The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

606 เด็กหญิงนันทิตา ตนเตชะ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Peeyanoot Nuchzy, 2022-06-08 05:27:51

606 เด็กหญิงนันทิตา ตนเตชะ

606 เด็กหญิงนันทิตา ตนเตชะ

174

รวบรวมขอ มูลพน้ื ฐาน ท่ัวไป
=====================================================================
การมองเหน็

วันท่ไี ดรบั การตรวจคร้ังลาสุด คือ: ...........ไมไดรับการตรวจ.................................................................................
ผลการตรวจ:………………ไมมีปญ หา..................................……………………………………………………………………………

 ไมมคี วามบกพรองการมองเห็น
 นาจะมีความบกพรองการมองเห็น
 มเี อกสารแสดงวามีความบกพรองการมองเห็น

ถา นักเรียนมีความบกพรองทางการมองเห็นหรือตาบอดใหบ ันทึกขอมูลเหลา น:ี้

 ความคมชัดในการเห็น ( Acuity )  ตาส่ันกระตกุ (Nystagmus)
 การมองตามวัตถุ (Tracking)  ตาเหล/ ตาเข (Strabismus)
 การกวาดสายตา (Scanning)  การจําแนกพ้นื กับภาพจากสงิ่ ทีเ่ ห็น
 ลานสายตา (Visual Field)  ตาบอดสี (Color Blind)

สง่ิ ทค่ี วรคํานงึ ในการชว ยเหลือดานการมองเห็นและทําสําเนาเอกสารการตรวจวดั การมองเหน็ ในวนั ทต่ี รวจครง้ั
ลา สุด.....................-...................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................
นกั เรียนควรไดรับส่ือเทคโนโลย/ี สงิ่ อาํ นวยความสะดวกที่ชวยการมองเหน็ ........................-....................................
................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................

175

รวบรวมขอ มลู พ้นื ฐาน ท่ัวไป
=====================================================================
การไดยนิ

วนั เดอื นปไ ดรับการตรวจวัดระดบั การไดยินครั้งลาสดุ คอื ………………..........................…………………………………..
ผลการตรวจ, นกั เรียนมรี ะดบั การไดย นิ ดังนี้:

 มปี ญหาการสูญเสียการไดย ิน  ไมม ปี ญหาการสูญเสียการไดย นิ

 หูหนวก [หซู ายหขู วาท้ังสอง]

 มปี ญหาการสูญเสียการไดย นิ มาก [หูซายหูขวาทั้งสอง]

 มปี ญหาการสูญเสียการไดยินปานกลาง [หูซา ยหูขวาทง้ั สอง]

 มีปญ หาการสูญเสียการไดย ินเล็กนอย [หูซา ยหูขวาทั้งสอง]

สิ่งทคี่ วรคํานงึ ในการชว ยเหลือดา นการไดย นิ และทําสาํ เนาเอกสารการตรวจวดั การไดยนิ ในวันที่ตรวจคร้งั ลา สุด
........................-........................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................

นกั เรยี นควรไดร บั ส่ือเทคโนโลย/ี ส่ิงอํานวยความสะดวกที่ชว ยการไดย นิ …………....................................................
..........................-......................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................

176

รวบรวมขอมูลพ้นื ฐาน ทั่วไป
=====================================================================

กายภาพ (Physical)

บันทกึ ความสามารถของนักเรียนในการใชงานสวนตา ง ๆ ของรา งกาย ดังตารางตอไปขางลาง

กายภาพ ไมส ามารถทาํ งานได ทาํ งานไดบา ง ทาํ งานไดต ามปกติ ขอ คิดเห็น
(Physical) ซาย ขวา ซาย ขวา ซาย ขวา
นิ้วมอื
มอื  
ขอศอก  
แขน  
เทา 
ขา 
ศีรษะ 
ตา
คิว้ 
ปาก 
ล้ิน 
การหายใจ

177

รวบรวมขอ มูลพ้นื ฐาน ทั่วไป
=====================================================================
บันทกึ ขอ มลู เกีย่ วกับกจิ กรรม/สง่ิ ของ/บคุ คลที่นกั เรยี นชอบ
 อาหารท่นี กั เรยี นชอบ ขาวตม

 บุคคล ทนี่ ักเรยี นชอบ นางสาวเจนจิรา จนั ทรตะตอ้ื เกี่ยวของกับนักเรยี นเปน มารดา

 ภาพยนตร /วดิ ีโอ /รายการโทรทศั น ท่นี ักเรียนชอบ ฟง เพลง

 สถานที่ ท่นี ักเรยี นชอบ บา น

 หนังสอื ทีน่ กั เรียนชอบ นิทานมีภาพประกอบ

 เกมท่นี กั เรยี นชอบ ไมมี

 ของเลนทีน่ ักเรียนชอบ ของเลนมีเสยี ง

 ส่งิ ทีน่ กั เรียนชอบทาํ เมอื่ อยูต ามลําพัง คือ นง่ั รถเข็นเลน

 ส่ิงที่นักเรียนชอบเลนและใชเวลาที่จะทํา คือ ฟงวิทยุ

 นกั เรียนแสดงวา ชอบส่งิ เหลานี้ โดย ยิม้

178

รวบรวมขอ มลู พืน้ ฐาน ทวั่ ไป
==================================================================
บันทกึ ขอมลู เกย่ี วกบั กจิ กรรม/สิ่งของ/บคุ คลท่ีนักเรยี นชอบ

 นักเรยี นแสดงอาการไมชอบเมื่อ ถกู ทิ้งใหเ ลน อยูคนเดียวตามลําพงั

 นักเรยี นจะแสดงอาการหงุดหงดิ เม่ือ อากาศรอน, มคี นมาขัดใจ

 นกั เรยี นแสดงอาการไมพอใจ ถูกบังคับใหทํากิจกรรม

ขอ คิดเห็น :
…………………-…………………………………………………………………………….......................................................……………
………………………………………………………………………………………………….......................................................……………

มพี ฤตกิ รรมดานบวกใดบา ง ทมี่ ผี ลกระทบอยางชดั เจนตอความสามารถของนกั เรยี น
การทกั ทายการสัมผสั อยา งเปนมิตร
การใหขนม
คาํ ชม

มีพฤตกิ รรมดา นลบใดบาง ที่มผี ลกระทบอยางชัดเจนตอ ความสามารถของนกั เรยี น
ไมมี

พฤตกิ รรมใด (เชน พฤติกรรกระตุน ตนเอง, ความกา วรา ว ความสนใจ อื่น ๆ) ท่ีควรคํานงึ ถงึ การนาํ มา
ชว ยเหลือ/บําบัด/พัฒนา

ไมม ี

179

รวบรวมขอ มูลพน้ื ฐาน ดานการศึกษา
=====================================================================

กลมุ สาระการเรียนรูท ี่ ๑ การดํารงชีวติ ประจําวันและการจดั การตนเอง
จดุ เดน จุดออ น
สาระ การดํารงชวี ิตประจําวันและการจดั การตนเอง
วชิ า ดป ๒๑๐๑
สขุ อนามัยและความปลอดภยั ในชวี ิต ๑
ตัวชี้วดั ดป ๑.๑/๑
รแู ละเขา ใจการดแู ลสุขอนามัยและกิจวัตรประจําวัน
พืน้ ฐานภาย ไมส ามารถดแู ลสุขอนามัยและกจิ วตั รประจําวนั
สภาพท่ีพึงประสงค พ้นื ฐานของตนเองได

รับรเู ม่ือมีคนชวยดูแลสขุ อนามยั และกจิ วัตรประจําวนั

กลุมสาระการเรยี นรทู ี่ ๒ กลุมสาระการเรียนรูและความรพู นื้ ฐาน
จดุ เดน จดุ ออน
สาระ การเรียนรแู ละความรูพนื้ ฐาน
วชิ า
รพ ๑๑๐๑
การส่อื สารและภาษาในชวี ิตประจาํ วนั ๑
ตวั ชี้วัด
รพ ๑.๑/๑ ไมส ามารถรับรูการแสดงพฤติกรรมของบคุ คล
การใชประสาทสัมผสั ตา ง ๆ ในการรบั รูเสียง การแสดง สง่ิ แวดลอ มตามธรรมชาติและตอบสนองตอ สง่ิ
พฤติกรรมของบุคคล สง่ิ แวดลอ มตามธรรมชาตแิ ละ เหลา น้นั ได

ตอบสนองตอส่งิ เหลาน้ันได
สภาพทพ่ี ึงประสงค
สามารถรบั รูเสยี ง

180

รวบรวมขอ มลู พ้ืนฐาน ดา นการศึกษา
=====================================================================
กลุมสาระการเรยี นรทู ่ี ๓ กลมุ สาระการเรียนรูท างสงั คมและเปน พลเมอื งท่ีเขม แข็ง
จดุ เดน จดุ ออน
สาระ การเรยี นรทู างสังคมและเปน พลเมืองท่ี
เขม แข็ง
วชิ า
สพ ๑๑๐๑
หนาทีพ่ ลเมือง สทิ ธิ และการแสดงออกตามบทบาท
หนาที่ ๑ ไมสามารถเขาใจบทบาทหนา ท่ีของตนเองในการเปน
ตวั ชว้ี ัด สมาชิกท่ีดขี องครอบครวั และขนบธรรมเนียมประเพณี
สพ ๑.๑/๑ ของทองถิ่น

รูแ ละเขา ใจบทบาทหนาทข่ี องตนเองในการเปนสมาชิก
ท่ีดีของครอบครวั
สภาพทีพ่ ึงประสงค
รับรวู า ตนเองเปน สมาชิกของครอบครัว
วชิ า
สพ ๑๑๐๖ วฒั นธรรมประเพณี ๑
ตัวช้วี ัด
สพ ๓.๑/๑
รูขนบธรรมเนยี มประเพณีของทอ งถนิ่ และประเทศไทย

181

รวบรวมขอมูลพ้นื ฐาน ดา นการศึกษา
======================================================================

กลุมสาระการเรยี นรูท ่ี ๔ การงานพ้นื ฐานอาชพี
จดุ เดน จุดออ น
สาระ การงานพ้นื ฐานอาชีพ
วิชา
กอ ๑๑๐๑
การทาํ งานบาน ๑
ตวั ช้ีวดั
กอ ๑.๑/๑ ไมส ามารถรูจกั เสอ้ื ผาและเครื่องแตง กายของบุคคลใน
ดูแลเสื้อผา และเครื่องแตงกายของตนเองหรือสมาชิก ครอบครวั

