The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

คู่มือการจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรมเกี่ยวกับการโอนที่ดินและอสังหาริมทรัพย์อย่างอื่น (ปี 2557)

สำนักมาตรฐานการทะเบียนที่ดิน

Keywords: ด้านบริหารงานที่ดิน

๓๙๒
ถ. มารดาโจทก์ตกลงเอาไว้เป็นของตนก็เพื่อเป็นหลักฐานว่า ถ. และโจทก์สละสิทธิในที่ดินพิพาท
จึงมลี ักษณะเป็นการแบ่งปนั ทรพั ยม์ รดกโดยสัญญาประนปี ระนอมยอมความ ตามประมวลกฎหมาย
แพง่ และพาณิชย์ มาตรา ๘๕๐ และมาตรา ๑๗๕๐ โจทก์จงึ ฟ้องขอให้แบง่ ทีด่ นิ พพิ าทใหแ้ ก่ตนไม่ได้
๙๗. คำ�พิพากษาฎีกาที่ ๓๗๓๘/๒๕๔๒ ผ. เจ้ามรดกได้ทำ�พินัยกรรมยกที่ดินมรดก
ใหแ้ กจ่ ำ�เลยเพียงผูเ้ ดยี ว โจทก์เปน็ ทายาทโดยธรรมของ ผ. แต่โจทก์มไิ ด้รบั ประโยชน์จากพนิ ยั กรรม
ดงั กล่าว จึงเปน็ ผู้ถกู ตัดมิให้รับมรดก โจทก์จึงไม่มีสิทธิฟ้องขอแบง่ ที่ดินมรดกของ ผ.
๙๘. ค�ำ พพิ ากษาฎกี าท่ี ๔๗๑๔/๒๕๔๒ ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณชิ ย์ มาตรา
๑๔๗๐ ท่ีกำ�หนดใหท้ รพั ย์สินระหวา่ งสามีภริยาประกอบดว้ ยสินสว่ นตวั และสินสมรสนน้ั หมายถึง
ทรัพย์สนิ ทีส่ ามภี รยิ ามอี ยูใ่ นขณะทเี่ ป็นสามภี รยิ ากัน ณ. ถึงแก่กรรมยอ่ มท�ำ ใหก้ ารสมรสระหวา่ ง ณ.
กับโจทก์ส้นิ สุดลง ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา ๑๕๐๑ เงนิ ชดเชยเป็นเงนิ ทเ่ี กิดขน้ึ
เนอ่ื งจากความตายของ ณ. และได้รบั มาหลงั จาก ณ. ถงึ แก่กรรมไปแล้ว จงึ ไมเ่ ปน็ สนิ สมรสระหว่าง
ณ. กับโจทก์ และประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย ์ มาตรา ๑๖๐๐ ทีก่ ำ�หนดให้ทรพั ย์สินทกุ ชนิด
ของผตู้ าย ตลอดท้งั สทิ ธิ หน้าท ่ี และความรบั ผิดตา่ งๆ เป็นมรดกของผตู้ ายนั้น ทรพั ย์สินหรอื สทิ ธิ
เช่นว่านี้ตอ้ งเปน็ ของผ้ตู ายอย่แู ลว้ ในขณะท่ผี ูต้ ายถึงแกก่ รรม แตส่ ิทธิทจ่ี ะได้รบั เงนิ ค่าชดเชยเปน็ สทิ ธิ
ที่เกดิ ขน้ึ เน่ืองจากความตายของ ณ. มิใชเ่ ปน็ เงินหรอื สทิ ธิเรยี กร้องท่ี ณ. มอี ยู่แล้วในระหวา่ งมีชวี ิต
หรอื ขณะถึงแกก่ รรม จึงไมเ่ ปน็ ทรพั ย์มรดกของ ณ.
สิทธิในการรับเงินเพ่ือนชว่ ยเพื่อนเกดิ ขึน้ เนอ่ื งจากความตายของ ณ. มิใชเ่ งนิ หรอื สิทธิ
เรียกร้องที่ ณ. มีอยู่แล้วในระหว่างมีชีวิตหรือขณะถึงแก่กรรม แม้วิธีการที่จะได้รับเงินจำ�นวนนี้
มาจาก ณ. จะตอ้ งเคยช�ำ ระเงนิ ในอตั รารว่ มกบั พนกั งานของจ�ำ เลยคนอน่ื ๆ เพอ่ื รวบรวมสง่ ใหแ้ กท่ ายาท
ของพนักงานผูถ้ งึ แกก่ รรมรายก่อนๆ กม็ ใิ ช่เป็นมรดกของ ณ. โจทก์จึงไมม่ ีสทิ ธิมาขอแบ่งเงนิ ประกัน
ชีวิตท่ีเกิดจากสัญญาระหว่างผู้ตายกับบุคคลภายนอกและจำ�เลย  เพ่ือให้ใช้เงินแก่ผู้รับประโยชน์
สืบเนื่องจากความมรณะของผู้ตายอันมีลักษณะเป็นการประกันชีวิต  สิทธิตามสัญญาเกิดขึ้นเมื่อ
ผู้ประกันชีวติ ถึงแกก่ รรม จึงมใิ ช่มรดกของผู้ตายที่มอี ยู่ในขณะถงึ แก่กรรมที่โจทกจ์ ะใช้สิทธแิ บ่งได้
๙๙. คำ�พิพากษาฎีกาที่  ๔๗๙๑/๒๕๔๒  บทบัญญัติตามประมวลกฎหมายแพ่งและ
พาณชิ ย์ มาตรา ๑๕๔๑ หมายถึง ชายผเู้ ป็นสามหี รอื เคยเปน็ สามจี ะฟอ้ งคดีไมร่ ับเดก็ เป็นบุตร ตาม
มาตรา ๑๕๓๙ ซึง่ เปน็ กรณีที่สนั นิษฐานว่า เด็กเป็นบตุ รชอบดว้ ยกฎหมายของชายผ้เู ป็นสามหี รอื เคย
เปน็ สามีตามมาตรา ๑๕๓๖ และมาตรา ๑๕๓๗ หรอื มาตรา ๑๕๓๘
โจทก์เป็นบตุ รของ ร. และ อ. ซึ่งมีตวั ตนแนน่ อน ส. และ ค. ไม่ใชบ่ ดิ าผูใ้ ห้ก�ำ เนดิ โจทก์
โดยแท้จริง การท่ี ส. ไปแจง้ การเกิดลงในสูตบิ ัตรของโจทก์ว่าบิดาโจทกเ์ ป็นคนไทย มารดาเปน็ คน
กมั พชู า เมอ่ื มีบุตรเกิดมาก็แจ้งเกิดไม่ได้ ส. จึงรับสมอ้างไปแจง้ เกดิ แทนโดยระบุว่าเป็นบดิ า ดังน ้ี
เป็นคนละเร่ืองกับกรณีแจ้งเกิดของเด็กในทะเบียนคนเกิดเองว่าเป็นบุตรของตนเอง  ตามประมวล
กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา ๑๕๔๑ เมื่อโจทก์ไม่ใชบ่ ุตรท่แี ท้จริงของ ส. จงึ ไมใ่ ชบ่ ุตรนอก
กฎหมายตามความเปน็ จริงทบ่ี ดิ าได้รบั รองแล้ว ทงั้ มิใชผ่ สู้ ืบสันดานและไม่ใชท่ ายาทโดยธรรมของ ส.

๓๙๓
ตามประมวลกฎหมายแพง่ และพาณชิ ย์ มาตรา ๑๖๒๗ และมาตรา ๑๖๒๙ (๑) โจทก์จงึ ไมม่ ีสิทธิใน
ทรพั ยม์ รดกของ ส. ผตู้ ายและไมม่ อี ำ�นาจฟ้อง
๑๐๐. คำ�พพิ ากษาฎีกาที่ ๑๐๗-๑๑๐/๒๕๔๓ พ.ทำ�สญั ญาจะซื้อจะขายท่ดี ินพพิ าท
แกจ่ �ำ เลย เมอ่ื พ. ถึงแกก่ รรม ทรัพย์มรดกของ พ. ตกทอดแกโ่ จทก์ โจทกจ์ ึงต้องรับไปท้ังสิทธิและ
หน้าที่ของ พ. เมื่อ พ. มีหน้าที่ต้องโอนที่ดินพิพาทให้แก่จำ�เลย โจทก์จึงมีหน้าที่ต้องดำ�เนินการ
ตามหนา้ ท่ีของ พ. สบื ตอ่ ไป
๑๐๑. คำ�พิพากษาฎีกาที่ ๑๙๔/๒๕๔๓ การแบ่งปันทรัพย์มรดกนั้นอาจทำ�ได้โดย
ทายาทต่างเข้าครอบครองทรัพย์สินเป็นส่วนสัด  ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์  มาตรา 
๑๗๕๐ วรรคหน่งึ ซ. และ น. เปน็ สามภี ริยากนั โดยชอบด้วยกฎหมาย มีบตุ รด้วยกัน ๖ คน คอื โจทก์
จำ�เลย ต. ป. ส. และ ภ. ซ. ถงึ แกค่ วามตายก่อน น. โดย ซ. มิไดท้ �ำ พินยั กรรมไว ้ มที รพั ยม์ รดกเป็น
ที่ดินหลายแปลงรวมทั้งที่ดินตามแบบแจ้งการครอบครองที่ดิน (ส.ค. ๑) เลขที่ ๑๒๑ หลังจาก
น. ถึงแกค่ วามตาย ต. จ�ำ เลย และ ภ. ย่นื คำ�ขอรบั รองการท�ำ ประโยชนใ์ นท่ีดิน ส.ค. ๑ เลขท่ี ๑๒๑
ดังกลา่ ว ทางราชการออก น.ส. ๓ ก ใหเ้ ปน็ ๒ ฉบบั มีชือ่ ต. จำ�เลยและ ภ. เปน็ เจ้าของเนอ่ื งจาก
ที่ดินมีทางสาธารณะตัดผ่าน คือ น.ส. ๓ ก เลขที่ ๒๔๖ และเลขที่ ๒๔๗ จากนั้น ต. กับ ภ. ยกส่วน
ของตน ในท่ดี ินตาม น.ส. ๓ ก เลขท ี่ ๒๔๖ ใหจ้ ำ�เลยทงั้ หมด ส่วนจำ�เลยกับ ภ. ยกส่วนของตน
ในทด่ี ินตาม น.ส. ๓ ก เลขท ่ี ๒๔๗ ให้ ต. ทง้ั หมดเช่นเดียวกนั การทจี่ ำ�เลย ต. และ ภ. ขอออก
น.ส. ๓ ก ในที่ดนิ ตาม ส.ค. ๑ เลขที่ ๑๒๑ จนได้ น.ส. ๓ ก เลขที่ ๒๔๖ และเลขที่ ๒๔๗ ดังกล่าว
ถือได้ว่าจำ�เลย ต. และ ภ. เขา้ ครอบครองทรัพยส์ ินอันเป็นมรดกของ ซ. เป็นสว่ นสดั การแบ่งปัน
ทรพั ย์มรดกเฉพาะทีด่ นิ แปลงนี้จงึ เสร็จส้ินแลว้
๑๐๒. ค�ำ พพิ ากษาฎกี าท ่ี ๕๕๘๗/๒๕๔๓  ประมวลกฎหมายแพง่ และพาณชิ ย ์ มาตรา
๑๖๒๒ วรรคหนง่ึ ทบ่ี ญั ญตั วิ า่ พระภกิ ษนุ น้ั จะเรยี กรอ้ งเอาทรพั ยม์ รดกในฐานะทเ่ี ปน็ ทายาทโดยธรรม
ไม่ได้ เว้นแต่จะได้สึกจากสมณเพศมาเรียกร้องภายในกำ�หนดอายุความตามมาตรา ๑๗๕๔ ต้อง
หมายถงึ กรณีเจ้ามรดกตายโดยมิไดท้ �ำ พินัยกรรมไว้ และพระภกิ ษเุ ป็นทายาทโดยธรรมทีม่ สี ิทธใิ นการ
รับมรดกด้วยไดฟ้ ้องทายาทคนอน่ื ๆ ขอแบง่ มรดก
โจทกไ์ ด้รับการยกใหซ้ ่ึงบ้านและทด่ี นิ จาก ล. ในขณะ ล. มชี วี ติ อยู่ โจทก์จึงเป็นเจา้ ของ
กรรมสทิ ธิ์ในบา้ นและทด่ี ินดงั กลา่ ว การฟอ้ งขบั ไล่จำ�เลยออกจากบา้ นและท่ีดนิ ของโจทก์จงึ มิใชฟ่ อ้ ง
เรยี กเอาสว่ นแบง่ ทรัพย์มรดกในฐานะทายาทโดยชอบธรรม แม้โจทกเ์ ป็นพระภกิ ษกุ ็ย่อมมีอ�ำ นาจฟ้อง
๑๐๓. คำ�พิพากษาฎีกาที่  ๑๓๑๖/๒๕๔๔  จ. ถึงแก่กรรม ที่ดินจึงตกทอดเป็นมรดก
แกท่ ายาทโดยธรรมรวมท้งั ส. ซึง่ เปน็ พระภิกษุด้วย ทด่ี ินท่ี ส. ได้รับมรดกมาเช่นนีม้ ใิ ช่ทดี่ ินของวัด
แม้จะได้มาระหว่างที่อยู่ในสมณเพศ ส. จึงทำ�สัญญาจะซื้อจะขายที่ดินส่วนของตนที่ยังมิได้แบ่งแยก
ที่ดินเดิมให้แก่โจทก์ได้ การที่ ส. ดำ�เนินการแบ่งแยกโฉนดที่ดินเสร็จในเวลาต่อมาแต่ยังมิได้
จดทะเบียนโอนกรรมสิทธ์ิแก่โจทก์และถึงแก่มรณภาพเสียก่อน  ท่ีดินดังกล่าวย่อมตกเป็นสมบัติ
ของวดั จ�ำ เลยโดยผลของกฎหมาย ตามประมวลกฎหมายแพง่ และพาณชิ ย์ มาตรา ๑๖๒๓

๓๙๔
๑๐๔. คำ�พิพากษาฎีกาที่ ๑๙๕๘/๒๕๔๔ การสละมรดก หมายถึง การสละส่วน
ของตนโดยไมเ่ จาะจงวา่ มรดกท่ีสละนน้ั ตกได้แกบ่ ุคคลอ่นื ใด เพราะมเิ ช่นนนั้ แล้วบทบัญญัตปิ ระมวล
กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา ๑๖๑๕ วรรคสอง จะไม่มีผลบังคับ ดังนั้น หนังสือที่ผู้ร้องและ
ผู้คัดค้านทำ�ขึ้นโดยมีเจตนาจะไม่รับทรัพย์มรดกของผู้ตาย โดยจะยกให้ ด. ผู้เดียว จึงมิใช่เป็นการ
สละมรดก ผูร้ ้องจงึ มีสิทธยิ นื่ ค�ำ รอ้ งขอเปน็ ผจู้ ดั การมรดกผูต้ ายได้
๑๐๕. ค�ำ พิพากษาฎกี าที่ ๗๒๐๓/๒๕๔๔ จำ�เลยท่ี ๑ ขอออกโฉนดท่ีดนิ ไดใ้ ห้ถ้อยค�ำ
ต่อพนกั งานเจา้ หนา้ ทวี่ ่าตนได้รับมรดกที่ดินจากบดิ ามารดาประมาณ ๑๕ ปี แลว้ ครอบครองตลอดมา
เป็นการยอมรับต่อเจ้าพนักงานทดี่ นิ ว่า จ�ำ เลยท่ี ๑ ได้ที่บ้านโดยรบั มรดกจากบดิ ามารดา เปน็ การ
กระท�ำ โดยเปิดเผยตามระเบยี บราชการ สว่ นที่ตอ่ มาจำ�เลยท่ี ๑ จดทะเบียนโอนใหจ้ ำ�เลยที่ ๒ ท่ี ๓
ซ่ึงเป็นบุตรของตนท่ีได้ปลูกบ้านแยกครอบครัวออกไป  ย่อมเป็นเร่ืองปกติของผู้เป็นมารดายกทรัพย์
อันเปน็ มรดกตกทอดแก่ทายาทรุน่ ถดั ไปของตนตามประเพณีนยิ มท่วั ไป เพราะจำ�เลยที่ ๑ เช่ือว่าเป็น
สิทธิของตนทีไ่ ดร้ ับทรพั ย์มรดกนี้ ไม่มพี ฤติการณ์ใดทีส่ ่อใหเ้ ห็นว่าจ�ำ เลยท่ี ๑ มีความมงุ่ หมายท่ีจะ
ยักยา้ ยหรือปดิ บังทรพั ยม์ รดก โดยฉอ้ ฉลหรอื ร้อู ยูว่ า่ ตนทำ�ใหเ้ ส่อื มประโยชนข์ องทายาทอ่ืน จงึ ไมถ่ ูก
กำ�จัดมใิ ห้รบั มรดกแตอ่ ย่างใด
๑๐๖. ค�ำ พพิ ากษาฎกี าท่ี ๗๔๔๘/๒๕๔๔ หลังจากท่ี ศ. เจ้ามรดกถึงแก่ความตาย
ศาลช้ันต้นมีคำ�ส่ังตง้ั ส. เปน็ ผู้จัดการมรดกของ ศ. ต่อมา ส. ถึงแก่ความตาย ผู้รอ้ งยืน่ ค�ำ ร้องวา่
การจัดการมรดกยังไม่แล้วเสร็จ ยังมีที่ดินอีกสองแปลงที่ยังไม่แบ่งแก่ทายาท ศาลชั้นต้นไต่สวน
ค�ำ รอ้ งแลว้ มคี ำ�ส่ังตง้ั ผ้รู ้องเปน็ ผู้จดั การมรดก ผคู้ ดั ค้านยืน่ คำ�ร้องขอให้ถอดถอนผรู้ อ้ งจากการเปน็
ผู้จัดการมรดก  อา้ งวา่ การจดั การมรดกเสรจ็ สน้ิ แลว้   และผรู้ อ้ งมไิ ดจ้ ดั ท�ำ บญั ชที รพั ยม์ รดกยน่ื ตอ่ ศาล
ตามก�ำ หนด ดงั น้ี เม่อื ปรากฏวา่ ในระหวา่ งท่ี ส. เปน็ ผูจ้ ดั การมรดกยงั มีทรพั ยม์ รดกทย่ี ังไมไ่ ด้แบง่ ปัน
คอื ทด่ี นิ อกี ๒ แปลง และไมป่ รากฏวา่ ส. ไดจ้ ดั การโอนทด่ี นิ ใหแ้ กผ่ คู้ ดั คา้ นแลว้ แมบ้ รรดาทายาทอน่ื
ได้ไปให้ถ้อยคำ�สละไม่รับมรดกต่อเจ้าพนักงานที่ดินและยินยอมให้ดำ�เนินการโอนกรรมสิทธิ์ที่ดินแก่
ผคู้ ัดค้านก็ตาม แตก่ เ็ ปน็ เหตกุ ารณท์ ่ีเกดิ ขน้ึ ภายหลงั ศาลชัน้ ต้นมคี �ำ ส่งั ตง้ั ผูร้ ้องเป็นผู้จดั การมรดกแลว้
โดยผรู้ อ้ งมไิ ดร้ ว่ มตกลงดว้ ย จงึ ไมผ่ กู พนั ผรู้ อ้ ง ตามประมวลกฎหมายแพง่ และพาณชิ ย์ มาตรา ๑๗๕๐
วรรคสอง กรณจี งึ ต้องถอื วา่ ยงั มีทรพั ยม์ รดกทยี่ ังแบ่งปนั ไมแ่ ล้วเสรจ็ ในขณะที่ ส. ผู้จดั การมรดกยังมี
ชวี ติ อย่แู ละมเี หตุตอ้ งจดั การทรัพยม์ รดกต่อไป
๑๐๗. คำ�พิพากษาฎีกาที่ ๗๔๔๙/๒๕๔๔ หลังจากเจา้ มรดกถึงแกค่ วามตาย จ�ำ เลย
เท่านั้นที่เข้าครอบครองที่ดินพิพาทอันเป็นทรัพย์มรดกโดยโจทก์มิได้เข้ามาเกี่ยวข้องเลยเกิน ๑๐ ปี
จงึ ตอ้ งห้ามมิใหฟ้ อ้ งตามประมวลกฎหมายแพง่ และพาณชิ ย์ มาตรา ๑๗๕๔ ทรัพย์มรดกย่อมตกทอด
แกจ่ �ำ เลยโดยสมบูรณ์ แม้ ช. จะเคยยืน่ ค�ำ รอ้ งขอเปน็ ผูจ้ ดั การมรดก แตก่ ็เป็นภายหลังจากการที่สทิ ธิ
ของโจทก์ขาดอายุความ  อีกท้ังคำ�ร้องขอเป็นผู้จัดการมรดกของ  ช.  ก็มิได้ระบุว่าโจทก์เป็นทายาท
จึงถอื ไมไ่ ด้วา่ ช. และจ�ำ เลยครอบครองทรัพย์มรดกของเจา้ ของมรดกแทนหรือเพ่อื ประโยชนแ์ ก่โจทก์
โจทก์จะยกเอาประโยชนแ์ หง่ มาตรา ๑๗๔๘ มาเรียกร้องใหจ้ �ำ เลยแบง่ ทรพั ย์มรดกใหโ้ จทกห์ าไดไ้ ม่

๓๙๕
๑๐๘. ค�ำ พพิ ากษาฎีกาท่ี ๗๙๖๘/๒๕๔๔ ท่ดี นิ พพิ าทเปน็ ทรัพยม์ รดกทีย่ งั ไมไ่ ดม้ กี าร
แบ่งปัน การท่ีจ�ำ เลยมชี อ่ื ในโฉนดท่ดี ินต้องถอื ว่าได้ถอื ไว้แทนทายาทอ่ืนดว้ ย เม่อื โจทก์เป็นทายาท
คนหนึ่ง จึงเป็นผูค้ รอบครองทีด่ ินพิพาทอันเปน็ ทรัพย์มรดกท่ยี ังไมไ่ ดแ้ บง่ ปันกันใหเ้ สร็จสิน้ ไป โจทก์
จงึ มสี ิทธเิ รียกรอ้ งให้แบ่งมรดกนีไ้ ด้ แมว้ า่ จะล่วงพ้นกำ�หนดอายคุ วามมรดก ตามประมวลกฎหมาย
แพ่งและพาณิชย ์ มาตรา ๑๗๕๔ กรณตี อ้ งตามมาตรา ๑๗๔๘ ฟ้องโจทก์จึงไม่ขาดอายุความ
๑๐๙. คำ�พพิ ากษาฎีกาท่ี ๘๖๖๑/๒๕๔๔ ป. ซึ่งเป็นเจ้ามรดกและ บ. อยกู่ ินฉนั สามี
ภรยิ ากนั โดยเปดิ เผยเปน็ ทร่ี บั รขู้ องบคุ คลอน่ื ทว่ั ๆ ไป และมบี ตุ รดว้ ยกนั กอ่ นโจทกแ์ ลว้ คนหนง่ึ ซง่ึ ถงึ แก่
ความตายไปก่อนแล้ว ป. ถึงแกค่ วามตายขณะ บ. ตั้งครรภ์โจทก์ พฤตกิ ารณ์ของ ป. และ บ. ทป่ี ฏิบตั ิ
ต่อกันแสดงให้เห็นได้ชัดเจนว่า ป. ยกย่อง บ. เป็นภริยาและยอมรับว่าเด็กที่เกิดจาก บ. เป็นบุตร
บ. ต้ังครรภโ์ จทก์ขณะท่ี ป. ยังไม่ถงึ แกค่ วามตายและไม่ปรากฏขอ้ เทจ็ จรงิ อ่นื ใหเ้ ห็นวา่ ป. ปฏิเสธหรือ
ไมย่ อมรบั วา่ เดก็ ในครรภ์ บ. ไมใ่ ชบ่ ุตรของ ป. จงึ ต้องถอื ว่า ป. ได้รับรองวา่ โจทก์เป็นบตุ ร และต้อง
ถอื วา่ ป. ได้รบั รองว่าโจทกเ์ ป็นบตุ รต้งั แตอ่ ยูใ่ นครรภ์ บ. แลว้ โจทกจ์ งึ อยใู่ นฐานะผสู้ ืบสนั ดานเหมือน
กับบตุ รทชี่ อบดว้ ยกฎหมายของ ป. และเปน็ ทายาทของ ป. ตามประมวลกฎหมายแพง่ และพาณชิ ย ์
มาตรา ๑๖๒๗ และมาตรา ๑๖๐๔
เมอ่ื ป. ถงึ แกค่ วามตาย ทด่ี นิ พพิ าทจงึ เปน็ มรดกของ ป. ทจ่ี ะตกทอดไปยงั ทายาทของ ป.
ตามกฎหมาย บ. อยู่กินฉันสามีภริยากับ ป. โดยมิได้จดทะเบียนสมรสตามกฎหมายจึงไม่มีสิทธิ
ไดร้ ับมรดกของ ป. โจทก์จงึ เป็นทายาทของ ป. แต่เพียงผู้เดยี ว ทด่ี ินพพิ าทจงึ ตกไดแ้ กโ่ จทก์ซ่งึ ยงั เป็น
เดก็ เล็กและอาศยั อยกู่ ับ บ. มารดา ดังน้นั จึงต้องถือวา่ บ. ครอบครองดูแลที่ดนิ พพิ าทแทนโจทก์
ซ่ึงเป็นผ้เู ยาว์มาตลอด แมต้ ่อมา บ. จะได้ ส. เป็นสามแี ละรับ ส. เข้ามาอยู่ร่วมกันในท่ีดนิ พิพาทกต็ าม
แต่กไ็ ม่ปรากฏข้อเท็จจรงิ วา่ บ. และ ส. ครอบครองทด่ี นิ พิพาทโดยไม่มีเจตนาจะยดึ ถอื ครอบครอง
ที่ดนิ พิพาทแทนโจทกอ์ กี ต่อไป บ. และ ส. จงึ ไม่เกดิ สิทธคิ รอบครองที่ดินพิพาทและยงั ตอ้ งถือว่า
บุคคลทงั้ สองครอบครองทีด่ นิ พิพาทแทนโจทก์มาตลอด เมือ่ บ. โอนการครอบครองทด่ี ินพิพาทให้
จ�ำ เลย จำ�เลยกไ็ ม่มสี ทิ ธใิ นท่ดี ินพพิ าทดีไปกว่า บ. ผูค้ รอบครองทีด่ นิ แทนโจทก์ จำ�เลยจงึ เป็นเพียง
ผูค้ รอบครองทด่ี นิ พิพาทแทนโจทกต์ ามหลกั ผ้รู บั โอนไมม่ สี ิทธดิ กี ว่าผ้โู อนเท่านัน้
๑๑๐. คำ�พิพากษาฎีกาท่ี  ๙๕๐๔/๒๕๔๔  บันทึกข้อตกลงตามรายงานประจำ�วัน
เกย่ี วกบั คดที ผ่ี รู้ อ้ ง ผคู้ ดั คา้ น และ ว. ท�ำ กนั ตอ่ หนา้ เจา้ หนา้ ทต่ี �ำ รวจมขี อ้ ความชดั แจง้ วา่ ผรู้ อ้ งและ ว.
ขอสละกรรมสิทธิ์ในทรัพย์มรดกให้แก่ผู้คัดค้านและยอมให้ผู้คัดค้านเป็นผู้ดำ�เนินการเกี่ยวกับ
ทรัพย์มรดกแต่เพียงผเู้ ดยี ว แตก่ ารเจาะจงให้ทรพั ย์มรดกแกผ่ ้คู ดั คา้ นเช่นน้ี เป็นการยกทรัพย์มรดก
ส่วนของตนให้แก่ทายาทคนใดคนหนึ่ง  ไม่ใช่การสละมรดกตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
มาตรา ๑๖๑๒ อย่างไรกด็ ี แม้ขอ้ ตกลงระหว่างผู้รอ้ งและ ว. ฝ่ายหนง่ึ กบั ผ้คู ัดค้านอกี ฝ่ายหนึง่
ดังกล่าว จะไม่ใช่หนังสือสละมรดกตามกฎหมาย แต่มีลักษณะเป็นสัญญาแบ่งปันทรัพย์มรดก เมื่อ
ทงั้ สองฝา่ ยลงลายมอื ชอื่ ไวใ้ นหนังสอื ดงั กลา่ วแล้วยอ่ มผูกพนั คสู่ ญั ญาตามมาตรา ๑๗๕๐ วรรคสอง

๓๙๖
ผู้ร้องจึงไม่ใช่ทายาทผู้มีสิทธิรับทรัพย์มรดกหรือผู้มีส่วนได้เสียในทรัพย์มรดก  และไม่มีอำ�นาจยื่น
คำ�ร้องขอตอ่ ศาลขอให้ตงั้ ว. เป็นผ้จู ัดการมรดก
๑๑๑. คำ�พิพากษาฎีกาท่ี  ๘๐๙/๒๕๔๕  ท.  เป็นหน้ีโจทก์อยู่และถึงแก่ความตายลง
จำ�เลยทั้งสามซึ่งเปน็ ทายาทโดยธรรมของ ท. ย่อมรบั ไปท้ังสิทธิหนา้ ทแ่ี ละความรบั ผิดต่อโจทก์ โจทก์
มีสิทธิเรียกร้องบังคับชำ�ระหน้ีเอาจากจำ�เลยทั้งสามในฐานะทายาทโดยธรรมได้เท่าท่ีไม่เกินทรัพย์
มรดกทีไ่ ดร้ บั ตามประมวลกฎหมายแพง่ และพาณชิ ย์ มาตรา ๑๖๐๑ สว่ นการท่จี ำ�เลยจะได้รับทรพั ย์
มรดกของ ท. และ ท. จะมที รพั ยม์ รดกหรือไม่ เป็นเร่ืองท่ีตอ้ งวา่ กนั ในช้นั บงั คบั คดี
๑๑๒. คำ�พิพากษาฎีกาที่ ๑๗๒๔/๒๕๔๕ ทายาทที่จะถูกกำ�จัดมิให้รับมรดก ตาม
ประมวลกฎหมายแพง่ และพาณิชย์ มาตรา ๑๖๐๕ ม่งุ เฉพาะบุคคลท่ีเปน็ ทายาทของเจ้ามรดกขณะ
ท่ีเจ้ามรดกถึงแก่ความตาย  ฉะน้ัน  เม่ือขณะท่ีผู้ตายถึงแก่กรรมมีทายาทโดยธรรมที่มีสิทธิได้รับ
มรดก คือ พ. ซึ่งเป็นสามีโจทก์ที่ ๑ จ�ำ เลย อ. และ ช. มารดาของผตู้ าย แม้ว่าโจทก์ที่ ๑ จะเปน็
ภริยาโดยชอบด้วยกฎหมายของ พ. แต่จะมีสิทธิในทรัพย์มรดกของผู้ตายก็เพียงในฐานะผู้สืบสิทธิ
ของ พ. โดยรับมรดกเฉพาะสว่ นของ พ. เท่านน้ั ถอื ไม่ไดว้ า่ โจทก์ท่ี ๑ เปน็ ทายาทอนั ถกู กำ�จดั มใิ ห้
รับมรดกของผตู้ าย
๑๑๓. คำ�พิพากษาฎีกาที่ ๑๙๕๒/๒๕๔๕ โจทก์ บ. และทายาทอ่ืนของ ส. ไดข้ าย
ส่วนของตนในที่ดินพิพาทให้แก่จำ�เลย  เป็นการแสดงเจตนาขายสิทธิในทรัพย์มรดกส่วนของทายาท
แตล่ ะคนให้แก่จำ�เลยซง่ึ เป็นทายาทคนหนึง่ ของ ส. และมกี ารโอนทางทะเบยี นเป็นช่ือของจ�ำ เลยแล้ว
ย่อมมีผลบังคับได้ตามกฎหมาย  เนื่องจากทายาทแต่ละคนมีอำ�นาจขายทรัพย์มรดกส่วนของตนได้ 
ตามประมวลกฎหมายแพง่ และพาณชิ ย์ มาตรา ๑๓๖๑ วรรคหนง่ึ ประกอบมาตรา ๑๗๔๕ ทง้ั ถอื ไดว้ า่
โจทกท์ ี่ ๑ จำ�เลย บ. และทายาทอน่ื ตกลงแบง่ ทรพั ยส์ นิ โดยการขายทรพั ย์มรดกแล้วเอาเงินทีข่ ายได้
มาแบ่งปันกันระหว่างทายาทตามมาตรา ๑๗๕๐ วรรคหนึ่ง จึงไม่จำ�เป็นต้องทำ�เป็นหนังสือและ
จดทะเบยี นตอ่ พนกั งานเจ้าหนา้ ท่ี ตามมาตรา ๔๕๖ วรรคหนง่ึ
๑๑๔. ค�ำ พพิ ากษาฎกี าท ่ี ๓๒๐๑/๒๕๔๕  โจทกฟ์ อ้ งเรยี กทด่ี นิ พพิ าทอนั เปน็ ทรพั ยม์ รดก
ของ ผ. ภายหลงั จากถึงแก่ความตายเป็นเวลาถึง ๓๗ ปีเศษ จึงพน้ กำ�หนดหนง่ึ ปีนับแตเ่ จ้ามรดกตาย
หรอื นบั แตเ่ มอ่ื ทายาทโดยธรรมไดร้ หู้ รอื ควรไดร้ ถู้ งึ ความตายของเจา้ มรดกซง่ึ ตอ้ งหา้ มไมใ่ หฟ้ อ้ งคดมี รดก
ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์  มาตรา  ๑๗๕๔  แต่หากโจทก์ซ่ึงเป็นทายาทได้ครอบครอง
ทรัพย์มรดกที่ยังมิได้แบ่งกันก็ย่อมมีสิทธิที่จะเรียกร้องให้แบ่งทรัพย์มรดกนั้นได้   แม้ว่าจะล่วงพ้น
ก�ำ หนดอายุความ ตามประมวลกฎหมายแพง่ และพาณิชย์ มาตรา ๑๗๔๘ โจทกจ์ ึงต้องน�ำ สืบให้ได้
ความโดยแน่ชัดว่าที่ดินพิพาทเป็นทรัพย์มรดกท่ียังมิได้แบ่งกันและทายาทอื่นได้ครอบครองท่ีดิน
พพิ าทแทนโจทก์
ทรพั ยม์ รดกทีด่ นิ ของ ผ. เจา้ มรดกได้แบง่ ปันใหแ้ ก่ ร. บ. และ ส. ทายาทของ ผ. และ
บุคคลท้ังสามดังกล่าวเข้าครอบครองท่ีดินพิพาทเป็นสัดส่วน  อันเป็นการแบ่งปันทรัพย์มรดก  ตาม

๓๙๗
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย ์ มาตรา ๑๗๕๐ วรรคแรก จงึ ถอื วา่ การแบ่งปันมรดกเสรจ็ ส้นิ แลว้
และนบั แต่น้ันมาย่อมถอื วา่ บคุ คลท้งั สามครอบครองทด่ี ินพิพาทเพอื่ ตน มิใชค่ รอบครองแทนโจทกซ์ ง่ึ
เปน็ ทายาท ดังนน้ั โจทก์จึงไมม่ อี �ำ นาจฟ้องเอาส่วนแบง่ มรดกอีก
๑๑๕. ค�ำ พพิ ากษาฎกี าท ่ี ๓๗๗๖/๒๕๔๕  การทผ่ี คู้ ดั คา้ นท่ี ๑ ท�ำ บนั ทกึ มขี อ้ ความวา่
ไดร้ บั เงนิ จากผรู้ อ้ งในนามผจู้ ดั การมรดกแลว้ และจะไมเ่ รยี กรอ้ งใดๆ อกี นน้ั เปน็ ขอ้ ตกลงระงบั ขอ้ พพิ าท
ในทรัพย์มรดกท่ีจะมีขึ้นในเร่ืองการแบ่งปันทรัพย์มรดกของผู้ตายในอนาคตให้หมดไป  จึงเป็นการ
ประนปี ระนอมยอมความ ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา ๘๕๐ ท้ังยงั ปรากฏวา่ เงนิ
ท่ผี คู้ ดั ค้านที่ ๑ รบั ไปนั้น เป็นเงนิ ฌาปนกจิ สงเคราะห์ซงึ่ มิใชท่ รัพย์มรดกเพราะมิใชท่ รัพย์สนิ ทผ่ี ตู้ ายมี
อย่กู อ่ นหรอื ขณะถงึ แกค่ วามตาย ดังนนั้ การท่ผี ้คู ดั ค้านที่ ๑ ทำ�บันทึกดงั กลา่ วจงึ เป็นการสละมรดก
ทัง้ หมดมิใชเ่ พียงบางสว่ น ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณชิ ย์ มาตรา ๑๖๑๒ ไม่เปน็ การฝ่าฝืน
มาตรา ๑๖๑๓ ซึง่ มีผลย้อนหลังไปถึงเวลาท่เี จ้ามรดกตายตามมาตรา ๑๖๑๕ ผ้คู ดั ค้านที่ ๑ จึงไมใ่ ช่
ทายาท และผู้มสี ว่ นได้เสียในทรัพยม์ รดก ไมม่ อี ำ�นาจมาร้องขอถอนผ้จู ดั การมรดก
๑๑๖. คำ�พิพากษาฎีกาท่ี  ๕๗๑๒/๒๕๔๕  โจทก์และ ส. ได้ตกลงแบ่งมรดกของ
เจ้าของมรดกทั้งที่มีพินัยกรรมและไม่มีพินัยกรรมตามสัญญาประนีประนอมยอมความซ่ึงระบุโจทก์
ยอมเสียสละทด่ี ินโฉนดเลขท่ี ๒๘๙๓ พรอ้ มสงิ่ ปลูกสรา้ งแก่ ส. จึงตอ้ งด้วยบทบญั ญตั แิ หง่ ประมวล
กฎหมายแพง่ และพาณิชย์ มาตรา ๑๗๕๐ วรรคสอง เมื่อโจทกแ์ ละ ส. ลงลายมอื ช่ือไว้จึงตอ้ งผูกพัน
ตามสัญญาประนีประนอมยอมความ  ย่อมถือได้ว่าท่ีดินดังกล่าวพร้อมสิ่งปลูกสร้างตามท่ีโจทก์ฟ้อง
ได้แบ่งปันไปเสร็จแล้ว  โจทก์จึงไม่มีส่วนได้เสียในท่ีดินพร้อมส่ิงปลูกสร้างอีก  ไม่ว่าในฐานะส่วนตัว
หรอื ในฐานะผจู้ ดั การมรดกท่ีจะใชส้ ทิ ธขิ อแบง่ หรือมีอำ�นาจจดั การอีกตอ่ ไปไม ่ ดงั น้นั หากจ�ำ เลยซึ่ง
เป็นผู้เช่าที่ดินโฉนดเลขที่ ๒๘๙๓ ก่อให้เกิดความเสียหายหรือไม่ประการใด ก็เป็นเรื่องของเจ้าของ
ท่ีดินจะไปว่ากล่าวแก่จำ�เลยต่างหาก  หาเก่ียวข้องกับโจทก์ไม่  จึงถือไม่ได้ว่าจำ�เลยได้โต้แย้งสิทธิ
หรอื หน้าท่ีของโจทก์ ตามประมวลกฎหมายวธิ ีพิจารณาความแพง่ มาตรา ๕๕ โจทก์จึงไมม่ อี ำ�นาจ
ฟ้องจำ�เลย
๑๑๗. คำ�พิพากษาฎีกาท่ี  ๕๑๓/๒๕๔๖  ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
มาตรา ๑๕๖๔ บดิ ามหี น้าท่ีอปุ การะเลยี้ งดบู ุตรท่ีชอบดว้ ยกฎหมายเทา่ นั้น ส่วนบตุ รนอกกฎหมาย
ท่ีบิดาไดร้ ับรองแลว้ ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณชิ ย์ มาตรา ๑๖๒๗ ใหถ้ อื เป็นผู้สืบสันดาน
เหมือนกบั บตุ รท่ีชอบดว้ ยกฎหมาย ซง่ึ มีผลท�ำ ให้เป็นผมู้ สี ิทธริ บั มรดกในฐานะทายาทโดยธรรมเท่านั้น
เมื่อ ช. ผตู้ ายไมม่ หี น้าทต่ี ามกฎหมายในการอปุ การะเลย้ี งดูเดก็ ชาย ส. และเด็กชาย ว. บุตรของโจทก์
โจทก์ในฐานะผู้แทนโดยชอบธรรมของเด็กชายท้ังสองจึงไม่มีอำ�นาจฟ้องเรียกค่าอุปการะจากจำ�เลย
ผูท้ �ำ ละเมิดแก่ผูต้ ายได ้
๑๑๘. คำ�พิพากษาฎีกาท่ี  ๑๓๘๐/๒๕๔๖  แม้โจทก์จะฟ้องขอให้บังคับจำ�เลยทั้งสอง
แบ่งทรัพย์มรดกให้แก่โจทก์  เม่ือข้อเท็จจริงปรากฏว่าจำ�เลยท่ี  ๑  เป็นทายาทอยู่ในฐานะอันควร

