The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by deadthecatko, 2022-05-01 15:17:54

คณ2-1 หมุน_merged_removed

คณ2-1 หมุน_merged_removed

คำนำ

ตามทีก่ ระทรวงศกึ ษาธิการ ได้ประกาศใช้มาตรฐานการเรียนรู้และตัวช้วี ัด กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
(ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 เพื่อให้สถานศึกษา
นำไปใช้เป็นกรอบทิศทางในการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา วางแผนการจัดการเรียนการสอนและจัดกิจกรรม
การเรียนรู้เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้ความสามารถ และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามเป้าหมายของหลักสูตร
ตลอดจนให้เกิดผลสำเร็จตามเจตนารมณ์ของการปฏิรูปการศึกษา ดังน้ัน ขั้นตอนการนำหลักสูตรสถานศึกษาไป
ปฏิบัตจิ ริงในชัน้ เรียนของครผู ้สู อน จงึ จดั เปน็ หัวใจสำคญั ในการพฒั นาผเู้ รยี น

ข้าพเจ้าจึงได้จัดทำแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1 ขึ้น
โดยศึกษาแหล่งอา้ งองิ จากแผนฯ ของบรษิ ัท อักษรเจริญทศั น์ อจท. จำกัด เพอื่ ใช้เป็นแนวทางวางแผนจดั การเรียนรู้
แก่ผู้เรียน โดยจัดทำเป็นหน่วยการเรียนรู้อิงมาตรฐานและออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ตามแนวคิดการออกแบบ
ยอ้ นกลบั (Backward Design) ตลอดจนเนน้ กจิ กรรมแบบ Active Learning อนั จะชว่ ยให้ผู้ปกครองและหน่วยงาน
ที่เกี่ยวข้องกับการประเมินคุณภาพการศึกษา สามารถมั่นใจในผลการเรียนรู้และคุณภาพของผู้เรียนท่ีมีหลักฐาน
ตรวจสอบผลการเรยี นรู้อย่างเป็นระบบ โดยท้ังนีก้ ารออกแบบการเรยี นรู้ (Instructional Design) ไดด้ ำเนนิ การตาม
กระบวนการ ดงั นี้

1 หลกั การจัดการเรียนรู้องิ มาตรฐาน

หน่วยการเรียนรู้แต่ละหน่วยจะกำหนดผลการเรียนรู้ไว้เป็นเป้าหมายในการจัดการเรียนการสอน ผู้สอน
จะต้องศึกษาและวิเคราะห์รายละเอียดของมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดทุกข้อว่า ระบุให้ผู้เรียนต้องมีความรู้
ความเข้าใจเกี่ยวกับเรื่องอะไร และต้องสามารถลงมือปฏิบัติอะไรได้บ้าง และมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดที่
เกดิ ข้นึ กับผเู้ รียนจะนำไปสูก่ ารเสรมิ สรา้ งสมรรถนะสำคัญและคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ด้านใดแก่ผู้เรยี น

มาตรฐานการเรยี นรู้และตัวชี้วัด ผ้เู รียนร้อู ะไร

ผู้เรยี นทำอะไรได้
นำไปสู่

สมรรถนะสำคญั ของผู้เรียน คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์
พเิ ศษ 1

2 หลกั การจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ที่เน้นผเู้ รยี นเปน็ สำคญั

เม่ือผู้สอนวเิ คราะหร์ ายละเอียดของมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วดั และไดก้ ำหนดเป้าหมายการจดั การเรียน
การสอนเรียบร้อยแล้ว จึงกำหนดขอบข่ายสาระการเรียนรู้และแนวทางการจัดการเรียนการสอนให้ผู้เรียนลงมือ
ปฏิบตั ิตามขน้ั ตอนของกจิ กรรมการเรียนรู้ที่ออกแบบไว้จนบรรลุมาตรฐานและตัวช้ีวดั ทุกข้อ

มาตรฐานการเรยี นรู้และตวั ช้วี ัด เปา้ หมาย หลกั การจัดการเรียนรู้
การเรียนรู้
สมรรถนะสำคญั ของผ้เู รียน และการพัฒนา เนน้ ผูเ้ รยี นเป็นสำคญั
คณุ ภาพ สนองความแตกต่างระหว่างบุคคล
คุณลักษณะอนั พึงประสงค์ ของผเู้ รยี น เนน้ พัฒนาการทางสมอง
ของผู้เรียน กระตุน้ การคิด
เน้นความรคู้ ูค่ ณุ ธรรม

3 หลกั การบูรณาการกระบวนการเรยี นรสู้ ่ผู ลการเรียนรู้

เมื่อผู้สอนกำหนดขอบข่ายสาระการเรียนรู้และแนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนไว้แล้ว จึงกำหนด
รปู แบบการเรียนการสอนและกระบวนการเรียนรู้ ทจ่ี ะฝกึ ฝนให้ผู้เรียนเกิดการเรยี นรู้ บรรลุตามมาตรฐานการเรียนรู้
และตัวช้วี ัด โดยเลือกใช้กระบวนการเรียนรู้ที่สอดคลอ้ งกับมาตรฐานการเรียนรู้และตวั ชว้ี ัดท่เี ป็นเปา้ หมายในหน่วย
นั้น ๆ เช่น กระบวนการเรยี นรู้แบบบูรณาการ กระบวนการสรา้ งความรู้ กระบวนการเรียนรู้ด้วยตนเอง กระบวนการ
เผชิญสถานการณ์และการแก้ปัญหา กระบวนการเรียนรู้จากประสบการณ์จริง กระบวนการพัฒนาลักษณะนิสัย
กระบวนการปฏิบัติ กระบวนการคดิ วิเคราะห์อย่างมีวิจารณญาณ กระบวนการทางสังคม ฯลฯ กระบวนการเรยี นรู้
ที่มอบหมายให้ผ้เู รียนลงมือปฏิบัติน้ันจะต้องนำไปสกู่ ารเสริมสร้างสมรรถนะสำคัญ และคุณลักษณะอนั พึงประสงค์
ของผ้เู รียนตามสาระการเรียนรทู้ ก่ี ำหนดไวใ้ นแต่ละหน่วยการเรียนรู้

4 หลกั การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน

การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน และกิจกรรมการเรียนรู้ในแต่ละหน่วย ผู้สอนต้องกำหนดขั้นตอนและ
วธิ ปี ฏบิ ัตใิ หช้ ัดเจน โดยเนน้ ใหผ้ ู้เรยี นไดล้ งมอื ฝกึ ฝนและฝกึ ปฏบิ ัตมิ ากทส่ี ดุ ตามแนวคิดและวิธกี ารสำคัญ คือ

1) การเรียนรู้ เป็นกระบวนการทางสติปัญญา ที่ผู้เรียนทุกคนต้องใช้สมองในการคิดและทำความเข้าใจ
ในสิ่งต่าง ๆ ร่วมกับการลงมือปฏิบัติ ทดลองค้นคว้า จนสามารถสรุปเป็นความรู้ได้ด้วยตนเอง และ
สามารถนำเสนอผลงาน แสดงองค์ความรทู้ เี่ กิดขึ้นในแต่ละหน่วยการเรยี นรไู้ ด้

พเิ ศษ 2

2) การสอน เป็นการเลือกวิธีการหรอื กิจกรรมท่ีเหมาะสมกับการเรียนรู้ในหน่วยนั้น ๆ และที่สำคัญ คือ ตอ้ ง
เป็นวธิ ีการท่ีสอดคลอ้ งกับสภาพผู้เรียน ผู้สอนจึงต้องเลอื กใช้วิธกี ารสอน เทคนิคการสอน และรปู แบบการ
สอนอย่างหลากหลาย เพ่อื ชว่ ยให้ผู้เรยี นปฏิบัติกจิ กรรมการเรยี นรไู้ ด้อยา่ งราบรน่ื จนบรรลตุ วั ชีว้ ัดทกุ ขอ้

3) รูปแบบการสอน ควรเป็นวิธีการและข้ันตอนฝึกปฏิบัติที่ส่งเสริมหรือกระตุ้นให้ผู้เรียนสามารถคิดอย่าง
เป็นระบบ เช่น รูปแบบการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ (5Es) รูปแบบการสอนโดยใช้การคิดแบบ
โยนิโสมนสิการ รูปแบบการสอนแบบ CIPPA Model รูปแบบการเรียนการสอนตามวัฏจักรการเรียนรู้
แบบ 4MAT รปู แบบการเรียนการสอนแบบร่วมมือ เทคนคิ JIGSAW, STAD, TAI, TGT

4) วธิ กี ารสอน ควรเลือกใช้วธิ ีการสอนท่ีสอดคลอ้ งกับเนื้อหาของบทเรียน ความถนัด ความสนใจ และสภาพ
ปญั หาของผู้เรียน วธิ ีสอนที่ดจี ะช่วยใหผ้ เู้ รียนสามารถบรรลุผลการเรียนรู้ตามในระดบั ผลสัมฤทธ์ิทีส่ ูง เช่น
วิธีการสอนแบบบรรยาย การสาธิต การทดลอง การอภิปรายกลุ่มย่อย การแสดงบทบาทสมมติ การใช้
กรณตี วั อยา่ ง การใช้สถานการณจ์ ำลอง การใชศ้ นู ย์การเรยี น การใชบ้ ทเรยี นแบบโปรแกรม เปน็ ต้น

5) เทคนิคการสอน ควรเลือกใช้เทคนคิ การสอนท่สี อดคล้องกับวิธีการสอน และชว่ ยให้ผูเ้ รยี นเข้าใจเนอ้ื หาใน
บทเรียนได้ง่ายข้ึน สามารถกระตุ้นความสนใจและจูงใจให้ผู้เรียนร่วมปฏิบัติกิจกรรมการเรียนรู้อย่างมี
ประสิทธิภาพ เช่น เทคนิคการใช้ผังกราฟิก (Graphic Organizers) เทคนิคการเล่านิทาน การเล่นเกม
เทคนคิ การใช้คำถาม การใชต้ ัวอย่างกระตุ้นความคิด การใช้ส่อื การเรียนรทู้ ่นี ่าสนใจ เป็นตน้

6) ส่ือการเรียนการสอน ควรเลือกใช้สื่อหลากหลายกระตุ้นความสนใจ และทำความกระจ่างให้เนื้อหา
สอดคล้องกับสาระการเรียนรู้ และเป็นเคร่ืองมือช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้บรรลุตัวชี้วัดอย่างราบรื่น
เช่น ส่ือสิ่งพิมพ์ เอกสารประกอบการสอน แถบวีดิทัศน์ แผ่นสไลด์ คอมพิวเตอร์ VCD LCD Visualizer
เป็นตน้ ควรเตรียมสื่อใหค้ รอบคลมุ ทั้งสอ่ื การสอนของครูและสอื่ การเรยี นรู้ของผเู้ รียน

5 หลกั การจดั กจิ กรรมการเรียนรู้แบบย้อนกลบั ตรวจสอบ

เมอ่ื ผู้สอนวางแผนออกแบบการจัดการเรยี นรู้ รวมถงึ กำหนดรูปแบบการเรียนการสอนไว้เรียบร้อยแล้ว จึงนำ
เทคนิควิธีการสอน วิธีจัดกิจกรรมการเรียนรู้และส่ือการเรียนรู้ไปลงมือจัดการเรียนการสอน ซึ่งจะนำผู้เรียนไปสู่
การสร้างชิ้นงานหรือภาระงาน เกิดทักษะกระบวนการและสมรรถนะสำคัญตามธรรมชาติวิชา รวมทั้งคุณลักษณะ
อนั พึงประสงคใ์ ห้บรรลุตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดที่เป็นเป้าหมายของหน่วยการเรียนรู้ ตามลำดับข้นั ตอน
การเรียนรทู้ ีก่ ำหนดไว้ ดงั น้ี

พเิ ศษ 3

จากเปา้ หมายและ เป้าหมายการเรียนรู้ของหน่วย
หลกั ฐาน คิดย้อนกลับ หลกั ฐานชน้ิ งาน/ภาระงาน
แสดงผลการเรียนรูข้ องหน่วย
ส่จู ดุ เริม่ ตน้
ของกจิ กรรมการเรยี นรู้ 4 กิจกรรม คำถามชวนคิด

แสดงผลการเรียนรขู้ องหน่วย

3 กจิ กรรม คำถามชวนคิด จากกิจกรรมการเรียนรู้
2 กิจกรรม คำถามชวนคดิ ทีละขน้ั บันได
1 กจิ กรรม คำถามชวนคิด สู่หลกั ฐานและ

เปา้ หมายการเรยี นรู้

การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่มีประสิทธภิ าพ นอกจากจะเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ลงมือปฏิบัติจริงแล้ว จะต้อง
ฝึกฝนกระบวนการคิดทุกขั้นตอน โดยใช้เทคนิคการตั้งคำถามกระตุ้นความคิด และใช้ระดับคำถามให้สัมพันธ์กับ
เน้ือหาการเรียนรู้ ตั้งแต่ระดับความรู้ ความจำ ความเข้าใจ การนำไปใช้ การวิเคราะห์ การประเมินค่า และ
การสร้างสรรค์ นอกจากจะช่วยให้ผู้เรียนเกิดความเข้าใจบทเรียนอย่างลึกซึ้งแล้วยังเป็นการเตรียมความพร้อม
เพื่อสอบ O-NET ซง่ึ เป็นการทดสอบระดับชาตทิ เี่ น้นกระบวนการคดิ ระดับวเิ คราะหด์ ้วย และในแต่ละแผนการเรยี นรู้
จึงมีการระบุคำถามเพื่อกระตุ้นความคิดของผู้เรียนไว้ด้วยทุกกิจกรรม ผู้เรียนจะได้ฝึกฝนวิธีการทำข้อสอบ O-NET
ควบคู่ไปกับการปฏิบตั กิ ิจกรรมการเรยี นรู้ตามผลการเรยี นรู้ท่สี ำคญั

ทั้งน้ีการออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอนในแต่ละหน่วยจะครอบคลุมกิจกรรมการเรียนรู้ และ
การประเมินผลด้านความรู้ความเข้าใจ (K) ด้านทักษะกระบวนการ (P) และด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A)
ตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวช้ีวัด กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตร
แกนกลางฯ การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 พร้อมทั้งออกแบบเครื่องมือการวัดและประเมินผล
ตลอดจนแบบบันทึกผลการเรียนรู้ด้านต่าง ๆ ไว้ครบถ้วน สอดคล้องกับมาตรฐานด้านคุณภาพผู้เรียน เช่น
แบบบันทึกผลด้านการคิดวิเคราะห์ ดา้ นการอ่านและแสวงหาความรู้ ด้านสมรรถนะและคุณลักษณะอันพึงประสงค์
ตามหลักสูตร เป็นต้น ผู้สอนสามารถนำไปประยุกต์ใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ และใช้ประกอบการจัดทำรายงาน
การประเมินตนเอง (Self Assessment Reports) จึงม่ันใจอย่างย่ิงว่า การนำแผนการจัดการเรียนรู้เล่มนี้ไป
เปน็ แนวทางจัดการเรียนการสอนจะช่วยพฒั นาผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนให้สูงขึ้นตามมาตรฐานการศกึ ษา
และการประกนั คณุ ภาพภายในสถานศึกษาทุกประการ

นายปฏภิ าณ พงึ่ เกษม

พิเศษ 4

สารบญั

สรปุ หลักสูตรฯ กลุ่มสาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์ หนา้
พิเศษ 1-2
ตวั ช้วี ัดและสาระการเรียนร้แู กนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรคู้ ณติ ศาสตร์
พิเศษ 3-5
คำอธิบายรายวชิ า คณติ ศาสตร์ ป.2
พิเศษ 6-7
โครงสร้างรายวิชา คณิตศาสตร์ ชั้น ป.2
พิเศษ 8-10
Pedagogy
พเิ ศษ 11-12
โครงสรา้ งแผนการจดั การเรยี นรู้ รายวชิ า คณิตศาสตร์ ป.2 เลม่ 1
พิเศษ 13-28
หน่วยการเรยี นรู้ที่ 1 จำนวนนบั ไม่เกิน 1,000 และ 0
แผนการจัดการเรยี นรูท้ ี่ 1 การอ่านและการเขยี นตัวเลขฮนิ ดอู ารบกิ ตัวเลขไทย 1
และตวั หนงั สือแสดงจำนวนนบั 14
แผนการจัดการเรยี นรทู้ ี่ 2 การนบั ทลี ะ 2 ทีละ 5 ทีละ 10 และทีละ 100
แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 3 จำนวนคู่ จำนวนคี่ 25
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 หลักและคา่ ของเลขโดดในแต่ละหลัก 39
แผนการจดั การเรียนร้ทู ี่ 5 การเขยี นตวั เลขแสดงจำนวนในรูปกระจาย 49
แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี 6 การเปรยี บเทยี บจำนวน 58
แผนการจัดการเรยี นรทู้ ี่ 7 การเรยี งลำดับจำนวน 66
77

หน่วยการเรียนรู้ท่ี 2 การบวกจำนวนที่มผี ลบวกไมเ่ กิน 1,000 89
แผนการจดั การเรียนรทู้ ่ี 1 การบวกจำนวนสองจำนวนท่ีมีผลบวกไมเ่ กนิ 1,000 ตามแนวตัง้ 102
(ไม่มที ด)
แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี 2 การบวกจำนวนสองจำนวนที่มีผลบวกไม่เกนิ 1,000 ตามแนวตั้ง 116
(มีทด)
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 การบวกตามแนวนอนโดยใชค้ วามสมั พนั ธ์ 130
ของจำนวนแบบสว่ นย่อยและส่วนรวม
แผนการจัดการเรยี นรทู้ ่ี 4 การบวกจำนวนสามจำนวนทีม่ ีผลบวกไมเ่ กนิ 1,000 139
แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ 5 การแก้โจทย์ปญั หาการบวก 149
แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 6 การสร้างโจทย์ปัญหาการบวก 166