ในครอบครัว จนเปน สุขนสิ ยั
สภาพท่ีพึงประสงค
รูจักเสือ้ ผาของตนเอง
วชิ า
กอ ๑๑๐๓ การประกอบอาชีพทหี่ ลากหลายในชมุ ชน
ตัวช้วี ัด
กอ ๒.๑/๑
บอกอาชีพตาง ๆ ของครอบครวั และในชุมชนไดอยา ง
ถกู ตอง

182

รวบรวมขอมูลพืน้ ฐาน ดานการศึกษา
======================================================================
๕. พฒั นาการดา นทกั ษะจําเปนเฉพาะความพกิ าร
จดุ เดน จุดออน
การพัฒนาทักษะจําเปนเฉพาะความพิการบกพรอง
ทางรา งกาย หรอื การเคลื่อนไหวหรอื สุขภาพ
ตวั ชีว้ ัด ดูแลสขุ อนามยั เพ่อื ปองกนั ภาวะแทรกซอ น
สภาพที่พึงประสงค
บริหารกลามเนอื้ และขอตอเพ่ือคงสภาพได*.
ไมไ ดรับจัดทา น่งั ในทาทางที่ถูกตอง*

183

รวบรวมขอ มูลพนื้ ฐาน กจิ กรรมวิชาการ
=====================================================================

กจิ กรรมบําบดั จุดออ น

จดุ เดน

ไมม ี- ไมม ี

กายภาพบําบดั จุดออน
นกั เรยี นไมสามารถนัง่ โดยเครื่องพยุงได
จดุ เดน
สภาพท่ีพึงประสงค/ พัฒนาการทีค่ าดหวัง : การน่งั
โดยใชมือทั้ง ๒ ขายนั ตัวไว
จุดเดน
สามารถพลิกตวั ในทานอนได

184

รวบรวมขอมลู พน้ื ฐาน กจิ กรรมวิชาการ
=====================================================================

พฤตกิ รรมบําบัด จดุ ออ น

จดุ เดน

ไมม ี- ไมม ี

ศลิ ปะบาํ บดั จดุ เดน จุดออน
ไมส ามารถใชมอื ดงึ ดนิ นาํ้ มนั ได
สภาพทพ่ี ึงประสงค/พฒั นาการทคี่ าดหวัง : สามารถ
ใชม อื ดึงดินน้ํามันได
จุดเดน
สามารถจบั ดนิ น้ํามนั ได โดยมีผูปกครองชว ยเหลอื เอา
ใสไวในมือให

185

รวบรวมขอ มลู พืน้ ฐาน กจิ กรรมวิชาการ
=====================================================================

สขุ ศึกษาและพลศึกษา จดุ ออน

จดุ เดน

ไมม ี- ไมม ี

เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร (ICT) จดุ ออน
ไมส ามารถวธิ ี เปด – ปด โทรศพั ทห รือแทบ็ เลต็
จุดเดน
สามารถดวู ีดโี อผานโทรศัพทส มารท โฟนได

186

รวบรวมขอ มูลพ้นื ฐาน ส่งิ แวดลอ ม
======================================================================

สิ่งแวดลอ มทศ่ี ูนยการศกึ ษาพิเศษ (ภายนอกหอ งเรยี น) ไมเอื้อ/อุปสรรค

เอ้อื
ดา นกายภาพ

ศนู ยก ารเรยี นสามารถปรบั สภาพแวดลอมโดยรอบ ไมมี
ศนู ยการเรยี นไดเหมาะสมกับการพัฒนาศักยภาพ
ผเู รียนได

ดา นบคุ คล ไมม ี
มพี ่ีเลยี้ งเด็กพิการดูแล และจัดกจิ กรรมพฒั นา
ศักยภาพตามแผนการจัดการศกึ ษาเฉพาะบุคคลแก
ผูเ รยี น

สง่ิ แวดลอ มทีศ่ ูนยการศกึ ษาพิเศษ (ภายในหองเรียน) ไมเอือ้ /อุปสรรค

เอื้อ
ดานกายภาพ

ศูนยก ารเรยี นสามารถปรับสภาพแวดลอ มโดยรอบ ไมมี
ศูนยก ารเรยี นไดเ หมาะสมกับการพฒั นาศกั ยภาพ
ผูเรยี นได

ดา นบุคคล ไมมี
มพี เ่ี ลี้ยงเด็กพิการดูแล และจัดกจิ กรรมพฒั นา
ศกั ยภาพตามแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคลแก
ผเู รียน

187

รวบรวมขอมูลพื้นฐาน สงิ่ แวดลอม
======================================================================

สง่ิ แวดลอ มทบ่ี าน ไมเออื้ /อุปสรรค

เอื้อ ไมมี
ดา นกายภาพ
ผปู กครองปรบั สภาพแวดลอมท่บี า นเพ่ือเอ้ืออํานวยตอ
การปฏิบัติกจิ วัตรประจาํ วนั และสงเสรมิ พฒั นาการ
ของผูเรียนไดเหมาะสม

ดานบคุ คล ไมมี
ผูปกครองใหค วามรวมมอื ในการพัฒนาศักยภาพและ
สงเสรมิ พัฒนาการนักเรยี นตามแผนการจดั การศกึ ษา
เฉพาะบุคคลรว มกับคณะครูเปนอยางดี

สง่ิ แวดลอมในชมุ ชน ไมเอ้ือ/อุปสรรค

เอ้อื ไมม ี
ดานกายภาพ
ชมุ ชนใหการสนบั สนนุ กจิ กรรมการพัฒนาศักยภาพคน
พิการดานอาคารสถานท่ีและสาธารณูปโภค เปนอยา ง
ดี

ดานบคุ คล ไมม ี
ชมุ ชนใหการสนบั สนนุ บุคลากรเขามีสว นรวมในการ
ดาํ เนนิ การประสานงานในกจิ กรรมตา งๆ ดว ยดี

188

รวบรวมขอ มลู พ้ืนฐาน สิง่ แวดลอ ม
======================================================================

ขอ มลู อืน่ ๆ เพ่มิ เตมิ เอ้อื ไมเ อื้อ/อุปสรรค

มผี ูปกครองท่ีคอยดูแลเอาใจใสนักเรยี นอยางใกลชิด ผปู กครองไมเขา ใจในการฝกนักเรียน
ผูปกครองมเี จตคติทดี่ ตี อนกั เรียน ผปู กครองไมมที กั ษะการผลติ สือ่ ฝกนักเรยี น

189

รวบรวมขอ มลู พน้ื ฐาน สิง่ อํานวยความสะดวก สอื่ บรกิ ารและความชวยเหลอื อ่นื ใด
ทางการศกึ ษา

=======================================================================

กรอกขอ มลู เทคโนโลยีสง่ิ อาํ นวยความสะดวก สอื่ บริการและความชวยเหลอื อนื่ ใดทางการศกึ ษา
ท่นี ักเรียนใชหรือไดรบั ในปจจุบัน

เหตุผลท่ีไดรับ เพราะ ใชเปนส่ือในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน สําหรับเด็กพิการ
ตามประเภทความพกิ าร

ผปู ระเมินความตองการจําเปนพิเศษ

๑. ครูการศกึ ษาพิเศษ
๒. นักกายภาพบําบัด
๓. นกั กิจกรรมบาํ บัด
๔. นักจิตวิทยา

เทคโนโลยสี ิง่ อาํ นวยความ ระยะเวลาท่ี หนวยงาน ผลการใชงาน
สะดวก สอ่ื บรกิ ารและความ ไดรบั หรือบุคคลที่จดั หาให
ชว ยเหลืออืน่ ใดทางการศึกษา หรอื ใช

ที่นกั เรยี นใชหรือไดรบั ใน
ปจจุบัน

ราวฝกยืน-เดิน มถิ นุ ายน ๖๓ ศูนยก ารศึกษาพิเศษ เป น ส่ื อ สิ่ ง อํ า น ว ย ค ว า ม ส ะ ด ว ก
ฝาขวดเกลยี ว – มนี าคม ๖๕ ประจําจงั หวัดลําปาง ท่ีเหมาะสมสามารถจัดการเรียน
ชอ น กรกฎาคม ๖๔ ศนู ยก ารศึกษาพเิ ศษ ก า ร ส อ น ต า ม ท่ี กํ า ห น ด ไ ว
จาน – มนี าคม ๖๕ ประจาํ จงั หวัดลาํ ปาง ในแผนIFSPและสามารถนําไปใชใน
อาหาร/ขนม การจัดการเรียนการสอนได
ผาออมสําเรจ็ รปู
ถาดไมต วั เลข

เปา หมายหลกั ท่นี กั เรยี นควรไดร บั การพฒั นา

๑. สามารถชวยเหลือตนเองในชีวติ ประจําวันไดด ว ยตนเองอยา งเตม็ ศักยภาพ
๒. สามารถเลน หรอื ทาํ กจิ กรรมตาง ๆ รว มกบั ผอู ืน่ ได

190

ขอ คิดเห็นเพม่ิ เตมิ

๑. ผูป กครองควรทาํ ตารางการทาํ กจิ วตั รประจาํ วนั ใหนักเรียนไดท ําอยางสมา่ํ เสมอทุกวัน
๒. ผูปกครองควรมเี วลาในการฝกกจิ กรรมรวมกบั นกั เรียน ไมป ลอยใหน กั เรยี นทําเอง
๓. ผูปกครองควรฝก กจิ กรรมใหแกน ักเรียนซา้ํ ๆ จนกวานักเรียนจะทาํ ไดเ อง

ผบู นั ทึกขอมลู ……………………………………………
(นางสาวปย ะนุช ต๊ิบวงศ)

ตําแหนง พนักงานราชการ
วันท่ี ๒๕ เดือน มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๖๔

191

รายงานการประชมุ กลุมงานบรหิ ารวิชาการ
เร่อื ง การจัดทาํ แผนการใหบรกิ ารชวยเหลือเฉพาะครอบครวั ประจาํ ปการศกึ ษา ๒๕๖๔

ครงั้ ที่ ๓/ ๒๕๖๔
วนั ท่ี ๒๕ เดอื น มถิ ุนายน พ.ศ. ๒๕๖๔

ณ หนวยบริการอาํ เภอเสรมิ งาม

ผมู าประชุม ผบู รหิ ารสถานศกึ ษา/ ผูแทน
๑. นางรกั ศธิ ร รองแพง ผปู กครอง
๒. นางสาวเจนจริ า จันทรต ะ ตื้อ ครปู ระจาํ ช้นั /ครูการศึกษาพิเศษ
๓. นางสาวปย ะนชุ ติบ๊ วงศ นักกิจกายภาพบําบัด
๔. นางสาวสกุ ญั ญา ธรรมวาจา นักจติ วทิ ยา
๕. นางสาวศศกิ มล กา หลา

เร่ิมประชมุ เวลา ๑๔.๔๕ น.