๓๙๘
ได้มรดกเช่นเดียวกับโจทก์ ศาลจึงมีอ�ำ นาจแบ่งมรดกให้แก่จ�ำ เลยที่ ๑ ด้วย เนอื่ งจากจ�ำ เลยท่ี ๑
เปน็ คูค่ วามในคดีตามความหมายแห่งประมวลกฎหมายแพง่ และพาณชิ ย์ มาตรา ๑๗๔๙ วรรคสอง
อย่แู ลว้ โดยไม่จ�ำ ต้องร้องสอดเขา้ มาขอส่วนแบ่งในคดี
๑๑๙. ค�ำ พพิ ากษาฎกี าท ่ี ๑๕๘๔/๒๕๔๖  โจทกเ์ ปน็ บตุ รของ พ. ซง่ึ เปน็ พส่ี าวของผตู้ าย
เมื่อขณะผตู้ ายถึงแก่ความตายผู้ตายไม่มคี สู่ มรสและบตุ ร ทง้ั บดิ ามารดากถ็ ึงแกค่ วามตายไปกอ่ นแล้ว
มรดกของผูต้ ายจึงตกทอดแก่พ่ีนอ้ งร่วมบดิ ามารดาเดยี วกันกบั ผ้ตู าย ซงึ่ รวมทั้ง พ. ซึง่ เปน็ ทายาท
โดยธรรม ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา ๑๖๒๙ (๓) เมอ่ื พ. ถึงแก่ความตายกอ่ น
ผตู้ าย โจทกซ์ ง่ึ เป็นบุตรและผสู้ บื สันดานของ พ. ยอ่ มมสี ิทธิรับมรดกแทนที่ พ. โจทก์ซ่งึ เปน็ ทายาท
ผมู้ สี ทิ ธิรบั มรดกของผู้ตายเฉพาะส่วนแบง่ ของ พ. ตามมาตรา ๑๖๓๙………
๑๒๐. ค�ำ พพิ ากษาฎกี าที่ ๗๔๙๙/๒๕๔๗ โจทก์ฟอ้ งใหจ้ �ำ เลยที่ ๒ ในฐานะทายาท
ของ ช. ให้รับผดิ ตามสญั ญาคํ้าประกันท่ี ช. คา้ํ ประกันหน้ีเงินกู้ของ ป. ไว้แกโ่ จทก์ ความรับผิดชอบ
ของผคู้ า้ํ ประกนั ในหนท้ี จ่ี ะตอ้ งช�ำ ระแกเ่ จา้ หนก้ี บั หนท้ี ล่ี กู หนจ้ี ะตอ้ งช�ำ ระเปน็ การช�ำ ระหนซ้ี ง่ึ แบง่ แยก
จากกันมิได้ การทีจ่ ำ�เลยท่ี ๑ ในฐานะทายาทของ ป. ผ้กู ู้ ยกอายุความตามประมวลกฎหมายแพง่ และ
พาณิชย์ มาตรา ๑๗๔๕ วรรคสาม ข้นึ เปน็ ขอ้ ต่อสู้ และปรากฏวา่ สทิ ธิเรียกร้องของโจทก์อันมตี ่อ ป.
ขาดอายคุ วามแล้วท�ำ ให้จ�ำ เลยที่ ๑ ไม่ตอ้ งรบั ผดิ แกโ่ จทกต์ ามฟอ้ ง กรณีจงึ อยูใ่ นบังคบั แห่งประมวล
กฎหมายวธิ พี ิจารณาความแพ่ง มาตรา ๕๙ (๑) เม่ือสิทธเิ รยี กรอ้ งของโจทก์ส�ำ หรบั ความรับผิดของ
จำ�เลยที่ ๑ ขาดอายคุ วาม ศาลย่อมพพิ ากษาใหม้ ีผลถงึ ความรับผดิ ของจ�ำ เลยที่ ๒ ท่ีขาดนัดดว้ ยได ้
แมโ้ จทกน์ �ำ คดีมาฟ้องใหจ้ �ำ เลยที่ ๒ รับผิดภายหลงั โจทก์ไดร้ ูถ้ ึงความตายของ ช. ยงั ไมพ่ น้ กำ�หนด
หน่งึ ปี ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
๑๒๑. คำ�พิพากษาฎีกาท ่ี ๒๖๗๑/๒๕๔๘  ท่ีดนิ พิพาทท้งั ๔ แปลง และเงินสดจำ�นวน
๒๐๐,๐๐๐ บาท ท่ี ล. แบ่งให้จ�ำ เลยเปน็ ทรพั ย์มรดกของ ก. โจทกท์ ง้ั สามในฐานะทายาทโดยธรรม
เชน่ เดียวกบั จ�ำ เลยย่อมมีสิทธทิ ี่จะไดร้ ับมรดกดังกลา่ วดว้ ย การที่ ล. ฟอ้ งจ�ำ เลยเป็นอกี คดหี น่งึ แลว้
ล.  กับจำ�เลยซึ่งเป็นผู้จัดการมรดกร่วมกันตกลงแบ่งปันทรัพย์มรดกและจำ�เลยถอนตัวจากการเป็น
ผู้จัดการมรดก  แม้ศาลจะพิพากษาตามยอม  เม่ือโจทก์ท้ังสามไม่ได้ลงลายมือช่ือให้ความยินยอม
ในสญั ญาประนปี ระนอมยอมความดังกลา่ วย่อมไม่มผี ลผูกพนั โจทกท์ ้งั สาม ดังน้ัน เมื่อจ�ำ เลยและ ล.
แบ่งปันทรัพย์มรดกโดยไม่แบ่งให้แก่โจทก์ท้ังสามซึ่งมีสิทธิรับมรดกจึงเป็นการปฏิบัติผิดหน้าที่ของ
ผูจ้ ดั การมรดก ตามประมวลกฎหมายแพง่ และพาณชิ ย์ มาตรา ๑๗๑๙ โจทกท์ ้ังสามยอ่ มฟอ้ งขอแบง่
ทรพั ย์มรดกท่ีจ�ำ เลยได้รบั ไปได้ ตามมาตรา ๑๗๔๕ ประกอบมาตรา ๑๓๖๓
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณชิ ย์ มาตรา ๑๖๑๓ บัญญัติว่า การสละมรดกจะทำ�แต่
เพยี งบางสว่ นหรอื ท�ำ โดยมเี ง่ือนไขหรือเงอ่ื นเวลาไมไ่ ด้ การท่ี ล. ยอมแบง่ ทรพั ยพ์ พิ าทซ่งึ เป็นของ ก.
ใหแ้ กจ่ �ำ เลยกเ็ พอ่ื ใหจ้ �ำ เลยพน้ จากการเปน็ ผจู้ ดั การมรดก และจะไมย่ งุ่ เกย่ี วกบั ทรพั ยม์ รดกสว่ นอน่ื ๆ อกี
เปน็ การตอ้ งห้ามตามบทกฎหมายดังกล่าว จงึ ถอื ไมไ่ ดว้ า่ ล. สละมรดก เมอ่ื ก. ม ี ล. เปน็ คสู่ มรส
ล. ย่อมมีสิทธิได้รับทรัพย์พิพาทกึ่งหนึ่งตามมาตรา ๑๖๓๕ (๒) อีกกึ่งหนึ่งคงตกได้แก่โจทก์ทั้งสาม
และจ�ำ เลย คนละสว่ นเทา่ ๆ กัน

๓๙๙
๑๒๒. คำ�พิพากษาฎีกาที่ ๕๒๗๒/๒๕๔๘ กองมรดกของ ส. ที่ตกทอดแก่ทายาท
โดยธรรม ตามประมวลกฎหมายแพง่ และพาณิชย์ มาตรา ๑๕๙๙ วรรคหนึ่ง ไดแ้ ก่ทรัพยส์ ินทุกชนิด
ของ ส. ตลอดทงั้ สทิ ธหิ น้าทแี่ ละความรับผิดตา่ งๆ ซ่ึงมิไดม้ ีกฎหมายหรอื วา่ โดยสภาพแลว้ เปน็ การ
เฉพาะตวั ของ ส. โดยแทต้ ามมาตรา ๑๖๐๐ จำ�เลยท่ี ๓ และที่ ๕ ซ่ึงเป็นทายาทโดยธรรมของ ส.
จึงต้องรับทั้งสิทธิและหน้าที่ตลอดทั้งความรับผิดต่างๆ ในกองมรดกของ ส. โดยผลของกฎหมาย
อันเปน็ เหตุใหโ้ จทกใ์ นฐานะเจ้าหนข้ี อง ส. จำ�ตอ้ งฟ้องจ�ำ เลยท่ี ๓ และที่ ๕ ใหร้ ่วมกนั รับผดิ ตอ่ โจทก์
สทิ ธิและหนา้ ท่ตี ลอดท้ังความรบั ผดิ ต่างๆ ของจำ�เลยที ่ ๓ และท่ี ๕ ในฐานะทายาทโดยธรรมย่อม
เปน็ คนละสว่ นกบั สทิ ธแิ ละหนา้ ทโ่ี ดยสว่ นตวั ซง่ึ จ�ำ เลยท ่ี ๓ และท ่ี ๕ มอี ยกู่ อ่ นถกู ศาลมคี �ำ สง่ั พทิ กั ษท์ รพั ย์
เด็ดขาด ฉะนั้น บทบัญญัติแห่งพระราชบัญญัติล้มละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓ มาตรา ๒๗ จะนำ�มา
บงั คบั ใช้แก่หนา้ ท่ี และความรับผิดของจำ�เลยที่ ๓ และท่ี ๕ ในฐานะทายาทโดยธรรมผ้มู ีสทิ ธไิ ดร้ ับ
มรดกของ  ส.  ซ่ึงยังมิได้มีการแบ่งอันพึงมีต่อโจทก์มิได้  โจทก์จึงมีสิทธิขอให้ศาลออกคำ�บังคับแก่
จำ�เลยที่ ๓ และที่ ๕ ซงึ่ ต้องรับผิดตามค�ำ พพิ ากษาในฐานะทายาทโดยธรรมของ ส.
๑๒๓. คำ�พิพากษาฎีกาที่ ๕๖๓๔/๒๕๔๙ การฟ้องคดีมรดก ตามที่บัญญัติไว้ใน
ประมวลกฎหมายแพง่ และพาณชิ ย์ มาตรา ๑๗๕๔ หมายถึงคดที ่ีทายาทผูม้ สี ิทธริ ับมรดกด้วยกนั
พพิ าทกันดว้ ยเร่อื งสทิ ธิเรยี กรอ้ งในสว่ นแบ่งทรัพยม์ รดก
โจทก์ฟ้องว่า  โจทก์เป็นภรรยาและเป็นผู้จัดการมรดกของ  ม.  ซ่ึงมีช่ือเป็นผู้มีสิทธิ
ครอบครองรว่ มกบั จ�ำ เลยในทด่ี นิ และมคี �ำ ขอบงั คบั ใหจ้ �ำ เลยแบง่ แยกทด่ี นิ ใหแ้ กโ่ จทกค์ รง่ึ หนง่ึ ทางดา้ น
ทิศตะวันตกตามท่ี ม. มีสิทธิครอบครอง จ�ำ เลยให้การวา่ ม. ยกทดี่ ินส่วนของ ม. ใหแ้ กจ่ �ำ เลย และ
จำ�เลยครอบครองทำ�ประโยชน์ในที่ดินส่วนที่ ม. ยกให้จนได้สิทธิครอบครองแล้ว ซึ่งเท่ากับเป็น
การต่อสู้วา่ ม. มใิ ชเ่ จา้ ของรวม แม้จ�ำ เลยจะให้การว่า ม. กบั โจทก์ไมม่ ีบตุ รดว้ ยกนั และจ�ำ เลยเปน็
พ่นี อ้ งร่วมบิดามารดาเดียวกนั กบั ม. ก็เป็นการยกข้ึนอา้ งเพอ่ื สนับสนุนว่า ม. ยกที่ดนิ ส่วนของ ม.
ให้จำ�เลยเท่านัน้ จำ�เลยมไิ ด้ใหก้ ารว่าจำ�เลยเปน็ ทายาท มสี ทิ ธิรับมรดกของ ม. ด้วยผูห้ น่ึง จึงมใิ ชเ่ ร่ือง
ทีโ่ จทก์และจำ�เลยพิพาทกนั ด้วยเรือ่ งสทิ ธเิ รียกร้องในสว่ นแบ่งทรพั ยม์ รดก แตพ่ พิ าทกนั ในเรอ่ื งความ
เป็นเจ้าของรวมทโี่ จทก์อาศยั เป็นเหตมุ าฟอ้ งขอแบ่งทรัพยซ์ ่งึ ไม่มกี ำ�หนดอายคุ วาม หาใชก่ ารฟ้องคดี
มรดกไม ่ จงึ ไมอ่ าจน�ำ อายคุ วาม ตามประมวลกฎหมายแพง่ และพาณชิ ย์ มาตรา ๑๗๕๔ มาใชบ้ งั คบั ได้
๑๒๔. ค�ำ พพิ ากษาฎกี าท ่ี ๕๔๗๙/๒๕๕๐  การสละมรดกนน้ั กระทรวงมหาดไทยไดอ้ อก
กฎกระทรวงโดยอาศัยอำ�นาจตามความในมาตรา  ๑๖๗๒  แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
ไว้เมื่อวันที่ ๒๘ กรกฎาคม ๒๔๘๑ ข้อ ๑๔ และข้อ ๑๕ และพระราชบญั ญตั ริ ะเบยี บบรหิ ารราชการ
แผน่ ดนิ พ.ศ. ๒๔๙๕ มาตรา ๔๐ กำ�หนดให้ผู้อำ�นวยการเขตหรือนายอำ�เภอเป็นเจ้าพนักงานผู้มี
อำ�นาจ เจ้าพนักงานทด่ี ินจงึ มใิ ชพ่ นกั งานเจา้ หนา้ ท่ใี นเร่ืองการสละมรดก ตามประมวลกฎหมายแพง่
และพาณชิ ย์ มาตรา ๑๖๑๒
๑๒๕. คำ�พิพากษาฎีกาที่  ๓๕๕๒/๒๕๕๐  จ. เจ้ามรดกถูกศาลสั่งให้เป็นคนไร้ความ
สามารถ ตั้งแตว่ นั ท่ี ๒๐ กนั ยายน ๒๕๓๒ ตอ่ มาศาลอทุ ธรณพ์ ิพากษายืนตามศาลชัน้ ตน้ ให้เพกิ ถอน

๔๐๐
คำ�ส่งั ที่สัง่ ให้เจ้ามรดกเป็นคนไร้ความสามารถ แต่ศาลฎกี าพพิ ากษากลับเปน็ ให้ยกค�ำ ร้อง ซง่ึ เป็นผล
ให้ จ. ยงั คงเปน็ คนไรค้ วามสามารถอยู่ตามเดมิ แมใ้ นระหว่างที่คดดี ังกลา่ วยังไมถ่ งึ ทส่ี ุด ศาลชน้ั ต้น
ไดม้ คี �ำ ส่ังให้ จ. เปน็ คนเสมือนไร้ความสามารถ ค�ำ สงั่ ทใ่ี ห้ จ. เป็นคนเสมือนไรค้ วามสามารถดังกลา่ ว
ก็ไม่อาจเปลย่ี นแปลง ยกเลิก เพกิ ถอนหรอื ลบลา้ งค�ำ สัง่ ศาลช้ันต้นศาลเดียวกันที่ไดส้ ัง่ ให้ จ. เป็นคน
ไร้ความสามารถมาก่อน  ท้ังไม่มีผลทำ�ให้สถานภาพการเป็นคนไร้ความสามารถตามคำ�สั่งศาลต้อง
ขาดช่วงไปหรือสะดุดหยุดอยู่ชั่วคราวในระหว่างท่ีคดียังไม่ถึงที่สุด  การท่ี  จ.  โดยความยินยอมของ
ผู้พิทักษ์ได้ทำ�พินัยกรรมเอกสารฝ่ายเมือง เมื่อวันที่ ๓๐ มีนาคม ๒๕๓๕ ซึ่งอยู่ในช่วงเวลาที่ จ.
ตกเปน็ คนไรค้ วามสามารถ พนิ ยั กรรมดงั กลา่ วจงึ ตกเปน็ โมฆะ ตามประมวลกฎหมายแพง่ และพาณชิ ย์
มาตรา ๑๗๐๔
๑๒๖. คำ�พิพากษาฎีกาที่  ๘๐๙๕/๒๕๕๑  โจทก์ทั้งสองเป็นบุตรนอกกฎหมายท่ี
ป. บดิ ารบั รองแล้ว การทโ่ี จทกท์ ้ังสองฟ้องคดใี นฐานะเป็นทายาท ผมู้ ีสทิ ธิได้รบั มรดกในทดี่ นิ พิพาท
ป. ถูกโตแ้ ยง้ สทิ ธจิ ากการกระทำ�ของจำ�เลยที่ ๑  และใชส้ ทิ ธิติดตามเอาท่ดี ินพิพาทส่วนทเี่ ปน็ มรดก
ตกทอดแกโ่ จทกท์ ง้ั สองคนื มใิ ชฟ่ อ้ งรอ้ งเรอ่ื งทจ่ี �ำ เลยท ่ี ๑ กระท�ำ ละเมดิ โดยการแจง้ ขอ้ ความอนั เปน็ เทจ็
ตอ่ เจา้ พนกั งานทด่ี นิ ขอรบั โอนทด่ี นิ พพิ าทมาเปน็ ของตนแตผ่ เู้ ดยี ว ท�ำ ใหโ้ จทกท์ ง้ั สองไดร้ บั ความเสยี หาย
แตเ่ พียงอย่างเดยี ว โจทกท์ ั้งสองจงึ มอี ำ�นาจฟอ้ ง
๑๒๗. คำ�พิพากษาฎีกาท่ี ๖๖๗๑/๒๕๕๑ เมอื่ ส. ถงึ แกค่ วามตาย ทายาทของ ส.
ตกลงเก่ยี วกับทรพั ย์สนิ ของ ส. ว่าบคุ คลใดไดร้ ับยกใหท้ ีด่ นิ แปลงใดกอ่ น ส. ถงึ แกค่ วามตาย และ
ทำ�ประโยชนใ์ นที่ดนิ แปลงน้นั กใ็ ห้ตกเปน็ ของบุคคลนนั้   จ�ำ เลยไดเ้ ขา้ ครอบครองท่ีดินพพิ าทต้งั แต่ ส.
ถงึ แกค่ วามตายแตผ่ เู้ ดยี ว กรณจี งึ ตอ้ งดว้ ยประมวลกฎหมายแพง่ และพาณชิ ย ์ มาตรา ๑๗๕๐ วรรคหนง่ึ
โจทก์ทั้งสามจะเรียกร้องเอาส่วนแบ่งให้ผิดไปจากท่ีได้แบ่งปันกันไปแล้วอีกไม่ได้  แม้ภายหลังจำ�เลย
ไปย่ืนขอจัดการมรดกก็ไม่ทำ�ให้ที่ดินพิพาทกลับกลายเป็นทรัพย์มรดกที่ยังไม่ได้แบ่งปันกันระหว่าง
ทายาท  เพราะจำ�เลยประสงค์ท่ีจะเปล่ียนแปลงหลักฐานทางทะเบียนให้ได้สิทธิโดยสมบูรณ์ในท่ีดิน
พพิ าทเท่านั้น มใิ ช่เพื่อประโยชน์แกโ่ จทกท์ ง้ั สามซึ่งสิ้นสทิ ธิในท่ดี นิ พพิ าทแล้ว การกระท�ำ ของจำ�เลย
จึงไม่เป็นความผิดฐานยกั ยอก
๑๒๘. คำ�พิพากษาฎีกาท่ี  ๓๗๐๕/๒๕๕๑  เจ้าหน้ีมีสิทธิท่ีจะให้ชำ�ระหน้ีของตนจาก
ทรพั ย์สนิ ของลกู หน้ีจนส้นิ เชงิ ตามประมวลกฎหมายแพง่ และพาณิชย์ มาตรา ๒๑๔ เม่อื จ. ลูกหน้ี
ถงึ แกค่ วามตาย โจทกย์ อ่ มมสี ทิ ธเิ รยี กใหจ้ �ำ เลยในฐานะทายาทโดยธรรมของ จ. ช�ำ ระหนจ้ี ากทรพั ยส์ นิ
ในกองมรดกของ จ. ได้ แมห้ นี้เงนิ กซู้ ง่ึ เป็นหนีป้ ระธานจะขาดอายคุ วาม โจทก์ก็มสี ทิ ธบิ งั คบั เอาจาก
ทรพั ย์สนิ ท่จี �ำ นองได้ ตามมาตรา ๑๗๕๔ วรรคสาม และมาตรา ๑๙๓/๒๗ แตค่ งบังคับได้เฉพาะ
ทรัพย์สินที่จำ�นองเท่าน้ัน  ไม่อาจบังคับถึงทรัพย์สินอื่นในกองมรดกได้ด้วย  แม้สัญญาจำ�นองจะมี
ข้อตกลงต่อท้ายสัญญาจำ�นองระบุให้เจ้าหน้ีมีสิทธิยึดทรัพย์สินอื่นของลูกหนี้มาชำ�ระหน้ีได้ในกรณีที่
ทรพั ยส์ นิ ทจ่ี �ำ นองไมพ่ อช�ำ ระหน ้ี เพราะเมอ่ื หนเ้ี งนิ กซู้ ง่ึ เปน็ หนป้ี ระธานขาดอายคุ วามแลว้ ทรพั ยส์ นิ อน่ื
ในกองมรดกยอ่ มไม่ตกอยใู่ นความรับผดิ ทางแพง่ อีกต่อไป

๔๐๑
๑๒๙. คำ�พิพากษาฎีกาที่  ๒๙๓๔/๒๕๕๑  พระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิด
ของเจ้าหนา้ ที่ พ.ศ. ๒๕๓๙ มาตรา ๕ วรรคแรก บญั ญตั ใิ หผ้ เู้ สียหายฟ้องหนว่ ยงานของรฐั ไดโ้ ดยตรง
แต่จะฟ้องเจ้าหน้าท่ีไม่ได้  เม่ือฟ้องเจ้าหน้าที่หน่วยงานของรัฐไม่ได้  ย่อมฟ้องเรียกค่าเสียหายในผล
แหง่ ละเมิดจากทายาทของเจา้ หนา้ ท่หี น่วยงานของรัฐไม่ได้
๑๓๐. ค�ำ พพิ ากษาฎกี าท ่ี ๗๔๓/๒๕๕๒  กรมสรรพากรโจทกร์ ถู้ งึ ความตายของ อ. แลว้
การทโ่ี จทกฟ์ ้องจ�ำ เลยซึง่ เปน็ ผคู้ ้ําประกันให้ชำ�ระหน้ภี าษอี ากรพ้นก�ำ หนด ๑ ปี นบั แต่วนั ทโ่ี จทกร์ ถู้ ึง
ความตาย อ. สิทธเิ รยี กร้องของโจทกต์ ่อกองมรดกของ อ. จึงขาดอายคุ วาม ตามประมวลกฎหมาย
แพง่ และพาณิชย์ มาตรา ๑๗๕๔ วรรคสาม จ�ำ เลยในฐานะผคู้ ํา้ ประกนั ย่อมยกขอ้ ตอ่ สูด้ ังกลา่ วได ้
ตามมาตรา ๖๙๔
๑๓๑. ค�ำ พพิ ากษาฎกี าท ่ี ๒๔๗๔/๒๕๕๒  ประมวลกฎหมายแพง่ และพาณชิ ย ์ มาตรา
๑๗๕๔ วรรคสาม อยู่ภายใตบ้ งั คบั มาตรา ๑๙๓/๒๗ เป็นผลให้เจ้าหนี้จำ�นองยงั คงมสี ทิ ธิฟอ้ งบังคบั
ชำ�ระหนี้  แม้ว่าสิทธิเรียกร้องส่วนท่ีเป็นประธานจะขาดอายุความแล้ว  แต่ก็ต้องเป็นกรณีท่ีเจ้าหน้ี
จ�ำ นองฟ้องบังคบั ชำ�ระหน้จี ากทรัพยส์ ินทจ่ี ำ�นอง อันเปน็ การบงั คับตามทรัพยสิทธิเหนอื ทรพั ย์สนิ นั้น
แม้โจทก์กล่าวอ้างมาในคำ�ฟ้องว่า บ. ร่วมกับจำ�เลยที่ ๑ จำ�นองที่ดิน เพื่อเป็นประกันหนี้เงินกู้
แตโ่ จทกเ์ พยี งแตข่ อให้บังคบั จ�ำ เลยที่ ๒ ถงึ ท่ี ๔ ในฐานะทายาทโดยธรรมของ บ. ช�ำ ระหนอี้ นั เปน็
ตัวเงนิ คอื ตน้ เงนิ และดอกเบี้ย มไิ ดข้ อให้บงั คบั ชำ�ระหน้ีจากท่ีดินที่จ�ำ นองจึงเปน็ เร่อื งทโี่ จทกใ์ ช้สิทธิ
ฟ้องเรียกให้ช�ำ ระหนี้เงนิ ก้อู ย่างเจา้ หนีส้ ามัญ มิใชฟ่ อ้ งบังคบั จ�ำ นอง กรณีจึงไมอ่ ย่ใู นบงั คับของมาตรา
๑๙๓/๒๗ จึงตอ้ งน�ำ อายุความ ๑ ปี ตามมาตรา ๑๗๕๔ วรรคสาม มาใช้บังคบั แก่คดี
๑๓๒. ค�ำ พพิ ากษาฎกี าท ่ี ๔๙๒๑/๒๕๕๒  บตุ รของจ�ำ เลยกบั ห. ทง้ั เจด็ คนไปใหถ้ อ้ ยค�ำ
โดยทำ�หลักฐานเป็นหนังสือแจ้งโดยชัดแจ้งไม่ขอรับโอนมรดกที่ดิน  โดยระบุให้โอนมรดกส่วนของตน
ใหแ้ กจ่ �ำ เลยไวต้ อ่ ส. เจา้ หนา้ ทบ่ี รหิ ารงานทด่ี นิ อ�ำ เภอซง่ึ เปน็ หวั หนา้ สว่ นราชการประจ�ำ ส�ำ นกั งานทด่ี นิ
และ ส. ได้ลงนามในชอ่ งพนกั งานเจ้าหนา้ ทีโ่ ดยประทับตราระบุต�ำ แหน่งวา่ เจา้ หน้าทีบ่ ริหารงานทด่ี ิน
อำ�เภอปฏิบัติราชการแทนนายอำ�เภอ  ซ่ึงนายอำ�เภอมีอำ�นาจตามพระราชบัญญัติระเบียบบริหาร
ราชการแผ่นดนิ พ.ศ. ๒๕๓๔ มาตรา ๓๘ (๑๐) ท่ีใชบ้ ังคับอยใู่ นขณะนัน้ ทีจ่ ะมอบอ�ำ นาจใหห้ ัวหนา้
ส่วนราชการประจำ�อยู่ในอำ�เภอปฏิบัติราชการแทนได้  เป็นการแจ้งสละมรดกต่อพนักงานเจ้าหน้าที่
ตามประมวลกฎหมายแพง่ และพาณิชย์ มาตรา  ๑๖๑๒ แตก่ ารท่ีระบดุ ว้ ยว่าให้โอนมรดกสว่ นของ
ตนให้แก่จำ�เลย  ทำ�ให้การจัดแบ่งทรัพย์มรดกไม่เป็นไปตามที่กฎหมายกำ�หนดและเป็นการทำ�โดยมี
เง่ือนไขต้องห้ามตามมาตรา  ๑๖๑๓  เป็นผลให้ไม่เป็นการสละมรดกโดยชอบ  อย่างไรก็ตามบันทึก
หลักฐานการไม่ขอรับโอนมรดก  มีท้ังบุตรของจำ�เลยทั้งเจ็ดคนผู้ให้และจำ�เลยผู้รับลงลายมือช่ือไว้
มีลักษณะเป็นการประนีประนอมยอมความแบ่งปันทรัพย์มรดกกันย่อมผูกพันคู่สัญญามีผลบังคับได้
ตามมาตรา ๘๕๐, มาตรา ๘๕๒ และมาตรา ๑๗๕๐

๔๐๒
๑๓๓. คำ�พิพากษาฎีกาท่ี  ๕๕๑๓/๒๕๕๒  ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
มาตรา ๖๒  บัญญัติว่าบุคคลซึ่งศาลได้มีคำ�สั่งให้เป็นคนสาบสูญ  ให้ถือว่าถึงแก่ความตาย  เมื่อครบ
กำ�หนดระยะเวลาดังทีร่ ะบไุ ว้ในมาตรา ๖๑ ดังนน้ั ผลแห่งความตายเพราะสาบสูญจงึ มเี ชน่ เดียวกบั
การตายธรรมดาคอื สน้ิ สภาพบคุ คล  และเกดิ ผลตามมาในเรอ่ื งทรพั ยส์ นิ ทเ่ี ปน็ ทรพั ยม์ รดกไดแ้ กท่ ายาท
รวมตลอดถึงสิทธิหน้าที่ความรับผิดที่ผู้ตายจะต้องได้รับนับแต่มีคำ�สั่งศาลแสดงว่าเป็นคนสาบสูญ
ทั้งตามพระราชบัญญัติการฌาปนกิจสงเคราะห์  พ.ศ. ๒๕๔๕  มาตรา ๔  การฌาปนกิจสงเคราะห์
หมายความว่า  กิจการที่บุคคลหลายคนตกลงเข้าร่วมกันเพ่ือทำ�การสงเคราะห์ซ่ึงกันและกันในการ
จัดการศพ  หรือจัดการศพและสงเคราะห์ครอบครัวของบุคคลใดบุคคลหนึ่งที่ตกลงเข้าร่วมกันนั้น
ซง่ึ ถงึ แก่ความตาย และมไิ ด้ประสงค์จะหาก�ำ ไรหรอื รายได้เพอื่ แบง่ ปันกนั ดงั นนั้ การท่ี ล. ถูกศาลส่ัง
ใหเ้ ปน็ คนสาบสญู มผี ลเทา่ กบั ล. ถงึ แกค่ วามตาย เมอ่ื ล. เปน็ สมาชกิ ของสมาคมฌาปนกจิ สงเคราะห์
จำ�เลยย่อมมีสิทธิที่ได้รับเงินฌาปนกิจสงเคราะห์เพ่ือจัดการศพและสงเคราะห์ครอบครัว  โดยโจทก์
ซง่ึ เปน็ ภรยิ า ล. เปน็ ผไู้ ดร้ บั ผลประโยชนด์ งั กลา่ ว แมไ้ มม่ ศี พทจ่ี ะตอ้ งจดั การกต็ อ้ งจา่ ยเงนิ คา่ จดั การศพ
๑๓๔. ค�ำ พพิ ากษาฎกี าท ่ี ๗๗๗๗/๒๕๕๒  นบั แตว่ นั ท่ี ส. ตาย ทายาทของ ส. คอื โจทก์
จ�ำ เลย และ อ. ไดค้ รอบครองทดี่ นิ ทรพั ยม์ รดกเป็นส่วนสดั อนั เปน็ การแบ่งปันมรดก ตามประมวล
กฎหมายแพง่ และพาณชิ ย์ มาตรา ๑๗๕๐ วรรคหน่งึ แล้ว และถอื ไดว้ ่าการแบง่ ปนั มรดกเสร็จสิ้นแล้ว
นับแต่วันทีไ่ ดม้ กี ารครอบครองเปน็ ส่วนสัด จงึ ไมม่ ปี ญั หาเรอ่ื งคดีโจทก์ขาดอายคุ วามมรดก ๑ ปี
๑๓๕. คำ�พิพากษาฎีกาที่  ๒๙๗๕/๒๕๕๓  น. เสนอขายที่ดินโดยนำ�รูปแผนที่
หลังโฉนดท่ดี นิ มาแสดงแก่โจทก์เพ่ือยืนยันรับรองว่า หากโจทกซ์ ้ือทดี่ ินของ น. โจทก์ก็มสี ทิ ธใิ ชท้ าง
พิพาทเป็นทางเข้าออกและใช้ประโยชน์เก่ียวแก่การสาธารณูปโภคสำ�หรับท่ีดินที่ซื้อได้  เม่ือโจทก์
ตกลงซื้อทดี่ นิ ตามท่ี น. เสนอ จงึ เกิดเปน็ สัญญาก่อให้เกิดภาระจ�ำ ยอม การท่ี น. ไม่ไดจ้ ดทะเบยี น
ภาระจ�ำ ยอมใหแ้ กโ่ จทก ์ คงมผี ลท�ำ ใหภ้ าระจ�ำ ยอมดงั กลา่ วยงั ไมเ่ ปน็ ทรพั ยสทิ ธทิ ส่ี มบรู ณ ์ ตามประมวล
กฎหมายแพ่งและพาณชิ ย์ มาตรา ๑๒๙๙ วรรคหน่งึ เทา่ น้ัน แต่กเ็ ป็นบุคคลสทิ ธิใชบ้ งั คับกนั ได้ใน
ระหว่างคูส่ ญั ญา และไม่ใชส่ ิทธทิ ต่ี ามกฎหมายหรือวา่ โดยสภาพแล้วเปน็ การเฉพาะตัวของ น. โดยแท้
เมื่อ น. ถึงแกค่ วามตาย สิทธหิ นา้ ทีแ่ ละความรบั ผดิ ต่างๆ ตามสัญญาภาระจำ�ยอมยอ่ มตกทอดแก่
จ�ำ เลย ซง่ึ เปน็ ทายาท ตามมาตรา ๑๕๙๙ และมาตรา ๑๖๐๐ โจทกจ์ งึ มีสิทธฟิ อ้ งบังคบั ให้จ�ำ เลย
ไปด�ำ เนนิ การจดทะเบยี นภาระจ�ำ ยอม  และบงั คบั ใหจ้ �ำ เลยรอ้ื ถอนรว้ั   เสาปนู และลวดหนามทป่ี ดิ กน้ั
ทางพิพาทซึ่งเปน็ ภารยทรัพย์ออกได้
๑๓๖. ค�ำ พพิ ากษาฎกี าท ่ี ๗๔๕๘/๒๕๕๓ โจทกท์ ่ี ๑ ถงึ ท่ี ๓ มสี ทิ ธริ บั มรดกแทนท่ี ก.
ซง่ึ เปน็ บตุ รของ ย. ตามประมวลกฎหมายแพง่ และพาณชิ ย์ มาตรา ๑๖๓๙ โจทกท์ ่ี ๑ ถงึ ท่ี ๓ จงึ เปน็
ทายาทของ ย. สว่ นโจทกท์ ่ี ๔ เป็นบตุ รโดยชอบดว้ ยกฎหมายจึงเป็นทายาทของ ย. เช่นกนั เมือ่ ศาล
ชั้นต้นได้มีคำ�สั่งตั้ง น. เป็นผู้จัดการมรดก น. จึงเป็นผู้แทนตามกฎหมายของทายาท มีหน้าที่ต้อง
แบง่ ปนั ทรพั ยม์ รดกใหแ้ กท่ ายาททกุ คนตามกฎหมาย มผี ลใหโ้ จทกท์ ง้ั สซ่ี ง่ึ เปน็ ทายาทของ ย. ไมจ่ �ำ ตอ้ ง

๔๐๓
ฟ้องรอ้ งภายในอายุความมรดก ๑ ปี เพราะอายุความย่อมสะดุดหยดุ ลง ตามประมวลกฎหมายแพ่ง
และพาณชิ ย์ มาตรา ๑๙๓/๑๔ และถือได้ว่า น. ครอบครองทรัพยม์ รดกท่ียงั มไิ ดแ้ บง่ ปันแทนทายาท
ของ ย. ทุกคน แม้ต่อมา น. ในฐานะผู้จัดการมรดกได้โอนที่ดินพิพาทให้แก่จำ�เลยซึ่งเป็นทายาท
คนหนง่ึ กเ็ ปน็ การแบ่งปันทรัพย์มรดกทไี่ ม่ชอบดว้ ยกฎหมาย จ�ำ เลยจึงไม่ไดก้ รรมสิทธิ์ และการจดั การ
มรดกที่ไม่ชอบนน้ั ยอ่ มทำ�ให้การจัดการทรัพยม์ รดกยังไมส่ น้ิ สุดลง ทด่ี นิ พพิ าทจึงยงั เป็นทรพั ย์สินใน
กองมรดกของ  ย.  และยังคงอยู่ในระหว่างการจัดการแบ่งทรัพย์มรดก  ถือได้ว่าผู้จัดการมรดก
ครอบครองที่พิพาทแทนทายาททุกคน  และเมื่อจำ�เลยรับโอนที่ดินพิพาทมาจาก น. ก็ต้องถือว่า
จำ�เลยครอบครองท่ีดินพิพาทแทนทายาทอ่ืนทั้งหมด  โจทก์ทั้งสี่มีสิทธิเรียกร้องให้แบ่งท่ีพิพาทได้
ตามมาตรา ๑๗๔๘ วรรคหน่ึง
๑๓๗. คำ�พิพากษาฎีกาท่ี  ๕๖๙๑/๒๕๕๔  จำ�เลยทั้งสองให้การว่าคดีขาดอายุความ
เนอื่ งจากจำ�เลยทั้งสองได้รับโอนที่ดินพิพาทมาเปน็ เวลาเกนิ ๑๐ ปี ไดท้ ำ�ประโยชนใ์ นท่ีดนิ โดยสงบ
เปดิ เผยและเจตนาเปน็ เจา้ ของตลอดมา ไมม่ ผี ใู้ ดโตแ้ ยง้ คดั คา้ น ค�ำ ใหก้ ารของจ�ำ เลยทง้ั สองไมไ่ ดแ้ สดง
เหตุแห่งการขาดอายุความใหช้ ดั แจ้งว่า คดขี าดอายคุ วามเรอ่ื งฟ้องคดมี รดก และโจทก์ที่ ๑ มีสิทธ ิ
เรยี กร้องตง้ั แตเ่ ม่อื ใด นบั แต่วนั ใด ถงึ วนั ฟ้อง คดีจึงขาดอายุความแล้ว ไมช่ อบดว้ ยประมวลกฎหมาย
วธิ พี ิจารณาความแพ่ง มาตรา ๑๗๗ วรรคสอง คดีไม่มีประเด็นเร่ืองอายุความ การท่ีศาลลา่ งทง้ั สอง
วินจิ ฉยั ว่าคดีโจทกข์ าดอายคุ วามฟ้องคดีมรดกตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา ๑๗๕๔
วรรคท้าย  จึงเป็นการวินิจฉัยนอกประเด็น  ไม่ชอบด้วยประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง
มาตรา ๑๔๒ วรรคหนงึ่ ปัญหาดังกลา่ วเป็นปญั หาขอ้ กฎหมายอันเกย่ี วด้วยความสงบเรียบรอ้ ยของ
ประชาชน แมไ้ มม่ คี คู่ วามใดยกขน้ึ อา้ ง ศาลฎกี ากม็ อี �ำ นาจยกขน้ึ วนิ จิ ฉยั ไดเ้ อง ตามประมวลกฎหมาย
วธิ พี จิ ารณาความแพง่ มาตรา ๑๔๒ (๕) ทด่ี นิ พพิ าทเปน็ ทรพั ยม์ รดกของนาย ย. ตกทอดแก่ ท. ภรยิ า
และบุตรท้ังเจด็ ซึง่ เป็นทายาท โดย ท. ไปขอรบั โอนมรดกทด่ี นิ พพิ าทแทนทายาท เมอ่ื ท. ยกทด่ี ิน
พพิ าทใหจ้ �ำ เลยทง้ั สอง ตอ้ งถอื วา่ จ�ำ เลยทง้ั สองถอื กรรมสทิ ธใ์ิ นทด่ี นิ พพิ าทแทนโจทกท์ ่ี ๑ และทายาท
คนอื่น เพราะจำ�เลยท้ังสองเป็นผู้รบั โอนย่อมไม่มสี ิทธใิ นทด่ี นิ พิพาทดีไปกว่า ท. ผู้โอน ท. เป็นภริยา
ของ ย. เจ้ามรดก มีสิทธิได้ส่วนแบ่งในการรับมรดกเสมือนหนึ่งว่าตนเป็นทายาทชั้นบุตร ตาม
ประมวลกฎหมายแพง่ และพาณิชย์ มาตรา ๑๖๓๕ (๑) โจทกท์ ่ี ๑ จงึ มีกรรมสิทธใ์ิ นท่ดี ินพพิ าทหนึ่ง
ในแปดสว่ น และชอบที่จะฟอ้ งขอใหจ้ ำ�เลยทั้งสองซึ่งเป็นตัวแทนจดทะเบียนใส่ชื่อโจทกท์ ่ี ๑ ลงใน
โฉนดที่ดนิ พิพาทได้ ตามประมวลกฎหมายแพง่ และพาณชิ ย ์ มาตรา ๘๑๐ วรรคหนึ่ง
๑๓๘. คำ�พิพากษาฎีกาท่ี  ๒๑๕๖/๒๕๕๕  ปัญหาน้ีปรากฏว่าโฉนดท่ีดินพิพาทมีชื่อ
นางรอดเปน็ ผถู้ อื กรรมสทิ ธ์ิ ยอ่ มไดป้ ระโยชนจ์ ากขอ้ สนั นษิ ฐาน ตามประมวลกฎหมายแพง่ และพาณชิ ย์
มาตรา ๑๓๗๓ ว่า นางรอดเป็นผูม้ ีสทิ ธิครอบครองท่ดี ินพิพาท จ�ำ เลยต่อสวู้ ่าเป็นผูม้ สี ทิ ธคิ รอบครอง
ที่ดินพิพาท จึงเป็นการโต้แยง้ ข้อสันนษิ ฐานดงั กล่าว ภาระการพสิ ูจนใ์ นปญั หานย้ี อ่ มตกแก่จ�ำ เลย

