The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

คู่มือการจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรมเกี่ยวกับการโอนที่ดินและอสังหาริมทรัพย์อย่างอื่น (ปี 2557)

สำนักมาตรฐานการทะเบียนที่ดิน

Keywords: ด้านบริหารงานที่ดิน

๓๔๓

การจดทะเบียนสทิ ธิเกี่ยวกับอสงั หาริมทรัพยซ์ ึง่ ได้มาโดยทางมรดก

l ความหมาย
การจดทะเบยี นโอนมรดก หมายถงึ การจดทะเบยี นสทิ ธเิ กย่ี วกบั อสงั หารมิ ทรพั ยซ์ ง่ึ ไดม้ า
โดยหลกั กฎหมายมรดกท่ีรบั รองให้กรรมสิทธใ์ิ นทรพั ย์สินของผตู้ ายตกแก่ทายาท และทายาทมีสิทธิ
เป็นเจา้ ของทรัพยม์ รดกนัน้ ทนั ทที เี่ จ้ามรดกตาย
การจดทะเบยี นโอนมรดกตามประมวลกฎหมายท่ีดินสามารถด�ำ เนินการได้ ๒ วธิ ี คอื
๑. การจดทะเบยี นโอนมรดกตามมาตรา ๘๑ แหง่ ประมวลกฎหมายทด่ี ิน
๒. การจดทะเบียนโอนมรดกตามมาตรา ๘๒ แห่งประมวลกฎหมายทดี่ นิ
การได้มาโดยทางมรดกในที่ดินนั้นเป็นการได้มาโดยทางอื่นนอกจากนิติกรรมอย่างหนึ่ง
ดังน้ัน ถา้ ทายาทตอ้ งการจะจดทะเบยี นการไดม้ าเพ่อื จะเปลย่ี นแปลงทางทะเบียน (ประมวลกฎหมาย
แพง่ และพาณิชย์ มาตรา ๑๒๙๙ วรรคสอง) ก็จะต้องไปจดทะเบยี นการไดม้ าตามมาตรา ๘๑, ๘๒
แหง่ ประมวลกฎหมายท่ีดนิ เสยี ก่อน เพราะเจ้ามรดกยังมีชอ่ื ในหนงั สือแสดงสทิ ธิในทดี่ ิน ทายาทยงั
ไม่มีชื่อในหนังสือแสดงสิทธิในที่ดิน  ทายาทจึงไม่มีสิทธิที่จะมาขอจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรมใดๆ
ให้แก่ใคร  จะต้องจดทะเบียนการได้มาของตนก่อน  คือต้องลงช่ือทายาทหรือผู้จัดการมรดกลงใน
หนงั สอื แสดงสทิ ธใิ นทดี่ ินนน้ั ๆ เสยี ก่อน จงึ จะมีสทิ ธิเปล่ยี นแปลงทางทะเบยี นในทีด่ นิ แปลงน้นั ได้
l กฎหมาย ระเบียบ และคำ�สง่ั ท่เี กย่ี วขอ้ ง
๑. ประมวลกฎหมายแพง่ และพาณชิ ย์ บรรพ ๖ มาตรา ๑๕๙๙ - มาตรา ๑๗๕๕
๒. ประมวลกฎหมายท่ีดนิ มาตรา ๘๑ - มาตรา ๘๒
๓. กฎกระทรวง  ฉบับที่  ๒๔  (พ.ศ. ๒๕๑๖)  ออกตามความในพระราชบัญญัติให้ใช้
ประมวลกฎหมายทีด่ นิ พ.ศ. ๒๔๙๗
๔. ระเบียบกรมท่ีดิน  ว่าด้วยการจดทะเบียนสิทธิเกี่ยวกับอสังหาริมทรัพย์ซึ่งได้มาโดย
ทางมรดก พ.ศ. ๒๕๔๘ ลงวนั ท่ี ๙ สงิ หาคม พ.ศ. ๒๕๔๘
๕. ระเบียบกรมที่ดิน  ว่าด้วยการจดทะเบียนสิทธิเกี่ยวกับอสังหาริมทรัพย์ซึ่งได้มาโดย
ทางมรดก (ฉบบั ที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๙ ลงวันท่ี ๑๙ พฤษภาคม ๒๕๔๙
๖. ระเบียบกรมท่ีดิน  ว่าด้วยการจดทะเบียนสิทธิเกี่ยวกับอสังหาริมทรัพย์ซึ่งได้มาโดย
ทางมรดก (ฉบับท่ี ๓) พ.ศ. ๒๕๕๓ ลงวนั ท่ี ๒๔ กนั ยายน ๒๕๕๓
๗. ระเบียบกรมที่ดิน  ว่าด้วยการจดทะเบียนสิทธิเก่ียวกับอสังหาริมทรัพย์ซึ่งได้มาโดย
ทางมรดก (ฉบับท่ี ๔) พ.ศ. ๒๕๕๗ ลงวนั ที่ ๒๔ กมุ ภาพนั ธ์ ๒๕๕๗
l ประเภทการจดทะเบยี น
๑. การจดทะเบียนโอนมรดกตามมาตรา ๘๑ แห่งประมวลกฎหมายที่ดิน หรือเป็น
การโอนมรดกโดยจดทะเบียนลงช่ือผู้จัดการมรดกแล้วโอนมรดกให้แก่ทายาทตามมาตรา  ๘๒

๓๔๔
แหง่ ประมวลกฎหมายทด่ี นิ และไมว่ า่ ผรู้ บั มรดกจะเปน็ ทายาทโดยธรรมหรอื เปน็ ทายาทโดยพนิ ยั กรรม
ก็ใชป้ ระเภทการจดทะเบยี นเช่นเดียวกนั ดังนี ้
(๑) โอนมรดก หมายถงึ อสงั หาริมทรพั ยม์ ีชอื่ ผูถ้ อื กรรมสิทธ์ิคนเดยี วหรือหลายคน
ก็ได้ แต่ทุกคนต้องถึงแก่กรรม  ผู้รับมรดกจะมีคนเดียวหรือหลายคนก็ได้  ถ้าอสังหาริมทรัพย์มีชื่อ
ผถู้ อื กรรมสทิ ธ์หิ ลายคน ผรู้ บั มรดกต้องรับมรดกของผถู้ ือกรรมสิทธ์ทิ กุ คนไปพรอ้ มกันทง้ั หมด
(๒) โอนมรดกบางสว่ น หมายถงึ อสงั หารมิ ทรพั ยม์ ชี อ่ื ผถู้ อื กรรมสทิ ธค์ิ นเดยี วหรอื
หลายคนก็ได้ แตท่ กุ คนตอ้ งถงึ แกก่ รรม ผรู้ ับมรดกจะมคี นเดียวหรือหลายคนกไ็ ด้ ถา้ อสังหารมิ ทรัพย์
มีชื่อผู้ถือกรรมสิทธ์หิ ลายคน  ผ้รู ับมรดกต้องรับมรดกของผ้ถู ือกรรมสิทธ์ทิ ุกคนไปพร้อมกันแต่รับไป
เพยี งบางสว่ นไมท่ ้งั หมด ยังคงมสี ่วนที่เหลืออยู่อีก
(๓) โอนมรดกเฉพาะสว่ น หมายถึง อสังหารมิ ทรพั ย์มีช่ือผู้ถอื กรรมสทิ ธห์ิ ลายคน 
ผู้ถือกรรมสิทธิ์บางคนถึงแก่กรรม  หรือทุกคนถึงแก่กรรมหมด  ผู้รับมรดกรับมรดกไปเฉพาะส่วน
ของผู้ถือกรรมสิทธบิ์ างคนทง้ั หมด ผรู้ ับมรดกจะมคี นเดียวหรอื หลายคนกไ็ ด้
(๔) โอนมรดกเฉพาะสว่ นเพยี งบางสว่ น หมายถงึ อสงั หารมิ ทรพั ยม์ ชี อ่ื ผถู้ อื กรรมสทิ ธ์ิ
หลายคน ผถู้ อื กรรมสทิ ธบ์ิ างคนถงึ แกก่ รรม หรอื ทกุ คนถงึ แกก่ รรมหมด ผรู้ บั มรดกรบั มรดกเฉพาะสว่ น
ของผถู้ อื กรรมสทิ ธบ์ิ างคนไปเพยี งบางสว่ น ยงั คงมสี ว่ นของผถู้ อื กรรมสทิ ธน์ิ น้ั เหลอื อยอู่ กี ซง่ึ ผรู้ บั มรดก
จะมคี นเดียวหรอื หลายคนก็ได้
(๕) การแบง่ โอนมรดก หมายถงึ กรณที ผี่ ู้จดั การมรดกทม่ี ีชือ่ ในหนังสอื แสดงสทิ ธิ
ในที่ดินก่อนแล้วขอแบ่งแยกที่ดินและโอนมรดกให้แก่ทายาท  โดยโฉนดใหม่ออกเป็นชื่อของทายาท
ผรู้ ับมรดก
(๖) การโอนมรดกสิทธิการไถ่  โอนมรดกสิทธิการรับจำ�นอง  โอนมรดกสิทธิ
เหนอื พน้ื ดนิ   ฯลฯ  หมายถงึ   เปน็ การโอนมรดกในกรณที อ่ี สงั หารมิ ทรพั ยไ์ ดจ้ ดทะเบยี นสทิ ธอิ ยา่ งอน่ื อยู่
เช่น ขายฝาก จ�ำ นอง สิทธิเหนอื พนื้ ดิน ตอ่ มาผูท้ รงสทิ ธิได้ถึงแกก่ รรม ทายาทของผ้ทู รงสทิ ธิดงั กลา่ ว
มาขอรบั สิทธินน้ั
๒. การจดทะเบียนลงชื่อเป็นผู้จัดการมรดกในหนังสือแสดงสิทธิในที่ดินหรือหลักฐาน
เกี่ยวกับอสังหาริมทรัพย์อื่น ตามมาตรา ๘๒ แห่งประมวลกฎหมายที่ดิน ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดย
พระราชบญั ญัติแก้ไขเพ่ิมเตมิ ประมวลกฎหมายทด่ี ิน (ฉบับที่ ๑๓) พ.ศ. ๒๕๕๖ ไมว่ ่าจะเปน็ ผจู้ ัดการ
มรดกตามพินัยกรรม หรือโดยค�ำ สง่ั ศาล ก็ใชป้ ระเภทการจดทะเบียนเช่นเดียวกนั
(๑) ผจู้ ดั การมรดก หมายถงึ อสังหาริมทรพั ย์จะมีช่อื ผถู้ อื กรรมสิทธคิ์ นเดยี วหรอื
หลายคนกไ็ ด้ แตท่ กุ คนจะตอ้ งถงึ แก่กรรม ผ้จู ดั การมรดกขอจดทะเบียนลงชื่อเปน็ ผจู้ ดั การมรดกไป
ท้งั หมด กรณีทผ่ี ้ถู อื กรรมสิทธ์มิ ีหลายคน ผจู้ ัดการมรดกของผถู้ อื กรรมสิทธ์ทิ ุกคนจะตอ้ งมผี ูจ้ ดั การ
มรดกเป็นบุคคลคนเดียวกนั หรือชุดเดยี วกัน

๓๔๕

(๒) ผ้จู ัดการมรดกเฉพาะส่วน  หมายถึง  อสังหาริมทรัพย์ต้องมีช่อื ผ้ถู ือกรรมสิทธ์ิ
หลายคน  ผู้ถือกรรมสิทธ์ิบางคนหรือทุกคนถึงแก่กรรม  ผู้ขอได้จดทะเบียนลงช่ือเป็นผู้จัดการมรดก
เฉพาะบางคน
(๓) เปล่ียนผู้จัดการมรดก  หมายถึง  อสังหาริมทรัพย์มีการจดทะเบียนลงช่ือ
ผจู้ ัดการมรดกอยู่ก่อนแลว้ ตอ่ มาศาลสัง่ ถอนการเปน็ ผูจ้ ดั การมรดก แลว้ ตัง้ บคุ คลอ่ืนเป็นผูจ้ ัดการ
มรดกแทน ผู้ได้รบั แตง่ ตั้งเป็นผูจ้ ดั การมรดกใหม่ มาขอจดทะเบยี นลงชอื่ เป็นผจู้ ดั การมรดก
(๔) โอนเปล่ียนนามผู้จัดการมรดก  หมายถึง  อสังหาริมทรัพย์มีการจดทะเบียน
ลงชอ่ื ผจู้ ดั การมรดกอยกู่ อ่ นแลว้   ตอ่ มาผจู้ ดั การมรดกไดถ้ งึ แกก่ รรม  ศาลไดต้ ง้ั ผจู้ ดั การมรดกขน้ึ ใหม่
ผไู้ ด้รบั แต่งต้งั เปน็ ผจู้ ดั การมรดกใหม่ มาขอจดทะเบยี นลงชอ่ื เปน็ ผจู้ ดั การมรดก
(๕) เลกิ ผจู้ ัดการมรดก  หมายถงึ   อสังหาริมทรพั ยม์ ีการจดทะเบยี นลงช่อื ผจู้ ดั การ
มรดกไว้ ต่อมาผู้จัดการมรดกได้ถึงแก่กรรมหมดทุกคน ทายาทไม่ประสงค์ให้ตั้งผู้จัดการมรดก
ขึ้นใหม่อีก แต่ต้องการขอจดทะเบียนรับโอนมรดกไปตามมาตรา ๘๑ แห่งประมวลกฎหมายที่ดิน
ทายาทมาขอจดทะเบียนเลกิ ผู้จัดการมรดก
l สาระส�ำ คัญ
– เมื่อบุคคลใดตาย มรดกของบุคคลนั้นตกทอดแก่ทายาท ทายาทที่มีสิทธิรับมรดก
ได้แก่ “ทายาทโดยธรรม” และ “ผู้รับพินัยกรรม” (ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา
๑๕๙๙, ๑๖๐๓)
– ทรัพย์สินของพระภิกษุที่ได้มาระหว่างเวลาที่อยู่ในสมณเพศ เมื่อพระภิกษุนั้นถึงแก่
มรณภาพให้ตกเป็นสมบัติของวัดที่เป็นภูมิลำ�เนาของพระภิกษุน้ัน  เว้นแต่พระภิกษุน้ันจะได้จำ�หน่าย
ไปในระหวา่ งมชี วี ติ หรอื โดยพนิ ยั กรรม (ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณชิ ย์ มาตรา ๑๖๒๓)
– ทายาทโดยธรรมมหี กล�ำ ดบั เทา่ นน้ั แตล่ ะล�ำ ดบั มสี ทิ ธไิ ดร้ บั มรดกกอ่ นหลงั ดงั ตอ่ ไปน ้ี คอื
(๑) ผสู้ บื สันดาน
(๒) บิดา มารดา
(๓) พน่ี ้องร่วมบดิ ามารดาเดียวกนั
(๔) พี่นอ้ งร่วมบิดาหรือมารดาเดยี วกนั
(๕) ปู ่ ยา่ ตา ยาย
(๖) ลงุ ปา้ น้า อา
คู่สมรสที่ยังมีชีวิตอยู่นั้นก็เป็นทายาทโดยธรรม  ภายใต้บังคับของบทบัญญัติพิเศษ
แห่งมาตรา ๑๖๓๕ (ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา ๑๖๒๙)
– กรณีท่ีจะรบั มรดกแทนท่ี มีได้ ๒ กรณี คอื
(๑) ทายาทโดยธรรมท่ีมีสิทธิรับมรดกถึงแกค่ วามตายกอ่ นเจา้ มรดกตาย
(๒) ทายาทโดยธรรมทม่ี สี ิทธริ บั มรดกถกู กำ�จัดมใิ ห้รับมรดกก่อนเจา้ มรดกตาย

๓๔๖
ถ้าไม่เป็นไปตามกรณดี งั กลา่ วกไ็ มม่ ีสทิ ธริ บั มรดกแทนที่กนั ได้ (ประมวลกฎหมายแพง่
และพาณชิ ย์ มาตรา ๑๖๓๙)
– ผู้สืบสันดานของทายาทโดยธรรมเท่านั้นที่มีสิทธิรับมรดกแทนท่ี  (ประมวลกฎหมาย
แพ่งและพาณิชย์ มาตรา ๑๖๔๒)
– พินัยกรรมที่ต้องทำ�ตามแบบ (ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา ๑๖๔๘)
ไดแ้ ก ่
(๑) แบบธรรมดา (ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณชิ ย์ มาตรา ๑๖๕๖)
(๒) แบบเขียนด้วยลายมือตนเองทั้งฉบับ (ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
มาตรา ๑๖๕๗)
(๓) แบบท�ำ เปน็ เอกสารฝา่ ยเมอื ง (ประมวลกฎหมายแพง่ และพาณชิ ย์ มาตรา ๑๖๕๘)
(๔) แบบเอกสารลับ (ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณชิ ย์ มาตรา ๑๖๖๐)
(๕) แบบทำ�ด้วยวาจา (ประมวลกฎหมายแพง่ และพาณิชย์ มาตรา ๑๖๖๓)
(๖) แบบซ่ึงกฎหมายของต่างประเทศที่คนในบังคับไทยทำ�พินัยกรรมในต่างประเทศ
(ประมวลกฎหมายแพง่ และพาณิชย์ มาตรา ๑๖๖๗)
– พินยั กรรมท่มี ิได้ลงวนั เดือน ปี ทที่ ำ�พนิ ยั กรรมไว้ยอ่ มตกเป็นโมฆะ (ประมวลกฎหมาย
แพ่งและพาณิชย์  มาตรา  ๑๗๐๕)  สำ�หรับพินัยกรรมลับตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
มาตรา ๑๖๖๐ กฎหมายมไิ ดบ้ งั คบั ใหผ้ ทู้ ำ�พนิ ัยกรรมต้องลงวัน เดือน ปี ในพินยั กรรมด้วย ดังนั้น
แม้ผู้ท�ำ พนิ ยั กรรมเอกสารลับจะไมไ่ ดล้ งวัน เดอื น ปี ท่ที ำ�พนิ ัยกรรมไว้ในพนิ ัยกรรมก็ใชไ้ ด้ (ฎกี าท ่ี
๑๒๖/๒๕๑๘)
– ผู้เขียนหรือพยาน และคสู่ มรสของผูเ้ ขียนหรือพยาน เป็นผ้รู ับทรพั ย์ตามพินยั กรรมน้ัน
ไม่ได้ (ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา ๑๖๕๓) ถ้าพนิ ัยกรรมระบุใหผ้ ู้เขียน พยาน หรอื
คู่สมรสของผู้เขียน  และพยาน  เป็นผู้รับมรดก  พินัยกรรมน้ันคงตกเป็นโมฆะเฉพาะข้อกำ�หนด
พนิ ยั กรรมทก่ี ำ�หนดให้ตกได้แกผ่ ูเ้ ขียน พยาน หรือคู่สมรสของผเู้ ขียน และค่สู มรสของพยานเทา่ น้นั
สว่ นขอ้ ก�ำ หนดในพนิ ัยกรรมสว่ นอน่ื ยังคงใชไ้ ด้อยู่ (ฎีกาท่ี ๗๓๐/๒๔๘๙, ๓๐๖/๒๕๐๗, ๑๒๑/๒๕๒๗,
๕๔๐๔/๒๕๓๓)
– พนิ ยั กรรมซ่ึงบุคคลทม่ี ีอายยุ ังไม่ครบสิบห้าปีบริบรู ณ์ท�ำ ข้นึ นน้ั เปน็ โมฆะ (ประมวล
กฎหมายแพง่ และพาณิชย์ มาตรา ๑๗๐๓)
– ผู้จัดการมรดกตัง้ ขึ้นด้วย ๒ กรณี คอื ผจู้ ดั การมรดกทีต่ ้ังขน้ึ โดยพินยั กรรม (ประมวล
กฎหมายแพ่งและพาณิชย์  มาตรา  ๑๗๑๒)  และผู้จัดการมรดกท่ีตั้งขึ้นโดยคำ�ส่ังศาล  (ประมวล
กฎหมายแพ่งและพาณชิ ย์ มาตรา ๑๗๑๓)
– ทายาทย่อมมีความผูกพันต่อบุคคลภายนอกในกิจการท้ังหลายอันผู้จัดการมรดก
ไดท้ ำ�ไปภายในขอบอำ�นาจในฐานะที่เปน็ ผู้จัดการมรดก (ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา
๑๗๒๔)

๓๔๗
– การจดทะเบียนโอนมรดก ตามมาตรา ๘๑ แหง่ ประมวลกฎหมายทด่ี นิ ทรัพยม์ รดก
จะเป็นท่ีดินหรืออสังหาริมทรัพย์อ่ืนก็ชอบที่จะขอจดทะเบียนได้  และการขอจดทะเบียนลงช่ือ
ผู้จัดการมรดกตามมาตรา ๘๒ วรรคแรก แห่งประมวลกฎหมายที่ดิน นอกจากทรัพย์มรดกที่เป็น
ท่ีดินแล้ว พนกั งานเจา้ หน้าท่กี ส็ ามารถจดทะเบยี นลงชอ่ื ผจู้ ัดการมรดกในทะเบยี นสิทธแิ ละนิตกิ รรม
เก่ยี วกบั อสังหารมิ ทรัพย์อนื่ ไดด้ ้วย (พระราชบัญญัติแก้ไขเพม่ิ เตมิ ประมวลกฎหมายท่ดี นิ (ฉบับท่ี ๑๓)
พ.ศ. ๒๕๕๖)
– หลักเกณฑ์และวิธีการจดทะเบียนสิทธิเกี่ยวกับอสังหาริมทรัพย์ซ่ึงได้มาโดยทางมรดก
ตามมาตรา ๘๑ แหง่ ประมวลกฎหมายท่ดี นิ ได้แก่ การย่ืนค�ำ ขอและการสอบสวน การเรยี กหนังสอื
แสดงสทิ ธใิ นท่ีดนิ จากผ้ยู ดึ ถอื และการเก็บรกั ษาไว้ระหวา่ งรอการจดทะเบยี น การลงบญั ชีรบั ท�ำ การ
และบัญชีแยกประเภทคุมเรอื่ งมรดก ประกาศการรบั ค�ำ ขอโต้แยง้ และการเปรยี บเทียบมรดก การ
จดทะเบยี นมรดก การแจ้งเตือนผูม้ าขอจดทะเบยี นและการยกเลกิ ค�ำ ขอ และหลกั เกณฑว์ ิธีการขอ
จดทะเบียนลงชอ่ื ผู้จัดการมรดกในหนังสอื แสดงสทิ ธใิ นท่ีดินหรืออสงั หารมิ ทรพั ยอ์ ่ืน และจดทะเบยี น
สทิ ธิในท่ดี ินหรอื อสงั หาริมทรัพยอ์ นื่ ใหแ้ ก่ทายาท ตามมาตรา ๘๒ แหง่ ประมวลกฎหมายทด่ี นิ ได้แก ่
การย่ืนคำ�ขอและการสอบสวน  การจัดการทรัพย์มรดกของผู้จัดการมรดก  ตลอดจนการเรียกเก็บ
ค่าธรรมเนียม  เป็นไปตามระเบียบกรมที่ดิน  ว่าด้วยการจดทะเบียนสิทธิเก่ียวกับอสังหาริมทรัพย์
ซึง่ ได้มาโดยทางมรดก พ.ศ. ๒๕๔๘ ลงวนั ท่ี ๙ สงิ หาคม พ.ศ. ๒๕๔๘ และแก้ไขเพม่ิ เตมิ (ฉบับที่ ๒)
พ.ศ. ๒๕๔๙ (ฉบบั ที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๕๓ (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๕๗
– การปิดประกาศการขอจดทะเบียนสิทธิเกี่ยวกับอสังหาริมทรัพย์ซึ่งได้มาโดยทาง
มรดก  ตามมาตรา  ๘๑  แห่งประมวลกฎหมายท่ีดิน  ให้ปิดประกาศทุกแห่งที่กฎหมายกำ�หนด
ไดแ้ ก่ ส�ำ นกั งานทด่ี ิน ส�ำ นักงานเขตหรอื ที่วา่ การอ�ำ เภอหรอื ก่งิ อำ�เภอ สำ�นกั งานเทศบาล ท่ที ำ�การ
องค์การบริหารส่วนตำ�บล  ที่ทำ�การแขวงหรือท่ีทำ�การกำ�นันท้องที่  ที่ทำ�การผู้ใหญ่บ้านท้องท่ีซ่ึง
อสังหารมิ ทรพั ยต์ ัง้ อยู่ และบริเวณอสังหารมิ ทรัพยท์ ีจ่ ะจดทะเบียน แหง่ ละ ๑ ฉบบั เวน้ แตใ่ นท้องท่ีซ่ึง
อสงั หารมิ ทรัพย์ทข่ี อจดทะเบยี นตัง้ อยู่ไมม่ ีสถานทน่ี ั้นให้ปิด เช่น มแี ตส่ ำ�นักงานเทศบาล ไม่มที ท่ี �ำ การ
องค์การบริหารส่วนตำ�บลเนื่องจากที่ทำ�การองค์การบริหารส่วนตำ�บลได้ยกฐานะข้ึนเป็นเทศบาลแล้ว
กรณีจึงต้องปิดเฉพาะที่ส�ำ นักงานเทศบาลไม่อาจปิดทีอ่ งค์การบรหิ ารส่วนตำ�บลได ้ เปน็ ตน้
– ผมู้ อี ำ�นาจในการสัง่ จดทะเบยี นโอนมรดก ไดแ้ ก่
(๑) กรณีสำ�นักงานที่ดินจังหวัดและสำ�นักงานที่ดินจังหวัดสาขา  ให้บันทึกเสนอ
เจ้าพนักงานที่ดินจังหวัดหรือเจ้าพนักงานที่ดินจังหวัดสาขา  หากเจ้าพนักงานที่ดินจังหวัดหรือ
เจ้าพนักงานท่ีดินจังหวัดสาขาไม่อยู่หรืออยู่แต่ไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้  ให้หัวหน้าฝ่ายทะเบียน
หรือพนักงานเจ้าหน้าที่ฝ่ายทะเบียน  ซ่ึงได้รับมอบหมายจากเจ้าพนักงานท่ีดินจังหวัด  หรือ
เจา้ พนกั งานท่ีดนิ จงั หวดั สาขา เป็นผู้พิจารณาสั่งให้จดทะเบียนแลว้ แตก่ รณี
(๒) กรณีสำ�นักงานที่ดินจังหวัดหรือสำ�นักงานท่ีดินสาขาส่วนแยก  ให้บันทึกเสนอ
เจา้ พนกั งานทด่ี นิ หวั หน้าสว่ นแยก หากเจ้าพนักงานทีด่ ินหวั หนา้ สว่ นแยกไมอ่ ยหู่ รืออยูแ่ ต่ไม่สามารถ

๓๔๘

ปฏิบัติหน้าที่ได้  ให้พนักงานเจ้าหน้าที่ด้านทะเบียนซ่ึงได้รับมอบหมายจากเจ้าพนักงานท่ีดินหัวหน้า
สว่ นแยกเป็นผู้พิจารณาสง่ั ให้จดทะเบยี น
(๓) กรณสี �ำ นกั งานทด่ี นิ อ�ำ เภอและส�ำ นกั งานทด่ี นิ กง่ิ อ�ำ เภอ ใหบ้ นั ทกึ เสนอนายอ�ำ เภอ
หรอื ปลดั อ�ำ เภอผเู้ ปน็ หวั หนา้ ประจ�ำ กง่ิ อ�ำ เภอ หรอื ผทู้ ไ่ี ดร้ บั มอบหมายจากนายอ�ำ เภอหรอื ปลดั อ�ำ เภอ
ผเู้ ปน็ หัวหนา้ ประจำ�กงิ่ อำ�เภอ เป็นผพู้ จิ ารณาส่งั ให้จดทะเบียนแล้วแต่กรณี
ทง้ั น้ี เปน็ ไปตามระเบยี บกรมทด่ี นิ วา่ ดว้ ยการจดทะเบยี นสทิ ธเิ กย่ี วกบั อสงั หารมิ ทรพั ย์
ซึ่งไดม้ าโดยทางมรดก (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๙ ลงวนั ท่ี ๑๙ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๔๙
l แนวทางการวนิ ิจฉยั ทสี่ ำ�คญั เก่ยี วกบั การโอนมรดก
๑. กรณีตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา ๑๕๙๙ ทายาทย่อมได้สิทธิ
ในทรัพย์มรดกต้ังแต่เจ้ามรดกตาย  แม้จะยังไม่ได้จดทะเบียนสิทธินั้นก็ตาม  แต่การได้มาซ่ึง
อสังหาริมทรัพย์โดยทางมรดกเป็นการได้มาโดยทางอื่นนอกจากนิติกรรม  สิทธิของผู้ได้มานั้นถ้ายัง
ไม่ไดจ้ ดทะเบียนไดม้ า ก็ไม่สามารถจะทำ�การเปล่ียนแปลงทางทะเบยี นต่อไปได้ ทงั้ น้ี ตามประมวล
กฎหมายแพง่ และพาณิชย์ มาตรา ๑๒๙๙ วรรคสอง
๒. กรณีผู้จัดการมรดกตามพินัยกรรมซึ่งมิได้เป็นผู้จัดการมรดกตามคำ�สั่งศาลด้วย
ขอโอนมรดกตรงไปยังทายาทที่มีสิทธิรับมรดก  โดยไม่ขอจดทะเบียนลงชื่อผู้จัดการมรดกในหนังสือ
แสดงสิทธใิ นทดี่ ิน พนกั งานเจา้ หนา้ ท่ีสามารถดำ�เนนิ การได้ ดงั น้ี
(๑) กรณผี จู้ ดั การมรดกตามพนิ ัยกรรมและผขู้ อโอนมรดกมายนื่ คำ�ขอ ณ ส�ำ นักงาน
ที่ดินให้พนักงานเจ้าหน้าที่สอบสวนผู้ขอพร้อมท้ังบันทึกถ้อยคำ�ยินยอมและคำ�รับรองของผู้จัดการ
มรดกให้ได้ความชัดเจนวา่ ผู้จดั การมรดกตามพนิ ัยกรรมไม่ประสงคท์ ีจ่ ะด�ำ เนินการจดั การทรพั ยม์ รดก
ตามพินยั กรรม และยนิ ยอมให้ผขู้ อโอนมรดกไปตามคำ�ขอไดโ้ ดยตรง โดยบันทกึ ลงในแบบบนั ทกึ การ
สอบสวนขอจดทะเบยี นโอนมรดก (ท.ด. ๘) แลว้ ดำ�เนินการประกาศจดทะเบยี นโอนมรดกให้แก่ผขู้ อ
ตามข้นั ตอนท่กี ำ�หนดไวใ้ นมาตรา ๘๑ แห่งประมวลกฎหมายทด่ี ิน และระเบียบกรมทด่ี นิ วา่ ด้วยการ
จดทะเบยี นสิทธเิ ก่ยี วกับอสังหาริมทรัพย์ซ่งึ ได้มาโดยทางมรดก
(๒) กรณีผู้จัดการมรดกตามพินัยกรรมไม่ได้มายื่นคำ�ขอพร้อมกับผู้ขอโอนมรดก
ให้พนักงานเจ้าหน้าท่ีสอบสวนผู้ขอโอนมรดกและตรวจสอบหลักฐานคำ�ยินยอมและคำ�รับรองของ
ผู้จัดการมรดกตามพินัยกรรมที่ผู้ขอนำ�มายื่นให้มีข้อความแสดงชัดเจนว่ายินยอมให้ผู้ขอโอนมรดกไป
ตามคำ�ขอได้  และรับรองว่าผู้จัดการมรดกตามพินัยกรรมไม่ประสงค์ท่ีจะดำ�เนินการจัดการทรัพย์
มรดกตามพินัยกรรม  โดยให้บันทึกอ้างอิงหลักฐานคำ�ยินยอมและคำ�รับรองของผู้จัดการมรดก
ดังกลา่ วไว้ในแบบบันทกึ การสอบสวนขอจดทะเบยี นโอนมรดก (ท.ด.๘) และเก็บหลกั ฐานเข้าสารบบ
ดว้ ย ทง้ั น้ ี ขน้ั ตอนและวิธกี ารใหด้ �ำ เนินการเชน่ เดียวกับ (๑)
๓. กรณผี จู้ ดั การมรดกตามค�ำ สง่ั ศาลไมว่ า่ จะมพี นิ ยั กรรมหรอื ไมม่ พี นิ ยั กรรมกต็ ามขอโอน
มรดกตรงไปยังทายาทที่มีสิทธิรับมรดก  โดยไม่ขอจดทะเบียนลงช่ือผู้จัดการมรดกในหนังสือแสดง

๓๔๙
สิทธิในที่ดินให้พนักงานเจ้าหน้าที่ชี้แจงผู้ขอทราบว่าพนักงานเจ้าหน้าท่ีไม่อาจรับดำ�เนินการได้
เนื่องจากศาลได้มีคำ�สั่งต้ังผู้จัดการมรดกแล้ว  อำ�นาจในการจัดการและแบ่งปันทรัพย์มรดกท้ังหมด
ย่อมเป็นของผจู้ ดั การมรดกตามทศี่ าลมคี �ำ ส่งั แตผ่ ้เู ดียว ทายาททง้ั หลายย่อมหมดสิทธทิ ่ีจะเขา้ จัดการ
มรดก กรณีจงึ ตอ้ งให้ผูจ้ ัดการมรดกเปน็ ผู้ยื่นขอจดทะเบียนโอนมรดกตามอ�ำ นาจหนา้ ท่ีตามค�ำ สั่งศาล
หากผ้ขู อยืนยนั ให้ด�ำ เนินการตามนยั ดงั กล่าว ผขู้ อตอ้ งไปดำ�เนนิ การยกเลกิ ผู้จัดการมรดกต่อศาลก่อน
๔. กรณีทรัพย์มรดกตกทอดไปยังทายาทโดยธรรมหรือทายาทโดยพินัยกรรมแล้ว
แต่ปรากฏว่าทายาทโดยธรรมหรือทายาทโดยพินัยกรรมผู้มีสิทธิรับมรดกนั้นถึงแก่กรรมไปก่อนท่ี
ผู้จัดการมรดกขอจดทะเบียนโอนมรดก  และทายาทของทายาทท่ีถึงแก่กรรมประสงค์ขอรับมรดก
เมอ่ื พนกั งานเจ้าหนา้ ที่จดทะเบียนลงชือ่ ผู้จดั การมรดกตามมาตรา ๘๒ แห่งประมวลกฎหมายท่ดี นิ
แล้วใหด้ �ำ เนนิ การโอนมรดกไดด้ ้วยวิธกี าร ดงั นี้
(๑) ในกรณีทายาทผู้มีสิทธิรับมรดกที่ถึงแก่กรรมไม่มีผู้จัดการมรดก  ให้ผู้จัดการ
มรดกของเจ้ามรดกจดทะเบียนโอนมรดกลงชื่อทายาทที่มีสิทธิรับมรดกซ่ึงถึงแก่กรรมเป็นผู้รับมรดก
โดยถือว่าเป็นกรณีที่ผู้จัดการมรดกซึ่งได้มีช่ือในหนังสือแสดงสิทธิในที่ดินแล้วขอจดทะเบียนสิทธิใน
ท่ีดินใหแ้ ก่ทายาทตามนัยมาตรา ๘๒ วรรคสองแห่งประมวลกฎหมายที่ดนิ และเมอื่ ปรากฏช่อื ทายาท
ผ้มู ีสทิ ธิรับมรดกของเจ้ามรดกในหนงั สือแสดงสิทธใิ นทดี่ ินแลว้ จงึ ให้ทายาทของทายาทที่ถงึ แกก่ รรม
ขอรับมรดกตามมาตรา ๘๑ แห่งประมวลกฎหมายที่ดินตอ่ ไป
(๒) ในกรณีทายาทผู้มีสิทธิรับมรดกที่ถึงแก่กรรมมีผู้จัดการมรดก  ให้ผู้จัดการมรดก
ของเจ้ามรดกจดทะเบียนโอนมรดกลงช่ือผู้จัดการมรดกของทายาทท่ีถึงแก่กรรมน้ันเป็นผู้รับมรดกใน
ช่องผู้รับโอน  แล้วจึงให้ผู้จัดการมรดกของทายาทที่ถึงแก่กรรมโอนมรดกให้แก่ทายาทของทายาทที่
ถึงแกก่ รรมนัน้ ต่อไป
๕. ในกรณที ี่ทายาทไดย้ นื่ ค�ำ ขอโอนมรดกตามมาตรา ๘๑ แหง่ ประมวลกฎหมายทด่ี นิ
ไว้แล้วและเรื่องอยู่ระหว่างดำ�เนินการตามขั้นตอน  เช่น  การประกาศ  การคัดค้าน  การสอบสวน
เปรยี บเทียบและสัง่ การไปแล้ว ก่อนจดทะเบียนโอนมรดกหากปรากฏแกพ่ นักงานเจ้าหนา้ ทวี่ ่า มรดก
ดังกล่าว  ศาลได้มีคำ�ส่ังตั้งผู้จัดการมรดกไว้แล้ว  การจัดการมรดกต่อไปย่อมเป็นอำ�นาจหน้าที่ของ
ผจู้ ดั การมรดกตามมาตรา ๑๗๑๙ แห่งประมวลกฎหมายแพง่ และพาณิชย์ ทายาททง้ั หลายยอ่ มหมด
สทิ ธทิ ี่จะเขา้ จดั การมรดก ให้พนกั งานเจ้าหน้าที่ยกเลกิ ค�ำ ขอ โดยให้หมายเหตใุ นบนั ทกึ การสอบสวนฯ
(ท.ด.๘) วา่ “คำ�ขอโอนมรดกรายนีไ้ ด้ถกู ยกเลกิ เน่ืองจากศาลได้มีคำ�สัง่ ตัง้ ผู้จัดการมรดกแลว้ ” และ
แจง้ สทิ ธติ ามกฎหมายวา่ ด้วยวธิ ีปฏิบตั ิราชการทางปกครองใหผ้ ู้ขอทราบ
๖. กรณีผู้ขอนำ�ทายาทท่ีแสดงไว้ในบัญชีเครือญาติทุกคนมาให้ถ้อยคำ�ยินยอมหรือนำ�
หลักฐานการไม่รับมรดกของทายาทดังกล่าวมาแสดงต่อพนักงานเจ้าหน้าท่ีภายหลังท่ีครบกำ�หนด
เวลาทป่ี ระกาศแล้วเชน่ นี้ พนกั งานเจ้าหนา้ ทไี่ ม่สามารถดำ�เนินการต่อไปได้ เนือ่ งจากค�ำ ขอถูกยกไป
โดยอำ�นาจของกฎหมายนับแตค่ รบกำ�หนดเวลาท่ปี ระกาศแลว้ ทัง้ นี้ ตามท่ีกฎกระทรวงว่าด้วยการ

