู
ผู"วิจัยนําหนงั สอื ขอความร0วมมอื ในการเก็บรวบรวมข"อมูลจากบัณฑิตวิทยาลัยจุฬาลงกรณ*มหาวิทยาลัย ถึง

ผ"ูบริหารโรงเรียนประถมศกึ ษา สงั กัดสังกัดสาํ นักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน จํานวน 395 โรงเรียนโดยผู"วิจัย
ใช"การสง0 และการรบั ทางไปรษณยี *

การวเิ คราะหข- อมูล
การวิเคราะห*ขอ" มูลแบบสอบถาม
ตอนที่ 1 วิเคราะห*สถานภาพผ"ูตอบแบบสอบถาม โดยใช"สถิติเชิงพรรณนาเพื่อแจกแจงความถ่ีและหาค0า

ร"อยละ
ตอนที่ 2 วิเคราะห*สภาพปnจจุบันและสภาพท่ีพึงประสงค*ของการบริหารโรงเรียนเพื่อพัฒนาทักษะของ

เด็กไทยในประชาคมอาเซียน โดยใช"โปรแกรมสําเร็จรูป SPSS for Windows หาค0าเฉลี่ย และ ส0วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน
โดยวเิ คราะห*ภาพรวมและวิเคราะห*แยกสภาพแวดล"อมภายในและวเิ คราะห*สภาพแวดล"อมภายนอก

168 เอกสารสืบเนือ่ งจากการประชมุ วิชาการและนําเสนอผลงานวิจัยระดบั ชาติ 2559 “การวิจยั รบั ใชชุมชนสรางสงั คมฐานความรู”

สรุปผล

จํานวนและร"อยละของแบบสอบถามที่ได"รับคืนของกล0ุมตัวอย0างโรงเรียนประถมศึกษาโดยรวม คิดเปVนร"อยละ
85.32 ผูต" อบแบบสอบถามมีจาํ นวน ผ"ตู อบแบบสอบถามมีจํานวน 1,590 คน เปVนผ"ูบริหารโรงเรียนจํานวน 337 คน ครู
หัวหน"ากลุ0มงานวิชาการจํานวน 327 คน ครูหัวหน"ากล0ุมสาระการเรียนรู"จํานวน 319 คน และครูผู"สอนจํานวน 607 คน
เปนV เพศหญิงร"อยละ 68.30 เปนV เพศชายร"อยละ 31.70 มีอายุ 51-55 ป4 มากทีสุด จํานวน 490 คน คิดเปVนร"อยละ 30.82
รองลงมาคือ อายุ 56 ป4ข้ึนไป , 46-50 ป4 , 41-45 ป4 , 36-40 ป4 , 31-35 ป4 และไม0เกิน 30 ป4 ตามลําดับ มีวุฒิการศึกษา
สงู สุดระดบั ปริญญาตรีมากที่สุดจํานวน 912 คน คิดเปVนร"อยละ 57.36 รองลงมาคือ ระดับปริญญาโท ตํ่ากว0าปริญญาตรี
และระดบั ปรญิ ญาเอก ตามลําดบั มรี ะยะเวลาในการดาํ รงตาํ แหน0งปnจจบุ นั มากกว0า 30 ป4ขึ้นไปมากท่ีสุด จํานวน 428 คน
คดิ เปนV รอ" ยละ 26.92 รองลงมาคอื ไม0เกนิ 10 ป4 , 21-30 ป4 และ 11-20 ป4 ตามลาํ ดับ

1) สภาพปnจจุบันของการบริหารโรงเรียนเพ่ือพัฒนาทักษะของเด็กไทยในประชาคมอาเซียนจากการวิเคราะห*
สภาพแวดล"อมภายใน พบว0า ในภาพรวมอยู0ในระดับมาก(x= 3.82,S.D = .48) เมื่อพิจารณารายด"าน พบว0า ด"านทักษะ
ในการใช"เทคโนโลยสี ารสนเทศอย0างสร"างสรรค* มคี 0าเฉล่ียสภาพปnจจุบันสูงท่ีสุด (x=3.812, S.D = .52) รองลงมาคือ ด"าน
ทักษะความสามารถในการทํางานร0วมกับผ"ูอ่ืนและแก"ปnญหาอย0างสันติวิธีมีค0าเฉล่ีย (x=3.698, S.D = .54), ด"านทักษะ
ความเปVนผ"ูนํา มีค0าเฉลี่ย (x=3.638, S.D = .54), ด"านทักษะการมีส0วนร0วมในการแสดงความคิดเห็นและการแลกเปล่ียน
เรียนร"ู มีค0าเฉล่ีย (x=3.615, S.D = .52), ด"านทักษะการสื่อสาร 2 ภาษาขึ้นไป มีค0าเฉล่ีย (x=3.598, S.D = .69) และ
ด"านทักษะทางความคิด คิดอย0างสร"างสรรค*เชิงบวกและเปVนนักคิดเชิงวิพากษ* มีค0าเฉลี่ย (x=3.534, S.D = .55)
ตามลาํ ดบั

ส0วนสภาพปnจจุบันของการบริหารโรงเรียนเพ่ือพัฒนาทักษะของเด็กไทยในประชาคมอาเซียนจากการวิเคราะห*
สภาพแวดล"อมภายนอก พบว0า โดยภาพรวมอยู0ในระดับปานกลาง (x= 3.498, S.D = .56) เม่ือพิจารณารายด"าน พบว0า
ดานสภาพเทคโนโลยี มีค0าเฉลี่ยสภาพปnจจุบันสูงท่ีสุด (x=3.493, S.D = .56) รองลงมาคือ ดานนโยบายของรัฐบาลมี
ค0าเฉลย่ี สภาพปจn จุบัน (x=3.452, S.D = .60) ดานสภาพสงั คม มคี า0 เฉลยี่ สภาพปnจจบุ นั (x=3.365, S.D = .62) และดาน
สภาพเศรษฐกจิ มีคา0 เฉลี่ยสภาพปจn จบุ ันตาํ่ ที่สดุ (x=3.298, S.D = .62)

2) สภาพท่ีพึงประสงค*ของการบริหารโรงเรียนเพ่ือพัฒนาทักษะของเด็กไทยในประชาคมอาเซียนจากการ
วิเคราะห*สภาพแวดล"อมภายใน พบว0า ในภาพรวมอยู0ในระดับมากที่สุด (x= 4.749, S.D = .38) และเม่ือพิจารณา
องค*ประกอบย0อย พบวา0 ดา" นทกั ษะในการใชเ" ทคโนโลยสี ารสนเทศอยา0 งสรา" งสรรค* มีค0าเฉลยี่ สภาพท่พี งึ ประสงค*สงู สูงทสี่ ดุ
(x=4.692, S.D = .40) รองลงมาคือ ด"านทักษะความสามารถในการทํางานร0วมกับผู"อ่ืนและแก"ปnญหาอย0างสันติวิธี มี
คา0 เฉลี่ย (x=4.683, S.D = .39), ด"านทักษะการมีส0วนร0วมในการแสดงความคิดเห็นและการแลกเปล่ียนเรียนร"ู มีค0าเฉล่ีย
(x=4.658, S.D = .42), ด"านทกั ษะความเปนV ผ"นู ํา มคี า0 เฉลยี่ (x=4.622, S.D = .43), ด"านทักษะการส่ือสาร 2 ภาษาขึ้นไป
มีค0าเฉลี่ย (x=4.619, S.D = .44) และด"านทักษะทางความคิด คิดอย0างสร"างสรรค*เชิงบวกและเปVนนักคิดเชิงวิพากษ* มี
คา0 เฉล่ยี (x=4.598, S.D = .45) ตามลาํ ดับ

สว0 นสภาพที่พึงประสงคข* องการบริหารโรงเรียนเพอ่ื พฒั นาทกั ษะของเด็กไทยในประชาคมอาเซียนจาก
การวเิ คราะห*สภาพแวดลอ" มภายนอก พบว0า โดยภาพรวมอย0ูในระดับมากที่สุด (x= 4.741, S.D = .45) เม่ือพิจารณาราย
ด"าน พบว0า ดานสภาพเทคโนโลยี มีค0าเฉล่ียสภาพที่พึงประสงค*สูงท่ีสุด (x=4.661, S.D = .45) รองลงมาคือ ดาน
นโยบายของรฐั บาล มีค0าเฉล่ยี สภาพที่พงึ ประสงค* (x=4.653, S.D = .47) ดานสภาพสงั คม มคี 0าเฉลี่ยสภาพที่พึงประสงค*
(x=4.592, S.D = .47) และดานสภาพเศรษฐกิจ มคี า0 เฉล่ียสภาพท่ีพงึ ประสงคต* ํา่ ท่สี ดุ (x=4.561, S.D = .49)

เอกสารสบื เน่ืองจากการประชมุ วิชาการและนําเสนอผลงานวิจยั ระดบั ชาติ 2559 “การวิจยั รบั ใชชุมชนสรางสงั คมฐานความรู” 169

อภิปรายผล

ผลการวจิ ยั สภาพปnจจุบันของการบรหิ ารโรงเรยี นเพอ่ื พัฒนาทักษะของเด็กไทยในประชาคมอาเซียนในภาพรวม
อย0ูในระดับมาก ท้ังด"านการใช"เทคโนโลยีสารสนเทศอย0างสร"างสรรค* ด"านทักษะความสามารถในการทํางานร0วมกับผู"อ่ืน
และแก"ปญn หาอยา0 งสันติ ดา" นทักษะความเปVนผน"ู าํ ด"านมีทกั ษะการมีสว0 นรว0 มในการแสดงความคดิ เหน็ และการแลกเปลี่ยน
เรยี นร"ูทักษะการสอ่ื สาร 2 ภาษาขึ้นไป และด"านทกั ษะทางความคิด คิดอย0างสร"างสรรค*เชิงบวกและเปVนนักคิดเชิงวิพากษ*
ซึ่งสอดคล"องกับสอดคล"องกับแนวคิดของเกรียงศักด์ิ เจริญวงศ*ศักดิ์ และคณะ (2547) ท่ีศึกษาเร่ือง คุณลักษณะท่ีพึง
ประสงคข* องคนไทยในอนาคต ซึ่งจากงานวจิ ยั สรุปได"ว0าการให"ความสําคัญกับการพัฒนาเด็กทางด"านทักษะความสามารถ
เปVนคณุ ลักษณะที่สาํ คัญของคนไทยในอนาคต ดงั นน้ั จึงควรมีการสนับสนนุ ให"เด็กมีความสามารถและมที ักษะท่ีหลากหลาย
ในทักษะท่จี ําเปนV ต0างๆ ทงั้ ทักษะดา" นความรู" เช0น ทกั ษะภาษาต0างประเทศ ทกั ษะในการส่ือสาร ทกั ษะภาษาตา0 งประเทศ
หรือทักษะการเรียนร"แู ละพฒั นาตนเอง เชน0 ทกั ษะทางสงั คม ทักษะการแก"ปnญหา ทกั ษะการอาชพี ทักษะการจัดการทด่ี ี

ผลการวิจัย สภาพปnจจุบันของสภาพแวดล"อมภายนอกที่เกี่ยวข"องกับการบริหารโรงเรียนเพื่อพัฒนาทักษะของ
เด็กไทยในประชาคมอาเซียน พบว0า ด"านสภาพเทคโนโลยีมีค0าเฉลี่ยสภาพปnจจุบันสูงที่สุด แสดงให"เห็นว0า การพัฒนาด"าน
เทคโนโลยีของประเทศไทยมีการพัฒนาอย0างต0อเน่ือง สอดคล"องกับนโยบายของรัฐมนตรีว0าการกระทรวงศึกษาธิการ
ประจําป4งบประมาณ 2558กระทรวงศึกษาธิการ (2557) ที่ได"ดําเนินการเร0งพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศต0างๆ
ทางด"านการศึกษาใหเ" กดิ ความทันสมัย ดังน้ี 1) การน"อมนําแนวทางของพระบาทสมเด็จพระเจ"าอยู0หัวมาใช"ในการพัฒนา
ระบบการศึกษา เพื่อจัดแผนงานและโครงการในการพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษา 2) การดําเนิน
แผนงานและโครงการในการพฒั นาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษา จําเปVนจะต"องคํานึงถึงความพร"อมในแต0ละ
ระดบั การศกึ ษาในการจัดการเรยี นการสอน ประเมินถึงความค"ุมค0าในการสร"างการเรียนรู"ที่มีศักยภาพ มีประสิทธิภาพแก0
ผเู" รยี นอย0างสงู สดุ เพ่ือยกระดบั คุณภาพการศกึ ษาและผ"เู รียน อย0างเสมอภาคและเท0าเทียมกัน ในทกุ พ้นื ที่ 3) พัฒนาระบบ
เทคโนโลยีสารสนเทศ และจัดทําโครงการเพ่ือจัดการเรียนการสอนท่ีมีมาตรฐานอย0างเต็มศักยภาพ โดยจัดห"องเรียน
Smart Classroom ในโรงเรียนนําร0องให"เพ่ิมมากยิ่งข้ึน และกระจายสู0ภาคส0วนต0างๆตามภูมิภาคทั่วประเทศ 4) ระบบ
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการและบูรณาการเครือข0ายคอมพิวเตอร* เปVนการสร"างเครือข0ายเพื่อ เช่ือมโยง
ขอ" มูลทางการศกึ ษา ท้งั สถติ ิและการประเมินผลขอ" มลู ทางการศึกษาทจ่ี ําเปVนสาํ หรับใชป" ระกอบการตดั สินใจในการบริหาร
ทรัพยากรทางการศึกษาได"อยา0 งมีประสิทธิภาพ