ระเบียบวาระท่ี ๑ ประธานแจงท่ีประชุมทราบ
นางรักศิธร รองแพง หัวหนาเขตพื้นท่ีบริการประจําเขต ๒ ประธานการประชุม กลาวเปดการ

ประชุมและขอขอบคณุ ทุกคนทมี่ าประชมุ เพ่ือวางแผนการจดั ทาํ เพือ่ วางการจดั ทําแผนการใหบ รกิ ารชวยเหลือ
เฉพาะครอบครัว ของ เด็กหญิงนันทิตา ตนเตชะ ซึ่งเปนบุคคลที่มีความบกพรองทางรางกายหรือการ
เคล่ือนไหว หอ งเรยี นปรับบานเปน หอ งเรยี นเปลยี่ นพอแมเ ปนครอู ําเภอเกาะคา

นางสาวปยะนุช ต๊ิบวงศ ครูประจําชั้นหองเรียนเดนพัฒนาการ แจงเร่ืองการประชุม
คณะกรรมการจัดทําแผนการใหบริการชวยเหลือเฉพาะครอบครัว (IFSP.) เน่ืองจากในภาคเรียนท่ี ๑
ปการศึกษา ๒๕๖๔ มีการใชหลักสูตรสถานศึกษาการศึกษานอกระบบ สําหรับผูเรียนพิการ ศูนยการศึกษา
พิเศษประจําจังหวัดลําปาง พุทธศักราช ๒๕๖๓ หลังจากมีการทดลองใชในภาคเรียนที่ ๒ ปการศึกษา ๒๕๖๓
โดยในปการศึกษา ๒๕๖๔ นี้จะดําเนินการจัดการเรียนการสอนใหกับนักเรียน ประกอบดวยกลุมสาระพื้นฐาน
จํานวน ๔ กลมุ สาระ และ ๑ ทกั ษะจาํ เปน เฉพาะความพกิ าร ดงั น้ี

๑) กลมุ สาระการดาํ รงชีวติ ประจาํ วนั และการจัดการตนเอง
๒) กลุมสาระการเรียนรูและความรูพน้ื ฐาน
๓) กลมุ สาระสังคมและการเปนพลเมืองท่เี ขมแข็ง
๔) กลมุ สาระการงานพน้ื ฐานอาชีพ
๕) ทกั ษะจาํ เปนเฉพาะความพกิ าร
นอกจากน้ี ไดด ําเนินการจัดการเรยี นการสอนตามกิจกรรมวชิ าการ ดังน้ี
๑) กจิ กรรมบาํ บดั
๒) กายภาพบําบัด
๓) พฤติกรรมบาํ บดั
๔) ศิลปะบาํ บัด
๕) สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา
๖) เทคโนโลยีสารสนเทศและการสอื่ สาร (ICT)

192
ระเบียบวาระที่ ๒ เรอื่ งเสนอเพอื่ พิจารณา

นางสาวปยะนุช ติ๊บวงศ ครูประจําชั้น ชี้แจงขั้นตอนการจัดทําแผนการใหบริการชวยเหลือ
เฉพาะครอบครัว (IFSP.) โดยคณะกรรมการรวมกันวางแผนเปาหมายระยะยาว ๑ ป กําหนดจุดประสงค
เชงิ พฤตกิ รรม กําหนดวิธีการประเมิน และผูรบั ผดิ ชอบ ของ เด็กหญิงนันทติ า ตนเตชะ ดังนี้

๑. กลมุ สาระการเรยี นรกู ารดํารงชวี ติ ประจําวันและการจัดการตนเอง
ในกลมุ สาระนี้มวี ิชาทีน่ ักเรียนจะตองเรียนอยู ๒ วชิ า คอื
๑) วิชา ดป ๑๑๐๑ สุขอนามัยและความปลอดภัยในชีวิต ๑ ซ่ึงมีอยู ๑๓ ตัวช้ีวัด

ในปการศึกษาน้ีจะเรียนอยู ๕ ตัวช้ีวัด ไดแก ดป ๑.๑/๑, ดป ๑.๑/๒, ดป ๑.๒/๑, ดป ๑.๒/๒ จากการ
ประเมินกอนการพัฒนานักเรียนทําไดในระดับใชได แตตองคอยกระตุนเตือนดวยทาทาง ครูประจําช้ันจัดการ
เรียนการสอนตามหนวยการจัดการเรียนรู และ ดป ๑.๒/๓ จากการประเมินกอนการพัฒนานักเรียนทําไดใน
ระดับใชได จึงตองคอยกระตุนเตือนดวยทางกาย ครูประจําชั้นจัดการเรียนการสอนตามแผนบริการโดย
ครอบครัวและชมุ ชน (FCSP.)

๒) วิชา ดป ๑๑๐๖ สุขภาพจิตและนันทนาการ ๑ ในปการศึกษาน้ีจะเรียนอยู ๑ ตัวช้ีวัด
ไดแก ดป ๓.๑/๑ จากการประเมินกอนการพัฒนานักเรียนสามารถทําไดในระดับดี แตตองคอยกระตุนเตือน
ดว ยวาจา ครปู ระจําชัน้ จัดการเรียนการสอนตามหนวยการจดั การเรียนรู

๒. กลุม สาระการเรยี นรแู ละความรพู ้ืนฐาน
ในกลมุ สาระน้มี วี ิชาที่นกั เรยี นจะตอ งเรียนอยู ๓ วชิ า คอื
๑) วิชา รพ ๑๑๐๑ การสื่อสารและภาษาในชีวิตประจําวัน ๑ ในปการศึกษานี้จะเรียนอยู

๒ ตัวชี้วัด ไดแก รพ ๑.๑/๑ จากการประเมินกอนการพัฒนานักเรียนสามารถทําไดในระดับใชได
ครูประจําชั้น จะจัดการเรียนการสอนตามหนวยการจัดการเรียนรู และตัวชี้วัด รพ ๑.๓/๑ จากการประเมิน
กอ นการพฒั นานักเรียนทําไดในระดบั ใชได แตตองคอยกระตุนเตอื นดวยทางกาย ครูประจําช้ันจัดการเรียนการ
สอนตามแผนบรกิ ารโดยครอบครัวและชมุ ชน (FCSP.)

๒) วิชา รพ ๑๑๐๕ คณิตศาสตร ๑ (จํานวนและการดําเนินการทางคณิตศาสตร) ในป
การศึกษาน้ีจะเรียนอยู ๑ ตัวชี้วัด ไดแก รพ ๒.๑.๑/๑ ซ่ึงจากการประเมินกอนการพัฒนานักเรียนทําไดใน
ระดับใชไ ด แตต อ งคอยกระตนุ เตือนดว ยวาจา ครปู ระจาํ ชนั้ จดั การเรยี นการสอนตามหนว ยการจดั การเรียนรู

๓) วิชา รพ ๑๑๑๔ เทคโนโลยีในชีวิตประจําวัน ๑ ในปการศึกษาน้ีจะเรียนอยู ๑ ตัวชี้วัด
ไดแก รพ ๖.๑/๑ ซึ่งจากการประเมินกอนการพัฒนานักเรียนทําไดในระดับใชได ตองคอยกระตุนเตือนดวย
วาจา ครูประจําชัน้ จัดการเรียนการสอนตามหนวยการจดั การเรยี นรู

๓. กลมุ สาระการเรียนรทู างสังคมและเปนพลเมอื งทีเ่ ขมแข็ง
ในกลมุ สาระนมี้ ีวชิ าที่นักเรยี นจะตองเรยี นอยู ๒ วชิ า คอื
๑) วิชา สพ ๑๑๐๑ หนาที่พลเมือง สิทธิ และการแสดงออกตามบทบาทหนาท่ี ๑

ในปการศึกษานี้จะเรียนอยู ๒ ตัวชี้วัด ไดแก สพ ๑.๑/๑, สพ ๑.๑/๓ ซ่ึงจากการประเมินกอนการพัฒนา
นักเรียนสามารถตอบสนองไดเล็กนอย ตองคอยกระตุนเตือนทางกาย ครูประจําช้ันจัดการเรียนการสอนตาม
หนวยการจัดการเรียนรู

๒) วิชา สพ ๑๑๐๖ วัฒนธรรมประเพณี ๑ ในปการศึกษานี้จะเรียนอยู ๑ ตัวชี้วัด ไดแก
สพ ๓.๑/๑ ซึ่งจากการประเมินกอนการพัฒนานักเรียนสามารถตอบสนองไดเล็กนอย ตองคอยกระตุนเตือน
ทางกาย ครูประจาํ ชั้นจัดการเรยี นการสอนตามแผนบรกิ ารโดยครอบครัวและชุมชน (FCSP.)

