The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

คู่มือการจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรมเกี่ยวกับการโอนที่ดินและอสังหาริมทรัพย์อย่างอื่น (ปี 2557)

สำนักมาตรฐานการทะเบียนที่ดิน

Keywords: ด้านบริหารงานที่ดิน

๒๔๒
๙. การจดทะเบยี นโอนกรรมสทิ ธห์ิ รอื สทิ ธคิ รอบครองในทด่ี นิ และอสงั หารมิ ทรพั ยท์ เ่ี ปน็
ส่วนควบของที่ดนิ ใหแ้ กโ่ รงเรยี นเอกชน เรียกเกบ็ คา่ ใชจ้ า่ ย ดังน้ี
(๑) กรณีผู้รับใบอนุญาตโอนกรรมสิทธ์ิหรือสิทธิครอบครองในท่ีดินและ
อสงั หาริมทรัพยท์ ่เี ปน็ สว่ นควบของทีด่ นิ ให้แกโ่ รงเรยี นในระบบ ตามมาตรา ๒๕ (๑) แห่งพระราช
บัญญตั โิ รงเรยี นเอกชน พ.ศ. ๒๕๕๐ ซึง่ แกไ้ ขเพมิ่ เตมิ โดยพระราชบัญญตั ิโรงเรยี นเอกชน (ฉบับท่ี ๒)
พ.ศ. ๒๕๕๔ จดทะเบียนในประเภท “โอนตามกฎหมาย (กรณีผรู้ บั ใบอนญุ าตเปน็ ผโู้ อน ตามมาตรา
๒๗ วรรคหนึ่ง แห่งพระราชบัญญัติโรงเรียนเอกชน พ.ศ. ๒๕๕๐ ที่แก้ไขแล้ว)” และกรณีที่เป็น
โรงเรียนในระบบโอนกรรมสิทธิ์หรือสิทธิครอบครองในที่ดินและอสังหาริมทรัพย์ที่เป็นส่วนควบของ
ที่ดินคืนให้แก่ผู้รับใบอนุญาต เจ้าของเดิม หรือทายาท เนื่องจากเลิกใช้ประโยชน์หรือเลิกกิจการ
(ซ่ึงเป็นโรงเรียนในระบบท่ีจัดตั้งข้ึนตามพระราชบัญญัติโรงเรียนเอกชน  พ.ศ. ๒๕๕๐  และโรงเรียน
ในระบบที่จัดตั้งขึ้นก่อนพระราชบัญญัติโรงเรียนเอกชน พ.ศ. ๒๕๕๐) จดทะเบียนในประเภท
“โอนตามกฎหมาย (โอนคืนผู้รับใบอนุญาต เจ้าของเดิม หรือทายาท ตามมาตรา ๒๗ วรรคสอง
แห่งพระราชบัญญัติโรงเรยี นเอกชน พ.ศ. ๒๕๕๐ ท่แี กไ้ ขแล้ว)” ทงั้ สองกรณไี ด้รบั ยกเวน้ ค่าธรรมเนยี ม
การจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรมตามมาตรา ๒๗ วรรคหนึ่ง หรือวรรคสอง (แล้วแต่กรณี)
แหง่ พระราชบัญญัติโรงเรียนเอกชน พ.ศ. ๒๕๕๐ ที่แก้ไขแล้ว
(๒) กรณีมีผู้บริจาคท่ีดินและอสังหาริมทรัพย์ท่ีเป็นส่วนควบของท่ีดินให้แก่โรงเรียน
ในระบบ จดทะเบียนในประเภท “โอนตามกฎหมาย (กรณีผู้บริจาคเป็นผู้โอน ตามมาตรา ๒๗/๑
แห่งพระราชบัญญัตโิ รงเรยี นเอกชน พ.ศ. ๒๕๕๐ ท่แี กไ้ ขแล้ว)” กรณีโรงเรียนในระบบโอนกรรมสทิ ธ์ิ
หรือสิทธิครอบครองในที่ดินและอสังหาริมทรัพย์ท่ีเป็นส่วนควบของที่ดินคืนแก่ผู้บริจาคหรือทายาท
เนื่องจากเลิกใช้ประโยชน์หรือเลิกกิจการ จดทะเบียนในประเภท “โอนตามกฎหมาย (โอนคืน
ผบู้ รจิ าคหรือทายาท ตามมาตรา ๒๗/๑ วรรคสาม แห่งพระราชบญั ญตั ิโรงเรยี นเอกชน พ.ศ. ๒๕๕๐
ที่แก้ไขแล้ว)”  ทั้งสองกรณีได้รับยกเว้นค่าธรรมเนียมการจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรมตามมาตรา 
๒๗/๑ วรรคหนง่ึ หรอื วรรคสาม (แลว้ แตก่ รณี) แหง่ พระราชบัญญตั โิ รงเรยี นเอกชน พ.ศ. ๒๕๕๐
ทแี่ ก้ไขแล้ว
(๓) กรณีการบริจาคที่ดินให้แก่โรงเรียนเอกชนเพ่ือสนับสนุนการศึกษาตามโครงการ
ทกี่ ระทรวงศึกษาธกิ ารให้ความเหน็ ชอบ ยังคงได้รบั ยกเว้นภาษเี งนิ ไดห้ ัก ณ ท่จี ่าย ภาษธี รุ กิจเฉพาะ
และอากรแสตมป ์ ตามพระราชกฤษฎกี าออกตามความในประมวลรษั ฎากร วา่ ดว้ ยการยกเวน้ รษั ฎากร
(ฉบับที่ ๔๒๐) พ.ศ. ๒๕๔๗ และประกาศอธิบดกี รมสรรพากร เรอ่ื ง กำ�หนดหลกั เกณฑ ์ วิธีการ และ
เงื่อนไข เพอื่ ยกเวน้ ภาษีเงนิ ได้ ภาษมี ูลค่าเพม่ิ ภาษธี ุรกิจเฉพาะ และอากรแสตมป์ สำ�หรับเงินได้ทจ่ี า่ ย
เป็นค่าใชจ้ ่ายเพอื่ สนับสนนุ การศึกษา ประกาศ ณ วันท่ี ๕ มกราคม พ.ศ. ๒๕๔๘ ซงึ่ กรมท่ีดนิ ได้วาง
ทางปฏบิ ัติไว้ตามหนังสือกรมทด่ี นิ ที ่ มท ๐๕๑๕.๑/ว ๒๒๔๕๕ ลงวันท่ี ๑๕ สงิ หาคม ๒๕๕๕
(๔) กรณีการยกเว้นภาษีอากร  ได้มีพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวล
รัษฎากร ว่าดว้ ยการยกเว้นรัษฎากร (ฉบบั ที่ ๕๕๘) พ.ศ. ๒๕๕๖ บัญญัติใหย้ กเว้นภาษีเงินได้ ภาษี

๒๔๓

มูลค่าเพ่มิ ภาษธี รุ กจิ เฉพาะ และอากรแสตมป์ ส�ำ หรบั เงินไดท้ ี่ได้รบั จากการโอนทรัพย์สินหรอื การ
กระทำ�ตราสารอันเน่ืองมาจากการบริจาคให้แก่สถานศึกษาของรัฐ  โรงเรียนเอกชนตามกฎหมาย
ว่าด้วยโรงเรียนเอกชน  แต่ไม่รวมถึงโรงเรียนนอกระบบตามกฎหมายว่าด้วยโรงเรียนเอกชนหรือ
สถาบันอุดมศึกษาเอกชนตามกฎหมายว่าด้วยสถาบันอุดมศึกษาเอกชน  ท่ีได้กระทำ�ต้ังแต่วันที่  ๑
มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๖ ถึงวันท่ี ๓๑ ธนั วาคม พ.ศ. ๒๕๕๘ และประกาศอธิบดีกรมสรรพากร เรื่อง
ก�ำ หนดหลกั เกณฑ์ วธิ ีการ และเง่อื นไข เพื่อการยกเวน้ ภาษีเงนิ ได้ ภาษีมลู คา่ เพิม่ ภาษีธุรกิจเฉพาะ
และอากรแสตมป์ สำ�หรบั การบริจาคใหแ้ กส่ ถานศกึ ษา ประกาศ ณ วนั ท่ี ๒๓ สงิ หาคม ๒๕๕๖
แตเ่ นอ่ื งจากกรมสรรพากรไมไ่ ดแ้ จง้ แนวทางปฏบิ ตั ใิ หท้ ราบ  พนกั งานเจา้ หนา้ ทจ่ี งึ ไมส่ ามารถพจิ ารณา
ยกเว้นภาษีอากรดังกล่าวได้  แต่ก็ได้ประสานขอทราบแนวทางปฏิบัติไปแล้ว  หากได้รับแจ้งจาก
กรมสรรพากรเม่อื ใดจะไดแ้ จง้ ใหพ้ นกั งานเจ้าหนา้ ท่ีทราบเพอ่ื ถือปฏิบัตติ ่อไป
(หนงั สอื กรมทดี่ นิ ท่ี มท ๐๕๑๕.๑/ว ๑๑๕๕๓ ลงวนั ที่ ๒๖ มถิ นุ ายน ๒๕๕๗)
l ค่าภาษเี งนิ ได้หกั ณ ท่จี า่ ย
๑. การจดทะเบียนให้เป็นการจดทะเบียนโอนกรรมสิทธิ์หรือสิทธิครอบครองใน
อสงั หาริมทรพั ย์โดยไมม่ ีค่าตอบแทน เข้าลักษณะเปน็ การ “ขาย” ตามมาตรา ๓๙ แหง่ ประมวล
รัษฎากร ต้องเสยี ภาษีเงินไดห้ กั ณ ทจ่ี ่ายตามมาตรา ๕๐ (๕) (ก) แหง่ ประมวลรษั ฎากร
๒. การจดทะเบียนให้อสังหาริมทรัพย์แก่บุตรโดยชอบด้วยกฎหมายของตนโดยไม่มี
คา่ ตอบแทน แตไ่ มร่ วมถงึ บตุ รบญุ ธรรม ไมอ่ ยใู่ นบงั คบั ตอ้ งเสยี ภาษเี งนิ ไดห้ กั ณ ทจ่ี า่ ย ตามกฎกระทรวง
ฉบับที่ ๑๕๕ (พ.ศ. ๒๕๒๕) ออกตามความในประมวลรษั ฎากร วา่ ดว้ ยการยกเวน้ รษั ฎากร ข้อ ๒ (๑๘)
แห่งกฎกระทรวงฉบับที่ ๑๒๖ (พ.ศ. ๒๕๐๙) ออกตามความในประมวลรัษฎากรว่าด้วยการยกเว้น
รัษฎากร และตามคำ�สั่งกรมสรรพากร ที่ ป. ๑๐๐ /๒๕๔๓ ลงวันที่ ๒๔ พฤศจิกายน ๒๕๔๓
ขอ้ ๑๐ (๒) แตก่ รณที ี่บดิ ายกใหแ้ ก่บุตรทีไ่ ม่ชอบดว้ ยกฎหมายต้องเสียภาษเี งนิ ได้หกั ณ ทจี่ ่าย
๓. การจดทะเบียนโอนกรรมสิทธิ์หรือสิทธิครอบครองในอสังหาริมทรัพย์ไปเป็นของ
ผใู้ ห้โดยการถอนคืนการใหต้ ามค�ำ สัง่ ศาล เข้าลกั ษณะเปน็ การ “ขาย” ตามมาตรา ๓๙ แห่งประมวล
รัษฎากร ตอ้ งหกั ภาษเี งินได ้ ณ ทจี่ า่ ย ตามมาตรา ๕๐ (๕) (ก) แห่งประมวลรัษฎากร (หนังสอื
กรมทด่ี นิ ท่ี มท ๐๕๑๕/ว ๓๓๒๔๑ ลงวันท่ี ๕ พฤศจิกายน ๒๕๔๕)
๔. การโอนกรรมสทิ ธห์ิ รอื สทิ ธคิ รอบครองในอสงั หารมิ ทรพั ยอ์ นั เปน็ มรดก หรอื ทไ่ี ดร้ บั
จากการให้โดยเสนห่ าท่ีตงั้ อยู่นอกเขตกรุงเทพมหานคร เทศบาล สุขาภบิ าล หรอื เมืองพัทยา หรอื การ
ปกครองทอ้ งถิน่ ที่กฎหมายจดั ต้ังข้ึนโดยเฉพาะ ท้งั นี้ เฉพาะการโอนในสว่ นทไ่ี ม่เกิน ๒๐๐,๐๐๐ บาท
ตลอดปภี าษนี น้ั ใหไ้ ดร้ บั ยกเวน้ ไมต่ อ้ งรวมค�ำ นวณเพอ่ื เสยี ภาษเี งนิ ไดต้ ามมาตรา ๔๒ (๑๗) แหง่ ประมวล
รษั ฎากร (ตามกฎกระทรวงฉบับท่ี ๑๒๖ (พ.ศ. ๒๕๐๙) ออกตามความในประมวลรษั ฎากร วา่ ด้วย
การยกเว้นรษั ฎากร ข้อ ๒ (๑๗) และตามค�ำ สงั่ กรมสรรพากร ท่ี ป. ๑๐๐/๒๕๔๓ ลงวนั ที่ ๒๔
พฤศจิกายน ๒๕๔๓ ขอ้ ๑๐ (๓))