พิเศษ 5

หน่วยการเรียนรู้ท่ี 3 การลบจำนวนทมี่ ีตวั ต้ังไมเ่ กนิ 1,000 หนา้
แผนการจัดการเรยี นรูท้ ่ี 1 การลบจำนวนสองจำนวนท่ีมีตัวตัง้ ไม่เกนิ 1,000 ตามแนวต้งั 180
(ไมม่ ีการกระจาย) 193
แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี 2 การลบจำนวนสองจำนวนทีม่ ีตัวตง้ั ไมเ่ กนิ 1,000 ตามแนวต้ัง
(มีการกระจาย) 207
แผนการจัดการเรยี นรทู้ ี่ 3 การลบตามแนวนอนโดยใช้ความสัมพนั ธ์
ของจำนวนแบบส่วนย่อยและสว่ นรวม 222
แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 4 การลบจำนวนสามจำนวน
แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 5 ความสัมพนั ธ์ของการบวกและการลบ 231
แผนการจัดการเรยี นรทู้ ี่ 6 การหาตวั ไม่ทราบคา่ ในประโยคสญั ลักษณ์แสดงการบวกและการลบ 239
แผนการจัดการเรยี นรทู้ ่ี 7 การแกโ้ จทย์ปญั หาการลบ 249
แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี 8 การสรา้ งโจทย์ปัญหาการลบ 260
279

หนว่ ยการเรียนรูท้ ่ี 4 แบบรปู ของจำนวน 292
แผนการจัดการเรยี นรทู้ ี่ 1 แบบรปู ของจำนวนทเ่ี พ่มิ ขึน้ ทีละ 2 ทีละ 5 และทีละ 100 304
แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 2 แบบรปู ของจำนวนที่ลดลงทีละ 2 ทลี ะ 5 และทลี ะ 100 317
แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 3 แบบรูปซ้ำ 331

หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 5 รปู เรขาคณติ 341
แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 1 ลกั ษณะของรูปหลายเหลย่ี ม วงกลม และวงรี 352
แผนการจัดการเรียนรูท้ ี่ 2 การเขียนรปู เรขาคณิตสองมติ โิ ดยใชแ้ บบของรปู 365

หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 6 การวัดความยาว 375
แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี 1 การวัดความยาวเปน็ เมตรและเซนติเมตร 387
แผนการจัดการเรียนรทู้ ่ี 2 การคาดคะเนความยาวเมอ่ื เปรียบเทียบกับความยาว 1 เมตร 396
แผนการจัดการเรยี นรทู้ ี่ 3 การคาดคะเนความยาวเปน็ เมตร 404
แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 4 การเปรียบเทียบความยาวโดยใชค้ วามสมั พนั ธร์ ะหวา่ ง 412
เมตรกับเซนตเิ มตร
แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ 5 โจทย์ปัญหาเก่ยี วกบั ความยาวที่มหี นว่ ยเปน็ เมตรและเซนตเิ มตร 424

พิเศษ 6

หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 7 เวลา หนา้
แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี 1 การบอกเวลาเปน็ นาฬกิ าและนาทีในเวลาชว่ งกลางวนั
แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 2 การบอกเวลาเป็นนาฬกิ าและนาทีในเวลาชว่ งกลางคืน 437
แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ 3 การบอกระยะเวลาเป็นนาที 449
แผนการจดั การเรยี นรทู้ ี่ 4 การบอกระยะเวลาเป็นช่วั โมง 458
แผนการจัดการเรยี นรทู้ ่ี 5 การเปรยี บเทยี บระยะเวลาเป็นชวั่ โมง เป็นนาที 467
แผนการจดั การเรยี นรูท้ ่ี 6 การอา่ นปฏิทนิ 477
แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 7 โจทยป์ ัญหาเกย่ี วกับเวลา 487
497
507

พิเศษ 7

สรุปหลักสตู รฯ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์ *

คณิตศาสตร์มีบทบาทสำคัญย่ิงต่อความสำเร็จในการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 เนื่องจากคณิตศาสตร์ช่วยให้มนุษย์
มีความคิดริเร่ิมสร้างสรรค์ คิดอย่างมีเหตุผล เป็นระบบ มีแบบแผน สามารถวิเคราะห์ปัญหาหรือสถานการณ์ได้
อย่างรอบคอบและถี่ถ้วน ช่วยให้คาดการณ์ วางแผน ตัดสินใจ แก้ปัญหา ได้อย่างถูกต้องเหมาะสม และสามารถนำไปใช้
ในชีวิตจริงได้อย่างมีประสิทธิภาพ นอกจากนี้ คณิตศาสตร์ยังเป็นเคร่อื งมือในการศึกษาด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และ
ศาสตร์อ่ืน ๆ อนั เปน็ รากฐานในการพัฒนาทรัพยากรบคุ คลของชาตใิ หม้ คี ณุ ภาพและพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศใหท้ ดั เทียม
กับนานาชาติ การศึกษาคณิตศาสตร์จึงจำเป็นต้องมีการพัฒนาอย่างต่อเน่ือง เพ่ือให้ทันสมัยและสอดคล้องกับสภาพ
เศรษฐกจิ สงั คม และความร้ทู างวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยที ่ีเจริญก้าวหนา้ อย่างรวดเรว็ ในยคุ โลกาภิวัฒน์

มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตร
แกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 จัดทำข้ึนโดยคำนึงถึงการส่งเสริมให้ผู้เรียนมีทักษะท่ีจำเป็นสำหรับ
การเรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21 เป็นสำคัญ น่ันคือ การเตรียมผู้เรียนให้มีทักษะด้านการคิดวิเคราะห์ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ
การแก้ปัญหา การคิดสร้างสรรค์ การใช้เทคโนโลยี การสื่อสารและการร่วมมือ ซ่ึงส่งผลใหผ้ ู้เรียนรู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลง
ของระบบเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และสภาพแวดล้อม สามารถแข่งขันและอยู่ร่วมกับประชาคมโลกได้ ทั้งนี้การจัด
การเรียนรคู้ ณติ ศาสตร์ที่ประสบความสำเรจ็ นน้ั จะตอ้ งเตรียมผูเ้ รยี นให้มีความพรอ้ มท่ีจะเรยี นรู้สงิ่ ตา่ ง ๆ พร้อมที่จะประกอบ
อาชพี เมื่อจบการศึกษา หรือสามารถศกึ ษาต่อในระดับท่ีสูงข้ึน ดังนั้นสถานศึกษาควรจัดการเรียนรู้ให้เหมาะสมตามศักยภาพ
ของผ้เู รียน

กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พทุ ธศักราช 2551 ได้จดั เป็น 3 สาระ ดังแผนภาพต่อไปนี้

สาระที่ 2 การวัดและเรขาคณติ
มาตรฐาน ค 2.1 - ค 2.2

สาระที่ 1 จำนวนและพีชคณติ กลุ่มสาระการเรยี นรู้ สาระท่ี 3 สถิตแิ ละความน่าจะเป็น
มาตรฐาน ค 1.1 - ค 1.3 คณติ ศาสตร์ มาตรฐาน ค 3.1 - ค 3.2

คณิตศาสตร์เพ่มิ เตมิ - สาระจำนวนและพีชคณิต - สาระการวดั และเรขาคณติ - สาระสถติ ิและความนา่ จะเปน็ - สาระแคลคลู สั

* สถาบันส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ, ตวั ช้ีวัดและสาระการเรียนรูแ้ กนกลาง กลมุ่ สาระการเรียนรู้คณติ ศาสตร์
(ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน พ.ศ. 2551. (กรุงเทพมหานคร : โรงพมิ พ์ชุมนมุ สหกรณก์ ารเกษตรแหง่
ประเทศไทย, 2560)

พิเศษ 1

พเิ ศษ 2

ตัวชีว้ ัดและสาระการเรยี นรแู้ กนกลาง กล่มุ สาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์ *

สาระที่ 1 จำนวนและพชี คณติ
มาตรฐาน ค 1.1 เข้าใจความหลากหลายของการแสดงจำนวน ระบบจำนวน การดำเนินการของจำนวน ผลท่เี กิดข้ึน

จากการดำเนินการ สมบัติของการดำเนินการ และนำไปใช้

ช้ัน ตวั ช้ีวัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง

ป.2 1. บอกจำนวนของส่ิงต่างๆ แสดงส่งิ ตา่ ง ๆ จำนวนนบั ไม่เกิน 1,000 และ 0

ตามจำนวนทกี่ ำหนด อ่านและเขยี นตวั เลข - การนับทลี ะ 2 ทลี ะ 5 ทลี ะ 10 และทีละ 100

ฮนิ ดอู ารบกิ ตวั เลขไทย ตวั หนังสือแสดง - การอา่ นและการเขยี นตัวเลขฮนิ ดอู ารบิก ตัวเลขไทย และ

จำนวนนับไม่เกนิ 1,000 และ 0 ตวั หนังสือแสดงจำนวน

2. เปรียบเทยี บจำนวนนบั ไม่เกิน 1,000 และ - จำนวนคู่ จำนวนคี่

0 โดยใชเ้ คร่ืองหมาย = ≠ > < - หลัก ค่าของเลขโดดในแต่ละหลัก และการเขียนตัวเลข

3. เรยี งลำดบั จำนวนนบั ไม่เกนิ 1,000 และ 0 แสดงจำนวนในรูปกระจาย

ต้งั แต่ 3 ถงึ 5 จำนวนจากสถานการณ์ - การเปรียบเทียบและการเรยี งลำดบั จำนวน

ตา่ งๆ

4. หาคา่ ของตัวไมท่ ราบค่าในประโยค การบวก การลบ การคูณ การหารจำนวนนบั ไม่เกิน

สัญลกั ษณแ์ สดงการบวกและประโยค 1,000 และ 0

สัญลักษณแ์ สดงการลบของจำนวนนับ - การบวกและการลบ

ไม่เกนิ 1,000 และ 0 - ความหมายของการคูณ ความหมายของการหาร การหา

5. หาคา่ ของตัวไมท่ ราบค่าในประโยค ผลคูณ การหาผลหารและเศษ และความสมั พนั ธข์ องการ

สญั ลักษณ์แสดงการคูณของจำนวน 1 หลกั คณู และการหาร

กบั จำนวนไมเ่ กนิ 2 หลกั - การบวก ลบ คูณ หารระคน

6. หาคา่ ของตวั ไม่ทราบคา่ ในประโยค - การแกโ้ จทยป์ ัญหาและการสร้างโจทยป์ ญั หา พร้อมท้ังหา

สัญลักษณแ์ สดงการหารทตี่ ัวตง้ั ไมเ่ กิน คำตอบ

2 หลัก ตัวหาร 1 หลกั โดยที่ผลหารมี

1 หลกั ทง้ั หารลงตัวและหารไมล่ งตัว

7. หาผลลัพธก์ ารบวก ลบ คูณ หารระคนของ

จำนวนนับไม่เกิน 1,000 และ 0

8. แสดงวธิ ีหาคำตอบของโจทย์ปัญหา 2 ข้นั ตอน

ของจำนวนนับไม่เกนิ 1,000 และ 0

พเิ ศษ 3

มาตรฐาน ค 1.2 เข้าใจและวิเคราะห์แบบรูป ความสัมพันธ์ ฟังกช์ นั ลำดับและอนุกรม และนำไปใช้

ชนั้ ตัวชวี้ ัด สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง

ป.2 (มีการจดั การเรยี น การสอนเพ่อื เป็นพ้ืนฐาน แบบรูป
แตไ่ ม่วัดผล) - แบบรูปของจำนวนท่เี พิ่มข้นึ หรือลดลงทีละ 2 ทีละ 5

และทีละ 100
- แบบรูปซำ้

สาระที่ 2 การวัดและเรขาคณิต
มาตรฐาน ค 2.1 เขา้ ใจพืน้ ฐานเกย่ี วกบั การวดั วัดและคาดคะเนขนาดของสงิ่ ทตี่ อ้ งการวัด และนำไปใช้

ชั้น ตวั ชี้วัด สาระการเรยี นรู้แกนกลาง

ป.2 1. แสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปญั หาเก่ยี วกับ เวลา

เวลาทีม่ หี นว่ ยเดย่ี วและเป็นหนว่ ยเดียวกัน - การบอกเวลาเปน็ นาฬิกาและนาที (ชว่ ง 5 นาท)ี

- การบอกระยะเวลาเป็นชว่ั โมง เปน็ นาที

- การเปรียบเทียบระยะเวลาเป็นชั่วโมง เป็นนาที

- การอ่านปฏิทนิ

- การแก้โจทยป์ ัญหาเกีย่ วกับเวลา

2. วดั และเปรียบเทยี บความยาวเป็นเมตรและ ความยาว

เซนตเิ มตร - การวดั ความยาวเป็นเมตรและเซนตเิ มตร

3. แสดงวิธหี าคำตอบของโจทย์ปญั หาการ - การคาดคะเนความยาวเป็นเมตร

บวก การลบเกย่ี วกับความยาวท่มี ีหนว่ ย - การเปรียบเทยี บความยาวโดยใชค้ วามสมั พนั ธร์ ะหวา่ ง

เป็นเมตรและเซนตเิ มตร เมตรกบั เซนติเมตร

- การแกโ้ จทย์ปญั หาเกี่ยวกบั ความยาวทมี่ หี นว่ ยเป็นเมตร

และเซนติเมตร

4. วดั และเปรยี บเทยี บนำ้ หนักเป็นกโิ ลกรัม น้ำหนกั

และกรัม กโิ ลกรมั และขีด - การวัดนำ้ หนักเปน็ กโิ ลกรัมและกรัม กโิ ลกรัมและขดี

5. แสดงวธิ หี าคำตอบของโจทย์ปญั หาการ - การคาดคะเนนำ้ หนกั เป็นกโิ ลกรัม

บวก การลบเกี่ยวกบั น้ำหนักทม่ี ีหนว่ ยเปน็ - การเปรยี บเทียบน้ำหนักโดยใชค้ วามสมั พันธร์ ะหวา่ ง

กโิ ลกรมั และกรัม กโิ ลกรัมและขดี กโิ ลกรมั กับกรมั กโิ ลกรัมกบั ขีด

- การแกโ้ จทยป์ ัญหาเกย่ี วกับนำ้ หนกั ทมี่ หี นว่ ยเป็นกิโลกรมั

และกรัม กโิ ลกรัมและขีด

พเิ ศษ 4

ชนั้ ตวั ชีว้ ัด สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง

6. วดั และเปรียบเทียบปริมาตรและความจุ ปรมิ าตรและความจุ
เปน็ ลติ ร - การวดั ปริมาตรและความจโุ ดยใช้หนว่ ยทีไ่ มใ่ ช่หนว่ ย

มาตรฐาน
- การวดั ปริมาตรและความจเุ ป็นชอ้ นชา ช้อนโตะ๊ ถ้วยตวง

ลิตร
- การเปรียบเทยี บปริมาตรและความจุเปน็ ชอ้ นชา ชอ้ นโตะ๊

ถว้ ยตวง ลิตร
- การแกโ้ จทย์ปญั หาเก่ยี วกับปรมิ าตรและความจุทม่ี ีหน่วย

เป็นชอ้ นชา ช้อนโตะ๊ ถว้ ยตวง ลิตร

มาตรฐาน ค 2.2 เขา้ ใจและวเิ คราะห์รูปเรขาคณิต สมบตั ิของรปู เรขาคณิต ความสมั พันธร์ ะหว่างรูปเรขาคณติ และ
ทฤษฎีบททางเรขาคณิต และนำไปใช้

ชนั้ ตัวช้วี ัด สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง

ป.2 1. จำแนกและบอกลักษณะของรูป รปู เรขาคณิตสองมิติ
หลายเหลีย่ ม และวงกลม - ลกั ษณะของรูปหลายเหล่ยี ม วงกลม และวงรี และ

การเขียนรูปเรขาคณิตสองมติ โิ ดยใช้แบบของรปู

สาระท่ี 3 สถติ แิ ละความน่าจะเป็น
มาตรฐาน ค 3.1 เข้าใจกระบวนการทางสถติ ิ และใช้ความรู้ทางสถิติในการแกป้ ญั หา

ชน้ั ตวั ชีว้ ัด สาระการเรียนร้แู กนกลาง

ป.2 1. ใชข้ อ้ มูลจากแผนภมู ริ ูปภาพในการหา การนำเสนอขอ้ มูล
คำตอบของโจทย์ปญั หา เมอ่ื กำหนดรูป - การอา่ นแผนภูมิรูปภาพ
1 รูป แทน 2 หน่วย 5 หนว่ ย หรือ
10 หนว่ ย

พเิ ศษ 5

คำอธิบายรายวชิ า

คณิตศาสตร์

รายวิชาพน้ื ฐาน กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ คณิตศาสตร์

ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี 2 เวลา 200 ชัว่ โมง/ปี

ศึกษาการอ่านและการเขียนตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย และตัวหนังสือแสดงจำนวนนับไม่เกิน 1,000 และ 0 การนับ
ทีละ 2 ทีละ 5 ทีละ 10 ทีละ 100 จำนวนคู่ จำนวนคี่ หลัก ค่าประจำหลักของเลขโดดในแต่ละหลัก การเขียนตัวเลขแสดงจำนวน
ในรปู กระจาย การเปรียบเทียบจำนวน การเรยี งลำดับจำนวน การบวกจำนวนที่มผี ลบวกไมเ่ กิน 1,000 การลบจำนวนทมี่ ตี ัวตั้งไม่เกิน
1,000 ความสัมพันธ์ของการบวกและการลบ การหาตัวไม่ทราบค่าในประโยคสัญลักษณ์แสดงการบวกแล ะการลบ โจทย์ปัญหา
การบวก โจทยป์ ัญหาการลบ การสร้างโจทย์ปญั หา ความหมายของการคูณ ความหมายของการหาร การคูณจำนวนท่มี ีหนึ่งหลักกับ
จำนวนไม่เกินสองหลัก ความสัมพันธ์ของการคูณและการหาร การหารท่ีตัวหารและผลหารมีหนึ่งหลัก การหาตัวไม่ทราบค่า
ในประโยคสัญลักษณ์แสดงการคูณและการหาร การแก้โจทย์ปัญหาการคูณและโจทย์ปัญหาการหาร การบวก ลบ คูณ หารระคน
การแก้โจทย์ปัญหาการบวก ลบ คูณ หารระคน แบบรูปของจำนวนท่ีเพ่ิมข้ึนหรือลดลงทีละ 2 ทีละ 5 และทีละ 100 แบบรูปซ้ำ
การจำแนกลกั ษณะของรูปหลายเหลี่ยม วงกลม และวงรี และการเขียนรูปรขาคณิตสองมิติโดยใชแ้ บบของรูป การวัดความยาวเป็น
เมตรและเซนติเมตร การคาดคะเนความยาวเป็นเมตร การเปรียบเทียบความยาวโดยใช้ความสัมพันธ์ระหว่างเมตรและเซนติเมตร
การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับความยาวที่มีหน่วยเป็นเมตรและเซนติเมตร การบอกเวลาเป็นนาฬิกาและนาที การบอกระยะเวลาเป็น
ช่วั โมง เปน็ นาที การเปรียบเทียบระยะเวลาเปน็ ช่ัวโมง เป็นนาที การอา่ นปฏิทิน การแก้โจทย์ปัญหาเก่ียวกบั เวลา การวัดนำ้ หนกั เป็น
กโิ ลกรัมและกรัม กิโลกรัมและขีด การคาดคะเนน้ำหนักเปน็ กิโลกรัม การเปรียบเทยี บน้ำหนักโดยใช้ความสมั พันธร์ ะหว่างกโิ ลกรัมกับ
กรัม กโิ ลกรมั กับขีด การแก้โจทยป์ ัญหาเก่ียวกับน้ำหนักทมี่ ีหนว่ ยเป็นกิโลกรัมและกรัม กิโลกรมั และขีด การวัดปรมิ าตรและความจุ
โดยใช้หน่วยท่ีไม่ใช่หน่วยมาตรฐานและหน่วยมาตรฐานเป็นช้อนชา ช้อนโต๊ะ ถ้วยตวง ลิตร การเปรียบเทียบปริมาตรและความจุ
เป็นช้อนชา ช้อนโต๊ะ ถ้วยตวง ลิตร การแก้โจทย์ปัญหาเก่ียวกับปริมาตรและความจุท่ีมีหน่วยเป็นช้อนชา ช้อนโต๊ะ ถ้วยตวง ลิตร
การอา่ นแผนภูมริ ูปภาพ และการใช้ขอ้ มลู จากแผนภูมิรูปภาพในการหาคำตอบของโจทย์ปัญหา

โดยการจัดประสบการณ์หรือสร้างสถานการณ์ท่ใี กล้ตัวผู้เรียนไดศ้ ึกษา คน้ คว้า ฝึกทักษะ โดยการปฏิบัติจรงิ ทดลอง สรุป
รายงาน เพื่อพัฒนาทักษะและกระบวนการในการคิดคำนวณ การแก้ปัญหา การให้เหตุผล การส่ือสาร การสื่อความหมาย
ทางคณิตศาสตร์ และนำประสบการณ์ด้านความรู้ ความคิด ทักษะและกระบวนการที่ได้ไปใช้ในการเรียนรู้ส่ิงต่าง ๆ และใช้
ในชีวติ ประจำวนั อย่างสรา้ งสรรค์

เพื่อให้เห็นคุณค่าและมีเจตคติที่ดตี ่อคณิตศาสตร์ สามารถทำงานได้อย่างเป็นระบบ มรี ะเบียบ รอบคอบ มคี วามรับผดิ ชอบ
มีวิจารณญาณ มคี วามคดิ รเิ ร่ิมสรา้ งสรรค์ และมีความเช่อื ม่ันในตนเอง

พิเศษ 6

ตวั ช้วี ัด
ค 1.1 ป.2/1 บอกจำนวนของส่ิงต่าง ๆ แสดงส่ิงต่าง ๆ ตามจำนวนที่กำหนด อ่านและเขียนตัวเลขฮินดูอารบิก

ตวั เลขไทย ตัวหนงั สือแสดงจำนวนนบั ไม่เกนิ 1,000 และ 0
ค 1.1 ป.2/2 เปรยี บเทยี บจำนวนนับไม่เกนิ 1,000 และ 0 โดยใชเ้ ครอื่ งหมาย = ≠ > <
ค 1.1 ป.2/3 เรียงลำดับจำนวนนบั ไม่เกนิ 1,000 และ 0 ต้ังแต่ 3 ถึง 5 จำนวนจากสถานการณต์ ่างๆ
ค 1.1 ป.2/4 หาคา่ ของตัวไมท่ ราบค่าในประโยคสัญลกั ษณ์แสดงการบวกและประโยคสญั ลักษณ์แสดงการลบของ

จำนวนนับไมเ่ กนิ 1,000 และ 0
ค 1.1 ป.2/5 หาคา่ ของตวั ไม่ทราบคา่ ในประโยคสญั ลกั ษณแ์ สดงการคณู ของจำนวน 1 หลกั กับจำนวนไมเ่ กิน 2 หลกั
ค 1.1 ป.2/6 หาค่าของตัวไม่ทราบค่าในประโยคสัญลักษณ์แสดงการหารท่ีตัวต้ังไม่เกิน 2 หลัก ตัวหาร 1 หลัก โดยท่ี

ผลหารมี 1 หลกั ทั้งหารลงตวั และหารไมล่ งตัว
ค 1.1 ป.2/7 หาผลลัพธ์การบวก ลบ คูณ หารระคนของจำนวนนับไม่เกิน 1,000 และ 0
ค 1.1 ป.2/8 แสดงวิธหี าคำตอบของโจทย์ปัญหา 2 ขน้ั ตอนของจำนวนนับไม่เกนิ 1,000 และ 0
ค 2.1 ป.2/1 แสดงวิธหี าคำตอบของโจทย์ปญั หาเก่ียวกบั เวลาทมี่ หี นว่ ยเด่ียวและหน่วยเดียวกนั
ค 2.1 ป.2/2 วัดและเปรียบเทยี บความยาวเป็นเมตรและเซนตเิ มตร
ค 2.1 ป.2/3 แสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหาการบวก การลบเกี่ยวกบั ความยาวท่มี ีหน่วยเปน็ เมตรและ

เซนตเิ มตร
ค 2.1 ป.2/4 วดั และเปรยี บเทียบน้ำหนักเป็นกิโลกรมั และกรัม กโิ ลกรัมและขดี
ค 2.1 ป.2/5 แสดงวธิ ีหาคำตอบของโจทย์ปญั หาการบวก การลบเก่ียวกับนำ้ หนักที่มีหนว่ ยเป็นกโิ ลกรมั และกรัม

กิโลกรมั และขดี
ค 2.1 ป.2/6 วัดและเปรยี บเทยี บปรมิ าตรและความจเุ ปน็ ลิตร
ค 2.2 ป.2/1 จำแนกและบอกลกั ษณะของรูปหลายเหลย่ี มและวงกลม
ค 3.1 ป.2/1 ใชข้ อ้ มูลจากแผนภมู ิรูปภาพในการหาคำตอบของโจทยป์ ญั หา เมอ่ื กำหนดรปู 1 รูป แทน 2 หนว่ ย 5 หน่วย

หรือ 10 หน่วย
รวม 16 ตวั ชี้วดั

พิเศษ 7

โครงสร้างรายวชิ า คณิตศาสตร์ ชัน้ ป.2

ลำดบั ที่ ช่อื หนว่ ยการเรียนรู้ มาตรฐานการ สาระสำคัญ เวลา
เรยี นรู้ / ตวั ช้ีวัด (ชม.)

1 จำนวนนับไม่เกนิ ค 1.1 จำนวนนบั ทไ่ี ม่เกิน 1,000 และ 0 สามารถเขียน 15
1,000 และ 0 ป.2/1 และอา่ นตวั เลขฮนิ ดูอารบิก ตวั เลขไทย และ 20
ป.2/2 ตัวหนงั สอื นับทีละ 2 ทีละ 5 ทลี ะ 10 และทลี ะ 26
ป.2/3 100 จำแนกเป็นจำนวนคู่และจำนวนคี่ เขียน
แสดงจำนวนในรปู กระจาย ซึง่ เป็นการเขียน
2 การบวกจำนวนท่ีมี ค 1.1 ตามคา่ ของเลขโดดในแต่ละหลกั เปรยี บเทยี บ
ผลบวกไม่เกิน 1,000 ป.2/4 จำนวนทเ่ี ท่ากนั หรอื ไม่เทา่ กนั มากกวา่ หรอื
ป.2/8 น้อยกวา่ โดยใชเ้ คร่อื งหมาย = ≠ > < และ
เรียงลำดบั จำนวนจากน้อยไปมากหรือจาก
3 การลบจำนวนท่ีมีตัวตง้ั ค 1.1 มากไปน้อย
การบวกจำนวนสองจำนวนท่มี ผี ลบวกไมเ่ กิน
ไม่เกนิ 1,000 ป.2/4 1,000 และการบวกจำนวนสามจำนวนทม่ี ผี ลบวก
ไม่เกนิ 1,000 มวี ิธกี ารท่ีหลากหลาย โดยใชท้ ักษะ
ป.2/8 กระบวนการทางคณิตศาสตร์ในการหาคำตอบ
การแกโ้ จทยป์ ัญหาการบวก ต้องวเิ คราะหโ์ จทย์
และแสดงวิธที ำเพ่อื หาคำตอบ รวมท้งั ตรวจสอบ
ความสมเหตุสมผลของคำตอบ และการสร้าง
โจทยป์ ัญหาการบวกจะสรา้ งให้สอดคล้องกบั
สิง่ ทโ่ี จทย์กำหนดให้และเหมาะสมกับสถานการณ์
ในชีวิตจรงิ

การลบจำนวนสองจำนวนทมี่ ตี ัวตั้งไมเ่ กนิ 1,000
มวี ธิ กี ารทห่ี ลากหลายและใชท้ กั ษะกระบวนการ
ทางคณติ ศาสตร์ในการหาคำตอบและตรวจสอบ
ความสมเหตุสมผลของคำตอบ การหาตวั ไม่ทราบ
คา่ ในประโยค-สญั ลกั ษณแ์ สดงการบวกและ
การลบ สามารถใชค้ วามสัมพันธข์ องการบวกและ
การลบมาช่วยในการหาคำตอบ สว่ นการแกโ้ จทย์
ปัญหาการลบ ต้องวิเคราะหโ์ จทย์ และแสดงวธิ ที ำ
เพ่อื หาคำตอบ รวมท้ังตรวจสอบความ
สมเหตุสมผลของคำตอบ

พเิ ศษ 8

ลำดบั ท่ี ชอื่ หนว่ ยการเรยี นรู้ มาตรฐานการ สาระสำคญั เวลา
เรยี นรู้ / ตวั ชีว้ ัด (ชม.)

4 แบบรปู ของจำนวน มกี ารจดั การเรยี น ความสมั พันธ์ในแบบรูปของจำนวนที่เพมิ่ ขึ้นทลี ะ 9

การสอนเพอ่ื เป็น 2 ทีละ 5 ทีละ 100 และลดลงทีละ 2 ทลี ะ 5

พนื้ ฐาน แตไ่ ม่วดั ผล ทลี ะ 100 และแบบรูปซำ้ ของจำนวน สามารถ

บอกจำนวนต่อไปหรือจำนวนทห่ี ายไปได้

5 รูปเรขาคณิต ค 2.2 ลักษณะของรูปเรขาคณติ สองมิติ พจิ ารณา 6

ป.2/1 จากจำนวนดา้ น จำนวนมุม สว่ นการเขียนรูป

เรขาคณิตสองมติ ิ สามารถใช้แบบของรปู

เรขาคณติ มาเขียนตามขอบในหรือขอบนอก

6 การวัดความยาว ค 2.1 การวดั ความยาวเปน็ เมตรและเซนตเิ มตร ซึง่ 14

ป.2/2 หนว่ ยเมตรและเซนติเมตรเป็นหนว่ ยมาตรฐาน

ป.2/3 ที่ใช้บอกความยาว ความสงู และระยะทาง

สามารถนำความยาวของสงิ่ ต่าง ๆ ในหนว่ ย

เดยี วกัน มาเปรยี บเทียบกันได้ และการแกโ้ จทย์

ปญั หาเกีย่ วกบั การวัดความยาว สามารถทำได้

หลายวิธี แตค่ วรเลอื กวธิ ีแกป้ ัญหาที่เหมาะสม

7 เวลา ค 2.1 การบอกเวลาบนหนา้ ปดั นาฬกิ า (ชว่ ง 5 นาท)ี 20

ป.2/1 จะบอกเป็นนาฬิกากบั นาที และสามารถบอก

ระยะเวลาเปน็ ชว่ั โมง เปน็ นาที ซ่ึงนำมา

เปรยี บเทยี บกนั ได้ ส่วนการบอกวัน เดอื น ปี

จะดูได้จากปฏทิ นิ การแกโ้ จทย์ปัญหาเกี่ยวกับ

เวลาเปน็ การนำเวลาในหน่วยเดยี วกันมาบวก

ลบ คูณ หารกนั

8 การคณู จำนวนไม่เกิน ค 1.1 การคูณจำนวนทีม่ หี น่งึ หลักกับจำนวนท่ีไม่เกิน 20

1,000 และ 0 ป.2/5 สองหลัก มีวิธีการที่หลากหลายและใช้ทกั ษะ

ป.2/8 กระบวนการทางคณติ ศาสตรใ์ นการหาคำตอบ

และตรวจสอบความสมเหตสุ มผลของคำตอบ

ส่วนการแกโ้ จทย์ปัญหาการคณู ตอ้ งวิเคราะห์

โจทย์ และแสดงวิธที ำเพื่อหาคำตอบ รวมทง้ั

ตรวจสอบความสมเหตุสมผลของคำตอบ

9 การหารจำนวนไมเ่ กนิ ค 1.1 การหารท่ีตวั หารและผลหารมหี นง่ึ หลกั มวี ธิ กี าร 20

1,000 ป.2/5 ท่หี ลากหลายและใชท้ กั ษะกระบวนการทาง

ป.2/6 คณติ ศาสตรใ์ นการหาคำตอบและตรวจสอบความ

ป.2/8 สมเหตุสมผลของคำตอบ การหาตวั ไมท่ ราบค่าใน

ประโยคสญั ลกั ษณแ์ สดงการคูณและการหาร

สามารถใช้ความสมั พนั ธข์ องการคูณและการหาร

พเิ ศษ 9

ลำดับท่ี ชอ่ื หนว่ ยการเรยี นรู้ มาตรฐานการ สาระสำคญั เวลา
เรยี นรู้ / ตวั ชี้วัด (ชม.)