193
๔. กลุมสาระการเรยี นรูการงานพนื้ ฐานอาชีพ

ในกลมุ สาระน้ีมีวิชาทีน่ กั เรยี นจะตองเรียนอยู ๒ วชิ า คือ
๑) วิชา กอ ๑๑๐๑ การทํางานบาน ๑ ในปการศึกษานี้จะเรียนอยู ๑ ตัวชี้วัด ไดแก
กอ ๑.๑/๑ จากการประเมินกอนการพัฒนานักเรียนตอบสนองไดเล็กนอย ตองคอยกระตุนเตือนทางกาย
ครปู ระจําชนั้ จัดการเรียนการสอนตามหนวยการจดั การเรียนรู
๒) วิชา กอ ๑๑๐๓ การประกอบอาชีพท่ีหลากหลายในชุมชน ในปการศึกษาน้ีจะเรียนอยู
๑ ตัวช้ีวัด ไดแก กอ ๒.๑/๑ จากการประเมินกอนการพัฒนานักเรียนสามารถตอบสนองไดเล็กนอย
ตองคอยกระตุนเตือนทางกาย ครูประจําชั้นจัดการเรียนการสอนตามแผนบริการโดยครอบครัวและชุมชน
(FCSP.)
๕. ทักษะจําเปนเฉพาะความพิการ
จากการประเมินกอนการพัฒนานักเรียนไมสื่อสารไดเหมาะสมกับสถานการณ ผูปกครองแจง
วานักเรียนดูแลตนเองและความปลอดภัยในชีวิตประจําวันไดนอย ตองคอยกระตุนเตือน ครูประจําชั้นไดวาง
แผนการจัดการเรียนการสอนตามแผนบริการโดยครอบครัวและชุมชน เปาหมายระยะยาว ๑ ป ภายในวันที่
๓๑ มนี าคม ๒๕๖๕ เด็กหญงิ นันทติ า ตนเตชะสามารถดแู ลตนเองและความปลอดภยั ในชีวติ ประจําวัน
๖. กจิ กรรมวชิ าการ กิจกรรมกรรมบําบัด
นางรักศิธร รองแพง กลาวถึงการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนหลักสูตรกิจกรรมบําบัด
โดยจะเนนการจดั การเรยี นการสอน ไดแก กาชว ยเหลือตวั เองในชีวิตประจาํ วันได
๗. กจิ กรรมวชิ าการ กายภาพบาํ บัด
นางสาวสุกัญญา ธรรมวาจา กลาวถึงการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนหลักสูตร
กายภาพบําบัด โดยจะเนน เพ่ิมความแขง็ แรงของกลา มเนื้อแขนและมือทง้ั ๒ ขา งในการหยิบจับดินสอ สี
๘. กจิ กรรมวชิ าการ พฤตกิ รรมบําบัด
นางสาวศศิกมล กาหลา กลาวถึงการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนหลกั สูตรพฤติกรรมบําบัด
โดยจะเนนการสรางพฤติกรรมท่ีพึงประสงค สงเสริมใหนักเรียนมีวินัยเชิงบวก ลดพฤติกรรมที่ไมพึงประสงค
เนนการฝกกิจวตั รประจําวนั
๙. กิจกรรมวชิ าการ ศลิ ปะบําบัด
นางสาวปยะนุช ติ๊บวงศ กลาวถึงการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนหลักสูตรศิลปะบําบัด
โดยจะเนน การปน รปู ทรงตา งๆ ตามแบบ
๑๐. กจิ กรรมวิชาการ สุขศกึ ษาและพลศกึ ษา
นางสาวปยะนุช ต๊ิบวงศ กลาวถึงการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนหลักสูตรสุขศึกษา
และพลศึกษา โดยจะเนนกจิ กรรมการเรยี นการสอนเกยี่ วกับการกระโดดอยกู บั ทแี่ ละไปขางหนา
๑๑. กิจกรรมวิชาการ เทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสาร ICT
นางสาวปยะนุช ติ๊บวงศ กลาวถึงการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนหลักสูตรเทคโนโลยี
สารสนเทศและการส่อื สาร ICT โดยจะเนน การเรยี นการสอนเกีย่ วกับการรูจักอุปกรณค อมพวิ เตอร
๑๒. แผนเปลีย่ นผา น
เด็กหญิงนนั ทติ า ตนเตชะ สามารถชว ยเหลือผูปกครองในการทํางานบา นได

194

๑๓. รายการสอื่ ผจู ดั หา วิธกี าร จํานวน (บาท)
ท่ี รายการ สถานศกึ ษา ขอรบั ๒,๐๐๐
๑ ผาออมสําเรจ็ รูป รวม
๒ ถาดไมต วั เลข ๒,๐๐๐

มอบใหครูผสู อน คอื นางสาวปย ะนุช ต๊บิ วงศ เปนผูดําเนินการเขยี นหรอื พิมพการจัดทําแผนการ
ใหบ ริการชว ยเหลือเฉพาะครอบครวั (IFSP.) และประสานใหทุกคนที่รว มประชุมลงนามตอ ไป

มตทิ ป่ี ระชมุ มอบ นางสาวปยะนุช ตบ๊ิ วงศ ถือปฏิบัติ
ระเบียบวาระที่ ๖ อนื่ ๆ

ไมมี

มติทปี่ ระชมุ

ปด ประชมุ เวลา ๑๕.๓๐ น.

ลงชอื่ .................................................ครผู สู อน
(นางสาวปย ะนุช ตบิ๊ วงศ)
ผบู ันทึกการประชมุ

ลงช่ือ.................................................ผบู ริหารสถานศกึ ษา/ ผูแทน
( นางรกั ศธิ ร รองแพง )
ผูตรวจรายงานการประชุม

195

แบบบนั ทกึ การวเิ คราะหหลกั สูตรสถานศึกษา
ประจาํ ปก ารศึกษา ๒๕๖๔

หอ งเรยี น เสริมงาม ๒ (รับบริการทีบ่ าน)

ของ
เด็กหญิงนันฑติ า ตนเตชะ

จัดทําโดย
นางสาวปยะนชุ ตบ๊ิ วงศ
ตําแหนง พนกั งานราชการ
ศูนยการศกึ ษาพิเศษประจาํ จังหวดั ลําปาง
สํานกั บริหารงานการศึกษาพิเศษ
สาํ นกั งานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พื้นฐาน

กระทรวงศกึ ษาธิการ

196

ตารางวิเคราะหความสมั พนั ธระหวา งหลักสูตร มาตรฐานคณุ ลกั ษณะท่พี งึ ประสงค
กิจกรรมพฒั นาผูเรยี น คุณลักษณะทีพ่ งึ ประสงค และหรอื ผลการเรียนรู

หลักสูตร สถานศึกษาการศึกษานอกระบบ ระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน สําหรับผูเรียนพิการ ศูนยการศึกษา
พิเศษประจําจงั หวัดลาํ ปาง ฉบับปรับปรุง พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๔

๑. กลุมสาระการดาํ รงชีวิตประจําวันและการจดั การตนเอง
สาระที่ ๑.๑ สขุ อนามยั และการดแู ลสุขอนามยั ตนเอง
มาตรฐานท่ี ๑ เขาใจ เห็นความสําคัญและมีทักษะในการดูแลตนเอง การดูแลสุขอนามัยสวนบุคคลการปองกัน
หลีกเล่ยี งอันตราย และมีความปลอดภัยในการดําเนินชวี ติ ประจําวัน
ตัวชี้วัด ๑.๑/๑ รแู ละเขาใจการดแู ลสุขอนามัยและกจิ วตั รประจาํ วนั พนื้ ฐาน
ตวั ชีว้ ดั ๑.๑/๒ ปฏิบตั ิกิจวัตรประจาํ วนั พ้นื ฐาน
สมรรถนะ
สภาพท่ีพงึ ความรู กระบวนการ คุณลักษณะ สําคญั ของ กิจกรรม
ประสงค K P ทพี่ ึงประสงค พฒั นา
ผูเรียน ผูเรยี น
A C

ดูแลสุขอนามยั บอก กระบวนการ คุณลกั ษณะ - ความหมาย การลา งมือ
และกิจวตั ร ความหมาย ปฏิบตั ิในการ ๒. ซ่อื สัตย สุจริต ความสาํ คัญ การแปรงฟน
ประจําวนั พื้นฐาน และ ดูแลสขุ อนามยั ๓. มีวินยั และหลกั การ การอาบนา้ํ
ของตนเองได หลักการ - การทาํ ความ ๔. ใฝเรยี นรู การดแู ลตนเอง การสระผม
การดูแล สะอาด ในกจิ วตั ร การทาํ ความ
สุขอนามยั รา งกาย เชน สมรรถนะ ประจาํ วนั สะอาดหลัง
ของตนเอง เล็บ ผม ๑. ความสามารถ - ข้นั ตอนการ ขบั ถา ย
ผวิ หนงั เปน ในการสื่อสาร ปฏิบตั กิ จิ วัตร
ตน ๒. ความสามารถ ประจําวนั
- การดูแล ในการคดิ - ความหมาย
ตนเองเม่ือ ๓. ความสามารถ ความสําคญั
เจ็บปว ย ในการแกปญ หา และหลักการ
- กระบวนการ ๔. ความสามารถ การดูแล
ปฏบิ ัตกิ จิ วัตร ในการใชทกั ษะ สุขอนามัยของ
ประจาํ วนั ชวี ิต ตนเอง
- การปฏบิ ตั ิ ๕. ความสามารถ - ขั้นตอนการ
กจิ วตั รประจาํ ในการใช ปฏบิ ตั ใิ นการ
วันท่บี า น เทคโนโลยี ดูแลสขุ อนามยั
- วิธกี ารทําความ
สะอาดอวยั วะ
รา งกาย เชน
เลบ็ ผม
ผิวหนัง เปนตน

197

ลงชื่อ............................................ครผู สู อน ลงชอ่ื .......................................ผรู ับรอง
(นางสาวปย ะนุช ต๊บิ วงศ) (นางสาวจฑุ ามาศ เครือสาร)
ตําแหนง พนกั งานราชการ รองผูอํานวยการ

ศนู ยการศกึ ษาพเิ ศษประจาํ จังหวัดลาํ ปาง

198

หลักสูตร สถานศึกษาการศึกษานอกระบบ ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน สําหรับผูเรียนพิการ ศูนยการศึกษา
พเิ ศษประจาํ จังหวัดลาํ ปาง ฉบบั ปรบั ปรงุ พทุ ธศักราช ๒๕๖๔

๑. กลุมสาระการดาํ รงชีวิตประจําวันและการจดั การตนเอง

สาระที่ ๒.๑. มีสขุ ภาพอนามัยทีด่ ใี ชเ วลาวางใหเ ปนประโยชน
มาตรฐานที่ ๒ เหน็ คุณคาและมที ักษะในการเสริมสรางสุขภาพ ออกกาํ ลงั กาย นันทนาการตามความถนดั
ความสนใจและใชเ วลาวางใหเ ปนประโยชน เพ่อื สุขภาพกายทแ่ี ข็งแรงและสุขภาพจิตทีด่ ี
ตัวช้ีวัด ๓.๑/๑ เขาใจอารมณแ ละรบั รคู วามรูส กึ ของตนเองและผูอ่ืน

สภาพทพ่ี ึง ความรู กระบวนการ คณุ ลกั ษณะ สมรรถนะ กิจกรรม
ประสงค K P ท่ีพงึ ประสงค สาํ คญั ของ พัฒนา
ผเู รียน
A ผูเ รียน การแสดง
C อารมณแ ละ
เขาใจอารมณแ ละ - บอก - มกี าร คณุ ลกั ษณะ ความแตกตา ง
รับรูความรสู ึกของ อารมณแ ละ แสดงออกทาง ๒. ซอ่ื สัตย สจุ รติ สมรรถนะ ของอารมณ
ตนเองและผูอน่ื ความ อารมณตรงตาม ๔. ใฝเรียนรู ๑. ความสามารถ - โกรธ
แตกตา ง สถานการณ ๖. มงุ มน่ั ในการ ในการส่อื สาร - ดีใจ
ของอารมณ - สังเกต ทํางาน ๒. ความสามารถ - เสยี ใจ
ของตนเอง สถานการณแ ละ ในการคดิ - ตื่นเตน
- บอก ปฏบิ ตั ติ นตาม ๓. ความสามารถ - มคี วามสุข
อารมณและ สถานการณท ี่ ในการแกป ญหา - เศรา
ความ เหมาะสม ๔. ความสามารถ - กลวั
แตกตาง ในการใชทักษะ - วติ กกังวล
ของอารมณ ชวี ติ - การ
ของผอู ื่น ๕. ความสามารถ แสดงออก
ในการใช ทางอารมณ
เทคโนโลยี ตรงตาม
สถานการณ
- โกรธ
- ดใี จ
- เสยี ใจ
- ต่นื เตน
- มีความสุข
- เศรา
- กลวั
- วิตกกงั วล
- การสงั เกต
สถานการณ