๔๐๔
จำ�เลยเข้าครอบครองทำ�ประโยชน์ในที่ดินพิพาทโดยอาศัยสิทธิของตนที่ได้รับการยกให้
จากนางรอด มใิ ชค่ รอบครองทีด่ ินพิพาทแทนทายาทอ่ืน อันแสดงวา่ นางรอดได้ยกทดี่ ินพิพาทให้แก่
จ�ำ เลยครอบครองแลว้ โดยโจทกไ์ ม่ไดเ้ กี่ยวขอ้ ง ซงึ่ ขณะที่นางรอดแสดงเจตนายกทดี่ นิ พิพาทนนั้ ท่ีดิน
พิพาทเปน็ ที่ดินท่มี ีเอกสารสิทธิเป็นหนังสอื รบั รองการท�ำ ประโยชน์ (น.ส. ๓) ผมู้ ีช่ือในเอกสารสทิ ธิ
จึงมีเพียงสิทธิครอบครอง  การท่ีนางรอดส่งมอบท่ีดินพิพาทให้แก่จำ�เลยโดยมิได้ทำ�เป็นหนังสือและ
จดทะเบียนตอ่ พนักงานเจา้ หน้าที่ แม้ไม่ชอบดว้ ยประมวลกฎหมายแพง่ และพาณิชย์ มาตรา ๕๒๕
ประกอบมาตรา ๔๕๖ วรรคหนง่ึ แตท่ ี่ดนิ พพิ าทมีแต่สิทธคิ รอบครอง จงึ ถือได้วา่ นางรอดสละเจตนา
ครอบครองไม่ยึดถือท่ีดินพิพาทต่อไป  เมื่อจำ�เลยเข้าครอบครองทำ�ประโยชน์ในท่ีดินพิพาทแล้ว
จ�ำ เลยยอ่ มไดส้ ทิ ธคิ รอบครอง ตามมาตรา ๑๓๗๗ และมาตรา ๑๓๗๘ อนั เปน็ การไดส้ ทิ ธคิ รอบครอง
ตามกฎหมาย การออกโฉนดทด่ี นิ พพิ าทจดั ท�ำ โดยทางราชการออกใหแ้ กน่ างรอดซง่ึ เปน็ ผมู้ สี ทิ ธคิ รอบครอง
หนังสอื รับรองการท�ำ ประโยชน์ (น.ส. ๓) ฉบบั เดิม แมค้ วามจรงิ นางรอดไม่มีสทิ ธคิ รอบครองในทดี่ ิน
พพิ าทแล้วขณะออกโฉนด กห็ าท�ำ ให้สิทธคิ รอบครองในท่ีดินพิพาทของจ�ำ เลยเสียไปไม่ ทดี่ นิ พิพาท
จึงมิใชท่ รัพย์มรดกของนางรอดทีจ่ ะตกทอดทายาทอกี ตอ่ ไป
๑๓๙. ค�ำ พพิ ากษาฎกี าท ่ี ๑๒๗๓๕/๒๕๕๕  ผรู้ อ้ งยน่ื ค�ำ รอ้ งขอวา่ ว. มารดาของผรู้ อ้ ง
ไดเ้ ขา้ ครอบครองทดี่ ินบางส่วนของท่ดี ินโฉนดทดี่ ินเลขท่ี ๙๑๗ และทดี่ ินบางส่วนของทดี่ นิ โฉนดท่ีดนิ
ท่ี ๙๑๘ ทางทิศตะวนั ตกของ ท. โดยสงบเปดิ เผยและด้วยเจตนาเป็นเจา้ ของตง้ั แตว่ นั ที่ ๑๐ มกราคม
๒๕๒๙ ต่อเน่ืองกนั เปน็ เวลานานกว่า ๒๒ ป ี หากขอ้ เทจ็ จรงิ ฟงั ไดต้ ามค�ำ ร้องขอ ว. มารดาผรู้ อ้ ง
ย่อมได้กรรมสิทธิ์ในที่ดินบางส่วนทางทิศตะวันตกของที่ดินโฉนดเลขที่ ๙๑๗ และโฉนดที่ดินเลขที่
๙๑๘ โดยการครอบครอง ตามประมวลกฎหมายแพง่ และพาณิชย์ มาตรา ๑๓๘๒ อนั เปน็ การได้มา
ซึ่งทรัพยสิทธิ  จึงเป็นมรดกตกทอดทายาทได้และตกทอดผู้ร้องและทายาทอ่ืนท่ีเป็นบุตรของ  ว.
ตามมาตรา ๑๕๙๙ และมาตรา ๑๖๐๐ แม้ผู้ร้องกบั ทายาททงั้ หมดเพิ่งทราบว่า ว. มารดาผรู้ อ้ ง
ได้กรรมสทิ ธใิ์ นทด่ี ินพิพาทโดยการครอบครองภายหลงั กไ็ ม่ทำ�ให้ทรพั ยสทิ ธทิ ีม่ ารดาของผูร้ อ้ งได้มา
และเป็นมรดกตกทอดผู้ร้องกับทายาทอื่นเสียไป  ทั้งการได้กรรมสิทธิ์โดยการครอบครองตามมาตรา
๑๓๘๒ ไมใ่ ชส่ ทิ ธเิ ฉพาะตัวของผ้คู รอบครอง ประกอบกับผูร้ ้องมสี ทิ ธิท่จี ะขอจดทะเบยี นสิทธิเกี่ยวกบั
อสงั หาริมทรพั ย์ซึง่ ได้มาโดยทางมรดก ตามประมวลกฎหมายท่ีดนิ มาตรา ๘๑ โดยท่ดี ินท่ผี ู้รอ้ ง
อ้างวา่ เจ้ามรดกได้มา ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณชิ ย์ มาตรา ๑๓๘๒ ซ่ึงต้องด�ำ เนินการขอ
จดทะเบียนสิทธิตามมาตรา ๗๘ ก่อน ผรู้ ้องในฐานะทายาทผูร้ บั มรดกจาก ว. มารดาของผ้รู ้องจึงมี
สิทธิตามกฎหมายท่ีจะยื่นคำ�ร้องขอแสดงกรรมสิทธิ์ในท่ีดินพิพาทที่เป็นมรดกตกทอดมายังผู้ร้องและ
ทายาทอื่นได้
๑๔๐. ค�ำ พพิ ากษาฎกี าท่ี ๒๒๗๘๘/๒๕๕๕ โจทกไ์ มเ่ คยครอบครองทด่ี นิ พพิ าทอนั เปน็
ทรัพย์มรดกซ่ึงยังมิได้แบ่งกันระหว่างทายาท  จึงมิใช่กรณีตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
มาตรา ๑๗๔๘ ท่ีโจทก์จะใชส้ ิทธิเรยี กรอ้ งใหแ้ บ่งทรพั ยม์ รดกไดแ้ ม้พ้นอายคุ วามมรดก สิทธิเรียกร้อง

๔๐๕
ของโจทก์ให้จำ�เลยแบ่งทรัพย์มรดกจึงอยู่ในบังคับอายุความมรดก  ตามประมวลกฎหมายแพ่งและ
พาณิชย์ มาตรา ๑๗๕๔ การท่โี จทก์ยนื่ ฟอ้ งเม่อื พ้นก�ำ หนด ๑๐ ปี นับแต่เจ้ามรดกตาย ย่อมต้องห้าม
มใิ หฟ้ อ้ ง ตามประมวลกฎหมายแพง่ และพาณชิ ย์ มาตรา ๑๗๕๔ วรรคทา้ ย และสทิ ธใิ นทรัพยม์ รดก
ยอ่ มตกแกจ่ �ำ เลยผู้สบื สิทธิ ต. ซ่งึ เปน็ ทายาทของ จ. เจ้ามรดกโดยสมบรู ณ์ การท่ีจำ�เลยร้องขอเปน็
ผู้จัดการมรดกในเวลาต่อมาก็เพ่ือจะดำ�เนินการให้มีอำ�นาจเปลี่ยนแปลงหลักฐานทางทะเบียนให้ได้
สิทธิโดยสมบูรณ์ในท่ีดินพิพาทอันเป็นทรัพย์มรดก  หาใช่เพ่ือประโยชน์แก่โจทก์ซึ่งส้ินสิทธิในการ
ฟ้องคดีเก่ยี วกับทรพั ย์มรดกไป ตามประมวลกฎหมายแพง่ และพาณชิ ย์ มาตรา ๑๗๕๔ แลว้ ไม่ แม้
จำ�เลยเบิกความรับว่าเหตุท่ีโอนทะเบียนที่ดินพิพาทเป็นชื่อจำ�เลยเพื่อความสะดวกในการแบ่งมรดก
แกท่ ายาทของ จ. กต็ าม กถ็ ือไมไ่ ดว้ า่ เปน็ การแสดงเจตนาสละประโยชนแ์ ห่งอายคุ วาม ตามประมวล
กฎหมายแพ่งและพาณชิ ย์ มาตรา ๑๙๓/๒๔ โจทกจ์ ึงไมอ่ าจยกเอาประโยชน์ตามประมวลกฎหมาย
แพ่งและพาณิชย์ มาตรา ๑๙๓/๒๔ และมาตรา ๑๗๔๘ เพอื่ เรยี กร้องใหจ้ �ำ เลยแบ่งทรัพยม์ รดกเมือ่
ล่วงพน้ ก�ำ หนดอายุความมรดก ตามมาตรา ๑๗๕๔ แล้วได้ จ�ำ เลยจงึ มีสทิ ธิยกอายคุ วามมรดกใช้ยนั
โจทก์ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณชิ ย์ มาตรา ๑๙๓/๑๐
๑๔๑. คำ�พพิ ากษาฎกี าท่ี ๓๖๐๒/๒๕๕๖ ศาลชน้ั ตน้ มีค�ำ ส่ังว่าจำ�เลยท่ี ๒ เป็นบตุ ร
โดยชอบดว้ ยกฎหมายของผู้ตาย ตามประมวลกฎหมายแพง่ และพาณิชย์ มาตรา ๑๕๔๗ ยอ่ มมีผล
นับแต่วันมีคำ�พิพากษาถึงที่สุดตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา ๑๕๕๗ (๓) (เดิม)
ทั้งไม่มีบทกฎหมายสารบัญญัติใดให้สิทธิแก่บุคคลภายนอกที่จะฟ้องขอให้ศาลพิพากษาเพิกถอน
คำ�พิพากษาว่าเป็นบุตรชอบด้วยกฎหมาย  และไม่เข้าข้อยกเว้นกรณีคำ�พิพากษาหรือคำ�ส่ังไม่ผูกพัน
บุคคลภายนอกตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพง่ มาตรา ๑๔๕ วรรคสอง ถือไมไ่ ด้วา่ โจทก์
ถูกโตแ้ ยง้ สทิ ธิ ตามประมวลกฎหมายวธิ ีพิจารณาความแพ่ง มาตรา ๕๕ โจทกจ์ ึงไม่มอี ำ�นาจฟอ้ ง
จำ�เลยที่ ๒  เป็นบุตรชอบด้วยกฎหมายของผู้ตายซึ่งเป็นทายาทลำ�ดับแรกท่ีมีสิทธิ
ไดร้ บั มรดกของผู้ตาย โจทก์ซง่ึ เป็นทายาทล�ำ ดบั ถดั ลงไปย่อมไมม่ ีสิทธิในทรพั ย์มรดกของผตู้ าย ตาม
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณชิ ย์ มาตรา ๑๖๓๐ วรรคแรก ถือไม่ไดว้ ่าโจทก์ถูกโต้แยง้ สิทธิในการรับ
มรดกของผ้ตู าย โจทก์จึงไม่มีอ�ำ นาจฟอ้ ง
๑๔๒. ค�ำ พพิ ากษาฎกี าที่ ๖๙๗๙/๒๕๕๖ โจทก์ฟอ้ งว่า ท่ีดนิ ตามระวางแผนท่ีทาง
อากาศกับท่ีดินตามหนงั สือแสดงการท�ำ ประโยชน์ (น.ค. ๓) เปน็ มรดก จำ�เลยให้การว่า ท่ีดินตาม
หนังสอื แสดงการทำ�ประโยชน์ (น.ค. ๓) เปน็ มรดก แต่ได้ตกลงแบ่งปนั กันแลว้ สว่ นทีด่ ินตามระวาง
แผนที่ทางอากาศ  จำ�เลยให้การว่าได้สิทธิการถือครองจากนิคมสร้างตนเองเป็นการส่วนตัว  ไม่ได้
เป็นการรับสทิ ธิถอื ครองทางมรดกจาก ส. คำ�ใหก้ ารของจำ�เลยไมช่ ดั แจง้ ว่าไดส้ ทิ ธกิ ารถอื ครองจาก
นิคมสร้างตนเองเป็นการส่วนตัวอย่างไร  และในช้ันสืบพยานจำ�เลยกลับนำ�สืบว่าได้สิทธิในที่ดินหลัง
จาก ส. ตายประมาณ ๕ ปี ดงั นน้ั อุทธรณข์ องจำ�เลยที่ว่าได้รับทดี่ ินตามภาพถา่ ยระวางแผนทีท่ าง
อากาศจาก ส. ขณะ ส. ยงั มีชวี ติ แตกตา่ งจากคำ�ใหก้ ารและทางนำ�สบื ของจ�ำ เลย จงึ เปน็ ขอ้ ท่ไี ม่ได้
ยกขนึ้ วา่ กลา่ วมาโดยชอบในศาลชน้ั ต้น

๔๐๖

โจทก์ฟ้องว่า ทีด่ นิ พิพาทตามหนงั สอื แสดงการท�ำ ประโยชน์ (น.ค. ๓) เดิม ส. ไม่ได้
ออกเอกสารสทิ ธแิ ตไ่ ด้ครอบครองท�ำ ประโยชนเ์ นื่องจากเปน็ สมาชกิ นิคมสรา้ งตนเอง เม่ือ ส. ถึงแก่
ความตาย ทายาททุกคนร่วมกนั ไปขอรบั มรดกจากผูป้ กครองนคิ มสรา้ งตนเอง แตเ่ น่ืองจากทายาท
ยังไมไ่ ด้เป็นสมาชกิ ของนิคม จงึ ตกลงให้จำ�เลยขอเปน็ สมาชกิ นิคมแทนโจทก์และทายาท เมือ่ ไดร้ บั
เอกสารสทิ ธแิ ล้วจึงให้น�ำ มาแบง่ ให้แกโ่ จทก์และทายาทอื่น จ�ำ เลยให้การวา่ จ�ำ เลยมไิ ดถ้ ือครองที่ดนิ
แทนโจทกแ์ ละทายาทอืน่ เนอ่ื งจากโจทก์และทายาทอืน่ สละสิทธิถอื ครองท่ีดนิ ไดท้ �ำ บนั ทกึ การสละ
สทิ ธิไว้ตามเอกสารบนั ทึกค�ำ ยนิ ยอมของทายาททา้ ยคำ�ให้การ ดังนี้ เอกสารทา้ ยค�ำ ใหก้ ารถือว่าเป็น
ส่วนหน่ึงของคำ�ให้การที่มีข้อความว่าโจทก์และทายาทอื่นได้รับรองต่อผู้ปกครองนิคมว่าโจทก์และ
ทายาทอื่นรวม ๕ คน ไม่ประสงคจ์ ะรบั มรดกรายน้ี ยนิ ยอมใหจ้ ำ�เลยรบั ไปฝา่ ยเดยี ว โจทกแ์ ละทายาท
อืน่ รวม ๕ คน ไดล้ งชือ่ ไว้ ค�ำ ให้การจ�ำ เลยยอ่ มมีประเด็นวา่ โจทกแ์ ละทายาทอ่ืนสละสิทธิในท่ีดนิ
พพิ าท ทงั้ เปน็ ขอ้ ท่ีไดย้ กข้นึ วา่ กลา่ วมาโดยชอบในศาลชัน้ ตน้
โจทก์และทายาทอ่ืนยกเว้นจำ�เลยไม่ประสงค์จะรับมรดกที่ดินพิพาท  โดยยินยอม
ให้จำ�เลยรับมรดกฝ่ายเดียว และจำ�เลยได้ขอรับสิทธิทำ�กินในที่ดินแทน ส. แต่ฝ่ายเดียว โดยมิได้
ขอรับสิทธิทำ�กินในที่ดินแทนโจทก์และทายาทอื่นเพื่อออกเอกสารสิทธิ  แล้วนำ�มาแบ่งแก่โจทก์และ
ทายาทอน่ื แมบ้ นั ทกึ ค�ำ ยนิ ยอมของทายาทไมใ่ ชก่ ารสละมรดก ตามประมวลกฎหมายแพง่ และพาณชิ ย์
มาตรา ๑๖๑๒ เพราะเปน็ การสละมรดกใหแ้ กจ่ ำ�เลยผู้เดยี วซ่ึงไมเ่ ปน็ ไปตามประมวลกฎหมายแพง่
และพาณชิ ย์ มาตรา ๑๖๑๕ วรรคสอง แต่เม่ือโจทก์ จำ�เลยและทายาทอน่ื ได้ลงลายมอื ชอื่ ไวใ้ นบนั ทกึ
อนั ถอื วา่ โจทก ์ จ�ำ เลยและทายาทอน่ื ตกลงแบง่ ปนั ทรพั ยม์ รดกโดยมหี ลกั ฐาน  เปน็ หนงั สอื ลงลายมอื ชอ่ื
ฝ่ายทรี่ ับผิดตามประมวลกฎหมายแพง่ และพาณิชย์ มาตรา ๑๗๕๐ วรรคสอง โจทกแ์ ละทายาทอนื่
จึงไม่มสี ทิ ธิฟ้องเรยี กรอ้ งท่ีดนิ พพิ าท
l ค�ำ พิพากษาฎกี าทีเ่ กี่ยวกับการจดั การมรดกของผู้จัดการมรดก
๑. คำ�พิพากษาฎีกาที่ ๑๒๓๖/๒๔๙๑ ผู้ตายทำ�พินัยกรรมยกที่ดินให้เด็กและตั้ง
บดิ าเด็กเปน็ ผจู้ ดั การมรดก บดิ าลงชอ่ื ในโฉนดในฐานะผจู้ ดั การมรดกแลว้ โอนขายทด่ี นิ นน้ั ใหแ้ กบ่ คุ คล
ภายนอก ซึ่งรบั โอนทางทะเบียนไปโดยสจุ รติ ดงั น้ี เดก็ ย่อมมคี วามผูกพนั ต่อบคุ คลภายนอกในกจิ การ
ท้ังหลายอันผู้จัดการมรดก  ได้ทำ�ไปในขอบอำ�นาจในฐานะที่เป็นผู้จัดการมรดก  เด็กจะนำ�มาฟ้อง
ขอใหเ้ พกิ ถอนการโอนท่ดี นิ ไมไ่ ด้
๒. คำ�พิพากษาฎีกาที่ ๒๗๒/๒๕๐๑ ผู้จัดการมรดกหรือทายาทของผู้ตายย่อมมี
อำ�นาจฟ้องขอให้บังคับตามสัญญาซื้อขายที่ผู้ตายเป็นคู่สัญญาได้ เพราะสัญญาซื้อขายไม่ใช่เป็นการ
เฉพาะตวั ของผู้ตาย
๓. ค�ำ พิพากษาฎกี าท่ี ๘๗๐/๒๕๐๑ การที่โจทกไ์ ด้รับแตง่ ตงั้ จากศาลใหเ้ ปน็ ผู้จดั การ
มรดก  มิได้หมายความว่า  จัดการมรดกได้เฉพาะตามบัญชีที่ระบุไว้ต่อศาลเท่าน้ัน  โจทก์มีอำ�นาจ
จัดการทรพั ย์สนิ อันเปน็ มรดกของผู้วายชนม์ทัง้ หมด แมจ้ ะไมไ่ ด้ระบุไว้ตอ่ ศาลกต็ าม

๔๐๗
๔. คำ�พิพากษาฎีกาที่  ๑๑๖๗/๒๕๐๕  เม่ือศาลต้ังผู้จัดการมรดกไว้หลายคน  และ
มิได้กำ�หนดสิทธิและหน้าที่ของแต่ละคนไว้โดยเฉพาะ  การทำ�หน้าท่ีของผู้จัดการมรดกนั้นจะต้อง
ถือเอาเสียงข้างมาก  และนับแต่วันท่ีศาลต้ังผู้จัดการมรดกแล้ว  บรรดาทายาทท้ังหลายย่อมหมด
สิทธิท่ีจะเข้าจัดการมรดก  แม้จะไม่มีกฎหมายบัญญัติห้ามไว้ชัดแจ้งก็ต้องถือดังนี้  เพราะมิฉะนั้นจะ
เปน็ การจัดการมรดกซ้อนอำ�นาจผ้จู ัดการมรดกทศ่ี าลตั้ง
จำ�เลยเช่าที่ดินมรดกจากผู้จัดการมรดกที่ศาลตั้งคนหนึ่ง  โดยผู้จัดการมรดกร่วมคนอื่น
มไิ ดร้ ู้เห็นดว้ ย ดังนี้ ถือว่าเปน็ การเชา่ จากบุคคลทไ่ี มม่ ีอ�ำ นาจใหเ้ ชา่ ได้ตามกฎหมาย จำ�เลยจึงอา้ ง
สิทธิการเช่าน้ันไม่ได้  การที่จำ�เลยยังคงอยู่ในที่พิพาทต่อไปภายหลังท่ีโจทก์บอกกล่าวให้รื้อถอน
ย่อมเปน็ การอยู่โดยละเมิด
๕. คำ�พิพากษาฎีกาท่ี  ๑๓๑/๒๕๐๖  คดีเรื่องแต่งต้ังหรือถอดถอนผู้จัดการมรดก
ไมเ่ ป็นคดีทที่ ายาทจะรบั มรดกความได้ เพราะไมเ่ ป็นมรดก
๖. คำ�พิพากษาฎีกาที่ ๓๑๖ - ๓๒๐/๒๕๐๖ ในกรณีที่มีผู้จัดการมรดกหลายคน
ผู้จัดการแต่ละคนจะจัดการไปโดยลำ�พังไม่ได้ จึงลงชื่อในฎีกาแต่ผู้เดียวไม่ได้ เพราะการดำ�เนินคดี
เป็นสว่ นหน่ึงของการจัดการมรดกและผู้จดั การมรดกเป็นผทู้ �ำ การแทนกองมรดก
๗. ค�ำ พพิ ากษาฎกี าท ่ี ๙๔๘/๒๕๐๗  ผจู้ ดั การมรดกท�ำ สญั ญาประนปี ระนอมยอมความ
ในศาล  และศาลได้พิพากษาตามยอม  ผลของคำ�พิพากษาย่อมผูกพันผู้จัดการมรดกในฐานะคู่ความ
ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา ๑๔๕ นับแต่วนั พิพากษา จนกวา่ ค�ำ พิพากษาน้นั
ถูกเปลี่ยนแปลงแกไ้ ข
ผู้จัดการมรดกคนใหม่ย่อมถูกผูกพันตามสัญญาประนีประนอมยอมความ  และ
คำ�พิพากษาตามยอมซ่ึงผูกพันผู้จัดการมรดกคนก่อนในฐานะเป็นคู่ความต่อไป  จะอ้างความไม่รู้เห็น
ในการทำ�สัญญาประนีประนอมยอมความขึ้นเป็นเหตุใหพ้ ้นความผกู พนั ไม่ได้
๘. คำ�พพิ ากษาฎีกาท่ี ๓๖๔/๒๕๐๙ ผู้จัดการมรดกมใิ ช่จัดการทรัพย์มรดกเพือ่ บคุ คล
หน่งึ บคุ คลใดโดยเฉพาะ ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณชิ ย์ มาตรา ๑๗๑๙ และ ๑๗๒๐ บญั ญัติ
ใหผ้ ้จู ัดการมีหน้าทที่ ำ�ตามค�ำ สง่ั แห่งพนิ ัยกรรมจัดการมรดกทัว่ ไปและแบ่งปันทรัพยม์ รดก ทง้ั ยังตอ้ ง
รับผิดต่อทายาทอีกด้วย  ผู้จัดการมรดกย่อมเป็นตัวแทนของทายาทท้ังปวง  ทายาทไม่จำ�ต้องครอบ
ครองมรดก เพราะผจู้ ดั การมรดกครอบครองแทนอย่แู ล้ว ผู้จัดการมรดกจะอ้างอายุความใดๆ มาตดั
ฟ้องมใิ หท้ ายาทฟ้องขอแบง่ มรดกซ่งึ ตนครอบครองแทนไวห้ าได้ไม่
๙. คำ�พิพากษาฎีกาท่ี ๓๘๒/๒๕๑๑ ตามประมวลกฎหมายแพง่ และพาณชิ ย์ มาตรา
๑๗๒๖ นั้น การท�ำ การตามหน้าท่ีของผจู้ ัดการมรดกต้องเปน็ ไปตามเสียงขา้ งมาก และเสียงขา้ งมาก
ดังกล่าวนี้มิได้มีกฎหมายบังคับว่าต้องจัดให้มีการประชุมผู้จัดการมรดกเพื่อปรึกษาออกเสียงกัน
โดยตรง  ในกรณีที่ผู้จัดการมรดกเห็นควรดำ�เนินการอย่างใดอย่างหน่ึงในการจัดการมรดก  และ
ปรากฏว่าไดแ้ จ้งไปยังผจู้ ดั การมรดกทกุ คนแลว้ มผี ูเ้ หน็ ดว้ ยเป็นสว่ นมาก ความเห็นส่วนขา้ งมากน้นั

๔๐๘
ก็ถือได้ว่าเป็นเสียงข้างมาก  ตกเป็นหน้าท่ีของผู้จัดการมรดกท่ีจะต้องจัดการไปตามนั้น  ผู้จัดการ
มรดกส่วนขา้ งมากก็อาจด�ำ เนินการไปในนามของผู้จัดการมรดกทง้ั คณะได้ การรวบรวมทรัพย์มรดก
กเ็ ป็นการจดั การมรดก บุคคลภายนอกหากได้ทราบความเหน็ หรอื เสยี งข้างมากทใ่ี หเ้ รยี กทรัพยม์ รดก
นั้นแล้ว  ก็ต้องรับรู้และยินยอมให้ผู้จัดการมรดกส่วนข้างมากรับทรัพย์มรดกไปจะเก่ียงให้ผู้จัดการ
มรดกส่วนข้างมากน�ำ ผจู้ ดั การมรดกส่วนข้างน้อยเขา้ ร่วมจดั การดว้ ยหาได้ไม่
๑๐. คำ�พิพากษาฎีกาท่ี  ๙๖/๒๕๑๖  การเป็นผู้จัดการมรดกเป็นสิทธิเฉพาะตัวของ
ผ้ทู ไ่ี ดร้ ับการตง้ั …
๑๑. ค�ำ พพิ ากษาฎกี าท ่ี ๓๒๒/๒๕๑๘  เมอ่ื การแบง่ มรดกมไิ ดก้ ระท�ำ โดยผจู้ ดั การมรดก
และมิไดเ้ ปน็ ไปตามพินัยกรรม แม้เจา้ พนกั งานท่ดี นิ จะจดทะเบยี นลงชอื่ จำ�เลยมีส่วนร่วมเป็นเจ้าของ
กรรมสทิ ธ์ิในทรพั ยม์ รดกทีด่ ินพพิ าทแล้ว ผู้จัดการมรดกก็ยงั ฟอ้ งขอให้เพิกถอนการโอนเสียได้ จ�ำ เลย
ตอ้ งคนื ให้ผ้จู ดั การมรดกเพอ่ื น�ำ ไปจดั การแบง่ มรดกใหเ้ ป็นไปตามพนิ ัยกรรม
๑๒. ค�ำ พพิ ากษาฎกี าท ่ี ๒๓๔๐/๒๕๑๙ ขอ้ ความในพนิ ยั กรรมมวี า่ ขอมอบพนิ ยั กรรม
ใหแ้ ก่ ม. และขอตงั้ ให้ ม. เป็นผู้จัดการมรดกตามพินัยกรรม เปน็ การชัดเจนอยใู่ นตวั แลว้ ว่าต้งั ม.
เป็นผจู้ ดั การมรดกโดยไม่จ�ำ กัดว่าเปน็ ทรพั ย์มรดกสงิ่ ใดบา้ ง
๑๓. ค�ำ พพิ ากษาฎกี าที่ ๑๗๐๑/๒๕๒๐ ผจู้ ดั การมรดกมอี �ำ นาจขายฝากทรัพยม์ รดก
เมื่อขายแล้วไม่แบ่งเงินให้ทายาทก็เป็นเรื่องระหว่างผู้จัดการมรดกกับทายาทท่ีจะว่ากล่าวกันต่างหาก
หาทำ�ใหน้ ติ ิกรรมซ้อื ขายทผี่ จู้ ัดการมรดกท�ำ ไปเป็นโมฆะไม่
การท่ีเจ้าพนักงานท่ีดินรับจดทะเบียนขายฝากให้แก่ผู้จัดการมรดกโดยมิได้สอบสวนว่า
ทายาทได้ยินยอมและผู้จัดการมรดกมีเหตุผลในการขายสมควรอย่างไรหรือไม่น้ัน  ไม่เป็นการปฏิบัติ
หนา้ ทดี่ ว้ ยความประมาทเลนิ เลอ่ เพราะไม่มหี น้าที่ต้องปฏบิ ัตเิ ช่นนนั้
๑๔. คำ�พิพากษาฎีกาท่ ี ๑๑๒๗/๒๕๒๔  สิทธิและหน้าท่ขี องผ้จู ัดการมรดกน้นั   โดย
สภาพมใิ ช่สทิ ธิและหนา้ ท่ที ีจ่ ะพงึ มีพงึ เปน็ ได้เฉพาะแกบ่ คุ คลธรรมดา
บุคคลท่ีต้องห้ามมิให้เป็นผู้จัดการมรดก  ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
มาตรา ๑๗๑๘ ย่อมนำ�มาใชแ้ ก่นติ บิ คุ คลไดเ้ ทา่ ท่ีไมข่ ดั กบั สภาพของนติ ิบคุ คล
ไมม่ บี ทกฎหมายใดหา้ มนติ บิ คุ คลมใิ หเ้ ปน็ ผจู้ ดั การมรดก ฉะนน้ั ถา้ ไมข่ ดั กบั วตั ถปุ ระสงค์
ตามทก่ี �ำ หนดไวใ้ นขอ้ บงั คบั หรอื ตราสารจดั ตง้ั ของนติ บิ คุ คลนน้ั แลว้ ศาลยอ่ มตง้ั นติ บิ คุ คลเปน็ ผจู้ ดั การ
มรดกได้ตามท่ีเห็นสมควร  ผู้ร้องซึ่งเป็นวัดขอเป็นผู้จัดการมรดกจัดการมรดกซ่ึงเป็นสมบัติของวัด
วัดจึงเป็นผู้มีส่วนได้เสีย  ย่อมกระทำ�โดยเจ้าอาวาสซ่ึงเป็นผู้แทนของวัดเป็นผู้แสดงให้ปรากฏ  ตาม
ประมวลกฎหมายแพง่ และพาณิชย์ มาตรา ๗๕ จึงเห็นสมควรตั้งเปน็ ผจู้ ดั การมรดกได้
๑๕. คำ�พิพากษาฎีกาที่  ๔๑๔๐/๒๕๒๙  ทรัพย์มรดกในส่วนที่มิได้จำ�หน่ายโดย
พนิ ยั กรรมหรอื สว่ นทพ่ี นิ ยั กรรมไมม่ ผี ลบงั คบั ยอ่ มตกไดแ้ กท่ ายาทโดยธรรมตามกฎหมาย ตามประมวล
กฎหมายแพง่ และพาณชิ ย์ มาตรา ๑๖๒๐ ทั้งอำ�นาจหน้าท่ขี องผจู้ ัดการมรดก ตามมาตรา ๑๗๑๙

๔๐๙
หาได้จำ�กัดอยู่เฉพาะทรัพย์ที่กำ�หนดไว้ในพินัยกรรมไม่  ทรัพย์ท่ีมิได้ระบุไว้ในพินัยกรรมก็ตกอยู่ใน
อำ�นาจหน้าท่ีของผู้จัดการมรดกที่จะต้องจัดการแบ่งปันให้แก่ทายาท  ดังนั้น  แม้สิทธิเรียกร้อง
ตามหนังสือสัญญากู้ที่ฟ้องจะมิได้ระบุไว้ในพินัยกรรม  ก็ตกอยู่ในอำ�นาจหน้าท่ีของผู้จัดการมรดกท่ี
จะตอ้ งจัดการนำ�มาแบ่งปันใหแ้ ก่ทายาทโดยธรรม………….
๑๖. ค�ำ พพิ ากษาฎกี าท ่ี ๗๒/๒๕๔๒  ในการจดั ตง้ั ผจู้ ดั การมรดกนน้ั ถา้ ไมม่ ขี อ้ ก�ำ หนด
พินัยกรรมก็ให้ศาลตั้งเพื่อประโยชน์แก่กองมรดกตามพฤติการณ์และโดยคำ�นึงถึงเจตนาของผู้ตาย
แม้ปรากฏว่าผู้ร้องเคยถูกดำ�เนินคดีฐานเข้าเมืองโดยไม่ได้รับอนุญาตและมีคำ�พิพากษาให้ออกนอก
ราชอาณาจกั รมาแล้ว ก็เป็นเร่ืองทไ่ี มเ่ ก่ียวกับขอ้ ห้ามมิใหเ้ ปน็ ผู้จดั การมรดก
เมื่อกรณมี ขี ้อโตแ้ ย้งเกย่ี วกบั ทรัพยม์ รดกของผู้ตาย การที่จะให้ผู้คัดค้านที่ ๒ จดั การ
มรดกรว่ มกบั ผรู้ อ้ งจงึ มขี อ้ แสดงใหเ้ หน็ เบอ้ื งตน้ วา่ ไมอ่ าจทจ่ี ะจดั รว่ มกนั ได ้ ผรู้ อ้ งเปน็ ทายาทโดยชอบธรรม
ประเภทคู่สมรสซึ่งต้องระวังรักษาประโยชน์ของบุตรผู้เยาว์อีกสามคนที่เป็นทายาทโดยชอบธรรม
ในล�ำ ดบั ท่ี (๑) สว่ นผคู้ ดั คา้ นทง้ั สเ่ี ปน็ ทายาทโดยธรรมในล�ำ ดบั ท่ี (๓) ซง่ึ ไมม่ สี ทิ ธไิ ดร้ บั มรดกของผตู้ าย
จึงไม่สมควรท่จี ะตง้ั ผู้คดั คา้ นที่ ๒ เปน็ ผูจ้ ดั การมรดกร่วมกบั ผ้รู ้อง
๑๗. ค�ำ พพิ ากษาฎกี าท ่ี ๕๕๑/๒๕๔๒ โจทกท์ ง้ั สามเปน็ ผจู้ ดั การมรดกของ พ. ไดร้ ว่ มกนั
เป็นโจทก์ฟ้องขับไล่จำ�เลยและบริวารให้ออกไปจากตึกแถวพิพาท  จนมีคำ�พิพากษาถึงท่ีสุดให้โจทก์
ทั้งสาม เป็นฝ่ายชนะคดีและได้มีการบังคับคดีในเวลาต่อมา โดยไม่ปรากฏว่าโจทก์ที่ ๑ และที่ ๒
ไม่สามารถหรอื ไม่เต็มใจท่ีจะจัดการ กรณีเปน็ เรือ่ งมีผู้จดั การมรดกหลายคน  โจทกท์ ้ังสามแตล่ ะคน
จะจัดการโดยลำ�พังไม่ได้  การกระทำ�ตามหน้าที่ของผู้จัดการมรดกต้องถือเอาเสียงข้างมาก  ดังน้ัน
เมือ่ โจทก์ท่ี ๑ และท่ี ๒ คดั คา้ นคำ�รอ้ งของโจทก์ที่ ๓ ท่ีขอให้งดการบังคบั คดี กรณตี ้องด้วยบทบัญญตั ิ
แหง่ ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณชิ ย์ มาตรา ๑๗๒๖ โจทกท์ ่ี ๓ ไม่อาจกระทำ�ไดโ้ ดยลำ�พงั
๑๘. คำ�พิพากษาฎีกาที่  ๘๐๒/๒๕๔๒  เม่ือผู้คัดค้านไม่ส่งมอบหนังสือรับรองการทำ�
ประโยชน์สำ�หรับท่ีดินซ่ึงเป็นทรัพย์มรดกให้ผู้ร้องซึ่งเป็นผู้จัดการมรดก  ผู้ร้องย่อมไม่สามารถจัดการ
แบ่งทรัพยม์ รดกใหแ้ กท่ ายาทได้ การทีผ่ ู้คดั ค้านเป็นผูไ้ ถถ่ อนจำ�นองที่ดินจากธนาคารไม่ใช่สาเหตทุ จ่ี ะ
อ้างไม่สง่ มอบหนงั สอื รบั รองการทำ�ประโยชน์ ดงั นนั้ ท่ีผรู้ ้องไมส่ ามารถจดั การแบง่ ทรพั ยม์ รดกให้แก่
ทายาท จึงไม่ใชค่ วามผดิ ของผรู้ อ้ ง
ผคู้ ดั คา้ นเปน็ บตุ รเจา้ มรดก ทง้ั ผรู้ อ้ งเปน็ มารดาผคู้ ดั คา้ นและเปน็ ภรยิ าเจา้ มรดก ทกุ ฝา่ ย
จึงทราบดีอยแู่ ลว้ วา่ ทรพั ย์มรดกมอี ะไรบ้าง การทผี่ ู้ร้องไมจ่ ัดทำ�บัญชีทรัพย์มรดกจงึ ไม่พอฟังวา่ ผรู้ ้อง
มีเจตนาปิดบังทรัพย์มรดก  ส่วนเร่ืองผู้ร้องไม่เรียกประชุมทายาทน้ันก็ปรากฏว่าทายาทบางคนอยู่
ต่างประเทศ บางคนอยู่ต่างจังหวัด จึงเป็นการยากที่จะจัดประชุม ดังนั้น แม้ผู้ร้องไม่จัดทำ�บัญชี
ทรัพย์มรดกตามทปี่ ระมวลกฎหมายแพ่งและพาณชิ ย์ มาตรา ๑๗๒๘ และมาตรา ๑๗๒๙ บัญญตั ิไว้
กต็ าม แตต่ ามมาตรา ๑๗๓๑ ก็ใหอ้ ำ�นาจศาลที่จะใหด้ ุลพินจิ พจิ ารณาวา่ มเี หตุสมควรจะถอนผู้จดั การ
มรดกเพียงใดหรือไม่  ซ่ึงตามพฤติการณ์เท่าท่ีปรากฏยังไม่มีเหตุผลสมควรท่ีจะสั่งถอนผู้ร้องจากการ
เปน็ ผูจ้ ดั การมรดก