๒๔๔
อน่ึง  การให้ดังกล่าวในเขตองค์การบริหารส่วนตำ�บลย่อมได้รับยกเว้นไม่ต้องรวม
คำ�นวณเพ่ือเสียภาษีเงินได้ในส่วนท่ีไม่เกิน  ๒๐๐,๐๐๐  บาท ด้วย (หนังสือกรมสรรพากร  ที่  กค
๐๘๑๑/๐๑๘๑๘ ลงวันที่ ๑๐ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๑ เวียนโดยหนังสือกรมที่ดินที่ มท ๐๗๑๐/ว
๐๖๔๖๘ ลงวนั ท่ี ๔ มนี าคม ๒๕๔๑)
๕. การหักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่าย กรณีบริษัทโอนกรรมสิทธิ์ในอสังหาริมทรัพย์ให้แก่
สว่ นราชการ กรณบี รษิ ทั จดทะเบยี นโอนกรรมสทิ ธท์ิ ด่ี นิ และโรงงานทก่ี อ่ สรา้ งเสรจ็ ใหแ้ กก่ รมสรรพสามติ
ก่อนวันท่ีบริษัทได้รับสิทธิในการทำ�และขายส่งสุรา  กรณียังไม่ถือว่าเป็นการขายตามมาตรา  ๓๙
แหง่ ประมวลรษั ฎากร จงึ ไมอ่ ยใู่ นบงั คบั ตอ้ งหกั ภาษเี งนิ ได้ ณ ทจ่ี า่ ย ตามมาตรา ๖๙ ทวิ แหง่ ประมวล
รัษฎากร  แต่ถ้าเป็นการโอนกรรมสิทธิ์ภายหลังที่ได้รับสิทธิในการทำ�และขายส่งสุราแล้ว  จึงถือว่า
การโอนกรรมสิทธิ์ดังกลา่ วเปน็ การขายตามมาตรา ๓๙ แห่งประมวลรษั ฎากร และตอ้ งมกี ารหกั ภาษี
เงนิ ได้ ณ ทจี่ า่ ย ตามมาตรา ๖๙ ทวิ แหง่ ประมวลรัษฎากร (หนงั สือกรมสรรพากร ด่วนมาก ท่ี กค
๐๘๐๒/๑๘๑๑๑ ลงวันที่ ๗ พฤศจิกายน ๒๕๒๖ เวียนโดยหนังสือกรมที่ดิน ที่ มท ๐๗๑๒/ว
๒๕๘๗๙ ลงวนั ที่ ๒๑ พฤศจิกายน ๒๕๒๖)
๖. กรณีชายหญิงผู้นับถือศาสนาอิสลามที่อยู่ในเขต ๔ จังหวัดภาคใต้ แม้จะไม่ได้
จดทะเบยี นสมรสกนั ตามมาตรา ๑๔๕๗ แหง่ ประมวลกฎหมายแพง่ และพาณชิ ย ์ แตไ่ ดท้ �ำ พธิ ี “นกิ ะห”์
ถกู ตอ้ งตามหลักศาสนาแล้ว ถอื ได้ว่าเปน็ สามภี ริยาโดยชอบดว้ ยกฎหมาย บุตรทีเ่ กิดมาเป็นบตุ รชอบ
ด้วยกฎหมายของบิดา  การจดทะเบียนให้บุตรดังกล่าวไม่ต้องเรียกเก็บภาษีเงินได้หัก  ณ  ท่ีจ่าย
(หนงั สือกรมสรรพากร ด่วนมาก ท่ี กค ๐๘๑๑/๑๓๕๗ ลงวันที่ ๑๓ กุมภาพนั ธ์ ๒๕๔๐ เวยี นโดย
หนงั สอื กรมท่ดี นิ ท ่ี มท ๐๗๑๐/ว ๐๙๓๓๘ ลงวันท ่ี ๒๖ มนี าคม ๒๕๔๐)
๗. การเรยี กเก็บภาษีเงินได้หกั ณ ท่ีจา่ ยและอากรแสตมปใ์ นการจดทะเบียนประเภทให้
(ระหว่างจำ�นอง) (หนังสือกรมสรรพากร ที่ กค ๐๘๑๑/๑๐๒๑๕ ลงวันที่ ๗ กรกฎาคม ๒๕๔๑
เวียนโดยหนงั สอื กรมท่ีดนิ ที ่ มท ๐๗๑๐/ว ๒๒๔๐๖ ลงวันท ี่ ๒๔ สงิ หาคม ๒๕๔๑) ดงั น้ี
(๑) ให้ (ระหวา่ งจ�ำ นอง) โดยผู้รบั ใหร้ ับภาระหนที้ ่ีจ�ำ นองเป็นประกัน การเรยี กเกบ็
ภาษีเงินได้จะต้องเรียกเก็บจากราคาประเมินทุนทรัพย์เพ่ือเรียกเก็บค่าธรรมเนียมจดทะเบียนสิทธิ
และนิติกรรม ตามประมวลกฎหมายที่ดิน ซึ่งเป็นราคาที่ใช้อยู่ในวันที่มีการโอนนั้น ตามมาตรา
๔๙ ทวิ แหง่ ประมวลรัษฎากร
(๒) การเรยี กเกบ็ อากรแสตมป์เป็นตัวเงนิ จะต้องเรียกเก็บจากราคาทนุ ทรพั ย์ในการ
จดทะเบียนสิทธิและนิติกรรม  หรือราคาประเมินทุนทรัพย์เพ่ือเรียกเก็บค่าธรรมเนียมจดทะเบียน
สิทธิและนิติกรรมตามประมวลกฎหมายที่ดิน แล้วแต่อย่างใดจะมากกว่า ตามมาตรา ๑๒๓ ตรี
แห่งประมวลรัษฎากร
(๓) ราคาทุนทรัพย์ในการจดทะเบยี นสิทธิและนิติกรรม หมายถงึ ราคา “ขาย”
ทแ่ี ทจ้ รงิ หรอื จ�ำ นวนเงนิ ทแ่ี สดงไวใ้ นใบรบั ตามจ�ำ นวนทส่ี มควรไดร้ บั ตามปกต ิ ตามมาตรา ๑๒๓ ตรี

๒๔๕

แห่งประมวลรัษฎากร  กรณีการให้  (ระหว่างจำ�นอง)  ที่ผู้รับให้ต้องรับภาระหนี้จำ�นองไปด้วยน้ัน
ทนุ ทรพั ยใ์ นการจดทะเบยี นสทิ ธิและนิตกิ รรม จึงหมายถึงหน้ีจ�ำ นองทผ่ี รู้ บั ใหย้ นิ ยอมรบั ภาระไปดว้ ย
การเรียกเก็บค่าอากรแสตมป์จะต้องเรียกเก็บโดยเทียบกับราคาประเมินทุนทรัพย์แล้วแต่อย่างใด
จะมากกวา่ (หนงั สอื กรมสรรพากร ท่ี กค ๐๘๑๑/๐๒๐๕๓ ลงวนั ที่ ๓ มีนาคม ๒๕๔๒ เวยี นโดย
หนังสือกรมท่ีดิน ท่ี มท ๐๗๑๐/ว ๑๐๒๕๘ ลงวันท่ี ๒๕ มนี าคม ๒๕๔๒)
l คา่ ภาษีธุรกิจเฉพาะ
๑. หลักเกณฑเ์ กยี่ วกับการเสียภาษีธุรกจิ เฉพาะ ตามหนังสอื กรมสรรพากร ดว่ นท่สี ุด
ท่ี กค ๐๘๑๑/๐๐๐๘๑ ลงวันท่ี ๖ มกราคม ๒๕๔๒ เวียนโดยหนงั สอื กรมที่ดนิ ด่วนที่สุด ท่ี มท
๐๗๑๐/ว ๐๐๙๐๕ ลงวันที่ ๑๑ มกราคม ๒๕๔๒ การจดทะเบยี นให้ เข้าลกั ษณะเป็นการ “ขาย”
ตามมาตรา ๙๑/๑ (๔) แห่งประมวลรัษฎากร หากในการจดทะเบียนให้ได้กระทำ�ภายในห้าปี
นับแต่วันที่ได้มาซึ่งอสังหาริมทรัพย์ย่อมอยู่ในบังคับต้องเสียภาษีธุรกิจเฉพาะตามมาตรา  ๙๑/๒  (๖)
แหง่ ประมวลรัษฎากร ประกอบกับมาตรา ๔ (๖) แห่งพระราชกฤษฎกี า ออกตามความในประมวล
รษั ฎากร วา่ ดว้ ยการขายอสังหาริมทรัพย์เปน็ ทางคา้ หรือหาก�ำ ไร (ฉบบั ที่ ๓๔๒) พ.ศ. ๒๕๔๑ เวน้ แต ่
(๑) กรณีผู้โอนมีช่ืออยู่ในทะเบียนบ้านตามกฎหมายว่าด้วยการทะเบียนราษฎร
เป็นเวลาไมน่ ้อยกว่าหนึ่งปีนับแตว่ ันทไ่ี ดม้ าซง่ึ อสงั หาริมทรพั ย์นั้น
(๒) การโอนกรรมสิทธ์ิหรือสิทธิครอบครองในอสังหาริมทรัพย์โดยไม่มีค่าตอบแทน
ให้แกบ่ ตุ รชอบดว้ ยกฎหมายแต่ไมร่ วมถึงบุตรบุญธรรม
(๓) การโอนกรรมสิทธ์ิหรือสิทธิครอบครองในอสังหาริมทรัพย์ให้แก่ส่วนราชการ
หรอื องคก์ ารของรฐั บาลตามมาตรา ๒ แหง่ ประมวลรัษฎากร โดยไมม่ คี า่ ตอบแทน
๒. ผขู้ ายอสงั หารมิ ทรพั ย์จะต้องเสียภาษธี รุ กจิ เฉพาะรอ้ ยละ ๓.๓ ตามราคาประเมิน
ทุนทรพั ย์ในการเรียกเก็บค่าธรรมเนียมจดทะเบยี นสทิ ธแิ ละนติ กิ รรมตามประมวลกฎหมายทดี่ นิ หรอื
ราคาซ้อื ขายอสงั หารมิ ทรัพย์แล้วแต่อย่างใดสูงกวา่
๓. กรณีได้มีการชำ�ระภาษีธุรกิจเฉพาะต่อพนักงานเจ้าหน้าท่ีผู้รับจดทะเบียนสิทธิและ
นิติกรรมแล้ว  ย่อมได้รับยกเว้นไม่ต้องเสียค่าอากรแสตมป์สำ�หรับใบรับจากการโอนอสังหาริมทรัพย์
ซง่ึ ค�ำ นวณจากจ�ำ นวนเงนิ ทไ่ี ดเ้ สยี ภาษธี รุ กจิ เฉพาะแลว้ ทง้ั น้ี ตามลกั ษณะแหง่ ตราสาร ๒๘. แหง่ บญั ชี
อัตราอากรแสตมป์ (หนังสือกรมสรรพากร ด่วนที่สุด ที่ กค ๐๘๑๑/๐๑๔๓๕ ลงวันที่ ๑๖
กุมภาพันธ์ ๒๕๔๒ เวียนโดยหนังสือกรมที่ดิน ด่วนที่สุด ที่ มท ๐๗๑๐/ว ๐๖๒๓๓ ลงวันที่ ๒๔
กมุ ภาพนั ธ ์ ๒๕๔๒)
๔. การจดทะเบียนโอนกรรมสิทธ์ิหรือสิทธิครอบครองในอสังหาริมทรัพย์ไปเป็นของ
ผู้ใหโ้ ดยการถอนคืนการใหต้ ามค�ำ สงั่ ศาลเข้าลกั ษณะเปน็ การ “ขาย” ตามมาตรา ๙๑/๒ (๔) แห่ง
ประมวลรษั ฎากร ดงั น้ัน หากเป็นการโอนกรรมสิทธ์หิ รอื สิทธิครอบครองในอสงั หารมิ ทรัพยค์ ืนให้แก่
ผู้ใหภ้ ายใน ๕ ปี นับแต่วนั ท่ผี รู้ ับใหไ้ ด้มาซึง่ ที่ดนิ นั้น ย่อมอยใู่ นบังคับตอ้ งเสียภาษีธุรกิจเฉพาะตาม