199

สภาพทพ่ี ึง ความรู กระบวนการ คุณลักษณะ สมรรถนะ กิจกรรม
ประสงค K P ที่พึงประสงค สําคญั ของ พัฒนา
ผูเรียน
A ผูเรียน และปฏิบตั ิตน
C ตาม
สถานการณท ี่
เหมาะสม

ลงช่อื ............................................ครผู ูสอน ลงชือ่ .......................................ผูรับรอง
(นางสาวปย ะนชุ ติบ๊ วงศ) (นางสาวจฑุ ามาศ เครือสาร)
ตาํ แหนง พนกั งานราชการ รองผอู ํานวยการ

ศนู ยการศึกษาพิเศษประจําจงั หวดั ลาํ ปาง

200

หลักสูตร สถานศึกษาการศึกษานอกระบบ ระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน สําหรับผูเรียนพิการ ศูนยการศึกษา
พิเศษประจําจังหวัดลาํ ปาง ฉบบั ปรบั ปรุง พุทธศักราช ๒๕๖๔

๒. กลมุ สาระการเรยี นรูแ ละความรพู ้นื ฐาน

สาระท่ี ๑ การส่ือสารและภาษาในชวี ติ ประจําวนั
มาตรฐานท่ี ๑ มีความรูเกี่ยวกับวิธีการสื่อสารการอาน การเขียน สามารถใชกระบวนการสื่อสารในรูปแบบ
ตา ง ๆ ทงั้ การรับขอมูล การสงขอมูลเพื่อเรียนรู ปฏบิ ตั กิ จิ กรรมตาง ๆ ในการดํารงชวี ติ การอยรู วมกนั ในสังคม
ได ใชกระบวนการอาน การเขยี นในรูปแบบตา ง ๆ ในชวี ิตประจําวนั และแสวงหาความรู
สาระท่ี ๑ การสือ่ สารและภาษาในชวี ติ ประจําวัน
ตวั ชี้วดั ๑. การใชป ระสาทสัมผัสตา ง ๆ ในการรับรูเสียง การแสดงพฤติกรรมของบุคคล ส่งิ แวดลอมตาม
ธรรมชาติและตอบสนอง ตอสิ่งเหลา นน้ั ได
สมรรถนะ
สภาพทพ่ี งึ ความรู กระบวนการ คุณลกั ษณะ สําคัญของ กจิ กรรม
ประสงค K P ท่พี งึ ประสงค พฒั นา
ผูเรยี น ผเู รยี น
A C

การใชประสาท ๑. วิธกี ารใชป ระสาท กระบวนการรบั คุณลักษณะ สมรรถนะ - การ
สัมผสั ตา ง ๆ ใน สัมผสั ตา ง ๆ สาร ใฝเรยี นรู ความสามารถใน แสดงออก
การรบั รเู สยี ง ในการรบั รู การดู การฟง การสอ่ื สาร เพอื่ การ
การแสดง - ทางสายตา การสัมผัส การ สอื่ สาร
พฤตกิ รรมของ (การสบตา) ชมิ รส การดม - ปฏสิ ัมพนั ธ
บคุ คล - การไดย นิ กล่ิน ทีส่ งเสริม
สง่ิ แวดลอ มตาม - การออกเสียงพูด การใชวิธีการ การสอื่ สาร
ธรรมชาตแิ ละ - การสัมผัส ทางเลือก -สถานการณ
ตอบสนองตอ สง่ิ - การแสดงทาทาง การสราง สงเสริม
เหลา นั้นได - การใชวิธีการ ความคดิ การสื่อสาร
ทางเลอื กอื่น รวบยอด
๒. สงิ่ เรา ใน กระบวนการสง
สภาพแวดลอม สาร
- เสียงตาง ๆ - สีหนา ภาษา
- การแสดง ทา ทาง
พฤตกิ รรมของ - พฤตกิ รรม
บุคคล - ภาษาพูด
- เหตุการณแ ละส่อื - การใชส่อื
อ่ืน ทางเลือก
๓. การสรางปฎิ การสราง
สัมพนั ธท างสงั คม ความคิด
เพอื่ การสอ่ื สาร รวบยอด
- ปฏิสัมพนั ธกบั
บคุ คลและ

201

สภาพทพ่ี ึง ความรู กระบวนการ คณุ ลักษณะ สมรรถนะ กจิ กรรม
ประสงค KP ทีพ่ ึงประสงค สําคญั ของ พฒั นา
ผูเรยี น
ส่ิงแวดลอ มอน่ื A ผเู รยี น
ไดแก การเขาใกล C
การมอง การแสดง
สีหนา ทา ทาง การ
แสดงความสนใจ
รว มกนั
- การทักทาย
การกลาวลา
- การสนทนา
โตตอบ โดยการพดู
หรือการสอ่ื สาร
ทางเลือก

ลงชอ่ื ............................................ครูผสู อน ลงชื่อ.......................................ผรู บั รอง
(นางสาวปยะนชุ ตบิ๊ วงศ) (นางสาวจุฑามาศ เครือสาร)
ตําแหนง พนักงานราชการ รองผอู าํ นวยการ

ศูนยก ารศึกษาพเิ ศษประจาํ จังหวัดลําปาง

202

หลักสูตร สถานศึกษาการศึกษานอกระบบ ระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน สําหรับผูเรียนพิการ ศูนยการศึกษา
พิเศษประจําจงั หวดั ลําปาง ฉบบั ปรบั ปรงุ พทุ ธศักราช ๒๕๖๔

๒. กลุมสาระการเรยี นรูแ ละความรูพ นื้ ฐาน
มาตรฐานที่ ๒ มคี วามรู ความเขา ใจเกย่ี วกับความหลากหลายของการแสดงจาํ นวน ๑ - ๑๐ ระบบจํานวนทาง
คณิตศาสตร ผลท่ีเกิดข้ึนจากการดําเนินการ สมบัติของการดําเนินการ สัญลักษณทางคณิตศาสตร จํานวนนบั
เศษสวน จํานวนคละ ทศนิยม รอยละ ขนาด ระยะทาง ความสูง นํ้าหนัก ปริมาตร ความยาว เวลา การหา
พื้นที่ความยาวรอบรูป การจําแนกรูปทรง ชนิดของรูปทรงเรขาคณิต คุณสมบัติของรูปทรง การจําแนกรูปทรง
ชนิดของรูปทรงเรขาคณิต คุณสมบัติของรูปทรง และนําความรูเก่ียวกับจํานวน การดําเนินการ การวัด
เรขาคณิตไปใชแกปญหา การใหเหตุผล การส่ือสาร การส่ือความหมายทางคณิตศาสตร สามารถเชื่อมโยง
คณิตศาสตรกับศาสตรอ นื่ ๆ ไดต ามศักยภาพ
สาระที่ ๑ การคิดคาํ นวณและคณิตศาสตรใ นชีวติ ประจําวัน
ตัวชวี้ ดั ๑. นับจํานวน ๑ - ๑๐ ดว ยวธิ ีการหรือรูปแบบท่ีหลากหลาย

สภาพที่พงึ ความรู กระบวนการ คุณลกั ษณะ สมรรถนะ กจิ กรรม
ประสงค K P ทีพ่ งึ ประสงค สําคญั ของ พัฒนา
นับจาํ นวน ๑-๑๐ ผเู รยี น
ดว ยวิธกี ารหรอื A ผเู รยี น - สัญลกั ษณ
รปู แบบท่ี C ตวั เลขไทย
หลากหลาย - สญั ลักษณ - การนับจาํ นวน คณุ ลกั ษณะ ตัวเลขฮนิ ดู
ตวั เลขไทย ๑ - ๑๐ (โดยนับ ๑. ใฝเ รยี นรู สมรรถนะ อารบกิ ๑ -
ตัวเลขฮินดู ตามรูปภาพ หรอื ๒. มุงมนั่ ในการ ๑. ความสามารถ ๑๐
อารบกิ สง่ิ ของ) ทาํ งาน ในการส่อื สาร - การนับ
๑ - ๑๐ ๓. รกั ความเปน ๒. ความสามารถ จํานวน
ไทย ในการคดิ ๑ - ๑๐ (โดย
๓. ความสามารถ นับตาม
ในการแกปญ หา รปู ภาพ หรือ
๔. ความสามารถ สง่ิ ของ)
ในการใชท กั ษะ
ชวี ิต
๕. ความสามารถ
ในการใช
เทคโนโลยี

ลงชอ่ื ............................................ครูผสู อน ลงชือ่ .......................................ผูรบั รอง
(นางสาวปยะนชุ ตบ๊ิ วงศ) (นางสาวจฑุ ามาศ เครือสาร)
ตาํ แหนง พนักงานราชการ รองผอู าํ นวยการ

ศนู ยก ารศกึ ษาพเิ ศษประจาํ จงั หวัดลาํ ปาง

203

หลักสูตร สถานศึกษาการศึกษานอกระบบ ระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน สําหรับผูเรียนพิการ ศูนยการศึกษา
พเิ ศษประจาํ จงั หวัดลาํ ปาง ฉบับปรบั ปรงุ พทุ ธศักราช ๒๕๖๔

๒. กลมุ สาระการเรียนรแู ละความรูพน้ื ฐาน
มาตรฐานท่ี ๖ เขา ใจเทคโนโลยีและกระบวนการเทคโนโลยี ออกแบบและสรา งสง่ิ ของเครื่องใชห รือวิธีการตาม
กระบวนการเทคโนโลยีอยา งมคี วามสรา งสรรค เลือกใชเ ทคโนโลยีในทางสรางสรรคต อชวี ิต สังคม สงิ่ แวดลอม

และมีสว นรวมในการจัดการในเทคโนโลยที ี่ยัง่ ยืน
สาระ เทคโนโลยีในชวี ิตประจาํ วนั
ตัวชีว้ ดั ๖.๑/๑ รูจัก อปุ กรณ เทคโนโลยใี นชวี ิตประจาํ วัน โดยการบอก ช้ี หยบิ หรอื รปู แบบการสอื่ สารอื่น ๆ