๔๑๐
๑๙. คำ�พพิ ากษาฎีกาท่ี ๔๒๒๑/๒๕๔๒ ผูจ้ ัดการมีอำ�นาจทำ�การแทนทายาทเก่ยี วกบั
ทรพั ยม์ รดกได ้ และการฟอ้ งเพอ่ื ปลดเปลอ้ื งการรบกวนเปน็ การอนั จ�ำ เปน็ เพอ่ื รกั ษาไวซ้ ง่ึ ภาระจ�ำ ยอม
แทนทายาทผู้เป็นเจ้าของสามยทรัพย์  ถือได้ว่าเป็นการอันจำ�เป็นเพ่ือจัดการมรดกโดยทั่วไป  ตาม
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณชิ ย์ มาตรา ๑๗๑๙
๒๐. คำ�พิพากษาฎีกาที่ ๔๘๑๑/๒๕๔๒ ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา
๑๗๑๙  บัญญัติให้ผู้จัดการมรดกมีสิทธิและหน้าท่ีท่ีจะทำ�การอันจำ�เป็นเพ่ือจัดการมรดกโดยทั่วไป
และเพ่ือแบง่ ปันทรพั ยม์ รดกได้ โจทก์เปน็ ผจู้ ัดการมรดกของ ส. ผตู้ าย ยอ่ มมีอ�ำ นาจจดั การเกย่ี วแก่
ที่พิพาทซ่ึงเป็นผู้จัดการมรดกของ  ส.   โจทก์จึงมีอำ�นาจฟ้องขับไล่จำ�เลยได้โดยไม่จำ�ต้องได้รับความ
ยินยอมจากทายาททุกคนกอ่ น
๒๑. คำ�พิพากษาฎีกาที่ ๖๘๐๔/๒๕๔๒ ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับการจดทะเบียนโอน
กรรมสทิ ธท์ิ ด่ี นิ มรดกนน้ั จะตอ้ งเปน็ คา่ ใชจ้ า่ ยทไ่ี ดเ้ สยี ไปจรงิ และเปน็ คา่ ใชจ้ า่ ยทต่ี อ้ งช�ำ ระตามกฎหมาย
จึงสามารถนำ�มาหักเป็นค่าใช้จ่ายจากกองมรดกได้ แม้การจดทะเบียนโอนกรรมสิทธิ์ที่ดินอาจจะมี
ค่าใช้จ่ายเบ็ดเตล็ดและค่าใช้จ่ายอย่างอ่ืนตามท่ีจำ�เลยกล่าวอ้าง  แต่เมื่อไม่มีหลักฐานมาแสดงว่าได้
เสียไปจริงและเป็นส่ิงท่ีต้องชำ�ระตามกฎหมายแล้ว  ถึงโจทก์มิได้คัดค้านจำ�เลยก็ไม่อาจนำ�ค่าใช้จ่าย
ดังกล่าวมาหักจากกองมรดกได้  สำ�หรับค่าบำ�เหน็จผู้จัดการมรดกนั้น  ตามประมวลกฎหมายแพ่ง
และพาณชิ ย์ มาตรา ๑๗๒๑ ผ้จู ัดการมรดกไม่มสี ิทธิไดร้ ับบำ�เหน็จจากกองมรดก เวน้ แต่พนิ ยั กรรม
หรือทายาทโดยจำ�นวนข้างมากจะได้กำ�หนดไว้  เม่ือเจ้ามรดกมิได้ทำ�พินัยกรรมไว้และทายาทจำ�นวน
ข้างมากมิได้ยินยอมให้จำ�เลยหักค่าใช้จ่าย  ผู้จัดการมรดกจึงไม่มีสิทธิหักค่าใช้จ่ายได้ แต่สำ�หรับ
ค่าจัดการศพซึ่งรวมอยู่ในค่าทำ�บุญสร้างศาลาการเปรียญน้ัน  เนื่องจากการจัดการศพเป็นสิ่งจำ�เป็น
อันต้องจัดการตามประเพณี  ค่าใช้จ่ายส่วนนี้ผู้จัดการมรดกย่อมนำ�มาหักจากกองมรดกก่อนแบ่งปัน
แกท่ ายาทไดต้ ามกฎหมาย
การท่ีทายาทในสายเดียวกันกับโจทก์จะยอมรับเงินทรัพย์มรดกจำ�นวนเพียงใด  ก็เป็น
เรือ่ งเฉพาะของทายาทแตล่ ะคน เมือ่ โจทกย์ ังมิได้รับทรพั ยม์ รดก สทิ ธขิ องโจทกจ์ ะมเี พียงใดย่อมตอ้ ง
เปน็ ไปตามกฎหมาย
๒๒. ค�ำ พพิ ากษาฎกี าท ่ี ๖๙๓๐/๒๕๔๒ ณ. เคยเปน็ ผจู้ ดั การมรดกของผตู้ ายโดยค�ำ สง่ั
ศาลมากอ่ น ต่อมาผู้ร้องซงึ่ เป็นบตุ รของผู้ตายฟ้องขอใหศ้ าลเพกิ ถอน ณ. จากการเป็นผูจ้ ัดการมรดก
แล้วถอนฟ้อง  โดยตกลงกนั ให้ ณ. ท�ำ หนา้ ที่ผ้จู ดั การมรดกของผตู้ ายตอ่ ไป  ซึง่ ณ. ยอมแบง่ เงนิ
จากกองมรดกของผู้ตายจ�ำ นวน ๑๘๐,๐๐๐ บาท ใหแ้ กผ่ ู้ร้องและผรู้ อ้ งไม่ติดใจเรยี กรอ้ งทรพั ย์มรดก
อื่นใดอีก  ข้อตกลงดังกล่าวจึงเข้าลักษณะสัญญาประนีประนอมยอมความอันเป็นการระงับข้อพิพาท
ซึง่ มีอยหู่ รอื จะมีขน้ึ นนั้ ให้เสร็จไปด้วยตา่ งยอมผอ่ นผันใหแ้ ก่กัน ซง่ึ ท�ำ ให้การเรียกรอ้ งของแตล่ ะฝา่ ยท่ี
ยอมสละนน้ั ระงบั ไป ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณชิ ย์ มาตรา ๘๕๐ และมาตรา ๘๕๒ ผ้รู ้อง
ยอ่ มไมม่ สี ว่ นไดเ้ สยี ในทรพั ยม์ รดกของผตู้ ายอกี จงึ มารอ้ งตอ่ ศาลขอใหต้ ง้ั ผจู้ ดั การมรดกของผตู้ ายไมไ่ ด้
ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา ๑๗๑๓

๔๑๑
๒๓. คำ�พิพากษาฎีกาที่ ๘๐๗๓/๒๕๔๒ ที่ดินตามคำ�ร้องขอไม่ใช่ทรัพย์ที่เป็นมรดก
ของผู้ตาย  ผู้ร้องจึงไม่อาจกล่าวอ้างว่าเป็นกรณีมีเหตุขัดข้องในการจัดการมรดกของผู้ตายเพ่ือขอให้
ต้ังผู้ร้องเป็นผู้จัดการมรดกรายน้ีได้  ส่วนผู้คัดค้านก็มิได้กล่าวอ้างว่ามีเหตุขัดข้องในการจัดการทรัพย์
มรดกของผู้ร้องแต่อย่างใด  ผู้ร้องและผู้คัดค้านต่างโต้เถียงกันว่าฝ่ายใดมีสิทธิในที่ดินตามคำ�ร้องขอ
เทา่ นน้ั   เมอ่ื ฝา่ ยใดเหน็ วา่ ตนถกู อกี ฝา่ ยโตแ้ ยง้ สทิ ธใิ นทด่ี นิ ดงั กลา่ วกช็ อบทจ่ี ะเสนอคดขี องตนเรยี กรอ้ ง
เอาที่ดินจากฝ่ายที่โต้แย้งโดยตรงอย่างคดีมีข้อพิพาท  ไม่จำ�เป็นต้องต้ังผู้จัดการมรดกเพราะไม่เป็น
ประโยชน์แกก่ องมรดกแตอ่ ย่างใด กรณไี ม่ตอ้ งด้วยประมวลกฎหมายแพง่ และพาณชิ ย์ มาตรา ๑๗๑๓
(๑) (๒) ทจ่ี ะใชส้ ิทธิร้องขอต่อศาลให้ตงั้ ผจู้ ัดการมรดก ตามประมวลกฎหมายวิธีพจิ ารณาความแพ่ง
มาตรา ๕๕ ได้
๒๔. คำ�พิพากษาฎีกาที่ ๑๒๑๗/๒๕๔๓ ผู้จัดการมรดกที่ศาลมีคำ�สั่งตั้งมีอำ�นาจและ
หน้าท่ีทจี่ ะทำ�การอนั จำ�เปน็ เพอื่ ใหก้ ารเป็นไปตามค�ำ สง่ั แจง้ ชดั หรือโดยปริยายแหง่ พนิ ัยกรรมและเพื่อ
จดั การมรดกโดยทว่ั ไปหรอื เพ่ือแบ่งปนั ทรัพยม์ รดก และเป็นหน้าท่ขี องผู้จัดการมรดกจะต้องจดั การ
โดยตนเอง จะใหผ้ ใู้ ดท�ำ แทนไมไ่ ด ้ เวน้ แตก่ รณเี ขา้ ขอ้ ยกเวน้ ใหผ้ จู้ ดั การมรดกมอบใหต้ วั แทนท�ำ การได้
ตามอ�ำ นาจทใ่ี ห้ไว้โดยชดั แจง้ หรือโดยปรยิ ายในพินยั กรรม หรอื โดยค�ำ ส่ังศาล หรือพฤตกิ ารณเ์ พ่อื
ประโยชนแ์ กก่ องมรดก ผูจ้ ัดการมรดกทีศ่ าลมีค�ำ สั่งต้ังมใิ ช่ตัวแทนของทายาท ซง่ึ อำ�นาจหน้าท่แี ละ
ความรบั ผดิ ชอบของผจู้ ดั การมรดกตอ่ ทายาทเกดิ ขน้ึ โดยบทบญั ญตั ขิ องกฎหมาย จงึ มฐี านะเปน็ ผแู้ ทน
ตามกฎหมายของทายาทที่จะต้องจัดการมรดกเพื่อประโยชน์แก่กองมรดกและทายาท  ทายาทหามี
อำ�นาจท่ีจะส่ังการให้ผู้จัดการมรดกกระทำ�การใดได้  เพียงแต่ผู้จัดการมรดกจะต้องรับผิดชอบต่อ
ทายาทโดยกฎหมายอนุโลมให้นำ�บทบัญญัติบางมาตราของลักษณะตัวแทนมาใช้  และทายาทย่อม
อยู่ในฐานะเป็นผู้ควบคุมการจัดการมรดกของผู้จัดการมรดกให้อยู่ในขอบอำ�นาจที่พินัยกรรมและ
กฎหมายกำ�หนดไว้ รวมทง้ั มีอ�ำ นาจทจ่ี ะขอให้ศาลสั่งถอนผ้จู ดั การมรดกที่ละเลยไมท่ ำ�การตามหนา้ ท ่ี
ส่วนประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา ๑๗๒๙, ๑๗๓๑, ๑๗๒๖, ๑๗๓๒ และมาตรา
๑๗๒๗ วรรคสอง เป็นกรณีที่กฎหมายบัญญัติให้ศาลเป็นผู้ดูแลให้ผู้จัดการมรดกปฏิบัติหน้าที่ตาม
ทีก่ ฎหมายบัญญตั ไิ ว้เพอื่ ให้การจัดการมรดกเปน็ ไปโดยเรียบรอ้ ย ดังน้นั วธิ กี ารจดั การมรดกซึง่ เปน็
อำ�นาจหน้าท่ีของผู้จัดการมรดกที่จะกระทำ�เอง  ทายาทและศาลไม่มีอำ�นาจท่ีจะบังคับให้ผู้จัดการ
มรดกปฏบิ ตั ิตามมตทิ ป่ี ระชมุ ทายาทได้
๒๕. คำ�พิพากษาฎีกาที่  ๑๘๒๔/๒๕๔๓  แม้มรดกจะมีผู้จัดการมรดกแล้ว  ทายาท
กย็ ังมีสิทธิฟอ้ งให้บุคคลภายนอกชำ�ระหนส้ี ินของกองมรดกได้
๒๖. ค�ำ พิพากษาฎีกาท่ี ๒๒๙๑/๒๕๔๓ การทผ่ี คู้ ัดค้านจงใจไมป่ ฏบิ ตั หิ น้าท่ผี ู้จัดการ
มรดกร่วมกับผู้ร้องเพื่อแบ่งปันทรัพย์มรดกให้แก่ทายาทเจ้าของมรดกให้เสร็จสิ้นลุล่วงไปตามภาระ
หน้าท่ีของตน  ทั้งมีพฤติการณ์โต้แย้งเกี่ยวกับทรัพย์สินของเจ้ามรดกที่ผู้คัดค้านอ้างว่าทรัพย์มรดกที่
ตนจะต้องจัดการแบ่งปันน้ันเป็นของมารดาตนเองมิใช่ของเจ้าของมรดก  นับว่าผู้คัดค้านกระทำ�การ

๔๑๒
เป็นปฏิปักษ์ต่อกองมรดก  และมีเหตุให้เห็นได้ว่าผู้คัดค้านจะไม่จัดการแบ่งปันทรัพย์มรดกให้เป็นไป
โดยสุจริต  ท้ังผู้คัดค้านต้องโทษจำ�คุกอยู่ย่อมไม่สามารถทำ�หน้าท่ีเป็นผู้จัดการมรดกร่วมกับผู้ร้องได้
จงึ ไม่สมควรท่ีจะให้ผคู้ ัดค้านเปน็ ผู้จดั การร่วมกบั ผรู้ ้องตอ่ ไป
๒๗. คำ�พิพากษาฎีกาท่ี  ๒๕๒๖/๒๕๔๓  สัญญาที่ผู้ตายต้องไปจดทะเบียนโอน
กรรมสทิ ธิท์ ่ีดนิ ให้แก่ผู้ร้องหลังจากออกโฉนดท่ีดนิ แล้วเปน็ เพียงสัญญาจะซอ้ื ขาย หากทด่ี นิ ของผตู้ าย
ต้องหา้ มไม่ใหโ้ อนตามประมวลกฎหมายท่ีดนิ ท�ำ ให้ผตู้ ายหลดุ พ้นจากการช�ำ ระหน้ี ผตู้ ายก็หามีสทิ ธิ
ได้รับชำ�ระราคาที่ดินตอบแทนไม่  จึงต้องคืนเงินราคาท่ีดินแก่ผู้ร้อง  เมื่อผู้ตายยังไม่ได้คืนเงินย่อม
ถอื ได้ว่า ผู้รอ้ งเปน็ เจา้ หนี้ผมู้ ีสว่ นได้เสยี และมสี ทิ ธริ ้องขอให้ตั้งตนผจู้ ดั การมรดกได้
๒๘. คำ�พิพากษาฎีกาที่  ๕๑๔๑/๒๕๔๓  ผู้จัดการมรดกต้องจัดการโดยตนเองตาม
ประมวลกฎหมายแพง่ และพาณิชย์ มาตรา ๑๗๒๓ โจทกต์ ้องค�ำ พพิ ากษาถงึ ทีส่ ดุ ให้จำ�คกุ จงึ ไม่อาจ
จดั การมรดกไดโ้ ดยตนเอง ทง้ั เหตทุ ต่ี อ้ งโทษจ�ำ คกุ กเ็ นอ่ื งมาจากการเบยี ดบงั ทรพั ยข์ องผอู้ น่ื เปน็ ของตน
ในฐานะผู้มีอำ�นาจจัดการทรัพย์  ถือได้ว่ามีพฤติการณ์ไม่เหมาะสมท่ีจะเป็นผู้จัดการมรดกตาม
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา ๑๗๒๒ ที่ห้ามผู้ที่ศาลตั้งเป็นผู้จัดการมรดกแล้วทำ�
นติ กิ รรมใดๆ ซง่ึ ตนมสี ว่ นไดเ้ สยี เปน็ ปฏปิ กั ษก์ บั กองทรพั ยม์ รดกทต่ี นเองเปน็ ผจู้ ดั การ มใิ ชห่ มายความ
ว่ากฎหมายเปดิ โอกาสใหต้ ัง้ ผเู้ ปน็ ปฏิปักษต์ อ่ กองมรดกเปน็ ผู้จดั การมรดกได้
ผู้ร้องสอดที่ ๑  อ้างว่ารู้ถึงทรัพย์มรดกทั้งหมดมากยิ่งกว่าทายาทคนอ่ืนๆ  ก็ไม่มีใคร
เบกิ ความสนบั สนนุ และผรู้ อ้ งสอดท่ี ๒ คดั คา้ นการทผ่ี รู้ อ้ งสอดท่ี ๑ ขอเปน็ ผจู้ ดั การมรดก นอกจากน้ี
ผู้ร้องสอดที่ ๑  ถูกดำ�เนินคดีอาญาเก่ียวกับเรื่องยักยอกทรัพย์มรดก  แม้ศาลพิพากษายกฟ้องก็ตาม
แต่ผู้ร้องสอดท่ี ๑  ไม่ได้รับความไว้วางใจจากทายาทผู้มีสิทธิรับมรดก  เมื่อคำ�นึงถึงพฤติการณ์ต่างๆ
ตามปกตแิ ละเหตุอนั ควรในปจั จุบนั แล้ว ผรู้ อ้ งสอดที่ ๑ ยังไม่เหมาะสมทจ่ี ะเป็นผูจ้ ัดการมรดก
๒๙. ค�ำ พพิ ากษาฎกี าท่ี ๖๗๙๗/๒๕๔๓ โจทก์ฟอ้ งจ�ำ เลยทัง้ สามโดยอ้างวา่ จ�ำ เลยท่ี ๑
เป็นผู้จัดการมรดกของ ป. ละเลยไม่ปฏิบัติหน้าที่ของผู้จัดการมรดกโดยไม่แบ่งมรดกให้แก่โจทก์
ซึ่งเป็นทายาท สำ�หรับจำ�เลยที่ ๑ จึงเป็นการฟ้องคดีเกี่ยวกับการจัดการมรดก เมื่อทรัพย์มรดก
มเี พยี งทีด่ ินสองแปลง จ�ำ เลยที่ ๑ ได้จดทะเบยี นโอนทีด่ นิ ท้ังสองแปลงให้จ�ำ เลยท่ี ๒ และจำ�เลยที่ ๓
ไปแลว้ ถอื วา่ การจดั การมรดกสน้ิ สดุ ลงในวนั ดงั กลา่ ว โจทกม์ าฟอ้ งเกนิ กวา่ ๕ ปี คดยี อ่ มขาดอายคุ วาม
ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา ๑๗๓๓ วรรคสอง
๓๐. คำ�พิพากษาฎกี าท่ี ๑๔๔๓/๒๕๔๔ จำ�เลยท่ี ๑ ซ่งึ เปน็ ผ้จู ดั การมรดกของ ห.
ท�ำ สญั ญาจะขายท่ีดินพิพาทใหแ้ กโ่ จทก์ โดยไม่ไดร้ ับความยนิ ยอมจาก ข. ผู้จัดการมรดกอีกคนหนงึ่
จึงไม่ใช่นิติกรรมท่ีได้รับความเห็นชอบด้วยเสียงส่วนมาก  ไม่ชอบด้วยประมวลกฎหมายแพ่งและ
พาณชิ ย ์ มาตรา ๑๗๒๖ จึงไม่ผกู พันกองมรดกตามมาตรา ๑๗๒๔ การที ่ ข. ใหค้ วามยนิ ยอมใน
ภายหลัง  ไม่ทำ�ให้นิติกรรมท่ีไม่ชอบกลับเป็นนิติกรรมสมบูรณ์ข้ึน  โจทก์จึงไม่มีสิทธิร้องขอให้จำ�เลย
ท่ี ๑ และ ข. ปฏบิ ตั ติ ามสญั ญาจะซอ้ื ขาย เมอ่ื จ�ำ เลยท่ี ๒ และท่ี ๓ ท�ำ สญั ญาซอ้ื ทด่ี นิ พพิ าทจากจ�ำ เลย

๔๑๓
ที่ ๑ ในภายหลังโดยเสยี คา่ ตอบแทนและไดจ้ ดทะเบียนแลว้ จึงไม่ใช่เปน็ การกระท�ำ ท่ีท�ำ ลงโดยร้อู ยวู่ ่า
จะเป็นทางให้โจทก์ผู้เป็นเจ้าหน้ีเสียเปรียบ  โจทก์จึงไม่มีสิทธิฟ้องร้องขอให้เพิกถอนนิติกรรมซื้อขาย
ระหวา่ งจ�ำ เลยท่ี ๑ กับจำ�เลยที่ ๒ และที่ ๓ ตามมาตรา ๒๓๗
๓๑. คำ�พิพากษาฎีกาที่ ๒๐๐๔/๒๕๔๔ การที่มีผู้จัดการมรดก แต่ผู้จัดการมรดก
ไม่ดำ�เนินการใดๆ  เก่ียวกับมรดกย่อมไม่ทำ�ให้สิทธิของทายาทในฐานะทายาทผู้มีส่วนได้เสียในทรัพย์
มรดกทจ่ี ะดำ�เนนิ การฟอ้ งคดเี พือ่ รกั ษาผลประโยชนข์ องกองมรดกเสยี ไป
การท่ีมีผู้จัดการมรดกอยู่ไม่ทำ�ให้สิทธิของทายาทที่จะดำ�เนินการเพื่อรักษาผลประโยชน์
ของกองมรดกเสียไป ทายาทผู้มสี ่วนไดเ้ สียในทรพั ยม์ รดกมสี ทิ ธฟิ ้องคดีได ้ โดยไมจ่ �ำ ตอ้ งให้ผูจ้ ดั การ
มรดกเปน็ ผฟู้ อ้ งคดีเสมอไป
๓๒. คำ�พิพากษาฎีกาที่ ๒๒๙๕ – ๒๒๙๖/๒๕๔๔ การจัดการมรดกนั้นหาใช่ว่ามุ่งจะ
รบั ทรัพยม์ รดกโดยฝา่ ยเดียวหาไดไ้ ม่ หากผตู้ ายมีหน้สี นิ ก็มหี นา้ ท่ีต้องรวบรวมทรัพย์มรดกใชห้ นีด้ ้วย
เหลือจากการชำ�ระหนี้เท่าใดจึงเป็นมรดกที่จะนำ�มาแบ่งกันได้ เหตุหนึ่งที่ทำ�ให้ผู้ร้องซึ่งเป็นบิดาของ
ผู้ตายกับผู้คัดค้านซึ่งเป็นภริยาของผู้ตายตกลงกันไม่ได้  เพราะทางฝ่ายผู้ร้องจะรับเฉพาะทรัพย์สิน
ส่วนทเี่ ป็นหนี้สนิ จะใหท้ างฝา่ ยผู้คัดคา้ นเปน็ ผู้รับไปฝ่ายเดยี ว ฉะนั้น หากใหผ้ ู้ร้องเปน็ ผ้จู ดั การมรดก
ย่อมมีปัญหาในการจดั การมรดก ประการแรก คอื ผรู้ อ้ งไม่อาจทราบไดว้ ่าผตู้ ายมีทรพั ย์สนิ อะไรและ
อยู่ทใ่ี ดบา้ ง และประการทีส่ อง คือ เจ้าหน้กี ม็ ุ่งท่ีจะทวงหน้ตี ่อผคู้ ัดคา้ นซ่ึงเปน็ ภริยาร่วมรูเ้ หน็ ในการ
สรา้ งหนกี้ นั มาในระหวา่ งสมรส จงึ ย่อมไม่สะดวกต่อการจัดการทรัพย์มรดก ผู้คัดคา้ นจึงสมควรท่ีจะ
เป็นผูจ้ ัดการมรดกของผ้ตู ายแตเ่ พียงผู้เดียว
๓๓. คำ�พิพากษาฎกี าท่ี ๒๙๗๒/๒๕๔๔ คดีขอถอนผู้จัดการ   ตามประมวลกฎหมาย
แพ่งและพาณชิ ย์ มาตรา ๑๗๒๗ วรรคหนึ่ง ไม่ใชค่ ดีเกยี่ วกบั การจดั การมรดกท่ีจะต้องฟ้องภายใน
ห้าปีนบั แตก่ ารจดั การมรดกส้ินสุดลง ตามมาตรา ๑๗๓๓ วรรคสอง ซึง่ เปน็ เรื่องสทิ ธิเรียกรอ้ ง คดีจงึ
ไม่มีประเด็นเรื่องอายุความที่ผู้ร้องยกขึ้นคัดค้าน ที่ศาลชั้นต้นยกเรื่องอายุความการจัดการมรดก
ตามมาตรา  ๑๗๓๓  วรรคสอง  ขึ้นวินิจฉัยจึงเป็นการไม่ชอบ  แต่เม่ือการปันมรดกเสร็จส้ินลงแล้ว
การใชส้ ทิ ธขิ อถอนผจู้ ดั การมรดกยอ่ มพน้ ก�ำ หนดเวลา มาตรา ๑๗๒๗ วรรคหนง่ึ ทายาทของเจา้ มรดก
จงึ ไม่มสี ทิ ธริ ้องขอถอนผูจ้ ัดการมรดก
๓๔. คำ�พิพากษาฎีกาที่  ๖๓๑๐/๒๕๔๔  ผู้ร้องเป็นทายาทโดยธรรม  ตามประมวล
กฎหมายแพง่ และพาณิชย์ มาตรา ๑๖๒๙ (๒) แม้จะปรากฏขอ้ กล่าวอ้างในทางนำ�สบื ของผู้รอ้ งวา่
ทรพั ยส์ นิ บางรายการในบญั ชที รพั ยม์ รดกของผตู้ ายเปน็ ของผรู้ อ้ งซง่ึ เพยี งแตใ่ สช่ อ่ื ผตู้ ายถอื กรรมสทิ ธแ์ิ ทน
กจ็ ะถอื วา่ ผรู้ อ้ งกระท�ำ การเปน็ ปฏปิ กั ษต์ อ่ กองมรดกของผตู้ ายอนั เปน็ พฤตกิ ารณท์ ไ่ี มเ่ หมาะสมหาไดไ้ ม่
เพราะหากความจริงเป็นประการใดก็ย่อมจะก่อให้เกิดความเป็นธรรมแก่ผู้เก่ียวข้อง  อีกทั้งเป็นเร่ือง
ในช้นั จัดการแบง่ ปันมรดกซึง่ เปน็ อีกข้ันหนึ่ง และส�ำ หรับผคู้ ดั ค้านนัน้ เมอ่ื ข้อเทจ็ จริงรบั ฟงั ได้ว่าแม้
ผคู้ ัดค้านและผู้ตายจดทะเบยี นหย่าต่อกัน แต่ภายหลังก็อยูก่ ินรว่ มฉนั สามภี รยิ าจนกระท่ังผ้ตู ายถงึ แก่

๔๑๔
ความตาย ทรัพย์สินที่มีอยู่อาจเป็นทรัพย์สินที่ทำ�มาหาได้ร่วมกันระหว่างผู้คัดค้านกับผู้ตาย จึงชอบ
ทจี่ ะว่ากลา่ วกันในชนั้ จัดการแบง่ ปนั มรดก
๓๕. คำ�พิพากษาฎีกาที่  ๗๔๔๘/๒๕๔๔  หลังจากท่ี  ศ.  เจ้ามรดกถึงแก่ความตาย
ศาลชัน้ ต้นมีค�ำ สง่ั ตั้ง ส. เปน็ ผู้จดั การมรดกของ ศ. ตอ่ มา ส. ถงึ แกค่ วามตาย ผรู้ ้องยน่ื คำ�ร้องวา่ การ
จัดการมรดกยังไมแ่ ล้วเสร็จ ยังมที ่ีดนิ อกี สองแปลงทย่ี ังไมแ่ บ่งปนั แกท่ ายาท ศาลชัน้ ต้นไตส่ วนคำ�ร้อง
แล้วมีคำ�ส่ังต้ังผู้ร้องเป็นผู้จัดการมรดก  ผู้คัดค้านย่ืนคำ�ร้องขอให้ถอดถอนผู้ร้องจากการเป็นผู้จัดการ
มรดก อ้างว่าการจัดการมรดกเสร็จสิ้นแล้ว  และผู้ร้องมิได้จัดทำ�บัญชีทรัพย์มรดกยื่นต่อศาลตาม
กำ�หนด ดังนี้ เมื่อปรากฏว่าในระหวา่ งท่ี ส. เป็นผ้จู ัดการมรดก ยังมีทรพั ย์มรดกท่ียงั ไมไ่ ดแ้ บ่งปันคือ
ที่ดินอีก ๒ แปลง และไมป่ รากฏว่า ส. ไดจ้ ดั การโอนท่ดี ินใหแ้ ก่ผูค้ ัดค้านแลว้ แม้บรรดาทายาทอนื่
ได้ไปให้ถ้อยคำ�สละไม่รับมรดกต่อเจ้าพนักงานที่ดินและยินยอมให้ดำ�เนินการโอนกรรมสิทธิ์ที่ดินแก่
ผคู้ ดั คา้ นกต็ าม แต่กเ็ ป็นเหตุการณ์ท่เี กิดขึ้นภายหลังศาลชน้ั ต้นมคี ำ�สง่ั ตงั้ ผรู้ ้องเป็นผจู้ ัดการมรดกแลว้
โดยผรู้ ้องมไิ ด้ร่วมตกลงด้วย จึงไม่ผกู พันผรู้ อ้ ง ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา ๑๗๕๐
วรรคสอง กรณีจงึ ต้องถือว่ายังมีทรพั ย์มรดกทีย่ งั แบ่งปนั ไม่แลว้ เสร็จในขณะท่ี ส. ผ้จู ดั การมรดกยงั มี
ชีวติ อยแู่ ละมีเหตตุ ้องจดั การทรพั ยม์ รดกตอ่ ไป
แมป้ ระมวลกฎหมายแพง่ และพาณิชย์ มาตรา ๑๗๒๘ และมาตรา ๑๗๒๙ จะกำ�หนด
ให้ผู้ร้องต้องทำ�บัญชีทรัพย์มรดกให้เสร็จส้ินภายในกำ�หนดเวลาตามที่กฎหมายระบุไว้  และรูปแบบ
บัญชจี ะตอ้ งทำ�ตามแบบในมาตรา ๑๗๒๙ กต็ าม  แตข่ ณะผรู้ ้องได้รบั แต่งตั้งเปน็ เป็นผู้จดั การมรดก
ตอ่ จาก ส. มที รพั ย์มรดกทย่ี งั ไม่ได้จัดการอยเู่ พยี ง ๒ รายการ คือ ที่ดนิ ๒ แปลงเทา่ น้ัน และผู้ร้องได้
ทำ�บัญชีไว้แลว้ แม้จะไม่ทำ�ตามรปู แบบท่กี ฎหมายก�ำ หนดก็ตาม เมอื่ ทรพั ยม์ รดกทผ่ี ้รู อ้ งจะตอ้ งจดั การ
มเี พยี ง ๒ รายการ และมไิ ด้มีขอ้ ยุง่ ยากแก่การจัดการ ดงั นน้ั การทผ่ี ู้รอ้ งมไิ ดจ้ ดั ทำ�บญั ชีทรัพยม์ รดก
ตามรปู แบบและภายในเวลาที่กฎหมายกำ�หนดไว้ในมาตรา ๑๗๒๙ กรณียังไมพ่ อถือวา่ ผรู้ ้องมิได้ทำ�
บัญชีทรัพย์สินอันเป็นการเพิกเฉยไม่ปฏิบัติหน้าที่ในฐานะผู้จัดการมรดกกรณียังไม่เป็นเหตุเพียงพอ
ที่จะถอดถอนผูร้ ้องจากการเปน็ ผู้จัดการมรดก
๓๖. ค�ำ พพิ ากษาฎกี าท ่ี ๘๒๐๗/๒๕๔๔ ทด่ี นิ ประทานบตั รท�ำ เหมอื งแรเ่ ปน็ ทรพั ยม์ รดก
การทผ่ี จู้ ดั การมรดกน�ำ มาเปน็ ทนุ จดั ตง้ั บรษิ ทั จ�ำ เลยท ่ี ๘ แลว้ ใหท้ ายาททกุ คนเปน็ ผถู้ อื หนุ้ ตามสว่ นสดั
ท่ีทายาทแต่ละคนมีสิทธิได้รับมรดก  เป็นการจัดการตามที่จำ�เป็นเพื่อแบ่งปันทรัพย์มรดกซ่ึงอยู่ใน
ขอบอำ�นาจและหนา้ ท่ขี องผ้จู ัดการ ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณชิ ย์ มาตรา ๑๗๑๙ และ
มาตรา ๑๗๓๖  วรรคสอง  เนอื่ งจากไมส่ ามารถจดั การให้ทายาทเขา้ ครอบครองทดี่ นิ เปน็ สว่ นสดั ได้
เพราะทายาททุกคนจะเอาแต่ที่ดินที่อยู่ติดกับทะเล  ดังนั้น  แม้ทายาทบางคนยังเป็นผู้เยาว์อยู่ขณะ
นำ�ท่ีดินมรดกมาเป็นทุนของจำ�เลยที่ ๘  ผู้จัดการมรดกก็ไม่ต้องขออนุญาตจากศาล  ตามประมวล
กฎหมายแพง่ และพาณชิ ย ์ มาตรา ๑๕๗๔ เพราะไมใ่ ชเ่ รอ่ื งผใู้ ชอ้ �ำ นาจปกครองท�ำ นติ กิ รรมแทนผเู้ ยาว์
แต่เป็นเร่ืองผู้จัดการมรดกทำ�การอันจำ�เป็นเพ่ือจัดการมรดกตามอำ�นาจหน้าท่ีท่ีกฎหมายบัญญัติไว้ 

๔๑๕
เม่อื โจทกไ์ ดร้ ับหุน้ และผลประโยชน์ตอบแทนจากจ�ำ เลยที่ ๘ เรอ่ื ยมาจนกระทัง่ โจทก์ขายหุ้นทง้ั หมด
ใหแ้ ก่ผู้อน่ื แสดงวา่ โจทก์และทายาททกุ คนใหค้ วามยินยอมในการกระท�ำ ดังกล่าว ถือว่าโจทก์ไดร้ ับ
แบ่งมรดกตามสิทธิครบถ้วนและผู้จัดการมรดกได้แบ่งปันมรดกเสร็จสมบูรณ์แล้วตั้งแต่จดทะเบียน
จัดต้ังจำ�เลยที่ ๘ โจทก์จงึ ไม่มอี �ำ นาจฟ้องเอาสว่ นแบง่ อีก
๓๗. คำ�พพิ ากษาฎกี าท ี่ ๘๒๘๖/๒๕๔๔ คร้งั แรกที่ ล. โอนที่ดนิ มรดกของ ท. มาเปน็
ของตนในฐานะผู้จัดการมรดกเป็นการครอบครองทรัพย์มรดกแทนทายาทอื่นทุกคน  แม้จะมีการ
โอนทีด่ ินมรดกดังกลา่ วมาเป็นของ  ล. ในฐานะส่วนตัวแลว้ กต็ าม กย็ งั ถอื ไมไ่ ดว้ า่ เปลี่ยนเจตนาการ
ครอบครองทด่ี นิ มรดกแทนทายาททกุ คนมาเปน็ การครอบครองในฐานะสว่ นตวั โดยเปน็ เจา้ ของแตเ่ พยี ง
ผู้เดยี ว เพราะ ล. ยงั มไิ ด้บอกกล่าวไปยงั ทายาททกุ คนว่าไมม่ ีเจตนายึดถอื ทรพั ยแ์ ทนทายาททุกคน
ต่อไป ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา ๑๓๘๑ ทง้ั ปรากฏวา่ กอ่ นหน้านี้ ล. ได้ถูก ป.
ยืน่ ฟ้องในอีกคดหี นึ่งของศาลช้นั ต้นเร่ืองขอแบง่ มรดก คดีถงึ ที่สดุ ตามค�ำ พิพากษาศาลอทุ ธรณ์วา่ ล.
ครอบครองทรพั ย์มรดกรว่ มกบั ส. และ ป. ทายาทผูต้ าย ตอ้ งถอื ว่าครอบครองแทนทายาทของ ส.
คำ�พิพากษาจงึ ผกู พัน ล. และจ�ำ เลยซึ่งเปน็ ทายาทของ ล. ตามประมวลกฎหมายวธิ ีพิจารณาความ
แพง่ มาตรา ๑๔๕ ต้องถือวา่ ล. ครอบครองทรพั ย์มรดกแทนทายาทอน่ื อยู่เชน่ เดิม ล. ยังคงมหี นา้ ที่
ตอ้ งจดั แบง่ ทรพั ยม์ รดกใหแ้ กท่ ายาททกุ คนตามสทิ ธขิ องทายาททก่ี ฎหมายก�ำ หนดไว้ ดงั นน้ั การจดั การ
มรดกยงั มิได้เสร็จส้นิ จึงจะน�ำ อายคุ วาม ๕ ปี ตามประมวลกฎหมายแพง่ และพาณิชย์ มาตรา ๑๗๓๓
วรรคสอง มาใช้บงั คบั ไม่ได้
๓๘. ค�ำ พิพากษาฎกี าท่ี ๑๓๙/๒๕๔๕ ทรพั ยอ์ นั เป็นสนิ สมรสท่ียังไม่ได้แบง่ น้นั โจทก์
ในฐานะผจู้ ัดการมรดกมสี ทิ ธติ ิดตามเอาคนื มาเพือ่ จัดการแบง่ แกท่ ายาทไดแ้ ม้เกิน ๑๐ ปี นับแต่ ห.
ถึงแก่กรรม คดีหาขาดอายคุ วาม ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณชิ ย์ มาตรา ๑๗๔๘ ไม่
๓๙. คำ�พิพากษาฎีกาท่ี  ๗๑๑/๒๕๔๕  คดีขอตั้งผู้จัดการมรดกศาลมีอำ�นาจพิจารณา
เก่ียวกับเอกสารตั้งและถอนผู้จัดการมรดกเท่านั้น  แต่ตามคำ�ร้องของผู้ร้องได้ความว่าผู้ร้องในฐานะ
ผู้จัดการมรดกกับทายาทบางคนไม่สามารถตกลงแบ่งที่ดินมรดกได้  ผู้ร้องขอนำ�ที่ดินมรดกออก
ขายโดยประมูลราคากันเองหรือนำ�ออกขายทอดตลาดนั้น  ล้วนเป็นเรื่องเกี่ยวกับการจัดการมรดก
ท้ังสิ้นซ่ึงเป็นอำ�นาจหน้าที่โดยตรงของผู้จัดการท่ีสามารถกระทำ�ได้เอง  ตามประมวลกฎหมายแพ่ง
และพาณิชย์ มาตรา ๑๗๑๙ อยแู่ ลว้ กรณที ่ีไม่ใชอ่ �ำ นาจของศาลที่จะสัง่ ใหผ้ จู้ ัดการมรดกด�ำ เนินการ
ตามขอ หากผู้ร้องไม่อาจจัดการเช่นนั้นได้เพราะเหตุทายาทบางคนขัดขวาง ก็เป็นเรื่องมีข้อโต้แย้ง
สิทธิในการจัดการแบ่งทรัพย์มรดกของผู้จัดการมรดกซ่ึงผู้ร้องชอบที่จะไปดำ�เนินการฟ้องร้องเป็น
คดีหนึ่ง หาใช่มาย่ืนค�ำ ร้องในคดีที่ตง้ั ผู้จดั การมรดกไม่
๔๐. ค�ำ พิพากษาฎกี าท ี่ ๒๕๑๐/๒๕๔๕ ผรู้ ้องมิใช่ภรยิ าทีช่ อบด้วยกฎหมายของผู้ตาย
แต่ผู้ตายได้ท่ีดินมาหลังจากอยู่กินด้วยกันฉันสามีกับผู้ร้องและไม่ปรากฏว่าเป็นทรัพย์ท่ีได้มาโดยการ
ให้โดยเสน่หา  ท่ีดินจึงเป็นทรัพย์สินท่ีผู้ตายและผู้ร้องเป็นเจ้าของร่วมกัน  ถือได้ว่าผู้ร้องเป็นผู้มีส่วน