๒๔๖

มาตรา ๙๑/๒ (๖) แหง่ ประมวลรัษฎากร ประกอบกับมาตรา ๔ (๖) แห่งพระราชกฤษฎกี า ออกตาม
ความในประมวลรษั ฎากร วา่ ด้วยการขายอสงั หารมิ ทรพั ยเ์ ป็นทางการคา้ หรือหาก�ำ ไร (ฉบบั ท่ี ๓๔๒)
พ.ศ. ๒๕๔๑
๕. การโอนกรรมสิทธิ์หรือสิทธิครอบครองในที่ดิน  โดยไม่มีค่าตอบแทนให้แก่วัด
วัดบาทหลวงโรมนั คาธอริก  หรือมสั ยดิ   ทจี่ ัดตั้งขึ้นตามกฎหมายว่าดว้ ยการน้ัน เฉพาะการโอนที่ดนิ
ส่วนทที่ �ำ ใหว้ ัด วัดบาทหลวงโรมนั คาธอรกิ หรือมสั ยดิ มที ีด่ นิ ไมเ่ กิน ๕๐ ไร ่ ไดร้ บั การยกเว้นภาษ ี
เงินได้นิติบุคคลและภาษีธุรกิจเฉพาะ ตามพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร
ว่าด้วยการยกเว้นรัษฎากร (ฉบับที่ ๓๒๖) พ.ศ. ๒๕๔๑ และยกเว้นภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา
ตามกฎกระทรวงฉบับท่ี ๒๑๔ (พ.ศ. ๒๕๔๑) ออกตามความในประมวลรษั ฎากร วา่ ดว้ ยการยกเว้น
รัษฎากร (หนังสือกรมท่ีดิน ดว่ นทีส่ ดุ ที่ มท ๐๗๑๐/ว ๐๖๒๓๒ ลงวนั ที่ ๒๔ กมุ ภาพันธ์ ๒๕๔๒)
l คา่ อากรแสตมป์
๑. หนังสือสัญญาให้ท่ีดินถือเป็นใบรับ  อยู่ในบังคับต้องเสียอากรแสตมป์ตามลักษณะ
แหง่ ตราสาร ๒๘. (ข) แหง่ บญั ชอี ัตราอากรแสตมป์ และมาตรา ๑๐๔ แห่งประมวลรษั ฎากร การให้
โดยไมม่ คี า่ ตอบแทนจงึ ตอ้ งเสียอากรแสตมป์ ในอัตรารอ้ ยละ ๐.๕ จากทุนทรพั ย์ในการจดทะเบยี น
สิทธิและนิติกรรม  หรือราคาประเมินทุนทรัพย์เพื่อเรียกเก็บค่าธรรมเนียมจดทะเบียนสิทธิและ
นิตกิ รรมตามประมวลกฎหมายที่ดิน แลว้ แตอ่ ย่างใดจะมากกว่า (หนงั สือกรมที่ดนิ ที่ มท ๐๕๑๕/ว
๓๖๙๕๗ ลงวันที่ ๑๓ ธันวาคม ๒๕๔๕)
๒. กรณีการยกทีด่ ินใหว้ ัด เม่ือวดั ยอมรบั บริจาคที่ดินโดยไมม่ ีค่าตอบแทนตามสัญญาให้
(ท.ด.๑๔) วดั ซง่ึ เปน็ ผรู้ บั โอนกรรมสทิ ธใ์ิ นทด่ี นิ จงึ เปน็ ผอู้ อกใบรบั และเปน็ ผทู้ ต่ี อ้ งเสยี อากรตามลกั ษณะ
แหง่ ตราสารทกี่ ำ�หนด หากฝ่ายทตี่ อ้ งเสยี อากรเปน็ วดั วาอาราม อากรเปน็ อันไมต่ อ้ งเสีย วดั ซงึ่ เป็น
ฝา่ ยท่จี ะตอ้ งเสียอากร จึงไดร้ ับการยกเวน้ อากรตามมาตรา ๑๒๑ แหง่ ประมวลรษั ฎากร
กรณีจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรมให้โดยเสน่หาไม่มีค่าตอบแทน  หากฝ่ายผู้รับโอน
ซ่ึงเป็นฝ่ายที่ต้องเสียอากรได้รับยกเว้นอากรตามกฎหมาย  พนักงานเจ้าหน้าท่ีไม่ต้องเรียกเก็บอากร
แสตมป์ เชน่ กรณกี ารโอนกรรมสทิ ธิท์ ่ีดินโดยไมม่ คี า่ ตอบแทนใหแ้ ก่ ส่วนราชการ สภากาชาดไทย
วัด มัสยิด หรือองค์การศาสนาอื่นในราชอาณาจักรซึ่งเป็นนิติบุคคล เป็นต้น เนื่องจากหน่วยงาน
ที่รับโอนดังกล่าวได้รับการยกเว้นอากรตามมาตรา ๑๒๑ แห่งประมวลรัษฎากร (หนังสือกรมที่ดิน
ท่ ี มท ๐๕๑๕/ว ๓๔๔๓๒ ลงวนั ที่ ๑๐ พฤศจิกายน ๒๕๔๘)
๓. กรณีการให้  การโอนกรรมสิทธิ์หรือสิทธิครอบครองในอสังหาริมทรัพย์โดยไม่มี
ค่าตอบแทนในกรณีทีม่ ผี รู้ ับ อยู่ในหลกั เกณฑต์ ้องเสียอากรแสตมป์ตามลักษณะแห่งตราสาร ๒๘. (ข)
แห่งประมวลรัษฎากร  โดยผู้รับโอนเป็นผู้ออกใบรับและเป็นผู้ที่ต้องเสียอากรแสตมป์ตามลักษณะ
แห่งตราสารทก่ี �ำ หนด ตามประมวลรัษฎากร แต่หากฝา่ ยที่ตอ้ งเสียอากรเปน็ รัฐบาล เจา้ พนักงาน
ผกู้ ระท�ำ งานของรัฐบาลโดยหนา้ ที่ ฯลฯ อากรเป็นอันไมต่ อ้ งเสียตามมาตรา ๑๒๑ แห่งประมวล

๒๔๗

รัษฎากร  กรณีการโอนกรรมสิทธิ์หรือสิทธิครอบครองในอสังหาริมทรัพย์ให้เป็นสาธารณสมบัติของ
แผ่นดินซงึ่ เป็นกรณที ีไ่ มม่ ีผรู้ ับ เช่น ใหท้ ่ดี ินเปน็ ทางสาธารณประโยชน์ ฯลฯ ไม่ต้องเรียกเกบ็ อากร
แสตมป์
(หนังสือกรมสรรพากร ที่ กค ๐๗๐๖/ว ๑๐๘๓๗ ลงวันที่ ๒๗ ธันวาคม ๒๕๔๘
เวียนโดยหนงั สือกรมท่ีดนิ ท ่ี มท ๐๕๑๕/ว ๐๐๙๔๕ ลงวนั ที่ ๑๓ มกราคม ๒๕๔๙)
l ขอ้ ยกเว้น กรณดี ังต่อไปนไี้ มต่ อ้ งเรยี กเก็บอากรแสตมป์ใบรับ
๑. ฝา่ ยผู้รับโอนซ่ึงเป็นฝ่ายทต่ี อ้ งเสียอากรไดร้ ับยกเว้นอากรตามกฎหมาย เชน่ กรณี
โอนกรรมสทิ ธทิ์ ่ดี นิ โดยไมม่ ีคา่ ตอบแทนให้แก่สว่ นราชการ สภากาชาดไทย วดั มสิ ยิด หรือองคก์ าร
ศาสนาอ่ืนในราชอาณาจกั รซงึ่ เปน็ นิตบิ ุคคล เป็นต้น เนอื่ งจากหนว่ ยงานดงั กลา่ วไดร้ บั ยกเวน้ อากร
ตามมาตรา ๑๒๑ แห่งประมวลรษั ฎากร
๒. การโอนกรรมสิทธิ์หรือสิทธิครอบครองในอสังหาริมทรัพย์ให้เป็นสาธารณสมบัติ
ของแผน่ ดินซ่งึ เป็นกรณีท่ีไมม่ ผี รู้ ับ เช่น ใหท้ ด่ี นิ เป็นทางสาธารณประโยชน์ ฯลฯ
๓. การโอนมรดกให้แก่ทายาทโดยธรรม และทายาทตามพินยั กรรม

๒๔๘

ระเบียบกรมทด่ี ิน
ว่าด้วยการจดทะเบียนประเภทให้ กรรมสิทธ์ิรวม และโอนมรดก (สนิ สมรส)

__พ__.ศ_._ ๒_๕_๑__๙__
โดยทีบ่ ทบัญญัติบรรพ ๕ แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณชิ ย์ ซ่งึ ไดใ้ ช้บงั คับโดย
พระราชบญั ญตั ิใหใ้ ช้บทบัญญัติบรรพ ๕ แห่งประมวลกฎหมายแพง่ และพาณชิ ย์ พุทธศกั ราช ๒๔๗๗
ได้ถูกยกเลิกโดยพระราชบัญญัติให้ใช้บทบัญญัติบรรพ  ๕  แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
ทไ่ี ด้ตรวจชำ�ระใหม่ พ.ศ. ๒๕๑๙ และให้ใชบ้ ทบัญญตั ิบรรพ ๕ แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณชิ ย์
ท่ไี ด้ตรวจช�ำ ระใหมแ่ ทน
ฉะน้ัน  เพ่ือให้การปฏิบัติของพนักงานเจ้าหน้าที่เกี่ยวกับการจดทะเบียนประเภทให้
กรรมสทิ ธิร์ วมและโอนมรดกอนั เปน็ สินสมรสได้สอดคล้องกบั บทบญั ญตั ิ มาตรา ๑๔๗๔ (๒) แห่ง
ประมวลกฎหมายแพง่ และพาณชิ ย์ ทีไ่ ดต้ รวจช�ำ ระใหม่ดังกล่าว กรมท่ดี ินจึงวางระเบียบไว้ดงั ตอ่ ไปนี้
ขอ้ ๑ ในกรณีท่ีผู้ให้มีความประสงค์จะยกทรัพย์สินให้เป็นสินสมรส  ให้พนักงาน
เจ้าหนา้ ที่ปฏิบตั ิดงั น้ี
(๑) เร่ืองราวขอจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรม  (ท.ด.๑)  ให้ใช้ช่ือประเภทว่า
“ให้ (สินสมรส)” หรือ “กรรมสิทธ์ิรวม (สนิ สมรส)” และใหผ้ ขู้ อแสดงความประสงค์ไว้ในขอ้ ๖ วา่
“ผูใ้ ห้ยกทรัพยส์ ินรายนใี้ ห้เป็นสินสมรส”
(๒) หนงั สือสัญญาให้ หรอื บนั ทึกขอ้ ตกลง (กรรมสิทธิร์ วม) ใหร้ ะบุขอ้ ความ
เช่นเดยี วกบั (๑)
(๓) สารบญั จดทะเบียนในโฉนด หนงั สอื รับรองการท�ำ ประโยชน์ หรือทะเบียน
สิทธิและนิติกรรมเก่ียวกับอสังหาริมทรัพย์  (ท.อ.๑๓)  ให้เขียนในช่องประเภทการจดทะเบียนว่า
“ให้ (สินสมรส)” หรือ “กรรมสทิ ธริ์ วม (สินสมรส)”
ขอ้ ๒ ในกรณีท่ีผู้รับมรดกมาขอจดทะเบียนโอนมรดกโดยมีหนังสือพินัยกรรมแสดง
ไวใ้ ห้เป็นสินสมรส ใหพ้ นกั งานเจ้าหน้าที่รับจดทะเบียนในประเภท “โอนมรดก (สินสมรส)” โดยให้
ปรากฏในเรื่องราวขอจดทะเบียนสิทธิและนติ ิกรรม (ท.ด.๑) บันทกึ การสอบสวนขอจดทะเบียนโอน
มรดก (ท.ด.๘) และสารบัญจดทะเบยี นในโฉนด หนงั สือรบั รองการทำ�ประโยชน์ หรือทะเบยี นสิทธิ
และนิติกรรมเกี่ยวกบั อสังหารมิ ทรพั ย์ (ท.อ.๑๓) ทำ�นองเดียวกับ ขอ้ ๑ โดยอนุโลม
ข้อ ๓ ให้ยกเลิกคำ�ส่งั กรมทด่ี ิน ที่ ๕/๒๔๙๙ ลงวนั ท่ี ๒๑ กรกฎาคม ๒๔๙๙ และ
ระเบียบการอนื่ ในสว่ นท่มี ีอยแู่ ล้วหรือขัดแยง้ กบั ระเบยี บนี้
ข้อ ๔ ให้ใชร้ ะเบียบน้ตี งั้ แตบ่ ัดน้เี ปน็ ต้นไป
ประกาศ ณ วันท ี่ ๒๒ พฤศจิกายน ๒๕๑๙
(ลงช่ือ) ระดม มหาศรานนท์
(ร.ต.ท.ระดม มหาศรานนท)์
อธบิ ดีกรมท่ีดนิ