10 การวัดนำ้ หนกั ค 2.1 มาชว่ ยในการหาคำตอบ ส่วนการแกโ้ จทยป์ ัญหา 15
ป.2/4 การหาร ตอ้ งวิเคราะหโ์ จทย์ และแสดงวธิ ที ำเพอ่ื
ป.2/5 หาคำตอบ รวมทงั้ ตรวจสอบความสมเหตสุ มผล 15
ของคำตอบ
11 ปรมิ าตรและความจุ ค 2.1 การวัดนำ้ หนักโดยใชห้ นว่ ยมาตรฐาน จะบอก 5
ป.2/6 นำ้ หนักเปน็ ขดี กรมั กิโลกรมั ซ่ึงสามารถนำ 15
นำ้ หนักของส่ิงตา่ งๆ มาเปรยี บเทียบกนั ไดโ้ ดยใช้
12 การนำเสนอข้อมูล ค 3.1 ความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งกโิ ลกรมั กับกรัม กิโลกรัมกับ
ป.2/1 ขีด สว่ นการแก้โจทย์ปญั หาเกี่ยวกบั การวดั
นำ้ หนกั สามารถทำไดห้ ลายวิธีแต่ควรเลือกวธิ ี
13 การบวก ลบ คณู หาร ค 1.1 แกป้ ัญหาทเี่ หมาะสม
ระคน ป.2/7 การวดั ปริมาตรและความจโุ ดยใช้หนว่ ยมาตรฐาน
ป.2/8 จะบอกปริมาตรหรอื ความจเุ ปน็ หนว่ ยชอ้ นชา
ชอ้ นโตะ๊ ถว้ ยตวง และลติ ร ซึ่งสามารถนำ
ปริมาตรหรอื ความจุในหน่วยเดียวกันมา
เปรยี บเทยี บกนั ได้ และการแก้โจทย์ปัญหา
เกีย่ วกบั การวัดปริมาตรและความจุสามารถทำได้
หลายวธิ ี แต่ควรเลอื กวธิ ีแกป้ ัญหาทีเ่ หมาะสม
แผนภูมิรูปภาพเป็นวิธีการนำเสนอขอ้ มูล
อย่างหน่งึ เพอื่ ความสะดวกในการอา่ นขอ้ มลู
การบวก ลบ คณู หารระคน มีวธิ กี ารท่ี
หลากหลายและใช้ทกั ษะกระบวนการทาง
คณติ ศาสตร์ในการหาคำตอบและตรวจสอบความ
สมเหตุสมผลของคำตอบ สว่ นการแก้โจทย์ปัญหา
การบวก ลบ คณู หารระคน ต้องวเิ คราะหโ์ จทย์
และแสดงวิธีทำเพอื่ หาคำตอบ รวมท้งั ตรวจสอบ
ความสมเหตสุ มผลของคำตอบ

พิเศษ 10

Pedagogy

ส่อื การเรียนรรู้ ายวชิ าพ้ืนฐาน คณิตศาสตร์ ป.2 ผู้จัดทำได้ออกแบบการสอน (Instructional Design) อนั เป็น
วธิ ีการจดั การเรยี นรแู้ ละเทคนคิ การสอนทีเ่ ปยี่ มด้วยประสทิ ธภิ าพและมีความหลากหลายให้กับผู้เรียน เพอื่ ใหผ้ ู้เรยี น
สามารถบรรลุผลสัมฤทธ์ิตามมาตรฐานการเรยี นรแู้ ละตัวช้ีวดั รวมถึงสมรรถนะและคุณลักษณะอนั พึงประสงค์ของ
ผูเ้ รยี นท่หี ลักสูตรกำหนดไว้ โดยครูสามารถนำไปใชส้ ำหรบั จดั การเรียนร้ใู นช้ันเรียนไดอ้ ยา่ งเหมาะสม สำหรับ
Pedagogy หลักท่ีนำมาใชอ้ อกแบบกิจกรรมการเรยี นรูป้ ระกอบดว้ ย

รูปแบบการสอน โมเดลซิปปา (CIPPA Model)

เลอื กใช้รูปแบบการสอนโดยยดึ ผู้เรยี นเป็นศนู ย์กลาง : โมเดลซปิ ปา (CIPPA Model) เนอ่ื งจากเปน็
กระบวนการเรยี นรทู้ ีใ่ หผ้ เู้ รยี นเปน็ ผสู้ ร้างความร้ดู ้วยตนเอง (Construction of knowledge) และมปี ฏิสัมพนั ธ์กับ
เพ่อื น บุคคลอน่ื ๆ และสิ่งแวดล้อมรอบตัวโดยอาศยั ทกั ษะกระบวนการต่าง ๆ จำนวนมากเป็นเคร่ืองมือในการสรา้ ง
ความรู้ และยงั เป็นรปู แบบการสอนท่ีให้ผู้เรยี นได้นำความรู้ไปประยกุ ตใ์ ช้ในชีวติ ประจำวันอกี ด้วย ซึ่งรปู แบบนีไ้ ด้
พัฒนาข้นึ จาก 5 แนวคิดหลักมาประสานกัน สรปุ เปน็ หลกั CIPPA ได้ดังน้ี

C มาจากคำวา่ Construction of knowledge หลักการสรา้ งความรู้
I มาจากคำว่า Interaction หลกั การปฏิสัมพันธ์
P มาจากคำวา่ Process Learning หลกั การเรียนรกู้ ระบวนการ
P มาจากคำว่า Physical participation หลกั การมีส่วนรว่ มทางรา่ งกาย
A มาจากคำว่า Application หลกั การประยกุ ตใ์ ช้ความรู้
ซงึ่ รปู แบบการสอนโมเดลซปิ ปา (CIPPA Model) ประกอบด้วยขน้ั ตอนการดำเนนิ การจัดการเรยี นรู้ 7 ขนั้ ตอน ดงั นี้

1. การทบทวนความรู้เดิม 5. การสรุปและจดั ระเบยี บความรู้

2. การแสวงหาความร้ใู หม่ 6. การปฏบิ ตั แิ ละ/หรอื แสดงผลงาน

3. การศึกษาขอ้ มูล/ความรูใ้ หมแ่ ละเช่ือมโยงความรใู้ หมก่ บั ความรูเ้ ดิม 7. การประยุกต์ใชค้ วามรู้

4. การแลกเปลยี่ นความรูค้ วามเข้าใจกบั กลมุ่

พิเศษ 11

วิธกี ารสอน (Teaching Method)

เลอื กใช้วิธีการสอนทหี่ ลากหลาย เชน่ การสาธิต นริ นยั อุปนัย แบบคน้ พบ เพ่อื สง่ เสริมการเรียนรู้และเกดิ ความ
เข้าใจในเนื้อหาคณิตศาสตร์อยา่ งถ่องแท้ ซ่งึ จะเนน้ ใช้วิธสี อนแบบอุปนยั (Inductive Method) เน่ืองจากเป็นการสอน
รายละเอียดปลีกยอ่ ยไปหากฎเกณฑ์ หรอื สอนจากตัวอยา่ งไปหากฎเกณฑ์ ซึง่ ผู้เรยี นไดเ้ รยี นรใู้ นรายละเอียดก่อน เพอ่ื
คน้ หาองคป์ ระกอบท่ีเหมอื นกนั หรอื คลา้ ยคลึงกนั จากตวั อยา่ งตา่ ง ๆ แล้วจึงสรุป เพือ่ ให้นักเรยี นฝึกทักษะกระบวนการ
ทางคณิตศาสตร์ และทักษะการเรยี นรู้แห่งศตวรรษท่ี 21 ด้านการเรียนรู้ และการแก้ปัญหา

เทคนคิ การสอน (Teaching Technique)

เลอื กใช้เทคนคิ สอนทหี่ ลากหลายและเหมาะสมกบั เรื่องที่เรยี น เช่น การตง้ั คำถาม การยกตวั อย่าง การใชส้ ่อื การ
เรยี นรูท้ ี่น่าสนใจ เพือ่ นสง่ เสรมิ วธิ ีการสอนและรูปแบบการสอนใหม้ ปี ระสิทธภิ าพในการจดั การเรียนรใู้ ห้มากขึ้น ซงึ่ จะ
ช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรอู้ ย่างมคี วามสุข สามารถปฏบิ ัตกิ จิ กรรมการเรยี นรู้ไดอ้ ยา่ งมีประสิทธภิ าพ และสามารถฝึก
ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ได้

พเิ ศษ 12

โครงสร้างแผนการจัดการเรียนรู้ รายวชิ า คณติ ศาสตร์ ป.2 เล่ม 1

เวลา 110 ชัว่ โมง

แนวคิด/รูปแบบการ

หนว่ ยการเรียนรู้ แผนการจดั การเรยี นรู้ สอน/ ทกั ษะท่ีได้ การประเมนิ เวลา (ชั่วโมง)

1. จำนวนนบั วิธีการสอน/เทคนคิ
ไม่เกิน 1,000
และ 0 แผนที่ 1 การอา่ นและการ กระบวนการกลมุ่ 1. ทักษะการสงั เกต 1. ตรวจใบงานที่ 1.1 เรือ่ ง การเขียนตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย 2
และตัวหนังสือแสดงจำนวนนับไม่เกิน 1,000 และ 0 3
เขยี นตวั เลขฮินดู สัมพันธ์ 2. ทักษะการระบุ 2
2. ตรวจกจิ กรรมฝึกทกั ษะเร่อื ง การอา่ นและการเขยี นตัวเลขฮินดู-
อารบกิ ตวั เลขไทย 3. ทกั ษะการเชือ่ มโยง อารบิก ตัวเลขไทย และตวั หนังสือแสดงจำนวนนบั

และตัวหนังสือ 3. ตรวจแบบฝกึ หดั เรอ่ื ง การอ่านและการเขียนตัวเลขฮินดูอารบิก
ตวั เลขไทย และตัวหนงั สือแสดงจำนวนนับ
แสดงจำนวนนับ
4. สังเกตพฤติกรรมการทำงานรายบคุ คล
แผนท่ี 2 การนับทลี ะ 2 แบบคน้ พบ 1. ทักษะการสงั เกต 5. สงั เกตพฤตกิ รรมการทำงานกลุ่ม
ทลี ะ 5 ทลี ะ 10 6. สงั เกตความมีวินัย ใฝเ่ รียนรู้ มุ่งมั่นในการทำงาน
และทลี ะ 100 (Discovery Method) 2. ทกั ษะการระบุ 1. ตรวจใบงานที่ 1.2 เรื่อง การนบั ทีละ 2 ทลี ะ 5
2. ตรวจใบงานท่ี 1.3 เร่ือง การนับทลี ะ 10 ทลี ะ 100
3. ทักษะการเชอื่ มโยง 3. ตรวจกิจกรรมฝึกทักษะเร่อื ง การนับทีละ 2 ทีละ 5 ทีละ 10 และ

4. ทกั ษะการใหเ้ หตุผล ทลี ะ 100
4. ตรวจแบบฝกึ หัดเรอ่ื ง การนับทลี ะ 2 ทลี ะ 5 ทลี ะ 10 และทีละ 100
แผนท่ี 3 จำนวนคู่ จำนวนค่ี แบบคน้ พบ 1. ทักษะการสังเกต 5. สังเกตพฤตกิ รรมการทำงานรายบคุ คล
6. สงั เกตพฤติกรรมการทำงานกลมุ่
(Discovery Method) 2. ทักษะการเช่อื มโยง 7. สงั เกตความมวี ินยั ใฝ่เรยี นรู้ มุ่งมัน่ ในการทำงาน
1. ตรวจใบงานที่ 1.4 เรื่อง จำนวนคู่ จำนวนคี่
2. ตรวจกจิ กรรมฝกึ ทักษะเรือ่ ง จำนวนคู่ จำนวนค่ี

พเิ ศษ 13

หนว่ ยการเรยี นรู้ แผนการจัดการเรยี นรู้ แนวคิด/รปู แบบการ การประเมิน เวลา (ชวั่ โมง)
สอน/ ทกั ษะที่ได้ 1
3. ตรวจแบบฝึกหัดเรอ่ื ง จำนวนคู่ จำนวนคี่ 2
วธิ ีการสอน/เทคนิค 4. สงั เกตพฤตกิ รรมการทำงานรายบคุ คล
5. สงั เกตพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม
3. ทกั ษะการใหเ้ หตผุ ล 6. สังเกตความมีวินัย ใฝ่เรยี นรู้ มงุ่ ม่นั ในการทำงาน
1. ตรวจใบงานท่ี 1.5 เรอ่ื ง หลกั และคา่ ของเลขโดดในแตล่ ะหลกั
แผนที่ 4 หลกั และค่าของ กระบวนการกลุม่ 1. ทกั ษะการสงั เกต 2. ตรวจกจิ กรรมฝกึ ทักษะเร่อื ง หลกั คา่ ของเลขโดดในแตล่ ะหลกั และ
เลขโดดในแตล่ ะหลัก สัมพนั ธ์ 2. ทักษะการเชื่อมโยง
3. ทักษะการให้เหตุผล การเขียนตัวเลขแสดงจำนวนในรปู กระจาย
3. ตรวจแบบฝกึ หัดเรอื่ ง หลัก คา่ ของเลขโดดในแต่ละหลัก และ
แผนท่ี 5 การเขียนตัวเลข กระบวนการปฏบิ ตั ิ 1. ทกั ษะการสังเกต
แสดงจำนวน 2. ทักษะการเชอ่ื มโยง การเขยี นตัวเลขแสดงจำนวนในรูปกระจาย
ในรปู กระจาย 3. ทกั ษะการใหเ้ หตุผล 4. สังเกตพฤตกิ รรมการทำงานรายบคุ คล
5. สังเกตพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม
6. สงั เกตความมวี ินยั ใฝเ่ รียนรู้ ม่งุ ม่ันในการทำงาน
1. ตรวจใบงานที่ 1.6 เรื่อง การเขยี นตัวเลขแสดงจำนวนในรูปกระจาย
2. ตรวจกจิ กรรมฝึกทกั ษะเร่อื ง หลกั ค่าของเลขโดดในแต่ละหลกั และ

การเขียนตัวเลขแสดงจำนวนในรูปกระจาย
3. ตรวจกิจกรรมฝึกทักษะเรอื่ ง หลกั คา่ ของเลขโดดในแตล่ ะหลัก และ

การเขียนตัวเลขแสดงจำนวนในรูปกระจาย
4. ประเมินการนำเสนอผลงาน
5. สังเกตพฤตกิ รรมการทำงานรายบุคคล
6. สังเกตพฤตกิ รรมการทำงานกลุ่ม
7. สงั เกตความมวี ินยั ใฝ่เรยี นรู้ มงุ่ มนั่ ในการทำงาน

พิเศษ 14

แนวคิด/รูปแบบการ

หนว่ ยการเรียนรู้ แผนการจัดการเรียนรู้ สอน/ ทกั ษะทีไ่ ด้ การประเมิน เวลา (ชวั่ โมง)
2
แผนที่ 6 การเปรียบเทียบ วธิ กี ารสอน/เทคนิค
จำนวน 3
กระบวนการกลุ่ม 1. ทักษะการ 1. ตรวจใบงานท่ี 1.7 เรื่อง การเปรียบเทียบจำนวน
3
สัมพันธ์ เปรยี บเทียบ 2. ตรวจกิจกรรมฝึกทกั ษะเร่ือง การเปรยี บเทยี บจำนวน

2. ทักษะการระบุ 3. ตรวจแบบฝึกหดั เรอ่ื ง การเปรยี บเทียบจำนวน

3. ทักษะการใหเ้ หตผุ ล 4. สังเกตพฤติกรรมการทำงานรายบคุ คล

5. สงั เกตพฤตกิ รรมการทำงานกลุ่ม

6. สงั เกตความมวี ินัย ใฝเ่ รยี นรู้ ม่งุ มน่ั ในการทำงาน

แผนที่ 7 การเรยี งลำดับ แบบคน้ พบ 1. ทักษะการเปรียบเทยี บ 1. ตรวจใบงานท่ี 1.8 เรื่อง การเรยี งลำดับจำนวน
จำนวน
(Discovery Method) 2. ทักษะการเรียงลำดบั 2. ตรวจกจิ กรรมฝกึ ทักษะเรอ่ื ง การเรียงลำดบั จำนวน

3. ทกั ษะการให้เหตผุ ล 3. ตรวจแบบฝกึ หัดเรื่อง การเรยี งลำดบั จำนวน

4. สังเกตพฤตกิ รรมการทำงานรายบคุ คล

5. สังเกตพฤตกิ รรมการทำงานกลุ่ม

6. สงั เกตความมีวินัย ใฝเ่ รียนรู้ มุง่ ม่นั ในการทำงาน

2. การบวกจำนวน แผนที่ 1 การบวกจำนวน แบบค้นพบ 1. ทักษะการเชอ่ื มโยง 1. ตรวจใบงานท่ี 2.1 เรื่อง การหาผลบวกโดยเขียนจำนวนในรปู
ทม่ี ผี ลบวก สองจำนวนทมี่ ี
ไมเ่ กิน 1,000 ผลบวกไมเ่ กนิ (Discovery Method) 2. ทกั ษะการให้เหตผุ ล กระจาย (ไม่มีทด)
1,000
ตามแนวต้ัง 2. ตรวจใบงานท่ี 2.2 เรอ่ื ง การหาผลบวกโดยใชต้ ารางหลกั (ไม่มที ด)
(ไม่มที ด)
3. ตรวจใบงานที่ 2.3 เรอ่ื ง การหาผลบวกโดยใช้วธิ ลี ดั (ไมม่ ที ด)

4. ตรวจกจิ กรรมฝึกทกั ษะเรื่อง การบวกจำนวนสองจำนวนท่ีมผี ลบวก

ไม่เกิน 1,000

5. ตรวจแบบฝึกหัดเรื่อง การบวกจำนวนสองจำนวนที่มีผลบวก

ไมเ่ กนิ 1,000

6. สังเกตพฤตกิ รรมการทำงานรายบุคคล

7. สังเกตพฤตกิ รรมการทำงานกล่มุ

พิเศษ 15

หน่วยการเรียนรู้ แผนการจัดการเรียนรู้ แนวคิด/รูปแบบการ ทักษะท่ีได้ การประเมนิ เวลา (ช่วั โมง)
สอน/ 3
แผนท่ี 2 การบวกจำนวน 8. สงั เกตความมีวินยั ใฝ่เรยี นรู้ มุง่ มั่นในการทำงาน
สองจำนวนทม่ี ี วิธีการสอน/เทคนคิ 1. ตรวจใบงานท่ี 2.4 เรือ่ ง การหาผลบวกโดยเขียนจำนวนในรปู 3
ผลบวกไมเ่ กนิ
1,000 แบบค้นพบ 1. ทักษะการเชื่อมโยง กระจาย (มีทด)
ตามแนวตงั้ 2. ตรวจใบงานที่ 2.5 เรอื่ ง การหาผลบวกโดยใช้ตารางหลัก (มีทด)
(มีทด) (Discovery Method) 2. ทกั ษะการใหเ้ หตุผล 3. ตรวจใบงานที่ 2.6 เร่ือง การหาผลบวกโดยใชว้ ธิ ีลดั (มีทด)
4. ตรวจกิจกรรมฝึกทักษะเรอื่ ง การบวกจำนวนสองจำนวนทีม่ ีผลบวก
แผนที่ 3 การบวกตาม กระบวนการปฏิบัติ 1. ทกั ษะการเช่อื มโยง
แนวนอนโดยใช้ 2. ทกั ษะการใหเ้ หตผุ ล ไมเ่ กนิ 1,000
ความสัมพันธ์ 5. ตรวจแบบฝึกหดั เรื่อง การบวกจำนวนสองจำนวนทมี่ ีผลบวก
ของจำนวน
แบบส่วนยอ่ ยและ ไมเ่ กนิ 1,000
ส่วนรวม 6. สงั เกตพฤตกิ รรมการทำงานรายบุคคล
7. สังเกตพฤตกิ รรมการทำงานกลมุ่
8. สงั เกตความมีวินยั ใฝเ่ รียนรู้ มุง่ มัน่ ในการทำงาน
1. ตรวจใบงานที่ 2.7 เรื่อง การหาผลบวกตามแนวนอนโดยใช้