๔๑๖
ได้เสยี ตามประมวลกฎหมายแพง่ และพาณิชย์ มาตรา ๑๗๑๓ ผรู้ อ้ งจงึ มีอำ�นาจยน่ื คำ�รอ้ งขอเปน็
ผูจ้ ดั การมรดกผตู้ ายได้
๔๑. คำ�พพิ ากษาฎีกาท่ี ๒๗๔๒/๒๕๔๕ การเป็นทายาทโดยธรรมในฐานะพน่ี อ้ งร่วม
บิดาเดียวกนั ตามประมวลกฎหมายแพง่ และพาณิชย์ มาตรา ๑๖๒๙ (๔) ต้องถอื ความเป็นพ่นี ้อง
ร่วมบดิ าเดยี วกันตามความเป็นจรงิ เมือ่ ผรู้ ้องเกดิ จาก น. มารดา ผ้ตู ายเกดิ จาก ท. มารดา โดยมี
บดิ าเดียวกนั แม้ผู้ร้องกบั ผู้ตายเป็นบุตรท่ไี ม่ชอบดว้ ยกฎหมายของ ก. กถ็ อื ได้ว่าผรู้ อ้ งกบั ผู้ตายเปน็
พ่นี ้องร่วมบิดาเดียวกัน ผรู้ อ้ งจึงอยใู่ นฐานะทายาทโดยธรรม ตามมาตรา ๑๖๒๙ (๔) เม่อื ผตู้ ายไมม่ ี
ทายาทโดยธรรมในลำ�ดบั อน่ื ทสี่ งู กว่าผูร้ ้อง ผรู้ ้องจึงเป็นผมู้ ีสทิ ธใิ นทรัพย์มรดกของผตู้ าย ผคู้ ัดค้านเขา้
รับมรดกแทนที่บิดาซึ่งเป็นลุงผู้ตายและถือว่าเป็นทายาทโดยธรรมท่ีอยู่ในลำ�ดับถัดลงไปไม่มีสิทธิใน
ทรัพย์มรดกของผู้ตายเลย ตามมาตรา ๑๖๓๐ จงึ ไม่มีส่วนไดเ้ สียที่จะย่นื ค�ำ รอ้ งคัดค้านการทผี่ ู้รอ้ งขอ
จดั การทรพั ย์มรดกของผ้ตู าย
๔๒. ค�ำ พพิ ากษาฎีกาที่ ๕๐๐๘/๒๕๔๕ เจ้าหน้กี องมรดกทจ่ี ะเปน็ ผมู้ ีสว่ นได้เสยี และ
มสี ทิ ธริ อ้ งตอ่ ศาลขอใหต้ ง้ั ผจู้ ดั การมรดกได ้ ตามประมวลกฎหมายแพง่ และพาณชิ ย์ มาตรา ๑๗๑๓ นน้ั
ตอ้ งเปน็ กรณีทก่ี องมรดกไมม่ ีทายาทหรือผจู้ ัดการมรดก เพราะหากไม่มีทายาทหรอื ผูจ้ ัดการมรดกอยู่
ตราบใด เจา้ หนกี้ ็ไมม่ ที างได้รับช�ำ ระหน้เี ลย แตเ่ มื่อกองมรดกมีทายาทร้องขอต้งั ผู้จัดการมรดกแล้ว
ก็มีตัวทายาทที่จะต้องรับผิดชำ�ระหน้ีจากกองมรดกให้แก่เจ้าหน้ีได้  ฉะน้ัน  เมื่อผู้ร้องซ่ึงเป็นภริยา
โดยชอบดว้ ยกฎหมายของผตู้ ายไดย้ น่ื ค�ำ รอ้ งขอเปน็ ผจู้ ดั การมรดกของผตู้ ายแลว้ จงึ มผี รู้ บั ผดิ ช�ำ ระหน้ี
แก่เจ้าหน้ีก่อนการแบ่งปันทรัพย์มรดกให้แก่ทายาท  ไม่กระทบถึงส่วนได้เสียของผู้คัดค้านซ่ึงเป็น
เจ้าหน้กี องมรดกแตอ่ ย่างใด ผูค้ ัดค้านจงึ มิใชผ่ ู้มีส่วนได้เสยี ไม่มสี ิทธิคัดค้านและขอให้ต้งั ผ้คู ดั ค้านเป็น
ผจู้ ัดการของผ้ตู ายได้
๔๓. คำ�พิพากษาฎีกาท่ี  ๕๖๔๔/๒๕๔๕  ผู้ตายไม่มีทายาทและไม่มีผู้รับพินัยกรรม
หุ้นของผูต้ ายยอ่ มตกทอดแกแ่ ผน่ ดนิ ตามประมวลกฎหมายแพง่ และพาณิชย์ มาตรา ๑๗๕๓ แผ่นดนิ
หาใช่ทายาทของผู้ตายไม่ ดังนั้น แม้หุ้นของผู้ตายจะตกเป็นของแผ่นดิน แต่หากไม่มีผู้จัดการมรดก
อยู่ตราบใด ผ้รู อ้ งซ่ึงเป็นเจ้าหนข้ี องผตู้ ายยอ่ มไมส่ ามารถบงั คับช�ำ ระหนี้ของตนได้ จงึ ต้องถอื ว่าผรู้ อ้ ง
เปน็ ผู้มสี ว่ นไดเ้ สยี และมีสิทธิรอ้ งขอตอ่ ศาลใหต้ งั้ ตนเป็นผจู้ ดั การมรดกได้ ตามประมวลกฎหมายแพ่ง
และพาณชิ ย์ มาตรา ๑๗๑๓
๔๔. ค�ำ พิพากษาฎกี าท่ี ๕๙๖/๒๕๔๖ ผตู้ ายไดโ้ อนที่ดินใหบ้ คุ คลอ่ืนไปในขณะท่ยี ังมี
ชีวิตอยู่ สว่ นเงนิ ฝากของผตู้ ายในธนาคาร ผู้มอี ำ�นาจในการถอนเงินไดป้ ดิ บญั ชีไปกอ่ นทผี่ รู้ อ้ งจะยืน่
คำ�ร้องขอให้ต้ังผู้จัดการมรดก  จึงไม่มีเหตุขัดข้องในการจัดการหรือในการแบ่งปันมรดกของผู้ตาย
เพราะไม่มีทรัพย์มรดกของผู้ตายที่จะต้องจัดการ  กฎหมายมิได้กำ�หนดเหตุให้ต้ังผู้จัดการมรดกเพ่ือ
สืบหาทรัพยม์ รดกของผู้ตายเพ่ือน�ำ มาจัดการแต่อย่างใด กรณีไม่มีเหตุตามกฎหมายทผ่ี ู้ร้องจะรอ้ งขอ
ให้ตั้งผูจ้ ัดการมรดกได้

๔๑๗
๔๕. ค�ำ พิพากษาฎีกาที่ ๑๕๘๔/๒๕๔๖ โจทก์เป็นบตุ รของ พ. ซ่ึงเปน็ พ่สี าวของผ้ตู าย
เม่อื ขณะผ้ตู ายถงึ แก่ความตายไม่มีคู่สมรสและบุตร ท้ังบิดามารดาถึงแกค่ วามตายไปก่อนแล้ว มรดก
ของผูต้ ายจึงตกทอดแก่พี่นอ้ งร่วมบิดามารดาเดยี วกันกบั ผูต้ าย ซึ่งรวมท้งั พ. ซึง่ เป็นทายาทโดยธรรม
ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณชิ ย์ มาตรา ๑๖๒๙ (๓) เม่ือ พ. ถงึ แกค่ วามตายกอ่ นผตู้ าย โจทก์
ซึ่งเป็นบุตรและผูส้ บื สนั ดานของ พ. ยอ่ มมสี ทิ ธริ บั มรดกแทนท่ี พ. โจทกจ์ งึ เปน็ ทายาทผมู้ สี ทิ ธริ บั
มรดกของผตู้ ายเฉพาะสว่ นแบง่ ของ พ. ตามมาตรา ๑๖๓๙
โจทก์เป็นทายาทฟ้องขอให้เพิกถอนนิติกรรมการโอนท่ีดินทรัพย์มรดกของผู้ตาย
ระหวา่ งจ�ำ เลยท่ี ๑ กับจ�ำ เลยท่ี ๒ และให้จ�ำ เลยที่ ๒ คนื เงนิ ๔๐,๐๐๐ บาท ซง่ึ เปน็ ทรัพยม์ รดกของ
ผ้ตู าย สำ�หรับจำ�เลยท่ ี ๑ ซ่งึ เป็นผจู้ ัดการมรดกจะยกอายุความมรดก ๑ ป ี ตามประมวลกฎหมาย
แพ่งและพาณชิ ย์ มาตรา ๑๗๕๔ ขน้ึ ตอ่ สู้โจทกห์ าได้ไม่ เพราะกฎหมายได้บัญญัตเิ รื่องอายคุ วาม
เกี่ยวกับการจัดการมรดกท่ีผู้จัดการมรดกจะต้องรับผิดชอบต่อทายาทไว้โดยเฉพาะแล้ว  ตามมาตรา
๑๗๓๓ วรรคสอง ซง่ึ มีก�ำ หนดอายคุ วาม ๕ ปี นับตงั้ แตก่ ารจัดการมรดกสนิ้ สดุ ลง สว่ นจ�ำ เลยท่ี ๒ นั้น
เมื่อผู้ตายมิได้ทำ�พินัยกรรม จำ�เลยที่ ๒ จึงไม่ใช่ผู้รับพินัยกรรมอันจะถือว่าเป็นทายาทที่มีสิทธิ
รับมรดกของผู้ตาย เมื่อโจทก์ฟ้องขอให้เพิกถอนนิติกรรมการโอนที่ดินและให้คืนเงินสดเพื่อนำ�มา
แบ่งปันแก่ทายาท จึงเป็นการฟ้องเรียกทรัพย์คืนจากจำ�เลยที่ ๒ ซึ่งไม่มีสิทธิจะยึดถือไว้ จำ�เลยที่ ๒
จึงไม่มีสทิ ธยิ กอายุความมรดก ตามมาตรา ๑๗๕๔ ข้ึนสู้ตอ่ โจทกไ์ ด้
โจทก์ฟอ้ งขอใหเ้ พกิ ถอนนิตกิ รรมการโอนท่ีดนิ ระหว่างจ�ำ เลยที่ ๑ ซง่ึ เปน็ ผู้จดั การมรดก
กับจ�ำ เลยท่ี ๒ ซง่ึ เป็นกรณที ่วี ตั ถุแห่งหนี้ใหก้ ระทำ�นิตกิ รรมอยา่ งหน่ึง ดงั น้นั เมอ่ื ศาลพิพากษาให ้
เพกิ ถอนนติ ิกรรมการจดทะเบยี นโอนท่ดี นิ ศาลย่อมมีอ�ำ นาจพิพากษาโดยระบเุ งอื่ นไขแหง่ การบงั คบั
คดีวา่ หากจำ�เลยทง้ั สองไมป่ ฏบิ ตั ิตามให้ถือเอาค�ำ พิพากษาแทนการแสดงเจตนาของจ�ำ เลยทง้ั สองได้
ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณชิ ย์ มาตรา ๒๑๓ ดังทปี่ ระมวลกฎหมายวธิ พี จิ ารณาความแพง่
มาตรา ๒๗๖ บัญญตั ไิ ว้
๔๖. คำ�พพิ ากษาฎีกาที่ ๖๑๕/๒๕๔๗ ผู้ร้องที่ ๒ และผู้คดั คา้ นต่างขอใหศ้ าลมคี ำ�สงั่
ตั้งตนเป็นผู้จัดการมรดกของผู้ตาย  คดีจึงมีประเด็นท่ีศาลต้องวินิจฉัยเพียงว่าสมควรต้ังผู้ร้องที่  ๒
หรอื ผคู้ ัดคา้ น เปน็ ผ้จู ัดการมรดกหรอื ไม่เท่าน้ัน สว่ นประเด็นทีโ่ ต้เถยี งกันเกีย่ วกับทรพั ยม์ รดกของ
ผู้ตายนน้ั ศาลไมอ่ าจก้าวล่วงไปวนิ จิ ฉัยได้ ผู้ร้องที่ ๒ และผคู้ ัดค้านชอบท่ีจะไปดำ�เนนิ คดเี ปน็ อกี ส่วน
หน่ึงต่างหาก ทั้งน้ี ทายาททีจ่ ะรอ้ งขอต่อศาลให้ตงั้ ผจู้ ัดการมรดกได้นัน้ ตามประมวลกฎหมายแพ่ง
และพาณชิ ย์ มาตรา ๑๗๑๓ หมายความถงึ ทายาทผู้มสี ทิ ธิไดร้ บั มรดกหรือผู้มสี ว่ นได้เสีย แม้ผู้รอ้ งที่ ๒
เป็นภริยาไม่ชอบดว้ ยกฎหมายของผตู้ าย แต่ไดอ้ ยกู่ นิ รว่ มกันจนผู้ตายถงึ แก่ความตาย เม่อื มที รพั ย์สิน
ได้มาในระหว่างนน้ั ย่อมถือวา่ เปน็ ทรพั ย์สนิ ทท่ี ำ�มาหาไดร้ ่วมกัน
๔๗. คำ�พิพากษาฎีกาที่ ๖๑๖/๒๕๔๗ ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา
๑๗๑๓ บญั ญตั วิ ่า ทายาทหรือผู้มสี ว่ นไดเ้ สยี จะรอ้ งตอ่ ศาลขอให้ต้ังผู้จดั การมรดกก็ได้ ดงั นน้ั ผู้มีสว่ น

๔๑๘
ไดเ้ สยี ทจ่ี ะร้องขอให้ตั้งผู้จดั การมรดก ตามมาตรา ๑๗๑๓ หาจ�ำ เปน็ ต้องมสี ่วนไดเ้ สยี ในทรัพย์มรดก
ของผู้ตายโดยเปน็ ทายาทโดยตรงของผูต้ ายทุกกรณีไม่ เมือ่ ผ้รู ้องเปน็ ผ้รู ับมรดกของ ก. แทนที่ ช. บดิ า
ผู้รอ้ ง และหลังจากที่ ก. ถงึ แกค่ วามตายยงั มิไดจ้ ัดแบง่ ทด่ี นิ ตามกรรมสทิ ธ์แิ หง่ เจา้ ของรวมระหว่าง ก.
กับ ส. ผู้ตายทั้งสอง ดังนั้น ผู้ร้องจึงมีส่วนเป็นเจ้าของกรรมสิทธิ์อยู่ด้วยส่วนหนึ่ง ถือว่าผู้ร้องเป็น
ผู้มีส่วนไดเ้ สยี ในท่ีดนิ อันเป็นมรดกของ ส. ผรู้ อ้ งจึงมสี ิทธยิ ืน่ คำ�ร้องขอเป็นผ้จู ัดการมรดกเฉพาะท่ีดิน
อนั เปน็ มรดกของ ส. ได้
๔๘. คำ�พิพากษาฎีกาที่ ๘๕๑/๒๕๔๗ ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา
๑๗๑๙ ใหผ้ จู้ ดั การมรดกมหี นา้ ทร่ี วบรวมทรพั ยม์ รดกเพอ่ื น�ำ มาแบง่ ปนั ใหแ้ กท่ ายาท เมอ่ื ส. เจา้ มรดก
เป็นเจ้าของรวมในท่ดี ินพพิ าทคนหนึง่ โจทก์ในฐานะผู้จัดการมรดกของ ส. ย่อมมีสิทธิฟ้องขอให้แบ่ง
ทีด่ ินพิพาทไดเ้ พือ่ นำ�ทด่ี ินส่วนทเ่ี ป็นมรดกดงั กลา่ วมาแบ่งปนั ใหแ้ กท่ ายาทต่อไป การที่โจทก์ฟอ้ งคดนี ี้
จึงไมเ่ ป็นการกระทำ�นอกเหนืออำ�นาจหน้าท่ีของผูจ้ ดั การมรดก จงึ มีอ�ำ นาจฟอ้ ง
๔๙. คำ�พิพากษาฎีกาที่  ๖๓๒๓/๒๕๔๗  ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
มาตรา ๑๗๑๓ วรรคหนงึ่ คำ�ว่า ผู้มีสว่ นไดเ้ สยี หาจำ�ตอ้ งเปน็ ทายาทโดยธรรมหรอื ผู้รับพินัยกรรม
โดยตรงทุกกรณีไม่  การที่ผู้คัดค้านอยู่กินเป็นสามีของผู้ตายโดยมิได้จดทะเบียนสมรสและ
ถือกรรมสทิ ธิร์ ่วมกับผตู้ ายในท่ีดนิ ๓ แปลง จึงมผี ลประโยชน์เก่ียวข้องในทด่ี นิ ดงั กลา่ วร่วมกับผู้ตาย
ถือได้วา่ ผรู้ ้องมสี ว่ นได้เสีย
การย่ืนคำ�ร้องขอให้ตั้งผู้จัดการมรดกเป็นเรื่องท่ีผู้ร้องในฐานะผู้มีส่วนได้เสียมีอำ�นาจ
กระทำ�เพื่อประโยชน์แก่กองมรดก  มิใช่เรื่องการจัดการทรัพย์สิน  การฟ้องร้องหรือต่อสู้คดีใด
อันเกี่ยวกับทรัพย์สินของลูกหน้ีในคดีล้มละลายจึงไม่เป็นการกระทำ�ของคนล้มละลายท่ีต้องห้ามตาม
พระราชบัญญัติล้มละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓ มาตรา ๒๒ มาตรา ๒๔ และ มาตรา ๒๕ และการที่ ฐ.
จะเป็นผู้จัดการมรดกก็ไม่จำ�ต้องเป็นทายาทหรือมีสิทธิรับมรดก  เพียงแต่มีคุณสมบัติตามประมวล
กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา ๑๗๑๘ เทา่ น้นั
การทผ่ี ู้ร้องและ ฐ. ปกปดิ จ�ำ นวนทายาทไม่ใส่รายช่ือทายาทซงึ่ มที งั้ หมด ๙ คน ลงใน
บัญชเี ครือญาต ิ คงใสเ่ พยี ง ๒ คน เท่าน้นั มิใชก่ รณปี ดิ บังทรัพยม์ รดกเพ่ือฉอ้ ฉลทายาทอน่ื ไม่เป็น
เหตอุ ันจะถูกก�ำ จดั มใิ หไ้ ดร้ บั มรดก อันจะท�ำ ให้ขาดคณุ สมบตั ิในการรอ้ งขอเป็นผ้จู ดั การมรดก
๕๐. คำ�พพิ ากษาฎกี าที่ ๙๒๙๕/๒๕๔๗ โจทก์เปน็ บุตรนอกกฎหมายของ ส. แต่ ส.
ก็ไดร้ ับรองแล้ว ซึ่งตามประมวลกฎหมายแพง่ และพาณิชย์ มาตรา ๑๖๒๗ ให้ถอื ว่าเป็นผสู้ บื สันดาน
เหมอื นกบั บตุ รทช่ี อบดว้ ยกฎหมาย โจทกจ์ งึ เปน็ ทายาทโดยธรรมล�ำ ดบั ท ่ี (๑) มสี ทิ ธไิ ดร้ บั มรดกกอ่ น ป.
ซ่ึงเป็นทายาทโดยธรรมล�ำ ดับที่ (๓) ตามมาตรา ๑๖๒๙ และสง่ ผลให้ ป. ไมม่ สี ิทธใิ นทรัพยม์ รดก
ของ ส. เลย ตามมาตรา ๑๖๓๐ วรรคหนงึ่ ป. ในฐานะผจู้ ดั การมรดกคงมเี พยี งสิทธิและหนา้ ที่ที่จะ
ทำ�การอันจำ�เป็นเพื่อจัดการมรดกโดยทั่วไปหรือเพื่อแบ่งส่วนมรดกให้แก่ทายาทผู้มีสิทธิในมรดกตาม
ทกี่ ฎหมายบัญญัติเทา่ น้ัน การท่ี ป. ในฐานะผ้จู ดั การมรดกโอนที่ดนิ พพิ าททงั้ สองแปลงใหแ้ ก่ตนเอง
ท้ังท่ีไมม่ สี ทิ ธริ ับมรดกดังกล่าว จงึ เป็นการกระท�ำ โดยปราศจากอำ�นาจไมม่ ีผลผกู พนั

๔๑๙
๕๑. ค�ำ พพิ ากษาฎกี าท ่ี ๗๘๒๔ - ๗๘๒๕/๒๕๔๗ กรณที ศ่ี าลมคี �ำ สง่ั ตง้ั บคุ คลหลายคน
เปน็ ผู้จดั การมรดกรว่ มกนั ผู้จดั การมรดกจะตอ้ งจัดการรว่ มกันโดยถือเอาเสยี งข้างมากตามประมวล
กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา ๑๗๒๖ หากผู้จัดการมรดกร่วมคนใดคนหนึ่งถึงแก่ความตาย
ผจู้ ัดการมรดกทเ่ี หลอื ยอ่ มไม่อาจจัดการมรดกตอ่ ไปได้ เมื่อ ศ. ไดถ้ งึ แก่ความตายไปแลว้ ในระหว่าง
การพิจารณาของศาลฎีกา คำ�พิพากษาศาลอุทธรณ์ที่ตั้ง ศ. เป็นผู้จัดการมรดกย่อมไม่มีผลต่อไป
ทัง้ การเป็นผูจ้ ดั การมรดกเป็นการเฉพาะตวั ของ ศ. ไมอ่ าจรบั มรดกความกนั ได้ จึงไม่มปี ระโยชนท์ ี่
ศาลฎีกาจะตอ้ งวินจิ ฉัยปญั หาตามท่ีผรู้ อ้ งฎีกาขอให้ตั้งผู้รอ้ งเป็นผจู้ ดั การมรดกรว่ มกับ ศ. ต่อไป
๕๒. คำ�พพิ ากษาฎกี าท่ี ๙๐๐๓/๒๕๔๗ ผรู้ อ้ งไม่ไดเ้ ปน็ บตุ รของผู้ตาย ผ้ตู ายเพียงแต่
เลี้ยงดูผู้ร้องเสมือนเป็นบุตรคนหนึ่ง ทั้งผู้ตายไม่ได้จดทะเบียนรับรองผู้ร้องเป็นบุตรบุญธรรม ผู้ร้อง
จึงมิใช่ทายาทโดยธรรมท่ีมีสิทธิรับมรดกของผู้ตายและมิได้เป็นผู้มีส่วนได้เสียในกองมรดก  อันจะ
มีสิทธิยื่นคำ�ร้องขอเป็นผู้จัดการมรดกของผู้ตายได้  ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์  มาตรา
๑๗๑๓
๕๓. คำ�พพิ ากษาฎีกาที่ ๖๘๖/๒๕๔๘ โจทกท์ ี่ ๑ ยนื่ ค�ำ รอ้ งขอเป็นผจู้ ัดการมรดกของ
ผู้ตาย โดยมิได้ระบุว่ามที ด่ี นิ ๒ แปลงดว้ ย แตไ่ ม่มีบทบญั ญตั ิตามกฎหมายใดทบี่ ญั ญตั ิให้คำ�ร้องขอ
ให้ศาลตั้งผู้จัดการมรดกจะต้องระบุถึงทรัพย์มรดกของผู้ตายท้ังหมด  และตามคำ�ร้องก็ระบุเพียงว่า
ผู้ร้องไปติดต่อกับเจ้าหน้าท่ีของกรมการขนส่งทางบก  เพ่ือโอนช่ือผู้ครอบครองรถยนต์กระบะเป็น
ของทายาทตามเจตนาของเจ้ามรดก แต่เจา้ หน้าทีแ่ จ้งวา่ ต้องมคี �ำ สงั่ แต่งต้ังโจทก์ที่ ๑ เป็นผจู้ ัดการ
มรดกเสยี ก่อนเท่านั้น โจทก์ท่ี ๑ ไม่ได้ระบวุ ่านอกจากทรัพยส์ ินดังกลา่ ว ผตู้ ายไมม่ ีทรัพย์มรดกอน่ื อกี
จึงมิใช่เป็นการปิดบังทรัพย์มรดกท่ีดินดังกล่าว  อันจะเป็นเหตุให้โจทก์ทั้งสองถูกกำ�จัดมิให้ได้มรดก
ตามประมวลกฎหมายแพง่ และพาณิชย ์ มาตรา ๑๖๐๕
๕๔. ค�ำ พพิ ากษาฎกี าท ่ี ๒๗๓๓/๒๕๔๘ ผตู้ ายไมม่ บี ตุ รและภรยิ า บดิ ามารดาของผตู้ าย
ก็ถึงแก่กรรมไปหมดแล้ว  ทรัพย์มรดกของผู้ตายจึงตกได้แก่พี่น้องร่วมบิดามารดาเดียวกันกับผู้ตาย
ซึ่งรวมถึง ล. ดว้ ย ตามประมวลกฎหมายแพง่ และพาณิชย ์ มาตรา ๑๖๒๙ (๓) เมอื่ ล. ถงึ แกก่ รรม
โดยยงั มไิ ดร้ ับสว่ นแบ่งมรดก ทรัพย์มรดกสว่ นที่ ล. จะไดร้ ับจึงตกแก่ ป. ผู้สืบสนั ดาน แต่ ป.
ถงึ แก่กรรมไปกอ่ นแลว้ ทรพั ย์มรดกสว่ นท่ี ป. จะไดร้ บั จงึ ตกแกผ่ ู้ร้องและ ฉ. ผู้สบื สันดานซ่ึงเป็น
ผ้รู ับมรดกแทนที่ ป. ตามมาตรา ๑๖๓๙ ผรู้ ้องจงึ มสี ว่ นไดเ้ สยี ในกองมรดกมีสิทธริ ้องขอเปน็ ผจู้ ดั การ
มรดกได้ ตามมาตรา ๑๗๑๓ (๒) เมื่อผรู้ อ้ งและ ฉ. มีสิทธิรับมรดกของผู้ตายเช่นเดยี วกับพีข่ อง ป.
แต่ไม่ได้ยื่นคำ�ร้องขอจัดการมรดกของผู้ตายหรือยื่นคำ�คัดค้านเข้ามาในคดี ทั้งๆ ที่ผู้ตายถึงแก่กรรม
ไปก่อนยื่นค�ำ รอ้ งถึง ๑๕ ปี ประกอบกับ ฉ. กม็ ไิ ด้ยืน่ ค�ำ คดั ค้าน  ผ้รู อ้ งจึงสมควรเปน็ ผู้จัดการมรดก
และศาลมอี �ำ นาจแตง่ ตงั้ ผ้รู ้องเปน็ ผู้จัดการมรดกได้ ตามมาตรา ๑๗๑๑

๔๒๐
๕๕. ค�ำ พพิ ากษาฎกี าท ่ี ๓๗๑๘/๒๕๔๘ ผรู้ อ้ งเปน็ ภรยิ าโดยชอบดว้ ยกฎหมายของผตู้ าย
แม้จะแยกกันอยู่ แต่เม่อื ยังมิได้หย่าขาดจากกนั ตามกฎหมาย ก็ไมส่ นิ้ สทิ ธิโดยธรรมในการสบื มรดก
ของผู้ตาย ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา ๑๖๒๘ ผู้ร้องจึงเป็นทายาทโดยธรรม
มสี ิทธริ บั มรดกของผตู้ าย
ผู้มีส่วนได้เสียที่จะร้องขอต่อศาลขอให้ตั้งผู้จัดการมรดก  ตามประมวลกฎหมายแพ่ง
และพาณิชย์ มาตรา ๑๗๑๓ ไม่จำ�ต้องมสี ว่ นได้เสียในทรพั ยม์ รดกของผตู้ ายโดยเปน็ ทายาทโดยตรง
ของผ้ตู าย เม่ือผู้คดั คา้ นที่ ๑ อยู่กินฉนั สามีภริยากบั ผตู้ ายเป็นเวลานานถงึ ๑๐ ปเี ศษ จนกระท่ัง
ผู้ตายถึงแก่ความตาย  มีทรัพย์สินที่ทำ�มาหาได้ร่วมกัน  ถือได้ว่าเป็นผู้มีส่วนได้เสียในทรัพย์สินของ
ผู้ตาย ศาลต้ังเปน็ ผูจ้ ัดการมรดกได้
๕๖. ค�ำ พพิ ากษาฎกี าท ่ี ๓๘๙๘/๒๕๔๘ บคุ คลทจ่ี ะรอ้ งขอใหศ้ าลพพิ ากษาวา่ การสมรส
ที่ฝ่าฝนื ประมวลกฎหมายแพง่ และพาณิชย์ มาตรา ๑๔๕๘ ตกเป็นโมฆะตามมาตรา ๑๔๙๕ ได้แก่
คู่สมรส บดิ ามารดา หรอื ผสู้ ืบสันดานของคสู่ มรส หรืออัยการ เม่อื ผ้คู ดั คา้ นไม่ใชบ่ ุคคลดงั กล่าวจงึ ไม่
อาจขอใหศ้ าลพิพากษาว่าการสมรสระหว่างผูต้ ายกบั ผู้ร้องเป็นโมฆะได้
ผรู้ อ้ งจดทะเบยี นสมรสตามกฎหมายกบั ผตู้ าย ผรู้ อ้ งยอ่ มเปน็ ภรยิ าโดยชอบดว้ ยกฎหมาย
ของผตู้ าย หากการสมรสไมถ่ ูกต้องตามกฎหมาย ค�ำ พพิ ากษาของศาลเทา่ น้นั ทีจ่ ะแสดงว่าการสมรส
น้นั เป็นโมฆะ ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณชิ ย์ มาตรา ๑๔๙๖ เม่อื ยงั ไม่มีฝ่ายใดฟอ้ งและศาล
ไม่มีคำ�พิพากษาว่าการสมรสระหว่างผู้ร้องกับผู้ตายเป็นโมฆะ  การสมรสระหว่างผู้ร้องกับผู้ตายจึงยัง
คงมีอยู่ ผู้ร้องจึงยังเป็นคู่สมรสของผู้ตาย เป็นทายาทโดยธรรมคนหนึ่ง มีสิทธิรับมรดกของผู้ตาย
ตามมาตรา ๑๖๒๙ วรรคสอง และมสี ิทธขิ อตั้งผจู้ ดั การมรดกของผตู้ าย
๕๗. ค�ำ พพิ ากษาฎีกาที่ ๖๑๖๑/๒๕๔๘ ผู้คดั ค้านเป็นบุตรโดยชอบดว้ ยกฎหมายของ
ผู้ตาย ผู้คัดค้านจึงเป็นผู้สืบสันดานของผู้ตายเป็นทายาทโดยธรรมลำ�ดับ (๑) ส่วนผู้ร้องเป็นพี่น้อง
ร่วมบิดามารดาเดยี วกนั กบั ผู้ตายเปน็ ทายาทโดยธรรมลำ�ดับ (๓) ผ้รู อ้ งจงึ ไมม่ สี ิทธใิ นทรพั ยม์ รดกของ
ผู้ตายเลย ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย ์ มาตรา ๑๖๒๙ และมาตรา ๑๖๓๐ วรรคหนง่ึ
ผรู้ ้องจงึ มใิ ช่ทายาทผู้มสี ่วนไดเ้ สยี ท่ีจะรอ้ งตอ่ ศาลขอให้ตัง้ ผูร้ ้องเป็นผ้จู ดั การมรดกได้ แม้ผ้รู ้องจะอา้ ง
วา่ เปน็ ผู้ออกเงินค่าทำ�ศพผู้ตายและเปน็ เจา้ หน้ีกองมรดกผมู้ สี ว่ นไดเ้ สยี ก็ตาม
๕๘. คำ�พิพากษาฎีกาท่ี  ๖๔๗๓/๒๕๔๘  ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
มาตรา ๑๗๒๗ วรรคหนึ่ง ผู้มีส่วนได้เสียคนหนึ่งคนใดจะร้องขอให้ศาลสั่งถอนผู้จัดการมรดก
เพราะเหตุผู้จัดการมรดกละเลยไม่ทำ�ตามหน้าที่ หรือเพราะเหตุอย่างอื่นที่สมควรก็ได้ แต่เหตุที่
ผู้คัดค้านยกข้ึนอ้างว่าทรัพย์สินตามคำ�ร้องมิใช่ทรัพย์ของเจ้ามรดกแต่เป็นของผู้คัดค้านมิใช่เหตุตาม
กฎหมายดงั กลา่ วอันจะรอ้ งขอให้ศาลสงั่ ถอนผูร้ อ้ งออกจากการเปน็ ผูจ้ ัดการมรดกได้

๔๒๑
๕๙. คำ�พิพากษาฎกี าท่ี ๗๗๐๖/๒๕๔๘ ที่ดินพพิ าทมีหนงั สอื รับรองการทำ�ประโยชน ์
(น.ส. ๓ ก.) เมอ่ื ม. เจา้ มรดกเปน็ ผมู้ ชี อ่ื ในหนงั สอื รบั รองการท�ำ ประโยชน ์ ม. จงึ มเี พยี งสทิ ธคิ รอบครอง
การที่  ม.  ยกที่ดินพิพาทให้แก่โจทก์และจำ�เลยที่  ๑  และต่างฝ่ายต่างเข้าครอบครองเป็นส่วนสัด
เป็นการโอนไปซ่ึงการครอบครองให้แก่โจทก์และจำ�เลยท่ี  ๑  แล้ว  ม.  ไม่มีสิทธิครอบครองในท่ีดิน
พิพาทอีกต่อไป เมื่อ ม. ถึงแก่ความตายที่ดินพิพาทจึงมิใช่ทรัพย์มรดกของ ม. การที่จำ�เลยที่ ๑
ขายท่ีดนิ พิพาทใหแ้ กจ่ ำ�เลยที่ ๒ จึงมใิ ช่เป็นการขายทรพั ยม์ รดกของ ม. โจทก์ซึ่งเปน็ ทายาทของ ม.
ไม่อาจฟ้องขอให้เพิกถอนนิติกรรมการซื้อขายที่ดินพิพาทได้ พฤติการณ์ของจำ�เลยที่ ๑  ยังไม่มีเหตุ
สมควรท่จี ะถอนจ�ำ เลยท่ี ๑ ออกจากการเปน็ ผู้จดั การมรดกของ ม. ทั้งไม่อาจกำ�จดั มิใหจ้ ำ�เลยที ่ ๑
ไดร้ ับมรดกของ ม. ฐานยกั ยา้ ยหรือปิดบังทรพั ย์มรดก
โจทกต์ ้ังประเด็นมาในฟอ้ งขอใหเ้ พิกถอนจ�ำ เลยที่ ๑ จากการเป็นผู้จดั การมรดก ก�ำ จัด
จ�ำ เลยท ่ี ๑ มใิ หร้ บั มรดกและเพกิ ถอนนติ กิ รรมการซอ้ื ขายระหวา่ งจ�ำ เลยทง้ั สอง โดยมไิ ดฟ้ อ้ งเรยี กคนื
ทด่ี นิ พพิ าทในฐานะโจทกเ์ ปน็ เจา้ ของ ศาลจะพพิ ากษาใหเ้ พกิ ถอนการโอนในฐานะโจทกเ์ ปน็ เจา้ ของไมไ่ ด้
เพราะเป็นเร่อื งนอกฟอ้ งนอกประเด็นตอ้ งห้าม ตามประมวลกฎหมายวธิ พี ิจารณาความแพง่ มาตรา
๑๔๒ จึงพิพากษายกฟ้องโดยไม่ตัดสิทธิโจทก์ที่จะนำ�คำ�ฟ้องมายื่นใหม่ภายใต้บังคับแห่งบทบัญญัติ
ของกฎหมายว่าด้วยอายุความ
๖๐. คำ�พิพากษาฎีกาท่ี ๓๐/๒๕๔๙ ในระหว่างการพิจารณาของศาลฎีกาทนายผู้รอ้ ง
ยื่นคำ�ร้องว่า  ผู้ร้องและผู้คัดค้านตกลงกันได้  โดยผู้คัดค้านยินยอมให้ผู้ร้องเป็นผู้จัดการมรดกของ
ผ้ตู ายแตผ่ เู้ ดียว แตข่ ้อตกลงดงั กลา่ วมีผลเป็นการตกลงกนั ในประเดน็ แหง่ คดีเพียงบางขอ้ เพราะมี
ประเด็นท่ีศาลจำ�ต้องพิจารณาถึงข้อเท็จจริงในสำ�นวนแล้ววินิจฉัยถึงสิทธิและคุณสมบัติของผู้ท่ีจะ
เป็นผู้จัดการมรดกตามกฎหมายเสียก่อน  ศาลฎีกาจึงไม่อาจพิพากษาตามยอมให้เป็นไปตามสัญญา
ประนีประนอมยอมความดงั กลา่ วได้
ผู้ร้องเป็นภริยาของผู้ตายเป็นผู้มีส่วนได้เสีย  ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
มาตรา ๑๗๑๓ วรรคแรก มีสิทธิที่จะยื่นคำ�ร้องขอเป็นผู้จัดการมรดกของผู้ตายได้ ประกอบกับ
ในชั้นฎีกาผู้ร้องและผู้คัดค้านตกลงกันให้ผู้ร้องเป็นผู้จัดการมรดกของผู้ตายแต่เพียงผู้เดียว  ศาลฎีกา
เหน็ ควรต้งั ผ้รู อ้ งเปน็ ผู้จัดการมรดกของผ้ตู ายฝา่ ยเดียว
๖๑. ค�ำ พพิ ากษาฎีกาที่ ๒๒๑๔/๒๕๔๙ คดกี ่อนผู้คดั ค้านได้ยืน่ คำ�รอ้ งต่อศาลชนั้ ต้น
ขอให้ต้ังผู้คัดค้านเป็นผู้จัดการมรดกของผู้ตายและศาลช้ันต้นได้มีคำ�ส่ังถึงท่ีสุดแต่งต้ังให้ผู้คัดค้าน
เป็นผู้จัดการมรดกแล้ว  ผู้ร้องยื่นคำ�ร้องคดีนี้อีกขอให้ต้ังผู้ร้องเป็นผู้จัดการของผู้ตาย  ผู้คัดค้านย่ืน
คำ�คัดค้านกับขอให้ต้ังผู้คัดค้านเป็นผู้จัดการมรดกด้วย  คำ�คัดค้านของผู้คัดค้านจึงเป็นการร้องซ้อน
กับคำ�ร้องขอทตี่ นไดย้ ่นื ไวแ้ ลว้ ตอ้ งหา้ มมิใหผ้ คู้ ดั ค้านร้องขอในเรอื่ งเดยี วกันอีก ตามประมวลกฎหมาย
วธิ พี จิ ารณาความแพง่ มาตรา ๑๗๓ วรรคสอง (๑) ส่วนคำ�ร้องขอของผู้ร้องนน้ั เมอื่ มรดกรายนี้มี

๔๒๒
คำ�ส่งั ถงึ ทสี่ ดุ ตัง้ ผู้จดั การมรดกแลว้ ผู้รอ้ งจึงไม่มอี ำ�นาจทีจ่ ะยื่นคำ�ร้องขอใหต้ ้ังผจู้ ัดการมรดกรายนอ้ี กี
เน่ืองจากเหตุจะสั่งถอนผู้คัดค้านจากการเป็นผู้จัดการมรดกของผู้ตายนั้นไม่ใช่ประเด็นคดีน้ี  ผู้ร้อง
ชอบที่จะร้องขอให้เพิกถอนผู้คัดค้านจากการเป็นผู้จัดการมรดกของผู้ตายเสียก่อน  คำ�พิพากษาของ
ศาลล่างท้ังสองทตี่ ั้งผจู้ ดั การมรดกรายเดยี วกนั น้ีอกี จงึ ไมช่ อบ
๖๒. คำ�พิพากษาฎีกาที่ ๔๑๑๖/๒๕๕๐ โจทก์ทั้งสี่ฟ้องจำ�เลยซึ่งเป็นผู้จัดการมรดก
ของ บ. ตามคำ�สั่งศาล อ้างว่าจำ�เลยจัดการมรดกโดยทำ�บัญชีทรัพย์มรดกและแบ่งมรดกไม่ถูกต้อง
จึงเป็นคดีเก่ียวกับการจัดการมรดก  กำ�หนดอายุความต้องบังคับตามประมวลกฎหมายแพ่งและ
พาณิชย ์ มาตรา ๑๗๓๓ วรรคสอง เมื่อยงั มที รัพย์มรดกทจ่ี ำ�เลยจะต้องแบ่งใหแ้ กท่ ายาทและการ
จัดการมรดกยังไมส่ ิ้นสดุ ลง จงึ ยงั ไม่เริ่มนับอายคุ วามตามบทกฎหมายดงั กล่าว และโดยเหตุทจี่ ำ�เลย
เป็นผจู้ ดั การมรดกตอ้ งรับผิดตอ่ ทายาท ตามมาตรา ๑๗๒๐ ในลกั ษณะตวั การตัวแทนตามทบ่ี ัญญัติไว้
ในมาตรา ๘๐๙ ถึง ๘๑๒, ๘๑๙ และมาตรา ๘๒๓ การท่ีจ�ำ เลยครอบครองท่ีดินซึ่งมสี ว่ นเป็นทรพั ย์
มรดกก่งึ หน่งึ ถือได้วา่ เปน็ การครอบครองแทนทายาท จำ�เลยจะยกอายุความตามมาตรา ๑๗๕๔ ขน้ึ
ต่อสูท้ ายาทหาได้ไม่
๖๓. คำ�พิพากษาฎีกาที ่ ๗๙๙๓/๒๕๕๑ ผู้คดั ค้านท ่ี ๒ เป็นทายาทโดยธรรมลำ�ดบั ที่
มีสิทธริ บั มรดกของ ป. แต่ทด่ี ินอนั เปน็ ทรัพยม์ รดกทผ่ี ู้คัดค้านที่ ๒ ขอเป็นผจู้ ัดการมรดก ป. ไดท้ �ำ
พนิ ยั กรรมยกใหผ้ ้รู อ้ ง และผู้คดั คา้ นที่ ๑ แลว้ ผ้คู ัดค้านท่ี ๒ ไมม่ ีสทิ ธิได้รบั ทรพั ยม์ รดกดงั กลา่ ว
การท่ี ป. อนุญาตให้ผู้คัดคา้ นที่ ๒ ปลกู สรา้ งบ้านลงในที่ดินอันเป็นทรัพยม์ รดกไมม่ ีผลผูกพันผู้รอ้ ง
และผคู้ ัดคา้ นท่ ี ๑ ซ่งึ เปน็ ผูร้ บั พินยั กรรม ถอื ไมไ่ ด้วา่ ผคู้ ัดค้านท่ี ๒ เปน็ ผมู้ สี ่วนได้เสีย ตามประมวล
กฎหมายแพง่ และพาณชิ ย์ มาตรา ๑๗๑๓ จึงไมม่ ีสิทธคิ ัดคา้ นและขอใหต้ ้งั ผคู้ ดั ค้านที่ ๒ เปน็ ผ้จู ดั การ
มรดก
๖๔. ค�ำ พพิ ากษาฎกี าท ่ี ๘๘๖๐/๒๕๕๑ โจทกเ์ ปน็ บตุ รชอบดว้ ยกฎหมายคนหนง่ึ ของ ช.
จึงมสี ิทธริ ับมรดกในที่ดินพพิ าทเฉพาะส่วนของ ช. สว่ นจ�ำ เลยเป็นผรู้ บั พินยั กรรมของ ม. ซ่งึ ยกทด่ี นิ
พพิ าทเฉพาะสว่ นของ ม. ให้แก่จำ�เลยตามพินยั กรรม การท่ีโจทก์ในฐานะผ้จู ัดการมรดกของ ช. ฟอ้ ง
จ�ำ เลยเพอ่ื ขอใหแ้ บง่ ทด่ี ินพพิ าทออกเปน็ สัดสว่ นของแตล่ ะฝ่าย จงึ มใิ ชค่ ดีมรดก ไม่อาจนำ�อายคุ วาม
มรดก ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา ๑๗๕๔ มาใช้ได้
ม. ท�ำ พนิ ัยกรรมยกที่ดนิ พพิ าทเฉพาะสว่ นของ ม. ใหจ้ ำ�เลยหลังจาก ม. ถึงแก่กรรม
จ�ำ เลยยงั ไปรบั โอนท่ีดนิ พพิ าทเฉพาะสว่ นของ ม. ตามพินัยกรรมดังกล่าว โดยไมไ่ ด้โตแ้ ย้งเกีย่ วกับ
ทด่ี นิ พิพาทในส่วนของ ช. ท่ีโจทกร์ บั โอนมาในฐานะผจู้ ดั การมรดก อันเป็นการยอมรับว่าที่ดินพพิ าท
อีกสว่ นหนึ่งเปน็ ของ ช. ที่ตกทอดแก่ทายาทของ ช. รวมท้ังโจทก์ด้วย โจทก์จึงมีสทิ ธฟิ อ้ งเรยี กให้
จ�ำ เลยแบง่ ทด่ี นิ พพิ าทใหค้ รง่ึ หนง่ึ สว่ นวธิ กี ารแบง่ ทรพั ยส์ นิ ระหวา่ งเจา้ ของรวมนน้ั ประมวลกฎหมาย
แพ่งและพาณชิ ย ์ มาตรา ๑๓๖๔ ได้กำ�หนดขนั้ ตอนไว้ชดั เจนแล้ว จงึ ต้องเป็นไปตามนน้ั