ผลการวิจัยสภาพที่พึงประสงค*ของการบริหารโรงเรียนเพื่อพัฒนาทักษะของเด็กไทยในประชาคมอาเซียนใน
ภาพรวมอย0ูในระดับมากท่ีสุด สอดคล"องกับแนวคิดการพัฒนาคุณลักษณะของเด็กไทยในอาเซียน ของ สํานักงาน
คณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน (2553) ทีไ่ ด"ตระหนักถึงความสําคญั ในการเขา" สู0ประชาคมอาเซียน โดยจัดทําแนวการ
จัดการเรียนรู"เพื่อเตรียมความพร"อมของนักเรียนในการเข"าส0ูประชาคมอาเซียน โดยพัฒนาการเรียนรู"ของเด็กในประเทศ
ไทยทางด"านทักษะ และมีการกําหนดคุณลักษณะเพื่อกําหนดเปVนเป•าหมายในการพัฒนาท่ีชัดเจน คือทักษะพ้ืนฐานคือ
1. สามารถส่อื สาร,ทักษะทางเทคโนโลยีสารสนเทศ มคี วามสามารถในการแก"ปญn หาอย0างสนั ตวิ ิธแี ละมคี วามสามารถในการ
ทํางานและอยูร0 ว0 มกบั ผู"อ่ืน 2. ทักษะพลเมือง/ความรับผิดชอบทางสังคมคือ การเคารพผ"ูอื่นและ 3. ทักษะการเรียนร"ูและ
พัฒนาตนคือการมสี ว0 นรว0 มในการแสดงออกทางความคดิ เหน็ และมกี ารแลกเปล่ยี นการเรียนรู"

ผลการวิจัย สภาพท่ีพึงประสงค*ของสภาพแวดล"อมภายนอกท่ีเกี่ยวข"องกับการบริหารโรงเรียนเพื่อพัฒนาทักษะของ
เด็กไทยในประชาคมอาเซียนอย0ูในระดับมากพบว0า เทคโนโลยี มีค0าเฉล่ียสภาพท่ีพึงประสงค*สูงที่สุด เช0นเดียวกับสภาพ
ปnจจุบัน แสดงให"เห็นว0า การพัฒนาคุณลักษณะของเด็กไทยในประชาคมอาเซียนจําเปVนต"องใช"เทคโนโลยีในการจัดการ
เรยี นการสอนในทกุ ๆดา" นอยา0 งตอ0 เนอื่ ง ดงั นัน้ ความต0อเน่อื งในการใชเ" ทคโนโลยีเพื่อพฒั นาผเ"ู รยี นสป0ู ระชาชมอาเซยี นถือว0า
มีความสําคัญอย0างมาก สอดคล"องกับกรอบนโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ระยะท่ี 2 พ.ศ.2554 – 2563
ของประเทศไทย กระทรวงเทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอ่ื สาร (2554) โดยมีวิสัยทัศน* คือ ระบบ ICT เปVนพลังสําคัญใน
การขับเคลอ่ื นองคค* วามรข"ู องคนไทย เพื่อใหค" นไทยมคี วามรูแ" ละสติปnญญา และมีโอกาสเขา" ถึงแหล0งความรใู" นทุกเพศทกุ วัย
เพ่ือส0งเสริมการเรียนรู"ตลอดชีวิตอย0างมีคุณภาพด"วย ICT โดยเน"นทักษะ 3 ประการ คือ 1) ทักษะการใช"เทคโนโลยี
สารสนเทศและการส่ือสาร(ICT literacy)2) การรอบรู" เข"าถึง สามารถพัฒนาและใช"สารสนเทศอย0างมีวิจารณญาณ
(Information literacy)3) การร"เู ทา0 ทนั สอื่ (Media literacy)

170 เอกสารสืบเนื่องจากการประชมุ วชิ าการและนําเสนอผลงานวจิ ยั ระดบั ชาติ 2559 “การวจิ ยั รบั ใชชมุ ชนสรางสังคมฐานความรู”

ขอเสนอแนะ

สาํ นักงานเขตพนื้ ท่กี ารศกึ ษา และผ"ูบริหารโรงเรียน ควรมกี ารสนับสนนุ เร่อื งนโยบายการพฒั นาการบรหิ าร
โรงเรียนเพอื่ พฒั นาทักษะของเดก็ ไทยในประชาคมอาเซียนอย0างต0อเน่ือง และควรสนับสนนุ ส่อื การเรยี นการสอน
เทคโนโลยีต0างๆทีเ่ อื้อประโยชนต* อ0 การพฒั นาผ"ูเรียนให"เกดิ ประโยชนส* งู สุด

ควรมกี ารศกึ ษาวจิ ยั เก่ยี วกบั กลยุทธ*พัฒนาการบริหารโรงเรียนเพื่อพฒั นาทักษะของเดก็ ไทยในประชาคมอาเซียน
ของนกั เรยี นทงั้ นเ้ี พอื่ ใหโ" รงเรียนได"องคค* วามร"ูทางด"านบรหิ ารการศกึ ษาซึง่ จะชว0 ยสง0 เสริมให"มีพลงั ขบั เคลอื่ นในการที่จะ
พฒั นาทกั ษะของเด็กไทยในประชาคมและเห็นมติ ิของการพัฒนาทักษะของผ"เู รยี นท่ีมคี วามหลากหลายและชดั เจนมาก
ยิ่งข้นึ

เอกสารอางอิง

กระทรวงศึกษาธิการ. พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ (ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2545.กรุงเทพฯ : โรงพิมพ*องค*การรับส0ง
สินค"าและพสั ดุภณั ฑ*, 2545.

กระทรวงศกึ ษาธิการ, กฎกระทรวงวาดวยการกําหนดหลักเกณฑ-และวิธีการกระจายอํานาจการบริหารและ
การจดั การศึกษา พ.ศ. 2545. กรุงเทพฯ : โรงพิมพอ* งค*การรับสง0 สนิ ค"าและพสั ดภุ ณั ฑ*, 2545.

จารวุ รรณ ศรพี งษพ* ันธ*ุกุล. การแปลงแผนสูการปฏบิ ัติ. [ออนไลน*]. 2549.แหล0งทม่ี า:
http://lopburi.dlt.go.th/downloads/doc/2.ppt [15กรกฎาคม 2555]

ธีระ รุญเจริญและคณะ. การบริหารเพ่อื การปฏริ ูปการเรียนรู. กรงุ เทพฯ : เยลโล0, 2545.
ธรี ะ รญุ เจรญิ . สภาพและปaญหาการบริหารและการจัดการศึกษาขน้ั พน้ื ฐานของสถานศึกษาในประเทศไทย.

กรงุ เทพฯ : ห"างหนุ" สว0 นจํากัด วี.ที.ซี. คอมมวิ นิเคช่นั , 2545.
ปญn ญา แก"วกียูร และสภุ ัทร พนั ธพ* ฒั นกุล. การริหารจดั การศกึ ษาในรปู แบบการใชสถานศึกษาขัน้ พน้ื ฐานหรือเขตพื้นท่ี

การศึกษาเป`นฐาน. กรงุ เทพฯ : สาํ นักงานปฏิรูปการศึกษา, 2545.
ปรียาพร วงศอ* นตุ รโรจน*. การบริหารงานวชิ าการ. กรงุ เทพฯ : ศูนยส* อ่ื เสรมิ กรุงเทพ, 2544.
สุวมิ ล ว0องวาณิชและคณะ . (2550). โครงการเรงสรางคณุ ลักษณะที่ดีของเดก็ และเยาวชนไทย. ศนู ย-สงเสรมิ และ

พฒั นาพลังแผนดินเชิงคุณธรรม. กรงุ เทพฯ: พรกิ หวานกราฟฟค– .
สาํ นกั งานคณะกรรมการการศึกษาแหง0 ชาติ สํานกั นายกรฐั มนตรี. แผนการศึกษาแหงชาติ (พ.ศ.2545-

2559). กรงุ เทพฯ : สกศ., 2545.
สํานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐาน กระทรวงศึกษาธกิ าร. แนวการจัดการเรยี นรสู ปู ระชาคมอาเซยี นระดบั

ประถมศกึ ษา. กรงุ เทพฯ : โรงพิมพ*ชุมนมุ สหกรณก* ารเกษตรแหง0 ประเทศไทยจาํ กัด, 2554.
สาํ นกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน กระทรวงศึกษาธิการ. แนวการจัดการเรียนรสู ูประชาคมอาเซียนระดบั

มัธยมศึกษา. กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พช* ุมนมุ สหกรณก* ารเกษตรแหง0 ประเทศไทยจาํ กัด, 2554.
สํานักงานเลขาธกิ ารสภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ.การกาวสูประชาคมอาเซียน. กรุงเทพฯ : สกศ., 2554.
สาํ นกั วชิ าการและมาตรฐานการศกึ ษา, สํานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน. (ราง)

โครงการพฒั นาสูประชาคมอาเซยี น: Spirit of ASEAN. (อดั สาํ เนา)
หน0วยศึกษานิเทศก*สํานักงานการศึกษา. คูมือการบริหารจัดการในสถานศึกษาข้ันพื้นฐานสังกัดกรุงเทพมหานคร.

การบริหารงานวิชาการ. กรุงเทพฯ: สาํ นักการศึกษา, 2551.

เอกสารสืบเนอื่ งจากการประชมุ วชิ าการและนําเสนอผลงานวิจัยระดบั ชาติ 2559 “การวจิ ยั รับใชชมุ ชนสรางสงั คมฐานความรู” 171

Fayol, H. (1916). "Five Functions of Management." Retrieved May 18,
2014http://www.provenmodels.com/3.

Gulick, L. and L. Urwick (2005).Papers on the science of administration Notes on the Theory of
Organization,4. New York : Institute of Public Administration.

Kaplan, R. S. and D. ---------- Norton (1996). The balanced scorecard : translating strategy into action.
Boston, Mass. : Harvard Business School Press.

Koontz, H. and H. Weihrich (1990). Essentials of management. New York : McGraw-Hill.
Lickona, T. and M. Davidson (2005). Smart & Good High Schools : Integreting excellence and ethnics for

success in school, work and beyond. Washington, D.C., Character Education Partnership.
Nick Tate (2005). Society's Voice in Moral Education And Pluralism. London, Falmers Press.
Wheelen, L. and J. Hunger (2012). Strategic management and business policy. Upper Saddle River, NJ :

Pearson/Prentice Hall.

172 เอกสารสืบเนือ่ งจากการประชมุ วิชาการและนําเสนอผลงานวจิ ยั ระดบั ชาติ 2559 “การวิจยั รบั ใชชุมชนสรางสังคมฐานความรู”

ปaจจัยทมี่ อี ทิ ธิพลตอการตัดสินใจเลอื กเขาศึกษาตอระดับปริญญาตรี
หลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต มหาวทิ ยาลัยราชภัฏเทพสตรี

Factors Influencing the Decision of Potential Undergraduate Students
toStudy in the Bachelor of Education Programs at ThepsatriRajabhat University.

สามารถ พยอมหอม1
Samart Payomhom1

บทคดั ยอ

การศึกษาเรื่องปnจจัยที่มีอิทธิพลต0อการตัดสินใจเลือกเข"าศึกษาต0อระดับปริญญาตรี หลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต
มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏเทพสตรี มวี ัตถุประสงคเ* พอื่ ศึกษาถงึ ปจn จัยทเี่ กย่ี วข"องกับการตดั สินใจเข"าศกึ ษาต0อในระดับปริญญาตรี
หลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี กลุ0มตัวอย0างเปVนนักศึกษาระดับปริญญาตรี หลักสูตรครุศาสตร
บณั ฑติ ช้นั ปท4 ี่ 1 (เข"าศึกษาป4 2557) จํานวน 11 สาขาวชิ า 345 คน ได"มาจากการเลอื กอย0างเจาะจง โดยม0ุงศึกษาเกี่ยวกับ
ปnจจัยที่มีอิทธิพลต0อการตัดสินใจของบุคคล 7 ด"าน ได"แก0ด"านความคาดหวังในวิชาชีพ ด"านความมั่นคงและก"าวหน"าใน
วิชาชีพ ด"านสงั คมและเศรษฐกิจ ดา" นความถนัดและเหตผุ ลสว0 นตัว ด"านเกียรติยศช่ือเสียงของวิชาชีพ ด"านสภาพแวดล"อม
ของมหาวิทยาลยั และดา" นคณุ ภาพและชือ่ เสยี งของมหาวิทยาลยั เคร่อื งมอื ท่ีใช"ในการวิจัยเปนV แบบสอบถามแบ0งออกเปVน 2
ตอนได"แก0ตอนท่ี 1 ข"อมูลทั่วไปของผ"ูตอบแบบสอบถามและตอนท่ี 2 สอบถามความคิดเห็นเกี่ยวกับปnจจัยท่ีมีอิทธิพลต0อ
การตัดสินใจเลือกเข"าศึกษาต0อระดับปริญญาตรีลักษณะเปVนมาตราประมาณค0า (Rating Scale) แบบสอบถามมีค0าความ
เชือ่ ม่ัน 0.803

ผลการศึกษาพบวา0 ปnจจัยทั้ง 7 ดา" นมอี ทิ ธิพลต0อการตดั สนิ ใจเข"าศึกษาต0ออย0ูในระดับมากท้ังหมด เมื่อพิจารณา
ความสัมพันธ*ระหว0างปnจจัยส0วนบุคคลท่ีมีอิทธิพลต0อการตัดสินใจเลือกเข"าศึกษาต0อ พบว0ามีความสัมพันธ*กันในระดับต่ํา
หรอื ไมม0 ีความสัมพนั ธ*กนั

คําสาํ คัญ : การตัดสนิ ใจ วชิ าชีพครู ครศุ าสตรบัณฑิต ปnจจัยสว0 นบุคคล

Abstract

The study of factors influencing the decision of potential undergraduate students to study in
the Bachelor of Education programs at ThepsatriRajabhat University.The aimed to study the factors
involved in deciding are admission to bachelor of educationprogram ,ThepsatriRajabhat University. The
sample use in this study are345 students in 1stsemester in academic year of 2014 by purposive
sampling. The study focused on the factors that influenced the decision of the sample seven parts in
terms of their expectations of the profession, security in career advancement, social and economic,
the aptitude and personal reasons, the prestige of the profession, the environment of the university
and the quality and reputation of the university. The tools used in this research were derived include
scales questionnaires with the confidence 0.803.