สภาพท่ีพงึ ความรู กระบวนการ คณุ ลกั ษณะ สมรรถนะ กิจกรรม
ประสงค K P ท่ีพงึ ประสงค สาํ คญั ของ พฒั นา
รจู กั อปุ กรณ ผเู รียน
เทคโนโลยีใน A ผเู รยี น กจิ กรรม ICT
ชีวิตประจาํ วนั C
โดยการบอก ช้ี - อุปกรณ - กระบวนการ คุณลกั ษณะ
หยิบหรอื รปู แบบ เทคโนโลยีใน ส่อื สาร ๑. ใฝเ รยี นรู - อุปกรณ
การสอ่ื สารอน่ื ๆ ชวี ติ ประจาํ วนั - กระบวนการคดิ ๒. มงุ มน่ั ในการ เทคโนโลยีใน
- ช่อื และ - กระบวนการ ชวี ิตประจาํ วนั
หนา ทขี่ อง จําแนกประเภท ทาํ งาน - ชอ่ื และหนาที่
อปุ กรณ - กระบวนการ สมรรถนะ ของอปุ กรณ
เทคโนโลยี ปฏิบัติ ๑. ความสามารถ เทคโนโลยี
สารสนเทศ - กระบวนการ สารสนเทศ
- การจาํ แนก สรางความ ในการส่ือสาร - การจําแนก
อปุ กรณ ตระหนกั และ ความสามารถ อปุ กรณ
เทคโนโลยีใน สรางเจตคติ ในการคดิ เทคโนโลยีใน
ชวี ิตประจาํ วนั - กระบวนการ ๒. ความสามารถ ชีวติ ประจาํ วนั
- การดูแล แกป ญ หา ๓. ในการ - การดแู ลรกั ษา
รักษาอุปกรณ - กระบวนการ แกป ญหา อปุ กรณ
เทคโนโลยี เรียนรแู บบองค ๔. เทคโนโลยี
สารสนเทศ รวม ความสามารถ สารสนเทศ
ในการใช
เทคโนโลยี

ลงชื่อ............................................ครผู สู อน ลงชอ่ื .......................................ผรู ับรอง
(นางสาวปยะนชุ ต๊บิ วงศ) (นางสาวจุฑามาศ เครือสาร)
ตําแหนง พนักงานราชการ รองผูอาํ นวยการ

ศูนยก ารศึกษาพิเศษประจําจังหวัดลําปาง

204

หลักสูตร สถานศึกษาการศึกษานอกระบบ ระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน สําหรับผูเรียนพิการ ศูนยการศึกษา
พิเศษประจาํ จงั หวดั ลาํ ปาง ฉบับปรบั ปรุง พุทธศักราช ๒๕๖๔

๓. กลุม สาระสังคมและการเปนพลเมืองท่เี ขมแข็ง
มาตรฐานท่ี ๓.๑ ปฏิบัตติ ามบทบาทหนา ที่ท่มี ตี อตนเอง ครอบครวั โรงเรยี น ชุมชน และสังคม รวมถึงการ
รกั ษา สทิ ธขิ องตนเอง และแสดงออกถึงการเคารพสิทธิของบคุ คลอืน่
สาระที่ ๓.๑.๑ หนา ทพ่ี ลเมือง สทิ ธิ และการแสดงออกตามบทบาทหนา ที่
ตัวชี้วดั ๑.๑ รูแ ละเขาใจบทบาทหนา ทข่ี องตนเองในการเปนสมาชิกท่ีดีของครอบครัว

สภาพทพ่ี ึง ความรู กระบวนการ คณุ ลักษณะ สมรรถนะ กจิ กรรม
ประสงค KP ทีพ่ ึงประสงค สําคญั ของ พฒั นา
ผูเรยี น
A ผเู รยี น
C
รู แ ล ะ เ ข า ใ จ - บทบาท กระบวนการการ คณุ ลักษณะ สมรรถนะ ๑. บทบาท
บทบาทหนาที่ของ และหนา ท่ี ปฏิบตั หิ นา ท่ขี อง ๑. มวี ินยั ๑. ความสามารถ หนาทขี่ องลกู
ตนเองในการเปน ของสมาชกิ การเปน ลกู ๒. ใฝเ รียนรู ในการส่อื สาร ๒. วธิ กี าร
ส ม า ชิ ก ท่ี ดี ข อ ง ในครอบครวั ๓. มงุ มน่ั ในการ ๒. ความสามารถ ปฏบิ ตั ิตน
ครอบครัว - การปฏิบตั ิ ทํางาน ในทักษะชีวติ เปนสมาชกิ ที่
ตนเปน ๔.รกั ความเปน ดขี อง
สมาชกิ ทด่ี ี ไทย ครอบครัว
ของ
ครอบครัว

ลงชื่อ............................................ครผู สู อน ลงช่อื .......................................ผรู บั รอง
(นางสาวปยะนุช ตบ๊ิ วงศ) (นางสาวจฑุ ามาศ เครือสาร)
ตําแหนง พนกั งานราชการ รองผอู ํานวยการ

ศนู ยการศกึ ษาพิเศษประจําจงั หวัดลาํ ปาง

205

หลักสูตร สถานศึกษาการศึกษานอกระบบ ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน สําหรับผูเรียนพิการ ศูนยการศึกษา
พิเศษประจาํ จงั หวดั ลําปาง ฉบบั ปรับปรงุ พุทธศักราช ๒๕๖๔

๓. กลมุ สาระสังคมและการเปน พลเมอื งท่เี ขมแขง็

มาตรฐานที่ ๓.๓ มีความรูความเขา ใจเกยี่ วกบั วัฒนธรรม ประเพณี และศาสนา สามารถปฏิบตั ิตนเพอื่ ธาํ รง
รักษาประเพณี วัฒนธรรม และเปน ศาสนิกชนท่ดี ี ในการอยูรว มกันในสงั คม
สาระที่ ๓.๓.๑ วฒั นธรรม ประเพณี
ตัวช้ีวัด ๓.๑/๑ รขู นบธรรมเนียมประเพณขี องทอ งถน่ิ และประเทศไทย

สภาพทีพ่ ึง ความรู กระบวนการ คณุ ลกั ษณะ สมรรถนะ กิจกรรม
ประสงค K P ที่พงึ ประสงค สําคญั ของ พัฒนา
รขู นบธรรมเนียม ผเู รยี น
ประเพณขี อง - บอกชอื่ - เขา รว ม A ผเู รียน
ทองถิ่นและ ประเพณี ประเพณีไทย คุณลักษณะ C
ประเทศไทย ไทย ๑. ใฝเ รยี นรู สมรรถนะ - เรียนรู
๒. มุงมัน่ ในการ ๑. เกี่ยวกบั แบบ
ทาํ งาน ความสามารถใน แผนประเพณี
๓. มีจิตสาธารณะ การสื่อสาร วฒั นธรรมใน
๒. ครอบครัว
ความสามารถใน เชน ภาษา
ทกั ษะชวี ติ การ
รับประทาน
อาหาร
การแตงกาย
- ความหมาย
ของประเพณี
ทองถ่นิ

ลงชื่อ............................................ครูผสู อน ลงช่อื .......................................ผรู บั รอง
(นางสาวปย ะนุช ต๊บิ วงศ) (นางสาวจุฑามาศ เครือสาร)
ตําแหนง พนกั งานราชการ รองผอู ํานวยการ

ศนู ยก ารศึกษาพเิ ศษประจาํ จงั หวัดลาํ ปาง

206

หลักสูตร สถานศึกษาการศึกษานอกระบบ ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน สําหรับผูเรียนพิการ ศูนยการศึกษา
พิเศษประจําจงั หวัดลาํ ปาง ฉบบั ปรบั ปรุง พุทธศกั ราช ๒๕๖๔

๔. กลุมสาระการงานพนื้ ฐานอาชีพ

มาตรฐานท่ี ๔.๑ มีความรู ความเขา ใจเกย่ี วกบั การทํางานในบาน และมที ักษะกระบวนการในการทํางานบา นเพือ่
ตนเองและครอบครวั
สาระท่ี ๔.๑ การทํางานบาน
ตวั ชี้วัด ๑.๑/๑ ดูแลเสื้อผา และเคร่อื งแตง กายของตนเองหรอื สมาชกิ ในครอบครวั จนเปน สุขนสิ ัย

สภาพทพี่ งึ ความรู กระบวนการ คณุ ลักษณะ สมรรถนะ กจิ กรรม
ประสงค KP ทพี่ ึงประสงค สําคัญของ พัฒนาผเู รียน
๑. การเส้อื ผา
ดแู ลเสอ้ื ผาและ ๑. เสอื้ ผา ๑. กระบวนการ A ผเู รียน และเครือ่ งแตง
เครื่องแตงกายของ และเครอื่ ง สงั เกต คุณลักษณะ C กายของตนเอง
ตนเองหรือสมาชกิ แตง กาย ๒. กระบวนการ ๑. มีวนิ ยั ๒.วิธกี ารคดั
ในครอบครวั จน ของตนเอง ทาํ งาน ๒. มงุ ม่นั ในการ สมรรถนะ แยกเสอ้ื ผาและ
เปนสุขนสิ ยั ๒. หลกั และ ๓. กระบวนการ ๑. ความสามารถ เครอ่ื งแตงกาย
ทํางาน ของตนเอง
ในการ ๓. ฝก
วธิ กี ารดแู ล ปฏิบตั ิ แกปญหา ปฏบิ ตั กิ ารดูแล
เกบ็ รักษา ๒. ความสามารถ เสื้อผา และ
เส้อื ผา และ ในการใช เครื่องแตงกาย
ทกั ษะชวี ิต ของตนเอง
๔. คัดแยก
เครื่องแตง ประเภทของผา
กายของ
ตนเอง
๓. ฝก
ปฏบิ ตั ใิ น
การดแู ล
เส้อื ผา และ
เครอ่ื งแตง
กายของ
ตนเอง

ลงช่ือ............................................ครูผสู อน ลงชือ่ .......................................ผรู ับรอง
(นางสาวปยะนุช ติ๊บวงศ) (นางสาวจุฑามาศ เครือสาร)
ตําแหนง พนักงานราชการ รองผูอํานวยการ

ศูนยก ารศึกษาพเิ ศษประจาํ จังหวดั ลําปาง

207

หลักสูตร สถานศึกษาการศึกษานอกระบบ ระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน สําหรับผูเรียนพิการ ศูนยการศึกษา
พิเศษประจําจังหวัดลําปาง ฉบบั ปรับปรงุ พุทธศักราช ๒๕๖๔