๓๕๐
โอนมรดกตามมาตรา ๘๑ แหง่ ประมวลกฎหมายท่ีดนิ ก�ำ หนดไว ้ แตห่ ากผูข้ อยังประสงค์จะย่นื ขอรับ
มรดกต่อไปอีกให้พนักงานเจ้าหน้าท่ีแนะนำ�ให้ผู้ขอย่ืนคำ�ขอใหม่  โดยพนักงานเจ้าหน้าท่ีไม่ต้องสั่ง
ยกเลิกคำ�ขอเดิม แต่ให้หมายเหตถุ งึ การทค่ี ำ�ขอถูกยกเลกิ ไวใ้ นคำ�ขอว่า “คำ�ขอน้ถี กู ยกเลกิ เนอ่ื งจาก
ผู้ขอไม่สามารถนำ�ทายาทท่ีแสดงไว้ในบัญชีเครือญาติทุกคนมาให้ถ้อยคำ�ยินยอมหรือไม่สามารถ
นำ�หลักฐานการไม่รับมรดกของทายาทดังกล่าวนั้นมาแสดงภายในกำ�หนดเวลาท่ีประกาศ”  แล้วให้
พนักงานเจ้าหนา้ ท่ลี งนามพรอ้ มวัน เดือน ปี ก�ำ กบั ไว้
ให้พนักงานเจ้าหน้าที่ช้ีแจงให้ผู้ขอทราบถึงเหตุที่คำ�ขออาจจะถูกยกเลิกในกรณีตาม
วรรคหนึง่ ไว้เปน็ ลายลกั ษณ์อกั ษรในเวลาที่ผ้ขู อยืน่ คำ�ขอด้วยทุกราย
๗. โฉนดท่ีดนิ มีชอื่ ก. กบั ซ. เป็นผูถ้ ือกรรมสิทธิ์รว่ มกัน เมือ่ ก. ตาย ทีด่ นิ เฉพาะสว่ น
ของ ก. จึงเป็นมรดกตกทอดแก่ ย. มารดา น. ภรรยาที่ชอบดว้ ยกฎหมาย และ ผ. ป. ด. บตุ รท่ชี อบ
ด้วยกฎหมายซึง่ เปน็ ทายาทโดยธรรม เปน็ เจา้ ของร่วมกันไปจนกว่าจะได้แบ่งมรดกกันเสรจ็ ส้นิ การท่ี
น. ท่ี ๑ และ ผ. โดย น. มารดา ผแู้ ทนโดยชอบธรรมท่ี ๒ เปน็ โจทก์ฟอ้ ง ซ. เป็นจำ�เลย เรอ่ื ง
มรดก กรรมสทิ ธริ์ วม แม้โจทกจ์ ำ�เลยจะตกลงประนปี ระนอมยอมความและศาลพิพากษาตามยอม
โดย ซ. จำ�เลย ยอมให้ ผ. โจทกท์ ี่ ๒ มกี รรมสทิ ธิ์ในโฉนดทด่ี นิ ดงั กล่าว โดยให้ถอนชอ่ื ก. ออกแล้ว
ลงชอ่ื โจทกท์ ี่ ๒ แทน และทงั้ สองฝา่ ยจะไปดำ�เนินการรังวัดแบง่ แยกทด่ี นิ ภายใน ๗ วัน นบั แตโ่ จทก์
ที ่ ๒ มีช่ือถอื กรรมสิทธ์ิในโฉนดท่ีดิน หากไม่ไป ให้ถอื เอาคำ�พิพากษาของศาล เป็นการแสดงเจตนา
ของอกี ฝา่ ยหน่ึงก็ตาม ค�ำ พพิ ากษาตามยอมดงั กล่าวก็มใิ ช่ คำ�พพิ ากษาทีว่ ินจิ ฉัยถงึ กรรมสทิ ธขิ์ องที่
พพิ าท อนั จะมีผลใช้ยัน ย. ป. ด. ทายาทอน่ื ของ ก. ซ่งึ เปน็ บคุ คลภายนอกได ้ จึงไมอ่ าจจดทะเบียน
โอนทด่ี ินมรดกโฉนดท่ีดนิ สว่ นทเี่ ปน็ ของ ก. ใหแ้ ก่ ผ. แต่เพยี งคนเดียว เพ่อื ให้เปน็ ไปตามค�ำ พิพากษา
ตามยอม ควรให้ทายาทของ ก. ด�ำ เนนิ การขอรบั โอนมรดกเฉพาะส่วนของ ก. ในโฉนดท่ีดินดงั กลา่ ว
ตามมาตรา ๘๑ แหง่ ประมวลกฎหมายที่ดินต่อไป
๘. ต. เปน็ โจทกฟ์ อ้ ง ท. ในฐานะทายาทโดยธรรมผ้มู สี ทิ ธริ บั มรดกของ บ. ต่อมาได้
ประนปี ระนอมยอมความกนั โดยศาลพพิ ากษาตามยอมว่า ท. ยินยอมจดทะเบยี นโอนทีด่ ินใหแ้ ก่ ต.
ทง้ั แปลง เชน่ น้ีย่อมไม่มีผลผกู พนั บ. ผู้ถอื กรรมสทิ ธทิ์ ่ดี นิ ดงั กลา่ วและทายาทอืน่ ของ บ. แต่อยา่ งใด
เพราะสัญญาประนีประนอมยอมความย่อมมีผลผูกพันเฉพาะคู่กรณีท่ีได้ตกลงประนีประนอม
ยอมความกันเท่านนั้ ไม่มผี ลผูกพนั บคุ คลภายนอก (เทียบค�ำ พิพากษาฎกี าที่ ๑๓๑๑/๒๕๐๔ และ
๕๓๓/๒๕๑๕) เมอื่ ท. ทายาทของ บ. ยังไมจ่ ดทะเบยี นรบั โอนมรดก ท. จะทำ�การเปลย่ี นแปลง
ทางทะเบยี นไมไ่ ด้ ตามประมวลกฎหมายแพง่ และพาณิชย์ มาตรา ๑๒๙๙ วรรคสอง แมส้ ัญญา
ประนีประนอมยอมความจะระบไุ วว้ ่าหาก ท. ไมย่ อมไปโอนให้ถือเอาค�ำ พิพากษาของศาลแทนการ
แสดงเจตนาของ ท. ด้วย กไ็ ม่อาจจดทะเบียนใหไ้ ด้ เพราะแม้ ท. จะมาขอจดทะเบยี นเองกย็ งั ทำ�ไม่ได้
เนอื่ งจากขัดกับประมวลกฎหมายแพง่ และพาณิชย์ มาตรา ๑๒๙๙ วรรคสอง ดงั นั้น ทายาทของ บ.
จะตอ้ งรบั มรดกหรอื ผจู้ ดั การมรดกจดทะเบยี นลงชอ่ื ผจู้ ดั การมรดกเสยี กอ่ นจงึ จดทะเบยี นใดๆ ตอ่ ไปได้

๓๕๑
๙. ตามพินัยกรรมแปลความได้ว่าผู้ทำ�พินัยกรรมมีเจตนายกทรัพย์สินที่มีอยู่ในขณะน้ี
และทจี่ ะเกดิ มีข้ึนในภายหน้าทงั้ หมดให้เป็นกรรมสิทธิข์ อง ป. พ. ส. ว. และ อ. โดยสว่ นแบง่ ให้ไดร้ บั
คนละเท่าๆ  กัน  มิได้กำ�หนดเจาะจงให้บุคคลใดได้รับทรัพย์สินเฉพาะสิ่งเฉพาะอย่างหรือให้ได้รับ
ทรัพย์สินทง้ั หมดรว่ มกนั อยา่ งเชน่ เจา้ ของรวม จึงเป็นพนิ ยั กรรมลกั ษณะท่ัวไป ตามประมวลกฎหมาย
แพ่งและพาณิชย์ มาตรา ๑๖๕๑ (๑) ส่วนท่ดี นิ ท่ีระบไุ ว้ในพินัยกรรมขอ้ อื่นนน้ั ผทู้ ำ�พนิ ัยกรรมมเี จตนา
เพียงต้องการแจกแจงรายละเอียดเพื่อให้ผู้รับพินัยกรรมทราบว่าเม่ือผู้ทำ�พินัยกรรมถึงแก่ความตาย
ไปแล้ว  ที่ดินซึ่งเป็นกรรมสิทธิ์เฉพาะส่วนของผู้ทำ�พินัยกรรมจำ�นวนเนื้อที่ที่ระบุไว้นี้เท่านั้นที่จะตก
เปน็ กรรมสทิ ธข์ิ องผรู้ บั พนิ ยั กรรม ทด่ี นิ ตามพนิ ยั กรรมขอ้ อน่ื ๆ จงึ ไมใ่ ชท่ รพั ยส์ นิ เฉพาะสง่ิ เฉพาะอยา่ ง
ซึ่งเจาะจงไว้โดยเฉพาะ  หรือแยกต่างหากเป็นพิเศษจากกองมรดก  แต่เป็นทรัพย์สินซึ่งรวมอยู่ใน
ทรัพย์สินทั้งหมดที่ตกได้แก่ผู้รับพินัยกรรม ตามรายชื่อที่ระบุไว้คนละเท่าๆ กัน ดังนั้น ผู้รับ
พินัยกรรมท่ีดินดังกล่าวจึงไม่ใช่ผู้รับพินัยกรรมลักษณะเฉพาะ  แต่เป็นผู้รับพินัยกรรมลักษณะทั่วไป
ตามประมวลกฎหมายแพง่ และพาณิชย์ มาตรา ๑๖๕๑ (๑) ซ่ึงการจดั แบ่งทรัพย์มรดกโดยพินยั กรรม
ลักษณะท่ัวไปกรมที่ดินได้วางทางปฏิบัติว่าเหมือนกับการจัดแบ่งมรดกให้แก่ทายาทโดยธรรมนั่นเอง
ผจู้ ดั การมรดกยอ่ มมสี ทิ ธทิ จ่ี ะใชด้ ลุ ยพนิ จิ ของตนเองวา่ การแบง่ ปนั ทรพั ยม์ รดกอยา่ งไรจงึ จะใหท้ ายาท
ได้รับส่วนแบ่งเท่าๆ กัน ไม่จำ�เป็นว่าผู้จัดการมรดกจะต้องโอนทรัพย์สินหรือที่ดินแต่ละแปลงให้แก่
ทายาทตามพนิ ยั กรรมทกุ คนรบั รว่ มกนั ไป อ�ำ นาจของผจู้ ดั การมรดกทจ่ี ะโอนมรดกทด่ี นิ แปลงใดใหแ้ ก่
ทายาทคนใดนั้นอยู่ในความรับผิดชอบของผู้จัดการมรดกเอง พนักงานเจ้าหน้าที่ไม่มีหน้าที่จะเข้าไป
ควบคุมการจัดการมรดกว่า  ผู้จัดการมรดกจะจัดการแบ่งอย่างไร  ทรัพย์สินทั้งหมดมีเท่าใด  ใคร
ได้เปรียบหรือเสียเปรียบอย่างไร  มิฉะนั้นจะกลายเป็นว่าพนักงานเจ้าหน้าที่เป็นผู้จัดการแบ่งปัน
ทรัพย์มรดกด้วย (ระเบยี บกรมที่ดิน ว่าด้วยการจดทะเบยี นสทิ ธเิ ก่ียวกบั อสงั หารมิ ทรัพย์ซ่ึงไดม้ าโดย
ทางมรดก พ.ศ. ๒๕๔๘ ขอ้ ๔๙)
๑๐. กรณี ม. ขอจดทะเบียนโอนท่ีดนิ ซึ่งมชี ือ่ ข. เป็นเจา้ ของกลบั คืนสกู่ องมรดกของ บ.
ตามสัญญาประนีประนอมยอมความและคำ�พิพากษาตามยอม  เห็นว่าตามท่ีคู่ความตกลงทำ�สัญญา
ประนีประนอมยอมความและศาลได้มีคำ�พิพากษาตามยอมว่าจำ�เลยยินยอมดำ�เนินการเพิกถอน
นิติกรรมประเภทโอนมรดกท่ีดินน้ัน  พนักงานเจ้าหน้าท่ีจะดำ�เนินการเพิกถอนรายการจดทะเบียน
ดังกล่าวตามนัยมาตรา ๖๑ วรรคแปด แห่งประมวลกฎหมายที่ดินได้ จะต้องเป็นกรณีที่ศาลได้มี
ค�ำ พิพากษาหรอื ค�ำ สง่ั ถงึ ที่สุดใหเ้ พกิ ถอนรายการจดทะเบียนโดยตรง  แ  ตข่ ้อเทจ็ จริงของเรื่องน้ปี รากฏ
ว่าคู่ความได้ทำ�สัญญาประนีประนอมยอมความและคำ�พิพากษาตามยอมให้เพิกถอนรายการ
จดทะเบยี น ซ่งึ ศาลได้พิพากษาตามยอมโดยทม่ี ไิ ดม้ ีการวนิ จิ ฉัยประเด็นแห่งคดวี า่ การจดทะเบียน
ผิดพลาดคลาดเคล่ือนจริงหรือไม่  และมิได้มีคำ�พิพากษาหรือคำ�ส่ังให้เพิกถอนรายการจดทะเบียน
ซ่ึงยังถือไม่ได้ว่าศาลได้มีคำ�พิพากษาถึงที่สุดให้เพิกถอนตามมาตรา  ๖๑  วรรคแปด  แห่งประมวล
กฎหมายที่ดิน  พนักงานเจ้าหน้าท่ีจะดำ�เนินการเพิกถอนไปตามคำ�พิพากษาตามยอมตามนัยมาตรา

๓๕๒
๖๑ วรรคแปด ไมไ่ ด้ และการทพี่ นกั งานเจา้ หน้าทไ่ี ดจ้ ดทะเบียนโอนมรดกกรณี ข. ในฐานะผู้จดั การ
มรดกโอนมรดกให้แก่ตนเองในฐานะทายาทโดยธรรมของเจ้ามรดก  ถือว่าเป็นการจดทะเบียนไป
โดยชอบแล้ว จงึ ไม่อาจจะเพกิ ถอนรายการจดทะเบยี นดังกล่าวตามมาตรา ๖๑ วรรคแรก ไดเ้ ช่นกัน
แต่กรณีท่ีคู่ความได้ทำ�สัญญาประนีประนอมยอมความและศาลมีคำ�พิพากษาตามยอมว่าจำ�เลยตกลง
จะทำ�นติ ิกรรมโอนทีด่ นิ ดังกล่าวใหก้ ับกองมรดกของ บ. เพ่ือประโยชนใ์ นการจัดการทรัพยม์ รดกน้นั
ข้อเทจ็ จรงิ ปรากฏว่า ข. ในฐานะผูจ้ ดั การมรดกของ บ. ไดจ้ ดทะเบยี นโอนมรดกใหแ้ กต่ นเองเพียง
ผ้เู ดยี ว ซง่ึ ม. โจทกเ์ ห็นวา่ เป็นการกระท�ำ ที่ไมช่ อบ ม. จึงต้องฟ้องเพกิ ถอนการจดทะเบยี นโอนมรดก
ที่ผ้จู ัดการมรดกกระท�ำ โดยไม่ชอบนั้น แตย่ งั ไมท่ นั ได้ฟ้องรอ้ งคดี ข. ก็ถึงแกก่ รรมลงก่อน ทรพั ย์สิน
รวมทั้งสิทธิและหน้าที่เก่ียวกับทรัพย์สินดังกล่าวย่อมตกทอดแก่ทายาทของ  ข.  ม.  จึงมีสิทธิฟ้อง
ทายาทของ ข. ใหร้ ับผิดได ้ และเมือ่ คูค่ วามไดต้ กลงทำ�สัญญาประนีประนอมยอมความกัน โดยศาล
ได้มคี �ำ พพิ ากษาตามยอมแล้ว แมจ้ ะมผี เู้ ยาว์เป็นคู่ความด้วย แต่กม็ ีผ้แู ทนโดยชอบธรรมในคดีอยแู่ ล้ว
คำ�พิพากษาตามสัญญาประนีประนอมยอมความดังกล่าวย่อมผูกพันคู่ความท่ีจะต้องปฏิบัติตาม
(ตามนัยมาตรา ๑๔๕ แหง่ ประมวลกฎหมายวิธีพจิ ารณาความแพ่ง) กรณีน้ีจงึ ควรดำ�เนนิ การตาม
คำ�พิพากษาได้ โดยจดทะเบยี นประเภท “โอนตามค�ำ สงั่ ศาล”
สำ�หรับการเรียกเก็บค่าธรรมเนียมให้เรียกเก็บทำ�นองเดียวกับการโอนมรดกหรือ
ใหร้ ะหว่างบุพการีกบั ผสู้ บื สันดานรอ้ ยละ ๕๐ สตางค์ ตามราคาประเมนิ ทุนทรพั ย์ ตามกฎกระทรวง
ฉบบั ที่ ๔๗ (พ.ศ. ๒๕๔๑) ออกตามความในพระราชบัญญัตใิ ห้ใช้ประมวลกฎหมายทด่ี ิน พ.ศ. ๒๔๙๗
ขอ้ ๒ (๗) (ง) และเนอ่ื งจากการโอนกรรมสทิ ธห์ิ รอื สทิ ธคิ รอบครองในอสงั หารมิ ทรพั ยต์ ามค�ำ พพิ ากษาศาล
กรณนี ไี้ มถ่ ือเปน็ การขายตามมาตรา ๓๙ แหง่ ประมวลรษั ฎากร จึงไมอ่ ยใู่ นบงั คับตอ้ งเสยี ภาษีเงนิ ได้
บุคคลธรรมดาไม่ต้องมีการหักภาษีเงินได้  ณ  ที่จ่าย  และไม่ต้องเสียอากรแสตมป์ตามลักษณะ
แห่งตราสาร ๒๘. (ข) แหง่ บัญชีอตั ราอากรแสตมป์แตอ่ ย่างใด
๑๑. กรณที ่ศี าลมคี �ำ พิพากษาส่ังใหใ้ สช่ ือ่ ป. และ ส. ลงในโฉนดที่ดนิ เปน็ ผู้ถอื กรรมสิทธ์ิ
ไวแ้ ทนทายาทอน่ื ๆ กเ็ พ่ือให้ ป. และ ส. ซ่งึ เป็นผ้รู ับมรดกถอื กรรมสทิ ธใ์ิ นที่ดนิ ไวแ้ ทนทายาทของ ร.
เจ้ามรดก แต่เมื่อปรากฏว่าศาลได้มีคำ�สั่งตั้งให้ ป. เป็นผู้จัดการมรดกของเจ้ามรดกแล้ว อำ�นาจ
การจัดการมรดกก็ย่อมตกเป็นของผู้จัดการมรดก  (เทียบฎีกาท่ี  ๑๑๖๗/๒๕๐๕)  ประกอบกับ
ผู้รับมรดกความก็ไม่ประสงค์จะลงชื่อถือกรรมสิทธิ์ในที่ดินที่พิพาทไว้แทนทายาทตามคำ�พิพากษา
ต่อไปและไมข่ ัดข้องที่ ป. ผู้จดั การมรดก ร. เจ้ามรดก จะจดทะเบยี นลงช่ือผ้จู ดั การมรดกในโฉนด
ท่ีดินทีพ่ พิ าท ป. เองก็ยงั ให้ถ้อยคำ�ยืนยนั ไวด้ ้วยว่า เมอ่ื จดทะเบยี นลงช่อื ผูจ้ ดั การมรดกในโฉนดทดี่ นิ
ดังกล่าว ก็จะโอนให้แก่ทายาทของ ร. เจ้ามรดกทุกคนในทุกโฉนด จึงควรจดทะเบียนโอนที่ดิน
ดงั กล่าวให้เปน็ ของกองมรดกของ ร. เจ้ามรดก ตามคำ�พิพากษาไดใ้ นประเภท “โอนตามคำ�สั่งศาล
(ตามคำ�พพิ ากษา…...…......….ลงวันที่……..…….....)” โดยลงชอ่ื “ป. ผูจ้ ดั การมรดก ร.” เป็นผรู้ ับโอน
ซึ่งการโอนในกรณีเช่นน้ีถือว่าเป็นการจดทะเบียนในประเภทไม่มีทุนทรัพย์  เรียกเก็บค่าธรรมเนียม

๓๕๓
แปลงละ ๕๐ บาท เพราะตามคำ�พิพากษาดังกลา่ ว ศาลวนิ ิจฉยั ว่ากรรมสิทธ์ใิ นทด่ี ินทพ่ี พิ าทยงั ไมต่ ก
เปน็ ของจ�ำ เลย
๑๒. การรับมรดกของบุตรนอกสมรสซ่ึงบิดาเป็นเจ้ามรดกนั้น  ผู้ขอยังไม่ใช่บุตรที่ชอบ
ด้วยกฎหมาย  แต่เป็นบุตรนอกกฎหมายท่ีบิดาได้รับรองแล้ว  มีสิทธิรับมรดกของบิดาตามประมวล
กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา ๑๖๒๗
การพจิ ารณาวา่   ใครเปน็ บตุ รนอกกฎหมายทบ่ี ดิ าไดร้ บั รองแลว้ อนั ถอื วา่ เปน็ ผสู้ บื สนั ดาน
เหมือนกับบุตรท่ีชอบด้วยกฎหมายท่ีจะมีสิทธิรับมรดกตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
มาตรา ๑๖๒๗ ได้หรือไมน่ ้นั ใหพ้ ิจารณาจากพฤตกิ ารณ์ท่ัวไป ซึง่ พฤติการณ์ทัว่ ๆ ไปนั้นให้ศกึ ษา
จากแนวคำ�พิพากษาฎีกาที่ได้เคยวินิจฉัยไว้เป็นบรรทัดฐาน อันถือได้ว่าเป็นพฤติการณ์ที่พอฟังได้ว่า
เป็นบุตรนอกกฎหมายที่บิดาได้รับรองแล้ว เช่น การลงในสูติบัตร สำ�เนาทะเบียนบ้านว่าเป็นบุตร
และการใหใ้ ช้นามสกลุ การเล้ยี งดโู ดยใหเ้ รยี กวา่ บดิ าใหเ้ ปน็ ทร่ี ูโ้ ดยทว่ั กนั การให้การศกึ ษาเลา่ เรียน
เป็นตน้   (ค�ำ พพิ ากษาฎกี าที่ ๘๓๒/๒๔๙๗, ๑๕๐๓/๒๔๙๗, ๖๔๙/๒๕๐๐, ๓๒๑-๓๒๒/๒๕๐๔,
๕๓๕/๒๕๐๙,  ๑๓๖/๒๕๑๐,  ๑๑๔๖/๒๕๑๓,  ๑๘๑/๒๕๑๘,  ๔๓๖/๒๕๑๘,  ๒๖๔๖/๒๕๒๒,
๑๑๕๗/๒๕๒๓, ๒๐๘๗/๒๕๒๓, ๑๔๓/๒๕๒๔)
๑๓. ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา ๑๗๑๙ ผจู้ ัดการมรดกมสี ทิ ธแิ ละ
หน้าท่ีท่ีจะกระทำ�การอันจำ�เป็นเพ่ือแบ่งปันทรัพย์มรดกในการจัดการทรัพย์มรดก  จึงเป็นอำ�นาจ
หน้าที่ของผู้จัดการมรดกที่จะจัดแบ่งให้เป็นไปตามคำ�สั่งหรือโดยปริยายแห่งพินัยกรรม  ถ้าไม่มีคำ�สั่ง
หรือพินัยกรรมส่ังไวผ้ ู้จดั การมรดกจะจัดแบ่งอยา่ งไรหรอื แบ่งทรัพยม์ รดกใดใหแ้ กท่ ายาทคนใด  กย็ ่อม
ทำ�ไดเ้ พราะเปน็ อ�ำ นาจของผจู้ ดั การมรดก เม่ือผ้จู ัดการมรดกได้ใชอ้ ำ�นาจหน้าที่จัดการแบ่งปันทรัพย์
มรดกใดให้แก่ทายาทไปแล้ว  จึงต้องถือว่าทายาทที่ได้รับส่วนแบ่งได้สิทธิในทรัพย์มรดกนั้นไปตาม
ที่แบ่งแล้ว แม้การแบง่ ปันทรัพยม์ รดกอนั ใดอนั หนง่ึ จะมิได้แบ่งให้แก่ทายาทครบทุกคน กไ็ มเ่ ป็นเหตุ
ให้ผู้จัดการมรดกจะนำ�มากล่าวอ้างเพื่อให้มีการจัดแบ่งทรัพย์มรดกกันใหม่  การท่ีผู้จัดการมรดกยัง
จดั การมรดกไมเ่ สรจ็ สน้ิ เพราะยงั มที รพั ยม์ รดกอน่ื ทไ่ี มไ่ ดแ้ บง่ ผจู้ ดั การมรดกกค็ งมสี ทิ ธแิ ละหนา้ ทท่ี จ่ี ะ
จัดการทรัพย์มรดกต่อไปได้เฉพาะในส่วนที่ยังไม่ได้จัดแบ่งเพื่อให้การจัดการทรัพย์มรดกได้เสร็จสิ้นไป
เท่านั้น ไมม่ ีอ�ำ นาจถงึ กับจะนำ�ทรัพยม์ รดกทตี่ นไดจ้ ดั แบ่งไปแล้วมาแบง่ อกี ได้ (เทียบค�ำ พพิ ากษาฎกี า
ท่ี ๓๐๕/๒๔๘๙) เพราะทรพั ย์มรดกทีแ่ บ่งใหแ้ กท่ ายาทไปแล้วย่อมพ้นจากสภาวะทรัพยใ์ นกองมรดก
ท่ีผจู้ ดั การมรดกจะนำ�มาแบง่ ไดอ้ กี
๑๔. พ.  ผู้จัดการมรดกของเจ้ามรดกยื่นคำ�ขอจดทะเบียนโอนมรดกท่ีดินให้แก่ตนเอง
ในฐานะทายาทโดยธรรมของเจ้ามรดกโดยอ้างว่าเจ้ามรดกได้ทำ�พินัยกรรมยกที่ดินดังกล่าวให้แก่วัด
แตเ่ จา้ อาวาสไดท้ �ำ หนังสือสละมรดก  กรณีนี้ที่ดินดงั กลา่ วไดต้ กเป็นกรรมสิทธิข์ องวดั ทันทที เ่ี จ้ามรดก
ผู้ทำ�พินัยกรรมเสียชีวิตโดยผลของกฎหมาย ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา ๑๕๙๙
ด้วยเหตนุ ี้ ท่ดี ินดังกลา่ วจงึ เปน็ กรรมสิทธิ์ของวดั และอยู่ในบงั คับของมาตรา ๓๔ แหง่ พระราชบัญญัติ

๓๕๔
คณะสงฆ ์ พ.ศ. ๒๕๐๕ ซึ่งแกไ้ ขเพมิ่ เติมโดยมาตรา ๓๔ แห่งพระราชบัญญตั คิ ณะสงฆ ์ (ฉบบั ท่ ี ๒)
พ.ศ. ๒๕๓๕ การที่เจ้าอาวาสไดแ้ สดงเจตนาสละมรดกทีด่ นิ ดงั กล่าวไม่มีกฎหมายให้อ�ำ นาจเจ้าอาวาส
ทจ่ี ะกระท�ำ ได้ ดงั นั้น การโอนกรรมสทิ ธ์ิจะกระท�ำ ได้กแ็ ตโ่ ดยพระราชบญั ญตั ิ หรอื พระราชกฤษฎกี า
ตามหลกั เกณฑท์ ก่ี ฎหมายก�ำ หนดไวเ้ ทา่ นน้ั และการสละมรดกถอื เปน็ การโอนกรรมสทิ ธท์ิ ด่ี นิ ของวดั ดว้ ย
และต้องกระทำ�โดยพระราชบัญญัติหรือพระราชกฤษฎีกา ฉะนั้น พนักงานเจ้าหน้าที่จึงไม่อาจ
จดทะเบยี นโอนมรดกให้แก่ผขู้ อได้
๑๕. การจดทะเบียนเก่ียวกับอสังหาริมทรัพย์ซ่ึงได้มาโดยทางมรดกตามมาตรา  ๘๑
แห่งประมวลกฎหมายท่ีดิน  เมื่อมีกรณีโต้แย้งกฎหมายได้กำ�หนดหลักเกณฑ์การดำ�เนินการไว้ว่า
ให้พนักงานเจ้าหน้าท่ีมีอำ�นาจสอบสวนคู่กรณี  และทำ�การเปรียบเทียบโดยพิจารณาจากหลักฐานที่
ปรากฏ ถา้ เปรียบเทยี บแลว้ ไม่ตกลง ใหพ้ นักงานเจ้าหน้าที่สัง่ การไปตามทเี่ หน็ สมควร พร้อมทงั้ แจง้ ให้
คกู่ รณีทราบเพอ่ื ใหฝ้ า่ ยทีไ่ ม่พอใจไปด�ำ เนินการฟ้องศาลภายในกำ�หนดหกสบิ วัน นบั แต่วนั ทร่ี ับทราบ
คำ�สั่ง ในกรณีที่ฟ้องศาลแล้วให้รอเรื่องไว้ เมื่อศาลได้มีคำ�พิพากษาหรือคำ�สั่งถึงที่สุดประการใด
จงึ ด�ำ เนนิ การไปตามนน้ั ถา้ ไมไ่ ปฟอ้ งศาลภายในก�ำ หนดกใ็ หด้ �ำ เนนิ การไปตามทพ่ี นกั งานเจา้ หนา้ ทส่ี ง่ั
สำ�หรับเร่ืองน้ีเป็นกรณีท่ีผู้คัดค้านได้คัดค้านในประเด็นเก่ียวกับสิทธิในการรับมรดก
แม้จะปรากฏว่าผู้คัดค้านได้ไปฟ้องร้องต่อศาลก่อน  แล้วจึงนำ�หลักฐานการดำ�เนินคดีทางศาลมาย่ืน
คำ�ขอคัดค้านการขอรับมรดกก็ตามก็อยู่ในหลักเกณฑ์ที่จะรับคำ�คัดค้านได้ กรณีนี้เพื่อให้ครบ
องคป์ ระกอบตามท่ี มาตรา ๘๑ แหง่ ประมวลกฎหมายทด่ี นิ บญั ญตั ไิ ว้ พนกั งานเจา้ หนา้ ทจ่ี งึ ควรท�ำ การ
สอบสวนเปรียบเทียบคู่กรณีด้วย  และเม่ือปรากฏว่าผู้คัดค้านได้ไปฟ้องคดีต่อศาลแล้ว  พนักงาน
เจา้ หนา้ ทจ่ี งึ ตอ้ งรอเรอ่ื งไวจ้ นกวา่ คดจี ะถงึ ทส่ี ดุ ตามมาตรา ๘๑ วรรคทา้ ย เมอ่ื ขณะนย้ี งั ไมป่ รากฏวา่
คดถี ึงทสี่ ดุ แล้วจึงยงั มิอาจจดทะเบียนโอนมรดกตามพนิ ยั กรรมให้แก่ ฉ. ผูข้ อได้ แม้ ฉ. จะยืนยันให้
จดทะเบียนไปก่อน  หากศาลฎีกามีคำ�พิพากษาเป็นอย่างอื่นตนยินยอมดำ�เนินการตามคำ�พิพากษา
ก็ตาม
๑๖. เม่อื ช. ผู้มีสิทธิรับมรดกของ ข. เสยี ชวี ติ ไปโดยยังไม่ไดร้ ับมรดก แต่มี ส. เป็น
ผ้จู ัดการมรดกของ ช. ตามพินยั กรรม ผูจ้ ัดการมรดกของ ข. กช็ อบทจ่ี ะจดทะเบยี นโอนมรดกใน
สว่ นของ ช. ให้ ส. ผ้จู ดั การมรดกของ ช. ได ้ กลา่ วคือ ถา้ ส. ไปขอใหศ้ าลตั้งตนเปน็ ผจู้ ัดการมรดก
ก็ยอ่ มจะจดทะเบยี นโอนมรดกจากผจู้ ดั การมรดกของ ข. ลงชื่อ ส. ผู้จดั การมรดกของ ช. ได้โดย
ไม่ตอ้ งประกาศตามนยั มาตรา ๘๒ แห่งประมวลกฎหมายที่ดนิ แตก่ รณีนี้ ส. ไมป่ ระสงค์จะไปขอให้
ศาลมคี ำ�สั่งตัง้ ตนเป็นผ้จู ัดการมรดก แต่จะขอจดทะเบียนลงชอ่ื ผู้จัดการมรดกตามพนิ ยั กรรม กจ็ ะ
ตอ้ งด�ำ เนินการประกาศตามนัยมาตรา ๘๒ แหง่ ประมวลกฎหมายทีด่ นิ
๑๗. กรณี  ม.  ถึงแก่ความตายโดยไม่มีทายาทโดยธรรมหรือไม่มีพินัยกรรมยกทรัพย์
มรดกให้แก่ผู้ใด หรอื การต้ังมลู นิธิตามพนิ ยั กรรม ทรัพย์มรดกของ ม. ยอ่ มตกเป็นของแผน่ ดนิ และเป็น
ท่รี าชพสั ดุซงึ่ กระทรวงการคลังต้องเป็นผถู้ อื กรรมสิทธ ิ์ การทจ่ี ะด�ำ เนินการเปล่ยี นแปลงทางทะเบยี น
ในหนังสือแสดงสทิ ธิในท่ีดนิ จาก ม. เปน็ ของกระทรวงการคลงั สามารถด�ำ เนินการได้ ๒ วิธี

๓๕๕
๑) ด�ำ เนนิ การตามมาตรา ๘๑ แห่งประมวลกฎหมายทดี่ ิน โดยกระทรวงการคลัง
ตอ้ งน�ำ โฉนดทด่ี นิ พรอ้ มดว้ ยหลกั ฐานในการรบั มรดกไปยน่ื ค�ำ ขอตอ่ พนกั งานเจา้ หนา้ ทต่ี ามมาตรา ๗๑
แห่งประมวลกฎหมายท่ดี นิ ซงึ่ จะตอ้ งมีการประกาศมรดกมกี �ำ หนดสามสบิ วัน หากไมม่ ีผูใ้ ดโต้แยง้
ภายในก�ำ หนดเวลาทป่ี ระกาศ และมหี ลกั ฐานเปน็ ทเ่ี ชอ่ื ไดว้ า่ ผขู้ อมสี ทิ ธริ บั มรดกแลว้ พนกั งานเจา้ หนา้ ที่
ก็จะด�ำ เนนิ การจดทะเบยี นโอนมรดกให้
๒) ดำ�เนนิ การตามมาตรา ๘๒ แห่งประมวลกฎหมายท่ีดิน โดยจดทะเบยี นลงชอ่ื
ผู้จัดการมรดกในหนังสือแสดงสิทธิในที่ดิน  แล้วผู้จัดการมรดกจึงจดทะเบียนโอนมรดกให้แก่
กระทรวงการคลังต่อไป
๑๘. กฎกระทรวง ฉบับท่ี ๗ (พ.ศ. ๒๔๙๗) ออกตามความในพระราชบัญญัตใิ ห้ใช้
ประมวลกฎหมายทด่ี นิ พ.ศ. ๒๔๙๗ โดยอาศยั อ�ำ นาจตามมาตรา ๗๗ และ ๗๘ แหง่ ประมวลกฎหมาย
ทด่ี นิ ซ่ึงมาตรา ๗๗ บัญญตั วิ ่า “การจดทะเบยี นสิทธิและนติ กิ รรมเกีย่ วกับที่ดินหรอื อสงั หาริมทรพั ย์
อย่างอื่น  ถ้าประมวลกฎหมายนี้มิได้บัญญัติไว้เป็นอย่างอื่นให้ปฏิบัติตามหลักเกณฑ์และวิธีการ
ที่กำ�หนดในกฎกระทรวง” เมือ่ มาตรา ๘๑ และ ๘๒ แหง่ ประมวลกฎหมายที่ดิน ได้บญั ญัติเกี่ยวกับ
หลักเกณฑ์และวิธีการจดทะเบียนโอนมรดกไว้แล้ว การจดทะเบียนโอนมรดกให้แก่ทายาทจึงไม่ต้อง
ปฏิบัติตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่กำ�หนดในกฎกระทรวง ฉบับที่ ๗ (พ.ศ. ๒๔๙๗)ฯ ดังกล่าวในเรื่อง
ประกาศแตอ่ ยา่ งใดอกี ดงั นน้ั เมอ่ื ไดจ้ ดทะเบยี นลงชอ่ื ผจู้ ดั การมรดก (ตามค�ำ สง่ั ศาลหรอื ตามพนิ ยั กรรม
โดยเจา้ หนา้ ที่ได้ดำ�เนินการประกาศตามมาตรา ๘๒ แห่งประมวลกฎหมายทีด่ ิน) ในหนังสอื รับรอง
การทำ�ประโยชน์แล้ว  การที่ผู้จัดการมรดกขอจดทะเบียนโอนมรดกให้แก่ทายาทจึงไม่ต้องประกาศ
ไมว่ า่ จะประกาศตามมาตรา ๘๑ แหง่ ประมวลกฎหมายทด่ี นิ หรอื ตามขอ้ ๕ แหง่ กฎกระทรวง ฉบบั ท่ี ๗
(พ.ศ. ๒๔๙๗) ออกตามความในพระราชบญั ญัตใิ ห้ใชป้ ระมวลกฎหมายทดี่ นิ พ.ศ. ๒๔๙๗ ก็ตาม
๑๙. กฎกระทรวง ฉบบั ที่ ๔๗ (พ.ศ. ๒๕๔๑) ขอ้ ๒ (๗) (จ) ก�ำ หนดให้เรยี กเก็บ
คา่ ธรรมเนยี มการจดทะเบียนร้อยละ ๐.๐๑ เฉพาะกรณีทีว่ ัดวาอาราม วดั บาทหลวงโรมนั คาธอลิค
หรอื มัสยดิ อิสลาม เปน็ ผรู้ ับให้ เพ่ือใช้เป็นท่ีตัง้ ศาสนสถาน ทั้งนี้ ในสว่ นทไ่ี ด้มารวมกับท่ีดินท่มี ีอยู่
กอ่ นแล้วไม่เกนิ ๕๐ ไร่ โดยมไิ ดก้ ำ�หนดรวมถงึ กรณรี ับมรดกด้วย กรณีวดั ขอรบั มรดกที่ดนิ จึงต้องเสีย
ค่าธรรมเนยี มรอ้ ยละ ๒ จากราคาประเมนิ ทนุ ทรพั ย์ ตามกฎกระทรวง ฉบบั ที ่ ๔๗ (พ.ศ. ๒๕๔๑)
ขอ้ ๒ (๗) (ก)
๒๐. เมื่อพระภิกษุรูปดังกล่าวมรณภาพในขณะย้ายสังกัดมาจำ�พรรษาอยู่ที่อีกวัดหนึ่ง
ย่อมมีภูมิลำ�เนาอยู่ท่ีวัดท่ีจำ�พรรษา  ที่ดินซ่ึงพระภิกษุรูปน้ันได้มาระหว่างที่อยู่ในสมณเพศจึงตกเป็น
สมบัติ (ทธี่ รณสี งฆ์) ของวัดท่จี �ำ พรรษาซึ่งเปน็ ภูมลิ �ำ เนา ตามมาตรา ๑๖๒๓ แหง่ ประมวลกฎหมาย
แพ่งและพาณิชย์ วัดที่พระภิกษุบรรพชาไม่มีสิทธิขอรับมรดกที่ดินแปลงดังกล่าว และหากจะโอน
ทธ่ี รณีสงฆจ์ ากวดั หนง่ึ ใหก้ บั อกี วดั หน่งึ ก็ต้องตราเป็นพระราชบญั ญัติ ตามมาตรา ๓๔ แหง่ พระราช
บัญญัติคณะสงฆ์  พ.ศ. ๒๕๐๕  เพราะวัดท้ังสองต่างเป็นนิติบุคคลแยกจากกัน  ซึ่งกรมการศาสนา