1 อาจารย* สาขาคณิตศาสตร* คณะวิทยาศาสตรแ* ละเทคโนโลยี มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏเทพสตรี

เอกสารสบื เนือ่ งจากการประชมุ วิชาการและนาํ เสนอผลงานวิจัยระดบั ชาติ 2559 “การวจิ ัยรับใชชุมชนสรางสังคมฐานความรู” 173

The study results show that all seven factors influencing the decision of potential
undergraduate students to study in the Bachelor of Education programs were at a high level. When
considering the relationship between the individual factors that influence the decision to study is not
found that there were low correlation or no correlation.

Keywords: Decision, Teacher Profession, Bachelor of Education, Personal factor

ความเป`นมาและความสําคัญของปaญหา

ปnจจุบันการขยายตัวทางด"านเศรษฐกิจของประเทศเพิ่มมากขึ้น ทําให"เกิดความต"องการกําลังคนท่ีมีความรู"
ความสามารถส0งผลให"รัฐบาลต"องเพ่ิมการผลิตบัณฑิตสาขาวิชาต0าง ๆ เพิ่มมากขึ้น การศึกษาจึงถือว0าเปVนสิทธิขั้นพ้ืนฐาน
อันสําคัญที่สุดของประชากรที่รัฐจะต"องจัดหาให" หากทุกคนได"รับการศึกษาก็จะสามารถพัฒนาคุณภาพชีวิตของตนและ
ดําเนินชีวิตร0วมกันในสังคมได"อย0างสันติสุข การปฏิรูปการอุดมศึกษาส0งผลให"ปริมาณความต"องการการศึกษา
ระดับอุดมศึกษาเพิ่มขึ้นทุกป4 ในอัตรามากกว0าร"อยละ 7 ต0อป4และมีแนวโน"มเพิ่มข้ึน เน่ืองจากผ"ูสําเร็จการศึกษาระดับ
มัธยมศกึ ษาตอนปลายมากขนึ้ ตลอดจนประชากรท่อี ย0ใู นวัยทํางานบางส0วนต"องการศึกษาเพิ่มเติมในระดับอุดมศึกษามาก
ขน้ึ ทําให"ต"องขยายปริมาณการรับนักศึกษาระดับอุดมศึกษาและหาแนวทางการพัฒนารูปแบบการจัดบริการด"านการจัด
การศึกษาทีห่ ลากหลายรูปแบบขน้ึ (สํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศกึ ษาธิการ , 2551)เพอื่ ให"การศึกษาของ
ประเทศเปนV ไปอย0างมีมาตรฐานและมีคุณภาพทีจ่ ะผลติ บคุ ลากรออกไปประกอบอาชีพตามท่ีได"ศึกษามา จําเปVนต"องมีการ
เตรียมบุคลากรทางการศึกษาให"เปVนผ"ูท่ีมีศักยภาพ มีความรักในการเรียนการสอนอย0างแท"จริง ซึ่งก็คือครู ครูเปVนปnจจัย
สําคญั ท่ีจะพัฒนาคุณภาพผ"เู รียน ครูทมี่ ีคุณภาพจะช0วยผลกั ดนั ใหผ" "เู รยี นไดพ" ัฒนาตนอย0างครบถว" น เหมาะสม เปVนการวาง
พน้ื ฐานเพือ่ การพฒั นาทรพั ยากรมนุษย*ไปส0ูความเปVนสากล

มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี มีหลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต (หลักสูตร 5 ป4) ท่ีผลิตบัณฑิตสาขาการศึกษา โดยมี
คณะครุศาสตร* วิทยาศาสตร*และเทคโนโลยี คณะมนุษยศาสตร*และสังคมศาสตร*และคณะเทคโนโลยีสารสนเทศร0วมกัน
ผลติ บัณฑิต จาํ นวน 11 สาขาวชิ า มุ0งผลติ ครใู หม" คี ุณภาพและคณุ ธรรมไดม" าตรฐานสากล เนน" การวิจัยเพอ่ื สร"างองคค* วามร"ู
ใหม0 โดยอาศัยการมสี ว0 นรว0 มและเครือข0ายทางวิชาการทั้งในและต0างประเทศให"บรรลุความเปVนเลิศทางวิชาการ เน"นเปVน
สงั คมแหง0 การเรียนรแ"ู ละการทํางานเปVนทมี ในปก4 ารศกึ ษา2557 มนี กั เรียนท่ีสําเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
ที่มาสมคั รเข"าศึกษาต0อในหลักสูตรครุศาสตรบัณฑิตเปVนจํานวน 1,145 คน ซึ่งแผนการรับนักศึกษาท้ังหมด 11 สาขาวิชา
(4 แขนงวิชา) สามารถรับนักศึกษาได"เพียง 600 คน (แผนการรับเข"าศึกษาระดับปริญญาตรีภาคปกติป4การศึกษา 2557
มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั เทพสตรี , 2557) ทาํ ให"เกิดการแขง0 ขนั ในการเข"าศึกษาต0อเปVนจํานวนมาก ซึ่งผ"ูวิจัยคาดว0าอาจจะเกิด
จากปnจจัยบางประการ ท่ีมีอิทธิพลต0อการตัดสินใจเลือกเข"าศึกษาต0อในระดับปริญญาตรี หลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต
มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรีผ"ูวิจัยจึงสนใจท่ีจะศึกษาถึงปnจจัยท่ีมีผลต0อการตัดสินใจเลือกเข"าศึกษาต0อระดับปริญญาตรี
หลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี ซ่ึงผลการศึกษาจะเปVนประโยชน*ในการวางแผนการพัฒนา
สาขาวชิ า พัฒนาหลักสูตร การแนะแนวการศกึ ษาและการเตรยี มความพรอ" มดา" นอน่ื ๆ ตอ0 ไป

วัตถปุ ระสงค-
1. เพ่ือศึกษาถึงปnจจัยที่เก่ียวข"องกับการตัดสินใจเข"าศึกษาต0อในระดับปริญญาตรี หลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต

มหาวทิ ยาลัยราชภัฏเทพสตรี
2. เพ่ือศึกษาความสัมพันธ*ระหว0างปnจจัยส0วนบุคคลกับปnจจัยท่ีมีอิทธิพลต0อการตัดสินใจเข"าศึกษาต0อระดับ

ปรญิ ญาตรตี รี หลกั สูตรครศุ าสตรบัณฑติ มหาวิทยาลยั ราชภัฏเทพสตรี

174 เอกสารสบื เน่ืองจากการประชมุ วชิ าการและนําเสนอผลงานวิจยั ระดบั ชาติ 2559 “การวจิ ัยรับใชชมุ ชนสรางสังคมฐานความรู”

กรอบแนวความคดิ
ผ"ูวจิ ัยได"กาํ หนดกรอบแนวคดิ ของปจn จัยท่ีเกยี่ วขอ" งกับการตดั สินใจเข"าศึกษาต0อในระดับปริญญาตรี หลักสูตรครุศา

สตรบณั ฑิต มหาวิทยาลัยราชภฏั เทพสตรีดงั ภาพ

ตวั แปรอิสระ ตัวแปรตาม

ปnจจัยสว0 นบุคคล ปnจจัยที่มอี ทิ ธิพลตอ0 การตดั สนิ ใจ

o เกรดเฉลยี่ สะสม(GPAX)ระดบั o ดา" นความคาดหวงั ในวชิ าชพี
มัธยมศึกษาตอนปลาย o ด"านความมั่นคงและก"าวหน"าใน

o ภมู ิลําเนา วชิ าชีพ
o ระดับการศกึ ษาของบดิ า มารดา o ดา" นสังคมและเศรษฐกจิ
o ด"านความถนัดและเหตผุ ลสว0 นตัว
หรือผู"ปกครอง o ดา" นเกยี รตยิ ศชื่อเสยี งของวิชาชีพ
o อาชีพของบิดา มารดาหรอื o ด" า น ส ภ า พ แ ว ด ล" อ ม ข อ ง

ผปู" กครอง มหาวทิ ยาลยั
o ระดับรายได"ตอ0 เดอื นของบดิ า o ด"านคุณภาพและช่ือเสียงของ

มารดาหรอื ผู"ปกครอง มหาวิทยาลัย
o สถานภาพสมรสของบดิ า มารดา
o จาํ นวนพนี่ "องในครอบครวั

วิธีการดําเนนิ การวิจัย

ประชากรและกลมุ ตัวอยาง
ประชากรและกล0ุมตัวอยา0 ง ประชากรและกล0ุมตัวอย0างทีใ่ ช"ในการวจิ ยั ครัง้ น้ี ได"แก0 นกั ศึกษาระดบั ปริญญา

ตรี หลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี ช้ันป4ท่ี 1 (เข"าศึกษาป4 2557) จํานวน 11 สาขาวิชา 345คน
ได"มาจากการเลอื กอยา0 งเจาะจง

เครื่องมอื การวจิ ยั
เครอ่ื งมือทใ่ี ชใ" นการวจิ ยั ได"แก0 แบบสอบถาม โดยแบ0งออกเปVน 2 ตอน ดงั น้ี
1. ข"อมูลทั่วไปของผ"ูตอบแบบสอบถาม ประกอบไปด"วย เพศ อายุ เกรดเฉลี่ยสะสม (GPAX) ระดับ

มัธยมศึกษาตอนปลาย ภูมิลําเนา ระดับการศึกษา อาชีพ ของบิดา มารดาหรือผู"ปกครองระดับรายได"ต0อเดือนของบิดา
มารดาหรือผ"ปู กครองรวมกันสถานภาพสมรสของบดิ า มารดา จาํ นวนพีน่ อ" งในครอบครวั

2. ปจn จัยทีม่ ีอทิ ธพิ ลต0อการตดั สนิ ใจเลอื กเขา" ศกึ ษาต0อระดบั ปรญิ ญาตรี หลักสูตรครศุ าสตรบณั ฑิต มหาวิทยาลัย
ราชภัฏเทพสตรี ประกอบด"วย 7 ดา" น ดา" นความคาดหวังในวชิ าชพี ดา" นความม่ันคงและก"าวหน"าในวชิ าชพี ด"านสังคมและ
เศรษฐกิจ ดา" นความถนัดและเหตุผลส0วนตัว ด"านเกียรติยศชื่อเสียงของวิชาชีพด"านสภาพแวดล"อมของมหาวิทยาลัย ด"าน
คณุ ภาพและชื่อเสียงของมหาวทิ ยาลยั แบบสอบถามมีลักษณะเปนV มาตราประมาณคา0 (Rating Scale) 5 ระดับ

เอกสารสบื เน่ืองจากการประชมุ วชิ าการและนาํ เสนอผลงานวจิ ัยระดบั ชาติ 2559 “การวิจยั รบั ใชชุมชนสรางสงั คมฐานความรู” 175

3. เมื่อผู"วิจัยสร"างแบบสอบถามแล"วนําไปหาค0าความเช่ือม่ันของแบบสอบถาม (Reliability) จากการให"
นักศึกษาหลักสูตรครุศาสตรบัณฑิตสาขาคณิตศาสตร*ที่ไม0ใช0กล0ุมตัวอย0างจํานวน 48 คนทําแบบสอบถาม พบว0า
แบบสอบถามมคี 0าความเชอื่ มั่นทง้ั ฉบบั เทา0 กบั 0.083 ซง่ึ ถือว0าเปVนแบบสอบถามท่ใี ชไ" ด" แลว" นําไปเกบ็ รวมรวมข"อมูล

การเกบ็ รวบรวมขอมลู
ผว"ู จิ ัยทําหนงั สือขออนุญาตเก็บขอ" มลู และแบบสอบถามดาํ เนนิ การสง0 ถึงคณบดีคณะครุศาสตร* คณะวิทยาศาสตร*

และเทคโนโลยี คณะมนษุ ยศ* าสตร*ละสงั คมศาสตร* คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและคณะเทคโนโลยอี ตุ สาหกรรม เพือ่ ให"ทาง
คณะประสานงานกบั สาขาวชิ าและผวู" จิ ัยตดิ ตามรับแบบสอบถามกลับคืน

การวเิ คราะหข- อมลู
ผ"ูวิจัยใช"โปรแกรมสําเร็จรูปเพ่ือการวิจัยวิเคราะห*ข"อมูลตอนท่ี 1 การวิเคราะห*ระดับปnจจัยท่ีเก่ียวข"องกับการ