ความสัมพนั ธ์ของจำนวนแบบส่วนย่อยและสว่ นรวม
2. ตรวจกจิ กรรมฝึกทกั ษะเรื่อง การบวกจำนวนสองจำนวนที่มผี ลบวก

ไมเ่ กิน 1,000
3. ตรวจแบบฝึกหัดเร่ือง การบวกจำนวนสองจำนวนท่มี ีผลบวก

ไม่เกิน 1,000
4. ประเมนิ การนำเสนอผลงาน
5. สงั เกตพฤติกรรมการทำงานรายบคุ คล
6. สังเกตพฤตกิ รรมการทำงานกล่มุ
7. สงั เกตความมีวินัย ใฝเ่ รียนรู้ มุ่งม่ันในการทำงาน

พเิ ศษ 16

แนวคิด/รูปแบบการ

หน่วยการเรียนรู้ แผนการจดั การเรยี นรู้ สอน/ ทักษะที่ได้ การประเมิน เวลา (ช่วั โมง)
3
แผนที่ 4 การบวกจำนวน วิธีการสอน/เทคนิค 1. ตรวจใบงานที่ 2.8 เร่อื ง การบวกจำนวนสามจำนวนท่ีมผี ลบวก
สามจำนวนทมี่ ี ไม่เกิน 1,000 4
ผลบวก อุปนัย (Induction 1. ทักษะการเช่อื มโยง
ไมเ่ กิน 1,000 2. ตรวจกิจกรรมฝึกทกั ษะเรือ่ ง การบวกจำนวนสามจำนวนที่มผี ลบวก
Method) 2. ทกั ษะการให้เหตุผล ไมเ่ กิน 1,000

แผนที่ 5 การแกโ้ จทย์ปญั หา แบบค้นพบ 1. ทักษะการใหเ้ หตุผล 3. ตรวจแบบฝึกหัดเรื่อง การบวกจำนวนสามจำนวนทม่ี ผี ลบวก
ไมเ่ กิน 1,000
การบวก (Discovery Method) 2. ทักษะกระบวนการ
4. ประเมนิ การนำเสนอผลงาน
คดิ แก้ปัญหา 5. สังเกตพฤติกรรมการทำงานรายบุคคล
6. สังเกตพฤตกิ รรมการทำงานกลมุ่
3. ทักษะการนำความรู้ 7. สงั เกตความมีวินัย ใฝ่เรียนรู้ มงุ่ มัน่ ในการทำงาน
1. ตรวจใบงานท่ี 2.9 เรือ่ ง โจทย์ปญั หาการบวก (1)
ไปใช้ 2. ตรวจใบงานท่ี 2.10 เรอ่ื ง โจทย์ปัญหาการบวก (2)
3. ตรวจกิจกรรมฝกึ ทักษะเรื่อง โจทย์ปัญหาและการสร้างโจทย์ปญั หา

การบวก
4. ตรวจแบบฝึกหดั เรอ่ื ง โจทยป์ ัญหาและการสรา้ งโจทย์ปญั หา

การบวก
5. ประเมินการนำเสนอผลงาน
6. สงั เกตพฤติกรรมการทำงานรายบคุ คล
7. สังเกตพฤตกิ รรมการทำงานกลุ่ม
8. สังเกตความมีวินัย ใฝเ่ รยี นรู้ มงุ่ ม่ันในการทำงาน

พิเศษ 17

หนว่ ยการเรยี นรู้ แผนการจดั การเรียนรู้ แนวคดิ /รูปแบบการ การประเมนิ เวลา (ชัว่ โมง)
สอน/ ทกั ษะทีไ่ ด้ 4
3. การลบจำนวน แผนท่ี 6 การสร้าง 1. ตรวจใบงานท่ี 2.11 เร่อื ง การสรา้ งโจทยป์ ัญหาการบวก
ทีม่ ีตัวตง้ั โจทย์ปญั หา วธิ ีการสอน/เทคนิค 2. ตรวจกจิ กรรมฝกึ ทกั ษะเร่ือง โจทย์ปัญหาและการสรา้ งโจทย์ปญั หา 3
ไม่เกนิ 1,000 การบวก
กระบวนการปฏิบัติ 1. ทกั ษะการเชอ่ื มโยง การบวก
แผนที่ 1 การลบจำนวน 2. ทักษะกระบวนการ 3. ตรวจแบบฝึกหัดเร่อื ง โจทย์ปัญหาและการสรา้ งโจทย์ปญั หา
สองจำนวน คิดสร้างสรรค์
ท่ีมตี วั ตัง้ 3. ทกั ษะการนำความรู้ การบวก
ไมเ่ กิน 1,000 ไปใช้ 4. ประเมินการนำเสนอผลงาน
ตามแนวต้ัง 5. สังเกตพฤติกรรมการทำงานรายบคุ คล
(ไม่มกี ารกระจาย) แบบค้นพบ 1. ทกั ษะการเชอ่ื มโยง 6. สงั เกตพฤตกิ รรมการทำงานกลมุ่
7. สงั เกตความมีวินยั ใฝเ่ รียนรู้ มุ่งมั่นในการทำงาน
(Discovery Method) 2. ทกั ษะการใหเ้ หตุผล 1. ตรวจใบงานท่ี 3.1 เรื่อง การหาผลลบโดยเขียนจำนวนใน

รูปกระจาย
2. ตรวจใบงานที่ 3.2 เรอ่ื ง การหาผลลบโดยใช้ตารางหลกั
3. ตรวจใบงานท่ี 3.3 เรอ่ื ง การหาผลลบโดยใชว้ ธิ ลี ดั
4. ตรวจกจิ กรรมฝกึ ทักษะเรื่อง การลบจำนวนสองจำนวนท่มี ีตัวตง้ั

ไม่เกนิ 1,000
5. ตรวจแบบฝึกหัดเรอ่ื ง การลบจำนวนสองจำนวนที่มีตวั ตง้ั

ไมเ่ กนิ 1,000
6. ประเมนิ การนำเสนอผลงาน
7. สังเกตพฤติกรรมการทำงานรายบคุ คล
8. สังเกตพฤตกิ รรมการทำงานกล่มุ
9. สงั เกตความมีวินยั ใฝเ่ รียนรู้ มุง่ มัน่ ในการทำงาน

พิเศษ 18

แนวคดิ /รปู แบบการ

หนว่ ยการเรยี นรู้ แผนการจดั การเรยี นรู้ สอน/ ทักษะทีไ่ ด้ การประเมิน เวลา (ช่วั โมง)

วธิ กี ารสอน/เทคนิค

แผนท่ี 2 การลบจำนวน แบบค้นพบ 1. ทกั ษะการเชื่อมโยง 1. ตรวจใบงานที่ 3.4 เรอื่ ง การหาผลลบโดยเขียนจำนวนในรปู 3
กระจาย (มกี ารกระจาย) 3
สองจำนวนท่มี ีตวั ตง้ั (Discovery Method) 2. ทักษะการให้เหตผุ ล
2. ตรวจใบงานท่ี 3.5 เร่อื ง การหาผลลบโดยใชต้ ารางหลกั
ไม่เกิน 1,000 (มีการกระจาย)

ตามแนวต้งั 3. ตรวจใบงานที่ 3.6 เรื่อง การหาผลลบโดยใชว้ ิธลี ดั
(มกี ารกระจาย)
(มีการกระจาย)
4. ตรวจกจิ กรรมฝึกทกั ษะเรอ่ื ง การลบจำนวนสองจำนวนท่ีมีตวั ตงั้
แผนท่ี 3 การลบตาม กระบวนการปฏิบตั ิ 1. ทักษะการเชอื่ มโยง ไมเ่ กิน 1,000
แนวนอนโดยใช้ 2. ทกั ษะการใหเ้ หตผุ ล
ความสมั พันธ์ 5. ตรวจแบบฝกึ หัดเร่อื ง การลบจำนวนสองจำนวนที่มีตวั ต้งั
ของจำนวน ไม่เกิน 1,000
แบบส่วนยอ่ ย
และสว่ นรวม 6. ประเมินการนำเสนอผลงาน
7. สังเกตพฤติกรรมการทำงานรายบุคคล
8. สงั เกตพฤตกิ รรมการทำงานกลุ่ม
9. สงั เกตความมวี ินัย ใฝ่เรยี นรู้ ม่งุ ม่ันในการทำงาน
1. ตรวจใบงานท่ี 3.7 เรื่อง การผลลบตามแนวนอนโดยใช้

ความสมั พันธข์ องจำนวนแบบส่วนยอ่ ยและส่วนรวม
2. ตรวจกิจกรรมฝกึ ทักษะเร่ือง การลบจำนวนสองจำนวนท่ีมีตวั ต้งั

ไมเ่ กนิ 1,000
3. ตรวจแบบฝกึ หัดเร่ือง การลบจำนวนสองจำนวนทม่ี ตี ัวตั้งไมเ่ กนิ 1,000
4. สงั เกตพฤติกรรมการทำงานรายบุคคล
5. สงั เกตพฤตกิ รรมการทำงานกลุ่ม
6. สงั เกตความมวี ินยั ใฝเ่ รียนรู้ ม่งุ มัน่ ในการทำงาน

พเิ ศษ 19

แนวคิด/รปู แบบการ

หนว่ ยการเรียนรู้ แผนการจัดการเรียนรู้ สอน/ ทกั ษะทไ่ี ด้ การประเมิน เวลา (ชวั่ โมง)
3
แผนที่ 4 การลบจำนวน วธิ กี ารสอน/เทคนคิ 1. ตรวจใบงานท่ี 3.8 เร่อื ง การลบจำนวนสามจำนวน
สามจำนวน 2. ตรวจกจิ กรรมฝึกทักษะเรือ่ ง การลบจำนวนสามจำนวน 3
อปุ นัย (Induction 1. ทักษะการเชื่อมโยง 3. ตรวจแบบฝึกหัดเรื่อง การลบจำนวนสามจำนวน
4. สงั เกตพฤติกรรมการทำงานรายบุคคล 3
Method) 2. ทักษะการให้เหตผุ ล 5. สังเกตพฤตกิ รรมการทำงานกลุม่
6. สงั เกตความมีวินัย ใฝเ่ รยี นรู้ มุง่ มัน่ ในการทำงาน
แผนที่ 5 ความสัมพันธข์ อง สืบเสาะหาความรู้ 1. ทักษะการเชอื่ มโยง 1. ตรวจใบงานท่ี 3.9 เร่ือง ความสมั พนั ธ์ของการบวกและการลบ
การบวกและการลบ (5Es Instructional 2. ทักษะการให้เหตผุ ล 2. ตรวจกจิ กรรมฝึกทกั ษะเร่อื ง ความสมั พนั ธ์ของการบวกและการลบ
Model) 3. ตรวจแบบฝึกหัดเรื่อง ความสมั พันธ์ของการบวกและการลบ
4. ประเมินการนำเสนอผลงาน
แผนที่ 6 การหาตัวไมท่ ราบคา่ สืบเสาะหาความรู้ 1. ทกั ษะการเชอื่ มโยง 5. สังเกตพฤตกิ รรมการทำงานรายบคุ คล
2. ทักษะการให้เหตผุ ล 6. สังเกตพฤตกิ รรมการทำงานกลมุ่
ในประโยค (5Es Instructional 3. ทักษะกระบวนการ 7. สังเกตความมวี ินยั ใฝ่เรียนรู้ มุ่งมนั่ ในการทำงาน
1. ตรวจใบงานที่ 3.10 เรื่อง การหาตัวไมท่ ราบคา่ ในประโยค
สัญลกั ษณ์แสดง Model) คดิ แกป้ ัญหา
สัญลกั ษณ์แสดงการบวก
การบวกและการลบ 2. ตรวจใบงานที่ 3.11 เรื่อง การหาตวั ไมท่ ราบค่าในประโยค

สัญลกั ษณแ์ สดงการลบ
3. ตรวจกิจกรรมฝกึ ทกั ษะเร่ือง การหาตวั ไมท่ ราบคา่ ในประโยค

สัญลักษณแ์ สดงการบวกและการลบ
4. ตรวจแบบฝึกหัดเรอ่ื ง การหาตวั ไมท่ ราบค่าในประโยคสญั ลักษณ์

แสดงการบวกและการลบ
5. ประเมนิ การนำเสนอผลงาน

พิเศษ 20

หนว่ ยการเรียนรู้ แผนการจดั การเรียนรู้ แนวคิด/รูปแบบการ ทักษะที่ได้ การประเมิน เวลา (ชั่วโมง)
สอน/ 4
6. สังเกตพฤติกรรมการทำงานรายบุคคล
วธิ ีการสอน/เทคนคิ 7. สงั เกตพฤตกิ รรมการทำงานกล่มุ 4
8. สังเกตความมีวินยั ใฝ่เรยี นรู้ มงุ่ มน่ั ในการทำงาน
แผนที่ 7 การแก้โจทยป์ ัญหา แบบค้นพบ 1. ทกั ษะการให้เหตุผล 1. ตรวจใบงานที่ 3.12 เรื่อง โจทยป์ ญั หาการลบ (1)
2. ตรวจใบงานที่ 3.13 เร่ือง โจทยป์ ัญหาการลบ (2)
การลบ (Discovery Method) 2. ทกั ษะกระบวนการ 3. ตรวจกิจกรรมฝึกทักษะเรื่อง โจทยป์ ญั หาและการสร้างโจทยป์ ญั หา

คดิ แก้ปัญหา การลบ
4. ตรวจแบบฝกึ หดั เรอ่ื ง โจทย์ปญั หาและการสร้างโจทยป์ ัญหา
3. ทักษะการนำความรู้
การลบ
ไปใช้ 5. ประเมนิ การนำเสนอผลงาน
6. สงั เกตพฤติกรรมการทำงานรายบุคคล
แผนท่ี 8 การสร้าง กระบวนการปฏบิ ตั ิ 1. ทักษะการเชือ่ มโยง 7. สังเกตพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม
โจทย์ปญั หา 2. ทักษะกระบวนการ 8. สังเกตความมีวินัย ใฝเ่ รียนรู้ มุ่งมั่นในการทำงาน
การลบ 1. ตรวจใบงานที่ 3.14 เรอ่ื ง การสร้างโจทย์ปัญหาการลบ (1)
คดิ สรา้ งสรรค์ 2. ตรวจใบงานที่ 3.15 เรอ่ื ง การสรา้ งโจทย์ปัญหาการลบ (2)
3. ทกั ษะการนำความรู้ 3. ตรวจกิจกรรมฝึกทักษะเรอื่ ง โจทยป์ ญั หาและการสรา้ งโจทยป์ ัญหา

ไปใช้ การลบ
4. ตรวจแบบฝึกหัดเรอื่ ง โจทยป์ ญั หาและการสรา้ งโจทย์ปัญหาการลบ
5. ประเมินการนำเสนอผลงาน
6. สงั เกตพฤตกิ รรมการทำงานรายบคุ คล
7. สังเกตพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม
8. สงั เกตความมวี ินยั ใฝเ่ รียนรู้ มุ่งม่ันในการทำงาน

พเิ ศษ 21

แนวคิด/รปู แบบการ

หน่วยการเรียนรู้ แผนการจัดการเรยี นรู้ สอน/ ทักษะทไ่ี ด้ การประเมิน เวลา (ชวั่ โมง)
3
4. แบบรูปของ วธิ กี ารสอน/เทคนคิ 1. ตรวจใบงานที่ 4.1 เร่ือง แบบรปู ของจำนวนทเ่ี พม่ิ ขน้ึ ทีละ 2 ทลี ะ 5
จำนวน และทีละ 100 (1) 3
แผนท่ี 1 แบบรูปของจำนวน แบบคน้ พบ 1. ทักษะการสังเกต
2. ตรวจใบงานที่ 4.2 เร่อื ง แบบรปู ของจำนวนท่เี พิม่ ขนึ้ ทลี ะ 2 ทีละ 5
ที่เพ่มิ ขึ้นทลี ะ 2 (Discovery Method) 2. ทักษะการระบุ และทลี ะ 100 (2)

ทลี ะ 5 และ 3. ทกั ษะการใหเ้ หตผุ ล 3. ตรวจกิจกรรมฝึกทกั ษะเรอ่ื ง แบบรปู ของจำนวนทเ่ี พิ่มขึน้ ทีละ 2
ทีละ 5 และทลี ะ 100
ทีละ100 4. ทกั ษะการเชื่อมโยง
4. ตรวจแบบฝึกหดั เรื่อง แบบรูปของจำนวนทเี่ พ่ิมข้นึ ทีละ 2 ทีละ 5
5. ทักษะกระบวนการ และทลี ะ 100

คิดแก้ปญั หา 5. ประเมินการนำเสนอผลงาน
6. สงั เกตพฤติกรรมการทำงานรายบุคคล
แผนท่ี 2 แบบรปู ของจำนวนที่ แบบคน้ พบ 1. ทกั ษะการสังเกต 7. สงั เกตพฤติกรรมการทำงานกลมุ่
8. สงั เกตความมวี ินัย ใฝ่เรยี นรู้ มุ่งม่นั ในการทำงาน
ลดลงทลี ะ 2 ทีละ 5 (Discovery Method) 2. ทักษะการระบุ 1. ตรวจใบงานที่ 4.3 เร่อื ง แบบรูปของจำนวนท่ลี ดลงทลี ะ 2 ทลี ะ 5