๓๕๖
มีความเห็นเช่นเดียวกับกรมท่ีดินว่า  ท่ีดินของพระภิกษุที่มรณภาพดังกล่าวตกเป็นของวัดที่เป็น
ภูมิล�ำ เนาโดยอำ�นาจกฎหมายตามประมวลกฎหมายแพง่ และพาณิชย์ มาตรา ๑๖๒๓ ดังนน้ั การโอน
ท่ีวดั และทธี่ รณีสงฆ์จะตอ้ งออกเป็นพระราชบญั ญตั ิ ตามมาตรา ๓๔ แห่งพระราชบัญญตั ิคณะสงฆ ์
พ.ศ. ๒๕๐๕ แม้จะโอนใหว้ ัดด้วยกนั กต็ าม
๒๑. กรณีทายาทซึ่งมีสิทธิรับมรดกได้ทำ�หนังสือยินยอมให้ทายาทคนอื่นรับมรดกไป
ตนไมข่ อเกย่ี วขอ้ งหรอื คดั คา้ นการรบั มรดกของผขู้ อแตอ่ ยา่ งใด ถอื เปน็ สญั ญาประนปี ระนอมยอมความ
(เทียบคำ�พิพากษาฎีกา ที่ ๗๓๓/๒๕๒๔) หากภายหลังทายาทที่ทำ�หนังสือดังกล่าวเปลี่ยนใจ
รบั มรดกด้วย จะต้องให้คกู่ รณี (ผขู้ อรับมรดก) ยินยอมจึงจะกระท�ำ ได้ ถ้าคู่กรณีไม่ยินยอมกห็ มดสิทธิ
ที่จะมาขอรับมรดกได้อีก  แต่ถ้ายินยอมพนักงานเจ้าหน้าที่  ก็ชอบท่ีจะจดทะเบียนให้ได้โดยไม่ต้อง
ด�ำ เนนิ การประกาศใหม ่
๒๒. กรณที ายาทหลายคนไดข้ อรบั มรดกทง้ั หมด และทายาททแ่ี สดงไวใ้ นบญั ชเี ครอื ญาติ
ทุกคนที่ไม่ขอรับมรดกได้มาให้ถ้อยคำ�ยินยอมให้ทายาทอื่นรับมรดกไปภายในกำ�หนดเวลาที่ประกาศ
ตามนัยกฎกระทรวง  ฉบับท่ี ๒๔ (พ.ศ. ๒๕๑๖) แล้ว  การท่ีทายาทตกลงกันเช่นน้ีถือเป็นสัญญา
ประนีประนอมยอมความ มีผลผูกพันทายาทท่ใี ห้ถ้อยคำ�ไมข่ อรับมรดกดงั กลา่ ว ซึ่งบอกเลกิ สญั ญา
ไม่ได้ เวน้ แตจ่ ะมกี ารตกลงกันใหม่ ดงั นน้ั เมอื่ ครบกำ�หนดประกาศ ทายาทผ้ขู อรบั มรดกบางคน
เปลี่ยนใจไม่รับมรดกและยินยอมให้ทายาทที่ขอรับมรดกร่วมกันรับไป พนักงานเจ้าหน้าที่ชอบที่จะ
ด�ำ เนินการจดทะเบียนให้ได ้ ไมเ่ ข้าลกั ษณะต้องยกค�ำ ขอตามกฎกระทรวง ฉบบั ท่ี ๒๔ (พ.ศ. ๒๕๑๖)
ข้อ ๔ (๒)
๒๓. การสละมรดกตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์  กับการไม่รับมรดกตาม
กฎกระทรวง ฉบบั ท ่ี ๒๔ (พ.ศ. ๒๕๑๖) ออกตามความในพระราชบญั ญตั ใิ หใ้ ชป้ ระมวลกฎหมายทด่ี นิ
พ.ศ. ๒๔๙๗  เป็นคนละกรณีกัน  กล่าวคือ  การสละมรดกตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
มาตรา ๑๖๑๒ ต้องเปน็ การสละมรดกสว่ นของตนทง้ั หมด โดยไม่เจาะจงว่าจะใหแ้ กค่ นหน่งึ คนใด
ทำ�ได ้ ๒ วิธ ี คือ ท�ำ ในรูปสญั ญาประนีประนอมยอมความตามมาตรา ๘๕๐ แห่งประมวลกฎหมาย
แพ่งและพาณิชย์  อีกวิธีหน่ึงทำ�เป็นหนังสือมอบไว้แก่พนักงานเจ้าหน้าที่ตามกฎกระทรวงมหาดไทย
พ.ศ. ๒๔๘๑  และพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดินฯ  โดยในกรุงเทพมหานครจะต้อง
ทำ�ต่อหน้าผู้อำ�นวยการเขต ในต่างจังหวัดจะต้องทำ�ต่อหน้านายอำ�เภอ ส่วนการไม่รับมรดกตาม
กฎกระทรวง ฉบับที่ ๒๔ (พ.ศ. ๒๕๑๖) เป็นการยินยอมให้ทายาทคนอื่นรับมรดกส่วนของตนไป
จึงไม่ใช่การสละมรดก  แต่ถือได้ว่าเป็นสัญญาประนีประนอมยอมความ  และตามข้อ  ๔  แห่ง
กฎกระทรวงดงั กลา่ วก�ำ หนดใหก้ ารไมร่ บั มรดกสามารถกระท�ำ ไดโ้ ดยทายาททไ่ี มข่ อรบั นน้ั ไปใหถ้ อ้ ยค�ำ
ต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ด้วยตนเอง  หรือให้ทายาทที่ขอรับนำ�หลักฐานไม่รับมรดกของทายาทดังกล่าว
นั้นไปแสดงตอ่ พนกั งานเจ้าหน้าที่ภายในก�ำ หนดเวลาประกาศมรดก

๓๕๗
๒๔. กรณี น.ส. ๓ มีช่ือรว่ มกนั ๒ คน คอื นายเอกและนางแจง ต่อมานายเอกตาย
นายอ้วนในฐานะทายาทโดยธรรมของนายเอก  ได้ย่ืนขอรับมรดกที่ดินตามหลักฐาน  น.ส. ๓  ของ
นายเอก แต่ไม่ได้ น.ส. ๓ มาจดทะเบยี นเน่อื งจากนางแจง เปน็ ผูย้ ึดถือไวแ้ ละไม่ยอมสง่ มอบ น.ส.๓
นายอว้ นจึงขอให้เจา้ พนักงานท่ดี นิ เรยี ก น.ส.๓ จากนางแจง เพอ่ื นำ�มาจดทะเบียน ระหวา่ งประกาศ
มรดก นางแจงโตแ้ ยง้ คดั คา้ นวา่ ทด่ี นิ ดงั กลา่ วเปน็ ของตน โดยนายเอกผตู้ ายไดข้ ายใหแ้ กต่ นแลว้ ดว้ ยการ
ส่งมอบการครอบครอง และตนไดเ้ ข้าครอบครองและท�ำ ประโยชนใ์ นทด่ี ินตลอดมาจนถึงปจั จบุ ันเป็น
เวลากว่า ๑๐ ปีแล้ว จึงได้มาซง่ึ สทิ ธิครอบครองในท่ีดินดงั กล่าว ขอให้เจา้ พนักงานทดี่ ินยกเลิกค�ำ ขอ
รับมรดกของนายอว้ น กรณนี ีก้ ารรบั มรดกทดี่ ินทีเ่ ป็น น.ส.๓ เป็นการรบั สิทธิครอบครองตกทอดมา
โดยผลของกฎหมายตามหลักการทะเบียนเท่าน้ัน  แม้ข้อเท็จจริงท่ีดินมรดกจะมีผู้มีสิทธิครอบครอง
การจดทะเบยี นโอนมรดกกไ็ มไ่ ดท้ �ำ ใหผ้ มู้ สี ทิ ธคิ รอบครองเสยี สทิ ธไิ ปแตอ่ ยา่ งใด ใครมสี ทิ ธคิ รอบครอง
ในท่ีดนิ กย็ ังคงมอี ยู่ต่อไป ประกอบกับคำ�คัดค้านน้ไี ม่ใช่เป็นการคัดค้านเร่อื งมรดกแต่เปน็ การคัดค้าน
เร่อื งสิทธคิ รอบครอง ซง่ึ เป็นการอ้างสทิ ธิคนละอย่างกัน พนกั งานเจ้าหน้าท่ีจงึ ไมอ่ าจรับค�ำ คดั ค้านนี้
ไว้พิจารณาได้ ด้วยเหตุผลว่าการที่พนักงานเจ้าหน้าที่จะรับคำ�คัดค้านไว้พิจารณาตามมาตรา ๘๑
แห่งประมวลกฎหมายทดี่ นิ ได ้ ตอ้ งเปน็ กรณีทายาทที่มสี ทิ ธิรับมรดกคดั คา้ นเรอื่ งสิทธใิ นการรบั มรดก
เทา่ นน้ั ฉะนน้ั ในทางปฏิบตั พิ นกั งานเจา้ หน้าทีจ่ ึงควรยกคำ�คดั คา้ นของนางแจงท่อี า้ งการครอบครอง
แต่คัดค้านในเรื่องสิทธิการรับมรดก  และถ้านางแจงเห็นว่าตนมีสิทธิดีกว่าเพราะเป็นผู้ครอบครอง
และมีสิทธิครอบครอง  จึงให้นางแจงย่ืนคำ�ขอจดทะเบียนในประเภทได้มาโดยการครอบครอง  ตาม
ประมวลกฎหมายแพง่ และพาณชิ ย์ มาตรา ๑๓๖๗ ตามนยั หนงั สอื กรมทดี่ ินตอบขอ้ หารือจังหวดั
ปราจนี บุรี ที่ มท ๐๖๑๒/๒/๑๕๑๔๐ ลงวนั ที่ ๓ กันยายน ๒๕๑๗ ซึง่ กรมที่ดนิ ไดเ้ วยี นให้ทุกจงั หวัด
ทราบและถอื ปฏบิ ัติตามหนงั สอื ท่ี มท ๐๖๑๒/ว ๑๕๔๗๖ ลงวันท่ี ๑๐ กันยายน ๒๕๑๗ โดยหาก
การขอรบั โอนมรดกพร้อมจะจดทะเบียนไดก้ ็ใหจ้ ดทะเบยี นโอนมรดกต่อไปได้ โดยไมต่ อ้ งค�ำ นึงวา่ จะ
มผี ้ขู อจดทะเบยี นได้มาโดยการครอบครอง ตามมาตรา ๑๓๖๗ หรือไม ่ แต่ถา้ ไดจ้ ดทะเบยี นไดม้ าโดย
การครอบครอง ตามประมวลกฎหมายแพง่ และพาณชิ ย์ มาตรา ๑๓๖๗ แลว้ ค�ำ ขอรับมรดกย่อม
ถูกยกเลิกไปในตัว  เพราะไม่มีชื่อเจ้ามรดกเป็นเจ้าของ  น.ส. ๓  ในทางทะเบียนแล้ว  หากการขอ
จดทะเบียนได้มาโดยการครอบครอง ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณชิ ย ์ มาตรา  ๑๓๖๗  มีผู้
คดั คา้ นก็ให้ท�ำ การเปรียบเทยี บตามกฎกระทรวง ฉบบั ที่ ๗ (พ.ศ. ๒๔๙๗) ออกตามความในพระราช
บญั ญัตใิ ห้ใชป้ ระมวลกฎหมายท่ีดนิ พ.ศ. ๒๔๙๗ ขอ้ ๗
๒๕. ศาลมคี ำ�ส่ังตั้งนาง ก. เปน็ ผู้จดั การมรดก ตอ่ มานาง ก. ขอจดทะเบียนลงช่ือ
เปน็ ผจู้ ดั การมรดกในโฉนดทด่ี นิ และจดทะเบยี นโอนมรดกใหแ้ กต่ นเอง ภายหลงั จากพนกั งานเจา้ หนา้ ท่ี
จดทะเบียนใหไ้ ปแล้ว ปรากฏวา่ ศาลมีค�ำ สง่ั เพกิ ถอนนาง ก. จากการเปน็ ผ้จู ัดการมรดกแล้วต้ังให้
นาย ข. เปน็ ผู้จัดการมรดกแทน นาย ข. ไดน้ ำ�ค�ำ สั่งศาลดงั กลา่ วมาขอด�ำ เนนิ การลงชอื่ ผจู้ ดั การมรดก
พนกั งานเจ้าหนา้ ท่เี หน็ วา่ ศาลสง่ั ถอนนาง ก. จากการเป็นผู้จัดการมรดกแล้ว จึงไดเ้ พกิ ถอนรายการ
จดทะเบียนลงช่ือนาง  ก.  เป็นผู้จัดการมรดกและเพิกถอนรายการจดทะเบียนโอนมรดกโดยอาศัย
อ�ำ นาจตามความในมาตรา ๖๑ วรรคแปด แหง่ ประมวลกฎหมายท่ดี นิ

๓๕๘

กรณีน้ี ศาลมคี �ำ ส่ังต้งั นาง ก. เปน็ ผู้จัดการมรดก นาง ก. ย่อมมีสทิ ธแิ ละหน้าทใี่ นการ
จดั การมรดกหรือแบ่งปนั ทรพั ยม์ รดก ตามนยั มาตรา ๑๗๑๙ แห่งประมวลกฎหมายแพง่ และพาณิชย์
นับแต่วันท่ีได้ฟังหรือถือว่าได้ฟังคำ�ส่ังศาลแล้วตามมาตรา  ๑๗๑๖  แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและ
พาณชิ ย์ จนกวา่ ศาลจะมคี ำ�ส่ังเปลีย่ นแปลงแก้ไขตามมาตรา ๑๔๕ แห่งประมวลกฎหมายวิธีพิจารณา
ความแพ่ง ดังนั้น การที่ นาง ก. ผ้จู ดั การมรดกจดทะเบยี นลงชอ่ื ผู้จัดการมรดกในโฉนดทด่ี ิน และโอน
มรดกทด่ี นิ ใหแ้ กต่ นเองในฐานะทายาทโดยธรรม ตามมาตรา ๑๖๒๙ วรรคสอง แหง่ ประมวลกฎหมาย
แพง่ และพาณชิ ย์ กอ่ นทศ่ี าลจะมคี �ำ สง่ั ถอน นาง ก. จากการเปน็ ผจู้ ดั การมรดก จงึ เปน็ การจดทะเบยี น
ไปตามสิทธแิ ละหนา้ ทขี่ องผจู้ ัดการมรดก ตามมาตรา ๑๗๑๙ แล้ว และการโอนมรดกใหแ้ กต่ นเอง
ในฐานะทายาทโดยธรรมไม่ถอื เป็นการกระทำ�ท่เี ปน็ ปฏปิ ักษต์ ่อกองมรดก ตามมาตรา ๑๗๒๒ แหง่
ประมวลกฎหมายแพง่ และพาณชิ ย์ (เทยี บเคยี งค�ำ พพิ ากษาฎกี า ท่ี ๗๘๗/๒๕๒๔, ที ่ ๑๔๑๐/๒๕๒๙,
ท่ี ๔๘๑๖/๒๕๓๗ และ ที่ ๖๙๓๒/๒๕๔๐) จงึ เป็นการด�ำ เนินการท่ีชอบดว้ ยกฎหมาย แมต้ ่อมา
ภายหลังศาลจะมีคำ�สั่งให้ถอนนาง ก. จากการเป็นผู้จัดการมรดกก็ตาม ก็มิได้มีผลทำ�ให้การ
จดทะเบียนลงช่ือผู้จัดการมรดก  และโอนมรดกที่ดินท่ีนาง  ก.  กระทำ�ในขณะเป็นผู้จัดการมรดก
ต้องเสียไป  ประกอบกับคำ�สั่งศาลเป็นเร่ืองถอนผู้จัดการมรดก  มิได้ส่ังเพิกถอนรายการจดทะเบียน
ดงั กล่าวหรือพิพากษาว่าการจัดการมรดกของ นาง ก. เป็นปฏปิ กั ษ์ตอ่ กองมรดก ตามมาตรา ๑๗๒๒
กรณีจึงไม่อาจเพิกถอนรายการจดทะเบียนลงช่ือผู้จัดการมรดกและโอนมรดกที่ดินท่ีได้กระทำ�ไปแล้ว
โดยอาศยั อำ�นาจตามความในมาตรา ๖๑ วรรคแปด แห่งประมวลกฎหมายที่ดินได้ การทพ่ี นักงาน
เจ้าหน้าที่เพิกถอนรายการจดทะเบียนลงชื่อผู้จัดการมรดกและโอนมรดก จึงเป็นการดำ�เนินการที่
ไมถ่ ูกตอ้ ง ตอ้ งยกเลกิ การเพิกถอนรายการจดทะเบยี นท้งั สองรายการ
l แนวทางการวินจิ ฉัยท่สี �ำ คญั เกยี่ วกบั การโอนมรดกโดยมีผู้จดั การมรดก
๑. ทีด่ ินมชี ่ือ บ. และ ย. เป็นผถู้ อื กรรมสทิ ธ์ิ ย. เสยี ชวี ิต มี ง. และ ส. เปน็ ผู้จดั การ
มรดกของ ย. ร่วมกันตามคำ�สั่งศาล แต่ยังไม่มีการจดทะเบียนลงชื่อผู้จัดการมรดกในโฉนดที่ดิน
ส. ไดเ้ ปน็ โจทก์ฟอ้ ง ก. ในฐานะทายาทโดยธรรมของ ย. และในฐานะส่วนตัวเปน็ จำ�เลย และ ส.
ในฐานะผจู้ ัดการมรดกของ ย. ขอจดทะเบียนโอนกรรมสิทธ์ทิ ่ดี นิ ตามค�ำ พพิ ากษาซง่ึ ศาลพิพากษาว่า
ให้ ง. ในฐานะผู้จัดการมรดกของ ย. โอนที่ดินพิพาทให้แก่โจทก์ มิฉะนั้นให้ถือเอาคำ�พิพากษาแทน
การแสดงเจตนา  ส. จงึ น�ำ ค�ำ พพิ ากษามาขอจดทะเบยี นโอนกรรมสทิ ธโ์ิ ดยยนื ยนั วา่ ไมต่ อ้ งจดทะเบยี น
ลงชอื่ ผจู้ ดั การมรดก เพราะ ง. ผจู้ ดั การมรดกไมย่ อมมาจดทะเบียนลงช่ือในโฉนดท่ีดนิ เหน็ ว่า ง. ถกู
ฟอ้ งในฐานะผูจ้ ัดการมรดกของ ย. ใหโ้ อนทรัพยม์ รดก แก่ ส. และศาลพพิ ากษาให้โอนทรพั ยม์ รดก
เช่นน้ี ค�ำ พพิ ากษายอ่ มผกู พนั กองมรดกและทายาทอน่ื ๆ ของเจ้ามรดกด้วย ส. ยอ่ มใช้คำ�พพิ ากษาของ
ศาลแทนการแสดงเจตนาของ ง. ในการจดทะเบียนโอนกรรมสทิ ธ์ทิ ีด่ นิ ได้ ส่วนการจดทะเบียนลงช่อื
ผู้จัดการมรดกในโฉนดที่ดิน แม้ในคำ�พิพากษาจะมิได้ให้ถือเอาคำ�พิพากษาดังกล่าวเป็นการแสดง
เจตนาแทน ง. ในการจดทะเบยี นลงชอ่ื ผจู้ ดั การมรดก แตโ่ ดยทก่ี ารจดทะเบยี นใหเ้ ปน็ ไปตามค�ำ พพิ ากษา

๓๕๙
จำ�เป็นจะต้องจดทะเบียนลงชื่อผู้จัดการมรดกก่อนอันเป็นกระบวนการเพื่อจดทะเบียนให้เป็นไปตาม
คำ�พพิ ากษาต่อไป และเพื่อให้ถูกต้องตามหลักการทางทะเบียน จึงควรดำ�เนนิ การจดทะเบยี นลงช่ือ
ผู้จัดการมรดกในโฉนดท่ีดินดังกล่าวโดยให้ผู้ขอในฐานะผู้จัดการมรดกร่วมอีกคนหน่ึงเป็นผู้ย่ืนคำ�ขอ
จดทะเบียนลงชือ่ ง. และ ส. เป็นผจู้ ัดการมรดก สำ�หรับ ง. แม้ ง. จะไม่ได้มาย่นื คำ�ขอจดทะเบยี น
ดว้ ยกใ็ หถ้ อื เอาค�ำ พพิ ากษาของศาลเปน็ การแสดงเจตนาแทน ง. แลว้ จงึ จดทะเบยี นโอนกรรมสทิ ธท์ิ ด่ี นิ
ตามค�ำ พพิ ากษาเป็นของ ส. ต่อไป
๒. ป. ผ้จู ดั การมรดกตามพินยั กรรมซง่ึ มไิ ดเ้ ปน็ ผจู้ ัดการมรดกตามค�ำ ส่ังศาลด้วย ขอให้
พนักงานเจ้าหนา้ ท่ีจดทะเบยี นโอนมรดกตรงไปยัง อ. ทายาททมี่ ีสิทธิรบั มรดก โดยไม่ขอจดทะเบียน
ลงชอ่ื ผู้จัดการมรดกในหนงั สือแสดงสิทธใิ นทดี่ นิ กรณีเชน่ น้ีสามารถดำ�เนนิ การได้ ๒ กรณี
(๑) ผูจ้ ดั การมรดกตามพินัยกรรมและผขู้ อโอนมรดกมายน่ื ค�ำ ขอ ณ ส�ำ นักงานท่ีดิน
ให้พนักงานเจ้าหน้าท่ีสอบสวนผู้ขอพร้อมท้ังบันทึกถ้อยคำ�ยินยอมและคำ�รับรองของผู้จัดการมรดก
ให้ได้ความชัดเจนว่าผู้จัดการมรดกตามพินัยกรรมไม่ประสงค์ท่ีจะดำ�เนินการจัดการทรัพย์มรดกตาม
พินัยกรรม  และยินยอมให้ผู้ขอโอนมรดกไปตามคำ�ขอได้โดยตรง  โดยบันทึกลงในแบบบันทึกการ
สอบสวนขอจดทะเบียนโอนมรดก (ท.ด. ๘) แลว้ ดำ�เนนิ การประกาศจดทะเบยี นโอนมรดกให้แกผ่ ้ขู อ
ตามขน้ั ตอนท่ีกำ�หนดไวใ้ นมาตรา ๘๑ แห่งประมวลกฎหมายท่ดี นิ และระเบยี บกรมทด่ี ิน ว่าด้วยการ
จดทะเบยี นสทิ ธเิ กย่ี วกบั อสงั หารมิ ทรพั ยซ์ ง่ึ ไดม้ าโดยทางมรดก (ดตู วั อยา่ งหมายเลข ๑๑ ทา้ ยระเบยี บฯ)
(๒) ผจู้ ดั การมรดกตามพนิ ยั กรรมไมไ่ ดม้ ายน่ื ค�ำ ขอพรอ้ มกบั ผขู้ อโอนมรดก ใหพ้ นกั งาน
เจ้าหน้าที่สอบสวนผู้ขอโอนมรดกและตรวจสอบหลักฐานคำ�ยินยอมและคำ�รับรองของผู้จัดการมรดก
ตามพินัยกรรมที่ผู้ขอนำ�มายื่นให้มีข้อความแสดงชัดเจนว่ายินยอมให้ผู้ขอโอนมรดกไปตามคำ�ขอได้
และรับรองว่าผู้จัดการมรดกตามพินัยกรรมไม่ประสงค์ท่ีจะดำ�เนินการจัดการทรัพย์มรดกตาม
พนิ ยั กรรม โดยให้บนั ทกึ อ้างอิงหลกั ฐานคำ�ยนิ ยอมและค�ำ รบั รองของผ้จู ัดการมรดกดงั กลา่ วไวใ้ นแบบ
บันทึกการสอบสวนขอจดทะเบยี นโอนมรดก (ท.ด.๘) และเก็บหลักฐานเข้าสารบบด้วย ท้งั นี้ ขั้นตอน
และวิธกี ารใหด้ �ำ เนนิ การเช่นเดียวกบั (๑) (ดตู วั อย่างหมายเลข ๑๒ ท้ายระเบยี บฯ)
แต่หากเป็นกรณีผู้จัดการมรดกตามคำ�ส่ังศาลไม่ว่าจะมีพินัยกรรมหรือไม่มีพินัยกรรม
ก็ตามขอโอนมรดกตรงไปยังทายาทที่มีสิทธิรับมรดก  โดยไม่ขอจดทะเบียนลงช่ือผู้จัดการมรดกใน
หนังสือแสดงสิทธิในที่ดิน ให้พนักงานเจ้าหน้าที่ชี้แจงผู้ขอทราบว่าพนักงานเจ้าหน้าที่ไม่อาจรับ
ดำ�เนินการได ้ เนือ่ งจากศาลได้มีคำ�ส่ังตงั้ ผจู้ ดั การมรดกแลว้ อ�ำ นาจในการจดั การและแบ่งปนั ทรัพย์
มรดกทั้งหมดย่อมเป็นของผู้จัดการมรดกตามที่ศาลมีคำ�สั่งแต่ผู้เดียว  ทายาททั้งหลายย่อมหมดสิทธิ
ท่ีจะเข้าจัดการมรดก  กรณีจึงต้องให้ผู้จัดการมรดกเป็นผู้ยื่นขอจดทะเบียนโอนมรดกตามอำ�นาจ
หน้าท่ีตามคำ�สั่งศาล  หากผู้ขอยืนยันให้ดำ�เนินการตามนัยดังกล่าว  ผู้ขอต้องไปดำ�เนินการยกเลิก
ผู้จัดการมรดกตอ่ ศาลกอ่ น

๓๖๐
๓. กรณี ป. ผจู้ ัดการมรดกของ ถ. ตามคำ�สัง่ ศาล ไดไ้ ปตกลงประนปี ระนอมยอมความ
กบั ส. ผ้รู ้องขอต่อศาลขอให้ถอดถอน ป. ออกจากการเป็นผจู้ ัดการมรดกของ ถ. โดยตกลงกันใหม้ ีผู้
จดั การมรดกของ ถ. รวม ๕ คน และผจู้ ดั การมรดกจ�ำ นวน ๓ ใน ๕ คน มีอำ�นาจจัดการได้ และ ศาล
ได้มคี �ำ พิพากษาตามยอม ดงั นี้ ย่อมถือวา่ ผ้จู ดั การมรดกของ ถ. คอื บุคคลทงั้ ๕ คน ตามคำ�พิพากษา
ตามยอมดังกล่าวและผู้จดั การมรดกจำ�นวน ๓ ใน ๕ คน ย่อมมีอำ�นาจจัดการมรดกของ ถ. ได้โดยชอบ
เมือ่ ป. ว. และ ส. ผจู้ ัดการมรดกตามคำ�พิพากษาตามยอมดังกลา่ วมาย่นื ค�ำ ขอจดทะเบยี นเปลยี่ น
ผูจ้ ัดการมรดกและจดทะเบยี นขาย เจ้าพนกั งานทด่ี นิ กช็ อบทจี่ ะดำ�เนนิ การให้ได้ โดยลงชอ่ื ผจู้ ดั การ
มรดกทงั้ ๕ คน เป็นผ้จู ัดการมรดกของ ถ. กล่าวคอื ให้ลงชื่อผจู้ ดั การมรดกอกี ๒ คน ท่มี ิไดม้ า
ด�ำ เนนิ การดว้ ย สำ�หรบั ในชอ่ งลงลายมอื ช่ือทัง้ ประเภทเปลย่ี นผู้จัดการมรดกและขาย ให้หมายเหตุ
ว่า “ผ้จู ดั การมรดก ๓ ใน ๕ คน มอี ำ�นาจจดั การมรดกตามคำ�พพิ ากษาตามยอม………”
๔. กรณี ส. และ ม. ได้มาขอรับโอนมรดกตามพนิ ัยกรรมเอกสารฝา่ ยเมอื ง และใน
พนิ ยั กรรมดังกลา่ วได้ตงั้ ให้บุคคลทง้ั สองเปน็ ผู้จดั การมรดกดว้ ยก็ตาม แตก่ ารที่ ส. และ ม. ขอรับ
โอนมรดกตามมาตรา ๘๑ แห่งประมวลกฎหมายทดี่ นิ ถือได้ว่าทายาทขอจดั การมรดก ซึง่ ตามแนว
คำ�พิพากษาฎีกาได้วินิจฉัยเป็นบรรทัดฐานไว้ว่า เมื่อศาลตั้งผู้จัดการมรดกแล้วทายาทอื่นทั้งหลาย
ยอ่ มหมดสิทธทิ ่ีจะจัดการ (ค�ำ พพิ ากษาฎีกาท่ี ๑๑๖๗/๒๕๐๕) ดงั นน้ั เมอื่ ท. ผูจ้ ดั การมรดก ล. ตาม
คำ�ส่ังศาลได้ย่นื ขอจดทะเบียนผ้จู ัดการมรดกแล้ว คำ�ขอรบั โอนมรดก ของ ส. และ ม. จึงตอ้ งถกู
ยกเลิกไปและไม่มกี รณีทพ่ี นกั งานเจ้าหน้าท่จี ะต้องท�ำ การเปรยี บเทยี บตามมาตรา ๘๑ แหง่ ประมวล
กฎหมายท่ีดิน ควรจดทะเบียนให้กับ ท. ผู้จัดการมรดกทศ่ี าลตง้ั ต่อไป (ระเบยี บกรมทีด่ นิ ว่าด้วยการ
จดทะเบยี นสทิ ธเิ กี่ยวกบั อสงั หาริมทรัพยซ์ งึ่ ไดม้ าโดยทางมรดก พ.ศ. ๒๕๔๘ ขอ้ ๔๕)
๕. กรณีไม่มีพินัยกรรม  ผู้จัดการมรดกมีสิทธิและหน้าท่ีที่จะทำ�การอันจำ�เป็นเพ่ือ
จัดการมรดกท่ัวไปและรวบรวมทรพั ย์สิน เสรจ็ แลว้ กต็ ้องแบง่ ปันทรพั ยม์ รดก (ตามประมวลกฎหมาย
แพง่ และพาณชิ ย์ มาตรา ๑๗๑๙) การแบ่งปันทรัพย์มรดกผ้จู ดั การมรดกจะตอ้ งแบง่ ปนั ใหแ้ กท่ ายาท
โดยธรรม จะแบง่ ปนั ให้แกบ่ ุคคลภายนอกยอ่ มไมไ่ ด้ สว่ นท่ีทายาทโดยธรรมทุกคนตกลงแบง่ มรดกให้
บุคคลภายนอกซ่ึงไมใ่ ชท่ ายาทผูม้ สี ิทธริ บั มรดกน้ันไมใ่ ช่การแบง่ มรดกแต่เปน็ การยกให้ การยกทรพั ย์
มรดกให้แกบ่ ุคคลทีไ่ ม่ใชท่ ายาทนนั้ ผจู้ ดั การมรดกไม่มีอำ�นาจทจ่ี ะกระทำ�ได้ แมแ้ ตก่ ารจัดการมรดก
ทัว่ ไปตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณชิ ย์ มาตรา ๑๗๑๙ ก็ทำ�ไดแ้ ตเ่ ฉพาะการเรยี กหนห้ี รอื ชำ�ระ
หนี้กองมรดก และแมท้ รพั ย์มรดกจะตกทอดแกท่ ายาทนบั แต่เจ้ามรดกถงึ แก่ความตายแล้ว ทายาท
ย่อมจำ�หน่ายจ่ายโอนได้  กล่าวคือ  มีอำ�นาจท่ีจะยกท่ีดินกองมรดกส่วนที่ตกได้แก่ตนให้แก่ใครก็ได้
แต่สำ�หรับที่ดนิ เปน็ ทรพั ย์ทมี่ ีทะเบียน จึงต้องอยใู่ นบงั คับมาตรา ๑๒๙๙ วรรคสอง ท่วี ่า เมื่อยังไม ่
จดทะเบยี นจะเปลย่ี นแปลงทางทะเบยี นไมไ่ ด ้ ดงั นน้ั การท่ี อ. กบั พวก ทายาทผมู้ สี ทิ ธริ บั มรดกของ ซ.
รวมท้ังผ้จู ดั การมรดกของ ซ. ตกลงยกที่ดนิ กองมรดกใหแ้ กบ่ ริษัท ส. ซง่ึ เปน็ บุคคลภายนอกท่ไี ม่ใช่
ทายาทโดยธรรม  โดยที่ยังไม่ได้จดทะเบียนรับโอนมรดกลงช่ือทายาทผู้มีสิทธิรับมรดกแต่ละคนเป็น
ส่วนตวั ก่อน จึงไมอ่ ยู่ในอ�ำ นาจหน้าทขี่ องผจู้ ดั การมรดกท่จี ะกระทำ�ได้

๓๖๑
๖. เมอ่ื ศาลได้มคี ำ�ส่ังตัง้ ให้ ท. และ ม. เป็นผู้จัดการมรดกของ น. แล้ว ทรพั ย์มรดก
ทั้งหมดของ  น.  ไม่ว่าจะเป็นตามพินัยกรรมหรือนอกพินัยกรรม  ย่อมตกอยู่ในอำ�นาจหน้าท่ีของ
ผ้จู ดั การมรดกท่ีจะจดั การตอ่ ไป ตามประมวลกฎหมายแพง่ และพาณชิ ย์ มาตรา ๑๗๑๙ ทายาท
ทง้ั หลายยอ่ มหมดสทิ ธทิ ี่จะเข้าจัดการ ดงั น้นั แมว้ ่าพนิ ยั กรรมของ น. จะระบุเฉพาะโรงเรอื นใหต้ ก
แก่ ม. แต่เมื่อในพินัยกรรมมไิ ดร้ ะบุยกท่ดี ินให้แกผ่ ู้ใด ทด่ี ินนน้ั จงึ เป็นทรัพยน์ อกพนิ ยั กรรมซ่งึ ตกทอด
แก่ทายาทโดยธรรม อนั อยู่ในอ�ำ นาจของผู้จัดการมรดกทีจ่ ะจดั การตอ่ ไป เมอ่ื ท. และ ม. ในฐานะ
ผู้จัดการมรดกยืนยันให้จดทะเบียนโอนมรดกที่ดินด้งกล่าวแก่  ม.  ซึ่งเป็นทั้งทายาทตามพินัยกรรม
และทายาทโดยธรรม  เจ้าหน้าท่ีก็ชอบท่ีจะดำ�เนินการจดทะเบียนให้ได้โดยไม่จำ�เป็นต้องได้รับความ
ยินยอมจากทายาทอื่นของเจ้ามรดกเสียกอ่ น
๗. ตามระเบียบกรมทีด่ นิ วา่ ดว้ ยการจดทะเบยี นสทิ ธิเก่ยี วกับอสังหาริมทรพั ย์ซ่งึ ไดม้ า
โดยทางมรดก พ.ศ. ๒๕๔๘ แกไ้ ขเพ่ิมเตมิ โดยระเบียบกรมที่ดิน ว่าดว้ ยการจดทะเบยี นสทิ ธิเก่ียวกบั
อสังหารมิ ทรพั ย์ซึ่งไดม้ าโดยทางมรดก (ฉบบั ที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๕๓ เวียนโดยหนงั สอื กรมทดี่ นิ ที่ มท
๐๕๑๕.๑/ว ๓๐๑๔๕ ลงวนั ท่ี ๒๔ กนั ยายน ๒๕๕๓ ทว่ี า่ ในกรณมี ผี นู้ �ำ ค�ำ สง่ั หรอื ค�ำ พพิ ากษาของศาล
แต่งต้ังให้เป็นผู้จัดการมรดก  พร้อมหนังสือแสดงสิทธิในที่ดินมาขอจดทะเบียนลงช่ือผู้จัดการมรดก
ในหนังสือแสดงสิทธิในท่ีดิน  พนักงานเจ้าหน้าท่ีย่อมจดทะเบียนผู้จัดการมรดกในหนังสือแสดงสิทธิ
ในท่ีดินตามความประสงค์ของผู้ขอได้โดยไม่ต้องให้ผู้ขอนำ�หลักฐานที่รับรองว่าคดีถึงท่ีสุดมาแสดง
แตอ่ ย่างใดนัน้ เปน็ การวางแนวทางปฏบิ ตั ทิ งั้ กรณคี ดมี ีขอ้ พิพาทและคดไี ม่มขี ้อพิพาท ในกรณีมีข้อ
พิพาทและคดยี ังไม่ถึงทีส่ ุด เชน่ มกี ารอุทธรณ์ การยน่ื อทุ ธรณ์ ยอ่ มไมเ่ ป็นการทุเลาการบังคับตาม
คำ�พิพากษาหรือคำ�สั่งศาลชั้นต้น  หากผู้อุทธรณ์มิได้ขอให้ศาลทุเลาการบังคับหรือขอให้ใช้วิธีการ
ช่ัวคราว ตามประมวลกฎหมายวธิ ีพิจารณาความแพง่ ผูจ้ ัดการมรดกตามค�ำ พพิ ากษาหรอื คำ�สง่ั ศาล
กม็ ีอำ�นาจเข้าไปจดั การมรดกได้ตามทกี่ ฎหมายบัญญตั ไิ วแ้ ลว้ เมอื่ ศาลได้แตง่ ตั้งให ้ พ. เป็นผู้จัดการ
มรดก แมค้ �ำ พพิ ากษายงั ไม่ถึงทีส่ ุดเพราะมีการอุทธรณ์ค�ำ พิพากษาก็ตาม แต่หากผอู้ ทุ ธรณม์ ิไดข้ อให้
ศาลทุเลาการบังคับหรือขอให้ใช้วิธีการชั่วคราว  พ.  ผู้จัดการมรดกย่อมมีอำ�นาจเข้าไปจัดการมรดก
ตามสทิ ธิและหนา้ ที่แลว้ ดว้ ยเหตุนั้นจงึ ไมต่ อ้ งรอใหผ้ ู้ขอนำ�หลกั ฐานที่รับรองวา่ คดีถึงท่สี ุดมาแสดงต่อ
พนักงานเจ้าหนา้ ท่แี ตอ่ ย่างใด
๘. การท่ี ส. มคี วามประสงค์จะโอนโฉนดที่ดนิ (เดิมเป็นทรัพยม์ รดก) ซงึ่ ในปจั จบุ ันมชี อื่
ตนเปน็ ผถู้ อื กรรมสทิ ธก์ิ ลบั คนื ไปใหเ้ ปน็ กรรมสทิ ธข์ิ องเจา้ มรดกตามเดมิ นน้ั การโอนโฉนดทด่ี นิ ดงั กลา่ ว
ถอื วา่ เปน็ การท�ำ นติ กิ รรมอยา่ งหนง่ึ ตามประมวลกฎหมายแพง่ และพาณชิ ย์ มาตรา ๑๔๙ ซง่ึ มบี คุ คล
ที่เกี่ยวข้องด้วยกันสองฝ่าย คือฝ่ายผู้โอนและฝ่ายผู้รับโอน แต่ตามข้อเท็จจริงข้างต้นปรากฏว่า
ผู้รับโอน (เจ้ามรดก) ไม่มีสภาพเป็นบุคคล ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา ๑๕
เนือ่ งจากเสยี ชีวิตไปแล้ว จึงไมอ่ าจเข้าเป็นคกู่ รณี (ผู้รบั โอน) ในการท�ำ นติ กิ รรมได้