ตัดสินใจเข"าศึกษาต0อในระดับปริญญาตรี หลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี และตอนท่ี 2 การ
วิเคราะห*ความสัมพันธ*ระหว0างตัวแปรต"นและตัวแปรตามของแบบสอบถาม นําข"อมูลดังกล0าวมาหาค0าสถิติค0าร"อยละ
ค0าเฉลีย่ และค0าเบี่ยงเบนมาตรฐาน สาํ หรบั เกณฑ*การแปลคา0 เฉลี่ยน้ําหนกั คาํ ถาม (บุญชม ศรีสะอาด , 2547) ไดก" ําหนด
น้ําหนักค0าเฉล่ียในการแบ0งช0วงชั้น(Class Interval) 5 ระดับ สถิติท่ีใช"ในการหาค0าสัมประสิทธ์ิสหสัมพันธ*อย0างง0ายแบบ
เพียร*สัน(Pearson Product-moment Correlation Coefficient)แล"วนําค0าสัมประสิทธ*สหสัมพันธ*ที่คํานวณได"มาแปล
ผลในรูปของความสัมพันธ*นั้นตามเกณฑ* ค0าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ*เปVน 0 แสดงว0า ตัวแปรท้ังสองไม0มีความสัมพันธ*กัน
ถ"าไม0เปVน 0 แสดงว0าตัวแปรท้ังสองมีความสัมพันธ*กัน โดยทิศทางของความสัมพันธ*นั้นจะพิจารณาจากเคร่ืองหมายของ
สหสัมพันธ*ที่คํานวณได" กล0าวคือถ"าเปVนไปในทางบวกแสดงว0าตัวแปรทั้งสองมีความสัมพันธ*กันในลักษณะคล"อยตามกัน
ถ"าเปVนไปในทางลบแสดงวา0 ตวั แปรทง้ั สองมีความสมั พันธ*กนั ในทางตรงข"าม

สรุปผล

สรปุ ผลการวิจยั
พบวา0 กลุ0มตัวอย0างสว0 นใหญเ0 ปVนเพศหญงิ คิดเปนV รอ" ยละ 69.0 และเปVนเพศชายร"อยละ 31.0 เมอ่ื จําแนกตามอายุ

กลุ0มตัวอย0างส0วนใหญ0มีอายุ 18 ป4เปVนร"อยละ 51.0 อายุ 19 ป4 คิดเปVนร"อยละ 41.5 และอายุ 17 ป4 คิดเปVนร"อยละ 1.5
เม่ือจําแนกตามคณะกลม0ุ ตัวอย0างสว0 นใหญเ0 ปVนนักศึกษาคณะมนุษยศาสตร*และสงั คมศาสตรค* ิดเปนV ร"อยละ 35.1 รองลงมา
เปVนนักศึกษาคณะครศุ าสตรค* ิดเปนV รอ" ยละ 31.0 คณะวิทยาศาสตรแ* ละเทคโนโลยีคดิ เปVนรอ" ยละ 26.7 และคณะเทคโนโลยี
สารสนเทศคิดเปนV รอ" ยละ 7.2 เมื่อจําแนกตามสาขาวชิ ากลุ0มตัวอย0างส0วนใหญ0เปVนนักศึกษาสาขาคณิตศาสตร* คิดเปVนร"อย
ละ 13.3 รองลงมาเปVนนักศึกษาสาขาภาษาอังกฤษ คิดเปVนร"อยละ 12.2 และสาขาภาษาไทย คิดเปVนร"อยละ 10.7 เมื่อ
จําแนกตามเกรดเฉลี่ยสะสม(GPAX)ระดับมัธยมศึกษาตอนปลายกล0ุมตัวอย0างส0วนใหญ0เกรดเฉล่ียสะสมระดับมัธยมศึกษา
ตอนปลายส0วนใหญ0อยู0ระหว0าง 2.50 – 2.99 คิดเปVนร"อยละ 40.9 รองลงมาเกรดเฉลี่ยสะสมระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
อยรู0 ะหว0าง 3.00 – 3.49 คิดเปVนร"อยละ 33.3 และ เกรดเฉลี่ยสะสมระดับมัธยมศึกษาตอนปลายอยู0ระหว0าง 2.00 – 2.49
คิดเปนV ร"อยละ 14.2

เมื่อจําแนกตามภูมิลําเนากลุ0มตัวอย0างส0วนใหญ0มีภูมิลําเนาอย0ูในจังหวัดลพบุรี คิดเปVนร"อยละ 63.5 รองลงมา
ภูมิลําเนาอยู0ในจังหวัดสระบุรี คิดเปVนร"อยละ 13.0 และสิงห*บุรี คิดเปVนร"อยละ 9.6 เมื่อจําแนกตามอาชีพผ"ูปกครองกลุ0ม
ตวั อย0างสว0 นใหญผ0 "ปู กครองมีอาชีพรบั จา" งท่ัวไปคดิ เปVนรอ" ยละ 28.1 รองลงมาผ"ปู กครองมอี าชพี รับราชการ/รัฐวิสาหกิจคิด
เปVนร"อยละ 26.4 และผ"ูปกครองมีอาชีพเกษตรกรรมคิดเปVนร"อยละ 21.4 เมื่อจําแนกตามระดับการศึกษาของผ"ูปกครอง
กลม0ุ ตวั อย0างสว0 นใหญผ0 ูป" กครองมีการศกึ ษาอย0ูในระดับประถมศึกษาคิดเปVนร"อยละ 36.5 รองลงมาผ"ูปกครองมีการศึกษา
อยู0ในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย/ปวช. คิดเปVนร"อยละ 22.3 และผ"ูปกครองมีการศึกษาอยู0ในระดับปริญญาตรี คิดเปVน
ร"อยละ 16.5 เม่ือจําแนกตามรายได"ของผู"ปกครองกล0ุมตัวอย0างส0วนใหญ0ผู"ปกครองมีรายได"(ต0อเดือน) ระหว0าง 5,001 –
10,000 บาทคิดเปVนร"อยละ 40.0 รองลงมาผ"ูปกครองมีรายได"(ต0อเดือน) ระหว0าง 10,001 – 20,000 บาทคิดเปVนร"อยละ

176 เอกสารสบื เนอ่ื งจากการประชมุ วิชาการและนําเสนอผลงานวจิ ัยระดบั ชาติ 2559 “การวจิ ยั รบั ใชชุมชนสรางสงั คมฐานความรู”

29.9 และผ"ูปกครองมีรายได"(ต0อเดือน) มากกว0า 30,000 บาท คิดเปVนร"อยละ 12.2 เมื่อจําแนกตามสถานภาพการสมรส
ของผป"ู กครองกลุ0มตวั อย0างสว0 นใหญผ0 "ปู กครองอยู0ดว" ยกนั คดิ เปนV ร"อยละ 69.6 รองลงมาผูป" กครองมรี ายไดห" ยา0 รา" ง/แยกกัน
อยู0 คิดเปนV รอ" ยละ 18.6 และผ"ูปกครอง บิดาหรือมารดาเสียชีวิต คิดเปVนร"อยละ 9.6 และเมื่อจําแนกตามจํานวนพี่น"องใน
ครอบครัวกล0ุมตัวอย0างส0วนใหญ0มีจํานวนพี่น"องในครอบครัว 2 คนคิดเปVนร"อยละ 37.7 รองลงมามีจํานวนพี่น"องใน
ครอบครวั 1 คนคดิ เปVนร"อยละ 24.9 และมจี ํานวนพน่ี อ" งในครอบครัว 3 คน คดิ เปVนรอ" ยละ 17.7

ปจn จัยด"านความคาดหวังในวิชาชีพในภาพรวมมีอิทธิพลอยู0ในระดับมาก ( x =4.15 , s.d. = 0.81)เม่ือพิจารณา
รายขอ" พบวา0 การนาํ ความร"ทู ่ไี ด"รบั มาใช"ในชวี ิตประจําวันได"มีอิทธิพลอยู0ในระดับมาก ( x =4.26 , s.d. = 0.61)รองลงมา
คือสามารถนําความร"ูมาพัฒนาประเทศชาติได" ( x =4.24 , s.d. = 1.69)และสามารถศึกษาต0อในระดับสูงขึ้นได" ( x
=4.16 , s.d. = 0.66)

ปnจจัยด"านความมั่นคงก"าวหน"าในวิชาชีพในภาพรวมมีอิทธิพลอย0ูในระดับมาก ( x =4.18 , s.d. = 0.70)เมื่อ
พิจารณารายขอ" พบว0า การมีอาชีพที่ม่ันคงหลังสําเร็จการศึกษาและมีอาชีพที่ก"าวหน"าหลังสําเร็จการศึกษาได"มีอิทธิพลอยู0
ในระดับมาก ( x = 4.30 , s.d. = 0.64)และสามารถหาความรู"เพิ่มเตมิ ได"งา0 ย( x =4.19 , s.d. = 0.65)

ปnจจัยด"านสังคมและเศรษฐกิจในภาพรวมมีอิทธิพลอย0ูในระดับมาก ( x =4.18 , s.d. = 0.70)เม่ือพิจารณาราย
ข"อพบวา0 ผ"ปู กครองสนับสนุนและส0งเสริมมีอทิ ธิพลอยูใ0 นระดับมาก( x =4.49 , s.d. = 2.20) รองลงมาคือเปVนการศึกษาท่ี
สังคมยอมรบั ( x =4.24 , s.d. = 0.70)และคา0 ใช"จา0 ยในการศกึ ษาไม0สงู ( x = 4.09 , s.d. = 2.86)

ปnจจัยด"านความถนัดและเหตุผลส0วนตัวในภาพรวมมีอิทธิพลอย0ูในระดับมาก ( x = 3.66 , s.d. = 1.29) เม่ือ
พจิ ารณารายขอ" พบวา0 มคี วามรักและศรัทธาในวชิ าชีพครมู อี ิทธพิ ลอยู0ในระดับมากท่สี ุด ( x =4.51 ,s.d. = 2.23) รองลงมา
คือมีคะแนนในสาขาท่ีเลือกอย0ูในระดับดีมีอิทธิพลอยู0ในระดับมาก( x = 3.89 , s.d. = 0.79) และมีทักษะและ
ความสามารถพเิ ศษในสาขาน้ี( x = 3.63 , s.d. = 0.83)

ปnจจัย ด"านเกียรติยศช่ือเสียงของวิชาชีพในภาพรวมมีอิทธิพลอย0ูในระดับมาก( x = 4.41 , s.d. = 1.00) เมื่อ
พิจารณารายข"อพบว0า วิชาชีพครูเปVนอาชีพสุจริต พัฒนาสังคมได"มีอิทธิพลอยู0ในระดับมากท่ีสุด ( x =4.60 ,s.d. = 0.57)
รองลงมาคือสร"างความภูมิใจให"ตนเองและครอบครัว( x = 4.53 , s.d. = 0.61) และสามารถให"ความรู"แก0ผู"อื่นได"( x =
4.52 , s.d. = 2.80)

ปnจจยั ดา" นสภาพแวดลอ" มของมหาวทิ ยาลัยในภาพรวมมีอิทธิพลอย0ูในระดับมาก ( x = 3.67 , s.d. = 0.96) เมื่อ
พจิ ารณารายขอ" พบวา0 สะดวกต0อการเดินทางมาศึกษาได"มีอิทธิพลอย0ูในระดับมาก ( x =3.96 ,s.d. = 0.76) รองลงมาคือ
สถานทีส่ ะอาด มีบรรยากาศและสภาพแวดล"อมที่ดี( x = 3.79 , s.d. = 0.74) และหอ" งเรยี นมีความพร"อมต0อการเรียน( x
= 3.70 , s.d. = 0.78)

ปnจจยั ด"านคุณภาพและช่อื เสยี งของมหาวทิ ยาลยั ในภาพรวมมอี ิทธิพลอยูใ0 นระดับมาก ( x = 4.16 , s.d. = 0.76)
เมอื่ พิจารณารายขอ" พบวา0 มหาวทิ ยาลยั มีศษิ ย*เกา0 ท่ปี ระสบความสําเร็จมีอิทธิพลอยู0ในระดับมาก ( x =4.27 ,s.d. = 0.66)
รองลงมาคือคณาจารย*มีความร"ูความสามารถตรงกับสาขาวิชา( x = 4.26 , s.d. = 0.63) ศิษย*เก0าของมหาวิทยาลัยมี
ความกา" วหน"า( x = 4.22 , s.d. = 0.63)และคณาจารยม* คี วามเชี่ยวชาญในการถ0ายทอด( x = 4.22 , s.d. = 0.64)