๒๔๙

ระเบยี บกรมทีด่ ิน
วา่ ด้วยการจดทะเบยี นสทิ ธแิ ละนติ ิกรรมเก่ียวกบั การให้ทด่ี นิ

และอสงั หาริมทรพั ยอ์ ย่างอื่น
__พ__.ศ_._ ๒_๕_๔__๘__

โดยที่เห็นเป็นการสมควรปรับปรุงหลักเกณฑ์และวิธีการจดทะเบียน
สิทธิและนิติกรรมเกี่ยวกับการให้ท่ีดินและอสังหาริมทรัพย์อย่างอ่ืน  เพื่อให้
พนักงานเจ้าหน้าที่สามารถปฏิบัติงานด้วยความสะดวกรวดเร็วและดำ�เนินไป
ตามที่กฎหมายกำ�หนดให้เป็นมาตรฐานเดียวกัน  กรมที่ดินจึงวางระเบียบไว้
ดงั ตอ่ ไปน้ี
ขอ้ ๑ ระเบียบนเ้ี รียกว่า “ระเบียบกรมที่ดนิ วา่ ดว้ ยการจดทะเบยี น ชือ่ ระเบียบ
สทิ ธแิ ละนติ กิ รรมเกย่ี วกบั การใหท้ ด่ี นิ และอสงั หารมิ ทรพั ยอ์ ยา่ งอน่ื พ.ศ. ๒๕๔๘”
ข้อ ๒ ระเบียบนี้ใหใ้ ชบ้ งั คับตงั้ แต่บดั นเ้ี ปน็ ต้นไป การบังคับใช้
ข้อ ๓ ใหย้ กเลกิ รยะกเเบลยีกิ บคำ�สง่ั ท่ี
(๑) คำ�สง่ั ท่ี ๖/๒๔๗๑ ลงวนั ที่ ๑ ตลุ าคม พระพทุ ธศกั ราช ๒๔๗๑
(๒) คำ�ส่ังที่ ๘/๒๔๘๑ ลงวนั ท่ี ๒๙ มิถนุ ายน พุทธศกั ราช ๒๔๘๑
(๓) ค�ำ สั่งกรมท่ีดินและโลหกจิ ๓/๒๔๘๒ ลงวันที่ ๒ พฤษภาคม
พทุ ธศกั ราช ๒๔๘๒
(๔) หนังสือกรมทีด่ ิน ท่ี ๑๓๘๘/๒๔๙๘ ลงวนั ท่ี ๑๔ กมุ ภาพันธ์
๒๔๙๘
(๕) หนงั สอื กรมท่ีดนิ ที่ มท ๐๖๑๒/๑/ว ๒๓๙๖๖ ลงวันที่ ๑ ตลุ าคม
๒๕๑๘
(๖) หนงั สือกรมที่ดิน ท่ี มท ๐๖๑๒/๑/ว ๘๕๔๓ ลงวนั ท่ี ๑๐
พฤษภาคม ๒๕๒๑
(๗) หนังสอื กรมทีด่ นิ ที่ มท ๐๗๐๘/ว ๒๒๙๗๑ ลงวนั ที่ ๑๐ ตลุ าคม
๒๕๓๒
บรรดาระเบยี บ ขอ้ ก�ำ หนด หรอื ค�ำ สง่ั อน่ื ใดทก่ี �ำ หนดไวแ้ ลว้ ในระเบยี บน้ี กรณีมีขอ้ ขัดแย้งกนั
หรือซงึ่ ขัดหรือแย้งกบั ระเบยี บนใ้ี หใ้ ช้ระเบียบนี้แทน
ข้อ ๔ ใหผ้ อู้ �ำ นวยการส�ำ นกั มาตรฐานการทะเบยี นทด่ี นิ เปน็ ผรู้ กั ษาการ ผรู้ กั ษาการระเบียบ
ตามระเบยี บน้ี

๒๕๐

หมวด ๑
การย่ืน_ค_�ำ _ข_อ_แ_ล_ะ_ก_า_ร_ส_อบสวน

การย่ืนค�ำ ขอ ขอ้ ๕ เม่ือมีผู้แสดงความประสงค์ขอจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรม
เก่ยี วกบั การใหท้ ่ดี ินและอสงั หารมิ ทรพั ย์อยา่ งอ่ืน ให้บุคคลนนั้ ยื่นค�ำ ขอตามแบบ
ท.ด.๑ สำ�หรบั ทด่ี นิ ที่มโี ฉนดท่ดี นิ หรอื แบบ ท.ด.๑ ก ส�ำ หรับทดี่ นิ ท่ียังไม่มโี ฉนด
ท่ดี ินและอสังหารมิ ทรพั ยอ์ ย่างอน่ื ต่อพนักงานเจา้ หนา้ ทพ่ี รอ้ มหนังสือแสดงสทิ ธิ
ในทีด่ นิ หรอื หลักฐานส�ำ หรบั อสงั หารมิ ทรพั ย์อยา่ งอ่ืนและหลักฐานทีเ่ กี่ยวข้อง
สกอฎบกสรวะนทตราวมง ขอ้ ๖ ให้พนักงานเจ้าหน้าท่ีสอบสวนผู้ขอตามนัยกฎกระทรวงฉบับ
ฉบับท่ี ๗ฯ ท่ี ๗ (พ.ศ.๒๔๙๗) ออกตามความในพระราชบญั ญัติให้ใชป้ ระมวลกฎหมายทดี่ ิน
พ.ศ.๒๔๙๗ และกฎกระทรวงฉบบั ท่แี ก้ไขรวมทั้งใหผ้ ู้ขอแจง้ ราคาทรพั ย์สินท่ขี อ
จดทะเบยี นดว้ ย
ข้อ ๗ ให้พนักงานเจ้าหน้าที่สอบสวนพยานหลักฐานแสดงความ
ให้ตรกงาตราสทมอีแ่ เบจทสตจ้ วนรนาิง สัมพันธ์ต่อกันระหว่างผู้ให้กับผู้รับให้และหลักฐานอื่น  โดยอาศัยอำ�นาจตาม
ความในมาตรา ๗๔ แหง่ ประมวลกฎหมายทดี่ นิ ใหไ้ ด้ความแนช่ ัดว่าเปน็ การให้
หรือเป็นการขาย  ถ้าข้อเท็จจริงเป็นการขายให้ช้ีแจงผู้ขอให้ทำ�สัญญาขายตาม
ความจรงิ แต่ถ้าเปน็ การให้กใ็ หแ้ จ้งผูข้ อทราบวา่ การทำ�นติ ิกรรมใหน้ ัน้ ผูใ้ หห้ รอื
ทายาทของผู้ให้อาจเรียกถอนคืนการให้ในภายหลังได้ในบางกรณี  เม่ือถอนคืน
การให้แลว้ ผู้รบั ให้จะหมดสทิ ธใิ นท่ีดิน
การเรียกหกรลณกั ฐีอา้านง ขอ้ ๘ กรณผี ขู้ ออา้ งวา่ เปน็ สามภี รรยากนั โดยชอบดว้ ยกฎหมาย หรอื
คตวาามมกสฎมั หพมนัายธ์ เปน็ บดิ ากบั บตุ รทช่ี อบดว้ ยกฎหมาย แตไ่ มส่ ามารถน�ำ หลกั ฐานการจดทะเบยี นสมรส
หรือหลักฐานการเป็นบิดากับบุตรท่ีชอบด้วยกฎหมายมาแสดงได้  ให้อนุโลมใช้
หลกั ฐานทางราชการทม่ี ีอยู่ เปน็ ต้นว่า ส�ำ เนาทะเบียนบา้ น หรอื บุคคลที่เชอื่ ถอื
ได้มารับรอง แต่ถ้าผู้ขอไมอ่ าจจะรอเพอื่ หาหลักฐานหรอื บุคคลมารบั รองได้ แต่
ได้ให้ถ้อยค�ำ รับรองยนื ยนั ก็ให้น�ำ เรื่องเสนอเจ้าพนักงานทีด่ ินจังหวัด/สาขา หรือ
นายอำ�เภอ หรอื ปลัดอ�ำ เภอผู้เปน็ หัวหน้าประจ�ำ กง่ิ อ�ำ เภอ แล้วแต่กรณี เพ่ือสัง่
การก่อนดำ�เนินการต่อไป หากเป็นกรณยี กเว้นภาษี ใหต้ รวจสอบเอกสารตาม
ขอ้ ๑๑
กรณใี หผ้ ้เู ยาว์ ขอ้ ๙ การจดทะเบียนสทิ ธิและนิตกิ รรมให้อสังหาริมทรัพยแ์ ก่ผ้เู ยาว์
โดยมีเงอื่ นไข โดยมเี ง่อื นไข หรือมีคา่ ภาระตดิ พนั ตามมาตรา ๑๕๗๔ (๙) แห่งประมวลกฎหมาย
แพ่งและพาณิชย์  เป็นต้นว่า  การให้โดยมีข้อกำ�หนดห้ามโอน  การให้แล้ว
จดทะเบียนสิทธิเก็บกินในคราวเดียวกัน  ให้พนักงานเจ้าหน้าที่เรียกคำ�สั่งศาล
หรอื ค�ำ พพิ ากษาศาลทอ่ี นญุ าตใหท้ �ำ นติ กิ รรมดงั กลา่ วจากผขู้ อเพอ่ื ด�ำ เนนิ การตอ่ ไป

๒๕๑

ขอ้ ๑๐ ใหพ้ นกั งานเจา้ หนา้ ทส่ี อบสวนขอ้ เทจ็ จรงิ เกย่ี วกบั สง่ิ ปลกู สรา้ ง กเกายี่ รวสกอบั บสส่งิ วปนลกู สรา้ ง
ในที่ดินของผู้ขอ  แล้วจดลงไว้ในคำ�ขอจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรม  (ท.ด.๑,
ท.ด.๑ ก) ดังน้ี
(๑) กรณที ี่ดินเปน็ ท่ีวา่ ง ใหร้ ะบุว่า “ไมม่ ีส่งิ ปลูกสรา้ ง” กรณที ด่ี ินเปลา่
(๒) กรณีส่ิงปลูกสร้างในที่ดินเป็นของผู้ให้  และผู้ให้ประสงค์จะ กรณีใหพ้ รอ้ ม
จดทะเบียนรวมกับที่ดนิ ให้ระบชุ นดิ ของสงิ่ ปลกู สรา้ งและความประสงค์ดังกล่าว สง่ิ ปลูกสรา้ ง
ลงไว้
(๓) กรณีสิ่งปลูกสร้างในที่ดินเป็นของผู้ท่ีจะรับให้อยู่ก่อนแล้ว  หรือ กรณใี หเ้ ฉพาะทีด่ นิ
เป็นของบคุ คลภายนอก โดยมีหลักฐานการแสดงความเปน็ เจ้าของส่ิงปลูกสร้าง ไม่รวมสง่ิ ปลูกสรา้ ง
นัน้ ให้ระบุว่า “ใหเ้ ฉพาะทีด่ นิ สว่ นส่งิ ปลกู สรา้ งในที่ดินเป็นของผ้รู ับให้หรอื เปน็
ของบคุ คลภายนอกอยกู่ ่อนแลว้ (แลว้ แตก่ รณ)ี ” แต่ถา้ ไม่มีหลักฐานพอทจ่ี ะเช่อื
ได้ว่าผูท้ จี่ ะรบั ใหห้ รอื บุคคลภายนอกเปน็ เจา้ ของสง่ิ ปลูกสร้างนั้นให้ระบุวา่ “ให้
เฉพาะท่ดี นิ ไม่เกีย่ วกบั สง่ิ ปลูกสรา้ งในทีด่ นิ ” แล้วประเมนิ ราคาเฉพาะที่ดนิ และ
จดทะเบียนโอนเฉพาะทด่ี นิ
(๔) การโอนให้เฉพาะสิ่งปลูกสร้าง  ถ้าสิ่งปลูกสร้างกับเจ้าของที่ดิน กรณใี หเ้ ฉพาะ
เป็นคนละคนกันต้องมีหลักฐานคำ�ยินยอมของเจ้าของท่ีดินให้โอนส่ิงปลูกสร้าง สง่ิ ปลูกสรา้ ง
น้นั ได ้ ซ่งึ การยนิ ยอมของเจา้ ของทด่ี ินต้องระบใุ ห้ชดั เจนวา่ สิ่งปลูกสรา้ งนั้นปลูก
อยบู่ นที่ดินหนงั สอื แสดงสิทธใิ นที่ดนิ เลขท่ีใด หม่ทู ่ี ต�ำ บล อ�ำ เภอ จังหวัดใด ผใู้ ด
เปน็ เจ้าของ ยนิ ยอมใหผ้ ้ขู อท�ำ การจดทะเบยี นหรือไม่ ถ้าทีด่ ินแปลงนั้นติดการ
จำ�นองอยตู่ ้องได้รับความยินยอมจากผู้รบั จำ�นองด้วย
ข้อ ๑๑ การโอนกรรมสทิ ธห์ิ รอื สทิ ธกิ ารครอบครองในอสงั หารมิ ทรพั ย์ การเรียกเอกสาร
ใหแ้ ก่บตุ รโดยชอบด้วยกฎหมาย ไม่รวมถึงบุตรบญุ ธรรม โดยไมม่ ีค่าตอบแทน –กรณใี ห้บตุ ร
ให้พนักงานเจ้าหน้าท่ีเรียกเอกสารหลักฐานดังต่อไปน้ีจากผู้ขอเพ่ือประกอบการ
พจิ ารณายกเวน้ ภาษเี งินไดห้ ัก ณ ท่จี ่าย
(๑) กรณีมารดาเป็นผู้โอน  ให้ตรวจสอบสูติบัตรหรือสำ�เนาทะเบียน –กรณีแมใ่ ห้
บ้าน หรือหนงั สือบนั ทกึ ฐานะแหง่ ครอบครัว
(๒) กรณบี ดิ าเปน็ ผโู้ อน ใหใ้ ชส้ ตู บิ ตั รหรอื ส�ำ เนาทะเบยี นบา้ นตรวจสอบ –กรณีพอ่ ให้
ยันกับทะเบียนสมรสของบิดามารดา  หรือหลักฐานการจดทะเบียนรับรองบุตร
หรอื คำ�พพิ ากษาศาลวา่ เป็นบตุ ร หรอื หนังสอื บนั ทึกฐานะแหง่ ครอบครวั
ถา้ บิดามารดาได้ทำ�การสมรสกอ่ นการใชบ้ งั คบั บทบญั ญตั ิ บรรพ ๕ ๑กรตณ.คีส.ม๒รส๔ก๗่อ๘น
แหง่ ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ (วนั ที่ ๑ ตุลาคม ๒๔๗๘) ใหต้ รวจสอบ
บนั ทึกฐานะแหง่ ภริยาซง่ึ บิดามารดา ค่สู มรสได้ขอให้นายทะเบยี นบันทกึ ไว้ ตาม