๓๖๒
สว่ นกรณีท่ี ส. มคี วามประสงค์จะโอนโฉนดทดี่ ิน (เดิมเปน็ ทรัพยม์ รดก) ซงึ่ ในปัจจบุ ัน
มีชื่อตนเป็นผู้ถือกรรมสิทธิ์กลับคืนไปเป็นกรรมสิทธิ์ของตนในฐานะผู้จัดการมรดกของเจ้ามรดกนั้น
ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา ๑๗๑๙ กำ�หนดหน้าที่ของผู้จัดการมรดกไว้แล้ว
ว่ามีสิทธิและหน้าที่โดยท่ัวไปเพื่อจัดการและแบ่งปันทรัพย์มรดกแก่ทายาทผู้มีสิทธิรับมรดก  ดังน้ัน 
การท่ีผู้จัดการมรดกจะไปรับโอนที่ดินจากบุคคลอื่น  จึงไม่อยู่ในอำ�นาจหน้าท่ีของผู้จัดการมรดกที่จะ
กระท�ำ ได้
๙. เม่อื ศาลมคี ำ�ส่ังตง้ั ให้ ส. เป็นผู้จดั การมรดกของ ก. แล้ว ส. ยอ่ มมีสิทธแิ ละหนา้ ทท่ี ี่
จะกระท�ำ การอนั จำ�เป็นเพอื่ จัดการทรัพย์มรดกโดยทั่วไป หรอื เพอ่ื แบง่ ปนั ทรัพย์มรดก ตามประมวล
กฎหมายแพ่งและพาณชิ ย์ มาตรา ๑๗๑๙ เม่อื ปรากฏวา่ ก. เจ้ามรดก ได้ทำ�หนังสอื ยนิ ยอมยกทีด่ นิ
ซ่งึ ตนเองมกี รรมสทิ ธร์ิ ่วมกบั บคุ คลอนื่ ต่อมาไดแ้ บ่งแยกเปน็ โฉนดใหแ้ ก่กรงุ เทพมหานคร เพ่ือใชเ้ ปน็
สถานที่ก่อสร้างโรงเรียน และกรุงเทพมหานครได้สร้างโรงเรียนในที่ดินดังกล่าวแล้วนับแต่รับให้ที่ดิน
มาจาก ก. โดยเปิดท�ำ การเรยี นการสอนเมอ่ื ปี พ.ศ. ๒๕๒๐ เป็นต้นมากอ่ นท่ี ก. ผยู้ กให้จะถึงแกก่ รรม
โดยใชช้ ่ือว่า “โรงเรียนประชาอทุ ศิ ” ที่ดินดงั กลา่ วจึงมิอาจนำ�ไปใชเ้ พอื่ ประโยชนอ์ ย่างอ่ืนได ้ นอกจาก
เป็นท่ีต้ังโรงเรียน  ดังนั้น  การที่  ส. (ผู้จัดการมรดกของ ก.)  ขอจดทะเบียนโอนท่ีดินให้แก่
กรุงเทพมหานครเพื่อใชเ้ ปน็ ทีต่ ัง้ โรงเรยี นประชาอทุ ศิ ตามความประสงค์ของ ก. เจา้ มรดก ถอื เปน็ การ
จดั การทรพั ยม์ รดกโดยทั่วไป ตามประมวลกฎหมายแพง่ และพาณชิ ย์ มาตรา ๑๗๑๙ มิใช่เปน็ การใช้
อำ�นาจหน้าที่โอนทรัพย์มรดกให้แก่บุคคลอื่นท่ีมิใช่ทายาทแต่อย่างใด  เม่ือคู่กรณียืนยันว่าเจ้ามรดก
ประสงค์ยกทด่ี นิ ให้กับกรุงเทพมหานคร ทีม่ ีฐานะเป็นนติ บิ ุคคล และเปน็ ราชการบริหารส่วนทอ้ งถนิ่
ตามมาตรา ๖ แห่งพระราชบญั ญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. ๒๕๒๘ ซ่งึ สามารถ
รับโอนทรัพย์สินจากการทีม่ ีผู้อุทิศใหไ้ ด้ ตามมาตรา ๑๑๗ แห่งพระราชบัญญตั ิดังกล่าว ประกอบ
กับตามพระราชบญั ญัติทร่ี าชพสั ดุ พ.ศ. ๒๕๑๘ มาตรา ๔ และ ๕ บญั ญตั ใิ หอ้ สงั หารมิ ทรพั ย์ของ
รฐั วสิ าหกจิ ทเ่ี ปน็ นติ บิ คุ คล และขององคก์ ารปกครองทอ้ งถน่ิ ไมถ่ อื เปน็ ทร่ี าชพสั ดทุ ใ่ี หก้ ระทรวงการคลงั
เป็นผู้ถือกรรมสิทธ์ิ  จึงควรที่พนักงานเจ้าหน้าที่จะรับจดทะเบียนให้โดยลงช่ือ  “กรุงเทพมหานคร
(เพ่ือใช้ประโยชน์เป็นท่ีตั้งโรงเรียนประชาอุทิศ)”  ได้  แต่ในช่องประเภทการจดทะเบียนควรใช้ชื่อ
ประเภท “ให”้
๑๐. โฉนดที่ดนิ มีชื่อ ล. และ ม. เป็นผู้ถือกรรมสิทธ์ิ เมอ่ื ม. เสียชีวิต ศาลไดม้ ีค�ำ ส่งั ตง้ั ฟ.
เปน็ ผ้จู ดั การมรดกของ ม. เปน็ คำ�ส่ังแรก และได้แต่งตัง้ ล. เป็นผจู้ ัดการมรดก ม. ตามค�ำ สงั่ ศาลเปน็
ค�ำ สงั่ ท่ีสอง ซง่ึ ค�ำ ส่งั ศาลฉบบั หลงั ไม่ได้เปล่ยี นแปลง หรอื แกไ้ ข หรอื ใหย้ กเลิกอำ�นาจผจู้ ัดการมรดก
ในคำ�ส่ังฉบบั แรก คำ�สัง่ ศาลท้งั สองคำ�ส่ังจงึ เปน็ ค�ำ สั่งท่ีชอบดว้ ยกฎหมาย ในกรณีเชน่ น้ีต้องถือวา่ ศาล
แตง่ ตง้ั ผจู้ ดั การมรดกไวห้ ลายคน และเมอ่ื ศาลไมไ่ ดก้ �ำ หนดสทิ ธหิ รอื หนา้ ทข่ี องผจู้ ดั การมรดกไวโ้ ดยเฉพาะ
การจัดการมรดก ผู้จัดการมรดกย่อมมีอำ�นาจจัดการทรัพย์สินอันเป็นมรดกของเจ้ามรดกทั้งหมด
มใิ ช่มีอ�ำ นาจจัดการเฉพาะทรัพยท์ ี่ระบไุ ว้ตอ่ ศาลเท่านน้ั (เทียบคำ�พิพากษาฎกี าท่ี ๘๗๐/๒๕๐๑) และ
ผู้จัดการมรดกแต่ละคนจะจัดการไปโดยลำ�พังไม่ได้ (เทียบคำ�พิพากษาฎีกาที่ ๓๑๖ – ๓๒๐/๒๕๐๖)

๓๖๓
ต้องร่วมกันจัดการ  หากตกลงกันไม่ได้จะต้องให้ศาลเป็นผู้ช้ีขาด  ตามประมวลกฎหมายแพ่งและ
พาณิชย์ มาตรา ๑๗๒๖ กรณีนกี้ ารจดทะเบยี นลงชอื่ ฟ. และ ล. เปน็ ผจู้ ดั การมรดกในโฉนดที่ดิน
สามารถแยกเป็น
(๑) โฉนดแปลงทีไ่ ดจ้ ดทะเบยี นลงชอ่ื ล. เป็นผูจ้ ดั การมรดกแล้ว ใหจ้ ดทะเบียนใน
ประเภท “เปลีย่ นผู้จดั การมรดกเฉพาะส่วน” โดยใสช่ ่ือ ๑. ฟ. ๒. ล. (๑-๒) ผจู้ ดั การมรดก ม. ๓. ล.
ในชอ่ งผ้รู ับสัญญา
(๒) โฉนดแปลงทม่ี ชี ่ือ ๑. ม. ๒. ล. เป็นผูถ้ อื กรรมสิทธ ิ์ ยังมไิ ด้มีการจดทะเบยี น
ลงชื่อผู้จัดการมรดกของ ม. ให้จดทะเบียนลงชอ่ื ล. และ ฟ. เป็นผู้จัดการมรดกรว่ มกนั โดยใส่ชอื่
๑. ฟ. ๒. ล. (๑-๒) ผจู้ ัดการมรดก ม. ๓. ล. ในช่องผู้รบั สญั ญา
๑๑. กรณที ีศ่ าลตั้งผูจ้ ัดการมรดกไว้ ๖ คน ตายไป ๑ คน ผจู้ ัดการมรดกทเี่ หลอื ๕ คน
หากจะจัดการมรดกต่อไปจะต้องขอให้ศาลมีคำ�สั่งให้ผู้จัดการมรดกท่ีเหลืออยู่มีอำ�นาจจัดการมรดก
ไดต้ ่อไปกอ่ น ตามนยั คำ�พพิ ากษาฎกี าท่ี ๔๖๑/๒๕๑๔ และตามทศ่ี าลมคี ำ�สง่ั ไว้ในค�ำ ร้องวา่ “การ
จดั การมรดก ให้เปน็ ไปตามค�ำ ส่งั และกฎหมาย” นั้น เหน็ วา่ ไม่ใช่ค�ำ ส่งั อนญุ าตใหผ้ ู้จัดการมรดกที่
เหลอื อยู่ ๕ คน มอี �ำ นาจจดั การมรดกได้ตอ่ ไป ในกรณีนี้ต้องไปด�ำ เนินการร้องขอต่อศาลใหมเ่ พอื่ ให้
ศาลมคี ำ�สัง่ อนญุ าตใหช้ ดั แจ้ง
๑๒. ผู้จัดการมรดกย่อมมีสิทธิและหน้าท่ีในการจัดการมรดกตามประมวลกฎหมายแพ่ง
และพาณชิ ย์ มาตรา ๑๗๑๙ กรณีทเี่ จ้ามรดกไมไ่ ด้ท�ำ พินัยกรรมไว้ ผูจ้ ดั การมรดกมสี ทิ ธแิ ละหน้าท่ี
ท่ีจะทำ�การอันจำ�เป็นเพื่อจัดการมรดกโดยทั่วไป  หรือเพ่ือแบ่งปันทรัพย์มรดกซ่ึงผู้จัดการมรดกมี
อ�ำ นาจทำ�นิติกรรมใดๆ เกยี่ วกับทรพั ยม์ รดกได้ หากมคี วามจ�ำ เปน็ และไม่ขดั ต่อประมวลกฎหมายแพง่
และพาณิชย ์ มาตรา ๑๗๒๒ ดงั นน้ั การแบง่ กรรมสิทธิ์รวมท่มี ีชอ่ื ผถู้ ือกรรมสทิ ธ์ทิ ้ังในฐานะสว่ นตวั
และในฐานะผู้จัดการมรดกเป็นการกำ�หนดเขตและเนื้อที่ให้เป็นการแน่นอนว่าของใคร  อยู่ตรงไหน
เนอ้ื ทเ่ี ทา่ ใด ยอ่ มเหน็ ไดช้ ดั วา่ ผจู้ ดั การมรดกจะเลอื กเอาอยา่ งไรกไ็ ดจ้ งึ ถอื ไดว้ า่ มสี ว่ นไดเ้ สยี เปน็ ปฏปิ กั ษ์
ตอ่ กองมรดก จงึ ต้องห้ามตามประมวลกฎหมายแพง่ และพาณชิ ย์ มาตรา ๑๗๒๒ พนักงานเจา้ หนา้ ที่
ดำ�เนนิ การให้ไม่ได ้ ควรแนะน�ำ ให้ผขู้ อไปขออนญุ าตตอ่ ศาลก่อน
๑๓. กรณีผู้จัดการมรดกซ่ึงมีฐานะเป็นทั้งผู้จัดการมรดกและผู้รับพินัยกรรมมีความ
ประสงค์ท่ีจะโอนทรัพย์สินในกองมรดกตามพินัยกรรมในฐานะผู้จัดการมรดกให้แก่บุคคลนอก
พินัยกรรมเป็นไปด้วยความสมัครใจของผู้รับพินัยกรรม  ไม่มีทายาทโต้แย้งสิทธิในการรับมรดกตาม
พินยั กรรม หรอื กลา่ วหาวา่ พินยั กรรมปลอมนั้น คณะกรรมการกฤษฎีกาได้ให้ความเห็นวา่ ผู้จัดการ
มรดกตามพินัยกรรมไม่มีอำ�นาจนำ�ทรัพย์สินในกองมรดกซ่ึงพินัยกรรมระบุให้ตกแก่ผู้รับพินัยกรรมไป
จ�ำ หนา่ ยจ่ายโอนให้แกบ่ ุคคลภายนอก ซ่ึงมไิ ดร้ ะบุไว้ให้เปน็ ผู้รับพินัยกรรม เพราะอ�ำ นาจการจดั การ
มรดกของผู้จัดการมรดกตามพินัยกรรมมีเพียงเท่าท่ีบัญญัติไว้ในประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
มาตรา ๑๗๑๙ เทา่ น้นั คอื มีสทิ ธิและหน้าท่ีจะทำ�การอันจำ�เป็นเพ่ือให้การเปน็ ไปตามคำ�ส่งั แจง้ ชัด
หรือโดยปริยายแห่งพินัยกรรมเท่านั้น ถึงแม้ผู้จัดการมรดกจะมีสองฐานะ คือ มีฐานะเป็นผู้จัดการ

๓๖๔
มรดกและเป็นผู้รับพินัยกรรม เมื่อจะใช้อำ�นาจในฐานะผู้จัดการมรดกก็ชอบแต่จะจัดการจำ�หน่าย
จา่ ยโอนทรพั ยส์ นิ ในกองมรดกใหแ้ กผ่ รู้ บั พนิ ยั กรรมตามทร่ี ะบไุ วใ้ นพนิ ยั กรรมนน้ั จะโอนใหแ้ กบ่ คุ คลอน่ื
ซึ่งพินยั กรรมมไิ ดร้ ะบุให้เป็นผรู้ บั พินัยกรรมหาได้ไม ่
หากเปน็ กรณมี กี ารตกลงประนปี ระนอมระหวา่ งทายาทตามพนิ ยั กรรมกบั ทายาทโดยธรรม
ก็ไม่ควรนำ�ความเหน็ ของคณะกรรมการกฤษฎีกามาพิจารณา เพราะเห็นว่า ค�ำ ร้องคัดคา้ นการต้ัง พ.
ทายาทตามพินัยกรรมเป็นผู้จัดการมรดกของเจ้ามรดกแสดงให้เห็นว่า  ต่างฝ่ายต่างอ้างสิทธิในฐานะ
ทายาทผมู้ ีสิทธิรบั มรดกของเจา้ มรดก กลา่ วคือ พ. รอ้ งศาลขอเปน็ ผู้จัดการมรดกของ บ. เจ้ามรดก
โดยอ้างสิทธกิ ารเปน็ ทายาทตามพินัยกรรม ส่วน ก. กบั ป. รอ้ งคัดคา้ น โดยอ้างสทิ ธขิ องการเป็น
ทายาทโดยธรรม กลา่ วหา พ. เบียดบังทายาทและยักยอกทรัพย์มรดกของผู้ตายและพนิ ัยกรรมปลอม
จึงอยู่ที่ว่าใครจะมีสิทธิดีกว่ากัน พินัยกรรมปลอมจริงดังที่ผู้ร้องคัดค้านกล่าวอ้างหรือไม่ หากเป็น
พนิ ยั กรรมปลอม ทรัพย์มรดกของ บ. เจา้ มรดก ยอ่ มไม่ใช่ตกไดก้ บั พ. เพียงผเู้ ดียว แต่จะตกไป
ยังทายาทโดยธรรมของผู้ตาย  เม่ือปรากฏว่าคู่กรณีไม่ติดใจสู้คดีกันต่อไป  โดยต่างฝ่ายต่างตกลง
ประนีประนอมยอมผ่อนปรนให้แก่กัน  โดย  พ.  ทายาทตามพินัยกรรมยอมสละสิทธิเรียกร้องตาม
พินยั กรรมโดยยอมโอนโฉนดทด่ี ินให้แก่ ก. พรอ้ มเงินสดจำ�นวนหนงึ่ ใหแ้ ก่ ก. และ ป. ผรู้ อ้ งคัดคา้ น
ทัง้ สองฝา่ ย ก. กับ ป. ผรู้ ้องคัดค้าน กย็ อมถอนคำ�รอ้ งคัดคา้ นค�ำ ขอตัง้ ผู้จดั การมรดก บันทึกขอ้ ตกลง
ในรายงานกระบวนพิจารณาช้ันศาลท่ีทั้งสองฝ่ายตกลงกันไว้ดังกล่าวทำ�ให้ข้อพิพาทท่ีมีอยู่ทั้งหมด
ระงับส้ินไปรวมท้ังสิทธเิ รยี กร้องของ พ. ทายาทตามพนิ ัยกรรม ซงึ่ ตอ่ มาไดเ้ ปน็ ผจู้ ดั การมรดกของ บ.
เจ้ามรดกด้วย (ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณชิ ย์ มาตรา ๘๕๐, ๘๕๒) และตา่ งฝา่ ยตา่ งได้สทิ ธิ
เรยี กร้องใหมต่ ามทไี่ ด้ตกลงประนีประนอมไว้ ดังนนั้ เมือ่ สทิ ธเิ รียกรอ้ งตามพินยั กรรมระงับไปแล้ว
พนักงานเจ้าหนา้ ทีจ่ ึงไมจ่ ำ�เปน็ ตอ้ งให้ พ. ผจู้ ัดการมรดกของ บ. เจ้ามรดกโอนมรดกทด่ี ินดงั กล่าวให้
แกต่ นเองในฐานะทายาทตามพนิ ัยกรรมอกี ต่อไป แต่ชอบทีจ่ ะด�ำ เนนิ การจดทะเบยี นโอนมรดกทีด่ ิน
ดังกลา่ วใหแ้ ก่ ก. ทายาทโดยธรรมตามค�ำ ขอของ พ. ผู้จดั การมรดกของ บ. เจ้ามรดก ไดโ้ ดยตรง
การที่ พ. ทายาทตามพินัยกรรมตกลงประนีประนอมโอนทด่ี นิ ใหแ้ ก่ ก. ถือวา่ เปน็ การ
สละมรดกตามพินัยกรรมอันทำ�ให้มรดกตกได้แก่ทายาทโดยธรรมหรือไม่นั้น  ตามประมวลกฎหมาย
แพ่งและพาณชิ ย์ มาตรา ๑๖๑๓ วรรคหน่ึง การสละมรดกจะสละแต่เพยี งบางสว่ นไม่ได้ เมอ่ื ตาม
ค�ำ ร้องขอเป็นผูจ้ ัดการมรดกของ บ. เจ้ามรดก ปรากฏว่าทรพั ย์สินของผูต้ ายนอกจากจะมีที่ดินแปลง
ที่จะโอนให้แก่ ก. แล้วยังมีทรัพย์สินอื่นอีก ประกอบกับการที่ พ. ตกลงยินยอมโอนที่ดินดังกล่าว
ใหแ้ ก่ ก. กเ็ นือ่ งจาก ก. และ ป. คัดค้านค�ำ ร้องขอเป็นผู้จดั การมรดกของ พ. เพ่ือไมต่ อ้ งมขี ้อพพิ าท
สู้คดีกับผู้ร้องคัดค้านทั้งสองให้เป็นการยุ่งยากต่อไปจึงยอมรับที่จะโอนที่ดินดังกล่าวให้แก่ ก. และ
เงนิ สดอีกจ�ำ นวนหน่ึงให้แก่ ก. กบั ป. การตกลงยินยอมโอนทรพั ยม์ รดกเพยี งบางส่วนดงั กล่าวจงึ
มิใช่การสละมรดก  ส่วนปัญหาว่าพินัยกรรมชอบด้วยกฎหมายใช้บังคับได้หรือไม่  เมื่อศาลยังมิได้
พจิ ารณาวนิ ิจฉัยในประเดน็ นี้ กต็ อ้ งถือว่ามผี ลบงั คบั อยู่ เพยี งแต่ พ. ไม่ตดิ ใจจะโตแ้ ยง้ และเรยี กรอ้ ง

๓๖๕
ตามพินัยกรรมน้ันต่อไป  ซึ่งข้อตกลงในรายงานกระบวนพิจารณาช้ันศาลดังกล่าวถือได้ว่าเป็นสัญญา
ประนปี ระนอมยอมความอนั มผี ลใชบ้ งั คบั ไดร้ ะหวา่ งคกู่ รณที ง้ั สองฝา่ ยเทา่ นน้ั (มาตรา ๑๔๕ วรรคสอง
แห่งประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง)  ทายาทอื่นจะอ้างสิทธิเรียกร้องด้วยไม่ได้  ข้อตกลง
ประนีประนอมของ  พ.  จึงไม่ใช่การสละมรดกตามพินัยกรรม  และไม่ทำ�ให้มรดกตกได้แก่ทายาท
โดยธรรมแต่อยา่ งใด
๑๔. เมอื่ ศาลมคี ำ�สง่ั แตง่ ต้ังให้ ส. เป็นผจู้ ัดการมรดกของ อ. แม้คำ�ส่งั ดงั กล่าวจะยังไมถ่ งึ
ท่ีสดุ เนอ่ื งจากอยใู่ นระหวา่ งอทุ ธรณ์ แต่การยนื่ อทุ ธรณ์ไมเ่ ปน็ การทเุ ลาการบังคบั คดีตามค�ำ พิพากษา
หรือคำ�ส่ังศาลชั้นต้น  อีกท้ังศาลอุทธรณ์ได้ส่ังยกคำ�ร้องขอทุเลาการบังคับของ  ง.  ผู้คัดค้านแล้ว
โดยวินิจฉัยว่าเป็นอำ�นาจหน้าท่ีของผู้จัดการมรดกตามท่ีกฎหมายบัญญัติไว้  ทายาทย่อมได้รับความ
คุ้มครองตามกฎหมายอยูแ่ ล้ว ดงั นน้ั ตราบใดที่ ง. ผ้ยู ื่นอุทธรณม์ ไิ ด้ขอให้ใชว้ ิธีการชัว่ คราว ตาม
ประมวลกฎหมายวิธีพจิ ารณาความแพ่ง ส. ผู้จดั การมรดกของ อ. กม็ ีอ�ำ นาจเข้าไปจดั การมรดกโดย
อาศยั สทิ ธแิ ละหนา้ ที่ท่ีมอี ยู่ตามกฎหมายได้
๑๕. การจดทะเบียนลงชื่อผู้จัดการมรดกในหนังสือแสดงสิทธิในท่ีดินตามมาตรา  ๘๒
แห่งประมวลกฎหมายท่ีดิน  เจ้ามรดกจะต้องมีช่ือเป็นผู้มีสิทธิในหนังสือแสดงสิทธิในท่ีดิน  จึงจะ
จดทะเบียนใหไ้ ด้ สำ�หรับเรอ่ื งนข้ี ้อเท็จจริงปรากฏว่าที่ดินที่ พ. ผู้จัดการมรดกของ ง. ตามค�ำ สงั่ ศาล
น�ำ มาขอจดทะเบียนลงช่อื ผ้จู ัดการมรดกนีม้ ีชอ่ื บคุ คลอื่นซ่งึ มใิ ชเ่ จ้ามรดกเป็นผูถ้ อื กรรมสทิ ธิ์อย ู่ ซึ่งผูม้ ี
ชื่อในโฉนดที่ดินย่อมได้รับข้อสันนิษฐานของกฎหมายว่าเป็นผู้มีสิทธิครอบครองตามประมวล
กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา ๑๓๗๓ ประกอบกบั ในการร้องขอตง้ั ผจู้ ัดการมรดกนั้น แม้จะมี
การระบุบัญชเี กยี่ วกับทด่ี ินดังกล่าวแสดงต่อศาลโดยอ้างว่าเปน็ ทรัพย์สินของเจ้ามรดกก็ตาม แตศ่ าล
ก็มิได้มีคำ�ส่ังให้ปรากฏว่าเป็นทรัพย์สินของเจ้ามรดกแต่อย่างใด  จึงรับฟังไม่ได้ว่าที่ดินดังกล่าวเป็น
ทรัพย์มรดกของ ง. เจ้ามรดก พ. ผู้จัดการมรดกจึงไม่มีอำ�นาจหน้าที่ในการจัดการตามประมวล
กฎหมายแพ่งและพาณชิ ย์ มาตรา ๑๗๑๙
แม้ข้อเท็จจริงจะรับฟังได้ว่า ภายหลังที่เจ้ามรดกเสียชีวิตแล้ว ทายาทได้นำ�เงินของ
กองมรดกไปซ้ือท่ีดินดังกล่าวและลงช่ือทายาทแต่ละคนเป็นผู้ถือกรรมสิทธ์ิไว้  ก็ต้องถือว่าทายาท
แต่ละคนซื้อที่ดินเพ่ือตนเอง  ส่วนเงินที่นำ�มาซ้ือนั้นทายาทก็มีหน้าท่ีต้องชำ�ระคืนให้แก่กองมรดก
ซ่งึ อาจจะชำ�ระเป็นตัวเงนิ หรอื จะโอนทดี่ นิ เป็นการช�ำ ระหนก้ี ไ็ ด้
๑๖. ผู้จัดการมรดกท่ีศาลตั้งโดยที่มิได้มีพินัยกรรมต้ังผู้จัดการมรดกไว้  เม่ือผู้จัดการ
มรดกคนหนง่ึ คนใดถงึ แก่กรรมไป ผ้จู ดั การมรดกท่เี หลือจะจดั การตอ่ ไปได้ ก็จะตอ้ งใหศ้ าลมคี �ำ สั่ง
อนุญาตก่อน แต่เรื่องนี้ศาลได้มีคำ�พิพากษาให้ผู้จัดการมรดกของ พ. ที่เหลือ ๓ คน (จำ�เลย)
ไปจดทะเบยี นโอนกรรมสทิ ธิ์ทด่ี ินดงั กล่าว พร้อมสง่ิ ปลกู สร้างให้แก่โจทก์ จงึ ถอื ได้ว่าศาลได้มีคำ�สง่ั
อนุญาตใหผ้ ูจ้ ดั การมรดกท่ีเหลอื ๓ คน มีอ�ำ นาจจัดการมรดก เพือ่ ให้เปน็ ไปตามค�ำ พิพากษาฎกี านี้ได้
ไม่จำ�เป็นจะต้องไปขอให้ศาลสั่งอนุญาตอีก แต่ถ้าเป็นการจัดการมรดกที่ไม่เกี่ยวกับคำ�พิพากษานี้
ผจู้ ดั การมรดกทเ่ี หลอื ไมม่ อี �ำ นาจจะกระท�ำ ได ้ จะตอ้ งไปขอใหศ้ าลสง่ั อนญุ าตเปน็ อกี เรอ่ื งหนง่ึ ตา่ งหาก

๓๖๖
การดำ�เนินการจดทะเบียนโอนมรดกเพื่อให้เป็นไปตามคำ�พิพากษาดังกล่าวจะต้องมี
การจดทะเบยี นลงชอื่ ผู้จดั การมรดกแล้ว จงึ จดทะเบยี นโอนให้แกโ่ จทกใ์ นฐานะผ้จู ัดการมรดกของ ส.
สำ�หรับโฉนดทีด่ ินทโ่ี อนไปทงั้ แปลง จึงไม่มีปญั หาเก่ียวกบั การจัดการมรดกตอ่ ไป แตโ่ ฉนดท่ีดนิ ทม่ี ี
การโอนมรดกบางส่วน (คร่ึงหนึง่ ) เมื่อโอนมรดกให้แก่โจทก์แล้ว จะมชี อ่ื ผจู้ ัดการมรดกของ พ. เป็น
ผูถ้ อื กรรมสิทธ์ิรวมอยดู่ ้วย การจดั การมรดกสว่ นทเ่ี หลอื ของผู้จัดการมรดกดังกล่าวตอ่ ไป ไมถ่ ือวา่
เปน็ การจัดการเพือ่ ใหเ้ ปน็ ไปตามคำ�พิพากษา ผ้จู ดั การมรดกทเี่ หลอื จะจดั การต่อไปได้จะต้องให้ศาล
มีค�ำ ส่ังอนญุ าตกอ่ น
๑๗. กรณีน้ีศาลตั้งผจู้ ัดการมรดกของ บ. ไว้จำ�นวน ๘ คน ผู้จดั การท้ัง ๘ คน
ไดจ้ ดทะเบยี นลงชอ่ื ผจู้ ดั การมรดกในโฉนดท่ีดนิ และเจา้ พนักงานทดี่ นิ ได้จดทะเบียนให้แล้ว ตอ่ มา
ผูจ้ ัดการมรดกจำ�นวน ๖ คน ไดย้ น่ื ค�ำ ขอจดทะเบยี นโอนมรดกบางสว่ นของโฉนดแปลงหนึง่ และ
ย่ืนคำ�ขอจดทะเบียนโอนมรดกโฉนดท่ีดินอีกแปลงหน่ึงให้แก่ทายาทของเจ้ามรดกบางคน  โดยไม่มี
ผจู้ ดั การมรดกอกี ผหู้ นง่ึ ยน่ื ค�ำ ขอด�ำ เนนิ การดว้ ย และผจู้ ดั การมรดกอกี ผหู้ นง่ึ มหี นงั สอื คดั คา้ นไวก้ อ่ นแลว้
การตกลงดำ�เนินการขอจดทะเบียนของผู้จัดการมรดกจำ�นวน  ๖  คนดังกล่าว  ถ้าได้มีการแจ้งให้
ผู้จัดการมรดกอีกสองคนได้ทราบแล้ว  ถึงแม้ผู้จัดการมรดกที่มิได้มาย่ืนคำ�ขอจดทะเบียนจะคัดค้าน
ก็ถือได้ว่าการจัดการมรดกทั้ง  ๖  คน  เป็นการจัดการของผู้จัดการมรดกที่เห็นด้วยเป็นส่วนมาก
ซึ่งถือเป็นเสียงข้างมากสามารถที่จะดำ�เนินการได้ตามคำ�พิพากษาฎีกาที่ ๓๘๒/๒๕๑๑ และ
๒๕๑๖ – ๒๕๑๗/๒๕๒๑
๑๘. กรณีผู้จัดการมรดกนาง ข. ได้ยนื่ ขอจดทะเบยี นยกใหท้ ด่ี นิ แกว่ ดั เพื่อให้เป็นไป
ตามหนังสือแสดงเจตนาที่เจ้ามรดกทำ�ไว้ก่อนตาย  แต่พนักงานเจ้าหน้าที่ปฏิเสธไม่รับจดทะเบียน
โดยอ้างวา่ หนงั สือแสดงเจตนาทเ่ี จ้ามรดกท�ำ ไว้กอ่ นตายไม่ใช่พนิ ัยกรรม เนอื่ งจากไมม่ ีขอ้ กำ�หนดการ
เผื่อตายในเรื่องทรัพย์สิน  และการให้ทรัพย์สินจะสมบูรณ์ต่อเม่ือได้ทำ�เป็นหนังสือและจดทะเบียน
ต่อพนักงานเจ้าหน้าท ี่ เมือ่ ผใู้ ห้ถึงแก่ความตายโดยยงั ไมม่ กี ารจดทะเบียนโอนท่ีดินใหแ้ กว่ ดั การให้ก็
ไมส่ มบรู ณ์ กรรมสทิ ธใ์ิ นทรพั ยส์ นิ จงึ เปน็ มรดกตกไดแ้ กท่ ายาท ผจู้ ดั การมรดกไมอ่ าจน�ำ ทด่ี นิ ดงั กลา่ ว
ไปยกใหแ้ กว่ ดั ได้ กรมทดี่ ินไดว้ ินจิ ฉัยแยกเปน็ ๒ ประเดน็ ดงั น้ี
(๑) ประเด็นแรก  หนังสือแสดงเจตนายกให้ท่ีดินที่เจ้ามรดกทำ�ไว้ก่อนตายเป็น
พนิ ัยกรรมหรือไม่ โดยทต่ี ามมาตรา ๑๖๔๖ แห่งประมวลกฎหมายแพง่ และพาณิชย์ บญั ญตั ิลักษณะ
สำ�คัญของพินัยกรรมไว้ประการหนึ่งว่าต้องมีการแสดงเจตนากำ�หนดการเผ่ือตายในเรื่องทรัพย์สิน
ของตนเองหรือในการต่างๆ  อันจะเกิดเป็นผลบังคับได้ตามกฎหมายเมื่อตนตาย  ซึ่งหมายความว่า
พินัยกรรมย่อมต้องมีข้อความตอนใดตอนหนึ่งแสดงให้เห็นว่าเป็นการแสดงเจตนาของผู้ตายในการ
กำ�หนดการเผื่อตายในเรื่องทรัพย์สิน  ให้เกิดผลบังคับเมื่อผู้ทำ�พินัยกรรมได้ถึงแก่ความตายไปแล้ว
เมื่อพจิ ารณาความในหนงั สือแสดงเจตนาของเจ้ามรดกรายนไ้ี มม่ ีขอ้ ความตอนใดแสดงให้เห็นวา่ ผ้ตู าย
ประสงคย์ กใหท้ ดี่ ินดังกล่าวแกว่ ดั เมอื่ ตนตายไปแลว้ ตรงกันขา้ มกลับมขี อ้ ความระบุว่า ให้การแสดง

๓๖๗
เจตนายกให้ท่ีดินแก่วัดมีผลตั้งแต่วันท่ีปรากฏในหนังสือแสดงเจตนา  หนังสือดังกล่าวจึงไม่ใช่
พนิ ัยกรรมตามความในมาตรา ๑๖๔๖ แหง่ ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณชิ ย์ แต่เป็นหนังสอื แสดง
เจตนายกใหท้ ดี่ นิ ธรรมดา
(๒) ประเด็นที่สอง  เมื่อหนังสือแสดงเจตนาดังกล่าวเป็นหนังสือแสดงเจตนายกให้
ทีด่ ินธรรมดา ผูจ้ ดั การมรดกจะโอนที่ดินให้แก่วดั ไดห้ รือไม ่ เพราะเหตุใด โดยทีต่ ามมาตรา ๕๒๕
แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์  การให้อสังหาริมทรัพย์ต้องทำ�เป็นหนังสือและจดทะเบียน
ต่อพนกั งานเจ้าหน้าที่ มิฉะนัน้ เปน็ โมฆะ แตส่ �ำ หรับการยกให้ท่ีดินแก่วัด ไดม้ ีค�ำ พพิ ากษาศาลฎีกา
วินิจฉยั ไวเ้ ป็นบรรทดั ฐานตลอดมารวมถึงค�ำ พพิ ากษาฎกี าท่ ี ๗๖๓๘/๒๕๓๘ ว่า การท�ำ หนงั สอื ยกให้
ที่ดินเพื่อใช้เป็นที่สร้างวัด  ถือได้ว่ามีเจตนาอุทิศที่ดินให้เพื่อใช้เป็นที่สร้างวัด  ที่ดินย่อมตกเป็นของ
แผน่ ดนิ ส�ำ หรบั ใชเ้ ปน็ ทส่ี รา้ งวดั ตามเจตนาของผอู้ ทุ ศิ ทนั ทโี ดยไมจ่ �ำ ตอ้ งท�ำ เปน็ หนงั สอื และจดทะเบยี น
ต่อพนกั งานเจา้ หนา้ ท่ ี ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา ๕๒๕
กรณีท่ีต้องพิจารณาก็คือ  การอุทิศท่ีดินให้แก่วัดเพ่ือขยายเขตวัด  จะมีผลให้ท่ีดินตก
เป็นของแผ่นดนิ ดังเช่นการอทุ ิศที่ดินเพ่ือใชส้ ร้างวดั ตามค�ำ พพิ ากษาฎกี าที ่ ๗๖๓๘/๒๕๓๘ หรือไม่
โดยทต่ี ามมาตรา ๓๓ แห่งพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ พ.ศ. ๒๕๐๕ ทีว่ ดั ไมไ่ ดห้ มายถึงเฉพาะแตท่ ดี่ ิน
ท่ีใชเ้ ปน็ ท่ีตัง้ หรอื สรา้ งวัดเทา่ น้ัน แตย่ ังหมายรวมถึงท่ดี นิ ทเ่ี ป็นเขตของวัดนัน้ ดว้ ย การอุทศิ ทีด่ ินเพอ่ื
ขยายเขตวดั จึงมีผลให้ทีด่ นิ น้ัน ตกเป็นของแผน่ ดินโดยเปน็ ทีว่ ัดตามมาตรา ๓๓ แหง่ พระราชบญั ญัติ
คณะสงฆ์ พ.ศ. ๒๕๐๕ ดงั น้ัน การทก่ี ่อนตายเจา้ มรดกได้ทำ�หนงั สือแสดงเจตนายกทีด่ ินให้แกว่ ัดเพอื่
ใชข้ ยายเขตวดั ไวส้ ำ�หรับประกอบศาสนกิจต่างๆ ยอ่ มมผี ลให้ทดี่ ินตกเปน็ ของแผ่นดิน เช่น การอุทศิ
ที่ดนิ เพ่อื ใชส้ รา้ งวดั ตามค�ำ พพิ ากษาฎกี า ท่ี ๗๖๓๘/๒๕๓๘ โดยไม่ตอ้ งท�ำ เป็นหนังสือและจดทะเบยี น
ต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ ตามมาตรา ๕๒๕ แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ เมื่อผู้ยกให้ตาย
กอ่ นโอนกรรมสทิ ธท์ิ ด่ี นิ ใหแ้ กว่ ดั หนงั สอื แสดงเจตนายกใหท้ ด่ี นิ แกว่ ดั ยอ่ มผกู พนั ผจู้ ดั การมรดกทจ่ี ะตอ้ ง
ดำ�เนินการโอนที่ดินน้ันให้แก่วัดต่อไปและเมื่อที่ดินตกได้แก่วัดตั้งแต่มีการอุทิศ  (ขณะอุทิศที่ดินวัดมี
ฐานะเปน็ นติ บิ คุ คลแลว้ ) ทด่ี นิ จงึ มใิ ชม่ รดกทจ่ี ะตกไดแ้ กท่ ายาทของผตู้ าย กรณผี จู้ ดั การมรดกประสงค์
โอนทด่ี นิ ใหแ้ กว่ ดั และวดั ไดร้ บั อนญุ าตใหไ้ ดม้ าซง่ึ ทด่ี นิ ตามมาตรา ๘๔ แหง่ ประมวลกฎหมายทด่ี นิ แลว้
พนักงานเจ้าหน้าที่สามารถรับจดทะเบียนโอนที่ดินให้แก่วัดตามคำ�ขอของผู้จัดการมรดกได้
ในประเภท “ให”้ โดยในค�ำ ขอฯ (ท.ด. ๑) หนังสอื สัญญาให้ และสารบัญจดทะเบยี นช่องเนอื้ ท่ ี
ใหห้ มายเหตลุ งไวว้ ่า “ทีด่ นิ แปลงนต้ี กเปน็ ของวดั โดยการอทุ ิศตามหนงั สือแสดงเจตนายกใหท้ ่ดี ินของ
...............ฉบบั ลงวันท.ี่ ........เดอื น...........พ.ศ. ....”
๑๙. การที่ศาลมีคำ�สั่งแต่งตั้งนายแดงเป็นผู้จัดการมรดกของนางมะลิ เป็นคำ�สั่งแรก
และแตง่ ตง้ั นายด�ำ เปน็ ผจู้ ดั การมรดกของนางมะล ิ เปน็ ค�ำ สง่ั ทส่ี อง ซง่ึ ค�ำ สง่ั ฉบบั หลงั ไมไ่ ดเ้ ปลย่ี นแปลง
แก้ไข  หรือยกเลิกอำ�นาจผู้จัดการมรดกในคำ�ส่ังฉบับแรก  คำ�สั่งศาลทั้งสองจึงเป็นคำ�ส่ังท่ีชอบด้วย
กฎหมาย ในกรณเี ชน่ นตี้ ้องถือวา่ ศาลแตง่ ต้ังผู้จัดการมรดกไว้หลายคน และเม่ือศาลไม่ไดก้ ำ�หนดสิทธิ