ผลการศกึ ษาความสัมพันธ*ระหว0างปnจจัยส0วนบุคคลที่มีอิทธิพลต0อการตัดสินใจเลือกเข"าศึกษาต0อโดยการใช"การ
ทดสอบค0าสถิตสิ ัมประสทิ ธิ์อยา0 งง0ายของเพียร*สัน (Pearson Product Moment Correlation Coefficient) โดยมคี 0า Sig.
(2-Tailed) เท0ากับ 0.00 ซ่ึงน"อยกว0า 0.05 หมายความว0า ปnจจัยส0วนบุคคลที่มีอิทธิพลต0อการตัดสินใจเลือกเข"าศึกษาต0อ
อย0างมีนยั สาํ คญั ทางสถติ ทิ ีร่ ะดบั 0.05 ค0าสัมประสิทธ์ิสหสัมพนั ธ*( r )เทา0 กับ 0.59แสดงว0าตวั แปรทั้งสองมีความสัมพันธ*กัน
ในทิศทางเดียวกันในระดับปานกลาง กล0าวคือปnจจัยส0วนบุคคลท่ีมีความสัมพันธ*ต0อการตัดสินใจเลือกเข"าศึกษาต0อระดับ
ปริญญาตรี หลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรีซึ่งจําแนกความสัมพันธ*ตามรายด"านได"ว0า
ความสมั พันธร* ะหวา0 งเกรดเฉล่ียสะสม(GPAX)ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลายมีความสมั พนั ธต* อ0 การตัดสินใจเลือกเข"าศกึ ษาตอ0
อยูใ0 นระดับตาํ่ ( r =.242) ระดบั การศกึ ษาของผป"ู กครองมคี วามสัมพันธต* 0อการตดั สนิ ใจเลือกเขา" ศกึ ษาต0อระดับปริญญาตรี
อย0ใู นระดบั ตํา่ ( r =.208)รายได"ของผปู" กครองความสัมพันธ*ต0อการตดั สินใจเลือกเข"าศึกษาต0ออยูใ0 นระดับตํา่ ( r =.142)

เอกสารสืบเนอ่ื งจากการประชมุ วิชาการและนาํ เสนอผลงานวิจยั ระดบั ชาติ 2559 “การวิจยั รบั ใชชุมชนสรางสงั คมฐานความรู” 177

อภิปรายผลการวิจัย

กล0ุมตัวอย0างท่ีเข"าศึกษาต0อระดับปริญญาตรี หลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี ป4การศึกษา
2557 ส0วนใหญ0มีความความคาดหวังในวิชาชีพครู และมีประเด็นเกี่ยวกับการนําความร"ูท่ีได"รับมาใช"ในชีวิตประจําวัน

สามารถนาํ ความร"มู าพัฒนาประเทศชาตไิ ด"และสามารถศกึ ษาตอ0 ในระดับสงู ขน้ึ ได"แสดงให"เห็นว0านักศึกษาเห็นความสําคัญ
ของวิชาชีพครู มีความตั้งใจที่จะนําความรู"มาพัฒนาประเทศชาติ และเล็งเห็นความมั่นคงก"าวหน"าในวิชาชีพครู ซึ่งผล

การศกึ ษาสอดคลอ" งกับเอนกณะชัยวงค* (2553) ที่ว0าปnจจัยในด"านส0วนบุคคลท่ีส0งผลต0อการเลือกศึกษาต0อในมหาวิทยาลัย

ราชภฏั เชียงใหมค0 ือ ถ"าเรียนจบสามารถรับราชการได" และ ทิพวรรณนันตระกูล (2555) พบว0า นักศึกษาส0วนใหญ0มีความ
ตั้งใจและรักในอาชีพครู โดยมีความคาดหวังจากการเรียนว0าจะสามารถพัฒนาทักษะและบุคลิกภาพได"อย0างถูกต"อง

เหมาะสม จะไดร" บั ความรใู" นวชิ าท่เี รียนมาและสามารถเรยี นตอ0 ในระดบั ท่ีสูงได" หลังจากจบการศึกษาแล"วจะมีความมั่นคง
ในการประกอบอาชพี และสามารถหาความร"ูเพม่ิ เติมได"

ปnจจัยด"านสังคมและเศรษฐกิจมีส0วนสําคัญต0อการตัดสินใจเข"าศึกษาต0อ โดยเฉพาะอย0างยิ่งพบว0า ผ"ูปกครอง
สนับสนุนและส0งเสริมให"ศึกษาต0อ รวมทั้งนักศึกษาเล็งเห็นว0าการศึกษาวิชาชีพครูเปVนการศึกษาที่สังคมยอมรับและมี
ค0าใช"จ0ายในการศึกษาไม0สูง ปnจจัยด"านความถนัดและเหตุผลส0วนตัวส0งผลต0อการเข"าศึกษาต0อของนักศึกษา โดยเฉพาะ
อย0างย่ิงนักศึกษามีความรักและศรัทธาในวิชาชีพครูและนักศึกษาเล็งเห็นว0าวิชาชีพครูเปVนอาชีพสุจริต พัฒนาสังคมได"
สามารถสรา" งความภมู ใิ จให"ตนเองและครอบครัวและสามารถให"ความร"ูแก0ผู"อื่นได"ซ่ึงผลการศึกษาปnจจัยดังกล0าวสอดคล"อง
กบั ความสาํ คัญของหลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต ท่ีระบุว0า บัณฑิตครูจึงเปVนบุคคลท่ีสําคัญย่ิง ในการสร"างคน สร"างชาติ โดย
การพัฒนาการศกึ ษาและคุณภาพชีวิตของเยาวชนของประเทศ หลกั สตู รน้ีจําเปVนต"องสร"างให"ตอบสนองความต"องการของ
ชุมชนและสังคม สอดคล"องกับนโยบายและแผนการศึกษาแห0งชาติ รวมทั้งผลการศึกษายังสอดคล"องกับวิชาชีพและ
สถานภาพของวิชาชีพดา" นสถานภาพ(Status) ท่ีระบวุ า0 ผู"ท่ีมสี ถานภาพในสงั คมสงู จะไดร" บั การยอมรับจากสาธารณชนท่วั ไป
วา0 เปนV ผ"มู คี วามรู" ความชาํ นาญในลกั ษณะงานเฉพาะสาขาวิชาชีพของตน ซึ่งสังคมในอดีตจนถึงปnจจุบันต0างให"การยอมรับ
วา0 ผูท" ่มี ีวิชาชีพนัน้ เปนV บคุ คลทสี่ ังคมควรให"การยอมรบั นบั ถอื เหมาะเปVนผ"ูที่มีความรู"เปVนพิเศษกว0าบุคคลท่ัวไป และเปVนผ"ู
เสียสละตนเองเพอื่ ผลประโยชน*ของสงั คมดว" ย

ปnจจัยด"านสภาพแวดล"อมของมหาวิทยาลัยมีส0วนทําให"นักศึกษาตัดสินใจเข"ามาศึกษาในหลักสูตรครุศาสตร
บัณฑิต นักศกึ ษาเลง็ เห็นวา0 มหาวิทยาลยั สะดวกต0อการเดินทางมาศึกษา สถานที่สะอาด มบี รรยากาศและสภาพแวดล"อมที่
ดแี ละหอ" งเรยี นมคี วามพร"อมต0อการเรียน ซงึ่ ผลการศกึ ษาสอดคล"องกบั หลกั การจดั สภาพแวดลอ" มทางการศึกษาสภาพของ
สงิ่ ต0างๆทอ่ี ยู0หรอื เกิดขน้ึ ในสถาบนั การศึกษาเปVนสิ่งเร"าท่ีมีศักยภาพและมีอิทธิพลต0อการแสดงพฤติกรรมของผ"ูเรียนสภาพ
ของส่ิงต0างๆในโรงเรียนได"แก0สภาพแวดล"อมท่ีเกิดข้ึนจากบุคคลชุมชนสังคมและธรรมชาติซ่ึงมีความสัมพันธ*กันและมี
อิทธิพลกับบุคลากรในสถาบันการศึกษาโดยเฉพาะอย0างย่ิงผ"ูเรียนในการแสดงออกซ่ึงพฤติกรรมต0างๆทั้งในด"านบวกและ
ด"านลบและมีอิทธิพลต0อการตัดสินใจเลือกและผลการศึกษาดังกล0าวสอดคล"องกับจํานวนนักศึกษาเมื่อจําแนกตาม
ภมู ิลาํ เนาพบว0านกั ศึกษามีภมู ลิ ําเนาอยู0ในจงั หวดั ลพบุรมี ากทส่ี ดุ รองลงมาคอื จังหวัดสระบุรีและจังหวัดสิงห*บุรี ปnจจัยด"าน
คณุ ภาพและชือ่ เสียงของมหาวทิ ยาลยั มสี 0วนทาํ ให"นกั ศกึ ษาเขา" มาศึกษาตอ0 มหาวิทยาลัยมีศิษย*เก0าท่ีประสบความสําเร็จ มี
คณาจารย*มีความรู"ความสามารถตรงกับสาขาวิชา ศิษย*เก0าของมหาวิทยาลัยมีความก"าวหน"าและคณาจารย*มีความ
เช่ยี วชาญในการถ0ายทอดจากปจn จยั ดังกล0าวพบว0าคณุ ภาพ ชอ่ื เสียงของมหาวิทยาลัย คุณภาพของอาจารย*รวมท้ังคุณภาพ
และชื่อเสยี งของศิษย*เกา0 มผี ลต0อการตดั สนิ ใจเข"าศึกษาต0อในมหาวทิ ยาลัยทัง้ สิ้น

ผลการศึกษาความสัมพันธ*ระหว0างปnจจัยส0วนบุคคลท่ีมีอิทธิพลต0อการตัดสินใจเลือกเข"าศึกษาต0อระดับปริญญา
ตรี ปจn จยั ดา" นระดบั การศึกษาของผ"ูปกครอง รายได"ของผู"ปกครอง ทั้งน้ีทําให"พบว0า การตัดสินใจเลือกเข"าศึกษาต0อระดับ
ปริญญาตรีของนักศึกษากล0ุมตัวอย0างเกิดจากการตัดสินใจของตนเอง อาจมีส0วนสัมพันธ*กับอาชีพ รายได"และระดับ
การศึกษาของผู"ปกครองบ"างแต0ไม0แสดงออกเด0นชัด ซึ่งผลการศึกษาดังกล0าวสอดคล"องกับแนวคิดของฮอลแลนด* ท่ีได"
กล0าวถึงความคาดหวังเก่ียวกับอาชีพของบุคคล (Level of Occupational Choice) ว0าข้ึนอย0ูกับการที่บุคคลประเมิน
ตนเอง ฮอลแลนด*เน"นว0าการที่บุคคลร"ูจักบุคลิกภาพของตนเอง และมีความรู"เก่ียวกับอาชีพมีความสําคัญมากใน

178 เอกสารสบื เนอ่ื งจากการประชมุ วิชาการและนําเสนอผลงานวจิ ัยระดบั ชาติ 2559 “การวิจยั รบั ใชชมุ ชนสรางสังคมฐานความรู”

กระบวนการเลือกอาชีพ และสอดคล"องกับปnจจัยท่ีมีอิทธิพลต0อการแก"ปnญหาและการตัดสินใจด"านตัวผ"ูแก"ปnญหาหรือผู"
ตัดสินใจ ที่ประกอบด"วยความร"ปู ระสบการณ* วธิ กี ารตัดสนิ ใจการรับรู" อคติ คุณลักษณะส0วนบุคคล มีความมั่นใจในตัวเอง
เปนV ต"น

ขอเสนอแนะ

ขอเสนอแนะสาํ หรบั การนําไปประยกุ ตใ- ช
มหาวิทยาลัยควรนําผลการวิจัยไปพิจารณาปnจจัยที่มีอิทธิพลต0อการตัดสินใจเข"าศึกษาต0อระดับปริญญาตรี

หลกั สตู รครุศาสตรบัณฑิตด"านท่ีส0งผลต0อการตัดสินใจเข"าเรียนที่มีค0าเฉลี่ยอย0ูในระดับมากถึงมากท่ีสุด เพื่อนําไปปรับเปVน
จดุ เด0น จุดแข็งของมหาวทิ ยาลัยในการประชาสมั พันธ*หลักสูตร คณะและมหาวิทยาลัย เพื่อสร"างความเช่ือมั่นให"กับผ"ูท่ีจะ
เข"าศกึ ษาต0อ ผูป" กครองและผใู" ช"บัณฑิตใหม" คี วามเชอื่ มน่ั ในคุณภาพของบัณฑิต คณาจารย*และมหาวทิ ยาลัยราชภัฏเทพสตรี
ขอเสนอแนะสาํ หรับการทําวจิ ัยครงั้ ตอไป

ควรมีการศึกษาปnจจัยท่ีมีอิทธิพลต0อการตัดสินใจเข"าศึกษาต0อระดับปริญญาตรี ในหลักสูตรอื่น ๆ ของ
มหาวิทยาลัย เพ่ือจะได"ทราบจุดอ0อน จุดแข็งของหลักสูตรท่ีเป–ดสอนในมหาวิทยาลัย ชื่อเสียงของมหาวิทยาลัย คุณภาพ
ของบุคลากร สภาพแวดล"อมและคุณภาพบัณฑิต และควรมีการศึกษาความต"องการการเข"าศึกษาต0อระดับปริญญาตรี
หลักสูตรครศุ าสตรบัณฑิตในมหาวทิ ยาลยั จากนักเรียนระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลายในเขตพ้ืนท่ีรับผิดชอบ เพ่ือทราบความ
ต"องการการเข"าศึกษาต0อ จะได"นํามาเปVนสารสนเทศในการวางแผนรับนักศึกษา การเตรียมความพร"อมด"านหลักสูตร
คณาจารย* สภาพแวดล"อม สือ่ การเรียนการสอน ให"มคี วามพร"อมในการรองรบั ความต"องการของผูเ" รียนต0อไป

กิตติกรรมประกาศ

ผ"วู จิ ยั ขอขอบพระคณุ มหาวิทยาลยั ราชภัฏเทพสตรี ท่ไี ด"อดุ หนนุ ทนุ วิจยั ประจาํ ปง4 บประมาณ พ.ศ. 2558และ
ขอขอบพระคุณคณาจารยแ* ละนกั ศึกษาที่ให"ความอนเุ คราะหใ* นการตอบแบบสอบถามในการวิจยั

เอกสารอางองิ

ทพิ วรรณนันตระกูล.(2555). ปจa จัยทเ่ี กี่ยวของกับการจดั สนิ ใจของนกั ศกึ ษาท่เี ขาศึกษาตอในหลักสตู รการศกึ ษา
ตอเนอ่ื ง ระดับปรญิ ญาตรี คณะศึกษาศาสตร- มหาวิทยาลยั เชียงใหม. การค"นควา" อิสระ ศษ.ม. ,
มหาวิทยาลยั เชยี งใหม0 , เชียงใหม0.