๒๕๒

มาตรา ๒๔ แห่งพระราชบัญญัตจิ ดทะเบยี นครอบครวั พ.ศ. ๒๔๗๘ ประกอบกบั
สูติบัตรหรือสำ�เนาทะเบียนบ้าน   แต่ถ้าไม่มีบันทึกดังกล่าวให้ตรวจสอบจาก
หลักฐานของทางราชการเท่าท่ีมีอยู่  คือ  สูติบัตร  หรือสำ�เนาทะเบียนบ้าน
ตรวจสอบยันกับหลักฐานการจดทะเบียนรับรองบุตร  หรือหนังสือบันทึกฐานะ
แห่งครอบครวั แล้วแตก่ รณี
กรณนี บั ถอื (๓) กรณีชายหญิงผู้นับถือศาสนาอิสลามที่อยู่ในเขต  ๔  จังหวัด
๔ ศจางั สหนวาัดอภิสาลคาใมต้ ภาคใต้ ไดแ้ ก ่ ปัตตานี นราธิวาส ยะลา และสตูล แมไ้ ม่ได้จดทะเบียนสมรสกัน
แต่ได้ทำ�พิธี  “นิกะห์”  ถูกต้องตามหลักศาสนาแล้ว  ถือได้ว่าเป็นสามีภริยา
โดยชอบด้วยกฎหมาย  บุตรท่ีเกิดมาถือว่าเป็นบุตรชอบด้วยกฎหมายของบิดา
มารดา  เม่ือบิดาจดทะเบียนโอนกรรมสิทธ์ิหรือสิทธิครอบครองในท่ีดินให้บุตร
โดยชอบด้วยกฎหมาย  โดยไม่มีค่าตอบแทน  ให้ผู้ขอโอนแสดงหนังสือสำ�คัญ
แสดงการสมรสท่ีออกโดยอิหม่ามของมัสยิดท่ีได้ประกอบพิธีสมรสให้  หรือ
ส�ำ เนาทะเบยี นบ้าน หรอื ทะเบยี นคนเกดิ หรือหนังสอื รบั รองบตุ ร หรือให้บิดา
มารดา  และพยานลงลายมือชื่อรับรองการเป็นสามีภริยาตามความเป็นจริงต่อ
หนา้ พนักงานเจา้ หน้าท่ี
หมวด ๒
ประ_เ_ภ_ท_ก_า_ร_จ_ด_ท_ะ_เบ_ยี น

ชื่อประเภท ข้อ ๑๒ การเขียนชื่อประเภทการจดทะเบียนให้พิจารณาข้อเท็จจริง
ดงั น้ี
“ให้” (๑) กรณมี ผี มู้ าขอจดทะเบยี นใหท้ ด่ี นิ ทง้ั แปลง หรอื ใหอ้ สงั หารมิ ทรพั ยใ์ ด
ท้ังหมด  ไม่ว่าที่ดินหรืออสังหาริมทรัพย์นั้นจะมีผู้ถือกรรมสิทธิ์คนเดียวหรือ
หลายคนทุกคนใหพ้ รอ้ มกันให้เขียนชอื่ ประเภทว่า “ให”้
“ใหเ้ ฉพาะส่วน” (๒) กรณีเจ้าของที่ดินหรืออสังหาริมทรัพย์มีหลายคน  แต่เจ้าของ
ทด่ี ินหรอื อสังหารมิ ทรพั ยน์ ้ันบางคนมาขอจดทะเบียนให้เฉพาะส่วนของตน เช่น
ก. และ ข. มชี ือ่ เปน็ ผถู้ ือกรรมสิทธ์ิทด่ี ินรว่ มกัน ก. มาขอจดทะเบยี นให้ทด่ี ิน
เฉพาะสว่ นของตนแก่ ค. เท่านั้น สว่ นของ ข. ยงั คงมอี ยู่ตามเดิม ใหเ้ ขียนชอ่ื
ประเภทวา่ “ใหเ้ ฉพาะสว่ น”
(๓) กรณีท่ีดินหรืออสังหาริมทรัพย์ที่มีผู้มาขอจดทะเบียนให้
“ภใหา้ร(ะรตะิดหพว่านั ง)ม”ี มีการจดทะเบียนทรพั ยสทิ ธิและการเชา่ ผูกพันอยู่ เชน่ จ�ำ นอง สทิ ธิเก็บกิน

ภารจำ�ยอม การเชา่ เจา้ ของมาขอจดทะเบียนให้ หรอื ให้เฉพาะสว่ นโดยผ้รู บั ให้
จะต้องรับเอาภาระผกู พนั นั้นดว้ ย เช่น ก. และ ข. ผถู้ อื กรรมสทิ ธิ์ทด่ี ินให้ท่ดี ิน

๒๕๓

ท้งั แปลงท่ีจดทะเบียนจำ�นองไว้ ให้แก่ ค. โดย ค. รับภาระการจ�ำ นองไปด้วย
หรือ ก. ใหท้ ีด่ นิ แปลงดังกล่าวเฉพาะส่วนของตนแก่ ค. ให้เขยี นช่อื ประเภท
ว่า “ให้ (ระหวา่ งจำ�นอง)” หรอื “ใหเ้ ฉพาะส่วน (ระหว่างจำ�นอง)” หรอื “ให้
(ระหว่างสิทธิเก็บกนิ )” หรอื “ให้เฉพาะสว่ น (ระหวา่ งสทิ ธเิ ก็บกิน)” แลว้ แต่กรณี
(๔) กรณีหนังสือแสดงสิทธิในที่ดินมีชื่อเจ้าของคนเดียวหรือหลายคน “แบ่งให้”
และเจ้าของที่ดินทุกคนขอแบ่งให้ท่ีดินบางส่วน  โดยมีการรังวัดแบ่งแยกและ
ออกเป็นหนังสือแสดงสิทธิในที่ดินแปลงใหม่ให้แก่ผู้รับให้ เช่น ก. เป็น
ผถู้ อื กรรมสิทธท์ิ ่ดี นิ แปลงหนึง่ แบ่งให้ท่ีดนิ แปลงดังกลา่ วให้แก่ ค. จำ�นวน ๑ ไร่
คงเหลอื ทีด่ ินเปน็ ของ ก. จำ�นวน ๔ ไร่ ให้ใช้ชื่อประเภทวา่ “แบ่งให้”
(๕) กรณีที่ดินหรืออสังหาริมทรัพย์มีชื่อเจ้าของคนเดียวหรือหลายคน “กรรมสิทธ์ริ วม
ทุกคนให้บุคคลอ่ืนมีช่ือถือกรรมสิทธ์ิรวมในท่ีดินหรืออสังหาริมทรัพย์โดยไม่มี (ไมม่ ีค่าตอบแทน)”
ค่าตอบแทน เช่น ก. และ ข. มีชื่อเปน็ ผูถ้ อื กรรมสทิ ธิท์ ดี่ นิ รว่ มกัน ก. และ ข.
มาขอจดทะเบียนให้ ค. ถอื กรรมสิทธ์ริ วมในทด่ี ินร่วมกนั ใหใ้ ช้ชื่อประเภทว่า
“กรรมสทิ ธิร์ วม (ไม่มีค่าตอบแทน)”
(๖) กรณเี จา้ ของทด่ี ินหรอื อสงั หาริมทรัพยม์ ีหลายคน แต่เจา้ ของทีด่ นิ “กรรมสทิ ธิร์ วม
หรืออสังหาริมทรัพย์บางคนมาขอจดทะเบียนให้บุคคลอ่ืนที่ยังไม่มีช่ือในหนังสือ คเฉา่ พตาอะบสแว่ ทนน()ไ”มม่ ี
แสดงสิทธิในท่ีดินนั้นถือกรรมสิทธ์ิรวมเฉพาะส่วนของตน  หรือมีชื่อในหนังสือ
แสดงสทิ ธิในทด่ี ินอยแู่ ล้ว แต่เขา้ ถอื กรรมสทิ ธิร์ วมโดยเพ่มิ สว่ นของตนให้มากขึ้น
โดยไม่มคี ่าตอบแทน เช่น ก. ข. และ ค. มชี อ่ื เปน็ ผู้ถอื กรรมสทิ ธ์ทิ ่ดี ินร่วมกัน
ก. มาขอจดทะเบียนให้ ง. ถอื กรรมสิทธร์ิ วมในท่ดี นิ เฉพาะส่วนของตน ส่วน
ของ ข. และ ค. คงเดมิ ใหใ้ ช้ชอ่ื ประเภทว่า “กรรมสทิ ธ์ิรวมเฉพาะส่วน (ไม่มคี า่
ตอบแทน)”
(๗) กรณีผู้ให้มีความประสงค์จะให้ที่ดินหรืออสังหาริมทรัพย์ท่ีเป็น “ให้ (สินสมรส)”
สินสมรส  โดยผู้รับให้ทำ�การสมรสโดยชอบด้วยกฎหมาย  ให้ใช้ชื่อประเภทว่า
“ให้ (สนิ สมรส)” หรอื “กรรมสิทธ์ิรวม (สินสมรส)” แล้วแต่กรณี
(๘) กรณผี ใู้ หม้ คี วามประสงคจ์ ะใหท้ ด่ี นิ หรอื อสงั หารมิ ทรพั ยแ์ กผ่ รู้ บั ให้ “คำ�ม่นั จะให้”
แต่ยงั ไม่ให้ในขณะนี้ จงึ ใหค้ ำ�มั่นวา่ จะใหใ้ นเวลาตอ่ ไปภายหน้า เชน่ เมอ่ื ผู้จะรับ
ใหอ้ ายคุ รบ ๒๐ ปี บริบูรณ์ เป็นต้น ใหใ้ ชช้ อ่ื ประเภทว่า “คำ�ม่นั จะให”้
(๙) กรณีที่พนกั งานเจา้ หน้าท่ไี ด้จดทะเบยี นประเภทใหไ้ ว้แล้ว ต่อมา “ถอนคนื การให้”
ศาลได้มีคำ�พิพากษาหรือคำ�ส่ังถึงท่ีสุดให้ถอนคืนการให้  ให้ใช้ชื่อประเภทว่า
“ถอนคนื การให”้