๓๖๘
หรือหนา้ ทีผ่ จู้ ัดการมรดกไวโ้ ดยเฉพาะ การจดั การมรดกผูจ้ ัดการมรดกย่อมมีอ�ำ นาจจัดการทรพั ย์สิน
อันเป็นมรดกของเจ้ามรดกท้ังหมด  มิใช่มีอำ�นาจจัดการเฉพาะทรัพย์ที่ระบุไว้ต่อศาลเท่านั้น
(เทียบคำ�พิพากษาฎีกาที่  ๘๗๐/๒๕๐๑)  และผู้จัดการมรดกแต่ละคนจะจัดการไปโดยลำ�พังไม่ได้
(เทียบคำ�พิพากษาฎกี าที่ ๓๑๖-๓๒๐/๒๕๐๖) ตอ้ งร่วมกนั จัดการ หากตกลงกันไมไ่ ด้จะตอ้ งให้ศาล
เปน็ ผู้ชขี้ าด ตามความในมาตรา ๑๗๒๖ แหง่ ประมวลกฎหมายแพง่ และพาณิชย์ ในทางปฏบิ ัติเมื่อมี
กรณเี ช่นน้เี กดิ ขึน้ ควรจดทะเบยี นลงช่อื นายแดง และนายด�ำ เปน็ ผู้จดั การมรดกในโฉนดทด่ี ินรว่ มกัน
ซง่ึ เรอ่ื งนแ้ี มพ้ นกั งานเจา้ หนา้ ทจ่ี ะไดจ้ ดทะเบยี นลงชอ่ื นายด�ำ ในฐานะผจู้ ดั การมรดกในโฉนดทด่ี นิ ไปแลว้
แต่เมื่อเป็นการจดทะเบยี นไปตามค�ำ พพิ ากษาที่ชอบด้วยกฎหมาย จงึ ไมม่ ีกรณีตอ้ งเพิกถอนรายการ
จดทะเบียน แต่เพอ่ื ให้นายด�ำ กับนายแดงเป็นผ้จู ัดการมรดกร่วมกนั จึงตอ้ งจดทะเบียนในประเภท
“เปล่ยี นผู้จดั การมรดก” โดยใส่ชื่อ ๑. นายแดง ๒. นายดำ� (๑ - ๒. ผูจ้ ดั การมรดกของนางมะล)ิ
ในช่องผรู้ ับสญั ญา
๒๐. นาย ส. นำ�คำ�สง่ั ศาลซงึ่ แตง่ ต้งั ใหเ้ ด็กชาย ว. โดยนาย ส. ผู้แทนโดยชอบธรรม
เปน็ ผจู้ ัดการมรดกของนาง จ. ยน่ื ขอจดทะเบียนลงชื่อผจู้ ดั การมรดกในโฉนดทีด่ นิ ของนาง จ. โดยมี
ประเด็นพิจารณาว่าการทศี่ าลแต่งตงั้ ใหผ้ ้เู ยาว์เป็นผจู้ ัดการมรดกจะขดั กบั มาตรา ๑๗๑๘ (๑) แห่ง
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณชิ ย์ หรือไม่
กรณีน้ี  เมื่อศาลได้มีคำ�สั่งแล้ว  ย่อมมีผลบังคับจนกว่าคำ�ส่ังน้ันได้ถูกเปล่ียนแปลง
แก้ไข กลับ หรืองดเสีย อยา่ งไรก็ดี ก่อนทีพ่ นักงานเจ้าหน้าทจี่ ะด�ำ เนนิ การให้ ควรสอบถามศาลไป
ใหม่โดยระบใุ หช้ ดั ว่า ศาลมคี �ำ ส่งั แต่งตั้งให้เด็กชาย ว. เปน็ ผู้จดั การมรดกโดยใหน้ าย ส. ในฐานะ
ผู้แทนโดยชอบธรรมดำ�เนินการแทนผู้เยาวซ์ ึ่งเปน็ ผจู้ ดั การมรดกตามนัยมาตรา ๑๗๒๓ แหง่ ประมวล
กฎหมายแพง่ และพาณิชย์ หรือศาลมคี ำ�สง่ั แตง่ ตงั้ ใหน้ าย ส. เป็นผจู้ ัดการมรดก การท่ีสอบถามศาล
ไปเช่นนก้ี เ็ พอ่ื ขอทราบเพม่ิ เตมิ จากคำ�สงั่ ศาล ซงึ่ ศาลได้สงั่ ไว้ไมแ่ จ้งชดั เท่าน้นั หากศาลได้แจ้งยนื ยนั
เป็นประการใดในประเด็นทถ่ี ามไป ก็ด�ำ เนนิ การตอ่ ไปได้
๒๑. พนักงานเจ้าหน้าท่ีจะจดทะเบียนลงช่ือผู้จัดการมรดกลงในใบจองตามมาตรา ๘๒
แห่งประมวลกฎหมายที่ดนิ ไดห้ รอื ไม่
ตามมาตรา ๘๒ แห่งประมวลกฎหมายที่ดิน บัญญัติไว้เฉพาะการจดทะเบียนลงชื่อ
ผู้จัดการมรดกในหนังสือแสดงสิทธิในที่ดิน  ประเด็นปัญหาดังกล่าวจึงมีกรณีพิจารณาว่า  ใบจอง
ถอื เปน็ หนังสือแสดงสิทธิในทด่ี นิ หรือไม่ โดยทต่ี ามประมวลกฎหมายทด่ี ิน มาตรา ๑ ค�ำ วา่ “สทิ ธิใน
ทีด่ นิ ” หมายความว่ากรรมสิทธิ์และให้หมายความรวมถงึ สทิ ธิครอบครองดว้ ย และ ค�ำ วา่ “ใบจอง”
หมายความว่า หนังสือแสดงการยอมใหเ้ ขา้ ครอบครองทดี่ นิ ชว่ั คราว ประกอบกบั มาตรา ๖๔ แห่ง
ประมวลกฎหมายทด่ี นิ ไดบ้ ญั ญตั วิ า่ “ถา้ โฉนดทด่ี นิ ใบไตส่ วน หนงั สอื รบั รองท�ำ ประโยชน์ หรอื ใบจอง
ฉบบั ส�ำ นักงานทด่ี นิ เป็นอันตราย ช�ำ รดุ สญู หาย ใหพ้ นกั งานเจา้ หนา้ ที่ตามมาตรา ๗๑ มีอำ�นาจเรียก
หนังสือแสดงสิทธิในท่ีดินดังกล่าวจากผู้มีสิทธิในที่ดินมาพิจารณาแล้วจัดทำ�ข้ึนใหม่.......”  ใบจองจึง

๓๖๙
ถอื ได้ว่าเปน็ หนังสอื แสดงสทิ ธิในที่ดินประเภทหน่ึง พนักงานเจา้ หน้าที่จึงชอบที่จะจดทะเบยี นลงช่ือ
ผจู้ ดั การมรดกลงในใบจองตามนยั มาตรา ๘๒ แหง่ ประมวลกฎหมายท่ีดนิ ได้
๒๒. ศาลมีคำ�พิพากษาตามสัญญาประนีประนอมยอมความ  ระหว่าง  นางสาว  น.
กบั นาง พ. ในฐานะผ้จู ัดการมรดกนาย ธ. วา่ นาง พ. ตกลงโอนที่ดินใหแ้ กเ่ ดก็ หญิง ร. ในอัตรา
รอ้ ยละ ๒๕ เด็กชาย ท. ในอตั รารอ้ ยละ ๒๕ นางสาว น. ในอัตรารอ้ ยละ ๒๕ และนาง ป. ในอตั รา
รอ้ ยละ ๒๕ ของที่ดนิ ทุกแปลง แตป่ รากฏว่า นาย ธ. เจ้ามรดก ได้ทำ�พนิ ัยกรรมระบุยกทีด่ นิ ใหแ้ ก่
เด็กหญิง ร. เน้อื ทรี่ ้อยละ ๓๐ และเดก็ ชาย ท. เนื้อที่รอ้ ยละ ๗๐ ของท่ดี ินแต่ละแปลง และตง้ั
นางสาว น. เปน็ ผจู้ ดั การมรดกตามพนิ ยั กรรม นาง พ. ซง่ึ เปน็ ผจู้ ดั การมรดกของนาย ธ. ตามค�ำ สง่ั ศาล
ได้ยื่นขอจดทะเบียนลงชื่อผู้จัดการมรดกตามคำ�ส่ังศาล  และโอนมรดกท่ีดินตามคำ�พิพากษาตาม
สญั ญาประนปี ระนอมยอมความดังกลา่ ว พนกั งานเจ้าหน้าทไ่ี ม่สามารถจะด�ำ เนนิ การใหไ้ ด้ เนื่องจาก
กรณีน้ี  เม่ือศาลมีคำ�สั่งแต่งต้ังนาง พ.  เป็นผู้จัดการมรดกนาย ธ.  แม้คำ�ร้องระบุว่าผู้ตายไม่ได้
ท�ำ พนิ ัยกรรมหรอื ต้งั บคุ คลใดเป็นผูจ้ ดั การมรดกไว้ แต่ข้อเท็จจรงิ ปรากฏว่านาย  ธ.  เจ้ามรดกไดท้ �ำ
พินัยกรรมยกทด่ี นิ ให้แกเ่ ด็กหญงิ ร. เนอื้ ท่ีร้อยละ ๓๐ และเด็กชาย ท. เนอ้ื ทีร่ ้อยละ ๗๐ ของทีด่ นิ
แตล่ ะแปลง และไดแ้ ตง่ ต้งั นางสาว น. เป็นผจู้ ัดการมรดกตามพนิ ัยกรรม ซ่ึงพนิ ยั กรรมของนาย ธ.
กไ็ ดท้ �ำ ถกู ตอ้ งตามแบบแหง่ พนิ ยั กรรมตามกฎหมายและไมม่ คี �ำ สง่ั ศาลทว่ี นิ จิ ฉยั วา่ เปน็ พนิ ยั กรรมปลอม
หรือตกเปน็ โมฆะ พนิ ัยกรรมจงึ มีผลใชไ้ ด ้ สว่ นค�ำ ส่งั ศาลทีต่ ้งั นาง พ. เปน็ ผู้จัดการมรดก เมอื่ ไม่ม ี
คำ�สั่งศาลเปลี่ยนแปลง หรือแก้ไข หรือให้ยกเลิกอำ�นาจผู้จัดการมรดกตามคำ�สั่งศาล การที่ศาล
แต่งตั้งนาง พ. เป็นผู้จัดการมรดกจึงเป็นคำ�สั่งที่ชอบด้วยกฎหมาย นาง พ. ผู้จัดการมรดกตาม
ค�ำ สง่ั ศาลและนางสาว น. ผจู้ ดั การมรดกตามพนิ ยั กรรมยอ่ มตอ้ งรว่ มกนั จดั การทรพั ยม์ รดกของนาย ธ.
และต้องปฏิบัติใหเ้ ปน็ ไปตามประมวลกฎหมายแพง่ และพาณิชย์ มาตรา ๑๗๑๙ คอื จะต้องกระท�ำ
การอันจำ�เป็นเพื่อให้การเป็นไปตามคำ�สั่งแจ้งชัดหรือโดยปริยายแห่งพินัยกรรม เพื่อจัดการมรดก
โดยทว่ั ไป หรือเพอ่ื แบ่งปันทรัพยม์ รดก โดยมหี น้าท่จี ะตอ้ งท�ำ การโอนมรดกใหแ้ กเ่ ด็กหญงิ ร. และ
เด็กชาย  ท.  ไปตามพินัยกรรมและจะโอนมรดกดังกล่าวให้แก่บุคคลภายนอกพินัยกรรมไม่ได้  ตาม
มาตรา  ๑๗๑๙  และระเบียบกรมทีด่ ิน ว่าด้วยการจดทะเบียนสิทธเิ ก่ยี วกับอสงั หาริมทรัพยซ์ ่งึ ไดม้ า
โดยทางมรดก พ.ศ. ๒๕๔๘ ขอ้ ๕๑ (๓)
ในสว่ นที่ นาง พ. และนางสาว น. ได้ทำ�สญั ญาประนีประนอมยอมความเกยี่ วกบั ทรพั ย์
มรดกของนาย ธ. ขัดกบั เจตนาของนาย ธ. เจา้ มรดกทไ่ี ด้ทำ�พนิ ยั กรรมไว้ ประกอบกับการท�ำ สัญญา
ประนปี ระนอมยอมความแบง่ ทรัพยม์ รดก ไมใ่ ช่การจัดการทรัพยม์ รดกของผู้จัดการมรดก แมศ้ าลจะ
มีคำ�พพิ ากษาตามยอมก็ไม่อาจใช้ยนั กับบุคคลภายนอก คอื เดก็ หญงิ ร. และเดก็ ชาย ท. ซ่งึ มิใช่
คู่ความได้ตามมาตรา ๑๔๕ แห่งประมวลกฎหมายวธิ ีพจิ ารณาความแพง่ และการทน่ี างสาว น.
ซึ่งเป็นผู้ใชอ้ ำ�นาจปกครองของเด็กหญงิ ร. และเดก็ ชาย ท. ผเู้ ยาว์ จะท�ำ สัญญาประนปี ระนอม
ยอมความเกี่ยวกับทรัพย์สินของผู้เยาว์  ต้องได้รับอนุญาตจากศาลที่มีอำ�นาจตามกฎหมายก่อน

๓๗๐

ตามนยั มาตรา ๑๕๗๔ (๑๒) แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ประกอบคำ�พพิ ากษาฎกี าท ี่
๓๓๗๖/๒๕๑๖ และที่ ๔๘๖๐/๒๕๔๘ โดยเฉพาะอย่างยง่ิ กรณปี ระโยชน์ของผู้ใชอ้ �ำ นาจปกครอง
ขัดกับประโยชนข์ องผ้เู ยาว์ มฉิ ะนนั้ เปน็ โมฆะตามมาตรา ๑๕๗๕ แห่งประมวลกฎหมายแพง่ และ
พาณชิ ย์ เมอ่ื ขอ้ ตกลงในสญั ญาประนปี ระนอมยอมความ มผี ลให้นางสาว น. ผ้จู ดั การมรดกได้รบั
ประโยชน์ในทรัพย์มรดกของ นาย ธ. เจ้ามรดกซึ่งทำ�พินัยกรรมยกทรัพย์มรดกให้แก่ผู้เยาว์ จึงเป็น
กรณปี ระโยชนข์ องผใู้ ชอ้ �ำ นาจปกครองขดั กบั ประโยชนข์ องผเู้ ยาว ์ เมอ่ื ไมป่ รากฏหลกั ฐานวา่ นางสาว น.
ผู้ใช้อำ�นาจปกครองของเด็กหญิง ร. และเด็กชาย ท. ได้ทำ�สัญญาประนีประนอมยอมความโดย
ได้รับอนุญาตจากศาล  สัญญาประนีประนอมยอมความจึงเป็นโมฆะและไม่มีผลผูกพันเด็กหญิง  ร.
และเดก็ ชาย ท. ซง่ึ เปน็ บคุ คลภายนอก ตามมาตรา ๑๔๕ แหง่ ประมวลกฎหมายวธิ พี จิ ารณาความแพง่
พนักงานเจ้าหนา้ ที่จงึ ไมอ่ าจจดทะเบียนโอนมรดกตามค�ำ พิพากษาตามยอมดังกล่าวได้
l แนวทางการวนิ ิจฉยั ที่ส�ำ คญั เกยี่ วกับพนิ ัยกรรม
๑. ตามพนิ ัยกรรมมีข้อหน่งึ ซ่งึ ระบุไว้โดยเฉพาะเจาะจงไว้เพยี งวา่ ให้ท่ดี ินแปลงน้ีตกแก่
ทายาทโดยธรรม เช่นนี้ ถือเป็นพนิ ัยกรรมลกั ษณะเฉพาะ ตามประมวลกฎหมายแพง่ และพาณชิ ย ์
มาตรา ๑๖๕๑ (๒) ดงั น้นั ผู้มีสทิ ธิรบั มรดกแปลงนี้จึงไดแ้ ก่ผูท้ ีเ่ ป็นทายาทโดยธรรมของเจา้ มรดก
ทกุ คน โดยรวมถึงผมู้ ีสทิ ธิรับมรดกแทนทดี่ ้วย ซ่งึ ผจู้ ดั การมีหนา้ ทจ่ี ะต้องจัดการให้เป็นไปตามคำ�สง่ั
แจ้งชัดในพนิ ัยกรรมนน้ั การที่ผู้จัดการมรดกขอโอนมรดกใหแ้ ก่ทายาทเพียงบางคน จึงเป็นการขัดต่อ
พินัยกรรม ตามประมวลกฎหมายแพง่ และพาณิชย์ มาตรา ๑๗๑๙ มอิ าจกระท�ำ ได้
๒. การรับรองลายมือชื่อของพยานนั้น  แม้จะไม่มีข้อความรับรองลายมือช่ือไว้ด้วย
ถ้าปรากฏว่าผู้ทำ�พินัยกรรมได้ลงลายมือชื่อต่อหน้าพยานก็ต้องถือว่าพินัยกรรมสมบูรณ์  (เทียบคำ�
พิพากษาฎีกาท่ี ๖๑๙/๒๔๙๑) แม้พินยั กรรมของ บ. จะไมม่ ขี ้อความว่าพยานรับรองลายมอื ชือ่ ผ้ทู ำ�
พินัยกรรม แตก่ ป็ รากฏขอ้ ความว่า ผ้ทู �ำ พินัยกรรมไดล้ งลายมอื ชื่อไว้ตอ่ หน้าพยาน ดังน้ัน หากไม่มี
หลักฐานหรือมีผู้ใดโต้แย้งคัดค้านว่า ผู้ทำ�พินัยกรรมไม่ได้ลงลายมือชื่อไว้ต่อหน้าพยานและพยาน
ไมไ่ ดล้ งลายมอื ช่ือในขณะน้ัน ก็ไมม่ ีเหตทุ ี่พนักงานเจา้ หน้าทีจ่ ะยกเปน็ เหตขุ ัดขอ้ งทจ่ี ะไม่จดทะเบียน
ให้ตามพนิ ยั กรรมดงั กลา่ ว
๓. การที่  น.  ซ่ึงเป็นผู้รับมรดกตามพินัยกรรมได้ลงลายมือชื่อเป็นผู้เขียนพินัยกรรม
ข้อกำ�หนดในพินัยกรรมส่วนที่กำ�หนดให้ น. เป็นผู้รับทรัพย์มรดกย่อมเป็นโมฆะ ตามประมวล
กฎหมายแพง่ และพาณชิ ย ์ มาตรา ๑๖๕๓ วรรคหนง่ึ และ มาตรา ๑๗๐๕ แตข่ อ้ ก�ำ หนดในพนิ ยั กรรม
ส่วนที่เกี่ยวกับทายาทอื่นยังคงสมบูรณ์ใช้ได้อยู่  ไม่ตกเป็นโมฆะไปด้วย  (เทียบคำ�พิพากษาฎีกาท่ี
๓๐๖/๒๕๐๗)
๔. คู่สมรสของผู้เขียนหรือพยานในพินัยกรรมท่ีจะรับทรัพย์ตามพินัยกรรมไม่ได้ 
ตามประมวลกฎหมายแพง่ และพาณชิ ย์ มาตรา ๑๖๕๓ วรรคสอง หมายถงึ คสู่ มรสทช่ี อบดว้ ยกฎหมาย
ในขณะที่เจ้ามรดกทำ�พินัยกรรมเท่านั้น กรณีนี้ เมื่อข้อเท็จจริงปรากฏว่า ในขณะที่เจ้ามรดก
ท�ำ พนิ ัยกรรม ส. ยงั ไมไ่ ด้จดทะเบียนสมรสกบั ม. พยานในพนิ ัยกรรม ก็ยงั ถือไมไ่ ด้ว่า ส. เปน็ คู่สมรส

๓๗๑
ทีช่ อบดว้ ยกฎหมายของ ม. จงึ ไมต่ อ้ งห้าม ตามประมวลกฎหมายแพง่ และพาณชิ ย์ มาตรา ๑๖๕๓
จงึ ดำ�เนินการจดทะเบยี นโอนมรดกให้ผู้ขอต่อไปได้
๕. ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์  ไม่ได้จำ�กัดไว้ว่าพินัยกรรมจะทำ�เป็น
ภาษาอื่นนอกจากภาษาไทยไม่ได้  หากข้อความในหนังสือน้ันเป็นการกำ�หนดการเผ่ือตายในเร่ือง
ทรัพย์สิน หรือในการอน่ื ๆ เพ่ือให้มผี ลเม่อื ตนตายแล้ว กย็ ่อมจะถือเป็นพินัยกรรมได้
น. ได้ท�ำ เปน็ หนังสือภาษายาวี คณะกรรมการอิสลามประจำ�จงั หวดั ปตั ตานไี ดแ้ ปลเปน็
ภาษาไทยว่า “หนงั สือนาซาร์” ท�ำ ขึ้นเพ่ือเปน็ หลักฐานวา่ ได้ยกทรพั ยส์ นิ ให้แก่บคุ คลท่รี ะบชุ ือ่ ไว…้ …...
โดยผู้ทำ�หนังสือต้องการให้ทรัพย์สินตกเป็นกรรมสิทธิ์แก่ผู้รับก่อนวันที่ตนถึงแก่ความตาย  ๓  วัน
แต่การท่ีจะทราบว่ากรรมสิทธ์ิในทรัพย์สินตกเป็นของผู้รับในวันใดแน่นอนก็จะต้องมีความตายของ
ผู้ทำ�เกิดข้ึนเสียก่อน  แสดงว่าหนังสือน้ีจะมีผลเมื่อผู้ทำ�ตายแล้ว  จึงน่าจะถือได้ว่าข้อความดังกล่าว
เป็นการกำ�หนดการเผื่อตายในเรื่องทรัพย์สินอันมีผลเมื่อตนตายแล้ว  เข้าลักษณะเป็นพินัยกรรม
ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา ๑๖๔๖ หนังสือฉบับนี้ผู้ทำ�ได้ลงลายมือชื่อลงวัน
เดือน ปี ท่ที �ำ พรอ้ มท้งั มีพยานลงชื่อครบถ้วน ถูกต้องตามแบบพินัยกรรมธรรมดา ตามประมวล
กฎหมายแพ่งและพาณิชย์  มาตรา  ๑๖๕๖  ประกอบกับเคยมีคำ�พิพากษาฎีกาที่  ๑๗๖๙/๒๕๐๕
วินิจฉัยเกี่ยวกับหนังสือนาซาร์ไว้แล้วว่าเป็นพินัยกรรมตามกฎหมายอิสลาม  ไม่ใช่การยกให้  เพราะ
หนังสือน้ีมีผลเม่ือผู้ทำ�ตายแล้ว  แต่ไม่ใช่พินัยกรรมธรรมดาเพราะมีผลย้อนหลังไปถึงวันท่ีกำ�หนด
คอื ก่อนเจบ็ ตาย ๓ วนั ดังนนั้ จึงเห็นวา่ หนงั สือนาซาร์ของ น. เป็นพนิ ยั กรรมสมบรู ณต์ ามกฎหมาย
สามารถจดทะเบยี นโอนมรดกให้ผู้ขอได ้
๖. กรณีทดี่ ินตามพนิ ยั กรรมดังกลา่ วไมไ่ ดร้ ะบเุ ลขท่ีโฉนดทีด่ ิน แต่ก็ได้ระบุรายละเอยี ด
เก่ียวกับที่ดินว่ามีทิศใดติดต่อกับที่ดินของใครบ้างก็ย่อมจะสอบสวนได้ว่าเป็นที่ดินแปลงใด  ฉะนั้น
หากสอบสวนแล้วปรากฏว่าเป็นที่ดินแปลงเดียวกันกับที่ผู้รับพินัยกรรมนำ�มาขอจดทะเบียน  เช่น
ขา้ งเคียงถูกต้อง หรือที่ดินทเี่ ป็นท่ีนาในต�ำ บล อำ�เภอดังกล่าวของเจ้ามรดกมีเพยี งแปลงเดยี ว กช็ อบ
ที่จะด�ำ เนินการจดทะเบียนให้ผู้ขอตอ่ ไปได้
๗. ตามพินัยกรรมแบบเอกสารฝ่ายเมืองของ  ง.  ปรากฏว่าเจ้ามรดกทำ�พินัยกรรม
มีขอ้ ก�ำ หนดยกท่ดี ินพร้อมบ้านให้แก่ น. และ จ. คนละเทา่ กัน แม้ จ. จะลงลายมอื ชื่อเป็นพยาน
รับรองลายพมิ พน์ วิ้ มือของผู้จดั ทำ�พนิ ยั กรรมไวด้ ว้ ย แต่ในพินัยกรรรมฉบับดงั กลา่ วมีข้อความระบวุ ่า
ง. เจ้ามรดกได้ท�ำ พินัยกรรมต่อหน้าปลดั อ�ำ เภอ ป. กบั ร. พยาน แสดงวา่ จ. ไม่ใช่พยานในการท�ำ
พนิ ัยกรรม การท่ี จ. ลงลายมือชื่อเปน็ พยานรบั รองลายพิมพ์นวิ้ มอื ของผทู้ �ำ พินยั กรรม จึงถือไม่ไดว้ ่า
จ. ได้ลงลายมือชื่อเป็นพยานรับรองพินัยกรรม ไม่มีผลให้ข้อกำ�หนดในพินัยกรรมของ ง. ฉบับนี้
ในเรอ่ื งยกทรัพยม์ รดกใหแ้ ก่ จ. เป็นโมฆะ (เทยี บค�ำ พิพากษาฎกี า ท่ี ๔๐/๒๕๓๙)
๘. กรณีพินัยกรรมของ  ญ.  มีข้อความว่า  “เมื่อข้าฯ  ถึงแก่กรรมลง  ที่ดินพร้อม
ส่ิงปลูกสรา้ งของข้าฯ ขอยกให้แก่ พ. สามีแต่เพียงผู้เดียว หาก พ. ถงึ แก่กรรมก่อนขา้ ฯ และเมอ่ื ขา้ ฯ
ถึงแก่กรรมลงทรัพย์สินของข้าฯ ขอยกให้ น.” นั้น มีความหมายว่า ถ้า พ. สามีตายก่อน ญ.

๓๗๒
ทีด่ นิ พรอ้ มส่ิงปลูกสร้างใหต้ กแก่ น. แตถ่ ้า พ. สามตี ายหลงั ญ. ให้ พ. ไดม้ รดกดงั กลา่ วโดยเด็ดขาด
ไม่ให้ตกเป็นทรัพย์ของ น. ดังนี้ เมื่อ พ. ตายหลัง ญ. ทรัพย์มรดกดังกล่าวย่อมตกได้แก่ พ.
โดยสิ้นเชงิ นบั แต่ ญ. ผทู้ �ำ พนิ ยั กรรมถงึ แกก่ รรมเปน็ ตน้ ไป ตามประมวลกฎหมายแพง่ และพาณชิ ย์
มาตรา ๑๖๗๓ (ฎกี าท่ี ๑๖๑๙/๒๕๐๖) พ. ในฐานะผจู้ ดั การมรดกจงึ มหี นา้ ทท่ี �ำ การอนั จ�ำ เปน็ เพอ่ื
ให้การเป็นไปตามพินัยกรรมท่ีจะต้องโอนท่ีดินพร้อมส่ิงปลูกสร้างแก่ตนเอง  ในฐานะทายาทตาม
พนิ ยั กรรม ตามประมวลกฎหมายแพง่ และพาณชิ ย์ มาตรา ๑๗๑๙ และโดยท่ีการไดม้ าซงึ่ กรรมสิทธ์ิ
ในอสังหาริมทรัพย์โดยทางมรดกเป็นการได้มาโดยทางอื่นนอกจากนิติกรรม  หากยังมิได้จดทะเบียน
การไดม้ า  จะมกี ารเปลย่ี นแปลงทางทะเบยี นตอ่ ไปไมไ่ ด ้ ทง้ั น ้ี ตามประมวลกฎหมายแพง่ และพาณชิ ย์
มาตรา ๑๒๙๙ วรรคสอง ดังนั้น หาก พ. ประสงค์จะโอนที่ดินนั้นให้แก่ น. ก็ต้องขอรับมรดก
ใหป้ รากฏชอ่ื ของตนในทางทะเบยี นเสยี กอ่ น มฉิ ะนน้ั แลว้ พนกั งานเจา้ หนา้ ทย่ี อ่ มไมส่ ามารถจดทะเบยี น
โอนทดี่ นิ ใหแ้ ก่ น. ได้
๙. กรณีในพินยั กรรมของ ว. ลงวันที่ ๙ มกราคม ๒๕๔๕ ฉบบั ภาษาองั กฤษ ผทู้ ำ�
พินัยกรรมระบุในพินัยกรรมฉบับนี้ว่าเป็นพินัยกรรมฉบับสุดท้าย  และมีข้อกำ�หนดให้มีผลยกเลิก
พนิ ัยกรรมฉบบั ก่อนๆ ทีผ่ ู้ท�ำ พนิ ยั กรรมไดท้ �ำ ไว้ทั้งหมด ส่วนในพนิ ยั กรรมลงวนั ที่ ๙ มกราคม ๒๕๔๕
ฉบับภาษาไทย ผู้ทำ�พินัยกรรมมิได้ระบุเป็นพินัยกรรมฉบับสุดท้าย อันแสดงให้เห็นว่า ว. ได้ทำ�
พินัยกรรมฉบับภาษาไทยขึ้นก่อนพินัยกรรมฉบับภาษาอังกฤษ  เมื่อผู้ทำ�พินัยกรรมได้แสดงเจตนาไว้
ในพินยั กรรมภาษาอังกฤษดงั กล่าวยอ่ มมผี ลเปน็ การเพกิ ถอนพินยั กรรม ลงวนั ที่ ๙ มกราคม ๒๕๔๕
ฉบับภาษาไทยด้วย ส. จงึ มสี ทิ ธริ บั มรดกบ้านและท่ีดิน ซงึ่ เป็นท่ีต้งั บา้ นดงั กล่าว ตามข้อก�ำ หนดใน
พนิ ัยกรรมของ ว. ลงวันที่ ๙ มกราคม ๒๕๔๕ ฉบบั ภาษาอังกฤษ แตไ่ ม่มีสิทธริ ับมรดกหอ้ งแถวตามที่
ระบุไว้ในพินยั กรรมฉบบั ภาษาไทย และที่ดนิ ที่เปน็ ทต่ี ง้ั หอ้ งแถวดังกล่าว
๑๐. กรณี ส. ซึง่ เป็นผ้รู บั ทรพั ยม์ รดกตามพินยั กรรมเปน็ ผเู้ ขียนพนิ ยั กรรมดว้ ยตนเอง
ขอ้ กำ�หนดในพนิ ัยกรรมส่วนท่กี ำ�หนดให้ ส. เปน็ ผ้รู ับทรัพยม์ รดกย่อมเป็นโมฆะตามประมวลกฎหมาย
แพง่ และพาณชิ ย์ มาตรา ๑๖๕๓ วรรคแรก และมาตรา ๑๗๐๕ แตข่ ้อก�ำ หนดในพนิ ยั กรรมสว่ นที่
เกี่ยวกับทายาทอื่นยังสมบูรณ์ใช้ได้อยู่ไม่ตกเป็นโมฆะด้วย สำ�หรับมรดกส่วนที่ ส. จะได้รับตาม
พินัยกรรมน้ัน  เมื่อข้อกำ�หนดในพินัยกรรมเป็นโมฆะไปแล้วเช่นนี้มรดกในส่วนน้ีถ้าพินัยกรรมมิได้
กำ�หนดไว้ให้ตกเป็นของผู้ใด  ก็ย่อมตกแก่ทายาทโดยธรรม  ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
มาตรา ๑๖๙๙ ดังนัน้ หาก ส. ผู้เขียนพินยั กรรม และ ป. กับ ท. ผมู้ สี ทิ ธิไดร้ ับมรดกตามพินัยกรรม
เป็นทายาทโดยธรรมของเจ้าของมรดกแล้ว  บุคคลทั้งสามก็ย่อมมีสิทธิได้รับมรดกในส่วนน้ีร่วมกับ
ทายาทอน่ื ๆ (ถ้าม)ี ด้วย สำ�หรบั วธิ ีการจดทะเบยี นนั้น ด�ำ เนินการได้ดงั น้ี
๑) กรณที ท่ี ายาทผมู้ สี ทิ ธไิ ดร้ บั มรดกตามพนิ ยั กรรม และทายาทผมู้ สี ทิ ธไิ ดร้ บั มรดก
ในส่วนที่พินัยกรรมไร้ผลในฐานะทายาทโดยธรรมมาขอจดทะเบียนโอนมรดกในคราวเดียวกัน
ให้ทายาทผู้ขอย่ืนค�ำ ขอจดทะเบียนในฉบับเดยี วกนั และระบไุ ว้ในค�ำ ขอให้ชัดเจนถงึ ความเปน็ มาและ

๓๗๓
สทิ ธิในการขอรับมรดกของผขู้ อแต่ละคนวา่ ผขู้ อคนใดขอรับโอนมรดกตามพนิ ัยกรรมและผู้ขอคนใด
ขอรับโอนมรดกในส่วนท่ีพินัยกรรมไร้ผลในฐานะทายาทโดยธรรม  รวมทั้งระบุไว้ให้ชัดเจนในการ
ประกาศขอรับโอนมรดกด้วย แล้วจึงจดทะเบียนใหร้ บั มรดกรว่ มกันไปในคราวเดยี วกัน
๒) กรณที ท่ี ายาทผมู้ สี ทิ ธไิ ดร้ บั มรดกตามพนิ ยั กรรม และทายาทผมู้ สี ทิ ธไิ ดร้ บั มรดก
ในส่วนที่พินัยกรรมไร้ผลในฐานะทายาทโดยธรรม  มิได้มาขอจดทะเบียนโอนมรดกในคราวเดียวกัน
ก็ชอบท่จี ะด�ำ เนนิ การให้แกผ่ ขู้ อไปตามทีข่ อในแต่ละคราวได้
๑๑. พินัยกรรมที่มีเง่ือนไขให้ผู้รับพินัยกรรมจำ�หน่ายทรัพย์สินที่ยกให้โดยพินัยกรรมน้ัน
แกบ่ ุคคลอ่นื อันเป็นกรณตี ้องตามประมวลกฎหมายแพง่ และพาณิชย์ มาตรา ๑๗๐๗ ซ่ึงบัญญัติไวช้ ดั
แจง้ ว่า เงื่อนไขเช่นวา่ น้นั ให้ถือว่าเปน็ อันไม่มเี ลย ดังนั้น เมื่อ ท. ผ้จู ดั การมรดก พ. ยน่ื ค�ำ ขอโอนมรดก
ให้แก่ตนเองในฐานะทายาทซึ่งเป็นผู้มีสิทธิได้รับมรดกตามข้อกำ�หนดในพินัยกรรมนั้น  ก็ชอบที่จะ
จดทะเบียนโอนมรดกใหแ้ ก่ ท. ต่อไปได้ สว่ นเมือ่ ท. ไดร้ ับโอนมรดกแล้วจะโอนต่อให้ ส. หรือไม่นน้ั
ย่อมเป็นสทิ ธิของ ท.
๑๒. เมื่อขอ้ เทจ็ จรงิ ปรากฏว่า พินยั กรรมทผ่ี ู้ขออ้างเป็นพนิ ยั กรรมแบบผู้ทำ�พนิ ัยกรรม
เขยี นเองทง้ั ฉบบั ซง่ึ พนิ ยั กรรมแบบนก้ี ฎหมายบงั คบั วา่ ผเู้ ขยี นจะตอ้ งลง วนั เดอื น ป ี ทท่ี �ำ พนิ ยั กรรมไว้
ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณชิ ย์ มาตรา ๑๖๕๗ เม่อื ผทู้ ำ�พนิ ัยกรรมมไิ ด้ ลง วนั เดือน ปีทที่ �ำ
พนิ ัยกรรมทง้ั สองฉบับจึงตกเปน็ โมฆะ ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณชิ ย์ มาตรา ๑๗๐๕
โดยที่ขอ้ เทจ็ จริงตามทีป่ รากฏตามคำ�สั่งศาลต้ังผ้จู ดั การมรดก ส. ผจู้ ัดการมรดกก็เปน็
ทายาทโดยธรรมอยู่ด้วย กรณีนี้จึงควรให้พนักงานเจ้าหน้าที่สอบสวนว่า ส. เป็นทายาทโดยธรรม
มสี ทิ ธริ บั โอนมรดกของเจา้ มรดกรายนห้ี รอื ไม ่ ถา้ เปน็ ทายาทโดยธรรม ส. ผจู้ ดั การมรดกจะโอนมรดก
ท่ีดนิ ดงั กลา่ วให้แก่ ส. ในฐานะทายาทโดยธรรม ก็ด�ำ เนินการใหไ้ ด้
๑๓. กรณีพินัยกรรมได้ระบุยกที่ดินพร้อมส่ิงปลูกสร้างและบรรดาทรัพย์สินทั้งหมด
ให้ น. ก. และ ฉ. คนละหน่งึ ส่วนเท่าๆ กัน หากแปลความพินยั กรรมดังกลา่ วว่า เจา้ มรดกมีเจตนา
ยกทรพั ยส์ นิ ทกุ อยา่ งรวมถงึ ทด่ี นิ ใหแ้ กท่ กุ คนโดยใหท้ กุ คนมกี รรมสทิ ธใ์ิ นทรพั ยแ์ ตล่ ะอยา่ งคนละหนง่ึ สว่ น
เทา่ ๆ กนั แม้ผู้รับโอนมรดกจะมผี ู้เยาว์รวมอยดู่ ้วยกันกต็ าม ก็สามารถจะจดทะเบยี นบรรยายสว่ นได้
เพราะเปน็ การบรรยายสว่ นไปตามเจตนาของเจา้ มรดกทร่ี ะบใุ นพนิ ยั กรรม การบรรยายสว่ นมไิ ดท้ �ำ ให้
กรรมสทิ ธใ์ิ นทีด่ นิ ของผเู้ ยาว์เปลี่ยนแปลงไปแต่อย่างใด
แต่ในกรณีนี้  ถ้าพินัยกรรมได้ระบุไว้ดังกล่าว  แต่ไม่ได้เป็นการระบุเฉพาะเจาะจงว่า
จะตอ้ งโอนมรดกใหท้ ายาททกุ คนเปน็ ผถู้ อื กรรมสทิ ธร์ิ วมในทรพั ยส์ นิ ทกุ อยา่ งรว่ มกนั อยา่ งละเทา่ ๆ กนั
การแบง่ ปนั มรดก ผจู้ ดั การมรดกอาจใชด้ ลุ ยพนิ จิ แบง่ ปนั มรดกอยา่ งไรกไ็ ดโ้ ดยใหท้ ายาทไดร้ บั สว่ นแบง่
คดิ เปน็ มลู ค่าเทา่ ๆ กัน ถงึ แมจ้ ะจดทะเบียนโอนมรดกลงชอ่ื ทายาททั้ง ๓ คนเปน็ ผู้ถือกรรมสทิ ธใิ์ น
โฉนดที่ดิน  ผู้รับโอนมรดกแต่ละคนก็อาจได้กรรมสิทธิ์ในที่ดินไม่เท่ากันก็ได้  หากผู้จัดการมรดก
มเี จตนาจะแบง่ ปนั มรดกโดยใหท้ กุ คนมกี รรมสทิ ธใ์ิ นทด่ี นิ คนละเทา่ ๆ กนั กค็ วรจะตอ้ งมกี ารบรรยายสว่ น