๔๒๓
๖๕. ค�ำ พิพากษาฎกี าที่ ๕๕๔๐/๒๕๕๑ สิทธิของผ้รู ้องท่ีจะขอให้ศาลมีคำ�ส่ังตง้ั ผู้รอ้ ง
เป็นผู้จัดการมรดกของผู้ตายเก่ียวกับบัญชีเงินฝากในธนาคารเป็นคนละส่วนกับสิทธิในการร้องขอ
เปน็ ผ้จู ดั การมรดกในทีด่ ินที่ผรู้ อ้ งไดร้ บั ตามพนิ ัยกรรม การท่ผี ู้รอ้ งยื่นคำ�รอ้ งขอตงั้ ผู้รอ้ งเป็นผจู้ ดั การ
มรดกในบัญชีเงินฝากดังกล่าว จึงเป็นการยน่ื คำ�ร้องขอใหม่เข้ามาในคดีเดิม มใิ ช่เปน็ คำ�รอ้ งขอทีเ่ สนอ
ภายหลังเก่ียวเนื่องกับคดีที่ค้างพิจารณาอยู่ในศาลชั้นต้น  ผู้ร้องชอบท่ีจะยื่นคำ�ร้องขอเป็นคดีใหม่
การทผี่ ู้ร้องยื่นคำ�รอ้ งขอในคดีเดิมจึงเป็นการมชิ อบ
๖๖. คำ�พิพากษาฎีกาที่ ๑๘๓๙/๒๕๕๑ จำ�เลยที่ ๒ เป็นผู้จัดการมรดกของผู้ตาย
รว่ มกบั จ�ำ เลยท่ี ๑ ตามค�ำ ส่งั ศาล มีอ�ำ นาจยืน่ คำ�ใหก้ ารตอ่ สคู้ ดแี ละฟ้องแยง้ ตามประมวลกฎหมาย
แพง่ และพาณิชย์ มาตรา ๑๗๓๖ วรรคสอง แต่การท่ีจำ�เลยท่ี ๒ ย่ืนคำ�ให้การและฟ้องแยง้ ในฐานะ
ผู้จัดการมรดกของผู้ตายเพยี งคนเดยี วโดยไม่มจี ำ�เลยท่ี ๑ ร่วมด้วย ขัดต่อมาตรา ๑๗๒๖ จ�ำ เลยท่ี ๒
แตเ่ พียงผเู้ ดยี วจึงไมม่ ีอ�ำ นาจย่ืนคำ�ให้การตอ่ ส้คู ดแี ละฟอ้ งแยง้
ปัญหาเก่ียวกับอำ�นาจฟ้องและย่ืนคำ�ให้การและฟ้องแย้งของจำ�เลยที่  ๒  เป็นปัญหา
เกี่ยวกับความสงบเรียบรอ้ ยของประชาชน ศาลยกข้นึ วนิ ิจฉัยได้เอง
โจทก์ฟ้องขอแบ่งทรัพย์สินกองมรดกครึ่งหน่ึงของผู้ตายในฐานะเป็นเจ้าของร่วม
ซ่ึงจำ�เลยที่ ๒ ในฐานะผจู้ ดั การมรดกของผู้ตายก็ยื่นค�ำ ใหก้ ารตอ่ สวู้ า่ ทรัพย์มรดกผู้ตายไมใ่ ชท่ รพั ย์สนิ
ทโ่ี จทกท์ ำ�มาหาได้ร่วมกนั กบั ผู้ตายทีจ่ ะต้องแบง่ ให้แก่โจทก์คร่งึ หนง่ึ แมจ้ �ำ เลยท่ี ๒ ไม่มีอ�ำ นาจยน่ื
คำ�ให้การต่อสู้คดี  ศาลช้ันต้นก็ควรต้องฟังพยานโจทก์ให้ได้ความก่อนว่าทรัพย์กองมรดกของผู้ตาย
ตามท่ีโจทก์ฟ้องเป็นทรัพย์สินท่ีโจทก์ร่วมกับผู้ตายทำ�มาหาได้ร่วมกันมาในระหว่างที่เป็นสามีภริยากัน
จริงตามท่โี จทก์ฟอ้ งหรือไม่
๖๗. คำ�พพิ ากษาฎกี าที่ ๑๙๘/๒๕๕๒ จ�ำ เลยท่ี ๑ ในฐานะผจู้ ัดการมรดกของ ข.
ท�ำ สัญญาจะซือ้ จะขายทีด่ ินพิพาทของ ข. ให้ ท. เพ่อื น�ำ เงินที่ขายไดไ้ ปชำ�ระหนี้กองมรดกของ ข.
อนั เปน็ อำ�นาจของผู้จดั การมรดกท่ีกระท�ำ ได ้ ตามประมวลกฎหมายแพง่ และพาณชิ ย์ มาตรา ๑๗๒๔
ทายาทรวมท้ังจำ�เลยที่ ๒. จึงตอ้ งผูกพนั ต่อ ท. ในการที่จำ�เลยท่ี ๑ กระทำ�ไปดงั กล่าว การท่ีจำ�เลยที่ ๑
กลับไปท�ำ สัญญาประนีประนอมยอมความและศาลพพิ ากษาตามยอม โอนที่ดนิ พพิ าทให้จ�ำ เลยท่ี ๒
โดยไม่มีคา่ ตอบแทนและร้อู ยูแ่ ล้ววา่ จ�ำ เลยที่ ๑ ในฐานะผูจ้ ดั การมรดกไดท้ ำ�สัญญาจะซื้อจะขายที่ดิน
พพิ าทให้ ท. ไปกอ่ นและไดร้ บั ช�ำ ระราคาครบถว้ นแลว้ ทง้ั ยงั ไดไ้ ปด�ำ เนนิ การยน่ื ค�ำ ขอจดทะเบยี นสทิ ธิ
และนิติกรรมโอนที่ดินพิพาทให้แก่ ท. และอยู่ในระหว่างการดำ�เนินการของเจ้าพนักงานที่ดิน
ท. จงึ อยใู่ นฐานะอนั จะใหจ้ ดทะเบยี นสทิ ธขิ องตนไดอ้ ยกู่ อ่ น ตามมาตรา ๑๓๐๐ จงึ เปน็ ทางเสยี เปรยี บ
แก่ ท. โจทก์ในฐานะทายาทและผ้จู ดั การมรดกของ ท. จงึ มีสิทธิฟอ้ งจำ�เลยทัง้ สองขอให้เพิกถอน
นติ ิกรรมการโอนทดี่ นิ พพิ าทได้ ตามมาตรา ๑๓๐๐ ประกอบ มาตรา ๑๕๙๙ และมาตรา ๑๖๐๐

๔๒๔
๖๘. คำ�พิพากษาฎกี าที่ ๑๔๐๑/๒๕๕๓ จ. ไดท้ ำ�สญั ญาซือ้ ขายท่ดี นิ พิพาทกับโจทก ์
ทง้ั สองและมอบทด่ี นิ พพิ าทใหโ้ จทกท์ ง้ั สองครอบครองแลว้ ในวนั เดยี วกนั เมอ่ื การซอ้ื ขายมไิ ดจ้ ดทะเบยี น
ตอ่ พนกั งานเจา้ หนา้ ทจ่ี งึ ตกเปน็ โมฆะตามประมวลกฎหมายแพง่ และพาณชิ ย ์ มาตรา ๔๕๖ วรรคหนง่ึ
แต่เป็นที่ดินที่ยังไม่มีหนังสือสำ�คัญแสดงกรรมสิทธิ์ จ. จึงมีแต่สิทธิครอบครอง เมื่อ จ. ได้ส่งมอบ
ท่ีดินพิพาทใหโ้ จทกท์ งั้ สองเปน็ การสละเจตนาครอบครองไมย่ ึดถอื ท่ดี ินพพิ าทอีกต่อไป โจทกท์ ั้งสอง
ยอ่ มได้ไปซึง่ สทิ ธคิ รอบครอง ตามมาตรา ๑๓๗๗ และมาตรา ๑๓๗๘ แลว้ จงึ เปน็ การได้มาด้วยการ
ครอบครองฟ้องบังคบั ให้จ�ำ เลยซ่ึงเปน็ ผจู้ ัดการมรดกของ จ. ส่งมอบหนังสอื รบั รองการทำ�ประโยชน์
(น.ส. ๓)  และจดทะเบียนคัดช่ือจำ�เลยออกแล้วใส่ช่ือโจทก์ท้ังสอง  เป็นผู้ถือสิทธิครอบครองแทนชื่อ
จ�ำ เลยในฐานะผจู้ ดั การมรดก  อนั เปน็ การจดทะเบยี นโอนทด่ี นิ พพิ าทใหโ้ จทกท์ ง้ั สองตามสญั ญาซอ้ื ขาย
หาไดไ้ ม ่ และเมอื่ โจทกท์ ัง้ สองไมอ่ าจใช้สทิ ธเิ รียกร้องดงั กล่าวแก่จำ�เลยในฐานะผูจ้ ดั การมรดกของ จ.
เจา้ มรดกแล้ว กไ็ มม่ ีปัญหาว่าคดขี องโจทก์ขาดอายุความ ๑ ปี ตามมาตรา ๑๗๕๔ วรรคสาม หรือไม ่
แตโ่ จทกท์ ง้ั สองไดส้ ทิ ธคิ รอบครองทด่ี นิ พพิ าทแลว้ จงึ ชอบทจ่ี ะขอใหห้ า้ มจ�ำ เลยรบกวนการครอบครอง
ทด่ี ินพพิ าทได้
๖๙. คำ�พิพากษาฎีกาท่ี  ๖๘๕๗/๒๕๕๓  คำ�ว่า  “ถ้ามีผู้จัดการมรดกหลายคน”
ตามประมวลกฎหมายแพง่ และพาณิชย์ มาตรา ๑๗๑๕ วรรคสอง หมายถงึ ผ้จู ดั การมรดกที่ตง้ั ขึน้
โดยพนิ ยั กรรมเทา่ นน้ั ไมร่ วมถงึ ผู้จดั การมรดกทศ่ี าลต้ังขึน้ โดยไม่มพี ินยั กรรม
ศาลมคี ำ�ส่ังตัง้ บคุ คลหลายคนเป็นผู้จัดการมรดกร่วมกนั การกระทำ�การตามหนา้ ท่ขี อง
ผจู้ ัดการมรดกต้องด�ำ เนินการตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณชิ ย ์ มาตรา ๑๗๒๖ หากผู้จัดการ
มรดกร่วมคนใดคนหนึ่งถึงแก่ความตาย  ผู้จัดการมรดกที่เหลือต้องร้องขอต่อศาลให้เปลี่ยนแปลง
ค�ำ สั่งเดมิ ในระหว่างนผี้ ูจ้ ัดการมรดกท่ีเหลือยังไมอ่ าจจดั การมรดกตอ่ ไปได้ เม่ือการฟอ้ งคดีเป็นการ
ใชอ้ �ำ นาจหนา้ ทใ่ี นฐานะผ้จู ัดการมรดกของผ้ตู ายตามมาตรา ๑๗๓๖ วรรคสอง และมบี ทบญั ญตั ิของ
กฎหมายบญั ญตั เิ กย่ี วกบั การท�ำ หนา้ ทข่ี องผจู้ ดั การมรดกตามค�ำ สง่ั ศาล กรณที ม่ี ผี จู้ ดั การมรดกหลายคน
ต้องดำ�เนินการตามมาตรา  ๑๗๒๖  วรรคสอง  ที่กฎหมายกำ�หนดไว้โดยเฉพาะแล้ว  ไม่ใช่กรณีไม่มี
บทกฎหมายท่จี ะยกมาปรับคดีตามมาตรา ๔ จึงไมอ่ าจนำ�วธิ ีการตามมาตรา ๑๗๑๕ ซง่ึ เปน็ บทบัญญัติ
ท่ใี ช้เฉพาะผจู้ ดั การมรดกตามพนิ ยั กรรมมาใช้บงั คบั ได้
๗๐. ค�ำ พพิ ากษาฎกี าท ่ี ๘๑๔/๒๕๕๔ ช. ท�ำ พนิ ยั กรรมยกทด่ี นิ พพิ าทแก่ อ. เมอ่ื ช. ตาย
ที่ดนิ พิพาทตกเป็นของ อ. ตอ่ มา อ. ท�ำ พนิ ยั กรรมยกทรพั ย์สนิ ของตนทงั้ หมดแกโ่ จทกท์ ง้ั ห้า เมอื่
อ. ตาย ท่ีดนิ พพิ าทตกเป็นของโจทกท์ ง้ั ห้า แมศ้ าลมคี ำ�สัง่ ต้งั จ�ำ เลยที่ ๑ เปน็ ผู้จดั การมรดกของ ช.
จ�ำ เลยที่ ๑ กเ็ พียงแตม่ ีอำ�นาจจดั การทรัพยม์ รดกของ ช. แทนทายาททุกคนเพ่ือแบ่งปันทรัพย์มรดก
แก่ทายาททุกคน  ไม่มีสิทธินำ�ที่ดินพิพาทที่ตกเป็นของโจทก์ทั้งห้าไปขายโดยทายาทผู้ได้รับมรดก
ไมย่ นิ ยอม การทจ่ี �ำ เลยท่ี ๑ นำ�ท่ดี ินพพิ าทไปขายให้จ�ำ เลยที่ ๒ โดยไม่ได้รับความยนิ ยอมจากโจทก์

๔๒๕
ท้งั ห้า แม้จ�ำ เลยท่ี ๒ จะซื้อท่ดี นิ โดยสจุ รติ เสยี ค่าตอบแทนและจดทะเบยี นแลว้ ก็ตาม จำ�เลยท่ี ๒
ก็ไม่ได้กรรมสิทธิ์ตามหลักที่ว่าผู้รับโอนไม่มีสิทธิดีกว่าผู้โอน  โจทก์ทั้งห้าย่อมมีสิทธิฟ้องเรียกเอาที่ดิน
พิพาทคืน อนั เป็นการใชส้ ทิ ธิติดตามเอาคนื ซง่ึ ทรัพย์สินจากผ้ไู ม่มสี ิทธยิ ดึ ถอื ไว ้ ตามประมวลกฎหมาย
แพ่งและพาณชิ ย ์ มาตรา ๑๓๓๖ กรณีไมใ่ ช่เร่อื งการเพิกถอนการฉอ้ ฉล ตามประมวลกฎหมายแพง่
และพาณชิ ย์ มาตรา ๒๓๗ เพราะจะเปน็ เรอ่ื งการเพิกถอนการฉอ้ ฉลได้ จำ�เลยท่ี ๑ ผ้โู อนต้องมีสทิ ธิ
โอนอยู่แล้ว และการโอนทำ�ใหโ้ จทก์ทัง้ ห้าซึ่งเปน็ เจา้ หนเี้ สียเปรียบ
๗๑. ค�ำ สง่ั คำ�ร้องศาลฎกี าท่ี ท. ๔๓/๒๕๕๔ ศาลช้นั ต้นมคี �ำ สงั่ ค�ำ รอ้ งของผู้คัดค้านที่
ขอถอดถอนผู้ร้องออกจากการเป็นผู้จัดการมรดกของผู้ตายแล้ว  ผู้คัดค้านจึงไม่มีสิทธิขอถอนคำ�ร้อง
คัดค้านได้ ผคู้ ัดค้านขอถอนตัวจากการเปน็ ผจู้ ัดการมรดกของผูต้ ายตามค�ำ ส่ังศาลชัน้ ตน้ มผี ลเท่ากับ
ผู้คัดค้านประสงคข์ อลาออกจากต�ำ แหนง่ การท่ีผคู้ ัดค้านไม่สมคั รใจท�ำ หนา้ ทผ่ี ู้จดั การมรดกของผ้ตู าย
ตามคำ�สั่งศาลอีกต่อไป  กรณีนับว่ามีเหตุอันสมควรอนุญาตให้ผู้คัดค้านลาออกจากตำ�แหน่งได้  ตาม
ประมวลกฎหมายแพง่ และพาณิชย์ มาตรา ๑๗๒๗ วรรคสอง
๗๒. ค�ำ สง่ั ค�ำ รอ้ งศาลฎกี าท่ี ท. ๓๑๓/๒๕๕๔ ผรู้ อ้ งยน่ื ค�ำ รอ้ งขอเขา้ เปน็ ผจู้ ดั การมรดก
ของ ล. ผ้ตู าย อนั เปน็ เรือ่ งเฉพาะตัวของผู้รอ้ ง เม่ือผรู้ อ้ งถึงแกค่ วามตายในระหวา่ งการพิจารณาของ
ศาลฎีกา จึงไม่มกี รณีท่จี ะต้องจัดใหม้ ีการเข้ามาเป็นค่คู วามแทนผู้รอ้ งซึง่ มรณะ ตามประมวลกฎหมาย
วธิ พี จิ ารณาความแพง่ มาตรา ๔๓
ศาลอุทธรณ์ภาค  ๑  มีคำ�ส่ังให้ผู้ร้องและผู้คัดค้านท้ังสามร่วมกันเป็นผู้จัดการมรดก
ของผตู้ าย เปน็ กรณที ศี่ าลมีค�ำ ส่งั ตัง้ ผจู้ ดั การมรดกหลายคนเป็นผู้จดั การมรดกร่วมกัน และผู้จดั การ
มรดกคนหนง่ึ ถงึ แก่ความตาย เมอื่ การท�ำ หน้าท่ขี องผู้จดั การมรดกดังกล่าวจะตอ้ งจดั การร่วมกัน ตาม
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา ๑๗๒๖ ผู้จัดการมรดกที่เหลอื ยอ่ มไมอ่ าจจดั การมรดก
ต่อไปได้ อันมผี ลทำ�ให้อำ�นาจหนา้ ทขี่ องผจู้ ัดการมรดกทเ่ี หลอื คอื ผคู้ ดั คา้ นทงั้ สามส้ินสดุ ลงไปโดยผล
ของกฎหมาย  กรณีเป็นเรื่องท่ีผู้มีส่วนได้เสียชอบท่ีจะยื่นคำ�ร้องขอเป็นผู้จัดการมรดกของผู้ตายใหม่
คดจี ึงไมม่ ีประโยชน์ที่จะพิจารณาฎกี าของผู้คัดค้านท่ี ๑ ท่ี ๒ และที่ ๓ ตอ่ ไป ให้จำ�หนา่ ยคดจี าก
สารบบความของศาลฎกี า
๗๓. ค�ำ พพิ ากษาฎกี าท ่ี ๓๕๘/๒๕๕๕ ผตู้ ายตลอดจนบคุ คลในครอบครวั ถกู อ. ใชอ้ าวธุ ปนื
ยิงถึงแก่ความตายในเวลาต่อเน่ือง  ถือได้ว่าเป็นการตายในเหตุภยันตรายร่วมกันและเป็นการพ้น
วิสยั ท่จี ะก�ำ หนดไดว้ ่าคนไหนตายกอ่ นหลัง ต้องถอื วา่ ทุกคนถงึ แก่ความตายพร้อมกัน ตามประมวล
กฎหมายแพง่ และพาณิชย์ มาตรา ๑๗ ทรพั ย์มรดกของผ้ตู ายจึงไม่ตกไปยงั ม. และ ธ. ซง่ึ เปน็ บตุ ร
ผูต้ าย แต่จะตกได้แก่ผู้คัดคา้ นซึ่งเป็นนา้ ของผ้ตู าย ประกอบกับ อ. สามผี ูต้ ายเป็นผูก้ ระท�ำ โดยเจตนา
ให้ผู้ตายถึงแก่ความตายโดยมิชอบด้วยกฎหมาย และไม่อาจดำ�เนินคดีแก่ อ. ได้ เนื่องจาก อ.
ฆ่าตัวตายไปเสยี กอ่ น ถอื ไดว้ า่ อ. เปน็ บคุ คลที่ต้องถูกกำ�จดั มใิ หร้ บั มรดกของผตู้ ายฐานเปน็ ผ้ไู มส่ มควร

๔๒๖
ผู้ร้องจึงไม่ใช่ทายาทผู้มีสิทธิรับมรดกของผู้ตาย  แม้ทรัพย์ซ่ึงเป็นมรดกของผู้ตายจะต้องแบ่งแก่  อ.
ครงึ่ หนง่ึ ในฐานะสินสมรสก่อน และส่วนของ อ. จะตกเป็นมรดกของ อ. ตอ่ ไป ผ้รู อ้ งย่อมมใิ ช่ผู้มีส่วน
ได้เสยี ในทรพั ย์มรดกของผ้ตู าย จึงไม่มสี ทิ ธยิ ืน่ ค�ำ ร้องขอเปน็ ผู้จัดการมรดกของผูต้ าย ศาลเห็นสมควร
ให้ถอนผรู้ อ้ งจากการเปน็ ผู้จัดการมรดกของผ้ตู าย
๗๔. คำ�พิพากษาฎีกาที่ ๘๙๙/๒๕๕๕ ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา
๑๗๑๓ วรรคสอง ใหศ้ าลตง้ั ผู้จดั การมรดกเพ่อื ประโยชนแ์ ก่กองมรดกตามพฤติการณแ์ ละโดยค�ำ นึงถงึ
เจตนาของเจ้ามรดกแล้วแต่ศาลเห็นสมควร  แม้ผู้ร้องไม่มีลักษณะต้องห้ามท่ีจะเป็นผู้จัดการมรดก
ของผตู้ าย แตเ่ มอ่ื พเิ คราะหท์ างไดเ้ สยี ของกองมรดกและทายาทของเจา้ มรดกแลว้ ศาลฎกี ายงั ไมเ่ หน็
สมควรทีจ่ ะต้งั ผู้ร้องเปน็ ผู้จดั การมรดกของผู้ตายหรือตง้ั ผู้ร้องเป็นผ้จู ัดการมรดกของผู้ตายรว่ มกบั ป.
๗๕. คำ�พิพากษาฎีกาท่ี  ๕๓/๒๕๕๖  ก่อนถึงแก่ความตาย  ช.  กู้ยืมเงินประมาณ
๑,๕๐๐,๐๐๐  บาท  จากธนาคาร  พ.  และจำ�นองที่ดินเป็นประกันการชำ�ระหน้ีและยังมิได้มีการ
ช�ำ ระหนี้ จำ�เลยท่ี ๑ ในฐานะผจู้ ดั การมรดกของ ช. จงึ มหี นา้ ท่ตี อ้ งจัดการชำ�ระหนี้ เมื่อหน้ีดงั กลา่ ว
มีจำ�นวนมากและจำ�เลยท้ังส่ีไม่มีรายได้มากพอที่จะรวบรวมเงินไปชำ�ระหน้ีได้  ทำ�ให้จำ�เลยท่ี  ๑
ต้องการขายที่ดินจำ�นอง เพื่อนำ�เงินไปชำ�ระหนี้แก่ธนาคาร พ. การที่จำ�เลยที่ ๑ ทำ�สัญญาจะซื้อ
จะขายทด่ี นิ จ�ำ นองกบั โจทก ์ จงึ เปน็ การกระท�ำ ภายในขอบอ�ำ นาจหนา้ ทข่ี องผจู้ ดั การมรดก จ�ำ เลยท่ี ๒
ถงึ ที่ ๔ ในฐานะทายาท ย่อมมคี วามผูกพนั ตามสัญญาจะซ้อื จะขายตอ่ โจทก์ซ่ึงเปน็ คู่สัญญาและเปน็
บุคคลภายนอก ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา ๑๗๒๔ วรรคหนึ่ง จำ�เลยที่ ๒
ถงึ ท่ี ๔ จงึ ตอ้ งรว่ มกบั จ�ำ เลยที่ ๑ รบั ผดิ ต่อโจทก์
๗๖. ค�ำ พิพากษาฎกี าที่ ๖๓๐๑/๒๕๕๖ แมผ้ ู้ร้องไม่ไดเ้ ป็นทายาทของผูต้ าย แตผ่ ้ตู าย
ทำ�พินยั กรรมตัง้ ผรู้ อ้ งเป็นผ้จู ดั การมรดก ยอ่ มทำ�ให้ผรู้ อ้ งมหี น้าท่ที จ่ี ะตอ้ งท�ำ การอนั จำ�เปน็ เพอ่ื ใหเ้ ป็น
ไปตามคำ�ส่ังแจ้งชัดหรือโดยปริยายแห่งพินัยกรรมและเพื่อจัดการมรดกโดยทั่วไปหรือเพื่อแบ่งปัน
ทรพั ยม์ รดก และอาจต้องรับผดิ ต่อทายาท ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา ๑๗๑๙
และมาตรา ๑๗๒๐ ถอื ว่าผรู้ อ้ งเปน็ ผมู้ ีสว่ นได้เสียมีสทิ ธิร้องขอให้ต้งั ตนเองเปน็ ผ้จู ดั การมรดก ตาม
ประมวลกฎหมายแพง่ และพาณชิ ย์ มาตรา ๑๗๑๓ แมพ้ นิ ยั กรรมจะยกทรพั ยส์ นิ ใหแ้ กบ่ คุ คลอน่ื กต็ าม
๗๗. คำ�พิพากษาฎีกาท่ี  ๑๐๙๔/๒๕๕๖  ตามสภาพแห่งข้อหาของคำ�ฟ้องแสดงสิทธิ
ของโจทก์ ฟ้องคดโี ดยฐานะเปน็ ผู้จัดการมรดกของ ส. ผตู้ าย จำ�เลยท่ี ๑ เป็นค่สู ญั ญาผ้เู ช่าทีด่ นิ จาก
ผ้ตู าย ผ้ใู หเ้ ชา่ สทิ ธติ ามสญั ญาเชา่ ของผูต้ ายที่มตี อ่ จ�ำ เลยที่ ๑ ก่อนถึงแกค่ วามตาย รวมทัง้ สิทธติ าม
สัญญาเช่าเม่ือผูต้ ายถงึ แกค่ วามตายแล้ว ย่อมเป็นมรดกตกทอดแก่ทายาทของผ้ตู าย และอย่ใู นกรอบ
อำ�นาจของโจทก์ในฐานะผู้จัดการมรดกท่ีจะฟ้องร้องบังคับเอาผู้ท่ีโต้แย้งสิทธิกองมรดกได้  สำ�หรับ
ข้ออ้างท่ีอาศัยเป็นหลักแห่งข้อหา  ตามคำ�ฟ้องอันเป็นข้อโต้แย้งสิทธิโจทก์ให้เกิดอำ�นาจฟ้อง  คือ
จ�ำ เลยท่ี ๑ ผดิ สญั ญาเชา่ ไมช่ �ำ ระคา่ เชา่ ใหแ้ กผ่ ตู้ ายกอ่ นถงึ แกค่ วามตายและไมช่ �ำ ระคา่ เชา่ ใหแ้ กท่ ายาท

๔๒๗

ผูส้ ืบสทิ ธิผู้ตาย รวมท้งั การท่ีจำ�เลยท่ี ๑ ร่วมกบั จำ�เลยที่ ๒ น�ำ ที่ดินทเ่ี ช่าไปแบง่ ให้ผู้อ่นื ปลกู บา้ นอยู่
อาศยั โดยไมไ่ ดร้ บั ความยนิ ยอมจากผตู้ ายหรอื จากโจทกใ์ นฐานะผจู้ ดั การมรดก  เปน็ การกระท�ำ ทโ่ี ตแ้ ยง้
สิทธิกองมรดกของผู้ตาย  ซ่ึงโจทก์ในฐานะผู้จัดการมรดกชอบท่ีจะฟ้องบังคับตามสิทธิอันเกิดแต่การ
ผิดสัญญา  รวมทั้งขอปลดเปลื้องการกระทำ�อันเป็นการรบกวนทรัพย์มรดกได้  และแม้ขณะฟ้อง
โจทก์จะได้โอนท่ีดินพิพาทมาเป็นของโจทก์โดยส่วนตัวและขายฝากต่อไปให้แก่ผู้อื่นแล้ว  ก็ไม่ทำ�ให้
ข้อโต้แย้งสิทธิที่มีอยู่ก่อนฟ้องระงับไปเพราะเหตุการโอนทรัพย์ท่ีเช่า  โจทก์ในฐานะผู้จัดการมรดก
จงึ มีอ�ำ นาจฟ้องจ�ำ เลยท้ังสอง
๗๘. คำ�พิพากษาฎีกาที่ ๒๗๓๙/๒๕๕๖ ขณะยื่นคำ�ร้องขอให้ศาลตั้งผู้จัดการมรดก
ของ บ. ตามประมวลกฎหมายแพง่ และพาณชิ ย์ มาตรา ๑๗๑๓ ศาลยงั มไิ ด้มคี �ำ สั่งวา่ บ. เปน็ คน
สาบสูญตามมาตรา ๖๑ และมาตรา ๖๒ ผรู้ อ้ งจงึ ไม่มอี ำ�นาจยื่นคำ�รอ้ งขอให้ศาลต้งั ผู้จัดการมรดก
ของ บ. มาพร้อมกบั ค�ำ ขอให้ศาลสั่งให้ บ. เปน็ คนสาบสูญได้
๗๙. คำ�พพิ ากษาฎีกาท่ี ๖๓๔๓/๒๕๕๖ ค�ำ ฟ้องของโจทก์ทั้งสามบรรยายว่า โจทก์ท้ัง
สามเป็นเจ้าของกรรมสทิ ธร์ิ วมในทรัพยม์ รดกของ ส. โดยโจทกท์ ั้งสามบรรยายฟอ้ งว่า เมือ่ ส. ถงึ แก่
ความตาย ทรพั ย์สนิ ของ ส. เป็นมรดกตกไดแ้ ก่ ธ. กบั ทายาทของ ส. แต่จำ�เลยยงั ไม่ทนั ไดแ้ บ่งทรพั ย์
มรดกให้แก่ทายาท ธ. ก็ถงึ แกค่ วามตายเสียกอ่ น โจทก์ท้งั สามซง่ึ เป็นทายาทของ ธ. จึงเป็นเจ้าของ
กรรมสทิ ธ์ิรวมในทรพั ย์มรดกของ ส. แต่จ�ำ เลยบดิ พลิ้วไมย่ อมแบ่งมรดกให้แก่โจทก์ท้ังสาม อันเป็น
การโตแ้ ย้งสิทธิโจทก์ทงั้ สามใหไ้ ดร้ ับความเสียหาย ดังนี้ หากไดค้ วามตามคำ�ฟอ้ ง จ�ำ เลยยอ่ มมหี น้าท่ี
แบง่ ทรัพย์มรดกให้โจทก์ท้ังสาม โดยมิพักต้องคำ�นึงว่าจ�ำ เลยเปน็ ผจู้ ัดการมรดกของ ธ. หรือไม ่ การที่
จำ�เลยไม่แบ่งทรัพย์มรดกให้แก่โจทก์ท้ังสาม  เป็นการโต้แย้งสิทธิโจทก์ทั้งสามอยู่ในตัว  โจทก์จึงมี
อ�ำ นาจฟอ้ ง
l คำ�พิพากษาฎีกาทีเ่ กี่ยวกบั พินยั กรรม
๑. ค�ำ พิพากษาฎกี าท่ี ๘๘๖/๒๔๗๙ สามีท�ำ พินัยกรรมยกทรัพยใ์ ห้ผอู้ ืน่ พินยั กรรม
สมบูรณเ์ ฉพาะในส่วนของสามีเท่านนั้ ไมค่ รอบไปถงึ สว่ นของภรยิ า
๒. คำ�พิพากษาฎีกาที่ ๑๖๘/๒๔๘๑ พินัยกรรมซึ่งพิมพ์ด้วยเครื่องพิมพ์ธรรมดา
แต่ผู้พมิ พ์ไดเ้ ซ็นชือ่ เป็นผู้พิมพ์ไวน้ ั้น ไม่ตกเป็นโมฆะ…………….
๓. ค�ำ พพิ ากษาฎกี าท ่ี ๑๑๔๙ – ๑๑๕๐/๒๔๘๑ พยานผลู้ งลายมอื ชอ่ื ในพนิ ยั กรรมนน้ั
ถอื ดว้ ยว่าเป็นผรู้ ับรองลายพิมพน์ ้ิวมอื ของผทู้ �ำ พนิ ยั กรรมดว้ ย
พินัยกรรมที่ผทู้ �ำ พนิ ัยกรรมลงลายพิมพ์นว้ิ มือ แล้วมพี ยานลงลายมอื ช่อื ๓ คน ดังนี ้
ยอ่ มสมบรู ณต์ ามมาตรา ๑๖๕๖ เพราะมาตรา ๙ และมาตรา ๑๖๕๖ ก็ไม่มีข้อความให้เหน็ วา่ พยาน
ตามมาตราทง้ั สองนีจ้ ะเปน็ คนเดียวกันไม่ได้ ท้งั ไมม่ ีพยานจะตอ้ งลงชอ่ื รบั รองแยกกนั คนละคราวด้วย
หนังสือพินัยกรรมที่พยานลงนามรับรองถูกต้องครบถ้วนแล้ว  แม้จะมีพยานอ่ืนลงนาม
เพ่ิมข้นึ ไมถ่ กู ต้องก็ตาม ก็ไม่ทำ�ให้พินยั กรรมนน้ั เสยี ไป

๔๒๘
๔. คำ�พิพากษาฎีกาที่  ๔๗๘/๒๔๘๓  ผู้เขียนพินัยกรรมเว้นช่องว่างไว้  แล้วกรอกลง
ภายหลัง  แต่เป็นเวลาก่อนผู้ทำ�พินัยกรรมและพยานลงช่ือน้ัน  ไม่ต้องมีการลงลายชื่อกำ�กับตรงที่
กรอกลงนัน้ …….
๕. ค�ำ พิพากษาฎกี าที่ ๒๖๕/๒๔๘๘ หนังสอื ระบวุ า่ พนิ ยั กรรมและมขี ้อความแสดงวา่
ผตู้ ายตั้งใจยกทรพั ย์ใหเ้ ม่ือตายแล้ว แมไ้ มไ่ ดร้ ะบกุ ารเผือ่ ตายไวโ้ ดยตรงกถ็ ือวา่ เป็นพนิ ัยกรรม
หนังสือมขี อ้ ความเป็นพนิ ยั กรรม แตร่ ะบวุ ่าไดม้ อบทรพั ยใ์ ห้และไดล้ งชื่อผมู้ อบผ้รู บั มอบ
และพยานกับผู้เขยี นด้วยนั้น ก็คงถือวา่ สมบรู ณ์เป็นพินยั กรรม
๖. คำ�พิพากษาฎีกาที่ ๓๘๗ – ๓๘๘/๒๔๘๘ พยานสองคนที่ลงชื่อรับรองลายพิมพ์
นว้ิ มอื ผทู้ �ำ พนิ ยั กรรมนน้ั ถอื วา่ เปน็ พยานรบั รองลายมอื ชอ่ื ในพนิ ยั กรรมดว้ ย ไมจ่ �ำ ตอ้ งมพี ยานเพม่ิ ใหม่
อกี ๒ คน เพราะพยานท่ีรบั รองลายนว้ิ มือนี้ใช้เปน็ พยานรบั รองลายมอื ชอ่ื ในพนิ ัยกรรมไปด้วยได้
๗. คำ�พิพากษาฎีกาที่ ๗๓๐/๒๔๘๙ พยานที่ลงชื่อในพินัยกรรมซึ่งอยู่รู้เห็นในเวลา
ผ้ทู �ำ พนิ ยั กรรมพิมพ์ลายน้วิ มอื น้นั ถือว่าเปน็ พยานรับรองลายพิมพ์นิว้ มือด้วย
การที่ผู้รับพินัยกรรมลงช่ือเป็นพยานในพินัยกรรมน้ัน  ไม่ทำ�ให้พินัยกรรมเป็นโมฆะ
ทั้งฉบับคงเป็นโมฆะแต่เฉพาะที่เก่ียวกับคนนั้นเท่านั้น  เพราะประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
มาตรา ๑๗๐๕ บัญญตั วิ ่า พินยั กรรมหรือขอ้ กำ�หนดพินยั กรรมนน้ั ถ้าได้ทำ�ขึน้ ขัดตอ่ บทบญั ญตั ิแห่ง
มาตรา ๑๖๕๓ เป็นโมฆะน้นั หมายความแต่เฉพาะขอ้ ก�ำ หนดพนิ ัยกรรมซง่ึ เก่ียวกับผู้ลงชอ่ื เป็นพยาน
เทา่ นนั้
๘. คำ�พิพากษาฎีกาท่ี  ๘๔๗/๒๔๙๐  พินัยกรรมน้ันจะต้องมีข้อความอันเป็นคำ�ส่ัง
กำ�หนดการเผื่อตายในเร่ืองทรัพย์สนิ ของตน ถ้าเป็นการมอบทรัพยใ์ ห้ต้งั แต่ขณะยงั มีชวี ติ อยูก่ ไ็ มถ่ ือว่า
เป็นพินัยกรรม
๙. คำ�พพิ ากษาฎกี าที่ ๑๖/๒๔๙๑ พินยั กรรมระบยุ กทรัพยส์ ง่ิ ใดให้แกผ่ ้ใู ดแลว้ ถือวา่
เปน็ ผูร้ บั พนิ ยั กรรมลกั ษณะเฉพาะ ผูร้ ับย่อมตอ้ งรับภาระผูกพนั ในทรัพย์นัน้ เช่น การจำ�นองดว้ ย
๑๐. ค�ำ พพิ ากษาฎกี าท ่ี ๔๖/๒๔๙๑  ในพนิ ยั กรรมมขี อ้ ความวา่ ถา้ ตนถงึ แกก่ รรมกอ่ น
สามีแลว้ ให้แบง่ ทรพั ยด์ งั น้ี ฯลฯ เมือ่ ปรากฏวา่ สามกี ลบั ตายก่อนเชน่ นี้ ขอ้ ความในพนิ ยั กรรมน้ัน
ย่อมเป็นอนั ไรผ้ ล ผู้ใดจะถอื สิทธิตามพินัยกรรมน้นั ไมไ่ ด้ เพราะตามพินัยกรรมผูต้ ายมีเจตนาจะให้
ค�ำ สงั่ มผี ลต่อเมื่อตนตายก่อนสามี ถ้าหากตายภายหลงั สามีแล้ว ยอ่ มไม่ประสงค์จะใหแ้ บ่งปนั ทรัพย์
ตามพินัยกรรมนน้ั
๑๑. ค�ำ พพิ ากษาฎกี าที่ ๖๓๖/๒๔๙๒ หนังสอื ระบุว่าทำ�พินัยกรรมมพี ยานและผูเ้ ขียน
อยา่ งแบบพนิ ยั กรรม แตข่ อ้ ความในหนงั สือเปน็ สัญญา ไม่มใี จความแสดงเจตนาก�ำ หนดการเผ่ือตาย
ดังนี้ ไม่ถอื วา่ เปน็ พนิ ยั กรรม เพราะท่จี ะเปน็ พินัยกรรมตอ้ งเปน็ การแสดงเจตนากำ�หนดการเผือ่ ตาย
จะใช้ถ้อยคำ�ว่าอย่างใด  แม้จะไม่ใช้ถ้อยคำ�ว่าพินัยกรรมก็อาจเป็นพินัยกรรมได้  และโดยนัยอย่าง
เดยี วกนั แมจ้ ะใชค้ �ำ วา่ พนิ ยั กรรม แตว่ า่ ไมใ่ ชก่ ระท�ำ เพอ่ื ก�ำ หนดการเผอ่ื ตายแลว้ กห็ าใชพ่ นิ ยั กรรมไม่