๒๕๔

หมวด ๓
การเขียนคำ�ขอจดทะเบียนสทิ ธิและนติ ิกรรม
การจัดท�ำ หนงั_ส_ือ_ส_ัญ__ญ_า_แ_ล_ะ_ก_ารแกท้ ะเบียน

การเขียนค�ำ ขอ ข้อ ๑๓ การเขียนคำ�ขอจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรม  (ท.ด.๑ ,
ท.ด.๑ ก.) ใหป้ ฏบิ ตั ดิ งั น้ี
(๑) ในช่องประเภท ให้เขยี นช่อื ประเภทการจดทะเบียนตามขอ้   ๑๒
แลว้ แตก่ รณี
–การเขยี นผชูใ้ หื่อ้ (๒) การเขยี นชอ่ื ผใู้ ห้ในขอ้ ๒ ของคำ�ขอจดทะเบยี นสทิ ธแิ ละนิติกรรม
ตามแบบ ท.ด.๑ หรอื ท.ด.๑ ก ให้เขียนเฉพาะช่อื ผู้ให้ท่ีขอจดทะเบยี นสิทธแิ ละ
นติ กิ รรมเทา่ นั้น โดยไม่ตอ้ งเขยี นชือ่ ผู้ถอื กรรมสิทธห์ิ รอื ผูถ้ ือสทิ ธิครอบครองอ่นื ท่ี
ไม่เกย่ี วข้องแต่อยา่ งใด
กรณีมีผู้ให้ท่ีประสงค์ขอจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรมหลายคน
ให้เขยี นชอื่ และหมายเลขล�ำ ดบั กำ�กับไวห้ นา้ ชื่อผูใ้ หท้ ุกคนด้วย
การเขยี นชอ่ื (๓) การเขียนชอ่ื ผรู้ ับให้ลงในข้อ ๓ ของค�ำ ขอจดทะเบยี นสิทธิและ
ผรู้ ับให้ นติ ิกรรมตามแบบ ท.ด.๑ หรือ ท.ด.๑ ก ให้เขียนชอื่ ผู้รับให้ หากมหี ลายคนให้
เขียนหมายเลขล�ำ ดบั กำ�กับไวข้ ้างหน้าช่อื ทกุ ชือ่ ด้วย
กรณีให้ถือกรรมสิทธิ์รวมเฉพาะส่วน  ให้เขียนช่ือผู้รับให้ลงไว้ก่อน
เสร็จแล้วเขียนช่ือเจ้าของที่ดินท่ีเป็นผู้ให้เรียงต่อไปตามลำ�ดับ  พร้อมท้ังเขียน
หมายเลขลำ�ดบั กำ�กับไว้หน้าช่อื ทกุ ชอ่ื
แทงข้างกรณี (๔) กรณีจดทะเบียนให้เฉพาะส่วน ให้หมายเหตุด้วยอักษรสีแดงไว้
ใหเ้ ฉพาะสว่ น ณ ริมดา้ นซา้ ยของค�ำ ขอจดทะเบียนสทิ ธแิ ละนติ ิกรรม (ท.ด.๑ , ท.ด.๑ ก) และ
ในสารบญั จดทะเบียนให้ตรงกันว่า เจ้าของคนใดเปน็ ผใู้ ห้เฉพาะส่วนของตน และ
ส่วนของเจ้าของคนอนื่ ยงั คงมอี ยอู่ กี เชน่ ทด่ี ินมีช่ือ ก. ข. เปน็ เจา้ ของ ก. ให้
เฉพาะสว่ นของตนแก่ ค. ให้หมายเหตวุ ่า “ก. ใหท้ ่ีดนิ เฉพาะส่วนของตนแก่ ค.
เท่าน้นั ส่วนของ ข คงเดมิ ”
แทงขา้ งกรณี (๕) กรณีจดทะเบียนให้ถือกรรมสิทธ์ิรวม  โดยไม่มีค่าตอบแทน
กรรมสทิ ธริ์ วม ให้หมายเหตุด้วยอักษรสีแดงไว้  ณ  ริมด้านซ้ายของคำ�ขอจดทะเบียนสิทธิและ
นติ ิกรรม (ท.ด.๑, ท.ด.๑ ก) และในสารบัญจดทะเบียนใหต้ รงกนั ว่าเจา้ ของให้
ผู้ใดถือกรรมสทิ ธิ์ เชน่ ทด่ี ินมีช่ือ ก. เปน็ เจา้ ของ ก. ให้ ข. ถือกรรมสิทธ์ริ วม
ใหห้ มายเหตวุ ่า “ก. ให้ ข. ถือกรรมสิทธิร์ วมในสว่ นของตน”

๒๕๕

(๖) กรณีจดทะเบียนให้ถือกรรมสิทธ์ิรวมเฉพาะส่วนโดยไม่มี แกรทรงมขสา้ ิทงกธริ์รณวมี
คา่ ตอบแทนใหห้ มายเหตุด้วยอกั ษรสแี ดงไว้ ณ รมิ ด้านซา้ ยของค�ำ ขอจดทะเบียน เฉพาะสว่ น
สิทธิและนติ กิ รรม (ท.ด. ๑, ท.ด. ๑ ก) และในสารบัญจดทะเบียนให้ตรงกนั ว่า
เจ้าของคนใดเป็นผู้ให้ถือกรรมสิทธ์ิรวมเฉพาะส่วนของตนและส่วนของเจ้าของ
คนอ่นื ยงั คงมอี ยู่ตามเดมิ เช่น ทีด่ นิ มีช่ือ ก. ข. ค. เป็นเจ้าของ ก. ให้ ง.
ถอื กรรมสิทธร์ิ วมเฉพาะส่วนของตน ให้หมายเหตุวา่ “ก. ให้ ง. ถอื กรรมสทิ ธิ์รวม
เฉพาะส่วนของตน สว่ นของ ข. และ ค. คงเดมิ ”
(๗) สาระส�ำ คญั ทไ่ี ดจ้ ากการสอบสวนในหมวด ๑ ใหพ้ นกั งานเจา้ หนา้ ท่ี นใส�ำ ่ สทา.ดระ.๑สำ�คัญ
จดลงไวใ้ นคำ�ขอจดทะเบยี นสิทธแิ ละนิตกิ รรม (ท.ด.๑, ท.ด.๑ ก) ดว้ ย
ข้อ ๑๔ การจัดทำ�หนังสือสญั ญาใหด้ �ำ เนนิ การดงั นี้ การทำ�สัญญาให้
(๑) การจดทะเบียนประเภทให้ ให้ทำ�ในรูปหนังสือสัญญา เก็บไว ้ รปู แบบสัญญาให้
ณ สำ�นกั งานทดี่ ิน ๑ ฉบับ และมอบใหแ้ กผ่ รู้ ับให้ ๑ ฉบบั โดยให้คกู่ รณลี งนาม
ในหนังสือสัญญาตามแบบของทางราชการ คือ หนังสือสญั ญาใหท้ ่ีดิน หนังสอื
สัญญาแบ่งให้ที่ดิน  หนังสือสัญญาให้ที่ดินเฉพาะส่วน  บันทึกข้อตกลงเร่ือง
กรรมสิทธริ์ วม แลว้ แตก่ รณี
(๒) การจดทะเบียนประเภทคำ�มั่นจะให้ ใหจ้ ดั ทำ�เปน็ บันทกึ ข้อตกลง คำ�มั่นจะให้
ตามแบบ ท.ด.๑๖ โดยไม่ต้องทำ�หนังสือสัญญา
(๓) การจดทะเบยี นประเภทถอนคนื การให้ ใหผ้ ูข้ อยืน่ ค�ำ ขอตามแบบ ถอนคืนการให้
ท.ด.๙  โดยบรรยายข้อความในคำ�ขอตามนัยคำ�ส่ังหรือคำ�พิพากษาศาลแล้วแต่
กรณี โดยไมต่ ้องท�ำ เปน็ หนงั สอื สญั ญา เวน้ แต่ศาลจะสง่ั ใหท้ ำ�เปน็ หนงั สอื สัญญา
ด้วย กใ็ หท้ �ำ หนังสอื สญั ญาตามคำ�ส่งั ศาล
ข้อ ๑๕ กอ่ นด�ำ เนนิ การจดทะเบยี นสทิ ธแิ ละนติ กิ รรมเกย่ี วกบั ทด่ี นิ ทม่ี ี กจดารทบะันเบทยี กึ นสารบญั
หนงั สอื แสดงสทิ ธใิ นทด่ี นิ ใหพ้ นกั งานเจา้ หนา้ ทแ่ี กท้ ะเบยี นในสารบญั จดทะเบยี น
โดยให้จดบันทึกสาระสำ�คัญลงในหนังสือแสดงสิทธิในท่ีดินฉบับสำ�นักงานที่ดิน
และฉบบั เจา้ ของที่ดนิ ใหต้ รงกนั ดว้ ย
ขอ้ ๑๖ การแก้ทะเบยี นในสารบัญจดทะเบยี น ในช่องผูใ้ หส้ ญั ญาให้ การแก้สารบญั
เขยี นช่ือเจ้าของตามหนงั สอื แสดงสทิ ธใิ นทด่ี นิ หากมีหลายช่อื ให้เขียนครบทกุ ชื่อ จดทะเบียน
พร้อมหมายเลขลำ�ดับกำ�กับไว้ ส่วนในช่องผู้รับสัญญาให้เขียนชื่อผู้รับให้ลงไว้
หากเปน็ กรณจี ดทะเบยี นประเภททเ่ี จา้ ของเดมิ ยงั มกี รรมสทิ ธห์ิ รอื สทิ ธคิ รอบครอง
ในที่ดินอยู่  ให้เขียนชื่อเจ้าของเดิมนั้นเรียงต่อไปตามลำ�ดับ  พร้อมท้ังเขียน
หมายเลขล�ำ ดบั กำ�กับไว้ด้วย

๒๕๖

กรณกี ารจดทะเบยี นประเภททต่ี ้องหมายเหตไุ ว้ ณ ริมด้านซ้ายของ
ค�ำ ขอตามแบบ ท.ด. ๑ หรือ ท.ด. ๑ ก ตามนัยขอ้ ๑๓ ให้หมายเหตใุ นสารบัญ
จดทะเบียนเชน่ เดียวกนั ด้วย
มีต––สวั ทัญอ.ยดญา่.๑าง การจัดทำ�คำ�ขอจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรม  (ท.ด. ๑,  ท.ด. ๑ ก)
–แก้ทะเบียน คำ�ขอ (ท.ด. ๙) หนงั สือสญั ญา บันทึกข้อตกลง (ท.ด. ๑๖) และการจดบันทึกใน
สารบัญจดทะเบยี นให้อนโุ ลมปฏิบัติตามตวั อย่างทา้ ยระเบียบ

หมวด ๔
ก__าร_ล_ง_ล_า_ย_ม_ือ_ช_่ือ_

การลงลายมผอื ชขู้ อ่อื ขอ้ ๑๗ การลงลายมือช่ือของผู้ขอในคำ�ขอจดทะเบียนสิทธิและ
นติ ิกรรม (ท.ด.๑, ท.ด.๑ ก) ค�ำ ขอ (ท.ด.๙) หนังสอื สัญญา บันทกึ ขอ้ ตกลง
เรื่องกรรมสิทธ์ิรวม และบนั ทกึ ขอ้ ตกลง (ท.ด.๑๖) ให้เปน็ ไปตามทบี่ ัญญัติไว้ใน
มาตรา ๙ แหง่ ประมวลกฎหมายแพง่ และพาณชิ ย์
กรณพี ิมพ์นิ้วมอื ข้อ ๑๘ ในกรณีผู้ขอไม่สามารถลงลายมือช่ือได้  ให้พิมพ์ลายนิ้วมือ
ของบุคคลดังกล่าวลงไว้แทนการลงลายมือช่ือ  โดยพิมพ์น้ิวหัวแม่มือซ้ายลงไว้
ให้เห็นเส้นลายมือชัดเจนแล้วเขียนกำ�กับว่าเป็นลายนิ้วหัวแม่มือซ้ายของผู้ใด
หากหัวแม่มือซา้ ยของผู้ขอพกิ ารหรือลางเลอื น ใหใ้ ช้ลายพมิ พห์ วั แม่มอื ขวาแทน
แล้วหมายเหตุไว้ด้วยว่าเป็นลายน้ิวหัวแม่มือขวาของผู้ใด  ถ้าในช่องลงลายมือ
ชือ่ ของผู้ขอไม่มีเนอ้ื ที่เพียงพอ ใหพ้ มิ พล์ ายน้วิ มอื ของผขู้ อไว้ในที่ว่างแหง่ อืน่ ใน
ค�ำ ขอน้ันกไ็ ด้ แต่ใหม้ เี คร่ืองหมาย เชน่ ลกู ศรช้ไี ปให้รู้วา่ เปน็ ลายนว้ิ มอื ของผู้ใด