๓๗๔
ไวใ้ นขณะทจ่ี ดทะเบยี นโอนมรดกดว้ ย เมอ่ื ผจู้ ดั การมรดกไดโ้ อนมรดกใหแ้ กผ่ รู้ บั พนิ ยั กรรมเรยี บรอ้ ยแลว้
ถือว่าการจัดการมรดกของผู้จัดการมรดกเสร็จสิ้นแล้ว  ผู้จัดการมรดกไม่อาจมาขอให้พนักงาน
เจ้าหน้าท่ีจดทะเบียนบรรยายส่วนที่ดินที่ได้จดทะเบียนโอนมรดกไปเสร็จสิ้นแล้วได้อีก  หากจะมีการ
บรรยายสว่ นกต็ อ้ งใหผ้ เู้ ปน็ เจา้ ของมายน่ื ค�ำ ขอบรรยายสว่ นรว่ มกนั แตโ่ ดยทก่ี ารบรรยายสว่ นเปน็ เรอ่ื ง
ที่ผู้เป็นเจ้าของรวมตกลงกันกำ�หนดส่วนที่ดินของแต่ละคน เพื่อให้ทราบว่าผู้ถือกรรมสิทธิ์รวม
แตล่ ะคนมีกรรมสิทธิ์คนละมากนอ้ ยเท่าใด อันถือว่าเป็นการระงบั ข้อพพิ าททอ่ี าจจะเกิดขึ้นในอนาคต
จึงถือเป็นสัญญาประนีประนอมยอมความ ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา ๘๕๐
ซึ่งในกรณที ี่เปน็ ทรัพย์สินของผเู้ ยาว ์ ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณชิ ย ์ มาตรา ๑๕๗๔ (๑๒)
บัญญัติว่า ผู้ใช้อำ�นาจปกครองจะกระทำ�มิได้ เว้นแต่ศาลจะอนุญาต พนักงานเจ้าหน้าที่จึงยังไม่อาจ
จดทะเบยี นบรรยายสว่ นใหต้ ามที่รอ้ งขอได้
๑๔. กรณพี นิ ัยกรรมของ ช. ระบุว่า “ขา้ ฯ มเี จตนาประสงคท์ จี่ ะยกทรัพยส์ นิ ทงั้ หมด
ของข้าฯ ใหแ้ ก่ บ. ซง่ึ เป็นภรรยาของข้าฯ และ ล. ซึ่งเปน็ มารดาของข้าฯ ขา้ ฯ ขอแต่งตง้ั ให้บคุ คล
ทงั้ สองเปน็ ผจู้ ดั การมรดกของข้าฯ และให้มสี ทิ ธิเท่าเทียมกนั ทกุ ประการ” มิได้กำ�หนดเจาะจงให้ บ.
และ ล. รบั ทรัพย์สนิ ท้งั หมดร่วมกนั อยา่ งเช่นเป็นเจา้ ของรวม แตก่ ำ�หนดวา่ ใหท้ รพั ย์สินทง้ั หมดตกเป็น
ของใครบา้ งเท่านน้ั จึงเปน็ พนิ ัยกรรมลักษณะทว่ั ไป ตามประมวลกฎหมายแพง่ และพาณิชย์ มาตรา
๑๖๕๑ (๑) ผู้จัดการมรดกย่อมมีสิทธิจัดแบ่งทรัพย์มรดกแก่ทายาทให้ได้รับส่วนแบ่งเท่าๆ กันได้
ไม่จำ�เป็นต้องโอนทรัพย์สินหรือที่ดินแต่ละแปลงให้แก่ทายาททุกคน  จะโอนให้แก่ทายาทคนใดนั้น
อยใู่ นความรบั ผดิ ชอบของผจู้ ดั การมรดก พนกั งานเจา้ หนา้ ทไ่ี มม่ หี นา้ ทจ่ี ะเขา้ ไปควบคมุ การจดั การมรดก
จะจัดแบ่งกันอย่างไร ใครได้เปรียบเสียเปรียบอย่างไร ดังนั้น บ. และ ล. ในฐานะผู้จัดการมรดก
ของ ช. จงึ มอี �ำ นาจทจ่ี ะทำ�การโอนมรดกที่ดนิ ให้แก่ ล. ทายาทโดยธรรมรับไปแต่ผเู้ ดยี วได้
๑๕. พินัยกรรมแบบทำ�ด้วยวาจาของนางสาวดาว  ตามคำ�บอกกล่าวของนายหนึ่งและ
นายสอง พยานผู้รบั ค�ำ ส่งั จากเจ้ามรดก โดยข้อความในพนิ ัยกรรมระบใุ ห้ท่ีดินเลขที่ ๑๑๑ พรอ้ ม
บา้ นเลขท่ี ๑ ตกไดแ้ กน่ ายหนง่ึ และนายหนง่ึ ไดล้ งลายมอื ชอ่ื เปน็ พยานผรู้ บั ค�ำ สง่ั จากผทู้ �ำ พนิ ยั กรรม
ในพนิ ยั กรรม ตามมาตรา ๑๖๖๓ แห่งประมวลกฎหมายแพง่ และพาณิชย์ ขอ้ ก�ำ หนดท่ีใหท้ รพั ยส์ นิ
ตามพินัยกรรมตกไดแ้ ก่นายหน่ึงพยานในพินยั กรรม จึงเปน็ โมฆะตามมาตรา ๑๗๐๕ แห่งประมวล
กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ พนักงานเจ้าหน้าที่จึงไม่สามารถจดทะเบียนโอนมรดกที่ดินแก่นายหนึ่ง
ในฐานะผรู้ บั ทรพั ยม์ รดกตามขอ้ ก�ำ หนดในพนิ ยั กรรมแบบท�ำ ดว้ ยวาจาได ้ เพราะตอ้ งหา้ มตามประมวล
กฎหมายแพง่ และพาณิชย์ มาตรา ๑๖๕๓ และประมวลกฎหมายทีด่ ิน มาตรา ๗๓
๑๖. พินัยกรรมแปลความได้ว่า ผู้ทำ�พินัยกรรมมีเจตนายกทรัพย์สินที่มีอยู่ทั้งในขณะนี้
และในภายหน้าใหเ้ ปน็ กรรมสิทธขิ์ องนายดำ� นายขาว นายแดง คนละเท่าๆ กนั มิไดก้ ำ�หนดเจาะจง
ให้บุคคลใดได้รับทรัพย์สินเฉพาะสิ่งเฉพาะอย่างหรือให้ได้รับทรัพย์สินท้ังหมดร่วมกันอย่างเช่นเป็น
เจา้ ของรวม จงึ เปน็ พนิ ยั กรรมลกั ษณะทว่ั ไป ตามมาตรา ๑๖๕๑ (๑) แหง่ ประมวลกฎหมายแพง่ และ

๓๗๕

พาณชิ ย์ ผูท้ ำ�พนิ ัยกรรมมีเจตนาเพยี งตอ้ งการแจกแจงรายละเอียดเป็นข้อๆ ไว้ในพนิ ัยกรรม เพอ่ื ให้
ผู้รับพินัยกรรมทราบว่าที่ดินเฉพาะส่วนของผู้ทำ�พินัยกรรมท่ีจะตกได้แก่ผู้รับพินัยกรรมมีจำ�นวน
เท่าไร  ท่ีดินตามพินัยกรรมจึงมิใช่ทรัพย์สินเฉพาะสิ่งเฉพาะอย่างซ่ึงเจาะจงไว้โดยเฉพาะ  หรือแยก
ตา่ งหากเปน็ พเิ ศษจากกองมรดก แตเ่ ป็นทรพั ย์สนิ ซึ่งรวมอยู่ในทรัพยส์ ินทงั้ หมดที่จะตกไดแ้ กน่ ายดำ�
นายขาว และนายแดง คนละเท่าๆ กัน ดงั น้ัน ผู้รับพินยั กรรมท่ีดินดงั กลา่ วจงึ มใิ ช่ผู้รับพนิ ยั กรรม
ลักษณะเฉพาะ  แต่เป็นผู้รับพินัยกรรมลักษณะทั่วไป  ซึ่งการจัดการแบ่งทรัพย์มรดกโดยพินัยกรรม
ลักษณะทั่วไป กรมที่ดินเคยตอบข้อหารือจังหวัดชลบุรี และเวียนให้เจ้าหน้าที่ทราบและถือปฏิบัติ
ตามหนงั สอื กรมท่ีดิน ท่ี มท ๐๖๑๒/๑/ว ๐๒๑๖๖๕ ลงวนั ท่ี ๒๐ สงิ หาคม ๒๕๑๘ ว่าเหมอื นกบั
การจดั แบง่ มรดกแกท่ ายาทโดยธรรม ผู้จดั การมรดกยอ่ มทีจ่ ะใช้ดุลยพินจิ ของตนเองได้วา่ จะจัดการ
แบ่งปนั ทรพั ยม์ รดกอย่างไร จงึ จะให้ทายาทไดร้ ับสว่ นแบง่ เทา่ ๆ กนั ไมจ่ �ำ เป็นวา่ ผจู้ ัดการมรดกจะ
ต้องโอนทรัพย์สินหรือที่ดินแต่ละแปลงให้แก่ทายาทตามพินัยกรรมทุกคนรับร่วมกันไป  อำ�นาจของ
ผู้จัดการมรดกท่ีจะโอนมรดกท่ีดินแปลงใดให้แก่ทายาทคนใดนั้นอยู่ในความรับผิดชอบของผู้จัดการ
มรดก ผจู้ ดั การมรดกจงึ สามารถขอจดทะเบยี นโอนมรดกทด่ี นิ แปลง ข. ตามพนิ ยั กรรมใหแ้ กน่ ายขาว
เพยี งคนเดยี วได ้ (ปจั จุบนั ก�ำ หนดไว้ในข้อ ๔๙ แห่งระเบียบกรมทีด่ ิน วา่ ด้วยการจดทะเบียนสทิ ธิ
เกย่ี วกบั อสงั หาริมทรพั ย์ซึ่งได้มาโดยทางมรดก พ.ศ. ๒๕๔๘)
๑๗. มาตรา ๓๑ วรรคสอง แหง่ ประมวลกฎหมายทด่ี นิ ก�ำ หนดใหท้ ด่ี นิ ทไ่ี ดอ้ อกสบื เนอ่ื ง
มาจากใบจองซง่ึ ตอ้ งตกอยใู่ นบงั คบั หา้ มโอนสามารถตกทอดไดท้ างมรดก ค�ำ วา่ “ตกทอดทางมรดก” น้ี
หมายรวมถึงตกทอดทางมรดกแก่ทายาทตามพินัยกรรมด้วย  เน่ืองจากการตกทอดทางมรดกตามที่
บญั ญัตไิ ว้ในประมวลกฎหมายท่ดี นิ มาตรา ๓๑ ดังกล่าว หมายถึงการตกทอดทางมรดกทัง้ แกท่ ายาท
โดยธรรม และผู้รบั พินัยกรรม ตามนัยมาตรา ๑๖๐๓ แหง่ ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย ์ เพราะ
ถา้ หากบทบญั ญตั มิ าตรา ๓๑ มเี จตนาทจ่ี ะให ้ “การตกทอดทางมรดก” มคี วามหมายผดิ แผกแตกตา่ ง
ไปจากบทบัญญตั ิท่วั ไปแหง่ ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชยแ์ ลว้ ก็น่าจะบัญญัติไว้ใหช้ ัดเจนดังเชน่
มาตรา ๙๓ ที่ก�ำ หนดใหค้ นต่างดา้ วไดม้ าซง่ึ ที่ดนิ โดยได้รบั มรดกในฐานะทเ่ี ปน็ ทายาทโดยธรรม (แต่
กรณีนี้ต้องสอบสวนข้อเท็จจริงกับเจตนาทำ�นิติกรรมด้วยว่า  มีเจตนาหลบเล่ียงกฎหมายในลักษณะ
การโอนที่หลีกเลย่ี งการซอ้ื ขายระหว่างหา้ มโอน ซง่ึ ตอ้ งหา้ มตามกฎหมายหรือไม่ พนักงานเจ้าหนา้ ที่
จงึ ตอ้ งสอบสวนให้ชดั เจนถึงเจตนาตามพนิ ยั กรรมวา่ เกยี่ วขอ้ งอยา่ งไรกบั เจ้ามรดกประกอบดว้ ย)
l คำ�พิพากษาฎกี าทเ่ี กยี่ วกบั มรดก
๑. คำ�พิพากษาฎีกาที่  ๔๓๙/๒๔๗๙  พระภิกษุถึงแก่มรณภาพโดยไม่มีพินัยกรรม
ก่อนท่ีมรดกจะตกเป็นของวัดจะต้องใช้หนี้แก่เจ้าหน้ีของพระภิกษุผู้มรณภาพเสียให้ส้ินเชิงก่อน
เพราะมรดกจะตกเปน็ ของสงฆ์ตอ่ เมื่อได้ช�ำ ระหนี้สินของพระภิกษุผูม้ รณภาพเสียก่อน…………
๒. คำ�พิพากษาฎีกาที่ ๕๘/๒๔๙๑ บุตรบุญธรรมจะมีสิทธิรับมรดกของผู้รับ
บตุ รบุญธรรมได้กต็ ่อเมือ่ ได้จดทะเบียนการรบั บุตรบญุ ธรรมไวแ้ ลว้ กอ่ นเจา้ มรดกตาย………….

๓๗๖
๓. คำ�พิพากษาฎีกาท่ี  ๒๑๐/๒๔๙๑  ในกรณีท่ีศาลพิพากษารับรองว่าเป็นบุตรนั้น
มีผลนับแต่วนั คำ�พพิ ากษาถงึ ท่สี ุด
ศาลพิพากษารับรองว่าเป็นบุตรภายหลังที่บิดาตายแล้วย่อมไม่มีสิทธิได้รับมรดกของ
บิดา………
๔. ค�ำ พพิ ากษาฎีกาที ่ ๙๔๔/๒๔๙๑ นา้ หรืออาซง่ึ เป็นญาตใิ นล�ำ ดบั ๖ น้ัน มไิ ดแ้ ยก
เปน็ ญาตชิ ิดหรือหา่ งดังญาติในลำ�ดับ ๓ หรือ ๔ แมเ้ ป็นอาหรือน้าที่ร่วมบดิ าหรือมารดาอยา่ งเดียวกบั
บดิ าหรอื มารดาของเจา้ มรดก กค็ งมสี ทิ ธไิ ด้รับมรดกอยา่ งเดียวกบั ผ้ทู ่รี ่วมท้งั บิดามารดาเดยี วกัน
ญาตใิ นล�ำ ดับ ๖ แห่งมาตรา ๑๖๒๙ ย่อมรบั มรดกแทนทกี่ ันได ้ ตามมาตรา ๑๖๓๙
๕. คำ�พิพากษาฎีกาที่ ๓๗๒/๒๔๙๒ น้าของเจ้ามรดกเป็นทายาทของเจ้ามรดก
ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา ๑๖๒๙ (๖) อยู่แล้ว แม้จะตายไปก่อนเจ้ามรดก
ผู้สืบสันดานของเขาย่อมมสี ิทธิรับมรดกแทนที่ตามมาตรา ๑๖๓๙ โดยตรง
๖. คำ�พิพากษาฎีกาที่  ๘๐๙/๒๔๙๒  ภรรยาได้ประกาศรับมรดกท่ีดินของสามีแล้ว
โอนขายใหบ้ ุคคลอืน่ แม้จะปรากฏวา่ ภรรยามไิ ด้จดทะเบียนสมรสกด็ ี แต่ได้มกี ารไหว้ผีตามประเพณี
และอยรู่ ว่ มกนั โดยเปิดเผย จนมบี ุตรด้วยกนั ๓ คน การที่โอนขายให้แก่บคุ คลผ้นู ั้น กเ็ น่ืองจากสัญญา
เดิมที่สามไี ด้ท�ำ ไว้ ซึง่ เป็นการชอบดว้ ยศีลธรรม เมือ่ ภรรยามาประกาศรบั มรดก โจทก์ก็ไมม่ าคัดค้าน
ปลอ่ ยใหภ้ รรยารบั มรดกมาโอนขายแกบ่ ุคคลผู้น้นั ผ้นู ัน้ รับซือ้ ไว้โดยสจุ รติ และเสียค่าตอบแทน โจทก์
จึงขอให้เพิกถอนนิติกรรม ดงั นี้ ยอ่ มได้ช่ือว่า โจทกใ์ ชส้ ทิ ธิโดยไมส่ ุจริตตามประมวลกฎหมายแพง่ และ
พาณชิ ย์ มาตรา ๕ จะมาขอให้เพกิ ถอนนติ กิ รรมนน้ั ไม่ได้
๗. ค�ำ พิพากษาฎีกาท่ี ๘๑๕/๒๔๙๒ เจา้ มรดกทำ�พินัยกรรมมีความวา่ เมือ่ ตนถงึ แก่
ความตายแล้ว ขอยกทรพั ย์มรดกสมบัตใิ หแ้ ก่ ร. และ ส. โดยใหค้ นละคร่งึ เทา่ ๆ กัน ผู้อน่ื จะเรียกรอ้ ง
ขอแบ่งปนั ทรัพย์ของตนไมไ่ ด้ ปรากฏวา่ ร. ถึงแกค่ วามตายก่อนเจา้ มรดก ข้อกำ�หนดในพินัยกรรม
ทยี่ กให้ ร. จงึ เป็นอันตกไป ตามประมวลกฎหมายแพง่ และพาณิชย์ มาตรา ๑๖๙๘ (๑) และต้อง
บังคับตามมาตรา ๑๖๙๙ ประกอบกบั มาตรา ๑๖๒๐ วรรคสอง คอื เม่ือเจ้ามรดกมที ายาทโดยธรรม
ก็ตกทอดแก่ทายาทโดยธรรมของเจ้ามรดก การรับมรดกแทนท่ตี ามมาตรา ๑๖๔๒ ใหใ้ ช้แต่เฉพาะใน
ระหว่างทายาทโดยธรรม ไมร่ วมถงึ ผรู้ บั พินัยกรรม
๘. ค�ำ พพิ ากษาฎกี าที่ ๔๔๖/๒๔๙๓ บตุ รนอกกฎหมาย ซง่ึ มีหลกั ฐานฟังไดว้ ่าบิดา
ได้รับรองว่าเป็นบุตรนั้น ย่อมมีสิทธิรับมรดกของบิดา ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
มาตรา ๑๖๒๗
๙. คำ�พิพากษาฎีกาที่ ๑๕๗๔/๒๔๙๓ ชายมีภรรยาอยู่แล้วตั้งแต่ก่อนใช้ประมวล
กฎหมายแพง่ และพาณชิ ย์ บรรพ ๕ ครน้ั เมอ่ื ใชป้ ระมวลกฎหมายแพง่ และพาณชิ ย์ บรรพ ๕ แลว้ มี
ภรรยาอกี คนหนง่ึ แมจ้ ะไดท้ ะเบยี นสมรสกบั ภรรยาคนหลงั น้ี การสมรสนน้ั กเ็ ปน็ โมฆะ ภรรยาคนหลงั
จึงไมม่ สี ิทธไิ ด้รับมรดกของชายผูเ้ ป็นสามี

๓๗๗
๑๐. คำ�พิพากษาฎกี าที่ ๒๐๕/๒๔๙๔ บตุ รนอกกฎหมายทบ่ี ิดารบั รองแลว้ ไมจ่ ำ�เป็น
ต้องเป็นการรับรองในทางจดทะเบียนรับรองบุตร  การรับรองโดยกิริยาความประพฤติเป็นที่เปิดเผย
ก็ยอ่ มเพยี งพอใหบ้ ุตรนอกกฎหมายนั้นมสี ทิ ธริ ับมรดกเหมือนกบั บตุ รทีช่ อบดว้ ยกฎหมายได้
๑๑. คำ�พิพากษาฎีกาที่ ๒๘๘/๒๔๙๔ ผู้รับพินัยกรรมคนหนึ่งทำ�หนังสือยอม
มอบสิทธิการรับมรดกของตนตามพินัยกรรมซ่ึงมรดกนั้นตกอยู่กับจำ�เลยให้แก่โจทก์ผู้รับพินัยกรรม
อีกคนหนง่ึ ดังนี้ มิใช่เปน็ การสละมรดก การโอนสิทธเิ ชน่ นี้ย่อมใชไ้ ด้ โจทก์ผรู้ บั โอนยอ่ มมีสิทธฟิ ้อง
เรียกมรดกสว่ นทีโ่ อนนน้ั จากจ�ำ เลยผู้ยดึ ถอื ทรัพย์มรดกนั้นอยู่ได้
๑๒. คำ�พิพากษาฎีกาที่ ๒๙๐/๒๔๙๔ บุตรบุญธรรมนั้น ตามประมวลกฎหมายแพ่ง
และพาณิชย์ มาตรา ๑๖๒๗ ให้ถอื เปน็ ผสู้ ืบสนั ดานเหมือนบุตรทช่ี อบดว้ ยกฎหมาย จึงเป็นทายาทโดย
ธรรมอันดบั ๑ ตามความในมาตรา ๑๖๒๙ เมอ่ื บุตรบุญธรรมตายกอ่ นผ้รู บั บตุ รบุญธรรม บตุ รของ
บุตรบุญธรรมยอ่ มมีสิทธริ ับมรดกแทนกนั ไดต้ ามสิทธิท่กี ฎหมายให้ไว้ตามมาตรา ๑๖๓๙
๑๓. คำ�พิพากษาฎีกาที่ ๘๗๐/๒๔๙๔ ย่าของโจทก์เป็นป้าผู้ตาย เมื่อผู้ตายไม่มี
ทายาทในอันดับ ๑ ถึง ๕ และไมม่ ีผู้รับมรดกแทนทแ่ี ลว้ ยา่ ของโจทก์เปน็ ป้าผตู้ ายยอ่ มเป็นทายาท
(อนั ดบั ท่ี ๖) ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา ๑๖๒๙ มสี ิทธไิ ด้รบั มรดกผตู้ าย และ
เมื่อย่าของโจทก์และบิดาของโจทก์ตายแล้ว  โจทก์ก็ย่อมมีสิทธิได้รับมรดกแทนที่  ดังที่บัญญัติไว้ใน
ประมวลกฎหมายแพง่ และพาณิชย์ มาตรา ๑๖๓๙
๑๔. คำ�พิพากษาฎีกาที่ ๑๑๕๑ - ๑๑๕๓/๒๔๙๔ บุตรที่เกิดจากมารดาซึ่งมิได้
จดทะเบยี นสมรสกบั บดิ านน้ั เมอ่ื บดิ าไดไ้ ปแจง้ ใหอ้ �ำ เภอลงทะเบยี นส�ำ มะโนครวั วา่ เดก็ นน้ั เปน็ บตุ รตน
และอยู่กับตนน้ันย่อมเป็นการเพียงพอท่ีจะฟังว่าบิดาได้รับรองแล้วว่าเด็กน้ันเป็นบุตรของเขา  และ
บุตรนอกกฎหมายที่บิดารับรองแล้ว เช่นนี้ ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา ๑๖๒๗
ใหถ้ ือว่าเป็นผู้สบื สันดานเหมือนบตุ รที่ชอบดว้ ยกฎหมาย……….
๑๕. คำ�พิพากษาฎีกาที่ ๑๕๘๐/๒๔๙๔ บุตรที่เกิดในระหว่างที่บิดามารดาสมรส
อยู่กินด้วยกันฉันสามีภริยา และจดทะเบียนสมรสกันแล้ว จนกระทั่งบิดาถึงแก่กรรม แล้วจึงมี
ค�ำ พพิ ากษาชข้ี าดวา่ การจดทะเบยี นสมรสระหวา่ งบดิ ามารดานน้ั ไมช่ อบดว้ ยกฎหมาย  เพราะขณะนน้ั
บิดายังมีภรรยาเดิมอยู่มิได้หย่าขาดกัน  ดังนี้  ก็ต้องถือว่าบุตรน้ันเป็นบุตรท่ีชอบด้วยกฎหมายของ
บดิ ามารดาตลอดมา และมสี ิทธิได้รบั มรดกของบิดา
๑๖. คำ�พิพากษาฎีกาที่ ๑๗๔๙/๒๔๙๔ ทายาทด้วยกันต่างโต้แย้งคัดค้านการ
ประกาศรับมรดกท่ีดินซ่ึงกันและกัน  เจ้าพนักงานท่ีดินจึงเปรียบเทียบซ่ึงเป็นการปฏิบัติการตาม
พระราชบัญญัติการออกโฉนดที่ดิน  ร.ศ. ๑๒๗  มาตรา  ๕๒  โดยสั่งให้ลงช่ือทายาทบางคนลงใน
โฉนดแปลงหน่ึง และสง่ั ใหล้ งชอ่ื ทายาทอื่นลงในโฉนดอีกแปลงหนง่ึ และใหฝ้ ่ายทีไ่ มพ่ อใจไปฟ้องศาล
ภายใน ๓๐ วนั เม่อื ถึงกำ�หนดไม่มีใครไปฟอ้ งรอ้ งเจา้ พนกั งานท่ีดนิ จงึ ได้ลงช่ือทายาทในโฉนดตาม
ที่สั่งแล้วนั้น  ดังนี้  จะถือว่าทายาทคนที่ไม่ถูกลงชื่อในโฉนดได้สละมรดกส่วนของตนในโฉนดนั้นยัง

๓๗๘
ไม่ได้และจะว่าเป็นการประนีประนอมยอมความก็ไม่ได้  ทายาทผู้ไม่ลงชื่อในโฉนดนั้นย่อมมีสิทธิฟ้อง
ขอแบง่ ที่ดินต่อศาลได้ภายในอายคุ วาม
๑๗. คำ�พพิ ากษาฎีกาท่ี ๙๑๙/๒๔๙๕ เม่อื เจา้ มรดกถึงแกก่ รรม สทิ ธใิ นทางทรัพย์สนิ
ของผู้ตายย่อมตกทอดไปยังทายาททันที  ซ่ึงย่อมรวมตลอดทั้งสิทธิไถ่ถอนทรัพย์สินที่ขายฝากด้วย
ฉะนั้น ทายาทจงึ มีสทิ ธทิ ี่จะไถถ่ อนทรัพยส์ นิ ทผี่ ้ตู ายขายฝากไว้ได้ โดยไมต่ ้องรอใหร้ ับโอนมรดกก่อน
๑๘. ค�ำ พิพากษาฎกี าท่ี ๑๒๖๕/๒๔๙๕ พระภิกษมุ รณภาพในขณะท่เี ปน็ พระภิกษุอยู่
โดยมิได้ทำ�พินัยกรรมยกทรัพยม์ รดกใหใ้ คร มรดกของพระภิกษุนนั้ ย่อมตกไดแ้ กว่ ดั ทพ่ี ระภิกษุน้ันอย ู่
แม้ทายาทจะครอบครองท่ีดินมรดกของพระภิกษุนั้นเกิน ๑๐ ปี นับแตว่ นั มรณภาพ ทายาทนั้นก็จะ
เอาท่ีดินมรดกนนั้ ไมไ่ ด้ เพราะที่ดนิ มรดกน้นั เป็นของวัด จะใชอ้ ายุความ ๑๐ ปี ยันวัดให้เสยี สทิ ธิ
หาได้ไม่
๑๙. คำ�พพิ ากษาฎีกาที่ ๓๒๐/๒๔๙๖ เด็กเกดิ เมอ่ื บิดาตายไปแล้ว ไม่มโี อกาสที่บิดา
จะรบั รองว่าเปน็ บุตรได้ จงึ ไมม่ ที างทจ่ี ะเป็นทายาทตามมาตรา ๑๖๒๗ แหง่ ประมวลกฎหมายแพง่
และพาณชิ ย์
๒๐. คำ�พิพากษาฎีกาที่  ๕๕๑/๒๔๙๗  เมื่อปรากฏมีทายาทอันดับแรกตามประมวล
กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา ๑๖๒๙ แล้ว ทายาททอ่ี ยู่ในล�ำ ดับถดั ลงไป ก็ไมม่ ีสทิ ธใิ นทรพั ย์
มรดกของผ้ตู ายตามมาตรา ๑๖๓๐ วรรคแรก
บดิ าได้เลีย้ งดบู ุตรตลอดมา แสดงว่าไดร้ บั รองเดก็ น้ันเปน็ บตุ รของตน เดก็ น้ันจึงมีสทิ ธิ
ได้รับมรดกของบิดาในฐานะผู้สืบสันดาน ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา ๑๖๒๗
และ ๑๖๒๙ (๑) โจทก์ซึ่งเป็นทายาทในลำ�ดับถัดลงไป จึงไม่มีสิทธิในทรัพย์มรดกของผู้ตายตาม
มาตรา ๑๖๓๐ วรรคแรก
๒๑. คำ�พิพากษาฎีกาท่ี  ๖๔๘/๒๔๙๗  ภรรยาไม่มีสิทธิรับมรดกแทนที่สามีซ่ึงถึงแก่
ความตาย เพราะมิใชผ่ ้สู ืบสันดาน
๒๒. คำ�พิพากษาฎีกาที่ ๘๐๕/๒๔๙๗ การสละสิทธิการรับมรดก ถึงแม้ต้องแสดง
เจตนาชัดแจ้งเป็นหนังสือหรือทำ�เป็นสัญญาประนีประนอมยอมความก็ตาม  แต่ทายาทคนหน่ึง
ยินยอมให้ผู้อื่นลงชื่อรับมรดกในโฉนดท่ีดินรวมทั้งส่วนของตนด้วย  ถือได้ว่าผู้มีชื่อในโฉนดย่อมได้รับ
กรรมสิทธ์โิ ดยสมบูรณต์ ามกฎหมายแล้ว จะมาร้องขอให้เพิกถอนหาไดไ้ ม่
๒๓. ค�ำ พพิ ากษาฎกี าท ่ี ๙๓๐/๒๔๙๗ …..ค�ำ สง่ั ศาลวา่ เปน็ บตุ รโดยชอบดว้ ยกฎหมายนน้ั
มีผลตั้งแต่วันที่คดีถึงที่สุด  แต่ทรัพย์มรดกย่อมตกทอดแก่ทายาทโดยทันทีที่เจ้ามรดกตาย  ฉะน้ัน
เมอ่ื ศาลสง่ั วา่ โจทกเ์ ปน็ บตุ รโดยชอบดว้ ยกฎหมายภายหลงั เจา้ มรดกตายแลว้ ไมม่ ที รพั ยม์ รดกเหลอื อยู่
โจทก์ก็ไม่มที างได้รับส่วนแบง่
๒๔. คำ�พพิ ากษาฎีกาท่ี ๑๑๖๐/๒๔๙๗ พนิ ัยกรรมข้อ ๓ ระบทุ ี่ดินแปลงหน่ึงใหต้ ก
ได้แก่ น. ขอ้ ๔ ระบุทรัพยน์ อกจากทีร่ ะบุในข้อ ๓ ใหต้ กได้แก่ ก. ข. ค. น. ฯลฯ น. ตายกอ่ นผู้ทำ�

๓๗๙
พินัยกรรม ท่ดี นิ ตามข้อ ๓ และสว่ นของ น. ในพนิ ัยกรรมข้อ ๔ ตอ้ งตกเปน็ มรดกแกท่ ายาทโดยธรรม
(ท่ไี มถ่ กู ตัดมรดก) ไมเ่ อาไปรวมแบ่งให้ ก. ข. ค. ฯลฯ ตามพนิ ัยกรรมข้อ ๔
๒๕. คำ�พิพากษาฎีกาที่  ๑๕๐๓/๒๔๙๗  บุตรเกิดจากบิดามารดาแต่งงานอยู่กินกัน
หลายปโี ดยไมจ่ ดทะเบยี น บดิ าไปแจง้ ทะเบยี นคนเกดิ วา่ เปน็ บตุ รเกดิ แตบ่ ดิ า แตอ่ ยดู่ ว้ ยกนั จนบดิ าตาย
เป็นบุตรนอกกฎหมายที่บิดารับรองแล้ว ตามมาตรา ๑๖๒๗ และเป็นทายาทอันดับ ๑ ตัดโจทก์
ซง่ึ เปน็ ญาติหา่ งกว่าออกไปจากกองมรดก โจทกจ์ งึ ไมส่ ิทธริ บั มรดกรายนี้
๒๖. ค�ำ พพิ ากษาฎกี าท ่ี ๔๗๘/๒๕๐๑ พนิ ยั กรรมยกทรพั ยใ์ หท้ ายาท ๕ คน โดยระบุ
ทรพั ยเ์ ป็นรายๆ สว่ นทีเ่ หลือระบใุ ห้ไดแ้ ก่ ๒ คนใน ๕ คนนัน้ ด้วย ถ้าทายาทคนหนง่ึ ตายก่อนผูท้ �ำ
พนิ ยั กรรม สว่ นของทายาททต่ี ายน้ีตกได้แกท่ ายาทโดยธรรม ซง่ึ รวมอย่ใู น ๕ คนน้นั ด้วย ไม่ตกไดแ้ ก่
ทายาททร่ี ะบใุ หไ้ ดท้ รพั ยส์ ว่ นทเ่ี หลอื จากยกใหผ้ อู้ น่ื เพราะทรพั ยน์ น้ั ไดร้ ะบใุ หผ้ รู้ บั พนิ ยั กรรมคนหนง่ึ แลว้
แตต่ ายไปเสยี ก่อนผู้ทำ�พนิ ัยกรรมเท่านนั้
๒๗. คำ�พิพากษาฎีกาท่ี  ๓๔๑/๒๕๐๒  บุตรนอกกฎหมายท่ีบิดารับรองตามมาตรา
๑๖๒๗ นั้น ย่อมหมายถงึ ทารกท่ีอยใู่ นครรภ์มารดาขณะที่บิดาตาย มสี ิทธเิ ป็นทายาทได้ ถา้ หาก
ภายหลังไดเ้ กิดมารอดอยแู่ ละโดยมพี ฤตกิ ารณท์ ่ีบดิ ารับรองทารกในครรภ์วา่ เปน็ บุตรตน
๒๘. คำ�พิพากษาฎีกาที่  ๙๘/๒๕๐๓  การประกาศขอรับมรดกท่ีดิน  (มีโฉนด)  ของ
ผู้วายชนม์นั้น  แม้ทายาทอ่ืนจะทราบประกาศแล้วไม่ไปคัดค้านเสียภายในกำ�หนดก็ดี  ก็ไม่ตัดสิทธิ
ทายาทนั้นท่ีจะฟ้องขอแบ่งมรดกรายนี้ตามประกาศนั้น  เพราะไม่มีกฎหมายห้ามว่าไม่คัดค้านการ
ประกาศรับมรดกเชน่ คดีน้แี ล้วฟ้องไม่ได้
๒๙. ค�ำ พพิ ากษาฎกี าท่ี ๔๖๖/๒๕๐๕ การสละมรดกกอ่ นเจา้ มรดกถงึ แกก่ รรมเปน็ การ
ขดั กบั ประมวลกฎหมายแพง่ และพาณชิ ย์ มาตรา ๑๖๑๙ ยอ่ มเสยี ไปและไมม่ ที างแสดงเจตนาใหก้ ลบั
มีผลขึ้นได้อีกแต่อย่างไร  ถ้าหากภายหลังที่เจ้ามรดกถึงแก่กรรมแล้วยังมีความตั้งใจสละมรดกอยู่
เชน่ เดมิ กต็ อ้ งมกี ารแสดงเจตนาใหมใ่ หถ้ กู ตอ้ งตามวธิ กี าร ตามมาตรา ๑๖๑๒ อกี ชน้ั หนง่ึ จงึ จะผกู พนั
๓๐. ค�ำ พพิ ากษาฎกี าท่ี ๔๘๙/๒๕๐๖ ทารกทอ่ี ยใู่ นครรภม์ ารดาขณะทบ่ี ดิ าตายมสี ทิ ธ ิ
เป็นทายาทได้  ถ้าหากภายหลังได้เกิดมารอดอยู่และโดยมีพฤติการณ์ท่ีบิดารับรองทารกในครรภ์ว่า
เปน็ บตุ รตน…..
๓๑. คำ�พิพากษาฎีกาท่ี  ๕๐๐/๒๕๐๖  จำ�เลยไปยื่นคำ�ขอรับมรดกที่ดินของพ่ีชาย
ณ หอทะเบยี น โจทกซ์ ึง่ เป็นนอ้ งตา่ งบดิ าคดั คา้ น ภายหลังโจทก์จำ�เลยตกลงกัน โดยจ�ำ เลยยอมแบ่ง
ท่ีบ้านให้โจทก์คร่ึงหน่ึง  ส่วนท่ีนาโจทก์ไม่เกี่ยวข้อง  ดังนี้  การท่ีโจทก์ลงช่ือขอถอนคำ�คัดค้านโดย
เจ้าพนักงานทดี่ นิ บนั ทึกไว้ว่า โจทก์ไม่ตดิ ใจเกีย่ วกบั ทีพ่ พิ าท ยอมให้จ�ำ เลยรับมรดกไปได้ผู้เดียวน้ัน
บนั ทกึ ดังกลา่ วแม้โจทก์จะทำ�กับเจา้ พนักงานผไู้ กล่เกลี่ยเปรยี บเทียบก็ตาม กย็ ่อมถอื วา่ เปน็ หลกั ฐาน
ของสญั ญาประนปี ระนอมยอมความอนั มีผลบงั คับได้อย่างหนงึ่