๔๒๙
๑๒. คำ�พิพากษาฎีกาท่ี  ๙๐๙/๒๔๙๒  เจ้ามรดกได้ทำ�พินัยกรรมยกที่ดินให้แก่ผู้รับ
พินยั กรรม แตก่ อ่ นเจา้ มรดกถงึ แก่ความตาย ผู้รบั พินัยกรรมต่างตกลงแบง่ ทรัพยต์ ามพินยั กรรมนนั้
กันใหม่ โดยไมถ่ อื สิทธทิ ี่จะได้ตามพนิ ัยกรรม ดงั น้ี สญั ญาแบง่ ทรพั ย์ย่อมไม่มผี ล เพราะพนิ ัยกรรมนน้ั
เป็นหนงั สอื ยกทรัพยใ์ ห้ผ้รู บั พนิ ยั กรรม เมอ่ื ผ้ทู �ำ พินัยกรรมตาย โดยปกติผู้ท�ำ พินัยกรรมอาจเพกิ ถอน
เปลย่ี นแปลงได้ ผู้รับพนิ ยั กรรมยังไมม่ ีสิทธิประการใด จนกระทง่ั ผู้ท�ำ พนิ ัยกรรมตาย โจทก์ซึ่งเป็นผจู้ ะ
ได้รับพินยั กรรมจะเอาทรพั ยต์ ามพินัยกรรมไปจากพนิ ัยกรรมใดๆ ยอ่ มไม่เป็นผล เพราะขัดต่อมาตรา
๑๖๑๙
๑๓. คำ�พิพากษาฎีกาท่ี  ๑๑/๒๔๙๓  พินัยกรรมท่ีไม่ลงวันท่ีทำ�พินัยกรรมเป็นโมฆะ
จึงใช้ไมไ่ ดต้ ามประมวลกฎหมายแพง่ และพาณิชย์ มาตรา ๑๖๕๖
๑๔. คำ�พิพากษาฎีกาที่ ๔๘๙/๒๔๙๓ พินัยกรรมที่พยานลงชื่อไม่ถูกต้องเสียคนหนึ่ง
แต่ยังมีพยานอีกคนหนึ่งและผู้เขียนซึ่งเป็นพยานด้วยอีกคนหนึ่งรวมเป็น ๒ คน ดังนี้ ก็ถือได้ว่า
พนิ ัยกรรมนั้นมีพยานครบถว้ นถูกต้องตามกฎหมายแล้ว
พยาน ๒ คน ลงช่ือเปน็ พยานในพินัยกรรมขณะท่ีท�ำ พินัยกรรมนั้น ไมจ่ ำ�ต้องลงชื่อ
รบั รองลายพมิ พน์ ้วิ มืออีกหนหนง่ึ กม็ ผี ลเท่ากบั รับรองลายพิมพ์นว้ิ มอื ผ้ทู ำ�พินัยกรรมไปในตัว
๑๕. ค�ำ พิพากษาฎกี าที่ ๔๘๙/๒๔๙๓ พนิ ัยกรรมทร่ี ะบุในตอนตน้ วา่ ยกทรพั ยท์ ่มี ีอยู่
และที่จะเกิดมีมาในภายหน้าให้ผู้รับพินัยกรรมคนเดียวนั้น  แต่ในตอนต่อไปมีรายการทรัพย์ว่า
ยกทรัพย์สิ่งใดให้บ้าง  แต่ทรัพย์พิพาทไม่มีระบุไว้ในพินัยกรรม  ซึ่งมีเหตุให้เห็นได้ว่าเจ้ามรดกมิได้มี
เจตนาจะยกทรัพย์ท่ีพิพาทน้ีให้แก่ผู้รับพินัยกรรมด้วย  ดังน้ี  ทรัพย์พิพาทจึงเป็นทรัพย์มรดกนอก
พนิ ัยกรรม
๑๖. ค�ำ พพิ ากษาฎีกาที่ ๑๐๖๔/๒๔๙๓ หนงั สอื ระบุว่าเปน็ พินยั กรรมและมีพยานกบั
ผู้เขียนอย่างแบบพินัยกรรม  แต่เมื่ออ่านข้อความตลอดแล้ว  เห็นได้ว่าผู้ยกทรัพย์ไม่ได้แสดงเจตนา
จะยกทรัพยใ์ หเ้ ม่อื ตาย แตก่ ลบั ยกใหท้ นั ทีตง้ั แต่วันท�ำ หนังสอื นน้ั จึงไม่ใช่พนิ ยั กรรม แตเ่ ป็นลกั ษณะ
สญั ญาให้
๑๗. คำ�พิพากษาฎีกาที่  ๑๕๔๘/๒๔๙๓  ความในพินัยกรรมข้อหนึ่งกล่าวว่า  ผู้ตาย
เจตนายกทรัพย์ให้ผู้มีช่ือตั้งแต่วันทำ�พินัยกรรมฉบับน้ี  มีข้อความเร่ิมต้นระบุไว้ชัดว่า  ขอทำ�หนังสือ
พินัยกรรมเป็นคำ�ส่ังเผื่อตายไว้  และตอนท้ายก็ยังกล่าวยืนยันว่า  ผู้ตายได้ทำ�พินัยกรรมไว้ด้วยความ
เตม็ ใจและมสี ตดิ ี มพี ยานลงช่อื อยา่ งพนิ ยั กรรมทกุ ประการ เชน่ นย้ี ่อมถือวา่ เป็นพนิ ยั กรรมท่ีผตู้ าย
มงุ่ หมายจะยกทรพั ย์ให้เมื่อผู้ตายตายลง หาใชเ่ ป็นหนงั สอื ยกทรพั ย์ให้โดยเสน่หาไม่
๑๘. คำ�พิพากษาฎกี าที่ ๑๐๗๗/๒๔๙๔ พนิ ัยกรรมฝา่ ยเมืองนน้ั แมจ้ ะไม่ถกู ตอ้ งตาม
แบบตามประมวลกฎหมายแพง่ และพาณชิ ย์ มาตรา ๑๖๕๘ ถา้ เปน็ การถกู ตอ้ งอย่างแบบพนิ ยั กรรม
ธรรมดาแลว้ ก็ตอ้ งถอื ว่าพนิ ยั กรรมน้นั สมบูรณต์ ามแบบธรรมดาได้

๔๓๐
พินัยกรรมมีรอยขีดฆ่าแล้วมิได้เซ็นช่ือกำ�กับไว้  ถ้าปรากฏว่าข้อความท่ีขีดฆ่านั้นเป็น
ข้อหยุมหยิมเล็กน้อยไม่ใช่ข้อสำ�คัญ  มิได้ทำ�ให้เสียถ้อยกระทงความตรงไหนแต่อย่างใด  เพียงเท่าน้ี
หาท�ำ ให้พนิ ยั กรรมทัง้ ฉบบั น้ันเสียไปไม่ คงต้องถือวา่ พนิ ยั กรรมฉบบั นน้ั มผี ลสมบรู ณ์อยู่
๑๙. ค�ำ พิพากษาฎกี าที ่ ๑๒๖๕/๒๔๙๕ พระภกิ ษุมรณภาพในขณะทเ่ี ปน็ พระภกิ ษอุ ยู่
โดยมไิ ดท้ �ำ พินัยกรรมยกทรพั ย์มรดกให้ใคร มรดกของพระภกิ ษุนน้ั ย่อมตกไดแ้ ก่วัดทีพ่ ระภกิ ษนุ ั้นอย ู่
แมท้ ายาทจะครอบครองที่ดินมรดกของพระภิกษุน้ันเกนิ ๑๐ ปี นบั แต่วันมรณภาพ ทายาทก็จะเอา
ท่ดี นิ มรดกน้นั ไม่ได้ เพราะท่ีดินมรดกน้ันเป็นของวัด จะใช้อายุความ ๑๐ ปี ยนั วัดให้เสยี สิทธหิ าไดไ้ ม่
๒๐. คำ�พิพากษาฎกี าที่ ๙๘๒/๒๔๙๖ พนิ ยั กรรมทุกฉบบั ท�ำ เหมือนกันและพร้อมกัน
ถอื เป็นตน้ ฉบบั ทุกฉบับ การเพิกถอนโดยท�ำ ลายพนิ ยั กรรมแต่บางฉบับ  ไม่บรบิ รู ณเ์ ป็นการเพิกถอน
พนิ ยั กรรม
การขีดฆ่าตกเติมพินัยกรรมโดยไม่มีพยานลงช่ือรับรองลายมือช่ือให้ถูกต้องน้ัน  จะเสีย
กเ็ สียเฉพาะการทข่ี ดี ฆา่ ตกเติม ส่วนข้อความทยี่ กที่ดนิ ให้ซงึ่ ไมม่ ขี ีดฆ่าตกเตมิ ยังใชไ้ ด้ดี
๒๑. ค�ำ พพิ ากษาฎกี าท่ี ๑๐๕๕/๒๔๙๗ ผ้ทู �ำ พินัยกรรมทำ�พนิ ัยกรรมเองทง้ั ฉบบั ลงวัน
เดอื นปีและลงลายมอื ชือ่ แล้ว แต่ใหพ้ ยานลงชอ่ื ลบั หลงั ผ้ทู ำ�พินยั กรรม พนิ ยั กรรมยงั คงสมบรู ณ์ตาม
มาตรา ๑๖๕๗ แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
๒๒. ค�ำ พิพากษาฎีกาท ี่ ๒๖๗/๒๔๙๘ ขอ้ กำ�หนดในพนิ ยั กรรมทย่ี กทรพั ย์ใหภ้ รยิ าของ
ผู้ท่ีลงช่ือเป็นพยานในพินัยกรรมเป็นโมฆะ  เพราะสามีของผู้รับพินัยกรรมลงชื่อเป็นพยานขัดต่อ
มาตรา ๑๖๕๓ แต่ไมใ่ ช่เพราะวัตถปุ ระสงค์ขัดต่อความสงบเรียบร้อยของประชาชนไม่ ทายาทจึงทำ�
สญั ญาประนีประนอมรับรองตามพินัยกรรมนั้นได้โดยสมบูรณ์
๒๓. คำ�พิพากษาฎีกาท่ี  ๙๔๔/๒๔๙๘  พินัยกรรมระบุยกที่ดินน้ันให้ผู้รับพินัยกรรม
ผู้รับพินัยกรรมหลอกลวงให้ผู้ทำ�พินัยกรรมโอนขายที่ดินนั้นให้ผู้รับพินัยกรรม  ดังน้ี  เป็นการฉ้อฉล
อันไมเ่ กยี่ วกบั พนิ ยั กรรมไม่เปน็ เหตกุ �ำ จัดมใิ ห้รบั มรดก
๒๔. คำ�พิพากษาฎีกาที่ ๖๓๖/๒๕๐๐ พินัยกรรมทำ�ขึ้นในคราวเดียวกัน ข้อความ
อยา่ งเดยี วกนั ฉบบั หนง่ึ สมบรู ณ ์ แมฉ้ บบั อน่ื ไมส่ มบรู ณเ์ พราะพยานลงชอ่ื ไมค่ รบ  กเ็ ปน็ เรอ่ื งทเ่ี กย่ี วกบั
พนิ ัยกรรมน้นั โดยเฉพาะไม่ทำ�ใหพ้ นิ ัยกรรมฉบับทส่ี มบรู ณ์เสียไป
๒๕. คำ�พิพากษาฎีกาที่  ๑๕๔๖/๒๕๐๐  เจ้ามรดกลงชื่อไว้ท้ายพินัยกรรม  และมี
รายการทรพั ยต์ อ่ ทา้ ยพนิ ัยกรรมอกี แม้เจ้ามรดกมิไดล้ งชอ่ื ในรายการทรพั ย์นี้ก็ไมท่ ำ�ให้พินัยกรรมเสีย
เพราะสบื เน่ืองเป็นฉบบั เดียวกันอยูแ่ ล้ว จึงนับได้วา่ เป็นพินยั กรรมทส่ี มบูรณแ์ บบใช้ไดต้ ามกฎหมาย
๒๖. คำ�พิพากษาฎกี าท่ี ๑๒๓๓/๒๕๐๕ การก�ำ หนดเผอื่ ตายนน้ั ผ้ทู ำ�พนิ ยั กรรมไมจ่ �ำ
ต้องระบุไว้ตามถ้อยคำ�น้ันๆ  โดยเฉพาะเจาะจงเสมอไป  ถ้าหากถ้อยคำ�และความหมายในเอกสาร
ท้ังฉบบั รวมกันแสดงให้เห็นชัดวา่ เปน็ การกำ�หนดการเผื่อตายแลว้ กย็ อ่ มเขา้ ลักษณะตามบทกฎหมาย

๔๓๑
น้ีโดยชอบ  เพียงแต่ใช้คำ�ว่าพินัยกรรมอย่างเดียวอาจจะไม่เป็นการเพียงพอในกรณีท่ีความอื่นๆ
ในเอกสารน้นั มุ่งแสดงไปในทางอนื่ โดยชัดแจง้ เชน่ การยกให้เมือ่ ยงั มชี วี ติ อยู่
๒๗. คำ�พพิ ากษาฎกี าที่ ๓๓๖/๒๕๐๖ เอกสารซึ่งมีข้อความเป็นคำ�ส่งั เม่อื ตายอนั เข้า
ลักษณะเป็นพินัยกรรม แมจ้ ะไม่มคี ำ�ว่าพินัยกรรมก็เปน็ พนิ ัยกรรม
การที่ผู้รับทรัพย์ตามพินัยกรรมลงนามเป็นพยานในพินัยกรรมด้วยนั้น  มีผลทำ�ให้เป็น
ผรู้ ับทรพั ยต์ ามพนิ ัยกรรมไม่ได้ แตส่ ภาพแหง่ การลงนามเป็นพยานนนั้ ใช้ไดส้ �ำ หรบั ผอู้ น่ื ซึ่งมีสทิ ธไิ ด้รบั
มรดกตามพนิ ัยกรรมนั้นด้วย
การลงชื่อเป็นผู้รับมอบ ซึ่งหมายความว่าเป็นผู้รับพินัยกรรม ไม่ถือว่าได้ลงชื่อเป็น
พยานหรือผู้เขยี นดว้ ย
๒๘. ค�ำ พพิ ากษาฎีกาท่ี ๓๐๖/๒๕๐๗ พนิ ยั กรรมท่ที ำ�ขึ้นโดยผ้ทู �ำ พนิ ยั กรรมปว่ ยมาก
แม้จะพูดไม่ได้  แต่ถ้ายังมีสติสมบูรณ์ดีใช้กริยาแสดงออกตอนอ่านพินัยกรรมให้ฟัง  เม่ือเห็นด้วย
หรือตรงกับเจตนาของตนก็พยักหน้าถ้าไม่เห็นด้วยหรือไม่ตรงกับเจตนาก็ส่ายหน้า เช่นนี้  ฟังได้ว่า
พินัยกรรมนั้นทำ�ขึ้นโดยผู้ตายและเป็นพินัยกรรมถูกต้องตามกฎหมาย  ผู้ตายทำ�พินัยกรรมฉบับหลัง
ถา้ ไม่ถกู ตอ้ งตามแบบทก่ี ฎหมายบญั ญัติไว้ จนเปน็ โมฆะแลว้ ยอ่ มไม่ถอื วา่ เป็นการเพิกถอนพินัยกรรม
ฉบับก่อน
พินัยกรรมท่ีคู่สมรสของผู้รับทรัพย์ตามพินัยกรรมลงช่ือเป็นพยานย่อมเป็นโมฆะเสียไป
เฉพาะผู้รบั พนิ ัยกรรมผู้นน้ั เท่านั้น ส่วนข้อกำ�หนดในพินัยกรรมทีใ่ หแ้ กผ่ ูร้ บั พินยั กรรมคนอืน่ ๆ นัน้ ยงั
คงสมบรู ณอ์ ยู่
พินัยกรรมท่ีผู้พิมพ์พินัยกรรมไม่ได้ลงช่ือในพินัยกรรม  ตามมาตรา  ๑๖๗๑  ด้วยนั้น
หาเป็นโมฆะไมเ่ พราะมาตรา ๑๗๐๕ ไม่ได้บัญญัตใิ ห้เปน็ โมฆะ
๒๙. คำ�พพิ ากษาฎกี าที่ ๕๐๕/๒๕๐๙ บคุ คลจะท�ำ พินยั กรรมกำ�หนดการเผอื่ ตายได ้
ก็แต่เฉพาะทรพั ยส์ ินของตนเท่านนั้ จะกำ�หนดเผ่ือตายในทรัพย์สนิ ของคนอื่นไมไ่ ด้  หากเปน็ ทรพั ย์สิน
ท่ีสามีภรยิ ามกี รรมสทิ ธ์ริ ่วมกนั สามหี รือภรยิ าไมม่ ีอำ�นาจท�ำ พินยั กรรมยกสนิ บริคณห์ให้ผ้อู ่ืนเกนิ กวา่
สว่ นของตน
แมใ้ นพนิ ัยกรรมจะปรากฏข้อความวา่ “เพอื่ มใิ หย้ งุ่ ยากจงึ ใหน้ างจอ้ ยภริยาของขา้ พเจา้
เป็นพยานยกให้ด้วย”  และภริยาได้พิมพ์ลายนิ้วมือไว้ในช่องพยานด้วยก็ตาม  ก็ไม่ใช่ในฐานะผู้ทำ�
พินัยกรรม  หากเป็นเพียงพยานรับรู้ว่าสามีได้ทำ�พินัยกรรมจริงเท่านั้น  แม้จะถือว่าภริยายินยอมให้
สามีท�ำ พนิ ยั กรรม พินัยกรรมก็ไมม่ ผี ลผกู พนั ถึงสินบรคิ ณหส์ ว่ นของภริยา
๓๐. ค�ำ พิพากษาฎกี าท่ี ๑๖๒๔/๒๕๑๑ เจ้ามรดกทำ�พนิ ัยกรรม ๒ ฉบบั ลงวนั เดอื น
ปีเดียวกัน  แต่ฉบับที่ยกทรัพย์ให้จำ�เลยเขียนช่ือผู้รับไว้ครบถ้วนแล้ว  ส่วนฉบับที่ยกทรัพย์ให้โจทก์
เว้นชื่อผู้รับพินัยกรรมไว้  เจ้ามรดกเพ่ิงกรอกช่ือโจทก์เป็นผู้รับทรัพย์ในภายหลัง  ถือว่าพินัยกรรม

๔๓๒
ที่ยกทรัพย์ให้โจทก์เพิ่งทำ�เสร็จเป็นพินัยกรรมในภายหลัง จึงมีผลเป็นการเพิกถอนพินัยกรรมฉบับ
ของจำ�เลย  และการกรอกช่ือผู้รับพินัยกรรมในช่องท่ีว่างมิใช่เป็นการขูดลบตกเติมหรือเปลี่ยนแปลง
พนิ ัยกรรม จงึ ไมต่ อ้ งเซน็ ชื่อกำ�กับไว้
๓๑. ค�ำ พพิ ากษาฎกี าท่ี ๑๔๑๕/๒๕๑๒ การแสดงเจตนาทจ่ี ะเปน็ พนิ ยั กรรมได้ จะตอ้ ง
มีลักษณะเป็นคำ�ส่ังครั้งสุดท้ายกำ�หนดการเผื่อตายในเรื่องทรัพย์สินของบุคคลน้ันและในการต่างๆ
อันจะใหเ้ กดิ เปน็ ผลบังคบั ไดต้ ามกฎหมายท่ีตนตาย
๓๒. คำ�พิพากษาฎีกาท่ี  ๑๖๘๓/๒๕๑๒  บันทึกการแบ่งทรัพย์ที่เจ้ามรดกทำ�ข้ึนมิได้
ลงลายมอื ช่อื หรือลายพมิ พน์ ้วิ มือของเจ้ามรดก จงึ ไม่มผี ลเปน็ พนิ ยั กรรม แม้จะถอื ว่าเจ้ามรดกแสดง
เจตนาก�ำ หนดข้อพนิ ยั กรรมดว้ ยวาจาตอ่ หนา้ ค. และ อ. เพราะเจา้ มรดกไมส่ ามารถจะท�ำ พนิ ยั กรรม
ตามแบบอื่นที่กำ�หนดไว้ได้ แต่  ค.  และ  อ.  ก็มิได้ไปแสดงตนต่อกรมการอำ�เภอและแจ้งข้อความที่
ผู้ทำ�พินัยกรรมได้สั่งไว้ตลอดจนวัน เดือน ปี สถานที่ที่ทำ�พินัยกรรม และพฤติการณ์พิเศษ บันทึก
การแบ่งทรัพย์ย่อมตกเป็นโมฆะไม่มีผลเป็นพินัยกรรม จำ�เลยซึ่งมิได้เป็นภรรยาเจ้ามรดกโดยชอบ
ด้วยกฎหมายไม่มีสิทธิอ้างเอาประโยชน์จากบันทึกน้ีได้  และไม่มีสิทธิรับมรดก  เจ้ามรดกยังไม่ได้ยก
ทรัพยพ์ ิพาทใหจ้ ำ�เลย การใหย้ ่อมยังไมส่ มบูรณ์
๓๓. คำ�พิพากษาฎีกาท่ี  ๔๔/๒๕๑๕  เอกสารซ่ึงมีหัวข้อข้างบนระบุว่าเป็นหนังสือ
พนิ ยั กรรมแลว้ ยงั มขี อ้ ความวา่ “ขอท�ำ พนิ ยั กรรม” ดว้ ย ยอ่ มเขา้ ใจวา่ เจตนาจะยกทรพั ยใ์ หเ้ มอ่ื ตายแลว้
อนั เป็นการกำ�หนดการเผื่อตาย เอกสารนจี้ ึงเปน็ พนิ ยั กรรมตามกฎหมาย หาใช่เปน็ การยกทรัพยใ์ ห้
โดยเสนห่ าไม ่ เพราะการยกทรัพย์ให้เม่อื ยงั มชี วี ิตอยู่ สามญั ชนทัว่ ไปหาใช้ค�ำ ว่าพนิ ัยกรรมไม่
บุคคลสองคนมกี รรมสิทธ์ริ ว่ มกันในที่ดนิ แสดงวา่ มสี ิทธฝิ ่ายละครง่ึ ต่างฝ่ายมีสิทธจิ ะ
เรียกให้แบ่งทรพั ย์สนิ ส่วนของตนออกมาได้ ฉะนน้ั การท่ผี มู้ กี รรมสิทธิร์ ว่ มผ้หู นึ่งทำ�พินัยกรรมยกทีด่ นิ
ส่วนของตนให้ผู้อื่น  จึงมิใช่กรณีที่ทรัพย์สินที่ยกให้โดยพินัยกรรมระบุไว้ไม่ชัดแจ้งจนไม่อาจจะทราบ
แน่นอนได้
๓๔. ค�ำ พพิ ากษาฎกี าท่ี ๑๔๒๐/๒๕๑๕ เอกสารท่ีผูต้ ายทำ�ไว้ ไม่มีขอ้ ความตอนใดท่ี
แสดงให้เห็นว่าเป็นพินัยกรรมหรือแสดงเจตนาของผู้ตายในการกำ�หนดการเผ่ือตายในเร่ืองทรัพย์สิน
วา่ ให้เกิดผลบงั คับเมือ่ ตนถึงแกค่ วามตายไปแลว้ เลย แม้เอกสารดงั กลา่ วจะมขี ้อความวา่ “เวลาทำ�
หนงั สอื ฉบบั นมี้ สี ติสมั ปชัญญะดเี ป็นปกตดิ ี” กด็ ี หรือ “ขอเจตนาคร้ังสุดทา้ ย” ก็ดี ก็หาทำ�ให้แปล
ความได้ว่าผู้ตายมีเจตนาที่จะยกทรัพย์ของตนให้เม่ือตนถึงแก่ความตายไปแล้วไม่  ข้อความในตอน
ท้ายของเอกสารทวี่ ่า “ข้าพเจ้าขอยกให้ (ระบชุ ื่อผรู้ ับ) ตงั้ แต่บัดน้เี ป็นต้นไป” กลับแสดงแจง้ ชัดว่า
ผ้ตู ายเจตนาทีจ่ ะยกทรพั ยใ์ ห้แกผ่ ้รู บั ทันทใี นระหว่างท่ตี นยังมชี วี ติ เอกสารดังกลา่ วจึงไม่ใชพ่ นิ ัยกรรม
๓๕. คำ�พิพากษาฎีกาที่  ๙๔๑/๒๕๑๖  พินัยกรรมกำ�หนดให้ยกมรดกส่วนหนึ่งให้
แกห่ ลานๆ ของเจ้ามรดก เม่อื เจ้ามรดกไม่มบี ุตร มรดกนนั้ กย็ ่อมตกได้แก่ลูกทยี่ งั มชี วี ติ อยู่ทุกคนของ

๔๓๓
พแ่ี ละน้องเจ้ามรดก พนิ ัยกรรมดังกล่าวไดก้ �ำ หนดผรู้ ับมรดกซ่ึงอาจทราบตวั ได้แนน่ อนแล้ว หาเป็น
โมฆะไม่
๓๖. คำ�พิพากษาฎกี าท่ี ๑๓๖๔/๒๕๑๖ การโอนทรัพย์สินอนั เป็นวตั ถแุ หง่ ข้อก�ำ หนด
แหง่ นิตกิ รรมโดยผทู้ ำ�พนิ ัยกรรม ซ่งึ จะมผี ลใหข้ ้อกำ�หนดเป็นอันเพกิ ถอนไปนั้น ตอ้ งเป็นการโอนโดย
สมบรู ณ์และมิได้ถูกเพิกถอนในภายหลัง
๓๗. คำ�พิพากษาฎีกาท่ี  ๑๘๗๕/๒๕๑๗  ผู้ทำ�พินัยกรรมลงช่ือต่อหน้าพยานเพียง
คนเดียว  ส่วนพยานอีกคนหน่ึงมาถึงและลงชื่อเป็นพยานภายหลังที่ผู้ทำ�พินัยกรรมลงชื่อแล้ว
ประมาณ ๕ นาท ี แมว้ า่ ขณะนน้ั ผทู้ �ำ พนิ ยั กรรมและพยานจะยงั อยพู่ รอ้ มหนา้ กนั กถ็ อื วา่ พนิ ยั กรรมนน้ั
เป็นพินัยกรรมที่ไม่ชอบด้วย ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา ๑๖๕๖ และไม่มีทาง
ทจ่ี ะตคี วามหรอื แปลความใหเ้ ปน็ อยา่ งอน่ื ได ้ เพราะบทบญั ญตั แิ หง่ มาตราดงั กลา่ วไดบ้ ญั ญตั ไิ วช้ ดั แจง้
ใหผ้ ู้ท�ำ พนิ ยั กรรมลงช่อื ในพินัยกรรมตอ่ หนา้ พยานอยา่ งน้องสองคนพร้อมกนั
๓๘. ค�ำ พพิ ากษาฎกี าท ่ี ๒๖๕๙/๒๕๑๗  แมเ้ อกสารไดก้ ลา่ วความไวค้ ลา้ ยๆ กบั จะเปน็
การยกท่ีดินให้แก่จำ�เลยต้ังแต่ในขณะท่ีผู้ทำ�พินัยกรรมยังมีชีวิตอยู่ก็ตาม  แต่มีถ้อยคำ�ปรากฏอยู่
ว่า “ขอทำ�หนังสือสญั ญาพนิ ัยกรรม” ไวใ้ หแ้ กจ่ �ำ เลย และลงทา้ ยว่า “เมื่อข้าตายไป ขอให้นางน้อย
(จำ�เลย) นำ�หนังสือฉบับนีไ้ ปจดทะเบียนรบั มรดกใหส้ มบรู ณ์ตามกฎหมาย” ถอ้ ยคำ�ทัง้ หมดแสดงให้
เห็นเจตนาของผู้ทำ�พินัยกรรมอย่างเด่นชัดว่าประสงค์จะยกทรัพย์ของตนให้ผู้รับพินัยกรรมเม่ือผู้ทำ�
พินัยกรรมตายแล้วถอื ไดว้ ่าเป็นพนิ ัยกรรม
๓๙. ค�ำ พพิ ากษาฎกี าท ่ี ๑๒๖/๒๕๑๘  พนิ ยั กรรมแบบเอกสารลบั นน้ั ประมวลกฎหมาย
แพง่ และพาณิชย์ มาตรา ๑๖๖๐ หาได้บงั คบั ให้ผทู้ �ำ พนิ ัยกรรมต้องลงวนั เดือนปที ่ีทำ�พนิ ัยกรรมใน
พินัยกรรมไม่ แต่เมอื่ ได้ปฏิบัตกิ ารถกู ต้องครบถ้วน ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา
๑๖๖๐ บญั ญตั ไิ ว้ทุกประการแลว้ กเ็ ป็นพนิ ัยกรรมที่สมบูรณ์ตามกฎหมายใชบ้ งั คบั ได้
๔๐. คำ�พิพากษาฎีกาท่ี ๔๕๓/๒๕๒๑ ข. และ น. เจา้ มรดกรว่ มกันทำ�พนิ ยั กรรม
ยกทรัพย์มรดกให้แก่มูลนิธิ “ขุนและนางนิกรนรารักษ์” (โดยได้ระบุทรัพย์มรดกไว้โดยเฉพาะ
หลายอย่าง) ทั้งได้ระบุไว้ในพินัยกรรมด้วยว่า “ทรัพย์สินอื่นๆ ของข้าพเจ้านอกจากที่ระบุไว้ข้างต้น
ถา้ ผทู้ �ำ พนิ ยั กรรมคนใดคนหนง่ึ วายชนมล์ งใหต้ กเปน็ ของผทู้ �ำ พนิ ยั กรรมคนทย่ี งั มชี วี ติ อยแู่ ตเ่ พยี งผเู้ ดยี ว
ผอู้ นื่ จะเกยี่ วขอ้ งมิไดเ้ ปน็ อันขาด” เชน่ นเี้ ห็นไดว้ ่าทรัพยส์ นิ อ่นื นอกจากท่ีระบุยกให้แกม่ ูลนิธ ิ ถ้าผทู้ ำ�
พินัยกรรมคนใดคนหน่ึงวายชนม์ลง  ให้ตกเป็นของผู้ทำ�พินัยกรรมคนที่ยังมีชีวิตอยู่แต่เพียงผู้เดียว
เมือ่ ข. ตายไปก่อน น. ทรพั ยส์ นิ ท่ไี ม่ไดร้ ะบุไวจ้ ึงตกไดแ้ ก่ น. เมอ่ื น. ตายโดยมไิ ด้ท�ำ พินยั กรรมไว้
กต็ กไดแ้ กท่ ายาทโดยธรรมของ น. โจทกแ์ ละบุคคลอ่ืนที่ได้รับการแตง่ ต้ังให้เป็นคณะกรรมการจดั การ
ทรัพย์มรดกของมูลนิธิตามพินัยกรรมจึงไม่ใช่ผู้มีส่วนได้เสียในทรัพย์มรดกของ น. ส่วนที่มิได้ทำ�
พินัยกรรมไว ้ และไมม่ สี ทิ ธขิ อเพกิ ถอนจำ�เลยจากการเปน็ ผจู้ ดั การดงั กลา่ วของ น.

๔๓๔
๔๑. คำ�พิพากษาฎีกาที่ ๙๑๕/๒๕๒๒ จำ�เลยที่ ๑ น�ำ พินัยกรรมปลอมไปจดทะเบยี น
รบั มรดกทด่ี นิ เฉพาะสว่ นของเจา้ มรดกมาเปน็ ของตนโดยทจุ รติ จ�ำ เลยท่ี ๑ ยอ่ มไมม่ กี รรมสทิ ธใ์ิ นทด่ี นิ
ส่วนน้ัน และไม่มสี ทิ ธิใดๆ ท่ีจะทำ�นติ ิกรรมเกีย่ วกบั ท่ีดนิ นนั้ ได ้ จำ�เลยท่ี ๒ รบั ซ้อื ฝากทด่ี ินดังกล่าว
จากจำ�เลยที่ ๑ แม้จะพ้นกำ�หนดเวลาไถ่ถอนการขายฝากแล้ว จำ�เลยที่ ๒ ก็ไม่ได้กรรมสิทธิ์และ
จะยกเหตุที่กระท�ำ โดยสจุ ริตและเสียคา่ ตอบแทนขน้ึ อา้ งหาได้ไม่
๔๒. คำ�พพิ ากษาฎกี าท่ี ๒๑๖๓/๒๕๒๓ เจา้ มรดกทำ�พินยั กรรมฉบบั แรกระบใุ ห้โจทก์
กับพวกเป็นผู้จัดการมรดก  ต่อมาได้ทำ�พินัยกรรมอีกฉบับหน่ึงซึ่งมิได้กล่าวถึงการเป็นผู้จัดการมรดก
และมิได้ระบุไวใ้ หย้ กเลกิ หรือเพิกถอนพินัยกรรมฉบับที่ท�ำ ขน้ึ ก่อนแต่ประการใด ฉะน้นั โจทก์จงึ ยงั มี
สิทธเิ ป็นผ้จู ดั การมรดกตามพินยั กรรมฉบบั แรก
๔๓. ค�ำ พพิ ากษาฎกี าท ่ี ๑๕๗๙/๒๕๒๔ พยานรบั รองลายพมิ พน์ ว้ิ มอื ของผทู้ �ำ พนิ ยั กรรม
หาจำ�ต้องเขียนบอกไวว้ า่ รบั รองลายพมิ พน์ ิ้วมือไว้ในพนิ ยั กรรม เพียงแตม่ ีลายพมิ พ์นวิ้ มือแล้วมพี ยาน
๒ คน ที่รเู้ หน็ การพิมพ์นิ้วมอื ลงลายมือชอ่ื ก�ำ กับไวเ้ ปน็ การเพียงพอแลว้
๔๔. ค�ำ พพิ ากษาฎกี าท ่ี ๑๘๔๓ – ๑๘๔๔/๒๕๒๕ ผตู้ ายเขยี นกรอกขอ้ ความในแบบพมิ พ์
หนังสือมอบอำ�นาจของกรมที่ดิน  แสดงเจตนากำ�หนดเผื่อตายในเรื่องทรัพย์ของตนไว้โดยเจตนายก
ทรพั ยส์ นิ ของตนใหแ้ กโ่ รงเรยี น วดั มลู นธิ ิ และบคุ คลตา่ งๆ ตามทร่ี ะบไุ ว ้ เมอ่ื ตนไดถ้ งึ แกก่ รรมไปแลว้
โดยใหผ้ รู้ อ้ งเปน็ ผจู้ ดั การใหเ้ ปน็ ไปตามเจตนาของตน เอกสารนจ้ี งึ เปน็ พนิ ยั กรรมตามประมวลกฎหมาย
แพ่งและพาณชิ ย ์ มาตรา ๑๖๔๖
แม้แบบพิมพ์หนังสือมอบอำ�นาจจะมีข้อความบางตอนพิมพ์อยู่แล้ว  แต่ถ้าตัดข้อความ
ตามแบบพิมพ์นี้ออกไปคงเหลือแต่เฉพาะใจความที่ผู้ตายเขียนด้วยมือตนเองก็มีสาระสำ�คัญครบถ้วน
เป็นพินัยกรรมเอกสารเขยี นเองทง้ั ฉบับที่สมบรู ณช์ อบด้วยประมวลกฎหมายแพง่ และพาณชิ ย์ มาตรา
๑๖๕๗ หาเป็นโมฆะไม่
๔๕. คำ�พิพากษาฎีกาที่  ๒๙๒๔/๒๕๒๕  หนังสือที่ผู้ตายทำ�ขึ้นระบุว่าเป็นพินัยกรรม
แต่ข้อความกลับมีเพียงว่า  ผู้ตายตกลงยกที่ดินให้เท่านั้น  ไม่มีข้อความกำ�หนดการเผ่ือตายตาม
ประมวลกฎหมายแพง่ และพาณิชย์ มาตรา ๑๖๔๖ บัญญตั บิ ังคบั ไว ้ จงึ ไมใ่ ช่พนิ ัยกรรม
๔๖. คำ�พิพากษาฎีกาที่  ๑๗๗/๒๕๒๘  พินัยกรรมทำ�ขึ้นในขณะเจ้ามรดกมีสติดี
สามารถแสดงเจตนาทำ�พินัยกรรมได้  แม้จะเป็นบุคคลผู้เสมือนไร้ความสามารถ  ก็เพียงไม่สามารถ
จัดการงานบางประการของตนเองได้เท่านั้น  การทำ�พินัยกรรมเป็นกิจการเฉพาะตัวที่จะต้องแสดง
เจตนาด้วยตนเองและผ้พู ทิ ักษ์ก็ไดใ้ หค้ วามยินยอมแลว้ พนิ ัยกรรมจงึ สมบูรณต์ ามกฎหมาย
๔๗. ค�ำ พิพากษาฎีกาที่ ๓๙๙๒/๒๕๒๘ ผู้ตายท�ำ พินยั กรรมยกท่ีดินจำ�นวน ๕ ไร่
ให้แก่จำ�เลยและจำ�เลยก็ทราบดีเพราะได้เซ็นช่ือเป็นผู้รับทรัพย์ในพินัยกรรมด้วย  แต่เม่ือโจทก์และ
จ�ำ เลยไปย่ืนค�ำ รอ้ งขอรับมรดกท่ีดนิ นัน้ ปรากฏวา่ มบี ันทึกข้อตกลงของทายาทวา่ โจทก์และจำ�เลย

๔๓๕
มิได้ขอรับมรดกตามพินัยกรรม  แต่ขอรับมรดกในฐานะทายาทโดยธรรมและมีทายาทของผู้ตายอีก
๒ คน ขอสละมรดก เจ้าพนกั งานท่ดี นิ จงึ ไดจ้ ดทะเบยี นในหนังสือรบั รองการทำ�ประโยชน์ที่ดินพพิ าท
โดยมโี จทกแ์ ละจ�ำ เลยเป็นผมู้ ีสทิ ธคิ รอบครองทด่ี ินพพิ าทรว่ มกัน ในกรณีเช่นน้ีถือว่าตามค�ำ รอ้ งขอรบั
มรดกและบันทึกข้อตกลงน้ันเป็นสัญญาประนีประนอมยอมความ  ตามประมวลกฎหมายแพ่งและ
พาณิชย์ มาตรา ๘๕๐ โจทก์จำ�เลยซึ่งขอรับมรดกอย่างทายาทโดยธรรมเพียง ๒ คน ย่อมมีสิทธิ
ครอบครองท่ดี นิ พิพาทคนละคร่งึ หน่งึ และต่างก็ครอบครองท่ีดนิ พิพาทรว่ มกนั และแทนกนั จ�ำ เลยจงึ
ต้องแบ่งท่ีดินพพิ าทใหโ้ จทกค์ ร่งึ หนึง่
๔๘. คำ�พิพากษาฎีกาที่ ๕๔๐๔/๒๕๓๓ พยานในพินัยกรรมซึ่งจะเป็นผู้รับทรัพย์ตาม
พนิ ยั กรรมนน้ั ไมไ่ ด ้ ตามความหมายแหง่ ประมวลกฎหมายแพง่ และพาณชิ ย ์ มาตรา ๑๖๕๓ วรรคหนง่ึ
หมายถึงพยานซ่ึงต้องลงลายมือช่ือในแบบพินัยกรรมที่ทำ�ข้ึนน้ัน  การท่ีจำ�เลยซ่ึงเป็นผู้รับทรัพย์
ตามพินัยกรรมนั่งอยู่ด้วยในขณะท่ีผู้ทำ�พินัยกรรมทำ�พินัยกรรม  แต่มิได้ลงลายมือช่ือเป็นพยานใน
พินัยกรรม  หาเป็นพยานในพินัยกรรมตามบทบัญญัติดังกล่าวไม่  ดังนี้  พินัยกรรมดังกล่าวจึงไม่ตก
เป็นโมฆะ
๔๙. คำ�พิพากษาฎีกาที่  ๓๕๕๗/๒๕๓๖  เจ้ามรดกทำ�พินัยกรรมยกทรัพย์มรดกให้แก่
ผู้ร้องเพียงผู้เดียว โดยตั้งผู้ร้องเป็นผู้จัดการมรดก และในพินัยกรรมได้ระบุตัดผู้คัดค้านมิให้รับมรดก
ไว้ด้วย  ถือว่าเจ้ามรดกแสดงเจตนาชัดแจ้งตัดผู้คัดค้านมิให้รับมรดก  ผู้คัดค้านจึงไม่ใช่ทายาทหรือ
ผู้มีส่วนได้เสียในกองมรดกที่จะร้องขอเป็นผู้จัดการมรดกได้  แม้ผู้ร้องและผู้คัดค้านจะทำ�สัญญา
ประนีประนอมยอมความกันเพื่อให้ผู้คัดค้านได้รับทรัพย์มรดกของเจ้ามรดกบางส่วนและยอมให้
ผู้คัดค้านเป็นผู้จัดการมรดกแทนผู้ร้องก็ตาม  ก็หาใช่เป็นการสละมรดกหรือสละพินัยกรรมไม่เพราะ
การสละมรดกเพียงบางส่วน  หรือสละพินัยกรรมเพื่อไม่รับมรดกตามพินัยกรรมเพียงบางส่วนกระทำ�
ไม่ได้  เมื่อพินัยกรรมระบุต้ังให้ผู้ร้องเป็นผู้จัดการมรดกไว้โดยเฉพาะแล้ว  ก็ไม่ชอบที่จะตั้งผู้คัดค้าน
เป็นผ้จู ัดการมรดกอันเปน็ การฝนื เจตนารมณ์ของเจ้ามรดก
๕๐. คำ�พิพากษาฎีกาที่ ๔๐/๒๕๓๙ จำ�เลยไม่ใช่พยานในการทำ�พินัยกรรม การที่
จำ�เลยลงชื่อเป็นพยานรับรองลายพิมพ์นิ้วมือผู้ทำ�พินัยกรรม  ถือไม่ได้ว่าได้ลงชื่อเป็นพยานรับรอง
พนิ ัยกรรม ไมม่ ีผลให้ขอ้ กำ�หนดพินยั กรรมยกท่ดี นิ แกจ่ �ำ เลยเปน็ โมฆะ
๕๑. คำ�พิพากษาฎีกาท่ี  ๔๘๐๔/๒๕๓๙  ส. เจ้ามรดกได้ทำ�พินัยกรรมเอกสาร
ฝา่ ยเมอื งยกทด่ี นิ เฉพาะสว่ นของเจา้ มรดกใหแ้ กโ่ จทก์ ๓๐ ไร่ ใหแ้ กจ่ �ำ เลยท่ี ๑ จ�ำ นวน ๙ ไร่ ๑ งาน
๓๔ ตารางวา  ระหว่างมีชีวิตอยู่เจ้ามรดกได้จำ�หน่ายท่ีดินแปลงดังกล่าวบางส่วนไป  คงเหลือที่ดิน
เปน็ ทรพั ย์มรดกอยู่ ๘ ไร่ ๑ งาน ๔๐.๕ ตารางวา กรณเี ปน็ เรือ่ งที่ทรพั ยส์ ินอันเป็นวตั ถุแหง่ พนิ ยั กรรม
ไดโ้ อนไปโดยสมบรู ณด์ ว้ ยความตง้ั ใจของผทู้ �ำ พนิ ยั กรรม  ขอ้ ก�ำ หนดพนิ ยั กรรมอนั เกย่ี วกบั ทรพั ยส์ นิ นน้ั
เป็นอันเพิกถอนไปเฉพาะบางส่วนเท่าน้ัน  ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์  มาตรา  ๑๖๙๖ 