บญุ ชม ศรีสะอาด.(2542). การวจิ ัยเบอื้ งตน(2). กรุงเทพฯ: สาํ นกั พมิ พส* วุ รี ยิ าสาส*นมหาวทิ ยาลยั ศรนี ครินทรวิโรฒ
มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี.(2557).แผนการรบั เขาศึกษาระดับปรญิ ญาตรภี าคปกตปิ การศึกษา 2557. ลพบุรี :

มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏเทพสตรี
รังสรรค* ประเสริฐศรี.(2548). การจูงใจและการเสรมิ แรง. กรงุ เทพฯ: บริษทั ธรรมสารจาํ กัด.
สมยศ นาวกี าร.(2540). การบรหิ ารพฤตกิ รรมองคก- าร. กรงุ เทพฯ: บรษิ ทั โรงพมิ พต* ะวันออก จาํ กดั .
สุพัตราสุภาพ. (2541). สงั คมและวัฒนธรรมไทย :คานิยมครอบครวั ศาสนาประเพณี.พมิ พค* รง้ั ท่ี 8, กรงุ เทพฯ: บรษิ ทั โรง

พมิ พไ* ทยวัฒนาพานิชจาํ กดั .
สาํ นักงานเลขาธกิ ารสภาการศึกษา. (2551). กรอบทิศทางการพัฒนาการศึกษา ในชวงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม

แหงชาตฉิ บบั ที่ 10 (พ.ศ. 2550-2554) ท่สี อดคลองกับแผนการศกึ ษาแหงชาติ (พ.ศ. 2545-2559) ฉบับ
สรุป. กรงุ เทพฯ : โรงพิมพ*แหง0 จฬุ าลงกรณม* หาวทิ ยาลัย.
เอนกณะชัยวงค*. (2553). ปaจจัยที่มีอิทธพิ ลตอการตดั สินใจศึกษาตอในระดบั ปรญิ ญาตรีของนักศึกษา มหาวทิ ยาลัยราช
ภัฏเชียงใหม.รายงานการวิจัย. มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏเชยี งใหม0, เชยี งใหม0.
Cronbach, Lee Joseph. (1970). Essentials of Psychological Testing. New York: Harper AndRow
Publisher.

เอกสารสบื เนอ่ื งจากการประชมุ วิชาการและนําเสนอผลงานวิจัยระดบั ชาติ 2559 “การวจิ ยั รับใชชุมชนสรางสังคมฐานความรู” 179

Herzberg, Frederick et al. (1959). The Motivation to work. New York: JohnWiley&Sons,Inc.
Maslow, A.H. (1954). Motivation and Personality. Retrieved February 28, 2016, fromhttp://s-f-

walker.org.uk/pubsebooks/pdfs/Motivation_and_Personality-Maslow.pdf

180 เอกสารสบื เนอ่ื งจากการประชมุ วชิ าการและนําเสนอผลงานวิจยั ระดบั ชาติ 2559 “การวจิ ัยรบั ใชชมุ ชนสรางสงั คมฐานความรู”

แนวคิดและบทบาททางศิลปศึกษาของสังคม ทองมี
Art Education Concept and Roles of SangkhomThongmee

เสาวนีย* สืบสรอ" ย1 และ ศุภชัย อารรี ุ0งเรือง2
Saowanee Suebsoi1 and Supachai Areerungruang2

บทคดั ยอ

การวจิ ัยคร้งั นมี้ วี ตั ถปุ ระสงค*เพอื่ ศึกษาแนวคิดและบทบาททางศิลปศึกษาของสังคม ทองมี เน่อื งจากสังคม ทองมี
เปVนบุคคลซ่ึงเปVนผ"ูทรงคุณวุฒิสร"างคุณูปการแก0สังคมและประเทศชาตินานัปการจนได"รับรางวัลเชิดชูเกียรติในด"านต0างๆ
มากมายท้ังในระดบั ชาตแิ ละในระดบั นานาชาติ ทงั้ นีผ้ ลจากการศึกษาจะเปนV ประโยชนอ* ย0างยิ่งต0อนิสติ นกั ศึกษา ตลอดจน
ครูและบุคลากรทางการศึกษาศิลปะ ซ่ึงจะเปVนแรงขับเคลื่อนในการนําไปประยุกต*ใช" และพัฒนาให"ขยายออกไปอย0าง
กว"างขวางในอนาคตได"

วิธีดําเนินการวิจัยคร้ังนี้ใช"ระเบียบวิธีการวิจัยเชิงคุณภาพเก็บข"อมูลโดยการสัมภาษณ*โดยตรงจากสังคม ทองมี
ด"วยการสมั ภาษณ*แบบเชงิ ลกึ วิเคราะห*ข"อมูลด"วยวิธีการตีความ สร"างข"อสรุปแบบอุปนัยและนําเสนอเปVนความเรียงซึ่งผล
การศกึ ษาปรากฏดังนี้

1. การศึกษาบทบาททางศิลปศึกษาของสังคม ทองมี พบว0ามีความสอดคล"องสัมพันธ*กันในลักษณะบูรณาการ
ศาสตร*ศิลปศึกษา ผ0าน 2 บทบาทหลัก ได"แก0 1. บทบาทความเปVนครูศิลปศึกษา 2. บทบาทศิลปศึกษาต0อสังคมโดยใช"
กิจกรรมศลิ ปศกึ ษาเปVนสอ่ื ในการบูรณาการความรใู" นดา" นต0างๆ อนั นําไปส0เู ร่ืองของสุนทรียภาพ อันเปVนพื้นฐานท่ีสําคัญใน
การดาํ เนนิ ชีวิต

2.การศกึ ษาแนวคดิ เกี่ยวกับกิจกรรมการเรียนการสอนศิลปศกึ ษาพบวา0 สังคมใช"วิธีการถ0ายทอดความรู"แบบเน"น
เดก็ เปนV ศูนยก* ลาง เปVนการเปลี่ยนบทบาทจากผ"ูสอน มาเปนV ผูจ" ัดประสบการณก* ารเรียนรู"ท่ีทําหน"าที่เพียงกระตุ"นผ"ูเรียนให"
คิดสร"างสรรค*ด"วยตนเองด"วยการสร"างบรรยากาศในชั้นเรียนให"เกิดความสนุกสนานผ0อนคลาย ทําให"เด็กเกิดอิสระทาง
ความคิดและถา0 ยทอดผลงานออกมาตามแนวทางของตนเองซ่ึงพื้นฐานที่สําคัญในการเลือกสรรสื่อและวัสดุอุปกรณ*ในการ
สอนของสังคมน้นั ก็เพ่ือกระตนุ" ใหผ" "ูเรยี นเกดิ ความคดิ กอ0 นนําไปสู0การแสวงหาความร"ใู นลําดบั ตอ0 ไป
คําสําคัญ: สังคม ทองมี

1 นสิ ิตระดบั ปรญิ ญาโทสาขาวชิ าศลิ ปศึกษา คณะศลิ ปกรรมศาสตร* มหาวทิ ยาลยั ศรนี ครินทรวิโรฒ
2 อาจารยป* ระจําหลกั สูตรการศึกษามหาบณั ฑิต สาขาวิชาศลิ ปศึกษา คณะศลิ ปกรรมศาสตร* มหาวทิ ยาลยั ศรนี ครินทรวโิ รฒ

เอกสารสืบเนอื่ งจากการประชมุ วิชาการและนําเสนอผลงานวจิ ยั ระดบั ชาติ 2559 “การวิจยั รับใชชุมชนสรางสังคมฐานความรู” 181

ABSTRACT

The objectives of this research have to study about the art education concept and roles of
SangkhomThongmee, because SangkhomThongmeewas a qualified person creating contribution to the
society and country in several ways.He was awarded prizes of honor in several aspects in the country
and international level. The result of the study would be highly beneficial to students, as well as art
teachers and art education personnel which would be driving force to apply and develop art
education for expanding widely in the future.

For the research methodology, the author used qualitative research. Data were collected by
direct interview from SangkhomThongmee by in-depth interview. Data analysis was made by
interpretation, creating inference conclusion and presenting in form of composition. The study result
appeared as follows :

1. Study about the roles of art education of SangkhomThongmee, it was found that roles of
art education of Sangkhom corresponded and had relation, in integration of art education through two
main roles, including : 1. Roles of art education teachers; 2. Roles of art education to the society, by
using art education activities to be medium in integration of knowledge in several aspects, bringing to
aesthetics, affecting health, emotion and mind which was important basis in walk of life.

2. Study about concept relating with activities of art education teaching and learning, found
that SangkhomThongmee used the method of knowledge transfer in type of "Child Centered". In this
type the role was changed from the role of instructor to be the role of learning experience organizer,
doing duty only stimulating students to be creative by students themselves. The organizer would
create atmosphere in classroom to be joy of and relaxation, making students to have freedom of
thought and transfer work result according to their own guidelines. Important basis in selecting
teaching medium and materials and equipment of sangkhomdid in order to stimulate students to
create idea first, before bringing students to search for knowledge in next level.

KEYWORD :SangkhomThongmee

ความเป`นมาและความสําคญั ของปaญหา

การศกึ ษานบั เปนV ปnจจยั สําคัญต0อการพัฒนาคน ซึ่งเปVนรากฐานของการพัฒนาประเทศ การจัดการศึกษาเพื่อให"
บรรลุเป•าหมายในการพัฒนากําลังคนในประเทศให"เจริญงอกงามได"โดยบุคคลที่ประกอบอาชีพครู แต0จะหาครูท่ีมีจิต
วญิ ญาณความเปนV ครอู ย0างแท"จริงเปVนไปได"อยาก จําเปVนต"องอาศัยระยะเวลาในการพัฒนา และการร0วมมือกันหลายภาค
ส0วน เพ่ือพัฒนาให"บุคคล มีความรู" มีจิตวิญญาณแห0งความเปVนครูอย0างแท"จริง(ชาญวิทย* ทับสุพรรณ, 2553) โดยการ
พฒั นาครูเพ่ือให"ครไู ดไ" ปพัฒนาการศกึ ษาในรูปแบบต0างๆ ซ่ึงเปVนตัวจักรสําคัญในการเปล่ียนแปลง ฉะน้ัน แนวทางในการ
พัฒนาครู ใหไ" ดค" รทู มี่ ีคณุ ภาพ ขัน้ ตอนแรกมคี วามสําคญั ทส่ี ดุ ทจี่ ะตอ" งให"ได"บคุ คลท่ีเหมาะสมสําหรับออกไปประกอบอาชีพ
ครู โดยมคี วามรคู" วามเข"าใจว0าการเข"ามาเรยี นครกู บั การไดร" บั การบรรจุเปVนครู เปVนการคัดเลือกที่แตกต0างกัน ส0วนข้ันตอน
อนื่ ๆ เปนV ส0วนประกอบให"ได"ครูท่ีมีคุณภาพ (สนั ตบิ ุญภิรมย*, 2557)

ผ"ูที่กําลังจะเข"าส0ูวิชาชีพครูและผู"ท่ีกําลังรับภาระหน"าท่ีเปVนผ"ูประกอบวิชาชีพครูในปnจจุบัน หากมีความร"ูความ
เข"าใจตนเองอย0างถ0องแท"แล"ว ย0อมส0งผลให"การปฏิบัติหน"าที่การงานเปVนไปอย0างมีประสิทธิภาพ จึงจําเปVนต"อง มีความ
เข"าใจถงึ ความสําคญั ของครู ร"ูวา0 ครมู บี ทบาทหน"าที่ความรับผิดชอบอะไร ต"องปฏิบัติตนอย0างไรจึงเปVนท่ีต"องการของสังคม
และจะพัฒนาตนเองและพัฒนางานวิชาชีพครูอย0างไร จึงจะบังเกิดความเจริญก"าวหน"าท้ังแก0ตนเองและงานวิชาชีพครู

182 เอกสารสบื เนื่องจากการประชมุ วิชาการและนาํ เสนอผลงานวจิ ัยระดบั ชาติ 2559 “การวิจยั รบั ใชชุมชนสรางสังคมฐานความรู”

(ยนต* ชุ0มจิต,2558) แนวคิดและบทบาทหน"าที่ของครู จึงมีความสําคัญเปVนอย0างมากต0อการพัฒนาผ"ูเรียน และพัฒนา
ประเทศชาติเปนV อย0างมาก เนื่องจากครนู ัน้ เปรียบเสมอื นตน" แบบ ทางความคดิ และพฤตกิ รรมในด"านตา0 งๆ ของผ"ูเรยี น