๓๘๐
๓๒. คำ�พิพากษาฎีกาท่ี  ๑๒๗๑/๒๕๐๖  การที่บิดากับบุตรเป็นทายาทและมีสิทธิรับ
มรดกซ่ึงกนั และกัน ตามประมวลกฎหมายแพง่ และพาณชิ ย์ มาตรา ๑๖๒๙ น้ัน หมายถงึ บิดาและ
เปน็ บุตรต่อกนั ตามกฎหมาย มาตรา ๑๖๒๗ เป็นบทยกเวน้ ให้บตุ รทไี่ ม่ชอบด้วยกฎหมายแต่บิดาได้
รับรองแล้วมีสิทธิได้รับมรดกของบิดาจึงต้องตีความโดยเคร่งครัด มาตรานี้ให้ถือว่าบุตรนั้นเป็นผู้สืบ
สันดานเหมือนกับบุตรท่ีชอบด้วยกฎหมาย  แต่จะถือว่าบิดานั้นเป็นบิดาโดยชอบด้วยกฎหมายไม่ได้
บิดาจึงไม่มสี ทิ ธริ ับมรดกของบตุ รที่ตนไดร้ บั รอง
๓๓. คำ�พิพากษาฎีกาท่ี  ๑๖๑๙/๒๕๐๖  ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
มาตรา ๑๕๙๙ ทายาทยอ่ มไดส้ ทิ ธใิ นทรพั ยม์ รดกตง้ั แตเ่ จา้ มรดกตาย แมจ้ ะยงั ไมไ่ ดจ้ ดทะเบยี นสทิ ธนิ น้ั
ตามประมวลกฎหมายแพง่ และพาณชิ ย์ มาตรา ๑๒๙๙ กต็ าม ฉะนน้ั แมท้ รพั ยพ์ พิ าทซง่ึ ตกไดแ้ กโ่ จทก์
ตามพนิ ัยกรรมจะยงั ไมไ่ ด้โอนแก้ทะเบียนโฉนดก็ดี อำ�นาจฟอ้ งของโจทก์ก็ยอ่ มมอี ยโู่ ดยสมบรู ณแ์ ลว้
๓๔. คำ�พิพากษาฎีกาที่  ๑๘๓๗/๒๕๐๖  บุตรบุญธรรมตามกฎหมายเก่าและไม่ได้
จดทะเบยี นตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณชิ ย ์ มาตรา ๑๕๘๕ (มาตรา ๑๕๙๘/๒๗ บรรพ ๕
ปัจจบุ ัน) ไมม่ ีสทิ ธริ ับมรดก ตามทป่ี ระมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา ๑๖๒๗ บัญญตั วิ า่
บตุ รบุญธรรมรับมรดกไดน้ ้ัน หมายถงึ บตุ รบญุ ธรรมทไ่ี ดจ้ ดทะเบยี นตามประมวลกฎหมายแพง่ และ
พาณิชย์ มาตรา ๑๕๘๕ (มาตรา ๑๕๙๘/๒๗ บรรพ ๕ ปัจจุบนั ) เทา่ นั้น
๓๕. ค�ำ พพิ ากษาฎีกาที่ ๕๘๑/๒๕๐๘ ในกรณที เี่ จา้ มรดกท�ำ พนิ ยั กรรมยกทรัพย์สนิ
ใหแ้ ก่สถานทสี่ กั การะบรรพบุรุษ เมอื่ สถานทน่ี ัน้ ไมใ่ ช่บุคคลจึงไม่อาจเป็นผู้ทรงสิทธิเหนือทรพั ยส์ ินได้
ดังน้ัน  ข้อกำ�หนดตามพินัยกรรมจึงไม่มีผลใช้บังคับตามกฎหมาย  ไม่ว่าในฐานะพินัยกรรมธรรมดา
หรอื พินัยกรรมกอ่ ตง้ั ทรัสต์
๓๖. ค�ำ พิพากษาฎกี าท่ี ๖๑๙/๒๕๐๘ การสละมรดกจะตอ้ งแสดงเจตนาชัดแจง้ เปน็
หนงั สือมอบไว้แก่พนักงานเจา้ หนา้ ทหี่ รือท�ำ เปน็ สัญญาประนีประนอมยอมความ
การท่ีมารดาจะสละมรดกแทนผเู้ ยาวไ์ ด้ จะต้องไดร้ ับอนุญาตจากศาลกอ่ น จึงจะสละ
มรดกได้ตามกฎหมาย ดังที่บญั ญัตไิ วใ้ นประมวลกฎหมายแพง่ และพาณชิ ย์มาตรา ๑๖๑๑ (๑)
๓๗. ค�ำ พพิ ากษาฎกี าท ่ี ๔๘๘/๒๕๐๙  ไมม่ บี ทกฎหมายใดบญั ญตั วิ า่ การรบั เดก็ ซง่ึ เปน็
บตุ รของผู้อืน่ มาเลยี้ งเหมือนกับบตุ รของตนแลว้ ใหถ้ ือว่าเป็นบุตรตามกฎหมายของตน
๓๘. คำ�พิพากษาฎีกาที่ ๖๐๓/๒๕๐๙ บุตรนอกกฎหมายที่บิดารับรองแล้ว มีสิทธิ
รับมรดกของบิดาและมีสิทธิฟ้องคดีขอไถ่ถอนการขายฝาก  โดยไม่จำ�เป็นต้องขอให้ศาลสั่งแสดงว่า
เป็นบตุ รโดยชอบดว้ ยกฎหมายของบิดาก่อน
๓๙. คำ�พิพากษาฎีกาที่ ๖๖๖-๖๖๗/๒๕๐๙ เมื่อเจ้ามรดกตาย ที่ดินของเจ้ามรดก
จึงตกได้แก่บุตรของเจ้ามรดกซ่ึงเป็นทายาทโดยธรรมอันดับแรก  ตามประมวลกฎหมายแพ่งและ
พาณิชย์ มาตรา ๑๖๒๙ ตัวพส่ี าวเจ้ามรดกย่อมถูกตัดออกจากทายาทตามมาตรา ๑๖๓๐

๓๘๑
๔๐. คำ�พพิ ากษาฎีกาท ี่ ๑๒๓๑-๑๒๓๒/๒๕๑๐ บตุ รบญุ ธรรมที่มิไดม้ ีการจดทะเบยี น
ตามกฎหมาย ไม่มสี ทิ ธิรบั มรดกของผู้รบั บตุ รบุญธรรม เพราะการรบั บตุ รบญุ ธรรมจะสมบรู ณ์ต่อเมอ่ื
ได้จดทะเบยี นตามกฎหมาย……….
๔๑. ค�ำ พิพากษาฎีกาท่ี ๑๒๒๔/๒๕๑๑ มารดาโจทกเ์ ชา่ ท่ดี นิ และให้จ�ำ เลยอาศัยอยู่
ในทด่ี นิ ท่ีเชา่ บางส่วน ตอ่ มามารดาโจทกต์ ายและสญั ญาเชา่ กร็ ะงับ แต่โจทกค์ งมสี ิทธแิ ละหนา้ ท่แี ละ
ความรบั ผดิ ชอบตา่ งๆ (ตามสญั ญาเชา่ ) ตกทอดมาจากมารดาโจทก์ เมอ่ื โจทกเ์ ปน็ ผคู้ รอบครองทด่ี นิ อยู่
และได้ทำ�สญั ญาเชา่ ทดี่ ินตอ่ จากผใู้ ห้เช่าแล้ว จึงมสี ทิ ธฟิ ้องขับไล่จ�ำ เลยไดโ้ ดยผู้ให้เช่าไม่จ�ำ ตอ้ งสง่ มอบ
ทดี่ ินใหโ้ จทกอ์ ีก
๔๒. คำ�พิพากษาฎีกาท่ี  ๑๗๔๒/๒๕๑๑  …...…บุตรนอกกฎหมายที่บิดารับรองแล้ว
ย่อมมีสิทธิได้รับมรดกของบิดาผู้วายชนม์ตามกฎหมายโดยชอบแล้ว จึงไม่มีบทกฎหมายบัญญัติ
ใหต้ อ้ งมาย่นื คำ�ร้องเพ่อื ใหศ้ าลมคี ำ�ส่ังเป็นผมู้ สี ทิ ธริ บั มรดกของบดิ าผู้วายชนม์อีก……………
๔๓. คำ�พิพากษาฎกี าท ่ี ๗๒/๒๕๑๒ ……..ทดี่ ินและเรือนเปน็ ทรพั ย์มรดก แต่หนงั สอื
สัญญาแบ่งปันมรดกกล่าวถึงเฉพาะที่ดินไม่เกี่ยวกับเรือนจึงมิใช่เอกสารสละมรดก  ตามประมวล
กฎหมายแพง่ และพาณชิ ย์ มาตรา ๑๖๑๒ เพราะการสละมรดกจะทำ�แต่เพยี งบางสว่ นมิได้ ตาม
มาตรา ๑๖๑๓ แต่ถึงกระนั้นหนังสือนี้ก็เป็นหลักฐานแห่งสัญญาแบ่งปันมรดกซึ่งโจทก์ลงลายมือชื่อ
วา่ โจทกเ์ ปน็ ทายาทของเจา้ ของมรดกมสี ทิ ธริ บั มรดกทด่ี นิ แตโ่ จทกไ์ มพ่ งึ ประสงคจ์ ะรบั โอนมรดกตอ่ ไป
โจทก์ตกลงยินยอมให้จำ�เลยผู้เป็นภริยาของเจ้ามรดกเป็นผู้รับโอนไปแต่ผู้เดียวน้ัน  ย่อมมีผลบังคับ
เฉพาะที่ดนิ เทา่ น้ัน ไมเ่ ก่ยี วกับเรือน
๔๔. คำ�พพิ ากษาฎีกาท่ี ๒๐๘/๒๕๑๒ โจทก์เป็นนอ้ งชายเจา้ มรดก โจทก์ยอ่ มเปน็
ทายาทโดยธรรม ตามประมวลกฎหมายแพง่ และพาณชิ ย์ มาตรา ๑๖๒๙ แต่โจทกไ์ ม่มสี ิทธิรบั มรดก
ในเมื่อยังมีทายาทโดยธรรมในลำ�ดับก่อนตนยังมีชีวิตอยู่ตามมาตรา ๑๖๓๐ และทั้งนี้ต้องต่อเมื่อ
เจา้ มรดกมไิ ดท้ ำ�พนิ ยั กรรมยกทรพั ย์มรดกใหโ้ จทก์
๔๕. ค�ำ พพิ ากษาฎกี าท่ ี ๑๘๘๒/๒๕๑๔ จ�ำ เลยที่ ๒ มิใชบ่ ุตรของผู้ตาย แตไ่ ด้ไปขอยื่น
รบั มรดกท่ดี ินมโี ฉนดของผตู้ ายโดยแจ้งเทจ็ ตอ่ เจ้าพนักงานทด่ี นิ ว่าเปน็ บตุ ร แล้วจดทะเบียนขายฝาก
ทีด่ ินดังกล่าวไว้แกจ่ ำ�เลยที่ ๑ และตอ่ มาได้จดทะเบยี นสละสิทธิการไถค่ นื โดยโจทก์ผู้เปน็ บตุ รและ
ทายาทที่แท้จริงของผู้ตายมิได้รู้เห็นยินยอมด้วย  แม้โจทก์จะมิได้นำ�สืบว่าจำ�เลยทั้งสองสมคบคิดกัน
กระทำ�มิชอบในเร่ืองนี้  โจทก์ก็มีสิทธิขอให้เพิกถอนนิติกรรมที่จำ�เลยทั้งสองกระทำ�ต่อกันน้ันได้
เพราะจ�ำ เลยที่ ๒ ไดส้ ิทธิทางทะเบียนโดยไม่ชอบ จ�ำ เลยท่ี ๑ ผู้รบั โอนทีด่ ินจากจ�ำ เลยท่ี ๒ ยอ่ มไม่มี
สิทธดิ กี วา่ ผู้โอน
๔๖. ค�ำ พิพากษาฎกี าที่ ๖๕๒/๒๕๑๕ บุตรนอกกฎหมายท่บี ดิ าไดร้ ับรองแล้ว ถือวา่
เป็นผู้สืบสันดานเหมือนกับบุตรท่ีชอบด้วยกฎหมายและมีสิทธิได้รับมรดกของบิดาในฐานะเป็น
ทายาท ตามประมวลกฎหมายแพง่ และพาณชิ ย ์ มาตรา ๑๖๒๙ (๑)

๓๘๒
เมอ่ื ผตู้ ายมที ายาทโดยธรรมตามประมวลกฎหมายแพง่ และพาณชิ ย ์ มาตรา ๑๖๒๙ (๑) แลว้
พี่สาวของผู้ตาย ซ่งึ เปน็ ทายาทโดยธรรม ตามมาตรา ๑๖๒๙ (๔) จงึ ไม่มสี ิทธไิ ดร้ ับมรดกของผู้ตาย
บตุ รนอกกฎหมายทบี่ ิดาได้รับรองแลว้ ถือว่าเป็นผสู้ บื สนั ดานเหมือนกับบุตรท่ชี อบดว้ ย
กฎหมาย ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย ์ มาตรา ๑๖๒๙ (๑)
๔๗. คำ�พิพากษาฎีกาท่ี  ๒๗๘๔/๒๕๑๕  เจ้ามรดกทำ�พินัยกรรมยกท่ีดินแปลงหน่ึง
ให้ ท. ซึง่ เป็นบุตร แต่ ท. ตายก่อนเจ้ามรดก ข้อกำ�หนดเกี่ยวกบั ท่ดี ินแปลงนจี้ งึ เปน็ อนั ตกไป ตาม
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา ๑๖๙๘ (๑) และตอ้ งบังคับตามมาตรา ๑๖๙๙ ประกอบ
กบั มาตรา ๑๖๒๐ วรรคสอง กลา่ วคือท่ดี ินตกทอดแกท่ ายาทโดยธรรมของเจา้ มรดกซง่ึ มีแต่ ท. แต่ ท.
ตายไปก่อนแล้ว ผู้สืบสนั ดานของ ท. จงึ เข้ารบั มรดกแทนท่ีเฉพาะท่ดี ินแปลงนี้
๔๘. ค�ำ พพิ ากษาฎกี าท่ี ๑๘๗๓/๒๕๑๗ บตุ รนอกกฎหมายทบ่ี ดิ ารบั รองแลว้ ประมวล
กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา ๑๖๒๗ ให้ถือวา่ เปน็ ผู้สืบสนั ดานเหมือนกบั บตุ รชอบดว้ ยกฎหมาย
มสี ิทธเิ กี่ยวกบั มรดกของชายผใู้ หก้ ำ�เนดิ เทา่ นัน้ ยังไม่ถือเปน็ บุตรทชี่ อบดว้ ยกฎหมาย การท่บี ุตรนอก
กฎหมายจะเป็นบุตรท่ีชอบด้วยกฎหมายของชายผู้ให้กำ�เนิด  ก็ต่อเมื่อได้มีการฟ้องคดีให้รับรองบุตร
และศาลได้มีคำ�พพิ ากษาว่าเป็นบุตร ตามมาตรา ๑๕๒๙ (มาตรา ๑๕๕๕ (๓) มาตรา ๑๕๕๗ บรรพ ๕
ปจั จบุ นั ) เทา่ น้ัน
๔๙. คำ�พิพากษาฎีกาท่ี  ๒๐๔๙/๒๕๑๗  การท่ีผู้ร้องเจาะจงสละท่ีดินมรดกส่วนของ
ผู้ร้องให้จำ�เลยโดยเฉพาะไม่ใช่สละมรดก  ตามความในประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์  มาตรา
๑๖๑๒  แต่การท่ีผู้ร้องและจำ�เลยตกลงกันโดยทำ�เป็นหนังสือลงลายมือชื่อไว้ทั้งสองฝ่าย  ให้จำ�เลย
เป็นผู้ใช้หน้ีของเจ้ามรดกส่วนของตนให้จำ�เลย  เช่นนี้มีลักษณะเป็นสัญญาประนีประนอมยอมความ
ใชบ้ ังคับได ้ และเมอื่ ผรู้ อ้ งยอมสละสว่ นมรดกของตนใหจ้ �ำ เลยไปแล้ว จงึ ไมม่ สี ทิ ธขิ อกนั สว่ นจากเงนิ
ทไี่ ดจ้ ากการขายทอดตลาดท่ีดินรายน้ี
๕๐. ค�ำ พพิ ากษาฎกี าท่ี ๒๑๒๘/๒๕๑๘ ผรู้ อ้ งซอ้ื ทด่ี ินท่มี โี ฉนดใส่ช่ือ ส. ซ่ึงเป็นบตุ ร
เปน็ ผู้ถือกรรมสิทธแิ์ ล้วส่ง ส. ไปเลา่ เรยี นในตา่ งประเทศ ตั้งแต่ พ.ศ. ๒๔๙๑ และผูร้ ้องครอบครอง
ที่ดินนี้แทน ส. ต่อมาประมาณ พ.ศ. ๒๔๙๕ ผู้ร้องเขา้ ใจวา่ ส. ถึงแก่กรรม ดังน ี้ แมไ้ ด้ความว่า
ส. ถึงแก่กรรมจรงิ ทีด่ นิ นั้นก็ยอ่ มเป็นมรดกตกทอดไปยงั ทายาทของ ส. ซึ่งผูร้ ้องยงั มหี นา้ ทต่ี ้อง
ครอบครองในฐานะเปน็ ผู้แทนของทายาท ส. ต่อไป ถ้าหากผรู้ ้องประสงค์จะเปลยี่ นลกั ษณะแห่งการ
ยึดถอื มาเปน็ การครอบครองโดยเจตนาเปน็ เจา้ ของ กต็ อ้ งบอกกล่าวไปยงั ทายาทของ ส. เสียกอ่ น
เมื่อไม่ปรากฏข้อเทจ็ จริงในคำ�ร้องและในการน�ำ สืบว่า ส. ถึงแก่กรรมไปโดยไมม่ ที ายาท แม้ผู้รอ้ งจะ
ครอบครองท่ีดนิ น้ีมาด้วยเจตนาเป็นเจา้ ของตัง้ แต่ พ.ศ. ๒๔๙๕ จนบัดนเี้ กินกว่า ๑๐ ปแี ล้ว ผูร้ อ้ ง
ก็ไม่ไดก้ รรมสิทธิ์
๕๑. คำ�พพิ ากษาฎกี าท่ี ๒๑๖๗/๒๕๑๘ การสละมรดก ตามประมวลกฎหมายแพง่
และพาณชิ ย์ จะกระทำ�ได้ต่อเม่ือหลงั จากท่เี จา้ มรดกตายแล้ว และผูส้ ละเป็นผู้มสี ิทธิรับมรดกน้นั ดว้ ย

๓๘๓
หากเจา้ มรดกยงั ไมต่ ายกย็ ่อมจะไมม่ ีมรดกตกทอดเพอื่ ให้ทายาทผู้มีสทิ ธิรับมรดกสละได้ ดังจะเหน็ ได้
จากการที่มาตรา ๑๖๑๕ บัญญัตใิ ห้การสละมรดกมีผลยอ้ นหลังไปถึงเวลาที่เจา้ มรดกตาย………
๕๒. ค�ำ พพิ ากษาฎกี าท่ี ๖๒๑/๒๕๑๙ ตามประมวลกฎหมายแพง่ และพาณชิ ย์ มาตรา
๑๕๙๙ บัญญัติว่า “เมอื่ บคุ คลใดตายมรดกของบุคคลน้ันตกทอดแกท่ ายาท” น้นั เหน็ ไดว้ ่า ทรพั ย์
มรดกของผูต้ ายยอ่ มตกทอดเป็นกรรมสิทธ์ิของทายาทต้งั แต่เจา้ มรดกตาย ผจู้ ัดการมรดกเอาไปโอน
ให้แกผ่ ทู้ ่ีไมใ่ ชท่ ายาท ทายาทติดตามเอาคนื ได้ ในกรณเี ช่นนไ้ี มใ่ ช่เพิกถอนการฉอ้ ฉล และไม่ใชค่ ดี
เก่ียวกับการจัดการมรดกและไมม่ อี ายคุ วามเรยี กคืนจนกว่าจะหมดสทิ ธติ ามมาตรา ๑๓๘๒, ๑๓๘๓
๕๓. ค�ำ พิพากษาฎีกาที่ ๒๔๑/๒๕๒๒ เจา้ มรดกไดจ้ ดทะเบยี นรบั จ�ำ เลยที่ ๒ เปน็
บตุ รบุญธรรม จ�ำ เลยที่ ๒ จึงมีฐานะอยา่ งเดยี วกบั บตุ รชอบด้วยกฎหมายของเจ้ามรดก ตามประมวล
กฎหมายแพง่ และพาณชิ ย์ มาตรา ๑๕๘๖ (เดมิ ) , ๑๖๒๗ เมอ่ื เจ้ามรดกถึงแก่กรรมโดยมิได้ท�ำ
พนิ ัยกรรมมรดกจึงตกได้แกจ่ �ำ เลยที่ ๒ แตผ่ เู้ ดียว โจทก์ท่ี ๑ ซึง่ เปน็ พี่นอ้ งรว่ มบดิ ามารดากับเจา้ มรดก
หามีสทิ ธไิ ด้รับมรดกไม่
ก่อนเจา้ มรดกถึงแกก่ รรม โจทกท์ ี่ ๑ และจำ�เลยท่ี ๒ ไดท้ �ำ สญั ญาแบ่งทรัพย์มรดกกนั
แม้สัญญาดังกล่าวจะกระทำ�เพื่อระงับข้อพิพาทอันจะมีข้ึนในภายหน้าเข้าลักษณะเป็นสัญญา
ประนปี ระนอมยอมความ แตก่ เ็ ปน็ สัญญาทใี่ ห้จำ�เลยท่ี ๒ ผู้มสี ิทธิได้รบั มรดกของเจา้ มรดกแต่ผูเ้ ดยี ว
จ�ำ หนา่ ยจา่ ยโอนสทิ ธใิ นการรบั มรดกในทรพั ยม์ รดกบางสว่ นใหแ้ กโ่ จทก ์ เปน็ การตอ้ งหา้ ม ตามประมวล
กฎหมายแพ่งและพาณชิ ย์ มาตรา ๑๖๑๙ ไม่มีผลใชบ้ ังคับ
๕๔. ค�ำ พิพากษาฎีกาท่ี ๔๖๔/๒๕๒๒ โจทก์ตกลงแลกเปลี่ยนทพี่ ิพาท ซึ่งเป็นท่ีดนิ
มือเปล่ากับที่ดินของจำ�เลย  ขณะตกลงแลกเปลี่ยนโจทก์ยังไม่มีสิทธิในท่ีพิพาท  และท่ีพิพาทเป็น
ทรพั ยม์ รดกตามพนิ ยั กรรมทบ่ี ดิ ายกใหโ้ จทก ์ ขอ้ ตกลงดงั กลา่ วจงึ ไมม่ ผี ลเปน็ การแลกเปลย่ี น  ทง้ั เปน็
การจำ�หน่ายโอนมรดกกอ่ นเจ้ามรดกตาย ขัดต่อประมวลกฎหมายแพง่ และพาณิชย์ มาตรา ๑๖๑๙
แต่ภายหลังที่บิดาตายแล้วจำ�เลยได้ครอบครองท่ีพิพาทเป็นของตนตลอดมาโดยโจทก์ไม่เกี่ยวข้อง
ยอ่ มเปน็ ปรยิ ายวา่ โจทกส์ ละสทิ ธคิ รอบครองทพ่ี พิ าทใหแ้ กจ่ �ำ เลยภายหลงั ทท่ี พ่ี พิ าทตกเปน็ ของโจทกแ์ ลว้
โดยมเี จตนาแลกเปลย่ี นทด่ี นิ กนั ดงั เดมิ   จ�ำ เลยยอ่ มไดส้ ทิ ธคิ รอบครองทพ่ี พิ าท  โจทกต์ อ้ งไปจดทะเบยี น
การโอนทพ่ี พิ าทใหจ้ �ำ เลยและจ�ำ เลยตอ้ งไปจดทะเบยี นโอนทน่ี าของตนทแ่ี ลกเปลย่ี นกบั ทพ่ี พิ าทใหโ้ จทก์
๕๕. คำ�พิพากษาฎีกาที่  ๑๐๖๙–๑๐๗๐/๒๕๒๒  โจทก์ได้กรรมสิทธ์ิที่ดินมาโดยการ
รับมรดกต้องรบั ไปทงั้ สทิ ธหิ น้าทแี่ ละความรับผดิ ตา่ งๆ โจทกจ์ งึ ไม่ใชบ่ คุ คลภายนอกผู้ได้กรรมสิทธม์ิ า
โดยเสียคา่ ตอบแทนตามทบ่ี ัญญตั ิไว้ในประมวลกฎหมายแพง่ และพาณิชย์ มาตรา ๑๒๙๙ จ�ำ เลยย่อม
ยกกรรมสทิ ธ์ิในท่พี ิพาทอนั ได้มาโดยการครอบครองปรปกั ษข์ ึน้ ตอ่ สโู้ จทกไ์ ด้
๕๖. คำ�พิพากษาฎีกาที่  ๑๗๔/๒๕๒๔  บุตรบุญธรรมตามกฎหมายเก่าและมิได้
จดทะเบยี นตามบรรพ ๕ มฐี านะอยา่ งเดียวกับบตุ รชอบดว้ ยกฎหมาย แตไ่ มม่ สี ทิ ธริ ับมรดกของ
ผูร้ บั บุตรบุญธรรมจงึ ไม่ใชท่ ายาท และไมม่ ีส่วนได้เสียทีจ่ ะขอตั้งและถอนผู้จดั การมรดก เพราะตาม

๓๘๔
กฎหมายเกา่ บุตรบุญธรรมไมม่ ีสิทธริ บั มรดกของผรู้ บั บตุ รบญุ ธรรม ต่อมาเมือ่ ประกาศใช้ประมวล
กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บรรพ ๕ และ ๖ แลว้ แมจ้ ะมีบทบัญญัตใิ หบ้ ุตรบุญธรรมมีฐานะอย่างเดียว
กับบตุ รชอบดว้ ยกฎหมายของผรู้ บั บตุ รบญุ ธรรม และไม่ถือวา่ เปน็ ผู้สบื สันดานเหมอื นกบั บุตรทีช่ อบ
ดว้ ยกฎหมาย ตามประมวลกฎหมายแพง่ และพาณชิ ยเ์ ทา่ นนั้ มิไดร้ วมถึงบตุ รบญุ ธรรมตามกฎหมาย
เก่าดว้ ย ดังนั้น ผรู้ อ้ งจงึ ไม่มีสทิ ธิรับมรดกของผูร้ บั บตุ รบญุ ธรรมซึง่ ถึงแก่กรรมหลงั จากทใ่ี ช้ประมวล
กฎหมายแพง่ และพาณชิ ย์ บรรพ ๕ แลว้
๕๗. คำ�พิพากษาฎีกาที่ ๒๒๖๑/๒๕๒๔ จ. เจ้าของที่ดินยื่นเรื่องราวขอจดทะเบียน
สิทธิและนิติกรรมต่อทางอำ�เภอ  แสดงว่าประสงค์จะยกที่พิพาทซ่ึงมีหนังสือรับรองการทำ�ประโยชน์
ให้แกจ่ ำ�เลย โดยการท�ำ นิตกิ รรมและจดทะเบียนต่อพนักงานเจ้าหน้าท่ี หาใชเ่ ป็นกรณีท่ี จ. แสดง
เจตนาสละการครอบครองและส่งมอบท่พี พิ าทให้แก่จ�ำ เลยโดยสมบูรณ์ไม่ เมื่อ จ. ถงึ แก่กรรรมโดยยัง
ไมไ่ ด้จดทะเบยี นต่อพนักงานเจ้าหน้าทีก่ ารให้ย่อมไมส่ มบรู ณ์ ทพ่ี พิ าทยังเป็นมรดกของ จ. อยู่ โจทก์
และโจทกร์ ว่ มมสี ทิ ธขิ อแบง่ ได้
แต่การที่จะย่ืนเร่ืองราวขอจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรมประเภทยกให้ต่อทางอำ�เภอ
เป็นกรณีที่  จ.  แสดงเจตนาสละการครอบครองและส่งมอบท่ีพิพาทให้แก่จำ�เลยโดยสมบูรณ์แล้ว
แม้การให้ยงั ไมไ่ ด้จดทะเบยี นจำ�เลยก็ย่อมไดส้ ทิ ธคิ รอบครองน้นั
๕๘. คำ�พิพากษาฎีกาท่ี  ๓๗๘๙/๒๕๒๔  บุตรนอกกฎหมายที่บิดารับรองแล้ว
ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณชิ ย์ มาตรา ๑๖๒๗ หาใชม่ ่งุ หมายเฉพาะบตุ รนอกกฎหมายทบ่ี ิดา
ได้จดทะเบียนรับรองบุตรแล้วเท่าน้ัน  แต่ยังหมายความรวมถึงบุตรนอกกฎหมายท่ีบิดาได้รับรองโดย
พฤติการณ์ท่ปี รากฏแกบ่ คุ คลทั่วไปวา่ เป็นบตุ รดว้ ย……..
๕๙. คำ�พิพากษาฎีกาท่ี  ๑๙๓๗/๒๕๒๖  โจทก์ซ่ึงเป็นบุตรบุญธรรมตามกฎหมายเก่า
และมไิ ด้จดทะเบียนเป็นบตุ รบญุ ธรรม ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บรรพ ๕ ที่ได้ตรวจ
ช�ำ ระใหม่ มาตรา ๑๕๙๘/๒๗ ไมม่ ีสทิ ธริ ับมรดกของผู้รบั บตุ รบุญธรรมซง่ึ ถงึ แก่กรรมหลังจากทีใ่ ช้
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บรรพ ๕ ท่ีได้ตรวจช�ำ ระใหมแ่ ล้ว
๖๐. คำ�พิพากษาฎีกาที่ ๓๗๑๒/๒๕๒๖ ทดี่ ินพพิ าทเปน็ ทรัพยส์ ินที่ ผ.  จดทะเบยี น
ยกให้พระภิกษุ ฮ. ระหว่างเวลาที่อยู่ในสมณเพศ เมื่อพระภิกษุ ฮ. ถึงแก่มรณภาพ ที่ดินพิพาท
จึงตกเป็นสมบัติของวัดโจทก์ซึ่งเป็นภูมิลำ�เนาของพระภิกษุ  ฮ.  ตามประมวลกฎหมายแพ่งและ
พาณชิ ย์ มาตรา ๑๖๒๓……….
๖๑. ค�ำ พพิ ากษาฎีกาที่ ๔๓๓/๒๕๒๘ โจทกท์ ัง้ สามกับจำ�เลยทง้ั สามและ น. กบั ส.
ต่างเป็นทายาทของเจ้ามรดก  จำ�เลยทั้งสามไปขอรับมรดกท่ีดินพิพาทโดยระบุบัญชีเครือญาติของ
เจา้ มรดก ว่ามีเฉพาะจำ�เลยทั้งสามกับ น. และ ส. โดยไมร่ ะบุโจทก์ทงั้ สามดว้ ย ดังนี้ ยังถือไมไ่ ด้วา่ เปน็
เรอ่ื งปิดบงั ทรพั ย์มรดกอันจะเปน็ เหตุให้จ�ำ เลยทง้ั สามถกู ก�ำ จัดมิใหร้ บั ทรพั ย์มรดก ตามทีบ่ ัญญัตไิ ว้ใน
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณชิ ย์ มาตรา ๑๖๐๕

๓๘๕
๖๒. คำ�พิพากษาฎีกาที่ ๗๗๓/๒๕๒๘ ผู้สืบสันดานโดยตรง ตามประมวลกฎหมาย
แพง่ และพาณิชย์ มาตรา ๑๖๔๓ หมายถึง ผู้สบื สันดานในทางสืบสายโลหิตโดยแทจ้ รงิ หาใชผ่ ู้สบื
สันดานโดยอ้อมเพยี งการสมมุตขิ องกฎหมายเทา่ นั้นไม่
บุตรบุญธรรมน้ันกฎหมายถือว่าเป็นผู้สืบสันดานเหมือนกับบุตรที่ชอบด้วยกฎหมาย
มีสิทธิได้รับมรดกของผู้รับบุตรบุญธรรม  แต่บุตรบุญธรรมหาใช่ผู้สืบสันดานโดยตรงของผู้รับบุตร
บญุ ธรรมไม่ จึงไม่มีสทิ ธริ บั มรดกของมารดาผูร้ ับบตุ รบุญธรรมแทนท่ีผูร้ ับบุตรบุญธรรมได้
๖๓. คำ�พิพากษาฎีกาที่ ๔๘๒๘/๒๕๒๙ การเป็นพี่น้องร่วมบิดามารดาเดียวกัน
โดยชอบด้วยกฎหมายบดิ ามารดาไมจ่ �ำ เป็นต้องจดทะเบยี นสมรสกัน แตต่ ้องถอื ตามความเปน็ จรงิ ……
๖๔. ค�ำ พพิ ากษาฎกี าท่ี ๒๕๒๖/๒๕๓๑ สญั ญาตา่ งตอบแทนยง่ิ กวา่ สญั ญาเชา่ ธรรมดา
ไม่ถอื วา่ เปน็ สิทธเิ ฉพาะตวั แม้คู่สญั ญาตาย สิทธิและหน้าทีด่ งั กลา่ วก็ต้องตกทอดไปยังทายาท
๖๕. ค�ำ พพิ ากษาฎกี าท ่ี ๑๒๒๗/๒๕๓๓  สทิ ธติ ามนติ กิ รรมเกย่ี วกบั ภาระจ�ำ ยอมทส่ี ามี
โจทก์มีสิทธิที่จะใช้ทางผ่านที่ดินจำ�เลยตามสัญญาที่ทำ�ไว้กับจำ�เลย  และจำ�เลยได้รับค่าตอบแทนไป
แล้วน้นั แมจ้ ะมิไดจ้ ดทะเบยี นการได้มากบั พนกั งานเจ้าหน้าท่ี ยังไม่เป็นทรพั ยสิทธทิ บ่ี ริบูรณ์ ตาม
ประมวลกฎหมายแพง่ และพาณชิ ย์ มาตรา ๑๒๙๙ แตก่ เ็ ปน็ บคุ คลสทิ ธใิ ชบ้ งั คบั กนั ไดร้ ะหวา่ งคสู่ ญั ญา
และมิใช่สิทธิที่ตามกฎหมายหรือว่าโดยสภาพแล้วเป็นการเฉพาะตัวของสามีโจทก์โดยแท้  เมื่อสามี
โจทกต์ ายไปสิทธิดังกลา่ วยอ่ มตกทอดแก่โจทกซ์ ึ่งเป็นทายาท ตามประมวลกฎหมายแพง่ และพาณิชย ์
มาตรา ๑๕๙๙ และมาตรา ๑๖๐๐
๖๖. คำ�พพิ ากษาฎกี าท่ี  ๔๗๐/๒๕๓๕  โจทก์ฟ้องว่าหลงั จาก ห. ตาย โจทกแ์ ละ ล.
ได้รับมรดกที่พิพาทและร่วมกันครอบครองโดยมิได้แบ่งแยก  ต่อมาโจทก์ไปอุปสมบทเป็นพระภิกษุ
และ ล. ตาย จำ�เลยซ่งึ เปน็ บตุ รของ ล. ไปขอออก น.ส.๓ ก. เป็นของตนฝ่ายเดยี ว ขอให้ศาลบงั คบั
ให้จำ�เลยแบ่งท่ีพิพาทให้  เป็นกรณีโจทก์ฟ้องในฐานะที่โจทก์เป็นเจ้าของรวมมิใช่ในฐานะเป็นทายาท
โดยธรรมเรยี กรอ้ งเอาทรพั ยม์ รดก ตามประมวลกฎหมายแพง่ และพาณชิ ย์ มาตรา ๑๖๒๒ เพราะเมอ่ื
ห. ตาย โจทก์และ ล. ได้รับมรดกมาแล้ว ที่พิพาทจึงมิใช่มรดกของ ห. อีกต่อไป แต่เป็นทรัพย์สิน
ร่วมกันของโจทก์และ ล. เมื่อจำ�เลยไม่ยอมแบ่งที่พิพาทให้โจทก์ย่อมเป็นการโต้แย้งสิทธิของโจทก์
ในกรณีเช่นน้ีโจทกจ์ ึงมีอ�ำ นาจฟอ้ ง แม้โจทก์จะเป็นพระภกิ ษกุ ็ไมม่ กี ฎหมายหา้ มฟ้อง
๖๗. ค�ำ พพิ ากษาฎกี าท ่ี ๕๘๓-๕๘๔/๒๕๓๕  การทเ่ี จา้ มรดกไดท้ �ำ พนิ ยั กรรมยกใหผ้ ใู้ ด
โดยอา้ งวา่ เปน็ ทรพั ยข์ องเจา้ มรดกนน้ั มใิ ชจ่ ะถอื วา่ ทรพั ยท์ ร่ี ะบใุ นพนิ ยั กรรมเปน็ ของเจา้ มรดกเสมอไป
ต้องพิจารณาจากพยานหลักฐานต่างๆ  ว่าเป็นทรัพย์ของเจ้ามรดกหรือไม่  เมื่อคดีฟังได้ว่าเจ้ามรดก
ได้ยกทรัพย์บางส่วนให้จำ�เลยทั้งสองก่อนตาย  ทรัพย์ส่วนที่ยกให้ย่อมไม่เป็นของเจ้ามรดกที่จะทำ�
พนิ ัยกรรมยกใหโ้ จทกท์ ั้งสองได้
๖๘. ค�ำ พพิ ากษาฎกี าท่ี  ๙๐๓/๒๕๓๖  การท่ี ช. เชา่ ซอื้ ที่พพิ าท และชำ�ระคา่ เชา่ ซอ้ื
ครบถว้ นกอ่ นบวชเปน็ พระภกิ ษุ แตผ่ ใู้ หเ้ ชา่ ซอ้ื โอนทพ่ี พิ าทใหข้ ณะ ช. บวชเปน็ พระภกิ ษนุ น้ั ตอ้ งถอื วา่
ช. ไดท้ ่ีพิพาทมาแลว้ กอ่ นท่จี ะบวช เพราะการจดทะเบยี นการได้มาภายหลังเปน็ เพียงท�ำ ใหก้ ารได้มา