และทลี ะ100 3. ทักษะการให้เหตผุ ล และทลี ะ 100 (1)
2. ตรวจใบงานท่ี 4.4 เรอ่ื ง แบบรปู ของจำนวนท่ีลดลงทีละ 2 ทีละ 5
4. ทกั ษะการเชื่อมโยง
และทีละ 100 (2)
5. ทักษะกระบวนการ 3. ตรวจกิจกรรมฝกึ ทักษะเรอ่ื ง แบบรูปของจำนวนท่ีลดลงทีละ 2

คดิ แก้ปัญหา ทลี ะ 5 และทลี ะ 100
4. ตรวจแบบฝึกหดั เรื่อง แบบรปู ของจำนวนทล่ี ดลงทลี ะ 2 ทลี ะ 5

และทีละ 100
5. ประเมินการนำเสนอผลงาน
6. สงั เกตพฤตกิ รรมการทำงานรายบุคคล

พิเศษ 22

หน่วยการเรยี นรู้ แผนการจดั การเรยี นรู้ แนวคดิ /รูปแบบการ ทักษะทีไ่ ด้ การประเมนิ เวลา (ชั่วโมง)
แผนที่ 3 แบบรปู ซ้ำ สอน/ 3
7. สังเกตพฤตกิ รรมการทำงานกลุม่ 3
วธิ ีการสอน/เทคนคิ 8. สังเกตความมวี ินยั ใฝเ่ รียนรู้ มุ่งม่ันในการทำงาน
1. ตรวจใบงานที่ 4.5 เรอ่ื ง แบบรูปซ้ำ 3
อุปนัย (Induction 1. ทกั ษะการสังเกต 2. ตรวจกจิ กรรมฝกึ ทักษะเรื่อง แบบรปู ซำ้
Method) 2. ทกั ษะการระบุ 3. ตรวจแบบฝึกหัดเรือ่ ง แบบรปู ซ้ำ
3. ทักษะการให้เหตผุ ล 4. ประเมนิ การนำเสนอผลงาน
4. ทักษะการเช่ือมโยง 5. สังเกตพฤตกิ รรมการทำงานรายบคุ คล
5. ทักษะกระบวนการ 6. สังเกตพฤติกรรมการทำงานกลมุ่
7. สงั เกตความมวี ินัย ใฝเ่ รยี นรู้ มุ่งม่ันในการทำงาน
คิดแกป้ ัญหา 1. ตรวจใบงานท่ี 5.1 เรอ่ื ง ลกั ษณะของรูปหลายเหลี่ยม
2. ตรวจใบงานท่ี 5.2 เรื่อง ลักษณะของรูปหลายเหลยี่ ม วงกลม และ
5. รูปเรขาคณติ แผนที่ 1 ลกั ษณะของ แบบคน้ พบ 1. ทักษะการสังเกต
รปู หลายเหลย่ี ม วงรี
วงกลม และวงรี (Discovery Method) 2. ทักษะการระบุ 3. ตรวจกจิ กรรมฝกึ ทกั ษะเร่ือง ลกั ษณะของรูปหลายเหลย่ี ม วงกลม

3. ทกั ษะการจำแนก และวงรี
4. ตรวจแบบฝึกหดั เร่ือง ลกั ษณะของรูปหลายเหลยี่ ม วงกลม และวงรี
ประเภท 5. สังเกตพฤติกรรมการทำงานรายบคุ คล
6. สังเกตพฤตกิ รรมการทำงานกลุ่ม
4. ทกั ษะการจดั กลมุ่ 7. สงั เกตความมวี ินยั ใฝเ่ รยี นรู้ ม่งุ มน่ั ในการทำงาน
1. ตรวจใบงานที่ 5.3 เร่อื ง การเขยี นรปู เรขาคณติ สองมิติ
แผนท่ี 2 การเขียน กระบวนการปฏิบตั ิ 1. ทกั ษะการสังเกต 2. ตรวจกิจกรรมฝึกทกั ษะเรื่อง การเขียนรปู เรขาคณิตสองมติ โิ ดยใช้
รูปเรขาคณติ 2. ทักษะการระบุ
สองมติ โิ ดยใช้ 3. ทกั ษะการจำแนก แบบของรปู
แบบของรปู 3. ตรวจแบบฝกึ หดั เรื่อง การเขียนรูปเรขาคณติ สองมิติโดยใชแ้ บบของรปู
ประเภท

พเิ ศษ 23

หนว่ ยการเรยี นรู้ แผนการจดั การเรียนรู้ แนวคิด/รูปแบบการ การประเมนิ เวลา (ช่วั โมง)
สอน/ ทกั ษะทไี่ ด้ 2
4. ประเมินการนำเสนอผลงาน 2
วิธกี ารสอน/เทคนคิ 5. สังเกตพฤตกิ รรมการทำงานรายบุคคล
6. สังเกตพฤติกรรมการทำงานกลุม่ 2
4. ทกั ษะการจัดกล่มุ 7. สังเกตความมวี ินัย ใฝเ่ รียนรู้ มุง่ มนั่ ในการทำงาน
1. ตรวจใบงานท่ี 6.1 เรือ่ ง การวัดความยาวเป็นเมตรและเซนติเมตร
6. การวดั ความยาว แผนท่ี 1 การวัดความยาว กระบวนการปฏบิ ัติ 1. ทักษะการสังเกต 2. ตรวจกิจกรรมฝึกทกั ษะเร่อื ง การวัดความยาวเป็นเมตร
เป็นเมตรและ 2. ทักษะการระบุ 3. ตรวจแบบฝึกหัด เรอื่ ง การวัดความยาวเป็นเมตร
เซนตเิ มตร 3. ทักษะการเช่อื มโยง 4. สงั เกตพฤตกิ รรมการทำงานรายบคุ คล
4. ทักษะการใหเ้ หตผุ ล 5. สังเกตพฤตกิ รรมการทำงานกลุม่
6. สงั เกตความมวี ินัย ใฝเ่ รยี นรู้ มงุ่ มั่นในการทำงาน
แผนท่ี 2 การคาดคะเน อปุ นยั (Induction 1. ทักษะการสงั เกต 1. ตรวจใบงานท่ี 6.2 เรือ่ ง การคาดคะเนความยาวเมือ่ เปรียบเทียบกับ
2. ทักษะการระบุ
ความยาว Method) 3. ทักษะการเช่ือมโยง ความยาว 1 เมตร
4. ทกั ษะการให้เหตุผล 2. ตรวจกิจกรรมฝึกทกั ษะเร่ือง การวดั ความยาวเป็นเมตรและ
เม่ือเปรียบเทียบกับ 5. ทกั ษะการ
เซนติเมตร
ความยาว 1 เมตร เปรียบเทยี บ 3. ตรวจแบบฝกึ หดั เรื่อง การวดั ความยาวเป็นเมตรและเซนตเิ มตร
4. สังเกตพฤติกรรมการทำงานรายบุคคล
แผนท่ี 3 การคาดคะเน กระบวนการปฏิบัติ 1. ทกั ษะการสังเกต 5. สังเกตพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม
ความยาวเป็นเมตร 2. ทักษะการระบุ 6. สังเกตความมวี ินยั ใฝ่เรียนรู้ มุ่งมน่ั ในการทำงาน
3. ทกั ษะการเชอ่ื มโยง 1. ตรวจใบงานที่ 6.3 เรอื่ ง การคาดคะเนความยาวเปน็ เมตร
4. ทกั ษะการให้เหตผุ ล 2. ตรวจกจิ กรรมฝกึ ทักษะเร่อื ง การคาดคะเนความยาวเปน็ เมตร
3. ตรวจแบบฝกึ หดั เรื่อง การคาดคะเนความยาวเป็นเมตร
4. สังเกตพฤตกิ รรมการทำงานรายบคุ คล

พิเศษ 24

หน่วยการเรียนรู้ แผนการจัดการเรยี นรู้ แนวคิด/รปู แบบการ ทักษะทีไ่ ด้ การประเมิน เวลา (ชวั่ โมง)
สอน/ 4
5. สงั เกตพฤติกรรมการทำงานกลมุ่
วธิ กี ารสอน/เทคนิค 6. สังเกตความมีวินัย ใฝ่เรียนรู้ มงุ่ มน่ั ในการทำงาน 4
1. ตรวจใบงานที่ 6.4 เรื่อง การเปรยี บเทยี บความยาวโดยใช้
แผนที่ 4 การเปรียบเทียบ โมเดลซปิ ปา 1. ทักษะการเชื่อมโยง
ความยาวโดยใช้ (CIPPA Model) 2. ทกั ษะการให้เหตุผล ความสมั พนั ธ์ระหวา่ งเมตรกบั เซนติเมตร
ความสมั พันธ์ 3. ทกั ษะการ 2. ตรวจกจิ กรรมฝกึ ทกั ษะเรือ่ ง การเปรียบเทยี บความยาวโดยใช้
ระหว่าง
เมตรกบั เซนตเิ มตร เปรียบเทียบ ความสมั พนั ธ์ระหวา่ งเมตรกับเซนติเมตร
4. ทกั ษะกระบวนการ 3. ตรวจแบบฝึกหดั เรือ่ ง การเปรียบเทยี บความยาวโดยใช้

คิดแก้ปญั หา ความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งเมตรกบั เซนติเมตร
4. ประเมนิ การนำเสนอผลงาน
แผนที่ 5 โจทย์ปัญหา อุปนยั (Induction 1. ทักษะการใหเ้ หตผุ ล 5. สงั เกตพฤตกิ รรมการทำงานรายบุคคล
2. ทกั ษะกระบวนการ 6. สงั เกตพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม
เกีย่ วกับความยาว Method) 7. สังเกตความมีวินยั ใฝเ่ รยี นรู้ มงุ่ มั่นในการทำงาน
คดิ แก้ปญั หา
ท่มี ีหนว่ ยเป็นเมตร 3. ทกั ษะการนำความรู้ 1. ตรวจใบงานที่ 6.5 เรือ่ ง โจทย์ปญั หาเกย่ี วกับความยาวทีม่ ีหนว่ ย
เป็นเมตรและเซนติเมตร
และเซนตเิ มตร ไปใช้
2. ตรวจกิจกรรมฝกึ ทกั ษะเร่อื ง โจทย์ปัญหาเก่ยี วกับความยาวทมี่ ี
หนว่ ยเป็นเมตรและเซนติเมตร

3. ตรวจแบบฝึกหดั เรอื่ ง โจทย์ปญั หาเกยี่ วกบั ความยาวที่มีหน่วยเป็น
เมตรและเซนตเิ มตร

4. ประเมนิ การนำเสนอผลงาน
5. สงั เกตพฤตกิ รรมการทำงานรายบคุ คล
6. สังเกตพฤตกิ รรมการทำงานกลุ่ม
7. สังเกตความมีวินัย ใฝ่เรียนรู้ มุ่งม่นั ในการทำงาน

พเิ ศษ 25

แนวคดิ /รูปแบบการ

หน่วยการเรียนรู้ แผนการจดั การเรยี นรู้ สอน/ ทกั ษะทไ่ี ด้ การประเมิน เวลา (ช่วั โมง)
7. เวลา แผนที่ 1 การบอกเวลาเปน็ 2
วิธีการสอน/เทคนคิ 1. ตรวจใบงานที่ 7.1 เร่ือง การบอกเวลาเป็นนาฬกิ าและนาทีในเวลา
นาฬกิ าและนาทใี น ช่วงกลางวัน 2
เวลาช่วงกลางวนั โมเดลซปิ ปา 1. ทักษะการสังเกต
2. ตรวจกิจกรรมฝกึ ทกั ษะเร่อื ง การบอกเวลาเปน็ นาฬกิ าและนาที 3
แผนท่ี 2 การบอกเวลาเปน็ (CIPPA Model) 2. ทกั ษะการระบุ (ชว่ ง 5 นาที)
นาฬกิ าและนาทใี น
ช่วงเวลากลางคืน 3. ทักษะการเรยี งลำดบั 3. ตรวจแบบฝกึ หัดเรอ่ื ง การบอกเวลาเป็นนาฬกิ าและนาที
(ชว่ ง 5 นาที)
แผนท่ี 3 การบอกระยะเวลา 4. ทักษะการเช่อื มโยง
เปน็ นาที 4. ประเมนิ การนำเสนอผลงาน
โมเดลซิปปา 1. ทกั ษะการสังเกต 5. สังเกตพฤตกิ รรมการทำงานรายบุคคล
(CIPPA Model) 2. ทักษะการระบุ 6. สงั เกตพฤตกิ รรมการทำงานกลมุ่
3. ทักษะการเรยี งลำดบั 7. สงั เกตความมีวินยั ใฝเ่ รยี นรู้ มงุ่ มน่ั ในการทำงาน
4. ทักษะการเชื่อมโยง 1. ตรวจใบงานท่ี 7.2 เรอ่ื ง การบอกเวลาเป็นนาฬกิ าและนาทีในเวลา

แบบคน้ พบ 1. ทักษะการสงั เกต ช่วงกลางคืน
2. ตรวจกิจกรรมฝกึ ทักษะ เรือ่ ง การบอกเวลาเป็นนาฬกิ าและนาที
(Discovery Method) 2. ทกั ษะการระบุ
(ช่วง 5 นาท)ี
3. ตรวจแบบฝึกหัด เรือ่ ง การบอกเวลาเป็นนาฬกิ าและนาที

(ช่วง 5 นาท)ี
4. ประเมินการนำเสนอผลงาน
5. สงั เกตพฤตกิ รรมการทำงานรายบคุ คล
6. สงั เกตพฤติกรรมการทำงานกลมุ่
7. สงั เกตความมีวินัย ใฝเ่ รียนรู้ มุง่ มน่ั ในการทำงาน
1. ตรวจใบงานที่ 7.3 เร่ือง การบอกระยะเวลาเปน็ นาที
2. ตรวจกจิ กรรมฝกึ ทกั ษะเรอื่ ง การบอกระยะเวลาเป็นชั่วโมง เปน็ นาที

พิเศษ 26

หน่วยการเรียนรู้ แผนการจัดการเรียนรู้ แนวคิด/รูปแบบการ การประเมนิ เวลา (ชวั่ โมง)
สอน/ ทักษะที่ได้ 3
3. ตรวจแบบฝึกหัดเร่ือง การบอกระยะเวลาเป็นชว่ั โมง เป็นนาที 3
วิธีการสอน/เทคนคิ 4. ประเมนิ การนำเสนอผลงาน
5. สังเกตพฤตกิ รรมการทำงานรายบคุ คล
3. ทกั ษะการเรยี งลำดบั 6. สงั เกตพฤตกิ รรมการทำงานกล่มุ
4. ทักษะการเชื่อมโยง 7. สงั เกตความมวี ินัย ใฝ่เรียนรู้ มงุ่ มน่ั ในการทำงาน
1. ตรวจใบงานท่ี 7.4 เรื่อง การบอกระยะเวลาเป็นช่ัวโมง
แผนท่ี 4 การบอกระยะเวลา กระบวนการกลุ่ม 1. ทกั ษะการสงั เกต 2. ตรวจกิจกรรมฝกึ ทกั ษะเร่ือง การบอกระยะเวลาเปน็ ชัว่ โมง เป็นนาที
2. ทกั ษะการระบุ 3. ตรวจแบบฝกึ หดั เร่ือง การบอกระยะเวลาเป็นชว่ั โมง เปน็ นาที
เป็นชว่ั โมง สมั พนั ธ์ 3. ทักษะการเรยี งลำดับ 4. ประเมินการนำเสนอผลงาน
4. ทกั ษะการเชอื่ มโยง 5. สังเกตพฤตกิ รรมการทำงานรายบคุ คล
6. สังเกตพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม
แผนท่ี 5 การเปรยี บเทยี บ แบบคน้ พบ 1. ทักษะการ 7. สังเกตความมีวินัย ใฝเ่ รียนรู้ มุ่งมั่นในการทำงาน
1. ตรวจใบงานท่ี 7.5 เรือ่ ง การเปรยี บเทียบระยะเวลาเป็นช่ัวโมง
ระยะเวลา (Discovery Method) เปรยี บเทียบ
เป็นนาที
เปน็ ชวั่ โมง เป็นนาที 2. ทกั ษะการระบุ 2. ตรวจกจิ กรรมฝึกทักษะเร่ือง การเปรียบเทียบระยะเวลาเป็นชว่ั โมง

3. ทกั ษะการให้เหตผุ ล เปน็ นาที
3. ตรวจแบบฝกึ หัดเรอ่ื ง การเปรียบเทียบระยะเวลาเป็นชว่ั โมง

เป็นนาที
4. ประเมนิ การนำเสนอผลงาน
5. สงั เกตพฤติกรรมการทำงานรายบคุ คล
6. สังเกตพฤติกรรมการทำงานกลมุ่
7. สงั เกตความมีวินัย ใฝ่เรยี นรู้ มุง่ ม่นั ในการทำงาน

พิเศษ 27

แนวคดิ /รปู แบบการ

หนว่ ยการเรียนรู้ แผนการจัดการเรียนรู้ สอน/ ทกั ษะที่ได้ การประเมนิ เวลา (ช่วั โมง)
3
วิธีการสอน/เทคนิค
4
แผนท่ี 6 การอา่ นปฏทิ ิน กระบวนการปฏิบัติ 1. ทักษะการสังเกต 1. ตรวจใบงานท่ี 7.6 เรอื่ ง การอา่ นปฏิทนิ