สังคม ทองมี เปนV บุคคลท0านหนึ่ง ทม่ี ีบทบาทของครู มีภาระท่ีผ"ูเปVนครูต"องรับผิดชอบมากมาย เช0น ภาระท่ีต"อง
พัฒนาเยาวชน และภาระทตี่ อ" งพฒั นาสงั คม เปนV ตน" (ยนต* ชม0ุ จิต. 2558: 74; อา" งอิงจาก ราชบัณฑิตยสถาน. 2556. -----
-----990) และ อทิ ธิ คงคากลุ (2556: 12) กล0าวถงึ สังคม ทองมี วา0

“อาจารย*สังคมท0ุมเทการสอนศิลปะเด็กอย0างเอาใจใส0 ไม0ว0าในเวลาราชการหรือนอกเวลาราชการ เต็มใจสอน
ศษิ ยด* ว" ยความรัก อย0างไมร0 จ"ู ักเหน็ดเหน่อื ยเสมอเหมือนน"องหรือลูกหลาน อันมีผลให"ศิษย*ได"รับรางวัลในการประกวดงาน
ศิลปะในระดับชาติและระดับนานาชาติเปVนจํานวนมากกว0า 10,000 รางวัล ช่ือเสียงของอาจารย*สังคม ทองมี จึงเปVนท่ี
กล0าวขวญั ถึงความสามารถในการสอนศิลปะเดก็ ทง้ั ประเทศและตา0 งประเทศ…”

สังคม ทองมี ได"สรา" งความเปล่ยี นแปลงให"แกร0 ะบบการเรียนการสอนวิชาศิลปะ ด"วยการจัดระเบียบในห"องใหม0
เน"นความสนุกสนานผ0อนคลาย ปล0อยเด็กให"มีอิสระในการเคลื่อนไหวขณะปฏิบัติงาน โดยเช่ือม่ันว0าเด็กทุกคนล"วนมีพลัง
แห0งจินตนาการและความคดิ สร"างสรรค*เปนV ทุนเดมิ อย0แู ล"ว ปnญหาคือ ตอ" งพยายามดึงพลงั ในส0วนนั้นมาสร"างสรรค*เปVนงาน
ศลิ ปะใหไ" ด" จึงไดส" ง0 เสริมและสนบั สนนุ ทง้ั เร่อื งการเรียนและเรอื่ งส0วนตวั (ชูเกยี รติ ฉาไธสง, 2544) สําหรับวิธีการสอนของ
ครูสังคม จะเน"นที่เด็กเปVนหลัก โดยครูมีหน"าท่ีเพียงกระต"ุนแต0ผู"เรียนจะต"องเปVนคนคิดและสร"างสรรค*ผลงานด"วยตนเอง
ขณะเดียวกันก็สอดแทรกเร่ืองราวต0างๆ ท่ีเด็กควรจะรู"เข"าไปในกระบวนการเรียนการสอน โดยใช"ศิลปะเปVนส่ือในการ
เชื่อมโยงวิชาอ่ืนๆ (สุพัชรี ผุดผ0อง, 2547)สังคม ทองมี ประสบความสําเร็จในการสร"างศูนย*ศิลปŽในโรงเรียนมัธยมศึกษา
เพื่อเสนอผลงานและเปVนขุมทรัพย*ให"นักเรียนและประชาชนทั่วไปได"เรียนร"ู สร"างความตระหนักในคุณค0าของการนํา
สนุ ทรียภาพมาสอดแทรกในการเรียนการสอน และวิถีชีวิตในโรงเรียน สังคม ทองมีได"ยกระดับการสอนศิลปศึกษาของครู
ในชนบทไทยให"เข"ามาตรฐานระดับประเทศและระดบั สากลทาํ ให"ได"รบั การยกยอ0 งจากวงการต0างๆ มากมาย ท้ังในประเทศ
และต0างประเทศ (วิมลพรรณ ป4ตธวัชชัย, 2552)สุพัชรี ผุดผ0อง (2547) ได"สัมภาษณ*สังคม ทองมี ซ่ึงคําให"สัมภาษณ*ของ
สังคม ทองมี สะทอ" นประเดน็ ความคิดเกี่ยวกบั การพฒั นาการเรียนรูท" างศิลปศึกษาของผูเ" รียน ดงั นี้

“ส่ิงหน่ึงทยี่ ดึ ถือมาตลอดก็คือ ผมอยากจะเปนV ครูที่ดี โดยการปฏิบัตติ นเองแลว" รอให"เวลาเปVนเคร่ืองพิสจู น* ทาํ ทกุ
อย0างจากความรู"สึกข"างใน แล"วตัวเราเองจะมีความสุข ผมไม0เคยทําอะไรท่ีมันยิ่งใหญ0 แต0ทําเท0าท่ีสองตาของผมเองจะ
สามารถมองเห็นได" มนั อาจสะเทอื นบา" งกค็ อื กระบวนการทผี่ า0 นออกไป ทาํ ให"มีผลกระทบเกดิ ขน้ึ ครศู ลิ ปะเริ่มมคี วามมน่ั ใจ
ที่จะจัดการเรียนการสอน สังคมเร่ิมให"ความสนใจ แต0ผมไม0เคยอยากเปVนที่หนึ่ง ขอเปVนแค0ส0วนหนึ่งท่ีได"ทําให"มันมีส่ิงท่ีดี
เกิดขึ้น ส0วนรางวัลที่ไดร" บั เปนV เพยี งผลพลอยได"เท0าน้ัน แตไ0 มใ0 ชท0 าํ เพื่ออยากทจ่ี ะได"สิ่งเหล0านั้น ทุกอย0างมีกรอบมีกฎเกณฑ*
ของมนั จงพยายามเปนV ตัวเราแต0อยใู0 นความพอดี”

จากความสาํ คัญดังกล0าวแสดงใหเ" ห็นว0า สงั คม ทองมี เปVนบคุ คลซึ่งเปVนผ"ูทรงคุณวุฒิสร"างคุณูปการแก0สังคมและ
ประเทศชาตนิ านัปการ อุทิศตนเพ่ือประโยชน*ต0อสังคม จนได"รับรางวัลเชิดชูเกียรติในด"านต0างๆ มากมายท้ังในระดับชาติ
และในระดับนานาชาติ การศกึ ษาแนวคิดและบทบาททางศิลปศึกษาของสังคม ทองมี ผู"มีคุณลักษณะความเปVนครูชัดเจน
ท้ังการสอนศิลปศึกษา ท้ังการเปVนผู"ก0อต้ังศูนย*ศิลปŽในโรงเรียนแหล0งเรียนร"ูตลอดชีวิต ตลอดจนมีส0วนรับผิดชอบในการ
สรา" งสรรค*สังคม การศึกษาแนวคิดและบทบาททางศิลปศึกษาของสังคม ทองมี จึงเปVนประเด็นที่สมควรทําการศึกษาเชิง
ลึก ทั้งนี้ผลจากการศึกษาจะเปนV ประโยชนอ* ยา0 งยิ่งตอ0 นสิ ิต นกั ศกึ ษา ตลอดจนครแู ละบุคลากรทางการศึกษาทางศิลปะ ซึ่ง
จะเปVนแรงขับเคล่ือนในการประยุกตใ* ช" และพัฒนาให"ขยายออกไปอย0างกวา" งขวางในอนาคตได"

วตั ถปุ ระสงค-
เพื่อศกึ ษาแนวคดิ และบทบาททางศลิ ปศกึ ษาของ สงั คม ทองมี

เอกสารสบื เน่ืองจากการประชมุ วชิ าการและนําเสนอผลงานวิจยั ระดบั ชาติ 2559 “การวิจัยรับใชชมุ ชนสรางสงั คมฐานความรู” 183

กรอบแนวความคดิ

การวิจยั เชงิ คณุ ภาพ
โดยวิธกี ารเกบ็ ขอมลู จากการ

สมั ภาษณ-แบบเชงิ ลกึ

แนวคดิ และทฤษฎเี ก่ียวกับกิจกรรม
การเรยี นการสอนศิลปศึกษา

แนวคิดและบทบาททางศลิ ปศกึ ษา
ของสังคม ทองมี

วิธดี าํ เนินการวิจยั

กรณีศึกษา
กรณศี กึ ษาคือ สงั คม ทองมี บคุ คลซง่ึ เปVนผู"ทรงคณุ วุฒิสร"างคุณปู การแกส0 งั คมและประเทศชาตินานัปการอุทิศตน

เพอื่ ประโยชน*ต0อสังคม จนไดร" บั รางวัลเชดิ ชูเกรยี ตใิ นดา" นตา0 งๆ มากมายทัง้ ในระดับชาตแิ ละในระดบั นานาชาติ
เคร่อื งมอื การวจิ ยั

1.แบบสัมภาษณ*กรณีศึกษา มีลักษณะเปVนแบบสัมภาษณ*ที่มีโครงสร"างแบบปลายเป–ด โดยใช"วิธีการสัมภาษณ*
แบบเปนV ทางการ ซึง่ กาํ หนดข"อคําถาม ต้ังประเด็นท่ีคลอบคลุมเนื้อหาตามวตั ถปุ ระสงคข* องการวจิ ัย

2. แบบบนั ทึกขอ" มลู การเกบ็ รวบรวมข"อมลู ทไี่ ด"มกี ารบนั ทกึ ไว"จากหนงั สือ วารสาร สจู บิ ัตร และจากสือ่ ตา0 งๆ
3. เทปบันทึกเสียง กล"องถ0ายภาพ และกล"องบันทึกวีดีโอ จะเปVนเครื่องมือที่ใช"บันทึกระหว0างการสัมภาษณ*
กรณศี ึกษา

การเก็บรวบรวมขอมลู
1. เกบ็ รวบรวมข"อมลู จากเอกสารและงานวจิ ยั ที่เก่ยี วขอ" ง เพ่อื นําไปประกอบกับการเกบ็ ขอ" มลู จากเคร่ืองมืออ่ืนๆ

เปVนตน"
2. ผ"ูวิจัยเก็บข"อมูลจากการสัมภาษณ*ท้ังแบบเปVนทางการและไม0เปVนทางการ ในส0วนการสัมภาษณ*แบบไม0เปVน

ทางการเปVนการเกบ็ รวบรวมข"อมูลในเบอื้ งตน" สําหรับการสัมภาษณ*แบบเปVนทางการน้ัน ใช"แบบสัมภาษณ*ที่ผู"วิจัยสร"างข้ึน
เองโดยผ0านการตรวจสอบจากผู"ทรงคุณวฒุ ิแล"วและบนั ทึกเสียงประกอบภาพเคลอื่ นไหวในขณะสมั ภาษณ*

184 เอกสารสบื เนอื่ งจากการประชมุ วชิ าการและนําเสนอผลงานวจิ ยั ระดบั ชาติ 2559 “การวจิ ัยรับใชชมุ ชนสรางสงั คมฐานความรู”

การวเิ คราะหข- อมูล

การวเิ คราะหข* อ" มูลเชงิ คณุ ภาพแบ0งออกเปVน 3 ข้ันตอน ได"แก0 1.การตรวจสอบข"อมูลแบบสามเส"า โดยใช"วิธีการ
เก็บข"อมูลที่ต0างกันออกไป (methodological triangulation) เช0น การสังเกตควบค0ูกับการซักถาม และศึกษาข"อมูล
เพมิ่ เตมิ จากแหลง0 เอกสาร หรอื ทาํ การซักถามผูใ" หข" อ" มูลสําคญั เพอ่ื ความแนน0 อนวา0 เหมาะสมหรือไม0 2.การวิเคราะหเ* นอ้ื หา
(Content Analysis) แยกขอ" มูลเอกสารออกเปนV ประเภท แล"วสงั เคราะห*เปนV บทสรุปของการวิจัย 3.การสร"างข"อสรุปแบบ
อุปนัย (Analytic Induction) ประกอบการวิเคราะห*เชื่อมโยงแสดงความสอดคล"องสัมพันธ*กับแนวคิดทฤษฎีท่ีเก่ียวข"อง
ด"วยวธิ พี รรณนาเปนV ความเรยี ง

สรปุ ผล

1.จากการศกึ ษาบทบาททางศิลปศกึ ษาของสงั คม ทองมี พบวา0 มคี วามสอดคลอ" งสัมพันธ*กนั ในลักษณะบูรณาการ
ศาสตรศ* ิลปศกึ ษา ผ0าน 2 บทบาทหลกั ดงั นี้

1.1 บทบาทความเปVนครูศลิ ปศึกษา สังคมทองมี มบี ทบาทหน"าท่ี และความรบั ผิดชอบของครู ดงั น้ี
1.1.1 การสอน (Teaching) จากการศกึ ษาพบวา0 แนวคดิ พื้นฐานในการสอนศิลปศึกษาของสังคม ทองมี คือ

เน"นในเรื่องของการปลกู ฝnงใหน" กั เรยี นรจู" ักชื่นชมผลงานศิลปะ มีความคิดริเริ่มสร"างสรรค* มีจินตนาการ กล"าแสดงออก ซึ่ง
สง0 ผลในดา" นสุขภาพอารมณ*และจติ ใจ อันเปนV พืน้ ฐานที่สําคญั ในการดาํ เนินชวี ติ ในสังคมได"อย0างมคี วามสุข

1.1.2 จริยธรรม (Ethics) จากการศกึ ษาพบวา0 สงั คม ปลูกฝnงคณุ ธรรมจริยธรรมด"วยวธิ ีการปฏิบัติให"นักเรียน
เหน็ เปนV รปู ธรรม สอดแทรกในกจิ กรรมการเรยี นการสอนศลิ ปะ ในระหวา0 งการทํางานร0วมกัน เพ่ือให"นักเรยี นสามารถนําไป
ปฏิบัติได"จรงิ ในการใช"ชีวติ อย0ูในสังคมไดอ" ย0างปกตสิ ขุ