๓๘๖
สมบรู ณ์ ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา ๑๒๙๙ วรรคแรก เทา่ นัน้ แม้ ช. จะถึง
แก่กรรมในระหวา่ งทีอ่ ย่ใู นสมณเพศ ที่พิพาทกไ็ ม่ตกเปน็ สมบตั ิของวดั ตามมาตรา ๑๖๒๓
๖๙. คำ�พิพากษาฎกี าท่ี ๓๐๙๒/๒๕๓๖ ขณะทำ�บนั ทึกการสละมรดกนน้ั มรดกมีแต่
ทีด่ ินกบั บา้ นพพิ าทซ่ึงเป็นส่วนควบของทดี่ ินเทา่ นนั้ ฉะนั้น แมบ้ นั ทกึ การสละมรดกจะไม่มีข้อความ
ระบุถึงบ้านพิพาท กต็ อ้ งถือวา่ บรรดาทายาทผใู้ หถ้ อ้ ยคำ�ทุกคนมีเจตนาสละบ้านซึ่งเป็นส่วนควบของ
ท่ีดนิ ดว้ ย การสละมรดกจงึ มผี ลใช้บังคับได ้ มิใช่เปน็ การสละมรดกเพยี งบางส่วน
๗๐. คำ�พิพากษาฎีกาที่ ๔๗๒/๒๕๓๗ ผู้ตายจดทะเบียนรับโจทก์ทั้งสองเป็นบุตร
บุญธรรมโดยภริยาผู้ตายไม่ได้ให้ความยินยอม  การจดทะเบียนรับบุตรบุญธรรมจึงไม่สมบูรณ์ตาม
กฎหมายไม่ก่อให้เกิดความสัมพันธ์รวมทั้งสิทธิและหน้าที่ตามกฎหมายระหว่างผู้ตายกับโจทก์ทั้งสอง
ในฐานะผรู้ บั บตุ รบญุ ธรรมกบั บตุ รบญุ ธรรมตามประมวลกฎหมายแพง่ และพาณชิ ย ์ มาตรา ๑๕๙๘/๒๘
โจทกท์ ัง้ สองจงึ ไมเ่ ป็นทายาทท่ีจะมสี ทิ ธิรับมรดกของผู้ตายได้
๗๑. คำ�พิพากษาฎีกาที่ ๑๐๐๘/๒๕๓๗ สัญญาเช่าเป็นสิทธิเฉพาะตัวของผู้เช่า
ยอ่ มเปน็ อนั สน้ิ สดุ ลงเมอ่ื ผเู้ ชา่ ตายไมเ่ ปน็ มรดกทจ่ี ะตกทอดแกท่ ายาท โจทกเ์ ปน็ ผจู้ ดั การมรดกของ บ.
ผู้เช่า จึงไม่อาจสงวนสิทธิการเช่าของ บ. ได้ และไม่มีอำ�นาจฟ้องบังคับจำ�เลยเกี่ยวกับสิทธิการเช่า
ดงั กลา่ วได้อีก เพราะสิทธกิ ารเชา่ ของ บ. เปน็ อนั ส้ินสุดไปแล้วต้ังแต่ บ. ตาย ไม่มีสทิ ธกิ ารเชา่ ที่จะ
บงั คับแกจ่ �ำ เลยได้อกี ต่อไป
๗๒. ค�ำ พิพากษาฎีกาท่ี ๔๙๘๕/๒๕๓๗ แม้ บ. มสี ทิ ธิเช่าอาคารพพิ าทจากโจทก์รว่ ม
แตส่ ิทธิดังกลา่ วเปน็ สทิ ธเิ ฉพาะตวั เมอื่ บ. ตาย สทิ ธกิ ารเชา่ ยอ่ มระงับหรือสิน้ สดุ ลง ไม่ตกทอดไปยัง
จำ�เลย ซึง่ เปน็ ทายาท
๗๓. ค�ำ พิพากษาฎกี าที่ ๑๑๘๐/๒๕๓๘ แมส้ ิทธอิ าศยั เป็นสทิ ธเิ ฉพาะตวั เม่ือโจทก ์
ผู้ได้รับสิทธิอาศัยถึงแก่ความตาย สิทธิอาศัยย่อมระงับ ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
มาตรา  ๑๔๐๔  แต่คำ�พิพากษาของศาลช้ันต้นท่ีพิพากษาให้โจทก์มีสิทธิได้รับชดใช้ค่าเสียหายจาก
จำ�เลยนอกเหนือจากที่ให้ขับไล่นั้นมีลักษณะเป็นทรัพย์สินที่อาจเป็นมรดกตกทอดให้แก่ทายาทของ
โจทก์ได ้ ตามมาตรา ๑๕๙๙ มใิ ชส่ ทิ ธเิ ฉพาะตวั อนั ท�ำ ใหค้ วามมรณะของคคู่ วามฝา่ ยโจทกย์ งั ผลใหค้ ดี
มปี ระโยชนต์ อ่ ไป แต่เมอ่ื พ้นกำ�หนด ๑ ปี แล้วไม่มีผู้เข้ามาเป็นค่คู วามแทนที่ ศาลจึงต้องมคี ำ�สง่ั
จ�ำ หน่ายคดี
๗๔. คำ�พิพากษาฎีกาที่  ๑๒๕๐/๒๕๓๘  การสละมรดกจะต้องแสดงเจตนาชัดแจ้ง
เป็นหนังสือมอบไว้แก่พนักงานเจ้าหน้าที่หรือทำ�เป็นหนังสือประนีประนอมยอมความตามประมวล
กฎหมายแพง่ และพาณชิ ย์ มาตรา ๑๖๑๒ โดยกฎกระทรวงกบั พระราชบญั ญตั ริ ะเบยี บบรหิ ารราชการ
แผ่นดิน พ.ศ. ๒๔๙๕ มาตรา ๔๐ ก�ำ หนดอำ�นาจหนา้ ทขี่ องเจา้ พนักงานผ้มู ีอำ�นาจในกรณแี รก ไดแ้ ก ่
ผูอ้ �ำ นวยการเขตถา้ ท�ำ ในกรุงเทพมหานคร หรือนายอ�ำ เภอถ้าทำ�ในต่างจังหวดั ฉะนนั้ การท่ีโจทกก์ บั
ศ. ท�ำ หนังสอื สละมรดกไว้แกเ่ จา้ พนกั งานท่ดี ิน จงึ ไมใ่ ชห่ นังสือสละมรดก ตามประมวลกฎหมายแพง่
และพาณชิ ย์ มาตรา ๑๖๑๒

๓๘๗
๗๕. คำ�พิพากษาฎกี าที่ ๑๘๔๖/๒๕๓๘ การสละมรดก ตามประมวลกฎหมายแพง่
และพาณชิ ย์ มาตรา ๑๖๑๒ ตอ้ งท�ำ เปน็ หนังสอื มอบไวแ้ ก่พนกั งานเจา้ หน้าที่ คือ นายอำ�เภอ ตามกฎ
กระทรวงมหาดไทย พ.ศ. ๒๔๘๑ และพระราชบญั ญตั ิระเบียบบริหารราชการแผ่นดินฯ หรอื ท�ำ เป็น
สญั ญาประนปี ระนอมยอมความตามมาตรา ๘๕๐ ดังนนั้ แมเ้ จา้ พนกั งานที่ดินมิใช่พนักงานเจ้าหน้าท่ี
ท่ีมีอำ�นาจดังกล่าว  แต่เม่ือข้อความในเอกสารเป็นการประนีประนอมยอมความ  โดยโจทก์ผู้รับผิด
ในฐานะผ้สู ละมรดกและในฐานะผูร้ บั มรดกไดล้ งช่อื ไว้ จงึ เป็นการสละมรดกโดยชอบ
๗๖. คำ�พิพากษาฎีกาท่ี ๒๙๘๕/๒๕๓๘ แม้ขอ้ ตกลงตามบันทกึ ถ้อยค�ำ เอกสารหมาย
จ. ๑๐ ทโ่ี จทก์ตกลงยินยอมใหจ้ �ำ เลยเปน็ ผ้รู บั มรดกท่ดี นิ มิใช่การสละมรดก เพราะไม่ได้แสดงเจตนา
เป็นหนังสือมอบให้ต่อพนักงานเจ้าหน้าที่หรือทำ�เป็นสัญญาประนีประนอมยอมความ  ตามประมวล
กฎหมายแพ่งและพาณชิ ย์ มาตรา ๑๖๑๒ แตเ่ มอ่ื ข้อเทจ็ จริงได้ความว่า หลงั จากเจา้ มรดกถึงแก่
ความตาย โจทก์จ�ำ เลยต่างเข้าท�ำ ประโยชน์ในทีด่ ินตาม น.ส. ๓ จึงเปน็ ของโจทก์จำ�เลยรว่ มกนั เมอ่ื
โจทกไ์ ดแ้ สดงความประสงคต์ ามบนั ทกึ ถอ้ ยค�ำ เอกสารหมาย จ. ๑๐ ใหจ้ �ำ เลยเปน็ เจา้ ของทด่ี นิ แตเ่ พยี ง
ผู้เดียว  จึงถือได้ว่าโจทก์ได้แสดงเจตนาสละสิทธิครอบครองในท่ีดินตาม น.ส. ๓  ให้แก่จำ�เลยและ
จ�ำ เลยตกลงรบั ไว้แล้ว โจทกจ์ งึ ไมม่ ีสทิ ธขิ อแบ่งท่ีดนิ ตาม น.ส. ๓ ในฐานะท่ีเป็นทรัพยม์ รดกอีก
๗๗. ค�ำ พิพากษาฎกี าท่ี ๖๖๓๗/๒๕๓๘ เอกสารมีใจความวา่ โจทก์และ ส. ทายาท
โดยธรรมของ  ล.  ยินยอมให้ผู้จัดการมรดกแบ่งสรรท่ีดินมรดกแปลงพิพาทให้แก่ทายาทคนใดก็ได้
โดยโจทกแ์ ละ ส. ไม่ขอรบั และไมค่ ัดคา้ นแตป่ ระการใดทัง้ สิ้น โจทก์ ส. และ บ. ไดล้ งช่ือไวต้ ่อหนา้
พยาน ดงั น้ี เม่อื ปรากฏวา่ นอกจากทีด่ นิ ดงั กล่าวแล้วยังมบี า้ นพิพาทเปน็ ทรพั ย์มรดกอีกส่วนหน่ึงดว้ ย
เอกสารทั้งสองฉบับกลา่ วถึงท่ีดินแต่ไม่กลา่ วถงึ บา้ นดว้ ย จงึ เป็นการสละสทิ ธบิ างส่วน ถอื วา่ เป็นการ
สละมรดกไมไ่ ด้ ตามประมวลกฎหมายแพง่ และพาณชิ ย์ มาตรา ๑๖๑๓ แตก่ ารทโ่ี จทก์ ส. และ บ.
ทำ�เอกสารท้งั สองฉบบั ดงั กลา่ วไวน้ นั้  แสดงถงึ เจตนาของโจทก์ท่ีจะไมร่ ับมรดกที่ดินพพิ าทและยอมให้
ผจู้ ดั การมรดกแบ่งใหท้ ายาทคนใดก็ได้ จึงเปน็ สัญญาแบง่ ปันมรดกระหว่างโจทก์ ส. และ บ. ตาม
ประมวลกฎหมายแพง่ และพาณิชย์ มาตรา ๑๗๕๐ แม้จำ�เลยไม่ได้ลงช่อื ด้วย สัญญาดังกล่าวกไ็ ม่
เสียไปและมีผลผูกพันโจทก์ผู้ต้องรับผิดที่ลงชื่อในสัญญาไว้ให้ต้องปฏิบัติตามสัญญาดังกล่าว  ดังน้ัน
การท่ี บ. ผ้จู ดั การมรดก โอนทีด่ นิ พิพาทใหแ้ ก่จ�ำ เลยโดยไม่แบ่งใหโ้ จทกก์ ็เปน็ ไปตามเจตนาของโจทก์
ตามสญั ญาดงั กล่าว จงึ เปน็ การโอนโดยชอบแล้ว โจทก์ไม่มีสทิ ธิฟ้องเรยี กให้จ�ำ เลยโอนท่ดี ินพพิ าท
ใหแ้ กโ่ จทก์ แต่บ้านพพิ าทโจทก์มไิ ดส้ ละสทิ ธดิ ้วย โจทก์มสี ทิ ธเิ รยี กร้องให้จำ�เลยแบ่งใหโ้ จทกต์ ามสว่ น
๗๘. ค�ำ พพิ ากษาฎีกาที ่ ๗๔๘๗/๒๕๓๘  จ. ครอบครองทด่ี นิ โดยสงบและเปดิ เผยโดย
เจตนาเป็นเจ้าของตลอดมาจนถึงแก่ความตายเป็นเวลาเกินกว่าสิบปีแล้ว  จ. จึงได้กรรมสิทธ์ิในท่ีดิน
โดยการครอบครองตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณชิ ย์ มาตรา ๑๓๘๒ ซ่ึงการไดม้ าซ่ึงกรรมสิทธิ์
ดังกล่าวเป็น ทรพั ยสทิ ธอิ ยา่ งหน่งึ ซง่ึ เป็นมรดกตกทอดแก่ทายาทไดต้ ามมาตรา ๑๕๙๙ และมาตรา
๑๖๐๐ จึงตกทอดแก่โจทกซ์ งึ่ เป็นบุตรของ จ. แมโ้ จทก์มไิ ดค้ รอบครองต่อเนื่องในทด่ี ินนัน้ โจทกก์ ไ็ ด้
กรรมสิทธิใ์ นทดี่ ินโดยทางมรดก

๓๘๘
๗๙. คำ�พิพากษาฎีกาท่ี  ๓๙๒๕/๒๕๓๙  ตามสัญญาจะซ้ือขายที่ดินและบ้านพิพาท
เปน็ สญั ญาระหวา่ ง พ. กับจำ�เลย กำ�หนดจดทะเบียนโอนกรรมสทิ ธ์ิในวันท่ี ๑๙ สิงหาคม ๒๕๓๕
พ. ถึงแก่ความตายกอ่ นวันนดั จดทะเบียนโอนกรรมสิทธ์ิ ดงั น้ัน สิทธิการรับโอนกรรมสทิ ธิ์และหนา้ ท่ี
การชำ�ระเงินท่ีเหลือของท่ีดินและบ้านพิพาทตามสัญญาจะซื้อจะขายดังกล่าวย่อมเป็นกองมรดก
ของ พ. ผ้ตู าย ตามประมวลกฎหมายแพง่ และพาณิชย ์ มาตรา ๑๖๐๐ การเรยี กร้องสิทธิของจำ�เลย
ในฐานะเจา้ หนก้ี องมรดกตอ้ งบังคบั ต่อทายาทหรือผจู้ ดั การมรดก
๘๐. ค�ำ พพิ ากษาฎกี าท ่ี ๕๑๙๘/๒๕๓๙  การรบั มรดกแทนทก่ี นั จะมไี ดเ้ ฉพาะผสู้ บื สนั ดาน
รบั มรดกแทนท่ีบดิ ามารดาเทา่ น้นั ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณชิ ย์ มาตรา ๑๖๓๙ และ
มาตรา ๑๖๔๒ โจทก์ที่ ๑ เปน็ ภรรยาของ ส. มใิ ช่ผู้สบื สนั ดานของ ส. จงึ ไม่มีสิทธริ ับมรดกแทนท่ี ส.
ส. มบี ตุ ร ๓ คน คือ พ. โจทก์ท่ี ๒ และท่ี ๓ พ. สละมรดกของ ส. เทา่ นั้น ไม่ไดส้ ละสทิ ธิ
ในการรบั มรดกของ ก. อนั เปน็ การรบั มรดกแทนที่ ส. ดงั นี้ พ. มีสิทธริ บั มรดกแทนที่ ส. ในการสบื
มรดกของ ก. ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย ์ มาตรา ๑๖๕๕ โจทกท์ ี่ ๒ และที่ ๓ จึงมสี ทิ ธิ
รบั มรดกแทนที่ ส. ในการสบื มรดกของ ก. คนละหนึง่ ในสาม
๘๑. คำ�พิพากษาฎีกาที่ ๕๓๘๒ – ๕๓๘๓/๒๕๓๙ จำ�เลยที่ ๒ ไปรับโอนมรดก
แต่ผู้เดียว  และนำ�ท่ีดินทรัพย์มรดกซ่ึงตกได้แก่โจทก์ทั้งสามและ  จ. ซึ่งเป็นทายาทด้วยไปโอนให้แก่
จำ�เลยที่ ๑ ซ่งึ ไมใ่ ช่ทายาทผู้มสี ทิ ธไิ ดร้ ับมรดก  เป็นการยักยา้ ยหรือปดิ บังทรพั ยม์ รดกเท่าส่วนที่ตน
จะได้หรือมากกวา่ จำ�เลยที่ ๒ จงึ ถูกก�ำ จดั มใิ หร้ ับมรดกเลย ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณชิ ย์
มาตรา ๑๖๐๕ ส่วนจำ�เลยที่ ๑ ไม่ใช่ทายาท การกระทำ�ของจำ�เลยที่ ๑ จึงไม่เป็นการยักย้าย
หรือปิดบังทรพั ย์มรดก
๘๒. คำ�พิพากษาฎีกาท่ี ๕๘๒๕/๒๕๓๙ แม้ ซ.  เป็นบุคคลตา่ งดา้ ว ได้ทดี่ นิ มาโดย
ไมช่ อบดว้ ยประมวลกฎหมายทดี่ นิ มาตรา ๘๖ แตก่ ารได้ที่ดนิ มานั้นก็มิใช่วา่ จะไม่มีผลใดๆ เสียเลย
เพราะ ซ. ยังมีสทิ ธไิ ด้รับผลตามมาตรา ๙๔ ในอันทจ่ี ะจัดการจ�ำ หน่ายที่ดนิ น้นั ไดภ้ ายในเวลาทอี่ ธบิ ดี
กำ�หนดหรืออธิบดีอาจจ�ำ หนา่ ยทดี่ ินนั้นได้ จึงต้องถอื วา่ ตราบใดที่ ซ. หรืออธบิ ดยี ังไมไ่ ดจ้ �ำ หนา่ ยทีด่ นิ
และสง่ิ ปลกู สร้าง ทด่ี นิ และสงิ่ ปลูกสร้างดงั กลา่ วกย็ งั เปน็ ของ ซ. เม่ือ ซ. ถึงแกค่ วามตาย ทีด่ นิ และ
สิ่งปลกู สรา้ งนั้นย่อมเปน็ ทรัพย์มรดกของ ซ. โจทกใ์ นฐานะท่เี ปน็ ทายาทโดยธรรมของ ซ. จงึ มีอ�ำ นาจ
ฟอ้ งขอแบง่ ทรพั ยม์ รดกดงั กล่าวจากจ�ำ เลยได้
๘๓. คำ�พิพากษาฎีกาท่ี  ๓๔๖/๒๕๔๐  ป. กับบิดามารดาจำ�เลยได้ทำ�หนังสือสัญญา
ใหผ้ ่านท่ีดนิ ซ่งึ มีข้อความว่าบดิ าจำ�เลยยนิ ยอมใหท้ ำ�ทางพิพาทในทด่ี ินโฉนดเลขที่ ๕๖๒๑ เพอ่ื ให้
เปน็ ทางภาระจำ�ยอมแก่ทดี่ นิ โฉนดเลขท่ี ๔๕๘๗ โดยได้รับคา่ ตอบแทน และตกลงจะไปจดทะเบียน
ภาระจำ�ยอมให้  ข้อความท่ีระบุไว้ดังกล่าวแม้จะยังมิได้ไปจดทะเบียนทางพิพาทเป็นภาระจำ�ยอม 
แตเ่ มื่อจำ�เลยไดร้ บั โอนทีด่ ินโฉนดเลขที่ ๕๖๒๑ มาโดยทางมรดก จำ�เลยกต็ อ้ งรบั ภาระผูกพันตาม
สัญญาดงั กลา่ วดว้ ย ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา ๑๖๐๐ แมโ้ จทกม์ ิใชค่ ู่สญั ญาตาม

๓๘๙
หนังสือสัญญาให้ผ่านที่ดินเอกสารหมาย จ. ๔ และกรณีไม่อาจทราบได้ว่าโจทก์เป็นผู้สืบสิทธิจาก ป.
เพราะโจทก์ท้ังสิบเก้าเป็นผู้รับโอนท่ีดินมาโดยทางนิติกรรม  มิใช่รับโอนมาโดยผลของกฎหมาย
ในฐานะทายาทหรือทางมรดก ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณชิ ย์ มาตรา ๑๕๙๙ และมาตรา
๑๖๐๐ ก็ตาม แต่การที่จำ�เลยเป็นผู้รับมรดกที่ดินโฉนดเลขที่ ๕๖๒๑ โดยโจทก์ใช้ทางพิพาทอยู่
จำ�เลยย่อมจะทราบดีกว่าบิดามารดาจำ�เลยมีข้อตกลงหรือสัญญายอมให้บุคคลอ่ืนผ่านทางพิพาทได้
ตามหนังสือสัญญาให้ผ่านท่ีดินดังกล่าว  ย่อมถือเป็นปริยายว่าจำ�เลยยอมรับท่ีจะปฏิบัติตามข้อตกลง
ดงั กล่าวดว้ ย จ�ำ เลยจึงไม่มีสิทธปิ ดิ กัน้ ทางพพิ าทและตอ้ งรื้อถอนสิง่ ปลกู สร้างในทางพพิ าทออกไป
๘๔. คำ�พิพากษาฎีกาที่  ๒๔๙๕/๒๕๔๐  ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
มาตรา  ๑๖๔๓  ท่ีกำ�หนดให้สิทธิที่จะรับมรดกแทนท่ีกันได้เฉพาะแก่ผู้สืบสันดานโดยตรงน้ัน
หมายความถึง ผู้สืบสันดานโดยสายโลหิตอันแทจ้ ริงเท่าน้นั ส่วนบุตรบญุ ธรรม แมป้ ระมวลกฎหมาย
แพ่งและพาณิชย์ มาตรา ๑๖๒๗ จะให้ถอื ว่าเป็นผู้สืบสันดานเหมือนกบั บตุ รที่ชอบด้วยกฎหมายก็ตาม
ก็หมายความเพียงว่า  บุตรบุญธรรมเป็นทายาทโดยธรรม  ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
มาตรา ๑๖๒๙ (๑) และมสี ิทธไิ ด้รับมรดกของผู้รับบตุ รบญุ ธรรมเท่านั้น หามผี ลท�ำ ใหบ้ ตุ รบญุ ธรรม
มีสิทธิรับมรดกแทนท่ีผู้รับบุตรบุญธรรมด้วยไม่  เพราะไม่ใช่เป็นผู้สืบสันดานโดยตรง  ตามประมวล
กฎหมายแพง่ และพาณิชย์ มาตรา ๑๖๔๓ ดงั นนั้ เมอื่ ผ้รู ้องเป็นบตุ รบุญธรรมของ จ. ซ่งึ เปน็ พี่น้องรว่ ม
บดิ ามารดาเดยี วกนั กับเจา้ มรดก และ จ. ถึงแกค่ วามตายไปก่อนเจา้ มรดกแล้วเช่นน้ี ผูร้ อ้ งยอ่ มไมม่ ี
สทิ ธริ บั มรดกของเจา้ มรดกแทนท่ี จ. ได้ เพราะผ้รู ้องไมใ่ ช่ผ้สู ืบสันดานโดยตรงของ จ.
๘๕. คำ�พิพากษาฎีกาท่ี  ๓๘๓/๒๕๔๐  การเช่าทรัพย์สินน้ัน  ปกติฝ่ายผู้ให้เช่าย่อม
เพ่งเล็งถึงคุณสมบัติของผู้เช่าว่าจะสมควรได้รับความไว้วางใจในการใช้ทรัพย์สินท่ีเช่าและในการดูแล
ทรพั ยส์ นิ ทเ่ี ช่าหรือไม่ ฉะนั้น สิทธิของผูเ้ ชา่ จงึ มสี ภาพเป็นการเฉพาะตวั เมื่อผูเ้ ชา่ ตายสญั ญาเชา่ เป็น
อนั ระงบั ไปไม่ตกทอดไปถงึ ทายาท ที่สญั ญาเช่าขอ้ ๔ ระบวุ ่า ในระหว่างสญั ญาเชา่ ยังไม่ครบกำ�หนด
อายสุ ัญญา ผเู้ ชา่ มสี ทิ ธทิ จ่ี ะโอนการเชา่ ใหแ้ กผ่ อู้ น่ื ไดแ้ ตต่ อ้ งจา่ ยคา่ ตอบแทนเปน็ เงนิ ใหแ้ กผ่ ใู้ หเ้ ชา่ นน้ั
เปน็ ขอ้ ตกลงเกย่ี วกบั การโอนการเชา่ ระหวา่ งทผ่ี ใู้ หเ้ ชา่ และผเู้ ชา่ ยงั มชี วี ติ อย ู่ ซง่ึ อาจท�ำ ไดต้ ามประมวล
กฎหมายแพง่ และพาณชิ ย์ มาตรา ๕๔๔ และเป็นเพียงบุคคลสิทธผิ กู พนั เฉพาะคู่สัญญา หาได้ตกทอด
มายังจ�ำ เลยแตอ่ ย่างใดไม่
๘๖. ค�ำ พพิ ากษาฎกี าที่ ๔๓๒๑/๒๕๔๐ กอ่ นตายผู้ตายไดย้ กทด่ี ิน ส.ค.๑ ให้แกบ่ ุตร
โดยสละการครอบครองท่ีดิน  ท่ีดินน้ันจึงไม่ใช่ทรัพย์สินของผู้ตาย  โจทก์ไม่มีอำ�นาจฟ้องให้ศาล
พพิ ากษาทด่ี นิ เปน็ ทรพั ยม์ รดกและใหจ้ ดทะเบยี นโอนใหโ้ จทกใ์ นฐานะผ้จู ดั การมรดก
๘๗. คำ�พิพากษาฎีกาท่ี  ๘๔๗๕/๒๕๔๐  สิทธิที่จะได้รับกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินตาม
สัญญาเช่าซื้อไม่ใช่สิทธิเฉพาะตัว  เมื่อผู้เช่าซื้อตาย  ทายาทจึงสืบสิทธิของผู้เช่าซื้อได้  และจำ�เลย
ในฐานะผู้จัดการมรดกซ่ึงมีหน้าที่ตามกฎหมายที่จะต้องจัดการแบ่งปันทรัพย์มรดก  จึงมีสิทธิจะเข้า
สืบสิทธิตามสญั ญาเช่าซ้ือ เพ่ือดำ�เนนิ การแบ่งปนั ใหท้ ายาทต่อไปได้

๓๙๐
๘๘. ค�ำ พพิ ากษาฎกี าท ่ี ๔๘๑๔/๒๕๔๑ .…..ในขณะเจา้ มรดกถงึ แกค่ วามตาย ร. มารดา
ของเจา้ มรดกแมจ้ ะมีอายุถึง ๙๕ ปี แตเ่ มือ่ ร. ยงั มชี วี ติ อยู่ ร. จึงเป็นทายาทโดยธรรมล�ำ ดบั ที่ ๒ ตาม
ประมวลกฎหมายแพง่ และพาณิชย์ มาตรา ๑๖๒๙ วรรคหนึง่ ส่วนผ้รู อ้ งเป็นพน่ี ้องรว่ มบิดามารดา
เดยี วกันกับเจา้ มรดก เป็นทายาทโดยธรรมล�ำ ดับท่ี ๓ อนั เป็นลำ�ดบั ถัดลงมา ผู้ร้องย่อมไมม่ ีสิทธิใน
ทรัพย์มรดกของผตู้ าย ตามประมวลกฎหมายแพง่ และพาณิชย์ มาตรา ๑๖๓๐ วรรคหน่งึ ……
๘๙. ค�ำ พิพากษาฎกี าท่ี ๖๓๕๔/๒๕๔๑ แมจ้ �ำ เลยท่ี ๒ จะไดท้ ำ�สญั ญาจะซือ้ จะขาย
ทด่ี นิ พพิ าทกบั พระภกิ ษุ ส. ไวแ้ ลว้ ตง้ั แตป่ ี ๒๕๒๘ และช�ำ ระราคาครบถว้ นแลว้ กต็ าม แตพ่ ระภกิ ษุ ส.
ยงั มไิ ดจ้ ดทะเบยี นโอนกรรมสทิ ธท์ิ ด่ี นิ พพิ าทแกจ่ �ำ เลยท่ี ๒ จนพระภกิ ษุ ส. ถงึ แกม่ รณภาพในปี ๒๕๓๐
เมื่อชื่อเจ้าของกรรมสิทธิ์ในที่ดินพิพาทยังเป็นพระภิกษุ ส. อยู่  ที่ดินพิพาทจึงเป็นทรัพย์สินของ
พระภกิ ษุ ส. ท่ีได้มาในระหวา่ งเวลาท่ีอยใู่ นสมณเพศ ซึ่งประมวลกฎหมายแพง่ และพาณชิ ย์ มาตรา
๑๖๒๓  ให้ทรัพย์สินดังกล่าวตกเป็นสมบัติของวัดท่ีเป็นภูมิลำ�เนาในขณะท่ีพระภิกษุน้ันมรณภาพ
ดงั นน้ั เมอ่ื พระภิกษุ ส. ถงึ แก่มรณภาพ กรรมสิทธทิ์ ดี่ นิ พพิ าทจงึ ตกเป็นสมบัติของวดั และถอื วา่ เป็น
ท่ีธรณีสงฆ์ของวัด  จะโอนได้ก็แต่พระราชบัญญัติฯ  และห้ามมิให้บุคคลใดยกอายุความขึ้นต่อสู้ตาม
พระราชบญั ญตั ิคณะสงฆฯ์ มาตรา ๓๔ จำ�เลยที่ ๑ ซง่ึ เปน็ ผ้จู ัดการมรดกของพระภิกษุ ส. หรือวัดจึง
ไม่มอี ำ�นาจท�ำ นติ ิกรรมโอนกรรมสทิ ธ์ิท่ดี นิ พิพาทใหแ้ ก่บคุ คลใดๆ ได้ การท่ีจำ�เลยที่ ๑ จดทะเบยี น
โอนขายทด่ี นิ พพิ าทแก่จำ�เลยท่ี ๒ จงึ เป็นโมฆะ ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา ๑๕๐
นิติกรรมดังกล่าว  จึงเสียเปล่ามาแต่แรกโดยศาลไม่จำ�เป็นต้องเพิกถอน  และโจทก์ไม่มีอำ�นาจฟ้อง
ขอบงั คบั ใหจ้ ำ�เลยท่ี ๑ หรอื วดั จดทะเบยี นโอนขายที่ดนิ พิพาทแกโ่ จทก์ โดยอ้างว่าโจทกไ์ ดท้ �ำ สญั ญา
จะซื้อจะขายที่ดินพิพาทและชำ�ระราคาแก่พระภิกษุ ส.  ครบถ้วนแล้วได้  เพราะวัดซ่ึงเป็นเจ้าของ
กรรมสิทธิ์เป็นนิติบุคคลต่างหากจากพระภกิ ษุ ส. ผ้เู ป็นคู่สญั ญากับโจทก์
๙๐. คำ�พิพากษาฎีกาที่ ๗๔๘/๒๕๔๒ เมื่อโจทก์และทายาทอื่นซึ่งมีสิทธิได้รับมรดก
ได้ตกลงแบง่ ปันมรดก แมม้ รดกส่วนท่ีโจทก์จะไดร้ บั ยงั ไม่เข้าครอบครองในฐานะเจ้าของ แตโ่ จทกไ์ ด้
ให้ผู้อื่นครอบครองแทน  ซึ่งเปรียบเสมือนโจทก์ได้รับส่วนแบ่งและได้ครอบครองที่ดินพิพาทด้วย
ตัวเองแลว้ การแบ่งปันมรดกจงึ เสร็จส้นิ แลว้
โจทกแ์ ละ บ. มารดาจ�ำ เลยเปน็ เจา้ ของรวมในทีด่ ินพพิ าท โดย บ. ครอบครองทดี่ ิน
พพิ าทส่วนของโจทก์ไว้แทน การที่จำ�เลยครอบครองทด่ี นิ พพิ าทต่อมาหลังจาก บ. ถงึ แก่ความตาย
จึงเป็นการครอบครองแทนโจทก์ด้วย  โจทก์จึงยังคงเป็นเจ้าของรวมในท่ีดินพิพาทอยู่คร่ึงหน่ึง  และ
มสี ทิ ธิขอแบง่ ท่ดี นิ พพิ าทตามฟอ้ ง
๙๑. คำ�พิพากษาฎีกาที่  ๑๓๔๙/๒๕๔๒  สัญญาแบ่งมรดกที่ดินพิพาทระหว่างโจทก์
และจ�ำ เลยทำ�ข้ึนก่อนมีโฉนดทีด่ นิ ทดี่ ินพิพาทยอ่ มตกเป็นสิทธิของโจทก์ก่อนมีโฉนดที่ดนิ แมท้ ีด่ ิน
โฉนดที่พิพาทมีขอ้ ความระบุวา่ หา้ มโอนภายใน ๑๐ ปี ตามประมวลกฎหมายที่ดนิ มาตรา ๕๘ ทวิ
ก็ตาม กรณีก็ไม่ต้องห้ามมิให้โจทก์ฟ้องขอให้จำ�เลยแบ่งแยกที่ดินเฉพาะส่วนที่ดินพิพาทแก่โจทก์

๓๙๑
ตามประมวลกฎหมายที่ดิน มาตรา ๕๘ ทวิ วรรคห้า เพราะไมใ่ ช่กรณีท่ีผไู้ ดม้ าซ่งึ สิทธใิ นทด่ี นิ โอน
ท่ีดินให้แกผ่ ูอ้ ื่น แตเ่ ป็นการโอนให้แก่เจ้าของทด่ี นิ ซึง่ เปน็ ผู้มีสิทธิในทีด่ นิ ที่แทจ้ ริง
๙๒. คำ�พิพากษาฎีกาที่ ๑๔๕๒/๒๕๔๒ ที่ดินพิพาทเป็นของโจทก์และ ส. ร่วมกัน
และเป็นทรัพย์มรดกที่ยังมิได้แบ่งกัน  เมื่อโจทก์ครอบครองทรัพย์มรดกส่วนของตนตลอดมา  โจทก์
ย่อมมีสิทธิที่จะเรียกร้องให้แบ่งทรัพย์มรดกน้ันได้  ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์  มาตรา
๑๗๔๘ วรรคหน่งึ แม้จะลว่ งพน้ อายุความมาตรา ๑๗๕๔ คดีโจทกก์ ไ็ ม่ขาดอายุความ
๙๓. ค�ำ พพิ ากษาฎกี าท ่ี ๑๗๕๑/๒๕๔๒ ท. เชา่ ทด่ี นิ พพิ าทจาก จ. แม้ จ. ถงึ แกก่ รรมแลว้
ท. ก็ยังเชา่ ตดิ ตอ่ กันเรอ่ื ยมาจนถงึ ปจั จบุ นั ถือไดว้ า่ ท. ครอบครองทด่ี นิ พิพาทแทนทายาทของ จ.
ซ่ึงก็คอื โจทก์กับจำ�เลย มิได้ครอบครองแทนเฉพาะจำ�เลยท่ีเปน็ ผู้เก็บค่าเช่าเทา่ นนั้
การท่ีจำ�เลยได้จดทะเบียนรับโอนมรดกท่ีดินพิพาทโดยโจทก์ไม่ทราบประกาศกับมิได้
คัดคา้ นนัน้ ยงั ถอื ไมไ่ ดว้ ่ามกี ารแบ่งมรดกที่ดนิ พพิ าทแล้ว เพราะการปิดประกาศการขอรบั มรดกของ
เจา้ พนักงานทดี่ นิ กเ็ พอ่ื ให้ผู้ที่มสี ทิ ธิเกี่ยวขอ้ งได้ทราบและมีการก�ำ หนดเวลาไวเ้ พือ่ ให้เจา้ พนกั งานทด่ี ิน
สามารถด�ำ เนนิ การเกย่ี วกบั ค�ำ ขอรบั มรดกไดห้ ากไมม่ ผี คู้ ดั คา้ น เมอ่ื ถอื วา่ โจทกค์ รอบครองทด่ี นิ พพิ าท
ซึ่งเป็นทรัพยม์ รดกทย่ี ังมไิ ด้แบง่ กัน โจทกย์ อ่ มมสี ิทธิเรียกรอ้ งให้แบง่ ทรัพย์มรดกนั้นได้ แมว้ ่าจะล่วง
พน้ ก�ำ หนดอายุความหนึ่งปี ทง้ั นี ้ ตามประมวลกฎหมายแพง่ และพาณิชย์ มาตรา ๑๗๔๘ วรรคหนึง่
๙๔. ค�ำ พิพากษาฎกี าที่ ๑๘๑๖/๒๕๔๒ ….แมก้ อ่ นถงึ แกม่ รณภาพพระภกิ ษุ ส. ได้ท�ำ
สัญญาจะซ้ือจะขายท่ีดินพิพาทให้แก่จำ�เลยร่วม  และจำ�เลยร่วมได้ผ่อนชำ�ระค่าที่ดินครบถ้วนแล้ว
แตเ่ ม่อื พระภกิ ษ ุ ส. ถงึ แกม่ รณภาพ ที่ดินพพิ าทตกเปน็ สมบตั ขิ องวดั จำ�เลยที่ ๑ โดยเป็นทธ่ี รณีสงฆ์
ซึ่งจะโอนกรรมสิทธิ์ได้ก็แต่โดยพระราชบัญญัติ  ทั้งน้ี  ตามพระราชบัญญัติคณะสงฆ์  พ.ศ. ๒๕๐๕
มาตรา ๓๓ (๒) และมาตรา ๓๔ การท่ีจำ�เลยท่ี ๒ ในฐานะผูจ้ ัดการมรดกพระภกิ ษุ ส. จดทะเบียน
โอนขายที่พพิ าทใหจ้ �ำ เลยรว่ ม แมโ้ ดยความเหน็ ชอบของวัดจำ�เลยท่ี ๑ จงึ เปน็ โมฆะ ตามประมวล
กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา ๑๕๐ หากจ�ำ เลยที่ ๒ ไดน้ ำ�ท่พี ิพาทไปท�ำ สัญญาจะซ้ือจะขายให้แก่
โจทก์ โจทกก์ ็ไมม่ ีอ�ำ นาจฟ้องขอใหบ้ ังคับจ�ำ เลยทง้ั สองจดทะเบยี นโอนขายทดี่ ินพิพาทใหโ้ จทก์
๙๕. คำ�พพิ ากษาฎีกาท่ี ๒๓๐๔/๒๕๔๒ ประมวลกฎหมายแพง่ และพาณชิ ย์ มาตรา
๑๖๒๙ ซึง่ บัญญตั ถิ ึงบิดามารดากับบุตรว่าเปน็ ทายาทซ่ึงกันและกันน้นั หมายถึง บิดาและบุตรต่อกนั
ตามกฎหมาย ถา้ มใิ ชก่ ็ไม่เป็นทายาทและไม่มีสิทธริ ับมรดกของบตุ ร
๙๖. ค�ำ พพิ ากษาฎีกาท่ี ๓๕๕๕/๒๕๔๒ ขอ้ ความในหนงั สอื สละมรดกท่ี ถ. และโจทก์
ยอมสละสทิ ธใิ นทด่ี ินพิพาท โดยมีเงือ่ นไขวา่ ต้องสร้างอนุสรณส์ ำ�หรบั ฝังอฐั ิ ฮ. ในที่ดินพพิ าทเนือ้ ท ี่
๒ ไร่ และเจาะจงให้ที่ดินที่เหลือตกแก่ ส. และจำ�เลยที่ ๑ โดยเฉพาะ นั้น ไม่ใช่การสละมรดก
ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณชิ ย์ มาตรา ๑๖๑๒ และ ๑๖๑๓ เพราะการสละมรดกจะทำ�แต่
เพยี งบางสว่ นหรอื ท�ำ โดยมเี งอ่ื นไขหรอื เจตนาใหม้ รดกนน้ั ตกไดแ้ กท่ ายาทคนใดคนหนง่ึ ไมไ่ ด ้ แตห่ ลงั จาก
ท่ี ฮ. ตายแล้ว ทายาทของ ฮ. ได้เจรจาตกลงกนั โดยทำ�บนั ทึกข้อตกลงวา่ ทดี่ นิ ของ ฮ. ๒ แปลง


Click to View FlipBook Version