2. ทักษะการระบุ 2. ตรวจกิจกรรมฝึกทกั ษะเรื่อง การอ่านปฏทิ นิ

3. ทักษะการเรยี งลำดับ 3. ตรวจแบบฝกึ หัดเร่ือง การอา่ นปฏิทนิ

4. ประเมนิ การนำเสนอผลงาน

5. สังเกตพฤตกิ รรมการทำงานรายบุคคล

6. สงั เกตพฤติกรรมการทำงานกลมุ่

7. สงั เกตความมวี ินัย ใฝ่เรยี นรู้ ม่งุ มั่นในการทำงาน

แผนที่ 7 โจทย์ปญั หาเก่ียวกบั อปุ นัย (Induction 1. ทักษะการให้เหตผุ ล 1. ตรวจใบงานที่ 7.7 เรอ่ื ง โจทย์ปญั หาเกี่ยวกับเวลา

เวลา Method) 2. ทักษะกระบวนการ 2. ตรวจกจิ กรรมฝกึ ทกั ษะเรื่อง โจทยป์ ญั หาเก่ยี วกับเวลา

คดิ แก้ปัญหา 3. ตรวจแบบฝึกหดั เรอื่ ง โจทยป์ ญั หาเกยี่ วกับเวลา

3. ทักษะการนำความรู้ 4. ประเมนิ การนำเสนอผลงาน

ไปใช้ 5. สังเกตพฤติกรรมการทำงานรายบุคคล

6. สังเกตพฤตกิ รรมการทำงานกลมุ่

7. สังเกตความมวี ินัย ใฝเ่ รยี นรู้ มงุ่ มน่ั ในการทำงาน

พิเศษ 28

หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 1 จำนวนนับไมเ่ กิน 1,000 และ 0

หน่วยการเรยี นรูท้ ่ี 1

จำนวนนับไมเ่ กิน 1,000 และ 0

เวลา 15 ชั่วโมง

1. มาตรฐานการเรียนร/ู้ ตัวชว้ี ดั

ค 1.1 เขา้ ใจความหลากหลายของการแสดงจำนวน ระบบจำนวน การดำเนินการของจำนวน ผลทเี่ กดิ ขนึ้ จาก
การดำเนินการ สมบตั ิของการดำเนนิ การ และนำไปใช้
ค 1.1 ป.2/1 บอกจำนวนของสง่ิ ตา่ งๆ แสดงสงิ่ ตา่ งๆ ตามจำนวนทก่ี ำหนด อ่านและเขียนตัวเลข
ฮินดูอารบกิ ตวั เลขไทย ตวั หนังสอื แสดงจำนวนนบั ไม่เกิน 1,000 และ 0
ป.2/2 เปรียบเทยี บจำนวนนับไม่เกนิ 1,000 และ 0 โดยใช้เครอื่ งหมาย = ≠ > <
ป.2/3 เรยี งลำดบั จำนวนนบั ไมเ่ กิน 1,000 และ 0 ตงั้ แต่ 3 ถงึ 5 จำนวนจากสถานการณ์ต่างๆ

2. สาระการเรียนรู้

2.1 สาระการเรียนรู้แกนกลาง
1) การนับทลี ะ 2 ทีละ 5 ทีละ 10 และทีละ 100
2) การอา่ นและการเขียนตวั เลขฮินดอู ารบิก ตัวเลขไทย และตวั หนงั สอื แสดงจำนวน
3) จำนวนคู่ จำนวนค่ี
4) หลัก ค่าของเลขโดดในแต่ละหลัก และการเขยี นตัวเลขแสดงจำนวนในรปู กระจาย
5) การเปรียบเทยี บและเรยี งลำดับจำนวน

2.2 สาระการเรียนรทู้ อ้ งถ่ิน
(พจิ ารณาตามหลกั สูตรสถานศกึ ษา)

3. สาระสำคญั /ความคิดรวบยอด

จำนวนนับท่ีไม่เกิน 1,000 และ 0 สามารถเขียนและอา่ นเปน็ ตัวเลขฮนิ ดอู ารบิก ตัวเลขไทย และตวั หนงั สอื
การนบั ทีละ 2 ทีละ 5 ทีละ 10 และทีละ 100 จำแนกเป็นจำนวนคู่และจำนวนคี่ เขยี นแสดงจำนวนในรปู กระจาย
ซึง่ เป็นการเขียนตามคา่ ของเลขโดดในแต่ละหลกั เปรียบเทียบจำนวนทเี่ ท่ากนั หรือไมเ่ ท่ากัน มากกว่าหรอื นอ้ ยกวา่
โดยใช้เคร่อื งหมาย = ≠ > < และเรยี งลำดบั จำนวนจากน้อยไปมากหรอื จากมากไปนอ้ ย

1

หน่วยการเรยี นรูท้ ่ี 1 จำนวนนบั ไมเ่ กนิ 1,000 และ 0

4. สมรรถนะสำคญั ของผเู้ รียนและคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์

สมรรถนะสำคญั ของผเู้ รยี น คุณลักษณะอันพึงประสงค์

1. ความสามารถในการคดิ 1. มีวินยั รับผดิ ชอบ

1) ทักษะการสังเกต 2. ใฝ่เรียนรู้

2) ทักษะการเช่อื มโยง 3. มงุ่ ม่ันในการทำงาน

3) ทักษะการให้เหตุผล

4) ทกั ษะการเปรยี บเทยี บ

5) ทักษะการเรยี งลำดับ

6) ทักษะการระบุ

7) ทักษะกระบวนการคดิ แก้ปัญหา

2. ความสามารถในการแกป้ ัญหา

3. ความสามารถในการใชท้ ักษะชีวติ

5. ช้ินงาน/ภาระงาน (รวบยอด)

- จิกซอว์ของจำนวนนบั ไมเ่ กนิ 1,000 และ 0

6. การวดั และการประเมินผล

รายการวัด วธิ วี ดั เครอื่ งมือ เกณฑ์การประเมิน

6.1 การประเมินชิน้ งาน/

ภาระงานรวบยอด

- จกิ ซอว์ของ - ตรวจช้นิ งานเร่อื ง - แบบประเมนิ ช้นิ งาน/ - ระดบั คุณภาพ 2

จำนวนนบั ไมเ่ กนิ ผลงานจกิ ซอว์ของ ภาระงาน ผา่ นเกณฑ์

1,000 และ 0 จำนวนนับไม่เกนิ

1,000 และ 0

6.2 การประเมนิ กอ่ นเรยี น

- แบบทดสอบก่อนเรียน - ตรวจแบบทดสอบ - แบบทดสอบก่อนเรียน - ประเมินตามสภาพจรงิ

หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 1 ก่อนเรยี น

จำนวนนบั ไมเ่ กิน

1,000 และ 0

2

หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 1 จำนวนนับไมเ่ กิน 1,000 และ 0

รายการวัด วธิ ีวัด เครือ่ งมือ เกณฑ์การประเมิน

6.3 ประเมนิ ระหวา่ งการจัด - รอ้ ยละ 60 ผ่านเกณฑ์
- รอ้ ยละ 60 ผ่านเกณฑ์
กิจกรรมการเรยี นรู้ - ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์

1) การอา่ นและการเขียน - ตรวจใบงานท่ี 1.1 - ใบงานท่ี 1.1 - ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์
- ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์
ตัวเลขฮินดูอารบกิ - ตรวจกิจกรรมฝกึ ทักษะ - กจิ กรรมฝึกทักษะ - ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์
- ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์
ตัวเลขไทย และ - ตรวจแบบฝกึ หัด - แบบฝกึ หัด - รอ้ ยละ 60 ผ่านเกณฑ์
- รอ้ ยละ 60 ผ่านเกณฑ์
ตวั หนังสอื แสดง - รอ้ ยละ 60 ผ่านเกณฑ์
- ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์
จำนวนนับไม่เกนิ - ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์
- รอ้ ยละ 60 ผ่านเกณฑ์
1,000 และ 0 - รอ้ ยละ 60 ผ่านเกณฑ์
- ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์
2) การนับทีละ 2 ทลี ะ 5 - ตรวจใบงานที่ 1.2 - ใบงานท่ี 1.2 - รอ้ ยละ 60 ผ่านเกณฑ์
- ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์
ทีละ 10 และ - ตรวจใบงานที่ 1.3 - ใบงานท่ี 1.3 - ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์
- รอ้ ยละ 60 ผ่านเกณฑ์
ทลี ะ 100 - ตรวจกจิ กรรมฝกึ ทกั ษะ - กิจกรรมฝกึ ทักษะ - รอ้ ยละ 60 ผ่านเกณฑ์
- ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์
- ตรวจแบบฝึกหัด - แบบฝกึ หดั - ระดบั คุณภาพ 2
ผา่ นเกณฑ์
3) จำนวนคู่ จำนวนคี่ - ตรวจใบงานท่ี 1.4 - ใบงานท่ี 1.4

- ตรวจกิจกรรมฝกึ ทักษะ - กจิ กรรมฝกึ ทกั ษะ

- ตรวจแบบฝกึ หัด - แบบฝกึ หัด

4) หลักและคา่ ของ - ตรวจใบงานท่ี 1.5 - ใบงานท่ี 1.5

เลขโดดในแต่ละหลกั - ตรวจกิจกรรมฝกึ ทกั ษะ - กจิ กรรมฝกึ ทกั ษะ

5) การเขียนตวั เลขแสดง - ตรวจใบงานที่ 1.6 - ใบงานท่ี 1.6

จำนวนในรปู กระจาย - ตรวจกจิ กรรมฝกึ ทักษะ - กจิ กรรมฝึกทักษะ

- ตรวจแบบฝกึ หดั - แบบฝกึ หัด

6) การเปรียบเทยี บ - ตรวจใบงานที่ 1.7 - ใบงานที่ 1.7

จำนวน - ตรวจกจิ กรรมฝกึ ทักษะ - กิจกรรมฝกึ ทักษะ

- ตรวจแบบฝึกหดั - แบบฝึกหัด

7) การเรียงลำดับจำนวน - ตรวจใบงานที่ 1.8 - ใบงานที่ 1.8

- ตรวจกจิ กรรมฝึกทักษะ - กจิ กรรมฝกึ ทักษะ

- ตรวจแบบฝกึ หัด - แบบฝึกหัด

8) การนำเสนอ - ประเมนิ การนำเสนอ - แบบประเมินการ

ผลงาน/ผลการทำ ผลงาน/ผลการทำ นำเสนอผลงาน

กิจกรรม กิจกรรม

3

หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 1 จำนวนนับไม่เกิน 1,000 และ 0

รายการวัด วธิ ีวัด เคร่ืองมอื เกณฑก์ ารประเมนิ
- แบบสังเกตพฤติกรรม - ระดับคุณภาพ 2
9) พฤติกรรม - สงั เกตพฤติกรรม การทำงานรายบุคคล ผ่านเกณฑ์
- แบบสังเกตพฤตกิ รรม - ระดับคณุ ภาพ 2
การทำงานรายบุคคล การทำงานรายบคุ คล การทำงานกล่มุ ผ่านเกณฑ์
- แบบประเมนิ - ระดับคุณภาพ 2
10) พฤตกิ รรม - สงั เกตพฤตกิ รรม คุณลักษณะ ผา่ นเกณฑ์
อันพงึ ประสงค์
การทำงานกลมุ่ การทำงานกลุม่

11) คุณลักษณะ - สังเกตความมวี นิ ัย

อันพงึ ประสงค์ ใฝ่เรยี นรู้ และมุ่งมนั่

ในการทำงาน

6.4 การประเมินหลงั เรยี น

- แบบทดสอบหลังเรียน - ตรวจแบบทดสอบ - แบบทดสอบหลงั เรยี น - รอ้ ยละ 60 ผ่านเกณฑ์

หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 1 หลงั เรียน

จำนวนนบั ไม่เกิน 1,000

และ 0

7. กจิ กรรมการเรยี นรู้

• เรื่องที่ 1 : การอา่ นและการเขียนตัวเลขฮนิ ดูอารบกิ ตวั เลขไทย

และตัวหนงั สือแสดงจำนวนนบั เวลา 2 ชั่วโมง

แนวคดิ /รูปแบบการสอน/วิธกี ารสอน/เทคนิค : กระบวนการกลุม่ สมั พนั ธ์

• เรอื่ งที่ 2 : การนับทลี ะ 2 ทีละ 5 ทลี ะ 10 และทีละ 100 เวลา 3 ชั่วโมง

แนวคดิ /รปู แบบการสอน/วธิ ีการสอน/เทคนิค : แบบคน้ พบ (Discovery Method)

• เรือ่ งที่ 3 : จำนวนคู่ จำนวนค่ี เวลา 2 ชั่วโมง

แนวคิด/รูปแบบการสอน/วธิ ีการสอน/เทคนคิ : แบบคน้ พบ (Discovery Method)

• เรื่องที่ 4 : หลักและคา่ ของเลขโดดในแต่ละหลกั เวลา 1 ชั่วโมง

แนวคิด/รปู แบบการสอน/วธิ กี ารสอน/เทคนิค : กระบวนการกลมุ่ สัมพนั ธ์

• เรอ่ื งที่ 5 : การเขยี นตวั เลขแสดงจำนวนในรปู กระจาย เวลา 2 ช่วั โมง

แนวคดิ /รูปแบบการสอน/วิธกี ารสอน/เทคนิค : กระบวนการปฏบิ ัติ

• เรอื่ งที่ 6 : การเปรียบเทยี บจำนวน เวลา 2 ชว่ั โมง

แนวคิด/รูปแบบการสอน/วิธกี ารสอน/เทคนิค : กระบวนการกลมุ่ สมั พนั ธ์

• เร่ืองท่ี 7 : การเรยี งลำดับจำนวน เวลา 3 ชวั่ โมง

แนวคดิ /รูปแบบการสอน/วธิ กี ารสอน/เทคนิค : แบบค้นพบ (Discovery Method)

(รวมเวลา 15 ช่ัวโมง)

4

หน่วยการเรยี นร้ทู ่ี 1 จำนวนนับไมเ่ กนิ 1,000 และ 0

8. สอื่ /แหลง่ การเรยี นรู้

8.1 สื่อการเรียนรู้
1) หนังสอื เรยี น คณติ ศาสตร์ ป.2 เลม่ 1 หนว่ ยการเรยี นร้ทู ่ี 1 จำนวนนบั ไมเ่ กนิ 1,000 และ 0
2) แบบฝึกหดั คณิตศาสตร์ ป.2 เล่ม 1 หน่วยการเรียนรู้ท่ี 1 จำนวนนับไม่เกนิ 1,000 และ 0
3) ใบงานที่ 1.1 เรื่อง การเขยี นตวั เลขฮนิ ดูอารบิก ตวั เลขไทย และตวั หนังสือแสดงจำนวนนบั ไมเ่ กนิ
1,000 และ 0
4) ใบงานท่ี 1.2 เรอ่ื ง การนบั ทีละ 2 และทีละ 5
5) ใบงานที่ 1.3 เรือ่ ง การนบั ทีละ 10 และทลี ะ 100
6) ใบงานท่ี 1.4 เร่ือง จำนวนคู่ จำนวนค่ี
7) ใบงานที่ 1.5 เร่อื ง หลกั และคา่ ของเลขโดดในแต่ละหลัก
8) ใบงานท่ี 1.6 เรื่อง การเขยี นตวั เลขแสดงจำนวนในรูปกระจาย
9) ใบงานที่ 1.7 เรื่อง การเปรียบเทียบจำนวน
10) ใบงานที่ 1.8 เร่ือง การเรยี งลำดับจำนวน
11) บัตรภาพ บตั รตัวเลข บตั รคำถาม บัตรขอ้ ความ
12) ตารางตัวเลข 1-100
13) QR Code เร่อื ง จำนวนคูแ่ ละจำนวนคี่
14) กระดาษ A4

8.2 แหล่งการเรียนรู้
- ห้องเรยี น

5

หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 จำนวนนับไมเ่ กนิ 1,000 และ 0

แบบทดสอบก่อนเรียน

หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 1

คำช้ีแจง : ใหน้ กั เรียนเลือกคำตอบท่ีถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว

1. ขอ้ ใดแสดงจำนวนเดยี วกันทงั้ หมด 6. ขอ้ ใดเขยี นในรปู กระจายไมถ่ ูกตอ้ ง

ก. สามรอ้ ยสิบเอด็ 301 ๓๐๑ ก. 430 = 400 + 30 + 0

ข. เจ็ดรอ้ ยห้าสิบหก 765 ๗๖๕ ข. 531 = 500 + 31 + 0

ค. เก้าร้อยสิบเกา้ 919 ๙๑๙ ค. 674 = 600 + 70 + 4

2. ขอ้ ใดเปน็ การนับเพิ่มทีละ 10 7. ขอ้ ใดเป็นจำนวนคที่ ั้งหมด

ก. 237 242 257 262 ก. 161 163 567 668

ข. 914 924 934 944 ข. 345 543 435 433

ค. 634 644 654 665 ค. 633 673 933 992

3. ข้อใดเป็นการนับลดทลี ะ 5 8. แนนมเี งนิ 654 บาท นุ่นมีเงนิ 563 บาท แป้งมีเงนิ

ก. 137 132 127 122 453 บาท ใครมีเงินมากกว่าแป้งแต่นอ้ ยกว่าแนน

ข. 614 599 590 585 ก. แนน ข. แป้ง

ค. 734 724 719 710 ค. นุ่น

4. เลขโดด 4 ในข้อใดอย่ใู นหลักรอ้ ยท้งั หมด 9. 575 784  999
ก. 440 540 444 424
ข. 491 419 149 409 ถ้าเรียงลำดับจำนวนจากน้อยไปมาก
ค. 473 437 458 488 จำนวนใน  ควรเปน็ ข้อใด
ก. 767 ข. 789
5. 873 กบั 783 ค. 777

เลขโดดที่ขดี เส้นใต้มคี า่ ต่างกนั เท่าใด 10. นดิ วง่ิ ได้ 750 เมตร หนอ่ ยวิ่งได้ 700 เมตร นุน่ วิง่ ได้
ก. 720 800 เมตร ขอ้ ใดเรียงลำดับชื่อเดก็ ตามระยะทาง
ข. 730 ทวี่ ิง่ ได้จากมากไปนอ้ ยไดถ้ กู ต้อง
ค. 740 ก. นุ่น นดิ หน่อย
ข. หน่อย นดิ นนุ่