หมวด ๕
__ก_า_ร_ป_ร_ะ_ก_า_ศ__

กรปณระตี ก้อางศมตีกาามร ข้อ ๑๙ กรณีมผี ขู้ อจดทะเบยี นใหท้ ีด่ ินทีย่ ังไม่มีโฉนดท่ดี ิน  ใบไตส่ วน
ฉบกับฎทกร่ี ๗ะทกรอ่ วนง หรอื หนงั สือรบั รองการทำ�ประโยชน์ ตามแบบ น.ส.๓ ก. หรือให้อสังหาริมทรัพย์
อย่างอ่ืนในท่ีดินดังกล่าว  หรือให้อสังหาริมทรัพย์อื่นในที่ดินท่ีมีโฉนดที่ดิน
ใบไต่สวน หรือหนงั สือรับรองการทำ�ประโยชน์ ตามแบบ น.ส.๓ ก. ในกรณ ี
ไม่รวมกับท่ีดินดังกล่าว  ให้ประกาศการขอจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรมตาม
นัยข้อ ๕ แห่งกฎกระทรวงฉบบั ท่ี ๗ (พ.ศ. ๒๔๙๗) ออกตามความในพระราช
บัญญตั ใิ ห้ใช้ประมวลกฎหมายท่ีดนิ พ.ศ. ๒๔๙๗ และกฎกระทรวงฉบบั ทีแ่ ก้ไข
เพม่ิ เติม

๒๕๗

หมวด ๖
การจดท_ะ_เบ__ยี _น_ส_ิท_ธ_แิ _ล_ะ_นิตกิ รรม

ข้อ ๒๐ ก่อนลงนามจดทะเบียนและประทับตราตำ�แหน่งในหนังสือ การตรวจสอบก่อน
สัญญา  และบันทึกข้อตกลง  รวมทั้งสารบัญจดทะเบียนให้เจ้าพนักงานท่ีดิน จดทะเบียน
ด�ำ เนนิ การดงั น้ี
(๑) ตรวจสอบสาระสำ�คัญที่พนักงานเจ้าหน้าท่ีได้สอบสวนจดลงไว้ ตขรอวงจนสติ าิกรระรสม�ำ คัญ
หรือผู้ขอจดทะเบียนกรอกข้อความลงไว้ในคำ�ขอจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรม
และเอกสารที่ผู้ขอจดทะเบยี นน�ำ มายนื่ พร้อมค�ำ ขอใหเ้ ปน็ การถกู ต้อง
(๒) ตรวจสอบสารบบ  ประวัติความเป็นมาของที่ดิน  และ ตดรปู วรจะสวตัาริ บบ
อสงั หารมิ ทรัพย์ท่ผี ู้ขอประสงคจ์ ะจดทะเบียน ชอื่ เจ้าของทีด่ ิน อายุ ชอื่ บดิ า
มารดา และลายมอื ชอ่ื หรอื ลายพมิ พน์ ว้ิ มอื ของผขู้ อจดทะเบยี นในค�ำ ขอจดทะเบยี น
สทิ ธิและนติ ิกรรม หรอื ในหนงั สือมอบอำ�นาจแลว้ แตก่ รณี โดยตรวจสอบให้ตรง
กับหลักฐานเดิมในสารบบ  กรณีลายมือชื่อของผู้ขอจดทะเบียนผิดเพ้ียนจาก –ไมก่เรหณมีลือานยเมดมิือชอ่ื
ลายมือช่ือเจ้าของในสารบบเดิมมากควรให้ผู้ขอจดทะเบียนพยายามลงลายมือ
ชื่อให้ตรงกับลายมือชื่อในสารบบเดิม  หากผู้ขอจดทะเบียนยังลงลายมือช่ือผิด
เพ้ียนจากเดิมแต่ผู้ขอจดทะเบียนเป็นผู้ที่พนักงานเจ้าหน้าที่รู้จัก  ก็ให้พนักงาน
เจา้ หนา้ ทีด่ �ำ เนนิ การตอ่ ไปได้ หากพนักงานเจ้าหน้าท่ีไม่รจู้ ักตัวผขู้ อจดทะเบียน
ควรขอหลักฐานที่เชื่อถือได้จากผู้นั้นมาตรวจสอบเพ่ิมเติมจนเป็นท่ีเช่ือได้ว่าผู้ขอ
จดทะเบียนเป็นเจ้าของที่แท้จริง  หรือให้ผู้ท่ีเช่ือถือได้รับรองว่าผู้ขอจดทะเบียน
เป็นเจ้าของท่ีแท้จริงเสียก่อน  สำ�หรับกรณีไม่มีลายมือชื่อหรือลายพิมพ์น้ิวมือ –ชก่อื รเดณิมีไม่มลี ายมือ
ของเจ้าของในสารบบ  ให้พนักงานเจ้าหน้าท่ีสอบสวนเช่นเดียวกับที่ได้กล่าวมา
ขา้ งตน้
(๓) ตรวจสอบบัญชีอายัดว่ามีการอายัดที่ดินหรืออสังหาริมทรัพย์ท่ี ตรวจอายัด
ผูข้ อประสงคจ์ ะขอจดทะเบยี นหรือไม่ ประการใด
(๔) ตรวจสอบการห้ามโอนว่าที่ดินหรืออสังหาริมทรัพย์ท่ีผู้ขอ ตรวจห้ามโอน
ประสงค์จะขอจดทะเบียนมีกฎหมายใดบัญญัติเป็นการห้ามโอนไว้หรือไม่
ประการใด
ข้อ ๒๑ ห้ามพนักงานเจ้าหน้าที่ดำ�เนินการจดทะเบียนสิทธิและ ผห้ขูา้ มอจไมดล่ ทงะชเบ่อื ียน
นิติกรรมในกรณีผู้ขอไม่ได้ลงลายมือช่ือในชั้นย่ืนคำ�ขอและสอบสวนต่อพนักงาน
เจ้าหน้าที่

๒๕๘

หมวด ๗
__ค_า่ _ธ_รร_ม_เ_น_ีย_ม__
เตกา็บมคก่าฎธรกรรมะทเนรยี วมง
ขอ้ ๒๒ ในการจดทะเบยี นให ้ หากไมม่ กี ฎหมายบญั ญตั เิ ปน็ การยกเวน้
ไวเ้ ป็นอย่างอืน่ ผู้ขอจดทะเบียนจะต้องเสียคา่ ธรรมเนยี มคำ�ขอ คา่ ธรรมเนยี ม
จดทะเบยี นสทิ ธิและนิตกิ รรม และคา่ ธรรมเนยี มมอบอำ�นาจ (ถา้ ม)ี ตามนัย
กฎกระทรวงซึ่งออกตามความในพระราชบัญญัติให้ใช้ประมวลกฎหมายท่ีดิน
พ.ศ. ๒๔๙๗
ทัง้ นี ้ ตงั้ แต่บัดนี้เปน็ ต้นไป

ประกาศ ณ วนั ที่ ๑๘ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๔๘
(ลงช่ือ) บัญญตั ิ จนั ทน์เสนะ
(นายบัญญัติ จันทน์เสนะ)
อธิบดีกรมท่ดี ิน

(ประกาศราชกจิ จานเุ บกษา เลม่ ๑๒๒ ตอนท่ี ๑๑๓ ง ลงวนั ท่ี ๘ ธนั วาคม ๒๕๔๘)

๒๕๙

๒๖๐

....................

๒๖๑

๒๖๒

๒๖๓

๒๖๔

๒๖๕

๒๖๖

๒๖๗

๒๖๘

๒๖๙

๒๗๐

๒๗๑

๒๗๒

๒๗๓

๒๗๔

๒๗๕

ผ้ใู ห้ยกให้ดว้ ยความเสนห่ า ไมม่ คี ่าตอบแทน เนื่องจากผ้รู ับใหเ้ ปน็ บุตรชายและบุตรสะใภ้

๒๗๖

๒๗๗

๒๗๘

๒๗๙

๒๘๐

๒๘๑

อาย.ุ .......๕...๐........ปี เชอ้ื ชาติ.............ไ.ท...ย...............สัญชาต.ิ ..........ไ.ท...ย..............บดิ า/มารดาชอื่ .............................................................

๒๘๒

๒๘๓

๒๘๔

๒๘๕



การจดทะเบยี นประเภทกรรมสิทธ์ริ วม



๒๘๙

การจดทะเบยี นกรรมสทิ ธ์ริ วม

l ความหมาย
กรรมสิทธิ์รวม คือ นิติกรรมซื้อขายหรือให้ ฯลฯ แต่เป็นการขายบางส่วน หรือ
ให้บางส่วน  ฯลฯ  กล่าวคือ  หนังสือแสดงสิทธิในที่ดินมีช่ือเจ้าของคนเดียวหรือหลายคน  คนเดียว
หรือหลายคนขายบางส่วน หรือให้บางส่วนไม่หมดแปลง โดยไม่มีการรังวัดแบ่งแยกแต่สามารถ
ทราบสว่ นได้ โดยการบรรยายสว่ นเรยี กว่ากรรมสิทธริ์ วม เช่น ๑ สว่ นใน ๔ ส่วน หรอื ๑๐๐ สว่ น
ใน ๑,๐๐๐ ส่วน เป็นต้น แต่ทั้งนี้จะทราบเขตและเนื้อที่แน่นอนไม่ได้หากคู่กรณีทราบเขตและ
เนอ้ื ทแ่ี นน่ อนแลว้ จะตอ้ งใหข้ อรงั วดั แบง่ แยกเสยี กอ่ น ความจรงิ แลว้ หนงั สอื รบั รองการท�ำ ประโยชน์
(น.ส. ๓ หรือ น.ส. ๓ ก.) ไม่ใช่หนังสือแสดงกรรมสิทธิ์ น่าจะเป็นเรื่องให้เติมชื่อไม่ใช่กรรมสิทธิ ์
แตท่ างปฏบิ ตั ไิ ดใ้ ชป้ ระเภทกรรมสทิ ธร์ิ วมกนั ตลอดมา ดงั นน้ั แมก้ ารขายบางสว่ นหรอื ใหบ้ างสว่ น ฯลฯ
ในหนงั สือรับรองการท�ำ ประโยชน์ก็ใช้ประเภทกรรมสทิ ธริ์ วม
l กฎหมาย ระเบยี บ และค�ำ ส่งั ทีเ่ กี่ยวข้อง
- ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา ๑๓๕๖ ถึง มาตรา ๑๓๖๖
- ค�ำ สง่ั ท่ี ๖/๒๔๙๙ ลงวนั ท่ี ๑๓ กันยายน ๒๔๙๙ เร่อื ง การจดทะเบียนประเภท
กรรมสิทธิ์รวม
l ประเภทการจดทะเบียน

๑. กรรมสิทธ์ิรวม  หมายถึง  หนังสือแสดงสิทธิมีช่ือเจ้าของคนเดียวให้บุคคลอ่ืน
ถอื กรรมสทิ ธิ์รวม หรือมีชอื่ เจ้าของหลายคน ทุกคนใหบ้ คุ คลอื่นถือกรรมสทิ ธ์ริ วม (ค�ำ สั่งกรมทดี่ ินท่ี
๖/๒๔๙๙ ลงวนั ท่ี ๑๓ กนั ยายน ๒๔๙๙)

๒. กรรมสทิ ธิ์รวมเฉพาะส่วน หมายถงึ หนังสือแสดงสทิ ธิมชี อ่ื เจ้าของหลายคน โดยมี
บุคคลคนเดียวหรอื หลายคน แตไ่ ม่ทัง้ หมดใหบ้ ุคคลอน่ื ทยี่ งั ไมม่ ีชื่อในหนังสอื แสดงสทิ ธนิ ั้น หรือมชี ื่อ
ในหนังสอื แสดงสิทธอิ ยแู่ ลว้ แต่เข้าถือกรรมสทิ ธ์ริ วมโดยเพิ่มสว่ นของตนให้มากข้นึ (ค�ำ สง่ั กรมทด่ี ินที ่
๖/๒๔๙๙ ลงวนั ท่ี ๑๓ กนั ยายน ๒๔๙๙)