๔. กลุมสาระการงานพืน้ ฐานอาชีพ

มาตรฐานที่ ๔.๒ มคี วามรู ความเขา ใจเกยี่ วกบั อาชีพในชมุ ชน มที กั ษะในการประกอบอาชพี และสามารถ
ประกอบอาชีพที่ถนัดและสนใจซึ่งมีหลากหลายในชมุ ชนของตนเอง
สาระที่ ๔.๒ การประกอบอาชีพท่ีหลากหลายในชมุ ชน
ตวั ชวี้ ัด ๒.๑/๑ บอกอาชีพตา ง ๆ ของครอบครัว และในชุมชนไดอยางถูกตอง

สภาพทพ่ี งึ ความรู กระบวนการ คุณลกั ษณะ สมรรถนะ กิจกรรม
ประสงค K P ทีพ่ งึ ประสงค สาํ คญั ของ พฒั นา
บอกอาชีพตาง ๆ ผูเรยี น
ของครอบครวั อาชพี ของ ๑. กระบวนการ A ผูเรยี น อาชพี ของ
และในชุมชนได สมาชิกใน สงั เกต คุณลักษณะ C สมาชกิ ใน
อยางถูกตอ ง ครอบครวั ๒. กระบวนการ ๑. ใฝเรียนรู ครอบครัว
ปฏิบตั ิ ๒ มงุ มั่นในการ สมรรถนะ ของฉนั
ทาํ งาน ๑. ความสามารถ

ในการสือ่ สาร
๒. ความสามารถ

ในการคิด
๓. ความสามารถ

ในการ
แกปญหา

ลงชื่อ............................................ครูผสู อน ลงช่อื .......................................ผรู ับรอง
(นางสาวปย ะนชุ ตบิ๊ วงศ) (นางสาวจุฑามาศ เครือสาร)
ตาํ แหนง พนกั งานราชการ รองผูอํานวยการ

ศนู ยก ารศึกษาพเิ ศษประจาํ จงั หวัดลาํ ปาง

20

แบบประเมินความกาวหนา การใหบ รกิ ารชวยเห

หลกั สตู รสถานศกึ ษาการศกึ ษานอกระบบ ระดับการศกึ ษาขัน้ พืน้ ฐาน สาํ หรบั ผูเรียนพ

ช่ือ เดก็ หญิงนันทิตา นามสกลุ ตนเตชะ ว
คาํ ช้แี จงใหท ําเครอ่ื งหมาย  ตามระดบั คณุ ภาพทีต่ รงกับความเปน จริง
เกณฑการประเมิน
รายการประเมนิ ประเด็นการพฒั นา ผา น
ระดบั ๔ ระดับ ๓ ระดบั ๒
๑.๑ บุคลิกภาพ ๑) การจดั ทรงผม สะอาด สะอาด สะอาด
เรียบรอย เรียบรอ ย เรียบรอย
เหมาะสม เหมาะสม เหมาะสม
สมํ่าเสมอ สมาํ่ เสมอ
จนเปน
ที่ยกยอ ง
๒) ความสะอาดของรางกาย สะอาด สะอาด สะอาด
เรยี บรอย เรียบรอ ย เรียบรอย
ทกุ สวนจนเปน ทกุ สว น ปานกลาง
ที่ยกยอ ง
๓) การแตง กาย สะอาด สะอาด สะอาด
เรียบรอย เรียบรอย เรยี บรอย
เหมาะสมอยา ง เหมาะสม ปานกลาง
สมาํ่ เสมอ อยา ง
จนเปน สมํ่าเสมอ
ทย่ี กยอ ง
คะแนนเฉลี่ย

08

หลือครอบครัว : ดานเดก็ ปก ารศึกษา ๒๕๖๔

พิการ ศูนยการศกึ ษาพเิ ศษประจําจังหวัดลาํ ปาง พุทธศกั ราช ๒๕๖๓

วันทป่ี ระเมนิ ๑๕ เมษายน ๒๕๖๕

น ระดับ ๐ กอนการพัฒนา หลงั การพฒั นา หลงั การพัฒนา
ไมผ าน ๔๓๒ ๑๐ ภาคเรยี นท่ี ๑ ภาคเรียนท่ี ๒
ระดบั ๑ ไมส ะอาด ๔๓๒ ๑๐ ๔ ๓ ๒ ๑๐
ไม 
สะอาด  
เรยี บรอ ย เรียบรอย

สะอาด ไมสะอาด
พอใช   

สะอาด ไมสะอาด
พอใช

 

๓.๐๐ ๓.๐๐ ๓.๐๐

20

รายการประเมิน ประเด็นการพฒั นา ผาน เกณฑการประเมนิ

๑.๒ การเจรญิ เตบิ โต ๑) น้าํ หนกั ระดับ ๔ ระดบั ๓ ระดับ ๒
ปกติ ตํ่ากวา ต่ํากวา
เกณฑ/เกิน เกณฑ/
เกณฑ ไม เกิน
เกนิ เกณฑ ไม
๑ กิโลกรมั เกนิ
๒-๓
กิโลกรมั
๒) สวนสูง ปกติ ตาํ่ กวา ตาํ่ กวา
เกณฑ/ เกณฑ/
เกนิ เกณฑ เกิน
ไมเกนิ เกณฑ
๓ ซม. ไมเ กนิ
๓-๖ ซม.
คะแนนเฉลย่ี
สรุป ดานทกั ษะการเรียนรู บุคลกิ ภาพและการเจริญเติบโต

09

น ระดบั ๐ กอนการพฒั นา หลังการพฒั นา หลงั การพฒั นา
ไมผาน ๔๓๒ ๑๐ ภาคเรยี นท่ี ๑ ภาคเรียนที่ ๒
ระดบั ๑ ตาํ่ กวา ๔๓๒ ๑๐ ๔ ๓ ๒ ๑๐
เกณฑ/ 
ตาํ่ กวา เกินเกณฑ  
เกณฑ/ มากกวา
เกินเกณฑ
มากกวา ๕
๓-๕ กโิ ลกรัม
กิโลกรัม

ตาํ่ กวา ตาํ่ กวา  
เกณฑ/ เกณฑ/
เกนิ เกณฑ เกินเกณฑ
มากกวา มากกวา
๙-๑๐ ซม. ๑๐ ซม.

๒.๐๐ ๒.๐๐ ๓.๐๐
๒.๕๐ ดมี าก ๒.๕๐ ดมี าก ๓.๐๐ ดมี าก

21

รายการประเมิน ประเด็นการพฒั นา ผา น เกณฑก ารประเมนิ

๒. ดา นจิตใจ –อารมณ ระดับ ๔ ระดบั ๓ ระดบั ๒

ดานจิตใจ -อารมณ ๑) รา เริง แจม ใส ทุกครง้ั บอย ๆ บางครง้ั
จนเปน
แบบอยา ง
๒) แสดงออกทางอารมณไ ด ทุกครัง้ บอย ๆ บางคร้ัง
จนเปน
เหมาะสมกบั วยั และสถานการณ แบบอยา ง

๓) แสดงความรกั ตอผูอ ่ืน ทุกครง้ั บอ ย ๆ บางครงั้
จนเปน
แบบอยา ง
คะแนนเฉล่ยี
สรุปดานจิตใจ-อารมณ

10

น กอ นการพฒั นา หลังการพฒั นา หลังการพฒั นา
ไมผาน ภาคเรยี นท่ี ๑ ภาคเรียนท่ี ๒
ระดบั ๑ ระดับ ๐ ๔ ๓ ๒ ๑ ๐ ๔ ๓ ๒ ๑ ๐ ๔ ๓ ๒ ๑ ๐

แทบจะ ไมเคย   
ไมเคย  
 
แทบจะ ไมเคย 
ไมเคย ๒.๐๐ ๓.๐๐
๒.๐๐ ดี ๓.๐๐ ดีมาก
แทบจะ ไมเคย 
ไมเคย

๒.๐๐
๒.๐๐ ดี

21

รายการประเมิน ประเดน็ การพฒั นา ผา น เกณฑก ารประเม

๓. ดา นสงั คม ระดับ ๔ ระดับ ๓ ระดับ ๒

๓.๑ กาลเทศะ* ๑) การควบคุมตนเอง ทุกครง้ั บอ ย ๆ บางครง้ั
จนเปน แบบ
อยา ง
๒) การกลา แสดงออก ทุกครั้ง บอย ๆ บางคร้ัง
จนเปน แบบ
อยาง
๓) ความรับผดิ ชอบ ทกุ ครั้ง บอย ๆ บางครง้ั
จนเปน แบบ
อยาง
คะแนนเฉลย่ี
๓.๒ มารยาท* ๑) แสดงความเคารพ ทกุ ครั้ง บอ ย ๆ บางครั้ง
จนเปนแบบ
อยา ง
๒) รูจ กั กลา วคําขอบคณุ และขอโทษ ทกุ ครั้ง บอ ย ๆ บางครั้ง
จนเปนแบบ
อยาง
๓) รอคอยตามลําดับกอ น ทกุ ครง้ั บอ ย ๆ บางครัง้
หลังได จนเปนแบบ

๔) รบั ประทานอาหารดวยตนเอง อยา ง
อยางถกู วิธี ทกุ ครั้ง บอ ย ๆ บางครง้ั
จนเปนแบบ
๕) การชว ยเหลือตนเองในกิจวตั ร
ประจาํ วนั อยา ง
ทุกครง้ั บอ ย ๆ บางคร้งั
จนเปน แบบ

อยา ง
คะแนนเฉลย่ี
สรุปดานสังคม
* หมายเหตุ รายการประเมนิ ๓.๑ กาลเทศะ และ ๓.๒ มารยาท ใชสาํ หรับผูเรยี นท่ีไดรบั การพัฒน

11

มนิ กอนการพฒั นา หลังการพฒั นา หลังการพฒั นา
ไมผา น ภาคเรียนที่ ๑ ภาคเรยี นที่ ๒
ระดับ ๑ ระดบั ๐ ๔ ๓๒ ๑ ๐ ๔ ๓๒ ๑ ๐ ๔ ๓ ๒ ๑๐

แทบจะ ไมเคย   
ไมเคย ไมเ คย
แทบจะ ไมเคย   
ไมเคย
แทบจะ   
ไมเ คย
๒.๐๐ ๒.๐๐ ๓.๐๐
แทบจะ ไมเคย
ไมเ คย ไมเคย   
แทบจะ ไมเ คย
ไมเ คย ไมเคย   
แทบจะ ไมเคย
ไมเ คย   
แทบจะ
ไมเคย   
แทบจะ
ไมเคย   