ค. นุ่น หน่อย นดิ

เฉลย
1. ค 2. ข 3. ก 4. ค 5. ก 6. ข 7. ข 8. ค 9. ข 10. ก

6

หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 1 จำนวนนับไมเ่ กนิ 1,000 และ 0

แบบทดสอบหลงั เรยี น

หน่วยการเรียนรู้ที่ 1

คำชีแ้ จง : ใหน้ กั เรียนเลือกคำตอบท่ีถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว

1. ขอ้ ใดแสดงจำนวนเดียวกันท้ังหมด 6 ข้อใดเขียนในรูปกระจายได้ถูกต้อง

ก. สี่รอ้ ยสส่ี บิ สี่ 444 ๔๔๔ ก. 490 = 490 + 90 + 0

ข. หา้ ร้อยสิบหก 560 ๕๖๐ ข. 333 = 300 + 33

ค. แปดร้อยสิบเก้า 819 ๙๑๙ ค. 971 = 900 + 70 + 1

2. ขอ้ ใดเปน็ การนับเพ่ิมทลี ะ 100 7. ขอ้ ใดเป็นจำนวนคู่ท้ังหมด

ก. 237 337 437 473 ก. 560 644 772 678

ข. 314 424 534 654 ข. 642 699 784 990

ค. 653 753 853 953 ค. 830 882 931 994

3. ข้อใดเป็นการนบั ลดทีละ 2 8. โบม้ ีเงนิ 250 บาท แตงมเี งิน 453 บาท เตม้ เี งิน

ก. 147 142 137 132 263 บาท ใครมีเงนิ นอ้ ยกวา่ แตงแต่มากกวา่ โบ้

ข. 614 612 610 608 ก. โบ้ ข. แตง

ค. 734 732 730 726 ค. เต้

4. เลขโดด 9 ในขอ้ ใดอยู่ในหลักสิบท้งั หมด 9. 875 784  709
ก. 890 590 394 290
ข. 791 419 149 409 ถ้าเรียงลำดบั จำนวนจากมากไปนอ้ ย
ค. 498 493 490 489
จำนวนใน  ควรเปน็ ข้อใด
5. 663 กับ 786
ก. 767 ข. 790

ค. 800

เลขโดดทข่ี ีดเสน้ ใตม้ ีคา่ ตา่ งกันเทา่ ใด 10. ต้นวิ่งได้ 950 เมตร ชัยวงิ่ ได้ 750 เมตร กลา้ วิ่งได้
ก. 23 800 เมตร ข้อใดเรยี งลำดบั ชือ่ เดก็ ตามระยะทาง
ข. 54 ที่วง่ิ ได้จากนอ้ ยไปมากไดถ้ ูกตอ้ ง
ค. 57 ก. ต้น กลา้ ชยั
ข. ชัย กล้า ต้น

ค. กลา้ ตน้ ชัย

เฉลย
1. ก 2. ค 3. ข 4. ก 5. ข 6. ค 7. ก 8. ค 9. ก 10. ข

7

หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 จำนวนนับไมเ่ กนิ 1,000 และ 0

การประเมินชิน้ งาน/ภาระงาน (รวบยอด) (แผนฯ ที่ 7)

แบบประเมินผลงานจากช้ินงาน เรอ่ื ง จ๊กิ ซอวข์ องจำนวนนบั ไมเ่ กนิ 1,000 และ 0

ลำดับท่ี รายการประเมนิ ระดับคุณภาพ
32 1
1 รูปเล่ม/การสรา้ งผลงาน (ด)ี (พอใช)้ (ปรับปรงุ )
2 ความคดิ สร้างสรรค์
3 ความถูกตอ้ งของเน้อื หา รวม
4 กำหนดเวลาส่งงาน

ลงชอ่ื ...................................................ผปู้ ระเมนิ
............./.................../..............

8

หน่วยการเรียนรทู้ ่ี 1 จำนวนนบั ไม่เกิน 1,000 และ 0

เกณฑ์การประเมินผลงาน เรอ่ื ง จิ๊กซอว์ของจำนวนนับไมเ่ กนิ 1,000 และ 0 (แผนฯ ท่ี 7)

รายการประเมนิ คำอธิบายระดับคุณภาพ/ระดบั คะแนน
1. รูปเลม่ /การสร้าง
ดี (3) พอใช้ (2) ปรับปรุง (1)
ผลงาน
ตกแตง่ ผลงานได้สวยงาม ตกแต่งผลงานได้สวยงาม ตกแต่งผลงานไดส้ วยงาม
2. ความคิดสรา้ งสรรค์
มีความคดิ สร้างสรรค์ดีมาก มคี วามคิดสรา้ งสรรคด์ ี มีความคิดสรา้ งสรรค์
3. ความถกู ตอ้ งของ
เนอื้ หา ทำงานสะอาดและ ทำงานสะอาดและ ทำงานสะอาด แตไ่ มค่ ่อย

4. กำหนดเวลาส่งงาน เรยี บรอ้ ยดมี าก เรียบรอ้ ยดี เรียบรอ้ ย

ผลงานแสดงออกถงึ ผลงานมีแนวคดิ ผลงานมีความนา่ สนใจ

ความคดิ สร้างสรรค์ แปลกใหม่ แต่ยงั แต่ยงั ไมม่ แี นวคดิ

แปลกใหม่ และเป็นระบบ ไม่เปน็ ระบบ แปลกใหม่

เนอ้ื หาสาระของผลงาน เน้อื หาสาระของผลงาน เนือ้ หาสาระของผลงาน

ถูกตอ้ ง ครบถ้วน ถกู ตอ้ งเปน็ สว่ นใหญ่ ถูกตอ้ งบางประเดน็

ส่งช้ินงานภายในเวลาที่ สง่ ชิ้นงานชา้ กวา่ กำหนด สง่ ชน้ิ งานช้ากว่ากำหนด

กำหนด 1-2 วนั เกนิ 3 วันขึน้ ไป

เกณฑ์การตัดสนิ คุณภาพ

ช่วงคะแนน ระดับคณุ ภาพ

11-12 ดีมาก

9-10 ดี

6-8 พอใช้

ต่ำกวา่ 6 ปรับปรุง

9

หน่วยการเรียนรทู้ ่ี 1 จำนวนนบั ไมเ่ กิน 1,000 และ 0

แบบประเมนิ การนำเสนอผลงาน

คำชี้แจง : ให้ผู้สอนสงั เกตพฤตกิ รรมของนักเรียนในระหว่างเรยี นและนอกเวลาเรียน แลว้ ขีด ✓ลงในช่องทีตรงกับ

ระดบั คะแนน

ลำดับที่ รายการประเมนิ ระดบั คะแนน 1
32

1 เนอื้ หาละเอียดชัดเจน  

2 ความถูกตอ้ งของเน้ือหา  

3 ภาษาที่ใช้เข้าใจง่าย  

4 ประโยชน์ทีไ่ ดจ้ ากการนำเสนอ  

5 วธิ กี ารนำเสนอผลงาน  

รวม

ลงชื่อ...................................................ผปู้ ระเมนิ
............/................./................

เกณฑ์การให้คะแนน ให้ 3 คะแนน
ผลงานหรอื พฤตกิ รรมสอดคลอ้ งกบั รายการประเมินสมบรู ณช์ ัดเจน ให้ 2 คะแนน
ผลงานหรอื พฤตกิ รรมสอดคลอ้ งกับรายการประเมนิ เปน็ สว่ นใหญ่ ให้ 1 คะแนน
ผลงานหรอื พฤตกิ รรมสอดคล้องกับรายการประเมนิ บางส่วน

เกณฑ์การตัดสนิ คณุ ภาพ

ชว่ งคะแนน ระดับคุณภาพ

12 - 15 ดี

8 - 11 พอใช้

ต่ำกว่า 8 ปรบั ปรุง

10

หน่วยการเรยี นรูท้ ี่ 1 จำนวนนับไมเ่ กิน 1,000 และ 0

แบบสังเกตพฤติกรรมการทำงานรายบุคคล

คำช้ีแจง : ให้ผู้สอนสงั เกตพฤตกิ รรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรยี น แลว้ ขีด ✓ลงในช่องที่ตรงกับ

ระดบั คะแนน

ลำดบั ท่ี รายการประเมิน ระดบั คะแนน 1
32

1 การแสดงความคิดเหน็  

2 การยอมรบั ฟงั ความคดิ เหน็ ของผู้อนื่  

3 การทำงานตามหนา้ ท่ีทไ่ี ดร้ ับมอบหมาย  

4 ความมีน้ำใจ  

5 การตรงต่อเวลา  

รวม

ลงชื่อ...................................................ผู้ประเมิน
............../.................../................

เกณฑก์ ารให้คะแนน ให้ 3 คะแนน
ปฏิบัติหรอื แสดงพฤติกรรมอยา่ งสมำ่ เสมอ ให้ 2 คะแนน
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบ่อยคร้ัง ให้ 1 คะแนน
ปฏิบัติหรอื แสดงพฤตกิ รรมบางครงั้

เกณฑ์การตัดสนิ คณุ ภาพ

ช่วงคะแนน ระดับคณุ ภาพ

12 - 15 ดี

8 - 11 พอใช้

ต่ำกว่า 8 ปรบั ปรงุ

11

หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี 1 จำนวนนบั ไม่เกิน 1,000 และ 0

แบบสงั เกตพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม

คำชีแ้ จง : ให้ผู้สอนสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรยี น แล้วขีด ✓ลงในช่องท่ีตรงกับ
ระดบั คะแนน

ลำดบั ที่ ชอื่ – สกลุ การแสดง การยอมรับ การทำงาน ความมีนำ้ ใจ การมีสว่ น รวม
ของนักเรยี น ความคิดเห็น ฟงั คนอ่ืน ตามที่ไดร้ บั ร่วมในการ 15
มอบหมาย ปรับปรุง คะแนน
ผลงานกลุ่ม

321321321321321

ลงชือ่ ...................................................ผปู้ ระเมนิ
............../.................../...............

เกณฑ์การใหค้ ะแนน ให้ 3 คะแนน
ปฏิบัติหรอื แสดงพฤติกรรมอยา่ งสม่ำเสมอ ให้ 2 คะแนน
ปฏบิ ตั หิ รอื แสดงพฤตกิ รรมบ่อยครั้ง ให้ 1 คะแนน
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบางคร้งั

เกณฑ์การตัดสนิ คุณภาพ

ชว่ งคะแนน ระดบั คุณภาพ

12 - 15 ดี

8 - 11 พอใช้

ตำ่ กวา่ 8 ปรบั ปรงุ

12

หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 1 จำนวนนบั ไมเ่ กิน 1,000 และ 0

แบบประเมินคณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์

คำชแี้ จง : ให้ผู้สอนสงั เกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรยี นและนอกเวลาเรียน แลว้ ขีด ✓ลงในช่องท่ีตรงกับ

ระดบั คะแนน

คณุ ลักษณะ รายการประเมิน ระดับคะแนน
อันพึงประสงคด์ ้าน 321

1. รกั ชาติ ศาสน์ 1.1 ยนื ตรงเคารพธงชาติ และรอ้ งเพลงชาติได้

กษตั ริย์ 1.2 เขา้ ร่วมกิจกรรมทสี่ ร้างความสามัคคี ปรองดอง และเป็นประโยชน์ต่อ

โรงเรียน

1.3 เข้าร่วมกจิ กรรมทางศาสนาทตี่ นนบั ถอื ปฏบิ ัติตามหลกั ศาสนา

1.4 เข้ารว่ มกิจกรรมทเี่ กีย่ วกับสถาบนั พระมหากษัตรยิ ์ตามทโี่ รงเรียนจดั ขึ้น

2. ซ่อื สัตย์ สุจรติ 2.1 ใหข้ ้อมลู ทีถ่ ูกต้อง และเปน็ จรงิ

2.2 ปฏบิ ัติในสิง่ ทถี่ ูกตอ้ ง

3. มีวนิ ัย รบั ผดิ ชอบ 3.1 ปฏิบตั ิตามขอ้ ตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบ ขอ้ บังคับของครอบครัว

มีความตรงต่อเวลาในการปฏบิ ัติกจิ กรรมต่าง ๆ ในชวี ติ ประจำวนั

4. ใฝ่เรยี นรู้ 4.1 รู้จักใชเ้ วลาว่างใหเ้ ปน็ ประโยชน์ และนำไปปฏิบตั ิได้

4.2 รจู้ กั จดั สรรเวลาใหเ้ หมาะสม

4.3 เชื่อฟงั คำสั่งสอนของบิดา - มารดา โดยไมโ่ ต้แยง้

4.4 ตงั้ ใจเรียน

5. อยู่อยา่ งพอเพยี ง 5.1 ใช้ทรัพยส์ ินและสงิ่ ของของโรงเรียนอยา่ งประหยัด

5.2 ใช้อุปกรณก์ ารเรียนอยา่ งประหยดั และรูค้ ณุ คา่

5.3 ใชจ้ า่ ยอย่างประหยัดและมีการเกบ็ ออมเงิน

6. มงุ่ มัน่ ในการทำงาน 6.1 มคี วามตัง้ ใจและพยายามในการทำงานทไ่ี ด้รับมอบหมาย

6.2 มคี วามอดทนและไมท่ อ้ แท้ตอ่ อปุ สรรคเพื่อให้งานสำเร็จ

7. รักความเปน็ ไทย 7.1 มีจติ สำนกึ ในการอนุรกั ษ์วัฒนธรรมและภมู ิปัญญาไทย

7.2 เหน็ คุณค่าและปฏิบตั ิตนตามวัฒนธรรมไทย

8. มจี ติ สาธารณะ 8.1 รู้จกั ช่วยพอ่ แม่ ผปู้ กครอง และครูทำงาน

8.2 รจู้ ักการดูแลรักษาทรัพย์สมบตั ิและส่ิงแวดล้อมของห้องเรยี น และ

โรงเรยี น

ลงชอื่ ...................................................ผ้ปู ระเมนิ
............../.................../................

เกณฑก์ ารให้คะแนน ให้ 3 คะแนน เกณฑก์ ารตัดสนิ คณุ ภาพ
พฤตกิ รรมท่ปี ฏิบัตชิ ัดเจนและสม่ำเสมอ ให้ 2 คะแนน
พฤตกิ รรมท่ปี ฏบิ ตั ชิ ัดเจนและบอ่ ยครั้ง ให้ 1 คะแนน ชว่ งคะแนน ระดับคณุ ภาพ
พฤติกรรมท่ีปฏิบตั ิบางคร้ัง
13 51-60 ดีมาก

41-50 ดี

30-40 พอใช้

ตำ่ กว่า 30 ปรับปรงุ

หนว่ ยการเรียนร้ทู ี่ 1 จำนวนนับไม่เกิน 1,000 และ 0
แผนฯ ท่ี 1 การอ่านและการเขยี นตวั เลขฮนิ ดูอารบกิ ตวั เลขไทย และตัวหนงั สอื แสดงจำนวนนบั

แผนการจัดการเรยี นร้ทู ี่ 1

การอา่ นและการเขียนตวั เลขฮนิ ดูอารบิก ตวั เลขไทย และตวั หนังสือแสดงจำนวนนบั

เวลา 2 ช่ัวโมง

1. มาตรฐาน/ตัวชี้วัด

1.1 ตัวชี้วัด
ค 1.1 ป.2/1 บอกจำนวนของสงิ่ ตา่ งๆ แสดงส่ิงตา่ งๆ ตามจำนวนที่กำหนด อ่านและเขียนตวั เลข
ฮนิ ดอู ารบกิ ตัวเลขไทย ตวั หนงั สอื แสดงจำนวนนับไม่เกนิ 1,000 และ 0

2. จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้

1) บอกหลักการอา่ นและการเขยี นจำนวนนับไม่เกนิ 1,000 (K)
2) เขียนตัวเลขฮนิ ดอู ารบกิ ตัวเลขไทย และตวั หนังสือแสดงจำนวนนบั ทีก่ ำหนดให้ได้ถูกต้อง (P)
3) อ่านตัวเลขฮินดูอารบิกและตวั เลขไทยแสดงจำนวนนบั ทกี่ ำหนดให้ได้ถกู ต้อง (P)

4) รบั ผดิ ชอบตอ่ หนา้ ทที่ ี่ไดร้ ับมอบหมาย (A)

3. สาระการเรยี นรู้ สาระการเรยี นรู้ท้องถิ่น
พิจารณาตามหลักสูตรของสถานศกึ ษา
สาระการเรียนรแู้ กนกลาง
การอ่านและการเขยี นตัวเลขฮินดอู ารบิก ตัวเลขไทย และ
ตวั หนังสอื แสดงจำนวน

4. สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด

จำนวนนบั ทไี่ มเ่ กิน 1,000 และ 0 สามารถอ่านและเขยี นเปน็ ตัวเลขฮนิ ดอู ารบกิ ตวั เลขไทย และตัวหนงั สอื

5. สมรรถนะสำคญั ของผู้เรยี นและคุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์

สมรรถนะสำคัญของผ้เู รยี น คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์

1. ความสามารถในการคดิ 1. มีวินยั

1) ทักษะการสงั เกต 2. ใฝเ่ รียนรู้

2) ทักษะการระบุ 3. มุ่งมั่นในการทำงาน

3) ทักษะการเช่อื มโยง

2. ความสามารถในการแก้ปัญหา

3. ความสามารถในการใชท้ กั ษะชีวติ

14


Click to View FlipBook Version