1.1.3 วิชาการ (Academic) จากการศึกษาพบว0า สังคมมีส0วนสําคัญในการสนับสนุนส0งเสริมนักเรียน
ทางด"านวิชาการ และวิชาสามัญอ่ืนๆ เพ่ือให"ผู"เรียนมีพื้นฐานความร"ูแน0นยิ่งข้ึน เช0น วิชาภาษาอังกฤษ ก็เพื่อส0งเสริมการ
สอบชงิ ทนุ เรียนตอ0 ในตา0 งประเทศ

1.1.4 การสืบทอดวัฒนธรรม (Cultural Heritage) จากการศึกษาพบวา0 สงั คมเปVนผใ"ู ห"การสนับสนุนเผยแพร0
ศิลปะในทุกๆ รูปแบบเร่ิมต้ังแต0ศิลปะข้ันพ้ืนฐานในโรงเรียน ทั้งในระบบและนอกระบบ การก0อต้ังศูนย*ศิลปŽในโรงเรียน
เพอื่ ให"เปนV แหล0งเรียนร"ตู ลอดชวี ิต สําหรบั เด็กเยาวชน และประชาชนท่วั ไป

1.1.5 การมีมนุษยสัมพันธ* (Human Relationship) จากการศึกษาพบว0าสังคมมีวิธีสร"างมนุษยสัมพันธ*
ระหว0างครกู บั นกั เรียน ด"วยการสรา" งบรรยากาศการเรยี นการสอนให"สนกุ สนานทําให"เดก็ เกิดความสนกุ สนานผ0อนคลาย ทงั้
ยังสรา" งมนุษยสัมพนั ธ*ระหวา0 งครกู ับชมุ ชนด"วยการดาํ เนินกิจกรรมทางศิลปะของศูนย*ศิลปŽสิรินธรที่เปVนส0วนในการกระต"ุน
ความสมั พันธ*ใหแ" กส0 าธารณชนได"ใกล"ชดิ กบั ศิลปะ

1.1.6 การบริการ (Service) จากการศึกษาพบว0า สังคม มีหน"าท่ีและความรับผิดชอบนอกเหนือจาก
ให"บริการความร"ูแก0ลูกศิษย*แล"ว ท้ังยังมีส0วนสําคัญในการให"บริการความรู"แก0ประชาชนในท"องถิ่น ด"วยการเป–ดโอกาสให"
สาธารณะชนท่วั ไปได"เข"ามาศกึ ษาหาความร"ภู ายในศูนย*ศิลปสŽ ิรนิ ธรท่ีเปนV พ้ืนท่ีแหลง0 เรียนร"ูตลอดชวี ิต

1.2 บทบาทศิลปศึกษาต0อสังคมพบว0าสังคม ทองมี เปVนผ"ูให"การสนับสนุนและเผยแพร0ศิลปะในทุกๆ รูปแบบทั้งใน
ระบบและนอกระบบดงั น้ี

1.2.1 ดา" นการเปนV ผ"ูก0อตั้งศูนย*ศิลปŽสิรินธรจากการศึกษาพบว0าสังคมได"ดําเนินการจัดกิจกรรมศิลปะสนับสนุน
และส0งเสริมเด็กและเยาวชนที่มีความสนใจ เพ่ือเป–ดโอกาสให"เยาวชนได"แสดงความสามารถทางทักษะและประสบการณ*
ดา" นศลิ ปะนอกจากนน้ั ผลงานที่สร"างสรรคข* ้ึนทงั้ หมดก็จะนาํ มาจัดแสดง เพ่ือให"บริการแก0เด็กและเยาวชน ผ"ูสนใจท่ัวไปได"
ศกึ ษา อกี ทง้ั ยังพิจารณาจดั สง0 เขา" ร0วมประกวดในรายการตา0 งๆ ทม่ี หี นว0 ยงานจดั ข้ึน

1.2.2 ด"านความรับผิดชอบทางสังคมพบว0าสังคมได"นํากิจกรรมทางศิลปศึกษา เข"าไปมีส0วนร0วมในการ
สรา" งสรรค*สังคม โดยใชก" จิ กรรมทางศิลปะเปVนสื่อเยียวยาจิตใจเด็ก โดยเฉพาะเด็กท่ีมีปnญหาทางสังคม ให"เกิดความมั่นใจ
และเกิดความเบิกบาน ส0งผลทําให"เกิดความร"ูความเข"าใจและเห็นคุณค0า โดยตระหนักว0าศิลปะเหล0าน้ี คือ รากฐานของ
การศกึ ษา คอื รากฐานของการทาํ นบุ าํ รุงศิลปะ วฒั นธรรมของชาติ

เอกสารสืบเนือ่ งจากการประชมุ วิชาการและนาํ เสนอผลงานวจิ ยั ระดบั ชาติ 2559 “การวจิ ยั รบั ใชชุมชนสรางสงั คมฐานความรู” 185

2. จากการศกึ ษาแนวคิดเกี่ยวกบั กจิ กรรมการเรียนการสอนศลิ ปศึกษาของสังคม ทองมีสามารถสรปุ ได" ดังน้ี
2.1 แนวคิดเก่ียวกับการถ0ายทอดวิชาความร"ูสังคมใช"วิธีการถ0ายทอดความร"ูแบบเน"นเด็กเปVนศูนย*กลางเปVนการ

เปลีย่ นบทบาทจากผส"ู อน มาเปVนผู"จดั ประสบการณ*การเรียนร"ทู ที่ ําหนา" ท่ีเพียงกระตนุ" ผ"เู รยี นไดค" ิด ได"สรา" งสรรค*ด"วยตนเอง
2.2 แนวคิดเกี่ยวกบั การสรา" งบรรยากาศและส่ิงแวดล"อมในการเรียนการสอนสังคม มีวิธีการสร"างบรรยากาศใน

การเรยี นการสอนศิลปะ ใหเ" กิดความสนุกสนานผอ0 นคลาย ทําให"เด็กเกดิ อิสระทางความคดิ มีจินตนาการในการสร"างสรรค*
ผลงาน และถ0ายทอดออกมาตามแนวทางของตนเอง

2.3 แนวคิดเกี่ยวกับการใช"วัสดุอุปกรณ*และสื่อการสอนพื้นฐานที่สําคัญในการเลือกสรรสื่อและวัสดุอุปกรณ*ใน
การสอนของสังคม เพื่อกระต"ุนให"นักเรียนเกิดความคิดก0อนนําไปสู0การแสวงหาความรู" โดยใช"ส่ือการสอนที่หลากหลาย
และทนั สมยั เพอื่ ใหเ" หมาะสมกับสภาพแวดล"อมของเด็กในยคุ สมยั ใหม0

อภปิ รายผล

ผู"วิจัยได"อภิปรายผลการวิจัยในประเด็น ต0อไปน้ีบทบาททางศิลปศึกษาของสังคม ทองมี มีความสอดคล"อง
สัมพันธ*กันในลักษณะบูรณาการศาสตร*ศิลปศึกษา ผ0าน 2 บทบาทหลักได"แก0 บทบาทความเปVนครูศิลปศึกษา บทบาท
ศิลปศึกษาต0อสงั คม ดังน้ี

1.บทบาทความเปนV ครศู ลิ ปศึกษา
สังคม ทองมี มบี ทบาทหน"าท่ีของครู ที่ผู"เปVนครูต"องรับผิดชอบ เช0น ภาระท่ีต"องพัฒนาเยาวชน และภาระที่ต"อง
พฒั นาสงั คม เปVนต"น ซ่งึ ในการพัฒนาเยาวชนน้นั จะตอ" งพฒั นาในหลายด"านไปพรอ" มๆกัน ดังน้ี
1. การสอนแนวคิดพ้นื ฐานในการสอนศิลปศึกษาของสงั คม ทองมี คือเน"นในเรื่องของการปลูกฝnงให"นักเรียนร"ูจัก
ชนื่ ชมผลงานศิลปะ มคี วามคิดรเิ รม่ิ สร"างสรรค* มีจินตนาการ กล"าแสดงออก ซ่ึงส0งผลในด"านสุขภาพอารมณ*และจิตใจ อัน
เปนV พื้นฐานทส่ี าํ คัญในการดาํ เนนิ ชีวิตในสงั คมไดอ" ยา0 งมคี วามสขุ ซึ่งสอดคล"องกับความคิดของ วิรัตน* พิชญไพบูลย* (2549)
กล0าวว0าในสังคมปจn จบุ นั บคุ คลทม่ี คี วามเจรญิ ทางสติปญn ญา มสี ขุ ภาพทางกายและจิตที่ดี มีอารมณ*ม่ันคง มีความสามารถ
ในการตัดสินใจ การเลือกอย0างฉลาดจนสามารถดํารงชีวิตได"อย0างเปVนสุข บุคคลเหล0าน้ีจะเปVนผู"มีคุณค0าท่ีสุดในสังคม
ศลิ ปะจะชว0 ยสง0 เสรมิ พัฒนาการของบุคคลใหม" คี ุณคา0 ต0อสงั คม
2. จรยิ ธรรมสงั คม ปลูกฝงn คุณธรรมจริยธรรมดว" ยวธิ ีการปฏบิ ตั ใิ หน" ักเรยี นเหน็ เปVนรูปธรรม สอดแทรกในกจิ กรรม
การเรยี นการสอนศิลปะ ในระหว0างการทาํ งานร0วมกัน เพื่อให"นกั เรยี นสามารถนําไปปฏิบัติได"จริงในการใช"ชีวิตอย0ูในสังคม
ได"อยา0 งปกติสขุ ซึง่ สอดคล"องกับความคิดของวไิ ล ตัง้ จิตสมคดิ (2557) กลา0 ววา0 บทบาทหนา" ที่ของครู คอื ใฝร… "แู ละศรัทธาใน
วชิ าชีพ กล"าแสดงออกอยูใ0 นกรอบของศลี ธรรม สง0 เสรมิ ความถนัดของศษิ ยแ* ละปลกู ฝnงคณุ ธรรมใหแ" ก0ศษิ ย*
3. วชิ าการสงั คมมีส0วนสําคญั ในการสนับสนุนส0งเสริมนักเรียนทางดา" นวิชาการ และวิชาสามญั อน่ื ๆ เพื่อให"ผ"ูเรียน
มีพน้ื ฐานความร"ูแนน0 ยิ่งข้ึน เชน0 วิชาภาษาองั กฤษ ก็เพอ่ื ส0งเสริมการสอบชงิ ทุนเรียนตอ0 ในต0างประเทศ
4. การสบื ทอดวัฒนธรรมสังคมเปนV ผูใ" หก" ารสนบั สนนุ เผยแพร0ศลิ ปะในทกุ ๆ รูปแบบเรม่ิ ต้งั แตศ0 ิลปะขั้นพื้นฐานใน
โรงเรียน ทั้งในระบบและนอกระบบ การก0อต้งั ศูนย*ศิลปใŽ นโรงเรียน เพอ่ื ใหเ" ปนV แหลง0 เรียนร"ูตลอดชีวิต สําหรับเด็กเยาวชน
และประชาชนทั่วไปซึ่งสอดคล"องกับ(สนั ติบญุ ภริ มย*, 2557; อา" งองิ จาก ธรี ศักดิ์ อัครบวร, 2545) กล0าวว0าบทบาทของครูมี
สว0 นสําคัญตอ0 การรักษาวฒั นธรรม เช0น ส0งเสริม สนับสนนุ ให"มกี ิจกรรมด"านวัฒนธรรมให"กับผเ"ู รียนได"ปฏบิ ตั ิ พร"อมท้งั จัดให"
มคี วามร"ดู า" นวัฒนธรรม ทเ่ี รียกว0ามีการปลูกฝnงวฒั นธรรมให"กบั เด็กและเยาวชนของชาติให"รักษาสืบไป
5. การมีมนุษยสัมพันธ*สังคมมีวิธีสร"างมนุษยสัมพันธ*ระหว0างครูกับนักเรียน ด"วยการสร"างบรรยากาศการเรียน
การสอนให"สนุกสนานทําให"เด็กเกิดความสนุกสนานผ0อนคลาย ท้ังยังสร"างมนุษยสัมพันธ*ระหว0างครูกับชุมชนด"วยการ
ดําเนินกจิ กรรมทางศิลปะของศนู ยศ* ิลปŽสริ ินธรท่เี ปนV ส0วนในการกระตุน" ความสัมพันธใ* หแ" ก0สาธารณชนไดใ" กล"ชิดกับศิลปะ
6. การบริการสังคม มีหน"าที่และความรับผิดชอบนอกเหนือจากให"บริการความร"ูแก0ลูกศิษย*แล"ว ทั้งยังมีส0วน
สําคัญในการให"บริการความรู"แก0ประชาชนในท"องถิ่น ด"วยการเป–ดโอกาสให"สาธารณะชนท่ัวไปได"เข"ามาศึกษาหาความรู"
ภายในศูนย*ศลิ ปŽสิรินธรท่เี ปVนพน้ื ทีแ่ หลง0 เรียนร"ูตลอดชีวติ สอดคล"องกบั ความคิดของ ยนต* ชมุ0 จติ (2558) กลา0 ววา0 นอกจาก
ครูจะทําหน"าที่ต0อการพัฒนาเยาวชนแล"ว ครูยังมีบทบาทโดยตรงต0อการพัฒนาสังคมอีกด"วย โดยสามารถทําได"หลายวิธี


Click to View FlipBook Version