นาในทักษะยอยน้ี ๒.๐๐ ๒.๐๐ ๓.๐๐
๒.๐๐ ดี ๒.๐๐ ดี ๓.๐๐ ดีมาก

21

รายการประเมนิ ประเดน็ การพฒั นา เกณฑก ารประเมนิ
๔. ดานจติ วญิ ญาณ ผาน
๔.๑ จติ ทีเ่ หน็ แก ระดบั ๔ ระดับ ๓ ระดบั ๒

ผอู ืน่ มีนํ้าใจ และชวยเหลือผูอืน่ ทกุ ครง้ั บอย ๆ บางครง้ั
๔.๒ ความรวมมือ จนเปน บอย ๆ บางคร้ัง
แบบอยา ง บอ ย ๆ บางคร้ัง
๔.๓ ความมุงมัน่ ใหความรว มมือกบั ผูอ ื่น ทุกครั้ง
กระทําดี จนเปน
แบบอยา ง
มีความมงุ ม่ันในการทําดี ทุกครง้ั
จนเปน
แบบอยา ง
คะแนนเฉลย่ี
สรปุ ดานจติ วญิ ญาณ

12

น กอนการพัฒนา หลงั การพฒั นา หลังการพัฒนา
ไมผ าน ภาคเรยี นที่ ๑ ภาคเรยี นที่ ๒
ระดบั ๑ ระดบั ๐ ๔ ๓ ๒ ๑ ๐ ๔ ๓ ๒ ๑ ๐ ๔ ๓ ๒ ๑ ๐

แทบจะ ไมเคย   
ไมเคย  
 
แทบจะ ไมเ คย 
ไมเ คย ๒.๐๐ ๓.๐๐
๒.๐๐ ดี ๓.๐๐ ดีมาก
แทบจะ ไมเคย 
ไมเ คย

๑.๐๐
๑.๐๐ พอใช

21

สรุปผลการประเมินความกาวหนาการใหบ รกิ ารชว ยเหลือครอบครัว :

รายการประเมิน กอ นการพฒั นา คะแนนเฉลย่ี
๔๓๒๑๐ หลงั การพัฒนา หลงั การพัฒ
ภาคเรียนที่ ๑ ภาคเรียนท่ี
๑. ดานทักษะการเรียนรู บุคลิกภาพและการเจรญิ เติบโต
๑.๑ มาตรฐานคุณลกั ษณะ ๓๓
ทพ่ี ึงประสงค  ๒๓

๑.๒ กลมุ ทักษะจาํ เปน เฉพาะ ๒๓
สาํ หรับผเู รยี นที่มคี วาม  ๒๓
๒๒
บกพรอ งทางสติปญญา ๒๒
๑.๓ บุคลกิ ภาพ ๒๒
 ๒๒
๒๓
๑.๔ การเจรญิ เตบิ โต  ๒๓
๒๓
๒. ดา นจติ ใจ -อารมณ
ดา นจติ ใจ อารมณ 

๓. ดานสงั คม
๓.๑ มนษุ ยสัมพนั ธ 

๓.๒ กาลเทศะ 

๓.๓ มารยาท 

๔. ดานจิตวญิ ญาณ
๔.๑ จติ ท่เี หน็ แกผ อู น่ื 

๔.๑ ความรว มมอื 

๔.๑ ความมุงม่ันกระทาํ ดี 

13

ดา นเดก็

ฒนา สรปุ ผล

ผาน ไมผาน หมายเหตุ เกณฑการประเมิน

 คะแนนเฉลยี่ ตงั้ แต 3.01 – 4.00 ผาน ระดับคณุ ภาพ ดีเยย่ี ม
คะแนนเฉลย่ี ต้ังแต 2.0๑ – 3.00 ผา น ระดับคุณภาพ ดีมาก
คะแนนเฉล่ยี ต้ังแต 1.0๑ – 2.00 ไมผ า น ระดับคณุ ภาพ ดี


คะแนนเฉล่ยี ต้งั แต 0.0๑ – 1.00 ไมผา น ระดบั คุณภาพ พอใช
คะแนนเฉล่ียตงั้ แต ๐.๐0 ไมผ าน ระดับคณุ ภาพ ปรับปรงุ

 ลงช่อื .....................................................ผปู ระเมิน
(นางสาวปยะนุช ต๊ิบวงศ)










21

แบบประเมนิ ความกา วหนาการใหบ ริการชว ยเหลือ
ปก ารศกึ ษ

ชอื่ เดก็ หญงิ นันทิตา นามสกุล ตยเตชะ วัน
คาํ ช้ีแจงใหทําเครื่องหมาย  ตามระดบั คุณภาพท่ีตรงกับความเปนจรงิ

รายการประเมิน ประเด็นการพฒั นา เกณฑการประเมิน
๑. สภาพครอบครวั ผาน ไม
ระดับ ๔ ระดบั ๓ ระดับ ๒ ระด
๑.๑ อาชพี /
รายได ๑) อาชีพของพอ/แม/ ประกอบอาชีพ ประกอบ ประกอบ ประก
ผูปกครอง ที่มีเวลาเออื้ ตอ อาชพี ที่มี อาชีพที่มเี วลา อาชพี
การพัฒนา เวลาเอ้อื ตอ เอื้อตอการ เวลาเ
๒) รายไดข องพอ /แม/ เดก็ พกิ าร การพฒั นา พฒั นาเด็ก การพ
ผูปกครอง ท่ีบานและมี เดก็ พิการที่ พิการทีบ่ าน เดก็ พ
การพัฒนา บา นและมี แตม กี าร บานแ
เด็กพกิ ารที่บาน การพฒั นา พฒั นาเด็ก การพ
ทุกวนั จนเปน เดก็ พกิ ารที่ พิการท่ีบาน เดก็ พ
แบบอยา ง บา น ทกุ วัน เปน บางคร้ัง บาน
มีรายได มรี ายได มรี ายได มรี ายไ
ทมี่ ั่นคง เพียงพอตอ เพยี งพอตอ งานท
เพียงพอ การดแู ล การดแู ล ไมเ พยี
ในการดูแล ครอบครัว ครอบครัว ตอ กา
ครอบครัว และการ แตไ ม ครอบ
และมเี งินออม รักษาลูกใน เพยี งพอ ตอ
ไวใ ชในอนาคต อนาคตแตไม การรกั ษา
มเี งินออม เด็กพิการ
ในอนาคต
คะแนนเฉลย่ี รายการประเมิน ๑.๑

14

อเฉพาะครอบครวั : ดา นครอบครัว และสิง่ แวดลอ ม
ษา ๒๕๖๔

นท่ีประเมนิ ๑๕ เมษายน ๒๕๖๕

มผ า น กอ นการพฒั นา หลงั การพฒั นา หลงั การพัฒนา
ภาคเรียนที่ ๑ ภาคเรยี นท่ี ๒
ดบั ๑ ระดบั ๐ ๔ ๓ ๒ ๑ ๐ ๔ ๓ ๒ ๑ ๐ ๔ ๓ ๒ ๑ ๐

กอบ ประกอบ
พท่ีมี อาชีพท่ีไมม ี
เออ้ื ตอ เวลาเอ้ือตอ
พฒั นา การพัฒนา
พกิ ารที่ เด็กพกิ ารท่ี  

แตไมม ี บานและไมมี
พฒั นา การพฒั นา
พกิ ารท่ี เดก็ พิการ
ท่บี า น
ไดจาก ไมม รี ายได
ท่ีทําแต
ยงพอ
ารดูแล
บครัว   

๑.๐๐ ๒.๐๐ ๑.๐๐

21

ประเด็นการพัฒนา เกณฑก ารประเมนิ
รายการประเมนิ ผาน ไม
๑) ครอบครวั มีความคาดหวงั ระดับ ๔ ระดบั ๓ ระดับ ๒ ระด
๑.๒ ครอบครัว ในการพัฒนาผูเ รยี นได เดก็ พิการ เด็กพกิ าร มคี วาม ไมม ีค
มเี จตคติทีด่ ี สามารถพัฒนา สามารถ คาดหวัง คาดห
ตอ ผูเรียน ๒) การดูแลเอาใจใส ไดแ ละมกี าร พฒั นาไดแ ละ ในการพัฒนา ในการ
แสวงหาความรู มกี ารแสวงหา เดก็ พกิ าร เด็กพ
๓) การชว ยเหลอื ในการ อยูเสมอเพื่อ ความรอู ยู แตไมมีความรู และไม
พัฒนาเด็กพิการ นาํ มาปรับใช เสมอ ในการพัฒนา แสวงห
กับเดก็ พกิ าร เด็กพิการ ความ
ชว ยกันดูแล ชว ยกนั ดแู ล ชวยกันดูแล ชวยก
เอาใจใสเ ด็ก เอาใจใส เอาใจใสเด็ก เอาใจ
พกิ ารเปน เด็กพิการ พิการเปน พกิ าร
ประจําทุกวนั เปนประจํา ประจาํ แตไ ม บางค
และเปน ทุกวนั ทกุ วัน
แบบอยา ง
ทุกคนใน ทุกคนใน ทุกคน มคี น
ครอบครัว ในครอบครัว ในครอ
ครอบครัว เขาใจ ให เขา ใจ ครัวบ
เขา ใจใหค วาม ความดแู ล ใหค วามดูแล เขาใจ
ดูแลเอาใจใส เอาใจใส เอาใจใส ใหค วา
ชว ยเหลอื เปน ชว ยเหลือ และ เอาใจ
อยา งดที กุ วัน เปน อยา งดี ชว ยเหลอื และ

จนเปน ชว ยเห
แบบอยาง

15

มผาน กอนการพฒั นา หลังการพัฒนา หลงั การพัฒนา
ดบั ๑ ระดบั ๐ ๔ ๓ ๒ ๑ ๐ ภาคเรียนที่ ๑ ภาคเรยี นท่ี ๒
ความ ไมมีความ ๔๓๒ ๑๐ ๔ ๓๒ ๑๐
หวงั คาดหวงั
รพัฒนา ในการพัฒนา  
พิการ เดก็ พิการ 
 
ม และเด็กพกิ าร
หา เปน ภาระ
มรู ของครอบครวั
กันดูแล ขาดการ
จใสเด็ก ชวยกันดแู ล
รเปน เอาใจใสเด็ก
ครั้ง พกิ าร 

อบ ไมมีคนใน  
บางคน ครอบครัว
จ เขาใจ
ามดแู ล ใหค วามดูแล
จใส เอาใจใส

หลอื


Click to View FlipBook Version