๓. กรรมสทิ ธร์ิ วม (ปลอดจ�ำ นอง) กรรมสทิ ธร์ิ วมเฉพาะสว่ น (ปลอดจ�ำ นอง) หมายถงึ
ทดี่ นิ ท่ีมีการจ�ำ นองครอบตดิ อยู่และมชี อ่ื คนเดยี วหรือหลายคน คนเดียวหรือหลายคน (ทั้งหมด) หรอื
แตบ่ างคนไม่ทง้ั หมดแลว้ แต่กรณี ยอมใหบ้ ุคคลอืน่ เข้าถอื กรรมสิทธ์ริ วมและในส่วนของบคุ คลท่เี ขา้ ถอื
กรรมสิทธิ์รวมใหม่นี้พ้นจากการจำ�นองโดยส่วนที่เหลือยังคงจำ�นองอยู่ตามเดิม ในวงเงินจำ�นองเดิม
(หนังสือกรมที่ดินตอบข้อหารือจังหวัดนนทบุรี ที่ มท ๐๖๐๘/๕๐๗๙๑ ลงวันที่ ๒๓ ธันวาคม
๒๕๑๓ เวยี นโดยหนงั สือกรมทีด่ ิน ที ่ มท ๐๖๐๘/ว ๕๑๕๙๗ ลงวันท่ี ๓๐ ธนั วาคม ๒๕๑๓)

๔. กรรมสทิ ธ์ริ วม (โอนช�ำ ระหนีจ้ ำ�นองบางสว่ น) หมายถึง การจดทะเบียนประเภท
ที่อยู่ในระหว่างจำ�นอง  ต่อมาผู้จำ�นองตกลงโอนที่ดินชำ�ระหนี้จำ�นองบางส่วนแก่ผู้รับจำ�นองโดยให้

๒๙๐

สว่ นทด่ี นิ ช�ำ ระหนป้ี ลอดจากการจ�ำ นอง สว่ นทเ่ี หลอื คงมกี ารจ�ำ นองตอ่ ไปตามเดมิ (บนั ทกึ กองทะเบยี น
ท่ีดิน ท ่ี มท ๐๖๑๒/๑๒๖ ลงวนั ที่ ๑๒ มกราคม ๒๕๒๐) หรือพ้นจากการจ�ำ นองกไ็ ด้
๕. กรรมสิทธ์ิรวม  (โอนให้ตัวการ)  หมายถึง  หนังสือแสดงสิทธิในที่ดินมีช่ือบุคคล
คนหนึ่งโอนให้ตัวการบางส่วนไม่หมดท้ังแปลง  โดยไม่มีการรังวัดแบ่งแยกแต่สามารถทราบส่วนได้
(ถ้าตอ้ งการจะให้ทราบ) โดยการบรรยายส่วนแต่จะทราบเขตและเน้ือท่ีที่แนน่ อนไม่ได้ หากคู่กรณี
ทราบเขตและเนื้อที่ที่แน่นอนแล้วก็จะต้องไปจดทะเบียนประเภทแบ่งโอนให้ตัวการ  ตัวอย่างการ
จดทะเบียนกรรมสิทธร์ิ วม (โอนให้ตวั การ) เชน่ โฉนดท่ีดนิ มชี ่อื นาย ก. ซึ่ง ก. ถอื ไว้แทน ข. บางสว่ น
และต้องการจะโอนส่วนที่เป็นของ ข. คืนให้ ข. โดยคู่กรณียังไม่ประสงค์จะแยกที่ดินออกจากกัน
การจดทะเบียนก็จะปรากฏชื่อ ข. และ ก. ในโฉนดที่ดิน (บันทึกกองทะเบียนที่ดิน ที่ มท
๐๖๑๒/๑/๒๓ ลงวนั ที่ ๑๕ กันยายน ๒๕๒๑)
l สาระสำ�คัญ
- กรณีทรัพย์สินของบุคคลหลายคนรวมกัน  ให้ใช้หลักกฎหมายเร่ืองกรรมสิทธิ์รวม
เว้นแตม่ ีกฎหมายบัญญัตไิ วเ้ ป็นอยา่ งอ่นื (มาตรา ๑๓๕๖ แหง่ ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย)์
- กฎหมายให้สันนิษฐานว่าผู้เป็นเจ้าของรวมกันมีส่วนเท่ากัน  และมีสิทธิจัดการ
ทรัพยส์ ินรวมกนั (มาตรา ๑๓๕๗ และมาตรา ๑๓๕๘ แหง่ ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์)
- เจ้าของรวมคนหนึ่งๆ  อาจใช้สิทธิอันเกิดแต่กรรมสิทธ์ิครอบไปถึงทรัพย์สินท้ังหมด
เพื่อต่อสู้บคุ คลภายนอก แตใ่ นการเรียกร้องเอาทรพั ย์สินคืนนั้น ตอ้ งอยู่ในบงั คับแหง่ เงือ่ นไขทรี่ ะบุไว้
ในมาตรา ๓๐๒ แห่งประมวลกฎหมายน้ี (มาตรา ๑๓๕๙ แหง่ ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย)์
- เจา้ ของรวมคนหน่ึงๆ มีสิทธใิ ช้ทรัพยส์ นิ ได ้ แตต่ อ้ งไม่ขดั ต่อสิทธิแห่งเจา้ ของรวมคน
อนื่ ๆ และเจ้าของรวมคนหนึ่งๆ มีสทิ ธไิ ดด้ อกผลตามส่วนของตนที่มีในทรัพยส์ ินน้ัน (มาตรา ๑๓๖๐
แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย)์
- เจ้าของรวมคนหนง่ึ ๆ จะจำ�หน่ายสว่ นของตน หรอื จำ�นอง หรือกอ่ ให้เกิดภาระติดพนั
ก็ได้ แต่ตัวทรัพย์สินนัน้ จะจำ�หน่าย จำ�น�ำ จ�ำ นอง หรอื ก่อใหเ้ กิดภาระตดิ พันได้ กแ็ ต่ดว้ ยความ
ยินยอมแห่งเจ้าของรวมทุกคน ถา้ เจา้ ของรวมคนใด จ�ำ หน่าย จำ�น�ำ จ�ำ นอง หรือก่อใหเ้ กดิ ภาระ
ติดพนั ทรัพยส์ นิ โดยมไิ ดร้ ับความยินยอมแห่งเจ้าของรวมทุกคน แตภ่ ายหลงั เจา้ ของรวมคนน้ันไดเ้ ป็น
เจา้ ของทรพั ยส์ นิ แต่ผ้เู ดยี ว นิตกิ รรมนนั้ เป็นอันสมบูรณ์ (มาตรา ๑๓๖๑ แห่งประมวลกฎหมายแพง่
และพาณิชย)์
- เจา้ ของรวมคนหนึ่งๆ มีสิทธิเรยี กใหแ้ บ่งทรัพย์สนิ ได้ เว้นแต่จะมนี ิติกรรมขัดอยู่ หรอื
ถ้าวตั ถุทีป่ ระสงคท์ ่เี ปน็ เจ้าของรวมกันนน้ั มีลกั ษณะเปน็ การถาวร ก็เรยี กใหแ้ บ่งไมไ่ ด้ โดยสิทธิเรียกให้
แบง่ ทรัพยส์ นิ นนั้ จะตดั โดยนิติกรรมเกนิ คราวละสบิ ปีไมไ่ ด้ และเจ้าของรวมจะเรียกให้แบ่งทรัพยส์ ิน
ในเวลาท่ไี ม่เป็นโอกาสอันควรไมไ่ ด้ (มาตรา ๑๓๖๓ แห่งประมวลกฎหมายแพง่ และพาณิชย์)

๒๙๑
- ในกรณีผู้ถือกรรมสิทธ์ิท่ีดินรวมคนใดคนหนึ่งหรือหลายคนประสงค์จะให้บุคคลอื่น
เพยี งคนเดียวหรอื หลายคนถือกรรมสทิ ธิร์ วมในท่ดี นิ เฉพาะสว่ นของตนได้ โดยผูถ้ ือกรรมสทิ ธร์ิ วมคน
อืน่ ไมจ่ �ำ ต้องใหถ้ ้อยคำ�ยนิ ยอม (ค�ำ ส่ังท่ี ๖/๒๔๙๙ ลงวันท่ี ๑๓ กนั ยายน ๒๔๙๙)
- ถ้าเจ้าของรวมได้กำ�หนดตกลงไว้ชัดแจ้ง  หรือมีกฎหมายแบ่งส่วนกันไว้ชัดแจ้งว่ามี
มากน้อยกว่ากนั อยา่ งไรก็ตอ้ งเป็นไปตามนน้ั แตถ่ ้าไมม่ นี ิติกรรมหรือกฎหมายกำ�หนดไว้ชดั กใ็ หถ้ อื ว่า
เจ้าของรวมแตล่ ะคนมีสว่ นเทา่ กัน (ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณชิ ย์ มาตรา ๑๓๕๗ แห่งประมวล
กฎหมายแพง่ และพาณิชย์)
- หนงั สอื แสดงสทิ ธใิ นทด่ี นิ ทม่ี ชี อ่ื หลายคน ถา้ คนหนง่ึ คนใดจะใหบ้ คุ คลอน่ื ถอื กรรมสทิ ธ์ิ
โดยระบุส่วนไปด้วย  จะต้องให้ผู้มีช่ือในหนังสือแสดงสิทธิในที่ดินน้ันทุกคนมาจดทะเบียนบรรยาย
ส่วนให้ทราบเสียก่อนว่าแต่ละคนมีส่วนในที่ดินนั้นเท่าใด  เมื่อมีการจดทะเบียนบรรยายส่วนแล้ว
ตอ่ ไปคนหนง่ึ คนใดจะใหบ้ คุ คลอน่ื ถอื กรรมสทิ ธร์ิ วมเฉพาะสว่ น โดยระบสุ ว่ นวา่ มกี ส่ี ว่ นในทต่ี นมสี ว่ นอยู่
กย็ ่อมด�ำ เนินการได้
- การแบ่งทรัพย์สินระหว่างผู้ถือกรรมสิทธิ์รวม  สามารถกระทำ�ได้โดยแบ่งทรัพย์สิน
กันเองระหวา่ งเจ้าของรวม การตกลงแบ่งกันเองระหวา่ งผ้ถู อื กรรมสิทธิ์รวมจะตกลงแบ่งดว้ ยวิธีใดก็ได้
เช่น  แบ่งครอบครองกันอย่างเป็นสัดส่วน  ข้อตกลงแบ่งทรัพย์สินระหว่างเจ้าของรวมกฎหมายมิได้
กำ�หนดแบบจะทำ�กนั ด้วยวาจาก็ได้ ไมม่ หี ลกั ฐานเปน็ หนังสอื ก็ฟอ้ งรอ้ งบังคบั คดีกันได้ (ค�ำ พิพากษา
ฎกี าท่ี ๓๔๑๕/๒๕๒๔) บนั ทกึ ขอ้ ตกลงแบ่งทรัพยส์ ินกรรมสิทธ์ริ วมท่ไี มส่ ามารถก�ำ หนดได้แน่นอนว่า
แบ่งกนั จดุ ไหนยงั ใช้บงั คบั ไมไ่ ด้ (คำ�พิพากษาฎกี าท่ี ๖๒๕/๒๕๓๓)
- วิธีด�ำ เนินการการจดทะเบยี นประเภทกรรมสิทธิร์ วม
(๑) จัดทำ�ค�ำ ขอจดทะเบยี นสทิ ธแิ ละนติ กิ รรมฯ ตามแบบ ท.ด.๑ หรอื ท.ด.๑ ก และ
บันทึกขอ้ ตกลงเร่ืองกรรมสทิ ธ์ริ วมตามแบบ ท.ด.๗๐ (คำ�สง่ั ท่ี ๒/๒๕๐๐ ลงวนั ท่ี ๒๐ กุมภาพันธ์
๒๕๐๐)
(๒) ในกรณีท่ีมีการตกลงกันให้มีค่าตอบแทนให้ระบุจำ�นวนเงินไว้ในข้อตกลงให้
ชดั เจน ถ้าไมม่ ีคา่ ตอบแทนก็ใหร้ ะบไุ วว้ า่ โดยเสนห่ า
(๓) การขอจดทะเบียนประเภทกรรมสิทธ์ิรวมโดยคู่กรณีขอให้ระบุส่วนให้หมายเหตุ
ใน ท.ด.๑ หรือ ท.ด.๑ ก และสารบัญจดทะเบยี นใหป้ รากฏข้อความว่า “นาย………..….ยนิ ยอมให้
นาย…………….ถือกรรมสิทธร์ิ วมด้วยจ�ำ นวน…………”
(๔) การจดทะเบยี นประเภทกรรมสทิ ธิร์ วมเฉพาะสว่ น ให้หมายเหตุใน ท.ด. ๑ หรือ
ท.ด. ๑ ก และสารบญั จดทะเบียนให้ปรากฏข้อความว่า “นาย…………..………….ยินยอมใหน้ าย……..
……….. ถอื กรรมสิทธ์ิรวมเฉพาะส่วนของนาย…………..……ส่วนของคนอ่นื คงอย่ตู ามเดิม”
((๒) (๓) (๔) ค�ำ ส่งั ท่ี ๖/๒๔๙๙ ลงวันท่ี ๑๓ กนั ยายน ๒๔๙๙)


Click to View FlipBook Version