๔๓๖
ส่วนพินัยกรรมยังใช้ได้อยู่ไม่ได้สิ้นผลลงท้ังฉบับหรือข้อกำ�หนดในส่วนของโจทก์ได้ถูกเพิกถอนไป
คงมผี ลอยเู่ ฉพาะสว่ นของจ�ำ เลยท ่ี ๑ และไมใ่ ชพ่ นิ ยั กรรมทอ่ี าจตคี วามเปน็ หลายนยั อนั จะตอ้ งถอื เอา
ตามนัยที่จะสำ�เร็จผลตามความประสงค์ของผู้ทำ�พินัยกรรมตามมาตรา  ๑๖๘๔ โจทก์ยงั คงมีสทิ ธิ
ตามพินัยกรรมตามส่วนของท่ีดินท่ีเหลอื อยูจ่ �ำ นวน ๘ ไร่ ๒ งาน ๔๐.๕ ตารางวา
๕๒. คำ�พิพากษาฎีกาที่  ๕๑๒๐/๒๕๓๙  ผู้ตายทำ�พินัยกรรมยกที่ดินให้แก่ บ. และ
ระบุไวใ้ นพินัยกรรมวา่ บุคคลอน่ื ใดมไิ ดร้ ะบไุ ว้ในพินยั กรรมน้ี ไม่มสี ทิ ธริ ับมรดกของขา้ ฯ มิได้ระบุไว้
ให้ชัดเจนว่า  ตัดผู้คัดค้านมิให้รับมรดกจึงถือมิได้ว่าเป็นการตัดผู้คัดค้านมิให้รับมรดก  ตามประมวล
กฎหมายแพ่งและพาณิชย ์ มาตรา ๑๖๐๘
๕๓. คำ�พิพากษาฎีกาที่  ๑๐๘๓/๒๕๔๐  ในการทำ�พินัยกรรมเกี่ยวกับสินสมรส
ระหวา่ งสามีภริยาตอ้ งบงั คับตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา ๑๔๘๑ ท่รี ะบวุ า่ สามี
หรือภริยาไม่มีอำ�นาจทำ�พินัยกรรมยกสินสมรสที่เกินกว่าส่วนของตนให้แก่บุคคลใดได้ ดังนั้น
แม้ข้อเท็จจรงิ จะฟังได้วา่ โจทกต์ กลงยนิ ยอมให้ ช. สามี ทำ�พินยั กรรมยกสินสมรสของตนให้บคุ คลอ่ืน
ข้อตกลงยินยอมน้ันย่อมฝ่าฝืนต่อบทบัญญัติดังกล่าว  และยังขัดต่อความมุ่งหมายของประมวล
กฎหมายแพง่ และพาณชิ ย์ มาตรา ๑๖๔๖ ทก่ี ำ�หนดให้บคุ คลใดๆ มสี ิทธทิ ำ�พินยั กรรมยกทรัพย์สินให้
บุคคลอ่ืนได้ก็แต่เฉพาะทรัพย์สินท่ีเป็นของตนเท่าน้ัน  เหตุน้ีข้อตกลงยินยอมดังกล่าวจึงไม่ทำ�ให้พินัย
กรรมท่ี  ช. จัดทำ�มีผลผูกพันไปถึงที่ดินสินสมรสท่ีเป็นส่วนของโจทก์ด้วย  โจทก์ย่อมฟ้องขอให้ศาล
พพิ ากษาแสดงวา่ พนิ ัยกรรมไม่มผี ลผูกพันสนิ สมรสทเ่ี ป็นส่วนของโจทก์ได้
๕๔. ค�ำ พพิ ากษาฎกี าท ่ี ๙๔๑๒/๒๕๔๒  นอกจากหวั ขอ้ ดา้ นบนจะระบวุ า่ พนิ ยั กรรมแลว้
ยงั มีขอ้ ความตอ่ ไปว่า “ข้าพเจา้ อ. ขอแสดงเจตนาเพอ่ื ท�ำ พนิ ัยกรรมข้ึนไวด้ งั ต่อไปน ี้ ทดี่ ินตาม….….
ขา้ พเจา้ ขอยกใหแ้ ก…่ ......………แตเ่ พยี งผูเ้ ดียว” และ “ข้อกำ�หนดพินัยกรรมนี้เป็นไปตามเจตนาของ
ข้าพเจ้าทุกประการ”  บุคคลทั่วไปย่อมเข้าใจได้ว่า  อ. มีเจตนาจะยกทรัพย์สมบัติให้แก่ผู้มีชื่อใน
พินัยกรรมนั้นเมื่อ อ. ตาย หาใช่มีเจตนายกให้ขณะยังมีชีวิตอยู่ไม่ ทั้งตามพจนานุกรมฉบับ
ราชบัณฑิตยสถาน  พ.ศ. ๒๕๒๕  ให้ความหมายคำ�ว่า  “พินัยกรรม”  ไว้ว่า  “เอกสารแสดงเจตนา
กำ�หนดการเผื่อตายในเร่ืองทรัพย์สินหรือในการต่างๆ  อันจะเกิดเป็นผลบังคับได้ตามกฎหมายเม่ือ
ผู้ท�ำ พินยั กรรมตาย” ถอื ไดว้ า่ อ. ได้ก�ำ หนดการเผือ่ ตายในเรือ่ งทรัพย์สนิ ของตนไว้แล้ว
บทบัญญัติตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์  มาตรา  ๑๖๔๖  มิใช่แบบของ
พนิ ยั กรรมทบ่ี งั คบั ใหต้ อ้ งระบขุ อ้ ความก�ำ หนดการเผอ่ื ตายโดยตอ้ งมคี �ำ วา่ “เผอ่ื ตาย” ระบไุ วโ้ ดยชดั แจง้
๕๕. ค�ำ พพิ ากษาฎกี าท ่ี ๑๐๙๗/๒๕๔๔  การท�ำ พนิ ยั กรรมแบบเอกสารฝา่ ยเมอื งจะตอ้ ง
ท�ำ ตามแบบทก่ี ฎหมายก�ำ หนดไว ้ ตามประมวลกฎหมายแพง่ และพาณชิ ย์ มาตรา ๑๖๕๘ ทบ่ี ญั ญตั วิ า่
“(๑) ผทู้ �ำ พนิ ยั กรรมตอ้ งไปแจง้ ขอ้ ความทต่ี นประสงคจ์ ะใหใ้ สไ่ วใ้ นพนิ ยั กรรมของตนแกก่ รมการอ�ำ เภอ
ต่อหน้าพยานอกี อยา่ งน้อยสองคนพรอ้ มกัน (๒) กรมการอำ�เภอตอ้ งจดขอ้ ความท่ีผูท้ ำ�พนิ ยั กรรมแจง้

๔๓๗
ใหท้ ราบนนั้ ลงไว้และอ่านข้อความน้ันใหผ้ ูท้ �ำ พนิ ยั กรรมและพยานฟัง….…”  เม่อื ข้อเทจ็ จรงิ ปรากฏว่า
ในการทำ�พินัยกรรมมีเฉพาะ ส. เข้าไปในบ้านเพื่อทำ�พินัยกรรมให้กับ บ. ตามที่ได้ยื่นคำ�ร้องไว ้
โดยปลัดอำ�เภออาวุโสรักษาราชการแทนนายอำ�เภอกับ  ถ.  น่ังรับประทานอาหารอยู่ที่ร้านอาหาร
ตรงกันข้ามกับปากตรอกทางเข้าบ้าน บ. เมื่อทำ�พินัยกรรมเสร็จแล้ว ส. จึงนำ�พินัยกรรมนั้นมาให้
ปลดั อำ�เภออาวโุ สรักษาการแทนนายอำ�เภอ และ ถ. ลงลายมอื ช่อื ท่รี ้านอาหาร แม้ในหน้าสุดทา้ ย
ของพินัยกรรมจะระบุว่า  ปลัดอำ�เภอรักษาการแทนนายอำ�เภอรับรองว่าเป็นผู้ทำ�หน้าท่ีจดข้อความ
แต่ข้อเท็จจรงิ กลับปรากฏวา่ ผทู้ ำ�หนา้ ท่ีจดขอ้ ความคือ ส. แมจ้ ะฟังวา่ ปลดั อ�ำ เภอรกั ษาราชการแทน
นายอำ�เภอสั่งให้ ส. ช่วยจดข้อความ แต่ขณะจดข้อความนั้นมิได้กระทำ�ต่อหน้าพยานอย่างน้อย
สองคนพรอ้ มกนั พนิ ยั กรรมนจ้ี งึ ขดั ตอ่ บทบญั ญตั มิ าตรา ๑๖๕๘ และตกเปน็ โมฆะ ตามมาตรา ๑๗๐๕
๕๖. คำ�พิพากษาฎีกาท่ี ๑๓๖๗/๒๕๔๔ จ. ทำ�พนิ ยั กรรมไวท้ ี่อ�ำ เภอระบวุ า่ ขอมอบ
ที่ดินให้เป็นที่สาธารณสมบัติแก่สุเหร่าคันนายาวเพื่อเก็บเงินซึ่งได้จากค่าเช่าที่ดินใช้เป็นประโยชน์ใน
ทางกุศลของสเุ หรา่ คันนายาว จะทำ�การหกั โอนให้เปน็ สทิ ธิโดยสมบูรณไ์ ดต้ อ่ เม่อื สุเหรา่ คนั นายาวได้
จดทะเบียนเป็นมลู นิธิถกู ต้องตามกฎหมายแล้ว เปน็ การแสดงถึงเจตนาโดยแนช่ ดั ของ จ. ว่าจะยก
ที่ดินให้แก่สุเหร่าคันนายาวเม่ือได้จดทะเบียนเป็นมูลนิธิแล้ว  แม้ภายหลังจำ�เลยมิได้จดทะเบียนเป็น
มลู นธิ ิแต่กไ็ ดจ้ ดทะเบยี นเป็นมสั ยดิ ซง่ึ ลกั ษณะเป็นองค์การสาธารณกุศลตรงตามวตั ถุประสงคข์ อง จ.
ที่ดินจึงตกเป็นของจำ�เลย โจทก์ซึ่งเป็นผู้จัดการมรดกของ จ. ไม่มีอำ�นาจนำ�มาแบ่งปันแก่ทายาท
โดยธรรมอกี ต่อไป
๕๗. คำ�พิพากษาฎีกาที่ ๗๙๒๙/๒๕๔๔ พนิ ัยกรรมเอกสารฝ่ายเมืองระบุวา่ เจ้ามรดก
ยกท่ดี นิ พพิ าทให้แกโ่ จทก์ทั้งสอง แม้ขณะท�ำ พนิ ยั กรรมเจา้ มรดกมสี ิทธิในท่ดี ินพิพาทตามค�ำ พพิ ากษา
ศาลช้นั ต้นท่ีใหเ้ พิกถอนการให้ทีด่ นิ ระหวา่ งเจ้ามรดกกบั จ�ำ เลยท่ี ๑ ในคดกี อ่ น และเจา้ มรดกมสี ิทธิ
ฟอ้ งขอใหเ้ พกิ ถอนนติ กิ รรม ระหวา่ ง จ�ำ เลยท่ี ๑ กบั จ�ำ เลยท่ี ๒ สทิ ธทิ ง้ั สองประการกเ็ ปน็ สทิ ธเิ กย่ี วกบั
ท่ีดินพิพาท  จึงเป็นทรัพย์สินของเจ้ามรดก  พินัยกรรมของเจ้ามรดกดังกล่าวเห็นได้ว่า  เจ้ามรดกมี
เจตนาทำ�พินัยกรรมให้โจทก์ท้ังสองมีสิทธิตามคำ�พิพากษาศาลช้ันต้นในคดีก่อน  รวมทั้งสิทธิในการ
ขอให้เพิกถอนนิติกรรมอันเป็นสิทธิเกี่ยวกับที่ดินพิพาทด้วย  เม่ือที่ดินพิพาทเป็นที่ดินตามท่ีระบุไว้
ในพินัยกรรม จึงถือไม่ได้ว่าเจ้ามรดกทำ�พินัยกรรมเกี่ยวกับทรัพย์สินของผู้อื่น พินัยกรรมดังกล่าว
จงึ สมบรู ณ์บังคบั ได้ตามกฎหมาย สิทธติ ามท่ีกล่าวในทด่ี นิ พิพาทจงึ ตกเป็นกรรมสิทธ์ิของโจทกท์ ง้ั สอง
ในฐานะผู้รับพินัยกรรมตามกฎหมาย โจทกท์ ัง้ สองจงึ มีอำ�นาจฟ้องขอใหเ้ พกิ ถอนนติ ิกรรมดังกลา่ ว
๕๘. คำ�พิพากษาฎีกาที่  ๘๐๔๕/๒๕๔๔  การทำ�พินัยกรรมเอกสารฝ่ายเมืองซ่ึงตาม
ประมวลกฎหมายแพง่ และพาณิชย์ มาตรา ๑๖๕๘ (๑) บัญญตั วิ า่ ผทู้ �ำ พนิ ยั กรรมต้องไปแจ้งขอ้ ความ
ทต่ี นประสงคจ์ ะใสไ่ วใ้ นพนิ ยั กรรมของตนแกก่ รมการอ�ำ เภอตอ่ หนา้ พยานอกี อยา่ งนอ้ ยสองคนพรอ้ มกนั
แต่ขณะปลดั อ�ำ เภอ ค. สอบถามความประสงค์ของผู้ตายในการท�ำ พินัยกรรมนน้ั ผตู้ ายนอนปว่ ยอยู่

๔๓๘
บนรถพยาบาลไม่สามารถลงจากรถได้และ พ. ซงึ่ เป็นผพู้ ิมพ์ข้อความในพนิ ยั กรรมและลงลายมอื ช่อื
เป็นพยานในพินยั กรรม ไม่ได้เหน็ ตวั ผูท้ �ำ พนิ ยั กรรม ปลดั อ�ำ เภอ ค. กับผ้รู ้องเปน็ คนบอกให้ พ. พิมพ์
พินัยกรรม จากน้นั ปลัดอ�ำ เภอ ค. กบั ผรู้ อ้ งไดน้ �ำ พนิ ยั กรรมไปอา่ นให้ผทู้ �ำ พนิ ัยกรรมฟงั แล้วน�ำ กลบั มา
ให้ พ. ลงลายมือช่ือเป็นพยาน จึงฟังได้ว่าผู้ตายมิไดแ้ จ้งข้อความท่ีตนประสงค์ จะให้ใสไ่ ว้ในพนิ ัยกรรม
ของตนตอ่ หน้าพยานสองคนพร้อมกัน ซ่งึ การอยู่ตอ่ หน้าพยานนน้ั จะต้องอยู่ต่อหนา้ โดยพยานได้เห็น
ได้ยินผู้ทำ�พินัยกรรมแจ้งข้อความ  มิใช่เพียงแต่เห็นมีการทำ�พินัยกรรมและข้อความในพินัยกรรม
เทา่ น้ัน ดงั น้นั พินัยกรรมดงั กล่าวจงึ ไม่สมบรู ณ์ ไมม่ ีผลบังคับ
๕๙. ค�ำ พพิ ากษาฎกี าท ่ี ๖๙๘๑/๒๕๔๕  หนงั สอื ยนื ยนั รบั รองทผ่ี ตู้ ายท�ำ ขน้ึ ไมม่ ถี อ้ ยค�ำ
ทร่ี ะบเุ ปน็ พนิ ยั กรรมและค�ำ สง่ั เผอ่ื ตาย ขอ้ ความทร่ี ะบใุ หพ้ นิ ยั กรรมฝา่ ยเมอื งฉบบั แรกถอื เปน็ พนิ ยั กรรม
ที่ใช้ได้ และข้อความที่ไม่รับรองเอกสารซึ่งผู้ตายลงลายมือชื่อไว้ เมื่อวันที่ ๒๐ พฤษภาคม ๒๕๔๐
และขอยกเลิกเอกสารดังกล่าวเป็นเรื่องการยืนยันและเพิกถอนพินัยกรรมของตนท่ีได้ทำ�ไว้เท่านั้น
มใิ ช่มลี กั ษณะเปน็ พนิ ยั กรรม ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณชิ ย์ มาตรา ๑๖๔๖
ผู้ทำ�พินัยกรรมจะเพิกถอนพินัยกรรมของตนเสียท้ังหมดหรือแต่บางส่วนในเวลาใดก็ได้
ตามประมวลกฎหมายแพง่ และพาณชิ ย์ มาตรา ๑๖๙๓ แตใ่ นการเพิกถอนพินยั กรรมนนั้ กฎหมาย
ก�ำ หนดวธิ ีการไว้ ๔ กรณี ตามมาตรา ๑๖๙๔ ถึงมาตรา ๑๖๙๗ คอื การท�ำ พนิ ัยกรรมฉบบั หลังข้ึน
มาเพิกถอนพนิ ัยกรรมฉบับกอ่ น การท�ำ ลายหรือขีดฆา่ พนิ ยั กรรมดว้ ยความตั้งใจ การโอนหรอื ท�ำ ลาย
ทรัพย์สินอันเป็นวัตถุแห่งข้อกำ�หนดพินัยกรรมด้วยความสมัครใจ  และการทำ�พินัยกรรมฉบับหลังมี
ขอ้ ความขดั กนั กบั พนิ ยั กรรมฉบบั กอ่ น กฎหมายมไิ ดก้ �ำ หนดวธิ กี ารอน่ื ใดนอกจากนม้ี ผี ลเปน็ การเพกิ ถอน
พินัยกรรมได้ ฉะนั้น การที่ผู้ตายทำ�หนังสือยืนยันรับรองมีข้อความว่าไม่รับรองเอกสารฉบับลงวันที่
๒๐ พฤษภาคม ๒๕๔๐ ท่ีมผี นู้ �ำ มาใหล้ งช่ือ แม้จะแปลได้วา่ ผู้ตายมีเจตนาเพกิ ถอนหรอื ไมร่ ับรอง
พินัยกรรมลงวันท่ี  ๒๑  พฤษภาคม  ๒๕๔๐  ของตนนั้น  แต่เม่ือหนังสือยืนยันรับรองดังกล่าวไม่มี
ลักษณะเปน็ พนิ ัยกรรมจงึ ไมม่ ผี ลเป็นการเพกิ ถอนพนิ ัยกรรมได้
๖๐. คำ�พิพากษาฎีกาที่  ๓๗๗๖/๒๕๔๕  พินัยกรรมที่มีพยานลงลายมือชื่อสองคน
แตม่ ไิ ดล้ งวนั เดือน ปี ท่ที ำ�พินยั กรรม ถือว่าเป็นพินยั กรรมทีท่ ำ�ขึน้ โดยขดั ต่อประมวลกฎหมายแพง่
และพาณชิ ย์ มาตรา ๑๖๕๖ ย่อมเปน็ โมฆะ ตามมาตรา ๑๗๐๕
๖๑. คำ�พิพากษาฎีกาที่  ๓๙๗๙/๒๕๔๕  พินัยกรรมซึ่งยกทรัพย์มรดกให้ผู้ร้องมีผู้
ลงลายมอื ชอ่ื เปน็ พยานแตผ่ ทู้ ต่ี ายมไิ ดล้ งลายมอื ชอ่ื ในพนิ ยั กรรมตอ่ หนา้ พยานอยา่ งนอ้ ยสองคนพรอ้ มกนั
จึงมิได้ทำ�ตามแบบที่ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา ๑๖๕๖ วรรคหนึ่ง บัญญัติไว้
ย่อมเป็นโมฆะ ตามมาตรา ๑๗๐๕ ทรัพย์มรดกของผู้ตายตกทอดได้แก่ทายาทโดยธรรมของผู้ตาย
เสมือนหนึ่งมิได้มีการทำ�พินัยกรรมไว้ ผู้ร้องซึ่งเป็นภริยาไม่ชอบด้วยกฎหมายของผู้ตาย จึงไม่มี
อ�ำ นาจรอ้ งขอต่อศาลขอใหต้ ง้ั ตนเองเป็นผจู้ ัดการมรดกของผู้ตายตามพินยั กรรม

๔๓๙
๖๒. ค�ำ พิพากษาฎีกาท่ ี ๖๔๓๓/๒๕๔๖ ผตู้ ายซึ่งเป็นพระภิกษเุ ขียนพินัยกรรมข้นึ เอง
ทัง้ ฉบับมกี ารลงวนั เดือน ปี และลายมอื ช่ือของผ้ตู ายไวค้ รบถว้ นถกู ตอ้ งตามทป่ี ระมวลกฎหมายแพ่ง
และพาณชิ ย์ มาตรา ๑๖๗๕ วรรคหน่งึ บญั ญตั ไิ ว้ โดยเฉพาะข้อกำ�หนดในพินยั กรรมข้อ ๑ ที่ระบุวา่
“ทรัพย์สินเงินทองและข้าวของต่างๆ  ของข้าพเจ้าที่อยู่ในห้องของข้าพเจ้าน้ีมอบให้กับทายาทของ
ขา้ พเจา้ ในเมื่อขา้ พเจ้าตายไปแลว้ ” นนั้ ก็มีความหมายชดั แจง้ อยู่ในตวั แลว้ วา่ ผ้ตู ายประสงค์จะยก
ทรัพย์สินเงินทองท้ังหมดซึ่งรวมท้ังเงินในสมุดบัญชีเงินฝากธนาคารที่พบในห้องนอนของผู้ตายให้แก่
ทายาทเม่อื ผตู้ ายมรณภาพ การท่ีผูต้ ายเขยี นขอ้ ความเพิ่มเติมต่อไปวา่ “และสมุดเงินฝากในธนาคาร
ตา่ งๆ ดว้ ย” แมจ้ ะไม่ชอบตามมาตรา ๑๖๕๗ วรรคสอง เพราะผ้ตู ายมิได้ลงลายมือชอ่ื ก�ำ กบั ไว้ ก็มี
ผลเพียงว่าไม่มีการเติมข้อความดังกล่าวเท่าน้ัน  ส่วนข้อความอื่นยังคงสมบูรณ์  หามีผลทำ�ให้
พนิ ัยกรรมที่สมบรู ณอ์ ยแู่ ล้วตอ้ งตกเปน็ โมฆะไม่
๖๓. คำ�พิพากษาฎีกาที่  ๓๖๗๕/๒๕๔๗  พินัยกรรมท่ีทำ�ข้ึนขัดต่อบทบัญญัติของ
กฎหมายที่จะทำ�ให้เป็นโมฆะนั้น ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา ๑๗๐๕ บัญญัติไว้
โดยเฉพาะแล้วว่ามีกรณีใดบ้าง  แต่ไม่ได้บัญญัติให้พินัยกรรมท่ีทำ�ไม่ถูกต้องตามมาตรา  ๑๖๗๑
เปน็ โมฆะ พนิ ยั กรรมทผ่ี ตู้ ายท�ำ ไวโ้ ดยไมป่ รากฏผเู้ ขยี นหรอื ผพู้ มิ พพ์ นิ ยั กรรมและไมม่ ลี ายมอื ชอ่ื ผเู้ ขยี น
หรือผู้พิมพ์พินัยกรรมจึงไม่เป็นโมฆะ  ประกอบกับขณะทำ�พินัยกรรม  พยานในพินัยกรรมท้ังส่ีคน
อยู่พร้อมกันและผู้ตายลงลายมือช่ือในพินัยกรรมต่อหน้า  พ.  และ  ป.  พินัยกรรมดังกล่าวจึงถูกต้อง
ตามแบบทม่ี าตรา ๑๖๕๖ กำ�หนดไว้ และมผี ลสมบรู ณต์ ามกฎหมาย
๖๔. ค�ำ พพิ ากษาฎกี าท ่ี ๒๕๓๖/๒๕๔๘  การขดี ฆา่ ค�ำ วา่ “ดงั น”้ี ในพนิ ยั กรรมออกไป
เพราะเป็นการพมิ พข์ อ้ ความตกไปแลว้ พมิ พใ์ หม่เป็นวา่ “ให้มผี ลเมือ่ ข้าพเจ้าตายแลว้ ดงั น”ี้ การขีดฆา่
ค�ำ ว่า “ดงั น”้ี ไมม่ ผี ลต่อความสมบูรณ์ของขอ้ ความในพนิ ยั กรรม เพราะแมไ้ มม่ ีการขดี ฆา่ ค�ำ ดงั กล่าว
และไม่พิมพ์ข้อความใหม่ข้อความท่ีพิมพ์ก่อนหน้านั้นก็ระบุชัดเจนว่าเป็นใบมอบทรัพย์สิน  (มรดก)
ให้แก่จำ�เลยผู้รับมรดกเพียงผู้เดียว การรับมรดกย่อมจะมีผลต่อเมื่อเจ้ามรดกถึงแก่ความตายอยู่แล้ว
ส่วนการขีดฆ่าคำ�ว่า  “ผู้รับมอบ”  แล้วพิมพ์ข้อความใหม่เป็นว่า  “พยาน”  ก็เพ่ือให้ตรงกับความ
เปน็ จริงวา่ จ. ลงลายมอื ชื่อเป็นพยานในการทำ�พนิ ยั กรรมมใิ ช่เปน็ ผรู้ ับมอบ การแก้ไขดังกล่าวมิใช่
เปน็ การตก เติม แกไ้ ข เปลี่ยนแปลง พนิ ัยกรรมท่ีตอ้ งมกี ารลงลายมอื ชื่อกำ�กับ ทงั้ เปน็ การแก้ไขกอ่ น
ที่ผู้ทำ�พินัยกรรมและพยานลงลายมือช่ือในพินัยกรรมจึงไม่ต้องปฏิบัติ  ตามประมวลกฎหมายแพ่ง
และพาณิชย ์ มาตรา ๑๖๕๖ วรรคสอง ไม่ท�ำ ให้พินยั กรรมเป็นโมฆะ
๖๕. คำ�พิพากษาฎีกาที่  ๓๐๔๕/๒๕๔๘  เจ้ามรดกไม่ได้แจ้งข้อความที่ประสงค์จะ
ให้ใส่ไว้ในพินัยกรรมของตนต่อหน้าพยานท้ังสองคนพร้อมกัน  พินัยกรรมท่ีทำ�เป็นเอกสารฝ่ายเมือง
ยอ่ มตกเปน็ โมฆะ ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา ๑๗๐๕

๔๔๐
ภ.  และ  ก.  ไม่ได้ลงลายมือชื่อเป็นพยานพร้อมกันในขณะจัดทำ�พินัยกรรม  ซ่ึงตาม
ประมวลกฎหมายแพง่ และพาณชิ ย์ มาตรา ๑๖๕๖ วรรคหนง่ึ บัญญตั ิว่า ผ้ทู ำ�พนิ ยั กรรมตอ้ งลงลายมือ
ชื่อไว้ต่อหน้าพยานสองคนพร้อมกันซึ่งพยานสองคนนั้นต้องลงลายมือชื่อรับรองลายมือชื่อของผู้ทำ�
พินัยกรรมไว้ในขณะนั้น  ดังน้ี  พินัยกรรมจึงมิได้ทำ�ขึ้นตามแบบท่ีบทกฎหมายดังกล่าวบัญญัติไว้
ย่อมเปน็ โมฆะตามมาตรา ๑๗๐๕
๖๖. ค�ำ พพิ ากษาฎกี าท ่ี ๓๓๘๑/๒๕๔๙  พนิ ยั กรรมขอ้  ๒ ทม่ี ขี อ้ ก�ำ หนดยกทด่ี นิ ใหแ้ ก่
ผูร้ ้องโดยน�ำ ทด่ี นิ ดังกลา่ วไปจดั การอย่างใดๆ  เพอ่ื ก่อใหเ้ กดิ ผลประโยชนแ์ ละน�ำ ผลประโยชนท์ เ่ี กิดขึ้น
ไปดำ�เนินการก่อตั้งมูลนิธิ เป็นการได้กำ�หนดยกกรรมสิทธิ์ในที่ดินให้แก่ผู้รับพินัยกรรมแล้ว เพียงแต่
ใหผ้ รู้ บั พนิ ยั กรรมน�ำ ผลประโยชนท์ ไ่ี ดจ้ ากทด่ี นิ ไปกอ่ ตง้ั มลู นธิ ซิ ง่ึ เปน็ กรณที จ่ี ะด�ำ เนนิ การตอ่ ไปหลงั จาก
ทรัพย์มรดกเป็นของผู้รับพินัยกรรม  และมรดกได้ก่อเกิดผลประโยชน์แล้ว  ข้อกำ�หนดตาม
พินัยกรรมขอ้ น้จี งึ ไมต่ กเปน็ โมฆะ ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณชิ ย ์ มาตรา ๑๗๐๖ (๓)
๖๗. คำ�พิพากษาฎีกาที่  ๖๖๒๘/๒๕๔๙  ผู้ตายได้เขียนบันทึกและลงลายมือชื่อไว้
มีขอ้ ความว่า “บอกเอย๋ (หมายถึงโจทก)์ ให้ขยนั ท�ำ งานบ้านบ้าง ไปไหนให้กลับเรว็ หน่อย อย่ากลบั คาํ่
อย่างทเี่ คยท�ำ ได้แบง่ ที่ดินให้เอย๋ คร่งึ หนง่ึ เขาจะได้ไม่คัดค้านเรา” ขอ้ ความในบนั ทกึ ดังกลา่ วไม่ได้
แสดงใหเ้ หน็ ว่าผตู้ ายมเี จตนาจะยกท่ีดินของตนคร่ึงหน่ึงให้แกโ่ จทกเ์ มื่อผู้ตายถึงแกก่ รรมแล้ว จงึ มใิ ช่
เปน็ การแสดงเจตนาก�ำ หนดการเผอ่ื ตายในเรอ่ื งทรพั ยส์ นิ ของผตู้ าย ยอ่ มไมม่ ผี ลสมบรู ณเ์ ปน็ พนิ ยั กรรม
ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณชิ ย์ มาตรา ๑๖๔๖
๖๘. คำ�พพิ ากษาฎีกาท่ี ๗๑๙๙/๒๕๕๒ ตามขอ้ ก�ำ หนดในพินยั กรรมเขียนเองระบวุ ่า
เม่ือเจ้ามรดกถึงแก่ความตายแล้วบ้านและที่ดินพิพาทนั้น  เจ้ามรดกขอยกให้สิทธิอยู่อาศัยและสิทธิ
เก็บกินแก่จำ�เลยมีอำ�นาจครอบครองและเก็บกินได้จนตลอดชีวิต  แต่ถ้าจำ�เลยถึงแก่ความตายลง
เมื่อใดแล้ว ให้บ้านและที่ดินดังกล่าวนี้ตกเป็นกรรมสิทธิ์โดยสมบูรณ์แก่บุตรที่เกิดจาก ฉ. ทุกคน
โดยให้บตุ รของ ฉ. ทกุ คนมสี ว่ นกรรมสิทธิใ์ นบ้านและทีด่ นิ ดงั กล่าวนี้เทา่ กัน ขอ้ ก�ำ หนดในพนิ ัยกรรม
ดงั กลา่ ว เจ้ามรดกมิได้ยกกรรมสิทธ์ใิ นบ้านและท่ดี นิ พพิ าทให้แก่จ�ำ เลย เพยี งแตใ่ หส้ ทิ ธอิ ยู่อาศยั และ
เกบ็ กนิ ตลอดชีวิตแก่จำ�เลยเท่านั้น สิทธขิ องจำ�เลยในฐานะผรู้ ับพินัยกรรมก็มีเพียงตามที่ก�ำ หนดไว้ใน
พินัยกรรมเท่าน้นั สว่ นกรรมสทิ ธใิ์ นบ้านและท่ีดินพิพาทจะต้องตกทอดได้แกโ่ จทก์ทง้ั สามซึ่งเป็นบุตร
ของ ฉ. เมอื่ จำ�เลยถึงแกค่ วามตายแล้ว ตามเง่ือนไขบังคับกอ่ นที่ผทู้ ำ�พินยั กรรมระบุใหพ้ ินยั กรรมมีผล
บังคบั ให้เรยี กรอ้ งกนั ไดภ้ ายหลัง ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา ๑๖๗๓ ประกอบ
มาตรา ๑๖๗๔ วรรคสอง จงึ ตอ้ งถอื วา่ นบั แตเ่ จา้ มรดกถึงแกค่ วามตายและข้อก�ำ หนดในพินยั กรรม
เฉพาะส่วนของจำ�เลยมีผลน้ันก็มีผลเพียงให้จำ�เลยมีสิทธิอยู่อาศัยและเก็บกินในบ้านและที่ดินพิพาท
จนตลอดชีวติ ของจำ�เลยเทา่ น้ัน จึงต้องถือว่าจ�ำ เลยครอบครองบ้านและทด่ี นิ พิพาทแทนโจทก์ท้ังสาม
ผู้รับพินัยกรรมซ่ึงมีเง่ือนไขบังคับก่อนและเง่ือนไขนั้นยังไม่สำ�เร็จเท่านั้น  จำ�เลยจึงไม่มีสิทธิท่ีจะยก

๔๔๑
อายคุ วามข้ึนต่อสโู้ จทก์ท้ังสามได้ ทั้งนเ้ี พราะมาตรา ๑๗๕๕ รับรองสทิ ธขิ องบุคคลท่ีจะยกอายุความ
ขึ้นต่อสู้ได้ก็แต่เฉพาะบุคคลซ่ึงเป็นทายาทหรือบุคคลซึ่งชอบท่ีจะใช้สิทธิของทายาทหรือโดยผู้จัดการ
มรดกเท่านัน้
จำ�เลยไมม่ ีสิทธทิ ี่จะยน่ื ค�ำ ขอรบั มรดกบ้านและท่ดี ินพพิ าทมาเป็นของตน เนอ่ื งจากบา้ น
และที่ดินพิพาทเป็นทรัพย์มรดกท่ีเจ้ามรดกได้ทำ�พินัยกรรมระบุยกให้แก่โจทก์ทั้งสามแล้ว  เพียงแต่
เง่ือนไขบังคับก่อนท่ีกำ�หนดให้บ้านและท่ีดินพิพาทตกทอดได้แก่โจทก์ทั้งสามยังไม่สำ�เร็จเพราะจำ�เลย
ยังไม่ถึงแก่ความตายเท่านนั้ บา้ นและทด่ี ินพพิ าทจึงมใิ ชท่ รัพย์นอกพินัยกรรมอนั จะตกทอดแก่จำ�เลย
ในฐานะทายาทโดยธรรม ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา ๑๖๒๐
๖๙. คำ�พิพากษาฎีกาท่ี  ๑๑๐๓๔/๒๕๕๓  ศาลชั้นต้นกำ�หนดประเด็นข้อพิพาทไว้
ประเดน็ เดียวว่า พนิ ยั กรรมตามฟอ้ งปลอมหรอื ไม่ แตใ่ นคำ�ฟ้องนอกจากจะอา้ งวา่ พนิ ัยกรรมตามฟ้อง
เปน็ พนิ ยั กรรมปลอมแลว้ โจทกย์ งั บรรยายฟอ้ งมาดว้ ยวา่ บคุ คลทล่ี งลายมอื ชอ่ื เปน็ พยานในพนิ ยั กรรม
ตา่ งมไิ ดร้ เู้ หน็ ขณะท ่ี ส. ลงลายมอื ชอ่ื ในพนิ ยั กรรม พนิ ยั กรรมจงึ ตกเปน็ โมฆะทง้ั ฉบบั ขอ้ อา้ งของโจทก์
ดังกล่าว ถือเป็นการยกเอาแบบของพินัยกรรมมาเป็นข้อต่อสู้เพื่อให้พินัยกรรมไม่มีผลใช้บังคับด้วย
แมศ้ าลชน้ั ตน้ จะมิไดก้ �ำ หนดเป็นประเด็นขอ้ พิพาท แต่เป็นปญั หาขอ้ กฎหมายอันเกยี่ วด้วยความสงบ
เรียบร้อยของประชาชน ศาลอุทธรณ์ภาค ๕ ยกขึ้นวินิจฉัยได้ ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณา
ความแพ่ง มาตรา ๒๒๕ วรรคสอง
พยานในพินัยกรรมลงลายมือช่ือในพินัยกรรมโดยไม่เห็นเหตุการณ์ขณะทำ�พินัยกรรม
แต่มาลงลายมอื ชอื่ ในภายหลงั ยอ่ มไมช่ อบด้วยประมวลกฎหมายแพง่ และพาณชิ ย์ มาตรา ๑๖๕๖
วรรคแรก และทำ�ให้พนิ ัยกรรมเปน็ โมฆะ ตามมาตรา ๑๗๐๕ ไปในทนั ที แมต้ ่อมาภายหลังพยาน
ในพินัยกรรมจะมาสอบถามผู้ทำ�พินัยกรรมและได้ความว่าผู้ทำ�พินัยกรรมมีความประสงค์จะทำ�
พนิ ยั กรรมจรงิ   กไ็ มม่ ผี ลท�ำ ใหก้ ารลงลายมอื ชอ่ื ในพนิ ยั กรรมทไ่ี มช่ อบหรอื พนิ ยั กรรมทเ่ี ปน็ โมฆะไปแลว้
กลบั กลายเป็นการลงลายมอื ชอ่ื ท่ีชอบทำ�ใหพ้ ินยั กรรมมผี ลสมบูรณช์ อบด้วยกฎหมายไปได้
๗๐. ค�ำ พพิ ากษาฎีกาท่ี ๗๐๕๗/๒๕๕๔ ประมวลกฎหมายแพง่ และพาณชิ ย์ มาตรา
๑๖๖๒ ก�ำ หนดหลักเกณฑใ์ นการเกบ็ รักษาพินัยกรรมแบบเอกสารฝา่ ยเมอื งว่าโดยปกตจิ ะตอ้ งเกบ็ ไว้
ทท่ี ว่ี า่ การอ�ำ เภอ แตถ่ า้ ผทู้ �ำ พนิ ยั กรรมประสงคจ์ ะเกบ็ รกั ษาเองกรมการอ�ำ เภอกต็ อ้ งสง่ มอบให ้ แตก่ อ่ น
ส่งมอบพินยั กรรมคืน กรมการอ�ำ เภอจะตอ้ งคัดส�ำ เนาไว้พร้อมลงลายมอื ชือ่ และประทบั ตราตำ�แหน่ง
เป็นส�ำ คญั แล้วเก็บรักษาไวท้ ี่ท่ีวา่ การอ�ำ เภอนั้น
พ. และ ส. ผ้ทู ำ�พนิ ยั กรรมต้องการจะรับพินยั กรรมกลบั ไปเกบ็ ไวเ้ อง และเจา้ พนักงาน
กรมการอำ�เภอก็ได้คัดถ่ายสำ�เนาพินัยกรรมเก็บไว้ท่ีท่ีว่าการอำ�เภอ  เป็นการปฏิบัติถูกต้อง  ตาม
ประมวลกฎหมายแพง่ และพาณิชย์ มาตรา ๑๖๖๒ แล้ว การทีพ่ ินัยกรรมเอกสารฝา่ ยเมืองท่ี พ. และ
ส. เปน็ ผู้ท�ำ พนิ ยั กรรมไม่ไดเ้ ก็บไว้ท่ที ว่ี ่าการอ�ำ เภอ จึงไมข่ ดั ต่อกฎหมายอันจะมีผลท�ำ ใหพ้ ินยั กรรมน้ัน
ไม่สมบูรณ์หรอื เป็นโมฆะ


Click to View FlipBook Version